Electricity & Industry Magazine Issue September - October 2021

Page 1










THAILAND’S PREMIER POWER GENERATION & ELECTRIC VIRTUAL EXHIBITION

OWERex The 2nd Edition of

ASIA 2021

VIRTUAL EXPO

24-26 NOVEMBER 2021

10 AM - 5 PM GMT+7 Bangkok Time, 3 Days LIVE Session & 30 Days of NON-LIVE Session)

VIRTUAL EXHIBITION

BOOK YOUR SPACE

www.asiapowerexpo.com

Fireworks Media (Thailand) Co., Ltd. Tel: (+66) 2513-1418 | thai@asiafireworks.com



CONTENTS SEPTEMBER-OCTOBER

IEEE POWER & ENERGY SOCIETY THAILAND (IEEE PES-THAILAND) 16 Green Hydrogen พลังงานในอนาคต

เพื่อการเป็นกลางทางคาร์บอน

ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบาย เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.)

พร้อมพิจารณาความก้าวหน้า

สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

18 EEC ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2/64

20 22 24 26 28

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

ARTICLE 30 หุ่นยนต์ขนส่ง RoxoTM SameDay Bot

อนาคตของโลจิสติกส์มาถึงเอเชียแล้ว FedEx Express 32 ปลดล็อกการปฏิรูปสู่อุตสาหกรรม 4.0 สร้างศักยภาพด้วยเอดจ์ คอมพิวติ้ง เปาโล โคลัมโบ 34 ไบโอเทค สวทช. พัฒนาวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 แบบพ่นจมูก เพิ่มประสิทธิภาพ ป้องกันการติดเชื้อ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) INTERVIEW 37 ไทยออยล์ รุกธุรกิจโอเลฟินส์ และพร้อมก้าวสู่

องค์กร 100 ปี อย่างยั่งยืน กองบรรณาธิการ

SPECIAL SCOOP 40 วิศวกรหญิงไทยกับการคิดค้นนวัตกรรมและเทคโนโลยี

เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาโควิด-19 และช่วยส่งเสริม เกษตรกร กองบรรณาธิการ

2021

45 เทรนด์ยานยนต์ไฟฟ้าก�ำลังมา เตรียมชาร์จรถ

อย่างไรให้ปลอดภัย กองบรรณาธิการ 48 GGC เปิดวิสัยทัศน์และทิศทางการด�ำเนินธุรกิจ พร้อมเดินหน้าอย่างเต็มศักยภาพในศักราชใหม่ กองบรรณาธิการ SCOOP 51 คอร์สแอร์ชูนวัตกรรมเทคโนโลยีไพโรไลซิสสุดล�้า

เปลี่ยนขยะพลาสติกเป็นแหล่งพลังงานเพื่อรับมือ มลภาวะอย่างยั่งยืน กองบรรณาธิการ 54 10 สตาร์ตอัปสายอวกาศ สตาร์ตสู่วงโคจร สเปซเทค กองบรรณาธิการ 56 Interroll Thailand เสริมทัพนวัตกรรม เร่งเครื่อง รองรับตลาดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กองบรรณาธิการ SPECIAL AREA 58 Multifunction Voltage Monitoring Relay

with LCD Display [HRN-100] บริษัท แม็กซิไมซ์ อินทิเกรทเท็ด เทคโนโลยี จ�ำกัด 60 การเลือกใช้เซอร์กิตเบรกเกอร์แรงดันปานกลาง (Medium Voltage Circuit Breakers : MVCB) บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด IT ARTICLE 64 จัดการฐานข้อมูลที่เป็นเสมือนขุมทรัพย์ขององค์กร

ด้วยโซลูชันด้านฐานข้อมูลของนูทานิคซ์ Nutanix, Inc. 66 เทรนด์ในการน�ำ IoT และ IIoT มาใช้และการจัดการ ต่อความท้าทายในยุคโควิด-19 ฮาร์ชา จากาดิช 68 PR NEWS 70 PRODUCT 71 INDUSTRY NEWS


¤µ ³¤ n³ ¨µ©¨ ¤¤¢Â i³

Á¬n ¤µ ³¤ ³ m®«¤n³ « ³ þ i³¤± ¿¤ ²  i³ ¾ ¨¶ ¿¦± ¤² ¤¹ « ³ þ i³ Á¬n ¤µ ³¤ m®«¤n³ «³£«m ¤± ¾ ¨¶ ³ ² ¬³¿¦± µ ²Ç ¤± «¸Æ®«³¤ ¤± ,QWHUWULS ¿¦±¤± 7HOHSURWHFWLRQ ³ ² ¬³¿¦± µ ²Ç ¤± «¸Æ®«³¤ ¿¦±¾«n Á£¿ n¨ ´¿«

® ¤µ ³¤¨µ©¨ ¤¤¢¤± «m ³¤Â i³«m¨ ¡º¢µ¡³ ³¢¨ ©q¨³ ¿ ¨ ¦³ £³¨ ¾ ¹ ² ¤ ¤¹ ¾ ° À ¤©² q À ¤«³¤ (PDLO egs@pea.co.th

http://sbu.pea.co.th


EDITOR TALK

SEPTEMBER-OCTOBER

2021

สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ในระลอก 3 มีจำ� นวนผูต้ ดิ เชือ้ เพิม่ ขึน้ นับสองหมืน่ ราย และจ�ำนวนผูเ้ สียชีวติ เพิ่มขึ้นจนน่าตกใจ อีกทั้งยังท�ำให้กิจกรรมสาธารณะ อีเว้นท์ต่างๆ ถูกยกเลิก ร้านค้าเงียบเหงา ผู้บริโภคในประเทศเองก็กลัวจะ ติดโรค เก็บตัว ไม่ออกไปเที่ยว ไม่ออกไปเดินห้างสรรพสินค้าแบบเช่นเดิม มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบท�ำงานจากเดิมที่ต้องเดินทาง ก็ปรับเปลี่ยนให้เป็นการท�ำงานแบบ Work From Home เพื่อลดการเดินทาง แต่ถึงอย่างไรประชาชนคนไทยทุกคนต้องดูแลรักษา สุขภาพร่างกายและต้องสวมหน้ากาก ล้างมือ เวลาออกไปท�ำธุระข้างนอกเสมอๆ Electricity & Industry Magazine ฉบับนีย้ งั คงมีเนือ้ หาทีน่ า่ สนในมากมายเช่นเดิม คอลัมน์ Article ในฉบับนีล้ ว้ นน่าสนใจ เป็นอย่างยิง่ FedEx Express เขียนบทความเรือ่ ง หุน่ ยนต์ขนส่ง RoxoTM SameDay Bot อนาคตของโลจิสติกส์มาถึงเอเชียแล้ว และบทความจาก เปาโล โคลัมโบ ผู้อำ� นวยการแผนกพัฒนาการตลาด ได้กล่าวถึงการปลดล็อกการปฏิรูปสู่อุตสาหกรรม 4.0 สร้างศักยภาพด้วยเอดจ์ คอมพิวติ้ง ที่จะเข้ามาช่วยให้การท�ำงานนั้นสามารถท�ำได้อย่างมีประสิทธิภาพ และบทความเรื่อง ไบโอเทค สวทช. พัฒนาวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 แบบพ่นจมูก เพิ่มประสิทธิภาพป้องกันการติดเชื้อ โดยกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ก็น่าสนใจเช่นกัน ในส่วนของ Interview ฉบับนีท้ างกองบรรณาธิการได้มโี อกาสเข้าร่วมพูดคุยกับ วิรตั น์ เอือ้ นฤมิต ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ที่มาให้ความรู้เกี่ยวกับการเข้าลงทุนในธุรกิจปิโตรเคมีสายโอเลฟินส์ รวมถึงการท�ำงานที่จะท�ำให้ไทยออยล์มีโครงสร้างธุรกิจที่ครบวงจร ด้วยการบูรณาการทั้งธุรกิจการกลั่นน�้ำมันและปิโตรเคมี สายอะโรเมติกส์และโอเลฟินส์ IT Aticle มีเรือ่ งทีน่ า่ สนใจคือบทความจาก Nutanix, Inc. เรือ่ ง จัดการฐานข้อมูลทีเ่ ป็นเสมือนขุมทรัพย์ขององค์กรด้วย โซลูชันด้านฐานข้อมูลของนูทานิคซ์ ที่แสดงให้เห็นว่าข้อมูลของบริษัทเป็นขุมทรัพย์ที่เต็มไปด้วยข้อมูลที่มีคุณค่า ซึ่งบริษัทต่างๆ สามารถจ�ำแนกข้อมูลเชิงลึกของลูกค้าและค้นพบกุญแจทีจ่ ะปลดล็อกความท้าทายต่างๆ จากข้อมูลเหล่านัน้ เพือ่ มุง่ สูก่ ารเติบโตทาง ธุรกิจได้ ส่วน ฮาร์ชา จากาดิช วิศวกร การตลาด และ MCU16 บริษัท ไมโครชิพ เทคโนโลยี จ�ำกัด ได้เขียนถึง เทรนด์ในการน�ำ IoT และ IIoT มาใช้และการจัดการต่อความท้าทายในยุคโควิด-19 เนื่องจากความปลอดภัยนับว่าเป็นองค์ประกอบหลักใน แอปพลิเคชัน IoT อย่างที่ทราบกันดีว่าประเทศไทยก�ำลังมีการด�ำเนินการเพื่อรับรองความปลอดภัยในด้านข้อมูลและการป้องกัน ระดับประเทศด้วยแนวทางใหม่ที่จะตอบโจทย์ในการท�ำงานทั้งในปัจจุบันและในอนาคตอีกด้วย พบกันใหม่ฉบับหน้า กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

ที่ปรึกษา : รศ. ดร.สุธี อักษรกิตติ์ / ไกรสีห์ กรรณสูต / พรเทพ ธัญญพงศ์ชัย / เฉลิมชัย รัตนรักษ์ / ประเจิด สุขแก้ว / ผศ.พิชิต ล�ำยอง / วัลลภ เตียศิริ / พรชัย องค์วงศ์สกุล / ดร.กมล ตรรกบุตร / ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ / รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม / รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา : กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ : ดร.สุรพล ด�ำรงกิตติกุล ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นิภา กลิ่นโกสุม กองบรรณาธิการ : ทัศนีย์ เรืองติก / ณัฐชยา แก่นจันทร์ พิสูจน์อักษร : อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรมรูปเล่ม / ศิลปกรรมโฆษณา : ชุติภา จริตพันธ์ / ศศิธร มไหสวริยะ ฝ่ายโฆษณา : ศิริภรณ์ กลิ่นขจร / มนัส ไชยเพส / กษิรา เหมบัณฑิตย์ / กัลยา ทรัพย์ภิรมย์ / วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายโฆษณา : ชุติมณฑน์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก : กรรณิการ์ ศรีวรรณ์

บทความที่ปรากฏใน ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของ ผู้เขียน ไม่มีส่วนผูกพันกับ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด แต่อย่างใด หากบทความใดที่ผู้อ่านเห็นว่า มีการลอกเลียนหรือแอบอ้าง กรุณาแจ้งที่กองบรรณาธิการ ELECTRICITY & INDUSTRY Magazine บทความต่างๆ ที่ปรากฏในหนังสือได้ผ่านการตรวจทานอย่างถี่ถ้วนเพื่อให้เกิดความถูกต้องและ สมบูรณ์ที่สุด หากเกิดความผิดพลาดจะมีการชี้แจงและแก้ไขต่อไป เจ้าของ

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2354-5333 โทรสาร 0-2640-4260 http:// www.technologymedia.co.th เพลท-แยกสี : บริษัท อิมเมจิ้น กราฟิค จ�ำกัด พิมพ์ที่ : ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด รุ่งเรืองการพิมพ์



เนื่องในโอกาสครบรอบ 40 ปี ของสมาคมสถาบัน วิศวกรไฟฟ้าและอีเล็คโทรนิคส์แห่งประเทศไทย (IEEE Thailand Section) และครบรอบ 22 ปี IEEE Power & Energy Society–Thailand Chapter ได้จดั สัมมนาออนไลน์ เรื่อง “Green Hydrogen | Journey & Challenges” โดย ระบบ Zoom Application ได้เรียนเชิญ Dr.Fahd Hashiesh, Group Vice President–Global Hydrogen Segment Leader, Hitachi ABB Power Grids ให้เกียรติเป็นวิทยากรในงาน สัมมนาออนไลน์ ในหัวข้อ “Green Hydrogen | Journey & Challenges” และ ดร.นิทัศน์ วรพนพิพัฒน์ ผู้อำ� นวยการ ฝ่ายแผนการผลิตไฟฟ้าและระบบส่งไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่ ง ประเทศไทย ให้ เ กี ย รติ เ ป็ น วิ ท ยากรในงานสั ม มนา ออนไลน์ ในหัวข้อ “The Future of Hydrogen Technology Applications in EGAT’s System” โดยมี ดร.ครรชิต งามแสนโรจน์ ผู้เชี่ยวชาญระดับ 12–วิชาการโรงไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ท�ำหน้าที่เป็น Session Chairman งานสัมมนาออนไลน์ดังกล่าว

เมื่อเอ่ยถึงพลังงานทางเลือกส�ำหรับอนาคต ย่อมมี “พลังงาน ไฮโดรเจน” (Hydrogen, H2) รวมอยูด่ ว้ ยอย่างแน่นอน เพราะไฮโดรเจน สามารถสังเคราะห์ได้จากวัตถุดบิ ตามธรรมชาติหลากหลายประเภท และ เมือ่ เกิดการเผาไหม้ ก็จะมีเพียงน�ำ้ และออกซิเจนเท่านัน้ ทีเ่ ป็นผลพลอยได้ ซึง่ แตกต่างจากเชือ้ เพลิงอืน่ ๆ ทีใ่ ห้กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึง่ ส่งผลกระทบ โดยตรงต่อการท�ำให้โลกร้อนขึน้ (Global Warming) นอกจากนี้ ไฮโดรเจน ยังให้ค่าพลังงานเชื้อเพลิงที่สูงกว่าค่าพลังงานชนิดอื่น ไม่ก่อให้เกิด กลุม่ ควันฝุน่ ละออง และสามารถประยุกต์ใช้กบั งานทีใ่ ช้พลังงานดัง้ เดิมได้ รวมทัง้ ยังสามารถน�ำไปผลิตกระแสไฟฟ้าโดยป้อนเข้าเซลล์เชือ้ เพลิง (Fuel Cell) ได้ด้วย ไฮโดรเจนเป็นธาตุทเี่ บาทีส่ ดุ และเป็นองค์ประกอบของน�ำ้ (H2O) ทีม่ ี มากทีส่ ดุ บนโลก นอกจากนีย้ งั เป็นธาตุทร่ี วมอยูใ่ นโมเลกุลของสารประกอบ อืน่ ๆ เช่น สารประกอบจ�ำพวกไฮโดรคาร์บอน (HC) ซึง่ เป็นผลิตภัณฑ์ของ ปิโตรเลียมที่มีความส�ำคัญสําหรับการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ คุณสมบัติทั่วไปของไฮโดรเจน คือ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ติดไฟง่าย มีความ สะอาดสูง ไม่เป็นพิษและเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ไฮโดรเจนจึงถูกคาดหมาย และได้รบั การยอมรับว่าจะเป็นแหล่งของพลังงานเชือ้ เพลิงทีส่ ำ� คัญอย่างมาก ในอนาคต โดยประเทศที่พัฒนาแล้วทั่วโลก เช่น สหรัฐอเมริกา เยอรมนี อังกฤษ และญี่ปุ่น ได้มีการวิจัยและพัฒนาในเรื่องนี้อย่างต่อเนื่อง


การเปลีย่ นแปลงด้านพลังงานและความยัง่ ยืนเป็นเรือ่ งทีส่ ำ� คัญ ที่สุดในการอภิปรายในทุกภาคส่วนและระดับต่างๆ ไม่ต้องสงสัย เลยว่าเราทุกคนต้องบริหารจัดการและด�ำเนินการด้านพลังงาน ด้วยความมั่นคง เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่เป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutrality) หลายองค์กรก�ำลังพยายามอย่างหนักเพื่อ ก้าวไปสูค่ วามเป็นกลางทางคาร์บอน โดยเริม่ จากการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก ดังนั้นจึงต้องใช้ความพยายามอย่างมากในการ อ�ำนวยความสะดวกในการเดินทาง นอกเหนือไปจากการหาส่วนผสม ของโซลูชันที่เหมาะสม การใช้พลังงานไฟฟ้าของภาคส่วนต่างๆ จะมีบทบาทส�ำคัญมากในการเร่งการเปลี่ยนแปลงไปสู่โลกสีเขียว ที่ยั่งยืน โดยควรเริ่มที่นโยบายด้วยการเน้นที่ภาคส่วนต่างๆ เช่น การเปลี่ยนไปใช้แหล่งผลิตพลังงานทดแทน เพื่อทดแทนการผลิต เชือ้ เพลิงฟอสซิล และการใช้พลังงานไฟฟ้าในภาคการขนส่ง ในขณะที่ ไฟฟ้าจะยังคงเป็นแกนหลักของภาคพลังงานทั้งหมด จ�ำเป็นต้องมี ผู้ให้บริการพลังงานเสริม เพื่อสนับสนุนทุกภาคส่วนที่ต้องการใช้ พลังงานไฟฟ้า และจะเป็นความท้าทายอย่างมาก อันเนื่องมาจาก ข้อจ�ำกัดทางเทคโนโลยี

ทั้งนี้ ในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วหลายประเทศได้ให้ความ ส�ำคัญกับความยั่งยืนที่ว่านี้ โดยได้มีการพัฒนาพลังงานสะอาดที่ ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เพือ่ ให้เกิดการเติบโตทีย่ งั่ ยืน ควบคูไ่ ปกับการรักษาสิง่ แวดล้อม ไม่วา่ จะเป็นแหล่งน�ำ้ หรืออากาศ ที่เสื่อมโทรม มนุษย์จะเป็นผู้ได้รับผลกระทบโดยตรง รวมทั้งอาจ ส่งผลให้เกิด New Normal ใหม่ๆ อีกมากมาย ในทางกลับกัน ไฮโดรเจนถูกใช้สำ� หรับการใช้งานทีแ่ ตกต่างกัน ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา โดยส่วนใหญ่จะเน้นเป็นวัตถุดิบส�ำหรับ อุตสาหกรรมบางประเภท เช่น แอมโมเนีย อย่างไรก็ตาม ไฮโดรเจน ทีผ่ ลิตได้สว่ นใหญ่ผลิตจากกระบวนการทีเ่ รียกว่า “Steam Methane Reforming” ซึ่งปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ในปริมาณมหาศาลต่อ ไฮโดรเจนทีผ่ ลิตได้แต่ละกิโลกรัม ไฮโดรเจนสามารถผลิตได้โดยการ แยกน�ำ้ โดยใช้แหล่งพลังงานหมุนเวียน ดังนั้นการพัฒนากระบวนการผลิตก๊าซไฮโดรเจนที่สะอาด และยั่งยืนดังกล่าว คือการน�ำพลังงานหมุนเวียนอย่างพลังงาน จากแสงอาทิตย์มาแยกน�้ำบริสุทธิ์ให้กลายเป็นก๊าซไฮโดรเจน โดย กระบวนการผลิตนี้ไม่มีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา และผลลัพธ์ที่ได้คือ “ก๊าซไฮโดรเจนสีเขียว (Green Hydrogen)” ซึ่งก๊าซไฮโดรเจนที่ได้จะถูกน�ำไปผ่านเซลล์เชื้อเพลิงเพื่อเป็นแหล่ง พลังงานในการผลิตกระแสไฟฟ้าต่อไป ในการบรรยายครั้งนี้ ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้เรียนรู้เพิ่มเติม เกี่ ย วกั บ ศั ก ยภาพของไฮโดรเจนในการเป็ น พาหะของพลั ง งาน ในอนาคต เพื่อเสริมไฟฟ้าในการบรรลุเป้าหมายที่เป็นกลางทาง คาร์บอน การสัมมนาในครั้งนี้ได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก และ ยังมีผู้เข้าร่วมฟังจากหลายภาคส่วนมากกว่า 500 คน


สํานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออก (สกพอ.)

ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) จัดงานประชุมคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (กพอ.) ครั้งที่ 2/2564 โดยมี พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในฐานะ ประธานกรรมการ กพอ. เป็นประธานประชุมผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ได้รบั ทราบและ พิจารณาความก้าวหน้าการด�ำเนินงานในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) มีรายละเอียดส�ำคัญ ดังนี้

1.

อีอีซีปีนี้มีน�้ำใช้เพียงพอพร้อมแก้ปัญหำ ระยะสั้น วางแผนระยะยาวให้ยั่งยืน

ที่ประชุม กพอ. รับทราบการจัดหาแหล่งน�ำ้ ในพื้นที่ อีอซี ี ทีม่ รี ะบบบริหารน�ำ้ ในภาพรวมครบถ้วน จากข้อสัง่ การ รองนายกรั ฐ มนตรี (พล.อ.ประวิ ต ร วงษ์ สุ ว รรณ) อาทิ กรมชลประทานเร่งเสนอโครงการก่อสร้างสถานีสูบน�้ำกลับ คลองสะพาน-ประแสร์ เส้นที่ 2 และเครือข่ายคลองวังโตนดอ่างเก็บน�ำ้ ประแสร์ เส้นที่ 2 สร้างความมั่นคงการจัดการน�า้ ในระยะยาว นิคมอุตฯ จัดหาแหล่งน�้ำส�ำรองของตนเอง รวมถึงเร่งเพิม่ น�ำ้ ต้นทุน เปลีย่ นน�ำ้ ทะเลเป็นน�ำ้ จืด ด�ำเนินการ ให้คมุ้ ค่าสูงสุด เป็นต้น แนวทางจัดหาแหล่งน�ำ้ รองรับในพืน้ ที่ 30 กิโลเมตร รอบสนามบินอู่ตะเภา ที่เป็นจุดการพัฒนา ที่ส�ำคัญ และกระทรวงทรัพย์ฯ ได้ช่วยท�ำแผนที่น้�ำใต้ดิน ซึง่ สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้กว่า 4 พันล้านลูกบาศก์เมตร ถือเป็นครั้งแรกที่มีการบริหารน�ำ้ ผิวดินร่วมกับน�้ำใต้ดิน

2.

ก้าวหน้า อีอีซีอนุมต ั ิไปแล้ว 1.59 ล้านล้านบาท จากแผน 1.7 ล้านล้านบาท

ความก้าวหน้าการลงทุนในอีอซี ี เกิดการลงทุนรวมจาก งบบูรณาการอีอซี ี โครงสร้างพืน้ ฐาน (PPP) และการออกบัตร ส่งเสริมลงทุนจากบีโอไอ มีมลู ค่าสูงถึง 1,594,282 ล้านบาท (ณ 30 มิถนุ ายน 2564) มีการลงทุนทีส่ ำ� คัญๆ เช่น โครงการ ร่วมลงทุนรัฐ-เอกชน (โครงสร้างพื้นฐาน) ซึ่งได้ผู้ลงทุน 4 โครงการหลัก มูลค่ารวม 633,401 ล้านบาท เกิดการลงทุน ในปี พ.ศ. 2564 มูลค่า 26,588 ล้านบาท และลงทุนตลอด ระยะเวลาที่เหลือของโครงการสูงถึง 606,205 ล้านบาท

ส่วนการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานในพืน้ ทีอ่ อี ซี ี อาทิ รถไฟความเร็วสูง เชื่อม 3 สนามบิน การส่งมอบพื้นที่ให้กับเอกชนคู่สัญญามีความคืบหน้า 86% แล้ว และพร้อมส่งมอบทั้งหมดภายในเดือนกันยายน 2564 คู่ขนาน ไปกับการยกระดับแอร์พอร์ต เรลลิงก์โฉมใหม่ ที่ผู้โดยสารจะได้รับบริการ ที่สะดวก รวดเร็ว และปลอดภัยยิ่งขึ้น สนามบินอู่ตะเภาและเมืองการบินภาคตะวันออก UTA จัดท�า แผนแม่บทสนามบินอู่ตะเภาฉบับสมบูรณ์ พร้อมเริ่มว่าจ้างผู้ออกแบบ ระดับโลก (SOM) กองทัพเรือได้ออกแบบทางวิ่ง 2 และงานที่เกี่ยวข้อง เรียบร้อย งานปรับถมดินทางขับระยะที่ 1 มีความคืบหน้า 80.53% งานสาธารณูปโภค สกพอ. ได้สง่ มอบพืน้ ทีใ่ ห้บริษทั บี.กริม ผูด้ แู ลงานระบบ ไฟฟ้าและน�้ำเย็น บริษัท อีสท์ วอเตอร์ ผู้ดูแลงานระบบประปาและบ�ำบัด น�ำ้ เสีย เพือ่ เตรียมงานก่อสร้างแล้ว งานบริการน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงอากาศยาน เจรจาสัญญาแล้วเสร็จได้ผู้ประกอบการที่ได้รับคัดเลือก คือ บริษัทร่วมค้า BAFS-OR กิ จ กรรมพั ฒ นาพื้ น ที่ อุ ต สาหกรรมการบิ น (ATZ) สกพอ. อยูร่ ะหว่างจัดท�ำแผนแม่บท ซึง่ มีกจิ กรรมส�ำคัญๆ เช่น ศูนย์ซอ่ มอากาศยาน (MRO) ศูนย์บริการอุปกรณ์ภาคพืน้ และศูนย์ฝกึ อบรมบุคลากรทักษะชัน้ สูง ด้านอุตสาหกรรมการบิน เป็นต้น


3.

ท่าเรือแหลมฉบังฯ ตกลงเอกชนเรียบร้อย สัญญาอยู่กับอัยการ เร่งนำ�เสนอ ครม. โดยเร็ว

ที่ประชุม กพอ. พิจารณาผลการคัดเลือกเอกชน ผลการเจรจา และ ร่างสัญญาร่วมลงทุนโครงการพัฒนาท่าเรือแหลมฉบัง ระยะที่ 3 ในส่วนของ ท่าเทียบเรือ F ตามที่คณะกรรมการคัดเลือกฯ ได้ด�ำเนินการตามมติ ครม. เมื่อ วันที่ 7 เมษายน 2564 อนุมัติผลประโยชน์ตอบแทนทางการเงินที่ภาครัฐได้รับ จากโครงการฯ เป็นค่าสัมปทานคงที่ คิดเป็นมูลค่าปัจจุบนั 29,050 ล้านบาท และ ค่าสัมปทานผันแปรที่ 100 บาทต่อ TEU (หน่วยนับตู้คอนเทนเนอร์ซึ่งมีขนาด 20 ฟุต) โดยคณะกรรมการคัดเลือกฯ ในการประชุมเมือ่ วันที่ 20 เมษายน 2564 ได้มมี ติให้กลุม่ กิจการร่วมค้า GPC เป็นผูผ้ า่ นการประเมินข้อเสนอซองที่ 4 ซึง่ ได้ เสนอผลประโยชน์ตอบแทนทางการเงินทีภ่ าครัฐได้รบั ตามทีม่ ติ ครม. ได้อนุมตั ไิ ว้ นอกจากนี้ยังได้เจรจาผลตอบแทนเพิ่มเติม อาทิ เอกชนตกลงเพิ่มเงื่อนไข การสร้างท่าเรือ F2 ให้เร็วขึ้น หากแนวโน้มตู้สินค้าเพิ่มขึ้นกว่าที่คาดการณ์ไว้ เอกชนจะสมทบเงินเข้ากองทุนเยียวยาความเสียหายในอัตรา 5,000 บาท/ไร่/ปี นับตั้งแต่วันเริ่มประกอบการท่าเทียบเรือ เป็นต้น

4.

แก้ไขเรื่องการทับซ้อนรถไฟความเร็วสูง เชื่อม 3 สนามบิน และรถไฟไทย-จีน เดินหน้าได้ เร็วขึ้น ไม่เพิ่มงบประมาณรัฐ

ทีป่ ระชุม กพอ. พิจารณาแก้ปญ ั หาซ้อนทับโครงการรถไฟความเร็วสูง เชือ่ ม 3 สนามบิน และโครงการรถไฟความเร็วสูงไทย-จีน ในช่วงบางซือ่ ถึง ดอนเมือง ซึง่ เป็นช่วงทีต่ อ้ งใช้แนวเส้นทาง และจ�ำเป็นต้องมีโครงสร้างโยธาเสา และฐานรากร่วมกัน (โครงสร้างโยธาร่วม) แต่ระยะเวลาการก่อสร้างและมาตรฐาน เทคนิคทั้ง 2 โครงการไม่สอดคล้องกัน ดังนัน้ เพือ่ แก้ปญ ั หาการซ้อนทับทัง้ 2 โครงการฯ ดังกล่าว สกพอ. กระทรวง คมนาคม และ รฟท. จะเจรจากับเอกชนคูส่ ญ ั ญา จัดท�ำข้อเสนอการแก้ไขสัญญา ร่วมทุน เพื่อให้เอกชนเร่งรัดด�ำเนินการก่อสร้างช่วงบางซื่อถึงดอนเมือง โดยจะ เจรจาให้เอกชนรับพืน้ ทีแ่ ละเริม่ งานก่อสร้างโยธาให้ได้มาตรฐานเร็วกว่าก�ำหนด เพือ่ ให้โครงการรถไฟฯ ไทย-จีน สามารถใช้เส้นทางดอนเมือง-บางซือ่ ได้ภายใน เดือนกรกฎาคม 2569 รวมทัง้ เอกชนคูส่ ญ ั ญาจะรับผิดชอบออกแบบและก่อสร้าง งานโยธาทั้งหมด รวมงานทางวิ่งของโครงการรถไฟฯ ไทย-จีน ช่วงบางซื่อถึง ดอนเมือง โดยยึดข้อตกลงทั้งมาตรฐานและระยะเวลาของรถไฟฯ ไทย-จีน เป็นหลัก เพือ่ แก้ปญ ั หาความไม่สอดคล้องระยะเวลา และด้านเทคนิคให้สามารถ รองรับทั้ง 2 โครงการได้

5.

เพิ่มเติมเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ ให้เพียงพอ และจูงใจเอกชนลงทุน ต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม

ทีป่ ระชุม กพอ. พิจารณาจัดตัง้ และเปลีย่ นแปลง เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษเพิม่ เติม 7 แห่ง ตัง้ อยูใ่ น จังหวัดชลบุรี 4 แห่ง และจังหวัดระยอง 3 แห่ง พื้นที่ โครงการรวมประมาณ 8,000 ไร่ มีพน้ื ทีร่ องรับประกอบ กิ จ การรวมประมาณ 6,000 ไร่ โดยมี เ ป้ า หมาย เงินลงทุนรวมประมาณ 3 แสนล้านบาท ภายใน 10 ปี (พ.ศ. 2564-2573) ได้แก่ เขตส่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ พิ เ ศษเพื่ อ กิ จ การ อุตสาหกรรม รูปแบบนิคมอุตสาหกรรมเพิ่มเติม จ�ำนวน 5 แห่ง ตั้งอยู่ในจังหวัดชลบุรี 3 แห่ง ได้แก่ นิคมโรจนะแหลมฉบัง นิคมโรจนะหนองใหญ่ และนิคม เอเชียคลีน เพือ่ รองรับอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ การบินและโลจิสติกส์ เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ และในจังหวัดระยอง 2 แห่ง ได้แก่ นิคมเอ็กโก และนิคมดับบลิวเอชเออินดัสเตรียล เอสเตทระยอง รองรับยานยนต์สมัยใหม่ หุ่นยนต์ การบิ น และโลจิ ส ติ ก ส์ โดยมี จ� ำ นวนพื้ น ที่ โ ครงการ 6,884.42 ไร่ เป็นพืน้ ทีร่ องรับประกอบกิจการ 5,098.56 ไร่ เงินลงทุนสูงถึง 280,772.23 ล้านบาท จัดตัง้ เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษเพือ่ กิจการ พิเศษ จ�ำนวน 1 แห่ง ได้แก่ ศูนย์นวัตกรรมดิจิทัลและ เทคโนโลยีขน้ั สูงบ้านฉาง จังหวัดระยอง พืน้ ทีโ่ ครงการ 519 ไร่ รองรับงานวิจัยพัฒนากลุ่มอุตสาหกรรมดิจิทัล และกิจการที่เกี่ยวข้อง พื้นที่ประกอบกิจการ 360 ไร่ เงินลงทุนประมาณ 20,000 ล้านบาท รวมทัง้ ได้เห็นชอบ เปลี่ยนแปลงเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษเพื่อกิจการ พิเศษ ศูนย์นวัตกรรมการแพทย์ครบวงจรธรรมศาสตร์ (พัทยา) หรือ EECmd โดยขยายพื้นที่เพิ่ม 18.68 ไร่ จากเดิมมีพื้นที่ 566 ไร่ เป็นพื้นที่รวมประมาณ 585 ไร่ เงินลงทุนประมาณ 8,000 ล้านบาท


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย เดินหน้าสนับสนุน พลังงานสะอาด เตรียมจ่ายไฟจากโซลาร์เซลล์ลอยน�้ำไฮบริดพลัง น�้ำเขื่อนสิรินธร จ.อุบลราชธานี หนุนเทรนด์พลังงานสะอาดโลก เต็มที่ ประเดิมทดสอบขนานเครื่องเข้าระบบครั้งแรกแล้ว คาดจ่าย ไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ได้ในเดือนตุลาคม 2564 พร้อมเร่งท�ำเส้นทาง ชมธรรมชาติ จุดเช็คอินใหม่รับนักท่องเที่ยวต้นปีหน้า ประเสริฐศักดิ์ เชิงชวโน รองผูว้ า่ การ พัฒนาโรงไฟฟ้าและพลังงานหมุนเวียน การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย (กฟผ.) เปิดเผยว่า โครงการโรงไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ทุ่นลอยน�้ำร่วมกับโรงไฟฟ้า พลั ง น�้ ำ เขื่ อ นสิ ริ น ธร จ.อุ บ ลราชธานี (Hydro-Floating Solar Hybrid) หรื อ โรงไฟฟ้าโซลาร์เซลล์ลอยน�้ำไฮบริดเขื่อน สิรินธร ขนาดก�ำลังผลิต 45 เมกะวัตต์ ได้ติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์กับ ทุน่ ลอยน�ำ้ ในเขือ่ นสิรนิ ธรครบทัง้ หมด 7 ชุด พร้อมติดตัง้ ทุน่ คอนกรีต ของระบบยึดโยงใต้น�้ำและก่อสร้างอาคารสวิตช์เกียร์แล้วเสร็จ โดยทดสอบขนานเครื่องกําเนิดไฟฟ้าเข้ากับระบบโครงข่ายไฟฟ้า ครั้งแรก (First Synchronization) แล้ว คาดจะสามารถจ่ายไฟฟ้า เข้าระบบเชิงพาณิชย์ (Commercial Operation Date : COD) ได้ ในเดือนตุลาคม 2564 อีกทั้ง กฟผ. ยังเร่งมือสร้าง “เส้นทางเดินชมธรรมชาติ หรือ Nature Walkway” เพื่อเป็นจุดเช็คอินและแหล่งท่องเที่ยวส�ำคัญ แห่งใหม่ของ จ.อุบลราชธานี สามารถชมโซลาร์เซลล์ลอยน�ำ้ ไฮบริด ใหญ่ที่สุดในโลกในมุมสูงอย่างใกล้ชิด อยู่ระหว่างปรับภูมิทัศน์รอบ พืน้ ที่ รวมถึงก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์สำ� หรับให้ขอ้ มูล นักท่องเทีย่ วก่อนเดินชม เตรียมเปิดให้ประชาชน ทัว่ ไปเข้าชมได้ในเดือนมกราคม 2565 คาดว่า จะช่วยเสริมให้ธุรกิจท่องเที่ยวของจังหวัด กลั บ มาคึ ก คั ก ช่ ว ยสร้ า งรายได้ ใ ห้ กั บ ชุมชนอีกทางหนึ่งด้วย ซึ่งในช่วงของ การก่อสร้าง กฟผ. ได้จา้ งผูป้ ระกอบการ

แพท่องเทีย่ ว เรือ และเจ็ตสกี จากชุมชนรอบพืน้ ทีม่ าใช้ในงานก่อสร้าง รวมถึงเช่าแพเพื่อเป็นที่พักให้กับคนงาน ซึ่งช่วยสร้างรายได้ให้กับ ชุมชนในช่วงที่นักท่องเที่ยวลดลงจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 รวมแล้วคิดเป็นมูลค่าการจ้างงานในพื้นที่ทั้งหมดกว่า 30 ล้านบาท สามารถกระตุ้นเศรษฐกิจภาพรวมของจังหวัดได้เป็นอย่างดี ส� ำหรับโรงไฟฟ้าโซลาร์เซลล์ลอยน�้ ำ ไฮบริดเขื่อนสิรินธร ถือเป็นโรงไฟฟ้าโซลาร์เซลล์ลอยน�้ำที่ไฮบริดกับพลังน�้ำจากเขื่อน ขนาดใหญ่ทสี่ ดุ ในโลก สามารถผลิตไฟฟ้าจากพลังงานสะอาดร่วมกัน ระหว่าง “พลังงานแสงอาทิตย์” กับ “พลังน�้ำ” โดยโซลาร์เซลล์ จะผลิตไฟฟ้าในช่วงกลางวันที่มีปริมาณความเข้มของแสงเพียงพอ และน�ำพลังน�้ำมาผลิตไฟฟ้าเสริมในช่วงที่ความเข้มแสงไม่เพียงพอ หรือในช่วงกลางคืน ช่วยลดความไม่แน่นอนของพลังงานหมุนเวียน ที่ปกติแล้วจะขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ ท�ำให้ผลิตไฟฟ้าได้ต่อเนื่อง ยาวนาน โรงไฟฟ้าฯ ติดตัง้ แผงโซลาร์เซลล์บนทุน่ ลอยน�ำ้ และอุปกรณ์ ต่างๆ โดยใช้พนื้ ทีผ่ วิ น�ำ้ ประมาณ 450 ไร่ คิดเป็นสัดส่วนพืน้ ทีผ่ วิ น�า้ ไม่ถงึ ร้อยละ 1 ของพืน้ ทีอ่ า่ งเก็บน�ำ้ ทัง้ หมด ใช้แผงโซลาร์เซลล์ชนิด กระจกทั้ง 2 ด้าน (Double Glass) สามารถทนต่อความชื้นสูงได้ดี ไม่มีสิ่งปนเปื้อนลงสู่แหล่งน�้ำ นอกจากนี้ ได้ติดตั้งทุ่นลอยน�ำ้ ชนิด HDPE (High Density Polyethylene) ซึง่ เป็นวัสดุชนิดเดียวกับท่อส่ง น�ำ้ ประปา จึงเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมและสัตว์นำ�้ และสิง่ ทีส่ ำ� คัญคือ การผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าโซลาร์เซลล์ลอยน�้ำไฮบริดเขื่อนสิรินธร จะช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (CO2) ได้ประมาณ 47,000 ตัน/ปี ซึ่งมีส่วนช่วยในการแก้ปัญหาภาวะโลกรวนให้กับโลก ทัง้ นี้ กฟผ. ยังเตรียมพัฒนาโครงการโซลาร์เซลล์ลอยน�ำ้ ไฮบริด ในพื้นที่เขื่อนของ กฟผ. อีกหลายแห่งทั่วประเทศอย่าง ต่อเนื่อง รวมก�ำลังผลิตทั้งหมด 2,725 เมกะวัตต์ รวมทั้งอยู่ในช่วงพิจารณาศักยภาพเพิ่มเติม อีกกว่า 5,000 เมกะวัตต์ นับเป็นจุดเริ่มต้น ส�ำคัญของ กฟผ. ในการก้าวเข้าสู่สังคม ไร้คาร์บอนอย่างแท้จริงในอนาคต


การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

องค์ ก ารซี เ กรฝ่ า ยไทย (Thailand National Committee of CIGRE : TNC-CIGRE) และ ก า ร ไ ฟ ฟ ้ า ฝ ่ า ย ผ ลิ ต แ ห ่ ง ประเทศไทย ร่วมแชร์ประสบการณ์ ใ น เ ว ที สั ม ม น า อ อ น ไ ล น ์ TNC-CIGRE WEBINAR 2021 ชี้เทคโนโลยี BESS ช่วยเสริม เสถียรภาพการบริหารจัดการไฟฟ้า จากพลั ง งานหมุ น เวี ย น หนุ น ทั่วโลกก้าวสู่สังคมคาร์บอนต�่า

รศ. ดร.ณอคุณ สิทธิพงศ์ อดีตปลัด กระทรวงพลังงาน ในฐานะประธานคณะกรรมการ องค์การซีเกรฝ่ายไทย กล่าวว่า ในช่วง 10 ปี ทีผ่ า่ นมา กระแสการสร้างสังคมคาร์บอนต�ำ่ ท�ำให้ หลายประเทศทัว่ โลกได้เพิม่ สัดส่วนการผลิตไฟฟ้า จากพลังงานหมุนเวียนทดแทนการใช้เชื้อเพลิง ฟอสซิลมากขึ้น แต่เนื่องจากความผันผวนของ การผลิตไฟฟ้าที่เป็นไปตามสภาพแวดล้อมและ สภาพอากาศ ท�ำให้ต้องน�ำเทคโนโลยี Battery Energy Storage System หรือ BESS เข้ามาช่วย สร้างเสถียรภาพ โดยปัจจุบันเทคโนโลยีดังกล่าว ได้ถกู พัฒนาให้มปี ระสิทธิภาพสูงขึน้ และมีแนวโน้ม ด้านราคาลดลงอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้การผลิต ไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนร่วมกับ BESS เข้ามา มีบทบาทส� ำ คัญอย่างมากต่อเทรนด์การผลิต ไฟฟ้าในปัจจุบัน อีกทั้งราคาแบตเตอรี่ที่ลดลง ยั ง เป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ ต่ อ การพั ฒ นารู ป แบบการ คมนาคมเข้าสู่สังคมการใช้ยานยนต์ไฟฟ้า หรือ EV มากยิ่งขึ้นในอนาคต บุญญนิตย์ วงศ์รกั มิตร ผูว้ า่ การการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กล่าวว่า เทรนด์การ ผลิตไฟฟ้าในปัจจุบันนั้น พบว่าสภาวะโลกรวน จากการเปลีย่ นแปลงของสภาพอากาศและอุณหภูมิ โลกที่สูงขึ้น ท�ำให้หลายประเทศทั่วโลกมีแนวคิด รณรงค์ใช้พลังงานสะอาดเพื่อลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก เพื่อน�ำไปสู่สังคมคาร์บอนต�่ำ หรือ Net Zero Emissions ในอนาคต ซึ่งประเทศไทย ได้ก�ำหนดแผนแม่บทให้สอดคล้องกับกระแสโลก ดังกล่าว โดยในภาคการผลิตไฟฟ้า กฟผ. ได้ลด การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) โดย เพิม่ สัดส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน หรือ Hydro-Floating Solar Hybrid ในพืน้ ทีเ่ ขือ่ น 9 แห่งทัว่ ประเทศ รวมก�ำลังการผลิตทัง้ สิน้ 2,725 เมกะวัตต์ ปัจจุบันติดตั้งที่แรก ณ เขื่อนสิรินธร จ.อุ บ ลราชธานี ถื อ เป็ น โครงการโซลาร์ เซลล์ ลอยน�ำ้ แบบไฮบริดขนาดใหญ่ทส่ี ดุ ในโลก รวมถึง การพัฒนา Grid Modernization ให้มคี วามมัน่ คง

