สูจิบัตร ๑๒ ปีโขนรามคำแหง รวมปก

Page 1

ม ห ก ร ร ม ศ ล ิ ป ะ ก า ร แ ส ด ง โ ข น ร า ม ค า ํ แ ห ง ค ร บ ร อ บ๑ ๒ป 

ว น ั พ ฤ ห ส ั บ ด ท ี ่ ี ๑ ๔ก ร ก ฎ า ค ม๒ ๕ ๕ ๙ เ ว ล า๑ ๔ . ๐ ๐น .ณโ ร ง ล ะ ค ร แ ห  ง ช า ต ิ

ค ณะ ศ ล ิ ป ก ร ร ม ศ า ส ต ร  ม ห า ว ท ิ ย า ล ย ั ร า ม ค า ํ แ ห ง www. f a . r u . a c . t h0 2 3 1 0 8 2 9 6 F a c e b o o kp a g e :โ ข น ร า ม ค า ํ แ ห ง



๒


เมื่อปพุทธศักราช ๒๕๔๗ โขนรามคําแหงไดกอตั้งขึ้นอยางเปนทางการตามดําริ ของรองศาสตราจารยรังสรรค แสงสุข อธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคําแหงในเวลานั้น โดย ได จัด ใหมี ก ารฝ กสอนโขนและนาฏศิ ล ปไ ทยใหกั บ นัก เรีย น นั ก ศึก ษา บุ คลากรภายใน มหาวิทยาลัยรามคําแหง รวมไปถึงการเปดโอกาสใหบุคคลทั่วไปที่มีความสนใจไดเขารับ การฝกหัดโขนและนาฏศิลปไทย ซึ่งกิจกรรมตางๆ เหลานี้มีความสอดคลองกับพันธกิจ ด า นการทํ า นุ บํ า รุ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ซึ่ ง ถื อ เป น พั น ธกิ จ หลั ก ๑ ใน ๔ ประการของ มหาวิทยาลัยรามคําแหง อีกทั้งยังเปนการสานตอเจตนารมณของทานศาสตราจารย พลตรี ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ที่เล็งเห็นวาการที่เยาวชนไดมีโอกาสไดฝกหัดโขนและนาฏศิลปนั้น ก็เพื่อที่จะได "ดูโขนเปน" และเมื่อไดฝกหัดจนมีความชํานาญในการแสดงไดรับคัดเลือกให ออกแสดง จนสามารถดูและแสดงเปนแลว เยาวชนเหลานี้ก็จะเปนพลังที่เขมแข็งในการทํา หนาที่อนุรักษ ทํานุบํารุง และสืบสานศิลปวัฒนธรรมการแสดงโขนและนาฏศิลปไทยรวมไป ถึงวัฒนธรรมของชาติในดานอื่นๆ ใหยังคงดํารงอยูสืบตอไปในอนาคต ตลอดระยะเวลา ๑๒ ป ที่โขนรามคําแหงไดจัดตั้งขึ้นมา นอกจากจะเปดโอกาสให ผู ที่ มี ค วามสนใจในศิ ล ปะการแสดงโขนและนาฏศิ ล ป ไ ทยได มี โ อกาสได รั บ การฝ ก หั ด การแสดงจากคณาจารยผูมีความรูความสามารถในดานนาฏศิลปไทยแลว โขนรามคําแหง ยังไดมีโอกาสจัดการแสดงเผยแพรศิลปวัฒนธรรมทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ในระดับประเทศและในระดับนานาชาติ ในวาระที่โขนมหาวิทยาลัยรามคําแหงไดดําเนินกิจกรรมมาอยางตอเนื่องตลอด ระยะเวลา ๑๒ ป โขนมหาวิทยาลัยรามคําแหงไดจัดกิจกรรมเผยแพรในระดับสาธารณะ เพื่ อ เป น สิ่ ง ยื น ยั น ถึ ง ปณิ ธ าณอั น มุ ง มั่ น ของมหาวิ ท ยาลั ย รามคํ า แหงในการอุ ป ถั ม ภ ศิลปวัฒนธรรมของชาติสืบไป โดยไดจัดมหกรรมศิลปะการแสดงโขนรามคําแหงครบรอบ ๑๒ ป ขึ้น ในวันพฤหัสบดีที่ ๑๔ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๕๙ ณ โรงละครแหงชาติ เพื่อเผยแพรศักยภาพในการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมของมหาวิทยาลัยรามคําแหงที่มุงมั่น ดําเนินการอยางตอเนื่องมาเปนเวลายาวนาน


๔


๑. วงปพาทยคณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง บรรเลงเพลง "ตระพอขุนรามคําแหงมหาราช" ผลงานการประพันธเพลงโดย คุณครูพีรศิษย บัวทั่ง ๒. รําถวายพระพรสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ๓. เบิกโรง ชุด "จับลิงหัวค่ํา" นําแสดงโดย รองศาสตราจารยรังสรรค แสงสุข อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคําแหง ผูกอตั้งโขนรามคําแหง ๔. ระบํามฤคระเริง โดย สมาชิกโขนรามคําแหง รุนจิ๋ว ๕. อัตลักษณโขนรามคําแหง เพลงหนาพาทย "วานรดําเนิน" ผลงานการสรางสรรค ทารําโดยคุณครูประสิทธิ์ ปนแกว ศิลปนแหงชาติ ครูผูควบคุมการฝกซอม โขนรามคําแหง รําหมูโ ดยศิษยโขนรามคําแหงฝายลิง ๖. โขนรามคําแหง ชุด ศึกแสงอาทิตย-พรหมาสตร ควบคุมการฝกซอมโดย คุณครูประสิทธิ์ ปนแกว ศิลปนแหงชาติ คุณครูสมศักดิ์ ทัดติ ผูเชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป (โขน) คุณครูไพฑูรย เขมแข็ง ผูเชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลป (โขน) และคณะครูผฝู กซอมโขนรามคําแหง ๗. ศิษยโขนรามคําแหงบูชาครู


๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓. ๑๔. ๑๕. ๑๖.

