สานคนฝกฝนศิลปกับศิลปนแหงชาติดานลิเก ธรรมจักร พรหมพวย๑
ศิลปะการแสดงของไทยแขนงหนึ่งที่ยังคงอยู"ไดอย"างดงามในวิถีชีวิตและสังคมไทย คือ "ลิเก" ดวยรูปแบบที่มีการปรับเปลี่ยน ผ"อนปรน ไปตามกระแสความเปลีย่ นแปลง ไม"หยุดยั้ง ในการพัฒนา เพราะ "กรอบ" ที่กําหนดรูปแบบลิเกนัน้ มีนอย และดวยเหตุทเี่ ป0น ศิลปะการแสดงอย"างใหม"ของชาวสยามทีเ่ กิดในสมัยรัชกาลที่ ๕ มีพื้นเพอยู"หลังป2อมมหากาฬ เกิดมี "วิกลิเก" ที่มีชื่อเสียงโด"งดัง คือ วิกลิเกพระยาเพ็ชรปาณี ซึ่งไดสถาปนารูปแบบ การละเล"นนี้ใหถูกอกถูกใจ "ชาวบาน" จนทําใหลิเกโด"งดังและเผยแพร"แสดงทั่วไปหลายคณะ ทั้งในกรุงเทพฯ ไปจนถึงหัวเมือง เช"น เขมร ลาว ทั้งยังทําใหศิลปะการแสดงรูปแบบอื่นๆ ก็ พลอยไดรับอิทธิพลการแสดงของลิเกไปดวย ดังเช"น "บันทึกของนายแกว" บทพระราชนิพนธ: วิจารณ:ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยู"หัว ทรงใชนามปากกาว"า "นายแกว" ทรง วิพากษ:วิจารณ:การแสดงหนังตะลุงซึ่งจัดมารับเสด็จฯ ว"าใชเรื่องราวและบทพากย:อย"างลิเก ของชาวบางกอก โดยทรงพระราชนิพนธ:ไวว"า "โรคนี้ดูออกจะกําเริบมาก" แสดงใหเห็นว"า ความแพร"หลายของรูปแบบการละเล"นลิเกไดแพร"หลายไปอย"างกวางขวางมากในสมัยรัชกาลที่ ๖ และยังดําเนินมาจนถึงป>จจุบัน
๑
อาจารย:ประจําสาขาวิชานาฏกรรมไทย ภาควิชาศิลปะการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร: มหาวิทยาลัยรามคําแหง
ดวยนโยบายที่เปAดโอกาสทางการศึกษาของมหาวิทยาลัยรามคําแหง ทําใหศิลปAนหรือ ผูมีความสามารถทางศิลปะการแสดงทีอ่ าจมีเวลานอย เพราะตองออกแสดงในเวลากลางคืน รวมไปถึงการสอบคัดเลือกเขาเรียนในสาขาวิชาดานนาฏศิลปBที่มีการแข"งขันกันสูง ทําให "ลิเก" ส"วนหนึ่งตัดสินใจที่จะสมัครเขาเรียนในคณะศิลปกรรมศาสตร: นอกจากจะเป0นการเปAดโอกาส ดานความหลากหลายของการศึกษาแลว ยังเป0นการยกระดับให "ลิเก" มีมาตรฐานมีวิชาชีพ ปรากฏว"าลิเกหลายคณะทีน่ ายโรงหรือตั้วโผมีโอกาสไดเล"าเรียนจนถึงระดับปริญญาใน สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ต"างก็มักที่จะนําเขียนขึ้นป2ายหนาโรงลิเกของตนว"า "ลิเก ปริญญา" ทั้งนี้ก็เพือ่ สรางความน"าเชื่อถือใหกับผูดูผชม ู และการที่นักศึกษาที่เป0นลิเกไดมา ศึกษาทั้งดานการปฏิบัตินาฏกรรม ตองเรียนทั้งโขน ละคร ระบําในรูปแบบต"างๆ ตลอดจนวิชา ประวัติ ทฤษฎีและการบริหารจัดการทางงานนาฏกรรม ก็ยิ่งทําใหนักศึกษาเหล"านั้นกระจ"าง ทางความคิดและสามารถนําเอาวิชาความรูที่ไดจากสถาบันนี้ไปปรับใชไดในวิชาชีพจริง ถือเป0นเกียรติอย"างสูงที่ครูบุญเลิศ นาจพินิจ ศิลปAนแห"งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ลิเก) ไดเปAดบานของท"านใหเป0นที่เล"าเรียนของศิลปAนในสาขาวิชาลิเก และดวยการ ประสานงานและแนะนําจากท"านอาจารย:กิตติ เกิดผล แห"งคณะศิลปกรรมศาสตร: มหาวิทยาลัยรามคําแหง จึงทําใหนักศึกษาสาขาวิชานาฏกรรมไทย ไดมีโอกาสไปกราบขอเป0น ศิษย:อย"างเป0นทางการกับครูบุญเลิศ นาจพินิจ ประกอบไปดวย ๑.