หนังสือประมวลบทความในงานประชุมวิชาการ (Proceedings) ประจำปี 2565

Page 1

I


ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติ / National Library of Thailand Cataloging in Publication data สิรินธร สินจินดาวงศ. (บรรณาธิการ). หนังสือประมวลบทความในงานประชุมวิชาการ (Proceedings) ประจําป 2565 The Professional Teaching and Student Engagement in Higher Education, Thailand. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2565. 182 หนา. ISBN (e-Book) 978-974-655-471-8

หนังสือประมวลบทความในงานประชุมวิชาการ ประจําป 2565 หัวขอ THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND บรรณาธิการ สิรินธร สินจินดาวงศ จัดทําโดย ศูนยสนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม www.spu.ac.th/department/tlc II


หนังสือประมวลบทความในงานประชุมวิชาการ หัวขอ THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

วันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 ณ มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน กรุงเทพมหานคร

จัดทําโดย ศูนยสนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม III


คณะทํางาน ที่ปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิรัช เลิศไพฑูรยพันธ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

บรรณาธิการ ผูชวยศาสตราจารย ดร.สิรินธร สินจินดาวงศ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ฝายจัดการ และเลขานุการ นายกรกฎ ผกาแกว นายภาณุเดช ประทุมมา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ฝายศิลปกรรมและจัดทํารูปเลม นางฉวีวรรณ สภาพ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ผูทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ รองศาสตราจารย ดร.กันตฤทัย คลังพหล รองศาสตราจารย ดร.ชัยวิชิต เชียรชนะ รองศาสตราจารย ดร.ภัทราวดี มากมี รองศาสตราจารย ดร.สุบิน ยุระรัช รองศาสตราจารย ดร.อัจศรา ประเสริฐสิน ผูชวยศาสตราจารย ดร.กันยารัตน ศรีวิสทิยกุล ผูชวยศาสตราจารย ดร.ทัศนศิรนิ ทร สวางบุญ ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประภาวรรณ ตระกูลเกษมสุข ผูชวยศาสตราจารย ดร.ไพบูลย สุขวิจิตร บาร ผูชวยศาสตราจารย ดร.วราพร เอราวรรณ ผูชวยศาสตราจารย ดร.วราภรณ ไทยมา ผูชวยศาสตราจารย ดร.วีรวิชญ เลิศไทยตระกูล ผูชวยศาสตราจารย ดร.สาธิดา สกุลรัตนกุลชัย ผูชวยศาสตราจารย ดร.สิรินธร สินจินดาวงศ ผูชวยศาสตราจารย ดร.อรอุมา เจริญสุข ดร.ชุติวัฒน สุวัตถิพงศ ดร.ณัฐฐา สววิบูลย ดร.ผุสดี กลิ่นเกษร

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สถาบันการจัดการปญญาภิวฒ ั น มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยศรีปทุม

IV


สาส นจากรองอธิการบดี การจัดการศึกษาในยุคที่เกิดการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา สถาบันอุดมศึกษาจําเปนตองเตรียม ความพรอมทั้งดานบุคลากรและทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนรู ที่สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบได อยางทันทวงที ซึ่งจากสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยตั้งแตป 2563 เปนตนมา สงผลใหมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใชชีวิต การอยูรวมกันในสังคม การเรียนรู ทั้งนี้ สถาบันอุดมศึกษาเปน แหลงจัดการเรี ยนรู จําเปนตองปรับตัว นอกจากนี้ มีความรวมมือจากทุกภาคส ว น ที่สนับสนุนทรัพยากร เพื่อการเรียนรู ใหสามารถกาวขามวิกฤติตางๆ ไปไดอยางมีคุณภาพ อาจารยจึงต อง พัฒนาตนเองอยางสม่ําเสมอใหสามารถจัดการเรียนการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อมุงสรางบัณฑิตที่มี คุณภาพ พรอมรับการเปลี่ยนแปลงและปรับตัวในสังคมยุคแหงการเปลี่ยนแปลงและผันผวน ใหบรรลุเปาหมาย อยางสมบูรณ ศู น ย ส นั บ สนุ น และพั ฒ นาการเรี ย นการสอน เปน หนว ยงานกลางในการขั บ เคลื่ อนองค ค วามรู แนวคิดในการจัดการเรียนการสอน และการพัฒนาตัวเองของอาจารยใหมหาวิทยาลัย จึงไดจัดทําโครงการ กิ จ กรรมต า งๆ รวมถึ งมี มาตรฐานอาจารย มืออาชีพ SPU-PSF เพื่อเปน แนวทางในการสงเสริมการพัฒนา อาจารยใหเปนที่ยอมรับ และเปนเสนทางในการพัฒนาตนเองของอาจารยอีกดวย การจัดงานประชุมวิชาการ ในหัวขอ The Professional Teaching and Student Engagement in Higher Education, Thailand ในครั้ งนี้ จะมี แนวทางในการพัฒนาเทคนิ คกระบวนการการจั ดการเรี ยน การสอนของอาจารย รวมถึ งพั ฒ นาการจั ดการเรีย นการสอนในยุ ค New Normal ที่เกิดความสมดุ ล และ เฝาระวัง ดวยการรักษาระยะปลอดภัย แตยังคงคุณภาพตามมาตรฐานการจัดการเรียนรู เพื่อเปนแนวทาง ใหกับอาจารยในสถาบันอุดมศึกษา นําไปใชในการจัดการเรียนการสอนตอไป การประชุมวิชาการในวันนี้มี บทความจากผูสนใจจํานวน 15 เรื่อง จากมหาวิทยาลัยศรีปทุม และจากมหาวิทยาลัยตางๆ ไดแก มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก และสถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน

ผูชวยศาสตราจารย ดร.วิรัช เลิศไพฑูรยพันธ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีปทุม

V


ศูนย สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิสัยทัศน คานิยม วัฒนธรรม นโยบาย อาจารยมหาวิทยาลัยมีความสําคัญยิ่งสําหรับการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา และการพัฒนา อาจารย โดยอาจารย ที่ มี คุ ณ ภาพย อ มจะส ง ผลถึ ง บั ณ ฑิ ต ที่ มี คุ ณ ภาพเป น ที่ ย อมรั บ ของสั ง คมเช น กั น และสามารถทํ า ประโยชน ใหกับ สังคมได เ ปน อยางดี ดังนั้น แนวทางการพัฒ นาอาจารยของมหาวิทยาลัย ศรีปทุม มีระบบอาจารยพี่เลี้ยง ที่คอยสนับสนุนแนะนําการจัดการเรียนการสอน นอกจากการฝกอบรมพัฒนา ความรู ทักษะในการจัดการเรียนการสอน แลวยังสงเสริมใหอาจารยพัฒนาผลงานวิชาการ ไดแก เอกสาร ประกอบการสอน ตํารา บทความทางวิชาการ และการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ที่เกิดจากการพัฒนา เทคนิคการสอน สื่อการสอน การประเมินผล มีเปาหมายหลักเพื่อสรางอาจารยที่มีคุณสมบัติ รักในวิชาชีพ อาจารย ดูแลใหคําปรึกษานักศึกษา รวมถึงมีจิตวิญญาณความเปนครู ทั้งนี้ อาจารยที่มีคุณภาพ และเอาใจใส ในการสอน ดูแลนักศึกษา หมายถึงคุณภาพของบัณฑิต พันธกิจ 1. การพัฒนาสมรรถนะเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนของอาจารย ประกอบดวย 1.1 จัดฝกอบรม สัมมนา ดูงานเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนทั้งภายในและภายนอก 1.2 จัดหลักสูตรพัฒนาอาจารยของมหาวิทยาลัย ใหมีความรู ความสามารถในการจัดการเรียน การสอน 1.3 สงเสริมพัฒนาอาจารยเพื่อยกระดับคุณภาพอาจารย ดานการสอน 2. การสนั บ สนุ น อาจารย เ ข า สู ม าตรฐานอาจารย มื อ อาชี พ SPU-Professional Standards Framework 2.1 จัดทําคลินิก อบรมใหความรูเกี่ยวกับเกณฑ มาตรฐานอาจารยมืออาชีพ SPU-PSF 2.2 จั ดพี่ เ ลี้ ย งแนะนํ า มาเขี ย น เพื่อเตรีย มความพร อมการยื่น ขอรับ การประเมิน ตามเกณฑ มาตรฐานอาจารยมืออาชีพ SPU-PSF 2.3 จัดกรรมการกลั่นกรองผลงาน และกรรมการพิจารณาตัดสินผลการยื่นขอรับการประเมิน อาจารย ตามมาตรฐานอาจารยมืออาชีพ SPU-PSF 2.4 สรุปผลการประเมินและจัดทําประกาศรายชื่อผูผานการประเมินตามมาตรฐานอาจารยมืออาชีพ SPU-PSF 2.5 จัดการประชาสัมพันธ และพิธีมอบรางวัลใหแกอาจารยที่ผานการประเมินตามมาตรฐาน อาจารยมืออาชีพ SPU-PSF

VI


3. การส ง เสริ ม ผลงานทางวิ ช าการ การวิ จั ย เพื่ อ พั ฒ นาการเรี ย นการสอนของอาจารย ประกอบดวย 3.1 บริ ห ารจั ดการทุ น วิ จั ย เพื่ อพัฒ นาการเรีย นการสอน และสนับ สนุน ใหมีการเผยแพรแ ละ นําผลการวิจัยไปใชประโยชน 3.2 งานสนับสนุนการจัดทําสื่อการเรียนการสอน 3.3 จัดหาผูทรงคุณวุฒิเพื่อพิจารณาคุณภาพตํารา เอกสารประกอบการสอน เอกสารคําสอนของ อาจารย และนําไปใชในการเรียนการสอน 3.4 งานยกระดับผลการเรียนรูของนักศึกษา 3.5 งานยกยองเชิดชูเกียรติอาจารยที่มีความสมรรถนะในการจัดการเรียนการสอน เพื่อรับรางวัล อาจารยดีเดน และสงเสริมการเผยแพรความรู ทักษะดานการจัดการเรียนการสอน 4. การบริหารจัดการฐานขอมูลอาจารยและพัฒนาระบบการประเมินประสิทธิภาพการสอนของ อาจารย 4.1 งานบริ ห ารจั ดการและพั ฒ นาระบบการประเมิน ประสิทธิภ าพการสอนของอาจารยใหมี คุณภาพ และนําผลการประเมินไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนอยางตอเนื่อง 4.2 งานจั ดทํ า ฐานข อ มู ล และ website ประชาสัมพัน ธ และ Social Media ของศูน ย พั ฒ นา การเรียนการสอน 4.3 บริหารจัดการแลกเปลี่ยนเรียนรู (KM) ดานการเรียนการสอนระหวางคณาจารย และจัดทํา ฐานขอมูลการเรียนการสอน เพื่อใหอาจารยนําไปใชประโยชน 5. งานเครือขายและพันธมิตรดานการจัดการเรียนการสอน โดยรวมงาน สรางความรวมมือหรือเปนกรรมการ/คณะทํางาน หนวยงานที่เกี่ยวของกับการพัฒนา อาจารยและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนอยางเปนระบบ ไดแก สมาคมเครือขายพัฒนาวิชาชีพอาจารยและ องค ก รระดั บ อุ ด มศึ ก ษาแห ง ประเทศไทย (ควอท.) สมาคมสถาบั น การศึ ก ษาขั้ น อุ ด มแห ง ภู มิ ภ าคเอเซี ย ตะวันออกเฉียงใต ประจําประเทศไทย (สออ.ประเทศไทย)

VII


สารบัญ หนา

บทความวิจัย ความตองการจําเปนในการพัฒนาสมรรถนะครูอาชีวะเอกชนในศตวรรษที่ 21 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา : สรวรรธน ศิริเสนา, ประภาวรรณ ตระกูลเกษมสุข Error Analysis of English Short Paragraphs: The Case of Thai Undergraduate Students in The English Short Paragraph Writing Course : Chaithat Meesri, Supaporn Peratanasumran การใชวิธีการสอนแบบเนนงานเพื่อการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการของผูเรียน สาขาวิชาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม : ถาวร ทิศทองคํา การพัฒนาสื่อการสอนสามมิติเรื่องผักพื้นบานดวยเทคโนโลยีเสมือนจริง : พิมพชนก สุวรรณศรี, ไพรสันต สุวรรณศรี, ศิริกรณ กันขัติ์, กาญจนา ทองบุญนาค กรอบแนวคิดรูปแบบการเรียนรูแบบหองเรียนกลับดานตามแผนการสอนฐานสมรรถนะ โดยใชบทเรียนอีเลิรนนิงรวมกับเทคนิคเพื่อนคูคิด : วิเชษฐ นันทะศรี, อัจฉรา นันทะศรี การสังเคราะหเทคนิคการสอนสถิติสําหรับนักศึกษาปริญญาเอก : สุบิน ยุระรัช Studying The Elements of Micro-Learning and Chat-Bot for Teaching in The New Era : Dulyarak Chumdoem, Surapon Boonlue

1

16

29 42

53 65 74

บทความวิชาการ ความคาดหวังในการเลือกเรียนสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากลของนักศึกษาชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก : ปวริศา อาบู รามิละห, ปวีณา เมธีวรกิจ การสอนภาษาจีนพื้นฐานผานกิจกรรมแบบ Active Learning ในยุคศตวรรษที่ 21 : จิรัชยา ประทีปโชติพร, Li Jun เทคนิคการจัดการเรียนการสอนผานประสบการณและการสะทอนการเรียนรู ในหัวขอคุณภาพชีวิตดานจิตใจ : เดือนเพ็ญ กชกรจารุพงศ

VIII

85 95

105


สารบัญ (ต อ) หนา การพัฒนารูปแบบการจัดสหกิจศึกษาสําหรับสาขาวิชาดานการจัดการโลจิสติกส : วีรวิชญ เลิศไทยตระกูล แนวทางการสงเสริมความเขาใจไวยากรณภาษาญี่ปุนเบื้องตนของนักศึกษาสาขาภาษาญี่ปุน เพื่อการสื่อสารธุรกิจ : ณัฐชัย ศรีเอี่ยม, Hiroharu Takemura, Aki Takahashi, Yasumasa Mori, ภีมพัฒน วรโชติธีรวัชร การบูรณาการทฤษฎีการเรียนรูของผูใหญและการเรียนรูโดยการชี้นําตนเองเพื่อสงเสริมการเรียนรู ผูเรียนวัยผูใหญ : ผุสดี กลิ่นเกษร Next Normal Education Management after Covid-19 Pandemic : Jitlada Suddeepong, Ubon Pun-ubon, Waraporn Thaima, Kris Kisawadkorn, Watcharaporn Rattanajaru คุณลักษณะบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 กับการทํางานในสายอาชีพดานภาษาอังกฤษ : ณัฐกานต เดียวตระกูล, โสมพิทยา อบรม, สุพักตรา ศรีเจริญ

IX

117

129

138

150 161



ความตองการจําเปนในการพัฒนาสมรรถนะครูอาชีวะเอกชนในศตวรรษที่ 21 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา NEEDS FOR THE DEVELOPMENT OF PRIVATE VOCATIONAL TEACHERS’ COMPETENCIES IN THE 21st CENTURY, PHRA NAKHON SI AYUTTHAYA PROVINCE สรวรรธน ศิริเสนา 1, ประภาวรรณ ตระกูลเกษมสุข 2 0

1

บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปจจุบันของสมรรถนะครูอาชีวะเอกชนในศตวรรษที่ 21 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2) ศึกษาสภาพที่พึงประสงคของสมรรถนะครูอาชีวะเอกชนในศตวรรษที่ 21 จังหวัด พระนครศรีอยุธยา และ 3) วิเคราะหความตองการจําเปนในการพัฒนา สมรรถนะครูอาชีวะเอกชนในศตวรรษที่ 21 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กลุมตัวอยาง คือ ครูผูสอนในสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จํานวน 127 คน คัดเลือกกลุมตัวอยางดวยการสุมแบบแบงสัดสวน เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช ไดแก ความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาดัชนีความตองการจําเปน (Priority Needs Index) ผลการวิจัยพบวา 1) สภาพปจจุบันของสมรรถนะครูอาชีวะเอกชนในศตวรรษที่ 21 จังหวัด พระนครศรีอยุธยา โดยรวมอยูในระดับมาก เรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ดังนี้ ดานการทํางานเปนทีม อยูในระดับมาก ดานจิตวิทยาการสื่อสาร อยูในระดับมาก ดานสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ อยูใน ระดับมาก ดานการพัฒนาตนเอง อยูในระดับมาก ดานคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณ อยูในระดับมาก ดานการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู อยูในระดับมาก ดานการวัดผลและประเมินผล อยูในระดับมาก และดานการคิดวิเคราะห ริเริ่มสรางสรรค อยูในระดับมาก 2) สภาพที่พึงประสงคของสมรรถนะครูอาชีว ะ เอกชนในศตวรรษที่ 21 จังหวัดพระนครศรีอยุธยาโดยรวมอยูในระดับมาก เรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ดั งนี้ ด า นการทํ า งานเป น ที ม อยู ในระดั บ มาก ดานคุ ณธรรมจริ ย ธรรมและจรรยาบรรณ อยูในระดับ มาก ดานจิตวิทยาการสื่อสาร อยูในระดับมาก ดานการวัดผลและประเมินผล อยูในระดับมาก ดานสื่อนวัตกรรม และเทคโนโลยีสารสนเทศ อยูในระดับมาก ดานการพัฒนาตนเอง อยูในระดับมาก ดานการบริหารหลักสูตร และการจั ด การเรี ยนรู อยู ในระดั บ มาก และดานการคิดวิเคราะห ริเริ่มสรางสรรค อยูในระดับ มาก และ 3) ความตองการจําเปนในการพัฒนาสมรรถนะครูอาชีวะเอกชนในศตวรรษที่ 21 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เรียงลําดับความตองการจําเปนจากมากไปหานอยดังนี้ ลําดับที่ 1 ดานคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณ 1

2

สรวรรธน ศิริเสนา นักศึกษาปริญญาโท คณะการจัดการการศึกษาเชิงสรางสรรค สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน ผูชวยศาสตราจารย ดร.ประภาวรรณ ตระกูลเกษมสุข อาจารยที่ปรึกษา คณะการจัดการการศึกษาเชิงสรางสรรค สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

1


(PNIModified = 0.061) ลําดับที่ 2 ดานการคิดวิเคราะห ริเริ่มสรางสรรค (PNIModified = 0.053) ลําดับที่ 3 ดานการวัดผลและประเมินผล (PNIModified = 0.044) ลําดับที่ 4 ดานสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ (PNIModified = 0.031) ลําดับที่ 5 ดานการทํางานเปนทีม (PNIModified = 0.030) ลําดับที่ 6 ดานการบริหาร หลักสูตรและการจัดการเรียนรู (PNIModified = 0.021) ลําดับที่ 7 ดานการพัฒนาตนเอง (PNIModified = 0.021) และลําดับที่ 8 ดานจิตวิทยาการสื่อสาร (PNIModified = 0.019) คําสําคัญ: การพัฒนาสมรรถนะครู, ศตวรรษที่ 21, ครูอาชีวะเอกชน ABSTRACT The objective of the study was 1) to examine the current condition of private vocational teachers in the 21st century, Phra Nakhon Si Ayutthaya. 2) to find out complacency aptitude of private vocational teachers in the 21st century, Phra Nakhon Si Ayutthaya, 3) analyzed needs for the development condition of private vocational teachers in the 21st century, Phra Nakhon Si Ayutthaya. A sample was selected from 127 teachers in private vocational colleges, Phra Nakhon Si Ayutthaya by stratified random sample method. The statistic tools being used to analyze included frequency, percentage, mean, standard deviation and PNI (Priority Needs Index). The results of the study were as follows: 1) The findings indicated that current condition of private vocational teachers in the 21st century, Phra Nakhon Si Ayutthaya in all aspect were at a high level and sorted in descending order: teamwork, psychology in education, innovation and information technology, personal development, morality and ethics, curriculum and learning management, measurement and evaluation, analytical thinking skills. 2) The complacency aptitude of private vocational teachers in the 21st century, Phra Nakhon Si Ayutthaya in all aspect were at a high level and sorted in descending order teamwork, morality and ethics, psychology in education, measurement and evaluation, innovation and information technology, personal development, curriculum and learning management, analytical thinking skills. 3) The needs for the development of private vocational teachers in the 21st century, Phra Nakhon Si Ayutthaya were sorted in descending order as follows: 1. moral and ethics (PNIModified = 0.061), 2. analytical thinking skills (PNIModified = 0.053), 3. measurement and evaluation (PNIModified = 0.044), 4. innovation and information technology (PNIModified = 0.031), 5. Teamwork (PNIModified = 0.030), 6. curriculum development and learning management (PNIModified = 0.021), 7. personal development (PNIModified = 0.021), 8. psychology in education (PNIModified = 0.019). KEYWORDS: Competency development of teacher, the 21st century, Private vocational teacher CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

2


บทนํา ในชวงระยะเวลา 10 ป ที่ผานมา กระแสโลกาภิวัฒนมีบทบาทสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงตางๆ ไมวา จะเปนการเปลี่ยนแปลงทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ วัฒนธรรม สังคม และสิ่งแวดลอม ซึ่งการเปลี่ยนแปลง ต า งๆ เหล า นี้ ไ ด ส ง ผลกระทบต อ ความต อ งการของตลาดแรงงาน โดยในป จ จุ บั น ภาคอุ ต สาหกรรมและ สถานประกอบการตางๆ ประสบปญหาการขาดแคลนฝมือแรงงาน ขาดแคลนชางฝมือ และบุคลากรวิชาชีพ ทักษะเฉพาะอยูเปนจํานวนมาก ซึ่งประเทศไทยก็ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของปญหานี้ โดยจะเห็นไดจาก ยุทธศาสตรชาติ 20 ป (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2561) นโยบาย รั ฐ บาลและยุ ทธศาสตร กระทรวงศึ ก ษาธิ การ ดานการผลิตและพั ฒ นากํา ลัง คนอย างจํา เป น เรง ดว นเพื่ อ ดํ า เนิ น การตามนโยบายไทยแลนด 4.0 ที่ จ ะตองผลิตผูสําเร็จ การศึ กษาในสาขาวิช าที่เปน ที่ต องการของ ภาคอุตสาหกรรมและสถานประกอบในจํานวนที่เพียงพอ ซึ่งสถานศึกษาอาชีวศึกษามีความสําคัญตอการสราง ทักษะฝมือแรงงานของประเทศ เนื่องจากเปน การจัด การเรี ยนการสอนในหลั กสูต รสายอาชี พที่ มุงเน น ให นักเรียน/นักศึกษามีทักษะและความเชี่ยวชาญเฉพาะดานเปนเครื่องมือในการสรางอาชีพ โดยเนนการเรียนใน ภาคปฏิบัติเพื่อสรางเสริมประสบการณและทักษะวิชาชีพ สามารถนําไปใชในการประกอบอาชีพไดจริง รวมทั้ง พัฒนาศักยภาพของนักเรียน/นักศึกษา สรางสิ่งประดิษฐทางวิชาชีพ พัฒนานวัตกรรม และยกระดับคุณภาพ ของผูเรียนทางดานอาชีพและทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 ไดแก ทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม ตลอดจน สนับสนุนการเผยแพรผลงานนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐของนักเรียนนักศึกษาในทุกระดับ เพื่อใหสังคมไดเห็น ถึงศักยภาพและเกิดการยอมรับในคุณภาพของผูเรียนอาชีวศึกษาเอกชน ซึ่งนักเรียน/นักศึกษาอาชีว ศึ กษา เอกชนจะมีศักยภาพมากนอยเพียงใด สิ่งสําคัญที่สุดก็คือครูผูสอน ซึ่งทําหนาที่ถายทอดความรูใหกับนักเรียน/ นั กศึ กษา ดั งนั้ น ครู อาชี ว ศึ กษาจึ งถื อว าเป น บุคคลที่สําคัญ เนื่องจากเปน ผูถายทอดความรูทั้งทางตรงและ ทางออม ครูที่ทําหนาที่สอนตองมีความรูและทักษะในการเปนครูมืออาชีพตามที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด (โอภาส สุขหวาน, 2562) ดวยสถานการณการแพรระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่เกิดขึ้นมาตั้งแตชวงตนป พ.ศ. 2563 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนในทุกระดับการศึกษารวมถึงอาชีวศึกษา จึงไดรับผลกระทบใหเกิด การเปลี่ยนแปลงอยางกะทันหันและคาดวาการเรียนการสอนในยุควิถีชีวิตใหมจะมีความเปลี่ยนแปลงไปจาก เดิมเพื่อใหสอดคลองกับความตองการของผูเรียนในยุคดิจิทัลมากยิ่งขึ้น โดยในชวงระยะเวลาที่ผานมาพบวา อุปสรรคสําคัญในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลนของครูผูสอนอาชีวศึกษาคือการขาดทักษะใน การใชเทคโนโลยี ดังนั้นสิ่งสําคัญยิ่งของระบบการศึกษาในปจจุบันคือการพัฒนาสมรรถนะครูใหรูเ ทา ทัน เทคโนโลยีและสื่อนวัตกรรมตางๆ ที่ทันสมัยสอดคลองกับการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหมในปจจุบัน แตนอกเหนือจากสมรรถนะของครูในดานเทคโนโลยีแลว ในการเรียนการสอนครูยังตองมีการปรับตัวใหเขากับ บริบทที่เปลี่ยนแปลงไปในดานอื่นๆ ดวย ซึ่งในศตวรรษที่ 21 ครูยุคใหมตองมีคุณลักษณะที่โดดเดนเปนครูมืออาชีพ โดย ฤตินันท สมุทรทัย (2556) ไดกลาววา ครูในศตวรรษที่ 21 ควรมีองคประกอบดังนี้ 1) มีความสามารถ พื้นฐานทางจริยธรรม 2) มีความรูที่จําเปนสําหรับการดํารงชีวิต 3) ความสามารถในการคิด 4) ความสามารถ

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

3


ในการนําตนเอง และ 5) สมรรถนะที่จําเปนในการประกอบวิชาชีพ ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอนของครูใน ศตวรรษที่ 21 ตองปรับใหทันตามการพัฒนาของเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป (Enriquez, 2001) จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเปนจังหวัดที่อยูไมไกลจากกรุงเทพมหานคร เปนจังหวัดหนึ่งที่อยูในเขต ภาคอุตสาหกรรมที่ตองการฝมือแรงงานหลายแหง ไดแก นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน นิคมอุตสาหกรรมบานหวา (ไฮเทค) และนิคมอุตสาหกรรมสหรัตนนคร มีเขตประกอบการอุตสาหกรรม 2 แหง ไดแก เขตประกอบการ อุตสาหกรรมแฟคเตอรี่แลนดวังนอย และเขตประกอบการอุตสาหกรรม บริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จํากัด (แสงเดือน แกวปลอง ,2557) วิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชนในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีจํานวนทั้งสิ้น 5 แหง และถือวาเปนแหลงผลิตแรงงานฝมือที่สําคัญของจังหวัดพระนครศรีอยุธยาในการผลิตและพัฒนากําลังคนให สอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานและการประกอบอาชีพอิสระใหมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล (ราชกิจจานุเบกษา, 2565) ซึ่งปจจุบันตลาดแรงงานตองการแรงงานฝมือทักษะในดานตางๆ เพื่อนําไปใชพัฒนา อุตสาหกรรมการผลิต ทั้งนี้แรงงานจะมีทักษะมากนอยเพียงใดจึงเปนหนาที่ของวิทยาลัยอาชีวะเอกชนใน การใหความรูและสรางทักษะดังกลาวใหกับผูเรียน จากปญหาดังกลาวสะทอนใหเห็นวา ครูอาชีวะเอกชน จํ าเป น จะต องปรั บ ตั ว เชิ งรุ กให เ ท า ทั น การเปลี่ย นแปลงทั้งทางด านวิทยาการสมั ย ใหม วิทยาศาสตรแ ละ เทคโนโลยี นวัตกรรมการเรียนรูหลากหลายรูปแบบ ตลอดจนเขาใจบริบทความตองการตลาดแรงงานใน อนาคต เมื่อครูมีความรูและทักษะทันสมัยก็จะเปนแรงจูงใจใหนักเรียนสนใจเรียนตออาชีวะเพิ่มมากขึ้น ดังนั้น จึงมีความจําเปน อยางยิ่งที่ จะต องเร งพัฒ นาครู ใหมีส มรรถนะที่ ตรงกับ การเปลี่ย นแปลงทั้งดานการศึ ก ษา ตลาดแรงงาน และรูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน เพราะครูทําหนาที่ถายทอดความรูใหกับนักเรียน/ นักศึกษา เปนผูชี้นําหนทางที่จะนําพานักเรียน/นักศึกษาไปสูความสําเร็จ ครูอาชีวะเอกชนจําเปนตองปรับวิธีคิด ปรับวิธีสอน จัดการเรียนรูใหทันตอเทคโนโลยีที่พัฒนาไปอยางรวดเร็วดวยการเปน “ครูในศตวรรษที่ 21” ที่ใสใจ เทคโนโลยีสารสนเทศ ผลิตนักเรียน/นักศึกษาที่ตรงกับความตองการของตลาดแรงงานภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอาชีพกลุมอุตสาหกรรมในอนาคต หากทําไดจะเปนการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะของครูอาชีวะ เอกชน และสร า งพลเมื องที่ มีคุณภาพอั น นํา มาสูการพัฒนาประเทศชาติตอไป ดังนั้น ผูวิจัย จึงสนใจศึกษา แนวทางการพัฒนาสมรรถนะครูอาชีวะเอกชนในศตวรรษที่ 21 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เพื่อหาความตองการ จําเปนและนําผลจากการวิจัยที่ไดมาพัฒนาสมรรถนะของครูอาชีวะเอกชนใหมีศักยภาพและผลิตแรงงานที่มี คุณภาพตอไป วัตถุประสงคของการวิจัย 1. ศึกษาสภาพปจจุบันของสมรรถนะครูอาชีวะเอกชนในศตวรรษที่ 21 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2. ศึกษาสภาพที่พึงประสงคของสมรรถนะครูอาชีวะเอกชนในศตวรรษที่ 21 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 3. วิ เคราะห ความต องการจํ าเป นในการพั ฒนาสมรรถนะครู อาชี วะเอกชนในศตวรรษที่ 21 จั งหวั ด พระนครศรีอยุธยา

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

4


การทบทวนวรรณกรรม ความหมายของสมรรถนะ Wood (1992) กลาววา สมรรถนะ หมายถึง กลุมของพฤติกรรมความตองการของตําแหนงงานที่ นําไปสูความสําเร็จในงานและหนาที่ ซึ่งประกอบดวย ความรู ทักษะและแรงจูงใจ หรือคุณลักษณะของบุคคลนั้นๆ อนุศร หงสขุนทด (2564) กลาววา สมรรถนะ หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการใชความรู ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะตางๆ ที่ตนมีในการทํางานหรือการแกไขปญหาตางๆ จนประสบความสําเร็จใน ระดับหนึ่ง สมรรถนะจะแสดงออกทางพฤติกรรม การปฏิบัติที่สามารถวัดและประเมินผลได ผูวิจัยสรุปไดวา สมรรถนะ หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติงานของบุคคลที่นําไปสูความสําเร็จ และหนาที่ ซึ่งเปนผลการปฏิบัติงานที่สามารถสังเกตเห็นได รวมถึงความสามารถในการแกไขปญหาตางๆ ไดใน ระดับหนึ่ง โดยพฤติกรรมที่แสดงออกมาจากความรู ทักษะ แรงจูงใจหรือคุณลักษณะของบุคคลนั้นๆ สมรรถนะครูในศตวรรษที่ 21 ดํารง ชลสุข (2564) ไดกลาววา ครูที่มีประสิทธิภาพนั้นตองเปนครูที่มีทักษะทางอาชีพที่หลากหลาย ซึ่งทักษะที่จําเปนสําหรับครูยุคใหมมี 20 ทักษะดังตอไปนี้ 1. ความกระตื อรื อร น (Enthusiasm) ครูควรมีความกระตือรือรน ในงานที่ทํา ครูตองสงเสริมให นักเรียนมีอารมณรวมในการเรียน 2. การชี้นําแนะแนว (Leadership) ครูที่มีประสิทธิภาพตองสามารถแนะแนวทางแกนักเรียน ตลอดจน ชวยควบคุมนักเรียนที่มีความบกพรองดานคุณธรรม และครูควรนําทางนักเรียนใหประพฤติไปในแนวทางที่ดี 3. การจัดการอยางเปนระบบ (Organization) ครูตองมีการจัดการอยางมีระบบ ตองตัดสินวางานใด ที่มีความสําคัญกอนหลัง นอกจากนั้นครูตองทํางานอื่นๆ ใหเกิดความสมบูรณในหนาที่ และเสร็จตามเวลาที่กําหนด 4. การสรางสภาพแวดลอมการเรียนรู (Respectful) ครูที่ดีตองเปนผูที่เคารพนับถือของเด็ก ทําให เด็กรูสึกปลอดภัย ควรสอนใหเด็กเปนผูฟงที่ดี เคารพความคิดเห็นของคนอื่น 5. การทํางานไดหลายดาน (Multitasking) ครูไมเพียงแตสอนตามหลักสูตรหรือเปนผูสอบใหคะแนน เทานั้น แตครูตองทํางานใหไดหลายดาน ครูที่ดีตองมีตารอบตัว คือตรวจตราพฤติกรรมของเด็ก 6. การทํางานเปนทีม (Teamwork) ครูที่มีความสามารถตองทํางานเปนทีม และทําใหนักเรียนรูสึกวา พวกเขาเปนสวนหนึ่งของทีม สงเสริมใหนักเรียนไดประสบการณจากการทํางานเปนทีม 7. ความรูและทักษะ (Ability to Teach) ครูควรมีความสามารถ และทักษะในการสอน มีแบบการสอน ของตนเอง 8. การสื่อสาร (Communication) ครูตองมีความสามารถในการติดตอสื่อสารอยางโดดเดน สามารถ ติดตอปะทะสัมพันธกับประชาชนทุกอายุ 9. การปรับตัว (Adaptability) ครูตองปรับตัวใหเขากับสถานการณที่ไมเคยเกิดขึ้น 10. การมีมนุษยสัมพันธ (Interpersonal Skills) ครูจะตองความคิดริเริ่มสรางสรรค เอาใจใส

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

5


ทฤษฎีโมเดลภูเขาน้ําแข็ง McClelland (1973) อธิบายวา ความแตกตางระหวางบุคคลเปรียบเทียบไดกับภูเขาน้ําแข็ง โดยมี สวนที่เห็นไดงายและพัฒนาไดงาย คือ สวนที่ลอยอยูเหนือน้ํา นั่นคือองคความรู และทักษะตางๆ ที่บุคคลมีอยู และส ว นใหญที่มองเห็ นได ย ากจะอยูใต ผิวน้ํา ไดแก แรงจูงใจ อุป นิสัย ภาพลักษณภ ายใน และบทบาทที่ แสดงออกตอสังคม สว นที่อยูใตน้ํานี้มีผ ลตอพฤติกรรมในการทํางานของบุคคลอยางมากและเปน สว นที่ พั ฒ นาได ย าก ซึ่ ง อาจกล า วได อี ก นั ย หนึ่ ง ว า ความรู ทั ก ษะหรื อ ความสามารถ (ส ว นที่ อ ยู เ หนื อ น้ํ า ) และ คุณลักษณะอื่นๆ ของบุคคล (สวนที่อยูใตน้ํา) ทําใหบุคคลมีสมรรถนะในรูปแบบตางๆ และสมรรถนะตางๆ ดังนั้นจึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ครูอาชีวศึกษาเอกชนตองเรงรัดพัฒนาตนเองใหมีความรู มีทักษะ มี ส มรรถนะความเป น ครู ใ นศตวรรษที่ 21 เพื่ อ พั ฒ นานั ก เรี ย น/นั ก ศึ ก ษาสายอาชี พ ให มี ค วามรู มี ทั ก ษะ ความเชี่ยวชาญ ชํานาญในสาขาวิชาที่ตนเองเรียนและพรอมนําความรูท่ีไดรับจากสถานศึกษาไปประกอบอาชีพ ใหประสบความสําเร็จอันนํามาสูความกาวหนาของประเทศตอไป กรอบแนวคิดในการวิจัยครั้งนี้ ไดจากการสังเคราะหแนวคิดและงานวิจัย จํานวน 12 คน ประกอบดวย สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2553); ราชกิจจานุเบกษา (2556); สํานักงานคณะกรรมการ ขาราชการพลเรือน (2548); วิทยา จันทรศิริ (2551); รัฐศาสตร พณิชยพงศภัค (2559); Mistry of Nation Education, Turkish Republic (2006); ดวงกมล สิน เพ็ง (2553); SEAMEO INNOTECH (2010); ฉัตรชั ย หวังจงมี (2560); ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2564); ดํารง ชลสุข (2564); สัญญา พงศปรีดา (2561) กรอบแนวคิด 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

สภาพปจจุบัน ดานการทํางานเปนทีม ดานคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณ ดานสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ดานการวัดและประเมินผล ดานการคิดวิเคราะห ริเริ่มสรางสรรค ดานการพัฒนาตนเอง ดานการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู ดานจิตวิทยาการสื่อสาร

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

สภาพที่พึงประสงค ดานการทํางานเปนทีม ดานคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณ ดานสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ดานการวัดและประเมินผล ดานการคิดวิเคราะห ริเริ่มสรางสรรค ดานการพัฒนาตนเอง ดานการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู ดานจิตวิทยาการสื่อสาร

แนวทางการพัฒนาสมรรถนะ ครูอาชีวะเอกชน ในศตวรรษที่ 21 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

6


วิธีดําเนินการวิจัย ประชากรและกลุมตัวอยาง 1. ประชากร ไดแก ครูผูสอนในสถานศึกษาอาชีวะเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 5 แหง จํานวน ทั้งสิ้น 184 คน (สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา, 2564) 2. กลุมตัวอยาง ไดแก ครูผูสอนในสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จํานวน 127 คน จากสถานศึกษาอาชีวะเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ทั้ง 5 แหง กําหนดขนาดกลุมตัวอยางแบบ ทราบจํานวนประชากรตามสูตรการคํานวณของยามาเน (Yamane, 1973) กําหนดระดับความเชื่อมั่นรอยละ 95 และกําหนดความคลาดเคลื่อนรอยละ 5 และทําการคัดเลือกกลุมตัวอยางดวยการสุมแบบแบงสัดสวนตาม ตามตารางตอไปนี้ ตารางที่ 1 จํานวนขนาดตัวอยางจําแนกตามสถานศึกษา สถานศึกษาอาชีวะเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีอยุธยา 4 วิทยาลัยเทคโนโลยีผดุงเสนาบริหารธุรกิจ 5 วิทยาลัยเทคโนโลยีไทยอโยธยาบริหารธุรกิจ รวม ที่มา : สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา, 2564 ลําดับ

จํานวนประชากร (คน) 8 96 36 12 32 184

จํานวนกลุมตัวอยาง (คน) 6 67 24 8 22 127

เครื่องมือวิจัย เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม โดยมีขอคําถามแบงออกเปน 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ไดแก เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ การทํางาน ซึ่งมีลักษณะเปนแบบสอบถามปลายปดแบบเลือกตอบ (Check List) มีขอคําถามจํานวน 4 ขอ ตอนที่ 2 สอบถามสภาพปจจุบันและสภาพที่พึงประสงคของสมรรถนะครู ประกอบดวย 1) ดานการทํางาน เปนทีม 2) ดานคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณ 3) ดานสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ 4) ดานการวัด และประเมินผล 5) ดานการคิดวิเคราะห ริเริ่มสรางสรรค 6) ดานการพัฒนาตนเอง 7) ดานการบริหารหลักสูตร และการจัดการเรียนรู และ 8) ดานจิตวิทยาการสื่อสาร ลักษณะของแบบสอบถามเปนแบบมาตรวัดประเมินคา (Rating Scale) ตามแบบลิเกิรตสเกล (Likert Scale) มี 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และ นอยที่สุด มีขอคําถามจํานวนทั้งสิ้น 41 ขอ การตรวจสอบสอบคุณภาพเครื่องมือ ซึ่งผูวิจัยมีวิธีการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือดังนี้ 1. การตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) เปนการตรวจสอบคุณภาพความตรง ตามเนื้อหา โดยนําผลการพิจารณาของผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 คน มาคํานวณหาคาดัชนีความสอดคลอง IOC CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

7


(Item Objective Congruency Index) ซึ่งคาดัชนีความสอดคลองมีคาเทากับ 1 ทุกขอคําถาม ซึ่งมีคามากกวา 0.50 จึ งถื อว า แบบสอบถามมี ความเที่ ย งตรงเชิงเนื้ อหาที่ เหมาะสมหรับ ใชเก็บ รวบรวมขอ มูล ได (สุ ธ รรม รัตนโชติ, 2551) 2. ตรวจสอบความเชื่อมั่น (Reliability) โดยการนําแบบสอบถามไปทดลองใช (Try Out) กับครูผูสอน ที่ ไ ม ใ ช ก ลุ ม ตั ว อย า ง จํ า นวน 30 คน แล ว หาค า สั ม ประสิ ท ธิ์ แ อลฟา (Alpha – Coefficient) ตามวิ ธี ข อง ครอนบาค (Cronbach) โดยคาความเชื่อมั่นของแบบสอบทั้งฉบับมีคาเทากับ 0.97 โดยคาความเชื่อมั่นของ คําถามมากกวา 0.70 จึงถือวาแบบสอบถามมี ความเชื่ อมั่ นอยูในระดับสู งสามารถใชเก็ บรวบรวมขอ มู ล ได (กัลยา วานิชยบัญชา, 2556) การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยนําแบบสอบถามจัดสงไปยังสถานศึกษาที่เปนกลุมตัวอยาง โดยไดกําหนดรหัสของแบบสอบถาม ทุ กชุ ด ก อนจั ดส งไปยั งสถานศึ กษา ผู วิ จั ย ใชวิธีการจัดสงแบบสอบถามดว ยตนเองและมีผูชว ยเหลือจัดสง ต อ จากนั้ น จึ ง นั ด หมายเพื่ อ ขอรั บ คื น ด ว ยตนเองและด ว ยผู ช ว ยเหลื อ ภายใน 3 สั ป ดาห ห ลั ง การจั ด ส ง รายละเอียดดังนี้ 1. ผูวิจัยทําหนังสือขอความรวมมือจากคณะการจัดการการศึกษาเชิงสรางสรรค สถาบันการจัดการ ปญญาภิวัฒน ไปยังสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่เปนกลุมตัวอยาง เพื่อขอความรวมมือในการเก็บขอมูล 2. ผู วิ จั ย นํ า แบบสอบถามพร อ มหนั ง สื อ ขอความร ว มมื อ ในการตอบแบบสอบถามจั ด ส ง ไปยั ง สถานศึกษาที่เปนกลุมตัวอยาง โดยไดกําหนดรหัสของแบบสอบถามทุกชุดกอนจัดสงไปยังสถานศึกษา ผูวิจัยใช วิธีการจัดสงแบบสอบถามดวยตนเองและมีผูชวยเหลือจัดสง ตอจากนั้นจึงนัดหมายเพื่อขอรับคืนดวยตนเอง และดวยผูชวยเหลือภายใน 3 สัปดาหหลังการจัดสง 3. นํ า แบบสอบถามที่ มี ค วามสมบู ร ณ มาลงรหั ส และบั น ทึ ก ลงในคอมพิ ว เตอร เ พื่ อ วิ เ คราะหและ ประมวลผลขอมูลดวยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ การวิเคราะหขอมูล การวิจัยเชิงปริมาณเพื่อศึกษาสภาพปจจุบัน สภาพที่พึงประสงค และความตองการจําเปนในการ พัฒนาสมรรถนะครูอาชีวะเอกชนในศตวรรษที่ 21 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 1. ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ประกอบดวย เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ การทํางาน วิเคราะหดวยความถี่ (Frequency) และรอยละ (Percentage) 2. สภาพป จ จุ บั น สภาพที่ พึ ง ประสงค วิ เ คราะห โ ดยใช ค า เฉลี่ ย (Mean: x�) และส ว นเบี่ ย งเบน มาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.) แลวแปลความหมายของคาเฉลี่ย

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

8


3. วิเคราะหความตองการจําเปน (Needs Assessment) โดยนําขอมูลผลการศึกษาสภาพป จจุบัน และสภาพที่พึ่งประสงค มาหาคาดัชนีความตองการจําเปน (Priority Needs Index) เพื่อจัดลําดับความตองการ จําเปน สรุปผลการวิจัย 1. ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม กลุมตัวอยางจํานวน 127 คน สวนใหญเปนเพศหญิง จํานวน 83 คน คิดเปนรอยละ 65.32 เปนเพศชาย จํานวน 44 คน คิดเปนรอยละ 34.65 มีอายุ 41–50 ป จํานวน 51 คน คิดเปนรอยละ 40.16 รองลงมาคือ อายุ 30–40 ป จํานวน 46 คน คิดเปนรอยละ 36.22 อายุ 51–60 ป จํานวน 20 คน คิดเปนรอยละ 15.75 และอายุมากกวา 60 ปขึ้นไป จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ 7.87 สวนใหญศึกษาอยูในระดับปริญญาตรี จํานวน 114 คน คิดเปนรอยละ 89.76 รองลงมาคือ ศึกษาอยูในระดับ ปริญญาโท จํานวน 12 คน คิดเปนรอยละ 9.45 มีประสบการณการทํางาน 10 ปขึ้นไป จํานวน 77 คน คิดเปน รอยละ 60.62 รองลงมาคือ 6–10 ป จํานวน 25 คน คิดเปนรอยละ 19.69 ประสบการณการทํางาน 1–5 ป จํานวน 17 คน คิดเปนรอยละ 13.39 และทํางานนอยกวา 1 ป จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 6.30 2. สภาพปจจุบัน สภาพที่พึงประสงค และความตองการจําเปนในการพัฒนาสมรรถนะครูอาชีวะ เอกชนในศตวรรษที่ 21 จังหวัดระนครศรีอยุธยา ปรากฏดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 สภาพปจจุบัน สภาพที่พึงประสงค และความตองการจําเปนในการพัฒนาสมรรถนะครูอาชีวะเอกชน สมรรถนะ

สภาพปจจุบัน S.D. แปลผล x� 4.29 0.50 มาก 4.07 0.45 มาก

1. ดานการทํางานเปนทีม 2. ดานคุณธรรมจริยธรรมและ จรรยาบรรณ 3. ดานสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยี 4.10 สารสนเทศ 4. ดานการวัดผลและประเมินผล 4.05 5. ดานการคิดวิเคราะห ริเริ่ม 3.96 สรางสรรค 6. ดานการพัฒนาตนเอง 4.10 7. ด า นการบริ ห ารหลั ก สู ต รและ 4.06 การจัดการเรียนรู 8. ดานจิตวิทยาการสื่อสาร 4.18 รวม 4.10

สภาพที่พึงประสงค ความตองการจําเปน S.D. แปลผล PNIModified ลําดับ x� 4.42 0.50 มาก 0.030 5 4.32 0.50 มาก 0.061 1

0.54

มาก

4.23

0.58

มาก

0.031

4

0.45 0.46

มาก มาก

4.23 4.17

0.51 0.53

มาก มาก

0.044 0.053

3 2

0.51 0.48

มาก มาก

4.19 4.18

0.58 0.54

มาก มาก

0.021 0.029

7 6

0.52 0.40

มาก มาก

4.26 4.25

0.53 0.47

มาก มาก

0.019 0.036

8 -

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

9


จากตารางที่ 2 พบวา 1. สภาพปจจุบันของสมรรถนะครูอาชีวะเอกชนในศตวรรษที่ 21 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยรวม และทุกดานมีคาเฉลี่ย อยูในระดับมาก โดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ดังนี้ 1) ดานการทํางาน เปนทีม (x� = 4.29) 2) ดานจิตวิทยาการสื่อสาร (x� = 4.18) 3) ดานสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ (x� = 4.10) 4) ดานการพัฒนาตนเอง (x� = 4.10) 5) ดานคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณ (x� = 4.07) 6) ดานการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู (x� = 4.06) 7) ดานการวัดผลและประเมินผล (x� = 4.05) และ 8) ดานการคิดวิเคราะห ริเริ่มสรางสรรค (x� = 3.96) 2. สภาพที่พึงประสงคของสมรรถนะครูอาชีวะเอกชนในศตวรรษที่ 21 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีคาเฉลี่ย อยูในระดับมากทุกดาน โดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอย ดังนี้ 1) ดานการทํางานเปนทีม (x� = 4.42) 2) ดานคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณ (x� = 4.32) 3) ดานจิตวิทยาการสื่อสาร (x� = 4.26) 4) ดานการวัดผลและประเมินผล (x� = 4.23) 5) ดานสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ (x� = 4.23) 6) ดานการพัฒนาตนเอง (x� = 4.19) 7) ดานการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู (x� = 4.18) และ 8) ดานการคิดวิเคราะห ริเริ่มสรางสรรค (x� = 4.17) 3. ความตองการจําเปนของสมรรถนะครูอาชีวะเอกชนในศตวรรษที่ 21 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยรวมเท า กั บ 0.036 เรี ย งลํ า ดั บ ความต องการจําเปน จากมากไปหานอยดังนี้ ลําดับ ที่ 1 ดานคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ (PNIModified = 0.061) ลําดับที่ 2 ดานการคิดวิเคราะห ริเริ่มสรางสรรค (PNIModified = 0.053) ลําดับที่ 3 ดานการวัดผลและประเมินผล (PNIModified = 0.044) ลําดับที่ 4 ดานสื่อนวัตกรรมและ เทคโนโลยีสารสนเทศ (PNIModified = 0.031) ลําดับที่ 5 ดานการทํางานเปนทีม (PNIModified = 0.030) ลําดับที่ 6 ด า นการบริ ห ารหลั ก สู ต รและการจั ด การเรี ย นรู (PNIModified = 0.021) ลํ า ดั บ ที่ 7 ด า นการพั ฒ นาตนเอง (PNIModified = 0.021) และลําดับที่ 8 ดานจิตวิทยาการสื่อสาร (PNIModified = 0.019) อภิปรายผลวิจัย 1. ผลการศึ ก ษาสภาพป จ จุ บั น ของสมรรถนะครู อ าชี ว ะเอกชนในศตวรรษที่ 21 จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา พบวา สภาพปจจุบันโดยรวมและรายดาน มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก โดยดานที่มีคาเฉลี่ย มากที่สุดคือ ดานการทํางานเปนทีม รองลงมาคือ ดานจิตวิทยาการสื่อสาร ดานสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศ ดานการพัฒนาตนเอง ดานคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณ ดานการบริหารหลักสูตรและ การจัดการเรียนรู ดานการวัดผลและประเมินผล และดานที่มีคาเฉลี่ยนอยที่สุดคือ ดานการคิดวิเคราะห ริเริ่ม สร า งสรรค อั น เนื่ อ งมาจากครู อ าชี ว ะเอกชนส ว นใหญ ส ามารถปรั บ ตั ว เข า กั บ ผูร ว มงานทั้ ง ในแผนกและ ตางแผนกไดเปนอยางดี โดยในระหวางการทํางานไดใหความชวยเหลือถอยทีถอยอาศัยซึ่งกันและกัน พูดจาให กําลังใจและสนับสนุนเพื่อนรวมงานอยูเสมอ รวมถึงสามารถเลือกใชเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารใน การเรียนการสอนอยางเหมาะสม โดยเลือกใชไดตรงกับเนื้อหาในวิชาที่ตนเองสอน ทั้งนี้ในระหวางจัดกิจกรรม การเรียนการสอนครูมีปฏิสัมพันธกับผูเรียนทําใหผูเรียนรูสึกวามีสวนรวมในการเรียนการสอน เกิดเปนแรงจูงใจ ในการเรียน ประกอบกับปจจุบันเทคโนโลยีมีความทันสมัยและครูมีการใชการเรียนการสอนแบบออนไลน CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

10


เนื่องมาจากสถานการณโควิด-19 ทําใหครูคนหาความรูจากอินเตอรเน็ตและนํามาจัดทํากิจกรรมการเรียน การสอนโดยใชสื่อสังคมออนไลนที่หลากหลายมากกวาในอดีตที่ผานมา ตลอดจนมีการแลกเปลี่ยนองคความรู กั บ เพื่ อ นร ว มวิ ช าชี พ เพื่ อ พั ฒ นาตนเองและพั ฒ นางานการสอนให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ นอกจากนี้ ยั ง ได รั บ การสนับสนุนในเรื่องการฝกอบรมเพื่ อเพิ่มพูน ความรูและนํ าความรู ที่ไดจากการฝกอบรมมาใหคําแนะนํ า ปรึกษา และถายทอดประสบการณทางวิชาชีพแกผูรวมงาน ในสวนการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู สถานศึกษาไดจัดทําแผนการจัดการเรียนรูอยางเปนระบบโดยบูรณาการในรายวิชาที่สอดคลองกัน หลักสูตร ปฏิบัติผูเรียนก็จะไดปฏิบัติจริงเพื่อใหไดความรูและทักษะนําไปใชในการประกอบอาชีพไดภายหลังจากสําเร็จ การศึกษา ซึ่งสอดคล องกับงานวิจัย ของ ประโมทย นันนิล (2561) ศึกษาการพัฒนาโปรแกรมเสริม สร าง สมรรถนะครู ดา นการบริห ารหลักสูตรและการจัดการเรีย นรูสําหรับ สถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 ผลการวิจัยพบวา สภาพปจจุบัน ดานความรูเกี่ยวกับหลักสูตรและเนื้ อหา ดานการเขาใจผูเรียน ดานการวัดและประเมินผล และดานการพัฒนาตนเอง โดยรวม มีคาเฉลี่ยอยูในระดับ มาก และสอดคลองกั บงานวิจัยของ จริยาภรณ ตูคํามูล (2563) ศึกษาการพัฒ นาแนวทางการเสริมสร าง สมรรถนะครูดานการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู ในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานอาชีวศึกษา จังหวัด ขอนแกน ผลการวิจัยพบวา สภาพปจจุบัน ดานการสรางและพัฒนาหลักสูตร ดานการออกแบบการเรี ยนรู ดานการเนนผูเรียนเปนสําคัญ ดานสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยี และดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู โดยรวม มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก 2. ผลการศึ ก ษาสภาพที่ พึ ง ประสงค ข องสมรรถนะครู อ าชี ว ะเอกชนในศตวรรษที่ 21 จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา พบวา สภาพที่พึงประสงคโดยรวม และรายดานมีคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก โดยดานที่มี คาเฉลี่ยมากที่สุด คือ ดานการทํางานเปนทีม และดานที่มีคาเฉลี่ยนอยที่สุดคือ ดานการคิดวิเคราะห ริเริ่ม สรางสรรค ทั้งนี้สถานศึกษาใหการสนับสนุนการทํางานเปนทีม โดยมีการจัดกิจกรรมตางๆ ใหครูแตละแผนก ไดมาพบเจอพูดคุย และชวยกันทํางาน เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูงานระหวางกัน ซึ่งในการทํางานรวมกันตาง พูดใหกําลังใจตอกันไมพูดจาบั่นทอนจิตใจซึ่งกันและกัน ทําใหเกิดทีมงานที่ดี ในสวนดานการคิดวิเคราะห ริเริ่ม สรางสรรค ครูตองการไดรับการสนับสนุนจากผูบริหารในเรื่องการฝกอบรมและฝกทักษะในการวิเคราะหสภาพ ปญหา จุดออน จุดแข็งของตนเองและผูเรียน วิเคราะหองคความรูเ พื่อนําไปใชในการพัฒนาตนเองและพัฒนา งาน มีความคิดริเริ่มสรางสรรคในการผลิตสื่อเพื่อนําไปพัฒนาผูเรียนใหมีความรูความสามารถ ซึ่งสอดคลองกับ งานวิจัยของ ประโมทย นันนิล (2561) ศึกษาการพัฒนาโปรแกรมเสริมสรางสมรรถนะครูดานการบริหาร หลักสูตรและการจัดการเรียนรูสําหรับสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 ผลการวิจัยพบวา สภาพที่พึงประสงค ดานความรูเกี่ยวกับหลักสูตรและเนื้อหา ดานการเขาใจผูเรียน ดานการวัด และประเมินผล ดานการพัฒนาตนเอง โดยรวมมีคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก สอดคลองกับงานวิจัยของ จริยาภรณ ตูคํามูล (2563) ศึกษาการพัฒนาแนวทางการเสริมสรางสมรรถนะครูดานการบริหารหลักสูตรและการจัดการ เรียนรู ในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานอาชีวศึกษา จังหวัดขอนแกน ผลการวิจัยพบวา สภาพที่พึงประสงค ด านการสร า งและพั ฒ นาหลั ก สู ตร ด า นการออกแบบการเรีย นรู ดานการเนน ผูเรีย นเป น สํา คั ญ ดานสื่ อ นวัตกรรมเทคโนโลยี และดานการวัดและประเมินผลการเรียนรู โดยรวมมีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากที่สุด และ CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

11


สอดคลองกับงานวิจัยของ Saavedra & Darleen (2012) ศึกษาการเรียนรูทักษะในศตวรรษที่ 21 จําเปนตอง มีการสอนในศตวรรษที่ 21 ผลการวิจัยพบวา ครูในศตวรรษที่ 21 ตองมีทักษะการทํางานเปนทีม 3. ผลการศึ ก ษาความต อ งการจํ า เป น ของสมรรถนะครู อ าชี ว ะเอกชนในศตวรรษที่ 21 จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา เรียงลําดับความตองการจําเปนจากมากไปหานอยดังนี้ ลําดับที่ 1 ดานคุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณ ลําดับที่ 2 ดานการคิดวิเคราะห ริเริ่มสรางสรรค ลําดับที่ 3 ดานการวัดผลและประเมินผล ลําดับที่ 4 ดานสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ลําดับที่ 5 ดานการทํางานเปนทีม ลําดับที่ 6 ดานการ บริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู ลําดับที่ 7 ดานการพัฒนาตนเอง และลําดับที่ 8 ดานจิตวิทยาการ สื่อสาร ทั้งนี้ครูตระหนักถึงความสําคัญในเรื่องคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณ เนื่องจากปจจุบันมีขาว ในทางลบปรากฏทางสื่อสังคมในเรื่องคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณของครูมากขึ้น ทําใหภาพลักษณของครู เปนไปในทางลบ สงผลใหผูเรียนและผูปกครองขาดความเชื่อมั่นในวิชาชีพครู ดังนั้นผูบริหารตองเสริมสรางให ครูมีคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณ เพื่อใหนักเรียนและผูปกครองมีความเชื่อมัน่ และไวใจที่จะสงบุตรหลาน เขามาเรียน ซึง่ อาจจัดอบรมเชิงปฏิบัติการดานคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณของครู โดยทีมงานผูบริหาร ในวิทยาลัยหรือวิทยากรจากหนวยงานภายนอกที่ไดรับการยอมรับ รวมถึงมีการนิเทศครูอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง สอดคลองกับงานวิจัยของ นเรศ ปูบุตรชา (2561) ศึกษาสมรรถนะครูกับคุณภาพผูเรียนในศตวรรษที่ 21 ไดกลาววา การพัฒนาการศึกษาใหมีคุณภาพ ตองอาศัยครูที่มีคุณภาพและมีสมรรถนะ หากครูมีสมรรถนะดาน คุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ยอมเชื่อมั่นไดวาจะสามารถพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพ สามารถ ดําเนินชีวิตใหประสบความสําเร็จในศตวรรษที่ 21 ไดสอดคลองกับงานวิจัยของ Linda (2006) ศึกษาการสราง จัดการศึกษาของครูในศตวรรษที่ 21 ผลการวิจัยพบวา ครูตองมีความรูในเนื้อหาวิชาที่ตนเองสอน ครูตอง เขาใจเปาหมายของการศึกษา วัตถุประสงครายวิชา ทักษะ และเนื้อหาของวิชานั้นๆ เพื่อสามารถประเมินผล ได อ ย า งเหมาะสม และสอดคล อ งกั บ งานวิ จั ย ของ National Institute of Education (2009) ที่ ร ายงาน รูปแบบใหมของครูในศตวรรษที่ 21 ของประเทศสิงคโปร โดยมีโมเดลสมรรถนะครูในศตวรรษที่ 21 คือ ครูตอง รูจักและเห็นคุณคาของนักเรียนความเชื่อรวมกันวาเด็กทุกคนสามารถเรียนรูตามศักยภาพในเด็กแตละคน มีความหลงใหลในการจัดการศึกษา ปรับตัวและยืดหยุนตามสถานการณ มีศีลธรรมจริยธรรม ครูตองมีทักษะ การคิดวิเคราะหใครครวญและการแสดงออกทางความคิด ขอเสนอแนะในการนําผลวิจัยไปใช 1. ดานคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณ ผูบริหารควรใหความสําคัญในเรื่องคุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณ โดยปฐมนิ เ ทศครู ที่ บ รรจุ ใ หม ปลู ก ฝ ง คุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรมให กั บ ครู มอบนโยบาย “นโยบายใหระลึกอยูตลอดเวลาวาผูเรียนคือบุตรหลานของเรา” เพื่อใหครูไดตระหนักถึงคุณธรรมจริยธรรม และประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดีใหกับผูเรียน สําหรับครูเกาอาจมีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการดานคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของครู โดยทีมงานผูบริหารในสถานศึกษาหรือวิทยากรจากหนวยงานภายนอกที่ ไดรับการยอมรับ รวมถึงมีการนิเทศครูอยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

12


2. ดานการคิดวิเคราะห ริเริ่มสรางสรรค ผูบริหารควรสนับสนุนและสงเสริมใหมีเวทีแสดงความคิดเห็น เพื่อระดมสมองใหเกิดแนวคิดสรางสรรคเกิดการเรียนรู แลกเปลี่ยนองคความรูใหมๆ ระหวางกันในสถานศึกษา ซึ่งอาจทําใหครูมีความคิดริเริ่มในการจัดการเรียนการสอน หรือการจัดทําสื่อใหมๆ ที่สามารถดึงดูดใจผูเรียน มากขึ้น นอกจากนี้ผูบริหารควรใหความสําคัญกับความคิดเห็นของทุกหนวยงานภายในสถานศึกษา เพื่อนํา ความคิดเห็นเหลานั้นมาสนับสนุนหรือปรับปรุงการดําเนินงานในดานการจัดการเรียนการสอนใหดียิ่งขึ้น 3. ดานการวัดผลและประเมินผล ผูบริหารควรมีการนิเทศติดตาม ประชุม ปรึกษาหารือ เกี่ยวกับ การวัดผลและประเมินผลของครูในทุกแผนก เพื่อใหครูมีขั้นตอนและวิธีการวัดผลประเมินผลอยางเหมาะสม โดยมุงเนนการวัดผลและประเมินผลในสภาพจริง ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรมีการศึกษาวิ จัย เพื่ อค นหาแนวทางการเสริมสรางสมรรถนะครูดานอื่นๆ เพิ่มเติมเพื่ อ เป น การพัฒนาศักยภาพของครูอาชีวะเอกชนใหครอบคลุมทุกดาน 2. ควรศึกษาปจจัยที่สงผลตอสภาพที่พึงประสงคของการเสริมสรางสมรรถนะครูอาชีวะเอกชนใน ศตวรรษที่ 21 รายการอางอิง กัลยา วานิชยบัญชา. (2556). การวิเคราะหสถิติ : สถิติสําหรับการบริหารและวิจัย. (พิมพครั้งที่ 14). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. จริยาภรณ ตูคํามูล. (2563). การพัฒนาแนวทางการเสริมสรางสมรรถนะครูดานการบริหารหลักสูตรและ การจัดการเรียนรู ในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานอาชีวศึกษา จังหวัดขอนแกน. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน, 7(6), 309-322. ฉัตรชัย หวังมีจงมี. (2560). สมรรถนะของครูไทยในศตวรรษที่ 21 : ปรับการเรียน เปลี่ยนสมรรถนะ. สถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 12(2), 53-59. ดวงกมล สินเพ็ง. (2553). การพัฒนาผูเรียนสูสังคมแหงการเรียนรู การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนศูนยกลาง. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ดํารง ชลสุข. (2564). มติชนออนไลน : 20 ทักษะที่จําเปนสําหรับครูยุค 4.0. สืบคนเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 256, จาก https://www.matichon.co.th/education/news_1890713 ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2564). ทักษะที่จําเปนสําหรับครูไทยในอนาคต. สืบคนเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2564, จาก https://coggle.it/diagram/XoHbEI9RpoP57Yl1/t/ทักษะครูไทยในอนาคต-c-teacher. นภาพร จาเมืองฮาม. (2563). การพัฒนาแนวทางการเสริมสรางสมรรถนะครูดานการบริหารหลักสูตรและ การจัดการเรียนรูในสถานศึกษาสังกัดสํานักงานอาชีวศึกษา จังหวัดนครราชสีมา. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน, 7(7), 345-359.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

13


นเรศ ปูบุตรวิชา. (2561). สมรรถนะครูกับคุณภาพผูเรียนในศตวรรษที่ 21. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏ รอยเอ็ด, 12(2), 255-268. ประโมทย นันนิล. (2561). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสรางสมรรถนะครูดานการบริหารหลักสูตรและ การจัดการเรียนรูสําหรับสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25. (วิทยานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ฤตินันท สมุทรทัย. (2556). การวิจัยนํารองการพัฒนาหลักสูตรการผลิตครูสําหรับศตวรรษที่ 21. มหาวิทยาลัยเชียงใหม. เชียงใหม. ราชกิจจานุเบกษา. (2556). ประกาศคณะกรรมการคุรสุ ภา เรื่อง สาระความรู สมรรถนะ และประสบการณ วิชาชีพของผูประกอบวิชาชีพครู ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก ตามขอบังคับคุรุสภาวาดวยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556. สืบคนเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2564, จาก http://www.mbuisc.ac.th/wi/2.pdf ราชกิจจานุเบกษา. (2565). ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการจัดการศึกษาและการประเมินผล การศึกษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการของสถาบันการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2564. สืบคนเมื่อ 10 มีนาคม 2565, จาก http://bsq2.vec.go.th/crouse_manage/ระเบียบ/ระเบียบ การจัดการศึกษาปตรี.pdf รัฐศาสตร พาณิชยพงศภัค. (2559). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสรางสมรรถนะการบริหารหลักสูตรและ การจัดการเรียนรูของครูโรงเรียนประถมศึกษาเอกชน. (วิทยานิพนธปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วิทยา จันทรศิริ. (2551). การพัฒนาสมรรถนะหลักของผูบริหารสายสนับสนุนในมหาวิทยาลัยของรัฐ. (วิทยานิพนธปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สุธรรม รัตนโชติ. (2551). การวิจัยเชิงพฤติกรรมศาสตร. กรุงเทพฯ: ทอป. สัญญา พงศปรีดา. (2561). การพัฒนาทักษะการสอนของครูพันธุใหมในยุคไทยแลนด 4.0. บทความวิชาการ, 2(1), 73-82. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะ การคิด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุมสาระการเรียนรูสังคม ศึกษา คาสนา และวัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน. (2548). คูมือสมรรถนะราชการพลเรือนไทย. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. (2561). ยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป พ.ศ. 2561–2580. สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. (2564). ขอมูลโรงเรียนแยกรายสังกัด. สืบคนเมื่อ 2 ธันวาคม 2564, จาก https://www.child-edc-aya.com/ESAO8_index.php

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

14


แสงเดือน แกวปลอง. (2557). การกําหนดอัตราคาจางที่เปนธรรมของพนักงานบริษัทเอกชน ในเขตนิคม อุตสาหกรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. อนุศร หงสขุนทด. (2564). สมรรถนะผูเรียน. สืบคนเมื่อ 20 ธันวาคม 2564, จาก http://krukob.com/web/1-117/ โอภาส สุขหวาน. 2562. การศึกษาสมรรถนะความเปนครูของครูอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา, 13(1), 107-121. Enriquez. (2001). As the future catches you. New York: Crown business. Linda, D.H. (2006). Constructing 21st century teacher education. Journal of Teacher Education, 57(10), 1-15. McClelland, D. C. (1973). Testing for competence rather than intelligence. American Psychologist, 28(1), 1-14. Ministry of National Education, Tukish Republic. (2006). Teacher Training Component. Generic Teacher Competencies, 31(2), 204-207; February. Saavedra, A.R., & Darleen, V.O. (2012). Learning 21st century skills requires 21st century teaching. Phi Delta Kappan, Sage Journals, 94(2), 8-12. SEAMEO INNOTECH. (2010). Teaching Competency Standards in Southeast ASIAN Countries. Philippine: SEAMEO INNOTECH. Wood, C. (1992). “What is meant by a competency?” In R. Boam and P. Sparrow (eds), Designing and Achieving Competency. Maidenhead: McGraw-Hill. Yamane, T. (1973). Statistics : An Introductory Analysis. (3rd ed). New York: Harper and Row.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

15


ERROR ANALYSIS OF ENGLISH SHORT PARAGRAPHS: THE CASE OF THAI UNDERGRADUATE STUDENTS IN THE ENGLISH SHORT PARAGRAPH WRITING COURSE Chaithat Meesri1, Supaporn Peratanasumran2 ABSTRACT This main purpose of this study is to examine errors in English short paragraphs written by 88 participants. The participants are second-year students who enrolled in the English writing course. They were assigned to write the same topic for 100-200 words. All participants are non-native English and hardly communicate in English in daily life. This aims to identify the errors made by the students due to two aspects 1) the most common lack of English paragraph components, and 2) the most common English grammatical errors. The findings reveal that those undergraduate university students have various problems in terms of English paragraph writing. First and foremost, their paragraph components missed unity, coherence, supporting ideas, and a conclusion. Furthermore, there were up to 16 grammatical errors in this study. The three important grammar points were complex structures, nouns, and fragments which affected sentence meanings. Thus, teachers need to explicitly provide an understandable explanation to enable them to improve their English writing skill. Last but not least, it is crucial to pay more attention to students’ problems so that various types of errors in the aspects of short paragraph writing components and English grammar used in their written works can be mitigated. KEYWORDS: Error analysis, English short paragraph, Grammatical errors

1 Chaithat Meesri English for Business Communication/School of Liberal Arts/Sripatum University 2 Supaporn Peratanasumran International Airline Business/ Sripatum University International College CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

16


Introduction The four-skill communicative English is commonly considered crucial in the world of communication, especially in the English phenomenon. Both listening and reading skills are used as an input process, whereas speaking and writing skills are an output. However, the four language skills are related to one another (English CLUB, 2022). Most curriculums in the Faculty of Humanities or Liberal Arts in several Thai universities are regularly allocated equal portions of those four skills for their students. English writing has also been a big part of every university student's life. It has been realized that this skill is the most difficult one for learners, particularly EFL learners (Watcharapunyawong and others, 2013; Phuket and others, 2015). In addition, Coffin and others (2003) support the viewpoint of reasons for writing, for example, writing as an assessment, as an aid to critical thinking, understanding and memorization, extending students’ learning beyond lectures and other formal settings, improving students’ communication skills, and training them as future professionals in particular disciplines. This research article aims to study the lack of short paragraph components and the grammatical mistakes in writing made by Thai undergraduate students in the English Department. All students enrolled in the same course – English Short Paragraph Writing. Since writing an English paragraph itself should be concise and well-organized, this subject course requires students to master the components of a good paragraph, consisting of an indentation, a topic sentence, supporting sentences, and a concluding sentence, as well as coherence and transitions, along with the practice of paragraph writing (Savage and others, 2007). Nevertheless, errors in writing are inevitably. The researcher was motivated to conduct this study because students had significant problems in writing an English paragraph. It has been found that a number of research studies have been conducted to find out the causes of writing problems and to help English as a Foreign Language (EFL) learners overcome difficulties in their writing (Sawalmeh, 2013; Sermsook and others, 2017; Khatter, 2019; Li, 2021). Research Objectives This study aims to identify the following problems: (1) the most common lack of English paragraph components (2) the most common English grammatical errors in paragraph writing

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

17


Literature Review Theory, Concept and Related Research Components of a Good Paragraph Basically, in a paragraph, it tends to (Khatter, 2019) express one main idea or opinion, and it is said that it is a collection of sentences. These sentences are to express a specific idea, main point, topic, and so on (Beare, 2018). A paragraph is made up of a topic sentence, supporting ideas, a conclusion, unity and coherence, and transitions. Here are definitions of the following components (Savage and others 2007): A Topic Sentence It is usually the first or second sentence in a paragraph. It introduces a new idea, presents the topic, and explains what the writer will say about it. It is called the controlling idea. Supporting Ideas They add information about the topic and the controlling idea. These sentences can include definitions, explanations, and examples. It depends on which type of paragraph a writer is going to write about. A Conclusion It is usually known as a concluding sentence or a final sentence, and it usually reminds the reader of the topic and controlling idea of the paragraph. It can also restate the main idea. A Unity and A Coherence A paragraph unity does not have its own writing function, but it means all the sentences support a single idea. Since the paragraph must have one controlling idea in the topic sentence, the supporting sentences must support or explain the controlling idea with examples, details, steps, or definitions. On the contrary, coherence means the supporting details are organized so that information that goes together appears together. Writers often use time, space, or order of importance to present the supporting information in a paragraph coherently. Transition words Transition words help connect thoughts, sentences, and paragraphs; thus, they are important within a sentence or paragraph because they have written works that flow seamlessly from one sentence or thought to another (Betts, 2022). There are various types of transition words and phrases, and each of them helps the reader make certain connections. For example, words which point out alternatives or differences are such as but, similarly, on the contrary. To show the consequences of an action, they can be since, because, therefore, or as a result. A writer can also add information or reinforce ideas by using “also”, “moreover”, or “furthermore,” and so on. CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

18


An Opinion Paragraph In an opinion paragraph, the writer employs an opinion and tries to convince readers that the opinion is on a supportive side. The writer tries to make the readers agree with the writer’s opinion. Therefore, an opinion paragraph consists of a topic sentence, supporting ideas, and also a conclusion, which are very common in paragraph writing. However, a topic sentence in an opinion paragraph is required to clearly introduce the topic and state the writer’s opinion. Supporting sentences are the middle sentences which give reasons to support the writer’s opinion. Writers often use facts, explanations, and personal experiences to support their opinions. Lastly, a concluding sentence restates the writer's opinion in different words. It also comments on the opinion in some way, as well as sometimes summarizes the main reasons for the writer’s opinion. Not only are the components of a good paragraph concerned, but common errors in English writing are also frequently found in several pieces. Additionally, the most common errors found are considered grammatically incorrect in English paragraph writing, and those common errors, however, are reviewed in types of errors in English writing. Error Analysis Error analysis (EA) is involved in one of the most influential theories of second language acquisition. When learners have their own ways of acquiring a language, especially in the field of Second Language Acquisition (SLA), they also produce a considerable number of errors during their learning. Moreover, errors will never cease to occur. Linguists have focused on error analysis with the aim of taking a deeper look into learner production. According to Pit Corder’s approach around the late 60’s, the system nowadays shows that errors should be investigated to understand and also improve the linguists' attempts to learn a second language. However, prior to Corder, linguists used the Contrastive Analysis (CA), which examines and investigates particular errors and refers to a particular distinction between the first and the second language. Investigators have developed procedures to collect, identify, describe, explain, and evaluate certain errors. Relevance of Error Analysis and Types of Errors in English Writing Li (2021) points out that the most common errors in English writing among Chinese students are the misuse of verbs and articles. Those errors are the negative transfer of Chinese since the thought patterns and dissimilarities occur between Chinese and English. Setiyorini and others (2020) analyze the types of grammatical errors found in students’ essays. The results from 20 pieces of students’ work were analyzed descriptively by using CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

19


Keshavarz’s theory. The results show that the percentage for each error type is 34.06% (omission), 7.25% (addition), 57.97% (substitution), and 0.72% (permutation). Some implications found are that the lecturer should give enrichment, understand students’ grammar competence, give corrective feedback to students’ errors, modify target language learning items in classrooms and textbooks, understand the way students apply the target language rules, and use an effective teaching method or learning media. Khatter (2019) studies the most common essay writing errors among EFL Saudi female learners at Majmaah University. The types of errors were categorized, and the factors that contributed to them were analyzed. The findings showed that the most frequent types of errors made by the participants were punctuation errors, forming the most troublesome area, followed by spelling errors, preposition errors, article errors, wrong verb tense, and wrong word forms. Interlingual and intralingual transfer were found to be the sources underlying the most common errors. Sermsook and others (2017) analyze errors in written English sentences of EFL students. They found that the most frequently committed errors were punctuation, articles, subject-verb agreement, spelling, capitalization, and fragments. They suggested that intensive knowledge of English grammar and vocabulary be taught to Thai EFL students. In addition, the negative transfer of students’ first language should be taken into account in English writing classes, and the finding implies that explicit feedback on students’ writing errors is genuinely needed. In Kusumawardhani’s research, the descriptive method used in the study identifies four types of errors in English writing which are: 1) Selection errors – This type of error involves the use of words that should not be used or collocated in the context. 2) errors of ordering— this is about the elements which are not put in the proper place. 3) errors of omission—this error is about the missing elements which should exist, but the writers do not use, 4) errors of addition—it is the adding of some elements which should not exist, such as the misuse of the article "a" with an uncountable noun (Kusumawardhani, 2015). A Case Study of Grammatical Errors Made by Malaysian Students, Tse (2014) study on the two aspects of the detection of grammatical errors made by university students and the ways to help them avoid making errors. Sixty samples of paragraphs written by first-year university students from the Department of Languages and Linguistics of a private university in Malaysia were collected and analyzed. A total of 797 errors were discovered in the findings. Six significant errors that appeared in the sample were: a) singular/plural; b) articles; c) prepositions; d) adjective/noun; e) subject-verb agreement; and f) tenses. Various ways to CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

20


cope with errors, for instance, "process writing" and "peer correction," are recommended to help the learners avoid making errors. Most studies analyze errors with regard to the types and causes of errors commonly committed by EFL learners. It covers the concepts and theories of error analysis while also identifying flaws and gaps in the literature. Conceptual Framework Regarding the knowledge of English short paragraphs taught in class, there are 5 types of short paragraphs, which are narrative, descriptive, example, opinion, and process paragraphs introduced in the course, and each type of short paragraphs has different components. In this study, an opinion paragraph is randomly chosen. Moreover, all the writings were from the 88 participants who enrolled in the course and were assigned to practice writing on the same topic before a final examination. All the written works are expected to have the complete components as previously reviewed above. Therefore, all the opinion paragraphs are analyzed on 2 aspects - for the most common lack of English short paragraph components and the most common English grammatical errors in paragraph writing. Consequently, the expected results would show meaningful causes for the future teaching development in the next writing course. Research Hypotheses 1. Frequent problems with short paragraph components occurred when the students wrote their opinion paragraphs. 2. There are various grammatical errors that the students made in their short paragraphs. Research Methodology Research Design To investigate the most common lack of English short paragraph components and the most common English grammatical errors, 88 second-year students at a university in Bangkok were selected as participants. The opinion paragraph was randomly chosen from 5 types of English short paragraphs taught in the course, and all the writings collected were analyzed on 2 aspects mentioned previously. The errors on the 2 aspects occurred were counted as frequencies and derived from Corder's (1967) method on error analysis. This method has three steps: 1) collection of sample errors, 2) identification of errors, and 3) description of errors.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

21


Population All the 88 second-year students were participated in this study. They all were English major undergraduate students who are non-native English and enrolled the English short paragraph writing course at a Thai university. All of them have been learning English as a foreign language for at least six years. Particularly in this course, the participants were entirely required to attend this English short paragraph course for 36 hours. Moreover, they were assigned to compose their opinion paragraphs which were required to have 100-200 words in each piece of work prior to their final examination. Research Instrument Error analysis is the instrument of this study. It falls within the descriptive research method. Errors were analyzed following the Corder’s (1967) model – data were collected, and the errors were identified by carefully examining all the errors found. Thus, the rubrics were employed for tally markings. All the submitted paragraphs were converted to PDF files and sent via the researcher’s email as assignments submission process. Consequently, the errors were described and classified into different types. Finally, findings and conclusions were elaborated. Data Collection The major source of data used to find answers for research objectives and research hypotheses is the written short paragraphs of 88 participants. They were assigned to write an opinion paragraph on the same topic. The following steps were data collecting process: 1) the written works were collected and sent via the researcher’s email 2) all the written works were entirely collected for this study 3) the first analysis was to check short paragraph components 4) the second analysis was to check grammatical errors. 5) all the frequencies were converted into percentages. Each of the missing paragraph components and grammatical error types that occurred were counted as frequencies. Data Analysis There were two rubrics for the error checks – the first one was used for short paragraph components to check whether in those short paragraphs there were a topic sentence, supporting ideas, a conclusion, coherence, and transitions or not. The most missing component in the paragraphs found was unity and coherence (27.03%). The second rubric was used for grammatical errors. Sixteen types of errors were found in all the collected written works while complex structures were frequently found grammatically incorrect (17.91%).