คุณครูประสิทธิ์ ปนแกว ศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป-โขน) ป พ.ศ.๒๕๕๑ คุณครูสมศักดิ์ ทัดติ ผูเชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลปไทย (โขน-ยักษ) คุณครูไพฑูรย เขมแข็ง ผูเชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลปไทย (โขน-พระ) คุณครูสมพิศ ธรรมศิริ ผูเชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลปไทย (ละคร-พระ) รองศาสตราจารย ดร.จินตนา สายทองคํา คณบดีคณะศิลปนาฏดุรยิ างค สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป (ครูละคร-นาง) คุณครูนันทา นอยนิตย (ครูละคร-นาง) คุณครูกติ ติพงษ ไตรพงษ (ครูโขน-ลิง) คุณครูสุธัญญา วองไชยสิทธิ์ (ครูละคร-นาง) คุณครูวรางคณา วรรณประเก (ครูละคร-นาง) คุณครูอัจฉรา จันที (ครูละคร-พระ) คุณครูปรวัฒน คุมบอ (ครูโขน-ยักษ) คุณครูธรี พงศ แกนจันทร (ครูโขน-พระ) พ.ต.อ.ชาญชัย เสริมศรี (ครูโขน-ลิง) คุณครูปญ  ชลีย รัตนสิงขร (ครูละคร-นาง) คุณครูธรรมจักร พรหมพวย (ครูโขน-พระ) คุณครูไอยเรศ งามแฉลม (ครูโขน-ลิง)

คุณครูที่เสียชีวิตแลว ครูโขน ๑. คุณครูสัญชัย สุขสําเนียง (ครูโขน-พระ) ๒. คุณครูสรัสวิชญ ภูวสรรเพ็ชญ (ครูโขน-พระ) ครูดนตรีไทย ๓. คุณครูธรี ะ ภูมณี (ครูเครื่องสาย) ๔. คุณครูสมบัติ สังเวียนทอง (ครูขับรอง) ๕. คุณครูกญ ั ญา โรหิตาจล (ครูขับรอง) ๖


๗


ธรรมจักร พรหมพวย ๒ ไชยพฤกษ เขตพงศ 0

1

ศิลปะการดนตรีและการขับรองฟอนรําเปนของที่อยูคูวิถีชีวิตคนไทย ปรากฏมี การละเลนตางๆ ที่เรียกวา “มหรสพ” ทําหนาที่ในหลายระดับ เชน เพื่อสมโภชในวาระ สําคัญ เชน ฉลองวัด ฉลองพระ หรือ ทําหนาที่ในเชิงพิธีกรรม เชน การรํา บวงสรวงสิ่ ง ศักดิ์สิทธิ์ หรือเพื่อแกสินบาทคาดสินบน ฯลฯ ทั้งยังเปนกิจกรรมที่สรางความบันเทิงใหแก ราษฎรเมื่อวางภายหลังจากสัมมาชีพตางๆ และบางก็ใชงานนาฏกรรมเปนอาชีพเพื่อสราง รายไดใหมีอยูมีกิน แมวาในอดีตการยอมรับวาผูที่ทําอาชีพเลนโขนละครฟอนรํานั้นเปนแตเพียงผู “เตนกินรํากิน” มีเกียรติยศที่ดอยกวาอาชีพอื่นๆ หากแตในรัชกาลปจจุบันภายหลังการ เปลี่ยนแปลงทางการปกครองและการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมครั้งสําคัญ ทําใหงาน นาฏกรรมที่เกือบถูกลืมเลือนไปไดรับการฟนฟูและบรรจุเขาไวในหลักสูตรการศึกษาเฉพาะ ทาง มีการศึกษาเลาเรียนอยางเปนระบบ จนกระทั่งในปจจุบันนี้ไดมีการพัฒนาการศึกษา ทางดานนาฏกรรมใหสามารถเรียนไดจนถึงในระดับปริญญาเอก โดยมีวัตถุเพื่อการอนุรักษ และการพัฒนาตอยอดงานศิลปะใหยังคงอยูในสังคมไทยทุกยุคสมัย นอกจากนี้ยังมีการรวมกลุมโขนละครสมัครเลนที่เปดสอนใหกับผูที่สนใจทั่วไป ให มีโอกาสไดเขามาฝกหัดโขนละครและนาฏกรรมไทยแบบตางๆ เหมือนอยางเชนสํานักวิชา ในอดีต อาทิเชน คณะละครสมัครเลนบานปลายเนิน โรงเรียนนาฏศิลปขาบมงคล โรงเรียน พาทยกุลการดนตรีและนาฏศิลป ฯลฯ ซึ่งไดทําหนาที่ผลิตเยาวชนผูมีใจรักในศิลปะการ ฟอนรําเปนจํานวนมาก ควบคูไปกับขยายโครงสรางของกรมศิลปากรที่มีทั้งสวนจัดการ แสดงและสวนใหการศึกษาดานนาฏศิลป จนเมื่อมีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยทําหนาที่ใหการศึกษาในระดับอุดมศึกษา มีนิสิต นักศึกษาที่อยูในวัยเรียนรูเขาศึกษาและหาประสบการณชีวิตจากการทํากิจกรรมตางๆ ในป พ.ศ.๒๕๐๙ ศาสตราจารย พลตรี ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช จึงไดทดลองหัดใหนักศึกษา ๑ ๒

อาจารยประจําสาขาวิชานาฏกรรมไทย คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง นักศึกษาชั้นปที่ ๓ หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานาฏกรรมไทย คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง


มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรหัดโขน และจัดตั้งเปน “โขนธรรมศาสตร” โดยมีวัตถุประสงคที่ ตองการจะใหนักศึกษาเหลานั้น “ดูโขนเปน” และจะเปนการปลูกฝงแนวคิดและคานิยม ตามแบบวัฒนธรรมไทยใหอยูในหัวใจของเยาวชนนักศึกษาเหลานั้น ผลจากการทดลอง ฝ ก หั ด ทํ า ให มี นั ก ศึ ก ษาจํ า นวนมากได มี โ อกาสหั ด โขนและออกแสดงได เ ป น อย า งดี ตลอดเวลาเกือบ ๑๐ ปหลังจากกอตั้ง ถือเปนตัวอยางที่สําคัญที่ทําใหเห็นวา แมวานักศึกษาในมหาวิทยาลัยจะมิไดถูก ฝกหัดการฟอนรํามาตั้งแตยังเล็กเหมือนในสถาบันเฉพาะทาง หากแตทุกคนมีใจรักและ ความพยายามที่จะทําในสิ่งที่เปนเรื่อง “สมัครเลน” อยางจริงจัง จนสามารถออกแสดงไดดี เที ย บเท ามื อ อาชี พ และด ว ยแนวคิ ด ที่ เชื่ อ ว า การนํ า เอาศิล ปะการแสดงของไทยมาให นักศึกษาและผูที่สนใจไดรับการฝกหัด อยางนอยก็จะทําใหเขาเหลานั้นเขาใจวัฒนธรรมไทย ไดดีมากยิ่งขึ้น และจะไดทําหนาที่สืบสานตอไปในอนาคต จนในปลายป พ.ศ.๒๕๔๖ โขนรามคําแหงไดถูกกอตั้งขึ้นตามเจตนารมณของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เพื่อเปดพื้นที่ทางวัฒนธรรมใหผูที่มีความสนใจในศิลปะการแสดง ของไทยไดใชพื้นที่แหงนี้เรียนรูศิลปวัฒนธรรมไทย ซึ่งทั้งหมดนี้มาจากแนวคิดของทานรอง ศาสตราจารยรังสรรค แสงสุข อธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคําแหงในเวลานั้น โดยเปด โอกาสให กั บ ประชาคมของมหาวิ ท ยาลั ย รามคํ า แหง ไม ว า จะเป น อาจารย เจ า หน า ที่ นักศึกษา นักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคําแหง รวมไปถึงเยาวชนและประชาชน ทั่วไปที่แมวาจะไมไดศึกษาอยูในมหาวิทยาลัยรามคําแหงก็ตาม ไดเขามาฝกหัดโดยไมเก็บ คาใชจายใดๆ มีผูมาสมัครในครั้งแรกนั้นกวา ๘๐๐ คน ถือเปนการหัดโขนมหาวิทยาลัยที่มี จํานวนมากเปนประวัติการณ ซึ่งตนแบบของแนวความคิดของรองศาสตราจารยรังสรรค แสงสุขในเวลานั้น มา จากเมื่ อ ครั้ ง ที่ ท า นศึ ก ษาอยู ณ มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร ท า นได มี โ อกาสฝ ก หั ด โขน ธรรมศาสตร จึงทําใหทานเล็งเห็นถึงประโยชนนานัปการจากการฝกหัดโขนในครั้งนั้น อยาง นอยก็จะไดทําใหเปนผูที่รูจักและคุนเคยกับศิลปวัฒนธรรมของตนเอง ทําใหเกิดความหวง แหน และสิ่งที่ครูรังสรรค แสงสุขเนนย้ําเสมอๆ ก็คือ เมื่อตอไปที่เยาวชนเหลานี้ ไดเปน เจาบานตะพานเมือง ณ ที่แหงใด ก็จะพยายามนําพาเอาโขนและศิลปวัฒนธรรมไทยไป ปลูกฝงใหกับพื้นที่ ใหกับชุมชน และใหกับบุคคลไดเรียนรูสืบตอกันไป นอกเหนือจากการเปนพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่ชวยในการจรรโลงอนุรักษวัฒนธรรม แล ว โขนรามคํ า แหงยั ง ได ส นั บ สนุ น พั น ธกิ จ การดํ า เนิ น ของมหาวิ ท ยาลั ย ตามเกณฑ มาตรฐานการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ๑ ใน ๔ ประการ นั่นคือพันธกิจทางดานการทํานุ ๙


