Experience of Learning

Page 1

Experience of Learning


Experience of Learning บทสรุ ปจากประสบการณ์ การสอน บรรณาธิการ สิรินธร สินจินดาวงศ์

Experience of Learning


ข้ อมูลทางบรรณานุกรม Publication Data สิรินธร สินจินดาวงศ์. Experience of Learning: บทสรุปจากประสบการณ์การสอน.กรุงเทพฯ: ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัย ศรีปทุม, 2560. 249 หน้า. Experience of Learning: บทสรุปจากประสบการณ์ การสอน บรรณาธิการ สิรินธร สินจินดาวงศ์ จัดทาโดย ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรี ยนการสอน มหาวิทยาลัยศรี ปทุม www.spu.ac.th/tlc/

Experience of Learning


สาส์ นจากรองอธิการบดี หัวใจของการจัดการเรี ยนการสอน คือ อาจารย์ที่มีคณ ุ ภาพ โดย คุณ ภาพเกิ ด จากประสบการณ์ ก ารสอนที่ มี การพัฒ นาอย่างต่อ เนื่ อ ง มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ให้ ความสาคัญกับการพัฒนาอาจารย์เป็ นอย่างยิ่ง เพื่อสร้ างบัณฑิตที่มีคณ ุ ภาพแก่สงั คม โดยมีศนู ย์สนับสนุนและพัฒนาการเรี ยนการสอน เป็ นหน่วยงาน ขับเคลื่อนโครงการ กิจกรรมต่างๆ และส่งเสริมการพัฒนาอาจารย์ให้ เป็ น ที่ ย อมรั บ โดยมี เครื อ ข่ า ยการพัฒ นาอาจารย์ ร่ว มกัน ทัง้ ภายในและ ภายนอก บทเรี ยนจากประสบการณ์ การสอนในครัง้ นี ้ จะเป็ นแนวทางใน การพัฒ นาการสอนของอาจารย์ และเป็ น บทสรุ ป ส าหรั บ ผู้บ ริ ห ารใน สถาบันอุดมศึกษาที่ช่วยเสริ มสร้ างความเข้ มแข็งในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาอีกด้ วย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิรัช เลิศไพฑูรย์ พันธ์ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีปทุม

Experience of Learning


ศูนย์ สนับสนุนและพัฒนาการเรี ยนการสอน: TLC มหาวิทยาลัยศรี ปทุม วิสัยทัศน์ ค่ านิยม วัฒนธรรม นโยบาย อาจารย์มหาวิทยาลัยมีความสาคัญยิ่งสาหรับ การพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษา อาจารย์ ที่มีคุณภาพย่อมจะส่งผลถึงบัณฑิตที่มีคุณภาพเป็ นที่ยอมรับ ของสังคมเช่นกัน และสามารถทาประโยชน์ให้ กบั สังคมได้ เป็ นอย่างดี ดังนัน้ แนว ทางการพัฒ นาอาจารย์ของมหาวิทยาลัยศรี ปทุม นอกจากการฝึ กอบรมพัฒ นา ความรู้ ทักษะในการจัดการเรี ยนการสอน แล้ วยังส่งเสริ มให้ อาจารย์พฒ ั นาผลงาน วิชาการ ได้ แก่ เอกสารประกอบการสอน ตารา บทความทางวิชาการ และการวิจยั เพื่อพัฒ นาการเรี ยนการสอน ที่เกิดจากการพัฒ นาเทคนิคการสอน สื่อการสอน การประเมิ น ผล และการพั ฒ นาทัก ษะ ความรู้ ความสามารถและ การดู แ ล พฤติกรรมของนักศึกษา

พันธกิจ • ฝึ กอบรม สัมมนาเพื่อพัฒนาสมรรถนะเกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการสอน ของอาจารย์ให้ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล • ส่งเสริ ม การท าวิจัยเพื่ อพัฒ นาการเรี ย นการสอนของอาจารย์ และน า ผลการวิจยั ไปใช้ ประโยชน์ในการจัดการเรี ยนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ • บริ หารจัดการและพัฒนาระบบการประเมินประสิทธิ ภาพการสอนของ อาจารย์ให้ มีคุณภาพ และนาผลการประเมินไปปรับปรุ งการจัดการเรี ยนการสอน อย่างต่อเนื่อง Experience of Learning


รายนามคณะทางาน ผศ.ดร.วิรัช เลิศไพฑูรย์พนั ธ์ ผศ.ดร.สิรินธร สินจินดาวงศ์ นายรักษพล สนิทยา นายกรกฎ ผกาแก้ ว รศ.ดร.กีรติ ชยะกุลคีรี รศ.ดร.ปรี ชา กอเจริ ญ ดร.ถาวร ทิศทองคา ผศ.ธนภณ สมหวัง ผศ.รัฐสภา แก่นแก้ ว ผศ.ฐิ ติวฒ ั น์ นงนุช อาจารย์ธีระพันธ์ ชนาพรรณ ดร.ณัฐธยาน์ ตรี ผลา

ที่ปรึกษา ผู้อานวยการ นักวิจยั เจ้ าหน้ าที่ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิ

รองอธิการบดี TLC TLC TLC มหาวิทยาลัยศรี ปทุม มหาวิทยาลัยศรี ปทุม มหาวิทยาลัยศรี ปทุม มหาวิทยาลัยศรี ปทุม มหาวิทยาลัยศรี ปทุม มหาวิทยาลัยศรี ปทุม มหาวิทยาลัยศรี ปทุม มหาวิทยาลัยศรี ปทุม

Experience of Learning


สารบัญ หน้ า กระบวนการเรี ยนแบบบูรณาการและการสอนที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ : พื ้นฐานเพื่อการผลิตบัณฑิตให้ มที กั ษะแรงงานในศตวรรษที่ 21 กิ ตติ ภูมิ มี ประดิ ษฐ์ สำนักวิ ชำศึกษำทัว่ ไป มหำวิ ทยำลัยศรี ปทุม............... แบบจาลองการเรียนรู้แบบการมีสว่ นร่วมของผู้เรี ยน พิ ภชั ดวงคำสวัสดิ์ คณะเทคโนโลยีสำรสนเทศ มหำวิ ทยำลัยศรี ปทุม........... การใช้ Plickers กับการประเมินผลการเรี ยนรู้ทนั ทีในห้ องเรี ยนกลับทาง และเรี ยนให้ ร้ ูจริง ปรี ชำ กอเจริ ญคณะวิ ศวกรรมศำสตร์ มหำวิ ทยำลัยศรี ปทุม......................... การออกแบบบทเรี ยน MOOCs เพื่อการเรี ยนการสอนวิชาเครื่ องมือ Cloud-Based ศตวรรษ 21 เพื่อชีวิตประจาวัน สิ ริรตั น์ มัชฌิ มำดิ ลก คณะเทคโนโลยีสำรสนเทศ และวรสรวง ดวงจิ นดำ สำนักกำรจัดกำรศึกษำออนไลน์ มหำวิ ทยำลัยศรี ปทุม................................. การพัฒนาบทเรี ยนออนไลน์ สาหรับการสอน Active Learning ในวิชา ECO113 ปัทมำ โกเมนท์จำรัส คณะบริ หำรธุรกิ จ มหำวิ ทยำลัยศรี ปทุม...................... การใช้ เครื อข่ายสังคมเพื่อส่งเสริมการเรี ยนรู้ด้วยโครงงาน ณัฐธยำน์ ตรี ผลำ คณะบริ หำรธุรกิ จ มหำวิ ทยำลัยศรี ปทุม........................... การศึกษาเปรี ยบเทียบผลการเรียนรู้ รายวิชา LSM321 การจัดการและ ควบคุมสินค้ าคงคลัง ของนักศึกษาสาขาการจัดการโลจิสติกส์ วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน ด้ วยวิธีการสอนแบบ ห้ องเรี ยนกลับด้ านกับวิธีการสอนแบบบรรยาย อัศวิ น วงศ์วิวฒ ั น์ วิ ทยำลัยโลจิ สติ กส์และซัพพลำยเชน มหำวิ ทยำลัยศรี ปทุม................................................................................

104

Experience of Learning

1 20

38

52

72 81


สารบัญ (ต่ อ) หน้ า การพัฒนาการเรี ยนการสอนด้ วยการจัดการเรี ยนรู้ตามแบบการจัดการ เรี ยนรู้ CIPPA Model วิชากฎหมายลักษณะประกันภัย พีรพล สิ มมำคณะนิ ติศำสตร์ และรัฐศำสตร์ วิ ทยำลัยนอร์ ทเทิ ร์น................. การพัฒนาผลงานออกแบบโดยการประยุกต์เทคนิควิธีการจัดปั ญหาเป็ นฐาน ร่วมกับการประเมินผลโดยการสร้ างรูบิคสกอร์ สาหรับนักศึกษารายวิชา ARC435 การออกแบบสถาปั ตยกรรมขันสู ้ ง1 ฐิ ติวฒ ั น์ นงนุช คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ มหำวิ ทยำลัยศรี ปทุม................. แนวคิดการจัดการศึกษาแบบบูรณาการสหวิชาโดยใช้ โครงงานเป็ นฐาน: กรณีศกึ ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี (ราชบุรี) สุกลั ยำ ตันติ วิศวรุจิ และคณะ สถำบันกำรเรี ยนรู้ มหำวิ ทยำลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำธนบุรี............................................... การจัดการเรี ยนการสอนแบบ Active Learning เพื่อสร้ าง Teaching and Learning Community แห่งการเรี ยนรู้ภาษาอังกฤษ ไพบูลย์ สุขวิ จิตร บำร์ คณะศิ ลปศำสตร์ มหำวิ ทยำลัยศรี ปทุม..................... กลยุทธ์การสอนภาษาอังกฤษพื ้นฐานโดยใช้ แบบการเรียนรู้ของผู้เรี ยน เกรี ยงไกร สัจจะหฤทัย วิ ทยำลัยบัณฑิ ตศึกษำด้ำนกำรจัดกำร มหำวิ ทยำลัยศรี ปทุม………………………………………………....………. การจัดการเรี ยนการสอนแบบร่วมมือในรายวิชาการวิจยั ทางการสือ่ สาร วรรณี งำมขจรกุลกิ จ คณะนิเทศศำสตร์ มหำวิ ทยำลัยศรี ปทุม..................... การศึกษาพฤติกรรมการเปิ ดรับสือ่ การเรี ยนการสอนและความพึงพอใจ ของนักศึกษาระดับปริ ญญาตรี ทมี่ ีตอ่ การสอนวิชาการวิจยั ทางการสือ่ สาร บุณยนุช สุขทำพจน์ คณะนิ เทศศำสตร์ มหำวิ ทยำลัยศรี ปทุม………....….... ซ

116

131

141

154

168 186

198

Experience of Learning


สารบัญ (ต่ อ) หน้ า ผลงานการประกอบสร้ างความคิดจากอักษรสูร่ ูปเล่มบทละครโทรทัศน์ เอกธิ ดำ เสริ มทอง คณะนิ เทศศำสตร์ มหำวิ ทยำลัยศรี ปทุม………….…….. 209 การเรี ยนการสอนกับการสร้ างแรงจูงใจในการสร้ างศักยภาพสูม่ ืออาชีพ ธี ระพันธ์ ชนำพรรณ คณะนิเทศศำสตร์ มหำวิ ทยำลัยศรี ปทุม……….……... 231 Accounting Game ชัยสรรค์ รังคะภูติ คณะบัญชี มหำวิ ทยำลัยศรี ปทุม..................................... 244

Experience of Learning



กระบวนการเรี ยนแบบบูรณาการและการสอนที่เน้ น ผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ : พืน้ ฐานเพื่อการผลิตบัณฑิตให้ มี ทักษะแรงงานในศตวรรษที่ 21 กิตติภูมิ มีประดิษฐ์ บทนา ความเจริ ญก้ าวหน้ าทางวิทยาการต่างๆของโลกยุคโลกาภิวตั น์ มีผล ต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิ จของประเทศไทย ดังนัน้ จึงมีความ จาเป็ นที่จะต้ องปรับปรุ งและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศเพื่อสร้ างคน ไทยให้ เป็ นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศกั ยภาพพร้ อมที่จะแข่งขันและร่ วมมือ อย่างสร้ างสรรค์ ในเวทีโลก และมุ่งเน้ น ความสาคัญ ทัง้ ด้ านความรู้ ความคิ ด ความสามารถ กระบวนการเรี ยนรู้ และความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อพัฒนาคน ให้ มีความสมดุล โดยยึดหลักผู้เรี ยนสาคัญที่สดุ ทุกคนมีความสามารถเรี ยนรู้ และ พัฒนาตนเองได้ ส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ให้ ความสาคัญต่อความรู้ เกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธ์ ของตนเองกับสังคม ความรู้ และทักษะทางด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ความรู้ ความเข้ าใจและ ประสบการณ์ ในเรื่ อ งการจัด การ การบ ารุ ง รั ก ษา และการใช้ ประโยชน์ จ าก ทรัพ ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมอย่างสมดุลยั่งยืน ความรู้ เกี่ ย วกับ ศาสนา ศิ ลปะ วัฒ นธรรม การกี ฬ า ภูมิ ปั ญ ญาไทย และการประยุก ต์ ใช้ ภูมิ ปั ญ ญา ความรู้ และทัก ษะด้ า นคณิ ต ศาสตร์ แ ละด้ านภาษาเน้ น การใช้ ภ าษาไทยอย่า ง ถูกต้ อง ความรู้ และทักษะในการประกอบอาชี พ ตลอดจนการดารงชี วิต อยู่ใน สังคมได้ อย่างมีความสุข ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กิตติภมู ิ มีประดิษฐ์ ผู้อานวยการสานักวิชาศึกษาทัว่ ไป มหาวิทยาลัยศรี ปทุม Experience of Learning

1


จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี หลักการ ผลงานวิจยั และประสบการณ์ ในการจัดการเรี ยนการสอนรายวิชาศึกษาทัว่ ไป พบว่า กระบวนการเรี ยนรู้ แบบ บูรณาการเป็ นวิธีหนึ่งที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ เป็ นการเรี ยนรู้ ที่อาศัยการเชื่อมโยง ความรู้ สาขาต่างๆและทักษะการเรี ยนรู้ หลายๆทักษะเข้ าด้ วยกัน เพื่อให้ เกิดการ เรี ยนรู้ ที่มีความหมาย ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนรู้จกั นาความรู้ ไปผสมผสานกัน และสามารถ น าไปประยุก ต์ ใช้ ในชี วิ ต ประจ าวัน ได้ อ ย่า งเหมาะสมและถูก ต้ อ งตามปรั ช ญา การศึกษาแบบ Progressivism ของ Dewey ทฤษฎีการเรี ยนรู้ ด้าน Cognitive ที่ ใช้ Constructivism Approach และทฤษฎี ก ารเรี ย นรู้ อย่า งมี ค วามหมายของ Ausubel และการถ่ายโยงการเรี ยนรู้ (Transfer of Learning ) กระบวนการเรียนแบบบูรณาการ ( Integrated Learning ) จากแนวทางการจัดการศึกษาและการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่ปรากฏ ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาตินนั ้ จะเห็นได้ ว่าเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมโดย มุง่ เน้ นให้ ความสาคัญแก่ผ้ เู รี ยนมากขึ ้น เน้ นการเรี ยนรู้จากการปฏิบตั ิและสามารถ นาไปใช้ ในการดารงชีวิตได้ การจัดกระบวนการเรี ยนรู้ เพื่อสนองตอบให้ ผ้ เู รี ยน เกิดคุณ ลักษณะดังกล่าวมีมากมายหลายกระบวนการ กระบวนการเรี ยนรู้ แบบ บูรณาการเป็ นวิธีการหนึ่งที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ และเป็ นการเรี ยนรู้ ที่อาศัยความ เชื่อมโยงความรู้ ต่างๆ เพื่อจะได้ นามาประยุกต์ใช้ ในชีวิตจริ ง การจัดประสบการณ์ การเรี ยนรู้แบบบูรณาการจะช่วยให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการเรี ยนรู้ที่สมบูรณ์ทงในด้ ั ้ านความรู้ ทักษะ / กระบวนการเรี ยนรู้ และคุณธรรม ตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ การศึกษา การบูรณาการเป็ นการผสมผสานประสบการณ์ การเรี ยนรู้ และอาจจะ เป็ นการผสมผสานเนื ้อหาวิชา วิชาต่างๆในหมวดวิชาเดียวกันหรื อต่างหมวดวิชา ให้ มีความสัมพันธ์ตอ่ เนื่องเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการเรี ยนรู้อย่างมีความหมาย ตลอดจน สามารถน าประสบการณ์ ต่า งๆที่ ได้ รับ ไปประยุก ต์ ใช้ ในชี วิ ต จริ งมี รายละเอี ย ด โดยสังเขป ดังนี ้ 2

Experience of Learning


1. ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู้ ในด้ าน Cognitive ที่ ใช้ Constructivism Approach หลักสาคัญของ Constructivism คือ ผู้เรี ยนต้ องสร้ างความรู้ เองโดยครู เป็ นผู้ช่วย โดยจัดหาข้ อมูลข่าวสารให้ แก่ผ้ เู รี ยนหรื อให้ โอกาสผู้เรี ยนได้ ค้นพบด้ วย ตนเอง และเป็ นผู้ลงมือกระทาและปฏิบตั ิการเรี ยนด้ วยตนเอง 2. ทฤษฎีการเรียนรู้อย่ างมีความหมายของ Ausubel ทฤษฎีการ เรี ย นรู้ ของ Ausubel เน้ น ความสาคัญ ของการเรี ย นรู้ อย่า งมี ค วามเข้ าใจ และมี ความหมาย การเรี ยนรู้ จะเกิดขึ ้นเมื่อผู้เรี ยนได้ เชื่อมโยงสิ่งที่ได้ เ รี ยนรู้ ใหม่เข้ ากับ ความรู้เดิมที่อยูใ่ นสมอง 3. การถ่ ายโยงการเรี ยนรู้ (Transfer of Learning) การถ่ายโยงการ เรี ยนรู้ หมายถึง การนาสิ่งที่เรี ยนรู้ แล้ วไปใช้ ในสถานการณ์ ใหม่ การถ่ายโยงการ เรี ยนรู้เป็ นกระบวนการที่สาคัญเพราะวัตถุประสงค์ของการศึกษาประการหนึ่ งก็คือ การเตรี ยมผู้เรี ยนให้ สามารถนาสิ่งที่ได้ เรี ยนรู้ ไปใช้ ประโยชน์ในอนาคตทังในด้ ้ าน การประกอบอาชีพ และการแก้ ปัญหารู ปแบบต่างๆในชีวิตประจาวัน จะช่วยให้ ผู้เรี ยนมองเห็นความสัมพันธ์ ของวิชาต่างๆ กับชีวิตจริ งมากขึ ้นตลอดจนมองเห็น ประโยชน์ในสิง่ ที่เรี ยนว่าสามารถนาไปใช้ ได้ การจัดการเรี ยนรู้ แบบบูรณาการ (Learning Integration) อาจจัดได้ 2 ลักษณะ คือ 1. การบู ร ณ าการภายในวิ ช า (Intradisciplinary Instruction) เป็ น การบูรณาการที่ เกิ ด ขึน้ ภายในขอบเขตของเนื อ้ หาเดี ย วกัน วิ ช าที่ ใช้ ห ลัก การบูรณาการภายในวิชาเดียวกันมากที่ สุด คือวิชาภาษา หรื อกระบวนการทาง ภาษาซึ่งประกอบด้ วยการฟั ง การพูด การอ่าน และการเขียน เนื่องจากมีความ เกี่ยวพันกันหลายแบบนอกจากวิชาภาษาแล้ วยังมีวิชาสังคมศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ก็ใช้ หลักการเชื่อมโยงภายในวิชาได้ 2. การบู ร ณาการระหว่ างวิ ช า (Interdisciplinary Instruction) เป็ นการเชื่อมโยงหรื อรวมศาสตร์ ต่าง ๆ ตัง้ แต่ 2 สาขาวิชาขึน้ ไปภายใต้ หัวเรื่ อง (Theme) เดียวกัน เป็ นการเรี ยนรู้ โดยใช้ ความรู้ ความเข้ าใจและทักษะในศาสตร์ Experience of Learning

3


หรื อความรู้ในวิชาต่างๆมากกว่า 1 วิชาขึ ้นไป เพื่อการแก้ ปัญหาหรื อการแสวงหา ความรู้ ความเข้ าใจในเรื่ องใดเรื่ องหนึง่ การเชื่อมโยงความรู้และทักษะระหว่างวิชา ต่างๆ จะช่วยให้ ผ้ ูเรี ยนเกิ ดการเรี ยนรู้ ที่ ลึกซึง้ ไม่ใช่เพียงผิวเผินและมีลกั ษณะ ใกล้ เคียงกับชีวิตจริ งมากที่สดุ ซึ่ง การจัด การเรี ย นรู้ แบบบูร ณาการทัง้ 2 ลัก ษณะนัน้ สามารถ จัดเป็ นรูปแบบของการบูรณาการ ( Models of Integration ) ได้ 4 รูปแบบ คือ 1. บู รณาการแบบสอดแทรก (Infusion Instruction) การจัด การ เรี ยนการสอนตาม รู ปแบบนี ้ผู้สอนในวิชาหนึง่ สอดแทรกเนื ้อหาของวิชาอื่นๆเข้ า ในการเรี ยนการสอนของตน เป็ นการสอนตามแผนการสอนและประเมินผลโดย ผู้สอนคนเดียว วิธีนี ้ถึงแม้ วา่ ผู้เรี ยนจะเรี ยนจากผู้สอนคนเดียวแต่ก็สามารถมองเห็น ความสัมพันธ์ระหว่างวิชาหรื อกลุม่ สาระการเรี ยนรู้อื่นๆได้ 2. บูรณาการแบบขนาน (Parallel Instruction) การจัดการเรี ยน การสอนตามรู ปแบบ นี ้ ผู้สอนตังแต่ ้ 2 คนขึ ้นไปสอนต่างวิ ชากัน ต่างคนต่าง สอน แต่ต้องวางแผนเพื่อสอนร่ วมกัน โดยมุ่งสอนหัวเรื่ อง / ความคิดรวบยอด / ปั ญ หาเดี ย วกัน ระบุ สิ่ ง ที่ ท าร่ ว มกั น และตัด สิ น ใจร่ ว มกัน ว่ า จะสอนหัว เรื่ อ ง / ความคิดรวบยอด / ปั ญหานันๆอย่ ้ างไร ในวิชาของแต่ละคนใครควรสอนก่อนหลัง งานหรื อการบ้ านที่มอบหมายให้ ผ้ เู รี ยนทาจะแตกต่างกันออกไปในแต่ละวิชา แต่ ทังหมดจะต้ ้ องมีหวั เรื่ อง/ ความคิดรวบยอด / ปั ญหาร่ วมกัน การสอนแต่ละวิชาจะ เสริ มซึ่งกันและกันทาให้ ผ้ เู รี ยนมองเห็นความสัมพันธ์ เชื่อมโยงกันระหว่างวิชาหรื อ กลุม่ สาระการเรี ยนรู้ 3. บู รณาการแบบสหวิ ท ยาการ (Multidisciplinary Instruction) การจัดการเรี ยนการสอนตามรู ปแบบนีค้ ล้ ายกับ บูรณาการแบบขนานกล่าวคื อ ผู้สอนตังแต่ ้ 2 คนขึ ้นไป สอนต่างวิชากันมาวางแผนเพื่อสอนร่วมกัน โดยกาหนด ว่าจะสอนหัวเรื่ อง /ความคิดรวบยอด / ปั ญหาเดียวกัน ต่างคนต่างแยกกันสอน ตามแผนการสอนของตน แต่มอบหมายให้ ผ้ เู รี ยนทางานหรื อโครงงานร่ วมกัน ซึ่ง 4

Experience of Learning


จะช่วยเชื่อมโยงความรู้สาขาวิชาต่างๆเข้ าด้ วยกันจนสร้ างชิ ้นงานได้ ผู้สอนในแต่ละ วิชาจะกาหนดเกณฑ์เพื่อประเมินผลชิ ้นงานของผู้เรี ยนในส่วนวิชาที่ตนสอน 4. บู รณ าก ารแบ บ ข้ าม วิ ช า (Transdisciplinary Instruction) การจั ด การเรี ย นการสอนรู ป แบบนี ผ้ ้ ู สอนที่ ส อนวิ ช าต่ า งๆร่ ว มกั น วางแผน ปรึ กษาหารื อกาหนดหัวเรื่ อง / ความคิดรวบยอด / ปั ญหาเดียวกัน จัดทาแผนการ สอนร่ วมกัน แล้ วร่ วมกันสอนเป็ นคณะ ( Team ) โดยดาเนินการสอนผู้เรี ยนกลุ่ม เดียวกันมอบหมายงาน / โครงงานให้ ผ้ เู รี ยนเรี ยนทาร่ วมกัน ผู้สอนทุกวิชากาหนด เกณฑ์เพื่อประเมินผลชิน้ งานของผู้เรี ยนร่ วมกัน การเรี ยนการสอนแบบบูรณาการ เป็ นการจัดการเรี ยนรู้ที่พฒ ั นาศักยภาพของผู้เรี ยนได้ อย่างหลากหลาย อย่างไรก็ตามการจัดการเรี ยนการสอนแบบบูรณาการสามารถสรุ ปได้ ดังนี ้ 1. สามารถตรวจสอบได้ จากตัวชีว้ ัด คือ ผู้เรี ยนสร้ างองค์ความรู้ ใหม่ได้ เห็นความสัมพันธ์ระหว่างวิชาสามารถนาความรู้ไปใช้ แก้ ปัญหาได้ สามารถ นาความรู้ไปใช้ ในการสร้ างชิ ้นงาน และนาความรู้ไปใช้ ในชีวิตประจาวันได้ \ 2. เกิดการถ่ ายโยงการเรี ยนรู้ ผู้เรี ยนเข้ าใจเนื ้อหาในลักษณะองค์ รวมมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างวิชาและลดความซ ้าซ้ อนของเนื ้อหาในแต่ละวิชา 3. ผู้เรียนได้ เรียนรู้จากประสบการณ์ จริง โดยใช้ วิธีการผสมผสาน กันระหว่างสาระความรู้ กระบวนการ คุณธรรม และลักษณะอันพึงประสงค์ เป็ น การเพิ่ มศักยภาพของผู้เรี ยนอย่างไม่จากัด เพราะผู้เรี ยนได้ เรี ยนรู้ วิธีการเรี ย น ตลอดชีวิต 4. ส่ งเสริ ม ให้ เกิ ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ที่ ห ลากหลายรู ป แบบ การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่สง่ เสริ มกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญ สถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้ เพื่อป้องกันและแก้ ไขปั ญหา 5. ส่ งเสริ มพฤติกรรมการเรี ยนรู้ สาหรั บการปกครองระบอบ ประชาธิ ป ไตย รู้ จักการเคารพในสิทธิ และเสรี ภาพของผู้อื่น โดยคานึงถึงความ คิดเห็นและผลประโยชน์สว่ นรวมเป็ นสาคัญ Experience of Learning

5


การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนที่ เน้ นผู้ เรี ย นเป็ นส าคั ญ (StudentCentred Approach) การสอนที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ หมายถึงการสอนที่ม่งุ จัดกิจกรรมการ เรี ยนการสอนให้ สอดคล้ องกับการดารงชีวิตเหมาะสมกับความสามารถ และความ สนใจของผู้เรี ยนโดยให้ นกั เรี ยนมีสว่ นร่ วมและลงมือปฏิบตั ิจริ งทุกขันตอนจนเกิ ้ ด การเรี ยนรู้ด้วยตนเอง การจัดการเรี ยนการสอนที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ มีอยู่หลายลักษณะ และหลายระดับโดยที่ครู ผ้ สู อนเป็ นผู้อานวยการเรี ยน ช่วยเอือ้ ให้ ผ้ ูเรี ยนเกิ ดการ เรี ยนรู้ขึ ้น โดยการเตรี ยมด้ านเนื ้อหา วัสดุอปุ กรณ์ สือ่ การเรี ยนต่างๆ ให้ เหมาะสม กับผู้เรี ยน การเรี ยนการสอนที่มีนกั เรี ยนเป็ นศูนย์กลางนี ้ มีความต่อเนื่องอย่างเห็น ได้ ชดั กับแนวโน้ มในปั จจุบนั เกี่ยวกับการเรี ยนรู้ด้วยตนเองซึง่ จะมีคาศัพท์บญ ั ญัติไว้ ห ล า ย ค า เช่ น Learner Autonomy, Self-directed Learner แ ล ะ Learner Independence แต่สาหรับการเรี ยนการสอนที่มีผ้ เู รี ยนเป็ นสาคัญนี ้ มุ่งที่ผ้ เู รี ยน เป็ นกลุ่มมากกว่าเป็ นรายบุคคล จะเห็นได้ ว่า การเรี ยนการสอนที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ น สาคัญนี ้ สามารถจัดในลักษณะต่างกันได้ 3 รูปแบบ กล่าวคือ แบบที่ 1 Student - centred Class ผู้สอนจะเป็ นผู้เตรี ยมเนื ้อหา วัสดุอปุ กรณ์ สื่อการเรี ยน ผู้เรี ยนเป็ นผู้ดาเนินกิจกรรมการเรี ยนตามคาสัง่ หรื อ คาแนะนาของผู้สอน ส่วนมากเป็ นกิจกรรมกลุ่มหรื อกิจกรรมคู่กับเพื่อนโดยเน้ น ปฏิสมั พันธ์ในชันเรี ้ ยนเป็ นสาคัญ แบบที่ 2 Learner- based Teaching ผู้ส อนเป็ นผู้ก ระตุ้ น หรื อ มอบหมายให้ ผู้ เรี ย นผลิ ต สื่ อ เนื อ้ หาของเรื่ อ งที่ จ ะเรี ย นขึ น้ มาโดยใช้ ความรู้ ประสบการณ์ และความชานาญของผู้เรี ยนเป็ นฐานในการสร้ างสือ่ แบบที่ 3 Learner Independence เป็ น แบบที่ ผ้ ูเรี ย นจะเป็ น อิ สระ จากการเรี ยนในห้ องเรี ยนปกติ ผู้เรี ยนสามารถเลือกใช้ สื่อที่จดั สรรไว้ ในห้ องศูนย์ การเรี ยนรู้ แล้ วเลือกทางานหรื อฝึ กปฏิบตั ิตามความต้ องการ ความสนใจของตน 6

Experience of Learning


ผู้เรี ยนอาจจะเรี ยนคนเดียว หรื อเรี ยนเป็ นคู่กับเพื่อนก็ได้ ทังนี ้ ้ต้ องตังอยู ้ ่ภายใต้ เงื่อนไขหรื อสัญญาการเรี ยนระหว่างผู้สอนกับผู้เรี ยน ดัง นัน้ การเรี ย นการสอนที่ เน้ นผู้เรี ย นเป็ นส าคัญ ก็ คื อ การที่ ผ้ ูส อน สามารถจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน เพื่อเปิ ดโอกาสให้ นกั เรี ยนได้ ใช้ ประสบการณ์ ความรู้ รอบตัว ความชานาญและความสนใจของผู้เรี ยนแต่ละคนมาร่ ว มกันท า กิจกรรม มีป ฏิสมั พันธ์ ต่อกันมีโอกาสคิดพิจารณา แสดงความคิดเห็นร่ วมกัน โดยมีผ้ สู อนเป็ นผู้ให้ คาแนะนา ช่วยเหลือ เมื่อผู้เรี ยนมีความต้ องการ ผู้สอนจะให้ ความสาคัญต่อกระบวนการคิด กระบวนการทางานของผู้เรี ยนมากกว่าที่ผ้ เู รี ยน คิดหรื อสิง่ ที่ผ้ เู รี ยนผลิตขึ ้นมา ซึง่ นักการศึกษากลุม่ หนึง่ มีความเชื่อว่า การจัดการ เรี ย นการสอนที่ เน้ น ผู้เรี ยนเป็ น สาคัญ เป็ น วิ ธีห นึ่งที่ จ ะช่ว ยพัฒ นาคุณ ภาพและ ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ให้ ดีขึ ้นและบรรลุเป้าหมายของการศึกษาแห่งชาติ ด้ วย ดังนัน้ การพัฒ นาศัก ยภาพของผู้เรี ย นจึง เข้ า มามี บ ทบาทอย่า งยิ่ ง ต่อ การ จัดการเรี ยนการสอน รูปแบบวิธีสอนที่เน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ รู ป แบบที่ 1 วิ ธี ส อนแบบใช้ บ ทบาทสมมุ ติ : การใช้ บ ทบาท สมมุติ เป็ นกิจกรรมที่มีการกาหนดสถานการณ์ สมมุติ และบทบาทของผู้เรี ยนใน สถานการณ์ นนั ้ แล้ วให้ ผ้ ูเรี ยนสวมบทบาทและแสดงบทบาทนัน้ ตามความรู้ สึก ประสบการณ์ เจตคติ ที่ มี ต่อ บทบาทนัน้ วิ ธี ก ารนี จ้ ะช่ วยให้ ได้ มี โอกาสศึ ก ษา วิเคราะห์ถึงความรู้ สึก และพฤติกรรมของตนเองได้ อย่างลึกซึ ้ง อีกทังยั ้ งสามารถ ช่วยให้ เข้ าใจพฤติกรรม ความรู้สกึ อารมณ์ และเหตุผลของบุคคลที่สวมบทบาทนี ้ ในชีวิตจริ งได้ รู ปแบบที่ 2 วิธีสอนแบบใช้ กระบวนการเผชิญ สถานการณ์ : เป็ นวิธีการสอนที่มีการเชื่อมโยงการกระทากับการคิดวิเคราะห์เข้ าด้ วยกัน โดยให้ ผู้เรี ยนได้ เผชิญสถานการณ์ ลกั ษณะต่าง ๆ ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งของประสบการณ์ที่จะ เกิดขึ ้นในชีวิตจริ ง ฝึ กให้ ผ้ เู รี ยนมีความเชื่อมัน่ ในคาสอนของผู้สอน ฝึ กนาข้ อมูล Experience of Learning

7


ข่า วสารด้ านต่ า งๆมาสรุ ป ประเด็ น เพื่ อ ประเมิ น ค่ า ว่ า สิ่ ง ใดถูก ต้ องดี ง าม เกิ ด ประโยชน์ สิง่ ใดบกพร่อง ไม่ถกู ไม่ตรงในการตัดสินใจ รูปแบบที่ 3 วิธีสอนแบบใช้ บทเรียนสาเร็จรูป : เป็ นการลาดับ ประสบการณ์ ที่ ได้ วางไว้ ส าหรั บ ผู้เรี ย น น าไปสู่ค วามสามารถโดยอาศัย ห ลัก ความสัม พัน ธ์ ข องสิ่งเร้ ากับ การตอบสนอง ซึ่ง ได้ พิ สูจ น์ แ ล้ ว ว่า มี ป ระสิท ธิ ภ าพ บทเรี ยนสาเร็ จรู ปอยู่บนพื ้นฐานจิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาการเรี ยนรู้ โดยมี หลั ก การและทฤษ ฎี ก ารเรี ยนรู้ เข้ าม าเกี่ ยวข้ องได้ แก่ S-R Theory และ Reinforcement ของ Skinner และ Learning Theory ของ Thorndike รูปแบบที่ 4 วิธีการสอนแบบศูนย์ การเรี ยน : เป็ นการจัดระบบ ห้ อ งเรี ย นเพื่ อส่งเสริ ม ให้ ผ้ ูเรี ยน สามารถประกอบกิ จกรรมการเรี ย นรู้ ได้ อ ย่า งมี ประสิท ธิ ภาพ กิ จกรรมการเรี ยนรู้ อาศัย เนื อ้ หาวิชาที่ จัด ออกเป็ น หน่วยๆแต่ละ หน่วยจะมีกิจกรรม สือ่ วัสดุอปุ กรณ์ และเนื ้อหาวิชาที่แตกต่างกัน ผู้เรี ยนจะเรี ยนรู้ โดยการประกอบกิจกรรมจากหน่วยต่างๆตามที่กาหนดภายใต้ การดูแลของผู้สอน ศูนย์การเรี ยนเป็ นกิจกรรมที่อยูบ่ นพื ้นฐานหลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวข้ องกับการใช้ สื่อประสม กระบวนการกลุ่ม กฎแห่งความพร้ อม และความแตกต่างระหว่าง บุคคล รูปแบบที่ 5 วิธีการสอนแบบใช้ ชุดการสอน : เป็ นกิจกรรมการ เรี ย นรู้ ที่ ได้ รั บ การออกแบบและจัด ไว้ เป็ นระบบอัน ประกอบด้ วยจุ ด มุ่ ง หมาย เนื ้อหาและวัสดุอปุ กรณ์ โดยกิจกรรมต่างๆดังกล่าวได้ รับการรวบรวมไว้ อย่างเป็ น ระบบเป็ นระเบียบ เพื่อจัดเตรี ยมไว้ ให้ ผ้ เู รี ยนได้ ศึกษาจากประสบการณ์ ทงหมด ั้ ชุดการสอนเป็ น กิ จกรรมที่อยู่บนพื น้ ฐานหลักการและทฤษฏี เกี่ ยวกับ การใช้ สื่อ ประสม และการใช้ วิธีการวิเคราะห์ระบบ ( System Approach ) เน้ นความสัมพันธ์ ระหว่างผู้เรี ยนกับ กิจกรรม การปฏิสมั พันธ์ ระหว่างผู้เรี ยนกับผู้เรี ยน โดยมีส่วน ร่วมในการสร้ างความรู้ด้วยตนเอง

8

Experience of Learning


รูปแบบที่ 6 วิธีการสอนแบบใช้ คอมพิวเตอร์ : เป็ นการสอนที่ เน้ นสื่อการสอนที่ใช้ เทคโนโลยีระดับ สูงนามาประยุกต์ ใช้ ในการจัดกิ จกรรมการ เรี ยนการสอนให้ มีปฏิสมั พันธ์ระหว่างผู้เรี ยนกับคอมพิวเตอร์ รูปแบบที่ 7 วิธีการสอนแบบโครงการ : การจัดการเรี ยนการ สอนแบบโครงการเป็ นการจัดประสบการณ์ ในการปฏิบตั ิงานให้ ผ้ เู รี ยนเหมือนกับ การทางานในชีวิตจริ ง เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนได้ มีประสบการณ์ตรง ผู้เรี ยนได้ เรี ยนรู้วิธีการ แก้ ปัญหา วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ผู้เรี ยนจะได้ ทาการทดลอง ได้ พิ สจู น์สิ่ง ต่างๆด้ วยตนเอง รู้จกั หาวิธีการต่างๆมาแก้ ปัญหา ผู้เรี ยนจะทางานอย่างมีระบบ รู้ จัก วางแผนในการท างาน ฝึ ก การเป็ นผู้ น าผู้ต าม ฝึ ก การวิ เคราะห์ แ ละการ ประเมินผลตนเอง รู ปแบบที่ 8 วิธีสอนแบบแก้ ปัญหา : เป็ นวิธีสอนที่เน้ นให้ ผ้ เู รี ยน คิดแก้ ปัญหาอย่างเป็ นกระบวนการโดยอาศัยแนวคิดแก้ ปัญหาด้ วยวิธีการนาเอา วิ ธี ก ารสอนแบบนิ ร นั ย คื อ การสอนจากกฎไปหาความจริ ง ย่ อ ย การรวม กระบวนการคิดทัง้ 2 แบบเข้ าด้ วยกัน ทาให้ เกิดเป็ นรู ปแบบวิธีสอนแบบแก้ ปัญหา ซึ่งเริ่ มจากการกาหนดปั ญหา วางแผนแก้ ปัญหา ตังสมมุ ้ ติฐาน การเก็บรวบรวม ข้ อมูล การพิสจู น์ การวิเคราะห์ และการสรุ ปผล ซึ่งเป็ นกระบวนการเรี ยนการ สอนที่จะนาไปสูก่ ารแก้ ปัญหาในชีวิตประจาวันของผู้เรี ยนได้ เป็ นอย่างดี รู ปแบบที่ 9 วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ เป็ นกลุ่ม : เป็ น การสอนที่เน้ นให้ ผู้เรี ยนได้ มีอิสระในการศึกษาหาความรู้ ตามหลั กประชาธิปไตย ให้ ผ้ เู รี ยนรู้จกั การทางานร่วมกันเป็ นกลุม่ และการศึกษาหาความรู้จากแหล่งต่างๆ รู ป แบบที่ 10 วิ ธี ส อนแบบใช้ กระบวนการกลุ่ มสั ม พั น ธ์ : เป็ นกระบวนการขันตอนวิ ้ ธีการหรื อพฤติกรรมต่างๆที่จะช่วยให้ การดาเนินงานเป็ น กลุ่ม เป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพคื อ ได้ ทัง้ ผลงานที่ ดี ได้ ทัง้ ความรู้ สึก และ ความสัมพันธ์ ที่ดีระหว่างผู้ร่วมงาน ซึ่งมีลกั ษณะที่สาคัญ คือ การยึดผู้เรี ยนเป็ น ศูน ย์ ก ลาง ยึดกลุ่ม เป็ น แหล่งความรู้ ที่ สาคัญ ยึด การค้ น พบด้ วยตนเอง เน้ น Experience of Learning

9


กระบวนการควบคู่ไปกับผลงาน เน้ นการนาความรู้ ไปใช้ ในชีวิตประจาวัน รู้ จักใช้ สิทธิ และหน้ าที่ในระบอบประชาธิ ปไตยในการท างาน ยึดมติของกลุ่มและการ ตัดสินใจร่วมกัน รูปแบบที่ 11 วิธีสอนแบบความคิดรวบยอด : เป็ นการสอนที่ ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนได้ สร้ างความคิดรวบยอด ซึง่ เป็ นข้ อความแสดงประเภทของสรรพ สิ่งตามลักษณะเฉพาะด้ วยตนเอง จากการรวบรวมข้ อมูล สังเกต จาแนก ประเภท และจัดหมวดหมูต่ วั อย่างที่ผ้ สู อนนาเสนอ รู ปแบบที่ 12 วิธีสอนแบบการเรี ยนรู้ แบบร่ วมมือ : เป็ นการ จัด การเรี ย นที่ แ บ่ ง ผู้เรี ย นออกเป็ น กลุ่ม เล็ก ๆ สมาชิ ก ในกลุ่ม มี ค วามสามารถ แตกต่างกัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีก ารช่วยเหลือสนับสนุนซึ่งกันและ กัน และมีความรับผิดชอบร่ วมกัน ทังในส่ ้ วนตัวและส่วนรวม เพื่อให้ กลุม่ ได้ รับ ความสาเร็ จตามเป้าหมายที่กาหนด การผลิตบัณฑิตไทยเพื่อเข้ าสู่ตลาดแรงงาน ผู้รับผิดชอบต่อการจัดการศึกษาของประเทศล้ วนทราบดีวา่ การจัดการ ศึก ษาต้ อ งเป็ น ไปเพื่ อ พัฒ นาคนไทยให้ เป็ น มนุษ ย์ ที่ สมบูรณ์ ทัง้ ร่ างกาย จิ ต ใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม การแข่งขันทางเศรษฐกิจทังในระดั ้ บประเทศและ ภาคครั ว เรื อ นทวี ค วามรุ น แรงท าให้ สถาบั น การศึ ก ษาต้ องเร่ ง ผลิ ต คนเข้ าสู่ ตลาดแรงงานในเชิ ง ปริ ม าณแต่ ก็ ยั ง เกิ ด ปั ญ หาเพราะปริ ม าณบั ณ ฑิ ต ทาง สังคมศาสตร์ กลับเพิ่มสวนทางกับสายวิทยาศาสตร์ ที่เป็ นความต้ องการของประทศ ไทย แม้ ธุรกิจอุตสาหกรรมบริ การซึง่ อยูใ่ นสายสังคมศาสตร์ จะมีการขยายตัว สูงแต่คนที่มีศกั ยภาพที่พร้ อมจะป้อนเข้ าสูธ่ ุรกิจนี ้กลับสวนทางในเชิงที่ม่งุ ตัวเลข ทางปริ ม าณมากกว่ า ด้ านคุ ณ ภาพส่ ว นการผลิ ต คนเข้ า สู่ต ลาด แรงงานที่ ใ ช้ เทคโนโลยี ก็ยังเป็ น ภาระอันหนักอึง้ เพราะเด็ก ไทยบางส่วนยังชอบที่ จะประสบ ผลสาเร็ จง่าย สบาย โดยเฉพาะต้ องจบเร็ ว รวดเร็ ว 10

Experience of Learning


ปั ญหาด้ านสังคมก็ขยายตัวตามขนาดสังคมเมืองเช่นเดียวกัน สภาวะ ยากจนและเหลื่อมล ้าทางเศรษฐกิจก่อให้ เกิดปั ญหาที่กระทบต่อความสงบสุขของ คนในสังคม การเรี ยนรู้ เรื่ องสิ่งแวดล้ อมและภูมิปัญญาไทยแม้ มากขึ ้นแต่ก็ยงั ไม่ ปฏิบตั ิให้ เห็นผลที่เป็ นรูปธรรมชัดเจน เพื่ อ แก้ ปั ญ หาต่ า งๆ สถาบัน การศึ ก ษาจึ ง พยายามผลิ ต แรงงานที่ สมบูรณ์ ทัง้ ในมิ ติด้านร่ างกายคือเป็ นผู้ที่ สุขภาพร่ างกายสมบูรณ์ แข็งแรงมีก าร พัฒนาการด้ านร่ างกายและสติปัญญาอย่างสมบูรณ์ ตามเกณฑ์ในแต่ละช่วงวัย สมบูรณ์ ในมิติ ด้ านจิ ต ใจคื อเป็ น ผู้ที่ ร้ ู จักเข้ าใจตนเอง เข้ าใจความรู้ สึกของผู้อื่ น เข้ าใจสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง และสภาพแวดล้ อมต่าง ๆ รอบตัวได้ เป็ นอย่าง ดี ส่วนมิติที่จาเป็ นและขาดไม่ได้ คือความรู้ ต้ องเป็ นผู้ที่สามารถรู้ ลึกในแก่นสาระ ของวิชา สามารถรู้รอบตัวในเชิงสหวิทยาการ และเป็ นผู้ที่สามารถรู้ได้ ไกล สามารถ คาดการณ์เกี่ยวกับอนาคตที่จะมาถึงได้ ควบคูก่ บั มิติด้านทักษะความสามารถ คือผู้ ที่มีทกั ษะในด้ านการคิด ทักษะการสื่อสาร ทักษะภาษาต่างประเทศ ทักษะการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะทางสังคม ทักษะการอาชีพ ทักษะทางสุนทรี ยะ และ ทัก ษะการจั ด การที่ ดี ส าหรั บ วิ ถี ก ารเรี ย นรู้ นัน้ บั ณ ฑิ ต ไทยจะต้ องเรี ย นรู้ การ พึ่งตนเองให้ ได้ ใช้ ความรู้ให้ เป็ น ตัดสินใจเองอย่างมีเหตุผลทางสร้ างสรรค์ ใฝ่ รู้ สู้ สิ่งยาก มี พ ลังในการท างาน ใส่ใจ ตัง้ ใจ รั บ ผิ ด ชอบ เตรี ยมตัวสร้ างฐานอาชี พ ครอบครั ว เป็ น สมาชิ ก ที่ ดี ข องครอบครั ว ชุม ชน ชาติ จิ ต สานึ ก ต่อ สัง คม เป็ น ตัวอย่างที่ดีและเป็ นกัลยาณมิตร กระบวนการเรียนรู้ในยุคการผลิตแห่ งศตวรรษที่ 21 การถ่ายทอดเทคโนโลยีหรื อการยกระดับทักษะของบุคลากรในประเทศ ไทยจะเกิดขึ ้นได้ อย่างแท้ จริ งนันสถาบั ้ นการศึกษาที่ผลิตคนเข้ าสู่ตลาดแรงงาน จะต้ องปรับทักษะต่างๆที่ใส่ลงไปในหลักสูตรให้ สอดคล้ องกับสถานการณ์ที่เกิดขึ ้น ในโลกศตวรรษที่ 21

Experience of Learning

11


การจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ (Pedagogy) ในศตวรรษที่ 21 จะต้ อง ออกแบบกิจกรรมให้ ผ้ เู รี ยนใช้ เป็ นเครื่ องมือในการสร้ างองค์ความรู้ด้วยตนเอง การ อานวยความสะดวกและการเสนอแนะเพื่อการเข้ าถึงองค์ความรู้ผา่ น Technology ทาให้ ผ้ ูเรี ยนเข้ าถึงความรู้ ได้ รวดเร็ วและกว้ างขวางมากขึน้ โดยลาดับ เราเรี ย ก กระบวนการเรี ย นรู้ แบบนี ว้ ่ า Active Learning ที่ ยึ ด ผู้ เรี ย นเป็ นศู น ย์ ก ลาง (Student-centered) ในศตวรรษที่ 21 สถานการณ์ โลกมีความแตกต่างจากศตวรรษที่ 20 และ 19 ระบบการศึกษาจึงต้ องมีการพัฒนาเพื่อให้ สอดคล้ องกับภาวะความเป็ น จริ ง ในประเทศสหรัฐอเมริ กาแนวคิดเรื่ อง "ทักษะแห่งอนาคตใหม่ : การเรี ยนรู้ ใน ศตวรรษที่ 21" ได้ ถูกพัฒนาขึ ้น โดยบริ ษัทแอปเปิ ล้ บริ ษัทไมโครซอฟ บริ ษัทวอล์ ดิสนีย์ องค์กรวิชาชีพระดับประเทศ และสานักงานด้ านการศึกษาของรัฐ รวมตัว และก่อตังเป็ ้ นเครื อข่ายองค์กรความร่ วมมือเพื่อทักษะการเรี ยนรู้ ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) หรื อเรี ยกย่อๆว่า เครื อข่าย P21 หน่วยงานเหล่านี ้มีความกังวลและเห็นความจาเป็ นที่เยาวชนจะต้ องมี ทักษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตและเข้ าสู่โลกอาชีพที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 19 และ 20 จึงพัฒนาวิสยั ทัศน์และกรอบความคิดเพื่อการเรี ยนรู้ในศตวรรษที่ 21 ขึ ้น ซึง่ สามารถสรุปทักษะสาคัญอย่างย่อ ๆ ที่เยาวชนควรมีคือ ทักษะการเรี ยนรู้ และนวัต กรรม หรื อ 3R และ 4C ซึ่งมีองค์ ประกอบ ดังนี ้ 3 R ได้ แก่ (1) Reading หรื อ การอ่าน (2) Writing หรื อ การเขียน และ (3) Arithmetic หรื อ คณิตศาสตร์ และ 4 C ได้ แ ก่ (1) Critical Thinking ห รื อ ก า รคิ ด วิ เค รา ะ ห์ (2) Communication หรื อ การสื่อ สาร (3) Collaboration หรื อ การร่ ว มมื อ และ (4) Creativity หรื อ ความคิดสร้ างสรรค์

12

Experience of Learning


รวมถึ ง ทั ก ษะชี วิ ต และอาชี พ และทั ก ษะด้ านสารสนเทศสื่ อ และ เทคโนโลยี และการบริ หารจัดการด้ านการศึกษาแบบใหม่ ศตวรรษที่ 21 เป็ นยุคแห่งการพัฒนาต่อยอดการคิดค้ นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ อานวยความสะดวกในการพัฒ นาคุณ ภาพชี วิต ถ้ าประชาชนไทยเป็ นผู้ซือ้ หรื อ ผู้บริ โภคแต่ฝ่ายเดียว เราก็จะเสียดุลการค้ าและที่สาคัญคือคนในชาติจะถูกชักจูง ทางความคิดได้ ง่าย สาหรับการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ นักการศึกษาให้ ความเห็น ว่าต้ องเปลีย่ นจาก Passive Learning มาเป็ น Active Learning ทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ วิจารณ์ พานิช (2555: 16-21) ได้ กล่าวถึง ทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ว่า สาระวิชามีความสาคัญแต่ไม่เพียงพอ สาหรับการเรี ยนรู้ เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษที่ 21 ปั จจุบนั การเรี ยนรู้ สาระวิชา (content หรื อ subject matter) ควรเป็ น การเรี ย นจากการค้ นคว้ าเองของผู้เรี ยน โดยผู้สอนจะช่ วยแนะน า และช่ วยออกแบบกิ จ กรรมที่ ช่ ว ยให้ ผ้ ูเรี ย นแต่ละคน สามารถประเมินความก้ าวหน้ าของการเรี ยนรู้ของตนเองได้ ส่ว นสาระวิ ช าหลัก (Core Subjects) ประกอบด้ วย ภาษาแม่ และ ภาษาส าคัญ ของโลก ศิ ล ปะ คณิ ต ศาสตร์ การปกครองและหน้ าที่ พ ล เมื อ ง เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และประวัติศาสตร์ โดยวิชาแกนหลักนี ้จะ นามาสูก่ ารกาหนดเป็ นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์ สาคัญต่อการจัดการเรี ยนรู้ใน เนื ้อหาเชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรื อหัวข้ อสาหรับศตวรรษที่ 21 การส่งเสริ มความเข้ าใจในเนือ้ หาวิชาแกนหลักและสอดแทรกทักษะ แห่งศตวรรษที่ 21 เข้ าไปในทุกวิชาแกนหลักสามารถทาได้ ดงั นี ้ 1. ทั ก ษะด้ านการเรี ย นรู้ และนวั ต กรรม จะเป็ น ตัวก าหนดความ พร้ อมของผู้เรี ยนเข้ าสู่โลกการทางานที่มีความซับซ้ อนมากขึน้ ในปั จจุบัน ได้ แก่ ความริ เริ่ มสร้ างสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ ปัญหา และการสือ่ สารและการร่วมมือ Experience of Learning

13


2. ทักษะด้ านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี เนื่องด้ วยในปั จจุบนั มี การเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารผ่านทางสื่อและเทคโนโลยีม ากมาย ผู้เรี ยนจึงต้ องมี ความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและปฏิบัติงานได้ หลากหลาย โดยอาศัยความรู้ ในหลายด้ าน ได้ แก่ ความรู้ ด้านสารสนเทศความรู้ เกี่ยวกับสือ่ และความรู้ด้านเทคโนโลยี 3. ทั ก ษะด้ า นชี วิ ต และอาชี พ ในการด ารงชี วิ ต และท างานในยุค ปั จจุบนั ให้ ประสบความสาเร็ จผู้เรี ยนจะต้ องพัฒนาทักษะชีวิตที่สาคัญ ได้ แก่ ความ ยืดหยุน่ และการปรับตัว การริ เริ่ มสร้ างสรรค์และเป็ นตัวของตัวเอง ทักษะสังคมและ สัง คมข้ ามวั ฒ นธรรม การเป็ นผู้ สร้ างหรื อ ผู้ ผลิ ต (Productivity) และความ รั บ ผิ ด ชอบเชื่ อ ถื อ ได้ (Accountability) และ ภาวะผู้ น าและความรั บ ผิ ด ชอบ (Responsibility) แนวทางการจัดทักษะการเรี ยนรู้ ในศตวรรษที่21ที่เน้ นสมรรถนะทางสาขา วิชาชีพ การจัด ท าแนวทางการจัด ทัก ษะการเรี ย นรู้ ในศตวรรษที่ 21 ที่ เน้ น สมรรถนะทางสาขาวิชาชีพเพื่อพัฒนาทักษะแห่งอนาคตในศตวรรษที่ 21 ยึดกรอบ ของระบบสนับสนุนการเรี ยนรู้ในศตวรรษที่ 21 ดังนี ้ 1. ระบบมาตรฐานการเรี ย นรู้ ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Standards) 1.1 การใช้ ข้ อ มู ล ความจริ ง จากกระบวนการสัง เกตตัง้ ประเด็ น คาถามจากแหล่งเรี ยนรู้ชมุ ชนเชื่อมโยงไปสูส่ าระการเรี ยนรู้รายวิชา 1.2 การบูรณาการความรู้ และความซ ้าซ้ อนของเนื ้อหาสาระ 1.3 การสร้ างทักษะการสืบค้ น รวบรวมความรู้ 1.4 การสร้ างความรู้ ความเข้ าใจเชิงลึกมากกว่าแบบผิวเผิน 1.5 การสร้ างความเชี่ ยวชาญตามความถนัดและสนใจให้ เกิ ดกับ ผู้เรี ยน 1.6 การใช้ หลักการวัดประเมินผลที่มีคณ ุ ภาพระดับสูง 14

Experience of Learning


2. ระบบการประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 (Assessment of 21st Century Skills) 2.1 สร้ างความสมดุลในการประเมินผลเชิงคุณ ภาพ อาทิ ความรู้ ความถนัดสาขาอาชีพ ทัศนคติต่อการทางานและอาชีพ 2.2 น าประโยชน์ ข องผลสะท้ อนจากการปฏิ บัติ ข องผู้ เรี ย น มา ปรับปรุ งการแก้ ไขงาน โดยใช้ เครื่ องมือวัดผลตามสภาพจริ งการปฏิบัติ ทัศนคติ และความรู้ 2.3 ใช้ เทคโนโลยีเพื่อยกระดับการทดสอบวัดและประเมินผลให้ เกิด ประสิทธิ ภาพสูงสุด เช่นคลังข้ อสอบระบุตวั ชีว้ ดั มาตรฐานรายวิชา ระบุระดับขัน้ พฤติกรรม 2.4 สร้ างและพัฒนาระบบแฟ้มสะสมงาน (Portfolios) และเส้ นทาง การศึกษาต่อสูก่ ารประกอบอาชีพ (Career Path) ของผู้เรี ยนให้ เป็ นมาตรฐานและ มีคณ ุ ภาพ 3. ระบบหลั กสู ต รและการสอนในศตวรรษที่ 21 (21st Century Curriculum & Instruction) 3.1 สอนให้ เกิ ด ทัก ษะการเรี ย นในศตวรรษที่ 21 มุ่ ง เน้ นเชิ ง สห วิทยาการ (Interdisciplinary) หรื อความรู้ที่ได้ จากหลายสาขาวิชาประกอบกันของ วิชาแกนหลัก 3.2 สร้ างโอกาสที่จะประยุกต์ทกั ษะเชิงบูรณาการข้ ามสาระเนื ้อหา และสร้ างระบบการเรี ยนรู้ที่เน้ นสมรรถนะเป็ นฐาน (Competency-based) 3.3 สร้ างนวัตกรรมและวิธีการเรี ยนรู้ในเชิงบูรณาการที่มีเทคโนโลยี เป็ นตัวเกื ้อหนุน การเรี ยนรู้ แบบสืบค้ น และวิธีการเรี ยนจากการใช้ ปัญหาเป็ นฐาน (Problem-based Learning: PBL) 3.4 บูรณาการแหล่งเรี ยนรู้ (Learning Resources) จากชุมชนเข้ า มาใช้ ในสถาบันการศึกษาตามกระบวนการเรี ยนรู้แบบ Project-Based Learning: PBL Experience of Learning

15


4. ระบบการพั ฒ นาทางวิช าชี พ ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Professional Development) 4.1 ฝึ กฝนทักษะความรู้ความสามารถในเชิงบูรณาการ 4.2 ใช้ มิติของการสอนด้ วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย 4.3 ฝึ กฝนทั ก ษะความรู้ ความสามารถในเชิ ง ลึ ก เกี่ ย วกั บ การ แก้ ปัญหา การคิดแบบวิจารณญาณ 4.4 สามารถวิ เคราะห์ ผ้ ูเรี ย นได้ ทัง้ รู ป แบบการเรี ย น สติ ปั ญ ญา จุดอ่อน จุดแข็ง ในตัวผู้เรี ยนและสามารถวิจยั เชิงคุณภาพที่ม่งุ ผลต่อคุณภาพของ ผู้เรี ยน 4.5 พัฒนาความสามารถให้ สงู ขึ ้น นาไปใช้ สาหรับการกาหนดกล ยุทธ์และจัดประสบการณ์ทางการเรี ยนได้ เหมาะสมกับบริ บททางการเรี ยนรู้ 4.6 ประเมิ น ผู้เรี ย นอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เพื่ อ สร้ างทัก ษะและเกิ ด การ พัฒนาการเรี ยนรู้ 4.7 แบ่งปั นความรู้ ระหว่างชุม ชนทางการเรี ยนรู้ โดยใช้ ช่ องทาง หลากหลายในการสือ่ สารให้ เกิดขึ ้น 5. ระบบสภาพแวดล้ อมทางการเรี ย นรู้ ในศตวรรษที่ 21 st (21 Century Learning Environment) 5.1 สร้ างสรรค์แนวปฏิบตั ิทางการเรี ยน การรับการสนับสนุนจาก บุคลากรและสภาพแวดล้ อมทางกายภาพที่เกื ้อหนุน เพื่อช่วยให้ การเรี ยนการสอน บรรลุผล 5.2 สนับสนุนทางวิชาชีพแก่ชมุ ชนทังในด้ ้ านการให้ การศึกษา การมี ส่วนร่วม การแบ่งปั นสิง่ ปฏิบตั ิที่เป็ นเลิศระหว่างกันรวมทังการบู ้ รณาการหลอมรวม ทักษะหลากหลายสูก่ ารปฏิบตั ิในชันเรี ้ ยน 5.3 สร้ างผู้ เรี ย นเกิ ด การเรี ย นรู้ จากสิ่ ง ที่ ป ฏิ บั ติ จ ริ ง ตามบริ บ ท โดยเฉพาะการเรี ยนแบบโครงงาน 16

Experience of Learning


5.4 สร้ างโอกาสในการเข้ าถึงสื่อเทคโนโลยี เครื่ องมือหรื อแหล่งการ เรี ยนรู้ที่มีคณ ุ ภาพ

รูปที่ 1 ทักษะการเรี ยนรู้ในศตวรรษที่ 21 ทักษะการทางานแห่ งอนาคต 2020 (Future Work Skills 2020) ส ถ า บั น แ ห่ งอ น า ค ต (Institute for the Future ห รื อ IFTF) แ ห่ ง มหาวิทยาลัยฟี นิกซ์ มีการจัดเสวนาเรื่ อง Future Work Skills 2020 เพื่อคาดการณ์ ความต้ องการของตลาดแรงงานในอนาคต ผู้เชี่ยวชาญจากหลายสาขาได้ ลงมติว่า มีทกั ษะสิบประการที่คนในยุคนี ้และยุคหน้ าต้ องให้ ความสนใจคือ 1. ความสามารถในการท าความเข้ า ใจข้ อ มู ล ในระดับ สูง (sensemaking ) เพราะงานแรงงานส่วนใหญ่จะถูกยึดครองโดยเครื่ องจักร แรงงานมนุษย์ ต้ องแข่งขันกันในงานที่ต้องการทักษะความคิดระดับที่สงู และซับซ้ อนขึ ้น 2. ความสามารถในการสือ่ สารกับผู้อื่น (social intelligence) Experience of Learning

17


3. ทัก ษะความคิ ด นอกกรอบและความคิ ด ในเชิ ง ปรั บ ตัว (novel & adaptive thinking) 4. ความเข้ าใจในวัฒนธรรมที่แตกต่าง (cross-cultural competency) 5. ทัก ษะความคิ ด เชิ ง คอมพิ ว เตอร์ (computational thinking) หรื อ ความสามารถในการย่ อ ยข้ อมู ล จ านวนมหาศาล ทัก ษะเกี่ ย วกั บ โปรแกรม คอมพิ วเตอร์ ธรรมดาจะกลายเป็ นเรื่ องล้ าสมัย และทักษะด้ านสถิ ติ การคิด หา เหตุผลจากข้ อมูลจะเข้ ามามีบทบาทมากขึ ้น 6. ความเข้ าใจในสือ่ ใหม่ (new-media literacy) หรื อความสามารถใน การเข้ าใจ ประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์ สือ่ ที่หลากหลายรอบตัว 7 . ค ว า ม เข้ า ใ จ ค ว า ม แ น ว คิ ด จ า ก ห ล า ย ส า ข า อ า ชี พ (transdisciplinarity) เพราะปั ญหาที่ซบั ซ้ อนมากขึ ้นในโลกปั จจุบนั เราจึงต้ องการ บุคลากรจากหลากหลายสาขาอาชี พ พูดง่ายๆ คือต้ องรู้ ลึกในสาขาตนเองและรู้ กว้ างในสาขาอื่นไปพร้ อมๆ กัน 8. ความสามารถในการนาเสนอและออกแบบงาน (design mindset) 9 . ค ว า ม ส า ม า รถ ใน ก า รบ ริ ห า ร ค ว า ม จ า ( cognitive load management) ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีเพื่อช่วยจัดการจัดเก็บและนา ข้ อมูลมาใช้ สมองมนุษย์ไม่ได้ วิวฒ ั นาการมาเพื่อจะทาความเข้ าใจกับข้ อมูลที่ มี ปริ มาณมหาศาลและรวดเร็ วอย่างในปั จจุบนั คนที่รับข้ อมูลข่าวสารจนเกินพอดี หรื อ รับ จนไม่ สามารถจะรั บ ได้ ก็ เกิ ด อาการกรดไหลย้ อ น คลื่น ไส้ หรื อ มึน งงกับ ปริ มาณข้ อมูลจนสมองหยุดทางาน 10. ความสามารถในการทางานร่ วมกันในสิ่งแวดล้ อมเสมือน (virtual collaboration) นั่น คื อความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เข้ ามาช่ว ยงานที่ ต้ อ ง ติดต่อสือ่ สารระยะไกลกับทีมงานทัว่ โลก

18

Experience of Learning


บทสรุ ป สถาบัน การศึ ก ษาไทยต้ อ งเตรี ย มคนให้ พร้ อมเพื่ อ ผลิ ต แรงงานที่ มี คุณภาพในศตวรรษที่ 21 การสร้ างคนในอนาคตที่มีความสามารถในการใช้ และ เลือกใช้ แต่ไม่ตกเป็ น ทาสของเทคโนโลยี การเป็ นผู้ที่มี คุณ ธรรมจริ ยธรรมและ ความรั บ ผิ ด ชอบยิ่ งสาคัญ มากในการพัฒ นาคนรุ่ น ใหม่ ที่ จะสร้ างโลกให้ น่าอยู่ รวมถึงทักษะอื่นๆ เช่น ความสามารถในการติดต่อสื่อสาร การทาความเข้ าใจกับ เพื่ อ นร่ ว มงานซึ่ ง เป็ นชาวต่ า งชาติ ค วามสามารถในการท างานเป็ นที ม ความสามารถในการเลือกใช้ ข้อมูล ความคิดวิเคราะห์ ความคิดเชิงวิจารณญาณ ตัดสินจากเหตุผล ไม่ใช้ อคติ อารมณ์ หรื อเอาพวกพ้ องเป็ นสาคัญ ทังหมดนี ้ ้ก็เป็ น เป้าหมายของแรงงานในศตวรรษที่ 21 ด้ วยเช่นกัน การปลูกต้ นกล้ าทางปั ญญาตามทักษะแห่งอนาคตใหม่ของการเรี ยนรู้ ในศตวรรษที่21ที่เครื อข่าย P21 ได้ ให้ แนวทางรวมถึง Future Work Skills 2020 ที่ IFTF ได้ เสนอไว้ นนน่ ั ้ าจะพอเป็ นพื ้นฐานให้ สถาบันการศึกษาจะต้ องสร้ างให้ เกิดขึ ้น ในเนือ้ แท้ และตัวตนของแรงงานในศตวรรษที่ 21 ที่จะต้ องเติบโตในเชิงคุณ ภาพ มากกว่าเชิ งปริ ม าณถ้ าท าได้ สาเร็ จประเทศไทยจะก้ า วกระโดดและแข่งขัน กับ ประเทศต่างๆ ได้ อย่างแน่นอน เอกสารอ้ างอิง วิ จ ารณ์ พานิ ช . วิ ถี ส ร้ างการเรี ย นรู้ เพื่ อศิ ษ ย์ ในศตวรรษที่ 21. พิ ม พ์ ครั ง้ ที1่ . กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี -สฤษดิ์วงศ์, 2555 วิจารณ์ พานิช . “การสร้ างการเรี ยนรู้ ส่ ูศตวรรษที่ 21”.มูลนิธิสยามกัมมาจล [ออนไลน์ ] . เข้ า ถึ ง ได้ จ าก :http://www.scbfoundation.com/publishing (สืบค้ นข้ อมูล : 10 สิงหาคม 2557).

