dhammapadafull

Page 1

คู่มืออ่านสังวัธยายพระไตรปิฎกสากล บำเพ็ญกุศลสืบทอดเสียงพระธัมม์

เนื่องในวโรกาส สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงเจริญพระชันษา 96 ปี พ.ศ. 2552


พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ชุด 39 เล่ม พ.ศ. 2436

พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน ชุด 40 เล่ม พ.ศ. 2548 - 2552

พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล ชุด 40 เล่ม พ.ศ. 2552 2


คำนำ พระไตรปิฎกเป็นที่ยอมรับของนานาประเทศว่าเป็นคลังอารยธรรมทางปัญญาอัน ล้ ำ ค่ า ของมนุ ษ ยชาติ โดยเฉพาะพระไตรปิ ฎ กสากลอั ก ษรโรมั น ซึ่ ง จั ด พิ ม พ์ โ ดย

กองทุ น สนทนาธั ม ม์ น ำสุ ข ท่ า นผู้ ห ญิ ง ม.ล.มณี รั ต น์ บุ น นาค ในพระสั ง ฆราชู ป ถั ม ภ์

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ตั้งแต่ พ.ศ. 2548 และ ปัจจุบันมูลนิธิร่วมจิตต์น้อมเกล้าฯ เพื่อเยาวชน ในพระบรมราชินูปถัมภ์ได้จัดทำโครงการ สมทบกองทุนเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลในสมเด็จพระกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เพื่อเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลให้แพร่หลายยิ่งขึ้น กรุงเทพมหานคร ในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และเมืองหลวงของประเทศไทย มีหน้าที่ในการเสริมสร้างกรุงเทพมหานครที่มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ส่งเสริมและ สนับสนุนให้กรุงเทพมหานครเป็นเมืองแห่งศาสนา จึงได้ร่วมจัดกิจกรรมตามโครงการ

พระไตรปิฎกสากลมาแต่เริม่ แรก โดยเป็นผูร้ เิ่ ริม่ การจัดพิธอี า่ นสังวัธยายพระไตรปิฎกสากล ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปีพุทธศักราช 2551 ณ ลานคนเมือง ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ซึ่ง เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการศึกษาพระไตรปิฎกด้วยการอ่าน ออกเสียงภาษาปาฬิ และภาคแปลเป็นภาษาต่างๆ เนื่องในโอกาสที่มูลนิธิร่วมจิตต์น้อมเกล้าฯ เพื่อเยาวชน ในพระบรมราชินูปถัมภ์ โดยโครงการสมทบกองทุนเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ร่วมกับกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ กำหนดจัดงานพิธีสมโภชและถวายพระไตรปิฎกสากล แด่สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ในวโรกาสทรงเจริญ พระชันษา 96 ปี โดยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงรั บ เชิ ญ เสด็ จ เป็ น องค์ ป ระธานในพิ ธี ในวั น อั ง คารที่ 24 พฤศจิ ก ายน 2552 ณ

วัดพระศรีรตั นศาสดารามกรุงเทพมหานครจึงได้จดั พิมพ์ “คูม่ อื การอ่านสังธยายพระไตรปิฎก สากล เนื่องในวโรกาสที่สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงเจริญพระชันษา 96 ปี” เพื่อเป็นธัมมทานแก่ประชาชนที่จะมาร่วมในพิธีดังกล่าว กรุงเทพมหานครหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าคูม่ อื การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎกสากลเล่มนี้ จะส่งผลให้ประชาชนทัว่ ไปมีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎกสากล อั น เป็ น การบำเพ็ ญ กุ ศ ลปั ญ ญาบารมี ใ นมิ ติ ใ หม่ และเป็ น การเสริ ม สร้ า งความสามั ค คี

พร้อมกับน้อมนำพระพุทธพจน์ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไว้เป็นแนวทางในการดำรงชีวิต เพื่อสันติสุขที่ยืนยาวตลอดไป กรุงเทพมหานคร 3


ตัวอย่างการเทียบภาษาปาฬิ อักษรสยามกับอักษรโรมัน ในพระไตรปิฎกจุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 อักษรสยาม 4


สารบัญ

สารบัญ

สารบั ญ คัดเลือกจากพระไตรปิฎกปาฬิ : ธัมมบท หรือ ธัมมปทะ (Dhammapada) และแปลเป็นภาษาอังกฤษและภาษาไทย ในวงเล็บ ( ) คือเลขลำดับธัมมบทเพื่ออ้างอิงสู่พระไตรปิฎกปาฬิ คัดเลือกจากพระไตรปิฎกปาฬิ : ธัมมบท หรือ ธัมมปทะ (Dhammapada) และแปลเป็นภาษาอังกฤษและภาษาไทย ในวงเล็บ ( ) คือเลขลำดับธัมมบทเพื่ออ้างอิงสู่พระไตรปิฎกปาฬิ แปลไทย

ธัมมะทั้งหลาย

แปลไทย

ใจผ่องใส

ภาษาปาฬิ dhammā

(1)

ภาษาปาฬิ

แปลอังกฤษ

หน้า

All Dhammas

15

Purity

17

แปลอังกฤษ

mana pasanna

(2)

หน้า

ธัมมะทั้งหลาย

dhammā

ใจผ่องใส

mana pasanna

สาระ

sāra

พระสั ธัมม์ ที่พึ่งทของตน

saddhamma

(60)

บาปกั มม์ทธเจ้าทั้งหลาย พระพุ

pāpakamma

(127)

ที่พนิึ่งพของตน พานเป็นบรมสุข

atta nātha (160) sukha (204) Foremost Your Own Refuge nibbāna parama Bliss

29 25

พระพุ ทธเจ้าทั้งหลาย พึงชนะ

buddhā jina (223)(183)

31 27

นิพอนั พานเป็ ตตา นบรมสุข

nibbāna parama sukha (204)Non-self Foremost Bliss anattā (279)

33 29

พึงชนะที ชนะ ่ล้วนเป็นเลิศ

jināti (354) jina (223)

Excels Overcome

35 31

อนัพระพุ ตตา ทธเจ้า

buddha(279) (387) anattā

The Buddha Non-self

37 33

ชนะที่ล้วนเป็นเลิศ

jināti

Excels

35

พระพุทธเจ้า

buddha

The Buddha

37

สาระ

พระสัทธัมม์ บาปกัมม์

sāra

All Dhammas

(1)

Essence

(12)

saddhamma (12)

pāpakamma atta nātha buddhā

(2)

Dhamma of the Virtuous

(127)

Evil Deeds

Essence

Dhamma of the Virtuous

Your Own Refuge

(160)

(183)

Purity

(60)

Evil Deeds

The Buddhas

The Buddhas Overcome

(354) (387)

5

19 21 23 25 27

15 17 19 21 23


40-Volume Set Edition (Visual Details)

3

1

Vinayapiṭa 5 Vols.

Showing Piṭaka Sequences and Title Volumes

อะ a อา ā อิ i อี ī อุ u อู ū เอ e โอ o

[ a ] [ aː ] [ i ] [ iː ] [ u ] [ uː ] [ eː ] [ oː ]

Abhidhammapiṭa 12 Vols.

ก์ k [ k ] ข์ kh [ kʰ ] ค์ g [ g ] ฆ์ gh [ gʱ ] ง ṅ [ ŋ ]

Suttantapiṭa 23 Vols.

จ์ c [ c ] ฉ์ ch [ cʰ ] ช์ j [ ɟ ] ฌ์ jh [ ɟʱ ] ์ ñ [ ɲ ] 2 Tipiṭaka Studies References by Dhamma Society 2009

ฏ์ ṭ [ ʈ ] ์ ṭh [ ʈʰ ] ฑ์ ḍ [ ɖ ] ฒ์ ḍh [ ɖʱ ] ณ์ ṇ [ ɳ ] ต์ t [ t̪ ] ถ์ th [ t̪ʰ ] ท์ d [ d̪ ] ธ์ dh [ d̪ʱ ] น์ n [ n̪ ] ป์ p [ p ] ผ์ ph [ pʰ ] พ์ b [ b ] ภ์ bh [ bʱ ] ม์ m [ m ]

สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พ.ศ. 2548 ฉายพระรูปกับคณะทูตานุทูตประเทศต่างๆ ที่เคยได้รับพระราชทานพระไตรปิฎกอักษรสยาม จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 6

ย ๎ y [ j ] ร ๎ r [ ɻ ] ล ๎ l [ l̪ ] ว ๎ v [ ʋ ] ส ๎ s [ s̪ ] ห ๎ h [ ɦ ] ฬ ๎ ḷ [ ɭ ] อํ aṃ [ ã ]


คำอธิบายข้อมูลและการใช้หนังสือ หนังสือเล่มนี้เป็นตัวอย่างข้อมูลพระไตรปิฎกสากล จัดพิมพ์เป็นธัมมทานเพื่อ การศึกษาพระไตรปิฎก และเฉลิมพระเกียรติสถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ โดย

นำเสนอด้วยเทคโนโลยีสื่อผสมรูปแบบใหม่ต่างๆ ทั้งด้านสื่อการพิมพ์ สื่อสารสนเทศ

ฐานข้อมูลและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รวม 7 ประเภท คือ

ฐานข้อมูลพระไตรปิฎกสากลอักษรโรมัน (World Tipiṭaka Edition in ข้อมูลนี้สร้างขึ้นโดยกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ และเผยแผ่โดย โครงการสมทบกองทุนแผยแผ่พระไตรปิฎกสากลในสมเด็จกรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ ดำเนินการโดยมูลนิธิร่วมจิตต์น้อมเกล้าฯ เพื่อเยาวชน ในพระบรม ราชินูปถัมภ์ ซึ่งนำเสนอพร้อมระบบบริการเว็บเซอร์วิส ชื่อ Tipiṭaka WebService และ สามารถเทียบข้อมูลฉบับอักษรโรมันกับ ฉบับอักษรสยามจำนวน 16,248 ภาพ จำนวน

6.1 กิก ๊ กะไบ๊ท์ ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของผลการศึกษาและพัฒนาข้อมูลในโครงการพระไตรปิฎกสากล พ.ศ. 2552 ซึ่งสามารถสืบค้นได้ที่ www.worldtipitaka.org 1

Roman Script)

ข้อมูลนี้แสดงความสำคัญของพระไตรปิฎกอักษรโรมันซึง่ เป็นคลังอารยธรรม ทางปัญญา ซึง่ ปัจจุบนั สามารถศึกษาเชิงบูรณาการ ในรูปแบบดิจิทัลที่เป็นมาตรฐานสากล และ เป็นระบบเปิด (open standard/opensource) 2 ข้อมูลภาพจดหมายเหตุพระไตรปิฎกสากลอักษรโรมัน ข้อมูลนี้ กองทุน สนทนาธั ม ม์ น ำสุ ข ฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ ได้รวบรวมไว้ จ ากการดำเนิ น งานจั ด ทำ โครงการพระไตรปิฎกสากลอักษรโรมัน ตั้งแต่ พ.ศ. 2542 - ปัจจุบัน รวมทั้งการจัด

งานพระราชทานพระไตรปิฎกสากลชุดนี้แก่สถาบันต่างๆ ในนานาประเทศด้วย

ปัจจุบันมีไม่น้อยกว่า 37 สถาบันใน 17 ประเทศ ที่ได้รับพระไตรปิฎกสากล เป็ น พระธั ม มทานในสมเด็ จ กรมหลวงนราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ ซึ่ ง สามารถสื บ ค้ น ได้ ที่ www.tipitakahall.net 3 ข้อมูลการออกเสียงปาฬิ ข้อมูลนีค ้ อื ปาฬิ (Pāḷi) หรือภาษาพระธัมม์ ทีบ่ นั ทึก

พระไตรปิฎก ซึ่งสมัยรัชกาลที่ 5 ได้พมิ พ์เป็นอักษรสยาม (Siam script) และเปรียบเทียบ โดยการปริวรรตอักษร (transliteration) เป็นอักษรโรมัน (Roman script)

ปัจจุบนั ได้ถา่ ยถอดเสียงปาฬิ (Pāḷi transcription) เป็นสัททอักษรสากลปาฬิ ( International Phonetic Alphabet Pāḷi , IPA Pāḷi ) โดยแสดงเป็ น สั ญ ลั ก ษณ์

สัททอักษรสากลใน [ ] ซึ่งเป็นระบบการออกเสียงสากลที่ช่วยส่งเสริมการอ่านสังวัธยาย

พระไตรปิฎกปาฬิให้แพร่หลายยิ่งขึ้น พร้อมกับส่งเสริมการอ่านออกเสียงให้ถูกต้องทั้งตาม

ความหมายของศัพท์และเสียงปาฬิทสี่ บื ทอดมา ข้อมูล IPA Pāḷi ในหนังสือนี้ จัดทำโดย

ผู้เชี่ยวชาญแห่งราชบัณฑิตยสถาน ในด้านภาษา นิรุกติศาสตร์ และภาษาศาสตร์ ค้นได้ที่ www.tipitakaquotation.net 7


