รายงานการวิจยั เรื่ อง ปั ญหาและทางแก้ เกี่ยวกับการอบรมคุณธรรมจริยธรรม (รวมศีลธรรม) ในประเทศไทย จากมุมมองของแซมมวล ฮันทิงทัน Problems and Solutions Concerning Education of Virtues and Ethic (Including Religious Morality) in Thailand: A Study from Samuel Huntington’s Perspective.
โดย
ศาสตราจารย์กีรติ บุญเจือ
ได้ รับเงินอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา ปี งบประมาณ 2555
รายงานการวิจยั เรื่ อง ปั ญหาและทางแก้ เกี่ยวกับการอบรมคุณธรรมจริยธรรม (รวมศีลธรรม) ในประเทศไทย จากมุมมองของแซมมวล ฮันทิงทัน Problems and Solutions Concerning Education of Virtues and Ethic (Including Religious Morality) in Thailand: A Study from Samuel Huntington’s Perspective.
โดย
1. ศาสตราจารย์กีรติ
บุญเจือ
2. นางสาวสันตินาถ
บุญเจือ
บัณฑิตวิทยาลัย
ได้ รับเงินอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา ปี งบประมาณ 2555
กิตติกรรมประกาศ งานวิจยั นี ้เริ่ มก่อหวอดจากคาปรารภของนายแพทย์จกั รธรรม ธรรมจักรที่ว่า “ทาอย่างไร ให้ คณ ุ ธรรมของประชาชนชาวไทยดีขึ ้นมีวิธีใหม่ๆ บ้ างไหม” คาถามนี ้ท้ าทายผู้วิจยั ให้ ทาวิจยั เรื่ องนี ้ จนเป็ นผลสาเร็จ ขอขอบคุณนายแพทย์จักรธรรม ธรรมจักร เป็ นพิเศษในฐานะผู้จุดประกายความสนใจ และขอบคุณสื่อต่อเนื่องถึงคณะอนุกรรมาธิการศีลธรรม คุณธรรม และจริ ยธรรมทุกท่านที่ช่วยกัน เสนอแนะและส่งเสริมให้ ทาให้ สาเร็จ ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทาที่พิจารณาให้ ทนุ วิจยั ตามเจตนาของวุฒิสภา ด้ วยเจตนาจะได้ มีโอกาช่วยชาติด้วยงานวิจยั นี ้ ขอขอบคุณ นัก ศึก ษาหลัก สูต รปรั ช ญาและจริ ย ศาสตร์ ดุษ ฎี บัณ ฑิ ต ทุก ท่า นที่ ช่ว ยกัน วิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธานตามวิธีคิดปรัชญา ทาให้ ไ ด้ ความคิดเป็ นผลงานวิจัยได้ อย่างรวดเร็ ว ขอขอบคุณคณะกรรมาธิ การศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ที่ อนุมัติงบประมาณให้ จัด สัมมนาเพื่อเปิ ดโอกาสให้ ผ้ สู นใจประมาณ 300 คนได้ วิพากษ์ ผลงานวิจยั เมื่อวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2555 ซึง่ ประกฎผลเชิงบวกอย่างท่วมท้ น ขอขอบคุณเจ้ าหน้ าที่วฒ ุ ิสภาและเจ้ าหน้ าที่ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต สาขิชาปรัชญา และจริยศาสตร์ ที่ชว่ ยงานธุรการที่จาเป็ นต่างๆ อย่างคล่องสะดวกทุกประการ ท้ ายสุดนี ข้ อขอบคุณทุกคนในครอบครัวที่แสดงมุทิตาจิตรวมยินดีในความสาเร็ จครัง้ นี ้ ทังหมดนี ้ เ้ ป็ นกาลังใจสาคัญยิ่งให้ รับงานต่อไปอย่างมีความสุขและชื่นชอบ ซึ่งถื อว่าเป็ นปั จจัย สาคัญที่สดุ ให้ อายุยืนและทางานได้ อย่างดี ศาสตราจารย์กีรติ บุญเจือ กันยายน 2555
1
ส่ วนหนึ่งของงานวิจัย ปัญหาและทางแก้เกีย่ วกับการอบรมคุณธรรมจริยธรรม (รวมศีลธรรม) ในประเทศไทย จากมุมมองของแซมมวล ฮันทิงทัน Problems and Solutions Concerning Education of Virtues and Ethic (Including Religious Morality) in Thailand: A Study from Samuel Huntington's Perspective
โดย ศาสตราจารย์ กีรติ บุญเจือ โทร. 08 6045 5299
ตามความต้ องการของ คณะอนุกรรมาธิการศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ในคณะกรรมาธิการคุณธรรม จริยธรรม ศาสนาและวัฒนธรรม วุฒิสภา
2
Abstract Research Title
: Ploblems and Solutions Concerning Education of Virtues and Ethic (Including Religious Morality) in Thailand : A Study
from
Samuel Huntington’s Perspective.
Author
: Mr.Kirti Bunchua
Year
: 2012 This research aims at answering the question: “To bring the people of
Thailand back to virtuous life, is there any means unused so far in the Thai context, but supplementary to all other means in current?” An answer comes up ready for testing. It is the Character Education that tempts to search for the authentic happiness according to the instinct of the intellect, which is the authentic element of human reality. The idea is a spark from the trend of thought of Samuel Huntington, an expert in Political Science and writer of an article extended into a book The Clash of Civilization. The Character Education would nurture the mind to be conscious that the happiness from rendering a neighbor happy is the happiest of the happiness. Such a consciousness is the produce of the intellect at the most basic level of human nature that humans need the Authentic Happiness According to Reality. Continue the education by training further on the comparison among the various levels of happiness proposed by the instinct of stone, of plant, of caring gene, of intellect, the lattest of which gives profounder happiness than those of the lower instincts. Its profundity, however, has evolution in accordance with the 5 steps of the intellectual development into 5 paradigms. Only the Paradigm of Detachment allows the quality of life
3
improvement that brings the Authentic Happiness According to Reality through Creativity, Adaptivity, Cooperativity and Requisitivity, with attitude of freedom, because there can be not any hope from the attachment that limits happiness somehow. Once the consciousness of doing good has been awaken and the awaken start to feel happiness and to enjoy doing so, it needs to be sustained to go on. Such process in called Cultivating Heart or Cultivating Consciousness. The researcher would like to propose the working plan through a network of Working Team accounted for the sufficiency of the responsible for the mutual caring for each other and for the progressive development of Character Education. For such a purpose, there need somebodies within the Working Team to do research to find new discourses for forming the conscience, on the basis of the Four Cardinal Virtues, Civilized Society, Caring for, Creativity, Adaptivity, Cooperativity, Requisitivity, etc. On the other hand, we need also researches on the technique of using our materials for effective education by combining the domains of psychology, sociology and history.
4
บทคัดย่ อ ชื่อรายงานการวิจยั
: ปัญหาและทางแก้เกี่ยวกับการอบรมคุณธรรมจริ ยธรรม
(รวมศีลธรรม) ในประเทศไทย : จากมุมมองของแซมมวลฮันทิงทัน ชื่อผูว้ จิ ยั
: ศาสตราจารย์กีรติ บุญเจือ
ปี ที่ทาการวิจยั
: 2555
งานวิจยั นี้ ตอ้ งการตอบคาถามว่า “ทาอย่างไรคุ ณธรรมจึงจะกลับมาสู่ ปวงชน ชาวไทยด้วยวิธีใหม่ที่ยงั ไม่เคยใช้ในสังคมไทย เพื่อเสริ มวิธีต่างๆที่ใช้กนั อยูใ่ นปั จจุบนั ” และพบคาตอบว่ามีวิธีหนึ่งที่น่าจะทดลองใช้ดู คือวิธีอบรมบ่มนิสัยให้แสวงหาความสุ ข แท้ตามสัญชาตญาณปั ญญา อันเป็ นธาตุแท้แห่ งความเป็ นจริ งของมนุ ษย์ ผูจ้ ุดประกาย ความคิ ดแนวนี้ คือนักรัฐศาสตร์ แซมมวล ฮันทิ งทัน ผูเ้ ขี ยนบทความและขยายเนื้ อหา ออกเป็ นหนังสื อชื่อ The Clash of Civilizations การอบรมบ่ ม นิ สั ย พึ ง ปลุ ก จิ ต ส านึ ก ในประเด็ น ต่ อ ไปนี้ คื อ อบรมให้ รู้ จ ัก เปรี ยบเทียบว่าการมีความสุ ขจากการทาให้ผอู ้ ื่นมีความสุ ข เป็ นความสุ ขที่สุด การสานึ ก ได้เ ช่ น นี้ เ ป็ นการใช้ปัญญาอย่า งพื้น ฐานที่ สุดจากข้อ เท็จ จริ งว่ามนุ ษย์ทุก คนต้องการ ความสุ ขแท้ตามความเป็ นจริ ง ให้อบรมการฝึ กใช้ปัญญาต่อไปเปรี ยบเทียบคุณภาพของ ความสุ ข ระดับ ต่ า งๆ ที่ ใ ช้ปั ญ ญาเกื้ อ หนุ น สั ญ ชาตญาณก้อ นหิ น สั ญ ชาตญาณพื ช สัญชาตญาณอารักขายีน และสัญชาตญาณปั ญญาซึ่ งให้ความสุ ขที่ลึกซึ้ งมากกว่าระดับ อื่นๆ แต่ความลึกซึ้งก็ยงั มีวิวฒั นาการเป็ นขั้นตอนมากับการพัฒนาคุณภาพการใช้ปัญญา ซึ่ งแบ่งออกได้เป็ น 5 ระดับ หรื อ กระบวนทรรศน์ เฉพาะกระบวนทรรศน์ไม่ยดึ มัน่ ถือ มัน่ เท่านั้นที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ทาความสุ ขแท้ดว้ ยการสร้างสรรค์ ปรับตัว
5
ร่ ว มมื อ และแสวงหาได้อ ย่า งเสรี เพราะไม่ มี เ งื่ อ นไขจากการยึด มั่น ถื อ มั่น ซึ่ งจ ากัด ความสุ ขไม่มากก็นอ้ ย เมื่ อ ปลุ ก จิ ต ส านึ ก ให้ตื่ น และเริ่ ม รู ้ สึ ก มี ค วามสุ ข และสนุ ก กับ การท าดี แ ล้ว จาเป็ นต้องทะนุบารุ งให้ยงั่ ยืนต่อไป ซึ่ งเรี ยกว่าปลูกจิตสานึ กด้วยการอบรมบ่มนิ สัย ซึ่ ง ผูว้ จิ ยั เสนอให้ทาในลักษณะเครื อข่ายที่มีผรู ้ ับผิดชอบให้ดูแลกันและพัฒนาการอบรมบ่ม นิสัยกันอย่างไม่หยุดยั้ง ทั้งนี้จึงต้องมีบางคนในเครื อข่ายทาการวิจยั หาคาอธิ บายใหม่ ๆ มาเสริ มการปลูกจิตสานึกอยูเ่ สมอ เช่น กลไกมโนธรรม คุณธรรมแม่บท 4 สังคมอารยะ การดูแล การสร้างสรรค์ การปรับตัว การร่ วมมือ การแสวงหา เป็ นต้น อีกด้านหนึ่งก็คือ วิจยั วิธีใช้ความรู ้ใหม่ ๆ ที่วิจยั ได้ อย่างมีประสิ ทธิ ผลทั้งด้านจิตวิทยา สังคมวิทยา และ ประวัติศาสตร์
6
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา เหตุการณ์ที่สร้างความระทึกใจแก่คนทั้งโลกไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่าการถล่มเมืองฮิ โรชิมาด้วยระเบิดปรมาณู เมื่อวันที่ 6 สิ งหาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) ก็คือการที่กาแพง เบอร์ลินถูกเจาะทะลุโดยไม่เสี ยเลือดเนื้อเมื่อวันที่ 9 พ.ย. 2532 (ค.ศ.1989) คือ 44 ปี ต่อมา อันถือได้ว่า เป็ นวันสิ้ นสุ ดสงครามเย็นที่สร้างความหวาดผวาแก่คนทั้งโลกที่มีอารมณ์ ค้างแขวนอยูบ่ นเส้นด้ายว่าสงครามโลกครั้งที่ 3 จะระเบิดขึ้น ณ วินาทีใดก็ได้ เพราะถ้า สงครามดังกล่าวเกิดขึ้นจริ งวันนั้นก็จะเป็ นจุดจบของมนุษยชาติ เพราะผูท้ ี่อยูใ่ นข่ายของ ความขัดแย้ง รู ้สึกมัน่ ใจว่า ตนจะต้องสู ญเสี ยชี วิตไปพร้อมกับคนดีและสิ่ งดีท้ งั หลายที่ อารยธรรมของมนุ ษยชาติได้สะสมมา การที่ ตอ้ งรอความตายฉับพลันโดยไม่รู้วนั และ เวลาอย่างนี้ ย่อมสร้างความเครี ยดแก่คนทัว่ โลกไม่มากก็นอ้ ย มีการจัดปาฐกถากันบ่อย ๆ เพื่อเตือนความจาว่าไม่มีความปลอดภัยในชี วิตและทรัพย์สิน ข่าวกาแพงเบอร์ ลินทะลุ และทั้ง 2 ฝ่ ายเดินทางไปมาหาสู่ กนั ได้โดยไม่มีใครขัดขวาง เป็ นข่าวดีที่ปลดเปลื้องจาก ความเครี ยดที่สร้างบรรยากาศอึมครึ มครอบงามนุ ษยชาติในรู ปของสงครามเย็นมาเป็ น เวลาถึง 44 ปี หลังจากที่สงครามร้อนได้ผลาญชีวิตมนุษย์ไปถึงประมาณ 100 ล้านคน ชัว่ ระยะเวลา 5 ปี หรื อ 1480 วันแห่ งการสู ้รบ คิดถัวเฉลี่ยวันละประมาณ 60,000 คน ไม่มี ใครอยากให้ชาติของตนต้องเข้าสู่ ภาวะสงครามอีก เพราะเข็ดขยาดต่อความเสี ยหายทั้ง ทรัพย์สินและชีวติ ยังไม่รวมความสู ญเสี ยที่คานวณเป็ นตัวเลขไม่ได้คือ คุณภาพชีวิตและ สุ ขภาพจิตของมนุษย์ที่สูญเสี ยไป ผูก้ งั วลด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ย่อมอดไม่ได้ที่จะดีใจเมื่อได้ข่าวดีว่า กาแพง เบอร์ลินทะลุ ม่านเหล็กสลายตัว ม่านไม้ไผ่เผยอตัว ทุกอย่างเป็ นไปตามครรลองเหมือน น้ าไหล ไม่มีใครบังคับให้เป็ นไป มันเป็ นไปโดยอัตโนมัติ ดังที่แซมมวล ฮันทิงทัน ได้ เก็บข้อมูลไว้วา่
7
-
3 มกราคม 1992 นักวิชาการรัสเซีย และอเมริ กนั นัดพบกันในห้องประชุมของ
รัฐบาลในกรุ งมอสโคว์อย่างมัน่ ใจในความปลอดภัย ในเวลาไล่เลี่ยกันสหภาพโซเวียต รัสเซียแตกสลายเป็ น 16 ประเทศใหญ่ -
18 เมษายน 1994 ชาวมุ ส ลิ ม เดิ น ขบวนกลางกรุ งซาราเจโว ประเทศ
ยูโกสลาเวียถือธงตุรกีแทนธงชาติยโู กสลาเวียของตน -
16 ตุ ลาคม 1994 ในนครลอสแอนจิ ลิส ชาวแมกซิ กนั พลัดถิ่น 70,000 คน
เดินขบวนถือธงชาติแมกซิ โกเพื่อเรี ยกร้องให้รัฐบาลอเมริ กนั ให้การศึกษาแก่บุตรของผู ้ เข้าเมืองผิดกฎหมายเพราะเห็นแก่มนุษยธรรม ซึ่ งรัฐสภาแห่ งแคลิฟอร์เนี ยก็รับเข้าวาระ การประชุมและลงมติอนุมตั ิดว้ ยเสี ยง 59 % นักวิจารณ์ไม่วิจารณ์ในแง่ที่ว่าผูเ้ ดินขบวน มิ ไ ด้ถื อ สั ญ ชาติ อ เมริ ก ัน แต่ ก ลับ วิจ ารณ์ ว่า มาเดิ น ขบวนถื อ ธงต่ า งชาติ ข่ ม ขู่รั ฐ บาล อเมริ ก ัน อย่า งนี้ ไม่ น่ า จะยอมให้เ ดิ น วัน ต่ อ มาชาวแมกซิ ก ัน กลุ่ ม เดิ ม นัด เดิ น ขบวน ขอบคุณรัฐสภาอเมริ กนั ที่ลงมติดว้ ยจิตเมตตาธรรมเป็ นหลัก คราวนี้ ถือธงชาติอเมริ กนั โดยกลับบนลงล่างทุกผืน แสดงความจงใจที่มิได้มีคาชี้ แจงใด ๆ ถึงความหมายของมัน แต่ฮนั ทิงทันตั้งใจยกเรื่ องธงขึ้นมาในบทนาของหนังสื ออย่างมีนยั ยะ และให้ความหมาย ตามนัยยะของตนที่จะเป็ นทิศทางของมนุษยชาติต่อไปในอนาคต เขาให้ความหมายของ ธงกลับหัวไว้ว่า “ธงกลับหัวเป็ นเครื่ องหมายของหัวโค้งแห่ งการเปลี่ยนแปลง และธงก็ จะมีความสาคัญมากยิง่ ๆ ขึ้น”1 วารสาร Foreign Affairs ฉบับฤดูร้อน ค.ศ. 1993 ได้พิมพ์ เผยแพร่ บทความ “The Clash of Civilization” ของฮันทิงทันเพื่อออกความเห็นกรณี กาแพงเบอร์ ลินทะลุ นักวิชาการของสหรัฐ ฯ ได้วิพากษ์วิจารณ์กนั อย่างกว้างขวาง ได้มี การอัด สาเนาแจกและจัดสั มมนาออกความเห็ น กัน ต่ าง ๆ นานา ผูว้ ิจ ัยได้รับเชิ ญไป
1
Thomas Huntington : The Clash of Civilization and the Making of the World Order (New York : Simon and Shuster, 1996), p. 19.
8
สัมมนาจัดโดยสมาคม Civil Society ที่ Prof. Dr. George Mclean อาจารย์สอนวิชา ปรัชญาเป็ นประธานเพื่อศึกษาความเป็ นไปได้ต่าง ๆ ที่ฮนั ทิงทันได้กล่าวถึงในบทความ ดังกล่าว 3 ปี ต่อมา (ค.ศ. 1996) ฮันทิงทันได้ขยายเนื้อหาบทความเป็ นหนังสื อ บทความ ซึ่ ง เป็ นความคิ ด ใหม่ จ ริ งถู ก บรรจุ อ ยู่ใ นบทน าและบทสรุ ป เนื้ อ หาที่ ข ยายเพิ่ ม อยู่ใ น ส่ วนกลางของหนังสื อ ซึ่ งส่ วนมากเป็ นข้อมูลการเมืองในอดีตที่รวบรวมมาสนับสนุ น ทฤษฎีใหม่ของตน เสริ มด้วยการคาดคะเนสู่ อนาคตในครรลองสื บเนื่องจากปั จจุบนั และ อดีต ส่ วนสาคัญของหนังสื อเล่มนี้ จึงอยู่ที่ความคิดเห็นที่แสดงไว้ในบทนาและบทสรุ ป ของหนังสื อเล่มนี้ ซึ่ งนักปรัชญานาเอาไปอภิปรายกันอย่างกว้างขวางจนทุกวันนี้เพื่อหา แนวทางใหม่แก้ปัญหาของโลก ส่ วนกลางของหนังสื อเป็ นเนื้ อหาที่นักรัฐศาสตร์ และ นักการเมืองได้เอาไปศึกษากันอย่างกว้างขวางเช่ นกัน แต่ส่วนมากจะเน้นวิจารณ์ว่าที่ ฮันทิงทันได้พยากรณ์ไว้ต้ งั แต่ปี ค.ศ. 1996 นั้น มีส่วนผิดพลาดประการใดบ้าง แม่นยา เพราะอะไร และผิดพลาดเพราะอะไร งานวิจยั นี้จะวิเคราะห์เฉพาะความคิดเห็นที่นาไปสู่ การปรับปรุ งวิธีอบรมคุณธรรมจริ ยธรรมเท่านั้น
ฮันทิงทันกับการอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนใหม่ เมื่อฮันทิงทันกล่าวถึงความหมายของธงกลับหัวแล้ว ก็ได้ทิง้ ข้อที่เป็ นปริ ศนาไว้ ว่า “ประชาชนในโลกปัจจุบนั กาลังพบอัตลักษณ์ใหม่ในอัตลักษณ์เดิมเป็ นส่ วนมาก พวก เขากาลังเดินภายใต้ธงใหม่ซ่ ึ งจริ ง ๆ แล้วก็คือธงเดิม (กลับหัว) เป็ นส่ วนมาก ธงเหล่านี้ แหละที่นาพวกเขาเข้าห้ าหัน่ ศัตรู ใหม่ซ่ ึงแท้จริ งก็คือศัตรู คนเดิมในโฉมหน้าใหม่”2 ข้อความข้างต้นนี้ ประกอบกับเหตุการณ์ที่คาดไม่ถึงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นหลังจาก กาแพงเบอร์ลินทะลุ ทาให้นกั ปรัชญาหลังนวยุคประสบโอกาสขยายผลแนวคิดปรัชญา 2
Ibid., p. 20.
9
ของตน ซึ่งเดิมเป็ นข้อคิดกระจัดกระจายกลายเป็ นขบวนการที่มีเป้ าหมายชัดเจนยิง่ ๆ ขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในฐานะที่เป็ นทั้งคาสอนและแนวปฏิบตั ิในขณะเดียวกันตามรู ปแบบ ของศาสนา แต่เป็ นศาสนาที่ไม่กาหนดข้อเชื่อเรื่ องโลกหน้า จึงสามารถใช้เป็ นฐานเสริ ม ได้สาหรับทุกศาสนาที่ตอ้ งการพัฒนาวิธีการอบรมสั่งสอนศาสนาของตนให้มีการพัฒนา คุณภาพชีวติ อย่างมีประสิ ทธิภาพมากยิง่ ๆ ขึ้น จากข้อความปริ ศนาที่อา้ งอิงไว้ขา้ งต้น ชาวหลังนวยุคจึงตีความว่าตามที่แฟรงสิ ส ฟู กิยามา (Francis Fukiyama) ได้ช้ ีช่องให้ว่า “เราน่าจะมาถึงจุดจบของประวัติศาสตร์ตาม ความหมายเดิ ม ได้แ ล้ว กล่ า วคื อ ถึ ง จุ ด สุ ด ท้า ยของวิ ว ฒ ั นาการคติ ก ารเมื อ ง จัด เป็ น ประชาธิ ปไตยเสรี ที่ถือได้ว่าเป็ นการบริ หารประเทศรู ปแบบสุ ดท้ายของมนุ ษย์”3 ซึ่ ง หมายความตามคติปรัชญาหลังนวยุคว่า คนรุ่ นใหม่บางคนเกิดมากับกระบวนทรรศน์ไร้ พรมแดน มองอะไรเป็ นระดับโลกาภิวตั น์ไปหมด คือเป็ นคนของโลก และอยากให้ทุก คนหวังดีต่อกันทัว่ โลกเหมือนในครอบครัวเดียวกัน มีปัญหาอะไรตกลงกันเองได้ดว้ ย จิตสานึ กแห่ งคุณธรรมจริ ยธรรมร่ วมของมนุษยชาติ ซึ่ งฮันทิงทันเองมิได้ระบุไว้ชดั เจน แต่มีหลายตอนที่ชูนโยบายดังกล่าวไว้เป็ นทางแก้ปัญหาของมนุษยชาติ เช่น แนะนาให้ชาวตะวันตกแสดงตัวเป็ นชาวตะวันตกจริ ง ๆ ไม่พึงพยายามยัดเยียด หรื อชักชวนให้เชื่ อว่าวัฒนธรรมตะวันตกเป็ นวัฒนธรรมสากล เพราะจะทาให้เกิดการ ต่อต้าน และความขัดแย้งจนถึงสงครามได้ “สงครามโลกระหว่างอารยธรรมเป็ นสิ่ งที่ หลีกเลี่ยงได้ หากผูน้ าของโลกยอมรับว่าการเมืองของโลกต้องมีลกั ษณะเป็ นพหุ อารย ธรรม และช่วยกันป้ องกันจุดยืนนี้ไว้”4 หากรั บ นโยบายนี้ ของฮั น ทิ ง ทั น ก็ ห มายความว่ า ฮั น ทิ ง ทั น ขอร้ อ งให้ ผูร้ ับผิดชอบการอบรมคุณภาพชี วิตของมนุ ษย์ รวมทั้งนักการศาสนาของทุกศาสนาที่มี 3 4
Francis Fukiyama, The End of History, p. 4 Ibid.,p. 21.
10
หน้าที่อบรมสั่งสอนธรรมะแก่สมาชิกของศาสนาทุกคน จะต้องตระหนักรู ้ให้ชดั เจนว่า ตนมีหน้าที่อบรมคุณธรรมจริ ยธรรมแบบใด ก็ให้มุ่งอบรมสั่งสอนให้ดีที่สุดในทิศทาง ของตน ไม่ตอ้ งดูแคลนฝ่ ายอื่น คือต้องไม่สอนให้เหลื่อมล้ ากันและต้องไม่โจมตีกนั เพื่อ ป้ องกันมิให้เกิดความกระทบกระทัง่ ต่อกัน ครั้นฮันทิงทันได้สาธยายทุกแง่ทุกมุมเพื่อ สนับสนุนทางแก้ปัญหาของตนอย่างละเอียดและยืดยาวพอสมควรแล้ว ในที่สุดก็อดสรุ ป ด้วยความเป็ นห่ วงไม่ได้ว่า หากได้จดั ระเบียบโลกใหม่ (The World New Order) ตามคติ พหุอารยธรรมกันอย่างดีแล้วก็เชื่อได้วา่ “สงครามโลกระหว่างขั้วอารยธรรมใหญ่ ๆ ของ โลกไม่น่าอย่างยิง่ ที่จะเกิดขึ้นได้ (highly improbable) แต่ กไ็ ม่ ใช่ ว่าจะเป็ นไปไม่ ได้ (but not impossible)”5 แน่นอนข้อแม้หรื อข้อยกเว้นที่เปิ ดเผยในวรรคสุ ดท้ายนี้ แม้แต่จะมีแค่ เสี้ ยวของเปอร์เซ็นต์กไ็ ม่น่าจะมองข้าม นักปรัชญาจึงพยายามคิดค้นทางแก้ปัญหาที่สร้าง ความมัน่ ใจได้มากกว่านั้น
วิจักษ์ กติกา 5 ข้ อของฮันทิงทัน ในฐานะนักปรัชญาหลังนวยุคสายกลาง ผูว้ ิจยั เห็นด้วยกับฮันทิงทันเฉพาะใน ส่ วนที่เห็นปั ญหาว่า มนุ ษยชาติอยู่ในอันตรายของสงครามโลกและสงครามท้องที่เกิด จากความขัดแย้งต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความขัดแย้งทางอารยธรรมซึ่ งรวมถึงความ ขัดแย้งทางศรัทธา ศาสนาและอุดมคติทางการเมืองการปกครอง แต่ไม่อาจเห็นด้วยกับ ทางแก้ปัญหาด้วยกติกา 5 ข้อของระเบียบสังคมใหม่ ซึ่ งหมายถึงว่าจะต้องช่วยกันอบรม พลโลกให้มีคุณภาพตามมาตรฐานของกติกา 5 ข้อ ซึ่งเป็ นยูโทเปี ย มีอุปสรรคมากมายจน ไม่สามารถเอาชนะได้หมด เริ่ มตั้งแต่ 1. การระดมปั ญญาชนให้มาเห็นด้วยและมีศรัทธา ต่อกติกา 5 ข้อเพื่อเป็ นวิทยากร 2. ระดมงบประมาณเป็ นค่าใช้จ่ายสาหรับวิทยากรให้ 5
Ibid.,p.312
11
ทางานได้ทวั่ ถึง 3. แม้ทาได้สาเร็ จตามข้อ 1 และข้อ 2 ข้างต้นแล้ว ก็ยงั ไม่มีอะไรค้ า ประกันได้ว่าจะไม่มีความขัดแย้งเกิดขึ้น และวิธีการแก้ความขัดแย้งของฮันทิงทันคือ อาศัยน้ าใจดีของชาติผนู ้ ากลุ่มอารยธรรมซึ่ งเปราะบางมาก กติกาทั้ง 5 ข้อจึงเหมือนกับ แขวนอยูก่ บั เส้นด้าย เปอร์เซ็นต์แห่งความล้มเหลวค่อนข้างสู ง ตัวฮันทิงทันเองก็ได้แสดง ความลัง เลใจไว้ใ นตอนท้า ยของหนัง สื อ ซึ่ งจะอ้า งไว้ใ นหัว ข้อ ถัด จากนี้ ซึ่ งผิ ด กับ ความรู ้สึกในตอนต้นที่เขียนด้วยความรู ้สึกกระตือรื อร้นมาก ว่า เมื่ อฤดู ร้อน ค.ศ.1993 นิ ตยสาร Foreign Affairs ได้พิม พ์ บทความของข้าพเจ้า ชื่ อ The Clash of Civilization? คณะ บรรณาธิ การของนิ ตยสารฉบับนั้นแถลงว่า ได้ปลุกให้มีการอภิปราย กันมากมายภายในช่วง 3 ปี ยิง่ กว่าบทความใด ๆ ที่ นิ ตยสารนี้ ได้เคย ตี พิ ม พ์ม าตั้ง แต่ ค.ศ.1940 แน่ น อนว่ า มี ก ารอภิ ป รายปั ญ หาจาก บทความนี้ของข้าพเจ้าภายใน 3 ปี มากกว่าบทความใด ๆ ที่ขา้ พเจ้าเคย เขียนมา มีท้ งั การขานรับและบทวิจารณ์จากทุกทวีปเป็ นจานวนหลาย สิ บประเทศ ผูอ้ ่านมีปฏิกิริยาต่าง ๆ กัน ที่ขอ้ งใจก็มี ที่เคืองแค้นก็มี ที่ ตื่นตระหนกก็มี ที่สับสนกับ ข้ออ้างต่าง ๆ ที่ขา้ พเจ้ายกมาก็มี ที่อา้ งว่า มีอนั ตรายร้ ายแรงที่สุดรวมศูนย์อยู่ที่ การเมืองระดับโลกที่กาลังเผย โฉมให้เห็น อันเป็ นผลจากความขัดแย้งกัน ระหว่ า งกลุ่ ม ที่ แ ตกต่ า ง กัน ทางอารยธรรม จะอย่ า งไรก็ ต าม สิ่ ง หนึ่ ง เกิ ด ขึ้ น ก็คื อ มัน ตรึ ง ประสาท (struck the nerve) เนื่องจากสังเกตได้วา่ บทความนั้นได้สร้าง ความสนใจ รวมทั้งความเข้าใจผิด และข้อถกเถียงกันมากมาย ข้าพเจ้า จึงใคร่ จะได้ขยายความในประเด็นที่ เป็ นปั ญหาถกเถียงกันอยู่.... มี ประเด็นสาคัญที่ บทความไม่ ได้กล่ าวถึง ข้าพเจ้าจึงถื อโอกาสนามา เสริ มไว้เป็ นชื่อเสริ มของหนังสื อ (คือการสร้างระเบียบโลกใหม่) และ
12
สรุ ปไว้เป็ นประโยคสุ ดท้ายของหนังสื อคือ “การปะทะของอารยธรรม เป็ นประเด็ น คุ ก คามที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ต่ อ สั น ติ ภ าพ และระเบี ย บการ นานาชาติ บนฐานของอารยธรรมเป็ นทางป้ องกันที่ แน่นอนที่สุดมิให้ สงครามโลกเกิดขึ้น”6 คารับรองของฮันทิงทันรู ้สึกว่าหนักแน่ นมาก แสดงถึงความมัน่ ใจในวิธีการ ของตนว่าจะนาพาโลกให้พน้ จากวิกฤติของสงครามล้างโลกได้อย่างมีประสิ ทธิ ผลที่สุด ซึ่ งวิธีการดังกล่าวนี้ ฮนั ทิงทันได้จาระไนใน 4 หน้าสุ ดท้ายของหนังสื อภายใต้หัวข้อ “สมบัติร่วมของอารยธรรม”7
สมบัติร่วมของอารยธรรม หัวข้อนี้ ค่อนข้างเข้าใจยากและอาจตีความได้หลายหลาก ทาให้สันนิ ษฐานได้ ว่า คงเป็ นความคิดใหม่ที่เกิดขึ้นหลังจากได้ขยายความประเด็นต่าง ๆ เพื่อพิสูจน์ทฤษฎี แก้ปัญ หาความขัด แย้ง การเมื อ งระดับโลกที่ ค าดว่ า จะเกิ ด ขึ้ น หลัง สงครามเย็น เป็ น ความคิดใหม่ ไม่มีเวลานานพอให้ความคิดสุ กจนตัวเองเข้าใจชัดเจน แต่กเ็ ห็นว่าจาเป็ น จะต้องเขียนเสริ มทฤษฎีเดิม คือ ทฤษฎีพหุ อารยธรรมที่คุมกันอย่างดีดว้ ยกฎการไม่กา้ ว ก่ายกัน (abstention rule) กับกฎการเจรจากัน (joint mediation rule)8 ซึ่ งเมื่อถามถึงความ จริ งใจของผูน้ าแต่ละอารยธรรมแล้ว ก็รู้สึกเป็ นจุดอ่อนสาคัญที่สุดเพราะความจริ งใจเป็ น เรื่ องของคุณธรรมประจาใจ บังคับกันไม่ได้ ทดสอบกันก็ยาก ก็คงสันนิษฐานไว้ไม่ยาก ว่า เพื่อไม่ให้งานที่ตนมุ่งหน้าเขียนขึ้นมาอย่างเร่ งรี บเป็ นเนื้อหาสามร้อยกว่าหน้าเต็มไป
6
Ibid, p. 13. Ibid., p. 318-21. 8 ดู Ibid.,p.316. 7
13
ด้วยข้อมูลอ้างอิงมากมายใช้เวลา 3 ปี มาแล้วนั้น ต้องล้มเหลว จาเป็ นต้องหาอะไรมาเสริ ม จุดอ่อนดังกล่าว จึงได้เขียนเติมต่อท้ายบทสรุ ปและจบลงแค่น้ นั ความคิดที่ตอ้ งการเน้นก็คือคุณสมบัติร่วม (commonality) ในส่ วนที่แล้ว ๆ มา ฮันทิงทันเน้นความต่างเป็ นคุณสมบัติของอารยธรรมต่าง ๆ เพื่อเตือนสติชาวตะวันตกให้ เคารพความต่างของอารยธรรมอื่น ๆ การเน้นความต่างเช่นนั้นย่อมหลีกไม่พน้ ที่จะต้อง แก้ปัญหาความขัดแย้ง ซึ่ งตามทฤษฎีพหุ อารยธรรมจะต้องพึ่งความเชื่อใจกันในลักษณะ ถ้อยทีถอ้ ยอาศัยกัน โดยหวังว่าเขาจะต้องช่ วยเราเพราะถึงทีเรา เราก็จะช่ วยเขาแน่ นอน ที่สุดก็ตอ้ งนึกได้ว่าหากสันติภาพของโลกและถ้าการเลี่ยงสงครามโลกต้องพึ่งความหวัง อันเลื่อนลอยอย่างนี้กค็ งไม่น่าจะสบายใจนัก ในทฤษฎีสมบัติร่วมนี้ ฮันทิงทันนึกได้ว่าในความแตกต่างของอารยธรรมยังมี ความเหมือนร่ วมระหว่างอารยธรรมและแม้ท่ามกลางนานาอารยธรรมก็ยอ่ มมีจุดร่ วมกัน อยูบ่ า้ งจนได้ หากส่ งเสริ มให้ทุกอารยธรรมร่ วมใจกันศึกษาเพื่อแสวงหาจุดร่ วมสงวนจุด ต่างได้ จุดร่ วมที่สงวนกันไว้น้ นั แหละย่อมเป็ นตัวค้ าประกันการแก้ปัญหาความขัดแย้ง ได้ดี ที่ สุ ด เพื่ อ บรรลุ เ ป้ าหมายดัง กล่ า วฮัน ทิ ง ทัน ยกฐานะสงวนจุ ด ต่ า งขึ้ นสู่ ร ะดับ จริ ยธรรม (morality) และแถลงว่า “วัฒนธรรมเป็ นเรื่ องสัม พัทธ์ ส่ ว นจริ ย ธรรมอ สัมพัทธ์”9 และเมื่อตั้งใจเรี ยกสมบัติร่วมนั้นว่าจริ ยธรรมก็หมายความว่าจาเป็ นต้องมีการ อบรมกันอย่างสม่าเสมอ จะเพียงแต่สอนกันให้รู้และเข้าใจครั้งเดี ยวตลอดชี พเหมือน ส่ วนที่เป็ นวัฒนธรรมนั้นไม่ได้ (วัฒนธรรมในความหมายของฮันทิงทันก็คือ ส่ วนหนึ่ ง ของอารยธรรมนัน่ เอง)
9
Ibid.,p.318.
14
ทางปฏิบตั ิสู่ ความสาเร็ จของการรักษาสันติภาพโลกก็คือ “ประชาชนของทุก อารยธรรมพึงวิจยั ค้นคว้าและพยายามขยายการรับรู ้คุณค่า สถาบัน และการปฏิบตั ิที่พวก เขามีร่วมกับประชาชนทั้งหลายของอารยธรรมอื่น ๆ”10 คุณค่ารวมนี้เรี ยกได้วา่ องค์อารยธรรม (Civilization ใช้อกั ษรตัวใหญ่นาและใน รู ปเอกพจน์เท่านั้น) ซึ่ งหาได้จากความรู ้และเข้าใจร่ วมกันในระดับสู งของวิชาจริ ยธรรม ศาสนา อักษรศาสตร์ ศิลปะ ปรัชญา เทคโนโลยี และการมีชีวติ ที่ดี”11 งานวิจยั นี้ต้ งั ใจแสวงหาพลังร่ วมในธรรมชาติของมนุษย์ที่กระตุ้นให้ คนอยากทา ดี ใช้ได้ในการปลุกจิตสานึ กของคนหลับใหลในทุกศาสนาให้อยากตื่นและลุ กขึ้นทา ความดีในศาสนาของตน ทั้งยังสามารถปลุกจิตสานึกของผูอ้ า้ งว่าไม่นบั ถือศาสนาใดเลย ก็ได้ดว้ ย ให้ทุกคนลุกขึ้นอยากทาดีเพราะมีความสุ ขกับการทาดี ต่อจากนั้นเขาอาจจะนึก ชอบ (ปิ๊ ง) ศาสนาใดศาสนาหนึ่ งก็ได้ที่เขาเองเห็นว่า น่ าจะส่ งเสริ มให้เขามีความพอใจ กับตัวเขาเองมากขึ้น เขาจะมีความสุ ขมากขึ้นด้วยหรื อไม่ตอ้ งยกให้เป็ นเรื่ องส่ วนตัวของ เขากับศาสนาที่เขาเลือกนับถือ แนวคิดของฮันทิงทันกับปัญหาคุณธรรมของสั งคมไทย อนุ สนธิ จากคาปรารภของท่านจักรธรรม ธรรมศักดิ์ ประธานอนุ กรรมาธิ การ ศีลธรรม คุณธรรม จริ ยธรรมของวุฒิสภาว่า “ขณะนี้ทุกคนพูดเป็ นเสี ยงเดียวกันว่า ชาติ ของเรากาลังอยู่ในระยะศีลธรรมเสื่ อมสุ ด ๆ จะทาอย่างไรให้ศีลธรรมกลับคืนมาได้ เรา ใช้กนั หลายวิธีแล้ว ยังไม่พบวิธีที่น่าพอใจ” ผูว้ จิ ยั ในฐานะผูส้ อนปรัชญาจึงเสนอทางออก ตามวิสัยทรรศน์ของนักปรั ชญาทัว่ โลกว่ามี ทางเป็ นไปได้หากได้ดาเนิ นการกันอย่าง จริ งจังตามทฤษฎีกระบวนทรรศน์ 10 11
Ibid., p. 320. Ibid., p. 320.
15
กระบวนทรรศน์ คือแนวคิดของปั ญญาซึ่ งไม่ยอมจานนต่อปั ญหาเหมือนสิ่ งไร้ ปั ญ ญา ครั้ งใดที่ มี ปั ญ หาซึ่ งดู เ หมื อ นจะแก้ไ ม่ ต กด้ ว ยกระบวนทรรศน์ เ ดิ ม ก็ จ ะ ปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ให้สามารถแก้ปัญหาและเริ่ มประวัติศาสตร์ หน้าใหม่ เรารู ้ จากหลักฐานประวัติศาสตร์ว่ามนุ ษย์ได้ปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์มาแล้ว 3 ครั้ง หาก จะปรับเปลี่ยนอีกคร้งหนึ่งเป็ นครั้งที่ 4 เพื่อแก้ปัญหาที่ดูเหมือนจะสิ้ นหวังให้ตกไป ก็ไม่ น่าจะแปลกอะไร และเราก็จะได้เริ่ มหน้าประวัติศาสตร์ใหม่ในศตวรรษที่ ที่ 21 นี้ การปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ครั้ งแรกเกิดขึ้ นเมื่อมนุ ษย์ดึกดาบรรพ์รู้สึกว่า กระบวนทรรศน์แบบดึกดาบรรพ์ (หวังพึ่งเบื้องบนแก้ปัญหาทุกอย่าง) ไม่พอแก้ปัญหา เพราะผูค้ นมี ม ากจนต้อ งรวมกลุ่ ม กัน อยู่เ ป็ นสั ง คมที่ นับ วัน แต่ จ ะใหญ่ ข้ ึ น พวกเขา จาเป็ นต้องพึ่งตัวเองที่รวมตัวกันเป็ นสังคม จาเป็ นต้องใช้กฎเกณฑ์เป็ นหลักและให้เบื้อง บนช่วยเสริ มกาลังเท่านั้น ที่ใดปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ได้สาเร็ จก็สามารถรวมตัวกัน เป็ นนครรัฐทรงอานาจและอิทธิพลได้ แต่ต่อมาก็สาเร็จเกินตัวจนเดือดร้อนกันทัว่ หน้า การปรั บ เปลี่ ย นกระบวนทรรศน์ครั้ งที่ 2 เกิ ด ขึ้ น เมื่ อมนุ ษ ย์โ บราณสร้ างมหา อาณาจักร โดยมีจกั รพรรดิที่หลงใหลในอานาจพยายามธารงอานาจและขยายอานาจโดย ใช้อานาจบังคับผูค้ นเสี ยสละทุก ๆ อย่าง รวมทั้งฆ่ าฟั นทุกคนที่อยากจะฆ่ าและริ บทุก อย่างที่อยากจะริ บ ครั้นมีศาสดาประกาศว่าเป้ าหมายถาวรของมนุษย์อยูท่ ี่โลกหน้า หาก ได้ปฏิ บตั ิ ตามกฎของโลกหน้าหรื อ ธรรมะก็จะบรรลุ ถึง ผูค้ นก็พากันเลื่ อมใสเพื่อให้ ธรรมะหรื อกฎเกณฑ์ เพื่อโลกหน้า ช่ วยคุ ม้ ครองทุเลาการกดขี่จากผูม้ ีอานาจลงมาบ้าง ผูค้ นพอใจกับวิถีชีวิตแห่ งกระบวนทรรศน์ยุคกลาง เพราะอ้างธรรรมะหรื อคาสอนของ ศาสดาเพื่อคลายความเดือนร้อนลงได้มาก แต่ต่อมาก็เดือนร้อนอีก เพราะมีผฉู ้ ลาดรู ้จกั จูง ใจให้คนไปรบในนามของศาสนา อันเป็ นวิธีก่อสงครามศาสนาครั้งใหญ่ ๆ ในยุโรป การปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ครั้งที่ 3 เกิดขึ้นเมื่อนิ วตันเสนอวิธีวิทยาศาสตร์ อย่างน่าเชื่อว่า จะแก้ปัญหาความทุกข์ในโลกนี้ได้โดยไม่จาเป็ นต้องพึ่งศาสนาเพียงอย่าง
16
เดียวและไม่ตอ้ งพ้นทุกข์ดว้ ยวิธีเสี่ ยงตายเพื่อศาสนาก็ได้ ผูค้ นพอใจกับกระบวนทรรศน์ ใหม่น้ ีเรื่ อยมาจนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 กระบวนทรรศน์ที่น่าจะปลดทุกข็กลับเพิ่มทุกข์ ให้หนักกว่าเดิม การปรับเปลี่นยกระบวนทรรศน์ครั้งที่ 4 ล่าสุ ด เกิดขึ้นเมื่อสิ้ นสงครามโลก 2 ครั้ง ที่ น าการสู ญเสี ย ทุ ก อย่า งมาสู่ ม นุ ษ ยชาติ ในขณะเดี ย วกัน สงครามทาให้เ ทคโนโลยี ก้า วหน้า ไปมาก โดยต่ า งฝ่ ายต่ า งคิ ด ค้น หาอาวุธ ให้ร้ า ยแรงกว่า กัน ได้ หลัง สงคราม เทคโนโลยีเหล่านั้นกลายเป็ นประโยชน์ต่อการผลิตสิ นค้าและการโฆษณาสิ นค้าจนทาให้ ผูบ้ ริ โภคสิ นค้าอยูใ่ นโลกแห่ งความเกินจริ ง (hyperreality) ผูค้ นก้มหน้าแข่งขันกันเพิ่ม จานวนเงิ นในธนาคารเพื่อค้ า ประกันโลกแห่ งความเป็ นเกิ นจริ งไว้กบั ตนจนตาย ใน สถานการณ์เช่นนี้ คนเราย่อมจะเคลิบเคลิ้มอยู่ในโลกเกินจริ ง และลืมหรื อมองข้ามโลก แห่งความเป็ นจริ งเสี ยสิ้ น เขาเพลิดเพลินอยูก่ บั ความสุ ขตามสัญชาตญาณแห่ งวัตถุ (อยาก อยู่เฉย ๆ ไม่ตอ้ งรับผิดชอบอะไรทั้งสิ้ น) ความสุ ขตามสัญชาตญาณแห่ งพืช (เอาเปรี ยบ ทุกคนและทุกอย่างอย่างไร้ยางอาย) ความสุ ขตามสัญชาตญาณอารักขายีน (ดูแลเผ่าพันธุ์ ของตนเท่านั้น) พวกริ เริ่ มปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ครั้งล่าสุ ดนี้รุ่นแรกเป็ นพวกสุ ดขั้ว ไม่สนใจระเบียบแบบแผนเดิมแต่ประการใดทั้งสิ้ น พวกเขาหลุดออกจากโลกแห่ งความ เป็ นจริ ง อยากจะทาอะไรก็ทาด้วยความสะใจ มันเป็ นผลจากโลกาภิวตั น์ มีนกั เขียนที่จบั ประเด็นได้และเขียนออกมาเป็ นทฤษฎีเรี ยกว่า ความคิดหลังนวยุค (สุ ดขั้ว) พวกเขาเป็ น ผูท้ าให้กาแพงเบอร์ ลินทะลุ ทาให้ม่านเหล็กเปิ ดและม่านไม้ไผ่แง้ม จากการสารภาพ ความในใจ พวกเขามิได้มีความสุ ขแท้ตามความเป็ นจริ ง พวกเขาหงุดหงิดสับสน ต้องทา อะไรแปลก ๆ เพื่อความสะใจอยูร่ ่ าไป กลายเป็ นปัญหาสังคมแบบใหม่ในยุคโลกาภิวตั น์ ที่ฮนั ทิงทันกล่าวถึงการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ก็คงจะหมายถึงพวกนี้ ซึ่ ง ฮันทิงทันหวังว่าจะเป็ นพวกระงับสงครามแบ่งขั้ว เพราะพวกนี้ไม่สนใจการแบ่งขั้ว พวก เขาต้อ งการอยู่ใ นโลกที่ ไ ม่ มี ก ารแบ่ ง เขตด้ว ยประการใด ฮัน ทิ ง ทัน มิ ไ ด้คิ ด ถึ ง เรื่ อ ง
17
ศี ล ธรรมเสื่ อ ม นัก ปรั ช ญาและนัก การศึ ก ษาที่ ทดลองให้ก ารศึ ก ษาตามรู ปแบบของ กระบวนทรรศน์ใหม่สุดขั้วมาแล้ว จึงรู ้วา่ ทาให้คุณภาพของสังคมแย่ลงไปอีก แต่กไ็ ม่คิด ว่าควรกลับไปสู่ กระบวนทรรศน์ก่อนหน้าที่ผ่านมาแล้ว เพราะรู ้อยูแ่ ก่ใจแล้วว่าล้าสมัย ใช้ไม่ได้กบั สังคมโลกาภิวตั น์ จึงใช้วธิ ีพบกันครึ่ งทาง การอบรมบ่มนิสัยที่กาลังทดลองทากันอยูอ่ ย่างหวังผลยังไม่มีสูตรสาเร็ จรู ป คงมี แต่ เ ป้ าหมายร่ ว มกัน อยู่ว่า ทาอย่า งไรให้ม นุ ษ ย์ใ นยุค โลกาภิ ว ตั น์ สนใจท าดี อ ย่า งมี ความสุ ข แท้ต ามความเป็ นจริ ง แห่ ง ธรรมชาติ ข องมนุ ษ ย์ (Authentic
Happiness
According to Reality or AHAR) ใครมีปัญญาคิดก็ให้คิดออกมาเองตามความเหมาะสม ของแต่ ล ะบริ บ ท งานวิ จ ัย นี้ จึ ง เป็ นการเสนอโครงสร้ า งหนึ่ ง ที่ ห วัง ว่ า จะใช้ไ ด้ดี ใ น บรรยากาศของประเทศไทย ขณะเดี ยวกันก็ช้ ี แนะให้ผูม้ ีปัญญาคิดช่ วยกันคิดต่อไปได้ เรื่ อยๆ ขอให้บรรลุเป้ าหมายที่วางไว้กน็ บั ว่าใช้ได้ งานวิจยั ครั้งนี้สรุ ปโครงสร้างที่หวังว่าจะนาไปใช้อบรมอย่างได้ผลตามเป้ าหมาย โดยเน้นการจัดประกายใน 6 ประเด็น 1. เริ่ ม จากเน้น ให้ศึก ษาธรรมชาติ ข องมนุ ษ ย์ซ่ ึ งมี เหมื อ นกันทุ กคน อัน ได้แ ก่ สัญชาตญาณ (instinct, life power) 4 ระดับ ให้เลือกสัญชาตญาณระดับปั ญญามาปฏิ บตั ิ เพื่อความสุ ขแท้ตามความเป็ นจริ ง สัญชาตญาณ 4 ระดับของมนุษย์ได้แก่ 1. สัญชาตญาณเฉื่อยเหมือนก้อนวัตถุ 2. สัญชาตญาณโลภเหมือนพืช 3. สัญชาตญาณอารักขายีนเหมือนเดรัจฉาน 4. สัญชาตญาณปัญญาเหมือนเทพ 2. เน้น ให้ รู้ ค วามเป็ นจริ ง ของสั ญ ชาตญาณปั ญ ญาว่ า พัฒ นามาตามล าดับ 5 กระบวนทรรศน์ (Paradigm) เลือกกระบวนทรรศน์สุดท้ายคือ ลัทธิ หลังนวยุคสายกลาง
18
คื อไม่ ยึดมัน่ ถื อมัน่ มี หลักยึดเหนี่ ยวแต่ ไม่ ยึดติ ด ซึ่ งเป็ นการพัฒนาขั้น สุ ดท้ายของ กระบวนทรรศน์ของมนุษยชาติมาถึงขณะนี้ กระบวนทรรศน์ 5 ของมนุษยชาติได้แก่ 1. กระบวนทรรศน์ดึกดาบรรพ์ : ทาตามน้ าพระทัยของเบื้องบน 2. กระบวนทรรศน์โบราณ : ทาตามกฎของเจ้าสานัก 3. กระบวนทรรศน์ยคุ กลาง : ทาตามบัญญัติของศาสดา 4. กระบวนทรรศน์นวยุค : ทาตามระบบเครื อข่ายสากลของความรู ้ 5. กระบวนทรรศน์หลังนวยุคสายกลาง (Moderate Postmodernism) : แต่ ละคนมีระบบเครื อข่ายของตนเองเพื่อ : 1) เก็บสิ่ งสนใจเข้าระบบเครื อข่ายส่ วนตัว 2) เพื่อจา 3) เพื่ออธิบายได้น่าฟัง 4) เพื่อเก็บความรู ้ใหม่อย่างน่าสนใจเพื่อจาได้นานๆ 3. หลักยึดเหนี่ยวแต่ไม่ยดึ ติด (Detachment)ได้แก่การพัฒนาคุณภาพชีวติ อลีนะ
อนาลีนะ
การยึดมัน่ ถือมัน่
การไม่ยดึ มัน่ ถือมัน่
แบ่งพวก
แบ่งกลุ่ม
แข่งขัน
ช่วยกัน
ไม่ไว้ใจกัน
เชื่อใจกัน
ทาลายกัน
ส่ งเสริ มกัน
วิวาทะ
สันติภาพ
4. มีความสุ ขแท้ (AHAR) กับการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Enhancing the quality of life) เพราะเดินตามความเป็ นจริ งแห่งธรรมชาติของมนุษย์ 5. พัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยการดูแล (Caring) ตนเองและสรรพสิ่ งให้มีความสุ ข ตามความเป็ นจริ งของแต่ละสิ่ ง จงทาด้วยความสุ ขแท้ตามความเป็ นจริ ง
19
6. การดู แ ลแสดงออกด้ว ยการสร้ า งสรรค์ (Creativity) ปรั บ ตัว (Adaptivity) แสวงหา (Requisitivity) และร่ วมมือ (Collaborativity) จงทาทุกขั้นตอนด้วยความสุ ขแท้ ตามความเป็ นจริ ง ขอบเขตของการวิจัย ทาอย่างไรให้มี ค วามสุ ข แท้ตามความเป็ นจริ ง แห่ งชี วิตในการทาดี ต ามสาขา วิชาชีพของแต่ละคน วิจัยธรรมชาติมนุษย์ ด้วยวิถึทางปรัชญาเพือ่ แก้ปัญหา ในช่ วงหัวเลี้ยวหัวต่อจของการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์แต่ละครั้ง จะมีคน จานวนหนึ่งที่เกิดมาพร้อมกับกระบวนทรรศน์ใหม่ คนจานวนนี้จะกระจายตัวกันเกิดใน สั ง คมต่ า งๆทั่ว โลกที่ รู้ สึ ก ว่า มี ปั ญ หาทางตัน กับ การใช้ก ระบวนทรรศน์ เ ก่ า จ านวน เปอร์เซ็นต์อาจจะต่าในช่วงแรก ๆ แต่จะค่อย ๆ สู งขึ้นเรื่ อย ๆ จนกลายเป็ นเรื่ องปกติ คน พวกนี้ ได้ฟังนิดเดียวจะเข้าใจทะลุปรุ โปร่ งและพร้อมจะเป็ นแนวร่ วมให้ความช่วยเหลือ เป็ นแกนนา พวกเขาจะเป็ นผูน้ าอบรมคนอื่นในท้องถิ่นของเขาต่อไป มีอีกจานวนหนึ่งที่ ไม่มีกระบวนทรรศน์ใหม่ล่วงหน้า แต่มีความพร้อมที่จะเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ พวกนี้ จะสนใจฟังจนเข้าใจแล้วจะอยากเป็ นแกนนาเพื่อสื บสานต่อ บางคนต้องฟั งหลาย ๆ ครั้ง จึงซาบซึ้งและยินดีร่วมมือ อีกจานวนหนึ่ งเข้าใจแล้วก็เห็นดีเห็นชอบ ไม่สนใจช่วย แต่ก็ ไม่ขดั ขวาง จานวนหนึ่งปักจิตปักใจกับกระบวนทรรศน์เดิม ยิง่ ฟังยิง่ ต่อต้าน งานของเราจึงควรมุ่งหาแนวร่ วมและเริ่ มทางานกับแนวร่ วม โดยไม่ตอ้ งกังวลกับ ผูไ้ ม่เห็นด้วย
20
ประยุกต์ สู่ การอบรม เมื่อมีแนวร่ วมและแกนนาแล้ว ต้องดูแลให้ทุกคนมีบทบาท ซึ่ งอาจจะฝึ กให้เป็ น วิทยากรระดับต่าง ๆ ตามความรู ้ความสามารถ หรื อเป็ นแนวร่ วมสนับสนุนด้วยกาย วาจา ใจ หรื ออาจจะเป็ นนักวิชาการช่ วยวิจยั ขยายเนื้ อหาทั้งด้านปรัชญา จิตวิทยา และสังคม วิทยา ทาอุปกรณ์การสอน ทาการประชาสัมพันธ์ ฯลฯ ขยายผลสู่ การสร้ างเครือข่ าย พยายามขอความร่ วมมือจากฝ่ ายรัฐบาล สถาบันศึกษา องค์การศาสนา องค์การ เอกชน เพื่อรั บเป็ นเจ้าภาพดาเนิ นการให้กว้างขวางออกไปจนครอบคลุมทัว่ ประเทศ เหมือน Character Education Movement ในสหรัฐอเมริ กา สรุปงานวิจัย นโยบายของเรากลับตาลปั ตรกับนโยบายของศาสนา คือศาสนามุ่งสอนคนให้มี ศรัทธาต่อศาสนาเพื่อเป็ นคนดี ส่ วนวิธีของเรามุ่งแนะนาวิธีเป็ นคนดีอย่างมีความสุ ขก่อน เข้าถึงศาสนา วิธีอบรมของเราจึงใช้ได้ดีสาหรับทุกศาสนาและกับผูย้ งั ไม่นบั ถือศาสนา ไม่วา่ จะนับถือศาสนาใดอยูก่ ่อนหรื อไม่ เมื่อผ่านการอบรมแบบของเราแล้ว ก็จะ ต่อยอดได้ทุกศาสนา หรื อถ้ายังไม่พร้อมจะสนใจศาสนาใด เราก็ไม่ว่า ปล่อยให้เขามี ความสุ ขกับการทาดี แบบของเขาไป จนกว่าจะอยากนับถือศาสนาใดขึ้นมาด้วยความ สนใจส่ วนตัว อภิปรายผลสู่ งานวิจัยต่ อไป อาจจะวิ จ ัย ขยายความเชิ ง ปรั ช ญาส าหรั บ แต่ ล ะประเด็น ที่ ย กขึ้ น แถลงไว้ใ น งานวิจยั นี้ ในฐานะงานวิจยั นาร่ อง นอกจากนั้นยังอาจจะวิจยั เชิ งจิตวิทยาหรื อเชิ งสังคม
21
วิทยาสาหรั บแต่ละเรื่ องที่ยกขึ้นอ้างในเชิ งปรัชญา ยังอาจจะวิจยั ออกมาเป็ นบทเรี ยน สาหรับชั้นเรี ยนต่าง ๆ ตั้งแต่ ระดับอนุบาลถึงปริ ญญาเอก บทเรี ยนสาหรับสังคมประเภท ต่าง ๆ และระดับต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็ นชาวบ้าน ข้าราชการการเมือง ข้าราชการประจา และ นักวิชาการสาขาต่าง ๆ ผลจากการทดลองใช้ คณะอนุ กรรมาธิ การศีลธรรม คุ ณธรรม และจริ ยธรรมของวุฒิสภา ได้จดั การ สัมมนาให้ผวู ้ ิจยั เสนอผลงานวิจยั นี้ มีผลู ้ งทะเบียนประมาณ 300 ท่าน การประเมินผล ปรากฏว่า มีผสู ้ นับสนุนให้ดาเนินการร้อยละ 95 อีก ร้อยละ 5 ไม่แน่ใจว่าจะได้ผล มีผู ้ แสดงความจานงเข้าร่ วมโครงการในฐานะศูนย์ยอ่ ยของเครื อข่าย ถึงขณะนี้ 18 ศูนย์ยอ่ ย ทาให้คาดหวังได้วา่ จะเป็ นทางเลือกหนึ่งในการแก้ปัญหาคุณธรรมในสังคมไทยต่อไป
22
บรรณานุกรม ภาษาไทย กีรติ บุญเจือ. จริ ยศาสตร์ ตามหลักวิชาการสากล. กรุ งเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริ มและพัฒนาพลัง แผ่นดินเชิงคุณธรรม, 2551 พิมพ์แจกอันดับที่ 59. ภาษาอังกฤษ Bauman, Zygmund. Postmodern Ethics. Oxford: Blackwell, 1996. Devine, Tony, ed. in chief. Cultivating Heart and Character: Educating for Life’s Most Essential Goals. Chapel Hill, NC: Character Development, 2000. Dickens David. Postmodernism and Social Inquiry. New York: Guilford, 1994. Featherstone, Mike. Consumer Culture and Postmodernism. London: Sage, 1991. Huntington, Samuel P. The Clash of Civilizations and the Remaking of World Order. New York: Simon and Schuster, 1996. Huntington, Samuel P.. The Clash of Civilization. New York: Simon and Schuster, 1996. Kellner, Douglas. Baudrillard : A Critical Reader. Oxford: Blackwell, 1994. Morrow, Raymond A.. Critical Theory and Methodology. London: Sage, 1994. Moscow : International Educational Foundation, 2001. Murphy, Nancey, Anglo-American Postmodernity. Oxford: Westview, 1997. NC : Character Development Publishing, 2000. New York: International Educational Foundation, 2001.
