การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation

Page 1

การจัดการเรียนรู้ ในยุค Disruptive Innovation

รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย วงษ์ใหญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


การจัดการเรียนรู้ ในยุค Disruptive Innovation

รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย วงษ์ใหญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย วงษ์ใหญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล พิมพ์เผยแพร่ มกราคม 2562 แหล่งเผยแพร่ ศูนย์ผู้นานวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้ www.curriculumandlearning.com พิมพ์ที่ ศูนย์ผู้นานวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้, กรุงเทพมหานคร หนังสือเล่มนี้ไม่มีลิขสิทธิ์ จัดพิมพ์เพื่อส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และการแบ่งปัน


คานา หนังสือ “การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation” เล่ ม นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ น าเสนอภาพรวมของสั ง คมในยุ ค Disruptive Innovation และเสนอแนวทางการจั ด การเรี ย นรู้ ที่ ส ามารถ Disrupt ผู้เ รียนให้มี ความยึดมั่ นผูก พันกั บ การเรี ย นรู้ เพื่อเตรียมความพร้อ มไปสู่สัง คมอนาคต ผู้เ ขียนได้เ ขียนหนังสือ เล่มนี้จากการศึกษาค้นคว้าเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ผสมผสานกับ ประสบการณ์และผลการวิจัยที่ผ่านมาของผู้เขียน หวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า หนั ง สื อ เล่ ม นี้ จะเป็ น ประโยชน์ ต่อผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ได้มากพอสมควร

รองศาสตราจารย์ ดร.วิชัย วงษ์ใหญ่ รองศาสตราจารย์ ดร.มารุต พัฒผล


สารบัญ 1. ความเป็นมาของ Disruptive innovation 2. Disruptive Innovation ทางการจัดการเรียนรู้ 3. การสร้าง Disruptive Innovation ทางการจัดการเรียนรู้ 4. ลักษณะนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ที่เป็น Disruptive Innovation 5. บทบาทผู้สอนในการจัดการเรียนรู้ ในยุค Disruptive Innovation 6. ปัจจัยความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้ ในยุค Disruptive Innovation 7. บทสรุป บรรณานุกรม

1 5 7 10 19 25 27 29


บัญชีแผนภาพ 1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนือ่ งของบริษัทคอมพิวเตอร์ 2. หุ่นยนต์ผู้ประกาศข่าว 3. วงจรการพัฒนา Disruptive Innovation ทางธุรกิจ 4. ผลการสารวจอัตราการเจริญเติบโตของการเรียนการสอน แบบออนไลน์ที่ North Carolina community collage 5. Disruptive Innovation กับ Curve รูปแบบใหม่ 6. รูปแบบการโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน “The 3Es”

3 4 8 11 12 21


การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation 1

การจัดการเรียนรู้ ในโลกยุค Disruptive Innovation 1. ความเป็นมาของ Disruptive innovation Disruptive Innovation คื อ น วั ต ก ร ร ม ทา งธุ ร กิ จ ที ่ ใ ช้ ป ระโยชน์ จ า กเ ทค โน โลยี ด ิ จ ิ ท ั ล (digital technology) สร้างนวัตกรรมที่แตกต่างไปจากการดาเนินการทางธุรกิจแบบเดิมๆ และสามารถเพิ่ ม ส่ว นแบ่ ง การตลาดได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว และรุนแรง เช่ น บริ ษั ท Apple มี Disruptive Innovation คื อ Smart phone โจมตีบ ริษัท Nokia โดยชิง พื้ นที่ ส่วนแบ่ง การตลาดได้ อย่ างรวดเร็ ว จนบริ ษั ท Nokia ไม่ ส ามารถคิ ด ค้ น นวั ต กรรมมาชิ ง พื้ น ที่ ส่ ว นแบ่ ง การตลาดได้ทันท่วงที จึงพ่ายแพ้ไปในสงครามโทรศัพท์มือถือในยุคนั้น ปัจจุบันบริษัท Huawei สร้าง Disruptive Innovation มา ชิง พื้นที่ ส่วนแบ่ง การตลาดของ Apple ด้วยเทคโนโลยี ใหม่ ๆ ที่ ตอบ โจทย์ ค วามต้ อ งการของผู้ บ ริ โ ภคได้ ม ากขึ้ น แต่ Apple ก็ ไ ม่ ห ยุ ด การพัฒนานวัตกรรรมของตนเองเช่นกัน


