อุปรากรจีน

Page 1



งิ้วปกกิ่ง ถือเปนแบบฉบับมาตรฐานกวางิ้วในพื้นที่อื่น  ไดรับการสนับสนุนจากราชสํานัก  ใชภาษาจีนกลาง (แมนดาริน)  เปนตัวแทนของศิลปะประจําชาติจีน  รสนิยมทางศิลปะของชาวจีน ไมเนนศิลปะในดานใดดานเดียว ตองมี ระบํา / ดนตรี / การขับกวี / การเลานิทาน / กายกรรม ฯลฯ 


งิ้วปกกิ่ง จึงมีทั้ง  การแสดงดนตรี  การขับรอง  การแสดงระบําและนาฏลีลา  การแสดงออกทางอารมณและทาทาง  การแสดงศิลปะการสูรบ การปองกันตัวและกายกรรม


 มีแบบแผนปฏิบัติสืบตอมาเปนจารีต  เริ่มตั้งแต ๗-๘ ขวบ  นักแสดงจะถูกคัดเลือกตามบุคลิกภาพ คุณภาพของเสียง

และความสามารถเฉพาะตัว  ฝกหัดในบทบาทใดบทบาทหนึ่งเพียงบทบาทเดียว (นอยคนที่จะเลนไดหลายบทบาท)  การฝกตองอาศัยทั้งพรสวรรคและการฝกฝน


      

มีทั้งเวทีถาวรและเวทีชั่วคราว เวทีถาวร เลนในโรงน้ําชา หรือสวนน้ําชา (มีโตะวาง หรือเกาอี้ยาววางเรียง ชั้นลางสําหรับผูชม ทั่วไป ชั้นบนสําหรับแขกผูมีเกียรติ ญาติๆ ของผูแสดงนั่งเหนือเวทีซึ่งดูไดไมชัด) เวทีชั่วคราว สําหรับงิ้วที่เปนคณะเร สรางดวยไมไผ ไมแผน และเสื่อ (ใชเวลาสราง ๒-๓ ชั่วโมง) มีหลังคายึดดวยไม ๔ เสา ยกพื้นสูง อุปกรณการแสดง ตองตั้งเกาอี้ ๒ ตัวและโตะตัวหนึ่งคั่นกลางเสมอ และสมมติเปนฉากตางๆ มีผาขึงเปนฉากหลัง และมานแขวนเปนทางเขา-ออก ของตัวงิ้วทั้ง ๒ ดาน (ออกขวา เขาซาย เสมอ) มีหองแตงตัวและหองเก็บอุปกรณการแสดงแยกตางหาก อยูดานหลังของเวที มีแทนตั้งปาย และรูปเคารพที่เปนเทพเจาและครูอาจารย สําหรับนักแสดงสักการะ อุปกรณประกอบฉาก มักเปนอาวุธ ที่ใชมากคือ ดาบและหอก พรอมดวย หลาว ธนู เกราะ แสมา นักบวชมักถือแสขนมาขนาดยาว ธงตางๆ ธงสีดําเมื่อวิ่งผานหมายถึง มีพายุ ธงรูปลอ เกวียนมีคนยกทางขวาง ๒ คนและมีคนเดินหรือวิ่งอยูขางใน หมายถึงกําลังนั่งรถมาอยู





  

เพื่อใหจังหวะประกอบการเคลื่อนไหว อิริยาบถของตัวละคร ประกอบ ระบํา ใหคิว เปลี่ยนฉาก แสดงการเขา-ออกของตัวละคร บรรเลงคลอตามเสียงรองของผูแสดง เรียกเฉพาะวา กั้วเหมิน (Guo Men) แปลวา ขามประตู เครื่องดนตรีในงิ้ว แบงเปน ๒ ประเภท  เหวิน (Wen) / บุน เปนเครื่องดีด เครื่องสี และเครื่องเปา ทําหนาที่คลอเสียง

รอง เชน ซอปกกิ่ง ซอสองสาย ผีผา ขลุย ฯลฯ  อู (Wu) / บู เปนเครื่องตีและเครื่องกระทบ ทําหนาที่ใหจังหวะและกําหนด สัญญาณตางๆ เชน กรับ กลองหนัง กลองเตี้ย กลองใหญ ฆองชุด ฉาบ ฯลฯ