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

22


Research Findings From the eighty-eight written works collected, the results of the short paragraph components and the most common grammatical errors are presented according to the proposed research objectives. Lack of Short Paragraph Components According to the five types of short paragraph components proposed, the researcher focused on how the students organized their paragraphs, whether they included a topic sentence, supporting ideas, a conclusion, unity and coherence, and transition words. The table below demonstrates errors of short paragraph components, frequencies, and percentages. Table 1 Lack of short paragraph components, frequency, and percentage found in short paragraphs Lack of Short Paragraph Components A topic sentence Supporting ideas A conclusion Unity and coherence Transitions Total

Frequency 13 19 17 20 5 74

Percentage 17.57 25.68 22.97 27.03 6.76 100

As shown in Table 1, the first three frequent components missed were unity and coherence (27.03%), supporting ideas (25.68%), and a conclusion (22.97%) which are the commonly important components of paragraph writing. Moreover, the most important part in paragraph writing is a topic sentence (17.57%). It was missed as the fourth sequence. Lastly, the use of transitions (6.76%) was found to be the least missing. Grammatical Errors Frequently Found in Opinion Paragraphs The types, total numbers, and percentages of errors committed by the students are reported in this section. Having analyzed the grammatical aspects that represented the most frequent errors, sixteen errors were identified in the table below.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

23


Table 2 Types of grammatical errors, frequency, and percentage found in short paragraphs Types of grammatical errors Complex structures Nouns Fragments Capital letters Auxiliary verbs Subject-verb agreement Articles Punctuations Verb tenses Spellings Prepositions Literal translation from Thai Adjectives Unnecessary passive voice Possessive cases Word orders Total

Frequency 48 31 25 23 23 23 21 15 12 12 11 11 8 3 1 1 268

Percentage 17.91 11.57 9.33 8.58 8.58 8.58 7.84 5.60 4.48 4.48 4.10 4.10 2.99 1.12 0.37 0.37 100

The frequencies in the table displayed the most frequent grammatical errors were complex structures (17.91%), whereas possessive cases (0.37%) and word orders (0.37%) were the least findings. Discussion A detailed analysis of the errors revealed according to the research objectives. The first three missing components were considered critical for the writer since a paragraph always requires a topic sentence, supporting ideas, and a conclusion. Although each missing component occurred in different written works, it suggests that students have still not understood how to write and generate those components. All students were required to write on the same topic entitled "Should Bangkok support people using electric cars?" According to Wikborg (1990) as cited in Sattayatham and others (2008), the study was found that most students did not present a reasonable connection or relation between ideas in their paragraphs that causes “coherence breaks” which was firstly and similarly found that unity and coherence (27.03%) were the most common elements of paragraph writing which CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

24


students did not show in their written works. Because they employed fewer and unrelated supporting ideas. This may lead to weak supporting parts in the paragraphs, which will be discussed next. Supporting ideas (25.68%) were the second component that was most frequently missing. In an opinion paragraph, writers need to show their points of view, and each point needs a supporting idea. For example, 1) Sometimes people get stressful when they are late for their job; therefore, they also have to face the dust from everywhere and with bad traffics. 2) If there are electric cars in the future, it may help to solve many problems such as air pollution. However, electric cars must be charged. They do not use petrol which consumes electric power. Most written works contained sentences that did not support one another; they were sentences that were normally connected. Thirdly, the concluding sentences (22.97%) found neither reminded readers of the topic and controlling idea of the paragraph, nor restated the main idea. Another factor found which significantly meaningful was a topic sentence. Those students who neglected and failed to write a topic sentence wrote just a general sentence or an unrelated one. Some examples of topic sentences were included, for example, 1) Electric cars are something that will help reduce many problems 2) I agree because there is a lot of pollution and bad air quality 3) Bangkok should encourage people to use electric cars or not? 4) At present we have facilities to us in our routine; we have many accessories to use such as electric cars. It was found that there were no for-andagainst ideas for the topic assigned. Some were not only too general to be topic sentences, but they were also difficult to understand and had no directions. From this first round of study, it revealed that those students who produced the topic sentences concerned with the issues above had gotten lower scores. The last component, which was impacted the least, was parts of transitions. Since students were able to utilize transition words for their ideas, those transition words that were easily used and mostly found in short paragraphs collected were such as firstly, secondly, moreover, furthermore, since, because, that, which and so on. Therefore, the students can put their ideas in order. However, they missed how they should support their previous points of view. This caused their supporting ideas to be affected as the aforementioned detail. Although there are many studies focusing on error analysis in English writing, and those show similar types of grammatical errors, the participants or the population of those studies created different types of errors (Sawalmeh, 2013; Sermsook and others, 2017; Khatter, 2019; Li, 2021). Similarly, it has been discovered that all the written works contain 268 incorrect points, and the first three errors are discussed further. The most incorrect grammar points CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

25


found in this study were the inapplicable compound or complex sentences. Those sentences were produced by the students, and the following excerpts were, for example, 1) The first reason is electric cars are faster than gasoline cars, 2) Because this type of car uses electricity instead of oil, 3) Because of economy issue make cost of living getting higher, 4) Bangkok should encourage people to drive electric vehicles. Because driving a petrol car pollutes the environment, 5) Oil and gas can reduce carbon monoxide, which is released from vehicles, which cause global warming. It was found that students could not apply the noun in example 1 by using the adjective clause, whereas in example 5 the relative pronoun was exceeded. Similarly, the subordinate clause using ‘because’ was the most commonly found incorrect use, as in examples 2, 3, and 4. The second grammatical error found was the use of nouns in sentences. According to the written work, nouns in sentences were incorrectly referred to or the parallel structure was misused; for example, 1) These are my reason why I think Bangkok should not support people to have electric cars, 2) Electric cars have benefit and convenient for us in Bangkok, 3) In my opinion, Bangkok should support people to use electric cars because of its various useful. Thirdly, fragments in written works were mostly found when they started to put their ideas in orders; for instance, 1) Firstly, helps to save a lot of fuel, 2) Thirdly, the most important thing, 3) Finally, can be used to travel on a long distance. The first three errors are considered significantly important to the meaning of sentences. It can be concluded that the participants made various types of errors in the aspects of short paragraph writing components and English grammar used in their written works because the negative transfer of the Thai language into English writing. That could come from Thai thinking patterns or conceptual absence. With regard to the types of errors, the thought patterns, lack of knowledge, and different proficiency levels are affecting the English writing among the participants (Sermsook and others, 2017; Li, 2021). This study provides an overview of errors in English short paragraph writing among the focused group. In addition, based on the analysis of the causes, every point of error should be given more attention by English teachers or lecturers. Therefore, some of the suggestions below may be considered useful. Suggestions (1) Both teachers and students need to pay more attention to any frequent errors. (2) Students need explicit instructions to help increasing their awareness of English language structures. Since their lack of some correct concepts of paragraph writing and the absence of some grammatical forms may lead to several errors in English short paragraphs writing. CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

26


Acknowledgement The author sincerely thanks every piece of written work in this study and for Miss Supaporn Peratanasamran’s help in contacting a native person who can devote some time to proofreading and editing our grammar points. References Beare, K. (2018). ThoughtCo [Online]. Retrieved May 8, 2022, from: http://thoughtco.com Betts, J. (2022). Yourdictionary [Online]. Retrieved May 25, 2022, from http://examples.yourdictionary.com/examples-of-transitional-words-and-phrases.html Coffin, C. et al. (2003). Teaching Academic Writing: A toolkit for higher education. London & New York: Routledge. Corder, S. P. (1967). The significance of learners’ errors. International Review of Applied Linguistics, 5(4), 161-169. Corder, S. P. (1975). Error Analysis, Interlanguage and Second Language Acquisition. Language Teaching, 8, 201-218. English, J. (2021). Error Analysis [Online]. Retrieved May 28, 2022, from: http://english-efl.com EnglishCLUB. (2022). Language Skills [Online]. Retrieved May 10, 2022, from https://www.englishclub.com/learn-english/language-skills.htm Khatter, S. (2019). An Analysis of the Most Common Essay Writing Errors among EFL Saudi Female Learners (Majmaah University). Arab World English Journal, 364-381. Kusumawardhani, P. (2015). Error Analysis in Writing and English Narrative Composition. Journal LINGUA CULTURA, 9(2), 132-136. Li, Z. (2021). Error Analysis - Types and Causes of Errors in English Writing among Chinese Students. Journal of Contemporary Educational Research, 5(8), 238-241. Phuket, P. R. & Othman, N. B. (2015). Understanding EFL students’ errors in writing. Journal of Education and Practice, 6(32), 99-106. Sattayatham, A. & Ratanapinyowong, P. (2008). Analysis of Errors in Paragraph Writing in English by First Year Medical Students from the Four Medical Schools at Mahidol University. Silpakorn University International Journal, 8, 17-38. Savage, A. & Shafiei, M. (2007). Effective Academic Writing 1: The Paragraph. New York: Oxford University Press.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

27


Sermsook, K. et al. (2017). An Analysis of Errors in Written English Sentences: A Case Study of Thai EFL Students. English Language Teaching (pp. 101-110). Canadian Center of Science and Education. Setiyorini, T. J. et al. (2020). The Grammatical Error Analysis Found in Students' Composition. Lensa: Kajian Kebahasaan, Kesusastraan, dan Budaya (pp. 218-233). Central Java: http://jurnal.unimus.ac.id/index.php/lensa. Tse, A. Y. H. (2014). A Case Study of Grammatical Errors Made by Malaysian Students. International Journal of Science Commerce and Humanities, 2(5), 154-160. Watcharapunyawong, S., & Usaha, S. (2013). Thai EFL students’ writing errors in different text types: The interference of the first language. English Language Teaching, 6(1), 67-78. http://dx.doi.org/10.5539/elt.v6n1p67 Wikborg, E. (1990). Types of coherence breaks in Swedish student writing: Misleading paragraph division. Coherence in writing: Research and pedagogical perspectives, 131-149.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

28


การใชวิธีการสอนแบบเนนงานเพื่อการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ ของผูเรียนสาขาวิชาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม USING A TASK-BASED APPROACH FOR IMPROVING OF ACADEMIC ENGLISH WRITING SKILLS OF LEARNERS MAJORING IN ENGLISH FOR BUSINESS COMMUNICATION, SCHOOL OF LIBERAL ARTS, SRIPATUM UNIVERSITY ถาวร ทิศทองคํา* บทคัดยอ งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค (1) เพื่อศึกษาผลการเรียนรูและพัฒนาการดานทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ เชิงวิชาการโดยผานการใชวิธีการสอนแบบเนนงาน (Task-based Approach) เพื่อการพัฒนาทักษะการเขียน ภาษาอังกฤษเชิ งวิชาการ (2) เพื่อศึกษาความพึ งพอใจของผู เรียนต อการใชวิธีการสอนแบบเนน งาน และ (3) เพื่อศึกษามุมมองของผูเรียนตอการใชวิธีการสอนแบบเนนงานเพื่อการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ เชิงวิชาการ กลุมตัวอยางเปนผูเรียนจํานวน 116 คน ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 ไดมาจากการสุมตัวอยาง แบบเจาะจง เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ป ระกอบด ว ย แบบทดสอบวั ด ทั ก ษะการเขี ย นภาษาอั ง กฤษเชิ ง วิ ช าการ แบบสอบถามความพึงพอใจตอการใชวิธีการสอนแบบเนนงานเพื่อการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ เชิงวิชาการ และแบบสัมภาษณผูเรียนตอมุมมองการใชวิธีการสอนแบบเนนงานเพื่อการพัฒนาทักษะการเขียน ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ สถิติที่ใชไดแก (1) คาเฉลี่ย (x�) (2) คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ (3) การทดสอบ สมมุ ติ ฐ านโดยใช t-test (dependent) ผลการวิจัยพบวา การใชวิธีการสอนแบบเนน งานชว ยให ผูเ รียนมี พัฒนาการดานทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการที่ดีขึ้น โดยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนที่ผาน การเรียนโดยการใชวิธีการสอนแบบเนนงานหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ผูเรียนมี ความพึงพอใจตอการใชวิธีการสอนแบบเนนงานในระดับมากที่สุด การใชวิธีการสอนแบบเนนงานทําใหผูเรียน มีความมั่นใจในการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการมากขึ้น ชวยใหผูเรียนไดเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ และ การใชวิธีการสอนแบบเนนงานชวยเพิ่มวิธีการเรียนรู รวมทั้ง ผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนรูเพิ่มขึ้น ชวยกระตุน ใหเกิดการเรียนรูมากขึ้น รวมถึง ผูเรียนมีโอกาสในการปรับปรุงทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการอยาง ตอเนื่องและยั่งยืน อยางไรก็ตาม ปญหาของผูเรียน คือ การขาดประสบการณในการเรียนการสอนโดยใช วิธีการสอนแบบเนนงาน ซึ่งในบางครั้ง ทําใหผูเรียนรูสึกไมคุนเคยกับวิธีการสอนแบบนี้ คําสําคัญ: ภาษาอังกฤษ, ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ, ทักษะการเขียน, วิธีการสอนแบบเนนงาน, การสอนภาษาอังกฤษ *

ถาวร ทิศทองคํา อาจารย คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

29


ABSTRACT The objectives of this research were (1) to study the utilization of a teaching method of a Task- based Approach for improving of Academic English Writing skills, ( 2) to study the learners’ satisfaction towards studying Academic English using a Task- based Approach, and ( 3) to study the perspectives on improving Academic English skills through a Task- based Approach. The sample for this research consisted of 116 learners, in the First Semester, 2021 Academic Year. They were obtained by purposive sampling. The instruments used were (1) pre-test and post-test, (2) a questionnaire on learner’s satisfaction with using a Task-based Approach, and a semi-structure interview form towards learners’ perspectives in using a Taskbased Approach for improving of Academic English writing skills. The statistics used to analyze the data were (1) percentage (%), (2) means ( x�), (3) standard deviation (S.D.), and (4) t-test (dependent). The research results indicated that using a Task-based Approach helps learners to have better improvement of academic English writing skills. The learning effectiveness is statistically significant. Satisfaction with learning Academic English writing skills using a Taskbased Approach was at the highest level of strong satisfaction. Using a Task- based Approach provides the learners with more confidence in using Academic English writing skills, help learners to learn academic English effectively, and the use of Task-based Approach to increase learning, as well as increase learner participation in learning, stimulates learning more as well as opportunities to continually and sustainably improve their Academic English writing skills. However, sometimes learners felt unfamiliar with this teaching method. KEYWORDS: English, Academic English, Writing Skills, Task-based Approach, Teaching English บทนํา ทักษะการเขียนงานเชิงวิชาการเปนประโยชนตองานเขียนที่สามารถนําไปเปนผลงานประกอบการขอ สํ า เร็ จ การศึกษาของผู เ รี ย นในระดั บ อุ ดมศึ กษาที่มุงเนน งานวิจัย หรือรายงานการคน ควาอิส ระเปนสําคัญ (Defazio, Jones, Tennant, & Hook, 2010: 34; Southern California, 2022: 1) งานเขียนเชิงวิชาการจะ เขียนเปนรอยแกวในลักษณะบรรยาย มีการกําหนดประเด็นที่ตองการอธิบายหรือวิเคราะหอยางชัดเจน และ นําเสนอประเด็นอยางเปนระบบ ผูเรียนจะตองเขียนดวยภาษาที่เปนทางการ กระชับ รัดกุม เขาใจงาย อาจารย ผูสอนควรตองใชวิธีการสอนที่สอดคลองกับเนื้อหาของรายวิชาในการสอนเพื่อสรางกระบวนการพัฒนาทักษะ การเขียนดวยการเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพในวารสารตางๆ ที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลางซึ่งวิธีการสอนแบบ เนนงานสามารถชวยสงเสริมใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนการสอนมากขึ้น เปนแนวทางในการพัฒนาทักษะ การสอนทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการสําหรับอาจารยผูสอนไดเปนอยางดี (Pham & Do, 2021: 969) CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

30


ที่ น าสนใจ คื อ เป น การจั ดโอกาสให ผูเ รีย นไดมีการวิเคราะหงานวิจัยในสาขาวิชา สนับ สนุน ขอความที่วา จะเขียนใหดี ตองอานใหเปน (Wickman, 2019) ผูสอนงานเขียนเชิงวิชาการและผูเรียนจะตองอานงานวิจัยใน สาขาวิชาหลายๆ ฉบับ หลายๆ งาน นอกจากจะเขาใจสาขาที่เรียนมากขึ้นแลว ผูสอนทักษะการเขียนงาน เชิงวิชาการและผูเรียนตองเก็บความรูสึกของรูปแบบการเขียน การใชคําศัพท วลี คําเชื่อม การวางประโยค และดูวาตรงไหนที่นานํามาเปนแบบอยาง เพื่อวาอาจารยผูสอนและผูเรียนจะสามารถนําไปปรับใชกับงานเขียน เชิงวิชาการซึ่งนับเปนอีกทางเลือกหนึ่งในการพัฒนาทักษะการสอนเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการสําหรั บ อาจารยผูสอน และการพัฒนาทักษะการเขียนของตัวผูเรียนเอง ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษมีความสําคัญตอ ผูเรียนเปนอยางมาก ดังนั้น ผูส อนควรมีวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพสอดคลองกับคําอธิบายรายวิชาที่จะทําให ผูเรียนไดรับการพัฒนาใหมีความสามารถใชภาษาอังกฤษเชิงวิชาการได นักการศึกษาทางดานภาษา (Gaytos et. al., 2019) ระบุวา ระดับความสามารถทางการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการมีผลตอความกาวหนาใน งานอาชีพ การใชวิธีการสอนแบบเนนงานชวยใหผูเรียนมีพัฒนาการทางดานทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ เชิ งวิ ช าการมากขึ้ น เพราะเป น การสอนแบบเน น ผูเรี ย นเปน ศูน ย กลาง ทําใหผูเรีย นเกิด การเรีย นรู ไดใ ช สื่อเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาบูรณาการกับการเรียนการสอนในการคนควาหาความรูใหมตามความสนใจของ ผู เ รี ย น ซึ่ ง ทํ า ให ผู เ รี ย นเกิ ด ทั ก ษะการเรี ย นรู อ ย า งยั่ ง ยื น อี ก ทั้ ง ยั ง ช ว ยส ง เสริ ม ให ผู เ รี ย นเกิ ด แรงจู ง ใจ (Wongdaeng & Hajihama, 2018) ในการเรียนรูตลอดชีวิต ชวยเพิ่มขีดความสามารถในทักษะการเขียนงาน เชิงวิชาการใหกับผูเรียนไดเปนอยางดี อันจะนําไปสูการเปนอาจารยผูสอนมืออาชีพที่เขมแข็งในฐานะที่เปน อาจารยผูสอน และการเปนผูเรี ยนที่ มีทักษะการเขีย นภาษาในเชิงวิชาการมากขึ้น ในฐานะผู เรีย น รวมถึ ง กอใหเกิดประโยชนในแวดวงวิชาการ (Alshahrani, 2019: 7248) จากงานวิจัยของ หยูหยิง หลิว (Liu, 2015) ระบุวา การใชวิธีการสอนแบบเนนงานเปนอีกวิธีหนึ่งที่มีประสิทธิภาพและทําใหผูเรียนไดฝกฝน ผูเรียนไดมี โอกาสวิจารณงานเขียนของตนเองและของผูอื่น ไดทบทวนผลงานที่ตีพิมพ ทบทวนทักษะการเขียนรายวิชา ตางๆ รวมถึงเรียนรูเพื่อใหเกิดทักษะในการใชภาษาอังกฤษไดอยางดี จากการคนควางานวิจัยที่เกี่ยวของกับ การใชวิธีการสอนแบบเนนงาน พบวา งานวิจัยไมไดมุงเนนการเรียนรูและพัฒนาการดานทักษะการเขี ย น ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ ทั้งๆ ที่ความสามารถนี้มีประโยชนตอผูเรียนในการศึกษาตอในระดับสูง การทํางาน หลังสําเร็จการศึกษา ดวยเหตุนี้ ผูวิจัยจึงเล็งเห็นความจําเปนในการใชวิธีการสอนแบบเนนงานเพื่อการพัฒนา ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการของผูเรียนสาขาวิชาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม เพื่อประโยชนตอตัวผูเรียนในการประยุกตใชความสามารถนี้กับการศึกษาและการทํางาน ในอนาคต กรอบแนวคิดและทฤษฎี วิ ธี ก ารสอนแบบเน น งาน (Task-based Approach) เป น วิ ธี ก ารจั ด การเรี ย นรู ที่ เ น น ผู เ รี ย นเป น ศูนยกลาง เปดโอกาสใหผูเรียนไดเรียนรูผานการปฏิบัติงาน โดยผูเรียนจะไดทํากิจกรรมตางๆ ดวยตนเอง มากกวาการนั่งฟงอาจารยผูสอน ทําใหผูเรียนไมเบื่อหนายกับการเรียนและกระตือรือรนอยูตลอดเวลา วิธีการ สอนแบบเนนงาน อาจารยผูสอนจะมีบทบาทหลากหลาย เชน เปนผูทาทาย ผูแนะนําหัวขอและเนื้อหาที่ดึงดูด CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

31


ความสนใจของผูเรียน เปนผูที่ใหคําปรึกษาหารือ เปนผูรวบรวม และผูควบคุม กลาวคือ ผูสอนตองทําใหผูเรียน รูสึกวาผูสอน บทบาทของการเปนผูทาทาย ผูสอนตองพยายามทําใหแนใจวาผูเรียนไดเรียนรูมากมายและ คาดหวังความพยายามอยางเต็มที่จากผูเรียนเอง ผูสอนขอใหผูเรียนอธิบายเกี่ยวกับคําตอบที่ได ผูสอนตองพูด ใหกําลังใจไมใหผูเรียนยอมแพหรือทอถอยเมื่อมีงานหนัก เพื่อใหผูเรียนเรียนรูจากความผิดพลาดของตนเอง ใน บทบาทของการเปนผูช ี้แจง ผูสอนจะตองแนะนําหัวขอ และเนื้อหาที่ดึงดูดความสนใจของผูเรียน ทําใหผูเรียน รูสึกวางานสนุก ไมนาเบื่อ สําหรับบทบาทที่ผูสอนเปนที่ปรึกษาหารือ ผูสอนตองใหโอกาสผูเรียนอยางเพียงพอ ในการแบ ง ป น ความคิ ด และแสดงความคิ ด เห็ น ผู เ รี ย นจะได พู ด ในสิ่ ง ที่ ทํ า และสื บ ค น ผู ส อนจะยอมรั บ ขอเสนอแนะและความคิดของผูเรียนทําใหผูเรียนรูสึกมีกําลังใจ ในแงของการรวบรวม ผูสอนจะตองตรวจสอบ เพื่อใหแนใจวาผูเรียนเขาใจสิ่งที่ผูสอนกําลังสอน ใหคําติชมและความคิดเห็นที่เปนประโยชนเกี่ยวกับงานของ ผูเรียน และชวยใหผูเรียนเขาใจวาผูเรียนปรับปรุงงานและแกไขขอผิดพลาดไดอยางไร เมื่อสิ้นสุดบทเรียนหรือ สวนตางๆ ที่เขียน อาจารยผูสอนจะตองสรุปสิ่งที่ผูเรียนไดเรียนรู สําหรับบทบาทของผูสอนในฐานะผูควบคุม ผูสอนตองทําใหแนใจวาการใชวิธีการสอนแบบเนนงานไมวางเปลา ไมเสียเวลา และปฏิบัติตนใหเปนอาจารย ผูสอนที่มีประสิทธิภาพ (Little, 2009: 3) ขั้นตอนของวิธีการสอนแบบเนนงาน วิ ธี การสอนแบบเน น งาน มี 3 ขั้ น ตอน ไดแก กอนงาน (Pre-task) ภารกิจ ของงาน (Task) และ การทบทวนงาน (Review) กลาวคือ ขั้นตอนที่ 1 กอนงาน ผูสอนจะแนะนําหัวขอและใหคําแนะนําที่ชัดเจน แกผูเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่ผูเรียนจะตองทําในขั้นตอนภารกิจของงาน ซึ่งอาจชวยใหผูเรียนจําภาษาที่อาจเปน ประโยชนสําหรับงานได ขั้นตอนกอนงาน มักจะรวมถึงการบันทึกของผูเรียน สิ่งนี้ ทําใหผูเรียนมีแบบจําลอง ที่ชัดเจนเกี่ยวกับสิ่งที่ผูเรียนคาดหวัง ผูเรียนสามารถจดบันทึกและใชเวลาเตรียมงาน ขั้นตอนที่ 2 ภารกิจ ของงาน ผูเรียนควรทําภารกิจใหเสร็จทีละงาน ไมวาจะเปนงานเดี่ยว เปนงานคู หรือเปนงานกลุมโดยใช แหลงขอมูลทางภาษาเปนตัวชวย ในฐานะอาจารยผูสอนตองคอยติดตามและใหกําลังใจ ขั้นตอนนี้เกี่ยวของ กับการวางแผน การรายงาน การวิเคราะห และการฝกปฏิบัติ การวางแผน ผูเรียนตองเตรียมรายงานแบบ ปากเปลาหรือเปนลายลักษณอักษร เพื่อบอกในการนําเสนอวาเกิดอะไรขึ้นกอนงานและระหวางงาน จากนั้น ผูเรียนฝกฝนสิ่งที่ผูเรียนจะเขียนแบบเดี่ยว แบบคู หรือ แบบกลุม ในขณะเดียวกันผูสอนก็ตองมีความพรอมใน การใหคําแนะนําเพื่อตอบคําถามเกี่ยวกับกระบวนการเขียนและภาษาที่อาจตองใชในการเขียน การรายงาน ผูเรียนรายงานโดยการนําเสนอในชั้นเรียนหรืออาจารยผูสอนดวยวาจา หรืออานรายงานที่เปนลายลักษณ อักษร ผูสอนจะเปนผูกําหนดเวลาที่ผูเรียนจะนําเสนอรายงาน และอาจใหแนวทางแกผูเรียนเกี่ยวกับเนื้อหา ในขั้นตอนนี้ ผูสอนอาจจัดใหผูเรียนบันทึกการรายงานของผูเรียนรายอื่นเปนงานเดี่ยว งานคู หรืองานกลุม เพื่อใหผูเรียนไดเปรียบเทียบ ในสวนของการวิเคราะห อาจารยผูสอนเนนสวนที่เกี่ยวของจากขอความที่บันทึก ไวเพื่อใหผู เรี ยนวิ เ คราะห อาจารยผูสอนขอใหผู เรี ยนไดสังเกตคุ ณลักษณะที่นาสนใจภายในขอความจาก การบันทึก ผูสอนยังสามารถเนนภาษาที่ผูเรียนใชในระหวางขั้นตอนรายงานเพื่อการวิเคราะห สุดทายจะเนน การฝกปฏิบัติ อาจารยผูสอนจะเลือกเนื้อหาภาษาเพื่อฝกฝนตามความตองการของผูเรียนและสิ่งที่เกิดขึ้นจาก งานและขั้นตอน การรายงาน ผูเรียนทํากิจกรรมฝกหัดเพื่อเพิ่มความมั่นใจและฝกใชภาษาที่เปนประโยชนตอ CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

32


งานเขียนเชิงวิชาการ ขั้นตอนที่ 3 การทบทวน เมื่อผูเรียนทําภารกิจของงานเสร็จแลวและมีบางอยางจะ นําเสนอ ถือเปนเวลาของการทบทวนในสิ่งที่ไดเรียนรูไป การตรวจทานอาจใหเพื่อนเปนผูตรวจ หรือหากเปน ชวงที่อาจารยผูสอนเฝาติดตาม ผูสอนเห็นขอผิดพลาดทั่วไปก็สามารถชี้แนะหรือเสริมขอวิพากยได (Sundari, Febriyanti & Saragih, 2017) ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ คือ ภาษาที่ผูเรียนซึ่งปกติจะใชอยูในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา เปนภาษา เขี ย นที่ เ หมาะสม รู ป แบบหนึ่ งที่ ใช กั น ทั่ ว ไปสํา หรั บ วัต ถุป ระสงค เฉพาะ เปน งานเขีย นที่ ดีและมี คุ ณ ภาพ ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการจะมีความถูกตองทางวิชาการ มีความกระจาง สมบูรณ ชัดเจน และเปนเชิงบวก โดยผูเขียนตองสามารถสื่อความหมาย และอธิบายเนื้อหาไดอยางละเอียด มีการเรียงลําดับที่ดีโดยเนื้อหา จะตองมีความสอดคล องและมีความสัมพันธ กัน อยางมีเหตุผล องคประกอบของภาษาอังกฤษเชิงวิช าการ จะประกอบไปดวยไวยากรณ คําศัพท ตัวสะกด และเครื่องหมายวรรคตอน จะเกี่ยวของกับเนื้อหา รูปแบบ ลีลาการเขียน และกลวิธีในการเขียน เนื้อหา หมายถึง สาระ และขอมูลที่ใชในการเขียน รูปแบบ หมายถึง การจัดเรียงเนื้อหาใหมีความตอเนื่อง และสอดคลองกัน ไวยากรณ หมายถึง ความสามารถในการใชภาษาให เขียนถูกตองตามหลักภาษา ลีลาภาษา หมายถึง การเลือกใชถอยคําในการเขียน สําหรับกลไกในการเขียน หมายถึง การใชเครื่องหมาย สัญลักษณตางๆ ในการเขียน ที่มีหลักเกณฑเฉพาะ ตัวอยางภาษาเชิงวิชาการที่ เปนภาษาอังกฤษระดับคํา เชน references, bibliography, appendix เปนตน ตัวอยางภาษาเชิงวิชาการ เปนภาษาอังกฤษระดับวลี เชน Numerous studies have investigated … to support the view that … เปนตน และ ตัวอยางภาษาเชิงวิชาการเปนภาษาอังกฤษระดับประโยค เชน The objective of this research was to study the utilization of a teaching method of a Task-based Approach. The sample for this research consisted of 116 learners. เปนตน งานสําหรับวิธีการสอนแบบเนนงาน งานสําหรับวิธีการสอนแบบเนนงานเปนกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนทักษะการคิดขั้นสูง เปาหมาย มุงเนนใหผูเรียนใชภาษาเพื่อบรรลุผลที่แทจริง เนนกระบวนการ งานเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ เชิงวิชาการ มีหลากหลายที่อาจารยผูสอนสามารถมอบหมายได เชน การมอบหมายใหผูเรียนเขียน จดหมาย สมั ค รงาน การทํ า ประวั ติ ย อ การทํ า หนั ง สั้ น การมอบหมายให ผู เ รี ย นอ า นหนั ง สื อ และเขี ย นวิ จ ารณ การมอบหมายให ผู เ รี ย นจั ด ทํ า โครงการ การมอบหมายให ผู เ รี ย นสร า งโปรไฟล ที่ www.tagged.com www.linkedIn.com การมอบหมายใหผูเรียนเรียนหลักสูตรออนไลน มอบหมายใหผูเรียนทําการวิจัยในหัวขอ ที่ผูเรียนสนใจ มอบหมายใหผูเรียนเขียนบทความวิจัย การมอบหมายใหผูเรียนเขียนบทความวิชาการ เปนตน การประเมินผลโดยการใชวิธีการสอนแบบเนนงาน การประเมินผลโดยการใชวิธีการสอนแบบเนนงาน (Task-based Approach) ขึ้นอยูกับผลลัพธของ งานเปนหลัก กลาวคือ อาจารยผูสอนพิจารณาจากความถูกตอง สมบูรณ ความเหมาะสมของคํา วลี และ ประโยคที่ใช การประเมินการเรียนการสอนแบบเนนงานที่สําคัญจะยึดชิ้นงานเปนสําคัญ ซึ่งการตรวจเช็ค เพื่อใหคะแนนชิ้นงาน อาจารยผูสอนควรตองมีเกณฑการใหคะแนน (Scoring Rubrics) กับ มาตราประมาณคา CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

33


หรือระดับคะแนน (Rating scale) เพื่อระบุถึงความแตกตาง ของผลงานหรือประสิทธิภาพ (Proficiency) ของงาน อยางไรก็ตาม การประเมินผลการเรียนรูและพัฒนาการดานทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ โดยผานการใชวิธีการสอนแบบเนนงานยังสามารถใชแบบทดสอบวัดทั กษะการใชภาษาอั งกฤษที่เน น ด าน คําศัพท วลี ประโยค ในบริบทที่เหมาะสม กรอบแนวคิดการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัยครั้งนี้แสดงดังแผนภูมิที่ 1 ปจจัยนําเขา

กระบวนการ

ผลลัพธที่ได

- ขอมูลจากการศึกษา ตํารา เอกสาร งานวิจัยตางๆ - คําอธิบายรายละเอียดวิชา - กรอบมาตรฐานความสามารถดาน การเขียนงานเชิงวิชาการเปน ภาษาอังกฤษ - การใชวิธีการสอนแบบเนนงาน (Task-based Approach) - ความสามารถในการเขียน ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ

- จุดประสงคดานการเขียนภาษาอังกฤษเชิง วิชาการ - เนื้อหาสาระเกี่ยวกับการเขียนภาษาอังกฤษเชิง วิชาการ - วิธีดําเนินการสอนโดยการใชวิธีการสอนแบบ เนนงาน (Task-based Approach) แบงเปน ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 กอนงาน (Pre-task) ขั้นตอนที่ 2 ภารกิจของงาน (Task) ขั้นตอนที่ 3 การทบทวนงาน (Review) - การประเมินผล ประเมินความสามารถการเขียน ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการจากแบบทดสอบวัด ความสามารถดานทักษะการเขียน

- ความสามารถในการเขียน ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ - ความพึงพอใจตอวิธีดําเนินการสอน โดยการใชวิธีการสอนแบบเนนงาน (Task-based Approach)

สํ า หรั บ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ ผู วิ จั ย ต อ งการศึ ก ษาผลการเรี ย นรู แ ละพั ฒ นาการด า นทั ก ษะการเขี ย น ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการโดยผานการใชวิธีการสอนแบบเนนงาน (Task-based Approach) เพื่อการพัฒนา ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผูเรียนตอการใชวิธีการสอนแบบเนนงาน และเพื่อศึกษามุมมองของผูเรียนตอการใชวิธีการสอนแบบเนนงานเพื่อการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ เชิงวิชาการ โดยผูวิจัยไดใชวิธีการสอนแบบเนนงานกับกลุมตัวอยาง ใชแบบทดสอบวัดความสามารถดาน ทักษะการเขียน และชิ้นงานเปนสวนหนึ่งของการประเมินผลการเรียนการสอน วิธีดําเนินการวิจัย 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรและกลุ มตั ว อย า งที่ใช ในการวิจัย ครั้งนี้ คือ ผูเรีย นสาขาวิช าภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยศรีป ทุม ระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 3 จํานวนทั้งสิ้น 116 คน ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564 ไดมาแบบเจาะจง (Purposive Sampling) กลาวคือ จํานวนตัวอยางทั้งสิ้น 116 ตัวอยาง

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

34


2. เครื่องมือวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย มีดังนี้ 2.1 แบบทดสอบวัดทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ (Pre-Test and Post-Test) จํานวน 50 ขอ แบบทดสอบทั้ง 2 ฉบับมีความเชื่อมั่ น 0.81 แสดงวาความเชื่อมั่ นของแบบทดสอบอยู ในเกณฑ สู ง เนื้ อ หาของแบบทดสอบสอดคล อ งเนื้ อ หาของบทเรี ย นที่ เ น น ทั ก ษะการเขี ย นภาษาอั ง กฤษในบริ บ ทของ การเขียนเชิงวิชาการ มีระดับความยากงาย เทากับ 0.5 (p = 0.50) 2.2 แบบสอบถามความพึงพอใจตอการใชวิธีการสอนแบบเนนงาน เพื่อพัฒนาทักษะการเขียน ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ ความเที่ยงตรงคา IOC มีคาเทากับ 0.9 และ มีคาความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม ทั้งฉบับ เทากับ 0.91 แสดงวาความเชื่อมั่นของแบบสอบถามความพึงพอใจอยูในเกณฑสูง เปนแบบสอบถาม แบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดับ 2.3 แบบสั ม ภาษณ ผู เ รี ย นเกี่ ย วกั บ การใช วิ ธี ก ารสอนแบบเน น งาน เพื่ อ พั ฒ นาการเขี ย น ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ ซึ่งผานการพิจารณาโดยผูทรงคุณวุฒิ จํานวน 3 ทาน ตามแนวคิดการหาคา IOC ของ ผูคิดตั้งตน คือ โรวีเนลลี และ แฮมเบิลตัน (Rovinelli, & Hambleton, 1976). มีคา IOC เทากับ 0.80 ซึ่งเปน การหาคาความเที่ยงตรงของเนื้อหาโดยการวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณที่ใชคา ดัชนีความสอดคลองระหวาง ขอคําถามกับวัตถุประสงค (Item-Objective Congruence Index: IOC) จากการประเมินของผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 ทาน โดยใหผูเชี่ยวชาญประเมินวา ขอคําถามแตละขอในแบบสอบถาม สามารถวัดไดตรงกับเนื้อหา ที่ กําหนดหรื อไม โดยให คะแนนตามเกณฑ แลว นําผลมาพิจ ารณาคะแนนของผูเชี่ย วชาญในแตล ะข อ มา วิเคราะหหาคาดัชนี ความสอดคล อง (Index of Item Objective Congruence : IOC) ดังนี้ (1) แนใจวา มี ความสอดคลองหรือวัดได มีระดับคะแนนเทากับ 1 (2) ไมแนใจวามีความสอดคลองหรือวัดได มีระดับคะแนน เทากับ 0 (3) แนใจวาไมมีความสอดคลองหรือวัดได มีระดับคะแนนเทากับ -1 หลังจากนั้นนําแบบประเมิน โมเดลใหผูทรงคุณวุฒิประเมินความสอดคลองของขอคําถามกับวัตถุประสงค และนํามาหาคาความสอดคลอง โดยใชสูตร IOC = ∑ R/n กลาวคือ R หมายถึง ผลคูณของคะแนนกับจํานวนผูเชียวชาญ n หมายถึง จํานวน ผูเชี่ยวชาญในการพิจารณาความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ จากการหาคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ในทุกขอ คําถามนั้น หากขอคําถามใดที่มีคา IOC ตั้งแต 0.50 - 1.00 จะคัดเลือกไว สวนขอคําถามที่มีคา IOC ต่ํากวา 0.50 จะตัดทิ้ง 3. การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อการวิจัยมีขั้นตอน ดังนี้ 3.1 ผูวิจัยนําแบบทดสอบวัดทักษะการใชทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการกอนเรียน (Pre-Test) ซึ่งผานการตรวจสอบความเชื่อมั่นไปใชกับผูเรียนในกลุมตัวอยางจํานวน 116 คน ในวันแรกของ การเรียน 3.2 ผูวิจัยดําเนินการสอนโดยการใชวิธีการสอนแบบเนนงาน สอดแทรกทายบทเรียนหลังจาก การแนะนํ าบทเรี ย นและเรื่ องที่ ส อนให แ ก ผูเรีย นแลว ใหผูเรีย นทํางานที่มอบหมาย ตลอดภาคเรีย น คือ งานเขียนบทความ 1 เรื่อง โดยผูสอนชวยแนะนําและแกปญหาเมื่อผูเรียนมีปญหาเกี่ยวกับงานที่มอบหมาย

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

35


3.3 ผูวิจัยนําแบบทดสอบวัดทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการหลังเรียน (Post-Test) ซึ่งเปนแบบทดสอบชุดเดียวกันกับแบบทดสอบกอนเรียน (Pre-Test) ไปใชกับผูเรียนในกลุมตัวอยาง จํานวน 116 คน หลังจากผานการสอนโดยการใชวิธีการสอนแบบเนนงาน 3.4 ผูวิจัยนําแบบสอบถามความพึงพอใจตอการใชวิธีการสอนแบบเนนงาน เพื่อพัฒนาทักษะ การเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ ซึ่งผานการตรวจสอบความเชื่อมั่นไปใหผูเรียนในกลุมตัวอยางตอบ หลังจาก ผานการเรียนโดยการใชวิธีการสอนแบบเนนงาน 3.5 ผูวิจัยนําแบบสัมภาษณกึ่งโครงสราง (Semi-Structure Interview Form) เกี่ยวกับการเรียน โดยการใช วิ ธี การสอนแบบเน น งาน ซึ่ งผ า นการตรวจสอบความเชื่อมั่น แลว ไปใชสัมภาษณผูเรีย นในกลุม ตัวอยาง 116 ตัวอยาง หลังจากผานการเรียนตามแผนการจัดการเรียนรู 4. การวิเคราะหขอมูล 4.1 ผูวิจัยนําขอมูลที่ไดจาก แบบทดสอบวัดทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการกอนเรียน (Pre-Test) แบบทดสอบวัดทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการหลังเรียน (Post-Test) แบบสอบถาม ความพึงพอใจตอการใชวิธีการสอนแบบเนนงาน มาวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมคอมพิวเตอร และนําขอมูล จากแบบสัมภาษณเกี่ยวกับการเรียนโดยการใชวิธีการสอนแบบเนนงานมาวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพ และ ในรูปของการพรรณนา 4.2 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ (1) คาเฉลี่ย (x�) (2) คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ (3) การทดสอบสมมุติฐานโดยใช t-test (dependent) สรุปผลการวิจัย 1. ผลจากการตอบแบบทดสอบวัดทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการของกลุมตัวอยางกอนการ เรียน (pre-test) และแบบทดสอบหลังการเรียน (post-test) ของกลุมตัวอยาง จํานวน 116 ตัวอยาง พบวา การใชวิธีการสอนแบบเนนงาน มีผลตอทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการของผูเรียน ผลจากการตอบ แบบทดสอบวั ดทั กษะการเขี ยนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการของกลุมตัว อยางกอนการเรียน (pre-test) และ แบบทดสอบหลังการเรียน (post-test) ของกลุมตัวอยางแสดงใหเห็นวาผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์กอนเรียนและ หลั ง เรี ย นโดยการใช วิ ธี ก ารสอนแบบเน น งานที่ มี ค วามสั ม พั น ธ กั น อย า งมี นั ย สํ า คั ญ ทางสถิ ติ กล า วคื อ เมื่ อเปรี ย บเที ย บผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ย นกอ นเรีย นและหลังเรีย นโดยการใชวิธีก ารสอนแบบเนน งานกั บ กลุมตัวอยาง พบวา กอนการเรียนมีผลสัมฤทธิ์เทากับ 7.3 (กําหนดคะแนนเต็ม 20 คะแนน) หลังการเรียน ทักษะภาษาอังกฤษโดยการใชวิธีการสอนแบบเนนงาน กลุมตัวอยางมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเทากับ 14.30 คะแนน เมื่อความแตกตางระหวางผลสัมฤทธิ์กอนเรียนและหลังเรียนโดยใชสถิติทดสอบ t ที่ไดคาคะแนน เทากับ -2.672 ไดคา P-value เทากับ .000312 ซึ่งนอยกวา .001 จึงสรุปไดวา ผลสัมฤทธิ์หลังเรียนมากกวา กอนเรียนอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .05 ดังแสดงในตารางที่ 1 และสรุปวา การใชวิธีการสอนแบบเนนงานมีผลที่ สามารถชวยใหผูเรียนมีพัฒนาการดานทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการที่ดีขึ้น

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

36


ตารางที่ 1 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนโดยการใชวิธีการสอนแบบเนนงาน N ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน *P-value <.001

116

กอนเรียน S.D. x� 7.3 0.66

หลังเรียน S.D. x� 14.30 0.67

สถิติทดสอบ t

df

P-value

-2.672

1

.000312*

2. ผลการศึกษาความพึงพอใจของผูเรียนตอการใชวิธีการสอนแบบเนน งานเพื่อการพัฒนาทั กษะ การเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการอยูในระดับมากที่สุด (x� = 4.58, SD = 0.63) ดังแสดงในตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ความพึงพอใจตอการใชวิธีการสอนแบบเนนงานในการเรียนภาษาอังกฤษ ที่

1 2 3 4 5

รายละเอียด ชอบการใชวิธีการสอนแบบเนนงานซึ่งเหมาะสมสําหรับ การฝกทักษะภาษาอังกฤษดานการเขียนงานเชิงวิชาการ เปนภาษาอังกฤษ ชอบการใชวิธีการสอนแบบเนนงานเพราะมีกจิ กรรมที่ เหมาะสมกับการเรียนรู ชอบการใชวิธีการสอนแบบเนนงานเพราะมีความนาสนใจ ในวิธีการเรียนรู มีอิสระ กอใหเกิดแรงจูงใจในการเรียน ชอบการใชวิธีการสอนแบบเนนงานเพราะมีรูปแบบ กิจกรรมการเรียนใหผเู รียนมีสวนรวมในการเรียน ชอบการใชวิธีการสอนแบบเนนงานเพราะเปนรูปแบบ การจัดการเรียนการสอนที่ผูเรียนไดใชสื่อเทคโนโลยี สมัยใหมในการสืบคน เฉลี่ย

ระดับความ พึงพอใจ N=116 (x�)

สวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.)

ระดับความ พึงพอใจ

4.65

0.60

มากที่สุด

4.57

0.61

มากที่สุด

4.54

0.62

มากที่สุด

4.58

0.71

มากที่สุด

4.58

0.63

มากที่สุด

4.58

0.63

มากที่สุด

จากตาราง 2 พบวา ผูเรียนมีความพึงพอใจตอการใชวิธีการสอนแบบเนนงานโดยเฉลี่ย อยูในระดับ มากที่สุด (x� = 4.58, SD = 0.63) กลาวคือ ผูเรียนระบุวา ชอบการใชวิธีการสอนแบบเนนงานซึ่งเหมาะสม สํ าหรั บ การฝ กทั กษะภาษาอั ง กฤษด า นการเขีย นงานเชิงวิช าการเปน ภาษาอัง กฤษ อยูในระดับ มากที่ สุ ด (x� = 4.65, SD = 0.60) ชอบการใชวิธีการสอนแบบเนนงานเพราะมีรูปแบบกิจกรรมการเรียนใหผูเรี ย นมี สวนรวมในการเรียน อยูในระดับมากที่สุด (x� = 4.58, SD = 0.71) ชอบการใชวิธีการสอนแบบเนนงานเพราะ เปนรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ผูเรียนไดใชสื่อเทคโนโลยีสมัยใหมในการสืบคน อยูในระดับมากที่สุด (x� = 4.58, SD = 0.63) ชอบการใชวิธีการสอนแบบเนนงานเพราะมีกิจกรรมที่เหมาะสมกับการเรียนรู อยูใน CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

37


ระดับมากที่สุด (x� = 4.57, SD = 0.61) และชอบการใชวิธีการสอนแบบเนนงานเพราะมีความนาสนใจใน วิธีการเรียนรู มีอิสระ กอใหเกิดแรงจูงใจในการเรียน อยูในระดับมากที่สุด (x� = 4.54, SD = 0.63) ตามลําดับ กลาวโดยสรุป จากการวิจัยพบวาผูเรียนมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดตอการใชวิธีการสอนแบบ เนนงาน ในการเรียนเพื่อการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 3. ผลจากการสัมภาษณผูเรียนในกลุมตัวอยาง 116 คน เพื่อจําแนกการรับรูของผูเรียนเกี่ยวกับการใช วิธีการสอนแบบเนนงานที่ใชเปนแนวทางพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการของผูเรียน ผูเรียนมี มุมมองในเรื่องนี้วา มีทั้งขอดีและขอจํากัด ขอดี ผูเรียนระบุวา การใชวิธีการสอนแบบเนนงาน ชวยเพิ่มทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ ผูเรียนไดมีโอกาสในการใชเทคโนโลยีในการสืบคน ไดทราบถึงแหลงขอมูลหรือฐานขอมูลความรูทั้งในประเทศ และตางประเทศ ไดกําหนดประเด็นการเรียนรูดวยตนเองตามความสนใจ มีความยืดหยุนในการทํางานที่ไดรับ มอบหมายอย า งมี ขั้ น ตอนซึ่ งช ว ยจู งใจและทํ า ให ไ ม เ บื่ อ ผู เ รี ย นเป น ฝ า ยควบคุ ม การเรี ย นรู มี เ สรี ภ าพใน การคนควาและเรียนรูสิ่งที่ผูเรียนสนใจ รวมถึง เพิ่มทักษะทางเทคโนโลยี ชวยพัฒนาความสามารถในการคิด ชวยกระตุนใหผูเรียนรูจักคิดและการเขียนงานอยางเปนระบบ ชวยสงเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรูตลอด ชีวิต ซึ่งจะสามารถนําไปประยุกตใชในการทํางานและการศึกษาตอในระดับสูง ในสวนของขอจํากัด ผูเรียนไดจําแนกโดยระบุวา การเรียนโดยการใชวิธีการสอนแบบเนนงาน เปนการเพิ่ม ภาระงานใหแกผูเรียน ตองใชเวลามาก ผูเรียนบางคนไมสามารถศึกษาดวยตนเองได และมีสิ่งที่ตองเรีย นรู มากเกินไป กล า วโดยสรุป ผู เ รี ย นมี มุมมองต อการใชวิธีการสอนแบบเนนงานเพื่อการพัฒ นาทั กษะการเขียน ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการวามีทั้งขอดีและขอจํากัดในแงมุมที่วา การใชวิธีการสอนแบบเนนงาน ทําใหผูเรียนมี ความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ ชวยใหผูเรียนไดเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ เปนแนวทาง การเรียนรูใหกับผูเรียนมากขึ้น รวมถึงโอกาสในการปรับปรุงทักษะการเขียนภาษาอังกฤษทางวิชาการอยาง ตอเนื่องและยั่งยืน แตก็มีขอจํากัดอยูบาง อยางไรก็ตามปญหา จากการวิจัยพบวา กอนการใชวิธีการสอนแบบ เนนงาน ผูเรียนคิดวายากและเปนการเพิ่มภาระงานใหแกผูเรียน แตหลังจากการเรียนผานไปแลวผูเรียนระบุวา ดีมาก อภิปรายผลวิจัย การศึกษาเรื่อง การใชวิธีการสอนแบบเนนงานเพื่อการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ ของผูเรียน สาขาวิชาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผลการศึกษา พบวา การเรียนโดยการใชวิธีการสอนแบบเนนงานชวยใหผูเรียนมีพัฒนาการดานทักษะ ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการที่ดีขึ้น กลาวคือ ผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์หลังเรียนมากกวากอนการเรียนอยางมีนัยสําคัญ ที่ระดับ .05 ทั้งนี้ เนื่องจากการเรียนโดยการใชวิธีการสอนแบบเนนงานเปนรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ที่ ส อดคล อ งกั บ วิ ธี ก ารเรี ย นรู ที่ เ น น ผู เ รี ย นเป น ศู น ย ก ลาง สํ า หรั บ การฝ ก ทั ก ษะการเขี ย นภาษาอั ง กฤษ มีความนาสนใจในเนื้อหาและวิธีการของรูปแบบและขั้นการสอน กอใหเกิดแรงจูงใจในการเรียน เปนวิธีการสอนที่ CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

38


ทําใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียน ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ เกยทอส และคนอื่นๆ (Gaytos, et. al., 2019) ในแงมุมของความมีประสิทธิภาพในการเรียนการสอนที่ผูเรียนไดใชเทคโนโลยีสมัยใหมในการสืบคน ผูเรียนมี อิสระในการกําหนดเนื้อหาทิศทางการเรียนรูของตนเอง มีความนาสนใจ ผูเรียนมีแรงจูงใจในการเรียน ผูเรียน มีสวนรวมในการเรียน ซึ่งการเรียนโดยใชผานการสอนโดยการใชวิธีการสอนแบบเนนงาน เปนการสอนทักษะ ภาษาอังกฤษที่สอดคลองกับวิธีการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 โดยผลการวิจัยยังเปนไปในทิศทางเดียวกันกับ แนวคิ ด ของ หยู ห ยิ ง หลิ ว (Liu, 2015) ที่ มีแนวคิดและระบุวา การใชวิธีการสอนแบบเนน งาน ชว ยสราง ความรู สึ กท า ทายให กับผู เรี ยน จะทํ า ให ผู เ รีย นเกิดการเรียนรูอยางมีคุณภาพและมีพัฒนาการในทางบวก มีแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดสําหรับการกระตุนใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนรูไดเปนอยางดี ผูเรียนมีโอกาส เพิ่มพูนทักษะดานการใชสื่ อเทคโนโลยีสมั ยใหม ในการสื บค นเพื่ อการเรีย นรูสิ่งใหมดว ยตนเอง เพิ่มทั กษะ การเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการได ผูเรียนสามารถเขียนงานไดมากขึ้น จากการศึกษาความพึงพอใจของผูเรียน พบวา ผูเรียนในกลุมตัวอยางมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด อาจเปนเพราะการใชวิธีการสอนแบบเนนงานเปนรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่สอดคลองกับทรรศนะของ มีชัย วงศแดง และสุไลญา ฮาจิฮามะ (Wongdaeng & Hajihama, 2018) ที่กลาววา วิธีการรียนรูในศตวรรษ ที่ 21 จะตองมีการนําเสนอเนื้อหาบทเรียนที่มีความนาสนใจที่กอใหเกิดแรงจูงใจในการเรียน รูปแบบงานที่ มอบหมายตองใหผูเรียนมีสวนรวม สรางแรงจูงใจใหผูเรียน และที่สําคัญคือมีการบูรณาการเทคโนโลยีมาใชสืบ คนหาความรูใหมเพื่อการเรียนรูดวย ในแง ข องวิ ธี ก ารจั ด การเรี ย นการสอนโดยการใช วิ ธี ก ารสอนแบบเน น งานที่ ค น พบว า ผู เ รี ย นมี พัฒนาการที่ดีขึ้นเนื่องจากวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบนี้เนนใหผูเรียนคนคนควาหาความรูดวยตนเอง ซึ่งผูเรียนจะใชวิธีการหรือกระบวนการตางๆ ที่เห็นวามีประสิทธิภาพและตรงกับธรรมชาติของวิชา การลงมือ ปฏิบัติ การศึกษาคนควา การไดศึกษาในสิ่งที่ผูเรียนเองสนใจ และการเรียนรูดวยตนเอง ทําใหเกิดการเรียนรู อยางมีประสิทธิภาพ และทําใหมีพัฒนาการที่ดีขึ้น อาจารยผูสอนจะเปนผูใหคําปรึกษา แนะนําหรือกระตุนให ผูเรียนใชวิธีหรือกระบวนการที่เหมาะสมในการทํางานที่รับมอบหมาย สวนขั้นตอนการจัดการเรียนรูแบบ เนนงานเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิงวิชาการที่ผูเขียนไดออกแบบไวตามหลักการการจัด การ เรียนรูวามี 3 ขั้นตอน ไดแก กอนงาน (Pre-task) ภารกิจของงาน (Task) และการทบทวนงาน (Review) ตามแนวทางการจัดการเรียนรูแบบเนนงาน มีสวนชวยใหผูเรียนมีการพัฒนาที่ดีขึ้น สอดคลองกับแนวคิดของ ซุนดาริ เฟบริยันตี และซารากิห (Sundari, Febriyanti & Saragih, 2017) สําหรับผลการศึกษาที่ผูเรียนมีมุมมองตอการเรียนโดยการใชวิธีการสอนแบบเนนงานในการเรียนเพื่อ พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยไดจําแนกวามีทั้งขอดีและขอจํากัด แสดงใหเห็นวาผูเรียนมีทัศนคติ หรือมุมมอง ตอการใชวิธีการสอนแบบเนนงานในเชิงบวกมากกวาเชิงลบ และจากผลการวิจัยมีประเด็นสําคัญคือ การใช วิธีการสอนแบบเนน งาน ทําใหผูเรียนมีความสามารถในทักษะการเขียนภาษาอังกฤษเชิ งวิชาการมากขึ้น แม พ บว า มี ข อ จํ า กั ด อยู บ า งแต นั บ เป น มุ ม มองเชิ ง บวกจากผู เ รี ย นในการบู ร ณาการการเรี ย นการสอน ภาษาอังกฤษโดยการใชวิธีการสอนแบบเนนงานอยางเห็นไดชัดเจน

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

39


ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใชประโยชน 1. ผลจากการศึกษาวิจัยที่พบวา ผูเรียนรูสึกไมคุนเคยกับวิธีการสอนแบบเนนงาน ดังนั้น อาจารย ผู ส อนที่ จ ะนํ า วิ ธี การสอนแบบนี้ ไปใช ควรตองเตรีย มตัว และวางแผนอย างรอบคอบทั้ งในแง การสอนและ การมอบหมายงาน 2. อาจารยผูสอนควรเนนการเพิ่มเติมคําศัพท วลี ประโยค ไวยากรณ และรูปแบบภาษาเพื่อใหผูเรียน สามารถนําไปใชในขั้นปฏิบัติได ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการวิเคราะหการใชภาษาอังกฤษในการเขียนงานเชิงวิชาการจาก บทความวิจัย หรือบทความวิชาการ 2. การวิจัยในครั้งนี้เปนเพียงการศึกษากลับกลุมตัวอยาง ผูเรียนสาขาวิชาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม เทานั้น ดังนั้น ควรเพิ่มกลุมตัวอยางจากสถาบันการศึกษาอื่นๆ ดวย รายการอางอิง Alshahrani, T. (2019). My Experience as a Teacher to Choose the Appropriate Method for Teaching in TESOL Classroom. International Journal of Social Science and Economic Research, 4(12): 7248-7252. Branden, K. V. D. (2016). The Role of Teachers in Task-Based Language Education. Annual Review of Applied Linguistics, 36: 164-181. Defazio, J., Jones, J., Tennant, F., & Hook, S. A. (2010). Academic Literacy: The Importance and Impact of Writing Across the Curriculum – A Case Study. Journal of the Scholarship of Teaching and Learning, 10(2): 34-47. Gaytos, C. E., Lavilla, I., and Elairon, L. L., Biong, T. M., Rosaldo, R. C., & Salem, M. (2019). Level of English Proficiency and its Effects to the Employability of BSHRM Graduates. [online]. Retrieve from https://ssrn.com/abstract=3432425 [2021, 2 November] Little, O. (2009). A Practical Guide to Evaluating Teacher Effectiveness. National Comprehensive Center for Teacher Quality: Washington, DC. [online]. Retrieved from https://files.eric.ed.gov/fulltext/ED543776.pdf. [2022, 6 June] Liu, Y. (2015). Task-based Language Teaching in Chinese Higher Education: EFL Teachers’ Perceptions. PhD Dissertation, University of Limerick. Pham, V.P.H., & Do, T.H. (2021). The Impacts of Task-based Instruction on Students’ Grammatical Performances in Speaking and Writing Skills: A Quasi-Experimental Study. International Journal of Instruction, 14(2): 969-986. CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

40


Rovinelli, R.J. and Hambleton, R.K. (1976). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Paper presented at the annual meeting of the American Educational Research Association: California. April 19–23, 1976) [Online]. Retrieved from https://files.eric.ed.gov/fultlext/ED121845.pdf. [2022, 5 July] Sundari, H., Febriyanti, R.H., & Saragih, G. (2017). Proposed Task-Based Materials for Writing Classes: A Case at University. [Online]. Retrieved from https://knepublishing.com/ index.php/Kne-Social/article/view/2689/5804. [2021, 15 December] Southern California, U. (2022). Organizing Your Social Sciences Research Paper. [Online]. Retrieved from https://libguides.usc.edu/writingguide. [2021, 2 December] Wickman, G. (2019). If You Want to Write Well, You Need to Read the Right Way. [Online]. Retrieved from https://writingcooperative.com/if-you-want-to-write-well-you-need-toread-the-right- way-edec8b93abd9. [2021, 30 November] Wongdaeng, M. & Hajihama, S. (2018). Perceptions of Project-Based Learning on Promoting 21st Century Skills and Learning Motivation in a Thai EFL setting. Journal of Studies in the English Language, 3(2): 158-190.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

41


การพัฒนาสื่อการสอนสามมิติเรื่องผักพื้นบานดวยเทคโนโลยีเสมือนจริง THE DEVELOPMENT OF 3D AUGMENTED REALITY ABOUT LOCAL VEGETABLE พิมพชนก สุวรรณศรี 1, ไพรสันต สุวรรณศรี 2, ศิริกรณ กันขัติ์ 3, กาญจนา ทองบุญนาค 4 0

1

2

3

บทคัดยอ งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาสื่อการสอนเรื่องผักพื้นบานดวยเทคโนโลยีเสมือนจริง และศึกษา ความพึงพอใจในการใชสื่อการสอน กลุมตัวอยางในการวิจัยครั้งนี้คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม จํานวน 62 คน เครื่องมื อที่ ใช ในการวิจัย ประกอบดวย 1) หนังสือผักพื้นบ านเสมื อน 2) แอปพลิเคชันผั ก พื้นบานเสมือน และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจในการใชสื่อการสอน วิเคราะหผลทางสถิติดวยคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ซึ่งมีผลการวิจัยดังนี้ 1) สื่อการสอนเรื่องผักพื้นบานเสมือนใชงานแอปพลิเคชัน รวมกับหนังสือผักพื้นบานเสมือน โดยหนังสือจะนําเสนอขอมูลของผักพื้นบานแตละชนิด โดยมีมารคเกอร สําหรับใชกลองจากสมารตโฟนที่ติดตั้งแอปพลิเคชันผักพื้นบานเสมือนสแกนเพื่อแสดงโมเดลผักพื้นบานเสมือนจริง ในรูปแบบ 3 มิติ บนแอปพลิเคชัน 2) ผลการประเมินความพึงพอใจของผูใชงานสื่อการสอนมีความพึงพอใจ อยูในระดับมาก ดวยคาเฉลี่ย 4.27 คําสําคัญ: สื่อการสอน, 3 มิติ, เทคโนโลยีเสมือน, ผักพื้นบาน ABSTRACT This research aimed to develop 3D Augmented Reality about Local Vegetable; and to study on satisfaction towards the use of this Application. The sample group consisted of 62 students and general public. Research tools consisted of: 1) Indigenous Vegetables Book; 2) Indigenous Vegetables Application; and 3) Assessment Form on Satisfaction towards Application. The results were analyzed with the mean and standard deviation. The results are as follows: 1) 3D Augmented Reality about Local Vegetable should be used with Indigenous 1

2

3

4

ผูชวยศาสตราจารยพิมพชนก สุวรรณศรี ผูชวยศาสตราจารย คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม นายไพรสันต สุวรรณศรี ครูชํานาญการ โรงเรียนสาธิตแหงมหาวิทยาราชภัฏเชียงใหม อาจารยศิริกรณ กันขัติ์ อาจารย คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม ผูชวยศาสตราจารย ดร.กาญจนา ทองบุญนาค ผูชวยศาสตราจารย คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

42


Vegetables Book whereas the book presents information on each type of indigenous vegetables with markers for using with cameras of smart phones installed with Indigenous Vegetables Application for showing 3D AR model of indigenous vegetables; 2) the result revealed that assessment on satisfaction of users of this Application was in high level with mean of 4.27. KEYWORDS: Virtual Technology, Local Vegetable บทนํา สื่อการเรียนการสอน หมายถึง วัสดุ อุปกรณ วิธีการ และตัวกลางที่สามารถถายทอดความรูจากผูสอน หรือแหลงความรูตางๆ ไปยังผูเรียน เพื่อใหผูเรียนไดรับรูเรื่องราว หรือความรูไดอยางมีประสิทธิภาพ และ บรรลุจุดประสงคที่วางไว (มาหามะ สะมาอุง, 2555) ในปจจุบันมีการนําเทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality: AR) มาประยุกตใชงานในดานตางๆ ทั้งดานอุตสาหกรรม วิศวกรรม การแพทย การบันเทิง การสื่อสาร การตลาด การทองเที่ยว สถาปตยกรรม รวมไปถึงดานการศึกษา ซึ่งเรียกวาหองเรียนเสมือนจริง (สาลินีย ทับพิลา, 2560) เพื่อใหผูเรียนสามารถเรียนรูสิ่งตางๆ ไดแมสิ่งนั้นไมไดอยูในชั้นเรียน ผูเรียนมองเห็นไดจากทุกมุมมอง ของเนื้อหา เนื้อหา AR สามารถสรางปฏิสัมพันธกับผูเรียนไดดีขึ้น สื่อ AR สรางความผูกพันธลึกซึ้งระหว าง เนื้อหาและผูเรียน สื่อ AR สามารถสรางประสบการณที่ทําใหผูเรียนไดใชความสามารถและทักษะที่หลากหลาย ผูเรียนสามารถมองทะลุหรือเรียนรูภายในสิ่งตางๆ ได เชน รางกายมนุษย เครื่องยนตกลไก สุดทายการเรียนรู จากสื่อ AR เปนการเรียนรูที่มีราคาประหยัด มีงานวิจัยเปนหลักฐานที่ชัดเจนวา การใช AR กับการศึกษานั้น ทําใหผูเรียนมีความสนใจที่จะเรียนมากขึ้น และยังทําใหผูสอนไมตองอธิบายมาก มีการประเมินกับผูเรียนกอนใช และหลังใช AR กับการเรียนการสอนมีคะแนนที่ดีขึ้นอยางมีนัยสําคัญ อยางเชน สื่อการเรียนรูดวยเทคโนโลยี มิติเสมือนจริง เรื่อง คําศัพทภาษาอังกฤษสัตวโลกนารู (เกวลี ผาใต, พิเชนทร จันทรปุม และ อภิวัฒน วัฒนะสุระ, 2561) ไดกลาวไววา ผูใชงานสามารถเห็นภาพที่เสมือนจริงได จึงทําใหผูใชงานสามารถเขาใจการเรียนการสอนได เพิ่มมากขึ้น ขั้นตอนการทํางาน จะมีการกําหนดจุดโดยใชมารกเกอรออกแบบ เพื่อใหอานคาไดงาย รวดเร็ว และสื่อความหมายใหผูใชงานเขาใจไดงายดวยภาพที่สรางจากโมเดลสามมิติ ผลการประเมินความพึงพอใจ พบวา คาเฉลี่ยความพึงพอใจที่มีตอสื่อการเรียนรูดวยเทคโนโลยีมิติเสมือนเรื่อง คําศัพทภาษาอังกฤษ สัตวโลก นารู อยูในระดับมาก สาระการเรียนรูการงานอาชีพ หนวยการเรียนรูผักสวนครัว ซึ่งมีสาระสําคัญเกี่ยวกับผักพื้นบาน คือ พืชที่ขึ้นเองตามธรรมชาติหาไดตาม สวน ไร นา ปา หนองน้ํา และลําคลอง หรือชาวบานอาจนํามาปลูกในบาน เพื่อสะดวกในการเก็บมาบริโภค หากมีมากก็จะนําไปขายในตลาดสดของหมูบาน ผักพื้นบานอาจเปนวัชพืช หรือไมดอกไมประดับ ซึ่งชาวบานเรียนรูเรื่องการนํามาเปนอาหาร และยารักษาโรค ถายทอดองคความรูจาก รุนสูรุน ผักพื้นบานถือเปนภูมิปญญาไทยเพราะคนไทยรูจักและใชมานานตั้งแตบรรพบุรุษ การเลือกผักแตละ ชนิดมารับประทานสะทอนถึงภูมิปญญาที่ชาญฉลาด เพราะกวาที่บรรพบุรุษของเราจะเลือกผักชนิด ได มา CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

43


รับประทานจนเปนอาหารตองมีการเรียนรูถึงคุณคาเปนอยางดีและมีการถายทอดสืบตอไปยังรุนหลัง (ปยนาถ อิ่มดี, 2557: 374) ในยุคปจจุบันวัฒนธรรมการบริโภคของคนไทยเปลี่ยนไปตามโครงสรางของสังคม จากสังคม ชนบทสูสังคมเมืองมากขึ้น ทําใหเกิดกระแสนิยมบริโภคอาหารจานดวน ซึ่งดอยคุณคาและนํามาซึ่งโรคภัย ตางๆ ผลกระทบโดยตรงจากการเปลี่ยนแปลงดังกลาวทําใหมนุษยรูจักพืชและการใชประโยชนจากพืชนอยลง นับไดวาเปนการสูญเสียภูมิปญญาทองถิ่นของคนไทย อีกประเด็นที่นาสนใจอยางยิ่งสําหรับผูที่สนใจอยาก รับประทานผักพื้นบาน คือ แมจะรูวาพืชนั้นรับประทานเปนผักได แตไมรูวาจะปรุงอยางไร และจะหาผักนั้นๆ ไดจากที่ใด เปนเรื่องที่นักพัฒนาตองคิดวาจะทําอยางไรตอไป เพื่อสงเสริมคานิยมในการบริโภคผักพื้นบานให มากขึ้นในอนาคต (ยิ่งยง ไพสุขศาสติวัฒนาม, 2556: 2) จากขอความที่กลาวมาทําใหผูวิจัยเล็งเห็นถึงความสําคัญของการนําเทคโนโลยีเสมือนจริงมาใชกับ การสงเสริมการเรียนรูเพื่อจะทําใหการเรียนการสอนนั้นมีประสิทธิภาพสูงที่สุด และเปนไปตามเปาหมายที่ ผูสอนไดวางเอาไวโดยหากนําเทคโนโลยีมาใชอยางเหมาะสม และผูเรียนมีความสนใจในเทคโนโลยีนั้นจะทําให การใชเทคโนโลยีเกิดประโยชนในดานการเรียนรูของนักเรียนเปนอยางยิ่ง (ปดิวรัดา ปาลกะวงศ ณ อยุธยา และฐิตวีร ปาลกะวงศ ณ อยุธยา, 2563) โดยการพัฒนาแอปพลิเคชันผักพื้นบานดวยเทคโนโลยีเสมือน จะทํา ใหผูใชสามารถศึกษา และเรียนรูเกี่ยวกับผักพื้นบานได โดยศึกษาขอมูลตางๆ ผานหนังสือผักพื้นบานเสมือน และสามารถศึกษารายละเอียดของตนผักพื้นบานนั้นผานเทคโนโลยีเสมือน ซึ่งมีการแสดงผลในรูปแบบสามมิติ ชวยใหผูใชสามารถมองเห็นวัตถุโดยรอบได 360 องศา มีอิสระในการมองเห็นในสิ่งที่กําลังเรียนรู สามารถเลื่อน ไปรอบๆ ได สามารถสรางประสบการณใหเกิดการเรียนรูโดยการไดเห็นภาพจริงเหมือนมีประสบการณโดยตรง กับสิ่งนั้น และยังเปนการกระตุนใหผูเรียนเกิดการสรางภาพ หรือบริบทขึ้นมา เพื่อใหผูเรียนเกิดจากการเรียนรู จากการไดเห็นของจริง และสถานการณจริงได วัตถุประสงคงานวิจัย 1. เพื่อพัฒนาสื่อการสอนเรื่องผักพื้นบานดวยเทคโนโลยีเสมือนจริง 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใชสื่อการสอน วิธีดําเนินการวิจัย ประชากร ประชากร คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราภัฏเชียงใหม สาขาวิชาคอมพิวเตอรศึกษา ชั้นปที่ 2 จํานวน 62 คน เครื่องมือวิจัย การพัฒนาสื่อการสอนเรื่องผักพื้นบานดวยเทคโนโลยีเสมือนจริง มีเครื่องมือวิจัย ดังนี้ 1) สื่อการสอนเรื่องผักพื้นบานดวยเทคโนโลยีเสมือนจริง 2) แบบประเมินความพึงพอใจในการใชสื่อการสอน CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

