หนังสืออนุสรณ์
ธัมมบท 100 บท จากพระไตรปิฎก
พิธีสมโภชและถวายพระไตรปิฎกสากล ชุด 40 เล่ม แด่ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ในวโรกาส ที่องค์อุปถัมภ์พระไตรปิฎกสากลทรงเจริญพระชันษา 96 ปี
พ.ศ. 2552 ในวาระครบรอบ 116 ปี แห่งการพิมพ์พระไตรปิฎกปาฬิ อักษรสยาม ฉบับจุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช รัตนโกสินทรศก 112 (พ.ศ. 2436) เป็นโอกาสที่ชาวไทยจักได้น้อมรำฦก ถึงเหตุการณ์ยิ่งใหญ่แห่งประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาสูงสุดของมนุษยชาติ ที่สมเด็จพระปิยมหาราช ทรงนำสยามประเทศฝ่าวิกฤติได้สำเร็จงดงาม ทรงนำเทคโนโลยีตะวันตกมาสร้างเป็น เทคโนโลยีธัมมะ เพื่อพิมพ์พระไตรปิฎกชุดแรกในพระพุทธศาสนา พระราชทานเป็นพระธัมมทานล้ำค่าจากกรุงสยามแก่นานาประเทศทั่วโลก เพื่อปัญญาและสันติสุขของมนุษยชาติทั้งปวง พระไตรปิฎกสากล ฉบับอักษรโรมัน จัดพิมพ์ตามรอย ฉบับอักษรสยาม พิธีบำเพ็ญกุศลและสมโภชพระไตรปิฎกสากล พ.ศ. 2552 จัดขึ้นถวายเป็นพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
3
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี 4
พระดำรัส สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ข้าพเจ้ารู้สึกยินดีและเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่มามอบพระไตรปิฎกปาฬิ อักษรโรมัน เล่ม ชุดนี้แก่ 14 สถาบันสำคัญในประเทศญี่ปุ่นในวันนี้ โอกาสนี้มีความหมายพิเศษ เนื่ อ งด้ ว ยพระไตรปิ ฎ ก อั ก ษรโรมั น ที่ จั ด พิ ม พ์ โ ดยกองทุ น สนทนาธั ม ม์ น ำสุ ข ใน
พระสังฆราชูปถัมภ์ฯ เป็นพระไตรปิฎกปาฬิ ฉบับสากลชุดสมบูรณ์ชุดแรกของโลก ซึ่งเป็น
คลังอารยธรรมทางปัญญาสูงสุดของมนุษยชาติที่สืบทอดอย่างบริสุทธิ์มากว่า 2,500 ปี เพราะเป็นผลมาจากการประชุมสังคายนาสากลของพระสงฆ์เถรวาท 2,500 รูป ในระดับ นานาชาติเพียงครั้งเดียว เมื่อปีพุทธศักราช 2500
40
ในปีพุทธศักราช 2548 สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ ได้เสด็จจาริกไปพระราชทานพระไตรปิฎกสากลชุดปฐมฤกษ์แก่ ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมประชาธิปไตยศรีลังกา ในวันที่ 6 มีนาคม สำหรับ ประดิษฐาน ณ ทำเนียบประธานาธิบดี กรุงโคลัมโบ ต่อมาได้พระราชทานพระไตรปิฏก
ชุดปฐมฤกษ์แก่ปวงชนชาวไทย ประดิษฐาน ณ ศาลรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กรุงเทพมหานคร และพระราชทานพระไตรปิฎกชุดปฐมฤกษ์แก่ราชอาณาจักรสวีเดน ประดิษฐาน ณ มหาวิทยาลัยอุปซาลา นครอุปซาลา การมอบพระไตรปิ ฎ กสากลในประเทศญี่ ปุ่ น เป็ น การบำเพ็ ญ บุ ญ กิ ริ ย าตาม
การพระราชทานพระไตรปิฎกปาฬิ ร.ศ. 112 อักษรสยาม พระไตรปิฎกฉบับพิมพ์ชุดแรก ของโลก ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว บรมธัมมิกมหาราช ผู้ทรงเป็น สมเด็จพระบรมปัยกาธิราชของข้าพเจ้า ได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้จัดพิมพ์และได้พระราชทาน ไปยังสถาบันสำคัญทัว่ โลกกว่า 260 สถาบัน และได้ประดิษฐานในประเทศญีป่ นุ่ ไม่นอ้ ยกว่า 30 สถาบัน เป็นเวลากว่า 112 ปี มาแล้ว ขออานิสงส์บญ ุ กิรยิ าแห่งการพิมพ์และประดิษฐานพระไตรปิฎกสากลฉบับนี้ จงนำมา ซึง่ ปัญญาความรุง่ เรือง และสันติสขุ อันยืนยาวแก่ชาวโลกในปัจจุบนั และในอนาคตตลอดไป.
กันยายน พ.ศ. 2551 พุทธสถานชิเตนโนจิ นครโอซาก้า ประเทศญี่ปุ่น 10
5
พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ชุด 39 เล่ม พ.ศ. 2436
พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน ชุด 40 เล่ม พ.ศ. 2548 - 2552
พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล ชุด 40 เล่ม พ.ศ. 2552 6
บทนำ โดย พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร มูลนิธริ ว่ มจิตต์นอ้ มเกล้าฯ เพือ่ เยาวชน ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ โดยโครงการสมทบ กองทุนเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ได้สนับสนุน
กองทุนสนทนาธัมม์นำสุข ท่านผู้หญิง ม.ล. มณีรัตน์ บุนนาค ในพระสังฆราชูปถัมภ์
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ตัง้ แต่ พ.ศ. 2550 ในการเผยแผ่
พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน ตามรอย พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ให้แพร่หลาย
ในฐานะคลังอารยธรรมทางปัญญาของมนุษยชาติ ดังนัน้ ในปีนจี้ งึ ได้รว่ มกับกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ จัดพิมพ์พระไตรปิฎก จปร. ฉบับประวัตศิ าสตร์ชดุ นี้ เป็นฉบับอนุรกั ษ์ดจิ ทิ ลั ชุด 40 เล่ม พ.ศ. 2552 เพือ่ เฉลิมพระเกียรติ ชือ่ “พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 อักษรสยาม ฉบับอนุรกั ษ์ดจิ ทิ ลั ” การดำเนินงานอนุรกั ษ์พระไตรปิฎกอักษรสยามนี้ กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ใช้เวลา ดำเนินงานตัง้ แต่ พ.ศ. 2542 โดยได้รบั ความร่วมมือจากบุคคลและสถาบันต่างๆ ทีส่ ำคัญคือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กระทรวงกลาโหม โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า และ ราชบัณฑิตยสถาน ซึง่ จะประกาศการจัดพิมพ์อย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2552 นี ้
สรุปเหตุผลทีอ่ ญั เชิญเนือ้ หาพระไตรปิฎกมาจัดพิมพ์ในโอกาสนี้ 5 ประการ คือ