Experience of Learning

19


แบบจาลองการเรี ยนรู้ แบบการมีส่วนร่ วมของผู้เรี ยน The Active Learning Model พิภัช ดวงคำสวัสดิ์

บทนา บทความนี ม้ ี จุ ด มุ่ ง หมายเพื่ อ แสดงความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ แนวคิ ด การ ออกแบบการเรี ยนการสอนของอาจารย์ที่มีประสบการณ์ การเรี ยนการสอนให้ กับ ผู้เรี ยนในยุคดิจิทลั และเป็ นการนาเสนอองค์ความรู้ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ด้ า นพัฒ นาการเรี ย นการสอนของอาจารย์ ภ ายในมหาวิ ท ยาลัย และระหว่ า ง มหาวิทยาลัย ในการศึกษาของประเทศไทยในยุคปั จจุบนั เป็ นยุคสังคมแห่งการ เรี ยนรู้ ที่เปิ ดกว้ าง การพัฒนาประเทศให้ “มั่งคง มัน่ คัง่ ยัง่ ยืน ตามยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี ข้างหน้ าต้ องเริ่ มที่การพัฒนาคนทุกช่วงวัยให้ เป็ น 1) คนดี ภูมิใจในชาติ 2) เชี่ยวชาญความถนัดของตนและ 3) มีความรับผิดชอบต่อครอบครัวชุมชนสังคม และประเทศชาติ” จากคากล่าวที่ว่า การศึก ษาสร้ างคน คนสร้ างชาติ ดังนัน้ จึ งถื อ ว่าเป็ น พื ้นฐานสาคัญที่คนในประเทศจะต้ องมีเพื่อที่จะทาให้ สามารถปรับตัวต่อสังคมที่ เปลีย่ นแปลงไป

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พิภชั ดวงคาสวัสดิ์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม 20

Experience of Learning


แต่จากการเฝ้าติดตามดูการศึกษาของไทยกลับพบว่าระบบการศึกษาที่ เป็ นอยู่ในปั จจุบนั ไม่สามารถที่จะพัฒนาคนให้ สนองต่อสภาพการณ์ที่เปลีย่ นแปลง ของโลกที่เป็ นไปอย่างรวดเร็ วได้ ไม่ว่าจะเป็ นเรื่ องของระบบการบริ หารการศึกษาที่ ที่ไม่มีประสิทธิภาพ ระบบการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยน ครู อาจารย์ ที่ยงั เป็ นการเรี ยนการ สอนแบบท่องจา ระบบการจัดสรรงบประมาณที่ไม่เพียงพอและงบประมาณที่ได้ ไม่ ถึงตัวผู้เรี ยน ความเหลือ่ มล ้าในโอกาสทางการศึกษาและปั ญหาอื่น ๆ อีกมาก จาก ปั ญหาเหล่านี ้ทาให้ เด็กไทยในปั จจุบนั มีปัญหาในเรื่ องของการเรี ยนรู้ ไม่สามารถ ก้ าวทัน โลกต่ อ สัง คมโลกที่ เข้ าสู่ศ ตวรรษที่ 21 คื อ สัง คมแห่ ง การเรี ย นรู้ และ นวัตกรรมใหม่ โดยปั ญหาดังกล่าวสะท้ อนออกมาจากผลการจัดลาดับคุณ ภาพ ผู้เรี ยนทังในระดั ้ บภูมิภาคและระดับโลก ที่ลาดับคุณภาพการศึกษาไทยจัดอยู่ใน ระดับต่ า ผู้เรี ยนจบมาแล้ วไม่มี งานท า เด็กและผู้ด้ อยโอกาสไม่สามารถเข้ าถึ ง ระบบการศึกษาได้ และออกจากระบบการศึกษากลางคันเป็ นจานวนมาก รวมไปทัง้ เรื่ อ งของการสร้ างนวัต กรรมใหม่ ๆ ของไทย ยัง มี น้ อยไม่ ส ามารถที่ จ ะแข่ ง ขัน ได้ (คณะกรรมาธิ การขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้ านการศึกษา สภาขับเคลื่อน การปฏิรูปประเทศ, 2559) ดังนัน้ จากปั ญ หาที่ ก ล่า วข้ า งต้ น บทความนี จ้ ึ ง จะได้ มี ก ารน าเสนอ แนวคิดการออกแบบการเรี ยนการสอนของผู้เขียนบทความที่มีประสบการณ์ การ เรี ย นการสอนมามากกว่า 10 ปี เป็ น การน าเสนอองค์ ค วามรู้ และแลกเปลี่ย น ประสบการณ์โดยวิธีการเรี ยนการสอนการเรี ยนรู้แบบ Active Learning โดยการ เรี ยนรู้ที่พฒ ั นาทักษะความคิดระดับสูงอย่างมีประสิทธิภาพช่วยให้ ผ้ เู รี ยนวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่า ในสถานการณ์ใหม่ๆ ในยุคประเทศไทย 4.0 ได้ ดีในที่สดุ จะช่วยให้ ผ้ เู รี ยนเกิดแรงจูงใจจนสามารถชี ้นาตลอดชีวิตในฐานะผู้ฝักใฝ่ การเรี ยนรู้ ธรรมชาติของการเรี ยนรู้แบบ Active Learning ประกอบด้ วยลักษณะทีส่ าคัญ ในบทความนี ้ ได้ นาเสนอแนวคิด โดยนาเสนอขัน้ ตอนการเรี ยนรู้ แบบ ขัน้ บัน ได มาผสมผสานกับ ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู้ ของเบนจามิ น บลูม และรวม Experience of Learning

21


แนวคิดขัน้ ตอนการเตรี ยมการสอนให้ อย่างเป็ นระบบ ซึ่งก็ เปรี ยบเหมือนกับ ภาพรวมของระบบคอมพิวเตอร์ ที่มนุษย์ สร้ างขึ ้นอย่างมีระบบทาให้ มันชาญ ฉลาดมากเมื่ อ มี ก ารน ามาใช้ งาน ดัง นัน้ การเรี ย นการสอนให้ นัก ศึ ก ษาก็ เช่นเดียวกัน สามารถแยกออกเป็ น 3 ขันตอน ้ คือ 1) ช่วงการเตรี ยมตัวการสอน เปรี ยบเหมือนการปฏิบตั ิการในส่วนนาเข้ า เช่นจัดเตรี ยม เอกสารประกอบการ สอน อุป กรณ์ และสื่อการสอน 2) ช่วง การเรี ย นการสอนเปรี ยบเหมื อนการ ปฏิบตั ิการหรื อในส่วนประมวลผล และ 3) ช่วงการประเมินผล เป็ นปฏิบตั ิการ ในส่วนผลลัพ ธ์ ขัน้ ตอนนี จ้ ะมี ก ารโต้ ต อบ (Feedback) หรื อ การตรวจสอบ (Monitoring) เพื่อให้ ระบบการเรี ยนการสอนสามารถดาเนินการไปสูเ่ ป้าหมาย (Goal) ที่ต้องการ อาจจะมีการปรับปรุ งการเรี ยนการสอน เมื่อไม่ได้ ผลลัพธ์ ในทุกขันตอนจะต้ ้ องทางานประสานกัน ตามภาพที่ 1 จึงได้ เสนอวิธีการเรี ยน การสอนในครั ง้ นี ท้ ี่ เรี ย กว่า “แบบจ าลองการเรี ย นรู้ แบบการมี ส่ว นร่ ว มของ ผู้เรี ยน (The Active Learning Model)”

ภาพที่ 1 ขัน้ ตอนการเตรียมการสอนให้ เป็ นระบบ สาระสาคัญ เนื่ อ งจากการจั ด การเรี ย นรู้ แบบ Active Learning มี ร ากฐานมาจาก แนวคิดทางการศึกษาที่เน้ น การสร้ างองค์ความรู้ ใหม่ โดยผู้เรี ยนเป็ นผู้สร้ างความรู้ จากข้ อมูลที่ได้ รับมาใหม่ด้วยการนาไปประกอบกับประสบการณ์ สว่ นตัวที่ผา่ นมา ในอดีต นอกจากนี ้ยังมีมิติของกิจกรรมที่เกี่ยวข้ องอยู่ 2 มิติ ได้ แก่ กิจกรรมด้ านการ 22

Experience of Learning


รู้ คิด และกิจกรรมด้ านพฤติกรรม ผู้นาไปใช้ อาจเข้ าใจคลาดเคลื่อน ว่าการเรี ยนรู้ แบบนี ้ คือรู ปแบบที่เน้ นความตื่นตัวในกิจกรรมด้ านพฤติกรรม โดยเข้ าใจว่าความ ตื่นตัวในกิจกรรมด้ านพฤติกรรมจะทาให้ เกิดความตืน่ ตัวในกิจกรรมด้ านการรู้คิดไป เองจึงเป็ น ที่ม าของการประยุก ต์ ใช้ ผิด ๆ ว่าให้ ผ้ ูสอนลดบทบาทความเป็ นผู้ให้ ความรู้ลง เป็ นเพียงผู้อานวยความสะดวกและบริ หารจัดการหลักสูตร โดยปล่อยให้ ผู้ เรี ย นได้ เรี ย นรู้ เองอย่ า งอิ ส ระจากการท ากิ จ กรรมและการแลกเปลี่ ย น ประสบการณ์ กับผู้เรี ยนด้ วยกันเอง ลองผิดลองถูก โดยผู้เรี ยนไม่ได้ เรี ยนรู้ พัฒนา มิติด้านการรู้ คิด ในส่วนความตื่นตัวในกิจกรรมด้ านพฤติกรรมอาจไม่ก่อให้ เกิ ด ความตื่ น ตัว ในกิ จ กรรมด้ า นการรู้ คิ ด เสมอไป การที่ ผ้ ูส อนให้ ค วามส าคัญ กับ กิจกรรมด้ านพฤติกรรมเพียงอย่างเดียว เช่น การฝึ กปฏิบตั ิและการอภิปรายในกลุม่ ของผู้เรี ย นเอง โดยไม่ให้ ค วามสาคัญ กับ กิ จ กรรมด้ า นการรู้ คิด เช่ น การลาดับ ความคิดและการจัดองค์ความรู้ จะทาให้ ประสิทธิผลของการเรี ยนรู้ ลดลง และใน กรณีการนารูปแบบการจัดการเรี ยนรู้แบบที่ให้ ผ้ เู รี ยนทากิจกรรมและค้ นพบความรู้ ด้ วยตนเองนี ้ ไปใช้ กับการพัฒนาการเรี ยนรู้ ตามลาดับขันการเรี ้ ยนรู้ ด้ านพุทธิ พิสยั จะเหมาะกับการพัฒนาในขัน้ การทาความเข้ าใจ การนาไปประยุกต์ใช้ และ การวิเคราะห์ ขึ ้นไปมากกว่าขันให้ ้ ข้อมูลความรู้ เพราะเป็ นการเสียเวลามาก และไม่ บรรลุผลเท่าที่ควร กระบวนการเรี ยนรู้ ในศตวรรษที่ 21 การเรี ยนรู้ ที่แท้ จริ งอยู่ในโลกจริ งหรื อ ชีวิตจริ งการเรี ยนวิชาในห้ องเรี ยนยังเป็ นการเรี ยนแบบสมมติ “ดังนันครู ้ เพื่อศิษย์จึง ต้ องออกแบบการเรี ยนรู้ให้ ศิษย์ ” ได้ เรี ยนในสภาพที่ใกล้ เคียงชีวิตจริ งที่สดุ ครูเพื่อ ศิษย์ต้องเปลี่ยนเป้าหมายการเรี ยนรู้ ของศิษย์จากเน้ นเรี ยนวิชาเพื่อได้ ความรู้ ให้ เลยไปสูก่ ารพัฒนาทักษะที่สาคัญต่อชีวิตในยุคใหม่ ย ้าว่าการเรี ยนรู้ ยคุ ใหม่ ต้ อง เรี ยนให้ เกิดทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ซึ่งหน้ าที่ของครู เพื่อศิษย์จึง ต้ องเปลี่ยนจากเน้ น “สอน” หรื อสัง่ สอนไปทาหน้ าที่จุดประกายความสนใจใฝ่ รู้ แก่ ศิ ษ ย์ ใ ห้ ศิ ษ ย์ ได้ เรี ย นจากการลงมื อ ปฏิ บัติ และศิ ษ ย์ ง อกงามทั ก ษะเพื่ อ การ Experience of Learning

23


ดารงชี วิต ในศตวรรษที่ 21 นี ้ จากการลงมือ ปฏิ บัติข องตนเป็ น ทีม ร่ วมกับ เพื่ อ น นักเรี ยน เน้ นการงอกงามทักษะในการเรี ยนรู้ และค้ นคว้ าหาความรู้ มากกว่าตัว ความรู้ ครู เพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนแนวทางการทางานจากทาโดดเดี่ยว คนเดียว เป็ น ทางานและเรี ยนรู้ จากการทาหน้ าที่ครู เป็ นทีม กระบวนการเรี ยนรู้ในศตวรรษที่ 21 มี 3 ลักษณะคือ 1) กระบวนการเรี ยนรู้แบบลงมือปฏิบตั ิ 2) กระบวนการเรี ยนรู้ผา่ น การสือ่ สารอย่างสร้ างสรรค์ และ 3) การเรี ยนรู้แบบขันบั ้ นได ผู้เขียนได้ นา การเรี ยนรู้ แบบขัน้ บันได มาผสมผสานกับ ทฤษฎีการเรี ยนรู้ ของเบนจามิ น บลูม และคณะ (Bloom et al, 1956) และขัน้ ตอนการเตรี ย มการ สอนให้ อย่างเป็ นระบบ ตามที่กล่าวมาแล้ วข้ างต้ น มาปรับใช้ ในการเรี ยนการสอน เป็ น อี กวิ ธีห นึ่งที่ น่าสนใจ ที่ ค รู อาจารย์ สามารถน าไปปรั บ ใช้ ในกระบวนการ จัดการเรี ยนรู้ ตามบริ บทและธรรมชาติของวิชา โดยเฉพาะการจัดการเรี ยนการสอน ที่ เน้ นผู้ เรี ย นเป็ นส าคัญ และให้ ผู้เรี ย นมี ส่ ว นร่ ว ม การเรี ย นรู้ แบบขัน้ บั น ไดมี กระบวนการจัด การเรี ย นรู้ เพื่ อพัฒ นาผู้เรี ยนให้ บ รรลุผลตามที่ ค าดหวังนัน้ มี ขันตอนดั ้ งนี ้ ขัน้ L1 การตัง้ ประเด็ น ค าถาม/สมมติ ฐ าน (Learning to Question) เป็ น การฝึ กให้ ผ้ ูเรี ย นรู้ จัก คิ ด สังเกต ตัง้ ข้ อสงสัย ตัง้ ค าถามอย่างมี เหตุผลและ สร้ างสรรค์ ขัน้ L2 การสืบค้ นความรู้ จากแหล่งเรี ยนรู้ และสารสนเทศ (Learning to Search) เป็ นการฝึ กแสวงหาความรู้ ข้ อมูล และสารสนเทศ จากแหล่งเรี ยนรู้อย่าง หลากหลาย เช่น ห้ องสมุด อินเตอร์ เน็ตหรื อจากการปฏิบตั ิทดลอง เป็ นต้ น ขัน้ L3 การสรุ ป องค์ ค วามรู้ (Learning to Construct) เป็ นการฝึ ก น า ความรู้และสารสนเทศหรื อข้ อมูลที่ได้ จากการอภิปราย การทดลอง มาคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปเป็ นองค์ความรู้

24

Experience of Learning


ขัน้ L4 การสื่อสารและการนาเสนออย่างมีประสิทธิภาพ (Learning to Communicate) เป็ นการฝึ กให้ ความรู้ ที่ ไ ด้ มาน าเสนอและสื่ อ สารอย่ า งมี ประสิทธิภาพให้ เกิดความเข้ าใจ ขัน้ L5 การบริ การสังคมและจิตสาธารณะ (Learning to Serve) เป็ น การนาความรู้สกู่ ารปฏิบตั ิ ซึง่ ผู้เรี ยนจะต้ องมีความรู้ในบริ บทรอบตัวและบริ บทโลก ตามวุฒิ ภ าวะที่ เหมาะสม โดยจะน าองค์ ค วามรู้ ไปใช้ ให้ เกิ ด ประโยชน์ อ ย่ า ง สร้ างสรรค์ กรณีศึกษา ผู้เขียนได้ นาหลักการเรี ยนรู้ แบบขัน้ บันได มาผสมผสานกับทฤษฎีการ เรี ยนรู้ ของเบนจามิน บลูมและคณะ) และขันตอนการเตรี ้ ยมการสอนให้ อย่าง เป็ นระบบ มาทดลองในการเรี ยนการสอนมาเป็ นระยะเวลา 3 ปี ที่ผ่านมาทุก รายวิชาที่ได้ สอน ในการนาเสนอในครัง้ นี ้ จึงขอยกตัวอย่างเป็ นกรณีศกึ ษา ใน รายวิชา ICT301 “การประกันข้ อมูลสารสนเทศและความมัน่ คงปลอดภัย ” กับ นักศึกษาปี ที 2 สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะเทคโนโลยี สารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม โดยมีขนตอนการเตรี ั้ ยมการสอน 1) ช่วงการ เตรี ยมตัวการสอนหรื อส่วนนาเข้ า 2) ช่วงการเรี ยนการสอนการปฏิบตั ิการ หรื อ ประมวลผล และ 3) ช่วง การประเมินผลหรื อ ส่วนผลลัพธ์ ทุกขันตอนจะต้ ้ อง ทางานประสานกัน มีรายละเอียดดังนี ้ ส่ วนนาเข้ า เป็ นขัน้ การเตรี ยมการสอน โดยศึกษาจาก มคอ.2 และ มคอ.3 การ จัด เตรี ย ม โครงการสอนค าอธิ บ ายรายวิ ช าให้ นัก ศึ ก ษา สาระส าคัญ ของ รายวิชามีดงั นี ้ “การประกันข้ อมูลและการรักษาความมัน่ คงทางสารสนเทศ การประยุกต์ใช้ และบริ หารจัดการเพื่อประกันข้ อมูลและการรักษาความมัน่ คง ปลอดภัย ในการค านวณข้ อมูล การติ ดต่อ สื่อสารและการบริ ห ารในองค์ ก ร แนวทางในการวางรากฐานที่ความสาคัญในการรักษาความมัน่ คงของข้ อมูล Experience of Learning

25


หลักการดาเนินการ นโยบายและขันตอนในการท ้ างาน” การเขียนภาพรวม ของวัต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ให้ ผู้ เรี ย นสามารถ 1) อธิ บ าย ความหมายข้ อมู ล สารสนเทศที่เกี่ยวข้ องกับความมัน่ คงปลอดภัย 2) อธิบาย ระบบฐานข้ อมูล การออกแบบฐานข้ อมูล การประกันข้ อมูล และข้ อมูลขนาดใหญ่ได้ 3) ประยุกต์ ใช้ สารสนเทศ แนวคิดความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ ระบบ บริ หารจัดการความมัน่ คงปลอดภัยสาหรับสารสนเทศ ได้ 4) การวิเคราะห์หา เหตุ ผ ล ความมั่น คงปลอดภัย ส าหรั บ สารสนเทศตามมาตรฐาน ISO/IEC 27001- 4 ได้ 5) การสังเคราะห์ การศึกษาค้ นคว้ า แผนงาน การนาเทคโนโลยี มาใช้ ในการตรวจสอบได้ และ เตรี ยมเอกสารประกอบการสอน เตรี ยม VDO Clip และ สื่ อ สัง คมออนไลน์ เช่ น Facebook, Line ของผู้ สอน และระบบ E-Learning ของมหาวิทยาลัยศรี ปทุม เป็ นต้ น ส่ วนประมวลผล ขัน้ L1 การเตรี ยมการตังประเด็ ้ นคาถาม/สมมติฐาน ไว้ ล่วงหน้ า และตัง้ เป็ นคาถาม เพื่อเป็ นการฝึ กให้ ผ้ เู รี ยนรู้จกั คิด สังเกต ตังข้ ้ อสงสัย เป็ นการตังค ้ าถาม อย่างมีเหตุผลและสร้ างสรรค์ โดยนาทฤษฎี การเรี ยนรู้ ของเบนจามิน บลูมและ คณะ มาประยุกต์ใช้ ได้ จาแนกจุดมุง่ หมายการเรี ยนรู้ออกเป็ น 3 ด้ าน คือ 1) ด้ าน พุทธิพิสยั 2) ด้ านทักษะพิสยั และ 3) ด้ านเจตพิสยั โดย การเรี ยนรู้ในระดับความรู้ ความจา โดยให้ ตงค ั ้ าถามเป็ นวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่บ่งชี ถ้ ึงการเรี ย นรู้ ใน ระดับความรู้ความจา ตัวอย่างเช่น บอก รวบรวม เล่า ประมวล ชี ้ จัดลาดับ ระบุ ให้ ความหมาย จาแนก ท่อง เลือ ก เป็ น ต้ น ในส่วนนีใ้ ห้ สดั ส่วนคาถามให้ มี คาถาม จานวนน้ อยที่สดุ การเรี ยนรู้ในระดับความเข้ าใจ การตังเป็ ้ นคาถามวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรมที่บ่งชี ้ถึงการเรี ยนรู้ในระดับความเข้ าใจ ตัวอย่างเช่น อธิบาย ขยาย ความเปรี ย บเที ย บ ลงความเห็ น แปลความหมาย แสดงความคิ ด เห็ น ตีความหมาย คาดการณ์ คาดคะเน สรุป ย่อ ทานาย บอกใจความสาคัญ และ กะ ประมาณ เป็ นต้ น การเรี ยนรู้ในระดับการนาไปใช้ การตังเป็ ้ นคาถามวัตถุประสงค์ 26

Experience of Learning


เชิงพฤติกรรมที่บง่ ชี ้ถึงการเรี ยนรู้ในระดับการนาความรู้ไปใช้ ตัวอย่างเช่น ประยุกต์ ปรับปรุ ง แก้ ปัญหา เลือก จัด ทา ปฏิบตั ิ แสดง สาธิต ผลิต และ แนะนา เป็ นต้ น การเรี ยนรู้ในระดับการวิเคราะห์ การตังค ้ าถาม การเรี ยนรู้ ในระดับที่ผ้ เู รี ยนต้ องใช้ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดที่ ลกึ ซึ ้งขึ ้นเนื่องจากไม่สามารถหาคาตอบ ได้ จากข้ อมูลที่มีอยู่โดยตรง ผู้เรี ยนต้ องใช้ ความคิดหาคาตอบจากการแยกแยะ ข้ อมูลและหาความสัมพันธ์ ของข้ อมูลที่แยกแยะเน้ น หรื ออีกนัยหนึ่งคือการเรี ยนรู้ ในระดับ ที่ ผ้ ูเรี ย นสามารถจับ ได้ ว่า อะไรเป็ น สาเหตุ เหตุผล หรื อ แรงจูง ใจที่ อ ยู่ เบื ้องหลังปรากฏการณ์ ใดปรากฏการณ์หนึ่ง การวิเคราะห์โดยทัว่ ไปมี ลักษณะ 2 คือ ประการแรก การวิเคราะห์ จากข้ อมูลที่มีอยู่เพื่อให้ ได้ ข้อสรุ ปและหลักการที่ สามารถนาไปใช้ ในสถานการณ์ อื่นๆ ได้ ประการที่สอง การวิเคราะห์ ข้อสรุ ป ข้ อ อ้ างอิง หรื อหลักการต่างๆ เพื่อหาหลักฐานที่สามารถสนับสนุนหรื อปฏิเสธข้ อความ นัน้ การตังค ้ าถามตาม วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมที่บ่งชี ้ถึงการเรี ยนรู้ ในระดับการ วิเคราะห์ ตัวอย่างเช่น จาแนกแยกแยะ หาข้ ออ้ างอิง หาเหตุและผล หาหลักฐาน และ หาความสัมพันธ์ เป็ นต้ น การเรี ยนรู้ ในระดับการสังเคราะห์ การเรี ยนรู้ที่ อยูใ่ น ระดั บ ที่ ผ้ ู เรี ย นสามารถ คิ ด ประดิ ษ ฐ์ สิ่ ง ใหม่ ขึ น้ มาได้ ซึ่ ง อาจอยู่ ใ นรู ป ของ สิง่ ประดิษฐ์ ความคิด หรื อ ภาษา และ ทานายสถานการณ์ในอนาคตได้ คิดวิธีการ แก้ ปัญหาได้ แต่วิธีการแก้ ปัญหาในขันนี ้ ้ อาจมีคาตอบได้ หลายคาตอบ ตัวอย่าง คาถามตามวัต ถุป ระสงค์ พ ฤติ กรรมที่ บ่งชี ถ้ ึงการเรี ยนรู้ ในระดับ การสังเคราะห์ ตัวอย่างเช่น เขียนบรรยาย อธิบาย เล่า บอก เรี ยบเรี ยง สร้ าง จัด ประดิษฐ์ แต่ง ดั ด แปลง ปรั บ แก้ ไข ท าใหม่ ออกแบบ ปฏิ บั ติ คิ ด ริ เริ่ ม ตั ง้ สมมติ ฐ าน ตั ง้ จุดมุ่งหมาย ทานาย แจกแจงรายละเอียด จัดหมวดหมู่ และสถานการณ์ วิธี แก้ ปัญ หา เป็ นต้ น การเรี ยนรู้ ในระดับการประเมินผล และการเรี ยนรู้ ในระดับที่ ผู้เรี ยนต้ องใช้ การตัดสินคุณค่า ซึ่งก็หมายความว่า ผู้เรี ยนจะต้ องสามารถตังเกณฑ์ ้ ในการประเมินหรื อตัดสินคุณ ค่าต่าง ๆ ได้ และแสดงความคิดเห็นในเรื่ องนันได้ ้ ตัว อย่ า งค าถามตามวัต ถุป ระสงค์ พ ฤติ ก รรมที่ บ่ ง ชี ถ้ ึ ง การเรี ย นรู้ ในระดับ การ Experience of Learning

27


ประเมิ น ผล ตั ว อย่ า งเช่ น วิ พ ากษ์ วิ จ ารณ์ ตั ด สิ น ประเมิ น ค่ า ตี ค่ า สรุ ป เปรี ยบเทียบ จัดอันดับ กาหนดเกณฑ์ กาหนดมาตรฐาน ตัดสินใจ แสดงความ คิดเห็น ให้ เหตุผล และ บอกหลักฐาน เป็ นต้ น ยกตัวอย่างประเด็นคาถาม 1) จง อธิบายแนวคิดและมาตรฐานระบบความมัน่ คงปลอดภัยของธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์มี อะไรบ้ าง 2) จงอธิ บายการประยุกต์ใช้ มาตรการรักษาความมัน่ คงปลอดภัยของ ธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์มีอะไรบ้ าง เป็ นต้ น ขัน้ L2 ให้ นกั ศึกษามีการสืบค้ นความรู้ จากแหล่งเรี ยนรู้ และสารสนเทศ จาก คาถาม ขัน้ L1 เป็ น การฝึ ก แสวงหาความรู้ ข้ อ มูล และสารสนเทศ จากแหล่ง เรี ยนรู้ อย่างหลากหลาย นาเสนอกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้ นกั ศึกษา นาเสนอ VDO Clip เนื อ้ หาของแต่ ล ะบทในชั น้ เรี ย นผ่ า นต าร าที่ เตรี ย มไว้ แล้ ว และมี Powerpoint สรุ ป ผ่ า นระบบ E-Learning ของ มหาวิ ท ยาลัย และได้ การตั ง้ ประเด็ น ค าถามตัง้ ขัน้ L1 ให้ นัก ศึกษาหาค าตอบเป็ น ฝึ กหัด ท้ ายบทเรี ย น ให้ นักศึกษานาเสนองานเดี่ยว โดยเลือกหัวข้ อที่เกี่ยวกับการประกันข้ อมูลสารสนเทศ และความมัน่ คงปลอดภัย โดยหา ผ่าน YouTube เป็ นภาษาอังกฤษและแปลเป็ น ภาษาไทย และนาไปลง Facebook และมาเปิ ดนาเสนอ จัดแบ่งกลุม่ นักศึกษาเพื่อ น าเสนองานกลุ่ม โดยเลื อ กหั ว ข้ อ ในที่ ส นใจมากที่ สุด โดยการน าเสนอผ่ า น Facebook ในที่เกี่ยวข้ องกับรายวิชานี ้ ตามตัวอย่างภาพที่ 2

28

Experience of Learning


ภาพที่ 2 การนาเสนองานผ่ าน Facebook https://www.facebook.com/groups/1531473046866160/?fref=ts ขั น้ L3 การสร้ างองค์ ค วามรู้ เพื่ อการเรี ยนรู้ เป็ น การฝึ ก น าความรู้ และ สารสนเทศหรื อข้ อมูลที่ได้ จากการอภิปราย การทดลอง มาคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเกิดเป็ นองค์ความรู้ เราต้ องศึกษาการพัฒนาการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยนอย่างถ่อง แท้ เพื่อจะได้ เข้ าใจการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยนว่ามีขนตอนอย่ ั้ างไร อาจารย์ ผ้ สู อนต้ องมี ความรู้ ความเจ้ า ความหมายของ “ความรู้ ” (Knowledge) หรื อ สิ่งที่สงั่ สมมาจาก การศึกษาเล่าเรี ยนการค้ นคว้ าหรื อประสบการณ์ รวมทังความสามารถเชิ ้ งปฏิบัติ และทักษะความเข้ าใจหรื อสารสนเทศที่ได้ รับมาจากประสบการณ์ สิ่งที่ได้ รับมา จากการได้ ยิน ได้ ฟัง การคิดหรื อการปฏิบตั ิองค์วิชาในแต่ละสาขา (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, พ.ศ. 2542) ความหมายของ ข้ อมูล หรื อ ข้ อเท็จจริ ง ข้ อมูลดิบ หรื อตัวเลขต่าง ๆ ที่ยงั ไม่ได้ ผ่านการแปลความหมาย หรื อ ข้ อมูล อาจจะ หมายถึง ข้ อเท็จจริ งต่าง ๆ ที่มี อยูใ่ นธรรมชาติ เป็ นกลุม่ สัญลักษณ์แทนปริ มาณหรื อการกระทาต่าง ๆ ที่ยงั ไม่ผา่ น การประมวลผล ข้ ออาจจะอยูใ่ นรูปของตัวเลข ตัวหนังสือ และท้ ายที่สดุ ข้ อมูลก็คือ วัตถุดิบของสารสนเทศ ส่วนสารสนเทศ อาจจะหมายถึง ข้ อมูลที่อยู่ในรู ปแบบที่ สามารถนามาประมวลผล หรื อข้ อมูลที่ผา่ นการวิเคราะห์เพื่อนามาใช้ ประโยชน์ใน Experience of Learning

29


การบริ ห ารจัด การและตัด สิน ใจ หรื ออาจจะหมายถึง สารสนเทศ ได้ แก่ ข้ อ มูล ต่าง ๆ ที่ได้ รับการประมวลผลแล้ วด้ วยวิธีการต่าง ๆ เป็ นความรู้ ที่ต้องการสาหรับ ใช้ ทาประโยชน์ เป็ น ส่วนผลลัพ ธ์ ของระบบการประมวลผลข้ อมูล เป็ น สิ่งซึ่งสื่อ ความหมายให้ ผ้ ูรั บ เข้ า ใจ และสามารถน าไปกระท ากิ จ กรรมใดกิ จ กรรมหนึ่ ง โดยเฉพาะได้ หรื อเพื่อเป็ นการย ้าความเข้ าใจที่มีอยู่แล้ วให้ มีมากยิ่งขึ ้นและเป็ น ผลลัพธ์ ของระบบสารสนเทศ หลังจากนันจะเกิ ้ ด ความรู้ หรื อสารสนเทศที่ผ่าน กระบวนการคิด เปรี ยบเทียบ เชื่อมโยงกับความรู้อื่นจนเกิดเป็ นความเข้ าใจ และ สิง่ ที่ได้ รับก็คือ ปั ญญา หรื อ การนาสารสนเทศและความรู้ที่มาเชื่อมโยงกันนาไปใช้ ประโยชน์ได้ โดยประยุกต์ใช้ ได้ ไม่จากัดเวลาเกิดการเรี ยนอย่างถาวรจึงทาให้ เกิด ปั ญญาของผู้เรี ยน

Wisdom

Knowledge Information (Data)

ภาพที่ 3 แสดงลาดับขัน้ ของความรู้ (ที่มา: Elias M. Awad and Hassan M. Ghaziri, 2004:41) จากภาพที่ 1 เป็ นการแสดงลาดับขันของความรู ้ ้ คือความแตกต่างระหว่าง ข้ อมูลดิบ สารสนเทศ และ ความรู้ (Knowledge) ในส่วนข้ อมูลดิบ มักจะได้ ม า จากข้ อมูล (Data) ต่างๆ จากข้ อมูล ต่างๆ ส่วนใหญ่ ได้ มาจากข้ อมูลปฏิบตั ิงาน ส่วน สารสนเทศ (Information (เกิ ด จากการแปลงให้ มีความหมาย จะหมายถึง รายงานต่างๆ ซึ่งอยู่ในรู ปแบบที่จัดวางไว้ แล้ ว และ ความรู้ หมายถึง ดัชนีวดั ผล การดาเนินงาน การเตือน เพื่อให้ ลงมือปฏิบตั ิ กราฟต่าง ๆ ซึ่งได้ มาจากข้ อมูล 30

Experience of Learning


แต่ละระบบ หรื อข้ อมูลหลายๆ ระบบที่แสดงการเชื่อมโยงกันหรื อเป็ นความรู้ ของ มนุ ษ ย์ ที่ ส ะสมจาก ประสบการณ์ ม าเป็ นเวลานานและน าไปใช้ ประโยชน์ ได้ ก่อ ให้ เกิ ด “ปั ญ ญา (Wisdom)” ภูมิ ปั ญ ญา คื อ เป็ น ความรู้ ที่ ฝังอยู่ในตัวบุค คล (Tacit Knowledge) จนเกิดปั ญญา ดังนัน้ ความรู้ ที่จะเกิดปั ญ ญาได้ จะประกอบด้ วยเนือ้ หา (content) หรื อ ข้ อมูลสารสนเทศที่เป็ น การเรี ยนรู้ในระดับความรู้ ความจา เนื ้อหาจะเกี่ยวกับ ศัพท์ วิธีการ เกณฑ์หมวดหมู่ กระบวนการ ระบบ รายละเอียด ความสัมพันธ์ ระเบียบ บุ ค คล สาเหตุ แบบแผน เหตุก ารณ์ หลัก การ ทฤษฎี โครงสร้ าง สถานที่ องค์ประกอบ สัญลักษณ์ เวลา กฎ และ คุณลักษณะ เป็ นต้ น การเรี ยนรู้ในระดับ ความเข้ า ใจ เนื อ้ หาจะเกี่ ย วกับ วิธี ก าร ความหมาย กระบวนการ ค านิ ย าม ทฤษฎี หลั ก การงบที่ เ ป็ นนามธรรม แบบแผน โครงสร้ าง ผลที่ จ ะเกิ ด ขึ น้ ความสัมพันธ์ ผลกระทบ เหตุการณ์ สถานการณ์ เป็ นต้ น การเรี ยนรู้ ในระดับการ นาไปใช้ เนื อ้ หาจะเกี่ ยวกับ กฎ วิธีการ หลักการ กระบวนการ ทฤษฎี ปั ญ หา ปรากฏการณ์ ข้ อสรุ ป สิ่งที่เป็ นนามธรรม และข้ อเท็จจริ ง เป็ นต้ น การเรี ยนรู้ ใน ระดับการวิเคราะห์ เนื ้อหาจะเกี่ยวกับ ข้ อมูล ข้ อความ เรื่ องราว เหตุการณ์ เหตุ และผล องค์ ประกอบ ความคิดเห็น สมมติฐาน ข้ อยุติ ความมุ่งหมาย รู ปแบบ ระบบ โครงสร้ าง และวิ ธี ก าร กระบวนการ เป็ นต้ น การเรี ย นรู้ ในระดับ การ สังเคราะห์ เนื ้อหาจะเกี่ยวกับ ความคิด การศึกษาค้ นคว้ า แผนงาน สมมติฐาน จุ ด มุ่ ง หมาย ทฤษฎี หลัก การ โครงสร้ าง รู ป แบบ แบบแผน ส่ ว นประกอบ ความสัมพัน ธ์ แผนภาพ แผนภูมิ แผนผัง และ กราฟิ ก ข้ อมูล ข้ อเท็จ จริ ง การ กระท าความคิ ด เห็ น เป็ น ต้ น การเรี ย นรู้ ในระดับ การประเมิ น ผล เนื อ้ หาจะ เกี่ยวกับ ความถูกต้ อง ความแม่นยา มาตรฐาน เกณฑ์ หลักการ ทฤษฎี คุณภาพ ประสิท ธิ ภ าพ ความเชื่ อ มั่น ความคลาดเคลื่อ น อคติ วิธี ก าร ประโยชน์ และ ค่านิยม เป็ นต้ น

Experience of Learning

31


ภาพที่ 4 ขัน้ การรวบรวมสารสนเทศ ความรู้และ ประสบการณ์ ก่อให้ เกิดปั ญญา ขัน้ L 4 ฝึ กให้ นกั ศึกษานาเสนอ โดยให้ นาความรู้ที่ได้ มานาเสนอและสือ่ สาร อย่างมี ป ระสิท ธิ ภาพให้ เกิ ดความเข้ าใจ การน าเสนอแต่ละครั ง้ นัน้ สามารถน า ข้ อมูลที่มีลกั ษณะแตกต่างกันมาร่ วม นาเสนอด้ วยกันได้ ขึ ้นอยู่กบั จุดประสงค์ของ ผู้นาเสนอ ในการตอบคาถามที่เตรี ยมไว้ แล้ วใน ขัน้ L1 ข้ อมูลที่จะนาเสนอแบ่ง ออกตามลักษณะของข้ อมูล ได้ แก่ 1) ข้ อ เท็จจริ ง หมายถึงข้ อความที่เกี่ยวข้ องกับ เหตุการณ์ เรื่ องราวที่เป็ นมาหรื อเป็ นอยู่ตามความจริ ง หรื อสามารถตรวจสอบให้ เป็ น ที่ประจัก ษ์ ได้ ว่าเป็ น ความจริ ง อาจเป็ นความรู้ ที่ ได้ จากกาค้ น คว้ า สามารถ นามาใช้ เป็ นหลักฐาน ข้ ออ้ างอิงสาหรับกล่าวอ้ างถึงในการพิสจู น์สิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ ตามที่มอบหมาย 2) ข้ อ คิดเห็น เป็ นความเห็นอันเกิดจากประเด็นหรื อเรื่ องราวที่ ชวนให้ คิด อาจเป็ นความรู้ สึก ความเชื่ อถือหรื อแนวคิดที่ผ้ นู าเสนอมีต่อสิ่งใดสิ่ง หนึ่ ง ความเห็ น ของแต่ ล ะคนอาจแตกต่ า งกั น ได้ ทั ง้ นี ข้ ึ น้ อยู่ กั บ พื น้ ฐานและ ประสบการณ์ ของแต่ละบุคคล ข้ อคิดเห็นต่างจากข้ อเท็จจริ ง คือ ข้ อเท็จจริ งเป็ น เรื่ องจริ งที่ยอมรับกันโดยทัว่ ไป แต่ข้อคิดเห็นอาจมีทงผู ั ้ ้ เห็นด้ วยและไม่เห็นด้ วยก็ ได้ ทังนี ้ ้ขึ ้นอยู่กบั ผู้ฟังเป็ นผู้ตดั สินใจว่าข้ อคิดเห็นนัน้ ๆ น่ารับฟั งหรื อไม่ สมเหตุสมผล เพียงใด ข้ อคิดเห็นมีลกั ษณะต่าง ๆ กัน คิดเห็นเชิงเหตุผล เป็ นข้ อคิดเห็นที่อ้างถึง เหตุผล อ้ างถึงข้ อเปรี ยบเทียบที่ เชื่อถือได้ และความมีเหตุผลต่อกัน โดยชีใ้ ห้ ผ้ รู ับ 32

Experience of Learning


ฟั ง เห็ น ว่า ควรท าอย่า งนัน้ เพราะเหตุเช่ น นี ้ แต่ถ้ า ไม่ท าอย่า งที่ ก ล่า วก็ จ ะมี ผ ล ตามมาอย่างไรบ้ าง โดยทังหมดนี ้ เ้ ป็ นเหตุผลของผู้นาเสนอ ความคิดเห็นเท่านัน้ แนะนาโปรแกรมเสนองานที่ศึกษาในงานที่มอบหมายนี ้จะใช้ โปรแกรม Microsoft PowerPoint

ภาพที่ 5 ขัน้ ฝึ กให้ นักศึกษานาเสนอ ขัน้ L5 เป็ นการนาความรู้ สกู่ ารปฏิบตั ิ โดยจะนาองค์ความรู้ ไปใช้ ให้ เกิด ประโยชน์อย่างสร้ างสรรค์ การสังเกตพฤติกรรม โดยการจดบันทึกไว้ การถ่ายรู ป นักศึกษา รู้ จกั ชื่อนักศึกษาทุกคน ดูประวัติย้อนหลัง ในก่อนการสอนและ ระหว่าง การเรี ย น พร้ อมจดบันทึก ระหว่างการน าเสนอ ตัวอย่างในความรั บ ผิด ชอบต่อ ตนเอง ตัวอย่างเช่น ตังใจศึ ้ กษาเล่าเรี ยนหาความรู้ ทางานที่รับมอบหมายให้ สาเร็ จ มีความรับผิดชอบ ตรงเวลา สามารถพึ่งพาตนเองได้ ความรับผิดชอบต่อ สังคมเป็ น การช่ว ยเหลือ สังคม ไม่ท าให้ ผ้ ูอื่ น หรื อสังคมเดื อ ดร้ อนได้ รับ ความ เสียหาย ตัวอย่างเช่น มีความรับผิดชอบต่อมหาวิทยาลัย ครู อาจารย์ เช่น ตังใจ ้ เล่ า เรี ย น เชื่ อ ฟั งค าสั่ง สอนของครู อ าจารย์ ป ฏิ บั ติ ต ามกฎระเบี ย บวิ นั ย ของ มหาวิทยาลัย ช่วยรัก ษาทรัพ ย์ สมบัติของมหาวิท ยาลัย มี ความรับ ผิดชอบต่อ บุคคลอื่นเช่นให้ ความช่วยเหลือให้ คาแนะนาเพื่อน ๆ ไม่เอาเปรี ยบเคารพสิทธิซงึ่ กัน และกัน มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบในฐานะนัก ศึ ก ษาเช่ น ปฏิ บัติ ต ามกฎระเบี ย บของ มหาวิทยาลัยให้ ความร่วมมือระหว่างกลุม่ ในฐานะเป็ นนักศึกษา ให้ ความช่วยเหลือ ซึง่ กันและกัน สร้ างจิตสาธารณะ ตัวอย่างเช่น สร้ างวินยั ในตนเอง ตระหนักถึงการ Experience of Learning

33


มีสว่ นร่วมในระบบประชาธิปไตย รู้ถึงขอบเขตของสิทธิเสรี ภาพของนักศึกษาหน้ าที่ ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

ภาพที่ 6 พานักศึกษาเข้ าร่ วมงานสัมมนา “TECH START UP ภายใต้ โครงการ Education ICT Forum : 2017” ณ อาคารศูนย์ ประชุมวายุภกั ษ์ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ ราชการและ คอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้ งวัฒนะ นนทบุรี ส่ วนผลลัพธ์ การประเมินผลหรื อ ส่วนผลลัพธ์ นักศึกษาต้ องมีเวลาเข้ าเรี ยนอย่างน้ อย 80 % ของเวลาเรี ยนทังหมด ้ จึงจะมีสิทธิ์ สอบไล่ เข้ าเรี ยนตรงเวลาและแต่งกาย สุภาพเรี ยบร้ อยตามระเบียบของมหาวิทยาลัย ศึกษาค้ นคว้ า ส่งงานตามที่ได้ รับ มอบหมาย แบบฝึ กหัดท้ ายบท และทบทวนบทเรี ยนอย่างสม่าเสมอ นักศึกษาต้ อง ทางานส่งทังงานเดี ้ ย่ ว และงานกลุม่ ตามที่อาจารย์ผ้ สู อนมอบหมาย นักศึกษาต้ อง นางานที่อาจารย์มอบหมายไปฝึ กหัดทาด้ วยตนเอง นักศึกษาต้ องเข้ าเรี ยนตาม กลุ่มที่ได้ ลงทะเบียนไว้ นักศึกษาควรมาสอบตามวันเวลาที่มหาวิทยาลัยกาหนด และทบทวนบทเรี ยนอย่างสม่าเสมอ วิธีการประเมินผล การจัดทารายงาน และ น าเสนอด้ ว ยสื่ อ เทคโนโลยี และ การมี ส่ ว นร่ ว มในการอภิ ป รายและวิ ธี ก าร อภิปราย และก่อนปิ ดรายวิชาก่อนสอบปลายภาค มีการมอบรางวัลสาหรับผู้มี คะแนนรวมสูงสุดระหว่างเทอมและสอบกลางภาคสูงสุด เพื่อสร้ างแรงจูงใจ และ 34

Experience of Learning


พานักศึกษาไปร่ วมงานสัมมนา เพื่อสร้ างประสบการณ์ ให้ นกั ศึกษา ตัง้ แต่ปีที 2 โดยหวังผลว่าในปี ที 3 และ 4 จะได้ พบนักศึกษารุ่ นนี ้อีกครัง้ ในวิชาอื่นๆ เพื่อเป็ น การต่อยอดกิ จกรรมด้ านการรู้ คิ ด และกิ จกรรมด้ านพฤติกรรมในการสร้ างองค์ ความรู้ ใหม่ เพื่อส่งเสริ มให้ นกั ศึกษาเข้ าสู่ภาคปฏิบตั ิมากขึ ้นส่งเสริ มให้ ไปแข่งขัน หรื อเข้ าร่ วมโครงการต่าง ๆ ในการเตรี ยมตัวเข้ าสูอ่ าชีพ และปลูกฝั่งให้ นกั ศึกษามี จริ ยธรรมในการประกอบอาชีพอีกด้ วย

ภาพที่ 7 นักศึกษารับรางวัลเรียนดีเยี่ยม รวมคะแนนระหว่ างเทอมและสอบกลางภาคสูงสุด สรุ ป โดยสรุปการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้ นบทบาทและการมีสว่ นร่วมของผู้เรี ยน โดยการ นาเอาวิธีการสอน เทคนิคการสอนที่ เป็ นแบบขันบั ้ นใดมาผสมผสานตาม ทฤษฎี การเรี ยนรู้ ของเบนจามิน บลูม โดยมีขนตอนการเตรี ั้ ยมการสอนที่เ ป็ นระบบ แบ่ง ออกเป็ น 1)ช่วงการเตรี ยมตัวการสอนหรื อ ส่วนนาเข้ า 2) ช่วง การเรี ยนการสอน เปรี ยบเหมือนการปฏิบตั ิการในส่วนประมวลผล และ 3) ช่วง การประเมินผลหรื อ การปฏิบตั ิการในส่วนผลลัพธ์ ที่เรี ยกวิธีการการสอนนี ้ว่า “แบบจาลองการเรี ยนรู้ แบบการมีสว่ นร่ วมของผู้เรี ยน” (The Active Learning Model) ที่ผ้ เู ขียนได้ ทดลอง มาแล้ วในระยะ 4 ปี ทีผ่านมามีการติดตามผลลัพธ์ ระหว่างเรี ยนและนักศึกษาทีจบ แล้ ว ออกไปท างาน แล้ ว ประสบความส าเร็ จ มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การท างาน ครอบครัวชุมชนสังคมและประเทศชาติ

Experience of Learning

35


ดังนัน้ The Active Learning Model หรื อ การเรี ยนรู้แบบการมีสว่ นร่วมของ ผู้เรี ยน กระตุ้นให้ ผ้ เู รี ยนมีสว่ นร่ วมในชันเรี ้ ยน ส่งเสริ มปฏิสมั พันธ์ ผ้ เู รี ยนกับผู้สอน เป็ นการจัด การเรี ย นรู้ ที่ มุ่ ง เน้ นพั ฒ นากระบวนการเรี ย นรู้ ส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ เรี ย น ประยุก ต์ ใช้ ทัก ษะและเชื่ อ มโยงองค์ ค วามรู้ น าไปปฏิ บัติ เพื่ อ แก้ ไขปั ญ หาหรื อ ประกอบอาชีพในอนาคต มีทกั ษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21และถือเป็ น การจัดการเรี ยนรู้ ประเภทหนึ่งที่ส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนมีคุณลักษณะสอดคล้ องกับการ เปลี่ยนแปลงในยุคปั จจุบัน การศึกษาที่ดีสาหรับนักศึกษายุคใหม่ ให้ มีคุณ ภาพ จะต้ องเปลี่ยนรู ปแบบการเรี ยนรู้ ของศิษย์ไปอย่างสิ ้นเชิง ครู เพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยน บทบาทของตนเองจาก“ครูสอน”(Teacher) ไปเป็ น “ผู้อานวยความสะดวกในการ เรี ยนรู้ ” (Learning Facilitator) และต้ องเรี ยนรู้ ทักษะในการทาหน้ าที่นีอ้ ย่างเป็ น ระบบ รายการอ้ างอิง วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้ างการเรี ยนรู้ เพื่อศินย์ ในศตรวรรษที่ 21. พิมพ์ ครัง้ ที่ 3 กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี สฤษวงศ์. จรรจา สุวรรณทัต ศิริชัย กาศจนวาสี และสาเริ ง บุญ เรื องรัตน์ . จิตวิทยาและ สังคมวิทยาพืน้ ฐาน เพื่อการวัดและประเมินผล การศึกษา. พิมพ์ครัง้ ที่ 8. กรุงเทพมหานคร:อรุณการพิมพ์. เยาวเรศ ภัก ดี จิต ร. (2527). เอกสารปรกอบการเสนาทางวิ ชาการ “วัน ส่งเสริ ม วิชาการสู่คุณ ภาพการเรี ยนการสอน”. นครสวรรค์ : มหาวิทยาลัยราชภัฎ นครสวรรค์. บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ . (2551). การประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการ เรียนการสอน. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพฯ : สารสนเทศตาม พระราชดาริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์ แห่งชาติ. 36

Experience of Learning


วรพจน์ วงศ์ กิจรุ่ งเรื อ งและอธิ ป จิ ต ตฤกษ์ . (2554). ทั กษะแห่ งอนาคตใหม่ : การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21. กรุงเทพ: สานักพิมพ์ Open Words. ทิศนา แขมมณี . (2560). ศาสตร์ การสอน องค์ ค วามรู้ การจั ดกระบวนการ เรี ยนรู้ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ. พิ ม พ์ ค รัง้ ที่ 1. กรุ งเทพมหานคร: สานัก พิ ม พ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Experience of Learning

37


การใช้ Plickers กับการประเมินผลการเรี ยนรู้ ทนั ที ในห้ องเรี ยนกลับทางและเรี ยนให้ ร้ ู จริง ปรีชำ กอเจริญ การด าเนิ น กิ จ กรรมต่ า งๆเพื่ อ เสริ ม ในชัน้ เรี ย น ทัง้ การท าโครงงานหรื อ กิจกรรมสาธิ ตต่างๆ สามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรี ยนได้ การเสริ มกิ จกรรม ต่างๆเพิ่มเข้ าสู่ชนั ้ เรี ยนโดยมีเนือ้ หาการเรี ยนรู้ เท่าเดิม ระยะเวลาการเรี ยนในชัน้ เรี ยนในแต่ละภาคการศึกษาก็มีเท่าเดิม จึงส่งผลให้ เกิดภาระการเรี ยนรู้ และการ รับผิดชอบที่หนักมากแก่ผ้ ูเรี ยนที่ จะต้ องแบ่งเวลามาเรี ยนรู้ และทาโครงงานหรื อ กิจกรรม ซึง่ เป็ นผลให้ ผ้ เู รี ยนส่วนหนึง่ ที่เรี ยนรู้ได้ ช้ากว่าเพื่อนๆในชันไม่ ้ สามารถตาม การเรี ยนได้ ทนั ผู้รับผิดชอบการสอนก็ ต้องจัดการสอนตามกาหนดการสอนที่ได้ เตรี ยมไว้ รวมถึงต้ องสอดแทรกกิจกรรมต่างๆเสริ มอยู่เป็ นระยะ ด้ วยสาเหตุเหล่านี ้ จึงไม่สามารถปรับเปลี่ยนกาหนดการสอนเพื่อรอผู้เรี ยนบางส่วนได้ ซึ่งหากจัดการ เรี ยนการสอนในรู ปแบบเดิม ที่เน้ น การสอนทฤษฎี และวิธีก ารคานวณเป็ น หลัก พร้ อมทัง้ เสริ มกิ จกรรมและการสาธิ ต จะส่งผลให้ การเรี ยนรู้ จะไม่สมั ฤทธิ ผลแก่ ผู้เรี ย นกลุ่ม ที่ เรี ย นรู้ ได้ ช้ ากว่า เพื่ อ นๆในชัน้ เรี ย น การน าเทคนิ ค การสอนด้ วย ห้ องเรี ยนกลับทางจึงสามารถพัฒ นาประสิทธิ ภาพการเรี ยนรู้ ในชัน้ เรี ยนที่มีการ แทรกเสริ มกิ จกรรมได้ และในส่วนกิ จกรรมในชัน้ เรี ยนที่เป็ นการถามตอบความ เข้ าใจเนื ้อหาการเรี ยนรู้ การใช้ เครื่ องมือทางเทคโนโลยีจะสามารถช่วยประเมินผล การเรี ยนรู้ได้ ทนั ทีซงึ่ จะสามารถนามาใช้ กบั เทคนิคการเรี ยนให้ ร้ ูจริ งได้ รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา กอเจริญ อาจารย์ประจาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม 38

Experience of Learning


การเรียนรู้ด้วยเทคนิคห้ องเรียนกลับทาง เทคนิคห้ องเรี ยนกลับทางเกิดขึ ้นจากแนวคิดของครู สองท่านที่รัฐห่างไกล ในประเทศสหรัฐอเมริ กา คือ Jonathan Bergman และ Aaron Sams และได้ เขียน หนั ง สื อ เพื่ อ ถ่ า ยทอดเทคนิ ค และแนวทางชื่ อ หนั ง สื อ Flip Your Classroom : Reach Every Student in Every Class Every Day (Bergmann J. and Aaron S., 2012) และศาสตราจารย์นายแพทย์วิจารณ์ พานิช ได้ เรี ยบเรี ยงเป็ นหนังสือชื่อ ครู เพื่อศิษย์ สร้ างห้ องเรี ยนกลับทาง (วิจารณ์ พานิช , 2556) จากสาระในหนังสือ คุณครู ทงสองท่ ั้ านนี ้ต้ องการช่วยผู้เรี ยนที่เรี ยนรู้ ได้ ช้า ไม่สามารถเรี ยนทันเพื่อนๆ หรื อผู้เรี ยนบางคนที่ต้องขาดเรี ยน โดยการให้ เวลาที่มีคุณค่าแก่ ผ้ เู รี ยนเพื่อแปลง เนื ้อหาการเรี ยนรู้เป็ นความเข้ าใจที่สามารถเชื่อมโยงเข้ ากับชีวิตจริ งได้ ซึง่ ช่วงเวลา นี ้จาเป็ นจะต้ องได้ รับการช่วยเหลือจากครูผ้ สู อน ซึ่งหากผู้เรี ยนรับฟั งจากการสอน หน้ าชันและใช้ ้ เวลาที่บ้านเพื่อแปลงเนื ้อหาการเรี ยน ผู้เรี ยนอาจแปลงได้ ไม่ถกู ต้ อง นัก โดยไม่ มี ผ้ ูชี แ้ นะ ดังนัน้ หากห้ อ งเรี ย นกลับ ทาง ครู ใช้ เครื่ อ งมื อ ด้ า นไอซี ที มี วิดีทศั น์บนั ทึกการสอนในเนื ้อหาการเรี ยนรู้ ที่สอนในชันเรี ้ ยนปกติแล้ วนาไปใส่ไว้ ใน อิ น เทอร์ เนตหรื อ ระบบออนไลน์ จะช่ ว ยให้ ผู้เรี ย นสามารถเรี ย นรู้ นอกชัน้ เรี ย น สามารถที่ จะเรี ย นซา้ หรื อการหยุดชั่วขณะหากไม่เข้ าใจได้ และยังสามารถจด บันทึกสิ่งที่ไม่เข้ าใจเอามาถามครู ที่ชัน้ เรี ยนเมื่อถึงเวลาได้ ที่ชนั ้ เรี ยนผู้เรี ยนก็ ไม่ จาเป็ นต้ องใช้ เวลาในการเรี ยนเนื ้อหาวิชา เนื่องจากได้ ศึกษามาก่อนแล้ ว เวลาใน ชันเรี ้ ยนจึงสามารถนามาใช้ เพื่อให้ เกิดคุณค่าต่อ ผู้เรี ยนได้ มากขึ ้น ครู สามารถจัด กระบวนการเรี ยนที่เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรี ยนได้ คนที่เรี ยนรู้ได้ ช้าจะถูก จับ กลุ่ม และได้ รั บ ความสนใจ รวมถึ ง การได้ รั บ โจทย์ ค าถามที่ เหมาะสมกั บ ความสามารถ เพื่ อ ให้ การเรี ย นรู้ เหมาะสมส าหรั บ บุ ค คล (Personalization) ห้ องเรี ยนกลับทางจึงเป็ นเทคนิคการสอนที่เปลีย่ นความสนใจจากการจัดการเรี ยนรู้ ที่ครูเป็ นฐาน สอนทังชั ้ นด้ ้ วยความเร็ วเดียวกัน เนื ้อหาเดียวกัน ใครเรี ยนรู้ได้ ช้า หรื อ ขาดเรี ยน ก็จะไม่สามารถตามชันเรี ้ ยนได้ ทนั มาเป็ นการจัดการเรี ยนรู้ ที่ ผ้ เู รี ยน ครู Experience of Learning

39


เป็ นผู้ดาเนินการชี ้แนะและสร้ างสรรค์กิจกรรมในชันเรี ้ ยน ที่เหมาะสมกับตัวผู้เรี ยน แต่ล ะคน ใช้ เวลาในชัน้ เรี ย นเพื่ อ ช่ว ยผู้เรี ย นแปลงเนื อ้ หาความรู้ ที่ ได้ เรี ย นจาก วิดีทศั น์มาเป็ นความเข้ าใจที่มากขึ ้น ขันตอนของการน ้ าเทคนิคห้ องเรี ยนกลับทางมาใช้ แบ่งได้ เป็ นสองช่วงคือ นอกชัน้ เรี ยน และในชันเรี ้ ยน ช่วงเวลานอกชัน้ เรี ยนเป็ นช่วงที่ ผ้ สู อนจะกาหนดให้ ผู้เรี ยนเรี ยนรู้ เนื ้อหาการเรี ยนจากวิดีทศั น์ที่ ผ้ สู อนกาหนดให้ โดยวิดีทศั น์อาจเป็ น ของผู้สอนเองทังหมด ้ หรื อมีบางส่วนจากผู้อื่นร่ วมด้ วยก็ได้ ซึ่งการดูวิดีทศั น์ต้องมี การแนะนาให้ ผ้ เู รี ยนปฏิบตั ิได้ อย่างถูกวิธี การดูต้องมีสมาธิ ปิ ดเครื่ องมือสือ่ สารทุก ชนิ ดรวมถึง โทรทัศ น์ เพื่ อตัด การรบกวนทุกๆสิ่ง นอกจากนี ย้ ังแนะน าให้ ผู้เรี ย น สามารถใช้ การหยุด และการย้ อนกลับ เพื่อจดประเด็นที่สงสัย จดประเด็นคาถาม หรื อฟั งซ ้าเพื่อความเข้ าใจเพิ่มขึ ้น สาหรับช่วงเวลาในชัน้ เรี ยนจะเริ่ มต้ นด้ วยการ ทบทวนเนือ้ หาในวิดีทัศน์ สนๆ ั ้ และทาการตอบคาถามในประเด็นที่ ผ้ ูเรี ยนสงสัย ช่วงนี ้เองเป็ นช่วงเวลาที่ ผ้ สู อนจะใช้ สาหรับการตรวจสอบว่า ผู้เรี ยนได้ ดวู ิดีทศั น์มา ก่อนหรื อไม่ โดยอาจทาการมอบหมายให้ ผ้ เู รี ยนทุกคนต้ องตังค ้ าถาม เพื่อจะเป็ น การบังคับ ให้ ดูวิ ดี ทั ศ น์ ก่ อ นเข้ า ชัน้ เรี ย นนั่น เอง นอกจากนี ก้ ารตัง้ ค าถาม ตอบ คาถาม ยังเป็ นการตรวจสอบความเข้ าใจของผู้เรี ยนได้ ด้วย หากมีการเข้ าใจผิดจะ ได้ ใช้ เวลานี ้แก้ ไขความเข้ าใจผิดนัน้ และหากมีผ้ เู ข้ าใจผิดมาก อาจเกิดจากวิดีทศั น์ ที่บนั ทึกไว้ มีข้อบกพร่ อง ผู้สอนก็จะสามารถนากลับไปแก้ ไขได้ หลังจากนันผู ้ ้ สอน จะสามารถมอบหมายงานให้ ท าในกิ จ กรรมต่า งๆที่ ได้ เตรี ย มไว้ ที่ เหมาะสมกับ เนื อ้ หา และเหมาะสมกับ กลุ่ม ผู้เรี ย น โดยผู้เรี ย นแต่ละคนไม่ จ าเป็ น จะต้ อ งท า กิ จ กรรมเดี ย วกัน ผู้ที่ เรี ย นช้ ากว่ า เพื่ อ นอาจได้ รั บ กิ จ กรรมที่ เสริ ม การเรี ย นรู้ ที่ เหมาะสม ที่ ท าให้ เกิ ด ความเข้ าใจ และสามารถตามชัน้ เรี ย นได้ ทัน กิ จกรรมที่ สามารถท าได้ เช่ น การค้ นคว้ า ประเด็ น เพิ่ ม เติ ม โครงงานย่ อ ย กิ จ กรรมการ แก้ ปัญหา การทาแบบฝึ กหัดที่เป็ นวิธีคิดเชิงคานวณ การตังค ้ าถามเชิงคานวณเพื่อ เชื่อมโยงกับเทคโนโลยีปัจจุบนั ฯลฯ บทบาทของผู้สอนในช่วงเวลานี ้จะเปลี่ยนไป 40

Experience of Learning


เป็ นผู้แนะนา สามารถสร้ างปฏิสมั พันธ์กบั ผู้เรี ยนได้ อย่างดี ผู้ที่เรี ยนช้ าจะได้ รับการ เอาใจใส่ดูแลเพิ่มซึ่งจะช่วยให้ ช่องว่างความสามารถด้ านการเรี ยนที่แตกต่างกัน มากของผู้เรี ยนให้ ลดลง ผู้เรี ยนสามารถพัฒนาการเรี ยนรู้ตามความสามารถของแต่ ละคน ผู้สอนจะเดิน เข้ าหาผู้เ รี ย นทุกคนอย่างใกล้ ชิ ดและมีบ ทบาทเพิ่ ม ขึน้ จาก ความเป็ นผู้สอน มาเป็ นพี่เลี ้ยง เป็ นเพื่อน และเป็ นผู้เชี่ยวชาญในการแก้ ไขปั ญหา ต่างๆด้ วย สิ่งนีเ้ องที่ปิดจุดอ่อนของการเรี ยนแบบออนไลน์ ที่ไม่มีปฏิสมั พันธ์ กัน ระหว่างผู้สอนและผู้เรี ยน เทคนิคห้ องเรี ยนกลับทางถูกนามาใช้ ในการเรี ยนการสอนรายวิชาหลักการ สื่อสารที่เป็ น รายวิช าชี พ บังคับของภาควิชาวิศ วกรรมไฟฟ้า และอิ เล็กทรอนิ ก ส์ ประยุกต์ นามาใช้ ครัง้ แรกในภาคการเรี ยนที่ 2/2557 การจัดการเรี ยนด้ วยเทคนิค ห้ อ งเรี ย นกลับ ทางในครั ง้ แรกนัน้ จึ ง ถู ก เลื อ กใช้ แบบค่ อ ยเป็ นค่ อ ยไป ท าการ สอดแทรกด้ วยปริ มาณมากน้ อยในแต่ละครัง้ ไม่เท่ากัน บางสัปดาห์เนื ้อหาการเรี ยน มีความซับซ้ อนมาก ก็จะปรับใช้ ห้องเรี ยนกลับทางเพียงเล็กน้ อย อาจใช้ ระยะเวลา เพียงร้ อยละ 20 ของเวลาเรี ยนทังหมด ้ แต่ในบางสัปดาห์เนื ้อหาไม่ซบั ซ้ อน สามารถ ทาความเข้ าใจด้ วยตนเองได้ ง่ายก็จะปรับใช้ เทคนิคการสอนห้ องเรี ยนกลับทางใน ระยะเวลาร้ อยละ 50 ของเวลาเรี ยนทังหมด ้ การใช้ ห้ องเรี ย นกลับ ทางนอกชัน้ เรี ยนทาโดยการมอบหมายให้ ผู้เรี ยนที่ ลงทะเบียนเรี ยนในรายวิชาดูวิดีทศั น์เนื ้อหาการสอนที่ถกู บันทึกไว้ ก่อนเข้ าชันเรี ้ ยน ในแต่ละครัง้ ซึง่ สามารถเข้ าถึงได้ จากระบบออนไลน์ของมหาวิทยาลัยและทางยูทปู พร้ อมทังจดสิ ้ ง่ ที่ไม่เข้ าใจหรื อมีประเด็นสาคัญเอาไว้ เพื่อมาพูดคุยในชันเรี ้ ยน เมื่อเข้ าสูช่ นเรี ั ้ ยนในห้ องเรี ยนกลับทาง ผู้สอนจะขานชื่อผู้เรี ยนทุกคนพร้ อม ทักทาย และกล่าวถึงเรื่ องราวที่เกิดขึ ้นในสัปดาห์ที่ผา่ นมาที่เป็ นเรื่ องที่ ผ้ เู รี ยนน่าจะ สนใจ เพื่อสร้ างความสนิทสนมและสร้ างบรรยากาศที่เป็ นมิตร จากนัน้ จึงรับฟั ง คาถามที่อาจเกิดขึ ้นจากสิ่งที่เป็ นประเด็นสงสัยจากการดูวิดีทศั น์ เมื่อได้ รับข้ อมูล จากผู้เรี ยน ผู้สอนจับประเด็น และสรุ ปสาระการเรี ยนรู้ บรรยายหน้ าชันเรี ้ ยนซึ่งจะ Experience of Learning

41


ใช้ เวลามากหรื อน้ อยไม่เท่ากัน ในแต่ละวัตถุประสงค์ การเรี ยนรู้ หากบางหัวข้ อ ผู้เรี ยนเข้ าใจผิด หรื อเป็ นเรื่ องที่ซบั ซ้ อน ก็อาจใช้ เวลาให้ มากขึ ้น ในบางสัปดาห์ชนั ้ เรี ยนในห้ องเรี ยนกลับทางจะนาเสนอด้ วยกิจกรรมการทดลอง หากเครื่ องมือและ อุป กรณ์ สามารถเคลื่อ นย้ า ยเข้ าสู่ห้อ งเรี ยนได้ ก็ จะนามาสาธิ ต ให้ กับ ผู้เรี ยนได้ สัมผัสอย่างใกล้ ชิด ส่วนการสาธิตที่ต้องใช้ เครื่ องมือขนาดใหญ่ในห้ องปฏิบตั ิการ ก็ จะแสดงด้ วยวิดีทศั น์ที่บนั ทึกการทดลองไว้ นอกจากนี ้กิจกรรมการถามตอบผ่านการควิซ (Quiz) ในระบบออนไลน์ก็ถกู นามาใช้ เพื่อการประเมินความเข้ าใจของผู้เรี ยนทังก่ ้ อนเรี ยนและหลังเรี ยนได้ ด้วย ในส่วนกิจกรรมถามตอบในชันเรี ้ ยนสามารถใช้ สื่อสังคมออนไลน์เช่นเฟสบุ๊กเพจมี url : http://www.facebook.com/EEG371 ที่สร้ างขึ ้นเฉพาะเพื่อ เป็ นช่องทางการ สือ่ สารกับผู้เรี ยนที่ลงทะเบียนเรี ยนรายวิชานี ้ และสามารถนามาใช้ ทากิจกรรมถาม ตอบในชันเรี ้ ยน โดยระหว่างการทากิจกรรม ผู้สอนจะกาหนดกลุม่ ผู้เรี ยน โดยอาจมี จานวนกลุ่ม ละ 4 – 5 คน เพื่ อให้ ผ้ ูเรี ยนในกลุ่มช่วยกันคิ ดและปฏิบัติการค้ นหา คาตอบร่วมกัน ช่วยเหลือกัน การตังค ้ าถามผู้สอนจะเป็ นผู้โพสคาถามลงบนหน้ าเพจ และกาหนดคาสัง่ หรื อ ข้ อ ก าหนดให้ ชัด เจน เช่ น หากค าถามง่ายเพื่ อ ตรวจสอบความเข้ า ใจ และ ต้ องการให้ ผ้ เู รี ยนบอกได้ อาจให้ เวลาในการส่งคาตอบไม่นานนัก และทาการเปิ ดดู ค าตอบหน้ า ชัน้ ในคอมเมนต์ พ ร้ อมกัน กับ ผู้เรี ย น หากเป็ น ค าถามที่ ต้ อ งลงมื อ ปฏิบัติการคานวณ ก็ จะให้ เวลาในการทามากขึน้ ระหว่างที่ผ้ เู รี ยนช่วยกันแก้ ไข ปั ญ หา ผู้สอนสามารถเดินรอบๆห้ องเพื่ อสังเกตุความเข้ าใจ และช่วยเหลือเมื่ อ ผู้เรี ยนเกิดข้ อสงสัย ซึ่งจะทาให้ สามารถให้ ความช่วยเหลือการเรี ยนรู้ ที่เหมาะสม สาหรับบุคคลได้ ส่งผลให้ ผ้ เู รี ยนสามารถตีความเนื ้อความรู้ ให้ เป็ นความเข้ าใจได้ ดี ยิ่งขึ ้น นอกจากนี ้การใช้ สื่อสังคมออนไลน์ยงั มีประโยชน์ในด้ านการแบ่งปั นวิธีการ หาคาตอบให้ แก่เพื่อนๆ และสามารถกลับมาทบทวนในภายหลังได้ โดยคาตอบ และวิธีทาที่ได้ โพสในคอมเมนต์ ผู้สอนก็สามารถเข้ าไปพิจารณาให้ ความเห็น หรื อ 42

