หนังสืออนุสรณ์
ธัมมบท 100 บท จากพระไตรปิฎก
พิธีสมโภชและถวายพระไตรปิฎกสากล ชุด 40 เล่ม แด่ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ในวโรกาส ที่องค์อุปถัมภ์พระไตรปิฎกสากลทรงเจริญพระชันษา 96 ปี
3
สารบัญ สารบัญ
คัดเลือกจากพระไตรปิฎกปาฬิ : ธัมมบท หรือ ธัมมปทะ (Dhammapada) และแปลเป็นภาษาอังกฤษและภาษาไทย ในวงเล็บ ( ) คือเลขลำดับธัมมบทเพื่ออ้างอิงสู่พระไตรปิฎกปาฬิ แปลไทย
ภาษาปาฬิ
แปลอังกฤษ
ธัมมะทั้งหลาย ใจผ่องใส สาระ ความเป็นผู้สงบ ทางแห่งอมตะ ทำลายล้างไม่ได้ ท่อนไม้ที่ไร้ประโยชน์ การเลือกบทธัมมะ มุนี วาจาสุภาสิต ทุกทิศ พระสัทธัมม์ ความเป็นสหาย ทัพพีไม่รู้รสแกง ความรู้กับคนโง่ ความไม่มี บัณฑิต ธัมมะบทเดียว ผู้ชนะตน มีชีวิตวันเดียว บาปกัมม์ สังสารวัฏ ที่พึ่งของตน พระพุทธเจ้าทั้งหลาย นิพพานเป็นบรมสุข พึงชนะ อนิจจา อนัตตา ศรัทธา ชนะที่ล้วนเป็นเลิศ จงโจทฟ้องตนด้วยตน ความเพียร พระพุทธเจ้า
dhammā (1) All Dhammas mana pasanna (2) Purity sāra (12) Essence sāmañña (20) Holy Person amatapada (21) Path to the Deathlessness nābhikīrati (25) Shall Not Destroy nirattha kaliṅgara (41) A Useless Log dhammapada (44) Dhammaverse munī (49) The Sage subhāsitā vācā (51) A Well-Spoken Word sabbā disā (54) Every Way saddhamma (60) Dhamma of the Virtuous sahāyatā (61) Fellowship dabbī sūparasa (64) The Ladle & the Soup ñatta (72) Knowledge asanta (73) The Absence paṇḍita (80) The Wise eka dhammapada (102) A Single Dhammaverse seyyamatta (103) Victor of Oneself ekāha jīvita (115) A Single Day pāpakamma (127) Evil Deeds saṃsāra (153) Saṃsāra atta nātha (160) Your Own Refuge buddhā (183) The Buddhas nibbāna parama sukha (204) Foremost Bliss jina (223) Overcome anicca (277) Impermanence anattā (279) Non-self saddhā (303) Confidence jināti (354) Excels atta codaya (379) Should Reprove Yourself yuñjati (382) Strives buddha (387) The Buddha
17
17
หน้า 29 31 33 35 37 39 41 43 45 47 49 51 53 55 57 59 61 63 65 67 69 71 73 75 77 79 81 83 85 87 89 91 93
พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 (2436) อักษรสยาม ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล พ.ศ. 2552
พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล 12
พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน ชุดปฐมฤกษ์ 40 เล่ม พ.ศ.2548 จัดพิมพ์เป็นพระธัมมทานตามรอยพระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ร.ศ. 112 (2436)
พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ชุดที่พระราชทานแก่มหาวิทยาลัยแห่งออสโล นอรเวย์ มีการสำรวจอย่างเป็นทางการโดยผู้ทรงคุณวุฒิจากราชบัณฑิตยสถาน และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 18 สิงหาคม 2552 26
อะอะa a[ a[ a] ] อาอา ā ā[ aː [ aː ] ] อิ อิi i [ i[ ]i ] อี อี ī ī [ iː [ iː ] ] อุ อุu u[ u[ u] ] อู อู ū ū[ uː [ uː ] ] เอเอe e [ eː [ eː ] ] โอโอo o[ oː [ oː ] ] ก์ ก์k k[ k[ k] ] ข์ ข์khkh[ kʰ [ kʰ ] ] ค์ ค์g g[ g[ g] ] ฆ์ ฆ์ghgh[ gʱ [ gʱ ] ] ง ง ṅ ṅ[ ŋ ] [ ŋ ] จ์ จ์c c [ c[ c] ] ฉ์ ฉ์chch[ cʰ [ cʰ ] ] ช์ ช์j j [ ɟ[ ]ɟ ] ฌ์ ฌ์jhjh[ ɟ[ ʱ ]ɟʱ ] ์ ์ñ ñ[ ɲ[ ]ɲ ] ฏ์ ฏ์ ṭ ṭ [ ʈ ] [ ʈ ] ์ ์ ṭh ṭh[ ʈʰ [ ʈʰ ] ] ฑ์ ฑ์ ḍ ḍ[ ɖ ] [ ɖ ] ฒ์ ฒ์ ḍh ḍh [ ɖʱ [ ɖʱ ] ] ณ์ณ์ ṇ ṇ[ ɳ ] [ ɳ ] ต์ ต์t t [ t̪[ t̪ ] ] ถ์ ถ์thth[ t̪[ t̪ ʰ ] ʰ ] ท์ ท์d d[ d̪[ d̪ ] ] ธ์ ธ์ dhdh[ d̪[ d̪ ʱ ] ʱ ] น์ น์n n[ n̪[ n̪ ] ]
บ้อายเนื ้อหาการพิ ้อหาการพิ คำอธิคำอธิ บคำอธิ ายเนืบายเนื หาการพิ มพ์ มพ์มพ์
นโม นโมตัสตั์ส์สภควโต ภควโตอรหโต อรหโตสัมสั์มาสั ์มาสัม์พม์พุทุท์ธัส์ธ์สั ์ส
ภาษาปาฬิ ภาษาปาฬิอักอัษรสยาม กษรสยามตามที ตามที ่พิม่พพ์ิมใพ์นพระไตรปิ ในพระไตรปิ ฎกสมั ฎกสมั ยรัยชรักาลที ชกาลที ่ 5่ 5
Namo Namotassa tassaBhagavato Bhagavato Arahato ArahatoSammāsambuddhassa. Sammāsambuddhassa.
ภาษาปาฬิ ภาษาปาฬิอักอัษรโรมั กษรโรมั น นจากพระไตรปิ จากพระไตรปิ ฎกฉบั ฎกฉบั บสากล บสากล
ขอนอบน้ ขอนอบน้อมแด่ อมแด่พพระผู ระผู้มีพ้มีพระภาคพระองค์ ระภาคพระองค์นั้นั้น ผู้เผูป็้เนป็พระอรหั นพระอรหันตสั นตสัมมาสั มมาสัมพุมพุทธเจ้ ทธเจ้า า ภาคแปลพระไตรปิ ภาคแปลพระไตรปิ ฎกภาษาไทย ฎกภาษาไทยพ.ศ. พ.ศ.2552 2552
Homage Homagetotothe theBlessed BlessedTeacher Teacher The ThePerfected Perfectedand andFully FullySelf-awakened Self-awakenedOne. One.