1. เพือ ่ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงโปรดให้จดั พิมพ์พระไตรปิฎก ภาษาปาฬิ เป็นชุดหนังสือ 39 เล่ม สําเร็จใน ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) ปัจจุบนั “พระไตรปิฎกจุลจอมเกล้า บรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 อักษรสยาม” ซึงี่ เป็นพระไตรปิฎกปาฬิ ฉบับพิมพ์ชดุ แรกของโลก ดังนัน้ การนำธัมมบทจากพระไตรปิฎกภาษาปาฬิมาแปลเป็นภาษาต่างๆ และจัดพิมพ์รวม 100 บท ใน พ.ศ. 2552 จึงเป็นการเฉลิมพระเกียรติในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั
“พระปิยมหาราช” ของชาติไทย ผูท้ รงนําสยามประเทศผ่านพ้นวิกฤติการณ์สคู่ วามเจริญมัน่ คง ของไทยนานัปการ และทีส่ ำคัญยิง่ คือทรงเป็น “พระบรมธัมมิกมหาราช” ของชาวโลกปัจจุบนั ด้วย โดยทรงเป็นผูเ้ ผยแผ่พระไตรปิฎกไปสูน่ านาประเทศเช่นเดียวกับพระเจ้าอโศกบรมธัมมิกมหาราช ในอดีต
7
2. เพือ ่ ความร่วมมือระหว่างสถาบัน การใช้สื่อผสมเทคโนโลยีสารสนเทศจัดพิมพ์พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม
ฉบับอนุรกั ษ์ดจิ ทิ ลั พ.ศ. 2552 ดังตัวอย่างทีพ่ มิ พ์ในหนังสือธัมมบท 100 บทนี้ เป็นความร่วมมือ ระหว่างหลายสถาบัน คือ ข้อมูลต่างๆ จากพระไตรปิฎก ได้จากกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ใน พระสังฆราชูปถัมภ์ฯ ข้อมูลการแปลใหม่จากภาษาปาฬิเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้จาก กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ และราชบัณฑิตยสถาน ข้อมูลเทคโนโลยีทางภาพ และการเรียงพิมพ์ อักษรโรมันได้จากกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และข้อมูลดัชนี การแปลที่เป็นระบบอ้างอิงแบบอิเล็คทรอนิกส์ซึ่งได้จากการค้นคว้าของคณาจารย์ส่วนการ ศึกษา รร. จปร. เป็นต้น 3. เพือ ่ เป็นผลงานภูมปิ ญ ั ญาไทยสากล ในสัมโมทนียกถาทีน่ ายกราชบัณฑิตยสถานได้เขียนสำหรับการจัดพิมพ์หนังสือนีว้ า่ พระไตรปิฎกและภาษาปาฬิมีความสำคัญอย่างยิ่งในวัฒนธรรมไทย นอกจากนี้การที ่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้จดั พิมพ์พระไตรปิฎก ฉบับอักษรสยามเมือ่ พ.ศ. 2436 และได้พระราชทานเป็นพระธัมมทานแก่สถาบันสําคัญทัว่ โลกนัน้ ยังได้เป็นแรงบันดาลใจให้ใน ปัจจุบนั นีไ้ ด้มกี ารจัดพิมพ์พระไตรปิฎกเป็นฉบับอักษรโรมันขึน้ ในประเทศไทย โดยดําเนินตาม หลักการพิมพ์ฉบับอักษรสยามเพือ่ อนุรกั ษ์เสียงภาษาปาฬิทไี่ ด้สบื ทอดมาในพระพุทธศาสนา เถรวาท กล่าวคือจากการทีพ่ ระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงริเริม่ ใช้อกั ษรโรมัน ซึง่ เป็นอักษรสากลของชาวโลกเทียบเสียงในภาษาปาฬิซงึี่ เป็นอักษรสยามกับอักษรโรมัน เช่น เสียง /ธ/ - / dh/ ในคำว่า ธัมม์ (ธัม-์ มะ) - dhamma และเสียง /พ/-/b/ ในคำว่า พุทธ์
(พุท-์ ธะ) - buddha เป็นต้น ปัจจุบนั ผูเ้ ชีย่ วชาญจากราชบัณฑิตยสถานได้ทำการศึกษาการออกเสียงดังกล่าว เพิม่ เติม และจัดทำเป็นระบบสัททอักษรสากลปาฬิ อันเป็นผลงานภูมปิ ญ ั ญาไทยทีส่ ำคัญต่อ จากอดีตดังรายละเอียด ในหน้า 23 4. เพือ ่ เผยแผ่พระราชปรีชาญาณด้านภูมปิ ญ ั ญาไปในนานาประเทศ ในการศึกษาของคณาจารย์สว่ นการศึกษา รร. จปร. ทีไ่ ด้นำเสนอเมือ่ พ.ศ. 2551 เรื่องการบริหารจัดการองค์ความรู้ KMLO ของสถาบันทหารในอดีต โดยใช้พระไตรปิฎก อักษรสยามเป็นกรณีศกึ ษาได้พบว่า การพิมพ์และพระราชทานพระไตรปิฎกฉบับอักษรสยามไป ทัว่ โลกในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทีส่ ำคัญยิง่ เพราะการพิมพ์พระไตรปิฎก เป็นชุดหนังสือเป็นครัง้ แรกของโลกในยุคนัน้ เป็นการแสดงถึงความเป็นเลิศในการจัดการองค์ ความรูต้ า่ งๆ นานัปการ ได้แก่ ความรูภ้ าษาปาฬิ การเปลีย่ นจากอักษรขอมเป็นอักษรสยาม การเปลีย่ นจากใช้ใบลานเป็นการใช้กระดาษ ตลอดจนการเรียงพิมพ์อกั ษรเป็นเล่มหนังสือชุด 39 เล่ม ประมาณ 15,000 หน้า นอกจากนีย ้ งั แสดงถึงการบริหารจัดการอย่างดียงิ่ ทีก่ รุงสยาม สามารถจัดส่งหนังสือจํานวน ถึง 1,000 ชุด หรือ 39,000 เล่ม ไปพระราชทานทัว่ กรุงสยาม และ พระราชทานไปอีกไม่นอ้ ยกว่า 30 ประเทศทัว่ โลก ปัจจุบนั สถาบันในประเทศต่างๆ ก็ยงั คงเก็บ 8
รักษาพระไตรปิฎกฉบับอักษรสยามเป็นอย่างดี อันเป็นการประกาศภูมปิ ญั ญาไทยไปยังสถาบัน ทีส่ ำคัญต่างๆ ทัว้ โลก ในยุคทีส่ ยามกำลังเผชิญกับวิกฤตการณ์ของการล่าอาณานิคมทีร่ า้ ยแรง จากมหาอำนาจตะวันตก เป็นทีน่ า่ ยินดีวา่ เมือ่ เร็วๆ นี้ ผูแ้ ทนจากราชบัณฑิตยสถานได้รว่ มมือกับโครงการ
พระไตรปิฎกสากลฯ เดินทางไปสำรวจพระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ทีไ่ ด้พระราชทานไว้แก่ มหาวิทยาลัยแห่งออสโล ราชอาณาจักรนอรเวย์ และจากความสัมพันธ์ทางภููมิปัญญาใน
พระไตรปิฎกดังกล่าว ปัจจุบนั ได้รบั ทราบว่า ทัง้ ราชบัณฑิตชาวไทยและราชบัณฑิตชาวนอรเวย์ กำลังเริม่ ให้ความร่วมมือกันในด้านวิชาการต่างๆ โดยมีพระไตรปิฎกเป็นสือ่ สัมพันธ์ทางปัญญา 5. เพือ ่ สืบทอดยุทธศาสตร์ความมัน่ คงของสถาบันสำคัญของชาติ ดังทีป่ ลัดกระทรวงกลาโหมได้เขียนไว้ในอารัมภบทของหนังสือนีแ้ ล้วว่า การพิมพ์
พระไตรปิฎกอักษรสยามเป็นชุดหนังสือครั้งแรกของโลกถือเป็นงานสําคัญทางยุทธศาสตร์
ความมั่นคงแห่งชาติด้วย นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดให้