Experience of Learning


แนะนาเพื่อให้ เกิดความเข้ าใจที่ถกู ต้ องได้ ด้วย กิจกรรมถามตอบโดยการใช้ เฟสบุ๊ก เพจสามารถเข้ าถึงความสนใจของผู้เรี ยนในสมัยนี ้ได้ ดี ทัง้ ยังเป็ นช่องทางให้ ผ้ เู รี ยน ใช้ แบ่งปั นระหว่างกันได้ อย่างทัว่ ถึงในกลุม่ ผู้เรี ยน การเรียนให้ ร้ ูจริง (Mastery Learning) นอกเหนือจากเทคนิคห้ องเรี ยนกลับทางที่ใช้ ในการสอนในรายวิชาหลักการ สื่อสารแล้ วแล้ ว ในปี การศึกษา 2559 ได้ เสริ มเทคนิคการสอนในรู ปแบบการเรี ยน ให้ ร้ ู จริ งคื อให้ ผ้ ูเรี ย นได้ สามารถเรี ยนรู้ ได้ ตามวัตถุประสงค์ การเรี ย นรู้ ตามอัตรา ความเร็ วของการเรี ยนรู้ของตนเอง ที่อาจแตกต่างจากอัตราความเร็ วของชันเรี ้ ยน ที่ ถูกกาหนดขึ ้นโดยผู้สอน ผู้สอนจะประเมินการเรี ยนรู้ และวัดความเข้ าใจ หรื อการ ประเมิ นเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง (Formative Assessment) ส่วนผู้เรี ยนต้ องแสดงว่าเข้ าใจ อย่างแท้ จริ งตามวัตถุประสงค์การเรี ยนรู้โดยการประเมินการสอบแบบสอบได้ สอบ ตก (Summative Evaluation) เมื่อสามารถผ่านการเรี ยนรู้ ในวัตถุประสงค์ แรกได้ แล้ ว จึงจะสามารถเรี ยนรู้ในวัตถุประสงค์ตอ่ ไปได้ หากยังสอบไม่ผา่ นผู้สอนจะเป็ น ผู้คอยให้ ความช่วยเหลือ ซึง่ จะทาให้ ผ้ เู รี ยนสามารถเรี ยนรู้ได้ ผลที่แท้ จริ ง การกลับทางห้ องเรี ยนและเรี ยนให้ ร้ ู จริ ง (Flipped -Mastery Classroom) จึงเป็ นแนวทางการจัดการเรี ยนรู้ที่จะช่วยให้ ผ้ เู รี ยนสามารถเรี ยนรู้ตามวัตถุประสงค์ ในเบื ้องต้ น เมื่อพื ้นฐานความรู้มากพอจะสามารถเรี ยนรู้ในวัตถุประสงค์ที่ยากขึ ้นได้ โมเดลของการกลับทางห้ องเรี ยนและเรี ยนให้ ร้ ู จริ งแสดงดังภาพที่ 1 การใช้ วิดีทศั น์ จะช่วยให้ สามารถเรี ยนรู้ได้ ไม่จากัดจานวนครัง้ เมื่อติดปั ญหายากแก่การทาความ เข้ าใจ ก็จะสามารถจดบันทึกและนามาสอบถามในชัน้ เรี ยน ที่ได้ รับการดูแลให้ คาปรึ กษาจากผู้สอน รวมถึงได้ ได้ ทาแบบฝึ กหัดและกิจกรรมร่ วมกันกับเพื่อนๆใน ชันเรี ้ ยน จะช่วยเสริ มความเข้ าใจได้ มากยิ่งขึ ้นด้ วย โดยองค์ประกอบของการกลับ ทางห้ องเรี ยนและเรี ยนรู้ให้ จริ งมีข้อที่ต้องเพิ่มเติมคือ ต้ องกาหนดวัตถุประสงค์ของ การเรี ยนรู้ ให้ ชัดเจน และต้ องมีวิ ธีการประเมินหลายวิธีการเพื่อให้ แน่ใจว่าผู้เรี ยน สามารถเรี ยนบรรลุตามแต่ละวัตถุประสงค์ได้ ซึ่งหนึ่งในวิธีที่นามาใช้ ในการกลับ Experience of Learning

43


ทางห้ องเรี ยนและเรี ยนให้ ร้ ู จริ ง คือการประเมินผลการเรี ยนรู้ เพื่อปรับปรุ งในทันที (Immediate Formative Assessment) ดูวีดิทศั น์ และ อ่านหนังสือ

กิจกรรม ในชัน้ เรียน

ประเมินผล ผ่าน การเรียนรู้

เรียนรู้หวั ข้ อ ถัดไป

ไม่ผา่ น ปรับการสอน และการเรียนรู้

ภาพที่ 1 โมเดลการกลับทางห้ องเรี ยนและเรี ยนให้ ร้ ูจริ ง (Guskey, 2005) การประเมิน ผลการเรี ยนรู้ เพื่ อปรับ ปรุ งในทันที เป็ น หนึ่งในเครื่ องมื อของ ผู้สอนที่สามารถนามาใช้ กับผู้เรี ยนในระหว่างกระบวนการสอนในชัน้ เรี ยน ซึ่งจะ สามารถให้ ผลการประเมิ น ในทัน ทีห ลังจากท าการทดสอบเสร็ จสิน้ โดยผลการ ทดสอบที่ได้ จะสามารถเป็ นแนวทางให้ แก่ผ้ สู อนในการปรับกิจกรรมการสอน หรื อ เป็ น แนวทางให้ แ ก่ ผ้ ูเรี ย นในการปรั บ ปรุ งวิ ธี ก ารเรี ย นในระหว่างคาบเรี ย นโดย แตกต่างจากการทาควิซหลังเลิกเรี ยน ที่ผ้ สู อนจะทราบผลการประเมินหลังจากที่ สอนเสร็ จสิ ้นแล้ ว และผู้เรี ยนจะทราบหลังจากหมดคาบเวลาเรี ยนในสัปดาห์นนั ้ แล้ ว ซึ่งการที่ผ้ สู อนจะเข้ าไปปรับการสอนหรื อไปทาความเข้ าใจกับผู้เรี ยนก็จะต้ อง ทิ ้งช่วงเวลาเป็ นคาบเรี ยนถัดไปซึ่งไม่เหมาะสมกับเทคนิคการสอนแบบการเรี ยนให้ รู้ จริ งที่จะต้ องทาการปรับช่องว่างของการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยนและเป้าหมายของการ เรี ยนรู้ ให้ แคบลงโดยเร็ วที่สดุ เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนสามารถข้ ามไปสู่บทเรี ยนถัดไปได้ ใน การที่จะได้ ผลการประเมินการเรี ยนรู้ ในทันที ทังผู ้ ้ สอนและผู้เรี ยนมีหน้ าที่ในการ ดาเนินการที่แตกต่างกัน หน้ าที่ของผู้สอนจะต้ อง 1) เตรี ยมแผนการประเมินที่จะ นาไปใช้ ในการปรับปรุ งการเรี ยน 2) เลือกใช้ เครื่ องมือที่จะติดตามความก้ าวหน้ า ของการพัฒนาการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยน 3) เก็บข้ อมูลความก้ าวหน้ าและแบ่งปั นให้ แก่ 44

Experience of Learning


ผู้เรี ยนให้ ทราบและ 4) แปลผลข้ อมูลที่ได้ และปรับกระบวนการสอนให้ เหมาะสม จากผลข้ อมูล และในส่วนของผู้เรี ยนนันมี ้ หน้ าที่ 1) ทาความเข้ าใจกับวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการเรี ยนรู้ ในแต่ละบทเรี ยน 2) เข้ าร่ วมกับกิจกรรมต่างๆในและ นอกชันเรี ้ ยนที่ผ้ สู อนกาหนดให้ เช่นการทาควิซ การตอบคาถามในชันเรี ้ ยนและ 3) ปรับการเรี ยนรู้ และทาความเข้ าใจใหม่กบั เนื ้อหาที่เข้ าใจคลาดเคลื่อน สาหรับ การ ประเมินผลการเรี ยนรู้ เพื่อปรับปรุ งในทันทีสามารถดาเนินการได้ โดยใช้ เครื่ องมือ ทางเทคโนโลยี (Tech-tools) เช่น Pingpong, Edpuzzle, Poll Anywhere, Padlet, Kahoot หรื อ Plickers เป็ นต้ น ซึง่ ในบทความนี ้จะแนะนา Plickersเป็ นเครื่ องมือใน การประเมินผลการเรี ยนรู้ เพื่อปรับปรุงในทันที Plickers Plickers เป็ นหนึง่ ในเครื่ องมือทางเทคโนโลยี โดยเป็ นบริ การที่สร้ างคาถาม ออนไลน์ที่เวปไซต์ www.plickers.com ดังแสดงในภาพที่ 2 และสามารถที่จะทา การตรวจคาตอบเพื่อการประมวลผลการเรี ยนรู้ ได้ ในทันที ข้ อดีของการใช้ Plickers คือผู้เรี ยนไม่จาเป็ นจะต้ องใช้ อปุ กรณ์เทคโนโลยีซงึ่ จะไม่เป็ นภาระของผู้เรี ยนในการ จัดหาเครื่ องโทรศัพท์สมาร์ ทโฟนหรื อเครื่ องคอมพิวเตอร์ โน๊ ตบุคในการร่ วมกิจกรรม ในชั น้ เรี ย น ระบบของ Plickers ต้ องการเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ที่ เ ชื่ อ มต่ อ กั บ plickers.com ผ่านทางอินเทอร์ เน็ต เฉพาะด้ านผู้สอนเท่านัน้ โดยจะต่อเชื่ อมกับ เครื่ องฉายเพื่อแสดงโจทย์คาถามแต่ละข้ อ สาหรับการควบคุมการแสดงคาถาม และการตรวจค าตอบของผู้เรี ย นแต่ละคน ระบบ Plickers จะใช้ เครื่ องโทรศัพ ท์ สมาร์ ทโฟนของผู้สอนที่ติดตังโปรแกรมประยุ ้ กต์ Plickers ผู้สอนเพียงทาการพิมพ์ ชุ ด กระดาษ Plickers แจกให้ แก่ ผ้ ู เรี ย น กระดาษ Plickers แต่ ล ะใบจะเป็ น เอกลักษณ์ เฉพาะ มีเลขลาดับของบัตรอยู่ทงสี ั ้ ่มุมและเลขลาดับนี ้จะสัมพันธ์ กับ ผู้เรี ยนแต่ละคนในชันเรี ้ ยนดังแสดงในภาพที่ 3 และภาพที่ 4 สาหรับภาพที่ 5 เป็ น การแสดงการใช้ กระดาษ Plickers ของผู้ เรี ย นในชัน้ เรี ย น ในแต่ ล ะด้ านของ กระดาษ Plickers มีตวั อักษรระบุคาตอบที่ผ้ ูเรี ยนจะใช้ ในการตอบคาถาม เมื่อถึง Experience of Learning

45


ช่วงเวลาในการตอบคาถาม ผู้เรี ยนจะต้ องยกกระดาษ Plickers ขึ ้น โดยเลือกด้ าน ที่จะตอบระหว่าง A, B, C หรื อ D ให้ อ ยู่ด้ านบน เช่นหากต้ องการตอบข้ อ A ให้ เลือกชูกระดาษ Plickers ของตนให้ ด้าน A อยูด่ ้ านบน เป็ นต้ น

ภาพที่ 2 บริ การที่สร้ างคาถามออนไลน์ที่เวปไซต์ www.plickers.com

ภาพที่ 3 ตัวอย่างกระดาษ Plickers

46

Experience of Learning


ภาพที่ 4 ลาดับกระดาษ Plickersที่กาหนดรายชื่อผู้เรี ยน

ภาพที่ 5 การใช้ กระดาษ Plickers ของผู้เรี ยนในชันเรี ้ ยน ในการสร้ างคาถามผู้สอนสามารถสร้ างคาถามในฐานข้ อมูลคลังคาถามดัง แสดงในภาพที่ 6 ซึ่งสามารถสร้ างได้ สองลักษณะคือคาถามปรนัยสี่ตวั เลือกหรื อ คาถามจริ ง/เท็จ ในการแสดงคาถามให้ ผ้ เู รี ยนเห็นในชันเรี ้ ยนทาโดยการแสดงผ่าน Live view ดัง แสดงในภาพที่ 7 ซึ่ ง ช่ ว ยให้ ผู้ เรี ย นทุ ก คนเห็ น ค าถามได้ ใ นเวลา เดียวกัน พร้ อมทัง้ เห็นสถานะการตอบคาถามบนหน้ าจอเครื่ องฉายด้ วย ผู้สอน สามารถควบคุมลาดับของคาถามได้ โดยใช้ โปรแกรม Plickers บนสมาร์ ทโฟนดัง แสดงในภาพที่ 8 ในการตรวจคาตอบผู้สอนจะทาการสแกนกระดาษ Plickers ที่ ผู้เรี ยนแต่ละคนตอบผ่านการกดปุ่ มสแกนบนโปรแกรม Plickers ซึ่งจะเปิ ดการ ทางานของกล้ องถ่ายภาพบนสมาร์ ทโฟน จากนันท ้ าการเลื่อนการสแกนไปรอบๆ Experience of Learning

47


ห้ องเพื่อตรวจคาตอบของผู้เรี ยนทุกๆคน หน้ าจอสมาร์ ทโฟนของการตรวจคาตอบ โดยการสแกนด้ วยกล้ องแสดงดังภาพที่ 9 โปรแกรมบนสมาร์ ทโฟนจะเปลี่ยนพืน้ หลังของชื่อผู้เรี ยนเป็ นสีเขียวหากตอบถูกต้ อง หรื อเปลี่ยนพื ้นหลังเป็ นสีแดงหาก ตอบผิด คาตอบทังหมดของผู ้ ้ เรี ยนทุกคนจะถูกเก็บไว้ ในฐานข้ อมูลเพื่อใช้ ในการ อ้ างอิงในภายหลัง ได้ คาตอบของแต่ละข้ อของผู้เรี ยนทุกคนและรายงานคะแนน รวมจากระบบ Plickers สามารถเรี ยกแสดงได้ ดงั ภาพที่ 10 ซึ่งรายงานนีส้ ามารถ แบ่งปั นให้ กบั ทุกๆคนได้

ภาพที่ 6 การสร้ างคาถามในระบบ Plickers

48

Experience of Learning


ภาพที่ 7 หน้ าจอการแสดงคาถามที่ผ้ เู รี ยนเห็นผ่านเครื่ องฉาย

ภาพที่ 8 หน้ าจอการเลือกคาถามที่ผ้ สู อนเลือกจากสมาร์ ทโฟน

Experience of Learning

49


ภาพที่ 9 การตรวจคาตอบโดยการสแกนด้ วยกล้ อง

ภาพที่ 10 คาตอบของแต่ละข้ อของผู้เรี ยนทุกคนและรายงานคะแนนรวม Plickers สามารถนามาใช้ ในการประเมินผลการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยนในชัน้ เรี ยนทั่วไป หรื อในห้ อ งเรี ยนกลับ ทางซึ่งจะได้ ผลการประเมิ น ของแต่ละคาถาม ในทันทีหลังจากผู้เรี ยนตอบคาถามโดยการยกกระดาษ Plickers เพื่อเลือกคาตอบ โปรแกรมบนสมาร์ ทโฟนของผู้สอนจะสแกนกระดาษ Plickers ของผู้เรี ยนแต่ละคน หากตอบคาถามถูก รายชื่อจะเปลี่ยนแถบพื ้นหลังเป็ นสีเขียว และหากตอบผิดพื ้น หลังจะเปลี่ยนเป็ นสีแดง การตอบสนองโดยทันทีลกั ษณะนี ้จะทาให้ ผ้ สู อนสามารถ ทราบได้ อย่างทันท่วงทีว่าผู้เรี ยนเข้ าใจบทเรี ยนที่กาลังเรี ยนอยู่นี ้มากน้ อยเพียงใด จากคาตอบที่ปรากฎขึน้ ผู้สอนอาจปรั บหัวข้ อการสอน การนาเสนอหรื อวิธีการ อธิบายตามผลของคาตอบของผู้เรี ยน ถ้ าผู้เรี ยนสามารถตอบได้ อย่างถูกต้ องผู้สอน สามารถดาเนินการไปยังหัวข้ อถัดไป แต่หากมีผ้ เู รี ยนบางคนให้ คาตอบผิด ผู้สอน สามารถปรั บ การอธิ บ าย แจ้ งค าตอบและวิธี ก ารคิ ด ที่ ถูก ต้ อ ง หรื อ แลกเปลี่ย น แนวคิ ด ระหว่า งผู้เรี ย นในชัน้ นอกจากนี ใ้ นส่ว นผู้เรี ย นเองเมื่ อ ทราบถึ ง ผลการ 50

Experience of Learning


ประเมิ น ในทัน ที นัน้ ก็ จ ะสามารถท าความเข้ า ใจในสิ่งที่ เข้ าใจคลาดเคลื่อ นให้ ถูกต้ องได้ และจะสามารถปรับการเรี ยนรู้ เพื่อให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ของการเรี ยน การใช้ Plickers ยังสามารถนาไปใช้ ตงค ั ้ าถามโดยทัว่ ๆไป เช่น สารวจความคิดเห็น ถาม ความเข้ าใจในเนื ้อหาโดยรวม หรื อสามารถใช้ ในการตรวจการเข้ าเรี ยนของผู้เรี ยน ในแต่ละสัปดาห์ได้ ด้วย รายการอ้ างอิง วิจารณ์ พานิช. (2556). ครู เพื่อศิษย์ สร้ างห้ องเรี ยนกลับทาง. มูลนิธิสยาม กัมมาจล. Bergmann Jonathan and Aaron Sams. (2 0 1 2 ). Flip your classroom: Reach every student in every class every day. International Society for Technology in Education. Guskey, T. R. (2005). “Formative Classroom Assessment and Benjamin S. Bloom: Theory, Research, and Implications”. Online Submission. Perie, M., Marion, S., Gong, B., and Wurtzel, J. (2007). “The Role of Interim Assessments in a Comprehensive Assessment System: A Policy Brief”. Aspen Institute.

Experience of Learning

51


การออกแบบบทเรี ยน MOOCs เพื่อการเรี ยนการสอนวิชา เครื่ องมือ Cloud-Based ศตวรรษ 21 เพื่อชีวิตประจาวัน สิริรัตน์ มัชฌิมำดิลก และวรสรวง ดวงจินดำ ด้ ว ยความก้ าวหน้ าทางด้ า นเทคโนโลยี ผู้สอนต้ อ งออกแบบการเรี ย น การสอนให้ เปิ ด กว้ า ง รองรั บ การเรี ย นรู้ ได้ ต ลอดเวลา ผู้เรี ย นมี ค วามต้ อ งการ เปลี่ยนไปตามยุค ที่สาคัญความสนใจของผู้เรี ยนศตวรรษที่ 21 ต่อบทเรี ยน หรื อ ระหว่างการเรี ยนนันเฉลี ้ ย่ อยู่ที่ 20 -30 นาทีเท่านัน้ ที่จะทาความเข้ าใจเนื ้อหา โดย ตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยศรี ปทุม เข้ าร่วมโครงการระบบการศึกษาแบบเปิ ด แ ห่ งช า ติ (Thai Massive Open Online Course: Thai MOOC) เป็ น ห นึ่ งใน สถาบัน อุดมศึกษาแรก ๆ ของประเทศที่ดาเนินการสอนออนไลน์ แบบคุณภาพสูง เพื่อเปิ ดโอกาสทางการศึกษาให้ ทกุ คนที่สนใจไม่ว่าจะเป็ นนักเรี ยน นิสิต นักศึกษา และประชาชนทัว่ ไปสามารถเข้ าเรี ยนผ่านอินเทอร์ เน็ตได้ โดยไม่มีเงื่อนไขใด ๆ มา เป็ นข้ อจากัด ผ่านทางเว็บไซต์ thaimooc.org ในเดือนมีนาคมทางคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ได้ ออกแบบรายวิชา การบริ ห ารการสื่อ สารและการท างานร่ วมกัน ด้ วยเครื่ องมื อ Cloud-Based แห่งศตวรรษที่ 21 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ ชีวิตประจาวัน (21st Century Tools for effective Management Communication and Collaboration in Everyday Life) และดาเนินการจัดการเรี ยนการสอนผ่านระบบ Thai MOOCs เสร็ จสิ ้นเรี ยบร้ อยแล้ วในเดือนเมษายน เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนมีทางเลือกในการเรี ยนเพิ่มขึ ้น อาจารย์ สิริรัตน์ มัชฌิมาดิลก ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ดร.วรสรวง ดวงจินดา ผู้อานวยการสานักการจัดการศึกษาออนไลน์ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม 52

Experience of Learning


ปั จจุบนั โครงการการเรี ยนการสอนออนไลน์ในระบบเปิ ดสาหรับมหาชน แห่งชาติ (Thai Massive Open Online Course: Thai MOOC) อยูภ่ ายใต้ การดูแล ร่วมระหว่าง 3 หน่วยงานหลักที่สาคัญคือ 1. โครงการมหาวิ ท ยาลัย ไซเบอร์ ไทย (Thailand Cyber University – TCU) ห น่ ว ย ง า น ภ า ย ใต้ ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร รม ก า รก า รอุ ด ม ศึ ก ษ า กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งจะเป็ นหน่วยงานหลักในการประสานงานเพื่อให้ เกิดการ จัดการเรี ยนการสอนที่ได้ มาตรฐานการศึกษา ดูแลเพื่อให้ มีการจัดเก็บประวัติ และ การเทียบโอนผลการเรี ยนรู้ได้ 2. ส านั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ ซึ่ ง เป็ น หน่วยงานภายใต้ กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 3. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หน่วยงานเหล่านี ้จะ ร่ ว มกั น จัด การระบบตัง้ แต่ โครงสร้ างพื น้ ฐานทางเทคโนโลยี ระบบเครื อ ข่ า ย โปรแกรมระบบจัดการเรี ยนรู้ และการจัดการเรี ยนการสอน โดยมีสถาบันการศึกษา และหน่วยงานต่าง ๆ ร่วมกันพัฒนารายวิชา และจัดการเรี ยนการสอนต่อไป วัตถุประสงค์ ของโครงการ 1. เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยไซเบอร์ ไทย ที่มีระบบซอฟท์แวร์ รองรับการ จัดการเรี ยนการสอนออนไลน์ในระบบเปิ ดสาหรับมหาชน (MOOC platform) ที่มี ระบบฐานข้ อมูลผู้เรี ยน ประวัติการเรี ยนและหน่วยกิ ตสะสม (Credit Bank and credit transfer) พร้ อมระบบการถ่ายโอนหน่วยกิต และระบบคลังข้ อสอบ 2. เพื่อพัฒนามาตรฐานและแนวปฏิบตั ิการจัดการเรี ยนการสอน และการ ประกันคุณภาพการศึกษาระบบเปิ ดสาหรับมหาชน (MOOCs) 3. เพื่อสร้ างความร่ วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย ในการพัฒนาและหรื อจัด แปลงสื่อการเรี ยนรู้ ที่มีความสาคัญตอบสนองเศรษฐกิจและสังคมดิจิทลั ให้ อยู่ใน รูปแบบคอร์ สแวร์ ในระบบเปิ ด (open courseware) เพื่อนามาจัดการเรี ยนการสอน ออนไลน์ในระบบเปิ ดสาหรับมหาชน (MOOCs) Experience of Learning

53


4. เพื่ อ จั ด การเรี ย นการสอนออนไลน์ ใ นระบบเปิ ดส าหรั บ มหาชน (MOOCs) และเป็ นต้ น แบบการจัด การเรี ยนการสอนออนไลน์ ในระบบเปิ ดของ ประเทศไทย 5. เพื่อศึกษา วิจยั สภาพ แนวทางปฏิบตั ิที่ดี มีประสิทธิภาพและคุณภาพ ในการจัดการเรี ยนการสอนออนไลน์ในระบบเปิ ดสาหรับมหาชน (MOOCs) 6. เพื่ อส่งเสริ ม เผยแพร่ ฝึ ก อบรม ให้ แก่ ผ้ ูเชี่ ย วชาญในภาคธุรกิ จ และ อุ ต สาหกรรม ครู อาจารย์ ใช้ ประโยชน์ จากคอร์ สแวร์ แบบเปิ ด ( Open courseware) และประยุกต์ ใช้ ในการจัดการเรี ยนการสอนออนไลน์ ในระบบเปิ ด ส าหรั บ มหาชน (MOOCs) เพื่ อ ช่ ว ยให้ ผู้ ที่ ท างาน ประชาชน นั ก เรี ย น นิ สิ ต นักศึกษา มีทางเลือกในการเรี ยนรู้ เพื่อพัฒนาตนเองอย่างมีประสิทธิ ภาพและลด ภาระค่าใช้ จ่ายในการจัดการศึกษาทังระบบ ้ 7. เพื่ อ เป็ น ฐานการศึ ก ษาวิ จัย เพื่ อ พัฒ นาการจัด การเรี ย นการสอน ออนไลน์ของคณาจารย์ นักวิจยั นิสติ นักศึกษาด้ านครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ ด้ วยรู ปแบบการเรี ยนการสอนปั จจุบนั อาจทาให้ นกั ศึกษาไม่สามารถให้ เวลากับ การเรี ย นการสอนได้ เต็ม ที่ จึ งได้ นาทางเลือกในการเรี ยนรู้ เพื่ อพัฒ นา ตนเองอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และลดภาระเรื่ อ งค่ า ใช้ จ่ า ยในการศึ ก ษา มา ประกอบการเรี ยนรู้ ตลอด 24 ชัว่ โมง

54

Experience of Learning


คาอธิบาย รายวิชา

กาหนด วัตถุประสงค์

ออกแบบการ เรียนการสอน MOOCs

ภาพที่ 1 แผนภาพแสดงกระบวนการออกแบบบทเรี ยน MOOCs สาหรั บ การเริ่ ม ต้ น เรี ย นในรายวิ ช าต่า ง ๆ ของ Thai MOOC นัน้ ผู้เรี ย น จะต้ องทาการลงทะเบียนเรี ยนที่ www.thaimooc.org โดยดาเนินการตามขันตอน ้ ดังนี ้ คือ 1. เข้ าสูร่ ะบบ Thai MOOC เพือ่ เลือกรายวิชาที่ต้องการศึกษา และทา การลงทะเบียนเรี ยน

Experience of Learning

55


ภาพที่ 2 หน้ าเวบ thaimooc.org

ภาพที่ 3 หน้ าจอการลงทะเบียน 2. เข้ าสูบ่ ทเรี ยน และยอมรับข้ อตกลงในการเรี ยน โดยผู้สอนจะ ดาเนินการชี ้แจงข้ อมูลรายละเอียดต่าง ๆ ผ่าน รายวิชาที่เรี ยน

56

Experience of Learning


ภาพที่ 4 หน้ าจอการรับทราบเงื่อนไขการเข้ าเรี ยน

Experience of Learning

57


3. ผูเั รี ยนทุกท่านต้ องตอบรับเงื่อนไขภายในเวลาที่กาหนด เพื่อ 3.1 ได้ รับคะแนนกิจกรรม 10% 3.2 สิทธิ์ ในการนาคะแนนสอบประมวลความรู้ (Final examination) มาคิดในคะแนนรวม ผูเั รี ยนทุกท่านต้ องตอบรับเงื่อนไขภายในเวลาที่กาหนด ดังนี ้ UTC (GMT) time = วันเสาร์ ที่ 8 เมษายน 2017 เวลา 0.00 น. (เที่ยงคืนของคืนวันศุกร์ ที่ 7 เมษายน 2017) เวลาประเทศไทย = วันเสาร์ ที่ 8 เมษายน 2560 เวลา 7.00 น. (เจ็ดโมงเช้ า) 3.3 รายวิชานี ้เปิ ดสอนและการให้ คาแนะนาแบบออนไลน์ 100% โดย มีอตั ราส่วนของคะแนนดังนี ้ 10% จากการตอบรับเงื่อนไขของรายวิชานี ้ 30% จากการทา Post-Test ในทัง้ 10 ชัว่ โมงการเรี ยนรู้ 30% จากการทา Course Quiz 30% จากการทา ข้ อสอบประมวลความรู้ (ออนไลน์)

58

Experience of Learning


ภาพที่ 5 หน้ าจอรายละเอียดการรับทราบเงื่อนไขการเข้ าเรี ยน 4. ผู้เรี ยนมีหน้ าทีใ่ นฐานะของผู้เรียนวิชานี ้ ดังนี ้ 4.1 เข้ าเรี ยนออนไลน์ภายในช่วงระยะเวลาที่กาหนด 4.2 ศึกษาเนื ้อหาการเรี ยนรู้หลัก จากวีดิทศั น์ประจาชัว่ โมงการเรียนรู้ อย่างครบถ้ วน 4.3 ศึ ก ษาเนื อ้ หาการเรี ย นรู้ เสริ ม จากลิ ง้ ค์ ป ระกอบการเรี ย นรู้ ประจา ชัว่ โมงการเรี ยนรู้ 4.4 ทาคาถามก่อนเรี ยน (Pre-test) และคาถามหลังเรี ยน ทุกชัว่ โมง การเรี ยนรู้ (Post-test) อย่างครบถ้ วน 4.5 ร่ วมกิจกรรมในกระดานเสวนาของทุกๆชั่วโมงการเรี ยนรู้ อย่าง ครบถ้ วน

Experience of Learning

59


5. ผู้เรี ยนทุกคนต้ องดาเนินการทาแบบสอบถามก่อนเรี ยน เพื่อเก็บข้ อมูล ผู้เรี ยน

ภาพที่ 6 หน้ าจอการตอบแบบสอบถามก่อนเริ่ มเรี ยน 6. การดาเนินการเรี ยนโดยดูวีดีโอ และดาเนินการตามกิจกรรมทุกชัว่ โมง การเรี ยนรู้เหมือนกัน จานวน 10 ชัว่ โมงการเรี ยนรู้

60

Experience of Learning


ภาพที่ 7 หน้ าจอวีดีโอการสอนตามเนื ้อหาบทเรี ยน 7. การดาเนินกิจกรรมหลังจากดูวีดีโอประจาบทเรี ยน ผู้เรี ยนต้ องทา แบบทดสอบหลังเรี ยนเพื่อเก็บคะแนน และกิจกรรมถามตอบในส่วนของคาถามลับ สมองประลองปั ญญา

Experience of Learning

61


ภาพที่ 8 หน้ าจอคาถามลับสมองประลองปั ญญา 8. ผู้เรี ยนต้ องดาเนินกิจกรรมในการทาแบบทดสอบหลังเรี ยนเพื่อเก็บ คะแนน 30 %

ภาพที่ 9 หน้ าจอแบบทดสอบหลังเรี ยน 62

Experience of Learning


9. เมื่อสิ ้นสุดการเรี ยน จานวน 10 ชัว่ โมงการเรี ยนรู้ และนักศึกษาดาเนิน กิจกรรมต่าง ๆ เรี ยบร้ อยแล้ วนักศึกษาสามารถทา Course Quiz

ภาพที่ 10 หน้ าจอ Course Quiz

Experience of Learning

63


10. เมื่อสิ ้นสุดการเรี ยน จานวน 10 ชัว่ โมงการเรี ยนรู้ และนักศึกษาดาเนิน กิจกรรมต่าง ๆ เรี ยบร้ อยแล้ วนักศึกษาสามารถทาข้ อสอบประเมินความรู้ (Final Exam) จานวน 30 %

ภาพที่ 11 หน้ าจอ Final Exam

64

Experience of Learning


11. เมื่อสิ ้นสุดการเรี ยน นักศึกษาดาเนินการทาแบบสอบถามหลังเรี ยน และสามารถพิมพ์เอกสารใบรับรองการเรี ยน หากผู้เรี ยนทาคะแนนได้ เกิน 70 %

ภาพที่ 12 หน้ าจอแบบสารวจหลังเรี ยน

Experience of Learning

65


12. ระหว่างเรี ยน ผู้เรี ยนสามารถดูความก้ าวหน้ าของการเรี ยนได้ ตลอดเวลาในเมนู Progress

ภาพที่ 13 หน้ าจอ Progress

66

Experience of Learning


13. เมื่ อ ผู้ เรี ย นด าเนิ น การเรี ย นรู้ ได้ ตามเงื่ อ นไข สามารถพิ ม พ์ ใ บ ประกาศนียบัตร ได้

ภาพที่ 14 ใบประกาศนียบัตร 14. ระบบ Thai MOOC ในส่วนผู้สอนสามารถ กาหนดคะแนน และ ประเมินผลการเรี ยนการสอนผ่านระบบได้ ในส่วนการติดต่อกับผู้เรี ยนสามารถใช้ เมล์ในการติดต่อกันเป็ นรายคน และเป็ นกลุม่ ได้

Experience of Learning

67


ภาพที่ 15 หน้ าจอส่วนผู้สอน

68

Experience of Learning


15. สถิติและผลการเรี ยนรู้

ภาพที่ 16 แผนภาพจาแนกอายุผ้ เู รี ยน จากแผนภาพ จานวนผู้ลงทะเบียน 555 คน เพศหญิ ง 44.7% เพศชาย 54.9% และไม่ระบุเพศ 0.4% อายุเฉลี่ยของผู้เรี ยน = 31 ปี แบ่งเป็ น 39.1% ของผู้เรี ยน อายุน้อยกว่า 25 ปี 35.6% ของผู้ เรี ย น อายุ ร ะหว่ า ง 26-40 ปี และ 25.3% ของผู้ เรี ย น อายุ มากกว่า 41 ปี

ภาพที่ 17 แผนภาพจาแนกวุฒิการศึกษาผู้เรียน จากภาพที่ 17 วุฒิ การศึกษาก่อนเรี ยน 49.2% ของผู้เรี ยน จบการศึกษา ระดับปริ ญ ญาตรี 40.7% ของผู้เรี ยน มีการศึกษาสูงกว่าระดับปริ ญญาตรี 5.1% ของผู้เรี ยน มีการศึกษาต่ากว่าระดับระดับปริ ญญาตรี ภูมิศาสตร์ ของผู้เรี ยนมีผ้ ลู งทะเบียนเรี ยนจาก 7 ประเทศ 90% ของผู้เรี ยน อยู่ในประเทศไทย ประเทศอื่นๆ เช่น สิงคโปร์ สหรัฐอเมริ กา อินเดีย ลาว มาเลเซีย และไม่ระบุประเทศ Experience of Learning

69


สรุ ป ผลการเรี ย น จ านวนผู้เรี ย นที มี ป ฎิ สัม พัน ธ์ = 385 คน (69% ของผู้ ลงทะเบียน)จานวนผู้มี คะแนน = 311 คน (56% ของผู้ลงทะเบี ยน) จานวนผู้ได้ คะแนนเกิน 70% (ผ่านตามเกณฑ์) = 128 (23% ของผู้ลงทะเบียน และ 41% ของ ผู้ที่มีคะแนน

ภาพที่ 18 แบบสอบถามหลังเรี ยนแสดงว่าผู้เรี ยนส่วนใหญ่มคี วามรู้เพิ่มขึ ้น และเพิ่มขึ ้นอย่างมาก โดยสรุ ป การจัด การเรี ยนการสอน MOOCs หรื อ Massive Open Online Course อันเป็ นการพัฒนาหลักสูตรการเรี ยนการสอนออนไลน์ที่เน้ น “ระบบเปิ ด” อนุญาตให้ ทุกคนเข้ าถึงเนื ้อหาได้ อย่างเสรี และยังรองรับการเข้ าถึงได้ พร้ อมๆ กัน จานวนมาก ผู้เรี ยนสามารถเรี ยนได้ ทกุ ที่ ทุกเวลา โดยอาจารย์สามารถปรับเปลีย่ น วิธีการในการสอนได้ อยู่เสมอ โดยให้ สอดคล้ องกับวิชาเรี ยนปกติของนักศึกษาก็ได้ หรื อ อาจปรั บ รู ป แบบการเรี ย นการสอนเป็ น Flipped Classroom ได้ ต่ อ ไปใน อนาคต ระบบ MOOCs นันเป็ ้ นการเรี ยนระยะสันที ้ ่ช่วยเหลือในเรื่ องของบทเรี ยนที่ สนใจแบบเฉพาะด้ าน อีกทังยั ้ งช่วยเหลือในเรื่ องของแบรนด์ของสถาบันการศึกษา ให้ เกิดเป็ นชื่อเสียงต่อคนที่สนใจในเรื่ องความโดดเด่นของวิชาเฉพาะที่สอนผ่าน 70

Experience of Learning


ระบบ MOOCs ทังยั ้ งเพิ่มความยืดหยุ่น และเปิ ดตลาดใหม่ในเรื่ องของการพัฒนา บุ ค คลากรในสายอาชี พ เพิ่ ม เติ ม ได้ นอกเหนื อ จากนัก เรี ย น หรื อ นัก ศึ ก ษาใน สถาบันการศึกษา ข้ อเสนอแนะการเรียนรู้ MOOCs สามารถนาไปประยุกต์ ใช้ ในการเรี ยนการสอนได้ อย่างดี โดย เน้ นผู้เรี ยนที่สามารถเข้ าเรี ยน และต้ องการหาความรู้ ได้ ตลอดเวลา ไม่ว่าอยู่ที่ใด เวลาใด อาจารย์ สามารถใช้ เป็ นเครื่ องมือในการสร้ างบทเรี ยน เพื่อการเรี ยนการ สอนเสริ มในชันเรี ้ ยนได้

Experience of Learning

71


การพัฒนาบทเรี ยนออนไลน์ สาหรั บการสอน Active Learning ในวิชา ECO113 ปั ทมำ โกเมนท์ จำรัส ในปั จจุบันการเรี ยนรู้ แบบ Active Learning ได้ เข้ ามามีบทบาทในการเรี ยน การสอนมากขึน้ เนื่ องจากการเรี ยนการสอนดังกล่าวจะท าให้ ผ้ ูเรี ยนได้ เข้ ามามี บทบาทมากขึ ้น แทนการรับฟั งการถ่ายทอดจากครูผ้ สู อนเพียงอย่างเดียว ซึง่ การเรี ยน ในลักษณะนี ้ผู้เรี ยนจะได้ ลงมือกระทาในกิจกรรมในการเรี ยนการสอนมากขึ ้น อาทิ การเรี ยนรู้ ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ จากกรณี ศึกษามากขึน้ การเรี ยนรู้ จาก บทเรี ยนในลักษณะการเรี ยนจากบทเรี ยนในระบบออนไลน์ (e-learning ) เป็ นต้ น ในระบบการเรี ยนการสอนในระบบออนไลน์ เป็ นวิธีการที่ได้ รับความนิยม มากวิธีห นึ่งของการเรี ยนแบบ Active Learning เนื่ องจากการเรี ยนการสอนใน ระบบดังกล่าวค่อนข้ า ง จะเป็ น วิ ธีก ารที่ สะดวก และมี ป ระโยชน์ สาหรั บ ผู้เรี ย น ค่อนข้ างมาก เพราะสามารถทาการศึกษาได้ ทกุ ที่และทุกเวลา (ถ้ าหากมีเครื อข่าย ของระบบอินเทอร์ เน็ต) สาหรับในบทความนี ้เราจะใช้ วิธีการบรรยายโดยการใช้ วิธีการเชิงระบบเข้ า มาดาเนินการพิจารณาในการบรรยายควบคู่ไปด้ ว ย ทังนี ้ ้เพื่อเป็ นประโยชน์และ เป็ นแนวทางตัวอย่าง สาหรับการพัฒนาบทเรี ยนออนไลน์ในการจัดการเรี ยนการ สอนในรายวิชาอื่น ๆ ได้ ดงั นี ้ ซึง่ จะแสดงให้ เห็นเป็ นลาดับขันตอนได้ ้ ดงั นี ้ รองศาสตราจารย์ ปั ทมา โกเมนท์ จารัส อาจารย์ประจา คณะบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม 72

Experience of Learning


ขั ้น ตอนที่ 1 Problem identification and objective setting เราจะท าการ ก าหนดวัต ถุป ระสงค์ ซึ่ งก็ จ ะท าการระบุไปว่า คื อ การพัฒ นาบทเรี ย นออนไลน์ สาหรับการสอน Active Learning ในวิชา ECO113 ขัน้ ตอนที่ 2 Alternatives identification จะเป็ นการหาทางเลือกต่าง ๆ เพื่ อ ใช้ ในกระบวนการของการพัฒ นา บทเรี ย นออนไลน์ ใ นด้ านต่ า ง ๆ ส าหรั บ การสอน Active Learning ในวิ ช า ECO113 อาทิ การฟั งจากการบรรยายโดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ การฝึ กอบรมเชิง ปฏิบตั ิการ และการถ่ายทอดจากระบบของพี่เลี ้ยง เป็ นต้ น ขัน้ ตอนที่ 3 Decision making and Implementing จะเป็ นการตัดสินใจในการหาทางเลือกของวิธีที่ในกระบวนการของการ พัฒนาบทเรี ยนออนไลน์ในด้ านต่าง ๆ สาหรับการสอน Active Learning ในวิชา ECO113 ซึง่ จะประกอบไปด้ วย 1) ด้ านการเขียนโครงการสอนและแผนการสอน ในด้ านนี ้อาจจะ ใช้ วิธีการฟั งจากการอบรมโดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ ทังนี ้ ้ผู้พฒ ั นาบทเรี ยนออนไลน์ จะต้ องทาการศึกษาให้ ถ่องแท้ ว่า จะเขียนโครงการสอนและแผนการสอนอย่างไร ให้ เหมาะสมกับการสอนในแต่ละหัวข้ อของบทเรี ยน ยกตัวอย่าง ในรายวิชาหลัก เศรษฐศาสตร์ ในบางบทเรี ยนอาจจะสอนโดยวิธีนิรนัย ได้ แก่ หัวข้ อบทเรี ยน อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพ ซึ่งจะเป็ นการสอนในลักษณะของการอธิบายทฤษฎี หลักการ หลังจากนันก็ ้ จะทาการยกตัวอย่างประกอบการอธิบาย ส่วนบางบทเรี ยนอาจจะ สอนโดยวิธี อุป นัย เช่ น โครงสร้ างของตลาดและการก าหนดราคา ก็ จ ะเป็ น ลักษณะของการให้ นกั ศึกษาไปทาการสารวจสินค้ าและการกาหนดราคาของสิน ค้ า นัน้ ๆ จากสถานการณ์ จริ ง ก่อนที่จะมีการสอนในบทเรี ยนนัน้ ๆ หลังจากนันเมื ้ ่อ Experience of Learning

73


ถึงสัปดาห์ที่จะสอนในบทเรี ยนนัน้ ก็จะมีการนาผลการสารวจดังกล่าวมาทาการ ถกกัน เพื่ อ หาหลักการในแต่ละเรื่ อ ง แล้ วหลังจากนัน้ อาจารย์ ก็จ ะทาการสรุ ป หลักการให้ นกั ศึกษาได้ ทราบและเข้ าใจของโครงสร้ างของตลาดแต่ละประเภทอีก ครัง้ หนึง่ เป็ นต้ น 2) ด้ านเทคนิคการจัดทาสื่อของบทเรียน ในด้ านนี ้มีความสาคัญที่ไม่ ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน เริ่ มตังแต่ ้ การจัดทาหน้ าปกของบทเรี ยน เนื ้อหาของบทเรี ยน เช่น ในเรื่ องของการวางรูปกราฟ รูปภาพ ตลอดจนรู ปลักษณ์ของกราฟนัน้ จะวาง ลักษณะการเคลื่อนไหวอย่างไรที่จะสื่อให้ ผ้ เู รี ยนเข้ าใจได้ อย่างถ่องแท้ และมีการ ลาดับความคิดที่เป็ นลาดับ ต่อเนื่องและชัดเจน นอกจากนี ้จะเป็ นในเรื่ องของการ ใช้ เทคนิคในส่วนของการใช้ สี การตัดต่อภาพ เป็ นต้ น ในด้ านนี ้เราจะใช้ วิธีการของ ระบบพี่เลี ้ยง เนื่องจากเป็ นขันตอนที ้ ่ควรที่จะมีผ้ ทู ีมีประสบการณ์ มาถ่ายทอดและ อยูเ่ คียงข้ างที่ยาวนานพอสมควร 3) การเชื่อมโยงเนื ้อหาเข้ าสูร่ ะบบ e-learning ในด้ านนี ้เป็ นส่วนที่สาคัญ มาก ๆ เนื่องจากถ้ าเชื่อมโยงเข้ าสูร่ ะบบไม่ได้ สิง่ ที่ทามาทังหมดก็ ้ จะสูญเปล่า ทังนี ้ ้ การนาเข้ าสูร่ ะบบ e-learning ก็จะประกอบไปด้ วยหลายส่วน ได้ แก่ บทเรี ยนที่ใช้ เรี ยน สือ่ การสอนในรูปของ power point แบบฝึ กหัด คลังข้ อสอบออนไลน์ คลิป วีดิโอทบทวน ตัวอย่างกรณี ศึก ษา เป็ น ต้ น ในด้ านนี เ้ ราจะใช้ วิธีการอบรมเชิ ง ปฏิบตั ิโดยอาจจะไปอบรมกับหน่วยงานทางด้ านการจัดการเรี ยนการสอนในระบบ ออนไลน์โดยเฉพาะ

74

Experience of Learning


Experience of Learning

75


76

Experience of Learning


Experience of Learning

77


จากที่กล่าวมาข้ างต้ นจะเป็ นส่วนประกอบในด้ านต่าง ๆ ของการพัฒ นา บทเรี ย นออนไลน์ ส าหรั บ การสอน Active Learning ในวิ ช า ECO113 ซึ่ ง เรา จะต้ องตัดสินใจที่จะเลือกวิธีที่เหมาะสมต่อการพัฒนาบทเรี ยนออนไลน์ในแต่ละ ด้ าน และเพื่ อ ให้ เกิ ด ความมั่น ใจเราจะขัน้ ตอนที่ 4 และขัน้ ตอนที่ 5 เพื่ อ ใช้ ตรวจสอบอีก รอบว่า ในการพัฒ นาบทเรี ย นออนไลน์ ในแต่ละด้ านนัน้ เราเลือ ก วิธีการที่จะพัฒนาได้ เหมาะสมแล้ ว ทังนี ้ ้เราสามารถแสดงให้ เห็นได้ ในขันตอนที ้ ่4 และขันตอนที ้ ่5 ขัน้ ตอนที่ 4 Evaluation and giving Feedback ทาการประเมินเลือกวิธีการในแต่ละวิธีที่จะใช้ ในการพัฒนาบทเรียน ออนไลน์ สาหรับการสอน Active Learning การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ ทางเลือก ของวิธีการที่ใช้ ใน การเขียน เทคนิค การพัฒนา โครงการสอน การจัดทา บทเรียน และแผน สื่อ การสอน การสอน การบรรยายโดย 9 7 วิทยากรผู้เชี่ยวชาญ การอบรมเชิง 8 9 ปฏิบตั ิการ การใช้ ระบบพี่เลี ้ยง 7 10

78

การนาเนือ้ หา เข้ าสู่ระบบ e-learning

รวม

8

24

9

27

7

24

Experience of Learning


ขัน้ ตอนที่ 5 Taking Feedback and Modification ทาการดูผลตอบรับและปรับปรุงแก้ ไข จากตารางข้ างต้ น จะเป็ นการแสดงตัวอย่างของการเลือกวิธีการต่าง ๆ ที่จะ ใช้ ในการพัฒนาบทเรี ยนออนไลน์ในแต่ละด้ านที่เราเห็นว่า จะมีความเหมาะสม มากที่สดุ จากการให้ คะแนนของการใช้ วิธีการต่าง ๆ เพื่อทาการพัฒนาบทเรี ยน ออนไลน์ในแต่ละด้ าน โดยเราสมมติให้ คะแนนเต็มของแต่ละช่อง คือ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ซึง่ จะได้ วิธีที่ใช้ ในการพัฒนาบทเรี ยนออนไลน์ในแต่ละด้ าน ดังนี ้ 1) ด้ านการเขียนโครงการสอนและแผนการสอน ควรเลือกใช้ วิทยากร บรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งจะได้ คะแนน 9 คะแนน เนื่องจากในด้ านดังกล่าว ต้ อ งอาศัย ผู้เชี่ ย วชาญที่ ม ากด้ ว ยประสบการณ์ จึ ง จะท าให้ เราทราบว่า หัว ข้ อ บทเรี ยนในแต่ละหัวข้ อควรจะใช้ วิธีการสอนในลักษณะใด 2) ด้ า นการจั ด ท าสื่ อ การสอน ควรเลื อ กใช้ ระบบพี่ เลี ย้ ง ซึ่ ง จะได้ คะแนน 10 คะแนน เนื่องการในด้ านดังกล่าวต้ องใช้ เทคนิคเฉพาะค่อนข้ างมาก 3) ด้ านการนาเนื ้อหาเข้ าสูร่ ะบบ e-learning ควรเลือกใช้ การอบรมเชิง ปฏิบตั ิการ ซึง่ จะได้ คะแนน 9 คะแนน ซึง่ วิธีนี ้จะต้ องฝึ กปฏิบตั ิด้วยตนเองเพื่อให้ เกิดทักษะและความชานาญ จากการประเมิ น ผลข้ างต้ น ท าให้ เราทราบถึ งการเลือ กใช้ วิธี การที่ เหมาะสมที่ จ ะน ามาใช้ ในพัฒ นาบทเรี ย นออนไลน์ ส าหรั บ การสอน Active Learning ในวิชา ECO113 ซึ่งเราก็จะนาวิธีการดังกล่าวมาใช้ และอาจนามา ปรับปรุงแก้ ไข เพื่อให้ เกิดความเหมาะสมยิ่งขึ ้นต่อไป

Experience of Learning

79


เอกสารอ้ างอิง ปั ทมา โกเมนท์จารัส. 2557. เศรษฐศาสตร์ จุลภาคเบือ้ งต้ น. พิมพ์ครัง้ ที่ 2 บริ ษัท เพลท คอร์ เนอร์ จากัด : กรุงเทพมหานคร. ส านัก วิ ช าสัง คมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลัย ราชภัฏ เชี ย งราย. (ม.ป.ป.). “ACTIVE LEARNING หมายถึ ง อะไร”. สื บ ค้ นเมื่ อ 25 พฤษภาคม 2560. จาก https://social.crru.ac.th/activeLearning

80

Experience of Learning


การใช้ เครื อข่ ายสังคมเพื่อส่ งเสริมการเรี ยนรู้ ด้วยโครงงาน Using Social Network to Promote Project-Based Learning ณัฐธยำน์ ตรี ผลำ “คน” เป็ นหนึ่ ง ในเป้ า หมายหลัก ของการพั ฒ นาประเทศเพื่ อ มุ่ ง สู่ Thailand 4.0 “การปรั บ เปลี่ย นกระบวนการเรี ย นรู้ มุ่งพัฒ นาทัก ษะการคิ ด เชิ ง สร้ างสรรค์ จึงจาเป็ นสาหรับการสร้ าง “คนไทยยุค 4.0” ที่มีความรู้ ความสามารถ และมี ทัก ษะเพื่ อ สร้ างนวัต กรรม” (กองบริ ห ารงานวิ จัย และประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษา, 2560) สถาบันการศึกษาจึงมีบทบาทสาคัญต่อการสร้ างคนไทยยุค 4.0 ด้ วยการจัดการเรี ยนการสอนภายใต้ กรอบการเรี ยนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ที่เน้ นผู้เรี ยน เป็ นศูนย์กลาง สร้ างการมีส่วนร่ วมของผู้เรี ยน ผ่านกระบวนการจัดการเรี ยนการ สอนที่ทาให้ ผ้ เู รี ยนสามารถบูรณาการความคิดสร้ างสรรค์เป็ นองค์ความรู้ใหม่ได้ “การเรี ยนรู้เชิงรุก (Active Learning) คือรูปแบบการจัดการเรี ยนการสอน ที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นศูนย์ กลาง (Student-centered) มีกิจกรรมการเรี ยนการสอนที่ หลากหลาย เพื่อกระตุ้นและจูงใจให้ ผ้ เู รี ยนเกิดความสนใจใฝ่ เรี ยนรู้ ด้ วยการลงมือ ปฏิบตั ิ ทาให้ ผ้ เู รี ยนได้ ฝึกทักษะทางการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และบูรณาการเพื่อ หาข้ อสรุ ป” (ณัฐธยาน์ ตรี ผลา, 2558 , น.33) ผู้เรี ยนจึงได้ รับการพัฒนาศักยภาพ อย่างเต็มที่ ขณะเดียวกันผู้เรี ยนจะได้ รับการบ่มเพาะนิสยั การเรี ยนรู้ เพื่อเติมเต็ม และแบ่งปั นซึง่ กันและกัน หนึง่ ในรู ปแบบของการเรี ยนรู้ เชิงรุ กที่นิยมคือ การเรี ยนรู้ ด้ วยโครงงาน (Project-Based Learning)

ดร.ณัฐธยาน์ ตรีผลา อาจารย์ประจาสาขาวิชาการจัดการธุรกิจดิจิทลั คณะบริ หารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม Experience of Learning

81


การเรี ยนรู้ด้วยโครงงาน (Project-based Learning) เป็ นการเรี ยนรู้เชิงรุ ก รู ปแบบหนึ่ง ที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นศูนย์กลาง (Student-centered) โดยเปิ ดโอกาสให้ ผู้เรี ยนได้ เรี ยนรู้ จากบริ บทจริ งผ่านโครงงาน ทาให้ ผ้ เู รี ยนได้ เรี ยนรู้ ในสิ่งที่ตนเอง สนใจและสอดคล้ องกับความสามารถ ได้ ฝึกทักษะการค้ นคว้ าหาความรู้ ได้ ลงมือ ปฏิบตั ิผ่านกระบวนการกลุ่ม เพื่อนามาสรุ ปเป็ นความรู้ ใหม่และมีผลที่เป็ นรูปธรรม ผู้สอนจึงทาหน้ าที่ให้ คาปรึกษาแนะนา และสร้ างแรงกระตุ้นเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนได้ เรี ยนรู้ อย่างเต็มศักยภาพ กล่าวได้ ว่าการเรี ยนรู้แบบโครงงานเป็ นหนึ่งในรู ปแบบของการ จัดการเรี ยนการสอนในศตวรรษที่ 21 ที่สนับสนุนให้ มีกระบวนการเรี ยนรู้ที่เน้ นการ เรี ยนบนข้ อเท็จจริ ง โดยช่วยพัฒนาทักษะของผู้เรี ยนด้ านการเรี ยนรู้ และนวัตกรรม ทักษะด้ านสารสนเทศและสือ่ เทคโนโลยี และทักษะด้ านชีวิตและอาชีพ ซึง่ สามารถ แสดงกลยุทธ์ของการเรี ยนรู้แบบโครงงานได้ ดงั รูปที่ 1

รูปที่ 1 กลยุทธ์การเรียนรู้ผา่ นโครงงาน ทีม่ า : วัชริ นทร์ โพธิ์เงิน , พรจิต ประทุมสุวรรณ และ สันติ หุตะมาน, 2559. (ออนไลน์) www.fte.kmutnb.ac.th/km/project-based%20learning.pdf

82

Experience of Learning


อย่างไรก็ ตามโลกแห่งการเรี ยนรู้ ในยุค IoT (Internet of Things) ไม่ได้ จ ากัด ขอบเขตอยู่ภ ายในห้ อ งเรี ย น เนื่ อ งจากผู้เรี ย นสามารถเชื่ อ มโยงข้ อ มูล ที่ กระจายตามที่ ต่าง ๆ ผ่านเครื อ ข่ายอิน เทอร์ เน็ ต มี ผลให้ เกิ ดการเรี ยนรู้ อย่างไร้ พรมแดน นอกจากนี ้ “IoT ยังช่วยสร้ างห้ องเรี ยนอัจฉริ ยะ ที่ทาให้ ผ้ สู อนและผู้เรี ยน สามารถตรวจสอบติดตามผลการเรี ยนรู้ ได้ ” (พฤทธิ์ พุฒจร. 2559) ดังนันผู ้ ้ สอนจึง ใช้ อินเทอร์ เน็ตเป็ นเครื่ องมื อเพื่อส่งเสริ มประสิท ธิ ภาพการจัดการเรี ยนการสอน อาทิ การจัดการเรี ยนการสอนผ่าน e-Learning และการใช้ Social Network เพื่อ การจัดการเรี ยนการสอน e-Learning เป็ นรู ปแบบการจัดการเรี ยนการสอนที่ใช้ อินเทอร์ เน็ตเพื่ อ การถ่ ายทอดเนือ้ หาบทเรี ย น ทาให้ ผ้ ูเรี ย นสามารถเรี ยนรู้ ได้ ด้วยตนเอง โดยลด ข้ อจากัดในเรื่ องของเวลาและสถานที่เรี ยน ซึ่ง e-Learning สามารถเรี ยกในชื่ออื่น ได้ เช่ น การเรี ยนทางไกล (Distance Learning) การฝึ กอบรม โด ยอาศั ย คอมพิวเตอร์ (Computer based training) และการเรี ยนทางอินเทอร์ เน็ต (online Learning) เป็ นต้ น การถ่ายทอดเนื ้อหาบทเรี ยนได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพของ e-Learning ขึ น้ กั บ ประสิ ท ธิ ภ าพ ของระบบ การจั ด การเรี ยนรู้ (Learning Management System : LMS) ที่ทาให้ เนื ้อหาการเรี ยนรู้ และการจัดการความรู้ มี ความน่ า สนใจและตอบสนองความต้ อ งการของผู้เรี ย นได้ ซึ่ ง สามารถแสดง ความสัมพันธ์ของการเรี ยนรู้และการจัดการความรู้กบั e-Learning ได้ ดงั รูปที่ 2

Experience of Learning

83


รูปที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างการเรี ยนรู้และการจัดการความรู้กบั e-Learning ที่มา : Netthailand. 2560. (ออนไลน์) http://www.netthailand.com/home/articles.php?art_id=12 แม้ e-Learning จะช่ ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการจั ด การเรี ย นการสอน แต่ผ้ สู อนยังคงเผชิญกับความท้ าทายที่สบื เนื่องจากพฤติกรรมของผู้เรี ยนที่เป็ นคน Gen Y และ Gen Z เพราะผู้เรี ยนในสองรุ่ นนี ้ได้ ใช้ เวลาส่วนใหญ่ในแต่ละวันอยู่บน เครื อ ข่ า ยทางสัง คม (Social Network) ไม่ ว่ า จะเป็ น Facebook , Wordpress , Blog , Youtube หรื อ Twitter เครื อ ข่า ยทางสัง คมจะเป็ น สื่ อ กลางในการแสดง ความคิดเห็น ดังนันหากผู ้ ้ สอนนาเครื อข่ายทางสังคมมาใช้ ในการจัดการเรี ยนการ สอนได้ อย่างเหมาะสม ย่อมทาให้ ผ้ สู อนมีเครื่ องมือในแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ สร้ างการมี ส่วนร่วม ช่วยลดข้ อจากัดด้ านสถานที่และเวลา ช่วยลดช่องว่างระหว่างผู้สอนและ ผู้เรี ย น สามารถตรวจสอบและติ ด ตามผู้เรี ย นได้ อ ย่ า งมี ป ระสิท ธิ ภ าพเพิ่ ม ขึ น้ นอกจากนี ้เครื อข่ายทางสังคมจะช่วยสร้ างปฏิสมั พันธ์ นอกห้ องเรี ยนระหว่างผู้สอน และผู้เรี ยนได้ แบบ Real Time ซึ่งมีผลต่อการส่งเสริ มสัมพันธภาพระหว่างผู้สอน และผู้เรี ยนได้ อีกด้ วย กล่าวได้ วา่ ”เครื อข่ายทางสังคมเป็ นเครื่ องมือที่มีประโยชน์ตอ่

84

Experience of Learning


การจัด การเรี ย นการสอน เสริ ม สร้ างความรู้ และช่ ว ยพัฒ นาทัก ษะที่ จ าเป็ น ใน ศตวรรษที่ 21 ของผู้เรี ยนได้ เป็ นอย่างดี” (ภาสกร เรื องรองและคณะ. 2556) มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ได้ ผลักดันและส่งเสริ มให้ คณาจารย์ปรับปรุ งและ พัฒนารู ปแบบการจัดการเรี ยนการสอนตามแนวทางการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ด้ วยการสนับสนุนทัง้ ในด้ านการอบรมเพื่อเพิ่มพูนองค์ ความรู้ และด้ านเครื่ องมือ อุปกรณ์และสือ่ เพื่อการจัดการเรี ยนการสอน อาทิ e-learning และ e-book รวมทัง้ การสนับ สนุ น ให้ มี ก ารพั ฒ นาการจัด การเรี ย นการสอนภายใต้ โครงการ The Teacher Project 2 ในรายวิชา โดยผู้สอนได้ เลือกปรับปรุ งรูปแบบการจัดการเรี ยน การสอนวิชา MGT345 การเป็ นผู้ประกอบการและการสร้ างธุรกิจใหม่ บนพื ้นฐาน แนวคิดการเรี ยนรู้เชิงรุก (Active Learning) ผ่านการเรี ยนรู้ด้วยโครงงาน (Projectbased Learning) โดยอาศัย เครื อ ข่า ยทางสังคม (Social Network) ซึ่งสามารถ สรุปสาระสาคัญในการของการจัดการเรี ยนการสอนได้ ดงั นี ้ 1. การจัดทามคอ.03 เพื่อให้ การจัดการเรี ยนการสอนในรายวิชา MGT345 การเป็ น ผู้ประกอบการและการสร้ างธุรกิจใหม่ ส่งเสริ มและสนับสนุนให้ เกิดการเรี ยนรู้ ที่มี ผู้เรี ยนเป็ นศูนย์ กลาง (Student-centered) ผู้สอนได้ ให้ ความสาคัญ กับการสร้ าง เนือ้ หารายวิชา (Content) ที่สอดคล้ องกับ มคอ.02 ดังนัน้ ผู้สอนจึงได้ มีการปรับ มคอ.03 ให้ มีความละเอียด ครบถ้ วนและสมบูรณ์ ยิ่งขึ ้น ซึ่งหมวดที่มีการปรับปรุ ง อย่างเห็นได้ ชดั เจนได้ แก่ หมวดที่ 4 หมวดที่ 5 และหมวดที่ 7 โดยในหมวดที่ 4 การ พัฒนาการเรี ยนรู้ของนักศึกษา ผู้สอนได้ อธิบายอย่างชัดเจนถึงจุดมุ่งหมายในการ พัฒนา วิธีการจัดการเรี ยนการสอนและวิธีการประเมินผล ซึ่งสามารถแสดงได้ ดงั รูปที่ 3

Experience of Learning

85


รูปที่ 3 มคอ.03 วิชา MGT345 หมวดการพัฒนาการเรี ยนรู้ของนักศึกษา

86

Experience of Learning


ในมคอ.03 หมวดแผนการสอนและการประเมิน ผล ผู้สอนได้ ปรั บปรุ ง หัวข้ อการสอนให้ สอดคล้ องและครอบคลุมกับคาอธิบายรายวิชาที่ระบุไว้ ใน มคอ. 02 มีการค้ นคว้ าข้ อมูลในปั จจุบนั เพิ่มเติมเพื่ อนามาปรับหัวข้ อการสอนให้ มีความ ทันสมัย โดยผู้สอนได้ อธิบายรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับหัวข้ อที่สอน กิจกรรมการ เรี ยนการสอนและสื่อที่ใช้ อันจะทาให้ ผ้ สู อนสามารถทบทวนได้ ว่าการจัดกิจกรรม การเรี ย นการสอนและสื่อ ที่ ใช้ ของการเรี ย นในแต่ ล ะหัว ข้ อ มี ค วามเหมาะสม สอดคล้ องกันหรื อไม่ และได้ นารูปแบบการจัดการเรี ยนการสอนที่หลากหลายตาม แนวทางการเรี ยนรู้เชิงรุกมาใช้ หรื อไม่ สามารถแสดงได้ ดงั รูปที่ 4

รูปที่ 4 มคอ.03 หมวดหัวข้ อการสอน กิจกรรมการเรี ยนการสอนและสือ่ ที่ใช้

Experience of Learning

87


นอกจากนี ผ้ ้ ู สอนยัง ได้ ปรั บ ปรุ ง มคอ.03 ในหมวดที่ 7 การ ประเมิ น การปรั บ ปรุ งและการด าเนิ น การของรายวิช า ที่ ผ้ ูสอนได้ มี ก ารอธิ บ าย รายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในส่ว นของการทวนสอบมาตรฐาน ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ที่ผ้ สู อนได้ ใช้ วิธีการที่หลากหลายเพื่อทวนผลสัมฤทธิ์ของ นัก ศึก ษา เช่ น การทดสอบย่อ ยในระบบ e-Learning การน าเสนอผลงานของ นักศึกษาผ่านกิจกรรมกลุม่ ผลสัมฤทธิ์ของการจัดทาโครงงานธุรกิจ และ ต้ นแบบ ผลิตภัณฑ์ (Product Prototype) ซึง่ สามารถแสดงได้ ดงั รูปที่ 5

รูปที่ 5 มคอ.03 หมวดที่ 7 การประเมินการปรับปรุงและการดาเนินการของรายวิชา

88

Experience of Learning


การที่ผ้ สู อนจัดทา มคอ.03 ไว้ โดยละเอียด จะเป็ นผลดีต่อการจัดการเรี ยน การสอน เพราะ มคอ.03 นอกจากจะบอกถึงวัต ถุป ระสงค์ ข องรายวิชา ยังเป็ น พื ้นฐานในการกาหนดเนื ้อหา กิจกรรมการเรี ยนการสอน เอกสารที่ใช้ การวัดและ ประเมินผล รวมทังการประเมิ ้ นการปรับปรุงการดาเนินงานของรายวิชา โดยผู้สอน จะมีก ารน ารายละเอีย ดที่ ป รากฏใน มคอ.03 ไปไว้ ใน e-Learning ของรายวิช า ต่อไป อย่างไรก็ ตามก่อนที่ผ้ ูสอนจะเขียนมคอ.03 ผู้สอนควรพิจารณาข้ อมูลใน มคอ.02 ประกอบกับข้ อมูลของผู้เรี ยน อาทิ รหัส ชันปี ้ เพื่อสร้ างเนื ้อหาการสอนได้ ครอบคลุมตามหลักสูตรของผู้เรี ยนอย่างแท้ จริ ง 2. การพัฒนา e-Learning e-Learning เป็ น เป็ นเครื่ องมือช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเรี ยนรู้ และการจัดการความรู้ ที่สอดคล้ องกับยุค IoT โดยอาศัยระบบอินเทอร์ เน็ตในการ ถ่ายทอดเนื ้อหาบทเรี ยน ทาให้ ผ้ เู รี ยนสามารถเรี ยนรู้ ได้ ด้วยตนเอง ลดข้ อจากัดใน เรื่ องของเวลาและสถานที่เรี ยน ความท้ าทายอย่างหนึ่งของ e-Learning คือการ สร้ างบทเรี ยนให้ มีความน่าสนใจ และง่ายต่อการเข้ ามาใช้ งานในระบบของผู้เรี ยน ดังนันผู ้ ้ สอนควรทาหน้ าปก e-Learning ให้ สะท้ อนถึงภาพรวมของรายวิชา บอก รายละเอียดที่จาเป็ น เช่น รหัสวิชา ชื่อผู้สอน และภาคเรี ยน ซึง่ แสดงได้ ดงั รูปที่ 6

Experience of Learning

89


รูปที่ 6 หน้ าปกรายวิชา MGT345 ใน e-learning ที่มา : SPU e-Learning วิชา MGT345. ออนไลน์ http://elearning.spu.ac.th/course/view.php?id=34782 ผู้สอนควรสร้ าง e-Learning ให้ ผ้ ูเรี ยนได้ รับ รายละเอีย ดของ วิชา ความรู้ และการทดสอบผลการเรี ยนรู้ ที่เทียบเท่าหรื อใกล้ เคียงกับการเรี ยนใน ห้ องเรี ยน ดังนันผู ้ ้ สอนควรมีการแนะนารายวิชา เพื่อสร้ างการรับรู้ และความเข้ าใจ ที่ตรงกันกับผู้เรี ยน เกี่ยวกับขอบเขตเนื ้อหาของรายวิชา เอกสาประกอบการสอนที่ ใช้ วิธีการวัดและประเมินผล ซึง่ สามารถแสดงได้ ดงั รูปที่ 7

90

Experience of Learning


รูปที่ 7 การแนะนารายวิชา ที่มา : SPU e-Learning วิชา MGT345. ออนไลน์ http://elearning.spu.ac.th/course/view.php?id=34782 Experience of Learning

91


เพื่ อ ให้ ผ้ ูเรี ย นทราบเป็ น เบื อ้ งต้ น ว่าหัวข้ อ การเรี ย นแต่ละครั ง้ มี เนื อ้ หา เกี่ ยวกับ อะไร นอกจากผู้สอนจะบอกถึงหัวข้ อการสอนในครัง้ นัน้ ผู้ สอนอาจใช้ ข้ อความหรื อรูปภาพก็ได้ เพื่อสือ่ ถึงภาพรวมของการเรี ยนรู้ในหัวข้ อนันกั ้ บผู้เรี ยนซึ่ง สามารถแสดงได้ ดงั รูปที่ 8

รูปที่ 8 หัวข้ อการเรี ยน ที่มา : SPU e-Learning วิชา MGT345. (ออนไลน์) http://elearning.spu.ac.th/course/view.php?id=34782 นอกจากนี ้ในแต่ละหัวข้ อการเรี ยน ผู้สอนสามารถสร้ างปุ่ มลัด เพื่ออานวยความสะดวกในการเข้ าถึงเอกสารประกอบการสอน การสร้ างลิงค์ไปยัง เว็ บ ไซด์ ต่ า ง ๆ หรื อ วิ ดี โอบัน ทึ ก การเรี ย นการสอน (Camtasia) ปุ่ มช่ ว ยเตื อ น ความจ าเรื่ อ งการท าแบบทดสอบย่ อ ย รวม ไปถึ ง การท าอิ น โฟกราฟฟิ ก (Infographic) เพื่อสรุปสาระสาคัญของการเรี ยนรู้แต่ละครัง้ จะช่วยทาให้ ผ้ เู รี ยน ที่จะใช้ e-Learning เพื่อทบทวนเนื ้อหาบทเรี ยนมากขึ ้น ซึง่ สามารถแสดงได้ ในรูปที่ 9

92

Experience of Learning


รูปที่ 9 ปุ่ มลัดต่าง ๆ และ อินโฟกราฟฟิ ก (Infographic) สรุปเนื ้อหา ที่มา : SPU e-Learning วิชา MGT345. (ออนไลน์) http://elearning.spu.ac.th/course/view.php?id=34782 Experience of Learning

93


3. Project-based Learning การเรี ยนรู้ ด้ วยโครงงาน (Project-based Learning) เป็ น รู ป แบบหนึ่ ง ของการเรี ย นรู้ เชิ งรุ ก (Active Learning) ซึ่ ง ผู้สอนได้ น ามาใช้ เพื่ อ จัดการเรี ยนการสอนในรายวิชา MGT345 การเป็ นผู้ป ระกอบการและการสร้ าง ธุ ร กิ จ ใหม่ เนื่ อ งจากผู้ สอนต้ องการส่ ง เสริ ม ให้ เกิ ด การเรี ย นรู้ ที่ มี ผ้ ู เรี ย นเป็ น ศูนย์กลาง (Student-centered) เปิ ดโอกาสให้ ผ้ เู รี ยนได้ เรี ยนรู้ จากบริ บททางธุรกิจ จริ ง ที่เป็ นการพัฒ นาทักษะทางการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการบูรณาการ ความรู้ ทัง้ จากการเรี ยนในห้ องเรี ยนและความรู้ บนโลกออนไลน์ เพื่อมานาเสนอ แนวคิดธุรกิจ (Business Idea) ที่สามารถผลิตมาเป็ นสินค้ าได้ จริ ง ดังนันในช่ ้ วง สุดท้ ายของการเรี ยน ผู้เรี ยนจะต้ องนาต้ นแบบผลิตภัณฑ์ (Product Prototype) มา นาเสนอต่อผู้เรี ยนคนอื่นและผู้สอน ในภาคการศึกษานี ้ผู้สอนได้ กาหนดโจทย์เพื่อการนาเสนอโครงงานธุรกิจ ของผู้เรี ยน คือ ผลิตภัณฑ์สาหรับผู้สงู วัย โดยอิงจากบริ บทที่ประเทศไทยกาลังจะ ก้ าวสูส่ งั คมผู้สงู วัยเต็มรู ปแบบ ซึ่งผู้เรี ยนจะต้ องสืบค้ นข้ อมูลใช้ อ้างอิงสาหรับการ น าเสนอแนวคิ ด ธุ ร กิ จ (Business Idea) การเขี ย นโครงงานธุ ร กิ จ (Business Project) และการผลิต ต้ น แบบผลิต ภัณ ฑ์ (Product Prototype) ซึ่งผู้สอนจะท า หน้ าที่ในการให้ คาแนะนา ชี ้แนะเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนได้ นาข้ อมูลเหล่านี ้กลับไปปรั บปรุ ง โครงงานและผลิตภัณฑ์ให้ มีความสมบูรณ์ มากที่สดุ ซึ่งผู้เรี ยนจะต้ องมานาเสนอ ความก้ าวหน้ าในการจัดทาโครงงานต่อผู้สอนและเพื่อนร่ วมชันเรี ้ ยนเป็ นระยะ อัน จะนาไปสู่การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ระหว่างผู้สอนกับผู้เรี ยน และระหว่างผู้เรี ยนกับ ผู้เรี ย น ซึ่งมี ผลต่อ การสร้ างบรรยากาศในการเรี ยน ซึ่งสามารถแสดง ตัว อย่า ง ต้ นแบบผลิตภัณฑ์ (Product Prototype) ของผู้เรี ยน ได้ ดงั รูปที่ 10