23
Nucci, L.P. Handbook of Moral and Character Education. New York: Routledge, 2008. Russell, William B. Reel Character Education. Charlotte, NC: Information Age, 2010. Salls, Holly Shepard. Character Education: Transforming Values into Virtue. New York: University Press of America, 2006. Scheurich, James J.. Research Method in Postmodernism. London: Sage, 1994. Schwartz, Merle J, ed. Effective Character Education. New York: Me Graw-Hill, 2008. Seuk, Joon Ho, and Bitinas, Bronislav, ed. My Journey in Life: A Student Text Book for Character Education. New York: International Educational Foundation, 2002. Smagorinsky, Peter, and Taxel, Joel. The Discourse of Character Education., New Jersey: Lawrence Erlbaum, 2005. Spring, Joel. Political Agendas for Education. New York: Routledge, 2010. White, Stephen. Political Theory and Postmodernism. Cambridge: Cambridge University Press, 1991.
บทคัดย่ อ ชื่อรายงานการวิจยั
: ปั ญหาและทางแก้ เกี่ยวกับการอบรมคุณธรรมจริยธรรม (รวมศีลธรรม) ในประเทศไทย : จากมุมมองของแซมมวลฮันทิงทัน
ชื่อผู้วิจยั
: ศาสตราจารย์กีรติ บุญเจือ
ปี ที่ทาการวิจยั
: 2555
งานวิจยั นี ้ต้ องการตอบคาถามว่า “ทาอย่างไรคุณธรรมจึงจะกลับมาสู่ปวงชนชาวไทยด้ วย วิธีใหม่ที่ยงั ไม่เคยใช้ ในสังคมไทย เพื่อเสริ มวิธีตา่ งๆที่ใช้ กนั อยู่ในปั จจุบนั ” และพบคาตอบว่ามีวิธี หนึ่งที่น่าจะทดลองใช้ ดู คือวิธีอบรมบ่มนิสยั ให้ แสวงหาความสุขแท้ ตามสัญชาตญาณปั ญญา อัน เป็ นธาตุแท้ แห่งความเป็ นจริ งของมนุษย์ ผู้จุดประกายความคิดแนวนีค้ ือนักรัฐศาสตร์ แซมมวล ฮันทิงทัน ผู้เขียนบทความและขยายเนื ้อหาออกเป็ นหนังสือชื่อ The Clash of Civilizations การอบรมบ่มนิสยั พึงปลุกจิตสานึกในประเด็นต่อไปนี ้คือ อบรมให้ ร้ ู จกั เปรี ยบเทียบว่าการ มีความสุขจากการทาให้ ผ้ อู ื่นมีความสุข เป็ นความสุขที่สุด การสานึกได้ เช่นนี ้เป็ นการใช้ ปัญญา อย่างพื ้นฐานที่สดุ จากข้ อเท็จจริ งว่ามนุษย์ทุกคนต้ องการความสุขแท้ ตามความเป็ นจริ ง ให้ อบรม การฝึ กใช้ ปั ญ ญาต่อ ไปเปรี ย บเที ย บคุณ ภาพของความสุข ระดับ ต่า งๆ ที่ ใ ช้ ปั ญ ญาเกื อ้ หนุน สัญชาตญาณก้ อนหิน สัญชาตญาณพืช สัญชาตญาณอารักขายีน และสัญชาตญาณปั ญญาซึ่งให้ ความสุขที่ลึกซึ ้งมากกว่าระดับอื่นๆ แต่ความลึกซึ ้งก็ยงั มีวิวฒ ั นาการเป็ นขันตอนมากั ้ บการพัฒนา คุณภาพการใช้ ปัญญาซึ่งแบ่งออกได้ เป็ น 5 ระดับ หรื อ กระบวนทรรศน์ เฉพาะกระบวนทรรศน์ไม่ ยึดมัน่ ถือมัน่ เท่านันที ้ ่เอื ้อต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่ทาความสุขแท้ ด้วยการสร้ างสรรค์ ปรับตัว ร่วมมือและแสวงหาได้ อย่างเสรี เพราะไม่มีเงื่อนไขจากการยึดมัน่ ถือมัน่ ซึ่งจากัดความสุขไม่มากก็ น้ อย เมื่ อปลุก จิ ต ส านึก ให้ ตื่น และเริ่ ม รู้ สึกมี ความสุข และสนุก กับ การท าดี แล้ ว จ าเป็ นต้ อ ง ทะนุบารุ งให้ ยงั่ ยืนต่อไป ซึ่งเรี ยกว่าปลู กจิตสานึกด้ วยการอบรมบ่มนิสัย ซึ่งผู้วิจัยเสนอให้ ทาใน ลักษณะเครื อข่ายที่มีผ้ รู ับผิดชอบให้ ดแู ลกันและพัฒนาการอบรมบ่มนิสยั กันอย่างไม่หยุดยัง้ ทังนี ้ ้ จึงต้ องมีบางคนในเครื อข่ายทาการวิจยั หาคาอธิบายใหม่ ๆ มาเสริมการปลูกจิตสานึกอยู่เสมอ เช่น
กลไกมโนธรรม คุณธรรมแม่บท 4 สังคมอารยะ การดูแล การสร้ างสรรค์ การปรับตัว การร่วมมือ การแสวงหา เป็ นต้ น อีกด้ านหนึ่งก็คือ วิจยั วิธีใช้ ความรู้ใหม่ ๆ ที่วิจยั ได้ อย่างมีประสิทธิผลทังด้ ้ าน จิตวิทยา สังคมวิทยา และประวัตศิ าสตร์
สารบัญ เรื่ อง
หน้ า
กิตติกรรมประกาศ
(1)
บทคัดย่อภาษาไทย
(2)
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ
(4)
สารบัญ
(6)
บทที่ 1 ความสาคัญของฮันทิงทัน
1
1.1 ความนา
1
1.2 ฮันทิงทันกับการอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนใหม่
3
1.3 ทฤษฎีพหุอารยธรรมของฮันทิงทัน
4
1.4 วิจกั ษ์กติกา 5 ข้ อของฮันทิงทัน
7
1.5 สมบัตริ ่วมของอายธรรม
8
1.6 สรุป
10
บทที่ 2 ฮันทิงทันกับการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์
11
2.1 นักคิดรุ่นใหม่ที่สืบทอดความหวังของฮันทิงทันพบว่า
13
2.2 สังคมอารยะของนักหลังนวยุค
15
2.3 อบรมคุณธรรมจริยธรรมอย่างไรให้ ลดั และประหยัด
16
2.3.1 นิยามเบื ้องต้ นที่ต้องเข้ าใจให้ ตรงกัน
17
2.3.2 การอบรมสร้ างจิตสานึกดี – ชัว่
17
2.3.3 จัดระเบียบสังคมด้ วยธรรมาภิบาล
20
2.3.4 วิเคราะห์ 5 ระดับปมคุณธรรม
21
2.3.5 ต้ องหาเทคนิคสาหรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์สกู่ ระบวนทรรศน์ สุดท้ าย 2.3.6 ทางจัดอบรมให้ มีคณ ุ ธรรมดีพร้ อม
25 25
สารบัญ เรื่ อง
หน้ า 2.4 วิวฒ ั นาการของมาตรการความยุตธิ รรม
27
2.4.1 ความยุตธิ รรมคือการแก้ แค้ น
27
2.4.2 ความยุตธิ รรมคือการตอบโต้
28
2.4.3 ความยุตธิ รรมคือการชดใช้
28
2.4.4 ความยุตธิ รรมคือการให้ โอกาสป้องกันตัว
28
2.4.5 ความยุตธิ รรมคือการเสวนา
29
2.5 ผลที่คาดว่าจะได้ รับจากการอบรมบ่มนิสยั
30
2.6 บทบาทของคณะทางาน
31
2.7 คติพจน์ของเรา
32
บทที่ 3 กระบวนการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ของมนุษยชาติ
33
3.1 กระบวนทรรศน์กบั การอบรมคุณธรรม
34
3.1.1 กระบวนทรรศน์ดกึ ดาบรรพ์
34
3.1.2 กระบวนทรรศน์โบราณ
35
3.1.3 กระบวนทรรศน์ยคุ กลาง
36
3.1.4 กระบวนทรรศน์นวยุค
37
3.1.5 กระบวนทรรศน์หลังนวยุค
38
3.2 ตัวอย่างความพยายามในสหรัฐอเมริกาและประเทศไทย
39
3.2.1 กระบวนทรรศน์ดกึ ดาบรรพ์
39
3.2.2 กระบวนทรรศน์โบราณ
40
3.2.3 กระบวนทรรศน์ยคุ กลาง
40
3.2.4 กระบวนทรรศน์นวยุค
42
3.2.5 กระบวนทรรศน์หลังนวยุค
45
สารบัญ เรื่ อง
หน้ า
บทที่ 4 มนุษย์ทกุ คนต้ องการความสุขแท้ ตามความเป็ นจริงแห่งชาติญาณ 4.1 ข้ อเท็จจริง
50 50
4.2 ความเป็ นมนุษย์โดยธรรมชาติประกอบด้ วยสัญชาตญาณ 4 ระดับซ้ อนกัน 51 4.3 ความสุขแท้ ตามระดับสัญชาตญาณ
52
4.3.1 ใช้ สญ ั ชาตญาณก้ อนหิน
52
4.3.2 ใช้ สญ ั ชาตญาณพืช
53
4.3.3 ใช้ สญ ั ชาตญาณอารักขายีน
54
4.3.4 ใช้ สญ ั ชาตญาณปั ญญา
55
บทที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ ความสุขแท้ ในสังคมอารยะ
57
5.1 ความหมาย
57
5.2 การอบรม
61
5.2.1 อบรมการปฏิบตั งิ านตามสายอาชีพ
61
5.2.2 อบรมสายกฎหมาย
61
5.2.3 การอบรมสายคุณธรรม
62
5.3 บทบาทของความมักรู้
62
บทที่ 6 สังคมอารยะคูก่ บั การบริหารที่ดี
65
6.1 เงื่อนไขการใช้ กระบวนทรรศน์ใหม่ในสังคม
66
6.2 บทบาทของกฎหมายชอบธรรมชาติ
66
6.3 บทบาทของระเบียบการของหน่วยงาน
67
6.4 บทบาทของคุณธรรมจริ ยธรรม
68
6.5 บทบาทของจรรยาบรรณ
69
6.6 บทบาทของสังคมอารยะ
70
สารบัญ เรื่ อง
หน้ า
บทที่ 7 ความสุขแท้ ด้วยการสร้ างสรรค์ ปรับตัว แสวงหา และร่วมมือ
73
7.1 ความหมายของการดูแล
73
7.2 เงื่อนไขการดูแลความสุขของตนเอง
73
7.3 เงื่อนไขการดูแลความสุขของผู้อื่น
73
7.4 เหตุผลจูงใจให้ สร้ างสรรค์
74
7.5 ตัวอย่างการดูแลด้ วยพลังสร้ างสรรค์
75
7.6 ตัวอย่างการดูแลด้ วยพลังปรับตัว
79
7.7 ตัวอย่างการดูแลด้ วยพลังแสวงหา
83
7.8 วิเคราะห์การนับถือศาสนา
84
7.9 ตัวอย่างการดูแลด้ วยพลังร่วมมือ
94
7.10 วิเคราะห์ข้อเท็จจริง
95
บทที่ 8 สรุปอภิปรายผล
97
8.1 นิยาม
97
8.2 ลาดับขันตอน ้
98
8.3 ผลที่คาดหวัง
103
8.4 การขยายผล
104
8.5 การบริ หาร
104
8.6 ความสัมพันธ์กบั ศาสนา
104
8.7 ค่าใช้ จา่ ย
105
8.8 งานวิจยั ต่อไป
105
บรรณานุกรม
106
ประวัตินกั วิจยั
108
1
บทที่ 1 ความสาคัญของฮันทิงทัน 1.1 ความนา เหตุการณ์ ที่สร้ างความระทึกใจแก่คนทัง้ โลกไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าการถล่มเมืองฮิโรชิมา ด้ วยระเบิดปรมาณู เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) ก็คือการที่กาแพงเบอร์ ลินถูก เจาะทะลุโดยไม่เสียเลือดเนื ้อเมื่อวันที่ 9 พ.ย. 2532 (ค.ศ.1989) คือ 44 ปี ต่อมา อันถือได้ ว่า เป็ น วันสิ ้นสุดสงครามเย็นที่สร้ างความหวาดผวาแก่คนทังโลกที ้ ่มีอารมณ์ค้างแขวนอยู่บนเส้ นด้ ายว่า สงครามโลกครัง้ ที่ 3 จะระเบิดขึ ้น ณ วินาทีใดก็ได้ เพราะถ้ าสงครามดังกล่าวเกิดขึ ้นจริ งวันนันก็ ้ จะ เป็ นจุดจบของมนุษยชาติ เพราะผู้ที่อยู่ในข่ายของความขัดแย้ ง รู้ สึกมัน่ ใจว่า ตนจะต้ องสูญเสีย ชีวิตไปพร้ อมกับคนดีและสิ่งดีทงหลายที ั้ ่อารยธรรมของมนุษยชาติได้ สะสมมา การที่ต้องรอความ ตายฉับพลันโดยไม่ร้ ูวนั และเวลาอย่างนี ้ ย่อมสร้ างความเครี ยดแก่คนทัว่ โลกไม่มากก็น้อย มีการ จัดปาฐกถากันบ่อย ๆ เพื่อเตือนความจาว่าไม่มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ข่าวกาแพง เบอร์ ลินทะลุและทัง้ 2 ฝ่ ายเดินทางไปมาหาสู่กันได้ โดยไม่มีใครขัดขวาง เป็ นข่าวดีที่ปลดเปลื ้อง จากความเครี ยดที่สร้ างบรรยากาศอึมครึมครอบงามนุษยชาติในรูปของสงครามเย็นมาเป็ นเวลาถึง 44 ปี หลังจากที่สงครามร้ อนได้ ผลาญชีวิตมนุษย์ไปถึงประมาณ 100 ล้ านคน ชัว่ ระยะเวลา 5 ปี หรื อ 1480 วันแห่งการสู้รบ คิดถัวเฉลี่ยวันละประมาณ 60,000 คน ไม่มีใครอยากให้ ชาติของตน ต้ องเข้ าสูภ่ าวะสงครามอีก เพราะเข็ดขยาดต่อความเสียหายทังทรั ้ พย์สินและชีวิต ยังไม่รวมความ สูญเสียที่คานวณเป็ นตัวเลขไม่ได้ คือ คุณภาพชีวิตและสุขภาพจิตของมนุษย์ที่สญ ู เสียไป ผู้กงั วลด้ วยเหตุผลดังกล่าวข้ างต้ น ย่อมอดไม่ได้ ที่จะดีใจเมื่อได้ ข่าวดีว่า กาแพงเบอร์ ลิน ทะลุ ม่านเหล็กสลายตัว ม่านไม้ ไผ่เผยอตัว ทุกอย่างเป็ นไปตามครรลองเหมือนน ้าไหล ไม่มีใคร บังคับให้ เป็ นไป มันเป็ นไปโดยอัตโนมัติ ดังที่แซมมวล ฮันทิงทัน ได้ เก็บข้ อมูลไว้ วา่
2 -
3 มกราคม 1992 นักวิชาการรัสเซีย และอเมริ กนั นัดพบกันในห้ องประชุมของรัฐบาลใน
กรุงมอสโคว์อย่างมัน่ ใจในความปลอดภัย ในเวลาไล่เลี่ยกันสหภาพโซเวียต รัสเซียแตกสลายเป็ น 16 ประเทศใหญ่ -
18 เมษายน 1994 ชาวมุสลิมเดินขบวนกลางกรุ งซาราเจโว ประเทศยูโกสลาเวียถือธง
ตุรกีแทนธงชาติยโู กสลาเวียของตน -
16 ตุลาคม 1994 ในนครลอสแอนจิลิส ชาวแมกซิกนั พลัดถิ่น 70,000 คนเดินขบวนถือ
ธงชาติแมกซิโกเพื่อเรี ยกร้ องให้ รัฐบาลอเมริ กันให้ การศึกษาแก่บุตรของผู้ เข้ าเมืองผิดกฎหมาย เพราะเห็นแก่มนุษยธรรม ซึ่งรัฐสภาแห่งแคลิฟอร์ เนียก็รับเข้ าวาระการประชุมและลงมติอนุมัติ ด้ วยเสียง 59 % นักวิจารณ์ ไม่วิจารณ์ ในแง่ที่ว่าผู้เดินขบวนมิได้ ถือสัญชาติอเมริ กัน แต่กลับ วิจารณ์ว่า มาเดินขบวนถือธงต่างชาติข่มขู่รัฐบาลอเมริ กนั อย่างนี ้ ไม่น่าจะยอมให้ เดิน วันต่อมา ชาวแมกซิกันกลุ่มเดิมนัดเดินขบวนขอบคุณรัฐสภาอเมริ กันที่ลงมติด้วยจิตเมตตาธรรมเป็ นหลัก คราวนีถ้ ือธงชาติอเมริ กัน โดยกลับบนลงล่างทุกผืน แสดงความจงใจที่มิได้ มีคาชีแ้ จงใด ๆ ถึง ความหมายของมัน แต่ฮนั ทิงทันตังใจยกเรื ้ ่ องธงขึ ้นมาในบทนาของหนังสืออย่างมีนยั ยะ และให้ ความหมายตามนัยยะของตนที่จะเป็ นทิศทางของมนุษยชาติต่อไปในอนาคต เขาให้ ความหมาย ของธงกลับหัวไว้ ว่า “ธงกลับหัวเป็ นเครื่ องหมายของหัวโค้ งแห่งการเปลี่ยนแปลง และธงก็จะมี ความสาคัญมากยิ่ง ๆ ขึ ้น” (Thomas Huntington, 1996, p. 19.) วารสาร Foreign
Affairs ฉบับฤดูร้อน ค.ศ. 1993 ได้ พิมพ์เผยแพร่ บทความ “The
Clash of Civilization” ของฮันทิงทันเพื่อออกความเห็นกรณีกาแพงเบอร์ ลินทะลุ นักวิชาการของ สหรั ฐ ฯ ได้ วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ กัน อย่ า งกว้ า งขวาง ได้ มี ก ารอัด ส าเนาแจกและจัด สัม มนาออก ความเห็นกันต่าง ๆ นานา ผู้วิจยั ได้ รับเชิญไปสัมมนาจัดโดยสมาคม Civil Society ที่ Prof. Dr. George Mclean อาจารย์สอนวิชาปรัชญาเป็ นประธานเพื่อศึกษาความเป็ นไปได้ ตา่ ง ๆ ที่ฮนั ทิง ทันได้ กล่าวถึงในบทความดังกล่าว 3 ปี ต่อมา (ค.ศ. 1996) ฮันทิงทันได้ ขยายเนื ้อหาบทความเป็ น หนังสือ บทความซึ่งเป็ นความคิดใหม่จริ งถูกบรรจุอยู่ในบทนาและบทสรุป เนื ้อหาที่ขยายเพิ่มอยู่ ในส่วนกลางของหนังสือ ซึ่งส่วนมากเป็ นข้ อมูลการเมืองในอดีตที่รวบรวมมาสนับสนุนทฤษฎีใหม่ ของตน เสริมด้ วยการคาดคะเนสูอ่ นาคตในครรลองสืบเนื่องจากปั จจุบนั และอดีต ส่วนสาคัญของ
3 หนังสือเล่มนี จ้ ึงอยู่ที่ความคิดเห็นที่แสดงไว้ ในบทนาและบทสรุปของหนังสือเล่มนี ้ ซึ่งนักปรัชญา นาเอาไปอภิปรายกันอย่างกว้ างขวางจนทุกวันนี ้เพื่อหาแนวทางใหม่แก้ ปัญหาของโลก ส่วนกลาง ของหนังสือเป็ นเนื ้อหาที่นกั รัฐศาสตร์ และนักการเมืองได้ เอาไปศึกษากันอย่างกว้ างขวางเช่นกัน แต่ส่วนมากจะเน้ นวิจารณ์ ว่าที่ฮันทิงทันได้ พยากรณ์ไว้ ตงแต่ ั ้ ปี ค.ศ. 1996 นัน้ มีส่วนผิดพลาด ประการใดบ้ าง แม่นยาเพราะอะไร และผิดพลาดเพราะอะไร งานวิจยั นี ้จะวิเคราะห์เฉพาะความ คิดเห็นที่นาไปสูก่ ารปรับปรุงวิธีอบรมคุณธรรมจริยธรรมเท่านัน้
1.2 ฮันทิงทันกับการอบรมคุณธรรมจริยธรรมแผนใหม่ เมื่ อ ฮัน ทิง ทัน กล่าวถึง ความหมายของธงกลับ หัว แล้ ว ก็ ไ ด้ ทิง้ ข้ อ ที่ เ ป็ นปริ ศนาไว้ ว่า “ประชาชนในโลกปั จจุบนั กาลังพบอัตลักษณ์ใหม่ในอัตลักษณ์เดิมเป็ นส่วนมาก พวกเขากาลังเดิน ภายใต้ ธงใหม่ซงึ่ จริง ๆ แล้ วก็คือธงเดิม (กลับหัว) เป็ นส่วนมาก ธงเหล่านี ้แหละที่นาพวกเขาเข้ าห ้า หัน่ ศัตรูใหม่ซงึ่ แท้ จริงก็คือศัตรูคนเดิมในโฉมหน้ าใหม่” (Thomas Huntington, 1996, p. 20.) ข้ อความข้ างต้ นนี ป้ ระกอบกับเหตุการณ์ ที่คาดไม่ถึง ต่าง ๆ ที่ เกิ ดขึน้ หลัง จากกาแพง เบอร์ ลินทะลุ ทาให้ นกั ปรัชญาหลังนวยุคประสบโอกาสขยายผลแนวคิ ดปรัชญาของตน ซึ่งเดิม เป็ นข้ อคิดกระจัดกระจายกลายเป็ นขบวนการที่มีเป้าหมายชัดเจนยิ่ง ๆ ขึ ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ฐานะที่เป็ นทังค ้ าสอนและแนวปฏิบตั ิในขณะเดียวกันตามรูปแบบของศาสนา แต่เป็ นศาสนาที่ไม่ กาหนดข้ อเชื่อเรื่ องโลกหน้ า จึงสามารถใช้ เป็ นฐานเสริ มได้ สาหรับทุ กศาสนาที่ต้องการพัฒนา วิธีการอบรมสัง่ สอนศาสนาของตนให้ มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่ง ๆ ขึ ้น จากข้ อความปริ ศนาที่อ้างอิงไว้ ข้างต้ น ชาวหลังนวยุคจึงตีความว่าตามที่แฟรงสิส ฟูกิ ยามา (Francis Fukiyama) ได้ ชี ้ช่องให้ ว่า “เราน่าจะมาถึงจุดจบของประวัติศาสตร์ ตามความหมายเดิม ได้ แล้ ว กล่าวคือถึงจุดสุดท้ ายของวิวฒ ั นาการคติการเมือง จัดเป็ นประชาธิปไตยเสรี ที่ถือได้ ว่าเป็ น การบริหารประเทศรูปแบบสุดท้ ายของมนุษย์” (Francis Fukiyama, p. 4) ซึ่งหมายความตามคติ ปรัชญาหลังนวยุคว่า คนรุ่นใหม่บางคนเกิดมากับกระบวนทรรศน์ ไร้ พรมแดน มองอะไรเป็ นระดับ
4 โลกาภิวตั น์ไปหมด คือเป็ นคนของโลก และอยากให้ ทกุ คนหวังดีตอ่ กันทัว่ โลกเหมือนในครอบครัว เดียวกัน มีปัญหาอะไรตกลงกันเองได้ ด้วยจิตสานึกแห่งคุณธรรมจริ ยธรรมร่วมของมนุษยชาติ ซึ่ง ฮันทิง ทันเองมิ ไ ด้ ระบุไ ว้ ชัดเจน แต่มี หลายตอนที่ ชูนโยบายดัง กล่ าวไว้ เป็ นทางแก้ ปัญหาของ มนุษยชาติ เช่น แนะนาให้ ชาวตะวันตกแสดงตัวเป็ นชาวตะวันตกจริ ง ๆ ไม่พึงพยายามยัดเยี ยดหรื อ ชักชวนให้ เชื่อว่าวัฒนธรรมตะวันตกเป็ นวัฒนธรรมสากล เพราะจะทาให้ เกิดการต่อต้ าน และ ความขัดแย้ งจนถึงสงครามได้ “สงครามโลกระหว่างอารยธรรมเป็ นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ หากผู้นาของ โลกยอมรับว่าการเมืองของโลกต้ องมีลกั ษณะเป็ นพหุอารยธรรม และช่วยกันป้องกันจุดยืนนี ้ไว้ ” (Thomas Huntington, 1996, p. 21.) หากรับนโยบายนี ้ของฮันทิงทันก็หมายความว่า ฮันทิงทันขอร้ องให้ ผ้ รู ับผิดชอบการอบรม คุณภาพชี วิตของมนุษย์ รวมทัง้ นักการศาสนาของทุกศาสนาที่มีหน้ าที่อบรมสั่งสอนธรรมะแก่ สมาชิกของศาสนาทุกคน จะต้ องตระหนักรู้ให้ ชดั เจนว่าตนมีหน้ าที่อบรมคุณธรรมจริ ยธรรมแบบ ใด ก็ให้ มุ่ง อบรมสั่ง สอนให้ ดีที่สุดในทิศทางของตน ไม่ต้องดูแคลนฝ่ ายอื่น คือต้ องไม่สอนให้ เหลื่อมล ้ากันและต้ องไม่โจมตีกนั เพื่อป้องกันมิให้ เกิดความกระทบกระทัง่ ต่อกัน ครัน้ ฮันทิงทันได้ สาธยายทุกแง่ทกุ มุมเพื่อสนับสนุนทางแก้ ปัญหาของตนอย่างละเอียดและยืดยาวพอสมควรแล้ ว ในที่สดุ ก็อดสรุปด้ วยความเป็ นห่วงไม่ได้ ว่า หากได้ จดั ระเบียบโลกใหม่ (The World New Order) ตามคติพหุอารยธรรมกันอย่างดีแล้ วก็เชื่อได้ วา่ “สงครามโลกระหว่างขัวอารยธรรมใหญ่ ้ ๆ ของโลก ไม่น่าอย่างยิ่งที่ จะเกิ ดขึน้ ได้ (highly improbable) แต่ ก็ไม่ ใช่ ว่า จะเป็ นไปไม่ ได้ (but not impossible)” (Thomas Huntington, 1996, p. 312.) แน่นอนข้ อแม้ หรื อข้ อยกเว้ นที่เปิ ดเผยใน วรรคสุดท้ ายนี ้ แม้ แต่จะมีแค่เสี ้ยวของเปอร์ เซ็นต์ก็ไม่นา่ จะมองข้ าม
1.3 ทฤษฎีพหุอารยธรรม (Multicivilizational Theory) ของฮันทิงทัน ฮันทิงทันได้ วิเคราะห์เชิงเปรี ยบเทียบให้ เห็นว่า การเมืองของโลกได้ พฒ ั นาตัวเองมาเป็ น 3 ขันตอน ้
5 1.3.1 ขัน้ ตอนที่ 1 เรี ยกว่าการเมืองแบบไร้ ขวั ้ (apolar polities) คือผู้ทรงอธิปไตย ของแต่ละกลุ่มชนดาเนินนโยบายอย่างเป็ นอิสระต่อกัน หากจะสัมพันธ์กนั ก็คือรบกัน แพ้ คือตาย หรื อยอมอยู่ใต้ บงั คับบัญ ชา ชนะคือขยายอานาจ มนุษย์ใช้ การปกครองไร้ ขัว้ อย่างนี ม้ าตังแต่ ้ เริ่มต้ นรวมตัวกันเป็ นกลุม่ และมีหวั หน้ ากลุม่ ที่ใช้ อานาจเด็ดขาดจนถึงขนาดตังนครรั ้ ฐได้ 1.3.2 ขัน้ ตอนที่ 2 เรี ยกว่าการเมืองแบบหลายขัว้ (multipolar polities) ในยุโรปเริ่ ม ในราว ค.ศ.1500 เมื่อเริ่มเกิดชาติรัฐขึ ้นมา แต่ละชาติรัฐที่มีอธิปไตยในตัวสามารถจับกลุ่มกันโดย สนธิสญ ั ญาช่วยเหลือกันระหว่างชาติรัฐในฐานะภาคีเสมอกัน ชาติที่เป็ นอาณานิคมทุกชนิดไม่ถือ ว่าเป็ นชาติรัฐเพราะไม่มีอธิปไตยในตัว ชาติรัฐที่มีเมืองขึ ้นมีจานวนมากกว่า 2 จึงได้ ถือว่ามีหลาย ขัว้ 1.3.3 ขัน้ ตอนที่ 3 เรี ยกว่าการเมืองแบบสองขัว้ (bipolar polities) เป็ นการเมืองที่ เกิดขึ ้นจริ งในช่วงสงครามเย็น ชาติรัฐจานวนหนึ่งจับขัวกั ้ นเล่นการเมืองแบบโลกเสรี อีกจานวน หนึง่ จับขัวกั ้ นเล่นการเมืองแบบโลกคอมมิวนิสต์ ชาติรัฐที่เหลือเรี ยกว่าโลกที่ 3 ไม่มีขวั ้ เพราะไม่มี การเล่นการเมืองระหว่างกัน แต่ทว่าแต่ละประเทศเล่นการเมืองอย่างอิสระ รวมหัวกันเป็ นโลกที่ 3 อย่างหลวม ๆ ไม่มีพนั ธะผูกพัน การเมืองที่เล่นแต่ละแบบมีนโยบายที่แถลงชัดเจน ตามด้ วยนโยบายการอบรมคุณภาพ ชีวิตให้ สอดคล้ องกับนโยบายที่แถลงไว้ ผลที่ได้ คือความขัดแย้ งโดยจาเป็ น ซึ่งผู้ร้ ู พากันเป็ นห่วง เพราะเป็ นชนวนให้ เกิดความเกลียดชังกัน และพร้ อมที่ถกู ยุให้ ทาลายกัน ด้ วยคติว่าจงทาลายเขา ก่อนที่เขาจะทาลายเรา 1.3.4 ขัน้ ตอนที่ 4 หลังจากกาแพงเบอร์ ลินทะลุ อันมีผลให้ สงครามเย็นยุติลงโดย อัตโนมัติ คนจานวนมากทั่วโลกอยากเห็นโลกและมวลมนุ ษย์ หมดปั ญหาขัดแย้ งกันเสียที แต่ ฮันทิงทันกลับชี ้ให้ เห็นว่า ปั ญหาไม่หมดแต่การเมืองกาลังเข้ าตอนที่ 4 เรี ยกว่าการเมืองพหุอารย ธรรม (multicilizational polities) โดยที่พลโลกและชาติ (โดยนับอารยธรรมของคนส่วนใหญ่ใน ชาติเป็ นเกณฑ์ ) จะจับขัวกั ้ นตามอารยธรรมใหญ่ ๆ ของโลกซึ่งฮันทิงทันสันนิษฐานเอาว่าจะมี 9
6 ขัวส ้ าคัญคือ 1. ตะวันตก 2. ละตินอเมริ กนั 3. แอฟริ กนั 4. อิสลาม 5. จีน (ขงจื ้อและเล่าจื ้อ) 6. ฮินดู 7. ออร์ โธดอกซ์ 8. พุทธ 9. ญี่ปนุ่ (Thomas Huntington, 1996, p. 21.) ฮันทิงทันคิดว่าการแบ่งขัวตามอารยธรรมอั ้ นมีศาสนาเป็ นแกนนานี ้เป็ นไปตามครรลอง ของมนุษย์อย่างยากที่จะเลี่ยงได้ (ที่แบ่งเป็ น 9 ขัวนั ้ นเป็ ้ นการสันนิษฐานขันต้ ้ น อาจจะมีมากกว่า หรื อน้ อยกว่า 9 ก็ได้ ในเมื่อการเมืองพหุอารยธรรมหรื อการแบ่งหลายขัวเป็ ้ นสิ่งต้ องเกิด ฮันทิงทันจึงเสนอแนะ กติกาไว้ เพื่อมิให้ เกิดสงครามโลกระหว่างขัว้ ดังต่อไปนี ้ 1. ให้ แยกการทาให้ ทันสมัย (modernization) ออกจากการทาให้ กลายเป็ นตะวันตก (westernization) เพราะความทันสมัยไม่จาเป็ นต้ องเป็ นแบบตะวันตก แต่ละชาติสามารถสร้ าง ความทันสมัยของตนเองได้ 2. การถ่วงดุล (the balance of power) ย่อมเปลี่ยนจุดศูนย์ถ่วงของมันไปตามกลไกของ สังคม ไม่จาเป็ นต้ องอยูใ่ นภาคตะวันตกเสมอไป 3. อารยธรรมเป็ นคุณค่าตายตัวเปลี่ยนได้ ยาก จึงไม่ควรมีความพยายามยัดเยียดอารย ธรรมให้ แก่กนั หรื อเปลี่ยนอารยธรรมของกันและกัน 4. ชาติผ้ ูนาของแต่ล ะอารยธรรมนอกจากจะต้ องร่ วมมือกันระวังและแก้ ปัญหาความ ขัดแย้ งมิให้ ลกุ ลามแล้ ว ยังต้ องพยายามสอดส่องดูแลปั ญหาของชาติเล็ก ๆ ที่อยู่ตามตะเข็บอารย ธรรม เพราะอาจจะบานปลายได้ ง่าย ๆ 5. สหรัฐอเมริ กาจะต้ องเป็ นประเทศนาของอารยธรรมตะวันตกอย่างชัดเจน และต้ อง แสดงให้ ชัด เจนด้ ว ยว่า ไม่ มี เ จตนาที่ จ ะยัด เยี ย ดอารยธรรมตะวัน ตกให้ เ ป็ นอารยธรรมสากล (Thomas Huntington, 1996, p. 20.) หนังสือ The Clash of Civilization พยายามหาตัวอย่างข้ อมูล และการสันนิษฐานตาม หลักวิชารัฐศาสตร์ เพื่อจูงใจผู้อ่านให้ เข้ าใจความหมายของกติกาสันติภาพ 5 ข้ อของตน ให้ เห็น ด้ วยและนาไปใช้ เป็ นแนวทางอบรมคุณภาพชีวิตของคนทังโลก ้ โดยหวังว่าจะพบทางหลีกเลี่ยง สงครามโลกอันไม่พงึ ประสงค์ได้ ดีที่สดุ
7
1.4 วิจักษ์ กติกา 5 ข้ อของฮันทิงทัน ในฐานะนักปรัชญาหลังนวยุคสายกลาง ผู้วิจยั เห็นด้ วยกับฮันทิงทันเฉพาะในส่วนที่เห็น ปั ญหาว่า มนุษยชาติอยูใ่ นอันตรายของสงครามโลกและสงครามท้ องที่เกิดจากความขัดแย้ งต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความขัดแย้ งทางอารยธรรมซึ่งรวมถึงความขัดแย้ งทางศรัทธา ศาสนาและอุดม คติทางการเมื องการปกครอง แต่ไม่อาจเห็นด้ วยกับทางแก้ ปัญหาด้ วยกติกา 5 ข้ อของระเบียบ สังคมใหม่ ซึ่งหมายถึงว่าจะต้ องช่วยกันอบรมพลโลกให้ มีคณ ุ ภาพตามมาตรฐานของกติกา 5 ข้ อ ซึ่ง เป็ นยูโ ทเปี ย มี อุป สรรคมากมายจนไม่ส ามารถเอาชนะได้ ห มด เริ่ ม ตัง้ แต่ 1. การระดม ปั ญญาชนให้ มาเห็นด้ วยและมีศรัทธาต่อกติกา 5 ข้ อเพื่อเป็ นวิทยากร 2. ระดมงบประมาณเป็ น ค่าใช้ จ่ายสาหรับวิทยากรให้ ทางานได้ ทวั่ ถึง 3. แม้ ทาได้ สาเร็ จตามข้ อ 1 และข้ อ 2 ข้ างต้ นแล้ ว ก็ ยังไม่มีอะไรค ้าประกันได้ ว่าจะไม่มีความขัดแย้ งเกิดขึ ้น และวิธีการแก้ ความขัดแย้ งของฮันทิงทัน คือ อาศัยน ้าใจดีของชาติผ้ นู ากลุ่มอารยธรรมซึ่งเปราะบางมาก กติกาทัง้ 5 ข้ อจึงเหมือนกับแขวน อยู่กบั เส้ นด้ าย เปอร์ เซ็นต์แห่งความล้ มเหลวค่อนข้ างสูง ตัวฮันทิงทันเองก็ได้ แสดงความลังเลใจ ไว้ ในตอนท้ ายของหนังสือซึ่งจะอ้ างไว้ ในหัวข้ อถัดจากนี ้ ซึ่งผิดกับความรู้สึกในตอนต้ นที่เขี ยนด้ วย ความรู้สกึ กระตือรื อร้ นมาก ว่า เมื่อฤดูร้อน ค.ศ.1993 นิตยสาร Foreign Affairs ได้ พิมพ์บทความของข้ าพเจ้ าชื่อ The Clash of Civilization? คณะบรรณาธิการของนิตยสารฉบับนันแถลงว่ ้ า ได้ ปลุกให้ มีการอภิปราย กันมากมายภายในช่วง 3 ปี ยิ่งกว่าบทความใด ๆ ที่ นิ ต ยสารนี ไ้ ด้ เ คยตี พิ ม พ์ ม าตัง้ แต่ ค.ศ.1940 แน่นอนว่ามีการอภิปรายปั ญหาจากบทความนี ้ของข้ าพเจ้ าภายใน 3 ปี มากกว่าบทความใด ๆ ที่ ข้ าพเจ้ าเคยเขี ยนมามี ทัง้ การขานรั บและบทวิจ ารณ์ จ ากทุกทวีปเป็ นจ านวนหลายสิบประเทศ ผู้อ่านมีปฏิกิริยาต่าง ๆ กัน ที่ข้องใจก็มี ที่เคืองแค้ นก็มี ที่ตื่นตระหนกก็มี ที่สบั สนกับข้ ออ้ างต่าง ๆ ที่ข้าพเจ้ ายกมาก็มี ที่อ้างว่า มีอนั ตรายร้ ายแรงที่สุดรวมศูนย์อยู่ที่การเมืองระดับโลกที่กาลังเผย โฉมให้ เห็น อันเป็ นผลจากความขัดแย้ งกันระหว่างกลุ่มที่แตกต่างกันทางอารยธรรม จะอย่างไรก็ ตาม สิ่งหนึง่ เกิดขึ ้นก็คือ มันตรึงประสาท (struck the nerve) เนื่องจากสังเกตได้ ว่าบทความนันได้ ้ สร้ างความสนใจ รวมทังความเข้ ้ าใจผิด และข้ อถกเถียงกันมากมาย ข้ าพเจ้ าจึงใคร่จะได้ ขยาย
8 ความในประเด็นที่เป็ นปั ญหาถกเถียงกันอยู่.... มีประเด็นสาคัญที่บทความไม่ได้ กล่าวถึง ข้ าพเจ้ า จึงถือโอกาสนามาเสริมไว้ เป็ นชื่อเสริมของ หนังสือ (คือการสร้ างระเบียบโลกใหม่) และสรุปไว้ เป็ น ประโยคสุดท้ ายของหนัง สื อคือ “การปะทะของอารยธรรมเป็ นประเด็น คุกคามที่ ใหญ่ ที่สุดต่อ สัน ติ ภ าพ และระเบี ย บการนานาชาติ บ นฐานของอารยธรรมเป็ นทางป้ องกั น ที่ แน่นอนที่สดุ มิให้ สงครามโลกเกิดขึ ้น” (Thomas Huntington, 1996, p. 13.) คารับรองของฮันทิงทันรู้สึกว่าหนักแน่นมาก แสดงถึงความมัน่ ใจในวิธีการของตนว่าจะ นาพาโลกให้ พ้นจากวิกฤติของสงครามล้ างโลกได้ อย่างมีประสิทธิ ผลที่สุด ซึ่งวิธีการดังกล่าวนี ้ ฮันทิงทันได้ จ าระไนใน 4 หน้ าสุดท้ ายของหนังสื อภายใต้ หัวข้ อ “สมบัติร่วมของอารยธรรม” (Thomas Huntington, 1996, p. 318-21.)
1.5 สมบัตริ ่ วมของอารยธรรม หัวข้ อนี ้ค่อนข้ างเข้ าใจยากและอาจตีความได้ หลายหลาก ทาให้ สนั นิษฐานได้ ว่า คงเป็ น ความคิดใหม่ที่เกิ ดขึน้ หลัง จากได้ ขยายความประเด็นต่าง ๆ เพื่อพิสูจน์ ทฤษฎี แก้ ปัญหาความ ขัดแย้ งการเมืองระดับโลกที่คาดว่าจะเกิดขึ ้นหลังสงครามเย็น เป็ นความคิดใหม่ ไม่มีเวลานานพอ ให้ ความคิดสุกจนตัวเองเข้ าใจชัดเจน แต่ก็เห็นว่าจาเป็ นจะต้ องเขียนเสริ มทฤษฎีเดิม คือ ทฤษฎี พหุอารยธรรมที่คมุ กันอย่างดีด้วยกฎการไม่ก้าวก่ายกัน (abstention rule) กับกฎการเจรจากัน (joint mediation rule) (Thomas Huntington, 1996, p. 316.) ซึ่งเมื่อถามถึงความจริ งใจของผู้นา แต่ละอารยธรรมแล้ ว ก็ร้ ูสกึ เป็ นจุดอ่อนสาคัญที่สดุ เพราะความจริ งใจเป็ นเรื่ องของคุณธรรมประจา ใจ บังคับกันไม่ได้ ทดสอบกันก็ยาก ก็คงสันนิษฐานไว้ ไม่ยากว่า เพื่อไม่ให้ งานที่ตนมุ่งหน้ าเขียน ขึ ้นมาอย่างเร่งรี บเป็ นเนื ้อหาสามร้ อยกว่าหน้ าเต็มไปด้ วยข้ อมูลอ้ างอิงมากมายใช้ เวลา 3 ปี มาแล้ ว นัน้ ต้ องล้ มเหลว จาเป็ นต้ องหาอะไรมาเสริ มจุดอ่อนดังกล่าว จึงได้ เขียนเติมต่อท้ ายบทสรุปและ จบลงแค่นนั ้
9 ความคิดที่ต้องการเน้ นก็คือคุณสมบัติร่วม (commonality) ในส่วนที่แล้ ว ๆ มาฮันทิงทัน เน้ นความต่างเป็ นคุณสมบัติของอารยธรรมต่าง ๆ เพื่อเตือนสติชาวตะวันตกให้ เคารพความต่าง ของอารยธรรมอื่น ๆ การเน้ นความต่างเช่นนันย่ ้ อมหลีกไม่พ้นที่จะต้ องแก้ ปัญหาความขัดแย้ ง ซึ่ง ตามทฤษฎีพหุอารยธรรมจะต้ องพึ่งความเชื่อใจกันในลักษณะถ้ อยทีถ้อยอาศัยกัน โดยหวังว่าเขา จะต้ องช่วยเราเพราะถึงทีเรา เราก็จะช่วยเขาแน่นอน ที่สุดก็ต้องนึกได้ ว่าหากสันติภาพของโลก และถ้ าการเลี่ยงสงครามโลกต้ องพึง่ ความหวังอันเลื่อนลอยอย่างนี ้ก็คงไม่นา่ จะสบายใจนัก ในทฤษฎี สมบัติร่ว มนี ้ ฮันทิง ทันนึกได้ ว่าในความแตกต่างของอารยธรรมยัง มี ความ เหมือนร่ วมระหว่างอารยธรรมและแม้ ท่ามกลางนานาอารยธรรมก็ย่อมมีจุดร่ วมกันอยู่บ้างจนได้ หากส่งเสริ มให้ ทกุ อารยธรรมร่ วมใจกันศึกษาเพื่อแสวงหาจุดร่ วมสงวนจุดต่างได้ จุดร่ วมที่สงวน กันไว้ นัน้ แหละย่อมเป็ นตัวค ้าประกันการแก้ ปัญหาความขัดแย้ งได้ ดีที่สุด เพื่ อบรรลุเป้าหมาย ดังกล่าวฮันทิงทันยกฐานะสงวนจุดต่างขึ ้นสู่ระดับจริ ยธรรม (morality) และแถลงว่า “วัฒนธรรม เป็ นเรื่ องสัมพัทธ์ ส่วนจริ ยธรรมอสัมพัทธ์ ” (Thomas Huntington, 1996, p. 318.) และเมื่อตังใจ ้ เรี ยกสมบัติร่วมนัน้ ว่าจริ ยธรรมก็ หมายความว่าจ าเป็ นต้ องมี การอบรมกันอย่างสม่ าเสมอ จะ เพียงแต่สอนกันให้ ร้ ูและเข้ าใจครัง้ เดียวตลอดชีพเหมือนส่วนที่เป็ นวัฒนธรรมนันไม่ ้ ได้ (วัฒนธรรม ในความหมายของฮันทิงทันก็คือ ส่วนหนึง่ ของอารยธรรมนัน่ เอง) ทางปฏิบตั ิสู่ความสาเร็ จของการรักษาสันติภาพโลกก็คือ “ประชาชนของทุกอารยธรรม พึง วิจัยค้ น คว้ า และพยายามขยายการรั บรู้ คุณค่า สถาบัน และการปฏิ บัติที่พ วกเขามี ร่ วมกับ ประชาชนทังหลายของอารยธรรมอื ้ ่น ๆ” (Thomas Huntington, 1996, p. 320.) คุณ ค่ารวมนี เ้ รี ยกได้ ว่าองค์อารยธรรม (Civilization ใช้ อักษรตัวใหญ่ นาและในรู ป เอกพจน์เ ท่านัน้ ) ซึ่ง หาได้ จากความรู้ และเข้ าใจร่ วมกันในระดับสูงของวิชาจริ ยธรรม ศาสนา อักษรศาสตร์ ศิลปะ ปรัชญา เทคโนโลยี และการมีชีวิตที่ดี ” (Thomas Huntington, 1996, p. 320.)
10
1.6 สรุ ป ผู้วิจยั เห็นด้ วยกับฮันทิงทันว่าเรื่ อง “ปะทะทางอารยธรรม” ทังบทความและหนั ้ งสือ ออก เผยแพร่ ต รงเวลาและโดนความสนใจคนทัง้ โลกที่ อ ยากจะเข้ า ใจสถานการณ์ โ ลกาภิ วัต น์ ที่ เปลี่ยนแปลงฉับไว และฉับพลันจนตังตั ้ วไม่ติด จึงมีผ้ อู ยากออกความเห็นกันมากในทุกวงการก็ว่า ได้ ความคิดเห็นจึงมีหลากหลายทังที ้ ่มีประโยชน์และไร้ ประโยชน์ ผู้วิจยั โชคดีได้ มีโอกาสเข้ าร่วม การศึกษาความคิดของฮันทิงทันเชิงปรัชญาในปี ค.ศ. 1994 (1 ปี หลังการเผยแพร่ บทความ) และ อีกครัง้ หนึง่ ในปี ค.ศ. 1998 (2 ปี หลังการเผยแพร่หนังสือ) ในเชิงปรัชญาเราถือว่าเจตนาของฮันทิง ทัน ในการป้องกันไม่ให้ เ กิ ดความขัดแย้ ง รุ นแรง และการแก้ ปัญหาความขัดแย้ ง รุ นแรงอย่างมี ประสิทธิผลเป็ นประเด็นที่ควรจับเอามาหาทางต่อยอด อาจจะมีนกั วิชาการหลายสายที่คิดต่อยอด ในเรื่ องเดียวกับเรา เช่น รัฐศาสตร์ คงคิดถึงการพัฒนาการดาเนินงานด้ านการทูต นักกฎหมายคง คิดถึงการขจัดกฎหมายที่ลว่ งละเมิดสิทธิของคนต่างวัฒนธรรม นักบริ หารคงคิดถึงมาตรการรักษา ความปลอดภัยจากการก่อการร้ ายข้ ามชาติ ฯลฯ สาหรับนักปรัชญา ประเด็นที่ท้าทายที่สุดจาก ข้ อคิดต่าง ๆ ของฮันทิงทันก็คือ จะใช้ เนือ้ หาปรัชญาใดที่มีอยู่แล้ ว หรื อจะคิด สร้ างเนือ้ หาใหม่ทาง ปรัชญาอย่างไร เพื่อใช้ อบรมสัง่ สอนพลโลกทุกระดับและทุกระบบความเชื่อ ให้ มีจิตอาสา เต็มใจทาตัวให้ เป็ นแม่แบบการอบรมแผนใหม่ และสอนคนอื่น ๆ ทุกคนให้ อยากทาตัวเป็ นแม่แบบจิตอาสาเช่นกัน ที่จริ งความคิดดังกล่าวข้ างต้ น คุกรุ่ นอยู่ในใจของผู้วิจยั ตลอดเวลา นับตังแต่ ้ ได้ เคยไป รับการอบรม 2 ครัง้ ดังกล่าวจากสหรัฐอเมริ กา แต่หาเวทีปฏิบตั ิไม่ได้ ในขณะเป็ นสนช.(สมาชิก สภานิติบญ ั ญัติแห่งชาติ) อยู่ 1 ปี ก็พยายามจะสร้ างเวทีทดลองโดยใช้ วิธีการปรัชญาตามเจตนา ของฮันทิงทันซึ่งไม่ใช่นกั ปรัชญา จึงได้ แต่ชีแ้ นะแนวทางได้ แต่ต่อยอดในรายละเอียดไม่ได้ นัก ปรัชญาแต่ละคนต้ องคิดหาแนวทางอย่างเป็ นระบบ ครัน้ วุฒิสภาให้ เกี ยรติเชิญมาร่ วมงาน ก็ อยากจะวิจัยออกมาให้ เป็ นเรื่ องเป็ นราวเพื่อ นามาใช้ ดู งานวิจัยนี ้จึงได้ เริ่ มขึน้ อย่างจริ งจังตาม เป้าหมายของประธานอนุกรรมาธิ การที่เสนอไว้ ว่า “ทาอย่างไรศีลธรรมจึงจะกลับมาสู่พลเมือง ไทย”
11
บทที่ 2 ฮันทิงทันกับการปรั บเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ ค.ศ.
1989 กาแพงเบอร์ ลินทะลุ
ค.ศ.
1991 สหภาพโซเวียตสลาย (ม่านเหล็กเปิ ด) จีนเปิ ดประเทศ (ม่านไม้ ไผ่เปิ ด)
ค.ศ.
1992 นักวิชาการสหรัฐฯ ร่วมประชุมกับนักวิชาการรัสเซียในทาเนียบรัฐบาล รัสเซีย
ค.ศ.
1993 แซมมวล ฮันทิงทัน (Samuel Huntington) เผยแพร่บทความ The Clash of Civilizations ในวารสาร Foreign Affairs.
ค.ศ.