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าภาณุรงั ษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพนั ธุวงศ์วรเดช เสนาบดี กระทรวงกลาโหม ทรงเป็นผูด้ าํ รงตําแหน่งประธานคณะกรรมการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกอักษร สยาม และใช้สญ ั ลักษณ์ตราประจำแผ่นดิน “อาร์มทอง” ในสมัยรัชกาลที่ 5 พิมพ์บนปกพระ ไตรปิฎกอักษรสยามด้วย และยังทรงโปรดให้เสนาบดีกระทรวงกลาโหม ร่วมกับเสนาบดี กระทรวงธรรมการ และเสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศ ดำเนินการพระราชทานพระไตร ปิฎกในกรุงสยามและในต่างประเทศ เพือ่ สร้างเครือข่ายแห่งภูมปิ ญั ญาและสันติสขุ จากพระไตร ปิฎกในระดับนานาชาติในยุคนัน้ ในนามของมูลนิธริ ว่ มจิตต์นอ้ มเกล้าฯ เพือ่ เยาวชน ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ โดย โครงการสมทบกองทุนเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ซึง่ มี คุณหญิงแสงเดือน ณ นคร เป็นประธาน รูส้ กึ เป็นเกียรติอย่างยิง่ ทีไ่ ด้มสี ว่ นในความร่วมมือ ต่างๆ ครั้งนี้ และขอน้อมถวายบุญกิริยาการเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลเป็นพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั พระปิยมหาราช ของชาวไทย ผูท้ รงเป็นพระบรมธัม มิกมหาราชของชาวโลก พร้อมทั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ และขอกุศลประโยชน์อนั ไพบูลย์นี้ ได้นาํ ปัญญา สันติสขุ และความเจริญรุง่ เรืองมาสูป่ ระเทศชาติ และสังคมโลกโดยส่วนรวมด้วย เทอญ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร ประธานมูลนิธริ ว่ มจิตต์นอ้ มเกล้าฯ เพือ่ เยาวชน ในพระบรมราชินปู ถัมภ์ 9
พระไตรปิฎกปาฬิ ฉบับมหาสังคายนาสากลนานาชาติ พ.ศ. 2500 ชุด 40 เล่ม อักษรโรมัน
พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน 10
สัมโมทนียกถา พระไตรปิ ฎ ก เป็ น ที่ ย อมรั บ ในนานาอารยประเทศว่ า เป็ น คลั ง อารยธรรมทาง ปัญญาสูงสุดของมนุษยชาติ มีการสืบทอดด้วยการประชุมสังคายนาเพือ่ ทวนทาน สอบทาน ดำรงรักษาพระพุทธพจน์ไว้ให้คงอยูบ่ ริสทุ ธิบ์ ริบรู ณ์ และมีการจัดพิมพ์เป็นภาษาปาฬิ หรือ ภาษาพระธัมม์ มาโดยตลอดเป็นเวลากว่า 25 พุทธศตวรรษ ด้วยพระกรุณาธิคณ ุ ในสมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวฒ ั นา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ จึงได้มกี ารจัดพิมพ์พระไตรปิฎกสากลอักษรโรมันขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2548 ส่วนพระธัมมบท ที่นำมาจัดพิมพ์ในครั้งนี้ นำมาจากต้นฉบับพระไตรปิฎกสากล อักษรโรมันฉบับดังกล่าว ใน ฉบับนี้มีการแปลเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และมีดัชนี ในการแปลที่เป็นระบบอ้าง อิงแบบอิเล็คทรอนิกส์ด้วย ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการศึกษาค้นคว้าอ้างอิงยุคใหม่
อันจะเป็นกุศลบุญกิรยิ าและประโยชน์คณ ุ ปู การต่อการศึกษาพระไตรปิฎกต่อไป อนึง่ ราชบัณฑิตเป็นผูไ้ ด้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ โปรดเกล้าฯ ให้รบั ราชการทางด้าน วิชาการในฐานะที่เป็นผู้ทรงความรู้ทางด้านภาษาปาฬิ และพระไตรปิฎกปาฬิ มาตั้งแต่ต้น กรุงรัตนโกสินทร์ แม้ในปัจจุบนั ภาษาปาฬิกย็ งั เป็นรากฐานทีส่ ำคัญอย่างหนึง่ ในการบัญญัติ ศัพท์ภาษาไทยในหลายสาขาวิชา ซึ่งเป็นงานหลักของราชบัณฑิตยสถาน ในปัจจุบัน ราชบัณฑิตยสถานจึงรูส้ กึ เป็นเกียรติและยินดีเป็นอย่างยิง่ ทีผ่ เู้ ชีย่ วชาญในสาขาวิชาต่างๆ จากราชบัณฑิตยสถานได้มามีส่วนร่วมในการจัดทำหนังสือ “พระธัมมบท 100 บท จาก พระไตรปิฎก” ครั้งนี้ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบรมธัมมิกมหาราช ผู้ทรงโปรดให้จัดพิมพ์พระไตรปิฎกปาฬิเป็นชุดหนังสือครั้งแรก ของโลก เป็นอักษรสยาม เมือ่ ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) และได้พระราชทานเป็นพระธัมมทาน ไปยังสถาบันสำคัญในนานาประเทศทั่วโลกเป็นเวลากว่าหนึ่งศตวรษแล้ว
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. ปัญญา บริสุทธิ์ นายกราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2552 11
พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 (2436) อักษรสยาม ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล พ.ศ. 2552
พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล 12
สัมโมทนียกถา เป็นที่น่ายินดีอย่างยิ่งที่ “พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน” ซึ่งจัดพิมพ์ในพระสังฆ ราชูปถัมภ์ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก และเป็นโครงการ ทีจ่ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รว่ มสนับสนุนและได้จดั การประกาศผลงานทางวิชาการในการ ประชุมพุทธศาสตร์ศกึ ษาระดับนานาชาติ ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2545 ปัจจุบนั เป็นทีร่ จู้ กั และยอมรับอย่างแพร่หลายในนานาประเทศ บัดนี้โครงการพระไตรปิฎกสากลยังได้มีผลงานการจัดพิมพ์อีกชุดหนึ่ง โดยได้นำ เทคโนโลยีทางภาพมาอนุรกั ษ์พระไตรปิฎกภาษาปาฬิอกั ษรสยาม อันเป็นชุดทีม่ คี า่ ยิง่ ในคลัง
