PROCEEDINGS OF EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

Page 1


ข้อมูลทางบรรณานุกรม Publication Data สิรินธร สินจินดาวงศ์. (บรรณาธิการ). หนังสือประมวลบทความในงานประชุมวิชาการ นิทรรศการการ เรียนการสอน ประจาปี 2562. กรุงเทพฯ: ศูนย์สนับสนุนและ พัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2562. 425 หน้า. ISBN (e-Book) 978-974-655-464-0 หนังสือประมวลบทความในงานประชุมวิชาการ นิทรรศการการเรียนการสอน ประจาปี 2562 บรรณาธิการ สิรินธร สินจินดาวงศ์ จัดทาโดย ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม www.spu.ac.th/department/tlc

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


หนังสือประมวลบทความในงานประชุมวิชาการ นิทรรศการการเรียนการสอน ประจาปี 2562

เรื่อง นวัตกรรมการสอน และการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ (Innovative Teaching Creative Learning)

วันที่ 31 กรกฎาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน กรุงเทพมหานคร

จัดทาโดย ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียการสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


คณะทางาน ที่ปรึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิรัช เลิศไพฑูรย์พันธ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

บรรณาธิการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิรินธร สินจินดาวงศ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ฝ่ายจัดการ และเลขานุการ นายกรกฎ ผกาแก้ว นายภาณุเดช ประทุมมา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ รองศาสตราจารย์ ดร.ชัยวิชิต เชียรชนะ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กันยารัตน์ ศรีวิสทิยกุล มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทราวดี มากมี มหาวิทยาลัยบูรพา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ ไทยมา มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สาธิดา สกุลรัตนกุลชัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรอุมา เจริญสุข มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กิตติภูมิ มีประดิษฐ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รัฐสภา แก่นแก้ว มหาวิทยาลัยศรีปทุม ดร.เกรียงไกร สัจจะหฤทัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม ดร.ไพบูลย์ สุขวิจติ ร บาร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ดร.วัยวุฒฑ์ อยู่ในศิล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


สาส์นจากรองอธิการบดี การจั ด การเรี ย นการสอนในยุ ค ปั จ จุ บั น เปลี่ ย นแปลงไปจากเดิ ม เนื่องจากผู้เรียน มีศักยภาพในการเรียนรู้ และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการ เรียนรู้เพิ่ มมากขึ้น ท าให้ อาจารย์ต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนการสอน เป็ น การให้ค าปรึกษา กระตุ้น การเรียนรู้ ด้วยการเป็น โค้ช ให้ผู้ เรียนเกิดการ เรีย นรู้อ ย่ า งสร้า งสรรค์ มหาวิ ท ยาลั ย ศรีป ทุ ม ให้ ค วามส าคั ญ กับ การพั ฒ นา คุณภาพอาจารย์ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อส่งผลให้ บัณฑิตที่มีคุณภาพแก่ สังคม ด้วยนวัตกรรมการสอน และการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ ศู น ย์ สนั บ สนุ น และพั ฒ นาการเรี ย นการสอน เป็ น หน่ วยงานในการ ขับเคลื่อนโครงการ กิจกรรมต่างๆ และจัดทามาตรฐานอาจารย์มืออาชีพ SPU-PSF เพื่ อเป็น แนวทางในการส่งเสริมการพั ฒ นาอาจารย์ให้เป็ นที่ยอมรับ และเป็ น เส้นทางในการพัฒนาตนเองของอาจารย์ นิ ท รรศการการเรีย นการสอนในครั้งนี้ จะมี แนวทางในการพั ฒ นา นวัตกรรมการสอนของครู อาจารย์ ที่มีตัวอย่างและวิธีการที่ได้นาไปใช้ในการ เรียนการสอนทุกระดับ สามารถนาไปพัฒนาต่อยอดการสร้างองค์ความรู้ด้าน การสอน ได้ เป็ นอย่างดี และยังมีเครือข่ายร่วมพั ฒ นาจากสถาบั นอุดมศึกษา ได้แก่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยพะเยา รวมถึงมหาวิทยาลัย ศรีปทุมทั้ง 3 วิทยาเขตด้วย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิรัช เลิศไพฑูรย์พันธ์ รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีปทุม

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน: TLC มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิสัยทัศน์ ค่านิยม วัฒนธรรม นโยบาย อาจารย์มหาวิทยาลัยมีความสาคัญยิ่งสาหรับ การพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา และการพัฒนาอาจารย์ โดยอาจารย์ที่มีคุณภาพย่อมจะ ส่งผลถึงบัณฑิตที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของสังคมเช่นกัน และสามารถทา ประโยชน์ให้กับสังคมได้เป็นอย่างดี ดังนั้น แนวทางการพัฒนาอาจารย์ของ มหาวิทยาลัยศรีปทุ ม มีระบบอาจารย์พี่เลี้ยง ที่คอยสนับสนุน แนะนาการ จัดการเรียนการสอน นอกจากการฝึกอบรมพัฒ นาความรู้ ทักษะในการ จัด การเรีย นการสอน แล้ ว ยั งส่ งเสริ ม ให้ อ าจารย์พั ฒ นาผลงานวิช าการ ได้แก่ เอกสารประกอบการสอน ตารา บทความทางวิชาการ และการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ที่เกิดจากการพัฒนาเทคนิคการสอน สื่อการ สอน การประเมินผล มีเป้าหมายหลักเพื่อสร้างอาจารย์ที่มีคุณสมบัติ รักใน วิชาชีพอาจารย์ ดูแลให้คาปรึกษานักศึกษา รวมถึงมีจิตวิญญาณความเป็ น ครู ทั้ งนี้ อาจารย์ ที่ มี คุ ณ ภาพ และเอาใจใส่ ใ นการสอน ดู แ ลนั ก ศึ ก ษา หมายถึงคุณภาพของบัณฑิต

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


พันธกิจ 1. พัฒนาคุณภาพอาจารย์ ด้านการสอน 2. พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน 3. ส่งเสริมวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 4. ให้รางวัล และให้เกียรติยกย่องอาจารย์ 5. ยกระดับคุณภาพเอกสารวิชาการ ได้แก่ เอกสารประกอบการ สอน เอกสารคาสอนและตารา

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


สารบัญ หน้า Using Duolingo: A Mobile language learning Application as an Additional Teaching Tool for English Learning among First-year Logistic students at Sripatum University, Thailand. NIKA KARINA SARMIENTO การพัฒนามัลติมีเดียเชิงปฏิสมั พันธ์จากทฤษฎีจิตวิทยาแฟชั่น เพื่อการรับรู้ ภทรฤน พงษ์ประสิทธิ์ รวิเทพ มุสิกะปาน และยศไกร ไทรทอง

12

27

STEAM EDUCATION กับการพัฒนาทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ ร่วมกับ 49 เครื่องมือทางปัญญาผ่านคลาว์คอมพิวติ้ง ณัฐวรรณ เฉลิมสุข กฤตย์ษุพัช สารนอก และกิตติพร ชูเกียรติ การประยุ ก ต์ ใ ช้ ก ารประเมิ น มู ล ค่ า กระเป๋ า แบรนด์ เ นมตามหลั ก 67 เศรษฐศาสตร์ ปัทมา โกเมนท์จารัส สุภาวดี ฮะมะณี และธนิยา คันธหัตถี การน าความรู้ สู่ ก ารปฏิ บั ติ ง านจริ ง ด้ ว ยสหกิ จ ศึ ก ษาของคณะบั ญ ชี 85 มหาวิทยาลัยศรีปทุม พรรณทิพย์ อย่างกลั่น และอัจฉราพร โชติพฤกษ์ การบูรณาการทักษะความรู้ทางด้านโรงแรมผ่านการจัดกิจกรรม 106 พีรยา สุขกิจเจ และวันธงชัย ชีวะกลินศักดิ์ Comparison of group learning method and individual learning 121 method - Chinese new word learning. ZHANG GUIGUI The Professional Accountant สู่การเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ 133 จิตรลดา วิวัฒน์เจริญวงศ์

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


สารบัญ (ต่อ) หน้า การเข้าใจ เข้าถึงผู้เรียนยุคดิจิทัลด้วย DISC Model วรรณี งามขจรกุลกิจ

157

การศึกษาเปรียบเทียบการสอนแบบมีส่วนร่ว มโดยใช้เทคโนโลยี กับการ สอนแบบดั้งเดิม อัศวิน วงศ์วิวัฒน์ การพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ EQ และพัฒนาบุคลิกภาพ: รูปแบบการ เรียนการสอนแบบคิดแก้ปัญหา มาโนช พรหมปัญโญ การจัดการเรียนรู้แบบรับใช้สังคมผ่านโครงงานด้านความรับผิดชอบต่อ สังคม (The Service Learning based on CSR) ณัฐธยาน์ ตรีผลา รัตนติญา ฤทธิโชติ และสุจิตรา สมานญาติ To Compare the influence of physical classroom environment for learning performance of Kasem Bundit University. GONG LEI Collaboration activities and chinesasy cards in Chinese characters class. OUYANG TIANTING Game based learning in English learning. YAN SIMI

172

181

194

214

229

242

Research for current situation of artificial intelligence 252 education in primary and secondary schools in China. Wu Haopeng

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


สารบัญ (ต่อ) หน้า การเรียนการสอนนิติศาสตร์ผ่านเกม สุภัสสร ภู่เจริญศิลป์

267

Strategies of Teaching Chinese language to Thai kindergarten students. LIN LILING การศึกษาบรรยากาศในการเรียนรู้ของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นเพื่อ การสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ ด้วยการแต่งชุดคอสเพลย์ ภีมพัฒน์ วรโชติธีรวัชร์ Innovation in teaching Chinese as a second language: WeChat as a teaching tool Mo Yushun Case study: the factors of school bullying behavior to middle school students Yao Lu การพัฒ นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทย เรื่องการสร้างคา ด้วยวิธีการสมาสแบบมีสนธิ โดยใช้เกมกระดาน ชุด “หมากฮอสชวนคิด พิชิตสนธิ” สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนท่าตูมประชา เสริมวิทย์ จังหวัดสุรินทร์ คิดลึก สังข์สาลี ห้องเรียนธรรมะออนไลน์ ผ่านสื่อโซเซียลเมเดียสังคมออนไลน์ พระครูใบฏีกากฤษดา ไกรยะถา

284

291

311

325

342

355

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


สารบัญ (ต่อ) หน้า นวัตกรรมการเรียนรู้เกมกีฬา คณิต พรพล พอนอ่วม วราภรณ์ ไทยมา และสาธิต เจนศิริรุ่งเรือง

367

การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริม 389 ทักษะการสื่อสารในครอบครัว สุรเสกข์ ยุทธิวัฒน์ The development trend and practical cases of artificial 404 intelligence education application LI DA การศึกษาพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนโดยใช้วิดิโอกราฟฟิกเพื่อสร้าง 415 แรงจูงใจในการเรียน เรื่อง บุคลิกและวัฒนธรรม ฉัตรชนก ตาบังวัน

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Using Duolingo: A Mobile language learning Application as an Additional Teaching Tool for English Learning among First-year Logistic students at Sripatum University, Thailand NIKA KARINA SARMIENTO Abstract The onset of the digital age has changed the mindset of the students and has paved the way for many educators to apply methodological innovations to adjust to the tune of the times. This paper aims: 1) to evaluate whether using Duolingo, a mobile language learning platform, will be able to improve speaking and listening skills and knowledge of vocabulary among first-year Logistic students, and 2) to examine the possibility of incorporating it in the classroom setting. Duolingo is a free application that can be used on mobile phones, tablets, and computers, with iOs or android users. It is not only available in English language but also in other languages such as Spanish, German, Russian, and other languages.

MISS NIKA KARINA SARMIENTO Graduate Student in Master of Education Program in Innovations in Learning and Teaching, and lecturer in School of Liberal Art, Sripatum University 12

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


The study was conducted for 8 weeks from February to April 2019. The 30 participants were first-year logistic students that were also studying “Visual Presentation course�. As part of the methodology, Duolingo was introduced in class and was first used as an extracurricular activity for the course. Survey and face to face interviews were also conducted during the 8-week period. Students were asked to complete two levels of 16 circle skills tests before the end of the semester with the stipulation that they must use the application every day. The preliminary result suggests that students enjoyed using Duolingo because of its game-based interfaced and easy to use features. The data collected from the survey questionnaire suggests significant improvement in their English vocabulary in both listening and speaking skills. Students also signified that they will continue using the Duolingo apps even after the study was conducted. This paper highly recommends that mobile language learning application may have potential use in the classroom as an additional tool for learners with proper guidelines from teachers. Keywords: Duolingo, English Language Learning, Mobile Learning Introduction Over the years the methods of teaching have gradually been changing and evolving for the better. With the upsurge of technology, the digital age is rewiring our way of teaching to adjust to the millennial era. Several new strategies and practices emerge every day to encourage and enhance the language learning experience, by making it more accessible, diverse, and creative for modern students. Nowadays EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

13


with the help of multiple applications and online learning tools, the modern student can get answers for their homework, classwork and activity projects, translate documents from Thai to English and vice versa with a click of their finger. One example of such mobile tool is the Duolingo, a free mobile and computer application that has successfully merge gamification in language learning. It is one of the top 10 most used language learning apps around the world with more than 300 million users to date. Its success could be attributed to its sleek interface and the short-gamified course that user feels like they have accomplished something huge in a short amount of time thus making them more motivated and addicted with the application. A user can choose their daily goals and for how long they want to study in a day, making the user feels a more personalized learning experience. Duolingo is just one of the thousands of language learning platforms available for anyone but certainly one of the best in its field. As a language teacher, and also as a user of this application, I recognized its value as a promising tool to utilize in a classroom setting. Gamification has been slowly introduced as a teaching strategy to enhance students' motivation and performance. This will explore the potential of applications like Duolingo in teaching in the future. The aim of this paper is to answer the research questions will the use of a mobile language application improve first-year logistic student’s English speaking and listening skills and vocabulary knowledge and the possibility of incorporating Duolingo application to English learning in a classroom setting. 14

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Literature Review Gamification in the classroom Gamification in an education setting is not a new idea, it has made its appearance in 2008 in education technology literature and has slowly been used throughout the years. Educators are always on the lookout for new ideas and strategies for teaching that can further motivate and challenge modern students, so using a game like attributes to engage students to a non-game experience seemed like a strategic step for educators. Nowadays with technology being a huge part of our lives and is still evolving, it is not unusual for teachers to see their students playing games or simply opening their smartphones to check their social media accounts during class. During the early years of mobile technology, educators would rectify this by confiscating these phones and forcing students to focus solely on them during a lesson. In this day and age, however, It would be controversial to confiscate a student's mobile phone since it has integrated into modern society and is now considered a necessity. Educators now have to compete with technology and online games for students’ attention. Instead of competing with it, why not use it as a tool? Use the thing that students enjoy and incorporate that in their learning experience. Hence the birth of gamification in learning, it’s a new approach to teaching that might bridge the generation gap between teachers and students. The goal is to maximize enjoyment and engagement by capturing the interest of learners and inspiring them to continue learning.

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

15


What is Duolingo? Duolingo is the world’s largest online language-learning platform. It uses science and adaptive learning techniques to make language learning experience more fun and effective. In 2013, Apple chose Duolingo as the iPhone app of the year. It was the first honor awarded to an educational application. Several awards soon followed as Google play’s best of the best of 2013 and 2014. Just last year it was named to Fast Company's list of the Most Innovative Company to CNBC’s 50 lists. All the language learning features in Duolingo are free of charge and is available on Android, iOS, Windows, mobile Phone, and Web. On April 2016, English speaking learners can choose from a list of 16 languages from Spanish to Finnish. Non-English learners do not have as many options to choose from however In 2018, Duolingo added the Thai language in their system and it has since slowly been recognized by the younger generations here. Since Duolingo uses gamification extensively, I wanted to explore its features, whether it will be an effective tool for language learning and the possibility of incorporating Duolingo as an additional gamification activity in a classroom setting. How does Duolingo work? The application is set up into a game with levels to complete, each harder than the one before it. Every language has a Skill Tree that maps out the course. Each learner can begin the basics and as the learner progress, the skills build on each other and become more complex. Each successful progress through the Tree, another set of 16

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


lesson and unit will unlock. The lessons are grouped into skills, and they gradually teach different vocabulary and phrases. Duolingo lets users practice various type of language skills in each lessons from Vocabulary learning, to actual speaking practices. The following is a list of the most common activities in each lesson: • Write a vocabulary word after seeing a picture that represents it. • Translate a sentence into your native language. When words are first presented, the user can hover over the word to see its meaning. • Translate a sentence into the language being studied. • Dictation: write a sentence that you hear. There are two speeds, normal and slow, which you can click to hear the sentence more clearly. • Pronouncing a sentence. Through voice recognition software, the app can detect whether your pronunciation is correct. • Match pairs of words. • Put a series of scrambled words in order. • Choose from three sentences in the target language to see which ones fit the sentence in the native language. These lessons are well structured with different types of challenges for the users, making it more engaging and less repetitive. The level system that Duolingo uses is called XP or Experience Points, it represents a user’s skill level. A user gets XP for lessons and practice session and will be able to level up as the XP increases. Whenever a user levels up or completes a skill, they will acquire EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

17


“lingots”, an in-game currency that can be spent in features such as character customizations or bonus levels. Duolingo has skillfully applied a number of game elements that could further motivate learners into playing the game. One such element is the “Badges” which represents the achievements that are earned from completing specific challenges. Badges have always been crucial in gamification because it makes the users feel important and skilled. It’s an excellent tool for making people feel invested in the platform. Each collected badge is displayed on the home profile making it an excellent tool for If a user collects different badges it will be displayed on the profile page on the profile page the user invested in the game when a user is able to collect different badges, they’ll likely put more effort into

*Skill Tree: reading, writing, listening and speaking. 18

* Daily goal for everyday use

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


*variety of Duolingo game-based features to motivate students The Objective This paper aims: 1. To evaluate whether the Duolingo Mobile language-learning application is an effective tool in improving the first-year students’ English performance in terms of speaking and listening and their vocabulary knowledge. 2. To examine the possibility of incorporating the Duolingo app into the basic English course as a gamification activity in the classroom setting.

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

19


Conceptual Framework Methods (Sampling, Collecting Data, Measures) Thirty first-year Logistic students enrolled in Visual Presentation course participated in using Duolingo for 8 weeks (from the end of February to the end of April). Students were free to use mobile or desktop version of the application. Students were expected to use Duolingo to complete their daily goal either for 5,10, 15 or 20 minutes every day. These students were informed that Duolingo participants will earn 10% in their final grade. Students must take the placement test offered by Duolingo when signing up for the English course. This could mean they can start at a different point, depending on the level they got from the test. To get the data needed for this study, the students have completed the 16-circle lessons in 2 levels each in the eight weeks period. The progress were intermittently checked during classroom activities while evaluating the students’ opinion about the application. By the end of eight weeks, the participants were asked to complete a survey questionnaire (Appendix A1) regarding their experience with Duolingo and show their Duolingo progress data during the 8-week duration. During classroom setting the researcher also kept tab of the progress of the students under study by interviewing them individually and keeping tabs of their Duolingo use and progress. Google form was utilized in the collection and presentation of data using the graph forms and in percentage.

20

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Results The data obtained from this study related to its objectives, “To evaluate whether the Duolingo Mobile language-learning application is an effective tool in improving the first-year students’ English performance in terms of speaking and listening and their vocabulary knowledge”, Graph 1 and 2 show the results from the Survey Questionnaire. As follows: 1. Graph 1 Likert Scale 1-5 (Strongly Disagree- Strongly Agree)

In combining (5) Strongly agree 37.9% with (4) Somewhat Agree 34.5 % results obtained in Graph 1 indicates that 72.4% of students believes that Duolingo has significantly improved their English Skills, 27.6% chose to be (3) Neutral and none has responses for (1) strongly disagree and (2) somewhat disagree.

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

21


2. Graph 2

Graph 2 shows that 86.7% of the students believed that there is a great improvement in their vocabulary, 46.7% has increased grammar while 63,3% each has improvement on their speaking, listening and reading skills. 3. Graph 3

As shown in Graph 3, students’ responses to the question “Will you continue to use Duolingo in the future?” has obtained a significant “yes” responses at 73,3%, respondes for “Maybe” is 23,3% while 3.4% responded “No”.

22

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Conclusion and Discussion In this study, I incorporated Duolingo mobile application into my English Language course as an additional tool to find out if the student’s learning performance could improve. The aim of Duolingo is only to complement the acquisition of English language in a classroom setting, to provide educators another teaching tool that can be used in both inside and outside the classroom and give the students a new interactive tool that they can use even after the course is finished. The data obtained and presented from the results of this study suggests that the use of Duolingo apps has significantly increased the students vocabulary as well as their speaking, listening and reading skills. These results strengthen my belief that the use of Duolingo Apps will be beneficial as an additional tool for students to learn the English language. It was also found out that the students want to continue using the Duolingo Apps in the future. This also answers the second objective this paper poses, “to examine the possibility of incorporating Duolingo into the basic English course”. As we can see, students are willing to use the application even after the course is complete. Based on my observation as an educator, there is a way where Duolingo can be used in the classroom. Both students and teachers want to get away from monotonous classroom routine and Duolingo could be one of the solutions. It is great for beginners and students can easily use them anywhere. It could be used as an ice breaker, substitute for homework or an individual project. Learning a second language is already challenging and the use of this app can make the learning process interesting and appealing. EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

23


The findings of this study will be the basis of the authors’ recommendation to consider the use of Duolingo Apps as an additional tool and extracurricular method to English language learning. References Duolingo: Most Innovative Company | Fast Company". Fast Company. Retrieved 5 November 2018. Duolingo: snags iPhone App of the Year". Gigaom. 17 December 2013. Retrieved 21 February 2014. Faiella, Filomena & Ricciardi, M. 2015. Gamification and learning: A review of issues and research. Journal of E-Learning and Knowledge Society. 11. 13-21. Krzemi, Marta. “10 Best Language Learning Apps.” Become a Successful Language Learner | LinguaLift Blog, Become a Successful Language Learner | LinguaLift Blog, 16 Apr. 2019, www.lingualift.com/blog/best-language-learning-apps/. Munday, Pilar. “The Case for Using DUOLINGO as Part of the Language Classroom Experience.” Www.pdfs.semanticscholar.org, 2016, pdfs.semanticscholar.org/bb70/17902eb1bebb83aba5f5ad863 7af7846a802.pdf. Shatz, Itamar 2015. Using Gamification and Gaming in Order to Promote Risk Taking in the Language Learning Process (PDF). MEITAL National Conference. Haifa, Israel: Technion. pp. 227–232. Retrieved 4 August 2016.

24

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Appendix A1 Questionnaire Post Usage 1. How often did you use Duolingo? • casual (5 minutes a day) • regular (10 minutes a day) • serious (15 minutes a day) 2. Did you manage to follow your daily goal? • Yes, I did it everyday • No I haven't done it in a long time • sometimes I'd forget about it • I always forget about it • Other ______________ 3. Did you complete more lessons than those required in your daily goal? • Yes • No 4. Duolingo was easy to use? 1 Strongly Disagree

2 somewhat Disagree

3 Neutral

4 Somewhat agree

5 Strongly Agree

4 Somewhat agree

5 Strongly Agree

3 Neutral

4 Somewhat agree

5 Strongly Agree

3 Neutral

4 Somewhat agree

5 Strongly Agree

5. Duolingo was helpful in learning English 1 Strongly Disagree

2 somewhat Disagree

3 Neutral

6. I enjoyed learning English with Duolingo 1 Strongly Disagree

2 somewhat Disagree

7. My English has improved 1 Strongly Disagree

2 somewhat Disagree

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

25


8. Duolingo has improved my: • Vocabulary • Grammar • Speaking • Listening • Reading • other_____ 9. Do you prefer doing Duolingo than doing homework? • I prefer Duolingo • I prefer doing any type of homework • The same 10. How did you access Duolingo? • Phone • Tablet • Computer • Other _________ 11. Will you continue to use Duolingo in the future? • Yes • No • maybe

26

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


การพัฒนามัลติมีเดียเชิงปฏิสัมพันธ์ จากทฤษฎีจิตวิทยาแฟชั่นเพื่อการรับรู้ Fashion Psychology, The development of Interactive media for acknowledgement ภทรฤน พงษ์ประสิทธิ์1 รวิเทพ มุสิกะปาน2 และยศไกร ไทรทอง3 บทคัดย่อ งานวิ จั ย นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ 1. เพื่ อ ศึ ก ษาจิ ต วิ ท ยาบุ ค ลิ ก ภาพเพื่ อ พั ฒ นา ประเภทการรับรู้ของจิตวิทยาแฟชั่น 2. เพื่อนากระบวนการทางจิตวิทยาแฟชั่นมา พั ฒ นาผ่ า นสื่ อ มั ล ติ มี เดี ย เชิ งปฏิ สั ม พั น ธ์ มี ก ารก าหนดประชากรในงานวิ จั ย เป็ น หลักสูตรการสอนออกแบบชั่น ทฤษฎีนพลักษณ์ทั้ง 9 และทักษะศตวรรษที่ 21 และมี กลุ่มตัวอย่างจานวน 140 ท่านประกอบด้วย กลุ่มนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่สนใจ การออกแบบแฟชั่น และนิสิตภาควิชาออกแบบแฟชั่น ชั้นปีที่ 1 โดยผู้วิจัยใช้การ เลือกสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง กลุ่มเป้าหมาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 4 ชนิด คือ 1) แบบสังเกตการณ์ 2) การสัมภาษณ์เชิงลึก 3) การสร้างแบบทดสอบบุคลิกภาพ และ 4) แบบสอบถามความคิดเห็น รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยแบบผสานวิธี 1

นางสาวภทรฤน พงษ์ประสิทธิ์

นิสิต วิทยาลัยอุตสากรรมสร้างสรรค์ สาขาวิชานวัตกรรมการออกแบบ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน

วิทยาลัยอุตสากรรมสร้างสรรค์ สาขาวิชานวัตกรรมการออกแบบ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 3

อาจารย์ ดร.ยศไกร ไทรทอง

วิทยาลัยอุตสากรรมสร้างสรรค์ สาขาวิชานวัตกรรมการออกแบบ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

27


โดยการวิจัยเชิงคุณภาพใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาแล้วเขียนบรรยาเชิงพรรณนา และมี การวัดผลในเชิงปริมาณผลการวิจัยพบว่า องค์ความรู้ด้านจิตวิทยาแฟชั่น ถูกสร้างขึ้น ด้วยองค์ประกอบตามหลักการจิตวิทยา แบบถาม-ตอบ โดยสามารถสรุปได้เป็นชุด คาถามจานวน 15 ข้อ สาหรับใช้ในการค้น หาลักษณ์ และชุดผลลัพธ์จานวน 9 แบบ เพื่ออธิบายลักษณ์ของแต่ละบุคลิกภาพ โดยแบ่งออกเป็นชุดผลลัพธ์สาหรับผู้เรียน และชุดผลลัพธ์สาหรับผู้สอน และสามารถนามาผลิตเป็นสื่อมัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์ ภายในนิทรรศการได้ในอนาคต องค์ความรู้จากงานวิจัยนี้สามารถนาใช้ในการพัฒนา ผู้เรียน และผู้สอน สาหรับการสอน และการได้รับความรู้อย่างเหมาะสมได้ในอนาคต รวมถึงลดช่องว่างระหว่างผู้เรียน และผู้สอนอีกด้วย คาสาคัญ: จิตวิทยาแฟชั่น, ทฤษฎีนพลักษณ์ทั้ง 9, มัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์ Abstract This research aims to 1. To study personality psychology in order to develop the perception of fashion psychology. 2. To apply the fashion psychological process to develop through interactive multimedia media. Defining the population in research as a theory of Enneagram and 21st-century skills. The sample group of this research is 140 persons, consisting of Grade 12 students interested in fashion design and the 1st year fashion design students. The research model is a combined research method. As for qualitative research, the content analysis method was used and the descriptive research was written. The research found that knowledge of fashion psychology was created with the elements according to the question-answer psychology principle, which can be summarized as a set of 15 questions and 9 types of answers to describe the characteristics of each personality. Divided into a set of answers for learners and a set of answers for 28

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


instructors. Can be used to produce multimedia media interacting within the exhibition in the future. Knowledge from this research can be used to develop learners and teachers for teaching and obtaining appropriate knowledge in the future. Including reducing the gap between learners and instructors as well Keywords: Fashion Psychology, Enneagram, Interactive Media บทนา จากการศึกษาและร่วมสอนในสาขาวิชาออกแบบแฟชั่นกว่า 3 ปี ผู้วิจัยได้ เล็งเห็นถึงกระบวนการสอนของประเทศไทยในปัจจุบัน มีลักษณะมุ่งเน้นไปที่การมอบ องค์ความรู้ตาม แบบทฤษฎีที่หนังสือได้กาหนดไว้ เป็นระบบการเรียนการสอนแบบ Teacher Center มี ผู้ ส อนเป็ น ผู้ ตั ด สิ น ผลงานและความรู้ ต่ า งๆ โดยการสอนใน รูปแบบนี้ท าให้ผู้เรียนขาดซึ่ งประสบการณ์ การคิดวิเคราะห์พื้น ฐานที่ ผลลัพธ์ของ ผู้เรียนในยุคปัจจุบันจึงขาดความถี่ถ้วนและกระบวนการคิดวิเคราะห์ในข้อมูลที่ตนเอง หามา ทศวรรษใหม่ที่กาลังก้าวเข้ามาถึงพร้อมด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวล้ามากมาย ทศวรรษที่ทุกคนมีข้อมูลเดียวกัน และสามารถเข้าถึงได้พร้อมกันภายในเวลาเพียงไม่กี่ วินาที และเพื่อสร้างความแตกต่างระหว่างบุคคล ผู้เรียนและผู้สอน รวมถึงผู้เกี่ยวข้อง กับด้านการศึกษา จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องแสวงหาวิธีการเรียนการสอนแบบ ใหม่ การเรียนที่มุ่งส่งเสริมทักษะในการใช้ชีวิตอย่าง “ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21” จึง กลายเป็ น ส่ วนส าคั ญ หนึ่ งในการศึ ก ษาและค้ น คว้ าข้ อ มู ล ของงานวิจั ย ชิ้ น นี้ ซึ่ งใน กระบวนการของการเรียนการสอนแบบศตวรรษที่ 21 ได้อ้างอิงถึงการสอนในรูปแบบ ที่มีจิตวิทยาเป็นตัววางรากฐานการเรียนรู้แบบใหม่ ทฤษฎีนพลักษณ์ทั้ง 9 หรือ Enneagram จึงกลายเป็นทฤษฎีทางจิตวิทยาที่ ถูกหยิบยกขึ้นมาศึกษา และนาไปพัฒนาต่อเพื่อให้สอดคล้องเข้ากับรูปแบบการเรียน การสอนในปั จ จุ บั น เพราะเนื้ อ หาที่ นั ก จิ ต วิ ท ยาศึ ก ษาเช่ น การรั บ รู้ , อารมณ์ , EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

29


บุคลิกภาพ, พฤติกรรม, และรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ล้วนเป็นการศึกษา เพื่อทาความเข้าใจถึงหน้าที่ หรือจุดประสงค์ต่า ง ๆ ของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากตัว บุคคลและพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสังคม สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งสาคัญที่ทาให้ผู้สอน สามารถ เข้าใจถึงตัวผู้เรียนได้ดียิ่งขึ้น ใช้เป็นแนวทางในการสอนแบบ เอกัตบุคคลที่มีวิธีการ เรี ย นแบบ สหวิ ช าการ เพื่ อ เจาะจง และเข้ า ใจในนั ก เรี ย นแต่ ล ะคน สามารถ วางรากฐานการสอนได้อย่างแม่นยาสาหรับอนาคต อีกทั้งยังทาให้ผู้เรียนสามารถ เข้าใจตัวเองได้มากขึ้น ในขณะเดียวกัน การพัฒนาการเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21 สนับสนุนให้ผู้ ศึกษาทุ กคน เรียนรู้จากการลงมือ ทา และการเผชิญ กับ ปัญ หา (Problem-based Learning) เพื่อการเข้าใจถึงแก่นแท้ และการแก้ปัญหาที่ถูกต้อง แต่ก็ปฎิเสธไม่ได้ที่ จะต้องมีการใช้สื่อดิจิทัลเข้ามาเป็นสื่อกลางอยู่เสมอ แม้การใช้สื่อดิจิทัลที่มากไปใน ปัจจุบันจะส่งผลให้การเรียนรู้ของผู้เรียน ขาดซึ่งการไตร่ตรองถึงวิธีการและแก้ปัญหา โดยเข้ า ใจถึ งปั ญ หาที่ เกิ ด ขึ้ น อย่ า งแท้ จ ริ ง การน าเอาสื่ อ ดิ จิ ทั ล เข้ า มาใช้ เพื่ อ เป็ น สื่ อ กลางในการเรี ย นการสอนปั จ จุ บั น จึ ง เป็ น การน าเข้ า มาในรู ป แบบของเชิ ง ปฎิสัมพันธ์ การสร้างและการร่วมลงมือในกิจกรรมต่าง ๆ โดยมี พื้นที่สื่อ หรือแม้แต่ กระทั่งกิจกรรมที่สร้างปฎิสัมพันธ์กันผ่านงานดิจิทัล ให้นักเรียนและผู้ สอนสามารถลง มือทาและบูรณาการร่วมกันได้ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่ อศึ กษาจิต วิท ยาบุ ค ลิ กภาพเพื่ อ พั ฒ นาประเภทการรับ รู้ของจิต วิท ยา แฟชั่น 2. เพื่ อ น ากระบวนการทางจิ ต วิท ยาแฟชั่ น มาพั ฒ นาผ่ านสื่ อ มั ล ติ มี เดี ย เชิ ง ปฏิสัมพันธ์

30

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


กรอบแนวคิดการวิจัย / การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยครั้งนี้ได้กาหนดขอบเขตของการวิจัย คือ การพัฒนามัลติมีเดียเชิง ปฏิสัมพันธ์จากทฤษฎีจิตวิทยาแฟชั่น เพื่อการรับรู้ เพื่อให้บรรลุตามจุดมุ่งหมายที่ ตั้งใจไว้ ผู้วิจัยจึงกาหนดขอบเขตของงานวิจัยดังนี้ ระยะที่ 1 ศึกษาวิเคราะห์ข้อมู ลพื้นฐานจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และศึกษาแนวคิดและทฤษฎีสื่อมัลดิมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์ เพื่อใช้ในการพัฒนาทฤษฎี จิตวิทยาแฟชั่น - ศึ ก ษาหลัก สู ตรการสอนออกแบบแฟชั่น ทั้ งในระดับ ประเทศ จาก 3 มหาวิทยาลัยและในระดับต่างประเทศจาก 2 มหาวิทยาลัย - พัฒนาทฤษฎีจิตวิทยาแฟชั่น โดยอิงจากการศึกษาหลักสูตรการ สอนออกแบบแฟชั่น ทฤษฎีนพลักษณ์ทั้ง 9 (Enneagram) และทักษะศตวรรษที่ 21 - ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับนวัตกรรมของเทคโนโลยีในศตวรรษที่ 21 และสื่อมัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์ ระยะที่ 2 ออกแบบ แบบร่างแบบทดสอบจากทฤษฎี จิตวิทยาแฟชั่น เพื่อ ทดลองใช้กับกลุ่มผู้บริโภค ระยะที่ 3 ออกแบบและพัฒนากิจกรรม และสื่อมัลติมีเดียเชิงปฏิสัมพันธ์ จากทฤษฎีจิตวิทยาแฟชั่น

ภาพที่ 1 กรอบความคิดในการวิจยั EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

31


วิธีดาเนินการวิจัย / วิธีการศึกษา การกาหนดประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง เนื่องจากงานวิจัยครั้งนี้ต้อง ใช้ข้อมูลเชิงลึกในการวิเคราะห์สรุปหาแนวทางการสร้างทฤษฎีที่ชัดเจน ผู้วิจัยจึงได้ กาหนดประชากร และกลุ่มตัวอย่างการศึกษาดังนี้ ประชากร คือ หลักสูตรการสอนออกแบบชั่น ทฤษฎีนพลัพษณ์ทั้ง 9 และ ทักษะศตวรรษที่ 21 กลุ่ ม ตั ว อย่ าง คื อ กลุ่ ม นั ก เรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 6 ที่ ส นใจการออกแบบ แฟชั่น และนิสิตภาควิชาออกแบบแฟชั่น ชั้นปีที่ 1 จานวน 140 คน โดยผู้วิจัยใช้การ เลื อ กสุ่ ม กลุ่ ม ตั ว อย่ า งแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ซึ่ งเป็ น การคั ด เลื อ ก ร่วมกันกับผู้เชี่ยวชาญด้านจิตวิทยาและผู้เชี่ยวชาญด้านแฟชั่น การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้สร้างเครื่องมือ ในการวิจัยดังนี้ 1. แบบสังเกตการณ์ เพื่อสังเกตและวิเคราะห์ระบบการเรียนการสอนศิลปะ แฟชั่นในปัจจุบัน ไปจนถึงพฤติกรรมภายนอกสถานศึกษาของนักเรียนแฟชั่ น โดยใช้ วิธีการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม (Participant Observation) 2. แบบสั ม ภาษณ์ เชิ ง ลึ ก (In-depth Interview) เป็ น การสั ม ภาษณ์ ผู้เชี่ยวชาญในด้านต่างๆ ในประเด็นที่ต้องการศึกษา และตัวแทนผู้เรียน ในประเด็น ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอนปัจจุบัน โดยใช้การสัมภาษณ์แบบปลายเปิด (Open Ended Question) 3. แบบร่างแบบทดสอบวัดบุคลิกภาพทาง Enneagram เป็นแบบทดสอบ สาหรับวัดบุคลิกภาพ สาหรับใช้คัดเลือกกลุ่มเป้าหมายย่อย นิสิต นักศึกษาที่กาลัง ศึกษาด้านศิลปะแฟชั่นในปัจจุบัน จานวน 9 ท่าน 4. แบบสอบถามความคิดเห็นของกลุ่มเป้าหมาย และผู้เข้าชมด้านความพึง พอใจต่อรูปแบบของกิจกรรมและสื่อมัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์ 5. แบบประเมิน (Assessment) เป็นแบบประเมินในด้านต่างๆที่เกี่ยวข้อง กั บ งานวิ จั ย โดยการใช้ ข้ อ ค าถามปลายเปิ ด ซึ่ งเป็ น การประเมิ น เกี่ ย วกั บ ทฤษฎี 32

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


จิตวิทยาแฟชั่น, กิจกรรมและสื่อมัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์ รวมถึงข้อเสนอแนะอื่นที่ เกี่ยวข้อง การจัดเก็บรวบรวมข้อมูล ระยะที่ 1 ก่ อ นการผลิ ต สื่ อ ผู้ วิ จั ย ได้ เริ่ ม ท าการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล จาก เอกสาร วรรณกรรม งานวิ จั ย ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ ทฤษฏี จิ ต วิ ท ยาแฟชั่ น และการลง ภาคสนาม โดยผลจากการเก็บรวบรวมข้อมูลในระยะ 1 จะถูกนามาวิเคราะห์ด้วย วิธีการผสมผสานระหว่างการค้นคว้าและพัฒ นา (Research and Development) และการท าแผนผังกลุ่ ม เชื่ อมโยง (Affinity Diagram) เพื่ อหาความหมาย รูป แบบ กระบวนการของทฤษฎีจิตวิทยาแฟชั่น และข้อจากัดในการออกแบบสื่อมัลติมีเดียเชิง ปฏิสัมพันธ์เบื้องต้น (Design Concept) ระยะที่ 2 เป็ น การเก็ บ ข้ อ มู ล หลั งจากได้ ท ฤษฎี จิ ต วิ ท ยาแฟชั่ น เป็ น ที่ เรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยได้เก็บข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับด้านปฎิสัมพันธ์ ซึ่งเป็นการรวบรวม ข้อมูลเพิ่มเติมจากเอกสาร วรรณกรรมและสื่ออื่นๆที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการสัมภาษณ์ ผู้เชี่ยวชาญ ผลจากการเก็บรวบรวมข้อมูลในระยะที่ 2 จะถูกนามาใช้ในการออกแบบ สื่อมัลติมีเดียเชิงปฏิสัมพันธ์ที่จะถูกใช้ในพื้นที่จากัด การวิเคราะห์ข้อมูล / ผลการศึกษา ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยได้แบ่งหัวข้อการศึกษาออกเป็น 3 หัวข้อ ดังนี้ 1. ด้ านการศึ ก ษา ผู้ วิ จั ย ได้ ท าการศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ หลั ก สู ต รการสอนของ มหาวิทยาลัยจานวน 6 มหาวิทยาลัย ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อค้นหาความ แตกต่าง และรายวิชาที่เป็นแกนหลักสาคัญสาหรับการออกแบบแฟชั่น พร้อมกับหยิบ ยกทักษะศตวรรษที่ 21 มาตั้งต้นเป็ นหัวข้อในการจาแนกรายวิชาต่าง ๆ ออกเป็ น หมวดหมู่ เพื่อให้ทราบถึงรายวิชาที่เหมาะสมในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ทั ก ษะ การเรี ย นรู้ ทั้ งทางกายภาพ และการเรี ย นรู้ ผ่ านสื่ อ ดิ จิตั ล อีกด้วย EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

33


ตาราง 1 รายวิชาการออกแบบแฟชั่น การเรียนรู้ และทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะ / การเรียนรู้ การเรียนรู้และ นวัตกรรม สารสนเทศ

การเรียนรู้ทางกายภาพ Texture / Styling / Perfumeries Photo Shooting /

การใช้ชีวิตและอาชีพ พื้นฐาน

Fabric / Sewing / Embroidery Colors / Tools

การเรียนรู้ผ่านสื่อดิจิตัล Innovative Fashion Lighting / News and Fashion Image / Music / Cinema / Magazine Brand Movement / Celebrity Colors / Fashion History /

2. ด้านจิตวิทยา ทฤษฎีนพลักษณ์ทั้ง 9 หรือ Enneagram (เอนเนียแกรม) เป็ น ทฤษฎี ที่ ผู้ วิ จั ย ใช้ ศึ ก ษาในงานวิจั ย ครั้ งนี้ เอนเนี ย แกรมมี ร ากฐานการจ าแนก ประเภทบุ ค คลจากการพื้ น ฐานชี วิตในวัย เด็ก ด้ว ยหลัก การและกระบวนการของ เอนเนี ย แกรมที่ เชื่ อ ว่ า การเลี้ ย งดู ในวัย เด็ ก จะเป็ น พื้ น ฐานที่ ฝั งรากลึ ก ในทุ ก การ ตัดสินใจ การจาแนกประเภทบุคคลของทฤษฎีนี้จึงสามารถแยกประเภทของบุคคล ออกได้มากถึง 9 ประเภท ที่มีหลักการ ความคิด และการตัดสินใจที่แตกต่างกัน ผู้ที่ ศึกษาวิถีของเอนเนียแกรม จะสามารถเข้าใจกระบวนการทางความคิด การตัดสินใจ และวิธีการแสดงออกของบุคคลแต่ละประเภทได้ ทาให้ในปัจจุบัน ผู้วิจัยจึงนาเอา ประเภทของเอนเนียแกรมทั้ง 9 ลักษณ์ มาศึกษาควบคู่กับวิชาชีพต่าง ๆ ที่มีอยู่ใน อุ ต สาหกรรมแฟชั่ น เพื่ อ ใช้ ในการเปรีย บเที ย บลั ก ษณะนิ สั ย และลั ก ษณะงานที่ เหมาะสมกับประเภทของบุคคลนั้น ๆ 3. ด้านปฏิสัมพันธ์ หลังจากที่ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับทักษะศตวรรษที่ 21 แล้ว ผู้วิจัยเล็งเห็นว่าคาว่าปฏิสัมพันธ์ในยุคใหม่ไม่ได้หมายความว่าจะต้องเป็น เพี ยงสื่อ ในเชิงดิจิต อลเท่านั้น สามารถเป็ นสิ่งของหรือกิจกรรมใด ๆที่ส ร้างให้ เกิ ด ปฏิสัมพันธ์กับผู้เล่นได้ การศึกษาสื่อมัลติมีเดียเชิงปฏิสมั พันธ์ภายในงานวิจัยชิ้นนี้ จึงมี จุดมุ่งหมายในการสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของมนุษย์ เพื่อ สร้างให้เกิดการเรียนรู้ทั้งสองรูปแบบ และเข้าใจถึงระบบความรู้สึกของบุคคลเหล่านั้น 34

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ผู้วิจัยได้ทาการจาแนกรายวิชาและกิจกรรมที่ ได้จากการสรุปผลด้านการศึกษามา จาแนกเป็นกลุ่มของ Sense ต่าง ๆ ดังตารางต่อไปนี้ ตาราง 2 ตารางรายวิชาและกิจกรรมที่ถูกจัดหมวดหมู่ลงตามประสาทสัมผัสทั้ง 5 ลาดับ / Sense 1 2 3 4 5 6 7

รูป

กลิ่น

เสียง

สัมผัส

History Lighting News and image Character Brands Cinema / Movie Colors

Perfumeries

Music

Texture Fabric Sewing

รส

Embroidery Tools Position

จากตารางดังกล่าว ผู้วิจัยเล็งเห็นว่าSense ในเรื่องของรส เป็นสิ่งที่ค่อนข้าง ไกลตัวจากการเรียนการสอนในระบบแฟชั่น ผู้วิจัยจึงทาตัดกลุ่มนี้ออกและคงไว้ซึ่ง 4 ความรู้สึกหลักในการออกแบบมัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์ที่ตอบสนองกับบุคคลผ่าน กระบวนการของความรู้ สึ ก เหล่ า นี้ ในอนาคตตามจุ ด ประสงค์ ห ลั ก ข้ อ ที่ ส องของ งานวิจัยนี้

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

35


สรุปผลการวิจัย / อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ งานวิจัยนี้พบว่าการศึกษาจิตวิทยาบุคลิกภาพเพื่อพัฒนาประเภทการรับรู้ ของจิตวิทยาแฟชั่น ตามจุดประสงค์ข้อที่ 1 สามารถนามาสรุปเป็นทฤษฎีจิตวิทยา แฟชั่น ได้ดังนี้ ทฤษฎี จิ ต วิ ท ยาแฟชั่ น หมายถึ ง ทฤษฎี ที่ ว่ า ด้ ว ยการค้ น หาตั ว ตนและ กระบวนการการรับรู้ของบุคคลนั้น ๆ โดยมีการพั ฒ นาองค์ประกอบของทฤษฎีให้ เหมาะกับบุคลากรในอุตสาหกรรมแฟชั่นโดยเฉพาะ และมีกระบวนการค้นหาตาม หลักการทางจิตวิทยา ผสมผสานเข้ากับสื่อสารสนเทศสมัยใหม่ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ตามหลักการของทักษะศตวรรษที่ 21 ทฤษฎีจิตวิทยาแฟชั่นจะสมบูรณ์ขึ้นได้ ต้องมี องค์ประกอบสาคัญทั้งหมด 3 องค์ประกอบ 1. ชุดคาถาม โดยการนาเอารายวิชาออกแบบแฟชั่นที่ถูกจาแนกตามหลัก ทักษะศตวรรษที่ 21 และหลักการสร้างสื่อปฏิสัมพันธ์ มาสร้างเป็นชุดคาถามจานวน 15 ข้อ โดยแบ่งออกเป็นชุดคาถามที่เกี่ยวข้องกับแฟชั่น 11 ข้อ และคาถามที่เกี่ยวกับ การใช้ชีวิตอีก 4 ข้อ และชุดคาตอบเพื่อใช้สาหรับค้นหาบุคลิกภาพของผู้เรียน โดย สามารถแบ่ งประเภทของค าตอบได้ ต ามประเภทการตั ด สิ น ใจ 2 ประเภท ได้ แ ก่ คาตอบที่แยกประเภทโดยบุคลิกภาพต้องมี 9 ตัวเลือก และ คาตอบที่แยกประเภท โดยศูนย์การตัดสินใจต้องมี 3 ตัวเลือก ชุดคาถาม-คาตอบของทฤษฎีจิตวิทยาแฟชั่น มี ดังนี้ 1.1 ข้อใดคือสิ่งที่คุณคิดว่าเป็นตัวตนของคุณมากที่สุด คาตอบ คือ เจ้าระเบียบ / ผู้ให้ / ผู้โดดเด่น / ศิลปิน / นักค้นคว้า / นัก วางแผน / นักรักสนุก / ผู้นา / นักประนีประนอม 1.2 เมื่อคุณต้องอยู่ร่วมกับผู้คนมากมายในที่หนึ่ง คุณจะยืนอยู่ที่ใด คาตอบ คือ ยืนในที่ที่เขาสั่งให้ยืนอยู่ / ยืนเป็นคนสุดท้าย คนอื่นยืนเสร็จ แล้วค่อยหาที่ยืนของตัวเอง / ยืนในที่ที่ทุกคนต้องมองเห็น / ยืนอยู่วงนอกจากคนอื่น ๆ / หลบอยู่มุมใดมุมหนึ่ง / ยืนในพื้นที่ที่ตนเองรู้สึกปลอดภัย / ยืนคุยกับคนอื่น / ยืนอยู่ ข้างหน้าสุด / ยืนใกล้กับคนที่ดูมั่นใจ 1.3 เมื่อคุณเข้าไปในสถานที่หนึ่ง สิ่งแรกที่คุณจะทา คืออะไร 36

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


คาตอบ คือ มองหาคาอธิบายสถานที่ / มองดูคนอื่นว่าทาอะไร / เดินหา พื้นที่ที่ตนเองเด่น / ยืนรอสิ่งที่กาลังจะเกิดขึ้ น / ไม่ยุ่งกับใครเลย / มองรอบ ๆ ห้อง ก่อน / เริ่มทากิจกรรมเลย อะไรก็ได้แต่จะเริ่มทาก่อนคนอื่นทา / มองกลับไปกลับมา มองหาคนที่จะเริ่มทากิจกรรมก่อน 1.4 อุปกรณ์ด้านแฟชั่นใดที่บ่งบอกความเป็นตัวเอง คาตอบ คือ ดินสอ / คัตเตอร์ / ดินสอสี / ที่ถัก Knitting / หมอนปักเข็ม / กระดาษ / โปรแกรมPhotoshop / กรรไกรตัดผ้า / ที่เลาะด้าย 1.5 ผ้าชนิดใดที่บ่งบอกความเป็นตัวคุณมากที่สุด คาตอบ คือ ผ้าตาข่าย / ผ้าวูล / ผ้าวอร์ม / ผ้าซาติน / ผ้าร่ม / ผ้าวาเลน ติโน่ / ผ้าเลื่อม / หนังแท้ / ผ้าฝ้าย 1.6 สีใดบ่งบอกความเป็นตัวคุณได้มากที่สุด คาตอบ คือ สีแดงหม่น / สีเทา / สีเขียวนีออน / สีน้าเงินสด / สีน้าเงิน เข้มทะเลลึก / สีชมพูอ่อน / สีบานเย็น / สีแดงสด / สีส้ม 1.7 เมื่อต้องจินตนาการว่าคุณอยู่ท่ามกลางแสงไฟ คุณอยากอยู่ท่ามกลาง แสงแบบไหน คาตอบ คือ แสงอะไรก็ได้แต่ต้องมีการเปิดปิดที่ เป็นระบบ / แสงที่มีสีสัน เข้มข้น และหลากหลาย / แสงนวล ไม่สว่างมาก / แสงสว่างชัดเจน / แสงสีเหลืองที่ รู้สึกอบอุ่น / แสงสีขาวหม่น เหมือนไฟที่ส่งในพายุ / แสงอะไรก็ได้ / แสงที่มีสีแต่เป็น สีโทนอ่อน / แสงเทียน 1.8 เมื่อนึกถึงเพลง เพลงแบบไหนที่บ่งบอกถึงตัวคุณได้ คาตอบ คือ เพลงป๊อบ สบายหู / เพลงรักที่มีความสุข / เพลงที่มีเนื้อหา เจ็บปวดแต่ก็สวยงาม / เพลงแนว Alternative Rock / เพลงดังที่ถูกนามาดัดแปลง ใหม่ / เพลงเก่า / เพลงเต้น หรือเพลงอะไรก็ได้ที่ทาให้สนุก และคึกคักตลอดเวลา / เพลงแนว Electronics 1.9 กลิ่นน้าหอมใดที่บ่งบอกถึกความเป็นตัวคุณมากที่สุด คาตอบ คือ กลิ่นแนว Sport / กลิ่นที่ดูสดใส เหมือนดอกไม้ / กลิ่นแนว เครื่องเทศ กายาน / กลิ่นที่ดูลึกลับ น่าค้นหา / กลิ่นที่ดู Sexy / กลิ่นที่ให้ความรู้สึก EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

37


สดชื่น เหมือนอยู่ทะเล / กลิ่นของต้นไม้ ฝน / กลิ่นบุหรี่ / กลิ่นของอาหาร เนย หรือ กาแฟ 1.10 ภาพกราฟฟิคแบบใดที่บ่งบอกความเป็นตัวคุณ คาตอบ คือ

ภาพที่ 2 กราฟฟิคตัวเลือก 1.11 สิ่งใด สาคัญกับคุณมากที่สุด คาตอบ คือ ทุกอย่างเป็นไปตามครรลองที่ควรจะเป็น / ได้เป็นผู้ให้ ได้ บริการผู้อื่น / โดดเด่น ประสบความสาเร็จในชีวิต ได้ยืนอยู่จุดที่ทุกคนใฝ่ฝัน / การ ได้รับการยอมรับจากสังคม มีตัวตนในสั งคม มีคนชื่นชม / การได้พักอยู่กับตัวเอง เงียบๆคนเดียว / เหตุการณ์ทุกอย่างเป็นไปตามแผนที่วางไว้ / ได้เฮอาปาร์ตี้ สังสรรค์ สนุกสนาน / ได้เป็นผู้นา สามารถจัดการกับสิ่งแวดล้อมรอบตัวให้เป็นไปอย่างใจ / ความสงบ ไม่มีการทะเลาะเบาะแว้ง 1.12 ข้อใดตรงกับนิสัยของคุณมากที่สุด คาตอบ คือ มีเหตุผล มีความเป็นระเบียบ มาตรฐานสูง / อบอุ่น ใจกว้าง ชอบให้ความรักกับผู้อื่น / รักการแข่งขัน ทะเยอทะยาน มุ่งเน้นความสาเร็จ / อารมณ์ 38

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


อ่อนไหว ช่างจินตนาการ / ต้องการความเป็นส่วนตัวสูง / ขี้กังวล ไม่ชอบสิ่งที่คาดเดา ไม่ได้ ทาอะไรต้องมีแผนการ / ร่าเริง รักสนุก กระตือรือร้น ชอบสังสรรค์ / เป็นผู้นา กล้าหาญ เด็ดเดี่ยว รักษาสิทธิ์ / เข้ากันได้กับทุกคน สบาย เรียบง่าย ใจเย็น 1.13 เวลาคนอื่นพูดถึงคุณในทางที่ไม่ดีจะพูดว่าอย่างไร คาตอบ คือ ชอบจับผิด หงุดหงิดง่าย / ชอบโน้มน้าวและเรียกร้องให้คน อื่นทาตามความต้องการของตน / เอาเปรียบ เห็นแก่ประโยชน์ของตัวเอง / อารมณ์ เปลี่ยนแปลงง่าย คิดมาก / ชอบปลีกวิเวกจากคนอื่น เข้าถึงยาก / ขี้กลัว มองโลกใน แง่ร้าย / ชอบหนีปัญหา หนีความทุกข์ / ชอบใช้อานาจบังคับ / ไม่สามารถตัดสินใจ ได้ด้วยตัวเอง ต้องพึ่งพิงคนอื่น 1.14 ในวัยเด็กคุณเป็นคนอย่างไร คาตอบ คือ เรียบร้อย จริงจัง / อยากเป็นที่รักและชื่นชม เอาใจพ่อแม่ / กล้าแสดงออก ชอบแข่งขัน / เป็นตัวของตัวเอง ชอบที่จะแตกต่าง / เก็บตัว พูดน้อย / ระมัดระวัง ขี้สงสัย / ชอบเล่น ชอบมีอิสระ / พึ่งตัวเอง ไม่เกรงใคร / สงบปากสงบ คา 1.15 ใน 3 สิ่งนี้ สิ่งใดสาคัญกับคุณมากที่สุด คาตอบ คือ สมอง / หัวใจ / ร่างกาย 2. สื่ อ เชิ งปฏิ สั ม พั น ธ์ ที่ ถู ก ออกแบบมาเพื่ อ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ ชุ ด ค าถามคาตอบของทฤษฎีจิตวิทยาแฟชั่น เนื่องจากการค้นหาตัวตนที่ถูกต้องนั้น ควรเกิดขึ้น จากการกระทาโดยผ่านการตัดสินในระยะเวลาอันสั้น เพื่ อให้ได้ผลลัพธ์ที่ตรงตาม ความคิดของผู้กระทามากที่สุด สื่อเชิงปฏิสัมพันธ์จึงกลายเป็นองค์ประกอบสาคัญ อย่างมากในการทาให้ทฤษฎีจิตวิทยาแฟชั่นสมบูรณ์แบบมากขึ้น ซึ่งผู้วิจัยจะอธิบาย เพิ่มเติมในจุดประสงค์ข้อที่ 2 3. ชุดผลลัพธ์ของทฤษฎีจิตวิทยาแฟชั่น ทั้งหมด 9 บุคลิกภาพตามหลักของ ทฤษฎีเอนเนียแกรม เพื่อเข้าใจถึงบุคลิกภาพและแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างถ่องแท้ มากที่สุด อีกทั้งกลุ่มเป้าหมายของงานวิจัยเป็นกลุ่มคนในศตวรรษที่ 21 ซึ่งต้องการ ความแตกต่ า งอย่ า งชั ด เจน การแบ่ งชุ ด ผลลั พ ธ์ อ อกเป็ น 9 บุ ค ลิ ก ภาพจะท าให้ กลุ่มเป้าหมายพึงพอใจ มากกว่ารวมกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเป็นประเภทเดียวกัน EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

39


2.1 ลั ก ษณ์ 1 Quintessentially มั ก เติ บ โตด้ วยแรงกดดั น จากพ่ อ แม่ เพื่อให้ทาบางอย่างที่ดีหรือที่ถูกต้องเสมอ การกดดันทาให้คนลักษณ์ 1 กระตุ้นและ สร้างกฎระเบียบสาหรับตัวเอง เพื่อป้องกันไม่ให้คนอื่น ๆ นั้นมองว่าตัวเองทาผิด คน ลักษณ์นี้จึงเป็นคนเจ้าระเบียบ เข้มงวด มักทาอะไรเป็นแบบแผน แต่ในขณะเดียวกันก็ มีความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์และเข้าใจปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างดี คน ลั ก ษณ์ นี้ เ หมาะสมอย่ า งมากกั บ การท างานในอาชี พ จ าพวก Fashion Editor, Curator และ Fashion Critics เนื่องจากเป็นวิชาชีพที่ต้องรอบรู้และแม่นยาในข้อมูล ของตนเองเป็นอย่างมาก เหมาะสมมากกับคนลัก ษณ์ นี้ที่เข้มงวดกับสิ่งที่ตนเองทา เพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งที่ดีที่สุด 2.2 ลักษณ์ 2 Fashion-ally เติบโตในครอบครัวที่พ่อแม่อาจยุ่งมากจนไม่ มีเวลา ไม่มีใครสนองความต้องการ ทาให้เด็กในลักษณ์นี้มักคิดว่าสิ่งที่ตนต้องการอาจ มากเกินไป จึงพัฒนาการกระทาทางอ้อมบางอย่างขึ้ นมาทดแทนความรู้สึกขาดหาย และเริ่มสนับสนุนคนอื่นก่อน คนลักษณ์นี้มักเป็นคนเข้ากับคนง่าย กระฉับกระเฉง พร้อมช่วยเหลือคนอื่นเสมอ ทะเยอทะยานในการทาสิ่งต่าง ๆ ให้สาเร็จเพื่อแสดงถึง ศักยภาพและบอกตัวเองและคนอื่น ว่าฉันดีพอที่จะได้รับสิ่งเหล่านั้นแล้ว เหมาะสม อย่ างมากในการประกอบอาชี พ จ าพวก Fashion Consultant, Fashion Activist และ Sustainable Designer เพราะเป็ น อาชี พ ที่ ต้ อ งเจอผู้ ค นและให้ ค าปรึ ก ษา ในขณะที่คาปรึกษาเหล่านั้นจะส่งผลให้เขามีพื้นที่ในสังคมมากขึ้น 2.3 ลั ก ษณ์ 3 Vaudevillian เติ บ โตมาในครอบครั ว ที่ พ่ อ แม่ ที่ ค อยให้ รางวัลเมื่อเขาทาอะไรสาเร็จ หรืออาจเป็นพ่อแม่ที่ไม่สนใจเลย จนเด็กลักษณ์สามต้อง เรียกร้องความสนใจเป็นอย่างมาก เพื่อให้ได้รับความรักสามเลยพัฒนาการแก้ปัญหา ของตัวเองด้วยการสังเกต และสนใจว่าคนอื่นต้องการอะไร แล้วลงมือทาให้ได้ตาม แบบนั้น คนลักษณ์นี้มีลักษณะเป็นคนสนุกสนาน ชอบความบันเทิง ทาอะไรต้องทาให้ เป็นที่โดดเด่น เพื่อให้เขาเป็นที่รักและสนใจเสมอๆ การรู้สึกได้รับความรักอาจเกิดจาก วัตถุด้วยเช่นเดียวกัน เหมาะอย่างมากกับการประกอบอาชีพประเภท Fast Fashion Designer, Fashion Marketing, Fashion influencer 40

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


2.4 ลักษณ์ 4 Maestro เติบโตในครอบครัวที่ ขาดความรัก สี่มักเชื่อว่า ตัวเองเป็นต้นเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นจึงพยายามจดจ่อและค้นหาถึงต้นตอ จมตัวเอง อยู่กับความเศร้า ทาให้สี่มักค้นหาความสวยงามจากความเศร้าอยู่เสมอ คนลักษณ์นี้มี ลักษณะเป็นคน ละเอียดอ่อน สามารถรับรู้ถึงความรู้สึกของคนอื่ นได้ดี ชอบอยู่กับสิ่ง ที่สงบและจรรโลงใจเพื่อไม่ให้ตัวเองวอกแวก จึงเหมาะอย่างมากกับการประกอบ อาชีพประเภท Textile Designer, Marketing Strategy และ Fashion illustrator เนื่องจากเป็นกลุ่มอาชีพที่ต้องใช้อารมณ์และการรับรู้ความรู้สึกผู้อื่น ในการตัดสินใจ ทางานค่อนข้างสูง เพื่อเป็นหนทางในการปลดปล่อยความคิดและอารมณ์ของตนเอง 2.5 ลักษณ์ 5 Fashion-gazer เติบโตมาในครอบครัวที่ต้องใช้ชีวิตอยู่กับ สิ่งที่ตนเองมีอยู่แล้วเพื่อให้อยู่ได้อย่างพอเพียง ห้าเรียนรู้ว่าเขาไม่สามารถได้อะไรมา ได้ด้วยการใช้กาลังหรือเรียกร้องความสนใจ เพื่อ ปกป้องความรู้สึกของตนเอง ห้าจึง ยอมแพ้ในการแสวงหาความสัมพันธ์และหันจดจ่อกับสิ่งที่สนใจแทน คนลักษณ์นี้มักมี ลักษณะเก็บตัว เป็นนักสะสมข้อมูล มักเป็นคนมีความรู้และประสบการณ์สูงในเรื่องที่ ตนเองสนใจ การได้อยู่กับตัวเองเป็นทั้งการสะสมทรัพยากรและการบาบัดความรู้สึก ของตัวเองไปด้วยกันสาหรับห้า ห้าจึงเหมาะที่จะประกอบอาชีพ Fashion Designer, Researcher หรือ Fashion writer เนื่องจากเป็นกลุ่มอาชีพที่ต้องใช้การค้นคว้าหา ความรู้อย่างเจาะลึก มีพื้นฐานของข้อมูลที่เต็มเปี่ยม และมีความจดจ่อกับสิ่งที่ทาเป็น อย่างมาก 2.6 ลักษณ์ 6 Fashion Framer เติบโตมาในครอบครัวที่ถูกทาให้รู้สึกว่า โลกนี้เป็นสถานที่อันตราย หกจึงรับมือด้วยการพัฒนาตัวเองเป็นผู้เชี่ยวชาญในการ เห็น อันตรายหรือภั ยคุกคาม คอยเสาะแสวงหาสิ่งที่ แปลกปลอมไปจากปกติ มั กมี ลักษณะเป็นคนช้า ค่อยๆทางานอย่างมั่นคง ไม่ค่อยวางใจคนอื่น ขี้สงสัยตลอดเวลา และเป็นคนขี้กังวลในทุกเรื่อง ทาให้หกกลายเป็นนักวางแผนในทุกการกระทาของ ตัวเอง เพื่อให้ตนเองรู้สึกถึงความปลอดภัยให้ได้มากที่สุด หกจึงเหมาะอย่างมากใน การประกอบอาชี พ ประเภท Brand Strategy, Planner, Quality Control หรื อ Fashion Publication เพื่อแสดงศัก ยภาพการค้นหาสิ่ งแปลกปลอม และความไม่ ถูกต้อง หกจะสามารถทาให้อาชีพประเภทเหล่านี้สาเร็จได้ด้วยดี EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

41


2.7 ลั ก ษณ์ 7 Fashion Fanatic เติ บ โตมาในครอบครัวที่ มี สุข สบายไร้ กังวล แต่มักมีเหตุการณ์ พลิกผันที่ท าให้เจ็ดรู้สึกว่าตนเองยังไม่พร้อมรับ มือ จึงมั ก แก้ ปั ญ หาด้ ว ยการหนี ค วามจริ ง และเบนความสนใจไปที่ สิ่ งดี ดี แ ทน โดยเฉพาะ จินตนาการที่สนุกสนาน มักมีลักษณะเป็นคนกระตือรือร้น คิดบวก มีความสามารถใน การเห็นความคิดที่น่าสนใจในทุกหนแห่ง ทาให้เจ็ดเหมาะสมอย่างมากในการประกอบ อาชี พ ที่ ต้ อ งท าอะไรหลาย ๆ อย่ า งพร้ อ มกั น หรื อ การค้ น คว้ า หาความรู้ แ บบที่ ผสมผสานกันเยอะๆ เพื่อให้ตนเองรู้สึกตื่นตาตื่นใจ และแปลกใหม่ตลอดเวลา อาชีพที่ เหมาะสมกับเจ็ดได้แก่ Stylist, Trend Forecaster และ Producer 2.8 ลั กษณ์ 8 Demigod เติบ โตมาในสภาพแวดล้อ มที่มีก ารดิ้นรนต่อ สู้ เยอะ ทาให้เขาโตเกินวัยเพื่อความอยู่รอด และปฏิเสธการที่เป็นผู้แพ้ แปดพยายาม แก้ปัญหาด้วยการทาตัวมีอานาจเกินจริงเพื่อให้สามารถควบคุมทุกอย่างได้ด้วยตัวเอง คนลักษณ์นี้มักมีลักษณะเป็นคนพลังเยอะ เข้มแข็ง มีอานาจ ไร้ความกลั ว ห่วงเรื่อง ยุติธรรม ชอบการควบคุมให้ทุกอย่างอยู่ภายใต้สิ่งที่ตนเองคิดและมักเสาะแสวงหา ความรู้อย่างบ้าคลั่งเพื่อพิสูจน์ว่าตนเองคือผู้ที่รอบรู้มากกว่าคนอื่น ด้วยศักยภาพแบบ นี้ แปดจึงเป็นลักษณ์ที่เหมาะสมกับการประกอบอาชีพประเภท Fashion Director, Art Director และ Copyrights Lawyer 2.9 ลักษณ์ 9 Fashion Serenity เติบโตในครอบครัวที่มักจะไม่มีใครฟัง ความคิดเห็นของเค้า มักเป็นลูกคนกลาง หรือมีพี่น้องหลายคน ทาให้เขาเลือกที่จะ ปรับตัวเป็นคนสบายๆและเข้ากับคนอื่นได้ง่าย มักช่วยแก้ปัญหาในสิ่งต่าง ๆ เพราะ เล็งเห็นว่าปัญหาทาให้ไ ม่ได้รับความรัก คนลักษณ์นี้จึงมักมีลักษณะนิ่ง ทาตัวไม่โดด เด่น มีจิตใจโอบอ้อมอารี พร้อมที่จะให้คาปรึกษาและ มักเป็นผู้ที่คล้อยตามคนอื่น เสมอๆในสังคม ด้วยศักยภาพในการต่อรองเพื่อให้ทุกคนปรองดองกันของเก้า จึง เหมาะกับการทางานเป็นคนกลาง การต้องติดต่อและประสานงานกับฝ่ายต่าง ๆ เพื่อ หาบทสรุ ป ที่ ง่ า ย และไม่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ปั ญ หา ซึ่ ง อาชี พ ในกลุ่ ม นี้ ไ ด้ แ ก่ Fashion Merchandiser, Retails Buyers และ Organizer

42

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


จุดประสงค์ข้อที่ 2 ระบุไว้ว่า เพื่อนากระบวนการทางจิตวิท ยาแฟชั่นมา พัฒนาผ่านสื่อมัลติมีเดียเชิงปฏิสัมพันธ์ สามารถสรุปเป็นแนวทางการออกแบบได้ดังนี้ 1. เมื่อผู้วิจัยได้ชุดคาถาม-คาตอบของทฤษฎีจิตวิทยาแฟชั่นเป็นที่เรียบร้อย แล้ ว ผู้ วิ จั ย จึ งท าการจั ด กลุ่ ม ค าถามเพื่ อ ใช้ ในการคิ ด หาแนวทางการออกแบบ (Concept) เพื่อ เปลี่ยนชุดคาถาม-ค าตอบจากการถามตอบธรรมดา ให้ กลายเป็ น Interactive Exhibition เพื่ อให้ ผู้เล่นมีส่วนร่วม รวมถึงผู้วิจัยสามารถมองเห็นการ กระทา และการตัดสินใจของผู้เล่นต่าง ๆ ได้ โดยผู้วิจัยได้กาหนดการออกแบบภายใต้ Concept ที่ชื่อว่า CYCLES: วงจรชีวิต เพื่อแสดงให้เห็นถึงวงจนการเรียนรู้ของวงการ แฟชั่น ผ่านสื่อมัลติมีเดีย และสื่อปฏิสัมพันธ์อื่น ๆ โดยมีรูปแบบดังนี้

ภาพที่ 3 รูปแรงบันดาลใจของงาน CYCLES: วงจรชี วิ ต เล่ าเรื่อ งราวเกี่ ย วกั บ วงจรชี วิต ของวงการแฟชั่ น ใน รูปแบบของงานศิลปะเชิง Abstract การกล่าวถึงรูปแบบของคาถามและคาตอบที่ ไม่ได้ถูกกาหนดรูปแบบให้ตายตัวและไม่ได้สร้างให้เป็นการถามตอบแบบกดเลือก เท่านั้น แต่มีการจัดวางสิ่งของและสื่อต่าง ๆ ที่เป็นตัวแทนของคาตอบ ในสไตล์ที่คุม โทนสี และมีความ Minimal เพื่อหลีกเลี่ยงความสวยงามที่อาจทาให้ผู้เล่นเกิดความ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

43


ลาเอียงในการเลือกสิ่งของต่าง ๆ ได้ และมีการเลือกใช้คาศัพท์ในชุดผลลัพธ์ในเชิง นามแฝง เพื่อสร้างความสนุกสนาน และน่าค้นหา ประโยชน์ : เป็นการสร้างรูปแบบคาถามและคาตอบที่เป็นกลางด้วยสไตล์ แบบ Monotone และ Minimal สร้างความBias ในการเลือกได้ยาก โทษ : ด้วยสไตล์ที่เฉพาะเจาะจง และเข้าใจยาก ต้องมีการออกแบบวิธีการ เล่นที่ดีจึงจะสามารถดึงดูดกลุ่มเป้าหมายได้ 2. กระบวนการสร้างสื่อมัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ์ในงานวิจัยนี้มีปัจจัยหลัก อยู่ อย่างตามหัวข้อดังนี้ 2.1 สถานที่และกิจกรรม เพื่อการสร้างสื่อมัลติมีเดียที่ดี ผู้วิจัยจึง เลือกที่จะทดลองจัดงานวิจัยชิ้นนี้ ในห้องที่มีลักษณะทางเข้าเดียว เพื่อให้ผู้เล่นไม่รู้สึก วอกแวก และไม่มีสิ่งรบกวนจากกิจกรรมภายนอกที่เกิดขึ้น และกาแพงทั้ง 4 ด้านเป็น กาแพงแบบทึบเพื่อใช้ในการควบคุมแสงได้ดี และเพื่อความคมชัดในการรับชมภาพ ไซส์มาตรฐานที่ผู้วิจัยเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นขนาดพื้ นที่ที่เหมาะสม และสามารถหาได้ ง่ายคือไซส์ 4x4 หรือไซส์ห้องตึกแถวขนาดมาตรฐานในขณะเดียวกันผู้วิจัยได้ทาการ แบ่ ง พื้ น ที่ ภ ายในห้ อ งส าหรั บ ท ากิ จ กรรมต่ า ง ๆ โดยแบ่ ง ออกเป็ น กิ จ กรรมเชิ ง ปฏิสัมพันธ์ทางกายภาพ 2 สถานีอิงจากการรับรู้ด้านสัมผัสและกลิ่น และกิจกรรม มัลติมีเดียเชิงปฏิสัมพันธ์ 2 สถานี อิงจากการรับรู้ด้านรูปและเสียง ดังนี้

ภาพที่ 4 ผังของห้อง Interactive Exhibition 44

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


2.2 จ านวนผู้ เล่ น แต่ ล ะครั้ ง ผู้ เ ล่ น ไม่ ค วรเล่ น เพี ย งคนเดี ย ว เนื่ อ งจาก หลั ก การทางจิ ต วิ ท ยาได้ ร ะบุ ไว้ ว่ า กระบวนการทางจิ ต วิ ท ยาเกิ ด จาก ความรู้สึกและการตัด สินใจ การมีผู้อื่น เข้าร่วมเล่น ด้วยจะท าให้ ปฏิกิ ริยาต่าง ๆ ที่ เกิดขึ้นต่อตัวบุคคลนั้นเป็นกิริยาที่แสดงออกถึงการตัดสินใจต่าง ๆ ต่อสังคม ผู้วิจัยจึง เล็งเห็นว่า ดังนั้นการเล่นในแต่ละรอบด้วยกระบวนการทางจิตวิทยาและขนาดของ สถานที่แล้ว ไม่ควรเกิน 5 คนต่อรอบ 2.3 ลาดับการเล่น สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ช่วงได้แก่ 2.3.1 ช่ ว งก ร อ ก ข้ อ มู ล เพื่ อ เก็ บ ข้ อ มู ล เฉ พ า ะ บุ ค ค ล นั้น ๆ ด้วยการกรอกข้อมูลของผู้เล่นรวมถึงเลือกคาแร็คเตอร์ที่ตนเองชื่นชอบ (คาถาม ข้อที่ 1 จาก15ข้อ) และรับQR Code เพื่อโหลดกระดาษคาตอบออนไลน์สาหรับใช้ใน การตอบคาถามระหว่างร่วมกิจกรรม 2.3.2 ช่ ว งกิ จ กรรม เพื่ อ เก็ บ ข้ อ มู ล การตอบค าถามและเลื อ ก คาตอบของผู้เล่น เพื่อใช้ในการประมวลผลบุคลิกภาพ โดยเริ่มต้นคาถามจากข้อที่ 2 เป็นต้นไป และมีการแบ่งหมวดหมู่ของคาถามตามรูปแบบของกิจกรรม

ภาพที่ 5 ลาดับการเล่นภายใน Interactive Exhibition 2.3.3 ช่วงรับผลลัพธ์ โดยการรับใบกระดาษผลลัพธ์ของแต่ละ บุคลิกภาพ มีการออกแบบให้มีสีสันและวิธีการเขียนที่เหมาะสมกับแต่ละบุคลิกภาพ ตามแบบชุดผลลัพธ์ของทฤษฎีจิตวิทยาโดยมีการแบ่ชุดผลลัพธ์ออกเป็น 2 ชุด คือ

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

45


2.3.3.1 ชุ ด ผลลั พ ธ์ ส าห รั บ ผู้ เ ล่ น ผู้ เ ล่ น จะได้ รั บ คาอธิบายเกี่ยวกับลักษณ์ของตนเองในทฤษฎีแฟชั่น อาชีพที่เหมาะสมกับตนเอง และ ประเภทของกลุ่มลูกค้าที่ตนเองเป็นในวงการแฟชั่น เพื่อให้ผู้เล่นสามารถเข้าใจและ มองเห็ น ภาพร่างคร่าว ๆ ของตนเองในอนาคตได้ ว่าตนเองมี นิสั ยเป็ น เช่ น ไร และ ประกอบอาชี พ ใดถึ งจะประสบความส าเร็ จ ในขณะเดี ย วกั น ผู้ เล่ น จะได้ ท ราบถึ ง รูปแบบพฤติกรรมการซื้อสินค้าของตนเอง อีกด้วย

ภาพที่ 6 ตัวอย่างของลักษณ์ 1 2.3.3.2 ชุ ด ผลลั พ ธ์ ส าหรั บ ผู้ ส อน โดยผู้ ส อนที่ ไ ด้ ทดลองใช้ทฤษฎีจิตวิทยาแฟชั่นนี้กับผู้เรียนของตนเอง จะได้รับผลลัพธ์เกี่ยวกับตัว ผู้เรียนนั้น ๆ โดยแบ่งออกเป็นหัวข้ออย่างละเอียด ไม่ว่าจะเป็น รูปแบบพฤติกรรม, พฤติ ก รรมเมื่ อ เข้ าสั งคม, ศู น ย์ก ารตั ด สิ น ใจ, พื้ น ฐานครอบครั ว , วิ ธีก ารตั ด สิ น ใจ, วิธีการแก้ปั ญ หา, วิธีการป้องกันตัว , สิ่งที่ใส่ใจ, พื้ นฐานอารมณ์ , ลักษณะนิสัยที่ดี , ลักษณะนิสัยที่เสีย , วิธีการพัฒนานิสัย, วิธีการพัฒนาการเรียน และทักษะต่าง ๆ ที่ ควรเสริมเมื่อต้องเข้าเรียนในระบบของทักษะศตวรรษที่ 21 เพื่อให้ผู้สอนสามารถ 46

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


นาไปปรับใช้กับผู้เรียนแต่ละคนได้ และใช้เป็นผลลัพธ์ในการดูวิวัฒ นาการทางการ เรียนการสอนได้ตลอดระยะเวลาที่เข้าเรียน 2.4 การเก็ บ ข้ อ มู ล ในงานวิ จั ย ครั้งนี้ ผู้ วิ จั ย เลื อ กใช้ วิ ธี ก ารเก็ บ ข้อมูลแบบ Web Application โดยมีการออกแบบเว็บไซต์ตอบคาถามในรูปแบบของ กระดาษคาตอบ ซึ่งเป็นกระดาษคาตอบที่ผู้เล่นจะเห็น เพียงแค่คาถาม และจานวน ตัวเลขตามจานวนคาตอบ ซึ่งผู้เล่นมีหน้าที่ในการอ่านคาถามและทากิจกรรมที่อยู่ ตรงหน้ า เพื่ อ รอรั บ ตั ว เลขค าตอบในแต่ ล ะค าถาม และกดตั ว เลขนั้ น ๆใน กระดาษคาตอบออนไลน์ การออกแบบการเก็บข้อมูลแบบนี้เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เล่นมี ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งที่อยู่ตรงหน้าทั้งทางกายภาพและทางดิจิตัล ข้อเสนอแนะ งานวิ จัย นี้ ได้ ข้ อ ค้ น พบทฤษฎี จิ ต วิท ยาแฟชั่ น พร้อ มทั้ งองค์ ค วามรู้ใหม่ ที่ สาคัญคือ กระบวนการที่สามารถพัฒนาให้ผู้เรียนมีการรับรู้ที่ดีมากขึ้นในโลกยุคใหม่ และผู้สอนสามารถเข้าใจถึงระบบการเรียนแบบใหม่ที่เรียนว่า Child Center ได้มาก ขึ้น เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้เรียนเข้าใจในตนเอง และสามารถเข้าใจในสังคมโลกได้มาก ขึ้ น ข้ อ เสนอแนะเพิ่ ม เติ ม ที่ ได้ จ ากการวิ จั ย ครั้งนี้ คื อ ระบบการเรี ย นการสอนใน ประเทศไทยควรพัฒนาให้เหมาะกับทฤษฎีจิตวิทยาด้วย ผู้สอนในอนาคตไม่ใช่เป็น เพียงผู้ให้ความรู้หากแต่ต้องเป็นผู้ที่เข้าใจถึงผู้เรียนแต่ละบุคคลได้มากพอที่จะชี้แนะ แนวทางต่างๆให้กับ ผู้เรียนได้ สาหรับประเด็ นในการวิจัย ครั้งต่อ ไปควรท าวิจัยใน ประเด็นเกี่ยวกับการพัฒนาทฤษฎีจิตวิทยาแฟชั่นนี้ให้มีความเป็นสากล ครอบคลุม รวมถึงสามารถนาไปประยุกต์กับสาขาอื่น ๆ ได้ง่ายขึ้น

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

47


เอกสารอ้างอิง Kleinman, P. 2555. PSYCH101. United States: Adams Media. เชสนัต เบียทริซ. 2556. คู่มือเอนเนียแกรมแนวทาง 27 แบบสู่การรู้จักตัวเอง = The complete enneagram 27 paths to greater self-knowledge Part 1 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ปราณา. เบลลันกา, เ., แบรนด์, ร., วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง, & อธิป จิตตฤกษ์. 2556. ทักษะ แห่งอนาคตใหม่ : การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21 = 21st century skills : rethinking how students learn (พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 2, ฉบั บ ป รั บ ป รุ ง .). กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส. บัตเลอร์, จ. 2558. จิตวิทยา : ความรู้ฉบับพกพา = Psychology : a very short introduction (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส พับลิชชิ่ง เฮ้าส์.