อะ a อา ā อิ i อี ī อุ u อู ū เอ e โอ o

[a ] [ aː ] [i] [ iː ] [u ] [ uː ] [ eː ] [ oː ]

ธัมมะทั้งหลาย 4 มโนปุพ์พังคมา ธัม์มา... 5

ก์ k [ k ] ข์ kh [ kʰ ] ค์ g [ g ] ฆ์ gh [ gʱ ] ง ṅ [ ŋ ] จ์ ฉ์ ช์ ฌ์ ์

c ch j jh ñ

[c ] [ cʰ ] [ ɟ ] [ ɟʱ ] [ ɲ ]

ฏ์ ṭ [ ʈ ] ์ ṭh [ ʈʰ ] ฑ์ ḍ [ ɖ ] ฒ์ ḍh [ ɖʱ ] ณ์ ṇ [ ɳ ] ต์ ถ์ ท์ ธ์ น์

t [ t̪ ] th [ t̪ʰ ] d [ d̪ ] dh [ d̪ʱ ] n [ n̪ ]

ป์ ผ์ พ์ ภ์ ม์

p [p ] ph [ pʰ ] b [b ] bh [ bʱ ] m [ m]

ย๎ y [ j ] ร ๎ r [ ɻ ] ล ๎ l [ l̪ ] ว ๎ v [ ʋ ] ส ๎ s [ s̪ ] ห ๎ h [ ɦ ] ฬ ๎ ḷ [ ɭ ] อํ aṃ [ ã ]

Manopubbaṅgamā dhammā, Manoseṭṭhā manomayā; Manasā ce paduṭṭhena, Bhāsati vā karoti vā; Tato naṃ dukkhama‿ nveti, Cakkaṃva vahato padaṃ. (1)

6 ธัมมะทั้งหลายเกิดจากใจก่อน, มีใจเป็นใหญ่ สําเร็จด้วยใจ; ถ้าบุคคลมีใจประทุษร้าย, กล่าวอยู่ก็ตาม ทําอยู่ก็ตาม; ความทุกข์ย่อมตามเขาไป, เสมือนล้อหมุนตามรอยเท้าผู้ลากไป ฉะนั้น. (1) 6

7

Mind precedes all Dhammas, Mind is their chief; they are mind-made; If with an evil mind A person speaks or acts; Suffering thus follows him, As the wheels that follow the footstep of the drawer. (1) ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก ถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ ขอให้ข้าพเจ้าและประเทศชาติ ปราศจากภยันตราย และเจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.

ดัชนีต่างๆ ในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index ชื่อ : DHAMMAPADA 1/423 : Cakkhupālattheravatthu Story of Cakkhupāla เรื่องพระเถระ ชื่อจักขุปาละ ศัพท์ธมั มสังคณี : dhammā → Dhamma ธัมมะ 29Dhs:542 dukkhamanveti → Dukkha : suffering, ทุกขะ 29Dhs:1055; Manasā → Mana : mind, มนะ 29Dhs:385 ปิฎกอ้างอิง : Cakkhupāla 19Th1:214 คลังข้อมูลปาฬิ : Manopubbaṅgamā dhammā... 27Ne:620; 27Pe:156 คำสำคัญ: cakka, wheel, ล้อ 29

คำอธิบายข้อมูลและวิธีใช้หนังสือ 20 8


ข้อมูลภาษาปาฬิ พระไตรปิฎกจุลจอมเกล้าบรมธัมั มิกมหาราช ร.ศ. 112 อักษรสยาม (Chulachomklao Pāḷi Tipiṭaka Edition 1893 in Siam Script) เป็นข้อมูลภาษาปาฬิ อักษร สยาม สืบค้นได้ที่ www.tipitakahall.net ซึง่ ได้นำมาจัดพิมพ์เฉพาะบรรทัดแรก เป็นตัวอย่าง เพือ่ เทียบภาษาปาฬิอกั ษรสยามกับภาษาปาฬิอกั ษรโรมัน ข้อมูลนีแ้ สดงความสำคัญของพระไตรปิฎกฉบับอักษรสยาม ซึง่ เป็นการจัดพิมพ์

พระไตรปิฎกปาฬิเป็นครัง้ แรกในโลก และเป็นเอกสารสำคัญในการศึกษาการออกเสียง ภาษาปาฬิ และการจัดทำสัททอักษรสากลปาฬิ ในข้อ 3 และมีรายละเอียดทีห่ น้า 10-11 5 ข้อมูลการเรียงพิมพ์ภาษาปาฬิ พระไตรปิฎกสากลอักษรโรมัน (Pāḷi Tipiṭaka in Roman Script : the World Edition 2005) เป็นข้อมูลดิจท ิ ลั ทีไ่ ด้พฒ ั นาต่อจากการพิมพ์

พระไตรปิฎกในอดีต โดยสามารถเผยแผ่ในรูปแบบการพิมพ์ หรือเว็ปไซด์ เป็นต้น เป็นธัมมทาน ตามรอยพระไตรปิฎกอักษรสยาม สืบค้นได้ที่ www.worldtipitaka.org หมายเลขในวงเล็บท้ายบท (1) คือเลขลำดับธัมมบทเพือ่ อ้างอิงในพระไตรปิฎก 6 ข้อมูลภาคแปลพระไตรปิฎกสากล (World Tipiṭaka Translation) ซึ่ง เป็นการแปลใหม่จากต้นฉบับปาฬิอกั ษรโรมันเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยผูเ้ ชีย่ วชาญ จากราชบัณฑิตยสถาน ร่วมกับโครงการพระไตรปิฎกสากล โดยแปลและพิมพ์เทียบบรรทัดต่อ บรรทัดเพือ่ สะดวกในการอ่านสังวัธยายพร้อมกันเป็นภาษาต่างๆ การแปลนีเ้ รียกว่า “แปลโดย พยั ญ ชนะและตามโครงสร้ า งพระไตรปิ ฎ ก” ในการจั ด พิ ม พ์ ค รั้ ง นี้ ผู้ เชี่ ย วชาญจาก ราชบัณฑิตยสถาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณาจารย์สว่ นการศึกษา รร.จปร. ได้รว่ มเป็น บรรณาธิการด้วย ซึง่ สืบค้นได้ที่ www.tipitakahall.net หมายเลขในวงเล็บท้ายบท (1) คือลำดับคาถาธัมมบทในพระไตรปิฎก ข้อมูลนีแ้ สดงตัวอย่างวิธกี ารแปลพระไตรปิฎกปาฬิจากต้นฉบับสากลและแปล จากฐานข้อมูลพระไตรปิฎกทีย่ งั ไม่เคยมีการจัดทำมาก่อน เป็นผลงานสหวิทยาการทีใ่ ช้ระบบ

ฐานข้อมูล ซึง่ จะส่งเสริมให้เกิดความรวดเร็วในการแปลและจัดพิมพ์ ทำให้การแปลจากต้นฉบับ สากลถูกต้องยิง่ ขึน้ นอกจากนีย้ งั ได้ตรวจทานคำทีพ่ มิ พ์ตา่ ง (variant readings) ในเชิงอรรถ ต้นฉบับพระไตรปิฎกสากลแล้วด้วย สืบค้นได้ที่ www.tipitakaquotation.net 7 ข้อมูลดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล (World Tipiṭaka Translation Index) เป็นตัวอย่างการใช้ความรูท้ างวิศวกรรมศาสตร์คอมพิวเตอร์ (data mining) และความรูท้ าง ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (computational linguistics) ไปบูรณาการกับพระไตรปิฎกศึกษา (Tipiṭaka Studies) ดัชนีในการแปลมี 5 ประเภท คือ ดัชนีชอื่ (title), ดัชนีปฎ ิ กอ้างอิง (Tipiṭaka references), ดัชนีศพ ั ท์ธมั มสังคณี (Dhammasaṅgaṇī teminology), ดัชนีคลังข้อมูลปาฬิ (Pāḷi corpus), และดัชนีคำสำคัญ (key word) ผูต ้ อ้ งการศึกษาการอ้างอิงเล่มในพระไตรปิฎกสากล

ดูหน้า 26 พระไตรปิฎกระดับสูง สืบค้นได้ที่ www.tipitakaquotation.net ข้อมูลนีแ้ สดงความสำคัญของฐานข้อมูลพระไตรปิฎกสากล (World Tipiṭaka Database) ซึง่ ได้จด ั ทำสำเร็จในประเทศไทยและแสดงให้เห็นได้วา่ สามารถส่งเสริมการแปล

พระไตรปิฎกภาษาปาฬิเป็นภาษาต่างๆ และนำไปบูรณาการในเชิงสหวิทยาการเพื่อสร้าง

องค์ความรูใ้ หม่ๆ ได้ตอ่ ไปด้วย

4

9


ปริวรรตอักษร : อักษรสยามเทียบอักษรโรมัน พระไตรปิฎกปาฬิ ฉบับจุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436)

10


ปริวรรตอักษรและถ่ายถอดเสียง : อักษรสยาม/โรมัน และสัททอักษรสากลปาฬิ พระไตรปิฎกปาฬิ ฉบับมหาสังคายนาสากลนานาชาติ พ.ศ. 2548 อักษรสยามกับอักษรโรมันจากการเทียบเสียงในพระไตรปิฎกฉบับรัชกาลที่ 5 (พ.ศ.2436) พระไตรปิฎกฉบับพิมพ์ชุดแรกของโลก เป็นคำที่ใช้ในคัมภีร์สัททนีติ ซึ่งได้พิมพ์เปรียบเทียบไว้กับคำที่ใช้ในทางสัททศาสตร์

c ch j jh ñ

จ์ ฉ์ ช์ ฌ์ ์

ṭ ṭh ḍ ḍh ṇ

ฏ์ ์ ฑ์ ฒ์ ณ์

t th d dh n

ต์ ถ์ ท์ ธ์ น์

p ph b bh m

ป์ ผ์ พ์ ภ์ ม์

y r l v s h ḷ aṃ

ย๎ ร๎ ล๎ ว๎ ส๎ ห๎ ฬ๎ อํ

ū

อุ

[u]

e

อู

[uː]

o

เอ

[eː]

ลักษณะการเปล่งเสียง

เสียงกัก

เสียงเปิด (Approximant)

(Stops)

อโฆสะ 2

โฆสะ 2

ตาลุ 2

(Palatal)

มุทธะ 2

(Retroflex)

[ɦ] k [k] c [c] ṭ [ʈ ]

ทันตะ 2

t

(Dental)

[ t̪]

โอฏฐะ 2

p

(Bilabial)

(Fricative)

(Lateral)

h

กัณฐะ 2 กัณฐะ 2

เสียงเสียดแทรก

เสียงข้างลิ้น

(Non-lateral)

ไม่ใช่เสียงข้างลิ้น

(Voiced)

นาสิก (Nasal)

(Voiceless )

(Glottal) (Velar)

โอ

[oː]

(Manner of Articulation)

(Aspirated)

ก์ ข์ ค์ ฆ์ ง

u

อี

[iː]

ธนิต 2

k kh g gh ṅ

ī

อิ

[i]

(Unaspirated)

อ1 อา อิ อี อุ ฐานที่เกิดเสียง อู (Places of เอ โอ Articulation)

i

อา

สิถิล 2

a ā i ī u ū e o

ā [aː]

สิถิล 2

(Aspirated)

a [a]

ธนิต 2

2

(Unaspirated)

1

[p]

ก์

kh

ข์

g

จ์

ch [cʰ]

ฉ์

j

ฎ์

ṭh

์

ต์

th

ป์

ph

[kʰ]

[ʈʰ] [ t̪ʰ] [pʰ]

ถ์ ผ์

[ɡ] [ ɟ] [ɖ ] d [d̪] b [b]

ค์ ช์ ฑ์ ท์ พ์

gh [ɡʱ] jh [ ɟʱ] ḍh [ɖʱ] dh [d̪ʱ] bh [bʱ]

ฆ์ ฌ์ ฒ์

ṅ [ŋ] ñ [ ɲ] ṇ [ɳ ]

ธ์

n

ภ์

m

[n̪] [m]

ง ์ ณ์

y [ j] r [ɻ ]

(i)ṃ [ĩ] (u)ṃ [ũ]

ฬ๎ ล๎

s [ s̪ ]

ส๎

ม์ v

นาสิกา 2

ḷ [ɭ ] [ l ̪]

[ʋ]

(Nasal Cavity)

ร๎

l

ทันโตฏฐะ 2

(a)ṃ

ย๎

น์

(Labio-dental)

[ã]

ห๎

ว๎

อํ อิํ อุํ วิจินตน์ ภาณุพงศ์ 2552

11


40-Volume Set Edition (Visual Details)

Suttantapiṭa 23 Vols.

Abhidhammapiṭa 12 Vols.

Vinayapiṭa 5 Vols.