2 การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation

Disruption Innovation มีจุดเด่น คือ การวิเคราะห์ที่เป็น Big data และการคิดเชิงอนาคต ที่สามารถมองเห็นการเปลี่ยนแปลง ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคตจากสถานการณ์ในปั จจุ บั น และถือว่า เป็น สมรรถนะหลักของนักพัฒ นาหลักสูตรและการเรีย นรู้ ด้วยเช่นกัน ในฐานะที่ต้องพัฒนานวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้ให้ตอบสนอง ความต้องการของผู้เรียนในปัจจุบัน เพราะการศึกษาทุกวันนี้ไม่ได้แข่ง กันที่ความสาเร็จหรือความสามารถในปัจจุบันเท่านั้น แต่ยัง แข่งขันกัน ด้ ว ยการคาดการณ์ อ นาคต และการเตรี ย มรั บ มื อ กั บ เหตุ การณ์ ที่จะเกิดขึ้น Foresight framework and scenario planning Disruptive Innovation เกิ ดขึ้นมาจากการแข่งขันทางธุรกิ จ ที่ ใช้ ความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยี มาสร้ างสรรค์ นวัตกรรม เพื่อเพิ่ม ส่วนแบ่งการตลาด หรือการสร้างตลาดใหม่ ที่ ตอบโจทย์ ความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย Disruptive Innovation ในปัจจุบันมีอยู่ในทุกแวดวงธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจการเงินการธนาคาร ธุรกิจการผลิตสินค้าและบริการ ต่ า งๆ และผู้ ที่ เ ป็ น Disruptive Innovation เท่ า นั้ น ที่ จ ะอยู่ ร อด ในวงการแข่งขันทางธุรกิจ เช่น บริษัทที่ทาธุรกิจเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ถ้ า ต้ อ งการอยู่ ร อดในโลกแห่ ง การแข่ ง ขั น ก็ จ ะต้ อ งมี ก ารพั ฒ นา ผลิตภัณฑ์อยู่ตลอดเวลา หยุดนิ่งไม่ได้ ใครที่ตอบโจทย์กลุ่มเป้าหมาย ได้ดีและเร็วกว่าเท่านั้นที่จะอยู่รอดได้


การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation 3

แผนภาพ 1 การพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่องของบริษัทคอมพิวเตอร์ แหล่งที่มา Christensen, C.M., Horn, M. B., Caldera, L., & Soares L. (2011).


4 การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation

ปัจ จุบันธุร กิ จ ที่ เ กี่ ยวข้อ งกับ การข่าวและประชาสัมพันธ์ มี Disruptive Innovation อย่ า งมากเช่ น กั น หุ่ น ยนต์ (Robotics) ทางานผสานกับปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) อย่างลงตัว ถึง แม้ จ ะยังไม่ เหมือ นมนุษย์แบบ 100% แต่ในอนาคตจะถูก นามาใช้ แทนมนุษย์อย่างแน่นอน นั่นคือ หุ่นยนต์ผู้ประกาศข่าว ประเทศจีน เป็นประเทศแรกที่พัฒนาหุ่นยนต์ผู้ประกาศข่าว สามารถรายงานข่าว เป็นภาษาจีนและภาษาอังกฤษ

แผนภาพ 2 หุ่นยนต์ผู้ประกาศข่าว แหล่งที่มา www.cnn.com


การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation 5

2. Disruptive Innovation ทางการจัดการเรียนรู้ ส่ ว น ท า ง ด้ า น ก า ร ศึ ก ษ า ก็ เ ช่ น กั น มี Disruptive Innovation มากมายในปั จ จุ บั น ที่ ต อบสนองความต้ อ งการของ ผู้ เ รี ย น และเช่ น เดี ย วกั น สถาบั น การศึ ก ษาที่ เ ป็ น ผู้ Disruptive Innovation จะสามารถดึง ดูดความสนใจของผู้เรียนให้เ ข้ามาศึกษา เรียนรู้ได้มากกว่าสถานศึกษาที่ไม่มี Disruptive Innovation และเป็น เหตุผลสาคัญของการปิดตัวของสถาบันการศึกษา ถ้าวิเ คราะห์ลงไปในระดับ ของการจัดการเรียนรู้ จะเห็น ได้ว่า การจัดการเรียนรู้แบบดั้งเดิมที่ผู้สอนถ่ายทอดความรู้ไปยังผูเ้ รียน ด้วยวิธีก ารต่างๆ เช่น การพู ดบรรยาย การมอบหมายงาน เป็นต้น ไม่ ส ามารถตอบสนองความต้ อ งการในการเรี ย นรู้ ข องผู้ เ รี ย น ได้ อี ก ต่ อ ไป มี Disruptive Innovation ที่ ถู ก พั ฒ นาขึ้ น มาแทนที่ ด้วยการเรีย นรู้ผ่านโลกออนไลน์ (online learning) แล้วนาความรู้ เหล่านั้นไปสร้างสรรค์โครงงานหรือนวัตกรรมที่ผู้เรียนสนใจ ผู้ส อนที่ใช้ วิธีการจัดการเรีย นรู้แบบดั้งเดิมจึงไม่ไ ด้ รั บ ความสนใจจากผู้เรียนอีกต่อไป เราเรียกผู้สอนกลุ่มนี้ว่า ถูก Disrupt ส่ ว นผู้ ส อนที่ เ รี ย นรู้ แ ละพั ฒ นาวิ ธี ก ารจั ด การเรี ย นรู้ ข องตนเอง