48

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


STEAM EDUCATION กับการพัฒนาทักษะการคิดเชิง สร้างสรรค์ที่บูรณาการเครื่องมือทางปัญญาผ่านคลาว์คอมพิวติ้ง STEAM Education Developing creative thinking skills Integrated Cognitive Tools via Cloud Computing ณัฐวรรณ เฉลิมสุข1 กฤตย์ษุพัช สารนอก2 และกิตติพร ชูเกียรติ3 การจัด การศึ กษาขั้ น พื้ นฐานจะต้ องสอดคล้ องการการเปลี่ ยนแปลงทาง เศรษฐกิ จ สั งคม วั ฒ นธรรม สภาพแวดล้ อ ม และความรู้ ท างวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เพื่อพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพของชาติให้ สามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขั นของประเทศ โดยการยกระดับคุณภาพ การศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากลสอดคล้องกับประเทศ ไทย 4.0 และโลกในศตวรรษที่ 21 และทัดเทียมกับนานาชาติ ผู้เรียนมีศักยภาพใน การแข่งขันขึ้น และดารงชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในประชาคมโลก ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553) การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นโลกดิจิทัล การเชื่อมต่อ และการศึกษา แบบหลากหลายที่มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน 1

อาจารย์ณัฐวรรณ เฉลิมสุข

อาจารย์โรงเรียนสาธิต “พิบูลบาเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา คณะศึกษาสาตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2

อาจารย์กฤตย์ษุพัช สารนอก

อาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาและคอมพิวเตอร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล 3

อาจารย์กิตติพร ชูเกียรติ

อาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยีการถ่ายภาพและภาพยนตร์ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชนมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

49


แบบไม่ มีข้อ จากั ดตามอัธยาศัย การเรียนการสอนจึ งควรต้ องเปลี่ยนแปลงเพื่ อให้ สามารถรองรับปัจจัยที่เปลี่ยนไป เหล่านั้นได้ซึ่งโรงเรียนจะต้องมีการเปลี่ยนแปลง ระบบการศึ ก ษาที่ เน้ น การสอน ของอาจารย์ ให้ เป็ น สร้ า งการเรี ย นรู้ ข องผู้ เรี ย น (Student Learning) นั่นหมายความว่า จะต้องเปลี่ยนบริบทจาก "ผู้ให้" (Provider) เป็นบริบทของ "ผู้สร้าง" นวัตกรรม (Inventor) ด้านการเรียนการสอนเพื่อให้ ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ เน้นการเรียนการสอนที่ทาให้ผู้เรียน “รู้แจ้ง” สร้างปัญญา การจัดการ เรียนการสอนที่ทาให้ผู้เรียนได้เรียนรูส้ ู่การเปลีย่ นแปลง (Transformative Learning) เทคนิคการสอนจะเป็นการสร้างความต้องการอยากเรียนรู้ของผู้เรียน (Engagement) ด้วยการสร้าง ความสงสัย และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกั นและกัน ระหว่าง ครูกับผู้เรียน ผู้ เรี ย นกั บ ผู้ เรี ย น ผู้ เรี ย นกั บ สั งคมภายนอก การจั ด การศึ ก ษาในลั ก ษณะเช่ น นี้ จ าเป็ น ต้ อ งมี สิ่ งอ านวยความสะดวกเพื่ อ สร้ า งความพร้ อ มของ ผู้ เรี ย นก่ อ นเข้ า สู่ บทเรียนในแต่ละครั้ง กระจายสู่ผู้เรียนได้อย่างทั่วถึง ไม่จากัดเวลาและสถานที่ นั่นคือ บทเรียนจะอยู่ ในรูปดิจิทัลเป็นสื่อประสมที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองผ่าน อุ ป กรณ์ สื่ อ สารเคลื่ อ นที่ แ บบต่ า งๆ อย่ า งไร ก็ ต ามสิ่ งที่ ต้ อ งค านึ ง คื อ คุ ณ ภาพ การศึกษาเชิงสมรรถนะ (Qualitative educational quality) ขึ้นอยู่กับเทคนิคการ สอน หรือ ศาสตร์การสอน (Pedagogy) เป็นสาคัญ โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเป็นเครื่องมือ ในช่วงเวลาที่การปฏิรูปการศึกษาของชาติก้าวกระโดดสู่การสร้างนวัตกร ให้กับประเทศไทยตามนโยบายของรัฐบาล เป็นอีกก้าวหนึ่งที่ น่าสนใจและท้าทาย โดยเฉพาะการจัดการศึกษาของโรงเรียนที่มุ่งการจัดการศึกษาทั้งระบบ ประกอบด้วย หลักสูตร รูปแบบวิธีการจัดการเรียนรู้ สิ่งแวดล้อม กิจกรรม ดังวิสัยทัศน์ตามแผน ยุทธศาสตร์ของโรงเรียนสาธิต “พิบูลบาเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา “สร้างนักคิด ผลิต ผู้นา มีคุณธรรม ก้าวล้าวิชาการ” อันเป็นเป้าหมายที่มีกลยุทธ์ชัดเจนและมุ่งมั่นในการ สร้างผู้นา ทั้งทางวิชาการ ทักษะการคิด ที่มีคุณ ธรรมสู่สังคมไทย ด้วยแนวคิดการ จัดการเรียนการสอนที่ทันสมัย มีการจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความต้องการ และ ส่ งเสริ ม ความถนั ด ของผู้ เรี ย น รวมทั้ งเป้ า หมายที่ ชั ด เจนที่ จ ะพั ฒ นาผู้ เรี ย นและ ประชาชนไทย โรงเรียนได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะด้านหลักสูตรและการ 50

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


จัด การเรีย นรู้ที่ ได้ น านวัต กรรมทางการศึ ก ษามาใช้ อ ย่ างมากมาย เช่ น EIS, PBL, STEM และ STEAM อีกทั้งมีการพัฒนารายวิชาเรียนในกลุ่มวิชาเลือกเสรีที่น่าสนใจ และตอบสนองความต้องการ ความถนัดของผู้เรียนอย่างแท้จริง ก้าวเข้าสู่แนวคิดการ จัดการศึกษาให้ผู้เรียนมีความสุข มีความรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ และมีความเป็นผู้นา ปัจจุบันการเรียนการสอนส่วนใหญ่ เป็นการสอนแยกออกเป็นวิชา ซึ่งยัง ขาดการเชื่อมโยงบูรณาการศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน อาจทาให้กระบวนการเรียนรู้ ของผู้ เ รี ย นขาดทั ก ษะกระบวนการคิ ด ดั ง นั้ น โรงเรี ย นสาธิ ต “พิ บู ล บ าเพ็ ญ ” มหาวิทยาลัยบูรพา จึงมีการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน โดยบูรณาการสห วิทยาการ และส่งเสริมกิจกรรมความคิดเชิงสร้างสรรค์ ในรูปแบบกระบวนเรียนรู้ STEAM Education เป็ น การจั ด การศึ ก ษาทุ ก ระดั บ เน้ น ให้ ผู้ เรี ย นเกิ ด การพั ฒ นา ทั ก ษะการคิ ด ขั้ น สู ง เช่ น การคิ ด สร้ า งสรรค์ , การคิ ด แก้ ปั ญ หา, การคิ ด แบบมี วิจารณญาณ ฯลฯ รวมทั้งการพัฒนาทักษะการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือ แสวงหาความรู้ และการมีทักษะทางสังคม แนวโน้มการจัดการศึกษา จึงจาเป็นต้อง บูรณาการทั้งด้านศาสตร์ต่างๆ และบูรณาการการเรียนในห้องเรียนและชีวิตจริง ทา ให้การเรียนนั้นมีความหมายต่อผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนจะเห็นประโยชน์คุณค่าของการเรียน และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ ซึ่งเป็นการเตรียมผู้เรียนในการ เรียนต่อไปในชั้นสูงขึ้น เกิดการเพิ่มโอกาสการทางานในอนาคตการเพิ่มมูลค่าและการ สร้างความแข็งแกร่งให้กับประเทศได้ Yakman (2008) กล่าวว่า การเรียนรู้บูรณาการแบบ STEM ยากต่อการ เข้ า ใจ จึ ง มี ก ารพั ฒ นาโมเดล STEAM ขึ้ น มาจาก STEM เดิ ม โดยการปรั บ ปรุ ง โครงสร้างการบูรณาการ เพิ่มศิลปศาสตร์เข้าไป เพื่อให้ผู้เรียนเชื่อมโยงความรู้และ เข้าใจเนื้อหาในระดับลึกอย่างครอบคลุม และต้องการให้ผู้เรียน ถ่ายทอดจินตนาการ ออกมา เพื่อนาไปสู่การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ในขณะที่ Kim Park (2012) กล่าว ว่า การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์ที่เน้น ความคิดเชิงวิชาการกับศิลป ศาสตร์ที่ เน้ นความคิดเชิงสร้างสรรค์รวมกั นอย่างลงตั วนั้ น ทาให้ ผู้เรียน เชื่อมโยง ความคิดได้อย่างมีเหตุผลและนาไปสู่ความคงทนในการเรียนรู้ สาหรับการจัดการเรียน การสอนตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

51


กระทรวงศึกษาธิการ (2551) ระบุว่ามุ่งส่งเสริมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ ความต้องการของท้ องถิ่น มุ่งพั ฒ นาผู้ เรียนได้เรียนรู้แบบองค์รวม โดยการเรียนรู้ ประสบการณ์ จริงจากสื่อธรรมชาติ และเทคโนโลยีพื้ นบ้าน เพราะเป็นสิ่งที่ผู้เรียน คุ้นเคย จึงทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี STEAM เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด ในการพั ฒ นาทั ก ษะการเรี ย นรู้อ ย่ า งบู ร ณาการ ที่ ป ระกอบไปด้ ว ย วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ ศิลปะ และคณิตศาสตร์ โดยเป็นการสร้างสถานการณ์ ปัญหา ผู้เรียนจะต้องคิดกระบวนการแก้โจทย์ได้อย่างหลากหลาย อาศัย การทางาน อย่างเป็นระบบ บนพื้นฐานแนวคิดด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ผู้สอนจะต้องให้ ผู้เรียนได้ลองคิดปรับปรุง สิ่งที่สร้างขึ้นให้ดีกว่าเดิม สามารถตรวจสอบความเข้าใจ ของผู้เรียน คิดค้นทดลอง ซึ่งผลการทดลองไม่จาเป็นต้องสาเร็จในครั้งแรกเสมอไป บางครั้งอาจจะเกิด ความล้ ม เหลวก่อ น และท าให้ ผู้เรีย นเกิด ประสบการณ์ ในการ ทางานจึ่งนาไปสู่ความสาเร็จในภารกิจนั้นๆ ได้

STEM Integrated understanding of science, technology and mathematics

Art - Creativity - Diversity - Innovation - Enjoyment - New Ideas

Hyunju Lee (2015) Ewha womans University

52

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


เป้าหมายสาหรับสตรีม - วิทยาศาสตร์+คณิตศาสตร์ - วิศวกรรมศาสตร์+เทคโนโลยี - ศิลปะ

มุ่งเน้นพัฒนาความเข้าใจในแนวคิด มุ่งเน้นพัฒนาการประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวัน มุ่งเน้นพัฒนาคุณลักษณะ บุคลิก รวมถึง อารมณ์ของผูเ้ รียน

การเรี ย นรู้ ที่ มุ่ งสร้ า งความคิ ด สร้ างสรรค์ เนื่ อ งจากเป็ น วิ ธี ก ารสอนเชิ ง สหวิทยาการที่เป็นระเบียบและการสร้างสรรค์ จึงสามารถดึงพรสวรรค์ที่แฝงอยู่ในตัว ของผู้เรียนให้ สามารถแสดงออกมาได้ ผู้เรียนจะได้รับ ความรู้ในเรื่องวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ ทั้งยังช่วยบ่มเพาะความสามารถในเรื่องของ การอ่านและจินตนาการ รวมไปถึงความรู้สึกทางศิลปะ ส่งเสริมให้เกิดความคิดเชิง สร้างสรรค์ ที่จาเป็นต้องใช้ในสังคมโลกอนาคต การเรี ย นการสอนในศาสตร์ ศิ ล ปะนั้ น เป็ น รายวิ ช าที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กระบวนการสร้างงาน เทคนิคในการสร้างผลงาน กระบวนการคิดสร้างสรรค์ผลงาน ผู้เรียนจะต้องมีการฝึกฝนทักษะในการสร้างงาน ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีแนวความคิดที่เป็น เอกลัก ษณ์ เฉพาะตน และมี ก ระบวนการคิด ที่ แ ปลกใหม่ เพื่ อ สามารถสร้างสรรค์ ผลงานได้ อ ย่ า งหลากหลาย ดั ง นั้ น ควรมี ก ารคิ ด รู ป แบบการเรี ย นการสอนให้ หลากหลายและเหมาะสมตามบริบทกับผู้เรียนเป็นรายบุคคล การเรียนรู้ของเด็กแต่ ละคนมี ค วามแตกต่ า งกั น ฉะนั้ น จึ ง มี แ นวความคิ ด ที่ จ ะน ารู ป แบบการเรี ย น e-learning ที่ ยึดหลักทฤษฎีก ารเรียนรู้ (Learning Theory) ที่ ใช้ รูป แบบการเรีย น แบบผสมผสาน (Blended Learning) ตามแนวทาง STEAM Education ร่ ว มกั บ เครื่องมือทางปัญญาผ่านคลาว์คอมพิวติ้ง เพื่อพัฒนาความสามารถการสร้างผลงาน ศิลปะของผู้เรียน โดยการศึกษาแนวความคิดและเทคนิคการสร้างผลงานของศิลปิน ในแต่ละยุคสมัย แล้วนามาสังเคราะห์เป็นผลงานที่มีรู ปแบบเฉพาะตน และผู้เรียน สามารถนาไปสร้างงานได้อย่างสร้างสรรค์ โดยการเรียนแบบผสมผสานนี้ มีความ ยื ด หยุ่ น ในเรื่ อ งของเวลาและสถานที่ สามารถเรี ย นรู้ ได้ แ บบทุ ก ที่ ทุ ก เวลา การ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

53


ออกแบบรู ป แบบดั งกล่ า วนี้ มี ก ารวิ เคราะห์ ปั ญ หา วิ เคราะห์ ผู้ เรี ย น วิ เคราะห์ สภาพแวดล้ อ มการเรี ย นรู้ วิ เคราะห์ เนื้ อ หา วิ เคราะห์ งาน/กิ จ กรรม วิ เคราะห์ วัต ถุ ป ระสงค์ และวิ เคราะห์ เกณฑ์ ก ารประเมิ น ผล เมื่ อ ท าการวิเคราะห์ ป ระเด็ น ดังกล่าวแล้วจึงออกแบบเนื้อหา กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ ออกแบบการโต้ตอบ ปฏิสัมพันธ์ และการออกแบบเชื่อมโยง (Link) เพื่อรองรับกิจกรรมการเรียนรู้ การ นาเสนอ การอภิปราย การฝึกปฏิบัติ การมอบหมายงาน และการประเมินผลผู้เรียน ซึ่งจะมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ถูกนามาใช้ในการศึกษาหลาหลายวิธี โดยเฉพาะการ นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน ซึ่งถือได้ว่ามีบทบาทอย่าง มากในปัจจุบัน เมื่อเทียบกับสื่อชนิดอื่นทั้งหมด การเรียนกับคอมพิวเตอร์เป็นแนวคิด ใหม่ที่ เริ่มใช้ กันอย่างแพร่หลายในต่างประเทศ ซึ่งได้รับอิท ธิพลมาจากทฤษฎี การ เรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและกลุ่มคอนสตรัคติวิสม์ คอมพิวเตอร์ถูกนามาใช้เพื่อ สนับสนุนการเรียนของผู้เรียน โดยทาหน้าที่เป็นเครื่องมือช่วยการวิเคราะห์ เข้าถึง และตี ค วามข้ อ มู ล รวมทั้ งจั ด ระบบโครงสร้ า งความรู้ ข องผู้ เรี ย น ลั ก ษณะเช่ น นี้ คอมพิ วเตอร์จะกลายเป็ น “เครื่องมื อทางปั ญ ญา” ที่ จะช่วยกระบวนการคิ ดของ ผู้เรียนในการปฏิบั ติกิจกรรมการเรียน นักการศึกษากล่าวว่า เมื่อคอมพิวเตอร์ถูก นามาใช้โดยผู้เรียนเพื่ออธิบายสิ่งที่พวกเขารู้ กระบวนการนี้จะทาให้พวกเขาเกิดการ คิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) และการเรียนรู้ระดับสูง (Higher-order Learning) ในสิ่งที่พวกเขากาลังศึกษา หรือกล่าวอี กนัยหนึ่งก็คือ เครื่องมือเหล่านี้ กระตุ้นให้ผู้เรียนคิดเกี่ยวกับสิ่งที่พวกเขารู้และเรียนรู้ในวิธีที่มีความหมายและแตกต่าง ออกไป Jonassen, Carr and Yueh (1998) นักวิชาการต่างประเทศได้นิ ยามความหมายของเครื่องมื อทางปั ญ ญาไว้ หลายท่ า น เช่ น Pea (1985) กล่ า วว่ า “เครื่ อ งมื อ ทางปั ญ ญาเป็ น เครื่ อ งมื อ ทาง คอมพิ วเตอร์ที่ เตรี ย มไว้ เพื่ อ ช่ วยเหลื อ และอ านวยความสะดวกในการจั ด กระท า ก ร ะ บ วน ก าร ท างปั ญ ญ า (Cognitive Processing)” ใน ข ณ ะ ที่ Kommers, Jonassen and Mayes (1992) ได้เสริมว่า “เครื่องมือทางปัญญาจะช่วยขยายกรอบ 54

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ความคิดของผู้เรียนโดยเอาชนะข้อจากัดทางด้านการคิด รวมทั้งมีบทบาทสาคัญใน การปรับเปลี่ยนโครงสร้างวิธีการคิดของผู้เรียน” ความหมายที่แท้จริงแล้ว เครื่องมือทางปัญญาไม่ได้หมายถึงคอมพิวเตอร์ เพียงอย่างเดียว แต่ยังรวมถึงแนวคิดและวิธีการอื่นๆที่ช่วยสนับสนุนกระบวนการคิด ของผู้ที่ใช้ ดังเช่น Jonassen and Reeves (1996) ให้ความหมายว่า “เครื่องมือทาง ปัญญา คือเทคโนโลยีใดก็ตามที่ช่วยพัฒนาพลังทางปัญญา (Cognitive Powers) ของ ผู้เรียนในการคิด การแก้ปัญหา และการเรียนรู้” เช่นเดียวกับที่ Shim and Li (2006) กล่าวว่า “เครื่องมือทางปัญ ญา คือ เครื่องมือทางคอมพิวเตอร์และสภาพแวดล้อม ทางการเรียนรู้ที่ถูกพัฒ นาขึ้นเพื่อทาหน้าที่เสมือนผู้ร่วมงานทางปัญ ญาของผู้เรียน เพื่ อที่ จะเข้าไปมีส่วนร่วมและอานวยความสะดวกการเรียนรู้อย่ างมีความหมาย” สาหรับในประเทศไทย ใจทิพย์ ณ สงขลา (2550) ให้ความหมายว่า “เครื่องมือทาง ปัญญาเป็นทั้งความคิดและเครื่องมือทางคอมพิวเตอร์ที่จะช่วยขยายต่อเติมหรือจัด องค์ ป ระกอบความรู้ใหม่ ช่ วยให้ ผู้ เรีย นก้ าวพ้ น ขอบจากั ด ของความคิด และช่ ว ย สนั บ สนุ น การรื้ อ โครงสร้ า งวิ ธี ก ารคิ ด ของผู้ เรี ย นได้ ใหม่ รวมทั้ ง ช่ ว ยสนั บ สนุ น กระบวนการทางปัญญาของผู้เรียนด้วยการจัดการงานที่ซ้าซากน่าเบื่อแทนผู้เรียน ทา ให้ผู้เรียนมีอิสระและเวลามากพอที่จะมุ่งกับความคิดขั้นสูง ช่วยผู้เรียนในการสร้าง สมมติฐานและทดสอบในบริบทของการแก้ปัญหา” จากนิ ย ามที่ ก ล่ า วมา การใช้ ค อมพิ ว เตอร์ เป็ น เครื่ อ งมื อ ทางปั ญ ญา จึ ง หมายถึง “การนาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้หรือพัฒนาเป็นเครื่องมือสาหรับผู้เรียน ในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการทางปัญญาหรือการ คิดระดับสูง โดยเครื่องมือดังกล่าวจะช่วยลดข้อจากัดทางความคิดของผู้เรียน ช่วย ขยายและต่อเติมกรอบความคิด รวมทั้งปรับเปลี่ยนโครงสร้างวิธีการคิดให้กับผู้เรียน” Jonassen (1996 อ้างถึงใน พรรณราย เที ยมทั น , 2545) กล่าวว่าการใช้ คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมที่สุดคือใช้เป็นเครื่องมือทางปัญญา สาหรับการเข้าถึงข้อมูล และแปลความหมายรวมทั้งจัดระบบระเบียบข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งเหมือนกับช่างไม้ที่ ไม่สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ ถ้าปราศจากเครื่องมือที่จะช่วยเขาในการ ตบแต่งไม้เพื่อทาเฟอร์นิเจอร์หรือสร้างบ้าน เช่นเดียวกับ ผู้เรียนที่ไม่สามารถคิดได้ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

55


อย่างมีประสิทธิภาพโดยปราศจากการเข้าถึงเครื่องมือที่มีความชาญฉลาด ที่จะช่วย ผู้เรียนในการประกอบและสร้างความรู้ ผู้ เรียนจะทาหน้าที่เป็นนักออกแบบโดยใช้ เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือสาหรับวิเคราะห์สภาพแวดล้อมเข้าไปให้ถึงข้อมูลแล้วแปล ความหมายและจัดระบบระเบียบความรู้ของตนเองแล้วสร้างตัวแทนสิ่งที่เขารู้ให้กับ ผู้อื่น สิ่งสาคัญที่น่าสนใจก็คือ เครื่องมือทางปัญญายังส่งเสริมการเรียนรู้ ที่เป็น การสร้างองค์ความรู้ของผู้เรียนด้วยตนเอง ซึ่งการใช้เครื่องมือทางปัญญานั้นจะทาให้ เกิดลักษณะการเรียนรู้ที่เป็นการสร้างองค์ความรู้ดังต่อไปนี้ด้วย 1. ผู้เรียนเป็นผู้จัดกระทาข้อมูลอย่างมีความหมาย 2. การเรียนรู้สิ่งใหม่จะต้องสร้างจากการเรียนรู้ที่ผ่านมา 3. ผู้เรียนจะเพิ่มเติมปรับแต่งความรู้ใหม่แล้วเชื่อมโยงเข้ากับความรู้เดิม 4. ผู้เรียนจะคิดอย่างไตร่ตรองในสิ่งที่เขารู้และต้องการจะเรียนรู้ 5. ผู้เรียนจะต้องเห็นด้วยกับการมีจุดมุ่งหมายในการเรียนรู้ วิธีดาเนินการ จากหลั ก การกระบวนการการเรีย นการสอนศิ ล ปะทางทั ศ นศิ ล ป์ ตาม แนวทาง STEAM Education ร่วมกับเครื่องมือทางปัญญาผ่านคลาว์คอมพิวติ้ง เพื่อ พัฒนาทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ เพื่อให้มีการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการ สอนโดยบูรณาการสหวิทยาการ และส่งเสริมกิจกรรมความคิดสร้างสรรค์ ในรูปแบบ กระบวนการเรียนรู้ STEAM EDUCATION ซึ่งเป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนได้ เกิดการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงในการเรียนรู้ รวมทั้งการพัฒนาทักษะการสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ ซึ่งในการจัดการเรียนการสอนดังกล่าว มีการแบ่งกิจกรรมการสอน โดยให้ศึกษาสภาพปัญหา และเชื่อมโยงการเรียนรู้ร่วมกับ เครื่องมือทางปัญญาผ่านคลาว์คอมพิวติ้ง ซึ่งผู้เรียนสามารถเลือกใช้แอปพลิเคชันใน การเรียนรู้ที่หลากหลายได้ โดยผู้สอนจัดกลุ่มของเครื่องมือทางปัญญาไว้ให้แล้วตามที่ ได้ออกแบบการเรียนการสอนให้ตรงตามจุดประสงค์ในการเรียน ซึ่งผู้เรียนจะมีการ 56

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


สร้างสรรค์ ผ ลงานศิ ล ปะผ่ านแอปพลิ เคชั น และประเมิ น ความพึ งพอใจในการใช้ เครื่องมือของแต่ละแอปพลิเคชัน วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการทดลองใช้เครื่องมือทางปัญญาผ่านคลาว์คอมพิวติ้งในการ เรียนการสอนศิลปะทางทัศนศิลป์ตามแนวทาง STEAM Education ร่วมกับเครื่องมือ ทางปัญญาผ่านคลาว์คอมพิวติ้ง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรที่ ใช้ในการวิจัย คือ นั กเรี ยนชั้น มัธยมศึ กษาปี ที่ 1 โรงเรีย น สาธิต “พิบูลบาเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา ที่ศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จานวน 132 คน 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน สาธิต “พิบูลบาเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จานวน 38 คน โดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) 3. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา 3.1 ตั ว แปรต้ น คื อ รู ป แบบกิ จ กรรมตามแนวทางสตรี ม ศึ ก ษา (STEAM Education) 3.2 ตัวแปรตาม คือ ทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ 4. ระยะเวลาในการทดลอง ดาเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โดยใช้เวลาในการทดลองสัปดาห์ละ 2 คาบ คาบละ 50 นาที เป็นระยะเวลา 5 สัปดาห์ รวมทั้งหมด 10 คาบเรียน กระบวนการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยดาเนินการตามกระบวนการอย่างเป็ นขั้นตอน มี รายละเอียดดังนี้ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

57


1. สร้างและพั ฒ นาแผนการจัด การเรียนรู้ตามแนวทางสตรีม ศึกษา เพื่ อ พัฒ นาทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยผู้วิจัยร่วมกับ คณะทางานศึกษาบทเรียน จานวน 5 คน ร่วมกันสร้างและพัฒ นาแผนการจัดการ เรียนรู้ได้ทั้งสิ้น 5 แผน โดยสอดคล้องตามแนวทางสตรีมศึกษา ที่ให้ความสาคัญกับ ศาสตร์ทางกระบวนการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี และ ศาสตร์ท างศิ ลปะ ซึ่งกระบวนการสร้างและพั ฒ นาแผนการจั ดการเรียนรู้มี ลาดั บ ขั้นตอนดังนี้ 1.1 ผู้ วิจั ยและคณะท างานศึ กษาบทเรีย นประชุ ม ร่ว มกั น เพื่ อ กาหนดประเด็นปัญหา และแนวทางการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ โดยได้ข้อสรุปที่ ตรงกันเกี่ยวกับแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสตรีมศึกษา ในการพัฒนาทักษะ การคิดเชิงสร้างสรรค์ 1.2 ผู้ วิ จั ย ก าหนดเนื้ อ หาเกี่ ย วกั บ ศิ ล ปะ และจั ด ท าแผนการ จัดการเรียนรู้ตามแนวทางสตรีมศึกษา 1.3 ผู้วิจัยเสนอแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้น ให้คณะทางาน ศึกษาบทเรียนวิพากษ์ร่วมกันเกี่ยวกับความเหมาะสม ทั้งเนื้อหา กิจกรรม สื่อ การวัด และประเมินผล 1.4 ผู้วิจัยทาการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของคณะทางาน ศึกษาบทเรียน 2. สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย เครื่องมือทางปัญญาผ่าน คลาว์คอมพิวติ้ง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินผลงานด้าน ความคิด สร้างสรรค์ และแบบประเมิ น ความพึ งพอใจส าหรับ นั ก เรีย น จากนั้ น น า เครื่องมือที่สร้างขึ้นไปหาประสิทธิภาพตามหลักการของเครื่องมือแต่ละชนิด 3. นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่สร้างขึ้น ไปดาเนินการทดลอง (Try out) กับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 2 ห้อง โดยมีกระบวนการดังนี้ 3.1 จั ด เตรี ย มอุ ป กรณ์ แ ละสื่ อ การเรี ย นรู้ ต ามแผนการจั ด การ เรียนรู้แต่ละครั้ง 58

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


3.2 ทดสอบก่อนเรียนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการ จัดการเรียนรู้ โดยมี คณะทางานศึกษาบทเรียนร่วมกันสั งเกตการสอนในชั้น เรีย น รวมทั้งพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน มีการบันทึกภาพเคลื่อนไหวทุกขั้นตอน 3.3 เมื่อเสร็จสิ้นการสอนแต่ละครั้ง คณะทางานศึกษาบทเรียน และผู้ วิ จั ย สะท้ อ นความคิ ด ร่ วมกั น เพื่ อ น าข้ อ เสนอแนะต่ า งๆ ไปปรั บ ปรุ งแก้ ไข แผนการจัดการเรียนรู้ให้มีความสมบูรณ์เหมาะสมยิ่งขึ้น 3.4 เมื่ อ ด าเนิ น การทดลอง (Try out) จนครบ 2 ครั้ ง และ ปรับปรุงเป็นที่เรียบร้อย นาแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้กับกลุ่มทดลอง 3.5 ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียน และให้นักเรียนประเมินความ พึงพอใจที่มีต่อรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ได้พัฒนาขึ้น 4. ผู้เชี่ยวชาญประเมินผลงานด้านความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ด้วย แบบประเมินผลงานด้านความคิดสร้างสรรค์ที่สร้างขึ้น 5. วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปอภิปรายผลการวิจัย ผลการดาเนินการ ผลการทดลองใช้เครื่องมือทางปัญญาผ่านคลาว์คอมพิวติ้ง การเรียนการ สอนศิลปะทางทั ศนศิลป์ ตามแนวทาง STEAM Education ร่วมกับ เครื่องมื อทาง ปัญญาผ่านคลาว์คอมพิวติ้ง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์ จากการทดลองใช้ ของผู้เรียนโรงเรียนสาธิต “พิบูลบาเพ็ญ” มหาวิทยาลัยบูรพา จานวน 38 คน พบว่า แอปพลิเคชัน ทั้ง 7 แอปพลิเคชันนั่น มีการใช้งานที่มีความแตกต่างกัน ร่วมไปจนถึง ลักษณะการใช้งาน มี ความยากง่ายและเหมาะสมต่ อการร่างภาพ การระบายสี ที่ แตกต่างกันออกไป จากการทดลองให้ผู้เรียนวาดรูปผลงานศิลปะจาก Application 7 App พบว่ามีค่าเฉลี่ย ดังนี้

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

59


No. 1 2 3 4 5 6 7

Application Ibis paint infinite paint Sketch draw & paint paperone sketchbook Psykopaint Sketchpad Fingerpaint

x̅ 4.55 4.46 4.33 4.16 3.50 3.41 3.16

S.D. 0.06 0.07 0.08 0.08 0.07 0.06 0.07

แปลผล มากที่สุด มาก มาก มาก มาก ปานกลาง ปานกลาง

ความคิดเห็นของการใช้แอปพลิเคชัน (1) Ibis paint มีความคิดเห็นในการใช้งานแอปพลิเคชัน สามารถใช้ งานง่าย มีเครื่องมือในการวาดภาพและอุปกรณ์ที่หลากหลาย สามารถเพิ่มกระดาษ เป็นชั้นเลเยอร์ได้ มีรูปแบบจานวนมาก สามารถแบ่งกรอบในการวาดการ์ตูนคอมมิค ได้ง่าย สามารถวาดระยะความลึกของภาพให้เกิดมิติในรูปได้ง่าย และมีระบบแชร์ภาพ ได้ทันที ดีไซน์น่าใช้ เครื่องมือครบ มีการอัดวิดีโอตอนวาดให้อัตโนมัติ ข้อเสีย คือ เซฟ รูปเป็นไฟล์ .png ไม่ได้ (2) infinite paint มี ค วามคิ ด เห็ น ในการใช้ ง านแอปพลิ เ คชั น สามารถใช้ งานง่าย การสร้างกระดาษเป็น ชั้ น เลเยอร์สามารถสร้างได้ป กติ แทรก กระดาษเป็นชั้นเลเยอร์ระหว่างเลเยอร์ได้ มีเครื่องมือในการวาดภาพและอุปกรณ์ที่ หลากหลาย ทาให้สะดวกในการวาด นอกจากนี้ยางลบสามารถปรับขนาดให้ใหญ่ขึ้น หรือเล็กลงได้ตามขนาดของสิ่งที่จะทาการลบ สามารถเลือกสีได้หลากหลายมากและมี โทนสีหลักให้ใช้ง่าย เครื่องมือในการวาดพู่กันหรือทีแปรงสามารถปรับคุณค่าของสีได้ ด้วย เครื่องมือค่อนข้างครบ ดีไซน์โปรแกรมค่อนข้างน่าใช้งาน แต่ต้องเสียเงินซื้อ เพิ่ม เพื่อให้สามารถใช้งานออฟชั่นเสริมอย่างอื่นได้

60

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


(3) Sketch draw & paint มีความคิดเห็นในการใช้งานแอปพลิเค ชัน สะดวกใช้ง่าย อุปกรณ์ครบ ออพชั่นไม่เยอะมากนัก แต่อยู่ในความพอดีเข้าใจง่าย พู่กันในการวาดภาพมีไม่เยอะ ดีไซน์ค่อนข้างน่าใช้ แต่เครื่องมือที่ต้อ งการยังมีไม่ครบ สามารถเพิ่ ม กระดาษเป็ น ชั้ น เลเยอร์แ ละปรับ แสงโทนสีข องภาพได้ ข้ อเสี ย คือ ไม่ สามารถใช้การ clip เลเยอร์ได้และลงสียาก (4) paperone sketchbook มีความคิดเห็นในการใช้งานแอปพลิเค ชัน ใช้งานง่าย แอพเข้าใจได้ไม่ยาก แต่มีอุปกรณ์ในการสร้างงานค่อนข้างน้อย เฉดสี กาหนดให้ตายตัว พู่กันบรัชไม่เยอะเท่าที่ควร อุปกรณ์ไม่ค่อยซับซ้อน เลือกขนาดได้ ปรับความเข้มได้ อุปกรณ์มีเอกลักษณ์ของมันเอง ข้อเสีย หากต้องการใช้อุปกรณ์อื่นๆ ต้องเสียเงินเพิ่ม (5) Psykopaint มีความคิดเห็นในการใช้งานแอปพลิเคชัน ลักษณะ ของการวาดเส้นวาดได้ยาก มีกระดาษเป็นชั้นเลเยอร์เดียว หากต้องการเพิ่มเลเยอร์ และอุปกรณ์อื่นๆ ต้องสมัครสมาชิกเท่านั้น ทั้งนี้ไม่สามารถใช้เมาท์ปากกาในการวาด ภาพได้ และการตั้งค่าแปรงที่ ใช้ในการทางานค่ อนข้างยาก ทาให้ ควบคุ ม การวาด ค่อนข้างยากไปด้วย ชนิดของพู่กันกลับเป็นสไตล์ของศิลปินที่โด่งดังระดับโลก เช่น แวนโก๊ะ (6) Sketchpad มีความคิดเห็นในการใช้งานแอปพลิเคชัน ลักษณะ ของการวาดเส้นวาดได้ยาก เมื่อวาดแล้วโปรแกรมปรับความโค้งมนและความตรงของ เส้นให้ในระดับหนึ่ง ไม่มีขนาดกระดาษให้เลือก ไม่สามารถสร้างกระดาษเป็นชั้นเล เยอร์ได้ แต่สามารถเลือกให้งานอยู่ด้านหน้าหรือหลังงานที่วาดภาพได้ เส้นออกมาจะ ทื่อๆ สามารถวาดรูปทรงเรขาคณิ ตได้ เลือกสีได้ แต่พู่กันมีหัวเดียวทั้งรูปแบบและ ขนาด และที่สาคัญ undo ได้ครั้งเดียว (7) Fingerpaint มีความคิดเห็นในการใช้งานแอปพลิเคชัน ใช้พู่กั น วาดได้ อ ย่างเดี ยว แอปพลิเคชั น นี้ เหมาะกั บ เด็ ก เล็ก ๆ ใช้ วาดรูป เบื้ องต้ น มากกว่ า EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

61


อุปกรณ์มีให้เลือกใช้น้อยมาก มีระดับของสีและเฉดสีให้เลือกน้อย ไม่สามารถซูมภาพ เวลาวาดได้ ไม่สามารถปรับขนาดพู่ กันได้ ไม่มีอุปกรณ์ เสริม อื่นๆ ไม่สามารถแยก กระดาษเป็นชั้นเลเยอร์ได้ ผู้เขียนบทความขอนาเสนอนิยามของกระบวนการเรียนรู้แบบ STEAM ไว้ ว่า “เรียนรู้อย่างสนุก...คิดอย่างสร้างสรรค์...ลงมือทาอย่างมีเป้าหมาย” ผลงานการสร้างสรรค์ศิลปะจากการทดลองรูปแบบกิจกรรมศิลปะ ตาม แนวทาง STEAM Education ที่บูรณาการเครื่องมือทางปัญญาผ่านคลาว์คอมพิวติ้ง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์

62

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

63


เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. 2553. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิ ม พ์ ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: โรงพิ มพ์ ชุม นุม สหกรณ์ การเกษตรแห่ ง ประเทศไทย. ฉลอง ทับศรี. 2542. เอกสารประกอบการสอนการออกแบบการเรียนการสอนวิชา การออกแบบการเรียนการ สอน (423511). ม.ป.ท. : มหาวิ ท ยาลั ย บูรพา. ปิยะดา ขุนเพชรวรรณ. 2558. การจัดการเรียนรูแ้ บบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก ร่ว มกั บ การใช้ ผั งกราฟิ ก บนเว็ บ 2.0 เพื่ อ พั ฒ นาความสามารถในการ แก้ ปั ญ หาสาหรั บ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย. วารสาร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 10(4), 510-523 พรรณราย เทยมทัน. 2545. “ผลของการใช้คอคนิทีฟทูลความรู้เบื้องต้นและเมตา คอคนิ ชั่น ที่ มี ต่ อ ความส าเร็ จ ในการสื บ ค้ น ข้ อ มู ล บนเวิ ล ด์ ไวด์ เว็ บ ของ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา.” วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต , สาขา เทคโนโลยี แ ละสื่ อ สารการศึ ก ษา คณ ะครุ ศ าสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ไพฑู ร ย์ กานต์ ธั ญ ลั ก ษณ์ . 2557. การพั ฒ นารู ป แบบการเรี ย นการสอนแบบ ผสมผสานดวยการเรียนแกปญหารวมกันและเทคนิคซินเนคติกสเพื่อสง เสริ ม ความสามารถในการแกปั ญ หาเชิ งสร้ า งสรรค์ ข องนั ก ศึ ก ษาครู . วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร. วิ รุ ณ ตั้ ง เจริ ญ . 2548. การปฏิ รู ป การศึ ก ษา: พหุ ศิ ล ปศึ ก ษา. ทั ศ นศิ ล ปศึ ก ษา. กรุงเทพฯ: อีแอนด์ไอคิว. _________. 2548. Visual Art Education. กรุงเทพฯ: สันติศิริการพิมพ์. _________. 2548. ศิลปะและสังคม. กรุงเทพฯ: สันติศิริการพิมพ์. _________. 2532. ศิลปทรรศน์. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ต้นอ้อ. _________. 2527. รายงานการวิจัยเรื่อง The Study on Development in Art 64

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Education and Esthetic of Modern Thai Children. ก รุ ง เท พ ฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. (อัดสาเนา). วิเชียร เปรมชัยสวัสดิ์. 2548. การผสมผสาน E-learning เข้ากับการเรียนการสอนใน ชั้นเรียน. วารสาร สออ. 1(6), 53-63. สุ ค นธ์ ภู ริ เ วทย์ . 2544. การออกแบบการสอน. (พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 3). กรุ ง เทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคาแหง. อารี พันธ์มณี. 2534. จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: เลิฟ แอนด์ลิฟเพรส. _______. 2540. คิดสร้างสรรค์กับการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ แกรมมี่. _______. 2544. การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สู่ความเป็นเลิศ. กรุงเทพฯ: ธนชัย การพิมพ์จากัด. _______. 2546. จิตวิทยาสร้างสรรค์การเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: ใยไหม Clark, G. 1986. Instructional resources. Art Education 39(1), 29-30. Clark, G. A., Day. M. D. & Greer, W. D. 1987. Discipline-based art education: Becoming students of art. The Journal of Aesthetic Education, 21(2), 129-196. Gagne, R. M. 1965. The Conditions of learning. New York: Holt, Rinehart and Winston. Kemp, J. E. 1985. The instructional design process. New York: Harper & Row. HyunJu Park, Soo-yong Byun 2015. Teachers’ Perceptions and Practices of STEAM Education in South Korea. Eurasia Journal of Mathematics, Science & Technology Education, 2016, 12(7), 1739-1753. Jonassen, D. H., Carr, C. and Yueh, H. P. 1998. Computers as mindtools for engaging learners in critical thinking. Tech Trends, 43(2): 24-32. EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

65


Lee, J. W., Park, H. J., & Kim, J. B. 2013. Primary teachers’ perception analysis on development and application of STEAM education program. Journal of Korea Society of Elementary Science Education, 32(1), 47-59. Lim, C. H., & Oh, B. J. 2015. Elementary pre-service teachers and inservice teachers’ perceptions and demands on STEAM education. Journal of Korean Society of Earth Science Education, 8(1), 1-11. Torrance, E. P. 1962. Guiding Creative Talent. Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hall. Yakman, G, 2008. STΣ@M Education: anoverview of creating a model of integrativeeducation.Pupils Attitudes Towards Technology2008 Annual Proceedings. Netherlands.

66

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


การประยุกต์ใช้การประเมินมูลค่ากระเป๋าแบรนด์เนม ตามหลักเศรษฐศาสตร์ Application of Product Brand Name Handbags value appraisal according to Economics ปัทมา โกเมนท์จารัส1 สุภาวดี ฮะมะณี2 และธนิยา คันธหัตถี3 บทคัดย่อ ในยุคปัจจุบันที่การค้ามีการแข่งขันกันอย่างรุนแรง ทาให้ราคาสินค้าเป็น ตัวแปรหนึ่งที่สาคัญในการบริโภคสินค้า อีกทั้งผู้บริโภคมีสิทธิในการเลือกบริโภคสินค้า มากขึ้นผู้บริโภคจึงมีส่วนสาคัญในการกาหนดราคาสินค้า โดยการเลือกซื้อสินค้าใน ราคาที่ เหมาะสมกับ ความต้องการของตน งานวิจัยนี้ มีวัตถุป ระสงค์ 1) เพื่ อศึกษา ประเด็ น ที่ ใช้ ในการประเมิ น มู ล ค่ ากระเป๋ าแบรนด์ เนมที่ ผ่ า นสายตาของผู้ บ ริ โภค 2) เพื่ อ ศึ ก ษาการประเมิ น มู ล ค่ า กระเป๋ าแบรนด์ เนมตามหลั ก เศรษฐศาสตร์ จ าก ลักษณะการตั้งราคาทางเศรษฐศาสตร์ โดยทาการเก็บข้อมูลใช้วิธีสัมภาษณ์ จาก เจ้ า ของกิ จ การกระเป๋ า ที่ ป ระสบความส าเร็ จ ในธุ ร กิ จ จ านวน 3 ราย และการ สัมภาษณ์ผ่านมุมมองของผู้บริโภคสินค้าประเภทกระเป๋าระดับไฮเอนด์ จานวน 5 ราย และโดยการวิเคราะห์และสังเคราะห์ใช้เทคนิควิธีตรวจสอบแบบสามเส้า 1

รองศาสตราจารย์ปัทมา โกเมนท์จารัส

หัวหน้าสาขาวิชาการเงิน คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม 2

อาจารย์สุภาวดี ฮะมะณี

อาจารย์ประจาสาขาวิชาการเงิน คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม 3

อาจารย์ธนิยา คันธหัตถี

อาจารย์ประจาสาขาวิชาการค้าระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

67


ผลการวิจัยพบว่า 1) การประเมินมูลค่ากระเป๋าแบรนด์เนมที่ผ่านสายตาของผู้บริโภค จะท าการประเมิ น จากประเด็ น ต่ า ง ๆ ดั งนี้ 1. ราคาสิ น ค้ า ชนิ ด เดี ย วกั น และที่ เกี่ยวข้องกันในตลาด 2. ความคงทนของสินค้า 3. ความสวยงามและประณีต 4. ความ ยากง่ า ยในการผลิ ต 5. ความทั น สมั ย 6. อรรถประโยชน์ ที่ มี ใ นตั ว สิ น ค้ า 7. มี เอกลั กษณ์ เฉพาะตัว 8. บ่ งบอกรสนิ ยมผู้ใช้ 9. ความน่าเชื่อ ถือ ในแบรนด์ 2) การ ประเมินมูลค่ากระเป๋าแบรนด์เนมตามหลักเศรษฐศาสตร์จากลักษณะการตั้งราคาทาง เศรษฐศาสตร์ พบว่าจะมีการตั้งราคาในลักษณะของการสร้างค่านิยม โดยจะมีการตั้ง ราคาสินค้าที่ค่อนข้างสูง คาสาคัญ: การประเมินมูลค่า, สินค้า, ผู้บริโภค ABSTRACT In present age where trading and marketing are highly competitive therefore products price is one of the major factors which affect the consuming pattern of consumers. Consumers have more right to choose over various product choices than before. Consumers’ value based pricing becomes one of the key variables to influence pricing strategy for goods and service. This research aims 1) to study the factors affecting the product value estimation through the eyes of consumers 2) to study the product value estimation based on the economic analysis which determine the product’s price. The collecting of data used the in-depth interview as the main method by having an interview the three successful high-end handbags entrepreneurs and a five highend consumers. Through a triangulation technique the researcher acquired qualitative data and the analysis of this research. The research results show that 1) the product value estimation of the high-end handbags through the eyes of consumers are considered by the factors 68

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


as follow 1. Price of the same or similar products available in the market. 2. Durability 3. beautiful and tailored 4. Difficulty in making products 5. timeless design 6. Practical of products 7. Uniqueness 8. Individual signature 9. brand reputation. 2) The product value estimation determined by using the economic analysis shows that the setting of high price of the products based on consumers’ perceived value of the products. KEYWORDS: value appraisal, products, consumer ความสาคัญของการวิจัย ในปัจจุบันมีสินค้าในตลาดมากมายในท้องตลาด โดยสินค้า Brand Name เป็นสินค้าหนึ่งที่อยู่ในความสนใจในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน และหนึ่งในสินค้าแบรนด์ เนมนั้นคือ กระเป๋าแบรนด์เนมของสุภาพสตรี ซึ่งจัดเป็นสินค้าไฮเอนด์อีกชนิดหนึ่ง ที่ผู้ บ ริโภคสิน ค้ ากลุ่ม นี้ ให้ค วามสนใจอย่ างไม่ เสื่อ มคลาย และนั บ วันเวลาผ่ านไป ความสนใจในสิ่งนี้ก็มิได้ลดลง ในทางตรงกันข้ามกลับเพิ่มขึ้นไปเรื่อย ๆ เหตุใดจึง เป็ นเช่น นั้น หากพิ จารณากระเป๋าแบรนด์เนมในปัจจุบั น นั้น มีด้วยกั นหลากหลาย รูปแบบ ทั้งนี้แต่ละรูปแบบ ก็จะสนองตอบต่อความต้องการของผู้บริโภคในลั กษณะ ต่าง ๆกัน จากการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับกระเป๋าแบรนด์เนมซึ่งมีด้วยกันหลากหลาย แบรนด์เนมที่ มีผู้ให้ ความนิ ยม อาทิ แอร์เมส (Hermès) ไมเคิล คอร์ส (Michael Kors) ชาเนล ( Chanel) เบอร์ เบอร์ รี่ (Burberry) ดิ อ อร์ (Dior) หลุ ย ส์ วิ ต ตอง (Louis Vuitton) กุชชี่ (Gucci) จีวองชี (Givenchy) ปราดา ( Prada) บาเลนซิกา (Balenciaga) ลองฌอมป์ (Longchamp) เป็ น ต้ น กระเป๋ า แบรนด์ เนมเหล่ านี้ ใน ปัจจุบันเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคที่เป็นสุภาพสตรีค่อนข้างมาก เนื่องจากผู้หญิงมี การแต่งกายที่หลากหลายรูปแบบ ดังนั้นเครื่องประดับหรือสิ่ งที่เกี่ยวข้องกับการแต่ง กายของผู้หญิ งจึงมิอาจที่จะละเลยกระเป๋าถือของผู้หญิ งไปได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

69


กระเป๋ าแบรนด์ เนมของสุภ าพสตรีนั้ น ได้ รับ ความนิ ยมมาช้ านานแล้ว เนื่ อ งจาก กระเป๋านั้นปกติจะเป็นอุปกรณ์ที่มีความจาเป็นในด้านของการใช้สอยประโยชน์ใน เบื้องต้นอยู่แล้ว แต่อย่างไรก็ดี ความต้องการนั้นมิได้เป็นเพียงเพื่อการใช้ประโยชน์ หากแต่กระเป๋าแบรนด์เนมนั้นยังสามารถใช้บ่งบอกถึงสถานะทางสังคม และรสนิยม ของผู้ ใช้ ได้ ทั้ งนี้ ถ้ า หากพิ จ ารณามู ล ค่ าของกระเป๋ าแบรนด์ เนมนั้ น พบว่ า ราคา โดยประมาณจะอยู่ในช่วงหลักหมื่นจนถึงหลักล้านบาท ซึ่งเป็นราคาที่ค่อนข้างสูง ทั้งนี้ยกตัวอย่างกรณีของกระเป๋าแบรนด์เนมของแบรนด์ชาเนลไซส์ Medium พบว่า จากสถิติการสารวจราคานับแต่แต่ในอดีตที่ผ่านมา ราคาสินค้าดังกล่ าวมีการเติบโตที่ ค่อนข้างสูง โดยในปี 1955 กระเป๋าดังกล่าวมีราคาเพียง $220 ในปี 1990 ปี 2010 ปี 2013 และปี 2016 ราคาได้เพิ่ มขึ้นเป็น $1,150, $2850, $4,400 และ $4,900 ตามล าดั บ (https://www.jeab.com/style-beauty/style/chanel-2-55-priceincreased) จากสภาพการณ์ข้างต้นการประเมินมูลค่ากระเป๋าแบรนด์เนมข้างต้นจึงเป็น สิ่ งที่ น่ า สนใจอย่ างยิ่ ง ทั้ งนี้ การประเมิ น มู ล ค่ า ดั งกล่ าว จะท าการประเมิ น มู ล ค่ า กระเป๋าแบรนด์เนมผ่านสายตาของผู้บริโภค เพื่อศึกษาว่าประเด็นอะไรที่ผู้บริโภคใช้ ในการให้ความสาคัญและตัดสินใจซื้อกระเป๋าแบรนด์เนม ทั้งนี้เนื่องจากผู้บริโภคคือผู้ ที่ได้อรรถประโยชน์จากสินค้าและเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างแท้จริง ฉะนั้น ความพึง ใจในกระเป๋าแบรด์เนมของผู้บริโภคจึงเป็นสิ่งที่สาคัญ ที่จะตอบได้ว่ากระเป๋าแบรด์ เนมจะต้องถูกประเมินมูลค่าจากประเด็นใดบ้าง ตลอดจนการศึกษาการประเมินมูลค่า กระเป๋าแบรนด์เนมตามหลักเศรษฐศาสตร์ โดยศึกษาจากลักษณะการตั้งราคาทาง เศรษฐศาสตร์ ทังนี้ เพื่ อให้ทราบว่าสินดังกล่าวจะใช้การตั้งราคาในลักษณะใดทาง เศรษฐศาสตร์ วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาประเด็นที่ใช้ในการประเมินมูลค่ากระเป๋าแบรนด์เนมที่ผ่าน สายตาของผู้บริโภค 70

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


2. เพื่อศึกษาการประเมินมูลค่ากระเป๋าแบรนด์เนมตามหลักเศรษฐศาสตร์ จากลักษณะการตั้งราคาทางเศรษฐศาสตร์ ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา 1. เพื่อให้ทราบถึงประเด็นที่นามาใช้ในการประเมินมูลค่ากระเป๋าแบรนด์ เนมโดยผ่านสายตาผู้บริโภค ตลอดจนลักษณะของการตั้งราคากระเป๋าแบรนด์เนม ตามหลั ก เศรษฐศาสตร์ เพื่ อ เป็ น แนวทางในการด าเนิ น ธุ ร กิ จ สิ น ค้ า แบรนด์ เนม ต่าง ๆ ของผู้ประกอบการของไทย 2. เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ประกอบการศึกษาในรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์ใน ด้านของแนวทางในการตั้งราคาสินค้า ตลอดจนประเด็นต่าง ๆ ที่ผู้บริโภคใช้ในการ ประเมินมูลค่ากระเป๋าแบรนด์เนม ตลอดจนการนาไปใช้ประโยชน์ในกรณีศึกษา ใน รายวิชาสัมมนาการเงินและการลงทุน และในรายวิชาสัมมนาการค้าระหว่างประเทศ แนวคิดทางทฤษฎี แนวคิดมโนภาพแห่งตัวตน แนวคิดมโนภาพแห่งตัวตนเป็นการแสดงถึงความเชื่อของบุคคล ซึ่งเชื่อว่า ตนเองนั้นเป็นใคร ซึ่งถ้าบุคคลมีมโนภาพแห่งตนในทางที่ดี ก็จะมีความนับถือตนเอง มีความภาคภูมิใจในตนเอง ทั้งนี้ มโนภาพแห่งตนแบ่งออกได้เป็น 4 ส่วน (Joseph Massie and John Douglas, 1997) โดยมโนภาพแห่งตนสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ส่วน ได้แก่ 1) ภาพที่บุคคลอยากเห็น อยากเป็นในอนาคต (Ideal Self) แสดงถึง ภาพที่ บุ ค คลอยากจะเป็ น และจะต้ อ งท าอย่ างไรจึ งจะเป็ น ได้ 2) ภาพตนเองที่ บุคคลคิดว่าคนอื่นมอง (Looking – Glass Self) แสดงถึงภาพตนเองต่อค่านิยม ความ เชื่ อ ของสั งคม 3) ตนตามการรั บ รู้ (Self – Image) เป็ น ภาพที่ แ สดงความรู้ สึ ก ที่ แท้จริงของตนเองซึ่งอาจจะตรงหรือไม่ตรงกับความจริงก็ได้ 4) ตนตามความเป็นจริง (Real-Self) เป็น ภาพแสดงตัวตนที่เป็ นจริง ๆ ซึ่งจะไม่ ใส่ใจกับ การยอมรับ หรือไม่ ยอมรับของบุคคลรอบข้าง EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

71


แนวคิดการตั้งราคาในทางปฏิบัติตามหลักเศรษฐศาสตร์ แนวคิดการตั้งราคาในทางปฏิบัติตามหลักเศรษฐศาสตร์มีหลายลักษณะ ดังนี้ (วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน, 2548) 1. การตั้งราคาเพื่อให้ได้กาไรสูงสุด การตั้งราคาในลักษระทาได้ค่อนข้าง ลาบาก เนื่องจากไม่สามารถหาข้อมูลที่สมบูรณ์ได้เท่าใดนัก 2. การตั้งราคาตามต้นทุน (cost-plus pricing) จะเป็นการพิจารณาจาก ต้นทุนเฉลี่ยต่อหน่วยและบวกกาไรสินค้าต่อหน่วยเข้าไป ก็จะเป็นราคาสินค้าตามที่ ต้องการ 3. การตั้ งราคาตามต้ น ทุ น เพิ่ ม (marginal cost pricing) จะเป็ น การตั้ ง ราคาเท่ากับต้นทุนเพิ่ม ซึ่งจะใช้ในกรณีของสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ซึ่งการตั้ง ราคาดังกล่าวจะทาให้ได้รับกาไรสูงสุด 4. การตั้งราคาตามต้นทุนเฉลี่ย (averaging pricing) จะเป็นการตั้งราคาที่ คลอบคลุ ม ต้ น ทุ น เฉลี่ ย การตั้ งราคาในลั ก ษณะนี้ มั ก ใช้ กั บ สิ น ค้ า สาธารณู ป โภค เนื่องจากจะต้องคานึงว่าสินค้าดังกล่าวนี้ผู้บริโภคโดยรวมสามารถทาการจ่ายซื้อสินค้า ได้ 5. การตั้งราคาตามราคาตลาด ซึ่งจะเป็นการตั้งราคาที่ระดับราคาดุลยภาพ ซึ่งเป็นราคาที่มีปริมาณการซื้อเท่ากับปริมาณการขาย ซึ่งราคาดังกล่าวจะเป็นราคาที่ ธุรกิจสามารถดาเนินการผลิตได้ 6. การตั้งราคาสินค้าให้แตกต่างกัน (price discrimination) จะเป็นการตั้ง ราคาตามความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา โดยจะตั้งราคาสูงในอุปสงค์ของสินค้าที่มี ความยืดหยุ่นสูง และตั้งราคาต่าในสินค้าที่มีความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่า 7. การตั้งราคาตามรุ่นหรือรูปแบบของสินค้า (multiple model pricing) เป็นการตั้งราคาตามรุ่นของสินค้า ทั้งนี้สินค้าที่ออกใหม่จะตั้งราคาสูง ในขณะที่สินค้า ที่ตกรุ่น ราคาสินค้าก็จะลดต่าลง 8. การตั้งราคาเพื่อสร้างค่านิยม (prestige pricing) เป็นการตั้งราคาสินค้า ในระดับที่สูง ซึ่งจะไม่มีความสัมพันธ์กับต้นทุน ทั้งนี้สินค้าดังกล่าวจะเป็นสินค้าที่ใช้ใน 72

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


การสร้างค่านิยมหรือสร้างภาพพจน์ โดยสินค้าดังกล่าวจะใช้การโฆษณาค่อนข้างมาก เพื่อให้ผู้บริโภคเกิดการคล้อยตาม 9. การตั้งราคาตามประเพณีนิยม (customary pricing) เป็นการตั้งราคา ตามการรับรู้และความเคยชินของผ็บริโภคที่มีมาช้านาน วิธีดาเนินการวิจัย 1. ศึกษาจากผู้ประกอบการที่ประกอบธุรกิจขายกระเป๋าแบรนด์เนม ในที่นี้ หมายถึงผู้ขายกระเป๋าแบบในประเทศไทย โดยการถอดบทเรียนและการสัมภาษณ์ ทั้งนี้เพื่อให้ได้แนวประเด็นของการประเมินมูลค่ากระเป๋าแบรด์เนม เพื่อนาไปใช้เป็น แนวทางของคาถามที่ใช้ถามผู้บริโภค 2. ท าการศึ ก ษาการประเมิ น มู ล ค่ า กระเป๋ าแบรนด์ เนมโดยผ่ านสายตา ผู้บริโภคจากแนวคาถามที่ได้รับจากผู้ประกอบการ 3. ทาการยืนยันความน่าเชื่อถือของข้อมูลของผู้บริโภค โดยใช้เทคนิคการ วิจัยแบบสามเส้าซึ่งประกอบไปด้วยด้านการสังเกต ด้านการสัมภาษณ์ ด้านของเวลา และ สถานที่ จากกลุ่ ม ผู้ ให้ ข้ อ มู ล ซึ่ งได้ แ ก่ ตั ว ผู้ บ ริ โภค เพื่ อ นของผู้ บ ริ โภค และ แบบสอบถามบุคคลที่ผู้บริโภคทางานด้วย ทั้งนี้เพื่อเป็นการยืนยันข้อมูลให้ชัดเจน ยิ่งขึ้น เครื่องมือการวิจัย เครื่ อ งมื อ ในการด าเนิ น การวิ จั ย ประกอบด้ ว ย ตั ว ผู้ วิ จั ย แนวค าถาม ประกอบการสัมภาษณ์ กล้องถ่ายรูป และสมุดจดบันทึ กการวิเคราะห์ข้อมูล ทั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลจากเรื่องเล่าของผู้ที่ให้ข้อมูล และนาเรื่องเล่าต่าง ๆ นั้นมาทาการวิเคราะห์ โดยนาข้อมูลเหล่านั้นมาร้อยเรียงเป็นประเด็นของการประเมิน มูลค่ากระเป๋าแบรนด์เนมที่ผ่านสายตาผู้บริโภค และมานาเสนอต่อผู้ที่จะทาการศึกษา ต่อไป

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

73


กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย กลุ่ มเป้ าหมายที่ ใช้ในการวิ จัยได้ข้ อมู ลอิ่ มตั วหรือข้ อมู ลนั้ น มี ความนิ่ งใน ประเด็นคาตอบที่ได้รับ โดยไม่มีคาตอบอื่นใดนอกเหนือจากประเด็นคาตอบที่ได้รับมา ทั้งนี้ จะทาการเก็บข้อมูลจากกลุ่มผู้ประกอบการจานวน 3 ราย และกลุ่มผู้บริโภค จานวน 5 ราย แหล่งข้อมูลและวิธีการเก็บข้อมูล แหล่งที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก 2 แหล่ง ประกอบด้วย แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ ผู้ วิ จั ย ได้ ใ ช้ แ ห ล่ ง ข้ อ มู ลป ฐมภู มิ ป ระกอบ ด้ ว ย แห ล่ ง ข้ อ มู ล คื อ ผู้ประกอบการ ผู้บริโภค โดยวิธีการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล ซึ่งเป็นการซักถามใน ลักษณะของการพูดคุยระหว่างผู้วิจัยกับ ผู้ให้ข้อมูลหลัก ใช้ลักษณะของการถามแบบ เจาะลึก เพื่อความสมบูรณ์ครบถ้วนในประเด็นต่างๆที่มีผลต่อการศึกษาวิจัยให้มาก ที่สุด แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ ผู้วิจัยได้ศึกษาข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งบทความ รายงาน การวิจัย รวมถึงสื่ออิเลคทรอนิกส์จากอินเทอร์เน็ต อาทิ เว็บไซต์กระเป๋าแบรนด์เนม ของ i brand name ตลอดจนข้อมูลของผู้ประกอบการไทยที่ประสบความสาเร็จ ใน การทาธุรกิจขายกระเป๋าแบรนด์เนม จากสื่อออนไลน์ เป็นต้น เพื่อให้ได้ข้อมูลพื้นฐาน ที่สาคัญ อันจะเป็นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับประเด็นที่ทาการศึกษา และผู้ให้ข้อมูลหลัก ที่จะทาการศึกษา ผลการศึกษา ในการศึกษาการวิจัยนี้จะทาการศึกษาโดยการถอดบทเรียนจากผู้ประกอบ การที่ ท าการขายกระเป๋ าแบรนด์ เนมในประเทศไทยที่ ป ระกอบธุ ร กิ จ ซึ่ งจะเป็ น การศึกษาตัวตน ในด้านแนวคิดของผู้ประกอบการธุรกิจที่ประสบความสาเร็จขาย กระเป๋ าแบรนด์ เนมในประเทศไทย เพื่ อหาประเด็ น ที่ จะใช้ ในการประเมิ น มูล ค่ า 74

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


กระเป๋าแบรนด์เนม ทั้งนี้ เพื่อนาประเด็นดังกล่าวไปเป็นแนวทางในการสัมภาษณ์ ผู้บริโภคที่ใช้กระเป๋าแบรนด์เนม 1. ผลการศึ ก ษาการประเมิ น มู ล ค่ า กระเป๋ า แบรนด์ เนม จากกลุ่ ม ผู้ประกอบการ จากการถอดบทเรียน ในปัจจุบัน ผู้ประกอบการที่ทาการขายกระเป๋าแบรนด์เนมในประเทศไทย นั้น เป็นผู้ที่สามารถทารายได้ค่อนข้างสูงในกิจการที่ดาเนินการ ซึ่งผู้ประกอบการส่วน ใหญ่มีมีแนวคิดของตัวตน และความเชื่อมั่นในตนเองว่า จะสามารถดาเนินธุรกิจนี้ ต่อไปได้อีกยาวนาน นั่นคือผู้ประกอบการได้มีการกาหนดเป้าหมายและดาเนินการให้ ได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ ทั้งนี้สืบเนื่องจากกระเป๋าแบรนด์เนมเป็นกระเป๋าที่สร้าง ความสุขในกับผู้บริโภค และกระเป๋าแบรนด์เนมนี้ยังคงมีความต้องการของตลาดเป็น อย่างมาก โดยเฉพาะผู้หญิงซึ่งมีความต้องการกระเป๋าแบรนด์เนมค่อนข้างมาก นั่น คือ เมื่อทาการพิจารณาแล้ว โดยปกติแล้วผู้หญิงจะมีกระเป๋ามากกว่า 1 ใบ และ ผู้หญิงนั้นชอบการแต่งตัว ฉะนั้น กระเป๋าแบรนด์เนมจึงเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับ การแต่ ง กายอั น เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ เสื้ อ ผ้ า ที่ ส วมใส่ ซึ่ งจะต้ อ งมี ค วามเหมาะสมและ สอดคล้องกับชุดที่สวมใส่ ทั้งนี้เมื่อเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายมีหลากหลายรูปแบบ กระเป๋า จึงมีหลากหลายรูปแบบด้วยเช่นกัน ทั้งนี้กระเป๋าแบรนด์เนมนั้นมีด้วยกันหลากหลาย แบรนด์ อาทิ ชาเนล (Chanel) ก็ เป็ น อี ก แบรนด์ ที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มค่ อ นข้ า งสู ง เนื่องจากสามารถใช้ได้กับเสื้อผ้าหลากหลายรูปแบบ บ่งบอกถึงความหรู บ่งบอก รสนิยมของลูกค้า มีความคงทน สวยงาม ทันสมัย มีความประณีตในการผลิต โดย สามารถสังเกตได้จากตะเข็บของกระเป๋า โซ่ที่ใช้คล้องกระเป๋าโดยทองที่อยู่ในโซ่นั้น จะต้องเป็นทองที่มีมาตรฐานตามที่ทางผู้ประกอบการกาหนดไว้ มีแสตมป์ด้านหน้า และด้านข้าง กลิ่นของกระเป๋า นอกจากนี้ กระเป๋าแบรนด์เนมที่ได้รับความนิยมไม่ ต่างกันคือ หลุยส์ วิตตอง(Louis Vuitton) และแอร์เมส (Hermès) โดย หลุยส์ วิตตอง จัดได้ว่าเป็นกระเป๋าแบรนด์เนมใบที่ 1 ของผู้หญิ งค่อนข้างมาก เนื่ องจาก ระดับราคาเริ่มต้นอยู่ที่หลักหมื่น ซึ่งเป็นราคาที่จับต้องได้มากที่สุด และสาหรับแอร์ เมส (Hermès) จัดได้ว่าเป็นระดับราคาที่ค่อนข้างสูงเนื่องจากกระเป๋าชนิดนี้ใช้หนัง จระเข้ค่อนข้างมาก โดย ในการผลิตค่อนข้างที่จะมีขั้นตอนที่ต้องดูแลอย่างละเอียด EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

75


อาทิ การเลี้ยงจระเข้ ควรที่จะเลี้ยงในบ่อหินอ่อน และแยกเลี้ยงกันบ่อละ 1 ตัว เพื่อ ไม่ให้จระเข้กัดกัน มิฉะนั้นหนังของจระเข้จะมีรอยขีด จะทาให้หนังนั้นไม่สวยงาม นอกจากนี้ ผู้ ผ ลิ ต กระเป๋ า นั้ น จะต้ อ งได้ รั บ การอบรมที่ ถู ก ต้ อ งและจะต้ อ งมี ประสบการณ์ที่เชื่อถือได้ และที่สาคัญอี กประการหนึ่งผู้บริโภคที่ใช้กระเป๋าไปแล้ว สามารถนามาขายคืนได้ โดยที่ราคากระเป๋าจะมีราคาที่ลดต่าลงไปจากเดิมน้อยมาก เช่ น อาจจะต่ าลงเพี ย ง 10 เปอร์ เซ็ น ต์ หรือ บางครั้งราคาก็ ยั งคงเท่ าเดิ ม นั่ น คื อ กระเป๋ า แบรนด์ เนมสามารถน ามาใช้ ในการลงทุ น ได้ และเป็ น การลงทุ น ที่ คุ้ ม ค่ า มากกว่าการลงทุนในสินทรัพย์บางชนิด นอกจากนี้กระเป๋าแบรนด์เนมอื่น ๆ ก็จะมี ลักษณะเบื้องต้นที่คล้ายคลึงกัน นั่นคือ ในภาพรวมคือผู้บริโภคหรือผู้ที่ได้ครอบครอง นั้นจะมีความสุข และส่งผลให้ผู้บริโภคเกิดความเชื่อมั่นและไว้วางใจ ทั้งนี้ จากการถอดบทเรียนข้างต้นจากผู้ประกอบการที่ทาการขายกระเป๋า แบรนด์เนมในประเทศไทย สามารถนามาสรุปเป็นประเด็นที่ใช้ในการประเมินมูลค่า กระเป๋าแบรนด์เนมซึ่งมีประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ ความคงทน สวยงาม ความคุ้มค่ากว่า สินค้าที่ใกล้เคียงกัน มีความคุ้มค่าในการลงทุน มีการผลิตที่ซับซ้อนพิถีพิถัน มีความ น่าเชื่อถือในตัวสินค้า และมีเอกลักษณ์ของตนเอง

ภาพที่ 1 ผลการศึกษาจากผู้ประกอบการ 76

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


2. ผลการศึกษาการประเมินมูลค่ากระเป๋ าแบรนด์เนมโดยผ่านสายตา บริโภค ผ่านตัวตนโดยการสัมภาษณ์ จากการประเมิ น มู ล ค่ ากระเป๋ าแบรนด์ เนมจากกลุ่ ม ผู้บ ริ โภคผ่ านตัว ตน พบว่าผู้บริโภคมีแนวคิดและทัศนคติ ที่จะให้ความสาคัญกับการดีไซน์การออกแบบ จากดีไซน์เนอร์ของโลกซึ่งสามารถออกแบบได้ล้าเลิศ นั่นคือมีความทันสมัย มีความ คงทน ถาวร สวยงาม ประณีต มีการผลิตที่ซับซ้อน มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว อีกทั้งยัง เป็น การเสริมบุค ลิกภาพให้กับผู้ที่ ใช้กระเป๋าดั งกล่าว นอกจากนี้ ในด้านของวัสดุ ที่ นามาใช้ในการตัดเย็บกระเป๋ามีการเลือกสรรมาอย่างดี อาทิ ถ้าเป็นหนังแกะก็จะให้ ความคงทน และมีความเบา สิ่งสาคัญอื่นใดผู้บริโภคมีความเชื่อถือไว้วางใจ และไม่มี ความกังวลหรือหงุดหงิดจากการเกรงว่าวัสดุจะไม่ได้มาตรฐานหรือมีการชารุด ทั้งนี้ ผู้บริโภคกระเป๋าแบรนด์เนมทั้งหมด โดยรวมให้ความเห็นว่ากระเป๋าหลุยส์ วิตตอง (Louis Vuitton) เป็ น กระเป๋ าที่ ผู้ ห ญิ งโดยส่ วนใหญ่ จ ะต้ อ งมี เนื่ อ งจากราคาของ กระเป๋าอยู่ในระดับที่สามารถจับต้องได้มากที่สดุ และสามารถใช้ได้ในทุกโอกาส ทุก ๆ วัน อีกแบรนด์หนึ่งที่ได้รับความนิยมในลักษณะของความ สวย หรู และใช้ได้ในโอกาส ทั่ว ๆ ไป และในโอกาสของงานสาคัญ ๆ ค่อนข้างมากคือ ชาเนล (Chanel) ซึ่งราคา ค่อนข้างที่จะเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งถ้ามองในเชิงธุรกิจนั้น กระเป๋าแบรนด์เนมสามารถที่จะ เปลี่ยนจากทรัพย์สินเป็นเงินสดได้ค่อนข้างดี หรือกล่าวได้ว่ามีความคุ้มค่าในการลงทุน อีกทั้งการใช้สอยประโยชน์นั้นก็สามารถที่จะตอบโจทย์ของลูกค้าได้หมด อาทิ มีการ ทาช่องซิป ในการใส่นามบัตร ใส่โทรศัพท์มือถือ และมีช่องต่าง ๆ เพื่อการใช้ในกิจ ต่าง ๆ อเนกประสงค์ นอกจากนี้กระเป๋าแบรนด์เนมอื่น ๆ ก็ตอบโจทย์ในลักษณะที่ คล้ายคลึงกัน แต่จะมีความแตกต่างกันก็เพียงเอกลักษณ์ อาทิ ถ้าเป็น ชาเนล จะ แสดงถึ งความหรู คลาสสิ ก ถ้าเป็ น แอร์เมส จะแสดงถึงความมีฐานะทางสั งคมที่ ค่อนข้างสูง เนื่องจากส่วนใหญ่เป็นหนังจระเข้ ปีหนึ่ง ๆ ผลิตในจานวนไม่มาก และมี จานวนที่จากัด เป็นต้น ทั้งนี้ สามารถสรุปประเด็นที่ใช้ในการประเมินมูลค่ากระเป๋าแบรนด์เนมผ่าน สายตาของผู้บริโภค ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ได้ในประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

77


• • • • • • • •

ความสวยงามและประณีต ความคงทนถาวร มีการผลิตที่ซับซ้อน มีความคุ้มค่ากว่าสินค้าที่ใกล้เคียงกัน มีความทันสมัย มีความน่าเชื่อถือในตัวสินค้า มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว มีความคุ้มค่าในการใช้ประโยชน์

ทั้งนี้ สามารถแสดงได้ดังภาพข้างล่างนี้

ภาพที่ 2 ผลการศึกษาจากผู้บริโภค

78

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


3. ผลการศึ ก ษาลั ก ษณะการตั้ ง ราคาหรือ การประเมิ น มู ล ค่ า กระเป๋ า แบรนด์เนม ตามหลักเศรษฐศาสตร์ จากผลการวิ จั ย พบว่ า การตั้ ง ราคากระเป๋ า แบรนด์ เ นมตามหลั ก เศรษฐศาสตร์ จากลักษณะการตั้งราคาทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า การตั้งราคาของ กระเป๋าแบรนด์เนมนี้ เป็นไปในลักษณะของการตั้งราคาเพื่อสร้างค่านิยม (Prestige Pricing) เนื่องจากการตั้งราคาสินค้าดังกล่าวจะมีการตั้งราคาที่ค่อนข้างสูง ทั้งนี้ เพื่อ สร้ า งค่ า นิ ย มตลอดจนกลยุ ท ธ์ ห ลั ก ที่ ใ ช้ คื อ การใช้ ก ลยุ ท ธ์ ก ารโฆษณาเป็ น หลั ก นอกจากนี้แนวโน้มของราคาสินค้ามีการลดราคาลงน้อยมาก ในทางตรงข้ามกลับมี แนวโน้มที่เพิ่มสูงขึ้น ทั้งนี้สืบเนื่องจากผู้บริโภคมีความเชื่อมั่นและมีค่านิยมในตราและ คุณภาพของสินค้า จากสภาพการณ์ ดั งกล่ า ว แสดงให้ เห็ น ว่ า แนวโน้ ม ในการด าเนิ น ธุ รกิ จ ประเภทนี้ ผู้ประกอบการจะต้องยังคงคุณภาพของสินค้านั้นไม่ให้ลดต่าลงไป หรือ อาจจะต้องมีคุณภาพที่เพิ่มขึ้น สินค้าเหล่านั้นจะต้องแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่ามี ความแตกต่างจากสินค้าทั่วๆ ไป ยกตัวอย่าง กรณีของกระเป๋าแอร์เมส จะเห็นว่าใน การผลิตนั้น มีการใส่ใจในรายละเอียดทุกขั้นตอน อาทิ การใช้หนังจระเข้มาเป็นวัสดุ ของกระเป๋านั้น จะใส่ใจถึงกระบวนการเลี้ยงจระเข้ ซึ่งจะมีการเลี้ยงในบ่อหินอ่อน ตลอดจนคุณภาพของพนักงานขายก็เป็นสิ่งสาคัญ เนื่องจากพนักงานขายจะเป็นผู้ที่ จะต้อ งประชาสั ม พั น ธ์ให้ กั บ ผู้ บ ริโภคที่ จะมาท าการซื้ อ สิน ค้ าน คื อ พนั ก งานขาย จะต้องทราบข้อมูลอย่างละเอียดและมีการให้บริการที่ดี นอกจากนี้ ในสินค้าแบรนด์ เนม อื่น ๆ ก็เช่นกัน ก็จะต้องมีการใส่ใจในรายละเอียดทุกขั้นตอนมิให้มีการขาดตก บกพร่อง ก็จะส่งผลให้ผู้บริโภคเกิดความภักดีแ ละเชื่อมั่นในสินค้าเหล่านั้นอย่างไม่มี ความเคลือบแคลงสงสัยและจะยังคงทาการซื้อสินค้านั้นต่อไป ทั้งนี้ ถ้าหากจะกล่าว โดยรวมอาจจะกล่าวได้ว่า กระเป๋าแบรนด์เนมสามารถที่จะตอบโจทย์ผู้บริโภคที่มี ความชื่นชอบกระเป๋าแบรนด์เนมได้ค่อนข้างมากพอสมควร ซึ่งผู้ประกอบการก็จะ ยังคงได้รับผลตอบแทนที่ยั่งยืนต่อไป ถ้าหากยังคงคุณ ภาพการผลิตให้ได้มาตรฐาน เพื่อให้สอดคล้องกับการตั้งราคาในการดาเนินธุรกิจนั้น ๆ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

79


สรุปผลการวิจัย จากผลการศึกษาวิจัยทาให้ทราบว่า การประเมินกระเป๋าแบรนด์เนมนั้น โดยผ่านสายตามของผู้บริโภคนั้นจะประเมินจากประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ ความสวยงาม และปราณี ต ความคงทนถาวร มี ก ารผลิ ต ที่ ซั บ ซ้ อ น มี ค วามคุ้ ม ค่ า กว่ า สิ น ค้ า ที่ ใกล้เคียงกัน มีความทันสมัย มีความน่าเชื่อถือในตัวสินค้า มีเอกลักษณ์ เฉพาะตัว และมีความคุ้มค่าในการใช้ประโยชน์ ส่วนการประเมินมูลค่าตามหลักเศรษฐศาสตร์ จากลักษณะการตั้งราคาทางเศรษฐศาสตร์ จะเป็นการตั้งราคาตามค่านิยม ซึ่งจะเห็น ได้ว่ามีการตั้งราคาที่ค่อนข้างสูง ทั้งนี้ ผู้บริโภคก็มีความยินดีที่จะซื้อเนื่องจากเป็ น ราคาสินค้าที่ผู้บริโภคมีความพึ งใจและมีความนิยมชมชอบในสินค้าดังกล่าว แม้ว่า ราคาจะสูงผู้บริโภคก็ยังคงยินดีที่จะซื้อ เนื่องจากผู้บริโภคให้ความสาคัญในประเด็น ต่าง ๆ ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น การอภิปรายผล จากการศึ ก ษาในงานวิ จั ย ดั งกล่ า วพบว่ า มี งานวิ จั ย ข้ า งต้ น ในส่ ว นของ การศึกษาความสาเร็จการดาเนินธุรกิจกระเป๋าแบรนด์เนมของผู้ประกอบการมีความ สอดคล้องกับงานวิจัยของ วุทธิชัย ลิ้มอรุโณทัย และ พิทักษ์ ศิริวงศ์ (2557) นั่นคือ บุคคลสามารถสร้างความสาเร็จมาสู่ตนเองได้ โดยการวางเป้าหมายและดาเนินการ ตามเป้าหมายที่วางไว้ ดังเช่น ความสาเร็จของผู้ป ระกอบการไทยที่ ทาธุรกิ จขาย กระเป๋าแบรนด์เนม นอกจากนี้งานวิจัยในส่วนของการประเมินมูลค่ากระเป๋าแบรนด์ เนมยังมีค วามสอดคล้องกับงานวิจัยของ กมล โสระเวช (2558) ในส่วนของความ ต้องการกระเป๋าแบรด์เนมของผู้บริโภคนั้นจะเห็นว่าการใช้กระเป๋าแบรนด์เนมทาให้ เข้าสังคมชั้นสูงได้ มีความทันสมัยและยกระดับฐานะทางสังคมได้ ทั้งนี้ผลการวิจัย ข้างต้นยังสอดคล้องกับผลงานวิจัยของ ณั ฏฐ์ชิสา อัฐศักดิ์ (2559) ในด้านของการ ตัดสินใจซื้อกระเป๋าแบรนด์เนมของผู้บริโภค ซึ่งผู้บริโภคจะมีความเห็นด้วยในระดับ มากของกระเป๋าแบรนด์เนม ในส่วนของความคงทน คุณภาพของสินค้า ความทันสมัย ความมีชื่อเสียงของตรายี่ห้อหรือแบรนด์ของกระเป๋า 80

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ข้อเสนอแนะ ผู้ประกอบการสามารถนาผลการการวิจัยไปปรับใช้ในการดาเนินธุรกิจสินค้า แบรนด์เนมอื่น ๆ ได้ โดยทาการศึกษาจากประเด็นต่าง ๆ ที่ผู้บริโภคใช้ในการประเมิน มูลค่ากระเป๋าแบรนด์เนม ช้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป จากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าผู้บริโภคให้ความสาคัญ กับคุณ ภาพของ กระเป๋าแบรนด์เนมค่อนข้างมาก ดังนั้น แนวทางในการทาวิจัยต่อไป ควรจะทาการ ศึกษาแนวทางการพัฒนาและเพิ่มคุณภาพของสินค้ากระเป๋าแบรนด์เนมให้เพิ่มขึ้น เอกสารอ้างอิง กมล โสระเวช. 2558. ปั จ จั ย ค่ า นิ ย มและส่ ว นประสมทางการตลาดที่ ส่ งผลต่ อ พฤติกรรมในการตัดสินใจเลือก ซื้อกระเป๋าแบรนด์เนมของผู้หญิงในวัย ทางานในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราช ภัฏสวนสุนันทา ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 ปี 2558. ณั ฏ ฐ์ชิสา อัฐ ศัก ดิ์ . 2559. ปั จจั ยในการเลือ กซื้อ กระเป๋ าแบรนด์ เนมทางออนไลน์ ประเภทกระเป๋าและรองเท้าสุภาพสตรี. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. วุทธิชัย ลิ้มอรุโณทัย, และ พิทักษ์ ศิริวงศ์. 2557. การศึกษาตัวตน และกระบวนการ สร้างเทคโนโลยีแห่งตัวตนสู่ความสาเร็จของชีวิตจากคนขับแท็กซี่สู่เจ้าของ กิจการหมู่บ้านจัดสรร . การประชุมวิชาการประจาปี 2556 มหาวิทยาลัย แม่โจ้ ภาคบรรยาย. Joseph Massie, and John Douglas. 1997. Managing, A Contemporary Introduction.

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

81


อายุน้อยร้อยล้าน. ธุรกิจกระเป๋าแบรนด์เนมมือ 2 Celebrity Brandname. สืบค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=_d6WtcK2 poM&feature =youtu.be เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2562 Chanel 2.55 ราคาพุ่งสูง นักวิจัยชี้คุ้มค่ากว่าบ้านและที่ดิน สืบค้นจาก https://www.jeab.com/style-beauty/style/chanel-2- 5-priceincreased เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2562

82

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

83


84

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


การนาความรู้สู่การปฏิบัติงานจริงด้วยสหกิจศึกษา ของคณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม PRACTICAL OF KNOWLEDGE BY COOPERATIVE EDUCATION OF SCHOOL OF ACCOUNTANCY SRIPATUM UNIVERSITY พรรณทิพย์ อย่างกลั่น1 อัจฉราพร โชติพฤกษ์2 บทคัดย่อ สหกิจศึกษาเป็นการจัดการศึกษาที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ออกไปเรียนรู้ และฝึกประสบการณ์ที่ตรงกับวิชาชีพในสภาพจริงสลับกับการเรียนในสถานศึกษาโดย เป็นความร่วมมืออย่างใกล้ชิดของสถานศึกษาและสถานประกอบการ มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักและประเมินศักยภาพตนเองได้ทั้งด้านวิชาการ วิชาชีพ และ ทักษะที่จาเป็นสาหรับการประกอบอาชีพ เข้าใจและรู้จักสังคม วัฒนธรรม และคนใน แวดวงวิชาชีพ รวมทั้งเข้าใจและรู้จักลักษณะงานในสายวิชาชีพได้ลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น อัน จะเป็นข้อมูลสะท้อนกลับในการพัฒนาตนเองให้พร้อมก่อนก้าวออกสู่สังคมงานต่อไป นอกจากนั้น สหกิจศึกษายังทาให้ได้ข้อมูลสะท้อนกลับจากผู้ใช้บัณฑิ ตสาหรับการ นาไปพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน การจัดกิจกรรมที่สอดรับเพื่อเป็นแนวทาง สาหรับการผลิตบัณฑิตที่ได้มาตรฐานและตรงกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตยิ่งขึ้ น

1

อาจารย์พรรณทิพย์ อย่างกลั่น ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อานวยการกลุ่มงานมาตรฐานการศึกษาและบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีปทุม EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

85


โดยกระบวนการสหกิจศึกษาประกอบด้วย 3 กระบวนการ คือ 1) กระบวนการก่อน ออกปฏิ บั ติ งานสหกิ จ ศึก ษา 2) กระบวนการระหว่างปฏิ บั ติ งานสหกิ จ ศึ กษาและ 3) กระบวนการหลังการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา คณะบั ญ ชี มหาวิท ยาลัยศรีป ทุม ตอบรับ นโยบายมหาวิทยาลัยด้ วยการ พัฒนาหลักสูตรนาสหกิจศึกษาบรรจุในหลักสูตรบัญชีบัณฑิต กาหนดให้นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 ออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในตาแหน่งงานที่เกี่ยวข้องกับสาขาการบัญชีในสถาน ประกอบการที่ นั ก ศึ ก ษาสนใจ ตลอดระยะเวลาของการด าเนิ น งานสหกิ จ ศึ ก ษา คณะบัญชีได้พัฒนากระบวนการดาเนินงานสหกิจศึกษามาอย่างต่อเนื่อง มีการพัฒนา ต่อยอดการจัดทารายงานสหกิจศึกษาของนักศึกษามาจัดทาเป็นบทความสหกิจศึกษา และนาเสนอต่อคณะกรรมการ ซึ่งนอกจากจะทาให้นักศึกษาได้เรียนรู้การวางแผน วิเคราะห์ ค้ น คว้ าข้ อมู ล รวบรวมและสรุป ข้ อ มู ลแล้ ว ยั งท าให้ นั กศึ ก ษาได้ เรียนรู้ กระบวนการและวิธีการในการเขียนบทความ และการนาเสนอซึ่งเป็นทักษะที่จาเป็น และยังเป็นพื้นฐานที่ดีสาหรับการเรียนต่อในระดับบัณฑิตศึกษา อีกทั้งบทความสหกิจ ศึ ก ษาจะผ่ า นกระบวนการประกวดภายในคณะเพื่ อ ส่ ง เข้ า ประกวดในระดั บ มหาวิทยาลัยและระดับเครือข่ายต่อไป โดยในปี 2561 คณะบัญชีสามารถคว้ารางวัล รางวัลนักศึกษาสหกิจศึกษานานาชาติดีเด่น รางวัลรองชนะเลิศอันดับสองผลงานด้าน สั ง คมศาสตร์ แ ละมนุ ษ ย์ ศ าสตร์ และรางวั ล ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านสหกิ จ ศึ ก ษาดี เ ด่ น ใน สถานศึกษาระดับเครือข่าย รางวัลดังกล่าวจึงยืนยันได้ว่าคณะบัญชีได้มีการพัฒนา ด้านสหกิจศึกษาอย่างต่อเนื่องและจะมีการพัฒนาด้านสหกิจศึกษาต่อไปในอนาคต คาสาคัญ : สหกิจศึกษา คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม Abstract Cooperative education is a work-integrated learning in the enterprise which closes cooperation between academic agency and enterprise. Aim of cooperative education was to give the student to do self assessment in terms of technical, career and necessary skills in 86

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


their career. The student will understand society, culture and people in their career. Also, will understanding and more profoundly know their job description which reflecting them to self-development before go to working system. Moreover, Information received from Cooperative education can be used to develop course, study and instruction system, activity which serves to produce standard graduated student and fit to labour market demand. Cooperative education has 3 implementation processes which are 1) Before cooperative education start process, 2) Between cooperative education implementation process, and 3) After cooperative education finish process. A school of Accountancy, Sripatum University follows the university’s policy by developed and included cooperative education program into accountancy bachelor degree program. The 4th year student will practice in enterprise in the relevant accountancy position which they interested. Since cooperative education has been implemented, School of Accountancy has continually develops cooperative education implementation process. An article was developed by student from cooperative education report and presented to committee for evaluation. The student was not only can learn planning, analyses, data reviewing, data collecting and summarizing data but also learn process and method of writing and presenting article which was a necessary skill and a good basic to further study in graduated school, Winner article was selected from a School of Accountancy contest process and submit for the contest in university level and in networking level. By the year 2561 (B.E.), School of Accountancy, Sripatum University had win 2 National Cooperative Education awards, the second prize of social science and humanities EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

87


science, national best practice of student in international cooperative education award and best practice in the cooperative education operator in academy. This confirmed that School of Accountancy continues developing cooperative education and will continually develop cooperative education in the next future. Keywords: Cooperative education, School of Accountancy, Sripatum University บทนา สหกิจศึกษา (Cooperative Education) ถือเป็นอีกหนึ่งทางเลือกของการ จัดการศึกษาเพื่อเติมเต็มศักยภาพทั้ง Hard Skill และ Soft Skill ให้กับนักศึกษาโดย เน้ น ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ อ อกปฏิ บั ติ งานจริงในสถานประกอบการสลั บ กั บ การเรี ย นใน สถานศึ ก ษาของนั ก ศึ ก ษาในชั้ น ปี ที่ 3 และชั้ น ปี ที่ 4 วิ จิ ต ร ศรี ส ะอ้ านและคณะ (2552) ได้กล่าวไว้ว่า“สหกิจศึกษา เป็นระบบการศึกษาที่จัดให้มีการเรียนการสอนใน สถานศึ ก ษาสลั บ กับ การไปหาประสบการณ์ ต รงจากการปฏิ บั ติ งานจริง ณ สถาน ประกอบการอย่างมีระบบ ด้วยความร่วมมือจากสถานประกอบการและทุกฝ่ายที่ เกี่ ย วข้ อ ง เป็ น ระบบการศึ ก ษาที่ ผ สมผสานการเรี ย นกั บ การปฏิ บั ติ งาน (Work Integrated Learning : WIL)” แนวคิ ด หลั ก ของการด าเนิ น งานสหกิ จ ศึ ก ษา ประกอบด้วย 2 แนวคิดใหญ่ คือ 1) การตระหนักถึงความสาคัญของการเตรียมความ พร้อ มด้ านการประกอบอาชีพ (Career Development) และการเข้ าสู่ ระบบการ ท างานของบั ณ ฑิ ต (Employability) ก่ อ นส าเร็ จ การศึ ก ษา และ 2) การพั ฒ นา คุณภาพบัณฑิตตามความต้องการของตลาดแรงงาน (วิจิตร ศรีสอ้านและคณะ, 2552) สหกิจศึกษาได้ขยายตัวไปยังสถาบันอุดมศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนอย่างกว้างขวาง และได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลโดยมีสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเป็น ภาคีสาคัญของภาครัฐ 88

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


การจั ด ให้ นั ก ศึ ก ษามี ป ระสบการณ์ ต รงจากการปฏิ บั ติ งานจริงในสถาน ประกอบการนั้นเป็นไปตามหลัก “เรียนจากการทา” (Learning by Doing) ทาให้ การจั ด การศึ ก ษาตามแนวคิ ด นี้ มี ชื่ อ เรี ย กที่ ห ลากหลาย เช่ น การศึ ก ษาจาก ประสบการณ์ (Experiential Education) โปรแกรมทางานและศึกษา (Work-Study Program) การฝึกปฏิบัติวิชาชีพ (Internship) แต่ชื่อที่เป็นที่แพร่หลายในปัจจุบันคือ สหกิ จศึก ษา (Cooperative Education) และบูรณาการการท างานกั บการเรียนรู้ (Work Integrated Learning) ซึ่ งปั จ จุ บั น สถาบั น อุ ด มศึ ก ษามี ก ารน าสหกิจ ศึ ก ษา บรรจุไว้ในหลักสูตรและมีการดาเนินการด้านสหกิจศึกษาอย่างกว้างขวาง สหกิจศึกษาทาให้ทราบว่าในหลักสูตรการเรียนการสอนได้ให้นักศึกษาเรียน วิชาเตรียมสหกิจศึกษาก่อน เพื่อการเตรียมความพร้อมนักศึกษาก่อนไปปฏิบัติงาน (ทั ศ นี ย์ ประธานและคณะ, 2555) ซึ่ งอยู่ ก ระบวนการก่ อ นสหกิ จ ศึ ก ษา โดยใน กระบวนการนี้ประกอบด้วย การประสานรับแบบฟอร์มที่เกี่ยวข้องกับการฝึกสหกิจ ศึกษาระหว่างนักศึกษาและวิทยาลัย การติดต่อประสานงานในการส่งตัวนักศึกษาไป ยังสถานประกอบการ การให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสหกิจศึกษา และการจัด โครงการปฐมนิเทศสหกิจศึกษา เมื่อนักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษาแล้ว ขั้นตอน ถัดไปจะเป็นกระบวนการระหว่างปฏิบัติสหกิจศึกษา ซึ่งประกอบด้วย การนิเทศงาน ของอาจารย์มีประโยชน์ต่อสถานประกอบการ การให้คาปรึกษาแนะนาและแก้ไข ปัญหาให้นักศึกษาระหว่างปฏิบัติงาน การติดตามนักศึกษาในระหว่างการปฏิบัติงาน สหกิจศึกษา และกระบวนการหลังปฏิบัติสหกิจศึกษา ซึ่งประกอบด้วย การให้ข้อมูล เกี่ยวกับกิจกรรมหลังกลับจากสถานประกอบการ กระบวนการรายงานตัวหลั งจาก เสร็จสิ้นการฝึกสหกิจศึกษาและการประเมินผลการปฏิบัติงาน (วรีญา คลังแสง และ เย็นจิต คงปาน, 2561) โดยการดาเนินงานด้านสหกิจศึกษาควรสร้างการมีส่วนร่วม เพื่อกาหนดแนวทางดาเนินโครงการร่วมกันจากทุกภาคส่วนสาคัญคือ สถานศึกษาโดย นักศึกษาและอาจารย์ผู้รับผิดชอบ สถานประกอบการ รวมถึงหน่วยงานสนับสนุน ภาครัฐ (เฉลิมพร เย็นเผือก, 2561) ดังนั้นกิจกรรมสาคัญและกระบวนการบริหาร จัดการสหกิจศึกษา ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การวางแผนหรือการเตรียมตัว ก่อนการปฏิบัติงาน (Plan) 2) การปฏิบัติงาน (Do) 3) การติดตามความก้าวหน้าและ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

89


การประเมิ นผล (Check) และ 4) การด าเนิ น การหลั งการปฏิ บั ติงานสหกิ จศึ กษา (Act) (สิริฉันท์ สถริกุล เตชพาหพงษ์, 2558) หลังจากที่นักศึกษาสาเร็จการศึกษาแล้ว นักศึกษาที่มีส่วนร่วมในโครงการ สหกิจศึกษาจะทาให้ได้เปรียบในแง่ของเงินเดือน กล่าวคือเมื่อนั กศึกษาที่เข้าร่วม โครงการสหกิจศึกษาไปสมัครงานจะทาให้ได้รับเงินเดือนที่สูงกว่านักศึกษาที่ไม่ได้เข้า ร่ ว ม โค ร งก า ร ส ห กิ จ ศึ ก ษ า (Gardner, Nixon & Motschenbacker, 1992) นอกจากนี้ยังพบว่านักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษานั้นมีความรับผิดชอบใน การทางานมากกว่านักศึกษาที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษา (Riggio, Kubiak, Taylor & Neale, 1994) และ Riggio et al. (1994) และยังได้ข้อสรุปว่านักศึกษาที่ เข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษานั้น ประสบการณ์ในการทางานมีผลในเชิงบวกอย่างมาก ต่ออาชีพการงานของพวกเขาด้วย วัตถุประสงค์ของสหกิจศึกษา (วิจิตร ศรีสอ้านและคณะ, 2552) 1. เตรี ย มความพร้ อ มนั ก ศึ ก ษาด้ า นการพั ฒ นาอาชี พ เสริ ม ทั ก ษะและ ประสบการณ์ให้พร้อมที่จะเข้าสู่ระบบการทางาน 2. เพิ่มเติมประสบการณ์ทางด้านวิชาการ วิชาชีพและการพัฒนาตนเองแก่ นักศึกษาในรูปแบบที่มีคุณค่าเหนือกว่าการฝึกงาน 3. เปิดโอกาสให้สถานประกอบการทั้งภาคเอกชนและภาครัฐได้มีส่วนร่วม ในการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต 4. ให้เกิดการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนที่ทันสมัยได้มาตรฐาน และตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานมากยิ่งขึ้น 5. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานประกอบการและสถานศึกษาผ่าน นักศึกษาสหกิจศึกษาและคณาจารย์นิเทศ อันจะนาไปสู่ความร่วมมือที่กว้างขวาง ยิ่งขึ้น

90

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ความสาคัญและประโยชน์ของสหกิจศึกษา ปัจจุบันแวดวงการศึกษามีการแข่งขันกันค่อนข้างสูง คุณภาพบัณฑิต จึง เป็ น ปั จ จั ย ส าคั ญ ที่ จ ะสร้ า งความเชื่ อ ถื อ ให้ กั บ ทุ ก ภาคส่ ว นที่ เกี่ ย วข้ อ ง ดั ง นั้ น สถาบันการศึกษาส่วนใหญ่จึงมุ่งเป้าหมายในการผลิตบัณฑิตเพื่อให้มีคุณภาพและเป็น ที่ต้องการของตลาดแรงงาน ซึ่งด้วยกระบวนการของสหกิจศึกษาเชื่อว่าจะสามารถทา ให้ นั ก ศึ ก ษา “รู้ จั ก ตน รู้ จั ก คน และรู้ จั ก งาน”(วิ จิ ต ร ศรี ส ะอ้ า น, 2552) สถาน ประกอบการเองก็ได้พนักงานในการร่วมทางาน และมีโอกาสในการสรรหาบุคลากร ประจา คณาจารย์มีเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สร้างผลงานวิชาการ ผลงานวิจัย และได้แหล่งทุนวิจัย ด้านสถานศึกษาได้ประเมินคุณภาพนักศึกษา เกิดความร่วมมือ อันดีระหว่างกันกับสถานประกอบการอันจะเกิดการต่อยอดของความร่วมมือด้านอื่นๆ ต่อไป ด้วยเหตุนี้สถาบันการศึกษาจึงได้มีนโยบายในการเลือกจัดการศึกษาโดยนาสห กิจศึกษาบรรจุเข้าเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร เพื่อพัฒนานักศึกษาให้มีมาตรฐานทั้งใน ด้านวิชาการและวิชาชีพ และเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงาน ถือเป็นส่วนสาคัญของ การเตรียมนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่พร้อมปฏิบัติงานในสายอาชีพเมื่อสาเร็จการศึกษา การให้นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ สถานประกอบการจริงทาให้หลายฝ่าย ได้รับประโยชน์ ดังนี้ 1. นั ก ศึ ก ษา : นั ก ศึ ก ษาจะเป็ น ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ ประโยชน์ โดยตรงจากการไป ปฏิบัติงานสหกิจศึกษายังสถานประกอบการ เนื่องจากการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาเน้น ให้นักศึกษาไปฏิบัติงานที่ตรงกับสาขาวิชาที่ตนได้ศึกษามา กรณีนักศึกษาหลักสูตร บั ญ ชี บั ณ ฑิ ต นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งไปปฏิ บั ติ ง านสหกิ จ ศึ ก ษาในส านั ก งานบั ญ ชี บริษัทเอกชนหรือหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งจะต้องปฏิบัติงานในด้านบัญชีโดยตรง ทาให้ นักศึกษาได้เรียนรู้เอกสาร การคัดแยกเอกสาร การนาเอกสารไปประกอบการบันทึก บัญชีในโปรแกรมสาเร็จรูป การจัดเก็บเอกสาร การประมวลผลข้อมูลบัญชี หรือหาก นักศึกษาไปปฏิบัติงานในสานักงานสอบบัญชี นักศึกษาจะต้องออกไปตรวจสอบบัญชี จริง เรียนรู้กระบวนการ วิธีการ และลงมือปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับการตรวจสอบบัญชี ท าให้ นั ก ศึ ก ษาได้ ป ระสบการณ์ จ ากการท างานจริ ง เกิ ด ทั ก ษะในการท างาน นอกจากนี้ ยังจะได้รับ ค่าตอบแทนจากสถานประกอบการเสมือนว่านัก ศึ กษาเป็ น EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

91


พนักงานอีกด้วย และเมื่อนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษาเสร็จสิ้นแล้ว ประสบการณ์ ตรงนี้ยังเป็นใบผ่านงานที่นักศึกษาจะสามารถนาไปเขียนเป็นประวัติในการทางาน สาหรับสมัครงานจะทาให้มีโอกาสในการได้งานทามากกว่านักศึกษาที่สาเร็จการศึกษา แล้วไม่เคยไปปฏิบัติงานจริงยังสถานประกอบการเลย 2. สถานประกอบการ : สถานประกอบการจะมีนักศึกษาไปช่วยปฏิบัติงาน ตลอดทั้งปี ทาให้ไม่ต้องรับพนักงานเพิ่ม และทาให้พนักงานของสถานประกอบการ สามารถไปท างานในส่ ว นอื่ น ที่ มี ค วามส าคั ญ มากขึ้ น ในขณะเดี ย วกั น สถาน ประกอบการยังสามารถพิจารณาคัดเลือกพนักงานได้ กล่า วคือ การที่นักศึกษาไป ปฏิบัติงานยังสถานประกอบการนั้น เสมือนเป็นการทดลองงานในช่วงแรก หากสถาน ประกอบการเห็นว่านักศึกษาคนนี้มีศักยภาพสามารถทางานที่ได้รับมอบหมายได้อย่าง มีความรับผิดชอบ สถานประกอบการสามารถรับนักศึกษานั้นเข้าทางานเป็นพนักงาน ประจาของบริษัท โดยไม่ต้ องมาเริ่มสอนหรือทดลองงานอีก ทาให้บริษัทประหยัด ค่าใช้จ่ายในการสรหาพนักงานใหม่ นอกจากนี้ยังเกิดความร่วมมือด้านวิชาการกับ สถานศึกษาและส่งผลต่อภาพลักษณ์ของสถานประกอบการที่เปิดโอกาสให้นักศึกษา มาปฏิบัติงานยังสถานประกอบการของตนเองด้วย 3. สถานศึกษา : สถานศึกษาจะได้รับประโยชน์ที่เกิดจากความร่วมมือกับ สถานประกอบการ หากสถานประกอบการนั้นพอใจกับนักศึกษาที่ไปปฏิบัติงานสหกิจ ศึ ก ษาแล้ ว สถานประกอบการนั้ น จะเชื่ อ มั่ น ในคุ ณ ภาพของนั ก ศึ ก ษาโดยจะรั บ นักศึกษาสหกิจศึกษาของสถานศึกษารุ่นต่อ ๆ ไป รวมทั้งให้ความเชื่อมั่นกับคุณภาพ ของบั ณ ฑิ ต ของสถานศึ ก ษาอี ก ด้ วยท าให้ สถานศึ ก ษามี ชื่อ เสี ย งเป็ น ที่ ย อมรับ ของ ตลาดแรงงาน ทางด้านอาจารย์ที่ ปรึกษาและอาจารย์นิเทศงานสหกิจศึก ษา จะมี ความสัมพันธ์อันดีกับ บุคลากรของสถานประกอบการ มีโอกาสแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นและหารือร่วมกันในประเด็นปัญหาและอื่นๆ ทาให้เกิดความร่วมมือในการ สร้ างงานวิ ช าการ วิจั ย ร่ วมกั น เกิ ด ความร่ว มมื อ ในการพั ฒ นาบุ ค ลากร เกิ ด การ แลกเปลี่ยนในการใช้ทรัพยากรระหว่างกัน และยังทาให้อาจารย์ได้ update ความรู้ที่ ทันสมั ย และได้ กรณี ศึกษาใหม่ๆ มาใช้สาหรับการเรียนการสอน นอกจากนี้ยังได้ ข้อมูลย้อนกลับเพื่อนามาใช้ในการปรับปรุงหลักสูตรต่อไปในอนาคต 92