44


การพัฒนาสื่อการสอนเรื่องผักพื้นบานดวยเทคโนโลยีเสมือนจริง การพั ฒ นาสื่ อ การสอนเรื่ อ งผั ก พื้ น บ า นด ว ยเทคโนโลยี เ สมื อ นจริ ง มี ขั้ น ตอนในการพั ฒ นาตาม กระบวนการพัฒนาทั้งหมด 7 ขั้นตอน (ไพรสันต สุวรรณศรี และพิมพชนก สุวรรณศรี, 2563) ดังนี้ 1. เก็บรวบรวมขอมูล เริ่มจาก ลงพื้นที่เพื่อศึกษาและรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับผักพื้นบานในทองถิ่นโดย เลือกพื้นที่สะลวง - ขี้เหล็ก อําเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม จากการสอบถาม และสังเกตพันธุผักพื้นบ านใน ทองถิ่นสะลวง – ขี้เหล็ก ที่มีอยูหลายชนิด ซึ่งผักบางชนิดสามารถใชเปนพืชสมุนไพรได ทีมผูวิจัยเลือกพันธุผัก ที่นาสนใจและมีความเฉพาะกับทองถิ่น จํานวน 10 ชนิดเพื่อนํามานําเสนอดวยเทคโนโลยีเสมือน ดังนี้ ผักเฮือด, ผักปง, ดอกเสี้ยว, ผักฮวน, ผักเผ็ด, ผักเชียงดา, ผักหวาน, ผักสะแล, ผักคาวตอง และหูปลาชอน 2. วิเคราะหและกําหนดขอบเขต หลังจากรวบรวมขอมูล เปาหมายการนําเสนอขอมูลพันธุผักพื้นบาน ของงานวิจัยนี้ คือ นําเสนอในรูปแบบของเทคโนโลยีเสมือน ซี่งเปนการแสดงผลของขอมูลสูผูรับชมแทนการลง พื้นที่จริง หรือใหผูรับชมหรือผูใชแอปพลิเคชันสามารถเรียนรูผักพื้นบานไดจากทุกที่ และสามารถมองเห็นผัก ชนิดนั้นๆ ไดในทุกๆ มุม หรือ 360 องศา รวมทั้งแสดงผลสวนประกอบตางๆ ของผักชนิดนั้นๆ คือ ลําตน ใบ ดอก และผล ซึ่งสามารถทดแทนการเรียนรูจากของจริงซึ่งบางครั้งไมสามารถมองเห็นสวนประกอบตางๆ ไดทุก ชวงเวลา หรือฤดูการผลิดอกออกผลของผักแตละชนิด แบงการนําเสนอขอมูลออกเปน 2 สวน คือ สวนของ หนังสือผักพื้นบานเสมือน และแอปพลิเคชันผักพื้นบานเสมือน ดังนี้ 2.1 หนังสือผักพื้นบานเสมือน หนังสือนี้แสดงรายละเอียดของขอมูลผักพื้นบานชนิดตางๆ ทั้งชื่อวิทยาศาสตร ชื่อวงศ ชื่อทองถิ่น ลักษณะทางพฤกษศาสตร ประโยชนของผักชนิดนั้น รวมทั้งแสดงรูปมารกเกอร สําหรับแสดงผลโมเดล 3 มิติ ผานแอปพลิเคชัน 2.2 แอปพลิเคชันผักพื้นบานเสมือน การทํางานภายในแอปพลิเคชัน แบงเปน 2 สวน คือ 2.2.1 สวนของกลอง AR ส ว นนี้ ผู ใชตองทํ าการสแกนมารคเกอรที่รูปของผัก ในหนังสือผักพื้น บานเสมือน แลว จะ ปรากฏโมเดลผักในลักษณะ 3 มิติ ผูใชสามารถดูรายละเอียดของผักชนิดนั้นๆ ได โดยการ ยอ ขยาย หรือหมุนโมเดล 2.2.2 สวนแสดงวิธีการใชงาน สว นนี้เ ปน การอธิบ ายวิธีก ารใชง านแอปพลิเ คชัน ซึ่ง จะชว ยใหผูใ ชเ ขา ใจวิธีก ารใชง าน แอปพลิเคชันมากยิ่งขึ้น 3. การออกแบบ เปนการออกแบบการแสดงผลขอมูลผักพื้นบานชนิดตางๆ ซึ่งกําหนดใหมีการนําเสนอ อยู 2 สวนคือ หนังสือผักพื้นบานเสมือน และ แอปพลิเคชันผักพื้นบานเสมือน ดังนั้นทําการออกแบบดังภาพที่ 1 และภาพที่ 3 4. การพัฒนาแอปพลิเคชันผักพื้นบานเสมือน ใชโปรแกรมยูนิตี้ (Unity) ในการพัฒนาตัวแอปพลิเคชัน ใช โ ปรแกรมอะโดบี้ โ ฟโต ช อป (Adobe Photoshop) ในการสรางรูป สัญ ลักษณ (Marker) และหนังสือผัก พื้นบานเสมือนเพื่อแสดงขอมูลตางๆ ของผักแตละชนิด และออกแบบหนาจอของแอปพลิเคชัน ใชโปรแกรม เบลนเดอร (Blender) ในการสรางโมเดล 3 มิติ ดังรูปที่ 4 และใชปลั๊กอินวุโฟเรีย (Vuforia) รวมกับโปรแกรม ยูนิตี้ (Unity) เพื่อแสดงภาพจําลองเสมือนจริง ดังภาพที่ 5 CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

45


5. การทดสอบแอปพลิเคชัน เมื่อทําการพัฒนาแอปพลิเคชันจนแลวเสร็จ จึงทําการทดสอบการทํางาน ของแอปพลิเคชัน โดยเริ่มจากการทดสอบการติดตั้งแอปพลิเคชันลงในสมารตโฟน โดยการสแกนคิวอารโคด จากหนังสือผักพื้นบานเสมือนเพื่อโหลดไฟลแอปพลิเคชัน และทําการติดตั้งแอปพลิเคชันลงสมารตโฟน จากนั้น เขาสูแอปพลิเคชัน ซึ่งในการทดสอบครั้งแรก แอปพลิเคชันมีขนาดไฟลคอนขางใหญ จึงทําใหการทํางานของ แอปพลิเคชันชา แตสามารถทํางานได จากนั้นจึงเขาสูหนาจอหลักของแอปพลิเคชัน ซึ่งแสดงเมนูตางๆ ทดสอบโดยใชเมนูเปดกลอง AR ใชกลองสแกนมารคเกอรเพื่อทําการโหลดโมเดลผัก 3 มิติ ซึ่งผลการทดสอบสามารถแสดงโมเดลผัก 3 มิติได สามารถมีปฏิสัมพันธกับโมเดลได คือ สามารถยอ ขยาย หมุน โมเดล เพื่อดูรายละเอียดตางๆ ของโมเดลได เชน ขยายดู สวนของดอก หรือผลของผักชนิดนั้นได หรือหมุน ยอโมเดล เพื่อดูรายละเอียดโดยรอบ แตโมเดลบางชนิดมีปญหาในการโหลด เนื่องจากการขึ้นรูปโมเดล 3 มิติ บางไฟลมีขนาดใหญมากจึง ทําใหไมสามารถโหลดโมเดลได และปญหาที่พบอีกอยางหนึ่ง คือ รูปที่นํามาใชทํามารคเกอรมีความละเอียด นอยเกินไป ทําใหกลองไมสามารถโหลดไฟลโมเดล 3 มิติได จากปญหาที่พบขางตน จึงทําการแกไข โดยโมเดลที่มีขนาดไฟลใหญเกินไป จึงทําการขึ้นรูปโมเดลใหม เพื่อใหไฟลมีขนาดเล็กลง และรูปที่ใชในการทํามารคเกอรตองเปลี่ยนรูปเปนไฟลอื่น ที่มีความละเอียดมากขึ้น โปรแกรมจึงสามารถใชงานไดทุกสวน 6. การทดลองใชงานแอปพลิเ คชัน เมื่อไดแอปพลิเ คชัน ที่ส มบูร ณแลว จึงทําการหาคุณภาพของ แอปพลิเคชัน โดยออกแบบแบบประเมินคุณภาพของแอปพลิเคชัน และแบบประเมินความพึงพอใจของแอปพลิเคชัน และทําการหาคาความเที่ยงตรง (IOC) (สุรพงษ คงสัตย และธีรชาติ ธรรมวงค, 2551) ของแบบประเมินทั้งสอง โดยผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 ทาน พบวา แบบประเมินทั้งสองมีความเที่ยงตรง จึงนําแอปพลิเคชันไปใหผูเชี่ยวชาญ ประเมินคุณภาพ แลวจึงนําแอปพลิเคชันไปทดลองใชงานกับกลุมตัวอยาง ตั้งแตการติดตั้งแอปพลิเคชัน ลง สมารตโฟน และทดลองใชงานในเมนูตางๆ ของแอปพลิเคชัน และตอบแบบประเมินความพึงพอใจ 7. การวิเคราะหขอมูลและสรุปผล ทําการวิเคราะหขอมูลผล แบบประเมินคุณภาพ และประเมิน ความพึงพอใจในการใชงานแอปพลิเคชัน ดวยคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสรุปผลการใชงาน การออกแบบแบบประเมิน ออกแบบแบบประเมินคุณภาพแอปพลิเคชัน และ แบบประเมินความพึงพอใจในการใชงานแอปพลิเคชัน ตามแนวคิดของลิเคิรท (Likert Scale) (Likert, R.1932) ใชเกณฑ 5 ระดับคือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และนอยที่สุด สามารถแปรผลจากการตอบแบบประเมิน ไดดังนี้ 5.00 – 4.50 หมายถึง มากที่สุด 4.49 – 3.50 หมายถึง มาก 3.49 – 2.50 หมายถึง ปานกลาง 2.49 – 1.50 หมายถึง นอย 1.49 – 1.00 หมายถึง ที่สุด CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

46


การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยาง ผูวิจัยใหกลุมตัวอยางตอบแบบสอบถามความคิดเห็นผ าน กูเกิลฟอรม (Google Form) ซึ่งการวิเคราะหผลจากการตอบแบบสอบถาม โดยใชคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ดวยโปรแกรมไมโครซอฟตเอ็กเซล (Microsoft Excel) การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหคุณภาพของแอปพลิเคชัน จากการนําไปใชผูเชี่ยวชาญทําการประเมิน จํานวน 3 ทาน มีรายการประเมิน 3 ประเด็น ดังนี้ 1) ดานการทํางานของแอปพลิเคชัน ไดแก การติดตั้งแอปพลิเคชัน ความเสถียร ของแอปพลิเคชัน และ ความเร็วในการใชงานแอปพลิเคชัน 2) ดานการนําเสนอเนื้อหา ไดแก การนําเสนอ โมเดล 3 มิติ มีความสวยงาม ถูกตอง การควบคุมการใชงาน 3 มิติไดเหมาะสม 3) ดานหนังสือผักพื้ นบ าน เสมือน ไดแก การนําเสนอขอมูลถูกตอง การใชตัวอักษรเหมาะสม ภาพประกอบเหมาะสมถูกตอง การจัดวาง องคประกอบเหมาะสม พบวาผลการประเมินคุณภาพทุกดานมีคุณภาพอยูในระดับมากที่สุด ดังนี้ ดานการทํางาน ของแอปพลิเคชัน มีคาเฉลี่ย 4.56 ดานการนําเสนอเนื้อหาของแอปพลิเคชัน มีคาเฉลี่ย 4.56 และดานหนังสือ ผักพื้นบาน มีคาเฉลี่ย 4.50 ทําใหภาพรวมของแอปพลิเคมีคาเฉลี่ย 4.53 ซึ่งอยูในระดับมากที่สุด ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ผลการตอบแบบประเมินคุณภาพแอปพลิเคชัน รายการประเมิน ดานการทํางานของแอปพลิเคชัน ดานการนําเสนอเนื้อหาของแอปพลิเคชัน ดานหนังสือผักพื้นบานเสมือน เฉลี่ยในภาพรวม

คาเฉลี่ย 4.56 4.56 4.50 4.53

S.D. 0.15 0.44 0.33 0.31

ระดับคุณภาพ มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด

S.D. 0.87 0.96 0.79 0.96 0.67 0.88 0.87 0.96 0.86

ระดับความพึงพอใจ พอใจมาก พอใจมาก พอใจมาก พอใจมาก พอใจมากที่สุด พอใจมาก พอใจมาก พอใจมาก พอใจมาก

ตารางที่ 2 ผลการตอบแบบประเมินความพึงพอใจ รายการประเมิน ดานแอปพลิเคชันผักพื้นบานเสมือน 1. การติดตั้งแอปพลิเคชันทําไดงาย 2. แอปพลิเคชันใชงานงาย และเขาใจไดงา ย 3. แอปพลิเคชันมีความเสถียร 4. การนําเสนอโมเดล 3 มิติเหมาะสม 5. ภาพโมเดล 3 มิติมีความเสมือนของจริง 6. การยอ - ขยาย โมเดลทําไดงาย 7. การหมุนโมเดลทําไดงาย 8. เมนูวิธีการใชงานอธิบายเขาใจไดงาย

คาเฉลี่ย 4.25 4.08 4.37 4.10 4.50 4.21 4.18 4.19 4.34

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

47


ตารางที่ 2 (ตอ) รายการประเมิน ดานหนังสือผักพื้นบานเสมือน 1. ตัวอักษรเหมาะสมงายตอการอาน 2. สีตัวอักษรและพื้นหลังเหมาะสม 3. ภาพประกอบมีความเหมาะสม 4. การจัดวางองคประกอบมีความเหมาะสม 5. การนําเสนอขอมูลจากหนังสือในภาพรวมมีความเหมาะสม ดานภาพรวมจากการใชงาน 1. การใชงานรวมกันระหวางหนังสือและแอปพลิเคชันมี ความเหมาะสม 2. เกิดการเรียนรู และรูจักผักพื้นบานมากขึ้น 3. เกิดความอยากอนุรักษผักพื้นบานในทองถิ่นมากขึ้น เฉลี่ยในภาพรวม

คาเฉลี่ย 4.25 4.27 4.26 4.19 4.26 4.26 4.39 4.40

S.D. 0.87 0.81 1.00 0.82 0.91 0.82 0.87 0.89

ระดับความพึงพอใจ พอใจมาก พอใจมาก พอใจมาก พอใจมาก พอใจมาก พอใจมาก พอใจมาก พอใจมาก

4.39 4.39 4.27

0.90 0.81 0.87

พอใจมาก พอใจมาก พอใจมาก

การวิเคราะหความพึงพอใจในการใชแอปพลิเคชัน หลังจากนําไปทดลองใชงานกับนักศึกษา จํานวน 62 คน โดยใหผใู ชสแกนคิวอารโคดจากหนาปกหนังสือผักพื้นบานเสมือน เพื่อติดตั้งแอปพลิเคชัน จากนั้นจึงให ผูใชทดลองใชงานแอปพลิเคชัน และทําการตอบแบบประเมินความพึงพอใจในการใชงานแอปพลิเคชัน ไดผล การประเมินความพึงพอใจในดานแอปพลิเคชันผักพื้นบานเสมือน เทากับ 4.25 ความพึงพอใจในดานหนังสือ ผักพื้นบานเสมือน เทากับ 4.25 และ ความพึงพอใจในภาพรวมจากการใชงาน เทากับ 4.39 ซึ่งผลคาเฉลี่ยใน ภาพรวมทั้งหมดเทากับ 4.27 ผูใชมีความพึงพอใจอยูในระดับมาก ดังตารางที่ 2

ภาพที่ 1 หนังสือผักพื้นบานเสมือน

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

48


ภาพที่ 2 โมเดลเสมือน 3 มิติ ผักเชียงดา

ภาพที่ 3 โมเดลเสมือน 3 มิติ ผักคาวตอง

สรุปผลการวิจัย 1. สื่อการสอนเรื่องผักพื้นบานดวยเทคโนโลยีเสมือนจริง มีการพัฒนาอยู 2 สวนหลักๆ คือ หนังสือ ผักพื้นบานเสมือน และ แอปพลิเคชันผักพื้นบานเสมือน ดังภาพที่ 1 การใชงานแอปพลิเคชันผักพื้นบานเสมือน มีองคประกอบรวมกัน 2 สวน คือ สวนของหนังสือผักพื้นบานเสมือน และแอปพลิเคชันผักพื้นบานเสมือน ส ว นของหนั งสื อผั กพื้ น บ านเสมื อน เป น การนําเสนอขอมูล รายละเอีย ดตางๆ เกี่ย วกับ ผักพื้น บาน ซึ่งเปน การนําเสนอในรูปแบบ 2 มิติ ประกอบดวยขอความ รูปภาพ แสดงรายละเอียดของผักพื้นบานแตละชนิด คือ ชื่ อสามั ญ ชื่ อวิ ทยาศาสตร ชื่ อท องถิ่ น ลั กษณะทางพฤกษศาสตร ประโยชนและสรรพคุณ ใชงานรวมกับ แอปพลิเคชันผักพื้นบานเสมือน สําหรับแสดงผลผักพื้นบานในรูปของโมเดลเสมือน 3 มิติ มีวิธีการใชงาน คือ ผูใชทําการติดตั้งแอปพลิเคชันผักพื้นบานเสมือนลงสมารตโฟนที่ใชระบบปฏิบัติการแอนดรอยด จากนั้นจึงเขา สูเมนู เปดกลอง AR เพื่อใชกลองจากสมารตโฟน สแกนมารคเกอร รูปผักพื้นบานที่อยูในหนังสือผักพื้นบาน เสมื อน จากนั้ น แอปพลิ เ คชั นจะทํ า การโหลดโมเดลผักพื้น บานเสมือน 3 มิติ เพื่อแสดงผล ผูใชส ามารถมี ปฏิสัมพันธกับโมเดลผักพื้นบานเสมือนได เสมือนกับไดรับชมของจริง ผูใชสามารถ ยอ ขยาย โมเดล หมุน โมเดลไปรอบๆ เพื่อดูองคประกอบโดยรอบของโมเดลได ซึ่งโมเดลผักพื้นบานแตละชนิด จะแสดง ลําตน ใบ ดอก และผล ของผักชนิดนั้น ดอก และ ผลของผักบางชนิดอาจจะมีขนาดเล็ก ผูใชสามารถขยายโมเดลเพื่อดู รายละเอียดของดอก และผลใหชัดเจนมากขึ้นได ดังภาพที่ 2 และภาพที่ 3 2. คุณภาพของแอปพลิเคชัน โดยผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 ทาน ทําการประเมินคุณภาพ ไดผลคาเฉลี่ย 4.53 อยูในระดับมีคุณภาพมากที่สุด แสดงใหเห็นวา แอปพลิเคชันมีความเหมาะสมสามารถนําไปใชงานได 3. ความพึงพอใจในการใชงานแอปพลิเคชันผักพื้นบานดวยเทคโนโลยีเสมือน จากผูใชจํานวน 62 คนมีความพึงพอใจตอแอปพลิเคชันในระดับมาก ดวยคาเฉลี่ย 4.27 แสดงใหเห็นวา แอปพลิเคชันสามารถใช งานไดจริง

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

49


อภิปรายผลวิจัย 1. การพั ฒ นางานวิ จั ย ในครั้ งนี้ มีวั ตถุป ระสงคเพื่อพัฒ นาแอปพลิเคชัน ผักพื้น บานดวยเทคโนโลยี เสมือน จึงทําการพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อนําเสนอขอมูลเกี่ยวกับผักพื้นบาน และมีการแสดงผลดวยโมเดล เสมือนสามมิติของผักชนิดตางๆ ซึ่งในการใชงานแอปพลิเคชันจะมีการใชงานทั้ง 2 สวนรวมกัน โดยหนังสือ ผักพื้นบานเสมือนเปนการนําเสนอขอมูลของผักพื้นบานแตละชนิด ซึ่งมีการจัดทําเปนรูปเลม ซึ่งมีมารคเกอร เพื่อแสดงโมเดลพืช 3 มิติ ในแอปพลิเคชัน โดยการใชกลองจากสมารตโฟนที่ติดตั้งแอปพลิเคชันแลว แสกน มารคเกอรจากในหนังสือ ผูใชสามารถใชงานหรือศึกษาไดตลอดเวลา เนื่องจากผูใชที่มีสมารตโฟนสามารถ ติดตั้งแอปพลิเคชันผักพื้นบานเสมือนไดอยางงายลงในสมารตโฟน ของตนเอง ซึ่งตอบสนองตอการใชงานไดทุก ที่ทุกเวลา ประกอบกับการนําเสนอขอมูลผักพื้นบานภายในหนังสือและแอปพลิเคชันแสดงขอมูลรายละเอียด ของผั ก พื้ น บ า นชนิ ด ต า งๆ ซึ่ ง สามารถลดข อ จํ า กั ด ในการศึ ก ษาผั ก พื้ น บ า นในสถานที่ จ ริ ง หรื อ วั น เวลาที่ เหมาะสม กลาวคือ ดวยการเจริญเติบโตของผักแตละชนิด จะมีการออกดอก ออกผล ในชวงเวลาที่ตางกัน ทําใหผูศึกษาไมสามารถศึกษารายละเอียดในสวนนี้ไดทุกเวลาจากของจริง ดังนั้น แอปพลิเคชันผักพื้นบ าน เสมือนนี้จึงสามารถกําจัดขอจํากัดนี้ได สอดคลองกับงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาหนังสือความจริงเสมือนสามมิติ เรื่อง สมุนไพรจีน สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะแพทยตะวันออก วิทยาลัยเชียงราย เพื่อแกไขปญหา ใหกับนักศึกษาที่เรียนวิชาสมุนไพรจีน และตองศึกษาจากตัวอยางจริง แตประสบปญหาที่สมุนไพรบางชนิด ไม ส ามารถเก็ บ รั กษาได น าน รวมถึ งมี การเปลี่ย นแปลงของรูป ราง กลิ่น สี ขนาด ทําใหส มุน ไพรตัว อยาง ไมสามารถนํามาใชในการเรียนการสอนได สื่อดังกลาวจึงสามารถแกไขปญหาขางตนได และยังชวยใหผูเรียน เกิดการกระตุนความใสใจของนักศึกษา พรอมทั้งยังสะดวกในการศึกษาดวยตัวเอง สงเสริมใหนักศึกษามี ความอยากรูอยากเห็น เรียนรูในสิ่งใหมและสรางประสบการณที่แตกตางออกไป มีปฏิสัมพันธในการเรียนรูดวย ตัวเอง และยังชวยลดปญหาการเสื่อมสภาพของตัวสมุนไพรที่ใชในการเรียนการสอนในวิชาสมุนไพรจีนจาก การเก็บรักษาในวิทยาลัย (ญาณวุฒิ ไชยโย และวีรพันธุ ศิริฤทธิ์, 2560) แอปพลิเคชันผักพื้นบานเสมือน มีการแสดงผลโมเดลของผักพื้นบานในรูปแบบโมเดล 3 มิติ ซึ่งเปน เปนการประยุกตใชเทคโนโลยีเสมือนเพื่อใหผูใชเห็นภาพ 3 มิติผานหนาจอที่มีองคประกอบผสมผสานกับ ภาพเสมือนจริง มีการโตตอบแบบเรียบไทม ผูใชสามารถมองเห็นวัตถุโดยรอบได 360 องศา ซึ่งสื่อการเรียนรู แบบสามมิติเสมือนจริงที่สามารถจําลองสถานการณใหเห็นภาพเคลื่อนไหว จะชวยอธิบายและทําใหผูเรียน เขาใจเนื้อหาและสามารถจดจําไดเปนอยางดี (ดุสิต ขาวเหลือง และอภิชาติ อนุกูลเวช, 2561) การใชงาน รวมกันระหวางแอปพลิเคชันผักพื้นบานเสมือน และหนังสือผักพื้นบานเสมือน ชวยใหผูใชงานเขาใจเนื้อหาได งายยิ่งขึ้น จากการนําเสนอขอมูลผานหนังสือ และใชแอปพลิเคชันในการแสดงผลแบบเสมือน สอดคลองกับ งานวิจัยของ (เกวลี ผาใต, พิเชนทร จันทรปุม และอภิวัฒน วัฒนะสุระ, 2561) เรื่องสื่อการเรียนรูดวยเทคโนโลยี มิติเสมือนจริง เรื่อง คําศัพทภาษาอังกฤษสัตวโลกนารู โดยการนําเทคโนโลยีมิติเสมือนจริง มาประยุกตใชใน การเรียนการสอน ซึ่งออกแบบใหใชงานกับอุปกรณเคลื่อนที่บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด เมื่อนํามาใชกับ การเรียนการสอน จะทําใหผูใชงานสามารถเห็นภาพที่เสมือนจริงได จึงทําใหผูใชงานสามารถเขาใจการเรียน การสอนไดเพิ่มมากขึ้น เชนเดียวกับ (จันทรจิรา นที และแคทรียา หนอยศ, 2560) ทําการออกแบบหนังสือ CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

50


เทคโนโลยีเสมือนจริง เรื่องการละเลนของเด็กไทย ไดหนังสือที่มีการออกแบบโดยผสมผสานเทคโนโลยีเสมือน จริงไวดวยกันซึ่งจะทําใหการอานหนังสือสําหรับเด็กมีความนาสนใจ ความสนุก ความตื่นตาตื่นใจมากขึ้น และ ยังชวยสงเสริมใหเด็กมีประสบการณที่แปลกใหม 2. จากการนํ า แอปพลิ เ คชั น ผั ก พื้ น บ า นเสมื อ นไปทดลองใช ซึ่ ง ผ า นการประเมิ น คุ ณ ภาพจาก ผูเชี่ยวชาญโดยแอปพลิเคชันมีคุณภาพอยูในระดับมากที่สุดนั้น ผูใชมีความพึงพอใจในระดับมาก ในดานการใช งานแอปพลิเคชันในภาพรวมทําใหเกิดการเรียนรู และรูจักผักพื้นบานมากขึ้น ดวยผลการประเมิน 4.39 และ เกิดความอยากอนุรักษผักพื้นบานในทองถิ่นมากขึ้น ดวยผลการประเมิน 4.39 เชนกัน แสดงใหเห็นวา หลังจาก ที่ผูใชไดทดลองใชแอปพลิเคชันแลว ผูใชเกิดความรูสึกใหความสนใจกับสิ่งที่อยูรอบตัวในทองถิ่นของตนเอง มากขึ้น การนําเทคโนโลยีความเปนจริงเสริมมาประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอน สามารถชวยกระตุน ความสนใจในการเรียนรู เพิ่มการดึงดูดผูเรียนใหสนใจในเนื้อหาที่ตองการนําเสนอมากขึ้น ทําใหผูเรียนเขาใจใน เนื้อหาไดดีขึ้น ซึ่งสงผลตอการจดจําขอมูลเนื้อหาไดดีขึ้นดวย กอเกิดความคงทนในการเรียนรู อันสงผลให ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น (ดุสิต ขาวเหลือง และอภิชาติ อนุกูลเวช, 2561) ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะเพื่อการนําผลการวิจัยไปใช 1. งานวิจัยนี้ ใชงานไดเฉพาะระบบปฏิบัติการแอนดรอยด หากมีการพัฒนาสําหรับระบบปฏิบัติการ iOS ดวยจะทําใหกลุมผูใช ใชงานแอปพลิเคชันไดมากขึ้น 2. การขึ้นรูปโมเดล 3 มิติ บางชิ้นมีขนาดของไฟลใหญ จึงทําใหขนาดไฟลของแอปพลิเคชันใหญดวย สงผลตอการใชงาน ดังนั้นจะตองใชสมารตโฟนที่มีทรัพยากรในการประมวลผลไดเร็ว เพื่อใหการใชงานมี ความตอเนื่อง ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป การแสดงผลแบบเสมื อ นทํ า ให ผู ใ ช มี ค วามรู สึ ก ว า ได ใ กล ชิ ด กั บ ของจริ ง ดั ง นั้ น ควรมี ก ารพั ฒ นา แอปพลิเคชันในรูปแบบเสมือนจริงสําหรับงานอื่น ที่ผูใชสามารถเขาถึงของจริงไดยาก หรือเปนการจําลองใน สิ่งที่เปนอันตรายหากตองเผชิญกับของจริง รายการอางอิง เกวลี ผาใต, พิเชนทร จันทรปุม และ อภิวัฒน วัฒนะสุระ. (2561). สื่อการเรียนรูดวยเทคโนโลยีมิติเสมือนจริง เรื่อง คําศัพทภาษาอังกฤษสัตวโลกนารู. วารสารโครงงานวิทยาการคอมพิวเตอรและเทคโนโลยี สารสนเทศ, 4(1), 23-28. จันทรจิรา นที และ แคทรียา หนอยศ. (2560). การออกแบบหนังสือเทคโนโลยีเสมือนจริง เรื่อง การละเลน ของเด็กไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัย ครั้งที่ 13, ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร. (น.1912-1926). จังหวัดพิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

51


ญาณวุฒิ ไชยโย และ วีรพันธุ ศิริฤทธิ์. (2560). การพัฒนาหนังสือความจริงเสมือนสามมิติเรื่อง สมุนไพรจีน สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะแพทยตะวันออก วิทยาลัยเชียงราย. วารสารวิชาการVeridian E –Journal,Silpakorn University, 10(1), 471-483. ดุสิต ขาวเหลือง และ อภิชาติ อนุกูลเวช. (2561). การพัฒนาสื่อการเรียนรูสามมิติแบบมีปฏิสัมพันธเสมือนจริง โดยใชเทคโนโลยีความเปนจริงเสริม Augmented Reality (AR) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดของ นักศึกษาอาชีวศึกษาที่มีระดับการคิดอยางมีวิจารณญาณตางกัน. รายงานการวิจัย. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา ปดิวรัดา ปาลกะวงศ ณ อยุธยา และ ฐิตวีร ปาลกะวงศ ณ อยุธยา. (2563). การเรียนการสอนแบบ E-Learning กับการใชเทคโนโลยีความเปนจริงเสริม (Augmented Reality) เปนสือ่ รูปแบบใหม ทางดานการศึกษา. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 14(1), 17-31. ปยนาถ อิ่มดี. (2557). การฟนฟูผักพื้นบานและการบริโภคผักพื้นบานเพื่อสุขภาวะชุมชนในตําบลแหลมบัว อําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม. ใน การประชุมวิชาการการพัฒนาชนบทที่ยั่งยืน ครั้งที่ 4 ประจําป 2557 11-13 มิถุนายน 2557 ขอนแกน. 373-382. พรปวีณ คําหลวง และ เกษร สําเภาทอง. (2562). ภูมิปญญาการบริโภคผักพื้นบานเพื่อประโยชนดานสุขภาพ ของชาวบานตําบลศรีษะเกษ อําเภอนานอย จังหวัดนาน. Thammasat Medical Journal, 19(1), 90-98. ไพรสันต สุวรรณศรี และ พิมพชนก สุวรรณศรี. (2563). การสืบสานอนุรักษภูมิปญญาหัตถกรรมพื้นบานดวย เทคโนโลยีเสมือนโดยการมีสวนรวมของชุมชนในพื้นที่อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม. รายงานการวิจยั . เชียงใหม: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม มาหามะ สะมาอุง. (2554). ปญหาและความตองการใชสื่อการเรียนการสอนของครูโรงเรียนสังกัดเทศบาล เมืองปตตานี. สารนิพนธ (ศษ.ม.(เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มูลนิธิเกษตรกรรมยั่งยืน (ประเทศไทย). (2563). ความสําคัญของผักพื้นบาน. สืบคนจาก http://sathai.org/2020/03/12/ความสําคัญของผักพื้นบาน/ ยิ่งยง ไพสุขศาสติวัฒนาม. (2556). ผักพื้นบาน: ภูมิปญญาและมรดกที่คนไทยหลงลืม. เอกสารประกอบ การสัมมนาวิชาการและอุทยานผักพื้นบานในวิถีไทย. สํานักพิพิธภัณฑและวัฒนธรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. สาลินีย ทับพิลา. (2560). สื่อเสมือนจริง’เปดประตูหองเรียน 4.0. หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ. สืบคนจาก http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/754556 สุรพงษ คงสัตย และ ธีรชาติ ธรรมวงค. (2551). การหาคาความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม (IOC). สืบคนจาก https://www.mcu.ac.th/article/detail/14329 Likert, R. (1932). A technique for the measurement of attitudes. Archives of Psychology, 140, 1–55.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

52


กรอบแนวคิดรูปแบบการเรียนรูแบบหองเรียนกลับดานตามแผนการสอนฐานสมรรถนะ โดยใชบทเรียนอีเลิรนนิงรวมกับเทคนิคเพื่อนคูคิด A CONCEPTUAL FRAMEWORK OF FLIPPED LEARNING MODEL ON A COMPETENCY-BASED LESSON PLAN USING E-LEARNING AND THINK-PAIR-SHARE วิเชษฐ นันทะศรี 1, อัจฉรา นันทะศรี 2 0

1

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) สังเคราะหและสรางรูปแบบการเรียนรูแบบหองเรียนกลับดาน ตามแผนการสอนฐานสมรรถนะโดยใชบทเรียนอีเลิรนนิงรวมกับเทคนิคเพื่อนคูคิด (2) ประเมินความเหมาะสม ของรูปแบบการเรียนรูแบบหองเรียนกลับดานตามแผนการสอนฐานสมรรถนะโดยใชบทเรียนอีเลิรนนิงรวมกับ เทคนิคเพื่อนคูคิด กลุมตัวอยาง คือ ผูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 ทาน โดยผูวิจัยไดคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) ซึ่งมีประสบการณในดานออกแบบการเรียนการสอน ดานคอมพิวเตอรศึกษาและดานเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา อยางนอย 5 ป เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ สถิติที่ใชในการวิจัย คือ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยมีวิธีดําเนินการวิจัยทั้งหมด 6 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาบทความ เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2) สังเคราะหกรอบแนวคิด 3) กําหนดกลุมผูเชี่ยวชาญ 4) สรางแบบประเมินรูปแบบ 5) นําเสนอกรอบแนวคิดและรูปแบบ 6) ปรับปรุงแกไขและสรุปผล ผลการวิจัย พบวา (1) รูปแบบการเรียนรู ผานการสังเคราะหแลวเรียกวา “FCTPC Model” แบงเปน 4 สวนไดแก สวนที่ 1 ปจจัยนําเขา ประกอบดวย 5 องคประกอบ สวนที่ 2 กระบวนการหองเรียนกลับดาน ประกอบดวย 4 กระบวนการ สวนที่ 3 ผลผลิต ประกอบดวย 3 องคประกอบ และสวนที่ 4 การสะทอนผล มี 1 องคประกอบ (2) ผลการประเมิน ความเหมาะสมจากผูเชี่ยวชาญ 5 ทาน พบวา “FCTPC Model” มีความเหมาะสมระดับมากที่สุด (x� = 4.73, S.D. = 0.44) คําสําคัญ: แผนการสอนฐานสมรรถนะ, การเรียนแบบหองเรียนกลับดาน, บทเรียนอีเลิรนนิง, เทคนิคเพื่อนคูคิด

1

2

ดร.วิเชษฐ นันทะศรี อาจารย สาขาวิชาคอมพิวเตอรศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย อัจฉรา นันทะศรี อาจารย กลุมวิชาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

53


ABSTRACT The objective of this research were to ( 1) synthesize and developed Conceptual Framework of Flipped Learning Model on A Competency- Based Lesson Plan using E- learning and Think- Pair- Share, (2) evaluate Framework of Flipped Learning Model on A CompetencyBased Lesson Plan using E- learning and Think- Pair- Share. Sample group is five experts who were selected purposively with at least 5 years experiences on instructional design, computer education and information technology and communication. Tool used in this study was the suitability assessment of the model. The statistics used in this research were the arithmetic mean and standard deviation. The research process consisted of 6 steps as follows; 1) studied journals, texts, and researches, 2) synthesized a framework, 3) defined experts group, 4) created evaluation form, 5) presented conceptual and framework, 6) corrected and concluded. The results showed that (1) The synthesized learning model is called “FCTPC Model”, which was divided into four parts including Part 1: Input, consists of 5 components, Part 2: Flipped Classroom Process, consists of 4 process, Part 3: Output, consists of 3 components and Part 4: Feedback, consist of 1 component. (2) The suitability evaluation of the FCTPC Model from five experts was at the highest level (x� = 4.73, S.D. = 0.44) KEYWORDS: Competency Plan, Flipped Classroom, E-Learning, Think-Pair-Share

บทนํา การจัดการศึกษาโลกยุค VUCA (Volatility Uncertainty Complexity Ambiguity World) เปนโลก ที่ทุกคนตองเผชิญอยางหลีกเลี่ยงไมได คือ ความผันผวนสูงเปลี่ยนแปลงฉับพลันรวดเร็วมาจากเทคโนโลยี สภาวะที่มีความไมแนน อน ทําใหขาดความชัดเจน ยากตอการตัดสินใจ และความคลุมเครื อที่ ไมสามารถ คาดการณได สิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่ทาทายในการจัดการเรียนรูใหม (วิชัย วงษใหญ และมารุต พัฒผล, 2562) โดยเฉพาะจากการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 สงผลกระทบกับภาคการศึกษาเปนอยางมาก เนื่องจาก ทั้งผูเรียนและผูสอนตองมีการปรับตัวในการเรียนการสอน โดยการนําเทคโนโลยีมาใชกับระบบการเรียนการสอน เพื่อทําใหภาคการศึกษายังคงดําเนินตอไปอยางไมสะดุด (สิริพร อินทสนธิ์, 2563) รูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตองมีการเปลี่ยนแปลงใหมีความหลากหลายทั้งการเรียนในชั้นเรียนและการเรียนออนไลน ใชเทคโนโลยีดิจิทัล เปนเครื่องมือสนับสนุนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อใหผูเรียนเกิดสมรรถนะในระดับที่ผูเ รี ย น สามารถปฏิบัติงานไดจริง การจัดการเรียนรูตามแผนการสอนฐานสมรรถนะ เปนการจัดการเรียนการสอนที่ใชผลลัพธการเรียนรู เปนเปาหมายมุงเนนผลที่เกิดกับผูเรียนซึ่งก็คือความสามารถของผูเรียนในการประยุกตใชความรู ทักษะ เจตคติ และคุ ณ ลั ก ษณะต า งๆ อย า งเป น องค ค วามรู ใ นการปฏิ บั ติ งาน การแก ป ญ หา ในระดั บ ที่ ผู เ รี ย นสามารถ CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

54


ปฏิบัติงานไดจริง (สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2563) ดังนั้นวิธีการจัดการเรียนการสอนตองมีการปรับปรุง โดยมีการใชเทคโนโลยีมาชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรูของผูเรียนมากยิ่งขึ้น วิธีการที่ไดรับการยกยอง วาเปนกระบวนทัศนใหมในการศึกษาสมัยใหมที่เนนใหผูเรียนไดฝกควบคุมการเรียนดวยตนเองและฝกปฏิบัติ มากยิ่งขึ้น คือ การเรียนแบบหองเรียนกลับดาน (flipped classroom) ซึ่งเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่ การบรรยายในชั้นเรียนและการบานจะสลับที่กันโดยใหผูเรียนวางแผนและควบคุมการเรียนรูดวยตนเองผาน ทางสื่อการเรียนรูจากภายนอกชั้นเรียน และนําผลการเรียนรูมานําเสนอพรอมอภิปรายและทํากิจกรรมหรือ การฝกปฏิบัติตางๆ โดยมีครูคอยใหคําปรึกษา (Bergmann, J. & Sams, A., 2012) การนําเทคโนโลยีมาชวย เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน ในสวนของการเรียนเนื้อหานอกชั้นเรียน บทเรียนอีเลิรนนิง (E-Learning) เปนนวัตกรรม ที่สถานศึกษา หนวยงาน องคกรทุกระดับ สามารถนํามาใชใหเกิดประโยชนตอ การเรียนการสอน พัฒนาแหลงการเรียนรู ในการศึกษาหาความรูเพิ่มเติมโดยการเรียนการสอนผานเทคโนโลยี อินเทอรเน็ต ทําใหระบบการศึกษาเปลี่ยนจากเดิม เปดโอกาสใหผูเรียนไดเรียนรูผานมัลติมีเดียบนเว็บที่มีภาพ และเสียงประกอบเนื้อหา วีดีโอการสอนสาธิต หรือเนื้อหาบทเรียนจากแหลงอื่นๆ ที่ผูสอนไดจัดเตรียมไว ผูเรียนสามารถเขาถึงขอมูลไดทุกที่ ทุกเวลา ทําใหการเรียนรูเกิดขึ้นไดทุกเวลา ผูเรียนมีอิสระในการเรียน สามารถเป น ผู ควบคุ มการเรี ย นของตนเอง ชว ยสงเสริมการเรีย นที่ผูเรีย นเปน ศูน ยกลาง และตอบสนอง ความแตกตางระหวางบุคคล ทําใหเกิดกระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ (สุภาวดี ลาภเจริญ, 2563) นอกจากนี้ การเรียนรูของผูเรียนตองมีปฏิสัมพันธรวมกับผูอื่น เพื่อใหผูเรียนไดชวยเหลือซึ่งกันและกัน เทคนิ คการเรี ย นแบบเพื่ อนคู คิ ด (Think-Pair-Share) เปน เทคนิคหนึ่งของการเรีย นรูแบบรว มมื อที่ ไ ด รั บ ความนิยมอยางแพรหลายเนื่องจากดําเนินการไดงายและใชเวลาสั้นๆ โดยเริ่มจาก Think เปนขั้นตอนที่ผูสอน กําหนดประเด็นปญหาตางๆ เพื่อใหผูเรียนแตละคนคิดแลวหาคําตอบดวยตนเอง Pair เปนการจับคูโดยนํา คําตอบไปอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันเพื่อสรุปคําตอบรวมกัน Share เปนการนําคําตอบไปนําเสนอให กลุ มหรื อให เ พื่ อนทั้ งชั้ น เรี ย นรั บ ฟ ง เพื่ อสรุ ปผลรว มกัน ทั้ งชั้น เรีย นอี กครั้ง หนึ่ ง ซึ่งเปน การฝก ใหผู เ รี ย นมี ความรับผิดชอบรวมกัน มีการชวยเหลือซึ่งกันและกัน ฝกการแกปญหารวมกัน และรวมกันสรางผลงานออกมา อยางเปนระบบ (อุไรวรรณ ศรีไชยเลิศ และมนตชัย เทียนทอง, 2561) จากนวัตกรรมการศึกษาดังกลาวผูวิจัยจึงมีแนวคิดที่จะผนวกรูปแบบการเรียนรูตางๆ โดยการสังเคราะห รูปแบบการเรียนรูแบบหองเรียนกลับดานตามแผนการสอนฐานสมรรถนะโดยใชบทเรียนอีเลิรนนิงรว มกับ เทคนิ คเพื่ อนคู คิด เพราะรู ป แบบการเรี ย นรูที่พัฒ นาขึ้น นี้จ ะชว ยลดความแตกตา งระหวา งบุค คลในเรื่ อ ง การเรียนรู ผูเรียนไดชวยเหลือซึ่งกันและกัน มีแหลงเรียนรูที่นอกเหนือจากการเรียนในชั้นเรียน เพื่อการทบทวน เนื้อหา ฝกปฏิบัติดวยตนเอง และสงเสริมสมรรถนะการปฏิบัติงานของผูเรียนทําใหเกิดการเรียนรูและพัฒนา เต็มตามศักยภาพของตนเอง วัตถุประสงคการวิจัย 1. สังเคราะหและสรางรูปแบบการเรียนรูแบบหองเรียนกลับดานตามแผนการสอนฐานสมรรถนะ โดยใชบทเรียนอีเลิรนนิงรวมกับเทคนิคเพื่อนคูคิด CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

55


2. ประเมินรูปแบบการเรียนรูแบบหองเรียนกลับดานตามแผนการสอนฐานสมรรถนะโดยใชบทเรียน อีเลิรนนิงรวมกับเทคนิคเพื่อนคูคิด วิธีดําเนินการวิจัย การสังเคราะหและสรางรูปแบบการเรียนรูแบบหองเรียนกลับดานตามแผนการสอนฐานสมรรถนะ โดยใชบทเรียนอีเลิรนนิงรวมกับเทคนิคเพื่อนคูคิด ดําเนินงานตาม 6 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาบทความ เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ผูวิจัยไดศึกษาบทความ เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนรูแบบหองเรียน กลับดานตามแผนการสอนฐานสมรรถนะโดยใชบทเรียนอีเลิรนนิงรวมกับเทคนิคเพื่อนคูคิด โดยผูวิจัยไดทํา การสํารวจ ศึกษา วิเคราะห สังเคราะห แนวคิด หลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการพัฒนาแผนการสอน ฐานสมรรถนะ (วิ นั ย เพ็ งภิ ญ โญ, 2563) การเรีย นรูแบบหองเรีย นกลับดาน (Bergman J. and Sams A., 2012) การพัฒนาบทเรียนอีเลิรนิง (Muruganantham, G, 2015) และเทคนิคเพื่อนคูคิด (มนตชัย เทียนทอง, 2551) เพื่อกําหนดเปนกรอบแนวคิดที่ใชในการวิจัย ดังภาพที่ 1 การพัฒนาแผนการสอน ฐานสมรรถนะ วินัย เพ็งภิญโญ (2563) 1. ขั้นศึกษาและจัดเตรียม ทรัพยากรพื้นฐาน 2. ขั้นกําหนดแนวทางและ วิธีการ 3. ขั้นดําเนินกิจกรรมการ เรียนการสอน 4. ขั้นการประเมินผล

การเรียนรูแ บบหอ งเรียน กลับดาน Bergman J. and Sams A. (2012) 1. การกําหนดวิธีเ พิ่มพูน ประสบการณ (Experiential engagement) 2. การสืบคนเพื่อ ใหเกิด ความคิด รวบยอด (Concept exploration) 3. การสรางองคความรู (Meaning making) 4. การสาธิตและการ ประยุกตใช (Demonstration & Application)

การพัฒนาบทเรียนอีเ ลิรนนิง ตามแบบ ADDIE Model 5 ขั้นตอน Muruganantham, G. (2015) 1. การวิเคราะห (Analysis) 2. การออกแบบ (Design) 3. การพัฒ นา (Development) 4. การนําไปใช (Implement) 5. การประเมินผล (Evaluation)

เทคนิคเพื่อนคูคิด (Think-Pair-Share) มนตชัย เทีย นทอง (2551) 1.Think 2.Pair 2.1 Motivation 2.2 Information 2.3 Application 2.4 Progress 3.Share

การพัฒ นารูปแบบการเรียนรูแบบหองเรียนกลับดานตามแผนการสอนฐานสมรรถนะโดยใชบทเรียนอีเลิรนนิง รวมกับเทคนิคเพื่อนคูคิด สําหรับนักศึกษาคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย

สมรรถนะการปฏิบัต ิงาน

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

เจตคติ

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดที่ใชในการวิจัย CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

56


ขั้นตอนที่ 2 สังเคราะหกรอบแนวคิด ผูวิจัยไดนําผลที่ไดจากการวิเคราะหในระยะที่ 1 มาทําการสังเคราะหเพื่อออกแบบและพัฒนารูปแบบ การเรียนรูแบบหองเรียนกลับดานตามแผนการสอนฐานสมรรถนะโดยใชบทเรียนอีเลิรนนิงรวมกับเทคนิคเพื่อน คูคิด ดังกลาวแลวนําเสนอเปนแผนภาพประกอบ ขั้นตอนที่ 3 กําหนดกลุมผูเชี่ยวชาญ ผูวิจัยไดกําหนดกลุมผูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 ทาน ประกอบดวย ผูเชี่ยวชาญดานการเรียนการสอน 2 ทาน ดานคอมพิวเตอร ศึกษา 2 ทาน และดานเทคโนโลยีและสื่ อสารการศึ กษา จํานวน 1 ทาน ไดจาก การเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) ซึ่งมีประสบการณในดานการเรียนการสอน ดานคอมพิวเตอร ศึกษาและดานเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาไมนอยกวา 5 ป และสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกขึ้นไป ขั้นตอนที่ 4 สรางแบบประเมินรูปแบบ ผูวิจัยไดสรางแบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนรูแบบหองเรียนกลับดานตามแผน การสอนฐานสมรรถนะโดยใชบทเรียนอีเลิรนนิงรวมกับเทคนิคเพื่อนคูคิด จากนั้นนําไปใหผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 ทาน ประเมินความสอดคลองของขอคําถาม เพื่อวิเคราะหหาคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) โดยคัดเลือก ขอคําถามที่มีคาอยูระหวาง 0.50–1.00 โดยแบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการเรียนรูที่พัฒนาขึ้น ทุกขอมีคาระหวาง 0.80–1.00 ผานเกณฑทุกขอ แสดงวาแบบประเมินความเหมาะสมมีความสอดคลองกับ วัตถุประสงค และสามารถนําไปใชได ขั้นตอนที่ 5 นําเสนอกรอบแนวคิดและรูปแบบ ผูวิจัยไดนําเสนอกรอบแนวคิดและรูปแบบการเรียนรูแบบหองเรียนกลับดานตามแผนการสอนฐาน สมรรถนะโดยใชบทเรียนอีเลิรนนิงรวมกับเทคนิคเพื่อนคูคิดแกผูเชี่ยวชาญเพื่อประเมินความเหมาะสม และ สรุปผลการประเมินรูปแบบการเรียนรูที่พัฒนาขึ้นจากผูเชี่ยวชาญ ขั้นตอนที่ 6 ปรับปรุงแกไขและสรุปผล ผู วิ จั ย ได ทํ า การปรั บ ปรุ ง แก ไ ขรู ป แบบการเรี ย นรู แ บบห อ งเรี ย นกลั บ ด า นตามแผนการสอนฐาน สมรรถนะโดยใชบทเรียนอีเลิรนนิงรวมกับเทคนิคเพื่อนคูคิดตามขอเสนอแนะของผูเชี่ยวชาญ ผลการวิจัย ผลการวิจัยแบงออกเปน 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 ผลการสังเคราะหรูปแบบการเรียนรูแบบหองเรียนกลับดานตามแผนการสอนฐานสมรรถนะ โดยใชบทเรียนอีเลิรนนิงรวมกับเทคนิคเพื่อนคูคิด หรือ เรียกยอวา FCTPC Model ประกอบดวยสวนตางๆ แสดงดังภาพที่ 2

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

57


2. Flipped Classroom Process 2.1 Preparation 1. Input

2.1.1 Orientation

2.1.2 Enrollment

2.2 Think

3. Output

Objectives

2.2.1 The Course Objective

Learners

2.2.2 Pre-test

Teachers

2.2.3 Goal setting

Practical Skills Learning Achievement Attitude

2.3 Pair

Contents 2.3.3 Question, Answer and Sumary

2.3.1 Motivation

e-learning 2.3.2 e-learning

2.3.4 Job Sheet

Video/Demonstrate exercise

2.3.5 Practice

Webboard/ Chat

Graphics/ Content

2.3.6 Rubric Evaluation

Learning Assessment

2.4 Share 2.4.1 Sumary and Discussion

2.4.2 Students’ self-reflection

4. Feedback การเรียนในหองเรียน (In Class)

การเรียนนอกหองเรียน (Out Class)

FCTPC Model

ภาพที่ 2 องคประกอบของรูปแบบการเรียนรูแบบหองเรียนกลับดานตามแผนการสอน ฐานสมรรถนะโดยใชบทเรียนอีเลิรนนิงรวมกับเทคนิคเพื่อนคูคิด จากภาพที่ 2 รู ป แบบการเรี ย นรู แบบห อ งเรี ย นกลั บ ด า นตามแผนการสอนฐานสมรรถนะโดยใช บทเรียนอีเลิรนนิงรวมกับเทคนิคเพื่อนคูคิด มีองคประกอบ ดังนี้ 1. ปจจัยนําเขา (Input) ประกอบดวย 5 องคประกอบ คือ 1.1 วัตถุประสงค (Objectives) เปนการกําหนดวัตถุประสงคการเรียนรูจากการวิเคราะหเนื้อหา ของบทเรียน โดยทําการกําหนดขอบเขตของสิ่งที่ผูเรียนตองเรียนทั้งหมดในเนื้อหาวิชา โดยรูปแบบที่พัฒนาขึ้น มี เ ป า หมายเพื่ อ มุ ง เน น ส ง เสริ ม ให ผู เ รี ย นสามารถประยุ ก ต ใ ช ค วามรู ทั ก ษะ เจตคติ แบบองค ร วมใน การแกปญหาและปฏิบัติงานไดจริง 1.2 ผู เ รี ย น (Learners) เป น การเตรี ย มความพร อ มผู เ รี ย น ในการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย น การสอนตามรูปแบบการเรียนรูที่พัฒนาขึ้น เปนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีการใชเทคโนโลยีมาเปน CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

58


องคประกอบในการจัดการเรียนการสอนซึ่งผูเรียนที่จะเรียนตามรูปแบบการเรียนรูที่พัฒนาขึ้น จะตองมีทักษะ ทางดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน 1.3 ผูสอน (Teachers) ผูสอนที่มีหนาที่ในการเตรียมระบบจัดการเรียนการสอนออนไลน และ การออกแบบกิจกรรมในชั้นเรียน เปนผูกระตุน ใหคําปรึกษา คําแนะนําในการเขาถึงทรัพยากรการเรียนรูและ การสืบคน กํากับการเรียน ใหผลยอนกลับและประเมินผลผูเรียนทั้งรายบุคคลและรายกลุม 1.4 เนื้ อหา (Contents) เนื้ อหาที่จ ะใชใ นการจัด การเรี ย นการสอนพร อ มแผนการสอนฐาน สมรรถนะ ประกอบดวย 1. การสรางเว็บไซตการเรียนการสอนดวย Google Sites 2. การสรางระบบบริหาร การเรียนการสอนดวย Google Classroom 3. การสรางสื่อการสอนดวย Canva 4. การสรางแบบฝ กหั ด ออนไลนแบบโตตอบดวย Liveworksheets และ 5. การวัดและประเมินผลแบบออนไลนดวย Google form และ Quizizz 1.5 ระบบอีเลิรนนิง (E-Learning) เครื่องมือที่จะชวยใหการจัดการเรียนการสอนเปนไปไดอยางมี ประสิทธิภาพ เปนสื่อกลางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผานคอมพิวเตอรหรืออุปกรณอิเล็กทรอนิกส โดยอาศัยเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตและเทคโนโลยีเว็บเปนชองทางหลักในการสงสารไปยังผูเรียนในการเรียนรู เนื้อหากอนที่จะมาเรียนในชั้นเรียน ประกอบไปดวย วัตถุประสงคการเรียนรู หนวยการเรียนรู แบบทดสอบ มีการสื่อสารปฏิสัมพันธ การวัดและประเมินผล ซึ่งผูเรียนสามารถเขาถึงการเรียนรู ได ทุกที่ ทุกเวลา และ มีอิสระในการเลือกเรียนตามความสนใจของตนเอง 2. กระบวนการห อ งเรี ย นกลั บ ด า น (Flipped Classroom Process) กระบวนการของรู ป แบบ การเรียนแบบหองเรียนกลับ มีลักษณะของการทํางานแบงออกเปน 2 สวน คือ การเรียนนอกหองเรียน (Out Class) และการเรียนในหองเรียน (In Class) การเรียนรูทั้ง 2 สวน ผูเรียนจะตองเรียนโดยวิธีการเรียนรูเทคนิค เพื่อนคูคิด (Think-Pair-Share) ประกอบดวย 4 องคประกอบ ดังนี้ 2.1 การเตรียมการ (Preparation) เปนการเตรียมความพรอมของผูเรียนทั้งด านวิธีการเรี ย น การสอน การทํากิจกรรมตาง ๆ และเครื่องมือที่ใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยการจัดกิจกรรมมี ลักษณะของการทํางานแบงออกเปน 2 สวน คือ การเรียนในหองเรียน (In Class) และการเรียนนอกหองเรียน (Out Class) มีรายละเอียดดังนี้ 2.1.1 การเรียนในหองเรียน (In Class) มี 1 ขั้นตอน คือ การปฐมนิเทศผูเรียน (Orientation) เปนการชี้แจงรายละเอียดของขั้นตอนการเรียนการสอน วิธีการเรียนการสอน การกําหนดวันเวลาในการทํากิจกรรมตางๆ วิธีการเรียนใหประสบความสําเร็จ ขอตกลง รวมกันในการเรียนการสอนและวิธีการวัดประเมินผลของรูปแบบการเรียนรูที่พัฒนาขึ้น 2.1.2 การเรียนนอกหองเรียน (Out Class) มี 1 ขั้นตอน คือ การลงทะเบียนเรียน (Enrollment) เปนการใหผูเรียนไดลงทะเบียนในระบบและเปนการให ผูเรียนไดทดลองใชเครื่องมือตางๆ ตามรูปแบบการเรียนรูที่พัฒนาขึ้น เพื่อที่จะใหผูเรียนสามารถใชงานระบบ อีเลิรนนิงไดอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถแสดงบทบาทตามหนาที่ที่กําหนดไวไดเต็มศักยภาพ

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

59


2.2 กระบวนการคิ ด (Think) เป น ขั้ น ตอนที่ ก ระตุ น ให ผู เ รี ย นได คิ ด ในประเด็ น ป ญ หาต า งๆ การกลาวนําถึงสาระสําคัญของบทเรียน รวมทั้งการแนะนําใหผูเรียนไดคิดถึงเรื่องที่จะตองศึกษาในขั้นตอน ตอไป ขั้นตอนนี้จะดําเนินการพรอมกันทั้งชั้นเรียน เพื่อใหผูเรียนทั้งหมดเกิดความคิดรวมและประสานความคิด ใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน โดยการจัดกิจกรรมจะเปนการเรียนนอกหองเรียน (Out Class) มี 3 ขั้นตอน คือ 2.2.1 การศึกษาวัตถุประสงค (The Course Objective) เปนขั้นนําเขาสูบทเรียนโดยผูเรียน ศึกษาวัตถุประสงคของบทเรียน เพื่อใหทราบขอบเขตของสิ่งที่ตองเรียนทั้งหมดในเนื้อหาบทเรียนอีเลิรนนิง ซึ่งจะชวยใหผูเรียนไดวางแผนการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ 2.2.2 ทดสอบกอนเรียน (Pre-test) เปนการวัดความรูของผูเรียนกอนเรียน เพื่อใหผูสอนไดรู วาผูเรียนมีความพรอมที่จะรับรูสิ่งใหมหรือยัง และนําขอมูลการทดสอบกอนเรียนมาจับคูผูเรียน ในสวนผูเรียน จะไดรูวาจะเรียนเรื่องอะไรบาง ซึ่งเปนการกระตุนผูเรียนใหไดคิดวางแผนในการเรียนใหประสบความสําเร็จ 2.2.3 การตั้งเปาหมาย (Goal setting) เปนการกําหนดเปาหมายในการเรียนรูของผูเ รียน แตละคนโดยผูเรียนจะกําหนดเปาหมายในการเรียน คือ 1) เวลาที่ใชในการเรียนในแตละบทเรียน 2) คะแนนที่ จะไดในการเรียนรูแตละบทเรียน เปนตน 2.3 กระบวนการจับคู (Pair) เปนขั้นตอนที่จัดใหผูเรียนจับกันเปนคูๆ เพื่อใหแตละกลุมรวมกัน ศึกษาบทเรียน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสรางสรรคกิจกรรมการเรียนรวมกัน ใหสามารถศึกษาบทเรียนได สําเร็จลุลวงและสามารถคนหา คําตอบของประเด็นปญหาที่ตองการได โดยการจัดกิจกรรมมีลักษณะของการ ทํางานแบงออกเปน 2 สวน คือ การเรียนนอกหองเรียน (Out Class) และการเรียนในหองเรียน (In Class) มี รายละเอียดดังนี้ 2.3.1 การเรียนนอกหองเรียน (Out Class) มี 2 ขั้นตอน คือ 2.3.1.1 กระตุนความสนใจ (Motivation) กระตุนความสนใจกอนเขาสูบทเรียน เชน การใชคําถามนํา การทดสอบกอนเรียน เปนตน เพื่อทําใหผูเรียนรูสึกและคิดตามหลัง กอนเชื่อมโยงไปสูการให เนื้อหากับผูเรียน 2.3.1.2 บทเรี ย นอี เ ลิ ร น นิ ง (E-Learning) เป น ขั้ น ตอนการศึ ก ษาเนื้ อ หาของผู เ รี ย น โดยนําเสนอเนื้อหาในรูปแบบไฟลเอกสาร บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน วีดีโอการสอน และเก็บขอมูลผูเรียน โดยใชแบบฝกหัดระหวางเรียน และแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนผานเกณฑ หรือไม 2.3.2 การเรียนในหองเรียน (In Class) มี 4 ขั้นตอน คือ 2.3.2.1 การถาม ตอบ และสรุป (Question Answer and Summary) ขั้นตอนที่ผูสอน ชี้แจงกระบวนการเรียนรู การถามคําถามสิ่งที่ผูเรียนไปเรียนรูนอกชั้นเรียน ติดปญหา หรือมีขอสงสัย อะไร เพื่อจะไดหาคําตอบรวมกันทั้งชั้นเรียน และสรุปองคความรูรวมกันในชั้นเรียน 2.3.2.2 ใบสั่งงาน (Job Sheet) ขั้นตอนการทดสอบความสําเร็จในการเรียนรูของผูเรียน โดยกําหนดรูปแบบ วิธีการและเงื่อนไขตางๆ ในการปฏิบัติเพื่ อฝกผู เรีย นให มีส มรรถนะตามวั ตถุ ประสงค การสอนที่ไดกําหนดไว CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

60


2.3.2.3 การฝกฝน (Practice) ขั้นตอนนี้ผูเรียนจะฝกฝนทักษะการปฏิบัติงานตามใบ สั่งงาน จนกวางานจะสําเร็จ 2.3.2.4 การประเมิ น รู บ ริ ค (Rubric Evaluation) เป น ขั้ น ตอนการประเมิ น ผล ความสําเร็จทางการเรียนของผูเรียน โดยใชเครื่องมือในการใหคะแนนแบบรูบริค ซึ่งประกอบดวยเกณฑดาน ตางๆ ที่ใชพิจารณาชิ้นงานหรือการปฏิบัติงาน 2.4 กระบวนการแบ ง ป น (Share) เป น ขั้ น ตอนสุ ด ท า ยจากการศึ ก ษาบทเรี ย นแล ว โดยทํ า การสลายกลุมผูเรียนที่จับคู โดยการจัดกิจกรรมมีลักษณะของการทํางานแบงออกเปน 2 สวน คือ การเรียน นอกหองเรียน (Out Class) และการเรียนในหองเรียน (In Class) มีรายละเอียดดังนี้ 2.4.1 การเรี ย นในห อ งเรี ย น (In Class) มี 1 ขั้ น ตอน คื อ การสรุ ป และอภิ ป รายผล (Summary and Discussion) เปนขั้นตอนสรุปผล การคนหาคําตอบรวมกันทั้งชั้น เพื่อแลกเปลี่ยนความรูและ ผลการคนพบจากการศึกษาในขั้นตอนที่ผานมา 2.4.2 การเรียนนอกหองเรียน (Out Class) มี 1 ขั้นตอน คือ การสะทอนตนเองของผูเรียน (Students’ Self-Reflection) การให ผู เ รี ย นแต ล ะคนได เ ขี ย นสะท อ นความคิ ด ที่ ไ ด จ ากการทํ า กิ จ กรรม การเรียนการสอนจากการทํากิจกรรมที่ผานมาผานเว็บบอรด โดยมีการกําหนดหัวขอดังนี้ 1. ผูเรียนไดเรียนรู อะไรและไดฝกฝนการทํางานในเรื่องอะไร 2. ผูเรียนมีวิธีการทําอยางไรใหเกิดความเชื่อมั่นในความสามารถของ ตนเอง และผูอื่นในการทํางานรวมกันใหประสบความสําเร็จ และ 3. ผูเรียนมีวิธีการอยางไรในการดําเนินงาน ใหสําเร็จตามเปาหมายที่ตั้งไว 3. ผลผลิต (Output) ประกอบดวย 3 องคประกอบ คือ 3.1 ทักษะการปฏิบัติ (Practical Skills) เปนการประเมินทักษะการปฏิบัติงานของผูเรียนแตละคู ในการเรียนดวยรูปแบบการเรียนรูที่พัฒนาขึ้น 3.2 ผลสั มฤทธิ์ ทางการเรี ย น (Learning Achievement) เปน การประเมิน ความรูของผู เ รี ย น ภายหลังจากการเรียนดวยรูปแบบการเรียนรูที่พัฒนาขึ้น 3.3 เจตคติ (Attitude) เป น การประเมิ น กิ จ นิ สั ย ในการทํ า งานระหว า งที่ เ รี ย นด ว ยรู ป แบบ การเรียนรูที่พัฒนาขึ้น เชน ความรับผิดชอบ ความสะอาด ความปลอดภัย เปนตน 4. การสะทอนผล (Feedback) การสะทอนผล (Feedback) คือ การใหผลยอนกลับแกผูเรียนทั้งการเรียนนอกหองเรียน (Out Class) จะทําการสะท อนผลหลั งจากที่ ไดเ รียนบทเรียนอีเลิรนนิงจบในแตล ะบทเรียนโดยสะทอนผลไปทางอีเ มล และการเรียนในหองเรียน (In Class) จะทําการสะทอนผลเมื่อประเมินการปฏิบัติงานของผูเรียนเพื่อใหผูเรียน ปรับปรุงแกไขและพัฒนาตนเองใหดียิ่งขึ้น ตอนที่ 2 ผลการประเมินรูปแบบการเรียนรูแบบหองเรียนกลับดานตามแผนการสอนฐานสมรรถนะ โดยใชบทเรียนอีเลิรนนิงรวมกับเทคนิคเพื่อนคูคิด โดยผูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 ทาน ผลการประเมินแสดงดัง ตารางที่ 1 CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

61


ตารางที่ 1 ผลการประเมินรูปแบบการเรียนรูที่พัฒนาขึ้น ลําดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9

รายละเอียดการประเมิน ความเหมาะสมของกรอบแนวคิดของรูปแบบการเรียนรูส อดคลองกับ วัตถุประสงคของงานวิจัย ความเหมาะสมของหลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่ใชเปนพื้นฐานใน การออกแบบรูปแบบการเรียนรู ความเหมาะสมของปจจัยนําเขา (Input) ความเหมาะสมของกระบวนการหองเรียนกลับดาน (Flipped Classroom Process) ความเหมาะสมของผลผลิต (Output) ความเหมาะสมของการสะทอน (Feedback) ความเหมาะสมของลําดับในการเรียนรูของรูปแบบที่พัฒนาขึ้น ความเหมาะสมของกระบวนการเรียนรูแบบหองเรียนกลับดานรวมกับ เทคนิคเพื่อนคูคิด ความเหมาะสมของการผสมผสานของสวนประกอบทั้งหมดใน การออกแบบรูปแบบการเรียนรูทพี่ ัฒนาขึ้น รวม

x�

ระดับความคิดเห็น S.D. ความหมาย

4.60

0.55

มากที่สุด

4.80

0.45

มากที่สุด

5.00

0.00

มากที่สุด

4.60

0.55

มากที่สุด

4.60 4.60 4.80

0.55 0.55 0.45

มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด

4.80

0.45

มากที่สุด

4.80

0.45

มากที่สุด

4.73

0.44

มากที่สุด

จากขอมูลในตารางที่ 1 พบวารูปแบบการเรียนรู FCTPC Model ในภาพรวมมีความเหมาะสมอยูใน ระดับมากที่สุด (x� = 4.73, S.D. = 0.44) เมื่อพิจารณาผลการประเมินเปนรายขอ พบวา ดานปจจัยนําเขา อยูในระดับมากที่สุด (x� = 5.00, S.D. = 0.00) รองลงมา คือ ดานหลักการ แนวคิด และทฤษฎีที่ใชเปนพื้นฐาน ในการออกแบบรูปแบบการเรียนรู ดานลําดับในการเรียนรูของรูปแบบที่พัฒนาขึ้น ดานกระบวนการเรียนรู แบบหองเรียนกลับดานรวมกับเทคนิคเพื่อนคูคิด ดานการผสมผสานของสวนประกอบทั้งหมดในการออกแบบ รูปแบบการเรียนรูที่พัฒนาขึ้นทั้งหมด อยูในระดับมากที่สุด (x� = 4.80, S.D. = 0.45) และดานกรอบแนวคิด ของรูปแบบการเรียนรูสอดคลองกับวัตถุประสงคของงานวิจัย ดานกระบวนการหองเรียนกลับดาน ดานผลผลิต ดานการสะทอน ทั้งหมดอยูในระดับมากที่สุด (x� = 4.60, S.D. = 0.55) สามารถนํารูปแบบที่พัฒนาขึ้นไปใช เปนตนแบบในการพัฒนาระบบการเรียนการสอนได อภิปรายผลวิจัย ผลจากการวิจัยครั้งนี้ แบงการอภิปรายออกเปน 2 ประเด็น ดังนี้ 1. การสังเคราะหรูปแบบการเรียนรูแบบหองเรียนกลับดานตามแผนการสอนฐานสมรรถนะโดยใช บทเรียนอีเลิรนนิงรวมกับเทคนิคเพื่อนคูคิด เรียกยอวา “FCTPC Model” แบงเปน 4 สวนไดแก สวนที่ 1 ปจจัยนําเขา ประกอบดวย 5 องคประกอบ สวนที่ 2 กระบวนการหองเรียนกลับดาน ประกอบดวย 4 กระบวนการ สวนที่ 3 ผลผลิต ประกอบดวย 3 องคประกอบ และสวนที่ 4 การสะทอนผล มี 1 องคประกอบ CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

62


2. ผลการประเมินความเหมาะสม จากผูเชี่ยวชาญ 5 ทาน ทําการประเมินรูปแบบการเรียนรูแบบหองเรียน กลับดานตามแผนการสอนฐานสมรรถนะโดยใชบทเรียนอีเลิรนนิงรวมกับเทคนิคเพื่อนคูคิด มีความเหมาะสม อยูในระดับมากที่สุด (x� = 4.73, S.D. = 0.44) เนื่องจากเปนการนําแนวคิดการเรียนรูแบบหองเรียนกลับดาน มาออกแบบการเรียนรูตามแผนการสอนฐานสมรรถนะที่ตองการใหผูเรียนมีเวลาในการทํากิจกรรมหรือฝก ปฏิบัติในชั้นเรียนเพิ่มมากขึ้น โดยใหผูเรียนศึกษาเนื้อหาบทเรียนดวยตนเองนอกชั้นเรียนจากสื่อการเรียนรูที่ ผูสอนจัดทําขึ้น และใชเวลาในชั้นเรียนฝกปฏิบัติ ฝกการแกปญหา เพื่อใหผูเรียนบรรลุผลตามสมรรถนะที่ กําหนดไว สอดคลองกับ สุรไกร นันทบุรมย (2560) การเรียนรูแบบหองเรียนกลับดานเปนการกลับกันระหวาง การเตรียมตัวของผูเรียนกอนเขาหองเรียน อาจใชสื่อการสอนไดหลายรูปแบบ การทํากิจกรรมในชั้นเรียน เปลี่ยนจากการบรรยายมาเปนกิจกรรมเพื่อสรางความรู ทักษะ คุณลักษณะของผูเรียนในเนื้อหานั้นๆ ได และ ชวยใหผูสอนคนพบและกําจัดความไมรู ไมเขาใจ หรือความเขาใจผิดพลาดของผูเรียนออกไปไดงายขึ้น และ สอดคลองกับ อุไรวรรณ ศรีไชยเลิศ และมนตชัย เทียนทอง (2561) ไดวิจัยเรื่องกรอบแนวคิดรูปแบบการเรียน การสอนแบบหองเรียนกลับดานดวยวิธีการเรียนแบบเพื่อนคูคิดรวมกับการเรียนแบบโครงงานเปนฐาน พบวา รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นนั้นผูเชี่ยวชาญใหการยอมรับรูปแบบที่สังเคราะหขึ้น สามารถนําไปใชได ตามเหมาะสม และไกยสิทธิ์ อภิระติง (2563) ไดวิจัยเรื่องรูปแบบการเรียนการสอนแบบหองเรียนกลับดาน ด ว ยการจั ด การเรี ย นรู เชิ งรุ กแบบรวมพลั ง โดยมีพี่เลี้ย งรวมกับ การเรีย นรูโดยใชโครงงานเปนฐาน พบวา รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมอยูในระดับมากที่สุด ขอเสนอแนะ 1. การนําผลการวิจัยของรูปแบบการเรียนรูที่พัฒนาขึ้น ไปใชงานควรมีการศึกษาโครงสรางพื้นฐาน ดานระบบเครือขายและการใชงานรวมกับอุปกรณคอมพิวเตอรตางๆ 2. สํ า หรั บ การวิ จั ย ครั้ งต อไป ควรนําเอาผลการ วิจัย ในครั้งนี้พัฒ นานวัตกรรมและทดลองใชกั บ กลุมทดลองเพื่อศึกษาผลที่เกิดขึ้นจากการใช FCTPC Model รายการอางอิง ไกยสิทธิ์ อภิระติง. (2563). รูปแบบการเรียนการสอนหองเรียนกลับดานดวยการจัดการเรียนรูเชิงรุกแบบรวม พลัง โดยมีพี่เลี้ยงรวมกับการเรียนรูโดยใชโครงงานเปนฐาน. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราช ภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ, 14(2), 28-42. มนตชัย เทียนทอง. (2551). เทคนิคการเรียนรูแบบรวมมือแบบ Mentor Coached Think-Pair-Share เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในการเรียนรูออนไลน. วารสารวิชาการพระจอมเกลาพระนครเหนือ, 18(1), 99-105. วิชัย วงษใหญ และ มารุต พัฒผล. (2562). การเรียนรูในโลก VUCA สู Social Quotient. กรุงเทพมหานคร: ศูนยผูนํานวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