บํารุงศิลปวัฒนธรรม ซึ่งโขนรามคําแหงก็ไดแสดงศักยภาพอยางยิ่งใหญในการจัดแสดงทุก ครั้งและทําตอเนื่องมาเปนระยะเวลายาวนานจน ๑๒ ป เมื่อแรกกอตั้งโขนรามคําแหงนั้น มีคณะกรรมการอํานวยการขึ้นมาชุดหนึ่งเพื่อ เพื่อทําหนาที่ในการดําเนินการและกํากับดูแล ในเวลานั้นมีผูทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัย รามคํ า แหงที่ ม าจากศิ ษ ย ใ นสํ า นั ก บ า นสวนพลู ข อง ม.ร.ว.คึ ก ฤทธิ์ อยู ห ลายท า น เช น อาจารยกิตติ เกิดผล อาจารยสมบัติ ภูกาญจน อาจารยพีรพงษ ศรีเมือง อาจารยธีรพงศ แกนจันทร ฯลฯ โดยไดเชิญครูผูเชี่ยวชาญสาขานาฏศิลปโขนและละครจากวิทยาลัยนาฏ ศิลป สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป กระทรวงวัฒนธรรม รวมทั้งศิลปนจากสํานักการสังคีต กรม ศิลปากร มาทําหนาที่เปนครูผูสอนถายทอดสรรพวิชาความรูดานนาฏศิลปโขนละครใหกับ ลูกศิษยโ ขนรามคํ าแหง ซึ่ งอยูภายใตการควบคุมของ คุณครู ประสิทธิ์ ปนแก ว ศิลป น แหงชาติ โดยในระยะแรกที่เปดรับสมัครมีผูสนใจเขามารับการฝกหัดเปนจํานวนมาก และมี สมัครเขามาอยางตอเนื่องจนถึงปจจุบัน มีท่ีมาจากตางที่ ตางสถาบัน แตดวยใจรักในสิ่ง เดียวกันจึงเกิดเปนความสัมพันธอันดีระหวางรุนพี่และรุนนอง จากรุนหนึ่งสูอีกรุนหนึ่งจึงทํา ใหเกิดเปนคณะศิลปนสมัครเลนที่สามารถแสดงผลงานไดอยางเปนที่นาชื่นชม และไดผลิต ลูกศิษยโขนรามคําแหงออกไปมากกวา ๑,๐๐๐ คน ในชวง ๑๒ ปที่ผานมา รูปแบบการฝกซอมของโขนรามคําแหงใชวิธีเดียวกับการฝกหัดแบบดั้งเดิม โดย เริ่มจากการแบงประเภทผูแสดง คือ ตัวพระ-โขน (ผูชาย) ตัวพระ-ละคร (ผูหญิง) ตัวนาง ตัวยักษ และตัวลิง โดยการคัดเลือกประเภทของตัวแสดง จะคัดเลือกตามสรีระ บุคลิกภาพ ของผูเรียน เมื่อครูผูสอนคัดเลือกประเภทของผูเรียนแลวก็จะเริ่มฝกหัดโดย ตัวพระและตัว นางจะเริ่มฝกหัดดวยการรํา “เพลงชา-เพลงเร็ว” “รําแมบท” สวนตัวยักษและตัวลิงก็จะ เริ่มฝกหัดดวยการออก "แมทา" ซึ่งเปนทามาตรฐานที่จะใชในการออกแสดงและเรียนรู ระดับสูงขึ้นไป เมื่อฝกหัดไดดีมีฝมอื พอที่จะออกแสดงไดแลว ครูก็จะกําหนดใหจัดพิธีไหวครู โขนละคร เพื่อความเปนสิริมงคลแกผูเรียน การไหวครูของโขนรามคําแหงครั้งแรกนั้น จัด ขึ้นเมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๖ ณ หอประชุมพอขุนรามคําแหงมหาราช โดย มีครูสมบัติ แกวสุจริต ผูตรวจราชการกระทรวงวัฒนธรรมในเวลานั้น เปนครูผูประกอบพิธี ไหวครูและครอบครู ปจจุบันโขนรามคําแหงก็ไดจัดใหมีพิธีไหวครูโขนละครเปนประจําทุกป ตามธรรมเนียมโบราณ และยังคงมีการฝกซอมเปนประจําทุกวันอังคารและวันพฤหัสบดี ณ หอง ๓๒๒ อาคารสุโขทัย ชั้น ๓