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


หลักสูตรสหกิจศึกษา (วิจิตร ศรีสอ้านและคณะ, 2552) 1. กาหนดรายวิชาและหน่วยกิต สถานศึ ก ษาที่ ต้ อ งการจั ด การศึ ก ษาสหกิ จ ศึ ก ษา จะต้ อ งมี ก ารก าหนด รายวิชา สหกิจศึกษาไว้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตร โดยในระดับปริญญาตรีควรมีการ กาหนดรายวิชาสหกิจศึกษาไว้ในหมวดวิชาชีพเฉพาะ จานวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และควรจัดรายวิชาสหกิจศึกษาไว้ในแผนการเรียนชั้น ปีที่ 3 หรือชั้นปีที่ 4 ทั้งนี้ต้องผ่านรายวิชาบังคับก่อนตามที่หลักสูตรกาหนด และนักศึกษาต้องเริ่มเรียน วิชาเอกหรือวิชาเลือกของตนเองแล้ว ในภาคการศึกษาที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียน รายวิชาสหกิจ ศึ ก ษา นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งไปปฏิ บั ติ งานยั งสถานประกอบการเสมื อ น พนักงานชั่วคราว ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์ 2. คุณสมบัติของนักศึกษาสหกิจศึกษา เพื่อให้การดาเนินการสหกิจศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ หลักสูตรควร มีการคัดกรองนักศึกษาที่จะเข้าออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ สถานประกอบการ โดยการกาหนดคุณสมบัติของนักศึกษาสหกิจศึกษา ดังนี้ - มีความประพฤติเรียบร้อย ไม่อยู่ในระหว่างการถูกทาโทษทาง วินัย - มีวุฒิภาวะทางอารมณ์และสามารถพัฒนาตนเองได้ - มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 2.00 ขึ้นไป - สอบผ่านรายวิชาที่ เป็ น เงื่อนไขบั งคั บก่ อนของรายวิชาสหกิ จ ศึกษาในหลักสูตร - ผ่านการอบรมเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนปฏิบัติ งานตามที่ได้ กาหนดไว้ในเงื่อนไขก่อนไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา 3. การวัดและประเมินผล หลักสูตรควรกาหนดเกณฑ์ การวัดผลรายวิชาสหกิจศึกษาไว้ในหลักสูตร อย่างชัดเจน มีความเป็นธรรม โดยสามารถกาหนดระดับคะแนนเป็นเกรดตั้งแต่ A ถึง F หรือกาหนดเป็นแบบ ผ่าน (S) และ ไม่ผ่าน (U) ก็ได้ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

93


กระบวนการสหกิจศึกษา (วิจิตร ศรีสอ้านและคณะ, 2552) 1. กระบวนการสหกิจศึกษาของสถานศึกษา 1.1 การเตรี ย มความพร้ อ มทั้ งด้ า นวิ ช าการ ทั ก ษะวิ ช าชี พ ให้ นักศึกษาก่อนไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา 1.2 การกาหนดและพิ จารณาคุณ สมบัตินักศึกษา การคัดเลือก นักศึกษาและการประกาศผลการคัดเลือกนักศึกษา 1.3 การจั ด หางานและรั บ รองงานคุ ณ ภาพ การประกาศให้ นักศึกษาทราบ 1.4 การประชุมร่วมกันระหว่างคณาจารย์นิเทศ ผู้นิเทศงานและ นักศึกษา 1.5 การทาจดหมายส่งตัวนักศึกษา การรายงานตัวของนักศึกษา สถานประกอบการ 1.6 การจัด ทาแผนการปฏิบั ติงานของนั กศึก ษา การนิเทศงาน และการรายงานความก้าวหน้า 1.7 การน าเสนอผลการปฏิ บั ติ ง านและการประเมิ น ผลการ ปฏิบัติงาน 1.8 การสัมมนาระหว่างสถานประกอบการและสถานศึกษา 1.9 การแจ้งข้อมูลย้อนกลับไปยังสถานประกอบการ 1.10 การประเมินผลสัมฤทธิ์การดาเนินงานด้านสหกิจศึกษา 2. กระบวนการสหกิจศึกษาของสถานประกอบการ 2.1 การวางแผนกาลังคน งบประมาณในการรับนักศึกษา 2.2 การจัดหางานคุณภาพ การคัดเลือกนักศึกษาและการแจ้งผล การคัดเลือกนักศึกษา 2.3 การประชุ ม ร่ ว มกั น ระหว่ า งผู้ นิ เทศ คณาจารย์ นิ เทศและ นักศึกษา 2.4 การจัดเตรียมอุปกรณ์และสถานที่ทางานของนักศึกษา 94

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


2.5 การรั บ รายงานตั ว นั ก ศึ ก ษา การนิ เทศงาน การรายงาน ความก้าวหน้า 2.6 การนาเสนอผลการปฏิบัติงาน การประเมินผลและการแจ้ง ข้อมูลย้อนกลับไปสถานศึกษา 2.7 การสัมมนาระหว่างสถานประกอบการและสถานศึกษา 2.8 การประเมินผลสัมฤทธิ์การดาเนินงานด้านสหกิจศึกษา สหกิจศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยศรีปทุมเป็นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนรายแรกๆ ที่ได้เข้าร่วม โครงการน าร่ อ งในการจั ด การศึ ก ษาสหกิ จ ศึ ก ษาตั้ งแต่ ปี พ .ศ.2545 ตามประกาศ นโยบายให้การสนับสนุนของรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยในขณะนั้น ตลอด ระยะเวลาที่ ผ่ านมาผู้ บ ริห ารมหาวิ ท ยาลั ยได้ ต ระหนั ก และให้ ค วามส าคั ญ กั บ งาน ด้านสหกิจศึกษาอย่างยิ่ง โดยบรรจุรายวิชาสหกิจศึกษาลงในหลักสูตรของคณะต่างๆ การดาเนินงานสหกิจศึกษาจึงเติบโตขยายตัวอย่างรวดเร็วจนเป็นที่รู้จักและยอมรับ โดยทั่วไป ดั ง นั้ น เพื่ อรองรั บ การขยายงานและพั ฒ นางานสหกิ จ ศึ ก ษาของ มหาวิทยาลัยให้มีความโดดเด่น คล่องตัว และเป็นการสร้างโอกาสเพื่อผลักดันให้การ ดาเนินงานสหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัยเป็นที่ยอมรับและมีชื่อเสียงที่สุดแห่งหนึ่งใน ระดับประเทศและนานาชาติ ในปี พ.ศ. 2553 จึงได้จัดตั้ง “ศูนย์สหกิจ ศึกษาและ พั ฒ นาอาชี พ ” (Cooperative Education and Career Development Center) เพื่อดาเนินการด้านสหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัยศรีปทุมภายใต้การกากับดูแลของ รองอธิการบดี รู ป แบบการจั ด การสหกิ จ ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย ศรี ป ทุ ม ครอบคลุ ม องค์ประกอบของกระบวนการสหกิจศึกษา 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการจัดหลักสูตรสหกิจ ศึก ษา ด้ านการจัด หน่ วยงานสหกิ จศึ กษา ด้านการจัด กิจ กรรมที่ เกี่ ยวข้ องกับ การ ดาเนินงานสหกิจศึกษาและด้านการจัดบริการอื่น ๆ ที่ต่อเนื่องจากสหกิจศึกษา ซึ่งใน ช่วงแรกการจัดการสหกิจศึกษายังพบปัญหาและอุปสรรคที่สาคัญ คือการขาดความ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

95


ร่วมมือจากบุคลากรที่เกี่ยวข้อง บุคลากรที่เกี่ยวข้องยังขาดความรู้ความเข้าใจ และ ระบบการเตรียมความพร้อมนักศึกษาสหกิจศึกษายังไม่ชัดเจน (อัจฉราพร โชติพฤกษ์, 2555) ด้วยความมุ่งมั่นในการดาเนินงานสหกิจศึกษาอย่างจริงจังและต่อเนื่อง เพื่อ มุ่งพัฒนาคุณภาพนักศึกษาในระหว่างการศึกษาให้ มีความพร้อมในการทางาน และ พร้อมที่จะก้าวออกไปเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพสามารถทางานได้ทันทีหลังจากสาเร็จ การศึกษา และเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพตรงตามความต้องการของสังคม จึงทาให้ศูนย์ สหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้รับการคัดเลือกให้ได้รับรางวัล “สถานศึกษาดาวรุ่งด้านการดาเนินงานสหกิจศึกษาระดับชาติ” ในงานวันสหกิจศึกษา ไทย ครั้ งที่ 2 พ.ศ. 2553 และรางวัล “สถานศึ ก ษาด าเนิ น การสหกิ จ ศึ ก ษาดี เด่ น ระดับชาติ ปี 2556″ ในงานวันสหกิจศึกษาไทย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2556 สหกิจศึกษาของคณะบัญชี คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม ถือเป็นคณะแรกที่ได้เข้าร่วมโครงการนา ร่ อ งในการจั ด การศึ ก ษาสหกิ จ ศึ ก ษาของมหาวิ ท ยาลั ย ตั้ ง แต่ ปี พ .ศ.2545 การ ด าเนิ น การสหกิ จ ศึ ก ษาในปี แ รกๆ นั้ น ทางคณะฯ จะเป็ น ผู้ ด าเนิ น การเองตลอด กระบวนการ โดยเริ่มตั้งแต่การติดต่อสถานประกอบการเพื่อส่งนักศึกษาไปปฏิบัติงาน สหกิจศึกษา จัดการประชุม ระหว่างคณะบัญชีกับตัวแทนสถานประกอบการ เพื่อทา ความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ สหกิ จ ศึ ก ษา การปฏิ บั ติ ง านของนั ก ศึ ก ษา การติ ด ตาม ประสานงานระหว่างที่นักศึกษาปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ การนิเทศงาน การ จัดทารายงาน และการประเมินผลการปฏิบัติงาน สาหรับกระบวนการจับ คู่ นัก ศึ กษากับ สถานประกอบการนั้น คณะฯ ใช้ หลั ก การ Area Based คื อ การจั ด สถานประกอบการให้ กั บ นั ก ศึ ก ษาที่ มี ที่ พั ก อยู่ บริเวณเดียวกันหรือใกล้เคียงกับสถานประกอบการเพื่อให้เกิดความสะดวกในการ เดินทาง และป้องกันปัญหาด้านค่าใช้จ่าย ความปลอดภัย และอื่นๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น ตลอดระยะเวลาของการปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการจะจัดให้มีอาจารย์ที่ปรึกษา สหกิจศึกษาเพื่อดูแลให้คาปรึกษานักศึกษา กาหนดให้อาจารย์นิเทศออกนิเทศงาน ณ 96

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


สถานประกอบการอย่างน้อย 1 ครั้ง เพื่อพบปะพูดคุยกับพนักงานที่ปรึกษา ผู้บริหาร เพื่อติดตามและประเมินผลการดาเนินงานสหกิจศึกษาและประเมิ นผลการปฏิบัติงาน สหกิจศึกษาของนักศึกษา รับฟังความคิดเห็นของสถานประกอบการซึ่งจะเป็นข้อมูล สะท้อนกลับให้กับนักศึกษาในการพัฒนาตนเอง และนาข้อมูลที่ได้สาหรับการนาไป พัฒนาปรับปรุงการดาเนินงานสหกิจศึกษา และการพัฒนาหลักสูตร การเรียนการ สอน และการจัดกิจกรรมต่อไป คณะบัญชีกาหนดให้นักศึกษาจัดทารายงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานสห กิ จ ศึ ก ษา และน าส่ งรายงานในช่ ว งท้ า ยของการปฏิ บั ติ งานต่ อ อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษา ภายหลั งจากสิ้ น สุ ด การปฏิ บั ติ งาน 16 สั ป ดาห์ นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งกลั บ มาน าเสนอ รายงานการปฏิบัติงาน ตามวันเวลาที่คณะกาหนดไว้ โดยในการนาเสนอรายงานการ ปฏิบัติงานนั้นจะจัดให้นักศึกษาเข้าร่วมรับฟังการนาเสนอ และคณะกรรมการของ คณะทาการประเมินผล ระหว่างการประเมินผลจะมีการแลกเปลี่ยนความรู้จากการไป ปฏิบัติงานระหว่างนักศึกษาด้วยกันและคณะกรรมการเป็นผู้เติมเต็ม เสริมความรู้ ให้กับนักศึกษา ชี้แนะบูรณาการความรู้ทางวิชาการกับการปฏิบัติงาน การดาเนินงานสหกิจศึกษาของคณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้มีการ พัฒนาปรับเปลี่ยนกระบวนการเพื่อให้เกิดการต่อยอดความรู้ยิ่งขึ้น โดยในปัจจุบันมี ขั้นตอนการดาเนินงาน ดังนี้ 1. จัดรายวิชาเตรียมสหกิจศึกษา คณะบัญชีได้บรรจุรายวิชาเตรี ยมสหกิจ ศึกษาไว้ในหลักสูตร และกาหนดแผนการเรียนให้มีการเรียนในภาคการศึกษาฤดูร้อน ก่ อ นหน้ า ที่ นั ก ศึ ก ษาจะออกปฏิ บั ติ งานสหกิ จ ศึ ก ษาในภาคการศึ ก ษาที่ 1 โดย วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องรายวิ ช าคื อ ประชาสั ม พั น ธ์ ส หกิ จ ศึ ก ษา ให้ ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจ กระบวนการสหกิจศึกษา ศึกษากฎกติกา ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับสหกิจศึกษา และการ หาสถานประกอบการ เข้าสมัคร สัมภาษณ์งานสหกิจศึกษากับสถานประกอบการทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ 2. กาหนดแผนการดาเนินงานสหกิจศึกษาและจัดทาปฏิทินสหกิจศึกษา ประจาคณะบัญชี โดยในการกาหนดนั้นจะสอดคล้องกับปฏิทินของศูนย์สหกิจศึกษา และปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัย ดังตัวอย่างด้านล่าง EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

97


ภาพประกอบ 1 แผนการดาเนินงานสหกิจศึกษาคณะบัญชี 3. คัดเลือกและจับคูน่ ักศึกษากับสถานประกอบการ ดังนี้ 3.1 สถานประกอบการในประเทศไทย คณะบัญชีได้ให้นักศึกษา ติดต่อสถานประกอบการด้วยตนเองภายใต้การกากับดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษาสหกิจ ศึ ก ษา ทั้ งนี้ เพื่ อ ฝึ ก ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ เรี ย นรู้ เทคนิ ค การเลื อ กสถานประกอบการที่ เหมาะสมกั บ ตนเอง เรี ย นรู้ ก ระบวนการสมั ค รงาน การยื่ น ใบสมั ค ร การเขี ย น Resume การสั ม ภาษณ์ งาน และการรอผลการตอบรับ เข้ า ปฏิ บั ติ งานจากสถาน ประกอบการ โดยกระบวนการทั้งหมดจะเสมือนกับการที่นักศึกษาต้องไปสมัครงาน เมื่อสาเร็จการศึกษา 3.2 สถานประกอบการในต่างประเทศ คณะบัญชีได้มีการติดต่อ สถานประกอบการให้กับนักศึกษา เช่น สหกิจศึกษาคณะบัญชี รุ่น 32 ที่ผ่านมาคณะ ได้ประสานงานติดต่อกับสถานประกอบการ ณ สปป.ลาว ไว้เบื้องต้น ประชาสัมพันธ์ ให้นักศึกษาทราบและสมัครงาน คณะจะทาการคัดเลือกนักศึกษาด้วยการสัมภาษณ์ เบื้องต้นเพื่อให้ได้นักศึกษาที่มีความรู้ความสามารถด้านวิชาการ ด้านภาษาอังกฤษ และทั กษะตรงตามที่ ส ถานประกอบการต้ องการ หลังจากนั้ น นั กศึ กษาจะต้ องส่ ง ประวัติส่วนตัว(Resume) ที่เป็นภาษาอังกฤษไปยังสถานประกอบการที่ สปป.ลาว และสถานประกอบการจะนัดสัมภาษณ์ อีกครั้งผ่านทางโทรศัพท์เป็นภาษาอังกฤษ 98

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


สาหรับรุ่นนี้มีนักศึกษาที่ผ่านการสัมภาษณ์และได้ รับการตอบรับไปปฏิบัติงานสหกิจ ศึกษาที่ สปป.ลาว จานวน 8 คน ดังนี้ - บริษัท เคพีเอ็มจี ลาว จากัด จานวน 1 คน - บริษัท เอินส์แอนด์ยัง ลาว จากัด จานวน 3 คน - บริษัทเอสเคเอ็นพี จากัด จานวน 2 คน - บริษัท ปิโตรเลียมเทรดดิ้งลาว จากัด (มหาชน) จานวน 2 คน

ภาพประกอบ 2 การนิเทศงานสหกิจศึกษา ณ สปป.ลาว 4. จัดปฐมนิเทศนักศึกษาสหกิจศึกษา ก่อนออกปฏิบัติงานสหกิจศึกษาใน แต่ ล ะรุ่ น คณะจะจั ด ให้ มี ก ารปฐมนิ เทศนั ก ศึ ก ษาสหกิ จ ศึ ก ษาเพื่ อ สร้ า งความรู้ ความเข้าใจ แนะนาการปฏิบัติตน ชี้แจงเกี่ยวกับเอกสารต่าง ๆ ช่องทางการติดต่อ ประสานงานระหว่า งกั น การรายงานความก้ าวหน้ า การจั ดท ารายงาน และการ นาเสนอบทความสหกิจศึกษา

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

99


ภาพประกอบ 3 การปฐมนเทศนักศึกษาสหกิจศึกษา 5. การนิเทศงานสหกิจศึกษา ระหว่างนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ณ สถานประกอบการ คณะจะจั ด อาจารย์ ไ ปนิ เ ทศงานสหกิ จ ศึ ก ษา ณ สถาน ประกอบการเพื่อติดตามการปฏิบัติงาน ความก้าวหน้าของงาน ให้คาปรึกษา และ พบปะหารือ ร่ว มกั บ สถานประกอบการในประเด็ น ต่ างๆ จ านวน 2 ครั้ง ส าหรั บ ช่วงเวลาในการออกนิเทศงานสหกิจศึกษานั้น ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมความสะดวก ของสถานประกอบการและอาจารย์นิเทศที่จะต้องมีการนัดหมายล่วงหน้าอย่างชัดเจน

ภาพประกอบ 4 การนิเทศงานสหกิจศึกษา ณ สถานประกอบการ 100

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


6. เมื่อนักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษาครบ 16 สัปดาห์เสร็จสิ้นเรียบร้อย แล้ว นักศึกษาจะต้องส่งรายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาและบทความสหกิจศึกษา ทั้งแบบรูปเล่มและไฟล์ข้อมูลบันทึกในซีดี 7. การนาเสนอผลงานสหกิจศึกษา และประเมินผล 7.1 คณะบัญชีได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบการนาเสนอผลงานจากการ ปฏิบัติงานสหกิจศึกษาจากเดิมที่จัดห้องเพื่อนาเสนอผลงานปรับรูปแบบใหม่เป็นให้ นักศึกษานาเสนอผลงานสหกิจศึกษาผ่านทางบทความวิชาการ และโปสเตอร์ขนาด 60 x 90 เซนติ เมตร โดยคณะฯ ได้ก าหนด Template รูป แบบของบทความและ โปสเตอร์เป็นแนวทางให้กับนักศึกษาดาเนินการ 7.2 จัดนิทรรศการนาเสนอบทความวิชาการสหกิจศึกษา ในวันที่ จัดการนาเสนอบทความสหกิจศึกษานั้น คณะฯ ได้จัดเป็นโครงการนิทรรศการผลงาน นักศึกษาสหกิจศึกษา คณะบัญชี โดยรูปแบบการนาเสนอบทความสหกิจศึกษา คือ จะให้นักศึกษายืนประจาจุดติดตั้งโปสเตอร์ของตนและนาเสนอต่อคณะกรรมการทีละ คน และจะมี นั ก ศึก ษาร่ว มฟั งด้ว ย ทั้ งนี้ ก รรมการและนั กศึ ก ษาสามารถสอบถาม เพิ่มเติมประเด็นต่าง ๆ ได้ และในวันดังกล่าวจะมีการคัดเลือกบทความสหกิจศึกษา และการนาเสนอที่มีคะแนนสูงที่สดุ จานวน 9 บทความ และให้นักศึกษามานาเสนออีก ครั้งบนเวที ซึ่งทาให้ทุกคนได้รับฟั งการปฏิ บัติงานในมุมมองและงานที่ต่างออกไป หลังจากนั้นจะเป็นการตัดสินสาหรับบทความสหกิจศึกษาดีเยี่ยม 3 รางวัลและส่วนที่ เหลือคือรางวัลชมเชย

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

101


ภาพประกอบ 5 การนาเสนอบทความสหกิจศึกษา 8. สรุปผลการดาเนิ นการสหกิจศึกษา คณะบั ญ ชี จะทาการประมวลผล คะแนนสหกิจศึกษาและตัดเกรดนักศึกษาโดยใช้เกณฑ์ผ่าน (S) หรือ ไม่ผ่าน (U) โดย นักศึกษาจะต้องมีคะแนนการประเมินรวมทั้งสิ้นไม่ต่ากว่าร้อยละ 70 คะแนนประเมิน จะประกอบด้ ว ยคะแนนประเมิ น จากสถานประกอบการร้อ ยละ 50 และคะแนน ประเมินจากคณะร้อยละ 50 รายละเอียดของการประเมินประกอบด้วย ประเมินจาก รายงาน บทความและการนาเสนอบทความสหกิจศึกษา หลังจากนั้นจะทาการสรุปผล การดาเนินงานสหกิจศึกษาเพื่อเป็นข้อมูลในการดาเนินการสหกิจศึกษาในรุ่นต่อไป ผลงานสหกิจศึกษาคณะบัญชี จากการปรั บ รู ป แบบการน าเสนอผลงานสหกิ จ ศึ ก ษา โดยต่ อ ยอดจาก รายงานสหกิจศึกษาเป็นการเขียนบทความสหกิจศึกษาและการนาเสนอนั้น ทาให้ คณะสามารถประเมินศักยภาพของนักศึกษาแต่ละคนได้ชัดเจนและครอบคลุมยิ่งขึ้น อีกทั้งยังสามารถคัดเลือกผลงานสหกิจศึกษาดีเด่นได้ และเมื่อนาผลงานที่ ผ่านการ คั ด เลื อ กของคณะส่ งเข้ า ประกวดผลงานสหกิ จ ศึ ก ษาภายในมหาวิท ยาลั ย พบว่ า ในภาคการศึ ก ษาที่ 1/2561 ผลงานนั ก ศึ ก ษาสหกิ จ ศึ ก ษาในประเทศ จ านวน 6 ผลงาน และผลงานสหกิจศึกษานานาชาติ จานวน 3 ผลงานที่ส่งประกวด สามารถ 102

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ชนะเลิศได้รับรางวัลสหกิจศึกษานานาชาติ รองชนะเลิศอั นดับ 1 นางสาวจิรัฐิติกาล ตาดี ชื่ อ บทความ การตรวจสอบอั ต ราแลกเปลี่ ยนเงิน ตราต่ างประเทศ (Foreign Exchange on Auditing) และ รองชนะเลิ ศ อั น ดั บ 2 นายยลเดช เลิ ศ พี ร พั น ธุ์ ชื่อบทความ การตรวจสอบการเบิกจ่ายเงินสาหรับค่าใช้จ่ายในการบริหาร (Auditing of Cash Disbursement and Admin Expense) และผลงานที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล รอง ชนะเลิศอันดับ 1 มหาวิทยาลัยได้คัดเลือกเป็นผู้แทนในการส่งประกวดระดับเครือข่าย ต่อไป ทั้ งนี้ ผลการประกวดผลงานสหกิ จ ศึ ก ษาระดั บ เครื อ ข่ ายของเครือ ข่ า ย อุด มศึ กษาเพื่ อการพั ฒ นาสหกิจศึ ก ษาของเครือ ข่ายอุ ดมศึ กษาภาคกลางตอนบน พบว่าผลงานของ นางสาวจิรัฐิติ กาล ตาดี นั กศึ กษาสหกิ จศึกษาคณะบั ญ ชี ได้ รับ รางวัลนักศึกษาสหกิจศึกษานานาชาติดีเด่น รางวัลรองชนะเลิศอันดับสอง และใน ขณะเดียวกันอาจารย์พ รรณทิพย์ อย่างกลั่น ได้รับรางวัลผู้ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ดีเด่นในสถานศึกษา ซึ่งถือเป็นความสาเร็จอีก ขั้นหนึ่งของการดาเนินงานสหกิจศึกษา คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ภาพประกอบ 6 รางวัลสหกิจศึกษาระดับเครือข่ายอุดมศึกษา ภาคกลางตอนบน EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

103


สรุปผล การดาเนินการสหกิจศึกษาของคณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้มีการ เริ่มดาเนินการตั้งแต่ปีการศึกษา 2545 และมีพัฒนาการดาเนินการมาอย่างต่อเนื่อง จนถึงปัจจุบัน กระบวนการด้านสหกิจศึกษาของคณะบัญชีโดยเริ่มตั้งแต่กระบวนการ เตรียมความพร้อมให้นักศึกษา โดยการจัดโครงการอบรมให้ความรู้กับนักศึกษาทั้งใน ด้านวิชาการ วิชาชีพ การเตรีย มความพร้อมในการสมัครงาน และการอบรมด้าน บุคลิกภาพ นอกจากนี้ยังให้นักศึกษาได้ไปสมัครงานยังสถานประกอบการที่เป็นทั้ง ภาครัฐและเอกชน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ การยื่นเอกสารสมัครงานและการ สัมภาษณ์งาน ในระหว่างที่ นักศึกษาไปปฏิบัติงาน ณ สถานประกอบการ ทางคณะ บัญชีจะมีการจัดอาจารย์นิเทศเพื่อให้คาปรึกษาและไปนิเทศงานนักศึกษายังสถาน ประกอบการ ซึ่ งเป็ น การสร้า งความสั ม พั น ธ์อั น ดี ร ะหว่ า งสถานศึ ก ษาและสถาน ประกอบการ นอกจากนี้ ยั งเป็ น การติด ตามการปฏิ บัติ งานของนั ก ศึก ษาด้ วย เมื่ อ นักศึกษาปฏิบัติงานสหกิจศึกษาเสร็จแล้ว จะต้องจัดทารายงานและบทความสหกิจ ศึกษา และนาเสนอต่อคณะกรรมการ หลังจากนั้นจะเป็นการประเมินผลโครงการสห กิจศึกษา ซึ่งการดาเนินงานด้านสหกิจศึกษาของคณะบัญชีได้มีการพัฒนา ปรับปรุง กระบวนการด้านสหกิจศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้โครงการสหกิจศึกษาเกิดประโยชน์ สูงสุดต่อนักศึกษา สถานประกอบการและสถานศึกษาหรือมหาวิทยาลัย นอกจากนี้ยัง สามารถน ารายงานสหกิจศึกษาหรือโครงงานไปใช้ในการปฏิบั ติงานจริง และเป็ น ต้นแบบหรือแนวทางในการดาเนินการด้านสหกิจศึกษาของหลักสูตรอื่นต่อไป

104

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


เอกสารอ้างอิง เฉลิ ม พร เย็ น เยื อ ก. 2561. การประเมิ น ผลการด าเนิ น งานโครงการสหกิ จ ศึ ก ษา กรณี ศึ กษา มหาวิทยาลั ยรังสิต . วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคม สถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จประ เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 7(1), 66-89. ทัศนีย์ ประธาน และคณะ. 2555. ผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานสหกิจศึกษาของนักศึกษา มหาวิทยาลัยหาดใหญ่. งานวิจัย มหาวิทยาลัยหาดใหญ่. วรีญา คลังแสง และเย็นจิต คงปาน. 2561. ทัศนคติของนักศึกษาวิทยาลัยนวัตกรรม และการจัดการต่อกระบวนการจัดสหกิจศึกษา. งานวิจัย มหาวิทยาลัย ราชภัฎสวนสุนันทา. วิจิตร ศรีสอ้านและคณะ. 2552. ประมวลสาระชุดฝึกอบรมสหกิจศึกษา. กรุงเทพฯ: สมาคมสหกิจศึกษาไทย. สิ ริ ฉั น ท์ สถิ ร กุ ล เตชพาหพงษ์ . 2558. การบริ ห ารจั ด การสหกิ จ ศึ ก ษาส าหรั บ มหาวิ ท ยาลั ย : กรณี ศึ ก ษา สาขาวิ ชาธุ ร กิ จ และอาชี ว ศึ ก ษา คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 7(2), 146-156. อัจฉราพร โชติพฤกษ์. 2555. การพัฒนารูปแบบการจัดการสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัย ศรีปทุม. วิทยานิพนธ์ ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการอุดมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. Gardner, P.D., Nixon, D.C., & Motschenbacker, G. 1992. Starting salary outcomes of cooperative education graduates. Journal of Cooperative Education, 27(3), 16-26. Riggio, R.E., Kubick, C., Taylor, S.J., & Neale, P. 1994. Evaluation of a cooperative education program with an emphasis in industrial/organizationl psychology. Journal of Cooperative Education, 29(1), 59-66. EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

105


การบูรณาการทักษะความรู้ทางด้านโรงแรมผ่านการจัดกิจกรรม The Integrated Skill and Knowledge in Hotel with Activities พีรยา สุขกิจเจ1 วันธงชัย ชีวะกลินศักดิ์2 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อศึกษาการเรียนรู้แบบบูรณาการ ของนักศึกษาผ่านโครงการโรงแรมจาลอง 2. เพื่อสรุปผลการเรียนรู้ของนักศึกษาสาขา การจัดการโรงแรมจากผลงานการนาเสนอ โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ที่ ล งทะเบี ยนจ านวน 131 คน ใช้ก ารวิ จัย เชิ งคุ ณ ภาพจากผลการจั ด กิ จกรรม ผล การศึกษาพบว่า นักศึกษาสามารถเรียนรู้ คิดสร้างสรรค์ แก้ปัญหาและสื่อสารได้อย่าง มีคุณภาพ ตรงตามกรอบแนวคิดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งเสริมให้คิดทุกมิติเข้า ด้วยกั น ทั กษะด้านการเรีย นรู้และนวั ต กรรมเน้ น องค์ ป ระกอบอยู่ 3 ด้านด้ วยกั น 1.ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม 2. การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ไขปัญหา 3.การ สื่อสารและการมีส่วนร่วม ดังนั้ นการเสริมสร้างองค์ความรู้ทางด้านโรงแรม ทาให้ นักศึกษาสามารถดึงศักยภาพของตัวเองออกมาใช้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา การเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาโดยเฉพาะระดับอุดมศึกษา ส่วนใหญ่ ยังคงใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบเดิมกล่าวคือ รูปแบบการเรียนการสอน เชิงบรรยายใช้การวัดผลด้วยการสอบกลางภาคและปลายภาค 1

อาจารย์พีรยา สุขกิจเจ

หัวหน้าสาขาวิชาการจัดการโรงแรมและไมซ์ วิทยาลัยการท่องเที่ยวและบริการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม 2

อาจารย์วันธงชัย ชีวะกลินศักดิ์

อาจารย์ประจาสาขาวิชาการจัดการโรงแรมและไมซ์ วิทยาลัยการท่องเที่ยวและบริการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

106

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


นั ก ศึ ก ษานั่ งฟั งสิ่ งทิ่ อ าจารย์ ส อน หรื อ น าเครื่ อ งมื อ สื่ อ สารถ่ ายภาพสไลด์ ในการ บรรยายของอาจารย์ หรือบันทึกเสียงการบรรยายของอาจารย์ รูปแบบการเรียนการ สอนส่งผลให้ขาดทักษะในการคิดและการแสดงความสามารถแบบบูรณาการความรู้ เชิงทฤษฏีกับการปฏิบัติจริงส่งผลให้สถาบันการศึกษาที่ผลิตบัณฑิตได้รับเสียงสะท้อน กลับในด้านลบจากนายจ้าง และไม่สามารรถปฏิบัติงานได้ตรงตามความต้องการของ ตลาดแรงงานและผู้ประกอบการได้ ในปี 2020 ตลาดแรงงานโลกและนายจ้างยุคเศรษฐกิจ 4.0 มีความต้องการ บุคลากรที่ประกอบไปด้วยทักษะสาคัญ 10 ด้าน คือ 1. ทักษะการแก้ปัญหาที่ทับซ้อน 2. การคิดวิเคราะห์ 3. ความคิดสร้างสรรค์ 4. การจัดการบุคคล 5. การทางานร่วมกัน 6. ความฉลาดทางอารมณ์ 7. การประเมินสถานการณ์และการตัดสินใจ 8. มีใจรักงาน บริการ 9. การเจรจาต่อรอง 10. ความยืดหยุ่นทางความคิด ซึ่งสอดคล้องกับองค์การ เพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for Economic CoOperation and Development-OCED ) พบว่ า นายจ้ า งองค์ ก รในศตวรรษที่ 21 คาดหวั งให้ พนั ก งานในองค์ กร มี ทั กษะด้ านการคิ ดวิเคราะห์ (Critical Thinking) และความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) มากที่สุด ดังนั้นบุคคลที่มีทักษะหลากหลาย พร้อ มด้ วยปั ญ ญาและการสื่ อสารจะเป็ นแรงงานที่ ก้าวหน้าในการประกอบอาชี พ ผู้สอนจึงมี บทบาทสาคัญ และต้องเข้าใจยุคสมัยที่ เปลี่ยนไป ผู้ เรียนสามารถเข้าถึ ง เท ค โน โล ยี แ ล ะ อิ น เต อ ร์ เน็ ต ได้ ส ะ ด วก ม า ด ขึ้ น ผ่ า น เค รื่ อ งมื อ สื่ อ ส า ร (Pisitpaiboon,2016) การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ (Integrated Instruction) เป็นการสอนที่ เชื่อมโยงความรู้ ความคิดรวบยอด หรือทักษะเข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้โดย องค์ รวม ทั้ งด้ านพุ ท ธพิ สัย จิต พิ สั ย และทั ก ษะพิ สั ย ที่ สอดคล้ องตามแนวการจั ด การศึ ก ษาตามพระราชบั ญ ญั ติ แ ห่ งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา23 ทั้ งเน้ น ทั้ งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสม ซึ่งเป็นไปตามสภาพ จริ ง ของสั ง คม (สิ ริ พั ช ร์ เจษฏาวิ โ รจน์ , 2557) การจั ด การเรี ย นการสอนใน อุตสาหกรรมโรงแรมและการท่องเที่ยวตามกรอบมาตราฐานคุ ณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ พ.ศ.2552 ผู้เรียนควรมี (1) ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

107


รับผิดชอบ (2) ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี (3) บุ ค ลิ ก ภาพ (4) คุ ณ ธรรมจริย ธรรม (5) ความรู้ (6) ทางปั ญ ญา (7) ทางภาษา (Janchai et al., 2015, Anugtanakul, 2013) จากข้อมูลที่กล่าวมาสรุปได้ว่า การผลิตบัณ ฑิตหลักสูตรด้านการโรงแรม ควรมีทักษะของบัณฑิตให้สอดคล้องกับการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ด้วยนวัตกรรมการ จัดการเรียนการสอน ที่มีแนวคิด รูปแบบและวิธีการ กระบวนการเช่นการเรียนรู้แบบ บู ร ณาการผ่ า นรายวิ ช าเพื่ อ ให้ เป็ น ต้ น แบบให้ เกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพการเรี ย นรู้ น อก ห้องเรียนได้ (Chaiyasin, 2017) เป็นการเชื่อมโยงเนื้อหาสาระในหลักสูตรกับกลุ่ม สาระการเรียนรู้อื่นในแต่ละดับชั้น ในหลักสูตรเพื่อให้นักศึกษาสามารถเลือกใช้ทักษะ ต่าง ๆ ได้ อย่ างเหมาะสม และมี อิ สระทางแนวความคิ ด ในการน าเสนอเพื่ อ น ามา พัฒนาชิ้นงาน โครงการโรงแรมจาลอง ในรายวิชา HMT436 สัมมนาธุรกิจโรงแรม เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบูรณาการองค์ความรู้ในด้านต่าง ๆ ของ โรงแรมเสมือนจริง ด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อให้ทราบถึงผลลัพธ์การเรียนรู้ของ นักศึกษา ในวันแสดงผลงานนิทรรศการโรงแรมจาลอง วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาการเรียนรู้แบบบูรณาการของนักศึกษาผ่านการจัดกิจกรรม โครงการโรงแรมจาลอง 2. เพื่อสรุปผลการเรียนรู้ของนักศึกษาสาขาการจัดการโรงแรมจากผลงาน การนาเสนอชิ้นงาน ขอบเขตการวิจัย การวิจัยนี้ ใช้วิธีการศึกษาเชิงคุณภาพเป็นหลัก ในการบูรณการองค์ความรู้ มาปรับใช้เป็น แบบเจาะจง จากนักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 ที่ลงทะเบียนวิชาสัม มนาธุรกิ จ โรงแรม ปีการศึกษา 2561 มหาวิทยาลัยศรีปทุม จานวน 131 คน เนื้อหาในการวิจัย ครั้ งนี้ เป็ น การจั ด กิ จ กรรมโรงแรมจ าลองในรายวิ ชา โดยความเห็ น ชอบจากทาง วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการ และสาขาวิชารจัดการโรงแรม 108

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


กลุ่มเป้าหมาย นักศึกษาสาขาการจัดการโรงแรม ชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการ บริการที่ลงทะเบียนรายวิชา สถานประกอบการทางด้านอุตสาหกรรมธุรกิจโรงแรม นักเรียนนักศึกษาระดับชั้นมัธยมปลายและอาชีวะศึกษา จานวน 131 คน วิธีการดาเนินการวิจัย ผู้วิจัยได้ทาการออกแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการ โดยนารูปแบบ การบู ร ณาการหลั ก สู ต รการศึ ก ษามาเชื่ อ มโยงส่ ว นต่ า ง ตามทั ก ษะการเรี ย นรู้ ใน ศตวรรษที่ 21 ทั ก ษะด้ านการเรี ย นรู้แ ละนวั ต กรรม (Learning and Innovation Skills) ทั ก ษะด้ า นนี้ จุ ด เน้ น อยู่ บ นพื้ น ฐานแห่ ง การสร้ า งสรรค์ การคิ ด แบบมี วิจารณญาณ การสื่อสาร และการมีส่วนร่วมในการทางาน ดังรายละเอียดต่อไปนี้ (สุร ศักดิ์ ปาเฮ, 2555) การคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creatively and Innovation) ประกอบด้วย การคิดสร้างสรรค์ (Think Creativity) โดย 1. เทคนิคของการสร้างสรรค์ทางความคิดที่เปิดกว้างเช่นการระดมสมอง 2. สร้างสรรค์สิ่งใหม่และเสริมสร้างคุณค่าทางความคิด และสติปัญญา 3. มีความละเอียดรอบคอบต่อการคิดวิเคราะห์และประเมินแนวความคิด เพื่อนาไปสู่การปรับปรุงและพัฒนาชิ้นงานในเชิงสร้างสรรค์ การทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ (Work Creativity with Others) 1. มุ่งพัฒนาเน้นการปฏิบัติและสื่อสารแนวคิดใหม่ ๆ ที่ส่งผลต่อระบบการ ทางาน 2. เปิดใจกว้างและยอมรับในมุมมองหรือโลกทัศน์ใหม่ ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อ ระบบการทางาน

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

109


3. เป็ นผู้น าในการสร้างสรรค์ ผลงาน รวมทั้ งมี ความรู้แ ละความเข้าใจใน สภาพการณ์ ซึ่งอาจะเป็นข้อเท็จจริงหรือเป็นข้อ จากัด โดยพร้อมที่จะยอมรับความ คิดเห็นใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นนั้นได้ 4. สามารถสร้างวิกฤติให้เป็นโอกาสส่งผลต่อการเรียนรู้และเข้าใจถึงวิธีการ สร้างสรรค์ นวัตกรรมที่ต้องใช้เวลาและความสามารถนาเอาข้อผิดพลาดมาปรับปรุง แก้ไขพัฒนางานได้อย่างต่อเนื่อง การคิดเชิงวิพากษ์และแก้ไขปัญหา(Critical Thinking and Problem Solving) ประกอบด้วย ประสิทธิภาพของการใช้เหตุผล ใช้รูปแบบที่ชัดเจนในเชิงเหตุผลทั้งในเชิง นิรนัยและอุปนัย ได้เหมาะสมตามสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น การใช้วิธีคิดเชิงระบบ (Use System Thinking) สามารถคิดวิเคราะห์จาก ส่วนย่อยไปหาส่วนใหญ่ได้อย่างเป็นองค์รวมทั้งหมดและเป็นระบบครบวงจรในวิธีคิด หรือกระบวนการคิดนั้น ประสิทธิภาพในการตัดสินใจ (Make Judgement and Decisions) โดย 1. สร้างประสิทธิภาพในการคิดวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ เพื่อสร้าง การยอมรับและความน่าเชื่อถือ 2. สามารถคิดวิเคราะห์และประเมินผลในเชิงทักษะได้อย่างต่อเนื่อง 3. สังเคราะห์และเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลรวมทั้งบทสรุปที่เกิดขึ้น 4. ตี ค วามหมายและให้ ข้ อ สรุ ป ที่ ตั้ งบนฐานแห่ งการวิ เคราะห์ ที่ มี ค วาม น่าเชื่อถือมากที่สุด 5. สะท้ อนผลได้อ ย่ างมี วิจ ารณญาณ บนพื้ น ฐานแห่ งประสบการณ์ แ ละ กระบวนการการเรียนรู้การแก้ปัญหาโดย - การแก้ไขปัญหาที่มีความแตกต่างได้ทั้งปัญหาซ้าซาก และปัญหาที่อุบัติขั้น ใหม่ในหลากหลายเทคนิควิธีการ - สามารถกาหนดเป็นประเด็นคาถามสาคัญที่จะนาไปสร้างเป็นจุดเน้นใน การแก้ไขปัญหาตามสถานการณ์ที่เหมาะสมที่สุด 110

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


การสื่อสารและการมีส่วนร่วม (Communication and Collaboration) ประกอบด้วย การสื่อสารได้ชัดเจนมีประสิทธิภาพ โดย 1. สร้างความถูกต้องชัดเจนในการสื่อสารความหมายทั้งการพูด การเขียน หรือการใช้ทักษะอื่น ๆ ในทางอวัจจจนภาษา ในรูปแบบต่าง ๆ 2. มีประสิทธิภาพทางการรับฟังที่สามารถสร้างทักษะสาหรับการถอดรหัส ความหมาย การสรุปเป็นความรู้ สร้างคุณค่าทัศนคติเกิดความสนใจใฝ่รู้ 3. ใช้การสื่อสารในการกาหนดจุดมุ่งหมายเฉพาะทั้งการรายงาน การสอน การสร้างแรงจูงใจ 4. ใช้สื่อเทคโนโลยีหลากหลายและรู้วิธีการใชสื่ออย่างมีประสิทธิภาพ 5. สื่ อสารได้ อย่างมี ประสิท ธิภ าพท่ ามกลางสภาพแวดล้อ มหรือ บริบ ทที่ แตกต่างกัน การทางานร่วมกับผู้อื่น (Collaborate with Others) 1. มี ค วามสามารถในการเป็ น ผู้ น าในการท างานและเกิ ด การยอมรับ ใน ทีมงาน 2. มีกิจกรรมการทางานที่สร้างความรับผิดชอบและก่อให้เกิดความสุขใน การทางานเพื่อให้บรรลุผลตามที่มุ่งหวัง 3. สร้ า งการมี ส่ ว นร่ ว มในความรั บ ผิ ด ชอบในภารกิ จ งานและแต่ ล ะคน มองเห็นคุณค่าของการทางานเป็นหมู่คณะ กรอบแนวความคิดในการวิจัย การเรียนรู้ที่แท้จริงอยู่ในโลกชีวิตจริง การเรียนในห้องเรียนเป็นการเรียน แบบสมมุติ ดังนั้นครูเพื่อศิษย์จึงต้องออกแบบการเรียนรู้ให้ ศิษย์ ได้เรียนในสภาพ ใกล้เคียงชีวิตจริงที่สุด ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนเป้าหมายการเรียนรู้ของศิษย์จากเน้น การเรียนเพื่อได้วิชาความรู้ ให้เลยไปสู่การพัฒนาทักษะที่สาคัญต่อชีวิตในยุคใหม่ ย้า ว่าการเรียนรู้ยุ คใหม่ ต้องเรียนให้ เกิ ดทัก ษะเพื่ อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ซึ่ ง หน้าที่ของครูเพื่อศิษย์จึงต้องเปลี่ยนจากเน้นสอน ทาหน้าที่จุดประกายความรู้ และ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

111


สนับสนุนส่งเสริมให้ลงมือปฏิบัติ กระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มี 3 ลักษณะ คือ 1. กระบวนการเรี ย นรู้ แ บบลงมื อ ปฏิ บั ติ เป็ น แนวคิ ด หรื อ ความเชื่ อ ที่ สนับสนุนให้คนเราปฏิบัติสิ่งต่าง ๆ ด้วยตัวเองตามความสนใจ ตามความถนัดและ ศักยภาพ ค้นคว้า ฝึกปฏิบัติ ฝึกทักษะจนถึงการเรียนรู้ ด้วยตนเอง เพราะ เชื่อว่าหา คนเราได้กระทาจะทาให้เกิดความเชื่อมั่นเป็นแรงจูงใจ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน โดยมีลักษณะ ดังนี้ 1.1 การเรี ย นรู้ ผ่ า นการท างาน (Work Based Learning) การ เรียนรู้แบบนี้เป็นการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมผู้เรียนให้เกิดการพัฒนาทุกด้าน ไม้ว่าจะเป็นเนื้อหาสาระ การฝึกปฏิบัติจริง ฝึกฝนทักษะทารงสังคม ทักษะชีวิต ทักษะ วิชาชีพการคิดขั้นสูง 1.2 การเรี ย นรู้ ผ่ า นโครงงาน (Project Based Learning) การ เรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญรูปแบบหนึ่ง ที่เป็น การให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริ งในลักษณะของการศึกษา สารวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น โดยครูเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ให้ความรู้ เป็นผู้อานวยการ หรือ ผู้ให้คาแนะนา ทาหน้าที่ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทางานเป็นทีม กระตุ้น แนะนา และให้คาปรึกษา เพื่อให้โครงการสาเร็จลุล่วง ประโยชน์ของการเรียนรู้ด้วย โครงงาน สิ่งที่ผู้เรียนได้รับจากการเรียนรู้ด้วย Project Based Learning จึงมิใช่ตัว ความรู้ หรือวิธีการหาความรู้ แต่เป็นทักษะการเรียนรู้นวัตกรรม ทักษะชีวิตและการ ประกอบอาชีพ ทักษะด้านข้อมูลข่าวสาร การสื่อสารและเทคโนโลยี การออกแบบ โครงการที่ดีจะกระตุ้นให้เกิดการค้นคว้าอย่างกระตือรือร้นและผู้เรียนจะได้ฝึกการใช้ ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์ปัญหา ทักษะการสื่อสาร และทักษะการสร้างความร่วมมือ ประโยชน์ที่ได้สาหรับครูที่นอกจากจะเป็นการพัฒนาคุณภาพวิชาชีพแล้ว ยังช่วยให้ เกิดการทางานแบบร่วมมือ 1.3 การเรียนรู้ผ่านกิจกรรม ในการยึด หลักให้ผู้เรียนสร้างองค์ ความรู้ด้วยตนเอง ในทุกขั้นตอนของการเรียนรู้ เป้นการเรียนรู้ด้วยตนเองทุกคนใน กลุ่มเป็นผู้ปฏิบัติ ครูมีหน้าที่เป็นเทรนเนอร์ 112

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


1.4 การเรียนรู้ผ่านการแก้ปัญหา เป็นการเรียนรู้อีกรูปแบบหนึ่งที่ เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และรู้จักการทางานเป็นทีม โดยผู้สอนมีส่วนร่วมน้อยแต่ท้า ทายผู้ ส อน กระบวนการเรี ย นรู้ โดยใช้ ปั ญ หาเป็ น ฐาน อาศั ย การระดมสมองเพื่ อ วิเคราะห์ปัญหา อภิปรายหาคาอธิบาย แต่ละประเด็น ตั้ งสมมติฐานและค้นคว้าหา ข้อมูล 1.5 การเรียนรู้ผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือวิจัย การ เรียนรู้ที่เน้น การวิจัยถือได้ว่าบัณ ฑิตศึกษา เพราะการการเรียนที่เน้นการแสวงหา ความรู้ด้วยตนเองของผู้เรียนโดยตรง เป็นการพัฒนาแสวงหาความรู้ และการทดสอบ ความสามารถทางการเรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน กิจกรรม Project Based Learning การบูรณาการความรู้ในรายวิชาของ สาขาการจัดการโรงแรม ตามโครงสร้างการทางานของโรงแรม ประกอบไปด้วย ส่วน งานปฏิบัติ ได้แก่ แผนกต้อนรับส่วนหน้า แผนกอาหารและเครื่องดื่ม แผนกแม่บ้าน แผนครัว แผนกสปา และส่วนงานบริหารจัดการ ผ่านการจัด โครงการโรงแรมจาลอง เพื่อให้นักศึกษาได้นาองค์ความรู้มาประยุกต์ใช้ ทั้งองค์ความรู้ในรายวิชา การทางาน ร่วมกันและ การคิดวิธีการนาเสนอ ผลการวิจัย โครงการโรงแรมจ าลอง The Grand Warich Hotel โครงการของ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จานวน 131 คน ของสาขาการจัดการโรงแรม ในรายวิชา สัมมนา ธุรกิจโรงแรม HMT436 แผนการดาเนินงานการปฏิบัติงาน จากการวิจัยเรื่อง การบูรณาการทักษะความรู้ทางด้านโรงแรมผ่านการจัด กิจกรรม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเรียนรู้แบบบูรณาการของนักศึกษาผ่าน โครงการโรงแรมจาลอง และเพื่อสรุปผลการเรียนรู้ ของนักศึกษาสาขาการจัดการ โรงแรมจากผลงานการนาเสนอ ตามกรอบแนวคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมตามตัว แบบของภาคีเครือข่ายเพื่อทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 สามารถสรุป 3 ขั้นตอนในการ ทางานได้ ดังนี้ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

113


ก่อนการจัดโครงการ

ระหว่างการจัดโครงการ

หลังการจัดโครงการ

นั ก ศึ ก ษารวมกลุ่ ม กั น เพื่ อ แบ่งแยกความรับผิดชอบใน ชิ้นงาน โดยมีการเลือก ส่วน งานจากแผนกที่มีความถนัด และมีไอเดียในการนาเสนอ ได้ดี โดยการวัดของกิจกรรม ใช้การนาผลลัพธ์การเรียนรู้ ของรายวิชาเป็นตัวกาหนด หลังจากจะมีการประชุมเพือ่ สรุปความคิดเห็นทุกสัปดาห์ เพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาได้ ร ะดม ความคิด และถกข้อคิดเห็น ต่าง ๆ กัน ก่อนเป็นมติของ การท างานร่ ว ม กั น ก่ อ น นาเสนออกมาเป็นชิ้นงาน ผู้ ส อนได้ น าเอาการสอน แบบหลากหลาย ซึ่ งพยาม เลื อ ก ให้ เห ม า ะ ส ม กั บ บทเรี ย นที่ ส อนในแต่ ล ะ สั ป ดาห์ เช่ น น าการสอน แ บ บ ร ะ ด ม พ ลั ง ส ม อ ง (Brainstorming) การสอน แต่ ล ะบทเรีย นผู้ ส อนได้ ท า การก าหนดเนื้ อ หา และ กระบวนการสอน รวมถึ ง

การดาเนินงานได้ถูกจัดไว้ ตามแผนโดยแผนการ ดาเนินงานจะระบุ - ช่ ว งเวลาของการจั ด กิจกรรม - ผู้ รั บ ผิ ด ชอบหลั ก และ สมาชิก - กิจกรรมภายในบู้ท โดยความรับผิดชอบของ แ ล ะ ที ม เพื่ อ ให้ ก า ร ท างานเป็ น โดยราบรื่ น การก าหนดลั ก ษณะงาน และรายละเอี ย ดของแต่ ละคนจึ ง ส าคั ญ โดยมี อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาเป็ น ผู้ ควบคุมภาพรวมทั้งหมด

- การประเมินผลการจัด งาน ใช้ การวั ด ผ ล โด ย คาแนะน าติชมจากแบบ ป ระเมิ น การวั ด แล ะ จานวนผู้ เข้าร่ วมชมงาน จริ งในวั น ดั งกล่ า ว และ ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง ผู้ เข้ า ร่ ว มชมงานในการ จัดกิจกรรมบนเวที และ กิจกรรมของแต่ละแผนก อ า ทิ แ ผ น ก แ ม่ บ้ า น แผนกต้ อนรั บ แผนก อาห ารและเครื่ อ งดื่ ม การสาธิ ต การแกะสลั ก การสอนพั บ ผ้ า บริ ก าร นวดสปาเป็นต้น - นักศึกษาจัดทารายงาน สรุปการจัดกิจกรรม ผล การด าเนิ น งาน ผลสรุ ป ค ว า ม พึ ง พ อ ใจ ข อ ง ผู้ เข้ า ร่ว มชมงาน พร้ อ ม น าเสนอที ม คณาจารย์ สาขาการจัดการโรงแรม และทีมผู้บริหารคณะ

114

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


การเชื่อมโยงเข้ าสู่ บทเรีย น พร้ อ มทั้ ง ใช้ ก ารเรี ย นแบบ VDO Learning base เพื่ อ ผ ส ม ผ ส า น ก า ร ส อ น ให้ เ นื้ อ ห า ที่ มี ข้ อ มู ล น อกเห นื อ จากบ ทเรี ย น เพื่ อ ให้ เ กิ ด การกระตุ้ น ให้ ผู้เรียนเข้าใจมากยิ่งขึ้น กิจกรรมในวันดังกล่าวประกอบด้วย การแสดงของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 การ สาธิตการผสมเครื่องดื่ม การสาธิตการปูเตียงและการพับผ้า การจัดโต๊ะอาหารและ การสอนมารยาทการรับประทานอาหารตะวันตก การสอนการใช้งานและสาธิตการใช้ ระบบของการทางานส่วนหน้า การนวดแผนไทยและสปา การจัดดอกไม้ สาธิตการ แกะสลัก และนาเสนอขนมไทย ขนมอบ อาหารเพื่องานจัดเลี้ยง กิจกรรมภาคบ่ายมี การบรรยายและสาธิตของวิทยากรทางด้านอุตสาหกรรมโรงแรม

จากกรอบการเรียนรู้ตามศตวรรษที่ 21 (Framework for21th Century Learning ) EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

115


การคิดและสร้างสรรค์ การนาสิ่งที่ใกล้เคียงกันให้อยู่ภายในเนื้อหาเดียวกัน โดยการเชื่อมโยงทักษะ ความคิ ด รวบยอดที่ เหมื อ นกั น เข้ า หากั น อย่ า งมี สั ม พั น ธ์ กั น ภายใน The Grand Warich Hotel เป็นผลงานโรงแรมจาลองของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 เพื่อให้นักศึกษานา ความรู้ทักษะที่ได้เรียนในรายวิชาตั้งแต่ชั้ นปีที่ 1-4 มาบูรณาการ โดยความรู้ทักษะ ทางด้านโรงแรมประกอบไปด้วยหลายส่วนตามโครงสร้างของโรงแรมมาตราฐาน 5 ดาว โดยนักศึกษามีองค์ความรู้ในรายวิชาจากชั้นปีการศึกษาที่ผ่านตั้งแต่ชั้นปีที่ 1-4 กาคิดทาโครงการโรงแรมจาลองจะช่วยให้นักศึกษาได้ใช้กระบวนการคิดการแสดง ผลลัพธ์การเรียนรู้ของแต่ละรายวิชานามาเสนอ โรงแรมจาลอง จัดบริเวณ โซน A อาคาร 40 ปี มหาวิท ยาลั ยศรีป ทุ ม ในวัน งานนั กศึ กษา ท าหน้าที่ เป็ น วิท ยากรให้ ความรู้ และสาธิตให้แก่ผู้เข้าร่วมชมงาน เช่น แผนกครัวไทย นักศึกษาได้สาธิตการ แกะสลักผักและผลไม้ การทาขนมไทยโบราณ แผนกแม่บ้าน นักศึกษาได้ทาการสาธิต การพับผ้าการปูเตียงรูปแบบต่าง ๆ แผนกอาหารและเครื่องดื่มนักศึกษาได้บริการ เครื่องดื่มต่าง ๆ กาแฟ ลาเต้อาร์ท อิตาเลี่ยนโซดา น้าสมุนไพร ผ่านการออกแบบเมนู นาเสนอในรูปแบบเอกลักษณ์เฉพาะตัว

สอดคล้องกับหลักแนวคิดสาหรับบัณ ฑิตในศตวรรษที่ 21 การเรียนรู้แบบลงมือทา โดยการเรียนรู้ผ่านโครงงาน / โครงการ การเรียนรู้ผ่านกิจกรรม การคิดเชิงวิพากษ์ และการคิดจากปัญหาเป็นฐาน การนาส่วนของปัญหาการทับซ้อนกันมาร่วมวางแผน งานแนวทาง การทาโครงการโรงแรมจาลองนักศึกษาได้ออกแบบกิจกรรมโดยรุ่นพี่ชั้น 116

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ปีที่ 4 และมีรุ่นน้องในรายวิชาที่กาลังศึกษาต่อเป็นผู้ช่วยในการทางาน ทาให้ช่วยใน การสร้างความรู้ ความเข้าใจในการเรียนได้ดียิ่งขึ้น ยกตัวอย่างเช่น HMT215 วิชา การต้อนรับส่วนหน้า ซึ่งให้บริการส่วนของต้อนรับสาหรับโรงแรม สาหรับนักศึกษาชั้น ปีที่ 2 และชั้นปีที่ 4 ทางานร่วมกันและการวางแผน อีกรูปแบบเส้นด้าย(Threaded Model) ได้แก่ การขยายแนวความคิดหลักให้มาผสมผสานไว้ในเนื้อหาต่าง ๆ การจัด กิจ กรรมโรงแรมจาลองท าให้ นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 4 สามารถน าองค์ ค วามรู้ ที่ ได้เรีย น ทักษะวิชาชีพมาเชื่อมโยง ก่อนการที่นักศึกษาจะคิดกิจกรรมการนาเสนอออกมานั้น นักศึกษาที่รับผิดชอบในหัวข้อต้องน ารายละเอียดเนื้ อหานาเสนอต่อ ที่ประชุม ซึ่ ง ประกอบด้วยนั กศึ กษาชั้ นปี ที่ 4 และอาจารย์ สาขาการจัด การโรงแรม เพื่ อ ระดม ความคิดและหาตัวเลือกที่ดีที่สุด

การสื่อสารและการมีส่วนร่วม กิจกรรมโรงแรมจาลองทาให้นักศึกษาใช้ รูปแบบของการทางานเป็นเครือข่าย (Network Model) เป็นการสร้างความสัมพันธ์ หลายมิติ โดยผู้เรียนรู้เป็นผู้กระทาโดยตรง ทั้งนี้หลักการจัดการเรียนการสอนแบบ บูรณาการ (The Integrated Instruction) ได้แก่การสอนให้นักศึกษาหาความรู้ได้ อย่างกว้างขวางด้วยตนเองการเรียนรู้แบบบูรณาการเป็นการเรียนรู้ในลักษณะองค์ รวมด้วยรูปแบบหรือวิธีที่หลากหลาย เน้นสภาพจริง ได้แก่เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง การ เรียนรู้ร่วมกัน การเรียนรู้จากธรรมชาติ การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงมีการวัดและ ประเมินผลที่สอดคล้องกับ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ได้จากการปฏิบัติ (Performance Assessment) และสภาพจริง (Authentic Assessment) นักศึกษาเป็นผู้ดาเนินงาน กิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในงาน เพื่อสื่ อสาร นาเสนอให้แก่ผู้เข้าชมงาน การนาเสนอ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

117


กิจกรรมทาให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ในการถ่ายถอดองค์ความรู้ และสามารถอธิบาย ถึงหลักการได้เป็นอย่างดี

ผลการจั ด การเรี ยนรู้ แบบบู รณาการในรายวิชาสั ม มนา แสดงให้ เห็ น ว่ า ผู้เรียนสามารถนาความรู้มาใช้และเรียงได้อย่างเป็นระบบ สามารถคิดและดาเนินงาน โครงการโรงแรมจาลอง The Grand Warich Hotel และได้เลือกออกกิจกรรมการ เรี ย นรู้ ซึ่ ง กิ จ กรรมต่ า ง ๆ ผู้ เ รี ย นจะได้ ร ะดมความคิ ด และเลื อกกิ จ กรรมด้ ว ย กระบวนการทางานกลุ่มทาให้นักศึกษาสนใจและตั้งใจทาโครงการให้มีประสิทธิภาพ แบบ Brainstorming หรื อ การสอนแบบระดมพลั ง สมอง และเป็ น การละลาย พฤติกรรมเพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักและสนิทกันมากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการ ร่วมมือกัน โดยอาจารย์ผู้สอนกาหนดเวลาให้นักศึกษา 1 ชั่วโมง ให้นักศึกษาได้ค้นคว้า ข้อมูลผ่านทางโซเชียล ผู้สอนจะคอยเป็นโค้ชให้คาปรึกษาหากนักศึกษา หรือการ นาเสนอ และวิธีการต่าง ๆ ถึงปัญหาของหัวข้อที่จะนาเสนอและการทางานอย่างมี ระบบ ซึ่งสอดคล้องกับ อรทัย มูลคา ที่กล่าวถึง หลักสาคัญของการบูรณาการ ซึ่ง กล่าวถึง การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การส่งเสริมให้ทางาน กลุ่มด้วยตนเอง สอดคล้องกับกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ กล่าวว่า การจัดการ เรียนรู้โดยการทาโครงาน เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าและลงมือทา ปฏิ บั ติ ด้ ว ยตนเองตามความสามารถ ความถนั ดและความสนใจโดยมี ผู้ ส อนคอย กระตุ้ น แนะน า ให้ ค าปรึ ก ษา เพื่ อ ให้ ผ ลลั พ ธ์ อ อกมาดี ที่ สุ ด นอกจากนั้ น ยั งเป็ น กิ จ กรรมที่ อิ ส ระและพั ฒ นาผู้ เ รี ย นส่ ง เสริ ม ให้ น าความรู้ ความสามารถและ ประสบการณ์ มาสร้างสรรค์ผลงานอันเป็นประโยชน์ จากการสังเกตการณ์พบว่า กลุ่ม 118

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


นักศึกษาชอบการเรียนแบบลงมือทา เพราะทาให้เกิดการเรียนรู้ผา่ นประสบการณ์จริง มีประโยชน์มากกว่าเพราะทาให้เห็นตัวอย่าง ทาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นทาให้เข้าใจองค์ ความรู้มากขึ้น และการแบ่งงานให้กับนักศึกษาตามความถนัด ส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ แล ะการแสวงห าข้ อ มู ล การเรี ย นรู้ เ พิ่ ม เติ ม ง่ า ยมากขึ้ น ซึ่ ง สอด คล้ องกั บ Bransford}Brown,Conking. (2000 อ้ า งอิ ง ใน Intcl@teach Program, 2007) ว่ า ศั กยภาพในการรับ รู้สิ่ งใหม่ ๆ ของนั ก เรี ย นจะถู ก ยกระดั บ ขึ้ น เมื่ อ ได้ มี ส่ ว นร่ว มใน กิจกรรมการแก้ปัญหาที่มีความหมาย และเมื่อนักเรียนได้รับความช่วยเหลือให้เข้าใจ ว่าความรู้กับทักษะเหล่านั้นสัมพันธ์กันด้วยเหตุลใด เมื่อไหร่อย่างไร และGuzdial (1998 อ้างอิงในศยามน อินสะอาด) การให้ผู้เรียนทาโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนเข้าสู่กระกวนการสืบสวน ซึ่งเป็นกระบวนการที่ผู้เรียนต้องใช้ความคิดขั้นสูงที่ ซับซ้อนขึ้น ดังนั้น จึงเป็นช่ องทางที่ดีในการพัฒนากระบวนการทางสติปัญญาของ ผู้เรียน การเรียนรู้โดยใช้โครงงาน นอกจากจะช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะกระบวนการ ในการสืบสวน และการแก้ปัญหาแล้ว ยังสามารถช่วยดึงศักยภาพที่มีอยู่ในตัวผู้เรียน ออกมาใช้ประโยชน์ด้วย หลักสูตรการเรียนการสอน การสอนให้เกิดทัก ษะการเรียน ในศตวรรษที่ 21 มุ่ งเน้ นเชิงสหวิท ยาการวิชาแกนหลั ก สร้างโอกาสที่จะประยุก ต์ ทั ก ษะเชิ งบู ร ณาการการข้ า มสาระเนื้ อ หา และสร้ า งกระบวนการเรี ย นรู้ ที่ เน้ น สมรรถนะเป็นฐาน (Competency Based) สร้างนวัตกรรมและวิธีการเรียนรู้ในเชิง บูรณาการที่มีเทคโนโลยีเป็นตัวเกื้อหนุน การเรียนรู้แบบสืบค้น และวิธีการเรียนจาก การใช้ ปั ญ หาเป็ น ฐาน (Problem-Based Learning) เพื่ อ การสร้ า งทั ก ษะขั้ น สู ง ทางการคิด (ไสว ฟักขาว, 2015) สรุป การเรียนรู้ผ่านการจัดกิจกรรม และการเรียนรู้ผ่านการแก้ปัญหา ช่วยให้ นักศึกษามีทักษะในการทางาน และประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่มีในการทางาน ได้อย่างดี ซึ่งสอดคล้องกับหลักทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต การพั ฒ นานวัต กรรมการเรีย นรู้ ส่ งเสริม ให้ ผู้ เรีย นมี ก ารคิ ด อย่ างสร้า งสรรค์ การ กระตุ้นความสนใจของผู้เรียนผ่านการทากิจกรรมส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนรู้ โดย EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

119


เน้ น การมี ส่ ว นร่ ว มของกลุ่ ม นั ก ศึ ก ษา ผ่ า นการดู แ ลอย่ า งใกล้ ชิ ด ของอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหรือโค้ช เพื่อเสริมสร้างแรงบันดาลใจให้กับผู้เรียนเกิดการพัฒ นาองค์ ความรู้และความสามารถจนบรรลุวัตถุประสงค์ของรายวิชาที่คาดหวังไว้ ข้อเสนอแนะ การให้นักศึกษาเห็นภาพตัวอย่างจากการจัดกิจกรรมการบูรณาการองค์ ความรู้ การจัดงานนิทรรศการ งานประชุม งานอีเว้นท์ต่าง ๆ มากขึ้นช่วยให้นักศึกษา มีมุมมองในการนาเสนอที่หลากหลายออกไปจากเดิม เอกสารอ้างอิง ดร.วิ นิ ด าเจี ย ระนั ย . 2550. การบู ร ณาการรายวิ ช าในหลั ก สู ต รการอุ ด มศึ ก ษา. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 8 ฉบับ ที3่ เดือนกันยายน-ธันวาคม 2550. ผศ.ดร.สิริพัชร์ เจษฏาวิโรจน์ . 2015. การจัดการเรียนรู้แบบูรณาการ. Online แหล่งที่มา https://www.academia.edu/15443843/ ผศ.ดร.ไสว ฟักขาว. 2559. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ปีที่ 10 (ฉบับ ที่ 2) หน้า 59-67. รศ.ดร.พิมพันธ์ เดชะคุปต์. 2555. สอนเขียนแผนบูรณาการบนฐานเด็กเป็นสาคัญ. กรุงเทพฯ.โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุ ร ศั ก ดิ์ ป า เฮ . 2555. ทั ก ษ ะ ก า ร เรี ย น รู้ ใน ศ ต ว ร ร ษ ที่ 21. จ า ก http://www.addkutec3.com/ อาจารย์เยาวเรศ ภักดีจิตร. 2557. เอกสารประกอบการเสวนาวิชาการ วันส่งเสริม วิชาการสู่คุรภาพการเรียนการสอน Active learning กับการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21. 30 กรกฏาคม 2557. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

120

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Comparison between Group Learning Method and Individual Learning Method - New Word Learning Chinese ZHANG GUIGUI Abstract This research mainly studied and analyzed the learning achievements of 8 grade students who used group learning and individual learning in Chinese new words and their views on the two learning methods at Wat Sing middle school in Thailand. Before teaching, a questionnaire survey was conducted to obtain their views on the two learning methods. After the survey, a teaching experiment was conducted to compare and analyze the two teaching methods using students' test scores. Through the questionnaire survey, it was found that 62.5% of the students preferred group learning; new words learning preferred group learning 12.5%. The teaching practice results showed that the group learning average score is 0.5 higher than the individual learning average score. Overall, the group learning score is higher than the individual learning score.

MISS. ZHANG GUIGUI Graduate Student in Master of Education Program in Innovations in Learning and Teaching, Sripatum University EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

121


Keywords: new words, group learning, individual learning, compare Literature review The researchers studied the comparison between individual learning and group learning. And found that the group learning and individual learning have their own advantages. Their practical application in teaching Chinese of effects has different teaching effects on Chinese teaching. Group learning can get high scores (Devonn Grimm, 2004). In his research, due to the inclusion of group learning, the students' cooperative learning to receive the different opinions, his contemporaries as well as understanding of knowledge, in this environment, students can get faster, at the same time inclusive of group learning, learning ability can have a tolerance of the weak environment. Because of accommodate learners. Group activities compared with the traditional teaching activities, it emphasizes the students as the center of learning. And trying to design activities for the students can set up relatively real language environment (Guo Chen Meng, 2017), the researcher think that the only form of classroom teaching is the teaching, students learn the Chinese language through classroom in normal conditions. In most places, there is no natural language environment, but group activities can build a center on Chinese language environment. In group learning, students need to understand learning tasks assigned by the teacher, then build good team assignment. Finally, the students start learning in the mew words in Chinese using group activities. Under the supportive 122

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


construction of a good language learning atmosphere, students can get involved as soon as possible and learn Chinese according to their own needs. Group activities can increase the rate of opening, for students to reduce their anxiety (Shi Dan Dan, 2011). The researchers through group activities in teaching Chinese as a foreign language analysis. found the group activities as often use a kind of teaching method in classroom activities, he believe that group activities can give students a chance to use Chinese to communicate. Moreover, it can effectively improve the students ability, not only stay in question and answer mode of communication between teachers and students. They are mutual between students the opportunity to learn, to create a good language environment. In group activities, students are in an equal learning atmosphere. Which can relieve their anxiety and increase their opportunities to opening rate. According to Andrewpass (2016), group activities can improve students' opening rate and reduce students' anxiety. Through the analysis of group activities in teaching Chinese as a foreign language, the researcher found that group activities, as a teaching method are often used in classroom activities. It can provide students with an opportunity to communicate. He believes that group activities can provide students an opportunity to communicate in Chinese, which can effectively improve students' speaking rate. It is not just a question-and-answer communication mode between teachers and students, but more of an opportunity for students to help each other learn, so as to create a good language exchange environment. In group activities, students are EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

123


in an equal learning atmosphere, which can relieve their anxiety and increase their opportunities to open their mouths. As appose to the previous researcher mentioned above Andrewpass (2016), argues that current cooperative learning is excessively consumed and fails to consider that some students need to deal with internal information quietly. In his research, he believes that cooperative learning cannot give students independent time to think, and in the process of cooperative learning, it is impossible to accurately locate the position and role of students in the group. This results in the failure to achieve the expected learning outcome. Introduction With the development of China's economy and culture, more and more people worldwide are learning Chinese. And many countries incorporate the Chinese language into their school curricula. Meanwhile, the teaching method of Chinese as a foreign language has gradually formed a complete teaching system. In teaching Chinese as a foreign language, there are many teaching methods, such as fun teaching method, task-based teaching method and cooperative teaching method. Different teaching methods have different teaching effects. Group learning method and individual learning method are two important and commonly used in teaching Chinese as a foreign language. But the researchers of the present have a different opinion toward group learning method and individual learning method. Group learning is also called cooperative learning. This method is often used in teaching Chinese as a foreign language. Like other language, Chinese is kind of language that students need to keep 124

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


practicing and using to master. At the same time, in the process of teaching Chinese, there are some problems. For example students do not speak actively in class, and the classroom atmosphere is not active because they do not understand what the teacher said.In this case, group learning can promote collective learning and strengthen the communication and cooperation between teachers and students .At the same time, individual ability and understanding ability are improved. And students' participation is obviously improved. The inclusion of group learning can effectively solve this problem. However, there are also some problems in group learning, such as the allocation of group members and the guarantee of meeting the requirements of teaching. In many articles, it is generally agreed to use group learning method or cooperative learning method. In Devonn Grimm's research, It is found that cooperative learning is beneficial to the reception of different opinions, opinions and knowledge of peers. At the same time, it is found that learning in a team can also improve individual selfesteem, promote team unity, and achieve a unified goal in a diverse team. However, from the relevant literature, the researcher can also find that the assignment of group learning is a difficult point in the group learning method. One of the researchers looked at learning in small groups compared to large groups. The study showed that it was not always the case that more people learn better. In the assignment of the group, the teacher needs to consider the needs of each student and the individual abilities of the students. It needs to be scientifically grouped in combination with actual teaching objectives. EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

125


The individual learning method means that students can think by themselves or complete tasks independently with some tools. Chinese learning includes new words, grammar, sentence patterns and other aspects. In the individual study time, students can fully use their own internal processing information ability to learn Chinese. However, in his research, he put forward such a view that there were two problems with cooperative learning. First, he stated that cooperative learning was overused. He argued that the model of collaborative learning failed to take into account the need for individuals to quietly process internal information on their own. Cooperative learning does not provide students with the opportunity to think independently. Second, he believed that cooperation failed to achieve the desired results. He believed that cooperation was a complex process, and students needed to fully understand and play the role in cooperative learning. However, in the process of cooperation, students do not quite understand their own positioning and the role they play in the team. Considering the advantages and disadvantages of group learning method and individual learning method, as well as the researchers’ practical teaching experience, 8 students were compared with group learning method and individual learning method. In the experiment, students were divided into groups of scientific collocation according to their usual academic performance. There were 3 students in each Group team, there was 1 student each in Individual team. In the same time, students learned 5 new words for 5 minutes. Students need to learn listening, speaking, reading and writing the new word. Without considering students' academic performance and individual learning ability, the comparison of experimental results 126

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


were carried out. Finally, the experimental results showed that the average performance of group learning was higher than that of individual learning. Methods Before the experiment, a questionnaire survey was conducted among 8 students to investigate their views on individual learning method and group learning method. 62.5% of the students prefer group study, and 87.5% of the students assigned by the group were willing to combine with their friends. A questionnaire survey was also conducted on the learning of new words, sentence patterns, grammar and articles of Chinese by group learning method and individual learning method to investigate their learning preference. Table 1: shows results of group learning method and individual learning method New word Sentence Grammar Text Individual 62.5% 12.5% 25% 0% learning Group 50% 12.5% 37.5% 0% learning The experimental results in Table 1 show that individual learning method accounts for 62.5% and group learning method accounts for 50% in the learning of new words. The results show that students prefer individual learning method in new words learning. EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

127


In response to the results of the questionnaire survey, I conducted an experiment on eight students. The experimental design is as follows: In the same time to learn new words for 15 minutes, students learned 5 new words. Learning tasks include pinyin of new words, Thai interpretation of new words and spelling and dictation. Students are divided into two group different groups. The first group is individual study group; the second group is group study group. In 15 minutes, individual study groups can learn by using tools such as dictionaries, but cannot communicate with other members. The group study group can use mobile phones to find information, discuss and learn together. The highest score for each item is 5 points, with the total of 20 points in total. The final experimental data are as follows: Table 2: show score of the final experimental data Pinyin Translation Reading Dictation Student A Student B Group A Group B

5 5 5 5

4 4 5 4

5 5 4 4

5 1 4 4

Total score 19 15 18 17

According to Table 2, The average score of the individual group is 17, and that of the group is 17.5. The average score of the group is higher than that of the individual. In the individual learning group, there 128

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


is a big difference in scores between the two individuals. Student A obtained 19 points while Student B only obtained 15 points. For score of the two student and diffident significantly. In the learning group, there is a small difference in scores between the two groups. Group A obtained 18 points, while group B obtained 17 points, with a moderate difference in scores between the two groups. Conclusion Analysis of research results Group learning method and individual learning method are commonly used in teaching Chinese as a foreign language. Group learning can provide students with a relatively relaxing language learning environment, while individual learning can cultivate students' ability to process information independently. Both methods have advantages and disadvantages. Because the students are randomly selected, their personal learning basis, understanding ability and learning ability are all factors that affect the results of the experiment. The researcher ignored these factors during the experiment. The results are as follows: In the comparison of study group learning method and individual learning method, 8 students are divided into individual study group and group study group, in which student A and student B are divided into group A and group B. The results showed that: 1) there were no significant differences in learning pinyin, reading and translating new words. 2) There were significant differences in memorizing new words. 3) There were no significant differences in pinyin, reading, translating new words and dictation in group learning.4) the average EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

129


score of the two groups shows that the score of the group is 0.5 higher than that of the individual. 5) Individual learning group received the standard deviation of the two groups, the individual learning group is 4 and the group learning group is 0.5 Table3: show average score and standard deviation of individual and group learning Average score Standard deviation Individual learning group 17 4 Group learning group 17.5 0.5 From table 2, I find that there is A big gap between the dictation scores of student A and student B. I found to student A and student B academic performance and Results of this experiment. 1) Students' self-memory ability is different. 2) Students have different knowledge reserves. 3) I find that students' reaction ability is also different. But From table 3, In group A and group B, there was no difference in group A's dictation ability. The standard deviation between the group and the individual group is very different. According to the data, due to the inclusiveness of group learning, group learning between those who were behind and those who were good can not only help those who were weak in academic performance, but also increase the opportunities for communication and learning among students. However, due to the limitation of the input of external knowledge and self-knowledge structure in the process of independent learning, there is a major gap in students' achievement. 130

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Combination of group learning and individual learning According do other research studies, the results of this experiment, I found that I cannot only use one teaching method to teaching Chinese. I need to combine individual learning method with group learning method. Because teaching Chinese as a foreign language is a teaching activity as well as a language exchange activity. It requires students to practice and can be converted into to use. Group learning can give students a chance to practice the language; also it creates a natural language environment. Students can communicate with others independently in group activities and learn the advantages of one another in the process of communication. At the same time, individual learning is conducive to students' independent acceptance of external information and internal self-processing. In the whole class, the reasonable allocation of group study time and individual study time is conducive to the improvement of students' ability to use Chinese.

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

131


References Andrewpass, 2016. Individual Work vs. Group Work in the Classroom. Available from: https://apasseducation.com/individual-groupwork-classroom/ Devonn Grimm, 2004. Individual learning versus group learning in a suburban second-grade classroom. Thesis of the Master of Arts degree of the Graduate School, Rowan University. Guo chenmeng, 2017. Study on the application of group activities in teaching classrooms of the Confucius institute in Sofia, Bulgaria ShiDanDan, 2011. Group activities in teaching Chinese as a foreign Language

132

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


The Professional Accountant สู่การเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ จิตรลดา วิวัฒน์เจริญวงศ์ 1. การวางแผนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้ในยุค 4.0 เป็นการมุ่งพัฒนาการเรียนรู้ของพลเมืองในทุก ช่วงวัยตลอดชีวิต โดยมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นองค์ประกอบหลัก ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ทิศทางในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้จึงเปลี่ยนจากการเชื่อ ตามในสิ่งที่ครูบอกกล่าว เป็นการสร้างความรู้จากความสนใจรายบุคคลหรือจากการ รวมตั ว ของคนที่ มี แ รงผลั ก ดั น เป็ น ที ม ส่ งเสริ ม การสร้ า งผลสะท้ อ นกลั บ ในเชิ ง นวั ต กรรม ทั้ งนี้ ไพฑู ร ย์ สิ น ลารั ต น์ (2559) ได้ ก ล่ า วว่ า การศึ ก ษาไทยได้ เข้ า สู่ “การศึกษายุคผลิตภาพ” เป็นยุคที่ต้องการผลผลิต หรือ Products ให้ได้มากที่สุด เพื่อประโยชน์ของชุมชนตนเองและชุมชนอื่นๆ ด้วยทักษะการศึกษาที่เน้นการทาได้ และลงมือทา นอกจากนี้ยังได้เสนอแนวคิดว่า การศึกษาไทยยุค 4.0 จาเป็นต้องเน้น การคิดวิเคราะห์ (Critical Mind) การคิดสร้างสรรค์ (Creative) แล้วแปรความคิด สร้างสรรค์ นั้ น แป็ น ผลผลิ ต ออกมาให้ เป็ น รู ป ธรรม ปั จ จุบั น จึ งเป็ น ที่ ย อมรับ กัน ว่ า ความคิดสร้างสรรค์ และการสร้างนวัตกรรมเป็นสิ่งที่มีคุณค่าทั้งในการเรียนรู้และการ ทางาน เนื่องจากความคิดสร้างสรรค์ทาให้เกิดความคิด และสิ่งประดิษฐ์ที่แปลกใหม่ และมีประโยชน์ต่อสังคม ดังนั้น การส่งเสริมผู้เรียนให้มีทักษะการคิ ดสร้างสรรค์และ การสร้างนวัตกรรมจึงเป็นสิ่งจาเป็นอย่างมาก

อาจารย์จิตรลดา วิวัฒน์เจริญวงศ์ อาจารย์ประจาสาขาวิชาการบัญชี คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

133


การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมผู้เรียนสาหรับศตวรรษที่ 21 นั้น ผู้ที่มีบทบาท สาคั ญ ต่ อ การเปลี่ ยนแปลงการจัด การเรีย นรู้ในสถานศึ กษา คื อ ผู้ ส อน ตามปกติ บทบาทของผู้สอนนั้นมีหลายด้าน ผู้สอนจะประสบความสาเร็จจะต้องสามารถแสดง บทบาทได้หลายอย่างพร้อมกัน เช่น การเป็นนักการศึกษา การเป็นนักวิชาการ ผู้สร้าง แรงจูงใจ ผู้ทางานเพื่อสังคม นอกจากนี้ผู้สอนควรเป็นนักออกแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อกาหนดแนวทางของแผนการจัดการเรียนรู้อย่างมีเป้าหมาย มีความรู้เฉพาะด้าน และสามารถประยุกต์ความรู้ได้ ทั้งนี้ ไสว ฟักขาว (2561) ได้กล่าวไว้ว่า การเป็นนัก ออกแบบการศึกษาที่ดีจะต้องมี (1) ความคิดใหม่ (new mindset) ซึ่งความคิดใหม่จะ ช่วยให้ผู้สอนเพิ่มความพิถีพิถันในการวางแนวทางในการจัดการเรียนรู้ในส่วนที่เป็น มิติที่สาคัญในกระบวนการจัดการเรียนรู้ (2) ทักษะที่กว้างขวาง (broad skill set) เช่น การดาเนินการอย่างเป็นระบบในการวางแผนการจัดการเรียนรู้และกระบวนการ ประเมิ น ผล และ (3) เครื่ อ งมื อ ที่ มี คุ ณ ภาพสู ง (high quality tool set) ซึ่ ง ประกอบด้วย รูปแบบการจัดการเรียนรู้ กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้ และเทคโนโลยีใน การจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพซึ่งได้มีการรวบรวมไว้ สาหรับรูปแบบการสอน ทิศนา แขมมณี (2550) ได้กล่าวว่าเป็นเครื่องมือใน การจัดการเรียนรู้ที่ผู้สอนทุกคนควรจะมี รูปแบบการจัดการเรียนรู้มักมีความซับซ้อน ซึ่งเกิดจากการวิจัยและพัฒนาเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งประกอบด้วย แนวคิดที่เป็นพื้นฐานของรูปแบบและกระบวนการจัดการการเรียนรู้ในเนื้อหาที่จะ นาไปใช้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้แต่ละรูปแบบจะแตกต่างกันที่จุดประสงค์ในการ พัฒนาผู้เรียน โดย ไสว ฟักขาว (2561) ได้กาหนดตัวอย่างรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ ช่วยส่ งเสริม ทั ก ษะในศตวรรษที่ 21 ที่ ผู้ สอนควรศึ กษา ท าความเข้ าใจและน ามา ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ รับผิดชอบ ได้แก่ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ แบบโครงงาน (Project Based Learning) รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา ความรู้ (Inquiry Based Learning) รู ป แบ บ การจั ด การเรี ย นรู้ แ บ บ ร่ ว ม มื อ (Cooperative Learning) รูป แบบการจัด การเรีย นรู้ แ บบบู รณาการ (Integrative Learning) รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสัมมนาของโสเครติส (Socratic Seminar) เป็นต้น 134

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ดังนั้น การวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดีจะทาให้ผู้สอนมั่นใจในการจัดการ เรียนรู้และมีการดาเนินการอย่างเป็นระบบ โดยผู้สอนต้องมีการกาหนดวัตถุประสงค์ ของการเรี ย นรู้ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี ก ารวิ เ คราะห์ ป ระเภทของความรู้ อ อกเป็ น ข้อเท็จจริง มโนทัศน์ และกระบวนการ ซึ่งผู้สอนต้องเลือกเนื้อหาที่มีความหมายที่สุด ต่อการจัดการเรียนการสอนไปออกแบบการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนควรเลือกสื่อการ เรียนรู้ที่สามารถทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามสภาพจริง เหมาะสมกับพัฒนาการ ของผู้เรียน และนาแหล่งการเรียนรู้ออนไลน์ มาประยุกต์ ใช้ มีการจัด กิจกรรมการ เรียนรู้ที่เหมาะสม เรียงลาดับเนื้อหาอย่างสมเหตุสมผลและสัมพันธ์กับเวลาที่ได้รับ การจัดสรร 2. ความเป็นมาของโครงการ The Professional Accountant การเรียนการสอนในรายวิชาบัณฑิตในอุดมคติทางด้านบัญชี เป็นการเตรียม ตัวนักศึกษาให้เรียนรู้อาชีพทางด้านบัญชี ให้เข้าใจแนวทางการประกอบวิชาชีพ รู้ถึง ขั้ น ตอนความเป็ น มื อ อาชี พ ตามคุ ณ ลั ก ษณะบั ณ ฑิ ต ที่ พึ งประสงค์ และเข้ า ใจถึ ง จรรยาบรรณวิ ชาชี พ บั ญ ชี อ ย่ า งถ่ อ งแท้ ซึ่ งรู ป แบบการจั ด การเรี ย นรู้ ในรายวิ ช า ดั งกล่ า วผู้ ส อนเพี ย งคนเดี ย วไม่ ส ามารถที่ จ ะบรรยายให้ เห็ น ภาพได้ ทั้ งหมด การ ออกแบบการจั ด การเรี ย นรู้ ใ นรายวิ ช านี้ จึ ง ได้ ก าหนดหั ว ข้ อ การบรรยายไว้ ใ น รายละเอียดแผนการสอน ถึงประเด็นอาชีพที่นักบัญชีสามารถประกอบอาชีพได้ใน อนาคต ประกอบไปด้วย นักบัญชี ผู้ตรวจสอบภายใน ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต นักภาษี อากร การเป็นผู้ประกอบการทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงการเป็นที่ปรึกษา ทางด้านการเงิน และการเป็นนักพัฒนาโปรแกรม เป็นต้น คณะบัญชี มหาวิทยาลัย ศรี ป ทุ ม จึ ง ได้ ว างแผนการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ โ ดยได้ เรี ย นเชิ ญ วิ ท ยากรผู้ มี ประสบการณ์และมีความเชี่ยวชาญในอาชีพดังกล่าวมาเสวนาร่วมกับคณาจารย์ใน คณะให้ กับ นั กศึ ก ษาได้ เรีย นรู้ ซึ่ งเป็ น การจัด การเรีย นรู้ที่ เน้ น การเรีย นกับ ตัว จริ ง ประสบการณ์ จ ริ ง ทั้ ง นี้ คณ ะบั ญ ชี ไ ด้ น าเสนอในหั ว ข้ อ “The Professional Accountant” ดังรายละเอียด ดังนี้ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

135


1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

CPIAT : บทบาทผู้ตรวจสอบภายในยุคใหม่ นักภาษีอากรยุค 4.0 การเป็นผู้ประกอบการสานักงานบัญชี ผู้ประกอบการบัญชียุค 4.0 เคล็ดลับนักบัญชีสู่การเป็นผู้พัฒนาโปรแกรม CPA : อาชีพในฝันของนักบัญชี รู้บัญชีก็เป็นเจ้าของธุรกิจยุคใหม่ FA : Financial Advisor ที่ปรึกษาการเงิน คู่คิดนักลงทุน AI : นวัตกรรมสมัยใหม่กับงานบัญชี CFO ข้ามชาติ Talk IT AUDIT เทคโนโลยีใหม่กับงานสอบบัญชี

3. วัตถุประสงค์ของการจัดการเรียนรู้ 1. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้แนวทางการประกอบอาชีพจากวิทยากรผู้มี ประสบการณ์จริงในสายอาชีพนั้นๆ 2. เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ถึงอาชีพใหม่ๆ และนวัตกรรมใหม่ที่เกี่ยวข้อง กับงานบัญชี 3. เพื่อเปิ ดโอกาสให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์และ สามารถเชื่อมโยงแนวทางการพัฒนาตนเองสู่อาชีพในฝันสาหรับอนาคต 4. รูปแบบของการจัดการเรียนรู้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้ในหัวข้อ “The Professional Accountant” ได้ ดาเนินการในรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ (The Cooperative Learning Model) ซึ่งเป็นการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และทางานร่วมกัน ทาให้ผู้เรียนแต่ละ คนได้แสดงศักยภาพของตนเองในการทางานเป็ นกลุ่มเล็กๆ ในลักษณะช่วยเหลือ เกื้อกูลกัน รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือมีขั้นตอนในการเรียนรู้ 6 ขั้นตอน คือ (1) การแนะนาภาระงาน (2) กาหนดทักษะทางสังคมที่เป็นเป้าหมาย สอนและฝึกปฏิบั ติ 136

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


(3) จัดการเรียนรู้ตามแผนและกากับการมีปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียน (4) สรุปสิ่งที่เรียนรู้ (5) วัดความรับผิดชอบของผู้เรียนเป็นกลุ่มและรายบุคคล และ (6) ประเมินผลการ เรียนรู้ ทั้งนี้ The Professional Accountant ได้ดาเนินการตามแนวคิดของไสว ฟัก ขาว (2561) เกี่ยวกับบทบาทของผู้สอนและผู้เรียนในรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ ดังนี้ ขั้นตอน บทบาทผู้สอน (1) การแนะนาภาระงาน - อ ธิ บ าย ภ าพ รวม ข อ ง บทเรียนรายวิชาบัณฑิตใน อุ ด ม ค ติ ท า งด้ า น บั ญ ชี กระบวนการและหั วข้อใน การจัดโครงการ แสดงให้ผู้ เรี ย นรู้ ว่ า สิ่ ง ที่ จ ะเรี ย นมี ความ ห ม ายอย่ า งไรต่ อ ผู้เรียน และทาไมต้องเรียน - แจ้ งกาหนดเวลาและสื่ อ และแห ล่ ง การเรี ย นรู้ ที่ จาเป็นสาหรับผู้เรียน - แจ้ ง ภาระงานของกลุ่ ม โดยก าหนดให้ แ ต่ ล ะกลุ่ ม เมื่ อ เข้ า ร่ ว มโครงการครบ ตามหัวข้อกิจกรรมแล้ว ให้ สร้างแผนที่ความคิด (Mind Mapping) เพื่ อเชื่ อ มโยง ความรู้ ที่ ไ ด้ รั บ ในแต่ ล ะ อาชีพต่อการพัฒนาตนเอง สู่อาชีพนั้น โดยมีกาหนดส่ง EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

บทบาทผู้เรียน - ฟั งแ ล ะ ถาม ค าถ าม เพื่ อ ให้ เ ข้ า ใจภาระงาน อย่ า งชั ด เจนก่ อ นลงมื อ ทา

137


ขั้นตอน

(2) กาหนดทักษะทาง สังคมที่เป็นเป้าหมาย สอนและฝึกปฏิบตั ิ

(3) จัดการเรียนรู้ตาม แผนและกากับการมี ปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียน 138

บทบาทผู้สอน ในคาบ สุ ด ท้ า ยของการ จัดการเรียนรู้ - แจ้ งภาระงานรายบุ ค คล ก าหนดให้ ทุ ก คนต้ อ งสรุ ป ป ร ะ เ ด็ น ส า คั ญ ข อ ง คุ ณ สมบั ติ บทบาทหน้ า ที่ โอกาส ในการป ระกอบ อาชี พ แต่ ละประเภทส่ งใน ท้ายชัว่ โมง - ช่วยในการเชื่อมโยงความ เกี่ยวข้องของภาระงานที่ให้ ทากับตัวผู้เรียนและกับสิ่งที่ เคยเรียนมาแล้ว - ผู้ สอนกาหนดทั กษะทาง สั ง ค ม ที่ ต้ อ งการเน้ น ใน บทเรี ย น ทั้ ง นี้ ไ ด้ แ จ้ ง ให้ ผู้ เ รี ย นมี ส่ ว นร่ ว มในการ แสดงความคิดเห็น การตั้ง ค า ถ า ม เกี่ ย ว กั บ ก า ร ประกอบอาชี พ การร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม สั ม พั น ธ์ กั บ วิ ท ยากร การมี ทั ศ นคติ ทางบวกในแต่ ล ะอาชี พ และการเป็นผู้ฟังที่ดี - ร่ ว มเสวนากั บ วิ ท ยากร แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ประเด็ น ต่ า งๆ รวมถึ ง ใช้