1996 ขยายผลจากบทความเป็ นหนัง สือ The Clash of Civilization ตามคา เรี ยกร้ องของผู้สนใจ
ประเด็นของฮันทิงทันก็คือ มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ในคนรุ่นใหม่ทวั่ โลก ดังนัน้ รัฐบาล อเมริ กันไม่พึงชะล่าใจ มันไม่ได้ แสดงว่ารัฐบาลอเมริ กนั เก่ง มันไม่ใช่ชยั ชนะของชาวอเมริ กันและ โลกเสรี แต่เป็ นการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ (paradigm shift) มันเป็ นการปรับเปลี่ยนกระบวน ทรรศน์ในคนรุ่นใหม่ทวั่ โลก หากไม่มีการจับกระแสให้ ทนั และเปิ ดทางให้ กระบวนทรรศน์ใหม่นี ้ได้ พัฒนาตามครรลองของมัน มันจะเสื่อมคุณภาพไปกลายเป็ นคลื่นของการประชดประชันสังคมและ การแสดงออกแปลกๆ ของผู้ผิ ด หวัง เช่น หันไปพึ่ง ยาเสพติด และเสพกามวิต ถารทุก รู ป แบบ อาชญากรรมแปลกๆ เป็ นต้ น ส่วนกระบวนทรรศน์เก่าจะเพิ่มพลังมากกว่าเดิมจนกลายเป็ น The Clash of Civilizations จนอาจควบคุมไม่ได้ อาจารย์มหาวิทยาลัยที่เข้ าใจข้ อคิดของฮันทิงทันพา กันตื่นตัวขานรับและรี บวิจยั ขยายผลเพื่อชี ้แนะทางออก รัฐบาลอเมริ กนั ตอนนันดู ้ จะให้ ความสนใจ อยูบ่ ้ าง 11 กันยายน ค.ศ. 2001 (พ.ศ. 2544) เวิร์ลเทรดเซนเตอร์ ถกู เครื่ องบินชนถล่มทลาย คน ตายเกือบ 5 พันคน รัฐบาลอเมริ กันยังมัน่ ใจว่าตนยังมีศกั ยภาพพอที่จะระงับเหตุด้วยกระบวน ทรรศน์เดิม ปั ญญาชนต้ องมานะศึกษาและชีแ้ นะต่อไปอย่างพากเพียร ซึ่งบางประเทศในเอเชีย
12 ขานรับการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ เช่น เกาหลี ญี่ ปนุ่ ไต้ หวัน ฮ่องกง สิงคโปร์ และองค์กร เอกชนระดับชาติและระดับนานาชาติ บางองค์กรยอมอุทิศตน เพราะเห็นความสาคัญ ประเทศไทย โดยทัว่ ไปยังทาทองไม่ร้ ู ร้ อนเพราะการแบ่งผลประโยชน์ในระบบการเมืองไม่ลงตัว จึงไม่มีเวลา สนใจเรื่ องอีร้าฆ่าอีรม ฮันทิงทันและพรรคพวกจะร้ องแรกแหกกะเฌออย่างไร ก็ปล่อยไว้ ก่อนอย่ าง ไม่เอามาเป็ นอารมณ์ถอดใจ ขอรักษาสถานภาพเดิมไว้ ก่อน เอาไว้ จนท่าจริ ง ๆ แล้ วนัน่ แหละ จึง ค่อยมาคุยกัน นักคิดกระแสใหม่มองตามฮันทิงทันไปพบว่ามนุษย์เป็ นส่วนหนึ่ง ของเอกภพ เอกภพ เท่าที่ศกึ ษารู้ได้ ขณะนี ้ เรารู้ ว่าประกอบด้ วยหน่วยย่อยที่สุดเรี ยกว่า ควาร์ ค (quarks) ควาร์ คของ เอกภพมี จ านวนมากมายมหาศาล ไม่อ าจนับได้ ว่า มี เท่าใด แต่ก็ไ ม่จ าเป็ นต้ องรู้ นับ ไปก็ ไ ม่มี ประโยชน์ เพราะควาร์ คแต่ละตัวเป็ นเอกเทศเหมือนคนคนหนึ่ง ที่พฒ ั นาตัวเองไปเรื่ อย ๆ ไม่ยอม อยูค่ งที่ตายตัว มันเกิดได้ และตายได้ ควาร์ คจึงมีจานวนไม่ตายตัว อาจจะลดลงหรื อเพิ่ มขึ ้นได้ แต่ ละตัวก็เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ไม่มีอะไรคงตัวไม่มีอะไรคงที่ แต่เมื่อรวมกันทังเอกภพแล้ ้ ว ก็ เชื่อได้ วา่ เอกภพพัฒนาดีขึ ้นเรื่ อย ๆ นับแต่เท่าที่สืบรู้ได้ ทางวิชาการตังแต่ ้ ขณะมหากัมปนาท (Big Bang) มาจนบัดนี ้ แม้ บางครัง้ ระหว่างการเปลี่ ยนแปลงจะปรากฏความเสี ยหายเกิ ดขึน้ เป็ น บางส่ ว นแต่ต่อ มาก็ จ ะปรั บ ตัว มี คุณ ภาพสูง กว่ า เดิม ดัง ปรากฏความก้ า วหน้ า เชิ ง พัฒ นามา ตามลาดับดังนี ้ เมื่อหมื่นห้ าพันล้ านปี มาแล้ ว มหากัมปนาททาให้ เกิดหมอกเพลิงที่พฒ ั นาตัวเองทันที เมื่อหมื่นล้ านปี มาแล้ ว หมอกเพลิงส่วนหนึง่ จับตัวเป็ นดวงอาทิตย์ เมื่อห้ าพันล้ านปี มาแล้ ว โลกกระเด็นออกจากดวงอาทิตย์ เมื่อหนึง่ พันล้ านปี มาแล้ ว เริ่มมีชีวิตบนโลก เมื่อหนึง่ ร้ อยล้ านปี มาแล้ ว เริ่มมีสตั ว์ 4 เท้ า เมื่อเจ็ดสิบล้ านปี มาแล้ ว เริ่มมีสตั ว์มีมือ (primate) เมื่อสามสิบล้ านปี มาแล้ วเริ่มมีมนุษย์วานร (Apeman) เมื่อ 4 ล้ านปี มาแล้ ว ปรากฏหลักฐานว่ามีมนุษย์ที่มีคณ ุ ภาพชีวิตต่าสุด คือสักแต่ว่ามีรูปร่างเป็ นคน และเริ่ มมี ปัญญาสามารถตังค ้ าถาม นอกนัน้ เหมือนสัตว์ ชนั ้ สูง ผู้มีปัญญาย่อมจะไม่อยู่นิ่งโดย
13 ธรรมชาติ จะต้ องดิ ้นรนสร้ างสรรค์และปรับปั ญญาหาสิ่งที่ดีกว่าเรื่ อยมาจนเมื่อประมาณ 10,000 ปี มาแล้ ว (ก.ค.ศ. 8000) ก็พฒ ั นาปั ญญาถึงขันกระบวนทรรศน์ ้ โบราณ (เชื่อและยึดมัน่ ในกฎ) เมื่อ ประมาณ 2,000 ปี มาแล้ ว (ก.ค.ศ. 1) ปั ญญาก็พฒ ั นาถึงกระบวนทรรศน์ที่ 3 (ยึดมัน่ ถือมัน่ ที่คา สอนของศาสดาเท่านัน) ้ เมื่อประมาณ 500 ปี มาแล้ ว (ค.ศ. 1500) ก็พฒ ั นาถึงกระบวนทรรศน์ที่ 4 (ยึดมัน่ ที่วิธีการวิทยาศาสตร์ ) และกระบวนทรรศน์ที่ 5 (ไม่ยึดมัน่ ถือมัน่ มีหลักยึดเหนี่ยวแต่ไม่ยึด ติด) เริ่มเป็ นที่สนใจของนักวิชาการทัว่ โลก หลังจากเวิร์ลเทรดเซนเตอร์ ล้ม (11 กันยายน 2001) วิวฒ ั นาการดังกล่าวข้ างต้ นนี ้ เมื่อศึกษาในรายละเอียดแล้ วทาให้ เชื่อได้ วา่ 1. สสารตังแต่ ้ มีพลังพัฒนาสร้ างสรรค์และปรับตัว จากหมอกเพลิงเป็ นมวลสาร เป็ น สิ่งมีชีวิต เป็ นสัตว์เดรัจฉาน และเป็ นมนุษย์ (มีปัญญา) ตามลาดับ 2. ปั ญญามนุษย์นอกจากมีศกั ยภาพสร้ างสรรค์และปรับตัวสูงกว่าสสาร พืช และสัตว์ แล้ ว ยังมีพลังร่วมมือและพลังแสวงหา ทุกพลังมุง่ สูก่ ารพัฒนาคุณภาพชีวิต
2.1 นักคิดรุ่ นใหม่ ท่ ีสืบทอดความหวังของฮันทิงทันพบว่ า ครัน้ สารวจดูว่าคนรุ่ นใหม่ที่มีคุณสมบัติตามการคาดคะเนของฮันทิงทัน มีเกิดมาในที่ ต่าง ๆ ของโลกนัน้ มีเกิดมาจริงหรื อไม่ ก็พบว่าน่าจะได้ แก่ผ้ มู ีลกั ษณะดังต่อไปนี ้คือ 2.1.1 คนที่เกิดมายิ่งรุ่นใหม่ เท่ าไร ยิ่งมีแนวโน้ มของกระบวนทรรศน์ล่าสุด มากเท่านัน้ สาเหตุเป็ นไปได้ ทงั ้ จากคุณภาพของมวลสารที่เป็ นร่ างกาย และจากระดับของความเป็ นโลกาภิ วัตน์ของสิ่งแวดล้ อม พวกเขาซึมซับอะไร ๆ ที่เป็ นโลกาภิวตั น์ได้ ไวกว่าคนรุ่นก่อน 2.1.2 ผู้เกิดมากับกระบวนทรรศน์ ใหม่ ย่อมตระหนักได้ โดยตนเองว่าคนมีปัญญา ไม่ น่าจะมีรสนิยมพอใจกับสัญชาตญาณที่อยู่ต่ากว่าระดับปั ญญาไม่ว่าเขาจะเกิดขึ ้น ณ ที่ใดเขาย่อม ตระหนักได้ ว่ามนุษย์ทุกยุคสมัย ย่อมมีสญ ั ชาตญาณ 4 ระดับ โดยที่แต่ละระดับต่างก็ม่งุ พัฒนา ชีวิตตามสัญชาตญาณของตนคือ 2.1.2.1 สัญชาตญาณของสสาร ชอบความคงตัวไม่ดิ ้นรนไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง แต่ชอบการอยูโ่ ดดเดี่ยว แข็งทื่อ ไม่สนใจการพัฒนา ในมนุษย์จงึ ได้ แก่สนั ดานเกียจคร้ าน
14 2.1.2.2 สัญชาตญาณของพืช ดิ ้นรนเพื่อความอยู่รอดของตนเองเท่านัน้ โดยไม่ คานึงว่าจะเกิดความเสียหายแก่ใครหรื ออะไรเท่าใดและอย่างไร เหมือนต้ นไม้ ที่ชอบไชรากไปดูด หาอาหารกินโดยไม่เกรงใจใครหรื ออะไรทังสิ ้ ้น ขอให้ ตวั เองมีชีวิตอยู่ได้ และอยู่ได้ อย่างดีที่สุดเป็ น พอ ในมนุษย์จงึ เป็ นสันดานเห็นแก่ตวั เอาเปรี ยบทุกคนและทุกอย่างที่ขวางหน้ า หากถูกขัดขวางก็ จะหันเหไปเอาเปรี ยบผู้ออ่ นแออื่นๆต่อไป 2.1.2.3 สัญชาตญาณของสัตว์ ดิ ้นรนเพื่อความอยู่รอดของยีนของตนและของผู้ที่ รู้สกึ ว่ามียีนเหมือนหรื อคล้ ายของตน เป็ นการดิ ้นรนที่รุนแรง ยอมเสี่ยงชีวิตและความพอใจด้ านอื่น ๆ ทัง้ หมดเพื่ อแลกกับความพอใจที่ ไ ด้ สื บยี นหรื อปกป้องยี นแม้ เพี ยงครั ง้ เดียว ในมนุษย์ ไ ด้ แ ก่ สันดานเจ้ าชู้ มุทะลุ ชอบใช้ อารมณ์รุนแรง 2.1.2.4 สัญชาตญาณปั ญญา มุ่งสู่ความสุขแท้ ตามความเป็ นจริ ง หากปั ญญา มัน่ ใจว่าอะไรเข้ าข่ายนี ้จะยอมสละได้ ทกุ อย่าง แม้ ชีวิตและสัญชาตญาณทั ง้ 3 อย่างข้ างต้ น หาก สัญชาตญาณนี ้ทาการจริ งจัง สัญชาตญาณอื่นจะหมดฤทธิ์ ดับสนิท เข้ าภาวะนิพพานตามคติพทุ ธ หรื อภาวะนักบุญตามคติคริ สต์ หรื อภาวะสูงสุดตามคติที่ศาสนาสอนศาสนาอื่น ตามเกณฑ์ของ หลัง นวยุค สัญ ชาตญาณนี จ้ ะมุ่ง ทาการสร้ างสรรค์ ปรั บ ตั ว แสวงหาสิ่ง โพ้ น ธรรมชาติ และ ร่ วมมือกันสร้ างสังคมอารยะ (civil society) แต่ถ้าผิดหวังก็จะประชดอย่างรุนแรง มนุษย์คือผู้มีปัญญาสามารถเอาชนะสัญชาตญาณอื่นด้ วยการเปรี ยบเทียบจนพบว่า คน ทุกคนย่อมแสวงหาความสุขกับสัญชาตญาณใดสัญชาตญาณหนึ่ง แต่สญ ั ชาตญาณของปั ญญา เท่านันที ้ ่ให้ ความสุขแท้ ตามความเป็ นจริ ง ทาให้ คนกลายเป็ นมนุษย์ จึงหาวิธีคมุ พลังทังหมดมุ ้ ่งสู่ พัฒนาคุณภาพชีวิตการสร้ างสรรค์ ปรับตัว ร่วมมือ และแสวงหา ปมคุณธรรมจะระเบิด เขาจะทา ทุกอย่างเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต เพราะรู้สกึ ว่านัน่ คือ ความสุขแท้ ตามความเป็ นจริ ง เขาจะมุ่งและ ทุ่มเทหามันโดยอัตโนมัติ และนัน่ คือทางสู่ความสุขแท้ ตามความเป็ นจริ งในโลกนี ้ด้ วย หากไม่ทา อย่างนี ้ปมคุณธรรมจะฝ่ อ
15
2.2 สังคมอารยะของนักหลังนวยุค สังคมอารยะตามมาตรฐานของนักหลังนวยุค คือสังคมแห่งระเบียบแบบแผนใหม่ (new order) ในสังคมเช่นนี ้พลเมืองทุกคนหรื ออย่างน้ อยครึ่งหนึ่งร่วมมือกันดูแล (caring) ให้ มีกฎหมาย จรรยาบรรณอาชีพ และจริยธรรมที่ถกู ต้ อง และใช้ ได้ ผล เพราะมีบทลงโทษ (sanction) อย่างได้ ผล บทลงโทษมีความมัน่ คงจาก 2 ทาง คือ 1) สถาบันกฎหมายเอาจริ งทุกขันตอน ้ 2)ประชาชนให้ ความร่ ว มมื อ ด้ ว ยการสนับ สนุน ให้ ก ระบวนการกฎหมายด าเนิ น อย่ า งถูก ต้ อ งทุก ขัน้ ตอนทัง้ ประณามและแจ้ งเบาะแสแก่เจ้ าหน้ าที่ 11 กันยายน ค.ศ. 2001 (พ.ศ. 2544) (รหัส 9/11) เวิร์ลเทรดเซนเตอร์ ถกู ถล่ม คนตาย เกือบ 5000 ราย รัฐบาลอเมริ กนั ปรับท่าทีทนั ที โดยคิดว่าแม้ จะเชื่อฮันทิงทันเพียงใด หากเลือก ปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ (shift of paradigm) ก็จะเสียเปรี ยบฝ่ ายตรงข้ าม จะต้ องสูญเสียความ ได้ เปรี ยบแน่ ๆ สูญเสียดุลแห่งอานาจแก่ฝ่ายตรงข้ าม หรื อเสียทีแก่อานาจนอกประเทศที่ไม่ยอม ปรั บเปลี่ ยนกระบวนทรรศน์ จ าเป็ นต้ องยืนหยัดกับกระบวนทรรศน์ เดิม จนกว่าทุกฝ่ ายจะยอม ปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ด้วยทัว่ โลกซึง่ หมายถึง ระเบียนโลกใหม่ (New World Order) เมื่อเป็ น เช่นนี ้รัฐบาลอเมริ กนั ก็ต้องสร้ างสมรรถนะให้ มนั่ ใจได้ ว่าสามารถระงับเหตุร้ายทังในระยะสั ้ นและ ้ ยาว เสียงเรี ยกร้ องให้ หาวิธีที่ปลอดภัยกว่านี ้และปฏิบตั ิได้ จริ งกว่านี ้ย่อมมีอยู่เสมอ และตราบใดที่ สหรัฐอเมริ กาใช้ นโยบายดังกล่าว เสียงต่อต้ านนโยบายของรัฐบาลอเมริ กันก็คงจะมีต่อไปเป็ น ปรกติวิสยั ทาให้ แต่ละชาติร้ ู สึกว่าต้ องพึ่งตนเองและจับกลุ่มกันเฉพาะหน้ าเพื่อแก้ ปัญหาเฉพาะ หน้ าของตนตามที่ฮนั ทิงทันได้ พยากรณ์ไว้ ซึง่ ไม่เป็ นทางแก้ ปัญหาที่นา่ พอใจ ประเทศเกาหลีซึ่งได้ รับผลกระทบจากสงครามโลกครัง้ ที่ 2 อย่างบอบช ้าถึงที่สดุ จนไม่มี อะไรจะเสีย ไม่ว่าด้ านวัตถุและด้ านจิตใจรวมถึงคุณธรรมจริ ยธรรม ครัน้ ตังตั ้ วได้ ก็เกิดความรู้ สึก ร่วมกันทังชาติ ้ ว่า ต้ องพัฒนาชีวิตร่วมกันทังชาติ ้ เพื่อให้ มนั่ ใจได้ ว่าจะไม่ตกต่าเช่นนันอี ้ ก การเดิน ตามคาชี ้แนะของฮันทิงทันไม่มีอะไรจะต้ องเสี่ยงหรื อเสียสาหรับชาวเกาหลีอย่างน้ อยก็เสมอตัว อย่างมากก็คือพ้ นสภาพชี วิตเลวร้ ายต่าสุดสู่สภาพชีวิตที่ มีคุณภาพลอยเด่นในสัง คมโลก ชาว เกาหลี ใต้ ทุกภาคส่วนเอาจริ งกับเรื่ องนีอ้ ย่างพร้ อมเพรี ยงกัน มีแต่จะยอมกันเพื่ อการปรับปรุ ง
16 คุณภาพชีวิตของกันและกันและทุกฝ่ าย ผลจึงปรากฏอย่างที่เห็นอยู่ทกุ วันนี ้ (ซึ่งไม่มีใครบอกได้ ว่า จะเป็ นเช่นนี อ้ ยู่ไ ด้ นานแค่ไ หน) หากจะชื่ นชมคุณภาพของชาวเกาหลี ก็ควรจะวิเคราะห์ ไ ปถึ ง เบื ้องหลังของความสาเร็จดังกล่าวนี ้ด้ วย สหภาพยุโรปเขารวมตัวกันได้ ก็เพราะเขาแก้ ปัญหาความระแวงกันภายในสหภาพได้ สาเร็จ แต่ก็ยงั ต้ องระแวงชาติอื่น ๆ ที่ไม่อยู่ในสหภาพยุโรป เกาหลีจึงอยู่ในสภาพที่ได้ เปรี ยบกว่าที่ ไม่ต้องระแวงชาติอื่น เพราะที่แล้ วมาไม่มีชาติใด (ยกเว้ นเกาหลีเหนือ) คิดจะเอาเปรี ยบเกาหลีใต้ มี แต่ส งสารและอยากจะอนุเ คราะห์ จึง กลายเป็ นจุดแข็งของชาวเกาหลี ใต้ ที่ไ ม่ร้ ู สึกเสี่ ยงกับการ ปรั บ เปลี่ ย นกระบวนทรรศน์ ภัย จากเกาหลี เ หนื อ ก็ ไ ม่ร้ ู สึ ก ว่ า ต้ อ งเสี่ ย งเพราะมั่น ใจว่ า จะไม่ เสียเปรี ยบแน่เนื่องจากมีสหประชาชาติค้ มุ กัน ผิ ดกับสหภาพยุโรปที่ต้องระแวงการเสียเปรี ยบชาติ อื่น ๆ ทางแก้ สาหรับชาวสหรัฐฯ และชาติอื่น ๆ ก็คือ หวังว่ารัฐบาลจะมีความจริ งใจพอที่จะ สร้ างชาติให้ มนั่ คงพัฒนาคุณภาพชีวิตของพลเมือง และสร้ างความเข้ มแข็งให้ ประเทศอย่าให้ ต้อง ยอมเสียเปรี ยบแก่ชาติอื่น ๆ โดยไม่ต้องคิดเอาเปรี ยบชาติใดด้ วย หากเป็ นเช่นนี ้ก็พึงสนับสนุนหรื อ อย่างน้ อยก็ปล่อยให้ ภาคเอกชนพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนทังชาติ ้ ให้ ก้าวไปสู่คณ ุ ภาพชีวิตของ พลเมืองทุกคนตามนโยบายการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ของฮันทิงทัน จนสามารถผูกมิตรกับ ทุกชาติที่มีคณ ุ ภาพชีวิตตามการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์แล้ ว ขณะเดียวกันก็มีความเข้ มแข็ง พอที่จะป้องกันการเอาเปรี ยบจากชาติอื่น จนกว่าไม่มีชาติใดคิดจะเอาเปรี ยบชาติอื่นอีกแล้ วในโลก ชาติเหล่านี ้จึงมุง่ พัฒนาภาคเอกชนให้ ได้ ผลอย่างเต็มที่
2.3 อบรมคุณธรรมจริยธรรมอย่ างไรให้ ลัดและประหยัด หากเดินตามแนวเสนอของฮันทิง ทัน ให้ ใช้ ได้ กับทุกศาสนาและทุกภาคสังคม ผู้วิจยั ขอ เสนออย่างรวบรัดดังต่อไปนี ้
17 2.3.1 นิยามเบือ้ งต้ น ที่ต้องเข้ าใจให้ ตรงกัน คือ คุณธรรม (virtue) ได้ แก่ความประพฤติดี ถูกจริ ยธรรม จนเป็ นนิสยั แต่ละอย่าง ๆ เช่น ความซื่อสัตย์ ความชอบธรรม ความกล้ าหาญ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ศรัทธา เป็ นต้ น จริยธรรม (ethic, ethos, morality) ได้ แก่คณ ุ ธรรมชุดหนึ่งๆ ที่ทาให้ คนคนหนึ่งหรื อ กลุม่ หนึง่ หรื อทังมนุ ้ ษยชาติเป็ นคนดีโดยปกติ เช่น ทศพิธราชธรรม คุณธรรมของผู้นา คุณธรรมของ ครู คุณธรรมของผู้เรี ยน คุณธรรมของขาวไทย คุณธรรมของข้ าราชการ คุณธรรมของนักการเมือง ความดีพร้ อม (integrity) สภาพของการมีจริ ยธรรมครบตามฐานะ เช่น ความดี พร้ อมของประชาชนชาวไทย (ในฐานะเป็ นชาติ ห นึ่ ง ของโลกปั จ จุ บัน ) ความดี พ ร้ อมของ นักการเมืองไทย (ในฐานะผู้รับผิดชอบดาเนินนโยบายของชาติแทนคนทังชาติ ้ ) ความดีพร้ อมของ ข้ าราชการไทย (ในฐานะลูกจ้ างของชาติให้ รับผิดชอบในพันธกิจหนึง่ ๆ) ความประพฤติดี (good conduct) ได้ แก่พฤติกรรมดี (good behavior) แต่ละครัง้ ๆ จนกว่าจะเคยชินจึงกลายเป็ นคุณธรรม ความประพฤติเลว (bad conduct) คือการกระทาผิดจริ ยธรรมที่ยงั ไม่เป็ นนิสยั (habit) ความชั่ว (vice, bad habit) คือการประพฤติผิดจริยธรรมจนเป็ นนิสยั พฤติกรรม (Behavior) คือการกระทาของสิ่งมีชีวิตใด ๆ ศีล (prohibition) คือข้ อห้ าม ธรรม (recommendations) คือข้ อพึงปฏิบตั ิ ศีลธรรม (morality) คือประมวลข้ อห้ ามและข้ อปฏิบตั ิ วิชาศีลธรรม (morals) คือการศึกษาศีลและธรรมตามหลักวิชาการ จริ ยศาสตร์ (ethics) คือ วิช าว่าด้ วยทุกอย่างที่ นิยามมาแล้ วข้ างต้ นตามหลัก วิชาการ 2.3.2 การอบรมสร้ างจิตสานึกดี – ชั่ว มโนธรรม (Conscience) ความสานึกดีชวั่ (ชัว่ น้ อยเรี ยกว่าเลว) อาจจะสานึกใน ขณะที่จะต้ องตัดสินใจ เลือกวิถีทางประพฤติเฉพาะหน้ า หรื ออาจจะสานึกในอดีตแต่ยงั มีอิทธิ พล
18 ต่อการตัดสินใจเลือกวิถีทางประพฤติเฉพาะหน้ าก็ได้ เช่น นาย ก เห็นเด็กตกน ้า นาย ก สานึกได้ ว่า การยอมเปี ยกและผิดนัดเพื่อช่วยชีวิตเด็กเป็ นความประพฤติดี นาย ก จึงกระโดดลงไปช่วยเด็กคน นัน้ ให้ พ้ นจากการจมนา้ ตายถื อว่า นาย ก ประพฤติดี แต่ถ้า นาย ก เคยสละธุ ระส่วนตัวเพื่ อ ช่วยเหลือผู้อื่นที่มีความเดือดร้ อนเป็ นอาจิณ นาย ก อาจกระโดดลงไปช่วยเด็กตกน ้าคนนันทั ้ นทีที่ เห็นโดยไม่มีการตัดสินใจเฉพาะหน้ าแต่ประการใดเลย จะเรี ยกว่าทาโดยอัตโนมัติก็ได้ เช่นนี ้ถือได้ ว่า นาย ก มีความประพฤติดีด้วยโดยที่ความประพฤติครัง้ นี ้ มีผลมาจากการได้ เคยตัดสินใจเลือก วิถีทางประพฤติจนเคยชิน ความประพฤติดีจนเคยชินเรี ยกว่า คุณธรรม (virtue) ตรงข้ ามกับกิเลส (vice) ซึ่งเป็ นความประพฤติชวั่ จนเคยชิน ถือกันว่า ความประพฤติที่เคยชินจนเป็ นคุณธรรมแล้ ว ย่อมประเสริฐมากกว่าความประพฤติดีที่ตดั สินใจทาเป็ นครัง้ ๆ หากจะถามว่ามโนธรรมสานึกอะไรบ้ าง ก็จะวิเคราะห์ออกได้ เป็ น 2 องค์ประกอบ คือ เป้าหมายเฉพาะกิจ (particular end) กับวิถี (means) เพื่อบรรลุเป้าหมายสูงสุดของแต่ละบุคคล จึงเห็นได้ วา่ เป้าหมายเฉพาะกิจอาจจะเรี ยกว่าเป็ นวิถีได้ ด้วย มีแต่เป้าหมายสูงสุดเท่านันที ้ ่ไม่เป็ น วิถีสู่อะไรอีกแล้ วจึง ได้ ชื่ อว่าสูง สุด ซึ่ง ได้ มาจากศาสนาและ/หรื อปรั ชญาที่แต่ละคนยึดถื อเป็ น ปรกติวิสยั อยู่ มโนธรรมควรจะสานึกว่ าวิถีทัง้ หลายจะต้ องมุ่งสู่เป้าหมายสูงสุดของชีวิต แต่ ตามปกติความเคยชินส่วนตัวและมาตรการของสังคมที่ยอมรับจะเป็ นความสานึกเฉพาะกิจของ มโนธรรมเสียเป็ นส่วนมาก ได้ ก ล่ า วมาข้ างต้ น ว่ า มโนธรรมเป็ นองค์ ป ระกอบส าคัญ อัน ขาดมิ ไ ด้ เพราะเป็ น องค์ประกอบที่ทาให้ พฤติกรรมกลายเป็ นความประพฤติ รู้ ว่าอะไรดีอะไรชัว่ อันเป็ นเงื่อนไขที่เปิ ด โอกาสให้ มนุษย์ได้ ตดั สินใจด้ วยเจตจานงเสรี (free will) เฉพาะตัวว่า จะทาดีหรื อทาชัว่ ในเมื่อมี สิทธิเลือกตัดสินใจ ความรับผิดชอบต่อการเลือกของตนก็ตามมาเป็ นของคูก่ ัน และนี่คือศักดิ์ศรี และความยิ่งใหญ่ของมนุษย์เหนือสัตว์โลกทังหลาย ้ คือมีความสามารถเลือกและรับผิดชอบทาให้ ความดีมีคา่ สมควรยกย่อง และความชัว่ ทาให้ เสื่อมเสีย สมควรถูกประณามว่ากล่าว ดังนันจึ ้ งควรวิเคราะห์กนั ให้ ถ่องแท้ สกั หน่อยถึงความตื ้นลึกหนาบางของมโนธรรมเพื่อให้ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม และมี กาลังใจที่จะมุ่งมัน่ ทาดีหนีชวั่ จนเป็ นคุณธรรมดังกลไกมโน ธรรมต่อไปนี
19 ปรัชญาชาวบ้ าน ปรัชญาของนักปราชญ์ มโนธรรม อิทธิพลภายนอก
เป้ าหมายสู งสุ ด
อิทธิพลภายใน เป้ าหมายเฉพาะกิจ ใจเสรี เป้ าหมายเฉพาะกิจ ตัดสินใจเลือกวิถี วิถี มนุษย์เรามีส่วนเหมือนสัตว์เดียรัจฉานทัง้ หลายตรงที่ว่า ทาอะไรมีเป้าหมายที่มาจาก สัญชาตญาณ คือไม่ได้ คิดเอง แต่ธรรมชาติผลักดันให้ ทาเพราะมีเป้าหมายตามสัญชาตญาณ เพื่ อ เอาตัว รอดและด ารงอยู่ข องมนุษ ยชาติ เข่น การกิ น อยู่ หลับ นอน สื บ เชื อ้ สาย เป็ นต้ น นอกเหนือไปจากนันมนุ ้ ษย์ยงั มีเป้าหมายจากปั ญญาของตนเองที่เข้ าใจตนเองซึ่งจะแตกต่างกันไป ตามบุคคล เมื่อมนุษย์ร้ ูเป้าหมายแล้ วไม่ว่าจะมาจากสัญชาตญาณหรื อจากใจของตนเอง มนุษย์ เรามีเสรี ภาพตัดสินใจเลือกว่าจะเดินตามหรื อไม่ก็ได้ ซึ่งสัตว์เดียรัจฉานไม่สามารถกระทาได้ อย่าง มนุษย์ ความสานึกอย่ างนีเ้ รียกว่ ามีมโนธรรม นักศึกษามานัง่ ในห้ องบรรยายเพราะสัญชาตญาณผลักดันให้ มาใช่ไหม เพราะสนุกและ ให้ ความพอใจมากที่สุดจึงพากันมานัง่ ในห้ องนี ้ใช่ไหม ถ้ าไม่ใช่ก็ขอให้ คิดดูว่ามานัง่ ในห้ องนี ้เพื่อ อะไร เพื่อสอบผ่านใช่ไหม ถ้ าเช่นนันการสอบผ่ ้ านก็เป็ นเป้าหมาย (end) ของการมานัง่ ในห้ องนี ้ และการนัง่ ในห้ องนี ้ก็คือวิถี (means) ไปสูเ่ ป้าหมายของมัน ถามต่อไปว่าจะสอบผ่ านไปทาไม ยัง ตอบได้ ว่าเพื่อหน่วยกิต ดังนันการสอบผ่ ้ านจึงเป็ นเพียงเป้าหมายเฉพาะกิจ นัน่ คือเป้าหมายของ
20 วิถีที่ต่ากว่า และในขณะเดียวกันก็เป็ นวิถีสู่เป้าหมายที่สูงกว่า ถามต่อไปได้ ว่าได้ หน่วยกิตเพื่อ อะไร เพื่ อได้ ปริ ญ ญา เพื่ อได้ ง านทาดี ๆ เพื่ อ ได้ เงิ นมาก ๆ เพื่ อหาความสะดวกสบายในชี วิ ต เหล่านี ้ล้ วนเป็ นเป้าหมายเฉพาะกิจทังสิ ้ ้น ครัน้ ถามว่าอยากได้ ความสะดวกสบายในชีวิตไปทาไม บางคนตอบต่อไปไม่ไ ด้ แล้ ว เพราะนัน่ เป็ นเป้าหมายสุดท้ ายของเขา (final, end) แต่บางคนยังตอบต่อไปได้ เช่น เพื่อมีโอกาส ปฏิบตั ศิ าสนกิจ เพื่อบรรลุสวรรค์สาหรับบางคนหรื อนิพพานสาหรับบางคน (ตามความเชื่อของแต่ ละศาสนา) ถ้ าจะถามต่อไปว่าอยากไปสวรรค์หรื อนิพพานเพื่ออะไร ก็จะตอบต่อไปไม่ได้ แล้ ว มัน เป็ นเป้าหมายสุดท้ ายของผู้มีศาสนาในใจ จึ ง เห็ น ได้ ว่ า เป้ าหมายสุ ด ท้ า ยของคนเราไม่ เ หมื อ นกัน บางคนก็ จ บลงแค่ ค วาม สะดวกสบายในโลกนี ้ อยากกิ น อะไรได้ กิ น อยากท าอะไรได้ ท า อยากเที่ ย วที่ ไ หนได้ เ ที่ ย ว นอกจากนันไม่ ้ สนใจ เรากาหนดคนประเภทนี ้ว่าในห้ องขวามือของเขามีอภิปรัชญาแบบสสารนิยม (materialism) หรื อธรรมชาตินิยม (naturalism) นัน่ คือไม่เชื่อว่ามีชีวิตเหนือธรรมชาติ หรื อชีวิตหลัง ความตาย ธรรมชาตินิยมต่างกับสสารนิยมตรงที่เชื่อว่ามีจิตซึง่ เป็ นองค์ประกอบของมนุษย์สตั ว์และ พืช แต่จิตไม่ใช่วิญญาณอมตะ จิตแบบนี ้จะสลายตัวไปพร้ อมกับความตาย ส่วนสสารนิยมเชื่อว่า จิตไม่มี และเชื่อว่าที่เรี ยกกันว่าจิตนัน้ คือพลังของสสารซึ่งผู้ร้ ูเท่าไม่ถึงการณ์ทึกทัก เอาว่าเป็ นจิต หรื อวิญญาณ 2.3.3 จัดระเบียบสังคมด้ วยธรรมาภิบาล ธรรมาภิบาล (good governance) คือการบริ หารงานปกครองประเทศที่เป็ นธรรม แก่ทกุ คนที่เป็ นเจ้ าของประเทศ ซึ่งตามหลักการจะต้ องประกอบด้ วยองค์ประกอบ 3 คือ กฎหมาย จรรยาบรรณ และจริยธรรม กฎหมาย คือ ระเบียบการต่าง ๆ ที่บงั คับพลเมืองทุกคนของแต่ละประเทศชาติให้ ต้ องปฏิบตั ิและถื อตามอย่างเสมอหน้ ากัน หากมีกรณียกเว้ นก็ต้องยกเว้ นแก่ทุกคนที่อยู่ภายใต้ เงื่อนไขเดียวกัน เพื่อให้ เป็ นไปได้ อย่างนี ้จาเป็ นต้ องมีบทลงโทษผู้ฝ่าฝื นอย่างเสมอหน้ ากันด้ วย หากมีการแก้ กฎหมายจะใช้ บงั คับตังแต่ ้ มีการประกาศแก้ อย่างเป็ นทางการแล้ ว จะย้ อนหลังไม่ได้
21 กฎหมายจะต้ องมีมากพอที่จะป้องกันความเสียหายในสังคม แต่ไม่มากเกินจาเป็ น เพราะจะเป็ นการละเมิดสิทธิเสรี ภาพของผู้ถือกฎ จรรยาบรรณ คือระเบียบการเพิ่มเติมสาหรับบุคคลกลุ่มหนึ่ง ๆ ที่ทาประโยชน์แก่ สัง คมและได้ ผ ลประโยชน์ จ ากสัง คม จึง มี ฐ านะเป็ นกฎหมายเฉพาะกลุ่ม เพื่ อคา้ ประกันความ รับผิดชอบเพียงพอต่อสังคมให้ ได้ ผลประโยชน์สูงสุดและผู้รับผิดชอบได้ ผลตอบแทนคุ้มกับความ เสียสละที่ยอมรับใช้ สงั คมตามข้ อตกลง จรรยาบรรณจึงมีฐานะเหมือนกฎหมายแต่ใช้ เฉพาะกลุ่ม คือ ต้ องมีบทลงโทษผู้ฝ่าฝื นโดยมีการสอบสวนและลงโทษอย่างเสมอหน้ าเฉพาะกลุม่ หมายเหตุ จรรยาบรรณถ้ าระบุบทลงโทษก็เป็ นระเบียบการที่ต้องการเน้ น ถ้ าไม่ระบุ บทลงโทษก็ มี ฐ านะเป็ นเพี ยงคุณ ธรรม จริ ย ธรรม แต่ผ้ ูทาจรรยาบรรณต้ องการเน้ นเป็ นพิเศษ ผู้ปฏบัตไิ ด้ ความดีความชอบแต่ผ้ ไู ม่ปฏิบตั ไิ ม่ได้ รับโทษ จริยธรรม คือ การกระทาดีใด ๆ นอกเหนือไปจากกฎหมายและจรรยาบรรณ ส่วน นี ้มีบทลงโทษไม่ได้ ได้ แต่ชกั ขวนเกลี ้ยกล่อมด้ วยการอบรมเสนอแนะ แต่ก็มีความสาคัญต่อการ ถือและปฏิบตั กิ ฎหมายและจรรยาบรรณอย่างเต็มใจและมีความสุข 2.3.4 วิเคราะห์ 5 ระดับของปมคุณธรรม และต้ องพิสูจน์ให้ ได้ ว่า “ปมคุณธรรม ทางาน” จะให้ ความสุขแท้ กว่าความสุขที่ได้ จากสัญชาตญาณอื่นๆ ข้ อพิสจู น์ที่สาคัญคือ 1) เอกภพพัฒนาคุณภาพตลอดเวลา เป็ นธรรมชาติของทุกสิ่ง 2) วิทยาศาสตร์ ก้าวหน้ าทาให้ เกิ ดทุกข์ ม ากกว่าสุข (ทางานมากขึน้ เพราะต้ อง แข่งขันกันจนเครี ยด) คนเราทุกคนมีปมคุณธรรมที่ทาการตามกระบวนทรรศน์ 5 ของปั ญญา ดังนี ้ 2.3.4.1 กระบวนทรรศน์ ดกึ ดาบรรพ์ ในยุคดึกดาบรรพ์มนุษย์เราต่างคนต่าง อยู่ ถ ้าใครใครอยู่ อู่ใครใครนอน ชอบใจอะไรทาอย่างนัน้ ไม่มีกฎ ไม่มีเกณฑ์ ไม่พอใจถ ้านี ้ก็ไปหา ถ ้าอื่น เห็นปลอดภัยเข้ าไปอยูไ่ ด้ เลย ไม่ต้องขออนุญาตใคร ถ้ าเบื ้องบนไม่ห้ามเป็ นใช้ ได้ ถ้ าถ ้านันมี ้ ใครอยู่ก่อนแล้ วก็ไล่เขาออกไปให้ ได้ มิฉะนัน้ ก็ไปหาถา้ อื่นดีกว่า ต้ องการคู่ครองก็ออกไปด้ อมๆ มองๆ พอใจคนไหนไม่ต้องพร่ามทาเพลง ตีหวั ให้ สลบดึงผมเข้ าถ ้าเป็ นเสร็ จพิธี ถ้ าไม่สลบก็ตีอีกที อย่าให้ แรงถึงตาย หากบังเอิญพลังมื ้ อถึงตายจริ งๆ ก็เขี่ยลงเหว เดินหน้ าหาใหม่ จนกว่าจะพบคู่
22 ถูกใจและใช้ วิธีเดิม จนกว่าจะสมใจ หากเธอมีผ้ คู ้ มุ กันก็ดูว่าพอสู้ไหวไหม มิฉะนันก็ ้ อย่ายุ่งเกี่ยว ดีกว่า เบื ้องบนยังไม่ประทานให้ คิดได้ แค่นนก็ ั ้ หมดเรื่ อง มนุษย์ดกึ ดาบรรพ์ไม่ร้ ูจกั เสียสละให้ ใคร จนกว่าจะมีลกู สืบสันดาน จึงรู้จกั ทาเพื่อลูกตาม สัญชาตญาณสืบยีน แม้ แต่เบื อ้ งบนเขายอมตามพระประสงค์เพราะกลัว จะเสียประโยชน์ เขาจะ เอาใจเบื ้องบนก็เพราะหวังได้ ประโยชน์ ปมคุณธรรมของเขาก็คือประโยชน์ส่วนตนและทายาท ตามสัญชาตญาณเห็นแก่ตวั หรื ออัตตานิยม (egoism) ผู้มีชีวิตอยู่ทุกวันนีย้ ังมีจานวนมากที่มี กระบวนทรรศน์แบบนี ้และปมคุณธรรมของเขาอยู่ตรงนี ้ บางทีทาไปโดยไม่ร้ ู ตวั บางทีทาทังๆที ้ ่ร้ ู เพราะสมัครใจจะเป็ นคนอย่างนัน้ ใครจะทาไม อยากให้ คนประเภทนี ้ทาอะไร จี ้ให้ ถกู ปมคุณธรรม ของเขา เขาจะเต็มใจทาทุกอย่างอย่างทุม่ เท ไม่เชื่อก็ลองดูแต่พึงระวังว่าอัตตานิยมของเขาอาจจะ แปรสภาพเป็ นการหลอกลวงและทุจริ ตที่แนบเนียนภายใต้ โฉมหน้ าแห่งความสุ จริ ตเชิงกุลยุทธ์ได้ ง่ายมาก 2.3.4.2 กระบวนทรรศน์ โบราณ เริ่ มเมื่ อคนเราจาเป็ นต้ องออกจากถา้ มา รวมกลุม่ กันเพื่อความอยูร่ อด “รวมกันเราอยู่ สู้คนเดียวหัวหาย” จาเป็ นต้ องมีหวั หน้ า จาเป็ นต้ องมี กฎมีระเบียบเพื่อสัง คมอยู่รอด “จงรักษากฎและกฎจะรักษาตัวท่าน (และทุกคนที่ท่านรั ก) ปม คุณธรรมอยู่ที่ความรักเสียสละต่อหมู่คณะของตนยิ่งกว่าประโยชน์ส่วนตนและส่วนครอบครัว ใคร ทาได้ ถือว่าเป็ นวีรบุรุษวีรสตรี เทพ เทวีประจาหมู่คณะ ใครแปรพักตร์ ไปทาประโยชน์ตอ่ หมู่คณะ อื่นถือว่าทรยศ และไม่มีหมูค่ ณะใดไว้ วางใจ ไปอยู่ได้ อย่างมากก็ในฐานะคนแปลกหน้ าพึ่งใบบุญ มิฉะนันก็ ้ ตกเป็ นทาส การขับไล่ออกจากหมูค่ ณะถือว่าเป็ นโทษร้ ายแรงยิ่งกว่าโทษประหาร เพราะ ไม่ตายก็เหมือนตาย แต่ต้องลาบากมากก่อนตาย คนกระบวนทรรศน์อย่างนีย้ ังพอจะมีบ้างใน สังคมของเรา จี ้ให้ ถกู ปมคุณธรรมของเขา (ซึ่งเขาคิดว่าดีพอสาหรับเขา) เขาจะเต็มใจทาทุกอย่าง อย่างทุม่ เท ไม่เชื่อก็ลองดู แต่คงมีน้อยกว่าพวกแรก พวกนี ้ดูเหมือนว่าปมคุณธรรมของเขาจะอยูร่ ะดับสูงกว่าพวกแรก แต่ต้องระวังความเลย เถิดของพวกเขาในด้ านพงศานิยม (racism) ซึ่งอาจจะเป็ นชนวนความเดือ ดร้ อนในสังคมได้ เพียงแต่เพราะหวังสร้ างจุดเด่นในหมูค่ ณะ เขาอาจจะคิดว่าเป็ นคุณธรรม แต่มนั เป็ นคุณธรรมที่ไม่ ครบองค์ประกอบ จึงเป็ นเพียงคุณธรรมเทียม
23 2.3.4.3 กระบวนทรรศน์ ยุคกลาง เริ่ มจากการมีศาสดาและคนส่วนใหญ่เชื่อ ศาสดามากกว่าเชื่อผู้นาชุมชน จะรับใครเป็ นผู้นาชุมชนก็เพราะมัน่ ใจว่าเขาปกครองตามคติของ ศาสดา มิฉะนันจะเปลี ้ ่ยนผู้นาชุมชนแทนเปลี่ยนศาสนา ปมคุณธรรมของคนกลุ่มนี ้คือศาสนนิยม (religionism ซึ่งอาจจะถึงขึ ้น fundamentalism และ fanatism) บางคนอาจจะยอมเสียสละทุก อย่ า งแม้ แ ต่ชี วิ ต อย่ า งไร้ เหตุผ ลเพี ย งพอ จึ ง อาจจะตกเป็ นเครื่ อ งมื อ ของผู้ห วัง อ านาจหรื อ ผลประโยชน์ใดๆ โดยอ้ างคาสอนหรื อศรัทธาเป็ นที่ตงั ้ แต่บิดเบือนเจตนาของศาสดาเพื่อให้ ตน หรื อพรรคพวกของตนได้ ประโยชน์ โดยไม่คานึงว่าใครจะเดือนร้ อนประการใด คนประเภทนีด้ ู เหมือนว่าปมคุณธรรมของเขาอยู่ระดับสูงกว่า 2 ประเภทแรก แต่พึง ระวัง และสงสารความไร้ เดียงสาของพวกเขา เพราะอุดมการณ์ที่พวกเขาถือว่าสูงส่งที่สดุ นันอาจจะเป็ ้ นอันตรายต่อตนเอง และผู้อื่น อันเป็ นความสูญเสียที่ไม่ควรจะเกิดขึ ้น ความสูญเสียในอดีตน่าจะเพียงพอแล้ วที่จะไม่ สร้ างความจาเป็ นเช่นนันอี ้ ก ขอให้ ชว่ ยกันดูแลอย่าให้ เกิดซ ้าขึ ้นมาอีกเป็ นอันขาด 2.3.4.4 กระบวนทรรศน์ นวยุคหรือยุคใหม่ เริ่มจากความกระตือรื อล้ นถึงขัน้ หลงใหลในผลสาเร็จของวิธีการวิทยาศาสตร์ จนกลายเป็ นความหวังว่าวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จะช่วยแก้ ปัญหาทุกอย่างของมนุษย์ได้ สกั วันหนึ่ง จนอาจจะแปลงโลกนีใ้ ห้ เป็ นสวรรค์บนดิน ก็ เป็ นได้ นัน่ คือเราจะพบวิธีกาจัดการเกิด แก่ เจ็บ ตาย เพื่อรักษาความสมดุลให้ มีพลโลกอยู่เท่า เดิมป้องกันโรคได้ ทุกชนิด ป้องกันอุบตั ิเหตุได้ ทุกอย่าง ที่กระทบกระเทือนชีวิตความเป็ นอยู่ของ มนุษย์ จัดระเบียบสังคมใหม่ให้ ทุกคนแบ่งงานกันทาอย่างทัว่ หน้ าโดยแต่ละคนทางานน้ อยที่สุด และใช้ เวลาหาความบันเทิงให้ มากไว้ พวกเขาจึงคิดว่าการทุ่มเทเพื่อเป้าหมายดังกล่าวเป็ นความ เสียสละต่อมวลมนุษย์ทงโลก ั้ ปมคุณธรรมของพวกเขาคือลัทธิมนุษยนิยม (Humanism) คือทาทุก อย่ า งเพื่ อ ประโยชน์ สุข ของมวลมนุษ ย์ อ ย่า งไร้ พรมแดนแห่ง ประเทศ ชาติ เชื อ้ ชาติ ศาสนา วัฒนธรรม และภาษา อยากให้ คนประเภทนี ้ทาอะไร ลองจี ้ให้ ถกู ปมคุณธรรมของเขา เขาจะเต็ม ใจทาทุกอย่าง แต่ก็พงึ ระวังความเลยเถิดของเขา จนกลายเป็ นเครื่ องมือของผู้นาชาญฉลาดอย่าง ฮิตเลอร์ หรื อสตาลิน ชักชวนให้ ช่วยกันทาลายอุปสรรคทุกอย่างที่ขวางหน้ า โดยไม่แคร์ ว่ าจะต้ อง ฆ่าคนที่ไม่เห็นด้ วยไปสักเท่าใด เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายเร็วอย่างใจ
24 2.3.4.5 กระบวนทรรศน์ หลังนวยุค เป็ นกระบวนทรรศน์แห่งการไม่ยึดมั่น อย่างมีวิจารณญาณ จึงถื อคติสายกลางว่ายึดเหนี่ยวแต่ไม่ยึดติด คือยึดเหนี่ยวทางสายกลางที่ เลือกส่วนดีจาก 2 ข้ างที่สุดขัว้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ ดีขึ ้นเรื่ อยไปอย่างไม่ยึดติดที่ขนใดเลย ั้ เมื่อมีคณ ุ ภาพชีวิตในระดับหนึง่ แล้ วก็หาสิ่งที่ดีกว่าต่อไปอีกนิดหนึ่ง เมื่อได้ แล้ วก็แสวงหาต่อไปอีก นิดหนึง่ ตลอดชีวิตจึงมีแต่การแสวงหา การแสวงหาคือการยึดเหนี่ยว แต่จะไม่ยอมยึดติดอยู่ที่ขัน้ ใดเลย วิจารณญาณของการยึดเหนี่ยวแต่ไม่ยดึ ติดก็คือ คุณธรรมแม่บท 4 คือ 1. ความรอบคอบ คือแสวงหาความรู้ เรื่ องคุณธรรมอย่างดีที่สุดตามโอกาส เพื่อได้ สัจจะแห่งชีวิต 2. ความกล้ าหาญ คือกล้ าที่จะทาตามที่ร้ ูวา่ ดีในแต่ละขณะ เพื่อมีทมะข่มใจไม่ท้อแท้ ต่ออุปสรรคใดๆ 3. ความพอเพียง หรื อทางสายกลาง ไม่ขาดไม่เกิน ฝึ กใจให้ มี ขันติ ไม่โลภทาดี เกินไป และอดทนต่อความเกียจคร้ านที่จะทาดี 4. ความเป็ นธรรม ไม่ละเมิดสิทธิของผู้ใด และยินดีให้ ทุกคนที่เกี่ยวข้ องได้ ตามสิทธิ แม้ จะต้ องเสียเปรี ยบก็ยินดีบริจาคเพื่อฝึ กจาคะ จึงเห็นได้ วา่ คุณธรรมแม่บท 4 ที่แอร์ เริ สทาทเทิลชาวกรี กคิดขึ ้นเป็ นคนแรก ที่แท้ ก็มีก่อน แล้ วในพระไตรปิ ฎก เพราะเทียบได้ กบั ฆราวาสธรรม 4 ได้ พอสมควรทีเดียว ดังนันปมคุ ้ ณธรรมของคนกลุ่มนี ้ก็คือ ยินดีทาทุกอย่างเพื่อคุณภาพชีวิตของตนเอง ของ เพื่อนมนุษย์ทกุ คน และของเอกภพทังหมด ้ เขาถือลัทธิเอกภพนิยม (cosmopolitarianism) อย่าง สมบูรณ์ แบบ คือดูแลให้ ทุกคนและทุกสิ่งมี ส่วนร่ วมในคุณภาพของกันและกัน (caring and shoring)
โดยถื อ สัจ ธรรมว่ า ทุก สิ่ ง จะเดิ น หน้ า ไปด้ ว ยดี พ ร้ อมกัน โดยดูแ ลกัน ตามความรู้
ความสามารถ สรุป ก็คงสรุปได้ ไม่ยากว่า “ปมคุณธรรมนันมี ้ จริ ง” แต่มีอยู่หลายต่อม ในมนุษย์แต่ละ คนมี ต่างกันเป็ น 5 ต่อม จี ไ้ ม่ตรงต่อมที่ เขามี ก็ ไม่เกิ ดผล แต่ถ้าต่อมที่ เขามีอยู่นัน้ เป็ นต่อมที่ ล้ าสมัย และเราไปจี ้เข้ าโดยจงใจเพราะหวังผลทางอ้ อม หรื อโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ จึงเกิ ดผลตามที่
25 จี ้อย่างสุจริตใจ ผลข้ างเคียงที่ให้ ร้ายก็เกิดขึ ้นอย่างสุจริตใจ ก็ต้องตามแก้ กนั ไปอย่างไม่ร้ ูจกั จบสิ ้น คุณ ธรรมทุก ข้ อ จึง ต้ อ งอาศัยความพอเพี ย งซึ่ง ต้ องช่ว ยกันศึกษาให้ ถ่ องแท้ และปฏิ บัติอ ย่า งมี วิจารณญาณ เป็ นเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวทรงกาชับว่า มิเป็ นเพียง เศรษฐกิจ แต่เป็ นคุณธรรม กล่าวได้ อีกอย่างว่าเป็ นทังเศรษฐกิ ้ จพอเพียงและคุณธรรมแห่งความ พอเพียง ช่วยกันจี ้ให้ ถกู ปมอันพึงประสงค์เถิด สังคมจะดีขึ ้นอย่างแน่นอน 2.3.5 ต้ องหาเทคนิ คสาหรั บเปลี่ ยนกระบวนทรรศน์ ส่ ู กระบวนทรรศน์ สุดท้ าย เพื่อจี ้ให้ ปมคุณธรรมทางาน ต้ องค้ นคว้ าต่อ ในเรื่ องต่อไปนี ้ 3.5.1 การยึดมัน่ ถือมัน่ / การไม่มียดึ มัน่ ถือมัน่ เปรี ยบเทียบกัน 3.5.2 ความจริง 5 วิชา : 1+1 = 1 ; 1 = 0 3.5.3 สิ่งจริงเราไม่ร้ ู สิ่งรู้มนั ไม่จริง 3.5.4 เส้ นขนานพบกันได้ 3.5.5 ลูกอายุมากกว่าพ่อบังเกิดเกล้ า ทัง้ นี เ้ พื่ อให้ คลายทิฎ ฐิ จ ะได้ พ ร้ อมรั บฟั ง หลักการ (เหมื อนอนาถปิ ณฑิกเศรษฐี ปราบ พราหมณ์ในทิฎฐิ สตู รและพระพุทธเจ้ าทรงรับรองความเหมาะสม) (ดูรายละเอียดในบทที่...) 2.3.6 ทางจัดอบรมให้ มีคุณธรรมดีพร้ อม คุณ ธรรมแม่ บ ท 4 (ของแอร์ เ ริ ส ทาทเทิ ล )
ที่ จ ริ ง ไม่ ใ ช่ ตัว คุณ ธรรม แต่เ ป็ น
องค์ประกอบหรื อ เงื่อนไขจาเป็ นของคุณธรรมทุกข้ อ ดังต่อไปนี ้ 2.3.6.1 ความรอบคอบ (Prudence) หรื อความรู้รอบ มิได้ หมายถึงการมีความรู้ มาก “ความรู้ ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด” มีถมไป ความรอบคอบจึงหมายถึงการเล็งเห็นหรื อหยัง่ รู้ ได้ ง่ายและชัดเจนว่าอะไรควรประพฤติและอะไรไม่ควรประพฤติ การแสวงหาความรู้ มีส่วนช่วยให้ เกิ ด ความรอบคอบ แต่ ท ว่ า ความรอบคอบอั น ลึ ก ซึ ง้ ส่ ว นมากเกิ ด จากการคิ ด ค านึ ง และ ประสบการณ์
26 2.3.6.2 ความกล้ าหาญ (Fortitude, Courage) กล้ าหาญทางกายภาพ ได้ แก่ กล้ า เสี่ยงความยากลาบาก อันตรายและความตาย เพื่ออุดมการณ์ กล้ าหาญทางจิตใจ ได้ แก่ กล้ า เสี่ยงการถูกเข้ าใจผิด กล้ าเผชิญการใส่ร้ายและการเยาะเย้ ย เมื่อมัน่ ใจว่าตนกระทาความดี 2.3.6.3 การรู้ จักประมาณ หรื อความพอเพียง (Temperance, Sufficiency) สัตว์มีสญ ั ชาตญาณกระตุ้นให้ กระทากิจการบางอย่างเพื่อการอยู่รอดของมันเองและเผ่าพันธุ์ เมื่อ หมดความจาเป็ นสัญชาตญาณนันก็ ้ หยุดทางานโดยอัตโนมัติ มนุษย์มีสญ ั ชาตญาณเช่นกัน แต่ มนุษ ย์ ยัง มี ความส านึก สามารถส านึก และปลุกสัญ ชาตญาณได้ ตามใจ มนุษ ย์ จึง มักจะใช้ สัญชาตญาณเลยเถิดเกินความจาเป็ นตามธรรมชาติ จนบางครัง้ ปลุกสัญชาตญาณเพื่อความพึง พอใจเท่า นัน้ การไม่ร้ ู จัก ควบคุม พลัง ในตัว ให้ อ ยู่ใ นขอบเขตของจุด มุ่ง หมายในชี วิ ต มัก จะ ก่อให้ เกิดปั ญหายุ่งยากมากแก่ตวั เองและสังคม เพราะเมื่อคนหนึ่งใช้ พลังเกินขอบเขตอย่างไม่ ถูกต้ อง ก็มกั จะก้ าวก่ายสิทธิอนั ชอบธรรมของผู้อื่นอย่างหลีกเลี่ ยงไม่ได้ เช่น อยากจะสร้ างความ มัน่ คงให้ แก่อนาคตของตนเองและของทายาท ก็จะหาวิธีสะสมสมบัติไว้ มาก ๆ โดยวิธีไม่สุจริ ต เป็ นต้ น คุณ ธรรมการรู้ จัก ประมาณช่ ว ยให้ รู้ ว่ า อะไรควรอยู่ ใ นขอบเขตแค่ ไ หน การไม่ ใ ช้ สัญชาตญาณเลยจะทาให้ เป็ นคนไร้ พลังและไร้ ประโยชน์ การใช้ สญ ั ชาตญาณเกินขอบเขตก็มกั จะ ก่อความเดือดร้ อน จึงต้ องฝึ กให้ ร้ ูจกั อยูใ่ นขอบเขตอันควรในแต่ละสภาพและฐานะของบุคคล 2.3.6.4 ความยุติธรรม (Justice) ได้ แก่ การให้ แก่ทกุ คนและแต่ละคนตามความ เหมาะสม (giving each his due) ดังที่แอร์ เริสทาทเทิลได้ นิยามไว้ นัน่ คือเราต้ องรู้ว่าเรามีกาลังให้ เท่าไร ควรให้ แก่ใครเท่าไรและอย่างไร เช่น แก่ตวั เราเอง แก่บคุ คลในครอบครัว แก่บคุ คลในวงศ์ ญาติ แก่เพื่อนฝูงมิตรสหาย แก่บุคคลร่ วมงาน แก่ผ้ บู งั คับบัญชา แก่ผ้ อู ยู่ใต้ บงั คับบัญชา ฯลฯ ความยุติธรรมเป็ นพื ้นฐานของคุณธรรมทุกอย่างดังที่เพลโทว์ได้ ให้ ข้ อสังเกตไว้ จึงเป็ นแก่นหรื อ สารัตถะของคุณธรรมทุกชนิด ผู้ใดมีความยุติธรรมสูงย่อมเพียบพร้ อมด้ วยคุณธรรมทุกอย่าง เมื่อ เพียบพร้ อมแล้ วก็เรี ยกว่าได้ บม่ นิสยั ดีพร้ อมสรรพ คุณธรรมบางอย่างอาจจะไม่ปรากฏออกมาให้ เห็น เพราะไม่มีโอกาสจะแสดงออก แต่ถ้ามีโอกาสเมื่อใดก็พร้ อมที่จะแสดงออกได้ ทันทีอย่าง ถูกต้ องเพียบพร้ อม ผู้มีความยุติธรรมสูงจึงเป็ นผู้มีความเป็ นระเบียบเรี ยบร้ อยในตัว สังคมที่มี ความยุติธรรมย่อมเป็ นสังคมที่สงบสุขเพราะทุกคนมั่นใจได้ ว่าตนเองจะได้ รับสิทธิอันชอบธรรม