พระไตรปิฎกนานาชาติ ซึง่ เก็บรักษาไว้ ณ หอพระไตรปิฎกนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มาจัดพิมพ์พเิ ศษเป็นชุดอนุรกั ษ์ดจิ ทิ ลั ชือ่ “พระไตรปิฏกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 อักษรสยาม ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล พ.ศ. 2552” อันเป็นการอนุรักษ์และจัดพิมพ์ด้วย เทคโนโลยีสื่อผสมที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยมีความภาคภูมใิ จทีค่ ลังพระไตรปิฎกนานาชาติ ณ หอพระไตรปิฎก นานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รบั การยอมรับว่าเป็นเสาหลักทีท่ ำให้การศึกษาค้นคว้า พระไตรปิฎกในมิตใิ หม่นี้ นำไปสูค่ วามสำเร็จในการจัดพิมพ์ พระไตรปิฎกสากล ฉบับอักษรโรมัน ซึง่ เป็นฉบับมาตรฐานสากล ชุดสมบูรณ์ชดุ แรกของโลก และได้มกี ารพระราชทานเป็นพระธัมมทาน ในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์จากประเทศไทยแก่สถาบันสำคัญในนานาประเทศ อันเป็นการพระราชทานตามรอยการจัดพิมพ์และการพระราชทานพระไตรปิฎกปาฬิอกั ษรสยาม ซึง่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ทรงโปรดให้จดั พิมพ์เป็นชุดหนังสือครัง้ แรก ของโลกเมือ่ พ.ศ.2436 และได้พระราชทานไว้แก่สถาบันต่างๆ ทัว่ โลกเมือ่ ศตวรรษทีแ่ ล้ว ขออนุโมทนาสาธุการกับโครงการพระไตรปิฎกสากล พร้อมทัง้ ขอแสดงความชืน่ ชมกับ คณาจารย์จากสถาบันต่างๆ ที่ได้ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทางปัญญาอันทรงคุณค่า
ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยได้ร่วมกันบูรณาการกับเทคโนโลยีสื่อผสมสหวิทยาการ
จนได้เป็นทีป่ ระจักษ์ในภูมปิ ญั ญาของคนไทยในการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกปาฬิ อักษรสยาม เป็น ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล และพระไตรปิฎกปาฬิ อักษรโรมัน เป็นพระธัมมทานแก่สังคมทั้ง
ในระดับชาติและระดับนานาชาติ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ภิรมย์ กมลรัตนกุล อธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2552 13
พระไตรปิฎกปาฬิ ฉบับจุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 (2436) อักษรสยาม พระไตรปิฎกภาษาปาฬิ ฉบับพิมพ์ 39 เล่ม ชุดแรกของโลก
พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม 14
อารัมภบทเฉลิมพระเกียรติ
พระราชปรีชาญาณในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั นัน้ เป็นทีป่ ระจักษ์เป็น อย่างดีสำหรับปวงชนชาวไทย ดังทีม่ กี ารการถวายพระราชสมัญญาว่า “สมเด็จพระปิยมหาราช” พระราชปรีชาญาณประการหนึง่ ในฐานะทีท่ รงเป็น “พระบรมธัมมิกมหาราชของโลก” ได้มกี ารเฉลิมพระเกียรติในปี พ.ศ. 2546 เมือ่ สมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวฒั นากรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ ได้เสด็จทรงเป็นประธานในงานปาฐกถาสำคัญเพือ่ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสครบรอบ 112 ปี แห่งการจัดพิมพ์
พระไตรปิฎกจุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 อักษรสยาม : พระไตรปิฎกฉบับพิมพ์ เป็นชุดหนังสือเป็นครัง้ แรกของโลก ซึง่ ในปี พ.ศ. 2436 ได้พระราชทานเป็นพระธัมมทานใน
กรุงสยามและแก่สถาบันทีส่ ำคัญกว่า 30 ประเทศทัว่ โลก การจัดพิมพ์พระไตรปิฎกภาษาปาฬิ หรือ ภาษาพระธัมม์ในพระไตรปิฎก ถือเป็นงาน สำคัญของชาติในยุคนัน้ เพราะเป็นงานทีต่ อ้ งใช้ทงั้ ภูมปิ ญั ญาระดับสูงใน สาขาต่างๆ มาบูรณาการ เพือ่ ดำเนินงานในช่วง ร.ศ. 112 ทีก่ รุงสยามเผชิญวิกฤตการณ์ การล่าอาณานิคมจากต่างชาติที่ สำคัญคือเป็นยุทธศาสตร์ทางภูมิปัญญาและความมั่นคงแห่งชาติไทยที่พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้โปรดให้นำเทคโนโลยีการพิมพ์และแนวความคิดด้านสารสนเทศที่ ก้าวล้ำนำสมัยมาประยุกต์ใช้ในการจัดทำพระไตรปิฎกได้สำเร็จ อาจกล่าวได้วา่ ผลงานดังกล่าว เป็นยุทธศาสตร์ “ภูมิปัญญาไทยสากล” ที่ทำให้กรุงสยามดำรงรักษาเอกราชไว้ได้ อีกทั้ง สามารถ จัดพิมพ์และพระราชทานพระไตรปิฎก จปร. ไปยังสถาบันทางภูมปิ ญ ั ญาในนานา ประเทศทั่วโลก ซึ่งปัจจุบันก็ยังได้รับการเก็บรักษาไว้เป็นอย่างดี เพื่อการศึกษาค้นคว้าใน สถาบันต่างๆ เหล่านั้น อันจะเป็นส่วนหนึ่งของพันธมิตรและเครือข่ายของสถาบันทางภูมิ ปัญญาทีส่ ำคัญของชาติไทยต่อไป ในอนาคต ในสมัยรัชกาลที่ 5 กระทรวงกลาโหมได้มีส่วนสำคัญในการจัดพิมพ์พระไตรปิฎก
จปร. อักษรสยาม ดังกล่าว จึงเป็นทีน่ า่ ยินดีอย่างยิง่ ทีบ่ ดั นีพ้ ระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ได้ รับการอนุรักษ์และจัดพิมพ์ใหม่เป็นชุด 40 เล่ม ชื่อ “พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรม
ธัมมิกมหาราช ฉบับอนุรกั ษ์ดจิ ทิ ลั พ.ศ. 2552” ซึง่ เป็นความร่วมมือของบุคคลและสถาบันต่างๆ อาทิ โครงการพระไตรปิฎกสากล มูลนิธิร่วมจิตต์น้อมเกล้าฯ เพื่อเยาวชน ในพระบรม ราชินปู ถัมภ์ ราชบัณฑิตยสถาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และกระทรวงกลาโหมโดยโรงเรียน นายร้อยพระจุลจอมเกล้า การจัดพิมพ์พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม เผยแผ่ในครัง้ นีจ้ ะเป็นประโยชน์ทางการศึกษา และทางยุทธศาสตร์ดา้ นภูมปิ ญ ั ญาจากชาติไทยแก่ชาวโลก และเป็นการสืบทอดปณิธานของ สถาบันพระมหากษัตริย์ รวมทั้งอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและเผยแผ่หลักคำสอนในพระพุทธ ศาสนาให้แพร่หลาย อันจะก่อให้เกิดความสามัคคีและความมัน่ คงในชาติและประเทศสืบไป เพือ่ สันติสขุ ของโลกอย่างแท้จริง พลเอก พลเอก อภิชาติ เพ็ญกิตติ ปลัดกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2552 15
ตัวอย่างการเทียบภาษาปาฬิ อักษรสยามกับอักษรโรมัน ในพระไตรปิฎกจุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 อักษรสยาม 16
40-Volume Set Edition (Visual Details)
3
1
Vinayapiṭa 5 Vols.