บทบาทผู้เรียน

- ฟั ง และฝึ ก ทั ก ษะทาง สังคม - ซักถามเพื่อความเข้าใจ - มี ส่ ว นร่ ว มแสดงความ คิดเห็น - ทากิจกรรมสัมพันธ์

- ท าภาระงานและฝึ ก ทั ก ษะทางสั ง คมที่ เ ป็ น เป้าหมาย

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ขั้นตอน

(4) สรุปสิ่งที่เรียนรู้

บทบาทผู้สอน เท ค นิ ค ก า ร ใช้ ค า ถ า ม ( Questioning Method) เพื่อให้ได้มาซึ่งคาตอบ และ การแสดงการวิ เ คราะห์ ข้อมูลในเบื้องต้น เพื่ อเป็ น ห ลั กน าค วาม คิ ด ให้ กั บ นักศึกษา - สั งเกตการมี ส่ ว นร่ ว มใน การฟั ง การแสดงความ คิด เห็น การแสดงทั ศนคติ การทากิจกรรมสัมพันธ์ของ กระบวนการกลุ่มของแต่ละ ก ลุ่ ม แ ล ะ ข อ ง แ ต่ ล ะ รายบุคคล - การเสริ ม แรงให้ ผู้ เ รี ย น อยากที่จะเรียน อยากที่จะ ร่วมกิจกรรมสัมพันธ์ แสดง ใ ห้ ผู้ เ รี ย น เ ห็ น ถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ข องความรู้ ใหม่และทักษะสัมพั น ธ์กั บ อ า ชี พ แ ล ะ จ ะ ไป ให้ ถึ ง เป้าหมายนั้นอย่างไร - เชื่ อมโยงให้ ผู้เรียนทราบ ถึงประโยชน์ของกิจกรรมที่ ทาในการพัฒนาทักษะทาง สังคมและผู้เรียนได้เรียนรู้ ตามมาตรฐานที่ กาหนดไว้

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

บทบาทผู้เรียน - ทากิจกรรมสัมพันธ์กับ วิทยากร - แสดงความคิดเห็นและ อภิ ป รายกระบวนการ ประกอบ อาชี พ แต่ ล ะ ประเภท

- ตอบสนองผู้ ส อนเป็ น รายบุคคลโดยการร่วมคิด และสั ง เคราะห์ สิ่ ง ที่ ไ ด้ เรี ย น รู้ จ าก ก าร ส รุ ป ป ร ะ เด็ น ส า คั ญ ข อ ง 139


ขั้นตอน

บทบาทผู้สอน ในหลักสูตร

บทบาทผู้เรียน คุณสมบัติ บทบาทหน้าที่ โอกาสในการประกอบ อาชีพแต่ละประเภท

(5) วัดความรับผิดชอบ ของผู้เรียนเป็นกลุ่มและ รายบุคคล

- อ านวยความสะดวกใน การวัดความรับผิดชอบของ ผู้ เรี ย น เป็ น ก ลุ่ ม แ ล ะ รายบุคคล - ให้ผู้เรียนสะท้อนความคิด หรือตอบแบบสอบถาม - อภิปรายถึงสถานการณ์ที่ ผู้เรียนอาจนาความรู้ใหม่ไป ประยุกต์ใช้ในอนาคต

(6) ประเมินผลการ เรียนรู้

- ประเมิ น ผลการเรี ย นรู้ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ทั้ง เป็ น รายบุ ค คล และราย กลุ่ ม โดยใช้ ก ารประเมิ น ด้วยการทดสอบหลังเรีย น และใช้การประเมินจากการ นาเสนอผลงาน

- วิ เ คราะห์ ต นเองและ สะท้อนความคิดเกี่ยวกับ ความ รั บ ผิ ด ชอบ ของ ตนเองและกั บ เพื่ อ นใน กลุ่ม - การวิ เคราะห์ ค วามรู้ ที่ ได้ รั บ มาจากภาระงาน กลุ่ม โดยการจัดทาสร้าง แผนที่ ค วามคิ ด (Mind Mapping) เพื่ อเชื่อ มโยง ความรู้ ที่ ไ ด้ รั บ ในแต่ ล ะ อ า ชี พ ต่ อ ก า รพั ฒ น า ตนเองสู่อาชีพนั้น - ร่ ว มประเมิ น ผลการ เรี ย น รู้ ต า ม ที่ ผู้ ส อ น กาหนด ทั้งการประเมินที่ เป็ น การท ด ส อบ ห ลั ง เรี ย นและการน าเสนอ ผลงานบทวิเคราะห์ ก าร เชื่ อ มโยงความคิ ด ในแต่ ละกิ จ กรรมจากแผนที่ ความคิดนั้น

140

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


5. เทคนิคของการจัดการเรียนรู้ เทคนิคการจัดการเรียนรู้ที่เสริมทักษะในศตวรรษที่ 21 เป็นกลวิธีที่นามาใช้ เสริมกระบวนการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้การจัดการเรียนรู้มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ยิ่ ง ขึ้ น โด ย เท ค นิ ค ที่ น าม าใช้ ใน หั วข้ อ “ The Professional Accountant” ประกอบด้ วย เทคนิ คการใช้ค าถาม (Questioning Method) และ เทคนิ คการสร้างแผนที่ ค วามคิ ด (Mind Mapping) ซึ่งเมื่อ วิเคราะห์ เทคนิค การใช้ ค าถามจะพบว่า การสร้ างค าถามที่ ดี จ ะส่ งเสริ ม ทั ก ษะด้ านการคิ ด ให้ คิ ด อย่ างมี วิ จ ารณญาณ แก้ ปั ญ หาได้ และสามารถเชื่ อ มโยงให้ เกิ ด การสร้ า งสรรค์ ได้ ทั้ งนี้ จิตรลดา วิวัฒ น์ เจริญ วงศ์ (2558) ได้ ท าการวิจั ยผลของการจัด การเรียนรู้แบบใช้ คาถามที่มีต่อผลการเรียนรู้ของนักศึกษาในรายวิชาหลักการบัญชีขั้นต้น 2 พบว่า การ จัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการใช้คาถาม ทาให้นักศึกษามีระดับความรู้ในการเรียน เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และสอดคล้อ ง กับงานวิจัยของกัญญา สิทธิศุภเศรษฐ์ (อ้างถึงใน วาสนา ศรัทธา, 2552) ที่ได้ศึกษา ผลการใช้กิจกรรมการตั้งคาถามที่มีต่อทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ให้มีทักษะ การคิดวิเคราะห์ที่สูงขึ้น เช่นเดียวกับผลการวิจัยของมนรัตน์ สมสุข , ชาติชาย ม่วง ปฐม และจุฬามาศ จันทร์ศรีสุคต (2555) ที่พบว่า นักเรียนที่ได้รับการสอนด้วยวิธีการ ทางประวัติศาสตร์ร่วมกับเทคนิคการใช้คาถาม มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ส าหรั บ เทคนิ ค การสร้ า งแผนที่ ค วามคิ ด ไสว ฟั ก ขาว (2561) ได้ ใ ห้ ความหมายของการสร้างแผนที่ความคิด (Mind Mapping) เป็นการสร้างผังกราฟิก แบบหนึ่งที่แสดงการเชื่อมโยงเนื้อหาสาระที่เป็นองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรมซึ่งมีลักษณะคล้ายเซลล์สมองของมนุษย์ โดย วชิราภรณ์ เยี่ยมแสง, สมปอง ศรีกัลยา และอเนก ศิลปนิลมาลย์ (2556) ได้ทา การวิจัยเรื่อง การใช้ผังความคิดและวิจัยปฏิบัติการในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ อ่านเพื่อความเข้าใจภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนขามแก่น นคร พบว่ า การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ วิ ช าภาษาอั งกฤษโดยใช้ ผั งความคิ ด ด้ ว ย กระบวนการวิจัยปฏิบัติการ สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านเพื่อความเข้าใจ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

141


ภาษาอังกฤษของนักเรียนโดยนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 82.63 ของคะแนนเต็ม และมีนั กเรียนสอบผ่านเกณฑ์ จานวน 30 คน คิดเป็น ร้อยละ 88.24 ของนักเรียน ทั้งหมด ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่กาหนดไว้ และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษโดยใช้ผังความคิดอยู่ในระดับมาก นอกจากนี้ มิสสุทธิรัตน์ เลิศจตุรวิทย์ (2558) ได้ทาการวิจัย ผลการเรียนเรื่องประเทศเพื่อนบ้านโดยใช้เทคนิค การเขียนแผนผังความคิดเชิงสร้างสรรค์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ระดับ ชั้ น ประถมศึ กษาปี ที่ 6 พบว่า ค่ าเฉลี่ย และค่ าร้อยละของคะแนนแบบสอบ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นเรื่ อ งประเทศเพื่ อ นบ้ า นโดยใช้ เทคนิ ค การเขี ย นแผนผั ง ความคิดเชิงสร้างสรรค์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน และ การที่นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติและได้เกิดการเรียนรู้ตามลาดับขั้นตอนการสอน ทาให้ นั ก เรี ย นได้ ฝึ ก การคิ ด อย่ า งอิ ส ระเสรี ซึ่ งความคิ ด ที่ ได้ ในขั้ น ตอนนี้ เป็ น ความคิ ด ที่ หลากหลาย แปลกใหม่ ห รือ อี กนั ย หนึ่ งคื อความคิ ด สร้างสรรค์ เมื่ อ นั ก เรียนได้น า ความคิ ดต่ างๆ เหล่านั้ น มาจัด ระบบ สร้างความสั ม พั น ธ์เชื่อ มโยงกั น ในรูป ของผั ง ความคิด จะยิ่งเสริมให้ความคิดนั้นเป็นระบบระเบียบมีความสัมพันธ์กันและง่ายต่อ การเขียนเรียบเรียงเพื่อถ่ายทอดความคิดดังกล่าว การได้ฝึกปฏิบัติและฝึกคิดและได้ เกิดการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นตอน ต่อเนื่องและส่งเสริมซึ่งกันและกันเช่นนี้ เป็นปัจจัยที่ สาคัญที่ทาให้นักเรียนมีความสามารถในการพัฒนาทักษะการคิด ดั งนั้ น จากวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการเรี ย นรู้ ใ นโครงการ The Professional Accountant เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์และ สามารถเชื่อมโยงความรู้จากหลากหลายอาชีพ และนวัตกรรมใหม่ๆ ที่เกิดจากการ ประกอบอาชีพ สาหรับเป็นแนวทางการพัฒนาตนเองสู่อาชีพในฝัน จึงเห็นว่าเทคนิค การใช้คาถาม (Questioning Method) และ เทคนิคการสร้างแผนที่ความคิด (Mind Mapping) จะสามารถเชื่อมโยงและต่อยอดความคิดของนักศึกษาได้เป็นอย่างดี และ เป็นเทคนิควิธีได้ไม่ยุ่งยากมากนัก

142

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


6. ผลที่ได้จากการดาเนินงาน The Professional Accountant จากการจัดกิจกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นเรียนบัญชีกับตัวจริง ประสบการณ์ จ ริ ง ในหั ว ข้ อ “The Professional Accountant” พบว่ า การจั ด เนื้ อ หาสาระของกิ จ กรรมสอดคล้ อ งกั บ ความสนใจของผู้ เรี ย น บรรยากาศและ สภาพแวดล้อมของสื่อการเรียนการสอนทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการทากิจกรรมนั้น เป็นอย่างดี ผู้เรียนมีทักษะทางสังคมในการสื่อสาร มีการแสดงความคิดเห็น ร่วมทา กิจกรรมสัมพันธ์ รู้จักการตั้งคาถามที่นาไปสู่การคิดวิเคราะห์ เมื่อพิจารณาจากภาระ งานรายบุคคล พบว่า ผู้เรียนสามารถสรุปประเด็นสาคัญของคุณสมบัติ บทบาทหน้าที่ โอกาสในการประกอบอาชีพ แต่ ล ะประเภทได้ ดี และสามารถเขี ย นอภิ ป รายแนว ทางการประกอบอาชีพที่ได้รับข้อมูลจากวิทยากรผู้มีประสบการณ์จริงในสายอาชีพ นั้นๆ ได้เป็นอย่างดี และเมื่อพิจารณาจากภาระงานของกลุ่ม โดยกาหนดให้แต่ละกลุ่ม เมื่ อเข้ าร่ วมโครงการครบตามหั ว ข้ อกิ จ กรรมแล้ ว ให้ ส ร้างแผนที่ ค วามคิ ด (Mind Mapping) เพื่อเชื่อมโยงความรู้ที่ได้รับในแต่ละอาชีพ พบว่า ผู้เรียนมีความร่วมมือใน การคิดสร้างสรรค์ผลงาน มีการแบ่งแยกหน้าที่ รู้จักการทางานเป็นทีมได้เป็นอย่างดี จากตัวอย่างผลงานแผนที่ความคิดเชิง สร้างสรรค์ของผู้เรียน พบว่า ผู้เรียนสามารถ แสดงความคิดเห็นที่เป็นนามธรรมออกมาให้เห็นเป็นรูปธรรม สามารถจัดลาดับเนื้อหา ในแต่ละอาชีพและเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเนื้อหาในแต่ละอาชีพที่เกี่ยวข้องกันได้ อย่างชัด เจน ท าให้ ข้อ มูล และเนื้ อหามีค วามเข้ าใจง่ายขึ้น นอกจากนี้ จะเห็ น ได้ว่ า ผลงานการสร้างแผนที่ ค วามคิ ด (Mind Mapping) ที่ แสดงออกมาในแต่ ล ะกลุ่ ม มี รูป แบบที่สวยงาม แสดงให้ เห็ นถึงความตั้งใจในการท างานและให้ความสาคัญ กั บ กิจกรรมการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ของโครงการ The Professional Accountant

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

143


ตัวอย่างผลงานแผนที่ความคิดเชิงสร้างสรรค์ของผู้เรียน

144

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ตัวอย่างผลงานแผนที่ความคิดเชิงสร้างสรรค์ของผู้เรียน

7. บทสรุปและข้อเสนอแนะที่ได้ การออกแบบการจัดการเรียนรู้เพื่ อส่ งเสริมทั กษะในศตวรรษที่ 21 ควร ตระหนักถึงรูปแบบการจัดการเรียนรู้ เทคนิคการจัดการเรียนรู้ และเทคโนโลยีที่เข้า มาช่ ว ยในการจั ด การเรี ย นรู้ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพ ทั้ ง นี้ โครงการ The Professional Accountant ได้ อ อกแบบมาเพื่ อ ส่ งเสริ ม ให้ ผู้ เรี ย นมี ก ระบวนการ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

145


เรียนรู้แบบร่วมมือ (The Cooperative Learning Model) ซึ่งเป็นการเรียนรู้ที่เปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และทางานร่วมกัน ทาให้ผู้เรียนแต่ละคนได้แสดงศักยภาพ ของตนเองในการทางานเป็นทีม การสื่อสารด้วยเทคนิคการใช้คาถาม (Questioning Method) เพื่ อ ให้ ไ ด้ ม าซึ่ งข้ อ มู ล และแนวทางในการประกอบอาชี พ นอกจากนี้ โครงการได้ อ อกแบบมาเพื่ อ เป็ น การพั ฒ นาทั ก ษะการคิด วิ เคราะห์ การเชื่ อมโยง ความรู้ที่ได้รับมาในแต่ละอาชีพ แล้วนามาสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบของแผนที่ ความคิด (Mind Mapping) ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนสามารถแสดงความคิดเห็นที่เป็น นามธรรมออกมาให้เห็น เป็น รูปธรรม สามารถจัดลาดับ เนื้ อหาในแต่ละอาชีพ และ เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของเนื้อหาในแต่ละอาชีพที่เกี่ยวข้องกันได้อย่างชัดเจน ทาให้ ข้อมูลและเนื้อหามีความเข้าใจง่ายขึ้น

ข้อเสนอแนะจากการดาเนินการ 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในลักษณะเน้นเรียนกับตัวจริงประสบการณ์ จริง ควรมีการวางแผนและจัดลาดับอย่างเหมาะสม 2. ผู้สอนควรแนะนาให้ผู้เรียนรู้จักกับแผนที่ความคิดก่อนนามาใช้จริง 3. เนื้อหาที่จะนามาให้ผู้เรียนเชียนเป็นแผนที่ความคิดไม่ควรเป็นเนื้อหาที่ ซับซ้อนมากจนเกินไป ควรมีการจัดระบบไว้อย่างชัดเจน 4. ผู้สอนควรแนะนาผู้เรียนในการเลือกใช้สี และการตกแต่งหัวข้อเรื่องให้ สวยงามเพื่อความน่าสนใจ 5. การสร้ า งแผนที่ ค วามคิ ด ผู้ ส อนอาจแนะน าเทคโนโลยี ม าร่ ว มใช้ กั บ เทคนิคนี้ด้วย เช่นโปรแกรม Mind Mapper, ConceptDraw MindMap เป็นต้น

146

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


8. ภาพกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ The Professional Accountant The Professional Accountant “CPIAT : บทบาทผู้ตรวจ สอบภายในยุคใหม่” นั ก ศึ ก ษ า ค ณ ะ บั ญ ชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม เรียน กั บ ตั ว จริ ง ประสบการณ์ จริ ง กั บ คุ ณ นงนภั ส ใจจร ผู้ จั ด ก า ร ห น่ ว ย ง า น ตรวจสอบภายใน ธนาคาร ไทยเครดิ ต เพื่ อ รายย่ อ ย จากัด (มหาชน) วันเสาร์ที่ 9 กั น ยายน 2561 ณ ห้ อ ง Convention 1 อาคาร 11 มหาวิทยาลัยศรีปทุม "นักภาษีอากรยุค 4.0" นั ก ศึ ก ษ า ค ณ ะ บั ญ ชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม เรียน กั บ ตั ว จริ ง ประสบการณ์ จริง กับคุณสุรเดช เล็กแจ้ง กรรมการผู้ จั ด การ บริ ษั ท ตรวจสอบและที่ปรึกษาเอส แอล เค จากัด , กรรมการ ผู้จั ดการ บริษั ท ฝึก อบรม และสั ม มนา 2515 จ ากั ด และผู้ บ ริ ห ารเพจภาษี รู้ ไว้ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

147


The Professional Accountant ไ ด้ เ ป รี ย บ ณ ห้ อ ง Auditorium 2 อาคาร 11 วันที่ 29 กันยายน 2561

"การเป็นผู้ประกอบการ สานักงานบัญชี" นั ก ศึ ก ษ า ค ณ ะ บั ญ ชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม เรียน กั บ ตั ว จริ ง ประสบการณ์ จริง กับ ดร.อิสริยา พรหม สงฆ์ กรรมการผู้ จั ด การ บริษัท รัชพรการบัญชีภาษี อากรและกฎหมาย จากั ด ณ ห้ อ ง Auditorium 2 อาคาร 11 วันที่ 6 ตุลาคม 2561 เวลา 9.30 - 11.30 น

148

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


The Professional Accountant "ผู้ประกอบการบัญชียุค 4.0" นั ก ศึ ก ษ า ค ณ ะ บั ญ ชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม เรียน กั บ ตั ว จริ ง ประสบการณ์ จริ ง กั บ คุ ณ ปราณฤาทั ย บุญเพ็ง ผู้จัดการฝ่ายบัญชี/ การเงิน & Internal Audit ณ ห้ อ ง Auditorium2 อ า ค า ร 11 วั น ที่ 27 ตุ ล าคม 2561 เวลา 9.3011.30 น. "CPA : อาชีพในฝันของนัก บัญชี" นั ก ศึ ก ษ า ค ณ ะ บั ญ ชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม เรียน กั บ ตั ว จริ ง ประสบการณ์ จริ ง กั บ คุ ณ นิ ว หาญภั ก ดี ประธานบริ ษั ท นิ ว เวลล์ ออดิท แอนด์ แทกซ์ แอคท์ ติ้ ง (ไทยแลนด์ ) จ ากั ด ณ ห้ อ ง Auditorium 2 อ า ค า ร 11 วั น ที่ 27 ตุ ล า ค ม 2561 เ ว ล า EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

149


The Professional Accountant 12.30-15.30 น.

"เคล็ดลับนักบัญชีสู่การเป็น ผู้ พั ฒ น า โ ป ร แ ก ร ม " นั ก ศึ ก ษ า ค ณ ะ บั ญ ชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม เรียน กั บ ตั ว จริ ง ประสบการณ์ จริง กั บ คุ ณ ภี ม เพชรเกตุ กรรมการผู้ จั ด การ บริ ษั ท พี ยู ยู เอ็น อินเทลลิเจนท์ จ า กั ด ณ ห้ อ ง Auditorium 2 อาคาร 11 วันที่ 3 พฤศจิกายน 2561 เวลา 9.30-11.30 น

150

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


The Professional Accountant "รู้บัญชีก็เป็นเจ้าของธุรกิจ ยุคใหม่" นั ก ศึ ก ษ า ค ณ ะ บั ญ ชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม เรียน กั บ ตั ว จริ ง ประสบการณ์ จริง กับ ดร.พงษ์ศักดิ์ ด้วง ทา ผู้ อ านวยการโรงเรี ย น สอนภาษา PLC ณ ห้ อ ง Auditorium 2 อาคาร 11 วั น ที่ 17 พ.ย. 2561 เวลา 9.30-12.30 น. "FA:Financial Advisor ที่ ปรึ ก ษาการเงิ น คู่ คิ ด นั ก ลงทุน"นักศึกษาคณะบัญ ชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม เรียน กั บ ตั ว จริ ง ประสบการณ์ จริง กับ คุ ณ ไพบู ลย์ นนท์ ชะสิ ริ กรรมการผู้ จั ด การ บริษัท บราเธอร์ฮูด แอ็ดไว เซอรี่ จากัด และคุณวุฒิชัย จิ ต ติ นั น ท น์ ที่ ป รึ ก ษ า กรรมการผู้ จั ด การ บริ ษั ท สต อเรจ ซิ ส เต็ ม ส์ แ อ น ด์ โ ซ ลู ชั่ น จ า กั ด ณ ห้ อ ง

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

151


The Professional Accountant Auditorium 2 อาคาร 11 วันที่ 24 พ .ย . 2561 เว ล า 9.3011.30 น.

"AI : นวัตกรรมสมัยใหม่กับ งานบัญชี" ประสบการณ์ดีๆจาก CEO ตั ว จริ ง เจ้ า ของโปรแกรม AccRevo โปรแกรมบั ญ ชี ออนไลน์ที่ดีอันดับต้นๆของ ประเทศไทย นั ก ศึ ก ษา คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรี ป ทุ ม เรี ย น กั บ ตั ว จ ริ ง ประสบการณ์ จริง กับ คุณ ราชิ ต ไชยรั ต น์ กรรมการ บริษัท ซีเอซี ออดิท จากัด ณ ห้ อ ง Auditorium 2 อ า ค า ร 11 วั น ที่ 24 พฤศจิ ก ายน 2561 เวลา 12.30-15.30 น.

152

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


The Professional Accountant "CFO ข้ามชาติ Talk" นักศึกษาบัญชี SPU เรียน กับตัวจริง ประสบการณ์ จริง กับ Mrs.Sonexay Silaphet -ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต (Australian CPA and Lao CPA) -the President of ASEAN Federation of Accountants (AFA) for the term of 2016 and 2017 -Vice President of Lao Chamber of Professional Accountants and Auditors (LCPAA) -Managing Director and founder of SKNP Co., Ltd -Chief Finance Officer of PT Group -Board Member of Lao Advisory Accountancy EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

153


The Professional Accountant Board at Ministry of Finance and lecturer of Lao CPA @ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วันที่ 1 ธันวาคม 2561 "IT AUDIT เทคโนโลยีใหม่ กับงานสอบบัญชี” นัก ศึ กษาบั ญ ชี SPU เรีย น กั บ ตั ว จริ ง ประสบการณ์ จริ ง กั บ อาจารย์ ก ษิ ภั ท ธนิ ต ธนาคุ ณ กรรมการ ผู้จั ดการ บริษั ท เคที ไอที โ ซ ลู ชั่ น จ า กั ด @ Auditorium 2 วั น ที่ 6 ธันวาคม 2561

154

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


เอกสารอ้างอิง จิตรลดา วิวัฒน์เจริญวงศ์. 2558. “ผลของการจัดการเรียนรู้แบบใช้คาถามที่มีต่อผล การเรียนรู้ของนักศึกษาในรายวิชาหลักการบัญชีขั้นต้น 2.” รายงานสืบ เนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ สาขาบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์ ครั้ งที่ 3, ประจ าปี 2558. วั น ที่ 23-24 พฤษภาคม 2558. หน้า 2573-2581. ทิศนา แขมมณี. 2550. ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี ประสิ ท ธิ ภ าพ. พิ ม พ์ ค รั้ งที่ 5. กรุ งเทพ: ส านั ก พิ ม พ์ แ ห่ งจุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ไพฑูรย์ สินลารัตน์. 2559. ปรัชญาการศึกษาเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ. กรุงเทพ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต. มนรัตน์ สมสุ ข , ชาติชาย ม่ว งปฐม และจุฑ ามาศ จั นทร์ศ รีสุค ต. 2555. “ผลของ วิธีการทางประวัติศาสตร์ร่วมกับเทคนิคการใช้คาถามที่มีต่อความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2.” ผลงานวิจัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฎอุดรธานี. มิสสุทธิรัตน์ เลิศจตุรวิทย์. 2558. “ผลการเรียนเรื่องประเทศเพื่อนบ้านโดยใช้เทคนิค การเขียนแผนผังความคิดเชิงสร้างสรรค์ที่มีตอ่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6.” ผลงานวิจัย โรงเรียนอัสสัมชัญ แผนกประถม. วชิราภรณ์ เยี่ยมแสง, สมปอง ศรีกัลยา และอเนก ศิลปนิลมาลย์. 2556. “การใช้ผัง ความคิด และวิจั ยปฏิ บั ติ การในการพั ฒ นาผลสัม ฤทธิ์ท างการอ่ านเพื่ อ ความเข้าใจภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนขาม แก่ น นคร.” ว.มรม. (มนุ ษ ยศาสตร์แ ละสั งคมศาสตร์) ปี ที่ 7 ฉบั บ ที่ 3 กันยายน-ธันวาคม: 237-250. EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

155


วาสนา ศรัทธา. 2552. “การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ที่บูรณาการเทคนิคการใช้ คาถาม สาระการเรียนรู้การจัดการสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น โรงเรียนบุ ญ วาทย์ วิ ท ยาลั ย จั ง ห วั ด ล าป าง.” ผลงานวิ จั ย บั ณ ฑิ ตวิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ไสว ฟักขาว. 2561. การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

156

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


การเข้าใจ เข้าถึงผู้เรียนยุคดิจิทัลด้วย DISC Model วรรณี งามขจรกุลกิจ บทนา ในยุคดิจิทัลความท้าทายที่สาคัญต่อบุคลากรด้านการศึกษาโดยเฉพาะผู้ที่ เป็นครู อาจารย์ คือ ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับเทคนิค วิธีการ และรูปแบบในการ จัดการเรียนการสอนอย่างไรให้เข้าถึงผู้เรียนซึ่งมีความสนใจ ความต้องการที่แตกต่าง หลากหลาย และพร้อมที่จะเปลี่ยนความสนใจในทุกวินาทีตามการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วของข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศต่าง ๆ จากทั่วทุกมุมโลกอย่างไร้อุปสรรค ไร้ ขีดจากัดเพียงปลายนิ้วสัมผัสแค่เสี้ยววินาทีเท่านั้น สิ่งที่เกิดขึ้นแบบ Real time แบบ ไร้พรมแดนโดยผ่านอินเทอร์เน็ตระบบเครือข่ายสังคมนั้น ยิ่งเป็นตัวแปรสาคัญที่ดึงดูด ให้ผู้เรียนออกห่างจากครูอาจารย์ สถานการณ์เหล่านี้ล้วนทาให้ครูอาจารย์จาเป็นต้อง พัฒนาตนเองให้ทันต่อกระแสโลกยุคดิจิทัล และสร้างสรรค์กลยุทธ์การโน้มน้าวจูงใจ ผู้เรียนให้มี ส่วนร่วมในการเรียนรู้พัฒ นาตนทั้งด้านวิชาการ วิชาชีพ และทั กษะใน ศตวรรษที่ 21 หากพิ จ ารณ าแผนการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ 2560-2579 ที่ ว างแผนตาม ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี เป็นการวางกรอบเป้าหมายและทิศทางการจัดการศึกษาของ ประเทศในการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของคนไทยทุกช่วงวัยให้เต็มตาม ศักยภาพ สามารถแสวงหาความรู้และเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิ ต โดยการขับเคลื่อนภายใต้วิสัยทัศน์คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข

ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรรณี งามขจรกุลกิจ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

157


สอดคล้ อ งกั บ หลั ก ปรัชญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง และการเปลี่ ย นแปลงของโลก ศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งเน้นการจัดการเรียนการสอนเพื่ อให้ ผู้เรียนได้ทั้งความรู้และ ทักษะที่จาเป็นต้องใช้ในการดารงชีวิต การประกอบอาชีพ และการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศท่ามกลางกระแสแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลกยุค ดิจิทัล ทักษะสาคัญจาเป็นของผู้เรียน ประกอบด้วยทักษะตามคาย่อ 3Rs + 8Cs ซึ่ ง 3Rs ป ระกอบ ด้ ว ย อ่ า นออก (Reading) เขี ย นได้ (Writing) คิ ด เลขเป็ น (Arithmetics) และ 8Cs ได้แก่ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะใน ก า รแ ก้ ปั ญ ห า (Critical Thinking and Problem Solving) ทั ก ษ ะ ด้ าน ก า ร สร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจต่าง วัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross – cultural Understanding) ทักษะด้านความ ร่ ว มมื อ การท างานเป็ น ที ม และภาวะผู้ น า (Collaboration Teamwork and Leadership) ทั ก ษ ะ ด้ า น ก า ร สื่ อ ส า ร ส า ร ส น เท ศ แ ล ะ รู้ เท่ า ทั น สื่ อ (Communications, Information and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะ อาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) ความมีเมตตา กรุณ า วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2560: 16) อย่างไรก็ตาม เมื่อโลกและสังคมเปลี่ยน ผู้เรียนในยุคดิจิทัลก็เปลี่ยนเช่นกัน ซึ่งศาสตราจารย์ นายแพทย์วิจารณ์ พานิช ให้ข้อคิดเกี่ยวกับการปฏิรูปการศึกษาว่า “ความจริ งของศตวรรษที่ 21 คื อ สั งคมเปลี่ ย น เด็ ก ก็ เปลี่ ย น ทั ก ษะที่ ต้องการในการดารงชีวิตของคนก็เปลี่ยน ฉะนั้นการเรียนรู้ต้องเปลี่ยน การสอนเด็ก แบบเดิมไม่ได้ผล ดังนั้นครูต้องไม่เน้นสอน(ไม่ใช่ผู้สอน) แต่เน้นออกแบบกระบวนการ เรียนรู้ จัดกระบวนการเรียนรู้แบบ PBL(Project Based Learning หรือ Problem Based Learning หรือ Process Based Learning) สร้างแรงบันดาลใจ เน้นเป็นโค้ช จะทาให้เด็กไทยได้เรียนรู้มากกว่าองค์ความรู้ในวิชาที่สอน เป้าหมายสุดท้าย คือ เด็ก มีทักษะในอนาคต 21st Century skills” (วิจารณ์ พานิช, 2554) 158

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


แนวคิดเกี่ย วกั บการเน้ นผู้ เรียนเป็ นส าคั ญ ของศาสตราจารย์ นายแพทย์ วิจารณ์ พานิช นี้ ได้กล่าวถึงห้องเรียนแบบ “นักเรียนเป็นศูนย์กลาง” หรือ “นักเรียน เป็นผู้สร้างความรู้ ” (constructivist) นักเรียนร่วมกันสร้างความหมาย (meaningmaking) ของสิ่งต่าง ๆ กิจกรรมต่าง ๆ โดยสร้างความหมายต่อยอดจากความรู้ที่มีอยู่ แล้ว โดยนักเรียนแต่ละคนมีส่วนร่วมกิจกรรม ทั้งกิจกรรมรวมทั้งชั้น กิจกรรมกลุ่ม ย่อย และกิจกรรมที่ทาคนเดียว สภาพของห้องเรียนจะมีชีวิตชีวา นักเรียนจะพูดคุย ปรึกษาถกเถียงกัน มีการค้นความรู้ที่สงสั ย ณ ขณะนั้น และนามาอธิบายให้เพื่อนฟัง รวมทั้งช่วยกันตีความ ทาความเข้าใจให้ชัดเจนหรือลึกซึ้งเชื่อมโยงขึ้น มีการนาเสนอ ความรู้ที่ตน ตีความหรือสรุปจากกิจกรรมให้เพื่อนฟัง รวมทั้งตอบข้อซักถาม หรือ อภิปราย แลกเปลี่ยน ในห้องเรียนแบบ “นักเรียนเป็นผู้สร้างความรู้ ” ครูทาหน้าที่ เป็น facilitator ซึ่งจะต้องเตรียมตัวล่วงหน้ามาก รวมทั้งต้องรู้สาระวิชาที่สอนอย่าง ถ่องแท้ด้วย โดยที่เป้าหมายของการสอนอยู่ที่การเรียนรู้ของนักเรียน ไม่ใช่อยู่ที่สอน ครบตามหลั กสู ต ร คุณ ภาพของการศึก ษาอยู่ ที่ ความกระตื อรือ ร้น (enthusiasm) ความหลงใหลใฝ่เรียน (passion) ความสนใจใคร่รู้ (curiosity) และความสนุกสนาน (enjoyment) การเรียนรู้ไม่ได้เกิดจากการถ่ายทอดความรู้ แต่เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่าง คน เกิดจากการเสวนาโต้ตอบกัน (dialogical) ทาให้เกิด “สายธารแห่งความหมาย” ที่ไหลไปมาระหว่างคน และทาให้เกิด “ความรู้ความเข้าใจ” ขึ้นในตัวบุคคล (วิจารณ์ พานิช, 2562: 89) นอกจากนี้ ในการวิเคราะห์ ผู้ เรีย น ปรากฏงานวิจั ยหลายผลงานที่ มี การ แบ่งกลุ่มคนตาม Gen โดยงานส่วนใหญ่มีการจัดผู้เรียนในระดับอุดมศึกษาอยู่ในกลุ่ม Gen Z ซึ่งจากการศึกษาพบว่า เป็นกลุ่มมองโลกตามความเป็นจริง เชื่ออะไรในทาง ปฏิ บั ติ แ ละลงมื อ ท าจริ งมากกว่ า เชื่ อ ทฤษฎี ทุ ก คนมี ส มาร์ท โฟนเป็ น ของตั ว เอง พฤติกรรมการใช้สื่อออนไลน์มีลักษณะการเสพสื่อแบบติดชีวิตออนไลน์ เฉลี่ยวันละ 10 ชั่ วโมงต่อ วัน ดูยู ทู ป วัน ละสองชั่ วโมง และกระวนกระวายเมื่อ ต้ องอยู่ ไกลจาก อุ ป กรณ์ สื่ อ สารของตั ว เอง กลุ่ ม Gen นี้ น าเทคโนโลยี ม าปรั บ ใช้ ม ากกว่ า การคิ ด สร้างสรรค์ด้วยตนเอง และมองว่าการสื่อสารและการแก้ปัญหาคือ ทักษะที่สาคัญมี EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

159


ประโยชน์ ต่ อ เขา ดั งที่ ธิด ารัต น์ กาญจนวัฒ น์ ผู้ อ านวยการส่ วนภู มิภ าค ไทยและ เวียดนาม กลุ่มบริษัทอเด็คโก้ประเทศไทย กล่าวว่า “ในอนาคตผู้คนราว 60% จะประกอบอาชีพที่ไม่ได้มีอยู่ในทุกวันนี้ ดังนั้น จึงเป็นเรื่องสาคัญอย่างยิ่งที่ผู้ปกครอง สถาบันการศึกษา และภาครัฐ จะร่วมมือกัน ส่งเสริมเด็กตามพื้นฐานความชอบ ความถนัด พัฒนาทักษะที่จาเป็นสาหรับยุคดิจิทัล และนาเทคโนโลยีมาสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อพัฒนาเด็กไทยให้เป็นกาลัง สาคัญในการพัฒนาประเทศชาติในยุคดิจิทัล” (อลงกต เดือนคล้อย, 2561) จากปัจจัยความคาดหวังให้บรรลุเป้าหมายตามแผนและนโยบายการศึกษา ของรัฐบาล รวมถึงความคาดหวังต่อการสร้างผลการเรียนรู้ให้กับเยาวชนผู้เรียนมี ทั ก ษะในอนาค ต 21st Century skills และการจั ด การเรี ย นการสอนให้ มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลนั้น จาเป็น ต้องศึกษาค้นคว้าหาวิธีการให้เข้าใจและ เข้าถึงลูกศิษย์ที่เป็นผู้เรียนในยุคดิจิทัลว่าแต่ละคนมีความต้องการ มีบุคลิกภาพ มี พฤติกรรมแตกต่างกันอย่างไรบ้าง เพื่อเป็นข้อมูลในการรู้จักลูกศิษย์อย่างลึกซึ้งและ เพื่อวางแผนการเข้าถึงด้วยสัมพันธภาพอันดี โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล จึงเป็ นเรื่องสาคัญ ต่อการศึกษาอย่างยิ่งและเป็ นก้าวแรกของการเปิดประตูใจของ ผู้เรียนกับคนที่เป็นครู ในการใช้ แ บบจ าลอง Dominance (D), Influence (I), Steadiness (S), and Compliance (C) Model ที่เรียกย่อๆว่า DISC Model ในการศึกษาผู้เรียนนั้น มาจากการมีโอกาสเข้าโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร Super Coach Super Growth โดยวิทยากรคือโค้ชตั๊ง กิตติภัฏ ชุณ หวิริยะกุล ที่ตั้งคาถามเกี่ยวกับวิกฤติ การศึกษามหาวิทยาลัยไทย และคาถามว่าลูกศิษ ย์คาดหวังอะไรจากเรา? และเรา คาดหวังอะไรจากลูกศิษย์? รวมทั้งการเข้าใจคนแต่ละประเภทด้วย DISC Model เพื่อ ความสาเร็จขององค์กร ทาให้เกิดความคิดว่าในการเรียนการสอนเพื่อให้เข้าใจและ เข้ าถึ งลู ก ศิ ษ ย์ ในแต่ ล ะกลุ่ ม เรี ย นในแต่ ล ะชั้ น เรี ย นของรายวิ ช าสามารถใช้ DISC Model มาศึ ก ษาวิ เคราะห์ เช่ น กั น ดั งนั้ น วั ต ถุ ป ระสงค์ ในการศึ ก ษาโดยใช้ DISC Model วิเคราะห์ ผู้เรียนแต่ละคนในชั้นเรียนรายวิชา CMM 258 การวิจัยทางการ สื่อสาร ในภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จานวน 207 คน เพื่อให้ครู อาจารย์ 160

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


เกิดความเข้าใจและสามารถเข้าถึงผู้เรียนที่เป็นลูกศิษย์มากขึ้นจากเดิม เพื่ อเป็นส่วน หนึ่งในการทาให้ผู้เรียนลูกศิษย์แต่ละคนเข้าใจตัวเองว่ามีบุคลิกและพฤติกรรมเป็นคน ลักษณะแบบใดใน DISC รวมทั้งยังทาให้เข้าใจเพื่อนร่วมชั้นเรียน รู้ว่าควรใช้วิธีการ สื่อสารอย่างไรให้เข้าถึงเพื่อนๆ และสิ่งสาคัญที่สุดคือตัวครู อาจารย์ ได้เรียนรู้เข้าใจ ผู้เรียนลูกศิษย์และสามารถค้นหาวิธีการในการโน้มน้าวจูงใจสร้างการเรียนรู้ให้เกิด การเข้าถึงผู้เรียนลูกศิษย์อย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย DISC Model เป็ น การวิ เคราะห์ ม นุ ษ ย์ โดยการแบ่ งรู ป แบบพฤติ ก รรมที่ พัฒนามาจากทฤษฎีการวิเคราะห์พฤติกรรมมนุษย์ตามแนวคิดของ คาร์ล กุสตาฟ จุ ง (Carl Gustav Jung) นักวิทยาศาสตร์ผู้บุกเบิกการศึกษาด้านพฤติกรรมมนุษย์ โดย วิ ล เลี ย ม โมลตั น มาร์ ส ตั น (William Moulton Marston) นั ก จิ ต วิ ท ยาแห่ ง มหาวิ ท ยาลั ย ฮาร์ ว าร์ ด ได้ เขี ย นหนั งสื อ เรื่ อ งลั ก ษณะอารมณ์ ข องคนปกติ (The Emotions of Normal People) และจ าแนกพฤติ ก รรมของมนุ ษ ย์ อ อกเป็ น 4 ประเภท ดังนี้ (โกสินธุ์ อัคครุ่งเรือง, 2559) 1. D (Dominance) บุคลิกลักษณะมีความมุ่งมั่น จริงใจ เคลื่อนไหวรวดเร็ว อย่างมีเป้าหมาย ชอบเห็นผลเร็ว หวังผลเลิศ ชอบลงมือทางานด้วยตนเองมากกว่าฟัง คนอื่นว่าตามกันมา ความรู้ที่ได้สั่งสมมาจึงมาจากประสบการณ์ตรงของตัวเองจึงไม่ เชื่อทฤษฎี โดยบุคลิกแล้วจะมีลักษณะดุดัน น้าเสียงห้วนสั้น กระชับ อาจดูไม่สุภาพใน สายตาผู้อื่น กล้าโต้แย้งพร้อมชนถ้าไม่เห็นด้วย ชอบอยู่แนวหน้า กล้าแสดงออก ชอบ ใช้พ ลัง มีป ฏิกิริยาตอบสนองต่อปัญ หาต่างๆอย่างรวดเร็ว ชอบแสดงออก มีความ มั่นใจในตัวเอง กล้าตัดสินใจ ชอบการแข่งขัน กล้าเสี่ยง เอาจริงเอาจัง ใจกว้าง ไม่ ค่อยยิ้ม เดินเร็ว แต่งกายเรียบง่าย ทางานรวดเร็ว พูดจาเสียงดัง ไม่ประนีประนอม ยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง เอาแต่ใจ ไม่ค่อยฟังผู้อื่น ใจร้อน ตรงไปตรงมา พูดจาขวาน ผ่าซาก 2. I (Influence) บุ ค ลิ ก ช อ บ แ ส ด งอ อ ก ช่ างพู ด ช อ บ เข้ าสั งค ม มนุษยสัมพันธ์ดี ดูเป็นมิตร ชอบตามใจเพื่อน เปิดเผย มองโลกในแง่ดี ร่าเริง ท่าทาง กระตือรือร้น มีอารมณ์อ่อนไหว จูงใจคนเก่ง เป็นคนชอบมองภาพรวมใหญ่ๆเชื่อมโยง เครือข่ายแบบสร้างสรรค์ ไม่ค่อยสนใจรายละเอียด มีจินตนาการสูง เป็นนักคิดนักฝัน EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

161


สูง ชอบเรียนรู้เรื่องราวใหม่ๆ ชอบคิดนอกกรอบ สนใจทุกเรื่องราวทาทุกเรื่อง จน บางครั้ง ทาให้ไม่มีเป้าหมายที่ชัดเจน ไม่อยู่กับอะไรนานๆ ไม่ชอบทาอะไรแบบซ้าซาก จาเจ เบื่อง่าย เป็นคนชอบอิสระสูง ชอบสร้างเรื่องประหลาดใจเสมอ อะไรที่เหนือ ความคาดหมายนั้นจะชอบเป็นพิเศษ ช่างคิด ชอบขายไอเดีย สมาธิสั้น เวลาคุยกันมัก พูดออกนอกประเด็นไปเรื่อย ๆ ไม่ค่อยรักษากฏ 3. S (Steadiness) บุคลิกแสนดี มีลักษณะนิสัยใจเย็น เสมอต้นเสมอปลาย ทาอะไรเป็นระบบ ละเอียดรอบคอบ ถ่อมตัว ประนีประนอม เก็บความรู้สึกเก่ง พูดจา นุ่มนวล ใส่ใจความรู้สึกผู้อื่น ไม่ชอบแสดงออก ชอบเป็นผู้ฟังมากกว่าผู้พูด แต่จะพูด เมื่อถูกถามและมักแสดงความเห็นด้วยกับผู้อื่นตลอดเวลา ขี้เกรงใจ คิดนาน และ ต้องการคาแนะนาจากผู้อื่น ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง ให้ความสาคัญกับความรู้สึก และอารมณ์สูง ชอบใช้ใจมากกว่าการใช้กาลัง ขับเคลื่ อนพลังด้วยความรู้สึกที่ใส่ใจ ชอบช่วยเหลือดูแลคนรอบข้างแบบอบอุ่น ใส่ใจในรายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ หล่อเลี้ยง และดูแล ทาทุกวิถีทางที่ทาให้คนรอบข้างตัวรู้สึกดีอยู่เสมอ มีความเป็นผู้ให้สูง ชอบ สนองความต้องการของผู้อื่นมากกว่าความต้องการของตนเอง ไม่ชอบเผชิญหน้ากับ ความขัดแย้ง หลีกเลี่ยงการปะทะรุนแรง เป็นผู้ที่มีจิตวิทยาดีทาให้เกิดความราบรื่นใน หมู่คณะ 4. C (Compliance) บุคลิกเรียบร้อย ชอบความสมบูรณ์ แบบ มีระเบียบ วินัยสูง ชอบวิเคราะห์วิจัย มีแบบแผนวิธีการทางานที่ลงตัว ยึดติดกับรายละเอียดของ การทางาน มีความเชื่อความเป็นระบบระเบียบทาให้เกิดความสาเร็จ ไม่ชอบความ วุ่นวาย มีความรอบคอบ มองทุกอย่างไปข้างหน้าเสมอ คิดล่วงหน้า ชอบวางแผนเป็น ขั้นตอนอย่างมีตรรกะ เป็นพวกอนุรักษ์นิยม ทางานแบบใจเย็น มีหลักการเหตุผลสูง ไม่ ค่ อ ยยิ้ ม มี ชั้ น เชิ ง ในการพู ด ไม่ ช อบความเสี่ ย ง เน้ น ความชั ด เจนถู ก ต้ อ งให้ ความส าคั ญ กั บ ข้ อ เท็ จ จริ ง ในเชิ งลึ ก ละเอี ย ดถี่ ถ้ ว น การท างานแต่ ล ะครั้ ง ต้ อ ง ระมั ดระวังอยู่ต ลอดเวลา มี ความระมั ดระวังและรอบคอบสูง เป็ น ผู้น าที่ ห าความ ผิดพลาดได้ยาก เพราะมีหลักการทางานแบบมีระบบระเบียบ เคร่งครัดต่อกฎเกณฑ์ มี ป รั ชญาในการท างานในลั ก ษณะที่ เรีย กว่า ป้ อ งกั น ดี ก ว่าแก้ ไข ล้ ม เลิ ก ทั น ที ห าก 162

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


เป้าหมายไม่ชัดเจน ไม่ชอบโต้แย้งความคิดผู้อื่น รักษาระยะและพื้นที่ตัวเองสูงไม่ให้ ใครเข้ามาในชีวิตส่วนตัวมากนัก รักความสันโดษ

ที่มา: กิตติภฏั ชุณหวิรยิ ะกุล. 2562. หากศึ ก ษาวิ เคราะห์ ต ามทฤษฎี ข องมาร์ ส ตั น และองค์ ค วามรู้ จ ากโค้ ช กิตติภัฏ ชุณหวิริยะกุล ตาม DISC Model สามารถสรุปได้ ดังนี้ จุดเด่นของผู้เรียนแบบ D คือมีความเข้มแข็ง ตรงไปตรงมา แน่วแน่ โดย ลักษณะนิสัยในการทางานเป็ นตัวของตัวเองสูง มีความเป็น ผู้นาสูง เด็ดขาด ชอบ เอาชนะ ชอบงานท้าทาย ชอบทางานคนเดียว ชอบออกคาสั่ง แต่มีสิ่งที่ควรพัฒนา คือการเป็นคนถือดี ชอบเสี่ยง ใจร้อน ชอบเอาชนะ และไม่สนใจความรู้สึกของใคร ส่วนสิ่งที่ไม่ชอบ คือกลัวสูญเสียอานาจ ตาแหน่ง กลัวถูกเอาเปรียบหรือทางานฟรี ดังนั้น การบอกถึงความสาเร็จหรือรางวัล (Reward) ที่ได้รับจึงเป็นสิ่งที่นามาใช้ใน การสร้างแรงจูงใจ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

163


ผู้เรียนคนแบบ I มีจุดเด่นของการมีเสน่ห์ มองโลกในแง่ดี จูงใจคนเก่ง มี ลักษณะนิสัยการทางาน คือ ช่างพูด ชอบสังคม มีความคิดสร้างสรรค์ ไม่ชอบอยู่ใน กรอบระเบียบ ชอบทางานกับผู้คน สิ่งที่ควรพัฒนาคือ เป็น คนฟุ้ง ฝันกลางวัน โลก สวย ไม่มีระเบียบแบบแผน ไม่อยู่ในกฏ ซึ่งคนแบบ I ไม่ชอบถูกตาหนิ หรือถูกปฏิเสธ ไม่ได้รับการยอมรับ ในการสร้างแรงจูงใจอาศัยการให้ความสาคัญ (Recognition) กับเขา Reward จุดเด่นของผู้เรียนแบบ S คือ มีความอดทน ไว้ใจได้ เป็นผู้ฟังที่ดี มีลักษณะ นิสัยการทางานที่รักษาน้าใจ เป็นห่วงเป็นใย ทาตามขั้นตอนที่กาหนดไว้ ชอบทางาน ประจาแบบเดิมๆ เป็นผู้ตามที่ดี ชอบทางานเป็นทีม แต่สิ่งที่ควรพัฒนาคือ ช้า ไม่กล้า ตั ด สิ น ใจ และอาจเดื อ ดร้ อ นเพราะคนอื่ น คนแบบ S ไม่ ช อบความเร่ ง รี บ การ เปลี่ ย นแปลง และการสู ญ เสี ย ความสั ม พั น ธ์ จึ ง อาศั ย เรื่ อ งของความสั ม พั น ธ์ (Relationship) เป็นหลักในการสร้างแรงจูงใจ ผู้เรียนแบบ C มีจุดเด่นในเรื่องของระเบียบวินัย ความรอบคอบและมีเหตุมี ผล ลักษณะนิสัยการทางาน คือช่างวิเคราะห์ สังเกต ซื่อสัตย์ ทาตามกฏระเบีย บ ทางานละเอียดถูกต้อง ชอบทางานสงบๆคนเดียว สิ่งที่ควรพัฒนา คือ ความจุกจิก คิด มาก ไร้ความรู้สึก คนแบบ C ไม่ชอบคาตาหนิจากการทางานผิดพลาด และการไม่ เคารพ ดังนั้นการสร้างแรงจูงใจอาศัยเรื่องของการมีสัมมาคารวะ (Respect) กับคน แบบ C นอกจากนั้น จากการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจาแนกบุคคลตาม DISC Model ของ มณฑิรา อินจ่าย,ศุภสิทธิ์ ต๊ะนา และสุพรรณี เกลื่อนกลาด (2558) ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การแสวงหาอนาคตร่ ว มกั น บนพื้ น ฐานอั ต ลั ก ษณ์ ส่ ว นบุ ค คลของ เครือข่ายสุขภาพระดับอาเภอในจังหวัดอุตรดิตถ์ พบว่าการตระหนักรู้ในอัตลักษณ์ ส่ ว นบุ ค คลจากแนวคิ ด ผู้ น า 4 ทิ ศ หรื อ โมเดล DISC นั้ น เอื้ อ ให้ ก ารประชุ ม เชิ ง ปฏิบัติการในการวิจัยครั้งนี้ประสบความสาเร็จได้เป็นอย่างดี เนื่องเพราะจาแนกคน แต่ละแบบได้ ทั้งวิทยากรและผู้เข้าร่วมประชุมจะสามารถเข้าใจความแตกต่างระหว่าง บุคคล ทราบวิธีการสื่อสาร จุดมุ่งหมาย ประสิทธิภาพ ตลอดจนสามารถเลือกใช้วิธี สื่อสารเพื่อทางานร่วมกัน แก้ไขข้อโต้แย้ง และสนับสนุนกันและกันในงานต่างๆ ได้ 164

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


อย่างเต็มที่ แต่ละคนได้เรียนรู้ความแตกต่างและความเหมือนของอุปนิสัยทาให้เกิด บรรยากาศการทางานร่วมกันอย่างถ้อยทีถ้อยอาศัย เปิดกว้างรับฟังมุมมองที่แตกต่าง และมีประสิทธิผลของแต่ละภารกิจบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการจัดประชุม ในการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาแบบประเมินบุคลิกภาพตามโมเดล DISC ของอภิ ชญา กาจรวิพุ ธ และอาภาพรรณ ทั ศ นแสงสูรย์ (2554) พบว่า บุ ค คลที่ มี บุ ค ลิ ก ภาพตามโมเดล DISC ต่ า งกั น มี ค วามเหมาะสมกั บ ภารกิ จ ที่ ต่ า งกั น และ ตระหนักถึงบุคลิกภาพรายบุคคลเป็นปัจจัยสาคัญที่เอื้อต่อการสร้างความสามารถแก่ องค์กรโดยรวมในระยะยาว จากแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ DISC Model ที่ศึกษามา แสดงให้ เ ห็ น ว่ า การหวั ง ผลให้ ก ารจั ด การเรี ย นการสอนเกิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผลต่อผู้เรียนนั้น ก่อนเริ่มกระบวนการจาเป็นต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับบุคลิกภาพ ลักษณะนิสัยและพฤติกรรมที่อาจเรียกว่าเป็นอัตลักษณ์พื้นฐานส่วนบุคคล เพื่อสร้าง ความเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล และทาให้สร้างสรรค์วิธีการสื่อสารให้เข้าถึง แต่ละบุคคลแต่ละกลุ่ม เพื่อบรรลุเป้าประสงค์ตามที่กาหนดไว้ ขั้นตอนการดาเนินการศึกษา 1. ผู้สอนให้ผู้เรียนทาแบบประเมินตนเองตาม DISC Model ของอาจารย์ โค้ชกิตติภัฏ ชุณหวิริยะกุล ได้สร้างเครื่องมือไว้ โดยกาหนดให้ผู้เรียนเลือกคาตอบใน 1 ข้อคาถาม เลือกได้ 2 คาตอบ (ที่มา: กิตติภัฏ ชุณหวิริยะกุล. 2562.) แบบประเมินตนเอง เลือกได้ข้อละ 2 คาตอบ คาถามข้อที่ 1 คาถามข้อที่ 2 ฉันชอบเป็นคนตัดสินใจ ฉันไม่ชอบการขัดแย้ง ฉันห่วงใยผู้อื่นเสมอ ฉันใส่ใจในรายละเอียดของง งาน ฉันขี้เล่น ฉันเข้มแข็งไม่ท้อแท้ง่ายๆ ฉันเป็นคนมีระเบียบ ฉันมักเป็นที่ปรึกษาให้คนอื่น EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

165


คาถามข้อที่ 3 คาถามข้อที่ 4 ฉันชอบให้สั่งงานเป็นลายลักษณ์อกั ษร ฉันทาเพื่อผู้อื่น ฉันไม่ชอบให้ใครสั่ง ฉันมีเพื่อนมาก ฉันมีความอดทน ฉันหลักเลี่ยงการเกิดปัญหา ฉันมีความสุขเมื่อเป็นจุดสนใจ ฉันกล้าที่จะทวงสิทธิ์ของฉัน คาถามข้อที่ 5 คาถามข้อที่ 6 ฉันมีมาตรฐานสูง ฉันชอบทางานนอกสถานที่ ฉันชอบงานท้าทาย ฉันชอบสนับสนุนผู้อื่น ฉันชอบพบปะผู้คน ฉันมีมารยาทดี ฉันไม่โกรธง่าย ฉันต้องการชนะ คาถามข้อที่ 7 คาถามข้อที่ 8 ฉันชอบให้คนชมฉัน ฉันมีวินัย ควบคุมตัวเองได้ดี ฉันกล้าโต้แย้งถ้าไม่เห็นด้วย ฉันชอบเรียกเสียงหัวเราะจากคน อื่น ฉันละเอียดและงานที่ทาต้องเนี้ยบ ฉันชอบความสงบ ฉันไม่อยากทาให้คนอื่นเสียใจ ฉันทางานแบบทุ่มเทเต็มที่ คาถามข้อที่ 9 คาถามข้อที่ 10 ฉันเป็นคนมีความสุขและร่าเริง ฉันกล้าหาญ ฉันแก้ปัญหาได้เร็ว ฉันซื่อสัตย์ ฉันไม่ชอบขัดแย้ง ฉันทาตามกฏ ฉันทางานเดิมๆได้ ฉันมีความคิดสร้างสรรค์ คาถามข้อที่ 11 คาถามข้อที่ 12 ฉันชอบฟังมากกว่าพูด ฉันชอบแข่งขัน ฉันชอบบอกคนอื่นให้ทาอะไร ฉันมองโลกในแง่ดี ฉันสนใจเรื่องราวคนอื่น ฉันไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง ฉันทาทุกอย่างด้วยความระมัดระวัง ฉันชอบการวางแผนและขั้นตอน 166

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


.2เมื่อผู้เรียนทุกคนดาเนินการประเมินตนเองเรียบร้อยแล้ว ให้นับว่าตนเอง เลือกสัญลักษณ์ใดมากที่สุดอันดับที่ 2 และอันดับที่ 1 .3วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมินตนเองหากมีการเลือก มาก เป็น คนลักษณะแบบ D ถ้าเลือก มากเป็นคนแบบ I หากเลือก จานวนมากคือ คนแบบ S และถ้าเลือก มากเป็นคนแบบ C

D Dominance

I

S

Influence Steadiness ที่มา: กิตติภฏั ชุณหวิรยิ ะกุล. 2562.

C Compliance

4. วิเคราะห์ลักษณะของผู้เรียนแต่ละคนตาม DISC Model และทาการจัด แบ่งกลุ่มตาม DISC 5. สังเกตพฤติกรรมการสื่อสารและการทางานกลุ่มร่วมกันของแต่ละกลุ่ม งานและการประเมินผลของงานที่ได้รับ

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

167


168

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ตารางแสดงจานวนและร้อยละของการประเมินตนเองของผู้เรียนตาม DISC Model DISC Model จานวน ร้อยละ D 12 5.8 I 15 7.2 S 20 9.7 C 8 3.9 DI 32 15.5 DS 22 10.6 DC 24 11.6 IS 42 20.3 IC 21 10.1 SC 11 5.3 รวม 207 100 จากการศึกษาพบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่ในแต่ละกลุ่มงานมีสมาชิกที่เป็น DISC ผสมกันอยู่ในกลุ่ม ซึ่งส่วนใหญ่มีบุคลิกไปทางแบบ I และ S ส่วนกลุ่ม D และ C มี จานวนน้อยกว่า เมื่อครู อาจารย์ เข้าใจลักษณะของผู้เรียนในแต่ละคนแต่ละกลุ่ม รวมทั้งผู้เรียนแต่ละกลุ่มรู้จักตัวตนบุคลิกลักษณะของเพื่อนๆร่วมกลุ่มและร่วมชั้น เรียนแล้ว ในการทางานร่วมกันเป็นทีมจึงมีความง่ายในการเข้าใจเพื่อนร่วมกลุ่มงาน รู้จักใช้วิธีการสื่อสาร ใช้คาพูดในการเข้าถึงเพื่อนๆในกลุ่ม และเพื่อนร่วมชั้นเรียน สิ่ง สาคัญคือตัวครู อาจารย์ สามารถรู้จุดเด่นของสมาชิกในแต่ละกลุ่ม คาดคะเนลักษณะ นิสัยใจคอ สิ่งที่ไม่ชอบ และสิ่งที่ควรพัฒ นาโดยการสร้างแรงจูงใจให้เกิดกับผู้เรียน แต่ละแบบมาใช้เป็นกลยุทธ์ในการทาความเข้าใจ สื่อสารอย่างไรให้เข้ าถึงกลุ่มผู้เรียน แต่ละกลุ่มแต่ละคนในชั้นเรียนอย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย ซึ่งขอยกตัวอย่าง 1 กลุ่ม งานที่มีสมาชิกรวมตัวกัน จานวน 8 คน มีเอกลักษณ์ของสมาชิกในกลุ่มคือรอยสักที่ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

169


ปรากฏบนแขนหรือร่างกายเกือบทุกคนทั้งหญิงและชาย หากมองแค่เปลือกนอกของ กลุ่มนี้คงตัดสินจากวาทกรรมของสังคมที่สร้างภาพจาของกลุ่มเด็กที่มีรอยสักว่าเป็น เด็กมีปัญหา ชอบความรุนแรง และสร้างปัญหาแก่สังคม แต่จากการใช้ DISC Model สามารถสร้า งความเข้ า ใจและเข้ า ถึ งสมาชิ ก กลุ่ ม นี้ ผู้ ส อนสามารถใช้ ก ารสื่ อ สาร ระหว่างบุคคลด้วยความเป็นกันเอง การใช้คาชมเชยในผลงานที่ส มาชิกกลุ่มนี้ช่วยกัน ทาออกมาในระดับที่แสดงความเอาใจใส่ ตั้งใจในการทางานออกมาให้ดีที่สุด ซึ่งผลที่ ได้รับคือรอยยิ้มจากคนที่ไม่เคยยิ้มเลย ดวงตาที่มีประกายของสมาชิกกลุ่มบางคน เหล่านี้เป็นสิ่งที่มีคุณค่ายิ่งต่อการเป็นครู อาจารย์ กล่าวโดยสรุป ในการใช้ DISC Model มาศึกษากลุ่มผู้เรียนที่เป็นลูกศิษย์ อาจกล่าวได้ว่าเป็นความพยายามในการค้นหาวิธีการหนึ่งเพื่อให้ครูเกิดความเข้าใจ ลูกศิษย์แต่ละคน แต่ละกลุ่ม เพื่อการเข้าถึงตัวผู้เรียนที่มีความเป็นปัจเจกในแต่ละคน ที่ แ ตกต่ า งกั น ซึ่ งผลที่ ไ ด้ รั บ จากการใช้ DISC Model สามารถน ามาใช้ อ อกแบบ กระบวนการเรียนรู้ การสร้างแรงบันดาลใจ สร้างแรงจูงใจให้แก่ลูกศิษ ย์ โดยครูมี บทบาทเป็น โค้ ชมากกว่าการเป็ น ผู้ท าหน้ าที่ ส อน รวมทั้ งการต่ อยอดสู่ การพั ฒ นา คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของคนแต่ ล ะกลุ่ ม ให้ เ กิ ด ผลสั ม ฤทธิ์ สามารถสร้ า งความ กระตื อ รื อ ร้ น (enthusiasm) ความหลงใหลใฝ่ เรี ย น (passion) ความสนใจใคร่ รู้ (curiosity) และความสนุกสนาน (enjoyment) ให้เกิดขึ้นได้ เพื่อการบรรลุเป้าหมาย แผนการศึกษาและยุทธศาสตร์ชาติ นอกจากการใช้ DISC Model แล้วอาจมีวิธีการ อื่ น ๆในการน ามาใช้ เพื่ อ ให้ เกิ ด ความเข้ าใจ เข้ าถึ งผู้ เรี ย นในยุ ค ดิ จิ ทั ล และน ามา สร้างสรรค์เทคนิควิธีการเรียนรู้แก่ผู้เรียน ลูกศิษย์ได้เช่นกัน เอกสารอ้างอิง กิต ติภั ฏ ชุ ณ หวิริย ะกุล . 2562. เอกสารการอบรมเชิงปฏิ บั ติ การหลั กสู ตร Super Coach Super Growth. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีปทุม โกสินธุ์ อัคครุ่งเรือง. 2559. “อ่านพฤติกรรมมนุษย์ตามทฤษฎี DISC”. สืบค้นเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2562. จาก http://narrativehrd.blogspot.com/2016/ 170

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


12/disc.html. มณฑิรา อินจ่าย,ศุภสิทธิ์ ต๊ะนา และสุพรรณี เกลื่อนกลาด . 2558. “การแสวงหา อนาคตร่วมกันบนพื้นฐานอัตลักษณ์ส่วนบุคคลของเครือข่ายสุขภาพระดับ อาเภอในจังหวัดอุตรดิตถ์.” วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน, 8(1),130131. วิจารณ์ พานิช. 2562. วิจัยชั้นเรียนเปลี่ยนครู. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสยามกัมมาจล. ________. 2554. “พลังครูเพื่การอศิษย์และ21st century skills เพื่อปฏิรูปการ ศึกษาไทย”. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2562. จาก https://www. Scbfoundation.com/media_knowledge/knowledge/292/21stCentury-skills. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. 2560. แผนการศึกษาแห่งชาติ (2560-2579). กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค. อลงกต เดือนคล้อย. 2561. “โลกเปลี่ยน: เหตุใดเด็กไทยรุ่นใหม่ถึงสนใจ อาชีพเกม เมอร์ มากกว่ า นั ก กี ฬ าสนามจริง ?”. สื บ ค้ น เมื่ อ วั น ที่ 15 พฤศจิ ก ายน 2 5 6 1 . จ า ก https://www.mainstand.co.th/catalog/1 On+The+Main+Stand48โลกเปลี่ยน+%3A+เหตุใดเด็กไทยรุ่นใหม่ถึง สนใจ+“อาชีพเกมเมอร์”+มากกว่านักกีฬาสนามจริง. อภิชญา กาจรวิพุธ และ อาภาพรรณ ทัศนแสงสูรย์. 2554. การพัฒนาแบบประเมิน บุคลิกภาพตามโมเดล DISC และแนวคิดทฤษฎีการเลือกอาชีพ (Theory of Vocational Choice) กับแบบสารวจการเลือกอาชีพด้วยตนเอง (Self Direct Search) ของฮอลแลนด์ เพื่อการคัดเลือกพนักงานที่มีแนวโน้มจะ เป็ น บุ ค คลที่ มี ป ระสิท ธิผ ลในการปฏิ บั ติ งานตามแนวคิ ด ลั ก ษณะนิ สั ย 7 ประการของสตี เฟน โควี่ กรณี ศึ ก ษา: บริ ษั ท จั ด หางานแปซิ ฟิ ค 2000 จากัด. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

171


การศึกษาเปรียบเทียบการสอนแบบมีส่วนร่วมโดยใช้เทคโนโลยี กับการสอนแบบดั้งเดิม Comparative study of participatory teaching using technology with traditional teaching อัศวิน วงศ์วิวัฒน์ บทคัดย่อ การมีส่วนร่วมในห้องเรียน ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน เพราะผู้สอนจะ สามารถประเมิน ความเข้าใจของผู้เรียนได้จากคาถาม หรือ คาตอบ ทาให้สามารถ เติมเต็มความรู้ในส่วนที่ขาดหายไปของผู้เรียนได้ แต่การไม่กล้าถามคาถาม การไม่ อยากตอบคาถามของผู้เรียน มากจากลักษณะของสังคมและวัฒนธรรมที่ผู้เรียนได้รับ การสั่งสมมา เทคโนโลยีในการวิจัยมีเครื่องมือหลายแบบ ได้แก่ Facebook Group, PollEV, Google Form น ามาบู ร ณาการเพื่ อ ให้ นั ก ศึ ก ษาโดยมี ก ารทดลองกั บ นักศึกษาวิชาเดียวกันแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1. ใช้การสอนแบบเดิม กลุ่มที่ 2. ใช้การสอนโดยมีการนาเทคโนโลยีแบบมีส่วนร่วม การวัดผลจากเปรียบเทียบจากผล คะแนนสอบกลางภาค และคะแนนสอบปลายภาคของ 2 กลุ่มเรียน Abstract Participation in the classroom affects learner’s learning process since instructors can only evaluate students’ understanding by means of questions and answers. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัศวิน วงศ์วิวัฒน์ อาจารย์ประจาวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม 172

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


This helps fulfill the missing knowledge of students. However, students are not willing to ask questions and answer questions because of the social concept and culture rooted in their minds. The study uses various technological tools like Facebook Group, PollEV, Google Forms. Students enrolled in the same subjects are divided into 2 groups. Group 1 applies traditional teaching whereas Group 2 implements technology in teaching. Measurement results are from midterm exam results and final exam scores of both groups. บทนา นักเรียนนักศึกษาในประเทศไทย ไม่กล้าถามผู้สอนในห้องเรียนและไม่อยาก ตอบคาถามของผู้สอน ส่งผลให้การเรียนรู้ในห้องเรียนเป็นแบบการเรียนรู้แบบทาง เดียว คือครูเป็นผู้ป้อนความรู้ให้กับนักเรียน โดยที่ครูไม่สามารถทราบได้ว่า ครูสอน เร็วไป (เรีย นไม่ทั นเพื่อ น) หรือ ครูสอนช้ าไป (ท าให้ เกิดการเบื่ อหน่ าย) เนื่องจาก ผู้เรียนไม่ถามคาถามที่อยากรู้ และไม่ตอบคาถามที่ครูถาม ทาให้ผู้สอนไม่สามารถ ประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียนได้จากการตอบคาถาม หรือ ถามคาถามของนักศึกษา เนื่องจากลักษณะทางสังคมและวัฒ นธรรมของประเทศไทย ที่มีลักษณะ แตกต่างจากหลายๆประเทศสาเหตุใครทาตัวเด่นกว่าคนอื่นจะถูกคนอื่นเพ่งเล็ง หรือ ถูกจับตามองว่าอวดฉลาด แนวคิดข้างต้น ส่งผลต่อการกล้าคิดกล้าถามของนักศึกษา การไม่กล้าถามอาจจะเกิดมาจาก การถูกมองจากคนอื่นว่า โง่ กลัวการเสียหน้า จาก การปลูกฝังโดยกระบบการเรี ยนการสอนในอดีตที่เรียนมา ทาให้นักศึกษาที่เรียนใน มหาวิทยาลัยอยู่ในสภาพเป็นผู้ฟังอย่างเดียว ดังแสดงในรูปที่ 1 ไม่กล้าถามถึงแม้จะไม่ เข้าใจ บวกกับการสอนที่เน้นครูเป็นศูนย์กลาง ทาให้การเรียนมีความน่าสนใจน้อยลง ท าให้ นั ก ศึ ก ษาบางส่ ว นหาวิ ธีก ารเรีย นรู้อื่ น ด้ ว ยตั ว เอง หรื อ ไม่ เรี ย นเลย การน า เทคโนโลยีมาช่วยในการเรียน จะช่วยส่งเสริมปฏิ สัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับ ผู้เรียน (Thomas & Jon, 2010) การใช้ Power Point เป็ น สื่อการสอนช่วยกระตุ้ น การมี EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

173


ส่วนร่วมและเรียนรู้ให้กับนักศึกษาในด้านธุรกิจ มากกว่าการบรรยายปากเปล่า (Lisa & Karen, 2008) 75% 25%

75%

90%

10%

75% 25%

25%

รูปที่ 1 ประโยชน์ของการมีส่วนร่วมของนักศึกษา ปัญหา การขาดการมีส่วนร่วมของนักศึกษาในห้องเรียน วิธีในการวัดผล คะแนนในการสอบกลางภาค และปลายภาคของนักศึกษา วิธีแก้ ใช้เทคโนโลยีช่วยในการเรียนเพื่อเพิ่มการมีส่วนร่วมของนักศึกษา ในการทา วิจัยมีการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วม และ ผลการเรียนของนักศึกษาในวิชา LSM221 Warehouse management จานวน 2 กลุ่มโดยแยกกลุ่มเรียนแรกเรียนแบบปรกติ ใช้ lecture based อี ก กลุ่ ม หนึ่ งใช้ lecture based and technology enhance แนวทางในการวัดผล กลุ่มใช้ เทคโนโลยี วัดผลจากการตอบผ่าน application ที่ใช้ได้ แก่ application Pollev.com, Google Form, Facebook Group กลุ่มที่เป็นแบบ ดั้งเดิม วัดการมี ส่วนร่วมโดยการสังเกตจากผู้ เรียน โดยการเรียนแบบดังเดิม การ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนมักจะมีมากกว่า การปฏิสัมพันธ์กับผู้สอน นักศึกษาไม่อยาก แสดงความคิดเห็น หรือ ตอบคาถามในการเรียนในห้องเรียน ดังแสดงในรูปที่ 2

174

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Student

Student

Interaction

An s

k As

we

r

Technology

Teacher

รูปที่ 2 รูปแบบการสอนแบบทั่วไป การนา Technology เข้ามาช่วยในการปฏิสัมพันธ์ระหว่งผู้สอน และผู้เรียน จะช่วยลดปัญหาในด้านการแสดงความคิดเห็น และเมื่อมีการ-ถามตอบ ของนักศึกษา การมีส่วนร่วมในการเรียนช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน (Anderson, Mitchell, Osgood, 2005) ดังแสดงในรูปที่ 3 Analysis

Teacher

Ask

Technology

Answer

Student

Feedback

รูปที่ 3 เทคโนโลยีบูรณาการ วัตถุประสงค์สาหรับงานวิจัยในครั้งนี้เพื่อปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ของนักศึกษา คาถามสาหรับการวิจัย คือ เทคโนโลยีจะช่วยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการเรียน และ สามารถช่วยปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ได้หรือไม่ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

175


โดยจะทดลองกับนักศึกษาที่ลงทะเบียนในวิชาการจัดการคลังสินค้า จานวน 2 กลุ่ม ในกลุ่มแรกมีนักศึกษาจานวน 85 คน ใช้การเรียนการสอนแบบปรกติ ในกลุ่ ม ที่ ส องมี จ านวนนั ก ศึ ก ษา 85 คนใช้ ก ารเรี ย นการสอน และใช้ เทคโนโลยีร่วม โดยนักศึกษาทั้ง 2 กลุ่ม ทราบในเรื่องการทดลอง โดยนักศึกษาสามารถย้าย กลุ่มมาเรียนในส่วนที่นักศึกษาสนใจได้โดยไม่มีการปิดกั้นสาหรับการทดลองในครั้งนี้ Feedback

Facebook Group

PollEV.com Export Data to Excel Google Form

รูปที่ 4 ลักษณะของการใช้เทคโนโลยีร่วมสอน เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการทดลองครั้ ง นี้ ไ ด้ แ ก่ Facebook Group, pollEV, Google Form โดยใช้ Facebook Group เป็ น ช่ อ งทางติ ด ต่ อ ระหว่ า ง ผู้ เรี ย นกั บ ผู้สอน PollEV ใช้ในห้องเรียนเพื่อให้ผู้เรียนตอบคาถาม โดยการนา link ของ PollEV แสดงลงใน Presentation ของ Power Point ส าหรั บ Google Form ใช้ ส าหรั บ การทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนรวมไปถึงการส่งรายงาน ดังแสดงในรูปที่ 4

176

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


รูปที่ 5 Facebook group สาหรับรายวิชา Facebook Group ดังแสดงในรูปที่ 5 เป็นเครื่องมือที่เหมาะสาหรับการ ติ ด ต่ อ ส าหรั บ คนจ านวนมาก รวมไปถึ ง การ Sheare file ส าหรั บ การสอน เปรีย บเสมื อ นท่ อ ล าเลี ย งข้ อ มู ล ระหว่างผู้ ส อนกั บ ผู้ เรีย น ที่ ถูก ออกแบบให้ ทุ ก คน สามารถเข้าถึงได้

รูปที่ 6 การตอบคาถามของนักศึกษาใน PollEV

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

177


รูปแบบในการตอบคาถามของนักศึกษาแสดงถึงตัวตนของผู้ตอบซึ่งจะพบได้ น้อยในห้องเรียนโดยการที่ผสู้ อนถามผู้เรียน ดูจากการตอบคาถามของนักศึกษา ดัง แสดงในรูปที่ 6

รูปที่ 7 ข้อมูลจาก Google form การทดสอบ ก่ อ นเรี ย น และหลั งเรี ย น หรื อ Pre-test และ Post-test ใช้Google form (ดังแสดงในรูปที่ 7) ช่วยในการทดสอบ และเก็บข้อมูลในการตอบ คาถามรวมไปถึงการวิเคราะห์ ใช้ Google form โดยมีช่องทางในการติดต่อมาจาก Facebook group 20 15 แบบ… แบบใหม่

10 5 0 1 101928374655647382

รูปที่ 8 คะแนนสอบกลางภาคของนักเรียน 2 กลุ่ม 178

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ข้อสอบกลางภาคเป็นแบบเลือกตอบโดยมี 4 ตัวเลือก คะแนนเต็ม 20 คะแนน โดย Mid-term 1 แทนนักศึกษากลุ่มเรียนที่ 1 Mid-term 2 แทนนักศึกษากลุ่มเรียนที่ 2 สาหรับช่วงคะแนนระหว่าง 0 – 7 the กลุม่ เรียนธรรมดาทาได้ดีกว่า แต่ ในช่วงคะแนน 8-15 กลุ่มที่ใช้เทคโนโลยีร่วมมีผลคะแนนที่ดีกว่า ดังแสดงในรูปที่ 8 35 30 25 20

แบบดังเดิ ้ ม

15

แบบใหม่

10 5 0 1 6 111621263136414651566166717681

รูปที่ 9 คะแนนสอบปลายภาคของนักเรียน 2 กลุ่ม ข้อสอบปลายภาคเป็นข้อสอบแบบเลือกตอบโดยมี 4 ตัวเลือก คะแนนเต็ม 40 คะแนน ในช่วงคะแนน 0-15 นักเรียนในลุ่ม 01 ทาได้ดีกว่าแต่ในช่วงคะแนน 1532 นักเรียนในกลุ่ม 02 ทาได้ดีกว่า ดังแสดงในรูปที่ 9

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

179


สรุป การน าเทคโนโลยี ช่ วยในการเรีย นการสอนมีส่ วนในเพิ่ ม การมี ส่วนร่ว ม ให้กับนักศึกษา ที่ไม่กล้าตอบคาถามในห้องเรียน หรือไม่กล้าถามคาถามในห้องเรียน แต่เมื่อมีการใช้เครื่องมือที่ไม่ระบุตัวตนของผู้ตอบของ PollEV ส่งผลให้นักศึกษากล้า ตอบคาถามมากขึ้น ส่วนในการตั้งคาถามนักศึ กษาสามารถ ถามกับผู้สอนโดยตรงใน ช่องทางของ Facebook Group หรือ ส่งคาถามโดยตรงมาที่ผู้สอนผ่าน Massager ของ Facebook รวมไปถึงการรวบรวมข้อมูลกระทาผ่าน Google Form ที่สามารถ Export ส่งมาที่ Microsoft Excel ทาให้สามารถวิเคราะห์ การเรียนรู้ของนักศึกษาได้ เป็นรายคน ดังนั้น ผู้สอนจึงสามารถเติมเต็มสิ่งที่นักศึกษาขาดไปได้ในแต่ละหัวข้อ ส่งผลให้คะแนนของกลุ่มเรียนที่มีการบูรณาการเทคโนโลยีสูงกว่า กลุ่มเรียนที่ไม่ได้มี การนาเทคโนโลยีมาประกอบการสอน การนาเทคโนโลยีมาช่วยในการเรียนการสอน จะสามารถเปลี่ ย นบทบาทของผู้ ส อนเป็ น ผู้ แ นะน าในสิ่ งที่ นั ก ศึ ก ษาอยากรู้ และ สามารถสอนได้ตรงตามความต้องการของนักศึกษาได้มากขึ้น รายการอ้างอิง Anderson W. L., Mitchell S. M., Osgood M. P. 2 0 0 5 . Comparison of Student Performance in Cooperative Learning and Traditional Lecture-based Biochemistry Classes, Biochemistry and Molecular Biology Education Vol. 33, No. 6, pp. 387–393. Lisa A. B. and Karen E. J. 2008. PowerPoint-Based Lectures in Business Education: An Empirical Investigation of Student-Perceived Novelty and Effectiveness Thomas W. G., Jon A., Jeff R. 2 0 1 0 . Computer-Based Classrooms in Business Schools: Factors Impacting Student Preferences, Journal of International Business Disciplines Vol. 5, No. 1. 180

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


การพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์และพัฒนาบุคลิกภาพ: รูปแบบการเรียนการสอนแบบคิดแก้ปัญหา Emotional Quotients and Personality Development: Problem-Based Learning Module มาโนช พรหมปัญโญ1 ทัศตะวัน ด่วนตระกูลศิลป์2 และชญาณิศา วงศ์พันธุ์3 บทคัดย่อ วัตถุประสงค์การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เพื่อศึกษาพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ EQ และพัฒนาบุคลิกภาพของนักศึกษาโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบคิดแก้ปัญหา ประชากรคื อ นั ก ศึ กษาที่ ล งทะเบี ย นในรายวิ ชา HTI113 จิต วิ ท ยาและการพั ฒ นา บุ คลิ ก ภาพเพื่ อ งานบริ การ กลุ่ มตั วอย่ าง 211 คน ใช้แ บบสอบถามเป็ น เครื่อ งมื อ วิเคราะห์สถิ ติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่ าเฉลี่ย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ วิเคราะห์ร่วมกับการสังเกตการณ์ของคณาจารย์ผู้ควบคุมประกอบ ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ รู้ ทราบ เข้าใจ และพร้อมพัฒนาตนเองในทุก ด้าน โดยเฉพาะวุฒิภาวะทางอารมณ์และการพัฒนาบุคลิกภาพ

1ดร.มาโนช

พรหมปัญโญ

อาจารย์ประจาสาขาวิชาการจัดการบริการธุรกิจเรือสาราญ วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม 2ดร.ทัศตะวัน

ด่วนตระกูลศิลป์

อาจารย์ประจาสาขาวิชาการจัดการบริการธุรกิจเรือสาราญ วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม 3อาจารย์ชญาณิศา

วงศ์พันธุ์

อาจารย์ประจาสาขาวิชาการจัดการบริการธุรกิจเรือสาราญ วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

181


ได้ แ ก่ การใช้ ค าพู ด การปฏิ บั ติ ต นในแต่ ล ะสถานการณ์ การควบคุ ม อารณ์ แ ละ ความรู้สึ ก รวมถึงการรู้จัก เพื่ อนใหม่ โดยให้ ความเห็ น “ดี มาก” หลังจากเข้ าร่ว ม กิจกรรม รวมถึงข้ออื่น ๆ ยกเว้นระยะเวลาที่มีความเห็นว่า “ดี” เนื่องจากต้องการให้ ขยายเวลาการดาเนินกิจกรรมมากกว่านี้ Abstract This research purpose was study to develop Emotional Quotients and personality for students, by problem-based learning model, who registered in HTI1 1 3 Phycology and Personality for Hospitality Industry, 2nd/2018. 211 sampling group, used questionnaire to collect data, statistical analysis by frequency, percentage, mean, and standard deviation. Observational critical result by lecturers. Research result found almost have ever known, recognized, understood, and practiced all for develop themselves, especially, their communicating, manner and social posing, emotional and mental control, and having new friends. Almost topic was excellent, except length of program time. Students suggested “Should extend time period for this program”. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา เป็นที่ประจักษ์ชัดในงานการศึกษาวิจัยทั่วโลกถึงศักยภาพการศึกษาและ การเติ บ โตอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิภ าพอั น สั ม พั น ธ์ กั บ วุ ฒิ ภ าวะทางอารมณ์ (Emotional Intelligence: EI) ดั งเช่ น งาน การศึ กษ าของJoshua Freedman and Todd Everett, 2004 กล่าวว่าองค์กรผู้ใช้บัณฑิตพบว่า นวัตกรรมอันสร้างสรรค์จากบัณฑิต ผู้มีความฉลาดทางอารมณ์นั้น มีศักยภาพสูงและสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน ทางการตลาดในโลกธุรกิจปัจจุบัน และในงานของ Maizatul A.M. Mohzan et al, 2013 พบว่า นักศึกษาของมหาวิทยาลัย UiTM มีผลสัมฤทธิ์การเรียนทุกด้านดี เกิด 182

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


จากอิทธิผลของการปรับและควบคุมอารมณ์และเข้าใจในธรรมชาติของอารมณ์ทั้งตน และคนรอบข้าง ส่วนงานการศึกษาของ S-H. Sheila, et al. 2008 พบว่า สาหรับบัณฑิตที่มี ทั ก ษะและความเชี่ ย วชาญจนสามารถพั ฒ นาตนเป็ น ผู้ เชี่ ย วชาญเฉพาะด้ า นใน อุตสาหกรรมบริการทั้งหมดในภูมิภาคอเมริกาเหนือและยุโรป นั้น เกิดจากปัจจัยด้าน วุฒิภาวะทางอารมณ์เป็นหลัก สอดคล้องกับงานของ Edit Kovari. 2011 ที่พบว่า วุฒิ ภาวะทางอารมณ์ อุปนิสัย และทักษะ เป็นปัจจัยที่พัฒนาเป็นทุนทางสังคมและส่งผล ต่ อ ความส าเร็ จ ในงาน ความก้ า วหน้ า และการยอมรั บ ของผู้ บ ริ ห ารในธุร กิ จ การ ท่องเที่ยวและการบริการ การเรี ย นการสอนแบบคิ ด แก้ ปั ญ หา (Problem-Based Learning) เป็ น หนึ่งในรูป แบบการเรียนการสอนที่ ได้ รับ ความนิ ย มมากที่ สุ ดรูป แบบหนึ่ ง โดยจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ที่ เน้ น ผู้ เรี ย น ให้ เรีย นรู้ต ามกระบวนการ โดยเริ่ ม ตั้ งแต่ มี ก าร กาหนดปั ญ หา วางแผนแก้ปั ญ หา ตั้ งสมมติ ฐาน เก็ บรวบรวมข้อ มูล พิ สูจน์ ข้อ มู ล วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล ผู้สอนเป็นผู้เสนอปัญหาหรือผู้สอนและผู้เรียนจะร่วมกัน กาหนดปัญหาที่มีความสาคัญ เป็นปัญหาใหม่ที่ผู้เรียนยังไม่เคยประสบมาก่อน และ ต้อ งไม่ เกิน ทั ก ษะทางเชาวน์ ปั ญ ญาของผู้เรีย น ผู้ เรี ยนจะเป็ น ผู้แ ก้ ปั ญ หา หรือหา คาตอบด้วยตนเอง ความสามารถในการแก้ปัญหาของผู้เรียนจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับ สติปัญญา ความรู้ ประสบการณ์ แรงจูงใจ อารมณ์ ซึ่งวิธีการแก้ปัญหาจะไม่มีรูปแบบ หรือขั้นตอนตายตัว ผู้สอนจะต้องจัดสภาพแวดล้อมหรือบรรยากาศการเรียนรู้ที่เอื้อ ต่อการใช้กระบวนการคิดแก้ปัญหา ผู้สอนจะต้องให้ โอกาสผู้เรียนใช้ความคิดและฝึก การแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดความชานาญ จะทาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ได้ดี ในการ จัดการเรียนรู้แบบแก้ปัญหานั้น มีหลักการสาคัญ คือ ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้ ลงมือกระทากิจกรรมการเรียนรู้ จะเน้นทักษะการแสวงหาความรู้ การค้นพบ การ สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง มีการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนเป็นประชาธิปไตย นา กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในขั้นตอนการจัดกิจกรรม ด้ ว ยเหตุ ดั งกล่ าว จึ งเป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของการพั ฒ นาบั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย การ ท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ให้สอดคล้องกับปรัชญามหาวิทยาลัย EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

183


ศรีปทุมที่ว่า “การศึกษาสร้างคน คนสร้างชาติ” พร้อมเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนชั้นนา แหล่งสร้างมืออาชีพ มีความโดดเด่นด้านวิชาการ เทคโนโลยี และความรับผิดชอบต่อ สังคม ด้วยปัญญา เชี่ยวชาญ เบิกบาน คุณธรรม จึงได้จัดให้มีโครงการการพัฒนาวุฒิ ภาวะทางอารมณ์ EQ และพั ฒ นาบุ ค ลิก ภาพเป็ น ประจาทุ ก ปี โดยในปี ก ารศึ กษา 2561 ได้ดาเนินการกิจกรรมดังกล่าว ณ โรงเรียนเตรียมทหาร จังหวัดนครนายก ดัง สรุปผลการศึกษาต่อไป วัตถุประสงค์การศึกษาวิจัย เพื่ อ ศึ ก ษาพั ฒ นาวุ ฒิ ภ าวะทางอารมณ์ EQ และพั ฒ นาบุ ค ลิ ก ภาพของ นักศึกษาโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบคิดแก้ปัญหา ระเบียบวิธีการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง : นักศึกษาสาขาการจัดการบริการธุรกิจเรือ สาราญ การจัดการการท่องเที่ยว และการจัดการการโรงแรม วิทยาลัยการท่องเที่ยว และการบริการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา HTI113 จิตวิทยาและ การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่องานบริการ ประจาภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จานวน 550 คนและได้ใช้ตารางการสุ่มจานวนกลุ่มตัวอย่างของเครซี มอร์แกน ได้ จานวนกลุ่มตัวอย่าง 226 คน โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 113 ชุดเท่ากัน แจก แบบสอบถามตามความสมัครใจของผู้เรียน หลังจากแจกแบบสอบถามได้ รับคืนและ สมบูรณ์พร้อมในการประมวลผลทั้งสิ้น 211 ชุด คิดเป็นร้อยละ 93.36 สถิติและเครื่องมือการวิจัย : การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และค่าเฉลี่ย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล ใช้ มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Likert Scale) พร้อมการสังเกตการณ์ของผู้สอน ร่วมพิจารณาผลการศึกษาวิจัย สถานที่ : โรงเรียนเตรียมทหาร จังหวัดนครนายก เวลา : รุ่นที่ 1 ระหว่างวันที่ 22-23 มีนาคม และ รุ่นที่ 2 ระหว่างวันที่ 3031 มีนาคม พ.ศ. 2562 184

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ระเบียบวิธีการวิจัย การวิ จั ย ครั้ งนี้ เป็ น ผสานระหว่ า งการวิ จั ย เชิ งปริ ม าณและการวิ จั ย เชิ ง คุณ ภาพ ทั้ งนี้การวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ และให้กลุ่ ม ตัวอย่างเป็นนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนและร่วมกิจกรรมวิชา HTI113 จิตวิทยาและ การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่องานบริการ ประจาภาคการศึ กษาที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จ านวน 226 คน โดยใช้ แ นวคิ ด พั ฒ นาวุ ฒิ ภ าวะทางอารมณ์ (EQ) และพั ฒ นา บุคลิกภาพ (PD) เป็นแนวคิดหลักในการสร้างคาถาม โดยได้รับการพิจารณาในความ เที่ยงตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 5 ท่าน (IOC=0.89) ความเที่ยงตรงเชิง โครงสร้าง (Construct Validity) เป็นการตรวจสอบความสอดคล้องของคาถามกับ พฤติ ก รรมที่ เป็ น เป้ า หมายของสิ่ ง ที่ จ ะวั ด ใช้ วิ ธี ก ารเปรี ย บเที ย บค่ า เฉลี่ ย ของ แบบสอบถามที่ส ร้างขั้น กันระหว่างกลุ่มตัวอย่างที่ มีลักษณะตรงกับ คุณ ลั กษณะที่ ต้องการศึกษากับผลการวัดจากกลุ่มที่ไม่มีคุณลักษณะตรงตามที่ศึกษาจานวน 40 คน โดยใช้สถิติ t – test แบบ Independent โดยค่าที่ใช้ได้ คือ ค่า t – test ตามระดับ นัยสาคัญเท่ากับ .00 ความเที่ยงตรงเชิงพยากรณ์ (Predictive Validity) เป็นลักษณะ ของเครื่องมือที่มีความสอดคล้องระหว่างผลที่ได้จากการวัดและสิง่ ที่คาดการณ์ไว้ และ ความเที่ ย งตรงตามสภาพจริ ง (Concurrent Validity) เป็ น การตรวจสอบความ เที่ยงตรงตามสถานที่เป็นจริง มีระดับความเชื่อมั่นของแบบสอบถามวิธีของครอนบาค อั ล ฟาสั ม ประสิ ท ธิ์ ส หสั ม พั น ธ์ แ บบเพี ย ร์ สั น (Pearson Correlation Product Moment) เท่ากับ 0.86 แทนค่ามีความเชื่อถือได้สูงมาก ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ ได้กาหนดให้คณาจารย์ทั้ง 6 คน ทาการสอบถาม นั ก ศึ ก ษาตามหั วข้ อ และประเด็ น ที่ ได้ ก าหนดไว้ ตามแนวคิ ด พั ฒ นาวุฒิ ภ าวะทาง อารมณ์ (EQ) และการพั ฒ นาบุ ค ลิ ก ภาพ (PD) ร่ วมกั บ การสั งเกตพฤติ ก รรมการ แสดงออกตามสถานการณ์ของนักศึกษาตลอดการเข้ารับการอบรม ใน 2 ครั้ง เมื่ อ เสร็จสิ้นได้ทาการประชุม ระดมความคิ ด ถกเถียงและอภิป รายร่วมกัน พร้อมสรุป ประเด็นผลการศึกษาเป็นหัวข้อ ดังจะได้เสนอต่อไป