27 หากมีผ้ ใู ดละเมิดก็จะได้ รับการลงโทษอันควรแก่โทษานุโทษ จึงมัน่ ใจได้ วา่ ไม่มีใครอยากจะละเมิด โดยง่าย อย่างไรก็ตาม เนื่องจากได้ มีความพยายามที่จะนิยามความยุติธรรมเพื่อตอบสนอง ความเห็นแก่ตวั อยู่เนือง ๆ จึงมีปัญหาต้ องขบคิดกันเรื่ อยมาว่า อะไรคือความยุติธรรมที่เราจะต้ อง ปฏิบตั ิในสังคม สมาชิกประเภทใดในสังคมสมควรได้ สิทธิแค่ไหน ใครจะเป็ นผู้กาหนดและเมื่อมี ปั ญ หาเกิ ดขึน้ ใครจะเป็ นผู้ชี ข้ าด จึง นับว่าเป็ นปั ญหาหนึ่ง ที่นักจริ ยศาสตร์ ด้านต่าง ๆ จะต้ อง ช่วยกันขบคิดกันว่า ควรให้ บุคคลมีทรัพย์สินเท่าไรจึงจะยุติธรรม การต่อรองระหว่างนายจ้ างกับ ลูกจ้ างต้ องมีเงื่อนไขอะไรบ้ างจึงจะยุติธรรม การทาแท้ งอย่างเสรี จะยุติธรรมหรื อไม่ ใครควรเสีย ภาษีให้ รัฐเท่าไรจึงจะยุตธิ รรม รัฐจะต้ องช่วยคนจนอย่างไรจึงจะยุตธิ รรมและไม่เป็ นการส่งเสริ มให้ พลเมืองเกียจคร้ าน เมื่อถูกขบวนการก่อการร้ ายจู่โจมอย่างกรณีศนู ย์การค้ าโลกแห่งนิวยอร์ ก พึง ดาเนินการอย่างไรจึงจะยุตธิ รรมเป็ นต้ น
2.4 วิวัฒนาการของมาตรการความยุตธิ รรม 2.4.1 ความยุติธรรมคือการแก้ แค้ น ในสมัยแรกๆของมนุษยชาติจะพบหลักฐานทัว่ ๆ ไปว่าความยุติธรรมคือการแก้ แค้ น เช่น ถ้ าญาติคนหนึ่งถูกรังแก ทุกคนในวงศ์ตระกูลจะต้ อง ช่วยกันแก้ แค้ นมิฉะนันจะไม่ ้ ยตุ ธิ รรมแก่ผ้ ทู ี่ถกู รังแก วิธีแก้ แค้ นนันท ้ าได้ ตามใจ ทาให้ ฝ่ายตรงข้ าม เสียหายให้ มากที่สุดเป็ นใช้ ได้ หรื อถ้ าคนในเผ่าถูกฆ่าตาย ทุกคนในเผ่าถือเป็ นหน้ าที่จะต้ องแก้ แค้ น เพื่อให้ ความยุติธรรมแก่ผ้ ตู าย ความรู้สึก ที่ว่าต้ องรักษาความยุติธรรมในทานองนี ้ยังมีอยู่แม้ ในสมัยปั จจุบนั ผู้รักษากฎหมายบ้ านเมืองหย่อนสมรรถภาพ ณ ที่ใด ประชาชนจะจัดการกันเอง ตามความยุตธิ รรมแห่งการแก้ แค้ น ภาพยนตร์ จีนที่ถือการแก้ แค้ นเป็ นคุณธรรม (แค้ นนี ้ต้ องชาระ) เป็ นเรื่ องของวรรณกรรมจีนที่เกิดขึ ้นในระยะเวลาดังกล่าว ผู้ชมพึงตระหนักถึงเรื่ องนี ้และไม่ควร ถือเอาเป็ นตัวอย่างของคุณธรรมสาหรับคนในสมัยปั จจุบนั กฎหมายที่กาหนดให้ ลงโทษเจ็ดชั่ว โคตรก็จดั อยูใ่ นประเภทเดียวกันนี ้
28 2.4.2 ความยุ ติธ รรมคื อ การตอบโต้ ณ ที่ ใ ดอารยธรรมก้ าวหน้ าพอสมควร ผู้มี อานาจจะออกกฎหมายควบคุมการแก้ แค้ น เพราะเห็นว่าการปล่อยให้ แก้ แค้ นกันเองตามใจชอบ โดยไม่มีมาตรการควบคุมนัน้ มักจะกระทากันเลยเถิด ฝ่ ายที่ถูกแก้ แค้ นก็จะรู้ สึกว่าฝ่ ายตนได้ รับ ความอยุติธรรม เพราะฉะนัน้ จะต้ องคุมพรรคพวกมาแก้ แค้ นบ้ าง แก้ แค้ นกันไปแก้ แค้ นกันมา ความเสียหายจะหนักเข้ าทุกทีจนล่มจมกันทัง้ สองฝ่ าย เพื่อยับยังการท ้ าลายล้ างกันเช่นนี ้ ผู้มี อานาจมักจะออกกฎหมายควบคุมโดยห้ ามการแก้ แค้ นกันอย่างเสรี เสีย แต่อนุญาตให้ ตอบโต้ กัน ได้ อย่างยุตธิ รรมเป็ นทางการ เช่น ใครเป็ นฆาตกรก็ควรให้ เขาผู้นนถู ั ้ กฆ่าตายตามกันไป ใครทาให้ แขนเขาขาดก็ ค วรถูกตัดแขนให้ ขาดตามกันไป กฎหมายในทานองดัง กล่าวปรากฏในตัวบท กฎหมายว่า “ตาต่อตา ฟั นต่อฟั น” เป็ นต้ น กฎหมายของโมเสสที่ประกาศใช้ ในคัมภีร์พนั ธสัญญา เดิม ก็เดินตามมาตรการความยุตธิ รรมดังกล่าวด้ วย ผู้เขียนเชื่อว่ามาตรการความยุติธรรมของชน ชาติโบราณทัว่ ๆ ไป และของเผ่าที่ ล้าหลังในปั จจุบนั ก็คงเป็ นไปในทานองนี ้เป็ นส่วนมาก แต่ก็พึง สังเกตว่ามาตรการนี ้มีความก้ าวหน้ าด้ านมนุษยธรรมกว่ามาตรการแรกอยางเห็นได้ ชดั ทีเดียว ทัง้ กษัตริย์แฮมเมอแรบบิ (Hammurabi) และโมเสสจึงได้ รับการยกย่องว่าเป็ นนักปกครองยอดเยี่ยม 2.4.3 ความยุตธิ รรมคือการชดใช้ ต่อมามนุษย์เราเริ่ มเล็งเห็นว่า การตอบโต้ โดยทา ความเสียหายให้ แก่ฝ่ายทาผิดนันมิ ้ ได้ ทาให้ ฝ่ายตอบโต้ ได้ ดีอะไรขึ ้นมาเลย เพราะของที่เสียไปแล้ ว ก็แล้ วไปเอากลับคืนไม่ได้ ควรจะให้ สิ่งอื่นที่เป็ นประโยชน์ชดใช้ สิ่งที่เสียไปจะดีกว่า เช่นนี จ้ ะเป็ น ความยุติธรรมแก่ฝ่ายที่ถูกทาร้ ายมากกว่า ผู้มีอานาจจึงวางมาตรการปรับเป็ นสิ่งของหรื อเป็ น จานวนเงินขึ ้น และเพื่อให้ เข็ดหลาบก็มีการทรมาณให้ เจ็บปวดด้ วย กฎหมายไทยตังแต่ ้ สมัยพ่อ ขุนรามคาแหงจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 เดินตามมาตรการนี ้ ซึง่ ก็ต้องนับว่าก้ าวหน้ ากว่า มาตรการเดิม อย่างมาก 2.4.4 ความยุ ติธ รรมคื อ การให้ โ อกาสป้ องกั น ตั ว แต่เ ดิม ฝ่ ายที่ ฟ้ องเป็ นฝ่ าย ได้ เปรี ยบฝ่ ายที่ถกู ฟ้องซึง่ แม้ ไม่ได้ ทาผิดก็มกั จะแก้ ตวั ไม่ได้ ต่อมาเมื่อมีการปรักปราใส่ร้ายกันมาก ขึ ้นจึงเห็นได้ ว่าการลงโทษโดยไม่ให้ โอกาสจาเลยแก้ ตวั นัน้ ไม่ยุติธรรม จึงได้ มีการออกกฎหมาย เปิ ดโอกาสให้ จาเลยได้ ป้องกันตัวเองและถ้ าโจทก์ไม่มีหลักฐานหนักแน่นพอ ก็ต้องยกผลประโยชน์ ให้ แก่จาเลย ดังนัน้ มาตรการของศาลสถิตยุตธิ รรมในปั จจุบนั ย่อมถือว่า จาเลยไม่ผิดเว้ นแต่จะมี
29 หลักฐานผูกมัดเพียงพอ การปรั บปรุ ง การศาลของพระปิ ยมหาราชเดินตามมาตรการนี ้ และ กฎหมายไทยยังยึดถื อเป็ นหลักจนตราบเท่าทุกวันนี ้ ผลก็คือผู้ร้ายได้ ใจไปตาม ๆ กัน นักเขียน การ์ ตนู ประยูร จรรยาวงษ์ ล้ อเลียนอยูบ่ อ่ ย ๆ ว่ากฎหมายชราภาพ อย่างไรก็ตาม มาตรการนี ้ต้ อง นับว่าดีที่สดุ เท่าที่จะกาหนดได้ ในระบบการศาล ช่องโหว่ที่มีอยู่ก็ ต้องคิดหาวิธีอดุ กันต่อไปอย่างดี ที่สดุ เท่าที่จะทาได้ 2.4.5 ความยุติธ รรมคื อการเสวนา ในสภาพปั จ จุบัน นักแก้ ปัญหาต้ องไม่ม อง ปั ญหาอะไรเพียงด้ านเดียว แต่จะต้ องพยายามมองให้ รอบด้ านเพื่อให้ เกิดความเข้ าใจอย่างดี เกี่ยวกับสถานการณ์ตลอดจนตัวปั ญหา และความต้ องการของผู้ ที่เกี่ ยวข้ องทุกฝ่ าย ทังนี ้ ้จะได้ หาทางสายกลางที่เหมาะสมที่สดุ สาหรับแต่ละสถานการณ์ ในเรื่ องของความยุติธรรมก็เช่นกัน จะ ระบุล งไปเป็ นสูตรสาเร็ จ รู ปไม่ไ ด้ ว่าอย่างไรจึง จะยุติธ รรม ควรใช้ วิธี การวิเคราะห์ ปัญหาและ พิจ ารณาส่ว นได้ ส่ว นเสี ยจากทุกทาง เพื่ อ ประมวลหาความเหมาะสมแต่ล ะครั ง้ นี่ คื อความ ยุติธรรมแบบเสวนา แม้ จะเสียเวลายุ่งยากมาก แต่ก็ควรใช้ เป็ นหลักการอย่างยิ่งสาหรับสังคม ปั จจุบนั การเสวนา (dialogue) เป็ นการเจรจาเพื่อเข้ าใจปั ญหา ความคิดเห็น ความต้ องการและ สถานการณ์ เกี่ ยวข้ อทุกอย่าง โดยมีความจริ งใจและบริ สุทธิ์ ใจต่อกันเต็มที่ วิธีหลังนี ้เกิดความ ยุตธิ รรมได้ ยาก จึงควรฝึ กการเจรจาแบบเสวนากันในทุกรูปแบบ ความยุติธรรมและความสงบสุข ร่มเย็นจึงมีความหวังจะเกิดขึ ้นได้ ในสังคมปั จจุบนั ของเรา ด้ วยนิยามยุติธรรมจากการเสวนาเพื่อ ให้ แก่แต่ละคนตามสิทธิ จึงเรี ยกได้ ว่ามีความเป็ นธรรม (righteousness, fairness) พระพุทธเจ้ า ทรงแก้ ปัญหาโดยให้ ฝึกฝนจาคะยิ่งกว่าจะเรี ยกร้ องความยุติธรรมตามกฎหมาย พระเยซูทรงเน้ น การให้ อภัยถึง 70 x 7 ครัง้ หมายเหตุ การแบ่งบัวเป็ น 5 เหล่าก็เพื่อใช้ อธิบายจริ ยศาสตร์ สากลเท่านัน้ จะหาอย่าง อื่นก็ไม่มีอะไรแบบเนียนเท่ากับดอกบัวซึง่ เป็ นดอกไม้ ของชาวเอเชียทัว่ ไป
30
2.5 ผลที่คาดว่ าจะได้ รับจากการอบรมบ่ มนิสัย ไม่เคยมีโรงพยาบาลใดรับรองว่าสามารถรักษาคนไข้ ให้ หายได้ ทกุ คน ไม่เคยมีศาสนาใด รับรองว่าสามารถอบรมสมาชิ กของตนให้ เป็ นคนดีไ ด้ ทุกคน การอบรมบ่ม นิสัยด้ วยวิธี การนี ก้ ็ เช่นกัน ไม่กล้ ารับรองว่าเกิดผลทันตาเห็น แต่ก็ ประมาณการได้ ว่าจะได้ ผลทันทีบ้างเมื่อมีอบรม จบหลักสูตร สาหรับผู้เป็ นบัวเหนือน ้า ส่วนที่เหลือก็จะค่อย ๆ เห็นจริ ง หลังจากได้ รับการฝึ กฝน ต่อไปก็จะทยอยกันรักที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตเปรี ยบเหมือนบัวอยูใ่ ต้ น ้าในระดับต่าง ๆ กัน คือ 2.5.1 บัวเหนือนา้ จิตใจพร้ อมที่จะรับการอบรมได้ ทุกรูปแบบ ฟั งการอบรมแบบใดก็ ชอบหมด รับได้ หมด เห็นคุณประโยชน์ได้ หมด โดยไม่ต้องจูงใจอะไรมาก 2.5.2 บัวปริ่มนา้ จิตใจนานาจิตตัง เลือกฟั งและเลือกชอบเฉพาะที่ถกู โฉลก จึงต้ องมี ไว้ หลายๆแบบให้ เลือก อาจจะมีสกั แบบหนึง่ ที่ชอบและนาไปใช้ ได้ ผลกับตน 2.5.3 บัวกลาง เป็ นพวกมีจุดยืนของตนเอง ชอบฟั งและเอาไปคิด ไม่เชื่ออะไรง่ายๆ อยากฟั ง ให้ ครบทุกรู ปแบบเสี ยก่อน เพื่ อเอามาเปรี ยบเที ยบกันให้ เห็นจริ ง ถ่องแท้ ด้วยตนเอง เสียก่อน จึงจะยอมทาตามด้ วยจุดยืนของตนเอง ผู้อบรมจึงต้ องมีความเพียรอดทน พร้ อมตอบทุก คาถามที่เขาอยากจะถาม ครัน้ มัน่ ใจจริ งๆแล้ วก็จะทุ่มเทชีวิตจิตใจให้ อย่างเสียสละ กลายเป็ น กาลังสาคัญในการอบรมคุณธรรมต่อไป (คณะทางานของเราส่วนมากเป็ นคนประเภทนี ้) 2.5.4 บัวปริ่ มตม เป็ นพวกไม่จริ งใจ เชื่อในหลักการว่า “คนชัว่ ได้ ดีมีถมไป” ภาษา ฝรั่งเรี ยกพวกนี ้ว่า เอพิคีวเรี ยน (Epicurean) คือโกงกินอย่างมีการวางแผนให้ ได้ มากที่สดุ และนาน ที่สดุ พวกเขาสามารถเสแสร้ างแบบหน้ าซื่อใจคด คนบาปในคราบนักบุญ ทาบุ ญเอาหน้ า ภาวนา โกหก กิ น ตามน า้ ได้ ไ หนเอานั่น เขาสนใจศึก ษาคุณ ธรรมโดยอาจจะเสแสร้ างท าตัว เป็ นผู้มี คุณธรรมเพื่อจับเส้ นผู้มีคณ ุ ธรรมเอาไว้ หากินได้ แนบเนียนมากที่สดุ พวกนี ้ไม่เพียงแต่ไร้ ศีลธรรม แต่เป็ นผู้ทาลายศีลธรรมอย่างร้ ายกาจ ไม่เพียงแต่หนักโลกแต่เป็ นภัยต่อสังคมด้ วย (วิธี Paradigm Shift ใช้ ได้ กบั พวกนี ้สาเร็จได้ เป็ นบางคน แต่ต้องใช้ ความเพียรอดทนมาก และต้ องยอมเข้ าเนื ้อ) 2.5.5 บัวใต้ ตม ไม่อยูใ่ นบัว 4 เหล่าที่อรรถกถาจารย์กล่าวถึง เพราะพวกเขาเป็ นเพียง ตม ไม่สนใจรับฟั งการอบรม เขามีชีวิตเหมือนที่ภาษาฝรั่งเรี ยกพวกนีว้ ่ า เฮโดนิสต์ (Hedonist)
31 พวกเขาดีกว่าพวกเอพิคีวเรี ยนตรงที่ไม่เสแสร้ งและไม่คิดคดโกงหลอกลวงใคร ฝรั่งเรี ยกพวกนี ้ว่า เขามีชีวิตเหมือนสุนขั ตัวหนึง่ (cynic ภาษากรี กแปลว่าสุนขั ) คือหาความสุขเฉพาะหน้ าไปขณะต่อ ขณะไม่วางแผนอนาคต ไม่คิดโลกหน้ า เขาบอกตรงๆว่าจะเอาอะไร โลกนีเ้ ป็ นแค่เวทีละคร จบ บทบาทเมื่อไรตัวละครก็กลายเป็ นเลขศูนย์ พวกนี ้เพียงแต่หนักโลกไม่ทาลายศีลธรรม แต่ก็เป็ น ตัวอย่างไม่ดีและชอบเย้ ยหยันคนมีศีลธรรมให้ เสียกาลังใจ จากข้ อมูลข้ างต้ นนี ้ วิธีเปลี่ยนกระบวนทรรศน์จึงไม่อาจจะอวดอ้ างได้ ว่าเป็ นวิธีเดียว หรื อเป็ นวิธี ที่ดีที่สุดสาหรับตอบปั ญหาว่า “ทาอย่างไรคุณธรรมจึงกลับมาสู่แผ่นดิน ไทย” แต่ขอ เสนอเป็ นวิธี เ สริ ม ทุก วิธี ดีๆที่ มี อยู่แล้ ว เนื่ องจากเป็ นวิธี แปลกใหม่ส าหรั บประเทศไทย จึง ขอ ทาการศึกษาด้ วยการวิจยั เชิงความคิด (conceptual research) จากประสบการณ์ต่างประเทศ เท่าที่ ร้ ู เพื่ อเขียนเป็ นคู่มืออบรมผู้สอนคุณธรรม (Training the trainers) ให้ ร้ ู จักใช้ ความรู้ ความสามารถ และพรสวรรค์ของแต่ละคนในการเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ จะปลุกปมคุณธรรมให้ ตื่น ขึ ้นและเจริ ญต่อไปเหมือนได้ ปลูกฝั ง เมื่อได้ ค่มู ือแล้ ว จะต้ องมี การทดลองใช้ เพื่อประเมินผลและ ปรับปรุงตามระเบียบวิธีวิจยั เชิงข้ อมูลและสถิติตอ่ ไป ถึงตอนนันก็ ้ จะประกาศได้ ว่าใคร ณ ที่ใดไม่ ชอบการอบรมวิธีอื่นๆที่มีอยู่ ขอให้ ส่งมาให้ เราได้ เฉพาะบัวเหล่า 1-3 เท่านัน้ ส่วนเหล่าที่ 4 และ 5 นันต้ ้ องใช้ กฎหมายกับการใช้ วิธีผิดกฎหมายของพวกเขาเสียก่อน ต่อจากนันจึ ้ งจะให้ เราไปช่วย เสริมได้ โดยติดต่อให้ เราได้ ร้ ูจกั กับพวกเขา แล้ วเราจะหาวิธีตะล่อมตามเทคนิคของเรา คือเริ่ มคุย อะไรก็ได้ ที่พวกเขาสนใจ ขอให้ เรามีโอกาสคุยกันเท่านัน้ เราจะหาวิธีเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ด้วย เทคนิคของเรา ซึง่ จะได้ ผลเป็ นบางรายเหมือนการเยียวยาสุขภาพทางกาย
2.6 บทบาทของคณะทางาน คณะทางานของเราแบ่งการทางานเป็ น 2 ส่วน คือ ส่วนศึกษาเพื่อหาความรู้ ความเข้ าใจ เทคนิคการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนว Paradigm Shift เพื่อเตรี ยมเป็ นวิทยากรให้ แก่ทกุ ชุมชนที่ ต้ องการรู้เรื่ องของเรา ส่วนที่ 2 เป็ นภาคประชาชน คือเสาะหาผู้สนใจมาฟั งวิทยากรของเรา หรื อ
32 หาโอกาสจัดเวทีให้ วิทยากรของเราได้ เผยแพร่หลักการ ทัง้ 2 ส่วนเป็ นผู้ที่ปมคุณธรรมทางานแล้ ว จึงเต็มใจทาทุกอย่างด้ วยจิตอาสา
2.7 คติพจน์ ของเรา 1. จงแสวงหาความสุขแท้ ตามความเป็ นจริง 2. ความเป็ นจริงแท้ คือการพัฒนาคุณภาพชีวิต 3. ไม่ก้าวหน้ าก็ถือว่าถอยหลัง 4. การได้ พฒ ั นาคุณภาพชีวิตของผู้อื่นคือการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเราเอง
33
บทที่ 3 กระบวนการปรั บเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ ของมนุษยชาติ จากการศึกษาประวัติปรัชญา นักปรัชญาพบว่า คาตอบที่น่าพอใจของแต่ละคาถามก็ดี รวมทังค ้ าอธิบายชี ้แจงให้ ความชอบธรรมแก่คาตอบที่น่าพอใจของแต่ละคาถามก็ดี มิได้ คงเส้ นคง วาอยู่ในกรอบเดียวตลอดกาลเหมือนละครฉากเดียวจบ แต่มีการเปลี่ยนฉากอยู่หลายครัง้ คือ มี การปรับเปลี่ยนคาตอบให้ นา่ พอใจยิ่งขึ ้นเรื่ อย ๆ บางครั ง้ ถึงกับเลิกสนใจคาถามเดิม และหันมาให้ ความสนใจแก่ คาถามใหม่อัน ถื อ ว่า เป็ นการเปลี่ ย นกระบวนทรรศน์ และเมื่ อใดก็ ตามที่ มี ก าร ปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ ทัศนคติที่มีตอ่ แง่มมุ ต่าง ๆ ของชีวิตก็พลอยปรับเปลี่ยนตามไปด้ วยทา ให้ มีชว่ งเวลาปรับตัว และการพัฒนาวัฒนธรรมและอารยธรรมระดับโลก กระบวนทรรศน์ จึง ได้ แ ก่ ค วามสนใจและความพึง พอใจในส่ว นลึก ของจิ ต ที่ แ สดง ออกเป็ นการถามคาถามและพอใจกับคาตอบที่ส่วนลึกของจิตรู้ สึกพอใจ เป็ นที่น่าสังเกตว่า เมื่อ ปรากฏการณ์ปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ ณ ที่ใดที่หนึ่งของโลก การปรับเปลี่ยนนันจะลุ ้ กลามแผ่ ขยายไปโดยรอบอย่างรวดเร็ วจนทัว่ ทุกส่วนของโลกที่พลโลกมีการติดต่อสัมพันธ์ กนั ในส่วนของ โลกที่มีมนุษย์อาศัยอยู่เป็ นสังคมปิ ด ก็จะมีการปรับเปลี่ยนในสังคมปิ ดนัน้ ๆ โดยเฉพาะ จนกว่า จะกลายเป็ นสังคมเปิ ดเมื่อใด ก็เมื่อนันแหละจะมี ้ การปรับเปลี่ยนให้ ทนั กระบวนทรรศน์ที่ล ้าหน้ า กว่าอย่างรวดเร็ ว อย่างเช่นสังคมแอฟริ กนั ในใจกลางทวีป เป็ นสังคมปิ ดที่ใช้ กระบวนทรรศน์ดกึ ดา บรรพ์เป็ นพื ้นฐานดาเนินชีวิตเรื่ อยมาจนกว่าจะได้ สมั ผัสกับสังคมโลกในช่วงสมัยใหม่ พวกเขาก็รีบ ปรับกระบวนทรรศน์ข้ามกระบวนทรรศน์โบราณ และกระบวนทรรศน์ยุคกลางสู่กระบวนทรรศน์ สมัยใหม่อย่างรวดเร็ ว และในปั จจุบนั นี ้ เมื่อเกิดการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์เป็ นหลังนวยุค การปรั บเปลี่ ยนนี ก้ ็ แผ่ขยายไปทั่วโลกอย่างรวดเร็ ว เข้ าสู่ทุกประเทศในแอฟริ กาเร็ วกว่าเข้ าสู่ ประเทศไทย แต่การแทรกซึมเข้ าสูม่ วลชนของแต่ละประเทศในแอฟริ กาจะช้ ากว่าการแทรกซึมเข้ า สูม่ วลชนของประเทศไทย
34 การปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ของมนุษยชาติ (ในสังคมเปิ ด)ได้ เกิดขึ ้นแล้ ว4 ครัง้ ทาให้ มวลมนุษย์มีกระบวนทรรศน์ทงหมด ั้ 5 กระบวนทรรศน์ดงั ต่อไปนี ้
3.1 กระบวนทรรศน์ กับการอบรมคุณธรรม แต่ละกระบวนทรรศน์ตามที่ได้ สาธยายไว้ ในบทที่แล้ วย่อมเป็ นบ่อเกิดของความต้ องการ อบรมคุณธรรมตามทรรศนะวิสยั ของแต่ละกระบวนทรรศน์ราวกับว่าเป็ นสัญชาตญาณด้ านปั ญญา ที่สร้ างจิตสานึกแห่งการทาดี/ทาชัว่ ในแต่ละบุคคล ดังต่อไปนี ้ 3.1.1 กระบวนทรรศน์ ดึกดาบรรพ์ ผู้ที่เชื่อว่าการอุบตั ิทงหลายเป็ ั้ นไปตามน ้าพระทัย ของเบื ้องบนซึ่งไม่ถูกควบคุมโดยกฎเกณฑ์ใดทังสิ ้ ้น ย่อมมีแนวโน้ มที่จะสานึกว่าการทาดีคือการ พยายามรู้ น ้าพระทัยของเบื ้องบนเพื่อจะทาตาม จึงพยายามเกลี ้ยกล่อมเจตจานงของตนเองและ ของผู้ที่ ตนมี ห น้ าที่ อบรมให้ คิด อย่า งนัน้ และทาอย่า งนั น้ เพราะถื อ ว่า เป็ นการท าดี ไ ด้ คุณ และ ป้องกันการทาชัว่ ให้ โทษ เมื่อกระทาจนเคยชินก็จะกลายเป็ นคุณธรรมจริ ยธรรม จะเรี ยกว่าเป็ น สัญชาตญาณในเจตจานงของเขาก็วา่ ได้ ครัน้ เห็นใครไม่อยู่ในครรลองนี ้ก็อยากให้ เบื ้องบนลงโทษ แต่ความจริงแล้ วเขาเดินตามสัญชาตญาณพืช คือพยายามทาตามน ้าพระทัยของเบื ้องบนเพื่อเลี่ง การเสียผลประโยชน์และค ้าประกันผลประโยชน์สงู สุดของตนเป็ นหลัก กระบวนทรรศน์ ดึกดาบรรพ์ อยู่ในสังคมที่ว่าต่างคนต่างอยู่ ถ ้าใครใครอยู่ อู่ใคร ใครนอน ชอบใจอะไรอทาอย่างนัน้ ไม่มีกฎ ไม่มีเกณฑ์ ไม่พอใจถา้ นี ้ก็ไปหาถ้ าอื่น เห็นปลอดภั ย เข้ าไปอยู่ได้ เลย ไม่ต้องขออนุญาตใคร ถ้ าเบื ้องบนไม่ห้ามเป็ นใช้ ถ้ าถา้ นันมี ้ ใครอยู่ก่อนแล้ วก็ไล่ เขาออกไปให้ ได้ มิฉะนันก็ ้ ไปหาถา้ อื่นดีกว่า ต้ องการคู่ครองก็ออกไปด้ อมๆมองๆ พอใจคนไหนไม่ ต้ องพร่ามทาเพลง ตีหวั ให้ สลบดึงผมเข้ าถ ้าเป็ นเสร็ จพิธี ถ้ าไม่สลบก็ตีอีกทีอย่า ให้ แรงถึงตาย หาก บังเอิญพลังมื ้ อถึงตายจริ งๆ ก็เขี่ยลงเหว เดินหน้ าหาใหม่ จนกว่าจะถูกใจและใช้ วิธีเดิม จนกว่าจะ สมใจ หากเธอมีผ้ คู ้ มุ กันก็ดวู า่ พอสู้ไหวไหม มิฉะนันก็ ้ อย่าดีกว่า เบื ้องบนยังไม่ประทานให้ คิดได้ แค่ นันก็ ้ หมดเรื่ อง มนุษย์ดึกดาบรรพ์ไม่มีเสียสละให้ ใคร จนกว่าจะมีลูกสืบสันดาน จึงรู้ จกั ทาเพื่อลูกตาม สัญชาตญาณ แม้ แต่เบื ้องบนเขายอมตามพระประสงค์เพราะกลังจะเสียประโยชน์ เขาจะเอาใจ
35 เบื อ้ งบนก็ เ พราะหวัง ได้ ป ระโยชน์ ปมคุณ ธรรมของเขาก็ คื อ ประโยชน์ ส่ ว นตนและท าตาม สัญชาตญาณเห็นแก่ตวั หรื ออัตตานิยม (egoism) ผู้มีชีวิตอยู่ทกุ วันนี ้ยังมีจานวนมากที่มีกระบวน ทรรศน์แบบนีแ้ ละปมคุณธรรมของเขาอยู่ตรงนี ้ บางทีทาไปโดยไม่ร้ ู ตวั บางทีทาทังๆที ้ ่ร้ ู เพราะ สมัครใจจะเป็ นคนอย่างนัน้ ใครจะทาไม อยากให้ คนประเภทนี ้ทาอะไร จี ้ให้ ถกู ปมคุณธรรม (ซึ่งเขา คิดว่าดีพอแล้ วสาหรับเขา) เขาจะเต็มใจทาทุกอย่างอย่ างทุ่มเท ไม่เชื่อก็ลองดูแต่พึงระวังอัตตา นิยมของเขาอาจจะแปรสภาพเป็ นการหลอกลวงและทุจริ ตที่แนบเนียนภายใต้ โฉมหน้ าแห่งความ สุจริตเชิงกุลยุทธ์ได้ ง่ายมาก 3.1.2 กระบวนทรรศน์ โบราณ ผู้ที่เชื่ อว่าการอุบัติทัง้ หลายเป็ นไปตามกฎเกณฑ์ ตายตัว แม้ แต่เบื ้องบนก็ไม่ได้ รับการยกเว้ น ย่อมมีแนวโน้ มที่จะสานึกว่าการทาดีคือการพยายาม รู้กฎเกณฑ์ของสิ่งที่ตนจะต้ องเกี่ยวข้ อง จะได้ ปฏิบตั ิอย่างถูกต้ องเพื่อให้ ได้ ประโยชน์สงู สุดและพ้ น ภัยเสียหาย จึงพยายามเกลี ้ยกล่อมเจตจานงของตนเองและของผู้ที่ตนมีหน้ าที่อบรม ให้ ชอบรู้กฎ และสนุกกับการทาตามกฎ ยิ่งเคร่ งเท่าใดก็ยิ่งสนุกเท่านัน้ เพราะถือว่าเป็ นการทาดีได้ ประโยชน์ และหลีกเลี่ยงการละเมิดกฎซึ่งถือว่าเป็ นการทาชัว่ ให้ ร้าย เนื่องจากคนส่วนใหญ่ไม่ร้ ูวิธีหากฎด้ วย ตนเอง จึงยกย่องผู้ที่ตนเชื่อว่ารู้ กฎว่าเป็ นเจ้ าสานักและมองว่าสานักอื่น ๆ ทังหมดเป็ ้ นคู่แข่งกั บ สานักของตน ความดีคือการทาตามกฎ และการละเมิดกฎเป็ นความเลว ความชัว่ และบาป เมื่อ กระทาจนเคยชินก็กลายเป็ นคุณธรรมจริยธรรม จะเรี ยกว่าเป็ นสัญชาตญาณในเจตจานงของเขาก็ ได้ ครัน้ เห็นใครไม่อยู่ในครรลองนี ้ก็อยากให้ ถูกธรรมชาติลงโทษ เจ้ าสานักและผู้ทาดีมาก ๆ ใน สานักก็ จ ะได้ ชื่อว่าบุคคลต้ นแบบและนักบุญ คุณธรรมที่เจ้ าส านักระบุชื่อไว้ ก็จะเป็ นคุณธรรม ต้ นแบบ ทังบุ ้ คคลต้ นแบบและคุณธรรมต้ นแบบจะกลายเป็ นประเด็นแข่งขันระหว่างสานักที่ร้ ู จกั กัน ในด้ านสังคมกระบวนทรรศน์ โบราณ เริ่ มเมื่อคนเราจาเป็ นต้ องออกจากถา้ มา รวมกลุม่ กันเพื่อความอยูร่ อด “รวมกันเราอยู่ สู้คนเดียวหัวหาย” จาเป็ นต้ องมีหวั หน้ า จาเป็ นต้ องมี กฎมีระเบียบเพื่อสัง คมอยู่รอด “จงรักษากฎและกฎจะรักษาตัวท่าน (และทุกคนที่ท่านรั ก ) ปม คุณธรรมอยู่ที่ความรักเสียสละต่อหมู่คณะของตนยิ่งกว่าประโยชน์ส่วนตนและส่วนครอบครัว ใคร ทาได้ ถือว่าเป็ นวีรบุรุษวีรสตรี เทพ เทวีประจาหมู่คณะ ใครแปรพักตร์ ไปทาประโยชน์ตอ่ หมู่คณะ
36 อื่นถื อว่า ทรยศ และไม่มีหมู่คณะใดไว้ วางใจไปอยู่ได้ อย่างมากก็ในฐานะคนต่างตัวพึ่งใบบุญ มิฉะนันก็ ้ ตกเป็ นทาสการขับไล่ออกจากหมู่คณะถือว่าเป็ นโทษร้ ายแรงยิ่งกว่าโทษประหาร เพราะ ไม่ตายก็เหมือนตาย แต่ต้องลาบากมากก่อนตาย คนอย่างนี ้ยังพอจะมีบ้างในสังคมของเรา จี ้ให้ ถูกปมคุณธรรมของเขา (ซึ่งเขาคิดว่าดีพอสาหรับเขา) เขาจะเต็มใจทาทุกอย่างอย่างทุ่มเท ไม่เชื่อ ก็ลองดู แต่คงมีน้อยกว่าพวกแรก พวกนี ้ดูเหมือนว่าปมคุณธรรมของเขาจะอยูร่ ะดับสูงกว่าพวกแรก แต่ต้องระวังความเลย เถิดของพวกเขาในด้ านพงศานิยม (racism) ซึ่งอาจจะเป็ นชนวนความเดือนร้ อนในสังคมได้ เพียงแต่เพราะหวังสร้ างจุดเด่นในหมูค่ ณะ เขาอาจจะคิดว่าเป็ นคุณธรรม แต่มนั เป็ นคุณธรรมที่ไม่ ครบองค์ประกอบ จึงเป็ นเพียงคุณธรรมเทียม 3.1.3 กระบวนทรรศน์ ยุคกลาง ผู้ที่เชื่อว่ามีโลกหน้ าที่มีแต่ความสุขสมบูรณ์แบบไร้ ความทุกข์ ใด ๆ เจื อปน ย่อมมีแนวโน้ ม ที่ จะยอมสละอะไรก็ไ ด้ ในโลกนีแ้ ม้ แต่ชีวิตเพื่ อแลกกับ ความสุขดังกล่าว ชาวคริ สต์ในช่วงแรก ๆ แข่งกันขึ ้นตะแลงแกงด้ วยความเชื่อมัน่ ดังกล่าว หากมี ใครชวนไปเสี่ ยงชี วิ ต เพื่ อ ปกป้ องศาสนาพวกเขาก็ จ ะแย่ง กัน สมัค รตายเป็ นคนแรก พวกเขา พยายามเกลี ้ยกล่อมเจตจานงของตน และของผู้ที่ตนมีหน้ าที่อบรมให้ พร้ อมเสมอที่จะฉวยโอกาสดี ๆ ดังกล่าวโดยถื อว่าเป็ นยอดแห่ง ความปรารถนา พวกเขาพร้ อมใจกันยกย่องทุกคนที่ ได้ ฉวย โอกาสดังกล่าวว่าเป็ นบุคคลต้ นแบบที่ โชคดี และประสบผลสาเร็ จสุดยอดในชีวิตของคนคนหนึ่ง และยกย่องการถูกฆ่า ตายด้ ว ยเหตุผ ลทางศาสนาเป็ นสุด ยอดแห่ง คุณ ธรรม จะเรี ย กว่า เป็ น สัญชาตญาณในเจตจานงของเขาก็ได้ กระบวนทรรศน์ ยุ ค กลาง เริ่ ม จากการมี ศ าสดาและคนส่ว นใหญ่ เ ชื่ อศาสดา มากกว่าเชื่อผู้นาชุมชน จะรับใครเป็ นผู้นาชุมชนก็เพราะมัน่ ใจว่าเขาปกครองตามคติของศาสดา มิ ฉ ะนัน้ จะเปลี่ ย นผู้น าชุม ชนแทนเปลี่ ย นศาสนา ปมคุณ ธรรมของคนกลุ่ม นี ค้ ื อ ศาสนนิ ย ม (religionism ซึ่งอาจจะถึงขึ ้น fundamentalism และ fanatism) บางคนอาจจะยอมเสียสละทุก อย่ า งแม้ แ ต่ชี วิ ต อย่ า งไร้ เหตุผ ลเพี ย งพอ จึ ง อาจจะตกเป็ นเครื่ อ งมื อ ของผู้ห วัง อ านาจหรื อ ผลประโยชน์ใดๆ โดยอ้ างคาสอนหรื อศรัทธาเป็ นที่ตงั ้ แต่บิดเบือนเจตนาของศาสดาเพื่อให้ ตน หรื อพรรคพวกของตนได้ ประโยชน์ โดยไม่คานึงว่าใครจะเดือนร้ อนประการใด คนประเภทนีด้ ู
37 เหมือนว่าปมคุณธรรมของเขาอยู่ระดับสูงกว่า 2 ประเภทแรก แต่พึง ระวัง และสงสารความไร้ เดียงสาของพวกเขา เพราะอุดมการณ์ที่พวกเขาถือว่าสูงส่งที่สดุ นันอาจจะเป็ ้ นอันตรายต่อตนเอง และผู้อื่น อันเป็ นความสูญเสียที่ไม่ควรจะเกิดขึ ้น ความสูญเสียในอดีตน่าจะเพียงพอแล้ วที่จะ สร้ างความจาเป็ นให้ ชว่ ยกันดูแลอย่าให้ เกิดซ ้าขึ ้นมาอีกเป็ นอันขาด 3.1.4 กระบวนทรรศน์ นวยุค ผู้ที่เชื่อว่าวิธีการวิทยาศาสตร์ เท่านันที ้ ่สามารถรับรอง ความจริ ง ทุก เรื่ อง ย่อ มมี แนวโน้ ม ที่ จ ะส านึกว่าการทาดีคื อการส่ง เสริ ม การหาความจริ ง และ เผยแพร่ความจริงที่นกั วิทยาศาสตร์ รับรองเท่านัน้ เพราะเชื่อมัน่ ว่าวิธีการนี ้จะช่วยขจัด ไสยศาสตร์ ที่ ทาให้ มนุษยชาติเสียเวลาและทรัพยากรโดยเปล่าประโยชน์ บางคนที่คิดอย่างนี ้อย่างรุนแรงเพราะ มีอานาจก็จะใช้ อานาจบังคับให้ ทาดีในลักษณะนี ้ ถึงกับมีบทลงโทษตังแต่ ้ สถานเบาคือกลัน่ แกล้ ง จนถึง สถานหนักคื อประหารชี วิต พวกเขาถื อ ว่า เป็ นคุณ ธรรมจริ ยธรรมระดับ สูง จ ะเรี ยกว่า สัญชาตญาณในเจตจานงของพวกเขาก็นา่ จะได้ กระบวนทรรศน์ นวยุคหรื อยุคใหม่ เริ่ มจากความกระตือรื อล้ นถึงขันหลงใหลใน ้ ผลสาเร็ จของวิธีการวิทยาศาสตร์ จนกลายเป็ นความหวังว่าวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีจะช่วย แก้ ปัญหาทุกอย่างของมนุษย์ได้ สกั วันหนึง่ จนอาจจะแปลงโลกนี ้ให้ เป็ นสวรรค์บนดินก็เป็ นได้ นัน่ คือเราจะพบวิธีกาจัดการเกิด แก่ เจ็บ ตาย เพื่อรักษาความสมดุลให้ มีพลโลกอยู่เท่าเดิมป้องกัน โรคได้ ทุกชนิด ป้องกันอุบตั ิเหตุได้ ทุกอย่าง ที่กระบทกระเทือนชีวิตความเป็ นอยู่ของมนุษย์ จัด ระเบียบสัง คมใหม่ให้ ทุกคนแบ่งงานกันทาอย่างทั่ วหน้ าอย่างน้ อยที่ สุด และใช้ เวลาหาความ บันเทิงให้ มากที่สุด พวกเขาจึงคิดว่าการทุ่มเทเพื่อเป้าหมายดังกล่าวเป็ นความเสียสละต่อมวล มนุษย์ทงั ้ โลก ปมคุณธรรมของพวกเขาคือลัทธิ มนุษยนิยม (Humanism) คือทาทุกอย่างเพื่ อ ประโยชน์สุขของมวลมนุษย์อย่างไร้ พรมแดนแห่งประเทศ ชาติ เชื ้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม และ ภาษา อยากให้ คนประเภทนี ้ทาอะไร ลองจี ้ให้ ถกู ปมคุณธรรมของเขา เขาจะเต็มใจทาทุกอย่าง แต่ก็พึงระวังความเลยเถิดของเขา จนกลายเป็ นเครื่ องมือของผู้นาชาญฉลาดอย่างฮิตเลอร์ หรื อส ตาลิน ชักชวนให้ ชว่ ยกันทาลายอุปสรรคทุกอย่างที่ขวางหน้ า โดยไม่แคร์ ว่าจะต้ องฆ่าคนที่ไม่เห็น ด้ วยไปสักเท่าใด เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายเร็วอย่างใจ
38 3.1.5 กระบวนทรรศน์ หลั ง นวยุ ค เป็ นผลจากการปรั บ เปลี่ ย นครั ง้ ล่ า สุ ด ของ มนุษยชาติ ซึ่ง ฮันทิง ทันถื อว่าเป็ นผลของการปรั บเปลี่ ยนกระบวนทรรศน์ ที่ทาที่ ทาให้ กาแพง เบอร์ ลินทะลุได้ โดยไม่ต้องเสียเลือดเนื ้อ ที่ทาให้ สงครามเย็นผ่านพ้ นไปอย่างใจหายใจคว่า เพราะ เชื่อกันว่าจะต้ องเกิดสงครามโลกครัง้ ที่ 3 เสียก่อน ผู้ถือกระบวนทรรศน์นี ้ย่อมมีแนวโน้ มที่จะสานึก ว่าการพัฒนาคุณภาพชีวิต คือการทาดี และการทาชัว่ ได้ แก่ การปล่อยปละละเลยให้ คณ ุ ภาพชีวิต ตกต่ า การพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต อย่ า งมี ค วามสุ ข คื อ สั ญ ชาตญาณในเจตจ านง มั น เป็ น สัญชาตญาณของเจตจานงที่ปรับตัวมาจนถึงจุดสุดยอดของชีวิ ต และในฐานะเป็ นสัญชาตญาณ สูงสุด การกระทาใด ๆ ในครรลองนี ้จึงถือได้ ว่า ให้ ความสุขสุดยอดแก่มนุษย์ทกุ คน จึงเป็ นสิ่งน่า เสียดายสุดขีด หากมีผ้ ไู ม่ร้ ู เรื่ องนีซ้ ึ่งเป็ นเรื่ องของมนุษย์โดยแท้ ส่วนผู้ร้ ู และไม่ปรับตัวให้ ถึงขัน้ ระดับสัญชาตญาณสูงสุดของมนุษย์ ย่อมได้ ชื่อว่าน่าสมเพศและน่าสงสารอย่างที่สดุ เพราะเขามี สภาพเหมือนใกล้ เกลือกินด่าง มีโอกาสแต่ไม่ร้ ูว่าทาไมจะต้ องฉวยโอกาสไขว่คว้ ารับเอาความสุข สูงสุดที่มนุษย์พึงมีพึงได้ งานวิจยั นี ้จึงพยายามหาข้ อพิสจู น์มาชี ้แจงให้ ทกุ คนสามารถเข้ าใจได้ ถึง ข้ อเท็จจริ งข้ อนี ใ้ นชี วิต และเกลีย้ กล่อมให้ รับเป็ นนโยบายแห่งชี วิตด้ วยความเชื่อมั่น ถึงจุดนี ้ เรี ยกว่าจี ้ถูกปมคุณธรรม และเขาจะอยากทาดีอย่างมีความสุข กระบวนทรรศน์ หลั ง นวยุ ค เป็ นกระบวนทรรศน์ แ ห่ ง การไม่ ยึ ด มั่ น อยางมี วิจารณญาณ จึงถือคติสายกลางว่ายึดเหนี่ยวแต่ไม่ยึดติด คือยึดเหนี่ยวทางสายกลางที่เลือกส่วน ดีจาก 2 ข้ างที่ สุดขัว้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ ดีขึน้ เรื่ อยไปอย่างไม่ยึดติดที่ขนั ้ ใดเลย เมื่อมี คุณภาพชีวิตในระดับหนึ่งแล้ วก็หาสิ่งที่ดีกว่าต่อไปอีกนิดหนึ่ง เมื่อได้ แล้ วก็แสวงหาต่อไปอีกนิด หนึง่ ตลอดชีวิตจึงมีแต่การแสวงหา การแสวงหาคือการยึดเหนี่ยว แต่จะไม่ยอมยึดติดอยู่ที่ขนใด ั้ เลย วิจารณญาณของการยึดเหนี่ยวแต่ไม่ยดึ ติดก็คือ คุณธรรมแม่บท 4 คือ 1. ความรอบคอบ คือแสวงหาความรู้ เรื่ องคุณธรรมอย่างดีที่สุดตามโอกาส เพื่อได้ สัจจะแห่งชีวิต 2. ความกล้ าหาญ คือกล้ าที่จะทาตามที่ร้ ูวา่ ดีในแต่ละขณะ เพื่อมีทมะขี่มใจไม่ท้อแท้ ต่ออุปสรรคใดๆ
39 3. ความพอเพียง หรื อทางสายกลาง ไม่ขาดไม่เกิน ฝึ กใจให้ มี ขันติ ไม่โลภทาดี เกินไป และอดทนต่อความเกียจคร้ านที่จะทาดี 4. ความเป็ นธรรม ไม่ละเมิดสิทธิของผู้ใด และยินดีให้ ทุก คนที่เกี่ยวข้ องได้ ตามสิทธิ แม้ จะต้ องเสียเปรี ยบก็ยินดีบริจาคเพื่อฝึ กจาคะ จึงเห็นได้ วา่ คุณธรรมแม่บท 4 ที่แอร์ เริ สทาทเทิลชาวกรี กคิดขึ ้นเป็ นคนแรก ที่แท้ ก็มีก่อน แล้ วในพระไตรปิ ฎก เพราะเทียบได้ กบั ฆราวาสธรรม 4 ได้ พอสมควรทีเดียว ดังนันปมคุ ้ ณธรรมของคนกลุ่มนี ้ก็ คือ ยินดีทาทุกอย่างเพื่อคุณภาพชีวิตของตนเองของ เพื่อนมนุษย์ทกุ คน และของเอกภพทังหมด ้ เขาถือลัทธิเอกภพนิยม (cosmopolitarianism) อย่าง สมบูร ณ์ แบบ คือ ดูแลให้ ทุก คนและทุสิ่ง มี ส่วนร่ วมในคุณ ภาพของกัน และกัน (caring and shoring)
โดยถื อ สัจ ธรรมว่ า ทุก สิ่ ง จะเดิ น หน้ า ไปด้ ว ยดี พ ร้ อมกัน โดยดูแ ลกัน ตามความรู้
ความสามารถ
3.2 ตัวอย่ างความพยายามในสหรั ฐอเมริกาและประเทศไทย ประเทศสหรัฐอเมริ กาเป็ นกรณีศกึ ษาที่ดีที่สุดสาหรับการศึกษาและวิจยั ของเรา เพราะ 1) มีเอกสารพร้ อมให้ ศกึ ษากว่าประเทศใดในโลก 2) มีปัญหาและมีความพยายามแก้ ปัญหาอย่าง เห็ น ได้ ชัด 3)
มี ขัน้ ตอนตามล าดับ ขัน้ ของกระบวนทรรศน์ ชัด เจน แต่เ นื่ อ งจากประเทศ
สหรัฐอเมริ กาเกิดขึ ้นในช่วงของกระบวนทรรศน์ยุคกลาง เราจึงไม่มีตวั อย่างของกระบวนทรรศน์ ดึกดาบรรพ์และกระบวนทรรศน์โบราณให้ ศกึ ษา แต่ก็ไม่จาเป็ น เพราะ 2 กระบวนทรรศน์ดงั กล่าว เราหาตัวอย่างได้ ง่าย ๆ ในสังคมไทยของเรา สาหรับกระบวนทรรศน์อื่น ๆ เราพอจะมีกรณีศกึ ษาที่ ยกขึ น้ มาพิ จ ารณาได้ พ อสมควร หากได้ ก รณี ศึก ษาของสหรั ฐ อเมริ ก ามาร่ ว มพิ จ ารณาเชิ ง เปรี ยบเทียบ ก็จะช่วยให้ เห็นจุดอ่อนจุดแข็งจนสรุ ปออกเป็ นทางแก้ ปัญหาเฉพาะถิ่ นของเราได้ เพียงพอ 3.2.1 กระบวนทรรศน์ ดึกดาบรรพ์ กระบวนทรรศน์ดึกดาบรรพ์แสดงออกในหมู่คน ไทย โดยการปั กใจเชื่อเจ้ าเข้ าทรง เชื่อการเสี่ยงใบเซียมซี เชื่อหมอดูในรู ปแบบต่าง ๆ (ทังนี ้ ้ไม่รวม พวกที่ไม่เชื่อแต่ไม่อยากลบหลู่ และพวกที่เชื่อโหราศาสตร์ ตามหลักวิชาการดูดวงและดูลายมือ ซึ่ง
40 สังกัดกระบวนทรรศน์โบราณ) คนไทยกลุม่ นี ้เรี ยนวิชาการเพื่อสอบผ่านได้ ปริ ญญาและทาการงาน ตามกฎเกณฑ์เพื่อรับค่าตอบแทน ในความสานึกของพวกเขามีแต่นา้ พระทัยของอานาจลึกลับ ตามที่พวกเขาเชื่อว่ามี คุณธรรมสาหรับพวกเขาคือทาตามที่รับรู้ จากวิธีที่พวกเขาเชื่ อถื อ การ อบรมใด ๆ จะไร้ ผลหากไม่มีประกาศิตของเบื ้องบนที่พวกเขาเชื่อถือยกมาอ้ างให้ พวกเขากลัวหรื อ อย่างน้ อยเกรงใจได้ คุณภาพชีวิตของพวกเขาไม่ส้ ูจะมี และพวกเขาก็ไม่สนใจที่จะมี พวกเขา สนใจแต่เพียงความคุ้มครองจากเบื ้องบนเท่านัน้ และพวกเขาก็พอใจเพียงแค่นนั ้ สัญ ชาตญาณที่ ครอบงาพวกเขาคือสัญชาตญาณสสาร คือ รักษาตัวรอดเป็ นยอดดีและนิ่งไว้ สองไพเบี ้ย ไม่คานึง ว่าใครจะเดือดร้ อน หรื อถูกเบียดเบียนรังแก การเชื่อเบื ้องบนอย่างนี ้มีอนั ตราย เพราะอาจมีผ้ ใู ช้ เล่ห์เหลี่ยมอ้ างเบื ้องบนเพื่อใช้ เขาเป็ นประโยชน์ได้ โดยง่าย นโยบายที่มีผ้ เู สนออยากให้ นิมนต์พระ มาช่วยอบรมศีลธรรมในโรงเรี ยนหากไม่มีการอบรมพระให้ เข้ าใจเรื่ อง “คนดีตามกระบวนทรรศน์ ” เสียก่อน ก็อาจจะได้ พลเมืองที่มีคณ ุ ธรรมระดับดึกดาบรรพ์มาเพิ่มปั ญหาแก่ประเทศชาติก็ได้ จึง ต้ องมีโครงการอบรมพระที่มีความยังไม่เพียงพอให้ เพียงพอเสียก่อน ก็จะดี 3.2.2 กระบวนทรรศน์ โบราณ กระบวนทรรศน์โบราณแสดงออกในหมู่คนไทย โดย การยึดติดคาสอนคาสัง่ และคุณธรรมที่เจ้ าสานักชูขึ ้นเป็ นเอกลักษณ์ของสานัก ซึ่งศิษย์สานักจะ พยายามท่องจาและจดจาทุกคาเพื่อเป็ นมงคลประจาตัว และเป็ นการแสดงความจงรักภักดีต่อ สานักซึ่งก็ถือว่าเป็ นมงคลอีกส่วนหนึ่ง คุณธรรมสาหรับคนกระบวนทรรศน์นีค้ ือการท่องจาและ ปฏิบตั ิคุณธรรมที่เป็ นเอกลักษณ์ ของสานักให้ เคร่ งครัดไว้ ยิ่งเคร่ งครัดมากเท่าใดก็ยิ่งมั่นใจใน ความดีมากเท่านัน้ การอบรมที่เป็ นวาระแห่งชาติจะต้ อ งอาศัยเจ้ าสานักสนับสนุน ซึ่งก็จะได้ คนดี ตามที่ เ จ้ าส านัก กาหนด แต่ถ้ าเจ้ าส านัก ไม่ให้ ค วามร่ ว มมื อ หรื อวางตัวเป็ นปฏิ ปั กษ์ ต่อวาระ แห่งชาติ นโยบายแห่งชาติก็จะล้ มเหลวอย่างไม่มีทางเลี่ยง 3.2.3 กระบวนทรรศน์ ยุคกลาง กระบวนทรรศน์ยคุ กลางแสดงออกในหมู่คนไทยบาง คน โดยการยึดติดในศาสนาของตนในระดับคลัง่ ไคล้ คืออุทิศตัวให้ แก่ศาสนาของตนจนลืมหน้ าที่ อื่น ๆ ในสังคมเสียสิน้ พร้ อมที่จะดูแคลนศาสนาอื่น ๆ ทัง้ หมดโดยถื อว่าได้ บุญแรง คุณธรรม สาหรับพวกเขามีอยูข่ ้ อเดียว คือ คลัง่ ไคล้ ศาสนา จะอบรมให้ มีคณ ุ ธรรมอะไรนอกเหนือไปจากนี ้จะ ไม่สนใจ เพราะคิดว่าเป็ นบาปทังสิ ้ ้น
41 พลเมืองอเมริ กนั เริ่ มโดยกลุ่มผู้เคร่ งศาสนา (puritants) ลี ้ภัยการกีดกันผู้นบั ถือศาสนา ต่างนิกาย จึงรวมตัวกันอพยพไปตังหลั ้ กแหล่งเป็ นอาณานิคมแรก ๆ ของผู้คลัง่ ไคล้ ศาสนา พวกนี ้ พยายามตังสถานศึ ้ กษาตังแต่ ้ ชนั ้ อนุบาลจนถึงมหาวิทยาลัย โดยถือเอาการอบรมศีลธรรมตาม ศาสนาและนิกายของตนเป็ นหลัก โทนี ดีวายน์ได้ สรุ ปย่อวิธีอบรมคุณธรรมในสถานศึกษาของ พวกเขาไว้ ว่า “ระหว่างศตวรรษที่ 18-19 ระบบการศึกษาได้ สอดแทรกการสอนศีลธรรมเข้ าไปใน ทุกวิชา เช่นในวิชาคัดลายมือ ครูจะให้ คดั ข้ อความศีลธรรมที่ต้องการให้ นกั เรี ยนคุ้นเคย เช่น อยู่ เฉย ๆ สังเวยบาป” (Tony Devine, 2000, p.14.) ชาวตะวันตกที่พากันอพยพไปตังหลั ้ กแหล่งเป็ นพลเมืองรุ่นแรกของสหรัฐอเมริ กา ได้ แก่ ผู้เคร่งศาสนาชาวคริ สต์ (The Puritans, Quakers,etc.) พวกเขาพยายามจัดระบบการศึกษาขึ ้น ตามมาตรฐานของยุโรปขณะนัน้ โดยเน้ นการอบรมบ่มนิสยั ผู้เรี ยนให้ เป็ นคนดีมีศรัทธาต่อศาสนา คริ ส ต์ นิ ก ายเคร่ ง ครั ด ที่ ต นสัง กัด พวกเขาได้ ส ร้ างมหาวิ ท ยาลัย ขึน้ หลายแห่ง เช่น ฮาร์ เ วิ ร์ ด (Harvard) เพื่อสร้ างผู้นาทัง้ ด้ านศาสนา การศึกษา การเมือง และสังคม ให้ ออกไปบริ หารและ ขณะเดียวกันก็อบรมประชาชนให้ เป็ นคนดีตามมาตรฐานของตนโดยทางานเป็ นทีมเดียวกัน เราจึง เห็นตัวอย่างผู้นาในสมัยนัน้ เช่น จอร์ จ วอชิงตัน (George Washington) โทมัส เจฟเฟอร์ สัน (Thomas Jefferson), เบนจามิน แฟรงค์คลิน (Benjamin Franklin) ซึ่งโนอาห์ เว็บสเทอร์ (Noah Webster) ซึง่ ได้ เขียนไว้ เมื่อ ค.ศ. 1790 ว่า การศึกษามีภาระหน้ าที่สาคัญที่สดุ ในการสร้ างอุปนิสยั ของประชาชน ศีลธรรมจะต้ องเป็ นฐานของการปกครอง.....สร้ างระบบรักษาศีลธรรมของประชาชน ไว้ ย่อมง่ายกว่าคอยจับผิดแก้ ไขด้ วยการลงโทษลงทัณฑ์ผ้ ูละเมิดกฎระเบียบของสังคม (Noah Webster, 1965, p.63.) ระบบการศึกษาของสหรัฐอเมริ กาในช่วงนัน้ จึงเน้ นให้ แทรกการอบรม จิตใจเข้ าไปในทุกวิชาที่สอนทุกระดับชันเรี ้ ยน เช่น ในวิชาคัดลายมือ ก็ให้ พยายามหาคติพจน์มา ให้ นกั เรี ยนคัดอย่างเช่น God helps only those who help themselves. Time and tide wait for no man. Early Birds catch worms เป็ นต้ น (Tony Devine, 2000, p.14.) ทังนี ้ ้โดยหวังว่า การได้ ย ้าข้ อธรรมและคติพจน์ตา่ ง ๆ อยู่ตลอดเวลาอย่างนี ้ จิตใต้ สานึกจะเต็มไปด้ วยความสานึกดี ๆ อัน จะเป็ นกรอบกากับการดารงชีพไปจนตลอดชีวิต ซึง่ ก็สงั เกตได้ วา่ นโยบายการศึกษาของวัฒนธรรม อื่น ๆ ทัว่ โลกที่อยู่ในช่วงกระบวนทรรศน์ที่ 3 ก็ตงสถานศึ ั้ กษาขึ ้นโดยมีเป้าหมายและวิธีการอบรม
42 สัง่ สอนคล้ ายคลึงกัน การศึกษาของเด็กและเยาวชนไทยในสมัยที่อยู่ในเขตวัด ก็มีลกั ษณะคล้ าย ๆ กันอย่างนี ้ 3.2.4 กระบวนทรรศน์ นวยุค ก่อนหน้ านี ป้ ระเทศไทยและประเทศสหรัฐอเมริ กา แม้ จะพัฒ นาและปรั บ เปลี่ ย นกระบวนทรรศน์ คู่คี่ กันมาในประวัติศาสตร์ แต่ก ารวางแผนอบรม ศีล ธรรมนัน้ ต่า งฝ่ ายต่างพัฒ นาวิ ธี การและกลยุท ธ์ เ อง มิ ไ ด้ เ ลี ย นแบบกัน แต่ประการใด แต่ หลังจากนี ้ไปประเทศสหรัฐอเมริ กาจะนาหน้ าประเทศไทย เพราะประเทศสหรัฐอเมริ กากลายเป็ น สังคมอุตสาหกรรมและปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์เป็ นกระบวนทรรศน์นวยุคก่อนประเทศไทย นั ก นวยุ ค นิ ย มเน้ นมนุ ษ ยนิ ย ม ดัง นั น้ จึ ง นิ ย ามคุ ณ ธรรมว่ า เป็ นการปฏิ บั ติ เ พื่ อ ความก้ าวหน้ าของมนุยชาติ โดยอาศัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเป็ นสาคัญ นักจริ ยธรรมของ กระบวนทรรศน์นี ้ต่อมาแบ่งแยกกันเป็ น 2 สายที่ตา่ งก็สนับสนุนการเมืองสายละระบอบปกครอง สายแรกถือหลักการว่าปั จเจกต้ องอุทิศตนเพื่อความมัน่ คงของสังคม นัน่ คือทาสต้ องอุทิศความเป็ น ปั จเจกเพื่อให้ รัฐฝ่ ายใต้ มนั่ คง จึงสนับสนุนการเมืองระบอบสังคมนิยม สายหลังถือหลักการว่า สั ง คมต้ องอุ ทิ ศ ตนเพื่ อ ค า้ ประกั น เสรี ภ าพของปั จเจก จึ ง สนั บ สนุ น การเมื อ งระบอบเสรี ประชาธิปไตย ระบอบการเมือง 2 ระบอบที่แข่งขันกันนี ้ตังป ้ ้ อมข่มขู่กันจนเกือบจะเกิดสงคราม กลางเมืองจนเกือบทาลายล้ างชาติและเกิดสงครามโลกจนเกือบทาลายล้ างมนุษยชาติ ประเทศไทยในช่วงวิกฤติเช่นนันเลื ้ อกเข้ าข้ างเสรี ประชาธิปไตยและต้ องทาการปราบพี่ น้ องชาวไทยที่ประกาศเข้ าฝ่ ายตรงข้ ามและทาสงครามกองโจร ยังความเสี ยหายทัง้ ชีวิตและ ทรัพย์สินมากมาย เนื่องจากชาวตะวันตกรู้จกั และใช้ วิธีการวิทยาศาสตร์ ล ้าหน้ าชาติอื่นทังหลาย ้ พวกเขา จึงปรับกระบวนทรรศน์เป็ นนวยุคและปรั บนโยบายการอบรมศึกษาไปด้ วย ในช่วงแรกยังคงรักษา อุดมการณ์แห่งชีวิตโดยมีศาสนาเป็ นเป้าหมายอยู่ดงั เดิม เพียงแต่เปลี่ยนวิธีการอบรมสัง่ สอนจาก การยัดเยียดมาเป็ นการให้ ซึมซับเข้ าไปในจิตใจด้ วยวิธีใหม่คือ วิธีพิสูจน์แบบวิทยาศาสตร์ การ อบรมบ่มนิสยั จึงปรับจากวิธีสร้ างศรั ทธามาเป็ นวิธีสร้ างองค์ความรู้ให้ เป็ นระบบ และมีเหตุผลโยง ใยถึงกันได้ เป็ นระบบเครื อข่าย (network)