และยื ด หยุ ่ น ด้ ว ยเทคโนโลยี ต ่ า งๆ ได้ แ ก่ การพยากรณ์การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน (RE Forecast) การติดตั้งระบบ Energy Storage ระบบ Battery Energy Storage System หรือ BESS ในพื้นที่สถานีไฟฟ้าแรงสูงบ�ำเหน็จณรงค์ จ.ชั ย ภู มิ และสถานี ไ ฟฟ้ า แรงสู ง ชั ย บาดาล จ.ลพบุรี และในภาคการขนส่ง กฟผ. ได้ส่งเสริม การใช้รถยนต์ EV เพื่อลดการปล่อย CO2 โดย พัฒนา Application ชื่อว่า EleXA ส�ำหรับค้นหา สถานี อั ด ประจุ ไ ฟฟ้ า ท� ำ การติ ด ตั้ ง สถานี อัดประจุไฟฟ้า EleX by EGAT จ�ำนวน 14 แห่ง และจะขยายเพิ่มอีก 30 แห่งในอนาคต รวมทั้ง จ�ำหน่ายเครื่องอัดประจุไฟฟ้าภายในบ้าน หรือ EGAT Wallbox และพัฒนาแพลตฟอร์ม BackEN ทีส่ ามารถจัดการและมอนิเตอร์การใช้พลังงานทัง้ ระบบ เพือ่ น�ำข้อมูลมาจัดหาพลังงานให้เพียงพอ ต่ อ ความต้ อ งการและท� ำ ให้ ร ะบบไฟฟ้ า ของ ประเทศไทยมีความมั่นคง Mr.Wilhelm van Butselaar ผู้แทนจาก Wärtsilä Singapore และ Mr.Achal Sondhi ผู้แทนจาก Fluence Energy กล่าวเสริมว่า เทคโนโลยี Battery Energy Storage System หรือ BESS ได้ถูกน�ำมาใช้งานอย่างแพร่หลาย และมีแนวโน้มเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยส�ำคัญ หากน� ำ มาประยุ ก ต์ ใช้ ร ่ ว มกั บ การผลิ ต ไฟฟ้ า จากพลั ง งานหมุ น เวี ย นและพลั ง งานฟอสซิ ล จะสามารถลดต้ น ทุ น การผลิ ต ไฟฟ้ า ต่ อ หน่ ว ย (LCOE) ของระบบได้มากกว่าร้อยละ 25 หรือ หากน�ำไปใช้ร่วมกับการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน หมุนเวียน จะช่วยลดความผันผวนจากข้อจ�ำกัด ด้านสภาพแวดล้อมและเสริมสร้างเสถียรภาพ ของระบบให้มีความมั่นคง ดังนัน้ นีถ้ อื เป็นส่วนส�ำคัญในการเปลีย่ นผ่าน สูก่ ารใช้พลังงานสะอาดในกระบวนการผลิตไฟฟ้า เพื่อก้าวเข้าสู่สังคมคาร์บอนต�่ำในอนาคตให้กับ ประเทศไทย


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

การไฟฟ้านครหลวง หรือ MEA การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ร่ ว มพิ ธี เ ปิ ด สถานี ต ้ น ทางบางซื่ อ การไฟฟ้ า นครหลวง และสถานีไฟฟ้าแรงสูงจตุจักร การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย พร้อมส่งจ่ายพลังงานไฟฟ้ารองรับสถานีกลาง บางซื่อและโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) รวมถึงรองรับการใช้ไฟฟ้าพื้นที่เมืองมหานครในอนาคต เพื่อร่วมพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน รับเทรนด์การเดินทาง ด้วยยานยนต์ไฟฟ้า เพื่อลดปัญหาการปล่อยมลพิษทาง อากาศ ช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจ ณ สถานีไฟฟ้าแรงสูงจตุจกั ร และสถานีต้นทางบางซื่อ กรุงเทพมหานคร กีรพัฒน์ เจียมเศรษฐ์ ผูว้ า่ การ MEA กล่าวว่า MEA เริ่มด�ำเนินการ ก่ อ สร้ า งสถานี ต ้ น ทางบางซื่ อ ตั้ ง แต่ เดือนธันวาคม 2560 รองรับปริมาณ พลั ง งานไฟฟ้ า สู ง ถึ ง 1,800 MVA (เมกะโวลต์ แ อมป์ ) เพื่ อ รองรั บ การ จ่ายไฟฟ้าพื้นที่สถานีกลางบางซื่อและ โครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) โดยผ่านการควบคุมบริหาร จัดการระบบไฟฟ้าด้วยระบบ SCADA ทีท่ นั สมัย ทัง้ ยังออกแบบให้มี ระบบส�ำรองไฟฟ้าในกรณีเหตุฉุกเฉินโดยบูรณาการร่วมกับ กฟผ. ในการเชือ่ มโยงระบบสายส่งไฟฟ้าแรงสูงจากแหล่งจ่ายสถานีไฟฟ้า แรงสูงข้างเคียงของ กฟผ. ในพื้นที่โดยรอบ 3 สถานี (สถานีไฟฟ้า

แรงสูงแจ้งวัฒนะ พระนครเหนือ และลาดพร้าว) รวมถึงการเชือ่ มโยง จากสายส่งไฟฟ้าจากสถานีย่อยข้างเคียงของ MEA เอง ท�ำให้ เสถียรภาพของระบบไฟฟ้ามีความมั่นคงยิ่งขึ้น โดย MEA มีความ พร้อมในการจัดการควบคุมจ่ายไฟฟ้าให้กับทุกสถานีรถไฟฟ้า โดย MEA ได้เตรียมความพร้อมรองรับการเชื่อมโยงระบบไฟฟ้าส�ำหรับ การใช้ยานยนต์ไฟฟ้าทีจ่ ะมาทดแทนรถยนต์นำ�้ มันต่อไปในอนาคต บุญญนิตย์ วงศ์รกั มิตร ผูว้ า่ การ กฟผ. กล่าวว่า กฟผ. ได้ด�ำเนินการ พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานด้านการคมนาคม ร่ ว มกั บ การไฟฟ้ า นครหลวง (กฟน.) และการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) โดยก่อสร้างสถานีไฟฟ้าแรงสูงจตุจักร เพื่อเตรียมความพร้อมในการส่งจ่าย พลังงานไฟฟ้ารองรับการใช้ไฟฟ้าของสถานีกลางบางซื่อ และ โครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ช่วงบางซื่อ-รังสิต และ ช่วงบางซือ่ -ตลิง่ ชัน ซึง่ จะเป็นศูนย์กลางการคมนาคมระบบรางของไทย แห่งใหม่ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในอาเซียน เป็นเส้นทางการคมนาคม ขนส่งระบบรางที่ส�ำคัญในอนาคต และยังถือเป็นโอกาสที่ดีในการ Restart กระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศ ปัจจุบัน กฟผ. ได้พัฒนา นวัตกรรมรถยนต์ EV รถจักรยานยนต์ไฟฟ้า และเรือไฟฟ้า เพื่อ เชื่อมต่อการเดินทาง “ล้อ ราง เรือ” สร้างความสะดวกสบายในการ เดินทางให้กับประชาชน สามารถช่วยลดปัญหาการปล่อยมลพิษ ทางอากาศและฝุน่ PM2.5 จากภาคการขนส่ง นับเป็นส่วนหนึง่ ของ การด�ำเนินงานตามแนวคิด EGAT for ALL เพราะ กฟผ. เป็นของ ทุกคน ท�ำเพื่อทุกคน อวิรทุ ธ์ ทองเนตร รองผูว้ า่ การ กลุ ่ ม อ� ำ นวยการ รฟท. กล่ า วว่ า พลั ง งานไฟฟ้ า เป็ น ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ยิ่ ง ส�ำหรับสถานีกลางบางซื่อ สถานีรถไฟ หลักแห่งใหม่ ซึง่ จะเปิดด�ำเนินการอย่าง เป็นทางการในฐานะศูนย์กลางระบบราง ที่ ใ หญ่ ที่ สุ ด ในอาเซี ย นที่ เ ชื่ อ มต่ อ ทุกรูปแบบการเดินทางของระบบขนส่งมวลชนอืน่ ๆ ได้อย่างสะดวก สบาย และช่วยอ�ำนวยความสะดวกให้กับประชาชนที่อาศัยอยู่ใน เขตพื้นที่ชานเมืองได้เดินทางเข้าสู่ใจกลางเมืองด้วยระบบรางที่มี ประสิทธิภาพ และช่วยอ�ำนวยความสะดวกให้ผู้โดยสารสามารถ เข้าสู่โครงข่ายระบบรถไฟขนส่งมวลชนอื่นได้อย่างสะดวกรวดเร็ว สามารถรองรับประชาชนทีม่ าใช้บริการทีส่ ถานีกลางบางซือ่ จ�ำนวน 624,000 คนต่อวัน และโครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ช่วงบางซื่อ-รังสิต และช่วงบางซื่อ-ตลิ่งชัน จ�ำนวน 463,000 คน ต่อวัน ท�ำให้ทุกวันแห่งการเดินทางมีแต่รอยยิ้มแห่งความสุขที่เกิด จากคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นตลอดไป


การไฟฟ้านครหลวง

การไฟฟ้านครหลวง มอบเครื่องอัดประจุไฟฟ้า MEA EV Charger ขนาด 22 kW ให้กบั จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและ CP Tower และได้ดำ� เนินโครงการศึกษาวิจัย MEA EV Smart Charging System อีกทั้งยังมีการส่งมอบเครื่องอัดประจุไฟฟ้า MEA EV Charger ขนาด 22 kW จ�ำนวน 50 เครื่องฟรี ให้แก่ ผู้ผ่านการคัดเลือกในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และ สมุทรปราการ เพือ่ ส่งเสริมการวิจยั และพัฒนานวัตกรรมต่อยอด ให้บริการสถานีอดั ประจุรถยนต์ไฟฟ้าและสร้างเครือข่ายพันธมิตร ในการด�ำเนินธุรกิจสถานีอดั ประจุรถยนต์ไฟฟ้า อีกทัง้ เพือ่ ส่งเสริม ให้เกิดการจัดตัง้ สถานีอดั ประจุไฟฟ้าแบบสาธารณะ และพัฒนา ระบบบริหารจัดการเครือ่ งอัดประจุไฟฟ้า (Smart Charging) โดย MEA วิเคราะห์ข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานเครื่องอัดประจุไฟฟ้า รวมถึงการวิจัยและพัฒนาใช้งานยานยนต์ไฟฟ้า ขับเคลื่อน ตามแผนงานด้านพลังงานของรัฐบาลในการส่งเสริมการใช้ ยานยนต์ไฟฟ้าของประเทศไทยและพลังงานทดแทนที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม ส�ำหรับการใช้งานสถานีอัดประจุไฟฟ้า ผู้ใช้งาน สามารถเริม่ ต้นการอัดประจุผา่ นการสแกน QR Code ทีส่ ถานีฯ ผ่าน MEA EV Application ได้ทันที จุมภฎ หิมะเจริญ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายสื่อสารองค์กร การไฟฟ้านครหลวง หรือ MEA กล่าวว่า MEA ในฐานะ หน่ ว ยงานที่ ขั บ เคลื่ อ นพลั ง งานเพื่ อ วิ ถี ชี วิ ต เมื อ งมหานคร ได้ดำ� เนินนโยบายในด้านยานยนต์ไฟฟ้ามาอย่างต่อเนือ่ งในการ เตรียมความพร้อมรองรับการใช้รถยนต์ไฟฟ้าที่จะมาทดแทน รถยนต์น�้ำมันต่อไปในอนาคต ตลอดจนการติดตั้งและพัฒนา สถานีอัดประจุไฟฟ้าของ MEA พร้อมเชื่อมต่อ Platform ระบบ บริหารจัดการเครือ่ งอัดประจุไฟฟ้าอัจฉริยะ วิเคราะห์ขอ้ มูลการ อัดประจุ และเชือ่ มต่อกับ MEA EV Application รองรับการใช้งาน และอ�ำนวยความสะดวกแก่ผใู้ ช้รถยนต์ไฟฟ้าอย่างครบวงจร โดย ล่าสุดด�ำเนินการส่งมอบเครือ่ งอัดประจุไฟฟ้า MEA EV Charger ในโครงการศึกษาวิจัย MEA EV Smart Charging System พร้อมใช้งานได้แล้ววันนี้ 3 แห่ง ประกอบด้วย

• MBK EV Charging Station จ�ำนวน 3 เครือ่ ง MBK Center บริเวณลานจอดรถ ชั้น 2 โซน C ช่อง 23-24 เวลา 10.00 21.00 น. • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จ�ำนวน 5 เครือ่ ง อาคารจามจุรี 5 เวลา 06.00-19.00 น. (ในช่วงทดลอง ขอสงวนสิทธิ์เฉพาะ บุคลากรของจุฬาฯ) • CP Tower 1 CPLAND จ�ำนวน 1 เครื่อง อาคารซี.พี. ทาวเวอร์ 1 (สีลม) บริเวณลานจอดรถ ชั้น 8 เวลา 08.30 17.30 น. สอบถามรายละเอียดและบริการได้ที่ อาคารซี.พี. ทาวเวอร์ 1 (สีลม) แผนกบริการอาคาร โทร. 0-2766-7057 ส�ำหรับ MEA EV Application มีฟังก์ชันที่โดดเด่น โดยสามารถ ตรวจสอบสถานีอัดประจุ สั่งจองหัวชาร์จ พร้อมแสดงเส้นทางน�ำทาง ไปยังสถานีอดั ประจุดว้ ยระบบแผนที่ GIS ของ MEA และสัง่ เริม่ -หยุด การอัดประจุแสดงปริมาณกระแสไฟฟ้าที่อัดประจุ ช�ำระค่าอัดประจุ ดู ป ระวั ติ ก ารอั ด ประจุ แ ละแสดงผลการลดปริ ม าณการปล่ อ ยก๊ า ซ คาร์บอนไดออกไซด์ โดยปัจจุบนั MEA EV Application รองรับการใช้งาน กับสถานีอัดประจุไฟฟ้าของ MEA ที่มีอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ ทั้ง 14 แห่ง โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย สถานี อัดประจุไฟฟ้าของ EA ทั่วประเทศ รวมถึงสถานีทั้งหมดที่ลงทะเบียน กับสมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย (EVAT) เพื่ออ�ำนวยความสะดวกแก่ ผู้ใช้ยานยนต์ไฟฟ้ามากยิ่งขึ้น ผู้สนใจสามารถดาวน์โหลด MEA EV Application ได้ฟรี โดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย ทัง้ ในระบบปฏิบตั กิ าร iOS และ Android ได้ที่ https://onelink.to/meaev ทั้งนี้ ผู้ใช้ไฟฟ้าที่สนใจใช้บริการออกแบบและติดตั้งเครื่อง อัดประจุไฟฟ้าทีไ่ ด้มาตรฐานความปลอดภัยของ MEA สามารถสอบถาม รายละเอียดได้ทฝี่ า่ ยธุรกิจบริการและคุณภาพไฟฟ้า โทร. 0-2476-5666-7 ระหว่างเวลา 07.30-15.30 น. ในวันเวลาท�ำการ หรือ MEA Call Center 1130 รวมถึงแจ้งผ่านช่องทางโซเชียลมีเดียต่างๆ ได้แก่ Facebook : การไฟฟ้านครหลวง MEA, Line : MEA Connect, Twitter : @mea_news และศูนย์บริการข้อมูลผู้ใช้ไฟฟ้าการไฟฟ้านครหลวง MEA Call Center 1130 ได้ตลอด 24 ชั่วโมง


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ร่วมลงนามกับกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน และกรมส่งเสริม การปกครองท้องถิ่น เพื่อพัฒนาฝีมือแรงงานด้านช่างไฟฟ้าในโครงการ 1 ต�ำบล 1 ช่างไฟฟ้า น�ำโดย ศุภชัย เอกอุ่น รองผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ธวัช เบญจาทิกุล อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน และ ประยูร รัตนเสนีย์ อธิบดีกรม ส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ ร่วมกันลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือผ่านระบบ ออนไลน์ ZOOM Meeting การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคด�ำเนินโครงการ 1 ต�ำบล 1 ช่างไฟฟ้า ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 เพื่อสร้างอาชีพ สร้างรายได้ แก่ประชาชน และมีช่างไฟฟ้าที่ได้รับใบประกอบอาชีพแล้วจํานวน 7,127 คน ในครั้งนี้ PEA ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน และกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่น ร่วมขับเคลื่อนให้มีช่างไฟฟ้าครบทุกต�ำบลแม้ในพื้นที่ห่างไกล เพื่อประสาน ความร่วมมือด้านนโยบายและการปฏิบัติงานร่วมกัน รวมถึงการระดมทรัพยากร บุคลากรและงบประมาณที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งเสริม ยกระดับ ฝีมือช่างไฟฟ้าให้มีความรู้ความสามารถ ได้รับหนังสือรับรองความรู้ความสามารถ สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคารระดับ 1 และสาขาอาชีพอื่นที่เกี่ยวข้อง ในต�ำบลที่ยัง ขาดแคลนช่างไฟฟ้า สนับสนุนการสร้างอาชีพ สร้างรายได้ให้แก่ประชาชน สร้าง เครือข่ายและบูรณาการการใช้ทรัพยากรร่วมกันให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในอนาคต การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจะส่งเสริมต่อยอดช่างไฟฟ้าจากโครงการ 1 ต�ำบล 1 ช่างไฟฟ้า ให้เป็นช่างทีส่ ามารถติดตัง้ ระบบ EV Charging ภายในครัวเรือน เพือ่ รองรับกับการใช้รถพลังงานไฟฟ้าทีจ่ ะมีเพิม่ มากขึน้ ภายใน 10 ปี โดยใช้บคุ ลากร จาก PEA ที่มีความเชี่ยวชาญด้านระบบไฟฟ้ามาให้ความรู้อย่างมีมาตรฐาน ซึ่งจะ ท�ำให้ประชาชนและชุมชนมีความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้าและจะช่วยให้ PEA มี ระบบจ�ำหน่ายไฟฟ้าที่มั่นคง


การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จัดงาน PEA Green Day ประจ�ำปี 2564 “PEA Green Office สู่ความยั่งยืน” ผ่านระบบ CISCO Webex Meeting ณ ห้องประชุมคณะกรรมการ กฟภ. ชั้น 23 อาคาร LED ส�ำนักงานใหญ่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดยมี สมพงษ์ ปรีเปรม ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เป็นประธานเปิดงาน ภายในงานมีการมอบรางวัลผ่านระบบ Online โดยผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ดังนี้ • รางวัลโครงการส�ำนักงานสีเขียว (Green Office) รวม 70 รางวัล • รางวั ล โครงการ “สนั บ สนุ น กิ จ กรรม ลดก๊าซเรือนกระจก” (Low Emission Support Scheme : LESS) รวม 125 รางวัล • รางวัลสิ่งประดิษฐ์จากวัสดุที่ไม่ได้ใช้งาน รวม 24 รางวัล • ส่งมอบน�ำ้ มันตามโครงการน�ำขยะประเภท พลาสติกภายในส�ำนักงาน PEA มาผลิต เป็นน�ำ้ มันมอบให้เกษตรกร • ส่ ง มอบการปลู ก ต้ น ไม้ ต ามโครงการ PEA Go Green

การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค หรือ PEA แนะน�ำผูใ้ ช้ ไฟฟ้าลงทะเบียนเพื่อขอใบเสร็จรับเงินและใบก�ำกับ ภาษีอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบ e-Service การไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค (PEA) ห่วงใยผู้ใช้ไฟฟ้าในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชือ้ โควิด-19 แนะน�ำให้ผใู้ ช้ไฟฟ้า ลงทะเบียนเพือ่ ขอรับใบเสร็จรับเงินหรือใบก�ำกับภาษี อิเล็กทรอนิกส์ผ่าน e-Service ทางช่องทาง ดังนี้ • สแกน QR Code • https://eservice.pea.co.th/etax/authen วิธีการลงทะเบียนเพื่อขอรับใบเสร็จรับเงิน/ ใบก�ำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ 1. เข้าสู่เว็บไซต์ https://www.pea.co.th/home เลือกเมนู ‘E-SERVICE’

PEA ได้ด�ำเนินงานโครงการด้าน สิง่ แวดล้อมหลากหลายโครงการ ทัง้ โครงการ พัฒนาส�ำนักงาน กฟภ. ให้เป็นส�ำนักงาน สีเขียว (Green Office) โครงการสนับสนุน กิ จ กรรมลดก๊ า ซเรื อ นกระจก (LESS) โครงการปลูกต้นไม้ใหญ่ “PEA Go Green” โครงการประกวดสิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ จ ากวั ส ดุ ที่ ไม่ได้ใช้งาน โครงการเหล่านี้ช่วยสนับสนุน และเสริมสร้างความตระหนักให้ผู้บริหาร พนักงาน และลูกจ้างของ กฟภ. ได้มสี ว่ นร่วม ในการสร้ า งความน่ า อยู ่ ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งช่วยลดกิจกรรมที่ก่อ ให้เกิดก๊าซเรือนกระจก มุ่งสู่การปรับตัว เข้าสู่การเป็นองค์กรที่รับผิดชอบต่อสังคม อย่างยั่งยืน

2. บริการอืน่ ๆ เลือกเมนู ‘E-TAX ลงทะเบียนรับใบเสร็จรับเงินหรือใบก�ำกับภาษี อิเล็กทรอนิกส์’ 3. กรอกข้อมูลให้ครบถ้วนเพื่อยืนยันตัวตน 4. ระบบจะแสดงข้อมูลประวัติผู้ใช้ไฟ 5. เลือกเมนู ‘ลงทะเบียนรับใบเสร็จทางอีเมล’ 6. คลิก ‘ยอมรับ’ ข้อตกลงการรับใบเสร็จรับเงินหรือใบก�ำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ 7. กรอกอีเมลที่ท่านต้องการขอรับใบเสร็จรับเงินหรือใบก�ำกับภาษีอิเล็กทรอนิกส์ คลิก ‘ยืนยัน’ 8. ระบบจะแสดงหน้าต่าง ‘บันทึก E-mail ส�ำเร็จ’ โดย กฟภ. จะส่งอีเมลยืนยัน การสมัครขอรับใบเสร็จไปยังอีเมลของท่าน 9. คลิก ‘ลิงก์’ จาก E-mail เพื่อยืนยันการเปิดใช้งานให้เสร็จสมบูรณ์ ทั้งนี้ ผู้ใช้ไฟฟ้าสามารถสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับไฟฟ้าได้ท่ี 1129 PEA Contact Center ตลอด 24 ชั่วโมง


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย

เทพรัตน์ เทพพิทักษ์

บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุ๊ป พร้อมก้าวสู่บทบาทใหม่ในฐานะ “ผู้ประกอบการจัดหาและ ค้าส่งก๊าซธรรมชาติ” โดยแจ้งความประสงค์ตอ่ คณะกรรมการ ก�ำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) ขอปรับแผนน�ำเข้าก๊าซธรรมชาติ เหลว (แอลเอ็นจี) ล็อตแรกปลายปี พ.ศ. 2564 และวางแผน จะน�ำเข้าอย่างเต็มรูปแบบในไตรมาสที่ 3 ปี พ.ศ. 2565 เพื่อใช้ เป็นเชือ้ เพลิงส�ำหรับ 3 โรงไฟฟ้าในกลุม่ เอ็กโก ได้แก่ โรงไฟฟ้า บ้านโป่ง โรงไฟฟ้าคลองหลวง และโรงไฟฟ้าเอ็กโก โคเจน ทีจ่ ะ ทดแทนโรงไฟฟ้าเดิม ซึ่งจะเอื้อประโยชน์ในการบริหารต้นทุน เชื้อเพลิงที่ใช้ผลิตไฟฟ้าและต่อยอดโอกาสการลงทุนในธุรกิจ เชื้อเพลิงในอนาคต เทพรัตน์ เทพพิทักษ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ เอ็กโก กรุ๊ป กล่าวว่า เอ็กโก กรุ๊ป พร้อมก้าวสู่บทบาทใหม่ในฐานะ ผู้ประกอบการจัดหาและค้าส่งก๊าซธรรมชาติ ภายหลังที่ กกพ. มีมติเห็นชอบการออกใบอนุญาตจัดหาและค้าส่งก๊าซธรรมชาติ (LNG Shipper License) ในปริมาณการจัดหาและค้าส่งแอลเอ็นจี สูงสุด 200,380 ตันต่อปี เป็นระยะเวลา 10 ปี เพื่อน�ำเข้า แอลเอ็นจีมาใช้เป็นเชือ้ เพลิงส�ำหรับโรงไฟฟ้าเอสพีพใี นกลุม่ เอ็กโก ทั้ง 3 แห่ง โดยล่าสุดเอ็กโก กรุ๊ป แจ้งความประสงค์ต่อ กกพ. ขอปรับแผนน�ำเข้าแอลเอ็นจีลอ็ ตแรกปลายปี พ.ศ. 2564 ซึง่ การ ด�ำเนินการจริงจะขึ้นอยู่กับการพิจารณาของ กกพ. พร้อมกันนี้ ได้วางแผนจะน�ำเข้าแอลเอ็นจีอย่างเต็มรูปแบบตัง้ แต่ไตรมาสที่ 3 ของปี พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ด้านแหล่งก๊าซทีจ่ ะน�ำเข้ามาใช้งาน ยังอยู่ระหว่างเจรจา เบื้องต้นคาดว่าจะน�ำเข้าจากแหล่งก๊าซใน ทวีปเอเชียและทวีปแอฟริกา ปัจจุบนั เอ็กโก กรุป๊ มีกำ� ลังผลิตตามสัญญาซือ้ ขายไฟฟ้า ตามสัดส่วนการถือหุน้ รวมทัง้ สิน้ 6,016 เมกะวัตต์ ประกอบด้วย

ภาพจำ�ลองโครงการ LNG Shipper

โรงไฟฟ้าทีเ่ ดินเครือ่ งเชิงพาณิชย์แล้ว 29 แห่ง คิดเป็นก�ำลังผลิต ตามสัญญาซื้อขายตามสัดส่วนการถือหุ้น 5,695 เมกะวัตต์ และโครงการโรงไฟฟ้าทีอ่ ยูร่ ะหว่างก่อสร้าง 2 โครงการ คิดเป็น ก� ำ ลั ง ผลิ ต ตามสั ญ ญาซื้ อ ขายตามสั ด ส่ ว นการถื อ หุ ้ น 321 เมกะวัตต์ โดยโรงไฟฟ้าและโครงการต่างๆ ตัง้ อยูใ่ น 8 ประเทศ ได้แก่ ไทย สปป.ลาว ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ ไต้หวัน และสหรัฐอเมริกา ซึง่ ผลิตไฟฟ้าจากเชือ้ เพลิง หลายประเภท ทั้งก๊าซธรรมชาติ แอลเอ็นจี ถ่านหิน ชีวมวล พลังงานน�ำ้ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานความร้อน ใต้พิภพ และเซลล์เชื้อเพลิง นอกจากนี้ยังมีธุรกิจพลังงานที่ เกีย่ วเนือ่ งทีอ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้าง 2 โครงการ ได้แก่ โครงการ ขยายระบบขนส่งน�ำ้ มันทางท่อไปยังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และโครงการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเอ็กโกระยอง ทั้งนี้ โรงไฟฟ้าบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี ก�ำลังผลิตติดตั้ง รวม 256 เมกะวัตต์ ใช้ปริมาณแอลเอ็นจี 54,000 ตันต่อปี โรงไฟฟ้าคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ก�ำลังผลิตติดตัง้ รวม 122 เมกะวัตต์ ใช้ปริมาณแอลเอ็นจี 27,000 ตันต่อปี และโรงไฟฟ้า เอ็กโก โคเจน จังหวัดระยอง ที่จะทดแทนโรงไฟฟ้าเดิม (SPP Replacement) ซึง่ สัญญาซือ้ ขายไฟฟ้าจะสิน้ สุดในปี พ.ศ. 2567 ก�ำลังผลิตติดตัง้ ระหว่าง 100-120 เมกะวัตต์ ใช้ปริมาณแอลเอ็นจี 119,000 ตันต่อปี ดังนัน้ บทบาทใหม่ของเอ็กโก กรุป๊ ในฐานะผูป้ ระกอบการ จัดหาและค้าส่งก๊าซธรรมชาติ นอกจากจะส่งผลดีตอ่ ธุรกิจหลัก ในด้านของการเพิม่ ความสามารถในการบริหารต้นทุนเชือ้ เพลิง ทีใ่ ช้ผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าทัง้ 3 แห่งดังกล่าวแล้ว ยังเปิดโอกาส ในการขยายการลงทุนในธุรกิจเชื้อเพลิงในอนาคตด้วย


บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) เทพรัตน์ เทพพิทกั ษ์ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ เอ็กโก กรุป๊ กล่าวว่า ปัจจุบันผู้เชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมพลังงานและเชื้อเพลิง อย่างบริษัท เจร่า อเมริกา จ�ำกัด (JERA Americas Inc.) ซึ่งเป็น พันธมิตรของเราในบริษัท ลินเดน ทอปโก้ ก�ำลังพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อใช้ไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิงทางเลือกส�ำหรับการผลิตไฟฟ้าและ การขนส่ง นอกจากนี้ เอ็กโก กรุ๊ป ยังได้ลงทุนในโรงไฟฟ้าเซลล์ เชือ้ เพลิงกังดงในเกาหลีใต้ ซึง่ ใช้ไฮโดรเจนเป็นสารตัง้ ต้นหลักในการ ผลิตไฟฟ้าและความร้อน การลงทุนในโรงไฟฟ้าที่ใช้ไฮโดรเจนเป็น เชื้อเพลิง ทั้งโรงไฟฟ้าลินเดน โคเจน และโรงไฟฟ้ากังดงนั้น เอ็กโก กรุ๊ป มีเป้าหมายที่จะสั่งสมความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ด้าน เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าจากไฮโดรเจน เพื่อน�ำมาประยุกต์ใช้กับ โครงการทั้งในประเทศและต่างประเทศของบริษัทในอนาคต เมื่อ เทคโนโลยีด้านนี้พัฒนาเต็มที่

บริษัท ผลิตไฟฟ้า จ�ำกัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก กรุ๊ป โดยบริษัท เอ็กโก ลินเดน ทู บริษัทย่อยที่เอ็กโก ถือหุน้ ทัง้ หมด ซึง่ ได้ลงทุนในบริษทั ลินเดน ทอปโก้ (Linden Topco) ผู้ด�ำเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าโคเจนเนอเรชัน “ลินเดน โคเจน” ซึ่งใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ในสหรัฐอเมริกา ได้บรรลุขอ้ ตกลงในการรับก๊าซทีเ่ กิดจากกระบวนการผลิตของ โรงกลัน่ ทีม่ อี งค์ประกอบเป็นไฮโดรเจนจากบริษทั ฟิลปิ ส์ 66 (Phillips 66) โรงกลั่นน�้ำมันรายใหญ่ในสหรัฐอเมริกา เพื่อ น�ำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงผสมในการผลิตไฟฟ้า บริษทั ลินเดน ทอปโก้ จะปรับปรุงเครือ่ งกังหันก๊าซ ของโรงไฟฟ้าลินเดน หน่วยที่ 6 ให้สามารถรองรับก๊าซ ทีเ่ กิดจากกระบวนการผลิตของโรงกลัน่ ทีม่ อี งค์ประกอบเป็น ไฮโดรเจนจากโรงกลัน่ น�ำ้ มันเบย์เวย์ (Bayway Oil Refinery) ของบริษัท ฟิลิปส์ 66 ที่ต้ังอยู่ในบริเวณเดียวกัน เพื่อ น�ำมาผสมเป็นเชื้อเพลิงร่วมกับก๊าซธรรมชาติท่ีใช้อยู่เดิม การปรับปรุงเครื่องกังหันก๊าซดังกล่าวมีก�ำหนดแล้วเสร็จ ในปี พ.ศ. 2565 ซึ่งจะส่งผลให้โรงไฟฟ้าลินเดน หน่วยที่ 6 สามารถรองรับการเผาไหม้เชือ้ เพลิงผสมทีม่ ไี ฮโดรเจนผสม อยู่ได้สูงสุดถึง 40% ซึ่งจะช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอน ไดออกไซด์ได้ประมาณ 10% เมื่อเทียบกับปริมาณก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ทโ่ี รงไฟฟ้าลินเดน หน่วยที่ 6 ปลดปล่อย ปกติในแต่ละปี

เอ็กโก กรุป๊ เป็นบริษทั ล�ำดับต้นๆ ของประเทศไทยทีส่ ง่ เสริม และสนับสนุนแผนการใช้ไฮโดรเจนเป็นเชือ้ เพลิงสะอาดส�ำหรับการ ผลิตไฟฟ้าของประเทศ บริษทั มุง่ มัน่ ส่งเสริมการใช้เชือ้ เพลิงสะอาด มาผลิตไฟฟ้าและพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีผลิตไฟฟ้าที่ ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง อีกทัง้ โรงไฟฟ้าลินเดน โคเจน ประกอบด้วยโรงไฟฟ้าลินเดน หน่วยที่ 1-5 ก�ำลังผลิตรวม 800 เมกะวัตต์ ซึ่งขายไฟฟ้าและ ให้บริการเสริมความมัน่ คงในระบบไฟฟ้าแก่ระบบและโครงข่ายไฟฟ้า ในรัฐนิวยอร์ก (NY-ISO Zone J) และโรงไฟฟ้าลินเดน หน่วยที่ 6 ก�ำลังผลิต 172 เมกะวัตต์ ซึ่งขายไฟฟ้าให้แก่ตลาดซื้อขายไฟฟ้า พีเจเอ็ม พีเอส นอร์ธ (PJM PS North) ในรัฐนิวเจอร์ซยี ์ ทัง้ โครงข่าย ไฟฟ้าในรัฐนิวยอร์กและตลาดซื้อขายไฟฟ้าพีเจเอ็ม พีเอส นอร์ธ เป็นตลาดไฟฟ้า 2 แห่งทีม่ คี วามต้องการไฟฟ้าและก�ำลังไฟฟ้าส�ำรอง สูงที่สุดในประเทศสหรัฐอเมริกา ในขณะเดียวกันโรงไฟฟ้าลินเดน โคเจน ยังขายไอน�้ำและไฟฟ้าภายใต้สัญญาระยะยาวแก่โรงกลั่น น�้ำมันเบย์เวย์ ที่ต้ังอยู่บริเวณเดียวกัน โดยโรงกลั่นฯ เป็นผู้รับซื้อ รายใหญ่ท่ีมีความน่าเชื่อถืออยู่ในอันดับที่น่าลงทุน ภายใต้การ ด�ำเนินงานของบริษัท ฟิลิปส์ 66 (Phillips 66) นอกจากนี้ โรงไฟฟ้า ลินเดน โคเจน ยังมีความได้เปรียบด้านการจัดหาเชือ้ เพลิง เนือ่ งจาก ตั้งอยู่ในเมืองลินเดน รัฐนิวเจอร์ซีย์ ซึ่งเป็นบริเวณที่สามารถเข้าถึง แหล่งก๊าซธรรมชาติได้หลายแห่ง ผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ลินเดน ทอปโก้ ประกอบด้วย JERA Americas (50%) เอ็กโก กรุป๊ (28%) DBJ (12%) และ GS-Platform Partners (10%)


สมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าแห่งประเทศไทย บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) ประกาศผลการด�ำเนินงาน 6 เดือนแรก (มกราคม-มิถุนายน) ของปี พ.ศ. 2564 บริษัทฯ มีกำ� ไรสุทธิรวม 4,210.70 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 72.9% จากงวดเดียวกันของปีกอ่ น โดยปัจจัยบวกมาจากการเพิม่ ขึน้ ของรายได้ การขายไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าในออสเตรเลีย และส่วนแบ่งก�ำไรของกิจการร่วมทุน ขณะที่ ต้นทุนและค่าใช้จ่ายลดลงด้วย ส�ำหรับในครึ่งปีหลัง บริษัทฯ คาดว่าจะรับรู้รายได้จาก โรงไฟฟ้าอีก 2 แห่ง ก�ำลังผลิตตามสัดส่วนการถือหุน้ รวม 160.31 เมกะวัตต์ ทีม่ กี ำ� หนด จะเดินเครื่องเชิงพาณิชย์ในเดือนตุลาคมศกนี้ ได้แก่ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมเรียว ก�ำลังผลิตติดตัง้ รวม 296.23 เมกะวัตต์ ใช้เชือ้ เพลิงก๊าซธรรมชาติในอินโดนีเซีย (บริษทั ฯ ถือหุน้ 49%) และโรงไฟฟ้าพลังงานลมอีโค่วนิ ก�ำลังการผลิตติดตัง้ รวม 29.70 เมกะวัตต์ ในเวียดนาม (บริษทั ฯ ถือหุน้ 51.04%) ซึง่ จะส่งผลให้ฐานะทางการเงินของบริษทั แข็งแกร่ง ยิ่งขึ้น ส่วนการลงทุนในธุรกิจที่นอกเหนือผลิตไฟฟ้า ในครึ่งปีแรกบริษัทฯ ได้เข้าลงทุน ในธุรกิจบริการสุขภาพ 1 โครงการ มูลค่าการลงทุนรวม 1,557.71 ล้านบาท

กิจจา ศรีพฑ ั ฒางกุระ กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า การด�ำเนินงานในรอบ ครึ่งแรกของปี พ.ศ. 2564 สะท้อนถึง ความสามารถในการรักษาประสิทธิภาพ การผลิตของกลุม่ โรงไฟฟ้าทีเ่ ป็นสินทรัพย์หลักของบริษทั ฯ ได้เป็นอย่างดี ซึง่ ก�ำลังผลิตเชิงพาณิชย์ทบี่ ริษทั ฯ รับรูจ้ ากการลงทุนรวม 7,053 เมกะวัตต์ และสามารถสร้างรายได้ให้กบั บริษทั ฯ เป็นเงินจ�ำนวน 18,948.66 ล้าน บาท (จากรายได้รวม 19,217.47 ล้านบาท) โดยจ�ำนวนนีเ้ ป็นรายได้จาก กลุ่มโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงหลักจ�ำนวน 17,628.34 ล้านบาท และรายได้ จากกลุ่มโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนจ�ำนวน 1,320.32 ล้านบาท ส�ำหรับ ความก้าวหน้าในการลงทุนในช่วง 6 เดือนแรกปีน้ี บริษัทฯ ได้ใช้เงิน ลงทุนในโครงการเดิมทีร่ ว่ มทุนแล้วและโครงการใหม่ รวมเป็นเงิน 5,440 ล้านบาท โดยโครงการใหม่ ได้แก่ การเข้าซื้อหุ้น 10% ของบริษัท พริน้ ซิเพิล แคปิตอล จ�ำกัด (มหาชน) และโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานลม อีโค่วิน ในเวียดนาม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ลงนามสัญญาร่วมทุน 2 โครงการ ใน สปป.ลาว เป็นการลงทุนผ่านบริษทั ราช-ลาว เซอร์วสิ จ�ำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยใน สปป.ลาว ได้แก่ โครงการผลิตเชื้อเพลิงชีวมวล อัดแท่ง (ถือหุน้ 25%) และโรงพยาบาลเกษมราษฎร์ อินเตอร์เนชัน่ แนล เวียงจันทน์ (ถือหุ้น 9.91%) มีก�ำหนดช�ำระเงินลงทุนในไตรมาสที่ 3 “บริษทั ฯ ยังคงมุง่ แสวงหาการลงทุนในโครงการโรงไฟฟ้าซึง่ เป็น ธุรกิจหลักของบริษัทฯ โดยเน้นโครงการที่ด�ำเนินงานเชิงพาณิชย์แล้ว เพื่อให้สามารถรับรู้รายได้ทันที ในปีนี้บริษัทฯ มีแผนจะเพิ่มก�ำลังผลิต ไฟฟ้าให้ถึง 8,874 เมกะวัตต์ ซึ่งจะต้องลงทุนเพิ่มอีก 584 เมกะวัตต์ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ปัจจุบันบริษัทฯ ได้เจรจาเพื่อเข้าร่วมลงทุน โครงการโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงหลักและพลังงานทดแทนที่ด�ำเนินงานแล้ว ในต่างประเทศ หากด�ำเนินการได้ส�ำเร็จ บริษัทฯ จะมีก�ำลังการผลิต เชิงพาณิชย์เพิ่มอีกประมาณ 970 เมกะวัตต์ และรับรู้รายได้ในทันที นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้วางแผนการจัดหาเงินรองรับการลงทุนของ บริษัทฯ ในช่วงปี พ.ศ. 2564-2568 ทั้งการจัดหาเงินกู้และการเพิ่มทุน เพือ่ ให้เป้าหมาย 10,000 เมกะวัตต์สำ� เร็จ ขณะทีฐ่ านะทางการเงินของ บริษัทฯ ก็ยังมั่นคงและสามารถสร้างผลตอบแทนแก่ผู้ถือหุ้นได้อย่าง ยั่งยืนด้วย”

ในช่วงครึ่งปีแรก บริษัทฯ รับรู้ก�ำลังการผลิตติดตั้งตาม การถือหุ้นรวม 8,290 เมกะวัตต์ ประกอบด้วย ก�ำลังผลิตจาก โรงไฟฟ้ า เชื้ อ เพลิ ง ก๊ า ซธรรมชาติ 5,879 เมกะวั ต ต์ (71%) โรงไฟฟ้าเชือ้ เพลิงถ่านหิน 888 เมกะวัตต์ (11%) โรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ 488 เมกะวัตต์ (6%) โรงไฟฟ้าพลังงานลม 720 เมกะวัตต์ (9%) ที่ เ หลื อ เป็ น ก� ำ ลั ง การผลิ ต จากโรงไฟฟ้ า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ชีวมวล และพลังงานนิวเคลียร์ รวม 319 เมกะวัตต์ (3%) ส�ำหรับ ก�ำลังการผลิตเดินเครื่องเชิงพาณิชย์รวม 7,053 เมกะวัตต์ และ ก�ำลังการผลิตที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างรวม 1,237 เมกะวัตต์ ซึ่ง ในจ�ำนวนนีม้ ี 160 เมกะวัตต์ จะแล้วเสร็จและผลิตไฟฟ้าจ�ำหน่าย ในไตรมาส 4 ปีนี้ ผลการด�ำเนินงานรอบ 6 เดือนแรกปี พ.ศ. 2564 บริษทั ฯ มีรายได้รวมจ�ำนวน 19,217.47 ล้านบาท ประกอบด้วย รายได้ จากการขายและบริการ และรายได้ตามสัญญาเช่าการเงินของ โรงไฟฟ้าที่บริษัทฯ ควบคุมจ�ำนวน 15,788.60 ล้านบาท คิดเป็น สัดส่วน 82.2% ส่วนแบ่งก�ำไรของกิจการร่วมทุนจ�ำนวน 3,011.65 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 15.67% และรายได้จากดอกเบี้ยและ อื่นๆ จ�ำนวน 417.22 ล้านบาท ทั้งนี้ ฐานะการเงินของบริษัทฯ มีสินทรัพย์รวมจ�ำนวน 123,232.70 ล้านบาท หนี้สินจ�ำนวน 57,118.07 ล้านบาท และ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ จ�ำนวน 66,114.63 ล้านบาท ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ยังมี ศักยภาพทางการเงินที่แข็งแกร่ง ซึ่งสะท้อนจากอัตราส่วนหนี้สิน สุทธิต่อทุน 0.58 เท่า อัตราส่วนความสามารถในการช�ำระหนี้ (DSCR) 5.63 เท่า และอัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น 11.94%


บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)

บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) รายงานความ ก้าวหน้าการพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม อาร์ อี เอ็น โคราช เอนเนอร์ยี่ ก�ำลังผลิต 40 เมกะวัตต์ ซึ่ง เป็นโรงไฟฟ้าประเภท Independent Power Supply ตั้งอยู่ ในเขตประกอบการอุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดนครราชสีมา โครงการดังกล่าวด�ำเนินงานโดย บริษัท อาร์ อี เอ็น โคราช เอนเนอร์ยี่ จ�ำกัด (REN) ซึง่ เป็นบริษทั ร่วมทุนระหว่างราช กรุป๊ กับบริษทั นวนคร จ�ำกัด (มหาชน) (นวนคร) และบริษทั พีอเี อ เอ็นคอม อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (พีอีเอ เอ็นคอม) ถือหุ้น ร้อยละ 40, 35 และ 25 ตามล�ำดับ โดยจะผลิตไฟฟ้าเพื่อ จ�ำหน่ายให้กบั ลูกค้าในเขตประกอบการอุตสาหกรรมนวนคร จังหวัดนครราชสีมา และมีกำ� หนดเดินเครือ่ งเชิงพาณิชย์ในปี พ.ศ. 2566 ปัจจุบันโครงการอยู่ระหว่างการศึกษาและจัดท�า

รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และจะเสนอต่อ ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (สผ.) พิจารณาภายในเดือนสิงหาคมศกนี้ ขณะเดียวกัน โครงการฯ ได้ดำ� เนินการเจรจาเพือ่ จ�ำหน่ายไฟฟ้าให้กบั โรงงาน อุตสาหกรรมต่างๆ นอกจากนี้ โครงการยังเตรียมการก่อสร้าง สถานีไฟฟ้าระบบ 115-22 กิโลโวลต์ (kV) ซึ่งจะเชื่อมต่อกับ ระบบผลิตไฟฟ้าของโครงการฯ และระบบไฟฟ้าของการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค เพื่อส่งต่อไปยังลูกค้าอุตสาหกรรมต่างๆ กิจจา ศรีพัฑฒางกุระ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษทั ราช กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า โครงการโรงไฟฟ้า อาร์ อี เอ็น โคราช เอนเนอร์ยี่ เป็นโครงการ IPS แรกของ บริษทั ฯ โดยมีมลู ค่าโครงการประมาณ 2,176 ล้านบาท นับว่า มีความก้าวหน้าในการพัฒนาโครงการอย่างเป็นรูปธรรม เริ่มจากการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการเมื่อปี พ.ศ. 2562 และเริม่ ศึกษาและจัดท�ำรายงานการประเมินผลกระทบ สิ่งแวดล้อมโครงการเมื่อปี พ.ศ. 2563 และน�ำเสนอ สผ. ใน เดือนสิงหาคมนี้ นอกจากนี้ โครงการยังเตรียมพร้อมส�ำหรับ การจัดหาเครื่องจักรหลักส�ำหรับการผลิตไฟฟ้า โดยใช้ก๊าซ ธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง ใช้เทคโนโลยีระบบโคเจนเนอเรชัน เพราะมีประสิทธิภาพการผลิตสูงและเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ซึ่งตามแผนงานก�ำหนดการก่อสร้างในปี พ.ศ. 2565 ส�ำหรับโครงการโรงไฟฟ้าอาร์ อี เอ็น โคราช เอนเนอร์ยี่ เป็นโรงไฟฟ้าประเภท IPS ทีเ่ ป็นการผสานจุดแข็งของพันธมิตร ร่วมทุนโดยราช กรุป๊ เชีย่ วชาญด้านการพัฒนา ก่อสร้าง และ ด�ำเนินงานโรงไฟฟ้าทัง้ เชือ้ เพลิงฟอสซิลและพลังงานทดแทน ส่วนพีอีเอ เอ็นคอม มีความช�ำนาญด้านระบบส่งและระบบ จ�ำหน่ายไฟฟ้า ขณะที่กลุ่มนวนครเชี่ยวชาญการพัฒนาและ บริหารนิคมอุตสาหกรรม ซึ่งโรงงานอุตสาหกรรมที่เพิ่มขึ้น ย่อมส่งผลให้ลูกค้าของโครงการฯ เพิ่มขึ้นด้วย โครงการโรงไฟฟ้าอาร์ อี เอ็น โคราช เอนเนอร์ยี่ เป็น 1 ใน 8 โครงการที่ก�ำลังอยู่ระหว่างการพัฒนาและก่อสร้าง รวมก�ำลังผลิตตามสัดส่วนการลงทุน 1,237 เมกะวัตต์ ซึ่งจะ ทยอยผลิตไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ในช่วงปี พ.ศ. 2564-2567 และ เสริมรายได้และความแข็งแกร่งทางการเงินของบริษทั ฯ เพิม่ ขึน้ บริษัทฯ ยังหมายมั่นว่าโครงการโรงไฟฟ้าอาร์ อี เอ็น โคราช เอนเนอร์ย่ี จะเป็น IPS น�ำร่องที่จะขยายผลไปยังนิคม อุตสาหกรรมแห่งอื่นๆ ในอนาคต เพื่อช่วยให้การพัฒนา เศรษฐกิจตามแผนยุทธศาสตร์ชาติขับเคลื่อนเดินหน้าได้ ต่อเนื่องด้วย


Article

> FedEx Express

อีกหนึง่ เป้าหมายทางธุรกิจทีส่ ำ� คัญคือ ช่วยเพิม่ ก�ำไร ให้แก่ธุรกิจ การสร้างโอกาสในการแข่งขัน และการลด ระยะเวลาในการขนส่ง เพราะความรวดเร็วในการขนส่ง จะเป็นตัวช่วยผู้ประกอบการในการน�ำสินค้าออกไปสู่ ตลาดได้รวดเร็วยิ่งขึ้น การน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามา ส่งเสริมและเพิ่มศักยภาพในกระบวนการซัพพลายเชน

บริษัท เฟดเอ็กซ์ เอ็กซ์เพรส (FedEx Express) บริษัท ในเครือเฟดเอ็กซ์ คอร์ปอเรชั่น (FedEx Corp.) (NYSE: FDX) และ ผู้ให้บริการจัดส่งพัสดุรายใหญ่ที่สุดของโลก ประกาศเปิดตัว Roxo หุ่นยนต์ SameDay Bot เป็นครั้งแรกในเอเชีย-แปซิฟิกที่ประเทศ ญี่ปุ่น ทั้งนี้ การที่ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มีกรอบการท�ำงานที่ เคร่งครัด มีโครงสร้างพืน้ ฐานทีด่ ใี นระดับโลก และมีปจั จัยแวดล้อม ทีเ่ หมาะกับการทดลองและการใช้งานวิทยาการด้านหุน่ ยนต์ ญีป่ นุ่ จึงเป็นตลาดที่เหมาะสมส�ำหรับเฟดเอ็กซ์ในการทดลองใช้ Roxo ในอนาคต Roxo คือหุ่นยนต์ส่งของที่ถูกออกแบบมาเพื่อให้สามารถ เดินบนทางเดินข้างถนน หรือบนฟุตบาทเพื่อส่งสินค้าขนาดเล็ก ให้ถงึ บ้านหรือร้านค้าของลูกค้าอย่างปลอดภัย เทคโนโลยีของ Roxo เน้นความปลอดภัยส�ำหรับคนเดินถนน ซึ่งรวมถึงกล้องจ�ำนวน มากมาย และ LiDAR ทีท่ ำ� ให้ Roxo เป็นหุน่ ยนต์ปลอดมลพิษและ ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ ท�ำให้รับรู้ถึงสภาพแวดล้อมรอบด้าน คุณสมบัตเิ หล่านีย้ งั ประกอบด้วยอัลกอริทมึ่ ทีช่ ว่ ยให้สามารถตรวจจับ และหลบหลีกสิ่งกีดขวาง การวางแผนเส้นทางที่ปลอดภัย รวมถึง ปฏิบตั ติ ามกฎจราจรและความปลอดภัยต่างๆ เทคโนโลยีเฉพาะของ หุ่นยนต์นี้ ท�ำให้ Roxo เป็นหุ่นยนต์ที่มีความสามารถมาก โดย เดินบนพืน้ ผิวทีไ่ ม่เรียบ ทางโค้งได้ และยังสามารถเดินขึน้ ทางลาดชัน เพื่อน�ำส่งสินค้าจากบ้านหลังหนึ่งไปยังอีกหลังหนึ่งได้อย่างน่าทึ่ง ขณะนี้ Roxo ก�ำลังอยู่ในช่วงการทดลองในสหรัฐอเมริกา เพื่อรวบรวมข้อมูลในการ “ฝึกใช้งาน” ซอฟต์แวร์การขับเคลื่อน อัตโนมัติและตรวจสอบการท�ำงานอย่างปลอดภัยตามกฎระเบียบ และแนวทางที่มีการระบุไว้ เฟดเอ็กซ์มองเห็นโอกาสในการน�า เทคโนโลยีนม้ี าใช้งานเป็นบางกรณีในประเทศญีป่ นุ่ เพือ่ ให้เกิด ประโยชน์สูงสุดแก่ลูกค้าของเฟดเอ็กซ์

คาวอล พรีท ประธานประจ�ำภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ ตะวันออกกลางและแอฟริกา (AMEA) เฟดเอ็กซ์ เอ็กซ์เพรส กล่าวว่า มีความยินดีทไ่ี ด้เปิดตัว Roxo ในญีป่ นุ่ ประเทศทีเ่ ป็น ผูน้ ำ� ระดับโลกในการน�ำวิทยาการหุน่ ยนต์มาปรับใช้ หุน่ ยนต์ SameDay Bot จากเฟดเอ็กซ์ เป็นนวัตกรรมทีเ่ ปิดโอกาสใหม่ๆ ให้แก่การจัดส่งในท้องที่ใกล้เคียง ตามความต้องการและ ภายในวันเดียว ในขณะที่พวกเราก�ำลังอยู่ก่ึงกลางระหว่าง เครือข่ายดิจทิ ลั และเครือข่ายเชิงกายภาพ Roxo ชีถ้ งึ อนาคต ของโลจิสติกส์ทผี่ บู้ ริโภคสามารถมีความสบายใจในการขนส่ง ที่มาถึงประตูบ้านภายในวันเดียวและไร้การสัมผัส ในขณะที่ ธุ ร กิ จ มากมายก� ำ ลั ง ก้ า วสู ่ ก ารเปลี่ ย นแปลงไปเป็ น ดิ จิ ทั ล เราพร้อมที่จะร่วมมือกับบริษัทที่พร้อมก้าวสู่อนาคตของ การจัดส่งสินค้าในแบบล�้ำหน้า ไม่ว่าจะที่ประเทศญี่ปุ่นหรือ ประเทศอื่นในเอเชีย-แปซิฟิก หุ่นยนต์ถูกพัฒนาร่วมกับ DEKA Development & Research Corp. บริษัทที่มีความโดดเด่นด้านการวิจัยและ การพัฒนา ซึง่ เป็นผูผ้ ลิต Segway ทัง้ นี้ หุน่ ยนต์ได้ใช้ฐานล้อ ระบบไฟฟ้า iBOT ของ DEKA ซึ่งช่วยให้สามารถเคลื่อนที่ ไปข้างหน้าได้แม้บนพื้นที่ขรุขระ ต้องก้าวขึ้นบันได หรือ ทางลาดลง ระบบเซนเซอร์มีการรับรู้สิ่งแวดล้อมรอบตัว 360 องศา และยังใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) เพื่อเลือกเส้นทาง ที่ปลอดภัยที่สุด รวมถึงสิ่งที่จะต้องท�ำ หุ่นยนต์ถูกออกแบบ ให้มคี วามสูงในระดับทีค่ นเดินเท้าและผูใ้ ช้รถใช้ถนนสามารถ สังเกตเห็นได้ง่าย นอกจากนี้ หุ่นยนต์ยังส่งสัญญาณไฟและ สัญญาณหน้าจอเพื่อบอกทิศทางที่ก�ำลังไปอีกด้วย Roxo เปิดตัวไปเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2562 และถูก ทดลองโดยผูค้ า้ ปลีกระดับใหญ่ในสหรัฐอเมริกา ในเมือง และ รัฐต่างๆ อาทิ เมมฟิส เทนเนสซี แมนเชสเตอร์ นิวแฮมป์เชียร์ พลาโน ฟริสโก เท็กซัส และได้เปิดตัวในระดับนานาชาติทดี่ ไู บ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ไปเมือ่ เดือนตุลาคม 2562 โดยถูกน�า มาใช้ในการทดลองกับธุรกิจท้องถิ่น รวมถึงสนามบินดูไบ ดังนั้น เฟดเอ็กซ์ เอ็กซ์เพรส เป็นหนึ่งในผู้ให้บริการ ขนส่งแบบด่วนรายใหญ่ทส่ี ดุ ของโลก โดยให้บริการรับส่ง พัสดุทร่ี วดเร็วและเชือ่ ถือได้สปู่ ลายทางกว่า 220 ประเทศ ทั่วโลก เฟดเอ็กซ์ เอ็กซ์เพรส มีเครือข่ายการขนส่ง ทั้งภาคพื้นดินและทางอากาศทั่วโลก เพื่อช่วย อ�ำนวยความสะดวกด้านการจัดส่งพัสดุดว่ น ในเวลาจ�ำกัด พร้อมทั้งรับประกันการ คืนเงินภายใต้เงื่อนไขที่กำ� หนด


FedEx Express, a subsidiary of FedEx Corp. (NYSE: FDX) and the world’s largest express transportation company, announced that Roxo, the FedEx SameDay Bot, will make its first appearance in Asia Pacific in Japan. With its positive regulatory framework, world-class infrastructure, and a fertile environment for the testing and adoption of robotics, Japan is an ideal market for FedEx to explore opportunities to test Roxo in the future. Roxo is an autonomous specialty delivery device, designed to travel on sidewalks and along roadsides, safely delivering smaller shipments to customers’ homes and businesses. Its features include pedestrian-safe technology, multiple cameras and LiDAR allowing the zero-emission, battery-powered bot to be aware of its surroundings. These features are coupled with machinelearning algorithms to detect and avoid obstacles, plot a safe path, and allow the bot to follow road and safety rules. Proprietary technology makes it highly capable, allowing it to navigate unpaved surfaces, curbs, and to even climb deep flights of steps for an extraordinary door-to-door delivery experience. Roxo is currently undergoing testing in the U.S. to generate data to ‘train’ the self-driving software and validate safe performance, in compliance with all applicable safety regulations and guidelines. There is significant opportunity in Japan to identify local, case-specific applications to make the best use of the technology to benefit FedEx customers. Kawal Preet, president of the Asia Pacific, Middle East, and Africa (AMEA) region at FedEx Express said “We are thrilled to have Roxo in Japan, a country that is a global leader in robotics implementation. The FedEx SameDay Bot is truly an innovation opening new possibilities for on-demand, same day, hyper-localized delivery.” said. “As we sit at the intersection of physical and digital networks, Roxo brings a glimpse of the future of logistics, where customers can enjoy same day, contactless delivery services at their doorsteps. With businesses of all kinds embarking on digital transformation, we look forward to collaborating with future-ready companies to advance delivery services in Japan and elsewhere in Asia Pacific.” The bot is being developed in collaboration with DEKA Development & Research Corp., a prominent research and development company which also produced the Segway. The bot uses DEKA’s established iBOT electric wheelchair base, capable of negotiating rough terrain, traversing steps, and steep inclines. Its sensors

maintain 360-degree awareness of its surroundings and uses artificial intelligence, or AI, to choose the safest path or course of action. With a tall profile it is easy for pedestrians and road users to see. It also uses signals, lights and a signaling screen that clearly communicate its directional intent. Roxo was unveiled in February 2019 and has been undergoing tests with major retailers in the U.S. U.S. cities where Roxo has been tested include Memphis, Tennessee; Manchester, New Hampshire; and Plano and Frisco, Texas. It made its first international appearance in Dubai, United Arab Emirates in October 2019 for an experimental project with local businesses including Dubai Airports. FedEx Express is one of the world’s largest express transportation companies, providing fast and reliable delivery to more than 220 countries and territories. FedEx Express uses a global air-and-ground network to speed delivery of time-sensitive shipments, by a definite time and date supported by a money-back guarantee. FedEx Corp. (NYSE: FDX) provides customers and businesses worldwide with a broad portfolio of transportation, e-commerce and business services. With annual revenue of $84 billion, the company offers integrated business solutions through operating companies competing collectively, operating collaboratively and innovating digitally under the respected FedEx brand. Consistently ranked among the world’s most admired and trusted employers, FedEx inspires its 570,000 team members to remain focused on safety, the highest ethical and professional standards and the needs of their customers and communities. FedEx is committed to connecting people and possibilities around the world responsibly and resourcefully, with a goal to achieve carbon-neutral operations by 2040. To learn more, please visit about. fedex.com.


Article

> เปาโล โคลัมโบ ผู้อ�ำนวยการแผนกพัฒนาการตลาด บริษัท ชไนเดอร์ อิเล็กทริค

อุตสาหกรรม 4.0 คือการปฏิวัติครั้งถัดไป ของภาคอุตสาหกรรมการผลิต ที่ให้ค�ำมั่นสัญญา ในการน�ำเสนอการบูรณาการอย่างแท้จริงระหว่าง เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ IT กับเทคโนโลยีการ ด�ำเนินงาน หรือ OT เพือ่ มอบศักยภาพทีช่ ว่ ยปรับปรุง ประสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งานมากมายได้ อ ย่ า งน่ า ทึ่ ง อีกทัง้ ช่วยลดต้นทุน อย่างไรก็ตาม การจะบรรลุเรือ่ ง ดังกล่าว บริษทั จะต้องคิดทบทวนว่าได้ขอ้ มูลมาจาก ไหน อย่างไร รวมถึงมีกระบวนการด�ำเนินงานและ การจัดเก็บทีไ่ หน อย่างไร ซึง่ เอดจ์ คอมพิวติง้ ส�ำหรับ อุ ต สาหกรรมจะมี บ ทบาทส� ำ คั ญ ที่ ช ่ ว ยในเรื่ อ ง ดังกล่าว ส�ำหรับอุตสาหกรรม 3.0 ทั้งหมดล้วนเป็น เรือ่ งเกีย่ วกับระบบออโตเมชัน การเชือ่ มต่ออุปกรณ์ และการก�ำหนดถึงสิ่งที่เราสามารถเรียนรู้เกี่ยวกับ การด�ำเนินงานด้วยเครื่องมือส�ำคัญด้านธุรกิจ ส่วน อุตสาหกรรม 4.0 ก็จะเกี่ยวข้องกับการน�ำรูปแบบ การประมวลผลขั้ น สู ง มาใช้ เ พื่ อ ให้ มี ข ้ อ มู ล ช่ ว ย สนับสนุนการตัดสินใจได้มากขึ้น บางมุมจะอยู่ท่ี ความเข้าใจพฤติกรรมและลักษณะการท�ำงานของ เครื่องจักรแต่ละเครื่อง แต่ส่วนใหญ่จะอยู่ท่ีความ เข้าใจเรือ่ งการท�ำงานพึง่ พากันในส่วนต่างๆ ทัง้ สาเหตุ และผลกระทบของสายการผลิตที่ซับซ้อนทั้งหมด รวมถึงการด�ำเนินการในโรงงาน กระทั่งที่เป็นเรื่อง ของตัวโรงงานเองก็ตาม การจะเข้าใจเรื่องของการท�ำงานพึ่งพากันใน ส่วนต่างๆ ต้องอาศัยข้อมูล ซึง่ เป็นข้อมูลจ�ำนวนมาก ข้อมูลดังกล่าวได้จากเซนเซอร์ตา่ งๆ จากอุปกรณ์และ เครือ่ งจักร และในหลายๆ กรณีตอ้ งอาศัยการจัดการ ข้ อ มู ล จากในพื้ น ที่ ม ากกว่ า ในดาต้ า เซนเตอร์ บ น คลาวด์ เนือ่ งจากเป็นข้อมูลปริมาณมากทีไ่ ด้มาแบบ เรียลไทม์

การด�ำเนินการได้อย่างถูกต้องสามารถให้ประโยชน์มากมายแก่ธุรกิจ ช่วย บริษัทในภาคอุตสาหกรรมได้หลายประเด็น ดังต่อไปนี้ • ลดต้นทุนการด�ำเนินงาน • ปรับปรุงประสิทธิภาพการด�ำเนินงาน • ได้ปริมาณงานมากขึ้น • ลดเวลาที่ต้องเสียไปโดยไม่เกิดประสิทธิผล หรือการดาวน์ไทม์ที่ไม่ได้ วางแผน • ลดค่าใช้จ่ายและลดความถี่ในการบ�ำรุงรักษา • ปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ • ลดปัญหาด้านสุขภาพของคนท�ำงาน และปัญหาเรื่องความปลอดภัย • เพิ่มประสิทธิภาพให้กับซัพพลายเชน และลดสินค้าคงคลัง

ความท้าทายที่มาพร้อมกับการก้าวสู่อุตสาหกรรม 4.0

โดยทั่วไปลูกค้าจะเข้าใจดีถึงประโยชน์มากมายที่ได้จากอุตสาหกรรม 4.0 นอกจากนี้ ลูกค้าในเกือบทุกอุตสาหกรรมต่างพยายามดิ้นรนเป็นอย่างมากเพื่อ ด�ำเนินการสู่การปฏิรูป โดยจากการที่ได้ร่วมงานกับลูกค้าบางราย ท�ำให้เราได้ ทราบถึงเหตุผลที่หลากหลายในเรื่องดังกล่าว ไซต์การผลิตของลูกค้าส่วนใหญ่จะ ด�ำเนินงานตลอดเวลา 24 ชั่วโมง ใน 365 วัน ซึ่งเป็นอุปสรรคในการวางแผนเพื่อ ปรับเปลี่ยนระบบโครงสร้าง เมื่อมีการดาวน์ไทม์เกิดขึ้น ก็จะส่งผลกระทบโดยตรง ต่อการด�ำเนินงานและกระทบถึงรายได้จากสายการผลิต การน�ำทักษะ IT มาใช้ในสาย OT ถือเป็นอีกหนึ่งความท้าทายเช่นกัน ผู้เชี่ยวชาญด้าน OT ล้วนคุ้นเคยกับเครือข่าย โปรโตคอล และเครื่องมือต่างๆ เฉพาะส�ำหรับสายการผลิตที่ใช้มานานหลายปี แต่อุตสาหกรรม 4.0 คือการขอให้ คนเหล่านั้นน�ำเทคโนโลยีที่อยู่ในโลกของดาต้าเซนเตอร์มาใช้ เช่น การสร้างความ ยืดหยุ่น การทนทาน หรือรองรับในกรณีที่เกิดความผิดพลาด (Fault-Tolerance) และขีดความสามารถทีก่ ำ� หนดโดยซอฟต์แวร์ ทัง้ นี้ ในลักษณะเดียวกัน ผูเ้ ชีย่ วชาญ ด้านไอทีก็จะเจอกับความท้าทายในการน�ำแนวคิดของดาต้าเซนเตอร์เหล่านั้น ไปปรับใช้ในสภาพแวดล้อมด้านอุตสาหกรรม เพือ่ น�ำเสนอโซลูชนั เอดจ์ คอมพิวติง้ ที่เกี่ยวเนื่องกับดาต้าเซนเตอร์ในแง่ของความน่าเชื่อถือ ประสิทธิภาพ และ การรักษาความปลอดภัย


โซลูชันส�ำหรับอุตสาหกรรม 4.0 ประกอบไปด้วยอุปกรณ์ท่ีใช้ ในภาคอุตสาหกรรม รวมถึงเซนเซอร์ระบบโครงสร้างในการประมวลผล ไอทีและสตอเรจ และการเชือ่ มต่อเครือข่าย ซึง่ ต้องอาศัยความเชีย่ วชาญ ในการติดตัง้ เพือ่ ให้บริการและช่วยในการปฏิรปู ธุรกิจ ทว่าไม่มผี จู้ ำ� หน่าย รายใดทีส่ ามารถจัดหาโซลูชนั ทีค่ รบวงจรส�ำหรับอุตสาหกรรม 4.0 ได้ใน คราวเดียว ดังนัน้ ลูกค้าจึงจ�ำเป็นต้องรับหน้าทีเ่ ปรียบเสมือนผูร้ บั เหมา ที่จัดหาระบบโครงสร้างและความเชี่ยวชาญทั้งหมดที่ต้องการ และ ท�ำให้ระบบทั้งหมดท�ำงานร่วมกันได้ หรือไม่ก็ต้องขอความช่วยเหลือ จากผู้จ�ำหน่ายหรือที่ปรึกษาที่น่าจะช่วยในเรื่องดังกล่าวได้ เรายังคงเห็นว่ามีการทดสอบความเป็นไปได้ของแนวคิด (POC) อยู่มากมายที่ยังใช้การไม่ได้ หลายบริษัทเริ่มทดสอบโซลูชัน แต่ก็ยัง เห็นว่าเทคโนโลยีทง้ั หมดทีอ่ ยูร่ อบตัวมีการเปลีย่ นแปลงอยูอ่ ย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้ตัดสินใจได้ยากว่าจะเลือกไปในแนวทางไหน เพราะกลัวว่า ผู้จ�ำหน่ายจะยึดติดและสนับสนุนเทคโนโลยีหรือแนวทางที่ไม่ถูกต้อง เรื่องของข้อมูลก็เป็นอีกประเด็น โดย IDC ได้คาดการณ์ไว้ว่า จะมีข้อมูลถึง 79 เซตต้าไบต์ ที่มาจากอุปกรณ์ IoT จ�ำนวน 1 พันล้าน เครื่อง ภายในปี ค.ศ. 2025 นอกจากนี้ มีหลายกรณีที่ข้อมูลเหล่านี้ เป็นข้อมูลแบบไซโล และไม่สามารถเข้าถึงระบบวิเคราะห์ที่จำ� เป็นต่อ การน�ำข้อมูลมาช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ องค์กรจะต้องพัฒนา แผนงานในการจัดการข้อมูลทัง้ หมด รวมถึงน�ำแผนมาใช้ในการปรับปรุง การด�ำเนินงาน

สร้างการบูรณาการ IT/OT บนมาตรฐานระบบเปิด

การจะผสานรวมการท�ำงาน IT/OT ได้ส�ำเร็จตามบัญญัติของ อุตสาหกรรม 4.0 นั้น ลูกค้าต้องทลายระบบไซโลที่มีอยู่ในปัจจุบัน พร้อมสร้างรากฐานใหม่ในการท�ำงานบนแพลตฟอร์มมาตรฐานระบบเปิด ส�ำหรับเอ็นเตอร์ไพรส์ แพลตฟอร์มมาตรฐานระบบเปิดจะช่วยให้ลกู ค้า ด�ำเนินการเรื่องต่างๆ เหล่านี้ได้ดียิ่งขึ้น 1. บริหารจัดการปริมาณข้อมูลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วที่เอดจ์ได้ 2. ใช้ระบบวิเคราะห์แบบใหม่เพือ่ ให้ได้มาซึง่ ข้อมูลเชิงลึกในการ ด�ำเนินงาน 3. เพิ่มความยืดหยุ่น ความปลอดภัยของข้อมูล และความ น่าเชื่อถือ 4. เป็ น ระบบเปิ ด และมี ค วามยื ด หยุ ่ น สามารถปรั บ ขยาย ขีดความสามารถในการท�ำงานได้ในตัวเอง 5. ท�ำงานร่วมกับผลิตภัณฑ์จากผู้จำ� หน่ายที่หลากหลายได้ 6. ใช้แนวทางเดียวกันทั่วทั้งองค์กรตั้งแต่เริ่มติดตั้ง 7. แสดงให้เห็นถึงผลกระทบเชิงบวกต่อธุรกิจให้ความยั่งยืนใน ระยะยาว แพลตฟอร์มใหม่ใดๆ ก็ตามที่จะน�ำมาใช้ ต้องบ�ำรุงรักษาง่าย และไม่สร้างความซับซ้อน อีกทั้งสามารถให้ความยืดหยุ่นในการ ด�ำเนินงานแก่ลูกค้า หรือลดความเสี่ยงในการด�ำเนินงานได้มากขึ้น และสามารถติดตั้งเพื่อใช้งานได้โดยไม่กระทบต่อการด�ำเนินงานที่ท�า อยู่ในปัจจุบัน

ความร่วมมือสำ�หรับโซลูชน ั อุตสาหกรรม 4.0

ตามที่กล่าวไว้ก่อนหน้านี้ ไม่มีผู้จ�ำหน่าย รายใดที่ ม อบทุ ก องค์ ป ระกอบที่ จ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ โซลูชนั Industry 4.0 ได้ทง้ั หมด และจะต้องส่งมอบ ผ่านการประสานความร่วมมือกับพันธมิตรที่เป็น ผู้จ�ำหน่าย ซึ่งแต่ละรายก็จะให้ทักษะ ผลิตภัณฑ์ และบริการของตน ท�ำให้ลูกค้าไม่ต้องรับบทเป็น ผู้รับเหมาอีกต่อไป นั่นคือสาเหตุที่ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ร่วมมือ กับเน็ตแอพ (NetApp) เพื่อส่งมอบโซลูชันไอที ที่ ค รบวงจร ช่ ว ยสนั บ สนุ น การเปลี่ ย นผ่ า นสู ่ อุตสาหกรรม 4.0 ชไนเดอร์ อิเล็คทริค น�ำเสนอการสนับสนุน อย่างเต็มรูปแบบในเรื่องระบบโครงสร้างส�ำหรับ สภาพแวดล้อมเอจด์ รวมถึงตู้แร็ค พลังงาน ระบบ ท�ำความเย็น และระบบรักษาความปลอดภัยทาง กายภาพที่ เ หมาะส� ำ หรั บ สภาพแวดล้ อ มต่ า งๆ ตลอดจนกรณีการใช้งานในภาคอุตสาหกรรมที่มี การใช้งานแบบสมบุกสมบัน่ โดยมีลกู ค้าจ�ำนวนมาก ที่อาจใช้ซอฟต์แวร์ด้านการวิเคราะห์ และบริการ ในส่วน EcoStruxure ของชไนเดอร์ อิเล็คทริค กันอยู่แล้ว รวมถึงโซลูชันด้านการบริหารจัดการ ระบบไอทีจากระยะไกล เน็ตแอพ จะช่วยคุณจัดการข้อมูลที่เกิดจาก การใช้โซลูชัน IIoT ด้วยการน�ำเสนอ Data Fabric พร้อมระบบบริหารจัดการที่ครอบคลุมตั้งแต่เอดจ์ ไปยังดาต้าเซนเตอร์ ตลอดจนคลาวด์ ทั้งนี้ สภาพ แวดล้ อ มที่ ก� ำ หนดการท� ำ งานด้ ว ยซอฟต์ แ วร์ ช่วยให้บริหารจัดการข้อมูลได้ง่าย มีประสิทธิภาพ และปลอดภัย คุณสามารถเข้าถึงข้อมูลทีต่ อ้ งการได้ ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนหรือในเวลาใดก็ตาม ทั้ง 2 บริษัทต่างมีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้เล่น รายส� ำ คั ญ ในระบบนิ เวศของอุ ต สาหกรรม 4.0 ไม่ว่าจะเป็นผู้ให้บริการโซลูชันไอที ผู้วางระบบ อุ ต สาหกรรม และผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารระบบสารสนเทศ ส�ำหรับโรงงาน พร้อมด้วยการออกแบบที่ใช้ในการ อ้างอิง ซึง่ เป็นตัวก�ำหนดว่าทุกอย่างจะท�ำงานร่วมกัน ได้อย่างไร โดยการร่วมมือระหว่างเรา จะช่วยในการ น�ำเสนอโซลูชันที่สมบูรณ์แบบ ซึ่งช่วยให้คุณได้รับ คุณค่าทางธุรกิจได้เร็วยิ่งขึ้น


Article

> ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

โรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส โคโรนาสายพั น ธุ ์ ใ หม่ 2019 (COVID-19) เป็นโรคอุบัติใหม่ที่กำ� ลังเป็นปัญหาส�ำคัญ ของประเทศไทยและของโลก สาเหตุของโรคเกิดจาก เชื้อไวรัสโคโรนาชนิด SARS-CoV-2 ที่สามารถติดเชื้อ จากคนสู่คนและแพร่กระจายเป็นวงกว้าง อีกทั้งยัง ประสบปัญหาการกลายพันธุ์ของเชื้ออีกหลายรูปแบบ ซึ่งเพิ่มความเสี่ยงในการกลับมาติดเชื้อซ�้ำได้อีก ส่งผล กระทบต่อคุณภาพชีวติ สังคม และเศรษฐกิจทัว่ ทัง้ โลก อย่างมหาศาล

ท่ามกลางการระบาดของโรคโควิด-19 การมีวคั ซีนทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ให้แก่ประชาชนใช้จึงเป็นความหวังของทุกประเทศทั่วโลก ซึ่งในปัจจุบัน มีวัคซีนที่ได้รับการอนุญาตและมีการฉีดให้แก่ประชาชนแล้วในหลาย ประเทศ เนื่องจากวัคซีนที่พัฒนาขึ้นต้องผ่านการทดสอบในสัตว์ทดลอง และมนุษย์ และมีกำ� ลังการผลิตอยู่ค่อนข้างจ�ำกัด ท�ำให้หลายประเทศมี โอกาสเข้าถึงวัคซีนได้ชา้ ไม่ทนั ต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดอย่างต่อเนือ่ ง รวมทั้ ง ยั ง มี ค วามจ� ำ เป็ น ต้ อ งพั ฒ นาวั ค ซี น ใหม่ ๆ เพื่ อ ให้ ทั น กั บ การ เปลีย่ นแปลงทางพันธุกรรมของไวรัสอีกด้วย ดังนัน้ เพือ่ ให้เกิดความมัน่ คง ทางวัคซีน บริษทั เอกชนและสถาบันวิจยั ทัว่ โลกจึงมีการพัฒนาวัคซีนขึน้ มา เป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งนักวิจัยของไทยก็ท�ำงานอย่างหนักในการเร่งพัฒนา วัคซีนเพื่อผลิตใช้เองในประเทศ กระทรวงการอุ ด มศึ ก ษา วิ ท ยาศาสตร์ วิ จั ย และนวั ต กรรม ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดย ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) ได้พัฒนา วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) แบบพ่นจมูก ชนิด Adenovirus-Based และ Influenza-Based ซึ่งผ่าน การทดสอบการกระตุ้นภูมิคุ้มกันในหนูทดลองเรียบร้อยแล้ว พบว่า มีประสิทธิภาพต่อการคุม้ กันโรคทีเ่ กิดขึน้ ซึง่ ข้อมูลทีไ่ ด้จะผลักดันให้เป็น วัคซีนต้นแบบป้องกันโรค COVID-19 สามารถน�ำไปทดสอบทางคลินกิ ใน อาสาสมัครต่อไป


ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา ผูอ้ ำ� นวยการกลุม่ วิจยั นวัตกรรมสุขภาพสัตว์และการจัดการ ไบโอเทค สวทช. กล่าวว่า ทีมวิจัยไวรัสวิทยาและเซลล์เทคโนโลยี ไบโอเทค ได้ดำ� เนินงาน วิจยั และพัฒนาวัคซีนต้านโรคติดเชือ้ โควิด-19 ตัง้ แต่มกี ารเริม่ ระบาดในประเทศจีนในเดือน มกราคม 2563 เป็นต้นมา ทางทีมวิจยั เริม่ งานวิจยั โดยการสังเคราะห์ยนี สไปค์ของไวรัสขึน้ เอง โดยอาศัยข้อมูลรหัสพันธุกรรมของไวรัสทีเ่ ผยแพร่หลังจากทีม่ กี ารถอดรหัสส�ำเร็จ และน�ำยีน ดังกล่าวไปใช้เป็นแอนติเจนหรือโปรตีนกระตุน้ ภูมใิ นรูปแบบต่างๆ ประกอบกับความสามารถ ในการท�ำวิจัยเชิงลึก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการตัดต่อพันธุกรรมของไวรัส ที่ทีมวิจัยมีความ เชีย่ วชาญในเรือ่ งของการตัดต่อพันธุกรรมไวรัสให้มคี วามอ่อนเชือ้ ลง และไม่สามารถแบ่งตัว เพิม่ ได้ ซึง่ ทีมวิจยั ได้ประยุกต์ใช้พฒ ั นาเป็นต้นแบบวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 ซึง่ ได้มงุ่ เน้น พัฒนาต้นแบบวัคซีน 3 ประเภท ดังนี้

ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา

1.

วัคซีนประเภท Virus-Like Particle (VLP) หรือวัคซีน อนุภาคไวรัสเสมือน เป็นเทคโนโลยี การสร้างโครงสร้างเลียนแบบอนุภาคไวรัส แต่ ไ ม่ มี ส ารพั น ธุ ก รรมของไวรั ส บรรจุ ในโครงสร้างดังกล่าว ด้วยเหตุผลดังกล่าว วัคซีนรูปแบบนี้จึงปลอดภัย และสามารถ กระตุ ้ น ให้ ร ่ า งกายสร้ า งแอนติ บ อดี ต ่ อ โปรตีนสไปค์จากผิวของวัคซีนได้ด้วย

2.

วัคซีนประเภท Influenza Based คือ การปรับไวรัสไข้หวัด ใหญ่ให้สามารถแสดงออกโปรตีนสไปค์ ของไวรัส SAR-CoV-2 หลังจากน�ำส่งเข้าสู่ ร่ า งกาย วิ ธี นี้ จ ะท� ำ ให้ ร ่ า งกายสามารถ สร้างภูมิคุ้มกันต่อทั้งไวรัสไข้หวัดใหญ่และ SARS-CoV-2 ได้ในเวลาเดียวกัน

3.