Showing Piṭaka Sequences and Title Volumes
อะ a อา ā อิ i อี ī อุ u อู ū เอ e โอ o
[ a ] [ aː ] [ i ] [ iː ] [ u ] [ uː ] [ eː ] [ oː ]
Abhidhammapiṭa 12 Vols.
ก์ k [ k ] ข์ kh [ kʰ ] ค์ g [ g ] ฆ์ gh [ gʱ ] ง ṅ [ ŋ ]
Suttantapiṭa 23 Vols.
จ์ c [ c ] ฉ์ ch [ cʰ ] ช์ j [ ɟ ] ฌ์ jh [ ɟʱ ] ์ ñ [ ɲ ] 2 Tipiṭaka Studies References by Dhamma Society 2009
ฏ์ ṭ [ ʈ ] ์ ṭh [ ʈʰ ] ฑ์ ḍ [ ɖ ] ฒ์ ḍh [ ɖʱ ] ณ์ ṇ [ ɳ ] ต์ t [ t̪ ] ถ์ th [ t̪ʰ ] ท์ d [ d̪ ] ธ์ dh [ d̪ʱ ] น์ n [ n̪ ] ป์ p [ p ] ผ์ ph [ pʰ ] พ์ b [ b ] ภ์ bh [ bʱ ] ม์ m [ m ]
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ พ.ศ. 2548 ฉายพระรูปกับคณะทูตานุทูตประเทศต่างๆ ที่เคยได้รับพระราชทานพระไตรปิฎกอักษรสยาม จากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 18
ย ๎ y [ j ] ร ๎ r [ ɻ ] ล ๎ l [ l̪ ] ว ๎ v [ ʋ ] ส ๎ s [ s̪ ] ห ๎ h [ ɦ ] ฬ ๎ ḷ [ ɭ ] อํ aṃ [ ã ]
คำอธิบายข้อมูลและการใช้หนังสือ หนังสือเล่มนี้เป็นตัวอย่างข้อมูลพระไตรปิฎกสากล จัดพิมพ์เป็นธัมมทานเพื่อ การศึกษาพระไตรปิฎก และเฉลิมพระเกียรติสถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ โดย
นำเสนอด้วยเทคโนโลยีสื่อผสมรูปแบบใหม่ต่างๆ ทั้งด้านสื่อการพิมพ์ สื่อสารสนเทศ
ฐานข้อมูลและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รวม 7 ประเภท คือ
ฐานข้อมูลพระไตรปิฎกสากลอักษรโรมัน (World Tipiṭaka Edition in ข้อมูลนี้สร้างขึ้นโดยกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ และเผยแผ่โดย โครงการสมทบกองทุนแผยแผ่พระไตรปิฎกสากลในสมเด็จกรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ ดำเนินการโดยมูลนิธิร่วมจิตต์น้อมเกล้าฯ เพื่อเยาวชน ในพระบรม ราชินูปถัมภ์ ซึ่งนำเสนอพร้อมระบบบริการเว็บเซอร์วิส ชื่อ Tipiṭaka WebService และ สามารถเทียบข้อมูลฉบับอักษรโรมันกับ ฉบับอักษรสยามจำนวน 16,248 ภาพ จำนวน
6.1 กิก ๊ กะไบ๊ท์ ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของผลการศึกษาและพัฒนาข้อมูลในโครงการพระไตรปิฎกสากล พ.ศ. 2552 ซึ่งสามารถสืบค้นได้ที่ www.worldtipitaka.org 1
Roman Script)
ข้อมูลนี้แสดงความสำคัญของพระไตรปิฎกอักษรโรมันซึง่ เป็นคลังอารยธรรม ทางปัญญา ซึง่ ปัจจุบนั สามารถศึกษาเชิงบูรณาการ ในรูปแบบดิจิทัลที่เป็นมาตรฐานสากล และ เป็นระบบเปิด (open standard/opensource) 2 ข้อมูลภาพจดหมายเหตุพระไตรปิฎกสากลอักษรโรมัน ข้อมูลนี้ กองทุน สนทนาธั ม ม์ น ำสุ ข ฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ ได้รวบรวมไว้ จ ากการดำเนิ น งานจั ด ทำ โครงการพระไตรปิฎกสากลอักษรโรมัน ตั้งแต่ พ.ศ. 2542 - ปัจจุบัน รวมทั้งการจัด
งานพระราชทานพระไตรปิฎกสากลชุดนี้แก่สถาบันต่างๆ ในนานาประเทศด้วย
ปัจจุบันมีไม่น้อยกว่า 37 สถาบันใน 17 ประเทศ ที่ได้รับพระไตรปิฎกสากล เป็ น พระธั ม มทานในสมเด็ จ กรมหลวงนราธิ ว าสราชนคริ น ทร์ ซึ่ ง สามารถสื บ ค้ น ได้ ที่ www.tipitakahall.net 3 ข้อมูลการออกเสียงปาฬิ ข้อมูลนีค ้ อื ปาฬิ (Pāḷi) หรือภาษาพระธัมม์ ทีบ่ นั ทึก
พระไตรปิฎก ซึ่งสมัยรัชกาลที่ 5 ได้พมิ พ์เป็นอักษรสยาม (Siam script) และเปรียบเทียบ โดยการปริวรรตอักษร (transliteration) เป็นอักษรโรมัน (Roman script)
ปัจจุบนั ได้ถา่ ยถอดเสียงปาฬิ (Pāḷi transcription) เป็นสัททอักษรสากลปาฬิ ( International Phonetic Alphabet Pāḷi , IPA Pāḷi ) โดยแสดงเป็ น สั ญ ลั ก ษณ์
สัททอักษรสากลใน [ ] ซึ่งเป็นระบบการออกเสียงสากลที่ช่วยส่งเสริมการอ่านสังวัธยาย
พระไตรปิฎกปาฬิให้แพร่หลายยิ่งขึ้น พร้อมกับส่งเสริมการอ่านออกเสียงให้ถูกต้องทั้งตาม
ความหมายของศัพท์และเสียงปาฬิทสี่ บื ทอดมา ข้อมูล IPA Pāḷi ในหนังสือนี้ จัดทำโดย
ผู้เชี่ยวชาญแห่งราชบัณฑิตยสถาน ในด้านภาษา นิรุกติศาสตร์ และภาษาศาสตร์ ค้นได้ที่ www.tipitakaquotation.net 19
อะ a อา ā อิ i อี ī อุ u อู ū เอ e โอ o
[a ] [ aː ] [i] [ iː ] [u ] [ uː ] [ eː ] [ oː ]
ธัมมะทั้งหลาย 4 มโนปุพ์พังคมา ธัม์มา... 5
ก์ k [ k ] ข์ kh [ kʰ ] ค์ g [ g ] ฆ์ gh [ gʱ ] ง ṅ [ ŋ ] จ์ ฉ์ ช์ ฌ์ ์
c ch j jh ñ
[c ] [ cʰ ] [ ɟ ] [ ɟʱ ] [ ɲ ]
ฏ์ ṭ [ ʈ ] ์ ṭh [ ʈʰ ] ฑ์ ḍ [ ɖ ] ฒ์ ḍh [ ɖʱ ] ณ์ ṇ [ ɳ ] ต์ ถ์ ท์ ธ์ น์
t [ t̪ ] th [ t̪ʰ ] d [ d̪ ] dh [ d̪ʱ ] n [ n̪ ]
ป์ ผ์ พ์ ภ์ ม์
p [p ] ph [ pʰ ] b [b ] bh [ bʱ ] m [ m]
ย๎ y [ j ] ร ๎ r [ ɻ ] ล ๎ l [ l̪ ] ว ๎ v [ ʋ ] ส ๎ s [ s̪ ] ห ๎ h [ ɦ ] ฬ ๎ ḷ [ ɭ ] อํ aṃ [ ã ]
Manopubbaṅgamā dhammā, Manoseṭṭhā manomayā; Manasā ce paduṭṭhena, Bhāsati vā karoti vā; Tato naṃ dukkhama‿ nveti, Cakkaṃva vahato padaṃ. (1)
6 ธัมมะทั้งหลายเกิดจากใจก่อน, มีใจเป็นใหญ่ สําเร็จด้วยใจ; ถ้าบุคคลมีใจประทุษร้าย, กล่าวอยู่ก็ตาม ทําอยู่ก็ตาม; ความทุกข์ย่อมตามเขาไป, เสมือนล้อหมุนตามรอยเท้าผู้ลากไป ฉะนั้น. (1) 6
7
Mind precedes all Dhammas, Mind is their chief; they are mind-made; If with an evil mind A person speaks or acts; Suffering thus follows him, As the wheels that follow the footstep of the drawer. (1) ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก ถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ ขอให้ข้าพเจ้าและประเทศชาติ ปราศจากภยันตราย และเจริญรุ่งเรืองทุกเมื่อ เทอญ.