ผู้อบรมแต่ละคนจะสร้ างคุณธรรมต้ นแบบ (basic
virtues) ขึ ้นตามที่ตนเข้ าใจและเชื่อว่าจะใช้ อบรมได้ เหมาะสมที่สดุ โดยพยายามหาเหตุผลมาชัก
43 แม่น ้าทัง้ 5 เพื่อจูงใจให้ ผ้ ฟู ั งเชื่อตาม ใครทาเองไม่ได้ ก็อาศัยใช้ ของผู้ที่ตนเชื่อว่าน่าจะใช้ ได้ ผลดี ที่สดุ จึงมีการจับกลุม่ กันเป็ นสานักเหมือนผู้ใช้ กระบวนทรรศน์โบราณ วิธีการอบรมดังกล่าวได้ ชื่อ ว่าการอบรมคุณธรรม (Virtue Education) ชาวสหรั ฐ อเมริ กาใช้ การอบรมคุณธรรมมาจนถึง ประมาณ ค.ศ. 1960 จึง มี ผ้ ูเสนอ ความคิดว่าการอบรมคุณธรรมยังตอบสนองกระบวนทรรศน์นวยุคไม่เพียงพอ เพราะเมื่อศึกษา จิตวิทยาด้ วยวิธีวิทยาศาสตร์ กนั มากขึ ้น ก็พบว่าคุณภาพชีวิตของมนุษย์ต้องการเสรี ภาพมากกว่า นันเพื ้ ่อพัฒนาศักยภาพในตนได้ อย่างเต็มที่ เมื่อเป็ นเช่นนันในการอบรมบ่ ้ มนิสยั ครูไม่ควรเสนอ ชุดคุณธรรมต้ นแบบหรื อแม้ แต่บุคคลต้ นแบบ ซึ่งจะเป็ นการนาร่องทาให้ ผ้ รู ับการอบรมลดความ กระตือรื อร้ นที่จะคิดหาด้ วยตนเองให้ เหมาะกับพรสวรรค์ของตน บทบาทของครูจึงควรจากัดอยู่แค่ กระตุ้น และชี ้แนะให้ ผ้ รู ับการอบรมแต่ละคนคิด และกาหนดเป้าหมายและวิถีชีวิตของตนเอง ครูมี หน้ าที่รับรู้และบันทึกไว้ เพื่อหาคาแนะนาอย่างเหมาะสมให้ แต่ละคนได้ มงุ่ มัน่ หาวิธีดาเนินการเพื่อ บรรลุเป้าหมายได้ อย่างดีที่สดุ เมื่อจบหลักสูตรครูก็จะประเมินให้ คะแนนตามระดับความสาเร็ จใน การบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ วิธีอบรมบ่มนิสยั แบบนี ้จึงได้ ชื่อว่ า Clarification Education (การ อบรมแบบถ้ อยแถลง) การอบรมแบบถ้ อยแถลงได้ รับความนิยมและแพร่หลายในสหรัฐอเมริกาอย่างรวดเร็ ว 10 ปี ต่อมากลายเป็ นที่ยอมรับว่าเป็ นนโยบายของรัฐบาลกลางประเทศสหรัฐอเมริ กา มีผ้ เู ขียนตารา และคูม่ ือประกอบการเรี ยนการสอนมากมาย เฉพาะ Values Clarification : A Handbook of Practical Strategies for Teachers and Students เล่มเดียวขายได้ ถึง 600,000 เล่ม (Sidney Simon, 1972.) ผลลัพธ์ ด้านบวกก็คือ คนรุ่ นใหม่ (จานวนหนึ่ง ) ชื่นชอบและตื่นเต้ นมากที่ร้ ู สึกว่าได้ รับ การปลดปล่อยจากการครอบงาโดยระบบความคิดของผู้อาวุโส พวกเขารู้สึกได้ รับเกียรติและได้ รับ ความไว้ เนื ้อเชื่อใจ ทาอะไรก็ได้ รับการสนับสนุนและได้ รับการยกย่องว่าดีไปหมด ผลลัพธ์ด้านลบ มีมากกว่า คือ เกิดกระแสทาตามใจตัวเองอย่างถู กกฎหมายมากมาย โคลเบิร์ก เขียนหนังสือลือ ชื่อสนับสนุนขบวนการดังกล่าว บางกลุม่ ก็ยงั มีผลกระทบที่น่าหนักใจและยังผลมาจนทุกวันนี ้ เช่น
44 กลุ่ม ฮิปปี ้ กลุ่มฆ่าตัวตาย กลุ่ม เสพยาเสพติด กลุ่มเสรี ทางเพศ เป็ นต้ น ฮาร์ มี นได้ แสดงความ ห่วงใยในเรื่ องนี ้ไว้ วา่ การเน้ นด้ านปล่อยวางคุณค่า (value neutrality) ของการอบรมแบบถ้ อยแถลงนันเชื ้ ่อได้ ว่าลบล้ าง ศีลธรรมที่เคยมีมาลงไปอย่างมาก.....คิดย้ อนหลังไปแล้ วก็น่าเสียดายที่เราชะล่าใจปล่อยผี โดย ปล่อยวางคุณค่ากันเกินไป อันที่จ ริ งก็เป็ นสามัญสานึกที่ดีอยู่แล้ วที่กล่าวได้ ว่าการมีความจริ ง ดีกว่าการทาให้ เท็จ การดูแลกันดีกว่าการทาร้ ายกัน ความภักดีดีกว่าการทรยศ และการแบ่งปั น ดีกว่าการขูดรี ด (Merrill Harmin, 1988, pp.24-30.) หลังจากหนังสือ Values and Teaching ของ Raths ออกเผยแพร่ไม่นานความสานึก ของผู้ปกครองนักเรี ยนจานวนมากเข้ าใจประเด็นได้ ทนั ที พากันร้ องเรี ยนให้ สภาการศึกษาแห่งชาติ เปลี่ ยนนโยบาย บางคนเอาบุตรหลานออกจากโรงเรี ยนเพื่ ออบรมเอง หรื อเอาเข้ าไปเรี ยนใน โรงเรี ย นขององค์ ก ารศาสนาที่ ยัง อบรมแบบคุณ ธรรมแม่ แ บบ ความส านึก ของผู้รั บ ผิ ด ชอบ ระดับชาติเริ่มเปลี่ยนทิศ ค่อย ๆ มองเห็นผลร้ ายที่จะตามมาหนักยิ่ง ๆ ขึ ้นจากการใช้ วิธีอบรมแบบ ถ้ อยแถลง และหันมาทดลองใช้ วิธี Character Education (การอบรมบ่มนิสยั ) ตามคาชักชวนของ Character Education Movement ซึง่ ก็ทาได้ ไม่ยาก เพราะใช้ ปรัชญาหลังนวยุคเป็ นฐาน อันเป็ น ปรัชญาที่แพร่ หลายมาจากประเทศฝรั่งเศสและเยอรมนี และได้ รับการต้ อนรับ อย่างดีโดยผู้สอน ปรัชญาของสหรัฐอเมริ กาในขณะนัน้ ความสานึกที่พร้ อมเพรี ยงกันอย่างนี ้ โคว์เวย์ (Stephen Covey) เรี ยกว่าเป็ นการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ (shifting paradigms) ซึ่งในความหมายของ โคว์เวย์นนั ้ คือ เปลี่ยนจากการใช้ จิตวิทยาเชิงวิทยาศาสตร์ เป็ นฐานการอบรมบ่มนิสยั ตามปรัชญา หลังนวยุค ซึ่งต่อมาฮันทิงทันจะใช้ คาเดียวกัน เพื่อหมายถึงการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์จาก การเล่นการเมืองแบบ 2 ขัวมาเป็ ้ นการเมืองแบบหลายขัว้ และซึ่งนักปรัชญาพยายามชี ้แจงว่า มัน คือการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ของมนุษยชาติจากนวยุคเป็ นหลังนวยุค อย่างไรก็ตาม เนื่องจากขบวนการนี ้เป็ นขบวนการใหม่ และมีผ้ มู ีความกระตือรื อร้ นเข้ า ร่วมโครงการมาก จึงอาจจะมีผ้ แู สดงความคิดเห็นตามความพอใจที่อาจจะตรงกันบ้ างไม่ตรงกัน บ้ าง อย่างไรก็ตามโทนี ดีวายน์ขอให้ ทุกคนเข้ าใจให้ ตรงกันอย่างน้ อยในจุดนีว้ ่า “การอบรมบ่ม
45 อุปนิสัยต้ องให้ แต่ละคนมีคณ ุ ค่าที่ยึดถื อเฉพาะตัว (ซึ่งไม่จาเป็ นต้ องเหมือนกัน ผู้แปล)” (Tony Devine, p. 26.) 3.2.5 กระบวนทรรศน์ หลังนวยุค หลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 มีนกั วิเคราะห์สงั คมและ การเมืองมากมาย พยากรณ์ถึงอนาคตของมนุษยชาติ ส่วนมากได้ พยากรณ์ว่าจะเกิดสงคราม ล้ างโลกด้ วยเหตุผลต่าง ๆ กัน ที่ร้ ูจกั กันดีที่สดุ ก็คือหนังสือ The Clash of Civilizations เขียนโดย Huntington ที่ให้ ข้อคิดว่า ทางรอดของมนุษยชาติคือ การปรับเปลี่ ยนกระบวนทรรศน์ ซึ่งผู้วิจยั ได้ วิเคราะห์ไว้ แล้ วในบทที่ 2 และ 3 ขณะนันปรั ้ ชญาหลังนวยุคแบบสุดขัว้ (extreme postmodernism) จากฝรั่งเศสกาลัง เผยแผ่ไ ปตามมหาวิ ท ยาลัย ของสหรั ฐ อเมริ ก าและตามสื่ อ มวลชน ท าให้ ผ้ ูมี ส่ว นรั บ ผิ ด ชอบ การศึกษาของสหรัฐอเมริ กาจานวนหนึ่งรวมตัว กันคิดหาวิธีปรับเปลี่ยนระบบการศึกษา และใช้ อานาจหน้ าที่จดั การการศึกษาแผนใหม่ โดยหวังว่าจะแก้ ปัญหาของมนุษยชาติได้ ตามคติของ ปรัชญาหลังนวยุคแบบสุดขัว้ ออกมาเป็ นแผนการศึกษาแห่งชาติของสหรัฐอเมริ กา ตามรายงาน ในเอกสาร Values Clarification ประกาศใช้ ในปี ค.ศ. 1972 ว่า “ให้ นกั เรี ยนตระหนักถึงความรู้สึก ของตนเอง ความคิดของตนเอง ความเชื่อของตน และระบบคุณค่าของตนเอง” นัน่ คือในห้ องเรี ยน ศีลธรรมแทนที่ครู จะระบุว่านักเรี ยนพึงเรี ยนรู้ และปฏิบตั ิคณ ุ ธรรมข้ อใดบ้ าง กลับกลายเป็ นว่าครู จะต้ องรับฟั งและรับรู้ จากนักเรี ยนแต่ละคนว่า เขาชอบอะไรและต้ องการอะไร นักเรี ยนไม่ต้องรู้ คุณค่าทางศีลธรรมไม่ต้องกาหนดว่าเขาพึงประพฤติตนอย่างไรบ้ าง เพียงแต่บอกว่าอยากทา อะไรบ้ างก็พอแล้ ว “ครู ถูกห้ ามมิให้ วางกรอบกาหนดขอบเขตความอยากของนักเรี ยน นักเรี ยน บอกได้ อย่างเสรี วา่ ตนยกย่องคุณค่าใดโดยชี ้แจงเหตุผลประกอบได้ อย่างตามใจชอบ ครูต้องระวัง ตัวไม่ให้ เผลอวิพากษ์ วิจารณ์เป็ นอันขาด การสอนศีลธรรมแบบนี ้รับรองได้ ว่านักเรี ยนไม่เครี ยดใน ห้ องเรี ยน เพราะนักเรี ยนจะรู้สึกว่า การเลือกความประพฤติก็เหมือนการเลือกรับประทานอาหาร ตามรสนิยม จิตใจปลอดโปร่งสบายดี (William Bernett, 1994, p.56.) ดีวายน์นิยามบทบาทของครูในการสอนศีลธรรมแบบถ้ อยแถลงนี ้ว่า “ครูมีบทบาทเพียง ผู้ให้ ความสะดวก (facilitator) แก่นกั เรี ยนที่จะเลือกแนวทางประพฤติของแต่ละคนเท่านัน้ แม้ ครู จะรู้สกึ ว่า นักเรี ยนไม่รอบรู้พอที่จะรับผิดชอบตัวเองและเลือกประพฤติอย่างไม่เหมาะไม่ควร ครูก็
46 ต้ องอดใจระงับปากไว้ มิให้ ตกั เตือนหรื อชักชวนให้ นกั เรี ยนเปลี่ยนใจเลือกใหม่ให้ ดีกว่าเดิม ” (Tony Devine, p.17.) ซึ่งเป็ นความเห็นที่แรธส์เสริ มว่าเข้ าใจถูกต้ องที่สุดเพราะ “แม้ ในกรณีที่เห็นชัด ๆ ว่านักเรี ยนไม่อยู่ในทางของคุณ ค่าทางศีลธรรมเลย ครู ก็ยัง ต้ องแสดงความรั บ ผิ ดชอบโดย ส่งเสริ มการตัดสินใจเลือกของนักเรี ยน” (Raths, Harmin and Simen, 1966.) เบลซึ่งเห็นด้ วยกับ การให้ เยาวชนเติบโตอย่างเสรี เต็มที่เช่นนี ้ ถึงกับแถลงเป็ นนโยบายว่าพ่อแม่ผ้ ปู กครองก็ไม่ควรยัด เยียดคุณค่าทางศีลธรรมแก่บตุ รหลานของตน ถึงกับยุเยาวชนว่า “หากพ่อแม่ถือสิทธิ์ควบคุมมาก นัก (overprotective) ก็เอาหูทวนลมได้ (tune out their voice entirely) (Ruth Bell, 1987, p. 90.) และอีกตอนหนึ่งกล่าวว่า “พ่อแม่ไม่มีสิทธิ์บงั คับให้ ลกู ต้ องเดินตามความคิดเห็นของพ่อแม่ เพราะ ลูกมีสิทธ์คดิ แตกต่างได้ พ่อแม่ไม่มีสิทธิ์อ้างอานาจใด ๆ เหนือลูก เพราะพ่อแม่ก็เป็ นคนธรรมดา ๆ ทาผิดได้ อ่อนเชิงได้ มีความไม่มนั่ คงได้ และมีปัญหาได้ เช่นเดียวกับคนอื่นทัว่ ๆ ไป” (Thomas Huntington, 1996, p. 49.) ดีวายน์ยืนยันว่า การอบรบศีลธรรมแบบถ้ อยแถลง เพราะประชาชน ทั่วไปรู้ สึกว่าเป็ นวิธีที่ผิด ดังข้ อสังเกตของดีวายน์ว่าความเสื่ อมทางศีลธรรมและการเพิ่มสถิ ติ พฤติ ก รรมไม่ พึ ง ประสงค์ ใ นหมู่ เ ยาวชนพุ่ ง ถึ ง ขี ด วิ ก ฤตในทศวรรษ 1900 ถึ ง ขนาดที่ คณะกรรมาธิการมาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ (Commission on Excellence in Education) ในปี ค.ศ. 1993 ว่า “หากอริ ชาติศตั รูซึมแทรกเข้ ามาก่อกวนด้ วยวิธีนี ้ต่อชาติของเรา ก็คงจะต้ องปราบ กันด้ วยสงคราม” ขณะนี ้บรรดาผู้ปกครองได้ พากันวิจารณ์ระบบการศึกษาในสถาบันศึกษาของรัฐ อย่ า งหนัก หน่ ว งผู้ ปกครองหลายรายให้ ลู ก หลานของตนลาออกไปเข้ า สถาบัน เอกชนที่ ยัง ดาเนินการสอนแบบเดิม คือป้อนเนื ้อหาคาสอนให้ ผ้ เู รี ยน (=หลักสูตรเป็ นสาคัญผู้แปล) อีกบาง รายก็เก็บลูกหลานของตนไว้ สอนเองที่บ้านแสดงว่า นโยบายการเรี ยนการสอนในสถาบันของรัฐ ล้ ม เหลวอย่างน่าเป็ นห่วง จาเป็ นต้ องมี การปรั บปรุ ง และต้ องปรั บปรุ ง อย่างเร่ ง ด่ว น” (Tony Devine, p, 25.) โทมั ส โซเวลวิ จ ารณ์ อ ย่ า งเผ็ ด ร้ อนด้ วยอี ก ส านวนหนึ่ ง ว่ า ตามหลัก สู ต ร มาตรฐานการสอนแบบถ้ อยแถลงนัน้ ผู้สอนถูกห้ ามมิให้ ระบุคณ ุ ค่าที่ตนอยากสอนออกมาตรง ๆ ผู้สอนมีหน้ าที่เพียงค ้าประกันและให้ ความสะดวกแก่กระบวนการที่ผ้ เู รี ยนใช้ สาหรับค้ นหาคุณค่ า ในตน วิธีสอนแบบนี ้ส่งเสริมให้ เยาวชนที่ยงั ขาดประสบการณ์และยังไม่มีวฒ ุ ิภาวะพอ ได้ ผงาดขึ ้น เลือกคุณค่าชีวิตให้ ตนเอง โดยไม่ต้องให้ ใครมาสอนให้ ก่อนเลยว่าต้ องเลือกอย่างไรจึงถือได้ ว่า
47 ฉลาดเลือก ณ บัดนี ้การอบรมศีลธรรมแบบถ้ อยแถลงนี ้ มีผ้ กู ารวิพากษ์ วิจารณ์กนั อย่างกว้ างขวาง เน้ นชี ้กันว่าเป็ นวิธีสอนที่ผิดพลาดอย่างหนัก เพราะดันไปส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนที่ยงั ไร้ วฒ ุ ิภาวะทาตัว เป็ นผู้รอบรู้ที่สามารถเป็ นผู้ตดั สินหลักความดี /ชัว่ ได้ ด้วยตนเอง มันทาให้ เกิดความสับสนในเรื่ อง คุณค่าเสียจริง ๆ (Thomas Sowell, 1993, p.65.) เมื่อเกิดความรู้ สึกอันตรายร่วมกันเช่นนี ้ ก็ย่อมจูงใจให้ มีผ้ เู สนอทางแก้ บางคนก็แสดง ความไม่พอใจที่เจ้ าหน้ าที่ของรัฐส่วนมากวางเฉยเกินไป ไม่ร้ ูร้อนรู้หนาว ทาทองไม่ร้ ูร้อน อย่างเช่น โฮเวิร์ด กีร์เคนเบาว์ เขียนลงวารสารตาหนิเจ้ าหน้ าที่วงการศึกษาอย่างเกรี ย้ วกราดว่า “เจ้ าหน้ าที่ บางคนใช้ ก ระเบื อ้ งทนร้ อนมุง หลัง คาจึง ไม่ร้ ู สึก ร้ อนหนาวกับ วิ ธี ส อนแบบถ้ อยแถลง (Some administrators today would rather be accused of having asbestos in their ceilings than of using values clarification in their classrooms.”) (Howard Kirschenbaum, 1992, P.773.) นักคิดคนเดียวกันนี ้เองชี ้แนวทางแก้ ปัญหาว่าให้ เดินสายกลาง คือ ขณะนันสถาบั ้ นเอกชนสอนด้ วย วิธียดั เยียดความคิด (inculcation) นับว่าล้ าสมัยเกินไป ส่วนสถาบันของรัฐใช้ วิธีถ้อยแถลงซึ่งเป็ น ผลพวงจากวิธีสอนแบบผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ (student-centered method) ก็นบั ว่าล ้าสมัยเกินไป ทางสายกลางน่าจะดีกว่า คือเลื อกเอาเฉพาะส่วนดีจากวิธีสุดขัว้ ทัง้ 2 วิธี อันเป็ นวิธี ที่ปรับจาก แนวคิดแบบสุดขัว้ คือลัทธิ structuralism ของฝรั่ ง เศสผสมผสานกับแนวคิดดัง้ เดิม ของชาว อเมริ กัน คือลัทธิ pragmatism (ปฏิ บตั ินิยม) กลายเป็ นลัทธิ หลัง นวยุคสายกลาง (moderate postmodernism) ซึ่งเมื่อประยุกต์ใช้ ในการอบรมศีลธรรม-จริ ยธรรมแล้ วก็ได้ ชื่อว่า การอบรมบ่ม นิสยั (character education) เพื่อสร้ างความดีพร้ อม (integrity) ในตัวบุคคลแต่ละคน (personal) นั่นคือไม่มีต้นแบบ (personality) ที่ดีที่สุดสาหรับทุกคน แต่ทุกคนจะต้ องสร้ างความดีพร้ อม เฉพาะตัว ตนของตนและเป็ นต้ นแบบให้ แก่ตน ดีวายน์อ้างสตีเฟน โคว์เวย์ (Stephen Covey) ผู้เขียนหนังสือขายดีติดตลาดชื่อว่า The Seven Habits of Highly Effective People ให้ เป็ น เจ้ าของความคิดว่า คนปั จจุบนั กาลังปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ (shifting paradigms) คือเปลี่ยน จากความสนใจสร้ างบุคลิกภาพต้ นแบบ (personality) ด้ วยการ “ชนะใจเพื่อนและผู้ทรงอิทธิพล” (winning friends and influencing people ซึ่งทุกคนรู้ว่าเป็ นวิธีการสร้ างบุคลิกภาพของ Dale Carnegie มาเป็ นการอบรมบ่มนิสยั ส่วนตัว 7 ด้ าน ซึ่งเป็ นสาระในหนังสือของตน โดยการศึกษา
48 ให้ เข้ าใจสิ่งที่ต้องมีในตัว (personal need) จะได้ วางเป็ นคุณค่ารากฐาน (bedrock values) ให้ เกิดความมัน่ คงในชีวิต (stability to life) (Tony Devine, p. 26.) ดีวายน์สรุปสถานภาพของการอบรมบ่มนิสยั ในสหรัฐอเมริกาว่า การอบรมบ่มนิสยั แสดงในทุกแง่ทุกมุมว่าเป็ นวิธีที่เป็ นที่ยอมรับโดยนักการศึกษาสายหลัก (main stream) ของสหรัฐอเมริ กา ผู้ปกครองส่วนใหญ่ให้ การสนับสนุน เมื่อมีการสอบถามว่าพวกเขา ต้ องการอะไรจากสถานศึกษา พวกเขาพากันตอบเป็ นเสียงเดียวกันว่า ต้ องการให้ บตุ รหลาน พูด เขียน อ่าน คิด และคานวณได้ ถกู ต้ องเป็ นอันดับแรก อันดับสอง คือให้ มีมาตรการดี /ชัว่ ที่เชื่อถือได้ สาหรับเป็ นแนวทางดาเนินชีวิต (Tony Devine, p. 26.) ส่วนเจมส์ ลีมิงให้ ข้อสังเกตว่า ขบวนการอบรมบ่มนิสัยยังขาดฐานทฤษฎีที่ครบถ้ วน ขณะนีม้ ีแต่ผ้ อู อกความเห็นเชิง สังคมวิทยา ปรัชญา จิตวิทยา และประมวลผลอย่างเป็ นชิ ้น ๆ อิสระต่อกัน (James Leming, 1993, p. 21.) ซึ่งหมายความว่ายังไม่มีการประสานความคิดจากภาคส่วนต่าง ๆ ที่สนใจวิจยั ใน เรื่ องนี ้ให้ เป็ นสหวิชา เพื่อให้ นกั การศึกษาได้ จดั การบริหารหลักสูตรและการกาหนดวิธีสอนได้ อย่าง สอดคล้ องกัน จึงเป็ นเรื่ องที่เราต้ องคิดทาเองด้ วยจากความต้ องการเฉพาะถิ่นของเรา สาหรับดีวายน์และคณะที่ทดลองทาคู่มือขึน้ มาช่วยผู้ปฏิบตั ิงานด้ านนีม้ ีความเห็นว่า การอบรมบ่มนิสยั มีสว่ นสาคัญต่อไปนี ้ คือ 1. ต้ องมีหลักการสากลที่มนุษย์ทุกคนยอมรับร่ วมกัน มันคือ ธรรมชาติของมนุษย์ซึ่ง เหมือนกันในมนุษย์ทุกคน ทาให้ มนุษย์มีเป้าหมายแห่งชีวิตตามธรรมชาติเหมื อนกัน ดีวายน์ พยายามหาข้ อมูลที่โดนใจนักศึกษาอเมริ กัน จาเป็ นต้ องวิจยั หาคาอธิบายที่โดนใจคนไทยในวัย ต่างกันและวุฒิตา่ งกัน (บทที่ 3) 2. ทุกคนมีเป้าหมายของชีวิตเหมือนกัน คือความสุขแท้ ตามความเป็ นจริ ง อันได้ แก่การ พัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีคณ ุ ค่าสูงสุดของมนุษย์ (บทที่ 4-5) 3. ทุก คนมี ก ารกระท าอย่า งหนึ่ ง ที่ ท าทุก ครั ง้ พัฒ นาคุณ ภาพชี วิ ต ทุก ครั ง้ อัน ได้ แ ก่ CARING การดูแลทุกสิ่งให้ มีความสุขตามความเป็ นจริง (บทที่ 3)
49 4. CARING แสดงออกเป็ นการสร้ างสรรค์ ปรับตัว และร่วมมือ ขาดการแสวงหา (บทที่ 6-8) 5. ฝึ กปฏิบตั ใิ นชีวิตจริง (บทที่ 10-28) แม้ ผ้ วู ิจยั จะเห็นด้ วยกับหลักการและวิธีของดีวายน์ แต่คาอธิบายและตัวอย่างที่ดีวายน์ ยกขึน้ มานัน้ ส่วนมากเหมาะสาหรับใช้ อบรมชาวอเมริ กัน ผู้วิจัยเห็นว่าหากจะทาการอบรมใน ประเทศไทย จ าเป็ นต้ องสร้ างคาอธิ บายและตัวอย่างใหม่ที่เหมาะกับสังคมของเราโดยเฉพาะ บทเรี ยนก็จาเป็ นต้ องสร้ างใหม่ให้ เหมาะกับสถานการณ์จริงของสังคมไทย สรุ ป ก็คงสรุปได้ ไม่ยากว่า “ปมคุณธรรมนันมี ้ จริ ง ” แต่มีอยู่หลายปม ในมนุษย์แต่ล ะ คนมีตา่ งกันเป็ น 5 ปม จี ้ไม่ตรงปมที่เขามี ก็ไม่เกิดผล แต่ถ้าต่อมที่เขามีอยู่นนเป็ ั ้ นต่อมที่ล้าสมัย และเราไปจี ้เข้ าโดยจงใจเพราะหวังผลทางอ้ อมที่ไม่เป็ นปมที่ไม่สจุ ริ ตก็ดี หรื อโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ จึงเกิดผลตามที่จี ้อย่างสุจริ ตใจ ผลข้ างเคียงที่ให้ ร้ายก็เกิด ขึ ้นอย่างสุจริ ตใจ ก็ต้องตามแก้ กันไป อย่างไม่ร้ ู จักจบสิน้ เรื่ องนีค้ ือความพอเพี ยงซึ่งต้ องช่วยกันศึกษาให้ ถ่องแท้ และปฏิ บตั ิอย่างมี วิจารณญาณ เป็ นเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวทรงกาชับว่า มิเป็ นเพียง เศาษฐกิจ แต่เป็ นคุณธรรม กล่าวได้ อย่างว่าเป็ นทัง้ เศรษฐกิจพอเพียงและคุณธรรมแห่งความ พอเพียง ช่วยกันจี ้ให้ ถกู ปมอันพึงประสงค์เถิด สังคมจะดีขึ ้นอย่างแน่นอน
50
บทที่ 4 มนุษย์ ทุกคนต้ องการความสุขแท้ ตามความเป็ นจริงแห่ งชาติญาณ 4.1 ข้ อเท็จจริง เป็ นข้ อเท็จจริ งที่ไม่มีมนุษย์คนใดปฏิเสธว่า ตนเองต้ องการความสุขปราศจากทุกข์ ที่ อยากพ้ นทุกข์ก็เพราะโดยสัญชาตญาณรู้ ว่าความทุกข์เป็ นอุปสรรคต่อความสุข เมื่อมีความสุขก็ พอใจและพอใจเพราะไม่ร้ ูว่ามีความสุขมากกว่าได้ หากรู้ว่ามีก็จะดิ ้นรนไปหาความสุขนันที ้ ่คิดว่า มากที่สดุ และดีที่สดุ (มีคณ ุ ภาพสูงสุด) หากมีความทุกข์เจือปนอยู่ด้วยและรู้ว่ามีวิธีพ้นทุกข์ได้ ก็จะ ดิ ้นรนปฏิบตั ิการพ้ นทุกข์จนกว่าจะพ้ นทุกข์และถ้ า รู้ว่าพ้ นไม่ได้ ก็ยอมรับแค่นนั ้ ขณะเดียวกันก็หา ความแน่ใจว่าความสุขจะไม่ลดและความทุกข์จะไม่เพิ่ม มิฉะนัน้ ก็อยู่นิ่งไม่ได้ ต้ องจัดการให้ ได้ ความแน่ใจเสียก่อน ความสุข/ความทุกข์ โดยปรกติร้ ู ได้ ด้วยประสบการณ์ อะไรที่ผ่านมาในประสบการณ์ สัญชาตญาณจะระบุทนั ทีว่าให้ ความสุข /ความทุกข์ และประสบการณ์ก็ระบุด้วยว่าพอใจหรื อไม่ ถ้ าไม่พอใจก็หาวิธีให้ เกิดความพอใจเท่าที่ร้ ู ซึ่งระดับหนึ่งรู้ โดยสัญชาตญาณและเพิ่มได้ ด้วยการ เรี ยนรู้ รู้ น้อยก็มีทางเลือกน้ อยสาหรับความพอใจ หากรู้ มากขึน้ ก็จะมีทางเลือกมากขึน้ สาหรับ ความพอใจ ผู้ไม่สนใจเรี ยนรู้เลยจึงมักจะเสียโอกาสที่สามารถหาความสุขหรื อพันทุกข์ได้ ดีขึ ้น อัน เป็ นการสูญเสียที่น่าเสียดายยิ่งสาหรับชีวิตหนึ่งๆ การเรี ยนรู้ เรื่ องนี ้จึงเป็ นกิจเมตตาต่อตัวเองที่มี คุณค่าสูงสุดที่จะให้ แก่ตวั เองได้ และยังเป็ นโอกาสช่วยผู้อื่นให้ ร้ ูในเรื่ องที่ล ้าค่าทาให้ ผ้ รู ับพอใจและ ผู้ให้ มีความสุข ความสุขที่เป็ นไปตามธรรมชาติอย่างเต็มที่เป็ นความสุขแท้ ตามความเป็ นจริ ง ความสุข ที่เป็ นไปตามธรรมชาติไม่เต็มที่เป็ นความสุขแท้ ไม่เต็มที่ของความเป็ นจริ ง ความสุขที่ไม่เป็ นไปตาม ธรรมชาติเป็ นความสุขไม่แท้ ไม่เต็มที่ ไม่สงบ ต้ องไขว่คว้ าหาอยู่ตลอดเวลา เพราะกลัวความทุกข์ จะเข้ ามาแทนที่ เนื่องจากไม่มีความเป็ นจริงค ้าประกัน
51
4.2 ความเป็ นมนุษย์ โดยธรรมชาติประกอบด้ วยสัญชาตญาณ 4 ระดับซ้ อนกัน คุณธรรมจะกลับมาหากทุกคนแสวงหาความสุขแท้ ตามความเป็ นจริงของธรรมชาติมนุษย์ ความเป็ นจริ ง (reality) ได้ แก่ทกุ สิ่งที่มีอยู่จริ ง ก้ อนหิน พืช สัตว์ และมนุษย์ล้วนแต่เป็ น ความเป็ นจริงด้ วยกัน แต่มีคณ ุ ภาพของความเป็ นจริงต่างระดับกันไม่เท่ากัน ก้ อนหินเป็ นแค่สสาร มีคณ ุ สมบัตขิ องสสารเพียงอย่างเดียว มีคณ ุ ภาพอย่างมากที่สดุ ไม่เกินกฎฟิ สิกส์และเคมีของสสาร พืชนอกจากเป็ นสสารเหมือนสสารทังหลาย ้ ยังมีชีวิตเพิ่มเข้ ามาทาให้ มีคณ ุ สมบัติ 2 อย่าง จึงมี คุณภาพถึงระดับชีวิตได้ แต่อย่างมากที่สุดก็ไม่เกินคุณภาพชีวิตพืช สัตว์นอกจากเป็ นสสารและ สิ่งมีชีวิตเหมือนสิ่งมีชีวิตทังหลายแล้ ้ ว ยังมีความรู้ สึกอยากเพิ่มเข้ ามาทาให้ มีคณ ุ สมบัติ 3 อย่าง จึงมีคุณภาพชีวิตถึงระดับความรู้ สึกอยากก็ได้ ด้วย แต่อย่างมากที่สุดก็ไม่เกินคุณภาพชีวิตสัตว์ มนุษย์นอกจากจะเป็ นสสาร พืช และสัตว์เหมือนสัตว์โลกทังหลายแล้ ้ ว ยังมี ปัญญารู้จกั วิเคราะห์ แยกและตัดสินใจเลือกอันใดอันหนึง่ ได้ อย่างเสรี คือ ฝื นความอยากอย่างหนึ่งโดยเลือกความอยาก อี กอย่า งหนึ่ง โดยไม่อ าจเดาล่วงหน้ า ได้ เสมอไป (ยกเว้ นพระอรหันต์ หรื อนักบุญ เพราะท่า น พัฒนาการเลือกของท่านเหนือมนุษย์ธรรมดาจนอย่าว่าแต่เลือกความอยากที่เลวเลย แม้ ความ อยากที่ดีน้อยลงไปยังไม่ได้ เลย) นี่คือความเป็ นจริ งแห่งชีวิตที่ผ้ เู กิดมาเป็ นคนทุกคน เมื่อถึงอายุร้ ู ความแล้ วก็ควรจะรู้และถือโอกาสรู้ เพื่อจะไม่เสียทีที่ได้ มีโอกาสดีเกิดมาเป็ นมนุษย์และมีสิทธิ์เลือก ความสุขแท้ ตามความเป็ นจริงระดับมนุษย์ เรื่ องนี ้เป็ นเรื่ องสาคัญมากที่จาเป็ นต้ องรู้ เพราะมันเกี่ยวกับความสุขแท้ ตามความเป็ น จริ ง เพราะเกิดเป็ นมนุษย์มาทังที ้ แล้ วไม่มีโอกาสได้ ลิม้ รสความสุขแท้ แห่งความเป็ นมนุษย์เลย แม้ แต่สกั เสี ้ยววินาทีนี่มนั ไม่ค้ มุ เลย เหมือนโชคดีได้ รับมรดกกองโต แต่ไม่มีโอกาสได้ ใช้ มรดกนัน้ เลยแม้ แต่สกั เสี ้ยววินาที ก็ไม่ร้ ู จะเป็ นทายาทไปทาไม ทุกคนจึงควรมีโอกาสได้ ร้ ูความสุขแท้ ตาม ความเป็ นจริงของมนุษย์ และขอให้ ได้ ลิ ้มรสแม้ สกั เสี ้ยววินาทีก็ไม่เสียชาติเกิดแล้ ว ความสุขแท้ ตามความเป็ นจริ งของมนุษย์คืออะไร และอยู่ที่ไหนเราจะวิเคราะห์กัน ณ บัดนี ้
52
4.3 ความสุขแท้ ตามระดับสัญชาตญาณ เราได้ วิเคราะห์กันมาแล้ วข้ างต้ นว่า ความเป็ นจริ งมี 4 ระดับและมนุษย์ก็เป็ นความเป็ น จริงทัง้ 4 ระดับ คือ เป็ นทังสสาร ้ (เหมือนก้ อนหิน) เป็ นชีวิต (เหมือนพืช) เป็ นผู้มีความรู้สึก (เหมือน สัตว์ ) และเป็ นผู้มีความนึกคิด (เหมือนเทพ) มนุษย์ คือเทพในร่ างกายจึงทาอะไรบางอย่างได้ เหมือนเทพ (อาจจะไม่เก่งเท่าเทพ) แต่มนุษย์ก็ทาอะไรได้ หลายอย่างที่เทพทาไม่ได้ เพราะเทพไม่ มีร่างกายสสาร เทพอาจจะพยายามเลียนแบบมนุษย์โดยเนรมิตร่าง แต่ก็เป็ นร่างปลอม ไม่ใช่ร่าง แท้ อย่างของเรามนุษย์ จึงไม่แน่ใจได้ ว่าจะรู้ สึกอย่างมนุษย์หรื อเปล่า เพราะใช้ แต่ของเทียม จะสู้ ของจริงได้ หรื อ คิดได้ อย่างนีก้ ็จะภูมิใจได้ ว่าโชคดีที่มีโอกาสได้ เกิดเป็ นมนุษย์ทงั ้ ที ซึ่งไม่ง่ายนักและ บังเอิญได้ เป็ นกับเขาด้ วยคนหนึ่ง ไม่หาโอกาสได้ ลิ ้มรสความสุขแท้ ตามความเป็ นจริ งของมนุษย์ เลยสักครัง้ ชัว่ ชีวิต ก็นา่ เสียดายมาก ๆ จะลิ ้มรสได้ ก็ต้องหาโอกาสได้ เรี ยนรู้ เสียก่อนว่าสิ่งนันเป็ ้ นอะไร มิฉะนันอาจจะได้ ้ กาใน มือแต่ไม่ร้ ูว่า “นัน่ แหละใช่แล้ ว” ก็เหมือนยังไม่ได้ ลิ ้มรสจริ ง ๆ เมื่อรู้ว่ามันเป็ นอย่างไรแล้ ว ก็ต้องรู้ ต่อไปอีกนิดเดียวว่า ทาอย่างไรจึงจะได้ มาเป็ นของตนแม้ สกั ชัว่ พริ บตาก็ยงั ดี ตายไปจะได้ นอนตา หลับ รู้สกึ ไม่เสียทีที่ได้ มีโอกาสเกิดมาเป็ นคนกับเขาชีวิตหนึง่ มนุษย์แต่ละคนและทุกคนประกอบด้ วยความเป็ นจริ ง 4 อย่างเกาะกลุ่มเข้ าด้ วยกัน ทา ให้ ม นุษ ย์ มี สัญ ชาตญาณ 4
อย่า งที่ แ ข่ง ขันกัน คุม เกมชี วิ ต หากไม่ไ ด้ เรี ย นไม่ไ ด้ ร้ ู ว่าแต่ล ะ
สัญ ชาตญาณให้ ความสุ ข ระดับ ใด มี คุ ณ ภาพสู ง สุ ด อยู่ แ ค่ ไ หน ก็ อ าจจะตัด สิ น ใจเลื อ ก สะเปะสะปะ พอใจกับความสุขระดับต่ากว่าความเป็ นจริ งของมนุษย์ นอกจากตัวเองจะไม่ได้ ความสุขแท้ ตามความเป็ นจริงแล้ ว ยังสร้ างความเดือดร้ อนให้ แก่ผ้ อู ื่นด้ วย และคนอื่นก็จะช่วยกั น บัน่ ทอนความสุขแท้ ตามความเป็ นจริ งของเรา ซึ่งอาจจะบังเอิญมีเพียงน้ อยนิดนัน้ เสียอีก ดัง วิเคราะห์เห็นได้ ง่าย ๆ ดังต่อไปนี ้ 4.3.1 ใช้ สัญชาตญาณก้ อนหิน เป็ นคนเกียจคร้ าน ชอบอยู่เฉย ๆ เหมือนก้ อนหิน ไม่ รับการเปลี่ยนและการขยับเขยื ้อนเคลื่อนที่ ก้ อนหินอยู่กับที่ มีความสุขตามสัญชาตญาณก้ อนหิน
53 มันไม่ต้องการให้ ใครมายุ่งกับมันและมันก็ไม่ย่งุ กับใคร มันมีความสุขได้ แท้ ตามความเป็ นจริ งของ ก้ อนหิน มันไม่ทาให้ ใครเดือดร้ อน และอาจจะเป็ นคุณแก่คนที่ร้ ูจกั ใช้ สญ ั ชาตญาณก้ อนหินที่ไม่ร้ ู ร้ อนรู้หนาวของมัน และพยายามไม่ไปตอแยกับสัญชาตญาณชอบอยูเ่ ฉย ๆ ของมัน มันพอใจของ มันอย่างนันก็ ้ ช่างหัวมัน แต่มนุษย์มิได้ เป็ นก้ อนหินเพียงอย่างเดียว มีเกิดแก่เจ็บตายและรู้สึกนึก คิด ซึง่ ก้ อนหินไม่มี ความสุขแท้ ของก้ อนหินจึงไม่ใช่ความสุขแท้ ของมนุษย์ ความสุขแท้ ของมนุษย์ ก็ไม่ใช่ความสุขแท้ ของมัน มันไม่ลิ ม้ รส มันไม่ร้ ู สึกว่าเป็ นความสุข ให้ มนั อยู่อย่างก้ อนหินและมี ความสุขอย่างก้ อนหินนัน่ แหละดีที่สดุ แล้ วสาหรับมัน เพราะความเป็ นจริ งของมัน คือเป็ นก้ อนหิน เพียงอย่างเดียว ฌองปอลซาตร์ บอกว่ามนุษย์ที่พยายามทาตัวเป็ นก้ อนหินจึงผิดหวังเพราะผิด ธรรมชาติ ไม่มีความสุขแท้ ตามความเป็ นจริงของมนุษย์ คนฉลาดจึงรู้จกั วางแผนชีวิตให้ ดีกว่านัน้ 4.3.2 ใช้ สัญชาตญาณพืช เป็ นคนโลภเห็นแก่ตวั เหมือนพืช ในบางกรณีดเู หมือนว่า พืชเอื ้ออาทรต่อกัน แต่ไม่ใช่หรอก นัน่ เป็ นเพราะธรรมชาติช่วยจัดระเบียบให้ ตัวพืชแต่ละต้ นนัน้ ตังแต่ ้ เกิดจนตาย มีแต่ประวัติแห่งการเห็นแก่ตวั และเอาเปรี ยบทุกสิ่งที่บงั เอิญตกอยู่ในข่ายที่จะ เอาเปรี ยบได้ ต้ นไม้ ไชชอนรากไปดูดซับเอาอาหารจากที่ใดได้ ก็จะไม่ละโอกาส โดยไม่ยี่หระว่าใคร จะเสียหาย อะไรจะพังทลาย ขอให้ ฉันได้ สิ่งที่ฉันต้ องการให้ มากที่สุดไว้ เป็ นใช้ ได้ คนที่ยึดเอา สัญชาตญาณพื ชเป็ นหลักของการดารงชี พ จึง เห็นแก่ตวั ในทุกเรื่ องโดยอัตโนมัติ กอบโกยให้ ได้ มากที่สดุ ในทุกโอกาส มิไยใครจะเสียหายล้ มละลายกันไปอย่างไร ก็ไม่ต้องเอามาคิดพิจารณา ให้ เสียอารมณ์ พืชแสวงหาผลประโยชน์แบบเอาเปรี ยบได้ ก็เฉพาะในขอบเขตที่รากชอนไปถึงและ กิ่งก้ านยื่นใบไปได้ เท่านัน้ นัน่ เป็ นความสุขแท้ ตามความเป็ นจริ งของมัน เพราะมันเป็ นพืชมันไม่มี ศักยภาพที่จะทาอะไรให้ ได้ ความสุขมากกว่านัน้ และมันก็มีความสุขตามธรรมชาติของมัน มนุษย์มีสญ ั ชาตญาณพืช แต่ก็มีสญ ั ชาตญาณสสารที่ต่ากว่า และสัญชาตญาณอารักขา ยีนและสัญชาตญาณปั ญญาที่สงู กว่าสัญชาตญาณพืช การมี สัญ ชาตญาณที่ ต่ากว่าและสูง กว่าด้ วยอยู่ใ นตนเช่น นี ้ มี ทัง้ การได้ เ ปรี ย บและ เสียเปรี ยบพืชทังหลาย ้ ที่ได้ เปรี ยบก็คือ เขาอาจจะใช้ พลังจากสัญชาตญาณสืบยีน และพลังจาก สัญชาตญาณปั ญญามารับใช้ สญ ั ชาตญาณพืช ทาให้ เขาสามารถหาผลประโยชน์อย่างเอาเปรี ยบ ได้ กว้ างไกลและลึกซึ ้งด้ วยเล่ห์เหลี่ยมหลอกลวงโดยที่พืชทังหลายไม่ ้ อาจจะทาได้ แต่ทางได้ เปรี ยบ
54 อย่างนี ้น่าจะลงท้ ายด้ วยการเสียเปรี ยบพืชมากกว่า เพราะหากเขาจะใช้ ศกั ยภาพสักแต่เพื่อขยาย ผลทางได้ เปรี ยบเช่นนัน้ ผลลัพธ์จะกลับตาลปั ตรเป็ นการเสียเปรี ยบได้ โดยง่าย โดยเฉพาะอย่าง ยิ่ง คือเขาจะมีทุกข์ที่พืชไม่อาจจะรู้จกั คือทุกข์ในฐานะที่เป็ นมนุษย์ซึ่งควรจะมีความสุ ขที่สูงกว่า นัน้ แต่เขาพยายามฝื นธรรมชาติของเขาให้ อยู่แค่ระดับพืช ซึ่งไม่ใช่ธรรมชาติแท้ ของเขา มีการ ขัดแย้ งในจิตใจของเขาที่ซาตร์ เรี ยกว่า “อัญภาวะ” (alienation) เขาจึงไม่มีวนั จะมีความสุขอย่าง สงบ จนกว่าเขาจะตระหนักรู้สานึก และตัดสินใจเปลี่ยนเป้าหมายของชีวิต ให้ สงู ขึ ้นถึงขันความสุ ้ ข แท้ ตามความเป็ นจริงนัน่ แหละ เขาจึงมีความสุขที่เขาพอใจและภูมิใจ 4.3.3 ใช้ สัญชาตญาณอารั กขายีน คนเรานอกจากจะมีส่วนที่เป็ นสสารและส่วนที่ เป็ นพืชแล้ ว ยังมีส่วนที่เป็ นสัตว์ที่มีความรู้ สึกและอารมณ์เหมือนสัตว์โลกทังหลาย ้ เพราะเหตุนี ้ นอกจากจะมีสญ ั ชาตญาณก้ อนหินและสัญชาตญาณต้ นไม้ แล้ ว ยังมีสญ ั ชาตญาณอารักขายีน ด้ วย ซึ่งแสดงออกโดยขันแรกหลงในกามเพื ้ ่ออารักขายีนในตนโดยการถ่ายทอดมันไปสู่ชีวิตใหม่ เพื่อว่าเมื่อยีนในตัวตาย จะมียีนของตนยังคงดารงต่อไปในบุคคลอื่นที่อายุอ่อนกว่า มีหวั งจะตาย ภายหลังตน ทังหวั ้ งว่าเมื่อยีนในตัวทายาทจะต้ องตาย ทายาทคงจะได้ ถ่ายทอดยีนสู่ชีวิตที่อ่อน กว่าต่อ ๆ ไป ชัว่ คนแล้ วชัว่ คนเล่า สัญชาตญาณระดับนี ้จึงเป็ นพลังที่อยากจะมีโอกาสได้ สืบทอด ยีนให้ มากที่สดุ เพื่อตอบสนองความต้ องการนี ้จึงดิ ้นรนหาผู้รับยีนไปสร้ างทายาทไว้ หลาย ๆ ราย เผื่อ ๆ ไว้ หากส่วนหนึ่งไม่มีโอกาสถ่ายทอดต่อก็จะยังมีสกั ส่วนที่สามารถมีทายาทสืบต่อยีนใน นามของวงศ์สกุลหรื อทองแผ่นเดียวต่อไปอย่างแน่นอน สัญชาตญาณรักษายีนยังแสดงออกในขันที ้ ่สองเป็ นความบ้ าบิ่นรุนแรงถึงยอมเสี่ยงตาย หากมีใครบังอาจเป็ นอันตรายต่อชีวิตของทายาทที่มียีนของตนโดยตรง หรื อมียีนคล้ ายกับยีนของ ตน ก็จะไม่ยอมนิ่งดูดาย แต่จะแสดงความโกรธฉุนเฉียว รุ นแรงในการยืนหยัด ปกป้องให้ ความ ปลอดภัย หากเป็ นการปกป้องทายาทที่รับยีนโดยตรงจากตน (รวมทังผู ้ ้ ที่รับยีนของตนไปอุ้มท้ อง ให้ ) ก็จะพร้ อมเสี่ยงชีวิตและเสียสละอย่างเต็มที่ แต่หากเป็ นการป้องกันผู้ที่มิได้ เป็ นทายาทสืบยีน โดยตรง แต่เป็ นวงศาคณาญาติที่มียีนคล้ ายกับตนโดยสืบเชื ้อสายจากบรรพบุรุษร่วมกันมา การ เสี่ยงและเสียสละก็จะจริ งจังมากน้ อยตามส่วนของความรู้ สึกว่า มียีนคล้ ายกับของตนมากน้ อย เพียงใด คือถ้ าเป็ นญาติใกล้ ชิดก็ร้ ูสึกมียีนคล้ ายกันมากกว่าญาติห่าง ๆ ญาติห่าง ๆ ให้ ความรู้สึก
55 ว่า มี ยี นคล้ า ยกันมากกว่าคนในหมู่บ้ านเดี ยวกัน คนในหมู่บ้ านเดี ยวกัน ให้ ความรู้ สึกว่ามี ยี น คล้ ายกันมากกว่าคนในชาติเดียวกัน และคนในชาติเดียวกันให้ ความรู้สกึ ว่ามียีนคล้ ายกันมากกว่า คนต่างชาติเป็ นต้ น สัญชาตญาณอารักขายีนมีพลังดิ ้นรนมหาศาล หากใช้ ภายใต้ การดูแลของปั ญญาก็จะ เป็ นคุณธรรม หากไม่อยู่ในกรอบของการวินิจฉัยของปั ญญาก็กลายเป็ นพลังดิบที่น่ากลัวมาก ๆ สมัยโบราณมีการยกทัพใหญ่ไปรบราฆ่าฟั นเพียงเพื่อชิงนางเพียงนางเดียวที่ต้องการโดยไม่ฟัง เสียงห้ ามปรามของปั ญญา การทุม่ พลังและความรุนแรงเพื่อถ่ายเทและปกป้องยีน เป็ นสัญชาตญาณ จึงให้ ความสุข ตามระดับของมัน คือระดับสัตว์โลก หากเป็ นสัตว์โลกอื่น ๆ ที่ไม่ใช่มนุษย์ก็เป็ นความสุขแท้ ตาม ความเป็ นจริ ง ของมัน หากมนุษย์ จ ะยึดมันเป็ นความสุข อย่างไรเสี ยก็ ไ ม่ใช่ความสุขแท้ แล ะ เป็ นอัญภาวะดังที่ปรัชญาอัตถิภาวะวิเคราะห์ไว้ มนุษย์มีความสุขที่แท้ กว่านัน้ จาเป็ นต้ องติดตาม ต่อไป มิฉะนันถื ้ อว่าหาความสุขหลงระดับ 4.3.4 ใช้ สัญชาตญาณปั ญญา ปั ญญามีสญ ั ชาตญาณของมัน มันจึงดิ ้นรนที่จะใช้ เพื่อ หาความสุขแท้ ตามความเป็ นจริ งของปั ญญามนุษย์ แต่เนื่ องจากปั ญญาของมนุษย์พัฒ นาได้ สัญชาตญาณของปั ญญาจึงพัฒนาได้ ตามการพัฒนาของปั ญญา 4.3.4.1 ปั ญญาระดับกระบวนทรรศน์ ท่ ี 1. ย่อมหาความสุขแท้ โดยทาตามนา้ พระทัยของเบื ้องบน ก็มีความสุขแท้ ได้ ระดับหนึ่ง คือ ระดับไม่ร้ ู จกั เป็ นตัวของตัวเอง หากเป็ นตัว ของตัวเองได้ จะต้ องการความสุขแท้ ระดับสูงกว่านัน้ ปมคุณธรรมยังไม่ทางาน 4.3.4.2 ปั ญญาระดับกระบวนทรรศน์ ท่ ี 2. พยายามเป็ นตัวของตัวเองในการรู้ กฎเกณฑ์แทนนา้ พระทัยของเบื ้องบน หากหากฎได้ เองก็ จะหาเรื่ อยไปและมี ความสุขกับการ พัฒ นาตัวเองตามกฎที่ หาได้ เ อง กลายเป็ นเจ้ าส านัก มีความสุขกั บการทาให้ ลูกศิษย์ ลูกหามี ความสุข หากหากฎเองไม่ได้ ก็จะทาตัวเป็ นศิษย์สานักใดสานักหนึ่ง และทุ่มเทหาความสุขกับกฎ ที่ตนเองไม่ไ ด้ พ บเอง มี ความสุขกับการมั่นใจในคาสอนของเจ้ าส านักและปฏิบัติคาสอนตาม ตัวอักษร มีความสุขแท้ ด้วยสัญชาตญาณของปั ญญาระดับที่ 2 ปมคุณธรรมยังไม่ทางานอยูด่ ี
56 4.3.4.3 ปั ญญาระดับกระบวนทรรศน์ ท่ ี 3. บังเอิญพบศาสดาหรื อศาสนาของ ศาสดาที่รับรองว่ามีโลกหน้ าอันเป็ นความสุขบริ สุทธิ์ ไม่มีความทุกข์ เจื อปน ศาสดาทุกองค์มีวิธี สอนให้ พฒ ั นาคุณภาพชีวิตเป็ นขันเป็ ้ นตอน แต่คนใจร้ อนต้ องการความสุขในโลกหน้ าเพียงอย่าง เดียว ไม่สนใจการพัฒนาคุณภาพชีวิตในโลกนี ้อันเป็ นวิถีทางปกติของศาสดา จึงสังกัดกระบวน ทรรศน์นี ้และละเลยความสุขตามความเป็ นจริงในโลกนี ้อันเป็ นเงื่อนไขสู่ความสุขแท้ ตามความเป็ น จริงในโลกหน้ า ปมคุณธรรมยังไม่ทางาน 4.3.4.4 ปั ญญาระดับกระบวนทรรศน์ ท่ ี 4. มัน่ ใจในวิธีการของวิทยาศาสตร์ จน กลายเป็ นการยึดมัน่ ถือมัน่ ซึ่งปิ ดกันการท ้ างานของปมคุณธรรมโดยไม่ร้ ู ตวั ทาผิดโดยไม่ร้ ู ว่าผิด ทาบาปโดยไม่ร้ ูว่าทาบาป เบียดเบียนโดยไม่ร้ ูว่าเบียดเบียน เอาเปรี ยบโดยไม่ร้ ูว่าเอาเปรี ยบ สร้ าง ความทุกข์โดยคิดว่านาความสุขมาให้ ปมคุณธรรมไม่มีโอกาสทางาน เพราะหลงตัวเองจนไม่ลืม หูลืมตาว่าคนอื่นจะเดือดร้ อนกันปานใด 4.3.4.5 ปั ญญาระดับกระบวนทรรศน์ ท่ ี 5. ปมคุณธรรมทางานเพราะตัดการยึด มัน่ ถือมัน่ ได้ มีหลักยึดเหนี่ยวแต่ไม่ยึดติดปล่อยให้ สญ ั ชาตญาณปั ญญาทางานตามครรลองของ มัน คือ สร้ างสรรค์ ปรับตัว ร่วมมือ และแสวงหา ทุกขันตอนท ้ าอย่างมีความสุขแท้ ตามความเป็ น จริ ง ผลก็คือ พัฒนาคุณภาพชีวิตเรื่ อยไปพัฒนาถึงขันใดก็ ้ จะเล็งเห็นด้ วยสัญชาตญาณว่า ควรทา อะไร และอย่างไรต่อไป โดยไม่จาเป็ นต้ องมีคนบอก เขามีความสุขที่จะรับทามัน เมื่อทาแล้ วก็มี ความสุขและรู้วา่ ทาอะไรต่อไปแล้ วจะมีความสุขยิ่ง ๆ ขึ ้น คนอย่างนี ้ไม่ต้องคิดถึงสวรรค์ เพราะมี สวรรค์ที่ไหนก็จะได้ รับการต้ อนรับอย่างดี สวรรค์ใดไม่ต้อนรับเขาก็ไม่เสียความรู้สึก เพราะใจของ เขาเป็ นสวรรค์น้อย ๆ อยูแ่ ล้ วเป็ นเดิมพัน เขานับถือศาสนาใดเขาจะนับถืออย่างมีความสุขสงบแท้ ตามความเป็ นจริง
57
บทที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวติ ให้ ความสุขแท้ ในสังคมอารยะ 5.1 ความหมาย การอบรมบ่ม นิ สัย (character
education)
เป็ นโครงการใหม่ที่ นัก ปรั ช ญาและ
นักจิตวิทยาร่ วมกันวางแผนแก้ ปัญหาคุณธรรมเสื่ อมของพลโลก โดยเจาะจงแก้ ความสุดขัว้ 2 ทิศทางของการอบรมสัง่ สอนคุณธรรมที่เคยทากันมาในอดีต สุดขัวทิ ้ ศทางหนึ่งในอดีตเรี ยกว่า Virtue Education หรื อการอบรมคุณธรรมอันเป็ นวิธี อบรมคุณธรรมของผู้ถือกระบวนทรรศน์ที่ผ่านมาในอดีต เริ่ มตังแต่ ้ การอบรมคุณธรรมของชาวกรี ก ที่ถือกระบวนทรรศน์โบราณ เจ้ าส านักทัง้ หลายของกรี กแข่งขันกันเสนอคุณธรรมที่คิดว่าเป็ นที่ สนใจของลูกค้ า โดยพยายามใช้ ทงเหตุ ั ้ ผลและวาทศิลป์ชี ้แจงจูงใจให้ ลกู ค้ าสนใจ จะได้ มาฝากเนื ้อ ฝากตัวเป็ นลูกศิษย์ สานักสาคัญที่บนั ทึกไว้ เป็ นตัวอย่างมี 1) สานักโซฟิ สท์ (Sophist) สอนวาทศิลป์เป็ นคุณธรรมที่ทกุ คนพึงฝึ กไว้ ประจาตัวเพื่อ ความมีเสน่ห์สามารถจูงใจให้ ผ้ ฟู ั งคล้ อยตามความต้ องการของผู้พดู ถือว่าความสุขสูงสุดอยู่ที่เอา เปรี ยบคนอื่นได้ มากที่สดุ 2) สานักเพลโทว์ (Academy) สอนให้ มีปรี ชาญาณ (wisdom) คือรู้หลักสากลนิรันดร แล้ วจะมีความสุข ไม่ยอมทาผิด เพราะถือว่าสูงสุดอยูท่ ี่การรู้ความจริงสูงสุด 3) สานักอริสโทเทิล (Lyceum) สอนให้ ร้ ูจกั หากฎธรรมชาติ และวางตัวให้ กลมกลืน กับกฎธรรมชาติแล้ วจะมีความสุขที่สดุ เพราะถือว่าการมีความขัดแย้ งในตนคือความทุกข์ 4) ลัทธิรตินิยม (Hedonism) สอนให้ ร้ ูจกั ใช้ ชีวิตให้ ค้ มุ โดยศึกษาเล่ห์เหลี่ยมต่าง ๆ ที่ จะแสวงหาความสุขให้ มากที่สดุ ในทุกโอกาสมิให้ เสียเปรี ยบใคร จะมีความสุขที่สุด เพราะถือว่า เป็ นการเลือกทาอย่างฉลาดที่สดุ