94

Experience of Learning


รูปที่ 10 ตัวอย่าง Product Prototype ที่มา : Facebook Group วิชา MGT345. (ออนไลน์) https://www.facebook.com/#!/groups/528307300691182/?fref=ts 4. การใช้ Social Network เพื่อการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ สอดคล้ องกับพฤติกรรมของผู้เรี ยนและความก้ าวหน้ าใน ยุค IoT ผู้สอนจึงได้ ใช้ เครื อข่ายสังคม (Social Network) มาเป็ นเครื่ องมือในการ จัดการเรี ยนการสอน เพราะนอกจากจะทาให้ การสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรี ยน เป็ นแบบ Real Time แล้ ว ยังช่วยเพิ่มความน่าสนใจของการเรี ยนรู้ ในรายวิชาได้ เป็ นอย่ า งดี โดยผู้ส อนเลื อ กใช้ Facebook โดยมี ก ารสร้ าง Facebook Group ขึ ้นมา Facebook Group ทาให้ ผ้ สู อนตรวจติดตามความก้ าวหน้ าใน การดาเนินโครงงานของผู้เรี ยนสะดวกขึ ้น ขณะเดียวกันผู้เรี ยนก็สามารถรายงานผล การด าเนิ น โครงงานให้ ผ้ ูส อนทราบเป็ นระยะ นอกเหนื อ จากการมาน าเสนอ ความก้ าวหน้ าของโครงงานต่อหน้ าผู้สอน ซึ่งการรายงานความก้ าวหน้ าในการ ดาเนินโครงงานของผู้เรี ยน จะส่งเสริ มให้ มีการแลกเปลีย่ น เรี ยนรู้กนั ผ่านเทคโนโลยี โดยผู้สอนได้ ใช้ Facebook Group เพื่อการจัดการเรี ยนการสอนในกิจกรรมต่าง ๆ ต่อไปนี ้ Experience of Learning

95


- ใช้ Facebook Group ส าหรั บ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ ผู้ เรี ย น เนื่ อ งจาก การสื่อสารผ่าน Facebook จะช่วยเพิ่มสัมพันธภาพ และช่วยลดข้ อจากัดของการ สื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรี ยนในระบบ e-Learning เพราะ Facebook ทาให้ เกิ ด การสื่อ สารแบบสองทางที่ Real Time เนื่ องจากมีระบบการแจ้ งเตื อนเมื่อ มี ข้ อความใหม่ ผู้เรี ยนสามารถเข้ าระบบเพื่อการสื่อสารไปยังผู้สอนได้ ง่ายกว่า e-Learning นอกจากนี ้ Facebook ยังเป็ นช่องทางการสื่อสารผ่านเครื อข่ายสังคม ที่เป็ นที่นิยมที่สดุ ทาให้ การจัดการเรี ยนการสอนมีความสอดคล้ องกับพฤติกรรม ของผู้เรี ยนและทันสมัย ดังรูปที่ 11

รูปที่ 11 Facebook Group MGT345 ที่มา : Facebook Group วิชา MGT345. (ออนไลน์) https://www.facebook.com/#!/groups/528307300691182/?fref=ts - ให้ นักศึกษา Live สด ผ่ าน Facebook Group ทังในส่ ้ วนของการนาเสนอ แนวคิ ดธุ รกิ จ (Business Idea) การน าเสนอโครงงานธุ รกิ จ (Business Project) และ ต้ นแบบผลิ ตภัณ ฑ์ (Product Prototype) ของกลุ่ม ท าให้ ผ้ ูเรี ยนได้ ฝึ กทักษะการใช้ เทคโนโลยีเพื่อการเรี ยน ผู้เรี ยนได้ มีช่องทางในการแสดงความคิดเห็ นอย่างสร้ างสรรค์ และผู้เรี ยนได้ มีการแลกเปลีย่ นเรี ยนรู้ ระหว่างกัน แสดงได้ ดงั รูปที่ 12 96

Experience of Learning


รูปที่ 12 Live สด การนาเสนอต้ นแบบผลิตภัณฑ์ (Product Prototype) ผ่าน Facebook Group ที่มา : Facebook Group วิชา MGT345. (ออนไลน์) https://www.facebook.com/#!/groups/528307300691182/?fref=ts - ให้ นั กศึ กษาใช้ Facebook Group ส าหรั บการส่ งงานและรายงาน ความก้ าวหน้ าในการท างานกลุ่ ม เพื่ อลดข้ อจ ากัดด้ านเวลา และส่งเสริ มการ แลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ระหว่างผู้สอนกับผู้เรี ยน และผู้เรี ยนกับผู้เรี ยน นอกจากผู้สอนจะ สามารถติดตามและเก็บหลักฐานความก้ าวหน้ าในการทางานของผู้เรี ยนได้ แล้ ว ผู้เรี ยน คนอื่น ๆ จะเห็นความความก้ าวหน้ าในการทางานของผู้เรี ยนกลุ่มอื่น รวมทังสามารถ ้ แสดงความคิดเห็นหรื อให้ กาลังใจกับเพื่อนร่วมชันเรี ้ ยนได้ แสดงได้ ดงั รูปที่ 13

Experience of Learning

97


รูปที่ 13 การส่งงานและรายงานความก้ าวหน้ าโครงงานธุรกิจ (Business Project) ผ่าน Facebook Group ที่มา : Facebook Group วิชา MGT345. (ออนไลน์) https://www.facebook.com/#!/groups/528307300691182/?fref=ts - ใช้ Facebook เพื่อการถ่ ายทอดสดการสอน ไปยังมหาวิทยาลัย ศรี ปทุม นอกที่ตัง้ ขอนแก่ น โดยได้ รับการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยและสานัก การจัดการศึกษาออนไลน์ (Office of Online Education :OOE) ซึ่งช่วยทาให้ การ จัดการเรี ยนการสอนมี ความทัน สมัย น่าสนใจ สนับ สนุน การแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ ระหว่างผู้สอนกับผู้สอน ผู้เรี ยนกับผู้เรี ยน และผู้สอนกับผู้เรี ยนของผู้สอนและผู้เรี ยน ที่มหาวิทยาลัยศรี ป ทุม วิท ยาเขตบางเขน และ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม นอกที่ตัง้ ขอนแก่น สามารถแสดงได้ ดงั รูปที่ 14

98

Experience of Learning


รูปที่ 14 การใช้ Facebook เพื่อถ่ายทอดสดการสอนไปยัง มหาวิทยาลัยศรี ปทุม นอกที่ตงขอนแก่ ั้ น จะเห็ น ได้ ว่ า Facebook Group สามารถใช้ เป็ นเครื่ อ งมื อ ในการจั ด กิจกรรมการเรี ยนการสอนได้ หลากหลาย ซึง่ จะช่วยสนับสนุนการเรี ยนรู้เชิงรุกให้ มี ประสิทธิ ภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการถ่ายทอดสดการสอนจากมหาวิทยาลัยศรี ปทุม วิทยาเขตบางเขน ไปยังมหาวิทยาลัยศรี ปทุม นอกที่ตงั ้ ขอนแก่น เป็ นสิ่งที่ สะท้ อนให้ เห็นภาพอย่างชัดเจนว่าการเรี ยนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ภายใต้ ยุค IoT นัน้ เป็ นการเรี ยนรู้ที่ไม่จากัดขอบเขตและกลุม่ ผู้เรี ยน ผลจากการใช้ Facebook Group เพื่อจัดการเรี ยนการสอน พบว่า ผู้เรี ยน มีความพึงพอใจต่อการใช้ Facebook Group เป็ นเครื่ องมือในการจัดการเรี ยนการ สอน เพราะทาให้ เข้ าถึงข้ อมูลและผู้สอนได้ สะดวก รวมทัง้ ทาให้ ผ้ ูเรี ยนสามารถ รายงานความก้ าวหน้ าของการดาเนินโครงงานได้ สะดวกขึ ้น ซึง่ แสดงผลการสารวจ ความคิดเห็นของผู้เรี ยนต่อการใช้ Facebook Group ได้ ดงั รูปที่ 15

Experience of Learning

99


รูปที่ 15 การสารวจความคิดเห็นการใช้ Facebook Group เป็ นเครื่ องมือในการจัดการเรี ยนการสอน ผลจากการเข้ าร่ วมโครงการ The Teacher Project 2 ทาให้ ผ้ สู อนได้ เสริ มสร้ างความรู้ ความเข้ าใจเกี่ยวกับศาสตร์ การสอน การพัฒนาการเขียน มคอ. 03 ทักษะในการจัดการเรี ยนการสอนภายใต้ แนวคิดการเรี ยนรู้ เชิ งรุ กโดยใช้ การ เรี ยนรู้ด้วยโครงงาน และการใช้ เครื อข่ายสังคมเพื่อเป็ นเครื่ องมือในการจัดการเรี ยน การสอน ขณะที่ผ้ เู รี ยนได้ ฝึกการสืบค้ นข้ อมูล วิเคราะห์ ประมวลผลและบูรณาการ ความรู้ เพื่ อ น าเสนอแนวคิ ด ธุ ร กิ จ (Business Idea) ท าให้ มี ป ระสบการณ์ ต รง เกี่ยวกับการเริ่ มต้ นธุรกิจ (Startup) ที่มีผลลัพธ์ที่เป็ นรูปธรรมคือต้ นแบบผลิตภัณฑ์ (Product Prototype) ของผู้ เรี ย นแต่ ล ะกลุ่ม ซึ่ ง สามารถแสดงความสัม พั น ธ์ ระหว่างผู้เรี ยน ผู้สอนกับการเรี ยนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้ ดงั รูปที่ 16

100

Experience of Learning


รูปที่ 16 ผู้เรี ยน ผู้สอน กับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 Student and Instructor in 21st Century Learning จากรู ปที่ 16 อธิ บายได้ ว่าภายใต้ กรอบการเรี ยนรู้ ในศตวรรษที่ 21 (21ST Century Learning) มีองค์ ประกอบภายใน 2 ส่วนที่สาคัญ คือ ผู้เรี ยนและผู้สอน โดยผู้เรี ยนต้ องเป็ นศูนย์กลางในการเรี ยนรู้ ขณะที่ผ้ สู อนมีหน้ าที่ในการวางแผนและ จัดการเรี ยนการสอน ให้ สอดคล้ องกับบริ บทการเรี ยนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดย - ผู้ เรี ยน เป็ นศูนย์ กลางของการจัด การเรี ย นรู้ ที่ ต้องได้ รับ การพัฒ นา ทักษะด้ านต่าง ๆ ได้ แก่ ทักษะด้ านการคิด (Conceptual Skills) ทักษะด้ านการ สื่อสาร (Communication Skills) ทักษะด้ านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Skills) และทั ก ษ ะด้ านความร่ ว มมื อ และการท างานเป็ นที ม (Collaboration and Teamwork Skills) - ผู้สอน ต้ องสร้ างสมดุลใน TeSP (T : TQF , E : e-learning , S : Social network , P : Project-based Learning) เพื่ อ ใช้ ส าหรั บ วางแผนในการจัด การ เรี ยนเชิงรุก โดยผู้สอนจะมีบทบาทเป็ นผู้อานวยความสะดวก (Facilitator) และผู้ให้ คาแนะนา (Mentor) ไม่ว่าผู้สอนจะใช้ วิธีการเรี ยนรู้ เชิงรุ กวิธีใด ผู้สอนควรเริ่ มต้ น จากมคอ.02 และ 03 (TQF02, 03) ที่จ ะช่ วยผู้สอนในการมองภาพรวมของการ จัดการเรี ยนการสอนและการประเมินผล อย่างไรก็ตามเพื่อให้ การจัดการเรี ยนการ Experience of Learning

101


สอนเปิ ด โอกาสให้ ผ้ ูเรี ย นมีบ ทบาทในการเรี ยนเพิ่ มขึน้ การเรี ยนรู้ ด้ วยโครงงาน (Project-based Learning) จึงเป็ นรู ปแบบการเรี ยนรู้เชิงรุกที่สนับสนุนให้ ผ้ เู รี ยนได้ ฝึ กทักษะที่หลากหลายที่นาไปสูก่ ารบูรณาการความรู้ และการสร้ างสรรค์นวัตกรรม ทังสององค์ ้ ประกอบมีผลต่อความสาเร็ จในการจัดการเรี ยนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพราะทาให้ ผ้ เู รี ยนได้ รับการพัฒนาทักษะการเรี ยนรู้ และนวัตกรรม ทักษะด้ าน สารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี และทักษะด้ านชี วิตและอาชี พ เพื่ อเตรี ยมความ พร้ อมของผู้เรี ยนในทักษะด้ านต่าง ๆ ทึ่จาเป็ นต่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ได้ ในขณะเดียวกันภายใต้ การเรี ยนรู้ในศตวรรษที่ 21 จะทาให้ ผ้ เู รี ยนได้ รับการพัฒนา เพื่อเป็ น “คนไทยยุค 4.0” ที่สามารถใช้ สร้ างสมดุลในการใช้ ชีวิตและสรรค์ สร้ าง นวัตกรรมได้ การใช้ เครื อข่ายสังคมส่งเสริ มการเรี ยนรู้ด้วยโครงงาน จึงเป็ นรูปแบบการ เรี ยนเชิงรุกที่สอดคล้ องกับการศึกษาและการพัฒนาผู้เรี ยนในศตวรรษที่ 21 เพราะ ผู้สอนได้ ป รับ บทบาทของตนเป็ น ผู้อ านวยความสะดวก (Facilitator) และ ผู้ให้ คาแนะนา (Mentor) มีหน้ าที่ในการสร้ างเนื ้อหา กิจกรรม สือ่ และเทคโนโลยีในการ จัดการเรี ยนการสอนให้ สร้ างสรรค์และสอดคล้ องกับพฤติกรรมของผู้เรี ยน ขณะที่ ผู้ เรี ย นจะมี บ ทบาทเพิ่ ม ขึ น้ ในการเรี ย น ได้ รั บ การพั ฒ นาทั ก ษะทางการคิ ด สามารถเชื่ อมโยงและบูรณาการความรู้ ทัง้ จากในห้ องเรี ย นจากผู้สอนและจาก เครื อข่ายออนไลน์ได้ อย่างเป็ นระบบ ผู้เรี ยนได้ เรี ยนรู้ ที่จะแบ่งปั นความรู้ กับผู้อื่น และสามารถเรี ยนรู้ โดยไม่สิ ้นสุด ไม่จากัดเวลา สถานที่ จากกิ จกรรมการจัดการ เรี ย นการสอนที่ ห ลากหลาย ท าให้ ผ้ ูเรี ย นได้ รับ การพัฒ นาทัก ษะที่ จ าเป็ น อาทิ ทักษะการคิด ทักษะการสื่อสาร ทักษะการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และทักษะการ ทางานเป็ นทีม ซึง่ เป็ นทักษะที่จาเป็ นเพื่อการสร้ างสรรค์นวัตกรรมของ “คนไทยยุค 4.0” อันจะทาให้ สงั คม ชุมชนและประเทศชาติ เติบโตได้ อย่างมั่งคั่ง มั่นคงและ ยัง่ ยืน

102

Experience of Learning


รายการอ้ างอิง กองบริ หารงานวิจยั และประกันคุณภาพการศึกษา, พิมพ์เขียว Thailand 4.0 โมเดลขับเคลือ่ นประเทศไทยสูค่ วามมัง่ คัง่ มัน่ คงและยัง่ ยืน. (ออนไลน์ ) เข้ าถึงเมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2560. www.libarts.up.ac.th/v2/img/Thailand-4.0.pdf ณัฐธยาน์ ตรี ผลา. 2558. ความพึงพอใจของนักศึกษาวิชา MGT351 พฤติกรรม องค์การ และการพัฒนาองค์การที่มีตอ่ การเรี ยนรู้เชิงรุก. การประชุม วิชาการ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม (ครัง้ ที่ 10). พฤทธิ์ พุฒจร. พัฒนาการศึกษาด้ วย IoT (Education development with Internet of Things). (ออนไลน์) เข้ าถึงเมือ่ วันที่ 24 พฤษภาคม 2560. https://spidyhero.wordpress.com/ ภาสกร เรื องรอง , ประหยัด จิระวรพงศ์ , วณิชชา แม่นยา , วิลาวัลย์ สมยาโรน , ศรัณยู หมื่นเดช และชไมพร ศรี สรุ าช. โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย Social Media in Thailand Education. (ออนไลน์) เข้ าถึงเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560. https://hooahz.wordpress.com/ วัชริ นทร์ โพธิ์เงิน , พรจิต ประทุมสุวรรณ และ สันติ หุตะมาน. การจัดการเรี ยนการ สอนแบบโครงงานเป็ นฐาน. (ออนไลน์) เข้ าถึงเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560. www.fte.kmutnb.ac.th/km/project-based%20learning.pdf Netthailand. e-Learning คืออะไร. (ออนไลน์) เข้ าถึงเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2560. http://www.netthailand.com/home/articles.php?art_id=12

Experience of Learning

103


การศึกษาเปรี ยบเทียบผลการเรี ยนรู้ รายวิชา LSM321 การจัดการและควบคุมสินค้ าคงคลัง ของนักศึกษาสาขา การจัดการโลจิสติกส์ วทิ ยาลัยโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน ด้ วยวิธีการสอนแบบห้ องเรี ยนกลับด้ าน กับวิธีการสอนแบบบรรยาย อัศวิน วงศ์ วิวัฒน์ บทนา การเรี ย นการสอนแบบ Lecture based ที่ เรี ย นกั น ในมหาวิ ท ยาลัย โดยทัว่ ไปนันมี ้ การค้ นพบว่าระดับการเรี ยนรู้ ของนักศึกษาที่ได้ จากวิธีการบรรยาย ในห้ อ งเรี ย นนัน้ ต่ า คื อ ประมาณ 5 % หมายความว่า อาจารย์ ส อนไป 100 % นักศึกษาได้ ความรู้ติดตัวไป 5 % ในขณะที่การอ่านหนังสือด้ วยตนเองที่บ้าน (นอก เวลาเรี ยน) ของนักศึกษาเกิดการเรี ยนรู้ ประมาณ 10 % ตาม Learning Pyramid ของ National Training Laboratories Bethel, Maine การดูโทรทัศน์ การฟั งวิทยุ สามารถท าให้ เกิ ด การเรี ย นรู้ ที่ ม ากกว่ า การบรรยายในชัน้ เรี ย น จึ ง ท าให้ เกิ ด ห้ องเรี ยนกลับด้ าน หรื อ Flipped Classroom ขึ ้นเพื่อต้ องการเพิ่มประสิทธิภาพใน การเรี ยนรู้ ให้ กบั นักศึกษาในชันเรี ้ ยน แต่เนื่องจากระบบการบรรยายในชันเรี ้ ยนนัน้ ฝั งรากลึกในระบบการสอนในมหาวิทยาลัย ทาให้ การที่จะนาแนวคิดใหม่ในการ เรี ยนรู้ มาประยุกต์ใช้ กระทาได้ ยาก ในการทาวิจัยในครัง้ นีเ้ พื่อทดสอบการใช้ วิธี ห้ องเรี ยนกลับด้ านเปรี ยบเทียบกับวิธีบรรยายในชันเรี ้ ยนแบบดังเดิ ้ ม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัศวิน วงศ์ วิวัฒน์ วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรี ปทุม โดยทดสอบกับวิชา LSM 321การจัดการและควบคุมสินค้ าคงคลัง ในภาคเรี ยนที่ 1 ปี ก ารศึก ษา 2559 โดย LSM 321 เป็ น วิช า เอกบังคับ ในหลัก สูต ร การจัด การ 104

Experience of Learning


โลจิสติกส์ และโซ่อปุ ทาน ทาให้ นกั ศึกษาที่เรี ยนต้ องได้ รับเกรดตังแต่ ้ C เป็ นต้ นไป เนื่องจากเป็ นเงื่อนไขในการจบการศึกษา ทาให้ เป็ นรายวิชาที่มีนกั ศึกษาลงเรี ยน รอบที่สองเป็ นจานวนมากตามทฤษฎีการสร้ างความรู้ ด้ วยตนเองของ Vygotsky เรี ยนรู้ คาถามการวิจัย Flipped class room สามารถช่วยในการพัฒนาผลการเรี ยนรู้ ของนักศึกษาได้ ดีกว่าในห้ องเรี ยนแบบ Lecture Basedหรื อไม่ สาหรับห้ องเรี ยนที่มีนกั ศึกษา 80 คน วัตถุประสงค์ ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาผลการเรี ยนรู้ รายวิชา LSM321 การจัดการและควบคุมสินค้ าคง คลัง ของนักศึกษาสาขาการจัดการโลจิสติกส์ วิทยาลัยโลจิสติกส์ ด้ วยวิธีการสอน แบบห้ องเรี ยนกลับทาง และวิธีการสอนแบบบรรยาย 2. เพื่ อศึกษาเปรี ยบเที ยบผลการเรี ย นรู้ รายวิชา LSM321 การจัด การและ ควบคุมสินค้ าคงคลัง ของนักศึกษาสาขาการจัดการโลจิสติกส์ วิทยาลัยโลจิสติกส์ ด้ วยวิธีการสอนแบบห้ องเรี ยนกลับทาง กับวิธีการสอนแบบบรรยาย 3. เพื่อศึกษาแนวทางในการนาวิธีการสอนแบบห้ องเรี ยนกลับ ทาง มาช่วย พัฒนาผลการเรี ยนรู้ของนักศึกษา สมมติฐานการวิจัย 1. นัก ศึ ก ษาที่ เรี ย นรู้ ด้ ว ยวิ ธี ส อนแบบห้ องเรี ย นกลับ ทาง มี ผ ลการเรี ย นรู้ รายวิชา LSM321 การจัดการและควบคุมสินค้ าคงคลัง หลังเรี ยนสูงกว่าก่อนเรี ยน 2. นักศึกษาที่เรี ยนด้ วยวิธีสอนแบบบรรยาย มีผลการเรี ยนรู้รายวิชา LSM321 การจัดการและควบคุมสินค้ าคงคลัง หลังเรี ยนไม่แตกต่างกับก่อนเรี ยน 3. นักศึกษาที่เรี ยนด้ วยวิธีสอนแบบห้ องเรี ยนกลับทางมีผลการเรี ยนรู้รายวิชา รายวิชา LSM321 การจัดการและควบคุมสินค้ าคงคลัง สูงกว่า นศ.ที่เรี ยนด้ วยวิธี สอนแบบบรรยาย Experience of Learning

105


ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้ น o วิธีสอนแบบห้ องเรี ยนกลับทาง o วิธีสอนแบบบรรยาย ตัวแปรตาม คือ ผลการเรี ยนรู้รายวิชา LSM321 การจัดการและควบคุมสินค้ า คงคลัง ของนักศึกษา วัดจาก o คะแนน ก่อน-หลังการสอนครัง้ ที่ 2 o คะแนนสอบกลางภาค o คะแนนสอบปลายภาค ตัวแปรควบคุม คือ ผู้สอน ข้ อสอบในการทดสอบ ห้ องเรี ยน มหาวิทยาลัย ขอบเขตการวิจัย ประชากร คือ นักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา LSM321 ปี การศึกษา 1/2559 จานวน 335 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึ กษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา LSM321 ปี การศึกษา 1/2559 กลุม่ 01 เป็ นกลุม่ ทดลองกลุม่ ที่ 1 สอนด้ วยวิธีห้องเรี ยนกลับด้ าน กลุม่ 02 เป็ นกลุม่ ทดลองกลุม่ ที่ 2 สอนด้ วยวิธีห้องเรี ยนกลับด้ าน กลุม่ 03 เป็ นกลุม่ ควบคุม สอนด้ วยบรรยาย เนื อ้ หาการวิ จั ย ศึ ก ษาพั ฒ นาการในการเรี ย นรู้ ในรายวิ ช า LSM321 ปี การศึกษา 1/2559ระยะเวลา 6 เดือน กันยายน พ.ศ 2559 ถึง มีนาคม พ.ศ. 2560 นิยามศัพท์ เฉพาะ Flipped class room คือ ห้ องเรี ยนกลับด้ าน โดยให้ นกั ศึกษาเรี ยนรู้ด้วยตัวเอง จากนอกเวลาเรี ยน และผู้สอนมีหน้ าที่กระตุ้นการเรี ยนรู้ให้ กบั ผู้เรี ยน ประโยชน์ ท่ ไี ด้ รับ 1. ผลสัมฤทธิ์ ของการเรี ย นแบบ Lecture based เปรี ยบเทียบวิธีเรี ย นแบบ Flipped class room 106

Experience of Learning


2. เพื่อเป็ นแนวทางสาหรับการจัดการเรี ยนการสอนแบบ ห้ องเรี ยนกลับด้ าน สาหรับชันเรี ้ ยนที่มีนกั ศึกษาจานวนมาก งานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง จากงานของ Scott (2016) พบว่าในการใช้ วิธีเรี ยนแบบ Flipped classroom สามารถให้ ผลที่ดีได้ สาหรับวิชาคานวณอย่าง Calculus เมื่อนามาเปรี ยบเทียบกับ ก ารส อ น แ บ บ Lecture based Julia (2016) ได้ น า Flipped classroom ม า ประยุกต์ใช้ กับห้ องเรี ยนที่มีนกั ศึกษาจานวนมากพบว่าสามารถให้ ผลที่ดีต่อการ เรี ยนรู้ของผู้เรี ยน ระเบียบวิธีวิจัย ขัน้ ตอนในการดาเนินการในการวิจัย แบบแผนการวิจัย เชิงทดลอง ในการวิจัยครัง้ นี ้เป็ นการวิจัยในชัน้ เรี ยน เพื่อ ศึกษากระบวนการเรี ยนรู้ ของนักศึกษาที่เรี ยนในรายวิชา LSM321 ประจาภาค เรี ยนที่ 1 ปี การศึกษา 2559 โดยเป็ นการเปรี ยบเทียบ วิธีก ารสอนแบบห้ องเรี ยน กลับด้ าน (Flipped classroom) จานวน 1 กลุม่ เรี ยน กับวิธีการสอนแบบบรรยาย ในชันเรี ้ ยน (Lecture based) จานวน 1 กลุม่ เรี ยนซึง่ เป็ นกลุม่ ควบคุม แบบแผนการวิจยั Hypothesis test H0: µ1 = µ2 H1: µ1 > µ2 วิธีในการวัดผล วัดจากการเรี ยนรู้ ของนักศึกษาในห้ องจากการทดสอบโดย แบบทดสอบก่อนเรี ยน แบบทดสอบหลังเรี ยน การสอบกลางภาค การสอบปลาย ภาค เพื่อนามาเปรี ยบเทียบผลระหว่าง 2 กลุม่ ตัวอย่าง ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง ประชาการที่ใช้ ในการวิจยั คือนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรี ยนวิชา LSM321 จานวน 160 คน ประกอบด้ วย Experience of Learning

107


กลุม่ ตัวอย่างที่ 1 คือ นักศึกษาที่ลงทะเบียนวิชา LSM321 กลุม่ เรี ยนที่ 01 ภาคการศึกษาที่ 1/2559 จานวน 80 คน (สอนแบบ Lecture based) กลุม่ ตัวอย่างที่ 2 คือ นักศึกษาที่ลงทะเบียนวิชา LSM321 กลุม่ เรี ยนที่ 02 ภาคการศึกษาที่ 1/2559 จานวน 80 คน (สอนแบบ Flipped classroom) เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย 1. ข้ อสอบ Pre-test, Post-test, ข้ อสอบกลางภาค, ข้ อสอบปลายภาค โดยข้ อ สอบ Pre-test และ Post-test นัน้ เป็ น ข้ อ สอบชุด เดี ยวกัน ทัง้ 2 กลุ่ม เรี ยนโดยมีข้อสอบจานวน 5 ข้ อ ทาการทดสอบจานวน 5 ครัง้ ตลอดภาคการศึกษา ข้ อสอบกลางภาคใช้ ข้อสอบชุดเดียวกันทัง้ 2 กลุม่ เรี ยน ข้ อสอบปลายภาคใช้ ข้อสอบชุดเดียวกันในการสอบทัง้ 2 กลุม่ เรี ยน เอกสารประกอบการเรี ยนการสอน วีดีทศั น์สาหรับนักศึกษากลุม่ เรี ยนที่ 2

รูปที่ 1 แสดงถึงการนาวิดีโอช่วยเป็ นสือ่ การสอน

108

Experience of Learning


ในการเรี ยนของกลุม่ เรี ยนที่ 2 ที่เป็ นแบบห้ องเรี ยนกลับด้ านนันมี ้ การนาวีดีทศั น์ให้ นักศึกษา นาไปศึกษาเรี ยนรู้ ก่อนการเรี ยน รู ปแบบในการเรี ยนจะเป็ นการเรี ยนรู้ จากการตังถามจากสิ ้ ง่ ที่ศกึ ษามาในวีดีทศั น์ที่ให้ ไปใน Facebook Group การเก็บรวบรวมข้ อมูล การรวบรวมข้ อมูล ใช้ Facebook group สาหรับ ให้ นักศึกษาส่งงานโดยให้ นักศึกษาเขียนลงในสมุดจดของนักศึกษา (เพื่อเก็บงานที่ทาไว้ ทบทวนตอนสอบ) แล้ วให้ ถ่ายรู ปงาน Upload ลงใน Event ที่สร้ างใน Group ดังรู ปที่.2 และ 3. โดย การส่ง งานจะต้ อ งส่งหลังจากคาบเรี ย นไม่ เกิ น 1 ชั่ว โมง โดยสามารถก าหนด ระยะเวลาในการส่งได้ ใน Event ของ Facebook ส่วนการเฉลยจะทาในสัปดาห์ ถัดไปและให้ นกั ศึกษาจดเพิ่มเติมต่อจากในสัปดาห์ก่อนหน้ า

รูปที่ 2 แสดงถึงการสร้ าง Event ใน Facebook group เก็บรวบรวมข้ อมูลโดยใช้ การทดสอบ Pre-test, Post-test, ข้ อสอบกลางภาค, ข้ อสอบปลายภาค Experience of Learning

109


รูปที่ 3 รูปแบบในการส่งงาน โดยการส่งงานใน Event ของ Facebook นันมี ้ ข้อดีคือเป็ นหลักฐานเชิง ประจักษ์ ที่นกั ศึกษาสามารถ และ อาจารย์สามารถตรวจสอบ และพิจสูจน์วา่ ได้ สง่ งานหรื อไม่ รวมไปถึงวันเวลาในการส่งงาน

รูปที่ 4 แสดงถึง Facebook group ที่เป็ น Closed Group 110

Experience of Learning


การวิเคราะห์ ข้อมูล ข้ อมูลการกระจายของคะแนนกลางภาคของกลุ่มเรี ยนที่ 1 คะแนนเต็ม 20 คะแนนอยูแ่ นวนอน ส่วนแนวตังเป็ ้ นความถี่ของนักศึกษาที่ได้ คะแนน

รูปที่ 5.แสดงถึงการกระจายคะแนนสอบกลางภาคของกลุม่ เรี ยนที่1 Mean Standard deviation Skew Median Kurtosis

10.09195 2.098627 -0.21897 10 -0.13392

จากผลการคานวณข้ อมูลคะแนนสอบกลางภาคของกลุม่ เรี ยนที่ 1 พบว่ามีการ กระจายเป็ นแบบ Normal Distribution ตามค่า Skew กับ ค่า Kurtosis และค่า Mean เทียบกับค่า Median

Experience of Learning

111


รูปที่.6.แสดงถึงการกระจายคะแนนสอบกลางภาคของกลุม่ เรี ยนที่2 Mean 10.08152 Standard deviation 1.853534 Skew 0.049595 Median 10 Kurtosis -0.83069 จากผลการคานวณข้ อมูลคะแนนสอบกลางภาคของกลุม่ เรี ยนที่ 2 พบว่ามีการ กระจายเป็ นแบบ Normal Distribution ตามค่า Skew กับ ค่า Kurtosis และค่า Mean เทียบกับค่า Median

รูปที่.7.แสดงถึงการกระจายคะแนนสอบปลายภาคของกลุม่ เรี ยนที่1 Mean Standard deviation Skew Median Kurtosis

47.11494 9.98886 0.127927 47 -0.51924

จากผลการคานวณข้ อมูลคะแนนสอบปลายภาคของกลุม่ เรียนที่ 1 พบว่ามี การกระจายเป็ นแบบ Normal Distribution ตามค่า Skew กับ ค่า Kurtosis และ ค่า Mean เทียบกับค่า Median 112

Experience of Learning


รูปที่.8.แสดงถึงการกระจายคะแนนสอบปลายภาคของกลุม่ เรี ยนที่2 Mean Standard deviation Skew Median Kurtosis

46.48913 8.870862 92 0.49351 46

จากผลการคานวณข้ อมูลคะแนนสอบปลายภาคของกลุม่ เรียนที่ 2 พบว่ามี การกระจายเป็ นแบบ Normal Distribution ตามค่า Skew กับ ค่า Kurtosis และ ค่า Mean เทียบกับค่า Median จากการทาการ

ค่าผลสัมฤทธิ์ในการเรี ยนของนักเรี ยนกลุม่ เรี ยนที่ 1 มีคา่ เฉลีย่ เท่ากับ 47.115 ค่าผลสัมฤทธิ์ในการเรี ยนของนักเรี ยนกลุม่ เรี ยนที่ 2 มีคา่ เฉลีย่ เท่ากับ 46.489 Hypothesis test H0: µ1 = µ2 H1: µ1 > µ2 Experience of Learning

113


แทนค่าในสูตร

ที่ α = 0.05 Z จากการคานวณ > Z จากการเปิ ดตาราง ทาให้ ยอมรับ H1 นัน่ หมายความว่ า โดยเฉลี่ ย ระดับ คะแนนของนัก เรี ย นในกลุ่ม เรี ย นที่ 1 มี ร ะดับ ผลสัมฤทธิ์สงู กว่านักเรี ยนในกลุม่ เรี ยนที่ 2 อย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สรุ ป จากการทดลองในกลุ่มเรี ยนทัง้ 2 กลุ่มพบว่าค่าระดับ คะแนนโดยเฉลี่ยของ การใช้ วิธีห้องเรี ยนกลับด้ าน (Flipped Classroom) นัน้ ให้ ผลสัมฤทธิ์ ที่ดีกว่าวิธี สอนแบบบรรยายในห้ องเรี ย น (Lecture Based) เนื่ อ งจากในการเรี ย นแบบ ห้ องเรี ยนกลับด้ านนัน้ มีทางเลือกให้ นักศึกษาที่หลากหลายได้ แก่การเรี ยนด้ วย ตนเองโดยมีคลิปวิดีโอ ให้ เรี ยนรู้เมื่อมีความต้ องการที่จะเรี ยนรู้ เนื่องจากช่วงเวลาที่ ดีที่สดุ ที่จะเรี ยนรู้ คือช่วงเวลาที่อยากเรี ยน แต่ถ้าอยากเรี ยนในช่วงเวลาที่ไม่มีการ เรี ยนการสอน เช่น ตอนกลางคืน หรื อในวันหยุด สื่อ วิดีโอที่สามารถดู ออนไลน์ สามารถดูได้ จ ากโทรศัพ ท์ มื อ ถื อ แท็ บ เล็ต หรื อ อุป กรณ์ อื่ น ท าให้ ก ารเรี ย นรู้ ไม่ จาเป็ นที่ต้องเรี ยนจากภายในห้ องเรี ยนเพียงอย่างเดียว รวมไปถึงรู ปแบบในการ เรี ยนรู้จากวิดีโอนันเมื ้ ่อต้ องการที่จะหยุด หรื อ ดูซ ้าในประเด็นที่ไม่เข้ าใจก็สามารถ ทาได้ แต่การกระทาข้ างต้ นนันไม่ ้ สามารถทาได้ ในห้ องเรี ยน ทาให้ นกั ศึกษาที่เรี ยน ในห้ องพร้ อมกับมีการดูสื่อการเรี ยนรู้ อื่นควบคูก่ นั ทาให้ มีความได้ เปรี ยบนักศึกษา ที่ต้องเรี ยนรู้จากในห้ องเรี ยน หรื อ จากตาราเพียงอย่างเดียว

114

Experience of Learning


รายการอ้ างอิง Julia E. Rodriguez, ( 2016) " A massively flipped class: Designing and implementing active learning information literacy instruction for a large enrollment course", Reference Services Review, Vol. 44 Iss: 1, pp.4 - 20 Scott, C. E., Linda E, Debra, L. E., (2016) "A comparison between flipped and lecture-based instruction in the calculus classroom", Journal of Applied Research in Higher Education, Vol. 8 Iss: 2, pp.252 – 264. Vygotsky, L. (1978). “Interaction between learning and development” , Mind and Society, pp.79-91.

Experience of Learning

115


การพัฒนาการเรี ยนการสอนด้ วยการจัดการเรี ยนรู้ ตามแบบการจัดการเรี ยนรู้ CIPPA Model วิชากฎหมายลักษณะประกันภัย พีรพล สิมมำ ตามหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2557) ของ วิทยาลัย นอร์ ทเทิร์น กาหนดให้ มีการจัดการเรี ยนการสอนวิชากฎหมายลักษณะประกันภัย ซึ่งเป็ นวิชาบังคับ ในชัน้ ปี ที่ 2 และได้ มีการจัดการเรี ยนการสอนในวิชากฎหมาย ลักษณะประกันภัยตามหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2557) ของ วิทยาลัยนอร์ ทเทิร์น ไปแล้ วเมื่อภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา2558 โดยผู้สอนได้ ใช้ วิ ธี ก ารสอนในรู ป แบบการบรรยาย (Lecture) และการบรรยายเชิ ง อภิ ป ราย (Lecture and Discussion) แต่ผลการเรี ยนของนักศึกษาส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ต่า กล่าวคือมีผ้ ลู งทะเบียนเรี ยนวิชากฎหมายลักษณะประกันภัยในภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2558 จานวน 25 คน สอบไม่ผ่าน (ได้ เกรด E) จานวน 17 คน คิดเป็ น ร้ อยละ 68 ของผู้ ลงทะเบี ย นเรี ย นวิ ช ากฎหมายลัก ษณะประกั น ภั ย ในภาค การศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2558 โดยมีผ้ สู อบผ่านจานวน 8 คน คน คิดเป็ นร้ อยละ 32 ของผู้ลงทะเบียนเรี ยนวิชากฎหมายลักษณะประกันภัยใน ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึ ก ษา2558 โดยแบ่ ง เป็ นเกรด A จ านวน 1 คน คิ ด เป็ นร้ อยละ 4 ของผู้ ลงทะเบียนเรี ยนวิชากฎหมายลักษณะประกันภัยในภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2554 เกรด C+ จานวน 1 คนคน คิดเป็ น ร้ อยละ 4 ของผู้ลงทะเบียนเรี ยนวิชา

อาจารย์ พรี พล สิมมา หัวหน้ าสาขาวิชานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ และรัฐศาสตร์ 116

Experience of Learning


วิทยาลัยนอร์ ทเทิร์น กฎหมายลัก ษณะประกัน ภัย ในภาคการศึ กษาที่ 1 ปี ก ารศึก ษา 2558 เกรด C จานวน 3 คน คิ ด เป็ น ร้ อยละ 12 ของผู้ล งทะเบี ย นเรี ย นวิ ช ากฎหมายลัก ษณะ ประกันภัยในภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2558 และ เกรด D จานวน 3 คน คิด เป็ น ร้ อยละ 12 ของผู้ลงทะเบี ย นเรี ย นวิช ากฎหมายลัก ษณะประกัน ภัย ในภาค การศึก ษาที่ 1 ปี ก ารศึก ษา 2558 ทัง้ นี เ้ นื่อ งจากนักศึกษายังขาดทักษะในการ วิเคราะห์ แ ละสังเคราะห์ จึ งไม่ ส ามารถน าความรู้ ที่ ได้ รั บ มาบูรณาการเข้ า กับ ข้ อเท็จจริ งที่ปรากฏในข้ อสอบ ซึ่งถือเป็ นอุปสรรคสาคัญ ต่อการผลิตและพัฒ นา บัณฑิตให้ มีความรู้ มีทักษะทางด้ านกฎหมายและสามารถประกอบวิชาชีพด้ าน กฎหมายเพื่อพัฒนาชุมชนท้ องถิ่ น สังคม และประเทศชาติ อันเป็ นส่วนหนึ่งของ ปรั ช ญาของหลัก สูต รนิ ติ ศ าสตรบัณ ฑิ ต (ปรั บ ปรุ ง พ.ศ.2557) ของวิ ท ยาลัย นอร์ ทเทิร์น ดังนันผู ้ ้ วิจยั จึงประสงค์ที่จะปรับปรุ งวิธีการสอนวิชากฎหมายลักษณะ ประกันภัยและพัฒ นาการเรี ยนการสอนของนัก ศึกษาในวิชากฎหมายลักษณะ ประกันภัย โดยใช้ รูปแบบการจัดการเรี ยนรู้ แบบ CIPPA Model เพื่อแก้ ไขปั ญหาที่ เกิดจากการสอนของผู้วิจยั เอง และเพื่อพัฒนาการเรี ยนรู้ของนักศึกษาให้ สาเร็ จเป็ น บัณ ฑิ ตที่มีความรู้ มีทักษะทางด้ านกฎหมายและสามารถประกอบวิชาชี พด้ าน กฎหมายเพื่อพัฒนาชุมชนท้ องถิ่น สังคม และประเทศชาติต่อไปในอนาคต อีกทัง้ ยังเป็ น แนวทางในการพัฒ นาเอกสารประกอบการสอนวิ ชากฎหมายลัก ษณะ ประกันภัยของผู้วิจัยให้ สอดคล้ องกับหลักสูตรนิติศาสตรบัณ ฑิต (ปรับปรุ ง พ.ศ. 2557) ของวิทยาลัยนอร์ ทเทิร์น และเหมาะสมกับผู้เรี ยนต่อไปในภายภาคหน้ าอีก ด้ วย ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 บัญญัติไว้ ว่า “การจัดการศึกษาต้ องยึดหลักว่าผู้เรี ยนทุกคนมีความสามารถเรี ยนรู้และพัฒนา ตนเองได้ และถื อ ว่า ผู้เรี ย นมี ค วามสาคัญ ที่ สุด กระบวนการจัด การศึ กษาต้ อ ง ส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ” ดังนันการ ้ Experience of Learning

117


จัดการเรี ยนการสอนจึงมีความสาคัญอย่างมากในการส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนสามารถ เรี ยนรู้และพัฒนาตนเองได้ ซึง่ จะทาให้ ผ้ เู รี ยนได้ เรี ยนรู้ อย่างมีประสิทธิภาพ อันเป็ น การส่งผลต่อคุณภาพของบัณฑิตที่จะออกไปรับใช้ สงั คมต่อไป รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ CIPPA Model การจัดการเรี ยนรู้ แบบ CIPPA Model เป็ นแนวคิดที่ม่งุ ให้ ผ้ เู รี ยนมีโอกาส คิดอย่างอิสระ เรี ยนรู้ด้วยตนเอง รู้จกั แสวงหาคาตอบโดยการสืบค้ นจากการปฏิบตั ิ ของตนเอง ซึง่ สอดคล้ องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 ซึ่ ง ได้ บั ญ ญั ติ ไ ว้ ว่ า “การจั ด การศึ ก ษาต้ องยึ ด หลั ก ว่ า ผู้ เรี ย นทุ ก คนมี ความสามารถเรี ย นรู้ และพัฒ นาตนเองได้ และถื อ ว่าผู้เรี ยนมี ความสาคัญ ที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้ องส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มตามศักยภาพ” จึงเป็ นรู ปแบบการจัดการเรี ยนรู้ ที่สามารถนามาปรับใช้ ในการ จัดการศึกษาในทุกระดับ ตังแต่ ้ ระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา จนไปถึง อุดมศึกษา จึงนับเป็ นรูปแบบการจัดการเรี ยนรู้ที่นา่ สนใจอย่างยิ่ง รศ.ทิ ศ นา แขมมณี ได้ พัฒ นารู ป แบบการจัด การเรี ย นรู้ แบบ CIPPA Model หรื อรูปแบบการประสานห้ าแนวคิด ซึง่ เกิดขึ ้นจากการนาแนวคิดห้ าแนวคิด มาประสานกัน โดยแนวคิดเหล่านันได้ ้ แก่ (ทิศนา แขมมณี, 2548, 2553) 1) แนวคิดการสร้ างความรู้ มุ่งเน้ นให้ ผ้ เู รี ยนเป็ นผู้สร้ างความรู้ด้วยตนเอง (Construction) ซึ่งเป็ นการสร้ างความรู้ ตามแนวคิดของปรัชญา Constructivism กล่าวคือ กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ที่ ดี ควรเป็ น กิ จ กรรมที่ ช่ วยให้ ผ้ ูเรี ย นมี โอกาสสร้ าง ความรู้ ด้ วยตนเอง ซึ่ ง จะท าให้ ผู้ เรี ย นมี ค วามเข้ าใจและเกิ ด การเรี ย นรู้ ที่ มี ความหมายต่อตนเอง 2) แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการกลุม่ และการเรี ยนรู้แบบร่วมมือ มุง่ เน้ นให้ ผู้เรี ยนมีปฏิสมั พันธ์ (Interaction) กับเพื่อน บุคคลอื่นๆ และสิ่งแวดล้ อมรอบตัว หลายๆ ด้ า น กล่าวคื อ การมี ป ฏิ สัมพันธ์ กับ ผู้อื่น หรื อสิ่งแวดล้ อมรอบตัวจะเปิ ด โอกาสให้ ผ้ เู รี ยนได้ เคลือ่ นไหวร่างกาย โดยการทากิจกรรมในลักษณะต่าง ๆ 118

Experience of Learning


3) แนวคิดเกี่ยวกับความพร้ อมในการเรี ยนรู้ แนวคิดนี ้เชื่อว่าสิง่ ที่สามารถ ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนอยูใ่ นสภาพที่มีความพร้ อมในการรับรู้ และเรี ยนรู้ มีประสาทการรับรู้ ที่ ตื่ น ตั ว ไม่ เ ฉื่ อ ยชา ก็ คื อ การที่ ผ้ ู เรี ย นได้ มี ก ารเคลื่ อ นไหวร่ า งกาย (Physical Participation) 4) แนวคิดเกี่ ยวกับการเรี ยนรู้ กระบวนการ(Process Learning) มุ่งเน้ น การพัฒนาทักษะกระบวนการ (Process Skills) ให้ แก่ผ้ เู รี ยน อันจะส่งผลให้ ผ้ เู รี ยน ได้ เรี ย นรู้ สาระในแง่มุม ที่ กว้ างขึน้ โดยกิ จกรรมการเรี ย นรู้ ที่ ดีค วรเปิ ด โอกาสให้ ผู้เรี ยนได้ เรี ย นรู้ กระบวนการต่างๆ ซึ่งเป็ น ทักษะที่ จาเป็ น ต่อ การด ารงชี วิต เช่ น กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการแก้ ปัญหา กระบวนการ กลุ่ม กระบวนการพัฒ นาตนเอง เป็ นต้ น การเรี ยนรู้ กระบวนการเป็ นสิ่งที่สาคัญ เช่นเดียวกับการเรี ยนรู้ เนื ้อหาสาระต่างๆ การเรี ยนรู้ ทางด้ านกระบวนการ เป็ นการ ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนมีสว่ นร่วมทางสติปัญญาอีกทางหนึง่ 5) แนวคิดเกี่ยวกับการถ่ายโอนการเรี ยนรู้ แนวคิดนี ้เชื่อว่าความรู้ นนจะ ั้ เป็ น ประโยชน์ แ ละมี ค วามหมายมากขึน้ หากผู้เรี ย นมี โอกาสน าความรู้ นัน้ ไป ประยุกต์ใช้ (Application) กล่าวคือ การนาความรู้ ที่ได้ เรี ยนรู้ไปประยุกต์ใช้ ซึ่งจะ ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนได้ รับประโยชน์จากการเรี ยน และช่วยให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการเรี ยนรู้เพิ่มเติม ขึ ้นเรื่ อยๆ กิจกรรม การเรี ยนรู้ที่มีแต่เพียงการสอนเนื ้อหาสาระให้ ผ้ เู รี ยนเข้ าใจ โดย ขาดกิจกรรมการนาความรู้ ไปประยุกต์ใช้ จะทาให้ ผ้ เู รี ยนขาดการเชื่อมโยงระหว่าง ทฤษฎี กับ การปฏิ บัติ ซึ่งจะท าให้ ก ารเรี ย นรู้ ไม่ เกิ ด ประโยชน์ เท่า ที่ ค วร การจัด กิจกรรมที่ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนสามารถนาความรู้ ไปประยุกต์ใช้ นี ้เท่ากับเป็ นการช่วยให้ ผู้เรี ยนมีส่วนร่ วมในกิ จกรรมการเรี ยนรู้ ด้ านใดด้ านหนึ่งหรื อหลายๆด้ าน แล้ วแต่ สาระของกิจกรรมที่จดั จากแนวคิดทังห้ ้ าดังกล่าว จึงเกิดการจัดการเรี ยนรู้ แบบ CIPPA Model ขึ ้น โดยผู้สอนสามารถนาแนวคิดทังห้ ้ าไปใช้ เป็ นหลักในการจัดกิจกรรมการเรี ยน การสอนโดยยึดผู้เรี ยนเป็ นศูนย์กลางให้ มีคณ ุ ภาพได้ อย่างแท้ จริ ง Experience of Learning

119


การจัด การเรี ย นรู้ แบบ CIPPA Model เป็ น การเรี ย นการสอนเพื ่อ ให้ ผู้ เ รี ย นมีส ่ว นร่ ว ม โดยผู้ ส อนจะเป็ น ผู้ จ ัด กิจ กรรมที ่น าไปสู ่ก ารเรี ย นรู้ ตาม จุด ประสงค์ที่ได้ ตั ้งไว้ และเป็ น กิจ กรรมที่ช่ว ยให้ ผ้ ูเรี ย นมีส ่ว นร่ ว มทั ้งทางด้ า น ร่ างกาย สติปัญญา สังคม อารมณ์ จึงจะสามารถทาให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการเรี ยนรู้ ได้ ดี ดังนั ้นผู้สอนจึงจาเป็ นต้ องออกแบบกิจกรรมการเรี ยนการสอนให้ มีลกั ษณะดังนี ้ (กัญญา วีรยวรรธน, 2555) 1) เป็ นกิจกรรมที่ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนได้ มีสว่ นร่ วมทางด้ านร่ างกาย (Physical Participation) คือ เป็ นกิจกรรมที่ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนได้ มีโอกาสเคลือ่ นไหวร่ างกาย เพื่อ ช่วยให้ ประสาทการรับรู้ ของผู้เรี ยนตื่นตัวพร้ อมที่จะรับข้ อมูลและการเรี ยนรู้ ต่างๆที่ จะเกิดขึ ้น การรับรู้เป็ นปั จจัยสาคัญในการเรี ยนรู้ หากผู้เรี ยนไม่มีความพร้ อมในการ รั บ รู้ แม้ จะมี ก ารให้ ความรู้ ที่ ดี ๆ ผู้ เรี ย นก็ ไ ม่ ส ามารถรั บ ได้ ซึ่ ง จะเห็ น ได้ จาก เหตุการณ์ ที่พบได้ เสมอๆ คือ หากผู้เรี ยนต้ องนั่งนานๆ ไม่ช้า ผู้เรี ยนอาจหลับไป หรื อคิดไปเรื่ องอื่นๆได้ การเคลื่อนไหวทางกาย มีส่วนช่วยให้ ประสาทรับรู้ ตื่นตัว พร้ อมที่จะรับและเรี ยนรู้สงิ่ ต่างๆได้ ดี ดังนันกิ ้ จกรรมที่จดั ให้ ผ้ เู รี ยน จึงเป็ นกิจกรรมที่ ช่ วยให้ ผ้ ูเรี ย นได้ เคลื่ อ นไหวในลัก ษณะใดลัก ษณะหนึ่งเป็ น ระยะๆ ตามความ เหมาะสมกับวัยและระดับความสนใจของผู้เรี ยน 2) เป็ นกิ จกรรมที่ ช่วยให้ ผ้ ูเรี ยนมี ส่วนร่ วมทางสติปัญ ญา (Intellectual Participation) คือเป็ นกิจกรรมที่ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนเกิดความเคลื่อนไหวทางสติปัญญา หรื อกล่าวง่ายๆว่า เป็ นกิจกรรมที่ ท้าทายความคิดของผู้เรี ยน ซึ่งจะช่วยให้ ผ้ เู รี ยน เกิดความจดจ่อในการคิด สนุกที่จะคิด ดังนัน้ กิ จกรรมจะมีลกั ษณะดังกล่าวได้ จะต้ องมี เรื่ องให้ ผ้ ูเรี ย นคิ ด โดยเรื่ องนัน้ จะต้ อ งไม่ง่ายและไม่ยากเกิ นไปสาหรั บ ผู้เรี ยน เพราะถ้ าง่ายเกินไป ผู้เรี ยนก็ไม่จาต้ องใช้ ความคิด แต่ถ้ายากเกินไป ผู้เรี ยน ก็จะเกิดความท้ อถอยที่จะคิด ดังนันผู ้ ้ สอนต้ องหาประเด็นที่เหมาะสมกับวัยและ ความสามารถของผู้เรี ยน เพื่อกระตุ้นให้ ผ้ เู รี ยนใช้ ความคิดหรื อลงมือทาสิ่งใดสิ่ง หนึง่ 120

Experience of Learning


3) เป็ น กิ จ ก รรม ที่ ช่ วย ให้ ผู้ เรี ย น มี ส่ ว น ร่ วม ท างสั ง ค ม (Social Participation) คือเป็ น กิจกรรมที่ช่วยให้ ผ้ ูเรี ยนมีปฏิสมั พันธ์ ทางสังคมกับบุคคล หรื อสิ่งแวดล้ อมรอบตัว เนื่องจากมนุษย์เป็ นสัตว์สงั คมที่อาศัยรวมกันอยู่เป็ นหมู่ คณะ มนุษย์โดยทัว่ ไปจะต้ องเรี ยนรู้ ที่จะปรับตัวเข้ ากับบริ บทต่างๆ การเปิ ดโอกาส ให้ ผ้ เู รี ยนมีปฏิสมั พันธ์กบั ผู้อื่นจะช่วยให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการเรี ยนรู้ทางสังคม ซึง่ จะส่งผล ถึงการเรี ยนรู้ ทางด้ านอื่นๆด้ วย ดังนันกิ ้ จกรรมการเรี ยนรู้ ที่ดี จึงควรเป็ นกิจกรรมที่ ส่งเสริ มให้ ผ้ เู รี ยนได้ เรี ยนรู้จากสิง่ แวดล้ อมรอบตัวด้ วย 4) เป็ นกิ จ กรรมที่ ช่ ว ยให้ ผู้ เรี ย นมี ส่ ว นร่ ว มทางอารมณ์ (Emotional Participation) คือ กิจกรรมที่ส่งผลต่าอารมณ์ ความรู้ สึกของผู้เรี ยน ซึ่งจะช่วยให้ การเรี ยนรู้นนเกิ ั ้ ดความหมายต่อตนเอง กิจกรรมที่สง่ ผลต่อความรู้สกึ ของผู้เรี ยนนัน้ มักจะเป็ นกิจกรรมที่เกี่ยวข้ องกับชีวิต ประสบการณ์ และความเป็ นจริ งของผู้เรี ยน จะต้ องเป็ นสิง่ ที่เกี่ยวข้ องกับผู้เรี ยนโดยตรงหรื อใกล้ ตวั ผู้เรี ยน การจัดการเรี ยนการสอนแบบเน้ นผู้เรี ยนเป็ นศูนย์กลาง ตามรู ปแบบการ จัดการเรี ยนรู้แบบ CIPPA Model นัน้ จะแบ่งได้ ออกเป็ น 3 ขันตอน ้ คือ 1) ขันเตรี ้ ยมการ ประกอบด้ วย 1.1) การเตรี ยมตนเอง ผู้เรี ยนจะต้ องมีการเตรี ยมตนเอง 1.2) การเตรี ย มแหล่ ง ข้ อมู ล ผู้ สอนจะต้ องเป็ นผู้ เตรี ย ม แหล่งข้ อมูลให้ แก่ผ้ เู รี ยน 1.3) การจัดทาแผนการสอน ผู้สอนจะต้ องเป็ นผู้จดั ทาแผนการ สอน โดยจะต้ องมีการเตรี ยมกิจกรรม เตรี ยมสื่อ วัสดุอุปกรณ์ และเตรี ยมการวัด และประเมิณผล 2) ขันด ้ าเนินการ เป็ นการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้โดยให้ ผ้ เู รี ยน 2.1) สร้ างและค้ นพบความรู้ ด้ วยตนเอง (C= Construction of knowledge) 2.2) มีปฏิสมั พันธ์กบั แหล่งความรู้หลากหลาย (I=Interaction) Experience of Learning

121


2.3) มีกิจกรรมเคลื่อนไหวทางกายอย่างเหมาะสมกับวัยและ ความสนใจ (P=Physical Participation) 2.4) ได้ เรี ยนรู้กระบวนการต่างๆ (P=Process Learning) 2.5) นาความรู้ไปประยุกต์ใช้ (A=Application) 3) ขันประเมิ ้ นผล จะวัดและประเมินผลตามสภาพจริ ง โดย 3.1) วิธีการหลากหลาย 3.2) จากการปฏิบตั ิ 3.3) จากแฟ้มสะสมงาน ในการวิจัยเรื่ องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนด้ วยแบบการจัดการ เรี ย นรู้ ตามรู ป แบบการจั ด การเรี ย นรู้ CIPPA Model วิ ช ากฎหมายลั ก ษณะ ประกันภัยนี ้ มีสาระสาคัญของผลการวิจยั ดังต่อไปนี ้ การพัฒ นารู ปแบบการเรี ยนการสอนวิชากฎหมายลักษณะประกั นภัย ตามหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (ปรับปรุง พ.ศ.2557) ของวิทยาลัยนอร์ ทเทิร์น โดย การจัดการเรี ยนการสอนโดยยึดผู้เรี ยนเป็ นศูนย์กลางตามรูปแบบการจัดการเรี ยนรู้ แบบ CIPPA Model โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็ นนักศึกษาสาขาวิชานิติศาสตร์ ภาค ปกติ ที่ ล งทะเบี ย นเรี ย นวิ ช ากฎหมายลัก ษณะประกัน ภัย ในภาคการศึ ก ษาที่ 1/2558 จานวน 46 คน มีบทสรุปผลการวิจยั ดังรายละเอียดต่อไปนี ้ 1 การจัดการเรี ยนการสอนโดยยึดผู้เรี ยนเป็ นศูนย์กลางตามรู ปแบบการ จัดการเรี ยนรู้แบบ CIPPA Model ส่งผลให้ กลุม่ เป้าหมายมีความรู้ ความเข้ าใจใน บทเรี ยนวิชากฎหมายลักษณะประกันภัยเพิ่มขึ ้น สังเกตได้ จากการที่คะแนนการทา แบบประเมินผลก่อนเรี ยน (pre-test) และคะแนนการทาแบบประเมินผลหลังการ เรี ยน (post-test) แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยคะแนน เฉลี่ยการทาแบบประเมินผลหลังการเรี ยน (post-test) สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยการทา แบบประเมินผลก่อนเรี ยน (pre-test) สอดคล้ องกับบัวครอง ชัยปราบ (2553) ซึ่ง ได้ ศึกษาวิจยั เรื่ องการศึกษาผลสัมฤทธิ์การฝึ กปฏิบตั ิสมาธิตามหลักอานาปานสติ 122

Experience of Learning


สอนโดยยึดผู้เรี ยนเป็ นศูนย์ กลางแบบโมเดลซิปปา พบว่าเมื่อได้ จัดกิ จกรรมการ เรี ยนรู้ โดยยึดผู้เรี ยนเป็ นศูนย์กลางให้ ผ้ เู รี ยนมีบทบาทสาคัญ มีสว่ นร่ วมในการจัด กิจกรรม เปิ ดโอกาสให้ ผ้ เู รี ยนได้ มีปฏิสมั พันธ์กบั บุคคลและสิง่ แวดล้ อมรอบตัวตาม ความเหมาะสม มีการวางแผน มีการค้ นหาค าตอบทัง้ ด้ วยตนเองหรื อจากกลุ่ม เพื่อน จากแหล่งเรี ยนรู้ จากสถานการณ์ จากการปฏิบตั ิจริ ง เปิ ดโอกาสให้ ร้ ู จกั การ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีการทางานร่ วมกัน ผู้เรี ยนจะมีการพัฒนาพฤติกรรมไป ในทางที่ดีขึ ้นทุกด้ านและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนสูงขึ ้นตามลาดับ 2 การจัดการเรี ยนการสอนโดยยึดผู้เรี ยนเป็ นศูนย์กลางตามรู ปแบบการ จัดการเรี ยนรู้แบบ CIPPA Model ส่งผลให้ กลุม่ เป้าหมายมีความรู้ ความเข้ าใจใน บทเรี ยนวิชากฎหมายลักษณะประกันภัยอยูใ่ นเกณฑ์ดี และส่งผลให้ กลุม่ เป้าหมาย มี ค วามสามารถในการคิ ด วิ เคราะห์ แ ละการให้ เหตุผ ลอยู่บ้ าง สอดคล้ อ งกั บ รศ.ทิศนา แขมมณี ที่กล่าวไว้ ว่า การเรี ยนรู้กระบวนการ (Process Learning) เป็ น สิ่ ง ที่ ส าคั ญ เช่ น เดี ย วกั บ การเรี ย นรู้ เนื อ้ หาสาระต่ า งๆ การเรี ย นรู้ ทางด้ าน กระบวนการ เป็ นการช่ ว ยให้ ผู้ เรี ย นมี ส่ ว นร่ ว มทางสติ ปั ญญาอี ก ทางหนึ่ ง แต่อย่างไรก็ตามความสามารถในการคิดวิเคราะห์และการให้ เหตุผลยังอยู่ในระดับ ที่น้อยกว่าความเข้ าใจในบทเรี ยน สังเกตได้ จากการที่ผลคะแนน และผลการคิด วิเคราะห์และการให้ เหตุผลจากการทาแบบประเมินผลหลังการเรี ยน (post-test) แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีผลคะแนนสูงกว่าผลการ คิดวิเคราะห์และการให้ เหตุผล 3 กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในจัดการเรี ยนการสอนโดยยึดผู้เรี ยน เป็ น ศูน ย์ ก ลางตามรู ป แบบการจัด การเรี ย นรู้ แบบ CIPPA Model เป็ น อย่า งยิ่ ง สังเกตได้ จากการแปลผลที่จดั อยู่ในระดับมากที่สดุ และ มาก ทังนี ้ ้มีความพึงพอใจ โดยรวม คิดเป็ นร้ อยละ 89.81 4 กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่ ยงั ขาดทักษะในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ ขาดการเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีกบั การปฏิบตั ิ โดยการนาความรู้ ที่ได้ รับมาบูรณา Experience of Learning

123


การเข้ ากับข้ อเท็จจริ งที่ปรากฏในข้ อสอบ สังเกตได้ จากการมีผ้ สู อบผ่านการวัดผล การเรี ยนรู้ จากข้ อสอบปลายภาค เป็ น จ านวน 10 คน คิด เป็ น ร้ อยละ 21.73 ซึ่ง แตกต่างไปจากคากล่าวของ รศ.ทิศนา แขมมณี ที่กล่าวไว้ วา่ การจัดกิจกรรมที่ช่วย ให้ ผ้ ูเรี ยนสามารถนาความรู้ ไปประยุก ต์ ใช้ เป็ นการช่วยให้ ผ้ ูเรี ยนมี ส่วนร่ วมใน กิจกรรมการเรี ยนรู้ด้านใดด้ านหนึ่งหรื อหลายๆด้ าน ผลสัม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นซึ่ ง ใช้ รู ป แบบการจัด การเรี ย นรู้ แบบ CIPPA Model ในวิชากฎหมายลักษณะประกันภัย การจัดการเรี ยนการสอนโดยยึดผู้เรี ยนเป็ นศูนย์ กลางตามรู ปแบบการ จัด การเรี ย นรู้ แบบ CIPPA Model ส่ง ผลให้ นัก ศึ ก ษามี ค วามรู้ ความเข้ า ใจใน บทเรี ยนวิชากฎหมายลักษณะประกันภัยเพิ่มขึ ้น สอดคล้ องกับบัวครอง ชัยปราบ (2553) ซึ่งได้ ศึกษาวิจยั เรื่ องการศึกษาผลสัมฤทธิ์การฝึ กปฏิบตั ิสมาธิตามหลักอา นาปานสติ สอนโดยยึดผู้เรี ย นเป็ นศูน ย์ ก ลางแบบโมเดลซิ ปปา พบว่าเมื่ อได้ จัด กิจกรรมการเรี ยนรู้ โดยยึดผู้เรี ยนเป็ นศูนย์กลางให้ ผ้ เู รี ยนมีบทบาทสาคัญ มีส่วน ร่ ว มในการจั ด กิ จ กรรม เปิ ดโอกาสให้ ผู้ เรี ย นได้ มี ป ฏิ สัม พั น ธ์ กั บ บุ ค คลและ สิง่ แวดล้ อมรอบตัวตามความเหมาะสม มีการวางแผน มีการค้ นหาคาตอบทังด้ ้ วย ตนเองหรื อจากกลุ่มเพื่อน จากแหล่งเรี ยนรู้ จากสถานการณ์ จากการปฏิบัติจริ ง เปิ ดโอกาสให้ ร้ ู จกั การช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน มีการทางานร่ วมกัน ผู้เรี ยนจะมีการ พัฒ นาพฤติ ก รรมไปในทางที่ ดี ขึน้ ทุก ด้ า นและมี ผ ลสัม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นสูงขึน้ ตามลาดับ ผ่านเกณฑ์ที่กาหนดไว้ เป็ นที่พอใจ และสอดคล้ องกับ รศ.ทิศนา แขมมณี ที่ ก ล่ า วไว้ ว่ า การเรี ย นรู้ กระบวนการ (Process Learning) เป็ นสิ่ ง ที่ ส าคั ญ เช่นเดียวกับการเรี ยนรู้ เนื ้อหาสาระต่างๆ การเรี ยนรู้ ทางด้ านกระบวนการ เป็ นการ ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนมีสว่ นร่วมทางสติปัญญาอีกทางหนึง่ อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาถึงเรื่ องความสามารถในการคิดวิเคราะห์แ ละ การให้ เหตุผล กลับพบว่า ผู้เรี ยนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และการให้ เหตุผ ลอยู่บ้ าง แต่ อ ยู่ใ นระดับ ที่ น้ อยกว่ า ความเข้ า ใจในบทเรี ย น จึ ง ส่ ง ผลให้ 124

Experience of Learning


นักศึกษากลุม่ เป้าหมายส่วนใหญ่ยงั ขาดทักษะในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ โดย การนาความรู้ ที่ได้ รับมาบูรณาการเข้ ากับข้ อเท็จจริ งที่ปรากฏในข้ อสอบ ซึ่งเมื่อ พิจารณาจากคากล่าวของ รศ.ทิศนา แขมมณี ที่กล่ าวไว้ ว่า การนาความรู้ ที่ได้ เรี ยนรู้ ไปประยุกต์ใช้ (Application) จะช่วยให้ ผ้ เู รี ยนได้ รับประโยชน์จากการเรี ยน และช่วยให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการเรี ยนรู้ เพิ่มเติมขึ ้นเรื่ อยๆ กิจกรรม การเรี ยนรู้ ที่มีแต่เพียง การสอนเนื ้อหาสาระให้ ผ้ เู รี ยนเข้ าใจ โดยขาดกิจกรรมการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ จะทาให้ ผ้ เู รี ยนขาดการเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีกบั การปฏิบตั ิ ซึง่ จะทาให้ การเรี ยนรู้ ไม่เกิ ดประโยชน์ เท่าที่ควร การจัดกิ จกรรมที่ช่วยให้ ผ้ ูเรี ยนสามารถนาความรู้ ไป ประยุกต์ใช้ นี ้เท่ากับเป็ นการช่วยให้ ผ้ เู รี ยนมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยนรู้ ด้านใด ด้ านหนึง่ หรื อหลายๆด้ าน แล้ วแต่สาระของกิจกรรมที่จดั มีเพียงนักศึกษาส่วนน้ อย เท่านันที ้ ่สามารถประยุกต์ใช้ และเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีกบั การปฏิบตั ิได้ ทังนี ้ ้อาจ เกิดจากปั จจัยหลายอย่าง อาทิ ความเหมาะสมและสาระของกิจกรรม ตัวนักศึกษา เอง เป็ นต้ น ดังนัน้ จึงกล่าวได้ ว่าผลของการวิจัยตรงตามสมมติฐานเพียงบางส่วน กล่าวคือผู้เรี ยนที่ เรี ยนโดยใช้ รูปแบบการจัดการเรี ยนรู้ แบบ CIPPA Model จะมี ความเข้ า ใจในบทเรี ย นวิช ากฎหมายลัก ษณะประกัน ภัย เพิ่ ม ขึน้ โดยเป็ น ไปใน ทิศทางที่มากกว่าการจัดการเรี ยนการสอนในรู ปแบบเดิม แต่สาหรับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนนันไม่ ้ เป็ นไปตามสมมติฐานทังนี ้ ้เพราะผู้เรี ยนยังขาดการนาความรู้ ที่ ได้ รั บ มาบูรณาการเข้ า กับ ข้ อ เท็ จ จริ ง ที่ ป รากฏในข้ อ สอบ ส่งผลให้ ผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ยนของผู้เรี ยนไม่แตกต่างไปจากการจัดการเรี ยนการสอนในรูปแบบเดิม ปั ญ หาที่เกิดจากการเรี ยนการสอนวิชากฎหมายลักษณะประกันภั ยใน การวิจัยครั ง้ นี ้ คือ ผู้เรี ยนยังขาดทักษะในการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ ขาดการ เชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีกบั การปฏิบตั ิจึงไม่สามารถนาความรู้ที่ได้ รับมาบูรณาการ เข้ ากับข้ อเท็จจริ งที่ปรากฏในข้ อสอบ จากผลการวิจยั พบว่าปั จจัยด้ านเนื ้อหาวิชา ด้ านการเรี ยนการสอน ด้ านผู้สอน ด้ านสื่อและอุป กรณ์การเรี ยนการสอน และด้ าน Experience of Learning