ภาคแปลพระไตรปิ ภาคแปลพระไตรปิ ฎกภาษาอั ฎกภาษาอั งกฤษ งกฤษพ.ศ. พ.ศ.2552 2552
ป์ ป์p p[ p[ p] ] ผ์ ผ์phph[ pʰ [ pʰ ] ] พ์ พ์b b[ b[ b] ] ภ์ ภ์bhbh[ bʱ [ bʱ ] ] ม์ ม์mm[ m[ m ] ] ย ๎ ยy๎ y[ j[ ]j ] ร ๎ ร ๎r r [ ɻ ] [ ɻ ] ล ๎ ลl๎ l [ l[ l̪ ] ̪ ] ว ๎ ว v๎ v[ ʋ ] [ ʋ ] ส ๎ สs๎ s [ s̪[ s̪ ] ] ห ๎ หh๎ h[ ɦ ] [ ɦ ] ฬ ๎ ฬ ḷ๎ ḷ [ ɭ ] [ ɭ ] อํ อํaṃaṃ[ ã[ ã] ]
ดัชดันีชตนี่าตงๆ ่างๆในการแปลพระไตรปิ ในการแปลพระไตรปิ ฎกสากล ฎกสากล: World : WorldTipiṭaka TipiṭakaTranslation TranslationIndex Index ชื่อชื่อ: : -ศัพศัท์พธท์มั ธมสั มั มสั งคณี งคณี: -: ปิฎปิกอ้ ฎกอ้ างอิางอิ ง :ง : Paramatthadīpanī Paramatthadīpanī (Khuddakanikāya) (Khuddakanikāya) คลัคลั งข้งอข้มูอลมูปาฬิ ลปาฬิ: Namo tassa Bhagavato Arahato Sammāsambuddhassa : Namo tassa Bhagavato Arahato Sammāsambuddhassa มีใมีนพระไตรปิ ในพระไตรปิ ฎกทุ ฎกทุ กเล่กเล่ มม คำสำคั คำสำคั ญ:ญ: Bhagavato, Bhagavato, the the Blessed Blessed Teacher, Teacher, พระผู พระผู ้มีพ้มระภาค; ีพระภาค; Arahato, Arahato, The The Perfected, Perfected, พระอรหั พระอรหั นต์นต์ 27
2727
[23]
Abbreviations of Pāḷi Plate 2Volume : Volume Abbreviations ofTipiṭaka Pāḷi Tipiṭaka
Showing Tipiṭaka Tipiṭaka Volume Volume Abbreviations, Abbreviations, Division Division Number Number References References and and Volume Volume Titles Showing Titles Note : [Sn] Section No. [Dn] Division No. e.g. 22J5.100 (Volume 22 Jātaka. Section No.5 Division No.100) Note : [Sn] Section No. [Dn] Division No. e.g. 22J5.100 (Volume 22 Jātaka. Section No.5 DivisionAṭṭhakathā. No.100) A Aṭṭhakathā e.g. 15A2.A.50 (Volume 15 Aṅguttaranikāya Dukanipātapāḷi Division No.50) A Aṭṭhakathā e.g. 15A2.A.50 (Volume 15 Aṅguttaranikāya Dukanipātapāḷi Aṭṭhakathā. Division No.50)
Abbr.
Division No.
Volume Title
Abbr.
Pages
Division No.