ดัชนีต่างๆ ในการแปลพระไตรปิฎกสากล : World Tipiṭaka Translation Index ชื่อ : DHAMMAPADA 1/423 : Cakkhupālattheravatthu Story of Cakkhupāla เรื่องพระเถระ ชื่อจักขุปาละ ศัพท์ธมั มสังคณี : dhammā → Dhamma ธัมมะ 29Dhs:542 dukkhamanveti → Dukkha : suffering, ทุกขะ 29Dhs:1055; Manasā → Mana : mind, มนะ 29Dhs:385 ปิฎกอ้างอิง : Cakkhupāla 19Th1:214 คลังข้อมูลปาฬิ : Manopubbaṅgamā dhammā... 27Ne:620; 27Pe:156 คำสำคัญ: cakka, wheel, ล้อ 29
คำอธิบายข้อมูลและวิธีใช้หนังสือ 20 20
ข้อมูลภาษาปาฬิ พระไตรปิฎกจุลจอมเกล้าบรมธัมั มิกมหาราช ร.ศ. 112 อักษรสยาม (Chulachomklao Pāḷi Tipiṭaka Edition 1893 in Siam Script) เป็นข้อมูลภาษาปาฬิ อักษร สยาม สืบค้นได้ที่ www.tipitakahall.net ซึง่ ได้นำมาจัดพิมพ์เฉพาะบรรทัดแรก เป็นตัวอย่าง เพือ่ เทียบภาษาปาฬิอกั ษรสยามกับภาษาปาฬิอกั ษรโรมัน ข้อมูลนีแ้ สดงความสำคัญของพระไตรปิฎกฉบับอักษรสยาม ซึง่ เป็นการจัดพิมพ์
พระไตรปิฎกปาฬิเป็นครัง้ แรกในโลก และเป็นเอกสารสำคัญในการศึกษาการออกเสียง ภาษาปาฬิ และการจัดทำสัททอักษรสากลปาฬิ ในข้อ 3 และมีรายละเอียดทีห่ น้า 22-23 5 ข้อมูลการเรียงพิมพ์ภาษาปาฬิ พระไตรปิฎกสากลอักษรโรมัน (Pāḷi Tipiṭaka in Roman Script : the World Edition 2005) เป็นข้อมูลดิจท ิ ลั ทีไ่ ด้พฒ ั นาต่อจากการพิมพ์
พระไตรปิฎกในอดีต โดยสามารถเผยแผ่ในรูปแบบการพิมพ์ หรือเว็ปไซด์ เป็นต้น เป็นธัมมทาน ตามรอยพระไตรปิฎกอักษรสยาม สืบค้นได้ที่ www.worldtipitaka.org หมายเลขในวงเล็บท้ายบท (1) คือเลขลำดับธัมมบทเพือ่ อ้างอิงในพระไตรปิฎก 6 ข้อมูลภาคแปลพระไตรปิฎกสากล (World Tipiṭaka Translation) ซึ่ง เป็นการแปลใหม่จากต้นฉบับปาฬิอกั ษรโรมันเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยผูเ้ ชีย่ วชาญ จากราชบัณฑิตยสถาน ร่วมกับโครงการพระไตรปิฎกสากล โดยแปลและพิมพ์เทียบบรรทัดต่อ บรรทัดเพือ่ สะดวกในการอ่านสังวัธยายพร้อมกันเป็นภาษาต่างๆ การแปลนีเ้ รียกว่า “แปลโดย พยั ญ ชนะและตามโครงสร้ า งพระไตรปิ ฎ ก” ในการจั ด พิ ม พ์ ค รั้ ง นี้ ผู้ เชี่ ย วชาญจาก ราชบัณฑิตยสถาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณาจารย์สว่ นการศึกษา รร.จปร. ได้รว่ มเป็น บรรณาธิการด้วย ซึง่ สืบค้นได้ที่ www.tipitakahall.net หมายเลขในวงเล็บท้ายบท (1) คือลำดับคาถาธัมมบทในพระไตรปิฎก ข้อมูลนีแ้ สดงตัวอย่างวิธกี ารแปลพระไตรปิฎกปาฬิจากต้นฉบับสากลและแปล จากฐานข้อมูลพระไตรปิฎกทีย่ งั ไม่เคยมีการจัดทำมาก่อน เป็นผลงานสหวิทยาการทีใ่ ช้ระบบ
ฐานข้อมูล ซึง่ จะส่งเสริมให้เกิดความรวดเร็วในการแปลและจัดพิมพ์ ทำให้การแปลจากต้นฉบับ สากลถูกต้องยิง่ ขึน้ นอกจากนีย้ งั ได้ตรวจทานคำทีพ่ มิ พ์ตา่ ง (variant readings) ในเชิงอรรถ ต้นฉบับพระไตรปิฎกสากลแล้วด้วย สืบค้นได้ที่ www.tipitakaquotation.net 7 ข้อมูลดัชนีในการแปลพระไตรปิฎกสากล (World Tipiṭaka Translation Index) เป็นตัวอย่างการใช้ความรูท้ างวิศวกรรมศาสตร์คอมพิวเตอร์ (data mining) และความรูท้ าง ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (computational linguistics) ไปบูรณาการกับพระไตรปิฎกศึกษา (Tipiṭaka Studies) ดัชนีในการแปลมี 5 ประเภท คือ ดัชนีชอื่ (title), ดัชนีปฎ ิ กอ้างอิง (Tipiṭaka references), ดัชนีศพ ั ท์ธมั มสังคณี (Dhammasaṅgaṇī teminology), ดัชนีคลังข้อมูลปาฬิ (Pāḷi corpus), และดัชนีคำสำคัญ (key word) ผูต ้ อ้ งการศึกษาการอ้างอิงเล่มในพระไตรปิฎกสากล
ดูหน้า 26 พระไตรปิฎกระดับสูง สืบค้นได้ที่ www.tipitakaquotation.net ข้อมูลนีแ้ สดงความสำคัญของฐานข้อมูลพระไตรปิฎกสากล (World Tipiṭaka Database) ซึง่ ได้จด ั ทำสำเร็จในประเทศไทยและแสดงให้เห็นได้วา่ สามารถส่งเสริมการแปล
พระไตรปิฎกภาษาปาฬิเป็นภาษาต่างๆ และนำไปบูรณาการในเชิงสหวิทยาการเพื่อสร้าง
องค์ความรูใ้ หม่ๆ ได้ตอ่ ไปด้วย
4
21
ปริวรรตอักษร : อักษรสยามเทียบอักษรโรมัน พระไตรปิฎกปาฬิ ฉบับจุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436)