วัคซีนประเภท Adenovirus Vector-Based คือ การปรับ พันธุกรรมไวรัส Adenovirus Serotype 5 ให้ออ่ นเชือ้ และสามารถติดเชือ้ ได้ครัง้ เดียว และเพิม่ ยีนทีก่ ำ� หนดการสร้างโปรตีนสไปค์ เพิม่ ลงไปในสารพันธุกรรมของไวรัส เมือ่ น�า ไวรัสชนิดนี้ฉีดเข้าสู่ร่างกายจะมีการสร้าง โปรตีนสไปค์เพือ่ กระตุน้ ภูมคิ มุ้ กันขึน้ มาได้ ซึ่งทีมได้ด�ำเนินการวิจัยพัฒนาในหลอด ทดลอง และทดสอบการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ในหนูทดลอง และประเมินประสิทธิภาพ ของวัคซีนแต่ละชนิดต่อการคุ้มกันโรคที่ เกิดขึ้นจริงในเฟสต่างๆ

ดร.อนันต์ กล่าวว่า ปัจจุบนั ทีมวิจยั สวทช. มีความคืบหน้าในการพัฒนา เป็นต้นแบบวัคซีนเป็นอย่างมาก ซึ่งเราได้ผลักดันต้นแบบวัคซีนป้องกันโรค COVID-19 แบบพ่นจมูก ออกมาได้ 2 ชนิด คือ วัคซีนชนิด Adenovirus ที่มี การแสดงออกของโปรตีนสไปค์ ออกแบบโดยการพ่นเข้าจมูกผ่านละอองฝอย รูปแบบนี้น่าจะเป็นวัคซีนที่ใกล้เคียงกับหลายๆ ที่ ซึ่งก�ำลังทดสอบในเฟส 1-2 ของทีม สวทช. ผ่านการทดสอบในหนูทดลองทีฉ่ ดี เชือ้ ไวรัสโควิด-19 แล้ว พบว่า หนูทดลองนอกจากไม่มีอาการป่วย ยังมีน้�ำหนักขึ้นสูงกว่ากลุ่มที่ฉีดเข้ากล้าม อย่างเห็นได้ชดั ผลการทดสอบความปลอดภัยไม่มปี ญ ั หา การผลิตในระดับ GMP ร่วมมือกับบริษัท KinGen BioTech เราก�ำลังจะทดสอบวัคซีนนี้ในอาสาสมัคร มนุษย์ในรูปแบบทีส่ ร้างจากไวรัสสายพันธุเ์ ดลต้า ในเร็วๆ นีผ้ ลงานวิจยั ก�ำลังเร่ง รวบรวมผลส่งเข้าตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการ และวัคซีนชนิด Influenza Virus ทีม่ ี การแสดงออกของโปรตีน RBD ของสไปค์ ตัวนีก้ ำ� ลังต่อคิวทดสอบประสิทธิภาพ การคุม้ โรคโควิด-19 และผลการวิจยั เรือ่ งระดับภูมคิ มุ้ กันในหนูทดลองได้ตพี มิ พ์ ไปแล้ว ซึ่งการทดสอบในหนูทดลองโดยการพ่นเข้าจมูก ผ่านละอองฝอยและฉีดเข้ากล้าม พบว่าสามารถ กระตุ้นภูมิคุ้มกันทั้งในรูปแบบแอนติบอดีและ T Cell ได้สงู เช่นเดียวกัน ซึง่ วัคซีนตัวนีร้ ว่ มมือ กับทีมองค์การเภสัชกรรม และมีแผนจะออก มาทดสอบความปลอดภัยเป็นตัวต่อไป ซึง่ เมือ่ วัคซีนนีไ้ ด้ผา่ นขัน้ ตอนการศึกษาใน


สัตว์ทดลองแล้ว พบว่าได้ผลดี ไม่มีผลข้างเคียง จึงจะยื่นเอกสารต่อส�ำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เพื่อขอทดสอบในมนุษย์ โดยจะร่วมกับ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ โดยวางแผนทดสอบประสิทธิภาพวัคซีนกับเชือ้ สายพันธุ์ เดลต้า หาก อย. อนุมตั เิ ร็ว ก็เริม่ ทดสอบในมนุษย์เฟสแรกปลายปี พ.ศ. 2564 นี้ และต่อเนื่องเฟส 2 ในเดือนมีนาคม 2565 หากได้ผลดีจะสามารถผลิตใช้ได้ ประมาณกลางปี พ.ศ. 2565 นี้ ทัง้ นี้ วัคซีนโควิด-19 ชนิดพ่นจมูก เป็นวัคซีนทีพ่ น่ ละอองฝอยในโพรงจมูก ผ่านเข็มฉีดพ่นยาชนิดพิเศษที่ได้รับการออกแบบมาเพื่อส่งวัคซีนไปเสริมสร้าง ภูมคิ มุ้ กันในเยือ่ เมือกของระบบทางเดินหายใจส่วนบนโดยตรง ซึง่ ไวรัสส่วนใหญ่ รวมถึงไวรัสโคโรนาอันเป็นสาเหตุของโควิด-19 มักจะเข้าสูร่ า่ งกายผ่านทางจมูก และก่อตัวขึ้นในโพรงจมูกก่อนที่จะแพร่กระจายไปยังส่วนอื่นๆ ของร่างกาย รวมถึงปอด จากการทดสอบพบว่าแอนติบอดีในเยือ่ เมือกระบบทางเดินหายใจ ส่วนบน จะสร้างภูมิคุ้มกันได้เร็วและดีกว่าวัคซีนแบบฉีดเข้ากล้ามเนื้อ รวมถึง สามารถกระตุ้นการผลิตอิมมูโนโกลบูลินเอ (IgA) ที่จ�ำเพาะต่อแอนติเจน และ เม็ดเลือดขาวชนิด T Cell ในทางเดินหายใจ ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันแบบฆ่าเชื้อ ซึง่ สามารถสกัดกัน้ ไวรัสและสร้างภูมคิ มุ้ กันเพือ่ ต่อสูก้ บั ไวรัสป้องกันการติดเชือ้ ในระบบต่างๆ ของร่างกายและลดโอกาสทีผ่ คู้ นจะแพร่เชือ้ ไวรัสต่อได้ นอกจากนี้ ยังช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดผลข้างเคียงจากภาวะลิ่มเลือดอุดตันได้

จึงถูกมองว่าเป็นวิธีแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพ เช่นเดียวกัน จากความเชี่ยวชาญของทีมวิจัย ไบโอเทค สวทช. สามารถอัปเดตวัคซีนให้ตอบสนอง ต่อการกลายพันธุข์ องไวรัสสายพันธุใ์ หม่ทจ่ี ะอุบตั ิ ขึ้นได้ไวภายใน 2-3 สัปดาห์ เพียงเท่านั้น ดังนั้นผลงานวัคซีนโควิด-19 ที่เกิดขึ้นนี้ เกิดขึ้นได้จากองค์ความรู้ท่ีส่ังสมมาจากงานวิจัย โดยคนไทยทั้งหมด ผสมผสานกับการประยุกต์ ใช้ เ ทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย ทั ด เที ย มกั บ นานาชาติ ประกอบกับการจัดสรรทุนสนับสนุนการวิจยั จาก รัฐบาลในการพัฒนาและผลิตวัคซีนโควิด-19 จาก สถาบันวัคซีนแห่งชาติ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการ สนับสนุนผลักดันวัคซีนที่พัฒนาขึ้นได้ออกไปสู่ ผูใ้ ช้จริง ซึง่ จะส่งเสริมความส�ำเร็จในการสร้างวัคซีน โควิด-19 ที่มีคุณภาพส�ำหรับคนไทย ซึ่งนับว่า เป็นก้าวกระโดดที่ส�ำคัญของการวิจัยและพัฒนา ด้านวัคซีนภายในประเทศ ที่จะสามารถรับมือ โรคระบาดทีอ่ าจจะเกิดขึน้ อีกในอนาคตได้รวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึน้ ช่วยเสริมความมัน่ คงทาง วัคซีนให้กับประเทศไทยอย่างยั่งยืนในอนาคต


Interview > กองบรรณาธิการ

วิรัตน์ เอื้อนฤมิต ความต้องการใช้น้�ำมันส�ำเร็จรูปในประเทศ ที่มีเพิ่มมากขึ้นต่อเนื่องยังคงเป็นปัจจัยบวกต่อสถานี บริการน�้ำมันเชื้อเพลิง ท�ำให้มีการแข่งขันที่รุนแรง และค่าการตลาดที่เพิ่มสูงขึ้นตามเศรษฐกิจโลก แต่ ถึงอย่างนัน้ ไทยออยล์กย็ งั คงมุง่ มัน่ เติบโตสูค่ วามเป็นเลิศ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล พร้อมรับฟังเสียงทุกเสียง เพื่อน�ำมาพัฒนาและสร้างการเติบโตร่วมกัน ภายใต้ การจัดการสิง่ แวดล้อมแบบบูรณาการเพือ่ สร้างอนาคต และสังคมที่ย่ังยืน พร้อมมีกลยุทธ์ด้านความยั่งยืน ของเครือไทยออยล์ ที่เสริมสร้างการดูแลสิ่งแวดล้อม การพัฒนา และสร้างคุณค่าร่วมกันกับคู่ค้า ลูกค้าทั้ง ชุมชนและสังคมเพื่อการเติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืน ตลอดจนการเสริมสร้างให้เกิดการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และโปร่งใส วิรัตน์ เอื้อนฤมิต ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ได้ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับการด�ำเนินธุรกิจ ของไทยออยล์ว่า “บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ผูป้ ระกอบธุรกิจการกลัน่ และจ�ำหน่ายน�ำ้ มันปิโตรเลียม ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ประกาศเข้าร่วมลงทุนใน บริษัท PT Chandra Asri Petrochemical Tbk (CAP) ผู้ผลิตสารโอเลฟินส์รายใหญ่ของประเทศอินโดนีเซีย โดยมี วิรัตน์ เอื้อนฤมิต ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไทยออยล์ จ�ำกัด (มหาชน) ให้ความรู้เกี่ยวกับการเข้าลงทุนในธุรกิจ ปิ โ ตรเคมี ส ายโอเลฟิ น ส์ ที่ จ ะท� ำ ให้ ไ ทยออยล์ มี โครงสร้างธุรกิจทีค่ รบวงจร ด้วยการบูรณาการทัง้ ธุรกิจ การกลั่นน�้ำมันและปิโตรเคมีสายอะโรเมติกส์และ โอเลฟินส์”

พัฒนาอย่างต่อเนื่องจากโรงกลั่นเล็กๆ สู่ผจำู้ �หน่าย และกลั่นน�้ำมันปิโตรเลียมรายใหญ่ของไทย

ไทยออยล์เป็นผูป้ ระกอบธุรกิจการกลัน่ และจ�ำหน่ายน�ำ้ มันปิโตรเลียม ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในประเทศไทย และเป็นโรงกลัน่ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงสุดแห่งหนึง่ ในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ ซึง่ ก่อตัง้ ขึน้ ในปี พ.ศ. 2504 โดยมีธรุ กิจหลักคือ โรงกลัน่ น�ำ้ มันปิโตรเลียม ด้วยการพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งมาเกือบครึง่ ศตวรรษ ไทยออยล์ก้าวจากโรงกลั่นเล็กๆ ขนาด 35,000 บาร์เรลต่อวัน ปัจจุบันมี ก�ำลังการผลิต 275,000 บาร์เรลต่อวัน “โรงกลัน่ นาํ้ มันไทยออยล์ได้รบั การออกแบบให้สามารถสร้างมูลค่ำ สูงสุดจากระบบการผลิตได้อย่างเต็มที่ และด้วยเหตุทเี่ ป็นโรงกลัน่ Complex Refinery ซึ่งสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมส�ำเร็จรูปที่มีคุณค่าสูง ในสัดส่วนทีส่ งู มากทีส่ ดุ แห่งหนึง่ ในเอเชีย-แปซิฟกิ โดยมีความยืดหยุน่ สูง ในการใช้วตั ถุดบิ หรือนํา้ มันดิบจากแหล่งต่างๆ สามารถปรับเปลีย่ นระดับ การผลิตผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมส�ำเร็จรูปแต่ละชนิดให้สอดคล้องกับความ ต้องการของตลาดภายในประเทศ”


การวางแผนการเงินเพือ่ การบริหารจัดการ ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ

ก้าวสำ�คัญของไทยออยล์ในการเดินหน้า สู่อุตสาหกรรมปิโตรเคมีสายโอเลฟินส์

การลงทุนในครัง้ นีน้ บั เป็นก้าวส�ำคัญของไทยออยล์ในการเดินหน้า สู่อุตสาหกรรมปิโตรเคมีสายโอเลฟินส์ ไทยออยล์จากเดิมที่มีธุรกิจสาย อะโรเมติกส์อยู่แล้ว ท�ำให้โครงสร้างธุรกิจของไทยออยล์มีความสมบูรณ์ ครอบคลุมธุรกิจปิโตรเลียมและปิโตรเคมีอย่างครบวงจร โดยสายโอเลฟินส์ มีข้อได้เปรียบที่สามารถน�ำไปเป็นสารตั้งต้นของอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ ชั้นปลายต่างๆ ที่มีความหลากหลายกว่าสายอะโรเมติกส์ ซึง่ การร่วมงานกับ PT Chandra Asri Petrochemical Tbk (CAP) ที่เป็นผู้ประกอบธุรกิจด้านปิโตรเคมีช้ันน�ำรายใหญ่ท่ีสุดในสาธารณรัฐ อินโดนีเซีย ทีด่ ำ� เนินธุรกิจมาอย่างยาวนานกว่า 29 ปี CAP เป็นผูด้ ำ� เนิน กิจการโรงงานแยกแนฟทาเพียงแห่งเดียวของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย มีผลิตภัณฑ์ที่ครอบคลุมตั้งแต่ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีต้นน�้ำจนถึงปลายน�้า เนือ่ งจากประเทศอินโดนีเซียเป็นประเทศทีม่ คี วามต้องการผลิตภัณฑ์ โอเลฟินส์ในปริมาณสูง มีแนวโน้มเติบโตดีในอนาคต และยังต้องพึ่งพา การน�ำเข้าผลิตภัณฑ์จากต่างประเทศ โดย CAP เป็นผูผ้ ลิตสารโอเลฟินส์ และผลิตปิโตรเคมีชน้ั น�ำรายใหญ่ทส่ี ดุ ในประเทศอินโดนีเซีย อีกทัง้ ยังเป็น ผู้ดำ� เนินกิจการโรงงานแยกแนฟทา (Naphtha Cracker) เพียงแห่งเดียว ของประเทศอินโดนีเซีย และมีกำ� ลังการผลิตเอทิลนี (Ethylene) ประมาณ 900,000 เมตริกตันต่อปี และพอลิโอเลฟินส์ (Polyolefins) ทีม่ คี ณ ุ ภาพสูง อีกทั้งยังเป็นผู้ผลิตสไตรีนโมโนเมอร์ (SM) และบิวทาไดอีน (BD) และ มีแผนด�ำเนินการขยายก�ำลังการผลิตและก่อสร้างโรงงานปิโตรเคมี แห่งที่ 2 (CAP 2) ซึ่งจะท�ำให้มีก�ำลังการผลิตเพิ่มขึ้นจากเดิมอีกเท่าตัว ในปี พ.ศ. 2569 พร้อมกันนี้ CAP มีแผนขยายก�ำลังการผลิตและก่อสร้าง โรงงานปิโตรเคมีแห่งที่ 2 เพื่อรองรับปริมาณความต้องการผลิตภัณฑ์ โอเลฟินส์ที่สูงขึ้นของประเทศ นอกจากนี้ ยั ง เป็ น การขยายความร่ ว มมื อ ทางการค้ า ระหว่ า ง ไทยออยล์กบั CAP โดยไทยออยล์ได้เข้าท�ำสัญญาเพือ่ ส่งผลิตภัณฑ์จาก โรงกลัน่ เพือ่ ใช้เป็นวัตถุดบิ ให้กบั CAP เพือ่ สร้างมูลค่าเพิม่ และยังได้เข้า ท�ำสัญญาเพื่อจ�ำหน่ายพอลิเมอร์เรซิน (Polymer Resin) และผลิตภัณฑ์ ในรูปของเหลวอื่นๆ ของ CAP อีกด้วย

บริษทั ฯ ได้ตงั้ เป้าหมายจะมีสดั ส่วนจากส่วนแบ่ง ก�ำไรในปี พ.ศ. 2573 มาจากธุรกิจโรงกลั่นน�้ำมัน (ปิโตรเลียม) อยู่ที่ประมาณ 40% ปิโตรเคมีและ Hight Value Product 40% ธุรกิจไฟฟ้า 10% และธุรกิจอืน่ ๆ อีก 10% “ส�ำหรับกระบวนการช�ำระค่าหุ้น จะแบ่งการ ช�ำระเงินเป็นงวด โดยงวดแรกจะสามารถด�ำเนินการ จ่ายเงินได้ในเดือนกันยายน 2564 เป็นจ�ำนวน 913 ล้านเหรียญ หรือคิดเป็นสัดส่วนการถือหุ้นที่ 15% หลังจากนั้นจะรอให้มีการตัดสินใจการลงทุนการขยาย ก�ำลังการผลิตและก่อสร้างโรงงานปิโตรเคมีแห่งที่ 2 (CAP 2) ซึง่ คาดว่าจะสามารถตัดสินใจได้ในช่วงกลางปี พ.ศ. 2565 บริษัทฯ ก็จะมีการด�ำเนินการจ่ายเงินใน งวดที่ 2 อีก 270 ล้านเหรียญ เพือ่ เพิม่ สัดส่วนการถือหุน้ เป็น 15.38% โดยเงินลงทุนทัง้ หมดของ TOP จะถูกน�ำไป พัฒนาและก่อสร้างโครงการ CAP 2 ด้วยเช่นกัน” พร้อมกันนี้ภายหลังจากการจ่ายเงินงวดแรก ในเดือนกันยายนดังกล่าว จะส่งผลให้บริษทั ฯ สามารถ รับรู้ก�ำไรเข้ามา คาดว่าจะมีการบันทึกส่วนแบ่งก�ำไร จากการลงทุนใน CAP ได้ในไตรมาส 4/64 เป็นต้นไป ซึ่งในช่วงเริ่มต้นคาดว่าจะได้รับก�ำไรเข้ามาราว 40-50 ล้ า นเหรี ย ญต่ อ ปี ซึ่ ง เป็ น การค� ำ นวณจากก� ำ ไรใน ไตรมาส 1/64 ของ CAP อยูท่ ป่ี ระมาณ 84 ล้านเหรียญ ขณะที่หากมีการเดินเครื่องในโครงการ CAP 2 ในปี พ.ศ. 2569 ก็จะส่งผลท�ำให้มกี ำ� ลังการผลิตเพิม่ ขึน้ 2 เท่า และจะส่งผลดีต่อก�ำไรที่เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่าตามไปด้วย โดย CAP 1 มีกำ� ไรอยูท่ ่ี 165 ล้านเหรียญ หรือคิดเป็น 5,000 ล้านบาท ในปีทผ่ี า่ นมา ด้านแผนการจัดหาเงินทุน (Funding Plan) ล�ำดับแรก บริษทั ฯ จะใช้เงินกูร้ ะยะสัน้ (Bridging Loans) ระยะเวลาไม่เกิน 18 เดือน อัตรา ดอกเบีย้ เทียบเคียงกับตลาด (Marketrate) ไม่เกิน 2.5% ต่อปี เพือ่ น�ำไปช�ำระค่าหุน้ ก่อน โดยได้รบั การสนับสนุน จากสถาบันการเงินและ บมจ. ปตท. (PTT) ประมาณ 48% ส่วนที่ 2 จะมาจากการขายหุ้น บมจ. โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ (GPSC) ในจ�ำนวนไม่เกิน 10.8% ของทุนจดทะเบียนช�ำระแล้วของ GPSC ให้แก่ PTT คาดว่าจะได้รับเงินเข้ามาจ�ำนวน 20,000 ล้านบาท และการเพิม่ ทุนไม่เกิน 10,000 ล้านบาท อีกทัง้ บริษทั ฯ ยังสามารถออกหุ้นกู้หรือกู้เงินระยะยาวจากสถาบัน การเงินได้ รวมถึงปัจจุบันบริษัทฯ ยังมีกระแสเงินสด ในมือกว่า 1,000 ล้านเหรียญ


ระบบการบริหารจัดการที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ

อย่างไรก็ตาม กระบวนการเพิ่มทุน และการขายหุน้ GPSC คาดว่าจะด�ำเนินการ เสร็จสิน้ ได้ภายในครึง่ ปีแรกของปี พ.ศ. 2565 เนื่ อ งจากการด� ำ เนิ น การดั ง กล่ า วต้ อ ง ขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นก่อน โดย คาดว่ากระบวนการจะเริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ช่วง เดือนสิงหาคมเป็นต้นไป พร้อมยอมรับว่า การเพิ่มทุนของบริษัทในรอบนี้จะส่งผล กระทบต่อผูถ้ อื หุน้ เดิมถูก Dilute ประมาณ 10% วิรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมว่า มองว่าการ ซือ้ หุน้ CAP ในครัง้ นีไ้ ด้ราคาทีต่ ำ่� กว่าราคา ในตลาดหุ้นอินโดนีเซียโดยประมาณ 20% เพราะเป็นหุ้นที่ออกใหม่ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม และบริษัทได้รับสิทธิเพิ่มทุนในราคาเดียว กับเอสซีจี เคมิคอลส์ ที่ซ้ือหุ้นเพื่อรักษา สัดส่วนการถือหุน้ เอาไว้ รวมถึงบริษทั ยังได้ สิทธิในการขายผลิตภัณฑ์ให้แก่ CAP และ ยังสามารถส่งกรรมการเข้าไปนัง่ ในบอร์ดได้ 3 คน จากทั้งหมด 15 คน และบริษัทฯ มี ความสนใจทีจ่ ะเข้าไปถือหุน้ ใน CAP เพิม่ เติม ซึ่งก็อยู่ระหว่างการเจรจากับ CAP ในการ เพิ่มสัดส่วนการลงทุน

ไทยออยล์มรี ะบบการบริหารจัดการเป็นกลุม่ ทีม่ กี ารเชือ่ มโยงธุรกิจ ทัง้ ธุรกิจการกลัน่ น�้ำมัน ธุรกิจปิโตรเคมี และธุรกิจน�ำ้ มันหล่อลื่นพื้นฐาน โดยร่วมวางแผนการผลิตก่อให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด และสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีต้นทุนต�่ำ ขณะเดียวกันมีคุณภาพสูง ในระดับโรงกลั่นชั้นน�ำ (Top Quartile) ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ท�ำให้ได้เปรียบเชิงต้นทุน การผลิต เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ดังนัน้ ไทยออยล์มงุ่ เน้นการเพิม่ ขีดความสามารถขององค์กรให้สอดคล้องกับแนวโน้ม ของอุตสาหกรรมผลิตน�้ำมันและก๊าซในปัจจุบัน และเตรียมความพร้อมรับมือส�ำหรับการ เปลีย่ นแปลงในอนาคต รวมถึงแสวงหาโอกาสทางธุรกิจในภาวะทีม่ กี ารแข่งขันทางธุรกิจอย่าง เข้มข้น โดยไทยออยล์ประยุกต์ใช้แนวคิดและกระบวนการผลิตเพื่อสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม อาทิ พลังงานทางเลือกและพลังงานทดแทน ผนวกกับการเพิ่ม ขีดความสามารถของบุคลากรเพื่อการด�ำเนินธุรกิจและการเติบโตอย่างยั่งยืน


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

ปัจจุบันผู้หญิงไม่ได้ถูกตีกรอบหรือจ�ำกัดรูปแบบ การท�ำงานดั่งเช่นอดีต เรามีผู้หญิงเก่งสุดสตรองมากขึ้น ในหลากหลายวงการ วิศวกรหญิง เป็นอีกอาชีพที่ต้อง ก้าวข้ามกรอบความท้าทายทางอาชีพเช่นกัน สายงาน อาชีพวิศวกร ภาพจ�ำของกรอบการท�ำงานทีผ่ คู้ นส่วนใหญ่ นึกถึงคือ การต้องลงพืน้ ทีท่ ำ� งานกลางแจ้ง ต้องคุมหน้างาน โครงการก่อสร้างให้ท�ำงานได้ตามมาตรฐานก�ำหนด ซึ่ง ในภาพจ�ำนัน้ เรามักนึกถึงวิศวกรชายมากกว่า แต่ปจั จุบนั นี้ แนวคิดได้เปลี่ยนแปลงไป สังคมรับรู้ ยอมรับ และชื่นชม วิศวกรหญิงที่ก้าวข้ามกรอบความท้าทายทางอาชีพ

สมาคมวิศวกรหญิงไทย (TWEA) จัดกิจกรรม International Women In Engineering Day 2021Engineering Heroes เพือ่ ให้สมกับชือ่ Theme และยังมี การประกาศรางวัลวิศวกรหญิงดีเด่น วิศวกรหญิงรุน่ ใหม่ ดีเด่น และรางวัลนีเ้ ป็นการจัดขึน้ ครัง้ แรกในปี ค.ศ. 2021 พร้อมเสวนามุมมองใหม่ในการพัฒนาทางวิศวกรรม จากวิศวกรหญิงรุ่นใหม่ท่ีมาพร้อมประสบการณ์และ ความสามารถ เพราะฉะนั้นการจัดงานในครั้งนี้เพื่อเป็น การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและความรู้ทางวิศวกรรม และเทคโนโลยี และส่งเสริมวิศวกรหญิงให้มบี ทบาทด้าน งานวิศวกรรมให้มากยิง่ ขึน้ พร้อมทัง้ ยังมีการแลกเปลีย่ น ความคิดเห็นและประสบการณ์ด้านวิศวกรรมกับวิศวกร หญิงต่างประเทศ ดังนั้นการจัดกิจกรรมด้านวิศวกรรม เพื่อส่งเสริมสังคมและสาธารณประโยชน์ให้กับสังคม และประเทศชาติ ผศ. ดร.จุฑามาศ รั ต นวราภรณ์ ประธาน ห ลั ก สู ต ร วิ ศ ว ก ร ร ม ชีวเวช และผู้อ�ำนวยการ ศูนย์วิจัยวิศวกรรมชีวเวช คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผศ. ดร.จุฑามาศ บรรยายในหั ว ข้ อ Bio รัตนวราภรณ์ Medical Engineering โดยกล่าวว่า ในฐานะวิศวกร หญิงของประเทศไทย เรามีโอกาสได้ใช้ความรู้ความ สามารถทางด้านวิศวกรรมศาสตร์มาพัฒนางานวิจัย ซึง่ เป็นส่วนทีไ่ ด้ทำ� มาโดยตลอด แต่เนือ่ งด้วยสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชือ้ COVID-19 ท�ำให้มงี านส่วนหนึง่ ที่เราท�ำเป็นนวัตกรรมเพื่อน�ำไปใช้จริงในสังคม

“CU กองหนุน“ นวัตกรรมรถความดันบวก ตอบโจทย์การทำ�งานของบุคลากรทางการแพทย์

ได้รบั โจทย์มาว่า ท�ำอย่างไรให้ใช้ทรัพยากรได้อย่างคุม้ ค่าและเกิดประโยชน์ บวกกับผู้ป่วยที่มีการกักตัวแยกจากผู้อ่ืนที่มีความกังวลเครียดเรื่องของการ ที่ให้คนเข้าไปดูแลและพูดคุย นี่เป็นโจทย์เริ่มต้นของเรา และเป็นการท�ำให้เรา พยายามเข้าไปรับฟังว่าอะไรเป็นปัญหา รวมถึงความต้องการของบุคลากร การแพทย์ นี่ จึ ง เป็ น ที่ ม าของการพั ฒ นานวั ต กรรมชิ้ น แรกของเราที่ เ ป็ น รถความดั น บวก โดยเราตั้ ง ชื่ อ ว่ า CU กองหนุ น “รถกองหนุ น ” หรื อ รถความดันบวก (Positive Pressure) เป็นรถทีป่ ลอดเชือ้ 100% ใช้สำ� หรับให้ บุคลากรทางการแพทย์เข้าไปตรวจและท�ำหัตถการผู้ป่วยที่ติดเชื้อ COVID-19 พร้อมทั้งมีระบบสื่อสารผ่านไมค์ลอยพูดคุย ทางทีมงานได้มีการปรับเปลี่ยน ให้สามารถขับเคลื่อนเพื่อการท�ำงานได้อย่างสะดวก ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยน น�้ำเกลือ วัดไข้ หรือการเข้าไปท�ำหัตถการพื้นฐานต่างๆ ได้ถึงในห้องพักของ ผูป้ ว่ ย ตัวรถมีการออกแบบร่วมกับคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ทัง้ นี้ ได้มี การน�ำรถไปบริจาคให้แก่โรงพยาบาลทัว่ ประเทศใช้ตามวัตถุประสงค์เพือ่ เข้าไป ดูแลคนป่วย นอกจากนั้นก็จะเป็นสถานการณ์ท่ีประเทศเราต้องมีการ State Quarantine อย่างที่เราเห็นกัน ทางโรงแรมได้เป็นสถานที่กักตัวหลายแห่ง จึงต้องมีการตรวจเชือ้ เราจึงได้นำ� รถนวัตกรรมความดันบวก หรือ CU กองหนุน เพื่อขับขึ้นไปเก็บเชื้อข้างบนห้อง อันนี้ก็จะเป็นอีกตัวอย่างในการใช้งาน และ อีกตัวอย่างหนึ่งที่เห็นได้ชัดคือ การค้นหาเชิงรุกในพื้นที่ชุมชน ซึ่งจะมีการ


ตรวจเก็บเชือ้ ในเขตพืน้ ทีท่ ม่ี คี วามเสีย่ งและได้นำ� รถ CU กองหนุน ไปใช้อย่างเข้มข้น โดยทีโ่ ครงการนีไ้ ด้มกี ารบริจาครถความดันบวกไปทัง้ หมด 95 คัน ในนามคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสมาคมนิสติ เก่าวิศวกรรมศาสตร์แห่งจุฬาฯ ซึง่ สามารถจะ ตอบโจทย์และขับเคลือ่ นได้งา่ ย เพือ่ เป็นการอ�ำนวยความสะดวก ให้แก่บุคลากรทางการแพทย์ในการใช้งาน และยังสามารถ สื่อสารกันได้ทั้งคนที่อยู่ข้างในรถและผู้ป่วยหรือกลุ่มเสี่ยง ได้อีกด้วย

Dog Olfactory Mibile Vehicle for Viral Inspection

“รถดมไว” ที่ถูกพัฒนาเป็นรถคันแรกของไทย ที่ใช้สุนขั ดมกลิ่นคัดกรองผู้ติดเชื้อ COVID-19

“รถวิเคราะห์ผลด่วนพิเศษ” นวัตกรรมที่ช่วย ตรวจเชื้อไวรัสเชิงรุกได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สืบเนื่องจากที่เราได้พัฒนานวัตกรรมรถความดันบวก เราได้ เ ห็ น ว่ า การเก็ บ เชื้ อ ของผู ้ ป ่ ว ยนั้ น เป็ น เรื่ อ งส� ำ คั ญ แต่ที่ส�ำคัญไม่น้อยไปกว่ากันก็คือการวิเคราะห์ให้รู้ผลอย่าง รวดเร็ว นั่นก็เป็นสิ่งส�ำคัญเช่นกัน ซึ่งเราจะเห็นได้ชัดในการ ระบาดระลอก 3 ทีม่ กี ารค้นหาเชิงรุก การรูผ้ ลเร็วมีความส�ำคัญ กับการควบคุมโรค เพื่อไม่ให้มีการกระจายสู่นอกคลัสเตอร์ เพราะฉะนั้นจึงเป็นที่มาว่า จะท�ำอย่างไรเมื่อเก็บผลเสร็จแล้ว จะวิเคราะห์ผลให้ได้รวดเร็ว โดยเราได้ทำ� การย้ายห้องแล็บไปไว้ ข้างนอก ทัง้ เก็บเชือ้ วิเคราะห์ รูผ้ ลได้ทนั ที จึงเกิดเป็นนวัตกรรม ตัวที่ 2 คือ รถวิเคราะห์ผลด่วนพิเศษ ที่เป็นห้องปฏิบัติการ เคลื่อนที่ ออกตรวจวิเคราะห์ผล COVID-19 นอกโรงพยาบาล หรือหน่วยงาน ช่วยลดปัญหาการขนส่งตัวอย่างและระยะเวลา ซึ่งใช้ระยะเวลา 3 ชั่วโมง ในการรอผลวิเคราะห์ ความพิเศษของรถดังกล่าวคือเป็นห้องปฏิบตั กิ ารเคลือ่ นที่ ที่มีมาตรฐานความปลอดภัยและความแม่นย�ำเทียบเท่ากับ ห้องปฏิบัติการทั่วไป ในการออกแบบและผลิตรถวิเคราะห์ผล ด่ ว นพิ เ ศษนี้ เป็ น ความร่ ว มมื อ ของผู ้ เชี่ ย วชาญจากคณะ วิศวกรรมศาสตร์และคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ โดย ได้รบั การรับรองจากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ในเรือ่ งมาตรฐาน ความปลอดภัย การเก็บตัวอย่าง และวิเคราะห์ตัวอย่างที่ รถวิเคราะห์ผลด่วนพิเศษจะท�ำให้ทราบผลการตรวจวิเคราะห์ ได้อย่างรวดเร็ว รถคันนีต้ อบโจทย์การน�ำไปใช้งานได้จริง สะดวก ปลอดภัย ให้ผลการตรวจที่ถูกต้องสูงสุด เป็นการช่วยเหลือ ประเทศชาติให้รอดพ้นจากวิกฤติในครั้งนี้

รถดมไว เป็นการท�ำงานของคณะแพทยศาสตร์ในการท�ำงาน ร่วมกับสุนขั ในครัง้ นี้ เนือ่ งจากสุนขั จะมีความสามารถพิเศษในการดมกลิน่ ได้ค่อนข้างที่จะชัดเจนและรวดเร็ว ซึ่งการดมกลิ่นจะเป็นการดมจาก สารระเหยจากเหงื่อ และสามารถบอกได้ว่าสารระเหยอันนี้มาจากคน ที่เป็น COVID-19 ซึ่งอาจจะเป็นคนที่เป็น COVID-19 ที่ไม่มีอาการด้วย ที่เราเห็นได้ทั่วไปคือ เครื่องวัดอุณหภูมิท่ีอาจจะไม่สามารถแยกได้ว่า ใครเป็น COVID-19 ทัง้ นี้ รถออกแบบโดยมีการค�ำนึงถึงความสะดวกสบาย ของสุนัข ท�ำงานในห้องแอร์เย็นสบาย ขั้นตอนการท�ำงานคือ เราจะใช้ ส�ำลีหนีบไว้ที่รักแร้ของผู้สัมผัสทั้ง 2 ข้าง ข้างละ 5 นาที เพื่อเก็บเหงื่อ จากนั้นจะเข้าสู่ขั้นตอนการเตรียมการณ์ให้สุนัขดม เนื่องจากกลิ่นเหงื่อ ของแต่ละคนจะมีกลิน่ เฉพาะ ซึง่ สุนขั มีความสามารถรับกลิน่ ได้มากกว่า มนุษย์ถงึ 50 เท่า ขณะทีเ่ ชือ้ COVID-19 ก็มกี ลิน่ เฉพาะตัวของมันเช่นกัน หากสุนัขดมกลิ่นเหงื่อแล้วไม่ได้กลิ่นก็จะเดินผ่าน แต่หากดมแล้วมีเชื้อ COVID-19 สุนขั ก็จะนัง่ ลง เราก็จะน�ำบุคคลนัน้ ไปตรวจหาเชือ้ โดยวิธกี าร RT-PCR อีกครั้ง จากการทดสอบสุนัขดมกลิ่นมีความแม่นย�ำในการ ตรวจหาเชือ้ ถึง 96% วิธกี ารนีจ้ ะช่วยให้เจ้าหน้าทีต่ รวจเชิงรุกได้รวดเร็วขึน้ รวมทัง้ ลดภาระการสว๊อป โดยสุนขั สามารถดมกลิน่ ได้รอบละ 12 ตัวอย่าง ในภาพรวมสามารถตรวจได้วันละ 600-1,000 ตัวอย่าง นอกจากนีย้ งั ได้คำ� นึงถึงความปลอดภัยของทัง้ เจ้าหน้าทีแ่ ละสุนขั ผูป้ ฏิบตั งิ านบนรถ โดยได้สร้างระบบความดันลบในห้องเตรียมตัวอย่าง ระบบฆ่าเชือ้ ด้วยรังสี UV ในช่องรับส่งตัวอย่าง ห้องเตรียมตัวอย่างและ ห้องปฏิบตั งิ าน พร้อมทัง้ ระบบความปลอดภัยอืน่ ๆ อาทิ ตูย้ าปฐมพยาบาล ถังดับเพลิง ไฟขอความช่วยเหลือฉุกเฉิน และไฟแจ้งเตือนขณะปฏิบตั งิ าน บนรถ นับเป็นรถปฏิบัติงานชีวนิรภัยเคลื่อนที่ของสุนัขดมกลิ่นคันแรก ของประเทศไทย


Drone สามารถทำ�งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังประหยัดเวลา

AUTOMATE VACCINE

ผศ. ดร.จุฑามาศ กล่าวเสริมว่า Project ในอนาคต ณ ตอนนี้ เราทุกคนล้วนให้ความส�ำคัญในเรื่องของวัคซีน อย่างในการบรรจุวัคซีน 1 ขวด ก็จะเป็นประมาณ 10 โดส แต่ทาง WHO ได้มีการกล่าวไว้แล้วว่า จะต้องบรรจุวคั ซีนเกินขนาดมา เนือ่ งจากว่าในขณะทีบ่ คุ ลากรทางการแพทย์ ดูดวัคซีนขึ้นมานั้น จะมีการสูญเสียตัววัคซีนเป็นเรื่องปกติ จึงมีการเผื่อ มาให้ 20% ฉะนั้น 1 ขวด ให้มา 10 โดส แต่เราสามารถดูดได้ถึง 13 โดส เราเลยมองว่าให้เครื่องเข้ามาท�ำงานแทนคนดีไหมในส่วนที่เป็นเรื่องของ การดูดและแบ่งให้ได้ 12 เข็มอย่างแม่นย�ำ โดยไม่จำ� เป็นต้องให้คนเข้ามา นั่งเพ่ง โดยมีการออกแบบตัวเครื่องที่เรียกว่า Automate Vaccine จาก 1 ขวด ดูดออกมาแล้วน�ำไปแบ่งใส่เข็มฉีดยา 12 เข็ม ทั้งนี้ จะได้ไม่ต้อง ขึน้ อยูก่ บั ทักษะของบุคลากรทางการแพทย์วา่ จะต้องกะอย่างไรให้แม่นย�ำ ในส่วนนี้เราก็ให้เครื่อง Automate Vaccine เข้ามาท�ำงานแทนเพื่อความ แม่นย�ำในการท�ำงาน นัตวิไล อุทุมพฤกษ์พร กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท ทริก ลิมิเต็ด จ�ำกัด บรรยายในหั ว ข้ อ Drone for Building Analysis โดยกล่าวว่า Drone สามารถที่จะ น�ำไปใช้ร่วมกับงานอื่นๆ ได้อย่างมากมาย และงานสาย Engineer นัน้ Drone ก็สามารถ ใช้งานได้เป็นอย่างดี หากมีรปู แบบโปรแกรม ที่สอดคล้อง โดยที่ผู้ใช้ไม่จ�ำเป็นต้องเรียนรู้ นัตวิไล อุทุมพฤกษ์พร วิธีการ Control Robots ผู้คิดค้นอย่างเรา ต้ อ งการให้ ผู ้ ใช้ ง านสามารถเข้ า ถึ ง ได้ ง ่ า ย โดยสิง่ ทีเ่ ราค�ำนึงคือ จะท�ำอย่างไรให้ Drone for Building Analysis เข้าไป ตอบโจทย์ในการท�ำงานให้กบั บุคลากรทีท่ ำ� งานเกีย่ วกับวิศวกรรมสามารถ ท�ำงานได้อย่างสะดวกมากขึ้น

PREVIOUS WORK Building

Rail & Train Station

Power Line

Oil & Gas

แต่กอ่ นท�ำงานเกีย่ วกับน�ำ้ มันและเชือ้ เพลิง แต่ละครัง้ ต้องปีนไปดูขา้ งบน ตามมุม มุดเข้าไปในแท็งก์ เพือ่ ดูวา่ ปัญหา มันคืออะไร การท�ำงานตรวจบ�ำรุง (Inspection) คิดว่าทีเ่ หนือ่ ย มากที่สุดคือ ไปดูว่าเกิดอะไรขึ้น ที่เหลือคือการเขียนรีพอร์ต ท�ำให้รู้สึกว่าจะดีกว่าไหมถ้าเราสามารถส่งหุ่นยนต์เข้าไป ตรวจสอบแทนคน คิดว่าเป็นปัญหามาตลอด พอไปอยู่ที่ ประเทศอังกฤษ เริม่ สนใจ Drone มากขึน้ จึงน�ำปัญหาทีเ่ คยพบ ในทีท่ ำ� งานมารวมกับเทคโนโลยี Drone ก็เลยกลายเป็นไอเดีย ธุรกิจ เมื่อเวลาบิน Drone ไปถ่ายรูปรอบอาคาร ก็จะน�ำรูป ทัง้ หมดมาเปลีย่ นเป็นโมเดลดิจทิ ลั 3 มิติ เป็นการสแกน 3 มิติ ของอาคาร Zoom In เข้าไปดูแต่ละจุดได้ ปกติจะเขียนเป็น รีพอร์ตในโปรแกรมเวิร์ด ท�ำให้ตั้งค�ำถามว่า ท�ำไมท�ำรีพอร์ต 3 มิตไิ ม่ได้ Trik จึงให้ผใู้ ช้เขียนบรรยายก�ำกับในรีพอร์ต 3 มิติ ได้เลย นอกจากนัน้ Trik ยังสร้างฐานข้อมูล 3 มิติ เก็บรูปภาพ รูปวาด ข้อมูลความกว้าง ความยาว ความสูง แผนทีแ่ ต่ละรูป ลง Drone 3 มิติ นอกจากจะช่วยเรื่องการตรวจสอบอาคาร และสิง่ ของแล้ว ยังช่วยเรือ่ งเกีย่ วกับการประกันภัยของอาคาร และสิ่งของด้วย เพราะเวลาถ่ายภาพอาคารและสิ่งของ จะมี บางมุมที่มองไม่เห็น แต่ Trik สามารถสแกนได้ทั้งหมด

UPDATE AS BUILT : Laser Scanner vs Design Model

“ตัวอย่างที่ได้ท�ำกับบริษัทในประเทศอังกฤษเป็นตึก 6 ชั้น เขาต้องการดูว่าถึงเวลาซ่อมหรือยัง ในการตรวจสอบ ของที่ประเทศอังกฤษมีราคาหลายหมื่นปอนด์และใช้เวลา ตรวจเป็นเดือน โดยการใช้คนปีนนัง่ ร้านเพือ่ ดูสภาพตึกทัง้ ตึก แต่ถา้ เราใช้ Drone มาบินเพือ่ ทีจ่ ะถ่ายรูปเก็บรูปทุกมุมของตึก เราใช้เวลาเพียง 1 วัน ถ่ายรูปได้ 2,500 รูป สามารถถ่ายรูปได้ ทุกมุมของตึก และก็นำ� รูปภาพทั้งหมดที่เราถ่ายไว้มาท�ำเป็น Model 3D ขึ้นมา อีกทั้งยังสามารถสัมผัสที่โมเดล 3 มิติ ก็จะ สามารถดึงรูปทุกรูปที่อยู่ในจุดตรงนั้นของตึกขึ้นมา นี่จึงเป็น การท�ำงานแบบใหม่ที่สามารถท�ำให้คนเก็บข้อมูลได้ง่ายและ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น”


WEB APPLICATION

MOBILE APPLICATION

และยังมองว่าอีกเหตุผลที่ฐานข้อมูล 3 มิติเป็นเรื่องส�ำคัญ ก็คือ คนใช้เทคโนโลยี AR/VR แล้วมากมาย แต่ยังไม่มี Data Base ซึ่งในอนาคตคนอาจใช้ฐานข้อมูล 3 มิตินี้เก็บ AR/VR แล้วค้นหา ได้เลยทันที ทั้งนี้ กลุ่มเป้าหมายของ Trik มี 3 กลุ่ม คือ บริษัท ผู้ให้บริการ Drone (Drone Operator) และบริษัทวิศวกรรมที่ท�า เกีย่ วกับการก่อสร้าง ตรวจสอบ และปรับปรุงอาคาร ซึง่ ถือเป็นกลุม่ เป้าหมายหลัก แต่นอกจากอาคารแล้ว Trik ยังสามารถสแกนถนน รถ และรถไฟ เพราะฉะนั้นตัว Product ของ Trik คือ การน�ำ AI และโมเดล 3 มิตมิ าใช้รว่ มกับ Drone พร้อมทัง้ การใช้แอปพลิเคชัน ควบคูใ่ นการท�ำงาน เพือ่ การเก็บ Data ได้อย่างมีประสิทธิภาพยิง่ ขึน้ เพราะฉะนั้นในการสร้าง 3D Data Base อันสมบูรณ์รอบด้าน คือ ทิศทางทีถ่ กู ต้องและเดินหน้าพร้อมๆ กับการพัฒนา AI ขับเคลือ่ น ให้ 3D Data Base ก้าวข้ามสู่ 4D Data Base ประมวลหาความเสีย่ ง งบประมาณการลงทุน และบ�ำรุงรักษาอาคารและสิ่งก่อสร้างที่ เกี่ยวข้องในอนาคตข้างหน้าได้อย่างเต็มศักยภาพในการท�ำงาน ทั้งนี้ นัตวิไล มีภารกิจที่ส�ำคัญคือ การเผยแพร่ความรู้ ประสบการณ์ให้แก่ทุกคนที่สนใจ และอยากที่จะพัฒนาเกี่ยวกับ Ecosystem หรือที่เกี่ยวกับ 3D ในประเทศไทย อีกสิ่งหนึ่งที่ได้ทา� คือ การน�ำ Start Up จากไทยทุกๆ อุตสาหกรรมที่มีความต้องการ ที่จะพัฒนาซอฟต์แวร์ที่เกี่ยวข้อง และ Global Entrepreneur Programmer (GEP) พร้อมทีจ่ ะช่วยเหลือผูป้ ระกอบการทีต่ อ้ งการ มาท�ำธุรกิจทีป่ ระเทศอังกฤษ ตัง้ แต่วซี า่ การท�ำงาน พัฒนาเครือข่าย ธุรกิจ รวมถึงเสริมศักยภาพความเป็นผู้ประกอบการด้วยการเข้า โครงการพัฒนาสร้างทักษะ ทีส่ ำ� คัญเพือ่ ผลิตผูม้ คี วามสามารถเข้ามา พัฒนาประเทศอังกฤษ นี่จะเป็นการพัฒนาศักยภาพในการท�ำงาน และยกระดับผู้ประกอบการในประเทศไทยให้ก้าวไกลในระดับโลก

IMMERSIVE VR

พนั ญ ญา เจริ ญ สวั ส ดิ์ พ งศ์ Business Development บริ ษั ท AI and Robotics Ventures บรรยาย ในหัวข้อ Drone for Agriculture Application กล่าวว่า เราเติบโตมากับ วงการพลังงาน เห็นได้ว่าพลังงานที่ ทุกคนใช้ในทุกวันนัน้ มาจากไหน ท�ำให้ เห็นได้ว่างาน Operation นั้นเป็นงาน พนัญญา ที่ท้าทายเป็นอย่างมาก และยังเป็น เจริญสวัสดิ์พงศ์ พื้ น ที่ ท่ี ส ามารถใช้ เ ทคโนโลยี เข้ า มา ประยุกต์ได้ ซึง่ บทบาทของเทคโนโลยีจะเข้ามาช่วยให้การท�ำงานนัน้ สามารถท�ำได้อย่างเต็มประสิทธิภาพมากขึน้ อย่างเช่น ตัวแท่นผลิต ในทุกๆ ปีจะมีการ Maintenance จากเดิมทีใ่ ช้คนปีนขึน้ ไปบนปล่องไฟ ซึ่งเป็นงานที่อันตรายมากๆ และก็มีเทคโนโลยีเข้ามาช่วยนั่นก็คือ Drone เข้ามาช่วยในการถ่ายรูป ท�ำให้สามารถรู้ได้ว่าอุปกรณ์ตัวนี้ มีความผิดปกติหรือบกพร่องอย่างไรบ้าง และเราก็มีการพัฒนา ต่อยอดอย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่แค่เพียงแท่นผลิตเท่านั้น ยังรวมไปถึง ท่อส่งแก๊สธรรมชาติทส่ี ง่ ขึน้ มาบนบกด้วย ก็เลยเกิดเป็นหุน่ ยนต์ใต้นำ�้ ทางเราเห็นได้ถงึ ความส�ำคัญไม่วา่ จะเป็น Drone หรือหุน่ ยนต์ใต้นำ�้ นัน้ เข้ามามีบทบาทในการท�ำงานเป็นอย่างมาก ทีเ่ ข้ามาช่วยส่งเสริม ความแข็งแรงของประเทศไทยในด้านพลังงาน แทนที่เราจะไปซื้อ หรือใช้ Service ของต่างประเทศทีม่ รี าคาสูงมากกว่าเป็น 10 เท่านัน้ เราก็ผลิตและท�ำขึน้ มาใช้งานเองได้อย่างมีประสิทธิภาพและไม่ตอ้ ง ลงทุนจ�ำนวนมากเช่นนั้นอีกด้วย

Transfer Technology เพือ ่ ให้วงการเกษตรสามารถใช้งาน ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ

Agriculture Sprayer Drone เป็น Drone ทางการเกษตร จะมีขนาด ค่อนข้างใหญ่และต้องรับน�ำ้ หนักได้คอ่ นข้างมาก ทัง้ นี้ จากการทีไ่ ด้มกี ารส�ำรวจ อายุของชาวนาหรือผู้รับจ้างฉีดพ่นนั้น มีอายุค่อนข้างมาก ความสามารถที่จะ ออกไปดูแลแปลงจะลดลงเรือ่ ยๆ ตามอายุ รวมถึงความปลอดภัยในการท�ำงาน และอันตรายทีเ่ กิดขึน้ จากการสัมผัสสารเคมีคอ่ นข้างมากในแต่ละปี จะเห็นได้วา่ จากเดิมทีใ่ ช้คนฉีดพ่นจะต้องแบกถังหนักประมาณ 20 ลิตร และเดินไปในแปลง เพื่อท�ำการฉีดพ่นภายใน 1 วัน จะท�ำได้มากสุด 10 ไร่ แต่การใช้เทคโนโลยี เข้ามาช่วย เพียงแค่กดปุ่มให้ตัว Drone ท�ำงานจะสามารถพ่นได้มากถึง 100 ไร่


ภายใน 1 วัน ซึง่ Drone ตัวนีเ้ ป็น Drone ทีเ่ ราพัฒนาขึน้ มาเองภายในบริษทั ฯ ความส�ำคัญ ของการท�ำในครั้งนี้คือ จะต้องท�ำให้คนที่ไม่เคยจับหรือใช้เทคโนโลยีสามารถใช้งานได้โดย ไม่ยุ่งยาก และยังต้องช่วยให้การท�ำงานเร็วขึ้นมากถึง 10 เท่า “เราได้คิดถึงวิธีการ Control ด้วยตัวเอง เนื่องจากว่าสมัยก่อนในบางครั้ง Drone ในประเทศไทยไม่สามารถบินได้เนื่องจากมีการล็อกไม่ให้บิน ซึ่งมาจากต้นต่อของเจ้าของ โปรแกรมที่ผลิต Drone เราจึงคิดโปรแกรมมาเองเพื่อที่จะได้ไม่ต้องเจอปัญหาแบบนี้ หรือการที่ต่างประเทศมาท�ำให้เราบิน Drone ไม่ได้ พร้อมทั้งเราก็ใช้ข้อมูลตรงนี้เพื่อการใช้ สารเคมีในการฉีดพ่นโดยการท�ำให้ Drone นัน้ มีความฉลาดมากขึน้ ว่าบริเวณตรงไหนทีจ่ ะต้อง ท�ำการฉีดพ่น รวมถึงมีการปรับเปลีย่ นอัตราในการฉีดพ่นและความสูงของการบินต่อพืชนัน้ ๆ ว่ามีความเหมาะสมเท่าไหร่ เพื่อให้พืชได้รับสารอาหารได้อย่างถูกต้อง”

“เจ้าเอีย้ ง” Drone เกษตร มุง่ ช่วยเหลือ เกษตรกรไทย เพื่อยกระดับผลผลิต ด้านการเกษตร

AiANG หรือ เจ้าเอี้ยง ลักษณะ Drone คือ สามารถบินได้โดยอัตโนมัติ และมีแบตเตอรี่ ทีส่ ามารถบินได้ 10-15 นาที บรรจุยาพ่นได้ปริมาณ 10-20 ลิตร หัวสเปรย์ในการใช้พน่ มีทงั้ หมด 4 หัว มีไฟส�ำหรับบินในเช้ามืดหรือบินในตอนกลางคืน อีกทัง้ น�ำ้ หนักไม่มาก โดยทีค่ นหนึง่ คนสามารถถือ หรือหยิบจับได้สะดวก ทั้ ง นี้ ซอฟต์ แวร์ อ อกแบบและพั ฒ นา โดยคนไทย เพื่อเกษตรกรไทย เมนูภาษาไทย เข้าใจง่าย ใช้งานง่าย ข้อมูลจากระบบประมวลผล เก็บอยู่ใน Cloud Service ในประเทศไทย เช่น ข้อมูลการใช้งาน (Usage Data) ข้อมูลการบิน (Flight Path Data) และอืน่ ๆ น�ำข้อมูลผูใ้ ช้งานมา วิเคราะห์และพัฒนาเทคโนโลยีอย่างไม่หยุดยั้ง ร่วมมือกับภาครัฐเพือ่ ใช้ในการวิเคราะห์ ต่อยอด และวางแผนเพื่อแก้ปัญหาให้แก่เกษตรกรไทย และเพื่อการพัฒนาระบบเกษตรอัจฉริยะของ ประเทศไทยอย่างครบวงจร ทั้งนี้ เพื่อให้เกษตรกรไทยมีคุณภาพชีวิต ทีด่ ขี นึ้ เราจึงมุง่ พัฒนาองค์ความรูด้ า้ นเทคโนโลยี และถ่ายทอดความรู้เพื่อเกษตรกรยุคใหม่น�ำมา ปรั บ ใช้ ใ นการท� ำ การเกษตร เน้ น การท� ำ น้ อ ย ให้ได้มาก โดยวิธกี ารทีเ่ ราอยากให้มกี ารใช้ Drone มากขึ้น โดยเฉพาะระดับเกษตรกร เพราะฉะนั้น Agriculture Multispectral Drone จะเข้ามาช่วย และตอบโจทย์ในการท�ำงานให้แก่เกษตรกรเป็น อย่างมาก เนื่องจากว่าในบางครั้งเราไม่สามารถ จะเดิ น แปลงเพื่ อ ที่ จ ะดู แ ลสุ ข ภาพของพื ช ได้

ทัง้ หมด ดังนัน้ Drone จะมีบทบาทในการเดินแปลง โดยเฉพาะ Drone ประเภทนีจ้ ะมี ลักษณะพิเศษ คือ มีกล้องเพื่อประมวลผลจากภาพถ่ายของพืช ท�ำให้ผู้ประกอบการ หรือเจ้าของสวนได้ทราบว่าพืชมีอาการหรือขาดสารอาหารหรือปุ๋ยชนิดไหน ท�ำให้ สามารถที่จะแก้ไขปัญหาได้ทันที ซึ่งในปัจจุบันนี้ Drone ที่ใช้ในการถ่ายรูปฉีดพ่น เป็นการ Modify ขึ้นมาเอง จึงท�ำให้ราคาไม่สูงมาก ผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงได้ ง่ายขึ้น เพื่อการท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ Drone เกษตรตัวนี้จะเข้ามาช่วยเหลือเกษตรกรไทยเพื่อยกระดับผลผลิตด้าน การเกษตร แก้ปญ ั หาด้านการขาดแคลนแรงงาน ความปลอดภัยต่อเกษตรกร ช่วยยกระดับ ผลผลิตทางการเกษตร และยังช่วยลดต้นทุนด้านเวลาและแรงงาน ตลอดจนพัฒนา องค์รวมแก่ภาคการเกษตรของไทย เพราะฉะนัน้ เทคโนโลยีหรือนวัตกรรมจะเข้ามาช่วยยกระดับคุณภาพชีวติ อีกทัง้ ความส�ำคัญของนวัตกรรมและเทคโนโลยีจะช่วยพัฒนาประเทศทัง้ ในภาคอุตสาหกรรม และการด�ำรงชีวติ โดยสร้างให้เกิดกระบวนการในการท�ำงานหรือการมีสว่ นร่วมระหว่าง ประชาชนกับหน่วยงานภาครัฐหรือหน่วยงานภาคเอกชน เพื่อการขับเคลื่อนให้เกิด ประสิทธิภาพในสังคมและประเทศ อีกทั้งยังเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับเศรษฐกิจ พร้อมทั้งยังเป็นการผลักดันให้ความคิดของคนไทยขึ้นมาอยู่ในระดับแนวหน้าและ สอดคล้องกับความต้องการของตลาดโลก เพือ่ เป็นการยกระดับอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ หรือวิถีชีวิตของคนไทยให้มีศักยภาพมากขึ้น


Special Scoop ในปัจจุบันทุกประเทศทั่วโลกหันมาให้ความส�ำคัญ เกีย่ วกับรถยนต์ EV หรือ Electric Vehicle จากเดิมทีป่ ระชาชน ใช้รถยนต์สันดาป ในหลายๆ ประเทศก็เริ่มปรับเปลี่ยนมาใช้ เป็นรถยนต์ไฟฟ้าแทน โดยรถยนต์ EV จะใช้พลังงานจากไฟฟ้า แทนการใช้น้�ำมันหรือพลังงานอื่นๆ โดยระบบรถไฟฟ้าจะ เก็บพลังงานเอาไว้ในแบตเตอรี่ที่สามารถชาร์จได้ และแปลง พลังงานจากแบตเตอรีม่ าใช้ในการขับเคลือ่ นรถ อนึง่ รถยนต์ EV ไม่ต้องมีกลไกลอะไรที่มากเหมือนขับเคลื่อนอย่างเช่น รถยนต์ท่ีใช้น้�ำมัน ซึ่งต้องใช้การจุดระเบิดเผาไหม้ในการ ขับเคลื่อน ท�ำให้เครื่องยนต์เงียบและไม่มีไอเสียจากการ เผาผลาญพลังงาน ซึ่งนี่จะเป็นการรักษาสิ่งแวดล้อมและยัง ท�ำให้ช่วยในการประหยัดค่าใช้จ่ายอีกด้วย

สมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย จัดงานสัมมนาออนไลน์ หัวข้อ “เทรนด์ยานยนต์ไฟฟ้าก�ำลังมา เตรียมชาร์จรถ อย่างไรให้ปลอดภัย” โดยในงานมีวทิ ยากรทรงคุณภาพจาก องค์กรชั้นน�ำในประเทศไทยให้ข้อมูลความรู้ในเรื่องของ การจัดเตรียมระบบไฟฟ้า หลักเกณฑ์ และข้อก�ำหนดต่างๆ ในการชาร์จรถไฟฟ้า รวมไปถึงการท�ำธุรกิจสถานีอดั ประจุไฟฟ้า อย่างไรให้ปลอดภัยและคุ้มค่าแก่การลงทุน วฤต รัตชืน่ ผูอ้ ำ� นวยการ ฝ่ า ยแผนยุ ท ธศาสตร์ แ ละ ผู้อ�ำนวยการโครงการ EGAT ProVenture การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย กล่าวว่า กฟผ. สรรหา E-Mobility Solution เพื่อสนับสนุนการเปลี่ยนผ่าน ในภาคขนส่งไทย เสริมสร้าง วฤต รัตชื่น ความสามารถการแข่งขันของ ประเทศเพื่อชีวิตที่ดีกว่าของคนไทย โดยกล่าวว่า ในปัจจุบัน ทั่วโลกให้ความส�ำคัญในเรื่องของ Carbon Neutrality เป็น อย่างมาก บริษัทจากประเทศที่ประกาศเป้าหมายซึ่งลงทุน ในไทย ก�ำลังเร่งใช้ Green Energy ภายในปี ค.ศ. 2025

> กองบรรณาธิการ

ประเทศไทยเองในการที่ท�ำให้เกิดคาร์บอนมากที่สุดคือ ผลิตไฟฟ้า และอันดับที่ 2 คือ อุตสาหกรรม และอันดับที่ 3 คือ การขนส่ง เพราะฉะนัน้ แน่นอนว่าจะต้องไปแก้ไขในส่วนของการผลิตไฟให้เป็น Neutrality มากยิ่งขึ้น อีกระบบคือ การเปลี่ยนภาคขนส่งให้มาเป็น แบบระบบไฟฟ้ามากยิ่งขึ้น กรอบแนวทางการพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นสถานี อัดประจุไฟฟ้า 1. การส่งเสริมการพัฒนาโครงข่ายสถานีอัดประจุไฟฟ้า อย่างเพียงพอผ่านหน่วยงานและเครือข่ายพันธมิตร จะต้องมีแผน การลงทุนและพัฒนาโครงข่ายสถานีอัดประจุไฟฟ้าสาธารณะ และ การสนับสนุนการติดตั้งสถานีอัดประจุร่วมกับเครือข่ายพันธมิตร รวมถึงการส่งเสริมผ่านมาตรการทางการเงินและภาษี 2. สร้างกฎระเบียบ มาตรฐาน และแนวทาง เพื่อให้เกิดการ พัฒนาสถานีอัดประจุไฟฟ้า ต้องมีระเบียบและมาตรฐานเพื่อการ สื่อสารและความปลอดภัยของผู้ใช้ ระเบียบและมาตรฐานในการ ติดตั้งจะพัฒนาพื้นที่ที่จะท�ำการติดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้า 3. การส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสมาร์ทกริด เพื่อเชื่อมโยงและ บริหารจัดการการประจุไฟฟ้าแบบบูรณาการ ในเรื่องของนโยบาย โครงสร้างพื้นฐานมิเตอร์อัจฉริยะ เพื่อการใช้งานอย่างสมาร์ทและ เพือ่ ตอบโจทย์ในอนาคต ในเรือ่ งของการพัฒนาแพลตฟอร์ม จะต้อง บูรณาการและเชือ่ มโยงข้อมูลให้เข้าถึงกัน อีกทัง้ การเชือ่ มโยงสถานี อัดประจุและยานยนต์ไฟฟ้าเพื่อบริหารจัดการระบบไฟฟ้า


ทั้งนี้ กฟผ. มีความมุ่นมั่นส่งเสริมระบบนิเวศยานยนต์ไฟฟ้าเพื่อให้ประเทศไทยมีอากาศสะอาด และส่งเสริมภาคขนส่งที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ทั้งการวิจัยพัฒนาดัดแปลงรถยนต์เก่าเป็นรถยนต์ไฟฟ้า ส่งเสริมวินจักรยานยนต์ไฟฟ้า และท�ำการขยายสถานีอัดประจุไฟฟ้า ทีช่ อ่ื ว่า “EleX by EGAT” ภายในสถานีบริการน�ำ้ มันร่วมกับพันธมิตรในเส้นทางหลักทุกๆ 200 กิโลเมตร รวมถึงการพัฒนาหัวชาร์จอีวแี บบเร็ว ฝีมอื คนไทย เพือ่ สนับสนุนให้การเปลีย่ นผ่านสูย่ านยนต์ไฟฟ้าของประเทศเกิดขึน้ โดยเร็ว ส่วนในการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานสะอาด ปัจจุบนั ไม่ใช่เรือ่ งของอากาศทีด่ แี ละเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมเท่านัน้ แต่ยงั เป็นปัจจัยหนุนดึงดูดนักลงทุนด้วย กฟผ. จึงมีแผนการพัฒนาผลิต ไฟฟ้าจากโครงการโซลาร์ลอยน�ำ้ แบบไฮบริดในเขือ่ นของ กฟผ. โครงการโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ ท้ายเขือ่ น การพัฒนาระบบกักเก็บพลังงาน และธุรกิจ ซื้อขายใบรับรองของเครดิตพลังงานหมุนเวียน ซึ่งในอนาคตภาคการผลิตไฟฟ้าจะเข้ามามีบทบาทเพิ่มมากขึ้น

ไฟฟ้า ธนาเศรษฐ์ บุญเรศธนะพงศ์ ธนาเศรษฐ์ บุญเรศธนะพงศ์ ผูอ้ ำ� นวยการ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค กล่าวว่า ท�ำธุรกิจสถานีอดั ประจุไฟฟ้าอย่างไรให้ปลอดภัย และคุม้ ค่าแก่การลงทุน โดยกล่าวว่า การด�ำเนินการ ของ PEA คือ มีการสนับสนุนด้านระบบไฟฟ้าของ PEA ไม่วา่ จะเป็นในเรือ่ งของระบบผลิตในปี พ.ศ. 2563 ก�ำลังผลิตส�ำรองเกินความต้องการ 40% คิ ด เป็ น 20,000 MW รองรั บ รถไฟฟ้ า ชาร์ จ พร้อมกันได้ 2.8 ล้านคัน ระบบส่งไฟฟ้า มีการ ก่อสร้างระบบไฟฟ้าครอบคลุมเพียงพอ ในส่วน ของระบบจ�ำหน่ายแรงสูง ส่วนมาก EV Charging Station จะติดตัง้ บนถนนสายหลักและถนนสายรอง PEA ปรั บ ปรุ ง ขยายขี ด ความสามารถระบบ จ�ำหน่ายแรงสูงรองรับเพียงพอ ในส่วนของระบบ จ�ำหน่ายแรงต�่ำ จะเกิดปัญหาในพื้นที่ที่มีผู้ใช้ EV เป็นจ�ำนวนมาก เนือ่ งจากขนาดหม้อแปลงไฟฟ้า ความยาวระบบจ�ำหน่ายแรงต�ำ่ และจ�ำนวนลูกค้า ภายใต้หม้อแปลง การสนับสนุนด้านระบบไฟฟ้าของ กฟภ. เรามีการแก้ไขปัญหาระบบจ�ำหน่ายแรงต�่ำของ PEA โดยการเพิม่ ขนาดหม้อแปลง ติดตัง้ หม้อแปลง เพิม่ เติม และตัดจ่ายเพือ่ ลดความยาวของสายไฟฟ้า แรงต�่ำ โดยมีการวิเคราะห์ระบบจ�ำหน่ายแรงต�่า ทัว่ ประเทศ เพือ่ น�ำไปก�ำหนดแผนการด�ำเนินงาน อีกทัง้ ยังมีการเพิม่ เงินลงทุนด้านหม้อแปลงไฟฟ้า และปรับปรุงระบบจ�ำหน่ายแรงต�่ำกว่า 3,000 ล้านบาท ในมาตรฐานและข้อก�ำหนดเกี่ยวกับ การติดตั้งระบบไฟฟ้าส�ำหรับ EV Charger

1. ข้อก�ำหนดทั่วไปส�ำหรับการติดตั้งทางไฟฟ้า ระบบอัดประจุยานยนต์

2. แบบมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้า การอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าระบบ 1 เฟส ส�ำหรับผู้ใช้ไฟประเภทบ้านอยู่อาศัยและธุรกิจขนาดเล็ก 3. แบบมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้า การอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้าระบบ 3 เฟส ส�ำหรับผู้ใช้ไฟประเภทบ้านอยู่อาศัยและธุรกิจขนาดเล็ก 4. แบบมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้า สถานีอัดประจุยานยนต์ไฟฟ้า ส�ำหรับสถานประกอบการ

ทั้งนี้ แผนงานติดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟ้า PEA VOLTA ในปี พ.ศ. 2561 Pilot Project จ�ำนวน 11 สถานี ก่อสร้างแล้วเสร็จครอบคลุมพื้นที่ 9 จังหวัด เปิดให้บริการเชิงพาณิชย์แล้ว 5 สถานี และเปิดบริการฟรี 6 สถานี และแผน ในปี พ.ศ. 2563 ตามเส้นทางหลักทุก 100 กิโลเมตร ครอบคลุมพืน้ ที่ 42 จังหวัด โครงการระยะที่ 1 62 สถานี โดยมีสถานีบริการน�ำ้ มันบางจาก 56 สถานี และ ส�ำนักงาน กฟภ. 6 สถานี สถานะปัจจุบันเปิดให้บริการแล้ว 31 สถานี และ เปิดให้บริการ 62 สถานี ภายในปี พ.ศ. 2564 และในแผนปี พ.ศ. 2564 นั้น ตามเส้นทางรองและแหล่งท่องเทีย่ วส�ำคัญครอบคลุมพืน้ ที่ 75 จังหวัด โครงการ ระยะที่ 2 190 สถานี สถานะอยู่ระหว่างก�ำหนดพื้นที่ติดตั้ง ในปี พ.ศ. 2565 ติดตัง้ แล้วเสร็จรวม 62 สถานี และในปี พ.ศ. 2566 ติดตัง้ แล้วเสร็จรวม 128 สถานี เพื่อรองรับความต้องการของประชาชนที่หันมาใช้รถยนต์ไฟฟ้า นี่จะเป็นการ ตอบโจทย์และท�ำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงการชาร์จไฟได้อย่างทั่วถึงมาก ยิ่งขึ้น


นิธิ อาจองค์ ผู้อำ� นวยการกองธุรกิจระบบไฟฟ้า 1 การไฟฟ้านครหลวง บรรยายในหัวข้อ “กฟน. พร้อมขับเคลือ่ นการใช้งานยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทยเพือ่ พลังงานสะอาด เพือ่ วิถชี วี ติ เมืองมหานคร” โดยกล่าวว่า อย่างที่ทราบกันเป็นอย่างดี กฟน. มีภารกิจหลักในการจ�ำหน่ายไฟฟ้าให้กับประชาชนในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี มีลูกค้าอยู่ประมาณ 3.9 ล้านราย ซึ่งจริงๆ แล้วเรื่องของการใช้งาน รถไฟฟ้า ทุกคนก็ทราบอยู่แล้วว่าในอนาคตจะเกิดขึ้นอย่างแน่นอน และจะเกิดขึ้นในเร็วๆ นี้ เพราะฉะนั้น ในเรือ่ งของการจัดหาระบบเพือ่ รองรับการใช้จา่ ยไฟรถไฟฟ้าก็ให้ความส�ำคัญ ซึง่ เป็นหนึง่ ในตัวแผนหลักทีจ่ ะต้อง สามารถรองรับการจ่ายไฟของรถไฟฟ้าให้ได้ 6.6 ล้านคัน ซึง่ ในตอนนี้ กฟน. เริม่ ท�ำการเซ็ตแผนเป็นทีเ่ รียบร้อย แล้ว ในเป้าหมายในอีก 10 ปีข้างหน้าเราจะท�ำการรองรับได้อย่างแน่นอน

นิธิ อาจองค์

MEA EV Ecosystem ในการทำ�ระบบนั้น สมบูรณ์แบบแล้ว 100% ซึ่งมีการนำ�รถไฟฟ้า มาใช้งานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556

Smart Meto Grid : MEA Goal in 2021

1. ในเรื่องของ Smart Grid ภาพใหญ่ของ การไฟฟ้านครหลวงคือเรือ่ งของการท�ำเป็น Smart Grid จะเห็นว่าเราจะมีเรือ่ งของการปรับปรุงระบบ จ�ำหน่ายไฟฟ้า ทัง้ การน�ำสายไฟฟ้าลงดิน มีการตัง้ Smart Miter ในพื้นที่ทั้ง 18 เขต และพื้นที่ที่เป็น ย่านธุรกิจส�ำคัญ 2. เรามีการรองรับ Solar ที่เป็นของภาค เอกชน จะเข้ามาในระบบของเรานั้น เราตั้งเป้า ไว้ที่ 3,000 MW จะต้องเข้ามาในโครงข่ายของเรา ให้ได้ 3. เรื่องของการติดตั้ง Energy Storage System : ที่สถานีย่อย Pathumwan Substation ขนาด 1.2 MW 4. มีเรื่องของการพัฒนา Energy Trading Platform ของการซือ้ ขายไฟฟ้าในอนาคต เนือ่ งจาก มีการซือ้ ขาย Solar และยังมีการซือ้ ขายไฟฟ้าผ่าน ระบบ จะต้องมีระบบ Energy Trading Platform รองรับไว้

1. ในปัจจุบันเรามีรถ EV ที่นำ� มาใช้งานแล้วกว่า 60 คัน 2. Charging Station : 11 Stations อยู่ทั่วทั้ง 18 เขต 3. เรามี Platform ที่เรียกว่า MEA EV App and Data Center ทีเ่ อาไว้ใช้สำ� หรับการจองหัวจ่าย การค้นหาสถานีชาร์จ อีกทั้งยังเอาไว้จัดเก็บข้อมูลการใช้ไฟด้วย 4. และยังมีเกีย่ วกับการควบคุมพลังงานไฟฟ้าทีจ่ ดั ให้กบั ตัวสถานีย่อย เพื่อที่จะไปสอดคล้องกับผู้ใช้ไฟฟ้าที่เราเรียกว่า for Low Priority หรือผู้ใช้ไฟฟ้าที่สามารถลดการใช้พลังงานที่ จ่ายได้ ตั้งแต่ต้นปี ผู้ว่าการการไฟฟ้านครหลวงได้ท�ำพิธีมอบ เครือ่ งชาร์จไฟฟ้า 22 กิโลวัตต์ ซึง่ เป็นเครือ่ งทีก่ ารไฟฟ้านครหลวง เป็นผูพ้ ฒ ั นาและท�ำการจัดสร้างขึน้ มาเอง อีกทัง้ ยังผลิตเป็นต้นแบบแก่การใช้งาน ในปัจจุบันตอนนี้สามารถแจกให้ทั้งภาคเอกชน รัฐบาล ที่มีความสนใจที่จะมา ร่วมกับโครงการเครือ่ ง Charger และให้มกี ารใช้เครือ่ ง EV Application เป็นการ ให้บริการฟรีตอ่ สังคม และทาง MEA ให้ความส�ำคัญเกีย่ วกับเรือ่ งพลังงานสะอาด ทัง้ นี้ รองผูว้ า่ การการไฟฟ้านครหลวงเข้ารับรางวัลดีเด่น ผูส้ ง่ เสริมด้านพลังงาน ประเภทสมาคม องค์กร หน่วยงาน จากการประกวด Thailand Energy Awards 2019 ซึ่งจัดขึ้นโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน และร่วมออกบูทแสดงนวัตกรรม MEA EV เพือ่ ชาวมหานคร ในงาน EVAT 2019 และ 2020 ทัง้ นีย้ งั มีการปล่อยขบวนรถยนต์พลังงานไฟฟ้า MG ZS จ�ำนวน 23 คัน และ Nissan Leaf จ�ำนวน 24 คัน เพือ่ น�ำมาใช้ในกิจกรรม สนองตอบนโยบายขับเคลื่อนการใช้งานรถยนต์ไฟฟ้า ลดการสร้างมลภาวะ อันเป็นสาเหตุส�ำคัญของฝุ่น PM2.5 ได้อย่างยั่งยืน ณ การไฟฟ้านครหลวง ส�ำนักงานเพลินจิต ด้วยข้อดีเหล่านี้จึงท�ำให้รัฐบาลหลายๆ ประเทศต่างพากันสนับสนุน รถยนต์พลังงานไฟฟ้า ไม่ว่าจะเป็นในประเทศสหรัฐอเมริกา นอร์เวย์ เยอรมนี จีน หรืออังกฤษ ซึ่งปัจจุบันเป็นประเทศที่มีผู้ใช้รถยนต์พลังงานไฟฟ้าอยู่ และ พยายามที่จะผลักดันนโยบายให้รถยนต์พลังงานไฟฟ้ากลายเป็นรถยนต์แห่ง อนาคตที่ท้ังโลกจะหันมาใช้ ส�ำหรับประเทศไทยนั้น มีการเตรียมความพร้อม ในเรื่องนี้อยู่แล้ว เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้อย่างทั่วถึง


Special Scoop > กองบรรณาธิการ

ไพโรจน์ สมุทรธนานนท์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท โกลบอล กรีนเคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยและ พันธสัญญาทีจ่ ริงใจต่อลูกค้า GGC จึงมุง่ สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพสูง อาทิ เมทิลเอสเทอร์ (Methyl Ester) แฟตตีแ้ อลกอฮอล์ (Fatty Alcohols) (ภายใต้เครือ่ งหมายการค้า THAIOL) และกลีเซอรีน (Glycerine) นอกจากนัน้ ยังมีบริการออกแบบบรรจุภัณฑ์ตามลักษณะการใช้งานและตามความ ต้องการเพื่อความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้า โดยเน้นย�้ำเรื่องมาตรฐาน แห่งคุณภาพตั้งแต่การคัดสรรวัตถุดิบ การตรวจสอบในห้องปฏิบัติการ การควบคุมกระบวนการผลิต จนถึงสินค้าผลิตเสร็จสมบูรณ์ โดยมีการ รับรองทัง้ ระดับประเทศและระดับโลกเป็นเครือ่ งยืนยัน ได้แก่ ISO 9000, ISO 14001, OHSAS18001, TIS18001, GMP, HACCP, Halal, Kosher และ RSPO เพื่อความมั่นใจสูงสุดก่อนถึงมือลูกค้า

นโยบายการบริหารจัดการความยั่งยืน กลุ่มบริษท ั โกลบอลกรีนเคมิคอล

การเปลี่ ย นแปลงทางดิ จิ ทั ล เป็ น สิ่ ง ที่ ทุ ก อุตสาหกรรมให้ความสนใจในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ท�ำให้ผู้ผลิตจ�ำเป็นต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบธุรกิจและ กลยุทธ์มากขึน้ เพือ่ ให้สอดคล้องกับความต้องการของ ผู้บริโภคหรือคู่ค้าในธุรกิจ ไพโรจน์ สมุทรธนานนท์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท โกลบอลกรีนเคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GGC น�ำเสนอวิสัยทัศน์และ ทิศทางการด�ำเนินธุรกิจของ GGC รวมทั้งกลยุทธ์ของ บริษทั ทีม่ เี ป้าหมายสูก่ ารเป็นผูน้ ำ� ผลิตภัณฑ์เคมีทยี่ งั่ ยืน ในอนาคต บริษทั โกลบอลกรีนเคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GGC เดิมคือ บริษัท ไทยโอลีโอเคมี จ�ำกัด เป็นบริษทั ในกลุม่ พีทที โี กลบอล เคมิคอล (PTTGC) เป็น ผู้บุกเบิกด้านการผลิตผลิตภัณฑ์โอลีโอเคมีแห่งแรก ในประเทศไทย ภายใต้วิสัยทัศน์แห่งการเป็นผู้น�ำของ โอลีโอเคมีในตลาดโลก พร้อมกับการส่งเสริมความ สามารถในการแข่งขันของธุรกิจปลายน�ำ้ ทีเ่ กีย่ วข้องกับ การเกษตรให้แก่ประเทศ อย่างเช่น อุตสาหกรรมพลังงาน ทดแทน สารลดแรงตึงผิว ตลอดจนผลิตภัณฑ์เพื่อ สุขอนามัยทีผ่ ลิตจากวัตถุดบิ ธรรมชาติ เพือ่ สร้างความ ยัง่ ยืนให้แก่เกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรมต่อเนือ่ ง ของประเทศ

กลุม่ บริษทั โกลบอลกรีนเคมิคอล มุง่ มัน่ ในการด�ำเนินธุรกิจตาม แนวทางการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน เพือ่ เป็นบริษทั แกนน�ำในธุรกิจผลิตภัณฑ์ เคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม ด้วยการสร้างความเชื่อมั่นต่อผู้มีส่วนได้เสียผ่าน การด�ำเนินงานทีเ่ ป็นเลิศ โปร่งใส เป็นธรรม มีการพัฒนานวัตกรรมอย่าง ต่อเนือ่ ง และมีกรอบการบริหารจัดการความยัง่ ยืน เพือ่ เป็นแนวปฏิบตั ิ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันตามมาตรฐานสากล โดยมีนโยบายการ ด�ำเนินงาน ดังนี้

ไพโรจน์ สมุทรธนานนท์


1. 2. 3.

ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายและข้ อ ก� ำ หนดที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ของประเทศ ที่ด�ำเนินงานและเคารพแนวปฏิบัติ ในระดับสากล ค�ำนึงถึงการรักษาความสมดุลทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสีย ทุกฝ่ายในการด�ำเนินงานเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน สร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับนโยบายการบริหาร จัดการความยัง่ ยืนกลุม่ บริษทั โกลบอลกรีนเคมิคอล ให้แก่คู่ค้า ลูกค้า และผู้บริโภค ตลอดจนส่งเสริมการน�า แนวปฏิบัติอย่างยั่งยืนไปประยุกต์ใช้เพื่อยกระดับและ ลดผลกระทบจากการด�ำเนินงานตลอดห่วงโซ่คุณค่า

ทัง้ นี้ ผูบ้ ริหารและพนักงานกลุม่ บริษทั ฯ ทุกคนล้วนมีหน้าที่ สนับสนุน ผลักดัน และปฏิบัติให้สอดคล้องกับนโยบายและกรอบ การบริหารจัดการความยั่งยืนที่กำ� หนด ไพโรจน์ กล่าวว่า “เรามีนโยบายการบริหารจัดการความยัง่ ยืน กลุ่มบริษัทโกลบอลกรีนเคมิคอล เรามุ่งมั่นในการด�ำเนินธุรกิจ ตามแนวทางการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน เพือ่ เป็นบริษทั แกนน�ำในธุรกิจ ผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อสิ่งแวดล้อม ด้วยการสร้างความเชื่อมั่นต่อ ผู้มีส่วนได้เสียผ่านการด�ำเนินงานที่เป็นเลิศ โปร่งใส เป็นธรรม มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง และมีกรอบการบริหารจัดการความ ยัง่ ยืน เพือ่ เป็นแนวปฏิบตั ใิ ห้เป็นไปในทิศทางเดียวกันตามมาตรฐาน สากล” GGC เป็ น บริ ษั ท ผู ้ ผ ลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ อลี โ อเคมี แ ห่ ง แรก ในประเทศไทย และเป็นบริษัทแกนน�ำในธุรกิจผลิตภัณฑ์เคมีเพื่อ สิ่งแวดล้อม (Green Flagship Company) ของกลุ่มบริษัทพีพีที โกลบอล เคมิคอล ทั้งนี้ บริษัทฯ มีความมุ่งมั่นที่จะเป็นผู้น�ำของ ผู้ผลิตโอลีโอเคมีในตลาดโลก พร้อมกับสร้างความยั่งยืนทาง เศรษฐกิจให้แก่ภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมของประเทศไทย อย่างต่อเนื่อง ปัจจุบันบริษัทฯ มีผลิตภัณฑ์หลัก ประกอบด้วย เมทิลเอสเทอร์ หรือ B100 ทีใ่ ช้เป็นส่วนผสมในน�ำ้ มันดีเซลหมุนเร็ว โดยมีก�ำลังการผลิต 500,000 ตันต่อปี แฟตตี้แอลกอฮอล์ ที่ใช้ เป็นส่วนผสมหลักในการผลิตเครื่องส�ำอาง สารลดแรงตึงผิว และ เภสัชภัณฑ์ตา่ งๆ โดยมีกำ� ลังผลิต 100,000 ตันต่อปี และกลีเซอรีน บริสุทธิ์ ซึ่งเป็นส่วนผสมที่ใช้อย่างแพร่หลายในเครื่องส�ำอางและ เภสัชภัณฑ์ มีก�ำลังการผลิต 51,000 ตันต่อปี โดยมีฐานการผลิต ตัง้ อยูใ่ นนิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก (มาบตาพุด) จังหวัด ระยอง และในพื้นที่เขตประกอบการอุตสาหกรรมไทยอีสเทิร์น จังหวัดชลบุรี ซึ่งทุกผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ใช้วัตถุดิบหลักจาก น�ำ้ มันปาล์มดิบภายในประเทศ และจัดจ�ำหน่ายให้แก่ลกู ค้าทัง้ ภายใน ประเทศและต่างประเทศ

4. 5. 6.

ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมกระบวนการผลิตและ ผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง เพื่อประโยชน์ที่ยั่งยืนต่อ สังคมและสิ่งแวดล้อม ยึ ด หลั ก การการเป็ น พลเมื อ งที่ ดี ข องสั ง คม และ อาศัยความรู้ ความเชีย่ วชาญ และประสบการณ์ของ กลุ่มบริษัทโกลบอลกรีนเคมิคอลเพื่อเป็นส่วนร่วมในการ ยกระดับคุณภาพชีวิตของสังคม เปิ ด นโยบาย แนวทางการบริ ห ารจั ด การ และ ผลการด�ำเนินงานอย่างโปร่งใส ตลอดจนเป็นแบบอย่าง ทีด่ ใี นการสร้างพฤติกรรมทีน่ ำ� ไปสูว่ ฒ ั นธรรมการด�ำเนินธุรกิจ อย่างยั่งยืน

“ในฐานะทีบ่ ริษทั ฯ เป็นผูน้ ำ� ด้านผลิตภัณฑ์เคมีเพือ่ สิง่ แวดล้อม บริษทั ฯ จึงมุง่ สร้างสรรค์คณ ุ ค่าในการอยูร่ ว่ มกันอย่างยัง่ ยืนผ่านการ ด�ำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส ภายใต้หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและ จรรยาบรรณธุรกิจ ควบคู่ไปกับการรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และ สิง่ แวดล้อม นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยินดีรบั ฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ เพือ่ น�ำมาพัฒนาร่วมกับผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกภาคส่วน นอกจากนี้ ในปี พ.ศ. 2563 ได้ดำ� เนินการก่อสร้างโครงการนครสวรรค์ไบโอคอมเพล็กซ์ (BioComplex) ในระยะที่ 1 ประกอบด้วย โรงหีบอ้อย ก�ำลังการผลิต 2.4 ล้านตันต่อปี โรงงานผลิตเอทานอล ก�ำลังการผลิต 600,000 ลิตร ต่อวัน และโรงไฟฟ้าชีวมวล ผลิตติดตั้งไฟฟ้า 85 เมกะวัตต์ และ ไอน�้ำ 475 ตันต่อชั่วโมง โดยปัจจุบันอยู่ในทิศทางการด�ำเนินงาน ที่ทราบกันดี คือในครึ่งปีหลัง พ.ศ. 2564 เรามีความหวังว่าจะดีขึ้น จากเดิมทีผ่ า่ นมา โดยปัจจัยทีเ่ ราหวังก็คอื เรือ่ งของการฉีดวัคซีน และ ความคืบหน้าเกี่ยวกับ BioComplex ระยะที่ 1 จะแล้วเสร็จในสิ้นปี พ.ศ. 2564 และในส่วนของก�ำลังผลิตจะเริม่ ผลิตในต้นปี พ.ศ. 2565 ในระยะที่ 2 บริษัทฯ ได้มีการชักชวนและท�ำงานร่วมกับผู้ลงทุนใน ต่างประเทศ ซึ่งในตอนนี้บริษัทที่สนใจร่วมลงทุนด้วยนั้น ได้รับการ สนับสนุนจาก BOI แล้ว ทางเราก็มีความมั่นใจสูงว่าโครงการจะมี ความคืบหน้าและพร้อมเดินหน้าอย่างเต็มศักยภาพ”


ประกาศผลการให้การรับรองในไตรมาส 4 ประจ�ำปี 2563

ทัง้ นี้ GGC ได้รบั การรับรองเป็นสมาชิก CAC ครัง้ แรกในปี พ.ศ. 2561 ซึง่ การขอรับการรับรองดังกล่าวจะต้องผ่านกระบวนการ ประเมินตนเองที่มีการสอบทานและลงนามรับรองโดยประธาน กรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ว่าบริษัท มีการก�ำหนดนโยบาย แนวปฏิบัติ และมาตรการก�ำกับดูแลเพื่อ ป้องกันการคอร์รัปชันในทุกขั้นตอน พร้อมทั้งมีเอกสารหลักฐาน การอ้างอิงครบถ้วนตามที่ CAC ก�ำหนด โดยตลอดระยะเวลาในการด�ำเนินงาน บริษัทฯ โดยการ ก�ำกับดูแลของคณะกรรมการบริษทั ฯ ได้มกี ารด�ำเนินการทีเ่ กีย่ วข้อง กับการปรับปรุงระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ อย่างต่อเนือ่ ง ตามค�ำแนะน�ำของ CAC และรายงานให้แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้รับทราบผ่านรายงานประจ�ำปีของบริษัทฯ อย่างสม�ำ่ เสมอ การได้รับการต่ออายุสมาชิก CAC ในครั้งนี้ นับเป็นความ ภาคภูมิใจและแสดงให้เห็นถึงพลังความร่วมมือของ GGC ซึ่งเป็น ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชัน และการน�า นโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันไปปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ในอนาคต GGC มีแผนที่จะชักชวนบริษัทย่อยและคู่ค้า ที่เป็น SMEs เข้าร่วมโครงการรับรองของ CAC เพื่อสร้าง Supply Chain ที่โปร่งใสและขยายแนวร่วมในการต่อต้านคอร์รัปชันต่อไป การรับรองดังกล่าวจะมีอายุ 3 ปี นับจากวันที่มีมติให้การ รับรอง วันที่ 31 มีนาคม 2564 และจะครบก�ำหนดอายุการรับรอง 3 ปี ในวันที่ 30 มีนาคม 2567

นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ทบทวนข้อมูลในแบบประเมินตนเองที่ เกีย่ วข้องกับหลักการของการประเมินความเสีย่ ง CAC การพัฒนามาตรการ ต่อต้านคอร์รัปชัน รูปแบบของการกระท�ำคอร์รัปชันและมาตรการที่ต้อง น�ำไปปฏิบัติ เพื่อให้ข้อมูลและการด�ำเนินงานด้านการต่อต้านทุจริตของ บริษัทฯ มีความถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน ไพโรจน์ กล่าวเพิม่ เติมว่า ในการด�ำเนินธุรกิจภายใต้ความไม่แน่นอน ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม อาทิ สถานการณ์การแพร่ระบาดของ เชือ้ ไวรัสโควิด-19 ถือเป็นความท้าทายในการด�ำเนินธุรกิจอย่างยัง่ ยืนของ บริษทั ฯ ซึง่ หากบริษทั ฯ มีการบริหารจัดการความเสีย่ งทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพ เพียงพอ อาจส่งผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจ เช่น การหยุดชะงักในการผลิต การเพิ่มต้นทุนการผลิต การมีภาพลักษณ์เชิงลบ เป็นต้น ดังนั้นบริษัทฯ จึงบริหารจัดการความเสีย่ งอย่างเป็นระบบ สอดคล้องกับมาตรฐานสากล และยึดมั่นในการด�ำเนินธุรกิจตามหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและ

จรรยาบรรณธุรกิจ รวมถึงการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ บริษัทฯ เชื่อว่าการ บูรณาการการก�ำกับดูแลกิจการ การบริหารความเสี่ยง และ การปฏิบตั ติ ามกฎหมาย กฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง และมาตรฐาน ที่เกี่ยวข้อง จะช่วยส่งเสริมให้พนักงานทุกระดับเข้าใจใน วัตถุประสงค์ของธุรกิจ และความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสีย ซึ่งน�ำไปสู่การปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความเสี่ยง ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับองค์กร และอยู่ภายใต้กฎหมาย อีกทั้ง GGC ยังให้ความส�ำคัญในเรื่องของการบริหาร จัดการด้านสิ่งแวดล้อม เนื่องจากว่าปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม อาทิ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ส่งผลให้เกิดมรสุม น�้ำแล้ง และน�้ำท่วม สามารถส่งผลกระทบต่อบริษัทฯ และ ผูม้ สี ว่ นได้เสียทัง้ ทางตรงและทางอ้อม ซึง่ หากบริษทั ฯ ไม่มกี าร บริหารจัดการด้านสิง่ แวดล้อมทีม่ ปี ระสิทธิภาพ อาจก่อให้เกิด ความเสีย่ งทีจ่ ะเกิดผลกระทบต่อการด�ำเนินธุรกิจของบริษทั ฯ อาทิ ค่าใช้จา่ ยในการจัดการสิง่ แวดล้อมทีเ่ พิม่ ขึน้ ข้อร้องเรียน จากชุมชน และภาพลักษณ์บริษัทฯ ที่เป็นลบ ดังนั้นบริษัทฯ จึงมุ่งมั่นบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างมีความรับผิดชอบ แก่ชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนผู้มีส่วนได้เสีย ทีเ่ กีย่ วข้อง โดยครอบคลุมถึงการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ สูงสุดตลอดห่วงโซ่อุปทาน ตามแนวเศรษฐกิจหมุนเวียน การพัฒนาประสิทธิภาพการใช้พลังงานและลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก การจัดการของเสียและการบริหารจัดการ ทรั พ ยากรน�้ ำ เพื่ อ เป็ น การใช้ ท รั พ ยากรอย่ า งคุ ้ ม ค่ า และ ให้ความส�ำคัญเกี่ยวกับสังคมเป็นที่หนึ่ง