๑๐


ตลอดระยะเวลา ๑๒ ป ที่ ผ า นมาโขนรามคํ า แหงได ส ร า งผลงานให กั บ มหาวิทยาลัยรามคําแหงทั้งในระดับประเทศและตางประเทศไวอยางมากมาย ผลงานการ แสดงครั้งแรกของคณะโขนรามคําแหง คือการแสดงเนื่องในพิธีเปดการแขงขันกีฬาบุคลากร ของมหาวิทยาลัยรามคําแหง "สุพรรณิการเกมส" เมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๖ โดยได จัดการแสดงระบําสุพรรณิการ เปนการแสดงเบิกโรง ตอทายดวยโขน ชุด ยกรบ การแสดง ในครั้งนั้นใชผูแสดงทั้งสิ้นกวา ๔๐๐ คน นับตั้งแตนั้นเปนตนมา โขนรามคําแหงจึงไดมี โอกาสทําหนาที่เปนทูตทางวัฒนธรรมเผยแพรนาฏศิลปไทยทั้งในระดับชาติและในระดับ นานาชาติ โดยไดรับเชิญจากหนวยงานราชการและองคกรตางๆ เชน สถานเอกอัครราชทูต ไทยในตางประเทศ รวมถึงหนวยภายในของมหาวิทยาลัยก็มักเชิญโขนรามคําแหงทําหนาที่ เปนตัวแทนทางวัฒนธรรมขององคกรและสื่อสารความเปนไทยใหคนไทยและชาวตางชาติ ไดรูจัก ดังตัวอยางการจัดแสดงโขนครั้งยิ่งใหญ ชุด นารายณปราบนนทุก-ศึกสิบขุนสิบรถ ณ ลานหนาพระบรมราชานุสาวรียพอขุนรามคําแหงมหาราช เนื่องในวันพอขุนรามคําแหง มหาราช วันที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ.๒๕๔๗ และการแสดงเพื่อเฉลิมฉลองเนื่องในโอกาสพระ ราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๕ รอบ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ณ กรุ ง โคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร ก และกรุ ง สต อ คโฮล ม ประเทศสวี เ ดน เมื่ อ วั น ที่ ๒๕ สิงหาคม – ๒ กันยายน ๒๕๔๗ เปนตน นอกจากการแสดงในองคกรตางๆ ทั้งในประเทศและตางประเทศแลว ในงานพิธี การตางๆ ของมหาวิทยาลัยรามคําแหง เชน พิธีถวายผาพระกฐินพระราชทาน วันสถาปนา มหาวิทยาลัยรามคําแหง วันพอขุนรามคําแหงมหาราช งานตอนรับอาคันตุกะจากนานา ประเทศ ตลอดจนงานเลี้ยงรับรองตางๆ โขนรามคํา แหง มักไดรับมอบหมายหนาที่ใ ห จัดการแสดงเพื่อใชเปนการแสดงหลักในงานอยูเสมอ และในงานเฉลิมฉลองในโอกาสสําคัญ ของชาติ โขนรามคําแหงมักไดรับเกียรติใหรวมเปนมหรสพสมโภชเพื่อการพิธีนั้นอีกดวย เชนการแสดงโขน เรื่อง รามเกียรติ์ ชุด พระรามครองเมือง ในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ณ เวที ท อ งสนามหลวง เมื่ อ วั น ที่ ๕ มิ ถุ น ายน ๒๕๔๙ และล า สุ ด ก็ ไ ด มี ก ารจั ด แสดงโขน ชุ ด นางลอย ในพิธีวางดอกไมจันทนถวายพระเพลิงพระศพสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ณ วัดเทพลีลา พระอารามหลวง จากโครงการและ กิจกรรมตางๆ ที่ผานมาอยางตอเนื่อง แสดงใหเห็นถึงพัฒนาการดานฝมือการแสดง ความ เขมแข็ง และความพยามฝกตนของสมาชิกโขนรามคําแหง ซึ่งปจจุบันมีสมาชิกที่มีอายุตั้งแต ๓ ป ไปจนถึง ๗๐ ป มีนักเรียนระดับมัธยมศึกษาจากหลากหลายสถาบันเขามาฝกหัดกับ ๑๑


โขนรามคําแหงจนสามารถสอบเขาศึกษาตอในดานนาฏศิลปได และสามารถรวมแสดงกับ ศิลปนอาชีพไดอยางราบรื่น นอกจากกิ จ กรรมการแสดงต า งๆ ที่ ไ ด ก ล า วมาข า งต น โขนรามคํ า แหงยั ง มี โครงการเพื่อเผยแพรศิลปวัฒนธรรมในพื้นที่ตางๆ โดยรวมมือกับสํานักการสังคีต กรม ศิล ปากร จั ด การแสดงดนตรีไ ทยและนาฏศิล ป ไทยเผยแพร ใ หกั บ นัก เรี ยนในโรงเรี ย น ตางจังหวัด เพื่อเพิ่มพูนประสบการณใหสมาชิกไดรูจักการแกไขปญหาเฉพาะหนาและการ เรียนรูการทํางานอยางมืออาชีพ ซึ่งไดดําเนินการมาอยางตอเนื่องจวบจนปจจุบัน โดยได เดินทางเผยแพรไปแลวมากกวา ๑๐ จังหวัด มีโครงการอบรมที่เปนการเผยแพรวัฒนธรรม สูชุมชนและสถานศึกษา ซึ่งลวนแตเปนกิจกรรมเพื่อการพัฒนาใหสามารถสรางเยาวชนผูที่มี ใจรักในวัฒนธรรมไทยใหเพิ่มขึ้นไดอยางเปนรูปธรรม ทั้งยังมีการพัฒนาและสรางองคความรูใหมโดยการทดลองจัดแสดงโขนในรูปแบบ ที่แตกตางไปจากเดิม เชน โขนไทยพากยเปนภาษาจีน หรือภาษาอังกฤษ การสรางโขนให ฉากที่อยูในทองเรื่องสามารถสื่อสารดวยการพูดกับผูชมได หรือการประดิษฐสรางสรรค กระบวนรําใหมสําหรับใชในการแสดงโขน เชน การประดิษฐทารําเพลงหนาพาทย “วานร ดําเนิน” ซึ่งประพันธเพลงโดยคุณครูพินิจ ฉายสุวรรณ ศิลปนแหงชาติ และออกทารําโดย คุณ ครู ประสิ ท ธิ์ ป นแกว ศิ ลป นแหง ชาติ ถือ ไดว าเปน ปรากฏการณ สํา คั ญในวงการ นาฏกรรมที่ไดรับการยกยองวาเปน “อัตลักษณของโขนรามคําแหง” จากผลงานและเกี ย รติ คุ ณอั น เลื่ อ งลื อ ตลอดระยะเวลา ๑๒ ป ที่ ผ า นมา จน สามารถสรางความเชื่อมั่นและเปนที่ยอมรับของคนในวงการนาฏกรรมและของสังคมไทย ถือเปนความภาคภูมิใจที่โขนรามคําแหงไดเปนตัวแทนของมหาวิทยาลัยรามคําแหงสําแดง ศักยภาพในการสนับสนุนและพัฒนาวิชาชีพทางดานนาฏกรรมดวยการใหทดลองจากการ ปฏิบัติจริง สรางเปนผลผลิตทางดานบุคคลและกอใหเกิดกระแสการอนุรักษเผยแพรทั่วไป ในแทบทุกสถานบันการศึกษา การจัดโครงการ "มหกรรมศิลปะการแสดงโขนรามคําแหงครบรอบ ๑๒ ป" จึง เปนเครื่องสะทอนศักยภาพและความเขมแข็งของโขนรามคําแหง ใหเปนที่ประจักษแก สายตาสาธารณชนในระดับประเทศอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งจะเปนสิ่งยืนยันถึงปณิธานอันมุงมั่นของ มหาวิทยาลัยรามคําแหงในการทําหนาที่อุปถัมภ สืบสานและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมของ ชาติแขนงนี้ใหคงอยูชั่วลูกชั่วหลาน และเปนสิ่งยืนยันความพยายามและความตั้งใจอันแนว แนของศิษยโขนรามคําแหงทุกคน ที่จะมุงมั่นอนุรักษศิลปะการแสดงโขนและนาฏศิลปไทย ไวมิใหเลือนหายไปจากวิถีชีวิตของคนไทย ๑๒