1V
1V.1-662
Pārājikapāḷi
326
2V
2V.1-1242
Pācittiyapāḷi
407
3V
3V.1-477
Mahāvaggapāḷi
451
4V
4V.1-458
Cūḷavaggapāḷi
444
5V
5V.1-501
Parivārapāḷi
354
Khuddakanikāya (Khu) Nettipāḷi
27Pe.1-120
Peṭakopadesapāḷi
28Mi
28Mi.1-294
Milindapañhapāḷi
29Dhs
29Dhs.[Sn].[Dn]
Dhammasaṅgaṇīpāḷi
281
30Vbh
30Vbh.1-1044
Vibhaṅgapāḷi
416
31Dht.1-518
Dhātukathāpāḷi
31Pu.[Sn].[Dn]
Puggalapaññattipāḷi
32Kv.1-918
Kathāvatthupāḷi
Dīkhanikāya (D) 6D.1-559
Sīlakkhandhavaggapāḷi
200
7D
7D.1-441
Mahāvaggapāḷi
242
8D
8D.1-360
Pāthikavaggapāḷi
222
9M
9M.1-513
Mūlapaṇṇāsapāḷi
364
10M
10M.1-486
Majjhimapaṇṇāsapāḷi
381
11M
11M.1-463
Uparipaṇṇāsapāḷi
306
31Dht, Pu 32Kv
Majjhimanikāya (M)
13S3-4 14S5
Sagāthāvaggasaṃyuttapāḷi Nidānavaggasaṃyuttapāḷi
13S3.1-716
Khandhavaggasaṃyuttapāḷi
13S4.1-420
Saḷāyatanavaggasaṃyuttapāḷi
14S5.1-1201
Mahāvaggasaṃyuttapāḷi
33Y1.1-99 33Y1-5
440 34Y6-8
549 402
35Y9-10
Aṅguttaranikāya (A)
15A1-4
16A5-7
17A8-11
15A1.1-611
Ekakanipātapāḷi
15A2.1-246
Dukanipātapāḷi
15A3.1-184
Tikanipātapāḷi
15A4.1-783
Catukkanipātapāḷi
16A5.1-1152
Pañcakanipātapāḷi
16A6.1-649
Chakkanipātapāḷi
16A7.1-1132
Sattakanipātapāḷi
17A8.1-626
Aṭṭhakanipātapāḷi
17A9.1-432
Navakanipātapāḷi
17A10.1-746
Dasakanipātapāḷi
17A11.1- 672
Ekādasakanipātapāḷi
19Vv, Pv, Th1, Th2,
20Ap1-2
Khandhayamakapāḷi
33Y3.1-254
Āyatanayamakapāḷi
33Y4.1-19
Dhātuyamakapāḷi
33Y5.1-170
Saccayamakapāḷi
34Y6.1-159
Saṅkhārayamakapāḷi
34Y7.1-349
Anusayayamakapāḷi
34Y8.1-116
Cittayamakapāḷi
35Y9.1-229
Dhammayamakapāḷi
35Y10.1-482
Indriyayamakapāḷi
Tikapaṭṭhānapāḷi
437
37P1
37P1.[Sn].[Dn]
Tikapaṭṭhānapāḷi
477
38P2
38P2.[Sn].[Dn]
Dukapaṭṭhānapāḷi
773
39P3.[Sn].[Dn]
Dukatikapaṭṭhānapāḷi
39P4.[Sn].[Dn]
Tikadukapaṭṭhānapāḷi
39P5.[Sn].[Dn]
Tikatikapaṭṭhānapāḷi
39P6.[Sn].1-94
Dukadukapaṭṭhānapāḷi
467 39P3-6 509
Tikapaṭṭhānapāḷi Dukapaṭṭhānapāḷi Dukatikapaṭṭhānapāḷi
Dhammapadapāḷi
40P10.1-94
Tikadukapaṭṭhānapāḷi
40P11.1-86
Tikatikapaṭṭhānapāḷi
40P12.1-60
Dukadukapaṭṭhānapāḷi
424
Itivuttakapāḷi
19Pv.1-814
Petavatthupāḷi
19Th1.1-1288
Theragāthāpāḷi
19Th2.1-524
Therīgāthāpāḷi
20Ap1.[Sn].[Dn]
Therāpadānapāḷi
20Ap2.[Sn].[Dn]
Therīapadānapāḷi
21Bu
21Bu.[Sn].[Dn]
Buddhavaṃsapāḷi
21Cp
21Cp.[Sn].[Dn]
Cariyāpiṭakapāḷi
22J
22J.[Sn].[Dn]
Jātakapāḷi
23J
23J.[Sn].[Dn]
Jātakapāḷi
24Mn
24Mn.1-210
25Cn
25Cn.[Sn].[Dn]
26Ps
26Ps.[Sn].[Dn]
Paṭisambhidāmaggapāḷi
468
Dhammapaccanīya 40P7.1-39
18Dh.1-424
Vimānavatthupāḷi
385
36P1.[Sn].[Dn]