นายระวีวัฒน: ขุนทอง ๒. นายเวชชยานนท: คลายมงคล (พระเอกเบิร:ดเดย: ศรทอง) ๓. นายวัชระ นักดนตรี ๔. นาย อิทธิฤทธิ์ เพชรรุ"ง (พระเอกอิทธิฤทธิ์ เพชรรุ"ง) ๕. นายฐิติกานต: สืบทิม (พระเอกนองกร รัช ชานนท:) โดยมีอาจารย:ธรรมจักร พรหมพวย เป0นผูสัมภาษณ:และเก็บขอมูลภาคสนาม เมือ่ วัน จันทร:ที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๖ บานของท"านอาจารย:บุญเลิศ นาจพินิจ ตั้งอยู"ในซอยศรีบุญยืน บางซือ่ กรุงเทพฯ ซึ่งลิเกทีต่ องการวิชาไปประกอบสัมมาชีพต"างก็เดินเขานอกออกในบานนี้อย"างคนคุนเคย เพราะถือเป0นแหล"งทีส่ ามารถสืบคนไดและยังมีลมหายใจเพียงไม"กี่แห"งสําหรับคนเป0นลิเก เมือ่ ถึงกําหนดเวลา ลูกศิษย:ทกุ คนก็ผลัดผาเป0นนุ"งโจงกระเบน ครูบุญเลิศเชิญหัวโขนพระภรตฤๅษี ซึ่งถือเป0นครูสําคัญทางนาฏกรรมออกมาตั้งที่โตNะ นักศึกษาถือขันคลานเขาไปหาครูทีละคน ครูประคองมือศิษย:รับขันนั้นและบริกรรมคาถาเป0นภาษาบาลี จากนั้นจึงใหศิษย:ไปกราบ หัวโขนพระภรตมุนีถวนทั่วทุกคน
จากนั้นครูลุกขึ้นยืนต"อท"ารําเบื้องตนในเพลง "เสมอ" ซึ่งเป0นรูปแบบเฉพาะที่ใช สําหรับแสดงลิเกทรงเครื่องและลิเกลูกบท เพราะในอดีตการเล"นลิเกนั้น มีการถ"ายโอนรูปแบบ ไปมาระหว"างละครรําและลิเก จึงทําใหคนลิเกตองรูกระบวนท"ารําต"างๆ มาก และการท"องจํา บทลิเกก็ใชการท"องจนขึ้นใจในเรื่องที่จะแสดงต"างๆ ซึ่งในป>จจุบันนักแสดงลิเกใชพื้นความรู ทางดานการรําและการท"องบทลิเกเป0นเรื่องนอยลง มุ"งเนนการดนบทที่แสดงปฏิภาณและควม สนุกสนานที่มาจากการขับนองเพลงลุกทุ"งหรือการแสดงตลกสลับฉากเสียมากกว"า การเริ่มหัด เพลงเสมอนี้ ถือเป0นเพลงหนาพาทย) (เพลงประกอบกิริยาของตัวละคร) เบือ้ งตน เพราะเมือ่ ลิเกจะออกฉากแสดงก็มักจะตองรําเพลงเสมอนีอ้ อกมาจากหลืบฉาก หรือบางครั้งก็ใชเมื่อลุก จากเตียงจะเขาฉากเพือ่ จะรอทําบทในฉากต"อไป ตั้งนั้นผูที่รําเพลงเสมอไดงดงาม ผูชมก็จะ ประทับใจในตัวละครนั้นๆ ทําใหอยากติดตามที่จะดูลิเกคนนั้นรําออกไปอีก เพลงเสมอใน รูปแบบของลิเกนั้นมีลักษณะเฉพาะตรงที่ท"าสอดสูงยกเทาหันขาง ก"อนจะขึ้นท"า "แทงกลับ" นั้น ลิเกจะจรดเทาแลวยกเทาขึ้นก"อนที่จะซอยเทาหมุนรอบตัวแลวหันหนาเปลีย่ นท"ามาขึ้นท"า "อําไพ" รับกับจังหวะตะโพน เมือ่ รําทาตะโพนแลวตัวลิเกก็จะชักแป2งหมุนตัวกลับไปนั่งที่เตียง กลางโรง พรอมกับทําท"า "คํานับ" ผูชมก"อนที่จะนั่งลงแลงรองทําบทอื่นๆ ต"อไป ถือเป0นเสน"ห: ในเรื่องรูปแบบท"ารําของลิเกที่ป>จจุบันการนําไปใชและการสืบทอดยังคงเป0นไปอย"างไม" แพร"หลาย ลิเกในป>จจุบันเนนการรํานอยลงแต"เนนการรองเพลงลูกทุ"งมากขึ้น? ในระหว"างต"อท"ารํานั้น เมือ่ พักเหนื่อยระหว"างจากรํา ครูบุญเลิศก็ไดมีเมตตาเล"าเรื่อง ประวัติความเป0นมาของลิเกใหนักศึกษาฟ>ง