Showing Piṭaka Sequences and Title Volumes

พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน ชุด 40 เล่ม

12

Tipiṭaka Studies References by Dhamma Society 2009


อะอะa a[ a[ a] ] อาอา ā ā[ aː [ aː ] ] อิ อิi i [ i[ ]i ] อี อี ī ī [ iː [ iː ] ] อุ อุu u[ u[ u] ] อู อู ū ū[ uː [ uː ] ] เอเอe e [ eː [ eː ] ] โอโอo o[ oː [ oː ] ] ก์ ก์k k[ k[ k] ] ข์ ข์khkh[ kʰ [ kʰ ] ] ค์ ค์g g[ g[ g] ] ฆ์ ฆ์ghgh[ gʱ [ gʱ ] ] ง ง ṅ ṅ[ ŋ ] [ ŋ ] จ์ จ์c c [ c[ c] ] ฉ์ ฉ์chch[ cʰ [ cʰ ] ] ช์ ช์j j [ ɟ[ ]ɟ ] ฌ์ ฌ์jhjh[ ɟ[ ʱ ]ɟʱ ] ์ ์ñ ñ[ ɲ[ ]ɲ ] ฏ์ ฏ์ ṭ ṭ [ ʈ ] [ ʈ ] ์ ์ ṭh ṭh[ ʈʰ [ ʈʰ ] ] ฑ์ ฑ์ ḍ ḍ[ ɖ ] [ ɖ ] ฒ์ ฒ์ ḍh ḍh [ ɖʱ [ ɖʱ ] ] ณ์ณ์ ṇ ṇ[ ɳ ] [ ɳ ] ต์ ต์t t [ t̪[ t̪ ] ] ถ์ ถ์thth[ t̪[ t̪ ʰ ] ʰ ] ท์ ท์d d[ d̪[ d̪ ] ] ธ์ ธ์ dhdh[ d̪[ d̪ ʱ ] ʱ ] น์ น์n n[ n̪[ n̪ ] ]

คำอธิบ้อายเนื บหาการพิ ายเนื้อหาการพิ ้อหาการพิ คำอธิบคำอธิ ายเนื มพ์ มพ์มพ์

นโม นโมตัสตั์ส์สภควโต ภควโตอรหโต อรหโตสัมสั์มาสั ์มาสัม์พม์พุทุท์ธัส์ธ์สั ์ส

ภาษาปาฬิ ภาษาปาฬิอักอัษรสยาม กษรสยามตามที ตามที ่พิม่พพ์ิมใพ์นพระไตรปิ ในพระไตรปิ ฎกสมั ฎกสมั ยรัยชรักาลที ชกาลที ่ 5่ 5

Namo Namotassa tassaBhagavato Bhagavato Arahato ArahatoSammāsambuddhassa. Sammāsambuddhassa.

ภาษาปาฬิ ภาษาปาฬิอักอัษรโรมั กษรโรมั น นจากพระไตรปิ จากพระไตรปิ ฎกฉบั ฎกฉบั บสากล บสากล

ขอนอบน้ ขอนอบน้อมแด่ อมแด่พพระผู ระผู้มีพ้มีพระภาคพระองค์ ระภาคพระองค์นั้นั้น ผู้เผูป็้เนป็พระอรหั นพระอรหันตสั นตสัมมาสั มมาสัมพุมพุทธเจ้ ทธเจ้า า ภาคแปลพระไตรปิ ภาคแปลพระไตรปิ ฎกภาษาไทย ฎกภาษาไทยพ.ศ. พ.ศ.2552 2552

Homage Homagetotothe theBlessed BlessedTeacher Teacher The ThePerfected Perfectedand andFully FullySelf-awakened Self-awakenedOne. One.

ภาคแปลพระไตรปิ ภาคแปลพระไตรปิ ฎกภาษาอั ฎกภาษาอั งกฤษ งกฤษพ.ศ. พ.ศ.2552 2552

ป์ ป์p p[ p[ p] ] ผ์ ผ์phph[ pʰ [ pʰ ] ] พ์ พ์b b[ b[ b] ] ภ์ ภ์bhbh[ bʱ [ bʱ ] ] ม์ ม์mm[ m[ m ] ] ย ๎ ยy๎ y[ j[ ]j ] ร ๎ ร ๎r r [ ɻ ] [ ɻ ] ล ๎ ลl๎ l [ l[ l̪ ] ̪ ] ว ๎ ว v๎ v[ ʋ ] [ ʋ ] ส ๎ สs๎ s [ s̪[ s̪ ] ] ห ๎ หh๎ h[ ɦ ] [ ɦ ] ฬ ๎ ฬ ḷ๎ ḷ [ ɭ ] [ ɭ ] อํ อํaṃaṃ[ ã[ ã] ]

ดัชดันีชตนี่าตงๆ ่างๆในการแปลพระไตรปิ ในการแปลพระไตรปิ ฎกสากล ฎกสากล: World : WorldTipiṭaka TipiṭakaTranslation TranslationIndex Index ชื่อชื่อ: : -ศัพศัท์พธท์มั ธมสั มั มสั งคณี งคณี: -: ปิฎปิกอ้ ฎกอ้ างอิางอิ ง :ง : Paramatthadīpanī Paramatthadīpanī (Khuddakanikāya) (Khuddakanikāya) คลัคลั งข้งอข้มูอลมูปาฬิ ลปาฬิ: Namo tassa Bhagavato Arahato Sammāsambuddhassa : Namo tassa Bhagavato Arahato Sammāsambuddhassa มีใมีนพระไตรปิ ในพระไตรปิ ฎกทุ ฎกทุ กเล่กเล่ มม คำสำคั คำสำคั ญ:ญ: Bhagavato, Bhagavato, the the Blessed Blessed Teacher, Teacher, พระผู พระผู ้มีพ้มระภาค; ีพระภาค; Arahato, Arahato, The The Perfected, Perfected, พระอรหั พระอรหั นต์นต์ 13

2727


The World Tipiṭaka Council 1956-1957

The World Tipiṭaka Edition 1957 Roman Script 2005 พระไตรปิฎกสากล (World Tipiṭaka Edition) จากต้นฉบับภาษาปาฬิของการประชุมสังคายนานานาชาติ พ.ศ. 2500 จัดพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์อักษรโรมัน โดยกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ พ.ศ. 2548 14


อะ a อา ā อิ i อี ī อุ u อู ū เอ e โอ o

[a ] [ aː ] [i] [ iː ] [u ] [ uː ] [ eː ] [ oː ]

ก์ ข์ ค์ ฆ์ ง

k [k ] kh [ kʰ] g [g ] gh [ gʱ ] ṅ [ŋ ]

จ์ ฉ์ ช์ ฌ์ ์

c [c ] ch [ cʰ ] j [ɟ ] jh [ ɟʱ ] ñ [ɲ]

ฏ์ ์ ฑ์ ฒ์ ณ์

ṭ [ʈ] ṭh [ ʈʰ ] ḍ [ɖ ] ḍh [ ɖʱ] ṇ [ɳ ]

ต์ ถ์ ท์ ธ์ น์

t [ t̪ ] th [ t̪ʰ] d [ d̪ ] dh [ d̪ʱ] n [ n̪ ]

ป์ ผ์ พ์ ภ์ ม์

p [p ] ph [ pʰ] b [b ] bh [ bʱ] m [ m]

ย​๎ y [ j ] ร​๎ r [ ɻ ] ล​๎ l [ l̪ ] ว​๎ v [ ʋ ] ส​๎ s [ s̪ ] ห​๎ h [ ɦ ] ฬ​๎ ḷ [ ɭ ] อํ aṃ [ ã ]

ธัมมะทั หลาย ธัม้งมะทั ้งหลาย มโนปุพ์พังคมา ธัม์มา... Manopubbaṅgamā dhammā, Manoseṭṭhā manomayā; Manasā ce paduṭṭhena, Bhāsati vā karoti vā; Tato naṃ dukkhama‿ nveti, Cakkaṃva vahato padaṃ. (1)

ธัมมะทั้งหลายเกิดจากใจก่อน, มีใจเป็นใหญ่ สําเร็จด้วยใจ; ถ้าบุคคลมีใจประทุษร้าย, กล่าวอยู่ก็ตาม ทําอยู่ก็ตาม; ความทุกข์ย่อมตามเขาไป, เสมือนล้อหมุนตามรอยเท้าผู้ลากไป ฉะนั้น. (1)

Mind precedes all Dhammas, Mind is their chief; they are mind-made; If with an evil mind A person speaks or acts; Suffering thus follows him, As the wheels that follow the footstep of the drawer. (1) ด้วยอำนาจสัจจวาจา​และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก​ ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่​สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ​ และขอให้ข้าพเจ้า​และประเทศชาติปราศจากภยันตราย​เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ​เทอญ.

ดัชนีต่างๆ ในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index ชื่อ​:​​ DHAMMAPADA 1/423 :​Cakkhupālattheravatthu ​ Story of Cakkhupāla เรื่องพระเถระ​ชื่อจักขุปาละ​ ศัพท์ธมั มสังคณี​:​dhammā →​Dhamma ธัมมะ​29Dhs:542 ​ dukkhamanveti →​Dukkha :​suffering, ทุกขะ​29Dhs:1055; ​ Manasā →​Mana :​mind, มนะ​29Dhs:385 ปิฎกอ้างอิง​:​ Cakkhupāla 19Th1:214 คลังข้อมูลปาฬิ​:​ Manopubbaṅgamā dhammā... 27Ne:620; 27Pe:156 คำสำคัญ:​ cakka, wheel, ล้อ 25 15


สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จจาริกทรงอัญเชิญพระไตรปิฎกสากลชุดปฐมฤกษ์ เพื่อพระราชทานเป็นพระธัมมทานแก่ประเทศศรีลังกา ณ กรุงโคลัมโบ วันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2548 16


อะ a อา ā อิ i อี ī อุ u อู ū เอ e โอ o

[a ] [ aː ] [i] [ iː ] [u ] [ uː ] [ eː ] [ oː ]

ก์ ข์ ค์ ฆ์ ง

k [k ] kh [ kʰ] g [g ] gh [ gʱ ] ṅ [ŋ ]

จ์ ฉ์ ช์ ฌ์ ์

c [c ] ch [ cʰ ] j [ɟ ] jh [ ɟʱ ] ñ [ɲ]

ฏ์ ์ ฑ์ ฒ์ ณ์

ṭ [ʈ] ṭh [ ʈʰ ] ḍ [ɖ ] ḍh [ ɖʱ] ṇ [ɳ ]

ต์ ถ์ ท์ ธ์ น์

t [ t̪ ] th [ t̪ʰ] d [ d̪ ] dh [ d̪ʱ] n [ n̪ ]

ป์ ผ์ พ์ ภ์ ม์

p [p ] ph [ pʰ] b [b ] bh [ bʱ] m [ m]

ย​๎ y [ j ] ร​๎ r [ ɻ ] ล​๎ l [ l̪ ] ว​๎ v [ ʋ ] ส​๎ s [ s̪ ] ห​๎ h [ ɦ ] ฬ​๎ ḷ [ ɭ ] อํ aṃ [ ã ]

ใจผ่องใส ใจผ่องใส มโนปุพ์พังคมา ธัม์มา... Manopubbaṅgamā dhammā, Manoseṭṭhā manomayā; Manasā ce pasannena, Bhāsati vā karoti vā; Tato naṃ sukhama‿ nveti, Chāyāva anapāyinī. (2)

ธัมมะทั้งหลายเกิดจากใจก่อน, มีใจเป็นใหญ่ สําเร็จด้วยใจ; ถ้าบุคคลมีใจผ่องใส, กล่าวอยู่ก็ตาม ทําอยู่ก็ตาม; ความสุขย่อมตามเขาไป, เสมือนเงาที่ไม่แยกจากไป ฉะนั้น. (2)

Mind precedes all Dhammas, Mind is their supreme; they are all mind-made; If with a pure mind A person speaks or acts; Happiness thus follows him, Like his never-departing shadow. (2) ด้วยอำนาจสัจจวาจา​และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก​ ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่​สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ​ และขอให้ข้าพเจ้า​และประเทศชาติปราศจากภยันตราย​เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ​เทอญ.

ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index ชื่อ : DHAMMAPADA 2/423 :​Maṭṭhakuṇḍalīvatthu ​ Story of Maṭṭhakuṇḍalī, เรื่องพราหมณ์​ชื่อมัฏฐกุณฑลี ศัพท์ธมั มสังคณี​:​​Manasā→ Mana :​mind, มนะ​29Dhs:385; ​ sukhamanveti→ Sukha :​happiness, สุขะ​29Dhs:389 ปิฎกอ้างอิง​:​​ Maṭṭhakuṇḍalī 19Vv:1059; 22J:2033; 28Mi:1486 คลังข้อมูลปาฬิ​:​​Manopubbaṅgamā dhammā... 27Ne:620; 27Pe:156 คำสำคัญ​:​​ chāyā, shadow, เงา​ 27 17


พิธีสมโภชและพระราชทานพระไตรปิฎกสากลเพื่อประดิษฐาน ณ ศาลฎีกาแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นพระธัมมทานในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ องค์อุปถัมภ์พระไตรปิฎกสากล พ.ศ. 2550 18


อะ อะ a a[ a [] a ] อา อา ā ā[ aː [ aː ] ] อิ อิi i[ i [] i ] อี อีī ī[ iː [ iː ] ] อุ อุu u[ u [] u ] อู อูū ū[ uː [ ] uː ] เอ เอ e e[ eː [ eː ] ] โอ โอ o o[ oː [ ] oː ] ก์ ก์k k[ k [] k ] ข์ ข์kh kh [ kʰ [ kʰ ] ] ค์ ค์g g[ g [] g ] ฆ์ ฆ์gh gh [ gʱ [ gʱ ] ] ง งṅ ṅ[ ŋ ][ ŋ ] จ์ ฉ์ ช์ ฌ์ ์

จ์c c[ c [] c ] ฉ์ch ch [ cʰ [ cʰ ] ] ช์j j[ ɟ [ ] ɟ ] ฌ์ jh jh [ ɟʱ ][ ɟʱ ] ์ ñ ñ [ ɲ ][ ɲ ]

ฏ์ ฏ์ṭ ṭ[ ʈ ][ ʈ ] ์ ์ṭh ṭh [ ʈʰ [ ʈʰ ] ] ฑ์ ฑ์ḍ ḍ[ ɖ ][ ɖ ] ฒ์ ฒ์ ḍh ḍh [ ɖʱ [ ɖʱ ] ] ณ์ ณ์ ṇ ṇ [ ɳ ][ ɳ ] ต์ ถ์ ท์ ธ์ น์

ต์t t[ t̪ [ t̪ ] ] ถ์th th [ t̪ʰ[ t̪ ] ʰ ] ท์d d[ d̪ [ d̪ ] ] ธ์dh dh [ d̪ʱ[ d̪ ] ʱ ] น์n n[ n̪ [ n̪ ] ]

ป์ ผ์ พ์ ภ์ ม์

ป์p p[ p [] p ] ผ์ph ph [ pʰ [ pʰ ] ] พ์b b[ b [] b ] ภ์bh bh [ bʱ [ bʱ ] ] ม์m m [ m[] m]

ย ๎ ยy ๎ y[ j [] j ] ร ๎ รr ๎ r[ ɻ ][ ɻ ] ล ๎ ลl ๎ l[ l ̪ [ l ] ̪ ] ว ๎ วv๎ v[ ʋ ][ ʋ ] ส ๎ สs ๎ s[ s̪ [ s̪ ] ] ห ๎ หh ๎ h[ ɦ ][ ɦ ] ฬ ๎ ฬḷ ๎ ḷ[ ɭ ][ ɭ ] อํ aṃ อํ aṃ [ ã [] ã ]

สาระ สาระ สาระ สารัสารั ์จสารโต ์จ สารโต ัตั๎วตา...๎วา... Sārañca Sārañca sārato sārato ña‿ ña tvā, tvā, ‿ Asārañca Asārañca asārato; asārato; TeTe sāraṃ sāraṃ adhigacchanti, adhigacchanti, Sammāsaṅkappagocarā. Sammāsaṅkappagocarā. (12) (12)

ชนเหล่ ชนเหล่ าใดเห็ าใดเห็ นสิน่งทีสิ่งมที​ีส่มาระ ีสาระ ว่ามีว่สามีาระ สาระ , , และเห็ และเห็ นสิน่งทีสิ่งไม่ทีม่ไม่ีสมาระ ีสาระ ว่าไม่ ว่ามไม่ีสมาระ; ีสาระ; ชนเหล่ ชนเหล่ านัา้นนัย่้นอย่มได้ อมได้ รับรสาระ ับสาระ , , มีคมีวามดํ ความดํ าริชาอบเป็ ริชอบเป็ นทีน่ยทีึด่ยเหนี ึดเหนี ่ยว.่ยว. (12) (12) Those Those who who seesee essence essence asas essence, essence, And And non-essence non-essence asas non-, non-, DoDo arrive arrive atat the the essence, essence, The The right right thoughts thoughts are are their their restraint. restraint. (12) (12) ด้วยอำนาจสั ด้วยอำนาจสั จจวาจา จจวาจา และอานิ และอานิ สงส์กสารอ่ งส์กาารอ่ นสังาวันสั ธยายพระไตรปิ งวัธยายพระไตรปิ ฎก ฎก ถวายเป็ ถวายเป็ นพระราชกุ นพระราชกุ ศลแด่ศลแด่ สถาบัสถาบั นพระมหากษั นพระมหากษั ตริย์พตริุทยธมามกะ ์พุทธมามกะ ขอให้ขอให้ ข้าพเจ้ ข้าาพเจ้ และประเทศชาติ าและประเทศชาติ ปราศจากภยั ปราศจากภยั นตราย นตราย และเจริ และเจริ ญรุ่งญ เรือรุ่งงทุเรืกอเมื งทุ่อกเมื เทอญ. ่อ เทอญ.

ดัชนีดัตช่านีงๆ ต่างๆ ในการแปลพระไตรปิ ในการแปลพระไตรปิ ฎกสากล ฎกสากล : World : World Tipiṭaka Tipiṭaka Translation Translation Index Index ชื่อ ชื: ่อ : DHAMMAPADA DHAMMAPADA 12/423 12/423 : Sāriputtattheravatthu : Sāriputtattheravatthu Story of Sāriputta, Story of Sāriputta, เรื่องพระเถระ เรื่องพระเถระ (อัค(รสาวก อัครสาวก )ชื่อ)สาริ ชื่อสาริ ปุตตะ ปุตตะ ศัพท์ศัธพัมท์มสั ธัมงมสั คณีงคณี : Sammāsaṅkappagocarā→ Sammāsaṅkappa : Sammāsaṅkappagocarā→ Sammāsaṅkappa : right : right thoughts thoughts สัมมาสั สัมมาสั งกัปงปะ กัปปะ 29Dhs:400 29Dhs:400 ปิฎกอ้ ปิฎากอ้ งอิางงอิ: ง : Sāriputtatthera 18Ud:291; Sāriputtatthera 18Ud:291; 19Pv; 19Pv; 19Th1; 19Th1; 20Ap1; 28Mi 20Ap1; 28Mi คลังคลั ข้องมูข้ลอปาฬิ มูลปาฬิ : ...:Sammāsaṅkappa... 3V:70; ...Sammāsaṅkappa... 3V:70; 3V;3V; 6D;6D; 7D; 8D; 7D; 8D; 9M;9M; 10M; 10M; 11M; 11M; คำสำคั คำสำคั ญ :ญ :

12S2; 12S2; 13S4; 13S4; 14S5; 14S5; 15A3; 15A3; 15A4; 15A4; 16A6; 16A6; 16A7; 16A7; 17A8; 17A10; 17A8; 17A10; 24Mn; 24Mn; 25Cn; 25Cn; 26Ps; 26Ps; 27Ne; 27Ne; 27Pe; 27Pe; 29Dhs; 29Dhs; 30Vbh; 30Vbh; 32Kv 32Kv sāra, essence, sāra, essence, สาระสาระ

311931


พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่ญี่ปุ่น พ.ศ. 2438

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จจาริกไปกรุงโอซากา เพื่อพระราชทานพระไตรปิฎกสากลแก่สถาบันสำคัญทั่วประเทศญี่ปุ่น ซึ่งขอพระราชทานพระไตรปิฎกสากลจากสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พ.ศ. 2551 20


อะ a อา ā อิ i อี ī อุ u อู ū เอ e โอ o

[a ] [ aː ] [i] [ iː ] [u ] [ uː ] [ eː ] [ oː ]

ก์ ข์ ค์ ฆ์ ง

k [k ] kh [ kʰ] g [g ] gh [ gʱ ] ṅ [ŋ ]

จ์ ฉ์ ช์ ฌ์ ์

c [c ] ch [ cʰ ] j [ɟ ] jh [ ɟʱ ] ñ [ɲ]

ฏ์ ์ ฑ์ ฒ์ ณ์

ṭ [ʈ] ṭh [ ʈʰ ] ḍ [ɖ ] ḍh [ ɖʱ] ṇ [ɳ ]

ต์ ถ์ ท์ ธ์ น์

t [ t̪ ] th [ t̪ʰ] d [ d̪ ] dh [ d̪ʱ] n [ n̪ ]

ป์ ผ์ พ์ ภ์ ม์

p [p ] ph [ pʰ] b [b ] bh [ bʱ] m [ m]

ย​๎ y [ j ] ร​๎ r [ ɻ ] ล​๎ l [ l ̪ ] ว​๎ v [ ʋ ] ส​๎ s [ s̪ ] ห​๎ h [ ɦ ] ฬ​๎ ḷ [ ɭ ] อํ aṃ [ ã ]

พระสัพระสั ทธัมม์ท ธัมม์ ทีฆา ชาครโต รัต์ติ... Dīghā jāgarato ratti, Dīghaṃ santassa yojanaṃ; Dīgho bālāna saṃsāro, Saddhammaṃ avijānataṃ. (60)

ราตรียาวนานสำหรับผู้ตื่นอยู,่ โยชน์หนึ่งยาวไกลสำหรับผู้เมื่อยล้า; สังสารวัฏยาวนานไม่รู้จบสำหรับคนโง่ ผู้ไม่รู้แจ้งพระสัทธัมม์. (60) The night is long for the wakeful, A league is long for the weary, Saṃsāra is long for the fool Who knows not the Dhamma of the virtuous. (60) ด้วยอำนาจสัจจวาจา​และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก​ ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่​สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ​ และขอให้ข้าพเจ้า​และประเทศชาติปราศจากภยันตราย​เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ​เทอญ.

ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index ชื่อ​:​​ DHAMMAPADA 60/423 :​Aññatarapurisavatthu ​ Story of a Man, เรื่องบุรุษผู้มีภริยางาม ศัพท์ธมั มสังคณี​:​​bālāna→ bāla :​fool, พาละ​29Dhs:2009 ปิฎกอ้างอิง​:​ คลังข้อมูลปาฬิ​:​​...Saddhammaṃ... 4V:1849; 5V:327 คำสำคัญ​:​​ saṃsāra, saṃsāra, สังสารวัฏ;​ ​ saddhamma, Dhamma of the virtuous, พระสัทธัมม์​ 47

21


พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่ญี่ปุ่น พ.ศ. 2438

พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน ชุด 40 เล่ม จัดพิมพ์และเผยแผ่ตามรอยพระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม 22


อะ a อา ā อิ i อี ī อุ u อู ū เอ e โอ o

[a ] [ aː ] [i] [ iː ] [u ] [ uː ] [ eː ] [ oː ]

ก์ ข์ ค์ ฆ์ ง

k [k ] kh [ kʰ] g [g ] gh [ gʱ ] ṅ [ŋ ]

จ์ ฉ์ ช์ ฌ์ ์

c [c ] ch [ cʰ ] j [ɟ ] jh [ ɟʱ ] ñ [ɲ]

ฏ์ ์ ฑ์ ฒ์ ณ์

ṭ [ʈ] ṭh [ ʈʰ ] ḍ [ɖ ] ḍh [ ɖʱ] ṇ [ɳ ]

ต์ ถ์ ท์ ธ์ น์

t [ t̪ ] th [ t̪ʰ] d [ d̪ ] dh [ d̪ʱ] n [ n̪ ]

ป์ ผ์ พ์ ภ์ ม์

p [p ] ph [ pʰ] b [b ] bh [ bʱ] m [ m]

ย​๎ y [ j ] ร​๎ r [ ɻ ] ล​๎ l [ l ̪ ] ว​๎ v [ ʋ ] ส​๎ s [ s̪ ] ห​๎ h [ ɦ ] ฬ​๎ ḷ [ ɭ ] อํ aṃ [ ã ]

บาปกับาปกั มม์ มม์ น อัน์ตลิก์เข น สมุท์ทมัช์เฌ... Na antalikkhe na samuddamajjhe, Na pabbatānaṃ vivaraṃ pavissa; Na vijjatī so jagatippadeso, Yatthaṭṭhito mucceyya pāpakammā. (127)

ไม่ว่าในพื้นนภากาศ ไม่ว่าท่ามกลางมหาสมุทร, ไม่ว่าในหุบเขาทั้งหลาย; ไม่มีแผ่นดินใดของสัตว์โลก ที่คนทำชั่วนั้น, อยู่แล้ว จักพ้นจากบาปกัมม์ได้. (127) Not up in the air, nor in the middle of the sea, Not in the mountain’s clefts; There is no space for any being, Who could stay and escape his evil deeds. (127) ด้วยอำนาจสัจจวาจา​และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก​ ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่​สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ​ และขอให้ข้าพเจ้า​และประเทศชาติปราศจากภยันตราย​เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ​เทอญ.

ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index ชื่อ​:​​ DHAMMAPADA 127/423 :​Tayojanavatthu ​ Story of Three Kinds of People, เรื่องคนสามจำพวก ศัพท์ธมั มสังคณี​:​pāpakammā→ Kamma :​deeds, กัมมะ29Dhs:1700 ปิฎกอ้างอิง​:​ คลังข้อมูลปาฬิ​:​​...Na antalikkhe na samuddamajjhe... 28Mi:705 คำสำคัญ​:​​ pāpakamma, evil deeds, บาปกัมม์​ 65

23


พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่ญี่ปุ่น พ.ศ. 2438

ในพิธิพระราชทานพระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน พ.ศ. 2551 ณ ชิเตนโนจิ พุทธศาสนสถานที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศญี่ปุ่น สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงฉายพระรูปกับผู้แทน 16 สถาบัน ในญี่ปุ่น ร่วมกับผู้แทนจากสถาบันสำคัญต่างๆ จากประเทศไทย อาทิ กองทัพอากาศ กระทรวงกลาโหม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และศาลรัฐธรรมนูญ 24


อะ a อา ā อิ i อี ī อุ u อู ū เอ e โอ o

[a ] [ aː ] [i] [ iː ] [u ] [ uː ] [ eː ] [ oː ]

ก์ ข์ ค์ ฆ์ ง

k [k ] kh [ kʰ] g [g ] gh [ gʱ ] ṅ [ŋ ]

จ์ ฉ์ ช์ ฌ์ ์

c [c ] ch [ cʰ ] j [ɟ ] jh [ ɟʱ ] ñ [ɲ]

ฏ์ ์ ฑ์ ฒ์ ณ์

ṭ [ʈ] ṭh [ ʈʰ ] ḍ [ɖ ] ḍh [ ɖʱ] ṇ [ɳ ]

ต์ ถ์ ท์ ธ์ น์

t [ t̪ ] th [ t̪ʰ] d [ d̪ ] dh [ d̪ʱ] n [ n̪ ]

ป์ ผ์ พ์ ภ์ ม์

p [p ] ph [ pʰ] b [b ] bh [ bʱ] m [ m]

ย​๎ y [ j ] ร​๎ r [ ɻ ] ล​๎ l [ l̪ ] ว​๎ v [ ʋ ] ส​๎ s [ s̪ ] ห​๎ h [ ɦ ] ฬ​๎ ḷ [ ɭ ] อํ aṃ [ ã ]

ที่พึ่งของตน ที่พึ่งของตน อัต์ตา หิ อัต์ตโน นาโถ... Attā hi attano nātho, Ko hi nātho paro siyā; Attanā hi sudantena, Nāthaṃ labhati dullabhaṃ. (160)

ตนแลเป็นที่พึ่งของตน, คนอื่นใครเล่าจะพึงเป็นที่พึ่งได้; เพราะบุคคลที่ฝึกตนไว้ดีแล้ว, ย่อมได้ที่พึ่งที่หาได้ยากยิ่ง. (160) Your own self is your refuge, For who else could other refuge be? Because you yourself well-trained, One gains a refuge very hard to attain. (160) ด้วยอำนาจสัจจวาจา​และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก​ ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่​สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ​ และขอให้ข้าพเจ้า​และประเทศชาติปราศจากภยันตราย​เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ​เทอญ.

ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index ชื่อ​:​​ DHAMMAPADA 160/423 :​Kumārakassapa ​ Story of Mother of Kumārakassapa, ​ เรื่องภิกขุณีมารดาของพระกุมารกัสสปเถระ​ ศัพท์ธมั มสังคณี​:​​-​ ปิฎกอ้างอิง​:​ Kumārakassapa 19Th1:402, 20Ap1, 24Mn, 28Mi คลังข้อมูลปาฬิ​:​​Attā hi attano nātho 18Dh:407 คำสำคัญ​:​​ atta, self, ตน;​nātha, refuge, ที่พึ่ง 69

25


พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน พระธัมมทานในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ ประดิษฐาน ณ สมาคมมหาโพธิแห่งประเทศอินเดีย พุทธคยา พ.ศ. 2550 26


อะ a อา ā อิ i อี ī อุ u อู ū เอ e โอ o

[a ] [ aː ] [i] [ iː ] [u ] [ uː ] [ eː ] [ oː ]

พระพุทพระพุ ธเจ้าทัท้งธเจ้ หลาย าทั้งหลาย สัพ์พปาปัส์ส อกรณํ... Sabbapāpassa akaraṇaṃ, Kusalassa upasampadā; Sacittapariyodapanaṃ, Etaṃ buddhāna sāsanaṃ. (183)

ก์ ข์ ค์ ฆ์ ง

k [k ] kh [ kʰ] g [g ] gh [ gʱ ] ṅ [ŋ ]

จ์ ฉ์ ช์ ฌ์ ์

c [c ] ch [ cʰ ] j [ɟ ] jh [ ɟʱ ] ñ [ɲ]

ฏ์ ์ ฑ์ ฒ์ ณ์

ṭ [ʈ] ṭh [ ʈʰ ] ḍ [ɖ ] ḍh [ ɖʱ] ṇ [ɳ ]

ต์ ถ์ ท์ ธ์ น์

t [ t̪ ] th [ t̪ʰ] d [ d̪ ] dh [ d̪ʱ] n [ n̪ ]

Abstain from doing any evil, Cultivate only wholesomeness; Purify one’s own mind, This is the teaching of the Buddhas. (183)

ป์ ผ์ พ์ ภ์ ม์

p [p ] ph [ pʰ] b [b ] bh [ bʱ] m [ m]

ด้วยอำนาจสัจจวาจา​และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก​ ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่​สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ​ และขอให้ข้าพเจ้า​และประเทศชาติปราศจากภยันตราย​เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ​เทอญ.

ย​๎ y [ j ] ร​๎ r [ ɻ ] ล​๎ l [ l ̪ ] ว​๎ v [ ʋ ] ส​๎ s [ s̪ ] ห​๎ h [ ɦ ] ฬ​๎ ḷ [ ɭ ] อํ aṃ [ ã ]

ไม่ทำบาปทั้งปวง, บำเพ็ญแต่กุศล; ชำระจิตของตนให้ผ่องแผ้ว, นี้เป็นคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย. (183)

ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index ชื่อ​:​​ DHAMMAPADA 183/243 :​Ānandattherapañhavatthu ​ Story of Venerable Ānanda’s Question, ​ เรื่องปัญหาของพระอานันทเถระ ศัพท์ธมั มสังคณี​:​ Sacittapariyodapanaṃ→ Citta :​Mind, จิตตะ​29Dhs:385 ​ Kusalassa→ Kusala :​wholesomeness, กุสละ​29Dhs:368 ปิฎกอ้างอิง​:​​ Ānandatthera 14S5:1873, 18Dh, 19Th1, 20Ap1 คลังข้อมูลปาฬิ​:​​...Sabbapāpassa akaraṇaṃ... 7D:179; 27Ne:246; 27Ne:249 คำสำคัญ​:​​​ pāpa, evil, ปาป;​sāsana, teaching, คำสอน;​ ​ buddhā, The Buddhas, พระพุทธเจ้าทั้งหลาย​ 27 71


พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุเสด็จเป็นประธานในพิธอี า่ นสังวัธยาย พระไตรปิฎกสากล ถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เมษายน 2552 ณ ลานคนเมือง ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 28


อะ a อา ā อิ i อี ī อุ u อู ū เอ e โอ o

[a ] [ aː ] [i] [ iː ] [u ] [ uː ] [ eː ] [ oː ]

นิพพานเป็ นบรมสุ ข ข นิพพานเป็ นบรมสุ อาโรค๎ยปรมา ลาภา... Āro‿ gyaparamā lābhā, Santuṭṭhiparamaṃ dhanaṃ; Vissāsaparamā ñāti, Nibbānaṃ paramaṃ sukhaṃ. (204)

ก์ ข์ ค์ ฆ์ ง

k [k ] kh [ kʰ] g [g ] gh [ gʱ ] ṅ [ŋ ]

จ์ ฉ์ ช์ ฌ์ ์

c [c ] ch [ cʰ ] j [ɟ ] jh [ ɟʱ ] ñ [ɲ]

ฏ์ ์ ฑ์ ฒ์ ณ์

ṭ [ʈ] ṭh [ ʈʰ ] ḍ [ɖ ] ḍh [ ɖʱ] ṇ [ɳ ]

ต์ ถ์ ท์ ธ์ น์

t [ t̪ ] th [ t̪ʰ] d [ d̪ ] dh [ d̪ʱ] n [ n̪ ]

Free from illness is the foremost fortune, Contentment is the foremost wealth; Trust is the foremost kinship, Nibbāna is the foremost bliss. (204)

ป์ ผ์ พ์ ภ์ ม์

p [p ] ph [ pʰ] b [b ] bh [ bʱ] m [ m]

ด้วยอำนาจสัจจวาจา​และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก​ ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่​สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ​ และขอให้ข้าพเจ้า​และประเทศชาติปราศจากภยันตราย​เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ​เทอญ.

ย​๎ y [ j ] ร​๎ r [ ɻ ] ล​๎ l [ l̪ ] ว​๎ v [ ʋ ] ส​๎ s [ s̪ ] ห​๎ h [ ɦ ] ฬ​๎ ḷ [ ɭ ] อํ aṃ [ ã ]

ลาภทั้งหลาย มีความไม่มีโรคประเสริฐสุด, ทรัพย์ มีความสันโดษประเสริฐสุด; ญาติ มีความคุ้นเคยประเสริฐสุด, นิพพานเป็นบรมสุข. (204)

ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index ชื่อ​:​​ DHAMMAPADA 204/423 :​​Pasenadikosalavatthu ​ Story of Pasenadi, the King of Kosala, เรือ ่ งพระราชาแคว้นโกศล​ชือ่ ปเสนทิ​ ศัพท์ธมั มสังคณี​:​ Nibbānaṃ→ Nibbāna, นิพพาน​​29Dhs:2166 ปิฎกอ้างอิง​:​ Pasenadi 2V:981; 3V; 4V; 6D; 7D; 8D; 9M; 10M; 12S1; 13S4; ​ 14S5; 16A5; 16A6; 17A10: 18Dh; 18Ud; 27Ne; 27Pe คลังข้อมูลปาฬิ​:​...Nibbānaṃ paramaṃ sukhaṃ... 10M:618; 10M:622; คำสำคัญ​:​​ lābhā, fortune, ลาภ;​dhana, wealth, ทรัพย์;​ñāti, kinsship, ญาติ;​ ​ santuṭṭhi, Contentment, ความสันโดษ;​vissāsa, Trust, ความคุ้นเคย 73 29


พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงนำอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎกสากล เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล ร่วมกับคณะทูตานุทูตต่างประเทศ, ข้าราชการกรุงเทพมหานครและประชาชน ในงานพระเมรุสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร พฤศจิกายน 2551 30


อะ a อา ā อิ i อี ī อุ u อู ū เอ e โอ o

[a ] [ aː ] [i] [ iː ] [u ] [ uː ] [ eː ] [ oː ]

ก์ ข์ ค์ ฆ์ ง

k [k ] kh [ kʰ] g [g ] gh [ gʱ ] ṅ [ŋ ]

จ์ ฉ์ ช์ ฌ์ ์

c [c ] ch [ cʰ ] j [ɟ ] jh [ ɟʱ ] ñ [ɲ]

ฏ์ ์ ฑ์ ฒ์ ณ์

ṭ [ʈ] ṭh [ ʈʰ ] ḍ [ɖ ] ḍh [ ɖʱ] ṇ [ɳ ]

ต์ ถ์ ท์ ธ์ น์

t [ t̪ ] th [ t̪ʰ] d [ d̪ ] dh [ d̪ʱ] n [ n̪ ]

ป์ ผ์ พ์ ภ์ ม์

p [p ] ph [ pʰ] b [b ] bh [ bʱ] m [ m]

ย​๎ y [ j ] ร​๎ r [ ɻ ] ล​๎ l [ l ̪ ] ว​๎ v [ ʋ ] ส​๎ s [ s̪ ] ห​๎ h [ ɦ ] ฬ​๎ ḷ [ ɭ ] อํ aṃ [ ã ]

พึงชนะ พึงชนะ อัก์โกเธน ชิเน โกธํ... Akkodhena jine kodhaṃ, Asādhuṃ sādhunā jine; Jine kadariyaṃ dānena, Saccenālikavādinaṃ. (223)

พึงชนะคนที่โกรธด้วยความไม่โกรธ, พึงชนะคนชั่วด้วยความดี; พึงชนะคนตระหนี่ด้วยการให้, พึงชนะคนพูดเหลวไหลด้วยคำสัจจ์. (223) Overcome Overcome Overcome Overcome

anger with non-anger, badness with goodness; stinginess with generosity, a liar with truth. (223)

ด้วยอำนาจสัจจวาจา​และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก​ ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่​สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ​ และขอให้ข้าพเจ้า​และประเทศชาติปราศจากภยันตราย​เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ​เทอญ.

ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index ชื่อ​:​​ DHAMMAPADA 223/423 :​Uttarāupāsikavatthu ​ Story of Uttarā, a Female Disciple, เรื่องอุบาสิกา​ชื่ออุตตรา ศัพท์ธมั มสังคณี​:​ Saccenālikavādinaṃ→ Sacca :​truth, สัจจะ​29Dhs:818 ปิฎกอ้างอิง​:​ Uttarā 19Th2:30 คลังข้อมูลปาฬิ​:​...Akkodhena jine kodhaṃ... 22J:341 คำสำคัญ​:​​ akkodha, Non-anger, ความไม่โกรธ;​dāna, generosity, การให้; ​ sādhu, goodness, ความดี​ 3175


พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ทรงนำอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎกสากล เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล ร่วมกับคณะทูตานุทูตต่างประเทศ, ข้าราชการกรุงเทพมหานครและประชาชน ในงานพระเมรุสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร พฤศจิกายน 2551 32


อะ a อา ā อิ i อี ī อุ u อู ū เอ e โอ o

[a ] [ aː ] [i] [ iː ] [u ] [ uː ] [ eː ] [ oː ]

ก์ ข์ ค์ ฆ์ ง

k [k ] kh [ kʰ] g [g ] gh [ gʱ ] ṅ [ŋ ]

จ์ ฉ์ ช์ ฌ์ ์

c [c ] ch [ cʰ ] j [ɟ ] jh [ ɟʱ ] ñ [ɲ]

ฏ์ ์ ฑ์ ฒ์ ณ์

ṭ [ʈ] ṭh [ ʈʰ ] ḍ [ɖ ] ḍh [ ɖʱ] ṇ [ɳ ]

ต์ ถ์ ท์ ธ์ น์

t [ t̪ ] th [ t̪ʰ] d [ d̪ ] dh [ d̪ʱ] n [ n̪ ]

ป์ ผ์ พ์ ภ์ ม์

p [p ] ph [ pʰ] b [b ] bh [ bʱ] m [ m]

ย​๎ y [ j ] ร​๎ r [ ɻ ] ล​๎ l [ l̪ ] ว​๎ v [ ʋ ] ส​๎ s [ s̪ ] ห​๎ h [ ɦ ] ฬ​๎ ḷ [ ɭ ] อํ aṃ [ ã ]

อนัตตา อนัตตา สัพ์เพ ธัม์มา อนัต์ตาติ...

“Sabbe dhammā anattā”ti,

Yadā paññāya passati; Atha nibbindati dukkhe, Esa maggo visuddhiyā. (279)

“ธัมมะทั้งปวงเป็นอนัตตา” ดังนี,้ เมื่อใดที่บุคคลเห็นแจ้งด้วยปัญญา, เมื่อนั้นเขาย่อมหน่ายในทุกข์, นี้เป็นทางแห่งความบริสุทธิ์. (279) “All Dhamma are non-self ”,

When one sees this with wisdom; One becomes disenchanted with Dukkha, This is the path to purity. (279) ด้วยอำนาจสัจจวาจา​และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก​ ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่​สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ​ และขอให้ข้าพเจ้า​และประเทศชาติปราศจากภยันตราย​เจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ​เทอญ.

ดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index ชื่อ​:​​ DHAMMAPADA 279/423 :​Anattalakkhaṇavatthu ​ Story of Meditation on Anatta, เรื่องสภาพที่ไม่ใช่ตัวตน​(อนัตตา) ศัพท์ธมั มสังคณี​:​ paññāya→ Paññā :​wisdom, ปัญญา​29Dh:395 ปิฎกอ้างอิง​:​​ Anatta 13S3:860 คลังข้อมูลปาฬิ​:​​Sabbe dhammā anattā... 9M:1201; 13S3:560; 19Th1:1009; ​ 24Mn:324; 25Cn:236; 26Ps:89; 27Ne:77; 32Kv:367 คำสำคัญ​:​​ Anattā :​non-self, อนัตตา;​visuddhi, purity, บริสุทธิ์​ 79 33


พ.ศ. 2548 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เสด็จทรงเป็นประธาน ณ วังเทวะเวศม์ ธนาคารแห่งประเทศไทย เพือ่ เตรียมเสด็จจาริกไปพระราชทานพระไตรปิฎกสากล

ณ กรุงโคลัมโบ ประเทศศรีลังกา ตามรอยพระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม 34


อะอะa a[ a[ ]a ] อาอาā ā[ aː[ ]aː ] อิ อิi i [ i[ ]i ] อี อีī ī [ iː[ ]iː ] อุ อุu u[ u[ ]u ] อู อูū ū[ uː[ ]uː ] เอ เอe e[ eː[ ]eː ] โอ โอo o[ oː[ ]oː ] ก์ ก์k k[ k[ ]k ] ข์ ข์khkh [ kʰ[ ]kʰ] ค์ ค์g g[ g[ ]g ] ฆ์ ฆ์ghgh [ gʱ[ ]gʱ ] ง งṅ ṅ[ ŋ[ ]ŋ ] จ์ จ์c c[ c[ ]c ] ฉ์ ฉ์chch[ cʰ[ ]cʰ ] ช์ ช์j j [ ɟ [ ]ɟ ] ฌ์ ฌ์jhjh[ ɟʱ[ ]ɟʱ ] ์ ์ñ ñ[ ɲ[ ]ɲ ] ฏ์ ฏ์ṭ ṭ[ ʈ[ ]ʈ ] ์ ์ṭhṭh[ ʈʰ[ ]ʈʰ] ฑ์ ฑ์ḍ ḍ[ ɖ[ ]ɖ ] ฒ์ ฒ์ḍhḍh [ ɖʱ[ ]ɖʱ] ณ์ ณ์ṇ ṇ[ ɳ[ ]ɳ ] ต์ ต์t t[ t̪[ ]t̪ ] ถ์ ถ์thth[ t̪[ʰ]t̪ʰ] ท์ ท์d d[ d̪[ ]d̪ ] ธ์ ธ์dhdh [ d̪[ʱ]d̪ʱ] น์ น์n n[ n̪[ ]n̪ ] ป์ ป์p p[ p[ ]p ] ผ์ ผ์phph [ pʰ[ ]pʰ] พ์ พ์b b[ b[ ]b ] ภ์ ภ์bhbh [ bʱ[ ]bʱ] ม์ ม์m m[ m[ ]m] ย​๎ ย​๎y y[ j[ ]j ] ร​๎ ร​๎r r[ ɻ[ ]ɻ ] ล​๎ ล​๎l l [ l[̪ ]l ̪ ] ว​๎ ว​๎v v[ ʋ[ ]ʋ ] ส​๎ ส​๎s s[ s̪[ ]s̪ ] ห​๎ ห​๎h h[ ɦ[ ]ɦ ] ฬ​๎ ฬ​๎ḷ ḷ [ ɭ[ ]ɭ ] อํ aṃ อํ aṃ[ ã[ ]ã ]

ชนะที ่ล้วนเป็ น้วเลิ ศน เลิ ชนะที ชนะที ่ล้ว่ลนเป็ นเป็ นเลิ ศศ สัพสั์พทานํ ์พทานํธัมธั์มมทานํ ์มทานํชินชิาติ นาติ ...... Sabbadānaṃ Sabbadānaṃdhammadānaṃ dhammadānaṃjināti, jināti, Sabbarasaṃ Sabbarasaṃdhammaraso dhammarasojināti; jināti; Sabbaratiṃ Sabbaratiṃdhammarati dhammaratijināti, jināti, Ta Ta ṇhakkhayo ṇhakkhayosabbadukkhaṃ sabbadukkhaṃjināti. jināti.(354) (354) ‿ ‿

การให้ การให้ ธัมธมะเป็ ัมมะเป็ นทานชนะการให้ นทานชนะการให้ ทั้งทปวง ั้งปวง , , รสพระธั รสพระธั มม์มชม์นะรสทั ชนะรสทั ้งปวง; ้งปวง; ความยิ ความยิ นดีนใดีนธั ในธั มมะชนะความยิ มมะชนะความยิ นดีนทดีั้งทปวง; ั้งปวง; ความสิ ความสิ ้นตั้นณตัณ หาชนะทุ หาชนะทุ กข์กทข์ั้งทปวง. ั้งปวง.(354) (354) OfOfallallgifts, gifts,the thegift giftofofDhamma Dhammaexcels, excels, OfOfallalltastes, tastes,the thetaste tasteofofDhamma Dhammaexcels; excels; OfOfallalldelights, delights,the thedelight delightininDhamma Dhammaexcels, excels, ToTo end end allall sufferings, sufferings, the the ending ending ofof craving craving excels. excels. (354) (354) ด้วยอำนาจสั ด้วยอำนาจสั จจวาจา​และอานิ จจวาจา​และอานิ สงส์สกงส์ารอ่ การอ่ านสัางนสั วัธงยายพระไตรปิ วัธยายพระไตรปิ ฎก​ฎก​ ขอถวายเป็ ขอถวายเป็ นพระราชกุ นพระราชกุ ศลแด่ ศลแด่ ​สถาบั ​สถาบั นพระมหากษั นพระมหากษั ตริยต์พริยุท์พธมามกะ​ ุทธมามกะ​ และขอให้ และขอให้ ข้าพเจ้ ข้าพเจ้ า​และประเทศชาติ า​และประเทศชาติ ปราศจากภยั ปราศจากภยั นตราย​เจริ นตราย​เจริ ญรุญ่งเรืรุอ่งเรืงทุอกงทุเมืก่อเมื​เทอญ. ่อ​เทอญ.

ดัชดันีชในีนการแปลพระไตรปิ ในการแปลพระไตรปิ ฎกสากล ฎกสากล: World : WorldTipiṭaka Tipiṭaka Translation Translation Index Index ชื่อชื​:​​ ่อ​:​​ DHAMMAPADA DHAMMAPADA 354/423 354/423 :​Sakkapañhavatthu :​Sakkapañhavatthu ​ ​ Story Story of of God God Sakka’s Sakka’s Question, Question, เรื่อเรืงจอมเทพชื ่องจอมเทพชื ่อ​ท้่อา​ท้วสัาวสั กกะกกะ ศัพศัท์พธท์มั ธมสัมั มสั งคณี งคณี ​:​​s​:​​ abbadukkhaṃ→ sabbadukkhaṃ→ Dukkha Dukkha :​suffering, :​suffering,ทุกทุขะ​ กขะ​ 29Dh:1055 29Dh:1055 ปิฎปิกอ้ ฎกอ้ างอิางอิ ง​:​ง​:​ Sakkapañha Sakkapañha7D:823, 7D:823, 13S4, 13S4, 18Dh, 18Dh, 25Cn, 25Cn, 28Mi 28Mi คลัคลั งข้องข้มูอลมูปาฬิ ลปาฬิ ​:​​​T:​​a‿Tṇhakkhaya... a‿ ṇhakkhaya... 3V:25; 3V:25; 7D:139; 7D:139; 10M:352 10M:352 คำสำคั คำสำคั ญ​:​​​ ญ​:​​​ dāna, dāna, gift, gift, ทานะ;​ ทานะ;​ rasa, rasa, taste, taste, รส;​รส;​ rati, rati, delight, delight, ความยิ ความยิ นดีนดี ​ ​ Ta‿ Ta ṇhakkhaya, ṇhakkhaya, ending ending of of craving, craving, ความสิ ความสิ ้นตั้นณตัหา ณหา ‿ 8383

35


ในพิธีเปิดงานสังวัธยายพระไตรปิฎกประจำปี ณ ลานพระศรีมหาโพธิ พุทธคยา สมาคมมหาโพธิ แห่งอินเดีย ได้ถวายพระราชกุศลแด่สมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ องค์อุปถัมภ์พระไตรปิฎกสากล 36


อะอะ a a[ a []a ] อา อา ā ā[ aː [ aː ] ] อิ อิi i[ i [] i ] อี อีī ī[ iː [ iː ] ] อุ อุu u[ u []u ] อู อูū ū[ uː [ ]uː ] เอ เอe e[ eː [ eː ] ] โอ โอo o[ oː [ ]oː ]

พระพุพระพุ ทพระพุ ธเจ้ทาธเจ้ ทธเจ้ าา

ก์ ก์k k[ k[]k ] ข์ ข์khkh [ kʰ [ kʰ ] ] ค์ ค์g g[ g []g ] ฆ์ ฆ์ghgh [ gʱ [ gʱ ] ] ง งṅ ṅ[ ŋ ][ ŋ ] จ์ จ์c c[ c []c ] ฉ์ ฉ์chch [ cʰ [ cʰ ] ] ช์ ช์j j[ ɟ [ ]ɟ ] ฌ์ ฌ์jh jh[ ɟʱ ][ ɟʱ ] ์ ์ñ ñ[ ɲ[ ]ɲ ]

ฏ์ ฏ์ṭ ṭ[ ʈ ][ ʈ ] ์ ์ṭh ṭh [ ʈʰ [ ʈʰ ] ] ฑ์ ฑ์ḍ ḍ[ ɖ ][ ɖ ] ฒ์ ฒ์ḍh ḍh [ ɖʱ [ ɖʱ ] ] ณ์ ณ์ṇ ṇ[ ɳ ][ ɳ ] ต์ ถ์ ท์ ธ์ น์