58 5) ลัทธิเอพิคิวเรี ยน (Epicureanism) สอนให้ ร้ ูจกั ประมาณตนในการหาความสุขให้ ได้ นานที่สดุ และมากที่สดุ เพราะถือว่าเป็ นการเลือกที่ฉลาดที่สดุ 6) ลัทธิสโทว์ อิค (Stoicism)
สอนให้ ทาใจอุเบกขาพอใจกับสิ่งจาเป็ นในชีวิตเท่านัน้
จะมีความสุขที่สดุ เพราะถือว่าเป็ นการเลือกที่ฉลาดที่สดุ 7) ลัทธิซีนิค (Cynicism) สอนให้ ตดั ใจไม่ต้องการอะไรเลย ถ้ าต้ องการอะไรก็หามา ตอบสนองให้ เพียงพอเฉพาะหน้ า จะมีความสุขที่สดุ เพราะถือว่าเป็ นการเลือกที่ฉลาดที่สดุ ถึงยุคกลาง ทุกศาสนาในช่วงนี ้เสนอคุณธรรมการเสียสละความสุขในโลกนี ้เพื่อแลก กับความสุขสมบูรณ์แบบที่สดุ ในโลกหน้ า ซึ่งอาจจะเริ่ มตังแต่ ้ ในชั่วชีวิตนี ้หากได้ พฒ ั นาคุณภาพ ชีวิตเพียงพอ มิฉะนันต้ ้ องรอไปรับเอาที่โลกหน้ าหลังความตาย ถึงยุคใหม่ นักรั ฐ ศาสตร์ เสนอให้ อบรมพลเมื องให้ รักการปฏิ บัติตามกฎหมายเพื่ อ ประโยชน์สงู สุด (ความสุขมากที่สดุ ) จากการรวมตัวกันเป็ นรัฐ วิธีนี ้หมายความว่า แต่ละรัฐย่อมมี นโยบายการออกกฎหมายบังคับเท่าที่จาเป็ น และวางแผนอบรมพลเมืองให้ มีคุณธรรมชุดหนึ่ง ตามนโยบายของผู้ออกกฎหมาย เช่น ความรักชาติ ความซื่อตรงไม่ทจุ ริ ต ความกตัญํู ความตรง ต่อเวลา เป็ นต้ น เรี ยกว่าคุณธรรมต้ นแบบ (exemplary) ในการอบรมก็พยายามยกบุคคลต้ นแบบ เป็ นมาตรฐาน เพราะเชื่อว่าคนดีสามารถคานวณออกมาเป็ นตัวเลขได้ ตามมาตรฐานสากล ทัง้ หมดที่ ก ล่า วมาข้ า งต้ น คื อ ตัว อย่ า งของการอบรมคุณ ธรรมต้ น แบบ (exemplary virtue) คือคุณธรรมที่ระบุชื่อได้ ชดั เจน นิยามได้ ชดั เจน และระบุคณ ุ ประโยชน์ได้ ชดั เจน ตลอดจน ระบุการปฏิบตั ใิ นกรณีตา่ งๆ ของชีวิตได้ อย่างชัดเจน วิจักษ์ แต่แล้ ววิธีอบรมโดยสร้ างคุณธรรมตามมาตรฐานของกระบวนทรรศน์นวยุคได้ พิสูจน์ตวั เองว่าล้ มเหลว เพราะในสงครามเย็นนัน้ 2 ค่ายที่ประจันหน้ ากันต่างก็ใช้ วิธีอบรมโดย สร้ างคุณธรรมขึ ้นมาคนละแบบ ทังค่ ้ ายคอมมิวนิสต์ และค่ายโลกเสรี ตา่ งก็เสนอคุณธรรมแม่แบบ และบุคคลต้ นแบบของฝ่ ายตน ซึง่ สามารถสร้ างคนที่มีอดุ มคติขดั แย้ งกันอย่างรุนแรง ถึงกับพร้ อม ที่จะทุม่ เทแสนยานุภาพเข้ าบดขยี ้กันแบบให้ แตกหักสิ ้นสลายไปข้ างหนึ่ง แต่แล้ วการเตรี ยมพร้ อม บดขยี ้กันก็หยุดชะงักเพราะคนกลุ่มเล็ก ๆ ของแต่ละฝ่ ายต้ องการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ โดยมีการ ทุบกาแพงเบอร์ ลินทะลุ เป็ นโอกาสแสดงออกและได้ รับความเห็นชอบจากคนกลัวสงครามจานวน
59 หนึง่ คนส่วนใหญ่ยงั สงวนท่าทีดเู หตุการณ์ตอ่ ไป ฮันทิงทันมีความหลักแหลมพอที่จะเห็นว่าที่เป็ น เช่นนี ้เพราะคนรุ่ นใหม่ส่วนหนึ่งจานวนน้ อยมีการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์มาแต่เกิดเป็ นผู้ทา เหตุการณ์กาแพงเบอร์ ลินทะลุ คนอีกจานวนหนึ่งรับรู้เหตุการณ์แล้ วจึงเปลี่ยนกระบวนทรรศน์มา ให้ ความเห็นชอบและสนับสนุน คนส่วนใหญ่ในโลกสงวนท่าทีอยู่ในกระบวนทรรศน์เดิม ฮันทิงทัน จึงสันนิษฐานว่า หากคนส่วนใหญ่ในโลกยังไม่มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ มนุษย์ในโลกจะ แบ่งขัวกั ้ นใหม่ตามคุณธรรมแม่แบบเด่น ๆ ซึ่งสาหรับฮันทิงทันในขณะเขียนหนังสือไม่มีคณ ุ ธรรม แม่แบบใดจะแบ่งได้ ชัดเจนเท่ากับคุณธรรมแม่แบบของศาสนาสาคัญ ๆ ของโลก และเมื่อเป็ น เช่นนันแต่ ้ ละศาสนาก็ง่ายมากที่จะชูคณ ุ ธรรมต้ นแบบที่แต่ละศาสนามีอยู่พร้ อมแล้ วขึ ้นเป็ นฐาน แบ่งขัวในสงครามเย็ ้ นและสงครามร้ อนในครัง้ ต่อไป บทความในปี ค.ศ. 1993 ของฮัน ทิ ง ทัน ได้ จี ถ้ ูก ปมความกลัว สงครามโลกของชาว อเมริกนั อย่างกว้ างขวาง ดังที่ฮนั ทิงทันเองได้ กล่าวไว้ ในบทนาของหนังสือที่พิมพ์เผยแพร่ในปี ค.ศ. 1996 ว่าฝ่ ายต่าง ๆ ได้ จดั สัมมนาหาทางยับยังสงครามกั ้ นจ้ าละหวัน่ ฝ่ ายนักปรัชญาตีความว่า การปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ คือปรับเปลี่ยนเป็ นกระบวนทรรศน์หลังนวยุค จึงได้ มีการเรี ยนการ สอนปรัชญาหลังนวยุคกันอย่างจริ งจัง ฝ่ ายนักการศึกษาตีความการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ ว่า คือการเปลี่ยนวิธีสอนแบบหลักสูตรเป็ นสาคัญมาเป็ นวิธีสอนแบบผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ เพื่อให้ คล้ อยตามนโยบายดังกล่าว ผู้สอนคุณธรรมจริ ยธรรมจึงปรับวิธีสอนแบบอบรมคุณธรรม (virtue education) คือการอบรมโดยชูคณ ุ ธรรมต้ นและบุคคลต้ นแบบมาเป็ นการอบรมให้ แถลงจุดยืน (clarification education) คือห้ ามครูเสนอคุณธรรมต้ นแบบ และบุคคลต้ นแบบใด ๆ ทังสิ ้ ้น เพราะ ถือว่าเป็ นการยัดเยียดศรัทธาของครูให้ ผ้ เู รี ยน ซึ่งถือว่าเป็ นการไม่เคารพสิทธิเสรี ภาพของผู้เรี ยน อันเป็ นสิทธิมนุษยชนขันพื ้ ้นฐานที่สดุ เพื่อมิให้ ถูกกล่าวหาว่า ล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน ครูจึงไม่ ควรยัดเยียดหรื อแม้ แต่ชี ้แนะซึ่งทาให้ ผ้ เู รี ยนไม่ได้ ใช้ เสรี ภาพกาหนดทิศทางของตนเองอย่างเต็มที่ ครู จึง ไม่ควรแม้ แ ต่จ ะกล่า วน าว่า ตนชอบศี ล ธรรมของศาสนาใดหรื อ ชอบคุณ ธรรมข้ อ ใดของ จริ ยธรรมชุดใด แต่ให้ ผ้ เู รี ยนแต่ละคนแถลงตามความพอใจของตนเองว่า จะเลือกวิถีชีวิตแบบใด ครูมีหน้ าที่จดบันทึกไว้ ว่าแต่ละครัง้ ที่เข้ าเรี ยน ผู้เรี ยนได้ ทาอะไรเพื่อให้ วิถีที่เลือกนันมี ้ ประสิทธิผล พัฒนาไปอย่างไรบ้ าง ครูได้ แต่ชว่ ยชี ้แนะให้ บรรลุเป้าหมายดังกล่าวอย่างได้ ผลเป็ นรูปธรรมเร็ วขึ ้น
60 และมัน่ คงขึ ้น เพื่อว่าเมื่อถึงปลายภาคการศึกษา ครู จะต้ องประเมินผลให้ คะแนนมากน้ อยตาม การพัฒนาวิถีชีวิตที่เลือกตามที่ได้ แถลงไว้ แต่ต้นภาคการศึกษา และให้ คะแนนตามความพยายาม ของผู้ศกึ ษาแต่ละคนตามที่ได้ แถลงไว้ สหรัฐ อเมริ กาใช้ นโยบายอบรมตามนโยบายที่ แถลงไว้ อยู่ประมาณ 10 ปี ปรากฏว่า ผู้เรี ยนที่สาเร็ จไปตามนโยบายดังกล่าวเป็ นผู้ไร้ ระเบียบ ทาตามใจตัวเอง ก่อปั ญหาให้ แ ก่สงั คม มากมาย ดังที่เรารู้ สึกว่าเป็ นสถานภาพของสังคมอยู่ขณะนี ้ บรรดาผู้ร้ ู สึกรับผิดชอบสวัสดิภาพ ของสังคมได้ พบปะหารื อและแลกเปลี่ยนความห่วงใยแก่กัน จนพบสาเหตุและกาหนดนโยบาย เพื่อแก้ ปัญหาจนได้ แนวทางสาหรับแก้ ปัญหาทังในระดั ้ บท้ องถิ่นและในระดับโลก เรี ยกวิธีใหม่ นี ้ว่า Character Education (การอบรมบ่มนิสยั ) แต่เนื่องจากไม่ได้ รับเสียงสนับสนุนเพียงพอจาก นักการเมืองระดับชาติ จึงไม่สามารถตรากฎหมายให้ เป็ นนโยบายแห่งชาติได้ ได้ อย่างมากก็เป็ น เพี ย งนโยบายของบางท้ อ งถิ่ น เท่า นัน้ อย่า งไรก็ ต ามบรรดาผู้เ ห็ น ความส าคัญ ของเรื่ อ งนี ไ้ ด้ พยายามรวมตัวกันเป็ นขบวนการเรี ยกว่า Character Education Movement (ขบวนการอบรมบ่ม นิสัย ) ซึ่ง ได้ รับการสนับสนุนจากเจ้ าหน้ าที่ รัฐ บาลบางคน นักการเมื องบางคน นโยบายนี ใ้ น สหรัฐอเมริ กาจึงมีฐานะเป็ นงานอาสาสมัคร อาจจะมีกลุ่มอื่นทังในสหรั ้ ฐอเมริ กา และในประเทศ อื่นที่เห็นปั ญหาร่วมกัน และปฏิบตั งิ านในทิศทางเดียวกันโดยใช้ ชื่ออื่น ก็ควรได้ แลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์แก่กนั เพื่อประสิทธิภาพในการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ให้ แก้ ปัญหาร่วมกัน ในปั จจุบนั ได้ อย่างแท้ จริง จุดเด่นของการอบรมแบบอบรมบ่มนิสยั ก็คือ 1. ไม่ ยดึ มั่นถือมั่น 2. ทุกคนต้ องได้ รับรู้ข้อมูลเรื่ องความสุขแท้ ตามความเป็ นจริง และสามารถดารงชีวิต ด้ วยความสุข และมัน่ ใจในประสิทธิภาพของสังคมในการแก้ ปัญหาความสุข 3. ทุกคนต้ องมีบทบาทในสังคมตามพรสวรรค์ ของแต่ละคน (ตรงตามพรสวรรค์มาก บ้ างน้ อยบ้ างตามโอกาสอานวย) 4. ทุกคนได้ รับการค ้าประกันสิทธิ มนุษยชนขัน้ พืน้ ฐาน และคา้ ประกันโอกาสพัฒนา คุณภาพชีวิตตามความเป็ นจริงและพรสวรรค์ของตน จึงมีสิทธิเรี ยกร้ องให้ มี การบริหารปกครอง
61 ที่ดี (Good Governance) และไม่มีความชอบธรรมเรี ยกร้ องหรื อปฏิบตั ิการบริ หารปกครองที่ตรง ข้ าม 5. สังคมที่มีการบริ หารที่ดีครบขันตอน ้ ต้ องมี กฎหมายค ้าประกันทังสิ ้ ทธิและเสรี ภาพ อย่ า งยุติธ รรม มี จ รรยาบรรณที่ ค า้ ประกัน ประสิ ท ธิ ภ าพขององค์ ก รอย่ า งยุติ ธ รรม และมี ภาคเอกชน (รวมศาสนา) ที่ค ้าประกันการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างครบวงจร โดยได้ รับการ สนับสนุนด้ านการเงินจากรัฐบาลอย่างเพียงพอ และไม่ก้า วก่ายการดาเนินนโยบาย นอกจากใน ส่วนที่เกี่ยวกับการละเมิดกฎหมาย เพื่อให้ การปฏิบตั มิ ีประสิทธิภาพ การบริหารงานที่ดีควรเพิ่มสิ่งต่อไปนี ้ 1. ระเบียบการ (Regulation) ซึง่ เป็ นกฎหมายของหน่วยงานซึ่งประกอบด้ วยคาสัง่ ข้ อ ห้ ามและบทลงโทษผู้ฝ่าฝื นโดยมีคณะกรรมการดาเนิน การให้ เป็ นไปอย่างยุติธรรมและเสมอหน้ า สาหรับสมาชิกทุกคนที่สงั กัดหน่วยงานหนึง่ 2. จริยธรรมอาชีพ (Professional Ethic) ซึง่ เป็ นประมวลคุณธรรมที่ต้องการเน้ นให้ คน ในอาชีพหนึง่ ๆปฏิบตั เิ พราะให้ คณ ุ ให้ โทษแก่ความมัน่ คงของอาชีพ
5.2 การอบรม มนุษย์มีทงจิ ั ้ ตและใจในร่างกาย จึงต้ องการอบรมและฝึ กฝนอยู่เสมอ ดังนันหน่ ้ วยงานที่ มี ก ารบริ ห ารงานที่ ดี จะต้ อ งจัด ให้ มี ก ารอบรมและฝึ กฝนเพื่ อ ตอบสนองการบริ ห ารงานที่ ดี ดังต่อไปนี ้ 5.2.1 อบรมการปฏิบัติงานตามสายอาชีพ โดยผู้ร้ ูและเชี่ยวชาญการปฏิบตั ิงานสาย อาชีพของหน่วยงาน 5.2.2
อบรมสายกฎหมาย ให้ ร้ ูเจตนาของรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทย กฎหมาย
ไทยที่เกี่ยวข้ องกับสายอาชีพ และระเบียบการของหน่วยงาน โดยชี ้ให้ เห็นทังคุ ้ ณและโทษของการ ปฏิบตั ิและไม่ปฏิบตั ิตามกฎ โดยมีสมมุติฐานว่าทุกคนในหน่วยงานอาจเห็นแก่ตวั และอาจจะหา ช่องโหว่ทจุ ริตจึงต้ องเตือนสติกนั ว่ากฎหมายและระเบียบการเอาจริง ไม่ไว้ หน้ าใคร
62 5.2.3 การอบรมสายคุณธรรม ขอบข่ายของคุณธรรมเป็ นการชักชวนจูงใจให้ เสียสละ ทาดีเกินกว่าที่กฎและระเบียบการบังคับ ทังนี ้ ้โดยมีเหตุผลตามอุดมคติของแต่ละคน ผู้อบรมจึง ต้ องเป็ นผู้ รู้ และเชี่ ย วชาญทางพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ตามทฤษฎี อ บรมบ่ ม นิ สั ย (Character Education) เนื ้อหาอบรมจากเนื ้อหาของจริ ยธรรมทัว่ ไป (general ethic) ก็ได้ โดยเน้ นที่จริ ยธรรม วิชาชีพ (professional ethic) ซึ่งปะปนอยู่กับจรรยาบรรณ (เพราะจรรยาบรรณประกอบด้ วย จริ ยธรรมและระเบียบการที่เกี่ยวกับอาชีพ ) จึงต้ องแยกให้ ชดั เจนว่าในเรื่ องเดีย วกัน เส้ นแบ่งเขต ระหว่างจริ ยธรรมกับระเบียบการอยู่ตรงไหน และแต่ละภาคส่วนมีบทบาทต่างกันอย่างไร อีกบาง คุณธรรมอาจจะถูกดประกาศเป็ นกฎหมายและอยู่ในระเบียบการด้ วย เช่น ความสุจริ ตซื่อตรง ก็ ต้ องชี ้แจงว่ายุง่ ยากซับซ้ อน แต่ก็จาเป็ นต้ องมีให้ ครบถ้ วนและมีผ้ รู ้ ูให้ การอบรมอย่างสม่าเสมอ เพื่อ คุณภาพชีวิตของสมาชิกแต่ละคนในสังคมและคุณภาพของสังคมที่สมาชิกดังกล่าวสังกัดอยู่
5.3 บทบาทของความมักรู้ “มนุษย์เป็ นสัตว์มกั รู้ ” (Homo Curiosus) เนื่องจากมนุษย์มีปัญญา และมีสญ ั ชาตญาณ ปั ญญาคือ มีความสุขสูงสุดด้ วยการพัฒนาคุณภาพชีวิต สัญชาตญาณมักรู้ เป็ นกระบวนการขัน้ แรกสุดของการพัฒ นาคุณ ภาพปั ญญา อันเป็ นปั จ จัยจ าเป็ นและพอเพี ยง (necessary and sufficient cause) ของการมีความสุขสุดยอดของความเป็ นมนุษย์ จึงควรรู้ขนตอนการเกิ ั้ ดความรู้ จนถึงขันมี ้ ความสุขในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สัญชาตญาณปั ญญาเริ่ มจากสัญชาตญาณมักรู้ ปั จจัยรู้ พืน้ ฐานที่สุดคือ การสัมผัส หากสิ่งที่สมั ผัสกันไม่มีอุปกรณ์ รับรู้ เหมือนก้ อนหิน 2 ก้ อนทับกันอยู่นานเท่าใดก็ไม่เกิดความรู้ เพราะก้ อนหินทัง้ 2 ก้ อนไม่มีอปุ กรณ์รับรู้การสัมผัส แต่คนนอนบนก้ อนหิน แม้ ก้อนหินจะไม่รับรู้ การสัมผัสเพราะไม่มีอปุ กรณ์รับรู้ ส่วนคนที่นอนบนก้ อนหิน (หรื อถูกก้ อนหินทับ) ย่อมมีความรู้ว่า มี ก้อนหินอยู่ข้ างล่างหรื อทับอยู่ข้างบน เพราะคนมี อุปกรณ์ รับรู้ นอกจากมี อุปกรณ์ รับรู้ ยัง มี อุปกรณ์ตีความการรับรู้อีกด้ วย และมนุษย์มีอปุ กรณ์ตีความถึง 5 ด้ านจากการรับรู้ ความมีอยู่ใน
63 ลักษณะต่าง ๆ กัน 5 แบบ คือแบบประชิด (ด้ านผิวกาย) แบบคลื่นแสง (ด้ านเรตีนาของตา) แบบ คลื่นเสียง (ด้ านเยื่อแก้ วหู) แบบสารละลายในปาก (ด้ านปุ่ มประสาทลิน้ ) แบบสารกระจายฟุ้ง (ด้ านปุ่ มประสาทในรู จมูก) ตีความออกมาเป็ นความรู้ สึกหลายอย่างของผิวกาย สี เสียง รส กลิ่น รวมเรี ยกว่าประสบการณ์ทางผัสสะ ถูกส่งเข้ าไปเก็บรวมไว้ ในหน่วยความจาของมันสมอง ความรู้ ที่ได้ มาในขันนี ้ เ้ รี ยกว่าข้ อมูล (datum, -a) หน่วยความจามีกลไกคัดเลือกข้ อมูลใดที่รับรู้ และ คัดเลือกเก็บไว้ เพราะตรงกับความสนใจ หากสนใจมากก็จะหาเคล็ดลับเก็บไว้ นาน ๆ โดยจาให้ สัมพันธ์ กับข้ อมูล ที่มี อยู่ก่อน หากสนใจน้ อยก็เก็บไว้ ชั่วคราวแล้ วก็ลื มเสียเพื่อมีหน่วยความจ า เตรี ยมพร้ อมสาหรับรับข้ อมูลใหม่ ๆ ที่น่าสนใจมากกว่า หากไม่น่าสนใจเลยก็จะปล่อยให้ ค่อ ย ๆ ลืมเลือนไปเสียเพื่อมิให้ รกสมองเปลืองเนื ้อที่หน่วยความจาซึง่ มีอยูอ่ ย่างจากัด หากสิ่งที่สนใจใหม่นนจริ ั ้ ง ๆ หาความสัมพันธ์กบั สิ่งที่อยู่ในหน่วยความจาไม่ได้ เลยก็จะ เก็บไว้ อย่างโดดเดี่ยวไปก่อน คอยให้ มีสิ่งใหม่ที่มีความสัมพันธ์ กนั สักด้ านหนึ่งเข้ ามา กลไกของ หน่วยความจาก็จะจัดให้ เข้ าเป็ นกลุม่ สัมพันธ์กนั และคอยข้ อมูลใหม่มาจับกลุม่ เพิ่มต่อไป หากกลไกของสมองพบว่ามีข้อมูลที่สมั พันธ์ในทางเป็ นเหตุผลต่อกัน (argumental) ก็จะ จัดที่ให้ ต่างหากให้ จบั กลุ่มกันเป็ นระบบเครื อข่ าย (network) คือสนับสนุนกันและกันทาให้ เกิด ความมั่นใจในความจริ งของทัง้ คู่ ข้ อมูลดังกล่าวแต่ละข้ อมูลได้ ชื่อว่า ปมข่าย (netpoint) และ ความเชื่อมโยงในฐานะเป็ นเหตุเป็ นผลของกันเรี ยกว่า ใยข่าย (netline) 2 อย่างรวมกันเรี ยกว่า เครื อข่าย (network) ซึ่งสามารถเพิ่มได้ มากขึ ้นเรื่ อย ๆ จากข้ อมูลใหม่ ๆ ที่เพิ่มเข้ ามา หรื อปั ญญา คิดสร้ างสรรค์แบบขยายผลด้ วยการใช้ เครื อข่ายที่มีอยู่สันนิษฐานความรู้ ใหม่ในลักษณะขยาย เครื อข่ายออกไปได้ รอบทิศทาง เป็ นความรู้เฉพาะตัวที่สมั พันธ์กนั เป็ นเครื อข่าย ทาให้ เป็ นฐานของ ความรู้เฉพาะตัว รวมกันเป็ นจุดยืนเฉพาะตัว ต่อจากนันไปข้ ้ อมูลใดที่เข้ ามาเพิ่ มเครื อข่ายนี ้ได้ ก็ ถือว่าเป็ นความรู้ที่นา่ สนใจทันที ความสาคัญของระบบเครื อข่ายส่วนตัวนี ้ก็คือ 1. เป็ นจุดยืนหรื อมุมมองที่ใช้ สาหรับตัดสินข้ อมูลใหม่ว่าน่าเชื่อถือและน่าสนใจมากน้ อย เพียงใด
64 2. ระบบเครื อข่ายทังระบบเป็ ้ นขอบข่ายของความรู้ที่นา่ เชื่อถือส่วนตัวก็จ ริ ง โดยที่คนเรา แต่ละคนมีระบบเครื อข่ายเฉพาะตัว ชนิดไม่มีระบบเครื อข่ายใด 2 ระบบเหมือนกันทุกประการ (ซึ่ง หมายถึงว่ามีจดุ สนใจเหมือนกันทุกประการและมีประสบการณ์ชีวิตอันเป็ นแหล่งข้ อมูลเหมือนกัน ทุกประการ ซึง่ แน่นอนว่าเป็ นไปไม่ได้ ) ทาให้ แต่ละคนมีความคิดเฉพาะตัวอย่างสมบูรณ์ 3. ระหว่า งระบบเครื อ ข่ายของความรู้ ซึ่ง เป็ นเรื่ อ งเฉพาะตัว ดัง กล่า ว หากได้ มี ก าร แลกเปลี่ ยนความคิดเห็นกันด้ วยวิธี สานเสวนา จะพบว่า มี ส่วนหนึ่ง เหมื อนกัน และส่วนที่ ไ ม่ เหมือนกัน มากบ้ างน้ อยบ้ างแล้ วแต่คเู่ ปรี ยบ 4. ส่วนที่เหมือนกันในระบบเครื อข่ายความรู้ จึงเป็ นฐานจาเป็ นสาหรับการร่ วมมือกัน อย่างน่าสนใจ และมีประสิทธิภาพในการเพิ่มพูนความรู้ ให้ แก่กันและกัน และได้ ผลงานอันเป็ น ประโยชน์แก่สงั คมทุกระดับ 5. ส่วนที่ต่างกันที่ไม่อาจใช้ เป็ นฐานให้ ร่วมมือกันนัน้ สาหรับผู้ถือกระบวนทรรศน์แบบ ยึดมัน่ ถือมัน่ มักจะเป็ นชนวนหรื อสาเหตุแห่งการแตกแยกและวิวาทกัน แต่สาหรับผู้ปรับเปลี่ยน เป็ นกระบวนทรรศน์แห่งการไม่ยดึ มัน่ ถือมัน่ แล้ ว กลับกลายเป็ นจุดยกย่องกันขึ ้นเป็ นพรสวรรค์ของ แต่ละคน ซึ่งทุกคนพึงยกย่องและสนับสนุนให้ ผ้ มู ีพรสวรรค์ได้ รับความสะดวกในการใช้ พรสวรรค์ สร้ างสรรค์สิ่งที่ดีมีประโยชน์แก่สงั คมทุกระดับและเป็ นความก้ าวหน้ าของมนุษยชาติโดยส่วนรวม 6. ระบบเครื อข่ายความรู้ของแต่ละคนเป็ นสมบัติส่วนตัวและเฉพาะตัวชนิดที่ไม่เหมือน ใครและจะไม่มีใครเหมือน เป็ นฐานเฉพาะตัวส าหรับใช้ พัฒนาคุณภาพชี วิตเฉพาะตัว และมี ความสุขเฉพาะตัวตามคุณภาพชีวิตเฉพาะตัวชนิดที่ไม่มีใครมีเหมือน ไม่ว่าในอดีตและอนาคต หากโอกาสนี ้สูญเสียไปก็จะไม่มีใครทาแทนหรื อทาซ ้าได้ ตลอดกาล เป็ นเรื่ องส่วนตัวและเฉพาะตัว จริง ๆ
65
บทที่ 6 สังคมอารยะคู่กับการบริหารที่ดี งานวิจยั นี ้ตังค ้ าถามไว้ ว่า ทาอย่างไรคุณธรรมจึงจะกลับมาสู่คนส่วนใหญ่ของสังคมไทย คาตอบที่ได้ เสนอไว้ เป็ นเป้าหมายของงานวิจยั คือ ต้ องใช้ วิธีการอบรมบ่มนิสยั คนไทยด้ วยวิธีการ ใหม่อนั สืบเนื่องจากทฤษฎีปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ตามคาชี ้แนะของฮันทิงทัน การปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ของฮันทิงทันหมายความว่ากระไร หากเข้ าใจตามที่ ปรากฏในหนังสือ The Clash of Civilizations ก็จะสังเกตได้ ว่า สงครามและความขัดแย้ งทังหลาย ้ ที่เกิดขึ ้นในประวัติศาสตร์ ของมนุษยชาติเกิดขึ ้นตามกระแสกระบวนทรรศน์เดิม คือการยึดมัน่ ถือ มั่นอันเป็ นฐานส าคัญของกระบวนทรรศน์ ทงั ้ หลายในอดีต และหากมนุษยชาติยังใช้ กระบวน ทรรศน์เดิมมาดาเนินนโยบายการเมืองก็จะมีการแบ่งขัวกั ้ นตามวัฒนธรรมหลักของมนุษยชาติ และสงครามก็จะเกิดต่อไปโดยเพียงแต่เปลี่ยนแกนนาขัว้ (pole leader) ลงท้ ายฮันทิงทันจึงแนะนา ให้ ใช้ วิธีปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ นัน่ คือปรับเปลี่ยนไปใช้ กระบวนทรรศน์ใหม่ซึ่งปรากฏโฉมให้ เห็นอยู่แล้ วในมนุษยชาติ นักปรัชญาจึงพร้ อมใจกันตีความว่ากระบวนทรรศน์ใหม่นี ้น่าจะได้ แก่ กระแสความคิดหลังนวยุค ซึ่งมีบอ่ เกิดในประเทศฝรั่งเศส และเยอรมนี และกาลังไหลบ่าเข้ ายึด พื ้นที่ปัญญาชนเกือบจะทุกสาขาวิชาในขณะที่กาแพงเบอร์ ลินทะลุ ชาติทงหลายทั ั้ ว่ โลกก็กาลัง ได้ รั บ ผลกระทบจากหนัง สื อ เผยแพร่ ก ระแสความคิ ด หลัง นวยุค ที่ พิ ม พ์ เ ป็ นจ านวนมากเป็ น ภาษาอังกฤษในสหรัฐอเมริ กา ขบวนการอบรมบ่มนิสยั ผู้เรี ยนในสถาบันการศึกษาที่นิยมเรี ยกกัน ว่า Character Education Movement และ Civil Society Movement นัน้ เป็ นเพียงส่วนของ ความพยายามปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ในสหรัฐอเมริ กาและในประเทศต่าง ๆ ทัว่ โลกตังแต่ ้ หลัง ค.ศ. 1970 (พ.ศ. 2513) เป็ นต้ นมา
66
6.1 เงื่อนไขการใช้ กระบวนทรรศน์ ใหม่ ในสังคม ขบวนการสั ง คมอารยะเรี ยกร้ องให้ มี ก ารบริ หารชาติ ที่ ไ ด้ มาตรฐาน (Good Governance) เพื่อให้ กระบวนทรรศน์ใหม่สามารถสร้ างระเบียบสังคมใหม่ (New World Order) ได้ สาเร็จ คือเรี ยกร้ องให้ การบริหารชาติที่ดีมีองค์ประกอบที่ได้ มาตรฐานดังต่อไปนี ้ 6.1.1 มีกฎหมายที่ชอบธรรม (legitimate law system) คือต้ องออกกฎหมายเพียงพอ ให้ เกิดความเป็ นธรรมแก่พลเมืองโดยทัว่ หน้ า แต่กฎหมายทุกมาตราคือการจากัดสิทธิเสรี ภาพของ พลเมือง จึงต้ องไม่ตราออกมามากเกินไปจนละเมิดสิทธิเสรี ภาพของพลเมือง ผู้รับผิดชอบส่วนนี ้ ได้ แก่ หน่วยงานหลัก 3 หน่วยงานของรั ฐร่ วมกัน คือสภานิติบญ ั ญัติแห่ง ชาติ สถาบันผู้รักษา กฎหมายแห่งชาติ และสถาบันศาลแห่งชาติ 6.1.2 มีผ้ ู รับผิดชอบเพียงพอสาหรั บอบรมบ่ มนิ สัยจริ ยธรรม จริ ยธรรมได้ แก่ชุด หนึ่งของคุณธรรมที่ทาให้ คนคนหนึ่งหรื อสังคมหนึ่งเสียสละด้ วยจิตอาสาเกินกว่ากฎหมายบังคับ ผู้รับผิดชอบส่วนนี ้ได้ แก่ศาสนาที่รัฐบาลรับรู้ โดยที่แต่ละศาสนารับผิดชอบสมาชิกทุกคนของตน และองค์การเอกชน (NGO) ซึ่งรับผิดชอบอบรมบ่มนิสยั ผู้นบั ถือศาสนาในชาติรวมทังผู ้ ้ ไม่นบั ถือ ศาสนาใดเลย จึงต้ องใช้ เกณฑ์กลางเชิง ปรัช ญาที่ ใช้ สนับสนุนได้ ทุกศาสนาเท่านัน้ เมื่ อรวม จริยธรรมทังหมดเข้ ้ าด้ วยกันจะได้ จริ ยธรรมทัว่ ไป (general ethic) ซึ่งเป็ นฐานรองรับจริ ยธรรมย่อย ต่างๆ
6.2 บทบาทของกฎหมายชอบธรรมของชาติ การบริ หารปกครองที่ ได้ มาตรฐานจะขาดกฎหมายชอบธรรมเสียมิได้ อะไรที่ประกาศ เป็ นกฎหมายจาต้ องมีบทลงโทษ มิฉะนันก็ ้ ไม่อาจเรี ยกว่าเป็ นกฎหมาย เพราะไม่สามารถบังคับให้ พลเมืองปฏิบตั ิตามได้ กฎหมายจะต้ องมีให้ พอดีเพียงพอให้ ผ้ บู ริ หารปกครองปฏิบตั ิงานได้ ตาม เป้ าหมาย คื อ กระตุ้นให้ ทุก คนและแต่ ละคนในสัง คมหนึ่ง ๆ ได้ ใช้ ค วามรู้ ความสามารถเต็ม
67 ศักยภาพของตน และในขณะเดียวกันจะต้ องไม่ขดั ขวางหรื อก้ าวก่ายสิทธิเสรี ภาพของคนอื่น ๆ ที่ ประสงค์ใช้ ความรู้ความสามารถของตนเต็มศักยภาพ เนื่ องจากกฎหมายเป็ นข้ อ บัง คับ มิ ใช่ข้อ ชัก ชวน จึง จ าเป็ นต้ องมี บ ทลงโทษที่ ห นัก เพียงพอจนไม่มีใครอยากเสี่ยงโดยจงใจเพราะรู้สึกไม่ค้ มุ และไม่ควรหนักเกินไปจนกลายเป็ นเหตุ จูงใจให้ มีการเสี่ยงกลัน่ แกล้ งใส่ร้ายป้ายความผิดให้ คอู่ ริ ดังนันเพื ้ ่อให้ กฎหมายศักดิส์ ิทธิ์จึงต้ องมี หน่วยงานตารวจผู้เชี่ยวชาญในการสืบเสาะหาคนทาผิดกฎหมายลอยนวลได้ น้อยที่สุด และมี มาตรการลงโทษที่ ไ ม่ผิ ดหลักมนุษ ยธรรมสากลแต่ให้ ร้ ู สึกว่า เป็ นการลงโทษที่ ไ ม่พึง ปรารถนา มาตรการต่าง ๆ เหล่านี ้ต้ องใช้ งบประมาณมากมายมหาศาล แต่ก็เป็ นงบประมาณที่จาเป็ นเพื่อให้ ได้ กฎหมายศักดิส์ ิทธิ์ค ้าประกันการบริ หารการปกครองที่ดี ซึ่งจะยังผลให้ ประชาชนอยู่กนั อย่างสุข สงบและมีคณ ุ ภาพ
6.3 บทบาทของระเบียบการของหน่ วยงาน หน่วยงานใดก็ตาม ไม่ว่าของรัฐ ของเอกชน หรื อขององค์กรใดก็ตาม จะดาเนินไปได้ อย่างราบรื่ นและมีประสิทธิผล ก็โดยมีระเบียบการที่ดี (good regulation) ของหน่วยงานแต่ละ หน่วยงานโดยเฉพาะ โดยสมมุติในขันพื ้ ้นฐานว่าสมาชิกทุกคนในหน่วยงาน สมัครเต็มใจปฏิบตั ิ ตามกฎหมายทุกข้ อของบ้ านเมือง ซึง่ รัฐบาลควบคุมดูแลอยูแ่ ล้ ว หน่วยงานเพียงแต่ช่วยเป็ นหูเป็ น ตาให้ รัฐบาล ด้ วยเหตุผลที่วา่ หากมีความพยายามหรื อความเต็มใจฝ่ าฝื นกฎหมายบ้ านเมืองไม่ว่า ในด้ านใด หน่วยงานนัน้ ได้ รับความเสียหายทันที หน่วยงานจึง มีหน้ าที่ ส่งเสริ ม และกาชับให้ สมาชิกทุกคนในหน่วยงานให้ เต็มใจปฏิบตั ติ ามกฎหมายบ้ านเมืองทุกข้ อ นอกจากถือกฎหมายบ้ านเมืองซึ่งเป็ นหน้ าที่ของพลเมืองทุกคนในชาติอย่างเสมอหน้ า กันแล้ ว หน่วยงานแต่ละหน่วยงานยังต้ องมีระเบียบการของหน่วยงาน ซึ่งบังคับให้ สมาชิกทุกคน ของหน่วยงานมีหน้ าที่ต้องถืออย่างเสมอหน้ ากัน ในฐานะเดียวกันกับกฎหมายบ้ านเมือง ผิดกัน เพียงแต่ว่ากฎหมายบ้ านเมืองเป็ นพันธกิจของพลเมืองทุกคนของชาติ ส่วนระเบียบการเป็ นพันธ กิจของสมาชิกของหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งเท่านัน้ ไม่มี ผลถึงบุคคลอื่นนอกหน่วยงาน บุคคล
68 อื่นที่มีส่วนเกี่ยวข้ องอย่างใดอย่างหนึ่งกับหน่วยงาน มีเพียงพันธสัญญาที่ต้องถือเฉพาะในส่วนที่ เกี่ยวข้ องกับหน่วยงานเท่านัน้ หากผิดสัญญาก็เพียงถูกปรับ ไม่ใช่ถูกลงโทษ เพราะหน่วยงานมี อานาจปรั บ และไม่มี อ านาจลงโทษคู่สัญ ญานอกหน่ ว ยงาน แต่มี อ านาจลงโทษสมาชิ ก ของ หน่วยงานได้ จึงต้ องมีบทลงโทษและมีมาตรการดูแลให้ มีการลงโทษอย่างจริ งจังและชอบธรรม ด้ วยมาตรการเดียวกันกับกฎหมายบ้ านเมือง หากจาเป็ นก็พึงให้ บ้านเมืองช่วยเสริ มการลงโทษ ของหน่วยงานด้ วย เพื่อให้ มีระเบียบการที่ดี หน่วยงานพึงต้ องมีกลไกออกระเบียบการที่มีบทลงโทษกากับ มีคณะทางานดูแลการละเมิ ดระเบียบการ มีกลไกสอบสวนว่า ผู้ละเมิ ดทาผิดระเบียบการจริ ง หรื อไม่ มีกลไกปรับโทษอย่างยุตธิ รรม และมีการดูแลให้ มีการลงโทษได้ จริง หากหน่วยงานมีบาเน็จรางวัลอะไรจะให้ แก่สมาชิก ซึ่งรวมถึงการเลื่อนขันและต ้ าแหน่ง หน้ าที่ในหน่วยงานด้ วย ก็จะต้ องมีกระบวนการให้ มีความเป็ นธรรมทุกขัน้ ตอนอย่างน่าเชื่อถื อ เช่นเดียวกับกระบวนการจัดการกับการละเมิดระเบียบการของหน่วยงาน เกณฑ์ ความชอบธรรมของระเบีย บการ เป็ นเกณฑ์ เดียวกันกับความชอบธรรมของ กฎหมาย คือต้ องน้ อยที่สดุ เท่าที่จาเป็ นเพื่อให้ ดาเนินงานตามนโยบายของหน่วยงานได้ ไม่ขาดจน เกิดอุปสรรคต่อการดาเนินงาน และไม่เกินจนอธิบายไม่ได้ วา่ จาเป็ นอย่างไรสาหรับการดาเนินตาม นโยบาย
6.4 บทบาทของคุณธรรมจริยธรรม คุณธรรม คือการทาดีจนเคยชินเป็ นอุปนิสยั จริยธรรม คือชุดหนึง่ ของคุณธรรมที่ทาให้ คนคนหนึง่ เป็ นคนดี หรื อคนประเภทหนึ่งได้ ชื่อ ว่า กลุม่ คนดี กลุม่ คนอาจจะหมายถึง 2 คนจนถึงมนุษยชาติทงมวล ั้ การปฏิ บัติ ต ามกฎหมายหรื อ ตามระเบี ย บการถื อ ได้ ว่า เป็ นส่ว นหนึ่ ง ของคุณ ธรรม จริยธรรม เรี ยกได้ วา่ เป็ นคุณธรรมจริยธรรมที่จาเป็ นต้ องออกเป็ นกฎหมาย ดังนันเมื ้ ่อกล่าวถึงการ อบรมคุณธรรมจริ ยธรรม จึงตังใจหมายถึ ้ งคุณธรรมจริ ยธรรมที่พึงจูงใจให้ พลเมืองปฏิบตั ิด้วย
69 ความพอใจโดยมีเหตุผลส่วนตัวเป็ นแรงบันดาลใจ แรงบันดาลใจอาจจะมาจากศาสนา ซึ่งจะจูง ใจได้ ผลเฉพาะผู้มีศรัทธาต่อศาสนาที่สอนคุณธรรมจริ ยธรรมนัน้ ๆ หากต้ องการอบรมคุณธรรม จริ ยธรรมที่ไม่มีแรงจูงใจจากศาสนา ก็ต้องอาศัยเหตุผลปรัชญาเสริ ม หากคุณธรรมถูกประกาศ เป็ นกฎหมายด้ วยก็ย่อมมีบทลงโทษเฉพาะระดับที่ต้องการให้ ทุกคนปฏิบตั ิ ผู้อบรมคุณธรรมพึง อบรมให้ สมาชิกพอใจปฏิบตั เิ กินกว่าที่กฎหมายบังคับและสร้ างความกลัวด้ วยการลงโทษ ทังนี ้ ้โดย อาศัยเหตุผลอื่นที่ไม่ใช่การลงโทษ งานวิจัยนีเ้ น้ นการอบรมคุณธรรมจริยธรรมด้ วยเหตุผลปรั ชญา เพื่อเสริมศรั ทธา ต่ อศาสนา และเพื่ออบรมผู้ไม่ มีศรั ทธาต่ อศาสนาใดใดเลยได้ ด้วย บทบาทของจริยธรรมวิชาชีพ หน่วยงานที่ มุ่ง ความเป็ นเลิศ ย่อมให้ ความส าคัญ แก่ การประกาศจริ ย ธรรมวิช าชี พ (professional ethic) และการอบรมจริ ยธรรมวิชาชีพอย่างสม่าเสมอ จริ ยธรรมวิชาชีพคัดเลือก ออกมาจากจริ ยธรรมสากล เลือกเฉพาะที่ต้องการเน้ นให้ บุคคลในหน่วยงานสานึก จดจา และ พยายามปฏิบตั ิตามเป็ นพิเ ศษ เพื่อค ้าประกันคุณภาพของหน่วยงาน เมื่อเลือกแล้ วก็จะมีฐานะ เป็ นส่วนหนึ่งของจรรยาบรรณ และเป็ นจรรยาบรรณที่มีฐานะเป็ นจริ ยธรรม ผิดกับจรรยาธรรมอีก ส่วนหนึง่ ที่คดั มาจากระเบียบการและกฎหมายด้ วยเหตุผลเดียวกัน
6.5 บทบาทของจรรยาบรรณ จรรยาบรรณคือ ข้ อกาหนดที่หน่วยงานต้ องการเน้ นให้ สมาชิกสานึก จดจาและปฏิบตั ิ ตามและความเสื่อมของสถาบันอย่างรู้ สึกได้ ส่วนหนึ่งของจรรยาบรรณเป็ นจริ ยธรรมอีกส่วนหนึ่ง เป็ นกฎหมาย ส่วนที่เป็ นกฎหมายต้ องมีการอบรมเชิงกฎหมาย ส่วนที่เป็ นจริ ยธรรมต้ องอบรมแบบ คุณธรรม
70
6.6 บทบาทของสังคมอารยะ Civil Society หากแปลว่าประชาสังคม ก็จะต้ องหมายความว่าเป็ นสังคมที่เป็ นสังคม ของประชาชนหรื อประชาชนเป็ นใหญ่ ความหมายก็คงไม่ต่างจากความหมายของ Democratic Society หรื อสังคมประชาธิปไตย สังคมที่ประชาชนเป็ นใหญ่ ซึ่งในประวัติศาสตร์ การเมือง เริ่ ม ปรากฏในประวัติศาสตร์ กบั นครรัฐเอเธนส์ช่วงหลัง ก่อนตกอยู่ใต้ อานาจของพระเจ้ าแอลเลิกแซน เดอร์ มหาราช และนครรัฐโรมช่วงหลังก่อนจะกลายเป็ นมหาอาณาจักรโรมัน เพราะมีการตังสภา ้ เพื่อลงมติออกกฎหมาย ลงมติเลือกผู้บริ หารงานระดับสูงสุด และลงมติควบคุมการบริ หารงาน ของทุกหน่วยงานของรัฐ รัฐอื่ น ๆ ในช่วงเวลาเดียวกันนัน้ ไม่ใช่ประชาธิ ปไตยและไม่ใช่ประชา สังคม ตลอดยุคกลางไม่ปรากฏรัฐประชาธิปไตยหรื อประชาสังคม มายุคใหม่ตอนปลายจึงค่อย ปรากฏโฉมขึ ้นทีละรัฐสองรัฐ จนถึงหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 จึงกลายเป็ นเกณฑ์ที่ยอมรับตามสิทธิ มนุษยชนขององค์การสหประชาชาติ แม้ ประเทศที่ตงใจปกครองแบบเผด็ ั้ จการก็ยงั อุตส่าห์ระบุ เป็ นชื่อประเทศว่า “สาธารณะประชาธิปไตยประชาชน” ยิ่งไร้ ประชาธิปไตยก็ร้ ูสึกว่ายิ่งต้ องเน้ น ทา ให้ หลายคนคิดว่า ประชาธิปไตยชะรอยจะกลายเป็ นคาไร้ ความหมายเสียแล้ วหรื ออย่างไร มันเป็ น เพียงเสียงพูดเพื่อประกาศนโยบายเท่านันแหละหรื ้ อ บางคนคิดว่า Civil Society ควรแปลว่า “ประชาธิปไตยอารยะ” เพรายังเสียดายคา ประชาธิ ป ไตยอยู่ จึง คิด แก้ ปั ญ หาโดยแบ่ง ประชาธิ ป ไตยออกเป็ น 2 แบบ คื อ แบบ nominal democracy (ประชาธิปไตยในนาม) นัน่ คือประชาธิปไตยแต่ชื่อ ใช้ ไม่ได้ แล้ วในสมัยของเรานี ้ ซึ่ง ต้ องช่วยกันสร้ างประชาธิ ปไตยของผู้ที่มี อารยะธรรมแล้ ว เรี ยกได้ ว่า Civilized democracy ประชาธิปไตยอารยะ หรื อเรี ยกสันๆ ้ ว่า Civil Democracy อันเป็ นฐานให้ เกิด Civil Society ใน ความหมายนี ้ ภาษาไทยควรแปลเป็ นประชาธิปไตยอารยะและสังคมอารยะ แต่บางคนโดยเฉพาะอย่างยิ่งนักวิขาการ ก็พอใจได้ เพียงครึ่งเดียว เพราะที่กล่าวข้ างต้ น นันเพ้ ้ อฝั นได้ แต่ทาอย่างไรเล่าจึงจะเป็ นจริ งขึ ้นมาได้ จาเป็ นต้ องมีกลุ่มนักวิชาการช่วยกันคิดเป็ น แกนนา มีหน้ าที่ศกึ ษา ค้ นคว้ า วิจยั และชี ้แนะ คือ เป็ นแกนนาทางความคิดเท่านัน้ กลุ่มนี ้จึงควร
71 ได้ ชื่อว่าสังคมอารยะ (Civil Society) ต้ องมีแกนนาเอาไปปฏิบตั ิให้ เกิดประชาธิปไตยอารยะ (Civil Democracy) ต่อไป เพราะเหตุนี ้จึงมีผ้ คู ิดว่าต้ องหาคาใหม่สาหรับหมายถึงสังคมอันพึงประสงค์ คือดูตาม เนื ้อผ้ า ไม่ใช่ดตู ามชื่อหรื อตามที่ประกาศนโยบาย เพราะเมื่อดูอย่างรวมๆ แล้ วก็พบว่า สังคมที่ไม่ เน้ นประชาธิ ปไตยกลับมีคุณ ภาพอันไม่พึงประสงค์ก็มี และสัง คมที่ เน้ นอานาจเบ็ดเสร็ จกลับมี คุณภาพอันพึงประสงค์ก็มี เลยทาให้ ร้ ู สึกว่าจาเป็ นต้ องมี 2 คาให้ มีความหมายแตกต่างกัน คือ สังคมประชาธิปไตย (democratic society) หรื อประชาสังคม (Civic Society หรื อ Civil Society ที่มีความหมายเหมือน Civic Society) เก็บไว้ ใช้ ตามความหายเดิม คือ สังคมที่มีระบบปกครองที่ ประกาศเป็ นทางการว่าประชาชนเป็ นใหญ่ จะเป็ นจริ งหรื อไม่เพียงใดไม่ต้องคานึงถึง ส่วนสังคม อารยะสงวนไว้ ใช้ แปล Civil Society ที่มีความหมายว่า Civilized Society ตามที่กลุ่มนักวิชาการ ส่งเสริ มสังคมที่มีคณ ุ ภาพอันพึงประสงค์ต้องการ ซึ่งอาจจะมีอยู่จริ งแล้ ว (ก็คงหาดูได้ ยาก) หรื อมี สัญญาณแสดงความมุง่ มัน่ สูค่ ณ ุ ภาพอันพึงประสงค์ ทังนี ้ ้โดยไม่คานึงว่า ชื่อของสังคมหรื อระบอบ ของสังคมนันจะเป็ ้ นอย่างไร ตัวอย่างเช่น ความหายของ Civil Society ในหนังสือ Civil Society ของ John Ehrenberg (1991), Jean Cohen and Andrew Arato (1997), Adam Seligman (1992), George McLean (1993) เป็ นต้ น สังคมอันพึงประสงค์ตามที่ Civil Society ต้ องการคงไม่ใช่อตุ มรัฐหรื อยุโทเพีย (Utopia) เพราะยุโทเพีย (ภาษากรี ก u = ไม่มี + topia = สถานที่) คือ ไม่มีอยู่ ณ ที่ใด ทังไม่ ้ อาจจะเป็ นจริ ง ได้ ด้วย ชาวลิลิปตุ (Liliput) ของโจนาเธิน สวิฟท์ (Jonathan Swoft) ซึ่งมีความสูงไม่ถึงคืบ สังคม อารยะจริงๆ นัน้ ผู้สนับสนุนเชื่อว่าเป็ นจริงได้ และอยากส่งเสริมให้ เป็ นจริ งขึ ้นมาให้ ได้ ซึ่งจะใช้ ชื่อ ใดนันไม่ ้ สาคัญ หนังสือของเอร์ เรนเบิร์ก ซึ่งเป็ นหนังสือล่าสุดที่พดู ถึงเรื่ องนี ้เท่าที่ผ้ เู ขียนมีอยู่ในมือ ยังได้ แสดงความห่วงใยว่าชาวอเมริ กนั โดยทัว่ ไปก็ยงั สับสนกับความหมายระหว่างคา Civil Society กับ Civic Society จึง ได้ พ ยายามชี แ้ จงในคานาว่า “สังคมอารยะได้ มี ผ้ ูให้ ความหมายเรื่ อยมา ตลอดเวลาสองสหรรษวรรษครึ่ง (2500 ปี หรื อกึ่งพุทธกาล) สังคมอารยะได้ ทาให้ อารยธรรมเป็ นไป ได้ เพราะประชาชนรวมตัว กัน เป็ นหมู่คณะที่ มี ธ รรมนูญ การปกครองรั ฐ ที่ ใ ช้ อ านาจให้ ความ
72 คุ้มครอง สังคมนวยุคเสียอีกที่สร้ างความไร้ ระเบียบ ความไม่เสมอภาคและความขัดแย้ ง เป็ นเหตุ ให้ ศัก ยภาพปลดปล่ อ ยที่ เ คยมี ม าเหื อ ดแห้ ง ไปจนต้ อ งการให้ ส าธารณชนต้ อ งหามาตรการ ตรวจสอบ อย่างไรก็ตามสังคมอารยะก็ได้ พฒ ั นา และก็มีความคิดสายกลางที่ทรงอิทธิพลเสนอ สัง คมอารยะให้ เ ป็ นสมาคมเดิน สายกลางที่ ค นปั จ จุบัน ชอบพอได้ เพื่ อ ปกป้ องเสรี ภ าพ ของ ประชาชนและขีดเส้ นให้ แก่อานาจจากส่วนกลาง” (John Ehrenberg, 1999, p.xi) จึงจับใจความได้ ว่าสังคมอารยะได้ แก่กลุ่มคนประเภทหนึ่ง ซึ่งอาจจะรู้จกั กันหรื อไม่ ก็ได้ และอาจจะรวมกลุม่ กันหรื อไม่ก็ได้ ที่สาคัญคือมีการแสดงออกถึงความเข้ าใจธรรมชาติของมนุษย์ ที่มีคณ ุ ภาพสูงกว่า ดีกว่า เด่นกว่า และเหมาะสมกว่าคนทัว่ ไปในสังคมเดียวกัน ความเข้ าใจของ พวกเขาอาจจะถูกวิจารณ์ว่าผิดหรื อถูกก็ได้ ถ้ ามีผ้ วู ิจารณ์ว่าผิดมากๆ ก็จะไม่ได้ รับความนิยมและ ชื่อเสียงสูญหายไปเอง แต่ถ้าความเข้ าใจของพวกเขาถูกต้ องก็จะมีผ้ นู ิยม นาเอาไปกล่าวขวัญและ บันทึกไว้ ก็จะติดตลาดไปเอง หากสังคมใดนาเอาไปใช้ เป็ นที่รับรู้ว่าดีกว่าสังคมรอบข้ าง ก็เรี ยกว่า สังคมอารยะได้ เช่นกัน ส่วน social civility ก็ควรแปลว่า ความเป็ นสังคมอารยะ, การมีสงั คม อารยะ, ภาวะสังคมอารยะ กล่าวโดยสรุปได้ ว่า สังคมอารยะคือสังคมที่มีความสานึกจรรยาบรรณ สังคม และพยายามผลักดันให้ เป็ นจริ ง หรื อได้ ทาให้ เป็ นจริ งขึ ้นแล้ วเป็ นบางส่วน โดยยังพยายาม ทาให้ สมบูรณ์ตอ่ ไป นักจริยธรรมสังคมจึงเป็ นนักสังคมจริยะโดยปริยายด้ วย เมื่อทาความเข้ าใจกันเช่นนี ้แล้ ว และเห็นว่าเรื่ องนี ้น่าจะเป็ นการศึกษาที่น่าสนใจและมี ประโยชน์ ต่อการวิเ คราะห์ ส ภาพสัง คม และวิเคราะห์ จริ ยธรรมของสัง คม ก็น่าจะติดตามดูผล การศึกษาที่ได้ มีผ้ สู รุปรายงานผลการศึกษาไว้ แล้ ว ช่วยกันพินิจพิเคราะห์ ประเมินค่า และช่วยกัน ออกความเห็นที่จะเป็ นป้ายชี ้ทางให้ แก่สงั คมไทยของเรา
73
บทที่ 7 ความสุขแท้ ด้วยการสร้ างสรรค์ ปรั บตัว แสวงหา และร่ วมมือ 7.1 ความหมายของการดูแล การดูแล (caring) คือการสนใจในความสุขและความทุกข์ของตนเอง/ของผู้อื่น/ของสิ่ง ต่างๆ ด้ วยความคิด/ด้ วยภาษา/ด้ วยการกระทา ทุกครัง้ ที่มีการดูแลดังกล่าวข้ างต้ นเกิดขึ ้น ย่อมหมายถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างมี ความสุขของผู้ดูแล มีศกั ยภาพที่จะบันดาลความสุขแท้ ตามความเป็ นจริ ง แก่สิ่งที่ถูกดูแลตาม ระดับ ความเป็ นจริ ง ของสิ่ ง นัน้ กล่ า วคื อ วัต ถุ ไ ด้ ค วามสุข ตามสัญ ชาตญาณคงที่ พื ช ตาม สัญชาตญาณชีวิต สัตว์ตามสัญชาตญาณยีน และมนุษย์ตามสัญชาตญาณปั ญญา
7.2 เงื่อนไขการดูแลความสุขของตนเอง ความสุขแท้ ของตนเองตามความเป็ นจริง มีเงื่อนไขดังต่อไปนี ้ 1. ความสุขบนความทุกข์ของผู้อื่น ไม่ใช่ความสุขแท้ (แย่มาก) 2. ความทุกข์บนความสุขของผู้อื่น ไม่ใช่ความสุขแท้ (แย่) 3. ความทุกข์บนความทุกข์ของผู้อื่น ไม่ใช่ความสุขแท้ (แย่ที่สดุ ) 4. ความสุขบนความสุขของผู้อื่น คือความสุขแท้ (ดีที่สดุ )
7.3 เงื่อนไขการดูแลความสุขของผู้อ่ ืน ความสนใจในความสุขและความทุกข์ของผู้ /สิ่งอื่น สามารถทาได้ ใน 4 ลักษณะตามกา ละและเทศะที่เหมาะสม คือ