Scoop

> กองบรรณาธิการ

คอร์สแอร์ กรุป๊ (Corsair Group) บริษทั ผูพ้ ฒ ั นาโซลูชนั ธุรกิจ ด้านสิง่ แวดล้อม ซึง่ มีฐานการด�ำเนินงานทัง้ ในไทยและเนเธอร์แลนด์ มุ่งมั่นน�ำเสนอโซลูชันใหม่เพื่อร่วมเยียวยาปัญหามลภาวะจากขยะ พลาสติก มลพิษทางอากาศและน�ำ้ ซึง่ ทวีความรุนแรงและส่งผลต่อ การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศโลก ชูนวัตกรรมใหม่ “เทคโนโลยี ไพโรไลซิส (Pyrolysis Technologies)” ซึ่งสามารถเปลี่ยนขยะ พลาสติกให้เป็นน�ำ้ มันชีวภาพขัน้ สูง (Advanced Bio-Oil) เพือ่ ใช้เป็น วัตถุดบิ ในการผลิตเชือ้ เพลิงทางเลือก พร้อมเปิดรับการร่วมมือเป็น พันธมิตรทัง้ กับองค์กรธุรกิจและหน่วยงานรัฐบาล เพือ่ การเยียวยา ปัญหาสิ่งแวดล้อมร่วมกันอย่างยั่งยืน ยูสซี เว็คโค ซาโลรานตา ประธานกรรมการบริหารและ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร คอร์สแอร์ กรุ๊ป อินเตอร์เนชั่นแนล กล่าวว่า “เราใช้เทคโนโลยีที่เป็นนวัตกรรมล�้ำสมัยเพื่อสร้าง ความมั่นใจว่าเราจะมีอนาคตที่ดีกว่ารออยู่ และนัน่ คือพันธกิจของคอร์สแอร์ เทคโนโลยี ไพโรไลซิ ส ที่ เราใช้ ถื อ เป็ น เทคโนโลยี ที่ มี ความล�้ ำ หน้ า มากที่ สุ ด ในอุ ต สาหกรรม ซึ่งช่วยให้เราสามารถแปรสภาพพลาสติก ประเภทต่างๆ ซึ่งถูกโยนทิ้งในแต่ละวันและ

ต้องน�ำไปฝังกลบจนสร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวงต่อมหาสมุทร ซึง่ ท้ายทีส่ ดุ พลาสติกเหล่านีก้ จ็ ะแทรกซึมเข้าสูห่ ว่ งโซ่อาหารของเรา และยังก่อให้เกิดมลพิษในอากาศที่เราหายใจเข้าไปด้วย” โดยทีบ่ ริษทั ฯ มีเป้าหมายคือการเปลีย่ นขยะเหลือทิง้ เหล่านี้ ให้กลับมาเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีประโยชน์บนแนวทางที่เป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อมให้มากทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะเป็นไปได้ เพือ่ การนัน้ เราได้รว่ มมือ กับองค์กรและหน่วยงานรัฐบาลที่ต้องการเป็นส่วนหนึ่งของการ ลดผลกระทบต่อโลกผ่านการท�ำงานร่วมกับเราในการลดปริมาณ ขยะพลาสติก เพราะเรามีโลกเพียงใบเดียว หากเราร่วมแรงร่วมใจ ท�ำงานเป็นทีมเดียวกัน เราจะสามารถสร้างสรรค์อนาคตที่ดีขึ้น ส�ำหรับทุกชีวิตได้อย่างแน่นอน พลาสติกที่ใช้ในชีวิตประจ�ำวันล้วนผลิตจากน�้ำมัน งานของ คอร์สแอร์คือการเปลี่ยนสภาพของขยะพลาสติกเหล่านั้นให้กลับ ไปเป็นน�ำ้ มันในรูปแบบของเหลว โดยเริม่ จากการล�ำเลียงขยะพลาสติก ลงในเครื่องไพโรไลซิส (Pyrolysis Machine) ซึ่งสามารถรองรับขยะ พลาสติกได้ทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นถุงพลาสติก พลาสติกห่อหุ้ม และ บรรจุภณ ั ฑ์ (ซึง่ พลาสติกเหล่านีห้ ลังจากถูกใช้งานมักถูกโยนใส่หลุม ฝังกลบ และส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมทัง้ บนบกและในท้องทะเล) หลังจากนั้นเครื่องจะให้ความร้อนแก่ขยะพลาสติกเหล่านั้นเพื่อให้ เกิดควันและก๊าซ ขั้นตอนนี้ไม่ใช่การเผา เพราะจะยังไม่มีเปลวไฟ สัมผัสถูกเนือ้ พลาสติกเลย จึงท�ำให้ไม่เกิดไอพิษลอยสูช่ นั้ บรรยากาศ ก๊าซไวไฟที่ได้ในขั้นตอนนี้จะถูกรวบรวมและน�ำไปใช้เพื่อสร้าง ความร้อนในขั้นตอนการแปรสภาพขยะพลาสติกต่อไป ส่วนควัน ที่เกิดขึ้นจะลอยผ่านระบบกลั่นและเปลี่ยนเป็นของเหลว ซึ่งน�ำ้ มัน ชีวภาพถูกสร้างขึ้นด้วยกระบวนการนี้นั่นเอง น�้ ำ มั น ก� ำ มะถั น ต�่ ำ ที่ ไ ด้ นี้ เรี ย กว่ า น�้ ำ มั น ชี ว ภาพขั้ น สู ง (Advanced Bio-Oil/Advanced Biofuel) มีลกั ษณะเหมือนน�ำ้ มันดิบ และสามารถน�ำไปเป็นวัตถุดิบในการผลิตเชื้อเพลิงที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อมมากกว่า เช่น น�้ำมันเบนซิน น�้ำมันดีเซล และน�้ำมัน อากาศยาน และส�ำคัญที่สุด น�้ำมันชีวภาพขั้นสูง สามารถใช้เพื่อ การผลิตพลาสติกใหม่ ซึ่งนี่คือเป้าหมายหลักของคอร์สแอร์ในการ ลดปริมาณขยะพลาสติกที่จะถูกน�ำไปฝังกลบและส่งผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม คอร์สแอร์แก้ไขปัญหาด้วยการสร้างวงจรชีวิตรูปแบบ ใหม่ เพื่อให้ขยะพลาสติกสามารถแปรสภาพกลับไปเป็นผลิตภัณฑ์ ที่มีประโยชน์ได้อีกครั้ง แทนที่จะถูกทิ้งให้สร้างมลภาวะต่อโลก


นอกจากนี้ น�ำ้ มันชีวภาพขัน้ สูงบางส่วนทีผ่ ลิตได้ยงั หมุนเวียน กลับมาใช้เป็นแหล่งพลังงานให้กับเครื่องจักรไพโรไลซิสเอง ดังนั้น จึงไม่จ�ำเป็นต้องใช้น�้ำมันเชื้อเพลิงจากภายนอก ซึ่งในอนาคต คอร์สแอร์จะมีการผลิตไฟฟ้าจากความร้อนของเครื่องจักรเหล่านี้ ในตัวเอง เพือ่ สร้างระบบนิเวศพลังงานทีเ่ พียงพอส�ำหรับป้อนภายใน โรงงาน ทัง้ นี้ ขยะพลาสติกถือเป็นปัญหาทีเ่ รือ้ รังมายาวนาน โดยเฉลีย่ มนุษย์สร้างขยะพลาสติกราวคนละ 50 กิโลกรัมต่อปี เฉพาะประเทศไทย มีการสร้างขยะพลาสติกปีละมากกว่า 2 พันล้านกิโลกรัม แต่มีการ น�ำไปรีไซเคิลไม่ถึง 10% ในปัจจุบันคอร์สแอร์ร่วมมือเป็นพันธมิตร กับหน่วยงานของรัฐบาลไทยในการสนับสนุนพันธกิจของประเทศ และของโลกใบนี้ เพือ่ การสร้างโลกทีส่ ะอาดและปลอดภัยต่อสุขภาพ ให้ผู้คนได้ใช้ชีวิตอย่างมีความสุขกับอนาคตที่ดียิ่งขึ้น ทุกวันนี้ขยะพลาสติกเกี่ยวข้องกับทุกแง่มุมในชีวิตของเรา โดยปรากฏในทุกที่ ทั้งในน�ำ้ อากาศ และการบรรจุอาหาร จึงแทบ เป็นไปไม่ได้เลยที่จะหลีกเลี่ยงปัญหามลภาวะจากขยะพลาสติก

Corsair Group uses advanced Pyrolysis technologies to deliver solutions to help reduce the plastic pollution problem that is threatening the health of the planet. Corsair Group, established in both Thailand and in the Netherlands, was founded to develop and deliver viable business solutions to help rectify the mounting global impact caused by plastic waste, air pollution, water pollution, and climate change. To achieve this goal the company is using innovative Pyrolysis technologies to transform plastic waste into Advanced Bio-oil.

The plastic products that we all use in our daily lives are made from oil. What Corsair is doing, is converting the plastic waste from its current form back into liquid. Converting the plastic waste starts by loading it into the pyrolysis machine, which accepts all kinds of discarded plastic products such as plastic bags, wrapping materials, and packaging products, most of which would typically end up in landfills and to the natural environments on land and in the sea. Heat is then applied to the waste in order to create smoke and gases from the plastic. During this process there is no burning involved, no flames ever touch the plastic, and no toxic fumes are released into the atmosphere. Instead, the flammable gases are collected and used for creating heat to initiate the transformation of the waste. The smoke runs through a distillation system where it is converted into liquid. This combined process is how the oil is created. The low-sulphur oil produced is called Advanced Bio-Oil/ Advanced Biofuel and has similar characteristics to crude oil, and can be used as a raw material for the manufacturing of more environmentally friendly fuels, such as gasoline, diesel, and jet fuel. Most importantly, Advanced Bio-oil can also be used to create new plastic products. This is Corsair’s main goal, to reduce the amount of plastic being produced that just ends up in landfills. Corsair wants to create a lifecycle for plastic products, where they return as useful products instead of polluting the environment. Moreover, some of the oil that is produced also goes back into the pyrolysis machine to power itself, thus eliminating the need for any outside fuels. In the future, Corsair will also generate its own electricity from the heat of the machines, creating a self-sufficient eco-power system within its factory. Plastic waste is a constantly growing problem, with each


ซึ่งได้กลายเป็นตัวสร้างปัญหาสุขภาพของผู้คนและสิ่งแวดล้อม ในธรรมชาติ ทั้งกับสัตว์น�้ำและสัตว์บก โรงงานรีไซเคิลขยะพลาสติกให้กลายเป็นน�ำ้ มัน หรือเรียกว่า การรีไซเคิลทางเคมีของคอร์สแอร์ มีเนือ้ ที่ 6,400 ตารางเมตร ตัง้ อยู่ ในกรุงเทพฯ ใช้เทคโนโลยีไพโรไลซิสทีส่ ามารถเปลีย่ นขยะพลาสติก ทีส่ ร้างผลเสียต่อสิง่ แวดล้อม ให้กลายเป็นผลิตภัณฑ์นำ�้ มันก�ำมะถัน ต�ำ่ ปัจจุบนั มีกำ� ลังการผลิตราว 200,000 ลิตรต่อเดือน โดยโรงงาน จะขยายเนื้อที่อีก 10,000 ตารางเมตร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ การผลิตให้ได้มากกว่า 1,000,000 ลิตรต่อเดือน ในปี ค.ศ. 2022 เพราะฉะนั้นถึงเวลาแล้วที่เราต้องยืนหยัดและร่วมแก้ไข ปัญหามลภาวะจากขยะพลาสติก เราทุกคนสามารถสร้างความ แตกต่างได้ดว้ ยการใช้เทคโนโลยีใหม่ทเ่ี รามีอยู่ ด้วยเหตุนเ้ี ราพร้อม ต้อนรับบริษัท พันธมิตรทางการเงิน องค์กร และหน่วยงานรัฐบาล ที่มีอุดมการณ์เดียวกัน ในปัจจุบันเราได้ท�ำงานร่วมกับบริษัทและ องค์กรชื่อดังของไทยหลายแห่ง อาทิ ไมเนอร์ กรุ๊ป เซ็นทารา กรุ๊ป

ชาเทรียม โฮเทล แอนด์ รีสอร์ท บริษัท ล็อกซเล่ย์ จ�ำกัด (มหาชน) และโรงเรียนนานาชาติโชรส์เบอรี่ รวมถึงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บริษทั แอสเซทไวส์ จ�ำกัด (มหาชน) แดรีโ่ ฮม และอีกหลายแห่ง นีค่ อื ช่วงเวลาทีเ่ ราต้องร่วมมือกันสร้างสรรค์วนั พรุง่ นีท้ ดี่ กี ว่าเพือ่ ทุกชีวติ ดังนัน้ มลภาวะจากขยะพลาสติกทวีความรุนแรงขึน้ เนือ่ งจาก สถานการณ์โควิด-19 ซึง่ มาพร้อมอุปสงค์ทเ่ี กิดขึน้ ทัว่ โลกต่อหน้ากาก อนามัยและอุปกรณ์ปกป้องสุขภาพส่วนบุคคล ส่งผลถึงการใช้ บรรจุภัณฑ์พลาสติกและพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งในปริมาณ ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น เมื่ อ เร็ ว ๆ นี้ ส ถาบั น สิ่ ง แวดล้ อ มไทยรายงานว่ า สถานการณ์โควิด-19 ท�ำให้ปริมาณขยะพลาสติกในกรุงเทพฯ เพิม่ ขึน้ ถึง 60% โดยอัตราการผลิตพลาสติกรายปียงั คงเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง ซึ่งมีรายงานการผลิตทั่วโลกมากกว่า 370 ล้านเมตริกตันต่อปี หากแนวโน้มยังคงเป็นเช่นนี้ ภายในปี ค.ศ. 2050 ขยะพลาสติกกว่า 12 พันล้านตัน จะทับถมอยู่ในหลุมขยะฝังกลบและปนเปื้อนสู่ สิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ

person typically generating approximately 50 kilograms per year. Thailand generates over 2 billion kilograms of plastic waste annually, from which less than 10% is currently being recycled. Corsair is partnering with corporate and government entities in the country to help them join the mission to make Thailand, and the entire planet, a cleaner and healthier place for everyone to enjoy a better future. Plastic waste permeates every aspect of our lives, it can be found in water, air, and food, it is getting to the point where it is almost impossible not to have plastic waste pollution becoming a part of everyone’s lives and this contributes to a number of health problems for people and the devastation of natural environments for animals and sea creatures. Mr.Jussi Veikko Saloranta, Chairman of the Board & Group CEO Corsair Group International, said, “To ensure we have a better future we need to use forward-thinking innovative technologies and that’s exactly what Corsair is doing. The pyrolysis technologies we utilise in our waste conversion process is industry-leading. These technologies allow us to transform a variety of types of plastics that are disposed of by people on a daily basis, all of which typically ends up in landfills and contributes to disastrous damage to our oceans. This discarded plastic seeps into our food system, and pollutes the air we all breathe.” “Our goal is to turn these discarded products back into usable products in the most eco-friendly way currently available. To achieve our goal, we partner with corporate and government entities who want to play their part in reducing the damage

being done to the planet by working with us to reduce their plastic waste footprint. We only have one planet, and if we all pull together and work as a team we can build a better and healthier future for all.” Corsair’s 6,400 square meter Waste Plastic to Oil/Chemical Recycling facility in Bangkok, which uses innovative pyrolysis technologies to convert environmentally damaging waste plastics into low sulphur oil, currently has a production capacity of almost 200,000 litres per month. The facility is being extended by another 10,000 square meters to increase the output to over 1,000,000 litres per month during 2022. Plastic waste pollution has escalated due to COVID-19 with the global demand for face masks, personal protective wear, the increased use of plastic packaging and single-use plastic products. In a recent update, the Thai Environment Institute reports that the COVID-19 situation has contributed to an increase of 60% more plastic waste in Bangkok. Annual production of plastic is continuing to increase with global production reported to be more than 370 million metric tons per annum. If this trend continues, it is estimated that over 12 billion tons of plastic waste will be in landfills and the natural environment by 2050. Now is the time for us all to stand up and take notice of the problems created by plastic waste pollution. We can make a difference thanks to the technologies that are now available. As such, we’re always looking for companies, financial partners, organizations, and government entities who want to partner with us. We’re already working with many renowned Thai companies such as Minor Group, Centara Group, Chatrium Hotels and Resorts, Shrewsbury International School, Loxley Public Company Limited, and Kasetsart University, Asset Wise Public Company Limited, and Dairy Home.


Scoop

> กองบรรณาธิการ

ส� ำ นั ก งานนวั ต กรรมแห่ ง ชาติ (องค์การมหาชน) เปิดตัว 10 สตาร์ตอัป ด้ า นเทคโนโลยี อ วกาศ จากโครงการ Space Economy : Lifting Off 2021 ส่งเสริมให้สตาร์ตอัปทีม่ ศี กั ยภาพในการท�า เทคโนโลยี ระบบ หรือบริการด้านกิจการ อวกาศ สามารถต่อยอดสู่ธุรกิจจริง และ สร้างความแข็งแกร่งให้เศรษฐกิจอวกาศ โลก ที่ปัจจุบันมีมูลค่าสูงถึง 5 หมื่นล้าน ดอลลาร์สหรัฐฯ และคาดว่าจะพุ่งสูงถึง 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในอีก 20 ปี ข้างหน้า

ดร.พันธุ์อาจ ชัยรัตน์

ดร.พันธุอ์ าจ ชัยรัตน์ ผูอ้ ำ� นวยการส�ำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กล่าวว่า NIA มีนโยบายในการสนับสนุนและส่งเสริมสตาร์ตอัปที่สนใจท�ำธุรกิจ นวัตกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับกิจการอวกาศ หรือ Spacetech ผ่านโครงการ Space Economy : Lifting Off 2021 เพื่อเตรียมความพร้อมรองรับเศรษฐกิจอวกาศ ซึ่งปัจจุบันมูลค่าสูงกว่า 5 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และในอนาคตอีกประมาณ 20 ปีข้างหน้าจะมีมูลค่าสูงขึ้นจาก ปัจจุบันกว่า 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ หรือประมาณ 33 ล้านล้านบาท (ที่มา : ส�ำนักงาน พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) หรือ GISTDA) โครงการดังกล่าวเป็นการสร้างความเข้มแข็งให้อุตสาหกรรมอวกาศของประเทศไทย และพัฒนาบุคลากรของประเทศให้เป็นผู้มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีอวกาศ รวมถึง ผลักดันให้เกิดการน�ำประโยชน์จากเทคโนโลยีอวกาศไปพัฒนาประเทศ นอกจากนี้ NIA ยังเห็นว่าเศรษฐกิจอวกาศจะกลายเป็นอีกหนึ่งกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และเป็น เครื่องยนต์ในการกระตุ้น GDP ของไทยให้สูงขึ้นตามไปด้วย ดังนั้นเพื่อให้เกิดการส่งเสริม อย่างเป็นรูปธรรม NIA จึงได้รว่ มมือกับหน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชน ผูเ้ ชีย่ วชาญ ในการ ส่งเสริมและสนับสนุนสตาร์ตอัปด้านเศรษฐกิจอวกาศผ่านกลไกต่างๆ ดังนี้ • สนับสนุนงานด้านการวิจยั และพัฒนา เพือ่ ให้สตาร์ตอัปสามารถน�ำไปต่อยอดในการ สร้างผลิตภัณฑ์และบริการ • ส่งเสริมให้เกิดการผลิตและการใช้โครงสร้างพืน้ ฐานทางอวกาศ เช่น สถานีภาคพืน้ ดิน • เตรียมพร้อมรองรับการส่งจรวดและดาวเทียม ด้วยการพัฒนาให้สตาร์ตอัปสามารถ ผลิตดาวเทียมได้เอง เพื่อลดการน�ำเข้าจากต่างประเทศ • สนับสนุนการใช้งานด้านอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น ระบบน�ำทาง โทรศัพท์สญ ั ญาณดาวเทียม และบริการด้านอุตุนิยมวิทยา • การสร้างองค์ความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์จากกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับอวกาศให้แก่สตาร์ตอัป ของไทยที่สนใจ เปลี่ยนมาท�ำนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีอวกาศ ดร.พันธุ์อาจ กล่าวว่า การด�ำเนินโครงการ Space Economy : Lifting Off 2021 ได้ คัดเลือกสตาร์ตอัป 10 ทีม ซึง่ ล้วนแต่มคี วามน่าสนใจและมีศกั ยภาพทีจ่ ะต่อยอดไปสูก่ ารสร้าง มูลค่าเศรษฐกิจอวกาศในอนาคต ซึง่ ประกอบด้วย “Space Composites” ผูพ้ ฒ ั นาเทคโนโลยี วัสดุศาสตร์ชั้นสูงที่ใช้ออกแบบและผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์เพื่อการส�ำรวจอวกาศ “iEMTEK” สายอากาศและอุ ป กรณ์ เชื่ อ มต่ อ สั่ ง งานส� ำ หรั บ ระบบสื่ อ สารบนดาวเที ย มขนาดเล็ ก “NBSPACE” ดาวเทียมขนาดเล็กเพือ่ การศึกษาสภาพทางอวกาศ “Irissar” เรดาร์ อุปกรณ์


ดร.กริชผกา บุญเฟื่อง

และระบบที่เกี่ยวข้องกับอวกาศ “Halogen” บอลลูนเพื่อส�ำรวจชั้นบรรยากาศ “Plus IT Solution” ระบบวิเคราะห์พื้นที่จากภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อสังเกตความ เปลีย่ นแปลงทางภูมศิ าสตร์และการใช้ประโยชน์อน่ื ๆ “Krypton” นวัตกรรมโปรเจ็กต์ คริปโตไนท์ ซึง่ เป็นวิวฒ ั นาการดาวเทียมในรูปแบบใหม่ “Spacedox” ระบบวิเคราะห์ และแจ้งคุณภาพอากาศโดยใช้บอลลูนลอยสูงผ่านเครือข่าย Lora และข้อมูลการ ตรวจวัดจากดาวเทียม “Emone” เทคโนโลยีควบคุมความเร็วการโคจรวัตถุในอวกาศ เพือ่ ลดปริมาณขยะจากอวกาศ และ “Tripler Adhesive” สูตรกาวและสารยึดเกาะ เพื่อใช้ส�ำหรับอุปกรณ์หรือเครื่องมือทางอวกาศ สตาร์ตอัปทั้ง 10 ทีม ได้รับการอบรมบ่มเพาะจากผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมด้านอวกาศ เพื่อให้แต่ละทีมสามารถพัฒนาโครงการ ของตนและตอบโจทย์ความต้องการในภาคอุตสาหกรรมอวกาศได้อย่างตรงจุด รวมทัง้ สามารถสร้างโมเดลธุรกิจทีเ่ ป็นรูปธรรมและต่อยอดได้จริงผ่านการท�ำงานกับ หน่วยงานพันธมิตรทีเ่ ป็นผูน้ ำ� ของอุตสาหกรรมอวกาศในรูปแบบ Co-Creation โดย ตั้งเป้าหมายว่าปลายปีนี้จะช่วยให้สตาร์ตอัปเกิดความเข้าใจในธุรกิจด้านเศรษฐกิจ อวกาศ สามารถสร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการได้ตรงตามความต้องการของตลาด รวมถึงน�ำความรูท้ ไ่ี ด้ไปต่อยอดเพือ่ พัฒนาและขยายธุรกิจให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ เพื่อเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่มูลค่าเศรษฐกิจอวกาศของโลกในอนาคต

Kryptionite Services

ดร.กริชผกา บุญเฟื่อง รองผู้อ�ำนวยการ ด้านระบบนวัตกรรม NIA กล่าวว่า โครงการ Space Economy : Lifting Off 2021 เป็นหนึ่งในกิจกรรมที่ ด�ำเนินการร่วมกับ Thai Space Consortium เพื่อ ผลักดันเศรษฐกิจอวกาศให้เกิดขึ้น ด้วยการพัฒนา ผู้ประกอบการด้านเทคโนโลยีอวกาศให้มีบทบาท และสามารถเติบโตได้ในอุตสาหกรรมอวกาศ โดย ได้ด�ำเนินโครงการมาตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2564 ที่ผ่านมา ซึ่ง NIA ได้เฟ้นหาบริษัทสตาร์ตอัปที่มี ความสนใจหรืออยูใ่ นธุรกิจอวกาศของประเทศไทย เพือ่ เข้ามาร่วมโครงการบ่มเพาะและพัฒนาในรูปแบบ ของการร่วมรังสรรค์ (Co-Creation) เพื่อปูทางไปสู่ การสร้างเศรษฐกิจอวกาศให้เกิดขึน้ ในประเทศไทย อย่างเป็นรูปธรรม บริ ษั ท สตาร์ ต อั ป ที่ ผ ่ า นการคั ด เลื อ กจาก คณะกรรมการผูเ้ ชีย่ วชาญในด้านอุตสาหกรรมอวกาศ จ�ำนวนทั้งสิ้น 10 ทีม ซึ่งมีทั้งสตาร์ตอัปที่อยู่ใน อุตสาหกรรมอวกาศอยูแ่ ล้ว และทีม่ เี ทคโนโลยีเชิงลึก และพร้อมทีจ่ ะต่อยอดธุรกิจในอุตสาหกรรมอวกาศ อย่างไรก็ตาม การจัดกิจกรรมในครั้งนี้ท�ำให้ NIA และหน่วยร่วมเห็นว่าบริษทั สตาร์ตอัปในประเทศไทย มีเทคโนโลยีที่น่าสนใจ และที่ส�ำคัญสร้างสรรค์โดย คนไทย โดยบริ ษั ท เหล่ า นี้ มี โ อกาสจะเติ บ โตใน อุตสาหกรรมอวกาศได้ชดั เจน และสามารถน�ำรายได้ เข้าสู่ประเทศ รวมถึงการเติบโตและพัฒนาไปสู่ ตลาดต่างประเทศได้ในอนาคต ส�ำหรับผูช้ นะการน�ำเสนอรูปแบบเทคโนโลยี นวัตกรรมและแผนธุรกิจ ได้รับรางวัล The Best Startup in Space Economy : Lifting Off 2021 (ตัดสินจากคณะกรรมการ) ได้แก่ อันดับ 1 บริษัท NBSpace ผูอ้ อกแบบและพัฒนาดาวเทียมดวงเล็ก เพือ่ ใช้สอ่ื สารกับภาคพืน้ ดิน อันดับ 2 บริษทั “Irissar” เรดาร์ อุปกรณ์ และระบบที่เกี่ยวข้องกับอวกาศ อันดับ 3 บริษัท “Plus IT Solution” ระบบวิเคราะห์ พื้ น ที่ จ ากภาพถ่ า ยดาวเที ย มเพื่ อ สั ง เกตความ เปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร์และการใช้ประโยชน์ อื่นๆ และรางวัล The Popular Startup in Space Economy : Lifting Off 2021 (ตัดสินจากผลโหวต ของผู้เข้าร่วมงาน) ได้แก่ “Halogen” บอลลูนเพื่อ ส�ำรวจชั้นบรรยากาศ หลังจากนี้สตาร์ตอัปที่ร่วม โครงการจะยังคงได้ทำ� งานร่วมกับหน่วยงานพันธมิตร ต่อไป ทั้งในรูปแบบของพันธมิตร ลูกค้า รวมถึง การต่อยอดธุรกิจในภาคเศรษฐกิจอวกาศต่อไป


Scoop

> กองบรรณาธิการ

นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ใช้ในโรงงานในปัจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงไป อย่างมาก โดยเฉพาะในด้านความปลอดภัย การบริหารจัดการข้อมูล และการใช้งาน Automation และ IoT ภายใต้การท�ำงานนั้นจ�ำเป็นจะต้องมีการจัดการที่เหมาะสม เพือ่ ท�ำให้ประสิทธิภาพการท�ำงานของเทคโนโลยีทเี่ ราติดตัง้ ลงไปเกิดประโยชน์สงู สุด ให้กับการผลิต บริษทั อินเตอร์โรล (ประเทศไทย) จ�ำกัด เป็นผูใ้ ห้บริการโซลูชนั ชัน้ น�ำของโลก ส�ำหรับอุปกรณ์ท่ีใช้ในระบบขนถ่ายและล�ำเลียงวัสดุ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2502 และ เข้าตลาดหลักทรัพย์ SIX Swiss Exchange ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2540 อินเตอร์โรลให้บริการ ต่อบริษัทผู้ติดตั้งระบบและโรงงานผลิตด้วยผลิตภัณฑ์และบริการที่หลากหลาย ครบวงจรในกลุ่มต่อไปนี้ ลูกกลิ้งส�ำหรับสายพานล�ำเลียง มอเตอร์และไดรฟ์ส�ำหรับ ระบบสายพานล�ำเลียง สายพานล�ำเลียงและเครือ่ งคัดแยก รวมถึงระบบล�ำเลียงพาเลต และกล่อง โดยโซลูชนั จากอินเตอร์โรลได้นำ� ไปใช้งานในธุรกิจและอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น บริการรับส่งพัสดุภณ ั ฑ์ดว่ น ธุรกิจค้าออนไลน์ สนามบิน อุตสาหกรรมอาหารและ เครือ่ งดืม่ อุตสาหกรรมแฟชัน่ อุตสาหกรรมยานยนต์และประดับยนต์ และอุตสาหกรรม อืน่ ๆ อีกมากมาย ผลิตภัณฑ์ของอินเตอร์โรลได้นำ� ไปใช้กบั แบรนด์ชนั้ น�ำของโลก เช่น Amazon, Bosch, Coca-Cola, DHL, Nestlé, Procter & Gamble, Siemens, Walmart และ Zalando อินเตอร์โรลมีสำ� นักงานใหญ่ทปี่ ระเทศสวิตเซอร์แลนด์ มีบริษทั ในเครือ ทั่วโลก 34 บริษัท นับตั้งแต่ช่วงกลางปี พ.ศ. 2562 อินเตอร์โรล (ประเทศไทย) ได้ทำ� การ เปิดโรงงานแห่งใหม่ทคี่ รบครันด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีทนั สมัย ณ นิคม อุตสาหกรรมอมตะนคร (เฟส 10) จังหวัดชลบุรี บนพื้นที่ทั้งสิ้นกว่า 4,800 ตารางเมตร รวมถึงพืน้ ทีส่ ว่ นอาคารและส�ำนักงานทีก่ ว้างถึง 700 ตารางเมตร ที่ได้รับการออกแบบให้มีรูปแบบอันเป็นเอกลักษณ์ของอินเตอร์โรล โดย พืน้ ทีโ่ รงงานแห่งใหม่นกี้ อ่ ตัง้ ขึน้ เพือ่ รองรับการขยายตัวของธุรกิจในภูมภิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งรวมไปถึงพื้นที่ในการขนถ่ายตู้คอนเทนเนอร์ ขนาดใหญ่เพือ่ รองรับการสัง่ ซือ้ Pallet Flow ล็อตใหญ่จากลูกค้าในภูมภิ าค อีกด้วย เพิ่มขีดความสามารถในการผลิตและย่นระยะเวลาขนส่ง

ไกรสร นาคะพงศ์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั อินเตอร์โรล (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า อินเตอร์โรลเป็นผูใ้ ห้บริการโซลูชนั ชัน้ น�ำของโลกส�ำหรับอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในระบบ ขนถ่ายและล�ำเลียงวัสดุ ประกาศขยาย สายการผลิตสินค้ารุน่ ล่าสุดคือ RollerDrive EC5000 หวังเพิม่ ผลผลิตและย่นระยะเวลา ในการขนส่ ง สิ น ค้ า ให้ กั บ ลู ก ค้ า ธุ ร กิ จ ในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ “ในปัจจุบันนี้โรงงานที่ได้ชื่อว่าเป็นโรงงาน 4.0 หรือโรงงานอัจฉริยะ คือการที่โรงงาน น�ำระบบปัญญาประดิษฐ์อตั โนมัติ AI และ หุน่ ยนต์เข้ามามีสว่ นร่วมในส่วนต่างๆ ของ โรงงาน ไม่เฉพาะแค่ในส่วนของการผลิต เท่านั้น แต่เป็นการใช้ระบบอัจฉริยะเพื่อ ควบคุ ม การท� ำ งานในหลายระบบ เช่ น การควบคุมไฟฟ้าและแสงสว่างให้สอดคล้อง กับเวลาท�ำงาน ระบบความปลอดภัยทีจ่ ะมี การแจ้งเตือนไปยัง รปภ. หรือส่งสัญญาณ เตือนเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน ระบบควบคุม สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ไปจนถึงการใช้ Big Data ซึง่ นีจ้ ะเป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพ ในการท� ำ งานได้ ดี ม ากยิ่ ง ขึ้ น และทาง Interroll Thailand ให้ความส�ำคัญในความ สะดวกสบายและความมัน่ ใจของลูกค้า คือ หัวใจส�ำคัญในการท�ำธุรกิจของอินเตอร์โรล เราเลือกโรงงานทีเ่ ต็มไปด้วยนวัตกรรมและ เทคโนโลยีทันสมัย ที่สามารถรองรับก�ำลัง การผลิตที่เพิ่มขึ้น เพื่อที่จะช่วยส่งเสริม ให้ เราสามารถบริ ห ารจั ด การระยะเวลา ในการขนส่งทีเ่ ร็วทีส่ ดุ พร้อมข้อเสนอด้าน การบริการที่ตอบโจทย์ให้กับลูกค้าที่จะได้ รับสิ่งที่ดีที่สุด” โดยผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในประเทศไทย ได้ แ ก่ Rollers, RollerDrive, Pallet Flow, Drum Motors และ Modular Conveyor Platform (MCP) ขณะทีผ่ ลิตภัณฑ์ตวั ล่าสุด อย่าง RollerDrive EC5000 ท า ง อิ น เ ต อ ร ์ โ ร ล (ประเทศไทย) จะเริ่ม ท�ำการผลิตในเดือน กันยายน 2564 นี้ เ พื่ อ ต อ บ ส น อ ง โซลู ชั น ส์ ส มาร์ ท โลจิสติกส์


EC5000 เทคโนโลยีข้น ั สูง 48 โวลต์ สามารถเพิ่มกำ�ลังได้ถึง 3 ระดับ RollerDrive รุ่น EC5000 มาพร้อมกับเทคโนโลยี 48 โวลต์ ซึ่งใช้พลังงานน้อยกว่าอุปกรณ์รุ่น 24 โวลต์ทั่วไปถึง 50% สามารถ ท�ำงานได้ท้ังในไลน์ขนาดเล็กแบบครอสเซ็คชัน หรือในไลน์ท่ีมี ความยาวก็ได้ ซึ่งช่วยลดข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น เช่น เมื่อไฟตก ในไลน์การผลิต ท�ำให้ใช้งบประมาณในการลงทุนทั้งระบบน้อยลง และยังสามารถลดข้อผิดพลาดในกระบวนการผลิตได้อีกด้วย ไกรสร กล่าวเพิม่ เติมว่า ผลิตภัณฑ์รนุ่ EC5000 ได้มอบโซลูชนั ที่ท�ำให้ลูกค้าสามารถปรับการใช้งานได้อย่างเหมาะสมกับความ ต้องการของผู้ใช้งาน ผลิตภัณฑ์ EC5000 เวอร์ชัน 20W เหมาะ ส�ำหรับการขนย้ายวัตถุน้�ำหนักเบาหรือภาชนะจัดเก็บที่ว่างเปล่า และยังเป็นโซลูชันของสายพานล�ำเลียงที่ใช้ไฟฟ้าน้อย ในขณะที่ EC5000 เวอร์ชนั 35W มีความคล้ายคลึงกับผลิตภัณฑ์รนุ่ ก่อนหน้า และเหมาะสมกั บ การใช้ ง านด้ า นการล� ำ เลี ย งสิ น ค้ า เกื อ บทุ ก แอปพลิเคชัน ส่วน EC5000 เวอร์ชนั 50W เป็นรุน่ ทีท่ ำ� ให้ EC5000 มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ในอดีตความเร็วของแรงบิด หมายถึงการใช้

EC310 ถึง 2 ตัว หากแต่ EC5000 เวอร์ชัน 50W ใช้เพียงตัวเดียว ก็เพียงพอ ท�ำให้ใช้ไฟฟ้าและระบบควบคุมเหลือเพียงครึง่ เดียว และ เพื่อรองรับการใช้งานหนัก ไม่เพียงแต่อินเตอร์โรลจะมีผลิตภัณฑ์ ที่ก�ำลังไฟออกสูง แต่ยังมี RollerDrive ที่มีเส้นรอบวงขนาด 60 มิลลิเมตร การออกแบบ IP66 และ Deep Freeze ยังคงอยู่ ท�ำให้ สามารถน�ำไปใช้งานในพื้นที่ที่ใช้เครื่องฉีดน�้ำแรงดันสูงส�ำหรับ ท�ำความสะอาด หรือพื้นที่ที่มีอุณหภูมิตำ�่ กว่า -30 องศาเซลเซียส ได้อีกด้วย ผลิตภัณฑ์รุ่น EC5000 ยังมาพร้อมกับระบบ Bus Interface ช่วยให้ผใู้ ช้งานสามารถจัดเก็บข้อมูลด้านประสิทธิภาพในการท�ำงาน รวมถึงข้อมูลเกี่ยวกับจ�ำนวนรอบหรือการปฏิบัติงาน และเมื่อใช้ ร่วมกับระบบควบคุมหลายๆ ตัวของอินเตอร์โรลอย่าง PROFINET, EtherNet/IP และ EtherCat จะช่วยให้ผู้ใช้งานมองเห็นข้อมูลและ ฟังก์ชันการท�ำงานได้จากหน้าจอผ่าน PLC หรือ Web Interface

EC5000

Bus Interface

ระบบ Bus Interface ขยายขอบเขตแห่งความเป็นสมาร์ท โลจิสติกส์ ระบบ Bus Interface ทีอ่ ยูใ่ น RollerDrive EC5000 สามารถ ท�ำได้มากกว่าการส่งผ่านข้อมูลการปฏิบตั งิ าน แต่ยงั สามารถใช้งาน ฟังก์ชนั การควบคุมใหม่ๆ ได้อย่างเต็มรูปแบบอีกด้วย เช่น ฟังก์ชนั ทีใ่ ช้ในระบบออโตเมชัน เป็นต้น ซึง่ ไม่เพียงแต่ชว่ ยให้ผใู้ ช้งานสามารถ ควบคุมการเร่งเครือ่ ง ความเร็ว และการหยุดท�ำงานได้อย่างแม่นย�า มากยิง่ ขึน้ แล้ว ยังสามารถท�ำให้จดั วางสินค้าบนสายล�ำเลียงได้อย่าง แม่นย�ำในระดับมิลลิเมตร ซึง่ เป็นการท�ำงานทีม่ สี ว่ นส�ำคัญอย่างมาก ในการท�ำงานร่วมกับหุ่นยนต์หรือแขนกลได้อย่างไร้รอยต่อ อินเตอร์โรลดีซแี พลตฟอร์มนี้ สามารถใช้งานกับระบบควบคุม ระบบลูกกลิ้งล�ำเลียงและระบบจ่ายไฟได้อย่างมีประสิทธิภาพผ่าน การต่อสาย ท�ำให้ผใู้ ช้งานสามารถทราบถึงระยะเวลาการท�ำงานของ โซลูชนั การล�ำเลียงสินค้า รวมถึงการใช้งานร่วมกับ Interroll Modular Conveyor Platform (MCP) ของอินเตอร์โรล และรวมไปถึงการ ท�ำงานของระบบล�ำเลียงที่ท�ำงานเองอัตโนมัติโดยไม่ต้องใช้ PLC เพื่อออกแบบให้ระบบมีประสิทธิภาพสูง การท�ำงานด้านข้อมูลใน แอปพลิเคชันยุค Industry 4.0 ท�ำให้ผใู้ ช้งานสามารถมอนิเตอร์ระบบ

ควบคุมและซ่อมบ�ำรุง รวมไปถึงระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อีกด้วย Factory Automation Solution จึงกลายเป็นอีกส่วนหนึ่งใน การจัดการระบบของโรงงาน ทัง้ การอัปเกรด ปรับปรุง รวมไปถึงการ ติดตัง้ อุปกรณ์ใหม่เพือ่ ให้นวัตกรรมและเทคโนโลยีหลังสถานการณ์ ไวรัสโคโรนาสามารถด�ำเนินงานต่อไปได้ และมีการท�ำงานทีด่ กี ว่าเดิม และยังท�ำให้งานมีประสิทธิภาพ พร้อมทัง้ ยังช่วยประหยัดค่าใช้จา่ ย ทางด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอีกด้วย ดังนั้นการสื่อสารระหว่างเครื่อง กับเครือ่ งช่วยให้สามารถวินจิ ฉัยการบ�ำรุงรักษาเชิงคาดการณ์ รวมถึง การรวบรวมข้อมูลแบบเรียลไทม์ เพื่อช่วยปรับปรุงประสิทธิภาพ และความน่าเชือ่ ถือของระบบการจัดการวัสดุ และยังมีแพลตฟอร์ม DC แรงดันต�่ำของ Interroll น�ำเสนอโซลูชันที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว ในการล� ำ เลี ย งชิ้ น ส่ ว นในรู ป แบบที่ ป ลอดภั ย เชื่ อ ถื อ ได้ และ มีประสิทธิภาพ สามารถรวมเข้ากับโรงงานอุตสาหกรรม 4.0 ได้ อย่างสมบูรณ์ และท�ำให้สามารถใช้สายพานล�ำเลียงอัตโนมัติ การบ�ำรุงรักษาเชิงคาดการณ์ และอื่นๆ ได้ การแก้ปัญหาทั้งหมด เหล่านี้จะรวมกันใน Interroll Modular แพลตฟอร์มล�ำเลียง


Monitoring relay - VOLTAGE 3-PHASE Monitoring relay - VOLTAGE 3-PHASE

100 100

Special Area

HRN-100 | Multifunction voltage monitoring relay in 3P with LCD display HRN-100 | Multifunction > บริษัท แม็กซิไมซ์ อิvoltage นทิเกรทเท็ดmonitoring เทคโนโลยี จ�ำกัด relay in 3P with LCD display W NE W NE

EAN code HRN-100: 8595188171229 EAN code HRN-100: 8595188171229

Technical parameters Technical parameters Supply

HRN-100 HRN-100

Supply and measuring terminals: Supply

L1, L2, L3, (N)

Supplyand andmeasuring monitored Supply terminals:

V, (AC ULN = 3 ~ 90L1,- 288 L2, L3, (N) 45 – 65 Hz)

voltage:and monitored Supply Power consumption (max.): voltage:

Measuring circuit(max.): Power consumption Selection of the measured Measuring circuit circuit: of the measured Selection Adjustable upper (OV) and circuit:

500V,V,(AC (AC45 45––65 65Hz) Hz) ULL == 33 ~~ 155 90 --288 LN

• Sealable transparent cover for display and controls.