63


วินัย เพ็งภิญโญ. (2560). การพัฒนารูปแบบระบบจัดการเรียนรูต ามแผนการสอนฐานสมรรถนะโดยใชปญหา เปนฐานที่มีสวนเสริมดวยกรณีศึกษา. วิทยานิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอรศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2563). การจัดการเรียนรูฐานสมรรถนะเชิงรุก. นนทบุรี: บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จํากัด. สิริพร อินทสนธิ์. (2563). โควิด-19 : กับการเรียนการสอนออนไลน กรณีศึกษา รายวิชาการเขียนโปรแกรม เว็บ. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน, 22(2), 203-214. สุภาวดี ลาภเจริญ. (2563). การศึกษาระบบ E-Learning เพื่อพัฒนาศักยภาพของผูเรียนในเขต กรุงเทพมหานคร สูมาตรฐานระดับสากล. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน มจร., 8(1), 295-307. สุรไกร นันทบุรมย. (2560). ความสัมพันธระหวางการเรียนรูแบบผสมผสานวิธีหองเรียนกลับดาน พื้นที่ การเรียนรู และการเรียนรูเชิงรุก. วารสารหองสมุด, 61(2), 45-63. อุไรวรรณ ศรีไชยเลิศ และ มนตชัย เทียนทอง. (2561). กรอบแนวคิดรูปแบบการเรียนการสอนแบบหองเรียน กลับดานดวยวิธีการเรียนแบบเพื่อนคูคิดรวมกับการเรียนแบบโครงงานเปนฐาน. วารสารครุศาสตร อุตสาหกรรม, 17(1), 13-21. Bergmann, J., & Sams, A. (2012). Why flipped classrooms are here to stay. Education Week, 45(2), 17-41. Muruganantham, G. (2015). Developing of E-content package by using ADDIE model. International Journal of Applied Research, 1(3), 52-54.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

64


การสังเคราะหเทคนิคการสอนสถิตสิ ําหรับนักศึกษาปริญญาเอก A SYNTHESIS OF TEACHING TECHNIQUES OF STATISTICS FOR DOCTORAL STUDENTS สุบิน ยุระรัช* บทคัดยอ การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค 2 ขอ คือ (1) เพื่อสังเคราะหงานวิจัยเกี่ยวกับเทคนิคการสอนสถิ ติ สําหรับนักศึกษาระดับปริญญาเอก และ (2) เพื่อนําเสนอแนวทางการสอนสถิติที่เหมาะสมสําหรับนักศึกษา ระดับปริญญาเอกที่วิชาเอกไมใชสถิติ ตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ บทความวิจัย จํานวน 6 เรื่อง นักศึกษาระดับ ปริญญาเอก จํานวน 6 คน และผูสอนวิชาสถิติในระดับปริญญาเอก จํานวน 3 คน เครื่องมือวิจัยมี 2 ฉบับ คือ แบบบันทึกขอมูล และแบบสัมภาษณเชิงลึก ผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเองในเดือนพฤษภาคมมิถุนายน 2565 และวิเคราะหขอมูลโดยใชการวิเคราะหเนื้อหา ผลการวิจัยพบวา (1) เทคนิคหรือวิธีที่นิยม นํามาใชสอนสถิติสําหรับนักศึกษาปริญญาเอก มีจํานวน 7 เทคนิค ไดแก การสอนโดยใชกระบวนการกลุม การสอนแบบเนนมโนทัศน การสอนแบบโครงงานรายบุคคล การฝกปฏิบัติการสอนโดยใชกรณีศึกษา/ตัวอยาง การใหขอมูลปอนกลับ/ปฏิสัมพันธ และการแลกเปลี่ยนเรียนรูแบบไมเปนทางการ (2) เทคนิคการสอนสถิติที่ เหมาะสมสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาเอกที่ไมไดเรียนเอกสถิติ คือ การสอนที่มุงเนนใหนักศึกษามีแนวคิด รวบยอดหรือมโนทัศนควบคูไปกับการฝกปฏิบัติ คําสําคัญ: การสังเคราะหงานวิจัย, เทคนิคการสอนสถิต,ิ นักศึกษาปริญญาเอก ABSTRACT The objective of this research was to synthesize research findings regarding on teaching techniques of statistics for doctoral students and to propose an appropriate approach to teaching statistics for doctoral students whose majors are not statistics. Samples consisted of six research articles, six doctoral students, and three Instructors of statistics at doctoral level. The two research instruments were a data record form and an in-depth interview form. Data was collected during May- June 2022 and content analysis was used to analyze the data. The major research findings were as follows: (1) popular teaching techniques of statistics for doctoral students comprise group discussion, Concept- Based Instruction, individualized project, practice, case studies/ examples, feedback/ interaction, and informal meetings, and ( 2) teaching statistics for the doctoral students whose majors are not statistics should focus on teaching concepts along with practice. KEYWORDS: Research Synthesis, Statistics Teaching Technique, Doctoral Students *

รองศาสตราจารย ดร. สุบิน ยุระรัช ศูนยสงเสริมและพัฒนางานวิจัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

65


บทนํา การจัดการเรียนการสอนวิชาสถิติขั้นสูงใหกับกลุมผูเรียนในหลักสูตรปริญญาเอก มีความแตกตางจาก การจัดการเรียนการสอนใหกับกลุมผูเรียนในหลักสูตรปริญญาโท และระดับปริญญาตรี (นงลักษณ วิรัชชัย, 2555) การสอนในระดับปริญญาตรีเนนการสอนวิเคราะหตัวแปรเดี่ยว (Univariate analysis) ที่ไมซับซอน มากนัก เชน สถิติเชิงบรรยาย (Descriptive statistics) และการฝกคิดคํานวณตามสูตรที่กําหนดใหเพื่อให นักศึกษาไดเรียนรูและไดทดลองทําดวยตนเอง เชน การวิเคราะหความถี่ (Frequency) คารอยละ (Percentage) การวั ด แนวโน ม เข า สู ส ว นกลาง (Measure of central tendency) อาทิ เ ช น ค า เฉลี่ ย เลขคณิ ต (Mean) ฐานนิยม (Mode) มัธยฐาน (Median) การวัดการกระจาย (Measure of dispersion) อาทิเชน พิสัย (Range) ส ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ค า เปอร เ ซ็ น ต ไ ทล (Percentile) คะแนนมาตรฐาน Z (Z-score) คะแนนมาตรฐาน T (T-score) เปนตน สวนการสอนในระดับปริญญาโทจะเนนสอนสถิติวิจัยที่เปน การวิเคราะหตัวแปรแบบทวิ (Bivariate analysis) และสถิติเชิงสรุปอางอิงหรือสถิติเชิงอนุมาน (Inferential statistics) เช น t-test, ANOVA, correlation analysis, simple and multiple regression analysis เป น ต น อยางไรก็ตาม ขณะที่การศึกษาในระดับปริญญาเอก นอกจากการวิเคราะหตัวแปรเดี่ยวและการวิเคราะห ตัวแปรแบบทวิ นักศึกษาระดับปริญญาเอกเกือบจะทุกสาขาวิชาในทางสังคมศาสตรยังตองเรียนสถิติขั้นสูง (Advanced statistics) ประเภทการวิเคราะหตัวแปรพหุ (Multivariate analysis) สถิติขั้นสูง นํามาใชสอนเฉพาะในกลุมผูเรียนหรือนักศึกษาระดับปริญญาเอกเทานั้น สวนใหญเปน หลั กสู ต รปริ ญ ญาเอกในกลุมสาขาวิ ชาทางสังคมศาสตร (Social Sciences) เชน สาขาทางพณิช ยศาสตร การบัญชี บริหารธุรกิจ รัฐประศาสนศาสตร การจัดการโลจิสติกสและซัพพลายเชน ศึกษาศาสตร/ครุศาสตร เปนตน สถิติขั้นสูงมีเนื้อหาที่คอนขางซับซอนและยากตอการทําความเขาใจ ดังนั้น ตัวแปรความแตกตาง ระหวางนักศึกษา ก็อาจเปนอีกสาเหตุที่สงผลทําใหการเรียนการสอนวิชาสถิติขั้นสูงไมไดคุณภาพอยางที่ควรจะเปน เชน พื้นความรูเดิม หรือสาขาวิชาที่จบในระดับปริญญาโท เปนตน และตัวแปรอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับการเรียน การสอน เช น เนื้ อ หาที่ ส อนไม เ หมาะสม (อุ ทุ ม พร จามรมาน, 2539) การสอนสู ต รที่ ยุ ง ยากซั บ ซ อ นใน การวิเคราะหตัวแปรเชิงพหุ (Multivariate analysis) ในกลุมผูเรียนที่ไมใชวิชาเอก การสอนที่ไมเนนผูเรียน เปนสําคัญ (Student-centered approach) ทําใหการสอนวิชาสถิติขาดประสิทธิผลและประสิทธิภาพ เปนตน งานวิจัยเรื่องนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยผูวิจัยออกแบบใหมีการสังเคราะห เอกสาร (Documentary synthesis) และการสัมภาษณเชิงลึก (In-depth Interview) โดยมีจุดมุงหมายสํ าคั ญ เพื่อสังเคราะหองคความรูจากงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับการสอนสถิติในกลุมผูเรียนปริญญาเอก ผลการสังเคราะห และการสัมภาษณจะทําใหไดแนวทางที่เหมาะสมสําหรับการสอนวิชาสถิติสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาเอก ตอไป ทั้งในกลุมผูเรียนปริญญาเอกที่อยูในสาขาวิชาที่เกี่ยวของกับสถิติโดยตรง และที่เรียนในสาขาวิชาที่ วิชาเอกไมใชสถิติ

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

66


วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อสังเคราะหงานวิจัยเกี่ยวกับเทคนิคการสอนสถิติสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาเอก 2. เพื่อนําเสนอแนวทางการสอนสถิติที่เหมาะสมสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาเอกที่วิชาเอกไมใชสถิติ วิธีดําเนินการวิจัย ตัวอยางที่ใชในการวิจัย ตัวอยางที่ใชในการวิจัยมี 2 สวน จําแนกตามวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล ดังนี้ 1. การสั งเคราะห เ อกสาร ตั ว อย า ง คือ บทความวิจัย จํานวน 6 เรื่อง ที่สืบ คน ไดจ ากฐานข อ มู ล วารสารวิ ช าการของศู น ย ดั ช นี ก ารอ า งอิ ง วารสารไทย (Thai-Journals Citation Index Center: TCI) (https://www.tci-thaijo.org) และฐานขอมูล และ Google Scholar (https://scholar.google.com) โดยใช คําคนวา “เทคนิคการสอนสถิติ/Teaching Technique of Statistics)” และ “ปริญญาเอก(Doctoral/Ph.D.)” ในช ว ง 10 ป ย อนหลั ง (พ.ศ. 2555-2565) โดยมีเกณฑในการคัดเลือก 2 ขอที่สําคัญ คือ (1) จะต องเปน บทความวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับเทคนิคการสอนสถิติเทานั้น และ (2) เปนงานวิจัยที่ศึกษาตัวอยางในกลุมผูเรียน เฉพาะในระดับปริญญาเอกเทานั้น ซึ่งผลการสืบคนพบวา ไดบทความวิจัยที่เกี่ยวของจํานวนนอยเพียงแค 6 เรื่อง 2. การสัมภาษณ ตัวอยาง คือ นักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวน 6 คน (นักศึกษาที่เรียนวิชาเอกทาง สถิติ จํานวน 3 คน และนักศึกษาที่ไมไดเรียนวิชาเอกสถิติ จํานวน 3 คน) และผูสอนวิชาสถิติในระดับปริญญาเอก จํานวน 3 คน ที่ไดมาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive selection) เครื่องมือวิจัย เครื่องมือวิจัย คือ แบบบันทึกขอมูล (Data record form) ที่ประกอบดวยหัวขอที่สําคัญ 3 หัวขอหลัก คือ (1) ผลการวิจัยโดยสรุป (2) เทคนิค/วิธี/แนวทางการสอนสถิติสําหรับนักศึกษาปริญญาเอก (3) กิจกรรมที่ นํามาใชสําหรับการสอนสถิติสําหรับนักศึกษาปริญญาเอก และแบบสัมภาษณเชิงลึก (In-depth interview form) การตรวจสอบคุณภาพของแบบสัมภาษณเชิงลึกใชเทคนิคการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) ดวยการวิเคราะหคา IOC (Index of Item-Objective Congruence) เพื่อประเมินความเหมาะสม ของคําถามสัมภาษณกับวัตถุประสงคที่ตองการวัด ผลการวิเคราะหพบวา ไดคา IOC อยูระหวาง 0.66-1.00 การเก็บรวบรวมขอมูล ผูวิจัยดําเนินการเก็บ รวบรวมข อมูลดว ยตนเองเปนระยะเวลา 2 เดือน (เดือนพฤษภาคมถึง เดื อน มิถุนายน 2565) โดยการวิจัยเอกสารจากฐานขอมูลที่กําหนดและการสัมภาษณเชิงลึกนักศึกษาระดับปริญญา เอก จํานวน 6 คน และผูสอนวิชาสถิติในระดับปริญญาเอก จํานวน 3 คน การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยดําเนินการวิเคราะหขอมูลโดยใชเทคนิคการวิเคราะหเนื้อหา (Content analysis)

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

67


สรุปผลการวิจัย 1. การสังเคราะหงานวิจัยเกี่ยวกับเทคนิค วิธี หรือแนวทางที่นํามาใชในการสอนวิชาสถิติสํ าหรับ นักศึกษาระดับปริญญาเอก ผูวิจัยศึกษาเอกสารที่เปนบทความวิจัยที่สืบคนไดจากฐานขอมูล TCI และ Google Scholar ผลการสืบคนพบบทความวิจัยที่เกี่ยวของจํานวน 6 เรื่อง สรุปไดในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ขอสรุปเชิงมโนทัศนจากบทความวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับเทคนิคการสอน วิธีการสอน หรือแนวทาง การสอนที่นํามาใชในการสอนวิชาสถิติสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาเอก เทคนิค/วิธี/แนวทางการสอน เทคนิคการสอนโดยใชกระบวนการกลุม

การสอนแบบเนนมโนทัศน (Concept-based instruction)

อางอิง ขอสรุปเชิงมโนทัศน พีรเทพ รุงคุณากร (2560) การสอนสถิติโดยกระบวนการกลุมชวยให สัมพันธภาพในตนเองและระหวางผูเรียนดีขึ้น และนักศึกษาเรียนรูส ถิติไดดีขึ้น สุบิน ยุระรัช (2556) การสอนแบบเนนมโนทัศนชวยใหนักศึกษา ระดับปริญญาเอกในกลุมผูเรียนที่วิชาเอก ไมใชสถิติมีผลการเรียนรูที่ดีขึ้นโดยเฉพาะใน เชิงความคิดรวบยอดหรือมโนทัศน Nicola (2020) ผูสอนสถิติควรมีความรู 2 ประการ คือ ความรูในเนื้อหา (Content knowledge) และความรูในศาสตรการสอน (Pedagogical knowledge for teaching)

1. การสังเกตและใหขอมูลปอนกลับ (Observation and feedback) 2. การใหคําแนะนําแบบเปนพี่เลี้ยง (Mentoring) 3. การฝกปฏิบัติ (Practice) 4. การแลกเปลี่ยนเรียนรูแบบไมเปนทางการ (Informal meetings/shared spaces) 1. การสอนแบบโครงงานรายบุคคล (Individualized McKim, Young & project) Weatherford (2019) 2. การสอนโดยการหารือ (Discussion) 3. กิจกรรมกลุมเล็ก (Small group activities) 4. การใช Video (กรณีสอนออนไลน) 1. การสอนโดยใชกรณีศึกษา (Case studies) Dazhi (2017) 2. การสอนโดยใชโครงงานยอย (mini project) 3. การฝกปฏิบัติจากตัวอยางและปญหาที่หลากหลาย (Practicing examples and problems) ใน รูปแบบการสอนโดยใชปญหาเปนฐาน (Problembased learning) 4. การสอนที่เนนปฏิสัมพันธ (Interaction) ระหวาง ผูสอนและผูเรียนแบบรายบุคคล เชน One-to-one phone call เปนตน 5. การสาธิตการสอนโดยใชวิดีโอ (Video demonstrations) และทรัพยากรภายนอกอื่นๆ ที่ หลากหลายที่สามารถสืบคนได 6. การออกแบบหลักสูตรใหเหมาะสมกับผูเรียน

การสอนสถิตินักศึกษาปริญญาเอกควรใช หลายเทคนิคแบบผสมผสาน เชน การใหทํา โครงงานรายคน การแลกเปลี่ยนเรียนรู การใชกิจกรรมกลุมเล็ก การใชวิดีโอ ประกอบการสอนแบบออนไลน เปนตน การสอนสถิติแบบออนไลนที่มีประสิทธิภาพ ตองอาศัยกลยุทธการสอนและการออกแบบ หลักสูตรที่เหมาะสม และใชเทคนิคการสอน หลายแบบควบคูกัน เชน การสอนโดยใช กรณีศึกษา การสอนโดยใชโครงงานยอย การฝกปฏิบัติจากตัวอยางและปญหาที่ หลากหลาย การสอนที่เนนปฏิสัมพันธ เปนตน

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

68


ตารางที่ 1 (ตอ) เทคนิค/วิธี/แนวทางการสอน 1. การสอนโดยใช eLearning tools 2. กิจกรรมกลุมบนฐานของ eLearning (eLearningbased class activities) 3. การใหตัวอยางการวิเคราะหขอมูลทางสถิติที่เปน รูปธรรม (Practical example)

อางอิง Adam, William, Methuen, and Natasha (2016)

ขอสรุปเชิงมโนทัศน การสอนแนวคิดหรือมโนทัศนในเชิงสถิติ (Statistical concepts) ควรใชเครื่องมือ ที่เปน eLearning มาชวยในการสอน และ การฝกวิเคราะหทางสถิติจากตัวอยางที่เปน รูปธรรม

จากการสังเคราะห บทความวิจัย ย อนหลัง 10 ป (พ.ศ. 2555-2565) ในตารางที่ 1 พบวา เทคนิค การสอน วิธีการสอน หรือแนวทางการสอนที่นํามาใชในการสอนวิชาสถิติสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาเอกมี ความหลากหลาย แตเมื่อนํามาสังเคราะหในสวนที่มีลักษณะคลายกันหรือรวมกัน (Common) พบวา มีจํานวน 7 เทคนิ ค/วิ ธี ที่ นิ ย มนํ า มาใช ประกอบด ว ย (1) การสอนโดยใช กระบวนการกลุ ม (2) การสอนแบบเน น มโนทัศน (Concept-based instruction) (3) การสอนแบบโครงงานรายบุคคล (Individualized project) (4) การฝกปฏิบัติ (Practice) (5) การสอนโดยใชกรณีศึกษา (Case studies)/ตัวอยาง (6) การใหขอมูลปอนกลับ (Feedback)/ปฏิ สั ม พั น ธ (Interaction) และ (7) การแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู แ บบไม เ ป น ทางการ (Informal meetings) (ดังแสดงในตารางที่ 2)

1. การสอนโดยใชกระบวนการกลุม 2. การสอนแบบเนนมโนทัศน (Concept-based instruction) 3. การสอนแบบโครงงานรายบุคคล (Individualized project) 4. การฝกปฏิบัติ (Practice) 5. การสอนโดยใชกรณีศึกษา (Case studies)/ตัวอยาง 6. การใหขอมูลปอนกลับ (Feedback)/ปฏิสัมพันธ (Interaction) 7. การแลกเปลี่ยนเรียนรูแบบไมเปนทางการ (Informal meetings) 8. การสอนโดยการหารือ (Discussion) 9. การสาธิต (Demonstrations) 10. การออกแบบหลักสูตรที่นาสนใจ 11. การสอนโดยใช eLearning tools

      

     

    

ความถี่

Adam, William, Methuen, and Natasha (2016)

Dazhi (2017)

McKim, Young, & Weatherford (2019)

Nicola (2020)

เทคนิค/วิธี

สุบิน ยุระรัช (2556)

พีรเทพ รุงคุณากร (2560)

ตารางที่ 2 ผลการสังเคราะหเทคนิคการสอน วิธีการสอน หรือแนวทางการสอนที่นิยมนํามาใชในการสอนวิชา สถิติสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาเอก

3 2 2 2 3 2 2 1 1 1 1

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

69


2. การสัมภาษณเชิงลึกนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวน 6 คน (นักศึกษาที่เรียนวิชาเอกทางสถิติ จํานวน 3 คน และนักศึกษาที่ไมไดเรียนวิชาเอกสถิติ จํานวน 3 คน) และผูสอนวิชาสถิติในระดับปริญญาเอก จํานวน 3 คน ทําไดใหขอมูลเชิงคุณภาพที่สะทอนแนวทางการสอนสถิติที่เหมาะสมสําหรับนักศึกษาระดับ ปริญญาเอกที่เรียนในสาขาวิชาที่วิชาเอกไมใชสถิติ และที่เรียนในสาขาวิชาที่เกี่ยวของกับสถิติโดยตรง ดังนี้ 2.1 ผลการสัมภาษณเชิงลึกนักศึกษาระดับปริญญาเอก จํานวน 6 คน ประกอบดวย นักศึกษาที่ เรียนวิชาเอกทางสถิติ จํานวน 3 คน และนักศึกษาที่ไมไดเรียนวิชาเอกสถิติ จํานวน 3 คน แสดงในตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ผลการสัมภาษณเชิงลึกเกี่ยวกับการเรียนการสอนวิชาสถิติ กลุมนักศึกษาปริญญาเอก 1. สาขาวิชาที่เกี่ยวของกับสถิติ โดยตรง เชน สถิติประยุกต สถิติการศึกษา การวัดและ ประเมินผลการศึกษา เปนตน

2. สาขาวิชาที่ไมเกี่ยวของกับ สถิติ เชน บริหารธุรกิจ การ จัดการโลจิสติกสและซัพ พลายเชน การตลาด รัฐ ประศาสนศาสตร เปนตน

ขอสรุปจากผลการสัมภาษณ 1. ดานเนื้อหาและโปรแกรมวิเคราะห ในดานเนื้อหาที่เรียน ควรมีความเขมขน เชิงลึก และมีความซับซอน ตั้งแตการเรียนรูที่มาของ สูตรการคํานวณ ผูคิดคน การนําไปใชในงานวิจัย และที่สําคัญตองสามารถสรางสูตรเองได ในดาน การใชโปรแกรมทางสถิติ ตองสามารถใชโปรแกรมวิเคราะหขอมูลทางสถิติไดหลายโปรแกรม โดยเฉพาะสถิติขั้นสูง 2. ดานการจัดการเรียนการสอน เนื่องจากเรียนสถิติเปนวิชาเอกและตองเรียนเชิงลึก ดังนั้น ใน 1 รายวิชาควรจะตองเนนสถิติที่ สําคัญๆ หนึ่งประเภท หรือบางประเภท ไมควรเรียนทุกประเภทในรายวิชาเดียว เพราะจะตอง เรียนเนื้อหาในเชิงลึกที่ตองอาศัยเวลาในการทําความเขาใจ “พอใจกับการเรีย นที่มาที่ไปของสูตรตางๆ เพื่อจะไดเขาใจวิธีคิดของ นั ก สถิ ติ แ ต ล ะท า น รวมถึ ง การนํ า สู ต รแต ล ะประเภทไปประยุ ก ต ใ ช เ พื่ อ แกปญหาโจทยตางๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิต ตลอดจนตองการที่จะสรางสูตรไดเอง ไมนอยไปกวาการเปนนักคณิตศาสตร” นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาสถิติประยุกต มหาวิทยาลัยของรัฐแหงหนึ่งในจังหวัดชลบุรี 1. ในดานเนื้อหาและโปรแกรมวิเคราะห ในดานเนื้อหาไมจําเปนตองเรียนรูสถิติในเชิงลึก ถึงที่มาที่ไปของสูตรการคํานวณ แตจะเนนให เขาใจมโนทัศนหรือความคิดรวบยอด (Concept) ของสถิติแตละประเภทเทานั้น เชน คืออะไร มีกี่ประเภท นําไปใชใ นโจทย วิจัย แบบใด เปนตน สวนในดา นโปรแกรมวิ เ คราะห ควรเรี ย น โปรแกรมยอดนิยมที่นักวิจัยนิยมนํามาใช เพื่อใหสามารถทําเปนและนําไปใชในวิจัยไดทันที 2. ดานการจัดการเรียนการสอน การสอนในแตละครั้งควรมีการจัดกิจกรรม 2 รูปแบบ คือ เมื่ออาจารยสอนมโนทัศนสําคัญ หรือความคิดรวบยอดของสถิติแตละประเภทแลว ก็ควรจะมีการฝกวิเคราะหทันทีโดยใชโปรแกรม ทางสถิติ เชน เมื่อสอนมโนทัศนวาโมเดลสมการโครงสรางคืออะไร มี่กี่ประเภท ศัพทเฉพาะที่ตอง เขาใจ และการวิเคราะหทําอยางไร ก็ใหนักศึกษาไดมีโอกาสฝกการใชโปรแกรมทันทีหลัง สอน เพื่อจะไดทําได และนําไปใชในงานวิจัยไดโดยที่ไมตองเขาใจสูตรมากนัก เปนตน “การสอนสถิติสําหรับในกลุมผูเรียนที่ไมไดมีวิชาเอกสถิติ ไมจําเปนตอง สอนสูตรที่ยุงยากซับซอน แตควรสอนใหเขาใจมโนทัศน (Concept) และ สามารถทําเปนโดยการวิเคราะหไดดวยโปรแกรมทางสถิติ (Practice) เทานี้ก็ นาจะพอเพียง การสอนลักษณะนี้เรียกวา CP” ผูสอนวิชาสถิติขั้นสูง หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยของรัฐแหงหนึ่งในจังหวัดกรุงเทพมหานคร

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

70


จากตารางที่ 3 ผลการสัมภาษณเชิงลึกนักศึกษาระดับปริญญาเอก และผูสอนวิชาสถิติในระดับ ปริญญาเอก ไดขอคนพบที่สําคัญ สรุปไดดังนี้ 2.1 การสอนวิชาสถิติในกลุมผูเรียนที่เปนนักศึกษาปริญญาเอกที่มีวิชาเอกทางดานสถิติหรือสาขา ที่ใกลเคียง เชน การวัดและประเมิน วิธีวิทยาทางสถิติ สถิติประยุกต เปนตน ควรเนนสอนวิชาสถิติขั้นสูง (Advanced statistics) ที่ออกแบบการสอนที่เนนใหผูเรียนเขาใจแนวคิดสําคัญตั้งแตที่มาของสูตร ขอตกลง เบื้องตน และการคิดคํานวณ ตลอดจนสามารถสรางสูตรไดดวยตนเอง และสามารถใชโปรแกรมวิเคราะหขอมูล ทางสถิติขั้นสูงได 2.2 การสอนวิชาสถิติในกลุมผูเรียนที่เปนนักศึกษาปริญญาเอกที่ไมไดมีวิชาเอกเกี่ยวของกับสถิติ โดยตรง เชน การบริหารการศึกษา บริหารธุรกิจ การจัดการ เปนตน ควรเนนสอนใหเขาใจแนวคิดรวบยอด หรือมโนทัศนสําคัญ (Core concept) ในสวนที่เปนสถิติเชิงอนุมานและสถิติขั้นสูงบางประเภทควบคู ไปกับ การฝกปฏิบัติ อภิปรายผลวิจัย 1. การสอนสถิติในกลุมผูเรียนหรือนักศึกษาระดับปริญญาเอกสามารถใชเทคนิค วิธี หรือแนวทาง การสอนที่หลากหลายไดในเชิงผสมผสาน (Hybrid teaching technique) ระหวางการสอนโดยใชกระบวนการ กลุ ม การสอนแบบเน น มโนทั ศ น (Concept-based instruction) การสอนแบบโครงงานรายบุ ค คล (Individualized project) การฝ กปฏิ บั ติ (Practice) การสอนโดยใชกรณีศึกษา (Case studies)/ตั ว อยาง การใหขอมูลปอนกลับ (Feedback)/ปฏิสัมพันธ (Interaction) และการแลกเปลี่ยนเรียนรูแบบไมเปนทางการ (Informal meetings) ขึ้นอยูกับวัตถุประสงคของแตละสาขาวิชา เชน บางสาขาวิชาอาจเนนใหมีกระบวนการกลุม บางสาขาวิชาอาจเนนใหทําโครงงานเปนรายบุคคล บางสาขาอาจเนนใหฝกปฏิบัติโดยใชโปรแกรมวิเคราะห ทางสถิติ บางสาขาอาจเนนใหศึกษาจากกรณีศึกษาตางๆ เปนตน อยางไรก็ตาม การทําวิทยานิพนธใหสําเร็จ ไมใชแคมีเรื่องสถิติเพียงอยางเดียว แตนักศึกษาปริญญาเอกตองใหความสําคัญกับปจจัยอื่นๆ ดวย เชน ความรู และความเขาใจในวิธีวิทยาการวิจัย (Research methodology) สอดคลองกับทัศนศิรินทร สวางบุญ และ รั ช นี ว รรณ ตั้ งภั กดี (2561) ได ทํา วิ จั ย ป จ จั ย ที่ส งผลต อ ความสํา เร็ จ ในการทาวิ ทยานิ พ นธ ข องนิสิ ต ระดั บ บัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม พบวา ปจจัยที่มีความสัมพันธกับความสําเร็จใน การทาวิทยานิพนธ คือ คุณลักษณะดานความรูและทักษะการทําวิจัย 2. การสอนวิ ช าสถิ ติในกลุ มผู เ รี ย นที่เปน นักศึกษาปริญ ญาเอกที่ไ มได มีวิช าเอกเกี่ย วข องกั บ สถิ ติ โดยตรง อาจไมจําเปนตองเนนสอนเฉพาะสถิติขั้นสูง หรือ Advanced statistics แตอาจมีสถิติเชิงอนุมานอื่นๆ รวมดวย เนื่องจากโจทยวิจัยในสาขาวิชาที่ไมไดเนนสถิติอาจมีความจําเปนตองใชสถิติอื่นๆ ที่ไมใชขั้นสูงใน การแสวงหาคําตอบ เชน t-test, ANOVA, correlation analysis, simple and multiple regression analysis เปนตน สอดคลองกับที่ อุทุมพร จามรมาน (2539) ไดกลาวไววา สาเหตุที่นักศึกษาปริญญาเอกไมประสบ ความสําเร็จในการใชสถิติในงานวิจัยอาจจะเปนเพราะพื้นความรูเดิมที่แตกตางกัน หรือสาขาวิชาที่จบในระดับ ปริญญาโท หรือเนื้อหาที่สอนไมเหมาะสม และยิ่งเปนการสอนสถิติขั้นสูง (Advanced statistics) โดยเฉพาะ CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

71


กับกลุมผูเรียนที่ไมใชสาขาวิชาสถิติ จะพบวาการเรียนรูสถิติไมใชเรื่องงาย เพราะสถิติมีเนื้อหาที่คอนขางยาก และอาจทําใหนักศึกษาเกิดความวิตกกังวล อยางไรก็ตาม ไมวาจะเปนการสอนสถิติโดยใชเทคนิคหรือวิธีการ สอนแบบใด ผูสอนสถิติในระดับปริญญาเอกก็ควรใหความสําคัญกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบเนน ผูเรียนเปนสําคัญ (Student-cantered approach) ตามที่ระบุไวในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 (กฤษณา คิดดี, 2547) นอกจากข อค น พบที่ ร ะบุ ว า การสอนวิช าสถิติในกลุมผูเรีย นที่เปน นักศึกษาปริญ ญาเอกที่ไ ม ไ ด มี วิชาเอกเกี่ยวของกับสถิติโดยตรง ควรเนนสอนใหเขาใจแนวคิดรวบยอดหรือมโนทัศนสําคัญควบคูไปกับการฝก ปฏิบัติ ประเด็นนี้คอนขางชัดเจนวา การสอนโดยใชเทคนิ คการสอนแบบเนน มโนทั ศน (Concept-Based Instruction) (Loertscher & Erickson, 2006; Erickson, 1998) ทําใหนักศึกษาเกิดผลการเรีย นรูไดดีขึ้น (สุ บิ น ยุ ร ะรั ช , 2556) ไม ว า อาจารย ผู ส อนจะใชเ ทคนิ ค การสอนแบบใด ก็ถือไดวาเปน เทคนิ ค การสอนที่ เหมาะสมกับการเรียนในระดับปริญญาเอก และเหมาะสมสําหรับกลุมผูเรียนที่ไมใชวิชาเอกสถิติ ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะในการนําผลวิจัยไปใช 1.1 การสอนวิชาสถิติสําหรับนักศึกษาปริญญาเอกที่เรียนในสาขาวิชาที่เกี่ยวของกับสถิติโดยตรง ควรเนนสอนสถิติขั้นสูง (Advanced Statistics) เชน สถิติในกลุมการวิเคราะหตัวแปรเชิงพหุ (Multivariate analysis) และเนนสอนในเชิงลึกตั้งแตที่มาของสูตร การคิดคํานวณ และการใชโปรแกรมวิเคราะหขอมูลทาง สถิติขั้นสูง 1.2 การสอนวิ ช าสถิ ติสํ า หรั บ นักศึกษาปริญ ญาเอกที่เรีย นในสาขาอื่น ๆ ที่ไมไดเกี่ย วกับ สถิ ติ โดยตรง ควรเนนสอนสถิติในกลุมการวิเคราะหตัวแปรทวิ (Bivariate analysis) และการวิเคราะหตัวแปรเชิงพหุ (Multivariate analysis) บางประเภทตามความจําเปน และเนนสอนในเชิงความคิดรวบยอดหรือมโนทั ศน สําคัญควบคูไปการฝกปฏิบัติการใชโปรแกรมวิเคราะหขอมูลทางสถิติ 2. ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 2.1 ควรมีการศึกษาทดลองใชเทคนิคการสอนหลายๆ ประเภทในการสอนวิชาสถิติในกลุมผูเรียน ปริญญาเอกทั้งที่เรียนในสาขาวิชาที่เกี่ยวของกับสถิติโดยตรง และในกลุมผูเรียนปริญญาเอกในสาขาวิชาอื่นๆ ใหครอบคลุมสาขาวิชาทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคมศาสตร และมนุษยศาสตรบางสาขา เพื่อยกระดับ ผลการเรียนรู (Learning outcome) ในวิชาสถิติ ตลอดจนการสรางเจตคติที่ดีตอการเรียนวิชาสถิติในระดับ ปริญญาเอก 2.2 ควรมีการศึกษาในเชิงเปรียบเทียบการใชโปรแกรมหลายๆ ประเภท ที่นํามาใชวิเคราะหทาง สถิติเพื่อประเมินประสิทธิผลและประสิทธิภาพของโปรแกรมทางสถิติ เนื่องจากการวิเคราะหสถิติประเภท เดียวกันสามารถทําไดในหลายโปรแกรม เชน โมเดลสมการโครงสราง (Structural Equation Model: SEM) สามารถวิเคราะหไดทั้งโปรแกรม LISREL, AMOS, Mplus, Smart PLS, ADANCO เปนตน

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

72


รายการอางอิง กฤษณา คิดดี. (2547). การพัฒนารูปแบบการประเมินการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวัดและประเมินผลารศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ทัศนศิรินทร สวางบุญ และรัชนีวรรณ ตั้งภักดี. (2561). ปจจัยที่สงผลตอความสาเร็จในการทาวิทยานิพนธของ นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ, 12(1), 50-60. นงลักษณ วิรัชชัย. (2555). สถิติขั้นสูง (Advanced Statistics). วารสารวิจัยและประเมินผล คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 1(1), 1-10. พีรเทพ รุงคุณากร. (2560). ผลของเทคนิคการสอนแบบวิธีกระบวนการกลุมตอสัมพันธภาพและการเรียนรู ของนักศึกษามหาวิทยาลัย. วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 15(2), 53-60. สุบิน ยุระรัช. (2556). ผลของวิธีการสอนแบบเนนมโนทัศนที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา EDA713 สถิติขั้นสูงสําหรับการวิจัยทางการบริหารการศึกษา. หนังสือประมวลบทความการประชุมวิชาการ ระดับชาติ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ครั้งที่ 8 ประจําป 2556, วันที่ 24 ธันวาคม 2556 ณ มหาวิทยาลัย ศรีปทุม, 419-428. อุทุมพร จามรมาน. (2539). การสอนวิชาสถิติการศึกษา. วารสารวิจัยสังคมศาสตร, มิถุนายน 2539, 7-8. Adam, J. R., William, L. C., Methuen, I. M. and Natasha, M. L. (2016). Teaching Research Methods and Statistics in eLearning Environments: Pedagogy, Practical Examples, and Possible Futures. Frontiers in Psychology, 7(339), 1-11. Dazhi, Y. (2017). Instructional strategies and course design for teaching statistics online: perspectives from online students. International Journal of STEM Education, 4(34), 1-15. https://doi.10.1186/s40594-017-0096-x Erickson, H.L. (1998). Concept-based curriculum and instruction. Calif: Corwin Press Inc. Loertscher, D. and Erickson, H.L. (2006). Concept-based curriculum and instruction for the thinking classroom. Teacher Librarian, 34(2), 45. McKim, C., Young, S. & Weatherford, J. (2019). Strategies for teaching graduate statistics courses: A qualitative study. Educational Research: Theory and Practice, 30(1), 19-22. Nicola, J. (2020). Preparing Graduate Students to Teach Statistics: A Review of Research and Ten Practical Recommendations. Journal of Statistics Education, 28(3), 334–343. https://doi.org/10.1080/10691898.2020.1841590

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

73


STUDYING THE ELEMENTS OF MICRO-LEARNING AND CHAT-BOT FOR TEACHING IN THE NEW ERA Dulyarak Chumdoem 1, Surapon Boonlue 2 ABSTRACT Nowadays, digital technology has been applied to improve more learning. In addition, the social and behavior context of learners have changed. The learning style must be developed to keep up with the needs of the learners, such as the micro- learning model. To meet the needs of students who are interested in short, concise content that can be learned anywhere, anytime, including learning materials such as chat- bot, which are computer systems that can respond automatically. That can respond to the needs of learners quickly, anytime, anywhere, in order to raise the level of learning to be diverse, it sparks interest in learners that will stimulate their desire to learn even more. However, the application of chat-bot for Micro-learning is also educational and informative. In this article, we present a systematic review of micro-learning and chat- bot compiled from literature reviews, textbooks, and related research articles. We conducted a preliminary analysis of 37 publications to perform this literature review, which allowed us to identify 20 relevant publications for micro- learning and chat- bot. This study aims to 1) study Micro-learning and chat-bot for teaching in the new era and 2) to develop a guideline for developing a learning model of Micro- learning and chat- bot for learners. The results showed that the components of Micro-learning were as follows: 1) Vibration learning concise learning content can enhance learners' learning as well. and has lesson content that focuses on building skills 2) It should be in a digital learning format ( Multi- platform) and 3) access to learning anywhere, anytime. Following on from the study of data on chat-bot in the main context: 1) Software applications used to have natural conversations with humans. 2) It is displayed on a basis through text, graphics, and speech. 3) Work on digital devices. KEYWORDS: Micro-learning, Chat-bot, Teaching, Online Learning, E-learning 1

2

Dulyarak Chumdoem Learning innovation and technology / Faculty of Industrial Education and Technology / King Mongkut's University of Technology Thonburi Bangkok, Thailand / dulyarak.chum@kmutt.ac.th Assoc. Prof. Surapon Boonlue, Ph.D. Learning innovation and technology / Faculty of Industrial Education and Technology / King Mongkut's University of Technology Thonburi Bangkok, Thailand / surapon.boo@kmutt.ac.th CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

74


Introduction The present teaching and learning management has adopted information technology. Computer technology and communication technology play a role in media development. Teaching and learning are applied in education to increase efficiency and increase educational opportunities, especially Micro-learning, which is a shaky learning model that is being acquired and micro- learning is often completed in a short 10- minute period that is accessible on multiple devices ( Shail, 2019) . A Micro- learning is used to build effective learning skills, and characterized by a skill- building approach to learning in which information is needed to be learned. Additionally, Hug ( 2 0 1 0 ) has focused on using mobile devices to create a microlearning environment for a number of reasons, and one compelling reason is that learners have a relatively short focus on content. It is therefore an interesting point that micro learning should use concise, short, and easy-to-understand content. The devices are micro-platforms that allow learners to learn physically and socially. In the era of modern technology, chat-bot is the next big thing in chat services. A Chat-bot is a virtual individual who can effectively talk to any human using interactive text and chat skills. The bot also provides a better learning experience at a lower cost and generally people like to read, like to know, and are interested in using Facebook, and Line and their usage behavior is quite consistent and daily life. Therefore, the expansion of learning opportunities in the form of micro-learning should be promoted through chat-bot. Therefore, to meet the era of modern technology and the needs of learners who are interested in short, concise content that can be learned anywhere, anytime, including learning materials such as chat- bot that can respond automatically and can answer meet the needs of learners quickly, anytime, anywhere to enhance learning to be diverse. Ignite interest in learners that will stimulate learners' desire to learn more. However, the application of chat-bot for Micro- learning is still insufficiently studied and informational. This document provides an overview of chat- bot technology and the micro- learning model is a vibrating learning style. To study the elements of Micro-learning and chat-bot for teaching in the new era. Research Objectives There are 2 objectives as follows: (1) To study Micro-learning and chat-bot for teaching in the new era. (2) To develop a guideline for developing a learning model for learning, learning like Micro-learning and chat-bot. CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

75


Literature Review Micro Learning Micro- learning is learning during vibration. Concise learning content can enhance learners' learning well, and lesson content focuses on skill- building ( Zhang, 2019) . Learn to acquire skills or solve problems within a short period of time. should be digital skill-based and personalized, and teaching should be in a context where learners can apply skills immediately to their work by micro- learning in a learning context ( Khlaif, 2021) . The purpose of the application is to learn content that is usually completed in a short time ( approximately 15 seconds) with a focus on building creative skills and knowledge across a wide range of disciplines with the development of skills and new knowledge. This is because most teachers have access to a wide range of teaching- learning apps by modernizing, their learning styles making it more accessible to disseminating knowledge and the use of Micro-learning does not require booking specific learning times. Involve our daily lives through social media and corporate intranets on smartphones, computers, and tablets. Micro-learning is little more than just-in-time learning as a rich medium for a variety of mobile devices, can facilitate workplace knowledge acquisition by engaging and motivating employees to communicate and apply what they have learned ( Emerson, 2018) by means of developing micro- learning content. To replace the existing e- learning and provide customized content taking into account the learner's learning time and environment, and the advantages of micro- learning should be on a low budget (Park, 2018), (Redondo, 2020) and micro-learning should be small-sized content with an emphasis on relevant information only. It is presented using short elements and using interactive and visual content. This results in lower dropout rates and better student responsiveness, being able to learn anywhere, anytime, and can reduce costs by 50%. Content should be a sequence of modules. To be easy to understand and most importantly fit to acquire basic skills and concepts. It features micro- learning as a multi- platform educational teaching tool that can be used to educate a large number of users. It can facilitate the movement of learned material from short-term memory to long-term memory. (Shail, 2019) A micro-learning concept based on the mobile web learning. Leading to a modern education system mini content is a small and informal learning object. But to increase the knowledge that was fed study identifies the gap between electronics and micro-learning. Although more emphasis is placed on electronic learning systems ( Jomah, 2016) , according to ( Mohammed et al., 2018), micro-learning can greatly improve students' learning abilities. Compared to the

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

76


traditional method students are excited about learning and motivated to acquire additional knowledge during lessons and micro-teaching helps their long-term memory. According to a study by Chai-Arayalert (2020), Digital micro-learning technology can be used to raise awareness and support self- learning strategies outside the classroom and lead to lifelong learning with technology. Innovative learning styles and relevant content can change the learning process to suit the behavior of the target learners. Today, youth's behaviors and interests change with advancements in technology. This affects the learning efficiency of youth, ( Redondo, 2021) . From the integration of Micro- learning with traditional distance learning platforms. This blended approach combines the advantages of microlearning, enabling small-scale recommendations. Not only for general knowledge but also for enhancing more complex skill acquisition skills. Learners enjoy interesting content and commas, to allow both learners and teachers to play a greater role in the process of creating and learning. Chat-bot Chat- bot is now very popular in large applications, especially in systems that provide intelligent support to users. Chat-bot is a program that simulates human conversations using artificial intelligence, designed to be the ultimate virtual assistant for entertainment purposes. Helping various workers and answering questions anytime and anywhere at low cost (Ranoliya et al. , 2017) , Dahiya ( 2017) Today, chat- bot are great tools for quick user interaction. They help us by providing entertainment, save time and answer difficult questions, and the chatbot need to be simple and conversant. The general purpose of a chat-bot is to be simple, userfriendly, easy to understand, and a compact knowledge base. (Rahman et al., 2017) Any human can effectively use interactive text skills and chat- bot to help increase business efficiency by providing a better experience at a lower cost, and more importantly, they should have the ability to scale their data. (Topal, A. D., 2021). Working with artificial intelligence will positively influence the learning experience and work on digital devices. (Adamopoulou & Moussiades, 2020). By its nature, chat-bot are powerful messaging apps and capable data collection tools with the development of artificial intelligence and machine learning and can communicate with people without some people who may not understand that they are talking to chat-bot or agents in real life. According to Wollny et al. ( 2021) , interactive systems are technologies that have the potential to improve work and everyday life, able to interact with computers using natural CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

77


human language with a domain of knowledge and responsiveness ( Lokman, & Ameedeen, 2018) . Text processing and learning models, with promising and efficient technology, use algorithms and engage in activities with higher levels of cognition such as analysis, assessment, and building. (Yin et al., 2021), (Abbasi & Kazi, 2014). Computer artifacts and data collected can be measured and evaluated in a database. To learn and improve the chat-bot system to develop further. A distinctive feature of a chat- bot is a system that can interpret user questions and provide accurate answers quickly and accurately. Especially large in systems that provide intelligent support to users in reality to expedite assistance in many cases. (Colace et al., 2018) Research Framework Micro-Learning concept 1. Learning during oscillations 2. Shortening the content 3. Enhancing learning efficiency

Teaching in the new era with micro learning and chat bot

Chat-bot tool 1. User interaction 2. Artificial intelligence 3. Satisfy satisfaction

The authors have determined the scope for review of relevant literature, textbooks, and related research articles under the concepts of micro learning and chat- bot, affecting teaching in the new era with micro learning and chat-bot. Research Methodology Research Design To define the scope of chat- bot and micro- learning in the study, initial findings were compiled by reviewing the literature, textbooks, and related research articles from Google Scholar, Scimagojr, and Science-direct sources. It is a search for data dating back no more than ten years. One major takeaway is the emerging field of chat-bot and education. Micro-learning has seen a lot of activity over the past ten years. Analyze the data using content analysis methods. CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

78


D e s ig n e d to h e lp le a r n e r s a c q u ir e s k ills

4

D e s ig n e d to h e lp le a r n e r s g a in c o m p e te n c e

5

H a ve a s hort a s s e s s m e nt

6

In c r e a s e le a r n in g e ffic ie n c y

7

W o r k e ffic ie n tly

8

T r a n s m is s io n to le a r n e r s w ith o u t h u m a n in te r a c tio n

9

F a c ilita tin g w o r k

1 0 H a v e s h o r t c o n te n t ( M ic r o C o n te n t) 1 1 M u lti- p la tfo r m

  

     

1 4 C a n le a r n a n y w h e r e , a n y tim e

 

  

 

  

F re q u e n c y

 

Z u h e ir N K h la if, 2 0 2 1 , U s in g T ik T o k in E d u c a tio n : A F o r m o f M ic r o - le a r n in g o r N a n o - le a r n in g

10 8 5 3

 

3

10 1 2 1

 

1 2 L o n g te r m m e m o r y 1 3 L e a r n in g s u b je c ts e a s y to u n d e r s ta n d

 

   

R e b e c a P . D í a z R e d o n d o , 2 0 2 0 , A d v a n c e d p r a c tic e s : m ic r o le a r n in g , p r a c tic e o r ie n te d te a c h in g a n d g a m ifie d le a r n in g

 

R e b e c a P . D ´ ı a z R e d o n d o , 2 0 2 1 , I n te g r a tin g m ic r o le a r n in g c o n te n t in tr a d itio n a l e - le a r n in g p la tfo r m s

 

O m e r J o m a h , 2 0 1 6 , M ic r o L e a r n in g : A M o d e r n iz e d E d u c a tio n S y s te m

 

S u p a p o r n C h a i- A r a y a le r t, 2 0 2 0 , D e s ig n in g M a n g r o v e E c o lo g y S e lf- L e a r n in g A p p lic a tio n B a s e d o n a M ic r o L e a r n in g A p p r o a c h

3

     

M o h a m m e d , G . S . , W a k il, K . , & N a w r o ly , S . S . , 2 0 1 8 , T h e E ffe c tiv e n e s s o f M ic r o le a r n in g to I m p r o v e S tu d e n ts ’ L e a r n in g A b ility

S h o u ld b e d ig ita l

M r ig a n k S . S h a il, 2 0 1 9 , U s in g M ic r o - le a r n in g o n M o b ile A p p lic a tio n s to I n c r e a s e K n o w le d g e R e te n tio n a n d W o r k P e r fo r m a n c e : A R e v ie w o f L ite r a tu r e

L e a r n in a s h o r t tim e

2

Y a s u n g P a r k , 2 0 1 8 , A D e s ig n a n d D e v e lo p m e n t o f m ic r o - L e a r n in g C o n te n t in e - L e a r n in g S y s te m

1

L y n n C . E m e r s o n , 2 0 1 8 , M ic r o le a r n in g : K n o w le d g e m a n a g e m e n t a p p lic a tio n s a n d c o m p e te n c y - b a s e d tr a in in g in th e w o r k p la c e

M ic r o L e a r n in g

J ia h u i Z h a n g , 2 0 1 9 , D e s ig n in g M ic r o le a r n in g I n s tr u c tio n fo r P r o fe s s io n a l D e v e lo p m e n t T h r o u g h a C o m p e te n c y B a s e d A p p r o a c h

Data Analysis From the data synthesized by literature reviews on Micro- learning and chat- bot compiled from literature reviews, textbooks, and related research articles from Google Scholar, Scimagojr, and Science- direct sources, which is a search for no more than ten years' history. We conducted a preliminary analysis of 37 publications to perform this literature review, which allowed us to identify 20 relevant publications for micro-learning and chat-bot for teaching in the new era.

1 5 W o r k in g r o le s w ith le a r n e r s a n d te a c h e r s 1 6 C o n n e c t w ith o th e r a p p s , jo in c h a tb o ts . 1 7 L e a r n in g c o s ts a r e e s tim a te d to d r o p

   

  

 

 

10 5 2

 

  

   

5 5 2 2 1

From the table, the results of the study revealed that the components of micro-learning are as follows: 1) learning during oscillations 2) shortening the content, and 3) enhancing learning efficiency, and having a secondary component that can be combined with 1) content that is easy to understand. 2) It is designed to help learners acquire skills and 3) they can learn anytime, anywhere.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

79


4

U s e r fri e n d ly c o m m u n i c a ti o n

5

T h e k n o w le d g e b a s e m u s t b e c o m p a c t.

6

S e a rc h te rm s i n n a tu ra l la n g u a g e

7

H a ve a vi rtu a l p e rs o n a

8

D e li ve ri n g a B e tte r E x p e ri e n c e a t a L o w C o s t

9

a rti fi c i a l i n te lli g e n c e c o n c e p t

1 0 H e lp a n d a n s w e r q u e s ti o n s

      

     

1 4 P la tfo rm

      

1 6 T e x t p ro c e s s i n g a n d le a rn i n g m o d e ls

 

 

F requenc y

L ok m a n , A . S ., & A m e e de e n , M . A . ( 2 0 1 8 , N o v e m b e r ) . M o d e r n c h a tb o t s y s te m s : A te c h n ic a l r e v ie w

 

10 5

1 8 P o s i ti ve ly a ffe c ts th e le a rn i n g e x p e ri e n c e

  

 

 

 

5

  

4 9 7 2

1 5 C re a ti n g u s e r re s p o n s e s 1 7 It's a d i g i ta l to o l.

1 2 D a ta c o lle c ti o n to o ls

1

1 1 S a ti s fy s a ti s fa c ti o n 1 3 It's te x t, i m a g e s , vi d e o s , a n d li n k s .

A d a m o p o u lo u , E . , & M o u s s ia d e s , L . ( 2 0 2 0 , J u n e ) . A n o v e r v ie w o f c h a tb o t te c h n o lo g y

R a h m a n , A . M . , A l M a m u n , A . , & I s la m , A . ( 2 0 1 7 , D e c e m b e r ) . P r o g r a m m in g c h a lle n g e s o f c h a tb o t: C u r r e n t a n d fu tu r e p r o s p e c tiv e

R a n o liy a , B . R . , R a g h u w a n s h i, N . , & S in g h , S . ( 2 0 1 7 , S e p te m b e r ) . C h a tb o t fo r u n iv e r s ity r e la te d F A Q s

 

A b b a s i, S . , & K a z i, H . ( 2 0 1 4 ) . M e a s u r in g e ffe c tiv e n e s s o f le a r n in g c h a tb o t s y s te m s o n s tu d e n t’s le a r n in g o u tc o m e a n d m e m o r y

S a ve ti m e a n d R e d u c e ti m e

Y in , J . , G o h , T . T . , Y a n g , B . , & X ia o b in , Y . ( 2 0 2 1 ) . C o n v e r s a tio n te c h n o lo g y w ith m ic r o le a r n in g : T h e im p a c t o f c h a tb o t- b a s e d le a r n in g

3

     

D e v e c i T o p a l, A . , D ile k E r e n , C . , & K o lb u r a n G e ç e r , A . ( 2 0 2 1 ) . C h a tb o t a p p lic a tio n in a 5 th g r a d e s c ie n c e c o u r s e

E asy access

W o lln y , S . , S c h n e id e r , J . , D i M itr i, D . , W e id lic h , J . , R ittb e r g e r , M . , & D r a c h s le r , H . ( 2 0 2 1 ) . A r e w e th e r e y e t? - A s y s te m a tic lite r a tu r e r e v ie w o n

F a s t u s e r i n te ra c ti o n

2

C o la c e , F . , D e S a n to , M . , L o m b a r d i, M . , P a s c a le , F . , P ie tr o s a n to , A . , & L e m m a , S . ( 2 0 1 8 ) . C h a tb o t fo r e - le a r n in g : A c a s e o f s tu d y

1

D a h iy a , M . ( 2 0 1 7 ) . A to o l o f c o n v e r s a tio n : C h a tb o t

C h a t-b o t

   

 

 

 

  

 

9 10 2 2

10 1

   

 

  

3 2

10 2

Subsequently, the results of the study revealed that the composition of the chat- bot are as follows: 1) a software application that is used to naturally interact with humans, 2) It is displayed on a basis through text, graphics, and speech, and 3) runs on digital devices. There are secondary components that can be used in conjunction with the parent component: 1) the concept of artificial intelligence or AI, 2) natural language queries, and 3) User friendly. Research Findings The learning of the micro- learning model through the chat- bot program has divided into 2 parts: the development approach of the chat-bot program and the design of the microlearning model. A chat- bot program is a program that talk to humans naturally with text communication. Images and audio or video that can be run on any digital device have an AI concept capable of searching for words and answering questions with precision, a microlearning model with oscillating time learning. The content taught must be concise, not too long, can be easily understood, maximize learning efficiency, and can learn anywhere, anytime. CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

80


In addition to the main factors from the literature review, the researcher also sees secondary factors as a common guideline for the development of chat- bot and the design of microlearning models based on the capabilities of external chat- bot. From being able to speak to humans naturally to being able to extract information from the naturally communicative language from the questioner and being user-friendly, a micro-learning model with oscillating time learning because micro-learning focuses on short-term learning content but is also easy to understand and aims at building learners' skills. Discussion Based on data synthesized from literature reviews on Micro-learning and chat-bot as a means of study. The results of the study found that the components of Micro-learning are as follows: 1) Vibration Learning Concise learning content can enhance learners' learning as well and has lesson content that focuses on building skills. 2) It should be in a digital learning format (Multi-platform) and 3) access for learning anywhere and anytime. It is the same as the research (Redondo, 2021) that integrates micro-learning with the platform using micro-content that can enhance learners' learning and acquire basic skills and concepts. Similar to the research ( Shail, 2019; Mohammed et al. , 2018) . Micro- learning has a multi- platform model that can be used to educate a large number of learners with a focus on shaky learning content but can learn to short- term memory to long- term memory can be built and developing smaller exercises, learners can stop and resume small lessons at any time. Subsequently, the study of data on chat- bot in the main context was 1) a software application used to communicate naturally with humans, 2) based on text, graphics, or speech, and 3) able to run on a digital device. It is the same as the research ( Rahman et al. , 2017; Adamopoulou & Moussiades, 2020) . Chat- bot uses artificial intelligence ( AI) to process natural human interactions to help users can interact through text, images, and links. Similar to the research (Dahiya, 2017; Ranoliya et al., 2017; Lokman & Ameedeen, 2018; Colace et al., 2018). Chatbot provides a support context for answering questions and providing quick user interactions. In their review of the chat- bot, the researchers pointed out that what should be considered in the development of a chat-bot is the response to user satisfaction with the chat-bot. The results of this study lead to a deeper understanding of chat- bots as a micro- learning model for modern teaching and learning. It will also contribute to the development of future models of micro- learning through chat- bots and prepare them for the digital world with a new and more modern learning environment. CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

81


Suggestion The next step of this research will be to explore in detail the chat- bot platform as a micro- learning model. To develop a guideline for developing a micro- learning model with chat- bot for teaching in the new era. It will also be interesting to examine the level of intelligence and functionality of the current chat- bot. Some of the ethical issues associated with chat-bot are worth studying. References Abbasi, S. & Kazi, H. (2014). Measuring effectiveness of learning chatbot systems on student’s learning outcome and memory retention. Asian Journal of Applied Science and Engineering, 3(2), 251-260. Adamopoulou, E. & Moussiades, L. (2020, June). An overview of chatbot technology. In IFIP International Conference on Artificial Intelligence Applications and Innovations (pp. 373-383). Springer, Cham. Cattel, R., Eber, H. & Tatsuoka, M. (1970). Handbook for the sixteen personality questionaire (16PF). IL: Institute for Personality and Ability Testing. Chai-Arayalert, S. & Puttinaovarat, S. (2020). Designing mangrove ecology self-learning application based on a micro-learning approach. International Journal of Emerging Technologies in Learning (iJET), 15(11), 29-41. Colace, F., De Santo, M., Lombardi, M., Pascale, F., Pietrosanto, A. & Lemma, S. (2018). Chatbot for e-learning: A case of study. International Journal of Mechanical Engineering and Robotics Research, 7(5), 528-533. Dahiya, M. (2017). A tool of conversation: Chatbot. International Journal of Computer Sciences and Engineering, 5(5), 158-161. Emerson, L. C., & Berge, Z. L. (2018). Microlearning: Knowledge management applications and competency-based training in the workplace. UMBC Faculty Collection. Hug, T. (2010). Mobile Learning as ’Micro-learning’. [Online]. Available from: https://pdfs.semanticscholar.org/d0b4/43a89edb918272b90bf27a0cc8594fbf3529.pdf? _ga=2.168889249.1043721493.1612098016-1072340330.1611922854 Jomah, O., Masoud, A. K., Kishore, X. P., & Aurelia, S. (2016). Micro learning: A modernized education system. BRAIN. Broad Research in Artificial Intelligence and Neuroscience, 7(1), 103-110.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

82


Khlaif, Z. N. & Salha, S. (2021). Using TikTok in Education: A Form of Micro-learning or Nano-learning?. Interdisciplinary Journal of Virtual Learning in Medical Sciences, 12(3), 213-218. Lokman, A. S. & Ameedeen, M. A. (2018, November). Modern chatbot systems: A technical review. In Proceedings of the future technologies conference (pp. 1012-1023). Springer, Cham. Mohammed, G. S., Wakil, K., & Nawroly, S. S. (2018). The effectiveness of microlearning to improve students’ learning ability. International Journal of Educational Research Review, 3(3), 32-38. Park, Y. & Kim, Y. (2018). A design and Development of micro-Learning Content in e-Learning System. International Journal on Advanced Science, Engineering and Information Technology, 8(1), 56-61. Rahman, A. M., Al Mamun, A. & Islam, A. (2017, December). Programming challenges of chatbot: Current and future prospective. In 2017 IEEE Region 10 Humanitarian Technology Conference (R10-HTC) (pp. 75-78). IEEE. Ranoliya, B. R., Raghuwanshi, N. & Singh, S. (2017, September). Chatbot for university related FAQs. In 2017 International Conference on Advances in Computing, Communications and Informatics (ICACCI) (pp. 1525-1530). IEEE. Redondo, R. P. D., Ktena, A., Kunicina, N., Zabasta, A., Patlins, A. & Mele, D. E. (2020, November). Advanced practices: micro learning, practice oriented teaching and gamified learning. In 2020 IEEE 61th International Scientific Conference on Power and Electrical Engineering of Riga Technical University (RTUCON) (pp. 1-7). IEEE. Redondo, R. P. D., Rodríguez, M. C., Escobar, J. J. L. & Vilas, A. F. (2021). Integrating microlearning content in traditional e-learning platforms. Multimedia Tools and Applications, 80(2), 3121-3151. Shail, M. S. (2019). Using micro-learning on mobile applications to increase knowledge retention and work performance: a review of literature. Cureus, 11(8). Topal, A. D., Eren, C. D. & Geçer, A. K. (2021). Chatbot application in a 5th grade science course. Education and Information Technologies, 26(5), 6241-6265. Wollny, S., Schneider, J., Di Mitri, D., Weidlich, J., Rittberger, M. & Drachsler, H. (2021). Are we there yet?-A systematic literature review on chatbots in education. Frontiers in artificial intelligence, 4.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

83


Yin, J., Goh, T. T., Yang, B. & Xiaobin, Y. (2021). Conversation technology with micro-learning: The impact of chatbot-based learning on students’ learning motivation and performance. Journal of Educational Computing Research, 59(1), 154-177. Zhang, J. & West, R. E. (2020). Designing Microlearning Instruction for Professional Development Through a Competency Based Approach. TechTrends, 64(2), 310-318.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

84


ความคาดหวังในการเลือกเรียนสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล ของนักศึกษาชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก THE STUDY OF CHOOSING’S EXPECTATIONS OF STUDYING IN ENGLISH FOR INTERNATIONAL COMMUNICATION MAJOR OF THE FIRST YEAR STUDENTS, 2021 AT RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY TAWAN-OK ปวริศา อาบู รามิละห 1, ปวีณา เมธีวรกิจ 2 0

1

บทคัดยอ การวิจัยนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความคาดหวังในการเลือกเรียนสาขาวิชา ภาษาอังกฤษเพื่ อการสื่ อสารสารสากลของนักศึกษาชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลตะวันออก โดยประชากรในการวิจัย คือ นักศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2564 จํ านวนทั้ งสิ้ น 58 คน เครื่ องมื อที่ใช ในการวิจัย คือ แบบสอบถามความคิดเห็น เกี่ย วกับ ความคาดหวังใน การเลือกเรียนสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล จํานวน 45 ขอ มีคาความเชื่อมั่น Cronbach’s alpha เทากับ .90 วิเคราะหขอมูลดวย รอยละ (percentage) คาเฉลี่ย (Mean) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) ผลการวิจัยพบวา นักศึกษาชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก มีความคาดหวังในการเลือกเรียนสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากลโดยรวมอยูในระดับสูงทั้ง 4 ดาน และเมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา นักศึกษามีความคาดหวังดานผูสอนสูงที่สุด รองลงมาคือ ความคาดหวัง ดานปจจัยการสนับสนุนการเรียนการสอน ความคาดหวังดานกิจกรรมการเรียนการสอน และความคาดหวัง ดานเนื้อหาวิชา ตามลําดับ คําสําคัญ: ความคาดหวัง, ดานเนื้อหาวิชา, ดานกิจกรรมการเรียนการสอน, ดานผูสอน, ดานปจจัยสนับสนุน การเรียน, สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล

1

2

นางปวริศา อาบู รามิละห อาจารยประจําสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก นางสาวปวีณา เมธีวรกิจ อาจารยประจําสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

85


ABSTRACT This is the survey research. The objective of this research is to study of choosing’ s expectations of studying in English for International Communication major of the first- year students, 2021 at Rajamangala University of Technology Tawan- ok. The population included 58 first year students majoring in English for International Communication faculty of Humanities and Social Sciences. The questionnaire contains 45 items was used to collect data with Cronbach's Alpha Coefficient of . 90. The statistics used for data analysis were percentage, mean and standard deviation. The results of the research were as follows: the students’ expectations of choosing of studying in English for International Communication were high in 4 dimensions. As considered by each dimension found that the highest expectation was instructor dimension, the dimension of contributing factors, learning and teaching activities and curriculum were defined inferior order. KEYWORDS: Expectation, Curriculum, Learning and Teaching Activities, Instructor, Contributing Learning Factors บทนํา สังคมโลกในปจจุบันและสังคมโลกศตวรรษที่ 21 เปนชวงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงทุกดานอยางรวดเร็ว ไดแก ดานสังคม ดานเศรษฐกิจ ดานเทคโนโลยี ดานการศึกษา และดานอื่นๆ อีกมากมาย เมื่อการศึกษาเปน เครื่องมือในการพัฒนาคนและสังคม จึงจําเปนตองพัฒนาระบบการศึกษาใหทันสมัยเขากับยุคแหงการเรียนรู ดวยความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีทําใหการติดตอสื่อสารสะดวก รวดเร็ว และกวางขวางขึ้น เกิดการคา ขายระหวางประเทศ การทํางานในตางประเทศ หรือการศึกษาตอตางประเทศ ภาษาอังกฤษนั้นมีสถานะเปน ภาษาสากล (International Language) ของโลก เปนภาษาหลักของประชากรกวา 360 ลานคน อีกทั้งยังเปน ภาษาที่สองของประชากรกวา 750 ลานคนทั่วโลก จึงมีการใชภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารอยางแพรหลาย ทั้งการฟง การพูด การอาน และการเขียน สงผลใหภาษาอังกฤษทวีความสําคัญมากยิ่งขึ้น ดวยเหตุน้ีทุกชาติ ทุกภาษาจึงบรรจุวิชาภาษาอังกฤษเปนภาษาที่สองรองจากภาษาประจําชาติทั้งยังเปนแกนหลักของหลักสูตร การศึกษาทุกระดับตั้งแตปฐมวัยไปจนถึงการศึกษาตลอดชีวิต (Engduo Thailand, 2021) เพชรี หาลาภ (2538) กลาววา ความคาดหวังของบุคคลเปนการตั้งขึ้นเพื่อตอบสนองตอความตองการ ความตองการกับความคาดหวังจึงเปนสิ่งที่เกี่ยวของกันแทบจะแยกไมออกเพราะถามนุษยเกิดความตองการ แล ว ความคาดหวั งก็ จ ะตามมา อย า งไรก็ ตามความตองการของมนุษยเมื่อไดรับ การตอบสนองในระดับ ที่ ตองการแลว ก็จะมีความคาดหวังถึงในสิ่งที่อยูสูงขึ้นไปอีกตามลําดับ เชนเดียวกับ สันติชัย คําสมาน (2534) กลาวถึงความคาดหวังวาเปนทฤษฎีที่ชวยในการตัดสินใจของบุคคลแตละคนวาจะเลือกกระทําหรือไมกระทํา ในสิ่งที่คาดหวังไว โดยมีขอพิจารณาเกี่ยวเนื่องกับความคาดหวัง 2 ประการ คือ 1) พิจารณาวาเปาหมายที่จะ CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

86


ไปสูสิ่งที่มีคุณคามากนอยเพียงใด (valence) และ 2) พิจารณาวาสิ่งที่กระทําสามารถคาดหวังใหไปถึงจุดหมาย ไดเพียงใด (expectancy) และความคาดหวังในการสําเร็จ การศึ กษาเสมือนความคาดหวังในการทํา งานสู เปาหมาย (Goal-Setting Theory) Locke & Latham (2013) เห็นวาโดยธรรมชาติจิตใจของมนุ ษย จ ะถู ก กระตุนโดยเปาหมายใหตองแสดงพฤติกรรมตามเปาหมายและความคาดหวังของตนเพื่อนําไปสูการบรรลุ เปาหมาย ดังนั้นเมื่อผูเรียนเกิดความคาดหวังในการเรียนเพื่อใหสําเร็จการศึกษา ความคาดหวังดังกล าวจึง ไดแก ความคาดหวังตอตนเอง เนื้อหาวิชา กิจกรรมการเรียนการสอน ผูสอน และสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน เปนตน ผูเรียนจะมีความตั้งใจและพยายามเพื่อใหบรรลุเปาหมาย ตามที่ ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลตะวั น ออกได กํ า หนดพั น ธกิ จ ในการมุ ง เน น ผลิ ต บั ณ ฑิ ต นักปฏิบัติ และเชี่ยวชาญเทคโนโลยีรวมทั้งมีความสามารถพรอมเขาสูอาชีพ มหาวิทยาลัยเล็งเห็นประโยชนและ ความสําคัญตอความคาดหวังของนักศึกษาตลอดจนความตองการของสถานประกอบการในฐานะผูใชบัณฑิตมี การสนับสนุนทุนวิจัยในการศึกษาความคาดหวังของนักศึกษาตอมหาวิทยาลัยในภาพรวม แตยังมีการศึกษาถึง ความคาดหวั งของนั ก ศึ ก ษาตในระดั บ คณะและสาขาวิ ช ายั ง ไม ม ากนั ก ดั ง นั้ น ผู วิ จั ย จึ ง มี ค วามสนใจและ มุงศึกษาวิจัยในประเด็นเกี่ยวกับความคาดหวังในการเลือกเรียนสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล ของนักศึกษาชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก เพื่อเปนประโยชนใน การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากลใหดําเนินไป อยางมีประสิทธิภาพ สามารถตอบสนองความคาดหวังของผูเรียนได และมุงผลิตบัณฑิตใหไดตามปรัชญาของ หลักสูตรฯ ดังนี้ “ภาษาอังกฤษเปนพื้นฐานความเขาใจ และความรวมมือของประชาคมโลก นําไปประยุกตใช ในวิชาชีพและดํารงชีวิตอยางมีคุณคา” (หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สากล, 2564) วัตถุประสงคของการวิจัย เพื่ อ ศึ ก ษาความคาดหวั ง ที่ มี ต อ การเลื อ กเรี ย นสาขาวิ ช าภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การสื่ อ สารสากลของ นักศึกษาชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ขอบเขตของการวิจัย การศึกษาครั้งนี้ เปนการศึกษาความคาดหวังในการเลือกเรียนสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สากลของนักศึกษาชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก โดยศึกษาจาก นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาตรี สาขาวิ ช าภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การสื่ อ สารสากล คณะมนุ ษ ยศาสตร แ ละสั ง คมศาสตร มหาวิ ทยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลตะวั น ออก ชั้น ปที่ 1 ปการศึกษา 2564 จํานวนทั้งสิ้น 58 คน เริ่มทํา การศึกษาตั้งแตเดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2564

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

87


ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรอิสระ ไดแก นักศึกษาสาขาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล ชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก เพศ ภูมิลําเนา และคะแนนเฉลี่ยสะสม 2. ตั ว แปรตาม ได แก ความคาดหวังของนั ก ศึก ษาต อการเลื อ กเรีย นสาขาวิช าภาษาอัง กฤษเพื่ อ การสื่อสารสากล 4 ดาน ดังนี้ ดานเนื้อหาวิชา ดานกิจกรรมการเรียนการสอน ดานผูสอน และดานปจจัย สนับสนุนการเรียน ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย 1. ทําใหทราบถึงระดับความคาดหวังของนักศึกษาปริญญาตรี สาขาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก 2. เพื่อใชเปนขอมูลในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสารสากล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ใหตรงกับความคาดหวังของนักศึกษา ประชากร ประชากร (Population) ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือนักศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสารสากล คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2564 จํานวน 58 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย แบบสอบถาม (Questionnaires) มี 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 แบบสอบถามข อ มู ล ทั่ ว ไปของผู ต อบแบบสอบถาม จํ า นวน 3 ข อ ประกอบด ว ย เพศ ภูมิลําเนา และคะแนนเฉลี่ยสะสม ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับความคาดหวังในการเลือกเรียนสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สากลของนักศึกษาชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก เปนแบบมาตรา สวนประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดับ จํานวน 45 ขอ ประกอบดวยตัวแปร 4 ดาน ไดแก ดานเนื้อหาวิชา 10 ขอ ดานกิจกรรมการเรียนการสอน 22 ขอ ดานตัวผูสอน 4 ขอ และดานปจจัยสนับสนุนการเรียน 9 ขอ โดยมีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ 5 หมายถึง ระดับความคาดหวังมากที่สุด 4 หมายถึง ระดับความคาดหวังมาก 3 หมายถึง ระดับความคาดหวังปานกลาง 2 หมายถึง ระดับความคาดหวังนอย 1 หมายถึง ระดับความคาดหวังนอยที่สุด ตอนที่ 3 ขอเสนอแนะ CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

88


การสรางและตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ 1. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2. สรางแบบสอบถาม โดยแบบสอบถามที่ใชในงานวิจัยนี้ไดรับการตรวจสอบความเหมาะสมของ เนื้อหาและความเหมาะสมในบริบทของการวิจัยโดยผูทรงคุณวุฒิจํานวน 3 ทาน 3. ผูวิจัยทําการแกไข ปรับปรุงแบบสอบถามตามคําแนะนําของผูทรงคุณวุฒิ นําแบบสํารวจไปทดลอง ใช (Try Out) กั บ กลุ มตั ว อย า งที่ มีคุณลั กษณะคลา ยกับ ประชากร ไดแกนักศึกษาสาขาภาษาอั งกฤษเพื่ อ การสื่อสารสากล ชั้นปที่ 2 จํานวน 30 คน นําผลที่ไดมาวิเคราะหหาคาความเชื่อมั่น Cronbach’s alpha เทากับ .90 4. แบบสอบถามที่ผานการประเมินคุณภาพเครื่องมือแลวจึงนําไปเก็บรวบรวมขอมูลจากประชากรตอไป การเก็บรวบรวมขอมูล 1. การเก็ บ รวบรวมข อมู ล จากนั กศึกษาปริญ ญาตรี สาขาวิช าภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2564 ที่เปนกลุมประชากร จํานวนทั้งสิ้น 58 คน 2. ผูวิจัยไดชี้แจงแกนักศึกษาวาการวิจัยนี้ ไมสงผลกระทบดานลบตอตัวนักศึกษา ผูวิจัยจะเก็บขอมูล เปนความลับและนําเสนอขอมูลในภาพรวม พรอมทั้งชี้แจงรายละเอียดของแบบสอบถาม ผูวิจัยไดเก็บรวบรวม ขอมูล 1 สัปดาหกอนสอบปลายภาคเรียนที่ 1/2564 3. นําขอมูลทั้งหมดที่ไดจากแบบสอบถามมาทําการวิเคราะหขอมูลตอไป การวิเคราะหขอมูล ในการวิเคราะหขอมูลผูวิจัยใชการประมวลผลดวยคอมพิวเตอร โดยการใชโปรแกรมสําเร็จรูปใน การวิเคราะหขอมูลทางสถิติเพื่อการวิจัย ประกอบดวย สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) คือ บรรยายลักษณะขอมูล สําหรับวิเคราะหขอมูลทั่วไป ประกอบดวยการแจกแจงความถี่ (Frequencies) คารอยละ (Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) และคาเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) เกณฑการแปลผล ผูวิจัยไดกําหนดเกณฑสําหรับการใหคะแนนในแบบสอบถาม ซึ่งใชเกณฑการแปลความหมายขอมูล โดยแบงระดับคะแนนเปน 5 ระดับ ดังนี้ สูตรการหาคาอันตราภาคชั้น จํานวนอันตรภาคชั้น