ต์t t[ t̪ [ t̪ ] ] ถ์th th [ t̪ʰ[ t̪ ] ʰ ] ท์d d[ d̪ [ d̪ ] ] ธ์dhdh [ d̪ʱ[ d̪ ] ʱ ] น์n n[ n̪ [ n̪ ] ]

ป์ ผ์ พ์ ภ์ ม์

ป์p p[ p[]p ] ผ์phph [ pʰ [ pʰ ] ] พ์b b[ b[]b ] ภ์bhbh [ bʱ [ bʱ ] ] ม์m m[ m[]m]

ย ๎ ยy๎ y[ j[] j ] ร ๎ รr๎ r[ ɻ ][ ɻ ] ล ๎ ลl ๎ l[ l ̪[ l ] ̪ ] ว ๎ วv๎ v[ ʋ ][ ʋ ] ส ๎ สs๎ s[ s̪ [ s̪ ] ] ห ๎ หh๎ h[ ɦ ][ ɦ ] ฬ ๎ ฬḷ ๎ ḷ[ ɭ ][ ɭ ] อํ aṃ อํ aṃ[ ã []ã ]

ทิวทิา ตปติ วา ตปติ อาทิ อาทิ จ์โจจ... ์โจ... Divā Divātapati tapatiādicco, ādicco, Rattimābhāti Rattimābhāticandimā; candimā; Sannaddho Sannaddhokhattiyo khattiyotapati, tapati, Jhāyī Jhāyītapati tapatibrā brā hmaṇo; hmaṇo; ‿ ‿ Atha Athasabbamahorattiṃ, sabbamahorattiṃ, Buddho Buddhotapati tapatitejasā. tejasā.(387) (387)

พระอาทิ พระอาทิ ตย์ตสย์ว่สาว่งในกลางวั างในกลางวั น,น, พระจั พระจั นทร์ นทร์ ทอแสงในกลางคื ทอแสงในกลางคื น;น; กษักษั ตริตยริ์ทยรงเกราะงามสง่ ์ทรงเกราะงามสง่ า, า, พราหมณ์ พราหมณ์ เจริเจริ ญฌานสง่ ญฌานสง่ างาม; างาม; แต่แต่ ตลอดกาลทั ตลอดกาลทั ้งกลางวั ้งกลางวั นและกลางคื นและกลางคื น,น, พระพุ พระพุ ทธเจ้ ทธเจ้ ารุา่งรุเรื่งอเรืงด้ องด้ วยพระเดช. วยพระเดช. (387) (387) By Byday dayshines shinesthe thesun; sun; By Bynight nightshines shinesthe themoon; moon; InInarmor armorshines shinesthe thewarrior; warrior; InInJhāna Jhānashines shinesthe thebrahmin. brahmin. But Butday dayand andnight, night,every everyday dayand andevery everynight, night, The TheBuddha Buddhashines shinesininsplendor. splendor.(387) (387) ด้วยอำนาจสั ด้วยอำนาจสั จจวาจา จจวาจา และอานิ และอานิ สงส์สกงส์ ารอ่ การอ่ านสัางนสั วัธงยายพระไตรปิ วัธยายพระไตรปิ ฎก ฎก ถวายเป็ ถวายเป็ นพระราชกุ นพระราชกุ ศลแด่ ศลแด่ สถาบั สถาบั นพระมหากษั นพระมหากษั ตริยต์พริุทยธมามกะ ์พุทธมามกะ ขอให้ ขอให้ ข้าพเจ้ ข้าพเจ้ าและประเทศชาติ าและประเทศชาติ ปราศจากภยั ปราศจากภยั นตราย นตราย และเจริ และเจริ ญรุ่งญเรืรุอ่งงทุ เรือกงทุ เมืก่อเมืเทอญ. ่อ เทอญ.

ดัชดันีชตนี่างๆ ในการแปลพระไตรปิ ต่างๆ ในการแปลพระไตรปิ ฎกสากล : ฎกสากล : World World Tipiṭaka Tipiṭaka Translation Translation Index Index ชื่อชื:่อ : DHAMMAPADA DHAMMAPADA 387/423 387/423 : Sambahulabhikkhuvatthu : Sambahulabhikkhuvatthu Story Story of of Many Many Bhikkhus, Bhikkhus, เรื่อเรืงภิ่อกงภิษุกหษุลายรู หลายรู ปป ศัพศัท์พธมัท์มสั ธมั งมสัคณีงคณี : Jhāyī→ Jhāna, : Jhāyī→ Jhāna, ฌานะ ฌานะ 29Dhs:469 29Dhs:469 ปิฎปิกอ้ฎกอ้ างอิางงอิ: ง : Sambahulabhikkhu Sambahulabhikkhu 13S4:341 13S4:341 คลัคลั งข้องข้มูอลมูปาฬิ ลปาฬิ : Divā tapati ādicco... 12S1:113 : Divā tapati ādicco... 12S1:113 คำสำคั คำสำคั ญ :ญ : ādicca, sun, ādicca, sun, พระอาทิ พระอาทิ ตย์ต; khattiya, ย์; khattiya, warrior, warrior, กษักษั ตริยต์;ริย์; brāhmaṇa, brahmin, brāhmaṇa, brahmin, พราหมณ์ พราหมณ์ ; Buddha, ; Buddha, Buddha, Buddha, พระพุ พระพุ ทธเจ้ ทธเจ้ า า 9137 91


ภาษาปาฬิ ภาษาพระธัมม์ 1. ปาฬิ คือ พระธัมม์ พระไตรปิฎก และพระบรมศาสดา คำว่า Pāḷi – ปาฬิ (มักออกเสียงตามแบบไทยว่า บาฬี) ปาฬิมคี วามหมายเท่า กับพระธัมม์ พระธัมม์นี้ได้รับการสืบทอดต่อมาเรียกว่า พระไตรปิฎก พระปาฬิจึงมีความ หมายถึง พระไตรปิฎกด้วย และก่อนเสด็จดับขันธปรินพิ พานพระพุทธองค์ได้ตรัสว่า พระธัมม์ และพระวินยั คือพระบรมศาสดา ดังนัน้ พระปาฬิ ซึง่ มีความหมาย ถึงพระธัมม์ คือ พระไตรปิฎก จึงมีความหมายถึง พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า พระไตรปิฎกปาฬิ ได้เผยแพร่ไปยังเครือข่ายพระไตรปิฎกปาฬิทวั่ โลก ในปี พ.ศ. 2437 พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ได้ โ ปรดให้ ส มเด็ จ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ

กรมพระยาเทวะวงศ์ ว โรปการ เสนาบดีกระทรวงต่างประเทศ ทรงเป็ น ผู้ ด ำเนิ น การ พระราชทานพระไตรปิฎกปาฬิ ฉบับพิมพ์ครัง้ แรกของโลกเป็นพระธัมมทานแก่สถาบันต่างๆ ทั่วโลกกว่า 260 แห่ง 2. ที่มาแห่งอักษรโรมันในพระไตรปิฎกภาษาปาฬิ ภาษาปาฬิ มีลักษณะพิเศษ คือ ไม่มีอักษรเฉพาะของภาษาปาฬิ แต่ใช้อักษร ของชาติตา่ งๆ เขียนภาษาปาฬิ เช่น ภาษาปาฬิ อักษรไทย, ภาษาปาฬิ อักษรสิงหล, ภาษาปาฬิ อักษรพม่า เป็นต้น ความพิเศษของภาษาปาฬิ ที่ใช้เขียนด้วยอักษรของชาติต่างๆ นี้ ทำให้ พระไตรปิฎกปาฬิ แพร่หลายไปในนานาประเทศ เพราะตัวอักษร เป็นสื่อที่ทำให้สามารถ อ่านออกเสียงภาษาปาฬิได้ แต่กม็ ปี ญ ั หาว่า การใช้อกั ษรของชาติตา่ งๆ ทำให้แต่ละชาติออก เสียงภาษาปาฬิ ตามสำเนียงในภาษาของตน ซึ่งอาจไม่ถูกต้องตามหลักการออกเสียงใน

ไวยากรณ์ปาฬิ แต่อักษรโรมันเป็นอักษรสากลที่ช่วยให้อ่านภาษาปาฬิได้ถูกต้อง 3. อักษรโรมันคืออะไร สากลอย่างไร ? อักษรโรมัน (Roman alphabet) คืออักษรที่สร้างและพัฒนาขึ้นเมื่อประมาณ ศตวรรษที่ 6-7 ก่อนคริสตศักราช เพื่อใช้เขียนภาษาละติน ซึ่งเป็นภาษาประจำชาติของ อาณาจักรโรมัน ต่อมา อักษรโรมันได้ใช้เป็นอักษรเขียนภาษาต่างๆ ในยุโรป เช่น ภาษา อังกฤษ เมื่อภาษาอังกฤษ ได้แพร่หลายไปทั่วโลก อักษรโรมัน จึงเป็นอักษรที่คนทั่วโลก รู้จักและอ่านออกเสียงได้ 38


ในประเทศไทยพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว รั ช กาลที่ 6 เมื่ อ พระราชทานนามสกุลแก่ประชาชนชาวไทย ก็ได้พระราชทานวิธกี ารเขียนนามสกุลภาษาไทย ด้วยอักษรไทย ควบคู่กับการเขียนด้วยอักษรโรมัน เพื่อให้ชาวโลกออกเสียงนามสกุลใน ภาษาไทยได้ถูกต้อง การที่ภาษาปาฬิไม่มีอักษรใช้โดยเฉพาะ ผู้ที่นับถือพุทธศาสนาจะใช้อักษรในระบบ การเขียนภาษาของตนบันทึกเนื้อหาสาระหรือข้อความที่เป็นภาษาปาฬิ รวมทั้งคัมภีร์

พระไตรปิฎกปาฬิดว้ ย เราจึงมีพระพุทธวจนะหรือคำทรงสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ เจ้า และคัมภีร์พระไตรปิฎกภาษาปาฬิ ซึ่งบันทึกด้วยอักษรในระบบการเขียนของภาษา ต่างๆ เช่น อักษรไทยในภาษาไทย อักษรมอญในภาษาพม่า อักษรลาวในภาษาลาว อักษร เขมรในภาษาเขมร ด้วยเหตุนี้เมื่อพุทธศาสนาเผยแผ่เข้าไปในยุโรปก็ได้ใช้อักษรโรมันบันทึก ภาษาปาฬิด้วย จะเห็นได้ว่าเสียงพูดในภาษา (language) กับตัวอักษรในระบบการเขียน (alphabet, script) เป็นคนละเรื่องกันแต่เกี่ยวข้องกัน ในระบบการเขียนส่วนใหญ่เราใช้ อักษรแทนเสียงพูด ข้อควรสังเกตคือ มักมีความเข้าใจผิดและความสับสนว่า “อักษร” กับ “ภาษา” เป็นสิง่ เดียวกัน ทีถ่ กู ต้อง “อักษร” คือสัญลักษณ์ทใี่ ช้แทนเสียงใน “ภาษา” เท่านัน้ ดังเช่น ในคำว่า “พระไตรปิฎกปาฬิ อักษรโรมัน” ปาฬิคือภาษา โรมันคืออักษร พระไตรปิฎกปาฬิ อักษรโรมัน คือพระไตรปิฎกที่บันทึกภาษาปาฬิด้วยอักษรโรมัน 4. อักษรโรมันในการบันทึกภาษาปาฬิ การใช้อักษรโรมันแทนเสียงในภาษาปาฬินั้น นอกจากจะเป็นประโยชน์ใน ฐานะที่อักษรโรมันเป็นอักษรสากลที่คนทั่วโลกรู้จักแล้ว ยังมีประโยชน์อย่างยิ่งในเรื่องการ ออกเสียงได้ถกู ต้องตรงกับเสียงภาษาปาฬิตามทีร่ ะบุไว้ในไวยากรณ์ปาฬิแต่โบราณ เช่น คัมภีร ์ กัจจายนไวยากรณ์ คัมภีร์สัททนีติ เป็นต้น ยิ่งกว่านั้น ในปัจจุบันชาวตะวันตกมีความสนใจ ศึกษาพระพุทธศาสนามากขึ้น การพิมพ์พระไตรปิฎกฉบับมหาสังคายนาสากลนานาชาติ ด้วยอักษรโรมัน โดยกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ จักช่วยให้ชาวตะวันตกที่สนใจศึกษา พระพุทธศาสนา สามารถศึกษาและอ่านออกเสียงพระพุทธวจนะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้โดยตรง ซึง่ นับว่าเป็นสิง่ ที่มีค่าประมาณมิได้

39


5. การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก การบำเพ็ญกุศลด้วยการออกเสียงพระพุทธพจน์ เรียกเป็นศัพท์ว่า “การอ่าน