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

185


ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิ จั ย พบว่ า ระดั บ ความรู้ ก่ อ นการเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมข้ อ ที่ 1 และ ระยะเวลาในการดาเนินกิจกรรม ข้อที่ 8 แทนค่าเฉลี่ยได้เท่ากับดี นอกนั้นทุกข้อแทน ค่าเฉลี่ยเท่ากับดีมาก ดังมีรายละเอียดข้างล่างและตารางที่ 1 (1) ระดับความรู้ก่อนการเข้าร่วมกิจกรรม ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.93 แทนค่า เท่ากับ ดี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .894 (2) ระดับ ความรู้หลังการเข้าร่วมกิจกรรม ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.42 แทนค่ า เท่ากับดีมาก ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .722 (3) ความรู้ที่ได้จากการบรรยาย ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.37 แทนค่าเท่ากับ ดีมาก ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .747 (4) การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรทุกคนโดยรวม ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 แทนค่าเท่ากับดีมาก ส่วนเบี่ยงเบยมาตรฐานเท่ากับ .685 (5) ความชัดเจนในการกาหนดโจทย์ปัญหา ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.42 แทนค่า เท่ากับ ดีมาก ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .754 (6) ความสัมพันธ์กับหัวข้อกับเนื้อหา/กิจกรรม ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.40 แทน ค่าเท่ากับดีมาก ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .758 (7) ความเหมาสมกับหัวข้อ/เนื้อหา/กิจกรรม ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.18 แทนค่า เท่ากับ ดี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .850 (8) ระยะเวลา ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.32 แทนค่าเท่ากับ ดีมาก ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ .768 (9) หัวข้อ/เนื้อหาเสริมสร้างศักยภาพวุฒิภาวะทางอารมณ์และบุคลิก ภาพ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.40 แทนค่าเท่ากับ ดีมาก ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .795 (10) รู ป แบบกิ จ กรรมเสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพวุ ฒิ ภ าวะทางอารมณ์ แ ละ บุคลิกภาพ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.37 แทนค่าเท่ากับ ดีมาก ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .826

186

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


(11) ระดับความสาเร็จในการเสริมสร้างศักยภาพวุฒิภาวะทางอารมณ์และ บุคลิกภาพ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.37 แทนค่าเท่ากับ ดีมาก ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .826 รายละเอียดดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนต่อกิจกรรมฯ ลา ดับ หัว ข้อ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

ดีมาก(5)

F

%

ดี (4)

f

%

พอใช้(3)

น้อย(2)

น้อยที่สุด (1)

f

f

f

%

%

%

ค่า เฉลี่ย

ส่วน เบี่ยง เบน ฯ

แทน ค่า เฉลี่ย

29.9 81

38.4 59

28.0 5

2.4 3

1.4 3.93 .894

ดี

112 53.1 81

38.4 14

6.6

3

1.4 1

0.5 4.42 .722

ดีมาก

107 50.7 79

37.4 22

10.4 2

0.9 1

0.5 4.37 .747

ดีมาก

119 56.4 76

36.0 14

6.6

1

0.5 1

0.5 4.47 .685

ดีมาก

108 51.2 77

36.5 24

11.4 1

0.5 1

0.5 4.37 .741

ดีมาก

117 55.5 69

32.7 22

10.4 2

0.9 1

0.5 4.42 .754

ดีมาก

115 54.5 70

33.2 23

10.9 2

0.9 1

0.5 4.40 .758

ดีมาก

91

43.1 75

35.5 39

18.5 5

2.4 1

0.5 4.18 .850

ดี

101 47.9 80

37.9 27

12.8 2

0.9 1

0.5 4.32 .768

ดีมาก

118 55.9 64

30.3 26

12.3 1

0.5 2

0.9 4.40 .795

ดีมาก

117 55.5 64

30.3 23

10.9 6

2.8 1

0.5 4.37 .826

ดีมาก

63

ผลการระดมความคิดของคณาจารย์ พบว่า ด้วยรูปแบบการเรียนการสอน แบบคิ ด แก้ ปั ญ หามุ่ งเน้ น ที่ ผู้ เรียนเป็ น ส าคั ญ ไม่ ว่าจะเป็ น การก าหนดปั ญ หา การ วางแผน การตั้งสมมติฐาน การทดลอง รวมถึงผลที่ร่วมกันอภิปราย โดยเน้นที่ปัญหา ใหม่ ผู้เรียนไม่เคยประสบมาก่อน ทางวิทยากรของโรงเรียนเตรียมทหาร ได้จัดให้มี กิจกรรมที่เหมาะสมกับเชาว์ปัญญา เวลา และร่วมนาเสนอเป็นกลุ่มคณะ (ครั้งละ 5 กลุ่ ม แบ่ งเป็ น สี ) โดยจั ด สิ่ งแวดล้ อ ม สถานการณ์ แ ละเงื่อ นไขของแต่ ล ะกิ จ กรรม ประกอบ โดยคณาจารย์จากม.ศรีปทุ มร่วมสังเกตการณ์ พบว่า เมื่ อแรกนั กศึกษา EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

187


โดยมากมีการต่อต้าน ไม่เห็นด้วย และไม่อยากเข้าร่วมกิจกรรมในลักษณะที่บีบบังคับ จากัดเวลา มีเงื่อนไขด้านวินัย ระเบียบ และอิสระภาพ โดยสังเกตจากอากัปกิริยา สี หน้า และความร่วมมือ เช่น การขอความร่วมมืองดใช้เครื่องมือสื่อสารทุกชนิดขณะ ดาเนินกิจกรรม การพูดสอดแทรก รวมถึงความบกพร่องวินัยในที่สาธารณะ แต่หลังจากเสร็จสิ้น กิจกรรมและสรุปในช่วงสุดท้ ายของกิจกรรม พบว่า ผู้เรียนโดยมาก มีสีหน้าที่ยิ้มแย้ม รู้จักวินัย การควบคุมอารมณ์และความรู้สึก ทราบ และพร้อมปฏิบัติในกฎระเบียบทั้งต่อหน้าและลับหลัง รู้จักการรอคอย การต่อคิว วินัยต่อตนเอง กลุ่มคณะ และพร้อมกล้าแสดงออกในเชิงสร้างสรรค์ โดยเฉพาะการ แสดงออกในลักษณะของกลุ่มคณะที่มีผู้นา ผู้ตาม ได้อย่างพร้อมเพรียงและเคารพต่อ กัน การวางแผน กลุ่มผู้เรียน เมื่อต้องเผชิญปัญหาที่ถูกกาหนดขึ้น มีการประชุม ระดมความคิด และกาหนดหน้าที่ตามที่ได้รับการอบรม โดยซักซ้อมอย่างคร่าว ๆ และรี บ ปฏิ บั ติ แ บบลองผิ ด ลองถู ก ซึ่ ง คณาจารย์ ทุ ก ท่ า นพบว่ า แม้ ปั ญ หาและ สถานการณ์เดียวกัน แต่ละกลุ่มต่างมีกระบวนการแก้ไข แก้ปัญหา และแสดงออกที่ ต่างกัน ซึ่งมีผลต่อความสาเร็จช้าหรือเร็ว หรือล้มเหลว ในภาระกิจนั้น โดยได้เห็น ความพยายาม ความสามัคคี และน้าใจของนักศึกษา การตั้งสมมติฐาน การตั้งสมมติ ฐานเป็นการคาดคะเนคาตอบของปัญหา โดยใช้ความรู้และประสบการณ์ช่วยในการคาดคะเน ขั้นตอนนี้จะเป็นขั้นตอนการใช้ เหตุผลในการคิดวิเคราะห์ปั ญ หาและคาดคะเนคาตอบ พิจารณาแยกปัญ หาใหญ่ ออกเป็นปัญหาย่อย แล้วคิดอย่างเป็นระบบ ผู้เรียนจะพยายามใช้ความรู้ความเข้าใจ ประสบการณ์เดิมมาคิดแก้ปัญหา คาดคะเนคาตอบ แล้วจึงหาทางพิสูจน์ว่าคาตอบที่ คิดกันขึ้นมานั้นมีความถูกต้องอย่างไร ซึ่งนั่นคือกุญแจและขั้นตอนสาคัญในการพิชิต ภาระกิจที่ได้กาหนดในแต่ละกลุ่ม การแก้ไขปัญหา ขั้นนี้จะเป็นขั้นที่มีการวางแผน หรือออกแบบวิธีการหา คาตอบจากสมมติฐานที่ได้ตั้งไว้โดยศึกษาถึงสาเหตุที่เกิดปัญหาขึ้น และใช้เหตุผลใน การคิดหาวิธีการแก้ปัญหาให้ตรงกับสาเหตุ โดยหาวิธีการแก้ปัญหาหลายๆ วิธี แล้วใช้ วิธีพิจารณาเลือกวิธีแก้ปัญหาวิธีที่ดีที่สุด เป็นไปได้มากที่สุด ในกรณีที่มีปัญหานั้นต้อง 188

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ตรวจสอบด้วยการทดลอง ก็ ต้อ งก าหนดวิธีทดลองหรือตรวจสอบเตรียมอุป กรณ์ เครื่องมือที่จะใช้ให้พร้อม การมอบหมายหน้าที่ ความรับผิดชอบ และคอยแนะนา ส่งเสริมหรือพยายามพูดคุยให้กาลังใจซึ่งกันและกันในสมาชิกกลุ่มให้พยายามผ่าน วิกฤตนั้นร่วมกัน ขั้นตอนการสรุปผล เป็นขั้นที่นาข้อมูลมาพิจารณาแปลความหมายระหว่าง สาเหตุกับผลที่เกิดขึ้น ผู้เรียนประเมินผลวิธีการแก้ปัญหาหรือตัดสินใจเลือกวิธีการที่ ได้ผลดีที่สุดในการแก้ปัญหา หรือเป็นการสรุปลงไปว่าเชื่อสมมติฐานที่กาหนดไว้ ซึ่ง อาจจะสรุปในรูปของหลักการที่จะนาไปอธิบายเป็นคาตอบ หรือวิธีแก้ปัญหา และ วิธีการนาความรู้ไปใช้ อนึ่งในการสรุ ปผลนั้น เมื่อได้ข้อสรุปเป็นหลักการแล้ว ควรนา พิจารณาตรวจสอบอีกครั้งหนึ่งว่าน่าเชื่อถือหรือไม่ โดยวิทยากรเป็นผู้คอยกระตุ้นให้ นักศึกษาแต่ละคน วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ผลของการกระทาของกลุ่มในการพิชิต ภาระกิ จ รวมถึงข้อ จากัด ด้านเวลา สถานที่ จ านวนกลุ่ ม การกาหนดหน้ าที่ ค วาม รับผิดชอบ รวมถึงทักษะบางประการ ในแต่ละกลุ่มสามารถวิเคราะห์ถึงจุดดี และจุดด้อยของตน รวมถึง อุปสรรค สาคัญที่ทุกกลุ่มเห็นพ้องกันคือ 1) การรู้จักใช้คาพูดในการสนทนากับเพื่อนสมาชิกในแต่ละกลุม่ เพื่อกระตุ้น หรือส่งเสริมหรือปลุกเร้าให้กาลังใจกันและกันอย่างเหมาะสม 2) การควบคุ ม อารมณ์ แ ละความรู้ สึ ก เมื่ อ ถู ก จ ากั ด ด้ า นเวลา สถานที่ อุปกรณ์ จานวนคน ความยากง่ายฯลฯ ทุกด้าน เพื่อมุ่งพิชิตภาระกิจ แต่ด้วยอุปสรรค ที่เผชิญ มีทั้งยาก ง่าย บางครั้งทาให้ท้อแท้ เหนื่ อย หรือไม่อยากกระทา หรือโกรธ ฉุน เฉี ยว เมื่ อ ล้ม เหลว หากแต่ ก ารเรีย นรู้ในแต่ล ะด้ าน ยิ่ งกระตุ้น ให้ แก้ ไข เรีย นรู้ แสวงหาวิธีการใหม่ ๆ จนผ่านได้ตามลาดับ จนหลายคนได้กล่าวกับคณาจารย์และ วิทยากรว่า “ภูมิใจในความสาเร็จที่ทุกคนร่วมกันทา” ด้วยสีหน้าที่ยิ้มแย้มแม้จะอิด โรยและเหน็ดเหนื่อยก็ตาม 3) การปฏิบัติตนให้ พึงประสงค์ในแต่ละสถานการณ์ พร้อมแสดงออกถึง ความรับผิดชอบในทุกการกระทา วินัยต่อตนเอง กลุ่มคณะ และแสดงออกในความคิด สร้างสรรค์ในที่สาธารณะอย่างภาคภูมิ เช่น การร่วมรับประทานอาหารอย่างเป็ น EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

189


ระเบียบ การเข้าแถว ใช้ห้องน้าสาธารณะ การแสดงรอบกองไฟ วินัยในการตื่นและ จั ด เก็ บ อุ ป กรณ์ เครื่ อ งนอน วิ นั ย การเข้ า แถวรั บ มอบเอกสารและงานที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย การคิดเพลง ท่าเต้นประจากลุ่ม การนาเสนองาน ความสาเร็จ การเป็นผู้ พูดที่ดี การเป็นผู้ฟังที่ดี การเป็นผู้ปฏิบัติที่ดี และวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานโดยรวม 4) การได้รู้จักเพื่อนร่วมวิทยาลัยฯ ร่วมสาขาและต่างสาขา ซึ่งแม้จะเป็นรุ่ น เดียวกันก็ตาม แต่ด้วยข้อจากัดของสถานที่ เวลา และตารางเรียน ทาให้ไม่ค่อยรู้จัก แต่เมื่อมาร่วมกิจกรรมเดียวกัน ทาให้ทราบ รู้จัก และสนิทสนมกับเพื่อนใหม่ได้อย่าง รวดเร็ ว ทั้ งยั งทราบว่ าแต่ ล ะคนชื่อ หรือ ความถนั ด ความสามารถ แต่ ล ะคนเป็ น อย่างไร จากข้อเสนอแนะข้อนัก ศึกษา จานวน 35 คน จากทั้งหมด ได้สรุปว่า ควร ดาเนินกิจกรรมดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งทราบ รู้ เข้าใจในเหตุผลที่คณาจารย์ ได้จัดกิจกรรมดังกล่าวในรายวิชานี้ ได้นาเอาความรู้ในภาคทฤษฎีมาใช้ในการปฏิบตั ไิ ด้ เป็นอย่างดี รู้สึกถึงคุณค่าและประสบการณ์ที่ได้รับ ทั้งอยากให้จัดกิจกรรมเช่นนี้ใน หลาย ๆ วิชา กระตุ้นให้ทากิจกรรมร่วมกัน และขยายไปในวิชาที่เรียนกันหลายคณะ อภิปรายผลการศึกษาวิจัย คณะผู้วิจัยได้ทาการสรุปผลและพบว่าการพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ EQ และพัฒนาบุคลิกภาพ : รูปแบบการเรียนการสอนแบบคิดแก้ปัญหา ผ่านกิจกรรมการ อบรมเชิงปฏิบัติการ ณ โรงเรียนเตรียมทหาร เป็นวิธีการหนึ่งในการพัฒนานักศึกษา ให้เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ตรงตามปณิธาน วิสัยทัศน์และพันธกิจของมหาวิทยาลัยศรี ปทุม และวิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการ สอดคล้องกับผลการวิจัยของสถาบัน ราชานุกูล กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ไดรวมมือกับสถาบันรามจิตติภายใต การสนับสนุนของสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) และสานักงานกองทุน สนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ว่า ประเด็นเกี่ยวกับปจจัยสวนบุคคลที่สงผลต อไอคิว 2 ประเด็น ไดแก 1) การที่นักเรียนชอบเลนเกม ประเภทคนหาความแตกตาง ในเงื่อนไข เวลา ความยากง่ายของกิจกรรม 2) การที่นักเรียนชอบเลนเกมตอบปญหา 190

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


โดยจับเวลา เปนประเด็นปจจัยสวนบุคคลที่ส งผลตออีคิว 1 ประเด็น ไดแก การที่ นักเรียนเปนคนที่การชอบปลอบใจเพื่อนเวลาเพื่อนไมสบายใจ สอดคล้องกับงานวิจัยของ เอก เอกสกุล (2551) ว่า พัฒนาการทางอารมณ์ ของกลุ่ ม ตั ว อย่ า งหลั งเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมดี ก ว่ า ก่ อ นเข้ า ร่ว มกิ จ กรรม และกิ จ กรรม นันทนาการช่วยเสริมสร้างวุฒิภาวะทางอารมณ์และพัฒนาบุคลิกภาพ สอดคล้องกับงานวิจัยของแพทย์หญิง อินท์สุดา แก้วกาญจน์ กุมารแพทย์ ด้านพัฒนาการและพฤติกรรม โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ พบว่า พัฒนาวุฒิภาวะ ทางอารมณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพต้องอาศัย (1)ทักษะในการสื่อสาร ปฏิบัติทั้งการ เป็นผู้พูดและผู้ฟังที่ดี มีคาถามและคาตอบที่สร้างสรรค์และเหมาะสมกับสถานการณ์ (2) ทักษะในการสอนและให้คาแนะนา ไม่ว่าจะเป็นพ่อแม่ผู้ปกครองหรือครูอาจารย์ ผู้สอน ต้องกระตุ้นให้ เยาวชนคิด พิจารณา และเผชิญกับปัญหารวมถึงสิ่งท้าทายเบื้อง หน้า พร้อม (3) ทักษะในการเสริมกาลังใจหรือแรงกระตุ้นทางบวก ไม่ว่าผลของการ กระทบจะถูกหรือผิด ทัศนคติที่ดีของเยาวชนจะเกิดได้เมื่อผู้สอนชี้แจงเหตุและผล รวมถึงการให้กาลังใจในบทเรียนที่เยาวชนได้รับ และ (3) ทักษะในการลงโทษ เป็น หนึ่งในทักษะที่จาเป็นยิ่งที่จะให้เยาวชนได้เรียนรู้ถึงผลกระทบเชิงลบของการกระทา นั้น ๆ รวมทั้งกระตุ้นให้เยาวชนเกิดความรับผิดชอบ สานึกในกฎสามัญของการอยู่ ร่วมกันในสังคม พร้อมทั้งสร้างความกล้าหาญ เสริมศีลธรรมจรรยาบรรณเข้าไปยิ่ งจะ ทาให้เกิดการตระหนึกรู้ในการกระตุ้นและหยุดยั้งพฤติกรรมในตัวตนได้ สรุปผล การพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ EQ และพัฒนาบุคลิกภาพ : รูปแบบการ เรียนการสอนแบบคิดแก้ปัญหา ผ่านกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ ณ โรงเรียน เตรียมทหาร จังหวัดนครนายกในภาคการศึกษาที่ 2 ประจาปีการศึกษา 2562 ครั้งนี้ ประสบผลสาเร็จเชิงสัมฤทธิผลที่สามารถพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ EQ และพัฒนา บุคลิกภาพของนักศึกษาผู้เรียนตามเป้าประสงค์การเรียนรู้ของวิชา HTI113 จิตวิทยา และการพัฒ นาบุคลิกภาพเพื่องานบริการและพร้อมเป็น บัณ ฑิตที่ พึงประสงค์ของ วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยศรีปทุมต่อไป EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

191


ข้อเสนอแนะ สั ม ฤทธิ ผ ลของกิ จ กรรมดั ง กล่ า ว ควรมี ก ารพั ฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและ ดาเนินการในหลายรูปแบบแก่ผู้เรียน รวมถึงความร่วมมือของนักศึกษาในการเข้าร่วม กิจกรรมดังกล่าวโดยไม่หลีกเลี่ยง หลบหนี หรือปฏิเสธที่จะเข้าร่วม ทั้งนี้คณาจารย์ ผู้สอนและผู้ควบคุมทุกท่าน ควรประชาสัมพันธ์ในเชิงบวกและปลุกเร้าให้มีจานวน นักศึกษาเข้าร่วมทุกคน ในภาคเรียนและปีการศึกษาต่อไป เอกสารอ้างอิง ทิศ นา แขมมณี . 2547. 14 วิธีสอนสาหรับ ครูมือ อาชี พ . กรุงเทพฯ : จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. บุญชม ศรีสะอาด. 2537. การพัฒนาการสอน. กรุงเทพฯ : สุวิริยาสาส์น จัดพิมพ์. สถาบั น ราชานุ กู ล กรมสุ ข ภาพจิ ต กระทรวงสาธารณ สุ ข . 2560. โครงการวิจัยการติดตามสภาวการณไอคิวและอีคิวของเด็กไทย (IQ/EQ Watch).ภายใตการสนั บ สนุ น ของส านั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย (สกว.) และสานักงานการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.). นนทบุรี: กระทรวง สาธารณสุข. สุคนธ์ สินธพานนท์. 2550. สุดยอดวิธีการสอนสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม นา ไปสู่...การจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. เอก เอกสกุล. 2551. กิจกรรมนันทนาการเพื่อพัฒนาความฉลาดทางด้านอารมณ์ของ นักฟุตบอลโครงการพิเศษโรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การจัดการนันทนาการ). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทราวิโรฒ. อิน ท์ สุ ด า แก้ วกาญจน์ . 2562. ไอคิ ด และอี คิ ว พ่ อ แม่ มื อใหม่ ต้ อ งรู้ก่ อ น. เอกสาร ประชาสั ม พั น ธ์ แ ผนกกุ ม ารแพทย์ ด้ า นพั ฒ นาการและพฤติ ก รรม โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์. 192

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Joshua Freedman and Todd Everett. 2 0 0 4 . EQ at the Heart of Performance: The Business Case for Emotional Intelligence. U.S.A.: Institute for Organizational Performance Kovari Edit. 2 0 1 1 . The Importance of Hotel Managers’ Emotional Intelligence. Proceeding: KHEOPS Academic Conference, January 2011. Maizatul A.M. Mohzan, et al. 2 0 1 3 . The Influence of Emotional Intelligence on Academic Achievement, Prodedia - Social and Behavioral Sciences, October, 90: 303-312. Scott-Halsell Sheila, C.B.Shane, Huffman Lynn. 2 0 0 8 . A Study of Emotional Intelligence Levels in Hospitality Industry Professionals. Journal of Human Resources in Hospitality & Tourism. 7 (2): 135-152.

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

193


การจัดการเรียนรู้แบบรับใช้สังคม ผ่านโครงงานด้านความ รับผิดชอบต่อสังคม (The Service Learning based on CSR) ณัฐธยาน์ ตรีผลา1 รัตนติญา ฤทธิโชติ2 และสุจิตรา สมานญาติ3 การจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันตามกรอบการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่ เน้ น ผู้ เรีย นเป็ น ศู น ย์ ก ลาง (Student-centered) ภายใต้ แ นวคิ ด การเรี ย นรู้ เชิ งรุ ก (Active Learning) มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้เรียน โดยอาศัยการ จั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนที่ ก ระตุ้ น และจู ง ใจให้ ผู้ เ รี ย นเกิ ด ความสนใจ กระตื อ รื อ ร้ น ใฝ่ เรี ย นรู้ ต ลอดเวลา (Active Learner) เปิ ด โอกาสให้ ผู้ เรี ย นได้ น า ความรู้มาใช้ ได้ฝึกคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์และบูรณาการความรู้ในหลายศาสตร์ เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาความคิ ดสร้างสรรค์ที่นาไปสู่การนาเสนอนวัตกรรม หนึ่งใน รูป แบบของการเรีย นรู้เชิ งรุ กที่ นิ ยมคื อ การเรีย นรู้ด้ วยโครงงาน (Project-Based Learning) การเรียนรู้ด้วยโครงงาน (Project-based Learning) เป็นการเรียนรู้เชิงรุก ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Student-centered) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในสิ่ง ที่สอดคล้องกับความสามารถและความสนใจจากบริบทจริง ฝึกทักษะการค้นคว้าหา ความรู้แ ละลงมื อปฏิ บั ติผ่ านกระบวนการกลุ่ ม เพื่ อ สรุป เป็น ความรู้ใหม่ อย่างเป็ น รูปธรรมส่งผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนของผู้เรียน 1

ดร.ณัฐธยาน์ ตรีผลา

ผูช้ ่วยคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม 2

อาจารย์รัตนติญา ฤทธิโชติ

อาจารย์ประจาสาขาวิชาการตลาดดิจิทัล คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม 3

อาจารย์สุจิตรา สมานญาติ

อาจารย์ประจาสาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม

194

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ผู้สอนจึงมีหน้าที่ให้คาปรึกษาจูงใจและสร้างแรงกระตุ้นเพื่อให้ผู้เรี ยนได้เรียนรู้อย่าง เต็มศักยภาพ กล่าวได้ว่าการเรียนรู้แบบโครงงานจะช่วยพัฒนาทักษะของผู้เรียนด้าน การเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศและสื่อเทคโนโลยี และทักษะด้าน ชีวิตและอาชีพ ซึ่งสามารถแสดงกลยุทธ์ของการเรียนรู้แบบโครงงานได้ดังรูปที่ 1

รูปที่ 1 กลยุทธ์การเรียนรูผ้ ่านโครงงาน ที่มา : วัชรินทร์ โพธิ์เงิน , พรจิต ประทุมสุวรรณ และ สันติ หุตะมาน, 2559. (ออนไลน์) www.fte.kmutnb.ac.th/km/projectbased%20learning.pdf จากรูปที่ 1 ขั้นตอนแรกของการเรียนรู้ด้วยโครงงาน คือ การค้นหาไอเดีย (Exploring the ideas) ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการทางานร่วมกันระหว่างผู้เรียนในการ ร่วมกันค้นหาข้อมูลและระดมสมอง (Brainstorming) เพื่อสรุปไอเดียที่ต้องการจะ นามาใช้เป็นโครงงาน ดังนั้นผู้เรียนจะนาประสบการณ์ที่มีมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ วิเคราะห์ร่วมกันเพื่อเลือกไอเดียที่เหมาะสมสาหรับจัดทาเป็นโครงงาน ทาให้ผู้เรียนมี การเรียนรู้แบบแน้นประสบการณ์ (Experiential Learning) ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ แบบโครงงาน (Project-based Learning) ซึ่ งส่ งผลต่ อ การพั ฒ นาศั ก ยภาพของ ผู้เรียน เพราะประสบการณ์เปรียบเสมือนรากฐานที่สาคัญต่อการพัฒนาความคิดและ คุณค่า (สิรินาถ ศรีอนันต์1 และ นิธิดา อดิภัทรนันท์ , 2560) เนื่องจากผู้เรียนได้เห็น EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

195


และลงมือทา โดยสามารถแสดงผลลัพธ์การเรียนรู้ (The Cone of Learning) ได้ดัง รูปที่ 2

รูปที่ 2 ผลลัพธ์การเรียนรู้ (The Cone of Learning) ที่มา : neosphere. (online) http://blog.neosphere.com.np/trainingmethodology-and-the-cone-of-learning/ การจัดการเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ (Experience Learning) หมายถึง การดาเนินการอันจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมาย โดยให้ผู้เรียนได้รับ ประสบการณ์ที่จาเป็นต่อการเรียนรู้ในเรือ่ งที่เรียนรูก้ ่อน และให้ผู้เรียนสังเกต ทบทวน สิ่งที่เกิดขึ้น และนามาคิดพิจารณา ไตร่ตรองร่วมกัน จนกระทั่งผู้เรียนสามารถสร้าง ความคิดรวบยอดในเรื่องที่เรียนรู้เพื่อประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ใ หม่ๆ ต่อไป (ทิศนา แขมมณี, 2559) ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาความรู้ใหม่ด้วยตนเอง ซึ่งสามารถ แสดงขั้นตอนการเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ (Experiential Learning Cycles) ได้ ดังรูปที่ 3

196

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


รูปที่ 3 ขั้นตอนการเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ (Experiential Learning Cycles) ที่มา : กิตติ ชูวัฒนานุรักษ์. (online) https://www.gotoknow.org/posts/522385 รูปแบบของการจัดการเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ที่น่าสนใจรูปแบบหนึ่ง คือ การจัดการเรียนรู้แบบรับใช้สังคม (Service Learning : SL) ที่ทาให้ผู้เรียนได้นา ความรู้รวบยอดจากประสบการณ์เรียนรู้ไปใช้เพื่อการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคมและ ประเทศชาติ การจัดการเรียนการสอนรูปแบบรับใช้สังคมทาให้การเรียนรู้ไม่ถูกจากัด อยู่ในห้องเรียน ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้จากห้องเรียนชุมชน ที่นาไปสู่ความร่วมมือ ระหว่า ง สถาบั น การศึ ก ษา ชุ ม ชน และหน่ ว ยงานที่ เกี่ ย วข้ อ ง โดยมี ผู้ เรี ย นเป็ น ผู้ เชื่อมโยงและบูรณาการความรู้เชิงวิชาการกับการบริการสังคมที่เกิดจากความต้องการ หรือปัญหาของสังคมชุมชนจริง ๆ นอกจากนี้ผู้เรียนจะได้รับการบ่มเพาะจิตสานึกด้าน ความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility) จากประสบการณ์จริงของตนเอง กล่าวได้ว่าการเรียนรู้แบบรับใช้สังคม เป็นรูปแบบการเรียนรู้เชิงรุก ผ่านกิจกรรมการ เรีย นรู้จ ากประสบการณ์ จ ริงของผู้ เรี ย น ที่ ท าให้ ผู้ เรี ย นได้ ส ร้ างสรรค์ ค วามรู้ห รื อ นวัตกรรมใหม่ จากกระบวนการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงกับวิถีชีวิตของคนในสังคม อันจะ ช่วยส่งเสริมการพัฒนาทักษะทางสังคม คุณธรรม จริยธรรมและการเป็นพลเมืองที่ดี ของโลกให้กับผู้เรียนได้ (วัฒนา หงสกุล , 2561) ซึ่งสามารถแสดงองค์ประกอบของ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

197


การเรียนรู้แบบรับใช้สังคม (Service Learning Model : SL) ที่เสนอโดย American University ได้ดังรูปที่ 4

รูปที่ 4 : องค์ประกอบการเรียนรูแ้ บบรับใช้สังคม (Service Learning Model) โดย American University ที่มา : ธนีนาฏ ณ สุนทร. 2561 การจัดการเรียนการสอน วิชา BUS491 การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) ประจาภาค 2/2561 จึงได้ปรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนจาก เดิมที่เน้นเฉพาะการจัดการเรียนการสอนแบบใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem-based Instruction) เป็ น การจั ด การเรี ย นรู้ แ บบรั บ ใช้ สั ง คมผ่ า นโครงงานด้ า นความ รับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งเป็นการผสมผลานรูปแบบการจัดการเรียนการสอนเชิงรุก (Active Learning) 2 รูปแบบ คือ การเรียนรู้แบบรับใช้สังคม (Service Learning) กับ การเรีย นรู้ด้ วยโครงงาน (Project-based Learning) ที่ มุ่ งหวังให้ ผู้ เรีย นได้ รั บ ประสบการณ์ ด้านความรับผิ ดชอบต่อ สังคม (Social Responsibility) จากการลง พื้นที่ชุมชน ที่ได้ผ่านกระบวนการระดมสมอง (Brainstorming) ระหว่างสมาชิกใน กลุ่ม เพื่อสร้างสรรค์และนาเสนอวิธีการใหม่ในการพัฒนาชุมชน ดังนั้นนอกจากผู้เรียน ได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรูผ้ ่านกระบวนการกลุ่มแล้ว ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนา ทักษะทางสังคม เพราะการลงพื้นที่ชุมชนจะช่วยปลูกฝังจิตสานึกด้านความรับผิดชอบ ต่อสังคม และส่งเสริมความเข้าใจบทบาทของตนต่อการแสดงความรับผิดชอบต่อ 198

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


สังคม ที่นาไปสู่การเป็นพลเมืองที่ดีของโลกได้ ซึ่งการพัฒ นารูปแบบการสอนวิชา BUS491 การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) ประจาภาค 2/61 ดังนี้ 1. การปรับ มคอ.03 เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนในรายวิชา BUS491 การจัดการเชิงกลยุทธ์ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด การเรี ย นรู้ ที่ มี ผู้ เ รี ย นเป็ น ศู น ย์ ก ลาง (Studentcentered) ในรูปแบบ Service Learning ผ่านการจัดทาโครงงาน (Project-based Learning) ได้ ผู้ ส อนให้ ค วามส าคั ญ กั บ การสร้ า งเนื้ อ หารายวิ ช า (Content) ที่ สอดคล้ อ งกั บ มคอ.02 ดั งนั้ น ผู้ ส อนจึ งได้ มี ก ารปรับ มคอ.03 ให้ มี ค วามละเอี ย ด ครบถ้วนและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ซึ่งหมวดที่มีการปรับปรุงอย่างเห็นได้ชัดเจนได้แก่ หมวด ที่ 4 หมวดที่ 5 และหมวดที่ 7 โดยในหมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา ผู้สอนได้อธิบายอย่างชัดเจนถึงจุดมุ่งหมายในการพัฒนา วิธีการจัดการเรียนการสอน และวิธีการประเมินผล ซึ่งสามารถแสดงได้ดังรูปที่ 3

รูปที่ 5 มคอ.03 วิชา BUS491 หมวดการพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

199


ใน มคอ.03 หมวดแผนการสอนและการประเมิ น ผล ผู้ ส อนได้ ป รับ ปรุ ง หัวข้อการสอนให้สอดคล้องและครอบคลุมกับคาอธิบายรายวิชาที่ระบุไว้ใน มคอ.02 มีการค้นคว้าข้อมูลในปัจจุบันเพิ่มเติมเพื่อนามาปรับหัวข้อการสอนให้มีความทันสมัย โดยผู้สอนได้อธิบายรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับหัวข้อที่สอน กิจกรรมการเรียนการ สอนและสื่อที่ใช้ อันจะทาให้ผู้สอนสามารถทบทวนได้ว่าการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนและสื่อที่ใช้ของการเรียนในแต่ละหัวข้อ มีความเหมาะสม สอดคล้องกันหรือไม่ และได้นารูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายตามแนวทางการเรียนรู้เชิงรุก มาใช้หรือไม่ สามารถแสดงการปรับมคอ.03 หมวดแผนการสอน ได้ดังรูปที่ 6

รูปที่ 6 มคอ.03 หมวดแผนการสอนและประเมินผล เพื่อให้การประเมินผลการเรียนรู้สอดคล้องกับรูปแบบการจัดการเรียนการ สอน จึ งได้ มีการปรับ วิธีการประเมิน ผลการเรีย นรู้ จากเดิมที่ มี การวัด ผลด้วยการ ทดสอบย่อย รายงานและการสอบปลายภาค ปรับเป็น ไม่มีการวัดผลด้วยการสอบ แต่วัดผลจากผลสัมฤทธิ์ในการดาเนินโครงงานและ Outcome ที่นักศึกษาได้จากการ เรียนรู้ เช่น Rollup , VDO Clip , Facebook Page และการนาเสนอรายงาน และ ซึ่งสามารถแสดงได้ในรูปที่ 7

200

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


รูปที่ 7 มคอ.03 หมวดแผนการประเมินผลการเรียนรู้ นอกจากนี้ ผู้ ส อนยั งได้ ป รั บ ปรุ งมคอ.03 ในหมวดที่ 7 การประเมิ น การ ปรับปรุงและการดาเนินการของรายวิชา ที่ผู้สอนได้มีการอธิบายรายละเอียดเพิ่มเติม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ที่ผู้สอน ได้ ใ ช้ วิ ธี ก ารที่ ห ลากหลายเพื่ อ ทวนผลสั ม ฤทธิ์ ข องนั ก ศึ ก ษา เช่ น การรายงาน ความก้าวหน้าในการลงพื้นที่ การรายงานกระบวนการแก้ปัญหาของกลุ่มให้ชุมชน สัมพันธภาพของนักศึกษากับชุมชน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อแสดงถึง ปัญหาและแนวทางการพัฒ นาผลิตภัณฑ์ชุมชน ยอดคนดูและแชร์ VDO Clip และ การออกบูธเพื่ อน าเสนอ Rollup การพั ฒ นาผลิตภั ณ ฑ์ ชุมชน ซึ่ งสามารถแสดงได้ ดังรูปที่ 8

รูปที่ 8 มคอ.03 หมวดที่ 7 การประเมินการปรับปรุงและการดาเนินการของรายวิชา EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

201


การที่ผู้สอนจัดทา มคอ.03 ไว้โดยละเอียด จะเป็นผลดีต่อการจัดการเรียน การสอน เพราะ มคอ.03 นอกจากจะบอกถึงวัตถุประสงค์ของรายวิชา ยังเป็นพื้นฐาน ในการกาหนดเนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน เอกสารที่ใช้ การวัดและประเมินผล รวมทั้งการประเมินการปรับปรุงการดาเนินงานของรายวิชา โดยผู้สอนจะมีการนา รายละเอียดที่ปรากฏใน มคอ.03 ไปไว้ใน e-Learning ของรายวิชาต่อไป อย่างไรก็ ตามก่อนที่ผู้สอนจะเขียนมคอ.03 ผู้สอนควรพิจารณาข้อมูลใน มคอ.02 ประกอบกับ ข้อมูลของผู้เรียน อาทิ รหัส ชั้นปี เพื่อสร้างเนื้อหาการสอนได้ครอบคลุมตามหลักสูตร ของผู้เรียนอย่างแท้จริง 2. Service Learning ผู้ ส อนได้ น าการเรี ย นรู้ แ บบรั บ ใช้ สั ง คม (Service Learning: SL) มา ประยุ ก ต์ ใช้ ในการจั ด การเรีย นการสอน เนื่ อ งจากจะช่ ว ยสร้ า งเสริม และปลู ก ฝั ง คุณธรรม จริยธรรมให้กับนักศึกษา โดยอาศัยโครงงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม การจัดการเรียนการสอนรูปแบบนี้จะส่งผลต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา ซึ่ง ในรูปแบบเดิมจะเป็นในลักษณะการสอดแทรกระหว่างการบรรยายในชั้นเรียน ปรับ เป็น ให้นักศึกษาได้ลงไปทากิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือชุมชน ซึ่งเป็นการ สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมผ่านการปฏิบัติ ผลลัพธ์ที่ได้คือจากประสบการณ์การลง พื้ น ที่ และการท างานร่ ว มกั บ ชุ ม ชนและอาจารย์ ผู้ ส อน นั ก ศึ ก ษาได้ เรี ย นรู้ แ ละ ตระหนักถึงบทบาทของตนเองต่อการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมที่มีผลต่อการ สร้างความเจริญให้กับสังคมและประเทศชาติ ผู้สอนแจ้งวัตถุประสงค์ของการปรับรูปแบบการจัดการการเรียนการสอน กับนักศึกษาตั้งแต่เปิดภาคการศึกษา โดยแนะนาให้นักศึกษาลงพื้นที่จริงเพื่อพูดคุยกับ ชุมชนก่อนที่จะตัดสินใจเลือกชุมชน เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการเข้าใจไม่ ตรงกัน โดยให้เวลาสาหรับลงพื้นที่เพื่อหาข้อมูลประมาณ 2 สัปดาห์ ซึ่งนักศึกษาได้ ระดมสมองและร่วมกันค้นคว้าข้อมูล ลงพื้นที่ หาข้อสรุปและวางแผนว่าจะเข้าไปทา กิจกรรมกับชุมชนใด โดยมีการประชุมกลุ่มย่อยและรายงานความคืบหน้าให้ผู้สอน ทราบเป็น ระยะเพื่ อ ขอรับ ค าแนะนาเพิ่ มเติ ม ส่ วนใหญ่ นั กศึก ษาเลื อกลงชุ มชนใน 202

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


จังหวัดนนทบุรี จานวน 5 กลุ่ม เนื่องจากใกล้มหาวิทยาลัยและที่พัก และลงชุมชนใน จังหวัดอยุธยา 1 กลุ่ม เนื่องจากมีสมาชิกในกลุ่มรู้จักกับผู้นาชุมชน นักศึกษาทั้งหมด เลื อกเข้ าไปมี ส่วนร่วมในการพั ฒ นาวิสาหกิจชุ มชน โดยให้ เหตุ ผลว่าตามนโยบาย Thailand 4.0 การเสริม สร้ า งชุ ม ชนเข้ ม แข็ ง จะเป็ น พื้ น ฐานส าคั ญ ในการพั ฒ นา ประเทศ โดยนั ก ศึ ก ษา ซึ่ ง สามารถแสดงการลงพื้ น ที่ ชุ ม ชนของนั ก ศึ ก ษาได้ ดังรูปที่ 9-13

รูปที่ 9 การลงพื้นที่ : วิสาหกิจชุมชน กลุ่มอนุรักษ์ผลไม้เมืองนนท์

รูปที่ 10 การลงพื้นที่ : วิสาหกิจชุมชน กลุ่มพลังสตรีไทรม้าเหนือ

รูปที่ 11 การลงพื้นที่ : วิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้านสายใยรักษ์

รูปที่ 12 การลงพื้นที่ : วิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบางรักน้อยกลุ่ม อาชีพสตรีกล้วยอบแผ่น

3. Project-based Learning ผู้ ส อนได้ น าการเรี ย นรู้ ด้ ว ยโครงงาน (Project-based Learning) มาใช้ สาหรับจัดการเรียนการสอนในรายวิชา BUS491 การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) เนื่องจากผู้สอนต้องการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากบริบทจริง EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

203


ที่จะทาให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะทางการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์และการบูรณาการ ความรู้ทั้งจากการเรียนในห้องเรียนและความรู้บนโลกออนไลน์ เพื่อมานาเสนอวิธีการ ในการแก้ปัญ หาของชุ มชน โดยนักศึกษาได้ระดมสมองเพื่อน าเสนอโครงงานด้าน ความรับผิดชอบต่อสังคม ที่นักศึกษาสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมกับชุมชนในการค้นหา ปัญหา เพื่อนามาวางแผนร่วมกันกับชุมชนและอาจารย์ผู้สอน ที่นาไปสู่การสร้างสรรค์ วิธีก ารแก้ ไขปั ญ หาให้ กั บ ชุ ม ชนได้อ ย่ างเป็ น รูป ธรรมผ่ านโครงงานเพื่ อการพั ฒ นา วิส าหกิ จ ชุ ม ชน ซึ่ งสามารถสรุ ป วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชน ปั ญ หาและแนวทางแก้ ไข ได้ ดั ง ตารางที่ 1 ตารางที่ 1 สรุปข้อมูลเกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชน ปัญหาและแนวทางแก้ไข ชื่อวิสาหกิจชุมชน ปัญหา การแก้ไขปัญหา 1. วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น 1. ต้ อ งก ารเผย แพ ร่ พั น ธุ์ 1. สร้าง Facebook Page อนุรักษ์ผลไม้เมืองนนท์ ทุ เ รี ย นเมื อ งนนท์ ใ ห้ เ ป็ น ที่ 2. จั ดท า VDO Clip, Rollup และ รู้จัก โ บ ร ชั ว ร์ เ พื่ อ ใ ช้ เ ป็ น สื่ อ ประชาสัมพันธ์ 2. วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนกลุ่ ม 1. ไม่มีตราผลิตภัณฑ์ชุมชน 1. พัฒนาตราผลิตภัณฑ์ชุมชน พลังสตรีไทรม้าเหนือ 2. ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ไม่ มี ค ว า ม 2. สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ มให้ ข นมไท ย แตกต่างจากคู่แข่ง ยกระดับเป็นขนมไทยใส่ไอเดีย เพื่อ 3. ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เป็ น รู้ จั ก ในวง วางต าแหน่ ง เป็ น ขนมไทยเกรด แคบ พรีเมี่ยม 3. สร้าง Facebook Page 4. จั ดท า VDO Clip, Rollup และ โ บ ร ชั ว ร์ เ พื่ อ ใ ช้ เ ป็ น สื่ อ ประชาสัมพันธ์ 3. วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนกลุ่ ม 1. ไม่มีตราผลิตภัณฑ์ 1. พัฒนาตราผลิตภัณฑ์ แม่บ้านสายใยรักษ์ 2. บรรจุ ภั ณ ฑ์ ม าจากขวด 2. ออกแบบบรรจุภัณฑ์ พลาสติกเหลือใช้ 3. จัดทา VDO Clip , Rollup และ 3. ยอดขายมาจากคนใน โ บ ร ชั ว ร์ เ พื่ อ ใ ช้ เ ป็ น สื่ อ ชุมชน ประชาสัมพันธ์

204

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ชื่อวิสาหกิจชุมชน

ปัญหา การแก้ไขปัญหา 3. ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ม่ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก ของตลาด 4. วิ ส าหกิ จ ชุ ม ชนกลุ่ ม 1. ต้องการบรรจุภัณฑ์ที่ช่วย 1. ปรับบรรจุภัณฑ์เป็นบรรจุภัณฑ์ แม่บ้านเกษตรกรบางรัก ลดปัญหาขยะพลาสติก จากพลาสติกชีวภาพ สามารถย่อย น้ อ ย กลุ่ ม อาชี พ ส ต รี 2. ออเตอร์มีเป็นบางช่วง สลายได้ตามธรรมชาติ กล้วยอบแผ่น 2. จั ดท า VDO Clip, Rollup และ โ บ ร ชั ว ร์ เ พื่ อ ใ ช้ เ ป็ น สื่ อ ประชาสัมพันธ์ 5. ชุ ม ช น ผู้ เ ลี้ ย งแ พ ะ 1. ต้ อ ง ก า ร พั ฒ น า ต ร า 1. พัฒนาตราผลิตภัณฑ์ ลูกผสมเพื่อจาหน่ายเนื้อ ผลิตภัณฑ์ 2. พัฒนาบรรจุภัณฑ์ และนม 2. ต้องการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ 3. จั ดท า VDO Clip, Rollup และ 3. ผลิตภัณฑ์ไม่เป็นที่รู้จักใน โ บ ร ชั ว ร์ เ พื่ อ ใ ช้ เ ป็ น สื่ อ วงกว้าง ประชาสัมพันธ์ หมายเหตุ : มี ก ารเปลี่ ย นชุ ม ชน จ า ก เดิ ม คื อ วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น วิสาหกิจกลุ่มผลิตภัณฑ์แพะนมบ้าน เกาะคอน 6. ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ชุ ม ช น 1. บรรจุภัณฑ์ไม่ดึงดูดลูกค้า 1. พัฒนาบรรจุภัณฑ์ โรงเรียนวัดบ้านตาบ 2. ต้ อ ง ก า ร ป รั บ ต ร า 2. พัฒนาตราผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ใหม่ 3. จั ดท า VDO Clip, Rollup และ 3. ผลิตภัณฑ์ไม่เป็นที่รู้จักใน โ บ ร ชั ว ร์ เ พื่ อ ใ ช้ เ ป็ น สื่ อ วงกว้าง ประชาสัมพันธ์

นักศึกษาได้ใช้เวลากว่า 4 เดือน ในการลงพื้นที่พูดคุยและหาวิธีการในการ แก้ ปั ญ หาให้ กั บ ชุ ม ชน ซึ่ งสามารถแสดงผลลั พ ธ์ ที่ เกิ ด ขึ้ น จากโครงงานด้ า นความ รับผิดชอบต่อสังคม ได้ดังรูปที่ 13 – 18

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

205


รู ป ที่ 13 โ บ ร ชั ว ร์ เ พื่ อ ก า ร รู ป ที่ 1 4 โ บ ร ชั ว ร์ เ พื่ อ ก า ร ประชาสั ม พั น ธ์ก ลุ่ ม ชุม ชนผู้ เลี้ ย งแพะ ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนวัดบ้าน ลูกผสม เพื่อจาหน่ายเนื้อและนม ตาบ

รูป ที่ 15 แสดงการพั ฒ นาบรรจุภั ณ ฑ์ รูป ที่ 16 แสดงการพั ฒ นาบรรจุภั ณ ฑ์ กล้วยอบแผ่น ของวิสาหกิจชุม ชนกลุ่ ม น้ ายาท าความสะอาดพื้ น ตะไคร้ ห อม แม่ บ้ า นเกษตรกรบางรั ก น้ อ ย กลุ่ ม วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้าน สายใยรักษ์ อาชีพสตรีกล้วยอบแผ่น

206

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


รูปที่ 17 Rollup เพื่อการประชาสัมพันธ์ของวิสาหกิจชุมชน กลุ่มพลังสตรีไทรม้าเหนือ

ก่อนพัฒนาตราผลิตภัณฑ์

หลังการพัฒนาตราผลิตภัณฑ์

รูปที่ 18 แสดงการพัฒนาตราผลิตภัณฑ์ ของ วิสาหกิจชุมชน กลุ่มพลังสตรีไทรม้าเหนือ 4. การใช้ Social Network เพื่อการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้เรียนและความก้าวหน้าในยุค IoTs ผู้สอนจึงใช้เครือข่ายสังคม (Social Network) เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการ สอน เพราะท าให้ ก ารสื่ อ สารระหว่า งผู้ ส อนกั บ ผู้ เรีย นเป็ น แบบ Real Time แล้ ว EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

207


รวมทั้งยังเพิ่มความน่าสนใจของการเรียนรู้ในรายวิชาได้เป็นอย่างดี โดยผู้สอนเลือกใช้ Facebook โดยมีการสร้าง Facebook Group ขึ้นมา Facebook Group ทาให้ผู้สอนตรวจติดตามความก้าวหน้าในการดาเนิน โครงงานของผู้เรียนสะดวกขึ้น ขณะเดียวกันผู้เรียนก็สามารถรายงานผลการดาเนิน โครงงานให้ผู้สอนทราบเป็นระยะ นอกเหนือจากการมานาเสนอความก้าวหน้าของ โครงงานต่อหน้าผู้สอน ซึ่งการรายงานความก้าวหน้าในการดาเนินโครงงานของผู้เรียน จะส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้กันผ่านเทคโนโลยี โดยผู้สอนได้ใช้ Facebook Group เพื่อการจัดการเรียนการสอนในกิจกรรมต่าง ๆ ต่อไปนี้ - ใช้ Facebook Group สาหรับติดต่อสื่อสารกับผู้เรียน เนื่องจาก การ สื่อสารผ่าน Facebook จะช่วยเพิ่มสัมพันธภาพ และช่วยลดข้อจากัดของการสื่อสาร ระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในระบบ e-Learning เพราะ Facebook ทาให้เกิดการ สื่อสารแบบสองทางที่ Real Time เนื่องจากมีระบบการแจ้งเตือนเมื่อมีข้อความใหม่ ผู้ เ รี ย นสามารถเข้ า ระบบเพื่ อ การสื่ อ สารไปยั ง ผู้ ส อนได้ ง่ า ยกว่ า e-Learning นอกจากนี้ Facebook ยังเป็นช่องทางการสื่อสารผ่านเครือข่ายสังคมที่เป็ นที่นิยม ที่สุด ทาให้การจัดการเรี ยนการสอนมีความสอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้เรียนและ ทันสมัยดังรูปที่ 19

รูปที่ 19 Facebook Group BUS491-2-61 208

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ที่มา : Facebook Group วิชา BUS492-2-61. (ออนไลน์) https://www.facebook.com/groups/2550488461646246/ - ให้ นั ก ศึ ก ษาใช้ Facebook Group ส าหรับ การส่ งงานและรายงาน ความก้ า วหน้ า ในการท างานกลุ่ ม เพื่ อ ลดข้ อ จ ากั ด ด้ า นเวลา และส่ งเสริ ม การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียน นอกจากผู้สอน สามารถติดตามความก้าวหน้าในการทางานของผู้เรียนได้แล้ว ผู้เรียนคนอื่น ๆ จะเห็น ความความก้าวหน้ าในการท างานของผู้เรีย นกลุ่ม อื่น รวมทั้งสามารถแสดงความ คิดเห็นหรือให้กาลังใจกับเพื่อนร่วมชั้นเรียนได้ แสดงได้ดังรูปที่ 20

รูปที่ 20 การส่งงานและรายงานความก้าวหน้าโครงงานความรับผิดชอบต่อสังคม ผ่าน Facebook Group ที่มา : Facebook Group วิชา MGT345. (ออนไลน์) https://www.facebook.com/groups/2550488461646246/ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

209


ผลการปรับรูปแบบการเรียนการสอน ภายใต้ “การจัดการเรียนรู้แบบรับ ใช้สังคมผ่านโครงงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม” ทาให้ผู้สอนมีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับศาสตร์การสอนเพิ่มขึ้น ด้วยการบูรณาการรูปแบบการสอนแบบรับใช้ สังคม (Service Learning) กั บ รู ป แบบการสอนแบบโครงงาน (Project-based Learning) ที่ น ามาสู่รูป แบบการจัดการเรียนสอนที่ เกิดจากความร่วมมื อกั น 4 ฝ่าย คือ ผู้เรียน ผู้สอน สถาบันการศึกษา และชุมชน ซึ่งมีผู้เรียนเป็นศูนย์กลางใน การขั บ เคลื่ อ น โดยสามารถแสดงองค์ ป ระกอบการเรี ย นรู้ แ บบรั บ ใช้ สั งคมผ่ า น โครงงานความรับผิดชอบต่อสังคม ได้ดังรูปที่ 21

รูปที่ 21 องค์ประกอบของการเรียนรู้แบบรับใช้สังคม ผ่านโครงงานความรับผิดชอบต่อสังคม จากรูปที่ 21 สามารถอธิบายความร่วมมืออันเกิดจาก 4 ฝ่าย ได้ดังนี้ - ผู้เรียน เป็นศูนย์กลางของการจัดการเรียนรู้ ที่ต้องได้รับการพัฒนาทักษะ ด้านต่ าง ๆ ได้ แก่ ทัก ษะด้านการคิด (Conceptual Skills) ทัก ษะด้านการสื่อสาร (Communication Skills) ทั ก ษ ะด้ าน เท ค โน โล ยี ส ารส น เท ศ (Information Technology Skills) และทั ก ษะด้ า นค วามร่ ว มมื อแล ะการท างานเป็ นที ม 210

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


(Collaboration and Teamwork Skills) ผ่ านรูป แบบการเรีย นรู้แ บบรั บ ใช้ สั งคม (Service Learning) แ ล ะ การจั ด ก ารเรี ย น รู้ แ บ บ โค รงงาน (Project-based Learning) การค้ น หาไอเดี ย ที่ ม าจากประสบการณ์ ในการปฏิ บั ติ จ ริงในโครงงาน นาไปสู่การพัฒนาความคิด ความรู้รวบยอดและคุณค่าที่นาไปสู่การสร้างนวัตกรรม โดยสามารถนาไปใช้เพื่อการพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคมและประเทศชาติได้ ถือเป็น ผลลั พ ธ์ ก ารเรี ย นรู้ ที่ ส ะท้ อ นศั ก ยภาพของผู้ เรี ย นตาม The Cone of Learning นอกจากนี้ประสบการณ์ในกระบวนการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงกับวิถีชีวิตของคนในสังคม จะช่วยส่งเสริมการพัฒนาทักษะทางสังคม คุณธรรม จริยธรรมและการเป็นพลเมืองที่ ดีของโลกให้กับผู้เรียนตามกรอบการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 - ผู้สอน มีการพัฒนาทักษะการสอน ด้วยการออกแบบการจัดการเรียนการ สอนให้สอดคล้องกับความสนใจและความสามารถของผู้เรียน ตามขั้นตอนการเรียนรู้ แบบเน้นประสบการณ์ (Experiential Learning) โดยผู้สอนปรับบทบาทเป็นผูอ้ านวย ความสะดวก (Facilitator) และผู้ ให้ ค าแนะน า (Mentor) ที่ ค วรบู ร ณาการใน 4 ป ร ะ เด็ น คื อ TSPS (T : TQF , S : Service Learning , P : Project-based Learning , S : Social Network) เริ่ม จากวางแผนการสอนให้ชัด เจนใน มคอ.3 ที่ สอดคล้องกับ มคอ.2 โดยใช้การเรียนรู้แบบรับใช้สังคม (Service Learning) และการ เรียนรู้ด้วยโครงงาน (Project-based Learning) เป็น เครื่องมือในการจัดการเรียน การสอนที่พัฒนาทักษะของผู้เรียนที่นาไปสู่การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง - สถาบันการศึกษา เป็นผู้สนับสนุนให้เกิดการจัดการเรียนการสอนที่มุ่ง ช่วยเหลือสังคม ผ่านการส่งเสริมในเชิงนโยบาย เพื่อนาไปสู่การพัฒนารูปแบบการ เรียนการสอน ที่ ส่งเสริม การเรียนรู้และพัฒ นาศั กยภาพของผู้เรียนตามกรอบการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในด้านทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี และทักษะด้านชีวิตและอาชีพ - ชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน ให้กรณีศึกษาและโจทย์ที่ท้าทาย ความสามารถของผู้เรียน และเป็นห้องเรียนที่ผู้เรียนได้นาศักยภาพในตนเองมาใช้ อย่างเต็มที่ เพื่อค้นหาไอเดียที่นาไปสู่การสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา ที่นาไปสู่การ สร้างชุมชนเข้มแข็ง EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

211


การจั ด รู ป แบบการเรี ย นการสอนแบบรั บ ใช้ สั งคมผ่ า นการเรี ย นรู้ ด้ ว ย โครงงานด้านความรับ ผิดชอบต่อสังคม (The Service Learning based on CSR) นั้น เป็นการสร้างผลลัพธ์การเรียนรูต้ าม The Cone of Learning จากการปฏิบัติจริง ของผู้เรีย น ด้ วยการบู รณาการความรู้จ ากหลายศาสตร์ม าใช้ เพื่ อ พั ฒ นาชุ ม ชน ที่ สะท้อนถึงความสามารถในการสร้างความคิดรวบยอดของผู้เรียนนาไปสู่การสร้าง ประสบการณ์การเรียนรู้ (Experience of Learning) ที่มีผลลัพธ์สุดท้ายคือการสร้าง นวัตกรรม ภายใต้ความร่วมมือจาก 4 ฝ่าย คือ ผู้เรียน ผู้สอน มหาวิทยาลัยและชุมชน โดยมีผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ นับเป็นความท้าทายในการจัดการเรียนการ สอน ด้วยโจทย์จากชุมชน ที่ทาให้ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมจิตสานึกการเป็นพลเมืองที่ ดีของโลกด้านสังคม คุณธรรมและจริยธรรมไปพร้อมกับการพัฒนาทักษะทางปัญญา ทักษะเชิงวิชาชีพและทักษะทางสังคม เอกสารอ้างอิง กิ ต ติ ชู วั ฒ นานุ รั ก ษ์ . 2562. รูป แบบการเรี ย นรุ้ จ ากประสบการณ์ (Experiential Learning Cycles). (ออนไลน์) สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2562. https://www.gotoknow.org/posts/522385 ทิศนา แขมมณี . 2559. ศาสตร์การสอน : องค์ความรุ้เพื่อการจัดการกระบวนการ เรี ย นรู้ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ. พิ ม พ์ ค รั้ งที่ 20. กรุ งเทพฯ : ส านั ก พิ ม พ์ แ ห่ ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ธนีนาฎ ณ สุนทร. 2560. UCS - Service Learning Model: สู่การพัฒนานักศึกษาใน ยุคไทยแลนด์ 4.0. กรุงเทพฯ : วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 46 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-ธันวาคม 2561. หน้า 325-344. วัชรินทร์ โพธิ์เงิน , พรจิต ประทุมสุวรรณ และ สันติ หุตะมาน. 2562. การจัดการ เรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน. (ออนไลน์) สืบค้นเมื่อวันที่ 31 พ ฤ ษ ภ า ค ม 2 5 6 2. www.fte.kmutnb.ac.th/km/projectbased%20learning.pdf 212

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


วัฒนา หงสกุล. 2561. การจัดการเรียนรู้เชิงรุกในยุคไทยแลนด์ 4.0 Active Learning Management in Thailand 4.0. การประชุมวิชาการการเสนอ ผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1 “GRADUATE SCHOOL CONFERRENCE 2018”. (หน้า 479 – 486). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราช ภัฎสวนสุนันทา. สิ ริ น าถ ศรี อ นั น ต์ 1 และ นิ ธิ ด า อดิ ภั ท รนั น ท์ . 2560. การใช้ ก ารเรี ย นรู้ ภ าษาแบบ ประสบการณ์เพื่อพัฒนาความสามารถในการฟัง พูด ภาษาอังกฤษและความ มั่นใจในตนเองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. พิฆเนศวร์สารปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2560. หน้า 85-96. Neosphere. Training Methodology and the cone of learning. (online) สื บ ค้ น เมื่ อ วันที่ 31 พฤษภาคม 2562. http://blog.neosphere.com.np/ training-methodology-and-the-cone-of-learning/

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

213


The comparison of Physical Classroom Environment for Learning Performance of Kasem Bundit University students GONG LEI Abstract The objectives of this research were 1 ) to compare the influence of physical classroom environment for Chinese language learning performance based on learning from traditional classroom and modern classroom. 2 ) to find out what is the important factors that affect students’ Chinese language learning. The sample consisted of 45 undergraduate students from Kasem Bundit University. The research instruments were used, 1) Interview or face to face test students about their learning outcome. 2 ) Class observation to identify they are concentrate or not. 3) Pre-test and post-test. The data were analyzed by Mean, Standard Deviation, and percentage for dependent sample. The results of this research were as follows: 1 . The average score of students who study in traditional classroom was 7 0 % . The average score of students who study in modern classroom was 81.4% . Based on their score and survey form, modern classroom were more effective for student’ Chinese language learning performance. MR. GONG LEI Graduate Student in Master of Education Program in Innovations in Learning and Teaching, Sripatum University 214

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


2 . Students think many factors may affect their learning performance, including teacher’s teaching style, learning method, and classroom environment. Keywords: Traditional Classroom, Modern Classroom, Learning Performance. Introduction A 2 0 1 2 technology survey of AACSB-accredited business schools showed that more than 50% School decided to renewal and upgrade their classroom facilities and environment within the next 5 years. The renewal and upgrade include improve the comfort of the tables and chairs, changing the wall color to make sure that it is best for both students and teacher, also make sure the light is healthy and productive for students’ learning process. People always think about what is the most effective and productive way to improve students’ study and learning outcomes. Many parents and school think that learning outcome are mostly depends on teacher or the material that they used during the class, but they have been ignored the benefits of the classroom environment. Now many people study in the traditional classroom since they were young, what I mean about traditional classroom is: In the traditional model classroom teacher stand between the stage and students, always tell students how should they do. Normally, students know nothing or a little about the subject or the lesson that are going to talk today. They sit in the classroom which consisted of many tables and EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

215


chairs, sometimes the tables are too high or too low, and the chairs aren’t flexible. They cannot adjust the light or the environment of whole classroom. Now let’s look back at the problem, good performance or good grades consist of much part, but one of the important factor is classroom environment. Classroom environment includes Classroom Activities, Outdoor Learning: Activities during the class time, it helps students and teacher to create better learning atmosphere. Outdoor learning also help students get out of the classroom, making a different classroom based on what digital age need, it also can set a different classroom environment. Classroom environment is about the facility of classroom, including the table, chair, light, A/C. Researchers have examined several aspects of classroom learning environments and the impact of such environments at the K-12 education level (Earthman,2002; Young et al,2003). These studies found that building conditions such as lighting, temperature, student comfort, and classroom technology are significantly positively related to student outcomes, including performance and attitude (Fisher, 2001; Hurst, 2005). However, there have been relatively few studies that have examined the impact of classroom environment at institutions of higher learning (Siegel, 2003). Due to the importance of classroom environment, I decided to conduct a research and investigation of 4 5 Kasem Bundit University students to evaluate their performance and behavior based on different classroom environment. After the evaluation and monitoring we saw that there is a big difference between different classroom environments. The room with a sofa, group table, carpet, different 216

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


color’s table and chair make student feel more comfortable to study and motivate them come to school. On the anathor side, the room with traditional one-piece-table-chair, students feel lazy and downhearted when they study. So we could figure out that classroom environment actually has very big impact to students and their outcome of study. The results indicate that how important is classroom environment for students. From emotional change to grades change, students learn from the traditional classroom are less motivated, they feel lazy and unwilling go to school, also during the lesson they are sleepy and cannot concentrate. Those reasons make their grades decrease and receive less knowledge based on what we taught. Compare with the students who learn from the modern classroom, it is very obviously different that we can see, they are more active to participate all the activities and discussion. They learn with classmates and also from the classmates, this type of learning process developed their confidence and character. The grades indicate that they have higher score than students who study at traditional classroom. The result not just based on grades, we also analysis their class behavior, personal character, team work abilities. Evaluations consisted by class observation, online and offline questionnaire, and Individual and Group learning. Literature Review There were two relevant studies that were conducted on: analysis schoolroom setting and analysis on the outcome and learning performance of students. Whereas previous analysis has outlined EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

217


setting in various ways, together with each physical and non-physical factor during the schoolrooms, however this study addressed solely the physical factors of schoolrooms. The analysis associated with physical classroom setting has examined such factors as schoolroom lighting, management, atmosphere, technology, table comfort. Previous literatures are associated with students learning outcome and learning performance based on motivation and attitude. Physical Environment of the University Classroom The literature related to physical classroom environment has mostly focused on the important of environment on student attitude and student achievement on the L-1 3 education level. ASCD (2 0 0 9 ) indicates the importance of the physical classroom environment and points out that student’s outcome is impacted by many factors, such as lighting, noise, color of the classroom, and climate control. ASCD always identify the importance of physical classroom environments, that they are significant effects to young students such as elementary students or primary students. Gang (2 0 0 6 ) summarized the importance of physical environment which most students prefer the classroom with new designs and facilities. The research indicated that the physical classroom environment will have effect into decision regarding school enrollment. Temperature and ventilation frameworks inside homeroom are essential factors that influence study hall learning condition. Homerooms excessively cold or too hot contrarily influence understudies' execution and focus as they feel awkward in such 218

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


conditions. As per Halstead (1 9 9 8 ) stated that, it was commonly acknowledged that high temperature and stickiness makes physiological and mental issues which speed up exhaustion, makes individuals work all the more gradually, apply much endeavors and causes to commit more errors and mistakes. Instructional innovation assumes a fundamental job in showing learning procedure and makes it increasingly effective, intriguing and productive. Along these lines it is basic to organize instructional innovation in a study hall to guarantee powerful and favorable condition for showing learning process. Iqbal (2005) expressed that the game plan of study hall instructive offices and instructional spaces may be chosen for adapting rather educating. In addition, it ought to guarantee to encourage educator in making an air where quality learning might be advanced. Broad media helps i.e., outlines, diagrams, maps, globes, radio, mock up, sight and sound, PCs, overhead projectors and web are the piece of study hall condition. In any case, these advances are not being used in instructional projects as were normal (Weiss, 2 0 0 7 ) in light of the fact that the plan of study hall physical condition does not bolster the combination of innovation Besides, instructors are not prepared appropriately for the successful use of training innovations for instructional procedure (Suleman, et al. 2 0 1 1 ). Hence it is important to plan homerooms so that innovation might be utilized adequately. Study halls ought to be outfitted with current innovations to guarantee great and helpful environment for showing learning process. Educator ought to be given preparing in the use of innovation as it is an imperative part of study hall physical setting. EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

219


Students Performance and Learning Outcome If university students prefer modern or different physical classroom environment, then perhaps it will effect their performance and learning outcome. Many prior research indicate that gender, attendance, class size, teacher, and subject cam impact students’ learning outcome and learning performance. This paper examines another factor that may effect to students’ learning outcome and performance: Physical classroom environment. Westerman et al(2002) analyzed three factors and their impact on students’ learning outcome in business school students. Three factors included the agreement between students and teacher, the difference about learning knowledge and content, and the overall classroom environment with students’ expectation. Tornabene(1 9 8 ) found that students preferred “Intelligent” classroom, meaning students are more willing to study in a good environment. Objectives There are many prior research and study indicate that many different reasons and conditions that may effect to students’ learning outcome and performance. However not enough research or study about the physical reason that may effect, such as physical learning environment. Based on my research I want let school or university know the importance of physical classroom so they may do some change to improve. Also I would like to find the way to improve students’ learning performance, motivation, learning outcome. This research main for improving students’ learning outcome, increasing the 220

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


level of receiving knowledge. If teacher would like to improve students’ knowledge such as language abilities, common knowledge learning, we have to figure out the main and original reason that may affect those. Methodology Population Charlie (2 0 0 2 ) sated, “A population is the group which a researcher would like the results of a study to be generalized.” All of 4 5 students were randomly choose from four different majors and faculties.

Delimitations of the study The study was delimited to the undergraduate students of Kasem Bundit University (KBU). The student will learn following subjects as experimental and analysis the classroom performance and learning outcome. First day they are going to learn Chinese History and General Chinese, after that second day students will have a Quiz. Which is EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

221


paper quiz and oral test. Second day they are going to learn Basic Chinese and Chinese Culture, after that second day students will have a Quiz. Which is paper quiz and oral test.

Research Design As the study was experimental in nature way, Before-test-Aftertest Equivalent Groups Design was used. Based on this design, sample was collected to the experimental and control group. Symbolic representation of design is:

222

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Table 2: Research Design Research Instrumentation Data Collection In order to collect more data and better analyze, I prepared a pre-test and post-test before study and after study. I will check the attendance and observing students’ class performance during the class time and after class time. Students will have two test during the whole Chinese language learning. First test will make after student studied chapter 1, total have 16 questions with 100 total score: 5 multiple choice, 5 point each total is 25 point. 6 sentences translation, 10 point each total is 60 point. 5 English and Chinese matching 3 point each total is 15 point. Second test will make after students learned chapter 2, total have 11 questions with 100 total score: 5 sentences correction 5 point each, total is 25 point. 6 sentences translation 10 point each, total is 60 point. 3 question answer 5 point each, total is 15 point. I will collect all the quiz from 45 students, and give them score. Using the academic score to compare their learning outcome.

Data Analysis For the statistical analysis of the data, I decided not just easily compare the Chinese language exam score, but also compare the SD (Standard deviation) and calculated by mean, which we can easily to identify and analyzing. Different group and different students have different score, so I will compare the mean, SD (Standard deviation) EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

223


between each group. We are going to see how’s the gap between different group based on different learning environment. Selection of Teachers Experimentation For the experimental, there is two group which is Experimental Group A and Experimental Group B. The students who study at traditional classroom called Experimental A. The students who study at modern classroom called Experimental Group B.

Based on our class content, we let our 4 5 students to learn different chapter at different classroom with same level. The result shows that Group A at traditional classroom average point is seven out of ten. But Group B which is in modern and smart classroom, their average point is 8 .1 4 . Also the Standard Deviation (SD) indicate that they still have some difference, which may hard to see from number. Score that we gave students consists of Attendance, Academic Score, Performance, Classroom Behavior, Emotional, Speaking, which totally have 100 score, after that we try to make number smaller, then total points is 100 divide 10 which is 10 point. Result 224

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


The experimental and statistic indicate that students who study at traditional classroom are less motivated than students who study at modern classroom, this also make they have different attendance. Group A students sometime is late or absent, but Group B students are more motivated to come to class. Which they feel modern classroom have Ipad, Wifi, Computer and more comfortable environment to help them. Students in the Group A their average score which is mean is 7/10. But Group B their average score which is mean is 8.14/10. Discussion The reason for the study was to inspect the impacts of homeroom physical condition on the learning performance. The investigation was exploratory in nature and that is the reason Pre-test Post-test Equivalent Group Design was utilized. Two distinct homerooms were orchestrated the trial. The homeroom for trial bunch was outfitted with different physical offices i.e., appropriate game plan of work areas and seats for understudies; educator table; very much painted dividers; whiteboard; outlines, models; overhead projector; legitimate lighting and ventilation; room radiators; drinking water office; ceaseless power supply; cabinet, the study hall for control bunch was just contained writing board. This test was proceded for about two months. After the consummation of the examination, the scientists directed a post-test promptly to look at the execution of the two gatherings. For this reason the specialists alongside Chinese educators made inquiry paper in the six exercises which were instructed amid treatment for the two gatherings. Following two weeks, the scientists EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

225


again directed a similar post-test with slight change in the groupings of the inquiries as a maintenance test. Thusly information was gathered, composed, arranged, broke down and thought about. The result of table 2 indicated that there is some different between each group. Which Group A (Mean =7, SD=1.31) and Group B (Mean=8.12 SD=1.55) Which mean Group B students average score is high 1 .1 2 than each students. For the further study, If I was to design this study again, there are a number of changes we would make. Most importantly I would go for a longer time period to be able to capture involvement through the whole research process from initial design through to dissemination. I would seek to recruit far more potential case studies in principle, so that i had greater choice of which to proceed with once our study began in earnest. We would include case studies from the application stage to capture the important early involvement of research partners in the initial design period. It might be preferable to research a smaller number of case studies, allowing a more in-depth ethnographic approach. Reference Allyn and Bacon. Stewart, S. C. and Evans, W. H. 1997. Setting the stage for success: Assessing the instructional environment. Preventing School Failure, 41(2), 53-56. Barth, M. M. 2008. Deciphering student evaluations of teaching: a factor analysis approach, Journal of Education for Business, 8 4 (1 ), 20-27. 226

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Cohen R, Murnaghan L, Collins J, Pratt D. 2005. An update of master’s degrees in medical education. Med Teach 27(8):686–692. Cooke M, Irby DM, Debas HT. 2 0 0 3 . The UCSF academy of medical educators. Acad Med 78(7):666–672. Earthman, G. I. 2002. School facility conditions and student academic achievement, Los Angeles, CA: UCLA’s Institute for Democracy, Education, and Access (IDEA). Englebrecht, K. 2003. The Impact of Color on Learning, NeoCon. General Medical Council of UK 2 0 0 9 . Tomorrow’s Doctors. United Kingdom: General Medical Council. Gruppen LD, Frohna AZ, Anderson RM, Lowe KD. 2 0 0 3 . Faculty development for educational leadership and scholarship. Acad Med 78(2):137–141. Hurst, M. D. 2005. Schools eye future costs, Education Week, 24(35), 3035. Pugsley L, Brigley S, Allery L, MacDonald J. 2 0 0 8 . Counting quality because quality counts: Differing standards in master’s in medical education programmers. Med Teach 30(1):80–85. Savage, T. V. 1 9 9 9 . Teaching self-control through management and discipline. Boston: Steinert Y, Nasmith L, McLeod PJ, Conochie L. 2003. A teaching scholars program to develop leaders in medical education. Acad Med 78(2):142–149. Tornabene, L. 1 9 9 8 . The SMART classroom verses the traditional classroom: what the students are saying, EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

227


Troup, W. 2 0 0 0 . Smart classrooms require smart planning, College Planning and Management, 3(4), 35-38. Valenti, M. S. 2 0 0 2 . The black box theatre and AV/IT convergence: Creating the classroom of the future, Educause Review, 92-98. Weiss, A. 2007. Creating the Ubiquitous Classroom: Integrating Physical and Virtual Learning Spaces, in The International Journal of Learning, Vol. 14, No. 3,

228

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Collaboration Activities and Chineasy Cards in Chinese Characters Class OUYANG TIANTING Abstract In the Chinese teaching in Bangkok, Thailand, I found that Thai students generally prefer the teaching mode of game teaching and group learning, and they have strong hands-on ability and pattern expression ability. So I was thinking whether it is possible to combine Chinese language teaching with the characteristics of Thai students for teaching will have different results. In this paper, chineasy and cooperative activities will be combined to design the teaching process and practice. The purpose of this paper is to analyze results by students’ authentic assessment, to compare traditional Chinese characters class and collaborative activities Chinese characters class, and we will know how to create a funny, positive, relaxing Chinese characters class. The study will be conducted at Satriwithaya girls' school. There have 32 Students from the first year of high school; they are composed of 25.8% of students who do not have a Chinese foundation and 74.2% who have a Chinese foundation. MISS OUYANG TIANTING Graduate Student in Master of Education Program in Innovations in Learning and Teaching, Sripatum University EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

229


Here will give them a questionnaire, and according to analysis of that, the survey results show the characteristics and preferences of the students, and teachers can use this information to design their own Chinese character classes. This paper will use the method of classroom observation and homework inspection to evaluate this mode of teaching, and put forward Suggestions for problems in class. Keyword: Foreign language, Chinese characters, Collaboration activities chinesay cards Introduction In the survey of problems encountered by Thai middle school students in Chinese learning, we can know that 41.9% of the students in the survey sample think that Chinese characters are the most difficult part to learn. 35.5% of students believe that the most important part of Chinese learning is pronunciation. 48.4% of the students think that learning Chinese characters is the hardest. The most common mistake of 58.1% of students in learning Chinese characters is to forget the writing of Chinese characters.so how to make a better Chinese characters class is very important to the Thai students. In the past year of teaching Chinese as a foreign language, I found that the teaching of Chinese characters is a weak link in the teaching process. Because in the Chinese teaching in Thailand, phonetic teaching and Chinese character teaching are always carried out simultaneously, students can read new Chinese words or even use them in oral expression, but they cannot write or write wrong radical. 230

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Therefore, how to strengthen the second language learners' mastery of the structure of Chinese characters has become a question worth pondering. Because Chinese characters is hieroglyphics, so I thinking maybe picture could help students to learning characters easier, I did a lot information gathering. Here had a new method it call “chinesay cards”, it an application base on Shaolin Hsueh’s new idea, a groundbreaking visual method to make reading Chinese fun and easy. A foreign language class usually is boring to children, in my past Chinese class I found collaborative activities can help the active atmosphere, mobilize students’ enthusiasm for learning and deepen the friendship between them. Compared with Chinese students, thai students have strong hands-on ability and pattern expression ability. They also have the inability to concentrate and the disadvantages of being easy to break in the classroom. So, how to using these characteristics change the Chinese character teaching classroom, Breaking the boringness of traditional Chinese character classes, using collaborative activities and chinesay cards to create an effective Chinese characters classroom. Literature review According to the materials, the national leading group for teaching Chinese as a foreign language was established in the 1980s, and people began to realize the importance of teaching Chinese characters as an independent course in teaching Chinese as a foreign language in the 1990s. In 2002, HANBAN was established to train and manage Chinese teachers by establishing Confucius institutes in various EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

231


countries. The teaching methods of Chinese as a foreign language have been innovated with the development of The Times, and adjusted in the actual teaching according to the learners of different countries, different cultural backgrounds and different mother tongue backgrounds, which can promote some Chinese learners to learn Chinese characters. All the research literature on Chinese character teaching finds that the study of Chinese character teaching can be summarized into two major categories: The core category of Chinese character teaching It includes four small aspects: the writing of Chinese character textbooks; the analysis of Chinese character errors; the teaching of Chinese characters Internal and external differences; Chinese character culture and Chinese character teaching. scholar in the Chinese and foreign Chinese teaching, to now made a comprehensive summary of foreign Chinese character teaching, she summarizes the eight Chinese characters teaching, are respectively by character, radical pedagogy, origin, stroke - radical - the whole word teaching, concentrated literacy method, word contact method, with the aid of the ancient Chinese character glyph culture teaching method, multimedia teaching method. In 2012, a new Chinese character teaching system -- chineasy appeared. The scholar JIANG YING proved the scientific, targeted, interesting, cultural and practical application of chineasy in the teaching of Chinese characters for foreign countries in his postgraduate paper "chineasy's application in the teaching of 232

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Chinese characters for foreign countries -- based on the survey of Confucius institute of MOI university of Kenya". Chineasy design company is an American scholar Xue Shaolan and London Brave New World, Israel illustrator Noma bar co-founded a system teaching method of Chinese characters, its biggest characteristic is according to the characteristics of the Chinese character glyph of expression to the pattern design of 64 basic words, these designs combining Chinese character glyph and significance, and match with interesting stories to explain. It changes the habit of Chinese learners who have long relied on the pronunciation of words to memorize the meaning of words, and establishes a new thinking habit that conforms to the characteristics of human cognition. Results Through the method of classroom observation and homework inspection, this paper analyzes the teaching effect of cooperative activity Chinese character classroom and traditional Chinese character classroom. The advantages and disadvantages of cooperative Chinese character classroom and traditional Chinese character classroom are compared and analyzed. Generally speaking, cooperation activities and chinesay CARDS have a better promotion effect for Thai middle school students to learn Chinese, which is manifested in the following aspects. First, cooperative activities have a significant effect on activating classroom atmosphere and improving students' participation in class. The subjects of the study were all female students in Thai high schools, and girls like to work in small teams. The use of this feature in the EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

233


Chinese character class is conducive to improving students' interest in learning and improving their learning efficiency. Secondly, Chineasy CARDS has a significant effect in helping students memorize Chinese characters. Thai students are generally fond of the teaching mode of game teaching and group learning, and they are sensitive to graphics due to their strong practical ability and pattern expression ability. Chineasy CARDS combines Chinese characters with unique pattern design, which is attractive and interesting to Thai students. It can help students understand the structure and composition of Chinese characters quickly, and help students establish the association habit of Chinese characters. Thirdly, the combination of Chineasy CARDS and cooperative activities can alleviate students' bad emotions in Chinese character classes. Through the observation of students' reaction in classroom teaching, it is not difficult to see that this teaching method can greatly mobilize students' enthusiasm. But in the teaching, also can see this kind of teaching pattern has some problems and the flaw. First, the founder of chineasy CARDS is Chinese Taiwanese. In Taiwan, people use traditional Chinese characters, while in mainland China, simplified Chinese characters are used. Therefore, some Chinese characters in this APP are traditional Chinese characters. Traditional Chinese characters are complex and easy to understand, so some patterns of Chinese characters in this APP are not suitable for current Chinese character teaching. Secondly, chineasy CARDS can help students memorize the meaning and glyphs of Chinese characters to some extent, but there is 234

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


no good teaching effect on Chinese grammar, or even no grammar teaching process. If the grammar is explained in the process of learning Chinese characters, it can strengthen students' grasp of Chinese characters. Third, Cooperative activities can mobilize students' learning enthusiasm, but for introverted or excluded students, it may be a psychological burden. Discussion Based on the analysis of the research results, some teaching Suggestions are put forward for the teaching mode of Chinese characters. First, in the early stage of the investigation and study, the students of cooperation activities in the Chinese class and traditional Chinese classroom, classroom, 56.3% chose the cooperation activities to choose traditional Chinese classroom, 43.8% that means cooperation activity is not applicable to all students, should according to the characteristics of class curriculum. As far as possible in the classroom is not only the use of cooperative activities teaching method, should adjust the personal learning time and cooperative activities learning time. Second, chineasy CARDS is more suitable for kindergarten and primary school students, while cooperative activities are more suitable for middle school students. This teaching model has certain limitations, so in this teaching model, chineasy CARDS is only used as a teaching reference, allowing students to use their imagination to design their own Chinese character patterns as much as possible. EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

235


Third, some introverted students do not like the lively classroom atmosphere, or are more reluctant to cooperate with others. They even feel that it is a waste of their study time, which is not very efficient. The purpose of teachers to create a relaxed and pleasant atmosphere in Chinese characters class is to reduce students' fear of Chinese characters. Teachers should mobilize students' enthusiasm for participation from other perspectives when designing cooperative activities. For example, for groups those perform well, give bonus points. Suggestions on the improvement of Chinese character classroom in cooperative activities First, cooperative activities the teaching of Chinese characters in the classroom focuses not only on learning Chinese characters, but also on helping students learn to communicate and cooperate, so as to enhance the feelings among students. Therefore, in the teaching process, we should not only pay attention to the students' learning success, but also pay attention to the cooperation between students and encourage students to express themselves. In cooperative activities, their self-confidence can be enhanced. Second, use the interesting explanations in chineasy CARDS to explain to students. When displaying pictures of chineasy CARDS, the teacher may not give the translation of Chinese characters at first, but explain to the students with the interesting explanations and stories in them, so as to deepen students' impression of Chinese characters for better translation. Thirdly, cooperative activities occupy a relatively long time in the Chinese character class, and students will have relatively less time 236

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


for personal practice. Therefore, more homework should be done after class. References Alexandr Lagazzi, 4. M. (2013 / 2014). Using the Matteo Ricci’s Palace of Memory Method in Teaching English at Secondary School. Gymnasium Na Zatlance school. Ho Cheong Lam. (2011) . A Critical Analysis of the Various Ways of Teaching Chinese Characters. The Hong Kong Institute of Education, China Milton Campos. (2001). THE POST-SECONDARY NETWORKED CLASSROOM:RENEWAL OF TEACHING PRACTICES AND SOCIAL INTERACTION. JALN, Volume 5, Issue 2. P. Arvanitis, P. Krystalli, P. Panagiotidis. (2016). APPLICATIONS FOR MOBILE ASSISTED LANGUAGE LEARNING: A CURRENT FIELD RESEARCH. Aristotle University of Thessaloniki (GREECE). Proceedings of INTED2016 Conference 7th-9th March 2016, Valencia, Spain. Petros Chaviaris & Sonia Kafoussi .(2010).Developing Students‟ Collaboration in a Mathematics Classroom through Dramatic Activities. International Electronic Journal of Mathematics Education – IΣJMΣ Vol.5, No.2 Rick Wash.(2011). Student use of Facebook for organizing collaborative classroom activities. Computer-Supported Collaborative Learning (2011) 6:329–347. 李开.(1998).论常用汉字的语像与习得.南京大学学报. EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

237


张海媚. (2018). 对外汉字教学的现状及思考.社科纵横. 江瀛. (2015).chineasy在对外汉字教学中的应用研究——基于肯尼亚 莫伊大学孔子学院的调查.广西师范大学.

238

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

239


240

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

241


Game based learning in English learning Yan Simi Abstract In primary school English teaching, game is an effective way to mobilize students' interest in learning. It can create a pleasant learning atmosphere and make students learn unconsciously. Therefore, it is increasingly favored by primary school English teachers. However, in the actual application process, there is still only focus on the content of the game, ignoring the knowledge learned; The game can't take care of all the students and so on the problem. There are three objectives in the research. Firstly to study students’ recognition and grades. Secondly, to compare students’ recognition and teachers’ good application. Finally, to give some suggestions for the future learning. In this research, there are two research methods for questionnaire survey and interview. There are 20 questions in the questionnaire. In this survey, a total of 83 questionnaires were issued, and 81 of them were recovered. 78 of them were valid, with a recovery rate of 97.6% and an effective rate of 96.3%. The interview outline was prepared in this study presupposes 13 questions. MISS YAN SIMI Graduate Student in Master of Education Program in Innovations in Learning and Teaching, Sripatum University

242

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


After research, there are three results as follows: Firstly, students have a strong interest on game based learning. Secondly, some teachers don’t have a good application on game based learning. Finally, there are some suggestions for game-based learning as: 1) pay attention to improving the quality of primary school teachers, 2) the game design should be based on the teaching content, and 3) pay attention to the overall participation of students in the game process and promote the overall students’ development. Keywords: primary school, English, game-based learning Introduction In recent years, game teaching method has become one of the methods widely used by primary school English teachers. It is popular among primary school students, teaching effect is also more obvious. It transforms the teaching method into the form of games and activities that students are willing to accept, make the English classroom full of interest, not only mobilizes students' learning interest, but also is conducive to the achievement of teaching objectives. Therefore, game teaching should be strongly advocated in English teaching to combine students' hands-on and verbal skills, promote students' all-round development, and enable students to learn knowledge in a relaxed and pleasant environment, so as to achieve the expected teaching purpose. "Teach people not to see its interest, will not be happy to learn". This is especially true for children. Children often need to learn language for survival or entertainment (Li Yuming, 2006), so teachers EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

243


should follow the "unawareness principle" in language teaching and let children learn and use language through playing games, which is consistent with the teaching concept of "teaching through lively activities". The definition of "game" in the dictionary is: "recreational activities, such as hide-and-seek and guessing lantern riddles. Mr. Byrne (2001) defines it as a form of entertainment that is governed by rules. At the heart of both definitions is the word entertainment. By combining appropriate games with language teaching and corresponding language activities, the "entertainment" of games guarantees the interest of the teaching process. Learners can use the language in an interesting, happy and even challenging environment to improve their communication skills and achieve relaxed and interesting teaching effects. As Richard Amato (2002) said, although games are often associated with play, they can also have educational value, especially in teaching a second language. The reason why games are an effective teaching method is that they can provide motivation for language learners, relieve their pressure in the learning process, and provide them with real communication opportunities. The Objective: There are three objectives in the research. Firstly, to study students’ recognition and grades. Secondly, to compare students’ recognition and teachers’ good application. Finally, to give some suggestions for the future learning.

244

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Conceptual Framework Primary school stage students have a strong curiosity, love activities, have a strong interest in English, how to fully mobilize students' learning interest, arouse their curiosity, is the primary consideration of primary school teachers in teaching, game can yet be regarded as an effective method. In the process of teaching, I found that in the classroom, teachers often use game teaching, and the effect is more obvious. However, in the process of teaching, sometimes there will be problems such as too long game time and only a part of people participate in the game, which will affect the realization of teaching objectives. In this paper, starting from the present situation of the school game teaching for teachers in the teaching of games to do indepth discussion, and find out the response measures, effectively arouse the students' interest in learning, promote students' all-round development, further improve the teaching efficiency, improve the teaching quality, and to provide some constructive suggestions for teachers' teaching, promote the professional development of teachers. Methodology This research was used questionnaire survey method and interview method. This questionnaire is adapted from zhu junjie's paper (2017) and zheng minghui's paper (2017). There are 20 questions in the questionnaire. In this survey, a total of 83 questionnaires were issued, and 81 of them were recovered. 78 of them were valid, with a recovery rate of 97.6% and an effective rate of 96.3% EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

245


The interview outline was prepared in this study presupposes 13 questions, which are mainly to understand the implementation of game teaching from the perspective of teachers and are consistent with the questionnaire survey. On the morning of March 26th, 2019, a questionnaire survey was conducted among grade five students in zhu jun jie's paper and zheng ming hui's school. On the morning of March 27, 2019, five teachers of the school were interviewed, and a total of 13 questions were set. Finally, sorted out the collected questionnaire and interview outline. Results One of the results is the relationship between students' recognition and their grades.

246

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


From the research, students’ recognition can affect three grades. There are 79% students satisfied with game based learning and 21% students are not satisfied with game based learning. In the 79% students who are satisfy, there are 72% students have a better grade than before, 19% keep in the same grade and 9% students worse than before. The other results is the relationship between teachers' application and students

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

247


From research, in a good teaching application, there are 61% students got a better grade than before, 34% students keep a same grade and only 5% students’ have a worse grade. Discussion and Suggestions Firstly, pay attention to improve the quality of primary school teachers. Game teaching not only requires teachers to carry out games reasonably, but also requires teachers to achieve teaching objectives as well. Therefore, teachers should pay attention to the improvement of their own quality, learn more about the knowledge of game teaching from the media such as network and TV, design unique style of games based on their own experience, and communicate with colleagues 248

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


more often to learn from the experience of others, so as to make their own teaching has unexpected effect. Secondly, the game design should be based on the teaching content. Different teaching objectives and teaching contents usually require the design of different games. The fundamental purpose of games is to achieve teaching objectives. Therefore, games should be designed according to the teaching tasks in the teaching process, and the teaching content should be included in the game content so that students can learn while playing. Only in this way, games can achieve the purpose of auxiliary teaching, stimulate students' interest, and achieve the established teaching objectives. Lastly, pay attention to the overall participation of students in the game process and promote the overall of students’ development. The new English curriculum standards are required to promote the overall development of students, so in the design of the game to let students as much as possible to participate in the game, to encourage students to help each other in the game, develop their spirit of cooperation. At the same time, we should consider the individual differences of students, design as many games as possible, give special attention to special students, so that every students can get full development. In teaching, games can stimulate students' interest in learning to a great extent, which is of great help to students' learning. In the process of teaching, teachers integrate game activities into the EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

249


classroom, which not only arouses students' interest in learning and arouses their enthusiasm for learning, but also enables students to master classroom knowledge imperceptibly, cultivate students' sense of cooperation and promote the development of their abilities in all aspects. Therefore, should study new teaching concept, teachers in teaching should pay attention to the rationality of the design of the game, according to the teaching content to design the game, boldly try new games, but also should pay attention to the diversity of student assessment, arouse the enthusiasm of students, let students learn and motivate them, make it easier for students to complete learning tasks, and promote the development of students creatively. Reference Amato, Richard. Amory, A., & Seagram, R. 2003. Educational game models: Conceptualization and evaluation. South African Journal of Higher Education, 17, 206 – 217. Aleven, V., & Koedinger, K. R. 2002. An effective metacognitive strategy: learning by doing and explaining with a computerbased cognitive tutor. Cognitive Science, 26, 147 – 179. Byrne, GREEN, C S, AND BAVELIER, D. 2003. Action video game modifies visual selective attention. Nature 423 (2003), 534-537, Letters to Nature. Junjie, zhu. Research on game teaching strategies in the third grade of primary school [D]. Tianjin normal university, 2011. Minghui, Zheng. Ying, liu. Research on game teaching in kindergarten [D]. He Bei University, 2011. 250

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


PRENSKY, M. 2001. Digital Game-Based Learning. McGraw-Hill, New York. ISBN 0-07-136344-0, Tindall-Ford, S., Chandler, P., & Sweller, J. (1997). When two sensory modes are better than one. Journal of Experimental Psychology, 3, 257 – 287.