= =

คะแนนสูงสุด − คะแนนต่ําสุด จํานวนระดับที่ตองการ

5−1 5

= 0.80 CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

89


ซึ่งมีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ 1.00-1.80 หมายถึง นักศึกษามีระดับความคาดหวังในระดับนอยที่สุด 1.81-2.60 หมายถึง นักศึกษามีระดับความคาดหวังในระดับนอย 2.61-3.40 หมายถึง นักศึกษามีระดับความคาดหวังในระดับปานกลาง 3.41-4.20 หมายถึง นักศึกษามีระดับความคาดหวังในระดับมาก 4.21-5.00 หมายถึง นักศึกษามีระดับความคาดหวังในระดับมากที่สุด ผลการวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดนําเสนอผลการวิเคราะหเปน 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหขอมูลทั่วไปของนักศึกษาปริญญาตรีสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สากล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ตารางที่ 1 จํานวนและรอยละของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก จําแนกตามสถานภาพสวนบุคคล (N = 58) สถานภาพสวนบุคคล

จํานวน

รอยละ

18 40

31.03 68.97

2 15 3 5 33 0

3.45 25.86 5.17 8.62 56.90 0

0 0 0 0 18 28 12

0 0 0 0 31.03 48.28 20.69

เพศ ชาย หญิง ภูมิลําเนา ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต ภาคอีสาน ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก คะแนนเฉลี่ยสะสม ต่ํากวา 1.00 1.01 – 1.50 1.51 – 2.00 2.01 – 2.50 2.51 – 3.00 3.01 – 3.50 3.51 – 4.00

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

90


จากตาราง 1 จํานวนและรอยละของผูตอบแบบสอบถามจําแนกตามสถานภาพสวนบุคคล พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง (รอยละ 68.97) โดยนักศึกษาสวนใหญมีภูมิลําเนาอยูที่ภาคตะวันออก (รอยละ 56.90) และมีเกรดเฉลี่ยสะสมอยูระหวาง 3.01–3.50 มากที่สุด (รอยละ 48.28) รองลงมามีเกรดเฉลี่ย สะสมอยูระหวาง 2.50-3.00 (รอยละ 31.03) และมีเกรดเฉลี่ยสะสมอยูระหวาง 3.51–4.00 (รอยละ 20.69) ตามลําดับ ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหความคาดหวังในการเลือกเรียนสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล ตารางที่ 2 จํ า นวน ร อยละ และส ว นเบี่ ย งเบนมาตราฐานของความคาดหวังในการเลือกเรีย นสาขาวิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล ดานเนื้อหาวิชา (N = 58) ความคาดหวังในการเลือกเรียนสาขาวิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล 1. ดานเนื้อหาวิชา 2. ดานกิจกรรมการเรียนการสอน 3. ดานผูสอน 4. ดานปจจัยการสนับสนุนการเรียนการสอน ภาพรวม

µ 3.92 3.95 4.03 3.98 3.97

𝜎𝜎

0.86 0.86 0.81 0.87 0.85

ระดับความคาดหวัง

อันดับ

มาก มาก มาก มาก มาก

4 3 1 2

จากตารางที่ 2 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคาดหวังในการเลือกเรียนสาขาวิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากลของนักศึกษาชั้นปที่ 1 ปการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ตะวันออก พบวา โดยภาพรวมความคาดหวังในการเลือกเรียนสาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากลของ นักศึกษามีความคาดหวังอยูในระดับมาก (µ = 3.97, 𝜎𝜎 = 0.85) เมื่อจําแนกเปนรายดานไดดังนี้ ดานผูสอน พบวา นักศึกษามีความคาดหวัง อยูในระดับมาก (µ = 4.03, 𝜎𝜎 = 0.81) เปนอันดับที่ 1 ดานปจจัยการสนับสนุน การเรียนการสอน พบวา นักศึกษามีความคาดหวัง อยูในระดับมาก (µ = 3.98, 𝜎𝜎= 0.87) เปนอันดับที่ 2 ดานกิจกรรมการเรียนการสอน พบวา นักศึกษามีความคาดหวัง อยูในระดับมาก (µ = 3.95, 𝜎𝜎 = 0.86) เปนอันดับที่ 3 และดานเนื้อหาวิชา พบวานักศึกษามีความคาดหวัง อยูในระดับมาก (µ = 3.92, 𝜎𝜎 = 0.86) เปนอันดับที่ 4 อภิปรายผล ผลการศึกษาพบวา โดยภาพรวมนักศึกษามีร ะดับ ความความคาดหวังในการเลื อกเรียนสาขาวิ ช า ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก อยูในระดับสูงทุกดานโดย เรียงลําดับ ดังนี้ ดานผูสอน ดานปจจัยการสนับสนุนการเรียนการสอน ดานกิจกรรมการเรียนการสอน และ ดานเนื้อหาวิชา กลาวคือ นักศึกษาตั้งเปาหมายในชีวิตโดยเลือกศึกษาสาขาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล เพราะการศึกษาภาษาตางประเทศนั้นชวยใหนักศึกษาไดพัฒนาระดับความสามารถทางภาษาอังกฤษทั้ง ฟง CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

91


พูด อาน และเขียน เพื่อนําไปใชสื่อสารในชีวิตประจําวัน ประกอบอาชีพทั้งในและตางประเทศในอนาคต หรือ สอนภาษาอังกฤษแกบุคคลอื่น เชนเดียวกับงานวิจัยของ ศศิวิมล มีอําพล และภาคภูมิ วณิชธนานนท (2552) ไดศึกษาเรื่อง ระดับความคาดหวังและความพึงพอใจของมหาบัณฑิตที่มีตอหลักสูตรและการจัดการเรี ย น การสอนในระดับปริญญาโททางการบัญชี พบวา มหาบัณฑิตสวนใหญมีความคิดเห็นตอความคาดหวั งและ ความพึงพอใจตอวิชาในหลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิตในระดับมากถึงมากที่สุด เพราะผูเรียนตองการนําความรูและ ความเชี่ยวชาญที่ไดรับการถายทอดไปใชประโยชนตอตนเองและสังคมตอไป และอารีรักษ มีแจง (2552) ได ศึกษาเรื่ อง ความคาดหวั งและความพึ งพอใจของนิสิต ที่มีต อการศึ กษาในหลักสูตรศิล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยนเรศวร ผลการวิจัยพบวานิสิตมีความคาดหวังตอการศึกษาในหลักสูตร โดยภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่ อพิ จ ารณาเป น รายด า นพบว า ดานผูส อนเปน ด านที่นั ก ศึ ก ษามี ความคาดหวัง มากที่สุ ด การที่ นั ก ศึ ก ษามี ค วามคาดหวั ง ต อ อาจารย ผู ส อนเป น อั น ดั บ แรกนั้ น เนื่ อ งจากอาจารย ผู ส อนมี ค วามสํ า คั ญ ต อ การถายทอดองคความรูตางๆ แกผูเรียน โดยพวงผกา วรรธนะปกรณ และโสภณ ผลประพฤติ (2553) กลาววา ผูสอนมีบทบาทสําคัญที่ทําใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพโดยผูสอนตองมีความพรอมในดานวิชาการอยู เสมอ มีความสามารถในการถายทอดความรูและมีเทคนิคการสอนที่ดีทําใหผูเรียนเกิดความสนใจที่จะเรียนรู และพัฒนาตนเองตอไป สอดคลองกับ น้ําฝน ใจดี และคณะ (2561) ที่ศึกษาเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการเขาศึกษา ในหลั กสู ต รบริ หารธุร กิ จบั ณฑิ ต สาขาวิ ชาการจัดการ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก โดยผลการศึกษาพบวานักศึกษาสวนมากมีความคิดเห็นวาหลักสูตรบริหารธุรกิจ บัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก มีความเหมาะสม โดยความคิดเห็นตอหลักสูตรในแตละดานเรียงลําดับจากมากไปหานอย ไดแก ดานอาจารย ดานการวัดและการประเมินผลการเรียน และดานการเรียนการสอน ดานปจจัยสนับสนุนการเรียนการสอนเปนดานที่นักศึกษามีความคาดหวังมาก ผลการศึกษาพบวา ดานที่มีคาเฉลี่ยสูงที่สุด คือ บรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรูดานการบริหารจัดการ รองลงมาคือ บรรยากาศและสิ่ ง แวดล อ มที่ เ อื้ อ ต อ การเรี ย นรู ด า นกายภาพ และบรรยากาศและสิ่ ง แวดล อ มที่ เ อื้ อ ต อ การเรียนรูดานวิชาการ โดยบรรยากาศและสิ่งแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรูดานกายภาพโดยรวมอยูในระดับ มาก สอดคลองกับ มุกดามณี ศรีพงษเพริศ (2561) ไดทําการศึกษาเรื่องปจจัยคัดสรรที่สงผลตอประสิทธิภาพ การจั ด การเรี ย นรูในศตวรรษที่ 21 ของครูป ระถมศึกษา จังหวัดปทุมธานี พบวา การจัดบรรยากาศและ สิ่งแวดลอมในหองเรียนใหเหมาะสมชวยสงเสริมใหผูเรียนประสบความสําเร็จในการเรียนอยางมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 ดานกิจกรรมการเรียนการสอนโดยภาพรวมเปนดานที่นักศึกษามีความคาดหวังในระดับมากทั้ง 22 ขอ คําถาม เชน เอกสารประกอบการสอนทันสมัย ใชสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสมในการสอน กิจกรรม การเรียนเหมาะสมกับความสามารถความตองการ ความสนใจ ความแตกตางและพัฒนาการของผูเรียน และ ส งเสริ มใหผู เรี ย นได เ รีย นรู จากสื่ อการเรีย นรูและแหลงเรีย นรูอื่น ๆ เปน ตน ซึ่งสอดคลองกับ งานวิจัย ของ อรุณทวดี พัฒนิบูลย (2559) ไดศึกษาเรื่อง ความคาดหวังของนักศึกษากลุมวิชาภาษาตางประเทศ ตอการจัด CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

92


การเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง พบวานักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษามีความคาดหวัง ตอการจัดการเรียนการสอนโดยรวมอยูในระดับมาก โดยผูเรียนตองการใหเชิญวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ เฉพาะดานมาเปนผูชวยสอนเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มพูนความรูในรายวิชาตางๆ และเสรี สิงหโงน, สาลินี จันทรเจริญ และธัญลักษณ กองชัยมงคล (2562) ไดศึกษาเรื่องความคาดหวังและความพึงพอใจของนักศึกษาตอการจัดการ เรียนการสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาจิตวิทยาเด็ก วัยรุนและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล พบว า นั กศึ กษามี ความคาดหวั งตอการจัดการเรียนการสอน โดยภาพรวมอยูในระดับมาก 3 ดาน ไดแก ดานกิจกรรมเสริมหลักสูตร ดานกระบวนการจัดการเรียนการสอน และดานอาจารยผูสอน ดานเนื้อหาวิชาพบวา โดยภาพรวมเปนดานที่นักศึกษามีความคาดหวังมากทั้ง 10 ขอคําถาม เชน เนื้อหาวิชามีความสอดคลองกับความตองการของผูเรียน เนื้อหาวิชามีความทันสมัย และการจัดลําดับรายวิชา ในหลักสูตรมีความเหมาะสม เปนตน สอดคลองกับการศึกษาของ น้ําฝน ใจดี และคณะ (2561) ที่ศึกษาเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอการเขาศึกษาในหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ คณะมนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก พบวา ดานหลักสูตรวิชาเปนปจจัยที่มีผลตอการเขา ศึกษาตอในหลักสูตรดังกลาว ขอเสนอแนะ 1. นักศึกษามีความคาดหวังดานผูสอนมากที่สุด ในดานความรู ความสามารถของอาจารยจึงควร สงเสริมใหอาจารยไดมีโอกาสพัฒนาตนเอง เพื่อใหการสอนและการใชเทคนิคในการสอนมีคุณภาพยิ่งขึ้นดวย การสงเสริมทุนการอบรม ศึกษาดูงาน และทุนวิจัย เปนตน 2. นักศึกษามีความคาดหวังดานปจจัยการสนับสนุนการเรียนการสอนมากเปนอันดับที่ 2 ในเรื่องของ ความพร อ มด า นโสตทั ศ นู ป กรณ ที่ ทั น สมั ย สํ า หรั บ การเรี ย นการในยุ ค ไทยแลนด 4.0 ทั้ ง นี้ ท างหลั ก สู ต ร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากลควรเสนอตอมหาวิทยาลัยโดยจัดใหมีการเขาถึง ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไดงายและสะดวก จัดหาสื่อ อุปกรณการเรียนการสอนที่ทันสมัย หลากหลาย และ เพียงพอตอความตองการ ตลอดจนจัดใหมีสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวยตอการเรียน 3. นักศึกษามีความคาดหวังดานเนื้อหาวิชาในเรื่องจํานวนรายวิชาและหนวยกิตในหลักสูตรควรมี ความเหมาะสม หลักสูตรฯจึงควรปรับเนื้อหาวิชาใหทันสมัยทันตอสถานการณบานเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป นาสนใจ มีเนื้อหาสาระตรงตามความตองการของผูเรียน สามารถนําความรูที่ไดไปตอยอดในการศึกษาระดับที่ สูงขึ้นและประยุกตใชในชีวิตประจําวันได รายการอางอิง น้ําฝน ใจดี และคณะ. (2561). ปจจัยที่มีผลตอการเขาศึกษาในหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชา การจัดการ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก. สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

93


พวงผกา วรรธนะปกรณ และโสภณ ผลประพฤติ. (2553). การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญในวิชาสัมมนาวิชาชีพดานมัลติมีเดีย ของนักศึกษาชั้นปที่ 4 สาขาวิชาเทคโนโลยี มัลติมีเดีย. คณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. รายงานการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน. พัชรี มหาลาภ. (2538). ปจจัยที่กําหนดความคาดหวังมี 3 ประการ. [ออนไลน]. สืบคนจาก : https://www.novabizz.com/ มุกดามณี ศรีพงษเพริศ. (2561). ปจจัยคัดสรรที่สงผลตอประสิทธิภาพการจัดการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ของ ครูประถมศึกษา จังหวัดปทุมธานี. ปริญญานิพนธศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก คณะศิลปะศาสตร. (2564). หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564. รายละเอียดของหลักสูตร. ศศิวิมล มีอําพล และภาคภูมิวณิชธนานนท. (2552). ระดับความคาดหวังและความพึงพอใจของมหาบัณฑิตที่ มีตอหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาโททางการบัญชี. โครงการวิจัยสาขาสังคม และพฤติกรรมศาสตร. คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. สันติชัย คําสมาน. (2534). ความคาดหวังของศึกษาธิการอําเภอกับผูประสานงานการศึกษานอกโรงเรียน เกี่ยวกับการบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน. ปริญญานิพนธมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. เสรี สิงหโงน, สาลินี จันทรเจริญ และธัญลักษณ กองชัยมงคล. (2562). ความคาดหวังและความพึงพอใจของ นักศึกษาตอการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาจิตวิทยาเด็กวัยรุน และครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล. การประชุมวิชาการระดับชาติ “วลัยลักษณวิจัย” ครั้งที่ 11 วันที่ 27-28 มีนาคม 2562. อรุณทวดี พัฒนิบูลย. (2559). ความคาดหวังของนักศึกษากลุมวิชาภาษาตางประเทศ ตอการจัดการเรียน การสอนในระดับบัณฑิตศึกษา คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง. วารสารรามคําแหง ฉบับมนุษยศาสตร, 35(2), 63-78. อารีรักษ มีแจง. (2552). ความคาดหวังและความพึงพอใจของนิสิตที่มีตอการศึกษาในหลักสูตรศิลปศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วารสารมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร, 6(3), 69-86. Engduo Thailand. (2021). ความสําคัญของภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร. สืบคนจาก https://engduothailand.com/. Locke, E. A., & Latham, G. P. (2013). New Developments in goal setting and task performance. New York, NY: Routledge.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

94


การสอนภาษาจีนพื้นฐานผานกิจกรรมแบบ ACTIVE LEARNING ในยุคศตวรรษที่ 21 TEACHING BASIC CHINESE THROUGH ACTIVE LEARNING ACTIVITIES IN THE 21ST CENTURY จิรัชยา ประทีปโชติพร 1, Li Jun2 0

บทคัดยอ การเรียนรูผา นกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ Active Learning เปนกระบวนการจัดการเรียนรูที่เนน บทบาทและการมีสวนรวมของผูเรียน ประกอบกับการมีปฏิสัมพันธกับกิจกรรมการเรียนรูและดําเนินกิจกรรม ตางๆ ดวยตนเอง เนนผูเรียนเปนสําคัญ ใหผูเรียนไดเกิดการเรียนรูผานกระบวนการคิดวิเคราะห สังเคราะห การแลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกันระหวางผูเรียน รวมไปถึงการนําเสนอขอมูล การจัดกิจกรรมการเรียนรูใน รูปแบบ Active Learning สามารถนํามาใชเปนแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนภาษาจีน ไดอีก ดวย เนื่องจากภาษาจีนถือเปนภาษาตางประเทศที่ไดรับความนิยมมากในปจจุบัน และมีผูใหความสนใจที่จะ ศึกษาภาษาจีนอยูเปนจํานวนมาก และตองเผชิญปญหาดานพฤติกรรมของผูเรียนสมัยใหม ที่ไมชอบรูปแบบ การเรียนการสอนรูปแบบเดิม ดังนั้นแลวเพื่อลดปญหาเหลานี้ ผูจัดทําจึงเห็นวา กระบวนการเรียนการสอนผาน การปฏิบัติหรือการลงมือทํา (Active Learning) สามารถนํามาปรับใชกับการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนให สอดรับกับลักษณะการเรียนรูของผูเรียนที่เปลี่ยนไปตามยุคสมัย และเพื่อใหสอดคลองกับพฤติกรรมการเรียนรู ของมนุษยในปจจุบันไดดี คําสําคัญ: การจัดการเรียนรู กิจกรรมแบบ Active Learning รูปแบบการสอนภาษาจีน ภาษาจีน ABSTRACT Learning management. Active learning is a process that focuses on learners, by emphasizing the roles and participation by allowing students to learn, practice, and perform activities on there own. This will allow students to learn the process through thinking, analyzing, synthesizing, exchanging knowledge between learners and presentation of information, and can be used as a guideline for the development of Chinese teaching and management. Chinese has become a very popular international language. There are many people all over the world interested in learning Chinese and some have to face behavioral 1

2

จิรัชยา ประทีปโชติพร อาจารยประจํา สาขาภาษาจีนสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม Li Jun หัวหนาสาขาภาษาจีนสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

95


problems. Some do not like the original teachings methods therefore causes problems for the modern learner. To reduce this academic problem the organizer experienced teaching process first hand through practice or action. Therefore active learning can be adapted to the management of the Chinese language in accordance with the teaching pace of learners that can change through time, and changing with learning behavioral as well. KEYWORDS: Learning Management, Active Learning Management, Chinese Teaching Style, Chinese Language บทนํา ยุคสมัยปจจุบัน ไดเ ปนยุ คแห งความก าวหนาดานเทคโนโลยี มีขอมูลขาวสารที่เ ปน ความรูร อบตั ว เกิดขึ้นเปนองคความรูใหมๆ อยูมากมาย ผูคนสามารถเขาถึงขอมูลตางๆ ไดทุกที่ทุกเวลา แมกระทั่งการศึกษา หาขอมูลในเรื่องที่ตนเองสนใจในยุคปจจุบัน เปรียบเสมือนการศึกษาไรกรอบ แตระบบการศึกษาของประเทศ ไทยนั้นยังมีความลาหลังอยางมาก เนื้อหาที่มีการจัดการเรียนการสอนในหองเรียน ซึ่งสวนใหญจะเปนเนื้อหา ดานทฤษฎี และไมเนนการปฏิบัติ ผูส อนเนนการสอนแบบบรรยาย จึงสงผลใหผูเรียนเกิดความเบื่อหนาย ยิ่งไป กวานั้นผูเรียนยังไมสามารถนําความรูที่ไดมาไปพัฒนาตอยอดใหเกิดประโยชนหรือลงมือปฏิบัติได ดังนั้นแลว เพื่อใหเกิดการเรียนรูที่ดีของผูเรียน ครูผูสอนควรหาแนวทางการสอนที่แปลกใหมโดยการปรับการสอนให สอดคลองกับพฤติกรรมของผูเรียนในยุคปจจุบัน อีกหนึ่งแนวทางการสอนที่นาสนใจในปจจุบันอีกวิธีห นึ่ ง เรี ย กว า Active Learning จึ งเป น อี กหนึ่ งทางเลือ กที่ เขา มาเปน ตัว ชว ยในการเชื่อ มต อระหวางผู เรี ย นกั บ ครูผูสอน เพื่อเปนการปรับเปลี่ยนแนวทางในการสอนสําหรับผูเรียนในยุคปจจุบันใหมีความนาสนใจเพิ่มมากขึ้น โดยเน น ไปที่ การค น คว า หาความรู เ พิ่ ม เติ ม ไดดว ยตนเอง และสามารถนํา ความรู ที่ไ ดจ ากในห อ งเรี ย นไป ประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดจริง และสามารถพัฒนาตนเองใหประสบความสําเร็จดานการเรียนไดมากที่สุด อีกวิธีหนึ่ง (วารินทพร ฟนเฟองฟู, 2562) ภาษาจีนเปนภาษาตางประเทศอีกหนึ่งภาษาที่ไดรับความนิยมเปนอยางมากในยุคปจจุบัน เห็นไดจาก สถาบันภาษา โรงเรียน มหาวิทยาลัยตางๆ ไดมีการเปดหลักสูตรการเรียนการสอนภาษาจีนเพิ่มมากขึ้น สงผลใหมี จํานวนผูที่เรียนภาษาจีนเพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนใหมีความหลากหลาย นาสนใจ มากกวาการทองจําจากตําราเรียนนั้น จึงเปนเรื่องสําคัญมากเพื่อดึงดูดใหผูเรียนเกิดความสนใจใน การเรียนภาษาและไดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การนํารูปแบบการเรียนการสอนแบบ Active Learning จึงเปน อีกหนึ่งทางเลือกที่สามารถนํามาปรับใชกับการเรียนการสอนภาษาจีน คือ การสอนที่เปนแนวทางใหกับผูเรียน ไดนําไปฝกปฏิบัติจริงในชีวิตประจําวันไดและสามารถตอยอดและสามารถนําไปใชไดจริงตามเปาประสงคของ ผูเรียน นอกจากนี้แลวการปรับบรรยากาศการเรียนในหองเรียนใหผูเรียนกับครูผูสอนไดมีสวนรวมในการทํา กิจกรรมรวมกัน อาทิเชน รูปแบบการสนทนาแบบโตตอบกันโดยเปลี่ยนหัวขอในการคิดบทสนทนาที่เปลี่ยนไป ในแตคาบเรียน เพื่อเสริมสรางปฏิสัมพันธที่ดีระหวางผูเรียนและครูผูสอนได CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

96


จากที่ กล า วมาข างต นแสดงใหเ ห็น วารูป แบบการเรียนการสอนแบบ Active Learning จึงเปน อีก ทางเลือกหนึ่งที่จะเปนตัวชวยในการเรียนสําหรับผูเรียนในยุคปจจุบันที่มีความสนใจเรียนภาษาจีนไดอย าง สอดคลองมากยิ่งขึ้น เนื่องจากการเรียนรูปแบบนี้ชวยสงเสริมใหผูเรียนและผูสอนไดมีปฏิสัมพันธโตตอบไดเปน อยางดี และสงเสริมใหผูเรียนไดนําความรูที่ไดศึกษาไปพัฒนาตอยอดไดจริงในชีวิตประจําวัน ดังนั้นแลวเพื่อให เขาใจรูปแบบการสอนแบบ Active Learning มากยิ่งขึ้น บทความเรื่องนี้จึงไดอธิบายลักษณะของการเรียน การสอนแบบ Active Learning และการนํามาปรับใชกับวิชาภาษาจีนในยุคปจจุบันไดเปนอยางดี นอกจากนี้ แลวยังทําใหผูเรียนเกิดความกระตือรือรนในการเรียน และเกิดการแลกเปลี่ยนภาษาระหวางเพื่อนรวมชั้นเรียน ผานรูปแบบกิจกรรมในหองเรียนไดเปนอยางดี ความหมายของ Active Learning จากการคนควาขอมูลของกิจกรรมการสอนแบบ Active Learning ผูเขียนพบวาไดมีนักการศึกษาและ นั ก วิ ช าการที่ ส นใจการจั ด การเรี ย นรู แ บบ Active Learning ได ใ ห ค วามหมายและคํ า อธิ บ ายเกี่ ย วกั บ การจัดการเรียนรูแบบ Active Learning ไวหลายทานดวยกันซึ่งผูเขียนขอนําเสนอความหมายของ Active learning ไวดังตอไปนี้ ดร.สถาพร พฤฑฒิกุล (Dr. Sathaporn Pruitthikul, 2558) กลาววา Active Learning เปนกระบวนการ จัดการเรียนรูตามแนวคิดการสรางสรรคทางปญญา (Constructivism) ที่เนนกระบวนการเรียนรูมากกว า เนื้อหาวิชา เพื่อชวยใหผูเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู หรือสรางความรูใหเกิดขึ้นในตนเอง ดวยการลงมือ ปฏิบัติจริงผานสื่อหรือกิจกรรมการเรียนรู ที่มีครูผูสอนเปนผูแนะนํา กระตุน หรืออํานวยความสะดวก ใหผูเรียน เกิดการเรียนรูขึ้น โดยกระบวนการคิดขั้นสูง กลาวคือ ผูเรียนมีการวิเคราะห สังเคราะห และการประเมินคา จากสิ่งที่ไดรับจากกิจกรรมการเรียนรู ทําใหการเรียนรูเปนไปอยางมีความหมายและนําไปใชในสถานการณ อื่นๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ ศน.เผชิ ญ อุ ป นั น ท (Prof. Phachoen Upanan, 2556) กล า วว า การจั ด การเรี ย นการสอนแบบ Active Learning เปนกระบวนการเรียนรู ที่ใหผู เรียนไดเรีย นรู อยางมี ความหมาย โดยการรวมมือระหว าง ผูเรียนดวยกัน ทั้งนี้ ครูตองลดบทบาทในการสอนและการใหขอความรูแกผูเรียน แตไปเพิ่มกระบวนการและ กิจกรรมที่จะทําใหผูเรียนเกิดความกระตือรือรนในการจะทํากิจกรรมตางๆ มากขึ้น และหลากหลาย ไมวาจะ เปนการแลกเปลี่ยนประสบการณ โดยการพูด การเขียน การอภิปรายกับเพื่อนๆ จึงเหมาะสมกับการใช ใน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก ที่มีครูไมครบชั้น หรือขาดแคลนครู หรือแมกระทั่ง โรงเรียนทั่วไป ก็จําเปนตองใชรูปแบบการสอนแบบนี้ เพื่อใหผูเรียนไดเรียนรูอยางหลากหลายและมีสวนรวมใน การจัดกิจกรรมการเรียนรูนั้นๆ ซึ่งจะสงผลตอคุณภาพของผูเรียนไดเปนอยางดี ไชยยศ เรืองสุวรรณ (Chaiyot Ruengsuwan, 2553) กลาววา ลักษณะของการจัดการเรียนการสอน แบบ Active Learning เปนดังนี้ 1. เปนการเรียนการสอนที่พัฒนาศักยภาพทางสมอง ไดแก การคิด การแกปญหา และการนําความรู ไปประยุกตใช CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

97


2. เปนการเรียนการสอนที่เปดโอกาสใหผูเรียนมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรูสูงสุด 3. ผูเรียนสรางองคความรูและจัดกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง 4. ผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนการสอนทั้งในดานการสรางองคความรู การสรางปฏิสัมพันธรวมกัน รวมมือกันมากกวาการแขงขัน 5. ผูเรียนเรียนรูความรับผิดชอบรวมกัน การมีวินัยในการทํางาน และการแบงหนาที่ความรับผิดชอบ 6. เปนกระบวนการสรางสถานการณใหผูเรียนอาน พูด ฟง คิดอยางลุมลึก ผูเรียนจะเปนผูจัดระบบ การเรียนรูดวยตนเอง 7. เปนกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนทักษะการคิดขั้นสูง 8. เปนกิจกรรมที่เปดโอกาสใหผูเรียนบูรณาการขอมูลขาวสาร หรือสารสนเทศ และหลักการความคิด รวบยอด 9. ผูสอนจะเปนผูอํานวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนเปนผูปฏิบัติดวยตนเอง 10. ความรูเกิดจากประสบการณ การสรางองคความรู และการสรุปทบทวนของผูเรียน กลาวคือ Active Learning เปนการสงเสริมการพัฒนาทักษะดานความคิดสรางสรรค เปนการมุงเนน ไปที่การนําไปปฏิบัติใชในชีวิตจริงมากกวาการทองจําเพียงอยางเดียวแตไมสามารถนําไปตอยอดทางการเรียนรู เพิ่มเติมได สังเกตไดจากสถานการณที่ผูเรียนแตละคนไดพบเจอในชีวิตประจําวันที่มีความแตกตางกันออกไป ยอมสงผลใหผูเรียนเกิดความเชื่อมโยงทางความรูกับสถานการณจริงที่แตกตางเชนกัน การอาศัยการฝกฝนจึง เปนอีกหนึ่งสิ่งที่ผูเรียนควรเริ่มฝกปฏิบัติดวยตนเองโดยผานการแนะนําจากครูผูสอนอยางใกลชิดเพื่อเปน การสงเสริมใหผูเรียนไดฝกการใชความรูที่ไดศึกษามาของตนเองใหไดมีประสิทธิภาพมากที่สุดอีกแนวทางหนึ่ง ทั้งนี้แลวจากที่กลาวมาขางตนทําใหเห็นวาเนื้อหาในชั้นเรียนบางเรื่องสามารถนํามาปรับใชในชีวิตประจําวัน ของเราได แตสําหรับบางเรื่องในชีวิตประจําวันไมไดมีใหศึกษาในตําราเรียน ดังนั้นแลวผูเรียนจึงจําเปนตอง อาศัยกระบวนการทางความคิดขั้นสูง เขามาชวยใหผูเรียนสามารถพิจารณาและวิเคราะหเนื้อหาความรูที่ ตนเองไดคนควาจากแหลงความรูตางๆ เพื่อนําไปใชในการตอยอดในสถานการณจริงไดดวยตัวของผูเรียนเองได เปนอยางดีและมีประสิทธิภาพเพื่อทําใหเกิดทักษะในการสรางความรูใหมเพื่อเอาตัวรอดในสถานการณจริงได การเรียนรูแบบ Active Learning ในยุคศตวรรษที่ 21 กมล โพธิเย็น (Kamol Phoyen, 2564) กลาววา Active Learning หรือการเรียนรูเชิงรุก เปนการจัดการ เรียนรูที่สามารถตอบสนองตอการจัดการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ซึ่งจําเปนที่จะตองลดบทบาทของผู ส อน แตเพิ่มบทบาทของผูเรียนใหมากยิ่งขึ้น เปนการจัดการเรียนรูที่เนนใหผูเรียนไดลงมือทําและไดคิดในสิ่งที่ทํา ลงไปเพื่ อเป น การสร า งประสบการณ ตรงใหเกิดขึ้น แกผูเรียน โดยผูเรีย นจะมีป ฏิสัมพัน ธกับ เพื่อนและครู ดวยการลงมือทํากิจกรรมรวมกันทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน จากนั้นก็สรางองคความรูขึ้นจากสิ่งที่ไดลงมือ ทํานั้นผานการฟง การพูด การอาน การเขียน การอภิปรายและการสะทอนคิดเพื่อสรางความหมายกับสิ่งที่ได เรียนรู Active Learning จะมีขั้นตอนในการจัดการเรียนรู 5 ขั้นตอนดวยกัน ไดแก ขั้นกระตุนความสนใจ ขั้นใหเห็นสถานการณทาทาย ขั้นอภิปรายสะทอนความคิด ขั้นรวมผลิตองคความรู และขั้นชวยกันดูสะทอน CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

98


เรื่ อ ง โดยใช กิ จ กรรมการเรี ย นรู อ ย า งหลากหลาย เช น การอภิ ป รายกลุ ม ย อ ย การแสดงบทบาทสมมติ การแสดงละคร การใช ส ถานการณ จํ า ลอง การใชกรณี ศึ ก ษา การอานและการเขีย นอย า งกระตื อ รื อ ร น การทํางานกลุมเล็กๆ และการใชเกมเพื่อประกอบการจัดการเรียนรู ปจจุบันนี้ เรื่องของ Active Learning นับเปนสิ่งที่ถูกกลาวถึงมากที่สุดในการศึกษาชวงศตวรรษที่ 21 นี้ ดวยเพราะเปนแนวจัดการเรียนรูที่จะชวยใหผูเรียนสามารถเรียนรูและตอบสนองตอการพัฒนาของสังคมโลก ที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว โดยความหมายของ Active Learning (การเรียนรูแบบลงมือปฏิบัติ) นั้นหมายถึง กระบวนการเรียนรูที่มุงเนนใหผูเรียนสามารถเขาใจและเรียนรูอยางมีความหมาย โดยผานการกระทําและ รวมมือกันระหวางผูเรียนดวยกัน ซึ่งเกิดขึ้นจากสมมติฐาน 2 ประการ อันไดแก 1. การเรียนรูเปนความพยายาม โดยธรรมชาติของมนุษย 2. แตละคนมีแนวทางในการเรียนรูที่แตกตางกัน (สถาพร พฤฑฒิกุล, 2558) หากจะ อธิ บ ายอี ก มุ ม มองหนึ่ ง ของการเรี ย นรู รู ป แบบ Active Learning ถื อ ว า เป น รู ป แบบการเรี ย นรู ที่ เ น น ไปที่ การศึกษาคนควาหรือทําความเขาใจดวยตัวของผูเรียนเปนหลัก เนื่องจากทักษะที่เกิดจากผูเรียนเปนคนสราง ขึ้นมาเองยอมเปนสิ่งที่ผูเรียนสามารถจําไดเปนอยางดี และไมสามารถลืมไดเนื่องจากเปนทักษะที่ผูเรียนพัฒนา เพื่อนํามาใชในชีวิตประจําไดดวยตนเอง หากเปรียบเทียบกับเนื้อหาความรูที่อยูภายในหองเรียนแลวยอมมี ความแตกตางอยางเห็นไดชัด เนื่องจากเนื้อหาในหองเรียนเปนเนื้อหาที่เนนไปที่การฟงและการจําแตไมไดผาน การนําไปใชใหเกิดเปนทักษะในชีวิตประจําวันนั่นเอง ทั้งนี้แลวการเรียนรูแบบ Active Learning ยังถือเปน การไดนําความคิดของตนเองแสดงออกไปในรูปแบบการปฏิบัติ และสงเสริมใหผูเรียนเปนคนที่ไมพฤติกรรมใฝรู ใฝเรียนมากขึ้นกวาเดิม การไดรับความรูใหมๆ จากสถานการณจริงนอกหองเรียนจึงถือเปนสิ่งที่สําคั ญใน การฝกฝนทักษะการใชความรูในการแกปญหาเฉพาะหนาไดโดยผานการคิดวิเคราะหดวยตนเอง แตทั้งนี้แลว การเรียนรูไดดวยตนเองแมวาจะเปนการฝกฝนทักษะทางความคิดไดดีเพียงใด บทบาทของครูผูสอนก็ยังถือวา เปนบทบาทที่สําคัญในระบบการเรียนรูเชนกัน เนื่องจากการที่ผูเรียนจะสามารถพัฒนาทักษะความรูห รือ การนําไปใชปฏิบัติไดนั้นยอมตองผานการเรียนรูจากผูสอนที่ถายทอดและแนะนําแนวทางไปสูผูเรียนโดยตรง แตเมื่อมีการนํารูปแบบการเรียนรูแบบ Active Learning เขามาใชจนทําใหบทบาทของผูสอนอาจจะลดลงไป บาง แตก็ไมไดหมายความวาครูผูสอนจะไมสําคัญแตอยางไร เพราะผูสอนยังคงตองเปนแบบอยางและแนวทาง ใหกับผูเรียนไดปฏิบัติตาม แคเพียงตองมีการปรับตัวเพื่อใหเหมาะสมกับพฤติกรรมของผูเรียนและรูทันกับ สถานการณ สั งคมในยุ คป จ จุ บั น ได ดั งนั้ น แลว การเรีย นรูแบบ Active Learning จึงถือเปน แนวทางที่เปน ทางเลือกใหกับครูผูสอนที่อยากกระตุนหรือฝกใหผูเรียนสามารถนําความคิดที่ไดไปตอยอดดวยตนเองอยางมี ประสิทธิภาพมากที่สุด นอกจากนี้แลวการเรียนรูรูปแบบนี้ยังเปนการเนนใหผูเรียนไดฝกการมีสวนรวมกับ กิ จ กรรมภายในห องเรี ย น มี ป ฏิ สั มพั น ธ ร ะหวางเพื่อนรว มชั้น เรีย นหรื อครูผูส อนเพิ่ มมากขึ้ น ทั้งนี้แลว ใน บางสถานการณจําเปนตองผานรูปแบบแนวทางที่จําเปนตองอาศัยกระบวนการคิด วิเคราะห หรือที่เราเรียกวา กระบวนการคิดขั้นสูง เพื่อใชในการจัดการกับสถานการณเฉพาะหนาผานระบบการคิดอยางเปนระบบและ สรางสรรค ซึ่งจะสะทอนใหเห็นวาผูเรียนไดมีทักษะในการเรียนรูดวยตนเองไดเปนอยางดี และสามารถนํ า องคความรูที่ไดมากจากกิจ กรรมภายในหองเรียนมาปรั บใชในชีวิตประจําวันหรือสถานการณจริงได อย าง เหมาะสม CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

99


รูปแบบการสอนผานรูปแบบ Active Learning หากกลาวถึงการเรียนรูแบบ Active Learning แลวนั้น หลายคนมักเขาใจวาเนนไปที่กิจกรรมนอก หองเรียนเปนสวนใหญ แตในความเปนจริงแลวการเรียนรูรูปแบบนี้ สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูไดทั้งในและ นอกหองเรียนได รวมทั้งยังสามารถใชไดกับผูเรียนทุกระดับชั้น และจะเนนไปที่การจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบ แบงเปนกลุมมากกวาการสอนรายบุคคล เพื่อลดความตึงเครียดที่จะเกิดตอผูเรียนได โดยรูปแบบของการสราง กิจกรรมการเรียนรูที่นิยมนํามาใชมักจะสอดคลองตามเนื้อหาที่เรียนหรือตามวัตถุประสงคของการเรียนรูที่ ครูผูสอนไดกําหนดขึ้นตองสอดคลองกับผูเรียนและครูผูสอนไดอยางเหมาะสม Bonwell, Charles C., and James, A Eison (1991) ไดสรุปถึงธรรมชาติของการเรียนรูแบบ Active Learning วาจะตองประกอบดวยคุณลักษณะสําคัญ ดังนี้ 1. เปนการเรียนรู ที่มุงลดการถ ายทอดความรูจ ากผูส อนไปยังผูเรียนใหนอยลง และพัฒนาทัก ษะ ที่จําเปนใหเกิดขึ้นกับผูเรียน 2. ผูเรียนมีสวนรวมในชั้นเรียนโดยลงมือกระทํามากกวาที่นั่งฟงเพียงอยางเดียว 3. ผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรม เชน อาน อภิปราย และเขียน 4. ในการสํารวจพื้นฐานและคุณคาที่มีอยูในผูเรียน 5. ผูเรียนไดพัฒนาการคิดระดับสูงในการวิเคราะห สังเคราะห และประเมินผลการนําไปใช 6. ทั้งผูเรียนและผูสอนรับขอมูลปอนกลับจากการแสดงความคิดไดอยางรวดเร็ว

การอาน การไดยิน

10% 20%

การมองเห็น

Passive 30%

การไดยิน+การมองเห็น ณ จุดนั้น

50% 70%

การรวมแสดงความคิดเห็นและบรรยาย การฝกปฏิบัติ การจําลองสถานการณจากประสบการณ

Active 90%

โดยหากยึดตามลักษณะการเรียนรูของมนุษยหรือ พีระมิดแหงการเรียนรู (Learning Pyramid) ของ Edgar Dale (1969) จะทํ า ให เ ห็ น ได ว า การอาน จะทําใหผูเรีย น เรีย นรูไดจ ากการอาน 10% เรีย นรูจาก การฟงหรือการไดยิน 20% เรียนรูจากการมองเห็น 30% แตการไดยินรวมกับการมองเห็น ณ จุดนั้น จะไดทํา ใหสามารถเรียนรูไดถึง 50% แตหากในการเรียนการสอนมีการใหผูเรียนไดรวมแสดงความคิดเห็นและบรรยาย จะไดทําใหสามารถเรียนรูไดถึง 70% และเพื่อประสิทธิภาพสูงสุดในการเรียนรูจะตองมีการฝกปฏิบัติและ การจําลองสถานการณจากประสบการณ จะไดทําใหสามารถเรียนรูไดถึง 90% CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

100


กลาวโดยสรุปงายๆ คือ การเรียนรูแบบ Active Learning คือ การจัดการเรียนรูที่เปดโอกาสใหผูเรียนได (1) อภิปรายกลุม (ทํางานกลุมและมีการอภิปรายลงขอสรุป) (2) ลงมือปฏิบัติ (ทําชิ้นงานบางอยาง) (3) นําเสนอผลงาน (สื่อสารใหผูอื่นเขาใจได) (4) วิจัยคนควาพัฒนาไดเอง (ตอยอดเปนโครงงานหรือสรางนวัตกรรม) นอกจากนี้ Brandes & Ginnis (1986) กลาวถึงการเรียนรูแบบ Active Learning ในฐานะการเรียนรู ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ และไดสรุปถึงความแตกตางระหวางการเรียนรูที่กระตือรือรนกับการเรียนรูที่ผูสอนเปน ศูนยกลาง โดยผูเรียนเปนฝายรับความรูฝายเดียว (Passive Learning) ไวดังนี้ Active Learning Passive Learning - เนนการทํางานเปนกลุม - เนนการบรรยายจากผูสอน - เนนการรวมมือกันระหวางผูเรียน - เนนการแขงขัน - เรียนรูจากแหลงเรียนรูที่หลากหลาย - เปนการสอนรวมทั้งชั้น - ผูเรียนรับผิดชอบตอการเรียนรูของตน - ผูสอนรับผิดชอบการเรียนรูของผูเรียน - ผูสอนเปนเพียงผูชี้แนะประสบการณและอํานวย - ผูสอนเปนผูชี้นําและจัดเนื้อหาเองทั้งหมด ความสะดวกในการเรียนรู - ผูสอนเปนผูใสความรูลงในสมองผูเรียน - ผูเรียนเปนเจาของความคิดและการทํางาน - เนนความรูในเนื้อหาวิชา - เนนทักษะการวิเคราะหและการแกปญหา - ผูสอนเปนผูวางกฎระเบียบวินัย - ผูเรียนมีวินยั ในตนเอง - ผูสอนเปนผูวางแผนหลักสูตรแตผูเดียว - ผูเรียนมีสวนรวมในการวางแผนหลักสูตร - ผูเรียนเปนฝายรับความรูที่ผสู อนถายทอดเพียงอยางเดียว - ผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนรูทกี่ ระตือรือรน - จํากัดวิธีการเรียนรูและกิจกรรม - ใชวิธีการเรียนรูที่หลากหลาย ที่มา: Bonwell, Charles C. and James. A. Eison. 1991: 19

การสอนภาษาจีนผานกิจกรรมแบบ Active Learning จากสถานการณปจจุบัน พบวาการเรียนภาษาจีนยังคงมีปญหาและอุปสรรคที่สามารถพบเห็นไดอยู ทั่วไป ดังนั้นแลวการนํารูปแบบหรือเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบ Active Learning มาประยุกตใช กับการสอนภาษาจีนเพื่อใหผูเรียนสามารถนําความรูที่ไดศึกษาไปประยุกตและปฏิบัติใชในชีวิตประจําวันได อยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด ครูผูสอนและผูเรียนจึงมีบทบาทสําคั ญที่จ ะชวยใหรูปแบบการจั ดการเรี ย น การสอนประสบความสําเร็จได ดังนั้นแลวครูผูสอนจึงจําเปนที่จะตองศึกษาและทําความเขาใจ เพื่อที่จะจัด กิจกรรมการเรียนรูใหแกผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยผูเขียนไดศึกษาและยกตัว อย างการเรียนการสอนโดยใช กิจ กรรมแบบ Active Learning จาก โรงเรียนบานน้ําเขียว จังหวัดสุรินทร (13 ตุลาคม 2564) ซึ่งมีเปาหมายใหนักเรียนไดรับการพัฒนาเต็มศักยภาพ เพื่อกาวสูความเปนเลิศตามแนวทางของตัวเอง และมีการเรียนรู มีทักษะและความสามารถตามระดั บชั้นที่ CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

101


กําหนดไวในหลักสูตร โดยครูผูสอนใชกระบวนการ PLC ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และจัดการสอนแบบ Active Learning เนนการสอนแบบ 5 Steps พัฒนาผูเรียน และนําขอมูลมาเสนอแนะเพื่อการปรับใหเขากับ การสอนภาษาจีนผานกิจกรรมแบบ Active Learning หนึ่งในเทคนิคสําคัญที่นํามาใชสอดแทรกไปกับเนื้อหา การเรียน คือ 5 Steps พัฒนาการเรียนการสอน เริ่มจาก 1. การตั้งคําถาม 2. การแสวงหาความรูสารสนเทศ 3. สรางองคความรู 4. เรียนรูเพื่อการสื่อสาร และ 5. การตอบแทนสังคม นําความรูไปเผยแพร การออกแบบ กิ จ กรรมการสอนของครู ผู ส อนจะต อ งคํ า นึ ง ถึ ง ธรรมชาติ ข องการเรี ย นรู แ บบ Active Learning ลั ก ษณะ การเรียนรูของมนุษย หรือ พีระมิดแหงการเรียนรู (Learning Pyramid) นอกจากนี้ ครู ผู สอนจําเปน ตองวิเ คราะหเปาหมายของการจัด การเรี ยนรูและเลือกเทคนิคการจัด กิจกรรมการเรียนรูทสี่ นับสนุนการเรียนรูตามแนว Active Learning ที่เหมาะสมกับเนื้อหาและสิ่งที่ตองการให ผูเรียนปฏิบัติตาม ทั้งนี้แลวควรมีการเลือกใชเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ส ะดวก งาย และใชเวลา ไม มากสํ าหรั บ การเริ่ มต น ของผู เ รี ย น เช น ใหผูเรีย นแขงขัน กัน ตอบคําถามที่เกี่ย วของกับ เนื้อหาบทเรียน ภาษาจีนพื้นฐานอยางเหมาะสม โดยอาจจะมีการนําภาพเขามาเปนสื่อกลางในการเรียนไดตามความเหมาะสม ของผูสอน นอกจากนี้แลวอาจมีการมอบหมายหนาที่ใหผูเรียนทําการเตรียมความพรอมดานเนื้อหา หรืออาน เนื้อหากอนเรียน เพื่อใหการเรียนเปนไปอยางราบรื่น ไมติดขัด และหากมีขอสงสัยสามารถสอบถามผูสอนได รูปแบบของการจัดกิจกรรมระหวางเรียนถือเปนการสรางประโยชนและเสริมสรางความรูใหกับผูเรียนไดเปน อยางดี แตทั้งนี้แลวการจัดกิจกรรมนิยมจัดเปนกลุมมากกวาการจัดรายบุคคล เนื่องจากการเรียนเปนกลุมทําให ผูเรียนไดสัมผัสกับบรรยากาศและความคิดเห็นของเพื่อนคนอื่นๆ อีกดวย อาทิเชน การจัดกิจกรรมในหองเรียน เปนการชวยกระตุนใหผูเรียนมีความกระตือรือรนและตั้งใจเรียนเนื้อหาวิชานั้นๆ โดยเนนไปที่การพูดภาษาจีน เปนการโตตอบกันตามสถานการณ จําลองดั งกลาว เพื่อฝกใหผูเรีย นใชทักษะดานการพู ดเพิ่ มมากขึ้ น และ สามารถนําไปปรับใชไดในชีวิตจริง ดวยรูปแบบของการเรียนแบบ Active Learning ผูสอนจึงไดมีการฝกให ผูเรียนไดมีการคนควาหาความรูเพิ่มเติมดวยตนเอง แตทั้งนี้ยังตองอาศัยคําแนะนําจากผูสอนเพื่อเปนแนวทาง ในการปฏิบัติอยางเหมาะสม แตทั้งนี้แลวการแสดงออกของผู เรียนแตล ะคนย อมมีความแตกตางกัน อย าง ชัดเจน เนื่องจากผูเรียนมีความเขาใจ ความคิดเห็นสวนตัวที่แตกตางกันไป ดังนั้นแลวผูสอนจึงจําเปนตองเขา ใจความแตกต า งในเรื่ องนี้เ ชน กั น นอกจากนี้แลว ดวยรูป แบบกิจ กรรมที่มีความหลากหลาย จําเปน ตองมี ขอบเขตหรือขอกําหนดในการสรางกิจกรรมนั้นๆ ขึ้นมา โดยกิจกรรมที่จัดขึ้นจําเปนตองมีความยืดหยุนเพื่อ เปดโอกาสใหผูเรียนไดแสดงความคิดของตนเองออกมาไดอยางเต็มที่ และไมมีขอจํากัดในการนําทักษะที่ได เรียนมาไปประยุกตใชในชีวิตจริง แตทั้งนี้แลวการเรียนรูรูปแบบ Active Learning จําเปนตองอาศัยการเรียนรู ผานในและนอกหองเรียนรวมกัน เชน การเรียนในหองเรียน ครูผูสอนสามารถควบคุมสถานการณ ซึ่งรวมไปถึง หัวขอหรือประเด็นที่ตองการศึกษาในชั้นเรียนเพื่อกระตุนใหเกิดการสรางปฏิสัมพันธในชั้นเรียนโดยใชทักษะ การสื่อสารแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางเพื่อนรวมชั้นได นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมที่เนนใหผูเรียนฝกการแก ไข สถานการณ เ ฉพาะหน า ผ า นการคิ ด ไตร ต รองอย า งเป น ระบบเรี ย บร อ ยแลว เราเรี ย กวิ ธี นี้ ว า การคิ ด ผ าน กระบวนการคิดขั้นสูง วิธีนี้จะชวยใหผูเรียนมีทักษะทางความคิด ที่ดี ขึ้น อีกทั้งยังชวยใหผูสอนสามารถนํ า แนวทางนี้ไปปรับใชกบั ผูเรียนคนอื่นไดอีกเชนกัน CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

102


จากการวิ เ คราะห บ ทบาทของผู เ รี ย นในการจั ดการเรี ย นรู สําหรับ ผูที่มีความสนใจด านการด า น การเรียนภาษาจีน ประกอบดวยบทบาทตางๆ มากมาย สวนใหญจะเปนเกี่ยวกับการแสดงออก ไมวาจะเปน การแสดงออกทางความคิดหรือการแสดงออกทางพฤติกรรม อาทิเชน การมีสวนรวมกิจกรรมภายในหองเรียน ตามที่ ค รู ผู ส อนกํ า หนดขึ้ น โดยให ค วามร ว มมื อ ในการปฏิ บั ติ ต ามและเสนอความคิ ด เห็ น เพื่ อ เสริ ม สร า ง การเรียนรูของตนเองอยางตอเนื่องอยูเสมอ นอกจากนี้แลวในขณะที่ใหความรวมมือในการทํากิจกรรมดังกลาว ผูเรียนจําเปนตองมีความรับผิดชอบตอบทบาทที่ตนเองไดรับมอบหมายอยางชัดเจน หากในบางกิจกรรมใน หองเรียนหรือสถานการณจริงผูเรียนสามารถแสดงออกผานการนําเสนอความคิดของตนเองไดอยางเต็มที่ ทั้งนี้ อาจจะเป น การถ า ยทอดผ า นรู ป แบบของการพูดหนาชั้น เรียน รูป แบบการเขีย น รวมไปถึ งการโต ตอบใน สถานการณจําลองตางๆ เพื่อเปนการฝกทักษะการใชภาษาจีน ในด านตางๆ ไดอยางครบถวน กลาวไดว า กิจกรรมสวนใหญที่ครูผูสอนไดจัดขึ้นเปนกิจกรรมที่เนนบทบาทของผูเรียนเปนหลัก เพื่อใหผูเรียนสามารถนํา ทักษะความรูที่ไดจากในชั้นเรียนไปปรับใชไดจริงในชีวิตประจําวันหรือสถานการณเฉพาะหนาที่ผูเรียนไมเคย พบเจอในบทเรี ย น และผู เ รี ย นสามารถแก ไ ขเหตุ ก ารณ เฉพาะหนา ได อ ยา งสร า งสรรค และเหมาะสมกั บ สถานการณจริงที่เกิดขึ้น ดังนั้นแลวการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนผานรูปแบบการเรียนรูแบบ Active Learning ถือเปน การปรับใชไดอยางเหมาะสม เนื่องจากสถานการณปจจุบันมีผูที่ใหความสนใจเรียนภาษาจีนเปนจํานวนมาก และเพื่อเสริมสรางความมั่นใจ และการเรียนรูใหเกิดประโยชนไดอยางสูงสุด สรุป รูปแบบการเรียนการสอนแบบ Active Learning จึงเปนอีกทางเลือกหนึ่งที่จะเปนตัวชวยในการเรียน สําหรับผูเรียนในยุคปจจุบัน ที่มีความสนใจเรี ยนภาษาจี น ไดอยางสอดคลองมากยิ่ งขึ้ น เนื่องจากการเรี ย น รูปแบบนี้ชวยสงเสริมใหผูเรียนและผูสอนไดมีปฏิสัมพันธโตตอบไดเปนอยางดี และสงเสริมใหผูเรียนไดนํา ความรูที่ไดศึกษาไปพัฒนาตอยอดไดจริงในชีวิตประจําวัน การสอนผานรูปแบบ Active Learning เปนรูปแบบ การเรียนรูที่ใหความสําคัญกับผูเรียนเปนหลัก แตทั้งนี้แลวยังจําเปนอยางยิ่งที่ตองอาศัยการใหความรวมมือ จากตั ว ของผู เรี ย นด ว ยเช น กั น ในส ว นนี้ ถือเปน บทบาทที่สําคัญ ของครูผูส อนที่จ ะเขามากระตุน และสราง แรงจู งใจให กับ ผู เ รี ย นให เ กิ ด ความสนใจและตั้งใจนําความรู ที่ไ ดเรีย นไปปรั บ ใชใ นชีวิตจริง ไดดว ยตนเอง โดยครูผูสอนอาจจะเนนการสอนไปที่เนื้อหาที่มีความสําคัญและนําเสนอรูปแบบการสอนใหนาสนใจ ผานรูปแบบ กิจกรรมการมีสวนรวมภายในหองเรียน เพื่อเปนการดึงดูดและสรางแรงบันดาลใจใหแกผูเรียนไดเปนอยางดี แตการที่จะดึงดูดใหผูเรียนเกิดความสนใจตอการเรียนในหองเรียน ครูผูสอนจึงจําเปนอยางยิ่งที่ตองศึกษา ขอมูลพฤติกรรมของผูเรียน เพื่อเปนการหาแนวทางในการโนมนาวผูเรียนที่มีความสนใจแตกตางกันแตล ะ รู ป แบบให หั น มาสนใจการเรี ย นภายในห อ งเรีย นรวมไปถึ งการให ความรว มมือ ในการทํา กิจ กรรมภายใน หองเรียนอีกเชนกัน ผลลัพธที่ไดจะสงผลใหผูเรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียนและอยากนําไปฝกปฏิบัติใชใน สถานการณจริงไดเปนอยางดี จากสถานการณปจจุบัน พบวาการเรียนภาษาจีนยังคงมีปญหาและอุปสรรคที่ สามารถพบเห็ น ได อยู ทั่ว ไป ดั งนั้ น แล ว การนํารูป แบบหรือเทคนิคการจัดกิจ กรรมการเรีย นรูแบบ Active CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

103


Learning มาประยุกตใชกับการสอนภาษาจีนเพื่อใหผูเรียนสามารถนําความรูที่ไดศึกษาไปประยุกตและปฏิบัติ ใชในชีวิตประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด เอกสารอางอิง ครูลูกน้ํา บุญทัพไท. (2564). 5 STEPS Active Learning พัฒนาเต็มศักยภาพเพื่อกาวสูความเปนเลิศตาม แนวทางของตัวเอง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: https://www.eef.or.th/article-5-steps-activelearning/ [2564, 13 ตุลาคม] จิตณรงค เอี่ยมสําอาง. (2558). Active Learning แนวทางการจัดการเรียนรูสําหรับผูเรียนในยุคศตวรรษ ที่ 21. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://chitnarongactivelearning.blogspot.com [2565, 12 กุมภาพันธ] ดร.สถาพร พฤฑฒิกุล. (2558). โครงการจัดการความรู (Knowledge Management) คณะเทคโนโลยี การเกษตร มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยเขตสระแกวเรื่อง “การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning” วันพฤหัสบดีที่ 3 ธันวาคม 2558. ดิเรก พรสีมา. (2559). ครูไทย 4.0. กระทรวงศึกษาธิการ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID [2565, 12 กุมภาพันธ] เผชิญ อุปนันท. (2559). การสอนแบบ Active Learning ในโรงเรียนขนาดเล็ก. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: https://www.gotoknow.org/posts/548960/ [2559, 22 กันยายน] เพลินตา พรหมบัวศรี และ อรพิน สวางวัฒนเศรษฐ. (2560). การพัฒนาครูโคชในศตวรรษที่ 21. วารสารวิจัย ทางวิทยาศาสตรสุขภาพ, 11(1). 110-121. Benzene. (2564). การประยุกตใช Active Learning ในการเรียนการสอน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.edbathai.com/Main2/ [2564, 22 มิถุนายน] Bonwell, Chareles c., and James. A. Eison. (1991). Active Learning; Creating Excitement in the Classroom. ASHE-ERIC Higher Education Report No.1. Washington, D. C. The George Washington University, School of Education and Human Development. Mckinney, S. E. (2008). Developing teachers for high-poverty schools: The role of the internship experience. Urban Education, 43(1), 68-82. [Online]. Available: http://www.eric.ed.gor [2022, 12 January]

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

104


เทคนิคการจัดการเรียนการสอนผานประสบการณและการสะทอนการเรียนรู ในหัวขอคุณภาพชีวิตดานจิตใจ TEACHING AND LEARNING TECHNIQUES THROUGH EXPERIENCE AND REFLECTION ON LEARNING ON THE TOPIC OF PSYCHOLOGICAL QUALITY OF LIFE เดือนเพ็ญ กชกรจารุพงศ* 1 0

บทคัดยอ บทความนี้มีวัตถุประสงคเพื่อแบงปนเทคนิคการจัดการเรียนการสอนผานประสบการณและการสะทอน การเรียนรูจากผูเรียน และผูสอน รวมถึงขอมูลจากการประเมินผลการทําแบบทดสอบ การสังเกต การสงภาพ ผลการรวมกิจกรรมในชั้นเรียน โดยการวิเคราะหขอมูลขางตน พบวา 1) ผูสอนจัดการเรียนรูเชิงรุกโดยใช เทคโนโลยีเปนฐานในการพัฒนาการสอนในรายวิชาคุณภาพชีวิต ในหัวขอคุณภาพชีวิตดานจิตใจ ใหกับผูเรียน ที่ ล งทะเบี ย นเรี ย น รวมทั้ งสิ้ น 6,345 คน จํานวน 4 ภาคเรีย น จากภาคเรีย นที่ 1 ปการศึกษา 2563 ถึ ง ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2564 2) ผูเรียนไดปฏิบัติตามเทคนิคพิชิตความเครียด ไดแก หัวเราะบําบัด การฝกเกร็ง และคลายกลามเนื้อ รวมถึงการฝกสมาธิแบบมีสติรูตัวโดยการตามเสียงระฆัง เพื่อนําไปใชในการผอนคลาย กลามเนื้อระหวางการทํางานหรือการเรียน 3) ผูเรียนสวนใหญพึงพอใจกับการจัดการเรียนการสอนที่แบงเปน หัวขอยอย และทําแบบทดสอบหลังเรียนหัวขอนั้นๆ ผลการจัดการเรียนรูเชิงรุกโดยใชเทคโนโลยีเปนฐาน สามารถนําไปประยุกตในรายวิชาอื่นได คําสําคัญ: การจัดการเรียนการสอน ประสบการณ คุณภาพชีวิต จิตใจ จัดการเรียนรูเชิงรุก เทคโนโลยีเปนฐาน ABSTRACT This article aims to share teaching and learning management techniques through experiences and learning reflections from learners and teachers, including data from test assessments, observations, and picture submissions of classroom activities. By analyzing the above data, it was found that 1) Instructors proactively organized learning by using technology based leaching development in quality of life courses, on the topic of psychological quality of life to 6,345 registered learners, totaling 4 semesters, from the first semester of the academic year 2020 to the second semester of the academic year 2021. 2) The learners followed stress- busting techniques such as laughter therapy, tensile training and muscle *1

ผูชวยศาสตราจารย ดร.เดือนเพ็ญ กชกรจารุพงศ อาจารย คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

105


relaxation. This includes practicing mindfulness meditation by following the bell, to be used to relax muscles during work or study 3) Most learners are satisfied with the teaching management that is divided into sub- topics and taking a test after studying for each topic. The results of active learning management using technology based learning can be applied in other courses. KEYWORDS: Teaching and Learning Management, Experience, Quality of Life, Mind, Active Learning Management, Technology Based Learning บทนํา เมื่ อสถานการณ ข องโลกมี การเปลี่ย นแปลงอย างรวดเร็ว ทําใหมีขอมูล จํานวนมากมายในสั ง คม โลกาภิวัฒนทั้งขอมูลที่จริงและไมจริงปะปนอยูจํานวนมาก การเรียนรูที่ถูกตอง จําเปนตองเปนการเรียนรูที่ทํา ใหเกิดทักษะในหลายมิติ การจัดการเรียนรูใหกับผูเรียนจําเปนตองมีการเปลี่ยนแปลงจากรูปแบบการเรียน การสอนแบบเดิมใหมีทั้งในมิติของการใชชีวิต การเรียนรู ครอบครัว รวมถึงทักษะการเอาตัวรอดจากสังคมที่ เต็มไปดวยความเสี่ยงจากภัยคุกคามตางๆ ที่มาจากสังคมที่เปลี่ยนแปลง ผูเรียนจําเปนตองมีองคความรูที่ หลากหลายศาสตร ทําใหสามารถแยกแยะไดวาความรูนั้นเปนความรูมาจากกลุมผูคนที่ประสงคดีหรือกลุมคนที่ ไมประสงคดี ขอมูลที่ไดรับมานั้นเปนขอมูลที่จริง เท็จ หรือบิดเบือน เพื่อใหผูเรียนมีการปรับตัวใหเ ข ากั บ สถานการณตางๆ ที่สะทอนตอสังคม ตลอดจนถึงการดําเนินชีวิตเปนไปอยางมีคุณภาพ สถานศึกษาจําเปนตอง จัดการเรียนรูใหผูเรียนเปนผูที่มีความรู และมีทักษะในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได ตลอดจนถึงมี ความสามารถในการปรับตัว โดยเนนการพัฒนาทักษะการเรียนรูและทักษะชีวิต รวมถึงการเรียนรูทักษะใหม เพื่อความอยูรอดในสังคม (วิจารณ พานิช, 2555: 2557) ความเชี่ยวชาญในวิ ชาหลั กหรื อวิชาแกนผสมผสานกับหัว ข อของศตวรรษที่ 21 มีความสําคั ญต อ ความสําเร็จของผูเรียน วิชาหลัก ไดแก ภาษาอังกฤษ การอาน หรือศิลปะภาษา ภาษาโลก ศิลปะ; คณิตศาสตร เศรษฐศาสตร; วิทยาศาสตร; ภูมิศาสตร; ประวัติศาสตร; รัฐบาล; และพลเมือง นอกจากนี้ สถานศึกษาตอง สงเสริมความเขาใจในเนื้อหาวิชาการในระดับที่สูงขึ้นมาก โดยการสานหัวขอที่ผสมผสานเปนสหวิทยาการแหง ศตวรรษที่ 21 เปนวิชาหลัก ไดแก 1. การรับรูทั่วโลก (Global Awareness) 2. ความรูทางการเงิน เศรษฐกิจ ธุรกิจ และผูประกอบการ (Financial, Economic, Business and Entrepreneurial Literacy) 3. การรูหนังสือพลเมือง (Civic Literacy) 4. ความรูดานสุขภาพ (Health Literacy) 5. ความรูดานสิ่งแวดลอม (Environmental Literacy)

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

106


ในขณะที่ทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม ในอดีตเปนทักษะที่แยกออกจากกัน แตในสังคมปจจุบันเปน ทักษะที่จําเปนที่ตองเตรียมพรอมสําหรับชีวิตและสภาพแวดลอมการทํางานที่ซับซอนมากขึ้นในโลกปจจุบัน ทักษะเหลานี้ไดแก 1. ความคิดสรางสรรคและนวัตกรรม (Creativity and Innovation) 2. การคิดอยางมีวิจารณญาณและการแกปญหา (Critical Thinking and Problem Solving) 3. การสื่อสาร (Communication) 4. การทํางานรวมกัน (Collaboration) เนื่องจากในปจจุบันเราอาศัยอยูในสภาพแวดลอมที่ขับเคลื่อนดวยเทคโนโลยีและสื่อ การเขาถึงขอมูล จํานวนมาก การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของเครื่องมือที่เปนเทคโนโลยี และความสามารถในการทํางาน รวมกันและมีสวนรวมกับบุคคลในระดับที่ไมเคยมีมากอน พลเมืองและผูปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพจะต อง สามารถแสดงทักษะการคิดเชิงหนาที่และการคิดเชิงวิพากษไดหลากหลาย เชน การรูสารสนเทศ รูเทาทันสื่อ (สารสนเทศ การสื่อสาร และเทคโนโลยี) การรูหนังสือ ผูเรียนในปจจุบันจําเปนตองพัฒนาทักษะชีวิต (Life Skill) และอาชีพ (Career Skill) นั่นคือทักษะการคิด ความรูดานเนื้อหา และความสามารถทางสังคมและ อารมณ เพื่อนําทางชีวิตที่ซับซอนและสภาพแวดลอมในการทํางาน ทักษะชีวิตและอาชีพที่สําคัญของ P21 (Battelle for Kids, 2019) ประกอบดวย 1. ความยืดหยุน (Flexibility) และการปรับตัว (Adaptability) 2. ความคิดริเริ่ม (Initiative) และการชี้นําตนเอง (Self-Direction) 3. ทักษะทางสังคม และขามวัฒนธรรม 4. การเพิ่มผลิตผล (Productivity) และความรับผิดชอบ (Accountability) 5. ความเปนผูนํา (Leadership) และความรับผิดชอบ (Responsibility) อย า งไรก็ ต ามการศึ ก ษาแบบเดิ ม ยั ง คงเน น ที่ ก ารพั ฒ นาทั ก ษะทางวิ ช าชี พ มากกว า ทั ก ษะชี วิ ต โดยเฉพาะอยางยิ่ง ทักษะชีวิตที่ผูเรียนจะตองพบเจอในทุกชวงวัย จึงเปนทักษะที่จําเปนที่ผูสอนควรแทรกใน ระหวางการเรียนการสอนในรายวิชาที่เนนทักษะวิชาชีพ แบบผสมผสานไปดวยกัน การเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ตองใชระบบสนับสนุน ที่เปนนวัตกรรมใหมเพื่อดึงดูดผูเรียนผานทักษะ และความรูที่เกี่ยวของ เทคโนโลยีที่เหมาะสม และการเชื่อมตอในโลกแหงความเปนจริง เพื่อใหการเรียนรูมี ความเกี่ยวของ เปนสวนตัว และมีสวนรวม P21 (Battelle for Kids, 2019) ไดระบุระบบสนับสนุนที่สําคัญ จํานวน 5 ระบบเพื่อใหแนใจวาผูเรียนทุกคนจะไดรับประสบการณการเรียนรูที่สรางความสามารถในศตวรรษที่ 21 ไดแก 1. มาตรฐานแหงศตวรรษที่ 21 (21st Century Standards) 2. การประเมินทักษะแหงศตวรรษที่ 21 (Assessments of 21st Century Skills) 3. หลักสูตร (Curriculum) และการสอนในศตวรรษที่ 21 (21st Century Instruction) 4. การพัฒนาวิชาชีพแหงศตวรรษที่ 21 (21st Century Professional Development) 5. สภาพแวดลอมการเรียนรูแหงศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Environments) CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

107


ในปจจุบันมีการนําเทคโนโลยีมาใชรวมกับการเรียนการสอนเชิงรุกเพื่อสนับสนุนการเรียนรูใหเกิด ประโยชนกับผูเรียนและผูสอนจํานวนมาก (Ghilay & Ghilay, 2015; Magrabi, 2021; อับดุลฮาลีม มามะ และคณะ, 2558; มู ณี เ ราะห มะนุ ง และคณะ, 2561; หรั ณ ย หมื่ น รั ก และคณะ, 2563; วิ ภ าดา สุ ข เขี ย ว และคณะ, 2563) การใชเทคโนโลยี มาสนับสนุน การเรี ยนการสอน จึงเปนการนํ าเครื่ องมื อมาชวยอํ า นวย ความสะดวกใหกับผูสอน ในการสงผานความรูใหกับผูเรียนหลากหลายระดับความรู ความสามารถ เชน ผูเรียน ที่ติดตามบทเรียนไมทัน สามารถเรียนยอนหลังได ผูเรียนที่เรียนออน สามารถทบทวนบทเรียนซ้ําได ในชวงการระบาดของไวรัสโคโรนา-19 เปนเวลา 2 ป สงผลกระทบตอการเรียนการสอนเชิงรุกใน หองเรียน โดยเฉพาะผูเรียนกลุมใหญ ดังนั้นการจัดการการเรียนการสอนในรายวิชาศึกษาทั่วไปที่มีผูสอน จํานวนหลายคนใหกับผูเรียนกลุมใหญ ทําใหผูสอนตองจัดการเรียนการสอนผานระบบออนไลนและพัฒ นา กระบวนการจัดการเรียนการสอนในแตล ะภาคการศึกษา หากผูสอนตองการจัดการเรี ยนการสอนเพื่ อ ให บรรยากาศเหมือนกับการสอนแบบออนไซต จําเปนตองคํานึงถึงอุปสรรคที่เกี่ยวของหลายดาน เชน จํานวน ของผูเรียนที่สามารถเขาใชระบบการจัดการเรียนรู (Learning Management System: LMS) ไดพรอมกันใน เวลาเดียวกัน ความเสถียรของระบบเครือขายเมื่อใหผูเรียนเปดกลองผาน WebEx, Zoom หรือ Google Meet จึงจําเปนตองมีการปรับวิธีการสอนที่ทําใหผูเรียนไดมีสวนรวมกับการเรียนการสอนใหมากที่สุด แตวิธีการ ดังกลาวอาจจะสงผลใหผูเรียนทุกคนไมสามารถทํากิจกรรมการเรียนการสอนไดพรอมกันในเวลาเดียวกันกับที่ ฝายทะเบียนจัดตารางสอนไว ทําใหตองเขาเรียนเหลื่อมเวลากัน การเรียนการสอนผานระบบออนไลนตลอดระยะเวลา 2 ป ที่มีการระบาดของไวรัสโคโรนา-19 ทําให ผูเรียนตองเรียนหรือทํากิจกรรมตางๆ อยูที่หนาจอคอมพิวเตอรหรือสมารทโฟนเปนเวลาหลายชั่วโมง สงผลให ผูเรียนเกิดความเครียด การเรียนวิชาคุณภาพชีวิตทางดานจิตใจ จะมีรายละเอียดเนื้อหา การเรียนรู และ แนวทางการปฏิบัติ ที่อํานวยใหผูเรียนไดเรียนรูเทคนิคพิชิตความเครียด และการผอนคลายกลามเนื้อมาใช ซึ่งแนวทางนี้สามารถใชรวมกับการเรียนการสอนออนไลนในวิชาตางๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัด การ เรียนการสอนได คุณภาพชีวิตดานจิตใจ ในการจั ดการเรี ย นการสอนวิ ช าคุ ณภาพชีวิต มีการแบงเปน หัว ขอหลั กจํา นวน 6 หัว ขอ เพื่อให ครอบคลุมทักษะหลากหลายมิติ ประกอบดวย กรอบแนวคิดคุณภาพชีวิตและดัชนีคุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิต ดานรางกาย คุณภาพชีวิตดานจิตใจ คุณภาพชีวิตดานเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม เทคโนโลยีสารสนเทศกับ การพัฒนาคุณภาพชีวิต กฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวของกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต มีผูสอนรวมจํานวน 13 คน โดยมีกลุมผูเรียน 5 กลุม เปดใหผูเรียนชั้นปที่ 1 และตกคางไดลงทะเบียนเรียนทุกภาคการศึกษา ในชวงการระบาดของไวรัสโคโรน า-19 ผูคนจํานวนมากประสบปญ หาดานการทํางาน การเรีย น สุขภาพรางกายและจิ ต ใจ สงผลใหเปนโรคซึมเศร า และนํามาสูการตัดสิ นใจฆาตัวตาย การสอนในหั ว ข อ คุณภาพชีวิตดานจิตใจใหกับผูเรียนในสถานการณเชนนี้ จึงเปนหัวขอที่สําคัญตอผูเรียนเพื่อใหสามารถนํ า หลักการไปใชไดในสถานการณวิกฤต หรือแมแตในสภาวะปกติเพื่อใหผูเรียนมีสุขภาพกายและใจเขมแข็งพรอม รับสถานการณใดๆ ซึ่งไมสามารถคาดเดาในอนาคตที่อาจเกิดขึ้นได CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