6 การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation

จนสามารถตอบโจทย์ความต้องการของผู้เรียนได้ ผู้เรียนอยากเข้ามา เรียนรู้ด้วย เรียกผู้สอนกลุ่มนี้ว่า ผู้ Disrupt สิ่งต่างๆ เหล่านี้เป็นสิ่งที่จะต้องเกิดขึ้นในทุกบริบทของการ จัดการเรียนรู้ แทบจะไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ดังนั้นจึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจ ว่า จะเปลี่ยนแปลง Transform อย่างเชื่องช้าหรือว่ารวดเร็ว ในยุคที่ ปลาเร็วกินปลาช้า ไม่ใช่ปลาใหญ่กินปลาเล็ก ถึ ง แม้ ก ารศึ ก ษาหรื อ การจั ด การเรี ย นรู้ จ ะไม่ ใ ช่ ธุ ร กิ จ เหมื อนกั บ องค์ก รภาคเอกชนก็ จ ริง แต่ก็ มี กลุ่มเป้ า หมายคือผู้เรีย น ที่จะต้องสร้า งผลิตภัณ ฑ์ (กิจกรรมการเรีย นรู้) ที่ตอบสนองความ ต้องการของผู้เรียนได้ เพื่อให้การศึกษาหรือการจัดการเรียนรู้ ได้ ท า หน้าที่ในการพัฒนาศักยภาพความเป็นมนุษย์ของผู้เรียนได้อย่างเต็มที่ ผู้เ รียนมี ความพร้อ มที่ จ ะสร้างสรรค์ง านในอาชีพ ของตนเองได้ คือ เป็นผู้ Disrupt ไม่ใช่ถูก Disrupt ดังนั้นเมื่อพิจารณาถึงการจัดการเรียนรู้ในโลกที่เต็มไปด้วย Disruptive Innovation จึ ง ไม่ ใ ช่ ก ารยึ ด รูป แบบการจัด การเรีย นรู้ แบบเดิมไว้โ ดยไม่ เ ปลี่ย นแปลง แล้วสร้างก าแพง comfort zone ไว้ ป กป้ องตนเองไม่ ใ ห้ก ารเปลี่ยนแปลงเข้ า มาคุ ก คาม หากแต่ต้อง ทลายกาแพง comfort zone แล้วสร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้


การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation 7

ที่สามารถ Disrupt สิ่งดึงดูดอื่นที่ไม่มีประโยชน์ต่อผู้เรียน ให้ผู้เรียน มี จิ ต ใจมุ่ ง มั่ น อยู่ กั บ การเรี ย นรู้ แ ละพั ฒ นาศั ก ยภาพของตนเอง อย่างต่อเนื่องผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนต้องการ

3. การสร้าง Disruptive Innovation ทางการจัดการเรียนรู้ การสร้ า งสรรค์ นวั ต กรรม คื อ หั ว ใจของ Disruptive Innovation ในทุกวงการธุรกิจ สาหรับการจัดการเรียนรูก้ ็เช่นเดียวกัน หากไม่มีนวัตกรรมก็ไม่สามารถที่จะเป็นผู้ Disrupt ได้ Disruptive Innovation ท า ง ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ไม่ได้หมายถึงการทาลายหรือแข่งขันกับผู้สอนคนอื่นๆ หากแต่หมายถึง การแข่งขันกับสิ่งยั่วยุอื่นๆ ที่ไม่เป็ นประโยชน์กับผู้เรียนที่แฝงตัวอยู่ ทั้งในโลกจริงและโลกออนไลน์ ที่เข้ามา Disrupt การจัดการเรียนรู้ ในปัจจุบันอย่างมาก ต้องเปลี่ยนจากผู้ถูก Disrupt ไปเป็นผู้ Disrupt ด้วยการ สร้างสรรค์นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับบริบททีแ่ ตกต่าง กันของการจัดการเรียนรู้ ซึ่งต้องอาศัยกระบวนการที่มีประสิท ธิภาพ มี ค วามต่ อ เนื่ อ ง มี ก ารปรั บ ปรุ ง เปลี่ ย นแปลง ยื ด หยุ่ น ไม่ ต ายตั ว เปรียบเทียบกับการสร้างสรรค์นวัตกรรมทางธุรกิจดังแผนภาพต่อไปนี้


8 การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation

แผนภาพ 3 วงจรการพัฒนา Disruptive Innovation ทางธุรกิจ แหล่งที่มา Citi GPS: Global Perspective & Solutions. (2017).