125


การวัดผลและประเมินผล ไม่ใช่สาเหตุของปั ญหา ทังนี ้ ้เพราะจากผลการวิเคราะห์ ข้ อมูลความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่ตอบแบบสอบถามในการเรี ยนการสอน แสดงให้ เห็นว่า ผู้เรี ยนมีความพึงพอใจด้ านการเรี ยนการสอน และด้ านผู้สอน อยูใ่ น ระดับมากที่สดุ เป็ นส่วนใหญ่ อีกทังมี ้ ความพึงพอใจด้ านเนื ้อหาวิชา ด้ านสื่อและ อุปกรณ์การเรี ยนการสอน และด้ านการวัดผลและประเมินผล อยูใ่ นระดับมากเป็ น ส่วนใหญ่ เมื่อพิจารณาจากคากล่าวของ รศ.ทิศนา แขมมณี ที่กล่าวไว้ ว่า การนา ความรู้ที่ได้ เรี ยนรู้ไปประยุกต์ใช้ (Application) จะช่วยให้ ผ้ เู รี ยนได้ รับประโยชน์จาก การเรี ยน และช่วยให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการเรี ยนรู้เพิ่มเติมขึ ้นเรื่ อยๆ กิจกรรม การเรี ยนรู้ที่มี แต่เพียงการสอนเนือ้ หาสาระให้ ผ้ เู รี ยนเข้ าใจ โดยขาดกิ จกรรมการนาความรู้ ไป ประยุกต์ใช้ จะทาให้ ผ้ เู รี ยนขาดการเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีกบั การปฏิบตั ิ ซึ่งจะทา ให้ การเรี ยนรู้ ไม่เกิดประโยชน์เท่าที่ควร การจัดกิจกรรมที่ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนสามารถนา ความรู้ไปประยุกต์ใช้ นี ้เท่ากับเป็ นการช่วยให้ ผ้ เู รี ยนมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเรี ยนรู้ ด้ านใดด้ านหนึง่ หรื อหลายๆด้ าน แล้ วแต่สาระของกิจกรรมที่จดั แต่ผลของการวิจั ย นี ้กลับปรากฏว่ามีเพียงผู้เรี ยนส่วนน้ อยเท่านันที ้ ่สามารถประยุกต์ใช้ และเชื่อมโยง ระหว่างทฤษฎีกบั การปฏิบตั ิได้ ทังนี ้ ้ปั ญหาผู้เรี ยนขาดทักษะในการวิเคราะห์และ สังเคราะห์ อาจมีสาเหตุมาจากความเหมาะสมและสาระของกิจกรรมหรื ออาจมี สาเหตุมาจากปั จจัยด้ านตัว ผู้เรี ยนเอง เช่นความตังใจเรี ้ ยนของผู้เรี ยนพื ้นความรู้ เดิมของผู้เรี ยน เป็ นต้ น หรื ออาจเกิดจากปั จจัยด้ านสภาพแวดล้ อม หรื อปั จจัยอื่นๆ ดังนันงานวิ ้ จยั นี ้จึงไม่สามารถสรุปได้ วา่ ปั จจัยใดเป็ นสาเหตุที่ทาให้ ผ้ เู รี ยน ขาดทักษะในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ ขาดการเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีกบั การ ปฏิบตั ิ จนไม่สามารถนาความรู้ ที่ได้ รับมาบูรณาการเข้ ากับข้ อเท็จจริ งที่ปรากฏใน ข้ อสอบ จึงไม่อาจกาหนดแนวทางแก้ ไขปั ญหาที่เป็ นรู ปธรรมได้ โดยปั ญ หานี ้ถื อ เป็ นปั ญหาที่สมควรศึกษาวิจยั ในโอกาสต่อไป เพื่อให้ สามารถกาหนดแนวทางการ แก้ ไขปั ญหาดังกล่าวอย่างเป็ นรูปธรรมได้ 126

Experience of Learning


จากผลการวิจยั นี ้ได้ ตอบคาถามวิจยั ที่ว่าปั ญหาที่เกิดจากการสอนวิชา กฎหมายลักษณะประกันภัยมีอะไรบ้ าง และการนารู ปแบบการจัดการเรี ยนรู้ แบบ CIPPA Model มาใช้ จัดการเรี ยนการสอนในวิชากฎหมายลักษณะประกันภัยทา ให้ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของผู้เรี ยนเพิ่มขึ ้นมากน้ อยเพียงใดได้ อย่างชัดเจนดัง รายละเอี ยดที่ ได้ กล่าวแล้ วนัน้ อี กทัง้ เป็ น ไปตามวัตถุป ระสงค์ และได้ ป ระโยชน์ ตามที่ ได้ ก าหนดไว้ ก ล่า วคื อ ได้ ทราบปั ญ หาที่ เกิ ด จากการสอนวิ ช ากฎหมาย ลักษณะประกันภัย และทราบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนซึ่งใช้ รูป แบบการจัด การ เรี ยนรู้แบบ CIPPA Model ในวิชากฎหมายลักษณะประกันภัย ข้ อเสนอแนะในการนาผลการวิจยั ไปใช้ 1 ผู้วิจยั ควรนาผลการวิจยั ไปกาหนดแนวทางในการจัดการเรี ยนการสอน วิชากฎหมายลักษณะประกันภัยในภาคการศึกษาอื่นต่อไป 2 ผู้วิจัยควรนาผลของการวิจยั ไปกาหนดแนวทางในการพัฒนาเอกสาร ประกอบการสอนวิ ช ากฎหมายลัก ษณะประกัน ภัย ของผู้วิจัย ให้ ส อดคล้ อ งกับ หลักสูตร นิติศาสตรบัณฑิต (ปรับปรุ ง พ.ศ.2557) ของวิทยาลัยนอร์ ทเทิร์น และ เหมาะสมกับผู้เรี ยนต่อไปในภายภาคหน้ า 3 สาขาวิชานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ และรัฐศาสตร์ ควรสนับสนุนให้ มี การจัดการเรี ยนการสอนโดยยึดผู้เรี ยนเป็ นศูนย์กลางตามรูปแบบการจัดการเรี ยนรู้ แบบ CIPPA Model เพื่อพัฒนารู ปแบบการเรี ยนการสอนในวิชาอื่นๆ เนื่องจากผล จากการวิจัยนี ้ทาให้ เห็นว่าการจัดการเรี ยนการสอนโดยยึดผู้เรี ยนเป็ นศูนย์กลาง ตามรู ป แบบการจัด การเรี ย นรู้ แบบ CIPPA Model จะส่ง ผลให้ ผ้ ูเรี ย นมี ค วามรู้ ความเข้ าใจในบทเรี ยนเพิ่มขึ ้นโดยเป็ นไปในทิศทางที่มากกว่าการจัดการเรี ยนการ สอนในรูปแบบเดิม 4 คณ ะนิ ติ ศ าสตร์ แ ละรั ฐ ศาสตร์ ควรจั ด ให้ มี ก ารอบรมสั ม มนา เชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารแก่ อ าจารย์ เกี่ ย วกั บ จั ด การเรี ย นการสอนโดยยึ ด ผู้ เรี ย นเป็ น ศูนย์กลางตามรู ปแบบการจัดการเรี ยนรู้แบบ CIPPA Model เพื่อเป็ นแนวทางที่จะ Experience of Learning

127


นาไปสูก่ ารพัฒนารู ปแบบการเรี ยนการสอนในวิชาอื่นๆ ของสาขาวิชาต่างๆ อันจะ ส่งผลให้ งานวิจยั นี ้เกิดประโยชน์สงู สุด

ภาพที่ 1 ผู้เรียนนาเสนอการสืบค้ นธุรกิจประกันภัยจากสือ่ อินเทอร์ เน็ต (ทบทวนความรู้เดิม/แสวงหาความรู้ใหม่)

ภาพที่ 2 ผู้เรียนทาแบบฝึ กหัด (การศึกษาทาความเข้ าใจข้ อมูล/ความรู้ ใหม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กบั ความรู้เดิม) 128

Experience of Learning


ภาพที่ 3 การแลกเปลีย่ นความรู้ความเข้ าใจกับกลุม่

ภาพที่ 4 หลังจากผู้สอนบรรยายเนื ้อหาของกฎหมาย ได้ กาหนดให้ ผ้ เู รี ยนร่วมกันวิเคราะห์สทิ ธิและหน้ าที่ ของผู้เอาประกันภัย ผู้รับประกันภัย และผู้รับประโยชน์ (การสรุปจัดระเบียบความรู้ และวิเคราะห์กระบวนการเรี ยนรู้ Experience of Learning

129


ภาพที่ 5 ผู้เรียนนาเสนอผลงานการทาแบบฝึ กหัด/การวิเคราะห์ (การปฏิบตั ิ และ/หรื อ การแสดงผลงาน ตลอดจน การประยุกต์ใช้ ความรู้)

130

Experience of Learning


การพัฒนาผลงานออกแบบโดยการประยุกต์ เทคนิค วิธีการจัดปั ญหาเป็ นฐานร่ วมกับการประเมินผล โดยการสร้ างรู บคิ สกอร์ สาหรั บนักศึกษารายวิชา ARC435 การออกแบบสถาปั ตยกรรมขัน้ สูง 1 ฐิตวิ ัฒน์ นงนุช การจัดการเรี ยนการสอนทางด้ านสถาปั ตยกรรมที่อิงอยูก่ บั มาตรฐานของ หลักสูตร และมาตราฐานทางด้ านการประกอบวิชาชีพสถาปั ตกรรมควบคุม ซึง่ เน้ น ถึงทักษะในการพัฒ นาแนวความคิด อย่างเป็ น ระบบ เพื่อ ใช้ ในการกาหนดเป็ น แนวทางในการแก้ ปัญหาทางด้ านการออกแบบได้ อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทังขาด ้ ความสามารถในการสร้ างทางเลือกในการออกแบบ หรื อแก้ ปัญ หาที่เกิ ดขึน้ ได้ อย่างหลากหลายและมีความแตกต่างระหว่างกันและกัน (ยงยุทธ ณ นคร, 2532 อ้ า งใน บัณ ฑิ ต จุ ล าสัย , 2539) สอดคล้ อ งกับ ปรั ช ญาของการจัด การเรี ย นรู้ สมัย ใหม่ที่ มุ่ง เน้ น ถึ ง ลัก ษณะและวิ ธี ก ารเรี ย นรู้ ที่ ห ลากหลาย แตกต่ า งและมี ทางเลือกที่หลากหลาย เพื่อให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อผู้เรี ยนมากที่สดุ หรื อเรี ยกว่า การ เรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นพื ้นฐาน (Problem-Based Learning: PBL) ในการเรี ยนรู้ที่ จะน าไปสู่ก ารผสมผสานความรู้ เก่ าและความรู้ ใหม่ เข้ า ด้ ว ยกัน จนสังเคราะห์ ออกมาเป็ นองค์ความรู้ ใหม่ๆ ที่สามารถนาไปใช้ ในการแก้ ปัญหานันๆ ้ ได้ ในที่สดุ (ยรรยง สินธุ์งาม, 2556)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ฐิติวัฒน์ นงนุช อาจารย์ประจา คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม Experience of Learning

131


การพัฒ นาการเรี ยนการสอนทางด้ านสถาปั ตยกรรมภายใต้ แนวคิดการ เรี ยนรู้ โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐานจึงสมควรที่ จะถูกนามาใช้ ในการพัฒนาด้ านการเรี ยน ซึ่งสามารถช่วยให้ นกั ศึกษาสามารถเข้ าใจความเกี่ยวเนื่องระหว่างสถาปั ตยกรรม ศาสตร์ กบั ศาสตร์ อื่นที่เกี่ยวข้ องได้ อย่างเป็ นลาดับ นอกจากนันในเชิ ้ งยุทธศาสตร์ ในการสอน นักการศึกษาสามารถ PBL ไปใช้ เป็ นกรอบงานในการสร้ างรายวิชา (course) ได้ อี ก ด้ วย (ยศวี ร์ , 2554) โดยเน้ นถึ ง ความสามารถในการปฏิ บั ติ (Authentic Assessment) 2 ประการคือ ความสามารถของนักศึกษาในการสร้ าง แนวความคิ ด ในการออกแบบสถาปั ต ยกรรม (Conceptual Design Skill) และ ความสามารถในการออกแบบเชิงบูรณาการ (Integrated Science Skill) ซึ่งเป็ น การบูรณาการแนวคิดต่างๆ จากศาสตร์ ที่เกี่ยวข้ องกับการออกแบบสถาปั ตยกรรม อย่างไรก็ตาม งานวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอนทางด้ านสถาปั ตยกรรม ที่เน้ นถึงกระบวนการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน ควบคู่ไปกับการพัฒนาเครื่ องมือ ในการประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ นัน้ ยัง ขาดการศึ ก ษาและวิ จัย อยู่ม ากในแวดวง วิช าการทางด้ า นสถาปั ต ยกรรม งานวิ จัย ทางด้ า นการพัฒ นาเครื่ อ งมื อ วัด ผล (บุษวรรษ์ , 2556) ซึ่งเน้ นถึงการสร้ าง (โชติมา, 2544) และพัฒนาเครื่ องมือวัดผล (นันทนัช, 2553) หรื อที่เรี ยกว่ารู บิกสกอร์ (ธนุตม์ , 2557) นันยั ้ งขาดมิติของการ สะท้ อนกลับ (Feedback) ไปยังนักศึกษา หรื อขาดกระบวนการประเมินตนเองของ ผู้เรี ย น ซึ่ ง เป็ นการเรี ย นรู้ ร่ ว มกัน ระหว่า งผู้เรี ย นและผู้ส อนอย่ า งเท่ า เที ย มกั น ด้ วยเหตุนี ้ งานวิจัยชิน้ นี ้จึงมุ่งเน้ น การพัฒนารู ปแบบการเรี ยนการสอน ควบคู่ไป กับการพัฒนาเครื่ องมือในการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้อย่างถูกต้ องตามหลัก วิ ช าการ โดยเฉพาะการใช้ เครื่ อ งมื อ ประเมิ น ผลที่ เรี ย กว่ า รู บิ ก สกอร์ ซึ่ ง เป็ น เครื่ องมือที่ใช้ ในการประเมินผลอย่างแพร่หลายในวงการวิชาการ

132

Experience of Learning


วัตถุประสงค์ ของการวิจัย 1. เพื่อประยุกต์ใช้ วิธีการเรี ยนการสอนแบบปั ญหาเป็ นฐานในการพัฒนา ผลงานการออกแบบ ของนั ก ศึ ก ษ าในรายวิ ช า ARC435 การออกแบบ สถาปั ตยกรรมขันสู ้ ง1 2. เพื่อประยุกต์เทคนิคการประเมินผลโดยการสร้ างรูบิคสกอร์ ในการสร้ าง เครื่ องมือสาหรับการประเมินผลงานออกแบบของนักศึกษา คาถามการวิจัย การจัดการเรี ยนการสอนแบบปั ญหาเป็ นฐาน และการสร้ างรู บิคสกอร์ เพื่อ ใช้ เป็ นเครื่ องมือในการประเมินผลงานการออกแบบของนักศึกษา มีสว่ นช่วยในการ พัฒนาผลงานการออกแบบของนักศึกษาได้ มากน้ อยเพียงใด ประชากรที่ใช้ ในการวิจัยคือ นักศึกษาในรายวิชา ARC435 การออกแบบ สถาปั ตยกรรมขันสู ้ ง 1 สาหรับภาคการศึกษาที่ 1 ประจาปี การศึกษา 2559 จานวน 26 คน ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรต้ น (Independent Variable) ได้ แก่ การจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหา เป็ นฐาน (Problem-based Learning: PBL) เพื่อใช้ ในการพัฒนาแนวความคิดใน การออกแบบสถาปั ตยกรรม ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ได้ แก่ พัฒ นาการด้ านความรู้ และ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการศึ ก ษา และความสามารถของนั ก ศึ ก ษาในการสร้ าง แนวความคิ ด ในการออกแบบสถาปั ต ยกรรม (Conceptual Design Skill) และ ความสามารถในการออกแบบเชิงบูรณาการ (Integrated Science Skill) เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย - เครื่ องมือทดลอง แผนการเรี ยนการสอน เอกสารประกอบการเรี ยนการ สอนที่ผ้ วู ิจยั สร้ างขึ ้นและสือ่ วัสดุการสอน

Experience of Learning

133


- เครื่ อ งมื อ ในการเก็ บ รวบรวมข้ อ มูล ประกอบไปด้ ว ย แบบประเมิ น พัฒนาการการเรี ยนรู้ และแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ด้านการเรี ยนรู้โดยใช้ รูบิคสกอร์ แบบแยกองค์ประกอบ โดยแบ่งออกเป็ น 2 ส่วน ดังนี ้ ส่วนที่ 1 การศึกษาข้ อมูลพื ้นฐานทัว่ ไป เพศ คะแนนเฉลี่ยสะสม ปั ญหาใน การเรี ยนด้ านการออกแบบ ส่วนที่ 2 การวัด และประมิ น ระดับ ด้ า นกระบวนการก าหนดปั ญ หา การ แก้ ปัญหา ทักษะและคุณลักษณะของผู้เรี ยน ซึ่งเป็ นไปตามจุดประสงค์การเรี ยนรู้ ในการเรี ยนรู้วิชาการออกแบบการประเมินผล ซึ่งประกอบไปด้ วยทักษะที่จาเป็ น 2 ด้ าน ได้ แก่ ความสามารถของนักศึกษาในการสร้ างแนวความคิดในการออกแบบ สถาปั ตยกรรม (Conceptual Design Skill) และความสามารถในการออกแบบเชิง บูรณาการ (Integrated Science Skill) ซึ่งมีทัง้ ผู้เรี ยนเป็ น ผู้ป ระเมิ นตนเอง และ ผู้สอนเป็ นผู้ประเมิน การเก็บรวบรวมข้ อมูล ขัน้ ตอนที่ 1. ผู้ วิ จั ย ท าการรวบรวมข้ อมู ล จากแบบสอบถามที่ แ จกให้ ประชากรกลุม่ เป้าหมาย ขัน้ ตอนที่ 2. ผู้วิ จัย ท าการรวบรวมข้ อ มูลจากงานวิ จัย ต ารา เอกสารที่ เกี่ยวข้ อง ขันตอนที ้ ่ 3. ผลการศึกษาในรายวิชาการออกแบบ และการประเมินผลของ นักศึกษา การวิเคราะห์ ข้อมูล ใช้ ค่าสถิ ติ การวัด พัฒ นาการของผู้เรี ย นก่ อ นและหลังการเรี ย น (Growth Score) รวมทัง้ สถิ ติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ที่ ได้ จากแบบสารวจ ร่ วมกับ การวิเคราะห์ เนื ้อหาจากแบบสังเกต แบบจดบันทึกและรูบิคสกอร์ ที่ใข้ ในการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาแบบแยกองค์ประกอบ

134

Experience of Learning


สถิติท่ ใี ช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล งานวิจัยชิ ้นนี ้เน้ นถึงการศึกษาด้ านพัฒนาการของผู้เรี ยน สถิติที่ใช้ ในการ วิ เคราะห์ ข้ อมู ล ส าหรั บ การแปลผลเชิ ง พัฒ นาการ ได้ แ ก่ คะแนนพัฒ นาการ (Growth Score) ซึ่ง เป็ น การศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บผลการเรี ย นก่ อ นและหลัง การ จัด การเรี ย นการสอนโดยใช้ ปั ญ หาเป็ น ฐาน (PBL) คะแนนพัฒ นาการที่ ใ ช้ ใ น งานวิจัยชิน้ นี ้เน้ นถึง ค่าคะแนนที่เป็ นตัวเลขจากการวัดผลตังแต่ ้ 2 ครัง้ ขึ ้นไปของ ผู้เรี ยนคนเดียวกัน นอกจากนัน้ สถิติประเภทอื่นที่ใช้ ในงานวิจัยฉบับนี ้ ได้ แก่ ค่า คะแนนเฉลีย่ (Mean) ซึง่ ใช้ ในการวิเคราะห์และเปรี ยบเทียบคะแนนพัฒนาการที่ได้ เพื่อชีใ้ ห้ เห็นถึงค่าคะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม ตัวอย่างทังหมดเปรี ้ ยบเทียบกับค่าเฉลี่ย ของแต่ละบุคค ผลการวิจัย 1. ผลของการจัดกลุม่ ประชากรที่ใช้ ในการวิจยั จากจานวนนักศึกษาทังสิ ้ ้น 26 คน ตามพื ้นฐานด้ านการออกแบบ และสภาพปั ญหาของผู้เรี ยนที่ผ้ เู รี ยนระบุถึง ปั ญ หาของตนเอง โดยใช้ การสอบถามและวัดผลก่อนเรี ยน (Pre-Test) สามารถ แบ่งกลุม่ นักศึกษา ได้ ดงั นี ้ กลุ่ม ที่ 1 กลุ่ม นั ก ศึ ก ษาที่ มี ค วามสนใจในการพั ฒ นาทัก ษะด้ านการ ออกแบบแนวความคิดมากกว่าทักษะความสามารถในการออกแบบเชิงบูรณาการ ซึ่งเป็ น กลุ่มนัก ศึก ษาที่ เน้ น การอออกแบบแนวคิ ดทางด้ านสถาปั ตยกรรม และ ต้ องการผลงานออกแบบในเชิงแนวคิดที่ มีลกั ษณะในเชิงนามธรรมเป็ นจุดเริ่ มต้ น ของการทางานออกแบบสถาปั ตยกรรม กลุ่ม ที่ 2 กลุ่ม นั ก ศึ ก ษาที่ มี ค วามสนใจในการพั ฒ นาทัก ษะด้ านการ ออกแบบแนวความคิดเท่ากับทักษะความสามารถในการออกแบบเชิงบูรณาการ ซึง่ เป็ นกลุม่ นักศึกษาที่มีเป้าหมายในการพัฒนาทักษะทังสองประการควบคู ้ ่กนั ไป กลุ่ม ที่ 3 กลุ่ม นั ก ศึ ก ษาที่ มี ค วามสนใจในการพั ฒ นาทัก ษะด้ านการ ออกแบบแนวความคิดน้ อยกว่าทักษะความสามารถในการออกแบบเชิงบูรณาการ Experience of Learning

135


ซึ่งเป็ น กลุ่ม นัก ศึกษาที่ เน้ น การอออกแบบสถาปั ต ยกรรมในเชิ งการปฎิ บัติท าง วิชาชีพมากกว่าการออกแบบแนวคิดในเชิงนามธรรม ภาพที่ 1 เปรี ยบเทียบผลงานการออกแบบที่อาศัยทักษะการออกแบบ 2 ด้ าน

2. ผลของคะแนนพัฒ นำกำร (Growth Score) และค่ ำคะแนนเฉลี ่ยของ พัฒ นำกำรเพิ่ มสัมพันธ์ (Relative Growth Score) ด้ านผลสัมฤทธิ์ ของการเรี ยน ก่อน และหลังการจัดการเรี ยนการสอนแบบใช้ ปัญหาเป็ นฐานของกลุม่ ประชากร นักศึก ษา จานวน 26 คน พบว่า ค่าเฉลี่ย คะแนนพัฒ นาการเท่า กับ 4.07 และ ค่าเฉลี่ยของคะแนนพัฒนาการเพิ่มสัมพันธ์ มีค่าเท่ากับ 12.52 ของปริ มาณที่ควร พัฒนาได้ โดยพบว่า นักศึกษากลุม่ ที่ 1 มีค่าคะแนนพัฒนาการเฉลี่ยสูงสุดเท่ากับ 6.20 และค่าเฉลี่ยของคะแนนพัฒ นาการเพิ่ มสัมพัน ธ์ สูงถึ งร้ อยละ 21.23 ของ ปริ มาณที่ควรพัฒนาได้ รองลงมาได้ แก่ นักศึกษากลุม่ ที่ 2 มีค่าคะแนนพัฒนาการ เฉลี่ยเท่ากับ 4.20 และค่าเฉลี่ยของคะแนนพัฒ นาการเพิ่มสัมพันธ์ สูงถึงร้ อยละ 10.94 ของปริ มาณที่ควรพัฒนาได้ และลาดับสุดท้ ายได้ แก่ นักศึกษากลุม่ ที่ 3 มีค่า คะแนนพัฒนาการเฉลีย่ ต่าสุดเท่ากับ 1.83 และค่าเฉลีย่ ของคะแนนพัฒนาการเพิ่ม สัมพันธ์มีคา่ เท่ากับร้ อยละ 5.39 ของปริ มาณที่ควรพัฒนาได้

136

Experience of Learning


แผนภูมิที่ 1 เปรี ยบเทียบคะแนนพัฒนาการเฉลีย่ เปรี ยบเทียบของกลุม่ นักศึกษา ทังสามกลุ ้ ม่ กับคะแนนพัฒนาการเฉลีย่ ของทังชั ้ นเรี ้ ยน คะแนนพ ัฒนาการเปรียบเทียบ 7.00 6.00

คะแนน

5.00 4.00 3.00 2.00 1.00 0.00 1

2

กลุ่ม ที่

3

4

3. ภำพรวมผลกำรประเมิ นผลสัมฤทธิ์ ของกำรเรี ยนกำรสอน จากผลงาน การออกแบบภายหลังการจัดกระบวนการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน โดย ใช้ เทคนิคการประเมินผลด้ วยรู บิคสกอร์ ซึ่งเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของการเรี ยน การสอนที่กาหนดในรายวิชาการออกแบบสถาปั ตยกรรม โดยเน้ นถึงการพัฒนา แนวคิ ด ในการออกแบบสถาปั ต ยกรรม และการพัฒ นาทัก ษะในการออกแบบ สถาปั ต ยกรรมในเชิ งบูรณาการ พบว่า นักศึก ษาจานวน 7 คนได้ ค่าคะแนนอยู่ ระหว่าง 80-100 คะแนนหรื อเกรด A คิดเป็ นร้ อยละ 26.92 อันดับรองลงมามีค่า คะแนนระหว่าง 60-64 คะแนน จานวน 6 คนหรื อคิดเป็ นร้ อยละ 23.08 และค่า คะแนนระหว่ า ง 70-74 คะแนน จ านวน 4 คน หรื อ คิ ด เป็ นร้ อยละ 15.38 นอกจากนัน้ ผลการเปรี ยบเทียบผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการเรี ยนการสอน โดยใช้ รูบิคสกอร์ ใน 2 หน่วยประเมิน ได้ แก่ รู บิคสกอร์ การประเมินทักษะในการ พัฒนาแนวคิดในการออกแบบ พบว่า นักศึกษาในกลุม่ ที่ 1, 2 และ 3 มีค่าคะแนน ผลสัมฤทธิ์สงู สุดถึงต่าสุดตามลาดับ (83%, 67% และ 64%) และรู บิคสกอร์ การ ประเมินทักษะในการออกแบบสถาปั ตยกรรมเชิ งบูรณาการ พบว่า นักศึกษาใน Experience of Learning

137


กลุ่มที่ 3, 2 และ 1 มีค่าคะแนนผลสัมฤทธิ์ สงู สุดถึงต่าสุดตามลาดับ (74%, 63% และ 62%) แผนภูมิที่ 2 เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาทักษะในการออกแบบ 2 ด้ าน คะแนนพ ัฒนาการเฉลีย ่ ด้านท ักษะการออกแบบ 2 ด้าน 90 80

คะแนน

70 60 50 40 30 20

S eries 1 S eries 2

10

S eries 3

0 1

ท ักษะทีต ่ อ ้ งพ ัฒนา

2

อภิปรายผลการวิจัย อภิปรายผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ (Effective) จากผลงานการออกแบบ (Outputs) ภายหลัง การจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ โดยใช้ ปั ญหาเป็ นฐาน ตาม วัตถุประสงค์ของการเรี ยนการสอนที่กาหนดในรายวิชาโดยใช้ เทคนิคการประเมิน ด้ วยรู บิคสกอร์ (Rubric Scoring) โดยเน้ นถึงทักษะการพัฒนาด้ านแนวคิดในการ ออกแบบ และทักษะในการออกแบบสถาปั ตยกรรมเชิงบูรณาการ ซึง่ วัดได้ จากรูบิค สกอร์ ที่ได้ กาหนดค่าคะแนนและค่าน ้าหนักไว้ ตามสัดส่วนและวัตถุประสงค์ในการ พัฒ นาตนเองสาหรับนักศึกษาในแต่ละกลุ่ม พบว่า การจัดรู ปแบบการเรี ยนการ สอนโดยใช้ ปัญหาเป็ นฐานและมีเป้าหมายที่เฉพาะเจาะจงชัดเจนนันสามารถช่ ้ วย ในการพัฒ นาผลงานการออกแบบสถาปั ตยกรรมให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีกว่าการมี เป้าหมายแบบกว้ างๆ หรื อกล่าวได้ ว่า ทิศทางการเรี ยนการสอนสถาปั ตยกรรมใน แนวดิ่งส่งผลดีกว่าการศึกษาในแนวราบ อย่างไรก็ตาม ข้ อสังเกตุป ระการสาคัญที่ ได้ จากการวิจัยคือ ความสัมพันธ์ ระหว่างคะแนนพัฒนาการและผลสัมฤทธิ์ ที่วดั 138

Experience of Learning


จากผลงานการออกแบบนั น้ ไม่ ไ ด้ แปรผั น ตรงระหว่ า งกั น และกั น และเป็ น ความสัม พั น ธ์ ที่ ไม่ แ น่ น อน ทัง้ นี อ้ าจเกิ ด ขึ น้ จากตัว แปรส าคัญ 2 ประการคื อ ประการแรกคือผู้สอนซึ่งอาจจะสร้ างโจทย์และเงื่ อนไขในการออกแบบที่มีความ ยากขึ ้นระหว่างผลงานและการให้ คะแนนครัง้ ที่ 1 และ 2 รวมทังความสามารถใน ้ การสอนและเรี ยนรู้ ร่ วมกันในเวลาอันจากัด ประการที่สองคือผู้เรี ยนซึ่งเกิ ดจาก พื ้นฐานประสบการณ์ ของผู้เรี ยนที่ไม่มากพอจนไม่สามารถประเมินความสามารถ ของตนเองได้ ถูก ต้ อ งชัด เจน ท าให้ เกิ ด ปั ญ หาในระหว่า งการเรี ย นที่ ตัง้ ต้ น จาก ปั ญหาของผู้เรี ยนเป็ นฐาน ดังนันถ้ ้ าหากผู้เรี ยนไม่สามารถเข้ าใจปั ญหาของตนเอง ได้ ตัง้ แต่แ รกย่อ มกลายเป็ น ปั จ จัย หนึ่ งที่ ท าให้ ก ารจัด การเรี ย นการสอนโดยใช้ ปั ญหาเป็ นฐานไม่ประสบความสาเร็ จในที่สดุ ข้ อเสนอแนะ งานวิจัยชิน้ นีม้ ุ่ งเน้ นถึง การศึกษารู ป แบบการจัดการเรี ยนการสอนแบบ ปั ญหาเป็ นฐานและการสร้ างรูบิคสกอร์ เพื่อใช้ เป็ นเครื่ องมือในการประเมินผลงาน การออกแบบของนักศึกษาที่มีตอ่ การพัฒนาผลงานการออกแบบของนักศึกษา โดย เน้ นถึงปั ญหาพื ้นฐานของนักศึกษาสถาปั ตยกรรม อย่างไรก็ตาม งานวิจยั ชิน้ นี ้ยั ง ไม่ได้ ให้ ความสาคัญกับความเที่ยงตรงของการสร้ างรูบิคสกอร์ เพื่อใช้ ในการวัดผล มากเท่าที่ควร ด้ วยเหตุนี ้ นักวิจยั ที่สนใจการพัฒนารู บิคสกอร์ เพื่อใช้ เป็ นเครื่ องมือ ในการวัดผลได้ อย่างมีประสิทธิภาพนันยั ้ งสามารถพัฒนาต่อได้ ในประเด็นดังกล่าว อาทิเช่น การสร้ างรู บิคสกอร์ แ บบไม่มีค่าน ้าหนักเพื่อใช้ เปรี ยบเทียบกับการสร้ าง รูบิคสกอร์ แบบมีค่าน ้าหนักในงานวิจยั ชิ ้นนี ้เป็ นแนวทางหนึ่งที่สามารถให้ เกิดการ พัฒนางานวิจยั ต่อยอดจากงานวิจยั ชิ ้นนี ้ได้ ในอนาคต

Experience of Learning

139


รายการอ้ างอิง ธนุตม์ ธรรมพิทกั ษ์ . (2557). การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาโดยวิธี 360 องศา และเกณฑ์การให้ คะแนนแบบรูบริ คของนักศึกษาในรายวิชา GE115 (ออนไลน์). เข้ าถึงได้ จาก: http://bit.ly/2qXj3l5 [2559, 15 สิงหาคม]. นันทนัช อ่อนพวน. (2553). การพัฒนาคูม่ ือการสร้ างรูบริ คเพื่อให้ คะแนนสาหรับ การประเมินการปฏิบตั งิ านของผู้เรี ยน (ออนไลน์). เข้ าถึงได้ จาก: http:// thesis.grad.chula.ac.th/ readfile1.php?fn=ab5283366027.doc [2559, 11 สิงหาคม]. บุษวรรษ์ แสนปลื ้ม. (2556). การใช้ วธิ ีการตรวจคุณลักษณะและสัดส่วนจานวน ผู้ตรวจให้ คะแนนที่มีผลต่อความเที่ยงตรงของการวัดความสามารถใน การเขียนของนักเรี ยน ชันประถมศึ ้ กษาปี ที่ 3 (ออนไลน์). เข้ าถึงได้ จาก: http://ir.swu.ac.th/xmlui/bitstream/handle/123456789/4175/Butsaw an_S.pdf?sequence=1 [2559, 4 ตุลาคม]. บัณฑิต จุลลาสัย. (2539). แนวความคิดในการออกแบบสถาปั ตยกรรม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ยรรยง สินธุ์งาม. (2556). การเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน (ออนไลน์). เข้ าถึงได้ จาก: https://www.tci- thaijo.org/index.php/EAUHJSocSci/article/ download/28708/24713 [2559, 12 กันยายน]. ยศวีร์ อิ่มอโนทัย. (2554). การพัฒนาการเรี ยนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน (ProblemBased Learning:PBL). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสติ . โชติมา หนูพริ ก. (2544). การพัฒนาเครื่ องมือประเมินตามสภาพจริ ง วิชา คณิตศาสตร์ ระดับชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 2 (ออนไลน์). เข้ าถึงได้ จาก: http:// kb.tsu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/550/1/87163.pdf [2559, 19 กันยายน] 140

Experience of Learning


แนวคิดการจัดการศึกษาแบบบูรณาการสหวิชา โดยใช้ โครงงานเป็ นฐาน: กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี (ราชบุรี) สุกัลยา ตันติวิศวรุจิ บัญญัติ เล็กประเสริฐ พิสิฐพงษ์ อินทรพงษ์ จริยา รอดเนียม จิรศักดิ์ ศรี รัตน์ อนิรุธ ลวดทรง บทนา ในปั จจุบันสังคมโลกต่างยอมรับว่า ผู้ที่มี ความฉลาดทางปั ญ ญาอย่าง เดียวไม่สามารถประสบความสาเร็ จในการทางานได้ ดีนกั หากไม่พฒ ั นาเรื่ องของ Soft skill ซึ่งหมายถึงทั กษะที่เกี่ยวข้ องกับคนมีความสัมพันธ์ กับความฉลาดทาง อารมณ์ เช่น ทักษะการเรี ยนรู้ ได้ ตลอดเวลา ทักษะการสื่อสาร รู้ จัก ปรับตัวและ แก้ ปัญหาเมื่อพบกับอุปสรรคในชีวิตและการทางาน คนยุคใหม่ต้องมีทงสองด้ ั้ าน คือเก่งทังงานและคน ้ จึงได้ ชื่อว่าเป็ นทรัพยากรที่มีคณ ุ ค่าขององค์กร

ดร.สุกัลยา ตันติวิศวรุ จิ ตาแหน่ง นักวิจยั สถาบันการเรี ยนรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี ดร.บั ญ ญั ติ เล็กประเสริ ฐ, ดร.พิ สิฐพงษ์ อิน ทรพงษ์ , อ.จริ ยา รอดเนี ยม, ดร.จิรศักดิ์ ศรีรัตน์ และ รศ.ดร.อนิรุธ ลวดทรง

Experience of Learning

141


ตาแหน่ง อาจารย์ พื ้นที่การศึกษาราชบุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี นอกจากนี ้ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศยังเป็ นทักษะที่ จาเป็ นยิ่งขึ ้นทุกวัน (วิจารณ์ พานิช, 2555) ในปั จจุบนั นีเ้ ป็ นโลกยุคดิจิตอลข้ อมูล ข่าวสาร ความรู้ มีอยู่มากมายในโลกออนไลน์ การจะสอนเนื ้อหาทังหมดในแต่ ้ ละ วิชานัน้ สอนเท่าไหร่ ก็ ไม่ห มด การเรี ยนแบบใช้ โครงงานเป็ นรู ป แบบหนึ่งได้ ถูก นามาใช้ เพื่อให้ นกั ศึกษาใช้ โครงงานเป็ นตัวนาไปสู่ความรู้ที่สนใจ และการปฏิบตั ิ ลงมือทางานจริ งยังสามารถแก้ ปัญหานักศึกษาขาดแรงจูงใจในการเรี ยนรู้ หรื อมี ความความเข้ าใจเพียงแค่บางส่วนและไม่สามารถเชื่อมต่อหรื อสังเคราะห์ความรู้ ใหม่ ๆ จากสิ่ ง ที่ ก าลัง เรี ย นอยู่ ห รื อ สิ่ ง ที่ เคยเรี ย นมาแล้ ว ได้ การเรี ย นรู้ แบบใช้ โครงงานเป็ นฐานนันเป็ ้ นการจัดการให้ นกั ศึกษาได้ รับประสบการณ์ชีวิต ได้ พฒ ั นา ทักษะต่างๆ ซึ่งสอดคล้ องกับหลักพัฒนาการคิดของ Bloom โดยเน้ นให้ ผ้ เู รี ยนเป็ น ศูน ย์ ก ลาง โดยผู้เรี ย นลงมื อ ปฏิ บัติ ครู ท าหน้ า ที่ เป็ น พี่ เลีย้ งหรื อ โค้ ช ช่ ว ยสร้ าง บรรยากาศการเรี ยนรู้ (ทิศนา แขมณี, 2550) พืน้ ที่ศึกษา และการจัดรูปแบบการเรียนการสอน มหาวิ ท ยาลัย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ าธนบุ รี (มจธ.) ตระหนั ก ว่ า ทรัพยากรบุคคลเป็ นสิง่ สาคัญ จึงมุง่ มัน่ ที่จะพัฒนานักศึกษาให้ ใฝ่ เรี ยนรู้ด้วยตนเอง ตลอดชี วิ ต เพื่ อ เป็ นก าลัง ส าคัญ ในการพั ฒ นาประเทศ และเพื่ อ เป็ นไปตาม วิสยั ทัศน์นี ้ มจธ.จึงได้ จดั ตังพื ้ ้นที่การศึกษาราชบุรี เป็ นพื ้นที่ต้นแบบทางการศึกษา โดยมีความร่ วมมือจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ (คณะนาร่ อง) ซึ่งผู้เรี ยนจะได้ ศึกษา ในระบบอาศรม (Residential College; RC) ดังรู ปภาพที่ 1 ในชันปี ้ ที่ 1 และ ชันปี ้ ที่ 2 ผู้เรี ยนจะเข้ าศึกษาที่ มจธ. ราชบุรี หลังจากนันนั ้ กศึกษาจะมาศึกษาต่อที่ มจธ. เขตทุ่งครุ กทม. ในชันปี ้ 3 และชันปี ้ ที่ 4 ตามสาขาวิชาที่ตนเองเลือกไว้ ตามความ สนใจ ซึ่งการจัด การเรี ยนการสอนแบบ RC มุ่งเน้ น ให้ ผ้ ูเรี ยนเกิ ดการได้ เรี ย นรู้ ที่ สามารถพัฒนาสติปัญญา (Intellect) และปลูกฝังคุณลักษณะของการเป็ นพลเมือง 142

Experience of Learning


ที่ดี เป็ นผู้นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงด้ านความรู้ (Knowledge) สมรรถนะทางด้ าน วิ ช าชี พ (Competencies) ทั ก ษะชี วิ ต และสัง คม (Life Sills and Social Skills) สามารถเชื่อมโยง ประยุกต์ความรู้ เข้ ากับโจทย์และวิชาการแขนงต่างๆ ได้ ซึ่งใน ปั จจุ บั น ผู้ ประกอบการหลายภาคส่ ว น มี ค วามต้ องการวิ ศ วกรที่ มี ค วามรู้ ความสามารถในศาสตร์ ต่างๆ ที่หลากหลาย (multi-disciplinary) (มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี, 2555)

ภาพที่ 1 แผนภาพแสดง Conceptual Model for KMUTT Ratchaburi ในปั จจุบนั รู ปแบบการเรี ยนการสอนที่มจธ.ราชบุรีประกอบด้ วย 4 หมวดวิชาหลัก (Module) ที่นกั ศึกษาต้ องเรี ยนร่ วมกัน ได้ แก่ 1) Mathematics for Engineering, 2) Electrical and Digital System, 3) Chemistry, Material Science and Structure และ 4) Mechanics and Thermo-fluids ในแต่ละหมวดวิชาหลักจะรวม เนื อ้ หาของวิ ช าพื น้ ฐานต่ า งๆ ฟิ สิก ส์ เคมี คณิ ต ศาสตร์ และวิ ศ วกรรมศาสตร์ พื ้นฐาน นอกจากวิชาหมวดวิชาหลักยังมีวิชาภาษาอังกฤษ, การอ่าน-เขียนแบบ และออกแบบ, โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เบื ้องต้ น และวิชาการศึกษาทัว่ ไป Experience of Learning

143


ในภาคการศึกษาที่ 2 ปี การศึกษา 2559 นี ้ มจธ. ราชบุรีได้ นาโครงงาน กัง หัน ลมเป็ น กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ซึ่ งในการออกแบบกิ จ กรรมนี ไ้ ด้ น าความรู้ ที่ คาดหวังจากวิชาต่างๆ มาเชื่อมกัน เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนเห็นความเชื่อมโยงในเนื ้อหาแต่ละ กลุม่ รายวิชาได้ อย่างชัดเจน ดังภาพที่ 2 อย่างไรก็ตาม เนื่องจากกิจกรรมนี ้เป็ นการ ดาเนินงานในระยะแรกขันทดลอง ้ จึงมีการบูรณาการการเรี ยนการสอนของ 3 กลุม่ วิชา คือ ฟิ สิกส์เน้ นกลศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ โดยมีการจัดการ เรี ย นรู้ ดังตารางที่ 1 มี วัต ถุป ระสงค์ เพื่ อ หาแนวทางการท างานร่ วมกัน ระหว่า ง รายวิชา และการผลิตชิน้ ผลงานทาให้ นกั ศึกษาได้ เรี ยนรู้ เป็ นลาดับขันตอน ้ สร้ าง ความเข้ าใจเนื ้อหาความรู้ อย่างลึกซึ ้ง และสามารถเชื่อมโยงความรู้ ที่เกี่ยวข้ องไป ประยุก ต์ ใ ช้ แก้ โจทย์ ปั ญ หาทางวิ ศ วกรรมที่ เป็ นจริ ง ในภาคปฏิ บัติ ได้ อย่ า งมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล อีกทังการปฏิ ้ บตั ิงานในโครงงานยังเป็ นการกระตุ้น การเรี ย นรู้ ทัง้ ในห้ อ งเรี ย นและนอกห้ อ งเรี ย นของนัก ศึก ษา ท าให้ เข้ า ใจถึ ง การ วางแผนและลงมือปฏิบตั ิเชื่อมโยงกับชีวิตจริ ง

ภาพที่ 2 โมเดล Expected Integrated curriculum โดยใช้ โครงงานกังหันลม

144

Experience of Learning


ตารางที่ 1 ลาดับการจัดการเรียนรู้ทงั ้ 3 รายวิชา สัปดาห์ที่

แนวทางจัดการเรียนการสอน

1-2

1. แนะนารายวิชาและวิธีการประเมินผล 2. เตรี ยมความพร้ อมของผู้เรี ยนให้ ตระหนักถึงความสาคัญของ การทาโครงงาน

3-10

1. วางแผน แบ่งกลุม่ ผู้เรียนประมาณ 4-5 คน ต่อกลุม่ เพื่อทา โครงงาน กังหันลมอย่างง่าย 2. ผู้สอนแต่ละรายวิชาให้ เนื ้อหาทฤษฏีที่ผ้ เู รี ยนจาเป็ นต้ อง ทราบก่อนทาโครงงาน ซึง่ อาจารย์ทา่ นอื่นๆ ทาหน้ าที่เป็ นที่ ปรึกษา คอยให้ คาแนะนาแต่ละกลุม่ 3. ผู้เรี ยนปฏิบตั ิตามโครงงาน โดยเน้ นให้ แต่ละกลุม่ นาทฤษฏีที่ ได้ เรี ยนรู้จากในชันเรี ้ ยนไปประยุกต์ใช้ 4. ผู้เรี ยนแต่ละกลุม่ นัดพบอาจารย์เป็ นระยะเพื่อปรึกษาปั ญหา ช่วยแก้ ปัญหา และรายงานความก้ าวหน้ าของงาน

11-13

1. นาเสนอในชันเรี ้ ยน โดยอาจารย์ผ้ สู อนในแต่ละรายวิชาช่วย เชื่อมโยงทฤษฏีเข้ ากับการปฏิบตั ิ 2. แลกเปลีย่ นเรี ยนรู้ในชันเรี ้ ยน

14-16

1. ทุกกลุม่ นาเสนอผลงานร่วมกันของทุกรายวิชา 2. สรุปผลการเรี ยนรู้ที่ได้ รับจากการทาโครงงานและเขียน รายงานของผู้เรี ยน 3. ผู้สอนร่วมกันถอดบทเรี ยน สรุปสิง่ ที่ได้ รับ และสิง่ ที่ควร ปรับปรุงแก้ ไข เพื่อวางแผนสาหรับภาคการศึกษาต่อไป

Experience of Learning

145


ตารางที่ 2 รายละเอียดของรายวิชา ชื่อรายวิชา ลักษณะของการบูรณาการ Mathematics การเลือกฟั งก์ชนั คณิตศาสตร์ for Engineering เพื่อประมาณรูปทรงของใบพัด แ ล ะ ก า ร อิ น ทิ เก ร ต เพื่ อ คานวณหาปริ มาตรของใบพัด Mechanics โมดูล กลศาสตร์ การถ่ า ยเท and Thermoโมเมนตั ม ของลมที่ เคลื่ อ นที่ fluids การเปลี่ ย นรู ป พลัง งาน การ ค านวณ ประสิ ท ธิ ภ าพของ เครื่ องจักร English การสื บ ค้ น ข้ อ มูล การสื่ อ สาร ค า ศั พ ท์ ก า ร เขี ย น ก า ร นาเสนอเป็ นภาษาอังกฤษ

1. 2.

3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

ทักษะที่ได้ รับ ทักษะการคิดคานวณ ทั ก ษ ะ ก า รคิ ด อ ย่ า ง มี วิ จ ารณ ญ า ณ แ ล ะ ก า ร แก้ ปัญหา ทั ก ษะการคิ ด สร้ างสรรค์ และนวัตกรรม การทางานเป็ นทีม ทักษะการจัดการ ทักษะการเรี ยนรู้ตลอดชีวิต ทักษะการอ่าน ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอ

ทักษะที่ทงสามรายวิ ั้ ชามุง่ หวังว่าจะพัฒนาผู้เรี ยนจากการทากิจกรรมนี ้ มี ความสอดคล้ องกับความคาดหวังของคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของมจธ.ดังภาพที่ 4 หลังจากผู้เรี ย นลงมื อปฏิ บัติท าโครงงานเป็ นกลุ่มด้ วยการระดมความคิด เห็ น ค้ นคว้ าหาความรู้ จากนอกห้ องเรี ยน แหล่งข้ อมูลต่างๆ และทฤษฏีที่ได้ เรี ยนในชัน้ เรี ยน เพื่อหาข้ อสรุปในกระบวนการสร้ างกังหันลม

146

Experience of Learning


ภาพที่ 4 แผนภาพความคาดหวังของคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของมจธ. (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี, 2555) โดยการออกแบบ ผลิต และน าเสนอโครงงานนี เ้ กี่ ย วข้ อ งกับ ความรู้ ในรายวิช า กลศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ เพื่อให้ นกั ศึกษาได้ เห็นส่วนที่เชื่อมโยง องค์ความรู้แต่ละศาสตร์ กบั การนาไปใช้ ในการทางานจริ ง กลุม่ ที่ทาการศึกษาเป็ นนักศึกษาปริ ญญาตรี จานวน 107 คน ลงทะเบียน เรี ยนในภาคการศึกษาที่ 2 ปี การศึกษา 2559 ในการวิเคราะห์ข้อมูลดาเนินการโดย การวิเคราะห์ เนื อ้ หา การน าหลักฐานเชิ งประจัก ษ์ จากการน าเสนอผลงานของ นักศึกษาและการสะท้ อนผลการเรี ยนรู้จากผู้เรี ยน ผลการศึกษาและอภิปรายผลการศึกษา แนวทางการจัดการเรี ยนการสอนแบบบูรณาการในบทความนี ้เป็ นเพียง การนาเสนอแนวคิดเริ่ มต้ น ผู้วิจยั นาเสนอเพียงทิศทางการสอนร่ วมกันของแต่ละ รายวิชาโดยใช้ โครงงานร่ วมกัน การประเมิ น ผลการจัดการเรี ยนการสอนแบบ บูรณาการ พบว่าการนาเสนอผลงานด้ วยวาจาเป็ นภาษาอังกฤษของนักศึกษา ทังหมดแต่ ้ ละกลุม่ พร้ อมทังแบบกั ้ งหันลมที่กลุม่ ได้ คิดผลิตขึ ้น นักศึกษาแต่ละกลุม่ Experience of Learning

147


สามารถตอบคาถามจากอาจารย์ในรายวิชากลศาสตร์ และภาษาอังกฤษ รวมทังคน ้ อื่นๆ ที่เข้ าร่วมในวันดังกล่าวได้ ในเกณฑ์เป็ นที่นา่ พอใจ

ภาพที่ 3 การนาเสนอผลงานโครงงานกังหันลมและบรรยากาศการสะท้ อนการ เรี ยนรู้หลังจากวันนาเสนอผลงาน

148

Experience of Learning


จากผลการสะท้ อนการเรี ยนรู้ ของนักศึกษาหลังจากนาเสนอผลงาน พบว่า การ จัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ โครงงานกังหันลมเป็ นเครื่ องมือได้ รับความสนใจจาก นักศึกษาและสามารถกระตุ้นให้ นกั ศึกษาเกิดการเรี ยนรู้ มีข้อดี และข้ อควรปรับปรุ ง ดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ผลสะท้ อนผลการเรี ยนรู้ของนักศึกษา ข้ อดีที่ได้ รับ ข้ อที่ควรปรับปรุง 1. นัก ศึกษาได้ เรี ย นรู้ การทางาน 1. นัก ศึก ษาต้ อ งการเพิ่ ม เนื อ้ หาวิ ช า เป็ นทีมช่วยเหลือซึง่ กันและกัน อื่ น ๆ เข้ ามาร่ ว มด้ วย เช่ น วิ ช า 2. นัก ศึ ก ษาได้ น าความรู้ หลาย การศึกษาทัว่ ไป และโมดูลไฟฟ้า วิ ช าที่ เ รี ย นมาประยุ ก ต์ ใ ช้ ให้ 2. เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ได้ แก่ 3D printer เกิ ด ประโยชน์ ในชี วิต จริ ง เพื่ อ ขัดข้ องบ่อย ควรเพิ่มจานวน สร้ างผลงานขึ ้นมา 3. การกาหนดขอบเขตการทางานใช้ 3. นักศึกษาประทับใจกับผลงาน ชัดเจนมากยิ่งขึ ้น ของตนเอง เพ ราะได้ สร้ าง 4. นักศึกษาบางส่วนอยากให้ อาจารย์ ผลงานที่ไม่เคยคิดว่าจะทาได้ จั ด กลุ่ ม ให้ บางส่ ว นต้ องการจั บ 4. นัก ศึ ก ษาได้ ล องใช้ เครื่ อ ง 3D กลุม่ กันเอง printer 5. นักศึกษาบางส่วนต้ องการให้ เสริ ม 5. นักศึกษาได้ ร้ ูเกี่ยวกับ กังหันลม ความรู้มากกว่านี ้ แต่บางส่วนคิดว่า ม าก ขึ น้ รวม ทั ้ง ได้ ฝึ ก ก า ร ความรู้การทากังหันลมมีความยาก ออกแบบเชิงวิศวกรรม เกินระดับของตนเอง 6. นัก ศึ ก ษาได้ เปิ ด โลกใหม่ ข อง 6. นัก ศึก ษาต้ อ งการการแนะน าเพื่ อ การเรี ยนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง การออกแบบมากกว่านี ้ชัดเจน

Experience of Learning

149


ตารางที่ 3 (ต่อ) ผลสะท้ อนผลการเรี ยนรู้ของนักศึกษา ข้ อดี ข้ อที่ควรปรับปรุง 7. อาจารย์ ที่ ใ ห้ ค าป รึ ก ษ าให้ 7. ก ารนั ด ห ม าย เพื่ อ เข้ าป รึ ก ษ า คาแนะน าในการทางานอย่าง อาจารย์ นัก ศึก ษาต้ อ งการระบุให้ เป็ นกันเองและใจดี ชัดเจน 8. นัก ศึกษาได้ เรี ย นรู้ การทางาน 8. นัก ศึก ษาต้ อ งการให้ มี ก ารสารวจ เป็ นทีมช่วยเหลือซึง่ กันและกัน ความคิดเห็นในเรื่ องการเลือกหัวข้ อ 9. นัก ศึ ก ษาได้ น าความรู้ หลาย ในการทาโครงงาน วิ ช าที่ เ รี ย นมาประยุ ก ต์ ใ ช้ ให้ 9. นั ก ศึ กษ าต้ อ งก ารน ารายวิ ช า เกิ ด ประโยชน์ ในชี วิต จริ ง เพื่ อ วัสดุศาสตร์ มาบูรณาการด้ วย สร้ างผลงานขึ ้นมา 10. นักศึกษาประทับใจกับผลงาน ของตนเอง เพ ราะได้ สร้ าง ผลงานที่ไม่เคยคิดว่าจะทาได้ 11. นัก ศึ ก ษาได้ ล องใช้ เครื่ อ ง 3D printer 12. นั ก ศึ ก ษาได้ รู้ เกี่ ย วกั บ wind turbine มากขึ น้ รวมทัง้ ได้ ฝึ ก การออกแบบเชิงวิศวกรรม 13. นัก ศึ ก ษาได้ เปิ ด โลกใหม่ ข อง การเรี ยนรู้เพื่อพัฒนาตนเอง

150

Experience of Learning


ตารางที่ 3 (ต่อ) ผลสะท้ อนผลการเรี ยนรู้ของนักศึกษา ข้ อดี ข้ อที่ควรปรับปรุง 14. อาจารย์ ที่ ค าปรึ ก ษากลุ่ ม ให้ คาแนะน าในการทางานอย่าง เป็ นกันเองและใจดี 15. นักศึกษาได้ ฝึกการประดิษฐ์ ทา ให้ สิ่งที่อ ยู่ในความคิ ด ออกมา ให้ เป็ นภาพจับต้ องได้ 16. นั ก ศึ ก ษาได้ เรี ย นรู้ ชี วิ ต การ ท างานในอนาคต ได้ ฝึ กการ ทางานอย่างบูรณาการ 17. นัก ศึ ก ษามี ค วามสนุ ก เมื่ อ ได้ ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ แ ล ะ ท ด ล อ ง ประสิทธิภาพของตัวชิ ้นผลงาน ในส่วนของข้ อมูลที่ได้ รับการสะท้ อนจากนักศึกษานี ้สามารถใช้ เพื่อปรับปรุงรูปแบบ การเรี ยนการสอนให้ ดีขึ ้น รวมทัง้ มจธ. ราชบุรีมีข้อมูลพื ้นฐานเพื่อพัฒนารู ปแบบ กระบวนการเรี ยนรู้ตอ่ ไป บทสรุ ปและข้ อเสนอแนะ จากการสัมภาษณ์ความคิดเห็นของนักศึกษาต่อกิจกรรมการเรี ยนรู้ แบบ บูรณาการนี ้ พบว่า นักศึกษามีทศั นคติที่ดีตอ่ การเรี ยน โดยกระบวนการเรี ยนรู้แบบ บูรณาการนี ้ มีแนวโน้ มที่ จะส่งเสริ มให้ ผ้ ูเรี ยนเกิ ดทักษะตามความคาดหวังของ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของ มจธ. ซึ่งสอดคล้ องกับ การเรี ยนรู้ ในศตวรรษที่ 21 หลังจากผู้เรี ยนลงมือปฏิบตั ิทาโครงงานเป็ นกลุม่ ด้ วยการระดมความคิดเห็น การรู้ ภาษา การสื่อสาร การรู้ จกั วางแผนทางานร่ วมกันได้ เป็ นอย่างดี เป็ นนักแก้ ปัญหา Experience of Learning

151


บทเรี ยนที่สาคัญเกี่ยวข้ องกับการประสบความสาเร็ จของโครงงานยังขึ ้นอยูก่ บั การ มีทีมที่ดี สมาชิกภายในกลุ่มช่วยกันทางาน ออกแบบและมีใจที่พร้ อมจะช่วยกัน แก้ ปัญหา รวมทังความเอาใจใส่ ้ ของผู้สอน และอาจารย์ที่ปรึ กษาประจากลุม่ เป็ น แรงจูงใจที่สาคัญให้ ภายในกลุม่ มีความร่ วมมือทาโครงงานเสร็ จตามเวลาที่กาหนด ข้ อดีและสิ่งที่ควรปรับปรุงที่ได้ จากการเรี ยนการสอนแบบบูรณาการ 3 รายวิชาด้ วย โครงงานกังหันลม สรุปเป็ นประเด็นที่สาคัญได้ ดงั นี ้ 1. การทาโครงงานเน้ นเรื่ องการปฏิบตั ิจริ ง ผลิตผลงานออกมาเป็ นชิ ้นงาน มี ค วามจ าเป็ น ต้ อ งใช้ วัสดุ อุป กรณ์ เครื่ อ งมื อ ดัง นัน้ จึ ง ควรเตรี ย มพร้ อมเรื่ อ ง ดังกล่าวอย่างเหมาะสม เพื่อให้ มีการผลัดเวียนกันใช้ ได้ อย่างทัว่ ถึง 2. เนื่องจากรู ปแบบการเรี ยนการสอนเป็ นรู ปแบบบูรณาการ มีการสอน เป็ นทีมและเชิงรุก (Active learning) มีการประชุมเพื่อสอบถามปั ญหา แลกเปลีย่ น เรี ยนรู้ ประสบการณ์ เป็ นระยะอย่างต่อเนี่องเพื่อช่วยกันคิดในคณะทางาน ทาให้ ต้ องใช้ เวลาเป็ นอย่ า งมากในการจั ด การเรี ย นการสอนแบบนี ้ ควรมี ก ารน า เทคโนโลยี สารสนเทศหรื อ วิ ธี ก ารอื่ น เข้ า มาช่ วยเข้ ามาช่ ว ยเพื่ อ ลดเวลาในการ ทางาน 3. การเรี ยนรู้ เกิดขึ ้นสัมพันธ์ กับผู้เรี ยนสามารถนาความรู้ ในเชิงทฤษฏีไป ประยุกต์ใช้ ถือเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ ผ้ เู รี ยนได้ เข้ าสูก่ ระบวนการคิด สามารถนามา อภิปรายแลกเปลี่ยนกับผู้อื่น ซึ่งสร้ างแรงจูงใจให้ ผ้ เู รี ยนมีความกระตือรื อร้ น ความ อดทน และสามารถนาความรู้มาพัฒนาตนเองได้ อย่างยัง่ ยืนแท้ จริ ง การพัฒ นาทัก ษะด้ านต่างๆ เช่ น การคิ ด สร้ างสรรค์ เป็ น เรื่ องจาเป็ น ที่ ผู้เรี ยนควรตระหนักถึงความสาคัญในการพัฒนาตนเอง ควรมีรูปแบบกิจกรรมการ ติดตามผลและประเมินผลอย่างชัดเจน เป็ นระบบ โดยอาจจะมีคณะวิจยั อีกกลุ่ม เป็ นผู้ทาการติดตามผลและประเมินผลเพื่อลดปั ญหาที่เกี่ยวข้ องกับฉันทาคติของ ผลงานวิจยั การจัดการเรี ยนการสอนนี ้เป็ นเพียงการนาเสนอรู ปแบบหนึ่ง เพื่อเป็ น แนวทางการสอนร่ วมกัน ของแต่ละรายวิชาที่ มีก ารเรี ย นการสอนแบบโครงงาน 152

Experience of Learning


เป็ นฐาน ควรมีการสังเคราะห์องค์ความรู้เพื่อเป็ นกรณี ศึกษา และสะท้ อนระดับการ เรี ยนรู้ที่แท้ จริ ง รายการอ้ างอิง ทิศนา แขมณี. (2550). ศาสตร์ การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่ มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี.(2551). คุณลักษณะบัณฑิตอันพึง ประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี. (ออนไลน์)., เข้ าถึงได้ จาก : http://qa.sit.kmutt.ac.th/?wpfb_dl=716. (24 ธันวาคม, 2559) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าธนบุรี. (2555). การจัดการเรี ยนการสอน วิศวกรรมศาสตร์ รูปแบบใหม่ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ า ธนบุรี (มจธ.ราชบุรี) อาศรมมหาวิทยาลัยแห่งภาคตะวันตก. (ออนไลน์)., เข้ าถึงได้ จาก http://www.eng.kmutt.ac.th/home/file_upload/rachaburi/AboutResid entialCollege.pdf ( 25 ธันวาคม 2559) วิจารณ์ พานิช. (2555). วิธีการสร้ างการเรี ยนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี -สฤษดิว์ งศ์.