108


การจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาการสอน การพั ฒ นาการสอนจากการเรี ย นรู ผ า นประสบการณ จั ด เป น รู ป แบบหนึ่ ง ที่ ไ ด รั บ ความนิ ย มใน ระดับอุดมศึกษา โดยจัดการเรียนการสอนผานการวางแผนการสอน สังเกตผูเรียน การประเมินผลการเรียนรู ของผูเรียน ไดแก ผลการเรียนรูจากการทําแบบทดสอบ การทํากิจกรรมกลุม/รายบุคคล และการสะทอนผล การเรี ย นจากผู เ รี ย น ในรายวิ ช าคุ ณภาพชี วิต หัว ขอ คุณภาพชีวิตดานจิตใจ จํานวน 3 ชั่ว โมง เปน เวลา 4 ภาคการศึ กษาๆ ละ 5 กลุ ม (เทอม 1 ป 2563 ถึ งเทอม 2 ป 2564) ใหกับ ผูเรีย นที่ล งทะเบีย นเรี ย น รวมทั้งสิ้น 6,345 คน ผูสอนใชวิธีหลากหลายในการพัฒนาการสอนเพื่ อจัดการเรีย นรู จากการจัด การเรีย นการสอนใน ครั้งแรก 1/2563 ผูสอนบรรยายหัวขอคุณภาพชีวิตดานจิตใจ ผานระบบ WebEx ซึ่งในหัวขอนี้จะเนนเรื่อง การใหความหมายและความสําคัญของจิตใจ การฝกออกกําลังใจ การหายใจแบบมีสติรูตัว เทคนิคการคลายเครียด การหายใจผอนคลายกลามเนื้อ การบริหารจิตใจ คุณธรรม จริยธรรม โดยใหผูเรียนทํากิจกรรมรวมกันพรอม เปดกลอง เปนระยะ ๆ เชน ในชวงของการฝกปฏิบัติหัวเราะบําบัดทุกทา ไดแก ทองหัวเราะ อกหัวเราะ ไหล หั ว เราะ ใบหน า หั ว เราะ และท า ประยุ กต การหัว เราะแบบเคลื่ อนไหวร างกายเพื่ อใหผูเรีย นคลายเครี ย ด เนื่องจากการหัวเราะแตละครั้งจะเทียบเทากับการไดออกกําลังกายถึง 45 นาที สงผลใหสารเอนโดรฟนหลั่ง ทําใหผูเรียนที่ทํากิจกรรมตาม รูสึกมีความสุข เนื่องจากการบริหารรางกายดวยการหัวเราะจะทําใหผูเรียน คลายเครียด โดยไมจําเปนตองคนหาหรือพูดคุยเรื่องตลกใหผูเรียนรูสึกขํากระทั่งหัวเราะ แตผูเรียนสามารถ กําหนดการหัวเราะไดทุกเวลาที่ตองการ เมื่อผูเรียนทําทาหัวเราะตางๆ ตามอาจารยผูสอน ผูชวยสอนจะทํา หนาที่เช็คชื่อผูเรียนที่รวมกิจกรรม นอกจากนี้ยังมีเทคนิคการผอนคลายกลามเนื้อโดยเนนการหด เกร็ง และคลายกลามเนื้อ จํานวน 10 ทา รวมถึงการฝกสมาธิแบบรูสึกตัว โดยใหผูเรียนฟงเสียงระฆัง ดังเปนระยะๆ เปนเวลา 5 นาที และใหผูเรียน ยกมือคางไว เมื่อยังคงไดยินเสียงระฆัง และเอามือลง เมื่อไมไดยินเสียงระฆัง เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน ผูสอนไดใหผูเรียนฝกทําแบบทดสอบผานทาง Quizizz แตปญหาที่เกิดขึ้น คือ แบบทดสอบที่สรางขึ้นรองรับ ผู เ รี ย นได ไม เ กิ น 500 คน ผู ส อนจึ งแก ป ญ หาดว ยการสรางลิงกแบบทดสอบใหผูเรีย นเขาจํานวน 5 ลิงก เพื่อรองรับกลุมผูเรียนทั้ง 5 กลุม จากนั้นเมื่อทุกกลุมไดเรียนหัวขอคุณภาพชีวิตดานจิตใจและทําแบบทดสอบ ครบทุกกลุมแลว ผูสอนจึงนัดหมายผูเรียนทําแบบทดสอบ จากชุดแบบทดสอบเดิมที่ผูเรียนเคยฝกทํามากอน ผานระบบ TSU Moocs แตเนื่องจากจํานวนผูเรียนในภาคการศึกษา 1/2563 ประมาณหนึ่งพันหาร อยคน ทําให TSU Moocs ไมสามารถรองรับการทําแบบทดสอบไดในขณะนั้น ทางผูบริหารระบบ TSU Moocs แจงวา รองรั บ ได เ พี ย ง 300 คน ต อ การทดสอบ 1 ครั้ ง ดั ง นั้ น ผู ส อนจึ ง นั ด หมายเวลาผู เ รี ย นในแต ล ะกลุ ม ทํ า แบบทดสอบเหลื่ อ มเวลากั น ผ า นระบบ TSU Moocs จํ า นวน 5 กลุ ม ซึ่ ง แบบทดสอบเป น แบบตั ว เลือก โดยผูสอนกําหนดใหระบบสลับตัวเลือก และสลับขอ ในภาคเรียนที่ 2/2563 ผูสอนยังคงบรรยายสดผานระบบ WebEx และใหผูเรียนทําแบบทดสอบ หลังเรียนผานระบบ TSU Moocs โดยอนุญาตใหผูเรียนสามารถทําซ้ําไดสูงสุดถึง 5 ครั้ง โดยพิจารณาจาก คะแนนสูงสุด และมีการประเมินผลการเรียนรูจากผูเรียนในแตละกลุม (กลุมละประมาณ 20 คน) เพื่อใหผูเรียน CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

109


ทํากิจกรรมกลุมรวมกัน ไดแกการปฏิบัติหมูดวยการหัวเราะบําบัด และผอนคลายความเครียดโดยการฝกการเกร็ง และคลายกลามเนื้อ โดยอางอิงจากคลิปผูสอน และกําหนดใหผูชวยสอนตรวจการทํากิจกรรมตางๆ (เชน หัวเราะ บําบัด ผอนคลายความเครียด และการทําสมาธิรูสึกตัวดวยการกําหนดสติโดยการเคลื่อนไหวมือตามเสียง ระฆัง) รวมกับผูสอน และติดตามเช็คลิสทที่ผูสอนมอบหมายให ในภาคเรียนที่ 1/2564 ผูสอนอัดคลิปเนื้อหาเรื่องคุณภาพชีวิตดานจิ ตใจ โดยแบงเปนคลิปยอยๆ เรียงตามลําดับเนื้อหา ตอดวยการทําแบบทดสอบที่มีการกําหนดเวลาและจํานวนครั้งในการทําแบบทดสอบ แตละขอตอทายแตละคลิป ลงในระบบ TSU Moocs ดังรูปที่ 1 สําหรับแตละกลุมผูเรียน จํานวน 5 กลุม และ ในระหวางที่กําลังเรียนตามคลิป เมื่อพบคลิปใดที่ผูเรียนจะตองปฏิบัติตามผูสอนๆ ไดกําหนดใหผูเรียนถายภาพ การรวมกิจกรรมกับผูสอน เชน การหัวเราะบําบัด หรือการผอนคลายกลามเนื้อ หรือการฝกสติรูสึกตัวตาม เสียงระฆัง ดังรูปที่ 2 เพื่อสงภาพใหผูชวยสอนรวบรวม หลังจากผูเรียนเรียนเสร็จแตละคลิปจะมีแบบทดสอบ ใหผูเรียนไดฝกทํา โดยผูเรียนจะตองเรียนตามลําดับ และทําแบบทดสอบใหครบทุกขอ ไมสามารถขามหัวขอใด ไปได นั่ น คื อผู เ รี ย นเรี ย นเสร็ จ ทํ า แบบทดสอบครบทุ กข อ เสร็ จ แล ว จึง จะสามารถเรี ย นบทเรี ย นถั ด ไปได แตปญหาที่พบ คือ เมื่อผูเรียนเขามาเรียนผานระบบ TSU Moocs พรอมกันจํานวนมาก ทําใหระบบลม ดังนั้น ผูสอนจึงขอใหผูเรียนเขาระบบเหลื่อมเวลากัน และขยายเวลาในการเรียนรวมถึงการทํากิจกรรมกลุมรวมกับ ผูสอนจากคลิป และทําแบบทดสอบใหแลวเสร็จภายใน 1 สัปดาห กอนเรียนหัวขอถัดไป โดยมีผูชวยสอนทํา หนาที่แจงผูเรียนที่เรียนตามคลิปเสร็จแลว การสงภาพที่ผูเรียนไดปฏิบัติกิจกรรมรวมกับผูสอนจากคลิป รวมถึง ผลการทําแบบทดสอบเสร็จแลวใหผูสอนทราบ ในภาคการศึกษานี้ผูสอนไดสอบถามความพึงพอใจของผูเรียน แตละกลุมผานระบบไลน เพื่อใหผูเรียนเขามาแสดงความรูสึกโดยไมมีผลตอคะแนนของผูเรียน ผลการแสดง ความรูสึกของผูเ รีย นสวนใหญเ กื อบทุ กคนที่ต อบมา มีความพึงพอใจกับ การสอนแบบแบ งเปน คลิ ป ย อ ยๆ ตามด ว ยการทํ า แบบทดสอบทั น ที ห ลั งจากเรี ย นแตล ะคลิป เสร็จ แลว รวมถึงความพึงพอใจที่ มี ความรู สึ ก สงบ สบาย ผอนคลาย จากการไดรวมกิจกรรมตางๆ ระหวางเรียนดังรูปที่ 3

รูปที่ 1 ตัวอยางหนาจอ ในระบบ TSU Moocs แสดงหัวขอคลิปที่แบงเปนหัวขอยอย และตามดวยแบบทดสอบทายคลิป โดยมีกําหนดเวลาในการทําแบบทดสอบ และการนับความพยายามในการตอบแบบทดสอบกระทั่งตอบถูกตอง CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

110


รูปที่ 2 ตัวอยางภาพกิจกรรมที่ผูเรียนสงผูสอน เมื่อปฏิบัติตามกิจกรรมเทคนิคพิชิตความเครียด

รูปที่ 3 ตัวอยางการแสดงความรูสึกของผูเรียนผานระบบไลน CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

111


ในภาคเรียนที่ 2/2564 ผูสอนใหผูเรียนเรียนตามคลิปที่ไดแบงไวเปนหัวขอยอยๆ เรียงตามลําดับ ตามดวยแบบทดสอบ ในระบบ TSU Moocs เชนเดียวกับภาคการศึกษาที่ผานมา พรอมกําหนดเวลาเริ่มตน สิ้นสุดแตละคลิป รวมถึงการกําหนดเวลาและจํานวนครั้งในการทําแบบทดสอบทายบท สําหรับแตละกลุม ผูเรียน หลังจากผูเรียนเรียนเสร็จแตละคลิปจะมีแบบทดสอบใหผูเรียนไดฝกทํา โดยผูเรียนจะตองเรียนแตละ หัวขอและทําแบบทดสอบแตละขอตามลําดับใหครบทุกขอ ไมสามารถขามหัวขอใดไปได ในภาคการศึกษานี้แต ละแบบทดสอบจะมีการใหความชวยเหลือผูเรียนหากคําตอบของผูเรียนไมถูกตอง จะมีการใหขอมูลยอนกลับ ในรูปแบบของธนพร และคณะ (2565) ใหแกผูเรียนในระดับแรก เพื่อเปนการกระตุนใหผูเรียนสังเกตสิ่งที่ได ตอบไป (เชน หนาจอการกําหนดการตอบกลับในรูปที่ 4) และหากผูเรียนตอบไมถูกตองในครั้งถัดไป ระบบ จะแจงใหผูเรียนศึกษาคลิปที่เพิ่งเรียนมานั้นอีกครั้ง (เชน หนาจอการกําหนดการตอบกลับในลักษณะการให คํ า แนะนํ า ดั งรู ป ที่ 5) สํ า หรั บ รู ปแบบการใหคําแนะนําผูเรียน ผูส อนจะเนน ใหการตอบกลับ แบบแซนวิช (Feedback Sandwich) ซึ่งเปนวลีเชิงบวกประกบคําแนะนําใหแกไขขอผิดพลาด (Kochakornjarupong & Brna, 2010) ดังตัวอยางในรูปที่ 6 นอกจากนี้ระบบยังอนุญาตใหผูเรียนสามารถตอบซ้ําไดมากกวา 1 ครั้ง เพื่อใหโอกาสผูเรียนไดทบทวนเนื้อหากอนตอบ แตผลจากคะแนนผูเรียนพบวามีผูเรียนที่มีความขยันในการทํา แบบทดสอบซ้ํ า จํ า นวนหนึ่ ง กระทั่ ง ได ค ะแนนเต็ ม แต จ ะมี ผู เ รี ย นอี ก จํ า นวนหนึ่ ง ที่ พ อใจในคะแนนที่ ได ขาดความอดทนในการทําซ้ําเพื่อใหไดคะแนนที่สูงขึ้น

รูปที่ 4 ตัวอยางภาพการกําหนดการใหขอมูลยอนกลับในระดับแรก “ยังไมถูกนะคะ ลองอานโจทยใหดีๆ คะ”

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

112


รูปที่ 5 ตัวอยางภาพการกําหนดการใหขอมูลยอนกลับในระดับถัดไป “ขอใหนิสิตกลับไปศึกษาคลิปที่อาจารย บรรยายใหมนะคะ อาจารยใหโอกาสหนูตอบอีกรอบคะ แตตองกลับไปฟงคลิปใหมนะคะ ไมใชตัดสินใจเลือกคําตอบโดยไมไดทบทวนเลย”

รูปที่ 6 ตัวอยางภาพการกําหนดการใหขอมูลยอนกลับแบบแซนวิช “ยังไมถูกนะคะ อานโจทยใหดีๆ คะ ลองไปศึกษาคลิปที่อาจารยสอนอีกครั้งนะคะ สูๆ คะ หนูทําไดคะ” อยางไรก็ตามแมผูเรียนบางคนไดใชความพยายามในการทําซ้ําจนเกินโควตาที่ระบบกําหนดใหแลว แตก็ยังตอบคําถามผิด อันเนื่องมาจาก ผูเรียนอาจไมไดกลับไปศึกษาคลิปเดิม เพื่อนําคําตอบมาตอบใหถูกตอง หรือผูเรียนพยายามเดาคําตอบไปเรื่อยๆ โดยไมไดอานคําตอบอยางละเอียด

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

113


สรุป จากประสบการณ การพัฒนาการจัด การเรี ยนการสอน ในชวง 4 ภาคการศึกษาดังที่ กลาวมาแล ว ขางตน ผูสอนมีการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน นิสิตจํานวน 5 กลุม มีผูเรียนกวา 6,345 คน (ขอมูลนิสิตที่คงอยูในปจจุบันที่ไดจากระบบทะเบียนหลังจากนิสิตเรียนผานรายวิชาแลว) โดยปรับปรุงการสอน จากเทอม 1 ปการศึกษา 2563 ผูเรียนแตละคนทํากิจกรรมตามผูสอนโดยปฏิบัติตามเทคนิคพิชิตความเครียด ไดแก หัวเราะบําบัด การฝกเกร็งและคลายกลามเนื้อ รวมถึงการฝกสมาธิแบบมีสติรูตัวโดยการตามเสียงระฆัง และในสวนของการทําแบบฝกหัดเพื่อทบทวนบทเรียน ผูสอนไดแบงกลุมผูเรียนใหมีการเขาถึงระบบการจัดการ การเรียนการสอน โดยใหเขาถึงแบบเหลื่อมเวลากัน เนื่องจากเวลาจํากัดทําใหไมสามารถประเมินผลการเรียนรู เปนรายบุคคลไดอยางชัดเจน จึงมีการปรับปรุงวิธีการสอนในเทอมถัดไป เพื่อใหเกิดการทํากิจกรรมกลุมรวมกัน ผูสอนจึงปรับปรุงการเรียนการสอน เทอม 2 ปการศึกษา 2563 โดยใหผูเรียนทํากิจกรรมกลุมออนไลนผานหนาจอ WebEX โดยผูสอนสุมเลือกหัวขอในการนําเสนอกิจกรรม ไดแก หัวเราะบําบัด การฝกเกร็งและคลายกลามเนื้อ รวมถึงการฝกสมาธิแบบมีสติรูตัวโดยการตอบสนองการ เคลื่อนไหวมือตามเสียงระฆัง และประเมินการเขารวมกิจกรรมรวมกับผูชวยสอนตามรายการประเมินที่กําหนด ไว และใหโอกาสผูเรียนไดทําแบบฝกหัดทบทวนซ้ําคนละไมต่ํากวา 5 ครั้ง แตก็ไมสามารถวัดผลไดวาผูเรียนได ศึกษาเนื้อหาและเขาใจบทเรียนหรือไม นอกจากนี้การนัดหมายการทํากิจกรรมกลุมแบบออนไลนสําหรับนิสิต สวนใหญที่เพิ่งรูจักกันในชั้นปที่ 1 เพื่อใหสมาชิกทํากิจกรรมรวมกันอาจทําใหมีอุปสรรคสําหรับบางกลุมผูเรียน ผูสอนจึงปรับปรุงการสอนในเทอมถัดไป เทอม 1 ปการศึกษา 2564 ผูสอนไดตรวจสอบการเขาเรียนและประเมินผลการเรียนของผูเรียนแบบ เรียงลําดับ โดยผูเรียนแตละคนจะตองศึกษาคลิปสั้นๆ ที่ผูสอนตัดแบงเนื้อหาไวแลว รวมถึงสงภาพการเขารวม กิจกรรมโดยปฏิบัติตามคลิปผูสอน และตามดวยการทําแบบฝกหัดทายคลิป ที่มีการเรียงลําดับเนื้อหาและ ตอดวยแบบฝกหัดสลับกันไปกระทั่งจบบทเรียน แมวาวิธีการนี้จะชวยใหผูสอนไดติดตามพฤติกรรมการเรียน ของผูเรียนไดดี แตหากผูสอนไมไดวางแผนการกําหนดชวงเวลาเปดคลิป และระยะเวลาในการเรียนหัว ข อ ถั ด ไป รวมถึ งจํ า นวนครั้ งในการทํ า แบบฝกหัด จะทําใหเสีย เวลาในการปรับ แกไขฟงกชัน ของการติดตาม พฤติกรรมในแตละคลิป ในแตละแบบฝกหัด และในแตละกลุมของผูเรียน (ทั้ง 5 กลุม) ผูสอนจึงแก ปญหา ดังกลาวในภาคการศึกษาถัดไป เทอม 2 ปการศึกษา 2564 ในภาคการศึกษานี้ผูสอนไดระบุเวลาเปดคลิปแบบยืดหยุนมากขึ้น โดยไม ปรับเวลาของการเปดคลิปยอยๆ ที่เรียนตอเนื่องกับการทําแบบฝกหัดทายคลิป เพื่อไมใหกระทบกับคลิปและ แบบฝกหัดอื่นๆ ที่ตามมา เมื่อกําหนดชวงเวลาที่ยืดหยุนมากขึ้น จึงสามารถขยายเวลาใหผูเรียนไดมีโอกาส เรียนและทํากิจกรรมกลุมไดนานขึ้น โดยไมตองเสียเวลาในการปรับการเริ่มตนของคลิปตางๆ ที่จะตองเรียน ตอเนื่องตอไป ในแตละกลุม นอกจากนี้ผูสอนยังปรับปรุงการทําแบบฝกหัดโดยมีการใหขอมูลยอนกลับแก ผูเรียน หากมีการตอบกลับถูกตอง หรือผิด หรือใหขอมูลยอนกลับเชิงบวกโดยกระตุนใหผูเรียนพยายามศึกษา เนื้อหากอนตอบคําถามในครั้งถัดไป เนื่องจากผูสอนเปดโอกาสใหผูเรียนไดทําแบบฝกหัดมากกวา 1 ครั้ง

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

114


อยางไรก็ตาม จากการจัดการเรียนการสอนที่ผานมาทั้ง 4 ภาคเรียน สามารถพัฒนาหรือปรับปรุง การจัดการเรียนการสอนในอนาคตไดดังนี้ 1. ในระหว า งที่ ผู เ รี ย นได รั บ ข อความตอบกลับ (Feedback) จากระบบ ผูเรีย นควรอานขอความ ดังกลาวดวยเสียงดัง (Think aloud process) เพื่อเปนการหยุดใหผูเรียนไดสังเกตคําตอบของตนเองวาเหตุใด จึงตอบไมถูกตอง 2. เพื่อเปนการสนับสนุนใหการเรียนการสอนมีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนาชุมชนและสังคม ควรให ผูเรียนถายคลิปการทํากิจกรรมรวมกับครอบครัว เพื่อนบาน หรือชุมชนที่ผูเรียนอาศัยอยูหรือบริเวณใกลเคียง จัดเปนการสงเสริมใหกัลยาณมิตรไดมีโอกาสไดรวมกันทํากิจกรรมในการผอนคลายความเครียดตางๆ เพื่อลด ปญหาโรคเครียด หรือโรคซึมเศราที่จะเปนปจจัยใหเกิดการฆาตัวตายตอไป 3. ควรมีการปรับปรุงการใหขอความยอนกลับที่อยูในรูปแบบแซนวิชทุกขอความ ที่มีการใหคําแนะนํา ผูเรียน โดยมีระดับการใหขอความตอบกลับเริ่มจากการกระตุนใหผูเรียนไดคิดถึงคําตอบที่ไดตอบไป ระดับ ถัดไปอาจบอกเปนนัยใหไปหัวขอที่เกี่ยวของกับขอผิดพลาดนั้นๆ และระดับถัดไปอาจระบุชวงเวลาในคลิปที่ เกี่ยวของกับคําอธิบายในหัวขอยอยนั้นๆ หรือชวงเลขหนาของเอกสารที่เกีย่ วของกับคําตอบ และระดับสุดทาย โดยการบอกคําตอบ แนวทางในการจัดการเรียนรูเชิงรุกโดยใชเทคโนโลยีเปนฐานในรายวิชาคุณภาพชีวิต หัวขอคุณภาพ ชีวิตดานจิตใจสามารถนําไปประยุกตกิจกรรมรวมกับรายวิชาอื่นได โดยแทรกเปนกิจกรรมยอยระหวางเรียน เพื่ อ ให ผู เ รี ย นผ อ นคลายความเครี ย ดจากการเรี ย น เป น ระยะๆ เป น การส ง เสริ ม ให ก ารเรี ย นการสอนมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รายการอางอิง ธนพร อุทัย, เดือนเพ็ญ กชกรจารุพงศ และวิภาฤดี วิภาวิน. (2565). “การพัฒนาแนวคิดเชิงคํานวณ โดยใช การจัดการเรียนรูเชิงรุกรวมกับชุดฝกทักษะ DPAA และการใหขอมูลยอนกลับแบบโตตอบผานระบบ ออนไลนสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4” ใน งานประชุมวิชาการระดับชาติศึกษาศาสตรวิจัย ครั้งที่ 9 และนานาชาติ ครั้งที่ 5 ผานระบบออนไลน. (หนา 2692-2706). วันที่ 19-20 พฤษภาคม 2565, คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี. มูณีเราะห มะนุง เดือนเพ็ญ กชกรจารุพงศ และวิภาฤดี วิภาวิน. (2561). การพัฒนาแนวคิดการเขียนโปรแกรม และแรงจูงใจในการเรียน เรื่องการแกปญหาและขั้นตอน วิธี โดยการจัดการเรียนรูเชิงรุกรวมกับ Quizizz และ Scratch ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4. The 7th PSU Education Conference “Higher Education for All: Surviving in Times of Change”, 13-14 ธันวาคม 2561 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร, หนา 93-98. วิจารณ พานิช. (2555). วิถีสรางการเรียนรูเพื่อศิษยในศตวรรษ ที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ. วิจารณ พานิช. (2557). การบริหารการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21. ClassStart Academy. [ออนไลน]. สืบคนจาก https://youtube/rN-ByhTliqM [2565, 7 กรกฎาคม] CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

115


วิจารณ พานิช. (2557). การเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21. [ออนไลน]. สืบคนจาก ClassStart Academy. https://www.youtube.com/watch?v=9oXh9QiHfOk [2565, 7 กรกฎาคม] วิภาดา สุขเขียว, เดือนเพ็ญ กชกรจารุพงศ และวิภาฤดี วิภาวิน (2563). การพัฒนาความคิดเชิงคํานวณ โดยการจัดการเรียนรูเชิงรุกรวมกับ Edmodo เเละ Quizizz สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4. การประชุมวิชาการระดับชาติ เทคโนโลยีภาคใตวิจัย ครั้งที่ 10. 21 กุมภาพันธ 2563. นครศรีธรรมราช: วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต. (หนา EO21 - EO28) หรัณย หมื่นรัก, เดือนเพ็ญ กชกรจารุพงศ และวิภาฤดี วิภาวิน (2563). ผลการพัฒนาทักษะการเขียน โปรแกรมภาษาไพทอนโดยการจัดการเรียนรูเชิงรุกรวมกับการสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรว และ แอปพลิเคชันทางการศึกษา. รายงานการประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2, มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร พื้นที่ศาลายา จังหวัดนครปฐม. 1 พฤษภาคม 2563, หนา 474-481. อับดุลฮาลีม มามะ, วิภาฤดี วิภาวิน, และเดือนเพ็ญ กชกรจารุพงศ. (2558). ผลการจัดการเรียนรูแบบ ผสมผสานโดยใชรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของ เดวีส เรื่องการสรางสรรคงาน มัลติมีเดีย ที่มีตอทักษะปฏิบัติ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปที่ 4. รายงานการประชุมการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา, 28-29 พฤษภาคม 2558. Battelle for Kids. (2019). Framework for 21st Century Learning. สืบคนจาก https://static.battelleforkids.org/ documents/p21/P21_Framework_Brief.pdf [2565, 7 กรกฎาคม] Ghilay, Y. and Ghilay, R. (2015). TBAL: Technology-Based Active Learning in Higher Education. Journal of Education and Learning, 4(5), 10-18. Kochakornjarupong, D. and Brna, P. (2010). Helping Feedback-Givers to Improve their Feedback. International Journal of Continuing Engineering Education and Lifelong Learning, 20(2), 148-168. Magrabi, S. A. R. (2021). Technology Enabled Active Learning in Electrical Engineering. In O. Lutsenko, & G. Lutsenko (Eds.), Active Learning - Theory and Practice. IntechOpen. https://doi.org/10.5772/intechopen.95930

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

116


การพัฒนารูปแบบการจัดสหกิจศึกษาสําหรับสาขาวิชาดานการจัดการโลจิสติกส THE DEVELOPMENT ON COOPERATIVE EDUCATION MANAGEMENT MODEL FOR THE LOGISTICS MANAGEMENT MAJOR วีรวิชญ เลิศไทยตระกูล*1 บทคัดยอ การจัดการเรียนการสอนรูปแบบสหกิจศึกษาเปนการบูรณาการความรวมมือระหวางสถาบันอุดมศึกษา กับสถานประกอบการ เพื่อเตรียมความพรอมในการประกอบอาชีพและเขาสูการทํางานของบัณฑิตกอนสําเร็จ การศึกษา ทั้งนี้การจัดการสอนรูปแบบสหกิจศึกษามุงหวังเพื่อใหสถาบันการศึกษาพัฒนาคุณภาพบัณฑิต ที่ ตรงความตองการของตลาดแรงงาน วัตถุประสงคของบทความนี้ตองการนําเสนอแนวคิดในการพัฒนาการ จัดการสหกิจศึกษาในสาขาวิชาดานการจัดการโลจิสติกส แนวคิดสําคัญในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน ในรูปแบบสหกิจศึกษา ในสาขาวิชาดานการจัดการโลจิสติกสนั้น ควรตองสรางความรวมมือกับสถานประกอบการ ที่มีพี่เลี้ยงที่รับผิดชอบในการดูแลตรงสายงานและปฏิบัติงานตรงสายอาชีพ สวนของสถาบันการศึกษาต อง วางแผนการเตรียมความพรอมในศาสตรส าขาวิชา การใชเครื่องมืออุป กรณทางด านโลจิสติ กส โปรแกรม สําเร็จรูปที่เกี่ยวของ และการวางแผนการจัดทําโครงงาน รวมไปถึงการกํากับติดตามดูแลระหวางการปฏิบัติสห กิจศึกษารวมกันระหวางอาจารยที่ปรึกษาสหกิจศึกษาและพี่เลี้ยงในสถานประกอบการรวมกันทั้งการพัฒนา โครงงานของนักศึกษาและตัวนักศึกษา ใหพรอมกอนสําเร็จการศึกษาและตรงความตองการของตลาดแรงงาน คําสําคัญ: สหกิจศึกษา สาขาการจัดการโลจิสติกส รูปแบบ ABSTRACT The cooperative education model is the integration of cooperation between higher education institutions and workplaces. To prepare for a career and enter the graduate's work before graduation. However, the cooperative education teaching management aims to enable educational institutions to develop graduate quality that meets the needs of the labour market. The purpose of this paper is to present the concept of developing cooperative management education in the field of logistics management. Important concepts in the development of teaching and learning models. In the form of cooperative education in the field of logistics management, cooperation with workplaces. That has a job supervisor who are *

ผูชวยศาสตราจารย ดร.วีรวิชญ เลิศไทยตระกูล อาจารยประจํา คณะโลจิสติกสและซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

117


responsible for direct supervision and professional work should be established. As for the educational institutes, there must be a preparation in the academic field of logistics and supply chain management. Use of logistics equipment related, software packages and project planning and including supervision during co-operative education practice between cooperative educational advisors and job supervisor in joint workplaces. Both the development of student projects and students to be ready before graduation and meet the needs of the labour market qualifications. KEYWORDS: Co-operative Education, Logistics Management Major, Model บทนํา สหกิจศึกษาเปนการจัดการศึกษาที่มุงเนนไปที่การบูรณาการความรวมมือระหวางสถาบันอุดมศึกษา กับสถานประกอบการเพื่อเปนการเตรียมความพรอมและพัฒนาศักยภาพของบัณฑิตกอนเขาสูการทํางาน และ เพื่อพัฒนาบัณฑิ ตใหมีคุณภาพตามความต องการของสถานประกอบการ ตลาดแรงงาน (พาทิศ คงโสมา, 2555) นอกจากนี้แลวสหกิจศึกษายังมีสวนชวยในการใหบัณฑิตไดเรียนรูและพัฒนาทักษะที่ยึดหลักการของ การเรียนรูที่มุงเนนประสบการณกับการเรียนรูที่เนนสภาพจริง (วันชาติ นภาศรี และธวัชชัย แสนชมภู, 2556) วิ ไลลั กษณ ขาวสะอาด (2561) ได กล า วว า แนวทางสหกิจ ศึกษาเปน ทางออกที่สําคัญ ในการแกไขปญหา คุ ณภาพการศึ กษาในระดั บ อุ ดมศึ กษาของประเทศไทย โดยมีมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารีเปน ตนแบบ สถาบั น การศึ กษาที่ นํา ระบบสหกิ จศึ กษาเขามาใชเปนแหงแรกในประเทศไทย โดยเปน รูป แบบการจัดให นักศึกษาไปปฏิบัติงานจริงเต็มเวลาในสถานประกอบการ ทํางานตรงตามสาขาวิชาชีพและมีประโยชนต อ องคกรผูใชบัณฑิต ซึ่งมักจะกําหนดเปนโครงงานพิเศษที่สามารถทําสําเร็จไดภายใน 4 เดือน โดยองคกรผูใช บัณฑิตจัดหาพี่เลี้ยง (Job Supervisor) ทําหนาที่กํากับดูแลการทํางานของนักศึ กษาสหกิจศึ กษา รวมกับ อาจารย ทําใหนักศึกษสามารถเรียนรูและพัฒนาทักษะที่เปนความตองการขององคกรผูใชบัณฑิตไดเปนอยางดี จนทําใหสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ไดสงเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาระบบสหกิจ ศึกษาอยางต อเนื่ องและยั่งยืน ผานความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการอุด มศึ กษา (สกอ.) สมาคมสกิ จ ศึ ก ษาไทย เครื อข า ยพั ฒ นาอุ ดมศึ ก ษา สถาบัน อุดมศึ ก ษา นักศึกษา องคกรผูใชบัณ ฑิ ต และ หนวยงานที่เกี่ยวของอื่นเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาดวยสหกิจศึกษา ทั้งนี้การจัดสหกิจศึกษาใหเกิดประสิทธิภาพการดําเนินงานอยางยั่งยืนนั้นมีปจจัยหลายอยางที่มีผลตอ ประสิทธิภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา งานวิจัยของสุภี เขื่อนโพธิ์ และสมใจ บุญหมื่นไวย (2559) ไดเสนอ ป จ จั ย ที่ ส งผลผลต อ ประสิ ทธิ ภ าพการดํ า เนิน งานสหกิจ ศึ ก ษาไดแ ก บทบาทของผูนิ เทศงานสหกิจ ศึ ก ษา การประเมินผลและสื่อสารขอมูลยอนกลับของสถานประกอบการ รวมถึงการติดตามดูแลระบบการนิเทศ งานสหกิจศึกษาของคณาจารยและพนักงานที่ปรึกษาในสถานประกอบการ ในขณะที่ สุภารักษ เมินกระโทก วีรพงษ พลนิกรกิจ และนฤมล รักษาสุข (2563) ไดเสนอถึงการเตรียมความพรอมของนักศึกษาในรายวิชา CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

118


เตรียมสหกิจศึกษามีผลตอความสําเร็จในการจัดการสหกิจศึกษา อาทิ การจัดเตรียมความรูความเขาใจใน สหกิจศึกษา การเขียนรายงานสหกิจศึกษา สาขาวิชาดานการจัดการโลจิสติกส เปนอีกสาขาวิชาหนึ่งที่มีการดําเนินงานจัดการสหกิจศึกษาใน หลากหลายสถาบั น การศึ ก ษาเนื่ อ งด ว ย ศาสตร วิ ช าด า นโลจิ ส ติ ก ส จ ะมุ ง เกี่ ย วกั บ การทํ า งานในโรงงาน อุตสาหกรรม คลังสินคา ลานตูคอนเทรนเนอร ลานขนสง กระจายสินคา ทาเรือ ทาอากาศยาน ซึ่งจะตางกับ สาขาวิ ช าอื่ น ที่ ป ฏิ บั ติ ง านส ว นใหญ ใ นสํ า นั ก งานเป น หลัก โดยในหลายสถานบั น การศึก ษาอาจจะไม ไดมี หองปฏิบัติการ อุปกรณเครื่องมือที่พรอมในการจัดการเรียนการสอนในสายวิชาชีพดานโลจิสติกส ที่ผูเรียนควร ไดเห็นจากประสบการณจริง สถานที่ทํางานจริง อุปกรณเครื่องมือที่ ใชในสถานประกอบการที่ทันยุ คสมั ย ซึ่ ง หลายสถาบั น การศึ ก ษามี ข อ จํ า กั ด ด า นงบประมาณในการลงทุ น สร า งห อ งปฏิ บั ติ ก ารที่ ทั น สมั ย และ ปรับเปลี่ยนตามเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว

ภาพที่ 1 การกิจกรรมการดําเนินงานดานโลจิสติกสในสถานประกอบการ ดวยขอจํากัดสวนนี้ จึงทําใหสถาบันการศึกษาที่เ ปดหลั กสูตรสาขาวิช าด านการจัด การโลจิ ส ติ กส หันมาใชรูปแบบสหกิจศึกษาเพื่อใหผูเรียนไดมีโอกาสพบกับสถานการณ เครื่องมือเครื่องใชในการทํางานจริง เพื่ อ การพั ฒ นานั ก ศึ ก ษาสู ค วามเป น บั ณ ฑิ ต ที่ พ ร อ มสู ก ารทํ า งานของสถานประกอบการได ทั น ที และเกิ ด ความคุนเคยกับสภาพการทํางาน ผูเขียนจึงมีแนวคิดในการนําเสนอกรอบแนวคิดการพัฒนาการจัดสหกิจศึกษาใน CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

119


สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส วาควรตองดําเนินการอยางไร และมีผูมีสวนไดสวนเสียกลุมใดบางที่เขามา เกี่ยวของกับการจัดการเรียนการสอน เพื่อเปนแนวทางใหสถาบันการศึกษาตางๆใชเปนแนวทางในการจัดสห กิจศึกษาอยางมีประสิทธิภาพและมีความยั่งยืน สงผลใหบัณฑิตสาขาวิชาดานโลจิสติกสมีศักยภาพมีความเปน มืออาชีพในอนาคต ซึ่งสอดคลองกับงานของ Ryzhkova, Pawłyszyn and Rizun (2016) ที่ศึกษาถึงอนาคต ของการจัดการศึกษาดานโลจิสติกสในประเทศโปแลนดและยูเครน พบวาควรตองจัดการสอนใหผูเรียนดานโล จิสติกสเขาไปฝกปฏิบัติงาน เขาไปทํางานในสถานประกอบการ เพื่อใหผูเรียนเกิดแรงบันดาลใจ ตระหนักถึง ความเปนมืออาชีพในการทํางาน และพัฒนาทักษะบางอยางที่ไมสามารถเกิดขึ้นไดในชั้นเรียน ผูเรียนจะมี ประสบการณ ไดทดลองการทํางานในสายอาชีพที่ศึกษา และประสบการณดังกลาวจะชวยใหผูเรียนมีโอกาสที่ ดีในตลาดแรงงานในอนาคต การจัดการศึกษาสหกิจศึกษาแบบมีสวนรวม วั น ชาติ นภาศรี และธวั ช ชั ย แสนชมภู (2556) ไดนิย ามคําวา สหกิจ ศึกษาแบบมีสว นรว มไว ว า เป น การดํ า เนิ น การในการจั ด การเรี ย นการสอนระบบสหกิ จ ศึ ก ษาที่ เ กิ ด จากการมี ส ว นร ว มของทั้ ง สถาบันการศึกษา องคกรผูใชบัณฑิต และนักศึกษา และไดนําเสนอตัวแบบ Co-op POKS Model ที่ประกอบ ไปดวย 1. นโยบายดานสหกิจศึกษา (P: Co-op policy) ที่เปนจุดเริ่มตนจากผูบริหารสถานศึกษาควรตองมี แผนงาน โครงการ แผนงานรองรับอยางชัดเจน รวมถึงเงื่อนไขสูความสําเร็จควรตองมีการตั้งรองอธิการบดี หรือตําแหนงที่เทียบเทาที่ดูแลรับผิดชอบในงานสหกิจศึกษา และองคการผูใชบัณฑิต หรือสถานประกอบการ ควรมอบหมายใหผูบริหารระดับผูอํานวยการที่เกี่ยวของกับการบริหารงานทรัพยากรบุคคลรับผิดชอบงาน ดานสหกิจศึกษา รวมไปถึงการแตงตั้งอาจารยที่ปรึกษา อาจารยนิเทศการปฏิบัติงาน และองคกรผูใชบัณฑิตมี การมอบหมายพนั กงานพี่ เ ลี้ ย งอย า งชั ด เจน นอกจากนี้อ งค กรผู ใช บั ณ ฑิ ต ควรมี แผนปฏิ บั ติ ก ารประจํ า ป แผนงาน งบประมาณ รวมถึงการทําความเขาใจในดานการดําเนินงานสหกิจศึกษา สิทธิประโยชนทางภาษี 2. การจั ด องค กรบริ ห ารสหกิ จ ศึ กษา (O: Co-op organization management) ควรสร างคณะกรรมการ สงเสริมสหกิจศึกษาเพื่อสงเสริมการมีสวนรวม โดยควรมีคณะกรรมการไตรภาคี ไดแก สถาบันอุดมศึกษา องคกรผูใชบัณฑิต และผูแทนหรือองคกรนักศึกษา เพื่อเปนกลไกการบริหารจัดการสหกิจศึกษาแบบมีสวนรวม 3. การจัดการความรูสหกิจศึกษา (K: co-op knowledge management) โดยการจัดการความรู สรางความเขาใจ เกี่ยวกับการศึกษารูปแบบสหกิจศึกษา โดยเงื่อนใขความสําเร็จตองจัดการความรูใหผูมีสวนเกี่ยวของมีความรู ความเขาใจในปรัชญา แนวคิด รวมถึงมาตรฐานคุณภาพการจัดการศึกษาสหกิจศึกษา 4. การจัดทําคูมื อ การปฏิบัติงานสหกิจศึกษา (S: co-op schedule) การจัดทําคูมือการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา อยางเปนระบบ เพื่ อให ผู มีส ว นเกี่ ย วข อ งนํ า ไปใช เ ป น กรอบวิธี ป ฏิบัติ ที่ ดี ทั้งระบบ กลไก ขึ้น ตอน วิธีการดําเนิน งานและ การประเมินผล ซึ่งสอดคลองกับงานของอินทิรา มีอินทรเกิด จอมพงศ มงคลวนิช มารุจ ลิมปะวัฒนะ และ ชนาธิป สุกใส (2563) ที่ศึกษาเรื่องการบริหารงานจัดการแบบมีสวนรวมในการดําเนินงานตามมาตรฐานสหกิจ ศึกษาของสถานประกอบการ มีแนวคิดที่คลายกันแตมุงไปที่สถานประกอบการควรมีสวนรวม สี่ดาน ไดแก ดานการบริหารจัดการ ที่มองถึงการวางนโยบาย จัดสรรทรัพยากร สงเสริมบุคลากร สรางแนวทางการปฏิบัติงาน CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

120


จั ด หาอุ ป กรณ เ ครื่องมื อที่ เ หมาะสม รวมถึ งวางระบบการจายคาตอบแทนหรือสวัส ดิการใหเหมาะสมกั บ นักศึกษาสหกิจศึกษา ดานวิชาการ ควรใหสถานประกอบการเขามามีสวนรวมในการคัดเลือกนักศึกษาสหกิจ ศึกษา จัดกิจกรรมการฝกอบรม เสริมสรางทักษะที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงานของนักศึกษา การกําหนดหนาที่ การทํางานเสมือพนักงานจริง และควรมีการปฐมนิเทศนักศึกษาสหกิจศึกษาใหเขาใจถึงวิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมาย กฎระเบียบมาตรฐานการทํางานขององคกร ดานผูนิเทศงาน ควรใหผูรับผิดชอบมีความรูความเขาใจ งานบทบาทผูนิเทศงานสหกิจศึกษา มีสวนชวยในการตรวจทานใหขอเสนอแนะโครงงานรายงานสหกิจศึกษา ชวยเหลือแกไขปญหาที่เกิดขึ้นระหวางปฏิบัติงาน ดานการวัดประเมินผล ควรตองมีกระบวนการตรวจสอบ ลักษณะคุ ณภาพงานให ส อดคล อ งกับ วิ ช าชี พ ของนั ก ศึ ก ษาสหกิจ ศึ ก ษา มีการติดตามความกาวหน า ของ นักศึกษาสหกิจศึกษา มีการจัดสัมมนานําเสนอผลงานของนักศึกษาสหกิจศึกษาใหผูเกี่ยวของและผูบริหารเขา รวมรับฟง การเตรียมความพรอมสวนของสถาบันการศึกษา ชาติศิริ แสงศิริ วรพล แจมสวัสดิ์ วีระพล แจมสวัสดิ์ และชงโค แซตั้ง (2562) ไดวิเคราะหกระบวนการ สหกิจศึกษา กรณีศึกษาสาขาเทคโนโลยีโลจิสติกสและการจัดการระบบขนสง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราช มงคลตะวันออก ไดเสนอแนะถึงการปรับปรุงกระบวนการสหกิจศึกษ พบปญหาที่มากที่สุดคือการใหนักศึกษา หาสถานประกอบการดวยตนเอง โดยเฉพาะในสาขาวิชาดานโลจิสติกสที่มีสถาบันการศึกษาจัดการศึกษา รูปแบบสหกิจศึกษาจํานวนมากสงผลใหนักศึกษาใชขั้นตอนในการหาสถานประกอบการดวยตนเองนาน เพราะ การแขงขันในการเขาสถานประกอบการสูง รวมถึงบางครั้งนักศึกษาเลือกสถานประกอบการเองไมตรงกับ วิชาชีพที่ตนเองเรียน หรือสถานประกอบการไมเขาใจวาสหกิจศึกษาแตกตางกับกับการฝกงานอยางไร ทําให เสียเวลามากและเกิ ดป ญหา ดังนั้นควรใหสถาบัน การศึกษาชวยคัดกรองสถานประกอบการมีมีคุณสมบั ติ เหมาะสมใหจะลดขั้นตอนในสวนนี้ นอกจากนี้ยังไดเสนอถึงการลดขั้นตอนการเอกสารหนังสือสงจากสถาบัน ใหนอยลงใชรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกสเพื่อลดเวลาใหกระชับ ลดการสูญหายของเอกสาร และชวยใหมี ฐานขอมูลเก็บไว ในประเด็นการสรางระบบอิเล็กทรอนิกสนั้นสอดคลองกับงานของ กมลมาศ วงษใหญ และ มัชฌานต เผาสวัสดิ์ (2558) ที่เสนอแนะถึงขอดีของการนําระบบจัดการสารสนเทศสหกิจศึกษาเขามาใชพบวา ช ว ยลดระยะวลาในการตรวจสอบข อ มู ล มี ค วามรวดเร็ ว สะดวกในการสื บ ค น ข อ มู ล มี ค วามน า เชื่ อ ถื อ เปนปจจุบันและชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานและมีประโยชนตอการใชงาน ในขณะที่ หฤทัย อาษากิจ (2558) ได พั ฒ นาโปรแกรมประยุ ก ต บ นอุ ป กรณ เ คลื่ อ นที่ เ พื่ อ จั ด เส น ทางนิ เ ทศสหกิ จ ศึ ก ษารวมถึ ง การประเมินผลการฝกสหกิจศึกษา ซึ่งไดสงผลใหกระบวนการจัดการสหกิจศึกษาของสถาบันมีความสะดวก รวดเร็ว และสามารถนําขอมูลไปใชเปนฐานขอมูลในการทํารายงานที่เกี่ยวของไดตอไป นอกจากนี้ สุภารักษ เมินกระโทก และคณะ (2563) ยังไดมีแนวคิดใชระบบสารสนเทศในการเตรียมความพรอมของนักศึกษากอน ไปสหกิจศึกษาเพื่อใหมีความพรอมในทักษะดานตางๆ โดยเฉพาะการจัดทํารายงานสหกิจศึกษาซึ่งมักจะเกิด ปญหาที่นักศึกษาขาดความเขาใจ และในชวงการบรรยายการเตรียมตัวจัดทํารายงานสหกิจศึกษานักศึกษาขาด ความสนใจ แต ดว ยจํ า นวนนั กศึ กษาที่ มากทําใหไมส ามารถแนะนําไดร ายคน จึงเสนอรูป แบบการพัฒ นา CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

121


บทเรียนออนไลนในการเตรียมความพรอมสหกิจศึกษาในสวนของการเขียนรายงานสหกิจศึกษาโดย พบวา คาเฉลี่ยของคะแนนการเรียนจากบทเรียนเตรียมความพรอมสหกิจศึกษาแบบออนไลนมีคาคะแนนสูงกวา การเรียนในหองเรียนกับผูสอน ซึ่งตรงสวนนี้มีความเหมาะสมกับการจัดการสหกิจศึ กษาในสาขาวิช าด าน โลจิสติกสที่มีนักศึกษาเขาเรียนจํานวนมาก มีสวนชวยอํานวยความสะดวกทั้งผูสอนและนักศึกษาผูที่ตองเตรียม ตัวไปสหกิจศึกษา ในดานการเตรียมพรอมของการจัดการสหกิจศึกษาในสวนเชิงวิชาการและการอํานวยความสะดวกให นักศึกษาสหกิจศึกษานั้น ดําเนิน ไชยแสน, จตุพล ยงศร และจักรกฤษณ โปณะทอง (2561) ชี้ใหเห็นวาปจจัย ดานการเตรียมความรูกอนการปฏิบัติงานจะมีอิทธิพลตอประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนรายวิชา สหกิจศึกษาอยูในลําดับที่สูง ซึ่งการเตรียมความรูกอนการปฏิบัติงานมุงไปที่ประเด็นการเสริมทักษะนําความรู จากภาคทฤษฎีไปสูการฝกปฏิบัติสหกิจศึกษา จะชวยใหนกั ศึกษาสหกิจศึกษาเห็นสภาพที่แทจริงในการทํางาน จะชวยใหเขาใจความตองการที่แทจริงในการทํางาน สอดคลองกับงานของ สุภี เขื่อนโพธิ์ และสมใจ บุญหมื่นไวย (2559) ที่กลาวถึงปจจัยการเตรียมความพรอมใหนักศึกษาสหกิจศึกษา (Student Preparation) ซึ่งหมายถึง การจั ด เตรี ย มหลั ก สู ต รอบรมนั ก ศึ ก ษาสหกิ จ ศึ ก ษาเพื่ อ เตรี ย มความพร อ มก อ นปฏิ บั ติ ง านสหกิ จ ศึ ก ษา ณ สถานประกอบการ การแนะนําการจัดทํารายงานสาระนิพนธสหกิจศึกษา โดยตองเริ่มตั้งแตการทบทวน การสอนภาคความรู ทฤษฎีในหองเรียน การจัดใหมีการปฐมนิเทศนักศึกษาสหกิจศึกษากอนจะออกสหกิจศึกษา นอกจากทบทวนความรู แ ล ว ควรเสริ ม การใช อุ ป กรณ สํา นั ก งานที่ ทั น สมั ย ซึ่ ง ในส ว นนี้ ใ นสาขาวิ ช าด าน โลจิสติกสอาจจะหมายรวมถึงการแนะนําใหนั กศึกษารูจักเครื่ องมื อ เครื่องจักรอุปกรณที่เกี่ยวข องกั บ งาน ดานโลจิสติกสในโรงงานอุตสาหกรรม อาทิ อุปกรณยกขนเคลื่อน ยาย (Material-handling equipment) ประเภทตางๆ รวมไปถึงแนะนําใหรูจักการใชโปรแกรมสํานักงานที่จําเปน นอกจากนี้ สุภี เขื่อนโพธิ์ และสมใจ บุ ญหมื่ น ไวย (2559) ยั งเสริ มในเรื่ องของการฝก อบรมทั กษะทางภาษาอังกฤษ การฝกอบรมบุคลิ ก ภาพ การทํางานเปนทีม สอดคลองกับงานของ Munkácsi and Kazai-Ónodi (2018) ที่กลาวถึงการเตรียมความพรอม ของนั ก ศึ ก ษาด า นโลจิ ส ติ ก ส ต อ งควรเตรี ย มตั ว ในเรื่ อ งของการพั ฒ นาทั ก ษะการทํ า งานร ว มกั บ ผู อื่ น การประสานงาน การพัฒนาความคิดสรางสรรคและทักษะการแกปญหาเปนทีม ซึ่งในสวนนี้จะเปนตัวเชื่อมโยง ที่สําคัญที่ทําใหผูเรียนสามารถไปปฏิบัติสหกิจศึกษาไดอยางเต็มที่ ซึ่งตรงกับงานของ กิรอัชฌา แถมสมดี, สุเทพ การุณยลัญจกร และปทุมทิพย ทานโคกสูง (2558) ที่ศึกษาและวางแผนยุทธศาสตรการพัฒนาการจั ด การเรี ย นการสอนแบบสหกิ จ ศึ ก ษา หลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าเทคโนโลยี ก ารเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ซี่งบริบทของหลักสูตรมีความคลายคลึงกับหลักสูตร สาขาวิชาดานโลจิสติกสที่มีเรื่องเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาในการทํางาน ผลจากการศึกษาสวนหนึ่งไดกลาวถึง การเตรี ย มความพร อ มของนั กศึ กษาสหกิ จ ศึ กษาที่ มุงเน น ไปที่ การสรางมนุษยสัมพัน ธ การใชโ ปรแกรม คอมพิวเตอรเชน Microsoft Excel ซึ่งสอดคลองกับสาขาวิชาดานโลจิสติกส ที่ตองใชโปรแกรม Microsoft Excel ในการปฏิบัติงานไมวาจะเปนงานดานการวางแผนการขนสง การสรางสูตรเพื่อคํานวณหาปริมาณสินคา คงคลัง การวางแผนสินคาคงคลัง การวางแผนเสนทางการขนสงที่ประหยัดที่สุด ในสวนของมหาวิทยาลัยรังสิต จากการศึกษาของ เฉลิมพร เย็นเยือก (2561) ไดศึกษาแนะเสนอแนะในสวนของการวางแผน และการเตรียม CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

122


ความพรอมสวนของสถาบันการศึกษามีประเด็นที่แตกตางประเด็นหนึ่งที่นาสนใจคือ การสรางเวทีสัมมนา แลกเปลี่ยนประสบการณการฝกปฏิบัติงานสหกิจศึกษาระหวางรุนพี่และรุนนอง ระหวางเพื่อนตางคณะ หรือ ระหวางสถานประกอบการ เพื่อใหนักศึกษาสหกิจศึกษาไดเรียนรูจากประสบการณที่หลากหลาย และตระหนัก อยางจริงจังถึงการไปสหกิจศึกษาประโยชนที่จะไดรับขอควรระมัดระวังจากรุนพี่ที่ผานประสบการณ ในประเด็ น ดั งกล า วนี้ ในสาขาวิ ช าดานโลจิส ติกสมีโ อกาสในการไปสหกิจ ศึก ษาในหลายหน า งาน เนื่ อ งจากงานด า นโลจิ ส ติ ก ส มี ห น า งานจํ า นวนมากอาทิ งานด า นการขนส ง งานการการกระจายสิ น ค า งานการนําเขา-สงออก งานดานการปฏิบัติงานคลังสินคา การวางแผนควบคุมการผลิต การประสานงานการคา ระหวางประเทศ การวางแผนควบคุมสินคาคงคลัง การปฏิบัติงานการทาเรือ การปฏิบัติงานทาอากาศยาน คลังสินคา ซึ่งเมื่อจํานวนหนางานอาชีพมีหลากหลาย หากไดรับประสบการณตรงจากรุนพี่ที่ไปสหกิจศึกษาใน แตละกิจกรรมงานดานโลจิสติกสแลวจะสงผลใหนักศึกษาที่กําลังไปสหกิจศึกษาก็จะไดมีความเขาใจ เรียนรู ประสบการณและมีความพรอมจากคําแนะนําของรุนพี่ การกํากับ ติดตาม ดูแลนักศึกษาสหกิจศึกษา สิริฉันท สถิรกุล เดชพาหพงษ (2558) ไดศึกษาถึงการบริหารจัดการสหกิจศึกษาสําหรับมหาวิทยาลัย โดยมี ส ว นสํา คั ญ ส วนหนึ่ งที่ พบ คื อ การกํ า กับ ติดตามดูแลนักศึกษาสหกิจ ศึกษา เปน บทบาทที่สําคัญ ของ คณาจารยนิเทศกสหกิจศึกษาโดยมองในรูปแบบหลักการของ PDCA ที่ในขั้นแรก การวางแผนหรือการเตรียม ตั ว ของปฏิ บั ติ งาน (Plan) ของคณาจารย นิ เทศในการกํากับ ดูแล ตองประชุมวางแผนงานการดําเนิน งาน จัดเตรียมคูมือสหกิจศึกษาใหนักศึกษาสหกิจศึกษา ใหคําแนะนําในการเลือกสถานประกอบการ การจัดเตรียม ความพรอมกอนไปสหกิจศึกษา ขั้นการปฏิบัติงาน (Do) ควรติดตามการสงตัว ใหคําปรึกษาในชวงแรกเพื่ อ การปรับตัว การเขาไปนิเทศการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการติดตามประเมินผล (Check) ในขั้นตอนนี้อาจารยตอง ใช ค วามพยายามสู ง ทั้ ง การติ ด ตามความก า วหน า ของการปฏิ บั ติ ง าน การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน การตรวจสอบรายงานการปฏิบัติงานประจําสัปดาห เพื่อใหเห็นความกาวหนาในการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ของนักศึกษาสหกิจศึกษา และขั้นการดําเนินการหลังงานสหกิจศึกษา (Act) ตองมีการจัดสัมมนาสหกิจศึกษา เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู การจัดทําแบบสํารวจความพึงพอใจของทั้งนักศึกษาสหกิจศึกษาและสถานประกอบการ เพื่อใชในการปรับปรุงกระบวนการบริหารงานสหกิจศึกษาในครั้งตอไป รวมไปถึงการจัดทําและปรับปรุงขอมูล สถานประกอบการ ซึ่ ง แนวคิ ด ดั ง กล า วนั้ น สํ า หรั บ สาขาวิ ช าด า นโลจิ ส ติ ก ส นั บ ว า มี ค วามสํ า คั ญ อย า งยิ่ ง เนื่ อ งจาก สถานประกอบการที่รับนักศึกษาสหกิจศึกษามีจํานวนมากและกระจายอยูตามภูมิภาคตางๆ หากอาจารย ดําเนินการจัดทําขอมูล และปรับปรุงขอมูลสถานประกอบการใหทันสมัยแลวยอมสงผลตอการบริหารจัดการ สถานประกอบการใหนักศึกษาสหกิจศึกษาในรุนตอไปไดมีตัวเลือก ทางเลือกที่เพิ่มมากขึ้นและมีความมั่นใจใน สถานประกอบการณเพราะผานการไปสหกิจศึกษาจากรุนพี่กอนหนาแลว มุมมองดานการกํากับ ติดตามดู แลนักศึกษาสหกิจ ศึกษาที่น าสนใจอี กมุ มมองหนึ่งที่สาขาวิช าด าน โลจิสติกสควรประยุกตใชไดแกงานของ สุชน ยิ้มรัตนบวร (2564) ที่ไดศึกษาถึงแนวทางการศึกษาพั ฒ นา CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

123


รูปแบบการจัดการสหกิจศึกษา กรณีศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มุมมองที่นําเสนอ ไดนาสนใจ คือ อาจารยนิเทศสหกิจศึกษาที่จะตองคอยกํากับดูแลติดตามนักศึกษาควรตองผานการอบรม เชิงปฏิบัติการสหกิจศึกษา หลักสูตรคณาจารยนิเทศสหกิจศึกษาตามมาตรฐานของสมาคมสหกิจศึกษาไทย ซึ่งมีมาตรฐานที่สําคัญ อาทิ คณาจารยนิเทศตองมีประสบการณสอนไมนอยกวา 1 ภาคการศึกษา ตองจัดเตรียม แผนการนิเทศนักศึกษาและนัดหมายไมนอยกวา 7 วัน ในประเด็นนี้สอดรับกับสหกิจศึกษาของสาขาดานโลจิสติกสที่หลายโอกาสพี่เลี้ยงจะนํานักศึกษาออก นอกสถานที่เพื่อไปติดตอประสานงานหนวยงานที่เกี่ยวของ หากไมไดมีการนัดหมายการเขานิเทศนักศึกษา ลวงหนาอาจจะสงผลกระทบตอการปฏิบัติงานและแผนงานของสถานประกอบการ ประเด็นตอมาที่ สุชน ยิ้มรัตนบวร (2564) นําเสนอถึงมาตรฐานคณาจารยนิเทศสหกิจศึกษา อาจารยควรตองไปเขานิเทศงานอยาง นอยหนึ่งครั้งโดยการไปพบนักศึกษาสหกิจศึกษา และตองใชเวลาในการนิเทศไมนอยกวาหนึ่งชั่วโมงตอครั้ง ซึ่งทาง สุชน ยิ้มรัตนบวร (2564) เสนอแนะเพิ่มเติมวา หากมีนักศึกษาสหกิจศึกษาในการดูแลจํานวนมาก การไปนิเทศงานแตละแหงของสถานประกอบการควรมีอาจารยนิเทศงานจํานวน 2 คน เพื่อรวมกันประเมินผล งาน และแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นกับสถานประกอบการ และติดตามการทํางานรวมถึงใหคําปรึกษาโครงงาน รายงานสหกิจศึกษาของนักศึกษาไดอยางทั่วถึง ซึ่งในประเด็นนี้เหมาะสมกับสาขาดานโลจิสติกสเนื่องจากใน แตละสถาบันการศึกษาจะมีนักศึกษาสาขาวิชาโลจิสติกสจํานวนมาก และการเขาไปแตละครั้ง อาจารยตองเดิน ดูปญหาหนางานพร อมนั กศึ กษาสหกิจ ศึ กษาเพื่อการวิเคราะหปญหาสําหรับ การทําโครงงานสหกิจ ศึ ก ษา รวมกับนักศึกษาสหกิจศึกษา และพี่เลี้ยงที่คอยดูแล เนื่องจากงานดานโลจิสติกสนั้นสวนใหญจําเปนต องไป ศึกษากระบวนการทํางานที่หนางาน เพื่อคนหาปญหา สาเหตุที่เกิดขึ้นจากการเดินสํารวจ สัมภาษณสังเกต รวมกับระหวาง อาจารย นักศึกษาสหกิจศึกษาและพี่เลี้ยงที่รับผิดชอบดูแล การกํากับ ติดตาม ดูแลนักศึกษาสหกิจศึกษานั้น ไมไดจํากัดหนาที่แตเพียงอาจารยผูนิเทศสหกิจศึกษา เพียงเทานั้น บทบาทที่สําคัญอีกดานหนึ่งคือสถานประกอบการตองเขามามีสวนชวยในการกํากับ ติดตามดูแล ซึ่ง อินทิรา มีอินทรเกิด และคณะ (2563) ไดเสนอแนะแนวคิดวา ผูบริหารสถานประกอบการควรสงเสริมให บุคลากรเปนพี่เลี้ยง/ผูนิเทศงาน/พนักงานที่ปรึกษารวมดวยโดยควรตองเขาใจในหลักการแนวคิด ตลอดจน ประโยชนที่ไดรับจากการดําเนินงานสหกิจศึกษากอน จากนั้นจึงจัดพี่เลี้ยงใหมีคุณวุฒิและประสบการณตรงกับ สาขาวิชาชีพของนักศึกษาสหกิจศึกษา ซึ่งในสายงานดานโลจิสติกสจากที่กลาวมาขางตนวามีหนางานหลาย อาชี พในงานโลจิ ส ติ กส การจั ดพี่ เ ลี้ ย ง ให ตรงกับ งานของนักศึกษาที่ป ฏิ บัติงานจึงมีความสําคัญ เนื่องจาก นักศึกษาสหกิจศึกษาอาจจะตองขอคําชี้แนะ แนะนําในเชิงประสบการณทํางานรวมถึงทักษะความรูเฉพาะดาน ที่เกี่ยวของ เชน ดานพิธีการนําเขาสงออก ดานการวางแผนการผลิต ดานการวางแผนการขนสง ดานการใช โปรแกรมเพื่ อ การจั ด การโลจิ ส ติ ก ส และประเด็ น ที่ สํ า คั ญ อย างยิ่ ง ในการดู แลนั ก ศึ ก ษาสหกิ จ ศึ ก ษา คื อ การดูแลเกี่ยวกับความเหมาะสมของงาน ความปลอดภัยในสถานที่ทํางาน ซึ่งตรงสวนนี้นับวามีความสําคัญ อยางยิ่งสําหรับนักศึกษาสหกิจศึกษา โดยเฉพาะในสายงานดานโลจิสติกสที่อาจจะตองอยูหนางาน บริเวณ เครื่องจักร ควรตองไดรับการเอาใจใสดูแล แนะนําถึงการสรางความปลอดภัยในการปฏิบัติงานมิฉะนั้นอาจจะ สงผลถึงอันตราย อุบัติเหตุในระหวางการฝกปฏิบัติงานสหกิจศึกษาได CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

124


ภาพที่ 2 การกํากับดูและและรวมใหคําแนะนําโครงงานรวมกับพี่เลี้ยง สรุป จากการสังเคราะหเรียบเรียงคนควาและทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการการเรียน การสอนในรู ป แบบสหกิ จ ศึ ก ษาในข า งต น พบว า หากประยุ ก ต ใ ช กั บ นั ก ศึ ก ษาสหกิ จ ศึ ก ษาสาขาวิ ช าด าน โลจิ ส ติ ก ส แ ล ว จึ ง พอสรุ ป ประเด็ น สํ า คั ญ เป น โมเดลการพั ฒ นาการจั ด สหกิ จ ศึ ก ษาในกลุ ม สาขาวิ ช าด า น การจัดการโลจิสติกส ดังภาพที่ 3

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

125


การเตรียม ความพรอม ในสวนของ สถาบันการศึกษา

การสรางการมี สวนรวมในทุกภาค สวนที่เกี่ยวของ

การกํากับ ติดตาม ดูแล นักศึกษา สหกิจศึกษา

ภาพที่ 3 โมเดลการพัฒนาการจัดสหกิจศึกษาในกลุมสาขาวิชาดานการจัดการโลจิสติกส จากภาพที่ 3 โมเดลการพัฒนาการจัดสหกิจศึกษาในกลุมสาขาวิชาดานการจัดการโลจิสติกส แสดงให เห็นถึงบทบาทภาระหนาที่สําคัญของสถาบันการศึกษาที่เปดทําการสอนสาขาวิชาดานการจัดการโลจิสิตกส และสนับสนุนรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบสหกิจศึกษานั้นควรตองมีการเชื่อมโยงบูรณาการ ประเด็ น ทั้ งสามประเด็น ร อยเรี ยงกั น เพื่ อส งถึงประสิทธิภาพการจัดการสหกิจศึกษาในกลุมสาขาวิชาดาน การจั ด การโลจิ ส ติ ก ส ที่ ป จ จุ บั น มี ค วามท า ทายในการพั ฒ นาบั ณ ฑิ ต ให มี คุ ณ ภาพและเป น ที่ ต อ งการของ ตลาดแรงงานที่ ป จ จุ บั น มี ก ารเจริ ญ เติ บ โตของความต อ งการแรงงานด า นโลจิ ส ติ ก ส จํ า นวนมากขึ้ น โดยสถาบันการศึกษาที่ควรตองมุงเนนใน 3 ประเด็น คือ ประเด็นการมีสวนรว มในทุกภาคสว นที่ เ กี่ยวของ ซึ่งในสายงานดานโลจิสติ กส การมีความร ว มมื อ สวนรวมของสถานประกอบการ หรือองคกรผูใชบัณฑิตมีความสําคัญอยากมากเนื่องจากสถานประกอบการจะ เปนแหลงในการพัฒนาบัณฑิตใหกับสถานบันการศึกษาในแงของการฝกปฏิบัติงานกอนการสําเร็จการศึกษาซึ่ง จะทําใหบัณฑิตที่กอนจะสําเร็จการศึกษาไดสัมผัสการทํางานจริงในสถานประกอบการดานโลจิสติกส และ เรียนรูกับเทคโนโลยี เครื่องมืออุปกรณตางๆในบริบทของงานดานโลจิสติกส ซึ่งในบางสถาบันการศึกษาอาจจะ ไมไดมีรองรับใหกับนักศึกษาในการฝ กปฏิบัติในสถาบัน การศึกษาจึงควรสรางความรวมมื อในรูปแบบของ การลงนามความรวมมือในการใชทรัพยากรในการจัดการเรียนการสอน และในขณะเดียวกัน การมีสวนรวม ของอาจารย ที่ ป รึ ก ษาจะเป น ตั ว เชื่ อ มโยงความต อ งการของสถานประกอบการ ในการได แ รงงานตาม

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

126


คุ ณ ลั ก ษณะที่ พ่ึ ง ประสงค ข องสถานประกอบการ องค ก รผู ใ ช บั ณ ฑิ ต ทํ า ให ส ามารถวางแผนให ค วามรู ใน การพัฒนาบัณฑิตกอนสําเร็จการศึกษาตามสมรรถนะ ความตองการของสถานประกอบการ ประเด็ น ด า นการเตรี ย มความพร อมของสถาบัน การศึกษา จากการเชื่อมโยง การมีสว นรว มของ สถานประกอบการจะทําใหอาจารยสามารถในการเตรียมพรอมความรู ทักษะที่จําเปนในการไปสหกิจศึกษา ของนักศึกษา ทั้งดานทฤษฎี ดานทักษะที่จําเปนตอสายงานดานโลจิสติกส การใชโปรแกรมตางๆ เพื่องาน ดานโลจิสติกส รวมถึงดานการพัฒนาทักษะเชิง Soft Skills เชนการทํางานเปนทีม การปรับตัวรวมกับผูอื่น โดยควรมีทั้งรูปแบบการบรรยาย การแลกเปลี่ยนเรียนรูจากรุนพี่ที่ผานการไปสหกิจศึกษามาแลว รวมไปถึง การเชิญสถานประกอบการที่มีประสบการณในการรวมมือจัดการสอนในรูปแบบสหกิจศึกษามาใหขอแนะนํา ในการปรับตัว เตรียมตัวกอนเขาสูการทํางานสหกิจศึกษาจริง ตัวอยางการดําเนินงานของสถานประกอบการ ในงานดานโลจิสติกส เพื่อใหนักศึกษาเกิดแรงบันดาลใจและมีความกระตือรือลนเพิ่มขึ้น ประเด็นดานการกํากับ ดูแลติดตามนักศึกษาในสายงานสหกิจศึกษานั้น ในงานดานโลจิสติกสจ ะมี สิ่งสําคัญ คือ โครงงาน รายงาน สารนิพนธที่วัดผลประเมินของนักศึกษาที่ไปสหกิจศึกษาถึงการประยุ กตใช องคความรูลงสูการปฏิบัติจริงได ซึ่งจําเปนอยางยิ่งที่ตองอาศัยการกํากับดูแล ติดตามจากอาจารยนิเทศสหกิจ ศึกษา และพี่เลี้ยงของสถานประกอบการ เพื่อชวยสนับสนุนกระบวนการพัฒนาโครงงาน ตอยอดองคความรู กั บ การปฏิ บั ติ งานจริ งจนเกิ ดผลงานพั ฒ นาสถานประกอบการอย างเป น รูป ธรรม รวมถึงการตอยอดดาน การบริการวิชาการกับสถานประกอบการ รวมไปถึงการคอยดูแลในดานความเปนอยู การปรับตัวการใชชีวิตใน สถานประกอบการ และดานความปลอดภัยในการทํางานดวย รายการอางอิง กมลมาศ วงษใหญ และมัชฌานต เผาสวัสดิ์. (2558). การพัฒนาระบบการจัดการสารสนเทศสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระราชูปถัมภ, 10(1), 18-28. กิรอัชฌา แถมสมดี, สุเทพ การุณยลัญจกร และปทุมทิพย ทานโคกสูง. (2558). ยุทธศาสตรการพัฒนา การจัดการเรียนการสอนแบบสหกิจศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 12(56), 29-39. เฉลิมพร เย็นเยือก. (2561). การประเมินผลการดําเนินงานโครงการสหกิจศึกษากรณีศึกษา มหาวิทยาลัย รังสิต.วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแหงประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมมาราชกุมารี, 7(1), 66-89. ชาติศิริ แสงศิริ, วรพล แจมสวัสดิ์, วีระพล แจมสวัสดิ์ และชงโค แซตั้ง. (2562). การวิเคราะหขบวนการสหกิจ ศึกษา กรณีศึกษาสาขาเทคโนโลยีโลจิสติกสและการจัดการระบบขนสง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลตะวันออก. วารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ, 7(2), 18-26. ดําเนิน ไชยแสน, จตุพล ยงศร และจักรกฤษณ โปณะทอง. (2561). การศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอประสิทธิผล ของการจัดการเรียนการสอนรายวิชา สหกิจศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล กลุมภาคกลาง. วารสารสุธิปริทัศน, 32(พิเศษ), 82-93. CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

127


พาทิศ คงโสมา. (2555). สหกิจศึกษากับการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตไทย. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 2(3), 18-24. วันชาติ นภาศรี และธวัชชัย แสนชมภู. (2556). การพัฒนาตัวแบบปจจัยความสําเร็จสหกิจศึกษาแบบมี สวนรวม. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 1(2), 71-79. วิไลลักษณ ขาวสะอาด. (2561). ประสิทธิผลของสหกิจศึกษา: กรณีศึกษา อุดมศึกษาไทย, 7(3), 206-218. สิริฉันท สถิรกุล เดชพาหพงษ. (2558). การบริหารจัดการสหกิจศึกษาสําหรับมหาวิทยาลัย: กรณีศึกษา สาขาวิชาธุรกิจและอาชีวศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 7(2), 146-156. สุชน ยิ้มรัตนบวร. (2564). การศึกษาแนวทางการพัฒนารูปแบบการจัดการสหกิจศึกษา กรณีศึกษา คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. วารสารสิ่งแวดลอมสรรคสรางวินิจฉัย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, 20(3), 29-45. สุภารักษ เมินกระโทก วีรพงษ พลนิกรกิจ และนฤมล รักษาสุข. (2563). ประสิทธิผลของการใชอีเลิรนนิงใน รายวิชาเตรียมสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 10(2), 73-87. สุภี เขื่อนโพธิ์ และสมใจ บุญหมื่นไวย. (2559). ปจจัยที่มีอิทธิพลตอประสิทธิภาพการดําเนินงานสหกิจศึกษา อยางยั่งยืนในสถาบันการศึกษาและสถานประกอบการ. วารสาร มทร.อีสาน ฉบับมนุษยศาสตรและ สังคมศาสตร, 3(1), 39-54. หฤทัย อาษากิจ. (2558). การพัฒนาโปรแกรมบนอุปกรณเคลื่อนที่เพื่อแนะนําเสนทางการออกนิเทศงานสหกิจ ศึกษาและการประเมินผลการฝกสหกิจศึกษา. วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ, 11(2), 1-6. อินทิรา มีอินทรเกิด จอมพงศ มงคลวนิช มารุจ ลิมปะวัฒนะ และชนาธิป สุกใส. (2563). การบริหารงาน จัดการแบบมีสวมรวมในการดําเนินงานตามมาตรฐานสหกิจศึกษาของสถานประกอบการ. วารสารมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยธนบุรี, 14(2), 33-44. Munkácsi, A. & Kazai-Ónodi, A. (2018). Challanges and methods of the 21st century in logistics education. Ryzhkova, H., Pawłyszyn, I. & Rizun, N. (2016). The Future of Logistical Education in Poland and Ukraine: Comparative Analysis of Students' opinions.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

128


แนวทางการสงเสริมความเขาใจไวยากรณภาษาญี่ปุนเบื้องตน ของนักศึกษาสาขาภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสารธุรกิจ ณัฐชัย ศรีเอี่ยม 1, Hiroharu Takemura 2, Aki Takahashi 3, Yasumasa Mori 4, ภีมพัฒน วรโชติธีรวัชร 5 0

4

บทคัดยอ บทความเรื่ องนี้ มีจุ ดประสงค เ พื่ อวิ เ คราะห ปญ หาความเขา ใจไวยากรณภ าษาญี่ ปุน เบื้ องต น ของ นักศึกษาสาขาภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสารธุรกิจ เพื่อนําไปสูการปรับปรุงการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพ และนักศึกษาไดรับความรูภาษาญี่ปุนเบื้องตนอยางถูกตองและเหมาะสม โดยการวิเคราะหผลการทําโจทย ขอสอบวัดระดับความรูภาษาญี่ปุนที่ทางสาขาทํ าขึ้นซึ่งผู ทําข อสอบเปนนักศึกษาชั้นปที่ 2 จํานวน 62 คน จากนั้นนําผลการวิเคราะหมาพิจารณาสาเหตุและแนวทางแกปญหาโดยการสนทนากลุมคณะอาจารณผูสอน ภาษาญี่ปุนในสาขาภาษาญี่ปุนพื่อการสื่อสารธุรกิจ ซึ่งผลการวิเคราะหพบวา 1) โจทยคําถามที่นักศึกษาตอบ ผิ ด มากที่ สุ ด เป น ไวยากรณ เ กี่ ย วกั บ การใช คําชว ย การใหและการรั บ (-ageru / -morau/ -kureru) และ สกรรมกริยา ซึ่งรูปแบบทางภาษามีความแตกตางจากภาษาไทยทําใหทําการแปลยากและสรางความสับสนให ผูเรียน 2) ตําราที่ใชสอนอยูปจจุบันยึดหลักสากลซึ่งเขียนอธิบายยากตอนักศึกษาชาวไทย ผูสอนควรเลือกตํารา สอนที่เขาใจงายและทําการสรางบทสรุปคําอธิบายไวยากรณที่เหมาะสมกับผูเรียนดวยตัวเอง 3) ผูสอนควรให เวลาในการอธิบายไวยากรณที่ผูเรียนมีปญหาความเขาใจยาก และ 4) จัดกิจกรรมการสอนเชิงปฏิบัติใหผูเรียน ไดใชทักษะการพูดและเรียนรูหลักการใชไวยากรณใหเหมาะสมกับสถานการณได คําสําคัญ: ปญหาความเขาใจไวยากรณภาษาญี่ปุน การจัดการสอน ผูเรียนภาษาญี่ปุนเบื้องตน ABSTRACT The purpose of this paper is to analyze problems in understanding basic grammar structures among students majoring in Japanese for Business Communication ( JBC) . This analysis will improve the efficiency of teaching activities, and enable the students to acquire 1 2 3 4 5

ดร.ณัฐชัย ศรีเอี่ยม Hiroharu Takemura Aki Takahashi Asst. Prof. Dr. Yasumasa Mori ภีมพัฒน วรโชติธีรวัชร อาจารยประจํา คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