หากพิ จ ารณาในภาพรวมและเชื่ อ มโยงกั บ บริ บ ทของ การจัดการเรียนรู้ จะพบว่า การพั ฒ นานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ที่ เ ป็น Disruptive Innovation นั้น จะมี ลักษณะเป็นวงจรที่มีความ ต่อเนื่องไม่มีที่สิ้นสุด นั่นหมายความว่า ต้องพัฒนาอยู่ตลอดเวลา กระบวนการพัฒนา Disruptive Innovation จากแผนภาพ อธิบายเชื่อมโยงกับบริบทของการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วยขั้นตอน ต่างๆ ดังนี้


การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation 9

ขั้ นตอนที่ 1 การมองเห็นปั ญหา (Insight) ที่ เ กี่ ยวข้อง กับการจัดการเรียนรู้ คือ การรับรู้ว่าปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นคือปัญหา ที่ ต้องแก้ ไข เช่น ผู้เ รียนชอบเล่นเกมมากกว่าท ากิ จกรรมการเรียนรู้ เป็นต้น ขั้นตอนนี้ต้องอาศัยกระบวนการคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ (creativity & ideation) ขั้นตอนที่ 2 คือ การวิเคราะห์และออกแบบการแก้ปัญหา (Problem) ด้วยนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ สาเหตุที่ต้องแก้ไขปัญหา ด้วยนวัตกรรมเนื่องจาก ปัญหานั้นเกิดขึ้นนั้นเกิดขึ้นเพราะทาแบบเดิมๆ ขั้ น ตอนนี้ ต้ อ งอาศั ย การคิ ด เชิ ง นวั ต กรรม (open innovation) ร่วมกับการคิดเชิงออกแบบ (design thinking) หากต้องการศึกษา รายละเอียดของ Design thinking สามารถศึกษาได้จากบทความวิจัย ในวารสารวิจัยและพั ฒ นาหลัก สูตร ปีที่ 8 ฉบับ ที่ 1 ของ จุฑ ารัตน์ บันดาลสิน และคณะ หน้า 159 - 175 ขั้ น ตอนที่ 3 คื อ การทดลองใช้ น วั ต กรรมการจัด การ เรียนรู้เพื่อการแก้ปัญหา (Solution) ซึ่งในขั้นตอนนี้อาศัยการคิดเชิง นวัตกรรม การคิดเชิง ออกแบบ และการทางานแบบ Agile (Agile software) คือ การทางานเป็นทีม เรียนรู้จากความล้มเหลว ยึดหยุ่น กระชับ ลดขั้นตอนที่ไม่ จาเป็น และ Learn startup คือ การเรียนรู้ ไปพร้อมกั บ การทดลองใช้นวัตกรรม และปรับ ปรุง นวัตกรรมอย่า ง ต่อเนื่อง เปรียบเสมือนการแสวงหา Business model


10 การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation

ขั้นตอนที่ 4 คือ การใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านการ ทดลองใช้จนประสบความสาเร็จมาแล้ว (Business model) ในลักษณะ ของการ Change หรือ Transform การจัดการเรียนรู้ เปรียบเสมือน การดาเนินการทางธุรกิจด้วย Business model ใหม่

4. ลักษณะนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เป็น Disruptive Innovation นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่มี ลัก ษณะเป็น Disruptive Innovation มี ลั ก ษณะเด่ น คื อ เป็ น นวั ต กรรมการจั ด การเรี ย นรู้ ที่สามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียนได้ดี ผู้เรียนมีสมาธิจดจ่ออยู่กับ กิ จ กรรมการเรียนรู้ ไม่ ว่ากิ จ กรรมการเรียนรู้นั้นจะมีความซั บซ้อน (complexity) เพียงใด ผู้เรียนมีเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเองและ กากับตนเอง มีวินัยในตนเอง (self - discipline) และใช้กระบวนการ เรียนรู้ (learning process) ที่หลากหลายเพื่อการบรรลุจุดมุ่งหมาย ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว Disruptive Innovation ทางการจัดการเรียนรู้จะ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมาสนับสนุนเสมอ เพราะผู้เรียนในปัจจุบันใช้ชีวิต อยู่กับอินเทอร์เน็ตเป็นส่วนใหญ่


การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation 11

การเรียนรู้ในอนาคตจะมีแนวโน้มเป็นการเรียนรู้ออนไลน์ มากขึ้ น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษา ดังผลการ ส ารวจอั ต ราการเจริญ เติ บ โตของการเรีย นการสอนแบบออนไลน์ ที่ North Carolina community collage ดังแผนภาพต่อไปนี้

แผนภาพ 4 ผลการสารวจอัตราการเจริญเติบโตของการเรียนการสอน แบบออนไลน์ที่ North Carolina community collage แหล่งที่มา Christensen, C.M., Horn, M. B., Caldera, L., & Soares L. (2011).