๑๓


๑๔


๑๕


๑๖


ปาณิสรา เผือกแหว

๓ 2

เพลงตระ เป น เพลงหน า พาทย ชั้ น สู ง ใช สํ า หรั บ บรรเลงประกอบพิ ธี ก รรม ประกอบการแสดงโขนละคร และบรรเลงรวมอยูในเพลงโหมโรง โดยมีจุดมุงหมายเพื่อ บงบอกถึงกิริยาอาการของตัวละครผูสูงศักดิ์ เทพยดา สิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือเปนการชุมนุม เทวดาเพื่อใหมาประสิทธิ์ประสาทพรในมณฑลพิธีนั้น เดิมเพลงตระมีแตอัตราสองชั้น เชน ตระสันนิบาต ตระนิมิต ตระนอน ตระเชิญ ตระบรรทมไพร ตระนารายณบรรทมสิน ธุ ตระปรคนธรรพ ตอมาภายหลังจึงมีผูประดิษฐขึ้นเปนอัตราสามชั้น ความเชื่อ เรื่องอภินิหาร และอํานาจความลี้ลับของเพลงหนาพาทยนั้น เปนสิ่งที่มี ปรากฏใหไดยินไดฟงอยูมาก เปนเหตุใหครูบาอาจารยทานมักกําชับเสมอวา การบรรเลง เพลงหนาพาทยจะตองกระทําดวยความสํารวม เครงครัดระมัดระวังมิใหทํานองผิดเพี้ยน ไมบรรเลงขาดเกิน หรือดําเนินกลอนทีเลนทีจริงดังเชนในเพลงทั่วไปเปนอันขาด โดยเฉพาะ ในเรื่องการแตงเพลงหนาพาทยยิ่งแลวใหญ เรามักพบวามีเพียงครูผูใหญ ซึ่งสมบูรณพรอม ดวยวัยวุฒิ คุณวุฒิ และเปนที่นับหนาถือตาในสังคมดนตรีไทยแลวเทานั้นที่จะแตงเพลงหนาพาทย สํ า หรั บ เพลงตระพ อ ขุ น รามคํ า แหงมหาราช ที่ ใ ช บ รรเลงในงานมหกรรม ศิลปะการแสดงโขนรามคําแหงครบรอบ ๑๒ ป ในครั้งนี้ เปนผลงานการประพันธของ อาจารยพีรศิษย บัวทั่ง หรือที่ในวงการดนตรีไทยเรียกกันทั่วไปวา ครูพัฒน นักระนาดผูดี แหง บานใหญ ผู สืบทอดทางระนาดสายตรงในสํานั กพระยาประสานดุ ริยศั พท (แปลก ประสานศัพท) โดยอาจารยพีรศิษย ไดกลาวถึงที่มาของเพลงตระพอขุนรามคําแหงมหาราช วา “เพลงตระพอขุนรามคําแหงมหาราชนี้ ผมแตงเพื่อถวายพระเกียรติแดองคพอขุน สําหรับชาวรามคําแหงและผูที่เคารพนับถือพระองคทาน อีกอยางคือ ผมตั้งใจแตงเพลงนี้ไว เพื่อรําลึกถึงโอกาสที่ไดมาเปนสวนหนึ่งของที่นี่ ที่คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย รามคําแหง (ปจจุบัน อาจารยพีรศิษยเปนอาจารยพิเศษ ภาควิชาดนตรีไทย คณะศิลปกรรม ศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง) และผมคิดวาในความรูสึกของคนไทย พอขุนรามคําแหงก็ เปรียบไดเสมือนเทพมาจุติ มาบําบัดทุกขบํารุงสุขแกราษฎร ผมจึงแตงเพลงเทิดพระเกียรติ ใหสมกับความเปนสมมติเทพของทาน” ๓

อาจารยประจําสาขาวิชาดนตรีไทย คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง

๑๗


ในโอกาสนี้ วงพาทยาศรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง จึงไดนําเพลงตระพอขุน รามคําแหงมหาราช มาบรรเลงเพื่ออัญเชิญพอขุนรามคําแหงมหาราช และเทพดา ใหมา ประชุมพรอมกัน เพื่อประสิทธิ์ประสาทพรเปนมงคลฤกษใหกับการแสดงครัง้ นี้ และเพื่อเปน การเฉลิมฉลองในโอกาสที่โขนรามคําแหงไดถายทอดวิชาความรูทางดานศิลปะการแสดง ไทยมาแลวกวา ๑๒ ป

๑๘


ในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๗ รอบ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีเ ฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๗ รอบ ของ สมเด็ จพระนางเจ า สิริ กิ ติ์ พระบรมราชิ นี นาถ ตรงกั บ วั นที่ ๑๒ สิ ง หาคม พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๙ ในนามของมหาวิทยาลัยรามคําแหง จึงไดจัดการแสดงรําถวายพระพรเพื่อเปน การเฉลิมพระเกียรติในพระราชกรณียกิจดานตางๆ อาทิเชน งานดานศิลปาชีพที่มุงเนนให ชาวไทยที่ยากจนไดมีโอกาสทํากินดวยฝมือเชิงชางหัตถกรรมที่ราษฎรสามารถทําไดเปน อยางดี หรือจะเปนโครงการที่สนองแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เชน โครงการปารักษน้ํา ซึ่งลวนแตมีวัตถุประสงคใหราษฎรไทยไดพัฒนาคุณภาพชีวิตอยาง ยั่งยืน การแสดงรําถวายพระพรชุดนี้ใชผูแสดงซึ่งเปนสมาชิกโขนรามคําแหง ฝายตัวพระ และตั ว นาง หลากหลายรุ น แต ง กายแบบพราหมณ เ พื่ อ ร ว มถวายพระพรให ท รงมี พระชนมายุยิ่งยืนนาน ทารํา คําประพันธและเพลงประกอบเปนการสรางสรรคขึ้นใหมโดย คณาจารยผูทรงคุณวุฒิทางดานนาฏศิลปและดนตรีไทย - ปพาทยทําเพลงประนมกร - รองเพลงประนมกร ขอเดชะ ฝาละออง ธุลีพระบาท บรมนาถ ราชินี ศรีสยาม เพ็ญพระยศ เพียบพระคุณ วิบลุ ยงาม ทุกเขตคาม ปองปก พสกไทย ทรงเหนื่อยยาก ลําบาก ตรากตรํางาน พระดําริ โครงการ ประทานให เพื่อทวยราษฎร ปราศทุกข เปนสุขใจ ทรงหวงใย ไทยทั่วถิ่น แผนดินทอง - รองเพลงมหาบพิตร งามฝมือ ลือระบิล ศิลปาชีพ คือประทีป สองกมล ชนทั้งผอง ไดทํากิน สินทรัพย นับเนืองนอง หายหมนหมอง เพราะพระแม ทรงแนะนํา โครงการ ปารักษน้ํา ล้ําคา พลิกพื้นปา เขียวชอุม ดินชุมฉ่ํา ศิลปะ นาฏศาสตร วัฒนธรรม ทรงทํานุ อุปถัมภ ทําเพื่อไทย ๑๙