129


basic knowledge of Japanese language appropriately. After proceeding the analysis of response results for Test of Japanese Proficiency: TJP administered by JBC Department to 62 secondyear students, the co- researchers examined the causes and solutions to the analysis results. The discussion of the analysis results showed that 1) the questions that students answered most incorrectly were particles, grammar structures related to giving and receiving (-ageru/morau/kereru), and transitive verbs, which differs from Thai language, causing incorrect answers in Thai translation, 2) The textbooks currently in use are based on universal explanations, which are difficult for Thai students to understand. Therefore, teachers need to select textbooks that the students can easily comprehend, and containing grammar explanation points that are appropriate for them, and 3) Teachers need to allow sufficient time to explain grammar structures that are difficult for students to understand. Practical classroom activities should be arranged to help students learn and 4) use their speaking and grammar skills and use them appropriately in different situations. KEYWORDS: Problems in Understanding Japanese Grammar, Teaching Management, Elementary Japanese Learner บทนํา จากสถานการณ การแพร ร ะบาดของไวรัส โควิด-19 ที่เกิดขึ้น ในปจ จุบัน ทําใหส ถาบัน การศึกษามี การปรับนโยบายการจัดการศึกษาใหม หลังจากสถานศึกษากลับมาเปดการเรียนการสอน ก็จะมีมาตรการ การปองกัน ผสมผสานการเรียนทั้งทางออนไลนและออฟไลน สงผลใหเกิดการเรียนการสอนรูปแบบใหมขึ้น จํานวนมาก มหาวิทยาลัยมีการเปดหลักสูตรพัฒนาทักษะสําหรับกลุมอาชีพมากขึ้น ในขณะที่นักเรียนและ นักศึกษาเริ่มหันไปสนใจการเรียนสาขาใหมๆ เพิ่มมากขึ้น (สํานักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรมแหงชาติ (สอวช.). 2564) คณะศิ ล ปศาสตร สาขาภาษาญี่ ปุ น เพื่ อ การสื่อ สารธุ ร กิ จ มหาวิ ท ยาลั ย ศรี ป ทุ ม ทํ า การเป ด สอน หลักสูตรเกี่ยวกับภาษาญี่ปุนและการการบริหารจัดการธุรกิจตั้งป พ.ศ. 2559 ซึ่งจากผลกระทบของการแพร ระบาดของไวรั ส โควิ ด-19 ทํ า ให คณาจารยผูส อนตองทําการเปลี่ย นแปลงการจัดการสอนซึ่งปจ จุบัน เป น การจัดการสอนลักษณะผสมผสานการสอนในหองเรียนและออนไลนควบคูกัน ซึ่งในมุมมองของนักศึกษาเอง ตองทําการปรับตัวใหเขากับการสอนและสงผลกระทบตอผลการเรียนของนักศึกษาโดยตรง ดังนั้นทางหลักสูตร จึงมีการทดสอบวัดความรูภาษาญี่ปุนใหกับนักศึกษาทุกระดับชั้นไดตระหนักและทดสอบความรูของตนเอง ซึ่งการจัดสอบของหลักสูตรเริ่มจัดขึ้นตั้งแตปภาคการศึกษา 3/2563 จนถึงปจจุบัน โดยใชหลักการอางอิง การสอบวัดระดับภาษาญี่ปุน Japanese-Language Proficiency Test เปนเกณฑในการสรางขอสอบและ ประเมินผล ซึ่งแบงการสอบออกเปน 3 สวน คือ คําศัพท ไวยากรณ และการฟง จากผลการสอบที่ผานมา CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

130


พบวาผลคะแนนคาเฉลี่ยของนักศึกษาที่เขาสอบอยูในระดับนอยกวาเกณฑที่ควรได โดยเฉพาะสวนการสอบวัด ความรูไวยากรณ ไวยากรณ เ ป น ความรู พื้ น ฐานในการสร า งประโยคให ส มบู ร ณ ซึ่ ง การทํ า ความเข า ใจไวยากรณ ตางประเทศเปนสิ่งที่ยากของผูเรียนภาษาซึ่งภาษาญี่ปุนมีรูปแบบไวยากรณที่แตกตางจากไวยากรณภาษาไทย ทําใหผูเรียนต องเข า ใจและหลั กการการใช ไวยากรณใหถูกตองเพื่อสื่อสารหรือแปลความหมายใหถู ก ต อง (สมเกียรติ เชวงกิจวณิช, 2559) ดังนั้น บทความนี้จึงมุงพิจารณาถึงปญหาความเขาใจไวยากรณของนักศึกษา สาขาภาษาญี่ ปุ น เพื่ อการสื่ อสารธุ ร กิ จ เพื่ อนําไปสูการพัฒ นาและปรับ ปรุง การจัดการเรีย นการสอนให ไ ด ผลสัมฤทธิ์มากขึ้น โดยใชกระบวนการวิเคราะหผลการสอบวัดระดับความรูภาษาญี่ปุนที่ทางสาขาเปนผูสรางขึ้น โดยพิจารณาสัดสวนการตอบโจทยคําถามที่มีนักศึกษาตอบผิดมากวาเปนไวยากรณในสวนเรื่องเกี่ยวกับอะไร จากนั้ น ทํ าการสนทนากลุ มคณาจารย ผู ส อนเพื่อพิจ ารณาสาเหตุและแนวทางการจัดการสอนในส วนของ การอธิบายไวยากรณภาษาญี่ปุน การประเมินผลการสอบวัดความรูภาษาญี่ปุนประจําสาขา สาขาภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสารธุรกิจไดทําการจัดสอบวัดระดับความรูภาษาญี่ปุนทุกภาคการศึกษา เพื่ อวั ด ผลระดั บ ความรู ภ าษาญี่ ปุ นตามหลักเกณฑส ากลโดยอางอิงหลักการประเมิน ผลการสอบวัดระดับ ภาษาญี่ปุน Japanese-Language Proficiency Test หรือเรียกยอ “JLPT” ซึ่งผูเรียนภาษาญี่ปุนทุกคนตอง เขาสอบเพื่อนําไปใชเปนหลักฐานการทํางานในบริษัทญี่ปุนหรือไปศึกษาตอที่ประเทศญี่ปุน ดังนั้นทางสาขาจึง นําหลักการจาก JLPT มาบูรณาการใหเหมาะสมกับคุณลักษณะของนักศึกษาของสาขาและตั้งชื่อการสอบวัด ระดับความรูภาษาญี่ปุนประจําสาขาวา “JBC-TJP” ซึ่งแบงระดับตามทักษะความรูภาษาญี่ปุนเปน 3 ระดับ และใชเกณฑการใหคะแนนเปนรอยละ ดังตารางที่ 1 ดังนี้ ตารางที่ 1 รายละเอียดการสอบวัดความรูภาษาญี่ปุน JBC-TJP ระดับ N3 N4 N5

ผูเขาสอบ

เกณฑการวัดความรู

นักศึกษาชั้นที่ป 3 สามารถเขาใจภาษาญี่ปุนที่ใชใน และป 4 ชีวิตประจําวันไดในระดับหนึ่ง สามารถเขาใจภาษาญี่ปุนใน นักศึกษาชั้นที่ป 2 ระดับพื้นฐาน สามารถเขาใจภาษาญี่ปุน นักศึกษาชั้นที่ป 1 พื้นฐานสําหรับผูเริ่มเรียน

คําศัพท

คะแนนเต็ม (%) ไวยากรณ

การฟง

100

100

100

100

100

100

100

100

100

จากตารางที่ 1 รายละเอียดการสอบวัดความรูภาษาญี่ปุน JBC-TJP แบงระดับการสอบตามความยาก งายของเนื้อหาเปน 3 ระดับ คือ N5 เปนระดับผูที่เริ่มเรียนภาษาญี่ปุน N4 คือ ผูที่เรียนภาษาญี่ปุนขั้นพื้นฐาน มาไดระดับหนึ่ง และ N3 คือ ผูที่เรียนภาษาญี่ปุนในระดับที่ตองใชในชีวิตประจําวัน โดยแบงการสอบเปน CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

131


3 สวน คือ คําศัพท, ไวยากรณ และการฟง ซึ่งแตละสวนคิดคะแนนเปนรอยละ 100 ของการตอบโจทยคําถาม ที่ถูกตอง ในป พ.ศ. 2564 สาขาเริ่มทําการจัดสอบ JBC-TJP ครั้งแรกตั้งแตปภาคการศึกษา 3/2563 ใหกับ นักศึกษาในสาขาภาษาญี่ปุนทุกคนเขาสอบชวงปลายภาคของทุกภาคการศึกษา ในภาคการศึกษา 2/2564 ไดจัดการสอบเปนครั้งที่ 3 ซึ่งทางคณาจารยผูจัดสอบไดทําการวิเคราะหผลคะแนนของผูเขาสอบที่ผานมา พบวา นักศึกษารหัสชั้นป 2562 จํานวน 54 คน เปนรหัสแรกที่ไดรับการสอบขามระดับจากระดับ N4 ขึ้นเปน ระดับ N3 มีคาเฉลี่ยคะแนนผลการตอบคําถามถูก ดังตารางที่ 2 ดังนี้ ตารางที่ 2 รอยละของคาเฉลี่ยคะแนนที่ตอบถูกของนักศึกษารหัส 62 ประเภทการสอบ คําศัพท ไวยากรณ การฟง

ภาคการศึกษา 3/2563 (N4) 89.3 54.6 42.8

รอยละของคาเฉลี่ยคะแนนที่ตอบถูก ภาคการศึกษา 1/2564 (N3) 65.1 34.3 30.4

ภาคการศึกษา 2/2564 (N3) 62.5 37.8 40.4

จากตารางที่ 2 ร อยละของค าเฉลี่ ย คะแนนที่ ต อบถู ก ของนั กศึ ก ษารหั ส 62 พบวา ภาพรวมเมื่ อ นักศึกษาทําการสอบขึ้นระดับจากระดับ N4 เปนระดับ N3 จะมีผลคะแนนคาเฉลี่ยที่ตอบถูกลดลงทุกสวนของ การวัดความรู ซึ่งเปรียบเทียบกับการสอบวัดระดับสากล JLPT นักศึกษาควรมีคาเฉลี่ยการตอบถูกของแตละ ส ว นการวั ด ความรู คือรอยละ 60 ขึ้ น ไปถึ งจะอยูเกณฑส อบผาน ซึ่งเมื่อพิจ ารณาคะแนนที่ไดในระดับ N3 ระหวางภาคปการศึกษา 1/2564 และ 2/2564 พบวา การสอบคําศัพทมีคาเฉลี่ยเทากับรอยละ 65.1 และ 62.5 ซึ่งเปนสวนการสอบที่นักศึกษาไดคะแนนมากที่สุด ในขณะที่การฟงมีคาเฉลี่ยเทากับรอยละ 30.4 และ 4.04 ซึ่งมีแนวโนมเพิ่มขึ้นรอยละ 10 แตการสอบไวยากรณมีคาเฉลี่ยเทากับรอยละ 34.3 และ 37.8 ซึ่งเพิ่มขึ้น เพียงรอยละ 3.5 ทําใหพบวานักศึกษายังมีปญหาความเขาใจไวยากรณระดับเบื้องตนเปนจํานวนมาก จึงมี ความจําเปนในการคนหาปญหาและวิธีการแกปญหาเพื่อปรับปรุงการสอนใหไดประสิทธิภาพตามเกณฑที่ นักศึกษาควรไดรับ การวิเคราะหปญหาขอสอบไวยากรณภาษาญี่ปุนของนักศึกษา จากผลคะแนนการสอบไวยากรณ ที่ มี ค า เฉลี่ ย ไม ผ า นเกณฑ ต อ การไปสอบวั ด ระดั บ ระดั บ สากล ถาผูเรียนมีปญหาไวยากรณ ขั้น พื้น ฐานจะมีผลกระทบต อการสื่ อสารภาษาญี่ ปุน ทําใหคณะผูเ ขีย นซึ่ งเป น ผูรับผิดชอบการสอนทําการหาแนวทางแกปญหาความเขาใจไวยากรณภาษาญี่ปุน เบื้องตนทําการวิเคราะห โจทยขอสอบไวยากรณในระดับ N4 ภาคการศึกษา 2/2564 เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 เนื่องจาก เปนจุดรอยตอยกระดับระหวางความรูภาษาญี่ปุนขั้นเบื้องตนและภาษาญี่ปุนขั้นพื้นฐานกลาง โดยมีผูสอบเปน CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

132


นักศึกษาชั้นปที่ 2 จํานวน 62 คน เปนการสอบในระบบออนไลนโดยผูเขาสอบทําการลงทะเบียนและแสดง ตัวตนผานโปรแกรม ZOOM และทําโจทยขอสอบผานโปรแกรม Google form ซึ่งผลที่ไดนํามาวิเคราะห ขอมูลโดยมีกระบวนการ ดังตอไปนี้ 1. ตรวจสอบผลคะแนนค า เฉลี่ ย รวมที่ผูส อบตอบโจทย ถู ก พบวา จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน ค าเฉลี่ ย รวมที่ ตอบโจทย คํา ถามถู กต อง เท ากับ รอยละ 52.5 จากจํานวนผูเขาสอบ 62 คน ทํ าคะแนนได มากกวาคาเฉลี่ยรวม มีจํานวน 33 คน (53.2%) และต่ํากวาคาเฉลี่ยรวมมีจํานวน 29 คน (46.8%) 2. ตรวจผลการตอบโจทยถูกทุกขอ โดยขอสอบไวยากรณเปนขอสอบปรนัยมีทั้งหมด 20 ขอ ทําการ ตรวจสอบจํานวนคนที่ตอบโจทยคําถามถูกตอง คนหาคารอยละ และวิเคราะหลักษณะโจทยวามีเนื้อหาและวัด ความรูเรื่องไวยากรณเกี่ยวกับอะไร ผลการวิเคราะหเปนไปตามตารางที่ 3 ดังนี้ ตารางที่ 3 การวิเคราะหผลการตอบโจทยขอสอบไวยากรณ N4 No. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

ขอที่ 4 7 2 20 9 16 8 11 3 13 19 10 6 15 17 1 18 12 14 5

รูปไวยากรณ คําชวย dake (เทานั้น) คําบงคําถาม dooiu คําชวย de (ดวย) สํานวน temo สํานวน Taikeredo สํานวนเงื่อนไข reba คําวิเศษณ yatto สํานวน suguru (เกินไป) คําชวย ni +niteru สํานวนรูป te kureru สํานวน soo (คาดวา) สํานวนรูป ato คําชวย madeniwa สํานวนรูป mama สํานวนรูป tokoro คําชวย ga คําชวย dewa สํานวน ni shimasu (สกรรมกริยา) สํานวน te morau (ให-ไดรับ) คําชวย karawa

จํานวนผูตอบถูก 52 40 39 39 37 35 34 34 32 32 31 30 29 29 29 28 28 27 23 21

รอยละ 83.9 64.5 62.9 62.9 59.7 56.5 54.8 54.8 51.6 51.6 50.0 48.4 46.8 46.8 46.8 45.2 45.2 43.5 37.1 33.9

จากตารางที่ 3 การวิเคราะหผลการตอบโจทยขอสอบไวยากรณ N4 พบวา โดยภาพรวมขอที่นักศึกษา ตอบถูกมากที่สุดคื อ ขอ 4 เรื่องสํานวนการใชคําชวย dake (แปล : เทานั้น) เปนจํานวนผูตอบถูก 52 คน CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

133


(83.9%) รองลงมาคือ ขอ 7 เรื่องการใชคําบงคําถาม douiu + imi (แปล : หมายความวาอะไร) เปนจํานวน ผูตอบถูก 40 คน (64.5%) ซึ่งไวยากรณดังกลาวเปนไวยากรณที่ใชบอยและผูสอนพูดอยูบอยๆ ในหองเรียน ในทางตรงกันขามขอที่นักศึกษาตอบถูกนอยที่สุด คือขอ 5 เรื่องการใชคําชวย karawa เปนจํานวนผูตอบถูก 21 คน (33.9%) รองลงมาคือขอ 14 เรื่องสํานวนการใชรูป te-morau (ให-ไดรับ) เปนจํานวนผูตอบถูก 23 คน (37.1%) และ ขอ 12 เรื่องการใชสกรรมกริยา สํานวน ni shimasu เปนจํานวนผูตอบถูก 27 คน (43.5%) 3. วิเคราะหคุณลักษณะของไวยากรณจากโจทยท่ีนักศึกษาตอบถูกนอยที่สุด จากตารางที่ 3 พบวา ขอที่นักศึกษาตอบผิดเปนจํานวนมากคือขอ 5, 14 และ 12 ผูเขียนจึงทําการพิจารณาโจทยดวยการแปลและ ความยากของไวยากรณ ดังนี้ 3.1 ขอ 5 A: Tanjyobi ni Tanakasan kara nani o morattandesuka? (แปล: วันเกิดไดรับอะไรจากคุณทะนะคะ) B: Tanakasan (____karawa____) udetokei o moraimasita. (แปล: จาก ทะนะคะ ไดรับนาฬิกาขอมือครับ) คํ า ว า “จาก” ในภาษาไทยไม นิ ย มนํ า มาไว ห น า ประธานของโจทย เ พื่ อ บ ง บอกสํ า นวน การไดรับ ในขณะนี้ที่ภาษาญี่ปุนสามารถใชคําชวยหลายตัวตอกันเพื่อบงบอกประธานและการกริยาการไดรับ morau (สุเทพ นอมสวัสดิ์, 2554) 3.2 ขอ 14 Kyo wa, watashi wa enpitsu to kesigomu o wasuretanode, tonari no hito ni kashite (___moraimashita_____). (แปล: วันนี้ ฉันลืมดินสอและยางลบ เลย ไดรับการใหยืม จากคนขางๆ) สํานวนแสดงการให-รับในภาษาญี่ปุนมีความแตกตางกับภาษาไทยในเรื่องตําแหนงของผูพูด วา “ใคร ทําอะไร หรือใหหรือไดอะไร จากใครหรือถึงใคร” ซึ่งจะมีการกําหนดการใชคํากริยาที่แตกตางกัน ในขณะที่ภาษาไทยใชคําวา “ให” และ“รับ” ที่ชัดเจนและไมซับซอนกวาภาษาญี่ปุน (สุจิตรา เลิศเสม, 2548) ประโยคขางตน ประธานของประโยคคือ “ฉัน” และการกระทําคือ การไดรับ-การยืม-จากคนขางๆ จึงตองใช คํากริยา moraimasu 3.3 ขอ 12 A: Tanjobi omedetoogozaimasu. Kore purezento desu. Doozo. (แปล: สุขสันตวันเกิดครับ นี้คือของขวัญครับ นี้ครับ) B: arigatoogozaimasu. Daiji ni (____shimasu____). (แปล: ขอบคุณคะ จะ (ตั้งใจ) เก็บไวอยางดีคะ) สํานวน ni shimasu สํานวนแสดงความตั้งใจหรือตัดสินใจของผูพูดในการทําอะไรบางอยาง ใหเกิดขึ้น ซึ่งผูเรียนจะสับสนกับสํานวน ni narimasu ซึ่งแปลวากลายเปน โดยความแตกตางของทั้ งสอง สํานวนคือการกระทําของผูพูดเปนสกรรมกริยาและการกระทําที่เกิดขึ้นเองเปนอกรรมกริยา (สุภา ปทมานันท, CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

134


2563) ในประโยคขางตนผูไดรับของขวัญจะรักษาของอยางดี เปนการกระทําที่มีผูพูดตั้งใจ เปนสกรรมกริยา จึงตองใช shimasu จากการพิจารณารูปประโยคที่นักศึกษาตอบถูกไดนอย 3 ขอ พบวา ทุกขอเปนไวยากรณพื้นฐานที่ ผูเรียนชาวไทยมีปญหาความเขาใจมากเนื่องจากเปนสํานวนที่ในภาษาไทยไมนิยมใช คือ 1) ผูเรียนไมรูวาใน กรณีที่มีการใชคําชวยหลายตัวตอกันควรใชคําชวยอะไรที่เหมาะสมกับประโยคที่จะสื่อ 2) สํานวนการใหและ ไดรับซึ่งผูพูดตองพิจารณาตําแหนงของการกระทําใหถูกตองวาสวนใดเปนประธานและสวนใดเปนสวนกริยา (ทั ศ นี ย เมธาพิ สิ ฐ , 2547) 3) ประโยคในภาษาญี่ ปุ น ต อ งพิ จ ารณาว า เป น รู ป ประโยคสกรรมกริ ย าหรื อ อกรรมกริยา ซึ่งจะมีผลตอการใชคําชวยและคํากริยาถูกตองได แนวทางการแกปญหาความเขาใจไวยากรณภาษาญี่ปุน จากการวิเคราะหผลการสอบวัดความรูภาษาญี่ปุน JBC-TJP พบวานักศึกษามีปญหาดานความเขาใจ ไวยากรณที่มีแนวโนมที่โครงสรางและความหมายไมเหมือนกับไวยากรณภาษาไทย ดังนั้นจึงจําเปนต องหา แนวทางการแกปญหาดังกลาวเพื่อใหผูเรียนไดรับความรูอยางเหมาะสม โดยคณาจารยสาขาไดทําการประชุม สนทนากลุมเพื่อคนหาประเด็นของปญหาและแนวทางแกไขปญหาความเขาใจไวยากรณภาษาญี่ปุนเพื่อนําไป ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในระตอไป การประชุมสนทนาสาขามีผูเขารวมเปนผูสอนภาษาญี่ปุนของ สาขาเปนคนญี่ปุน 3 คน และชาวไทย 1 คน ซึ่งสามารถสรุปประเด็นปญหาและแนวทางแกไขได 3 ประเด็น ดังนี้ 1. ตําราที่ใชในการสอน ปจจุบันสาขาทําการเปดสอนวิชาภาษาญี่ปุนขั้นพื้นฐาน 4 รายวิชา โดยใช ตํ า รา “มิ น นะ โนะ นิ ฮ งโกะ” ซึ่ ง เป น ตํ า ราสากลสํ า หรั บ บุ ค คลทั่ ว ไปที่ เ ริ่ ม เรี ย นภาษาญี่ ปุ น เป น ครั้ งแรก โดยผูเรียนตองเรียนครบ 50 บท ถึงจะมีความรูเพียงพอตอการสอบวัดระดับขั้นพื้นฐาน ซึ่งปญหาที่พบจากการ ใชตําราเลมนี้คือคําอธิบายไวยากรณมีความเขาใจยากเนื่องจากเปนตําราแปลจากภาษาญี่ปุน นักศึกษาจึงไม เขาใจโครงสรางไวยากรณและวิธีการใชงานอยางถูกตอง ดังนั้นเพื่อแกไขในสวนของตํารา ผูสอนควรแนะนํา ตําราเสริมอธิบายไวยากรณเพิ่มเติ่มที่เหมาะสมกับผูเรียนชาวไทย และคณาจารยควรทําสไลดการสอนอธิบาย ไวยากรณที่นักศึกษาอานแลวเขาใจงาย มีตัวอยางทั้งภาษาญี่ปุนและภาษาไทยที่ตองนําไปสื่อสารใชงานไดจริง และทําหนังสือตําราเสริมเปนฉบับสําหรับหลักสูตรภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสารธุรกิจอยางเปนรูปธรรม และ พยายามยกตัวอยางรูปประโยคที่ไมมีในหนังสือตําราเพื่อนําไปประยุกตใชไดจริง 2. การให เ วลาในการอธิ บายไวยากรณ ในการจัดการสอนในหองเรีย นแตล ะครั้ง ผูส อนจะทํา การอธิบายไวยากรณใหมประมาณ 10–15 นาที ตอ 1 รูปแบบไวยากรณเทากัน โดยไมไดคํานึงถึงความยากงาย ของแต ล ะไวยากรณ ที่ ส อน รวมถึ ง การสอนในห อ งเรีย นมี เ วลาจํ า กั ด อาจทํ า ให ผู ส อนอธิ บ ายไวยากรณ ไม เ พี ย งพอหรื อ จํ า เป น ต อ งตั ด การอธิ บ ายไวยากรณ บ างส ว นอออกเพื่ อ รั ก ษาเวลา ดั ง นั้ น เพื่ อ แก ป ญ หา การอธิบายระยะเวลาการอธิบายไวยากรณในหอง ผูสอนควรจัดลําดับความยากงายของไวยากรณวาควรสอน ไวยากรณใหนกอนโดยไมจําเปนตองยึดตําราเปนหลักเสมอไป และคํานวนการใชเวลาอธิบายไวยากรณ ที่มี ความยากใหมากขึ้น รวมถึงการทําคลิปวิดีโออธิบายไวยากรณไวกอนลวงหนาเพื่อใหนักศึกษาไดไปศึกษากอน และหลังเรียน CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

135


3. การจัดกิจกรรมการสอนเชิงปฏิบัติ ในการเรียนการสอนในหองเรียน กิจกรรมสวนใหญจะเปน การอธิบายไวยากรณกอนและทําการฝกพูดและแกโจทยปญหาที่ผูสอนมอบหมายให ซึ่งผลกระทบที่เกิดขึ้นคือ ผูสอนไมสามารถตรวจสอบความเขาใจของนักศึกษาไดทั่วถึงเนื่องจากจํานวนนักศึกษาที่สอนมีจํานวนมากถึง 50–80 คน การจั ดกิ จ กรรมในห องจึ งต อ งทํา การสุมหรื อจัด กิจ กรรมรวมๆเปน กลุ ม ดังนั้น ผูส อนควรจั ด กิจกรรมที่เนนการใชทักษะการพูดและการฟงเปนหลัก และใชวิธีการจับคูนักศึกษาเพื่อชวยกันตรวจสอบ ความเขาใจดวยกัน และควรใหมีการฝกฝนประสบการณการใชภาษาญี่ ปุนนอกเนื้ อหาการจัดการสอนใน ห องเรี ย นให มากยิ่ งขึ้ น เช น การสั มภาษณเพื่อนคนญี่ปุ น การทํารายงานคน ควาวิเคราะหภ าษาญี่ ปุ น ใน สื่อสินคาหรือโฆษณาจริง การจัดประกวดผลงานการทําวิดีโอบทบาทสมมุติโดยใชไวยากรณที่สอน เปนตน สรุปผลการศึกษา จากการวิเคราะหปญหาความเขาใจไวยากรณภาษาญี่ปุนเบื้องตนของนักศึกษาสาขาภาษาญี่ปุนเพื่อ การสื่อสารธุร กิ จ ผูเขียนไดทําการนําข อมูล ผลการสอบวั ดความรูภ าษาญี่ปุน JBC-TJP ระดับ N4 ที่สาขา หลักสูตรสรางขึ้นมาพิจารณาในสวนของโจทยขอสอบไวยากรณเพื่อใหเห็นถึงความยากงายของโครงสราง ไวยากรณที่นักศึกษาเขาใจและไมเขาใจ จากนั้นทําการประชุมสนทนากลุมคณาจารยผูสอนในสาขาเพื่อใหเห็น ถึงประเด็นปญหาและแนวทางแกปญหาเพื่อนําไปใชปรับปรุงการสอนในหองเรียน โดยสรุปผลการวิเคราะหได ดังนี้ 1. ไวยากรณที่นักศึกษาสวนใหญมีปญหาคือเรื่องเกี่ยวกับการใชคําชวยที่มีความหมายซอนกัน การใช สํานวนการให-ไดรับ และการพิจารณาคํากริยาสกรรมกริยาและอกรรมกริยา ซึ่งทุกโครงสรางไวยการณมี ความแตกต างจากภาษาไทยอยางเห็น ไดชัด ทําใหนักศึกษาไม มั่นใจวาควรใชคํา ศั พทหรื อคํ ากริยาใดแตง ประโยคใหถูกตอง 2. ตําราที่ใชในการสอนของสาขาหลักสูตรเปนตําราสากลที่อธิบายไวยากรณเขาใจยาก ดังนั้นผูสอน ควรแนะนําใหนักศึกษาใชตําราเสริมเพิ่มเติมที่เปนผูเขียนคนไทยเขียน และควรทําสไลดหรือตําราเพื่ออธิบาย ไวยากรณสําหรับนักศึกษาไวจัดการเรียนเอง 3. การอธิบายไวยากรณในหองเรียนควรปรับเวลาการอธิบายตามความยากงายของไวยากรณที่สอน ไมมีความจําเปนตองเรียงลําดับการสอบตามตํารา รวมถึงการเตรียมวิดีโอเนื้อหาอธิบายเนื้อหากอนลวงหนา เพื่อใหนักศึกษาไดทบทวนไวยากรณกอนและหลังเรียน 4. กิจกรรมในหองเรียนควรเนนภาคปฏิบัติใหมากขึ้นเพื่อตรวจสอบทักษะการพูดการฟงจากไวยากรณ ที่ไดเรียน ควรมีการจัดคูผูเรียนเพื่อเรียนรูและทําความเขาใจเนื้อหาบทเรียนรวมกัน และควรใหมีการฝกฝน ประสบการณการใชภาษาญี่ปุนนอกเนื้อการจัดการสอนในหองเรียนใหมากยิ่งขึ้น อยางไรก็ตามผลการวิเคราะหครั้งนี้จะนําไปใชเพื่อพิจารณาการสอนในภาควิชาภาษาญี่ปุนขั้นพื้นฐาน ตอไป ซึ่งทางคณาจารยผูสอนคาดหวังวาผลการสอบวัดระดับภาษาญี่ปุนของนักศึกษาครั้งตอไปจะมีแนวโนมที่ ดีขึ้น ตามเกณฑความรูที่เหมาะสมที่นักศึกษาควรไดรับไปสอบวัดระดับภาษาญี่ปุน JLPT ไดตอไป

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

136


ขอเสนอแนะ 1. นําแนวทางการแกปญหาความเขาใจไวยากรณที่ผานการวิเคราะหครั้งนี้ไปเขากระบวนการวิจัยเพื่อ ทดสอบผลสัมฤทธิ์ที่ไดใหเปนรูปธรรม 2. ทําการคนหาปญหาการเรียนภาษาญี่ปุนจากการวิเคราะหผลการเรียนของนักศึกษาในสวนอื่นๆ เชน การใชคําศัพท การเขียน การอาน และการฟง 3. ทําการวิจัยปจจัยมีผลตอความสําเร็จในการเรียนภาษาตางประเทศเพื่อนําไปใชในการจัดการเรียนสอน รายการอางอิง กนกรัตน ปลาผล และวิวัฒน มีสุวรรณ. (2560). การพัฒนาชุดการเรียนมัลติมีเดียภาษาญี่ปุน เรื่อง สํานวน การให-รับสาหรับนักศึกษาวิชาเอกภาษาญี่ปุน. วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร, 19(4), 15-23. ทัศนีย เมธาพิสิฐ. (2547). ปญหาการเรียนภาษาญี่ปุนของนักศึกษาไทย. วารสารญี่ปุนศึกษาธรรมศาสตร, 21(2), 53-70. มินนะ โนะ นิฮงโกะ. 4 [2nd Ed]. (2560). กรุงเทพฯ: สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน). สมเกียรติ เชวงกิจวณิช. (2559). แปลญี่ปุน-ไทยเบื้องตน (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: สํานักพิมพภาษาและ วัฒนธรรม. สุจิตรา เลิศเสม. (2548). ความเขาใจของผูศึกษาภาษาญี่ปุนชาวไทยเกี่ยวกับประโยคกรรมวาจกและประโยค [-te mortau] [-te kureru]. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สุณียรัตน เนียรเจริญสุข, พัชราพร แกวกฤษฎางค และ สมเกียรติ เชวงกิจวณิช. (2557). โครงสราง ภาษาญี่ปุน. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. สุภา ปทมานันท. (2563). สกรรมกริยา อกรรมกริยาภาษาญี่ปุนไมยาก. กรุงเทพฯ: สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน). สุเทพ นอมสวัสดิ์. (2554). ไวยากรณภาษาญี่ปุนเบื้องตน ฉบับสมบูรณ. กรุงเทพฯ: บริษัทธนาเพรส จํากัด. สํานักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรมแหงชาติ (สอวช.). (2564). มาตรการ สอวช. เพื่อรองรับการฟนฟูและปรับโครงสรางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ. สืบคนจาก: https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/33552 [2565, 29 มิถุนายน] HIRONAKA TOMITA และ FUMIYASU MAENO. (2012). ปญหาการใชคําชวยภาษาญี่ปุนของผูเรียนชาวไทย - กรณีศึกษานักเรียนหลักสูตร Intensive Japanese Twinning Program ของมหาวิทยาลัยโตไกกับ สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. วารสารกระแสวัฒนธรรม, 13(23), 27-45. JEDUCATION.COM. JLPT การสอบวัดระดับภาษาญี่ปุน. สืบคนจาก: https://jeducation.com/main/ education/jlpt/ [2565, 29 มิถุนายน] The Japan Foundation. (2012). The Japanese-Language Proficiency Test (JLPT). สืบคนจาก: https://www.jlpt.jp/e/index.html [2565, 29 มิถุนายน] CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

137


การบูรณาการทฤษฎีการเรียนรูของผูใหญและการเรียนรูโดยการชี้นําตนเอง เพื่อสงเสริมการเรียนรูผูเรียนวัยผูใหญ ผุสดี กลิ่นเกษร*1 บทคัดยอ การเรียนรูของผูเรียนวัยผูใหญเปนการเรียนรูท่ีอาศัยความเชื่อพื้นฐานมาจากทฤษฎีการเรียนรู ของ ผู ใหญ และการเรี ยนรูโ ดยการชี้นํ า ตนเอง โดยทฤษฎีการเรีย นรูของผูใหญ (Adult Learning Theory) คื อ ศาสตรและศิลปในการสอนใหผูใหญเกิดการเรียนรูที่มีความแตกตางจากการเรียนรูของเด็ก โดยผูใหญจะมีการ เขาใจตอตนเอง มีประสบการณ มีความพรอมที่จะเรียนรู และมีเปาหมายในการเรียนรูของตนเอง ซึ่งสิ่งเหลานี้ ทําใหการเรียนรูของผูใหญมีความแตกตางจากของเด็กสงผลใหผูเรียนที่เปนผูใหญมีการเรียนรูที่สามารถชี้นํา ตนเองได การเรี ย นรู โ ดยการชี้ นํ า ตนเองเป น การเรี ย นรู ที่ ผู เ รี ย นต อ งรั บ ผิ ด ชอบการเรี ย นรู ข องตนเอง เปนกระบวนการที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ และเนนการเรียนรูที่เปนอิสระ การเรียนรูตองสามารถตอบสนอง ความตองการของผูเรียนได นอกจากนี้ผูเรียนที่เปนวัยผูใหญจะมีลักษณะของการเรียนรูโดยการชี้นําตนเองของ แตละบุคคลที่แตกตางกันออกไปตามคุณวุฒิ วัยวุฒิ และประสบการณของบุคคล ซึ่งลักษณะของการเรียนรูโดย การชี้นําตนเองเปนการเรียนรูที่มีความสําคัญยิ่ง เนื่องจากเปนการสงเสริมใหผูใหญมีการพัฒนาศักยภาพและ ความสามารถของตนเองไดอยางไมมีขีดจํากัด ซึ่งเปนการยกระดับการเรียนรูของผูเรียนวัยผูใหญในยุคปจจุบัน ที่ตองมีการเรียนรูอยูตลอดเวลาอยางสม่ําเสมอตอเนื่องหรือเปนการเรียนรูตลอดชีวิตนั่นเองเพื่อใหสอดคลอง กับการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 คําสําคัญ: ทฤษฎีการเรียนรูของผูใหญ, การเรียนรูโดยการชี้นําตนเอง ABSTRACT Adult learner learning is belief-based learning based on adult learning theory and self – directed learning. The learning theory of adults is the science and art of teaching adults to learn that is different from children's learning. The adults will have self- understanding, experience, ready to learn. and have goals for their own learning. This makes adult learning different from that of children, resulting in adult learners having self-directed learning. Self – directed learning is learning where learners are responsible for their own learning. It is a 1

ดร.ผุสดี กลิ่นเกษร อาจารยประจําหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรูและการสอน คณะสหวิทยาการ เทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยศรีปทุม CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

138


student-centered process. and focus on independent learning Learning must be able to meet the needs of learners. In addition, adult learners will have the characteristics of individual self – directed learning that differ according to their qualifications, maturity, and experience. The nature of self – directed learning is learning that is of paramount importance. Because it encourages adults to develop their own potential and abilities without limits. This is to raise the level of learning for adult learners in today's era who need to learn constantly, continuously or be lifelong learning in order to be in line with the changes in the 21st century. KEYWORDS: Adult Learning Theory, Self – Directed Learning บทนํา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรมไดมีความสําคัญอยางมากทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในดาน ตางๆ อยางรวดเร็วและมีบทบาทอยางยิ่งตอการขับเคลื่อนความเปนไปของเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ตางๆ ในยุคปจจุบันที่มีความเจริญกาวหนา และความทันสมัยเกิดขึ้นอยางมากมาย จนกลายเปนโลกและสังคม ที่ไรพรมแดนทําใหขอมูลขาวสารและความรูใหมๆ เกิดขึ้นอยางมากและรวดเร็วดวยเชนเดียวกัน อยางไรก็ตาม ในยุคที่โลกไรพรมแดน เทคโนโลยีความกาวหนาตางๆ ตลอดจนความรูใหมๆ ไดเกิดขึ้นอยางมากมายทําให มนุษยที่เปนบุคคลในสังคมต องมีการปรับ ตัวอยู ตลอดเวลา ทามกลางการเปลี่ยนแปลงตางๆ บุคคลควรมี ทิศทางในการปรับตัวใหรองรับพลวัตที่เปลี่ยนแปลงไป การปรับรูปแบบการเรียนรูจากยุค 1.0 ที่เรียนรูจาก อาจารยอยางเดียวใหสามารถเรียนรูดวยตนเอง (ยุค 2.0) และสรางองคความรู (ยุค 3.0) นําไปสูการเรียนรูใน ยุค 4.0 ที่มีหัวใจสําคัญ คือการพัฒนาศักยภาพการเรียนรูของมนุษยใหมีคุณภาพสูงขึ้น หนังสือ 21st Century Skill: Learning for Life in Our Time (Trilling& Fadel, 2009) ไดระบุคุณลักษณะของผูเรียนในศตวรรษ ที่ 21 ไววาผูเรียนตองพรอมพัฒนาตนเองในทุกๆ ดานอยางเต็มศักยภาพ โดยมีแนวคิดในการจัดการเรียนรู สําหรับศตวรรษที่ 21 คือสอนนอยลงทําใหเรียนรูไดมากขึ้น(teach less, learn more) ซึ่งหมายถึง ครูตองใช วิธีสอนแบบบรรยายหรือครูคอยบอกเลาใหนอยลงแตสนับสนุนใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองเพิ่มขึ้น (อติพร เกิดเรือง และคณะ, 2564) ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ที่เนนการปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทยทั้งดาน การบริหาร การจัดการเรียนการสอน โดยมีจุดเนนใหมีการจัดการศึกษาตลอดชีวิต และการสรางสังคมไทยให เป น สั งคมแห ง การเรี ย นรู การศึ กษาคุ ณภาพชีวิต และสั งคมบู ร ณาการอย า งสมดุ ล ระหว า งป ญ ญาธรรม คุณธรรม และวัฒนธรรม เปนการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคนทั้งปวง มุงสรางพื้นฐานที่ดีในวัยเด็ก ปลูกฝงความ เป น สมาชิ กที่ ดีของสั งคมตั้ งแต วั ย การศึ กษาพื้น ฐานและพัฒ นาความรู ความสามารถ เพื่อการทํางานที่ มี คุณภาพ การศึกษาตลอดชีวิตจึงเปนกระบวนการจัดการศึกษาที่ผสมผสานการศึกษาทุกรูปแบบ เพื่อสงเสริมให ประชาชนสามารถเรียนรูไดทุกสถานการณ เวลา และสถานที่อยางตอเนื่องตลอดชีวิตเพื่อการพัฒนาบุ คคล อยางเต็มศักยภาพใหมีความรู ทักษะและประสบการณอยางเพียงพอตอการดํารงชีวิต การประกอบอาชีพและ CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

139


การปรั บ ตั ว เข า กั บ สภาพแวดล อ มและสั ง คมที่ เ ปลี่ ย นไปได อ ย า งเหมาะสมในทุ ก ช ว งชี วิ ต (สํ า นั ก งาน คณะกรรมการศึกษาแหงชาติ, 2545) ดังนั้นบุคคลจึงตองมีการแสวงหาความรูใหมและพัฒนาตนเองอยูอยาง ตอเนื่องถึงแมวาจะไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน แตเมื่อบุคคลไดศึกษาจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานและเขาสูวัย ผูใหญก็ยังตองมีการเรียนรูอยูตลอดเวลา ซึ่งสิ่งเหลานี้ลวนทําใหบุคคลที่เปนวัยผูใหญตองมีการเรียนรูสิ่งตางๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ด ว ยตนเองจากทุ ก ที่ ทุ ก เวลา ตลอดช ว งชีวิ ต ของบุ ค คล และการเรี ย นรูโ ดยการชี้นํ าตนเองคือ กระบวนการที่สําคัญสําหรับการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตในโลกที่เต็มไปดวยการเปลี่ยนแปลงนี้ที่จะเกิดขึ้น ในการเรียนรูของผูใหญ ซึ่งการเรียนรูของผูใหญจะมีความแตกตางจากการเรียนรูของเด็ก เนื่องจากผูใหญมี ประสบการณมากกวาเด็ก การเรียนรูของผูใหญจึงตองยึดหลักการตอบสนองความตองการของผูเรียน ดังนั้น ผูเรียนจึงสามารถเรี ยนรูโดยการชี้นํ าตนเองไดว าต องการเรียนรู สิ่งใด เพื่อประโยชนอะไร การเรียนรู โ ดย การชี้นําตนเองที่เกิดขึ้นกับผูเรียนที่เปนผูใหญจึงมีความสําคัญสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของโลกปจจุบันที่ บุคคลควรพัฒนาตนเองอยูตลอดเวลาและตอเนื่องซึ่งเปนการพัฒนาการเรียนรูตลอดชีวิต ทฤษฎีการเรียนรูของผูใหญ (Adult Learning Theory) ทฤษฎีการเรียนรูของผูใหญเปนแนวคิดเรื่องศาสตรและศิลปในการสอนผูใหญ (Andragogy) ใหเกิด การเรียนรู โดยผูใหญจะสามารถเรียนรูไดดีที่สุด เมื่อมีวิธีการ กระบวนการ และเทคนิคการสอนที่ทําใหผูเรียน เรี ย นรู ไ ด โ ดยการชี้ นํ า ตนเอง โดยเชื่ อ ว า ผู ใ หญ แ ต ล ะคนมี วุ ฒิ ภ าวะที่ ส มบู ร ณ จึ ง มี ค วามต อ งการและ ความสามารถในการชี้นําตนเอง การใชประสบการณในการเรียนรู การระบุความพรอมที่จะเรียนของตนเอง และจัดการเรียนรูเพื่อแกปญหาชีวิตของตนเองได ซึ่งหลักการเรียนรูสําหรับผูใหญ หรือ Andragogy ได มี การศึกษาคนควากันมานานตั้งแตตนศตวรรษที่ 20 โดยมีงานวิจัยทั้งในดานวิทยาศาสตรและดานศิลปศาสตรที่ ออกมาสนั บ สนุ น แนวคิ ด ที่ ว า ผู ใ หญ ส ามารถเรี ย นรู ไ ด ใ นรู ป แบบที่ ต า งจากเด็ ก โดย Malcolm Knowles นักวิชาการดานการศึกษาผูใหญเปนผูใชคําวา Andragogy ในความหมายของศาสตรดานการสอนผูใหญที่ แตกตางจากเด็ก ซึ่งตอมาก็เปนที่นิยมและใชกันทั่วไปในทฤษฎีการเรียนรูสําหรับผูใหญ (Andragogy Theory) ซึ่งเปนทฤษฎีแนวคิดเบื้องตนสําหรับการเรียนรูของผูใหญ โดย Malcolm Knowles (1978) ไดกลาวถึงศาสตร และศิลปในการชวยใหผูใหญไดเรียนรู ซึ่งมีความเชื่อเบื้องตนที่เกี่ยวกับการเรียนรูของผูใหญที่แตกตางจากเด็ก 4 ประการ ดังนี้ 1. ความเขาใจตอตนเอง (Self-concept) เมื่อบุคคลเจริญเติบโตและมีวุฒิภาวะมากขึ้น ความรูสึก รับผิดชอบตอตนเองก็มีมากขึ้นตามลําดับ และถาหากบุคคลรูสึกวาตนเองเจริญวัยและมีวุฒิภาวะถึงขั้นที่จะ ควบคุมและนําตนเองได บุคคลก็จะเกิดความตองการทางจิตใจ โดยเปลี่ยนจากผูที่มีบุคลิกภาพที่พึ่งพาผูอื่น ไปเปนพึ่งพาตนเองมากขึ้นเพื่อที่จะไดควบคุมและนําตนเองได (Self-directing) 2. ประสบการณ (Experience) บุคคลเมื่อมีอายุมากขึ้นก็ยิ่งมีประสบการณเพิ่มมากขึ้น ประสบการณ ตางๆ ที่แตละคนไดรับจะเสมือนแหลงทรัพยากรมหาศาลของการเรียนรู และจะสามารถรองรับการเรีย นรู สิ่งใหมๆ เพิ่มขึ้นอยางกวางขวาง การเรียนรูที่เหมาะสมจึงควรเปนการเรียนรูที่ใชประโยชนจากประสบการณ

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

140


เดิ ม ซึ่ ง ผู ใ หญ ส ามารถนํ า ประสบการณ ข องตนมาเป น แหล ง ความรู แ ลกเปลี่ ย นกั บ ผู อื่ น ได และจะเกิ ด กระบวนการการเรียนรูรวมกันจากการใชประสบการณ 3. ความพรอมที่จะเรียนรู (Readiness to Learn) ผูใหญพรอมที่จะเรียนรู เมื่อเห็นวาสิ่งที่เรียนไปนั้น มีความหมายและมีความจําเปนตอบทบาทและสถานภาพทางสังคมของผูใหญ เนื่องจากวาผูใหญเปน ผู ที่มี หนาที่การงาน มีบทบาทในสังคมและพรอมที่จะเรียนรูเสมอ ถาหากสิ่งนั้นมีประโยชนตอตนเอง 4. เปาหมายในการเรียนรู (Orientation to Learning) เปาหมายในการเรียนรูของผูใหญมีความแตกตาง จากของเด็ ก เนื่ อ งจากผู ใ หญ เ ป น ผู ที่ มี ห น า ที่ บ ทบาทสถานภาพทางสั ง คม การเรี ย นรู ข องผู ใ หญ จึ ง เป น การเรียนรูที่สามารถนําไปใชประโยชนไดทันที จึงเปนการเรียนรูเพื่อนําไปแกปญหาในชีวิตประจําวันได ดังนั้น เปาหมายในการเรียนรูของผูใหญท่ีจะเกิดผลทันที (Immediacy) คือเปนการเรียนรูในลักษณะของเนื้อหาที่ ยึดปญหาเปนศูนยกลาง หรือปญหาในชีวิตประจําวันเปนสําคัญ (Problem-centered) จากทฤษฎีการเรียนรูสําหรับผูใหญ (Andragogy Theory) ที่ไดกลาวไวเบื้องตนถึงศาสตรและศิลปใน การชวยใหผูใหญไดเกิดการเรียนรูสิ่งสําคัญที่ตองคํานึงถึงใหมากที่สุดคือ ผูใหญมีความแตกตางจากการเรียนรู ของเด็ก โดยการเรียนรูในวัยผูใหญมุงเนนไปที่ความเขาใจตอตนเองในการเรียนรูเพื่อตอบสนองความตองการ ของผู เ รี ย นเพื่ อ เป น แรงจู ง ใจในการใฝ ก ารเรี ย นรู แ ละกํ า กั บ ควบคุ ม การเรี ย นรู ใ ห เ กิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ สู ง สุ ด กระบวนการเรียนรูของผูใหญจะตองเกี่ยวของและสามารถใชประโยชนจากประสบการณเดิมของผูเรียนได ผู ใหญ จ ะเรี ย นรู ได ดีเ มื่ อรู สึ กว า สิ่ งนั้ น มี ความจําเปนตอบทบาทและสถานภาพทางสั งคมของผู ใหญ และรู เปาหมายในการเรียนรูของตนเองวาสิ่งที่ตองการเรียนรูนั้นสามารถนําไปใชประโยชนไดทันทีในชีวิตจริง นอกจากหลักการเรียนรูสําหรับผูใหญ (Andragogy Theory) ที่ Malcolm Knowles ไดกลาวไวใน ขางตนแลว Malcolm Knowles ยังไดกลาวถึงหลักการสอนผูใหญที่ผูสอนสามารถนําไปประยุกตใชในแงตางๆ (ชัยฤทธิ์ โพธิสุวรรณ, 2552) ซึ่งไดอธิบายไวดังนี้ 1. การประยุกตใชในแงของความเขาใจตอตนเอง (Self-concept) มีหลักการสอน/แนวทางปฏิบัติใน การสอนผูใหญที่เกี่ยวกับความเขาใจตอตนเอง ดังตอไปนี้ 1.1 บรรยากาศของการเรียน (Learning Climate) หมายถึง ชั้นเรียนและสภาพแวดลอม ที่ควรมี ความเหมาะสมและอํานวยความสะดวกใหแกผูใหญ ควรจัดใหเหมาะกับวัยของผูใหญ เชน โตะนั่ง เฟอรนิเจอร ทั้งนี้การจัดที่นั่งใหผูใหญนั่งควรจัดใหนั่งเปนวงกลมใหความรูสึกที่เทาเทียมกัน ซึ่งพรอมที่จะรับฟงและเปด โอกาสใหผูใหญไดสื่อสารแสดงออกไดอยางรูสึกเปนกันเอง ไววางใจซึ่งกันและกัน นอกจากนี้แลวบรรยากาศ ทางดานจิตวิทยา ก็สงผลตอการเรียนรูของผูใหญดวย เชนกัน ผูสอนจะตองสรางความรูสึกใหกับผูใหญไดรูวา ตนไดรับการยอมรับและนับถือ และสนับสนุนใหมีอิสระในการแสดงความคิดเห็น โดยที่ไมตองกลัวการถูก ลงโทษ ผูใหญจะรูสึกชอบบรรยากาศของความเปนมิตร และแบบเปนกันเองมากกวาแบบพิธีการ นอกจากนี้พฤติกรรมของผูสอนก็มีอิทธิพลตอบรรยากาศของการเรียนดวยเชนกัน ผูสอนจะตอง แสดงออกในทาทีที่ใหความเคารพและความสนใจในผูเรียน พรอมและตองการรับฟงความคิดเห็นของผูเรียน ยอมรับและเคารพในเหตุผลของผูเรียนที่เปนผูใหญ ตลอดจนตองทําความรูจักคุนเคยกับผูเรียนดวย พฤติกรรม

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

141


เชนนี้ เปนการใหเกียรติแกผูเรียนที่เห็นวาตนมีคุณคาไดรับการยอมรับ ซึ่งทําใหผูเรียนเกิดความรูสึกที่ดีและมี ทัศนคติทางบวกตอการเรียนรู 1.2 การวิเคราะหความตองการ (Diagnosis of Needs) เนื่องจากผูใหญมีความเปนตัวของตัวเอง และไมชอบถูกบอกใหทําอะไรอยางเด็กๆ ดังนั้นจึงควรเสนอแนวทางการสอนของผูใหญ โดยเนนที่กระบวนการ คิดวิเคราะหความตองการของตนเองที่อยากจะเรียนรู (Self-diagnosis of Needs) โดยการยึดหลักความคิด ที่วา ความตองการที่จะเรียนรู คือ ชองหางระหวางคุณลักษณะหรือพฤติกรรมหรือความสามารถที่พึงปรารถนา กับคุณลักษณะหรือพฤติกรรมหรือความสามารถที่มีอยูในปจจุบัน ซึ่งผูสอนสามารถสรางสถานการณหรือ รูปแบบขึ้นมา เพื่อสรางประสบการณการเรียนรูใหแกผูเรียนผูใหญในการวิเคราะหความตองการของตนเอง เพื่ อ ให ผู ใ หญ เ กิ ด ความไม พึ ง พอใจในคุ ณ ลั ก ษณะหรื อ พฤติ ก รรมหรื อ ความสามารถที่ มี อ ยู ใ นป จ จุ บั น ขณะเดียวกันก็ใหตระหนักถึงความสามารถของตนเองดวยเพื่อใหผูเรียนผูใหญไดทราบถึงชองวางระหวาง ความตองการและความสามารถของตนเอง ซึ่งผูเรียนจะเกิดแรงจูงใจใหเรียนรู (Motivation to Learn) และ แรงกระตุนที่จะปรับปรุงตนเอง (Self-improvement) 1.3 กระบวนการวางแผน (Planning process) ผูสอนตองใหผูเรียนมีสวนเกี่ยวของในการวาง แผนการเรียนของตนเอง เพื่อใหผูเรียนรูสึกวาเปนพันธะกิจที่มีสวนรวมในการวางแผนและตัดสินใจดําเนินการ เรียนรู โดยผูสอนเปนผูใหคําแนะนําดานกระบวนการวางแผนและคอยเปนที่ปรึกษาทางดานเนื้อหาของสิ่งที่ ผูเรียนตองการเรียนรู ผูเรียนที่จะมีสวนรวมที่มีประสิทธิภาพควรเปนผูเรียนจํานวนไมมากนักที่เปนกลุมเล็ก จํ านวนน อยกว า สามสิ บ คน กลุ มขนาดนี้ ที่ผูเรีย นทุก คนสามารถมี สว นรว มไดโ ดยตรงทุ ก คน ซึ่งมีผ ลดี ใ น การตอบสนองและกระตุนการเรียนรูของผูเรียนผูใหญ 1.4 การจัดประสบการณการเรียนรู (Conducting Learning Experience) เพื่อใหสอดคลองกับ แนวคิดที่วาผูใหญมีความสามารถควบคุมและนํ าตนเองได (Self-directing) ดังนั้นประสบการณการเรีย น การสอนจึงควรเปนไปในรูปของความรับผิดชอบรวมกันระหวางผูสอนและผูเรียน ควรมีการจัดประสบการณ การเรียนรูรวมกัน และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมกัน โดยผูสอนมีบทบาทเปนผูใหคําแนะนําและชวยเหลือใน กระบวนการเรียนรู (Procedural Guide) เปนแหลงความรู (Resource Person) เปนผูรวมเรียนรู (Coinquirer) เปนตัวกระตุน (Catalyst) และชวยใหผูใหญเรียนรูตามคุณลักษณะการชี้นําตอนเองของผูใหญที่มีวุฒิภาวะ 1.5 การประเมินผลการเรียนรู (Evaluation of Learning) ตามหลักของการเรียนรูสําหรับผูใหญ (Andragogy) ที่มุงเนนใหผูใหญมีคุณลักษณะในการชี้นําตนเอง ไดเปนผูวัดและประเมินความกาวหน าของ ตนเอง (Self-evaluation) โดยความรวมมือและคําแนะนํ าของผูส อนที่ เสนอแนะเครื่องมื อที่จ ะใชวั ด และ ประเมิน ดังนั้นเมื่อเสร็จสิ้นกระบวนการการประเมินผลการเรียนรู ก็จะกลายเปนการวิเคราะหความตองการ การเรียนรูครั้งที่สอง ซึ่งเปนจุดที่สําคัญมากในการยอนกลับเมื่อผูเรียนประเมินตนเองและรับรูวาตนเองยังคงมี ความตองการที่จะเรียนรูอีก จนกลายเปนวงจรของการเรียนรูอยางตอเนื่อง โดยเปนความตองการที่มาจาก ผูเรียนเองที่เกิดจากแรงจูงใจภายใน (Intrinsic Motivation) อันเปนการจูงใจในการเรียนรูอยางแรงกลาและ มั่นคงในการเรียนรูสําหรับผูใหญ

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

142


2. การประยุ ก ต ใ ช ใ นแง ข องประสบการณ (Experience) มี ห ลั ก การสอนและแนวทางปฏิบัติใน การสอนผูใหญที่เกี่ยวกับประสบการณ ดังตอไปนี้ 2.1 การเนนที่เทคนิคการสอนเชิงประสบการณ (Emphasis on Experimental Techniques) เนื่ องจากว าแนวคิ ดในการเรี ย นรู ของผู ใหญไดเนน ใหผูใหญมีการเรีย นรูจ ากประสบการณ (Experiential Learning) ซึ่งผูใหญเปนผูที่มีประสบการณชีวิตมามาก ดังนั้น ผูสอนควรนําประสบการณเดิมของผูเรียนมาใช ใหเกิดประโยชนสูงสุด นอกจากนี้ควรนําคุณลักษณะของการชี้นําตนเองในการเรียนรูของผูใหญมาใชใหเกิด ประโยชนสูงสุดอีกดวย สามารถเปนประโยชนในการนํามาใชเปนแหลงความรูในชั้นเรียนได ดังนั้นผูสอนควร เปดโอกาสใหผูใหญไดมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรู เพื่อไดมีการทดลองแกปญหาดวยตนเอง ซึ่งจะทําใหผูใหญ เกิดการกระตือรือรนและพาตัวเองเขามาเกี่ยวของมากยิ่งขึ้น ตัวอยางเทคนิคการเรียนรูที่เอื้อตอการใชประโยชน จากประสบการณของผูใหญ อาจจัดใหอยูในรูปของการอภิปรายกลุมยอย การใหแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing) กรณีศึกษาสถานการณจําลอง (Simulation Exercise) การฝกทักษะ (Skill Practice) เปนตน 2.2 การเนนที่สามารถนําไปประยุกตใชไดจริง (Emphasis on Practical Application) ผูสอน ควรจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยใหผูใหญไดมีโอกาสใชประสบการณของตนเองมากที่สุด ดังนั้น การเรียนรูจึง ควรเนนที่การปฏิบัติ และสิ่งที่ไดลงมือปฏิบัตินั้น จะตองสามารถนําไปใชประโยชนไดจริงดวย วิธีการนี้จะชวย ใหเกิดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ 2.3 การเตรี ย มความพร อมและการเรียนรูวิธีการเรีย นรูจากประสบการณ (Unfreezing and Learning to Learn from Experience) จากเดิมผูเรียนที่เปนผูใหญจะคุนเคยกับการเรียนการสอนแบบดั้ งเดิ ม ที่ผูสอนควบคุมการตัดสินใจ ทั้งในกระบวนการเรียน การสอน ผูเรียนเปนเพียงผูรับ ทําใหผูเรียนมีสวนรวมนอย ดังนั้น เมื่อพบกับสภาพกิจกรรมที่เปดโอกาสใหชี้นําตนเอง ผูเรียนผูใหญจะเริ่มตนอะไรไมถูก ผูสอนจึงตองจัด ชวงที่เตรียมความพรอมใหกับผูใหญไดเรียนรูตนเองอยางตรงไปตรงมา สามารถยอมรับความเปนจริงได สิ่งที่ สําคัญตองทําใหผูใหญมีความคิดเปนอิสระกอนไมยึดกับการเรียนรูแบบดั้งเดิม จากนั้นผูใหญก็เรียนรูที่จะ รับผิดชอบการเรียนรูของตนเองไดอยางสอดคลองกับคุณลักษณะของการชี้นําตนเองในการเรียนรู ทั้งนี้ผูใหญก็ พรอมที่จะรวมมือกับผูอื่นที่จะเรียนรูจากประสบการณทั้งประสบการณของตนเองและประสบการณของผูอื่น ดวย วิธีการเรียนรูเชนนี้จะชวยใหผูเรียนที่เปนผูใหญเขาใจตอนเองมากขึ้น เพราะเปนการเรียนรูที่วิเคราะห ประสบการณของผูอื่นเชนกัน 3. การประยุกตใชในแงของความพรอมที่จะเรียนรู (Readiness to Learn) มีหลักการสอน/แนวทาง ปฏิบัติในการสอนผูใหญที่เกี่ยวกับความพรอมที่จะเรียนรู (Readiness to learn) ดังตอไปนี้ 3.1 ช ว งเวลาของการเรีย นรู (The Timing of Learning) การเปลี่ย นแปลงบทบาททางสั งคม กอใหเกิดจุดสูงสุดของความพรอมที่จะเรียนรู นั่นคือ เนื้อหาการเรียนรูของผูใหญควรสอดคลองกับภารกิจ หนาที่บทบาททางสังคมของแตละบุคคล มิใชสอดคลองกับลําดับเนื้อหาตามหลักการเทานั้น ดังนั้น เนื้อหาที่ เรี ย นรู ค วรเป น เนื้ อ หาที่ เ หมาะกั บ เหตุ ก ารณ โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ควรสอดคล อ งกั บ ภารกิ จ หน า ที่ แ ละ ประสบการณของผูเรียนในชวงเวลานั้นๆ ดวย

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

143


3.2 การจั ด กลุ ม ของผู เ รี ย น (The Grouping of Learners) ในการรวมกลุ ม ของผู เ รี ย นที่ มี ความพรอมที่จะเรียนรูควรพิจารณาความสนใจและประสบการณของผูเรียนในเรื่องที่คลายๆ กันหรือเรื่อง เดียวกัน ซึ่งอาจจัดในรูปของกลุมผูที่มีประสบการณและสติปญญาที่คลายคลึง หรือใกลเคียงกัน หรือจัดในรูป ของกลุมที่ไมคํานึงถึงองคประกอบที่แตกตางกันของผูใหญ เชน อายุ เพศ เปนตน เพื่อใหเกิดการเรียนรูที่มี ประสิทธิภาพตอผูเรียน 4. การประยุกต ใช ในแง ของเป าหมายในการเรียนรู (Orientation to Learning) มีหลักการสอน/ แนวทางปฏิบัติในการสอนผูใหญที่เกี่ยวกับเปาหมายในการเรียนรู (Orientation to Learning) ดังตอไปนี้ 4.1 ผูสอนควรจัดประสบการณการเรียนรูใหผูเรียนที่เปนผูใหญ ไดเนนกิจกรรมการสอนแบบ บุคคลเปนหลัก มิใชยังคงมุงเนนที่เนื้อหาตามแบบการเรียนการสอนดั้งเดิม เพื่อชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูใน แตละบุคคลเทาๆ กัน 4.2 การจั ดหลั กสู ตร/เนื้ อหาควรเนน ที่การใชปญ หาในชีวิตประจําวัน เปน หลัก ในการเรี ย นรู (Problem-based Learning) เนื่องจากผูใหญมีความคาดหวังตอการเรียนรูที่สามารถนําไปใชประโยชนได ทันที ดังนั้นควรจัดเนื้อหาใหสอดคลองกับชนิดและขอบเขตของปญหาของผูเรียนผูใหญเปนหลัก เพื่อใหผูใหญ ไดใชประสบการณที่มีอยูในกระบวนการแกไขปญหานั้น 4.3 การวางแผนการจัดประสบการณการเรียนรู มีจุดเริ่มตนของการวางแผนในการจัดประสบการณ การเรียนรู ที่ควรเริ่มตนดวยการวิเคราะหในความสนใจของผูเรียนผูใหญและเปนปญหาในชีวิตประจําวันกอน แลวจึงวิเคราะหสาเหตุของการเกิดปญหานั้น เพื่อใหผูใหญไดเรียนรูในสิ่งที่ผูใหญตองการอยากเรียนรู ดังนั้นจากทฤษฎีการเรียนรูของผูใหญ ผูสอนตองเปนผูอํานวยความสะดวก คอยชี้แนะ สรางบรรยากาศ ในการเรียนรู ใหผูเรียนเกิดความคุนเคย ความไววางใจกัน ผูสอนตองเขาใจธรรมชาติการเรียนรูของผูใหญและ ยังตองสามารถประยุกตหลักการตางๆ ใหเขากับปจจัยตางๆ ทางดานการศึกษา เพื่อใหเกิดสภาพที่จะสนับสนุน และเหมาะตอการเรียนรูของผูใหญใหมากที่สุด โดยมีแนวทางใหผูใหญเกิดการเรียนรู 4 องคประกอบ ดังนี้ 1. Structure of Learning Experience การจัดกิจกรรมควรมีกําหนดการที่ยืดหยุน เพื่อตอบสนอง ตอขอจํากัดเรื่องเวลา ควรเนนการเรียนการสอนแบบ face-to-face มากกวาการสอนผานสื่อตางๆ และควร ใหผูเรียนไดมีปฏิสัมพันธกับผูอื่น เชน การสัมมนากลุมยอย หรือการโตวาที เปนตน 2. Learning Climate บรรยากาศการเรียนที่มีการชวยเหลือซึ่งกันและกันจะสงเสริมการเรียนรูของ ผูใหญ ผูเรียนตองการเปนที่ยอมรับและนาเชื่อถือในสายตาของผูอื่น ควรเปดโอกาสใหมีการแบงปนและรับฟง ความคิดเห็นในกลุมเพื่อน ผูสอนควรทราบถึงความคาดหวังของผูเรียนเพื่อใหการเรียนการสอนบรรลุเปาหมาย ที่ตั้งไว 3. Focus of Learning การเรียนควรสงเสริมใหผูเรียนไดใชและวิเคราะหประสบการณที่ตนมี ผูเรียน ควรมีอิสระในการวางแผนและจัดการการเรียนรูของตัวเอง ผูสอนเปนแคคนคอยชวยเหลือ ประเด็นการเรียนรู ควรอยูในรูปของ “จะทําอยางไร เมื่อ.....” มากกวาเปนเรื่องของแนวคิดทฤษฎี

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

144


4. Teaching-Learning Strategy and Media การเรียนการสอนควรเปนไปในเชิงการแกปญหา และ สงเสริมใหเรียนดวยกัน โดยเนนใหผูเรียนไดมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรูใหมากที่สุด โดยอาจมีสวนรวมใน วิธีการสอน เชน วิธีบทบาทสมมติ หรือมีสวนในการประเมิน (Self-assessment) เพื่อนประเมินเพื่อน ก็ได ซึ่งจากแนวคิดทฤษฎีการเรียนรูของผูใหญที่มีลักษณะการเรียนรูที่เนนตัวผูเรียนเปนศูนยกลาง เนื้อหา การจัดการเรียนการสอนจึงตองสามารถตอบสนองความตองการของผูเรียนได ซึ่งผูเรียนที่เปนผูใหญจ ะนํา ประสบการณการเรียนรูของตนเองที่ผานมา มารวมกับประสบการณการเรียนรูที่ไดเรียนอยูขณะนี้แลวจึงมี การสรางเปนองคความรูของผูเรียนเอง โดยผูเรียนสามารถมีสวนในการกําหนดการเรียนรูดวยตนเองได (self directed) เพราะผูใหญนั้นมีความรู ความสามารถ มีประสบการณ อีกทั้งมีความรับผิดชอบสามารถควบคุม ตนเองได ผูสอนจึงเปนเพียงผูที่คอยอํานวยความสะดวก คอยแนะนําในการเรียนรูเทานั้น ลักษณะของกิจกรรม จึงเปนการเรียนรูมากกวาการสอน โดยมอบหมายงานใหเกิดการคนควาดวยตนเอง ใหผูเรียนเรียนรูตาม อัธยาศัยตามความถนัด ตามความสนใจที่ตองการดังนั้น การเรียนรูของผูใหญ (Andragogy) จึงเปนการแสดง ให เ ห็ น ถึ งความสํ า คั ญ ของการรั บ รู ใ นตนเองของผูใหญวา เขาสามารถชี้นําตนเองในการเรีย นรู ได (Selfdirection in Learning) และการจัดสภาพการเรียนรูที่เอื้อตอคุณลักษณะนี้ จะชวยใหเขาเกิดการเรียนรูที่มี ประสิทธิภาพและคงทน จากคุณลักษณะที่เดนนี้นับวามีความสอดกลองกับแนวคิดของการเรียนรูโดยการชี้นํา ตนเอง (Self-directed Learning) ของผูใหญ การเรียนรูโดยการชี้นําตนเอง (Self-Directed Learning) การเรียนรูโดยการชี้นําตนเอง หรือ Self-directed Learning หมายถึง กระบวนการเรียนรูท่ีผูเรียน ริเริ่มการเรียนรูดวยตนเอง ตามความสนใจ ความตองการ และความถนัด อยางมีเปาหมาย รูจักแสวงหาแหลง ทรัพยากรของการเรียนรู เลือกวิธีการเรียนรู จนถึงการประเมินความกาวหนาของการเรียนรูของตนเอง โดยจะ ดําเนินการดวยตนเอง หรือโดยความชวยเหลือจากผูอื่นหรือไมก็ได โดยเปนแนวคิดที่ไดรับความสนใจอยาง มากจากนักการศึกษาผูใหญที่มีชื่อเสียงหลายทาน อาทิ โนลส (Knowles) โรเจอร (Rogers) และคาฟฟาเรลลา (Caffarella) เปนตน นักการศึกษาผูใหญเหลานี้เชื่อในแนวคิดการเรียนรูโดยการชี้นําตนเอง วามิใชเปนเพียง กระแสที่ไดรับความนิยมเพียงชั่วครูแลวจางหายไป แตจะเปนแนวคิดของการเรียนรูที่อยูคูกับผูเรียนวัยผูใหญ จนกลายเปนวิถีแหงการเรียนรูที่สําคัญของผูใหญ (Brockett & Hiemstra, 1991) จนเกิดเปนวิถีการเรียนรู ตลอดชีวิต ซึ่งการเรียนรูโดยการชี้นําตนเองเปนวิธีการหนึ่งที่ใชสอนในผูเรียนที่เปนผูใหญ โดยมีจุดมุงหมาย หลัก คือ ใหผูเรียนไดศึกษาคนควาเพิ่มเติมอยางตอเนื่องแมวาผูเรียนจะเปนวัยผูใหญแลว ซึ่งถือวาเปนการเอื้อ ตอการพัฒนาการเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต การเรียนรูโดยการชี้นําตนเองเปนการเรียนรูซึ่งผูเรียนตอง รับผิดชอบในการวางแผน การปฏิบัติ และการประเมินผล ความกาวหนาการเรียนของตนเองเปนลักษณะซึ่ง ผูเรียนทุกคนมีอยูในขณะที่อยูในสถานการณการเรียนรู ผูเรียนจะสามารถถายโอนการเรียนรูและทักษะที่เกิด จากการเรียนจากสถานการณหนึ่งไปยังอีกสถานการณหนึ่งได การเรียนรูโดยการชี้นําตนเอง เปนกระบวนการ ที่เนนผูเรียนเป นสํ าคัญ โดยที่ผูเรียนตองวิ เคราะหความตองการในการเรียนรูของตนเอง ตั้งเปาหมายใน การเรียน แสวงหาผูสนับสนุน แหลงความรู สื่อการศึกษาที่ใชในการเรียนรู และประเมินผลการเรียนรู ของ CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

145


ตนเองได ทั้งนี้ผูเรียนอาจไดรับความชวยเหลือจากผู อื่น หรืออาจจะไมไดรับ ความชวยเหลือจากผู อื่น ก็ ได ในการกําหนดพฤติกรรมตามกระบวนการการเรียนรูโดยการชี้นําตนเอง ภายใตแนวคิดที่มีพื้นฐานมาจาก ทฤษฎีกลุมมนุษยนิยมที่มีความเชื่อที่วามนุษยทุกคนเกิดมาพรอมกับความดี มีความเปนอิสระ เปนตัวของ ตัวเอง สามารถหาทางเลือกของตนเอง มีความรับผิดชอบตอตนเอง ผูอื่นและสังคม มีศักยภาพและสามารถ พัฒนาศักยภาพของตนเองไดอยางไมมีขีดจํากัด การเรียนรูโดยการชี้นําตนเองเปนการสรางเปาหมายที่จะชวยใหผูเรียนรูจักการวางแผนการเรียนรูของ ตนเองให บ รรลุเ ป าหมายตามที่ ตนเองได กํา หนดไวอยางมีป ระสิทธิภาพดังที่เมอรเรีย มและคาฟฟาเรลลา (Merriam and Caffarella, 1999) ไดกําหนดเปาหมายของการเรียนรูโดยการชี้นําตนเองไว 3 ประการ ดังนี้ 1. เพื่อยกระดับความสามารถในการเรียนรูโดยการชี้นําตนเองของผูเรียนใหสูงขึ้น ในการเรียนรูโดย การชี้นําตนเอง ผูเรียนจะเปนผูสรางเปาหมายในการเรียนรูเพื่อวางแผนและพัฒนาความสามารถของตนเองให มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น สรางตนเองใหมีคุณคา และสามารถปรับตัวใหเทาทันตอการเปลี่ยนแปลงของตนเอง และสังคมได 2. สนับสนุนใหเกิดการปรับเปลี่ยนมโนทัศนของกระบวนการเรียนรูที่จะนําไปสูการเรียนรูโดยการชี้นํา ตนเอง ในการปรับเปลี่ยนกระบวนการคิดและทัศนคติของเรียนผูใหญที่มีความคิดแบบเกา ไมยอมรับสิ่งแปลกใหม ที่กําลังเกิดขึ้นไดถูกปรับเปลี่ยนใหกระบวนการคิดและทัศนคติมีเหตุผลและเทาทันตอการเปลี่ยนแปลงของ ตนเองและสังคมมากยิ่งขึ้นดวยการเรียนรูโดยการชี้นําตนเอง 3. สงเสริมการเรียนรูและกิจกรรมทางสังคมอยางมีอิสระเพื่อใหเกิดการเรียนรูโดยการชี้นําตนเองที่ สมบูรณ กิจกรรมทางสังคมจะจัดประสบการณใหผูเรียน โดยยึดหลักการมีสวนรวมและการมีปฏิสัมพันธของ ผูเรียนมากที่สุด เปนกิจกรรมที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ เปดโอกาสใหผูเรียนไดวางแผนการเรียนตามความสนใจ มีการบันทึกการเรียนรู มีการประเมินการเรียนรูและการทํางานของตนเอง ซึ่งกิจกรรมจะเนนกระบวนการ การปฏิบัติและสงเสริมการคิดและสรางองคความรูดวยตนเอง ในบรรยากาศของการเรียนการสอนที่เปนมิตร และการแลกเปลี่ยนประสบการณ ดังนั้น เปาหมายในการเรียนรูโดยการชี้นํ าตนเองของผูใหญจ ะถู กสรางขึ้น จากความตองการหรื อ ปญหาที่ผูใหญตองการแกไข ซึ่งเปาหมายในการเรียนรูโดยการชี้นําตนเองนี้จะเปนตัวกําหนดเสนทางและ ผลสําเร็จในการเรียนรูของผูใหญ เพื่อพัฒนาศักยภาพ กระบวนการคิด ทัศนคติ และความสามารถในการเรียนรูให เทาทันตอการเปลี่ยนแปลงสิ่งตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ การบูรณาการทฤษฎีการเรียนรูของผูใหญและการเรียนรูโดยการชี้นําตนเอง การเรี ย นรู โ ดยการชี้ นํ า ตนเองที่ ผู เ รี ย นเป น วั ย ผู ใ หญ ผู ส อนสามารถจั ด การเรี ย นรู เ พื่ อ ส ง เสริ ม การเรียนรูไดดังนี้ 1. การศึกษาผูเรียนเปนรายเฉพาะบุคคล เนื่องจากผูเรียนแตละบุคคลมีความแตกตางกันทั้งในดาน ความสามารถในการเรียนรู วิธีการเรียนรู ทัศนคติ ตลอดจนทักษะตางๆ ที่เปนเฉพาะบุคคล ดังนั้น การจัดการ เรี ย นรู จึ ง ต อ งคํ า นึ ง ถึ ง ความแตกต า งระหว างบุ ค คลเป น สํา คั ญ โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ด า นความสามารถใน CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