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

251


Research for current situation of artificial intelligence education in primary and secondary schools in China Wu Haopeng Abstract Artificial intelligence brings new opportunities for social change. Talent cultivation is a systematic project, and it is necessary to introduce artificial intelligence to popularize education from the stage of basic education. This article research for the current situation of artificial intelligence education in primary and secondary schools and to explore the development direction of promoting universal education in the future. There are four objectives in the article. Firstly, to study the learning intention and cognition of primary and middle school students in artificial intelligence. Secondly, to study the views and attitudes of primary and secondary school teachers on AI universal education, as well as their cognition of AI. Thirdly, to analyze the educational factors that are highly relevant to AI universal education at this stage.

MR. WU HAOPENG Graduate Student in Master of Education Program in Innovations in Learning and Teaching, Sripatum University

252

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Then, this article discusses the difficulties, common understanding and existing disputes in the promotion of AI universal education. Finally, putting forward Suggestions on the development of AI universal education in primary and secondary schools. According to “Quantitative questionnaire and qualitative interview�, research by China Association of children's science Instructors. There are 25 primary and secondary schools in 18 provinces and cities, reaching 1,158 students, with 449 valid questionnaires. From the research, there are 45.4% students have a strong willing to learn AI, 46.3% students have a little willing. In conclusion, firstly, students have a strong interest in learning AI. Secondly, teachers think it is better for students to study with AI. But there are a lot of teachers only have a little knowledge about AI. Although, from the research, most of teachers only teach less than 1 year. Therefore, there are a lot of difficulties for AI’s future development, and this article give a lot suggestions for it. Key words: Artificial intelligence, current situation, primary and secondary schools, development direction Introduction Artificial intelligence technology provides a large number of new development opportunities for agriculture, medical care, education, energy, national defense and other fields, and has a farreaching and extensive impact on human society. The highly integrated features of technological attributes and social attributes make artificial intelligence a new engine for economic development and an accelerator for social development. It is the core competitiveness for EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

253


countries around the world to master the dominant power of international scientific and technological competition. Talent training is a systemic project, from the basic education stage is necessary to introduce artificial intelligence universal education, cultivate students to adapt to the industrial revolution since childhood the scientific literacy, to form the necessary knowledge reserves, stimulate students interest in learning in the field of artificial intelligence, and artificial intelligence education of higher education stage to form effective connection, set up a system of multi-level and ladder of talents. In the book ‘art of education’, author Sukhomlinsky (2001) believes that "there is a deep-rooted need in people's hearts to be a discoverer, researcher and explorer. This need is especially strong in the spiritual world of children.” “We should dare to break the traditional teaching mode and use modern educational technology to cultivate innovative and international talents that are truly suitable for economic and social development. Modern educational technology is accompanied by the development of modern science and technology, especially the rapid development of electronics, communication and computer. It is also the product of the development of modern educational theory to a certain stage.” (oceanpower, The application of artificial intelligence in the field of education, 2017) Yu changbin, director of the artificial intelligence research office of the west lake institute of higher education in China Zhejiang province, believes that the next application of artificial intelligence may be distance education, self-reinforcement education, or even machine substitution in the field of education. From the current research results 254

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


of artificial intelligence, there is no problem for robots to do math and English problems. Some scientists have successfully used artificial intelligence to automatically generate scientific research and academic papers, some of which have even been accepted by journals. The Objective: There are four objectives in the research. Firstly, to study the learning intention and cognition of primary and middle school students in artificial intelligence. Secondly, to study the views and attitudes of primary and secondary school teachers on AI universal education, as well as their cognition of AI. Thirdly, to analyze the educational factors that are highly relevant to AI universal education at this stage. Then, this article discusses the difficulties, common understanding and existing disputes in the promotion of AI universal education. Finally, to put forward Suggestions on the development of AI universal education in primary and secondary schools. Conceptual Framework This research paper was compared with current good situation of AI education and development of difficulties in AI education for students and teachers. For students, in the one hand, students have strong interests in learning with the help of Artificial intelligence. But on the other hand, there are some difficulties for students. Firstly, the understanding degree of artificial intelligence is relatively shallow, mostly at the level of sensibility and concreteness. Secondly, the understanding of artificial intelligence is not accurate, and the regional EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

255


differences are obvious. For teachers, in teachers’ view, it is necessary to popularize AI education. But in using AI teaching process, teaching experience is insufficient, and nearly half of them have less than 1 year of teaching experience. There are some difficulties in the popularization of AI education. First of all, systematic curriculum construction throughout each learning period needs to be improved. Next, immature teacher training and training mechanism has not been established. Finally, insufficient connection between demand and resources. Methodology This research was used quantitative and qualitative methodology. According to “Quantitative questionnaire and qualitative interview”, research by China Association of children's science Instructors. There are 25 primary and secondary schools in 18 provinces and cities, reaching 1,158 students, with 449 valid questionnaires. There were 209 front-line primary and secondary school teachers and 199 valid questionnaires. There are scientific research personnel, educational administrative department management personnel, enterprise staff, social organization personnel, etc., 12.

256

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Results

First of all, China Association of Children’s Science Instructors research for the rate of students who want to learn AI in primary school and junior high school. From the research, there are 45.4% students have a strong willing to learn AI, 46.3% students have a little willing. Only 4.9% students strongly don’t want to learn, and 3.3% students don’t take care about it. Secondly, we research for the reason that students want to learn AI. More than half of students think learning AI can learn more knowledge. A lot of students think it is interesting to learn AI. Only 0.9% students tell the truth that their parents make them learn AI. In conclusion, students have a strong interest in learning AI.

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

257


Next, there are two researches; one of them is about the functions that students know about AI. Another one is the options that students think are not belong to AI branches. Almost students think AI robot can have a conversation with people. Most of students guess that AI cars can be derived without human. Half of students think AI robot can paint pictures independently. In the second research about the options that are not belong to the functions of AI, there are 24.3% students think it’s big data. In the view of 15.4% students, deep learning is not involved in AI. There are also 13.4% students have no idea about this questions. Other answers are emotion identification for 8.5%, pictures identification for 6.0% and voice identification for 5.1%. From the two researches, it is obviously to make a conclusion that the students’ understanding degree of artificial intelligence is relatively shallow, mostly at the level of sensibility and concreteness.

258

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


This research is about the cognitive accuracy of artificial intelligence of primary and middle school students. From the research, Artificial intelligence application correct description statement selection rate is 41.1%, compare with 22.4% for error statement selection rate. In addition, it is 18.7% for the rate of absolute cognitive accuracy of artificial intelligence. After that, China Association of Children’s Science Instructors investigate the factors influencing the difference of cognitive accuracy of artificial intelligence among primary and middle school students. From the research, I got three results. Firstly, students in big cities are more accurate. Next, public schools are more accurate than private ones. Lastly, boys and girls were about equally accurate. I made the conclusion that students' understanding of artificial intelligence is not accurate enough, and the regional differences are obvious.

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

259


China Association of Children’s Science Instructors also did the research for teachers. The research focus on the importance and the value of AI education. On the one hand, there are 39.2% teachers think it is the most important to learn using AI teaching. 19.6% teachers give 8 points. On the other hand, there are only 3% teachers give less than 3 points. In conclusion, 78.9% teachers think it is more necessary but 21.1% think it is not necessary. In the research about the value of AI in education, most of teachers think it is helpful for students to develop students’ thinking and vision. Half of the teachers think it is helpful for students to research and apply advantage technology in the future. Some teachers think it is can help students’ future job and development. A little teachers think it can help students’ competition in studying. 0.5% teachers keep reasons for others.

260

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


The above research is about the teaching experience of teachers in using AI. From the research, there are 35.2% teachers who have experiences of using AI teaching. But in years of teaching in AI education, most of teachers only teach less than 1 year. 41.7% teachers think they can able to use AI for teaching because they have computer knowledge background. 63.6% teachers think they can’t be able to use AI in teaching because Artificial intelligence practice experience is not rich enough. In conclusion, Teachers’ teaching experience is insufficient. Nearly half of them have less than 1 year of teaching experience. Teaching competency is affected by subject background and experience. Discussion and Suggestions The difficulty of AI universal education lies in the following aspects: first of all, the systematic curriculum construction of each learning section needs to be improved. Has not introduced the textbook compilation plan, is the national unified textbook or formulates the local, school-based textbook needs further research; EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

261


How to design the interdisciplinary curriculum system, deal with the relationship with the existing disciplines, and avoid repeated course design. Next, no corresponding standards and evaluation mechanism have been established. Then, the curriculum standards of artificial intelligence universal education throughout primary school, middle school and high school have not been improved. Secondly, immature teacher training and training mechanism has not been established. One of the bottlenecks in the implementation of AI universal education in primary and secondary schools is the problem of teachers. At present, the reserve of relevant teachers, teaching practice and professional development guidance need to be further improved. Thirdly, Insufficient connection between demand and resources. There are some suggestions for the three problem. First of all, the goal is to cultivate rational thinking, critical questioning spirit and innovative ability. The existing science and technology curriculum is one of the important carriers of artificial intelligence education. Secondly, establishing an all-round, multi-level and operable policy guidance system. On the one hand, a comprehensive and threedimensional policy guarantee system should be established from the top-level design, covering all aspects including macro guidance, curriculum standard formulation, teacher training, financial support and social resource mobilization. On the other hand, we should pay attention to the hierarchy of policies. Different regions should issue policy guidance documents in different priority areas according to the development of education. Thirdly, the government need strengthen cross-sectorial cooperation and social organizations will play a role as a platform for resource aggregation. 262

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Finally, the society need to comprehensively strengthen teacher capacity building and train outstanding teachers. There are 4 steps that need to be pay attention to. Firstly, promote the reform of cultivation mode by classification. According to the different characteristics of primary school teachers and middle school teachers, different training modes are explored. Secondly, deepen international exchanges and cooperation. Take the exchange and cooperation with domestic and foreign universities, primary and secondary schools, teaching practice and other forms to expand teachers' international vision. Thirdly, Improve the collaborative cultivation mechanism. Institutions of higher learning and primary and secondary schools jointly carry out training and training, and normal education and continuing education link up with each other. Lastly, improve the quality of practical teaching. Practice courses with sufficient quantity and rich content should be set up, and a practice teaching system that runs through the whole training process should be established and improved to ensure that practice teaching is coherent and progressive, and that practice teaching and theoretical teaching are organically combined and mutually promoted. References An argument for the AI in Education [EB/OL]. https://www. Pearson. Com/news/blogs/CompanyBlog / / 016/03 / intelligence unleashed - An argument - for - AI - in - Education, HTML, the 2017-07-20.[7]

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

263


Bao xueying, zhao yuxiang. Research progress and prospect of the study of tourism chemistry [J]. Research on audio-visual education, 0 1 5 (8) :4552.Big Xunfei. [3] families xunfei can hear said intelligence test system [EB/OL]. HTTP: / / WWW.Iflytek.com/content/details_27_727. HTML, 2017-7-2 0 0. Chen Lin, li peipei, hua lulu. On eight external relations of smart campus [J]. Modern distance education,2016 (5) : -8.,2017(2) :69 -75. [] ________, Yang ying, hua lulu. New development of education modernization driven by informatization in the opening year of the 13th five-year plan -- top ten hot news on education informatization in China in 2016 [J]. China audio-visual education ,2017 (2) : 69-75. ________, wang wei, li bingbing, Yang ying. Connotation of intelligent learning and its learning mode [J]. China audio-visual education,2016(12) : 31-37. ________, Yang ying, sun mengmeng. Three core issues of zhihui education [J]. Modern educational technology,2017(7) : 47-53. Gan Ronghui, he gaoda. Analysis of learning in the era of big data and research prospect of foreign language teaching []. Foreign language audio-visual teaching, 2 0 1 6 (3) 4 0-45.[5] Hu Jiasheng, Jin yan. Theoretical and practical research on the integration of educational technology and foreign language curriculum [J]. China audio-visual education,2015(4) : 114-120. 264

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Liu Qingtang, MAO gang, Yang Lin, Cheng Yun. Development and prospect of zhineng education technology [J]. China audiovisual education,2016(6) / -15.[6 ] Luckin R, Holmes W. Intelligence Unleashed: An argument for AI in Education [ EB/ OL]. https://www. pearson.com/news/blogs/ CompanyBlog//016/03/intelligence - unleashed - an argument - for - ai - in - education, html, 2017 - 07 -20. Wang Yunwu, Zhu Mingyue. How to change learning methods: standard and path J]. Research on modern distance education,2015 (3) : 27-35. Yang xianmin, zhao xinshuo, Chen shichao. Establishment and development of digital education resources in the era of "Internet plus" [J/ OL]. China audio-visual education, 2017(10) : 51-59 Yang xiaoqiong, dai yuncai. Research on the teaching model of college English autonomous writing based on correcting network [J]. Foreign language teaching by audio-visual method, 2015(2) : 17-23. Yan zhiming, tang xia-xia, qin xuan, zhang fei, duan yuan-mei. The connotation, key technology and application trend of education human intelligence (EAI) -- analysis on the planning report of preparing for the future of artificial intelligence and the research and development strategy of human intelligence in the United States [J]. Journal of distance education, 0 1 7 (1) : 26-35. Zhang qi. Research review on deep environmental studies of e-l em m g in China [J]. Modern distance education, 0 14 (5) : 0-67. EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

265


北京师范大学智慧学习研究院 . 2 0 1 6年全球教育机 器人 发 展 白 皮 书 [ DB/ OL]. http ://sanwen8. cn/ p/3/fFTTF. html,2017 - 0 7 -20. HTTP :// sanwen8.cn/p/3/ ffttf.html, 2017-0-7-20.[8 ]

266

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


การเรียนการสอนนิติศาสตร์ผ่านเกม Legal Study trough Game-based Learning and Teaching Method สุภัสสร ภู่เจริญศิลป์ บทคัดย่อ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างมากมาย การพัฒ นาประเทศให้มี ความเจริญ ก้าวหน้าเท่ าทั นเทคโนโลยีจะต้องมีการพั ฒ นา ทรัพยากรมนุษย์ การศึกษาเป็นเครื่องมือที่สาคัญสาหรับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ให้ก้าวทันต่อการเปลี่ ยนแปลงของโลก การจัดการศึกษาเป็นสิ่งสาคัญซึ่งต้องมีการ เปลี่ยนแปลงตามสภาพของสังคม การจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันจะเน้นผู้เรียน เป็นศูนย์กลางโดยใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย วิธีสอนโดยใช้เกมเป็นวิธีหนึ่งในหลาย วิธี ผู้เขียนซึ่งสอนคณะนิติ ศาสตร์ได้สอนกฎหมายโดยใช้ เกมโดยมีวัต ถุป ระสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจและสามารถที่จะจดจาตัวบทกฎหมายในแต่ละมาตราได้ โดยไม่ต้องท่องจา กระบวนการออกแบบมีดังนี้ 1. ศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้ผ่านเกม และการออกแบบเกม 2. วางกรอบแนวคิดในการออกแบบ 3. ออกแบบ และทดสอบ เกมพร้อมทั้งปรับปรุง ผลที่ได้รับคือ สามารถสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ ในการเรียนมากยิ่งขึ้นอีกทั้งยังเข้าใจและสามารถที่จะจดจาตัวบทกฎหมายในแต่ละ มาตราได้โดยไม่ต้องท่องจา คาสาคัญ: สอนกฎหมายโดยใช้เกม ,จับคู่กฎหมาย, เกมการ์ด อาจารย์สุภัสสร ภู่เจริญศิลป์ อาจารย์ประจาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

267


Abstract Advance of technology creates a lot of dynamic changes. In order to encourage development in a country and to keep up with technological advance, the system requires human resources development. For this purpose, education is an important tool for human resource development to keep pace with those global changes. Educational management is also an important aspect that must be improved according to the situations of society. Recently, many teaching and learning tutorial are focusing on students as a center, using a variety of teaching methods. Game-based learning is one of those many popular ways. The author, who is a lecturer in the Faculty of Law, therefore, has invented a game-based learning and teaching method with the objectives to help law students to understand and remember the content of relevant legal provisions in each section without memorizing. The method of creating the game include 1) Study the method of learning through games theory and game design 2) Set the conceptual framework for game design 3) Design game, test, and improve. When evaluating the results, it was found that the objectives were achieved. The student could understand and remember the content of relevant legal provisions in each section without memorizing. Keywords: legal game-based learning, matching law card, card game

268

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


บทนา ความเจริญ ทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ในปั จ จุ บั น ก่ อ ให้ เกิ ด ความ เปลี่ยนแปลงอย่างมากมายในสังคมโลก ทั้งด้านเศรษฐกิจ วัฒนธรรม สังคม การเมือง ค่านิยม รวมถึงการศึกษา และเป็นที่แน่นอนที่สุดว่าประเทศไทย สังคมไทย ก็ได้รับ ผลกระทบจากความเปลี่ยนแปลงนี้อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้เช่นเดียวกัน เราจึงต้องพัฒนา คนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น แผนการศึกษาแห่งชาติระยะ 20 ปี ฉบับ ล่าสุด พ.ศ. 2560 –2579 ได้กาหนดวิสัยทัศน์ (Vision) ไว้ดังนี้ “คนไทยทุกคนได้รับ การศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้อ งกับ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” และ เนื่ อ งจากการศึ ก ษาเป็ น เครื่อ งมื อ พื้ น ฐานที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด ส าหรั บ การพั ฒ นาคนและ ประเทศชาติ การจั ด การศึ กษาจึ งมีก ารเปลี่ ยนแปลงตามสภาพของสั งคม ในยุ ค ปัจจุบัน Thailand 4.0 วิธีจัดการศึกษาในส่วนของการเรียนการสอน คือ จัดการ เรี ย นรู้ โ ดยเน้ น เด็ ก เป็ น ศู น ย์ ก ลาง Active Learning บทบาทครู 1.Instructor 2. Facilitator 3. Advisor 4. Coacher 5. Mentor (พิ ม พั น ธ์ เดชะคุ ป ต์ , พเยาว์ ยินดีสุข, 2560: 5-6) จากประสบการณ์ ของผู้เขียนที่ สอนวิชากฎหมายอันเป็น เรื่องที่มี เนื้ อหา สาระเป็ น จ านวนมาก ส่ งผลให้ นั ก ศึ ก ษาบางคนเกิ ด ความท้ อ ถอยในการศึ ก ษา เนื่ องจากไม่ ส ามารถจดจาหลัก กฎหมายที่ มี อยู่ เป็ น จ านวนมากในมาตราต่ างๆได้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในการเรียนมากยิ่งขึ้น ผู้เขียนจึงได้ใช้การเรียนการสอน แบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางโดยวิธีการเรียนรู้ผ่านเกมส์ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนุก ไม่เบื่อหน่าย อีกทั้งเข้าใจและจดจาเนื้อหาในตัวบทกฎหมายมาตราต่างๆได้โดยไม่ต้อง ท่องจาตัวบท แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การเรียนการสอนในแบบดั้งเดิมที่มีผู้สอนเป็นศูนย์กลางเป็นการสื่อสารทาง เดียวไม่ได้กระตุ้นความสนใจของผู้เรียน ปัจจุบันจึงได้มีการพัฒนารูปแบบการเรียน EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

269


การสอนที่เน้ นผู้ เรียนเป็น สาคั ญ ขึ้น โดยใช้วิธีสอนที่ หลากหลาย เพื่ อให้ เกิด ความ น่าสนใจและเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาสูงยิ่งขึ้น ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ (2552: 6) อธิบายว่า การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ เป็นการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ ที่มุ่งพัฒนา “คน”และ”ชีวิต” ให้เกิด ประสบการณ์ ก ารเรีย นรู้ เต็ ม ความสามารถสอดคล้ อ งกั บ ความถนั ด ความสนใจ และความต้องการของผู้เรียน ผู้เรียนมีอิสรภาพในการสร้างองค์ความรู้ของตนเอง เรียนรู้อย่างมีความสุข โดยได้ใช้กระบวนการคิดปฏิบัติได้จริง มีส่วนร่วมอย่างตื่นตัว ทั้งทางกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม และผู้เรียนมีบทบาทในกิจกรรมการเรียน มากกว่าผู้สอน ทิ ศ นา แขมมณี (2550 : 323) อธิบ ายว่ า “วิธี ส อน คื อ ขั้ น ตอนที่ ผู้ ส อน ดาเนินการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ด้วยวิธีการต่างๆที่แตกต่างกันไป ตามองค์ประกอบและขั้นตอนสาคัญอันเป็นลักษณะเฉพาะหรือลักษณะเด่นที่ขาด ไม่ได้ของวิธีนั้นๆ” วิธีสอนมีมากมายหลายวิธี เช่น วิธีสอนโดยใช้การบรรยาย วิธีสอนโดยใช้ การสาธิต วิธีสอนโดยใช้การอภิปรายกลุมย่อย วิธีสอนโดยใช้กรณีตัวอย่าง วิธีสอน โดยใช้เกม เป็นต้น ซึ่งแต่ละวิธีจะมีข้อดีและข้อจากัดที่ต่างกันออกไป ผู้เขียนเลือกวิธี สอนโดยใช้เกมเนื่องจาก ทาให้ผู้เล่นเกิดความสนุกไม่เบื่อหน่ายอีกทั้งได้รับสาระและ ความรู้ผ่านเกม เกมเป็นสิ่งดึงดูดความสนใจแบบติดหนึบ เพราะธรรมชาติของเกมคือ ความท้าทาย เกมให้ ความตื่นเต้น สนุกสนาน (วิจารณ์ พานิช , วิมลศรี ศุษิลวรณ์ , 2560: 132) ทิ ศ นา แขมมณี (2550 : 365) อธิ บ ายว่ า “วิ ธี ส อนโดยใช้ เ กม คื อ กระบวนการที่ผู้สอนใช้ในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด โดยการให้ผู้เรียนเล่นเกมตามกติกา และนาเนื้อหาและข้อมูลของเกม พฤติกรรมการ เล่ น วิธีก ารเล่ น และผลการเล่ นเกมของผู้เรียนมาใช้ ในการอภิ ป รายเพื่ อสรุป การ เรียนรู้” ทิศนา แขมมณี (2550 : 365) อธิบายถึงวัตถุประสงค์ของวิธีสอนโดยใช้ เกมว่ า “วิ ธี ส อนโดยใช้ เกมเป็ น วิ ธี ก ารที่ ช่ว ยให้ ผู้ เรี ย นได้ เรี ย นรู้ เรื่ อ งต่ า งๆ อย่ า ง 270

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


สนุ ก สนานและท้ า ทายความสามารถ โดยผู้ เ รี ย นเป็ น ผู้ เ ล่ น เอง ท าให้ ไ ด้ รั บ ประสบการณ์ตรง เป็นวิธีการที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมสูง” เกมที่นามาใช้สอนส่วนใหญ่จะเป็นเกมการศึกษา คือเป็นเกมที่ มุ่งให้ผู้เล่นเกิดการ เรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ เกมที่ได้รับการออกแบบให้เป็นเกมการศึกษาโดยตรงมี 3 ประเภทคือ 1. เกมแบบไม่มีการแข่งขัน 2.เกมแบบแข่งขัน 3.เกมจาลองสถานการณ์ (ทิศนา แขมมณี , 2550: 366) สาหรับจุดเน้นของการใช้เกมในการสอนนั้น เพื่อให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ตามวัตถุประสงค์ การใช้เกมในการสอนทั่วๆไปมีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1.ฝึกฝนเทคนิคหรือทักษะต่างๆที่ต้องการ 2.เรียนรู้เนื้อหาสาระจากเกมนั้น และ 3. เรียนรู้ความเป็นจริงของสถานการณ์ต่างๆ (ทิศนา แขมมณี, 2550: 368) กวีพจน์ แก้วดา (2559) ได้ศึกษาเรื่อง การใช้เกมใบ้คาศัพท์ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะ การพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส) ชั้นปีที่ 1 สาขาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย ปีการศึกษา 2559 ผล การศึกษาพบว่า ผลการวิเคราะห์คะแนนทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและ หลัง การใช้เกมใบ้คาศัพท์ภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนัก สึ ก ษาระดั บ ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ ชั้ น สู ง (ปวส) ชั้ น ปี ที่ 1 สาขาคอมพิ ว เตอร์ โดยรวมในการทดสอบการใช้เกมใบ้คาศัพท์เฉลี่ยเท่ากับ 8.37 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 3.63 คะแนน คะแนนหลังทดสอบการใช้เกมใบ้คาศัพท์เฉลี่ยเท่ากับ 21.63 คะแนน ส่วนเบี่ ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 2.04 คะแนน จากคะแนนเต็ม 25 คะแนน คะแนนหลังทดสอบการใช้เกมใบ้คาศัพท์สูงกว่าคะแนนก่อนทดสอบการใช้ เกมใบ้คาศัพท์ คุณิตา เดชะโชติ และจาง ซู่คุณ (2561) ได้ศึกษาเรื่อง การใช้เกมการศึกษา เพื่ อ พั ฒ นาความจ าด้ านค าศั พ ท์ ภ าษาจี น ส าหรับ งานบริ ก ารในธุร กิ จ โรงแรม ผล การศึกษาพบว่า (1) ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านความจาภายหลังใช้เกมการศึกษาสูงกว่า ก่อนใช้เกมการศึกษา โดยมีผลคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 70 ขึ้นไป (2) ความพึงพอใจต่อ เกมการศึกษาที่ใช้ในการพัฒนาความจาด้านคาศัพท์ภาษาจีนสาหรับงานบริการใน ธุรกิจโรงแรม อยู่ในระดับดี EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

271


จุฑารัตน์ เกื้อชู (2558) ได้ศึกษาเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียน ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ปีที่ 1 ระหว่างวิธีการ สอนปกติกับวิธีการสอนโดยใช้เกมบันไดงู วิชาการขายเบื้องต้น1 วิทยาลัยเทคโนโลยี ภูเก็ต ผลการศึกษาพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโดยวิธีการสอน ปกติ และการใช้เกมบันไดงู พบว่า วิธีการสอนโดยใช้เกมบันไดงูนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงกว่าวิธีการสอนปกติเป็นไปตามสมมติฐานที่วางไว้ 2. เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโดยวิธีการสอนปกติและการใช้เกมบันไดงู พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 3. ผลประเมินความพึ ง พอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยวิธีการใช้เกมบันไดงู พบว่า ในภาพรวมนักเรียน มีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยวิธีการใช้เกมบันไดงูอยู่ในระดับดี โดยมีค่าเฉลี่ย 4.18 กรอบแนวคิดและวิธีดาเนินการ ผู้เขียนได้เกิดแรงบันดาลใจในการคิดเกมเกี่ยวกับสาระความรู้ทางกฎหมาย ที่ผู้เขียนสอนในรายวิชา LLB 215 กฎหมายแรงงาน โดยมีแนวคิดเบื้องต้น คือ จะ ทาอย่างไรให้นักศึกษาสนุกกับการเรียน เข้าใจและจดจาเนื้อหาในตัวบทกฎหมาย มาตราต่างๆได้โดยไม่ต้องท่องจาตัวบท ผู้เขียนจึงได้ออกแบบเกมกฎหมายขึ้นโดยมี วัตถุประสงค์ที่สาคัญคือ ผู้เรียนเข้าใจและสามารถที่จะจดจาตัวบทกฎหมายในแต่ละ มาตราได้โดยไม่ต้องท่องจา เมื่อผู้เขียนตั้งวัตถุประสงค์ไว้ดังนี้ผู้เขียนจึงได้พยายาม ออกแบบเกมที่จะตอบวัตถุประสงค์ดังกล่าว เกมที่ผู้เขียนออกแบบคือเกมจับคู่กฎหมาย สิ่งสาคัญอันดับแรกผู้เขียนคิดถึง คืออุปกรณ์ที่จะนามาใช้เล่นเกมว่าอุปกรณ์ใดที่จะเหมาะสมและตอบโจทย์ของผู้เขียน กล่าวคือนักศึกษาจะต้องได้รับทั้งสาระความรู้ทางกฎหมายและความสนุกเพลิดเพลิน อีกทั้งสามารถที่จะได้รับความรู้และจดจาตัวบทกฎหมายได้ไปพร้อมๆกัน ซึ่ งผู้เขียน ได้พบว่าอุปกรณ์ดังกล่าวน่าจะเป็นแผ่นเกมการ์ดทางกฎหมาย ผู้เขียนจึงคิดค้นวิธีการ ทาแผ่นเกมการ์ดทางกฎหมายขึ้นดังนี้ 1. นากระดาษจัดทาเป็นแผ่นการ์ด 272

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


2. ในแผ่นการ์ดแต่ละแผ่นนั้นจะบรรจุตัวบทกฎหมายที่สาคัญในมาตราที่ ผู้เขียนต้องการให้นักศึกษาทราบและจดจาได้ 3. แต่ละมาตราจะถูกตัดแบ่งออกเป็น 2 ส่วน โดยส่วนแรกกับส่วนที่ 2 จะ แยกจากกันโดยจะถูกบรรจุอยู่ในแผ่นการ์ดคนละใบ (ตามตัวอย่างในภาพ) รูปที่ 1 การ์ดตัวบทกฎหมายที่ปรากฏเลขมาตราเพื่อให้ผู้เล่นค้นหาได้สะดวก

รูป ที่ 2 การ์ ด ส่ วนที่ ส องที่ ไม่ ป รากฏเลขมาตราต้ อ งจั บ คู่ กั บ ส่ วนที่ มี เลขมาตราให้ ถูกต้องตามเนื้อหา

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

273


รูปที่ 3 การ์ดตัวบทกฎหมายที่ปรากฏเลขมาตรา และวรรค (กรณีที่มาตรานั้นมีหลาย วรรค)

รูปที่ 4 การ์ดส่วนที่สองที่ไม่ปรากฏเลขมาตราต้องจับ คู่กับส่วนที่มีเลขมาตราและ วรรคให้ถูกต้องตามเนื้อหา

274

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


เมื่อได้จัดทาอุปกรณ์การเล่นเกมแล้ว ผู้เขียนก็กาหนดวิธีการและกติกาการ เล่นเกมนี้ขึ้นเพื่อให้มีการแข่งขันกันระหว่างกลุ่มของนักศึกษาที่เป็นผู้เรียนอันจะทาให้ เกิดความสนุกสนานและเพลิดเพลินและได้รับความรู้ ทั้งนี้ผู้เขียนตั้งโจทย์ว่าเกม ดังกล่าวนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีหรือนักศึกษาที่มีผลการเรียนไม่ดีก็จะต้องสามารถ เข้าร่วมแข่งขันเกมนี้ได้ โดยไม่เกิดการได้เปรียบหรือเสียเปรียบกัน เพราะมิฉะนั้น แล้วอาจทาให้นักศึกษาที่มีผลการเรียนไม่ดีไม่อยากเข้าร่วมแข่งขัน ผู้เขียนจึงกาหนด วิธีการเล่นและตั้งกติกาดังนี้ 1. ในแต่ละทีมทีมจะประกอบด้วยนักศึกษาจานวน 4 คน นักศึกษา 2 คน จะเป็นผู้เล่นและอีก 2 คนจะเป็นผู้ช่วยในทีม นักศึกษาที่เป็นผู้เล่นทีมละ 2 คน จะนั่ง อยู่ในวงโดยไม่มีสิทธิจะเปิ ดตัวบทกฎหมาย ส่วนผู้ช่วยจะยืนอยู่ข้างๆ พร้อมตัวบท กฎหมาย โดยผู้ช่วยจะมีหน้าที่เป็นผู้เปิดหาตัวบทกฎหมายให้แก่ผู้เล่น 2. ในการเล่น 1 รอบ จะแข่งขันกันครั้งละ 3-4 ทีม โดยจะมีผู้ดูแลเกม 1 คน ผู้ดูแลเกมจะสลับแผ่นการ์ดเพื่อให้ตัวบทกฎหมายแต่ละมาตราในแต่ละแผ่นการ์ด แยกจากกัน และผู้ดูแลเกมแจกแผ่นการ์ดให้แก่นักศึกษาทีมละ 5 แผ่น 3. เมื่อเริ่มเล่นเกม ผู้ดูแลเกมจะแจกแผ่นการ์ดให้กับผู้เล่นทีมแรก จานวน 1 แผ่น เพื่อให้จับคู่ตัวบทกฎหมายที่มีอยู่ในแผ่นการ์ดให้ถูกต้อง โดยผู้ช่วยในทีมจะ ช่วยกันเปิดหาตัวบทกฎหมายที่จะจับคู่กันได้ ให้กับผู้เล่นในทีมของตน เมื่อผู้ช่วยเปิด หาตัวบทกฎหมายได้แล้ว ทุกคนในทีมจะช่วยกันอ่านเพื่อหาคู่ตามมาตราที่ถูกต้องจาก แผ่นการ์ดทั้งหมดที่ทีมของตนมีอยู่ 4. หากมีตัวบทกฎหมายที่สามารถจับคู่กันได้ถูกต้อง ผู้เล่นทีมนั้นก็จะต้อง ดึงแผ่นการ์ดที่ตนจับคู่ได้ออกมาให้ผู้ ดูแลเกมและทีมที่เข้าแข่งขันตรวจสอบว่าการ จับคู่ตัวบทกฎหมายในมาตรานั้นถูกต้องหรือไม่ และเก็บแผ่นการด์คู่นั้นไว้ หลังจาก นั้ น ผู้ เล่ น ในที ม จะต้ อ งปรึ ก ษากั น ว่ า จะทิ้ งแผ่ น การด์ แ ผ่ น ใดที่ ที ม ของตนมี อ ยู่ ล ง กองกลาง 1 แผ่น 5. หากไม่มีตัวบทกฎหมายที่จะจับคู่ได้ถูกต้อง ผู้เล่นในทีมก็จะต้องปรึกษา กันว่าจะทิ้งแผ่นการ์ดแผ่นใดที่ทีมของตนเองมีอยู่ลงในกองกลาง 1 แผ่น EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

275


6. เมื่ อ ผู้เล่ นทิ้ งแผ่ น การ์ด แผ่ น ใดลงกองกลางแล้วผู้ ดูแ ลเกมจะเก็ บ แผ่ น การ์ดเกมนั้นมาสลับเพื่อแจกต่อไป 7. เมื่อทีมแรกทิ้งแผ่นการ์ดเป็นที่เรียบร้อยแล้วผูด้ ูแลเกมส์จะแจกแผ่นการ์ด แผ่นต่อไปให้ผู้เล่นทีมถัดไป 8. สาหรับกติกาการแพ้ชนะในการเล่นเกมนี้คือ ถ้าผู้เล่นทีมใดสามารถจับคู่ ตัวบทกฎหมายในมาตราต่างๆจากแผ่นเกมการ์ดที่ตนมีอยู่จนแผ่นเกมการ์ดของทีม ของตนมีคู่ที่ถูกต้องทั้งหมด ทีมนั้นก็จะเป็นผู้ชนะสาหรับการเล่นเกมครั้งนี้ หลั งจากการออกแบบวิ ธี จั ด ท าอุ ป กรณ์ แ ละกติ ก าของเกมดั งกล่ า วขึ้ น ผู้ เขี ย นได้ น าเกมมาทดสอบโดยให้ นั ก ศึ ก ษาที่ เป็ น ผู้ เรี ย นในรายวิ ช า LLB 215 กฎหมายแรงงานได้ทดลองเล่นและแข่งขันกันระหว่างทีมแต่ละทีม รูปที่ 5 ตัวอย่างการจับคู่ที่ผู้เล่นจะต้องจับให้ถูกต้อง

276

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


รูปที่ 6 ตัวอย่างการจับคู่ที่ผู้เล่นจะต้องจับให้ถูกต้อง

รูปที่ 7 ตัวอย่างการจับคู่ที่ผู้เล่นจะต้องจับให้ถูกต้อง

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

277


รูปที่ 8 ผู้ดูแลเกมแจกแผ่นการ์ดเกมให้ผู้เล่นแต่ละทีม

รูปที่ 9 ผู้เล่นและผู้ช่วยแต่ละทีมปรึกษาหารือกัน

278

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


รูปที่ 10 ผู้ดูแลเกมส์จะแจกแผ่นการ์ดเพิ่มในแต่ละรอบเพื่อให้ผู้เล่นนาไปจับคู่

รูปที่ 11 ผู้เล่นและผู้ช่วยแต่ละทีมจะช่วยกันค้นข้อมูลเพื่อจับคู่แผ่นการ์ด

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

279


รูปที่ 12 ผู้เล่นและผู้ช่วยแต่ละทีมเมื่อค้นข้อมูลเสร็จจะต้องวางแผนร่วมกันว่าจะทิ้ง การ์ดใบใดลงกองกลาง

รูปที่ 13 ทีมใดที่จับคู่แผ่นการ์ดได้ จะนาการ์ดคู่นั้นมาวางบนโต๊ะ

280

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ผู้เขียนพบว่าการแพ้ชนะในแต่ละเกมจะใช้เวลามากน้อยเพียงใด ขึ้นกับแผ่น เกมการ์ด หากมีแผ่นเกมการ์ดเป็นจานวนมากจะทาให้การแพ้ชนะในแต่ละเกมยาก และใช้ระยะเวลาในการเล่นแต่ละเกมนานขึ้น แต่หากแผ่นเกมการ์ดมีจานวนไม่มาก นักจะทาให้โอกาสในการแพ้ชนะในแต่ละเกมง่ายขึ้นและใช้เวลาในการเล่นแต่ละเกม น้อยลง เนื่องจากหากมีแผ่นเกมการ์ดจานวนไม่มากนักก็มีโอกาสที่แผ่นเกมการ์ดจะ ถูกวนมาจับคู่ในแต่ละมาตราได้ง่ายขึ้น หากมีแผ่นเกมการด์จานวนมากโอกาสที่จะ วนกลับมาจับคู่ในแต่ละมาตราก็ยากขึ้น อภิปรายผล จากการอภิปรายกับผู้เล่นถึงผลของการเล่นเกมดังกล่าว พบว่าเกมดังกล่าว สามารถที่จะกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนโดยผ่านเกม นักศึกษาเกิดความสนุกไม่ เบื่อหน่าย ได้รับสาระและความรู้สามารถที่จะเข้าใจและจดจาตัวบทกฎหมายได้โดย ไม่ต้องท่องจา นักศึกษาที่เข้าร่วมเล่นเกมให้เหตุผลว่าการที่ตนเข้าใจและจดจาตัวบท กฎหมายได้เนื่องจากในแต่ละรอบที่ทีมของตนได้รับแผ่นเกมการ์ด ทีมของตนจะต้อง อ่านตัวบทกฎหมายในมาตราต่างๆที่มีอยู่ในแผ่นการด์คู่กับในตัวบทกฎหมายเพื่อจะ นามาจับคู่แผ่นเกมการ์ดให้ได้ ดังนั้นหากแผ่นเกมการ์ดมาตราใดที่วนมาถึงทีมของ ตนหลายรอบแล้วทีมของตนยังจับคู่แผ่นเกมการ์ดไม่ได้ ทีมของตนก็ต้องอ่านหลัก กฎหมายในมาตรานั้นซ้าหลายๆรอบจนกว่าจะจับคู่ได้ จึงทาให้ตนสามารถที่จะจดจา เนื้อหาในมาตรานั้นได้ ผู้เรียนมีผลการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของเกม คือผู้เรียน สามารถเข้าใจและสามารถที่จะจดจาตัวบทกฎหมายในแต่ละมาตราได้โดยไม่ต้อง ท่องจา สรุป การเรียนกฎหมายผ่านเกมการ์ดที่ผู้สอนได้พัฒนาขึ้นนี้กระตุ้นความสนใจ ของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนสนุกสนาน สร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในการเรียน มากยิ่งขึ้น มีความเข้าใจและสามารถจะจดจาตัว บทหรือหลักกฎหมายได้โดยไม่ต้อง ท่องจา อีกทั้งสามารถใช้วิธีนี้ในการสอนกฎหมายได้ทุกรายวิชา โดยการจัดทาแผ่น EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

281


เกมการ์ดปรับตามเนื้อหาหรือตัวบทกฎหมายในแต่ละรายวิชาที่อาจารย์แต่ละท่าน สอนอยู่ สาหรับกติกาการเล่นนั้นอาจมีการปรับได้ตามความเหมาะสม เช่น ในการ แจกแผ่นเกมการ์ดให้แก่ผู้เล่นแต่ละทีมในแต่ละรอบ หากมีแผ่นเกมการ์ดเป็นจานวน มาก แทนที่ผู้ดูแลเกมจะแจกแผ่นเกมการ์ดและให้ทิ้งแผ่นเกมการ์ดครั้งละ 1 แผ่น ผู้ดูแลเกมอาจแจกและให้ทิ้ง ครั้งละ 3 แผ่น เพื่อให้เกมจบเร็วขึ้น เป็นต้น ข้อเสนอแนะ 1. เนื่ อ งจากอุ ป กรณ์ ใ นการเล่ น เกมดั ง กล่ า วจั ด ท าได้ ไ ม่ ย ากและใช้ งบประมาณไม่สูง หากคณะจัดทาอุปกรณ์และจัดหาสถานที่ให้นักศึกษามาเล่นเกม ดังกล่าวหลังจากเลิกเรียน จะเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการเสริมสร้าง ความรู้ทางกฎหมายอีกทั้งยังเป็นการกระชับความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษาอีกด้วย 2. ในส่วนของอาจารย์สามารถนาเกมนี้ไปประยุกต์ใช้กับการสอนกฎหมาย ในรายวิชาอื่นๆหรือการสอนข้ามศาสตร์ในสาขาวิชาอื่นๆได้อีกด้วย 3. ควรมีการออกแบบเกมทางกฎหมายให้หลากหลายยิ่งขึ้น เอกสารอ้างอิง กวี พ จน์ แก้ ว ด า. 2559. การใช้ เ กมใบ้ ค าศั พ ท์ ภ าษาอั ง กฤษเพื่ อ ทั ก ษะการพู ด ภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส) ชั้น ปี ที่ 1 สาขาคอมพิ วเตอร์ วิท ยาลั ย อาชี วศึ ก ษาพณิ ชยการเชีย งราย ปี การศึกษา 2559. ค้นจาก http://www.ccvc.ac.th/2017/research/กวี พจน์%20%20แก้วดา.pdf คุณิตา เดชะโชติ และจาง ซู่คุณ. (2561, สิงหาคม). การใช้เกมการศึกษาเพื่อพัฒนา ความจ าด้ า นค าศั พ ท์ ภ าษาจี น ส าหรั บ งานบริ ก ารในธุ ร กิ จ โรงแรม. โปสเตอร์นาเสนอในที่ประชุมวิชาการด้านมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์ ระดับชาติ ครั้งที่ 1 “มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ : พลังปัญญาเพื่อการ พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น , ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ ส ง ข ล า . ค้ น จ า ก http://human.skru.ac.th/husoconference/conf/pp14.pdf 282

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


จุ ฑ ารั ต น์ เกื้ อ ชู . 2558. การเปรี ย บเที ย บผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของนั ก เรี ย น ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ปีที่ 1 ระหว่างวิธีการสอนปกติ กับวิธีการสอนโดยใช้เกมบันไดงู. ค้นจาก http://www.pvcari.com/myfile/180117064429_1.pdf ชัยวัฒ น์ สุท ธิรัต น์. 2554. 80นวัต กรรมการจัด การเรียนรู้ที่ เน้ นผู้เรียนเป็ นส าคั ญ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: แดเนกซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น. ทิศนา แขมณี. 2550. ศาสตร์การสอน:องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 5 ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์. พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์, พเยาว์ ยินดีสุข. 2560. ทักษะ ๗C ของครู ๔.๐ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วิจารณ์ พานิช, วิมลศรี ศุษิลวรณ์. 2560. ศาสตร์และศิลป์ของการสอน. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

283


Strategies of Teaching Chinese language to Thai kindergarten students LIN LILING Abstract This article focuses on the study of Chinese language teaching strategies in Thai kindergartens. The Objectives of this research were Thai kindergarten students are able to: 1) learn Chinese more easily and fun, 2) master the basic Chinese vocabulary and apply it to daily life, and 3) provide some practical and effective teaching strategies for Chinese teachers working in kindergartens in Thailand. This study was used 30 kindergarten students from Beaconhouse Yamssard Rangsit School, including 13 female students, and 17 male students. The results of this research were as follows: 1. This study found that let students choose what they wanted to learn, and students were very positive about their performance 2. The results show that students choose the way they like to learn Chinese, and students can master and practice more vocabularies. Keyword: Strategies, ChineseďźŒThai student, kindergarten MISS LIN LILING Graduate Student in Master of Education Program in Innovations in Learning and Teaching, Sripatum University 284

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Introduction Nowadays, Chinese language learning has become more and more popular in Thailand. Most schools in Thailand have already opened Chinese courses in kindergartens. As we all know, Chinese is a very difficult language to learn, and for Thai kindergarten students, learning Chinese as a second language, compared to Chinese-speaking Chinese children, The degree will be even greater. Secondly, most of the strategies for teaching Chinese as a foreign language are primary school, junior high school or University Chinese language teaching strategies, and less on the Chinese language teaching strategies of kindergarten students. Therefore, based on the research results of the predecessors, this paper summarizes the actual teaching situation of the kindergarten where I teach in Thailand. Some effective strategies for teaching Chinese as a foreign language in kindergartens are hoped to be helpful to Chinese teachers who teach in Thai kindergartens. At the same time, it is easier and more interesting for Thai kindergarten students to learn Chinese. The Objective The Objectives of this research were Thai kindergarten students be able to: 1) learn Chinese more easily and fun, 2) master the basic Chinese vocabulary and apply it to daily life, and 3) provide some practical and effective teaching strategies for Chinese teachers working in kindergartens in Thailand.

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

285


Methods (Sampling, Collecting Data, Measures) This article mainly uses Collecting Data, the data statistics, the inductive method, This study mainly uses interview methodology and survey to conduct this research. The survey was selected 30 kindergartens students from Beaconhouse Yamssard Rangsit School, (including 13 female students and 17 male students) to choose the content of this course. Choices include greetings / animals / numbers / school supplies / fruit five options. More than half of students choose fruit vocabulary as the content of this course, and students expressed great expectations in the class. The survey was allowed 30 students (13 girls, 17 boys) to choose the learning style they like. The learning methods include card learning/fruit model learning/mobile app game learning. 15 students choose mobile app games to learn (including 3 girls, 12boys), 12 students choose fruit model study (including 8 girls, 4 boys), and 3 students choose card learning (including 2 girls, 1 boy) Table1 (30 students choose the content what they want to learn) greetings animals numbers school supplies Boys Girls Total

286

0 2 2

3 2 5

1 1 2

0 0 0

fruits 13 8 21

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


The table1 shows that after interviewing 30 kindergartens students from Beaconhouse Yamssard Rangsit School, including 13 female students and 17 male students. There are no boys but 2 girls choose the greetings, 3 boys and 2 girls choose the animals, 1 boy and 1 girl choose the numbers, nobody choose the school supplies, 13 boys and 8 girls choose the fruits. Therefore, I as a researcher decided to teach about fruit vocabulary. Table2 (30 students choose learning style what they like to learn) Card learning Boys

1

Fruit model learning 4

mobile app game learning 12

Girls

2

8

3

Total

3

12

15

The table2 shows that after interviewing 30 kindergartens students from Beaconhouse Yamssard Rangsit School, including 13 female students and 17 male students. There is 1 boy and 2 girls choose card learning, 4 boys and 8 girls choose Fruit model learning, 12 boys and 3 girls choose mobile App game learning. Therefore, I as a researcher teach according to these three learning styles.

Table3 EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

287


(Three teaching styles and students’ achievements) Card learning 5

4

3

2

1

Listening

20%

40%

20%

20%

0

speaking

10%

20%

30%

30%

10%

Fruit model learning Listening speaking

5

4

3

2

1

30% 30%

30% 40%

30% 10%

10% 20%

0 0

Mobile app game learning Listening speaking

5

4

3

2

1

60% 50%

30% 30%

10% 10%

0 10%

0 0

The researcher teaches three learning styles. and compare the three teaching achievements while ensuring the content and time are the same. Content: 5 Fruit vocabulary Apple / Banana / Watermelon/ Durian /Mango Time: 15 mins/each style teaching Participants:10 person a group

288

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Results/Conclusion As the graphs show, in the card learning, there are 20% of students (10 persons a group) can get full marks in listening, 10% of students can get full marks in speaking. In the fruit model learning, there are 30% of students (10 persons a group) can get full marks in listening, 30% students can get full marks in speaking. In the mobile app game learning, there are 60% students (10 persons a group) can get full marks in listening, 50% of students can get full marks in speaking. It is obviously, if students can choose the way they like to study, they will be more interested in what they learn. And students prefer to learn by games. When they study by mobile app gameďźŒtheir behavior is more positive than the other ways of learning. As shown in EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

289


The results, effective learning strategies will be made students’ learning outcomes more significant. Discussion Through this survey, activity learning (active learning) is a good method to be applied to Chinese teaching as an effective learning strategy. Students like the way of learning activities, they are more active and their learning outcomes are more effective. The time and the data collection are limited. The researcher hopes to do more indepth investigations in this topic. Then the researcher hopes to get more learning strategies and let students learn Chinese better. References Dinehart, L.H. 2014. Handwriting in early childhood education: Current research and future implications. Journal of Early Childhood Literacy. September 4: 1-22. Messier, W.P. 2005. Traditional Teaching Strategies versus Cooperative Teaching Strategies: Which Can Improve Achievement Scores in Chinese Middle Schools? US-China Education Review. Volume 2, No.1: 1-10. Mohd Noor, K.B. 2008. Casy Study: A Strategy Research Methodology: Universiti Industri Selangor. American Journal of Applied Sciences. 5(11): 1602-1604.

290

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


การศึกษาบรรยากาศในการเรียนรู้ของนักศึกษาสาขาวิชา ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ ด้วยการแต่งชุดคอสเพลย์ A Study of the Learning Atmosphere of Students in Japanese Business for Communication Major, School of Liberal Arts with Creating a Cosplay Costume ภีมพัฒน์ วรโชติธีรวัชร์ บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน ด้วยการแต่งชุดคอสเพลย์ 2) ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับบรรยากาศใน ชั้นเรียนที่ส่งผลต่อการเรียนภาษาญี่ปุ่น กลุ่มเป้าหมายที่เลือกใช้ คือ นักศึกษาคณะ ศิลปศาสตร์ สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารธุรกิจ ที่ลงทะเบียนรายวิชา JBC433 ภาษาญี่ ปุ่ น สาหรับ ล่ าม จานวน 19 คน เครื่องมือ วิจัยเป็ น แบบสอบถามออนไลน์ (Google Form) การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ความถี่ ร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้ตอบ แบบสอบถามส่ ว นใหญ่ เป็ น เพศหญิ ง อายุ 21 ปี เกรดเฉลี่ ย 3.01 ขึ้ น ไป เรี ย น ภาษาญี่ ปุ่ น มาเป็ น เวลา 3 – 4 ปี ชอบการเรี ย นภาษาญี่ ปุ่ น จากสื่ อ ต่ า ง ๆ 2) บรรยากาศการเรียนรู้ในชั้นเรียน ชอบการเรียนที่มีระดับเนื้อหาความรู้หลากหลาย

นายภีมพัฒน์ วรโชติธีรวัชร์ นั กศึ ก ษา หลั ก สูต รศึ ก ษาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิชานวัต กรรมการเรีย นรู้แ ละ การสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

291


เหมาะกับระดับความรู้ของตนเอง คิดว่าบรรยากาศในชั้นเรียนมีผลต่อการเรียน สื่อ การเรียนการสอนมี ผลต่อ การเรีย นการสอนมากที่ สุ ด มีส่ วนร่วมในการสร้าง/จั ด บรรยากาศในชั้นเรียนในระดับปานกลาง 3) การแต่งชุดคอสเพลย์ รู้จักคอสเพลย์จาก สื่อออนไลน์ต่าง ๆ มากที่สุด คาสาคัญ: การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน / การเรียนรู้เชิงรุก / คอสเพลย์ Abstract The objectives of this research were: 1) to study the classroom atmosphere by creating a cosplay costume, and 2) to study the students’ opinions of the classroom atmosphere that affect the learning of Japanese language. The population are 19 students from Japanese Business for Communication, School of Liberal Arts who’s are studying in JBC433 Japanese for translation course. The research tool is used an online questionnaire by using Google Form and analysis data by uses frequency and percentage. The results showed that: 1) most respondents were female, age around 21 years, GPA is more than 3.01, study Japanese for 3 - 4 years, and they like to learn Japanese from various media, and 2) the students’ opinions of the classroom atmosphere that effect the learning of the Japanese language, they like to learn with various contents, and the level of language knowledge is suitable for their own learning and their background knowledge. They think the classroom atmosphere effects their learning, and the most impact for learning is teaching materials/medias and students’ participation in creating the classroom atmosphere, the students’ opinion is at a medium level, and 3) they mostly know Cosplay from online. 292

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Keywords: Creating classroom atmosphere / active learning / cosplay ความเป็นมาและความสาคัญ การเรียนภาษาญี่ปุ่นในปัจจุบันยังคงมีความนิยมเพิ่มขึ้น ผู้เรียนภาษาญี่ปุ่น ในประเทศไทยมี จ านวนประมาณ 174,000 คน จากผลส ารวจสถาบั น การศึ ก ษา ภาษาญี่ ปุ่ น ในต่ างประเทศ ประจ าปี 2015 พบว่า ในประเทศไทยมี จ านวนผู้ เรีย น ภาษาญี่ปุ่น 173,817 คน จานวนสถาบันการสอนภาษาญี่ปุ่น 606 แห่ง และจานวน ผู้สอน 1,911 คน ซึ่งแสดงให้เห็น ว่าจานวนตัวเลขทั้ง 3 ประเภทมีการเพิ่ มขึ้นเมื่ อ เปรียบเทียบกับผลสารวจในปี 2012 จากการสารวจเอกสารงานวิจัย (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน. 2531: ค) ได้คนพบวาบรรยากาศในชั้นเรี ยนเปนส่วนหนึ่งที่ส งเสริมใหนักเรียนเกิด ความสนใจในบทเรียนและเกิดแรงจูงใจในการเรียนรูเพิ่มมากขึ้น การสร้างบรรยากาศ ที่อบอุน ที่ครูใหความเอื้ออาทรตอนักเรียน ที่นักเรียนกับนักเรียนมีความสัมพันธฉันท มิตรตอกันที่มีระเบียบ มีความสะอาด เหลานี้เปนบรรยากาศที่นักเรียนตองการ ทาให นั ก เรีย นมี ค วามสุ ข ที่ ไดมาโรงเรีย นและในการเรี ย นรวมกั บ เพื่ อ น ๆ ถาครู ผู ส อน สามารถสรางความรูสึกนี้ใหเกิดขึ้นตอนักเรียนไดก็นับวาครูไดทาหนาที่ในการพัฒนา เยาวชนของประเทศชาติใหเติบโตขึ้นอยางสมบรูณทั้งทางดานสติปญญา รางกาย อารมณ และสังคม โดยแทจริง ซึ่งประมวลไดดังนี้ 1. ชวยสงเสริมใหการเรียนการสอนดาเนินไปอยางราบรื่น เชน หองเรียนที่ ไมคับแคบจนเกินไป ทาใหนักเรียนเกิดความคลองตัวในการทากิจกรรม 2. ชวยสรางเสริมลักษณะนิสัยที่ดีงามและความมีระเบียบวินัยใหแกผู้เรียน เชน หองเรียนที่สะอาด ที่จัดโตะเกาอี้ไวอยางเปนระเบียบ มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อ กันนักเรียนจะซึมซับสิ่งเหลานี้ไวโดยไมรูตัว 3. ชวยสงเสริมสุขภาพที่ดีใหแกผูเรียน เชน มีแสงสวางที่เหมาะสม มีที่นั่งไม ใกลกระดานดามากเกินไป มีขนาดโตะและเกาอี้ที่เหมาะสมกับวัย รูปรางของนักเรียน นักศึกษา ฯลฯ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

293


4. ชวยสงเสริมการเรียนรู และสรางความสนใจในบทเรียนมากยิ่งขึ้น เชน การจัด มุม วิชาการตาง ๆ การจัดปายนิ เทศ การตกแตงหองเรียนดวยผลงานของ นักเรียน 5. ชวยสงเสริมการเปนสมาชิกที่ดีของสังคม เชน การฝกใหมีมนุษยสัมพันธ ที่ดีตอกัน การฝกใหมีอัธยาศัยไมตรีในการอยูรวมกัน ฯลฯ 6. ชวยสรางเจตคติที่ดีตอการเรียนและการมาโรงเรียน เพราะในชั้นเรียนมี ครูที่เขาใจ คอสเพลย์ (Cosplay หรือ Cos’Play) เป็นการผสมคาภาษาอังกฤษระหว่าง ค าว่ า Costume ซึ่ งแปลว่ า เสื้ อ ผ้ า เครื่ อ งแต่ งกาย และ Play ที่ แ ปลว่ า การเล่ น ดังนั้น Costume + Play จึงแปลตรง ๆ ว่า การเล่นเสื้อผ้า แต่นิยามที่ ให้คาจากัด ความชัดเจนที่สุดคือ “การแต่งกายเลียนแบบ” ในพจนานุกรมของ Oxford ได้ระบุว่า Cosplay หมายถึง “The practice of dressing up as a character from a film, book, or video game, especially one from the Japanese genres of manga or anime.” “รูปแบบการแต่งกายเป็นเหมือนกับตัวละครจากภาพยนตร์ หนังสือ หรือ วิดีโอเกม โดยเฉพาะที่มาจากหนังสือการ์ตูนหรืออนิเมประเทศญี่ปุ่น” มีอีกหนึ่งนิยาม ที่ได้เคยมีคนให้นิยามไว้ว่า Cosplay มาจาก Costume + Roleplay ซึ่งคาว่า Roleplay นี้แปลว่า สวมบทบาท ซึ่งก็จะทาให้นิยามความหมาย ได้ กระชับ ขึ้ น คื อ “การแต่ งกายสวมบทบาท” (แต่ ทั้ งนี้ Cosplay = Costume + Play ก็ยังถือว่าเป็นนิยามที่ได้รับการยอมรับในทางสากลมากกว่าอยู่ดี) สาหรับการมีการใช้คาว่า Cosplay อย่างชัดเจนที่สุดเกิดขึ้นเมื่อ Nobuyuki Takahashi (ซึ่ ง มาจากสตู ดิ โอ Studio Hard ของญี่ ปุ่ น) บั ญ ญั ติ ศั พ ท์ ค าว่ า “Cosplay” ขึ้นมาเพื่อเป็นการย่อคาจากคาศัพท์ภาษาอังกฤษคาว่า Costume Play เมื่ อ ตอนที่ แ สดงงานเมื่ อ ค.ศ. 1983 (พ.ศ.2526) ณ งาน Los Angeles Science Fiction (Worldcon) ซึ่งเค้าได้บอกว่าเป็นชุดที่มีในหนังสือนวนิยายวิทยาศาสตร์ของ ญี่ปุ่น 294

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Cosplay ในปัจจุบันนั้น นิยามที่ชัดที่สุดคือ “การแต่งกายเลียนแบบ” โดย เป็นการเลียนแบบตัวละคร หรือสิ่ งหนึ่งสิ่งใด เช่น การ์ตูน เกม วงดนตรี นวนิยาย Visual Kei วงศิลปิน ภาพยนตร์ ฯลฯ ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความรัก ความชอบ ใน สิ่งที่ได้เลียนแบบนั้น ๆ ทั้งนี้นอกจากเลียนแบบชุดแต่งกายแล้ว ยังอาจจะรวมไปถึง เลียนแบบกิริยา ท่าทาง บุคคลิก ต่าง ๆ ของต้นแบบอีกด้วย โดยผู้ ที่คอสเพลย์นั้นมัก เรียกว่า เลเยอร์ หรือย่อมาจาก Cosplayer นั่นเอง วัตถุประสงค์ 1) ศึกษาการสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนด้วยการแต่งชุดคอสเพลย์ 2) ศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับบรรยากาศในชั้นเรียนที่ส่งผล ต่อการเรียนภาษาญี่ปุ่น วิธีดาเนินการวิจัย วิธีดาเนินการวิจัย ประกอบด้วย 9 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การจัดทากรอบแนวคิด ในงานวิจัย 2) ติดต่อประสานงานกับอาจารย์ผู้สอนเจ้าของวิชา 3) สารวจสภาพการ เรียนในชั้นเรียนของรายวิชา JBC443 ภาษาญี่ปุ่นสาหรับล่าม 4) เข้าสังเกตการณ์ใน ชั้นเรียน 5) จัดทาแบบสอบถามออนไลน์ 6) เข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันการแต่ง ชุดคอสเพลย์ (Japanese Day) 7) ให้นักศึกษาทาแบบสอบถามออนไลน์และรวบรวม ผล 8) สรุป สังเคราะห์ผลที่ได้จากงานวิจัย 9) การเขียนรายงานผลการวิจัย โดยกลุ่ ม เป้ า หมายที่ เลื อ กใช้ คื อ นั ก ศึ ก ษาคณะศิ ล ปศาสตร์ สาขาวิ ช า ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการสื่อสารธุรกิจ ที่ลงทะเบียนรายวิชา JBC433 ภาษาญี่ปุ่นสาหรับ ล่าม จานวน 19 คน (ในภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2561) เครื่องมือวิจัย การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาโดยใช้ระเบียนวิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) ของระเบี ย บวิ จั ย เชิ งคุ ณ ภาพ (Qualitative Research) โดย วิธีการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-participant Observation) กับระเบียบวิธีวิจัย EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

295


เชิ ง ปริ ม าณ (Quantitative Research) โดยใช้ แ บบสอบถามออนไลน์ (Google Form) ปรับปรุงมาจากแบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน ปีการศึกษา 2556 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนภัทรบพิตร จังหวัดบุรีรัมย์ โดยนางกฤตยา ศรีริ (2556) ซึ่งประกอบด้วย 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ตอนที่ 2 บรรยากาศการเรียนรู้ในชั้นเรียน ตอนที่ 3 การแต่งชุดคอสเพลย์ สาหรับระดับความพึงพอใจวัดเป็น 5 ระดับ คือ ระดับ 5 มากที่สุด, ระดับ 4 มาก, ระดับ 3 ปานกลาง, ระดับ 2 น้อย, ระดับ 1 น้อยที่สุด วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยสถิติพื้นฐาน ความถี่ ร้อยละ ผลการวิจัย ผลการวิจัย ประกอบด้วย 3 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่ วไป ตอนที่ 2 บรรยากาศการเรียนรู้ในชั้นเรียน และตอนที่ 3 การแต่งชุดคอสเพลย์ ดังต่อไปนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถามจาแนกตามเพศ อายุ เกรดเฉลี่ยสะสม มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ เพศ จากการสารวจ พบว่า กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิด เป็นร้อยละ 78.9 ส่วนเพศชายมีเพียงร้อยละ 21.1 ดังตารางที่ 1 และภาพที่ 1

296

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ เพศ จานวน ร้อยละ ชาย 4 21.1 หญิง 15 78.9 รวม 19 100.0

ภาพที่ 1 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ อายุ จากการสารวจพบว่า กลุ่มผู้สอบถามส่วนใหญ่มีอายุ 21 ปี คิดเป็นร้อยละ 73.7 รองลงมาอายุ 22 ปี คิดเป็นร้อยละ 10.5 และอายุมากกว่า 22 ปีขึ้นไป คิดเป็น ร้อยละ 10.5 ดังตารางที่ 2 และภาพที่ 2 ตารางที่ 2 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามอายุ อายุ (ปี) จานวน ร้อยละ 20 ปี 1 5.3 21 ปี 14 73.7 22 ปี 2 10.5 22 ปีขึ้นไป 2 10.5 รวม 19 100.0

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

297


ภาพที่ 2 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามอายุ เกรดเฉลี่ยสะสม จากการสารวจ พบว่า กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีเกรดเฉลีย่ สะสม มากกว่า 3.01 ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 78.9 รองลงมา มีเกรดเฉลี่ยสะสมอยู่ที่ 2.51 – 3.00 คิดเป็นร้อยละ 15.8 ส่วนเกรดเฉลี่ยสะสม 2.01 – 2.50 มีเพียงร้อยละ 5.3 ดัง ตารางที่ 3 และภาพที่ 3 ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามเกรดเฉลี่ย สะสม เกรดเฉลี่ยสะสม จานวน ร้อยละ น้อยกว่า 2.00 0 0.0 2.01 – 2.50 1 5.3 2.51 – 3.00 3 15.8 3.01 ขึ้นไป 15 78.9 รวม 19 100.0

298

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ภาพที่ 3 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามเกรดเฉลี่ยสะสม ระยะเวลาในการเรียนภาษาญี่ปุ่น จากการสารวจ พบว่า กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เรียนภาษาญี่ปุ่นมา เป็นเวลา 3 – 4 ปี คิดเป็นร้อยละ 68.4 รองลงมา เรียนภาษาญี่ปุ่นมาเป็นเวลา 1 – 2 ปี คิดเป็นร้อยละ 21.1 ส่วนเรียนภาษาญี่ปุ่นมากกว่า 5 ปี มีเพี ยงร้อยละ 10.5 ดัง ตารางที่ 4 และภาพที่ 4 ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามระยะเวลาใน การเรียนภาษาญี่ปุ่น ระยะเวลาในการเรียนภาษาญี่ปุ่น จานวน ร้อยละ น้อยกว่า 1 ปี 0 0.0 1 – 2 ปี 4 21.1 3 – 4 ปี 13 68.4 5 ปีขึ้นไป 2 10.5 รวม 19 100.0

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

299


ภาพที่ 4 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามระยะเวลาในการ เรียนภาษาญี่ปุ่น ชอบการเรียนภาษาญี่ปุ่นแบบใด จากการสารวจ พบว่า กลุ่ม ผู้ต อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ ชอบการเรีย น ภาษาญี่ ปุ่ น จากสื่ อ ต่ าง ๆ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 47.4 รองลงมา ชอบเรี ย นภาษญี่ ปุ่ น ที่ โรงเรียนสอนภาษา/โรงเรียนกวดวิชา คิดเป็นร้อยละ 26.3 ชอบเรียนภาษาญี่ปุ่นด้วย ตนเอง คิดเป็นร้อยละ 21.1 มีเพียงร้อยละ 5.3 ที่ชอบเรียนภาษาญี่ปุ่นจากเพื่อน/รุ่น พี่/คนรู้จัก ดังตารางที่ 5 และภาพที่ 5 ตารางที่ 5 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามความชอบใน การเรียนภาษาญี่ปุ่น ชอบการเรียนภาษาญี่ปุ่นแบบใด เรียนด้วยตนเอง เรียนจากรุ่นพี่/คนรู้จัก เรียนที่โรงเรียนกวดวิชา เรียนจากสื่อต่าง ๆ รวม

300

จานวน 4 1 5 9 19

ร้อยละ 5.3 21.1 26.3 47.4 100.0

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ภาพที่ 5 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามความชอบในการ เรียนภาษาญี่ปุ่น ตอนที่ 2 บรรยากาศการเรียนรู้ในชั้นเรียน ผลการวิ เคราะห์ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ บรรยากาศการเรี ย นรู้ ใ นชั้ น เรี ย น มี รายละเอียดดังต่อไปนี้ ชอบเรียนภาษาญี่ปุ่นในสภาพแวดล้อมใด จากการสารวจ พบว่า กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ชอบการเรียนที่มี ระดับเนื้อหาความรู้หลากหลาย เหมาะกับระดับความรู้ของตนเอง คิดเป็นร้อยละ 68.4 รองลงมาชอบการเรีย นแบบปกติ ไม่ เน้ น เนื้ อ หามากเกิ น ไป และมี เวลาพั ก ระหว่างคาบเรียน คิดเป็นร้อยละ 15.8 ดังตารางที่ 6 และภาพที่ 6 ตารางที่ 6 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม ชอบเรียนภาษาญี่ปุ่นใน สภาพแวดล้อมใด ชอบเรียนภาษาญี่ปุ่น จานวน ร้อยละ ในสภาพแวดล้อมใด แบบปกติ ไม่เน้นเนื้อหามากเกินไป 3 15.8 มีมุมพักผ่อนในชั้นเรียน 0 0.0 มีเวลาพักระหว่างคาบเรียน 3 15.8 มีระดับเนื้อหาความรู้ที่หลากหลาย 13 68.4 รวม 19 100.0 EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

301


ภาพที่ 6 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม ชอบเรียนภาษาญี่ปุ่นใน สภาพแวดล้อมใด บรรยากาศในชั้นเรียนมีผลต่อการเรียน จากการสารวจ พบว่า กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดคิดว่าบรรยากาศใน ชั้นเรียนมีผลต่อการเรียน คิดเป็นร้อยละ 100.0 ดังตารางที่ 7 และภาพที่ 7 ตารางที่ 7 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกบรรยากาศในชั้น เรียนมีผลต่อการเรียน บรรยากาศในชั้นเรียนมีผลต่อการเรียน หรือไม่ มี ไม่มี รวม

302

จานวน

ร้อยละ

19 0 19

100.0 0.0 100.0

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ภาพที่ 7 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกบรรยากาศในชั้นเรียน มีผลต่อการเรียน สิ่งที่มีผลต่อการเรียนการสอน จากการส ารวจ พบว่า กลุ่ม ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ บอกว่าสื่อการ เรียนการสอนมีผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุด คิดเป็ นร้อยละ 52.65 รองลงมา เป็นอุณหภูมิ คิดเป็นร้อยละ 21.1 และจานวนนักเรียน การแต่งกาย ครูผู้สอนมีผลต่อ การเรียนการสอนน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 5.3 ดังตารางที่ 8 และภาพที่ 8 ตารางที่ 8 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกสิ่งที่มีผลต่อการ เรียนการสอน สิ่งที่ผลต่อการเรียนการสอน อุณหภูมิ แสงสว่าง จานวนนักเรียน สื่อการเรียนการสอน กางแต่งกาย อาจารย์ ครูผสู้ อน รวม EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

จานวน 4 0 1 10 1 2 1 19

ร้อยละ 21.1 0.0 5.3 52.6 5.3 10.5 5.3 100.0 303


ภาพที่ 8 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกสิ่งที่มีผลต่อการเรียน การสอน การมีส่วนร่วมสร้าง/จัดบรรยากาศในชั้นเรียน จากการสารวจ พบว่า กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ตอบว่ามีสว่ นร่วม ในการสร้าง/จัดบรรยากาศในชั้นเรียนในระดับปานกลาง มากทีส่ ุด คิดเป็นร้อยละ 42.1 และตอบว่ามีส่วนร่วมในการสร้าง/จัดบรรยากาศในชั้นเรียนน้อยที่สุด มีเพียง ร้อยละ 5.3 ดังตารางที่ 9 และภาพที่ 9 ตารางที่ 9 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามการมีส่วนร่วม สร้าง/จัดบรรยากาศในชั้นเรียน มีส่วนร่วมในการสร้าง/ จัดบรรยากาศในชั้นเรียน มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด รวม

304

จานวน

ร้อยละ

2 7 8 1 1 19

10.5 36.8 42.1 5.3 5.3 100.0

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ภาพที่ 9 จานวนและร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามการมีส่วนร่วมในการ สร้าง/จัดบรรยากาศในชั้นเรียน ตอนที่ 3 การแต่งชุดคอสเพลย์ ผลการวิ เคราะห์ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การแต่ ง ชุ ด คอสเพลย์ มี ร ายละเอี ย ด ดังต่อไปนี้

การแต่งชุดคอสเพลย์ในชั้นเรียน

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

305


การแต่งชุดคอสเพลย์โครงการ Japanese Day ภาพที่ 10 บรรยากาศการแต่งชุดคอสเพลย์ของนักศึกษา ผูส้ อนในชั้นเรียน และ บรรยากาศการแข่งขันการแต่งชุดคอสเพลย์โครงการ Japanese Day รู้จักคอสเพลย์หรือไม่ จากการสารวจ พบว่า กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดตอบว่า รู้จัก คิดเป็น ร้อยละ 100.0 ดังตารางที่ 10 และภาพที่ 10 ตารางที่ 10 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามความรู้จัก คอสเพลย์ รู้จักคอสเพลย์หรือไม่ รู้จัก ไม่รู้จัก รวม 306

จานวน 19 0 19

ร้อยละ 100.0 0.0 100.0

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ภาพที่ 11 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามรูจ้ ักคอสเพลย์ รู้จักคอสเพลย์ได้อย่างไร จากการสารวจ พบว่า กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ตอบว่า รู้จักคอส เพลย์จากสื่อออนไลน์ต่าง ๆ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 89.5 และตอบว่ารู้จักคอสเพลย์ จากสื่อวิทยุ/โทรทัศน์ มีเพียงร้อยละ 10.5 ดังตารางที่ 11 และภาพที่ 11 ตารางที่ 11 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามความรู้จัก คอสเพลย์ได้อย่างไร รู้จักคอสเพลย์ได้อย่างไร หนังสือ/นิตยสาร สื่อวิทยุ/โทรทัศน์ สื่อออนไลน์ต่าง ๆ เพื่อนแนะนาให้รู้จัก รวม

จานวน 0 2 17 0 19

ร้อยละ 0.0 10.5 89.5 0.0 100.0

ภาพที่ 12 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามรู้จักคอสเพลย์ได้อย่างไร EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

307


ประเด็นในการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม จานวน 2 ครั้ง มีประเด็น มีดังนี้ 1) การสังเกตครั้งที่ 1 นักศึกษาให้ความร่วมมือในการแต่งชุดคอสเพลย์จานวน 16 คน จากจานวนทั้งหมด 19 คน คิด เป็ นร้อยละ 84.21 ใช้วิธีสอนโดยการเล่นเสีย ง สนทนาภาษาญี่ปุ่นเพื่อให้นักศึกษาออกเสียงตามและแปลความหมาย ทุกคนให้ความ ร่วมมือแต่มีบางส่วนที่ฟังไม่ทันและไม่สามารถแปลได้ 2) การสังเกตครั้งที่ 2 นักศึกษา ให้ความร่วมมือในการแต่งชุดคอสเพลย์จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 ใช้ วิธีการสอนโดยให้ชุดประโยคคาพ้องเสียงภาษาไทย กระซิบทีละคนแล้วให้คนสุดท้าย ของกลุ่มออกไปเขียนประโยคที่ถูกต้องหน้าชั้นเรียน ทุกคนให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี สนุกสนาน อภิปรายผล 1) บรรยากาศการเรียนรู้ในชั้นเรียน ชอบการเรียนที่มีระดับเนื้อหาความรู้ หลากหลาย เหมาะกับระดับความรู้ ของตนเอง คิดว่าบรรยากาศในชั้นเรียนมีผลต่อ การเรียน สื่อการเรียนการสอนมีผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุด มีส่วนร่วมในการ สร้าง/จัดบรรยากาศในชั้นเรียนในระดับปานกลาง สอดคล้องกับงานวิจัยของ นฤมล ก้อ นขาว (2558) ท าการศึ ก ษาสภาพแวดล้อ มทางการเรียนของนั ก เรียนโรงเรีย น ศรั ท ธาสมุ ท ร สั ง กั ด ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษามั ธ ยมศึ ก ษา เขต 10 พบว่ า สภาพแวดล้อมในการเรียนอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านสังคมกลุ่มเพื่อน ด้านการจัด กิจกรรมผู้เรียน ด้านการเรียนการสอน ด้านการจัดการศึกษาเพื่อสนองความมุ่งหวัง ของผู้เรียน ด้านการให้บริการผู้เรียน และด้านอาคารสถานที่ 2) การแต่งชุดคอสเพลย์ รู้จักคอสเพลย์จากสื่อออนไลน์ต่าง ๆ มากที่สุด สอดคล้องกับงานวิจัยของ เขมทัต พิพิธนาบรรพ์ (2551) ทาการศึกษาการแต่งคอส เพลย์ของกลุ่มวัยรุ่นไทย กับการสร้างอัตลักษณ์วัฒนธรรมย่อยและบทบาทของสื่อ พบว่า คอสเพลย์มีอัตลักษณ์ ในกลุ่มผู้ บริโภคสื่อสูง มีการแต่งกายและแสดงออกที่ เด่ น ชัด ด้ วยการเลีย นแบบและดัด แปลงลัก ษณะดั งกล่ าวจากแหล่ งในสื่ อ มวลชน ภาษาของกลุ่มนั้นเกิดจากการผสมผสานของภาษาวัยรุ่นทั่วไปและภาษาของกลุ่มสื่อ ต้นแบบ การดาเนินชีวิตและค่านิยมของกลุ่มคอสเพลย์ไม่แตกต่างจากวัยรุ่นมากนัก 308

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


คอสเพลย์เป็นนั้นสะท้อนการเป็นวัฒนธรรมย่อยเพียงส่วนหนึ่ง เพราะคอสเพลย์ใน สังคมไทยไม่มีพื้นที่ทางกายภาพในการแสดงออกมากนัก การรวมตัวเพื่อคอสเพลย์มี ลักษณะการรวมกลุ่มตามวาระสังสรรค์มากกว่าการเป็นแบบแผนที่ปฏิบัติเป็นประจา ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ 1. ผู้ศึกษาสามารถนาผลงานวิจัยนี้ไปใช้ประโยชน์การวางแผนดาเนินงาน วิจัยได้ 2. ผู้เรียนหรือผู้สอนสามารถนาไปปรับใช้ในชั้นเรียนเพื่อสร้างบรรยากาศใน ชั้นเรียนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. ใช้เครื่องมือที่หลากหลายสาหรับการเก็บข้อมูล เช่น การสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์เชิงลึก เป็นต้น 2. ศึกษาต่อยอดเรื่องของการแต่งกายรูปแบบอื่น ๆ ที่อาจจะส่งผลต่อเรื่อง การเรียนการสอนหรือบรรยากาศในชั้นเรียน 3. ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างการแต่งชุดคอสเพลย์ของผู้สอนหรือผู้เรียน เพียงอย่างเดียว 4. ศึกษาวิจัยในเรื่องของคอสเพลย์เชิงลึกหรือเข้มข้นกว่าเดิม

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

309


เอกสารอ้างอิง กฤตยา ศรีริ. 2556. แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน ปีการศึกษา 2556 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนภัทรบพิตร จังหวัดบุรีรัมย์. สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2562. จากเว็บไซต์ https://www.slideshare.net/kitayapoo/2013-16145455 เขมทัต พิพิธธนาบรรพ์. 2551. การแต่งคอสเพลย์ของกลุ่มวัยรุ่นไทย กับการสร้าง อัตลักษณ์วัฒนธรรมย่อยและบทบาทของสื่อ. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตร มหาบั ณ ฑิ ต สาขาวารสารสนเทศ. บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. นฤมล ก้อนขาว. 2558. การศึกษาสภาพแวดล้อมทางการเรียนของนักเรียนโรงเรียน ศรั ท ธาสมุ ท ร สั ง กั ด ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษามั ธ ยม เขต 10. วิท ยานิพ นธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณ ฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยบูรพา. Japan Foundation. 2016. [2015 "Overseas Japanese language education institution survey" result (preliminary report)]. Retrieved 8 June, 2019, from https://www.jpf.go.jp/j/about/press/2016/057.html

310

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Innovation in teaching Chinese as a second language: WeChat as a teaching tool Mo Yushun Abstract Increasingly mature with the development of mobile Internet, mobile Internet is more and more used in teaching, and with the rapid development of China in the field of mobile Internet, at present China has become the world's largest mobile Internet market, WeChat is Chinese native speakers use one of the most frequent social software, the Chinese consumers through WeChat can very intuitive and convenient access to the more dynamic, update the Chinese culture, therefore, to use WeChat to teaching the language environment of Chinese itself has a huge advantage, WeChat because of its convenience is becoming more and more used by Chinese teaching workers when teaching tool. This paper will discuss the feasibility and advantages of using WeChat to teach Chinese from the three aspects of WeChat introduction, WeChat teaching and teaching effect feedback, and find the value and shortcomings of WeChat as an innovative Chinese teaching tool through research.

MR. MO YUSHUN Graduate Student in Master of Education Program in Innovations in Learning and Teaching, Sripatum University EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

311


Keywords: WeChat, Teaching Chinese as a second language, Innovation Introduction Since the 21st century Internet finished blanket coverage in worldwide, human mobile terminal through the network to realize the real time each other, as the Internet full penetration of human life, people entered the comprehensive "+" Internet era, online education after the end of the 20th century infancy will also come in full growth in the 21st century, when these ideas with the advent of the era of 4 g has become a consensus, in English, for example, with the foreign teaching of English as a second language as early as ten years ago in the form of the media teaching online mass to carry out teaching activities, Many English teachers and all forms of personal language enterprises are on the network course teaching, engVid English, for example, the site with Ronnie, Adam, Emma nine super anchor id, they each anchor on YouTube, Facebook, twitter, social networking websites of fans are hundreds of millions of audiences, a teacher lesson can be granted to tens of millions of people, even more, this is the greatest characteristic of modern online education compared with the traditional education and advantages, and the present teaching Chinese as a foreign language, although has the official promotion platform, such as the Confucius institute. However, the field of online "we media" teaching does not produce a super id. On this premise, this paper proposes the research on how to use "we media" to provide auxiliary role in teaching Chinese as a foreign language, and explores how to make full use of "we media" in teaching Chinese as a foreign language, so that Thai students can learn Chinese more effectively. 312

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Literature Review Put forward in this paper for the media before the auxiliary teaching action research has also have a lot of people involved in the research, such as Zhao qinghua. (2015) was study Feasibility study and analysis of adult WeChat mobile learning in 4 G network environment the result is a mobile learning gradually into the mainstream, mobile learning, autonomous learning and service learning is not only a high degree of feasibility, and there is a certain inevitability. In addition to the feasibility of the investigation and study, in the media in teaching Chinese as a foreign language in the world were predecessors' research and practical application of platform as the research object for research, there are ways to teaching as the research direction, of which platform type division of research and in the majority with WeChat platform research, such as Zou xiaoqing. (2015) Research on interactive teaching mode of Chinese as a foreign language based on WeChat, this is the exploration of the teaching patterns, based on a model of teaching Chinese as a foreign language study WeChat platform and Huo tingting. (2015) Design of mobile learning model based on WeChat, etc. Research in addition to these patterns, there is also a study class model refinement, such as Yao Lian the WeChat platform-based task-based heard that teaching movement of Chinese as a foreign language is to differentiation cultivation, listening and speaking class of Cui yanli. (2015) Case design of teaching Chinese as a foreign language under the background of information, courses such as comprehensive course. Overall, with the advent of the era of mobile, since the role of media in the field of teaching has become a trend that nots allow to ignore, and very shortly after may instead of the traditional teaching, become the EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

313


mainstream of teaching means, in this context, the author thinks that for the media play a role in teaching Chinese as a foreign language study should be attention and practice. The Objective 1. for teachers: The feasibility of WeChat teaching is based on the unprecedented development of digital technology and the interconnection of global knowledge system through the Internet. Firstly, for teachers or teaching practitioners, the universal post-digital technology enables them to easily access massive teaching resources and upload their own teaching courseware, find corresponding learners through the Internet, and the online connection can make their teaching widely spread. In addition, the most important point is the common media, personalization, low threshold, simple operation, strong interactivity and spread rapidly qualities make teachers and teaching practitioners have great teaching operation space, with these characteristics, teaching practitioners can share their anytime and anywhere with learners of teaching resources, can choose a personalized teaching form, the lower the threshold of industry access where they can more easily set up their own brand of teaching, make the best out of their own talents and value be possible, and no longer dependent on traditional schools or institutions, compared with the traditional employment channels, Since we-media teaching is free from the interference of personnel, promotion, professional title and other irrelevant things, teaching practitioners can focus more on the improvement of teaching quality, because the characteristics of online 314

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


teaching determine that teaching quality becomes the primary standard to consider teaching, and the premise of communication is to get the support and approval of the majority of people. 2. for learners Learners can be anywhere at any time via the Internet from the cloud access vast amounts of teaching resources, online learning makes no longer have the time and space constraints, learners can learn according to their own actual situation to arrange the best time and place, can choose oneself to like or need subject (skills), also can choose their favorite "teacher" and "school", so as to improve their overall learning efficiency. Methods of Teaching Chinese by Wechat The theoretical support of WeChat Chinese teaching is "Flipped classroom","Flipped classroom" is also called "flipped classroom" and "reversed classroom", which is named after the traditional teaching mode of "teachers teaching and students listening"."Flip classroom� originating in the United States, the United States in 2007 in Los Angeles, two teachers, Jonathan Bergmann and Aaron Sams in order to solve the problems of the students absent from class and to record the teaching video online for the student to study, then this method with consortium including Bill Gates and other capital injection and get comprehensive promotion, it eventually evolved into today's Khan Academy (Khan Academy).The teaching mode of flipped classroom allows teachers to upload the prepared teaching video (courseware) to the network platform in advance before class -- students can learn independently at home -- and teachers and students can discuss EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

315


learning and do homework together.This model to study the initiative back to student, the role of the students from passive to accept into the initiative for learning, the role of the teacher is no longer a simple "giver" in the history of knowledge, but also a "server" and "designer", so that teachers and students are free from the "classroom", the professor originally used to after a few minutes of class time to explore learning problems, are extended from the space and time the edge of the teaching and learning, to deepen the depth of students' learning. The author thinks that the teaching of Chinese as a foreign language and the spread of Chinese culture from traditional to let the students from passive to accept the position of the converted to let students take the initiative to ask for the role of the media supplementary teaching will be able to help the traditional classroom teaching Chinese as a foreign language well completed the course of the role, this is the author in reference to "flip" classroom after use WeChat teaching model in the practical teaching, as shown in figure 1: The Internet

WeChat

Teacher

316

Students

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Characteristics of using WeChat we media to teach Chinese Since the characteristics of the media teaching Chinese as a foreign language should be with the traditional teaching Chinese as a foreign language, in contrast, the traditional focus on "teaching" Chinese as a foreign language, the teacher only undertake to the student in the classroom teaching form, determines the dimensions of the students to learn in the teacher as the center, its learning environment is closed, the traditional classroom obvious is defined for the teaching of Chinese listening, speaking, reading and writing of subdivided subjects, which means students often need to listening, speaking, reading and writing for learning respectively, although this kind of learning has a strong organization, but divided the wholeness of language in listening, speaking, reading and writing, since the media immersion of auxiliary teaching requires students to learn, This feature requires students to learn to integrate listening, speaking, reading and writing course integration segment, such as: teacher upload courseware is the form of video, then the students to acquire the video learning task must be to find a way to parse the audio video, text and image information, teacher assignments on the online request comes in the form of audio, that contains elements of listening, speaking, reading and writing is natural students finish to complete the study task at the same time; In traditional simple classroom teaching, the teacher position and prestige are absolute, few students to challenge the teacher's right and wrong, and in the media teaching in return the principal position of the teacher to students, students can get through the network learning resources will not be less than the teachers, students can easily EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

317


identify the teacher teaching content of right and wrong, the teacher just ACTS as a auxiliary role, students contact Chinese learning via the Internet, expand the study by having a margin of time and space, to obtain knowledge of Chinese is a traditional classroom of. According to the traditional teaching of Chinese as a foreign language and we-media teaching, the author lists the comparison chart of their respective teaching characteristics, as shown in table 1:

318

Traditional Chinese classroom teaching

WeChat we media assisted teaching

The protagonist

Teacher

Students

The environment

Classroom

Free

The form

Enclosed

Opening

The structure

Class teaching

Classroom teaching and online teaching are combined

The objectives

Student passive acceptance

Students take the initiative to explore learning

Tools

Textbook, classroom, blackboard (PPT)

Traditional tools + we media platform + electronic courseware

Times

Designated class time

Discretionary

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


WeChat official account "xiaoshu Chinese" WeChat public, "young Chinese" is the author in July 19, 2018, the registered, used to aid primary WeChat public on teaching Chinese as a foreign language, belong to WeChat public 3 the subscription service type, the public is WeChat ID xshy0623, public points three function areas, respectively is the "introduction", "synchronous classroom" and the "new words", corresponding to three tectonic plates are respectively introduction to Chinese language teaching, such as basic phonetic pronunciation teaching, synchronization class progress and each class of learning new words. "Xiaoshu Chinese" aims to improve the teaching efficiency of TCFL class by pushing the pictures, texts, audio and video courseware of the synchronous courses to students. This account is only used in the class with the author as a tool to assist TCFL teaching and is not used for commercial purposes. The qr code, home page, function plate and push cases of the official account are shown in figure 1, 2, 3 and 4 of appendix A respectively.

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

319


P.1

P.3

320

P.2

P.4

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Results This paper collects the feedback information from students in the form of questionnaire. In this questionnaire real directional 35 points, real back 35 points, according to the questionnaire (after the article "research", such as no special instructions for this questionnaire) shows students age between 15 to 20 years old, accounted for 82.9%, the group has great dependence on network and social media, respondents in addition to the three Thai Chinese students, the rest are all Thai people, has more than two years and Chinese school-age accounted for 88.6%, 65.7% of the students learn about the media (WeChat), 52.4% of them often use the media (WeChat), 65.75% students had online learning experience,Which is familiar with and repeatedly to participate in online learning students accounted for 57.1%, familiar and often use "little Chinese students accounted for 97.1%, students familiar with the contents of the" young Chinese "publishing platform and often use, 74.3% of students choose to use" young Chinese "in the evening, 68.6% of the students often choose to study at home to use" young Chinese ", used in 94.2% of the students because of social software and browse "young Chinese" teaching contents via Facebook, because 60% of the students feel more convenient and is usually WeChat public browsing "young Chinese".80% of the students believe that learning Chinese anytime and anywhere is the biggest advantage of "young Chinese", while 71.4% of the students think that it is the biggest weakness that they cannot consult the teacher face to face. In the "young Chinese" + offline class mode, 68.6% of students prefer the offline class because they can ask the teacher questions at any time, while 74.3% prefer the online class because they EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

321


can learn Chinese anytime and anywhere.54.3% of the students think that "young Chinese" is more effective than traditional Chinese teaching, 74.3% of the students prefer the online + offline learning mode, and 62.9% of the students say they will still use "little tree Chinese" to learn Chinese after graduation.

Conclusion and Discussion In this paper, based on the research of the teaching practice research and related literature, and adopt the method of questionnaire survey WeChat's role in Chinese teaching, the article analyze the WeChat related Chinese teaching theory, historical background and of the lineage of the related research and development of the industry status quo, the author's own experience of teaching Chinese as a 322

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


foreign language to make WeChat teaching feasibility analysis and concludes that, the paper also studied the teaching mode and the implementation of WeChat ways and teaching characteristics, through the design lesson plans and verify the feasibility of WeChat teaching practice, and through comparing from the advantages and disadvantages of teaching media,According to the research results, some Suggestions on WeChat Chinese teaching are given.In the teaching practice part, feedback on teaching effectiveness was collected by means of directional questionnaire survey. The paper summarized and sorted out the collected data, and finally came to the conclusion that WeChat was very suitable as a tool for Chinese teaching. References Chen Changlai. 2015. Introduction to teaching Chinese as a foreign language. Shanghai: fudan university press. Cui Yanli. 2015. Case design of teaching Chinese as a foreign language under the background of informatization. Huo Tingting. 2015. Design of mobile learning model based on WeChat. Academy of education, yan 'an university. Liu Juan. 2017. Development and prospect of Chinese international education informatization in the context of the new era. Education and teaching BBS. Li qian. 2014. A study on the bidirectional interaction of weibo in promoting network-based teaching of Chinese as a foreign language. Changsha: hunan university. EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

323


Li mengyue. 2016. Application of mobile learning in Chinese international education under new media -- a case study of weibo and WeChat. Zhengzhou: zhengzhou university. Liu Xun. 2000. An introduction to teaching Chinese as a foreign language. Beijing: Beijing language and culture university press. Lv Bisong. 1992. On theoretical research of teaching Chinese as a foreign language. Language application. Mu bin. 2017. Research on TCFL learning mode under the mobile Internet. Guilin: guangxi normal university. Song Jia. 2015. Research on blog assisted teaching of Chinese as a foreign language. Chong zuo: guangxi normal university for nationalities. Zhang Hesheng. 2015. Ma yanhua. Normal teaching plan for TCFL. Beijing Beijing normal university press. Zhou Xiaobing. 2009. Introduction to teaching Chinese as a foreign language. Shanghai: commercial press. Zhou Yuxin. Yang di. 2018. Development and prospect of Chinese international education informatization. Research on culture and education. Zhao qinghua. 2015. Feasibility study and analysis of adult WeChat mobile learning in 4G network environment. Guangzhou: guangdong normal university of technology. Zou Xiaoqing. 2015. Research on interactive teaching mode of Chinese as a foreign language based on WeChat. Education and career.