5 VA V, (AC 45 – 65 Hz) ULL = 3 ~ 155 - 500 5 VA Phase voltage - 3 phase, 4 wire Line voltage Phase voltage--33phase, phase,34wire wire Phase voltage: 90 - 2883 VAC Line voltage - 3 phase, wire

อุปกรณ์ไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรมอาจมีความเสี่ยง lower (UV) upper voltage(OV) levels: Line voltage: Phase voltage:155 90 - 288 Adjustable and ต่/ อlower การเสี ยหายอันเนื่องมาจากแรงดั นไฟฟ้ า500ที่บVAC กพร่อง เช่น Phase Upper(UV) (HC)voltage (LC) limit lower levels: Linevoltage: voltage:310 155VAC - 500/ 85 VACVAC ไฟฟ้limit าตก/เกิน, แรงดั นไฟฟ้ าไม่535 สมดุ Line voltage: VAC VA นไฟฟ้ำ voltage: Phase voltage: 310 VACล//,150 85แรงดั VAC Upper (HC) แรงดั / lowerน(LC) Adjustable สลั upper (OF) and Line voltage: 535 VAC / 150 VA voltage: บเฟส เป็นต้น Hz lower (UF) frequency Adjustable upper (OF)level: and ดังนัน้ จึงมีรเี ลย์สำ� หรับท�ำAbsolute: หน้า45ทีต่- 65รวจตราความบกพร่ อง 5 -Hz 99 VAC Adjustable asymmetry: 45 - 65 lower (UF) frequency level: และส่งสัญญาณไปตัดการท�ำงานก่ อนที5่จ- 299 ะเกิ ดความเสียหาย Percentage: - 50% Absolute: VAC Adjustable asymmetry: 3 -Percentage: 20 VAC (OV,UV, HC, LC) Adjustable ขึ voltage ้น ซึ่งเรีandยกว่า Monitoring Voltage Relays 2 - 50% 0.5 - 2(OV,UV, Hz (OF, HC, UF) LC) frequency hysteresis level: 3 20 VAC Adjustable voltage and ELKO ผู้ผลิตรีเลย์ชั้นน�Absolute: ำจากประเทศสาธารณรัฐเช็ค - 99UF) VAC Adjustablehysteresis hysteresislevel: 0.5 - 2 Hz3(OF, frequency ได้พัฒนา Multifunction Voltage Monitoring Relays Percentage: 2 - 15% asymmetry:hysteresis Absolute: 3 - 99 VAC Adjustable ณภาพสูvoltage: งชนิด 3 เฟส รองรับPercentage: ทุกการใช้ ง2าน- 15%ใช้งานง่าย และ +/- 5V Accuracy ofคุmeasured asymmetry: +/0.3 Accuracy of measured +/5V Accuracy ofสะดวก measuredfrequency: voltage: มีหน้าจอ LCD แสดงแรงดันไฟฟ้Hz าได้ทั้ง 3 เฟส (VL-L, 0 -0.3 999Hz s Adjustable delay after supply +/Accuracy of measured frequency: VPL-N: ) after ในหน้ าจอเดียว ในชือ่ รุน่ (HWHRN-100 โดยมีฟงั ก์ชนั่ ต่างๆ initialization connectiondelay 0 - 999 s 250 ms) Adjustable supply 0.5 - 999 s250 ms) Adjustable ดั delay (HW initialization connection Pงนี : ้T : 0.1 -- 999 999 ss Adjustable delay delayTT :•: Under/Over Voltage ตรวจสอบแรงดั 0.5 Adjustable นไฟฟ้าตก/ <100 ms (phase failure) Fixed delay:delay T : 0.1 - sequence, 999 s Adjustable ไฟฟ้าเกิน (Phase Voltage : 90-288 VAC, Line <200 LC), <500 ms (neutral fail) <100ms ms(HC, (phase sequence, failure) Fixed delay: Voltage : 155-500 Output <200 msVAC) (HC, LC), <500 ms (neutral fail) 2x changeover (AgSnO ) ไ่ ฟฟ้าตก/ Output contact: • Under/Over Frequency Output ตรวจสอบความถี 5A/AC1(AgSnO ) Rated current: 2x changeover Output contact: ไฟฟ้าเกิน (45-65 Hz) 1200VA/AC1, 150W/DC1 Switching power: 5A/AC1 Rated current: นไฟฟ้ 240V AC/30V DC าขาดเฟส Switching power: voltage: • Phase Failure ตรวจสอบแรงดั 1200VA/AC1, 150W/DC1 Switching Max. outputvoltage: power dissipation: • Sequence ตรวจสอบแรงดั น5Wไฟฟ้DC าสลับเฟส 240V AC/30V Switching 10.000.000 operations Mechanical life: dissipation: 5W Max. output power • Asymmetry ตรวจสอบแรงดันไฟฟ้าไม่สมดุลเฟส 100.000 operations Electrical lifelife: (AC1): 10.000.000 operations Mechanical (Percentage : 2-50%)100.000 operations Other information Electrical life (AC1): • Neutral Fail ตรวจสอบสายนิ วทรัtoล140 หาย -10 to +60 °C (14 °F) Operating temperature: Other information -20 to +70 °C (-4 to 158 °F) Storage temperature: -10 to +60 °C (14 to 140 °F) Operating temperature: • Memory Errors หน่วยความจ�ำความบกพร่ องของ (supply - output) Dielectric strength: -204kV to +70 °C (-4 to 158 °F) Storage temperature: ระบบไฟฟ้ำ any- output) Operatingstrength: position: 4kV (supply Dielectric ำงานของหน้ railany EN 60715าคอนแทค Mounting:position: • Delay หน่วงเวลาการท�DIN Operating IP20s,terminals/IP40 Protection degree: T-on = 0.5-999 DIN rail ENfrom 60715front Mounting: T-off = 0.1-999 s panel on

on

• 3-wire or 4-wire connection (with or without neutral). Optionally monitors upper (with and lower voltage & frequency in 3-phase •• 3-wire or 4-wire connection or without neutral). circuits. monitors upper and lower voltage & frequency in 3-phase • Optionally • circuits. Allows monitoring of phase sequence, failure and asymmetry incl. neutral fail (only in 4-wire connection). • Allows monitoring of phase sequence, failure and asymmetry incl. neutral • fail The(only device is supplied from monitored voltage. in 4-wire connection). •• The Bothdevice output contacts can bemonitored set individually. is supplied from voltage. •• Both Measures real eff ective value of AC voltage (True RMS). output contacts can be set individually. Optional response delayvalue of the contact toRMS). the measured fault state •• Measures real effective ofoutput AC voltage (True or transition from the fault state to thecontact OK state delayed response of • Optional response delay of the output toincl. the measured fault state output contacts after connecting the power supply. or transition from the fault state to the OK state incl. delayed response of • output Possibility of automatic or manualthe transition from fault state (memory). contacts after connecting power supply. Optional closing or opening of thetransition output contact whenstate measuring a fault •• Possibility of automatic or manual from fault (memory). state (Failclosing Safe / Non Fail Safe). • Optional or opening of the output contact when measuring a fault • state Password protection against (Fail Safe / Non Fail Safe).unauthorized changes to settings. Digital backlit displayagainst with the possibility ofchanges monitoring the current state •• Password protection unauthorized to settings. of the network, incl. possible • Digital backlit display with thefailures. possibility of monitoring the current state • of The five fault are stored in a history that can be viewed thelast network, incl. states possible failures. retrospectively. • The last five fault states are stored in a history that can be viewed • retrospectively. Sealable transparent cover for display and controls.

on

Description Description Supply/monitored voltage terminals (L1-L2-L3-N) Supply/monitored voltage terminals (L1-L2-L3-N)

Transparent opening cover Transparent opening cover

Backlit display Backlit display

L1

V

L2 L1 L3 L2 R1 L3

V V V V

R1

R2

Control buttons Escape Control buttons Up Escape Down Up

V

R2

Enter Down Enter

Sealing spot Sealing spot

Output contact RL1 (15-16-18)

Output contact RL2 (25-26-28)

Output contact RL1 (15-16-18)

Output contact RL2 (25-26-28)

off on off

2

2

Overvoltage category:

2 Dimensions: (mm ): Weight: Dimensions:

III. from front panel IP20 terminals/IP40

90 x 36 x 66,5 mmmax. (3.6˝ 1x x 1.5˝ with sleeve 2.5 x 2.7˝) 132mm g (4.7 oz.) 90 x 36 x 66,5 (3.6˝ x 1.5˝ x 2.7˝)

Description of display elements on the screen Description of display elements on the screen Fault status window and function menu in settings Fault status window and function menu in settings

Indication of ongoing delay Indication of ongoing delay Delay in seconds Delay in seconds

Indication of Line or Phase voltage Indication of Line or Phase voltage

R L 1 . PL R L4 1 .15 PLHz VS %

L1 - L2 L1 L2 -- L2 L3

4 15 4 15 4 15

L 3--L3 L1 L2 LR1 3-L1 R1

Status of output contacts RL1 and RL2 Status of output contacts RL1 and RL2

R2

R2

V VS Hz % VV V

Asymmetry in percent Asymmetry in percent Frequency in hertz Frequency in hertz Voltage in volts Voltage in volts Current state of voltage or other configurable parameter Current state of voltage or other configurable parameter


Monitoring Mon

L1

L2

RL1

L1

L3 N

L2

L3 N

RL1

RL2

RL2

HRN-100 | Multifunction voltage monitoring relay in 3P with LCD display 15 RL1 16 18 monitoring 25 RL2 26 28 HRN-100 | Multifunction voltage relay inΔt3P with LCD display <T Δt < T

15 RL1 16 18 25 RL2 26 28

Overvoltage - undervoltage

15 16 18 25 26 28

off

off

H

Δt < Toff

Overvoltage Umax - undervoltage

H

15 16 18 25 26 28

Umax

Δt < Toff

H

Description of controls and signaling

HRN-100 | Multifunction voltage monitoring relay in 3P with LCD display H U min

U

Control buttons

OK state

Fault state

15 & 25 (Pole) Fail Safe Relay contact mode

18 & 28 (NO)

15 & 25 (Pole)

18 & 28 (NO)

Non Fail Safe

15 & 25 (Pole)

18 & 28 (NO)

15 & 25 (Pole)

18 & 28 (NO)

Fail Safe

15 & 25 (Pole)

18 & 28 (NO)

15 & 25 (Pole)

18 & 28 (NO)

Non Safe FaultFail status

15 & 25 (Pole)

18 & 28 (NO)

15 & 25 (Pole)

18 & 28 (NO)

Mode

OK state

Short-cut

Meaning

“FLT.NF” Fault status

Neutral fail

Short-cut “FLT.HC”

Meaning

“FLT.LC”

Fault state

Lower threshold voltage

Upper threshold voltage “FLT.NF” Neutral fail “RLx.PL” Phase failure “FLT.LC” Lower threshold voltage “RLx.PR” Phase sequence “FLT.HC” Upper threshold voltage “RLx.ASY” Phase asymmetry “RLx.PL” Phase failure “RLx.OF” Overfrequency “RLx.PR” Phase sequence “RLx.UF” Underfrequency “RLx.ASY” Phase asymmetry “RLx.OV” Overvoltage “RLx.OF” Overfrequency “RLx.UV” Undervoltage “RLx.UF” Underfrequency Note: RLx indicate RL1 & RL2 “RLx.OV” Overvoltage

Umax Fail Safe 15-18/25-28 Fail Safe Pon Escape Control buttons 15-18/25-28 Non Fail Safe 15-18/25-28 P on Umin Non Fail Safe 15-18/25-28

H

Toff

Ton

0% 100%

L2

settings menu (longL3press >1 s).

L3

0% 100%

L1

Note: RLx indicate RL1 & RL2

3 เฟส 4 สาย

L1 L2 L3

L1 L2 L3 N

L3 N

L1

L2

L2

L3

L2P on

L3P on

L2P on

Pon L3

Pon L2

Pon L3

0% 100% 0% 100%

Pon

Δt< Toff

L1

Δt< Toff

L3

Graph legend: P - Power ON delay (delay

on 0% in FAIL • After the supply/monitored voltage is connected, the delay Pon starts timing - during the timing the output contact is in 100% Pona=fault 0 - 999state s (min.- 250 ms h Graph legend: 100% N phase sequence is correct, the output contact asy % After theL1 delay, if the closes. Ton- Power - ON Delay (delay(delay to OKafs Pon ON delay L2 0% Ton==0 0,5 - 999 s 250 ms ha P 999 s (min. • If the phase sequence is incorrect after the P delay, the output contact remains open (fault state) 0% on on 100%

L2

L3 N

L2 L3

100%

L1

0% 0% 100%

L2

L3 N

RL1

RL2

0% 15-18/25-28 Fail 100% Safe 15-18/25-28 NonL2 Fail Safe 0% 15-18/25-28 100% Non L3 Fail Safe 0% 15-18/25-28

Δt< Toff Toff

L1

RL2

Graph legend: Pon - Power ON delay (delay a Pon = 0 - 999 s (min. 250 ms h

Pon

Pon

Non Fail Safe Asymmetry, phase failure 15-18/25-28 L1

100% % Failasy Safe

RL1

short output contact closing before the power supply fails short output contact closing before the power supply fails

• After the supply/monitored voltage is connected, the delay Pon starts timing - during the timing the output contact is in a fault state - in FAI short output contact After the delay, if the phase sequence is correct, the output contact closes. closing before the 4-wire connection timing - during the timing the output • •After supply/monitored voltageafter is connected, thethe delay Pon starts power supply fails contact is in a fault state - in FAIL If thethe phase sequence is incorrect the Pon delay, output contact remains open (fault state) After the delay, if the phase sequence is correct, the output contact closes. Fail Safe • If the phase sequence is incorrect after the Pon delay, the output contact remains open (fault state) 15-18/25-28

L3 Asymmetry, phase failure 0%

L2

off

Pon - Power ON delay (delay af Pon = 0 - 999 s (min. 250 ms ha

L3

100% L2 Asymmetry, phase failure asy %

L1

L3 N

Toff

L2

L2

L3 Phase L3 sequence

3 เฟส 3 สาย

Ton

• •After supply/monitored voltagethe delay PonTdelay starts timing - during the timing output contact in a fault state -op in TAfter Ton Toff Tisoffconnected, off If thethe monitored voltage exceeds set value U the , the time to the fault state (TToffon<500 ) starts.the the delay, theisoutput contact off voltage, frequency, theoutput button is open. After the delay, if the- monitored voltage ismaxinasymmetry the range U(pressing ... Umax , the contact ms). closes. - Duration of the fault stat Fail Safe • If the monitored voltage fallsMove belowparameters the Umax value the time delay start to OK state (TΔt ). After the delay, th up.reduced by theminset hysteresis, on Hysteresis H • If the monitored 15-18/25-28voltage exceeds the set value Umax , the time delay to the fault state (Toff ) starts. After the delay, the output contact ope • If the duration of the fault state (Δt) isparameters shorter than set of value Toff , the status of the output contact does not change. Change/increase thethe value a parameter in edit mode. Moving down. Ponfalls below the U value reduced by the set • If the monitored voltage hysteresis, the time delay start to OK state (Ton). After the delay, the Up • If theNon monitored below theofmax value Umin , the time delay toparameter the fault state (T ) starts. After the delay, the output contact ope Selection the currently measured the main screen Change/decrease the value of a parameter in on edit mode. Fail Safe voltage falls off Down • If the duration of the fault state (Δt) is shorter than the set value Toff , the status of the output contact does not change. • If the monitored voltage exceeds the value U increased by the set hysteresis, the time start to the OK state (Ton). After the delay, th 15-18/25-28 -Display voltage,history frequency, asymmetry (pressingthe thebutton buttondelay <500 ms). of fault states (pressing <500 ms). • If the monitored voltage falls below the valueminUmin , the time delay to the fault state (Toff ) starts. After the delay, the output contact open • If the duration of the fault state (Δt) is shorter than the set value (Toff ), the status of the output contact does not change. • If the monitored voltage exceeds the value U increased by the set hysteresis, the time delay start to the OK state (Ton). After the delay, the min Movingis parameters down. the supply/monitored voltage connected, the delay Ponvalue starts timing -mode. during the timing the output contact is in a fault state - in Select and save a parameter in edit •• IfAfter the duration of the fault state (Δt) is shorter than the set value (T ), the status of the output contact does not change. Enter value of U a off parameter edit mode. is open.Down After the delay, if theChange/decrease monitoredthe voltage isthe in the range ... Umax , thein output contact min Resetting product from memory mode (long press >1closes. s). Display history fault (pressing the button ms). • If the monitored voltage exceeds the set valueof Umax , thestates time delay to the fault state (Toff<500 ) starts. After the delay, the output contact ope Phase sequence • If the monitored voltage fallsPress belowathe U value reduced by the set hysteresis, the time delay start to OK state (Ton). After the delay, the Escape key max combination to display the read-only 100% • If the duration of the fault state (Δt) isand shorter the set value status of the output contact does not change. Select savethan a parameter in edit mode. settings menu (long press >1value s).Toff , the Enter Phase Enter L1sequence • If the monitored voltage fallsResetting below the value Umin , the from time delay to themode fault state (Toffpress ) starts. output contact open the product memory (long >1After s). the delay, theGraph 0% 100% legend: • If the monitored by the set hysteresis, the time delay start to the OK state (Ton delay, the L1 100%voltageL2exceeds the value Umin increased Pon). -After Power the ON delay (delay L3 L2 L2 0% P 0 - 999 s (min. 250 ms h Escapeof the fault state on = legend: Press combination display read-only • If the duration (Δt)aiskey shorter than the setto value (Toff ), the the status of the output contact does not change. Graph

Enter L2 100% L3 0%

4-wire connection

Toff

Toff - Phase sequence, failure < Δt -Neutral Duration the fault sta failof<500ms Graph legend: H Hysteresis Pon - Power ON delay (delay a Δt the fault state Pon- =Duration 0 - 999 sof(min. 250 ms h H Ton Hysteresis - ON Delay (delay to OK st Ton = 0,5 - 999 s Toff - OFF delay (delay to fault Toff = 0,1 - 999 s Enter settingsup. menu (long press >1 s). Move the parameters Toff - is Adjustable for OV, UV, -OF After the supply/monitored voltage is connected, the delay P starts timing during the timing the output contact in a fault state i Return to the main screen or previous menu in edit or display Escape Change/increase the value of aonparameter in edit mode. Toff - Phase sequence, failure Up is open. After the delay, if the monitored is in the range Umin Umax , or theparameter. output closes. mode. Step back when changing a ... value Selection ofvoltage the currently measured parameter on thecontact main screen Neutral fail <500ms

L2Safe Fail 0% 15-18/25-28 Non Fail Safe 100% 15-18/25-28 Non Fail L3Safe 0% 15-18/25-28

3-wire connection

Toff

Toff Enter the (long Ton Toffpress >1 s). Toff Ton Toff settings menu Return to the main screen or previous menu in edit or display H mode. Step back when changing a value or parameter.

2voltage Fail Safe monitoring relay in 3P with LCD display relay in 3P with LCD HRN-100 | “RLx.UV” Multifunction voltage monitoring display Undervoltage 15-18/25-28 Connection

Δt < Toff

Δt < Toff

min Overvoltage - undervoltage

Relay contact mode Description of controls and signaling Mode

Graph legend: Pon - Power ON delay (delay Pon = legend: 0 - 999 s (min. 250 ms h Graph Ton- Power - ON Delay (delay(delay to OKafs Pon ON delay Ton==0 0,5 - 999 s 250 ms ha Pon - 999 s (min. Toff- ON - OFF delay (delay Ton Delay (delay toto OKfau st Toff==0,5 0,1- 999 - 999s s Ton Toff- -OFF Adjustable for OV, UV, O Toff delay (delay to fault Toff=-0,1 Phase sequence, failure Toff - 999 s Neutral fail T - Adjustable for<500ms OV, UV, OF

Ton

Toff Pon

RL1

Ton

RL2

Pon

Ton

Toff- ON - OFF delay (delay Ton Delay (delay toto OKfau st Toff==0,5 0,1- 999 - 999s s Ton Toff- -OFF Adjustable for OV, UV, O Toff delay (delay to fault T Phase sequence, failure off Toff = 0,1 - 999 s Neutral fail Toff - Adjustable for<500ms OV, UV, OF Toff - Phase sequence, failure < Δt -Neutral Duration the fault sta failof<500ms Graph legend:

Pon - Power ON delay (delay a Δt the fault state Pon- =Duration 0 - 999 sof(min. 250 ms h Ton - ON Delay (delay to OK st Ton = 0,5 - 999 s Toff - OFF delay (delay to fault Toff = 0,1 - 999 s Toff - Adjustable for OV, UV, OF Toff - Phase sequence, failure Neutralstate fail <500ms starts timing - during the timing the output contact is in a fault - in the F

Ton

• After the supply/monitored voltage is connected, the delay Pon After the delay, if the phase asymmetry is lower than the set value (absolute or percentage), the output contact closes.Δt - Duration of the fault stat 15 16 is18 25 26 the 28Tdelay starts timing - during the timing the output is incontact a fault state - in the FA • •After supply/monitored voltage connected, Ponto Tvalue, T(T off on delay on ) begins. If thethe phase exceeds the set the time the fault state After the delay,contact the output opens. Fail asymmetry Safe off After the delay, if the phase asymmetry is lower than the set value (absolute or percentage), the output contact closes. • If the15-18/25-28 phase asymmetry falls below the set value, the time delay starts to OK state (Ton). After the delay, the output contact closes. • If the phase asymmetry exceeds the set value, the time delay to the fault state (Toff) begins. After the delay, the output contact opens. • If the duration of the fault state (Δt) is shorter than the set value Toff , the status of the output contact does not change. • If the phase below the set value, the time delay starts to OK state (Ton). After the delay, the output contact closes. Non Failasymmetry Safe Pfalls on • If a phase failure occurs, the time delay to the fault state (Toff) begins. After the delay, the output contact opens. 15-18/25-28 • If the duration of the fault state (Δt) is shorter than the set value T , the status of the output contact does not change. • If the phase failure resumes, the time delay starts to OK state (Tonoff). After the delay, the output contact closes. • If a phase failure occurs, the time delay to the fault state (Toff) begins. After the delay, the output contact opens. • If the duration of the fault state (Δt) is shorter than the set value Toff , the status of the output contact does not change. • If the phase failure resumes, the time delay starts to OK state (Ton). After the delay, the output contact closes. Description of controls and signaling timing the timing the output contact is in a fault state - in the FA the supply/monitored voltage connected, Pon starts •• IfAfter the duration of the fault state (Δt) isisshorter than the the delay set value Toff , the status- during of the output contact does not change. After the delay, if the phase asymmetry is lower than the set value (absolute or percentage), the output contact closes. • If the phase asymmetry exceeds the set value, the time delay to the fault state (Toff) begins. After the delay, the output contact opens. • If the phase asymmetry falls below the set value, the time delay starts to OK state (Ton). After the delay, the output contact closes. Relay contact mode Control buttons Control buttons • If the duration of the fault state (Δt) is shorter than the set value Toff , the status of the output contact does not change. • If a phase failure occurs, the time delay to the fault state (Toff) begins. After the delay, the output contact opens. Mode Fault state OK state Fault state failurethe resumes, the time delay(long starts to OK state (Ton). After the delay, the output contact closes. Enter the settings menu (long press >1 s). • If the phase Enter settings menu press >1 s). duration of the fault state (Δt) is shorter than the set value Toff , the status of the output contact does not change. NO) Fail 15 &Safe 25 (Pole) 18 & 25 28 (Pole) (NO) 15 18Escape & 28 (NO) 15 & 25 (Pole) & 28 (NO) Return to the18main screen or previous menu• Ifinthe edit or display Return to the main screen or previous menu in edit or display Escape

26 28

15 16 18 25 26 28

15 16 18 25 26 28

นอกจากนี้ยังมี Voltage Monitoring Relays แบบอื่นให้เลือกใช้ด้วยเช่นกัน Voltage Monitoring Relays

O) Non 15 &Fail 25 (Pole) Safe

18 & 25 28 (Pole) (NO) 15

Fault status

18 & 28 (NO)

Voltage Monitoring Relays with Phase Sequence

Voltage Monitoring Relays with Phase Sequence and Asymmetry

mode. Step back when mode. Step back when changing a value or parameter. 15 & 25 (Pole) 18 & 28 (NO) changing a value or parameter.

Up

Move parameters up. Move parameters up. Change/increase the value of a parameter in edit mode.Change/increase the value of a parameter in edit mode. Selection of the currently measuredUp parameter on the main screen Selection of the currently measured parameter on the main screen - voltage, frequency, asymmetry (pressing the button <500 ms). frequency, asymmetry (pressing the button <500 ms). - voltage,

Down

Moving parameters down. Moving parameters down. Change/decrease the value of a parameter Change/decrease the value of a parameter in edit mode. Down in edit mode. Display history of fault states (pressing the button <500 ms).history of fault states (pressing the button <500 ms). Display

Short-cut

Meaning

“FLT.NF”

Neutral fail

“FLT.LC”

Lower threshold voltage

“FLT.HC” “RLx.PL”

Upper threshold voltage Enter Phase failure

“RLx.PR”

Phase sequence

“RLx.ASY”

Phase asymmetry Enter

“RLx.OF”

Overfrequency

“RLx.UF”

Underfrequency

“RLx.OV”

Overvoltage

“RLx.UV”

Undervoltage

บริษทั แม็กซิ ไมซ์ อินทิเกรทเท็ เทคโนโลยี จ�ำEnter กัinดedit mode. Select andด save a parameter value

Select and save a parameter value in edit mode. Resetting the product from memory mode (long press >1 s). the product from memory mode (long press >1 s). Resetting

โทร. 0-2194-8738-9 แฟกซ์ 0-2003-2215 E-mail : info@mit-thailand.com เว็บไซต์ : www.mit-thailand.com Escape Press a key combination to displayEscape the read-only Press a key combination to display the read-only

Note: RLx indicate RL1 & RL2

settings menu (long press >1 s). Enter

settings menu (long press >1 s).


Special Area

> บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

การเลือกใช้

เซอร์กติ เบรกเกอร์แรงดันปานกลาง (Medium Voltage Circuit Breakers : MVCB)

เซอร์กิตเบรกเกอร์แบบสุญญากาศ (VCB DRAWOUT TYPE)

เซอร์กิตเบรกเกอร์แบบสุญญากาศ (VCB)

เซอร์กติ เบรกเกอร์ เป็นอุปกรณ์ทใี่ ช้สำ� หรับเปิดและปิดวงจรทัง้ ในขณะทีร่ ะบบ ไฟฟ้าก�ำลังอยู่ในภาวะปกติและภาวะผิดปกติ การเปิด-ปิดวงจรในภาวะปกติจะท�า ด้วยมือเมือ่ ไรก็ได้ตามความต้องการ แต่เมือ่ ระบบอยูใ่ นภาวะผิดปกติ เซอร์กติ เบรกเกอร์ จะต้องตัดอย่างรวดเร็วทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะท�ำได้ จึงจ�ำเป็นต้องมีอปุ กรณ์อน่ื ๆ ช่วยตรวจจับ ภาวะผิดปกติ และสั่งให้เซอร์กิตเบรกเกอร์เปิดหรือปิดวงจรโดยอัตโนมัติ ความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องถึงลักษณะสมบัติและหลักการของเซอร์กิต เบรกเกอร์ เป็นส่วนส�ำคัญที่ช่วยให้เข้าใจเรื่องวิศวกรรมการป้องกันได้ดีขึ้น เพราะ ในการก�ำจัดฟอลต์นั้นต้องมีการท�ำงานร่วมกันระหว่างเซอร์กิตเบรกเกอร์และรีเลย์ ป้องกัน ฉนวนที่ใช้ดับอาร์กของเซอร์กิตเบรกเกอร์จะมีหลายแบบ โดยขณะใช้งาน หน้าสัมผัสจะถูกห่อหุม้ ด้วยฉนวน เช่น ก๊าซ SF6 หรือน�ำ้ มัน โดยมีตวั ถังท�ำหน้าทีเ่ ป็น กราวด์อุปกรณ์และมีหน้าสัมผัสต่อเข้ากับระบบ

เซอร์กิตเบรกเกอร์แบบสุญญากาศ (VCB FIXED TYPE) ในบางทีฉนวนจะท�ำหน้าที่ดับอาร์กและ ระบายความร้อนในระบบไปพร้อมๆ กัน ตัวถังของ เซอร์กิตเบรกเกอร์จะต้องออกแบบเพื่อให้เวลา ที่บรรจุฉนวนลงไปแล้วมีค่า Dielectric Strength ที่เพียงพอ ความแตกต่างของเซอร์กิตเบรกเกอร์ จะขึ้นอยู่กับชนิดของฉนวน เช่น ก๊าซ น�้ำมัน อากาศ สุญญากาศ และตัวกลไกในการสัง่ ท�ำงาน เช่น ใช้สปริงร่วมกับลม (Pneumatic) หรือน�ำ้ มัน ไฮดรอลิก (Hydraulic) แต่สว่ นหลักจริงๆ ทีพ่ จิ ารณา คือชนิดของฉนวน เช่น น�ำ้ มัน ไม่ตอ้ งการพลังงาน จากกลไกเพื่ อ ใช้ ดั บ อาร์ ก เพราะใช้ พ ลั ง งาน โดยตรงจากอาร์กที่เกิดขึ้น เป็นต้น


โครงสร้างภายนอกเซอร์กิตเบรกเกอร์แบบสุญญากาศ

โครงสร้างภายในเซอร์กิตเบรกเกอร์แบบสุญญากาศ

ประเภทของเซอร์กิตเบรกเกอร์

เซอร์กิตเบรกเกอร์ที่นิยมใช้ปัจจุบันมี 2 ชนิด ได้แก่ 1. เซอร์กิตเบรกเกอร์แบบสุญญากาศ (Vacuum Circuit Breaker) เมื่อหน้าสัมผัสของเซอร์กิตเบรกเกอร์ แยกออกจากกัน จะท�ำให้เกิดอาร์กขึ้น ซึ่งอาร์กที่เกิดขึ้น ประกอบด้วย อิเล็กตรอน ไอออน ส่วนผสมของก๊าซ รวม เรียกว่า พลาสมา (Plasma) ซึ่งท�ำให้เกิดการน�ำไฟฟ้าขึ้นได้ การเกิ ด อาร์ ก นี้ ท� ำ ให้ ห น้ า สั ม ผั ส ของเซอร์ กิ ต เบรกเกอร์ เสียหายได้ ดังนั้น จึงจ�ำเป็นต้องดับอาร์กในเวลาที่เร็วที่สุด เซอร์กิตเบรกเกอร์แบบสุญญากาศ เป็นการดับอาร์ก แบบลดความดันคือ ทีค่ วามดันต�ำ่ มาก จะมีคา่ ความคงทนของ ไดอิเล็กตริกสูงพอสมควร และมีโมเลกุลของอากาศเหลือน้อย มาก เนื่องจากเข้าใกล้สุญญากาศ เมื่อโมเลกุลของอากาศ เหลือน้อยท�ำให้เกิดอาร์กได้ยาก และเมือ่ กระแสสลับผ่านศูนย์ ลงไปแล้ว จะลดความรุนแรงของอาร์กลงและค่าคงทนของ ไดอิเล็กตริกสูงพอสมควร จึงท�ำให้อาร์กสามารถดับลงได้ เซอร์กิตเบรกเกอร์แบบสุญญากาศส่วนมากจะติดตั้ง ภายในอาคาร และตัวหน้าสัมผัส (Interrupter) ไม่ต้องการ การบ�ำรุงรักษา เพราะหน้าสัมผัสของเซอร์กิตเบรกเกอร์ แบบสุญญากาศอยู่ในสุญญากาศ จึงไม่มีสิ่งสกปรกและจะมี อายุการใช้งานยาวนาน แต่การผลิตเซอร์กิตเบรกเกอร์แบบ สุญญากาศนั้นท�ำได้ยาก เพราะหน้าสัมผัสจะเป็นโลหะชนิด พิเศษ และไม่สามารถสร้างให้มีแรงดันสูงมากๆ ได้

โครงสร้างภายใน Vacuum Interrupter ข้อดีของ Vacuum CB คือ  หน้าสัมผัสสึกกร่อนช้า ทําให้อายุใช้งานยาว  มีขนาดเล็ก  สามารถติดตั้งได้ทุกตําแหน่ง ข้อเสียของ Vacuum CB คือ  Vacuum CB ตัดกระแสด้วยเวลาสั้นมาก ทําให้เกิด Switching Overvoltage ที่สูง  ในการใช้งาน Vacuum CB บริษัทผู้ผลิตจะแนะนําให้ติด Surge Absorber ซึ่งเป็นวงจร R-C เข้าช่วยด้วย


2. เซอร์กิตเบรกเกอร์แบบ SF6 ซึ่งก๊าซ SF6 เป็นก๊าซที่ ไม่มสี ี ไม่มกี ลิน่ ไม่มรี ส ไม่ตดิ ไฟ ไม่ชว่ ยให้ตดิ ไฟ และไม่ทำ� ปฏิกริ ยิ า กับสารอื่น ทนความร้อนได้สูง มีความหนาแน่นมากกว่าอากาศ และมีความคงทนของสารไดอิเล็กตริกสูงมาก ก๊าซ SF6 จะมีแรงดัน เบรกดาวน์สงู เนือ่ งจากสามารถจับตัวอิเล็กตรอนอิสระในสนามไฟฟ้า ได้มาก ดังนั้น อิเล็กตรอนจะไปเกาะก๊าซ SF6 ท�ำให้มีคุณสมบัติ ทางไฟฟ้าเป็นขัว้ ลบทีเ่ คลือ่ นทีไ่ ด้ชา้ เป็นผลท�ำให้อตั ราการเพิม่ ของ อิเล็กตรอนอิสระถูกหน่วงให้ชา้ ลงด้วย ส่งผลให้กา๊ ซ SF6 มีแรงดัน เบรกดาวน์สูงกว่าก๊าซชนิดอื่น จึงเหมาะในการน�ำมาใช้เป็นฉนวน ของเซอร์กิตเบรกเกอร์ จากรูป เซอร์กติ เบรกเกอร์แบบ SF6 แสดงโครงสร้างการท�ำงาน ของห้องดับอาร์กของเซอร์กิตเบรกเกอร์แบบ SF6 รูปแบบหนึ่งใน ห้องดับอาร์ก ประกอบด้วย หน้าสัมผัสที่อยู่กับที่ และหน้าสัมผัส ทีเ่ คลือ่ นทีไ่ ด้กบั ก๊าซ SF6 ทีบ่ รรจุในห้องดับอาร์ก โดยก๊าซ SF6 จะ ถูกเป่าเข้ามาในทรงกระบอก เมือ่ มีการแยกออกของหน้าสัมผัสของ เซอร์กติ เบรกเกอร์ ท�ำให้ความดันในห้องดับอาร์กมีความดันเพิม่ ขึน้ เมื่อก๊าซ SF6 เป่าล�ำอาร์ก ท�ำให้เกิดแรงดันตกคร่อมล�ำอาร์กและ ท�ำให้อาร์กแตกตัวเป็นล�ำแคบๆ และรอบๆ จะมีอณ ุ หภูมติ ำ่� ท�ำให้ อาร์กสามารถดับได้ และก๊าซ SF6 สามารถกลับคืนสภาพได้อย่าง รวดเร็ว จึงท�ำให้ยากต่อการเกิดแรงดันตกคร่อมหน้าสัมผัส (Recovery Voltage)

Overvoltage ตํ่ามาก จึงเหมาะสําหรับการตัดต่อวงจรมอเตอร์ หม้อแปลง เป็นต้น การเลือกใช้งาน  MVCB ต้องใช้รว ่ มกับรีเลย์ปอ้ งกัน ให้การป้องกันได้หลากหลาย ขึ้นอยู่กับ Relay ที่ใช้ ไม่เหมือน HV HRC Fuses ซึ่งป้องกันได้ อย่างเดียวคือ กระแสเกิน (Overcurrent) และลัดวงจร (Short Circuit) เท่านั้น  CB มีราคาแพง ใช้กบ ั ระบบไฟฟ้าขนาดใหญ่ เช่น อาคารขนาดใหญ่ โรงงานอุตสาหกรรม และสถานีไฟฟ้าย่อย (Substation) เป็นต้น พิกัดที่ต้องพิจารณามีดังต่อไปนี้ 1. พิกัดแรงดัน 2. ค่า BIL 3. พิกัดกระแสปกติ 4. พิกัดกระแสลัดวงจร

ท�ำไมต้องเลือกใช้เซอร์กิตเบรกเกอร์ แบบสุญญากาศ “Hyundai Brand”

TYPES

เซอร์กิตเบรกเกอร์แบบ SF6 SF6 CB  ก๊าซ SF6 ได้ถก ู นํามาใช้เป็นฉนวนและตัวดับอาร์ก ใช้ใน HV CB อย่างได้ผลมานานแล้ว  ขณะนี้ได้มีการนํามาใช้ในระดับแรงดัน MV  ใน MVCB CB แบบนี้ การตัดกระแสทําใน Chamber ซึ่งบรรจุ ก๊าซ SF6 การตัดกระแสจะเป็นแบบ Soft Switching ทําให้ได้

COMPACT DESIGN  PERFECT COMPATIBILITY  VARIOUS TYPE OF CRADLE  ADVANCED BUT PROVED TECHNOLOGY & TEST 


COMPACT DESIGN

PERFECT COMPATIBILITY

PROVED TECHNOLOGY-VI

RELIABLE TEST EVIDENCE บริษัท ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) จ�ำกัด

22/28-29 ถนนสุขาภิบาล 2 แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทร. 0-2002-4395-97 แฟกซ์ 0-2002-4398 E-mail : ejlee@tdpowertech.com, E-mail : lalida@tdpowertech.com


IT Article > Nutanix, Inc.

ข้อมูลของบริษัทเป็นขุมทรัพย์ท่ีเต็มไปด้วยข้อมูลที่มีคุณค่า ซึ่งบริษัทต่างๆ สามารถจ�ำแนกข้อมูลเชิงลึกของลูกค้า และค้นพบ กุญแจทีจ่ ะปลดล็อกความท้าทายต่างๆ จากข้อมูลเหล่านัน้ เพือ่ มุง่ สู่ การเติบโตทางธุรกิจได้ ข้อมูลมีความส�ำคัญแซงหน้าแอปพลิเคชัน ต่างๆ ไปแล้ว โดยจะกลายเป็นปัจจัยหลักที่องค์กรให้ความส�ำคัญ กลายเป็นทรัพย์สินใหม่ท่ีมีมูลค่า ต้องได้รับการปกป้อง ใช้ให้เป็น ประโยชน์และใช้อย่างเหมาะสม ทีมงานด้านไอทีมีภารกิจส�ำคัญ ที่หนักและยากในการบริหารจัดการขุมทรัพย์นี้ ในขณะเดียวกันธุรกิจก็ต้องการยกระดับประสิทธิภาพด้าน ต่างๆ ให้สูงขึ้น ต้องการความคล่องตัวมากขึ้น และต้องการความ ยืดหยุ่น แม้ว่าปริมาณข้อมูลจะเติบโตในอัตราสูงแบบที่ไม่เคย เกิดขึน้ มาก่อน (เป็นหลักเซตตะไบต์) อย่างไรก็ตาม แม้จะตระหนักถึง ความส�ำคัญของข้อมูลดังทีก่ ล่าวมา แต่สงิ่ ทีบ่ ริษทั ต่างๆ คาดหวังไว้ ก็ยังเป็นไปอย่างลุ่มๆ ดอนๆ มาโดยตลอด และยังไม่ได้ผลเป็นที่ น่าพอใจ ไม่ว่าจะเป็นด้านประสิทธิภาพการท�ำงาน ความคล่องตัว และความพร้อมใช้งานตามที่ธุรกิจต้องการ

เทคโนโลยีแบบดั้งเดิมเป็นอันตรายต่อฐานข้อมูล

ในปัจจุบนั ต้องพยายามบริหารจัดการความซับซ้อนทีไ่ ม่มวี นั หมดสิ้นที่เกิดอยู่ในฐานข้อมูลทั้งหมดขององค์กร ความซับซ้อนนี้ ท�ำให้ธุรกิจประสบความยุ่งยากในการบุกตลาดใหม่ๆ การพัฒนา ผลิตภัณฑ์และบริการที่ทันสมัย และการรับมือกับความคิดริเริ่ม

เชิงกลยุทธ์ต่างๆ เช่น โครงการที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสู่ดิจิทัล ต่างๆ ต้นก�ำเนิดของความท้าทายส่วนใหญ่เกิดจากโครงสร้างพืน้ ฐาน แบบดั้งเดิม เกิดจากการที่โครงสร้างนั้นสร้างขึ้นจากทรัพยากรที่ แยกส่วนกัน (เป็นไซโล) เช่น สตอเรจ เซิร์ฟเวอร์ เวอร์ชวลไลเซชัน ระบบเน็ตเวิร์ก และระบบความปลอดภัย การออกแบบที่แยกส่วน กันนี้ทำ� ให้การจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานของฐานข้อมูลใหม่ และ ชุดโครงสร้างหน่วยความจ�ำที่จัดการไฟล์ฐานข้อมูล (Database Instances) ท�ำได้ยาก นอกจากนี้ สถาปัตยกรรมแบบดัง้ เดิมเหล่านี้ มีจุดที่หากเกิดการล้มเหลวเพียงจุดเดียวจะท�ำให้ระบบทั้งหมด หยุดท�ำงานโดยสิ้นเชิง หรือที่เรียกว่า Points of Failure หลายจุด ซึ่งท�ำให้ระบบไอทีไม่แข็งแรงและเสี่ยงต่อการที่ระบบหยุดท�ำงาน กะทันหันโดยไม่ได้วางแผนมาก่อน สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลที่เป็นไซโลก่อให้เกิดความซับซ้อน ที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่งส่งผลกระทบอย่างมากต่อทีมไอทีท่ีขยายการ ท�ำงานอย่างยืดหยุ่นไปแล้ว ความซับซ้อนนี้ต้องการการท�ำงาน ร่วมกันอย่างแข็งขันระหว่างผูเ้ ชีย่ วชาญด้านไอทีกบั ทีมต่างๆ ทีด่ แู ล การท�ำงานของฐานข้อมูลที่ใช้อยู่ จึงท�ำให้เหลือเวลาเพียงน้อยนิด ที่จะสร้างนวัตกรรมที่แท้จริงเพื่อให้สามารถตอบโจทย์การปฏิบัติ ตามข้อตกลงระดับการให้บริการ (SLAs) ที่เป็นเรื่องยากได้ ทั้งนี้ นอกจากความซับซ้อนของโครงสร้างพื้นฐานแล้ว ยังมี ปัญหาเพิม่ ขึน้ จากความท้าทายต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ โดยทัว่ ไปจากการใช้


ฐานข้อมูล การแพตช์ การบริหารจัดการ การแก้ปัญหา และ สถานการณ์น้ีจะกลายเป็นสิ่งที่ไม่สามารถป้องกันได้อย่างรวดเร็ว เมื่อสภาพแวดล้อมขยายใหญ่ข้ึน เกิดการโยนความรับผิดชอบ ระหว่างทีมต่างๆ เกี่ยวกับการแก้ปัญหาที่ทำ� ให้ไม่สามารถท�ำตาม SLAs ได้ เพราะการติดตัง้ ใช้งานโครงสร้างพืน้ ฐานดาต้าเบสใช้เวลา นานเกินไป ข้อมูลจากการศึกษาของ IDC ล่าสุดพบว่า การใช้เวลา ในการบ�ำรุงรักษามากเกินไปส่งผลให้ 75%1 ของงบประมาณในการ บริหารจัดการฐานข้อมูลถูกใช้เป็นค่าใช้จ่ายด้านค่าแรงงาน นอกจากนี้ การท�ำงานด้านฐานข้อมูลแบบแมนนวลท�ำให้มี แนวโน้มว่าจะเกิดข้อผิดพลาดจากการท�ำงานของมนุษย์ ซึง่ ส่งผลให้ ฐานข้อมูลส�ำคัญต้องหยุดท�ำงานในสภาพแวดล้อมการท�ำงานของ องค์กร โดยเฉลี่ยแล้วมีส�ำเนาฐานข้อมูล2 แต่ละรายการ 10 ส�ำเนา ซึ่งได้รับการจัดเก็บไว้บน SAN Storage ที่มีค่าใช้จ่ายสูง การวิจัย ของ IDC พบว่า 45%-60% ของความจุของสตอเรจถูกจัดสรรให้ใช้ เก็บข้อมูลที่เป็นส�ำเนา ส่งผลให้เกิดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับข้อมูลที่เป็น ส�ำเนาประมาณ 56 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ ในปี พ.ศ. 2563