รวมไปถึงครูบาอาจารย:ที่ครูบุญเลิศไดมีโอกาส ศึกษาทั้งทางรําและทางเล"น เช"น คุณครูพระอธิการหอมหวล นาคศิริ ซึ่งท"านถือไดว"าเป0น ปรมาจารย:ทางดานลิเก มีลูกศิษย:หลายคนออกไปตั้งคณะจนมีชื่นเสียงโด"งดังในนาม "ศิษย) หอมหวล" ครูบุญเลิศเองนั้นถือไดว"าเป0น "ศิษย)หอมหวลรุนพิเศษ" และเป0นศิษย:คนสําคัญที่ ยังทําหนาทีส่ ืบทอดศิลปะการแสดงลิเกสู"คนรุ"นต"อมา ท"านครูอีกท"านหนึ่งซึ่งครูบุญเลิศให ความนับถือและกล"าวถึงฝSมือในความเป0นเลิศดานกระบวนรําที่ท"านไดรับการถ"ายทอดไว ก็คอื "แมครูนอม รักษประจิตร)" ซึ่งเคยเป0นละครที่มีชื่อเสียงในวังของสมเด็จพระเจาบรมวงศ:เธอ กรมพระนราธิปประพันธ:พงศ: อาจเรียกไดว"าในดานกระบวนรําแลวครูบุญเลิศเป0นศิษยแม"ครู นอมชนิดติดตัวตามไปไหนต"อไหน เรียกกันในสมัยนัน้ ว"าเป0น "ตัวโปรด" เลยทีเดียว นอกเหนือไปจากนี้ เมือ่ ครัง้ ที่ท"านครูหอมหวลเชิญครูละครที่มีชื่อเสียงมาสอนรําเหล"าลิเกนั้น มีครูที่มีฝSมอื เช"น คุณหญิงนัฏกานุรักษ: (เทศ) ครูมลั ลี คงประภัศร: (หมัน) หรือครูลมุล ยมะคุปต: ฯลฯ ต"างลวนเคยมาสอนใหกับลิเกหอมหวลทั้งสิ้น ทําใหเห็นว"าศิลปะทางดานนาฏกรรมแต" เดิมนั้น มีความเอือ้ เฟTอU ทั้งทางดาน "ทางรํา" และ "ทางเลน" ต"อกัน
ท"ารําในเพลงที่ ๒ ที่ครูบุญเลิศต"อท"ารําใหกับนักศึกษา คือเพลง "เชิด" เป0นเพลง หนาพาทย:ที่หมายถึงการเดินไปในระยะไกลของตัวลิเก เช"น จากเมืองไปปVา หรือตองการให เดินเรือ่ งอย"างรวดเร็วก็ใชเพลงนี้ ลักษณะท"ารําเพลงเชิดของลิเกยังคงรูปแบบอย"างโบราณที่ ท"ารําจะตองขึ้นดวยดวย "ทานุงผา" ซึ่งท"ารําแบบลิเกยังคงรักษาธรรมเนียมนี้ไวอย"าง เคร"งครัด แมว"าปริมาณท"ารําทั้งกระบวนจะยาวไม"มากเท"าท"ารําเพลงเชิดในทางโขนละคร แต"สิ่งหนึ่งที่เห็นไดคือเสน"ห:ในรูปแบบวิธีใชท"ารําที่เมื่อดูก็จะรูไดทันทีว"าเป0นรูปแบบเฉพาะของ ลิเก การรับการถ"ายทอดท"ารําในครั้งนี้ดําเนินไปอย"างชื่นมื่น เพราะทั้งครูและศิษย:ต"างก็มี ความสุข ฝVายหนึ่งแมจะอายุมากและมีอาการเหนื่อยเมือ่ ลุกขึ้นรํามากๆ แต"ภายในสีหนาและ แววตาของครูกลับมีความสุขที่ไดถ"ายทอดวิชาความรูมิใหสูญหายไป ฝVายหนึ่งที่เป0นศิษย: นักศึกษา แมว"าทุกคนลวนประกอบอาชีพทํามาหากินดานลิเกมานานแลวก็ตาม หากแต"กไ็ ม" เคยไดรับการถ"ายทอดวิชาอย"างละเอียดลออและถึงเนื้อถึงตัวเช"นนี้มาก"อน เฉกเช"นเดียวกับ การถ"ายทอดศิลปวิทยาการแบบโบราณในอดีตนั้นตองถ"ายทอดแบบ "ตัวตอตัว" จึงทําให รายละเอียดต"างๆ ไม"ตกหล"น และยังก"อเกิดเป0นความสัมพันธ:ที่ดีระหว"างศิษย:กับครู ทําให ศิษย:รักและหวงแหนวิชาที่ไดรับไปนั้นอย"างมีคุณค"าและจะถ"ายทอดใหกับคุณรุ"นต"อไปอย"างมี คุณค"าเช"นกัน ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๖ หมายเหตุ ชมบันทึกท"ารําลิเกของบุญเลิศ นาจพินิจ ไดที่ ๑. เพลงเสมอ http://youtu.be/4CfCpxptphw ๒. เพลงเชิด http://youtu.be/mBOtHEQKbXo