324

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Case study: the factors of school bullying behavior to middle school students Yao Lu Abstract School bullying refers to violent oppression from many of people on campus. The sources of violence may include teachers, classmates, school staff, and outsiders. In addition to seriously affecting normal campus life and teaching order, causes loss of property, and in addition to skin trauma, serious people may endanger the physical, mental health and even life safety of the bullied person. Because middle school students are in the stage of “puberty�, their own incitement and conflicts with the outside world make middle school become the hardest hit area for school bullying. Middle school students are becoming the main victims of school bullying. In recent years, this study focused on the student population of School Bullying behavior, from the cause of the bullying factor, the process,

MISS YAO LU Graduate Student in Master of Education Program in Innovations in Learning and Teaching, Sripatum University EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

325


the harm and the prevention of the school bullying, objective is help more Campus workers reduce the occurrence probability of campus bullying factors from the root cause, prevent them from being the mainstay, and provide timely guidance for students to provide a good campus atmosphere for learning and living. Keywords: school bullying, campus life, guidance, countermeasure analysis, suggestion Introduction With the rapid development of social economy and culture, in the context of social transformation, the influx of multiculturalism, coupled with the violent information conveyed in online media and film and television works, the current ideology of students has changed, and the judgment of good and evil has deviated. The case of campus bullying public prosecution is on the rise, and the problem of bullying on campus has become a hot issue in education and research. School bullying can cause mental health hazards to both bullies and bullies. For those who are bullied, the short-term impact has low self-worth, low self-evaluation and poor social self-efficacy. The mental health effects of students will reach their high level of depression, high levels of anxiety and low self-esteem after adulthood. For the bully, there will be anxiety, depressive symptoms, social eviction, illegal behavior, etc. [2]. In the long run, it will be detrimental to the development of students, which is not conducive to the normal development of school education and teaching activities, and is not conducive to the cultivation of basic education talents. Therefore, it is 326

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


necessary to explore the causes of school bullying incidents and propose effective and effective preventive measures. The formation of school bullying is not only influenced by individual students and school education, but also by factors such as social environment, family education, and peer relationships. In view of the complexity and uncertainty of the factors affecting school bullying, the single academic perspective has no guiding significance for the prevention and control of bullying. The Objective School Bullying is actually a phenomenon of campus violence caused by inequality in student population. It reflects a struggle for power instincts since the birth of humans and animal groups. Society has various laws and laws to clamp down on the instinctual continuation of adults, but with the development of society, the people who struggle for power begin to appear young and even young. In the past few years, the focus of the campus bullying incident analysis, from the campus bullying factors incentives, processes, hazards and prevention of campus bullying incidents countermeasures and recommendations, hoping to help more campus workers and related education staff Reduce the probability of occurrence of campus bullying incidents from the root cause, prevent it from being the mainstay, and provide timely guidance for students to provide a good campus life and learning atmosphere.

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

327


Conceptual framework (1) What is bullying? After the middle school campus bullying began to explore the characteristics of the school, it was concluded that the campus bullying was characterized by Olweus. Most researchers believe that the campus bullying includes deliberate, recurring, fixed objects, and rights. Four characteristics are balanced. Later, some researchers have empirically investigated and found that it is appropriate to divide the campus bullying with the balance of power. It is pointed out that many campus bullying’s also have a situation of equal enemies. This study believes that campus bullying should focus on the harm to the individual, because the campus bullying is very concealed, in which it is often difficult to detect, always causing reversible consequences or very When it is hurt, it is discovered. Therefore, we define campus bullying as: deliberate and continuous attacks on individuals or groups of individuals or groups on campus and around campus, causing him to adapt to the body, society, etc. hurt. For the construction of the campus bullying dimension, the main reference is to the Taiwanese scholars' division of the campus bullying, and the results of the open questionnaire collection, including the language bullying: mainly through language insults, threats, warnings, intimidation, etc. Injury; physical bullying: through the limbs such as hitting, pushing, grabbing, etc. to cause damage; relationship bullying: to row, cold, orphan, mainly cause damage; tyrants: using the network as a medium, It is the injury that is caused by the body. In the end, it is transferred to the bully. The intention of passing on the intention is to transfer the burden and pain suffered. We all retaliate, 328

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


counterattack, and transfer the pain to collectively call the transfer of bullying. (2) Why it so important? First of all, traditional education does not pre-empt the occurrence of campus bullying. Only when the bullying behavior involves serious injury incidents or extreme conflicts will it attract the attention of the school and the teacher, and the handling is often based on preaching and administrative punishment. However, the bullying incident often involves multiple levels. In addition to the events that occur in the surface reality, more are invisible behaviors. Therefore, variables are introduced to examine the relationship between the bullying behavior of the campus and other factors, and to find more deep reasons. From different angles, it provides a new entry point for the study of campus bullying behavior. Secondly, the types of school bullying behaviors are diverse, complex in form and harmful. If they cannot be effectively prevented and solved, it will not only affect their academic development, but also harm their physical and mental health, and understand the situation of middle school students' bullying behavior. The development of physical and mental health and the establishment of a harmonious campus all have important significance, and provide a reference direction for follow-up research, and provide practical reference for preventing and responding to campus bullying behavior. (3) Choose middle school students bullying; youth development period The middle school campus is the main place where the school bullying incident occurred in China. Because middle school students EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

329


are in a “psychological weaning period”, this period is often referred to as the “multiple things” season. At this stage, the students' physical and mental aspects are undergoing tremendous changes and growth. The youthful incitement and the change of identity roles have made many students “underwhelmed”. On the other hand, they are eager to “grow up” and hope that they can be treated like adults and lead themselves. On the other hand, I am confused and do not know how to face my physical and psychological changes. In this kind of hardship, many students will become violent, impulsive, "blood", difficult to control their emotions and energy, and when faced with problems and encounter conflicts, it is easy to take more extreme ways to solve problems. The characteristics of middle school students' age stage largely determine that the middle school campus is the most concentrated outbreak of campus bullying. The middle school student group is the main recipient of campus bullying. (4) Main factors The abused side of the campus bullying is mostly uncomfortable, or students who have certain defects in their living habits, in addition to being unable to adapt to the new environment, are different from others, often being bullied and unable to protect their children. Depression, anxiety, or inferiority, unsocial students are also more susceptible to school bullying. In terms of campus bullying, violent students often have two types of violent transfer and power struggle. The so-called violent transfer is a long-term domestic violence, which shows a strong sense of inferiority. When encountering a group that is weaker than oneself, it will behave. A compensatory transfer of violence to meet its own psychological needs. The power-fighting 330

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


children are mostly children who have strong advantages in socializing and learning. In order to highlight or consolidate their status, they are bullying the more disadvantaged students in order to pursue the superiority of power. Campus bullying occurs when parents go out to work, with grandparents, grandparents, etc. The elders stayed behind and although they lived with their parents, they had poor family relationships and had fewer family members. When the school bullying occurs, the bully party should refuse to confide to the family for fears, fears and other negative factors. The violent party is reluctant to inform the parents because they are immersed in the thrill of power, so it is easy to miss the most difficult to solve the campus bullying. Good time. Family factors have important inducing factors for the occurrence of school bullying. In the relevant survey on campus violence, children who grow up in a family full of violent, filthy words, and weak foods are more likely to become parties to school violence. The views of this survey also apply to campus bullying. The author believes that a poor family life atmosphere and lack of communication are an important incentive for campus bullying. The main concern of modern education is still the student's academic performance. Many schools only pay attention to the academic performance of students and neglect the concern about the development of students' mental health. There are too few communications between teachers and students on campus. The lack of teachers' concern for students leads to the failure to discover the signs of student anger and the early phenomenon of campus bullying. EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

331


This has led to the expansion of the impact of early school bullying and even indelible for the victims’ damage. Research Methods (1) Literature research method Based on the needs of research, the network is used as a carrier to access the collection resources of major libraries in China, collect professional academic journals and papers, public information and materials, and then analyze, organize, summarize and interpret relevant literature and materials. This study provides theoretical support and realistic basis. (2) Questionnaire method In this study, the students of Liupanshui No. 3 Middle School in Guizhou Province were the main research subjects. Firstly, the survey samples were randomly selected and determined, and then the questionnaires were distributed and collected. Through the analysis of the data of the valid questionnaires, the status quo and reasons of the school bullying problem in the middle school were analyzed. Wait. The subjects of the questionnaire were mainly students in the seventh and eighth grades of the school. 100 questionnaires were issued and 79 valid questionnaires. The ratio of male to female was about 5:3. (3) Interview method The interview method was mainly for the selection of some students in the 7th and 8th grades of Liupanshui No. 3 Middle School in Guizhou Province. The interviews were conducted on personal, family and social aspects of campus bullying. 332

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Results Compared with school violence, the phenomenon of campus bullying is worthy of the attention of the majority of educators. Campus bullying reflects not only an abnormal campus social phenomenon, but also indirectly esteemed the students' academic performance, and praised students with good grades and indulging their life background. For some teaching achievements outside, such as moral education, students' mental health development and many other soft powers, the degree of emphasis on soft quality is not enough to examine and criticize. Schools and related education practitioners should start from the teaching aspect, take a more reasonable and comprehensive assessment of the performance of students in daily teaching, conduct social assistance for disadvantaged students, and guide students with better social skills away from campus bullying. Intention, use your own superiority in a healthy and correct direction, and find the right power pleasure in fair competition such as class construction and campus construction. At the same time, parents should also learn more about the student's campus life, assist the school to jointly create a healthy and healthy campus environment, learn about the occurrence of campus bullying through the conversation between parents and children, and inform the school to assist in the completion of the school bullying incident handling and prevention. Solving the campus bullying and providing students with a more comfortable and healthy campus environment is also an attempt to gradually solve the existing malpractices in the educational methods and systems. (1) Gender Differences in Middle School Students' Campus Bullying Behavior Among the gender differences in the bullying behavior EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

333


of middle school students, it is shown that boys are high in all dimensions and total scores. For girls, especially in physical bullying, transfer to bullying and cyberbullying. There have been many previous studies. Researchers explored the differences between male and female students in the behavior of bullying on campus. Zhang Wenxin is concerned about bullying in schools. It is pointed out that the ratio of male and female bullies in junior high school is 4.3% and 0.8% respectively (2005). Taiwan scholar (Lai Kunrui, 2012), (Lin Yaping, 2011), etc. pointed out that on-campus, boys’ school bullying behavior was significantly higher than that of girls. The existence of this phenomenon may be related to the differences in the traits of boys and girls themselves. Most boys are more straightforward. The problem that can be solved with a fist does not use language, and loves face, being bullied will find a way to go back. Girls are more reserved, and most of the groups that have bullying behaviors will use isolation, neglect, and squatting. To achieve your own goals. Now that the Internet is popular, games such as violence and shooting are on the rise. Especially, the middle school boys as a passion for this kind of game, the insulting language in the game, violent attacks, conjectures. It is the primary reason why boys in cyberbullying are significantly higher than girls. (2 ) Differences in the only child of the birthplace of middle school students' school bullying behavior. This study explores the

334

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


source of students and the demographic variables of the only child and finds the various dimensions of the campus bullying. There is no difference between the degree and the total score. The only child in the 1990s is the only child in the past. The family is generally a family with a good economic situation. I want to know if a child with a large family will be in school. What are the characteristics of Park’s behavior, but in this study, it was found that only one child only occupied a very small part. And not only the children of urban families are the only children, but many rural families also have only one child. Yes, In these two demographic variables, there is no difference in the children’s school bullying behavior, but the family is a ring The situation will not affect it, and further exploration is needed. (3 ) Differences in the type of left-behind behavior of middle school students' bullying behavior Middle school students’ bullying behavior. There is no difference. The type of left-behind hides the family environment and family companionship; there is no difference in this variable. The reasons for the existence of school bullying behavior in middle school students are many, and more may be the combination of school and society. Caused by the cause. ( 4 ) Grade difference of middle school students' bullying behavior. In general, student bullying and aggression will increase with the transition to secondary school and then drop. In the transition period, the juveniles will occupy the dominant position strongly and weakly, compared with the primary school stage. The degree of bullying of students will be reduced (Pellegrini, 2002). In the study of the bullying behavior of the campus, the grade EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

335


difference. The discussion of the difference is the most abundant. In the past studies, Taiwan scholars such as Zhao Zhaohong and Li Zhong believed that the campus bullying the behavior will not be different because of different grades (Zhao Zhaohong, 2 0 1 0 ), while Qiu Kaiyi believes that juvenile bullying The ratio of behavior is inversely proportional to the increase in grades. Yi Yijin (2 0 1 0 ) believes that students in the seventh and eighth grades are on the campus. To be stronger than the students in the ninth and tenth grades. Gao Bo et al. found in the survey of campus bullying phenomenon, in elementary school.The high school grade is the multi-stage stage of campus bullying, and the junior high school stage is the high-risk stage, in which the first two grade stage is The intensive stage of school bullying in junior high school (Gao Bo & Liu Xiaotong, 2 0 1 8 ). In this study, a total of investigations were made. In the six grades, there are differences in grades, mainly reflected in the lower grades of bullying behavior in the lower grades. The level, especially in the first and second grades, is particularly obvious. On the contrary, bullying behavior in the high school stage is weakened. The reason may be that the students in the first and second grades are in the key stage of adulthood development.Rebellious, self-awareness, and a sense of independence. I want to break through the environment of enemies under inherent protection and become sensitive. Easy to provoke. In the middle and high school grades, the students’ focus shifts to academics, and individual development is more stable. The form of Park bullying may shift to a hidden way, such as isolation, sputum, verbal abuse. 336

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Discussion Middle school students' bullying behavior has been summarized since the researchers began to explore the characteristics of campus bullying behavior, led by Olweus, most researchers believe that campus bullying behavior includes deliberate, long-term repetition, fixed objects, As well as the four characteristics of power imbalance, later researchers also found through empirical investigation that it is not appropriate to divide the campus bullying behavior with power imbalance, and pointed out that many campus bullying behaviors are evenly matched. This study believes that campus bullying should focus on the harm to individuals, because the occurrence of campus bullying behavior is much concealed, not in it, often difficult to detect, always causing irreversible consequences or it was discovered when there was a lot of damage. Therefore, we define the behavior of campus bullying as: the physical or psychological aggression of individuals (student) individuals or groups on campus and around the campus, causing others too physically, psychologically, and socially. Adapt to other aspects of injury. For the establishment of the campus bullying behavior dimension, the main reference is to the Taiwanese scholars' division of the campus bullying behavior, and the results of the open questionnaire collection, including speech bullying: mainly through language such as insults, threats, warnings, intimidation, etc. Injury; physical bullying: through the limbs such as hitting, pushing, grabbing and other damage to others; relationship bullying: to crowd out, cold, isolated, mainly to cause psychological harm to others; network bullying: is based on the network, Injury to others' bodies and minds, and finally to pass on the bullies. The intention of passing on the EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

337


intention is to transfer the burden and suffering that they have suffered to others. Here we collectively refer to all acts of retaliation, counterattacks, and transfer of their own pains. References Caprara, G. V., Tisak, M. S., Alessandri, G., Fontaine, R. G., Fida, R., & Paciello, M. 2014. The contribution of moral disengagement in mediating individual tendencies toward aggression and violence. Developmental Psychology, 50 (1), 71. Didaskalou, E., Roussi-vergon, C., Andreou, E., Skrzypiec, E., & slee, P. 2 0 1 8 . Kelly, E. V., Newton, N. C., Stapinski, L. A., Slade, T., Barrett, E. L, & Conrod, P. J. (2 01 5). Suicidality, internalizing problems and externalizing problems among adolescent bullies. victims and bully-victims. Preventive Medicine, 7 3 , 100-105. Perren, S., & Gutzwiller-Helfenfinger, E. 2 0 1 2 . Cyberbullying and traditional bullying in adolescence: differential roles of moral disengagement, moral emotions, and moral values. European Journal of Developmental Psychology, 9 (2), 195-209.

338

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Questionnaire 1. Gender: Male □ Female □ 2. Age:____ 3, Grade: _____ 4. Student source: city □ rural □ 5. Is it the only child: yes □ no □ 6. Type of stay: □Father goes out to work □ Mother goes out to work □ Parents go out to work □ Stay with parents’ The following statement, please call on the most appropriate answer according to your 0% 25% 50% 75% 100% actual situation."√". 1. When I am annoying, I will be mad at the 1 2 3 4 5 face. 2. I don't think there is much relationship 1 2 3 4 5 between being swearing or scaring others. 3. When I feel that the other party is not reasonable, it is more effective to solve 1 2 3 4 5 problems by swearing people. 4. When you are in a bad mood, it’s a 1 2 3 4 5 human nature, nothing. 5. I will use sluts to vent my emotions. 1 2 3 4 5 6. Regarding the rumors that I hate people, I will follow them and let everyone not like 1 2 3 4 5 him (her) 7. Some students hate it, I will deliberately say something to make everyone hate him 1 2 3 4 5 (her) EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

339


8. I don't do group activities with a nasty classmate in a group, and I don't want others to be with him or her. 9. Solving problems with your fists is a quick and good way for me. 10. When I am in a bad mood, I will beat people to vent their dissatisfaction. 11. I will force others to help me with things, do homework or share work. 12. For those who offend me, I will teach him together with my friends (her) 13. For those who offend me, I will continue to harass him (her) through the Internet and give him a lesson. 14. My friend is being bullied, I will help him 15. For the nasty classmates, I will let my friends ignore him (her) 16. Someone beat me, I will call my friends, brothers and sisters to fight back together. 17. If someone scolds me, I will be more fierce than he or she is. 18. Sometimes I feel that fun will put the ugly photos of my classmates on the Internet. 340

1

2

3

4

5

1

2

3

4

5

1

2

3

4

5

1

2

3

4

5

1

2

3

4

5

1

2

3

4

5

1

2

3

4

5

1

2

3

4

5

1

2

3

4

5

1

2

3

4

5

1

2

3

4

5

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


19. For those who can't beat me, I will send a curse mail and death letter through the 1 network to scare him (her) 20. I think that I am very capable. I will hit 1 him if she is unhappy. 21. For the nasty person, I will send her scandal online, let everyone condemn him 1 (her)

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

2

3

4

5

2

3

4

5

2

3

4

5

341


การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทย เรื่องการสร้างคาด้วยวิธีการสมาสแบบมีสนธิ โดยใช้เกม กระดานชุด “หมากฮอสชวนคิด พิชิตสนธิ” สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ จังหวัดสุรินทร์ คิดลึก สังข์สาลี บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ เป็ น การวิจัย เชิ งทดลอง มีวัต ถุประสงค์คื อ 1) เพื่ อศึ กษาผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทย เรื่องการสร้างคาด้วยวิธีการสมาส แบบมีสนธิ โดยใช้เกมกระดาน ชุด “หมากฮอสชวนคิด พิชิตสนธิ” 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทย เรื่องการสร้างคา ด้วยวิธีการสมาสแบบมีสนธิ โดยใช้ เกมกระดาน ชุด “หมากฮอสชวนคิด พิชิตสนธิ ” ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน เทียบกับเกณฑ์ ร้อยละ 70 และ 3) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการ จั ด การเรี ย นรู้ โดยใช้ เกมกระดาน กลุ่ ม ตั ว อย่ า งคื อ นั ก เรีย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ จังหวัดสุรินทร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จานวน 20 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติค่าเฉลี่ย (x̄) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าที แบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (dependent t-test) และการวิเคราะห์ เนื้อหา (content analysis) นายคิดลึก สังข์สาลี นักศึกษา หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรู้และการ สอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม 342

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ผลการวิ จั ย พบว่ า 1) ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นรายวิ ช าภาษาไทย เรื่องการสร้างคาด้วยวิธีการสมาสแบบมีสนธิ มีค่าพัฒนาการสูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบ กั บ ผลการทดสอบก่ อ นเรี ย น 2) ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นรายวิ ช าภาษาไทย เรื่องการสร้างคาด้วยวิธีการสมาสแบบมีสนธิ หลังการจัดการเรียนรู้เรียน เท่ ากั บ ร้อยละ 70 ซึ่งเท่ากับเกณฑ์ร้อยละ 70 ที่ตั้งไว้ (สูงกว่า ก่อนการจัดการเรียนรู้ที่วัดได้ ร้ อ ยละ 55) และ 3) ความคิ ด เห็ น ของนั ก เรี ย นที่ มี ต่ อ การจั ด การเรี ย นรู้ โ ดยใช้ เกมกระดาน มีภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่งในระดับสูงมากที่สุด คาสาคัญ: ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทย วิธีการสอนโดยใช้เกมกระดาน การสร้างคาด้วยวิธีการสมาสแบบมีสนธิ Abstract The study was an experimental research. The objectives of this study were: (1) to study the learning achievement of students in Thai subject on the topic of “Creating words by Santhi in The Pali and Sanskrit Language”method by using board game named “Makhos Chuankid Pichit Sonthi”, (2 ) to compare the learning achievement of students in Thai subject between before and after learning in the topic “ creating words by “Creating words by Santhi in The Pali and Sanskrit Language” method by using board game “ Makhos Chuankid Pichit Sonthi” compared to 7 0 percent, and 3 ) to study the opinions of students towards learning management by using board games. The sample consisted of 20 Mathayom Suksa III students of 2nd semester, academic year 2 0 1 8 in Thatumprachasermwit School, Surin Province. Data analysis was used mean, standard deviation, dependent t-test, and content analysis. EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

343


Research findings were as follows: 1) the learning achievement of students in Thai subject on the topic ““Creating words by Santhi in The Pali and Sanskrit Language” had higher development when compared with the test results before studying, 2 ) the learning achievement of students in Thai subject on the topic “Creating words by Santhi in The Pali and Sanskrit Language” method, testing before learning is 55 percent and testing after learning is 70 percent (the set criteria is 70), the students’ achievement after learning is the same as the set criteria, and 3 ) the overall of students’ opinions towards learning management by using board games is at the highest level of agreement. Keywords: the learning achievement of students in Thai subject, teaching Santhi in The Pali and Sanskrit Language by using board game บทนา ภาษาไทยเป็ น เอกลั ก ษณ์ ป ระจ าชาติ ไ ทย เป็ น สมบั ติ ท างวั ฒ นธรรม สร้างความเป็นเอกภาพและแสดงความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อ สร้างความเข้าใจและความสัม พั น ธ์ที่ ดีต่ อ กัน และยั งเป็ น เครื่อ งมื อ ในการแสวงหา ความรู้ ความคิด การวิเคราะห์ การนาเสนองานสร้างสรรค์ที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ไปตามยุคสมัยของโลกปัจจุบัน ภาษาไทยเป็นสมบัติที่ควรอนุรักษ์และสืบสานให้คงอยู่ คู่ชาติไทย และควรเรียนรู้การใช้ภาษาไทยให้ ถูกต้องในด้านหลั กการใช้ภาษาไทย ดังพระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ที่พระราชทานไว้เนื่องในการประชุมทางวิชาการของชุมนุมภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พุทธศักราช 2505 ความตอนหนึ่งว่า “...เราโชคดีที่มีภาษาไทยของตนเองแต่โบราณ จึงสมควร อย่างยิ่งที่จะรักษาไว้ ปัญหาเฉพาะในด้านรักษาภาษานี้ก็มีหลายประการ อย่างหนึ่ง 344

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในทางออกเสียง คือ ออกเสียงให้ถูกต้องชัดเจน อีกอย่างหนึ่งต้อง รักษาให้บริสุทธิ์ในวิธีใช้ หมายความว่าวิธีใช้คามาประกอบเป็นประโยค นับเป็นปัญหา ที่สาคัญ ปัญหาที่สาม คือความร่ารวยในคาภาษาไทยซึ่งพวกเรานึกว่าไม่ร่ารวยพอ จึงต้องมีการบัญญัติศัพท์ใหม่มาใช้ คาใหม่ที่ตั้งขึ้นมีความจาเป็นทางวิชาการไม่ น้อย แต่บางคาที่ง่าย ๆ ก็ควรใช้ คาเก่า ๆ ที่มีอยู่ ไม่ควรตั้งศัพท์ใหม่ให้ยุ่งยาก และผู้ที่ตั้ง คานั้นต้องรู้คาและหลักภาษาลึกซึ้งทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ...” อั จ ฉรา สุ ข ารมณ์ และ อรพิ น ทร์ ชู ชม (2530) ได้ ก ล่ า วว่ า ผลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียน หมายถึง ความสาเร็จที่ ได้จากการทางานที่ต้องอาศัยความพยายาม จานวนหนึ่ ง ซึ่ งอาจเป็ นผลมาจากการกระท าที่ อาศัย ความสามารถทาง ร่างกาย หรือสมอง ดังนั้น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจึงเป็นขนาดของความสาเร็จที่ได้ จากการเรียนที่อาศัยการทดสอบ เช่น จากการสังเกตหรือการตรวจการบ้าน หรืออาจ อยู่ในรูปของเกรดที่ได้มาจากโรงเรียน ซึ่งต้องอาศัยกรรมวิธีที่ซับซ้อนและช่วงเวลาใน การประเมินอันยาวนานหรืออีกวิธีหนึ่งอาจวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยแบบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั่วไป ไพศาล หวังพานิช (2533) ได้ให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนไว้ คือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คุณลักษณะและความสามารถของบุคคล อันเกิด จากการเรียนการสอน เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และประสบการณ์การเรียนรู้ ที่เกิดจากการอบรม หรือจากการสอน การวัดผลสัมฤทธิ์จึงเป็นการตรวจสอบระดับ ความสามารถหรือความสัมฤทธิ์ผลของบุคคลว่า เรียนรู้แล้วเท่าไร มีความสามารถ ชนิดใด ซึ่งสามารถวัดได้ 2 แบบ ตามจุดมุ่งหมายและลักษณะวิชาที่สอน คือ 1. การวั ด ด้ ว ยการปฏิ บั ติ เป็ น การตรวจสอบระดั บ ความสามารถ ในการปฏิ บั ติ ห รื อ ทั ก ษะของผู้ เรี ย น โดยผู้ เรี ย นได้ แ สดงความสามารถดั งกล่ า ว ในรูปการกระทาจริงให้ออกมาเป็นผลงาน เช่น วิชาศิลปศึกษา พลศึกษา การช่าง เป็นตัน การวัดแบบนนี้จึงต้องวัดโดยใช้ข้อสอบปฏิบัติ 2. การวัดด้านเนื้อหา เป็นการตรวจสอบความสามารถเกี่ยวกับเนื้อหาวิชา อันเป็นประสบการณ์การเรียนรู้ของนักเรียน รวมถึงการตรวจสอบความสามารถใน ด้านต่าง ๆ สามารถวัดได้โดยใช้ข้อสอบผลสัมฤทธิ์ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

345


Carrol. (1963) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับอิทธิพลขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่ มีต่อระดับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน โดยการนาเอาครู นักเรียนและหลักสูตรมาเป็ น องค์ ประกอบที่ สาคัญ โดยเชื่อว่าเวลาและคุณ ภาพของการสอนมีอิ ทธิผลโดยตรง ต่อปริมาณความรู้ที่นักเรียนจะได้รับ Maddox. (1963) ได้ ท าการศึ ก ษาพบว่ า ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของ แต่ละบุคคลขึ้นอยู่กับองค์ประกอบทางสติปัญญาและความสามารถทางสมองร้อยละ 50-60 ขึ้นอยู่กับโอกาสและสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 10-15 ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่ามีองค์ประกอบหลายประการที่ทาให้เกิดผลกระทบต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แต่ที่ทาให้เกิดผลโดยตรงนั้นคือ การสอนของครูนั่นเอง สุ วิ ท ย์ มู ล ค า (2545) ได้ ก ล่ า วถึ งการเรี ย นรู้ โ ดยใช้ เกมไว้ ว่ า เกม คื อ กระบวนการเรี ย นรู้ ที่ ผู้ ส อนให้ ผู้ เ รี ย นเล่ น เกมที่ มี กฎเกณฑ์ กติ ก า เงื่ อ นไข หรือข้อตกลงร่วมกันที่ไม่ยุ่งยากซับช้อน ทาให้เกิดความสนุกสนาน ร่าเริง เป็นการ ออกกาลังกาย เพื่อพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีโอกาสแลกเปลี่ยนความรู้ และ ประสบการณ์การเรียนรูร้ ่วมกับผูอ้ ื่น โดยมีการนาเนื้อหา ข้อมูลของเกมพฤติกรรมการ เล่น วิธีการเล่นและผลการเล่นเกมมาใช้ในการอภิปรายเพื่อสรุปผลการเรียนรู้ ปัญญา สังข์ภิรมย์ (2550) ได้กล่าวถึงวิธีสอนโดยใช้เกมว่าวิธีสอนโดยใช้เกม เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการเล่นเกมที่มีกฎกติกา เงื่อนไข และข้อตกลงร่วมกัน ทาให้เกิดการเรียนรู้มีความสนุกสนานร่าเริง เพื่อเป็น การพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การเล่นเกมจะเล่นคนเดียวหรือเล่นมากกว่า 2 คนขึ้นไปก็ได้ ตามความเหมาะสม อุ ทั ย สงวนพงศ์ (2553) ได้ ก ล่ าวถึ งความหมายของเกมไว้ ว่ า เกมเป็ น กิจกรรมการเล่นชนิดหนึ่งที่ช่วยให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้พัฒนาการเป็นผู้นา ผู้ตาม การ ทางานร่วมกัน มีความคิดสร้างสรรค์ ปลูกจิตสานึกให้เคารพในกฎกติกา เล่นด้วย ความยุติธรรม ไม่เอารัดเอาเปรียบ ทาให้ผู้เล่นเกิดความสนุกสนาน ได้ออกกาลังกาย ไม่เน้นเรื่องการชนะหรือแพ้ แต่ต้องการให้ผู้เล่นได้แสดงออกถึงทักษะและศักยภาพ ของตนเองเต็มความสามรถ 346

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


จากความหมายของเกมที่กล่าวมา สรุปได้ว่า เกม หมายถึง กิจกรรมที่มีกฎ กติกาที่กาหนดแน่นอน ช่วยฝึกทักษะให้ผู้เรียนเกิดความคิดรวบยอดในส่วนที่เรียน สอดคล้องกับเนื้อหา ที่เ รียนมีความสนุกหนานเพลิดเพลิน สามารถจูงใจ เร้าความ สนใจ เป็นสื่อที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ช่วยพั ฒนาทักษะต่าง ๆ พัฒ นาความคิด ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ผู้เล่นอาจมี 2 คน หรือเป็นทีมก็ได้ กาชัย ทองหล่อ (2556) ได้กล่าวว่า สนธิ คือการต่ อคาตั้งแต่ 2 คาขึ้นไปให้ ติดเนื่องเป็นคาเดียวกัน โดยมีการเปลี่ยนแปลงรูปสระระหว่างคา หรือเพิ่มพยัญชนะ แทรกลงระหว่างคา เพื่อให้คาที่จะนามาต่อกันนั้นเชื่อมกันได้สนิท การเปลี่ ย นแปลงรู ป สระนั้ น อาจจะท าโดยวิ ธี ล บหรื อ โดยการแปลงรู ป ให้ผิดไปจากรูปเดิมก็ได้ และได้ให้ลักษณะการสนธิในภาษาไทยไว้ ดังนี้ 1. คาที่จะนามาสนธิกัน อย่างน้อยจะต้องมี 2 คา อย่างมากไม่จากัด 2. เมื่อสนธิกันแล้ว จะต้องเป็นคาเดียวกันเช่นเดียวกับคาสมาส และโดย ปกติ จ ะต้ อ งแปลจากค าหลั งย้ อ นไปหาค าหน้ าเสมอ เพราะต้ อ งเรีย งค าตามหลั ก ไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต คือเรียงคาขยายไว้ข้างหน้า 3. คาที่จะนามาสนธิกัน ตามปกติจะต้องเป็นคาบาลีหรือสันสกฤต อาจจะ เป็นบาลีสนธิกับบาลี สันสกฤตสนธิกับสันสกฤต หรือบาลีสนธิกับสันสกฤตก็ได้ 4. ค าที่ จ ะน ามาสนธิ กั น ตามปกติ จ ะต้ อ งมี ทั้ ง สระหน้ า และสระหลั ง สระหน้าคือสระที่เป็นพยางค์สุ ดท้ายของคาหน้า สระหลังคือสระที่เป็นพยางค์หน้า ของคาหลัง สระหลังจะต้องเป็นสระล้วน ๆ ที่ไม่มีพยัญชนะประสมอยู่ด้วย เพลินใจ พฤกษชาติรัตน์ และ นันทพงษ์ พฤกษชาติรัตน์ (2553) ได้กล่าว ว่า คาสนธิ คือ การนาคาบาลีสันสกฤตมาเชื่อมเข้ากับคาบาลีสัน สกฤต ให้มีความ กลมกลืนเสียงสั้นเข้า เกิดเป็นคาใหม่ ซึ่งได้ให้ลักษณะของการสนธิไว้ ดังนี้ 1. สระสนธิ คือ การเชื่อมคาโดยคาตัวหน้าเป็นสระและคาตัวหลังเป็นสระ เช่น มหานิสงส์ อภินันทนาการ ภัตตาคาร มหินทร์ ราชินูปถัมภ์ เป็นต้น 2. พยั ญ ชนะสนธิ คื อ การเชื่ อ มและกลมกลื น เสี ย งระหว่ า งพยั ญ ชนะ ของคาหน้ากับพยัญชนะของคาขึ้นต้นในคาที่มาสนธิกัน EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

347


3. นิคหิตสนธิ คือ การต่อเชื่อมและกลมกลืนเสียงระหว่างคาต้นลงท้ายด้วย นิคหิตกับคาที่ขึ้นต้นด้วยสระหรือพยัญชนะ จากการศึกษาเรื่องการสร้างคาสมาสแบบมีสนธิ สรุปได้ว่าการสนธิ คือการ นาคาบาลีสันสกฤตมาเชื่อมเข้า กับคาบาลีสันสกฤตให้มีความกลมกลืนเสียงสั้นเข้า เกิดเป็นคาใหม่ อาจมีการเปลี่ยนแปลงรูปสระระหว่างคา หรือเพิ่มพยัญชนะแทรกลง ระหว่างคา เพื่อให้คาที่จะนามาต่อกันนั้นเชื่อมกันได้สนิท ซึ่งมีลักษณะของการสนธิ ดังนี้ สระสนธิ พยัญชนะสนธิ และนิคหิตสนธิ ผู้วิจัยได้สารวจพบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการสร้างคาด้วยวิธีการ สมาสแบบมีสนธิ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อยู่ในระดับที่ต่า คือมีผล คะแนนเฉลี่ยไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ของเกณฑ์ขั้นต่าที่ตั้งไว้ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจ ที่จะแก้ปัญหาในประเด็นนี้ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น และผ่านเกณฑ์ขั้นต่าไปสู่เกณฑ์คุณภาพภาพตามที่คาดหวังคือ ร้อยละ 70 และจาก การศึกษาข้อมูลวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ ข้างต้น พบว่า การจัดการเรียนการสอนโดยใช้เกมเป็นฐาน สามารถกระตุ้นให้นักเรียนเกิด การเรียนรู้และมีความสนุกสนาน อยากเรียนในเนื้อหาวิชาเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งยังเป็น การช่ วยให้ นั กเรีย นมี ความรู้ค วามเข้ าใจเนื้ อ หาวิชาที่ คงทน และท าให้ ผ ลสั ม ฤทธิ์ ทางการเรียนเพิ่มขึ้นด้วย ดั งนั้ น ผู้ วิ จั ย จึ งใช้ เกมมาเป็ น ฐานในการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน รายวิชาภาษาไทย เรื่อ งการสร้า งค าด้ วยวิธีส มาสแบบมี ส นธิ โดยใช้ เกมกระดาน ชุ ด “หมากฮอสชวนคิ ด พิ ชิ ต สนธิ ” ส าหรั บ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 โรงเรี ย นท่ า ตู ม ประชาเสริ ม วิ ท ย์ อ าเภอท่ า ตู ม จั ง หวั ด สุ ริ น ทร์ ภาคเรี ย นที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จานวน 20 คน วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทย เรื่องการสร้างคา ด้วยวิธีการสมาสแบบมีสนธิ โดยใช้เกมกระดาน ชุด “หมากฮอสชวนคิด พิชิตสนธิ” 348

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


2. เพื่ อ ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นรายวิ ช าภาษาไทย เรื่องการสร้างคาด้วยวิ ธีการสมาสแบบมีสนธิ โดยใช้เกมกระดาน ชุด “หมากฮอส ชวนคิด พิชิตสนธิ” กับเกณฑ์ร้อยละ 70 3. เพื่ อ ศึ ก ษาความคิ ด เห็ น ของนั ก เรี ย นที่ มี ต่ อ การจั ด การเรี ย นรู้ โดยใช้ เกมกระดาน กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรต้น 1. การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมกระดาน ชุด “หมากฮอสชวนคิด พิชิตสนธิ” ตัวแปรตาม 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการสร้างคาด้วยวิธีการสมาสแบบมีสนธิ 2. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมกระดาน กรอบแนวคิด

ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจัย 1. ได้พัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาภาษาไทย เรื่องการสร้างคา ด้วยวิธีการสมาสแบบมีสนธิ 2. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการสร้างคาด้วยวิธีการสมาส แบบมีสนธิสูงขึ้น 3. ครูและนักเรียนมีความสุขในการจัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาไทย

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

349


เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แผนการจั ด การเรี ย นรู้ เรื่ อ งการสร้ า งค าด้ ว ยวิ ธี ก ารสมสแบบมี ส นธิ โดยใช้ เ กมกระดาน ชุ ด “หมากฮอสชวนคิ ด พิ ชิ ต สนธิ ” จ านวน 4 แผน แผนละ 2 ชั่ ว โมง รวมทั้ งหมด 8 ชั่ ว โมง เรี ย นรู้วิ ธี ก ารสร้า งค าด้ ว ยวิ ธี ก ารสมาส แบบมี ส นธิทั้ ง 3 วิ ธี ได้ แ ก่ สระสนธิ พยัญ ชนะสนธิ และนิ ค หิ ต สนธิ และใช้เกม กระดาน ชุด “หมากฮอสชวนคิด พิชิตสนธิ” จานวน 3 กระดาน 2. แบบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น ก่ อ นเรี ย นและหลั ง เรี ย น ซึ่ งเป็ น แบบทดสอบปรนั ย 4 ตั ว เลื อ ก จ านวน 20 ข้ อ การก าหนดคะแนนคื อ ตอบถูกได้ 1 ตอบผิดได้ 0 3. แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียน ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ เกมกระดาน ชุ ด “หมากฮอสชวนคิ ด พิ ชิต สนธิ ” จ านวน 12 ข้ อ โดยสอบถาม ความคิดเห็นใน 3 ด้าน คือ 1) ด้านบรรยากาศในการเรียนรู้ 2) ด้านการจัดกิจกรรม การเรี ย นรู้ และ 3) ด้ า นประโยชน์ ที่ ไ ด้ รั บ ซึ่ ง เป็ น แบบสอบถามมาตราส่ ว น โดยแยกความคิ ด เห็ น เป็ น 5 ระดั บ ได้ แ ก่ เห็ น ด้ ว ยอย่ า งยิ่ ง (5) เห็ น ด้ ว ย (4) เฉย ๆ (3) ไม่เห็นด้วย (2) และไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง (1) ผลการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทย เรื่องการสร้างคาด้วยวิธีการ สมาสแบบมีสนธิ มีค่าพัฒนาการสูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับผลการทดสอบก่อนเรียน 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาไทย เรื่องการสร้างคาด้วยวิธีการ สมาสแบบมีสนธิ โดยใช้เกมกระดาน ชุด “หมากฮอสชวนคิด พิ ชิ ตสนธิ” สาหรับ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 โรงเรีย นท่ า ตู ม ประชาเสริม วิ ท ย์ จั งหวั ด สุ ริ น ทร์ หลั ง การจั ด การเรี ย นรู้ เท่ า กั บ ร้ อ ยละ 70 ซึ่ ง เท่ า กั บ เกณฑ์ ร้ อ ยละ 70 ที่ ตั้ งไว้ (สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ที่วัดได้ร้อยละ 55) 3. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัด การเรียนรู้โดยใช้เกมกระดาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง 350

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


สรุปผลการวิจัยและอภิปรายผล สรุป ผลการศึ กษาและข้อ เสนอแนะ การพั ฒ นาผลสั มฤทธิ์ท างการเรีย น รายวิชาภาษาไทย เรื่องการสร้างคาด้วยวิธีการสมาสแบบมีสนธิ โดยใช้เกมกระดาน ชุ ด “หมากฮอสชวนคิ ด พิ ชิ ต สนธิ ” ส าหรั บ นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 3 โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์ จังหวัดสุรินทร์ ได้ดังนี้ 1. ผลจากการวิ เ คราะห์ ผ ลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น เรื่ อ งการสร้ า งค า ด้วยวิธีการสมาสแบบมีสนธิ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เกมกระดานพบว่า มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงเท่ากับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ทั้งนี้อาจ เนื่องมาจากเกมกระดานที่นามาใช้เป็นเกมที่ใช้เวลาไม่มาก มีกฎกติกาที่สอดคล้องกับ สาระและจุ ด ประสงค์ ก ารเรี ย นรู้ เป็ น การเรี ย นแบบเรี ย นปนเล่ น ที่ ส นุ ก สนาน เพลิ ด เพลิ น กระตุ้ น ความสนใจ ท าให้ นั ก เรี ย นไม่ เ บื่ อห น่ า ยในการเรี ย น มีค วามกระตื อ รือ ร้น ในการเรียนรู้ ท าให้ นั ก เรีย นเข้าใจเรื่ องที่ เรี ยนได้ เป็ น อย่ างดี โดยเฉพาะเรื่องการสร้างคาด้วยวิธีการสมาสแบบมีสนธิ นักเรียนจึงสามารถสร้างคา ได้อย่างถูกต้องตามกฎเกณฑ์ของการทาสนธิ จดจาได้แม่นยา คงทน ส่งผลให้นักเรียน มีผลสัม ฤทธิ์ท างการเรียนสู งเท่ากับ เกณฑ์ ที่ก าหนด ร้อยละ 70 ซึ่งสอดคล้ องกั บ แนวคิดของ ทิศนา แขมมณี (2547) ได้กล่าวไว้ว่า เกมการศึก ษาช่วยให้ผู้เรียนได้รับ ความสนุ ก สนาน ได้ มี ส่ ว นร่ ว มในการเรี ย นสู งและเกิ ด การเรี ย นรู้ ได้ ด้ ว ยตนเอง ท าให้ ส ามารถจดจ าสิ่ งที่ ไ ด้ เรี ย นรู้ อ ย่ า งแม่ น ย าและคงทนยาวนาน นอกจากนี้ ยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ ศิริวรรณ เยียระยงค์ (2547) ซึ่งได้ศึกษาเปรียบเทียบ ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นวิ ช าภาษาไทยเรื่ อ งการเขี ย นสะกดค ายากของผู้ เรี ย น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนโดยใช้เกมการศึกษา และการสอนตามคู่ มื อ ครู พ บว่ า ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นของผู้ เรี ย น ที่สอนโดยใช้เกมประกอบการสอนสูงกว่าผู้เรี ยนที่สอนตามคู่มือครู และเสงี่ยม เวียง คา (2550) ได้ ศึ ก ษาผลการพั ฒ นาทั กษะการเขีย นสะกดค ายากของนั ก เรีย นชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้เกมประกอบการสอนพบว่า เมื่อนักเรียนได้เรียนโดยใช้ แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการเขียนสะกดคายากโดยใช้เกมแล้ว นักเรียนมีคะแนน เฉลี่ยร้อยละ 80.30 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ร้อยละ 60.00 EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

351


2. ผลจากการวิ เคราะห์ ค วามคิ ด เห็ น ของนั ก เรี ย นชั้ น มั ธยมศึ ก ษาปี ที่ 3 ที่ มี ต่ อ การจั ด การเรี ย นรู้ โดยใช้ เกมกระดาน เรื่ อ งการสร้ า งค าด้ ว ยวิ ธี ก ารสมาส แบบมีสนธิพบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีความคิดเห็นต่อการจดัการเรียนรู้ โดยใช้เกมกระดาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง เมื่อเรียงลาดับค่าเฉลี่ย ในแต่ ล ะด้ า นจากมากไปหาน้ อ ยพบว่ า ระดั บ เห็ น ด้ ว ยอย่ า งยิ่ ง อั น ดั บ ที่ ห นึ่ ง คื อ ด้ า นบรรยากาศในการเรี ย น รองลงมาคื อ ด้ า นการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ และด้ า นประโยชน์ ที่ ได้ รับ เป็ น ล าดั บ สุ ด ท้ าย ทั้ งนี้ อาจเนื่ อ งมาจากเกมกระดาน เป็นกิจกรรมที่น่าสนใจ นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมและได้ลงมือ ปฏิบัติจริงด้วยตนเอง ทาให้บรรยากาศสนุกสนาน ไม่น่าเบื่อ และทาให้เข้าใจวิธีการ สร้างคาสมาสแบบมีสนธิได้อย่างรวดเร็วและแม่นยา นักเรียนจึงเห็นประโยชน์ของการ เรียนด้วยเกมกระดาน เกิดความสนใจและตั้งใจเรียนมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด ของ สุ กิ จ ศรีพ รหม (2544) ซึ่ งได้ กล่ าวว่า เกมการศึ ก ษาช่วยให้ ผู้ เรียนเกิ ด ความ เพลิดเพลิน ผ่อนคลายอารมณ์ตึงเครียด สนใจในการเรียนและกระตุ้นให้อยากเรียน นอกจากนี้ ยั ง สอดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของ เบ็ ญ จา คงสบาย (2547) ได้ ศึ ก ษา เปรี ย บเที ย บผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น เรื่ อ ง การเขี ย นสะกดค าของนั ก เรี ย น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่สอนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะและเกมประกอบการสอน พบว่า นักเรียนเห็นด้วยระดับมากเกี่ยวกับการเรียนภาษาไทยเรื่องการเขียนสะกดคา ที่สอนโดยใช้เกม และ ศิริวรรณ เยียระยงค์ (2547) ได้ศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาภาษาไทยเรื่องการเขียนสะกดคายากของผู้เรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 ที่ ได้รับ การสอนโดยใช้เกมการศึกษาและการสอนตามคู่มื อครูพ บว่า ความ คิ ด เห็ น ของผู้ เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 3 เห็ น ด้ ว ยมากกั บ การสอนโดยใช้ เกม การศึกษาและการสอนตามคู่มือครู ข้อเสนอแนะ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะอันเนื่องมาจากข้อค้นพบจากการวิจัยและการศึกษา วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 352

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ข้อเสนอแนะเพื่อนาผลการวิจัยไปใช้ 1. ผู้บริหารโรงเรียนและบุคคลที่เกี่ยวข้องควรส่งเสริมสนับสนุนให้มีการนา การจั ด การเรี ย นรู้ โ ดยใช้ เกมกระดานไปใช้ ใ นกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ภ าษาไทย ในระดับชั้นอื่นตามความเหมาะสม 2. ครูควรนาเกมกระดานมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ตามความเหมาะสม เพื่อ เป็นการสนองต่อความต้องการของผู้เรียนและเป็นการพัฒนาการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรทาการวิจัยเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการสร้างคาด้วย วิธีการสมาสแบบมีสนธิ ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมกระดานกับสาระอื่น ๆ ใน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนระดับชั้นอื่น ๆ ตามความเหมาะสม ต่อไป 2. ควรทาการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการสร้าง คาด้วยวิธีการสมาสแบบมีสนธิ ระหว่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมกระดานกับการ สอนรูปแบบอื่นๆ เช่น การสอนโดยใช้แบบฝึกหัด การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ การสอนโดยใช้เพลง การสอนโดยใช้นิทาน เป็นต้น 3. ควรทาการวิจัยเกี่ยวกับตัวแปรอื่น ๆ ที่มีความสั มพันธ์กับวิธีการเรียนรู้ โดยใช้เกมกระดาน เช่น ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการคิดความคงทนในการเรียนรู้ เอกสารอ้างอิง กาชัย ทองหล่อ. 2556. หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ : รวมสาส์น. ทิศนา แขมมณี . 2547. ศาสตร์การสอน. กรุงเทพฯ : สานักพิ ม พ์แห่ งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

353


เบ็ ญ จา คงสบาย. 2547. การเปรียบเที ยบผลสัม ฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการเขีย น สะกดค า ของนั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 3 ที่ ส อนโดยใช้ แ บบฝึ ก ทักษะและเกม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปัญญา สังข์ภิรมย์. 2550. สุดยอดวิธีสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยีนาไปสู่การ เรียนรู้ของครูยุคใหม่. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์. เพลินใจ พฤกษชาติรัตน์ และนันทพงษ์ พฤกษชาติรัตน์. 2553. หลักภาษาไทย และ การใช้ภาษาไทย พร้อมด้ว ยเรียงความและย่อความ ฉบับเตรียมสอบและ ศึกษาต่อสถาบันต่างๆ. กรุงเทพฯ : SCIENCE CENTER, สนพ. ไพศาล หวังพานิช. 2533. การวัดผลการศึกษา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. ศิริวรรณ เยียระยงค์. 2547. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาภาษาไทย เรื่องการเขียนสะกดคายาก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ที่ได้รับ การสอนโดยใช้ เกมการศึ ก ษาและการสอนตามคู่ มื อ ครู . นครปฐม : สาขาวิช าหลั ก สู ต รและการนิ เทศ ภาควิ ชาหลั ก สู ต ร และวิธี ก ารสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. สุ กิ จ ศรี พ รหม. 2544. “เกมกั บ การเรี ย นการสอน”, วิ ช าการ. 4 (พฤษภาคม 2544), 75 สุวิทย์ มูลคา. 2545. 19 วิธีจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์. เสงี่ ย ม เวี ย งค า. 2550. การพั ฒ นาทั ก ษะการเขี ย นสะกดค ายากของนั ก เรี ย น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้เกม. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อั จ ฉรา สุ ข ารมณ์ และ อรพิ น ทร์ ชู ช ม. 2530. รายงานการวิ จั ย การศึ ก ษา เป รี ย บ เที ยบ นั ก เรี ย นที่ มี ผ ล สั ม ฤท ธิ์ ท างการเรี ย นต่ ากว่ า ระบ บ ความสามารถกับ นั ก เรีย นที่ มี ผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรียนปกติ . กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อุทัย สงวนพงศ์. 2553. สนุกกับเกม. กรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพวิชาการ. Carroll, John B. 1 9 6 3 . Teaching Promblem Solving. Dele Seymour Publications. Maddox, Harry. 1963. How to study. London Wyman Ltd. 354

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ห้องเรียนธรรมะออนไลน์ ผ่านสื่อโซเซียลเมเดียสังคมออนไลน์ The Buddhist Dharma Learning Class through Online Social Media พระครูใบฏีกากฤษดา ไกรยะถา บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้หลักธรรม ทางพระพุทธศาสนาผ่านสื่อโซเซียลเมเดียสังคมออนไลน์ 2)เพื่อทดลองการใช้รูปแบบ กิจกรรมการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา 3) เพื่อประเมินผลการจัดรูปแบบ กิจกรรมการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา กลุ่มทดลอง อายุระหว่าง 45-65 ปี จานวน 60 คน มีขั้นตอนดังนี้ 1) ศึกษาสภาพปัญหา และความต้องการของผู้เรียนใน การเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาผ่านสือ่ โซเซียลเมเดียสังคมออนไลน์ 2) สร้าง กิจกรรมในการพัฒนาการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาผ่านสื่อโซเซียลเมเดีย สังคมออนไลน์ 3) น ากิ จกรรมการเรีย นรู้ห ลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนาน าไปใช้ ทดลองกับ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ สมุดบันทึกความสุข Application Line Facebook YouTube แบบติดตามก่อนเรียนและหลังเรียน แบบสังเกตพฤติกรรม การเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา แบบสอบถามความพึง พอใจ

พระครูใบฏีกากฤษดา ไกรยะถา นั กศึ ก ษา หลั ก สูต รศึ ก ษาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิชานวัต กรรมการเรีย นรู้แ ละ การสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

355


ผลวิจัยพบว่า 1. การพั ฒ นากิจกรรมการเรียนรู้ห ลักธรรมทางพระพุ ทธศาสนาผ่านสื่ อ โซเซียลเมเดียสังคมออนไลน์ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน 1) การวางแผน (Planning) 2) การจัดกิจกรรม (Activities) 3) เจตคติใหม่ (New attitudes) 4) การประเมินผล (Evaluation) 5) การถ่ายทอดความรู้ (transfer knowledge) 2. การทดลองใช้กิจกรรมการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาผ่านสื่อ โซเซีย ลเมเดี ยสั งคมออนไลน์ และประเมิ น ผลการจัด รู ป แบบกิ จกรรมการเรี ยนรู้ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาพบว่า 1) ผลการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาจากกลุ่มประชากร กลุ่มตัวอย่างหลังการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) กลุ่มทดลองได้มีการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา ได้แก่ ความกระตือรือร้น ความรับผิดชอบ การให้ความร่วมมือ การ แสดงความคิดเห็น การตอบคาถาม ผ่านตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3) ประชากรกลุ่มทดลองได้บันทึกผลการเรียนรู้ ผ่านสมุดบันทึก ความสุข และกิจกรรมกลุ่ม ได้แก่ การวางแผน ความร่วมมือกัน การตรงต่อเวลา การ รายงานผล มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าร้อยละ 80 ขึ้นไป ค าส าคั ญ : กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ห ลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนา/เครื อ ข่ า ย สั งคม ออนไลน์/สื่อโซเซียลมีเดีย Abstract The purposes of this research were: 1 ) to develop of the Buddhist Dharma Learning Activity through Online social media, 2 ) to test the use of the Buddhist Dharma Learning Activity Model, and 3) to evaluate the results of the use of the Buddhist Dharma Learning Activity in the experimental group with 60 persons, aged between 45-65 years with the following steps as: 1 ) study the state, problems and the 356

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


learners’ needs in learning Buddhist Dharma through Online social media, 2 ) develop activities to develop Buddhist Dharma Learning through online social media, and 3) use the Buddhist Dharma Learning Activity through online social media in this experiment with the tools that were used the Happy diary, Application Line, Facebook, YouTube, follow-up before and after, observation behavior form in attending in learning Buddhist Dharma activities, and satisfaction questionnaire. The research found that 1. The development of the Buddhist Dharma Learning Activity through Online social media consists of 5 steps as: 1 ) Planning, 2 ) Activities, 3) New attitudes, 4) Evaluation, and 5) Transfer knowledge. 2. The experiment using the Buddhist Dharma Learning Activity through Online social media, and the evaluation found that: 1) The results of the Buddhist Dharma Learning Activity through Online social media from the experimental group after the study was statistically significant higher than before learning at a level of .05. 2) The experimental group participated in the Buddhist Dharma Learning Activity through Online social media include enthusiasm, responsibility, cooperation, commenting, answering questions passed the criteria more than 80 percent. 3 ) The experimental group has recorded learning outcomes through the happiness diary and group activities, such as collaborative, planning, punctuality, and the average of the report is above 8 0 percent. Keywords: Buddhist Dharma Learning Activity, Online, Online Social media EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

357


ความเป็นมาและปัญหา เนื่องจากสภาพปัญหาสังคมปัจจุบัน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง มี ความสลับซับซ้อนและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของเรา ทุกคนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และส่งผลกระทบไปยังครอบครัวที่เป็นสังคมที่สาคัญของ ประเทศชาติ 1) ทาให้เกิดการขัดแย้งในครอบครั ว 2) ขาดความตระหนักในบทบาท และหน้าที่ข องตั วเอง 3) การไม่ มีเวลาให้กัน และกั น 4) การใช้ความรุนแรงตัดสิ น ปัญหาในครอบครัว 5) การนอกใจกันของสามีหรือภรรยา และเกิดเป็นปัญหาสังคม ตามมาอีกมากมายดังนั้นการจะทาให้ครอบครัวนั้นอบอุ่นและเป็นครอบครัวที่แข็งแรง ได้นั้นคือ การนาเอาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาการฝึกปฏิบัติสมาธิมาปรับใช้ใน การดาเนินชีวิตครอบครัวและชีวิตประจาวันของคนในครอบครัว เช่น ฆราวาสธรรม 4 หลั ก ธรรมปฏิ บั ติ ส าหรั บ ผู้ ค รองเรื อ น พรหมวิ ห าร 4 ธรรมะประจ าใจเพื่ อ ให้ ต น ดารงชี วิต ได้อ ย่ างประเสริฐ และบริสุ ท ธิ์ และการฝึ ก ปฏิ บั ติ ส มาธิ นั้ น จะส่ งผลให้ ครอบครัวมีความสงบสุข เนื่องจากสมาชิกในครอบครัวเห็นประโยชน์ของการปฏิบัติ ธรรม ทุกคนตั้งมั่นอยู่ในศีล ปกครองกันด้วยธรรม เด็กเคารพผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่เมตตา เด็ก ทุกคนมีความรักใคร่สามัคคีเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน นอกจากนั้นแล้วสมาชิกทุก คนต่างก็ทาหน้าทีข่ องตนโดยไม่บกพร่อง เป็นผู้ที่มีใจคอหนักแน่น เมื่อครอบครัวเกิด ปัญหาหรือมีอุปสรรคอันใด ย่อมสามารถร่วมใจกันแก้ไขปัญหานั้นให้ลุล่วงไปได้ซึ่ง สอดคล้ อ งกั บ การปฏิ บั ติ ธ รรมน าสุ ข ตามแนวทางของพระพุ ท ธศาสนา อั น ได้ แ ก่ 1.Happy soul (คุณธรรม) มีความศรัทธาในศาสนาและมีศี ลธรรมในการดาเนินชีวิต มีความละอายและเกรงกลัวต่อการกระทาของตนเอง 2.Happy Heart (น้าในงาม) มี น้าใจเอื้ออาทรต่อกันและกัน 3. Happy Relax (ผ่อนคลาย) รู้จักผ่อนคลายต่อสิ่งต่าง ๆ ในการด าเนิ น ชี วิ ต และการท างาน และการเรี ย นการสอนหลั ก ธรรมทาง พระพุทธศาสนานั้นต้องการเรียนการสอนสมัยใหม่เพื่อให้ทันต่อยุคสมัยและเข้าใจได้ ทุ ก เพศทุ ก วั ย หรื อ เรี ย กอี ก อย่ า งว่ า Active Learning คื อ การเรี ย นรู้ แ บบผ่ านสื่ อ โซเซียลเมเดียสังคมออนไลน์ที่ตอบสนองความต้องการของการเรียนการสอนในยุค ปัจจุบัน สื่อสังคอมออนไลน์ (Social Media Online) หรือสื่อโซเซียลเมเดีย (Social 358

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Media) สองคาที่ สั งคมเรีย กติ ด ปากว่า “สื่ อสั งคมออนไลน์ ”มี ผู้ให้ ค วามหมายสื่ อ โซเซียลเมเดียสังคมออนไลน์ไว้มากมายดังนี้ ราชบั ณ ฑิ ต สถาน (2554) ได้ บั ญ ญั ติ ค าว่ า “Social Media” ไว้ ว่ า “สื่ อ สังคม”หมายถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นสื่อกลางที่ให้บุคคลทั่วมี ส่วนร่วมสร้างและ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่าง ๆ ผ่านทางอินเทอร์เน็ตได้ สื่อเหล่านี้เป็นของบริษัทต่าง ๆให้บริการผ่านเว็บไซต์ของตนเอง เช่น Facebook Line YouTube นาวิก นาเสียง (2554) ได้ให้คาจากัดความของ สื่อสังคมออนไลน์ว่า เป็นที่ ที่ผู้ใช้อินเตอร์เน็ตสามารถแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน โดยใช้สื่อต่าง ๆ เป็นตัวทานในการสนทนา โดยได้มีการจัดแบ่งประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ ออกเป็น หลายประเภทสื่อสิ่งพิมพ์ แสงเดือน ผ่อนพุฒ (2556) ให้ความหมายของสื่อสังคมออนไลน์ว่าเป็นส่วน หนึ่ งของเทคโนโลยีเว็บ 2.0 เป็ น เครื่อ งมื อที่ ท างานบนเครือ ข่ ายอิ น เตอร์เน็ ต และ เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่อนุญาตให้แต่ละบุคคลเข้าถึง แลกเปลี่ยน สร้างเนื้อหา และสื่อสารกับบุคคลอื่น ๆ ร่วมถึงการเข้าร่วมเครือข่ายออนไลน์ต่ าง ๆ การสื่อสาร เป็นแบบสองทาง เขมณัฏฐ์ มิ่งศิริธรรม (2557) ให้ความหมายของสื่อสังคมออนไลน์ว่าเป็นสื่อ ดิ จิ ต อลหรือ ซอฟแวร์ ที่ ท างานบนพื้ น ฐานของระบบเว็บ ไซต์ เป็ น เครื่อ งมื อ ในการ ปฏิบัติการทางสังคม เป็นการนาเรื่องราวต่าง ๆเหตุการณ์ ประสบการณ์ รูปภาพวีดีโอ ร่วมทั้งการพูดคุยต่าง ๆแบ่งปันให้คนที่อยู่ในสังคมเดียวกันได้รับรู้ พิชิต วิจิตรบุญยรักษ์ (2554) สื่อสังคม คือ สื่อที่ผู้ส่งสารแบ่งปันสาร ซึ่ง อยู่ในรูป แบบต่าง ๆ ไปยัง ผู้รับสารผ่านเครือข่ายออนไลน์โดยสามารถโต้ตอบกั น ระหว่างผู้ส่ งสารและผู้รับ สาร หรือผู้ รับ สารด้ วยกัน เอง ซึ่ง สามารถแบ่ งสื่อ สังคม ออกเป็นประเภทต่าง ๆ ที่ใช้กันบ่อย ๆ คือ บล็อก (Blogging) ทวิตเตอร์และไมโค รบ ล็ อ ก (Twitter and Microblogging) เค รื อ ข่ าย สั งค ม อ อ น ไล น์ (Social Networking) และการแบ่งปันสื่อทางออนไลน์ (Media Sharing) Williamson (2013) ให้ความหมาย สื่อสังคม (Social Media) ว่า คือส่วน หนึ่งของเทคโนโลยีที่ เรียกว่าเว็บ 2.0 (Web 2.0) เป็นเครื่องมือออนไลน์ ที่เป็นเทคโน EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

359


ยีใหม่ มี ก ารท างานบนเครื อ ข่า ยอิ น เทอร์เน็ ต และ เครือ ข่ ายโทรศั พ ท์ เคลื่ อ นที่ ที่ อนุญาตให้แต่ละบุคคลเข้าถึงการแบ่งปัน แลกเปลี่ยนสร้างเนื้อหา สื่ อสารกับบุคคล อื่น ๆ และการเข้าร่วมเครือข่ายออนไลน์ต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ชั ย วั ฒ น์ แก้ ว พั น งาม (2559) บทบาทหน้ า ที่ ค รู ถู ก เปลี่ ย นจากการเป็ น ผู้บรรยายมาเป็นผู้ร่วม ออกแบบกิจกรรมในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้นักเรียน สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ครูเป็นผู้อานวยความ สะดวก และเสนอแนะผ่านวิธีการ ต่าง ๆ ผ่านการใช้เทคโนโลยี โดยผู้สอนสามารถตรวจงานและให้ข้อมูลย้อนกลับ ได้ ทุกที่ ทุกเวลา แทรกความคิดเห็นได้ใช้เวลารวดเร็วกว่าในการเพิ่มเติม แก้ไข และ เขียนคาแนะอีกทั้ง สามารถเปรียบเทียบได้ระหว่างงานเขียนเก่ากับงานเขียนใหม่ นฤมล บุญ ส่ง (2561) ได้ให้ความสาคัญ ของสื่อสังคมออนไลน์ สื่อสังคม ได้ รั บ ความนิ ย มอย่ า งยิ่ งต่ อ การด าเนิ น ชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ สามารถใช้ บ นเครื อ ข่ า ย อินเตอร์เน็ตและถูกประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านการศึกษา สาหรับแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่าวสาร และถ่ายทอดเรื่องราวต่าง ๆ กับบุคคลอื่น ๆ ได้อย่างรวดเร็ว วัตถุประสงค์ 1. เพื่ อพั ฒ นากิจกรรมการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุ ท ธศาสนาผ่านสื่ อ โซเซียลเมเดียสังคมออนไลน์ 2. เพื่ อ ทดลองการใช้ รู ป แบบกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ห ลั ก ธรรมทาง พระพุทธศาสนา 3. เพื่ อ ประเมิ น ผลการจั ด รู ป แบบกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ห ลั ก ธรรมทาง พระพุทธศาสนา วิธีวิจัย การวิจัยในครั้งนี้มีการดาเนินการแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้ คือ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพปัญหา และความต้องการเรียนรู้หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา ดังต่อไปนี้ 360

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


1) ศึกษาเอกสาร ตารา แนวติ ด ทฤษฎี ปรัชญาและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับ การเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ผ่านสื่อโซเซียลเมเดียสังคมออนไลน์และ ข้อมูลพื้นฐานและเทคนิคและวิธีการสอนในรูปแบบต่าง ๆ ศึกษาสภาพปัญหาและ ความต้องการเรียนรู้ของประชากรกลุ่มทดลองจานวน 60 คน ขั้ น ต อนที่ 2 พั ฒ นากิ จ กรรมการเรี ย นการสอนห ลั ก ธรรมทาง พระพุทธศาสนา ผ่านสื่อโซเซียลเมเดียสังคมออนไลน์ เพื่อเป็นแหล่งการเรียนรู้ตลอด ชีวิต 1) แนะนากิจกรรมสาหรับผู้เรียน ตัวอย่างกิจกรรม วิธีการใช้ Application Line Facebook YouTube สาหรับใช้จัดกิจกรรม 2) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาผ่านสื่อโซเซียล สังคมออนไลน์ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน 1) การวางแผน (Planning) 2) การจัดกิจกรรม (Activities) 3) เจตคติใหม่ (New attitudes) 4) การประเมินผล (Evaluation) 5) การถ่ายทอดความรู้ (transfer knowledge) 3) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ สมุดบันทึกความสุข Application Line Facebook YouTube แบบติดตามก่อนเรียนและหลังเรียน แบบสังเกตพฤติกรรม การเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา แบบสอบถามความพึง พอใจ ขั้นตอนที่ 3 การวัดผลประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนาผ่านสื่อโซเซียลสังคมออนไลน์ 1) ทดลองใช้กิ จ กรรมการเรีย นรู้ห ลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนาผ่ านสื่ อ โซเซียลสังคมออนไลน์ ที่ผ่านการปรับปรุงแก่ไขแล้ว ไปทดลงอใช้กับ ประชากรกลุ่ม ทดลอง 60 คน 2) ใช้วิธีการประเมินที่มีคุณภาพสามารถสอบวัดประสิทธิภาพของ กิจกรรม ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ซึ่งได้แก่ การประเมินผลการ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

361


เรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียนของประชากรกลุม่ ทดลอง สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วม กิจกรรมการเรียนรู้ และการบันทึกสมุดความสุข หรือกิจกรรมกลุ่ ม การวัดความพึง พอใจของประชากรกลุ่มทดลองและการศึกษาติดตามผลหลังการจัดการเรียนรู้ด้วย ประโยชน์ที่จะได้รับ 1. ทาให้การเรียนการสอนหลักธรรมทางพระพุทธศาสนานั้นเป็นการเรียน การสอนแบบสากลคือ ทุก ๆ คนนั้นสามารถเข้ามาเรียนและนาไปปฏิบัติให้เกิดกับ ตนเองได้ 2. ได้พัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ผ่าน สื่อโซเซียลเมเดียสังคมออนไลน์ 3. ผู้ ส อนและผู้ เรี ย นนั้ น ได้ เรี ย นรู้ ไปพร้ อ มกั น และมี ค วามสุ ข ในการจั ด กิจกรรม ประชากรกลุ่มทดลอง ประชากรกลุ่มทดลองที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาธรรมศึกษา ชั้น ตรี โท เอก สานักเรียนวัดพุทธบูชา กรุงเทพมหานคร จานวน 60 คน เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหา และความต้องการในการพัฒนากิจกรรม ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรที่ศึกษา ได้แก่ การพัฒนากาจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา ผ่านสื่อโซเซียลเมเดียสังคมออนไลน์ และการวัดประเมินผลในการ จัดกิจกรรม ประกอบด้วย 1) ผลการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน 2) พฤติกรรม การเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ 3) การปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม 4) การติดตามผลการ เรียนรู้หลังเรียน

362

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในครั้งนี้ ประกอบด้วย 1. แบบสอบถามสภาพปัญหา และความต้องการของกลุ่มประชากรทดลอง แบ่งออกเป็น 2 ตอนได้แก่ ตอนที่ 1 เป็นข้อคาถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของนักศึกษา ธรรมศึกษา ชั้น ตรี โท เอก ได้แก่ เพศ การศึกษา อาชีพ รายได้ 2. แบบสั ง เกตพฤติ ก รรมการเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ เพื่ อ สั งเกต พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ของประชากรกลุ่มทดลอง ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ความกระตือรือร้น ความรับผิดชอบ การให้ความร่วมมือ การแสดงความคิดเห็น การ ตอบคาถาม 3. แบบบั น ทึ ก ผลการปฏิ บั ติ งาน (สมุ ด บั น ทึ ก ความสุ ข ) เพื่ อ ให้ บั น ทึ ก กิจกรรมความสุขของตนเอง 4. แบบสอบถามความพึ ง พอใจ เพื่ อ วั ด ความพึ ง พอใจในการเข้ า ร่ ว ม กิจกรรมการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาผ่านสื่อโซเซียลเมเดียสังคมออนไลน์ 5. แบบติดตามผลการเรียนรู้หลังเรียน เพื่อติดตามผลการเรียนรู้หลักธรรม ทางพระพุทธศาสนาผ่านสื่อโซเซียลเมเดียผ่านสังคมออนไลน์ การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ ดาเนิ นการจัด เก็บ รวบรวมข้อมูล โดยการสารวจประชากรกลุ่ ม ทดลอง ด้ ว ยตนเอง เริ่ ม ด าเนิ น การตั้ ง แต่ วั น ที่ 1- 31 มี น าคม 2562 แล้ ว น า แบบสอบถามที่ ได้ ม าตรวจสอบความถู ก ต้ อ งครบถ้ ว นสมบู ร ณ์ และด าเนิ น การ วิเคราะห์ข้อมูลจากนั้นทาการทดลองการพัฒ นากิจกรรมการเรียนรู้หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนาผ่านสื่อโซเซียลเมเดียสังคมออนไลน์ สรุปผลวิจัยและข้อเสนอแนะ รูปแบบกิจกรรมการพัฒนาการเรียนรู้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาผ่านสื่อ โซเซียลเมเดียสังคมออนไลน์ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน 1) การวางแผน (Planning) 2) การจัดกิจกรรม (Activities) 3) เจตคติใหม่ (New attitudes) 4) การประเมินผล EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

363


(Evaluation) 5) การถ่ ายทอดความรู้ (transfer knowledge) เพื่ อ จะท าให้ ก าร เรียนการสอนหลักธรรมทางพระพุทธศาสนานั้นให้น่าสนใจมากยิ่งขึ้นและกระตุ้นให้ ผู้เรียนนั้นสนใจยิ่งขึ้นผู้จัดทาวิจัยจึงหาเครื่องมือที่จะช่วยให้การเรียนและการสอนนั้น ง่ายขึ้นสื่อโซเซียลเมเดียสังคมออนไลน์เป็นเครื่องมือหนึ่งที่นามาใช้ในการเรียนการ สอนหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เพราะว่าการเรียนการสอนในยุคปัจจุบันนั้นเป็น การเรียนแบบ Long life learning คือเป็นการเรียนรู้เพื่อนามาใช้ในชีวิตประจาวั น เรียนแล้วนามาใช้ได้ซึ่งในอดีตนั้นการเรียนการสอนหลักธรรมทางพระพุทธศาสนานั้น เป็นการเรียนการสอนที่เน้นฟังบรรยายเพียงอย่างเดียวแต่ แต่ยังนาไปใช้หรือปฏิบัติ ไม่ได้เท่าที่ควรเพราะว่าขาดความกระตือรือร้นและขาดการต่อเนื่อง แต่ในปัจจุบันการ เรียนการสอนได้เปลี่ยนไปเทคโนโลยีมีบทบาทมากขึ้นสามารถติดต่อสื่อสารระหว่าง ผู้เรียนและผู้สอนได้อย่างมีประสิทธิภาพจึงทาให้เข้าใจง่ายและสามารถนาหลักการ ปฏิบัตินาไปใช้ได้จริงและผู้เรียนสามารถกล้าแสดงออกและทาให้ผู้เรียนและผู้สอนนั้น สอนได้ทุกเวลาทุกที่และสื่อโซเซียลเมเดียสังคมออนไลน์ยังมีบทบาทกับการศึกษาทั้ง ทางด้านการเรียนการสอน และการบริหารจัดการสามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งแนวโน้ม ในอนาคตสื่อโซเซียลเมเดียสังคมออนไลน์จะช่วยให้ผู้เรียนค้นหาความรู้ต่าง ๆ ได้โดย ไร้ขีดจากัดในเรื่องของเวลา และสถานที่ การใช้สื่อโซเซียลเมเดียสังคมออนไลน์กับ การเรี ย นการสอนหลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนา จ าเป็ น ต้ อ งได้ รั บ การพั ฒ นา ดาเนินการวิจัยเพื่อหาข้อสรุปเรื่องรูปแบบการเรียนการสอนที่เหมาะสมด้วยสาหรับ สถานปฏิบัติธรรมหรือโรงเรียนในสังกัดต่าง ๆ ข้อเสนอแนะ ผู้ วิจั ย มี ข้ อ เสนอแนะอั น เนื่ อ งจากข้ อ ค้ น พบจากการวิ จั ย และการศึ ก ษา วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องดังนี้ ข้อเสนอแนะเพื่อนาผลการวิจัยไปใช้ 1. วัด สถานการศึกษาหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องควรส่งเสริมสนับสนุนให้มีการ น าการจั ด การเรีย นรู้ หลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนา ผ่ านสื่ อ โซเซี ย ลมี เดี ย สั งคม 364

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ออนไลน์นาไปปรับปรุงใช้กับการเรียนการสอนในรายวิชาพระพุทธศาสนาและวิชาอื่น ตามความเหมาะสม 2. ผู้ ส อนควรน าการจั ด การเรี ย นรู้ห ลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนาไปใช้ จัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาในโรงเรียนตามความเหมาะสมเพื่อเป็นการ สนองความต้องการของผู้เรียนและเป็นการพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้นและจะได้เป็นการเรียน เอกสารอ้างอิง เขมณัฏฐ์ มิ่งศิริธรรม. 2557. Social media สื่อสร้างสรรค์เพื่อการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2562, จาก http://www.ejournal.su.ac.th/upload/556.pdf ณัฐพล บัวอุไร. 2555. ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎี การสร้ า งองค์ ความรู้ ด้ ว ยตนเอง วิ ช าการสร้ า งงานสื่ อ ผสม เรื่ อ ง คอมพิ ว เตอร์ แ ละอิ น เทอร์ เน็ ต ระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 4 โรงเรี ย น เตรี ย มอุ ด มศึ ก ษาพั ฒ นาการล าลู ก กา. วิ ท ยานิ พ นธ์ ศึ ก ษาศาสตร มหาบั ณ ฑิ ต , สาขาวิ ช าการวิ จั ย และประเมิ น ทางการศึ ก ษา, บั ณ ฑิ ต วิทยาลัย, มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. ธนะวัฒ น์ วรรณประภา. 2558. รูปแบบการสอนเพื่อพั ฒ นาทักษะการสังเคราะห์ ข้อมูลโดยการเรียนรู้ แบบนาตนเองผ่านสื่อสังคมออนไลน์ สาหรับนิสิต ระดับปริญญาตรี. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎี บัณฑิต , คณะศึกษาศาสตร์ , สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา, มหาวิทยาลัยบูรพา. นพสิทธิ์ ไตรสิทธิวัฒน์. 2556. การประยุกต์ใช้ Social Network และ Social Media ส า ห รั บ ก า ร ศึ ก ษ า .สื บ ค้ น เมื่ อ 2 0 มี น า ค ม 2 5 6 2 ,จ า ก http://edutech1 4 .blogspot.com/2 0 1 4 / 0 5 / social-networksocial-media.html#comment-form EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

365


นาวิก นาเสียง. 2554. เรื่องจริงเกี่ยวกับ สื่อสังคมออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2562, จาก http://www.mediamonitor.in.th/.../233-2011-09-1303-37-13.html ปิยวัฒน์ เกตุวงศา และศุทธิดา ชวนวัน. 2558. ใครเป็นใครบนเครือข่ายสังคม ออนไลน์: ความหลาก หลายทางคุณลักษณะและพฤติกรรม. สืบค้นเมื่อ 14 มกราคม 2559, จาก http://www. ms.ipsr.mahidol.ac.th/ConferenceXI/Download/Book/447-IPSRConference-A02- fulltext.pdf พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542. (2542, 19 สิงหาคม). ราชกิจจานุเบกษา. สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2562, จาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/ PDF/2542/A/074/1.pdf กัญจน์ ผลภาษี. 2554. แนวทางการใช้ สื่อสังคมออนไลน์ (Facebook) ในการเรียน การสอน. งานวิ จั ย ฉบั บ สมบู ร ณ์ สานั ก วิ ช าบริ ห ารธุ ร กิ จ คณ ะ อุตสาหกรรมบริการ วิทยาลัยดุสิตธานี. พิชิต วิจิตรบุญยรักษ์. 2554. “สื่อสังคมออนไลน์: สื่อแห่งอนาคต (Social Media: Future Media)”. Executive Journal, หน้า 99.

366

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


นวัตกรรมการเรียนรู้ เกมกีฬา คณิต Innovative Learning of Sport and Mathematics พรพล พอนอ่วม1 วราภรณ์ ไทยมา2 และสาธิต เจนศิริรุ่งเรือง3 บทคัดย่อ บทความวิชาการที่เขียนขึ้นในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะนาเสนอวิธีการ สอนโดยการนานวัตกรรมการเรียนการสอนมาประยุกต์ใช้ ซึ่งมีทฤษฎีที่นามาใช้ 3 ทฤษฎี ได้แก่ 1) ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ 2) ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง และ 3) การเรี ย นรู้ เชิ งประสบการณ์ ที่ ใช้ ห น่ ว ยการเรี ย นรู้ ร ายวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ ประกอบด้วย ความน่าจะเป็น เรขาคณิตวิเคราะห์ และตรีโกณมิติมาบูรณาการกับ กีฬาแบดมินตัน ผลการศึกษา พบว่า การประยุกต์ใช้ ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ สามารถทาให้นักเรียนยอมรับในความแตกต่างระหว่างกัน และมีการแบ่งหน้าที่กัน ภายในกลุ่มเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของกลุ่ม การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วย ตนเองสามารถทาให้นักเรียนเชื่อมโยงประสบการณ์ความรู้ดั้งเดิมกับสิ่งที่เป็นภารกิจ ของกิจกรรม โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะ และการประยุกต์ใช้การเรียนรู้ เชิงประสบการณ์นั้น เป็นการออกแบบกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เจอกับกิจกรรมที่มีความ แปลกใหม่ ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่มีคุณค่าและจดจาอย่างมีความหมาย 1ดร.พรพล

พอนอ่วม หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีปทุม 2ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ ไทยมา คณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม 3คุณสาธิต เจนศิริรุ่งเรือง หัวหน้าฝ่ายวิชาการโรงเรียนกวดวิชาชญตว์

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

367


คาส าคั ญ : ทฤษฎี การเรีย นรู้แ บบร่วมมื อ ทฤษฎี การสร้างความรู้ด้ วยตนเองการ เรียนรู้เชิงประสบการณ์ Abstract The academic article that was written in this time was intended to present the teaching and learning styles by applying teaching and learning innovation, which has 3 theoretical concepts that are used: 1) Theory of Cooperative or Collaborative Learning, 2) Constructivism, and 3) Experiential Learning which uses the integrated mathematics learning unit with badminton. The learning unit consists of probability geometry and trigonometry. The results showed that applying Theory of Cooperative or Collaborative Learning can be made students accept the differences between each other, and there is a division of responsibilities within the group to achieve the group's goals. Applying Constructivism can be enabled students to connect prior knowledge with the mission of the activity through the learning process of inquiry methods. In addition, Applying Experiential Learning is an activity design for students to meet and do the activities that are new resulting in learners having valuable learning and meaningful recognition. Keyword: Theory of Cooperative or Collaborative Learning, Constructivism, Experiential Learning ที่มาและความสาคัญ การศึกษาขั้นพื้นฐานถือว่าเป็นรากฐานของการศึกษาในระดับที่สูงยิ่งขึ้นต่อไป ดังนั้นถ้าผู้เรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ดีรวมไปถึงปลูกฝังระบบการคิดวิเคราะห์ที่ ถูกต้อง จะส่งผลให้ผู้เรียนคนนั้นสามารถนาความรู้ไปต่อยอดในระดับอุดมศึกษาหรือ 368

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


สามารถที่จะพัฒ นาตัวเองจนสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆขึ้นได้เอง แต่เมื่อ เดื อ นธั น วาคม 2559 องค์ ก ารเพื่ อ ความร่ ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ และการพั ฒ นา (Organization for Economic Co-operation and Development – OECD) ได้ เผยแพร่ผลสอบ PISA ของปี 2558 ซึ่งเป็นปีที่มีการจัดสอบล่าสุดออกมา การสอบ ครั้งนี้มีเด็กนักเรียนเข้าร่วมสอบจาก 72 ประเทศ ปรากฏว่าผลสอบของเด็กนักเรียน ไทยไม่ ได้ มี ก ารพั ฒ นาขึ้ น จากปี ก่ อ นๆ โดยการสอบปี ล่ า สุ ด ในวิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และการอ่าน ไทยอยู่อันดับ 52 54 และ 57 ตามลาดับ แสดงให้เห็นว่า เด็กไทยมีทักษะด้านการวิเคราะห์ไม่สูงเท่าที่ควร ซึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่อการคิดวิเคราะห์ ของเด็กไทย ได้แก่ 1) ปัจจัยทางด้า นบุคคล เช่น เกรดเฉลี่ย อายุ 2) ปัจจัยทางด้าน ครอบครัว เช่น รายได้ของครอบครัว การดูแลเอาใจใส่จากผู้ปกครอง 3) ปัจจัยด้าน โรงเรียน เช่น ความรู้ของครูผู้สอน หลักสูตร สถานศึกษา รวมไปถึงการที่ครูผู้สอน ดูแลนักเรียนให้มีความทั่วถึง และ4) ปัจจัยทางด้านการใช้เวลาของนั กเรียน เช่น การ เรียนรู้เพิ่มเติม การทากิจกรรมเสริมทักษะ (ดวงจันทร์ วรคามิน และคณะ, 2559) ปั จ จุ บั น การเรี ย นการสอนของรายวิช าคณิ ต ศาสตร์ ส าหรั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้นฐานในประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนมาถึงปัจจุบัน เป็นการเรียนจากการนาเนื้อหาของ ต่างประเทศมาปรับให้เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย จากนั้นกระทรวงศึกษาทา การเขียนเป็นหลักสูตรแกนกลาง แล้วสถานศึกษาแต่ละแห่งก็นาหลักสูตรแกนกลางนี้ มาสร้างเป็นหลักสูตรเฉพาะตัวของสถานศึกษานั้นๆ แต่ในความเป็นจริง หลักสูตร รายวิชาคณิตศาสตร์ของสถานศึกษาแต่ละแห่งนั้นไม่ค่อยมีความแตกต่างกันเท่าที่ควร ทั้งๆ ที่บริบทของสถานศึกษาแต่ละแห่งนั้นมีความแตกต่างกัน จึงส่งผลทาให้รายวิชา นี้ เป็ น รายวิชาที่ ย ากในสายตาผู้ เรีย น เนื่ อ งจากเป็ น รายวิ ชาที่ ต้ อ งใช้ ท ฤษฎี ที่ เป็ น นามธรรม เป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นถ้าสถานศึกษาใดออกแบบหลักสูตรรวมไปถึงกิจกรรม การเรียนการสอนในรายวิชานี้ให้มีความสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนรวมไปถึง ผู้เรียนแล้วนั้น ทักษะการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียนสาหรับรายวิชานี้จะสามารถเพิ่มขึ้น ได้ ในอนาคตถ้ า ได้ รั บ การฝึ ก ฝนที่ ถู ก ต้ อ งและสม่ าเสมอ (H. Sigmundsson and R.C.J. Polman, 2013) EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

369


ดังนั้น จากปัญ หาที่ กล่าวมาข้างต้น บทความนี้จึงได้มีการนาเสนอแนวคิ ด ทฤษฎีและเทคนิควิธีการสอนที่มีการประยุกต์ ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory of Cooperative or Collaborative Learning) ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) และการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (Experiential Learning) บูรณา การกับกีฬาแบดมินตันและรายวิชาคณิตศาสตร์ โดยอธิบายเป็นขั้นเป็นตอนพร้อม รูปภาพประกอบเพื่อให้บทความนี้เข้าใจได้โดยง่าย แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ท ฤ ษ ฎี ก า ร เรี ย น รู้ แ บ บ ร่ ว ม มื อ ( Theory of Cooperative or Collaborative Learning) การเรีย นรู้แ บบร่ ว มมื อ คื อ การเรี ย นรู้ เป็ น กลุ่ ม ย่ อ ยโดยมี ส มาชิ ก กลุ่ ม ที่ มี ความสามารถแตกต่างกันประมาณ 3 - 6 คน ช่วยการเรียนรู้เพื่อไปสู่เป้าหมายของ กลุ่ ม นั ก การศึ ก ษาคนส าคั ญ ที่ เผยแพร่ แ นวคิ ด ของการเรี ย นรู้ แ บบนี้ คื อ สลาวิ น (Slavin) เดวิ ด จอห์ น สั น (David Johnson) และรอเจอร์ จอนห์ น สั น (Roger Johnson) กล่าวว่า ในการจัดการเรียนการสอนโดยทั่วไป เรามักจะไม่ให้ความสาคัญ สนใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์และปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน ส่วนใหญ่เรามักจะมุ่งไปที่ ปฏิ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งครูกั บ ผู้ เรีย น หรื อ ระหว่ า งผู้ เรีย นกั บ บทเรี ย น ความสั ม พั น ธ์ ระหว่างผู้เรียนเป็นมิติที่มักจะถูกละเลยหรือมองข้ามไป ทั้งๆที่มีผลการวิจัยชี้ชัดเจนว่า ความรู้สึกของผู้เรียนต่อตนเอง ต่อโรงเรียน ครูและเพื่อนร่วมชั้น มีผลต่อการเรียนรู้ ม าก จ อห์ น สั น แ ล ะจ อห์ น สั น (Johnson and Johnson, 1994) กล่ าวว่ า ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนมี 3 ลักษณะคือ 1. ลักษณะแข่งขันกัน ในการศึกษาเรียนรู้ ผู้เรียนแต่ละคนจะพยายามเรียน ให้ได้ดีกว่าคนอื่น เพื่อให้ได้คะแนนดี ได้รับการยกย่อง หรือได้รับการตอบแทนใน ลักษณะต่างๆ 2. ลักษณะต่างคนต่างเรียน คือ แต่ละคนต่างก็รับผิดชอบดูแลตนเองให้เกิด การเรียนรู้ ไม่ยุ่งเกี่ยวกับผู้อื่น และ 370

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


3. ลั ก ษณะร่ ว มมื อ กั น หรื อ ช่ ว ยกั น ในการเรี ย นรู้ คื อ แต่ ล ะคนต่ า งก็ รับผิดชอบในการเรียนรู้ของตน และในขณะเดียวกันก็ต้องช่วยให้สมาชิกคนอื่นเรียนรู้ ด้วย จอห์นสันและจอห์นสันชี้ให้เห็นว่าการจัดการศึกษาปัจจุบันมักส่งเสริมการเรียนรู้ แบบแข่งขัน ซึ่งอาจมีผลทาให้ผู้เรียนเคยชินต่ อการแข่งขันเพื่อแย่งชิงผลประโยชน์ มากกว่าการร่วมมื อ กัน แก้ ปั ญ หา อย่างไรก็ต ามเขาแสดงความเห็ น ว่า เราควรให้ โอกาสผู้เรียนได้เรียนรู้ทั้ง 3 ลักษณะ โดยรู้จักใช้ลักษณะการเรียนรู้อย่างเหมาะสมกับ สถานการณ์ ทั้งนี้เพราะในชีวิตประจาวัน ผู้เรียนจะต้องเผชิญ สถานการณ์ ที่มีทั้ ง 3 ลักษณะ แต่เนื่องจากการศึกษาปัจจุบันมีการส่งเสริมการเรียนรู้แต่แข่งขันและแบบ รายบุคลอยู่แล้ว เราจึงจาเป็นต้องหันมาส่งเสริมการเรียนรู้แบบร่วมมือ ซึ่งสามารถ เรียนช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี รวมทั้งได้เรียนรู้ทักษะทางสังคมและการทางาน ร่วมกันกับผู้อื่นซึ่งเป็นทักษะที่จาเป็นอย่างยิ่งในการดารงชีวิตด้วย องค์ประกอบของ การเรียนรู้แบบร่วมมือ การเรียนรู้แบบร่วมมือไม่ได้มีความหมายเพียงว่า มีการจัดให้ ผู้เรียนเข้ากลุ่มแล้วให้งาน แล้วบอกผู้เรียนให้ช่วยกันทางานเท่านั้น การเรียนรู้จะเป็น แบบร่ วมมื อ ได้ ต้ อ งมี อ งค์ ป ระกอบที่ ส าคั ญ ครบ 5 ประการดั งนี้ (Johnson and Johnson, 1994) 1.1 การพึ่งพาและการเกื้อกูลกัน (Positive Interdependence) กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมื อจะต้องมีความตระหนั กว่า สมาชิ ก กลุ่มทุกคนมีความสาคัญ และความสาเร็จของกลุ่มขึ้นกับสมาชิกทุกคนในกลุ่ม ใน ขณะเดี ย วกั น สมาชิ ก แต่ ล ะคนจะประสบความส าเร็ จ ได้ ก็ ต่ อ เมื่ อ กลุ่ ม ประสบ ความสาเร็จ ความสาเร็จของบุคคลของกลุ่ มขึ้นอยู่กับกันและกัน ดังนั้นแต่ละคนต้อง รับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ของตน และในขณะเดียวกันก็ช่วยเหลือสมาชิกคนอื่นๆ ด้วย เพื่อประโยชน์ร่วมกัน การจัดกลุ่มเพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีการพึ่งพาช่วยเหลือเกื้อกูล กันนี้ทาได้หลายทาง เช่น การให้ผู้เรียนมีเป้าหมายเดียวกัน หรื อให้ผู้เรียนกาหนด เป้าหมายในการทางาน/การเรียนรู้ร่วมกัน (Positive Goal Interdependence) การ ให้รางวัลผลตามผลงานของกลุ่ม (Positive Reward Interdependence) การให้งาน ห รื อ วั ส ดุ อุ ป ก ร ณ์ ที่ ทุ ก ค น ต้ อ งท า ห รื อ ใช้ ร่ ว ม กั น (Positive Resource EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

371


Interdependence) การมอบหมายบทบาทหน้าที่ในการทางานร่วมกันให้แต่ละคน (Positive Role Interdependence) 1.2 ก า ร ป รึ ก ษ า ห า รื อ กั น อ ย่ า งใก ล้ ชิ ด (Face-to-face Promotive Interaction) การที่สมาชิกในกลุ่มมีการพึ่งพาช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เป็นปัจจัยที่ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันและกันในทางที่จะช่วยให้กลุ่มบรรลุเป้าหมาย สมาชิกกลุ่มจะห่วงใย ไว้วางใจ ส่งเสริม และช่วยเหลือกันและกันในการทางานต่างๆ ร่วมกัน ส่งผลให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน 1.3 ความรั บ ผิ ด ชอบที่ ต รวจสอบได้ ข องสมาชิ ก แต่ ล ะคน (Individual Accountability) สมาชิกในกลุ่มการเรียนรู้ทุกคนจะต้องมีหน้าที่รับผิดชอบ และ พยายามทางานที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ ไม่มีใครที่จะได้รับประโยชน์ โดยไม่ทาหน้าที่ของตน ดังนั้นกลุ่มจึงจาเป็นต้องมีระบบการตรวจสอบผลงานทั้งที่เป็น รายบุคคลและเป็นกลุ่ม วิธีการที่สามารถส่งเสริมให้ทุกคนได้ทาหน้าที่ของตนอย่าง เต็มที่มีหลายวิธี เช่น การจัดกลุ่มให้เล็กเพื่อจะได้มีการเอาใจใส่กันและกันได้อย่าง ทั่วถึง การทดสอบเป็นรายบุคคล การสุ่มเรียกชื่อให้รายงาน ครูสังเกตพฤติกรรมของ ผู้เรียนในกลุ่ม การจัดให้กลุ่มมีผู้สังเกตการณ์ การให้ผู้เรียนสอนกันและกัน เป็นต้น 1.4 การใช้ ทัก ษะการปฏิ สัม พั นธ์ระหว่างบุ คคลและทั ก ษะการ ทางานกลุ่มย่อย (Interpersonal and Small-group Skill) การเรียนรู้แบบร่วมมือจะประสบความสาเร็จได้ ต้องอาศัยทักษะ ที่สาคัญๆหลายประการ เช่น ทักษะทางสังคม ทักษะการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ทักษะ การทางานกลุ่ม ทักษะการสื่อสาร และทักษะการแก้ปัญหาขัดแย้ง รวมทั้งการเคารพ ยอมรั บ และไว้ ว างใจกั น และกั น ซึ่ งครู ค วรสอนและฝึ ก ให้ แ ก่ ผู้ เรี ย นเพื่ อ ช่ ว ยให้ ดาเนินงานเป็นไปได้ 1.5 การวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม (Group Processing) กลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือจะต้องมีการวิเคราะห์กระบวนการ ท างานของกลุ่ มผู้ ช่ว ยให้ กลุ่ ม เกิ ดการเรีย นรู้และปรั บ ปรุงการท างานให้ ดี ขึ้ น การ 372

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


วิเคราะห์กระบวนการกลุ่มครอบคลุมการวิเคราะห์เกี่ยวกับวิธีการทางานของกลุ่ม พฤติกรรมของสมาชิกกลุ่ม และผลงานของกลุ่ม การวิเคราะห์การเรียนรู้นี้อาจทาโดย ครู หรือผู้เรียน หรือทั้งสองฝ่าย การวิเคราะห์กระบวนการกลุ่มนี้เป็นวิธีหนึ่งที่ส่งเสริม ให้กลุ่มตั้งใจทางาน เพราะรู้ว่าจะได้รับข้อมูลป้อนกลับ และช่วยฝึกทักษะการรู้คิด (metacognition) คือ สามารถที่จะประเมินการคิดและพฤติกรรมของตนที่ได้ทาไป ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) Constructivism เป็นปรัชญาการศึกษาที่ตั้งอยู่บนฐานความเชื่อที่ว่าผู้เรียน สามารถสร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง ซึ่งความรู้นี้จะฝังติดอยู่กับคนสร้าง ดังนั้นความรู้ ของแต่ละคนเป็นความรู้เฉพาะตัวเป็นสิ่งที่ตนสร้างขึ้นเองเท่านั้น โดยนักเรียนจะเป็น ผู้กาหนดหรือมีส่วนร่วมในการกาหนดสิ่งที่จะเรี ยนและวิธีการเรียนของตนเอง และ เป็ น ผู้ตั ดสิ น ว่าตนเองจะได้ เรียนรู้อะไร เรียนรู้อย่ างไรและพั ฒ นาการเรียนรู้ของ ตนเองอย่างไร สามารถนาสิ่งที่เรียนรู้ไปใช้ในบริบทอื่นได้อย่างเหมาะสม เรียนรู้จาก การปฏิบั ติมีอิ สระในการคิดและท าสิ่งต่ างๆเกี่ยวกับ เรื่องที่เรียนด้ วยตนเอง และ เรียนรู้บรรยากาศการเรียนที่มกี ารช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งเชื่อว่าผู้เรียนแต่ละคนจะ เรียนรู้ได้ต่างกันตามความรู้พื้นฐานของแต่ละคน จะยอมรับถึงความแตกต่างระหว่าง บุคคล (ดังนั้นคาตอบที่ได้อาจจะไม่เหมือนกัน) แต่เน้นการสร้างองค์ความรู้ด้วยตัวของ ผู้เรีย นเอง ตี ค วาม เชื่อ มโยงตามความเข้ าใจของตนเอง ภายใต้ก ารอ านวยความ สะดวกของครู โดยในที่นี้จะขออธิบายโดยการประยุกต์ใช้กระบวนการของ 5 E มี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1) Engage : คือ ขั้นเร้าความสนใจหรือนาเข้าสู่บทเรียน 2) Explore : คือ ขั้นที่ค รูท าการสอนให้ผู้เรียนเสาะแสวงหาว่าความรู้ที่ได้มานั้นเป็ น อย่างไร สอน Concept ให้นักเรียนเข้าใจว่าสิ่งที่เป็นหัวใจของเนื้อหาเรื่องที่จะสอน นั้นมีที่มาอย่างไร 3) Explain :คือ ขั้นตอนการสรุปเพื่อให้นักเรียนเข้าใจใน Concept และให้นักเรียนลองประยุกต์เนื้อหาความรู้เองกับสิ่งที่ใกล้ตัวกับพวกเขามากที่สุด 4) Elaborate : คือ ขั้นขยายความ ให้นักเรียนได้มีโอกาสdiscuss กันเป็นกลุ่ม พร้อมทั้ง ครูอาจจะทาหน้าที่ขยายความให้อีกครั้งหนึ่ง และ 5) Evaluate : คือขั้นการประเมิน EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

373


นีจ้ ะรวมถึงการประเมินการทางานเป็นทีม การประเมินการปฏิบัติงาน หรือท้ายที่สุด อาจจะประเมินถึง Task ของแต่ละคน ถึงความรู้และความเข้าใจที่ได้ การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (Experiential Learning) อ้างอิงจาก ชนิตา (2550) กล่าวว่า อาร์กีรีส และ ฌอน (Argyris and Shon, 1974, 1978 quoted in Kolb) ได้ อ ธิ บ าย ค วาม ห ม าย ข อ งก าร เรี ย น รู้ เ ชิ ง ประสบการณ์ คือ สิ่งสาคัญ สาหรับประสิทธิภาพทั้งของปัจเจกบุคคลและองค์การ และการเรียนรู้เหล่านี้จะสามารถเกิดขึ้นได้ในสถานการณ์ซึ่งค่านิยมส่วนบุคคล และ บรรทัดฐานขององค์การสนับสนุนกิจ กรรมซึ่งมีรากฐานมาจากข้อมูลที่เป็นทางการ (Valid information), ทางเลื อ กที่ มี อิ ส ระ (Free and informed choice), พั น ธ สัญญาภายใน (Internal commitment) โคล์ บ และ ฟราย (Kolb and Fry, 1975 quoted in Smith, M.K., 2001, http://www.infed.org/b-explrn.html) ได้ เส น อ ว่ า วั ฏ จั ก รก าร เรี ย น รู้ เชิ ง ประสบการณ์สามารถที่จะเริ่มจากจุดใดจุดหนึ่งและควรจะถูกพิจารณาเป็นวงจรที่ ต่อเนื่ อง อย่ างไรก็ต ามกระบวนการเรียนรู้จะเริ่มจากการที่ บุ คคลท าสิ่ งใดสิ่งหนึ่ ง จากนั้นจึงดูผลจากการกระทาในสถานการณ์นั้น ซึ่งในขั้นตอนต่อมาคือการทาความ เข้าใจกับผลทีเ่ กิดขึ้น และทาความเข้าใจกับหลักการทั่วไปที่เกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ ดังกล่าว คุณลักษณะของการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ตามแนวคิดของโคล์บ (Kolb, 1984) ได้เน้นย้าถึงหลักการต่างๆดังนี้ 1. การเรียนรู้เป็นกระบวนการไม่ใช่ ผลลัพธ์ 2. การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องที่มีรากฐานจากประสบการณ์ 3. กระบวนการการเรียนรู้ต้องการการข้อขัดแย้งระหว่างขั้วที่อยู่ตรงข้ามกัน ของการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ 4. การเรียนรู้เป็นกระบวนการโดยรวมของการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ 5. การเรียนรู้เกี่ยวข้องกับการแลกเปลีย่ นกัน (Transaction) ระหว่างบุคคล และสิ่งแวดล้อม 374

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


6. การเรียนรู้เป็นกระบวนการของการสร้างความรู้ จากคุณลักษณะของการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ดังกล่าวข้างต้นอาจสรุปได้ ว่ า “การเรี ย นรู้ คื อ กระบวนการที่ ซึ่ งความรู้ ไ ด้ ถู ก สร้ า งขึ้ น จากการแปรเปลี่ ย น ประสบการณ์” โดยคานิยามนี้ได้เน้นย้าถึง ⚫ กระบวนการของการปรับ ตัว และการเรีย นรู้ ซึ่งตรงข้ ามกับ เนื้ อหาหรื อ ผลลัพธ์ ⚫ ความรู้ เป็ น กระบวนการการเปลี่ ย นแปลงซึ่ งถู ก สร้า งขึ้ น อย่ างต่ อ เนื่ อ ง ไม่ได้เป็นสิ่งอิสระที่ถ่ายทอดหรือหามาได้ ⚫ การเรียนรู้ได้แปรเปลี่ยนประสบการณ์ทั้งในแง่ของรูปธรรมและนามธรรม ⚫ เพื่อที่จะเข้าใจการเรียนรู้ ต้องเข้าใจธรรมชาติของความรู้ ในทางกลับกัน เพื่อที่จะเข้าใจความรู้ ต้องเข้าใจธรรมชาติของการเรียนรู้เช่นกัน กระบวนการและโครงสร้างในการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ สามารถอธิบาย ได้ เ ป็ น วั ฏ จั ก ร 4 ขั้ น ตอน โคล์ บ และ ฟราย (Kolb and Fry, 1975 quoted in Smith, M.K., 2001, http://www.infed.org/b-explrn.html) กล่ า วว่ า จุ ด เริ่ ม ต้ น ของวัฏจักรการเรียนรู้นี้สามารถเริ่มงานจุดใดจุดหนึ่ง และจะเป็นกระบวนการอย่าง ต่อเนื่อง กระบวนการเรียนรู้จะเริ่มต้นเมื่อบุคคลได้กระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ งและได้เห็นผล ของการกระทานั้น หลังจากนั้นคือการเข้าใจถึงผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น เพื่อที่หากการกระทา เดี ย วกัน ได้ เกิด ขึ้น อี กในสภาพแวดล้ อมที่ ค ล้ายคลึ งกั น จะท าให้ เข้าใจถึงผลลัพ ธ์ ที่ อาจจะเกิดขึ้นได้โดยง่าย และในขั้นที่เหนือขึ้นไปจะเริ่มเข้าใจถึงหลักการทั่วๆไปที่ เหตุการณ์นั้นได้เกิดขึ้น โดยการอธิบายในประเด็นสาคัญที่เกี่ยวกับวัฏจักรการเรียนรู้ ดังแสดงในภาพที่ 1 ประกอบ ด้วย 1. ประสบการณ์เชิงรูปธรรม (Concrete Experience: CE) เป็นการเข้าไป มีส่วนร่วมและรับรู้ประสบการณ์ใหม่ ขั้นนี้เน้นที่ความรู้ ความสลับซับซ้อนของความ จริงในปัจจุบัน บุคคลที่มีการเรียนรู้ในขั้นนี้มักตัดสินแก้ปัญหาต่างๆโดยใช้ความรู้สึก นึกคิดของตนเอง สามารถกล่าวได้ว่าเป็นการเรียนรู้จากความรู้สึก (Learning from Feeling) มากกว่าการคิดเชิงทฤษฎีนามธรรม EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

375


2. การสั งเกต อย่ างไต ร่ ต รอง (Reflective Observation: RO) เป็ น ความสามารถในการสังเกตประสบการณ์ที่ได้รับอย่างละเอียดรอบคอบ บุคคลที่มีการ เรียนรู้ในขั้นนี้มักจะทาความเข้าใจกับความหมายของสิ่งต่างๆ โดยการสังเกตและการ คิดด้วยตัวเองสามารถมองสิ่งต่างๆอย่างแยกแยะเป็นหลายแง่มุม การตัดสินใจต้อง อาศัยการสังเกตและวิเคราะห์อย่างละเอียด การเรียนรู้ในขั้นนี้เป็นการเรียนรู้ด้วยการ ดูและการฟัง (Learning by Watching and Listening) 3. การสร้างแนวคิดนามธรรม (Abstract Conceptualization: AC) เป็ น การนาประสบการณ์ที่ได้รับและสังเกตได้มาสรุปเป็นแนวคิดหรือทฤษฎีของตนเอง สามารถวิเคราะห์เชิงปริมาณและวางแผนอย่างเป็นระบบ บุคคลที่มีการเรียนรู้ในขั้นนี้ เน้นทฤษฎีและการวิเคราะห์เชิงนามธรรมและมักไม่นาตนเองเข้าไปเกี่ยวข้องกับผู้อื่น ชอบสร้ างแนวคิ ด และแบบแผนในการอธิบ ายสิ่ งต่ า งๆด้ ว ยการคิ ด อย่ างมี เหตุ ผ ล มากกว่าการใช้ความรู้สึก การเรียนรู้ในขั้ นนี้จึงมีลักษณะเป็นการเรียนรู้จักความคิด (Learning by Thinking) 4. การทดลองปฏิบัติจริง (Active Experimentation: AE) เป็นการทดลอง ฝึกปฏิบัติและตรวจสอบ เพื่อการลองผิดลองถูก นาแนวคิดหรือทฤษฎีของตนไปใช้ใน การตัดสินใจหรือการแก้ปัญหา บุคคลที่มกี ารเรียนรูใ้ นขั้นนี้เรียนรูไ้ ด้ดีในสถานการณ์ที่ ตนเองได้เข้าไปมีส่วนร่วม มักชอบพบปะกับบุคคลอื่นเพื่อการอภิปรายร่วมกับบุคคล มากกว่ า การเฝ้ า ดู ห รื อ สั ง เกต และเน้ น ที่ ก ารน าแนวคิ ด ใหม่ ไ ปทดลองปฏิ บั ติ (Learning by Doing)

376

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ประสบการณ์เชิงรูปธรรม Concrete Experience

ทดลองปฏิบัติจริง Active Experimentation

สังเกตอย่างไตร่ตรอง Reflection Observation

สร้างแนวความคิดนามธรรม Abstract Conceptualization

ภาพที่ 1 แบบจาลองการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ ที่มา : Kolb et al., 1991 p.59 ตัวอย่างกิจกรรมที่มีการบูรณาการทฤษฎีและเทคนิควิธีการสอนข้างต้น ขั้นตอนและวิธีการดาเนินงาน รายละเอียดและกติกางานกีฬาชญตว์เฮฮา บูรณาวิชาการ 1. เราจะเรียกคะแนนหรือแต้มทั้งหมดที่นักเรียนแต่ ละคนทาได้เข้าทีมแต่ละ ที ม ว่ า เป็ น “พลั งชี วิ ต ” โดยจะมี ก ารให้ พ ลั งชี วิ ต กั บ นั ก เรี ย นทุ ก ๆคนเมื่ อ เข้ า ร่ว ม กิจกรรมนั้นๆ ดังนี้ ระดับชั้น ป.1 – ป. 3 (ประถมต้น) ป.4 – ป. 6 (ประถมปลาย) ม.1 – ม. 3 (มัธยมต้น) ม.4 – ม. 6 (มัธยมปลาย)

พลังชีวิตเข้าทีมต่อ 1 คน 500 300 200 70

2. แบ่งเด็กเป็น 2 สี คือ สีเหลืองและสีฟ้า จานวนสีละ 41 คน (สีเหลืองทีม A 20 คน ทีม B 21 คน และ สีฟ้าทีม A 20 คน ทีม B 21 คน)

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

377


ภาพที่ 2 แบ่งเด็กเป็น 2 สี จานวน 4 ทีม 3. การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบมีดังนี้ ตาแหน่ง ผู้บันทึกพลังชีวิตของกลุ่ม 2 คน A = 1 คน / B = 1 คน ผู้ตรวจสอบความยุติธรรม (ทนายประจากลุ่ม) 2 คน A = 1 คน / B = 1 คน

หน้าที่และความรับผิดชอบ บันทึกและคานวณพลังชีวิต ของกลุ่มให้ถูกต้อง แฝงตัวอยู่ในอีกทีมหนึ่งเพื่อ ตรวจสอบความถูกต้องอีก ทางหนึ่งในการบันทึกพลัง ชีวิตของกลุ่ม

ประธานเชียร์ 2 คน / สี

เลือกและคัดสรรทีมเชียร์ 5 คนสาหรับการเต้นและร้อง เปิดตัวทีม รวมไปถึงการเต้น และร้องเพลงเชียร์ช่วงดวล 7 แต้มกับครู

การมีส่วนช่วยทีมได้พลังชีวติ สามารถตอบได้ตลอดเวลาว่า พลังชีวิตของกลุ่มมีอยู่เท่าไหร่ ครูผู้นากลุ่มของฝั่งที่ทนายไป แฝงตัวอยู่นั้นเห็นว่าแต่ละ กิจกรรมทนายได้ทาหน้าที่ รักษาผลประโยชน์ดีแล้ว พลังชีวิตจะเพิ่มเข้ากลุ่มใน กรณีที่เต้นแล้วโดยที่ คณะกรรมการตอบว่าชอบ

ภาพที่ 3 แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ

378

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


4. การลดพลังชีวิตของแต่ละทีมมีดังนี้ ระดับ เข้าห้องน้า คุยเล่นไม่สนใจทากิจกรรม ทาให้สถานที่เกิดความสกปรก ไม่ทาตามหน้าที่ในตาแหน่งของตัวเอง สร้างความวุ่นวาย ทาสิ่งที่ไม่ถูกไม่ควร

หัก 200 500 500 500 500

ใบงานของกิจกรรม ใบบันทึกพลังชีวิต ตารางบันทึกพลังชีวิตเริม่ ต้น ระดับ ป.1 – ป. 3 (ประถมต้น) ป.4 – ป. 6 (ประถมปลาย) ม.1 – ม. 3 (มัธยมต้น) ม.4 – ม. 6 (มัธยมปลาย)

จานวนคน

พลังชีวิตเข้ากลุม่ (คูณ2)

ตารางบันทึกพลังชีวิตในส่วนของหน้าที่และความรับผิดชอบในทีม ตาแหน่ง ผู้บันทึกพลังชีวิตของกลุ่ม A ผู้บันทึกพลังชีวิตของกลุ่ม B ทนายประจากลุ่ม A ทนายประจากลุ่ม B ประธานเชียร์ คนที่ 1 ประธานเชียร์ คนที่ 2 ผู้แทนเชียร์ คนที่ 1 ผู้แทนเชียร์ คนที่ 2 ผู้แทนเชียร์ คนที่ 3

ชื่อผู้รับผิดชอบ

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

พลังชีวิตเข้ากลุม่

379


ผู้แทนเชียร์ คนที่ 4 ตาแหน่ง ผู้แทนเชียร์ คนที่ 5 ผู้แทนดวน 7 แต้ม คนที่ 1 ผู้แทนดวน 7 แต้ม คนที่ 2

ชื่อผู้รับผิดชอบ

พลังชีวิตเข้ากลุม่

ตารางบันทึกพลังชีวิต กิจกรรม Basic Badminton ระดับ ป.1 – ป. 3 (ประถมต้น) ป.4 – ป. 6 (ประถมปลาย) ม.1 – ม. 3 (มัธยมต้น) ม.4 – ม. 6 (มัธยมปลาย)

จานวนคน

พลังชีวิตเข้ากลุม่

ภาพที่ 4 กิจกรรม Basic Badminton ตารางบันทึกพลังชีวิต กิจกรรมบูรณาการฟิสิกส์ ชื่อ แม่นจริงตีให้ลง ระดับ ป.1 – ป. 3 (ประถมต้น) ป.4 – ป. 6 (ประถมปลาย) ม.1 – ม. 3 (มัธยมต้น) ม.4 – ม. 6 (มัธยมปลาย)

380

จานวนคน

พลังชีวิตเข้ากลุม่

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ภาพที่ 5 กิจกรรมบูรณาการฟิสิกส์ ชื่อ แม่นจริงตีให้ลง ตารางบันทึกพลังชีวิต กิจกรรมบูรณาการภาษาอังกฤษ ชื่อ Listen & Go ระดับ ป.1 – ป. 3 (ประถมต้น) ป.4 – ป. 6 (ประถมปลาย) ม.1 – ม. 3 (มัธยมต้น) ม.4 – ม. 6 (มัธยมปลาย)

จานวนคน

พลังชีวิตเข้ากลุม่

ภาพที่ 6 กิจกรรมบูรณาการภาษาอังกฤษ ชื่อ Listen & Go ตารางบันทึกพลังชีวิต กิจกรรมบูรณาการวิทยาศาสตร์ ชื่อ โอม!! จงลอย ระดับ ป.1 – ป. 3 (ประถมต้น) ป.4 – ป. 6 (ประถมปลาย) ม.1 – ม. 3 (มัธยมต้น) ม.4 – ม. 6 (มัธยมปลาย)

จานวนคน

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

พลังชีวิตเข้ากลุม่

381


ภาพที่ 7 กิจกรรมบูรณาการวิทยาศาสตร์ ชื่อ โอม!! จงลอย ตารางบันทึกพลังชีวิต กิจกรรมกินวิบาก ระดับ ป.1 – ป. 3 (ประถมต้น) ป.4 – ป. 6 (ประถมปลาย) ม.1 – ม. 3 (มัธยมต้น) ม.4 – ม. 6 (มัธยมปลาย)

จานวนคน

พลังชีวิตเข้ากลุม่

ภาพที่ 8 กิจกรรมกินวิบาก ตารางบันทึกพลังชีวิต กิจกรรมคณิต ชื่อ แบดเกี่ยวกับเลขอย่างไร ระดับ ป.1 – ป. 3 (ประถมต้น) ป.4 – ป. 6 (ประถมปลาย) ม.1 – ม. 3 (มัธยมต้น) ม.4 – ม. 6 (มัธยมปลาย)

382

จานวนคน

พลังชีวิตเข้ากลุม่

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ภาพที่ 9 กิจกรรมคณิต ชื่อ แบดเกี่ยวกับเลขอย่างไร ตารางบันทึกพลังชีวิต กิจกรรมดวล 7 แต้ม ระดับ ป.1 – ป. 3 (ประถมต้น) ป.4 – ป. 6 (ประถมปลาย) ม.1 – ม. 3 (มัธยมต้น) ม.4 – ม. 6 (มัธยมปลาย)

จานวนคน

พลังชีวิตเข้ากลุม่

ภาพที่ 10 กิจกรรมดวล 7 แต้ม ตัวอย่างแผนการสอนของกิจกรรมรายวิชาคณิตศาสตร์ 1. ชื่อหน่วย แบดเกี่ยวกับเลขอย่างไร 2. วัตถุประสงค์ - นับแต้มแบดเป็น (แบบแรลลี่ พอยท์) - เข้าใจหลักความน่าจะเป็นเบื้องต้น - บันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

383


- เข้าใจเรื่องคู่อันดับและกราฟ - หาระยะทางระหว่างจุดแรกกับจุดสุดท้ายได้ 3. อุปกรณ์ - ลูกแบด 100 ลูก - ใบบันทึกกิจกรรม - เด็กเล็ก 10 คน - สายวัด 4 เส้น - ใบงาน 1 ใบ (จาลองคอร์ทแบด) - เทปหนังไก่ (เป็นสเกล) - อุปกรณ์ในการตีเส้นกราฟในคอร์ทแบด 4. วิธีการ 4.1 แบ่งเด็กเป็น 3 กลุ่มย่อย คือ - กลุ่มเด็กเล็ก(ประถม – ม.3) 10 คน - กลุ่มจดแต้ม(พลังชีวิต) 3 คน (รวมแต้ม) - กลุ่มบันทึกกิจกรรม 3 คน (พร้อมคานวณ) - checker อีกสีนึง 3 คน 4.2 อธิบายโจทย์ให้เด็กเข้าใจของ 2 กิจกรรม คือ - จงหาความน่าจะเป็นที่ทีมของเราจะได้แต้มของการเสิรฟ เล่น คู่/ความน่ าจะเป็นที่ เสิรฟสั้น ของที ม/เสิรฟติดเน็ต/เสิรฟออก (ถ้าเด็ กเสิรฟลง ตาแหน่ง 1 และ 2 ดังภาพที่ 10 จะได้พลังชีวิต X 2) - จงหาระยะห่างระหว่างลูกแรกกับลูกสุดท้าย (ลูกที่ 100)

ภาพที่ 11 ภาพจาลองคอร์ดแบท 384

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


5. คาถามกระตุ้น - การเสิรฟที่จะได้แต้มนั้นต้องเข้าพื้นที่ไหนบ้าง - การหาระยะทางระหว่าง 2 จุด - Coordinate Plan แกน x และ y 6. การประเมิน - วัดจากคะแนนของการทากิจกรรม และความถูกต้องในคอนเซป - presentหน้าชั้นโดยมีกรรมการ 3 ท่าน 7. ส่วนขยาย (Extension) - P(E) + P' (E) = 1 - เน้นการบอกแนวคิดของกิจกรรม 8. แนะนา - แนะนาในสิ่งที่เด็กๆทา 9. คาศัพท์ - เสิรฟสั้น / เสิรฟยาว

ภาพที่ 11 ภาพรวมตารางกิจกรรม EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

385


สรุปผล จากตัวอย่างบทเรียนที่ได้นาเสนอมาเป็นบทความข้างต้นนี้ แสดงให้เห็นถึง ว่าการสอนนั้นเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ การที่ผู้สอนจะสามารถเชื่อมโยงเนื้อหาสาระ ของแต่ละรายวิชาที่มีความแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง (คณิตศาสตร์กับแบดมินตัน) ผู้สอน จะต้องมีความเข้าใจในทั้ง 2 รายวิชานี้เป็นอย่างดีเสียก่อน ว่ามีส่วนใดที่สามารถนามา เชื่อมโยงกันได้ โดยในที่นี้ผู้สอนได้ออกแบบความรู้เรื่องเรขาคณิต ความน่าจะเป็น รวมไปถึ งตรี โ กณมิ ติ ให้ อ ยู่ ในรู ป แบบของกิ จ กรรมการเรี ย นการสอน โดยผ่ า น กระบวนการกลุ่ม (Cooperative Learning) และให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านการลงมือทา (Learning by doing) ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีการช่วยเหลือเกื้อกูลกันเองในกลุ่ม มีการ ยอมรับและให้เกียรติซึ่งกันและกันภายในกลุ่ม เนื่องจากกติกาของกิจกรรมนี้มีการ แบ่งการให้คะแนน(ในที่นี้จะเรียกคะแนนว่า “พลังชีวิต”) โดยที่เด็กประถมต้น (ป.13) จะได้รับพลังชีวิตเข้ากลุ่มมากที่สุด ดังนั้นภายในกลุ่มจะต้องมีการปรึกษาหารือ กันเองในกลุ่มเรื่องของการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ในการลงมือปฏิบัติของแต่ละ กิจ กรรม เพื่ อ ให้ พ ลั งชีวิต รวมของทั้ งที มเยอะที่ สุ ด อี กทั้ งการออกแบบหน่ วยการ เรียนรู้ของผู้สอนนั้นจะมีการประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตัวเอง (Constructivism) โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะ (Inquiry Method) 5 E เป็นรากฐานของการดาเนินกิจกรรมทั้งหมด ซึ่งผู้เขียนขอยกตัวอย่างหน่วยการเรียน การสอนของกิ จ กรรมที่ ใช้ 5E เข้ า มาประยุ ก ต์ ในเนื้ อ หาการเรี ย นการสอนเรื่ อ ง ตรีโกณมิติดังนี้ 1) Engage : เร้าความสนใจเพื่อนาเข้าสู่บทเรียน เกริ่นถึง สามเหลี่ยม มุ ม ฉากและตรี โ กณมิ ติ พื้ น ฐาน ว่ า สามารถน าไปใช้ ป ระโยชน์ อ ะไรได้ บ้ า ง 2) Explore : สอนถึง Concept ตรีโกณมิติพื้นฐานที่ควรรู้ 3) Explain: ให้นักเรียนใน กลุ่มช่วยกันวางแผนในการหาความสูงของเพดานโรงยิมแบดมินตันโดยใช้อุปกรณ์ที่ กาหนดให้เท่านั้น 4) Elaborate : นักเรียนภายในกลุ่มสามารถช่วยกันคิดในแนวทาง ที่ตนเองถนัดและนาสิ่งที่คิดได้จากแต่ละคนในกลุ่ม มา discuss เพื่อหาแนวทางของ คาตอบที่มีความน่าเชื่อถือมากที่สุด 5) Evaluate : ให้ตัวแทนกลุ่มออกมานาเสนอสิ่ง ที่กลุ่มตัวเองได้ค้นพบขึ้น โดยครูผู้สอนอาจจะช่วยเสริมสิ่งที่นักเรียนขาดตกบกพร่อง 386

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ไปเพื่อให้เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันระหว่างกลุ่มด้วยอีกทางหนึ่ง อันจะส่งผลให้ ผู้เรียนเกิดความเข้าใจที่ตรงกันโดยไม่พลาด Concept ข้อเสนอแนะ การที่ครูผู้สอนนั้นสามารถนาเนื้อหาสาระของแต่ละรายวิชาเข้ามาประยุกต์ กับสิ่งต่างๆที่อยู่ใกล้ตัวผู้เรียน จะทาให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ ใคร่ที่อยากจะเรียนรู้ อีก ทั้งครูผู้สอนสามารถบอกถึงความสาคัญ ของสิ่งที่เรียนนี้ว่ามีประโยชน์ต่อผู้เรียนใน อนาคตอย่างไรบ้าง จะทาให้ผู้เรียนเกิดความตระหนัก ว่าสิ่งที่เจอนั้นสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ต่อไปในอนาคต เช่น สามารถนาความรู้นี้ไปใช้ในการเรียนต่อในระดับที่ สูงขึ้น เรียนแล้วนาไปใช้ทาอะไรได้ และสามารถนาความรู้ที่เรียนไปใช้กับอาชีพที่ฝัน ได้ แต่ในปัจจุบันผู้เรียนถูกยัดเยียดความรู้ทั้งที่ มีความจาเป็นและไม่มีความจาเป็น ต่างๆมากมาย อีกทั้งครูผู้สอนยังไม่สามารถอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจถึงความสาคัญของ เนื้อหาที่จะสอนว่ามีความสาคัญอย่างไรในอนาคตได้ ดังนั้นจึงไม่แปลกที่ผลการสอบ PISA ของประเทศไทยนั้นยังอยู่ในอันดับที่ไม่ดีเท่าที่ควร

รายการอ้างอิง ชนิตา ไพศาลวณิชกุล. 2550. การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการเรียนรู้บุคลิกภาพ แบบการกากับการแสดงออกของตนเอง กับวินัยในการพัฒนาองค์การ แห่งการเรียนรู้ ศึกษากรณี บริษัท เคทีบี ลิสซิ่ง. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์ ม ห า บั ณ ฑิ ต ส า ข า วิ ช า จิ ต วิ ท ย า อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ อ งค์ ก า ร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ดวงจันทร์ วรคามิน และคณะ. 2559. โครงการ “การศึกษาความสามารถด้านการ คิดวิเคราะห์และการมีจิตสาธารณะเพื่อพัฒนาศักยภาพการเป็นคนดีคน เก่งของนักเรียนไทย”. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์: กรุงเทพฯ.

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

387


ทิศนา แขมมณี. 2559. ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลง กรณ์มหาวิทยาลัย. Argyris, Chris. 1974. “Double Loop Learning in Organizations”. Harvard Business Review55. H. Sigmundsson and R.C.J. Polman, 2013. “No Math Gene Learning Mathematics take Practice”. Retrieved July 11, 2019 from http://phys.org/news/2013-12-math-gene-mathematics.html Kolb, David A. 1984. Experiential Learning: Experience as The Source of Learning and Development. New Jersey: Prentice Hall. Smith, Mark K. 2001. “David A. Kolb on experiential learning”. The Encyclopedia of Informal Education: http://www.infed.org/bexplrn.html

388

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมทักษะการสื่อสารในครอบครัว Development of a training model through online social networks to promote family communication skills สุรเสกข์ ยุทธิวัฒน์ บทคัดย่อ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการฝึกอบรมผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมทักษะการสื่อสารในครอบครัว 2) พัฒนาทักษะ ด้านการสื่อสารผู้ปกครองในครอบครัวที่มีลูกหลานวัยรุ่น 3) ส่งเสริมให้ เกิดการรับรู้ และการตระหนักถึงปัญหาการสื่อสารภายในครอบครัว 4) เผยแพร่แนวปฏิบัติในการ จัดการกับปัญหาในครอบครัวที่มีลูกหลานวัยรุ่น โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือผู้ปกครองใน ครอบครัวที่มีลูกหลานวัยรุ่น (อายุ 12 – 18 ปี) ที่พักอาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล โดยผู้วิจัยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ปกครองที่มีความสัมพันธ์ที่ดีกับ ลูกหลานแต่ขาดทักษะในด้านการสื่อสาร ซึ่งเครื่องมือในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบไป ด้ ว ย แบบสอบถามเพื่ อ การคั ด กรองระดั บ ความสั ม พั น ธ์ แ ละการสื่ อ สารภายใน ครอบครัว แผนการอบรมเรื่องทักษะการสื่อสารภายในครอบครัว และ แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อน และ หลังการอบรม ผลการวิจัย พบว่า 1) รูปแบบการจัดการอบรมผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ที่มีประสิทธิผล ต้องมีการแบ่งแยกหัวข้อในการเรียนอย่างชัดเจน มีการจัดแบ่งกลุม่ ผู้ปกครองตามหัวข้อที่แต่ละคนสนใจ นายสุรเสกข์ ยุทธิวัฒน์ นั กศึ ก ษา หลั ก สูต รศึ ก ษาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิชานวัต กรรมการเรีย นรู้แ ละ การสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

389


และมีความต้องการที่ จะสื่อสารกับลูกหลานของตน ตามระดับความคาดหวังของ ผู้ปกครองแต่ละคน2) ผลการพัฒนาทักษะด้านการสื่อสารผู้ปกครองในครอบครัวที่มี ลูกหลานวัยรุ่น ผลจากทดลองครั้งที่ 1 และ 2 พบว่า ผู้ปกครองที่เข้าร่วมการทดลองมี พฤติกรรมส่งการบ้านครบถ้วนเป็นร้อยละ100 และมีความตั้งใจที่จะเข้าร่วมการ แบ่งปัน (Share) ประสบการณ์กับผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการท่านอื่นๆ ในช่วงเวลา เย็นของทุกๆวัน โดยมีอัตราการอบรมจนครบหลักสูตรร้อยละ 100 3) การส่งเสริมให้ เกิดการรับรู้ และการตระหนักถึงปัญหาการสื่อสารภายในครอบครัว พบว่าหลังจากที่ ผู้ป กครองที่ เข้า ร่วมกิ จกรรมสามารถตระหนั ก และรับ รู้ปั ญ หาการสื่ อ สารภายใน ครอบครัวของตนได้มากขึ้น เมื่อเทียบกับก่อนเข้ารับการอบรม 4) การเผยแพร่แนว ปฏิ บั ติในการจั ดการกั บ ปั ญ หาในครอบครัว ที่ มีลู ก หลานวัย รุ่น จากกิ จกรรมการ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ส่งผลให้ผู้ปกครองตระหนักถึงวิธีการในการจัดการปัญหาที่ เกิดขึ้นโดยจากกิจกรรมการเรียนรู้และการทดลองปฏิบัตจิ ริง พร้อมทั้งได้รับคาแนะนา ที่เหมาะสมจากผู้นากลุ่ม แม่อาสาและสมาชิกภายในกลุ่มของตน คาสาคัญ การสื่อสารในครอบครัว การเรียนรู้ออนไลน์ การฝึกอบรม สังคมออนไลน์ Abstract The objective of this experimental research is to develop a platform to help parents of teenagers improve their family communication through online social network. The aim of the platform is to help the target group to realize the communication issues in their families and educate them on how they can improve their communication skills. The study focuses on parents who live in Bangkok and its vicinity. And due to their jobs and other responsibility, they cannot join the traditional training courses. The parents from families which have good relationship but lack of knowledge on 390

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


communication skills are invited to participate in an online Self Help Group. The finding of the research shows that the most effective way to conduct an online training program is 1) to have a specific topic and to group the students into a small group according to their personal needs and goals. 2) The result from the first and the second Self Help Group shows that 100% of participants submitted all the homework and looking forward to join the group discussion in the evening and the success rate is 100% which is relatively high compared to the averaged online learning success rate which is around 6-7%. 3) Participants are more aware of their family communication issues after joining the program. 4) Participants discover the solutions for their family communication problems by joining the class activities and practicing the communication techniques with the guidance of the group facilitators as well as the suggestion from their group members. Keyword: Family communication, online training, Online training through social network บทนา การสื่อสารเป็นองค์ประกอบที่มีความสาคัญต่อความสุขและความเข้มแข็ง ของครอบครั ว การสื่ อ สารที่ ส ร้ า งสรรค์ (Constructive Communication) ใน ครอบครัวจะทาให้สมาชิกในครอบครัวเกิดความ เข้าใจกันในเรื่องต่างๆ เช่น เข้าใจ ความคิด อารมณ์ ความรู้สึกของกันและกัน แล้วนามาสู่ความรู้สึกดีๆ ความปลาบปลื้ม ยิ น ดี สั ม พั น ธภาพที่ ดี ต่ อ กั น ทุ ก คนอยู่ ร่ ว มกั น อย่ า งมี ค วามสุ ข ดั งนั้ น สมาชิ ก ใน ครอบครัวจึงควรมีแนวทางที่จะสื่อสารอย่างสร้างสรรค์เพื่อสร้างสุขให้กับสมาชิกทุก คนในครอบ ครั ว และห ลี ก เลี่ ย งการสื่ อ สารที่ ไ ม่ สร้ า งสรรค์ (Destructive EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

391


Communication) ซึ่งเป็นการสื่อสารที่สมาชิกในครอบครัวไม่สามารถสื่อสารกันได้ อย่างตรงไปตรงมา และไม่สามารถที่จะสื่อสารให้เกิดความเข้าใจกันได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน หรือมีการตีความผิดพลาดทาให้เกิดความขัดแย้งกันและมีสัมพันธภาพที่ไม่ดี ต่อกัน ครอบครัวก็จะไม่สามารถอยู่ ร่วมกันอย่างมีความสุข เช่น พ่อแม่รักและเป็น ห่ ว งลู ก เรื่ อ งการใช้ จ่ า ยเงิน ของลู ก แต่ ถ้ า การพู ด ของพ่ อ แม่ เป็ น ไปในลั ก ษณะไม่ เหมาะสม ลูกก็อาจเข้าใจผิดคิดว่าพ่อแม่ไปก้าวก่ายชีวิตส่วนตัวของเขาเพราะเป็นเงิน ที่ เขาหามาด้วยน้าพักน้าแรงของเขาเอง เป็นต้น ดังนั้นการสื่อสารในครอบครัวจึงเป็น เรื่องที่ทุกคนควรให้ ความสาคัญและไม่ควรมองข้าม (นวลฉวี ประเสริฐสุข, 2558 : 738 - 743) จากสถิ ติ ข องโครงการวิ จั ย ครอบครั ว ไทยในเขตเมื อ ง 2557 (Thai Urbanized Family 2014) ระบุว่า 1 ใน 3 ของครอบครัวในเมืองมีสัมพันธภาพน่า เป็นห่วง ขาดการปฏิสัมพันธ์ มีครอบครัวถึง 40% ที่ไม่ค่อยเล่าหรือไม่เล่าอะไรให้คน ในครอบครัวฟังเลย มีครอบครัวมากถึง 60% ที่มีการใช้อานาจ บังคับ ขู่เข็ญ และอีก 33% ไม่ค่อยใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา และมากถึง 34% ด่าทอหยาบคาย ทาร้าย จิตใจ ละเลยทอดทิ้ง รวมถึงมีการทาร้ายร่างกาย 11% จากงานวิจัยเรื่องสัมพันธภาพครอบครัวกับปัญหาการกระทาความผิดใน วัยรุ่นของ วนัญญา แก้วแก้วปาน (2560) กล่ าวว่าสัมพันธภาพครอบครัวที่ดีนั้น เกิด จากการที่สมาชิกในครอบครัวมี การสนทนาพูดคุยกันอยู่เสมอ มี การแสดงออกถึง ความรักใคร่ปรองดอง ความห่วงใยซึ่งกันและกัน และสามารถร่วมกันแก้ไขปัญหามี ปัญ หาเกิ ดขึ้ น กับ สมาชิ กในครอบครัว ส่ วนครอบครัวที่ มี สั มพั น ธภาพที่ ไม่ ดี นั้ น มี สาเหตุมาจากการขาดการสื่อสารที่เข้าใจกัน ก่อให้เกิดความไม่เข้าใจกัน ความห่าง เหินกันระหว่างสมาชิกในครอบครัว โดยสัมพันธภาพในครอบครัวนั้นมีผลโดยตรงกับ พฤติกรรมของวัยรุ่น การขาดปฏิสัมพันธ์ภายในครอบครัวสามารถก่อให้เกิดปัญหา และนาไปสู่พฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์ในวัยรุ่นได้ ในขณะเดียวกัน สัมพันธภาพที่ดีใน ครอบครัวก็สามารถป้องกันปัญหาพฤติกรรมที่จะนาไปสูก่ ารกระทาความผิดของวัยรุ่น ในอนาคตได้ โดยการสร้างสัมพัธภาพที่ดีภายในครอบครัวนั้นเป็นหน้าที่ของสมาชิก 392

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ทุกคน โดยซึ่งเป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดปัญหา และนาไปสู่พฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์ใน วัยรุ่น ผลจากจากการ Focus Group กั บ กลุ่ ม พ่ อ แม่ ที่ มี ปั ญ หาในครอบครั ว จานวน 4 ครอบครัว พบว่า ทุกครอบครัวต้องการรู้วิธีการสื่อสารพูดคุยกับลูกอย่างมี ประสิทธิภาพ และอยากให้ครอบครัวของตนเป็นครอบครัวที่มีความสุขและอบอุ่น ซึ่ง ที่ผ่านมาเมื่อเกิดปัญหาขึ้นในครอบครั ว วิธีการที่สมาชิกในครอบครัวเลือกปฏิบัติมัก แสดงออกใน 2 แนวทางคือ 1.หาวิธีคลายเครียด เช่น ระบายปัญหากับเพื่อน ดื่มเหล้า สูบบุหรี่ เสพยา เสพติด มีเพศสัมพันธ์ ไปเที่ยว เข้าวัด ดูรายการตลก ซึ่งสุดท้ายแล้วปัญหาจะไม่ได้รับ การแก้ไข และอาจสร้างปัญหาใหม่เพิ่มขึ้นอีก 2.หาวิธีแก้ไขปัญหา เช่น หาวิธีการผ่านออนไลน์ Google Pantip ปรึกษา เพื่อน ปรึกษาผู้ใหญ่ ซึ่งในบางครอบครัวอาจจะโชคดี ได้รับคาแนะนาที่นาไปปรับใช้ กับครอบครัวตนเองได้ แต่ในบางครอบครัวอาจพบปัญหาอีก 2 เรื่อง เช่น ข้อมูลมี มากเกินไป ไม่รู้จะเชื่อคาแนะนาแบบไหน และ ข้อมูลกว้างเกินไป ไม่สามารถปรับใช้ กับบริบทครอบครัวของตนเองได้ ผลจากแบบสอบถามออนไลน์จากกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 300 ครอบครัว พบว่าผู้ป กครองส่วนมากมักคิด ว่าตนเองสื่ อสารกั บลูก ดีอยู่แล้ ว ครอบครัวไม่ได้ มี ปัญหาอะไร ถ้าเขาจะหาข้อมูลจากผู้ที่มีความรู้ เขาก็ไม่รู้จะไปหาข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ จากที่ไหน ถ้าครอบครัวเขามีปัญหา เขาจะไม่ปรึกษาเพื่อนหรือคนรอบข้าง เพราะคิด ว่าเรื่องในครอบครัวไม่ควรนาไปให้คนอื่นรู้ ไม่มีเวลา ถ้าจะต้องขาดงานหลายๆ วัน เพื่อไปอบรม โดยประเด็นที่ผู้ปกครองมักกังวลเกี่ยวกับลูกของตนเองมากที่สุดคือ 1. เพื่อน (การเข้ากันกับเพื่อน, การถูกรังแก) 2. แฟน (ความสัมพันธ์) 3. การเรียน (ด้านวิชาการและด้านพฤติกรรมในโรงเรียน) 4. อนาคต (เส้นทางการเรียนและอาชีพในอนาคต) 5. เพศ (สรีระ และ พฤติกรรม) 6. ครอบครัวและกฎเกณฑ์ในบ้าน เช่น การช่วยงานบ้าน EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

393


7. การตั้งเงื่อนไขเพื่อขอของรางวัล 8. การติดมือถือหรือติดเกมส์ ปัจจุบัน มีการพั ฒ นาทักษะด้านการสื่อสารนั้นมีการทาผ่านการจัดคอร์ส อบรม แต่ การจัด อบรมนั้ น มี ความไม่ สะดวกในหลาย ๆด้ าน ทั้ งในเรื่อ งของเวลา สถานที่ เนื้ อหาที่ไม่เฉพาะเจาะจงทาให้ผู้เรียนขาดความสนใจ การขาดการฝึกฝน อย่างต่อเนื่อง ขาดความมั่นใจในการนาไปใช้ และกลุ่มเป้าหมายมีขนาดใหญ่ การ พัฒนานวัตกรรมการเพิ่มศักยภาพการสื่อสารของครอบครัวที่มีลูกหลานวัยรุ่นผ่าน Platform Online เพื่อแก้ไขปัญหาสัมพันธภาพในครอบครัว โดยเฉพาะประเด็น การ สื่อสารของผู้ปกครองในครอบครัวที่มีลูกหลานวัยรุ่น ซึ่งถือเป็นประชากรที่อยู่ในช่วง อ่ อ นไหวต่ อ สิ่ ง เร้ า รอบตั ว เป็ น ช่ ว งหั ว เลี้ ย วหั ว ต่ อ ของการเจริ ญ เติ บ โตมี ค วาม เปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ค่อนข้างมาก ฉะนั้นหากสัมพันธ์ภาพ และการสื่อสารระหว่างกันในครอบครัวไม่มีศักยภาพ ก็อาจจะส่งผลก่อให้เกิดปัญหา ต่างๆ เช่น การใช้ความรุนแรง หนีออกจากบ้าน การใช้สารเสพติด ติดการพนัน ติด เกมส์ ท้องก่อนวัยอันควร เป็นต้น อันจะส่งผลให้เกิดปัญหาที่กระทบต่อชุมชน สังคม โรงเรียน หากแต่ละครอบครัวสามารถดูแลลูกวัยรุ่นในครอบครัวของตนเองได้ จะ ช่วยลดความเสี่ยงที่นาไปสู่วงจรการกระทาความผิดของวัยรุ่น แต่กลับทาให้เขาเป็น ประชากรที่มีคุณภาพของสังคมในอนาคต รวมถึงจะทาให้ครอบครัวอบอุ่นมากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ที่มีประสิทธิภาพในการเพิ่ม ศักยภาพการสื่อสารของครอบครัวที่มีลูกหลานวัยรุ่นผ่าน Platform online 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองของครอบครัวที่มีลูกหลานวัยรุ่นด้านทักษะ การสื่อสาร 3. เพื่อส่งเสริมให้ครอบครัวกลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักและรับรู้ถึงปัญหาการ สื่อสารภายในครอบครัว และรู้ถึงวิธีการในการจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 394

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


4. เผยแพร่แนวปฏิบัติในการจัดการกับปัญหาสาหรับผู้ปกครองในครอบครัวที่มี ลูกหลานวัยรุ่น เพื่อให้ผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการทราบถึงวิธีการจัดการกับปัญหา ด้านการสื่อสารภายในครอบครัวของตนเอง กรอบแนวคิดการวิจัย ตัวแปรต้น 1. การจัดการอบรมทักษะด้านการสื่อสารผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ตัวแปรตาม 1. ศักยภาพด้านการสื่อสารของผู้ปกครองของครอบครัวที่มีลูกหลานวัยรุ่น 2. ความตระหนักและรับรู้ปัญหาการสื่อสารในครอบครัว ตัวแปรตาม

ตัวแปรต้น

1. ศักยภาพด้านการสื่อสารผู้ปกครอง

การจัดการอบรมทักษะด้านการสือ่ สาร ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์

ของครอบครัวที่มีลูกหลานวัยรุ่น 2. ความตระหนักและรับรู้ปัญหาการ สื่อสารในครอบครัว

กรอบแนวคิด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แบบสอบถามเพื่อการคัดกรองระดับความสัมพันธ์และการสื่อสารภายใน ครอบครัว โดยแบบสอบถามแบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนข้อมูลทั่วไปเพื่อเก็บข้อมูล ทั่วไปของผู้ปกครอง ส่วนความสัมพันธภาพพื้นฐาน 19 ข้อ และด้านการสื่อสาร ซึ่งจะ แบ่งตามประเด็นที่ผู้ปกครองอยากสื่อสารกับลูก 10 ประเด็น ประเด็นละ 5-6 ข้อ ได้แก่ 1. ลูกไม่มั่นใจในตัวเอง 2. ลูกไม่ช่วยงานบ้าน 3. ลูกกดดันเรื่องการเรียน 4. ลูก

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

395


ต่อต้านพ่อแม่ 5. ลูกชอบขอของรางวัล 6. ลูกติดมือถือ 7. ลูกใช้เงินฟุ่มเฟือย 8. ลูกมี ปัญหาที่โรงเรียน 9. ลูกเริ่มคุยกับเพศตรงข้าม 10. ลูกมีปัญหาเรื่องเรียนต่อ 2. แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องทักษะการสื่อสารภายในครอบครัว โดยจะแบ่ง การเรียนรู้ทั้งหมดเป็น 9 วัน แต่ละวันจะแบ่งเป็น 2 ช่วงเวลาคือ ช่วงเช้าและช่วงค่า โดยในวันแรกนั้น ในช่วงเช้าจะเป็นการแนะนากลุ่ม ชี้แจงกติกา และแจกแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน โดยผู้เรียนจะต้องทาแบบทดสอบ โดยในช่วง เย็นกิจกรรมที่ผู้เรียนจะต้องทาคือการเข้าร่วมกลุ่มย่อยของตน เพื่อรับฟังวิธีการเรียน แนะนาตัวเองกับสมาชิกในกลุ่ม และแชร์ประสบการณ์ของตนกับสมาชิกคนอื่นๆ โดย จะมีผู้นากลุ่มและผู้ปกครองอาสาจานวนกลุ่มละ 1 คน เป็นผู้ควบคุมเนื้อหาและเวลา วันที่สองและสาม ในช่วงเช้าจะมีการให้เนื้อหาเกี่ยวกับทักษะการสื่อสารเบื้องต้น เช่น การจั ด การอารมณ์ การฟั ง การชมหรือ การให้ ก าลั งใจ พร้อมทั้ งการบ้ าน เพื่ อ ให้ ผู้ เรีย นไปท าการเรีย นรู้ด้ ว ยตนเอง และลองท าแบบฝึ ก หั ด เพื่ อ ที่ จ ะน ามาพู ด คุ ย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ์ และรับคาแนะนาจากผู้นากลุ่ม พ่อแม่อาสา รวมถึงสมาชิกท่านอื่นๆ และหลังจากผู้ เรียนได้เรียนรู้เทคนิคเบื้องต้นแล้ว ในวันที่สี่ ของการอบรม ผู้เรียนจะต้องทดลองไปคุยกับบุตรหลานของตนโดยใช้เทคนิคที่เรียน มา และนาประสบการณ์นั้น มาแลกเปลี่ยนและรับคาแนะนาเพิ่มเติมจากผู้นากลุ่ม พ่อแม่อาสาและสมาชิกกลุ่มท่านอื่นๆ จากนั้น วันที่ห้าถึงวันที่แปด ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ เทคนิคที่ซับซ้อนมากขึ้น โดยจะเป็นเทคนิคแบบผสมผสาน เช่น การใช้เทคนิคการชม ร่วมกับ iMessage และเทคนิคการสะท้อนความรู้สึก เป็นต้น และในวันที่เก้า ผู้เรียน จะมีโอกาสได้นาเทคนิคที่เรียนมาทั้งหมดไปทดลองคุยกับบุตรหลานของตนอีกครั้ง และในช่วงค่าก็จะทาการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และรับฟังคาแนะนาจากผู้นากลุ่ม พ่ อ แม่ อ าสาและสมาชิ ก กลุ่ ม ท่ า นอื่ น ในวั น ที่ สิ บ นั้ น ในช่ ว งเช้ า จะมี ก ารแจก แบบทดสอบเพื่ อวัดผลสัม ฤทธิ์ท างการเรียนหลั งเรียน และในช่ วงเย็น จะเป็ นการ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ สอบถามความคิดเห็น และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการ เข้าร่วมอบรม 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังเรียน ในวันแรกของการ เริ่มการอบรมในแต่ละครั้งนั้น ผู้เรียนต้องทาแบบทดสอบเพื่อวัดความรู้และความ 396

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


เข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการสื่อสาร โดยแบบสอบถามจะเป็นแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 จะเป็นแบบสอบถามมาตราส่วน จานวน 16 ข้อ โดยแยกความคิดเห็นเป็น 5 ระดับ ได้แก่ เห็นด้วยอย่างยิ่ง (5) เห็นด้วย (4) เฉย ๆ (3) ไม่เห็นด้วย (2) และไม่เห็นด้วย อย่างยิ่ง (1) และส่วนที่ 2 จะเป็น คาถามส่วนสถานการณ์ โดยจะถามเกี่ยวกับโอกาส หรือสถานการณ์ที่ผู้เรียนอยากใช้เวลาเพื่อคุยกับบุตรหลานของตน ช่วงเวลาปรกติที่ ผู้เรียนตั้งใจจะคุยกับบุตรหลานของตน และให้ผู้เรียนกาหนดพฤติกรรมที่ผู้เรียนอยาก แก้ไขให้ชัดเจน 1 พฤติกรรม เพื่อให้เกิดการตั้งเป้าหมายที่ ชัดเจน และภายหลังจาก เข้ า ร่ ว มการอบรม ผู้ เรี ย นจะต้ อ งท าแบบทดสอบอี ก ครั้ ง โดยในแบบทดสอบจะ แบ่งเป็น 2 ส่วน คือส่วนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการสื่อสาร 16 ข้อ และ ส่ ว นเป้ า หมาย โดยส่ วนนี้ จ ะเป็ น การสอบถามถึ งเป้ า หมายในอนาคตของผู้ เรีย น เกี่ยวกับแผนสาหรับการฝึกปฎิบัติ หรือการนาเทคนิคการสื่อสารเชิงบวกไปปรับใช้กับ ลูกและครอบครัว หลังจากจบกลุ่มการเรียนรู้ 4. การสัมภาษณ์ ถึงความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการเข้าร่วมกิจกรรม และการ สัมภาษณ์ ลูกหรือหลานของผู้เรียนถึงความเปลี่ยนแปลง ภายหลังจากการเข้าร่วม กิจกรรมเป็น ระยะเวลา 1 อาทิ ตย์และ 1 เดือน จะมีการโทรศัพท์ เพื่ อสอบถามถึง ความเปลี่ยนแปลงทั้งในส่วนพฤติกรรมของผู้เรียน ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและ บุตรหลาน และพฤติกรรมของบุตรหลาน ผลการวิจัย ส่วนที่ 1 ผลการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ที่มีประสิทธิภาพใน การเพิ่มศักยภาพการสื่อสารของครอบครัวที่มีลูกหลานวัยรุ่นผ่าน Platform online พบว่าการจัดการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ทีมีประสิทธิภาพนั้น จะต้องมีการ ระบุหัวข้อในการเรียนให้ชัดเจน เนื้อหาที่เรียนจะต้องไม่กว้างจนเกินไป เช่น ต้องมี การจัดกลุ่มผู้ปกครองตามหัวข้อที่ต้องการสื่อสารกับลูกหลาน และการจัดกลุ่มย่อย ตามความคาดหวังของผู้ป กครองแต่ละคน ผลจากการจัดกิจกรรมในกลุ่ม ทดลอง พบว่า การจั ด กลุ่ ม ผู้ ป กครองตามหั ว ข้ อ ที่ อ ยากพู ด คุ ย กั บ ลู ก หลานและตามความ คาดหวังนั้น จะทาให้ผู้ปกครองรู้สึกมีส่วนร่วมและเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม ทาให้มีความ EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

397


ตั้งใจในการเรี ยนรู้ และมี ค วามต้ อ งการที่ จะแบ่ งปั น และรั บ ฟั งประสบการณ์ จาก สมาชิกกลุ่มมากขึ้น โดยกิจกรรมการแบ่งปันประสบการณ์เป็นกิจกรรมที่ผู้ปกครองพึง พอใจมากที่สุดในการเข้าร่วมการฝึกอบรมผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ ส่วนที่ 2 ผลการพัฒนาศักยภาพผู้ปกครองของครอบครัวที่มีลูกหลานวัยรุ่นด้าน ทักษะการสื่อสารนั้น พบว่า จากการทดลองครั้งที่ 1 และ 2 นั้น ผู้ปกครอง 100% ส่ง การบ้านทุกครั้ง อีกทั้งยังตั้งใจที่จะเข้าร่วมการแชร์ประสบการณ์กับผู้ปกครองท่าน อื่ น ๆ ในตอนเย็ น ของทุ ก ๆวั น ซึ่ งอั ต ราการเรี ย นจบคื อ 100% ซึ่ งนั บ ว่ า ประสบ ความสาเร็จมากเมื่อเปรียบเทียบกับการเรียนออนไลน์ในรูปแบบอื่นๆ ซึ่งมีอัตราการ เรียนจบอยู่ที่ 6%-7% ส่วนที่ 3 ผลของการตระหนักและรับรู้ถึงปัญหาการสื่อสารภายในครอบครัว และรู้ ถึ งวิธี ก ารในการจั ด การกั บ ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและจาก ผลทดสอบก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรม พบว่าผู้เรียนทราบถึงปัญหาด้านการสื่อสาร ของตน จากการรับฟังประสบการณ์ของพ่อแม่อาสา และจากการแชร์ประสบการณ์ ของสมาชิกกลุ่มท่านอื่น และทราบวิธีการจัดการอารมณ์ รวมถึงเทคนิคการสื่อสารที่ ถูกต้องและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผ่านการเรียนรู้ ทาแบบฝึกหัดและทดลองจริงกับ บุตรหลานของตน อีกทั้งได้รับคาแนะนาเพื่อพัฒนาตนเองจากผู้นากลุ่ม พ่อแม่อาสา ส่วนที่ 4 ผลของการเผยแพร่แนวปฏิ บัติ ในการจัด การกับ ปั ญ หาส าหรับ ผู้ปกครอง พบว่าภายหลังจากเข้าร่วมโครงการ ผู้ปกครองทราบถึง วิธีที่เหมาะสมใน การแก้ ไขปั ญ หาด้านการสื่ อ สารภายในครอบครัว ของตนมากขึ้น รวมถึ งสามารถ พัฒนาแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมกับสถานการณ์ของตน จากการเรียนรู้ ทักษะด้านการสื่อสาร การทดลองปฏิบัติจริง พร้อมทั้งได้รับคาแนะนาที่เหมาะสมจาก ผู้นากลุ่ม แม่อาสาและสมาชิกภายในกลุ่มของตน อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ การพัฒนาการฝึกอบรมผ่านเครือข่าย สังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมทักษะการสื่อสารในครอบครัวที่มีลูกหลานวัยรุ่น ได้ดังนี้ 398

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


1. ผลจากการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่า ผู้ปกครองที่เข้าร่วมการ อบรมมี ค วามรู้แ ละความเข้ า ใจเกี่ ย วกั บ เทคนิ ค การสื่ อ สารเพิ่ ม ขึ้ น เป็ น อย่ างมาก เนื่องจากได้ทาการรูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้มีการนาเทคนิคที่เรียน ไปใช้ได้จริง (Practice by doing) ในบริบทที่แตกต่างกันของผู้เรียนแต่ละคน โดย วงจรของการลองกระทา หรือการเรียนรู้จากประสบการณ์ (Experiential learning) นั้น จะเริ่มจากการที่ผู้เรียนรับรู้ ปัญหา คิดหาแนวทางในการแก้ไข และลองกระทา ตามแนวทางที่ตนได้วางแผนไว้ โดยมีผู้นากลุ่มและพ่อแม่อาสา รวมทั้งสมาชิกกลุ่ม คอยให้คาแนะนา การเรียนรู้ในรูปแบบนี้จะทาให้ผู้เรียนเกิดประสบการณ์ตรงจากผล ของการกระทา และสามารถสร้างองค์ความรู้ของตนเอง ซึ่งอาจจะเป็นการยืนยัน ใน ความรู้เดิมหรือปรับเปลี่ยนความรู้เดิมเป็นความรู้ใหม่ (Lewis and William, 1994) การให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้จากประสบการณ์ของตนเอง (Experiential learning) ถือเป็นการให้คุณค่าแก่ประสบการณ์ ในการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นคุณลักษณะที่ สาคัญของการศึกษาผู้ใหญ่ (ชัยฤทธิ์ โพธิสุวรรณ, 2548) เนื่องจากผู้ใหญ่ต้องการที่จะ เรียนรู้อย่างมีความหมาย มีคุณค่าและใช้ประโยชน์ได้จริงในชีวิตประจาวัน นอกจากนี้การเข้าร่วม Self Help Group ยังเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ แบ่งปันประสบการณ์ของตน (Discussion) ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ลึกขึ้น โดย ตามหลักปิรามิดการเรียนรู้ (ภาพที่ 1) ผู้เรียนที่ผ่านการเรียนรู้เป็นทีม และเรียนรู้ ด้ ว ยตั ว เองผ่ า นการอภิ ป รายกลุ่ ม (Discussion) การลงมื อ ปฏิ บั ติ ด้ ว ยตนเอง (Practice by doing) จะมีอัตราการทรงจาเฉลี่ยอยู่ที่ 50% และ 70% ตามลาดับ ซึ่ง แตกต่างจากรูปแบบการอบรมทั่วไปที่เน้นการเรียนทฤษฎีกว้างๆ การอ่าน การได้ยิน ได้เห็น และการสาธิต ที่จะมีอัตราการทรงจาเฉลี่ยสูงสุดอยู่ที่ 30% เท่านั้น

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

399


ภาพที่ 1 ปิรามิดการเรียนรู้ (The Pyramid Learning) ที่มา Stanley (2013) 2. ผลจากการวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้เรียนพบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อ รูปแบบการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นอย่างมาก เนื่องจากการ แบ่งกลุ่มผู้เรียนตามประเด็นที่ผู้เรียนให้ความสนใจ และการแบ่งกลุ่มย่อยตามความ คาดหวังของผู้เรียนนั้น ทาให้เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นอย่างมาก ตามทฤษฎี การเรียนรู้ของผู้ใหญ่ของศักรินทร์ ชนประชา (2557:14) ที่ระบุว่า “ผู้ใหญ่จะมีวุฒิ ภาวะและเกิดความพร้อมในการเรียนรู้และจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดถ้าเรื่องที่เรียนรู้เป็น ประโยชน์ ต่ อ ตนเอง และมี ความจ าเป็ น ต้ อ งรู้ ” อี ก ทั้ งการที่ ให้ ผู้ เรีย นระบุ ค วาม คาดหวัง และพฤติกรรมที่ชัดเจนที่ ต้องการจะเปลี่ยนนั้น ถือเป็นการให้ผู้เรียนได้ทา การวินิจฉัยความต้องการในการเรียนรู้ และกาหนดจุดมุ่งหมาย ด้วยตัวเอง ซึ่งเป็นขั้น ที่หนึ่งและขั้นที่สองของลาดับขั้นตอนการในการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ที่มีประสิทธิภาพ โดย Knowles (1978) อธิบ ายว่า การสอนผู้ ใหญ่ ตั้ งอยู่ บ นพื้ น ฐานความเชื่ อ ที่ ว่ า ผู้ใหญ่แต่ละคนเป็นผู้ที่มีวุฒิภาวะที่สมบูรณ์ มีความสามารถที่จะเป็นผู้ชี้นาตนเองได้ ดังนั้น บทบาทของครูจะไม่เป็นผู้สอนแต่เพียงฝ่ายเดียว แต่ครูจะเป็นผู้อานวยความ สะดวกในการจัดกิจกรรมเพื่อ ก่อให้เกิดการเรียนรู้เป็นผู้ช่วยในการวิเคราะห์ ความ 400

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ต้อ งการ วิ เคราะห์ ปั ญ หาของผู้ เรียน (Problem analysis) วางวัต ถุ ประสงค์แ ละ ออกแบบประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้ (Design learning experiences) นอกจากนี้การจัดการอบรมออนไลน์นั้นยังเอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้ปกครอง เนื่ อ งจากมี ค วามสะดวกในเรื่ อ งการเวลาและสถานที่ ซึ่ งเป็ น การเปิ ด โอกาสให้ ผู้ปกครองที่มีเวลาจากัด และผู้ปกครองที่อยู่ต่างจังหวัดสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ อีกทั้งการอบรมในลักษณะนี้ทาให้ผู้ปกครองมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่ง กันและกัน ซึ่งทาให้เห็นปัญหาของตนได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น อีกทั้งรูปแบบของกิจกรรม ที่จัดนั้น เนื่องจากเป็นการเข้าร่วมพูดคุยออนไลน์ผ่านทางแอพพลิเคชั่นไลน์ ทาให้ ผู้เรียนรู้สึกเป็นกันเอง ก่อให้เกิดความเชื่อใจกันภายในกลุ่ม ส่งผลให้ผู้เรียนแต่ละคนมี ความกล้าที่จะเปิดเผยเรื่องราวในครอบครัวของตนได้มากขึ้น ข้อเสนอแนะ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะอันเนื่องมาจากข้อค้นพบจากการวิจัยและการศึกษา วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ ข้อเสนอแนะเพื่อนาผลการวิจัยไปใช้ 1. การจัดกิจกรรมอบรม ถึงแม้จะเป็นการจัดกิจกรรมออนไลน์ ไม่ควรจัดในช่วง เทศกาล เนื่องจากผู้เข้าร่วมอบรมอาจติดภารกิจบางอย่าง ทาให้ไม่สามารถเข้าร่วม กิจกรรมได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งทาให้ขาดความเข้าใจในเนื้อหา และขาดการแนะนา ทา ให้ไม่สามารถนาเทคนิคไปใช้ได้จริง ส่งผลให้การเข้าร่วมกิจกรรมไม่มีประสิทธิภาพ เท่าที่ควร 2. เนื่ อ งจากเป็ น การจั ด การอบรมผ่ า นแพลตฟอร์ ม ออนไลน์ การเข้ า ถึ ง อินเตอร์เน็ตของผู้เข้าร่วมจึ งมีผลกับการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นอย่างมาก จึงควรมีการ ชี้แจงกับผู้เรียนเพื่อให้เตรียมความพร้อมในเรื่องของสัญญาณอินเตอร์เน็ตก่อนที่จะ เริ่มกิจกรรมในช่วงเย็นของแต่ละวัน 3. พ่อแม่อาสาถือเป็นปัจจัยที่สาคัญที่ส่งผลต่อการเรียนการสอน ดังนั้นควรจะมี การชี้แจงรวมถึงอบรมในเรื่องทักษะในการนากลุ่ม เพื่อให้พ่อแม่อาสามีบทบาทที่มาก EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

401


ขึ้นในการจัดกิจกรรม และหากสามารถที่จะเพิ่มบทบาทพ่อแม่อาสา และลดบทบาท ของผู้นากลุ่มได้ จะทาให้สามารถลดทรัพยากรบุคคลในการจัดกิจกรรมได้ 4. การจัดกิจกรรมบทแพลตฟอร์มออนไลน์นั้น ถึงแม้จะเป็นการจัดกิจกรรมผ่าน ทางแอพพลิเคชั่นที่เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายอย่าง ไลน์ (Line) แต่ทักษะในการใช้ เทคโนโลยีต่างๆ ของทีมงานยังไม่ครอบคลุม ทาให้ต้องมีการพึ่งพาบุคลากรส่วนอื่นใน การจัดการ ซึ่งหากสามารถสอนทักษะการใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรม ให้กับทีมงานให้เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างทั่วถึงแล้ว จะทาให้การจัดกิจกรรมเป็นไป อย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพมากขึ้นได้ ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรจะมีการพัฒนาระบบเพื่อจัดเก็บข้อมูลที่ใช้ในการจัดกิจกรรม ไม่ว่าจะเป็น ข้อมูลของผู้เข้าร่วมกิจกรรม รวมไปถึงการจัดเก็บเนื้อหา และการบ้านให้เป็นระบบ มากขึ้น เพื่อทาให้สามารถจัดการข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากขึ้น 2. หากมีการศึกษาเรื่องแนวคิดการผลิตสินค้าที่มีปริมาณมาก แต่เพื่อตอบสนอง ความต้องการเฉพาะบุคคลของลูกค้า (Mass customization) เพื่อใช้ในการพัฒนา ระบบการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน จะสามารถช่วยลดการ ใช้ทรัพยากรบุคคลในการจัดการตารางเรียนการสอน และทาให้ระบบการเรียนรู้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น เนื่องจากผู้เรียนแต่ละคนจะได้เรียนรู้ในเรื่องเหมาะสมกับความ ต้องการและความคาดหวังของตน รายการอ้างอิง ภาษาไทย ชัยฤทธิ์ โพธิสุวรรณ. 2548. การศึกษาผู้ใหญ่ปรัชญาตะวันตกและการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นวลฉวี ประเสริฐสุข. 2558. สื่อสารอย่างสร้างสรรค์เพื่อสร้างสุขในครอบครัว. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 737-747. 402

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


วนัญญา แก้วแก้วปาน. 2560. สัมพันธภาพครอบครัวกับปัญหาการกระทาความผิด ในวัยรุ่น. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 361-371. วัฒนาพร ระงับทุกข์. 2545. เทคนิคและกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิก. ศักรินทร์ ชนประชา. 2557. ทฤษฎีการเรียนรูผ้ ู้ใหญ่: สิ่งที่ครูสอนผู้ใหญ่ต้องเรียนรู้. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (25:2), 13-23 Thai Urbanized Family 2014. (2557). โครงการวิจัยครอบครัวไทยในเขตเมือง 2557. กรุงเทพมหานคร. ภาษาอังกฤษ Brockett, R.G. & Hiemstra, R., 1991. Self-direction in Learning: Perspectives in Theory, Research, and Practice. Routledge, London, UK. Lewis, L.H. & William, C.J., 1994. Experiential Learning: Past and Present. In L. Jackson and R.S. Caffarella (eds.) Experiential Learning: A New Approach. New Directions for Adult and Continuing Education., no. 62. San Francisco: Jossey Bass. Knowles, M.S. 1978. The adult education movement in the United State. New York: Holt Rinehart, and Winston. Knowles, M.S. 1980. The modern practice of adult education: From pedagogy to andragogy. New York: Cambridge, The Adult Education Company. Skager, R. & Dave, R.H. 1977. Curriculum Evaluation for Lifelong Education. New York: Pergamon Press. Stanley, J. 2013. Understanding the Learning Pyramid. Retrieved from The Phuket News: https://www.thephuketnews.com/understanding-the-learningpyramid-40899.php#Hyr3S4Pck5ugGqpD.97

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

403


The development trend and practical cases of artificial intelligence education application LI DA Abstract This paper starts from the perspective of social development's demand for talents in the era of artificial intelligence, points out that individuation is the inevitable trend of education application development in the era of artificial intelligence, introduces the development status of education application, and points out that artificial intelligence technology promotes individuation education from idea to practice. Then, the paper describes the core service of intelligent education, which is to push education towards individualization from three aspects: personalized learning, precise teaching and scientific management Finally, the paper introduces the application integration and case practice of intelligent education core services in user terminal products. Keywords: artificial intelligence; intelligent education application; Personalized; Core services of intelligent education; AI assistant MR. LI DA Graduate Student, Master of Education Program in Innovations in Learning and Teaching, Sripatum University

404

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


Introduction Artificial Intelligence (AI) has attracted widespread attention from the whole society in recent years, and has been elevated to the level of national strategy. The era of artificial intelligence has come, and AI technology is quietly changing all aspects of the traditional industry. How to deal with the opportunities and challenges brought by artificial intelligence has become a problem that all walks of life must face, and education industry is no exception. Iflytek shoulders the important mission of building "the new generation of national open innovation platform for artificial intelligence", and actively explores the integration and innovative application of AI technology and education. Based on the in-depth analysis of the development status of education informatization in China and the forward-looking prediction of the application trend of AI technology in the field of education, iflytek launched the core technology services of artificial intelligence and its application products around the main scene of education, and achieved good application results in the extensive practice. The era of artificial intelligence has come, AI technology is quietly changing all aspects of the traditional industry, how to deal with the opportunities and challenges brought by artificial intelligence has become a problem that all walks of life must face, education industry is no exception.

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

405


The development trend and present situation of artificial intelligence education application 1. The idea and mode of individualized education In the era of industrialization, the production mode with the main characteristics of scale, mechanization and procedure requires the cultivation of a large number of highly specialized and standardized talents with basic knowledge and skills and the spirit of strict obedience through education [1]. However, in the current era when AI technology is increasingly penetrating into all walks of life, the production process has changed from a single and repeated assembly line production mode to a large-scale, personalized and automated intelligent manufacturing mode [2]. Society is more in need of workers' ability to innovate. The BBC quoted Osborne, an academic from Oxford University, and other data systems about "the substitutability rate of artificial intelligence for future jobs" to make career prediction: Those who cannot only through standardized training talents such as phone salesman will be a large number of alternative (alternative rate up to 99.0%), "strong, with high repeatability stylized" higher mental work such as accountants also will be a large number of alternative (alternative rate 97.6%), and only those who emphasize "innovation, communication and deep thinking" work such as software developers is the possibility of alternative low (alternative rate of only 8.0%) [3]. It can be seen that the important task of current education is to cultivate innovative talents. The cultivation of innovative talents cannot be separated from individualized education. Psychologist Lin chongde believes that creative talents should have creative personality. Respect the 406

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


development of individual character, protect the innovation ability of talent namely. American psychologist Terman has conducted a followup survey on 800 male children for 30 years, and found that the top 20% group with greater achievements and the bottom 20% group with less achievements have significant differences in personality, emotion, interest, hobby, self-awareness and other personality characteristics, and the former's personality characteristics have been fully developed [5]. Thus, to cultivate innovative talents, it is necessary to face up to and respect the differences in intelligence, personality, interests and hobbies, and choose the most appropriate development mode to promote personal growth on the basis of following the law of physical and mental development. In short, innovative talents cannot be separated from personalized education and training, and the future education will be personalized. 1) AI promotes the individualization of education from theoretical conception to practice The first step for education to become individualized is to realize the individualization of learning activities. In other words, learning content, learning method and learning plan can be customized according to students' own learning needs, learning experience, hobbies, styles, habits, cultural background and other personalized elements, combined with national education policy and social talent demand. Promote personalized learning need to acquire enough background information, and make a lot of data modeling calculation, analysis and intelligent decision making to achieve the desired effect, in view of the complexity of its implementation, in 2015, the new media alliance EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

407


"horizon report (basic education version)" will be personalized learning as a fairly difficult challenging work [6]. And with the depth of the neural network is widely used, brain science research progress and breakthrough in big data and cloud computing, under the support of relevant technologies such as artificial intelligence technology is rapidly used to the society in various fields, such as in the field of education, oriented information system based on artificial intelligence (that is, the intelligence education "applied") can make full use of education industry big data, through continuous learning top expert knowledge system, in order to achieve the level of first-class experts. Therefore, on the one hand, the application of intelligent education can identify the characteristics and appeals of each student sharply from the massive data of student behavior, and develop corresponding learning strategies. On the other hand, suitable learning contents can be found from the huge amount of learning resources with different strengths and weaknesses, and recommended to learners; Finally, the individualization of learning activities is realized. It can be seen that with the support and promotion of artificial intelligence, the individualization of education will inevitably turn from theoretical conception to practical practice, and individuation will also become the inevitable trend of the application development of intelligent education 2) Development status of the application of artificial intelligence in education As the basis for the development of personalized education, educational informatization has made great progress in recent years. According to the statistics of the 13th five-year plan for educational 408

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


informatization, the Internet access rate of primary and secondary schools in China has reached 87%, and the penetration rate of multimedia classrooms has reached 80%. High-quality digital education resources are increasingly abundant, and information nized (check spelling) teaching is gradually popularized. Teachers and school administrators have significantly enhanced their informatization awareness and ability [7]. With the popularization and promotion of the application of education informatization, the traditional education and teaching mode has changed a lot, which promotes the fairness of education and improves the quality of education and teaching. However, it still appears to be inadequate to meet the challenge of individualized education, which is reflected in the following three aspects: (1) the learning process of students failed to achieve personalized, students cannot fully understand themselves, the teacher is difficult to pay attention to each student, so in the classroom and outside, even if there is information application support, can only get standardized learning content and learning strategy guidance; (2) the teacher's teaching process fails to achieve precision, the teacher with one's own strength is difficult from preview, listen to lectures, review, self-study, homework, examination and other scenarios, observation and grasp all the students' personality characteristics, learning behavior and academic achievements, not to be able to accurately guide each student's learning; (3) Schools failed to realize scientific management process, all kinds of scattered data with different business systems, data failed to merge, between the school of management decision-making process is EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

409


hard to get the data of comprehensive support, the school in fragmented state, data is also difficult to accurately for the teaching and learning personalized provide strong management support. Development countermeasures and measures for the application of artificial intelligence in education In view of the development trend and current situation of educational application in the era of artificial intelligence, the application of intelligent education must solve the key problems hindering the education from individualization in the main educational scene, so as to truly promote the development of personalized education from idea to practice. 1. AI technology is used to solve the key problems hindering the individualization of education (1) The solving of the problem of personalized learning process through intelligent recommendation engine. On the one hand, intelligent recommendation engine accurately depicts students' personality characteristics and learning needs based on a comprehensive grasp of student data. On the other hand, based on the intelligent analysis of the content and use of learning resources, the labelling of resource characteristics can be realized .Finally, according to the real needs of each student, intelligent push appropriate learning resources to achieve personalized learning process. (2) The problem of teaching process precision is solved by intelligent learning situation analysis. On the one hand, intelligent learning situation analysis technology gathers information such as individual students' learning attitude, learning style and knowledge points, enabling teachers to accurately grasp individual students' 410

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


learning needs. On the other hand, the overall learning atmosphere, distribution of weak knowledge points, achievement distribution and other information of learning situation of the class are counted, so that teachers can accurately grasp the overall learning needs of the class Finally, it provides professional guidance for rational planning of teaching resources and proper selection of teaching methods, and realizes the precision of teaching process (3) The problem of scientific management process can be solved by intelligent decision support. On the one hand, intelligent decision support realizes the connection, aggregation and exchange of campus data, and forms a multi-level data system for students, classes and schools. On the other hand, it realizes the regularization and processing of campus data, creates campus data warehouse based on business scenarios, creates various models of analysis, measurement, diagnosis and prediction, and generates visual analysis diagrams. Finally, the paper provides the decision Suggestions based on data and model for school managers to realize the scientific management process driven by data. 2. Build the AI technology to solve the core problems of personalized education into a core service In order to systematically improve the ability of educational applications to support personalized Education, relevant technologies of artificial intelligence are encapsulated and integrated into open Services for the integration and invocation of application products for specific educational scenarios, which are called "Core Services for AI in Education", as shown in figure 1.Core services of intelligent education EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

411


rely on AI technology capability and big data processing capability provided by "intelligent education platform" [8], and provide "technology" and "business" services for specific education scenarios. 100 90 80

AI education

70 60 50

traditional education

40 30 20 10 0

Primary school Middle school

High school

university

(1) core services of intelligent education technology This kind of service is oriented to specific educational application scenarios, and it realizes the encapsulation and customization of general artificial intelligence technology from the perspective of technology, so that all kinds of educational application products can quickly integrate AI technology and services with friendly interactive interface and simple and easy-to-use interface. From the perspective of application products, AI capabilities can be acquired quickly with the help of such services, which are also known as "artificial intelligence Agent". Its main functions include: (1) human-computer interaction technology refers to the study of information exchange between people and computers, including 412

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


speech synthesis, speech recognition, emotional interaction and other specific areas of technology; (2) natural language understanding technology, refers to the research can realize the theory and method of effective communication between human and computer using natural language, including machine translation, machine understanding, question and answer system and other specific field technology; (3) knowledge map technology, in essence, is the construction of semantic network, refers to the study of all kinds of information together to form a relationship network, and the use of network relationship analysis and problem solving technology; (4) Biometric identification technology refers to the identification and authentication technology for individual identity through individual physiological characteristics or behavioral characteristics, including voice recognition, fingerprint recognition, face recognition and other specific field technology. Conclusion: The extensive application of artificial intelligence technology in the field of education has injected new vitality into the traditional school education, promoted the reform of teaching, learning and management mode, and made education change from quantitative change to qualitative change in the mode reform again and again. It can be predicted that the school will gradually move from the preaching large class teaching mode to the more innovative, student-centered personalized learning mode. In the age of artificial intelligence, it may be possible to achieve the personalized education and individualized teaching that we have long dreamed. EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

413


References Guanglin, Xu. and Gongqin, Lin. New thinking research on transformation and upgrading of traditional manufacturing industry in the context of industry 4.0 [J]. Shanghai economic research institute, 2015. Will a robot take your jobChongde, (10): 107-113. Lin. and Liang, Luo. 2007. Construction of an innovation-oriented country and cultivation of innovative talents. Journal of Beijing normal university (social science edition), (1): 29-33. Guangsheng, Guo. 2011. Connotation, characteristics, types and factors of innovative personnel training China higher education, (5): 12-15. (us) l. Johnson. Horizon report 2015 (basic education edition): technologydriven educational transformation [J]. People's education,2015, (17):71-74. Ministry of education. Ministry of education on the issuance of education information "13th five-year plan" notice. Yafei, Wang. and Bangqi, Liu. 2018. Overview of applied research on intelligent education Modern education technology, (1):5-11.

414

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


การศึกษาพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนโดยใช้วิดิโอกราฟฟิก เพื่อสร้างแรงจูงใจในการเรียน เรื่องบุคลิกและวัฒนธรรม A Study of the Learning Behavior of Students by Using Video Graphic to Motivate Learning with Character & Culture Theme ฉัตรชนก ตาบังวัน บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนในการ ดาเนินกิจกรรมการเรียนเรียนการสอนเรื่องบุคลิกและวัฒนธรรม 2) ศึกษาพฤติกรรม การมีส่วนร่วมในชั้นเรียนโดยการใช้วิดิโอกราฟฟิกเพื่อใช้เป็นแรงจูงใจในการเรียน ด้วยธีมตัวละครกับวัฒนธรรม กลุ่มเป้าหมายที่เลือกใช้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 จานวน 36 คน โรงเรียน ร่มฉัตรวิทยา เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถามออนไลน์ ( google form ) การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ความถี่เป็นร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 61% เพศ ชาย 38.9% และนักเรียนส่วนใหญ่ชอบการเรียนการสอนที่มีกิจกรรมที่ ให้นักเรียนมี ส่วนร่วม 83.3% และรู้สึกเฉย ๆ 16.7% และนักเรียนส่วนใหญ่อยากให้มีกิจกรรมการ เรียนการสอนที่มีกิจกรรมที่ให้นักเรียนมีส่วนร่วม 83.3%

นางสาวฉัตรชนก ตาบังวัน นักศึกษา หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการเรียนรู้และ การสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

415


Abstract This objective of this research: 1 ) to study the behavior of students in carrying out teaching and learning activities on character and culture 2) to study classroom participation behavior by using video graphics to be used as motivation for learning with themes Character and culture. The target groups selected for use are 36 students in grade 4 , Romchat wittayalai School, research tools for online form (google form). Data analysis uses frequency as percent. The results showed that 1 ) Most respondents were 6 1 % female, 3 8 .9 % male, and most of the students liked teaching and learning activities with 83.3% participation and feeling 16.7% and most students Would like to have instructional activities with activities that allow students to participate 83.3% Keywords: Video / graphics / character / culture ความเป็นมาและความสาคัญ การรับรู้เป็นพื้นฐานสาคัญของมนุษย์ ผ่านอวัยวะรับสัมผัสทั้งหลาย ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้นและกายสัมผัส เพื่อให้มนุษย์สามารถรับรู้และเข้าใจสามารถแปลความ ความหมายจากสารที่ถูกส่งมาจากผู้ส่งสารได้ โดยสุรางค์ โค้วตระกูล (2550) ได้กล่าว ไว้ว่าจากการวิจัยมีการค้นพบว่าการรับรู้ของคนเกิดจากการเห็น 75% จากการได้ ยิน 13% การสัมผัส 6% กลิ่น 3 % และรส 3% จะเห็นได้ว่า การรับรู้ของคนเกิดจากการ เห็นมีเปอร์เซ็นต์มากที่สุด การ์ตูนคือสื่อบันเทิงที่เข้าถึงเด็กๆ ได้โดยง่ายอีกทั้งยังสามารถกระตุ้นความ สนใจให้เด็กๆอยากเรียนรู้ได้เป็นอย่างดีอีกด้วย ซึ่งจากจุดนี้นี่เองทาให้ไม่ว่าเราจะหัน มองไปทางไหน หนังสือการ์ตูนสีสวยสดใสมากมายจะวางขายให้เห็นล่อตาล่อใจทั้ง 416

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


เด็กๆ ที่มุ่งหมายอยากจะให้การ์ตูนช่วยเสริมสร้างการเรียนรู้และจินตนาการให้กับลูก หรือเพือ่ สร้างความบันเทิงและผ่อนคลายอารมณ์ ในขณะที่ประเทศไทยของเราเองยังไม่มีการแบ่งประเภทการ์ตูนให้มีความ ชัดเจนว่าแบบไหนเหมาะกับเด็กในวัยใด โดย “สิทธิพร กุลวโรตตมะ” จากสถาบัน การ์ตูน มูลนิธิเด็ก มีคาแนะนาสาหรับการเลือกการ์ตนู ดีๆ ให้เหมาะสมกับวัย เพื่อเป็น แนวทางไว้คือ เลือกการ์ตูนให้เหมาะสมกับวัย ดังนั้นจึงนาหลักแนวคิดนี้มาประยุกต์ใช้ในการจัดการสอน และซึ่งเด็กส่วน ใหญ่เข้าถึงการ์ตูนได้ง่ายจึงเลือกใช้การ์ตูนเป็นตัวกลางในการจัดการเรียนการสอน วิดีโอ คือ มัลติมีเดียที่สามารถแสดงภาพเคลื่อนไหวพร้อมเสียงบรรยายได้ การนา เสนอวิดีโอมีหลายรูปแบบ เช่น วิดีโอเพื่อ การศึกษา วิดีโอ เพื่อความบันเทิง ประโยชน์ ของวิดีโอมีมากมาย นอกจากให้ความรู้ ให้ ความบันเทิง ยังสามารถ สร้าง รายได้ให้กับผู้ ใช้งาน เช่น วิดีโอนาเสนอสินค้า ผลิตภัณฑ์ ต่างๆ กราฟิก นั้นหมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซื่งใช้การสื่อความหมายด้วยการใช้เส้น ภาพวาด สั ญ ลั ก ษณ์ ภาพถ่ า ย กราฟ แผนภู มิ การ์ ตู น ฯลฯ เพื่ อ ให้ ส ามารถสื่ อ ความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรงตามที่ผู้รับสารต้องการ ดังนั้น วิดีโอกราฟิก จึงเป็นมัลติมีเดียที่สามารถแสดงภาพเคลื่อนไหวพร้อม เสียงบรรยายได้ซื่งใช้การสื่อความหมายด้วยการใช้การ์ตูน วิธีดาเนินการวิจัย วิธีดาเนินการวิจัย ประกอบด้วย 9 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การจัดทากรอบแนวคิด ในงานวิจัย 2) ติดต่อประสานงานกับครูผู้สอนเจ้าของวิชา 3) สารวจสภาพการเรียน ในชั้นเรียน 4) เข้าสังเกตการณ์ในชั้นเรียน 5) จัดทาแบบสอบถามออนไลน์ 6) เข้าร่วม กิจกรรมการสอนโดยใช้วิดิโอกราฟฟิก 7) ให้นักศึกษาทาแบบสอบถามออนไลน์และ รวบรวมผล 8) สรุป สังเคราะห์ผลที่ได้จากงานวิจัย 9) การเขียนรายงานของแผน งานวิจัย โดยกลุ่มเป้าหมายที่เลือกใช้ คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จานวน 36 คน โรงเรียนร่มฉัตรวิทยา EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

417


เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาโดยใช้ระเบียนวิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) ของระเบี ย บวิ จั ย เชิ งคุ ณ ภาพ (Qualitative Research) โดย วิธีการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-participant Observation) กับระเบียบวิธีวิจัย เชิ ง ปริ ม าณ (Quantitative Research) โดยใช้ แ บบสอบถามออนไลน์ (Google Form) เพศ จากการสารวจ พบว่า กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิด เป็นร้อยละ 61.1 ส่วนเพศชายมีเพียงร้อยละ 38.9 ดังตารางที่ 1 และภาพที่ 1 ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ เพศ จานวน ร้อยละ ชาย 14 38.9% หญิง 22 61.1%

ภาพที่ 1 จานวนร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามเพศ

418

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ความชอบ จากการสารวจ พบว่า กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ชอบให้มีกจิ กรรมที่ ให้มีส่วนร่วม คิดเป็นร้อยละ 83.3 ส่วนที่เหลือรูส้ ึกเฉยๆมีเพียงร้อยละ 16.7 ดังตาราง ที่ 2 และภาพที่ 2 ตารางที่ 2 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามความชอบ ความชอบ จานวน ร้อยละ ชอบ 29 83.3% เฉยๆ 7 16.7%

ภาพที่ 2 จานวนร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามความชอบ ความต้องการ จากการสารวจ พบว่า กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ต้องการให้มี กิจกรรมที่ให้มสี ่วนร่วมอีกครั้งแน่นอน คิดเป็นร้อยละ 83.3 ส่วนที่เหลืออาจจะให้จดั อีกครั้งก็ได้มเี พียงร้อยละ 16.7 ดังตารางที่ 3 และภาพที่ 3

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

419


ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามความต้องการ ความต้องการ จานวน ร้อยละ ต้องการให้มีกิจกรรมแน่นอน 29 83.3% อาจจะให้จัดอีกครั้งก็ได้ 7 16.7%

ภาพที่ 3 จานวนร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามความต้องการ การแสดงออกของนักเรียนในตัวละคร จากการสารวจ พบว่า กลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ชอบการแสดงออก ของนักเรียนในตัวละคร Thor คิดเป็นร้อยละ 30.6 รองลงมาชอบ Hulk ร้อยละ 25 และ spider man ร้อยละ 16 และ Iron Man กับ Groof เท่ากัน ร้อยละ 8.3 และ Ant Man กับ Natacha ร้อยละ 5.6 ดังตารางที่ 4 และภาพที่ 4

420

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามการแสดงออกของ นักเรียนในตัวละคร ตัวละคร จานวน ร้อยละ Thor 11 30.6% Hulk 9 25 spider man 6 16 Iron Man 3 8.3 Groof 3 8.3 Ant Man 2 5.6 Natacha 2 5.6

ภาพที่ 4 จานวนร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามการแสดงออกของ นักเรียนในตัวละคร การมีส่วนร่วมในชัน้ เรียนของนักเรียน จากการสารวจ พบว่า นักเรียนมีสว่ นร่วมมากที่สดุ ร้อยละ 69.4 นักเรียนมี ส่วนร่วมมากร้อยละ 2 นักเรียนมีส่วนร่วมปานกลางร้อยละ 19.4 นักเรียนมีส่วนร่วม น้อยร้อยละ 2 ดังตารางที่ 5 และภาพที่ 5

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

421


ตารางที่ 5 จานวนและร้อยละของการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนของผูเ้ รียน การมีส่วนร่วม จานวน ร้อยละ มากที่สุด 25 69.4% มาก 2 5.6% ปานกลาง 7 19.4% น้อย 2 5.6% น้อยที่สุด 0 0

ภาพที่ 5 จานวนร้อยละการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนของนักเรียน การมีส่วนร่วมในชัน้ เรียนของนักเรียน จากการสารวจ พบว่า นักเรียนมีกล้าแสดงออกมากที่สุดร้อยละ 44.4 นักเรียนมีความกล้าแสดงออกปานกลางร้อยละ 19.4 4 นักเรียนมีส่วนร่วมน้อยร้อย ละ 13 ดังตารางที่ 7 และภาพที่ 7 ตารางที่ 7 จานวนและร้อยละของการกล้าแสดงออกในชั้นเรียนของผู้เรียน การมีส่วนร่วม จานวน ร้อยละ มากที่สุด 16 44.4% ปานกลาง 7 19.4% น้อย 13 36.1% 422

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


ภาพที่ 7 จานวนร้อยละของการกล้าแสดงออกในชั้นเรียนของผู้เรียน ความเป็นผู้นาในชั้นเรียนในการดีไซน์กิจกรรมด้วยตนเองของนักเรียน จากการสารวจ พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีความเข้าใจในวิดิโอและการทา กิจกรรมจับคู่ได้ดีมาก และภาพที่ 8

ภาพที่ 8 จานวนร้อยละของการเป็นผู้นาในชั้นเรียนในการดีไซน์กิจกรรมด้วยตนเอง ของนักเรียน ภาพตัวอย่าง วิดิโอกราฟฟิก

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

423


ประโยชน์และการนาไปใช้ 1. นักเรียนสามารถเรียนรู้การคิดได้ด้วยตนเองได้ผ่านกิจกรรมเกมส์จาก คลิปวิดิโอเกมส์ 2. นักเรียนสามารถออกแบบการจัดการกิจกรรมได้ด้วยตนเองและร่วมกับ ผู้อื่นได้ผ่านกิจกรรมเกมส์จากคลิปวิดิโอเกมส์ ข้อเสนอแนะและการพัฒนาต่อไป 1. สร้างกิจกรรมที่หลากหลายให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมเยอะขึ้น 2. ออกแบบแบบประเมินให้ครอบคลุม

424

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019


References Anderson, L. W., Krathwohl, D. R., Airasian, P. W., Cruickshank, K. A.,Mayer, R. E., Pintrich, P. R., et al. 2 0 0 1 . A taxonomy for learning,teaching, and assessing: a revision of Bloom’s taxonomy of educational objectives. New York: Longman. De Koning, B. B., Tabbers, H. K., Rikers, R. M. J. P., & Paas, F. 2 0 1 0 . Attention guidance in learning from complex animation: seeing is understanding? Learning and Instruction, 20(2). J. Lu, C. Yu, C. Liu, 2003. Learning style, learning patterns, and learning outcomes in aWebCT-based MIS course, Information & Management 40(6). KOLODNER, J. L., CAMP, P. J., CRISMOND, D., FASSE, B., GRAY, J., HOLBROOK, J., ... and RYAN, M.: Problem-based learning meets case-basedreasoning in the middle-school science classroom: Putting learning by design (tm) into practice. The journal of the learning sciences, 12(4). L. Dickinson, 1 9 8 7 . Self-instruction in Language Learning. Cambridge: Cambridge University Press.

EXHIBITION IN TEACHING & LEARNING 2019

425



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.