40P9.1-91
19Vv.1-1289
319
36P1
40P8.1-93
Suttanipātapāḷi
317
Anuloma
552
Khuddakapāṭhapāḷi
18Sn.1-1177
386
M๊๊ūlayamakapāḷi
33Y2.1-211
18Kh.[Sn].[Dn]
Udānapāḷi
162
Paṭṭhāna (P)
Khuddakanikāya (Khu)
18Kh, Dh, 18Ud.1-80 Ud, It, Sn 18It.1-112
348
Yamaka (Y)
Saṃyuttanikāya (S) 12S2.1-246
303
Abhidhammapiṭaka (Abhi)
6D
12S1.1-271
Pages
27Ne.1-125
27Ne, Pe
Suttantapiṭaka (Sutta)
12S1-2
Volume Title
Suttantapiṭaka (Sutta)
Vinayapiṭaka (V)
Dhammānulomapaccanīya
423 40P7-24 690
40P13.1-52
Tikapaṭṭhānapāḷi
40P14.1-57
Dukapaṭṭhānapāḷi
40P15.1-105
Dukatikapaṭṭhānapāḷi
40P16.1-147
Tikadukapaṭṭhānapāḷi
40P17.1-50
Tikatikapaṭṭhānapāḷi
40P18.1-97
Dukadukapaṭṭhānapāḷi
423
Dhammapaccanīyānuloma
118
40P19.1-30
Tikapaṭṭhānapāḷi
357
40P20.1-60
Dukapaṭṭhānapāḷi
336
40P21.1-140
Dukatikapaṭṭhānapāḷi
Mahāniddesapāḷi
364
40P22.1-117
Tikadukapaṭṭhānapāḷi
Cūḷaniddesapāḷi
269
40P23.1-68
Tikatikapaṭṭhānapāḷi
378
40P24.1-92
Dukadukapaṭṭhānapāḷi
Tipiṭaka Studies References by Dhamma Society 2009 Tipiṭaka Studies References by Dhamma Society 2009
การแบ่งเล่มพระไตรปิฎกเป็น 40 เล่ม สำหรับใช้อ้างอิงในดัชนีต่างๆ ในการแปลพระไตรปิฎกสากล เช่น 29Dhs:542 หมายถึง เล่มที่ 29 ธัมมสังคณี ย่อหน้า 542 28
อะ a อา ā อิ i อี ī อุ u อู ū เอ e โอ o
[a ] [ aː ] [i] [ iː ] [u ] [ uː ] [ eː ] [ oː ]
ก์ ข์ ค์ ฆ์ ง
k [k ] kh [ kʰ] g [g ] gh [ gʱ ] ṅ [ŋ ]
จ์ ฉ์ ช์ ฌ์ ์
c [c ] ch [ cʰ ] j [ɟ ] jh [ ɟʱ ] ñ [ɲ]
ฏ์ ์ ฑ์ ฒ์ ณ์
ṭ [ʈ] ṭh [ ʈʰ ] ḍ [ɖ ] ḍh [ ɖʱ] ṇ [ɳ ]
ต์ ถ์ ท์ ธ์ น์
t [ t̪ ] th [ t̪ʰ] d [ d̪ ] dh [ d̪ʱ] n [ n̪ ]
ป์ ผ์ พ์ ภ์ ม์
p [p ] ph [ pʰ] b [b ] bh [ bʱ] m [ m]
ย๎ y [ j ] ร๎ r [ ɻ ] ล๎ l [ l̪ ] ว๎ v [ ʋ ] ส๎ s [ s̪ ] ห๎ h [ ɦ ] ฬ๎ ḷ [ ɭ ] อํ aṃ [ ã ]
ธัมมะทั หลาย ธัม้งมะทั ้งหลาย มโนปุพ์พังคมา ธัม์มา... Manopubbaṅgamā dhammā, Manoseṭṭhā manomayā; Manasā ce paduṭṭhena, Bhāsati vā karoti vā; Tato naṃ dukkhama‿ nveti, Cakkaṃva vahato padaṃ. (1)
ธัมมะทั้งหลายเกิดจากใจก่อน, มีใจเป็นใหญ่ สําเร็จด้วยใจ; ถ้าบุคคลมีใจประทุษร้าย, กล่าวอยู่ก็ตาม ทําอยู่ก็ตาม; ความทุกข์ย่อมตามเขาไป, เสมือนล้อหมุนตามรอยเท้าผู้ลากไป ฉะนั้น. (1)
Mind precedes all Dhammas, Mind is their chief; they are mind-made; If with an evil mind A person speaks or acts; Suffering thus follows him, As the wheels that follow the footstep of the drawer. (1) ด้วยอำนาจสัจจวาจาและอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ และขอให้ข้าพเจ้าและประเทศชาติปราศจากภยันตรายเจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อเทอญ.