22
ปริวรรตอักษรและถ่ายถอดเสียง : อักษรสยาม/โรมัน และสัททอักษรสากลปาฬิ พระไตรปิฎกปาฬิ ฉบับมหาสังคายนาสากลนานาชาติ พ.ศ. 2548 อักษรสยามกับอักษรโรมันจากการเทียบเสียงในพระไตรปิฎกฉบับรัชกาลที่ 5 (พ.ศ.2436) พระไตรปิฎกฉบับพิมพ์ชุดแรกของโลก เป็นคำที่ใช้ในคัมภีร์สัททนีติ ซึ่งได้พิมพ์เปรียบเทียบไว้กับคำที่ใช้ในทางสัททศาสตร์
c ch j jh ñ
จ์ ฉ์ ช์ ฌ์ ์
ṭ ṭh ḍ ḍh ṇ
ฏ์ ์ ฑ์ ฒ์ ณ์
t th d dh n
ต์ ถ์ ท์ ธ์ น์
p ph b bh m
ป์ ผ์ พ์ ภ์ ม์
y r l v s h ḷ aṃ
ย๎ ร๎ ล๎ ว๎ ส๎ ห๎ ฬ๎ อํ
ū
อุ
[u]
e
อู
[uː]
o
เอ
[eː]
ลักษณะการเปล่งเสียง
เสียงกัก
เสียงเปิด (Approximant)
(Stops)
อโฆสะ 2
โฆสะ 2
ตาลุ 2
(Palatal)
มุทธะ 2
(Retroflex)
[ɦ] k [k] c [c] ṭ [ʈ ]
ทันตะ 2
t
(Dental)
[ t̪]
โอฏฐะ 2
p
(Bilabial)
(Fricative)
(Lateral)
h
กัณฐะ 2 กัณฐะ 2
เสียงเสียดแทรก
เสียงข้างลิ้น
(Non-lateral)
ไม่ใช่เสียงข้างลิ้น
(Voiced)
นาสิก (Nasal)
(Voiceless )
(Glottal) (Velar)
โอ
[oː]
(Manner of Articulation)
(Aspirated)
ก์ ข์ ค์ ฆ์ ง
u
อี
[iː]
ธนิต 2
k kh g gh ṅ
ī
อิ
[i]
(Unaspirated)
อ1 อา อิ อี อุ ฐานที่เกิดเสียง อู (Places of เอ โอ Articulation)
i
อา
สิถิล 2
a ā i ī u ū e o
ā [aː]
สิถิล 2
อ
(Aspirated)
a [a]
ธนิต 2
2
(Unaspirated)
1
[p]
ก์
kh
ข์
g
จ์
ch [cʰ]
ฉ์
j
ฎ์
ṭh
์
ḍ
ต์
th
ป์
ph
[kʰ]
[ʈʰ] [ t̪ʰ] [pʰ]
ถ์ ผ์
[ɡ] [ ɟ] [ɖ ] d [d̪] b [b]
ค์ ช์ ฑ์ ท์ พ์
gh [ɡʱ] jh [ ɟʱ] ḍh [ɖʱ] dh [d̪ʱ] bh [bʱ]
ฆ์ ฌ์ ฒ์
ṅ [ŋ] ñ [ ɲ] ṇ [ɳ ]
ธ์
n
ภ์
m
[n̪] [m]
ง ์ ณ์
y [ j] r [ɻ ]
(i)ṃ [ĩ] (u)ṃ [ũ]
ฬ๎ ล๎
s [ s̪ ]
ส๎
ม์ v
นาสิกา 2
ḷ [ɭ ] [ l ̪]
[ʋ]
(Nasal Cavity)
ร๎
l
ทันโตฏฐะ 2
(a)ṃ
ย๎
น์
(Labio-dental)
[ã]
ห๎
ว๎
อํ อิํ อุํ วิจินตน์ ภาณุพงศ์ 2552
23
ภาษาปาฬิ ภาษาพระธัมม์ 1. ปาฬิ คือ พระธัมม์ พระไตรปิฎก และพระบรมศาสดา คำว่า Pāḷi – ปาฬิ (มักออกเสียงตามแบบไทยว่า บาฬี) ปาฬิมคี วามหมายเท่า กับพระธัมม์ พระธัมม์นี้ได้รับการสืบทอดต่อมาเรียกว่า พระไตรปิฎก พระปาฬิจึงมีความ หมายถึง พระไตรปิฎกด้วย และก่อนเสด็จดับขันธปรินพิ พานพระพุทธองค์ได้ตรัสว่า พระธัมม์ และพระวินยั คือพระบรมศาสดา ดังนัน้ พระปาฬิ ซึง่ มีความหมาย ถึงพระธัมม์ คือ พระไตรปิฎก จึงมีความหมายถึง พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า พระไตรปิฎกปาฬิ ได้เผยแพร่ไปยังเครือข่ายพระไตรปิฎกปาฬิทวั่ โลก ในปี พ.ศ. 2437 พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ได้ โ ปรดให้ ส มเด็ จ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ
กรมพระยาเทวะวงศ์ ว โรปการ เสนาบดีกระทรวงต่างประเทศ ทรงเป็ น ผู้ ด ำเนิ น การ พระราชทานพระไตรปิฎกปาฬิ ฉบับพิมพ์ครัง้ แรกของโลกเป็นพระธัมมทานแก่สถาบันต่างๆ ทั่วโลกกว่า 260 แห่ง 2. ที่มาแห่งอักษรโรมันในพระไตรปิฎกภาษาปาฬิ ภาษาปาฬิ มีลักษณะพิเศษ คือ ไม่มีอักษรเฉพาะของภาษาปาฬิ แต่ใช้อักษร ของชาติตา่ งๆ เขียนภาษาปาฬิ เช่น ภาษาปาฬิ อักษรไทย, ภาษาปาฬิ อักษรสิงหล, ภาษาปาฬิ อักษรพม่า เป็นต้น ความพิเศษของภาษาปาฬิ ที่ใช้เขียนด้วยอักษรของชาติต่างๆ นี้ ทำให้ พระไตรปิฎกปาฬิ แพร่หลายไปในนานาประเทศ เพราะตัวอักษร เป็นสื่อที่ทำให้สามารถ อ่านออกเสียงภาษาปาฬิได้ แต่กม็ ปี ญ ั หาว่า การใช้อกั ษรของชาติตา่ งๆ ทำให้แต่ละชาติออก เสียงภาษาปาฬิ ตามสำเนียงในภาษาของตน ซึ่งอาจไม่ถูกต้องตามหลักการออกเสียงใน
ไวยากรณ์ปาฬิ แต่อักษรโรมันเป็นอักษรสากลที่ช่วยให้อ่านภาษาปาฬิได้ถูกต้อง 3. อักษรโรมันคืออะไร สากลอย่างไร ? อักษรโรมัน (Roman alphabet) คืออักษรที่สร้างและพัฒนาขึ้นเมื่อประมาณ ศตวรรษที่ 6-7 ก่อนคริสตศักราช เพื่อใช้เขียนภาษาละติน ซึ่งเป็นภาษาประจำชาติของ อาณาจักรโรมัน ต่อมา อักษรโรมันได้ใช้เป็นอักษรเขียนภาษาต่างๆ ในยุโรป เช่น ภาษา อังกฤษ เมื่อภาษาอังกฤษ ได้แพร่หลายไปทั่วโลก อักษรโรมัน จึงเป็นอักษรที่คนทั่วโลก รู้จักและอ่านออกเสียงได้ 94