12 การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation

ในยุ ค ปั จ จุ บั น ที่ มี Disruptive Innovation ที่ ดึ ง ผู้ เ รี ย น ออกจากความยึ ด มั่ น ผู ก พั น ในการเรี ย นรู้ จ านวนมาก ดั ง นั้ น จึ ง จ าเป็ น ต้ อ งพั ฒ นา Disruptive Innovation ทางการจั ด การเรี ย นรู้ และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง จนไม่มีเวลาเหลือสาหรับ S–curve ที่เป็น ช่ ว งชะลอตั ว S-cure จะถู ก แทนที่ ด้ ว ย curve ใหม่ ที่ เ ป็ น เส้ น ตรง ดังแผนภาพต่อไปนี้

แผนภาพ 5 Disruptive Innovation กับ Curve รูปแบบใหม่ แหล่งที่มา Christensen, C.M., Horn, M. B., Caldera, L., & Soares L. (2011).


การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation 13

แนวทางการสร้างสรรค์นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ คือ ผู้ ส อนออกแบบการจั ด การเรี ย นรู้ ผ สมผสานระหว่ า งการเรี ย นรู้ ในชั้ นเรีย นและการเรีย นรู้แบบออนไลน์ อย่างลงตัว ภายใต้แนวคิด หลักการการเรียนรู้จากการปฏิบัติแบบ Hands-On และ Minds-On การเรียนรู้จ ากการถอดบทเรีย นประสบการณ์และสั งเคราะห์ เ ป็ น องค์ความรู้ในลักษณะการเรียนรู้ส่วนบุคคล (Personalize learning) และนาความรู้ไปใช้สร้างสรรค์นวัตกรรมที่ผู้เรียนสนใจ ท่านสามารถ ศึกษารายละเอียดได้จากหนังสือ “กระบวนทัศน์การโค้ชเพื่อเสริมสร้าง การเรียนรู้แบบ Hands-On และ Minds-On” และหนังสือ “การเรียนรู้ ส่วนบุคคล Personalize Learning” ของผู้เขียน กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ มี ลั ก ษณะเป็ น active Learning ที่ ผู้เ รียนมี บ ทบาทในกิ จ กรรมการเรียนรู้อ ย่างมี ชีวิต ชี ว าและตื่ น ตั ว ผู้สอนเป็น Coach ให้กับผู้เรียน ด้วยการจูงใจ และชี้แนะให้ผู้เรียน ใช้วิธีก ารเรียนรู้ของตนเอง ให้ก าลัง ใจผู้เ รียน กระตุ้นความเชื่อ มั่ น ในตนเองและความภาคภูมิใจในตนเอง กระบวนการเรียนรู้ (learning process) จะมีความส าคัญ มากกว่าผลผลิตของการเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ เป็น บุ คคลแห่งการเรีย นรู้ อ ย่างแท้ จ ริง ผู้ส อนเปิดโอกาสให้ ผู้เรีย น ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ตามที่ผู้เรียนต้องการและถนัด


14 การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation

คุณภาพของกระบวนการเรียนรู้จะมีความสาคัญมากกว่า ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดจากการท่องจา การเรียนรู้ในชั้นเรียนจะเปลี่ยนโฉมจาก การทาตามผู้สอน มาเป็น การชักชวนผู้สอนให้ทาตาม การเรียนรู้เป็น การเรียนรู้แบบ Hands-On ผู้เ รียนลงมื อ ปฏิบัติอย่างกระตือรือร้น และเกิดการเรียนรู้อย่างเป็นธรรมชาติ


การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation 15

จากกั ง หั น ลมผลิ ต กระแสไฟฟ้ า ที่ เ ป็ น ของจริ ง ซึ่ ง มี อ ยู่ ในชุมชน

ที่มา เมือง Normal, IL USA.


16 การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation

สู่การเรียนรู้แบบ Hands-On ของผู้เรียนในพิพิธภัณฑ์

ที่มา Children ‘s Discovery Museum เมือง Normal, Il USA.


การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation 17

บูรณาการองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ โดยปราศจากการท่องจา แต่จาได้โดยไม่ต้องท่อง

ที่มา Children ‘s Discovery Museum เมือง Normal, Il USA.


18 การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation

สร้างกระบวนการเรียนรู้และจิตวิทยาศาสตร์ พัฒนาไปสู่ การประกอบอาชีพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในอนาคต

ภาพ Nacelle ของกังหันลมผลิตกระแสไฟฟ้า ที่มา เมือง Normal, IL USA.


การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation 19

การประเมินเน้นการประเมินตามสภาพจริง และในอนาคต จะไม่มีการทดสอบแบบดั้งเดิมอีกต่อไป เพราะผู้เรียนแต่ละคนเรียนรู้ ในสิ่ง ที่ตนเองสนใจผู้สอนจะใช้ แฟ้ม สะสมผลงาน (Portfolio) และ การประเมินทักษะปฏิบัติ (performance) แทนการทดสอบความรู้

5. บทบาทผู้สอนในการจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation ผู้ ส อนมี บ ทบาทการโค้ ช เพื่ อ พั ฒ นาศั กยภาพผู้ เรี ย น ประกอบด้วยบทบาท 3 ด้าน ได้แก่ การสร้างความยึดมั่นผูกพัน (Engage) การเสริมพลังการเรียนรู้ (Empower) และการสร้างความกระตือรื อร้น ในการเรียนรู้ (Enliven) Engage หมายถึง ความยึดมั่นผูกพัน การทาให้เกิดความสนใจ ความไว้ วางใจ ความดึ งดู ด ความยึ ดมั่ น ความผู กพั น การมี ส่ วนร่ วม การยอมรั บนั บถื อ การเชื่ อมต่ อเข้ าด้ วยกั น และปฏิ สั มพั นธ์ ที่ น าไปสู่ ความสาเร็จ Empower หมายถึง การเสริมสร้างพลังอานาจ การให้อานาจ การตัดสินใจในการกระทาบางสิ่งบางอย่างเพื่อเสริมสร้างความเป็นตัวตน ของตนเอง มีความคิดเป็นของตนเอง กระตุ้นให้เห็นความสามารถของตนเอง


20 การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation

ทาให้พึ่งพาตนเองได้ ผู้เขียนใช้คาว่า “เสริมพลังการเรียนรู้ ” แทนคาว่า การเสริมสร้างพลังอานาจ Enliven หมายถึง ความกระตือรือร้น ความตื่นเต้น ความท้าทาย มี แรงบันดาลใจ ความกระตือรือร้น ความตั้งใจ ความสนุกสนาน ก าหนด เป้าหมายการเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นพลังในการกระทาสิ่งต่างๆ ให้สาเร็จ เรียกองค์ประกอบการโค้ชทั้ง 3 ประการนี้ว่า รูปแบบการโค้ช “3Es” โดยที่ องค์ประกอบทั้ ง 3 ประการ มี ความสัมพันธ์ซึ่ งกันและกัน โค้ชเลือกใช้วิธีการโค้ชหรือผสมผสานให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในบริบท ของการโค้ช โดยไม่จากัดว่าจะต้องเริ่มจากองค์ประกอบใด ซึ่งองค์ประกอบ ทั้งสามประการ เป็นปัจจัยที่ทาให้การโค้ชของผู้สอนประสบความสาเร็จ คือ การพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน สามารถแสดงแผนภาพได้ดังนี้


การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation 21

Engage

Learner’s potential Empower

Enliven

แผนภาพ 6 รูปแบบการโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน “The 3Es”


22 การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation

บทบาทการโค้ชด้าน Engage ประกอบด้วย 1. สร้างความไว้วางใจ (trust) ให้เกิดกับผู้เรียน 2. สร้างสัมพันธภาพที่ดีบนพื้นฐานของการยอมรับนับถือ 3. ปฏิบัติต่อผู้เรียนด้วยความเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 4. ตรึงความสนใจ เอาใจใส่ ติดตาม และประคับประคองผู้เรียน 5. ฟังผู้เรียนอย่างลึกซึ้ง ไม่ด่วนสรุป ไม่ด่วนตัดสิน ไม่ด่วนสวนกลับ บทบาทการโค้ชด้าน Empower ประกอบด้วย 6. กระตุ้นผู้เรียนให้มี Growth mindset 7. กระตุ้นให้ผู้เรียนกาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเอง 8. กระตุ้นให้ผู้เรียนมีวินัยในการเรียนรู้และนาตนเอง 9. กระตุ้นให้ผู้เรียนใช้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย 10. กระตุ้นให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิดอย่างหลากหลาย 11. ใช้พลังคาถามกระตุ้นการคิดขั้นสูงด้านต่างๆ ของผู้เรียน 12. ให้ผู้เรียนเลือกและตัดสินใจเกี่ยวกับการเรียนรู้ด้วยตนเอง


การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation 23

13. ให้กาลังใจและเสริมพลังความเชื่อมั่นในความสามารถของตน 14. ให้ผู้เรียนประเมินตนเองและสะท้อนคิดสู่การปรับปรุงและพัฒนา 15. ประเมินและให้ข้อมูลย้อนกลับที่เน้นพัฒนากระบวนการเรียนรู้ บทบาทการโค้ชด้าน Enliven ประกอบด้วย 16. กระตุ้นแรงบันดาลใจและแรงปรารถนาในการเรียนรู้ 17. กระตุ้นแรงจูงใจภายในและความต้องการเรียนรู้สิ่งที่ท้าทาย 18. สื่อสารและสร้างบรรยากาศที่กระตือรือร้นและเอื้อต่อการเรียนรู้ 19. กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความมุ่งมั่นและพยายามในการเรียนรู้ 20. แสดงออกถึงความกระตือรือร้นและการเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ท่ า นสามารถศึ ก ษารายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ การโค้ ช ตาม รูปแบบการโค้ช “The 3Es” ดังกล่าวข้างต้นได้จากหนังสือ “การโค้ช เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เ รีย น” และหนัง สือ “การโค้ช เพื่อการรู้ คิ ด (พิมพ์ครั้งที่ 5 ฉบับปรับปรุง) ของผู้เขียน


24 การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation

การโค้ชช่วยทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข และรักการเรียนรู้ “เลิกการสั่งการและควบคุม มาเป็นการส่งเสริม สนับสนุน ชี้แนะแนวทาง เสริมแรง และให้ข้อคิดที่ดี”

ที่มา ภาพถ่ายการถอดบทเรียนของผู้เรียนระดับประถมศึกษาที่มีต่อ การโค้ชของผู้สอนในโครงการวิจัยของผู้เขียน


การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation 25

6. ปัจจัยความสาเร็จในการจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation ปั จ จั ย ส าคั ญ ของในการจัด การเรีย นรู้ใ นยุค Disruptive Innovation คือ การมี Global Growth Mindset หรือกระบวนการ ทางความคิดเพื่อการเติบโตที่เป็นสากล ดังนี้ Early Mover หม า ย ถึ ง ก า ร คิ ด ก่ อน ท า ก่ อน การเรียนรู้และติดตามความเปลี่ยนแปลงของสังคม วิเคราะห์คาดการณ์ การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และเริ่มปรับเปลี่ยนสร้างสรรค์ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ด้วยตนเอง Trade–offs หมายถึง การตัดสินใจให้ไวและถูกต้อง บนทางเลือกต่างๆ ที่อาจจะมีมากกว่าสองทางเลือก จากการวิเคราะห์ big data ปั จ จั ย ด้ า นต่ างๆ ที่ มี อิ ท ธิ พ ลและส่ง ผลต่ อการเรี ยนรู้ของ ผู้เรียน ตัดสินใจปรับเปลี่ยนและสร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้ โดยไม่ ชักช้า ลังเล เรียนรู้จากความผิดพลาด และนามาปรับปรุงนวัตกรรม อย่างต่อเนื่องเพื่อให้ตอบโจทย์ผู้เรียน


26 การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation

Best Practice หมายถึ ง การเรี ย นรู้ จ ากคนที่ มี ประสบการณ์สูง ทั้ ง บุคคลที่ อ ยู่ในวิชาชีพ เดีย วกั น และต่างวิ ช าชี พ เรียนรู้ว่าเขามีวิธีคิดอย่างไร มีวิธีการสร้างสรรค์นวัตกรรมอย่างไร แล้ว นามาปรับใช้ในการสร้างสรรค์นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของเรา New Product หมายถึง การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ ใหม่ๆ (นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่ ตอบโจทย์ผู้เรียน) อย่างต่อเนื่อง ไม่ติดยึดอยู่กับความสาเร็จแบบเดิมๆ หรือความสาเร็จในอดีต Network หม า ย ถึ ง ก า ร ส ร้ างพลั ง เครื อ ข่ า ย นักสร้างสรรค์นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูร้ ่วมกัน ซึ่งจะนาไปสู่นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ใหม่ๆ ต่อไป ซึ่ง รูปแบบการสร้างพลังเครือข่ายในปัจจุบันคือ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง วิ ช าชี พ (Professional Learning Community) ท่ า นสามารถ ศึ ก ษารายละเอีย ดเกี่ ย วกั บ ชุ ม ชนแห่ง การเรีย นรู้ท างวิ ช าชีพ ได้ ใน หนังหนังสือ “การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดชุมชน แห่ง การเรียนรู้ท างวิชาชีพ (Professional Learning Community)” ของผู้เขียน


การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation 27

7. บทสรุป Disruptive Innovation คื อ น วั ต ก ร ร ม ท า ง ธุ ร กิ จ ที่ ใ ช้ ป ระโยชน์ จ ากเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล (digital technology) สร้าง นวัตกรรมที่แตกต่างไปจากการดาเนินการทางธุรกิจ แบบเดิมๆ และ สามารถเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดได้อย่างรวดเร็วและรุนแรง ปั จ จุ บั น มี Disruptive Innovation ที่ ถู ก พั ฒ นาขึ้ น มา แทนที่การจัดการเรียนรู้แบบดั้งเดิม ด้วยการเรียนรู้ออนไลน์ (online learning) แล้วนาความรู้เหล่านั้นไปสร้างสรรค์โครงงานหรือนวัตกรรม ที่ผู้เรียนสนใจ กระบวนการพัฒ นา Disruptive Innovation ทางการ จัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย ขั้นตอนที่ 1 การมองเห็นปัญหา (Insight) ขั้นตอนที่ 2 คือ การวิเคราะห์และออกแบบการแก้ปัญหา (Problem) ขั้นตอนที่ 3 คือ การทดลองใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพื่อการ แก้ปัญหา (Solution) ขั้นตอนที่ 4 คือ การใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ที่ผ่านการทดลองใช้จนประสบความสาเร็จมาแล้ว (Business model) ผู้สอนเป็น Coach ให้กับผู้เรียน ด้วยการจูงใจ และชี้แนะ ให้ผู้เรียนใช้วิธีการเรียนรู้ของตนเอง ให้กาลังใจผู้เรียน กระตุ้นความ เชื่อมั่นในตนเองและความภาคภูมิใจในตนเอง และมีบทบาทการโค้ช เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน ประกอบด้วยบทบาท 3 ด้าน ได้แก่ การสร้าง


28 การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation

ความยึดมั่นผูกพัน (Engage) การเสริมพลังการเรียนรู้ (Empower) และ การสร้างความกระตือรือร้น ในการเรียนรู้ (Enliven) กระบวนการเรียนรู้ (learning process) จะมีความส าคัญ มากกว่าผลผลิตของการเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ เป็ น บุ ค คลแห่ ง การเรี ย นรู้ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง ส่ ว นการประเมิ น เน้ น การประเมินตามสภาพจริง ใช้แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) และ การประเมินทักษะปฏิบัติ (performance)

การศึกษาทุกวันนี้ไม่ได้แข่งกันที่ความสาเร็จ หรือความสามารถในปัจจุบันเท่านั้น แต่ยังแข่งขันกันด้วยการคาดการณ์อนาคต และการเตรียมรับมือกับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น


การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation 29

บรรณานุกรม วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2561). การโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพ ผู้เรียน. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์. วิ ชั ย วงษ์ ใ หญ่ และมารุ ต พั ฒ ผล. (2561). การเรี ย นรู้ ส่ ว นบุ ค คล Personalize Learning. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์. วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2561). กระบวนทัศน์การโค้ชเพื่อ เสริม สร้างการเรียนรู้แบบ Hands-On และ Minds-On. กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์. วิ ชั ย วงษ์ ใ หญ่ และมารุ ต พั ฒ ผล. (2558). การโค้ ช เพื่ อ การรู้ คิ ด . กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์. Chartered Institute of Management Accountants. (2009). A Strategic Approach to Disruptive Technologies. London: CIMA. Christensen, B., Schmith, T., & Thejll, P. (2009). A Surrogate Ensemble Study of Climate Reconstruction Methods: Stochasticity and Robustness. J. Climate, 22, 951-976. Christensen, C. M. (2006). The Innovator’s Dilemma: When New Technologies Cause Great Firms to Fail. cited in Disruptive Technology or Visionary Leadership? Tellis, GJ, Journal of Product Innovation Management, Jan2006, Vol. 23 Issue 1.


30 การจัดการเรียนรู้ในยุค Disruptive Innovation

Christensen, C. M. (2008). Disruptive Innovation and Catalytic Change. Forum Futures. Retrieved from https://rossier.usc.edu/files/2013/12/DisruptiveInnovation-Catalytic-Change-C.-Christensen.pdf Christensen, C. M., Horn, M. B., Caldera, L., & Soares L. (2011). Disrupting College How Disruptive Innovation Can Deliver Quality and Affordability to Postsecondary Education. Washington DC: Center for American Progress. Citi GPS: Global Perspective & Solutions. (2017). Disruptive Innovations V Ten More Things to Stop and Think About. retrieved from: www.citi.com/citigps. Kaplan, S. (2018). Leadership Competencies for Disruptive Innovation. Retrieved from https://www.amanet.org/ training/articles/leadership-competencies-fordisruptive-innovation.aspx


การจัดการเรียนรู้ ในยุค Disruptive Innovation ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมาสนับสนุน และเรียนรู้แบบ Hands-On


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.