ดัชนีต่างๆ ในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index ชื่อ: DHAMMAPADA 1/423 :Cakkhupālattheravatthu Story of Cakkhupāla เรื่องพระเถระชื่อจักขุปาละ ศัพท์ธมั มสังคณี:dhammā →Dhamma ธัมมะ29Dhs:542 dukkhamanveti →Dukkha :suffering, ทุกขะ29Dhs:1055; Manasā →Mana :mind, มนะ29Dhs:385 ปิฎกอ้างอิง: Cakkhupāla 19Th1:214 คลังข้อมูลปาฬิ: Manopubbaṅgamā dhammā... 27Ne:620; 27Pe:156 คำสำคัญ: cakka, wheel, ล้อ 25 29
ภาษาปาฬิ ภาษาพระธัมม์ 1. ปาฬิ คือ พระธัมม์ พระไตรปิฎก และพระบรมศาสดา คำว่า Pāḷi – ปาฬิ (มักออกเสียงตามแบบไทยว่า บาฬี) ปาฬิมคี วามหมายเท่า กับพระธัมม์ พระธัมม์นี้ได้รับการสืบทอดต่อมาเรียกว่า พระไตรปิฎก พระปาฬิจึงมีความ หมายถึง พระไตรปิฎกด้วย และก่อนเสด็จดับขันธปรินพิ พานพระพุทธองค์ได้ตรัสว่า พระธัมม์ และพระวินยั คือพระบรมศาสดา ดังนัน้ พระปาฬิ ซึง่ มีความหมาย ถึงพระธัมม์ คือ พระไตรปิฎก จึงมีความหมายถึง พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า พระไตรปิฎกปาฬิ ได้เผยแพร่ไปยังเครือข่ายพระไตรปิฎกปาฬิทวั่ โลก ในปี พ.ศ. 2437 พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ได้ โ ปรดให้ ส มเด็ จ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ
กรมพระยาเทวะวงศ์ ว โรปการ เสนาบดีกระทรวงต่างประเทศ ทรงเป็ น ผู้ ด ำเนิ น การ พระราชทานพระไตรปิฎกปาฬิ ฉบับพิมพ์ครัง้ แรกของโลกเป็นพระธัมมทานแก่สถาบันต่างๆ ทั่วโลกกว่า 260 แห่ง 2. ที่มาแห่งอักษรโรมันในพระไตรปิฎกภาษาปาฬิ ภาษาปาฬิ มีลักษณะพิเศษ คือ ไม่มีอักษรเฉพาะของภาษาปาฬิ แต่ใช้อักษร ของชาติตา่ งๆ เขียนภาษาปาฬิ เช่น ภาษาปาฬิ อักษรไทย, ภาษาปาฬิ อักษรสิงหล, ภาษาปาฬิ อักษรพม่า เป็นต้น ความพิเศษของภาษาปาฬิ ที่ใช้เขียนด้วยอักษรของชาติต่างๆ นี้ ทำให้ พระไตรปิฎกปาฬิ แพร่หลายไปในนานาประเทศ เพราะตัวอักษร เป็นสื่อที่ทำให้สามารถ อ่านออกเสียงภาษาปาฬิได้ แต่กม็ ปี ญ ั หาว่า การใช้อกั ษรของชาติตา่ งๆ ทำให้แต่ละชาติออก เสียงภาษาปาฬิ ตามสำเนียงในภาษาของตน ซึ่งอาจไม่ถูกต้องตามหลักการออกเสียงใน