74 7.3.1 การสร้ างสรรค์ (creativity) การสร้ างสรรค์คือการคิดหรื อทาสิ่งใหม่ที่ไม่เคยมี มาก่อน เป็ นการเพิ่มความก้ าวหน้ าแก่มนุษยชาติ เปิ ดโอกาสให้ มีการประยุกต์ใช้ ให้ เกิดประโยชน์ โดยทัว่ ไป แต่ถ้าเกิดโทษก็ต้องการการปรับตัว 7.3.2 การปรั บตัว (adaptivit) คือการดัดแปลงการประยุกต์ใช้ ให้ เป็ นคุณปราศจาก โทษ หรื อดัดแปลงโทษให้ เป็ นคุณ เช่นดัดแปลงนา้ ท่วมทาลายให้ เป็ นการกักนา้ ในแก้ มลิงไว้ ใช้ ประโยชน์ในฤดูแล้ งน ้า เป็ นต้ น 7.3.3 การแสวงหา (requisitivity) ปั ญญาของมนุษย์มีศกั ยภาพที่จะคิดเข้ าใจถึงโลก หน้ าด้ วย จึงไม่ควรละเลย เพราะเพิ่มคุณภาพความสุขแก่ผ้ แู สวงหาอย่างถูกต้ อง 7.3.4 การร่ วมมือ (collaboration) การร่วมมือกันได้ ทาปาฏิหาริ ย์ให้ 1 + 1 = มากกว่า 2 อยูเ่ สมอ
7.4 เหตุผลจูงใจให้ สร้ างสรรค์ 7.4.1 มนุษย์เป็ นส่วนหนึ่งของเอกภพ และเอกภพพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลา (ติดตาม ข้ อมูลจากดาราศาสตร์ ) 7.4.2 มนุษย์เป็ นส่วนหนึ่งของชีวิต และชีวิตพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา (ติดตามข้ อมูล จากทฤษฎีวิวฒ ั นาการสิ่งมีชีวิต) 7.4.3 มนุษย์เป็ นส่วนหนึ่งของสัตว์ และสัตว์พฒ ั นาตัวเองอยู่ตลอดเวลา (ติดตามข้ อมูล จากทฤษฎีวิวฒ ั นาการของสัตว์) 7.4.5 มนุ ษ ยชาติ พัฒ นาตัว เองก้ าวหน้ าในด้ า นต่ า ง ๆ อยู่ ต ลอดเวลา (ติ ด ตาม ประวัตศิ าสตร์ อารยธรรม)
75
7.5 ตัวอย่ างการดูแลด้ วยพลังสร้ างสรรค์ 7.5.1 มนุษย์ พัฒนาพลังสร้ างสรรค์ ของตนตลอดเวลา มนุษย์ฉลาดได้ พฒ ั นาพลังสร้ างสรรค์ของตน จนได้ แนวคิดของมนุษย์ จัดได้ เป็ น4 แบบ กระบวนทรรศน์ (Paradigm) และได้ พฒ ั นาต่อมาจนกลายเป็ นพลังปรับตัวในแนวคิดแบบที่ 5 หรื อ กระบวนทรรศน์หลังนวยุคดังต่อไปนี ้ 7.5.1.1 แนวคิดแบบดึกดาบรรพ์ (Primitive Paradigm) แนวคิดแบบนี ้เกิดขึ ้นกับ มนุษย์ดกึ ดาบรรพ์ทนั ทีที่มนุษย์อบุ ตั ิขึ ้นในโลกนี ้ จึงสันนิษฐานได้ ว่าแนวคิดแบบดึกดาบรรพ์มีมา ประมาณสี่ล้านปี มาแล้ ว มนุษย์ในระยะแรกอุบตั ิขึน้ ในโลกนัน้ ยังมีชีวิตตามธรรมชาติ คลุกคลีอยู่กับธรรมชาติ โดนภัยธรรมชาติคกุ คามอยู่เป็ นนิจ หากเป็ นสัตว์เดียรัจ ฉาน เมื่อประสบภัยก็หนีภัยเอาตัวรอด โดยสัญชาตญาณแห่งความกลัว หายกลัวแล้ วก็แล้ วไปไม่เกิดความกังวลใจ มนุษย์มีความกลัว ภัยโดยสัญชาตญาณเช่นเดียวกับสัตว์ หลังจากหนีภัยมาหลายครัง้ แล้ ว ในยามที่จิตใจสงบก็คง จะคิดคานึงตรึกตรองถึงเหตุการณ์ที่ผา่ น ๆ มา และคงอยากจะมีความปลอดภัยมากขึ ้น ในที่สดุ ก็ คงพบปั ญหาว่าภัยธรรมชาติมาจากไหน จะแก้ ไขได้ อย่างไร ในบรรดาคาตอบที่เป็ นไปได้ ทงหลาย ั้ พวกเขาจะพร้ อมใจกันเป็ นเอกฉันท์พอใจกับคาตอบว่าภัยธรรมชาติรวมทังเหตุ ้ การณ์ทงหลายที ั้ ่ เกิดขึ ้นเป็ นไปด้ วยฤทธิ์ อานาจลึกลับในธรรมชาติซึ่งพวกเขาคงจะเข้ าใจไม่ชดั เจนนักว่าเป็ นอะไร แต่เชื่อว่ามีแฝงอยูใ่ นธรรมชาติ และพวกเขามองไม่เห็น พวกเขาพร้ อมใจกันเชื่อว่าพวกเขาจะพ้ น ภัยธรรมชาติได้ หากเอาใจหรื อตอบสนองความต้ องการของอานาจลึกลับดังกล่าวได้ อย่างถูกต้ อง นักปราชญ์ ในหมู่มนุษย์ดึกดาบรรพ์จึงได้ แสวงหาวิธีร้ ูใ จและเอาใจอานาจดังกล่าว ซึ่งจะเรี ยกว่า เป็ นอะไรก็ได้ แล้ วแต่จะพร้ อมใจกันเรี ยก นักปราชญ์เหล่านี ้นับว่าทาคุณให้ แก่มนุษย์ดกึ ดาบรรพ์ไว้ มาก เพราะหากพวกเขาไม่สามารถพบคาตอบที่น่าพอใจสาหรับมนุษย์ดึกดาบรรพ์แล้ ว มนุษย์ เหล่านัน้ คงจะน่าสงสารอย่างมาก เพราะพวกเขาจะกลั วอย่างไร้ ที่พึ่ง แม้ แก้ ไขทางกายไม่ไ ด้ อย่างน้ อยให้ มีที่พงึ่ ทางใจก็ยงั ดีกว่าไม่มีที่พงึ่ เลย
76 หากจะถามว่าทาไมพวกเขาจึงพอใจกับคาตอบเช่นนัน้ ทาไมพวกเขาจึงไม่คิดจะหา วิธีแก้ ไขโดยค้ นคว้ าเพื่อเข้ าใจกฎของโลก ขอตอบว่าเป็ นเพราะพวกเขาไม่เชื่อว่าโลกมีกฎเกณฑ์ใน ตัวของมันเอง แหละนี ค้ ือปรั ชญาบริ สุทธิ์ ของพวกเขา ปรั ชญาบริ สุทธิ์ แบบนี ้แหละที่ กาหนดให้ พวกเขาพอใจกับคาตอบข้ างต้ น และไม่สนใจค้ นคว้ ากฎเกณฑ์ของโลกซึ่งเชื่อว่าไม่มี แต่ท่มุ เท ความสามารถทุกอย่างเพื่อค้ นคว้ าสิ่งที่คดิ ว่ามี คือ รู้ใจและเอาใจอานาจลึกลับ แนวคิดแบบดึกดา บรรพ์เป็ นแนวคิดแบบเดียวของมนุษยชาติมาเป็ นเวลานานประมาณ 4 ล้ านปี และด้ วยแนวคิด แบบนี ้มนุษย์เราจะก้ าวหน้ าทางวิชาการได้ ไม่ง่ายนัก นอกจากจะพบโดยบังเอิญทัง้ ๆ ที่มิได้ ตงใจ ั้ แสวงหา อย่างไรก็ตาม สติปัญ ญาของมนุษย์เราก็ ค่อย ๆ ก้ าวหน้ าขึน้ มาจนถึงขัน้ แนวคิดแบบ โบราณได้ เมื่อประมาณ 3,000 ปี มาแล้ วนี่เอง อุดมการณ์สงู สุดที่มีบทบาทเป็ นจริ ยธรรมนาความประพฤติของมนุษย์ในระยะนี ้ก็คือทา ตามประเพณี ผิดอะไรผิดได้ แต่อย่าผิดประเพณี ประเพณีเป็ นมาตรการตัดสินการกระทาทุกอย่าง เพราะประเพณี แสดงนา้ พระทัยของเบื ้องบนที่ เป็ นปกติ หากแสดงออกเป็ นกรณี พิเศษจึงค่อย ปฏิบตั อิ ย่างพิเศษเป็ นกรณี ๆ ไป 7.5.1.2 แนวคิดแบบโบราณ (Ancient Paradigm) อาจจะเคยมีอจั ฉริ ยบุคคลเกิด ขึ ้นมาก่อนหน้ านี ้แล้ วก็ได้ ที่สามารถมองเห็นว่าโลกน่าจะมี กฎเกณฑ์ในตัวมันเอง แต่ถ้าหากเขา ไม่สามารถถ่ายทอดได้ ความคิดดังกล่าวก็ย่อมจะสูญหายไปพร้ อมกับความตายของเขา หรื อถ้ า หากเขาถ่ายทอดได้ แต่ไม่มีใครเชื่อ เขาอาจจะถูกกล่าวหาว่าคิดนอกรี ตเป็ นกาลกิณี และอาจจะ ถูกประชาทัณ ฑ์ ตายไป หรื อหายสาบสูญ ไปโดยไม่มี ร่ องรอย ผู้ส ามารถคิดได้ ในบรรยากาศ เช่นนันเป็ ้ นครัง้ แรก และถ่ายทอดให้ ผ้ ูอื่นเข้ าใจและเชื่อตามได้ อย่างปลอดภัยย่อมเป็ นอัจฉริ ยะ เราไม่ส ามารถทราบได้ ว่า เขาผู้นัน้ เป็ นใครที่ คิดเรื่ อ งนี เ้ ป็ นคนแรกของมนุษ ยชาติ เท่า ที่ เ รามี หลัก ฐานพอจะศึก ษาได้ ใ นเวลานี ท้ ี่ นับ ว่า เก่ า แก่ ที่ สุด ก็ คื อ ผู้ นิ พ นธ์ คัม ภี ร์ ไ บเบิล หน้ า แรก ซึ่ ง สันนิษฐานกันว่าสัง่ สอนกันมาในหมู่ชาวฮีบรูก่อนโมเสสและถ่ายทอดกันต่อ ๆ มา เพิ่งจะจารึกลง เป็ นลายลักษณ์อกั ษรเมื่อประมาณ 3,000 ปี มาแล้ ว คัมภีร์ไบเบิลกล่าวว่า พระเจ้ าทรงจัดระเบียบ วางกฎเกณฑ์ให้ แก่โลก ทรงเปลี่ยนสภาพของโลกจากสภาพกลีภพ (ฮีบรู Tohu bohu. กรี ก Chaos) มาเป็ นโลกที่มีกฎเกณฑ์ (กรี ก Cosmos) และเดินตามกฎเกณฑ์ตอ่ มา เมื่อพระเจ้ าทรง
77 วางกฎเกณฑ์ ใ ห้ แ ก่โลกแล้ ว แม้ พ ระองค์ ทรงมี สิทธิ์ ยกเว้ นหรื อเปลี่ ยนกฎของโลกได้ ก็ ไ ม่ทรง กระทาโดยไม่จาเป็ น พระองค์ทรงรักษาศักดิศ์ รี ของพระองค์ โดยทรงให้ ความสาคัญแก่กฎเกณฑ์ ในหมู่ชาวกรี กมีหลักฐานว่า โฮว์เมอร์ (Homer ประมาณศตวรรษที่ 9 ก.ค.ศ.) แสดง ความเชื่อว่าโลกมีกฎเกณฑ์ โดยเล่าเป็ นเรื่ องปรัมปรา (myth) ว่า เทพซูส (Zeus) สัญลักษณ์ของ กฎเกณฑ์ชิงอานาจเป็ นเจ้ าเอกภพจากพระเสาร์ (แซทเทิร์นหรื อโครว์เนิส Saturn or Cronus) ซึ่ง เป็ นสัญลักษณ์ของความไร้ กฎเกณฑ์ เธลิส (Thales ก.ค.ศ.640-545) เป็ นคนแรกที่คิดว่าโลกมี กฎเกณฑ์ในตัวของมันเอง ในชมพูทวีปพระพุทธเจ้ าทรงเป็ นบุคคลแรกที่ทรงสอนว่าเอกภพและทุก สิ่งในเอกภพเดินตามกฎธรรมะ ในประเทศจีนเราก็พบว่าขงจื ้อเน้ นเต๋าในฐานะกฎการปฏิบั ติตน ทังในชี ้ วิตส่วนตัวและในสังคม ส่วนเล่าจื๊อเน้ นเต๋าในฐานะธรรมชาติที่มีกฎตายตัว เมื่อเราเชื่อว่าโลกมีกฎเกณฑ์ก็ย่อมจะหันความสนใจมาแสวงหากฎเกณฑ์ของโลก ชาว ตะวันออกมุ่งแสวงหากฎเกณฑ์ของชีวิตเพื่อการหลุดพ้ น ซึ่งนับว่าล ้าหน้ าชาวตะวันตกไปช่วงตัว คือ ชาวตะวันตกจะเริ่ มมีแนวคิดแบบนี ้ในยุคกลาง จึงนับได้ ว่าชาวตะวันออกกระโดดจากแนวคิด แบบดึกดาบรรพ์เข้ าสู่แนวคิดยุคกลางทันที ในขณะที่ชาวตะวันตกยังต้ องผ่านช่วงแนวคิดแบบยุค โบราณเสียก่อน ปรัชญาบริ สทุ ธิ์ของแนวคิดแบบโบราณก็คือ เชื่อว่าโลกมีกฎเกณฑ์และมนุษย์เราควรจะรู้ กฎเกณฑ์เพื่อแสวงหาความสุขในโลกนี ้ ดังปรากฏว่าชาวกรี กและชาวโรมันพากันสร้ างวังใหญ่โต โรงละครใหญ่โต สถานอาบน ้าร้ อนใหญ่โต แต่สร้ างวิหารถวายเทพเพียงเล็ก ๆ เท่าที่จาเป็ น หาก สร้ างวิหารใหญ่โตบ้ างก็เ พื่อชื่ อเสียงและความเจริ ญตาเจริ ญใจของประชากรยิ่งกว่าสร้ างเพื่ อ ความสุขในโลกหน้ า ในสมัยโบราณนี เ้ อง ก็ยัง มี คนจ านวนมากถื อแนวคิดแบบดึกดาบรรพ์ อยู่ คือเชื่ อใน อานาจลึกลับของธรรมชาติด้วยความกลัวและความหวัง ระคนกัน แม้ พ วกเขาจะได้ ใช้ สอยสิ่ง อุปโภคที่พวกหัวก้ าวหน้ ากว่าประดิษฐ์ และสร้ างสรรค์ขึ ้น แต่พวกเขาก็ใช้ อย่างผู้มีจิตใจแบบดึกดา บรรพ์ เช่น อาจจะชมละครกรี กที่เล่นเทพประวัติด้วยความหวังว่าเป็ นเคล็ดลับให้ เขามีโชคดี เป็ น ต้ น เหมือนคนไทยจานวนมากที่ชอบฟั งธรรม มิใช่เพื่อเข้ าใจธรรมะนาไปปฏิบตั ิ แต่เพราะจะเป็ น เคล็ดให้ ได้ ลาภยศสรรเสริญเท่านัน้
78 อุดมการณ์สงู สุดที่มีบทบาทเป็ นจริ ยธรรมนาความประพฤติของมนุษย์ในระยะนี ้คือ ทา ตามกฎหมายที่ผ้ มู ีอานาจกาหนดขึ ้น ผิดอะไรผิดได้ แต่อย่าผิดกฎหมาย ซึ่งอาจจะเป็ นกฎศาสนา หรื อกฎหมายบ้ านเมืองก็ได้ ทัง้ 2 กฎถือว่ามีประกาศิตจากเบื ้องบนผ่านทางเจ้ าสานัก 7.5.1.3 แนวความคิดแบบยุคกลาง (Medieval Paradigm) แนวคิดยุคกลางใน ยุโรปเกิดขึ ้นเมื่อประมาณ 2,000 ปี มาแล้ ว คือในราวต้ นคริ สตกาล แต่ทางตะวันออก เช่น อินเดีย และจีน เกิดขึ ้นก่อนประมาณ 500 ปี คือ ในราวต้ นพุทธกาล ซึ่งก็เป็ นเวลาที่แนวคิดแบบโบราณ เกิดขึ ้นควบคูก่ นั ไปด้ วย คือ แนวคิดที่เชื่อว่าโลกมีกฎเกณฑ์เพื่อชีวิต ในโลกนี ้ เช่น ปรัชญาจารวาก ของอินเดีย เป็ นต้ น และมีธรรมะคุ้มครองโลก ทังโลกกายภาพและโลกจิ ้ ตภาพ แนวคิดแบบยุคกลางเชื่อว่าโลกมีกฎเกณฑ์ แต่เชื่อว่ากฎเกณฑ์ไม่อาจให้ ความสุขเที่ยง แท้ ถ าวรแก่ ม นุษ ย์ ไ ด้ มนุษ ย์ จึง พึง ทุ่ม เททรั พ ยากรทุก อย่า งเพื่ อ เตรี ยมทางไปสู่โ ลกหน้ า โดย ประหยัดส าหรั บตัวเอง แต่ใจกว้ างและเสี ยสละอย่างเต็ม ที่เพื่อเตรี ยมความสุขในโลกหน้ าดัง ปรากฏว่าผู้เอาจริ งเอาจังกับแนวคิดแบบนี ้ บางคนสละโลกียสุขอย่างเด็ดขาด หากจะสร้ างโบสถ์ หรื อวิหารต้ องสร้ างอย่างใหญ่โต ตกแต่งให้ หรูหราอย่างเต็มที่ ส่วนที่พกั อาศัยของตนเองทาเท่ าที่ จ าเป็ นเท่า นัน้ ผิ ด กับคนถื อ แนวคิดแบบโบราณที่ ส ร้ างโบสถ์ วิห ารเท่าที่ จ าเป็ นโดยเพ่ง เล็ ง ที่ ผลประโยชน์สงู สุดในโลกนี ้ ระหว่า งที่ บุค คลจ านวนหนึ่ง ยึดแนวคิดยุคกลางเป็ นหลัก ก็ ค งมี คนถื อแนวคิด แบบ โบราณและแนวคิดแบบดึกดาบรรพ์อยู่เคียงบ่าเคียงไหล่กนั ไป จึงไม่แปลกอะไรที่ความสานึกและ การแสดงออกในแต่ ล ะศาสนาในยุ ค กลางจึ ง มี แ นวคิ ด ทั ง้ 3 แบบคลุ ก คลี อ ยู่ ด้ วยกั น และ กระทบกระทัง่ กันจนเกิดรบราฆ่าฟั นกันก็มี อุดมการณ์ สูงสุดที่มีบทบาทเป็ นจริ ยธรรมนาความประพฤติของมนุษย์ในระยะนี ้ก็คือ มโนธรรมที่ได้ รับจากศาสนา ผิดอะไรก็ผิดได้ แต่อย่าผิดหลักธรรมของศาสนา 7.5.1.4 ความคิดแบบยุคใหม่ หรื อนวยุค (Modern Paradigm) ตังแต่ ้ ประมาณ ค.ศ. 1500 เป็ นต้ นมา วิทยาศาสตร์ พบวิถีทางที่แน่ชัดของตน ตังตั ้ วเป็ นวิชาอิสระได้ ก็ค้นพบ ประดิษฐ์ และก้ าวหน้ าอย่างรวดเร็ วจนเป็ นที่หวังกันว่าวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีจะแก้ ปัญหาทุ ก อย่างของมนุษย์ได้ วิทยาศาสตร์ อาจจะรักษาโรคได้ ทกุ ชนิด วิทยาศาสตร์ อาจจะขจัดความตาย
79 และความชรา มนุษย์ทุกคนจะเป็ นหนุ่มสาวตลอดกาลโดยไม่ต้องกลัวความเจ็บป่ วย ชรา มรณะ วิธีการวิทยาศาสตร์ จะช่วยวางระเบียบสังคมให้ มนุษย์ได้ แบ่งสันปั นส่วนความสุขกันอย่างยุติธรรม แต่ละคนได้ แบ่งส่วนทางานน้ อยที่สดุ และใช้ เวลาที่เหลือส่วนใหญ่หาความบันเทิงอย่างไร้ ความ กลัวและความกังวลใด ๆ ทังสิ ้ ้น โลกนี ้น่าจะเป็ นสวรรค์ได้ โดยไม่ต้องพึง่ โลกหน้ า แนวคิดแบบนวยุคจึงเชื่อว่าโลกมีกฎเกณฑ์ และการรู้ กฎเกณฑ์ของโลกนี ้จะเป็ นทางสู่ สวรรค์ในโลกนี ้ ผู้ยึดถือแนวคิดแบบนี ้จะทุ่มเททุกอย่างเพื่อผลักดันการค้ นคว้ าวิทยาศาสตร์ ให้ บรรลุเป้าหมายดังกล่าว คนที่หวั รุนแรงอาจวางนโยบายทาลายความเชื่อ ความหวังและความสุข ในโลกหน้ าทุกรู ปแบบด้ วย อย่างไรก็ตามในขณะเดียวกันก็ยงั มีผ้ ยู ึดถือแนวคิดแบบดึกดาบรรพ์ แบบโบราณ และแบบยุคกลาง ดารงชีวิตเคียงบ่าเคียงไหล่อยู่ด้วยเสมอ การแสดงออกในแง่มุม ต่าง ๆ ของชีวิตจึงมีแนวคิดทัง้ 4 แบบคละปนกัน ในการนับถือศาสนาก็เช่นกัน อุดมการณ์ สูง สุดที่ มี บทบาทเป็ นจริ ยธรรมนาความประพฤติของมนุษย์ ในระยะนี ค้ ือ เหตุผล จะทาอะไรก็อ้างว่ามีเหตุผล ตัดสินใจอะไรก็ด้ วยเหตุผล เช่น เพื่อประโยชน์สูงสุดแก่คน จานวนมากที่สดุ เป็ นต้ น สรุป มนุษย์ประเสริ ฐสุดในเอกภพ เพราะว่ามีพลังสร้ างสรรค์เข้ มข้ นและสร้ างสรรค์ได้ เข้ มข้ นกว่าส่วนอื่น ๆ ของเอกภพ ทังยั ้ งสามารถใช้ พลังปรับตัวควบคุมพลังสร้ างสรรค์ได้ ด้วย ดัง จะได้ ประจักษ์ในบทต่อไป
7.6 ตัวอย่ างการดูแลด้ วยพลังปรั บตัว เราได้ วิเคราะห์พลังสร้ างสรรค์ของมนุษย์ ตังแต่ ้ เริ่ มต้ นด้ วยแบบดึกดาบรรพ์ถึงแบบยุค ใหม่หรื อนวยุค พบว่ามีส่วนช่วยสร้ างความสุขให้ แก่มนุษย์ได้ บ้างมาตามลาดับ แต่มนุษย์ก็ยงั ไม่ ถึงขัน้ พอใจ จึงดิ ้นรนสร้ างสรรค์เพิ่มขึน้ ๆ จนในที่สุดสามารถสร้ างระเบิดนิวเคลียร์ ขึ ้นใช้ ตดั สิน ปั ญหาขัดแย้ งกัน ทาให้ คนตายเป็ นจานวนมาก เป็ นเหตุให้ คนบางคนเริ่ มวิเคราะห์พบว่า หาก มนุษย์ ส ร้ างสรรค์ เ ช่นนี ต้ ่อไปอี ก มนุษ ย์ จ ะตายหมดโลกและโลกเองจะแตกเป็ นเสี่ ยง ๆ พลัง สร้ างสรรค์ในที่สดุ ก็จะกลายเป็ นพลังทาลายทุกสิ่งทุกอย่างแม้ แต่พลังสร้ างสรรค์เองก็จะถูกทาลาย
80 ไปด้ วย มนุษย์จึงหาทางแก้ ด้วยความพยายามปรับตัวก็พบว่าภายในตัวมนุษย์มีพลังปรับตัวอยู่ แล้ ว เอกภพทังหมดก็ ้ มีพลังปรับตัวอยู่ทวั่ ไปด้ วยเราจะแก้ ปัญหาได้ ก็โดยพัฒนาพลังปรับตัวของ มนุษย์ให้ มีประสิทธิภาพยิ่ง ๆ ขึ ้น ในที่สดุ มนุษย์ก็ปรับตัวถึงขันวิ ้ จารณญาณ อันเป็ นแนวคิดแบบที่ 5 หรื อแบบหลังนวยุค วิ จ ารณญาณประกอบด้ ว ยการวิ เ คราะห์ แ ละการประเมิ น ค่า อย่า งที่ เ ราใช้ เ ป็ นวิ ธี การศึกษาในวิชานี ้ เพื่อให้ ผ้ ูอ่านได้ ค้ ุนเคยกับวิธีวิจารณญาณจนมีมีวิจารณญาณในตน และ สามารถใช้ ในชีวิตประจาวัน ของตนเองได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพ นั่นคือ มีความรับผิดชอบในการ ปฏิบตั ทิ กุ อย่าง ให้ นาไปสูค่ วามสุขแท้ ตามความเป็ นจริงทังของตนเองและของเพื ้ ่อนมนุษย์ทกุ คน เมื่อเราได้ วิจ ารณญาณแล้ ว เราก็จ ะใช้ พลังวิจารณญาณดัง กล่าววิเคราะห์ต่อไปใน ประเด็นที่จะให้ พลังปรับตัวเข้ าควบคุมพลังสร้ างสรรค์ ทังนี ้ ้ก็เพราะว่าพลังสร้ างสรรค์นนแม้ ั ้ จะมี อันตรายอยู่ม ากแต่ก็ไ ม่ใช่ของเลวในตัว หากควบคุม ได้ ก็จ ะให้ คุณมหาศาล ดัง นัน้ หากพลัง ปรับตัวสามารถควบคุมพลังสร้ างสรรค์ได้ เราก็จะพัฒนาพลังสร้ างสรรค์ตอ่ ไปด้ วยความปลอดภัย และให้ คณ ุ แทนที่จะสกัดกันพลั ้ งสร้ างสรรค์โดยสิ ้นเชิงด้ วยเหตุผลที่วา่ “มันเป็ นอันตราย” ประเด็นที่เราจะใช้ วิจารณญาณวิเคราะห์ตอ่ ไปนี ้ก็คือ 1.) วิเคราะห์พลังสร้ างสรรค์เชิงเปรี ยบเทียบระหว่างแง่คณ ุ และโทษของมัน 2.) วิเคราะห์สาเหตุของสงครามและสันติภาพ 3.) วิเคราะห์วิธีสร้ างความไม่ยดึ มัน่ ถือมัน่ 7.6.1 ประเมินผลพลั งสร้ างสรรค์ พลัง สร้ างสรรค์ในอดีตให้ ทัง้ ความสมหวัง และ ความผิดหวัง แต่เมื่อประเมินค่าแล้ วก็พบว่า ให้ ความผิดหวังมากกว่าความสมหวังดังต่อไปนี ้ 7.6.1.1 ให้ ความหวังว่า 1) สักวันหนึ่งวิทยาศาสตร์ จะสามารถรักษาโรคได้ ทกุ ชนิดและป้องกันโรคได้ ทกุ อย่าง ทังอาจจะท ้ าลายเชื ้อโรคอันไม่พึงประสงค์ให้ หมดไปจากโลก อย่างเช่นที่ได้ ทาลายเชื ้อไทร พิษได้ หมดโลก สามารถพิชิ ตและป้องกันอหิวาตกโรค กาฬโรค วัณโรค และกาลัง จัดการกับ โรคมะเร็ งและเอดส์ตอ่ ไปอย่างไม่หยุดยัง้ สักวันหนึ่งการแพทย์อาจจะแถลงการณ์ว่าเราสามารถ
81 พิชิตโรคได้ หมดทุกชนิด จะสามารถป้องกันและรักษาความแก่ได้ ด้วย และมนุษย์ก็จะมีชีวิตอยู่ใน โลกนี ้ได้ ตลอดไปโดยไม่ต้องพึง่ ศาสนาและโลกนี ้ก็จะเป็ นสวรรค์สาหรับทุกคน 2) เมื่อไม่เจ็บ ไม่แก่ ไม่ตาย ก็ไม่ต้องการคนเกิดใหม่ และไม่ต้องเสียเวลาและ ทรัพยากรด้ านการศึกษาและการพยาบาล งานที่เหลือก็จะใช้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ และเครื่ องทุ่น แรงอื่น ๆ ช่วย งานสาหรับมนุษย์จะเหลือน้ อยมาก ได้ พกั ผ่อนกันมากขึ ้น อาจจะเป็ นได้ ว่าแต่ละคน จะทางานเพียงเดือนละ 1 วันเท่า ๆ กันและพักผ่อน 29 วัน การไปเที่ยวก็จะมีเครื่ องเที่ยวแจกให้ กด ปุ่ มเหาะไปทางไหนก็ ไ ด้ ตามใจ และระบบสัง คมทันสมัยก็จ ะช่วยให้ ไ ด้ รับความสะดวกสบาย สารพัดทุกด้ าน 3) ในเมื่อทุกคนพอใจ ก็จะไม่มีการเบียดเบียนกัน ไม่มีการเอาเปรี ยบกัน ไม่มี การแก่งแย่งชิงดีกนั ทุกคนจะยอมผ่อนปรนกัน สันติภาพถาวรก็จะเกิดขึ ้นโดยอัตโนมัติ 7.6.1.2 ให้ ความผิดหวังว่า 1) สงครามโลกครั ง้ แรกคร่ า ชี วิ ต พลโลกประมาณ 10 ล้ า นคน โดยใช้ อ าวุธ วิทยาศาสตร์ รบกัน สงครามโลกครัง้ ที่ 2 คร่าชีวิตไปอีกประมาณ 100 ล้ านคน ถ้ าจะมีสงครามโลก ครัง้ ที่ 3 ก็นา่ กลัวว่าจะต้ องสังเวยชีวิตคนหมดทังโลก ้ วิทยาศาสตร์ จะสร้ างสวรรค์หรื อสร้ างนรกใน โลกนี ้กันแน่ 2) มนุษย์ก็ยงั ไม่พ้นการเกิด แก่ เจ็บ ตายสักที การแพทย์สิ ้นหวังที่จะป้องกัน และรักษาโรคชรา โรคอื่น ๆ นันรั ้ กษาได้ โรคหนึง่ ก็มีโรคใหม่ขึ ้นมาแทน ความชราเล่าก็ไม่มี วี่แววว่า จะแก้ ตก เพราะความชราไม่ใช่โรค ไม่มีสาเหตุจากภายนอก แต่เป็ นคุณสมบัตปิ ระจาในธรรมชาติ ของชีวิตควบคูก่ บั การเกิด การเติบโต ความเสื่อม 3) มนุษย์ยากจนกันมากขึ ้น ทางานกันเท่าไรก็ไม่พอกิน คนรวยจานวนน้ อย รวยยิ่งขึน้ จนไม่ร้ ู ว่าจะรวยไปถึงไหน และรวยมากขึ น้ ไปทาไม รวยเกิ นขี ดหนึ่ง แล้ วก็ ไ ม่ไ ด้ เพิ่ม ความสุขหรื อความสะดวกอะไรให้ ได้ อีกแล้ ว แต่ก็อยากจะรวยเพื่อรวยให้ เหนือกัน 4) ความก้ าวหน้ าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเป็ นเหตุให้ สภาวะแวดล้ อม เป็ นพิษยิ่ง ๆ ขึ ้น จนไม่ร้ ูวา่ จะแก้ ไขกันอย่างไร
82 5) แม้ เทคโนโลยีจะก้ าวหน้ ามากขึน้ แต่มนุษย์เราก็มิได้ ทางานน้ อยลงอย่างที่ คาดการณ์ไว้ เพราะต้ องเสียภาษีมากขึ ้นสาหรับป้องกันประเทศ และเสียค่าใช้ จ่ายเพิ่มขึ ้นสาหรับ ประกันความปลอดภัยของชีวิตและทรัพย์สินของสมาชิกในครอบครัว 7.6.2. วิเคราะห์ สาเหตุของสงครามและสันติภาพ ในเมื่อวิเคราะห์พบว่า มนุษย์เรา จะทาสงครามกันอีกต่อไปไม่ได้ แล้ ว เราก็ต้องหาทางป้องกันสงครามให้ ได้ อย่างเด็ดขาด โดย วิเคราะห์หาสาเหตุของสงครามให้ ได้ เพื่อจะแก้ ปัญหาให้ ถกู จุด ในที่สุดก็พบว่าสาเหตุอนั แท้ จริ ง ของสงครามคือการยึดมัน่ ถือมัน่ นัน่ เอง และพบต่อไปอีกว่าปรัชญาที่แล้ วมาทั ง้ 4 รูปแบบล้ วนแต่ เป็ นปรัชญาประเภทยึดมัน่ ถือมัน่ ทังสิ ้ ้น กล่าวคือ เมื่อยึดถืออย่างใดแล้ วก็ถือว่าอย่างอื่นผิดหมด ดังคาพระว่า “อิทเมว สัจจัง โมฆมัญญัง” (สิ่งนี ้แลสัจจะ สิ่งอื่นล้ วนแต่โมฆะ) ทังนี ้ ้ก็เพราะว่า ความยึดมัน่ ถือมัน่ (อลีนะ)
ก่อให้ เกิด
การแบ่งพวก
การแบ่งพวก
ก่อให้ เกิด
การแข่งขันกัน
การแข่งขันกัน
ก่อให้ เกิด
ความไม่ไว้ วางใจกัน
ความไม่ไว้ วางใจกัน
ก่อให้ เกิด
การหักล้ างทาลายกัน
การหักล้ างทาลายกัน
ก่อให้ เกิด
สงคราม
หากแก้ ความยึดมัน่ ถือมัน่ ได้ สาเร็จ เปรี ยบเหมือนขุดรากเหง้ าแห่งมูลเหตุออกทิ ง้ เสียหรื อ ตัดไฟเสียแต่ต้นลม ก็เชื่อว่าปลายเหตุหรื อสงครามก็คงจะดับสูญไป ดังนี ้ ความไม่ยดึ มัน่ ถือมัน่ (อนาลีนะ) ก่อให้ เกิด
การแบ่งกลุม่ กัน (รับผิดชอบ)
การแบ่งกลุม่
ก่อให้ เกิด
การสนับสนุนกัน
การสนับสนุนกัน
ก่อให้ เกิด
ความเชื่อใจกัน
ความเชื่อใจกัน
ก่อให้ เกิด
ความช่วยเหลือกัน
ความช่วยเหลือกัน
ก่อให้ เกิด
สันติภาพ
จึงประเมินได้ วา่ “ต้ องทาลายความยึดมัน่ ถือมัน่ ” ลงให้ ได้ 7.6.3. วิเคราะห์ วิธีสร้ างความไม่ ยึดมั่นถือมั่น ให้ เริ่ มสงสัยในเรื่ องที่ไม่น่าเชื่อว่าจะ สงสัยได้ เสียก่อน แล้ วจะเกิดสงสัยเรื่ องอื่น ๆ ต่อไป ความยึดมัน่ ถือมัน่ จะค่อย ๆ คลายลงโดย อัตโนมัติ เช่น เสนอให้ ทราบว่าความจริ ง (truth) เราไม่ร้ ู ความรู้ไม่แน่ว่าจะจริ ง (true) เส้ นตรงที่
83 ขนานกันพบกันได้ ทางตรงยาวกว่า ทางโค้ งได้ พ่ออายุอ่อนกว่าลูกของตนเองได้ ฯลฯ เรื่ องเหล่านี ้ แต่ละเรื่ องหากมีเวลาให้ อธิบายชี ้แจงสัก 1 ชัว่ โมงก็จะเห็นว่าน่าเชื่อไม่เชื่อก็ลองฟั งดู แต่ไม่ใช่เวลา นี ้ รูปแบบความคิดปั จจุบนั มีต้นกาเนิดมาจากปรัชญาของอิมมานุเอล คานท์ ผู้เป็ นเจ้ าของ ทฤษฎีว่า “สิ่งที่ เรารู้ มันไม่จริ ง สิ่งที่จริ งเราไม่ร้ ู ” ทัง้ นีก้ ็เพราะปั ญญาของเรามีโครงสร้ าง จึงแปร สภาพวัตถุภายนอกเสียจนเราไม่อาจจะรู้สภาพเดิมของมันได้ เหมือนเราต้ องการรู้ว่าฟิ ล์มถ่ายรูป ที่ยงั ไม่ถกู แสงเป็ นสีอะไร เราไม่อาจจะรู้ได้ เพราะจะดูต้องดูในแสง มันจะถูกแปรสภาพไปเสียแล้ ว เราจึงรู้ได้ แต่เพียงสีของฟิ ล์มที่ถกู แสงแล้ วเท่านัน้ ในปั จจุบนั นักปรัชญาส่วนมากเชื่อตามคานท์ว่า ปั ญญาของเรามีโครงสร้ าง แต่น้อยคนจะเชื่อโครงสร้ างของปั ญญาตามที่คานท์เสนอไว้ จึงพากัน เสนอหลักยึดเหนี่ยวเพื่อแก้ ปัญหาเฉพาะทัว่ ไปพลาง ๆ ก่อนจนกว่าจะพบอะไรที่ดีกว่า
7.7 ตัวอย่ างการดูแลด้ วยพลังแสวงหา เราได้ เห็นมาแล้ วว่า พลังสร้ างสรรค์ของมนุษย์อาจถึงขันอั ้ นตราย หากไม่ถกู ควบคุมโดย พลังปรับตัว ส่วนพลังปรับตัวของมนุษย์จะไม่มีพลังควบคุมอย่างพอเพียง หากไม่มีพลังแสวงหา ช่วยกระตุ้น แต่ก็โชคดีสาหรับมนุษย์ที่มีพลังแสวงหาอย่างพอเพียง มนุษย์เราต้ องการปั จจัย 4 เพื่อการดารงชี พ คือ อาหาร เครื่ องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค เมื่อยัง มีไม่ครบก็ดิ ้นรน แสวงหาให้ ครบ ครัน้ ได้ ครบแล้ วก็ยงั ไม่ร้ ูสกึ อิ่มใจ ยังต้ องการอะไรที่สงู กว่าวัตถุเหล่านี ้ และมนุษย์ ก็แสวงหาจนพบสิ่งที่ต้องการในคาสอนของศาสนา ซึ่งมีอยู่ด้วยกันจานวนมากซึ่งต่างก็สามารถ ตอบสนองความต้ องการเหนือระดับวัตถุของจิตใจมนุษย์ด้วยกันทังสิ ้ ้น นี่เป็ นปรากฏการณ์ที่พบ เห็นกันทัว่ ไป และที่เราเรี ยกว่าศาสนา (religion) ก็เพราะเหตุนี ้ เนื ้อหาร่ วมของทุกศาสนาก็คือ ความเชื่อว่ามีโลกหน้ า ซึ่งมีความสืบเนื่องจากชีวิตใน โลกนี ้ ระบบความคิดใดไม่มี คาสอนเรื่ องโลกหน้ า อาจจะเป็ นปรั ช ญาได้ แต่จ ะไม่นับว่าเป็ น ศาสนา ศาสนาจึงเป็ นปรัชญาด้ วย คือเป็ นปรัชญาที่เชื่อว่ามีโลกหน้ า แต่ศาสนาก็มีอะไรมากกว่า ปรัชญา นัน่ คือมีระเบียบการปฏิบตั สิ อดคล้ องกับความเชื่อเรื่ องโลกหน้ า
84 ศาสนาเป็ นปรากฏการณ์ในสังคมที่นกั วิชาการจะมองข้ ามไม่ได้ ไม่ว่าจะนับถือศาสนา ใดหรื อไม่ก็ตาม เพราะพลังแสวงหาศาสนาของมนุษย์เข้ มข้ นมาก หากใช้ ถกู ทางจะมีคณ ุ มากมาย อย่างจะหาสิ่ ง ใดมาทดแทนให้ ทัดเที ยมกันไม่ไ ด้ แต่หากใช้ อย่างไม่ถูกต้ อง จะเกิ ดโทษมหันต์ เช่นกัน เพราะสงครามศาสนาย่อมร้ ายแรงกว่าสงครามการเมือง และสงครามเศรษฐกิจตามลาดับ สงครามระหว่างนิกายต่าง ๆ ของศาสนาเดียวกันจะร้ ายแรงกว่าสงครามระหว่าง 2 ศาสนา
7.8 วิเคราะห์ การนับถือศาสนา 7.8.1 ปรั ชญา 5 กระบวนทรรศน์ เพื่อจะวิเคราะห์พลังแสวงหา 5 แบบในการนับถือ ศาสนาให้ ชดั เจน ควรทบทวนพลังสร้ างสรรค์ 5 แบบที่ได้ วิเคราะห์มาแล้ วอีกครัง้ หนึ่ง เพื่อพร้ อมที่ จะเปรี ยบเทียบกับพลังแสวงหา 5 แบบต่อไป 1) กระบวนทรรศน์ดกึ ดาบรรพ์
เน้ นน ้าพระทัยเบื ้องบน
2) กระบวนทรรศน์โบราณ
เน้ นกฎธรรมชาติ
3) กระบวนทรรศน์ยคุ กลาง
เน้ นโลกหน้ า
4) กระบวนทรรศน์นวยุค
เน้ นเหตุผลวิทยาศาสตร์
5) กระบวนทรรศน์หลังนวยุค
เน้ นวิจารณญาณ ยึดเหนี่ยวโดยไม่ยดึ ติด
7.8.2 วิธีนับถือศาสนา 5 แบบ 7.8.2.1 แบบดึกดาบรรพ์ ยึดน ้าพระทัยเบื ้องบนเป็ นหลักในการปฏิบตั ิ เพราะเชื่อ ว่าหากปฏิบตั ิถูกน ้าพระทัยของเบื ้องบน เป็ นที่พอพระทัยของเบื ้องบน ก็จะได้ ดีทงในโลกนี ั้ ้และ โลกหน้ า ใครได้ ดีในโลกนี ้ (ไม่ว่าจะรูปสวย รวยทรัพย์ ประดับยศ) ก็หมายความว่าเอาใจเบื ้องบน ได้ ถกู ต้ อง เบื ้องบนจะโปรดปรานทังในโลกนี ้ ้และโลกหน้ า จึงถือคติว่า “มุ่งโลกนี ้ให้ ดีไว้ โลกหน้ า จะดีเอง” ผู้มีความคิดในแนวนี ้จึงเอาใจเบื ้องบน เพื่อหวังผลประโยชน์ในโลกนี ้ให้ มากที่สดุ เพราะ เชื่อว่าผู้ได้ ประโยชน์ในโลกนี ้ เป็ นผู้เอาใจเบื ้องบนได้ ถกู ต้ องโลกหน้ าก็จะดีตามไปด้ วย การนับถื อ
85 ศาสนาจึงอยู่ในระดับศาสนาแห่งผลประโยชน์ โดยเน้ นผลประโยชน์ในโลกนี ้เป็ นหลัก เพราะหวัง ว่าผลประโยชน์ในโลกหน้ าจะตามมาเองโดยอัตโนมัติ 7.8.2.2 แบบโบราณ ยึดเอากฎของโลกเป็ นหลัก เพราะเชื่อว่าความสาเร็ จอยู่ที่ การท าตามกฎของโลกเท่า นัน้ จึง ต้ อ งพยายามค้ น คว้ า ให้ ร้ ู กฎของโลกและปฏิ บัติต ามอย่า ง เคร่งครัดแม้ จะไม่เข้ าใจเหตุผล แต่ถ้าทาแล้ วได้ ผลก็ให้ ปฏิบตั ิตามนันต่ ้ อไป ในการนับถือศาสนาก็ เช่นกันเชื่อว่าเทพเจ้ าทังหลายล้ ้ วนแต่ต้องเดินตามกฎและช่วยมนุษย์ตามกฎของโลก บางกลุ่มเชื่อ ว่าเทพมิใช่ผ้ สู ร้ างโลก แต่เป็ นผลิตผลของโลกเช่นเดีย วกับมนุษย์ ผิดกันแต่ว่าเทพเป็ นผู้ร้ ู กฎของ โลกมากกว่ามนุษย์ จึงช่วยมนุษย์ได้ โดยปฏิบตั ิตามกฎที่มนุษย์ยงั ไม่ร้ ู เทพเจ้ ามิใช่ผ้ สู ร้ างโลกและ ไม่ใช่ผ้ กู าหนดกฎเกณฑ์ให้ แก่โลก จึงไม่อาจเปลี่ยนแปลงหรื อยกเว้ นกฎของโลกได้ หากเทพไม่ ปฏิบตั ิตามกฎของโลกก็มีแต่เสียผลประโยชน์ เท่านัน้ และถ้ ามนุษย์ปฏิบตั ิตามกฎของโลกอย่าง สมบูรณ์แล้ วไซร้ เทพก็ไม่อาจจะทัดทานผลที่เกิดขึ ้นโดยจาเป็ นนันได้ ้ ดังความเชื่อของผู้ประพันธ์ เรื่ องนนทุกที่ระบุวา่ เมื่อนนทุกบาเพ็ญพิธีบชู าไฟอย่างถูกต้ องแล้ ว พระอิศวรก็มิอาจงดประทานพร ให้ ทังที ้ ่ไม่เต็มพระทัย เพราะทรงตระหนักดีวา่ นนทุกมีเจตนาร้ ายที่จะใช้ พรนันเพื ้ ่อล้ างแค้ น บางกลุ่มเชื่อว่ามีพระเป็ นเจ้ าเป็ นผู้สร้ างโลกและสรรพสิ่ง พระองค์ทรงเป็ นผู้สร้ างและผู้ วางกฎเกณฑ์ทกุ อย่างให้ แก่โลก พระองค์จึงอาจจะเปลี่ยนแปลงหรื อยกเว้ นเป็ นครัง้ คราวได้ แต่ก็ เชื่ อได้ ว่าพระองค์จ ะไม่ เ ปลี่ ยนแปลงกฎของโลก และจะยกเว้ นก็ เฉพาะในกรณี ส าคัญจริ ง ๆ เท่านัน้ เพราะมิฉะนัน้ จะไม่สมศักดิ์ศรี ของพระองค์ผ้ ูเป็ นใหญ่ เหนื อสากลจักรวาล ในกรณี นีก้ ็ เช่นกันพระเป็ นเจ้ าจะทรงช่วยมนุษย์ตามกฎเกณฑ์ และมนุษย์จะได้ ประสิทธิผลก็โดยปฏิบตั ิตาม กฎบัญญัตทิ ี่พระเจ้ าทรงกาหนดไว้ ไม่ ว่ า จะเป็ นกรณี ใ ดในสองกรณี ข้ างต้ น การนับ ถื อ ศาสนาก็ ยัง เป็ นศาสนาแห่ ง ผลประโยชน์เช่นเดียวกับในรูปแบบดึกดาบรรพ์ การเสียสละโดยไม่หวังผลตอบแทนในโลกนี ้ย่อม เป็ นไปไม่ได้ เพราะการเสียผลประโยชน์ในโลกนี ้เท่ากับเสียผลประโยชน์ในโลกหน้ าด้ วย ทุกคนจึง ต้ องพยายามตะเกียกตะกายแสวงหาผลประโยชน์ในโลกนี ้ไว้ อย่างสูงสุด แล้ วโลกหน้ าจะดีเองโดย อัตโนมัตติ ามโลกนี ้
86 7.8.2.3 แบบยุคกลาง ยึดเอาความสุขในโลกหน้ าเป็ นหลักเพราะเห็นความอนิจจัง ของโลกนี ้ว่า แม้ จะรู้ทุกกฎของโลกและปฏิบตั ิตามอย่างไม่บกพร่ อง “แม้ จะได้ ครอบครองทังโลก ้ เป็ นกรรมสิทธิ์ ก็ไม่อาจบรรลุความสุขแท้ ” ทังนี ้ ้ก็เพราะความสุขในโลกนี ้ไม่สมบูรณ์แบบและไม่ ถาวร ความสุขแท้ และถาวรมีอยู่ในโลกหน้ า จึงต้ องใช้ ชีวิตอันจากัดและสันในโลกนี ้ ้เพื่อแสวงหา ความสุขแท้ ถาวรในโลกหน้ า ผู้ที่ยึดมัน่ ในความคิดเช่นนี ้จึงสละโลกไปถือพรตกันมาก พบได้ ใ น ทุกศาสนาในยุคกลาง ศาสนสถานในช่วงนี ้จึงสร้ างกันใหญ่โตโดยไม่หวังผลประโยชน์ในโลกนี ้ แม้ แต่ชื่อก็ไม่อยากบันทึกไว้ ให้ ร้ ู เพราะกลัวจะได้ ลาภยศสรรเสริ ญซึ่งเชื่อว่าบัน่ ทอนประโยชน์ใน โลกหน้ า ส่วนที่อยู่อาศัยของตนเองทาเพียงเล็ก ๆ พออยู่ได้ สถานบันเทิงเป็ นอันงดเว้ นหมด ผิด กับชาวกรี กและชาวโรมันในยุคโบราณซึง่ สร้ างศาสนสถานไว้ สกั แต่เอาใจเทพ ทาอย่างไรให้ เทพพอ พระทัยได้ อย่างที่สดุ เป็ นอันเพียงพอ ประหยัดได้ ก็ประหยัดเพื่อเก็บไว้ สร้ างบารมีในโลกนี ้ พวกเขา จึงไม่ท่มุ เทถึงขนาดสละโลกออกบวชตลอดชีพ จะสร้ างโบสถ์ก็สร้ างพอประมาณ แต่ ถ้าเป็ นที่อยู่ อาศัย สถานบันเทิงอย่างเช่น โรงละคร สนามกีฬา สถานอาบน ้าร้ อน ฯลฯ จะทุม่ เทอย่างเต็มที่ ผลจากความเชื่อแบบยุคกลาง เราได้ ระเบียบวิธีบาเพ็ญพรตของศาสนาต่าง ๆ อาสน วิหารในยุโรป พุทธคยาในอินเดีย บูโรบูโดในอินโดนีเซีย ฯลฯ 7.8.2.4 แบบนวยุค ยึดวิธีการวิทยาศาสตร์ เป็ นหลัก เพราะเชื่อว่าโลกมีกฎเกณฑ์ และวิธีการวิทยาศาสตร์ เป็ นทางพบกฎของโลก ช่วยกันสนับสนุนการค้ นคว้ าทางวิทยาศาสตร์ โดย หวังว่าวิทยาศาสตร์ จะแก้ ปัญหาทุกอย่างของมนุษย์ ในทางศาสนา มีบางคนใช้ เหตุผลวิทยาศาสตร์ เพื่อวิจารณ์ศาสนาว่างมงายไร้ สาระ ทา ให้ เสียเวลาพัฒนาวิทยาศาสตร์ บางคนใช้ วิธีเกลือจิ ้มเกลือ คือมุ่งใช้ เหตุผลพิสูจน์ว่าคาสอนของ ศาสนาทุกข้ อมี เหตุผล ผลก็ คือเกิดความแตกแยกกันอย่างกว้ างขวางในหมู่ผ้ ูเอาจริ ง เอาจังกับ วิธีการนี ้ในศาสนา ทาให้ เกิดความแตกแยกระหว่างผู้ไม่เชื่อศาสนากับผู้เชื่อศาสนา ระหว่างนักการ ศาสนาที่นบั ถือศาสนาต่างกัน ระหว่างผู้นบั ถือศาสนาเดียวกันแต่ต่างนิกาย และระหว่างผู้นบั ถือ นิกายเดียวกันแต่ตา่ งสานัก แตกแยกแม้ กระทัง่ ในสานักเดียวกัน แต่ตา่ งทฤษฎีกนั เพราะต่างฝ่ าย ต่างเชื่อว่าเหตุผลของตนถูกต้ อง ใครคิดเห็นเป็ นอย่างอื่นย่อมไร้ เหตุผล ความแตกแยกระหว่างผู้นบั ถือศาสนายังมีผลสืบต่อมาจนทุกวันนี ้
87 7.8.2.5 แบบหลังนวยุค หลังจากได้ พบวิจารณญาณแล้ วก็ได้ มีการวิเคราะห์และ ประเมินค่าเรื่ องราวต่าง ๆ ของศาสนา ทาให้ ผ้ นู บั ถือศาสนาต่างกันหันหน้ าเข้ าหากัน ต่างลัทธิกนั หันหน้ าเข้ าหากัน ต่างสานักก็หันหน้ าเข้ าหากัน ต่างทฤษฎี ก็หนั หน้ าเข้ าหากัน เพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้ และประสบการณ์แก่กัน หวังความร่ วมมือกันโดยไม่ต้องเชื่อเหมือนกัน สร้ างบรรยากาศ แห่งเอกภาพบนความหลากหลาย สร้ างความหวังให้ แก่สนั ติภาพอย่างกว้ างขวาง ความร่วมมือระหว่างศาสนาอาจจะปฏิบตั ไิ ด้ เป็ นขัน้ ๆ ตามลาดับนี ้ 1) ไม่รังเกียจกัน 2) เคารพกัน 3) ช่วยเหลือกันตามมารยาทสังคม 4) หวังดีตอ่ กันด้ วยความจริงใจ 5) แบ่งปั นความรู้และประสบการณ์แก่กนั เพื่อพัฒนาไปด้ วยกัน 7.8.3 วิธีสอนศาสนา 5 วิธี 7.8.3.1 ศึกษาศาสนาของตนเพียงศาสนาเดียว เพื่อให้ มีศรัทธาได้ อย่างสบายใจ จึง ปิ ดหูปิดตาจากศาสนาอื่น ๆ ทังหมด ้ ราวกับว่าในโลกนี ้มีอยูเ่ พียงศาสนาเดียวเท่านัน้ หรื อต้ องการ ให้ มีเพียงศาสนาเดียวเท่านัน้ ที่ไม่มีการแยกนิกายหรื อลัทธิอย่างใดทังสิ ้ ้น วิธีนี ้จะดีมากหากในโลก นี ้มีเพียงศาสนาเดียว หรื อถ้ ายังมีหลายศาสนาเราก็ต้องปิ ดขังผู้เรี ยนไว้ มิให้ เกี่ยวข้ องสัมพันธ์กบั ศา สนิกชนของศาสนาอื่นเลย ไม่ว่าในลักษณะใดทังสิ ้ น้ วิธีนี ้จึงไม่เหมาะอย่างยิ่งสาหรับมนุษย์ใน สังคมปั จจุบนั เราจึงต้ องแสวงหาวิธีที่ดีกว่า 7.8.3.2 ศึกษาศาสนาต่าง ๆ โดยยกย่องศาสนาหนึ่งและกดศาสนาอื่น ๆ ทังหมด ้ วิชาศาสนาเปรี ยบเทียบที่แล้ ว ๆ มาในอดีต มักจะใช้ วิธีนี ้เพราะสะดวก ง่าย จูงใจ และสบอารมณ์ ผู้เรี ยนที่นบั ถือศาสนาที่ได้ รับการยกย่องนันอย่ ้ างมาก ผลก็คือทาให้ ผ้ เู รี ยนรังเกียจศาสนาของกัน และกัน และอาจจะถึงขันวางตั ้ วเป็ นศัตรู กัน หากมีผ้ ไู ม่หวังดีมายุแหย่ก็จะเกิดการทะเลาะวิวาท บาดหมาง และอาจถึงขันท ้ าร้ ายร่างกายและศาสนสมบัติของกันและกันได้ อย่างดุเดือด ทัง้ ๆ ที่ผ้ ู มายุแหย่อาจจะมิได้ หวังดีตอ่ ศาสนาใดเลยก็ได้ ทังนี ้ ้ก็เพราะว่า การปลุกระดมผู้ที่ได้ รับการอบรม
88 ศึกษาศาสนามาด้ วยวิธีนี ้ทาได้ ง่ายมาก มักจะเกิดผลเกินคาด สังคมมนุษย์ได้ รับความหายนะมา มากต่อมากแล้ วในทานองนี ้ เราควรแสวงหาวิธีที่ดีกว่านี ้ 7.8.3.3 ศึกษาศาสนาต่าง ๆ ด้ วยใจเป็ นธรรม โดยผู้สอนที่ไม่นบั ถือศาสนาใดเลย ผลก็ คือศาสนาทุกศาสนาถูกกดอย่างเท่าเที ยมกัน เรี ยนไปแล้ วผู้เรี ยนก็ กลายเป็ นผู้ไ ม่นับถื อ ศาสนาใดเลยไปด้ วย เพราะการศึกษาจูง ใจให้ เห็นว่าทุกศาสนางมงายไร้ สาระพอ ๆ กัน เรา แสวงหาวิธีที่ดีกว่านี ้ไม่ได้ หรื อ 7.8.3.4 ศึกษาศาสนาต่าง ๆ โดยยกย่องทุกศาสนาเท่าเทียมกัน ทังนี ้ ้โดยถือคติว่า ทุกศาสนาต่างก็ดีเหมือนกัน ต่างก็สอนให้ เป็ นคนดีด้วยกันทังสิ ้ ้น จึงควรจะรวมทุกศาสนาเข้ าเป็ น ศาสนาเดียวกัน นับถือศาสดาทุกองค์ในระดับเดียวกัน นับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของทุกศาสนาในฐานะ เท่าเที ยมกัน วิธีนีด้ ูผิวเผิ นเหมือนกับว่าจะดี เพราะว่าให้ ความเสมอภาคแก่ทุกศาสนาแต่ทว่า ในทางปฏิบตั แิ ล้ วมักจะทาให้ เกิดศาสนาใหม่โดยบุคคลกลุม่ หนึ่งที่เห็นด้ วยกับวิธีการนี ้ แต่คนอื่น ๆ ส่วนมากก็ยงั คงยึดมัน่ ในศาสนาเดิมของตนและรังเกียจศาสนาอื่น ๆ ทังหมดอยู ้ ่ต่อไป ผลก็คือมี ศาสนาเพิ่มขึ ้น และมีความแตกแยกทางศาสนามากขึ ้น เราลองหาวิธีอื่นต่อไปก่อนดีไหม 7.8.3.5 ศึกษาตามบริ บทของแต่ละศาสนา เราเรี ยกวิธีการดังกล่าวว่า วิธีบริ บท (contextual method) และเรี ยกเนื ้อหาของศาสนาที่ศกึ ษาด้ วยวิธีนี ้ว่า ศาสนาบริ บท (contextual religion) วิธีการนี ้สมมุติไว้ เป็ นปฐมว่า ทุกศาสนาดีแต่ดีต่างกัน (All religions are good, but differently good.) ดังนันเราจึ ้ งวิเคราะห์และประเมินค่าแต่ละศาสนาตามบริ บทของแต่ละศาสนา แต่ละนิกาย แต่ละลัทธิ และแต่ละกลุม่ คุณค่าทางศาสนาในแต่ละประเด็นย่อมมีคา่ ตามบริ บทของ ผู้รับคุณค่า เป็ นต้ น อาจารย์และนักศึกษาที่ตกลงร่ วมกันที่จะใช้ วิธีนี ้ ย่อมจะมีจุดยืนเดียวกันในการศึกษา และถกปั ญหา ไม่วา่ จะมีความเชื่อต่างกันเพียงใดก็ตาม เนื่องจากจะไม่มีใครเอาศรัทธาของตนเป็ น จุดยืน แต่จะเอาศาสนาที่กาลังศึกษาอยูเ่ ป็ นจุดยืนและศึกษาตามบริบทของศาสนานัน้ ๆ หวังว่าวิธีการดังกล่าวนี ้จะสามารถสร้ างบรรยากาศแห่งความเข้ าใจดีตอ่ กัน อันจะนาไป ถึงขันหวั ้ งดีตอ่ กันอย่างจริ งใจได้
89 7.8.4 วิธีเข้ าใจคัมภีร์ 5 ระดับ 7.8.4.1 ตีความโดยพยัญชนะ (Literal Interpretation) คือคัมภีร์ว่าอย่างไรก็ เข้ าใจตรงตามความหมายของคาอย่างนัน้ เช่น “พระเจ้ าสร้ างโลก 6 วัน” ก็เข้ าใจว่า 6 วัน วันละ 24 ชัว่ โมง กลางวัน 12 ชัว่ โมง กลางคืน 12 ชัว่ โมง มีเวลาเช้ า สาย บ่าย เย็น อย่างที่เราเข้ าใจกัน ทุกวันนี ้ “พระอินทร์ มีบริ วาร 84,000” ก็เข้ าใจว่ามีตามจานวนนันจริ ้ ง ๆ เป็ นต้ น การตีความเช่นนี ้ เป็ นผลสืบเนื่องจากกระบวนทรรศน์ที่ 1 ซึ่งต้ องการเอาใจเบื ้องบนเป็ นที่ตงเมื ั ้ ่อคิดว่าอะไรมาจาก เบื ้องบนก็ต้องให้ ความสาคัญอย่างเต็มที่ เกินไว้ ดีกว่าขาด 7.8.4.2 ตีความโดยสัญลักษณ์ (Symbolical Interpretation) ถือว่าเรื่ องราวต่าง ๆ ที่กล่าวไว้ เป็ นเพียงสัญลักษณ์ที่ต้องการจะสอนเท่านัน้ ใครสามารถเข้ าใจสัญลักษณ์ได้ แค่ไหนก็ ปฏิบตั ิไปตามที่เข้ าใจ เช่น “พระเจ้ าสร้ างโลก 6 วัน” หมายถึง ข้ อธรรมที่ว่ามนุษย์เราพึงทางาน สัปดาห์ละ 6 วัน วันสุดสัปดาห์ต้องพักผ่อนและอุทิศให้ แก่ศ าสนา ศิวลึงค์หมายถึงพลังสร้ างสรรค์ ในเอกภพ มารหมายถึงกิเลสตัณหาในตัวมนุษย์เรานี่เอง เป็ นต้ น การตีความเช่นนีเ้ ป็ นผลสืบ เนื่ องมาจากกระบวนทรรศน์ ที่ 2 ของนักปราชญ์ โบราณที่ค้นพบกฎเกณฑ์ แต่ไ ม่มี คาศัพท์ จ ะ แสดงออกได้ อย่างน่าพอใจ จึงใช้ สญ ั ลักษณ์เข้ าช่วย โดยนิยามลักษณะพิเศษของเทพด้ วยการผูก เรื่ องปรัม ปรา (mythology) จึงมี ความพยายามถอดปรัม ปรา (demythologization) เพื่อได้ ความหมายตามภาษาวิชาการ 7.8.4.3 ตีความโดยอรรถ (Idiomatic Interpretation) คือเข้ าใจตามสานวนภาษา เช่น“พระเจ้ าสร้ างโลก 6 วัน” ก็ให้ เข้ าใจว่า 6 วาระ วาระหนึง่ ๆ นานเท่าไรก็ได้ อาจจะเป็ นล้ าน ๆ ปี ก็ได้ ไม่จาเป็ นต้ องหมายถึงวันละ 24 ชัว่ โมงอย่างที่เข้ าใจกันโดยทัว่ ไป คัมภีร์ไบเบิลกล่าวว่า พันปี ดีดกั ต่อเบื ้องพระพักตร์ มิยกั เยื ้องนาน ราวกับวันวาร ผ่านปานลมกรด ไม่ปรากฏเปลี่ยนแปลง (สุดดี 90 : 4) “พระอินทร์ มีบริวาร 84,000” ก็แปลว่ามีจานวนมากมายเหลือเกินเท่านัน้ จานวนอาจจะ มากกว่า หรื อน้ อ ยกว่า 84,000 ก็ ไ ด้ “ตลอดกาลนิรั นดร” อาจจะหมายความเพี ย งแต่ว่าเป็ น เวลานานมากเหลือเกินเท่านันก็ ้ ได้ “ในนิรันดรภาพ” ยังหมายถึงภาวะนอกกาลเวลาได้ ด้วย การ