เปนหัวใจของการแสดงงิ้วปกกิ่ง คนจีนมักพูดวา "ฟงงิ้ว" มากกวา "ดูงิ้ว" แบงเปน ๔ ลักษณะ  การขับรองแท มีดนตรีคลอตลอด  การขับกวี ดวยคําคลองจอง มีกรับประกอบจังหวะ  การเจรจา ประกอบฆอง ฉาบ กลอง ผูแสดงใชสีหนาประกอบบทเจรจาพิเศษ  การเปลงเสียงเพื่อบอกอารมณ เชน หัวเราะ ถอนหายใจ ตวาด ไอ เปนแบบแผนที่ตองฝกหัด

การขับรองตองผสานลงตัวกับดนตรี ผูรองจะลากเสียงคําทายใหยาวเพื่อปรับปรับให ตรงเสียงของดนตรีที่บรรเลงรับ และยังเปนการบอกสัญญาณใหนักดนตรีดวย (ซึ่ง บางครั้งนักแสดงอาจแสดงดวยกิริยา เชน สะบัดแขนเสื้อ ยกแขนเสื้อ) ทั้งสองฝายจึง ตองมีสมาธิตลอดเวลา


  

บทเกริ่นนํา เมื่อเปดฉาก พระเอกปรากฏตัวครั้งแรก เลาเรื่องแลวขับบท กลอน ๔ วรรค กลาวถึงปรัชญาสําคัญของเรื่อง ตามรูปแบบของการเลา นิทานจีนแตโบราณ และพระเอกจึงกลาวแนะนําตัวเอง บทพูดกับผูชม เปนการกลาวความลับของเรื่อง เปนที่รูกันระหวางผูแสดง และผูชมเทานั้น เปนการสรางมิติที่ลึกซึ้งใหกับตัวละคร บทสะทอนความรูสึก เมื่อตัวละครประสบจุดหักเห จุดสุดยอด หรือ เหตุการณที่สะเทือนใจ ก็จะระบายอารมณออกมาในรูปของการขับรอง บทกวีปดฉาก กอนการแสดงแตละฉากจะจบลง ตัวละครเอกในฉากนั้น ขับบทกวี ๔ วรรค เพื่อสรุปเนื้อหาของฉากนั้น (หากมีตัวเอกในฉากนั้น หลายตัว ก็กลาวพรอมกัน)


นักแสดงจะฝกบทบาทใดบทบาทหนึ่งเทานั้น (ยกเวนผูที่มีความสามารถสูง เชน เมย หลานฟาง แสดงไดหลายบท)  เชิง (Sheng) ตัวละครชาย  บู ▪ บทนายพล (สวมเสื้อเกราะ ปกธงขางละ 2 คัน เปนแมทัพ) ▪ บทนักรบอาวุโส (เคราขาว วัยชรา) ▪ บทนักรบทั่วไป (ชุดดํารัดรูป รองเทาหุมสนเตี้ยๆ)

 บุน

▪ บทขุนนางชั้นผูใหญ/ นักการเมือง (มีสายคาดเอวประดับหยก) ▪ พระเอกหนุม (เสียงสูงกวาเสียงชายธรรมดา ไมสวมเครา ถือพัด หากเปนนักรบมีขนนกยาว 2 เสน) ▪ บทชาวอาวุโส



ตั้น (Dan) ตัวละครหญิง  บทกุลสตรี  บทหญิงสาวโสด  บทหญิงเปรี้ยว  บทหญิงนักรบ  บทหญิงชั่ว  บทหญิงอาวุโส



จิ้ง (Jing) ตัวละครวาดหนา  เปนตัวละครประเภทเดียวที่แตงหนาดวยลวดลายและสีสัน บงบอกถึงอุปนิสัย

ของตัวละคร มีมากถึง 400 แบบ  บทคนดี  บทคนเลว  บทโลดโผน ▪ ▪ ▪ ▪

สีแดง – ซื่อสัตย กลาหาญ มีคุณธรรม สีดํา – ดุราย หยาบคาย สีฟา – เหี้ยมโหด แข็งกราว สีขาว – ทรยศ คดโกง