- รองเพลงสะสม วโรกาส เฉลิมพระชนม ดลดิถี แปดสิบสี่ พระพรรษา อดิศัย รามคําแหง นอมถวาย พระพรชัย เทิดไท สดุดี จีรกาล เชิญอํานาจ พระไตรรัตน ขจัดทุกข อภิบาล ประทานสุข เกษมศานต มีวรรณะ พละ ปฏิภาณ พระชนมาน ยืนยง ทรงพระเจริญ - ปพาทยทําเพลงโปรยขาวตอก จรัญ พูลลาภ ประพันธบท พีรศิษย บัวทั่ง บรรจุเพลงและประพันธเพลง มัณฑนา อยูยั่งยืน บรรจุทางรอง

๒๐


การแสดงเบิ ก โรงชุ ด จั บ ลิ ง หั ว ค่ํ า การแสดงเบิกโรงชุดนี้แตเดิมเปนการแสดงสําหรับ ใชเบิกโรงกอนการแสดงหนังใหญตอมาจึงไดมีการ พัฒนารูปแบบการแสดงจากการเชิดตัวหนังเปน การออกตั ว ผู แ สดงโขน ซึ่ ง เป น ที่ ม าของคํ า ว า “หนังติดตัวโขน” รูปแบบการแสดงจึงยังคงคลาย กับการเบิกโรงหนังใหญ เนื้อความในการแสดงกลาวถึง ลิงดําผูมี นิสัยกักขฬะเลวทรามชอบกอเรื่องวุนวายทําให มนุษยเดือดรอน แมลิงขาวผูมีนิสัยดีไดพยายาม ตักเตือนก็ ไมเปนผล ตอมาลิ งทั้งสองไดเกิดการ วิวาทกันขึ้น ลิงขาวจับลิงดํามัดไว พระฤๅษีผานมา เห็นเขา จึงตองออกมาหามปรามลิงทั้งสองตัว หลังจากเหตุวิวาทสงบลง พระฤๅษีจึงไดสั่ง สอนลิงดําใหเวนการประพฤติอันเปนอันธพาล และไดใหปลอยลิงดําไป นัยยะของการแสดง มีการแฝงคติธรรมเพื่อใหเกิดความสมัครสมานสามัคคี ในการแสดงเบิกโรงชุดจับลิงหัวค่ํานี้ มีลักษณะเฉพาะคือการใชเพลงเชิดนอกประกอบการแสดง ตัวหนังหรือตัวโขนจะไลจับกัน ๓ ครั้ง เรียกวา ๓ จับ จนลิงดําถูกลิงขาวมัด ปพาทยจึงทําเพลงเตียว อันหมายถึงการมัด ดวยเหตุนี้จึงนิยมนําเรื่องลิงดําลิงขาวมาจัดแสดงเปนการเบิกโรงกอนจับเรื่อง แสดงเปนเรื่องราวตางๆ ชุดอื่นๆ ตอไป การแสดงชุดนี้ ไดรับเกียรติจากรองศาสตราจารย รังสรรค แสงสุข อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยรามคําแหงและผูกอตั้งโขนรามคําแหง ซึ่งจะ แสดงในบท “พระฤๅษี” เปนมงคลแกชาวศิษยโขนรามคําแหงทุกคน

๒๑


ระบํามฤคระเริง หรือ ระบํากวางเปนชุดการแสดงที่แทรกอยูในการแสดงโขน เรื่อง รามเกียรติ์ ชุด ลักสีดา โดยการแสดงชุดนี้ไดนําเอาทาทางการเคลื่อนไหวของกวางมา ประดิษฐเปนทารําตามรูปแบบนาฏศิลปไทย ประดิษฐทารําโดย คุณครูลมุล ยมะคุปต ประพันธเพลงโดย คุณครูมนตรี ตราโมท นําออกจัดแสดงครั้งแรกเนื่องในงานแลกเปลี่ยน วัฒนธรรม ณ ประเทศพมา เมื่อป พ.ศ.๒๔๙๘

โดยเหตุ ที่ โ ขนรามคํ า แหงเป ด โอกาสให ผู ที่ ส นใจทั่ ว ไปได เ ข า ฝ ก หั ด โขนและ นาฏศิลปไทย โดยไมจํากัดอายุ เพศ วัย และสถาบันการศึกษา โดยไมเก็บคาใชจายใดๆ ทั้งสิ้น จึงทําใหมีเยาวชนจํานวนมากสมัครเขามารับการฝกหัด ในจํานวนนี้เปนเด็กเล็กที่มีใจ รักในดานนาฏศิลปไทย จึงไดทําการฝกหัดนาฏศิลปเบื้องตน และหาโอกาสใหไดออกแสดง แทรกในการแสดงโขนหรือละครตอนตางๆ สมาชิกโขนรามคําแหงรุนจิ๋วเหลานี้จะเปนกําลัง สําคัญของชาติในการจดจําและเรียนรูศิลปวัฒนธรรมของชาติในดานนาฏศิลปไทยตอไป

๒๒


นิรันดร แจมอรุณ

3

เปนผลงานการประพันธเพลงของคุณครูพินิจ ฉายสุวรรณ ศิลปนแหงชาติ สาขา ศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) พุทธศักราช ๒๕๔๐ เพื่อใชประกอบการแสดงโขนรามคําแหง ตอน กําเนิดนางมณโฑ เมื่อประพันธเสร็จสมบูรณ ไดถายทอดใหกับอาจารยนิรันดร แจมอรุณ อาจารยประจําสาขาวิชาดนตรีไทย คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๐ วานรดําเนิน เปนเพลงหนาพาทยประเภทเสมอ ๕ ไมลา ลักษณะทํานองมีความ สอดคลองกลมกลืนไปกับกิริยาทาทางของพญาวานร อีกทั้งรัวทายเพลงวานรดําเนินซึ่ง ปรับปรุงใหแตกตางจากรัวธรรมดา โดยการนําสาระสําคัญของเพลงหนาพาทยองคพระพิราพมาผสมผสานไวในรัวทายเพลง เพื่อใหเกิดความสําคัญและเปนเอกลักษณเฉพาะของ เพลงวานรดําเนิน

อาจารยประจําสาขาวิชาดนตรีไทย คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง

๒๓


เนื้อเรื่องยอ หลั ง จากที่ มั ง กรกั ณ ฐ ถู ก ศรของ พระรามต องอกสิ้น ชีวิ ตตกลงจากทอ งฟ าใน สงคราม ทํ า ให แ สงอาทิ ต ย ผู เ ป น น อ งชาย โกรธแค น และได ย กกองทั พ ออกมารบกั บ พระรามเพื่อแกแคนแทนมังกรกัณฐ ขางฝายพลั บพลา พระรามได ตรั ส ถามพิเภกผูเปนโหรถึงผูท่ีจะออกมากระทําศึก ในครั้งนี้วาเปนใคร พิเภกจึงทูลบอกพระราม ว า เป น แสงอาทิ ต ย ผู มี แ ว น แก ว สุ ร กานต เมื่อสองแวนนั้นไปที่ผูใดก็จะถึงแกความตาย ซึ่งแสงอาทิต ยไดฝ ากแว นนี้ไว กับพระพรหม พระรามจึงโปรดใหองคตทําอุบายไปลอลวง นําแวนของแสงอาทิตยมาจากพระพรหมกอนที่ จะออกศึก องคตจึงไดแปลงเปนพิจิตรไพรียักษพี่เลี้ยงของแสงอาทิตย ขึ้นไปทูลขอแวนแกว สุรกานตจากพระพรหมไดสําเร็จแลวจึงนําถวายแกพระราม พระรามทรงทําลายแวนจน แตกสิ้ น เมื่ อ เสด็ จ ออกศึ ก กองทั พ พระรามและกองทั พ แสงอาทิ ต ย ย กมาประจั น กั น แสงอาทิตยกับพิจิตรไพรีพี่เลี้ยงเขารบกับทัพของพระราม แมวาแสงอาทิตยจะมีนิสัยมุทะลุ ดุ ดั น แต จ ากการรบครั้ ง นี้ แ สงอาทิ ต ย เ ป น ฝ า ยเสี ย เปรี ย บ จึ ง คิ ด จะสั ง หารพระราม พระลักษมณดวยแวนแกวสุรกานต จึงใชใหพิจิตรไพรีขึ้นไปเฝาพระพรหมเพื่อขอประทาน แวนนั้นมา เมื่อพิจิตรไพรีไดขึ้นไปทูลขอแวนกับพระพรหมแตหาไดแวนนั้นลงมาไม จึงไดรู วาเสียทีแกทัพของพระรามแลว จึงรีบกลับลงมาทูลแสงอาทิตยวา แวนแกวสุรกานตนั้นถูก ฝายพระรามไปลวงเอามาจากพระพรหมแลว พิจิตรไพรีทูลขอใหแสงอาทิตยเลิกทัพกลับ แตแสงอาทิตยไมยอมแพโดยงาย หมายใจจะเขารบกับทัพพระรามอีก จนในที่สุดจึงถูก พระรามแผลงศรสังหารจนสิ้นชีวิตในสนามรบ

๒๔


เปนเวลาเดียวกันที่สองสารัณยักษคอยเหตุเหาะผานมาเห็นเหตุการณ สองสารัณ ยักษจึงรีบเขาไปกราบทูลทศกัณฐวา ทั้งมังกรกัณฐและแสงอาทิตยผูเปนหลานของทศกัณฐ นั้นถูกทัพของพระรามสังหารสิ้นชีวิตในสนามรบแลว เมื่อทศกัณฐไดฟงก็พิโรธโกรธแคน และโศกเศราอาลัยรักในผูเปนหลานทั้งสององค จึงมีพระราชบัญชาสั่งใหกาลสูรเสนายักษ ไปแจงขาวศึกแกอินทรชิตพระราชโอรส ซึ่งประทับอยู ณ โรงพิธีที่อินทรชิตกําลังทําพิธี ชุบศรพรหมาสตรอยู และเชิญพระโองการตรัสสั่งใหอินทรชิตยกทัพไปรบกับทัพพระราม โดยเร็ว อินทรชิตพิโรธกาลสูรที่เขามาทูลถึงความพายแพซึ่งไมเปนมงคลและเปนลางไมดี สําหรับพิธีชุบพระแสงศร แตดวยเปนพระราชโองการที่รับสั่งลงมาจึงคอยบรรเทาพระพิโรธ แลวจึงเสด็จออกจากโรงพิธีตรัสสั่งใหรุทการเสนายักษจัดเตรียมกองทัพไวใหพรอม และสั่ง ใหการุณราชแปลงกายใหเหมือนชางเอราวัณ (ชางทรงของพระอินทร) ใหไพรพลทั้งหลาย แปลงกายเปนเทวดานางฟา เหมือนบนสวรรคชั้นดาวดึงสของพระอินทร สวนตัวอินทรชิต เองนั้นก็ไดแปลงกายเปนพระอินทรทรงชางเอราวัณนํากองทัพนิมิตที่เสมือนดังขบวนเสด็จ ของพระอินทรลอยเลื่อนกลางอากาศไปยังสนามรบ เพื่อไปลอลวงทัพพระรามหลงใหลและ สําคัญผิดคิดวาพระอินทรเสด็จลงมาชวยในการสงคราม พระอินทรแปลงพรอมดวยเหลาเทวดานางฟาและบริวารเสด็จมาถึงสนามรบ มองเห็นทัพพระลักษมณประทับบนราชรถอยูทามกลางไพรพลวานร จึงตรัสสั่งใหเทวดา นางฟาแปลงจับระบํารําฟอนอยูบนทองฟา ๒๕


พระลักษมณ พญาวานรและพลวานรตางสําคัญผิดคิดวาเปนขบวนเสด็จของพระ อินทรจริงๆ ตางก็เพลินดูการฟอนรําโดยไมเฉลียวใจ เมื่อพระอินทรแปลงเห็นศัตรูกําลัง เคลิบเคลิ้มมิทันระวังกาย จึงแผลงศรพรหมาสตรบันดาลเปนลูกศรกระจายราวกับสายฝน ลูกศรนั้นไปถูกพระลักษมณและพลวานรสลบสิ้นทั้งกองทัพเหลือเพียงหนุมานผูเดียว