90 ตีความเช่นนี ้เป็ นผลสืบเนื่องจากกระบวนทรรศน์ที่ 3 ที่ม่งุ สละโลกนี ้เพื่อโลกหน้ าเป็ นสาคัญ จึง พยายามตะล่อมทุกอย่างให้ เข้ ากระบวนทรรศน์ของตน 7.8.4.4 ตีความตามเหตุผล (Rational Interpretation) ทุกตอนต้ องถามว่า ทาไม ... ทาไม.... เช่น ทาไมพระเจ้ าจึงสร้ างโลก ทาไมจึงใช้ เวลา 6 วัน ทาไมจึงสร้ างมนุษย์ให้ ตกนรก ทาไมพระเจ้ าจึงไม่ให้ มนุษย์สบายกว่านี ้ฯลฯ ยิ่งใช้ เหตุผลก็ยิ่งแตกแยกจากกันและทะเลาะกันทา ให้ เ หินห่างจากจิตตารมณ์ ของศาสนาเข้ าทุกที การตีความเช่นนีเ้ ป็ นผลสื บเนื่ องจากกระบวน ทรรศน์ที่ 4 ซึ่งเทิดทูนเหตุผลวิทยาศาสตร์ อะไรที่อธิบายตามวิธีการวิทยาศาสตร์ ไม่ได้ ก็ถือว่า ไม่ได้ มาตรฐานวิชาการ 7.8.4.5 ตีความตามประเภทวรรณกรรม (Literary-form Interpretation) วิธีนี ้ เป็ นผลสืบเนื่องจากกระบวนทรรศน์ที่ 5 คือ วิจารณญาณ โดยวิเคราะห์ และประเมินค่า จึงไม่ กาหนดตายตัว ต้ องวิเคราะห์และประเมินค่าดูเป็ นคัมภี ร์ ๆ เป็ นเรื่ อง ๆ และเป็ นตอน ๆ ไป คือ แล้ วแต่ว่า ตอนใดผู้นิพ นธ์ ใ ช้ ป ระเภทวรรณกรรมใด ก็ ใ ห้ ตีค วามตามประเภทของวรรณกรรม ประเภทนัน้ โดยพยายามเข้ าถึงเจตนา สิ่งแวดล้ อม สภาพจิตใจ และข้ อมูลเกี่ยวข้ องอื่น ๆ เท่าที่จะ ทราบได้ หรื อสันนิษฐานได้ วิธีนีย้ ากและต้ องค้ นคว้ าไปเรื่ อย ๆ แต่ก็ เหมาะส าหรับเข้ าใจอย่าง นักวิชาการ ดังนัน้ เรื่ องใดเป็ นตานานปรัมปราก็ต้องตีความแบบปรัมปรา เรื่ องใดเป็ นมหากาพย์ก็ ต้ องตีความแบบมหากาพย์ เรื่ องใดเป็ นบทประพันธ์ จินตนิยมก็ต้องตีความตามแบบนัน้ บางเรื่ อง อาจเป็ นเรื่ องพงศาวดาร เป็ นจดหมายเหตุ เป็ นบันทึกส่วนตัว เป็ นบทเทศน์ เป็ นบทสนทนา เป็ นบท เรี ยงความ เป็ นคาชี แ้ จงเกี่ ยวกับประสบการณ์ ในฌาน หรื อประสบการณ์ เหนื อธรรมชาติ รวม เรี ยกว่าประสบการณ์ทางศาสนา (religious experience) ฯลฯ บางเรื่ องอาจมีหลายประเภท ร่ วมกันก็ ได้ เช่น อาจจะเป็ นเรื่ องปรั ม ปรา มหากาพย์ ร้ อยกรอง และจิตนาการร่ วมกั นในตอน เดียวกัน ก็ต้องตระหนักถึงข้ อมูลต่าง ๆ ทุก ๆ ด้ านเท่าที่จะรู้ได้ เพื่อเค้ นให้ ได้ ความหมายตามเจตนา ของผู้นิพนธ์ออกมา และถ้ าเป็ นคัมภีร์ที่ถือว่าพระเป็ นเจ้ าเป็ นผู้นิพนธ์ด้วย ก็ต้องขยายผลต่อไปถึง เจตนาของพระเป็ นเจ้ า ผู้เป็ นต้ นเรื่ องอีกต่อหนึง่ เป็ นต้ น
91 รวมความว่า วิธีที่ 5 นี ้ไม่ปฏิเสธวิธีใดเลยที่กล่าวมาข้ างต้ นทัง้ 4 วิธี หากแต่ต้องเลือกใช้ ตามบริบทของแต่ละตอนแต่ละเรื่ องเท่านันเอง ้ เราจะพยายามเข้ าใจกันด้ วยวิธีนี ้เท่าที่จะทาได้ และจะช่วยกันเข้ าใจดีขึ ้นเรื่ อย ๆ ไปด้ วย เจตนารมณ์แห่งนักวิชาการ อย่างไรก็ตามสานวนวรรณกรรมที่ตีความยากที่สุดและมีปัญหามาก ที่สุด เห็นจะได้ แก่คาบรรยายประสบการณ์ ทางศาสนา ซึ่งนักวิชาศาสนาพึงสังเกตและให้ ความ สนใจเป็ นพิเศษ จากการวิเคราะห์ข้างต้ นเราอาจจะประเมินค่าได้ ว่า วิธีที่ 5 ส่งเสริ มการสร้ างสรรค์ได้ กว้ างขวางที่สุด เหมาะสาหรับผู้มีกระบวนทรรศน์ ที่ 5 อยู่ในใจ และอันที่จริ งวิธีที่ 5 นีก้ ็เกิดจาก ปรัชญากระบวนทรรศน์ที่ 5 นัน่ เอง ส่วนวิธีที่1 ก็เป็ นผลสืบเนื่องจากปรัชญากระบวนทรรศน์ที่ 1 วิธี ที่ 2 เป็ นผลสืบเนื่องจากปรัชญากระบวนทรรศน์ที่ 2 วิธีที่ 3 เป็ นผลสืบเนื่องจากปรัชญากระบวน ทรรศน์ที่ 3 และวิธีที่ 4 สืบเนื่องจากปรัชญากระบวนทรรศน์ที่ 4 7.8.5 ความเข้ าใจภาษาศาสนา 5 ระดับ บางท่านมีประสบการณ์ทางศาสนาแล้ วไม่กล้ าแสดงออกเป็ นคาพูด เพราะกลัวผู้ฟังจะ เข้ าใจผิด อย่างเช่น ประสบการณ์ของปั จเจกพุทธเจ้ าทังหลายตามคติ ้ ทางพุทธศาสนา บางท่าน อยากจะแสดงออกแต่ไม่ร้ ู จะแสดงออกอย่างไร จึงมักจะแสดงออกในเชิงปฏิเสธเท่านัน้ เช่น พูด ไม่ได้ (ineffable) อธิบายไม่ได้ (inexplicable) บางท่านกล้ าพอที่จะชี ้แจงออกมาเป็ นปฏิฐานบ้ าง แต่ก็เตือนให้ ระวังว่าไม่สามารถอธิ บายได้ ทงหมด ั้ อย่างที่พระพุทธเจ้ าทรงเปรี ยบเทียบว่า ทรงรู้ เปรี ยบเท่าใบไม้ ในป่ า แต่ทรงอธิบายได้ เท่าใบไม้ กามือเดียว หรื ออย่างที่พระเยซูทรงกาชับให้ คอย รับพระจิตเจ้ า และพระจิตเจ้ าจะทรงดลใจให้ เข้ าใจมากขึ ้นเรื่ อยๆ ไปจนกว่าจะสิ ้นโลก คาสอนหรื อ ข้ อเขียนของท่านเหล่านี ้ ส่วนหนึ่งได้ รับการยกย่องว่าเป็ นคัมภีร์ศาสนา ภาษาคัมภีร์ศาสนาจึงเป็ น ภาษาของผู้มีประสบการณ์ทางศาสนาที่พยายามจะแสดงออกให้ ผ้ อู ื่นได้ เข้ าถึงความหมายของ ศาสนาเท่าที่ภาษามนุษย์จะเอื ้ออานวย อย่างไรก็ตาม วิชาอรรถปริวรรต (hermeneutics) ได้ พยายามวิเคราะห์เพื่อตีความภาษา ของผู้มีประสบการณ์ ทางศาสนา (ศาสดา ผู้ถึงฌาน ผู้มีประสบการณ์ เหนือธรรมชาติ ) ได้ ระดับ
92 ความเข้ าใจเป็ น 5 ระดับ เพื่อเปรี ยบเทียบหาความเข้ าใจเจตนาของเจ้ าของคาพูดเป็ นราย ๆไป หรื อเปรี ยบเทียบหลาย ๆ ราย เพื่อค้ นหาความหมายร่วมซึง่ อยูเ่ บื ้องหลังคาพูดเหล่านัน้ ภาษาประสบการณ์ทางศาสนาตีความได้ 5 ระดับ 7.8.5.1 ระดับผิวพืน้ ได้ แก่ ความหมายที่เข้ าใจกันในระดับชาวบ้ าน มีอารมณ์และ รสนิยมส่วนตัวเข้ ามาแทรก และมักจะมีปัญหามาจากอารมณ์และรสนิยมดังกล่าว ถึงกับมีการเข่น ฆ่ากันตาย และบาดเจ็บมามากต่อมากแล้ ว โดยไม่ต้องนับกรณีที่เพียงแค่ผิดใจและขัดข้ องหมอง ใจกันไป ซึง่ มีจานวนเหลือนับ ตัวอย่างเช่น คาว่า “งู” ผู้ชอบกินงู ผู้เกลียดงู หมองู หมอรักษาพิษงู คนเลี ้ยงงูประจาสวนสัตว์ ฯลฯ ย่อมมีความรู้ สึกเกี่ยวกับงูตา่ งกันได้ และประโยชน์ก็มกั จะติดตาม ความรู้สกึ อย่างใกล้ ชิดด้ วย 7.8.5.2 ระดั บ ลึ ก ความหมายระดับ นี ้ ได้ แ ก่ ความเข้ าใจทางวิ ช าการ ซึ่ ง นักวิชาการมักจะเข้ าใจตรงกัน แต่ครัน้ มีผลประโยชน์เข้ ามาเกี่ยวข้ อง ความหมายผิวพื ้นก็มกั จะ แทรกเข้ ามาทาให้ เสียงานเสียการมามากต่อมากแล้ ว การศึกษาด้ วยวิธีการวิทยาศาสตร์ จากข้ อมูล และหลักฐานวิชาการ สามารถเข้ าใจศาสนาได้ อย่างมากก็แค่ระดับนี ้แหละ 7.8.5.3 ระดั บ ลึก ที่สุด เป็ นความหมายตามความเข้ าใจของศาสดาในเรื่ องที่ เกี่ ย วกับ ศาสนาและศี ล ธรรม ศาสดาท่านเข้ า ถึ ง ด้ ว ยวิ ธี เ ฉพาะตัวของท่า น ท่านเข้ า ถึ ง แล้ ว ก็ ปรารถนาจะเผื่อแผ่แก่มวลมนุษย์ แต่ทว่าธรรมะที่ท่านเข้ าถึงนันเป็ ้ นธรรมะในระดับปรมัตถสัจจะ มนุษย์เราไม่อาจประดิษฐ์ ภาษาไว้ รองรับปรมัตถสั จจะ เรามีแต่ภาษาสาหรับใช้ ในระดับสมมุติ สัจจะทังสิ ้ ้น จึงเหมาะสาหรับชี ้แจงเรื่ องราวที่มีประสบการณ์ได้ ด้วยผัสสะ และคิดต่อด้ วยเหตุผล ซึ่งมีปฐมบทเป็ นพืน้ ฐาน ศาสดาท่านจาเป็ นต้ องใช้ ภาษาสมมุติสจั จะเพื่อชี ้แจงปรมัตถสัจจะที่ ท่า นเข้ า ถึ ง เพื่ อ ให้ เ ข้ า ใจง่ า ย จะขอเปรี ย บปรมัต สัจ จะเหมื อ นกับ ยอดเขาที่ ศ าสดาท่า นได้ มี ประสบการณ์ด้วยตัวท่านเอง ท่านพบว่าเป็ นสิ่งวิเศษสุด น่ารู้ และมีประโยชน์เหลือเกิน ท่านจึง ปรารถนาจะบอกกล่าวให้ พวกเรารู้เรื่ อง หากท่านจะตรัสสอนจากยอดเขา พวกเราก็คงจะไม่ได้ ยิน เสียงของท่าน ท่านจึงต้ องคิดอุบายเดินลงมาจนถึงเชิงเขาจึงสอนพวกเราได้ ศาสดาองค์ใดเดินลง มาจากเชิงเขาด้ านใดก็ยอ่ มจะต้ องสอนสัง่ ตามสภาพของเชิงเขาด้ านนัน้ ๆ และนัน่ คือการใช้ ภาษา สมมุติสจั จะอธิบายปรมัตถสัจจะของศาสดาทังหลาย ้ ท่านอาจารย์พุทธทาสเรี ยกภาษาดังกล่าว
93 ว่าภาษาธรรม เราต้ องมองให้ ทะลุเปลือกนอกของภาษาคน จึงจะเข้ าถึงแก่นอันเป็ นความหมาย แท้ ของภาษาธรรมได้ บ้าง 7.8.5.4 ระดั บ ลึ ก กว่ า เราได้ ฟั ง ค าสอนของศาสดา หากเราเข้ า ใจตามความ ต้ องการของอารมณ์และรสนิยมของเราเอง เราก็ได้ เพียงความหมายผิวพื ้นของธรรมะ และนี่คือ ที่มาของเดรัจฉานวิชา ซึ่งพบแทรกอยู่ในทุกศาสนา ผู้ ใดเข้ าใจธรรมะตามหลักตรรกวิทยา และ ตามหลักวิชาการต่าง ๆ ย่อมได้ ความหมายระดับลึก เราพบคนที่ “มีความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด” อยูม่ ากมาย เขารู้ธรรมะทุกข้ อ อธิบายได้ เป็ นคุ้งเป็ นแคว แต่ไม่ปฏิบตั ิ คนประเภทนี ้พบได้ ชกุ ชุมใน ทุกศาสนา ศาสนิกที่มงุ่ มัน่ เข้ าได้ ถึงความหมายที่ลกึ ที่สดุ เท่าที่จะสามารถทาได้ โดยหมัน่ ศึกษาทัง้ ด้ านปริ ยตั ิและปฏิบตั ิ พวกนี ้กาลังมุ่งสู่ความหมายที่ลึกที่สดุ แต่ก็ได้ เพียงความหมายที่เรี ยกได้ ว่า ระดับลึกกว่า อนึ่งผู้ศึกษาคาสอนของศาสดาหลายท่าน โดยเชื่อว่าศาสดาเหล่านันเข้ ้ าถึงปรมัตถ สัจจะเดียวกัน แต่จาเป็ นต้ องอธิบายสัง่ สอนด้ วยภาษาสมมุติสจั จะของแต่ละท้ องถิ่น จึงพยายาม มองให้ ทะลุเปลือกของแต่ละศาสนา เพื่อเข้ าถึงแก่นร่ วมของศาสนาต่าง ๆ ซึ่งจะต้ องมีลักษณะ ตรงกันอย่างน้ อยในแง่ที่ว่า “สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตจนถึงโลกหน้ า ” ก็เข้ าถึงได้ อย่างมากแค่ ระดับลึกกว่านี่แหละ 7.8.5.5 ระดั บ วิ จ ารณญาณ ระดั บ ที่ 5 นี ย้ อมรั บ ว่ า แต่ ล ะระดั บ ต่ า งก็ มี ความสาคัญสาหรับความรู้นนั ้ ๆ จึงควรจะรับรู้ และเคารพกันและกัน และหาวิธีให้ แต่ละระดับได้ พัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างเต็มที่ในแต่ละระดับ ในขณะเดียวกันก็หาวิธียกระดับให้ สูงขึ ้นตามแต่ โอกาสจะอานวยด้ วย ระดับนี ้คือระดับปรัชญาหลังนวยุค ซึ่งมองเห็นว่า ความหมายที่แท้ จริ งของ ศาสนาก็คือพลังที่พฒ ั นาคุณภาพชีวิตมนุษย์จนถึงคุณภาพที่สมบูรณ์ในชีวิตหน้ า ส่วนศาสนธรรม และศาสนองค์กรเป็ นวิถีส่เู ป้าหมายดังกล่าว ดังนัน้ ศาสนธรรมจะมีความหมายก็เฉพาะที่พฒ ั นา คุณภาพชีวิตของมนุษ ย์ ได้ จริ งเท่านัน้ และศาสนองค์กรจะศักดิ์สิ ทธิ์ ก็เฉพาะที่ สามารถพัฒนา คุณภาพชีวิตได้ จริงเท่านัน้ สรุ ป จากการวิเคราะห์ข้างต้ น เราอาจจะสรุ ปได้ ว่า ระดับที่ 5 ช่วยแสวงหาได้ ดีที่สุด ช่วยแสวงหาในทางวิชาการ มิได้ หมายความว่าเป็ นทางสูงส่งที่สดุ และมิได้ หมายความว่าเป็ นทาง สู่ป รมัต ถสัจ จะได้ ดี ที่ สุด แสวงหาในทางวิ ช าการก็ เ พื่ อ พบวิ ธี สื่ อ ด้ ว ยภาษาวิ ช าการระหว่า ง
94 นักวิชาการด้ วยกันได้ ดีที่สุดนั่นเอง ส่วนการบรรลุปรมัตถธรรมนัน้ ขึน้ ต่อการปฏิบตั ิเป็ นสาคัญ เมื่อมีการบรรลุจริ งแล้ วเราจึงพยายามวิเคราะห์กันด้ วยปรัชญาเพื่อความเข้ าใจให้ ได้ ดีที่สุดเท่าที่ ปั ญญาจะทาได้ 7.8.6 สรุปความสาคัญของศาสนาในฐานะพลังแสวงหา 7.8.6.1 ส าหรั บ ผู้ไ ม่นับ ถื อ ศาสนาใดเลย ศาสนาเป็ นปรากฏการณ์ ข องมนุษ ย์ นักวิชาการและผู้สนใจเรื่ องราวของสังคมไม่ควรมองข้ าม 7.8.6.2 สาหรับผู้นบั ถือศาสนาใดศาสนาหนึ่งไม่จากัดว่าศาสนาใด หากเข้ าใจพลัง แสวงหาของศาสนาดังกล่าวมาแล้ วข้ างต้ น ก็จะรู้จกั วิธีการอันทันสมัยเพื่อ 1) พัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง ตามความเชื่อทางศาสนาของตน 2) รั บ ส่ ว นดี ที่ พึ ง ได้ จากประสบการณ์ ข องผู้ อื่ น และท าดี โ ดยแบ่ ง ปั น ประสบการณ์ของตนเองให้ แก่ผ้ ทู ี่สนใจรับ 3) รู้ จกั ใช้ ข้อเท็จจริ งและข้ อมูลทางศาสนาได้ อย่างผู้แสวงหาและช่วยผู้อื่นให้ รู้จกั แสวงหากันต่อ ๆ ไป
7.9 ตัวอย่ างการดูแลด้ วยพลังร่ วมมือ เราได้ เห็นมาแล้ วว่า มนุษย์เราได้ ใช้ พลังสร้ างสรรค์เพื่อสร้ างสรรค์จนถึง ขันพบว่ ้ า หาก สร้ างสรรค์ตอ่ ไปโดยไม่มีการปรับตัว พลังสร้ างสรรค์อนั ตาบอดนันอาจจะท ้ าลายมนุษยชาติลงเสีย อย่างสิ ้นเชิง มนุษย์ได้ พฒ ั นาพลังปรับตัวขึ ้นแก้ ปัญหา และแก้ ได้ ดีมาก ทาให้ พลังแสวงหาพัฒนา ได้ อย่างคล่องสะดวกไปด้ วย ในที่สุดก็พบว่า มนุษย์เราหากต่างคนต่างสร้ างสรรค์ ต่างคนต่าง ปรับตัว และต่างคนต่างแสวงหา ก็นบั ว่าเจริ ญก้ าวหน้ าได้ ดีอยู่ แต่ถ้ามนุษย์ไม่เรี ยนรู้ที่จะร่วมมือ กัน การแข่งขันซึ่งมาจากสัญชาตญาณดิบของมนุษย์ก็มกั จะเกิดขึ ้นอย่างเลี่ยงไม่ได้ ดังปรากฏ หลายครัง้ ในประวัติศาสตร์ ของมนุษ ยชาติที่มนุษย์เราใช้ พลังแสวงหาของศาสนา เพื่อทาร้ ายและ ทาลายกันอย่างน่าเศร้ าใจ แทนที่ จ ะใช้ เพื่อส่ง เสริ ม การทาดีแก่กันและกัน ในกระแสแห่ง การ แข่งขันเพื่อตอบสนองกิเลสเช่นนัน้ ต่างฝ่ ายต่างก็มีอะไรสูญเสียไปไม่มากก็น้อย เทียบสูตรได้ ว่า
95 1+1 < 1
0 แต่ถ้าหากมนุษย์สลัดกิเลสออกไปเสียได้ และหันมาร่ วมมือกันอย่างบริ สทุ ธิ์ใจ จะ
ได้ สตู รใหม่วา่ 1+1 > 2 ∞ ผู้ตระหนักถึงเรื่ องนี ้ จึงปลงตก พากันขจัดกิเลสอันเป็ นสัญชาตญาณดิบ เพื่อฝึ กฝน คุณธรรมแห่งความร่ วมมือ มนุษย์เราได้ ประสบความสาเร็ จอย่างงามในด้ านนี ้ในช่วงหลัง ๆ นี ้ และมีแนวโน้ มว่าความร่ วมมือจะก้ าวอย่างกว้ างขวางขึน้ และลึกซึ ้งยิ่ง ๆ ขึ ้น นักอบรมบ่มนิสัย หลังนวยุคคงจะกาชับให้ ร่วมมืออย่างทาดีมีสขุ
7.10 วิเคราะห์ ข้อเท็จจริง ในปั จจุบันองค์การสันติภาพเกิดขึน้ ราวกับดอกเห็ด ทัง้ ระดับท้ องถิ่น ระดับชาติ และ ระดับโลก อย่างเช่น WEP (World Religions for Peace) ซึ่งตังขึ ้ ้นเมื่อปี ค.ศ. 1970. The World’s Parliament of Religions ซึง่ ตังขึ ้ ้นเมื่อปี ค.ศ.1883. เป็ นต้ น องค์การเหล่านี ้มีมติสอดคล้ องกันว่า “ความร่ วมมือระหว่างศาสนาเป็ นองค์ประกอบที่ ขาดไม่ได้ สาหรับสันติภาพทุกชนิดและทุกระดับ” ได้ มีผ้ พู ยายามสร้ างสันติภาพไร้ ศาสนามาแล้ วครัง้ แล้ วครัง้ เล่า แต่ก็ล้มเหลวทุกครัง้ เช่น สันติภาพโรมัน สันติภาพคอมมิวนิสต์ ศาสนามนุษยชาติ (Religion of Humanity) ที่นกั ปฏิวตั ิ ฝรั่งเศสพยายามตังขึ ้ ้นตามคติของโอกุสต์ กงต์ เป็ นต้ น อย่างไรก็ตามศาสนาที่ไม่ร่วมมือกัน ก็อาจจะเป็ นชนวนให้ เกิดสงครามขึ ้นได้ ดังที่เคย เกิดมาแล้ ว เช่น สงครามครูเสด สงครามศาสนา เป็ นต้ น สังเกตได้ วา่ สงครามการเมืองรุนแรงโหดเหี ้ยมยิ่งกว่าสงครามเศรษฐกิจ สงครามศาสนารุนแรงโหดเหี ้ยมยิ่งกว่าสงครามการเมือง สงครามระหว่างนิกายของศาสนาเดียวกันรุ นแรงโหดเหีย้ มกว่าสงครามระหว่างต่าง ศาสนา
96 จึงประเมินค่าได้ ว่า ในเมื่อสภาพสังคมปั จจุบนั บังคับให้ ผ้ นู บั ถือศาสนาต่างกันต้ องอยู่ ร่วมกันอยู่แล้ ว ก็พึงยอมรับสภาพ เรี ยนรู้ ปั ญหา และแสวงหาวิธีอยู่ร่วมมือกันอย่างดีที่สุดจะเป็ น ประโยชน์ตอ่ ทุกฝ่ าย สรุ ปได้ ว่านโยบายสันติภาพที่ออกมาจากคาสอนของศาสนาต่าง ๆ มีความสาคัญมาก และก็น่ายินดีว่าทุกศาสนาสาคัญของโลกล้ วนแต่มีนโยบายส่งเสริ มสันติภาพทังสิ ้ น้ แต่ศาสนิก ของแต่ละศาสนาแสดงออกชัดเจนมากน้ อยต่างกันแล้ วแต่บริบทของแต่ละศาสนาและแต่ละนิกาย ชาวพุทธแสดงออกชัดเจนโดยการปฏิ บัติการแผ่เมตตาเป็ นประจ า มิเพี ยงแก่เพื่ อน มนุษย์ด้วยกันเท่านัน้ แต่ยงั แผ่ไปถึงสรรพสัตว์ทงหลาย ั้ ตลอดจนดวงวิญญาณทังหลายที ้ ่เชื่อว่ายัง ไม่มีที่ผุดเกิด “ขอให้ สตั ว์ทงหลาย ั้ (หมายถึงสิ่งมีลมปราณทังหลายจึ ้ งรวมมนุษย์ด้วย) จงเป็ นสุข เป็ นสุขเถิด....เจ้ ากรรมนายเวรทังหลายจงเป็ ้ นสุขเป็ นสุขเถิด....อย่าได้ มีเวรแก่กนั และกันเลย” อิสลาม แปลว่า ศาสนาแห่งสันติภาพ ชาวมุสลิมเมื่อพบปะกันก็ทกั ทายกันเป็ นประจาว่า “ซาลาม มาลายกุม” แปลว่า จงมีสนั ติสขุ เถิด ชาวคริสต์ทราบดีวา่ พระเยซูทรงกาชับความรักเพื่อนมนุษย์ทงหลายเหมื ั้ อนรักตนเอง จะ ทาอย่างไรนัน้ ไม่ส้ ูจะชัดเจนนัก จึงน่าจะนามาชีแ้ จงให้ ชัดเจนเสีย ทัง้ นี ้โดยหวังว่าเมื่อศาสนา อย่างน้ อย 3 ศาสนาหลักในประเทศไทย คือ พุทธ อิสลาม คริ สต์ สามารถชักชวนศาสนิกของทุก ศาสนาให้ ร่วมมือกันอย่างดีในแต่ละศาสนา และกับสมาชิกของศาสนาอื่น ๆ สันติภาพก็จะเป็ น ผลสรุปรวบยอดของความร่วมมืออย่างชัดเจน
97
บทที่ 8 สรุ ปอภิปรายผล 8.1 นิยาม ใช้ ค า “คุ ณธรรม” แทน “ศี ลธรรม” เพราะหากกล่าวว่า “ทาอย่า งไรให้ ศี ลธรรม กลับคืนมาสู่ชาวไทย ผู้อ่านส่วนมากจะจากัดขอบข่ายงานวิจยั ลงเจาะจงการแก้ ปัญหาการสอน ศีลธรรมในศาสนาของตน เพราะแต่ละศาสนามีระบบศีลธรรมอันสืบเนื่องจากคาสอนทังระบบ ้ ของศาสนาของตน ซึ่งย่อมจะมีเอกลักษณ์เฉพาะประจาศาสนาซึ่งศาสนาอื่น ๆ ไม่มี ดังนั น้ การ อบรมสัง่ สอนศีลธรรมจึงมีเอกลักษณ์ประจาศาสนาด้ วย ไม่มีหลักสูตรอบรมสัง่ สอนศีลธรรมร่วม ของทุกศาสนา แต่นกั ปรัชญาอดคิดไม่ได้ ว่าในความต่างย่อมมีความเหมือน และความเหมือนที่ สาคัญในการอบรมสัง่ สอนศีลธรรมของทุกศาสนาก็คือ “เพื่อขจัดทุกข์ พาสุขสันต์ ” ขจัดอย่างไร และได้ สุขอย่างไรในรายละเอียดเป็ นหน้ าที่ของแต่ละศาสนาที่จะพยายามเสนออย่างแนบเนียน ที่ สุด โดยอาศัย ข้ อ เชื่ อ หลัก ในแต่ล ะศาสนาเป็ นพลัง จูง ใจให้ เชื่ อ และปฏิ บัติ ต ามได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ แต่ทุกศาสนาก็มีจุดอ่อนเหมือนกันที่ว่า มีศาสนิกจานวนหนึ่งที่นบั ถือศาสนาแบบ ขึ ้นเรื อลาใหญ่แล้ วก็นงั่ ๆ นอน ๆ คอยรับผลประโยชน์จากเรื อลานันเท่ ้ าหรื อเกือบเท่าคนอื่นโดยไม่ ต้ องมีส่วนช่วยกิจการใดเลย ทัง้ ไม่สนใจว่า มีคนนอกวงการศาสนาของตนและนอกวงการทุก ศาสนา คือคนไม่ประพฤติตนตามคาสอนของศาสนาใดเลยนัน่ เอง คนประเภทนี ้บางทีก็ทาตัวเป็ น กาฝากในศาสนา ซึ่งคนในศาสนาเดียวกันก็ยงั ไม่ร้ ูจะจัดการกับเขาอย่างไรให้ ลกุ ขึ ้นมารับผิดชอบ ต่อสังคมบ้ าง แม้ สกั นิดหนึง่ ก็ยงั ดี เพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าว จึงขอนิยามคา “คุณธรรม” ให้ กระชับตามความหมายของ คาว่า “virtue” ในภาษาตะวันตก ซึ่งมาจากภาษาละตินว่า “virtus” เดิมแปลว่า พลังภายในของ บุรุษ (vir) ซึ่งก็ตรงกับความหมายที่พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถานที่ให้ ไว้ ว่าเป็ นการทาดีภายใน ซึง่ ขยายความต่อไปตามเจตนาของนิยามทางตะวันตกได้ ว่า เป็ นความเคยชิน (habit) ในการทาดี
98 ความเคยชินนี ้เป็ นนิสยั (character) ที่อยู่ประจาภายในตน แม้ ไม่มีโอกาสจะแสดงออกด้ วยการ กระทา ก็ถือว่ามีความดีอยู่แล้ วในตน มีโอกาสเมื่อใดก็จะแสดงออกเป็ นการกระทาทันที ส่วนคา “จริยธรรม” นันอาจจะหมายถึ ้ งคาสอนว่า ด้ วยความประพฤติภายนอกว่ามีข้อปฏิบตั ิตนอะไรบ้ างที่ เรี ยกได้ ว่ า ดี ใ นเงื่ อ นไขปรกติ หรื ออาจจะหมายถึ ง ชุ ด หนึ่ ง ของคุ ณ ธรรมที่ พ จนานุ กรม ราชบัณฑิตยสถานให้ นิยามไว้ วา่ เป็ นการทาดีที่แสดงออกภายนอก ซึ่งก็ขยายความตามนิยามของ คา morality ethic, ethos ของทางตะวันตกได้ ว่า “เป็ นชุดหนึ่งของคุณธรรมที่ทาให้ การกระทาแต่ ละครั ง้ เป็ นการกระท าที่ ดี หรื อท าให้ คนกลุ่ม หนึ่ง ได้ ชื่ อ ว่าเป็ นกลุ่ม คนดี หรื อทาให้ ม นุษ ยชาติ ทังหมดได้ ้ ชื่อว่าดี ” ทัง้ นีก้ ็เพราะว่าการทาดีในแต่ละครัง้ หรื อคนดีแต่ละคน หรื อกลุ่มคนดีแต่ละ กลุ่ม หรื อ มนุษ ยชาติ ทัง้ มวลจะได้ ชื่ อ ว่า ดี ร่ ว มกัน ย่อ มมี อ งค์ ป ระกอบหลายส่ ว นหลายด้ า น เหลือเกิน จนต้ องประกอบด้ วยหลายคุณธรรมเป็ นชุดหนึ่ง ๆ คุณธรรมข้ อเดียวดีได้ เพีย งด้ านเดียว อาจจะเลวสุด ๆ ในด้ านอื่นก็ไ ด้ จึงต้ องมีชุดคุณธรรมที่ล้อมกรอบไว้ ได้ ทุกด้ านในแต่ละกรณี ที่ ต้ องการศึกษา งานวิจยั นี ้ตังใจแสวงหาพลั ้ งร่วมในธรรมชาติของมนุษย์ที่กระตุ้นให้ คนอยากทาดี ใช้ ได้ ในการปลุกจิตสานึกของคนหลับใหลในทุกศาสนาให้ อยากตื่นและลุกขึ ้นทาความดีในศาสนาของ ตน ทังยั ้ งสามารถปลุกจิตสานึกของผู้อ้างว่าไม่นบั ถือศาสนาใดเลยก็ได้ ด้วย ให้ ทกุ คนลุกขึ ้นอยาก ทาดีเพราะมีความสุขกับการทาดี ต่อจากนันเขาอาจจะนึ ้ กชอบ (ปิ๊ ง) ศาสนาใดศาสนาหนึ่งก็ได้ ที่ เขาเองเห็นว่า น่าจะส่งเสริมให้ เขามีความพอใจกับตัวเขาเองมากขึ ้น เขาจะมีความสุขมากขึ ้นด้ วย หรื อไม่ต้องยกให้ เป็ นเรื่ องส่วนตัวของเขากับศาสนาที่เขาเลือกนับถือ
8.2 ลาดับขัน้ ตอน อนุสนธิ จากคาปรารภของท่านจักรธรรม ธรรมศักดิ์ ประธานอนุกรรมาธิ การศีลธรรม คุณธรรม จริ ยธรรมของวุฒิสภาว่า “ขณะนี ้ทุกคนพูดเป็ นเสียงเดียวกันว่า ชาติของเรากาลังอยู่ใน ระยะศีลธรรมเสื่อมสุด ๆ จะทาอย่างไรให้ ศีลธรรมกลับคืนมาได้ เราใช้ กนั หลายวิธีแล้ ว ยังไม่พบวิธี
99 ที่นา่ พอใจ” ผู้วิจยั ในฐานะผู้สอนปรัชญาจึงเสนอทางออกตามวิสยั ทรรศน์ของนักปรัชญาทัว่ โลกว่า มีทางเป็ นไปได้ หากได้ ดาเนินการกันอย่างจริงจังตามทฤษฎีกระบวนทรรศน์ กระบวนทรรศน์ คือแนวคิดของปั ญญาซึ่งไม่ยอมจานนต่อปั ญหาเหมือนสิ่งไร้ ปัญญา ครัง้ ใดที่มีปัญหาซึ่งดูเหมือนจะแก้ ไม่ตกด้ วยกระบวนทรรศน์เดิม ก็จะปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ ให้ สามารถแก้ ปัญหาและเริ่ มประวัติศาสตร์ หน้ าใหม่ เรารู้ จากหลักฐานประวัติศาสตร์ ว่ามนุษย์ได้ ปรั บ เปลี่ ย นกระบวนทรรศน์ ม าแล้ ว 3 ครั ง้ หากจะปรั บ เปลี่ ย นอี ก คร้ งหนึ่ง เป็ นครั ง้ ที่ 4 เพื่ อ แก้ ปัญหาที่ดเู หมือนจะสิ ้นหวังให้ ตกไป ก็ไม่นา่ จะแปลกอะไร และเราก็จะได้ เริ่ มหน้ าประวัติศาสตร์ ใหม่ในศตวรรษที่ ที่ 21 นี ้ การปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ครัง้ แรกเกิดขึ ้นเมื่อมนุษย์ดึกดาบรรพ์ร้ ู สึกว่ากระบวน ทรรศน์แบบดึกดาบรรพ์ (หวังพึง่ เบื ้องบนแก้ ปัญหาทุกอย่าง) ไม่พอแก้ ปัญหา เพราะผู้คนมีมากจน ต้ องรวมกลุ่มกันอยู่เป็ นสังคมที่นบั วันแต่จะใหญ่ขึ ้น พวกเขาจาเป็ นต้ องพึ่งตัวเองที่รวมตัวกันเป็ น สังคม จาเป็ นต้ องใช้ กฎเกณฑ์เป็ นหลักและให้ เบื ้องบนช่วยเสริ มกาลังเท่านัน้ ที่ใดปรับเปลี่ยน กระบวนทรรศน์ได้ สาเร็ จก็สามารถรวมตัวกันเป็ นนครรัฐทรงอานาจและอิทธิ พลได้ แต่ต่อมาก็ สาเร็จเกินตัวจนเดือดร้ อนกันทัว่ หน้ า การปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ครัง้ ที่ 2 เกิดขึ ้นเมื่อมนุษย์โบราณสร้ างมหาอาณาจักร โดยมีจักรพรรดิที่หลงใหลในอานาจพยายามธารงอานาจและขยายอานาจโดยใช้ อานาจบังคับ ผู้คนเสียสละทุก ๆ อย่าง รวมทังฆ่ ้ าฟั น ทุกคนที่อยากจะฆ่าและริ บทุกอย่างที่อยากจะริ บ ครัน้ มี ศาสดาประกาศว่าเป้าหมายถาวรของมนุษย์อยู่ที่โลกหน้ า หากได้ ปฏิบตั ิตามกฎของโลกหน้ าหรื อ ธรรมะก็จะบรรลุถึง ผู้คนก็พากันเลื่อมใสเพื่อให้ ธรรมะหรื อกฎเกณฑ์ เพื่อโลกหน้ า ช่วยคุ้มครอง ทุเลาการกดขี่จากผู้มีอานาจลงมาบ้ าง ผู้คนพอใจกับวิถีชีวิตแห่งกระบวนทรรศน์ยคุ กลาง เพราะ อ้ างธรรรมะหรื อคาสอนของศาสดาเพื่อคลายความเดือนร้ อนลงได้ มาก แต่ต่อมาก็เดือนร้ อนอีก เพราะมีผ้ ฉู ลาดรู้จกั จูงใจให้ คนไปรบในนามของศาสนา อันเป็ นวิธีก่อสงครามศาสนาครัง้ ใหญ่ ๆ ในยุโรป การปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ครัง้ ที่ 3 เกิดขึ ้นเมื่อนิวตันเสนอวิธีวิทยาศาสตร์ อย่างน่า เชื่อว่า จะแก้ ปัญหาความทุกข์ในโลกนี ้ได้ โดยไม่ จาเป็ นต้ องพึ่งศาสนาเพียงอย่างเดียวและไม่ต้อง
100 พ้ น ทุกข์ ด้ วยวิ ธี เ สี่ ยงตายเพื่ อ ศาสนาก็ ไ ด้ ผู้คนพอใจกับ กระบวนทรรศน์ ใหม่นีเ้ รื่ อยมาจนถึ ง สงครามโลกครัง้ ที่ 2 กระบวนทรรศน์ที่นา่ จะปลดทุกข็กลับเพิ่มทุกข์ให้ หนักกว่าเดิม การปรับเปลี่นยกระบวนทรรศน์ครัง้ ที่ 4 ล่าสุด เกิดขึ ้นเมื่อสิ ้นสงครามโลก 2 ครัง้ ที่นา การสูญเสียทุกอย่างมาสู่มนุษยชาติ ในขณะเดียวกันสงครามทาให้ เทคโนโลยีก้าวหน้ าไปมาก โดย ต่างฝ่ ายต่า งคิดค้ น หาอาวุธ ให้ ร้ายแรงกว่า กันได้ หลัง สงครามเทคโนโลยี เหล่านัน้ กลายเป็ น ประโยชน์ตอ่ การผลิตสินค้ าและการโฆษณาสินค้ าจนทาให้ ผ้ บู ริ โภคสินค้ าอยู่ในโลกแห่งความเป็ น เกินจริ ง (hyperreality) ผู้คนก้ มหน้ าแข่งขันกันเพิ่มจานวนเงินในธนาคารเพื่อค ้าประกันโลกแห่ง ความเป็ นเกินจริ งไว้ กับตนจนตาย ในสถานการณ์เช่นนี ้ คนเราย่อมจะเคลิบเคลิ ้มอยู่ในโลกเกิน จริ ง และลื ม หรื อ มองข้ า มโลกแห่ง ความเป็ นจริ ง เสี ย สิ น้ เขาเพลิ ด เพลิ น อยู่กับ ความสุข ตาม สัญชาตญาณแห่งวัตถุ (อยากอยูเ่ ฉย ๆ ไม่ต้องรับผิดชอบอะไรทังสิ ้ ้น) ความสุขตามสัญชาตญาณ แห่งพืช (เอาเปรี ยบทุกคนและทุก อย่างอย่างไร้ ยางอาย) ความสุขตามสัญชาตญาณอารักขายีน (ดูแลเผ่าพันธุ์ของตนเท่านัน) ้ พวกริ เริ่ มปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ ครัง้ ล่าสุดนี ้รุ่นแรกเป็ นพวกสุด ขัว้ ไม่สนใจระเบียบแบบแผนเดิมแต่ประการใดทังสิ ้ ้น พวกเขาหลุดออกจากโลกแห่งความเป็ น จริ ง อยากจะทาอะไรก็ทาด้ วยความสะใจ มันเป็ นผลจากโลกาภิวตั น์ มีนกั เขียนที่จบั ประเด็นได้ และเขียนออกมาเป็ นทฤษฎีเรี ยกว่า ความคิดหลังนวยุคสุดขัว้ พวกเขาเป็ นผู้ทาให้ กาแพงเบอร์ ลิน ทะลุ ทาให้ ม่านเหล็กเปิ ดและม่านไม้ ไผ่แง้ ม จากการสารภาพความในใจ พวกเขามิได้ มีความสุข แท้ ตามความเป็ นจริ ง พวกเขาหงุดหงิ ดสับสน ต้ องทาอะไรแปลก ๆ เพื่ อความสะใจอยู่ร่ าไป กลายเป็ นปั ญหาสังคมแบบใหม่ในยุคโลกาภิวตั น์ ที่ฮนั ทิงทันกล่าวถึงการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ก็คงจะหมายถึง พวกนี ้ ซึ่งฮันทิงทัน หวังว่าจะเป็ นพวกระงับสงครามแบ่งขัว้ เพราะพวกนี ้ไม่สนใจการแบ่งขัว้ พวกเขาต้ องการอยู่ใน โลกที่ไม่มีการแบ่งเขตด้ วยประการใด ฮันทิงทันมิได้ คิดถึงเรื่ องศีลธรรมเสื่อม นักปรัชญาและนัก การศึกษาที่ทดลองให้ การศึกษาตามรู ปแบบของกระบวนทรรศน์ใหม่ สุดขัว้ มาแล้ ว จึงรู้ ว่าทาให้ คุณภาพของสังคมแย่ลงไปอีก แต่ก็ไม่คิดว่าควรกลับไปสู่กระบวนทรรศน์ก่อนหน้ า ที่ผ่านมาแล้ ว เพราะรู้อยู่แก่ใจแล้ วว่าล้ าสมัยใช้ ไม่ได้ กบั สังคมโลกาภิวตั น์ จึงใช้ วิธีพบกันครึ่งทาง คือถอยกลับ เพียงครึ่งทาง คือปรับกระบวนทรรศน์เดิมของตนอันได้ แก่ลทั ธิ ปฏิบตั ินิยม (pragmatism) ขึ ้นมา
101 เป็ นปฏิ บัตินิย มใหม่ (neo-pragmatism)
และปรั บ กระบวนทรรศน์ ใหม่จ ากฝรั่ ง เศสคื อหลัง
โครงสร้ างนิยม (poststructuralism) ลงไปครึ่งหนึ่ง รวมกับปฏิบตั ินิยมใหม่ ให้ กลายเป็ นหลังนว ยุคสายกลาง (moderate postmodernism) ในเวลาต่อมา เมื่อประยุกต์ใช้ กบั การอบรมศีลธรรม คุณธรรมจริยธรรมจึงได้ ชื่อว่า ขบวนการอบรมบ่มนิสยั (Character Education Movement) การอบรมบ่ ม นิ สั ย พยายามแก้ จุ ด อ่ อ นของกระบวนทรรศน์ เ ดิ ม ที่ เ รี ย กว่ า นวยุ ค (modernism) ซึ่งในสหรัฐอเมริ กาได้ ชื่อพิเศษว่าปฏิบตั ินิยม อันได้ แก่การอบรมคุณธรรมแม่บท (Virtue Education) ทังแก้ ้ จุดอ่อนของลัทธิหลังนวยุคสุดขัวอั ้ นได้ แก่การอบรมแบบถ้ อยแถลง (Clarification Education) ด้ วยหลักการว่า การอบรมบ่มนิสัยที่กาลังทดลองทากันอยู่อย่างหวัง ผลยังไม่มี สูตรส าเร็ จ รู ป คงมี แต่ เป้าหมายร่ วมกันอยู่ว่า ทาอย่างไรให้ มนุษ ย์ในยุคโลกาภิวตั น์ สนใจทาดีอย่างมีความสุขแท้ ตาม ความเป็ นจริ งแห่งธรรมชาติของมนุษย์ (Authentic Happiness According to Reality or AHAR) ใครมีปัญ ญาคิดก็ให้ คิดออกมาเองตามความเหมาะสมของแต่ละบริ บท งานวิจัยนีจ้ ึง เป็ นการ เสนอโครงสร้ างหนึ่งที่หวังว่าจะใช้ ได้ ดีในบรรยากาศของประเทศไทย ขณะเดียวกันก็ชี ้แนะให้ ผ้ มู ี ปั ญญาคิดช่วยกันคิดต่อไปได้ เรื่ อยๆ ขอให้ บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ ก็นบั ว่าใช้ ได้ งานวิจยั ครัง้ นี ้สรุปโครงสร้ างที่หวังว่าจะนาไปใช้ อบรมอย่างได้ ผลตามเป้าหมาย โดยเน้ น การจุดประกายใน 6 ประเด็น คือ 8.2.1 เริ่ ม จากเน้ น ให้ ศึ ก ษาธรรมชาติ ข องมนุ ษ ย์ ซึ่ ง มี เ หมื อ นกั น ทุ ก คน อัน ได้ แ ก่ สัญชาตญาณ (instinct, life power) 4 ระดับ ให้ เลือกสัญชาตญาณระดับปั ญญามาปฏิบตั ิเพื่อ ความสุขแท้ ตามความเป็ นจริง สัญชาตญาณ 4 ระดับของมนุษย์ได้ แก่ 8.2.1.1 สัญชาตญาณเฉื่อยเหมือนก้ อนวัตถุ 8.2.1.2 สัญชาตญาณโลภเหมือนพืช 8.2.1.3 สัญชาตญาณอารักขายีนเหมือนเดรัจฉาน 8.2.1.4 สัญชาตญาณปั ญญาเหมือนเทพ
102 8.2.2 เน้ น ให้ ร้ ู ความเป็ นจริ ง ของสัญ ชาตญาณปั ญ ญาว่ า พัฒ นามาตามล าดับ 5 กระบวนทรรศน์ (Paradigm) เลือกกระบวนทรรศน์สดุ ท้ ายคือ ลัทธิหลังนวยุคสายกลาง คือไม่ยึด มั่นถื อมั่น มีหลักยึดเหนี่ยวแต่ไม่ยึดติด ซึ่งเป็ นการพัฒนาขัน้ สุดท้ ายของกระบวนทรรศน์ของ มนุษยชาติมาถึงขณะนี ้ กระบวนทรรศน์ 5 ของมนุษยชาติได้ แก่ 8.2.2.1 กระบวนทรรศน์ดกึ ดาบรรพ์ : ทาตามน ้าพระทัยของเบื ้องบน 8.2.2.2 กระบวนทรรศน์โบราณ : ทาตามกฎของเจ้ าสานัก 8.2.2.3 กระบวนทรรศน์ยคุ กลาง : ทาตามบัญญัตขิ องศาสดา 8.2.2.4 กระบวนทรรศน์นวยุค : ทาตามระบบเครื อข่ายสากลของความรู้ 8.2.2.5 กระบวนทรรศน์หลังนวยุคสายกลาง (Moderate Postmodernism) : แต่ ละคนมีระบบเครื อข่ายของตนเองเพื่อ : 1) เก็บสิ่งสนใจเข้ าระบบเครื อข่ายส่วนตัว 2) เพื่อจา 3) เพื่ออธิบายได้ นา่ ฟั ง 4) เพื่อเก็บความรู้ใหม่อย่างน่าสนใจเพื่อจาได้ นานๆ 8.2.3 หลักยึดเหนี่ยวแต่ไม่ยดึ ติด (Detachment)ได้ แก่การพัฒนาคุณภาพชีวิต อลีนะ
อนาลีนะ
การยึดมัน่ ถือมัน่
การไม่ยดึ มัน่ ถือมัน่
แบ่งพวก
แบ่งกลุม่
แข่งขัน
ช่วยกัน
ไม่ไว้ ใจกัน
เชื่อใจกัน
ทาลายกัน
ส่งเสริมกัน
วิวาทะ
สันติภาพ
8.2.4 มีความสุขแท้ (AHAR) กับการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Enhancing the quality of life) เพราะเดินตามความเป็ นจริงแห่งธรรมชาติของมนุษย์
103 8.2.5 พัฒนาคุณภาพชีวิตด้ วยการดูแล (Caring) ตนเองและสรรพสิ่งให้ มีความสุขตาม ความเป็ นจริงของแต่ละสิ่ง จงทาด้ วยความสุขแท้ ตามความเป็ นจริง 8.2.6 การดูแ ลแสดงออกด้ ว ยการสร้ างสรรค์ (Creativity) ปรั บ ตัว (Adaptivity) แสวงหา (Requisitivity) และร่ วมมื อ (Collaborativity) จงทาทุกขัน้ ตอนด้ วยความสุขแท้ ตาม ความเป็ นจริง จุดเน้ นร่ วม มีความสุขแท้ ตามความเป็ นจริงในการปฏิบตั ทิ กุ ขันตอน ้
8.3 ผลที่คาดหวัง เป็ นข้ อเท็จจริ งว่าในช่วงหัวเลี ้ยวหัวต่อจของการปรับเปลี่ยนกระบวนทรรศน์แต่ละครัง้ จะมีคนจานวนหนึ่งที่เกิดมาพร้ อมกับกระบวนทรรศน์ใหม่ คนจานวนนี ้จะกระจายตัวกันเกิดใน สังคมต่างๆทัว่ โลกที่ร้ ูสกึ ว่ามีปัญหาทางตันกับการใช้ กระบวนทรรศน์เก่า จานวนเปอร์ เซ็นต์อาจจะ ต่าในช่วงแรก ๆ แต่จะค่อย ๆ สูงขึน้ เรื่ อย ๆ จนกลายเป็ นเรื่ องปกติ คนพวกนีไ้ ด้ ฟังนิดเดี ยวจะ เข้ าใจทะลุปรุ โปร่ งและพร้ อมจะเป็ นแนวร่ วมให้ ความช่วยเหลือเป็ นแกนนา พวกเขาจะเป็ นผู้นา อบรมคนอื่นในท้ องถิ่นของเขาต่อไป มีอีกจานวนหนึ่งที่ไม่มีกระบวนทรรศน์ใหม่ล่วงหน้ า แต่มี ความพร้ อมที่จะเปลี่ยนกระบวนทรรศน์ พวกนี ้จะสนใจฟั งจนเข้ าใจแล้ วจะอยากเป็ นแกนนาเพื่อ สืบสานต่อ บางคนต้ องฟั งหลาย ๆ ครัง้ จึงซาบซึ ้งและยินดีร่วมมือ อีกจานวนหนึ่ งเข้ าใจแล้ วก็เห็น ดีเห็นชอบ ไม่สนใจช่วย แต่ก็ไม่ขดั ขวาง จานวนหนึง่ ปั กจิตปั กใจกับกระบวนทรรศน์เดิม ยิ่งฟั งยิ่ง ต่อต้ าน งานของเราจึงควรมุ่งหาแนวร่ วมและเริ่ มทางานกับแนวร่ วม โดยไม่ต้องกังวลกับผู้ไม่ เห็นด้ วย
104
8.4 การขยายผล เมื่อมีแนวร่วมและแกนนาแล้ ว ต้ องดูแลให้ ทกุ คนมีบทบาท ซึ่งอาจจะฝึ กให้ เป็ นวิทยากร ระดับต่าง ๆ ตามความรู้ ความสามารถ หรื อเป็ นแนวร่ วมสนับสนุนด้ วยกาย วาจา ใจ หรื ออาจจะ เป็ นนักวิชาการช่วยวิจัยขยายเนือ้ หาทังด้ ้ านปรัชญา จิตวิทยา และสังคมวิทยา ทาอุปกรณ์ การ สอน ทาการประชาสัมพันธ์ ฯลฯ และทาคูม่ ือสอนบุคคลกลุ่มต่าง ๆ ตามระดับความรู้และความ สนใจต่าง ๆ
8.5 การบริหาร พยายามขอความร่ ว มมื อจากฝ่ ายรั ฐ บาล สถาบันศึกษา องค์ก ารศาสนา องค์ การ เอกชน เพื่ อ รั บ เป็ นเจ้ า ภาพด าเนิ น การให้ ก ว้ างขวางออกไปจนครอบคลุม ทั่ว ประเทศเหมื อ น Character Education Movement ในสหรัฐอเมริกา
8.6 ความสัมพันธ์ กับศาสนา ขอความร่ ว มมื อ จากองค์ ก ารศาสนาต่า ง ๆ แม้ ว่า นโยบายของเรากลับ ตาลปั ตรกับ นโยบายของศาสนา คือศาสนามุ่งสอนคนให้ มีศรัทธาต่อศาสนาเพื่อเป็ นคนดี ส่วนวิธีของเรามุ่ง แนะนาวิธีเป็ นคนดีอย่างมีความสุขก่อนเข้ าถึงศาสนา วิธี อบรมของเราจึงใช้ ได้ ดีสาหรับทุกศาสนา และกับผู้ยงั ไม่นบั ถือศาสนา ไม่ว่าจะนับถือศาสนาใดอยู่ก่อนหรื อไม่ เมื่อผ่านการอบรมแบบของเราแล้ ว ก็จะต่อ ยอดได้ ทุกศาสนา หรื อถ้ ายังไม่พร้ อมจะสนใจศาสนาใด เราก็ไม่ว่า ปล่ อยให้ เขามีความสุขกับ การทาดีแบบของเขาไป จนกว่าจะอยากนับถือศาสนาใดขึ ้นมาด้ วยความสนใจส่วนตัว
105
8.7 ค่ าใช้ จ่าย เราไม่ต้องการให้ การเงินเป็ นอุปสรรคการทางาน แต่เงินก็ช่วยส่งเสริ มการทางานได้ ดังนันผู ้ ้ ร่วมงานทุกท่านเป็ นอาสาสมัครทาการด้ วยจิตอาสาไม่หวังค่าตอบแทน เว้ นแต่จะมีผ้ เู ห็น คุณค่าและยินดีบริจาคช่วยเหลือและสนับสนุน แต่นนั่ ไม่ใช่เงื่อนไขให้ ทางาน
8.8 งานวิจัยต่ อไป อาจจะวิจยั ขยายความเชิงปรัชญาสาหรับแต่ละประเด็นที่ยกขึ ้นแถลงไว้ ในงานวิจยั นี ใ้ น ฐานะงานวิจยั นาร่อง นอกจากนันยั ้ งอาจจะวิจยั เชิงจิตวิทยาหรื อเชิงสังคมวิทยาสาหรับแต่ละเรื่ อง ที่ยกขึ ้นอ้ างในเชิงปรัชญา ยังอาจจะวิจยั ออกมาเป็ นบทเรี ยนสาหรับชันเรี ้ ยนต่าง ๆ ตังแต่ ้ ระดับ อนุบาลถึงปริญญาเอก บทเรี ยนสาหรับสังคมประเภทต่าง ๆ และระดับต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็ นชาวบ้ าน ข้ าราชการการเมือง ข้ าราชการประจา และนักวิชาการสาขาต่าง ๆ
106
บรรณานุกรม ภาษาไทย กีรติ บุญเจือ. จริ ยศาสตร์ ตามหลักวิชาการสากล. กรุ งเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริ มและพัฒนา พลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม, 2551 พิมพ์แจกอันดับที่ 59. ภาษาอังกฤษ Bauman, Zygmund. Postmodern Ethics. Oxford : Blackwell, 1996. Bitinas, Bronislav, ed. My Journey in Life : A Student Text Book for Character Education. Devine, Tony, ed. in chief. Cultivating Heart and Character : Educating for Life’s Most Essential Goals. Dickens David. Postmodernism and Social Inquiry. New York : Guilford, 1994. Francis Fukuyama, The End of History and the Last Man. New York: Free Press, 1992. Featherstone, Mike. Consumer Culture and Postmodernism. London : Sage, 1991. Huntington, Samuel P. The Clash of Civilizations and the Remaking of World Order. New York : Simon and Schuster, 1996. Huntington, Samuel P.. The Clash of Civilization. New York : Simon and Schuster, 1996. Kellner, Douglas. Baudrillard : A Critical Reader. Oxford : Blackwell, 1994. Morrow, Raymond A.. Critical Theory and Methodology. London : Sage, 1994. Moscow : International Educational Foundation, 2001.
107
Murphy, Nancey, Anglo-American Postmodernity. Oxford : Westview, 1997. NC : Character Development Publishing, 2000. New York : International Educational Foundation, 2001. Nucci, L.P. Handbook of Moral and Character Education. Routledge, 2008. Russell, William B. Reel Character Education. Information Age Publishing, 2010. Salls, Holly Shepard. Character Education, 2007. Scheurich, James J.. Research Method in Postmodernism. London : Sage, 1994. Schwartz, Merle J, ed. Effective Character Education. New York : Me Graw-Hill, 2008. Seuk, Joon Ho. Educating for Lifeâ&#x20AC;&#x2122;s True Purpose : Fostering Character, Love and Service. Smagorinsky, Peter. The Discourse of Character Education. Joel Taxel, 2005. Spring, Joel. Political Agendas for Education. Routledge, 2010. White, Stephen. Political Theory and Postmodernism. Cambridge : Cambridge University Press, 1991.
ประวัตผิ ้ ูเขียน ชื่อ -สกุล
ศาสตราจารย์กีรติ บุญเจือ
ประวัตกิ ารศึกษา ปรัชญามหาบัณฑิต University Urbaniana พ.ศ. 2495 ศาสนศาสตร์ มหาบัณฑิต University Urbaniana พ.ศ.2499 อักษรศาสตร์ มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2511 ตาแหน่งและสถานที่ทางานปั จจุบนั - ราชบัณฑิตสาขาอัคฆวิทยา (จริยศาสตร์ ) ประธานหลักสูตรดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาปรัชญาและจริยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนนั ทา ประสบการณ์ ผลงานทางวิชาการ ผลงานวิจยั - ตาราปรัชญา ประมาณ 40 เล่ม (ได้ รับรางวัล 3 เล่ม) - บทความวิชาการ ประมาณ 200 เรื่ อง - ปรัชญาอินเดียสาหรับนักปรัชญาคริสต์ (รางวัลภูมิพล) - ปรัชญาไทย (ทุนสภาวิจยั )