โฉว (Chou) ตัวละครตลก  บทบู – พลทหาร ตัวตลก  บทบุน – ผูคุมคุก ยาม คนรับใช  บทหญิงราย – แมสื่อเจาเลห แมยายหรือแมผัวใจราย



 การเคลื่อนไหวของมือ  การเคลื่อนไหวของนิ้ว  การเคลื่อนไหวของเทา  การเคลื่อนไหวของขา  การเดิน  การเคลื่อนไหวของหนวด, เครา  การเคลื่อนไหวของชายเสื้อ  การเคลื่อนไหวของขนนกเครื่องประดับศีรษะ


 

   

แตงเลียนแบบยุคสมัยตาม ประวัติศาสตรของจีน ชุดพระราชพิธี – พระจักรพรรดิ (ฮองเต) และออง ใชชุดสีเหลือง ขุน นางใชชุดสีขาวหรือน้ําตาลแดง ขุนนาง ที่มีคุณธรรมใชสีแดงหรือฟา ชุดขุนนางขาราชการ เสื้อนอก เสื้อคลุม เสื้อขันที

        

เข็มขัดหยก กระโปรง เสื้อสั้นและกางเกง เสื้อคลุมไรแขน เครื่องทรงราชสํานัก ผาคลุมไหล เสื้อเกราะ ธงรบ เสื้อคลุมเดินทาง



 

สีหลัก มี 5 สี คือ แดง เขียว เหลือง ขาว ดํา สีรอง มี 5 สี มวง ฟา ชมพู ฟา-เขียว แดงเลือดหมู         

สีแดง – ตัวละครดี มียศศักดิ์สูง สีเขียว - ชายที่มีคุณธรรมสูง สีเหลือง – จักรพรรดิ สีขาว – ชายหนุม วัยชราอยูระหวางไวทุกข สีดํา – ชายเหี้ยมโหด กาวราว / หญิงมีคุณธรรม กําลังโศกเศรา กลัดกลุม โกรธแคน สีมวง – สีของตัวละครวาดหนา มีฟา – มียศตําแหนงสูง สีชมพูและฟา-เขียว – หนุมสาว สีแดงเลือดหมู – ความปาเถื่อน ฉอโกง ยึดอํานาจ ชิงราชบัลลังก


 คางคาว – อายุยืน มีความสุข โชคดี  นกกระสา – อายุยืน  มังกร – พระจักรพรรดิ และผูเกี่ยวเนื่องในราชวงศ  เสือ – อํานาจ ความกลาหาญ  ดอกไม – สตรี ความสดชื่นของฤดูดอกไมผลิ  ฯลฯ


 มงกุฎ  เครื่องทรงศีรษะ  มงกุฎหงสฟา  หมวกขุนนาง  หมวกนักรบ  รองเทา





 

เปนเอกลักษณของงิ้ว เริ่มมาตั้งแตสมัยราชวงศหมิง เทคนิคการลงสี  หนาแดง – ความซื้อสัตย กลาหาญ ใจดี  หนาเหลือง – ความฉลาดหลักแหลม ความสามารถ  หนาขาว – ความทรยศ คดโกง  หนาดํา – ความจริงใจ ตรงไปตรงมา รักษาสัตย  หนาเขียว – ความดุราย ชั่วราย  หนาฟา – ความหยิ่งทรนง ความภาคภูมิใจ  หนามวง – ความกตัญูรูคุณ ความมีสัตย  หนาชมพู – ความซื่อตรง ความชรา

เทคนิคการวาดเสน



นิยมความหลากหลาย นําเอาการแสดงทุกอยางมารวมไวในการ แสดงเดียว เชน งิ้ว มีหลากเรื่อง หลากรส  ใชสัญลักษณสื่อความหมาย เชน สี ลวดลาย ปรากฏในแทบทุก องคประกอบ  การแตงกายและแตงหนาใชสีสันฉูดฉาด สดใส  นิยมการแสดงที่ตองใชความสามารถสูง เชน บทชายที่เลนเปน หญิง (โดยเฉพาะในบทบู)  ดนตรีมีความอึกทึก เสียงดัง เวนเสียใจในฉากที่ตองการความ ออนหวาน 







 มาลินี ดิลกวาณิช, ระบําและละครในเอเชีย.

ธรรมศาสตร, 2537)

(กรุงเทพฯ :


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.