Experience of Learning

153


การจัดการเรี ยนการสอนแบบ Active Learning เพื่อสร้ าง Teaching and Learning Community แห่ งการเรี ยนรู้ ภาษาอังกฤษ ไพบูลย์ สุขวิจิตร บำร์ Active Learning เป็ นรูปแบบการเรี ยนการสอนหนึง่ ที่ม่งุ ให้ ผ้ เู รี ยนมีสว่ น ร่ วมและแสวงหาความรู้ และนาความรู้ นนมาประยุ ั้ กต์ใช้ ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็ น ศตวรรษที่ทวั่ ทังโลกตื ้ ่นตัวกันมากในเรื่ องของ อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0) ใน ประเทศไทยเข้ า สู่ยุค แห่ ง การพัฒ นาเศรษฐกิ จ ใหม่ หรื อ Thailand 4.0 โดยมี มหาวิ ท ยาลัย เป็ นกุ ญ แจส าคัญ ในการขับ เคลื่ อ น (Key Driver) ของการสร้ าง เทคโนโลยีและนวัต กรรม (ศัน สนีย์ ไชยโรจน์ , 2559) ดังนัน้ จึงจาเป็ นอย่างยิ่ งที่ จะต้ องมีการ ปรับปรุ ง เปลี่ยนแปลง และพัฒ นา รู ปแบบการเรี ยนการสอน ให้ มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น เพื่อช่วยผลักดันการพัฒนาและผลิตแรงงาน บุคคลากรที่มี ความรู้ความสามารถอย่างยัง่ ยืน และพร้ อมที่จะขับเคลือ่ น ให้ ประเทศได้ พฒ ั นาไป ตามเป้าหมาย วิ ธี ก ารสอนที่ เป็ น Active Learning นั น้ มี ห ลายวิ ธี ที่ ผ้ ู สอนสามารถ น ามาใช้ ในห้ อ งเรี ย น ซึ่ง การสอนแบบโครงงาน หรื อ Project-based Learning (PBL) ถือว่าเป็ นวิธีการเรี ยนการสอนที่ช่วยพัฒ นาการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยนโดยการ ลงมือปฏิบตั ิจริ ง ทังนี ้ ้การจัดการเรี ยนการสอนแบบ PBL เป็ นวิธีหนึง่ ที่ช่วยส่งเสริ ม

ดร.ไพบูลย์ สุขวิจิตร บาร์ หัวหน้ าสาขาวิชาภาษาอังกฤษสือ่ สารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม 154

Experience of Learning


ให้ ผ้ ูเรี ย นได้ มี ค วามรู้ และเพิ่ ม ทัก ษะการท างานร่ ว มกัน ในบริ บ ทจริ ง ที่ ผ้ ูเรี ย น สามารถจับต้ องได้ ด้ วยคุณลักษณะและจุดเด่นของการสอนแบบ PBL ข้ างต้ น รวมทังความ ้ เชื่อถือ ศรัทธา (Belief) ของผู้สอนในรูปแบบการสอนด้ วยวิธีนี ้ จึงทาให้ ผ้ สู อนใน รายวิชา การนาเสนอทางธุรกิจ EBC332 สาขาวิชาภาษาอังกฤษสือ่ สารธุรกิจ คณะ ศิลปศาสตร์ ตัดสินใจเลือกใช้ และออกแบบการสอนดังกล่าวโดยการเรี ยนการสอน แบบ PBL ที่ ผ้ ู สอนได้ ออกแบบนั น้ มุ่ ง เน้ นการสร้ าง Teaching and Learning Community (TLC) แห่งการเรี ยนรู้ ประกอบด้ วย 3 ส่วนสาคัญในการนาเสนอทาง ธุรกิจโดยใช้ ภาษาอังกฤษให้ มีประสิทธิภาพสูงสุด คือ Teaching communication skills, Language use และ Collaboration (TLC) ซึ่งผู้สอนขอเรี ยกการเรี ยนการ สอนข้ างต้ นว่า ของกระบวนการการเรี ยนรู้มากยิ่งขึ ้น ทังนี ้ ้ผู้สอนได้ แบ่งการบรรยาย 2 ประสบการณ์ Project-based Learning แบบ TLC (ที-แอล-ซี-กาลังสอง) ซึ่งทา ให้ การเรี ยนการสอนมีอรรถรส และมีความหลากหลายการสอนออกเป็ น 2 ส่วน คือ (1) รู ป แบบการเรี ย นการสอนแบบ Active Learning โดยใช้ Project-based Learning แบบ TLC2 และ (2) ผลสะท้ อนกลับจากผู้เรี ยนของการเรี ยนการสอน 1. รู ป แบบการเรี ย นการสอนแบบ Active Learning โดยใช้ Projectbased Learning แบบ TLC2 รูปแบบการเรี ยนการสอนโดยใช้ PBL เน้ นในการที่มงุ่ เน้ นให้ เกิดชุมชนแห่งการ เรี ยนการสอนซึง่ กันและกัน (Teaching and Learning Community) โดยที่มีผ้ สู อน แนะนา ทาให้ ดูเป็ นตัวอย่าง อย่างต่อเนื่อง หรื อที่เรี ยกว่า scaffolding ดังนันการ ้ เรี ยนการสอนนีจ้ ะมุ่งเน้ นกระบวนการ (Process) ของการทาโครงงาน มากกว่า ผลงานหรื อผลผลิต (Product) ซึ่งทาให้ การเรี ย นมีสีสนั ผู้เรี ยนและผู้สอนเองก็ มี ความสุขมากกว่าการเรี ยนแบบ Lecture จดจาแบบเก่าๆ ที่ได้ แต่ทฤษฎี แต่ไม่ได้ ปฏิบตั ิจริ ง

Experience of Learning

155


การเรี ยนโดยใช้ Project-based Learning แบบ TLC2 นี ้ มีองค์ประกอบหลัก 3 ด้ าน ซึง่ มีรายละเอียด ดังนี ้ 1. การสอน (Teaching) ผู้สอนได้ ตดั สินใจออกแบบการเรี ยนการสอนรายวิชาการนาเสนอทาง ธุรกิจเป็ นภาษาอังกฤษ กับนักศึกษาสาขาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ ชัน้ ปี ที่ 3 จานวน 110 คน จาก 2 กลุม่ เรี ยน โดยใช้ PBL โดยการเรี ยนการสอนแบบนี ้เป็ น การเรี ย นที่ เ น้ นกระบวนการที่ ผ้ ู เรี ย นร่ ว มกั น สร้ างชุ ม ชนแห่ ง การเรี ย นรู้ (Knowledge Community) (Waring and Evans, 2015) ในการเรี ย นการสอน แบบนี ้ ผู้เรี ยนจะเป็ นศูนย์กลาง ผู้สอนเป็ นเพียงผู้ช่วย ให้ คาปรึกษา (Facilitator) ก่อนเริ่ มเรี ยน ผู้สอนได้ จดั ทาเอกสารประกอบการสอนโดยใช้ PBL ในชัน้ เรี ยน ซึ่ง ในเอกสารประกอบการสอนตัง้ ใจทาขึน้ เพื่ อ เน้ น กระบวนการในการ เรี ยนรู้เป็ นสาคัญ และเชื่อมโยงกับวิธีการสอน และการวัดผลประเมินผล โดยใช้ กรอบการออกแบบของ Graves (2000) ซึง่ ประกอบด้ วยขันตอนต่ ้ างๆ 8 ขันตอน ้ คือ (1) ศึกษาผู้เรี ย นสภาพแวดล้ อ ม (2) ค้ นหารู ป แบบวิธีการเรี ยนการสอนที่ เชื่อถือศรัทธา (Belief) (3) ตังเป้ ้ าหมาย (4) ประเมินความต้ องการ (5) ออกแบบ อุป กณ์ ก ารสอน (6) จัด การออกแบบเนื อ้ หาที่ ส อน (7) จั ด การการสอน (8) ออกแบบการประเมินผลการเรี ยน กระบวนการทังหมดนี ้ ้เป็ นกลไก ที่เกิดขึ ้นวนไป มาไม่สิ ้นสุด ดังภาพที่ 1

156

Experience of Learning


ภาพที่ 1 รูปแบบการออกแบบการเรี ยนการสอน ของ Graves (2000) เอกสารฯ ที่ออกแบบมาใช้ นี ้ ผู้สอนได้ ศกึ ษาจากวัตถุประสงค์ของรายวิชา พิจารณาจากผู้เรี ยน และประเมินว่าผู้เรี ยนควรได้ รับความรู้ อะไรจากรายวิชานี ้ บ้ าง โดยผู้สอนหวังว่าเมื่อจบไปแล้ วผู้เรี ยนจะได้ รับ ความรู้ ตามที่ตงเป้ ั ้ าหมายไว้ คือการใช้ ภาษาอังกฤษในการนาเสนอทางธุรกิจได้ อ ย่างมีประสิทธิภาพ และยัง คาดหวัง อีก ว่าผู้สอนจะสามารถสร้ างผู้เรี ย นให้ เกิ ด แรงบัน ดาลใจ (Passion) เล็งเห็นถึงความสาคัญของภาษาอังกฤษและสามารถใช้ ภาษาได้ เป็ นอย่างดี และ สุดท้ ายที่ผ้ สู อนได้ คาดหวังจากผู้เรี ยนคือ การมีคณ ุ ลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ ในศตวรรษที่ 21 ที่เน้ นในเรื่ อง การคิดวิเคราะห์ ความคิดสร้ างสรรค์ มีทกั ษะด้ าน คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี การทางานร่ วมมือเป็ นทีม ความเข้ าใจความต่างทาง วัฒนธรรม กระบวนการสร้ างเอกสารการสอน เนื ้อหาการสอน และกิจกรรมการ สอน โดยใช้ PBL เป็ นเรื่ องที่ ท้ าทาย ที่จ ะตอบโจทย์ และเป้าหมายข้ างต้ น ซึ่ง ผู้สอนใช้ เวลา 1 เดือนเต็มกับการเตรี ยมดังกล่าว ดังภาพที่ 2

ภาพที่ 2 เอกสารประกอบการเรียนและ Lesson Plan จากภาพที่ 2 Lesson Plan ที่ได้ ออกแบบมานัน้ แบ่งออกเป็ น 9 บทหลัก เริ่ ม ต้ นด้ วย Orientation การแนะน าเข้ าสู่ก ารน าเสนองานทางธุ ร กิ จ โดยใช้ Experience of Learning

157


ภาษาอังกฤษ ขันแรกการระดมความคิ ้ ดหัวข้ อที่นาเสนอ ขันการค้ ้ นหาข้ อมูล การ เขี ย น script การใช้ ภ าษา ลีล าการพูด และท่า ทาง การจัด ท า Visual aids การ ฝึ กซ้ อม การนาเสนอเตรี ยมคาถาม-ตอบ และการ reflect งานที่ทา โดยโครงงานที่ ผู้เรี ย นท านี ้ ผู้เรี ย นได้ อิ สระในการเลือกสมาชิ ก กลุ่ม 3-4 คน รวมทัง้ หัวข้ อ และ รู ป แบบการน าเสนอเองตามความคิ ด สร้ างสรรค์ ซึ่ง ผู้สอนเองในฐานะผู้ส อน พยายามให้ ผ้ เู รี ยนใช้ ความคิดสร้ างสรรค์ คิดผลิตภัณฑ์ ออกแบบกิจกรรม โครงการ ต่าง ในเชิงธุรกิจเหมือนทาจริ งในที่ทางาน จาลองมาไว้ ในห้ องเรี ยนในแต่ละบทได้ ถูกแบ่งออกเป็ น 3 ส่วน ซึง่ เป็ น Model ที่ออกแบบมาสาหรับรายวิชาการนาเสนอนี ้ โดยเฉพาะเพื่อตอบโจทย์ทุกอย่างที่ผ้ สู อนได้ ตงไว้ ั ้ ตงแต่ ั ้ ต้นอย่างที่ได้ กล่าวไปแล้ ว โ ด ย Model นี ้ คื อ Teaching communication skills, Language use แ ล ะ Collaboration (TLC) 1.1 Teaching Communication Skills เป็ นส่วนแรกที่ผ้ สู อนตังใจให้ ้ ผู้เรี ย นได้ เตรี ย มความพร้ อมมาก่ อ นเข้ า ห้ อ งเรี ย น โดยใช้ วิธี ก ารสอนกลับ ด้ า น (Flipped classroom) เข้ ามาใช้ เป็ นกิจกรรมหนึ่ง โดยเรี ยกส่วนนี ้ว่า Flip for Fun ผู้เรี ยนต้ องเข้ าไปดู VDO ทาง YouTube ซึ่งเป็ นตัวอย่างการนาเสนอดีๆ เช่น การ นาเสนอของ Steve Jobs ในการแนะนาตัวนวัตกรรมใหม่ของ iPhone หรื ออ่าน บทความที่ผ้ สู อนได้ เตรี ยมไว้ ให้ ในเอกสารการสอน

ภาพที่ 3 ตัวอย่างเนื ้อหาบทเรี ยนส่วน Teaching Communication Skills 158

Experience of Learning


1.2 Language Use เป็ นส่วนการสอนเน้ น หลักการใช้ ภาษาในการ นาเสนอในส่วนต่างๆ ตังแต่ ้ การแนะนาตัว การใช้ ประโยชน์เชื่อม เนื ้อหา บทสรุ ป โดยมีแบบฝึ กหัดให้ ผ้ เู รี ยนได้ ทาฝึ กฝน 1.3 Collaboration คื อ ส่ ว นสุ ด ท้ ายที่ ผ้ ู เรี ย น ได้ ฝึ กการพู ด จริ ง หลัง จากได้ เรี ย นรู้ หลัก การน าเสนอ เทคนิ ค ต่ า งๆ แล้ ว ผู้เรี ย นได้ ฝึก ความคิ ด สร้ างสรรค์ ท างานร่ วมกัน ในการเตรี ย มน าเสนอผลงาน ตามขัน้ ตอนในแต่ละ สัปดาห์ไปเรื่ อยๆ จนได้ ออกมาเป็ น final product ในบทสุดท้ าย feature ท้ ายบทที่ ผู้สอนได้ ออกมาคือ Self-reflection เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนได้ จดบันทึก สิ่งที่สาคัญจากการ เรี ยนรู้ในแต่ละครัง้ และในแต่ละบทจะจบท้ ายด้ วยข้ อความ ความคิดแนะนาดีๆ ใน การใช้ ชีวิต ให้ ประสบความสาเร็ จจากนักธุรกิจที่มีชื่อเสียงและประสบความสาเร็ จ โดยผู้สอนได้ เรี ยกส่วนนี ้ว่า Food for Thought โดยหวังว่าผู้เรี ยนจะเกิดแรงบันดาลใจ กาลังใจ และใฝ่ รู้ มากยิ่งขึ ้น โดยส่วนของ Food for Thought นี ้ยังได้ แทรกเข้ าไป ใน PPT slides ของทุกบทที่เตรี ยมสอน

ภาพที่ 4 ตัวอย่างเนื ้อหา Self-reflection Experience of Learning

159


ทัง้ นีต้ ลอดการจัดการเรี ยนการสอน ผู้สอนได้ ให้ feedback คาแนะน า ต่างๆ กับผู้เรี ยนในแต่ละขันตอนในการท ้ าโครงงาน การแจ้ งคะแนนและคาแนะนา เป็ นสิ่งที่ผ้ สู อนให้ ความสาคัญเป็ นอย่างมาก เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนได้ เกิดการเรี ย นรู้ และ พัฒนาได้ อย่างแท้ จริ ง ในส่วนของการให้ คะแนนนัน้ ผู้สอนได้ มีการแบ่งคะแนนอย่างชัดเจนโดย ได้ แจ้ งไว้ ใ นเอกสารประกอบการสอน ในส่ ว นที่ เรี ย กว่ า Keep Track of Your Score เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนได้ บนั ทึกคะแนนเก็บของตัวเอง ในการให้ คะแนนในงานแต่ละ ชิ น้ ผู้สอนได้ ระบุห ลัก เกณฑ์ ก ารให้ ค ะแนนอย่ า งชัด เจน และการให้ ค ะแนนก็ แบ่งเป็ นในส่วนของกลุ่มและส่วนบุค คล ดังนัน้ สมาชิ กในกลุ่ม จึงต้ องพยายาม ทางานในส่วนของตัวเองที่รับผิดชอบให้ ดีที่สดุ

ภาพที่ 5 ตัวอย่างรายละเอียดการให้ คะแนน

160

Experience of Learning


2. การเรียน (Learning) ในส่วนของการเรี ยน ผู้เรี ยนมีช่องทางในการเรี ยนรู้ 2 ช่องทางหลักคือ (1) ในห้ อ งเรี ย น และห้ อ ง Lab และ (2) ทาง e-Learning ที่ ผ้ ูสอนได้ จัด กิ จ กรรมให้ ผู้เรี ยนได้ เข้ าไปทางานใน e-Learning อย่างต่อเนื่องทุกสัปดาห์ เช่น ศึกษาเนื ้อหา ที่เรี ยนย้ อนหลังจาก Camtesia การศึกษาเนื ้อหาล่วงหน้ าจาก PPT ซึง่ เป็ นส่วนของ Flip for Fun ที่ผ้ สู อนได้ ออกแบบมาเป็ นอีกหนึ่ง feature ของการเรี ยนแบบ Active Learning ที่เป็ นการเรี ยนแบบกลับด้ าน โดยส่วนใหญ่เนื ้อหาที่อยู่ใน Flip for Fun คื อ การให้ ผ้ ูเรี ย นได้ ดู VDO ตัว อย่ า งการน าเสนอ มี worksheet ในหนัง สื อ ให้ ผู้เรี ยนได้ คิดวิเคราะห์ ก่อนที่จะมา Discuss กัน ต้ นคาบเรี ยนทุกครัง้ ในทุกบทเรี ยน แต่จากการสังเกต ผู้เรี ยนส่วนน้ อยที่ท าในส่วนนีม้ าก่ อนล่วงหน้ า อีกกิ จกรรมที่ ผู้เรี ยนให้ ค วามสนใจและเข้ าท าบ่อยครัง้ มาก และมักจะเรี ย กร้ องให้ เปิ ดให้ ท า ย้ อ นหลัง คื อ Exercise ที่ เป็ น คลัง โจทย์ แ บบฝึ ก หัด ให้ ผ้ ู เรี ย นได้ ท บทวนความรู้ ทฤษฎีเนื ้อหาการนาเสนองานทางธุรกิจและความสามารถในการใช้ ภาษาอังกฤษ โดยผู้ สอนตั ง้ ใจออกแบบมาเพื่ อ เป็ นแรงจู ง ใจให้ ผู้ เรี ย นเข้ ามา เรี ย นรู้ ทาง e-Learning เพื่อเป็ นการทบทวนความรู้ก่อนการสอบย่อย การเก็บคะแนน โดยการ ทา Exercise นี ้ ทาให้ อตั ราการสอบไม่ผ่านหรื อ การได้ คะแนนต่าของนักศึกษามี สัดส่วนที่ต่ามาก หรื อแทบไม่มีเลย

ภาพที่ 6 กิจกรรมการเรี ยนทาง e-Learning Experience of Learning

161


การเรี ยนให้ ห้องเรี ยนและห้ อง Lab นัน้ ผู้เรี ยนได้ ทางาน Project เล็กๆ หลายๆ โปรเจค ซึง่ scaffold ไปสูโ่ ปรเจคใหญ่ คือการนาเสนองานทางธุรกิจ ตามที่ ผู้เรี ยนได้ คิดสร้ างสรรค์ ดัดแปลงจากสิง่ ที่มีอยู่แล้ วด้ วยตามท้ องตลาด โดยผู้เรี ยน จะต้ องระบบสมองกัน ในกลุ่ม ทา Mind map ส่งเป็ นงานแรก หลังจากนัน้ ก็ ห า ข้ อมูลเกี่ยวกับบริ ษัท ผลิตภัณฑ์ บริ การ ที่สนใจ นาเสนอสันๆ ้ โดยเน้ นการแนะนา ตัว และข้ อมูล background เกี่ยวกับโปรเจคกลุม่ เป็ นการนาเสนอชิ ้นที่ 1 หลังจาก นัน้ จัดทา Script เพื่อเตรี ยมนาเสนอโครงร่างผลิตภัณฑ์หรื อบริ การ ของกลุม่ ตัวเอง โดยให้ ส มมุติ ว่ า ก าลัง น าเสนอให้ หัว หน้ า หน่ ว ยงาน หรื อ ลูก ค้ า จริ ง ๆ เป็ น การ นาเสนอ กลางภาค ซึง่ เป็ นการนาเสนอชิ ้นที่ 2 ดังภาพที่ 7 และ 8 หลังจากที่ผ้ เู รี ยน ได้ นาเสนอ idea งานตัวเองแล้ ว ผู้เรี ยน ก็ได้ แก้ ไขปรับปรุ ง เรี ยนรู้ การทาสื่อ PPT อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อไว้ เตรี ยมนาเสนองานที่สมบูรณ์คืองานนาเสนอครัง้ ที่ 3 ที่ มีครบทุกองค์ประกอบ ในตัวผลิตภัณฑ์ หรื อบริ การซึ่งเป็ นการนาเสนอ เนื ้อหาเดิม ที่แต่ละกลุ่ม ได้ เลือกทาตัง้ แต่การน าเสนอครัง้ แรก แต่ครั ง้ สุดท้ ายนี ้ ผู้เรี ยนต้ อ ง นาเสนอโดยใช้ PPT เป็ นเครื่ องมือในการนาเสนอให้ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น

ภาพที่ 7 ตัวอย่างงาน Mind map ของผู้เรี ยน

162

Experience of Learning


ภาพที่ 8 ตัวอย่างงาน Script และการนาเสนอกลุม่ ครัง้ ที่ 1 3. ชุ ม ชน (Community) ซึ่ ง เป็ นชุ ม ชนแห่ ง การเรี ย นรู้ Learning Community ระหว่า งผู้เรี ย นกับ ผู้เรี ย น และอาจารย์ กับ ผู้ เรี ย น โดยความรู้ ที่ ได้ ระหว่างผู้เรี ยนคือการได้ แลกเปลี่ยนความคิด งานของกลุ่มตัวเองกับเพื่อนในชัน้ และเพื่อนจากอีกห้ องที่เรี ยนในรายวิชาเดียวกัน เพราะผู้สอนได้ จดั ให้ ผ้ เู รี ยนมีการ เผยแพร่การนาเสนอพร้ อมกันในส่วนของการนาเสนอครัง้ ที่ 2 นอกจากที่ผ้ ูเรี ยนได้ แลกเปลี่ ย นความรู้ ในส่วนของการน าเสนอนี แ้ ล้ ว อาจารย์ผ้ สู อนก็ยงั ได้ เชิญอาจารย์ผ้ สู อนในสาขาวิชา มาให้ คะแนนและคาแนะนา กับผู้เรี ยน อีกส่วนที่ทาให้ เกิดชุมชนแห่งการเรี ยนรู้ คือ ทางผู้สอนได้ เชิญวิทยากร พิเศษจาก สานักการจัดการศึกษาออนไลน์ มหาวิทยาลัยศรี ปทุมมาให้ ความรู้การ สร้ าง PPT ประกอบการนาเสนออย่างมืออาชีพ จึงทาให้ ทงผู ั ้ ้ สอน ซึ่งเป็ นอาจารย์ ผู้สอนและผู้เรี ยนได้ รับความรู้ใหม่ๆ ไปพร้ อมๆ กัน

Experience of Learning

163


ภาพที่ 9 การฝึ กอบรมผลิตสือ่ นาเสนอ PPT จากสานักการจัดการศึกษาออนไลน์ 2. ผลสะท้ อนกลับจากการจัดการเรียนการสอนจากผู้เรียน ในส่วนท้ ายของการเรี ยนการสอน ผู้สอนได้ ให้ ผ้ เู รี ยนทาการเขียนสะท้ อน การเรี ยนรู้ ในรายวิชานีจ้ ากทัง้ เทอมที่ได้ เรี ยนกันมา โดยผู้สอนได้ ให้ ผ้ เู รี ยนตอบ คาถามสัน้ ทังสิ ้ ้น 8 คาถาม เพื่อต้ องการทราบความคิดเห็นจากผู้เรี ยนถึงการเรี ยน การสอนแบบโครงงาน สื่อการสอน กิจกรรมการสอน ความพึงพอใจในการเรี ยน การสอน การประเมินผลวัดผล และสุดท้ ายให้ ผ้ เู รี ยนประเมินตัวเองว่าเป็ นผู้เรี ยน แบบใดระหว่างเรี ยนในห้ องเรี ยน ซึ่งผลจากการสะท้ อนความคิดเห็นของผู้เรี ยน โดยภาพรวมทาให้ เห็นจุดเด่นและสิง่ ที่รายวิชานี ้ยังต้ องปรับปรุงพัฒนาให้ ดีขึ ้น ดังนี ้ 1. จุดเด่ นของการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ PBL แบบ TLC2 คือ 1.1 การเรียนการสอนโดยใช้ PBL ผู้เรี ยนส่วนมากคิดเห็นว่าการเรี ยนการสอนแบบ PBL ทาให้ ได้ ทางานเป็ น ทีม ได้ แสดงความคิดเห็นร่ วมกัน ได้ เรี ยนรู้ การทางานร่ วมกัน สามารถนาความรู้ ทักษะภาษาอังกฤษ และการนาเสนอไปใช้ ได้ จริ ง ในอนาคต ทาให้ ผ้ เู รี ยนไม่กดดัน ดังที่ผ้ เู รี ยนคนหนึง่ ได้ เขียนแสดงความคิดเห็น “เป็ นวิ ช ำที ่ เรี ย นแล้ ว น ำไปใช้ ได้ จ ริ ง เรี ย นสนุก สบำยไม่กดดัน” ผู้เรี ยนคนที่ 1 164

Experience of Learning


“ภำพรวมวิ ชำนีส้ ่วนมำกจะปฎิ บตั ิ มำกกว่ำทฤษฎี ซึ่ งท ำให้เรำได้เรี ย นรู้ จ ริ งๆ ได้รู้ข้ อบกพร่ องของ งำนและแก้ไขได้” ผู้เรี ยนคนที่ 2

1.2 เอกสารประกอบการสอน ผู้เรี ยนส่วนมากคิดเห็ นว่าหนังสือ เขีย น ออกแบบ เนื อ้ หา จานวนหน้ า เหมาะสม ได้ เรี ยนความรู้ ครบถ้ วน เพราะมีคาอธิบายรายวิชา วัตถุประสงค์ ข้ อมูล ที่สาคัญมีครบถ้ วน ดังภาพที่ 10

ภาพที่ 10 ผู้เรี ยนแสดงความคิดเห็นการเรี ยนการสอน

Experience of Learning

165


1.3 การวัดผลประเมินผล ผู้เรี ยนมีค วามพึงพอใจกับ การวัดผลประเมิน ผลในรายวิชา เพราะทุก อย่างอธิบายอย่างชัดเจน เน้ นกระบวนการ สมเหตุสมผล และเปิ ดโอกาสให้ ผ้ เู รี ยน ได้ แก้ ไขงานเพื่อส่งใหม่ ตามเงื่อนไขที่กาหนดร่วมกัน ดังภาพที่ 11

ภาพที่ 11 ผู้เรี ยนแสดงความคิดเห็นเรื่ องการวัดผลประเมินผลการเรี ยน “เป็ นกำรให้คะแนนทีด่ ี สมเหตุสมผลตำมทีผ่ เู้ รี ยน ทำได้” ผู้เรี ยนคนที่ 3 2. สิ่งที่ควรพัฒนา ปรับปรุ ง 2.1 ผู้เรียนไม่ ได้ รับความรู้ตามที่ตงั ้ ไว้ ผู้เรี ย นมัก จะไม่ ถ ามค าถาม เวลาที่ ไม่ เข้ า ใจ ท าให้ ผ้ ูส อนไม่ ท ราบถึ ง ปั ญ หา ความเข้ าใจเนื อ้ หาที่ สอน โดยมี ผ้ ูเรี ย น 1 ท่า น ที่ แ สดงความคิ ด เห็ น ว่า ความรู้ที่เรี ยนไม่เป็ นไปตามที่ได้ หวังไว้ ตามภาพที่ 12

ภาพที่ 12 ผู้เรี ยนแสดงความคิดเห็นเรื่ องการเรียน ทังนี ้ ้แนวทางในการแก้ ไขปั ญหาตรงนี ้ในการเรี ยนการสอนครัง้ ต่อไป คือ จัดให้ มี ช่วงเวลาท้ ายคาบ ให้ ผ้ เู รี ยนที่ไม่เข้ าใจเนื ้อหาเรี ยน หรื องานที่สงั่ ทา ได้ มี 166

Experience of Learning


โอกาสถามให้ อ ธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม กับ ผู้ส อนแบบตัว ต่ อ ตัว และจัด ให้ มี Teacherstudent conference โดยให้ มีก ารนัดหมายคุยกับ ผู้เรี ย นกลุ่มย่อ ย ในหรื อนอก ชัว่ โมงเรี ยน เพื่อเป็ นการ follow up โครงการ และปั ญหาการทางานเป็ นกลุม่ 2.2. ผู้เรียนไม่ ค่อยทากิจกรรม Flip for Fun ในกิ จ กรรมการเรี ย นกลับ ด้ าน (Flipped Classroom) นั น้ ยั ง ไม่ ป ระสบ ความสาเร็ จเท่าที่ควรตามที่ผ้ สู อนได้ คาดหวังไว้ เพราะผู้เรี ยนส่วนมากไม่เข้ าไป อ่าน หรื อดู VDO clip ต่างๆ ล่วงหน้ า ก่อนเรี ยน โดยจากที่ผ้ เู รี ยนได้ สะท้ อนกลับมา คือ ไม่มีเวลา ไม่ค่อยสนใจ หรื อฟั งภาษาอังกฤษใน YouTube ไม่ทนั ดังนันผู ้ ้ สอน ได้ วางแผนว่าใช้ Social media ในการแจ้ งเตือนผู้เรี ยนให้ เรี ยน ค้ นคว้ า ล่วงหน้ า ก่อนเข้ าห้ องเรี ยน บทสรุ ปของการจัดการเรี ยนและการสอนแบบ Active Learning โดยใช้ PBL แบบ TLC2 นัน้ ไม่เพียงแค่ผ้ เู รี ยนได้ คิด วิเคราะห์ สร้ างสรรค์งาน ทางานร่ วมกัน เป็ นทีม ผู้สอนเองก็ ยงั ได้ ความรู้ ในสิ่งที่ผ้ ูเรี ยนนาเสนอ ได้ แลกเปลี่ยนความรู้ ให้ คาแนะนา และให้ แรงบันดาลใจแก่ผ้ เู รี ยน ทาให้ การมามหาวิทยาลัยไม่เป็ นเพียง แค่การเรี ยน และการสอน แต่เป็ นการสร้ าง Teaching and Learning Community แห่งการเรี ยนรู้ภาษาอังกฤษได้ จริ ง รายการอ้ างอิง ศั น ส นี ย์ ไช ย โร จ น์ (2 5 5 9 ). “On the Road to Thailand 4.0: Education revisited”. การสัม มนาเชิ ง วิ ช าการเรื่ อ ง Innovation in Teaching and Learning. วันที่ 5-6 ก.ย.2556 Graves, K. (2000). Designing Language Courses. Canada: Heinle and Heinle. Waring, M., & Evans, C. (2015). Understanding Pedagogy: Developing a critical approach to teaching and learning. New York: Routledge. Experience of Learning

167


กลยุทธ์ การสอนภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน ENG 111 โดยใช้ แบบการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยน เกรียงไกร สัจจะหฤทัย ในโลกยุคโลกาภิวตั น์ (Globalization) ซึง่ เป็ นยุคของการติดต่อสื่อสารแบบ ไร้ พรมแดน มนุษ ย์ ทั่วโลกสามารถติ ด ต่อสื่อ สารระหว่า งกัน ได้ ง่ายและสะดวก รวดเร็ วขึ ้น โดยการสื่อสารเพื่อความเข้ าใจระหว่างกันต้ องใช้ ภาษาเป็ น สื่อกลาง เช่ น ภาษาอัง กฤษ ฯลฯ ซึ่ ง ภาษาอัง กฤษถื อ ว่ า เป็ นภาษาสากลที่ ใ ช้ ส าหรั บ ติดต่อสือ่ สาร นอกจากการใช้ ภาษาอังฤษในการติดต่อสือ่ สารแล้ ว ภาษาอังกฤษยัง ถูก น ามาใช้ เป็ นภาษาในการท างานของระบบคอมพิ ว เตอร์ ซอฟต์ แ วร์ และ เทคโนโลยี อื่ น ๆ อี ก มากมาย ดัง นัน้ จึ ง ไม่ อ าจปฏิ เสธได้ ว่า ภาษาอัง กฤษไม่ มี ความสาคัญกับมนุษย์ในยุคนี ้ ภาษาอังกฤษเป็ น ภาษาสากลที่ มี ค วามสาคัญ เป็ น อย่ า งยิ่ งในปั จ จุ บัน เพราะใช้ เป็ นสื่อกลางในการติดต่อสื่อสารระหว่างประเทศอย่างกว้ างขวาง และใน อนาคตอันใกล้ นี ้การเข้ าร่ วมเป็ นสมาชิกประชาคมอาเซียนของประเทศไทยจะทา ให้ ภาษาอังกฤษมีบทบาทสาคัญมากยิ่งขึ ้น แต่จากการสารวจพบว่า ทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษของนักเรี ยนและนักศึกษาไทยส่วนใหญ่ในปั จจุบนั ยังมีคณ ุ ภาพอยูใ่ น เกณฑ์ต่าจึงจา เป็ นต้ องปรับปรุงและพัฒนาอย่างเร่งด่วนเพื่อให้ สามารถแข่งขันกับ นานาประเทศ (ณภัทร วุฒิวงศา, 2557) . ดร.เกรียงไกร สัจจะหฤทัย อาจารย์ ป ระจ าหลัก สูต รปรั ช ญาดุษ ฎี บัณ ฑิ ต และศึ ก ษาศาสตรมหาบัณ ฑิ ต สาขาวิ ช าการบริ ห ารการศึ ก ษา วิ ท ยาลั ย บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาด้ านการจั ด การ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม 168

Experience of Learning


ดังนัน้ การพัฒนาให้ ผ้ เู รี ยนมีทกั ษะ สามารถสื่อสารภาษาอัง กฤษได้ ต้อง พัฒนากระบวนการเรี ยนการสอนของครู หรื ออาจารย์ผ้ สู อนให้ มีประสิทธิภาพมาก ขึน้ ครู ต้ อ งใส่ใ จต่ อ การเรี ย นรู้ ของผู้เรี ย น การสร้ างความกระตื อ รื อ ร้ นในการ ขวนขวายหาความรู้ ภาษาอังกฤษของผู้เรี ยน เป็ นต้ น ทังนี ้ ้ เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนมีความรู้ ความเข้ าใจ และมีทศั นคติที่ดี ต่อภาษาอังกฤษ และนาไปสู่การเรี ยนรู้ ตลอดชีวิต ด้ วยเหตุและผลข้ างต้ น จึงมีความสนใจในการศึกษากลยุทธ์การสอนภาษาอังกฤษ พื ้นฐาน ENG 111 โดยใช้ แบบการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยน วัตถุประสงค์ การศึกษา 1) เพื่อศึกษากลยุทธ์ การสอนภาษาอังกฤษพื ้นฐาน ENG 111 โดยใช้ แบบ การเรี ยนรู้ของผู้เรี ยน 2) เพื่ อ ศึก ษาผลสัม ฤทธิ์ ข องนัก ศึก ษาที่ ได้ รับ การสอนกลยุท ธ์ ก ารสอน ภาษาอังกฤษพื ้นฐาน ENG 111 โดยใช้ แบบการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยน แนวคิดทฤษฏีท่ ีใช้ ในการศึกษา แนวคิ ด แบบการเรี ย นรู้ (Learning Style) ของ Haynes (2009) ที่ ใ ห้ รายละเอียดว่า แบบการเรี ยนรู้ มี 3 ประเภท คือ 1) ลักษณะผู้เรี ยนที่เรี ยนรู้ ได้ ดีจากการฟั ง (Auditory Learners) หมายถึง ผู้เรี ยนเรี ยนรู้ได้ ดีจากการฟั ง และสามารถจดจาสิ่งที่ฟังได้ ผู้เรี ยนประเภทนี ้จะสนุก กับการพูดคุย สัมภาษณ์ การอ่านออกเสียง สาหรับกิจกรรมการเรี ยนรู้ ที่เหมาะกับ ผู้เรี ยนกลุม่ นี ้ ได้ แก่ Interviewing, Debating, Participating on a Panel, Giving Oral Reports, Participating in Oral Discussions of Written Material 2) ลักษณะผู้เรี ยนที่เรี ยนรู้ได้ ดีจากการดู (Visual learners) หมายถึง ผู้เรี ยน เรี ยนรู้ ได้ ดีจากการดู และสามารถจาสิ่งที่ดไู ด้ ผู้เ รี ยนประเภทนี ้จะชอบการอ่านใน ใจ และการสังเกต กิจกรรมการเรี ยนรู้ ที่เหมาะกับผู้เรี ยนกลุ่มนี ้ ได้ แก่ Computer Graphics, Maps, Graphs, Charts, Cartoons, Posters, Diagrams, Graphic Organizers and Text with a lot of Pictures Experience of Learning

169


3) ลักษณะผู้เรี ยนที่เรี ยนรู้ ได้ ดีจากการสัมผัส (Tactile Learners) หมายถึง ผู้เรี ยนเรี ยนรู้ ได้ ดีจากการสัมผัส พวกเขาจะเข้ าใจในสิ่งที่ตนได้ ลงมือเขียน และ เรี ยนรู้ ได้ ดีจากการลงมือทา กิ จกรรมการเรี ยนรู้ ที่เหมาะกับผู้เรี ยนกลุ่มนี ้ ได้ แก่ Drawing, Playing Board Game, Making Dioramas, Making Models, Following Instructions to make Something การสอนอ่านกับผู้เรี ยนกลุม่ นี ้เหมาะ ที่ จ ะ ใ ช้ "The Language Experience Approach (LEA)" แ ล ะ "The Whole Language Approaches" จากแนวคิดดังกล่าว ผู้สอนได้ พิจารณาลักษณะของผู้เรี ยนตามแนวคิดแบบ การเรี ยนรู้ ของประชากรในการศึกษา แล้ วพบว่า ประชากรที่ ใช้ ในการศึกษามี ลักษณะการเรี ยนรู้ ได้ ดี 2 แบบ ได้ แก่ ลักษณะผู้เรี ยนที่เรี ยนรู้ ได้ ดีจากการฟั ง และ ลักษณะผู้เรี ยนที่เรี ยนรู้ ได้ ดีจากการดู ทังนี ้ ้ผู้สอนได้ ผสมให้ ลกั ษณะผู้เรี ยนที่เรี ยนรู้ ได้ ดีจากการสัมผัสเพิ่มลงในทัง้ 2 แบบ ดังนัน้ การศึกษานี จ้ ะมีแบบการเรี ยนรู้ของ ผู้เรี ยน 2 แบบ คือ 1) ลักษณะผู้เรี ยนที่เรี ยนรู้ ได้ ดีจากการฟั ง และสัมผัส และ 2) ลักษณะผู้เรี ยนที่เรี ยนรู้ได้ ดีจากการดูและสัมผัส วิธีดาเนินการศึกษา แบบแผนการศึกษา การศึก ษาในครัง้ นี เ้ ป็ น การวิจัยกึ่ งทดลองในสถานการณ์ จ ริ ง ซึ่งมี แบบ แผนการศึกษาดังนี ้ E sec 32 33 : O1 X1 O2 E sec 86 : O1 X1 O2 หมายเหตุ : E หมายถึง กลุม่ ทดลอง sec 32 33 และ 86 X1 คือ กลยุทธ์ การสอนโดยใช้ การสร้ างทัศนคติที่ดี การสร้ างแรงจูงใจ และการจัดการเรี ยน การสอนแบบการเรี ยนรู้ แบบ Auditory Learners และ Tactile Learners สาหรับ Sec 32 33 และ แบบ การเรี ยนรู้ แบบ Visual Learners และ Tactile Learners สาหรับ Sec 86 O1 คือ คะแนน Pre-Test

170

Experience of Learning


O2 คื อ คะแนน Post-Test และพฤติกรรมของผู้เรี ย น วัดโดยการสังเกตพฤติก รรม ความ กระตือร้ น และการมีสว่ นร่ วม

ประชากรและตัวอย่ าง ประชากรในการศึกษาครัง้ นี ้ คือ นักศึกษาที่ลงทะเบียนวิชา ENG 111 ภาค การศึกษาที่ 1/2559 ในกลุม่ เรี ยนที่ 32 33 และ 86 จานวน 67 คน เนื่องจากผู้สอน รับผิดชอบการสอนรายวิชาดังกล่าวของทัง้ 3 กลุม่ นี ้ ดาเนินการเก็บรวบรวมข้ อมูล กับนักศึกษาทุกคน (Census) โดยแบ่งเป็ นลักษณะผู้เรี ยนที่เรี ยนรู้ ได้ ดีจากการฟั ง และการสัมผัส คือ นักศึกษากลุม่ เรี ยน 32 และ 33 จานวน 37 คน (เป็ นนักศึกษา วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริ การ) และผู้เรี ยนที่เรี ยนรู้ ได้ ดีจากการดูและการ สัมผัส คือ นักศึกษากลุม่ เรี ยน 86 จานวน 30 คน (เป็ นนักศึกษาคณะดิจิทลั มีเดีย) เครื่องมือที่ใช้ ในการศึกษา เครื่ องมือที่ใช้ ได้ แก่ แผนการสอน ครัง้ ที่ 12-15 คือ แผนการสอนครัง้ ที่ 12 เรื่ อง Shopping แผนการสอนครัง้ ที่ 13 เรื่ อง A wide world แผนการสอนครัง้ ที่ 14 เรื่ อง Busy lives และแผนการสอนครัง้ ที่ 15 เรื่ อง นิทรรศการ กลยุทธ์ การสอน ประกอบด้ วย 1) กลยุทธ์ กำรสร้ำงทัศนคติ ที่ดี โดยการใช้ เทคโนโลยีมาประกอบการสอน เช่น การแชร์ โพสต์เกี่ยวกับการใช้ ภาษาอังกฤษและ คาศัพท์ในเฟสบุ๊ค กรุ๊ ป ทังนี ้ ้ เพื่อให้ นกั ศึกษาได้ ร้ ู สกึ ว่าภาษาอังกฤษเป็ นส่วนหนึ่ง ของชีวิตประจาวัน และการตอบคาถามพูดคุยเกี่ย วกับประเด็นที่นักศึกษาสงสัย ผ่านทางไลน์กลุม่ ซึ่งจะทาให้ นกั ศึกษากล้ าที่จะแสดงความคิดเห็นและมีสว่ นร่ วม มากขึ ้น รวมถึง เพื่อสร้ างความคุ้นชิ นกับผู้สอนในรายวิชาภาษาอังกฤษ และจะ ส่งผลให้ ผ้ ูเรี ย นมี ทัศ นคติ ต่อ รายวิ ช าภาษาอังกฤษที่ ดี ขึน้ 2) กลยุท ธ์ ก ำรสร้ ำ ง แรงจู งใจ โดยการตังเป้ ้ าหมายร่ วมกันก่อนการเรี ยนในแต่ละครัง้ เพื่อสร้ างแรงขับ ของผู้เรี ยน ให้ ไปสู่เป้าหมายให้ ได้ และ 3) กลยุทธ์ กำรสอนตำมแบบกำรเรี ยนรู้ ดัง นี ้ (1) การจั ด การเรี ย นการสอนตามแบบการเรี ย นรู้ แบบ Auditory Learners และ Tactile Learners ส าหรั บ Sec 32 และ 33 มี ขั น้ ตอน ดั ง นี ้ (แผนภาพ 1) Experience of Learning

171


ขัน้ ตอนที่ 1 กาหนดเวลา 5 นาที ให้ นัก ศึกษาซักถามกัน ระหว่าง เพื่ อ นถึ ง กิ จ กรรมวัน หยุด ที่ ผ่ า นมา โดยใช้ ภาษาอัง กฤษ ซึ่ งจะผลัด เปลี่ ย นให้ นักศึกษาได้ พดู คุยกันไปเรื่ อยๆ โดยเน้ นย ้าให้ นกั ศึกษายังไม่ต้องกังวลเรื่ องไวยกรณ์ แต่ให้ พดู สือ่ สารกันอย่างเข้ าใจก่อน ขันตอนที ้ ่ 2 ค้ นหาสิง่ ที่นกั ศึกษาสนใจหรื อสือ่ ต่างๆ มาดึงความสนใจ ก่อนเข้ าบทเรี ยน โดยการสอบถาม เล่าเรื่ อง หรื อยกตัวอย่างจากสังคมออนไลน์ ขันตอนที ้ ่ 3 ให้ นกั ศึกษาเตรี ยมกำรสอน เพื่อสอนเพื่อนในชัน้ เรี ยน ตามหัวข้ อที่ได้ แบ่งไว้ ขัน้ ตอนที่ 4 อธิ บ ายเสริ ม จากที่ นัก ศึ ก ษาได้ เตรี ย มการสอนมา เนื่องจากสิ่งที่นักศึกษาได้ เตรี ยมมานัน้ อาจจะไม่ครบถ้ วนหรื อการสื่อสารยังไม่ สามารถเข้ าถึงนักศึกษาในชันเรี ้ ยนได้ ดังนั ้ นผู้สอนจึงต้ องเสริ มในสิ่งที่ยงั ขาดและ ยกตัวอย่างประกอบเพื่อให้ นกั ศึกษาเห็นภาพรวมตามวัตถุประสงค์ของบทเรี ยน ขันตอนที ้ ่ 5 ขันตอนนี ้ ้เป็ นขันตอนที ้ ่สาคัญเพราะหากสอนแต่ไม่มีการ สรุปบทเรี ยนอาจทาให้ นกั ศึกษาไม่สามารถตกผลึกองค์ความรู้ได้ ดังนัน้ ผู้สอนควร นาสรุ ปบทเรี ยนและเกริ่ นนาเพื่อปูท างไปถึงบทเรี ยนครั ง้ ต่อไป พร้ อมแนะนาให้ นักศึกษาได้ ศกึ ษาข้ อมูลเพิ่มเติมจากสื่อต่างๆ และนาสิ่งที่ค้นหามานันเล่ ้ าให้ เพื่อน ฟั งในครัง้ ต่อไป และตอบข้ อซักถามหากนักศึกษามีข้อสงสัย

172

Experience of Learning


แผนภาพ 1 การจัดการเรียนการสอนแบบการเรี ยนรู้แบบ Auditory Learners และ Tactile Learners (2) การจัดการเรี ยนการสอนตามแบบการเรี ยนรู้ แบบ Visual Learners และ Tactile Learners สาหรับ Sec 86 มีขนตอนดั ั้ งนี ้ (แผนภาพ 2) ขัน้ ตอนที่ 1 กาหนดเวลา 5 นาที ให้ นัก ศึกษาซักถามกัน ระหว่าง เพื่ อ นถึ ง กิ จ กรรมวัน หยุด ที่ ผ่ า นมา โดยใช้ ภาษาอัง กฤษ ซึ่ งจะผลัด เปลี่ ย นให้ นักศึกษาได้ พดู คุยกันไปเรื่ อยๆ โดยเน้ นย ้าให้ นกั ศึกษายังไม่ต้องกังวลเรื่ องไวยกรณ์ แต่ให้ พดู สือ่ สารกันอย่างเข้ าใจก่อน ขันตอนที ้ ่ 2 ค้ นหาสิง่ ที่นกั ศึกษาสนใจหรื อสือ่ ต่างๆ มาดึงความสนใจ ก่อนเข้ าบทเรี ยน และโยงให้ เข้ ากับเรื่ องเกมส์และการออกแบบเพื่อดึงความสนใจ ขันตอนที ้ ่ 3 ให้ นักศึกษาออกแบบสื ่อกำรสอน มาสอนเพื่อนในชัน้ เรี ยนตามหัวข้ อที่ได้ แบ่งไว้ ขันตอนที ้ ่ 4 อธิบายเสริ มจากที่นกั ศึกษาได้ ออกแบบสื่อการสอนมา สอน เนื่องจากสิ่งที่นกั ศึกษาได้ เตรี ยมมานันอาจจะไม่ ้ ครบถ้ วนหรื อการสื่อสารยัง ไม่สามารถเข้ าถึงนักศึกษาในชัน้ เรี ยนได้ ดังนันผู ้ ้ สอนจึงต้ องเสริ มในสิ่งที่ยงั ขาด และยกตัว อย่า งประกอบเพื่ อ ให้ นัก ศึ ก ษาเห็ น ภาพรวมตามวัต ถุป ระสงค์ ข อง บทเรี ยน Experience of Learning

173


ขันตอนที ้ ่ 5 ให้ นกั ศึกษาออกแบบชิ ้นงานตามหัวข้ อของบทเรี ยน เช่น เรื่ อง Part Sim ให้ นกั ศึกษาออกแบบหนังสือการ์ ตูนให้ ตรงตามหัวข้ อที่กาหนดไว้ จากนันผู ้ ้ สอนนาสรุปบทเรี ยนและเกริ่ นนาเพื่อปูทางไปถึงบทเรี ยนครัง้ ต่อไปพร้ อม แนะนาให้ นกั ศึกษาได้ ศกึ ษาข้ อมูลเพิ่มเติมจากสือ่ ต่างๆ และนาสิง่ ที่ค้นหามานันมา ้ เล่าให้ เพื่อนฟั งในครัง้ ต่อไป และตอบข้ อซักถามหากนักศึกษามีข้อสงสัย

แผนภาพ 2 การจัดการเรียนการสอนแบบการเรี ยนรู้แบบ Visual Learners และ Tactile Learners ข้ อสอบ Pre – test และ Post-test เพื่อใช้ วดั ผลสัมฤทธิ์ ของการเรี ยนตาม กลยุทธ์การสอน การวิเคราะห์ และนาเสนอผลการศึกษา การวิเคราะห์และนาเสนอผลการศึกษาเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรี ยน ใช้ สถิติพรรณนา ได้ แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความต่างของคะแนน เฉลี่ย และคะแนนเฉลี่ยเพิ่มสัมพัทธ์ และการบรรยายพฤติกรรมของนักศึกษาจาก การได้ รับกลยุทธ์การสอนของรายวิชาภาษาอังกฤษ สรุ ปผลการศึกษา 174

Experience of Learning


1. ผลการศึกษากลยุทธ์ การสอนภาษาอังกฤษพืน้ ฐานโดยใช้ แบบการ เรียนรู้ของผู้เรียน ผลการศึกษากลยุทธ์ การสอนภาษาอังกฤษพื ้นฐาน ENG111 โดยใช้ แบบ การเรี ยนรู้ของผู้เรี ยน พบว่า กลยุทธ์การสร้ างทัศนคติที่ดีของผู้เรี ยน ด้ วยวิธีการแชร์ โพสต์เกี่ยวกับการใช้ ภาษาอังกฤษและคาศัพท์ในเฟสบุ๊ค กรุ๊ป นัน้ ในกลุม่ เรี ยน 32 และ 33 พบว่า นักศึกษาเข้ าเรี ยนตรงเวลามากขึ ้น ขณะที่กลุม่ เรี ยน 86 นักศึกษามี ส่วนร่ วมในชันเรี ้ ยนมากขึ ้น และการตอบคาถามพูดคุยเกี่ยวกับประเด็นที่นักศึกษา สงสัยผ่านทางไลน์กลุม่ ทาให้ นกั ศึกษากล้ าที่จะแสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่ วม มากขึ ้น ในกลุม่ เรี ยน 32 และ 33 พบว่า นักศึกษากล้ าแสดงความคิดเห็นมากขึ ้น และนักศึกษาเปิ ดใจมากขึ ้น ขณะที่กลุม่ เรี ยน 86 นักศึกษากล้ าแสดงความคิดเห็น มากขึ ้น กลยุทธ์ การสร้ างแรงจูงใจของผู้เรี ยนในการเรี ยนภาษาอังกฤษ ด้ วยวิธีการ ตังเป้ ้ าหมาย เพื่อสร้ างแรงขับ ในกลุม่ เรี ยน 32 และ 33 พบว่า นักศึกษามีสว่ นร่วม ในชันเรี ้ ยน นักศึกษากระตือรื อร้ นในชันเรี ้ ยน ขณะที่กลุม่ เรี ยน 86 นักศึกษามีสว่ น ร่วมในชันเรี ้ ยน นักศึกษากระตือรื อร้ นในชันเรี ้ ยน และนักศึกษาใส่ใจมากขึ ้น สาหรับกลยุทธ์ การสอนตามแบบการเรี ยนรู้ (Learning Style) นักศึกษากลุ่ม เรี ยน 32 และ 33 ที่ใช้ แบบการเรี ยนรู้ Auditory Learners และ Tactile Learners (ภาพ 1) พบว่า นักศึกษามีส่วนร่ วมในชัน้ เรี ยน นักศึกษากระตือรื อร้ นในชัน้ เรี ยน นักศึกษาเปิ ดใจมากขึ ้น และนักศึกษาเข้ าใจมากขึ ้น ตลอดจนแลกเปลีย่ นความรู้ สู่ เพื่อนตามความถนัดของตนเอง นักศึกษากลุม่ เรี ยน 86 ที่ใช้ แบบการเรี ยนรู้ Visual Learners และ Tactile Learners (ภาพ 2) นั ก ศึ ก ษามี ส่ ว นร่ ว มในชั น้ เรี ย น นักศึกษากระตือรื อร้ นในชัน้ เรี ยนนักศึกษาเปิ ดใจมากขึ ้น นักศึกษาเข้ าใจมากขึ ้น ตลอดจนแลกเปลีย่ นความรู้สเู่ พื่อนตามความถนัดของตนเอง รายละเอียดตาราง 1

Experience of Learning

175


ตาราง 1 สรุ ปผลการศึกษากลยุทธ์ การสอนภาษาอังกฤษพื ้นฐานโดยใช้ แบบการ เรี ยนรู้ของผู้เรี ยน ผลการประเมินความเหมาะสมของกลยุทธ์ กลุ่มเรียน 32 และ 33 กลุ่มเรียน 86 1.กลยุทธ์ การสร้ างทัศนคติท่ ีดีของผู้เรียนต่ อรายวิชาภาษาอังกฤษ 1.1 การแชร์ โพสเกี่ยวกับการใช้ -นักศึกษาเข้ าเรี ยนตรงเวลา -นักศึกษามีส่วนร่ วมใน ชันเรี ้ ยน ภาษาอังกฤษและคาศัพท์ในเฟสบุ๊ค กลยุทธ์ การสอน

กรุ๊ป 1.2 การตอบคาถามพูดคุยเกี่ยวกับ -นักศึกษากล้ าแสดงความ ประเด็นที่นกั ศึกษาสงสัยผ่านทางไลน์ คิดเห็นมากขึ ้น กลุ่มทาให้ นกั ศึกษากล้ าที่จะแสดง -นักศึกษาเปิ ดใจมากขึ ้น ความคิดเห็นและมีส่วนร่ วมมากขึ ้น

-นักศึกษากล้ าแสดง ความคิดเห็นมากขึ ้น

2. กลยุทธ์ การสร้ างแรงจูงใจของ ผู้เรียนในการเรียนภาษาอังกฤษ ด้ วยวิธีการตัง้ เป้ าหมาย เพื่อสร้ าง แรงขับ

-นักศึกษามีส่วนร่ วมใน ชันเรี ้ ยน -นักศึกษากระตือรื อร้ นใน ชันเรี ้ ยน -นักศึกษาใส่ใจมากขึ ้น

-นักศึกษามีส่วนร่ วมในชันเรี ้ ยน -นักศึกษากระตือรื อร้ นในชัน้ เรี ยน

3.กลยุทธ์ การสอนตามแบบการเรียนรู้ (Learning Style) 3.1 แบบการเรี ยนรู้ Auditory -นักศึกษามีส่วนร่ วมในชันเรี ้ ยน Learners และ Tactile Learners -นักศึกษากระตือรื อร้ นในชัน้ เรี ยน -นักศึกษาเปิ ดใจมากขึ ้น -นักศึกษาเข้ าใจมากขึ ้น -นักศึกษาแลกเปลี่ยนความรู้ ร่ วมกัน

176

Experience of Learning


ตาราง 1 (ต่อ) กลยุทธ์ การสอน 3.2 แบบการเรี ยนรู้ Visual Learners และ Tactile Learners

ผลการประเมินความเหมาะสมของกลยุทธ์ กลุ่มเรียน 32 และ 33 กลุ่มเรียน 86 -นักศึกษามีส่วนร่ วมใน ชันเรี ้ ยน -นักศึกษากระตือรื อร้ นใน ชันเรี ้ ยน -นักศึกษาเปิ ดใจมากขึ ้น -นักศึกษาเข้ าใจมากขึ ้น -นักศึกษาแลกเปลี่ยน ความรู้ ร่วมกัน

ภาพ 1 การสอนตามแบบการเรียนรู้แบบ Auditory Learners และ Tactile Learners Experience of Learning

177


ภาพ 2 การสอนตามแบบการเรียนรู้แบบ Visual Learners และ Tactile Learners

ภาพ 3 ภาพรวมผลการสอนโดยใช้ กลยุทธ์การสอนภาษาอังกฤษพื ้นฐาน ENG111 โดยใช้ แบบการเรียนรู้ของผู้เรี ยน 178

Experience of Learning


จากผลการศึ ก ษา ผู้ สอนได้ น ากลยุ ท ธ์ ที่ ใ ช้ ในการสอนรายวิ ช า ภาษาอังกฤษพื ้นฐาน ENG 111 มาพัฒนาเป็ นรู ปแบบการสอนที่เข้ าใจง่าย และ สะดวกต่อการนาไปใช้ และพัฒนาต่อยอด โดยได้ หาคาสาคัญที่กระชับ ชัดเจน เพื่อ ใช้ ในการสอนรายวิชาภาษาอังกฤษพื ้นฐาน ดังภาพต่อไปนี ้

เปิ ดใจ (Open mind) - ปรับทัศนคติที่ดี ต่อการเรี ยน ภาษาอังกฤษ - สร้ างแรงจูงใน เพื่อให้ เกิดการใฝ่ ร้ ู

ใส่ ใจ เข้ าใจ (Concentrate) (Understand) - นักศึกษาตังใจ ้ - นักศึกษา เอาใจใส่ใน เข้ าใจในเนื ้อหา บทเรี ยน และกล้ าสือ่ สาร ด้ วย ภาษาอังกฤษ มากขึ ้น

แบ่ งปั น (Share) - นักศึกษานาผลงานที่ได้ จาก การเรี ยนรู้ จดั เป็ นนิทรรศการ - การให้ นกั ศึกษาสอนเพื่อน โดยใช้ สื่อที่พฒ ั นาขึ ้นเอง - น าผลงานหรื อ สื่ อ การสอน นัน้ มอบให้ กับ โรงเรี ยนที่ข าด แคลนสื่ อ การสอน พร้ อมทัง้ การอาสาสอน ทังหมดนี ้ ้เป็ นการแสดงถึงการ เปิ ดใจ ใส่ ใ จ เข้ าใจ ต่ อ การ เรี ยนภาษาอังกฤษ

กลยุทธ์ การสร้ าง ทัศนคติท่ ดี ตี ่ อการ กลยุทธ์ แบบการเรียนรู้ เรียน (Learning Style) กลยุทธ์ การสร้ าง แรงจูงใจ แผนภาพ 3 รูปแบบของกลยุทธ์การสอนรายวิชาภาษาอังกฤษ “ 3 ใจ 1 แบ่งปั น”

Experience of Learning

179


จากแผนภาพ 3 เป็ นรู ป แบบของกลยุ ท ธ์ ก ารสอนรายวิ ช า ภาษาอัง กฤษพื น้ ฐาน เรี ย กว่ า “3 ใจ 1 แบ่ ง ปั น ” ซึ่ ง แต่ ล ะใจ และแบ่ ง ปั น มี รายละเอียดดังนี ้ 1. เปิ ดใจ ก่อนการจัดการเรี ยนการสอน ผู้สอนต้ องสร้ างทัศนคติที่ ดีของผู้เรี ยนต่อรายวิชาภาษาอังกฤษก่อน โดยการสร้ างทัศนคติที่ดีนั่น ควรเริ่ ม ตัง้ แต่ ค รั ง้ แรกของการเรี ย นการสอน ในที่ นี่ ก็ เพื่ อ ให้ ผ้ ู เรี ย นเปิ ดใจรั บ รายวิ ช า ภาษาอังกฤษ เปิ ด ใจรับ ผู้สอนรายวิชาภาษาอังกฤษ และเปิ ด ใจรั บ เพื่ อน ทัง้ นี ้ ทัศนคติที่ดีต่อรายวิชา ต่อผู้สอน และต่อเพื่อน อาจถูกพังทลายด้ วยความผิดหวัง จากผลสอบ จากความเข้ าใจผิดระหว่างผู้เรี ยนกับผู้สอน และกับเพื่อน ดังนัน้ จึง ต้ องมีการกระตุ้นหรื อสร้ างทัศนคติที่ดี อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ การเปิ ดใจรับรายวิชา ผู้สอน และเพื่อน ยังคงอยู่ตลอด นอกจากการมีทศั นคติที่ดีแล้ ว การสร้ างแรงจูงใจ เป็ นอีกส่วนสาคัญที่ทาให้ ผ้ เู รี ยนเปิ ดใจ ด้ วยการวางเป้าหมายร่วมกัน เพื่อสร้ างแรง ขับเคลื่อนในการเรี ยน และแรงจูงใจย่อมมี วนั พังทลายเช่นกัน จึงต้ องมีการกระตุ้น และสร้ างแรงจูงใจอย่างต่อเนื่อง 2. ใส่ใจ ภายหลัง ที่ ผ้ ูเรี ย นเปิ ด ใจแล้ ว การสร้ างหรื อ พัฒ นาให้ ผู้เรี ยนใส่ใจในการเรี ยน ผู้สอนต้ องเข้ าใจลักษณะและความถนัดของผู้เรี ยนแต่ละ กลุม่ แล้ วนากิจกรรมที่เหมาะสมกับผู้เรี ยนมาใช้ ในการดาเนินการจัดการเรี ยนการ สอน ซึง่ จะส่งผลให้ ผ้ เู รี ยนตังใจและเอาใจใส่ ้ ในบทเรี ยน กิจกรรมการเรี ยนมากขึ ้น 3. เข้ าใจ จากที่ผ้ เู รี ยนได้ เปิ ดใจ และใส่ใจในรายวิชา ด้ วยกิจกรรม การเรี ยนการสอนที่เหมาะสมกับผู้เรี ยนแล้ ว การสร้ างความเข้ าใจในเนือ้ หาของ ผู้เรี ยนจะง่ายและรวดเร็ วขึ ้น โดยผู้สอนจะหยิบเนือ้ หา สอดแทรกเนือ้ หาหรื อให้ ความรู้ ได้ ง่า ยขึน้ โดยผู้สอนอาจสังเกตจากพฤติกรรมการมี ส่วนร่ วม การแสดง ความคิดเห็น การส่งงานตามที่ได้ รับมอบหมายอย่างถูกต้ องและตรงเวลา 4. แบ่งปั น ผู้สอนวางเป้าหมายนอกจากการจัดกิจกรรมการเรี ยน ตามความเหมาะสมของผู้เรี ยนแล้ ว ยังตังเป้ ้ าหมายให้ ผ้ เู รี ยนได้ ทากิจกรรมร่วมกัน 180

Experience of Learning


ตลอดจนการร่วมแบ่งปั นความรู้ ระหว่างเพื่อน และสังคม ดังนัน้ การมอบหมายให้ ผู้เรี ย นสร้ างสื่ อ การสอนตามหัว ข้ อ ที่ ผ้ ูเรี ย นสนใจ และมี ค วามถนัด และน าไป แบ่งปั นร่ วมกัน ในงานนิทรรศการภาษาอังกฤษ ทังนี ้ ้ผลของกิจกรรมดังกล่าว ยัง ช่วยพัฒนาการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยน ในระดับสูงสุดอีกด้ วย 2. ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาที่ได้ รับการสอนตามกลยุทธ์ การสอนตามแบบการเรียนรู้ ภาพรวมนักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ดีขึ ้น โดยมีคะแนนเฉลี่ย Post-test สูงกว่า คะแนนเฉลี่ ย Pre-Test (เปรี ย บเที ย บระหว่ า ง 103.01 กั บ 74.75 คะแนน) ขณะเดียวกันยังพบอีกว่า ในทุกกลุม่ เรี ยนนักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ดีขึ ้น (ตาราง 2) สาหรับผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาที่ได้ รับการสอนตามกลยุทธ์ การสอนตามแบบการเรี ย นรู้ ที่ พิ จ ารณาจากคะแนนพัฒ นาการ พบว่ า โดย ภาพรวมทัง้ 3 กลุ่ม มีคะแนนพัฒ นาการที่วดั จากคะแนนความต่างของคะแนน เฉลี่ย Post-Test – Pre-Test เท่ากับ 28.36 คะแนน แสดงให้ เห็นว่านักศึกษาทัง้ 3 กลุ่ม มีคะแนนเฉลี่ยครัง้ หลังเปลี่ยนไปจากครัง้ แรกจานวน 28.36 คะแนน เมื่อ พิจารณาคะแนนเฉลีย่ เพิ่มสัมพัทธ์ พบว่า นักศึกษาทัง้ 3 กลุม่ สามารถพัฒนาการ เรี ยนได้ ร้อยละ 51.24 ของปริ มาณที่ควรพัฒนาได้ (ตาราง 2) นักศึกษากลุม่ เรี ยน 32 มีคะแนนพัฒนาการที่วดั จากคะแนนความต่าง ของคะแนนเฉลี่ย Post-Test – Pre-Test เท่ากับ 28.24 คะแนน แสดงให้ เห็นว่า นัก ศึก ษากลุ่ม 32 มี ค ะแนนเฉลี่ยครั ง้ หลังเปลี่ยนไปจากครั ง้ แรกจานวน 28.24 คะแนน เมื่ อ พิ จ ารณาคะแนนเฉลี่ ย เพิ่ ม สัม พัท ธ์ พบว่ า นัก ศึ ก ษาในกลุ่ม 32 สามารถพัฒนาการเรี ยนได้ ร้อยละ 50.32 ของปริ มาณที่ควรพัฒนาได้ ในกลุ่ม 33 มีคะแนนพัฒนาการที่วดั จากคะแนนความต่างของคะแนน เฉลี่ย Post-Test – Pre-Test เท่ากับ 44.20 คะแนน แสดงให้ เห็ น ว่า นัก ศึ ก ษา กลุม่ 33 มีคะแนนเฉลี่ยครัง้ หลังเปลี่ยนไปจากครัง้ แรกจานวน 44.20 คะแนน เมื่อ

Experience of Learning

181


พิจารณาคะแนนเฉลีย่ เพิ่มสัมพัทธ์ พบว่า นักศึกษาในกลุม่ 33 สามารถพัฒนาการ เรี ยนได้ ร้อยละ 64.34 ของปริ มาณที่ควรพัฒนาได้ ในกลุ่ม 86 มีคะแนนพัฒนาการที่วดั จากคะแนนความต่างของคะแนน เฉลี่ย Post-Test – Pre-Test เท่ากับ 21.71 คะแนน แสดงให้ เห็ น ว่า นัก ศึ ก ษา กลุม่ 86 มีคะแนนเฉลี่ยครัง้ หลังเปลี่ยนไปจากครัง้ แรกจานวน 21.71 คะแนน เมื่อ พิจารณาคะแนนเฉลีย่ เพิ่มสัมพัทธ์ พบว่า นักศึกษาในกลุม่ 86 สามารถพัฒนาการ เรี ยนได้ ร้อยละ 46.72 ของปริ มาณที่ควรพัฒนาได้ ตาราง 2 คะแนนเฉลีย่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความต่างของคะแนนเฉลีย่ และ คะแนนเฉลีย่ เพิม่ สัมพัทธ์ ของคะแนน Pre-test และ Post-test ภาพรวมและราย กลุม่ Pre-Test Post-Test ความต่ างของ คะแนนเฉลี่ย กลุ่มเรียน Mean (S.D.) Mean(S.D.) คะแนนเฉลี่ย เพิ่มสัมพัทธ์ 73.88(22.22) 102.12(20.58) 28.24 50.32 กลุม่ 32 61.30(19.35) 105.50(21.62) 44.20 64.34 กลุม่ 33 83.53(31.38) 105.24(23.32) 21.71 46.72 กลุม่ 86 รวม 74.65(27.39) 103.01(21.92) 28.36 51.24 อภิปรายผล ผลการศึกษากลยุทธ์ การสอนภาษาอังกฤษพื น้ ฐาน ENG 111 โดยใช้ แบบการเรี ย นรู้ ของผู้ เรี ย น พบว่า กลยุท ธ์ ก ารสอนต้ อ งประกอบด้ ว ยการสร้ าง ทัศนคติ และการสร้ างแรงจูงใจ เพื่ อเปิ ด ใจของผู้เรี ยนในการรั บเนือ้ หารายวิช า ภาษาอังกฤษ ผู้สอน และเพื่อนสอดคล้ องกับการศึกษาของดวงทิพย์ เจริ ญ รุ กข์ เผื่อนโชต (2557) ที่ศึกษาทัศนคติของนักศึกษาคณะนิเทศศาสตร์ ที่มีต่อรายวิชา COM 218 ภาษาอังกฤษสาหรับนักนิเทศศาสตร์ 1 โดยรวมอยู่ในเชิงบวก โดยกลุม่ 182

Experience of Learning


ตัวอย่างมี ทัศ นคติ ในเชิ งบวกไปในเรื่ อ งของการได้ ใช้ ค วามรู้ จากการเรี ย นวิ ช า ภาษาอังกฤษสาหรับนักนิเทศศาสตร์ 1 ในชีวิตประจาวันในอนาคตอย่างแน่นอน ไม่ว่าจะเป็ นการคมนาคม การติดต่อสื่อสารหรื อสื่อสารมวลชนต่างๆ นักศึกษาจะ พบกับภาษาอังกฤษเสมอ ส่วนการนาความรู้ ที่เรี ยนวิชา ภาษาอังกฤษสาหรับนัก นิเทศศาสตร์ ไปประยุกต์ใช้ นนจะพบว่ ั้ าตนเองสามารถนาไปใช้ ในชีวิตประจาวันได้ และนัก ศึก ษามี ก ารซัก ถามปั ญ หา หลัง การเรี ย นทุก ครั ง้ ซึ่ง จะท าให้ เรี ย นวิช า ภาษาอังกฤษได้ ดี และสอดคล้ องกับการศึกษาขอ สกนธ์ ภู่งามดี (2558) ทีศ่ ึกษา การสร้ างแรงจูงใจเพื่อส่งเสริ มพฤติกรรมการเข้ าเรี ยนอย่างสม่าเสมอของนักศึกษา รายวิช า DGA321 แนวคิ ด ศิ ลปะ สาขาดิ จิ ทัลอาร์ ต ส์ คณะดิ จิทัลมี เดี ย พบว่า สาเหตุที่นกั ศึกษามีพฤติกรรมขาดเรี ยนบ่อยในวิชาแนวคิดศิลปะคือการนอนดึก และนิสยั ส่วนตัวที่ชอบท่องเที่ยวหาประสบการณ์ ซึ่งเป็ นเวลาเดียวกับตารางเรี ยน โดยสาเหตุ 2 ข้ อนี ้เป็ นสาเหตุจากปั จจัยส่วนบุคคลที่ เกิดจากตัวนักศึกษาเป็ นหลัก และผลลัพท์ จากการสร้ างแรงจูงใจเพื่อส่งเสริ มพฤติกรรมการเข้ าชัน้ เรี ยนอย่าง สม่าเสมอของนักศึกษากลุ่มดังกล่าว โดยใช้ สิ่งจูงใจจากปั จจัยเสริ มแรงด้ านบวก และด้ านลบ สรุปผลได้ วา่ นักศึกษา 4 จาก 5 คนมีพฤติกรรมเข้ าเรี ยนสม่าเสมอมาก ขึน้ และน าไปสู่ผ ลการเรี ย นที่ ดี ขึ น้ แต่ ยัง มี นัก ศึ ก ษาจาก 1 ใน 5 คนยังไม่ ป รั บ พฤติกรรมการเข้ าเรี ยนตามเกณฑ์ซึ่งผู้วิจยั เสนอแนะให้ กาหนดโครงการฝึ กอบรม นักศึกษาด้ านการพัฒ นาตนเองควบคู่กับกิ จกรรมที่สนองต่อความต้ องการของ นักศึกษาที่เป็ นประชากรในกลุม่ วัยรุ่ น สาหรับกลยุทธ์การสอนตามแบบการเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยน หรื อการเลือ กจั ดกิ จกรรมการเรี ยนที่ผ้ ูเรี ย นถนัด หรื อสนใจ จะทาให้ ผู้เรี ยนใส่ใจและเข้ าใจเนือ้ หามากยิ่งขึน้ ซึ่งสอดคล้ องกับแนวคิดแบบการเรี ยนรู้ (Learning Style) ของ Haynes (2009) ที่ ก ล่าวว่า อาจารย์ ต้ อ งศึก ษาแบบการ เรี ยนรู้ของผู้เรี ยนและหาทางให้ ผ้ เู รี ยนได้ เรี ยนรู้ในแบบของตน เพื่อให้ การเรี ยนรู้เป็ น เรื่ องง่ายและได้ ผลมาก

Experience of Learning

183


ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ ของนักศึกษาที่ได้ รับการสอนตามกลยุทธ์ การ สอนตามแบบการเรี ยนรู้ พบว่า ภาพรวมนักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ดีขึ ้น สอดคล้ องกับ การศึก ษาของ ธุ วพร ตัน ตระกูล(2555) ที่ ศึก ษาเรื่ อ งการพัฒ นาทัก ษะการพูด ภาษาอังกฤษในชีวิตประจาวัน โดยใช้ บทฝึ กการสนทนาภาษาอังกฤษและพบว่า ผลการเปรี ยบเทียบความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาก่อนและ หลังการทดลอง พบว่า หลังการทดลองนักศึกษาสามารถพูดภาษาอังกฤษเพื่อการ สื่อสารได้ ดีขึ ้น โดยมีความสามารถใน การพูด เพื่อการสื่อสารหลังการทดลองสูง กว่า ก่อนการทดลองอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ข้ อเสนอแนะ ข้ อเสนอแนะสาหรับการนาผลการวิจัยไปใช้ ประโยชน์ 1.ในด้ านทัศนคติควรมีการสร้ างทัศนคติที่ดีก่อนการเรี ยนการสอนโดยสร้ าง แรงจูงใจควบคู่กนั เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนเปิ ดใจที่จะเรี ยนรู้ในสิ่งที่ผ้ เู รี ยนส่วนใหญ่กลัวและ ไม่ถนัด 2.ควรเสริ มทัศนคติและแรงจูงใจอย่างต่อเนื่องโดยสังเกตจากพฤติกรรมของ ผู้เรี ยนที่เปลีย่ นแปลงไป เช่น เข้ าเรี ยนไม่ตรงเวลา ไม่สง่ งาน ไม่มีสมาธิในการเรี ยน 3.ผู้สอนต้ องวิเคราะห์ ผ้ ูเรี ยนก่อนที่จะวางแผนการสอนให้ ตรงตามแบบและ ลักษณะของผู้เรี ยน ผู้สอนต้ องใส่ใจผู้เรี ยนโดยสังเกตพฤติกรรมของผู้เรี ยนเสมอๆ 4.ผู้สอนควรสอดแทรกการทางานเป็ นทีม จริ ยธรรม และ คุณธรรม เข้ า ไปด้ วย ในรายวิชาเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนได้ ตระหนักถึงการแบ่งปั นมากกว่าการแข่งขัน ข้ อเสนอแนะในการทาวิจัยครัง้ ต่ อไป 1.ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเรื่ องการทางานเป็ นทีม การสอนโดยใช้ คณ ุ ธรรมและ จริ ยธรรมร่วมกับกลยุทธ์การสอน 2.ควรศึกษากลยุทธ์ การสอนแบบอื่นๆ เพื่อให้ ครอบคลุมกับผู้เรี ยนในรู ปแบบ ต่างๆ

184

Experience of Learning


รายการอ้ างอิง ดวงทิพย์ เจริ ญรุกข์ เผื่อนโชต. (2557). ทัศนคติของนักศึกษาคณะนิเทศศาสตร์ ที่มีต่อรายวิชา COM 218 ภาษาอังกฤษสาหรั บนั กนิ เทศศาสตร์ 1. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรังสิต. ธราบุญ คูจิ น ดา. (2550). ประโยชน์ และวิ ธี ใช้ เทคโนโลยีกั บ การเรี ย นการ สอน. หนองคาย: สารสองฝั่งโขง. ธุ ว พร ตั น ตระกู ล . (2555). การพั ฒ นาทั ก ษะการพู ด ภาษาอั ง กฤษใน ชี วิ ต ป ระจ าวั น โดยใช้ บ ท ฝึ กการสน ท น าภ าษ าอั ง กฤษ . กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรี ปทุม. สกนธ์ ภู่งามดี (2558). การแก้ ปัญหาการไม่ ส่งงาน ของนักศึกษาสาขาดิจิทัล อาร์ ตส์ คณะดิ จิ ทั ล มี เ ดี ย ในรายวิ ช า DGA 352 ศิ ล ปะนิ ย ม. กรุ ง เทพมหานคร: รายงานการวิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาการเรี ย นการสอน สาขาวิชาดิจิทลั อาร์ ตส์ คณะดิจิทลั มีเดีย, มหาวิทยาลัยศรี ปทุม. Haynes, J. (2009). “Teach to Students' Learning Styles”. Retrieved August 30, 2015 from http://www.everythingesl.net/inservices/learningstyle.php.