146


การเรียนรู และวิธีการเรียนรู โดยจัดการเรียนรู เนื้อหาและสื่อที่เอื้อตอการเรียนรูรายบุเฉพาะบุคคล รวมทั้ง เปดโอกาสใหผูเรียนไดนําเอาประสบการณของตนมาใชในการเรียนรูดวยเพื่อเปนการเรียนรูจากประสบการณ ของตนเองที่มีอยูเดิมมารวมกับประสบการณใหมที่ไดรับมาจะเกิดเปนความรูใหมภายใตประสบการณ ของ แตละบุคคลที่มีความแตกตางกันออกไป 2. การจัดใหผูเรียนมีสวนรับผิดชอบในการเรี ยน การเรียนรูของผูใหญจ ะเกิดขึ้นไดดีเมื่อผูเรีย นมี สวนรวมรับผิดชอบการเรียนรูของตนเอง ดังนั้น การจัดการเรียนรูจึงควรเปดโอกาสใหผูเรียนมีบทบาทตั้งแต การวางแผนกําหนดเปาหมายการเรียนที่สอดคลองกับความตองการของตน หรือกลุมการกําหนดกิจกรรม การเรียนรู สื่อการเรียน การเลือกใชวิธีการเรียนรูก ารใชแหลงขอมูล ตลอดจนถึงการประเมินผลการเรียนของ ตนเพื่อใหผูเรียนสามารถประเมินศักยภาพการเรียนรูของตนเองไดโดยมีผูสอนเปนผูคอยชี้นําใหคําปรึกษา 3. การพั ฒ นาทั กษะการเรี ย นรู ของผูเรีย นวั ย ผู ใหญ การจัดการเรีย นรูเพื่อส งเสริ มใหผูเรี ย นเกิ ด การเรียนรูดวยตนเองจําเปนอยางยิ่งที่ผูเรียนจะตองไดรับการฝกใหมีทักษะ และยุทธศาสตรการเรียนรูที่จําเปน ตอการเรียนรูดวยตนเอง เชน การบันทึกขอความ การจัดประเภทหมวดหมู การสังเกต การแสวงหาและ ใช แ หล ง ความรู เทคโนโลยี แ ละสื่ อ ที่ ส นั บ สนุ น การเรี ย นรวมทั้ ง เป ด โอกาสให ผู เ รี ย นได มี ป ระสบการณ ในการตัดสินใจ แกปญหากําหนดแนวทางการเรียนรู และเลือกวิธีการเรียนรูที่เหมาะสมกับตนเอง 4. การพั ฒ นาทั ก ษะการเรี ย นรู ข องผู เ รี ย นวั ย ผู ใ หญ ร ว มกั บ ผู อื่ น การเรี ย นรู ด ว ยตนเอง ไม ไ ด หมายความวา ผูเรียนตองเรียนคนเดียว โดยไมมีชั้นเรียนหรือเพื่อนเรี ยน ยกเวนการเรียนแบบรายบุคคล โดยทั่วไปแลว ในการเรียนรูดวยตนเองผูเรียนจะไดทํางานรวมกับเพื่อน กับครูและบุคคลอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ดังนั้นจึงตองพัฒนาทักษะการเรียนรูรวมกับผูอื่นใหกับผูเรียนเพื่อใหรูจักการทํางานเปนทีม โดยเฉพาะอยางยิ่ง การทํ า กิ จ กรรมกลุ ม ร ว มกั บ เพื่ อ นที่ มี ค วามรู ค วามสามารถ ทั ก ษะเจตคติ ที่ แ ตกต า งกั น เพื่ อ ให ส ามารถ แลกเปลีย่ นเรียนรู และแบงหนาที่ความรับผิดชอบในกระบวนการเรียนรู 5. การพัฒนาทักษะการประเมินตนเอง และการรวมมือกันประเมินในการเรียนรูดวยตนเอง ผูเรียนที่ เป น วั ย ผู ใ หญ จ ะเป น ผู มี บ ทบาทสํ า คั ญ ในการประเมิ น การเรี ย นรู ข องตนเอง ดั ง นั้ น จึ ง ต อ งพั ฒ นาทั ก ษะ การประเมินใหแกผูเรียน และสรางความเขาใจใหแกผูเรียนวา การประเมินตนเองเปนสวนหนึ่งของระบบ ประเมิ น ผล รวมทั้ งยอมรั บ ผลการประเมิ น จากผูอื่น ดว ย นอกจากนี้ตองจัดใหผูเรีย นไดรับ ประสบการณ การประเมินผลหลายๆ รูปแบบ 6. การจัดปจจัยสนับสนุนการเรียนรูดวยตนเองของผูเรียน สภาพแวดลอมเปนปจจัยสําคัญอยางหนึ่ง ในการเรียนรูโดยการชี้นําตนเอง ดังนั้นบริเวณในโรงเรียนจึงตองจัดใหเปนแหลงความรูที่ผูเรียนจะคนควา ด ว ยตนเองได เช น ศู น ย วิ ทยาการ บทเรี ย นสําเร็จ รูป ชุดการสอน ฯลฯ รวมทั้งบุคลากร เชน ครูป ระจํา ศูนยวิทยบริการที่ชวยอํานวยความสะดวกและแนะนําเมื่อผูเรียนตองการ ดังนั้นสามารถสรุปไดวาการบูรณาการทฤษฎีการเรียนรูของผูใหญและการเรียนรูโดยการชี้นําตนเอง เพื่อสงเสริมการเรียนรูผูเรียนวัยผูใหญ ผูสอนตองจัดกิจกรรมตองศึกษาผูเรียนเปนรายบุคคลจัดใหผูเรียนมี สวนรับผิดชอบในการเรียน พัฒนาทักษะการเรียนรูของผูเรียน พัฒนาทักษะการเรียนรูรวมกับผูอื่น พัฒนา ทักษะการประเมินตนเอง และการรวมมือกันประเมิน และจัดปจจัยสนับสนุนการเรียนรูดวยตนเองของผูเรียน CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

147


ซึ่งจากแนวคิดการเรียนรูโดยการชี้นําตนเองมีแนวโนมที่จะเปนแนวคิดที่สําคัญของวงการการศึกษาของผูใหญ ในอนาคต ซึ่งการเรียนรูโดยการชี้นําตนเอง จะเนนถึงความรับผิดชอบของบุคคลและเชื่อในศักยภาพที่สามารถ พัฒนาไดอยางไมสิ้นสุดของมนุษย ซึ่งการที่ผูเรียนจะประสบความสําเร็จและผลสัมฤทธิ์ของการเรียนไดมาก นอยเพียงใด ก็ขึ้นอยูกับความสนใจในเนื้อหาของผูเรียนเปนปจจัยสําคัญหลัก เห็นไดวาความสําคัญของการเรียนรูโดยการชี้นําตนเองของวัยผูใหญนั้น บุคคลที่เรียนรูดวยการริเริ่ม ของตนเองจะเรี ย นรู ได ม ากกว า และดี กว าบุ ค คลที่ เ ป น เพี ย งผู รั บ หรื อรอให ผูส อนถ ายทอดวิ ช าความรู ใ ห โดยบุคคลที่เรียนรูโดยการชี้นําตนเองจะเรียนอยางตั้งใจ มีจุดมุงหมายและมีแรงจูงใจสูงสามารถใชประโยชน จากการเรียนรูไดดีกวาและยาวนานกวาบุคคลที่รอรับการสอนแตอยางเดียว ซึ่งการเรียนรูโดยการชี้นําตนเองมี ความสอดคล อ งกั บ กระบวนการทางธรรมชาติ ข องจิ ต วิ ท ยาพั ฒ นาการ เมื่ อ แรกเกิ ด บุ ค คลต อ งพึ่ ง ผู อื่ น จําเปนตองมีบิดามารดาปกปองและตัดสินใจแทน แตเมื่อบุคคลเติบโตขึ้นมีความเปนผูใหญมากขึ้นจะคอยๆ พัฒนาตนเองไปสูความเปนอิสระไมตองพึ่งผูอื่น ไมตองอยูภายใตการควบคุมหรือกํากับของผูอื่น จะมีความเปน ตั ว เองเพิ่ มขึ้ น สามารถดํ า เนิน ชีวิตได ดวยตนเองและชี้นําตนเองได (รุงอรุณ ไสยโสภณ, 2552) ซึ่งผูใหญ จําเปนตองมีการพัฒนาทักษะการเรียนรูโดยการชี้นําตนเองอยูตลอดเวลาและสามารถแสวงหาความรูเพิ่มเติม ได เพื่อพัฒนาตนเองใหมีความรูใหมเทาทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลก สรุป การบูรณาการทฤษฎีการเรียนรูของผูใหญและการเรียนรูโดยการชี้นําตนเองเพื่อสงเสริมการเรียนรู ผูเรียนวัยผูใหญสิ่งที่ตองคํานึงถึงและใหความสําคัญคือ การเขาใจตอตนเอง ประสบการณ ความพรอมที่จะ เรียนรู และเปาหมายในการเรียนรู ของผูเรียนที่เปนวัยผูใหญซึ่งสิ่งเหลานี้จะทําใหเกิดการเรียนรูที่แตกตางจาก การเรียนรูของเด็ก ซึ่งผูใหญมีความรู ความสามารถ ที่จะพัฒนาศักยภาพของตนเองใหสูงสุดภายใตแนวคิดที่มี พื้นฐานมาจากทฤษฎีกลุมมนุษยนิยมที่มีความเชื่อที่วามนุษยทุกคนเกิดมาพรอมกับความดี มีความเปนอิสระ เปนตัวของตัวเอง สามารถหาทางเลือกของตนเอง มีความรับผิดชอบตอตนเอง ผูอื่นและสังคม ตลอดจนมี ศักยภาพและความสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองไดอยางไมมีขีดจํากัด โดยมีผูสอนเปนเพียงผูที่คอย อํานวยความสะดวก คอยแนะนําในการเรียนรูเทานั้น ซึ่งผูเรียนที่เปนวัยผูใหญจะมีลักษณะของการเรียนรูโดย การชี้ นํ า ตนเองของแต ล ะบุ ค คลที่ แ ตกต า งกั น ออกไปตามคุ ณ วุ ฒิ วั ย วุ ฒิ และประสบการณ ข องบุ ค คล ซึ่งลักษณะของการเรียนรูโดยการชี้นําตนเองเปนการเรียนรูที่มีความสําคัญยิ่ง เนื่องจากเปนการสงเสริมให ผูใหญมีการพัฒนาศักยภาพและความสามารถของตนเองไดอยางไมมีขีดจํากัด การเรียนรูในลักษณะนี้ไดแก การเปดโอกาสทางการเรียนรูที่เอื้อใหผูเรียนเรียนไดพัฒนาตนเองในหลายๆ ดาน คือ ทั้งดานความรู (Knowledge) ทักษะ (Skills) และความสามารถ (Competence) โดผานวิธีการสอนการเรียน (Learning how to learn) ควบคูไปกับ ความรู (Knowledge) และการเรีย นการสอนที่เน น ผูเรี ย นเป น สํ า คัญ (Learner-centered) ซึ่งเปนการยกระดับการเรียนรูของผูเรียนวัยผูใหญในยุคปจจุบันที่ตองมีการเรียนรูอยูตลอดเวลาอยางสม่ําเสมอ ตอเนื่องหรือเปนการเรียนรูตลอดชีวิตนั่นเองเพื่อใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

148


รายการอางอิง ชัยฤทธิ์ โพธิสุวรรณ. (2552). การศึกษานอกระบบ: การเรียนรูและการสอนผูใหญ. กรุงเทพมหานคร: สาขาวิชาการศึกษาผูใหญ คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. รุงอรุณ ไสยโสภณ. (2552). การเรียนรูดวยตนอง (Self-Directed Learning : 0L). เอกสารสาระหลักการและ แนวคิดประกอบการดําเนินงาน กศน: คัมภีร กศน. สุรีวัลย ลิ้มพิพัฒนกุล. (2557). การจัดกิจกรรมการเรียนรูหัตถศาสตรเพื่อเสริมสรางความพรอมในการเรียนรู โดยการชี้นําตนเองและการมองเห็นคุณคาในตนเองของผูเกษียณอายุราชการ. วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (อาชีวศึกษา) คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. สํานักงานคณะกรรมการศึกษาแหงชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2545 และที่แกไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟค. อติพร เกิดเรือง และคณะ. (2564). แนวทางการสงเสริมการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ของสถาบันอุดมศึกษา ไทย. Journal of MCU Ubon Review, 6(1). 781-790. Brockete, R. G. and Hiemstra, R. (1991). Self-direction in adult learning: Perspectives on theory, research and practice. London: Routledge. Knowles, M. (1978). The Adult Learning: A Neglected Species. (2nd ed.) Houston: Gulf Publishing. Merriam, S., and Caffarella, R. (1999). Learning in adulthood: A comprehensive guide. San Francisco: Jossey-Bass.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

149


NEXT NORMAL EDUCATION MANAGEMENT AFTER COVID-19 PANDEMIC Jitlada Suddeepong 1, Ubon Pun-ubon 2, Waraporn Thaima 3, Kris Kisawadkorn 4, Watcharaporn Rattanajaru 5 ABSTRACT This academic article presents guidelines for teaching and learning management after the coronavirus or COVID-19 pandemic that has occurred around the world. This crisis has led to a huge change in the way of life in society, especially in education. This is considered an important opportunity to develop a new learning model by using various technologies. The epidemic of coronavirus or Covid-19 has resulted in an adaptation to a new way of life (New Normal) especially educational institutions that are unable to provide normal teaching and learning. Therefore, it is necessary to use an online teaching and learning model to ensure continuity of learning. Now, the situation of the Covid-19 epidemic has a tendency to improve around the world resulting in the Next Normal way that teachers and educational personnel need to change the paradigm in educational management, especially self-development in the Next Normal era towards the creation of students who can have skills in accordance with the needs of society in the 21st century. The academic article on Next Normal education management after COVID-19 pandemic aims to present appropriate teaching and learning management concepts in the Next Normal, after Covid-19 pandemic. Therefore, the objectives of this article were to: 1) present Lifestyle changes from New Normal to Next Normal, 2) present VUCA and higher education ideas, and 3) present possible education direction in Thailand. KEYWORDS: Next Normal, Teaching and Learning Management, Online Learning, Education Direction 1 2 3 4 5

Mrs. Jitlada Suddeepong School of Liberal Arts, Sripatum University Miss Ubon Pun-ubon2 School of Liberal Arts, Sripatum University Asst. Prof. Dr. Waraporn Thaima Sripatum University Mr.Kris Kisawadkorn Language Institute, Khon Kaen University Miss Watcharaporn Rattanajaru Mahidol University CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

150


Introduction The Covid- 19 outbreak has created problems and difficulties for Thai education. But on the other hand, it’ s a variable in creating change to education and is the driving force in bringing technology into Thai education system. The change of technology and the spread of Covid- 19 all affected education. More digital technology has played an increasingly important role in students’ lives, so teaching management, precisely teachers and schools, have to adapt themselves to the change as well. Therefore, if all the parties in Thai education system work together to create a strong education mechanism, they will be able to drive education in the midst of difficult situations. A good education system should be flexible, adaptable according to the context and circumstance which will not only applicable to the country but also to the world. The management of the education system in the 21st century must be adapted to meet the needs of individual learning and development and be broader than just being the education system to cater for becoming an excellent human capital production base (Office of the Basic Education Commission, 2020). The change in the learning area is the most noticeable with today’s technology and innovation that created the content that facilitates teaching from your fingertips, enabling us to learn all content from anyone, anywhere, and anytime with digital devices. Now everyone lives in a digital technology world and even during the Next New Normal, children are thriving online. The growth of the new generation who mainly use the senses from the eyes and ears in the digital world, which is different from the old generation who use all 5 physical senses in a physical one. Therefore, methods to reaching people and learning are different for the newer generation. Furthermore, with the emergence of covid-19, more people won’t see each other face to face and don’t know when the school will open. Therefore, the teaching method has changed to a blended learning system, with both a digital and physical presence. It’s a challenge for children to adapt to the change in real life, but it does not mean that teacher and student interactions will be reduced. The learning community still exists but has only shifted from physical areas to be on digital platforms. The arrival of the epidemic crisis raises questions about the education system in many areas, for example, “how we will design the effective teaching and learning in the age of Covid-19 pandemic”, “what skills and curriculum for the Next Normal Education will be like after this”, “will technology play a role in learning or create worse inequality”, “is it true that we can turn this crisis into an educational opportunity from the new abnormal”. The incident affects the management of education, forcing schools to survive and must adapt because the CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

151


Covid-19 crisis is a test of the strengths in education management that must change the way of thinking to be consistent with the Next Normal. Therefore, teaching and learning management in the post Covid-19 era, know as the Next Normal, has now included Thailand and many countries around the world. Due to the pre-existing situation of Covid-19 there have been infected persons and many deaths. As a result of the outbreak, all sectors had changed themselves in terms of study, work, life, and entertainment which contributed to severe economic collapse. Even the educational management and educational institutions had to make a move from traditional learning management to a new normal or online learning management and then later to the next normal management. Teachers must change themselves urgently in just a few months. The situation of Covid-19 pandemic at present in every country in the world, including Thailand, is much better compared to past years. All sectors began to resume their normal activities including education institutions, pushing teachers to adjust or change teaching and learning management once again to cope with the upcoming Next Normal era. Therefore, the objectives of this article were to: 1) present Lifestyle changes from New Normal to Next Normal, 2) present VUCA and higher education ideas, and 3) present possible education direction in Thailand. Lifestyle changes from New Normal to Next Normal Moving from “ New Normal” , a new way of life that co-exists with the threat of Covid-19, to “ Next Normal” , the next part of life after Covid-19 is challenging. How should teachers and educators prepare? They must adapt especially in skill development or enhancing knowledge to raise teachers’ potential and increase capacity in education management and to improve or increase the students’ potential for the country's competitiveness in the future. New Normal is a guideline that various sectors in society will have to change their lifestyles from those who used to leave home to go to work, to school, and turn around to do everything at home. The business sector changed its service model to online trading and service system which can be seen as a new way of life, since most services are using more online systems to connect with the customers. There are many digital service platforms which make it easier to access products and services. Another factor to be aware of when moving from New Normal to Next Normal is how to prepare and adjust ourselves especially the acceptance of new technologies and digital services. Specifically online platforms responded to user convenience which focuses on hygienic safety and lesser impact on the environment. The trend of living in the Next Normal style are as follows: CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

152


1. Stay-at-home Economy The COVID-19 pandemic has changed the way people live around the world. Home is not just a residence, but it also an office, a conference room, a fitness center, and a movie theater. These activities can be conveniently established through online platforms. This trend become a new economic model known as Stay-at-home Economy, for example, arranging meeting through online application, running e-commerce business, and shopping through virtual reality platform. 2. Touchless Society Living in the Next Normal era will focus on safety and health as a priority. Therefore, technology has been developed to reduce exposure, for example, Non-Contact Delivery system, more automatic door systems in public areas, and e-payment. It also includes designing a business area that can provide customer service without any physical human contact but use the technology of voice command (Voice Recognition) or simulate the virtual world (Augmented Reality) instead. 3. Regenerative Organic Safety and environmental impact issues are the main issues of the Next Normal era. Therefore, one trend that will show more and more clearly is the agricultural product standard known as Regenerative Organic which not only has to be non-toxic and free from the use of modified seeds but also covers standards, soil quality, animal protection, quality of farmers life, wage justice including a farm system that is friendly to the environment and the community. It can be seen that moving from New Normal to Next Normal involves technology and digital innovation that people of all ages and all sectors must learn and apply in their life and business operations known as digital transformation. For example, online learning apart from students, working people can also learn and develop their skills (Upskill & Reskill) to gain more knowledge and thus wage. Online businesses will focus solely on Core Business, while support will be based on the use of outsourcing or shared services, as well as the use of business management programs and digital tools to reduce costs (Phanboonmee, 2022). However, the new way of life in the Next Normal era is another form that many people has accepted and are ready to change their behavior and living their life in accordance with the current situation. In terms of education, communication has evolved into a distance learning model. The communication between teachers and students in term of lessons or taking tests will be through devices connected online. The advantage of this system is eliminating paths for CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

153


transmission of contact-based diseases among people. But there are some disadvantages, for example, those who lack equipment are disqualified from participating in this system chiefly financially disadvantaged people. The government need to find appropriate support for the equitable communication in education. Although online education has some disadvantages, this type of education system will expand greatly once the Covid-19 crisis has passed (Chermanchonlamak, 2020). For this reason, guidelines for developing teachers and educational personnel in the Next Normal era will involve digital technology and innovation. It will be a way to develop knowledge, skills, effectively change behavior in their work, and answer the objectives of activities, tasks/projects effectively. In the Next Normal, the linking method of the online system must be of high quality, create continuous learning, and appropriate for the education development. VUCA and higher education At present, the change has occurred in a reversal (Disruption), and these situations are called VUCA World which is characterized by volatility (V), uncertainty (U), complexity (C), and Ambiguity (A). As a result, teachers and educational personnel must adjust themselves to always be ready to learn and be open-minded to new challenges, so they will be able to overcome and cope with the situation that arises. Therefore, this is the Next Normal era approach which teachers and educational personnel need to change the paradigm in educational management. This is especially true for self-development in the Next Normal era created for learners who should have skills in accordance with the needs of the 21st century situations. So how should teachers and educational personnel develop themselves to be facilitators of education management in the Next Normal era? In the 21st century, volatility has transformed the mission of higher education around the world to ensure that everyone is able to adapt to changes in the global labor market and still be able to continue employment. This changed from producing qualified graduates (Scholars) to have jobs and permanent careers to creating manpower that is ready to work and able to adapt to work in various situations (Job Readiness). In addition, universities also face budget constraint problems, leading to the loss of instructors in faculty. However, the need of performance for student success after graduation increases, universities may need to cut costs or tuition to attract more learners.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

154


According to National Student Clearinghouse Research Center (2020), during the Covid-19 pandemic, about 57% of public universities and about 77% of private universities experienced a decrease budget of more than 5 percent, and the number of enrolled students dropped by more than 10 percent and 8 percent, respectively. While universities must deal with the enormous complexity that arises, there are more internally and externally independent environments and factors that forces them to rely more on technology. This makes prediction and planning more difficult and will decrease the odds of making good decisions. In addition, universities may lack of clear and effective information. This will affect problem solving when situations arise. The dual challenges of increasing information technology costs and the need to avoid technological obsolescence are obstacles for universities around the world but when managed strategically, VUCA is transformed into “vision”, “understanding”, “clarity” and “agility” (Waller, Lemoine, Mense, Garretson, Richardson, 2019). In the teaching and learning, learners see themselves as more of consumers. They have different expectations and needs compared to the previous generations. Learners will increasingly demand that their experiences be learner-centered and individualized: suitable for each person. Therefore, teachers should manage teaching or design learning experiences in accordance with desirable learning outcomes and social needs. Although today’s technology can connect both formal and informal learning environments so that students can learn anywhere, anytime, instructors still need to prepare for changing or unstable situations (Stewart, Khare, & Schatz, 2016). Therefore, teachers need to continuously develop themselves because the ability and desire to learn gives teachers the knowledge and skills to succeed and anticipate future challenges. Futhermore, teachers must accept the change and have in-depth information and in-depth strategies to predict VUCA conditions and to overcome difficulties with strategies, processes, and crisis management plans. Education direction in Thailand In the 21st century, there has been a dramatic change in higher education in a world prevalent with electronic technology. Education is no longer confined to the confines of the educational institutes, but it is a lifelong learning process. The generation of knowledge each year in today's information era is faster than in the past. The duration of the study is no longer limited to time spent at the educational institution. Thus, the objectives of higher education were redefined and no longer bound by time or place. The bigger objective of higher education regardless of field of study, are to develop broad thinking in a competent new generation and CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

155


to work in real life. The management of higher education in the 21st century has changed dramatically due to many factors, whether the needs of society, expectations, needs of learners as consumers, the learning process, and technological advances, etc. Therefore, education management must focus on the processes, learning outcomes, multidimensional interaction between learners and teachers, learning with the learners, student-centered learning environment, deep learning, and higher order thinking. Teachers should cultivate or nurture a good attitude as a guideline for good learning process so learners will be responsible for learning and developing skills accordingly. The teacher must monitor the progress and reflection from the learners and give emphasis to real-life application rather than focusing on the content being studied. Additionally, learners should be involved in the lesson design, management, measurement and evaluation. As mentioned earlier, the direction of education management in higher education has changed in many dimensions. From the traditional teacher-centered approach which is mostly lectures towards student-centered approach and the blended learning approach which integrates face-to-face instruction and online learning using digital technologies. Moreover, universities must produce graduates who are able to perform tasks and respond to the needs of employers. In addition, the universities must play an important role in the upskill and reskill of the population in accordance with the needs of the country to promote lifelong learning. Their role is not limited to only providing teaching and learning for students in formal courses. However, CGS Blog (2021) discussed about staff training and development in the Next Normal era. There is a need for learning and development for the staff to adapt and step towards success in the Next Normal era by creating flexibility and soft skills, which are the individual's ability to perceive, perform, process, respond to situations creatively. This includes finding solutions to problems, conflicts, and interacting well with others. At the same time, digital transformation will be a fundamental change in the way people work, making independent upskill and reskill for the future of development and learning. While technological advances have led to changes in social needs, the old career roles will follow the change. Officers will need to adapt their skills and knowledge to the performance of their new roles. In addition, Dr. Worawong Rakruangdej (2021), Deputy Director of the Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (NSTDA), Ministry of Education said that the learning style of children these days has changed. Children nowadays will learn in 3 dimensions which are 1) the actual nature, 2) digital technology, and 3) people, society, culture. Traditionally, we learned to talk to each other, but today's children learn the world in another CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

156


way: social media. Since education is a system for preparing people for the future, children today will be able to use their knowledge skills in the next 10 years to live in the next 40-50 years so the learning process in the present is very important. Nowadays, children want to learn what interests them. Survey results of children in Bangkok reported them being online 12-13 hours a day. The difficulty is that the children will live and learn in Next Normal by having to find a highly competent mentor and that position must be the teacher. The teacher can provide them good guidelines, encouragement, and feedback about their learning. In addition, digital technology is changing how children learn at school. Knowledge available during school will be broader with more digital assistance from internet media, tools, and 5G connectivity devices. Society may be the one to manage the education itself or the school may change their position to be an area for sharing ideas or there even may not be a school at all in the future. The world is changing, and we must find a way to cope with changes (Rugruengdet, 2021). Moreover, he also mentioned that the change of technology and the spread of the COVID-19 disrupted education. The more digital technology plays an important role in children’s life, the more difficult children's teaching management or lifestyle will become. Teachers and schools had to adjust and make changes because everyone has presence in the digital world and even during the Next New Normal, children are still actively online. The growth of the new online generation will mainly use the senses from the eyes and ears when they are online which are different from the old era when people use all of their 5 senses offline. Therefore, the way in connecting or talking with people and learning style will need a different approach. After the outbreak of coronavirus, seeing each other face to face or meeting each other directly became difficult, and students did not know when the physical classes will resume. Thus, teaching activities became a mix teaching method and it's a challenge for children to cope in real life. The direction of education must be adjusted throughout the system including the environment of the classroom which is the heart of education since the classroom holds the teachers and students. The teachers, most crucially, need to adjust the teaching paradigm. Teachers must find out how to enable children to realize their own potential, have good skills, attitudes, and knowledge. There will be a competency-based curriculum planned for the future allowing children to learn and acquire skills from real experiences. Moreover, this curriculum will provide more technological assistance to ease children's learning. Teachers and children will learn to develop themselves at the same time (Rugruengdet, 2021). CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

157


In addition, Associate Professor Yuen Phuworawan (2021) stated that Next Normal learning is connecting life with the future competences. Therefore, it is important to focus on student-centered matters. In the post-covid era, a lot of knowledge content is available in the cloud, so learning does not only mean transmitting content according to the prescribed curriculum because it’s only a framework. There is a lot of knowledge that must be learned and students can learn on their own based on their interests. In the digital cloud, there are openly available educational materials. They are in forms of a multimedia such as video clips that stimulates interest, fun and inspirational to watch. Teachers need to help students learn on their own and enhance the necessary skills for them. Thus, the learning style is more unique to the individual with them learning according to their interest with each student’s different personalities and strengths. The Next Normal era of learning must focus on developing creative skills, enhancing the imagination and creativity of the students. The Next Normal learning style is the basis for building their ability, competence, skill assignment, and abilities gained from learning activities. Then the teacher assesses and measure the level of competence that learners have gained in order to assist the planning of teaching activities and lessons to achieve learning goals. Therefore, the learning process must focus on students’ expressions activities such as discussions. Teachers can encourage the students’ discussion more effectively by leading the class. Technology in the present can help the students in these activities. The Next Normal learning style should be emphasized on learning experience, practical activities, or encountering and solving problems on their own then reporting to the teacher. This experiential learning approach will further enhance their learning. Attending various activities to enhance cooperation skills and problem solving by seeking cooperation with others with respect for different points of view are several ways to achieve this. Education must coordinate both physical and digital worlds and keep them balanced in life. Conclusion New Normal has foreseen how things change whether working, daily routine, and most clearly education which is based more on online learning. The Covid-19 epidemic has disrupted the education system in Thailand because the schools were unable to provide normal teaching activities. Therefore, many schools applied VDO conference technology to solve this problem, but such teaching may not be able to solve all teaching problems. Therefore, schools and educational institutions has given more importance and development of teaching CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

158


and learning to become a Smart Classroom. What happened was students joined in distance learning or taking classes online. Even that, the readiness in term of applying new technology in teaching and learning in Thailand may not be 100%. Therefore, applying technologies and innovations related to education is considered as a solution to important problems in the development of the education system to support a New Normal and Next Normal life. Teachers and all related educational sectors must bring forth innovation and technology in education to improve the quality of teaching and learning to suit the digital era and increase the efficiency of the teaching and learning system. In this regard, teachers need to focus on the learners. Moreover, particular attention should be paid to participation and interaction between teacher and students during the design of lessons or activities, teaching materials and assessments to suit the learners who are spending more time online. However, the Thai government should find the ways to improve the access of technology for students who are not yet ready to reduce this notable social inequality. This educational management approach that is the “New Normal” has already occurred in the education system of many countries around the world including some schools in Thailand which have previously adapted learning to the 21st century and should still be consistent with the future world. It should not be difficult to adapt to the world in the Next Normal era that is now upon us. Thai education must adapt to the Next Normal because learning is not just limited to the classroom like before. The authors sincere hopes that this article will be useful to readers in one way or another. Moreover, this article is a compilation of opinions and issues to lead to solving problems and develop Thai education in the near future. References CGS Blog. (2021). Training and Development for the Next Normal. https://www.cgsinc.com/blog/training-and-development-next- normal-lrn Chermanchonlamak, C. (2020). NEXT NORMAL with a new way of communication, Rangsit. [Online]. Retrieved form https://www2.rsu.ac.th/sarnrangsit-online- detail/CommArtsArticle15. Lekhakula, A. (2021). Next Normal Higher Education: Challenges. Faculty of Medicine, Prince of Songkla University, Abstract. Retrieved form https://so06.tcithaijo.org/ index.php/ jeil/article/view/250971

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

159


National Student Clearinghouse Research Center. (2020). National student clearinghouse research center’s monthly update on higher education enrollment. Retrieved form https://www.studentclearinghouse.org/nscblog/fall-2020-first-look-research-revealstransfer-patterns-and-enrollment-challenges Office of the Basic Education Commission. (2020). Education in the digital age. Retrieved June 10, 2022, from http://www.posstoday.com/social/general/. Phanboonmee, S. (2022). Digital Transformation จาก New Normal สู Next Normal, Policy and Strategy Department Digital Economy Promotion Agency. Retrieved form https://www.depa.or.th/th/article-view/digital-transformation-new-normal-nextnormal Phuworawan, Y. (2021). New learning style, new way of life and digital intelligence. Retrieved form https://learningdq-dc.ku.ac.th/course/?c=3&l=3 Rugruangdej, W. (2021). Changes in the Covid-19 era to adaptation Next Normal, Bangkok Business. Retrieved form https://www.bangkokbiznews.com/social/976332 Rugruangdej, W. (2021). Innovation and technology in education to support the Next New Normal, Bangkok Business. Retrieved form https://www.bangkokbiznews.com/ social/977893 Stewart, B., Khare, A., & Schatz, R. (2016). Volatility, uncertainty, complexity and ambiguity in higher education. In O. Mack et al. (Eds.), Managing in a VUCA World, (241-250). Cham: Springe. Waller, R. E., Lemoine, P. A., Mense, E. G., Garretson, C. J., & Richardson, M. D. (2019). Global higher education in a VUCA world: concerns and projections. Journal of Education and Development, 3(2), 73-83. doi:10.20849/jed.v3i2.613.

CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

160


คุณลักษณะบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 กับการทํางานในสายอาชีพดานภาษาอังกฤษ 21ST CENTURY CHARACTERISTICS OF GRADUATES FOR CAREERS IN BUSINESS ENGLISH ณัฐกานต เดียวตระกูล 1, โสมพิทยา อบรม 2, สุพักตรา ศรีเจริญ 3 0

1

2

บทคัดยอ บทความนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ศึกษาทักษะที่สําคัญของผูเรียนใหมีคุณลักษณะที่เหมาะสมกับการเปน บัณฑิตในศตวรรษที่ 21 และ (2) พัฒนาประสิทธิภาพและกระบวนการจัดการเรียนการสอนใหมีคุณภาพกับ การผลิตบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 โดยพิจารณาจากฐานขอมูลจากการประเมินการปฏิบัติงานของนักศึกษา สหกิจศึกษา ปการศึกษา 2563 ขอมูลจากการศึกษาขอมูลปอนกลับจากสถานประกอบการ พบวา ทักษะที่ สํ า คั ญ ของผู เ รี ย นมี คุ ณ ลั ก ษณะกั บ การเป น บั ณ ฑิ ต ในศตวรรษที่ 21 ที่ เ หมาะสมและเป น ที่ ต อ งการของ ตลาดแรงงานจะตองมีการพัฒนาประสิทธิภาพและกระบวนการจัดการเรียนการสอนใหมีคุณภาพ โดยหัวขอ การประเมินที่ไดคะแนนสูงสุด ไดแก ลักษณะสวนบุคคล (Personality) รอยละ 97.62 สวนหัวขอการประเมิน ที่ ไ ด ค ะแนนต่ํ า สุ ด ได แ ก ความรู ค วามสามารถ (Knowledge and Ability) ร อ ยละ 92.38 ดั ง นั้ นจึ ง ได เสนอแนะแนวทางเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและกระบวนการจัดการเรียนการสอนใหมีคุณภาพกับการผลิตบัณฑิต ในศตวรรษที่ 21 โดยเพิ่มศักยภาพของนักศึกษาในดานความรูความสามารถทางวิชาการ (Academic Ability) และความสามารถในการเรียนรูและประยุกต (Ability to Learn and Apply) เพื่อเปนการสรางศักยภาพใน การประกอบอาชีพใหเกิดประโยชนสูงสุดโดยการเพิ่ม 3R x 7Cซึ่งเปนการเรียนรู ในศตวรรษที่ 21 เพื่อเพิ่ม ทักษะและประสิทธิภาพทั้งการเรียนการสอน ใหกับผูเรียน คําสําคัญ: คุณลักษณะบัณฑิต, บัณฑิตในศตวรรษที่ 21, งานในสายอาชีพดานภาษาอังกฤษ

1

2

3

ณัฐกานต เดียวตระกูล อาจารยประจําคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม โสมพิทยา อบรม อาจารยประจําคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม สุพักตรา ศรีเจริญ อาจารยประจําคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

161


ABSTRACT The purpose of this article was to (1) study important skills of learners for characteristics suitable for being an appropriate graduate of the 21st century and ( 2) improve the efficiency and process of teaching and learning to promote the production of quality graduates in the 21st century by considering the database from the assessment of the performance of cooperative education students for the academic year 2020 Data of feedback from enterprises found that learners' key skills characterize being a graduate of the century 21 in demand in the labor market, efficiency and quality teaching management processes must be developed. The highest rated assessment topics were personal characteristics. (Personality) 97. 62%, while the assessment topic that received the lowest score was Knowledge and Ability 92. 38% . Therefore, guidelines were suggested to increase the efficiency and quality of teaching and learning management processes for the production of graduates in 21st century by enhancing the potential of students in terms of academic knowledge ( Academic Ability) and ability to learn and apply ( Ability to Learn and Apply) in order to create career potential for maximum benefit by increasing 3R x 7C which is learning in the 21st century to increase skills and efficiency in both teaching and learning. KEYWORDS: 21st Century Characteristics, 21st Century Graduates, English Business Careers บทนํา การเรี ย นรู ในศตวรรษใหม ในโลกแหงการเปลี่ย นแปลงอยางมากและรวดเร็ว การศึกษาซึ่งเป น เครื่องมือที่สําคัญในการพัฒนาการเรียนรูเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ เพื่อตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงใน ดานตางๆ และเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตใหอยูสังคมไดอยางมีคุณภาพ สาเหตุจากการเปลี่ยนแปลงของโลก รวดเร็วมาก และเปลี่ยนแปลงเรื่อยๆ ทําใหไมสามารถคาดเดาตอวามนุษยในสังคมโลกจะตองเตรียมรั บมื อ อยางไร เกิดความไมแนนอน รุนแรง รวดเร็ว และตอเนื่อง การศึกษาก็เชนกันมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว หากมีการเตรียมพรอมที่ดีและทันตอการเปลี่ยนแปลงนั้น จะเกิดเกราะปองกัน และเปนเข็มทิศที่ดีตอมนุษย (วิจารณ พานิช, 2556) ฉะนั้นหากมีการเตรียมการ พัฒนา และสรางสรรคการเรียนการสอน จะมีผลตอผูเรียนอยางมาก ในการพัฒนาทักษะตางๆ สําคัญตอผูเรียนอยางมากผูสอนจะตองมีการวางแผน และเตรียมการอยางดี และที่ สํ า คั ญ ต อ งรวดเร็ ว และทั น ต อ การเปลี่ ย นแปลงในสั งคมโลกด ว ย เมื่ อ ต อ งการให มี บั ณ ฑิ ต ที่ มี ลั ก ษณะที่มี คุณลักษณะบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 และใหมีทักษะเพื่อการดํารงชีวิตในโลกแหงการเปลี่ยนแปลงนี้ได ผูสอน ตองตระหนักวาการสอนเพื่อใหเกิดทักษะนั้นเปนเรื่องยากแตผูสอนตองปรับปรุงการเรียนการสอนใหทันตอ การเปลี่ยนแปลงเปนคูขนานกันไป CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

162


บัณฑิตแหงศตวรรษที่ 21 ตองมีทักษะชุดหนึ่งที่เรียกวา twenty-first century skills แลวก็ตองมี การเรียนที่เรียกวา transformative learning เรียนเพื่อที่จะใหเกิดการเปลี่ยนแปลงภายในตนเองผูสอนตอง คํานึงวาการเรียนรูเปนเพียงแค informative learning ไดความรู ตอบได จําได ทองได หรือไม หากแตยังตอง ผสมผสานการเรียนรูแบบ formative learning การจะใหผูเรียนมีทักษะในดานตางๆ เชนทักษะการเปนผูนํา มีความผิดชอบตอสังคม และทักษะวิชาชีพ ทักษะการทํางานเปนทีม ทักษะดานคอมพิวเตอร เพื่อผลิตบัณฑิต ที่มีคุณภาพ และสําเร็จในการใชชีวิตตอไปไดอยางมีความสุข (วิจารณ พานิช, 2555) แนวคิดคุณลักษณะบัณฑิตศตวรรษที่ 21 เนื่องจากการปฏิรูปการศึกษาที่เกิดขึ้นทั่วโลก สงผลเกิดการเปลี่ยนแปลงในการจัดการศึกษาตาม แนวคิดที่เรียกวา การเรียนรูในศตวรรษ ที่ 21 (2st Century Learning) มีรูปแบบที่เนนสอนใหนอยลง แตให ผู เ รี ย นเรี ย นรู ม ากขึ้ น (Teach Less, Learn More) เน น ผลการเรี ย นรู ข องผู เ รี ย น (Student Outcomes) เปนสําคัญ มีการออกแบบการเรียนรูและ การวัดผลประเมินผลในชั้นเรียนที่มุงเนนการเรียนรูและการประเมินผล ที่ เ ป น สภาพจริ ง (Authentic Learning and Assessment)) และใหความสําคัญ กับ การสอบวัดมาตรฐาน คุณภาพการศึกษาในทุกระดับ ผูเรียนมีความรูสาระวิชาหลัก (Core Subjects) และมีทักษะแหงศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ที่จะชวยใหผูเรียนไดเตรียมความพรอมในหลากหลายดานเพื่อการดําเนินชีวิตอยางมี คุณภาพ มีคุณคาสมบูรณทุกดาน ซึ่งจะสามารถชวยกันสรางความเจริญใหแกชาติตอไป คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคตามที่คณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนดในประกาศคณะกรรมการ การอุ ด มศึ ก ษา เรื่ อง กรอบมาตรฐานคุ ณวุ ฒิร ะดับ อุ ด มศึ ก ษาแหง ชาติ พ.ศ. 2552 ไดกําหนดมาตรฐาน การเรียนรูแตละดานของคุณวุฒิระดับปริญญาตรี อยางนอยตองมีคุณลักษณะ 5 ดาน ดังนี้ 1. คุณธรรม จริยธรรม สามารถจัดการปญหาทางคุณธรรม จริยธรรม และวิชาชีพโดยใชดุลยพินิจทางคานิยม ความรูสึกของ ผูอื่น คานิยมพื้นฐาน และจรรยาบรรณวิชาชีพ แสดงออกซึ่งพฤติกรรมทางดานคุณธรรมและจริยธรรม อาทิ มีวินัย มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตยสุจริต เสียสละ เปนแบบอยางที่ดี เขาใจผูอื่น และเขาใจโลก เปนตน 2. ความรู มีองคความรูในสาขาวิชาอยางกวางขวางและเปนระบบ ตระหนักรูหลักการและทฤษฎีในองคความรู ที่เกี่ยวของ สําหรับหลักสูตรวิชาชีพ มีความเขาใจเกี่ยวกับความกาวหนาของความรูเฉพาะดานในสาขาวิชา และตระหนักถึงงานวิจัยในปจจุบันที่เ กี่ยวของกับ การแกป ญหาและการตอยอดองค ความรู สวนหลักสูตร วิ ช าชี พที่ เ น น การปฏิ บั ติ จะต องตระหนั กในธรรมเนีย มปฏิบัติ กฎระเบีย บ ขอบังคับ ที่เปลี่ย นแปลงตาม สถานการณ 3. ทักษะทางปญญา สามารถคนหาขอเท็จจริง ทําความเขาใจและสามารถประเมินขอมูลแนวคิดและหลักฐานใหมๆ จาก แหลงขอมูลที่หลากหลาย และใชขอมูลที่ไดในการแกไขปญหาและงานอื่นๆ ดวยตนเอง สามารถศึกษาปญหาที่ คอนขางซับซอนและเสนอแนะแนวทางในการแกไขไดอยางสรางสรรค โดยคํานึงถึงความรูทางภาคทฤษฎี CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

163


ประสบการณทางภาคปฏิบัติ และผลกระทบจากการตัดสินใจ สามารถใชทักษะและความเขาใจอันถองแทใน เนื้อหาสาระทางวิชาการและวิชาชีพ สําหรับหลักสูตรวิชาชีพนักศึกษาสามารถใชวิธีการปฏิบัติงานประจําและ หาแนวทางใหมในการแกไขปญหาไดอยางเหมาะสม 4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ มีสวนชวยและเอื้อตอการแกปญหาในกลุมไดอยางสรางสรรค ไมวาจะเปนผูนําหรือสมาชิกของกลุม สามารถแสดงออกซึ่ ง ภาวะผู นํ า ในสถานการณ ที่ ไ ม ชั ด เจนและต อ งใช น วั ตกรรมใหม ๆ ในการแก ป ญ หา มีความคิดริเริ่มในการวิเคราะหปญหาไดอยางเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุม รับผิดชอบใน การเรียนรูอยางตอเนื่อง รวมทั้งพัฒนาตนเองและอาชีพ 5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถศึกษาและทําความเขาใจในประเด็นปญหา สามารถเลือกและประยุกตใชเทคนิคทางสถิติหรือ คณิ ต ศาสตร ที่ เ กี่ ย วข อ งอย า งเหมาะสมในการศึ ก ษาค น คว า และเสนอแนะแนวทางในการแก ไ ขป ญ หา ใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมขอมูล ประมวลผล แปลความหมาย และนําเสนอขอมูลขาวสาร อยางสม่ําเสมอ สามารถสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพทั้งในการพูด การเขียน สามารถเลือกใชรูปแบบของ การนําเสนอที่เหมาะสมสําหรับกลุมบุคคลที่แตกตางกันได การเรียนรูในศตวรรษที่ 21 หรือ Learning in the 21st Century เปนแนวคิดที่มุงหวังใหผูเรียนจะ สามารถนําองคความรูและทักษะที่เรียนจากสถานศึกษา ไปประยุกตเชื่อมโยงกับความรูและทักษะที่จําเปนใน การดําเนินชิวิต คุณลักษณะบัณฑิตที่ผานการเรียนรูในศตวรรษที่ 21ตองเปนผูที่มีความรูควบคูไปกับ การมี ทักษะ ซึ่งหมายถึงตองมีการปฏิบัติ ลงมือทํา และฝกฝน บัณฑิตตองเปนผูแสวงหาความรูและไมเพียงแครู แตตองฝกใหทําไดเพื่อสรางทักษะตางๆ ที่จําเปนในการดํารงชีพตอไปนั่นหมายถึงบัณฑิตตองมีการเรียนรู ตลอดชีวิต ดังนั้นคุณลักษณะสําคัญที่บัณฑิตพึงมี คือ 1) จําเปนตองมีความรูในเนื้อหาในวิชาสาขาที่เรียน สามารถ เชื่อมโยงความรูในเนื้อหาสาขาตางๆ ได และ 2) มีทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ และ ทักษะชีวิตและการทํ างาน ซึ่งหมายถึงทั กษะแหงศตวรรษที่ 21(21st Century Skills) ซึ่ง วิจารณ พานิ ช (2555) กลาววา ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่คนทุกคนตองเรียนรูตั้งแตชั้นอนุบาล ไปจนถึงมหาวิทยาลัย และตลอดชีวิต คือ 3R x 7C การเรียนรูในศตวรรษที่ 21 คือ การเรียนรู 3R x 7C ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 3R ไดแก 1) Reading (อานออก) 2) (W)Riting (เขียนได) 3) (A)Rithmetics (คิดเลขเปน) 7C ไดแก 1) Critical thinking & problem solving (ทักษะดานการคิด อยางมีวิจารณญาณ และทักษะใน การแกปญหา) 2) Creativity & innovation (ทักษะดานการสรางสรรค และนวัตกรรม) 3) Cross-cultural understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรม ตางกระบวนทัศน) CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

164


4) Collaboration, teamwork & leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทํางานเปนทีม และ ภาวะผูนํา) 5) Communications, information & media literacy (ทักษะดาน การสื่อสาร สารสนเทศ และรูเทาทันสื่อ) 6) Computing & ICT literacy (ทั ก ษะด า นคอมพิ ว เตอร และเทคโนโลยี สารสนเทศและ การสื่อสาร) 7) Career & learning skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู) สรุปวาคุณลักษณะบัณฑิตที่สําคัญคือ ตองมีองคความรู รอบรู เชี่ยวชาญ ดานวิชาการในหลักสูตรที่ เรียน มีความรูในศาสตรที่เกี่ยวของกับการดํารงชีวิต และมีทักษะแหงศตวรรษที่ 21 ที่ครอบคลุมทักษะตางๆ หลากหลายรวมถึง ทักษะการเรียนรู และนวัต กรรม ทักษะดานสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี ทักษะชี วิต การทํางาน ที่เปนที่ตองการในการใชชีวิตโลกยุคใหมแหงศตวรรษ 21 ดั งนั้ น บั ณฑิ ตในสาขาอาชี พด า นภาษาอังกฤษจึงพึงมีคุณลัก ษณะที่ พึ งประสงค เ พื่ อตอบสนองต อ ความตองการการจางงานของสถานประกอบการดานองคความรูและทักษะทางภาษาอังกฤษ และทักษะชีวิต การทํางานในสายงานอาชีพดานภาษาอังกฤษ เพื่ อ ศึ ก ษาคุ ณ ลั ก ษณะบั ณ ฑิ ต สาขาภาษาอั ง กฤษสื่ อ สารธุ ร กิ จ ที่ พึ ง ประสงค ในมุ ม มองของ สถานประกอบการ เขียนจึงใชการศึกษาขอมูลจากนักศึกษาที่ฝกสหกิจศึกษา ในรายวิชา EBC499 กอนที่จะ สําเร็จการศีกษา สาขาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม โดยการใชแบบประเมิน จากสถานประกอบการตางๆ ซึ่งไดมีการประเมินและเสดงความเห็นหลากหลายตอบัณฑิต แตมีประเด็นที่ นาสนใจ คือ สถานประกอบการไดประเมินหัวขอ “บัณฑิตมีลักษณะพึงประสงคตอสถานประกอบการ” โดยได แสดงความคิ ด เห็ น และข อ เสนอแนะ ที่ ผู เ ขี ย นเห็ น ว า จะเป น ประโยชน ต อ การพั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพและ กระบวนการจัดการเรียนการสอนใหมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น และเปนแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพบัณฑิตให สอดคลองกับความตองการสถานประกอบการ และผูใชบัณฑิตตอไป สายงานอาชีพดานภาษาอังกฤษ สาขาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม มีหนาที่โดยตรงในการผลิต บัณฑิตที่ต องมี ความรู ความสามารถดา นภาษาอังกฤษควบคูกับ ทักษะสําคัญตางๆ ที่จําเปนในการทํ างาน ซึ่ งป จ จุ บั น หลากหลายงานอาชีพ ที่ ตองใช ภ าษาอังกฤษโดยตรง เชน ลาม นักแปล ครูส อนภาษาอังกฤษ เปนตน และบางอาชีพหรือบางตําแหนงงานที่ตองมีสวนเกี่ยวของกับภาษาอังกฤษไมทางใดก็ทางหนึ่ง ซึ่งถา หากบุคคลใดมีทักษะภาษาอังกฤษอยูในระดับเหนือกวาระดับเฉลี่ยทั่วไป จะไดรับประโยชนมากเปนพิเศษและ มีโอกาสที่จะกาวหนาหรือพัฒนาจากการมีทักษะภาษาอังกฤษที่ดีกวาเพื่อนรวมสาขาอาชีพเดียวกัน จากการศึ ก ษาข อ มู ล นั ก ศึ ก ษาที่ กํ า ลั ง จะสํ า เร็ จ การศึ ก ษาของสาขาภาษาอั ง กฤษสื่ อ สารธุ ร กิ จ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม นักศึกษาไดปฏิบัติสหกิจศึกษาในสถานประกอบการตางๆ ในตําแหนง ที่ตองใชภาษาอังกฤษโดยตรง พบวา สายงานอาชีพที่นักศึกษาทําแบงออกไดเปน 6 สายงานที่สําคัญ ไดแก CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

165


1. งานสายการบิน การปฎิบัติงานในตําแหนง เชน Ground Operation Service Officer, Ground Service 2. งานดานการโรงแรม การปฎิบัติงานในตํ าแหน ง เชน Assistant Front, Food and Beverage, Operator, Receptionist 3. งานดานการทองเที่ยว การปฎิบัติงานในตําแหนง เชน Operation 4. งานดานการสอน การปฎิบัติงานในตําแหนง เชน ผูชวยครูชาวตางชาติ 5. งานราชการ การปฎิบัติงานในตําแหนง เชน พนักงานธุรการ เจาหนาที่ประสานงานฝายสํานัก บริการการคาตางประเทศ 6. งานด า นธุ ร กิ จ และอื่ น ๆ การปฎิ บั ติ ง านในตํ า แหน ง เช น ฝ า ยบุ ค คล ฝ า ยลู ก ค า สั ม พั น ธ ฝายการตลาดตางประเทศ จากการฝกสหกิจศึกษาในสถานประกอบการทั้ง 6 สายงานนี้ บัณฑิตสาขาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ ไดใชภาษาอังกฤษเพื่องานอาชีพ โดยมีวัตถุประสงคหลักคือเพื่อการสื่อสารและเพื่อใหสัมฤทธิ์ผลตามหนาที่ที่ ไดรับมอบหมายงาน และบรรลุผลในดานธุรกิจ การใชทักษะทางภาษาอังกฤษที่หลากหลาย เชน ทักษะการอาน การเขียน การฟง และการพูด นี้จึง เปนสิ่งจําเปน รวมถึง ทักษะการนําเสนองาน การเขียนจดหมายภาษาอังกฤษ การพูดคุยหรือการเจรจาตอรอง รวมทั้ ง คํ า ศั พ ท ภ าษาอั ง กฤษเชิ งธุ ร กิ จ คํ า ศั พ ท เ ฉพาะทาง ความรู แ ละทั ก ษะทั้ ง หมดที่ ก ล า วมาข างตน นี้ ไมเพียงแตเปนคุณลักษณะเบื้องตนของบัณฑิต ที่จะสําเร็จในงานที่ทําเทานั้น แตยังนําไปสูความกาวหนาใน การพัฒนาวิชาชีพในอนาคตตอไป นอกเหนือจากความรูความสามารถดานภาษาอังกฤษ ซึ่งเปนความรูในสาระวิชาที่เรียนแลว บัณทิต ตองมีคุณสมบัติดานอื่นๆที่ตรงกับความตองการของสถานประกอบการเพื่อการทํางานใหประสบความสําเร็จใน ยุคศตวรรษ 21 บัณฑิตที่มีลักษณะที่พึงประสงคตอผูใชบัณฑิต จากการรวบรวมแบบประเมินความพึงพอใจสําหรับผูใชบัณฑิตในสถานประกอบการตอนักศึกษาสาขา ภาษาอังกฤษสื่ อสารธุร กิจ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุมที่เขารวมโครงการสหกิจศึกษาจํ านวน 100 คน คุณสมบัติของบัณฑิตที่มีลักษณะที่พึงประสงคตอผูใชบัณฑิตของ สาขาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ คณะศิ ล ปศาสตร นั กศึ กษาสาขาภาษอั งกฤษสื่อสารธุร กิจ ที่ฝกสหกิจ ศึก ษาตามสถานประกอบการต า งๆ ผลการประเมิน 4 ดาน คือ ผลสําเร็จของงาน/Work Achievement ความรูความสามารถ / Knowledge and Ability ความรับผิดชอบตอหนาที่ / Responsibility ลักษณะสวนบุคคล / Personalityปรากฏผลดังนี้ 1. ผลสําเร็จของงาน/Work Achievement ปริมาณงาน (Quantity of work) ปริมาณงานที่ปฏิบัติสําเร็จตามหนาที่หรือตามที่ไดรับมอบหมาย ภายในระยะเวลาที่กําหนด และเทียบกับนักศึกษาทั่วๆ ไป รอยละ 96.75 โดยมีคุณภาพงาน (Quality of work)ซึ่งนักศึกษาทํางานไดถูกตองครบถวนสมบูรณ มีความประณีตเรียบรอย มีความรอบคอบไมเกิดปญหา CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

166


ติดตามมา ทํางานเสร็จทันเวลาหรือกอนเวลาที่กําหนด รอยละ 92.75 โดยภาพรวมของผลสําเร็จของงาน/ Work Achievement ของนักศึกษารอยละ 94.75 2. ความรูความสามารถ / Knowledge and Ability นั ก ศึ ก ษามี ค วามรู ท างวิ ช าการ (Academic ability)เพี ย งพอ ที่ จ ะทํ า งานตามที่ ไ ด รั บ มอบหมาย ร อยละ 93 และสามารถในการเรี ย นรู และประยุกตวิช าการ (Ability to learn and apply knowledge) มีความรวดเร็วในการเรียนรู เขาใจขอมูล ขาวสาร และวิธีการทํางาน ตลอดจนการนําความรูไปประยุกตใชงาน รอยละ 92.33 มีวิจารณญาณและการตัดสินใจ (Judgment and decision making) ตัดสินใจไดดี ถูกตอง รวดเร็ว มีการวิเคราะห ขอมูลและปญหาตางๆ อยางรอบคอบกอน การตัดสินใจ สามารถแกปญหาเฉพาะหนา สามารถไว ว างใจให ตัดสิ น ใจได ดว ยตนเอง รอยละ90.33 มีการจัดการและวางแผน (Organization and planning) การลําดับความสําคัญของงาน การกําหนดขอบเขตและสัมฤทธิ์ผลของการปฏิบัติงาน รอยละ 94 มี ทั ก ษะการสื่ อ สาร (Communication skills) ความสามารถในการติ ด ต อ สื่ อ สาร การพู ด การเขี ย น การนําเสนอ (Presentation) และการประสานงาน สามารถสื่อใหเขาใจไดงาย เรียบรอย ชัดเจน ถูกตอง รัดกุมมีลําดับขั้นตอนที่ดี ไมกอใหเกิดความสับสนตอการทํางาน รูจักสอบถาม รูจักชี้แจงผลการปฏิบัติงานและ ขอขัดของใหทราบรอยละ 90 ความเหมาะสมตองานที่ไดรับมอบหมาย (Suitability for Job) สามารถพัฒนา ตนเองใหปฏิบัติงานตาม Job description ที่มอบหมายไดอยางเหมาะสมรอยละ 96.5 แสดงใหเห็นถึงความรู ความสามารถ / Knowledge and Ability ของนักศึกษาโดยภาพรวม รอยละ 92.38 3. ความรับผิดชอบตอหนาที่ / Responsibility นักศึกษามีความรับผิดชอบและเปนผูที่ไววางใจได (Responsibility and dependability) ดําเนินงานให สําเร็จลุลวงโดยคํานึงถึงเปาหมาย และความสําเร็จของงานเปนหลัก ยอมรับผลการทํางานอยางมีเหตุผ ล สามารถปล อ ยให ทํ า งานได โ ดยไม ต อ งควบคุ ม ขั้ น ตอนในการทํ า งานตลอดเวลาสามารถไว ว างใจได และ รับผิดชอบงานที่ไดรับ มอบหมายได รอยละ 95 มีความสนใจ อุตสาหะในการทํางาน (Interest in work) ความสนใจและความกระตือรือรนในการทํางาน มีความอุตสาหะ ความพยายาม ความตั้งใจที่จะทํางานได สําเร็จ ความมานะบากบั่น ไมยอทอตออุปสรรคและปญหา รอยละ 96.50 ความสามารถเริ่มตนทํางานไดดวย ตนเอง (Initiative or self-motivated) เมื่อไดรับคําชี้แนะ สามารถเริ่มทํางานไดเอง โดยไมตองรอคําสั่ง (กรณี งานประจํา) เสนอตัวเขาชวยงานแทบทุกอยาง มาขอรับงานใหมๆ ไปทําการไมปลอยเวลาวางใหลวงเลยไป โดยเปลาประโยชน รอยละ 93.50 มีการตอบสนองตอการสั่งการ (Response to supervision) ขอเสนอแนะ และวิ จ ารณ ยิ น ดี รั บ คํ า สั่ ง คํ า แนะนํ า คํ า วิ จ ารณ ไมแสดงความอึดอัดใจ เมื่อไดรับ คําติเตือนและวิจารณ ความรวดเร็วในการปฏิบัตตามคําสั่ง การปรับตัวปฏิบัติตามคําแนะนํา รอยละ 96 ภาพรวมของความรับผิดชอบ ตอหนาที่ / Responsibility รอยละ 95.25 4. ลักษณะสวนบุคคล / Personality บุคลิกภาพและการวางตัว (Personality) นักศึกษามีบุคลิกภาพและวางตัวไดเหมาะสม เชน ทัศนคติ วุฒิภาวะ ความออนนอมถอมตน การแตงกาย กิริยาวาจา การตรงตอเวลา และอื่นๆ รอยละ 97.50 บุคลิกภาพ และการวางตัว (Personality) นักศึกษามีบุคลิกภาพและวางตัวไดเหมาะสม เชน ทัศนคติ วุฒิภาวะ ความออน CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

167


นอมถอมตน การแตงกาย กิริยาวาจา การตรงตอเวลา และอื่นๆ รอยละ 97.5 ความมีระเบียบวินัย ปฏิบัติตาม วัฒนธรรมขององคกร (Discipline and adaptability to formal organization) ความสนใจเรียนรู ศึกษา กฎระเบียบ นโยบายตางๆ และปฏิบัติตามโดยเต็มใจการปฏิบัติตามระเบียบบริหารงานบุคคล (การเขางาน ลางาน) และอื่นๆ รอยละ 96.50 นักศึกษามีคุณธรรมและจริยธรรม (Ethics and morality) มีความซื่อสัตย สุจริต มีจิตใจสะอาด รูจักเสียสละ ไมเห็นแกตัว เอื้อเฟอชวยเหลือผูอื่น รอยละ 99 โดยภาพรวมในดานลักษณะ สวนบุคคล / Personality รอยละ 97.62 จากการประเมิ น ผลค า เฉลี่ ย ใน 4 หั ว ข อ คื อ ผลสํ า เร็ จ ของงาน/Work Achievement ความรู ความสามารถ / Knowledge and Ability ความรับผิดชอบตอหนาที่ / Responsibility ลักษณะสวนบุคคล / Personality ผูเขียนพบวา จุดเดนของนักศึกษาสาขาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัย ศรีปทุม จุดเดนของนักศึกษา จากผลประเมินเรียงลําดับจากจํานวนมากไปนอย พบวาดานลักษณะสวนบุคคล Personality ของ นักศึกษาสาขาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตรมีจํานวนรอยละสูงที่สุด รองลงมาคือ ความรับผิดชอบ ตอหนาที่ Responsibility และผลสําเร็จของงานWork Achievement สวนผลประเมินที่นอยที่สุด คือ ความรู ความสามารถ Knowledge and Ability อยูในจํานวนรอยละ 92.38

ระดับความคิดเห็นของผูประกอบการที่มีตอคุณลักษณะ บัณฑิตสาขาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ 99 98 97 96 95 94 93 92 91 90 89 ผลสําเร็จของงาน

ความรูความสามารถ

ความรับผิดชอบตอหนาที่

ลักษณะสวนบุคคล

ระดับความคิดเห็นของผูประกอบการที่มีตอคุณลักษณะบัณฑิตสาขาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ

ภาพที่ 1 กราฟแสดงระดับความคิดเห็นของผูประกอบการที่มีตอคุณลักษณะบัณฑิต สาขาภาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

168


จากแบบประเมิ น การปฏิ บั ติง านนั ก ศึก ษาสหกิจ ศึ ก ษาใน 4 หัว ขอ พบวาขอเสนอแนะนั ก ศึ ก ษา ภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม คาเฉลี่ยที่สูงสุด จะเปนดานลักษณะสวน บุคคล และ ดานความรูความสามารถ จะมีคาเฉลี่ยที่นอยสุด จากขอมูลดังกลาว แสดงใหเห็นถึงคุณลักษณะ บั ณฑิ ต ในอุ ด มคติ ในศตวรรษที่ 21 ที่ เ หมาะสมและเปน ที่ตองการของตลาดแรงงาน จึงอาจมีการเนน ใน สวนความรูความสามารถทางวิช าการ (Academic ability) และความสามารถในการเรียนรูและประยุ ก ต (Ability to learn and apply knowledge) เพิ่มมากขึ้น ดังตอไปนี้ 1. เพิ่ ม กิ จ กรรม เช น การอภิ ป รายกลุ ม เพื่ อ ตั้ ง สมมติ ฐ านคํ า ตอบ การสื บ ค น ทฤษฎี ค วามรู โดยการมอบหมายงาน จัดประสบการณใหผูเรียนทั้งแบบกลุม และรายบุคคล ในการทําโครงการ Projectbased เชน การไปสัมภาษณสถานประกอบการเพื่อใหผูเรียนฝกการหาความรูที่ตอบสนองตอตลาดแรงงาน ที่นักศึกษาสนใจอีกทั้งยังเปนการฝกการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการสื่อสารระหวางผูเรียนที่เปนกลุม เดียวกัน 2. สอดแทรกความรูในเชิงบูรณาการไปในรายวิชา ทั้งทางดานการเงิน เศรษฐศาสตร การประชุม การจัดการการวางแผน การจัดนิทรรศการ เพื่อใชเปนพื้นฐานทักษะในการประกอบสัมมาอาชีวะในศตวรรษที่ 21 3. สงเสริมใหนักศึกษาเลือกเรียนในรายวิชาเลือกเสรี ที่เกี่ยวของและเปนพื้นฐานกับสถานประกอบที่ นักศึกษาสนใจ เชน ธุรกิจการบิน ธุรกิจทองเที่ยว กานจัดการดานการนําเขาสงออก ธุรกิจดานการโรงแรม หรือรายวิชาที่เปนดานดิจิทัล 4. มีการเชิญวิทยากรภายนอกจากสถานประกอบการมาใหความรู ขอเสนอแนะ ประสบการณกับ นักศึกษา 5. มีการทําความรวมมือกับสถานประกอบการเพิ่มขึ้น 6. มอบหมายให นั ก ศึ ก ษาเข า ร ว มอบรมสั ม มนาที่ จั ด ขึ้ น ภายนอก เพื่ อ ให ต ระหนั ก ถึ ง แนวโน ม ความตองการของตลาดแรงงานในยุคศตวรรษที่ 21 การพัฒนารูปแบบและวิธีการการพัฒ นาคุณลั กษณะของนั กศึกษามีหลากหลายวิธี ไมวาจะเลื อก วิธีการใดนั้นขึ้นอยูกับสถานการณลักษณะของนักศึกษาและเรื่องที่ตองการพัฒนา โดยเลือกวิธีการที่เหมาะสม สอดคล อ งกั บ เป าหมายของการพั ฒ นาคุ ณ ลั ก ษณะของนัก ศึ ก ษามากที่ สุ ด หรื อ ส ง ผลให เ กิ ด การสงเสริ ม การพัฒนาพฤติกรรมและความรูอยางแทจริง (จิตติมา จันทกาศ, อัจฉรา วัฒนาณรงค, นรา สมประสงค, และ ราชันย บุญธิมา, 2561) การผลิตบัณฑิตเอกภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจที่มีคุณลักษณะบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะบัณฑิตที่ถึงประสงคตามที่คณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนดในประกาศคณะกรรมการ การอุดมศึกษา เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552 นั้นในการผลิตบัณฑิตเอก ภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจที่มีคุณลักษณะตรงกับความตองการของสถานประกอบการนั้น ตองสรางบัณฑิตให เปนผูมีความคลองแคลวในการใชทักษะภาษาอังกฤษในการสื่อสารที่โดดเดน ใหมีความสามารถความชํานาญ ทางภาษาอั ง กฤษที่ สํ า คั ญ ต อ ความสํ า เร็ จ ในโลกธุร กิจ ที่ มี การแข งขั น สู งในปจ จุบั น การเติบ โตของอาชี พ CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

169


มีความสัมพันธกับทั กษะภาษาอั งกฤษของบั ณฑิ ต สะทอนใหเห็นวาการบริหารสถาบันการศึ กษา ครูสอน ภาษาอังกฤษ และนักศึกษาจําเปนตองคํานึงถึงการสอนและการเรียนรูภาษาอังกฤษอยางถูกตองและเหมาะสม 1. บทบาทของบั ณฑิ ตสาขาภาษาอังกฤษสื่อสารธุร กิจ ในฐานะที่ทํางานดานธุร กิจ บัณฑิตสาขา ภาษาอั ง กฤษสื่ อ สารธุ ร กิ จ ต อ งสามารถสื่ อ สารกั บ ลู ก ค าด ว ยภาษาอั งกฤษได อ ย า งมั่ น ใจ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ หากต องการเปลี่ ย นข อเสนอ ลู กค า ส ว นใหญตัดสิน ความเปน มืออาชีพและความเชี่ย วชาญในการทํางาน จากวิธีการพูดเจรจา การเพิ่มทักษะภาษาอังกฤษในการทํางานสามารถใหประโยชนมากมายและเปดประตู สูโลกแหงโอกาสใหม 2. บัณฑิตสาขาภาษาอังกฤษสื่อสารธุรกิจกับการใชภาษาอังกฤษเปนสื่อในการสื่อสาร จุดประสงค หลักของภาษาอังกฤษในดานธุรกิจคือเพื่อสื่อสาร สรางและบรรลุผลขอตกลงทางธุรกิจ ดวยเหตุนี้ ทักษะทาง ภาษาอังกฤษที่หลากหลาย เปนสิ่งจําเปน รวมถึง การนําเสนองาน การเขียนจดหมายภาษาอังกฤษ การพูดคุย หรือการเจรจาตอรอง คําศัพทภาษาอังกฤษเชิงธุรกิจ และทักษะเหลานี้ไมเพียงแตเปนขอกําหนดเบื้องตนของ ความรวมมือระหวางประเทศยุคใหมเทานั้น แตยังเปนกุญแจสําคัญสูธุรกิจระหวางประเทศ ความเชี่ยวชาญ ดานภาษาอังกฤษเปนขอกําหนดพื้นฐานสําหรับงานดานการขายและการตลาด การตลาดดิจิทัลสวนใหญใช ภาษาอังกฤษ ดังนั้นการพัฒนาทักษะทางภาษาอังกฤษจึงจะชวยใหบัณฑิตมีโอกาสที่ดี 3. การผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 ดานการจัดหลักสูตร แนวคิดการสอนภาษาอังกฤษใหกับผูเรียนชาวไทยปจจุบัน ควรมุงเนนสงเสริมการจัดการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษแบบ Active Learning และยังเกี่ยวของกับการเรียนการสอนภาษาเชิง Productive Learning ซึ่งสอดคลองกับความจําเปนทางสังคมที่ผูเรียนควรไดรับการเตรียมพรอมทักษะดานตางๆ เพื่อสามารถดําเนิน ชีวิตในศตวรรษที่ 21 ได และสอดรับกับแนวคิด Thailand 4.0 ที่ภาครัฐนํามาใช ในการพัฒนาประเทศไทย ไปสู “ความมั่นคง มั่นคง และยั่งยืน” ที่ตองอาศัยหัวใจสําคัญของการขับเคลื่อน คือ “คนไทย 4.0” ในการสราง นวัตกรรมและผลผลิตใหมๆ และมีทักษะความเปนนานาชาติ (Internationalization) ในการติดตอสื่ อสาร แลกเปลี่ ย นความรู การค า ขาย และประสานรว มมือ ระหวางประเทศ เพื่อเกิดความสัมพัน ธอัน ดี เขา ใจ ความแตกตางของผูคนตางวัฒนธรรม มีทักษะ การคิดอยางมีวิจารณญาณ รูเทาทันขอมูลขาวสาร และสามารถ สื่อสารภาษาอังกฤษไดอยางมีประสิทธิภาพ ดานการสรรหาผูสอนที่มีความรูภาษาอังกฤษและทักษะในการสอน ในการจัดสรรคณาจารยที่จะทําการสอนแตละรายวิชานั้น หมวดวิชา คณะวิชาและสถาบันการศึกษา ควรดําเนินการเตรียมความพรอมดวยการคัดสรรอาจารยผูสอนที่มีประสบการณเชี่ยวชาญในรายวิชาที่สอน เพียบพรอมดวยความรูความสามารถและมีศักยภาพครบถวนทุกดาน ดําเนินการพัฒนาและฝกอบรมอาจารย ผูสอนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การประเมินผลที่เหมาะสมกับรายวิชา ดําเนินโครงการพัฒนา และส งเสริ มการจั ดทํ า เอกสารประกอบการสอนและตํ ารารายวิช าที่ส อน สนับ สนุน การดําเนิน กิจ กรรม การพัฒนาและฝกอบรมในระดับหลักสูตรและระดับคณะ/สํานักวิชา CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

170


ดานการจัดการเรียนการสอน มี ก ารพั ฒ นาความรู แ ละทั ก ษะให แ ก อ าจารย ด า นทั ก ษะการจั ด การเรี ย นการสอน การวั ด และ การประเมิ นผล ดวยการจัดฝกอบรมเชิ งปฏิบั ติการเกี่ ยวกับ การจัดกิ จกรรมการเรีย นการสอนในชั้น เรี ย น การวางแผนการสอน เทคนิคและวิธีการสอนที่กาวหนาทันตอสถานการณโลกปจจุบัน การวัดและประเมินผล การสอนที่มีประสิทธิผล พรอมทั้งจัดทําโครงการสงเสริมการพัฒนาเอกสารประกอบการสอน ตํารา ชุดการสอน การผลิตสื่อและอุปกรณการสอนแกอาจารยผูสอนในรายวิชาที่สอน สนับสนุนและสงเสริมอาจารยผูสอนใน การดําเนินการวิจัยที่ส ามารถบูรณาการกับ การเรียนการสอน รวมถึงการวิจัยในชั้นเรียน จัดฝกอบรมเชิ ง ปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดทําผลงานทางวิชาการ การวิจัย และการบริการวิชาการที่มีคุณภาพสําหรับอาจารย จัดสรรทรัพยากรสนับสนุน สงเสริมการพัฒนาผลงานทางวิชาการและการวิจัยที่มีคุณภาพ สงเสริมการศึกษา ดูงานทั้งในและตางประเทศ การนําเสนอผลงานทางวิชาการ การวิจัยทั้งในระดับประเทศและระดับนานาชาติ สรุป

ผูเขียนตระหนักถึงความสําคัญในคุณลักษณะที่พึงประสงคของบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 ซึ่งประกอบดวย ทักษะที่สําคัญของผูเรี ยนใหมีคุณลักษณะที่เหมาะสมกับ การเปนบั ณฑิตในศตวรรษที่ 21 และการพัฒ นา ประสิทธิภาพและกระบวนการจัดการเรียนการสอนใหมีคุณภาพกับการผลิตบัณฑิตในศตวรรษที่ 21 ทักษะที่ สํ า คั ญ ของผู เ รี ย นมี คุ ณ ลั ก ษณะกั บ การเป น บั ณ ฑิ ต ในศตวรรษที่ 21ที่ เ หมาะสมและเป น ที่ ต อ งการของ ตลาดแรงงานจะตองมีการพัฒนาประสิทธิภาพและกระบวนการจัดการเรียนการสอนใหมีคุณภาพ โดยหัวขอ การประเมินที่ไดคะแนนสูงสุด ไดแก ลักษณะสวนบุคคล (Personality) สวนที่ตองการการพัฒนาประสิทธิภาพ คือ ความรูความสามารถ (Knowledge and Ability) ดังนั้นจึงไดเสนอแนะแนวทางเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ กระบวนการจัด การเรียนการสอนให มีคุณภาพกับ การผลิต บัณฑิต ในศตวรรษที่ 21 โดยเพิ่มศักยภาพของ นักศึกษาในดานความรูความสามารถทางวิชาการ (Academic Ability) และความสามารถในการเรียนรูและ ประยุกต (Ability to Learn and Apply) เพื่อเปนการสรางศักยภาพในการประกอบอาชีพใหเกิดประโยชน สูงสุดโดยการเพิ่ม 3R x 7C ซึ่งเปนการเรียนรู ในศตวรรษที่ 21 เพื่อเพิ่มทักษะและประสิทธิภาพทั้งการเรียน การสอน ใหกับผูเรียนตอไป รายการอางอิง จิตติมา จันทกาศ, อัจฉรา วัฒนาณรงค, นรา สมประสงค, ดร.ราชันย บุญธิมา. (2561). คุณลักษณะของ บัณฑิตบริหารธุรกิจในศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการ สถาบันวิทยาการจัดการแหงแปซิฟค. พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา. วิจารณ พานิช. (2555). วิถีการเรียนรูเพื่อศิษยในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธีสดศรี-สฤษดิ์วงศ. . (2556). วิถีสรางการเรียนรูเพื่อศิษย. สืบคนจาก https://edu.lpru.ac.th/eu/21st/st-006.pdf [2565, 16 มิถุนายน] สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2550). กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปฉบับที่ 2 พ.ศ. 25512565. กรุงเทพฯ: ม.ป.พ. CONFERENCE: THE PROFESSIONAL TEACHING AND STUDENT ENGAGEMENT IN HIGHER EDUCATION, THAILAND

171



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.