หนุมานโกรธเพราะเขาใจวาพระอินทรไปเขาขางฝายยักษ จึงเหาะทะยานขึ้นบน ฟา สังหารควาญทายชางตาย แลวขึ้นหักคอชางเอราวัณแปลงหมายใจจะชิงศรพรหมาสตร จากพระอิ น ทร แ ปลง แต ก ลั บ ถู ก อิ น ทรชิ ต ตี ด ว ยคั น ศรตกลงมาสลบอยู ก ลางสนามรบ อินทรชิตมีความชื่นชมยินดีที่กองทัพของตนเปนฝายชนะจึงสั่งเลิกทัพกลับเขากรุงลงกา กองทัพของพระลักษณตองศรตายเกลื่อนกลาดอยูกลางสนามรบ พระรามเห็น ผิดปกติจึงเสด็จออกตามมา เมื่อมาถึงก็ ทอดพระเนตรเห็นพระลักษมณและไพร พลลิ ง ลมตายทั้งกองทัพ ทรงกันแสงโศกเศรานัก ขางฝายหนุมานเมื่อถูกลมพัดก็ฟนคืนจากสลบ แลวตรงมาเฝาพระรามทูลแจงเหตุการณทั้งหมด พระรามจึงตรัสปรึกษาพิเภกวามีทางใดจะ ชวยใหพระลักษมณและไพรพลฟนคืนมาได พิเภกทูลใหใชหนุมานไปชะลอเอาเขาสรรพยา มาเคาะใหยาตางๆ รวงลงกลางไพรพล พระรามตรัสใชหนุมานไปทําตามคําของพิเภก เมื่อ หนุมานไดเขาสรรพยามาก็เคาะใหยารวงลง บรรดาไพรพลรวมทั้งพระลักษมณก็ฟนขึ้น พระรามจึงใหเลิกทัพกลับเขาพลับพลาคายเสียกอน จึงคอยคิดหนทางในการทําสงคราม ตอไป ๒๖


ปาณิสรา เผือกแหว

คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิ ทยาลั ยรามคํ าแหง จั ดตั้งขึ้นในป พ.ศ.๒๕๕๐ จนถึ งป จจุ บั น นับเปนปที่ ๑๐ ของการทําหนาที่เปนสถานศึกษาทางดานศิลปะ และตลอดระยะเวลานั้น คณะฯ ไดจัด กิจกรรมเพื่อสนองความตองการดานศิลปวัฒนธรรมใหกับสังคมไวมากมาย อาทิ โครงการฝกสอนโขน รามคําแหง โครงการฝกสอนไวโอลิน โครงการอบรมดนตรีไทยมืออาชีพ โครงการนาฏศิลปภาคฤดูรอน โครงการศิลปกรรมศาสตรสูชุมชน ตลอดจนมีการเผยแพรและจัดแสดงดนตรีนาฏศิลปทั้งในประเทศและ ตางประเทศอยูเปนประจํา นอกจากนั้น คณะฯ ยังเปนหนวยงานที่สนองตอพันธกิจดานศิลปวัฒนธรรมของสถาบัน จึงมี การจั ด กิ จ กรรมการแสดงดนตรี ไ ทย ดนตรี ส ากล และนาฏศิ ล ป ไ ทยตลอดทั้ ง ป บางครั้ ง ต อ งอาศั ย ความรวมมือจากหนวยงานอื่น เพราะโดยลําพังบุคลากรของคณะฯ ยอมมีไมเพียงพอ และนักศึกษาก็ยัง ขาดประสบการณ ป ญ หาเหล า นี้ นํ า ไปสู ค วามคิ ด ที่ จ ะต อ งพั ฒ นาคน พั ฒ นาทั้ ง เชิ ง ปริ ม าณและ ประสิทธิภาพ ใหศักยภาพนั้นเกิดแกบุคลากร นักศึกษา และชุมชน เพื่อเปนกําลังสํารองที่จะสามารถเขา มาสนับสนุนกิจกรรมตางๆ ในยามขาดแคลนได โดยเฉพาะการบรรเลงดนตรีไทยสําหรับการแสดงนั้น เปนเรื่องที่ทราบกันดีวาผูบรรเลงจะตอง อาศัยความพรอมหลายอยาง ทั้งในเรื่องของความรู ประสบการณ และไหวพริบปฏิภาณ มิใชเรียนเพลง แลว ตีไดแลว รองไดแลว จะทําโขนทําละครไดเสียทุกคน ดวยเหตุนี้ จึงเปนที่มาของการจัดโครงการ ฝก สอนดนตรีไทยสํ า หรั บ การแสดงโขนละคร ซึ่ ง จั ดขึ้ น เพื่ อ บรรเทาความขาดแคลนศิ ล ป น ที่ มีค วาม เชี่ยวชาญ เพื่อสรางเครือขายศิลปน และเพื่อสรางความเขมแข็งใหกับชุมชนดนตรีไทย โดยมุงเนนการฝก ประสบการณอยางเปนรูปธรรม และดวยปณิธานที่ตั้งใจใหโครงการดังกลาวเปนเสมือนแหลงของการ เรียนรู สั่งสม สืบสาน และสรางสรรคดนตรีสําหรับการแสดงใหคงอยู จึงใหชื่อของวงดนตรีสําหรับการ แสดงในครั้ งนี้วา “พาทยาศรม” ซึ่ งหมายถึ ง ที่ พํ า นั ก แห งดนตรี ไ ทย ซึ่ งจะเป นพื้ นที่ สํา หรั บ แบ งป น แลกเปลี่ยน และพัฒนาดนตรีไทยไปดวยกัน อยางเปดกวาง ด ว ยความเสี ย สละและทุ ม เทของครู ผู ม าถ า ยทอดความรู ใ ห กั บ โครงการดั ง กล า ว อาทิ ครูพีรศิษ ย บัว ทั่ง ครูบุญ ช ว ย แสงอนั น ต ครู มัณฑนา อยู ยั่ งยื น ครู ป บ คงลายทอง ครู จ รั ญ พู ลลาภ ครูสุกัญญา กุลวราภรณ ครูสุชีพ เพ็ชรคลาย ครูภมรรัตน โพธิสัตย ทําใหการฝกสอนและฝกซอมดําเนินไป ไดดวยดี อีกทั้งยังไดรับความรวมมือเปนอยางดีจากโครงการฝกสอนโขนรามคําแหง สนับสนุนใหสมาชิก วงพาทยาศรมไดสรางสมประสบการณในการฝกซอมและรวมบรรเลงในการแสดงโขนรามคําแหงอยางชนิด ที่หาโอกาสไดยากยิ่ง สําหรับทานที่สนใจรวมโครงการฝกสอนดนตรีสําหรับการแสดง สามารถสอบถาม ขอ มูล เพิ่ม เติม ไดที่ คณะศิ ล ปกรรมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย รามคํ า แหง และติ ด ตามข อ มู ลข า วสารของ วงพาทยาศรม มหาวิทยาลัยรามคําแหง ไดที่ www.facebook.com/patayasom/

๒๗


สํานักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป กระทรวงวัฒนธรรม สํานักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง งานประชาสัมพันธ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ภาควิชาดนตรีไทย คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง ภาควิชาศิลปะการแสดงไทย คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง ชมรมดนตรีไทยและนาฏศิลป องคการนักศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง

จัดพิมพสูจิบัตร สํานักพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง ออกแบบตราโขนรามคําแหง พัศพงศ บุญขันธธนาลัย ออกแบบตรา ๑๒ ป โขนรามคําแหง คมศร สาหราย ศิษยเกาโขนรามคําแหง เรียบเรียง ธรรมจักร พรหมพวย ปาณิสรา เผือกแหว นิรันดร แจมอรุณ ไชยพฤกษ เขตพงศ พิมพเมื่อ กรกฎาคม ๒๕๕๙

๒๘


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.