ไวยากรณ์ปาฬิ แต่อักษรโรมันเป็นอักษรสากลที่ช่วยให้อ่านภาษาปาฬิได้ถูกต้อง 3. อักษรโรมันคืออะไร สากลอย่างไร ? อักษรโรมัน (Roman alphabet) คืออักษรที่สร้างและพัฒนาขึ้นเมื่อประมาณ ศตวรรษที่ 6-7 ก่อนคริสตศักราช เพื่อใช้เขียนภาษาละติน ซึ่งเป็นภาษาประจำชาติของ อาณาจักรโรมัน ต่อมา อักษรโรมันได้ใช้เป็นอักษรเขียนภาษาต่างๆ ในยุโรป เช่น ภาษา อังกฤษ เมื่อภาษาอังกฤษ ได้แพร่หลายไปทั่วโลก อักษรโรมัน จึงเป็นอักษรที่คนทั่วโลก รู้จักและอ่านออกเสียงได้ 94
ในประเทศไทยพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว รั ช กาลที่ 6 เมื่ อ พระราชทานนามสกุลแก่ประชาชนชาวไทย ก็ได้พระราชทานวิธกี ารเขียนนามสกุลภาษาไทย ด้วยอักษรไทย ควบคู่กับการเขียนด้วยอักษรโรมัน เพื่อให้ชาวโลกออกเสียงนามสกุลใน ภาษาไทยได้ถูกต้อง การที่ภาษาปาฬิไม่มีอักษรใช้โดยเฉพาะ ผู้ที่นับถือพุทธศาสนาจะใช้อักษรในระบบ การเขียนภาษาของตนบันทึกเนื้อหาสาระหรือข้อความที่เป็นภาษาปาฬิ รวมทั้งคัมภีร์
พระไตรปิฎกปาฬิดว้ ย เราจึงมีพระพุทธวจนะหรือคำทรงสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ เจ้า และคัมภีร์พระไตรปิฎกภาษาปาฬิ ซึ่งบันทึกด้วยอักษรในระบบการเขียนของภาษา ต่างๆ เช่น อักษรไทยในภาษาไทย อักษรมอญในภาษาพม่า อักษรลาวในภาษาลาว อักษร เขมรในภาษาเขมร ด้วยเหตุนี้เมื่อพุทธศาสนาเผยแผ่เข้าไปในยุโรปก็ได้ใช้อักษรโรมันบันทึก ภาษาปาฬิด้วย จะเห็นได้ว่าเสียงพูดในภาษา (language) กับตัวอักษรในระบบการเขียน (alphabet, script) เป็นคนละเรื่องกันแต่เกี่ยวข้องกัน ในระบบการเขียนส่วนใหญ่เราใช้ อักษรแทนเสียงพูด ข้อควรสังเกตคือ มักมีความเข้าใจผิดและความสับสนว่า “อักษร” กับ “ภาษา” เป็นสิง่ เดียวกัน ทีถ่ กู ต้อง “อักษร” คือสัญลักษณ์ทใี่ ช้แทนเสียงใน “ภาษา” เท่านัน้ ดังเช่น ในคำว่า “พระไตรปิฎกปาฬิ อักษรโรมัน” ปาฬิคือภาษา โรมันคืออักษร พระไตรปิฎกปาฬิ อักษรโรมัน คือพระไตรปิฎกที่บันทึกภาษาปาฬิด้วยอักษรโรมัน 4. อักษรโรมันในการบันทึกภาษาปาฬิ การใช้อักษรโรมันแทนเสียงในภาษาปาฬินั้น นอกจากจะเป็นประโยชน์ใน ฐานะที่อักษรโรมันเป็นอักษรสากลที่คนทั่วโลกรู้จักแล้ว ยังมีประโยชน์อย่างยิ่งในเรื่องการ ออกเสียงได้ถกู ต้องตรงกับเสียงภาษาปาฬิตามทีร่ ะบุไว้ในไวยากรณ์ปาฬิแต่โบราณ เช่น คัมภีร ์ กัจจายนไวยากรณ์ คัมภีร์สัททนีติ เป็นต้น ยิ่งกว่านั้น ในปัจจุบันชาวตะวันตกมีความสนใจ ศึกษาพระพุทธศาสนามากขึ้น การพิมพ์พระไตรปิฎกฉบับมหาสังคายนาสากลนานาชาติ ด้วยอักษรโรมัน โดยกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ จักช่วยให้ชาวตะวันตกที่สนใจศึกษา พระพุทธศาสนา สามารถศึกษาและอ่านออกเสียงพระพุทธวจนะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้โดยตรง ซึง่ นับว่าเป็นสิง่ ที่มีค่าประมาณมิได้
95
5. การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก การบำเพ็ญกุศลด้วยการออกเสียงพระพุทธพจน์ เรียกเป็นศัพท์ว่า “การอ่าน
สังวัธยายพระไตรปิฎก” บุคคลสามารถอ่านสังวัธยายเป็นภาษาปาฬิและภาคแปลภาษาต่างๆ คำว่า “สังวัธยาย” แปลว่า “เปล่งเสียงอ่านดังๆ ร่วมกัน” โดยเน้นการออกเสียงสระและ พยัญชนะให้ชัดเจน การอ่านสังวัธยายจึงต่างจากการสวดเป็นทำนองต่างๆ การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎกและภาคแปลภาษาต่างๆ เป็นธัมมทาน เป็นการ บำเพ็ญบารมีด้านปัญญา เพราะต้องประกอบด้วยศรัทธาและความเข้าใจในเนื้อหาที่อ่าน สังวัธยาย จึงนำให้เกิดกุศลประโยชน์อันล้ำเลิศ แก่บุคคล สังคม และสากลโลก ทั้งปัจจุบัน และอนาคต การอ่านสังวัธยาย ผู้อ่านจะใช้คู่มืออ่านสังวัธยาย ซึ่งมีบทที่คัดเลือกมาจากพระไตร ปิฎกสากล เป็นพระพุทธพจน์ภาษาปาฬิ ที่พิมพ์ด้วยอักษรโรมัน ซึ่งประชาชนนานาชาติ ทั่วโลกสามารถอ่านได้ ในการพิมพ์ครั้งนี้ ได้มีคำแปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษด้วย พิธีอ่านสังวัธยายจะมีผู้อ่านนำเป็นภาษาปาฬิทีละบรรทัด ซึ่งผู้ร่วมพิธีจะอ่านออก เสียงสังวัธยายตามจนจบบท เมื่อจบการอ่านสังวัธยายแต่ละบทแล้ว ก็สามารถอ่านบทนั้น พร้อมกันอีกครั้งหนึ่งได้ หลังจบการอ่านสังวัธยายในแต่ละบท ผู้อ่านนำจะประกาศสัตยาธิษฐานถวายเป็น
พระราชกุศล ซึ่งผู้ร่วมพิธีจะได้กล่าวตามดังนี้ ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ และขอให้ขา้ พเจ้า และประเทศชาติ ปราศจากภยันตราย เจริญรุง่ เรือ่ งทุกเมือ่ เทอญ
96