Experience of Learning

185


การจัดการเรี ยนการสอนแบบร่ วมมือ ในรายวิชาการวิจัยทางการสื่อสาร วรรณี งำมขจรกุลกิจ การจัดการเรี ยนการสอนรายวิชาตามหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต คณะ นิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม มีการปรับปรุ งวิธีการสอนจากเดิม ในรายวิชา ทฤษฎีซึ่งผู้สอนส่วนใหญ่ใช้ วิธีการสอนแบบบรรยายตามเนื ้อหาบทเรี ยนแต่ละบท และใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ โปรแกรม PowerPoint ประกอบการเรี ยนการสอนเท่านัน้ มาดาเนินการจัดการเรี ยนการสอนให้ ผ้ เู รี ยนเรี ยนรู้ โดยเน้ นทักษะด้ านการปฏิบัติ และลดทอนเนือ้ หาด้ านทฤษฎีให้ น้อยลง เพื่ อสร้ างความน่าสนใจ ดึงดูดให้ เกิ ด ความต้ องการในการเรี ยนแก่ผ้ เู รี ยนมากยิ่งขึ ้น รายวิชา CMM 258 การวิจยั ทางการสื่อสาร เป็ นอีกวิชาหนึ่งโดยที่ผ่าน มานันมั ้ กเน้ นการบรรยายตามองค์ความรู้ด้านแนวคิด ทฤษฎี กระบวนการด้ านการ วิจัย ตามแผนการสอนที่ กาหนดขึน้ เช่นกัน แนวที่ผ้ ูสอนใช้ ส่วนใหญ่ ก็เป็ นการ บรรยาย และทดสอบย่อยเพื่อวัดผลการเรี ยนรู้ พร้ อมการสัง่ ทารายงานกลุ่มส่ง ในช่วงสอบปลายภาค นอกจากนี ้จากการถามทัศนคติของผู้เรี ยนในชัว่ โมงแรกทีม่ ี ต่อคาว่า “วิจยั ” พบว่าส่วนใหญ่ร้ ูสกึ ว่าเน้ นวิชาการ คงน่าเบื่อ มีแต่หลักการทฤษฎี ไม่นา่ สนุก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วรรณี งามขจรกุลกิจ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม 186

Experience of Learning


จากปั ญหาที่กล่าวมาทาให้ ผ้ ูสอนคิดหาวิธีการว่าควรทาอย่างไรจึงสามารถ สร้ างแรงจูงใจ ความสนใจในการเรี ยนวิชาวิจยั วิธีและรูปแบบการเรี ยนการสอนที่มี ประสิ ท ธิ ภ าพในการให้ ผ้ ูเรี ย นแต่ ล ะคนสามารถเรี ย นรู้ สัม ผัส องค์ ค วามรู้ และ กระบวนการวิจยั ด้ วยตนเอง โดยคาดว่าผลจากวิธีการสอนแบบเชิงปฏิบตั ิการและ การจัดการเรี ยนการสอนแบบร่วมมือ สามารถสร้ างความรู้ ความเข้ าใจในการวิจยั เบื ้องต้ น เกิดทักษะในการวิจยั มองเห็นคุณค่าของการวิจยั และมีทศั นคติที่ดีต่อ การวิจยั พร้ อมทังสามารถน ้ าประสบการณ์ ทางด้ านความรู้ ความคิด และทักษะที่ ได้ จากการเรี ยนวิจยั ไปสังเกตปรากฏการณ์ ต่างๆที่เกิดขึ ้นรอบตัว ตังค ้ าถามกับ ค้ นหาคาตอบของปั ญหาด้ วยการวิจัย เพื่อเป็ นส่วนหนึ่งของการแก้ ปัญหาสังคม ต่อไป หรื ออย่างน้ อยก็เพื่อเป็ นจุดเริ่ มต้ นในการเรี ยนรู้ เกี่ยวกับการวิจัยว่าไม่ยาก เกินความสามารถที่ผ้ เู รี ยนจะเข้ าใจได้ ในการคิดค้ นหาวิธีการและรู ปแบบการจัดการเรี ยนการสอนนัน้ เริ่ มจาก การศึกษาแนวคิด บทความและงานวิจัยที่เกี่ ยวข้ องกับการเรี ยนการสอน โดยมี ความเห็นด้ วยกับนักการศึกษาหลายท่านที่มีบทบาทต่อการสร้ างองค์ความรู้ และ แนวคิดทางการศึกษา ดังที่ศาสตราจารย์ประเวศ วะสี ได้ ให้ ข้อคิดเห็นว่า “วิธีเรี ยน ทัง้ ในโรงเรี ย นและมหาวิท ยาลัย ไม่ได้ ท าให้ ค นฉลาด เนื่ อ งจากเน้ นการท่อ งจ า ความรอบรู้ไม่มี ความคิดไม่มี เป็ นการเรี ยนรู้ แบบตัวใครตัวมัน ” (จริ ยา วิไลวรรณ, 2550: 23) นอกจากนัน้ การเรี ยนรู้ด้วยวิธีการนัง่ ฟั งเพียงอย่างเดียวเป็ นการเรี ยนรู้ที่ แย่ที่สดุ มีงานวิจยั ที่บง่ บอกว่า คนเราสามารถนัง่ ฟั งการบรรยายเรื่ องใดๆได้ อย่างรู้ เรื่ องในเวลาที่จากัดไม่เกิ น 20 นาที และเมื่อเวลาผ่านไปหากความรู้ นันไม่ ้ ได้ ถูก นาไปใช้ จริ งก็จะค่อยๆเลือนหายและลืมไปในที่สดุ แสดงว่าการใช้ วิธีการบรรยาย

Experience of Learning

187


ในการจัด การเรี ย นการสอนในห้ องเรี ย นเพื่ อ ถ่ายทอดความรู้ นัน้ แม้ จ ะบรรยาย ยาวนานเพียงไร ก็สง่ ผลต่อการเรี ยนรู้ของผู้เรี ยนน้ อยมาก สิ่งที่ทาให้ เกิ ดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนในกระบวนการจัดการเรี ยนรู้ ใน อัน ดับ แรกจ าเป็ น ต้ อ งท าให้ ผู้เรี ย นมี ทัศ นคติ ที่ ดี ต่ อ การเรี ย นรู้ พึ ง พอใจ เห็ น ประโยชน์และคุณค่าของสิง่ ที่เรี ยน ซึ่งส่งผลให้ เกิดความสนใจ กระตือรื อร้ น ตังใจ ้ อยากรู้ อยากเห็น ทังพร้ ้ อมในการให้ ความร่ วมมือในการร่ วมทากิจกรรมการเรี ยน ต่างๆ การเรี ยนรู้ที่แท้ ต้ องสามารถให้ เกิดการเปลีย่ นแปลงในตัวบุคคล ซึง่ ไม่ใช่ด้วย การสัง่ สอน ถ่ายทอดในลักษณะครอบงาเพียงอย่างเดียว แต่ควรสร้ างให้ เกิดด้ วย การสัม ผัสความหลากหลายของเนื อ้ หา กระบวนการ และฐานการเรี ย นรู้ และ นักการศึกษาไทยที่มีชื่อเสียง ดร.สุวิทย์ มูลคา ได้ สรุ ปวิธีการได้ มาซึ่งความรู้ ไว้ ว่า “การเรี ยนรู้ที่ดีที่สดุ ของคนเรา คือเมื่อต้ องลงมือปฏิบตั ิด้วยตนเอง” เป็ นการเรี ยนรู้ โดยประสบการณ์ นอกจากนันจากการศึ ้ กษาการสอนแบบเชิงปฏิบตั ิการ ทาให้ เห็นว่าเป็ น การสอนเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนเข้ าใจเนื ้อหาในวิชา (concept) เข้ าใจขันตอนการน ้ าความรู้ ไปประยุกต์และสามารถปฏิบตั ิได้ จริ งอย่างสร้ างสรรค์ โดยวิธีสอนแบบปฏิบตั ิการ (laboratory method) จัดเป็ นกระบวนการสอนที่ใช้ ประสบการณ์ ตรงที่ผ้ ูเรี ยนได้ เรี ยนจากการปฏิบัติจริ ง จัดกระทากับข้ อมูลเองซึ่งจะช่วยให้ ผ้ เู รี ยนเกิดความคิด รวบยอด เกิดความเข้ าใจอย่างแท้ จริ ง การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนเน้ นให้ ผู้เรี ยนได้ ปฏิบตั ิจริ ง ในการจัดกระทาข้ อมูลต่างๆ ค้ นพบและหาข้ อสรุปด้ วยตนเอง ภายใต้ คาแนะนา ความช่วยเหลือของผู้สอน ทาให้ เกิดความเข้ าใจในบทเรี ยนยิ่งขึ ้น มีความเป็ นรูปธรรมเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนได้ รับประสบการณ์ตรง ได้ เรี ยนรู้จากสิ่งที่ง่ายไป หาสิง่ ที่ยาก เกิดความสนใจ เกิดความพอใจและไม่เบื่อหน่ายต่อการเรี ยน 188

Experience of Learning


ส่วนการจัด การเรี ย นการสอนแบบร่ วมมื อ เป็ น การเรี ยนที่ ส่งเสริ ม ให้ ผู้เรี ยนทางานร่ วมกัน โดยในกลุม่ ประกอบด้ วยสมาชิกที่มีความสามารถแตกต่าง กัน มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการช่วยเหลือพึ่งพาซึ่งกันและกัน และมี ความรับผิดชอบร่ วมกัน ทังในส่ ้ วนตนและส่วนรวม เพื่อให้ ตนเองและสมาชิกทุก คนในกลุม่ ประสบความสาเร็ จตามเป้าหมายที่กาหนด ดังนันผู ้ ้ สอนจึงสร้ างกระบวนการเรี ยนการสอนด้ วยการให้ ความสาคัญ กับการจัดการเรี ยนการสอนแบบร่วมมือ เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนมีสว่ นร่วมในการสร้ างสรรค์ และผลิตเนื อ้ หาบทเรี ยนที่ เป็ นองค์ ความรู้ เกี่ ยวกับ การวิจัย และการสร้ างความ ร่ วมมือภายในกลุ่มงานวิจัย รวมทัง้ การนาเสนอเผยแพร่ งานสร้ างสรรค์ ในกลุ่ม Facebook รายวิชา CMM258 การวิจยั ทางการสื่อสาร เพื่อให้ สมาชิกในกลุม่ เรี ยน แลกเปลีย่ นเรี ยนรู้ ทังความรู ้ ้ การวิจยั และการสร้ างสรรค์ผลงานที่เป็ นสือ่ นาเสนออีก ด้ วย ผู้สอนดาเนินการตาม 5 ขันตอนดั ้ งนี ้

Experience of Learning

189


1.ขันเตรี ้ ยม

ผู้สอนแนะนาทักษะในการเรี ยนรู้ร่วมกัน

ผู้สอนนาเข้ าสูบ่ ทเรี ยนแนะนาเนื ้อหาที่กาหนด 2.ขันสอน ้

ไว้ ในแต่ละสัปดาห์

3. ขันท ้ า กิจกรรมกลุม่

ผู้เรี ยนเรี ยนรู้ร่วมกันในกลุม่ ย่อย

4.ขันตรวจสอบ ้ ผลงานและ ทดสอบ

การตรวจสอบว่าผู้เรี ยนที่เป็ นสมาชิก ในกลุม่ ได้ ปฎิบตั ิหน้ าทีค่ รบถ้ วน ตามที่รับผิดชอบหรื อไม่

ผู้สอนสรุปเนื ้อหาองค์ความรู้วิจยั

5.ขันสรุ ้ ปบทเรียน ประเมินผล การทางานกลุม่

190

ภายหลังจากการนาเสนอโดยสื่อ VDO ที่สร้ างสรรค์ ผลิตขึ ้นของแต่ละกลุม่ และผู้เรียนช่วยกันสรุปบทเรียน ที่ได้ รับชมจากสื่อ VDO

Experience of Learning


1.ขั น้ เตรี ย ม ผู้ สอนแนะน าทัก ษะในการเรี ย นรู้ ร่ ว มกัน จัด เป็ นกลุ่ม กาหนดขนาดของกลุ่ม ๆละ 4-5 คนผู้สอนแนะน าข้ อปฏิ บัติ บทบาท หน้ าที่ของ สมาชิกกลุม่ แจ้ งวัตถุประสงค์การทากิจกรรมร่ วมกัน การวัดและประเมินผลงาน ของกลุ่ม เมื่อจัดกลุ่มเรี ยบร้ อยแล้ วให้ ทุกกลุ่มจัดพิมพ์รายชื่อสมาชิ ก พร้ อมระบุ บทบาทหน้ าที่ของสมาชิกแต่ละคน 2.ขัน้ สอน ผู้สอนนาเข้ าสู่บทเรี ยน แนะนาเนือ้ หาที่กาหนดไว้ ในแต่ละ สัปดาห์ จุดมุ่งหมายของการศึกษาเนือ้ หาองค์ ความรู้ เกี่ ยวกับการวิจัยทางการ สือ่ สาร แนะนาแหล่งข้ อมูลและมอบหมายงานให้ ผ้ เู รี ยนแต่ละกลุม่ โดยให้ กลุม่ จับ สลากหัวข้ อองค์ความรู้ในแต่ละสัปดาห์ทงหมด ั้ 15 หัวข้ อ เพื่อค้ นคว้ าศึกษาเนื ้อหา และสร้ างสรรค์ผลิตเป็ นชิ ้นงานสื่อเพื่อนาเสนอในชันเรี ้ ยนและผ่านสื่อ Facebook รายวิชา 3.ขัน้ ทากิจกรรมกลุ่ม ผู้เรี ยนเรี ยนรู้ ร่ วมกันในกลุม่ ย่อย โดยที่แต่ละคน มีบทบาทและหน้ าที่ตามที่ได้ รับมอบหมาย สมาชิกในกลุ่มร่ วมกันรับผิดชอบใน การศึกษาค้ นคว้ าความรู้ตามหัวข้ อที่ได้ รับจากแหล่งข้ อมูล ได้ แก่ ห้ องสมุด เว็บไซต์ สานัก การจัด การศึ ก ษาออนไลน์ SPU e-Learning เมื่ อ รวบรวมข้ อ มูลเนื อ้ หา ความรู้ ที่ ได้ ทัง้ หมดแล้ ว จึงให้ สมาชิ กที่รับผิดชอบในการเขียนบท การเล่าเรื่ อง STORYBOARD และดาเนินการวางแผน ถ่ายทาและตัดต่อเป็ น Clip VDO ฉบับ สมบูรณ์ 4.ขัน้ ตรวจสอบผลงานและทดสอบ การเรี ยนแบบร่ วมมือในขันนี ้ ้เป็ น การตรวจสอบว่ า ผู้ เรี ย นที่ เป็ น สมาชิ ก ในกลุ่ม ได้ ปฎิ บัติ ห น้ า ที่ ค รบถ้ วนตามที่ รับผิดชอบ และผลการปฎิบตั ิเรี ยนรู้และทางานร่ วมมือกันนันสามารถสร้ ้ างผลงาน ทังที ้ ่เป็ นผลงานกลุม่ และรายบุคคลออกมาเป็ นอย่างไร สามารถสร้ างความรู้ ความ Experience of Learning

191


เข้ าใจเกี่ยวกับองค์ความรู้ ของหัวข้ อที่ได้ รับมากน้ อยเพียงใด ทังต่ ้ อตัวเองและต่อ เพื่อนในชันเรี ้ ยน รวมทังจั ้ ดการทดสอบความรู้ เกี่ยวกับเนื ้อหาบทเรี ยนที่นาเสนอ 5.ขัน้ สรุ ปบทเรี ยนและประเมินผลการทางานกลุ่ม ในแต่ละสัปดาห์ ผู้ สอนสรุ ป เนื อ้ หาองค์ ค วามรู้ วิ จั ย ภายหลัง จากการน าเสนอโดยสื่ อ VDO ที่ สร้ างสรรค์ผลิตขึ ้นของแต่ละกลุม่ และผู้เรี ยนช่วยกันสรุปบทเรี ยนที่ได้ รับชมจากสื่อ VDO หากมีประเด็นเนือ้ หาที่ผ้ ูเรี ยนยังไม่เข้ าใจ ผู้สอนมีการอธิ บายเพิ่มเติมหรื อ ยกตัวอย่างประกอบการอธิบายเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนทุกคนเกิดความรู้ ความเข้ าใจเพิ่มขึ ้น ผู้สอนและผู้เรี ยนมีการร่ วมมือช่วยกันประเมินผลการทางานกลุม่ พิจารณาจุดเด่น ของงานและสิง่ ที่ควรปรับปรุงเพื่อการพัฒนาให้ เกิดผลงานที่ดีขึ ้นต่อไป นอกจากนัน้ ในชั่วโมงปฏิบตั ิการผู้สอนนาหลักการ แนวทางและวิธีการ จัดการเรี ยนการสอนแบบร่วมมือ ให้ นกั ศึกษาดาเนินการตามกิจกรรมที่มอบหมาย จานวน 5 กิจกรรม ได้ แก่ สัปดาห์ที่ 1 : กิจกรรมล้ วง...ลับ....ตับ....ฉีก กิจกรรมทีใ่ ห้ ผ้ เู รี ยนที่จบั คูก่ นั คิดหาเทคนิควิธีการพูดคุยล้ วงลึกความลับ ของคูห่ ตู นให้ ได้ มากที่สดุ เพื่อการรู้จกั เพื่อนเข้ าใจเพื่อนอย่างลึกซึ ้ง สัปดาห์ที่ 4 : กิจกรรมพฤติกรรมเปิ ดรับสือ่ สอบถามคูห่ ขู องตนเกี่ยวกับ การเปิ ดรับข้ อมูลข่าวสาร รวมทังคนในครอบครั ้ วว่าเปิ ดรับข่าวสารประเภทใด จาก สือ่ ใดบ้ าง สัปดาห์ที่ 9 : กิจกรรมการเสพข่าวสารประเด็นร้ อน เป็ นกิจกรรมการนา ข่าวสารประเด็นร้ อนในสังคมทีเ่ ผยแพร่ออกสือ่ ออนไลน์มาสอบถามความคิดเห็น ของนักศึกษาในมหาวิทยาลัย และผู้เรี ยนทังคู ้ ร่ ่วมมือกันในการสรุปความคิดเห็น นาเสนอในชันเรี ้ ยน

192

Experience of Learning


สัปดาห์ที่ 11: บันทึก Diary การเสพสือ่ ของตัวเอง และแลกเปลีย่ นข้ อมูล กับคูห่ ขู องตน สัปดาห์ที่ 12: กิจกรรมสัมภาษณ์นกั เรี ยนมัธยมศึกษาตอนปลายเกี่ยวกับ ศรี ปทุม และ SPU Awareness โดยจัดทาเป็ น VDO Clip ตัวอย่างผลงานสร้ างสรรค์วิดีทศั น์ จากกระบวนการเรี ยนการสอนแบบ ร่วมมือ ดังภาพประกอบ

Experience of Learning

193


ภาพประกอบตัวอย่ างงานวิดีทัศน์ องค์ ความรู้การวิจัย

194

Experience of Learning


ภาพประกอบตัวอย่ างงานวิดที ัศน์ กิจกรรมสัมภาษณ์ นักเรียน เกี่ยวกับศรีปทุม และ SPU Awareness ผลที่ได้ รับจากการจัดการเรียนการสอนแบบร่ วมมือ 1. ผู้เรี ย นมีค วามสนใจในเนือ้ หาบทเรี ย นองค์ ค วามรู้ การวิจัยที่ น าเสนอใน รู ป แบบของวิดี ทัศ น์ ซึ่งแต่ละกลุ่ม สร้ างสรรค์ แ ละผลิต สื่อในลักษณะที่ มี ความ หลากหลาย จึงทาให้ ไม่นา่ เบื่อ Experience of Learning

195


2. ผู้เรี ยนมีความกระตือรื อร้ นในการวางแผนทางาน สร้ างสรรค์และผลิตผล งาน.ให้ ออกมาเป็ นที่ชื่นชอบของเพื่อนๆในชันเรี ้ ยน ในการทางานขันของการผลิ ้ ต ชิ ้นงานบางกลุม่ เกิดปั ญหาหรื ออุปสรรคขึ ้น ก็มีการขอความร่ วมมือจากเพื่อนต่าง กลุม่ ให้ มาช่วยเหลือกันอีกด้ วย 3. การเรี ยนการสอนแบบร่วมมือทาให้ ผ้ เู รี ยนเกิดประสบการณ์จากการลงมือ ทากิ จกรรม การแก้ ไขปั ญหาร่ วมกัน การเรี ยนรู้ ด้ วยการที่ตนเองมีส่วนร่ วมไม่ใช่ คอยนัง่ ฟั งการบรรยายจากผู้สอนฝ่ ายเดียว รวมทังผู ้ ้ เรี ยนเกิดความภาคภูมิใจใน การดึงศักยภาพของตนเองออกมา โดยเฉพาะผู้เรี ยนเป็ นนักศึกษาของสาขาวิชา ภาพยนตร์ และสื่อดิจิทลั แม้ ว่ากาลังศึกษาในชันปี ้ ที่ 2 แต่สามารถสร้ างสรรค์และ ผลิตผลงานสื่อการเรี ยนการสอนให้ น่าสนใจและให้ เพื่ อนในชัน้ เรี ยนเกิ ดความรู้ ความเข้ าใจในบทเรี ยนได้ 4. ท าให้ ผู้ สอนมี โอกาสแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ กั บ ผู้ เรี ย นเช่ น กั น โดยเฉพาะ กิ จ กรรมล้ ว ง...ลับ ....ตับ ....ฉี ก ที่ ข้ อ มูลจากการน าเสนอนัน้ ท าให้ ผ้ ูสอนเข้ าใจ สถานการณ์ ภูมิหลังความเป็ นมาของผู้เรี ยน หรื อวีรกรรมต่างๆของผู้เรี ยน รวมทัง้ รู ป แบบการด าเนิ น ชี วิ ต ของผู้เรี ย น นอกจากนัน้ กิ จ กรรมสัม ภาษณ์ นัก เรี ย น มัธ ยมศึก ษาตอนปลายเกี่ ย วกับ ศรี ป ทุม และ SPU Awareness ที่ ถ ามเพี ย ง 3 คาถามก็ทาให้ ร้ ู คาตอบว่านักเรี ยนมัธยมศึกษาตอนปลายรู้ จกั ศรี ปทุม และ SPU มากน้ อยเพียงใด และคิดอย่างไรกับแบรนด์นี ้ โดยสรุป การจัดการเรี ยนการสอนแบบร่วมมือในรายวิชาการวิจยั ทางการ สือ่ สารที่ดาเนินการดังที่กล่าวมาทังหมด ้ สามารถนามาใช้ เพื่อเป็ นแนวทางหนึ่งใน การพัฒนาการเรี ยนการสอนในรายวิชาอื่นๆที่มีลกั ษณะปั ญหาคล้ ายคลึงกัน ซึ่ง

196

Experience of Learning


อาจช่วยทาให้ เกิดประสิทธิ ภาพในการสอนและเป็ นประโยชน์ต่อ การสร้ างความ สนใจของผู้เรี ยนเพิ่มขึ ้นจากวิธีการสอนแบบบรรยายโดยผู้สอนเท่านัน้ อย่างไรก็ตาม การค้ นหาวิธีการและรูปแบบการจัดการเรี ยนการสอนให้ มี ประสิทธิภาพ สามารถสร้ างความน่าสนใจ และตอบสนองต่อความความต้ องการ ของผู้เรี ยน จนกระทัง่ สร้ างความ พึงพอใจให้ เกิดขึ ้นแก่ผ้ ู เรี ยน คงเป็ นสิ่งที่ท้าทาย ผู้สอนทุกท่านให้ ต้องใช้ ความพยายามในการปรับเปลีย่ นวิธีสอนให้ ตรงใจและโดน ใจผู้เรี ยนที่เปลีย่ นไปในทุกภาคการศึกษาต่อไป รายการอ้ างอิง จริ ยา วิไลวรรณ. 2550. คู่มอื “คุณ Fa” วิทยากรกระบวนการผู้สร้ างการ เรียนรู้แบบมีส่วนร่ วม(Facilitator). กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี. โชติกา ภาษี ผล. 2559. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ทิศนา แขมมณี. 2550. ศาสตร์ การสอนองค์ ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการ เรียนรู้ท่ มี ีประสิทธิภาพ. พิมพ์ ครัง้ ที่ 5. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ประภัสรา โคตะขุน. “การเรี ยนแบบร่วมมือ.” สืบค้ นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2559, จาก https://sites.google.com/ site/prapasara/thekh-kar-sxn พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และคณะ. 2559. การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. พิมพ์ ครัง้ ที่ 4. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Experience of Learning

197


ลักษณ์นารา ยะแก้ ว. 2556. การพัฒนาพฤติกรรมการเรี ยนและผลสัมฤทธิ์ทางการ เรี ยนของนักศึกษาในการเรี ยนวิชาหลักการตลาด โดยการสอนแบบมี ส่วนร่วม. เชียงใหม่: วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลีเทคนิคลานนา เชียงใหม่. ศารทูล อารี วรวิทย์กลุ . 2554. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ และ ความสามารถในการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณของนักเรี ยนชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ที่ได้ รับการจัดการเรี ยนรู้แบบบูรณาการและการ จัดการเรี ยนรู้แบบร่วมมือ. ปริ ญญานิพนธ์หลักสูตรปริ ญญาการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาการมัธยมศึกษา มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. สุดา แก้ วสุณีย์. 2550. การศึกษาเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชา ส 42102 หน่วยการเรี ยนรู้ที่ 4 เรื่ องพัฒนาการทางด้ านต่าง ๆ ของมนุษย์ ในโลกตะวันตก ระหว่างวิธีการสอนโดยใช้ บทเรี ยนออนไลน์ การเรี ยน แบบร่วมมือ และการสอนแบบปกติของนักเรี ยนชันมั ้ ธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรี ยนคณะราษฎรบารุ จังหวัดยะลา.

198

Experience of Learning


การศึกษาพฤติกรรมกับความพึงพอใจของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี ท่ มี ีต่อการสอนวิชาการวิจัยทางการสื่อสาร บุณยนุช สุขทำพจน์ ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา ความสาคัญของการวิจัยทางการสื่อสาร ถือเป็ นหัวใจหลักที่สาคัญยิ่งใน การติดต่อสื่อสาร ซึ่งถือว่าเป็ นการถ่ายทอด และแลกเปลีย่ นข้ อเท็จจริ ง ความรู้ สกึ ความคิด หรื อการกระทาต่างๆ โดยมีเจตนาที่จะเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของบุคคล โดยพฤติ ก รรมในที่ นี ้ หมายถึ ง การเปลี่ ย นความรู้ ความเข้ า ใจ ทัศ นคติ แ ละ พฤติกรรมที่แสดงออกมา โดยการสื่อสารเป็ นกิจกรรมที่ไม่หยุดอยูน่ ิ่ง มีการเปลี่ยน แปลงอยู่ตลอดเวลา และมีความยุง่ ยาก สลับซับซ้ อน โดยผลของการศึกษาจะเป็ น ประโยชน์ในการนากระบวนการของการสื่อสาร และปั จจัยต่างๆ ไปปรับใช้ ทางการ สื่อสารกับข้ อมูลต่างๆ ทางการสื่อสารได้ การสื่อสารนี ้เกิดจากแนวความคิดที่ว่า การสื่อ สารเป็ น กระบวนการ หรื อ การแลกเปลี่ย นกัน และกัน โดยสิ่งสาคัญ คื อ ผู้สอื่ สารทาหน้ าที่เป็ นทังผู ้ ้ สง่ และผู้รับข่าวสารในขณะเดียวกันไม่อาจระบุได้ วา่ การ สื่อสารเริ่ มต้ น และสิ ้นสุดที่จุดใด เพราะถื อว่า การสื่อสารมีลกั ษณะเป็ นวงกลม และไม่มีที่สิ ้นสุด แต่จะทาอย่างไรให้ เกิดการนากระบวนการสื่อ สารมาปรับใช้ ให้ เกิดประสิทธิภาพ ได้ มากที่สดุ

อาจารย์ บุณยนุช สุขทาพจน์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม Experience of Learning

199


เนื่องจากวิชาการวิจัยทางการสื่อสาร เป็ นวิชาพื ้นฐานที่สาคัญวิชาหนึ่ง ของหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ดังนันวิ ้ ชาการวิจยั ทางการสื่อสาร จึงถูกกาหนด ไว้ ในหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต ของคณะนิเทศศาสตร์ ทาให้ มีนกั ศึกษาที่ทา การศึกษาในรายวิชานี ้เป็ นจานวนมาก แต่ยงั ไม่มีการศึกษาพฤติกรรมการเปิ ดรับ สือ่ การเรี ยนการสอน และความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริ ญญาตรี ที่มีตอ่ การ สอนวิชาการวิจัยทางการสื่อสาร จึงไม่ท ราบพฤติ กรรมและความพึงพอใจของ นักศึกษาที่มีตอ่ การเรี ยนการสอน ดังนัน้ จึงมีความจาเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้ องศึกษาพฤติกรรม และความพึง พอใจของนักศึกษาระดับปริ ญญาตรี ที่มีตอ่ การสอนวิชาการวิจยั ทางการสื่อสาร ซึ่ง การศึกษาในครัง้ นี ้จะเป็ นแนวทางให้ ผ้ บู ริ หาร คณาจารย์ และผู้ที่เกี่ยวข้ องได้ นาไป พัฒนาปรับปรุ งการจัดการเรี ยนการสอน ในรายวิชาการวิจัยทางการสื่อสารให้ มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ ้นรวมทังให้ ้ ได้ บณ ั ฑิตที่มีคณ ุ ภาพต่อไป วัตถุประสงค์ ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักศึกษาระดับปริ ญ ญาตรี ที่มีต่อการเรี ยน การสอนวิชาการวิจยั ทางการสือ่ สาร 2. เพื่ อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริ ญ ญาตรี ที่มี ต่อการ เรี ยนการสอนวิชาการวิจยั ทางการสือ่ สาร ประโยชน์ ท่ ีได้ รับ 1. ผลการวิจยั ทาให้ ทราบถึงพฤติกรรมในด้ านต่างๆ รวมถึงความพึงพอใจ ของผู้เรี ยนที่มีตอ่ การสอนวิชาการวิจยั ทางการสือ่ สาร 2. ผลการวิจัยในครัง้ นีส้ ามารถนาไปปรับใช้ เป็ นแนวทางในการจัดการ เรี ยนการสอน นาไปพัฒนา และปรับปรุ งแก้ ไขหลักสูตรของวิชาการวิจัยทางการ สือ่ สาร

200

Experience of Learning


กรอบแนวคิดและทฤษฎี ทฤษฎีพฤติกรรมของผู้เรี ยน “พฤติกรรม” เป็ นสื่อระบุถึงการกระทาอัน เนื่องมาจากการกระตุ้นหรื อถูกจูงใจจากสิ่งเร้ าต่างๆ ซึ่งเมื่อศึกษาให้ ละเอียดแล้ ว การกระทาหรื อพฤติกรรมที่เราได้ เห็นหรื อได้ สมั ผัสรับรู้นนั ้ ส่วนหนึ่งของการกระทา เป็ นการกลัน่ กรองตกแต่ง และตังใจที ้ ่จะทา ให้ เกิดขึ ้นมีพฤติกรรมอยู่มากทีเดียวที่ แม้ จะทาด้ วยสาเหตุหรื อจุดมุ่งหมายเดียวกันแต่ลกั ษณะท่าทีกริ ยาอาจจะมีความ แตกต่างกันไปเมื่อเปลี่ยนบุคคล เปลีย่ นเวลา หรื อเปลีย่ นสถานที่และสถานการณ์ที่ เกี่ยวข้ องความแตกต่างที่เกิดขึ ้นนี ้ เป็ นเพราะการกระทาในแต่ละคราว(อยูใ่ นสภาพ ร่างกายที่เป็ นปกติ) จะต้ องผ่านกระบวนการคิดและการตัดสินใจ ซึ่งประกอบด้ วย อารมณ์ และความรู้สกึ ของผู้กระทาพฤติกรรมนันๆ ้ จึงทาให้ พฤติกรรมของแต่ละ คนและพฤติกรรมแต่ละคราวเปลีย่ นแปลง หรื อปรับเปลี่ยนไปตามเรื่ องที่เกี่ยวข้ อง เสมอ (สุรพล พะยอมแย้ ม, 2545) การปรับพฤติกรรมในห้ องเรี ยนในสภาพการณ์จดั การเรี ยนการสอน ครู มี อิทธิพลในการแก้ ไขพฤติกรรมมาก โดยเฉพาะการให้ แรงเสริ ม ทังการให้ ้ แรงเสริ ม บวก และวิธีการอื่นๆ แม้ แต่การลงโทษสถานเบา และการให้ แรงเสริ มทางสังคม แฮริ่ งและฟิ ลลิปส์ (Haring & Phillips, 1972) กล่าวว่า ครูสามารถให้ แรงเสริ มใน ห้ องเรี ยนได้ ด้วยการให้ ความสนใจและให้ คาชมเชยซึ่งเป็ นแรงเสริ มที่มีประสิทธิภาพ มากสาหรับแรงเสริ มทางสังคม เป็ นแรงเสริ มที่นามาใช้ ได้ ง่ายสะดวกและรวดเร็ ว ออลท์แมน และลินตัว (สมพร สุทศั นีย์, 2544) ได้ ให้ เหตุผล 3 ประการว่าครูผ้ สู อน เหมาะสมสาหรับเป็ นผู้เปลีย่ นแปลงพฤติกรรมเด็กเพราะ 1. สภาพห้ องเรี ยนเป็ นที่ที่ เรามองเห็นได้ ทงพฤติ ั ้ กรรมทางสังคมและพฤติกรรมทางวิชาการ 2. ในสภาพการ เรี ยนเด็กต้ องตังใจฟั ้ งครูอยูแ่ ล้ ว 3. ในหลักสูตรมีเนื ้อหาบางส่วนทีเ่ กี่ยวกับการแก้ ไข พฤติกรรมของเด็กนอกจากนี ้ในบรรยากาศของห้ องเรียนนันสามารถปรั ้ บพฤติกรรม ของเด็กได้ หลายอย่าง และสามารถทาได้ รวดเร็ ว ทันเหตุการณ์

Experience of Learning

201


งานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง อัญชลี พริ ม้ พรายและคณะ (2548, หน้ า 18-19) ได้ ศึกษาวิจยั เรื่ องความ พึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อ คุณภาพการสอนและปั จจัยสนับสนุนการเรี ยนรู้ของ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรี ธรรมราชโดยศึกษา4 ด้ าน คือ ด้ านบุคคลด้ านสถานที่ด้านสื่อวัสดุด้านงบประมาณผลการวิจยั พบว่า 1. ด้ าน บุคคล พบว่านักศึกษามีความพึงพอใจด้ านบุคคลอยูใ่ นระดับมาก และระดับความ พึงพอใจของ นักศึกษาที่มีต่อคุณภาพการเรี ยนการสอนของอาจารย์ทกุ ข้ ออยู่ใน ระดับมากเช่นเดียวกัน โดยทังสองด้ ้ านนี ้จะมี ความสอดคล้ องกัน คือ วุฒิการศึกษา ของอาจารย์ผ้ สู อนนันจะส่ ้ งผลให้ อาจารย์มีความรู้เรื่ องเทคนิควิธีการสอน มีการชี ้แจง แผนการสอนอธิ บ ายจุด ประสงค์ ก ารเรี ย น และเกณฑ์ การวัด ผลประเมิ น ผลให้ นักศึกษาทราบมีเทคนิคการสอนและกิจกรรมการเรี ยนที่หลากหลายมีความเหมาะสม กับ เนื อ้ หารวมทัง้ พึ ง พอใจในบุค ลิ ก ของอาจารย์ ผ้ ูส อน 2. ด้ า นสถานที่ พบว่ า นักศึกษามีความพึงพอใจด้ านสถานที่ในภาพรวมอยูใ่ นระดับปานกลางนักศึกษาที่ มีความพึงพอใจมากกับสถานที่ตงของอาคาร ั้ และจานวนของเก้ าอี ้ในห้ องเรี ยน 3. ด้ านสือ่ วัสดุ พบว่านักศึกษามีความพึงพอใจด้ านสือ่ วัสดุอยูใ่ นระดับปานกลางสิง่ ที่ นักศึกษาพึงพอใจมากที่สดุ คือความทันสมัยของสือ่ ที่ใช้ ทาการสอนส่วนที่ นกั ศึกษา มีค วามพึงพอใจในลาดับ สุด ท้ าย คื อ ความเพี ยงพอของ เครื่ อ งจัก รต่อจ านวน นักศึกษา 4. ด้ านงบประมาณ พบว่านักศึกษามีความพึงพอใจด้ านงบประมาณทุก ข้ ออยูใ่ นระดับปานกลางระดับความพึงพอใจระดับที่ต่าที่สดุ ได้ แก่การแจ้ งรายละเอียด ของยอดงบประมาณต่างๆ ต่อนักศึกษา จากที่ผ้ วู จิ ยั ได้ ศกึ ษาแนวคิดทฤษฎีและ งานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้ องสามารถสรุปประเด็นที่สาคัญ และเห็นความจาเป็ นทีจ่ ะต้ อง สารวจความพึงพอใจของนักศึกษาที่มตี อ่ การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรของ ภาควิชาสถิติ ใน 5 ด้ านดังนี ้ 1. ด้ านรายวิชาในหลักสูตร 2. ด้ านผู้สอน 3. ด้ านวิธี การสอนและกิจกรรมการเรี ยนการสอน 4. ด้ านการวัดและประเมินผลการเรี ยนการ สอน 5. ด้ านปั จจัยสนับสนุนการเรี ยนการสอน 202

Experience of Learning


กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้ น

ตัวแปรตาม

ข้ อมูลส่ วนบุคคล

− เพศ − อายุ − ชันปี ้ ที่กาลังศึกษาอยู่ − สาขาวิชา − คะแนนเฉลี่ยสะสม

พฤติกรรมและความพึงพอใจของนักศึกษา ระดับปริญญาตรีท่มี ีต่อการเรียนการสอน วิชาการวิจัยทางการสื่อสาร

ภาพประกอบที่ 1 กรอบแนวคิดงานวิจยั ขอบเขตงานวิจัย ประชากร คือ นักศึกษาที่ ลงทะเบียนเรี ยนในรายวิชาการวิจัยทางการ สื่อ สาร มหาวิ ท ยาลัย ศรี ป ทุ ม ปี ก ารศึ ก ษา 2/2559 จ านวน 156 คน และกลุ่ม ตัว อย่ า ง คื อ นัก ศึ ก ษาที่ ล งทะเบี ย นเรี ย นในรายวิ ช าการวิ จัย ทางการสื่ อ สาร มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ปี การศึกษา 2/2559 กลุม่ เรี ยน 01 และกลุม่ เรี ยน 02 โดยทา การสุม่ อย่างง่าย (Sample Random Sampling) จานวน 80 คน การรวบรวมข้ อมูล ในขันตอนการเก็ ้ บรวบรวมข้ อมูล ผู้วิจยั ได้ ดาเนินการเก็บข้ อมูลด้ วยตนเอง ทุกขันตอน ้ โดยผู้วิจยั ซึ่งเป็ นอาจารย์ผ้ สู อนประจาวิชา จากจากแบบสอบถาม และ แบบสังเกตพฤติก รรม โดยกาหนดวิธี การและเงื่อนไขในการตอบคาถามลงใน แบบสอบถาม และท าการชี แ้ จงด้ วยวาจา เพื่ อ ให้ นัก ศึก ษาเกิ ด ความเข้ า ใจใน เครื่ องมือ และเป็ นไปด้ วยความถูกต้ องสมบูรณ์ ครบถ้ วน และนาข้ อมูลที่ได้ ทงหมด ั้ จากแบบสอบถามมาทาการวิเคราะห์ข้อมูล

Experience of Learning

203


เครื่องมือที่ใช้ มที งั ้ หมด 2 ชนิด แบ่ งออกเป็ นแบบสอบถาม และแบบสังเกต พฤติกรรม ได้ แก่ แบบสอบถาม ดังนี ้ ตอนที่ 1 ข้ อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความพึงพอใจของนักศึกษา - ด้ านสือ่ และอุปกรณ์ในการเรี ยนการสอน - ด้ านเทคนิคการสอนของผู้สอน - ด้ านพฤติกรรมการเรียนของเพือ่ นร่วมชัน้ - ด้ านความพึงพอใจทีม่ ีตอ่ การเรียนการสอน แบบสังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม ได้ แก่ การเข้ าชันเรี ้ ยน ตรงเวลา การส่งงาน การมี ส่วนร่วมในชันเรี ้ ยน การปรับสือ่ การสอน การเสริ มแรง การวิเคราะห์ ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกเป็ น 2 ตอน คือ การวิเคราะห์ข้อมูลทัว่ ไปของ กลุ่ม ตัว อย่า ง และการวิ เคราะห์ เพื่ อ ตอบค าถามการวิ จั ย คื อ สถิ ติ เชิ งพรรณา (Description Statistics) สาหรั บ วิเคราะห์ เกี่ ย วกับ ข้ อ มูลเบื อ้ งต้ นของนักศึก ษา โดยการแสดงการวัดในรูปค่าร้ อยละ ค่าเฉลีย่ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ สรุปพฤติกรรมจากการสังเกต ผลการศึกษา การศึ ก ษาพฤติ ก รรมของนัก ศึ ก ษาระดับ ปริ ญ ญาตรี ที่ มี ต่ อ การสอน วิชาการวิจยั ทางการสือ่ สาร ได้ แก่ ด้ า นพฤติ ก รรมในการเข้ า ชัน้ เรี ย น เน้ น ให้ มี ก ารท ากิ จ กรรมกลุ่ม โดย สมาชิกทุกคนในกลุม่ ต้ องมีสว่ นร่วมในการทางานร่วมกันการค้ นคว้ าหาข้ อมูลต่างๆ จึงทาให้ สมาชิกในกลุม่ แบ่งหน้ าที่การทางานอย่างเป็ นระบบ และคอยช่วยเหลือกัน ในทีมชองตนเอง 204

Experience of Learning


ด้ านตรงเวลา โดยแจ้ งให้ ผ้ เู รี ยนทราบตังแต่ ้ ครัง้ แรกว่าจะมีเกณฑ์การให้ คะแนนในแต่ละครัง้ หากมาสายเกินกว่า 15 นาที จะต้ องถูกหัก 0.5 คะแนน หาก ขาดเรี ยน -1 คะแนน ทาให้ นกั ศึกษามีแรงจูงใจในการเข้ าชันเรี ้ ยนตรงเวลามากขึ ้น ด้ านการส่งงาน จะมีการบันทึกการส่งงานกลุม่ หรื องานเดีย่ วทุกครัง้ กลุม่ ใดส่งงานตรงตามเวลาทีก่ าหนด และมีความคืบหน้ าไปมากน้ อยเพียงใด พร้ อม แจ้ งเกณฑ์คะแนนงานละชิ ้นงาน ต่อการส่งงานทุกครัง้ ด้ านการมีสว่ นร่วมในชันเรี ้ ยน ผู้สอนจะให้ นกั ศึกษาจดบันทึกเนื ้อหาการ เรี ยนของหัวข้ อที่มีการบรรยายในแต่ละสัปดาห์ เป็ นรายบุคคล พร้ อมรวบรวมส่ง ท้ ายคาบเป็ นรายกลุ่มเพื่อง่ายต่อการจัดเก็บ และแจกเอกสารคืนเพื่อไปอ่านก่อน การสอบปลายภาค ด้ านการปรับสือ่ การสอน เนื่องจากรายวิชาวิจยั ทางการสือ่ สารมีเนื ้อหาที่ ต้ องทาความเข้ าใจ และรายละเอียดค่อนข้ างมาก ทาให้ นกั ศึกษาเกิดความเครี ยด ในการเรี ยน ผู้สอนจึงต้ องปรับเพิ่ มในส่วนของรู ปภาพ พร้ อมวีดีโอประกอบการ บรรยายให้ เกิดความน่าสนใจมากขึ ้นและให้ นกั ศึกษามีสว่ นร่วมในการผลิตรายการ หรื อหนังสัน้ เกี่ยวกับหัวข้ อการวิจัยทางการสื่อสารก่อนที่จะสอนในแต่ละสัปดาห์ ตามโจทย์ที่มอบหมาย โดยจะเปิ ดให้ เพื่อนในชัน้ เรี ยนรับชมสัปดาห์ ละ 1 หัวข้ อ เพื่อเป็ นการทาความเข้ าใจเนื ้อหาเบื ้องต้ นก่อนการรับฟั งการบรรยายจากครูผ้ สู อน และตังค ้ าถามเพิ่มเติมในส่วนที่เกิดข้ อสงสัย หรื อไม่เข้ าใจได้ ด้ านการเสริ ม แรง ท้ า ยคาบเรี ย นจะมี กิ จ กรรมถาม-ตอบค าถาม จาก เนื ้อหาที่ได้ ศึกษาไปแล้ ว เพื่อเป็ นการทบทวนความจา หากท่านใดตอบถูกจะได้ คะแนนเสริ มในชันเรี ้ ยน โดยผู้มีสิทธิ์ตอบคาถามท้ ายคาบ โดยใช้ วิธีการยกมือเร็ ว ที่สดุ จะเป็ นผู้ตอบคาถามเป็ นคนแรก หากถูกต้ องจะได้ รับ +1 คะแนนพิเศษ เป็ น การเสริ มแรงทาให้ ผ้ เู รี ยนจดบันทึก เพื่อรอตอบคาถามท้ ายคาบ

Experience of Learning

205


การศึกษาความพึงพอใจของนักศึ กษาระดับปริ ญญาตรี ที่มีต่อการสอน วิชาการวิจัยทางการสื่อสารเกณฑ์ ที่ใช้ ในการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจ และ แปลผลข้ อมูลดังนี ้ ค่าเฉลีย่ ตังแต่ ้ 4.50 ขึ ้นไป หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับมากที่สดุ ค่าเฉลีย่ 3.50–4.49 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับมาก ค่าเฉลีย่ 2.50–3.49 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง ค่าเฉลีย่ 1.50–2.49 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับน้ อย ค่าเฉลีย่ ต่ากว่า 1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับน้ อยที่สดุ นักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็ นเพศหญิ งมากกว่าเพศชาย คิดเป็ นร้ อยละ 53 อายุระหว่าง 18-20 ปี คิดเป็ นร้ อยละ 48.5 กาลังศึกษาอยูใ่ นชัน้ ปี ที่ 2 โดยส่วนใหญ่ ศึก ษาอยู่ในสาขาวิท ยุก ระจายเสียงและวิท ยุโทรทัศ น์ รอง ลงมาคือสาขาภาพยนตร์ และสื่อดิจิตอล และสาขาโฆษณาและประชาสัมพันธ์ ยคุ ดิจิทลั มีคะแนนเฉลี่ยสะสมมากที่สดุ อยู่ระหว่าง 2.01-2.50 โดยนักศึกษามีความ พึงพอใจที่มีตอ่ การเรี ยนการสอน ทุกด้ านอยูใ่ นระดับมาก ( = 4.44) รองลงมาคือ พฤติ ก รรมการเรี ย นของเพื่ อ นร่ วมชัน้ เรี ย น ( =4.38) และเทคนิ ค การสอนของ อาจารย์ผ้ สู อน ( = 4.37) เมื่อพิจารณาเป็ นรายด้ านพบว่า มีความพึงพอใจอยู่ใน

ระดับมากทุกด้ าน โดยเรี ยงลาดับจากมากไปหาน้ อย ได้ ดงั นี ้ ด้ านความพึงพอใจในการเรี ยน โดยรวมมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมาก ทุกด้ าน โดยเรี ยงลาดับจากมากไปหาน้ อย ได้ ดงั นี ้ พฤติกรรมการเรี ยนของเพื่อน ร่ วมห้ อง ( = 4.38) พึงพอใจต่อรายวิช าที่ ศึกษา ( = 4.50) และพึงพอใจต่อ อาจารย์ผ้ สู อน ( = 4.49) ด้ านพฤติกรรมการเรี ยนของเพื่อนร่ วมชัน้ เรี ยน มีความพึงพอใจอยู่ใน ระดับมากทุกด้ านโดยเรี ยงลาดับจากมากไปหาน้ อย ได้ ดงั นี ้ ความพึงพอใจต่อ มารยาทในการเรี ย น ( = 4.50) พึ ง พอใจต่ อ ความกระตื อ รื อ ร้ นในการเรี ย น ( =4.38) และพึงพอใจต่อการตรงต่อเวลา ( = 4.38) 206

Experience of Learning


ด้ านการสอนของอาจารย์ผ้ สู อน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทุ ก ด้ าน โดยเรี ยงลาดับ จากมากไปหาน้ อย ได้ ดังนี ้ ความรู้ ความเชี่ ยวชาญของ อาจารย์ผ้ สู อน ( = 4.54) มีเทคนิคที่ดีในการสอน ( =4.51) และพึงพอใจต่อ ความเหมาะสมในการแต่งกายของอาจารย์ผ้ สู อน ( = 4.31) อภิปรายผล นักศึกษาในระดับปริ ญญาตรี ที่มีสาขาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการเรี ยน การสอนวิชาการวิจยั ทางการสื่อสารแตกต่างกันในภาพรวม สอดคล้ องกับทฤษฎี พฤติกรรมของผู้เรี ยน “พฤติกรรม” เป็ นสื่อระบุถึงการกระทาอันเนื่องมาจากการ กระตุ้น หรื อถูกจูงใจจากสิ่งเร้ าต่างๆ ซึ่งเมื่อศึกษาให้ ละเอียดแล้ วการกระทาหรื อ พฤติกรรมที่เราได้ เห็นหรื อได้ สมั ผัสรับรู้ นนั ้ ส่วนหนึ่งของการกระทาเป็ นการกลัน่ กรองตกแต่งและตังใจที ้ ่จะทาให้ เกิดขึ ้น มีพฤติกรรมอยู่มากทีเดียวที่แม้ จะทาด้ วย สาเหตุ หรื อ จุดมุ่งหมายเดียวกันแต่ลกั ษณะท่าทีกริ ยาอาจจะมีความแตกต่างกัน ไปเมื่อเปลี่ยนบุคคล เปลี่ยนเวลา หรื อเปลี่ยนสถานที่และสถานการณ์ ที่ เกี่ยวข้ อง ความแตกต่างที่เกิดขึ ้นนี ้เป็ นเพราะการกระทาในแต่ละครัง้ แต่ละครา (เมื่ออยู่ใน สภาพร่ า งกายที่ เป็ นปกติ ) จะต้ อ งผ่ า นกระบวนการคิ ด และการตัด สิ น ใจอัน ประกอบด้ วยอารมณ์และความรู้สกึ ของผู้กระทาพฤติกรรมนันๆ ้ จึงทาให้ พฤติกรรม ของแต่ละคน และพฤติกรรมแต่ละคราวอาจมีการเปลีย่ นแปลงหรื อปรับเปลีย่ นไป ตามเรื่ องที่เกี่ยวข้ องเสมอ และได้ ทาการสอบถามนักศึกษาที่กาลังศึกษาอยู่คณะ นิเทศศาสตร์ มีความพึงพอใจต่อการจัดการเรี ยนการสอนรายวิชาการวิจยั ทางการ สื่อสารแตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้ องกับงานวิจัยของ สารภี จุลแก้ ว (2552) ได้ ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริ ญญาตรี ที่มี ต่อการเรี ยนการสอนโปรแกรมวิชาคอมพิ วเตอร์ ของมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ 0.01 และงานวิจยั ของอัญชลี พริ ม้ พรายและ คณะ (2548, หน้ า 18-19) ได้ ศึกษา ได้ ศึกษาวิจยั เรื่ องความพึงพอใจของนักศึกษา ที่มีตอ่ คุณภาพการสอน และปั จจัยสนับสนุนการเรี ยนรู้ของคณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม Experience of Learning

207


มหาวิทยาลัยราชภัฎ นครศรี ธรรมราชโดยศึกษา 4 ด้ านคือด้ านบุคคลด้ านสถานที่ ด้ านสื่อวัสดุด้านงบประมาณผลการวิจยั พบว่า ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อ การจัด การเรี ย นการสอนในหลัก สูต รของภาควิ ช าสถิ ติ ใน 5 ด้ า นดัง นี ้ 1.ด้ า น รายวิชาในหลักสูตร 2.ด้ านผู้สอน 3.ด้ านวิธีการสอนและกิจกรรมการเรี ยนการสอน 4.ด้ านการวัดและประเมินผลการเรี ยนการสอน 5.ด้ านปั จจัยสนับสนุนการเรี ยนการสอน ข้ อเสนอแนะในงานวิจัย 1. ด้ านสื่อในการเรี ยนการสอน มีความพึงพอใจน้ อยที่สดุ ทังนี ้ ้ อาจารย์ ผู้สอนควรมีการดาวน์โหลดไฟล์วีดีโอตัวอย่างการสอนมาก่อน เพราะบางวันอาจ ติดขัด เรื่ องการเข้ าใช้ งานอิน เทอร์ เน็ต หรื ออินเทอร์ เน็ตโหลดช้ า ก็ จะทาให้ การ รับชมวีดีโอขาดตอน หรื อไม่สามารถรับชมได้ 2. ด้ านอุปกรณ์ในการเรี ยนการสอนอาจารย์ผ้ สู อนควรตรวจเช็คสายเสียง และอุปกรณ์โปรเจคเตอร์ ลว่ งหน้ า เพื่อความพร้ อมในการสอน ข้ อเสนอแนะในการนาผลงานวิจัยไปใช้ ประโยชน์ 1. ควรทาการศึกษาเฉพาะรายทีข่ าดเรียนมาก เพื่อการจัดการเรี ยนการ สอนให้ มีความสอดคล้ อง และเหมาะสมกับนักศึกษาต่อไป เอกสารอ้ างอิง กาญจนา เกียรติประวัติ. (2534).วิธีสอนทัว่ ไปและทักษะการสอนกรุงเทพมหานคร: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. นพคุณ นิศามณี. (2547). จิตวิทยาอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ :สถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกล้ าพระนครเหนือ. บัญชา แสนทวี. (2542). การวัดและประเมินผลระดับชันเรี ้ ยน.นนทบุรี:สาขาวิชา ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ปรี ยาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2551). จิตวิทยาอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ :ศูนย์ หนังสือเสริ มกรุงเทพฯ. 208

Experience of Learning


รัตนา พรมภาพ. (2550). ความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรี ยนการสอน ในหลัก สูต รของภาควิช า การศึก ษา. คณะศึก ษาศาสตร์ มหาวิท ยาลัย นเรศวร. วินยั เพชรช่วย. (2551). พฤติกรรมมนุษย์กบั การพัฒนาตน. กรุงเทพฯ : สถาบัน ราชภัฎสวนสุนนั ทา. สารภี จุลแก้ ว. (2552). ความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริ ญญาตรี ที่มีตอ่ การ เรี ยนการสอนโปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ ของมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา. คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา. อัญชลี พริ ม้ พรายและคณะ. (2548). ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพ การสอนและปั จจัยสนับสนุนการ เรี ยนรู้ ของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรี ธรรมราช. นครศรี ธรรมราช : คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรี ธรรมราช.

Experience of Learning

209


ผลงานการประกอบสร้ างความคิด จากอักษรสู่รูปเล่ มบทละครโทรทัศน์ เอกธิดำ เสริมทอง การที่ประเทศจะก้ าวเข้ าสู่Thailand 4.0 ได้ ต้ องอาศัยการวางแผนเพื่อ สร้ างพื ้นฐานและสภาพแวดล้ อมที่ดี ความอดทนที่จะเห็นผลต้ องอาศัยระยะเวลา ยาวนาน การศึกษาก็เป็ นเฉกเช่นเดียวกัน เปรี ยบได้ ดงั่ การปลูกต้ นไม้ การเตรี ยม ดินที่ดี มีเมล็ดพันธุ์ที่ดี และต้ องเฝ้าดูแลเอาใจใส่ รดน ้าพรวนดิน คอยเก็บวัชพืช ไล่มดแมลง ปกป้องให้ ต้นไม้ นนเจริ ั ้ ญเติบโตขึ ้นมาได้ อย่างแข็งแรงและงดงามก็คง ไม่ต่างกัน การดูแลเอาใจใส่ในทุกกระบวนการต้ องใช้ เวลาและความทุ่มเท และ ต้ องดาเนินงานในหลายส่วนไปพร้ อมๆ กัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแก้ จดุ อ่อน การ เสริ มจุดแข็ง และการสร้ างแรงบันดาลใจเพื่อขับเคลื่อนให้ ผ้ เู รี ยนผลิตผลงานเพื่อ สร้ างความสาเร็ จในชันเรี ้ ยนและสร้ างความภาคภูมิใจแก่ตวั เอง กระทัง่ เป้าหมาย ที่ ผ้ ู สอนแอบวาดหวั ง ให้ ผลงานเหล่ า นั น้ ไม่ ใ ช่ แ ค่ เ พี ย งมี คุ ณ ค่ า ส าหรั บ แค่ ความส าเร็ จ วิ ช าในห้ องเรี ย น หรื อ ต่ อ ยอดเป็ นเล่ ม ผลงาน(Portfolio) หากแต่ สามารถขยายผลในเชิงพาณิชย์ได้ คงเป็ นเรื่ องที่ดีไม่น้อย

รองศาสตราจารย์ เอกธิดา เสริมทอง อาจารย์ประจาคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม 210

Experience of Learning


เมื่อหันมามองในห้ องเรี ยนในส่วนของผู้สอนการเตรี ยมการสอนต้ องมีการ วางแผนอย่างเป็ น ขัน้ เป็ น ตอน จัด หลัก สูต รให้ ค รอบคลุม คนทุก กลุ่ม พร้ อมทัง้ ปรับปรุ งตารา และสื่อการสอนให้ สอดคล้ องกับหลักสูตรที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งใน ความเป็ นจริ งต้ องยอมรับว่ามีการเปลี่ยนหลักสูตรบ้ างแล้ วแต่ไม่ไ ด้ เปลี่ยนตารา ตามไปด้ วย ดังนัน้ การเสริ ม ความรู้ เพิ่ ม นอกต าราเรี ย น การออกแบบกิ จกรรม เพื่อให้ สอดคล้ องกับหลักสูตรจึงเป็ นสิง่ ที่ผ้ สู อนปฏิเสธไม่ได้ 17 ปี ของพัฒนาการการสอนการเขียนบทละครโทรทัศน์ การเขียนบทละครโทรทัศน์เป็ นเพียงส่วนหนึง่ ของกิจกรรมการเรียนการ สอนในหลักสูตรของสาขาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ในรายวิชาการเขียน บทวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์(RTV 302) รายวิชานี ้เป็ นรายวิชาเอกบังคับ ที่อยูย่ งั่ ยืนยงมาตังแต่ ้ การเปิ ดหลักสูตรสาขาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม เมื่อหลักสูตรปี การศึกษา 2543 จวบจน ปั จจุบนั มีคาอธิบายรายวิชาดังนี ้ “ความหมาย ความสาคัญของบทรายการต่อการผลิตรายการ ประเภท ของบทรายการวิทยุกระจายเสียง และวิทยุโทรทัศน์ รูปแบบบท หลักการเขียนบท ขันตอนการเขี ้ ยน เทคนิคการเขียน การหาแหล่งข้ อมูล การใช้ ภาษาที่เหมาะสม กับการประกาศและการดาเนินรายการทางสื่อวิทยุกระจายเสียงและสื่อโทรทัศน์ คุณ สมบัติ แ ละจรรยาบรรณของนัก เขี ย นบท การฝึ ก ปฏิ บัติ ก ารเขี ย นบทข่า ว รายการละคร รายการสัมภาษณ์ รายการสาระความรู้ และรายการบันเทิง” “การคิด...ที่วา่ ยากแล้ ว แต่การถ่ายทอดความคิดออกมาเป็ นงานเขียนยิ่ง ยากกว่า” การสร้ างแรงบันดาลใจให้ นักศึกษากล้ าคิด และกล้ าถ่ายทอดสิ่งที่คิด ออกมาเป็ นงานเขียนจึงไม่ใช่เรื่ องง่าย และโจทย์ที่ยากยิ่งกว่าคือนักศึกษาส่วนใหญ่ ในชันเรี ้ ยนไม่ชอบการเขียน อีกทังการเรี ้ ยนการขียนบทละครเป็ นการเรี ยนเขียนที่มี รูปแบบเฉพาะ มีขนตอน ั้ เป็ นกระบวนการคิด ที่ผ้ เู รี ยนต้ องตังค ้ าถาม โดยมีความ สนุกสนาน มนต์เสน่ห์ในเนื ้อหาที่ต้องน่าติดตาม ความสมจริ ง และความยาวของ Experience of Learning

211


เรื่ องราวในแต่ละตอนของละครเป็ นเดิมพัน ผู้เรี ยนจึงต้ องใช้ ความพยายาม และ ความทุ่ ม เทอย่ า งหนัก หน่ ว งเพื่ อ ให้ ภ าระงานเขี ย นบทละครโทรทัศ น์ เสร็ จ สิ น้ สมบูรณ์ ดังนันในชั ้ นเรี ้ ยนจึงเต็มไปด้ วยเงื่อนไขต่างๆมากมายดังนี ้ 1. ทาอย่างไรให้ นกั ศึกษาอยากคิด ? 2. ทาอย่างไรให้ นกั ศึกษาอยากเล่า ไม่ใช่ด้วยคาพูด แต่ให้ ถา่ ยทอด ออกมาเป็ นงานเขียน 3. ทาอย่างไรให้ สงิ่ ที่คดิ นันถู ้ กถ่ายทอดมาได้ อย่างตรงใจ ด้ วยการเขียน 4. ทาอย่างไรให้ งานเขียนเรื่ องเล่าในรูปแบบเรี ยงความนันถู ้ กผันต่อ กลายเป็ นบทละครโทรทัศน์ในรูปแบบและวิธีการที่ถกู ต้ องได้ 5. ทาอย่างไรให้ ความเพียรพยายามของนักศึกษานันอยู ้ ค่ งเส้ นคงวาใน ความตังใจ ้ จัดทาจนบทละครแล้ วเสร็ จ เป็ นรูปเล่มที่สมบูรณ์สวยงามได้ กับคาถามที่ว่า เพราะเหตุใดต้ องเป็ นการเขียนบทละคร? เนื่องด้ วยละคร เป็ นศาสตร์ ที่มีแง่มมุ ของการศึกษามาก ในละครเรื่ องหนึง่ ๆ สามารถให้ มิติของการ เรี ยนรู้ ได้ ในหลากมิติเช่น มิติการคิด(การออกแบบเรื่ อง การออกแบบตัวละคร การออกแบบฉาก การให้ แง่คิดแก่ผ้ ชู ม) มิติการเล่าเรื่ อง(การดาเนินเรื่ อง ความ สนุกสนาน และมนต์ เสน่ห์ของความน่าติดตาม) มิ ติการสื่อการเขียน(ขันตอน ้ กระบวนการในการเขียนบทละคร และรูปแบบบทละคร) รวมไปถึงมิติการผลิตเป็ น ละคร(แม้ ว่าผลสัมฤทธิ์ของรายวิชาจะออกมาเป็ นเพียงแค่เล่มบทละคร หากแต่ ผู้เขียนบทละครจะต้ องมีความรู้ความเข้ าใจในมิติของการผลิตด้ วย บทละครจึงจะ เป็ นบทละครที่ถึงพร้ อมเพื่อการผลิตต่อไป) อีกเหตุผลหนึง่ คือละครเป็ นสือ่ ที่มีความ ใกล้ ชิด(Proximity) กับ นักศึกษาทุกคน ไม่มี ใครปฏิ เสธว่าไม่ร้ ู จัก ละคร ไม่เคย รับชมละคร อีกทังละครเป็ ้ นสื่อเพื่อความบันเทิงที่เติ บโต เคียงคู่ผ้ รู ับสารมาอย่าง ยาวนาน ด้ วยคุณูปการในหลากมิติที่งานละครมีดังที่กล่าวมา จึงเป็ นเหตุผล สาคัญที่ผ้ สู อนจะหยิบยกงานเขียนบทละครมาเป็ นโปรเจคใหญ่ในชันเรี ้ ยนมาโดย ตลอด17 ปี ที่ ผ่ า นมา สิ่ ง ที่ ได้ นอกเหนื อ จากบทละครฉบับ สมบู รณ์ ( The Fully 212

Experience of Learning


Script) แล้ ว นักศึกษาในสาขาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ผู้ซึ่งที่จะต้ อง ถึงพร้ อมทังการเป็ ้ นผู้ผลิตรายการเบื ้องหน้ า และผู้ผลิตรายการเบื ้องหลัง ยังได้ ผล งานที่เป็ นรูปธรรมเป็ นเล่มผลงานเป็ นความภาคภูมิใจอีกด้ วย เพื่อให้ เห็นภาพพัฒ นาการของการสอนการเขียนบทละครโทรทัศน์ ขอ จาแนกพัฒนาการของการสอนตลอดช่วงเวลา 17 ปี ออกเป็ น 5 ยุคดังนี ้ ยุคที่ 1 การเขียนบทละครเมื่อฉันคือพระเอกและนางเอกในละคร (Based on True Story) การเรี ยนการสอนในยุคแรก ผู้สอนมีเป้าหมายหลักเพียงประการเดียวคือ เพื่อให้ นกั ศึกษาสามารถเขียนบทละครโทรทัศน์ได้ ผู้สอนจึงให้ โจทย์นกั ศึกษาทุก คนดึงเอาประสบการณ์ชีวติ ของตนเองในช่วงตอนใดตอนหนึง่ เขียนเป็ นเรี ยงความ เล่าเรื่ อ งราวตัง้ แต่ ต้ น จนจบเหตุก ารณ์ และใช้ งานเรี ย งความเป็ น เค้ า โครงเรื่ อ ง (Plot)ข้ อดีของการเขียนบทละครในลักษณะนี ้คือ นักศึกษาทุกคนคือตัวดาเนินเรื่ อง คือพระเอก คือนางเอกของเรื่ อง นักศึกษาทุกคนเห็นภาพเหตุการณ์ นนชั ั ้ ดเจน ที่ สุด นัก ศึ ก ษารู้ จัก ตัว ละครทุก ตัว ดี ที่ สุด เพราะตัว ละครรายรอบตัว เอกคื อ ครอบครัว พ่อแม่ พี่น้อง เพื่ อน หรื อคนรัก ที่มีตัวตนจริ งทัง้ สิ ้น การเขียนบท ละครที่มีจุดกาเนิดมาจากตัวเอง และจากประสบการณ์ จริ งเป็ นแรงบันดาลใจ กระตุ้นให้ นักศึกษาผลิตผลงานบทละคร ได้ ทบทวนเหตุการณ์ ของตัวเอง และ ถ่ายทอดออกมาเป็ นงานเขียนบทละครเล่มเดียวในโลกที่พวกเขาต่างภาคภูมิใจ อย่างไรก็ตามข้ อด้ อยที่ไม่อาจควบคุมได้ คือ ความเข้ มข้ นของเรื่ อง ความยากง่าย ของเหตุการณ์ เรื่ องราวที่นกั ศึกษาแต่ละคนประสบมาส่งผลต่อความสันยาว ้ และ ความยากง่ายของบทละครไปโดยปริ ยาย สรุป เทคนิคการสอนในลักษณะนี ้ถือเป็ นวิธีการสอนโดยการลงมือปฏิบตั ิ (Practice) หมายถึ ง วิ ธี สอนที่ ให้ ป ระสบการณ์ ต รงกับ ผู้เรี ย นโดยการให้ ลงมื อ ปฏิบตั ิจริ งเป็ นการสอนที่มงุ่ ให้ เกิดการผสมผสานระหว่างทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ

Experience of Learning

213


ยุคที่ 2 การเขียนบทละครจากเรื่องสัน้ ...ลงในสองสื่อ ด้ วยประสบการณ์สอนที่เพิ่มมากขึ ้นของผู้สอน ทาให้ การบริ หารเวลาใน การจัดการชัน้ เรี ยนเป็ นไปอย่างมีประสิทธิ ภาพมากขึ ้น ในยุคที่สองของการเรี ยน การเขี ย นบทละครผู้ สอนสามารถเพิ่ ม เติ ม ศาสตร์ ด้ านการเขี ย นบทละคร วิ ท ยุก ระจายเสี ย งให้ นัก ศึ ก ษา โดยใช้ โจทย์ คื อ ให้ นัก ศึ ก ษาเตรี ย มเรื่ อ งสัน้ ที่ นักศึกษาอ่านแล้ วเกิดความประทับใจ นาเรื่ องดังกล่าวมาเป็ นโครงเรื่ อง(Plot) ใน การเขียนบทละครวิทยุกระจายเสียง และบทละครโทรทัศน์ ข้ อดีคือ นักศึก ษา สามารถเข้ าใจในความแตกต่างของวิธี การนาเสนอเรื่ องเดียวกัน ผ่านสือ่ สองสือ่ ทัง้ สื่ อ วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย งและสื่ อ โทรทั ศ น์ ได้ อย่ า งชั ด เจน ในขณะที่ ข้ อ ด้ อยคื อ นักศึก ษาส่วนใหญ่ ไม่มีป ระสบการณ์ ในการฟั งละครวิทยุกระจายเสียงมาก่อ น ดังนัน้ ผู้สอนจึ งต้ องเตรี ย มสื่อการสอนที่เป็ นเสีย งละครวิทยุกระจายเสียง และ วิดีทศั น์การผลิตรายการละครทางวิทยุกระจายเสียงมาสร้ างประสบการณ์ ในชัน้ เรี ยนให้ อย่างไรก็ดีประสบการณ์ในชันเรี ้ ยนเพียง1-2 ครัง้ อาจสร้ างความรู้จกั แต่ ไม่ อ าจสร้ างความคุ้ นเคยได้ มากเท่ า ไรนัก การเรี ย นการเขี ย นบทละครทาง วิทยุกระจายเสียงจึงใช้ เวลาอย่างมาก จนเบียดบังระยะเวลาในการเรี ยนการเขียน บทละครโทรทัศน์ แต่ในข้ อด้ อยที่เหมือนเป็ นอุปสรรคก็กลับมีผลเชิงบวกเกิดขึ ้นคือ เมื่อนักศึกษาสามารถก้ าวผ่านการเขียนบทละครทางวิทยุกระจายเสียงแล้ วเสร็ จ และต้ องเริ่ ม เขี ย นบทละครโทรทัศ น์ จ ากโครงเรื่ อ งเดี ย วกัน ผู้ส อนพบความ ประหลาดใจมากว่านัก ศึกษาสามารถเรี ยนรู้ การเรี ยนบทละครโทรทัศน์ได้ รวดเร็ ว มาก เนื่ อ งจากนัก ศึก ษาสามารถก้ า วผ่า นมิ ติ ก ารคิ ด (การออกแบบเรื่ อ ง การ ออกแบบตัวละคร การออกแบบฉาก การให้ แง่คิดแก่ผ้ ชู ม) มิติการเล่าเรื่ อง(การ ดาเนินเรื่ อง ความสนุกสนาน และมนต์เสน่ของความน่าติดตาม) มาสูม่ ิ ติการสื่อ การเขียนทางโทรทัศน์ (ขันตอน ้ และกระบวนการในการเขียนบทละครโทรทัศน์ รูปแบบบทละครโทรทัศน์) ได้ เลยนัน่ เอง