ในประเทศไทยพระบาทสมเด็ จ พระมงกุ ฎ เกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว รั ช กาลที่ 6 เมื่ อ พระราชทานนามสกุลแก่ประชาชนชาวไทย ก็ได้พระราชทานวิธกี ารเขียนนามสกุลภาษาไทย ด้วยอักษรไทย ควบคู่กับการเขียนด้วยอักษรโรมัน เพื่อให้ชาวโลกออกเสียงนามสกุลใน ภาษาไทยได้ถูกต้อง การที่ภาษาปาฬิไม่มีอักษรใช้โดยเฉพาะ ผู้ที่นับถือพุทธศาสนาจะใช้อักษรในระบบ การเขียนภาษาของตนบันทึกเนื้อหาสาระหรือข้อความที่เป็นภาษาปาฬิ รวมทั้งคัมภีร์
พระไตรปิฎกปาฬิดว้ ย เราจึงมีพระพุทธวจนะหรือคำทรงสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ เจ้า และคัมภีร์พระไตรปิฎกภาษาปาฬิ ซึ่งบันทึกด้วยอักษรในระบบการเขียนของภาษา ต่างๆ เช่น อักษรไทยในภาษาไทย อักษรมอญในภาษาพม่า อักษรลาวในภาษาลาว อักษร เขมรในภาษาเขมร ด้วยเหตุนี้เมื่อพุทธศาสนาเผยแผ่เข้าไปในยุโรปก็ได้ใช้อักษรโรมันบันทึก ภาษาปาฬิด้วย จะเห็นได้ว่าเสียงพูดในภาษา (language) กับตัวอักษรในระบบการเขียน (alphabet, script) เป็นคนละเรื่องกันแต่เกี่ยวข้องกัน ในระบบการเขียนส่วนใหญ่เราใช้ อักษรแทนเสียงพูด ข้อควรสังเกตคือ มักมีความเข้าใจผิดและความสับสนว่า “อักษร” กับ “ภาษา” เป็นสิง่ เดียวกัน ทีถ่ กู ต้อง “อักษร” คือสัญลักษณ์ทใี่ ช้แทนเสียงใน “ภาษา” เท่านัน้ ดังเช่น ในคำว่า “พระไตรปิฎกปาฬิ อักษรโรมัน” ปาฬิคือภาษา โรมันคืออักษร พระไตรปิฎกปาฬิ อักษรโรมัน คือพระไตรปิฎกที่บันทึกภาษาปาฬิด้วยอักษรโรมัน 4. อักษรโรมันในการบันทึกภาษาปาฬิ การใช้อักษรโรมันแทนเสียงในภาษาปาฬินั้น นอกจากจะเป็นประโยชน์ใน ฐานะที่อักษรโรมันเป็นอักษรสากลที่คนทั่วโลกรู้จักแล้ว ยังมีประโยชน์อย่างยิ่งในเรื่องการ ออกเสียงได้ถกู ต้องตรงกับเสียงภาษาปาฬิตามทีร่ ะบุไว้ในไวยากรณ์ปาฬิแต่โบราณ เช่น คัมภีร ์ กัจจายนไวยากรณ์ คัมภีร์สัททนีติ เป็นต้น ยิ่งกว่านั้น ในปัจจุบันชาวตะวันตกมีความสนใจ ศึกษาพระพุทธศาสนามากขึ้น การพิมพ์พระไตรปิฎกฉบับมหาสังคายนาสากลนานาชาติ ด้วยอักษรโรมัน โดยกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ จักช่วยให้ชาวตะวันตกที่สนใจศึกษา พระพุทธศาสนา สามารถศึกษาและอ่านออกเสียงพระพุทธวจนะของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้โดยตรง ซึง่ นับว่าเป็นสิง่ ที่มีค่าประมาณมิได้
95
5. การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก การบำเพ็ญกุศลด้วยการออกเสียงพระพุทธพจน์ เรียกเป็นศัพท์ว่า “การอ่าน
สังวัธยายพระไตรปิฎก” บุคคลสามารถอ่านสังวัธยายเป็นภาษาปาฬิและภาคแปลภาษาต่างๆ คำว่า “สังวัธยาย” แปลว่า “เปล่งเสียงอ่านดังๆ ร่วมกัน” โดยเน้นการออกเสียงสระและ พยัญชนะให้ชัดเจน การอ่านสังวัธยายจึงต่างจากการสวดเป็นทำนองต่างๆ การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎกและภาคแปลภาษาต่างๆ เป็นธัมมทาน เป็นการ บำเพ็ญบารมีด้านปัญญา เพราะต้องประกอบด้วยศรัทธาและความเข้าใจในเนื้อหาที่อ่าน สังวัธยาย จึงนำให้เกิดกุศลประโยชน์อันล้ำเลิศ แก่บุคคล สังคม และสากลโลก ทั้งปัจจุบัน และอนาคต การอ่านสังวัธยาย ผู้อ่านจะใช้คู่มืออ่านสังวัธยาย ซึ่งมีบทที่คัดเลือกมาจากพระไตร ปิฎกสากล เป็นพระพุทธพจน์ภาษาปาฬิ ที่พิมพ์ด้วยอักษรโรมัน ซึ่งประชาชนนานาชาติ ทั่วโลกสามารถอ่านได้ ในการพิมพ์ครั้งนี้ ได้มีคำแปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษด้วย พิธีอ่านสังวัธยายจะมีผู้อ่านนำเป็นภาษาปาฬิทีละบรรทัด ซึ่งผู้ร่วมพิธีจะอ่านออก เสียงสังวัธยายตามจนจบบท เมื่อจบการอ่านสังวัธยายแต่ละบทแล้ว ก็สามารถอ่านบทนั้น พร้อมกันอีกครั้งหนึ่งได้ หลังจบการอ่านสังวัธยายในแต่ละบท ผู้อ่านนำจะประกาศสัตยาธิษฐานถวายเป็น
พระราชกุศล ซึ่งผู้ร่วมพิธีจะได้กล่าวตามดังนี้ ด้วยอำนาจสัจจวาจา และอานิสงส์การอ่านสังวัธยายพระไตรปิฎก ขอถวายเป็นพระราชกุศลแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์พุทธมามกะ และขอให้ขา้ พเจ้า และประเทศชาติ ปราศจากภยันตราย เจริญรุง่ เรือ่ งทุกเมือ่ เทอญ
96