สังวัธยายพระไตรปิฎก” บุคคลสามารถอ่านสังวัธยายเป็นภาษาปาฬิและภาคแปลภาษาต่างๆ คำว่า “สังวัธยาย” แปลว่า “เปล่งเสียงอ่านดังๆ ร่วมกัน” โดยเน้นการออกเสียงสระและ พยัญชนะให้ชัดเจน การอ่านสังวัธยายจึงต่างจากการสวดเป็นทำนองต่างๆ การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎกและภาคแปลภาษาต่างๆ เป็นธัมมทาน เป็นการ บำเพ็ญบารมีด้านปัญญา เพราะต้องประกอบด้วยศรัทธาและความเข้าใจในเนื้อหาที่อ่าน สังวัธยาย จึงนำให้เกิดกุศลประโยชน์อันล้ำเลิศ แก่บุคคล สังคม และสากลโลก ทั้งปัจจุบัน และอนาคต การอ่านสังวัธยาย ผู้อ่านจะใช้คู่มืออ่านสังวัธยาย ซึ่งมีบทที่คัดเลือกมาจากพระไตร ปิฎกสากล เป็นพระพุทธพจน์ภาษาปาฬิ ที่พิมพ์ด้วยอักษรโรมัน ซึ่งประชาชนนานาชาติ ทั่วโลกสามารถอ่านได้ ในการพิมพ์ครั้งนี้ ได้มีคำแปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษด้วย พิธีอ่านสังวัธยายจะมีผู้อ่านนำเป็นภาษาปาฬิทีละบรรทัด ซึ่งผู้ร่วมพิธีจะอ่านออก เสียงสังวัธยายตามจนจบบท เมื่อจบการอ่านสังวัธยายแต่ละบทแล้ว ก็สามารถอ่านบทนั้น พร้อมกันอีกครั้งหนึ่งได้ หลังจบการอ่านสังวัธยายในแต่ละบท ผู้อ่านนำจะประกาศสัตยาธิษฐานถวายเป็น

พระราชกุศล ซึ่งผู้ร่วมพิธีจะได้กล่าวตามดังนี้ ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ และขอให้ขา้ พเจ้า และประเทศชาติ ปราศจากภยันตราย เจริญรุง่ เรือ่ งทุกเมือ่ เทอญ

40


รายชือ่ ผูบ้ ริหารกรุงเทพมหานคร ในการจัดงานพิธสี มโภชและถวายพระไตรปิฎกสากลแด่สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ในวโรกาสทรงเจริญพระชันษา 96 ปี ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรตั นศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง วันที่ 24 พฤศจิกายน 2552 ---------------------------

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

10.

11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25.

ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร นายพรเทพ เตชะไพบูลย์ นางมาลินี สุขเวชชวรกิจ นายธีระชน มโนมัยพิบูลย์ นางทยา ทีปสุวรรณ นายชีวเวช เวชชาชีวะ นางสาวเบญทราย กียปัจจ์ นายสัญญา จันทรัตน์ นายสุทธิสรรค์ ศิวพิทกั ษ์ นายวัลลภ สุวรรณดี นายธราดล เปี่ยมพงศ์สานต์ นายแสงชัย สีมาขจร นายมนู สิทธิประศาสน์ เรืออากาศเอก พิทักษ์ ฐานบัญชา พันตำรวจเอก สวัสดิ์ จำปาศรี นายถนอม อ่อนเกตุพล นายวสันต์ มีวงษ์ นายศุภชัย ตันติคมน์ นายพงศ์ศักติฐ์ เสมสันต์ นายทวีศักดิ์ เดชเดโช นางเพียงใจ วิศรุตรัตน นางนินนาท ชลิตานนท์ นายเจริญรัตน์ ชูติกาญจน์ นายชาตินัย เนาวภูต นายพีระพงษ์ สายเชื้อ

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เลขานุการผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ผูช้ ว่ ยเลขานุการผูว้ า่ ราชการกรุงเทพมหานคร ผูช้ ว่ ยเลขานุการผูว้ า่ ราชการกรุงเทพมหานคร ผูช้ ว่ ยเลขานุการผูว้ า่ ราชการกรุงเทพมหานคร ประธานที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการ กรุงเทพมหานคร ที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ปลัดกรุงเทพมหานคร รองปลัดกรุงเทพมหานคร รองปลัดกรุงเทพมหานคร รองปลัดกรุงเทพมหานคร รองปลัดกรุงเทพมหานคร รองปลัดกรุงเทพมหานคร รองปลัดกรุงเทพมหานคร

41


26.

27.

28. 29. 30. 31. 32. 33. 34.

35. 36.

37. 38. 39.

40. 41. 42.

43.

44. 45. 46. 47. 48. 49. 50. 51. 52.

นายสมศักดิ์ จันทวัฒนา นายสุชาติ จำปาขาว นายปรีชา สุขสนเทศ นายวินัย ลิ่มสกุล นายสราวุฒิ สนธิแก้ว นายจุมพล สำเภาพล นายสัญญา ชีนิมิต นายอรรถพร สุวัธนเดชา นางประพิม บริสุทธิ์ นายพูลพันธ์ ไกรเสริม นายยุทธศักดิ์ ร่มฉัตรทอง นางสาวอัญชลี ปัทมาสวรรค์ นายสิทธิรัตน์ ถ้ำสุวรรณ นางกฤติยา สัจจรักษ์ เรืออากาศโท อิราวัสส์ ปัทมสุคนธ์ นางมนทิรา ทองสาริ นางสาวปราณี สัตยประกอบ นายเกรียงพล พัฒนรัฐ นางศิริลักษณ์ สักกวัตร นายณกรณ์ ทองศรี นางอัญชลี ศาสนจิตต์ นางนภาพร อิสระเสรีพงษ์ นางชนิศฏ์สรฐ์ สืบสังข์ นายนพดล สะวิคามิน นายบัณฑิต วินิจฉัยกุล นางบังอร ถ้ำสุวรรณ นายนราธิป ภัทรวิมล 42

ผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว หัวหน้าสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการ กรุงเทพมหานคร ผู้อำนวยการสำนักการคลัง ผู้อำนวยการสำนักการจราจรและขนส่ง ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์ ผู้อำนวยการสำนักการโยธา ผู้อำนวยการสำนักการระบายน้ำ ผู้อำนวยการสำนักการศึกษา ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ กรุงเทพมหานคร ผู้อำนวยการสำนักเทศกิจ ผู้อำนวยการสำนักป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย ผู้อำนวยการสำนักผังเมือง ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาสังคม ผู้อำนวยการสำนักยุทธศาสตร์ และประเมินผล ผู้อำนวยการสำนักสิ่งแวดล้อม ผู้อำนวยการสำนักอนามัย รองผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว รองผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ผู้ช่วยปลัดกรุงเทพมหานคร ผู้ช่วยปลัดกรุงเทพมหานคร ผู้ช่วยปลัดกรุงเทพมหานคร ผู้ช่วยปลัดกรุงเทพมหานคร ผู้ช่วยปลัดกรุงเทพมหานคร ผู้ช่วยปลัดกรุงเทพมหานคร ผู้อำนวยการเขตคลองเตย ผู้อำนวยการเขตคลองสาน ผู้อำนวยการเขตคลองสามวา


53. 54. 55. 56. 57. 58. 59. 60. 61. 62. 63. 64. 65. 66. 67. 68. 69. 70. 71. 72. 73. 74. 75. 76. 77. 78. 79. 80. 81. 82. 83. 84. 85. 86.

นายธีรบูรณ์ มานุพีรพันธ์ นายอิศราเมศร์ คชานุกูลย์ นายสุรศักดิ์ สอนเคลือ นางสาวอภิญญา ภาวสุทธิการ นายพรเทพ อัครวรกุลชัย นางจันทนา พันธุ์พิริยะ นายวรภาส รุจิโภชน์ นายกฤษฎา สุขสงวน นายศุภพงษ์ กฤษณพันธุ์ ม.ล.วิณา สุบรรณ นายประเสริฐ ทองนุ่น นางรัตตินันท์ นิธิโอฬารพงศ์ นายชัยธวัช อยู่สำราญ นายโสภณ โพธิสป นายอมรทัต พิจิตรคดีพล นายวันชัย ถนอมศักดิ์ นายศิวรัตน์ สุวรรณกาศ นายธัชชัย ลิ้มพิบูลย์ นายสุวพร เจิมรังษี นายพรเลิศ พันธุ์วัฒนา นางสาวสุรีย์ วัชนะประพันธ์ นายสุรเกียรติ ลิ้มเจริญ นางพิมลรัตน์ วงษ์รักษ์ นายวรพจน์ อินทุลักษณ์ นายสมชาย ฉัตรสกุลเพ็ญ นางวัชราภรณ์ กวยะปาณิก นายสว่าง บุญสิทธิ์ นายเสือชนะ สุดเจริญ นายสมชาย เลี่ยวชวลิต นางสาววิภาวี พงศ์พิริยะวนิช ว่าที่ร้อยตรี เศวตชัย ทรัพย์บุญมี นายกริช วัชรศิริธรรม นางสุวัฒนี ไชยนันทน์ นางรัสยาภรณ์ นครสุต

ผู้อำนวยการเขตคันนายาว ผู้อำนวยการเขตจตุจักร ผู้อำนวยการเขตจอมทอง ผู้อำนวยการเขตดอนเมือง ผู้อำนวยการเขตดินแดง ผู้อำนวยการเขตดุสิต ผู้อำนวยการเขตตลิ่งชัน ผู้อำนวยการเขตทวีวัฒนา ผู้อำนวยการเขตทุ่งครุ ผู้อำนวยการเขตธนบุรี ผู้อำนวยการเขตบางกะปิ ผู้อำนวยการเขตบางกอกน้อย ผู้อำนวยการเขตบางกอกใหญ่ ผู้อำนวยการเขตบางขุนเทียน ผู้อำนวยการเขตบางเขน ผู้อำนวยการเขตบางคอแหลม ผู้อำนวยการเขตบางแค ผู้อำนวยการเขตบางซื่อ ผู้อำนวยการเขตบางนา ผู้อำนวยการเขตบางบอน ผู้อำนวยการเขตบางพลัด ผู้อำนวยการเขตบางรัก ผู้อำนวยการเขตบึงกุ่ม ผู้อำนวยการเขตปทุมวัน ผู้อำนวยการเขตประเวศ ผู้อำนวยการเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ผู้อำนวยการเขตพญาไท ผู้อำนวยการเขตพระนคร ผู้อำนวยการเขตพระโขนง ผู้อำนวยการเขตภาษีเจริญ ผู้อำนวยการเขตมีนบุรี ผู้อำนวยการเขตยานนาวา ผู้อำนวยการเขตราชเทวี ผู้อำนวยการเขตราษฎร์บูรณะ 43


87.

88. 89. 90. 91. 92. 93. 94. 95. 96. 97. 98. 99.

100. 101. 102.

103.

104.

105.

106.

107. 108.

109.

110.

นายบรรจง สุขดี นายบพิธ แสงแก้ว นายประเสริฐ อินทุโสมา นายจรูญ มีธนาถาวร ว่าที่ร้อยตรี สมสิทธิ์ คงธนสารสิทธิ์ นางจินตนา สุรินทร์ศิริรัฐ นางวีรยา พุทธชินวงศ์ นายบัณฑิต สิทธินามสุวรรณ นายพิชัย พิชญเดชะ นายไพโรจน์ สุดใจ นายพงษ์ศักดิ์ พันธุ์สวาสดิ์ นางสาวอมรรัตน์ กฤตยานวัช นางภาวิณี อามาตย์ทัศน์ นางศิลปสวย ระวีแสงสูรย์ นางสาวแสนสุข สตงคุณห์ นายบุญช่วย โกษะ นายวิรัช อินทรัตน์ นายชุมพล ชาวเกาะ นางสาวสุกฤตตา สื่อเจริญ นายภาณุภณ ไตรศรี ผู้อำนวยการกองการกีฬา นางฉัฐนันท์ อินทราชา นางนงพะงา บุญปักษ์ นางกัลยา อิ่มอ่อง 44

ผู้อำนวยการเขตลาดกระบัง ผู้อำนวยการเขตลาดพร้าว ผู้อำนวยการเขตวังทองหลาง ผู้อำนวยการเขตวัฒนา ผู้อำนวยการเขตสะพานสูง ผู้อำนวยการเขตสาทร ผู้อำนวยการเขตสายไหม ผู้อำนวยการเขตสัมพันธวงศ์ ผู้อำนวยการเขตสวนหลวง ผู้อำนวยการเขตหนองจอก ผู้อำนวยการเขตหนองแขม ผู้อำนวยการเขตหลักสี่ ผู้อำนวยการเขตห้วยขวาง ผู้อำนวยการกองกลาง ผู้อำนวยการกองประชาสัมพันธ์ ผู้อำนวยการกองวัฒนธรรม สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว เลขานุการสำนักงบประมาณ กรุงเทพมหานคร เลขานุการสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ผู้อำนวยการกองนโยบายและแผนงาน สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ผู้อำนวยการกองนันทนาการ สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ผู้อำนวยการกองการสังคีต สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ผู้อำนวยการกองการท่องเที่ยว สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ผู้อำนวยการศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย – ญี่ปุ่น) สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.