214

Experience of Learning


สรุ ป เทคนิ ค การสอนในลัก ษณะนี ถ้ ื อ เป็ น วิ ธี สอนโดยใช้ สถานการณ์ จาลอง(Simulation ) หมายถึง วิธีสอนที่จาลองสถานการณ์ จริ งมาไว้ ในชัน้ เรี ยน โดยพยายามทาให้ เหมือนจริ งที่สดุ มีการกาหนดกติกาหรื อเงื่อนไข แล้ วแบ่งผู้เรี ยน เป็ นกลุม่ ให้ เข้ าไปเล่นในสถานการณ์ จาลองนันๆ ้ ด้ วยกิจกรรมนี ้ผู้เรี ยนจะเกิดการ เรี ยนรู้ จากการเผชิญกับปั ญหา จะต้ องมีการตัดสินใจและใช้ ไหวพริ บวัตถุประสงค์ ให้ ผ้ เู รี ยนได้ เข้ าไปมีปฏิสมั พันธ์ กับสถานการณ์ จนเกิ ดความเข้ าใจ ทังนี ้ ้เรื่ องสันที ้ ่ นักศึกษาเตรี ยมมาเป็ นโครงเรื่ องตังต้ ้ นในการเขียนบทถือได้ ว่าเป็ นสถานการณ์ จาลองที่เหมือนจริ งที่สดุ นักศึกษาเข้ าไปทาความเข้ าใจในสถานการณ์จาลองนันๆ ้ นักศึกษาจะเกิดการเรี ยนรู้ จากการเผชิญกับปั ญหาการทาความเข้ าใจเรื่ องราวใน เรื่ องสังจะต้ ้ องมีการตัดสินใจและใช้ ไหวพริ บในการถ่ายทอดเรื่ องราวจนเกิดความ เข้ าใจน าไปสู่การตัดสิน ใจแก้ ปั ญ หาต่างๆ และลงมือเขียนบทจากสถานการณ์ จาลองนันๆออกมาได้ ้ ในลักษณะเดียวกับการเขียนบทที่เกิดขึ ้นในสถานการณ์จริ ง ยุคที่ 3 การเขียนบทละครจากนวนิยายชื่อดัง...ลงในสองสื่อ

การตัดสินใจให้ นกั ศึกษาใช้ นวนิยายจากนักเขียนชื่อดังเช่นนวนิยายเรื่ อง คู่กรรม ผลงานการประพันธ์ ของทมยันตี, นางโชว์ ผลงานการประพันธ์ ของบุตร รัตน์ บุตรพรหม, ข้ างหลังภาพ ผลงานการประพันธ์ของกุหลาบ สายประดิษฐ์ หรื อ รู้จกั กันดีในนามปากกาว่าศรี บรู พา, กระจกใบไม้ ผลงานการประพันธ์ ของวดีลดา เพียงศิริ เป็ นโจทย์ตงต้ ั ้ นในการเขียน มีจุดประสงค์นอกเหนือจากการนานวนิยาย มาเป็ น โครงเรื่ องในการเขี ย นบทแล้ วผู้สอนยังหวังให้ นัก ศึก ษาได้ เรี ย นรู้ วิธีก าร Experience of Learning

215


สร้ างสรรค์เรื่ องที่มีความซับซ้ อน(Complexity) ได้ เรี ยนรู้ การออกแบบโครงสร้ าง เรื่ อ งหลัก ( Main Plot) และโครงสร้ างเรื่ อ งรอง (Sub Plot) และได้ ท าความรู้ จัก ผลงานของนักเขียนระดับ ปรมาจารย์ ของประเทศไทยผ่านผลงานเลื่องชื่อ และ นักศึกษาได้ เรี ยนรู้การแบ่งงานกันทาระหว่างกลุม่ ต่อกลุม่ รวมถึงการเชื่อมเรื่ องราว แต่ละตอนระหว่างกลุม่ ผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้ ตอกย ้าให้ ผ้ สู อนได้ ค้นพบคาตอบที่ ตอกย ้าความชัดเจนเดิมเหมือนเช่นยุคที่ 2 ว่านักศึกษาสามารถเขียนบทละครทาง วิ ท ยุก ระจายเสี ย งได้ แล้ ว การเขี ย นบทละครโทรทัศ น์ จ ากโครงเรื่ อ งเดี ย วกั น นัก ศึก ษาสามารถเรี ย นรู้ การเรี ย นบทละครโทรทัศ น์ ได้ รวดเร็ ว มาก เนื่ อ งจาก นัก ศึก ษาก้ า วผ่า นมิ ติ ก ารคิ ด (การออกแบบเรื่ อ ง การออกแบบตัว ละคร การ ออกแบบฉาก การให้ แ ง่คิ ด แก่ ผ้ ูชม) มิ ติ ก ารเล่า เรื่ อ ง(การด าเนิ น เรื่ อ ง ความ สนุก สนาน และมนต์ เสน่ข องความน่า ติ ด ตาม) มาสู่มิ ติ ก ารสื่อ การเขี ย นทาง โทรทัศน์ (ขันตอน ้ และกระบวนการในการเขียนบทละครโทรทัศน์ รูปแบบบทละคร โทรทัศน์) ได้ เลยนัน่ เองซึ่งทังหมดที ้ ่กล่าวมาแล้ วนับเป็ นข้ อดี หากแต่การบริ หาร จัดการในชัน้ เรี ยนด้ วยการแบ่งบทออกเป็ นตอนๆกระจายให้ นกั ศึกษาแต่ละกลุ่ม เขียน การสรุปลักษณะนิสยั ของตัวละครแต่ละตัว การเล่าบริ บทตามท้ องเรื่ องในแต่ ละเหตุการณ์ แต่ละช่วงเพื่อให้ การเขียนบทมีความต่อเนื่อง (Continuity)สม่าเสมอ ก็เป็ นภารกิจหนักที่ตกอยูก่ บั ผู้สอนในการที่จะสร้ างความเข้ าใจให้ นกั ศึกษาได้ เสมอ กัน นอกจากนีใ้ นการรวมเล่ม ผู้สอนพบว่าฝี มือการเขียนที่ หลากหลายระดับ หลากหลายสไตล์ ก ารเขี ย น และการล าดับ ความคิ ด ท าให้ เล่ม ที่ ได้ ไม่ มี ค วาม สม่ าเสมอคงเส้ น คงวาในการเขียนเท่าไรนัก ซึ่งถื อเป็ นจุดอ่อนสาหรับการเป็ น ผลงานเดียวของนักศึกษาที่ร่วมกันทาในชันเรี ้ ยน สรุ ป เทคนิคการสอนในลักษณะนี ้ถือเป็ นวิธีสอนแบบทางานรับผิดชอบ ร่วมกัน (Co – Operative Learning ) ความหมายเป็ นการจัดประสบการณ์เรี ยนรู้ที่ ให้ ผ้ เู รี ยนทางานร่วมกันและช่วยเหลือกันในชันเรี ้ ยนซึง่ จะสร้ างบรรยากาศที่ดีในชัน้ เรี ยน และยังเพิ่มปฏิสมั พันธ์ที่ยอมรับซึ่งกันและกัน สร้ างความภาคภูมิใจให้ ผ้ เู รี ยน 216

Experience of Learning


ทุกคน นอกจากนี ้ยังเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนอีกด้ วย เพราะในชันเรี ้ ยนมีความ ร่ ว มมื อ กัน และกัน เกิ ด ขึน้ ผู้เรี ย นจะได้ ฟั ง เขี ย น อ่ า น ทวนความ อธิ บ าย และ ปฏิสมั พันธ์ ผู้เรี ยนจะเรี ยนด้ วยการลงมือกระทา ผู้เรี ยนที่มีจุดบกพร่องจะได้ รับการ ช่วยเหลือจากเพื่อนในกลุม่ ความมุ่งหมายของการสอนอยู่ที่การเรี ยนแบบทางาน รับ ผิ ด ชอบร่ วมกัน คื อ การให้ สมาชิ ก ทุกคนใช้ ค วามสามารถอย่างเต็ ม ที่ในการ ทางานกลุม่ โดยยังคงรักษาสัมพันธภาพที่ดตี อ่ สมาชิกกลุม่ มิได้ มีจดุ มุง่ หมายอยูท่ ี่ การทางานให้ สาเร็ จเท่านัน้ ยุคที่ 4 การดัดแปลงบทประพันธ์

ถือเป็ นการเข้ าสู่ยุคแห่งการท้ ายทายความคิดสร้ างสรรค์ของนักศึกษา เมื่อคณะนิเทศศาสตร์ มีการปรับปรุ งหลักสูตรครัง้ ใหญ่เมื่อปี การศึกษา 2555 โดย มีการปรับเพิ่มรายวิชาที่กระตุ้นความคิดสร้ างสรรค์ของนักศึกษาเช่น วิชาความคิด สร้ างสรรค์ และวิชาการสร้ างสรรค์งานกราฟิ กเพื่อการออบแบบ เพื่อเป็ นการต่อ ยอดการเรี ยนรู้ของนักศึกษาผู้สอนในรายวิชาเอกบังคับจึงให้ โจทย์ในกิจกรรมการ เขียนบทคือ ให้ นักศึกษาดั ดแปลงบทประพันธ์ จากเทพนิย ายแฟนตาซีเด็กเช่น พีน็อคคิโอ ปี เตอร์ แพน ลาพันเซล เมาคลีลกู หมาป่ า หนูน้อยหมวกแดง ซิล เดอเรลล่า โฉมงามกับเจ้ าชายอสูร หรื อ สโนไวน์กบั คนแคระทังเจ็ ้ ด เป็ นต้ น มา ดัดแปลงเรื่ องราวใหม่โดยคงชื่อของตัวละคร และท้ องเรื่ องของเทพนิย ายไว้ ให้ มี Experience of Learning

217


เนื ้อหาในอีกอรรถรสหนึง่ สาหรับกลุม่ เป้าหมายใหม่ ทังนี ้ ้นักศึกษาต้ องส่งโครงเรื่ อง ย่อที่ได้ ประพันธ์ ใหม่ให้ ผ้ สู อนทาการคัดเลือกก่อนด้ วย ข้ อดีของการดัดแปลงบท ประพันธ์ ทาให้ นกั ศึกษาต้ องศึกษาบทประพันธ์ เดิมทัง้ ลักษณะของตัวละครและ โครงเรื่ องเดิม และประกอบสร้ างเรื่ องใหม่ซึ่งนักศึกษาสามารถทาออกมาได้ ใน 3 ลักษณะคือ 1. การรื อ้ ถอนโครงสร้ างเดิม 2. การรื อ้ สร้ างใหม่ 3. การเปลีย่ นบริ บท โดยต้ องมีค วามสนุกสนานไม่แพ้ กัน ทัง้ นีก้ ารคิ ดสร้ างสรรค์ เรื่ องใหม่ผ้ ูสอนให้ นักศึกษาระดมความคิดสร้ างสรรค์เรื่ องผ่านทางเครื่ องมือ (Tool) Mind Mapping โดยผู้สอนปูพื ้นฐานการจัดสร้ าง Mind Mapping เป็ น 6 ขันตอนดั ้ งนี ้ 1. เริ่ มตรงจุดกึ่งกลางของกระดาษเพราะว่าการเริ่ มต้ นที่จุดกึ่งกลางจะทา ให้ สมองของเราเป็ นอิสระ พร้ อมที่แตกหน่อแผ่ขยายความคิดอื่นๆ ออกไปยังทุก ทิศทางในหน้ ากระดาษ 2. ใช้ รูปภาพหรื อวาดรูปประกอบไอเดียเพราะว่ารู ปภาพมีความหมายนับ ล้ านคา และยังช่วยให้ ได้ ใช้ จินตนาการไปในตัวด้ วย ภาพที่อยู่ตรงกึ่งกลางจะดู น่าสนใจเพิ่มขึ ้นทาให้ มีจดุ โฟกัสที่แน่นอน 3. ใช้ สีหลากสีสนั สีจะทาให้ สมองได้ ตื่นตัว สีสนั จะทาให้ ดูมีชีวิตชีวาน่า อ่านมากยิ่งขึ ้น รวมถึงการนัง่ วาดภาพระบายสี ก็เป็ นส่วนหนึง่ ในการฝึ กความคิด สร้ างสรรค์ด้วย 4. วาดลากเส้ น กิ่ ง ควรลากออกมาจากจุดตรงกลางแตกกิ่ งก้ านสาขา ออกมาตามที่สมองจะคิดได้ ควรต้ องให้ เส้ นเชื่อมต่อกัน เพราะว่าสมองของมนุษย์ ทางานแบบเชื่อมโยงเข้ าหากัน 5. วาดเส้ นกิ่งควรลากเป็ นเส้ นโค้ งดีกว่าเส้ นตรง เส้ นโค้ งให้ ความอิสระ ยืดหยุน่ ปรับเปลีย่ นได้ ในขณะที่เส้ นตรงมันดูจริ งจัง ผูกมัด และไม่นา่ สนใจ 6. ใช้ เขียน Keyword สาหรับเส้ นกิ่งเพราะ Keyword แบบโดดๆ ทาให้ ผงั ความคิดมีพลัง และยืดหยุน่ ความหมายได้ โดยไม่ถกู จากัดความคิด

218

Experience of Learning


โจทย์การดัดแปลงบทประพันธ์ ไม่เพียงทาให้ นกั ศึกษาสามารถเขียนบท ละครโทรทัศ น์ ป ระเภทแฟนตาซีได้ หากแต่นักศึก ษารู้ สึกถึ งความเป็ น เจ้ า ของ ผลงาน สนุกสนาน และได้ ใช้ ความคิดสร้ างสรรค์ต่อยอดจากรายวิชาที่เรี ยนมา ถือได้ ว่าทาให้ นกั ศึกษารู้ จกั ปรับใช้ องค์ความรู้ จากวิชาแกนของหลักสู ตร ลงมาใช้ ในศาสตร์ ที่เกี่ยวข้ องกับสาขาการศึกษาของตนเองอย่างเป็ นรู ปธรรมมากยิ่งขึน้ เนื่ องจากในการส่งผลงานรู ป เล่ม ผู้สอนให้ นัก ศึก ษาจัด ท าเล่ม ผลงาน โดยมี การบูรณาการความรู้ในรายวิชาวิชาการสร้ างสรรค์งานกราฟิ กเพื่อการออบแบบมา ออกแบบปก และโปสเตอร์ ละครของตนเอง ท าให้ รูป ลัก ษณ์ ข องเล่มผลงานมี คุณค่า น่าภาคภูมิใจ และด้ วยลักษณะการปรับเปลี่ยนโจทย์กิจกรรมในชัน้ เรี ยน และเพิ่มรายละเอียดในการจัดทาเล่มผลงานดังกล่าว ผู้สอนจึงตัดการเขียนบท ละครทางวิทยุกระจายเสียงออก เนื่องด้ วยข้ อจากัดในระยะเวลาเรี ยน และความ นิยมในการผลิตรายการละครทางวิทยุกระจายเสียงไม่เป็ นที่นิยมอีกต่อไป สรุป เทคนิคการสอนในลักษณะนี ้ถือเป็ นวิธีการสอนแบบระดมพลังสมอง (Brainstorming )หมายถึ งวิธีสอนที่ ใช้ ในการอภิ ป รายร่ วมกัน โดยทัน ที ไม่มี ใคร กระตุ้นใคร กลุ่มผู้เรี ยนจะหาคาตอบหรื อทางเลือกสาหรับปั ญหาที่กาหนดอย่าง รวดเร็ วในระยะเวลาสันร่ ้ วมกันในขณะนัน้ โดยจะไม่มีการตัดสินว่า คาตอบหรื อ ทางเลือกใดดีหรื อไม่อย่างไร ลักษณะสาคัญอยู่ที่ผ้ เู รี ยนแต่ละกลุม่ ช่วยกันคิดหา คาตอบหรื อทางเลือก สาหรับปั ญหาที่กาหนดให้ มากที่สดุ และเร็ วที่สดุ เท่าที่จะทา ได้ แล้ วจากนันจึ ้ งช่วยกันพิจารณาเลือกทางเลือกที่ดีที่สดุ ซึง่ อาจมีมากกว่าหนึง่ ทาง มาเป็ นโจทย์ในการปฏิบตั ิงานต่อไป

Experience of Learning

219


ยุคที่ 5 การสร้ างสรรค์ บทละครอย่ างเต็มรูปแบบ

ด้ วยตระหนั ก ถึ ง หั ว ใจส าคั ญ ของประเทศไทยในยุ ค 4.0คื อ การ ปรับเปลี่ยนโครงสร้ างเศรษฐกิจไปสู่ “Value-Based Economy” หรื อเศรษฐกิจที่ ขับเคลื่อนด้ วยนวัตกรรม แต่สาหรับการเขียนบทรายการละครโทรทัศน์ คงอยู่ใน ข่ า ยของการขับ เคลื่ อ นด้ วยความคิ ด สร้ างสรรค์ ม ากกว่ า ทางเทคโนโลยี แ ละ นวัตกรรม บนความเชื่อที่ว่าแม้ นความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยี จะก้ าวล ้าไปมาก เพียงไรหากแต่คุณค่าอยู่บนความหมาย (Technology is a tool, Content is the King) ในยุคที่ 5 ของการพัฒนาการสอนซึ่งถือเป็ นยุคปั จจุบนั ผู้สอนจึงเปิ ดทางให้ นักศึกษาได้ ใช้ ความคิดสร้ างสรรค์อย่างเต็มรู ปแบบ โดยกาหนดโจทย์ภาคทฤษฎี กว้ างๆให้ นกั ศึกษาการเขียนบทละครโทรทัศน์ตามขันตอนทฤษฏี ้ ละครที่สอนใน ภาคทฤษฎีได้ แก่ 6 Elements of a Play ซึ่งเป็ นทฤษฏีที่คิดขึ ้นด้ วยอริ สโตเติลเป็ น หัวข้ อดังนี ้ 1. Plot (โครงเรื่ อ ง) 2. Character & Characterization (ตัวละครและ การออกแบบตัวละคร) 3.Thought (ความคิด) 4.Diction (ภาษา) 5.Song (เสียง) 6. Spectacle (ภาพ) (เอกธิ ดา, 2555) และผู้สอนได้ มีการออกแบบกระบวนการ เรี ยนเพิ่มเติมดังนี ้ 220

Experience of Learning


1. มีการใช้ แบบรายงานความคืบหน้ าเป็ นเครื่ องมือในการตัวตรวจติดตาม ผลงานความก้ าวหน้ าในชันเรี ้ ยนเป็ น 3 ระยะและยังคงใช้ Mind Mapping เป็ น จุดกาเนิดความคิดสร้ างสรรค์ ในการสร้ างเรื่ องก่อนทาการเขียนบท ทัง้ นีใ้ นการ ประเมินผลงานของนักศึกษา ผู้เขีย นใช้ แบบรายงานความคืบหน้ าที่ผ่านการตรวจ ติดตามเสมอๆ เป็ นส่วนหนึง่ ในการประเมินผลงานด้ วย ดังนี ้ แบบตรวจติดตามความก้ าวหน้ าของการดาเนินงานการเขียนบทละคร โทรทัศน์ วิชา RTV 302 ภาคการศึกษาที่ 2 / 2559 ลาดับ ชื่อ / นามสกุล รหัส / กลุม่ เรี ยนที่ 1 2 3 4 5 6 ควำมก้ ำวหน้ ำของกำรดำเนินงำน รายละเอียดงานที่ผ่านการ ระดับความก้ าวหน้ า / พิจารณา ผลการ กาหนดส่ งงาน (งานเอกสารทุกชนิดจัดพิมพ์ พิจารณา และปริน้ มาส่ ง โดยเย็บมุม) ความก้ าวหน้ า 1 - มี Plot ส่ง 2 Genre และผ่าน 5 คะแนน กลุม่ เรี ยนที่ 01 วันที่ 23 การคัดเลือก มีนาคม 2560 - มี Theme / Premise หลักของ กลุม่ เรี ยนที่ 02 วันที่ 24 เรื่ อง มีนาคม 2560 ความก้ าวหน้ า 2 - มี Synopsis 5 คะแนน Experience of Learning

221


ระดับความก้ าวหน้ า / กาหนดส่ งงาน กลุม่ เรี ยนที่ 01 วันที่ 30 มีนาคม 2560 กลุม่ เรี ยนที่ 02 วันที่ 31 มีนาคม 2560 ความก้ าวหน้ า 3 กลุม่ เรี ยนที่ 01 วันที่ 20 เมษายน 2560 กลุม่ เรี ยนที่ 02 วันที่ 21 เมษายน 2560

รายละเอียดงานที่ผ่านการ พิจารณา (งานเอกสารทุกชนิดจัดพิมพ์ และปริน้ มาส่ ง โดยเย็บมุม) - มี Plot แบบย่อของแต่ละตอน 10-12 ตอน - มี Character ตัวละครหลัก - มี Script ตอนที่ 1-3 - มี Poster หมำยเหตุ จับสลำกลำดับกำร นำเสนองำน

ผลการ พิจารณา

5 คะแนน

27 เมษายน 2560 สอบนาเสนองานกลุม่ ที่ 1-6 28 เมษายน 2560 สอบนาเสนองานกลุม่ ที่ 7-12 4 พฤษภาคม 2560 สอบนาเสนองานกลุม่ ที่ 13-18 หมำยเหตุ นักศึกษำกลุ่ม 01 อำจต้องสอบนอก เวลำเรี ยนโดยมำสอบในเวลำเรี ยนของกลุ่ม 02 2. ผู้สอนได้ มีการออกแบบTemplate ผลงาน เพื่อเป็ นเสมือนโจทย์ในการ ทางาน และTemplate เล่มผลงานดังกล่าวยังช่วยจัดระบบระเบียบให้ เล่มผลงาน ของนักศึกษาออกมาสวยงามกว่าในยุคที่ผา่ นมาอีกด้ วย ดังนี ้

222

Experience of Learning


ชื่อเรื่องละคร(ขนำดเหมำะสม) Tag line (ถ้ ำมี) (Poster หรือใบปิ ดหน้ ำละครทีผ่ ่ ำนกำรตรวจแล้ ว)

Experience of Learning

223


Mind Mapping

Keyword XXXXX

XXXXXXXX XXXXXXXX

XXXXX XXXXXXX

Genre XXXXXXXXXXXXXXXXXX Theme XXXXXXXXXXXXXXXX Premise หลักของเรื่อง จะเกิดอะไรขึ ้นถ้ า XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX Plot XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX

224

Experience of Learning


Synopsis XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX(จานวน 2-4 หน้ าตามสะดวก) Plot ย่ อยของละคร ตอนที่1 XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX ตอนที2 XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX ตอนที3 XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX ตอนที่12 XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX Character & Characterization สาธิต (ธิต) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX Experience of Learning

225


จีราวัจน์ (จี) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX ชยันต์ XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX ปี ยากุล (เปี๊ ยก) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX เจตต์ XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX ดารากา พิรุฬวรกุล (ดาว) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX เจนจิรา (เจน) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX

226

Experience of Learning


บทละครโทรทัศน์ เรื่อง............................... ตอนที่ 1 ฉากที่ 1 สถานที่XXXXXXX / เวลาXXXXXXX ตัวละครXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (ภาพเปิ ดฉาก) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (บทสนทนา) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (ภาพปิ ดฉาก) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX --------------------------------------- ตัดไป ----------------------------------------ฉากที่ 2 สถานที่XXXXXXX / เวลาXXXXXXX ตัวละครXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (ภาพเปิ ดฉาก) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (บทสนทนา) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (ภาพปิ ดฉาก) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX --------------------------------------- ตัดไป -----------------------------------------

Experience of Learning

227


บทละครโทรทัศน์ เรื่อง............................... ตอนที่ 2 ฉากที่ 1 สถานที่XXXXXXX / เวลาXXXXXXX ตัวละครXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (ภาพเปิ ดฉาก) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (บทสนทนา) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (ภาพปิ ดฉาก) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX --------------------------------------- ตัดไป ----------------------------------------ฉากที่ 2 สถานที่XXXXXXX / เวลาXXXXXXX ตัวละครXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (ภาพเปิ ดฉาก) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (บทสนทนา) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (ภาพปิ ดฉาก) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX --------------------------------------- ตัดไป ----------------------------------------ฉากที่ 3 สถานที่XXXXXXX / เวลาXXXXXXX ตัวละครXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (ภาพเปิ ดฉาก) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX 228

Experience of Learning


(บทสนทนา) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (ภาพปิ ดฉาก) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX --------------------------------------- ตัดไป ----------------------------------------บทละครโทรทัศน์ เรื่อง............................... ตอนที่ 3 ฉากที่ 1 สถานที่XXXXXXX / เวลาXXXXXXX ตัวละครXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (ภาพเปิ ดฉาก) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (บทสนทนา) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (ภาพปิ ดฉาก) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX --------------------------------------- ตัดไป ----------------------------------------ฉากที่ 2 สถานที่XXXXXXX / เวลาXXXXXXX ตัวละครXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (ภาพเปิ ดฉาก) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (บทสนทนา) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (ภาพปิ ดฉาก) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX --------------------------------------- ตัดไป ----------------------------------------ฉากที่ 3 สถานที่XXXXXXX / เวลาXXXXXXX Experience of Learning

229


ตัวละครXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (ภาพเปิ ดฉาก) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (บทสนทนา) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (ภาพปิ ดฉาก) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX --------------------------------------- ตัดไป ----------------------------------------ฉากที่ 4 สถานที่XXXXXXX / เวลาXXXXXXX ตัวละครXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (ภาพเปิ ดฉาก) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (บทสนทนา) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX (ภาพปิ ดฉาก) XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX --------------------------------------- ตัดไป ----------------------------------------3. จัดให้ มีการนาเสนอผลงานหน้ าชัน้ เรี ยน เพื่อให้ เกิ ดการแลกเปลี่ยน เรี ยนรู้ร่วมกัน สร้ างความภาคภูมิใจในการเป็ นเจ้ าของผลงาน สรุ ป เทคนิคการสอนในลักษณะนีถ้ ือเป็ นวิธีสอนแบบโครงการ ( Project Method ) หมายถึงวิธีสอนแบบโครงการ เป็ นการสอนที่ให้ ผ้ เู รี ยนวางโครงการและ ดาเนินงานให้ สาเร็ จตามโครงการนัน้ นับว่าเป็ นการสอนที่สอดคล้ องกับสภาพชีวิต จริ งที่ ผ้ ูเรี ย นจะประสบในอนาคต ที่ ต้ อ งเริ่ ม ต้ น การท างานด้ ว ยการตัง้ ปั ญ หา ดาเนินการแก้ ปัญหาด้ วยการลงมือทาจริ ง ผู้สอนทาหน้ าที่เป็ นที่ปรึกษา เสนอแนะ และให้ แนวทางแก้ ไข เพื่อให้ ผ้ เู รี ยนทาไปปรับแก้ ไขงานด้ วยตนเอง

230

Experience of Learning


บทส่ งท้ าย ด้ วยประสบการณ์ ในการสอนการเขี ย นบทละครรายการทาง วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ที่ยาวนานกว่า 17 ปี กับผลงานของนักศึก ษา กว่า 17 รุ่ น ที่ ในวัน นี ค้ งเหลือทิ ง้ ไว้ ฝากเป็ น ความประทับ ใจให้ กับ ผู้สอน เป็ น ผลงานบทละครโทรทัศน์ กว่า 100 เรื่ อง มากไปกว่าการเขียนได้ เขียนเป็ น และ เขียนดี คงเป็ นการทลายกาแพงแห่งความอาย ความหวาดกลัว และความรู้สกึ ที่ ไม่เคยเชื่ อว่าตัวเองมีค วามสามารถในการเขียนของนักศึกษาลงได้ หมดสิ ้น ใน ฐานะผู้สอน...การเขียนอักษรตัวแรกที่ผ้ เู รี ยนจรดปากกาเขียนลงบนกระดาษคงมี คุณค่ามากพอๆกับอักษรตัวสุดท้ าย...เมื่องานเขียนเสร็ จสิ ้นลง เอกสารอ้ างอิง ณฐมน เพ็ญ แนวคา. “เทคนิควิธีการสอนแนวใหม่”. ออนไลน์ เข้ าถึงเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2560 https://www.gotoknow.org/posts/217786 เอกธิดา เสริ มทอง. 2555. การเขียนบทวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ . กรุงเทพ: บริ ษัทเอส. อาร์ . พริ น้ ติ ้ง แมสโปรดักส์จากัด.

Experience of Learning

231


การเรี ยนการสอนกับการสร้ างแรงจูงใจ ในการสร้ างศักยภาพสู่มืออาชีพ ธีระพันธ์ ชนำพรรณ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skill) วิจารณ์ พานิช (2556: 1621) ได้ กล่าวถึงทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาระวิชาก็มีความสาคัญ แต่ไม่เพี ยงพอสาหรับ การเรี ยนรู้ เพื่ อมีชีวิตในโลกยุค ศตวรรษที่ 21 ปั จจุบัน การ เรี ยนรู้ สาระวิชา (content หรื อ subject matter) ควรเป็ นการเรี ยนจากค้ นคว้ าเอง ของศิษย์ โดยครูแนะนาและช่วยออกแบบกิจกรรมที่ช่วยให้ ผ้ เู รี ยนแต่ละคนสามารถ ประเมินความก้ าวหน้ าของการเรี ยนรู้ ของตนเองได้ ผู้เรี ยนทุกคนต้ องเรี ยนรู้ตลอด ชี วิ ต คื อ การเรี ย นรู้ 3RS + 8Cs + 2Ls คื อ Reading (อ่ า นออก) , (W)Riting (เขี ย นได้ ),และ (A)Rithemetics (คิ ด เลขเป็ น) 8Cs + 21st Century Themes ได้ แก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทั ก ษ ะด้ านก ารคิ ด อย่ า งมี วิจารณญาณและทักษะในการแก้ ปัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะด้ าน ความคิดสร้ างสรรค์ และนวัตกรรม)Cross-cultural Understanding (ทักษะด้ าน ความเข้ าใจความต่างวัฒ นะรรม ต่างกระบวนทัศน์ ) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทัก ษะด้ า นความร่ ว มมื อ การท างานเป็ น ที ม และภาวะผู้น า) Cross-cultural Understanding (ทั ก ษะด้ านความเข้ าใจต่ า งวัฒ นธรรม ต่ า ง กระบวนทัศน์) Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้ าน การสือ่ สารสารสนเทศและรู้เท่าทันสือ่ ) Computing & Media Literacy (ทักษะ อาจารย์ ธีระพันธ์ ชนาพรรณ หัวหน้ าสาขาภาพยนตร์ และสือ่ ดิจิทลั คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม 232

Experience of Learning


ด้ านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) Career & Learning Self-reliance (ทั ก ษ ะอาชี พ และทั ก ษ ะก ารเรี ย นรู้ ) Change (ทั ก ษ ะก าร เปลี่ยนแปลง) และ 2Ls Learning Skill (ทักษะการเรี ยนรู้ ) Leadership (ภาวะ ผู้นา) การจัดการเรี ยนการสอนของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม โดย ภาพรวมจะมีการจัดการเรี ยนการสอนในลักษณะการเรี ยนแบบทฤษฎีโดยอาจารย์ บรรยาย การเรี ยนแบบทฤษฎีและฝึ กปฏิบัติ เป็ นส่วนใหญ่ และเพื่ อให้ เกิ ดการ เปลี่ยนแปลงที่สอดคล้ องกับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21 st Century Skill) จึดได้ มี การพัฒนาการเรี ยนการสอนเพื่อให้ เกิดทักษะแห่งการเรี ยนรู้โดยในรายวิชาได้ มีการ พัฒนา ร า ย วิ ช า ADS456 ป ฏิ บั ติ ก า ร ผ ลิ ต สื่ อ โฆ ษ ณ า ( PRACTICE IN ADVERTISING PRODUCTION) การฝึ กปฏิ บั ติ ก ารคิ ด วิ เ คราะห์ โ จทย์ ท าง การตลาด การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย การวางแผนงานโฆษณา การสร้ างสรรค์ งานโฆษณาให้ สอดคล้ องกั บ โจทย์ ปั ญ หาทางการตลาด และถู ก ต้ องตาม จรรยาบรรณในวิชาชีพ การผลิตงานโฆษณาตามกระบวนการวางแผนสื่อโฆษณา ด้ วยโปรแกรม คอม พิ ว เต อร์ กราฟฟิ ก การโฆ ษ ณ าทางสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ์ สื่ อ วิทยุกระจายเสียง และภาพยนตร์ โฆษณา การนาเสนองานขายผลงานโฆษณา อย่างมืออาชีพ

Experience of Learning

233


ภาพที่ 1 การเรียนการสอนกับการสร้ างแรงจูงใจในการสร้ างศักยภาพในการประกวด

พัฒ นาการเรี ย นการสอนโดยการออกแบบการเรี ยนการสอนจากเดิ ม ทฤษฎีเพียงอย่างเดียว หรื อทฤษฎีและปฎิบตั ิ ออกแบบรายวิชาเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนฝึ ก ปฏิบตั ิอย่างจริ งจังตามกระบวนการในสายวิชาชีพ โดยอาจารย์ออกแบบการเรี ยน การสอน จานวน 6 ชัว่ โมงออกแบบกิจกรรม เรี ยนแบบ Active Learning เพื่อให้ มี เวลาเพียงพอต่อการฝึ กวางแผนเพื่อฝึ กปฏิบตั ิ จากนันก ้ าหนดนักศึกษาผู้ที่เรี ยน รายวิชานี ้ต้ องเรี ยนในชัน้ ปี ที่ 3 เทอม 2 เพื่อนาความรู้ มาใช้ ในภาคปฎิบตั ิ โดยมี การให้ นกั ศึกษาเลือกเรี ยนเป็ นรายวิชาเอกเลือก เป็ นสมัครเข้ าสัมภาษณ์ เพื่อเข้ า เรี ยน ในลักษณะของรายวิชาเอกเลือก ผู้เรี ยนสามารถที่จะเลือกเรี ยนรายวิชาที่มี ความสนใจในการเรี ยนเพื่อเพิ่มศักยภาพให้ กับผู้เรี ยนได้ ปกติโดยส่วนใหญ่ ของ ผู้เรี ยนจะเลือกเรี ยนในรายวิชาที่ไม่ซบั ซ้ อนและใช้ เวลาไม่มากในการเรี ยน แต่การ เรี ยนในรายวิชา ADS456 การปฏิบัติ การโฆษณา เป็ นรายวิชาที่ใช้ เวลาในการ ปฏิบตั ินานกว่าปกติที่เรี ยน เมื่อเทียบกับรายวิชาเอกเลือกต่างๆ

234

Experience of Learning


เป้าหมายของการเรี ยน ADS456 ผลิตสื่อจานวน 3 ชิ ้น เรี ยนฝึ กทักษะผ่าน การเรี ย นโดยการลงมื อ ปฏิ บั ติ (Learning by Doing) เพื่ อ ใช้ ส าหรั บ การวั ด ประเมิ น ผล ให้ ผ้ ูเรี ยนเรี ยนรู้ ด้ วยตนเอง โดยออกแบบเพื่ อให้ นักศึกษาได้ แก้ ไข ปั ญหาจากโจทย์ในการเรี ยนรู้ แบบ PBL (Problem Based Learning)ของผู้เรี ยน โดยใช้ โจทย์ จ ริ ง ที่ อ ยู่ ใ นสายวิ ช าชี พ เพื่ อ ให้ ผู้ เรี ย นได้ ศึ ก ษาและแลกเปลี่ ย น ประสบการณ์ แก้ ไขปั ญ หาและทางออกที่ดีที่สดุ จากโจทย์ ที่ได้ รับ รวมถึงการ สร้ างแรงจูงใฝ่ เรี ยนรู้ เพื่อให้ เกิดผลสัมฤทธิ์ โดยสร้ างแรงจูงใจให้ นกั ศึกษามีความ ตัง้ ใจ มี ความมุ่งมั่น มีค วามอดทนที่ จะมีส่วนร่ วมในกระบวนการพัฒ นาตลอด รายวิชาที่เรี ยนทังผู ้ ้ เรี ยนและผู้สอน กระบวนการเรียนรู้ 1. กาหนดวัตถุประสงค์ ในการเรี ยนเพื่อพัฒนานักศึกษา ภายใต้ โจทย์ กรณีศกึ ษาจริ ง เพื่อให้ นกั ศึกษาเรี ยนรู้จากโจทย์จริ งโดยให้ ผ้ เู รี ยนเลือกโจทย์ในการ ทาจาก 5 โจทย์เลือก 2 โจทย์ในการฝึ กปฏิบตั ิแบบทีม และ 1โจทย์แบบคนเดียว เป้ า หมายของการเรี ย นเพื่ อ ให้ นัก ศึ ก ษา”ผลิ ต ผลงานอย่ า งมื อ อาชี พ ”โดยให้ นักศึกษาที่เรี ยนเปรี ยบเสมือน Sim Agency ในการรับโจทย์ซงึ่ โจทย์ที่ให้ นกั ศึกษา ท าเป็ น โจทย์ ที่ ป ระกวดจริ ง ซึ่ง อาจารย์ ผ้ ูส อนต้ อ งคัด เลื อ กในช่ ว งระยะเวลาที่ นักศึกษาเรี ยน 2. นัก ศึ ก ษาแบ่ ง ที ม เพื่ อ ให้ นัก ศึ ก ษาเกิ ด การแข่ ง ขัน ในการท างาน เดียวกัน ภายใต้ Sim Agency เดียวกัน ตามกระบวนการโดยให้ นักศึกษาแบ่ง ความถนัด 2 แบบ คือ 2.1 ความถนัด ที่ นัก ศึ ก ษาถนัด และสิ่ ง ที่ นัก ศึ ก ษาสนใจ โดยให้ นักศึกษาที่มีความถนัดทาชิ ้นที่ 1

Experience of Learning

235


2.2 สิ่งที่นกั ศึกษาสนใจทาชิ ้นที่ 2 เพื่อให้ นกั ศึกษาได้ เรี ยนรู้ จากสิ่งที่ ผลิตในชิ ้นที่ 2 ว่านักศึกษาค้ นพบความสามารถหรื อไม่ 3. ให้ นกั ศึกษาออกแบบการเรี ยนในแต่ละสัปดาห์ กับโจทย์ที่นกั ศึกษา ต้ อ งฝึ ก ปฏิ บัติ ต ามกระบวนการ เพื่ อ ให้ นัก ศึ ก ษาได้ วางแผนกระบวนการคิ ด กระบวนการทางาน การแบ่งกลุม่ ในการผลิตผลงาน การผลิตผลงานให้ สอดคล้ อง กับความเป็ นจริ งในเวลาที่โจทย์กาหนด หมายเหตุ โดยให้ ทีมแต่ละทีม ประชุมกันเพื่อวางแผนในกระบวนการคิด กระบวนการขายความคิ ด กระบวนการ Pre-Production กระบวนการผลิ ต กระบวนการหลังการผลิต และ กระบวนการนาเสนอผลงาน 4. ในกระบวนการเรี ยน จานวน 6 ชั่วโมง กาหนดให้ นกั ศึกษามีความ รับ ผิด ชอบตรงเวลาในการฝึ ก ปฏิ บัติ มี กฏที่ชัดเจนในเรื่ องการตรงต่อ เวลา ถ้ า นักศึกษาสายจะถูกตัดเงิน เก็บเงินกองกลาง เมื่อสิ ้นเทอมจะนาเงินค่าปรับมาทาน ขนมร่วมกัน การแต่งกายให้ นกั ศึกษาแต่งกายตามสายงานที่นกั ศึกษาเลือกเพื่อ ฝึ กบุคคลิกภาพ 5. ในการนาเสนอขายไอเดีย จะให้ นกั ศึกษาแต่ละทีมนาเสนอโดยแบ่ง สาย 5 ทีมใน Sim Agency นาเสนอไอเดียพร้ อมให้ เพื่อนในทีมอื่นๆฟั งเพื่อร่วมกัน พัฒนาไอเดีย ในช่วงของกระบวนการนาเสนอจะมีช่วงการฟั นไอเดีย โดยนาไอเดีย หรื อสิง่ ที่ดีกว่าเข้ ามาแทนที่เพื่อหาสิง่ ที่ดีที่สดุ

236

Experience of Learning


ภาพที่ 2 การนาเสนอแนวคิดจากโจทย์จริง บริษัท Isobar

6. หลังจากนัน้ ให้ ที ม แต่ละที ม เตรี ย มวางแผนในการผลิต นัก แสดง สถานที่ถ่ายทา อุปกรณ์ในการผลิตและหลังการผลิต

ภาพที่ 3 การประชุมทีมนอกห้ องเรียน

Experience of Learning

237


ภาพที่ 4 ภาพการออกกองผลิตงานโฆษณา

ภาพที่ 5 ประมวลภาพการถ่ายทา

238

Experience of Learning


การสร้ างแรงจูงใจในการสร้ างศักยภาพ แรงจูงใจมีสว่ นสาคัญทาให้ เกิดการเรี ยนรู้ และการกระตุ้นให้ มีแรงจูงใจ จะทาให้ การเรี ยนรู้ ได้ ผลดี โดยมีการสอนอยู่บนฐานของการให้ ความสาคัญ กับ ผู้เรี ยนในการเรี ยนรู้ กฤษมันต์ กล่าวว่า แรงจูงใจภายใน (Internal Motivation) เป็ นสภาวะที่ เกิดขึ ้นจากแรงกระตุ้นในตนเอง (Intrinsic) และถ้ าแสดงออกเป็ นการกระทาก็จะ เป็ นการกระทาที่สนองความต้ องการและความปราถนาที่มีอยูใ่ นตัวตน โดยอาศัย การพูดคุยกับนักศึกษาที่เรี ยนเพื่อให้ เข้ าใจกับรายวิชาเอกเลือก เพื่อให้ นกั ศึกษา ตัด สิ น ใจเลื อ กอี ก ครั ง้ โดยนัก ศึ ก ษาเลื อ กเรี ย นแบบเต็ ม ใจแรงจู ง ใจภายนอก (External Motivation) เช่น ค่านิยมในสาขาวิชาที่เรี ยน รางวัลและเกียรติยศที่ได้ จากการเรี ยน แรงจูง ใจเรี ย นรู้ หรื อ แรงจูงใฝ่ สัม ฤทธิ์ นัน้ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกับ ความ ปราถนาของนักศึกษาที่จะมีส่วนร่ วมในกระบวนการของการเรี ยนรู้ เพื่อบรรลุหรื อ สัมฤทธิ์ ผลตามความปราถนา การศึกษาระดับอุดมศึกษานี ้ไม่ใช่เป็ นการศึกษา ภาคบังคับ และนักศึกษาก็มีเหตุผลของความปราถนาอยูภ่ ายใต้ การให้ ความสนใจ หรื อ การไม่สนใจในกระบวนการเรี ย นรู้ และเหตุผลนัน้ เป็ นมูลฐานของแรงจูงใจ เรี ยนรู้ของนักศึกษา สิง่ ที่ควรให้ ความสาคัญอีกอย่างหนึง่ คือ แรงจูงใจเรี ยนนรู้ นนั ้ นักศึกษาจะแสดงออกมาให้ เห็นได้ จากความตังใจ ้ ความมุง่ มัน่ ความอดทนที่จะมี ส่วนร่ วมในกระบวนการของการเรี ยนรู้ อย่างต่อเนื่องและมีระยะเวลานาน การ เรี ยนรู้ จะเกิดขึ ้นเมื่ออาจารย์ผ้ ทู ี่เป็ นผู้สอนคาดหวังจะให้ นกั ศึกษาที่เป็ นผู้เรี ยนได้ เกิดการเรี ยนรู้ นักศึกษาก็จะเกิดการเรี ยนรู้ได้ เช่นกัน และนักศึกษาจะมีแรงจูงใจ ในการเรี ยนรู้ ถ้าพวกเขามีความศรัทธาในตัวอาจารย์ โดยในการเรี ยนการสอนใน รายวิชานี ้มีปัจจัยในการสร้ างแรงจูงใจเรี ยนรู้ ดังนี ้ อาจารย์ ผ้ ูสอน สร้ างแรงจูงใจในการเรี ยน จึงได้ นาตัวอย่างของรุ่ นพี่ที่ ประสบความสาเร็ จมาเป็ นต้ นแบบจากกระบวนการเรี ยน A-Class เพื่อให้ นกั ศึกษา Experience of Learning

239


กาหนดเป้าหมายโดยกาหนดให้ สงู เพื่อให้ นกั ศึกษาพยามยามไปให้ ถึงเป้าหมาย ให้ นักศึกษาคิดให้ ละเอียดถี่ถ้วนพร้ อมอธิ บายวิธีการในการผลิตเพื่อให้ ถึงเป้าหมาย อย่างมีเหตุและมี ผลในการผลิตผลงาน อาจารย์ ผ้ ูสอนจะเป็ นการเป็ นที่ ปรึ กษา ควบคุม Sim Agency และ พัฒ นาไอเดี ย ในภาพรวมแบบมหภาค คื อ การให้ คาปรึ กษาในทุกๆทีม และให้ ทุกทีมสามารถเข้ าใจการทางานในแต่ละทีมเพื่อนา ข้ อดีข้อเสีย มาพัฒนาทีมให้ ดียิ่งขึ ้น เข้ าใจเหตุและผลของที่มาของความคิด ดูแล นักศึกษาทุกทีมเพื่อให้ นกั ศึกษาสามารถพัฒนาผลงานได้ ตามการวางแผนในแต่ละ สัป ดาห์ รวมทัง้ ให้ ที ม ในแต่ละที ม น าเสนอไอเดี ย ในงานขอที ม ตัวเอง เพื่ อ ให้ เพื่ อ นๆที ม อื่ น เสนอแนะโดยสร้ างสรรค์ เป็ นการฝึ ก นัก ศึ ก ษาในการฟั ง การ เสนอแนะและการยอมรับความคิดของบุคคลอื่นเพื่อนาไปปรับใช้ ให้ เหมาะสมกับ ชิน้ งานของที่ตัวเอง ซึ่งผู้เรี ยนทุกทีมจะทราบแนวคิดของเพื่อนๆ ถื อว่าเป็ นการ กระตุ้นให้ ทีมต่างๆ เร่งพัฒนาผลงานและการแก้ ไขข้ อบกพร่องเพื่อให้ ได้ แนวคิดที่ดี ที่สดุ ในการผลิตชิ ้นงานที่มีคณ ุ ภาพที่สดุ ในส่วนของการเตรี ยมการผลิตผู้เรี ยนจะ วางแผนและเตรี ยมงานแบบมืออาชีพในกระบวนการเตรี ยมจึงถือเป็ นส่วนสาคัญ ซึง่ ผู้เรี ยนจะต้ องนาเสนอให้ ผา่ นทุกกระบวนการ เช่น เสื ้อ/ผ้ า หน้ า/ผม สถานที่ถ่าย ทา การกาหนดมุมภาพ นักแสดงกับการแสดง การจัดแสง จะต้ องสอดคล้ องกับ แนวคิดที่นาเสนอแต่ละกลุ่ม การจัดเตรี ยมอุปกรณ์ ในการผลิตจะมีการวางตัว ผู้เรี ยนที่มีความสนใจในการผลิต และแต่ละทีมจะฝึ กการใช้ อปุ กรณ์ พร้ อมถ่ายเท ความรู้ ที่ถนัด วิธีลดั ให้ กับทีม อื่นๆ เพื่อพัฒ นาข้ อดีในการท างานแต่ละทีมที่ ไม่ เหมือนกันเพื่อให้ นกั ศึกษาเรี ยนรู้ซงึ่ กันและกัน การสร้ างแรงจูงใจแบบจุลภาค โดยให้ คาปรึ กษาแยกแต่ละทีมเพื่อแก้ ไข ปั ญหาแต่ละทีมจากการนาเสนอภาพรวม และรายบุคคลในทีม เพื่อลดปั ญหาใน ตัวของนักศึกษาแต่ละคนในระยะยาวของการเรี ยนในรายวิชา วิธีการกระตุ้นแบบ จุลภาค คื อ การน าความคื บ หน้ า ของที ม อื่ น ๆ ในการวางแผนต่างๆ มาให้ เพื่ อ กระตุ้นให้ แต่ละทีมพัฒนาได้ ดีขึ ้น ทุกทีมจะไม่เห็นความคืบหน้ าในช่วงการผลิต 240

Experience of Learning


แต่จะทราบจุดเด่นของทุกๆทีมในการผลิตเพื่อพัฒนา โดยใช้ เวลาในการเตรี ย ม ผลิต หรื อช่วงก่อนผลิตที่ทีมต่างๆได้ ผลิตก่อนนามาแก้ ไข เมื่อเสร็ จทุกกลุม่ จะมีการ สรุ ปการผลิตผลงานเพื่อเป็ นแนวทางในการทางานครัง้ ต่อไปโดยองค์รวม ในส่วน อาจารย์ผ้ สู อนต้ องรับฟั งผู้เรี ยนในแบบมหภาคและจุลภาค พร้ อมทังแก้ ้ ไขปั ญหา และกระตุ้นให้ ผ้ เู รี ยนมีขวัญและกาลังใจในการผลิตผลงานที่มีคุณภาพ โดยส่วน ใหญ่ผ้ สู อนใช้ การกระตุ้นในแบบจุลภาคเพื่อสร้ างแรงขับให้ ผ้ เู รี ยนมากกว่ามหภาค เนื่องจากนักศึกษาแต่ละคนแต่ละทีมมีความแตกต่างในด้ านแรงสัมฤทธิ์ รวมถึง ปั จจัยภายนอกที่แตกต่างกัน สร้ างสิ่ ง แวดล้ อมในการเรี ย น คื อ การจั ด สภาพบรรยากาศของ ห้ องเรี ยนเพื่อให้ นกั ศึกษาเกิดการเรี ยนรู้ และพัฒนาผลงาน ในการเรี ยนใช้ ห้องใน การปรั บเปลี่ยนการจัดเก้ าอีเ้ พื่ อให้ เหมาะกับการท างานแบบประชุม ใหญ่ และ สามารถจัดกระจายเป็ นทีมเพื่อใช้ ในการประชุมย่อย พร้ อมอุปกรณ์เพื่อสนับสนุน การเรี ยนรู้ ใช้ เทคโนโลยี Facebook กลุม่ การใช้ Messager เข้ ามามีสว่ นร่วมใน การสื่อสาร เพื่อใช้ เป็ นกลยุทธ์ ในการสื่อสาร ติดตาม แบบมหาภาคและจุลภาค เพื่อให้ นกั ศึกษารายงานในเวลาและนอกเวลาเรี ยน ติดตาม รายงานผลต่อวัน ต่อ การปฏิบัติการผลิตต่างๆ เพื่อกระตุ้นทุกทีม ทุกคน รวมทัง้ อาจารย์ผ้ ูสอนที่ต้อง ควบคุม เตรี ยมสอน แก้ ไขปั ญหาต่างๆที่เกิดขึ ้น คณะนิเทศศาสตร์ ส่งเสริ มนักศึกษาในเรื่ องอุปกรณ์การฝึ กปฏิบตั ิ การ ใช้ ห้องปฏิบตั ิการที่ส่งเสริ มการเรี ยนรู้ อย่างจริ งจัง การออกไปรับโจทย์จริ งคณะ นิเทศศาสตร์ จะทาเรื่ องรถเดินทางไปหน่วยงาน การออกจดหมายลาเรี ยนเพื่อลด ความกังวลใจในการกระมบการเรี ยนกับรายวิชาอื่นๆ รวมทังอาจารย์ ้ ผ้ สู อนติดต่อ อาจารย์ ที่นักศึกษาไม่ได้ เขียนเพื่อปรึ กษาและวิธีการแก้ ไข เช่น นัง่ เรี ยนกับกลุ่ม เรี ยนอื่น เรี ยนออนไลน์ E-Learning หรื อ การส่งงานย้ อนหลัง ในกรณีฝึกปฏิบตั ิมี การเปิ ดห้ องปฏิบตั ิการให้ นกั ศึกษาทาทังวั ้ นทังคื ้ น เพื่อให้ นกั ศึกษาปฏิบตั ิงานได้

Experience of Learning

241


ทันตามโจทย์ที่กาหนด โดยส่งเสริ มนักศึกษาอย่างแท้ จริ ง เพื่อให้ นกั ศึกษาทางาน ได้ อย่างเต็มที่ ผลที่ได้ รับ 1. ผู้เรี ยนการสอน ADS456 ปฏิบตั ิการผลิตสื่อโฆษณา สามารถผลักดัน นักศึกษาที่ค้นพบศักยภาพของตัวเองได้ มากยิ่งขึ ้น มีการทุ่ มเทในการคิด เตรี ยม ผลงาน ผลิตผลงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพจากโจทย์ที่นกั ศึกษาได้ เลือกทา และ ได้ รับรางวัลจากโจทย์ที่นกั ศึกษาเลือกทา

ภาพที่ 6 ภาพหมูใ่ นโครงการประกวด “Close Up ยิ่งใกล้ ยิ่งมัน่ ใจ” ทุนการศึกษา 100,000 บาท

242

Experience of Learning


ภาพที่ 7 ภาพหมูใ่ นโครงการประกวด “นักผลิตสื่อสร้ างเสริมสุขภาวะสร้ างแรงบันดาลใจ”

2. ผู้เรี ยนมีประสบการณ์การทางานร่ วมกันเป็ นทีม มีกระบวนการทางาน ตามกระบวนการอย่างเป็ นระบบ และสามารถให้ เหตุผลในการทา 3. ผู้เรี ยนเมื่อเรี ยนผ่านรายวิชานี ้สามารถมีชุดความคิดในการทางานเป็ น ทีมและนาโจทย์อื่นๆ มาพัฒนาและได้ ผลลัพท์ที่ดีในการทางาน เช่น นักศึกษาส่ง ผลงานต่อและได้ รับรางวัลจากการประกวด

ภาพที่ 8 ภาพรับรางวัล การแข่งขันการออกแบบโปสเตอร์ และสื่อมัลติมีเดีย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร”

Experience of Learning

243


ข้ อเสนอแนะ รายวิชาฝึ กปฏิบตั ิเป็ นรายวิชาที่ควรให้ คาปรึ กษาและหาแนวทางในการ แก้ ไขให้ นกั ศึกษา เพื่อให้ นกั ศึกษาผลิตผลงานได้ ดีที่สดุ ภายใต้ โจทย์ที่นกั ศึกษา เลือกทา รายวิชาภาคทฤษฎี หรื อ ภาคปฏิบตั ิสามารถใช้ โจทย์จริ ง จากหน่วยงาน หรื อการประกวดเพื่อให้ นกั ศึกษาเกิดการท้ าทายจากโจทย์ ปั จจัยภายนอก ให้ เกิด แรงจูงใจจากภายใน และภายนอกที่กระตุ้นให้ เกิดการพัฒนาผลงานจากผลงาน นักศึกษาสูผ่ ลงานมืออาชีพ รวมถึงแรงจูงใจจากการเรี ยน และรางวัลที่ได้ รับจาก การแข่งขันซึง่ ถือเป็ นผลตอบรับจากการทางาน การเรี ยนการสอนกับการสร้ างแรงจูงใจในการสร้ างศักยภาพสู่มืออาชีพ ต้ อ งเป็ น โค้ ช ที่ ค อยเคี ย งข้ า ง ช่ ว ยนัก ศึ ก ษาเพื่ อ พัฒ นาผลงงานในทุก ๆด้ า นที่ สามารถส่งเสริ มนักศึกษา เรี ยนรู้ กับผู้เรี ยนและสามารถกากับผู้เรี ย นให้ เป็ นไปใน แนวทางที่ตงไว้ ั ้ ตามโจทย์ที่นกั ศึกษาเลือก รายการอ้ างอิง กฤษมัน ต์ วัฒ นาณรงค์ . (2552). เทคนิ ค การสร้ างแรงจูงใจเรี ยนรู้ . เอกสาร ประกอบการบรรยายให้ กับคณาจารย์ หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . วิจารณ์ พานิช. (2556). การสร้ างการเรี ยนรู้ ส่ ูศตวรรษที่ ๒๑.กรุ งเทพฯ:มูลนิธิ สยามกัมมาจล.

244

Experience of Learning


Accounting Game ชัยสรรค์ รั งคะภูติ เกมนัก บัญ ชี (Accounting Game) เป็ น การแข่งขัน จ าลองปั ญ หาทาง ธุ ร กิ จ และงานทางด้ านบัญ ชี ซึ่ ง จะเป็ นเกี่ ย วกั บ ประเภทธุ ร กิ จ ซื อ้ มาขายไป (Trading Business) เพื่ อ ให้ ผู้ เล่ น ได้ รั บ ความ รู้ จากการฝึ กปฏิ บั ติ ง านใน สถานการณ์จาลอง โดยเริ่ มต้ นจากการจัดตังธุ ้ รกิจกับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้ อง การจัดทาเอกสารทางธุรกิจ การจัดทาบัญชี และการออกรายงานทางการเงิน เป็ น ระบบเกมภายในเว็ บ ไซค์ ที่ ถูก สร้ างขึน้ สามารถเชื่ อ มต่ อ กัน ผ่า นทางเครื อ ข่า ย อินเตอร์ เน็ตและยังพัฒนาให้ เสมือนกับการทางานจริ งภายในองค์กรมีการทางาน ร่วมกับผู้อื่น เพื่อให้ นกั ศึกษาได้ มีการเรี ยนรู้ในการทางานจริ งภายในบริ ษัทในแต่ละ วัน ระบบเกมนี จ้ ะเริ่ ม ต้ นด้ วยการก่อตัง้ บริ ษั ท ซือ้ สินทรัพ ย์ ซือ้ สิน ค้ าเพื่ อนามา จ าหน่ า ย มี ก ารขายสิน ค้ า ให้ กับ ลูก ค้ า ออกแบบใบส าคัญ ต่า งๆ เช่ น ใบสั่ง ซื อ้ ใบเสร็ จรับเงิน เป็ นต้ น นอกจากนี ้ยังมีการนาเอาภาษี อากรเข้ ามาเพิ่มเติมให้ ระบบ ให้ เสมือนจริ งยิ่งขึ ้น

อาจารย์ ชัยสรรค์ รังคะภูติ อาจารย์ประจาคณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรี ปทุม

Experience of Learning

245


Accounting Game หรื อเกมนักบัญ ชี ถือเป็ น เกมที่ท าให้ นักศึกษาได้ มี การทดลองการท างานจริ ง มี ก ารรั ก ษาเวลาและวางแผนในการท างานตลอด ระยะเวลาในการเล่นเกม ระบบเกมนี ้จะเปิ ดให้ นกั ศึกษาได้ เริ่ มเล่นเป็ นเวลาสอง เดือนในรายวิชาระบบสารสนเทศทางการบัญชีช่วงชันปี ้ ที่ 2 ตลอดระยะเวลาสอง เดือนนักศึกษาจะต้ องทาการวางแผนการทางานร่ วมกับเพื่อน แบ่งหน้ าที่ในการ ทางาน โดยกฎกติการของเกมนัน้ นักศึกษาจะต้ องทาการจัดตังบริ ้ ษัทและโลโก้ ออกแบบใบสาคัญต่างๆ ที่จาเป็ นต้ องใช้ ในบริ ษัทตนเอง นักศึกษาจะต้ องทาการซื ้อ สินทรัพย์เข้ ามาภายในบริ ษัท เช่น อุปกรณ์ สานักงาน เครื่ องใช้ สานักงาน เครื่ อง ตกแต่ง เป็ นต้ นและจะต้ องมีการเช่าโกดังเพื่อใช้ ในการจัดเก็บสินค้ า เช่าโฆษณา เพื่อกระจายข่าวโดยมีช่องทางการกระจายข่าวที่หลากหลายเช่น ทางหนังสือพิมพ์ วิทยุ หรื อแม้ กระทัง่ ทางโทรทัศน์ เพื่อให้ ลกู ค้ ารู้ จกั สินค้ าของบริ ษัทและลูกค้ าจะมา สัง่ ซื ้อสินค้ า นักศึกษาจะต้ องทาการขายสินค้ าให้ กบั ลูกค้ า และนาเช็คของลูกค้ าไป เข้ าธนาคารทาให้ บริ ษัทมีรายได้ จากการขายสินค้ า สาหรับลูกค้ าที่ซื ้อสินค้ าเป็ นเงิน เชื่อนันนั ้ กศึกษาจะต้ องทาการออกใบวางบิลให้ แก่ลกู ค้ าเมื่อครบกาหนดจ่ ายเงิน นอกจากนันนั ้ กศึกษาจะต้ องทาการจ่ายเงินค่าขนส่งสินค้ า จ่ายค่าโทรศัพท์ จ่ายค่า สาธารณูปโภค จ่ายเงินเดือนและจ่ายเงินภาษี ให้ แก่กรมสรรพากร นักศึกษาจะได้ มี การเรี ยนรู้ เกี่ยวกับการคานวณภาษี ซื ้อ ภาษี ขาย ภาษี หกั ณ ที่จ่าย และยังรวมไป ถึงการค านวณภาษี บุค คลที่มี เงิ น ได้ ด้านการหักค่าใช้ จ่ายลดหย่อ นส่วนตัว ค่า ประกันชีวิต เป็ นต้ นให้ แก่พนักงานภายในบริ ษัทของตนเอง นักศึกษาจะต้ องทาการ วางแผนการบริ หารเงินภายในธุรกิจให้ มีสภาพคล่องอยู่เสมอ เพื่อให้ มีเงินไปจ่าย ชาระหนี ้ได้ ตามกาหนด หากไม่ชาระหนี ้ตามกาหนดนักศึกษาจะถูกตัดคะแนนตาม จานวนวันที่ล่าช้ า นอกจากนีใ้ นแต่ละวันนักศึกษาจะต้ องทาการบันทึกรายการ รายวันลงในลงโปรแกรมบันทึกบัญชี เพื่อทาการออกงบแสดงฐานะการเงินและงบ กาไรขาดทุนของบริ ษัทเมื่อจบเกม

246

Experience of Learning


ภาพที่ 1 ภาพรวมของเกมนักบัญชี นักศึกษาจะได้ เรี ยนรู้ จากทางานในทุกด้ านของแผนกบัญชีและการเงิน ของบริ ษัท ซึ่งเกมนักบัญชีนี ้การรักษาเวลาจะเป็ นส่วนสาคัญอย่างมาก เนื่องจาก ระบบเกมใช้ วั น และเวลาจริ ง หากนั ก ศึ ก ษาไม่ ท าการจ่ า ยเงิ น ภาษี ให้ แก่ กรมสรรพากรตามกาหนด นักศึกษาจะต้ องจ่ายค่าปรับให้ แก่กรมสรรพากรและจะ ถูก หัก คะแนนภายในระบบตามจ านวนวัน ที่ นัก ศึก ษาล่าช้ า โดยเกณฑ์ ก ารให้ คะแนนนัน้ ระบบจะค านวณตามค่ า ประสบการณ์ ที่ นัก ศึ ก ษาเข้ า มาเล่ น ค่ า ประสบการณ์จะเพิ่มขึ ้นก็ต่อเมื่อนักศึกษาเข้ ามาทางานในระบบ นักศึกษาจะต้ อง ทาการขายสินค้ าคนละ 40 รายการ เพื่อให้ นกั ศึกษาเข้ าใจในการทางานมากขึ ้น และไม่เป็ นการเอาเปรี ยบเพื่อนร่ วมงาน การทางานร่ วมกันจะช่วยให้ นกั ศึกษาได้ รู้ จั ก การแก้ ปั ญหา การเรี ย นรู้ นอกต าราเรี ย น การน าความรู้ ที่ ได้ เรี ย นรู้ มา ประยุกต์ใช้ ในการทางานจริ งภายในอนาคต

Experience of Learning

247


ภาพที่ 2 รายละเอียดผลคะแนนการดาเนินงานภายในเกมนักบัญชี การพัฒนาการเรี ยนการสอนส่งเสริ มในแนวทางที่ให้ นกั ศึกษาได้ มีการลง มื อ ปฏิ บัติ จ ริ ง และได้ มี ป ระสบการณ์ ในการด าเนิ น งานจริ ง จะท าให้ นัก ศึ ก ษา สามารถนาความรู้ มาแก้ ไขปั ญหาได้ เนื่องจากในการทางานจริ งนักศึกษาจะต้ องมี ความรอบครอบ ใส่ใจ และรับผิดชอบในการทางานเพราะหากเกิดการผิดพลาดจะ ทาให้ บริ ษัทเกิดความเสียหายได้ เกมนักบัญชีจึงเป็ นทางเลือกที่น่าสนใจในการ นามาให้ นกั ศึกษาได้ เรี ยนรู้และระบบเกมมีความเสถียรสูง ข้ อมูลในโปรแกรมเป็ น ข้ อมูลที่อ้างมาจากข้ อมูลจริ งในปั จจุบนั เช่น อัตราฐานภาษี การหักภาษี ณ ที่จ่าย การค านวณภาษี ซื อ้ ภาษี ข าย การคิ ด ส่ว นลดให้ แ ก่ ลูก ค้ า เป็ น ต้ น นัก ศึ ก ษา สามารถนาความรู้ มาใช้ ในการดาเนินงานในการเล่นเกมจาลองได้ เพื่อเสริ มสร้ าง ทักษะทางการบัญชีให้ แก่นกั ศึกษาทาให้ นกั ศึกษามีความแม่นยา มีความเข้ าใจใน วิช าที่เรี ยนมากขึน้ จากการที่ได้ ท าความเข้ าใจเพื่ อน ามาแก้ ไขปั ญ หาที่ เกิ ดขึน้ ภายในธุรกิจจาลองของตนเองซึ่งถือเป็ นการเรี ยนรู้นอกเวลาเรี ยนได้ อย่างไม่ จากัด วัน เวลา หรื อสถานที่ การพัฒนาการเรี ยนการสอนโดยใช้ เกมนักบัญชีให้ แก่นกั ศึกษาภายใน คณะบัญ ชี นัน้ มี วัต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และให้ สอดคล้ อ งกั บ นโยบายของ มหาวิทยาลัยศรี ปทุมที่มีการมุ่งเน้ นให้ นกั ศึกษาได้ มีการเรี ยนรู้ จากประสบการณ์ ลงมื อ ปฏิ บัติ จริ งเพื่ อ เพิ่ ม เสริ ม ทัก ษะทางด้ านความคิ ด และการตัด สิน ใจให้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาก่ อ นที่ นั ก ศึ ก ษาจะออกไปท างานในบริ ษั ท จริ ง นั ก ศึ ก ษาจะได้ มี 248

Experience of Learning


ความคุ้นเคยกับระบบการทางานภายในองค์กร เช่นใบเอกสารสาคัญเกี่ยวกับการ ดาเนินงานของธุรกิจหรื อแม้ กระทัง่ ภาษี อากรชนิดต่างๆ ที่จะต้ องเจอในการทางาน ซึ่งถือว่าเป็ นส่วนสาคัญเป็ นอย่างมาก เพราะเมื่อเกิดการผิดพลาดจะทาให้ บริ ษัท เกิดความเสียหายและอาจจะต้ องเสียค่าปรับให้ กบั กรมสรรพากรซึ่งกรณีนี ้ถือเป็ น ความรับผิดชอบในการปฏิบัติของนักบัญชี นักบัญชีจะต้ องมีการศึกษาเพิ่มเติม อย่างต่อเนื่องเพราะภาษี มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ทุกปี มีการปรับเพิ่มค่าลดหย่อน หรื อแม้ กระทัง่ การขยายฐานอัตราภาษี ดังนันเกมนั ้ กบัญชีซึ่งมีการคานวณภาษี ตามอัตราจริ งที่กฎหมายกาหนดทาให้ นกั ศึกษาได้ ฝึกการทางานจริ ง ได้ เรี ยนรู้และ ปฏิบัติจริ งเพื่อเตรี ยมความพร้ อมในการทางานภายในอนาคตอันใกล้ ทาให้ เกม นักบัญ ชี เป็ นทางเลือกที่น่ าสนใจและเป็ นประโยชน์ ในการน ามาเสริ ม ศักยภาพ ให้ แก่นกั ศึกษา และยังช่วยฝึ กให้ นกั ศึกษาไม่ย่อท้ อต่ออุปสรรคและปั ญหาในการ ท างาน โดยรายวิ ช าระบบสารสนเทศทางการบัญ ชี มี วัต ถุป ระสงค์ ในการน า กิจกรรมมาเสริ มสร้ างพัฒนาความรู้ นอกเวลาเรี ยนให้ แก่นกั ศึกษาคือ 1. เพื่อเปิ ด โอกาสให้ นกั ศึกษาได้ แสดงความสามารถในการออกแบบระบบบัญชีประยุกต์ใช้ กับสถานประกอบการจริ ง 2. เพื่อเปิ ดโอกาสให้ นกั ศึกษาสามารถนาเอาแนวคิด หลัก การปฏิ บัติ ก ารวางระบบบัญ ชี ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ กั บ องค์ ก รธุ ร กิ จ ได้ อย่ า งมี ประสิทธิภาพและ 3. เพื่อนาเสนอผลงานการออกแบบระบบบัญชีของนักศึกษาได้ ซึง่ ระบบเกมนักบัญชีมีระบบการดาเนินงานสอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ของรายวิชา ระบบสารสนเทศทางการบัญ ชี ซึ่งผลการวัดความสาเร็ จจากความพึงพอใจของ นักศึกษาที่ร่วมกิจการเท่ากับร้ อยละ 98.60 ซึง่ ถือว่าอยูใ่ นระดับที่ดีมาก

ภาพที่ 3 นักศึกษาและคณะอาจารย์ ผ้ ูสอนเกมนักบัญชี Experience of Learning

249


250

Experience of Learning


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.