โซลูชน ั ด้านฐานข้อมูลของนูทานิคซ์

ประสิทธิภาพของฐานข้อมูล ความคล่องตัว และความพร้อมใช้ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงสุด เริม่ ด้วยการขจัดการท�ำงานหรือทรัพยากรที่ เป็นไซโล และการลดภาระงานประจ�ำวันทีเ่ กิดจากความซับซ้อนของ กระบวนการท�ำงาน โซลูชันด้านฐานข้อมูลของนูทานิคซ์ท�ำให้การ บริหารจัดการเวิร์กโหลดทั้งหมดขององค์กรง่ายขึ้น ไม่ว่าจะเป็น แพลตฟอร์มการบริหารจัดการทีร่ วมศูนย์เป็นหนึง่ เดียว ท�ำงานได้ใน คลิกเดียว การจัดการแบบอัตโนมัติ และมีความพร้อมใช้งานมากขึน้ นูทานิคซ์ชว่ ยแก้ปญ ั หาด้านโครงสร้างพืน้ ฐานทีเ่ กิดจากความซับซ้อน มากมายของสถาปัตยกรรมแบบดั้งเดิม ผ่านโครงสร้างพื้นฐาน ไฮเปอร์คอนเวิรจ์ (HCI) และบริการดาต้าเบสแอสอะเซอร์วสิ (DBaaS) ซึ่งมีคุณประโยชน์ต่อมูลค่าของฐานข้อมูลในเบื้องต้น 3 ประการ ดังนี้ • ลดระยะเวลาที่ลูกค้าใหม่รับรู้คุณค่าของผลิตภัณฑ์ หรือบริการขององค์กร (Time to Value) และเพิ่มความ คล่องตัวทางธุรกิจ Nutanix Era มอบฟังก์ชนั DBaaS ทีม่ าพร้อม

การจัดการฐานข้อมูลด้วยคลิกเดียว (จัดเตรียมโคลน แพทช์ รีเฟรช และส�ำรองข้อมูล) โดยใช้เวลาเพียง 2-3 นาทีเท่านั้น นักพัฒนา ซอฟต์แวร์จำ� เป็นต้องสร้างและทดสอบเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว และ ต้องพึ่งพาผู้ดูแลระบบและผู้ดูแลระบบฐานข้อมูล (DBAs) จัดสรร สภาพแวดล้อมต่างๆ ที่จำ� เป็นเพื่อสนับสนุนการสร้างและทดสอบ เทคโนโลยี 1

• เ พิ่ ม เ ว ล า ทำ�ง า น แ ล ะ มี ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย สู ง สุ ด ความพร้อมใช้และความสามารถในการปรับขยายเป็นส่วนหนึง่ ของ DNA ทีร่ วมถึงสถาปัตยกรรมแบบเว็บ-สเกลของนูทานิคซ์ ซึง่ สามารถ ซ่อมแซมตัวเองได้และมีระบบการกู้คืนเชิงรุก ความสามารถในการ ผสานการท�ำงานเข้าด้วยกัน ความเป็นอัตโนมัติ แอปพลิเคชันและ โครงสร้างพื้นฐานที่ปลอดภัย การเข้ารหัสข้อมูลที่ไม่ค่อยได้ใช้งาน (Data-at-Rest) และการปิดบังฐานข้อมูล (Database Masking) มีรวมอยู่ในนูทานิคซ์ และพร้อมให้ใช้งานเพื่อสร้างสภาพแวดล้อม ที่ปลอดภัยโดยไม่ลดประสิทธิภาพการท�ำงาน • ประสิ ท ธิ ภ าพในการดำ�เนิ น งานและลดค่ า ใช้ จ ่ า ย หัวใจหลักของลูกค้าทุกราย คือ จะลดค่าใช้จา่ ยในระยะยาวได้อย่างไร โซลูชันด้านฐานข้อมูลของนูทานิคซ์สามารถขจัดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ ข้อมูลที่เป็นส�ำเนาที่ส้ินเปลือง ด้วยการลดค่าใช้จ่ายในการลงทุน ด้านสตอเรจได้มากถึง 6 เท่า3 ด้วยการโคลนแบบ Zero-Byte และ การท�ำสแน็ปช็อตที่ประหยัดพื้นที่ที่ Era มีให้ สามารถลดค่าใช้จ่าย ด้านไลเซนส์ลงได้ถงึ 2 เท่า4 ด้วยการรวมสภาพแวดล้อมฐานข้อมูล ทีเ่ ป็นไซโลหลายรายการไว้ดว้ ยกันบนแพลตฟอร์มเดียวและบริหาร จั ด การได้ ท้ั ง หมดโดยใช้ ค วามพยายามและทรั พ ยากรน้ อ ยลง นอกจากนีย้ งั มีประโยชน์อนื่ อีกมากจากการบริหารจัดการทีง่ า่ ยด้วย การใช้เวลาในการท�ำงานในแต่ละวันน้อยลง รวมถึงความยืดหยุ่น (ดาวน์ไทม์ลดลง) และมีประสิทธิภาพมากขึน้ ท�ำให้พนักงานมีผลงาน มากขึน้ โซลูชนั ด้านฐานข้อมูลของนูทานิคซ์มอบประโยชน์ทเ่ี ป็นจริง จับต้องได้ให้กบั ลูกค้าในแง่ของความคล่องตัวมากขึน้ Time to Value เร็วขึน้ และต้นทุนรวมต�ำ่ ลง ผลการศึกษาทีจ่ ดั ท�ำโดย IDC3 ซึง่ ส�ำรวจว่า โครงสร้างพื้นฐานของนูทานิคซ์มีประโยชน์มากน้อยเพียงใดพบว่า • ต้นทุนรวมลดลง 62% โดยมีระยะเวลาคืนทุน 7 เดือน ทั้งนี้ ประโยชน์ที่เด่นชัดที่สุด คือ ความสามารถในการผลิตดีขึ้น ความคล่องตัวมากขึ้น และลดค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงาน • ระบบของนูทานิคซ์ลดเวลาในการจัดการได้มากกว่า 60% • ลดดาวน์ไทม์ที่ไม่ได้วางแผนไว้ได้ถึง 85% • ลูกค้าสามารถตอบสนองความต้องการทางธุรกิจใหม่ๆ ได้ อย่างคล่องตัว โดยสามารถปรับใช้การประมวลผลใหม่ได้เร็วขึ้นถึง 73% สร้างสตอเรจใหม่ได้เร็วขึ้นถึง 68% และใช้เวลาน้อยลงเกือบ 40% ในการปรับใช้ไฮเปอร์ไวเซอร์ดว้ ยการด�ำเนินงานด้านดาต้าเบส ทีเ่ รียบง่าย (อัตโนมัต)ิ ภายใน 1 คลิก เพือ่ ปรับใช้ จัดการ และสนับสนุน สภาพแวดล้อมด้านดาต้าเบสทั้งหมด

IDC Oracle’s Autonomous Database : AI-Based Automation for Database Management and Operations IDC Copy Data Management Report 2016 & 2018 3 Nutanix Calculation–Nutanix Storage Efficiency Technote–CDM Costs Reduced by 6X 4 American Healthcare Provider Win–Slashed Database Licensing Costs by More than Half (43% of the cost) 2


ในปัจจุบันมีการน�าอุปกรณ์แบบไร้สัมผัสและ IoT มาใช้ เพิ่มขึ้นอย่างมากในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และความปลอดภัยได้กลายมาเป็นหนึ่งในความกังวลหลักๆ ของผู้ใช้งาน รวมไปถึงทางรัฐบาลไทยเองที่ก�าลังด�าเนินการ ด้านการปกป้องข้อมูลและความปลอดภัยทางดิจทิ ลั หรือ พ.ร.บ. คุม้ ครองข้อมูลส่วนบุคคล ไมโครชิพมีโซลูชนั IoT อะไรบ้างทีส่ ร้าง ความมั่นใจในความปลอดภัยเหล่านั้นได้

บริษทั ไมโครชิพ เทคโนโลยี จ�ากัด เป็นผูน้ ำ� ด้ำนกำรจัดหำ เซมิ ค อนดั ก เตอร์ ส� ำ หรั บ โซลู ชั น ควบคุ ม แบบฝั ง ที่ เ ป็ น อั จ ฉริ ย ะ เชือ่ มต่อและปลอดภัย เครือ่ งมือพัฒนำทีใ่ ช้งำนง่ำย ตลอดจนกลุม่ ผลิตภัณฑ์ทคี่ รอบคลุม ช่วยให้ลกู ค้ำสำมำรถสร้ำงสรรค์งำนออกแบบ ได้อย่ำงเหมำะสม ซึ่งช่วยลดควำมเสี่ยง ลดต้นทุนโดยรวมของ ทั้งระบบ และยังช่วยลดระยะเวลำในกำรน�ำผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลำด โซลูชันของบริษัทให้บริกำรลูกค้ำมำกกว่ำ 120,000 รำย ในตลำด อุตสำหกรรม ยำนยนต์ ผู้บริโภค อวกำศ และกำรป้องกันประเทศ กำรสื่อสำรและกำรประมวลผล ส�ำนักงำนใหญ่ของไมโครชิพตั้งอยู่ ที่เมืองแชนด์เลอร์ รัฐแอริโซนำ บริษัทน�ำเสนอกำรสนับสนุนด้ำน เทคนิคที่เป็นเลิศ พร้อมกับกำรขนส่งและคุณภำพที่น่ำเชื่อถือ ควำมปลอดภัยนับว่ำเป็นองค์ประกอบหลักในแอปพลิเคชัน IoT และอย่ำงทีเ่ รำทรำบกันดีวำ่ ประเทศไทยก�ำลังมีกำรด�ำเนินกำร เพือ่ รับรองควำมปลอดภัยในด้ำนข้อมูลและกำรป้องกันระดับประเทศ ด้วยแนวทำงใหม่ โดยทีร่ ฐั บำลก�ำลังด�ำเนินกำรตำมพระรำชบัญญัติ คุม้ ครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) ซึง่ จะเข้ำมำมีผลบังคับใช้ในเดือน พฤษภำคม 2565 โดยจะเน้นย�้ำถึงเป้ำหมำยในกำรรักษำควำม ปลอดภัยในยุคดิจิทัลนี้ เนื่องจำกควำมปลอดภัยทำงด้ำนข้อมูล นับว่ำเป็นสิ่งที่เรำให้ควำมใส่ใจเช่นกัน มันจึงควรเป็นส่วนหนึ่งของ โซลูชนั IoT ทัง้ หมด โดยเฉพำะอย่ำงยิง่ ส�ำหรับกำรยืนยันตัวตนของ ระบบ และเมือ่ ท�ำกำรถ่ำยโอนข้อมูล อนึง่ ควำมปลอดภัยนัน้ นับว่ำ เป็นมำกกว่ำกฎระเบียบ มันเป็นเรื่องของกำรน�ำแนวทำงปฏิบัติ อันเป็นพื้นฐำนและเป็นควำมรับผิดชอบเพื่อน�ำไปปรับใช้และควร ได้รบั กำรพิจำรณำอย่ำงถูกต้องจำกขัน้ ตอนแนวคิดของตัวผลิตภัณฑ์ เอง ซึง่ ไมโครชิพมีโซลูชนั ด้ำนควำมปลอดภัยทัง้ ในแบบรวมและแบบ สแตนด์อโลน เช่น อุปกรณ์ตำ่ งๆ ทีม่ คี ณ ุ สมบัตใิ นด้ำนควำมปลอดภัย ขั้นสูง ตลอดจนอุปกรณ์องค์ประกอบควำมปลอดภัย ECC608 แบบสแตนด์อโลนของเรำ ทั้งนี้ ไมโครคอนโทรลเลอร์หลำยๆ รุ่น มีคุณสมบัติในด้ำนกำรป้องกันฮำร์ดแวร์ที่เป็นส่วนเสริมในกำร ท�ำงำนร่วมกับ ECC608 ในกำรใช้กำรรักษำควำมปลอดภัยทีม่ นั่ คง ซึ่งโซลูชันในกำรรักษำควำมปลอดภัยที่มั่นคงของเรำนั้น จะช่วยให้ นักพัฒนำแอปพลิเคชัน IoT สำมำรถน�ำกรณีกำรใช้งำนที่ปลอดภัย ต่ำงๆ มำปรับใช้ได้ เช่น



กัลฟ์ จับมือ กฟภ. ลงนามสัญญาบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์ ภายในสถานีไฟฟ้าและระบบสายส่ง

บริษัท กัลฟ์ เอ็นเนอร์จี ดีเวลลอปเมนท์ จ�ำกัด (มหาชน) น�ำโดย พรทิพา ชินเวชกิจวานิชย์ รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร และการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) โดย สมพงษ์ ปรีเปรม ผูว้ า่ การ กฟภ. ร่วมลงนามสัญญาบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์ ภายในสถานีไฟฟ้าและระบบสายส่ง 115 kV และ 22 kV ผ่านระบบออนไลน์ Zoom Meeting ซึง่ ความร่วมมือครัง้ นี้ กฟภ. จะด�ำเนินงานบ�ำรุงรักษาให้กบั โรงไฟฟ้ำ เอสพีพี (SPP) 19 แห่ง ภายใต้กลุ่มบริษัทกัลฟ์ ส่งผลให้การจ�ำหน่ายไฟฟ้าผ่าน สถานีไฟฟ้าและระบบสายส่งไฟฟ้ามีเสถียรภาพ ประสิทธิภาพ มีความมั่นคง และ ปลอดภัยสูงสุด โดยสัญญามีระยะเวลา 3 ปี ครอบคลุมงานบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์ภายใน สถานีไฟฟ้าและระบบสายส่ง 115 kV และ 22 kV รวมไปถึงงานบริการฉีดน�ำ้ ลูกถ้วย แรงสูงแบบไม่ตัดกระแสไฟฟ้า (Hotline Cleaning Insulator) และการให้บริการซ่อม อุปกรณ์ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน 24 ชั่วโมง ส�ำหรับโรงไฟฟ้า SPP 19 แห่ง ภายใต้ กลุ่มบริษัทกัลฟ์ รวมมูลค่างานเป็นวงเงินกว่า 223 ล้านบาท

เดลต้า ประเทศไทย เปิดโรงงานใหม่เป็นศูนย์ฉีดวัคซีน โควิด-19 เพื่อช่วยเหลือสังคม พร้อมบริจาคเงินสนับสนุน โครงการวัคซีน

บริษทั เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) เปิดโรงงาน แห่งใหม่ในนิคมอุตสาหกรรมเวลโกรว์ จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อเป็นศูนย์ฉีดวัคซีน ป้องกันโรคโควิด-19 พร้อมบริจาคเงินสนับสนุนโครงการฉีดวัคซีน โดย แจ็คกี้ ชาง ประธานกรรมการ บริษทั เดลต้า ประเทศไทย ได้เป็นตัวแทนเดลต้ามอบเงินจ�ำนวน 100,000 บาท ให้แก่ส�ำนักงานประกันสังคมจังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อน�ำไปใช้จ่าย ซื้ออุปกรณ์ท่ีจ�ำเป็น นอกจากนี้ โรงงานใหม่ของเดลต้าที่ใช้จัดตั้งศูนย์ฉีดวัคซีน ถูกเลือกจากอาคารโรงงานทีไ่ ม่ได้ใช้งาน โดยค�ำนึงถึงการเข้าออกและระบบระบาย อากาศที่มีความความเหมาะสม ทั้งนี้ เดลต้ายังได้มอบอาหารและน�้ำดื่มให้แก่ บุคลากรทางการแพทย์ พร้อมที่จอดรถเพื่ออ�ำนวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าที่และ ผู้มารับวัคซีนทุกคนตลอดการด�ำเนินโครงการดังกล่าว

GPSC มอบหน้ากากอนามัย 500,00 ชิ้น ให้ 7 จังหวัด ป้องกันโควิด-19

บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GPSC แกนน�ำ นวัตกรรมธุรกิจไฟฟ้ากลุ่ม ปตท. น�ำโดย ณรงค์ชัย วิสูตรชัย ผู้จัดการฝ่ายอาวุโส รัฐกิจสัมพันธ์และกิจการสาธารณะ ส่งมอบอุปกรณ์ทางการแพทย์ ได้แก่ หน้ากาก อนามัย จ�ำนวน 500,000 ชิ้น ให้กับกระทรวงพลังงาน เพื่อส่งต่อให้กับประชาชน ทีข่ าดแคลนในจังหวัดต่างๆ ประกอบด้วย ปทุมธานี นครปฐม ฉะเชิงเทรา ระยอง อุดรธานี หนองคาย และหนองบัวล�ำภู เพือ่ เป็นขวัญก�ำลังใจและใช้ปอ้ งกันตนเอง จากการระบาดของเชื้อโควิด-19 ณ บริเวณด้านหน้าอาคารบี ศูนย์เอนเนอร์ยี่ คอมเพล็กซ์ เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

นาโนเทค สวทช. ส่งมอบหน้ากากอนามัย n-Breeze M03 จ�ำนวน 10,000 ชิ้น ให้กับโรงพยาบาล

ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ส่งมอบหน้ากากอนามัย n-Breeze M03 จ�ำนวน 10,000 ชิน้ ด้วยร่วมมือจากบริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด (มหาชน) ให้กับบุคลากรทางการแพทย์ โดย ดร.วรล อินทะสันตำ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มวิจัย วัสดุผสมและการเคลือบนาโน และ สมชัย กลิ่นสุวรรณมาลี ผู้จัดการส่วนกิจการ เพื่อสังคม เพื่อการใช้งานด้านสาธารณประโยชน์และการประเมินผลกระทบของ เทคโนโลยีตอ่ เศรษฐกิจและสังคม ณ โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ระยอง โดยมี นพ.อรรถพล ศรีวัฒนะ รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายการแพทย์ 2 เป็นผู้รับมอบ


มิตซูบิชิ ประเทศไทย MOU อีเทอร์นิตี้ แกรนด์ โลจิสติคส์ ศึกษาน�ำร่องการใช้รถยนต์ไฟฟ้า

Bangkok Cable มอบสายไฟฟ้าเพื่อสร้างห้องแยกโรค ความดันลบส�ำหรับผู้ป่วย COVID-19

บริษทั มิตซูบชิ ิ มอเตอร์ส ประเทศไทย ลงนามบันทึกความเข้าใจร่วมกับ บริษทั อีเทอร์นติ ี้ แกรนด์ โลจิสติคส์ จ�ำกัด (มหาชน) ด�ำเนินโครงการศึกษาน�ำร่อง การใช้รถยนต์ไฟฟ้าพลังงานแบตเตอรี่ (Battery Electric Vehicles หรือ BEV) ใน ประเทศไทย มุ่งท�ำความเข้าใจแนวทางการใช้รถยนต์ไฟฟ้าพลังงานแบตเตอรี่ เพือ่ การพาณิชย์ และท�ำการศึกษาข้อมูลจากการใช้งานจริง โดยอีเทอร์นติ ี้ แกรนด์ โลจิสติคส์ ภายใต้บันทึกความเข้าใจนี้ มิตซูบิชิ มอเตอร์ส ประเทศไทย จะจัดส่ง รถยนต์มิตซูบิชิ มินิแค็บ มีฟ รถยนต์ไฟฟ้าพลังงานแบตเตอรี่เพื่อการพาณิชย์ จ�ำนวน 1 คัน ให้แก่อีเทอร์นิตี้ แกรนด์ โลจิสติคส์ ส�ำหรับใช้ในการด�ำเนินธุรกิจ การขนส่งสินค้าเป็นเวลา 1 ปี โดยโครงการนีย้ งั เป็นส่วนหนึง่ ในแผนด�ำเนินงานของ มิตซูบชิ ิ มอเตอร์ส ประเทศไทย ทีจ่ ะพัฒนายนตรกรรมพลังงานไฟฟ้าให้ครอบคลุม การใช้งานทัง้ ในรถยนต์นงั่ ส่วนบุคคลและเพือ่ การพาณิชย์ โดยมีเป้าหมายส่งเสริม ให้ผู้ใช้รถยนต์ชาวไทยหันมาใช้รถยนต์ไฟฟ้า และศึกษาโอกาสที่จะขยายต่อไปสู่ การใช้รถยนต์ไฟฟ้าอย่างแพร่หลายในประเทศไทย ซึง่ สอดคล้องกับเป้าหมายของ รัฐบาลไทย

บริษัท สายไฟฟ้าบางกอกเคเบิ้ล จ�ำกัด ส่งมอบสายไฟฟ้า VCT 2x 1.5 SQ.MM จ�ำนวน 3,000 เมตร ให้กบั สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ เพือ่ จัดสร้างห้องความดันลบส�ำหรับผูป้ ว่ ย COVID-19 และมอบให้สถานพยาบาล จากสถานการณ์การระบาดของเชือ้ โควิด-19 ทีท่ วีความรุนแรง มียอดผูต้ ดิ เชือ้ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สถานพยาบาลหลายแห่งมีบุคลากรจ�ำกัด ประกอบกับ ความเสี่ยงที่อาจจะสัมผัสผู้ติดเชื้อโดยตรงค่อนข้างสูงจากการเพิ่มขึ้นของผู้ติดเชื้อ ในปัจจุบนั เพือ่ ป้องกันบุคลากรด่านหน้าทีเ่ ปรียบเสมือนแม่ทพั คอยป้องกันประชาชน คนไทยให้ผ่านช่วงเวลาของการระบาดนี้ไปได้ บริษัท สายไฟฟ้าบางกอกเคเบิ้ล จ� ำ กั ด ขอเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ ช ่ ว ยขั บ เคลื่ อ นให้ ทุ ก คนผ่ า นพ้ น วิ ก ฤติ นี้ ไ ปด้ ว ยกั น “เราจะไม่ทิ้งกัน”

3 พันธมิตรร่วมพลิกโฉมเกษตรชุมชนสู่ Smart Farming เกษตรอัจฉริยะไทยก้าวไกลสู่ครัวโลก

บริษทั ติงส์ ออน เน็ต จ�ำกัด (Things On Net Co., Ltd.) ผูน้ ำ� ด้านบริการ โซลูชันไอโอทีครบวงจร ด้วยโครงข่ายเทคโนโลยีสื่อสารระดับโลก ร่วมกับ บริษัท พี.ที.เอ็น.อินโนเวชัน่ จ�ำกัด และ สหกรณ์บริการ ส่งเสริมอาชีพและวัฒนธรรม ชลบุรี จ�ำกัด ผสานความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ ดึงโซลูชันไอโอทีครบวงจร ผ่านอุปกรณ์ไฮเทคและโครงข่ายสัญญาณ มาขับเคลื่อนเกษตรชุมชนอัจฉริยะ (Smart Farming) ต่อยอดฟาร์มเห็ดไทยสูค่ รัวโลก โดยทีร่ ะบบโซลูชนั ไอโอทีจะช่วย ลดความเสี่ยงการเสียหายของพืชผลจากปัจจัยการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิและ ความชื้น เพิ่มคุณภาพและปริมาณผลผลิต เป็นการขยายโอกาส สร้างรายได้ และ ผลก�ำไรจากตลาดระดับประเทศสู่ตลาดต่างประเทศได้

สกาย ไอซีที จับมือ AppMan บุกตลาด e-KYC รองรับ เทรนด์การพิสูจน์ตัวตนออนไลน์ในหลากอุตสาหกรรม ทั่วโลก

บริษัท สกาย ไอซีที จ�ำกัด (มหาชน) จับมือ บริษัท แอพแมน จ�ำกัด เชื่อมโยงเทคโนโลยี Face Recognition กับ Optical Character Recognition ต่อยอดระบบโครงสร้างพืน้ ฐาน e-KYC ครบวงจรและปลอดภัยยิง่ ขึน้ รองรับความ ต้องการแห่งอนาคต หลังภาครัฐและภาคเอกชนมุง่ สูด่ จิ ทิ ลั และต้องการระบบความ ปลอดภัยยืนยันตัวตนผ่านออนไลน์ ซึง่ เทคโนโลยี e-KYC ของทัง้ 2 บริษทั จะช่วย พิสจู น์ตวั ตนผูใ้ ช้งานผ่านการสแกนบัตรประชาชน สแกนเอกสารทางราชการ ตลอดจน สแกนใบหน้า บนแพลตฟอร์มหรือแอปพลิเคชันต่างๆ ช่วยให้ทั้งภาครัฐและภาค เอกชนสามารถป้องกันการปลอมแปลงเอกสารหรือตัวตน ป้องกันความเสี่ยงต่อ การท�ำผิดกฎหมาย ขณะเดียวกันยังช่วยอ�ำนวยความสะดวกแก่ผใู้ ช้งาน ลดขัน้ ตอน การกรอกเอกสาร ลดระยะเวลาในการวิเคราะห์ข้อมูล


JumpDriveī P30 USB 3.2 Gen 1 แฟลชไดรฟ์ความเร็วสูง

Lexar แบรนด์ชั้นน�ำระดับโลกด้านโซลูชันหน่วยความจ�ำ แฟลช มี ค วามภู มิ ใจที่ จ ะประกาศเปิ ด ตั ว แฟลชไดรฟ์ Lexar® JumpDrive® P30 USB 3.2 Gen 1 รุน่ ใหม่ แฟลชไดรฟ์รนุ่ นีเ้ หมาะ ส�ำหรับมืออาชีพที่ต้องการถ่ายโอน แชร์รูปภาพ วิดีโอ และไฟล์ ขนาดใหญ่ได้อย่างง่ายแม้ในขณะเดินทาง ด้วยประสิทธิภาพการอ่านและเขียน USB 3.2 Gen 1 ที่รวดเร็วสูงสุดถึง 450MB/s (ขึ้นอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้) คุณจึงสามารถเข้าถึงไฟล์ของคุณได้ในเสีย้ ววินาทีทกุ ทีท่ กุ เวลา ด้วย ความเร็วในระดับนี้ท�ำให้ลดเวลาในการถ่ายโอนและเพิ่มความเร็ว เวิร์กโฟลว์ของคุณตั้งแต่ต้นจนจบ

คุณสมบัติเด่น • ส�ำหรับผูใ้ ช้ระดับมืออาชีพทีต่ อ้ งการจัดเก็บและถ่ายโอนไฟล์ ขนาดใหญ่ด้วยประสิทธิภาพ USB 3.2 Gen 1 ที่รวดเร็วเป็น พิเศษ ที่ความเร็วในการอ่านและเขียนสูงสุด 450MB/s • การออกแบบทีเ่ พรียวบางและทนทานเพือ่ จัดเก็บไฟล์ของคุณ ได้สูงสุดถึง 1TB • จัดเก็บไฟล์ของคุณอย่างปลอดภัยด้วยซอฟต์แวร์เข้ารหัส AES 256 บิต เพือ่ ความสบายใจ ไฟล์ทถี่ กู ลบก็จะถูกลบอย่าง ปลอดภัยและไม่สามารถกู้คืนได้ • อินเทอร์เฟซ USB 3.2 Gen 1 (เข้ากันได้กับอุปกรณ์ USB 3.1, USB 3.0 และ USB 2.0) • เข้ากันได้กับระบบ PC และ Mac® ทัง้ นี้ การออกแบบผลิตภัณฑ์ Lexar ทัง้ หมดผ่านการทดสอบ อย่างครอบคลุมใน Lexar Quality Labs ที่มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวก และอุปกรณ์ดจิ ทิ ลั มากกว่า 1,100 ตัว เพือ่ ให้มนั่ ใจในประสิทธิภาพ คุณภาพ ความเข้ากันได้ และความน่าเชือ่ ถือ ดูรายละเอียดเพิม่ เติม ได้ที่ www.lexar.com

VTScada

ซอฟต์แวร์ตรวจสอบและควบคุมงาน ด้านอุตสาหกรรมสูต ่ ลาดไทย บริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) เปิดตัว VTScada ซอฟต์แวร์แอปพลิเคชันตรวจสอบ และควบคุมส�ำหรับใช้งานในอุตสาหกรรมสู่ตลาดไทย ซึ่งได้รับ การพัฒนาโดย Trihedral บริษทั สัญชาติแคนาดาในเครือเดลต้า กรุป๊ VTScada เป็นซอฟต์แวร์ระบบสกาดา (SCADA) ที่สามารถ ก�ำหนดค่าระบบและปรับขนาดสเกลงานได้อย่างยืดหยุ่น รวมถึง อินเทอร์เฟซตรวจสอบได้แบบเรียลไทม์ที่ใช้งานง่ายในหลากหลาย อุตสาหกรรม นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้ใช้ตรวจสอบใส่อินพุตและ เอาต์พตุ (I/O) กว่าหลายล้านรายการ โดยซอฟต์แวร์ดงั กล่าวสามารถ รองรับไดรเวอร์ได้มากกว่า 100 ตัว เพื่อเชื่อมต่ออินเทอร์เฟซได้ อย่างแม่นย�ำ พร้อมความสามารถในการปรับเปลีย่ นได้ระดับสูงและ ฟังก์ชันที่ครบครันภายในแอปพลิเคชันเดียว ด้วยการมอบโซลูชันการใช้งานที่ส�ำคัญ เต็มเปี่ยมไปด้วย คุณภาพอันยอดเยี่ยมและการช่วยเหลือแบบทันท่วงที ทั้งยังได้รับ รางวัลด้านอุตสาหกรรมการันตรีคุณภาพอีกหลากหลายรางวัล ท�ำให้ VTScada ได้มีการถูกใช้อย่างแพร่หลาย ไม่ว่าจะเป็นใน

อุตสาหกรรมพลังงานขนาดใหญ่ การบ�ำบัดน�ำ้ รวมถึงอุตสาหกรรม น�้ำมันและก๊าซในทวีปอเมริกาเหนือ ผูจ้ ดั การฝ่ายปฏิบตั กิ ารในอุตสาหกรรมการประปา พลังงาน เคมีภัณฑ์ การผลิต รวมถึงอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ในประเทศไทย สามารถน�ำซอฟต์แวร์น้ีมาปรับใช้เพื่อเป็นการ บูรณาการและเพิ่มประสิทธิภาพในความแม่นย�ำให้ดียิ่งขึ้นในการ ตรวจสอบและควบคุมภารกิจส�ำคัญในการด�ำเนินงานขององค์กร VTScada ประกอบด้วย มัลติฟังก์ชันและการใช้งานที่ง่าย ช่วย ประหยัดต้นทุนและเวลาของผู้ใช้เป็นอย่างดี ที ม งานด้ า นระบบอุ ต สาหกรรมออโตเมชั น ของเดลต้ ำ ได้น�ำเสนอซอฟต์แวร์ VTScada ให้แก่ผู้ติดตั้งระบบในพื้นที่ที่ได้รับ การคัดเลือกเพือ่ ส่งมอบบริการให้แก่ลกู ค้าในประเทศไทย สอบถาม รายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ la.det@deltaww.com


Industry News

โรงกลัน่ เร่งปรับตัวสูโ้ ลกร้อน ชูเทคโนโลยีชว่ ยลดก๊าซเรือนกระจกและพลังงาน

บริษัท ดาว ประเทศไทย มุ่งใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัยและ มีประสิทธิภาพในการลดการปล่อยมลพิษและลดการใช้พลังงาน ในกระบวนการผลิต เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในความพยายามแก้ปัญหา โลกร้อน ได้จดั สัมมนาออนไลน์หวั ข้อ “Sustainable Refinery Trend and Technology” โดยมีตัวแทนจากกลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย ซึ่งเป็นบริษัทชั้นน�ำด้านแมททีเรียลส์ ไซแอนซ์ (Materials Science) ทีม่ นี วัตกรรมสารเคมีเพือ่ ดักจับก๊าซเรือนกระจกและเพิม่ ประสิทธิภาพ โรงกลั่นน�้ำมัน มาร่วมแชร์ประสบการณ์การใช้เทคโนโลยีดังกล่าว ทีป่ ระสบความส�ำเร็จทัง้ ด้านประหยัดพลังงานและรักษาสิง่ แวดล้อม ดาว (DOW) เป็นบริษัทชั้นน�ำระดับโลกด้านแมททีเรียลส์ ไซแอนซ์ (Materials Science) ซึง่ พัฒนาและผลิตวัสดุชนิดต่างๆ ด้วย กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยมีความมุ่งมั่นที่จะเป็นเลิศด้าน นวัตกรรม เอาใจใส่ต่อลูกค้า ให้การยอมรับบุคลากรที่หลากหลาย และให้ความส�ำคัญกับความยั่งยืนมากที่สุดในโลก วิชาญ ตั้งเคียงศิริสิน ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายขายภูมภิ าค เอเชีย-แปซิฟิก กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย กล่าวต่อ ผู ้ ร ่ ว มสั ม มนาว่ า ปั จ จุ บั น ทั่ ว โลกตื่ น ตั ว ต่ อ ปั ญ หาการ เปลีย่ นแปลงสภาพอากาศจาก ภาวะโลกร้อน หรือ Climate Change โดยหลายประเทศ ตัง้ เป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutral) หวังลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้เป็นศูนย์ (Net Zero Emissions) ภายใน ปี ค.ศ. 2050 เพื่อผลักดันเป้าหมายการรักษาระดับอุณหภูมิเฉลี่ย โลกให้สูงขึ้นไม่เกิน 2 องศาเซลเซียส ตามความตกลงปารีสให้เป็น ผลส�ำเร็จ และเนื่องจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเกี่ยวข้องกับ

การใช้พลังงาน ทิศทางของโลกจึงมุ่งเน้นไปยังการพัฒนาพลังงาน สะอาดและลดการใช้พลังงานลง อย่างไรก็ตาม เรายังไม่สามารถ หลีกเลีย่ งการใช้พลังงานจากฟอสซิลได้ในขณะนี้ ดังนัน้ ทางออกคือ “ท�ำอย่างไรให้เกิดการใช้อย่างมีประสิทธิภาพและลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกลงด้วย” ทั้งนี้ แนวโน้มส�ำคัญๆ ของอุตสาหกรรมการกลั่นน�้ำมัน 6 ประการในปัจจุบัน คือ 1. มีการปรับปรุงเพิม่ อัตราการใช้งานของเครือ่ งจักรการกลัน่ น�้ำมันของโรงกลั่นเพื่อแก้ปัญหาข้อจ�ำกัดในการผลิต 2. แหล่งน�ำ้ มันดิบทีม่ คี ณ ุ ภาพมีจำ� นวนลดลง จึงต้องหันมาใช้ น�้ำมันดิบจากแหล่งที่มีปริมาณก�ำมะถันเจือปนมากขึ้น 3. ปัจจุบนั มีการออกมาตรการเข้มงวดมากขึน้ ในการก�ำหนด ค่าปริมาณก�ำมะถันในผลิตภัณฑ์น้�ำมันชนิดต่างๆ เช่น ข้ อ ก� ำ หนดของผลิ ต ภั ณ ฑ์ น�้ ำ มั น ส� ำ หรั บ เรื อ เดิ น สมุ ท ร ทีก่ ำ� หนดโดย International Maritime Organization (IMO) 4. การก�ำหนดมาตรฐานปริมาณการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ แ ละอนุ พั น ธ์ ข องก๊ า ซซั ล เฟอร์ ไ ดออกไซด์ เข้มงวดขึ้น 5. มีการตัง้ เป้าหมายลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทัง้ คาร์บอน ไดออกไซด์และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ เพื่อบรรลุเป้าหมาย ความยั่งยืน และ 6. การลดการใช้ พ ลั ง งาน ซึ่ ง จะช่ ว ยลดการปล่ อ ยก๊ า ซ เรือนกระจก ดังนัน้ สิง่ ทีโ่ รงกลัน่ น�ำ้ มันต้องการในปัจจุบนั คือ เทคโนโลยีที่ จะมาช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพ โดยลดการใช้พลังงานลงให้ได้มากทีส่ ดุ ลดความจ�ำเป็นในการหยุดเดินเครื่องนอกแผน ลดปัญหา เช่น การกัดกร่อน ซึง่ จะช่วยยืดอายุการท�ำงานของโรงกลัน่ และลดระยะเวลา การซ่อมบ�ำรุงให้น้อยลง โดยที่ไม่ต้องเพิ่มเม็ดเงินในการลงทุน เพิม่ เติมเป็นจ�ำนวนมาก ขณะเดียวกันต้องช่วยดักจับก๊าซต่างๆ จาก กระบวนการผลิต เพื่อลดการปล่อยมลพิษออกสู่สิ่งแวดล้อม เพื่อ ตอบสนองความต้องการดังกล่าวของกลุ่มโรงกลั่น ดาวจึงได้คิดค้น สาร UCARSOL (ยูคาซอล) ซึ่งเป็นนวัตกรรมใหม่ล่าสุดเพื่อดักจับ ก๊าซพิษที่ถูกปล่อยออกจากโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เช่น โรงกลัน่ น�ำ้ มัน โรงแยกก๊าซธรรมชาติ โรงไฟฟ้า และโรงงานปุย๋ เพือ่ แก้ปัญหาที่เหมาะสมในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของโรงกลั่น ลดการปล่อยก๊าซที่เป็นมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม และยังช่วยลด การใช้พลังงานในระบบการผลิต


Industry News

นวัตกรรมระบบป้องกันน�้ำท่วมอัตโนมัติ คว้ารางวัลเวทีประชันระบบอัตโนมัตินานาชาติ

เยาวชนไทยสร้างความฮือฮาผงาดบนเวทีระดับนานาชาติ เดลต้าคัพ 2021 (Delta Cup) เมื่อทีมคาลามารี (Calamari) นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์และคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาล รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล คว้ารางวัลชนะเลิศ Grand Prize ด้วยผลงานนวัตกรรมป้องกันน�้ำท่วมอัตโนมัติ Flood Prevention Protocol ทีน่ า่ ทึง่ ท่ามกลางผูเ้ ข้าแข่งขันจากนานาประเทศ 546 ทีม จาก 200 มหาวิทยาลัย ณ นครเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน ทีมคาลามารี (Calamari) จากประเทศไทย น�ำโดย รศ. ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์ ภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ ดร.เอกชัย วารินศิรริ กั ษ์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ ผศ. ดร.ปานนท์ ลาชโรจน์ ภาควิชา วิศวกรรมโยธาและสิง่ แวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา พร้อมด้วยทีมนักศึกษามหาวิทยาลัย มหิดล 22 คน เข้าร่วมประกวดเวทีการประชันระบบอัตโนมัตริ ะดับ นานาชาติ รศ. ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์ หนึ่งในอาจารย์ท่ีปรึกษาทีม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า โลกวันนี้และ อนาคต ระบบอัตโนมัติและ AI เข้ามามีบทบาทมากขึ้น ทั้งในชีวิต ประจ�ำวัน การท�ำงาน การแพทย์และสุขภาพ คมนาคมขนส่ง จนถึง การบริหารจัดการเมือง ส�ำหรับงานแข่งขันเดลต้าคัพ 2021 จัดโดย เดลต้า อิเล็กโทรนิคส์ ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการแห่งประเทศจีน และสมาคมเทคโนโลยีอัตโนมัติแห่งประเทศจีน (CAA) ภายใต้ธีม Seeking Smart Industrial Internet of Things (IIoT) Talents ซึ่ง

มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมศักยภาพของคนรุ่นใหม่และความคิด สร้างสรรค์ด้านพัฒนาเทคโนโลยีระบบอัตโนมัติ โซลูชันการผลิต อัจฉริยะ และแอปพลิเคชันเทคโนโลยีสเี ขียวทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม การแข่งขันมี 3 ประเภท คือ Innovative Machines, Smart Factory และ Better Future Living แม้จะอยู่ในช่วงวิกฤติจากโควิด-19 แต่ เดลต้าคัพ 2021 ปีนยี้ งิ่ ใหญ่คกึ คักด้วยการประชันผลงานนวัตกรรม ระบบอั ต โนมั ติ ข องนวั ต กรคนรุ ่ น ใหม่ จ าก 200 มหาวิ ท ยาลั ย ผลการแข่งขันน�ำความภาคภูมใิ จสูค่ นไทยทุกคน โดยนับเป็นครัง้ แรก ทีท่ มี จากประเทศไทยสามารถคว้ารางวัลชนะเลิศ Grand Prize โดย ทีม Calamari จากผลงาน Flood Prevention Protocol ที่ออกแบบ จากแนวคิด Smart IIoT For Better Future Living ชอน กัลอัพ หัวหน้าทีมคาลามารี (Calamari) นักศึกษา วิศวกรรมชีวการแพทย์ปีที่ 2 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล กล่าวถึงที่มาและนวัตกรรมว่า ที่ผ่านมาความเสียหายจาก ภัยธรรมชาติในประเทศไทยนั้น อุทกภัยได้สร้างความเสียหายทาง เศรษฐกิจและมีผลกระทบมากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร ซึ่งอยู่ต�่ำกว่าระดับน�ำ้ ทะเล และในบางพื้นที่ เช่น รามค�ำแหง บางกะปิ สุขุมวิท อยู่ต�่ำกว่าระดับน�้ำทะเลถึง 2 เมตร กรุงเทพมหานครของเราจึงประสบปัญหาน�้ำท่วมมาทุกปี ถึงแม้ จะมีมาตรการป้องกันน�้ำท่วมโดยการใช้ประตูน้�ำ 100 แห่งทั่ว กรุงเทพมหานคร แต่ก็ยังไม่สามารถจัดการน�้ำท่วมได้ เนื่องจาก ประตูน�้ำแต่ละบานเปิด-ปิดโดยใช้คน ซึ่งไม่ได้ค�ำนึงถึงน�้ำทุกส่วน วิธีการล่าช้า ขาดการใช้เทคโนโลยีในการควบคุมดูแลระบบอย่างมี ประสิทธิภาพ ขาดความแม่นย�ำด้วยข้อมูลที่อาจส่งผลต่อความ ปลอดภัย ทีมคาลามารี (Calamari) ได้คดิ ค้นและออกแบบนวัตกรรม ป้องกันน�ำ้ ท่วมอัตโนมัติ Flood Prevention Protocol ซึ่งเป็นระบบ ระบายน�ำ้ อัตโนมัตทิ ผ่ี สานรวมกับเทคโนโลยี AI อัจฉริยะ มีเครือข่าย ระบบเซนเซอร์เก็บข้อมูลน�ำ้ จากประตูนำ�้ ทัง้ 100 แห่ง และประมวลผล ด้ ว ยคลาวด์ คอมพิ ว ติ้ ง ระบบสามารถคาดการณ์ ป ริ ม าณน�้ ำ ความน่าจะเป็นใน 1 ชั่วโมงข้างหน้า ท�ำ Flow Rate Mapping ก�ำหนดเส้นทางการไหลของน�้ำเพื่อป้องกันน�้ำท่วม จนถึงควบคุม การเปิด-ปิดประตูนำ้� อย่างสอดคล้องกับสถานการณ์จริง อีกทัง้ แสดง ข้อมูลจากเครือข่ายเซนเซอร์ มอเตอร์ และการไหลของน�้ำทั้งหมด บนคอมพิวเตอร์ศูนย์ควบคุม SCADA หรือระบบมอนิเตอร์แสดง สถานะของแต่ละประตูน�้ำและเห็นภาพรวมได้อีกด้วย นับเป็นการ รวมระบบการตั ด สิ น ใจการควบคุ ม ประตู น�้ ำ ทั้ ง 100 แห่ ง ด้ ว ย ปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI เข้าไป ซึ่งจะช่วยพัฒนายกระดับให้เป็น ระบบเปิด-ปิดประตูน�้ำอัจฉริยะ


อีสท์ วอเตอร์ ผนึกก�ำลังร่วมมือกับองค์การจัดการน�้ำเสีย เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการน�ำ้ เสียในภาคตะวันออก

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน�้ำภาคตะวันออก จ�ำกัด (มหาชน) หรือ อีสท์ วอเตอร์ และองค์การจัดการน�ำ้ เสีย ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการบริหารจัดการน�้ำเสียใน ภาคตะวันออก (MOU) เพือ่ พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการน�ำ้ เสีย ในภาคตะวันออกและการน�ำน�้ำกลับมาใช้ประโยชน์ในเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก หรือ EEC เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการใช้นา�้ ทุกหยด และพัฒนาสูก่ ารน�ำน�ำ้ เสียทีผ่ า่ นการบ�ำบัดแล้วกลับมาใช้ใหม่ นอกจากนี้ ยั ง ได้ ร ่ ว มกั น ศึ ก ษาทบทวนโครงสร้ า งค่ า บริ ก าร ค่าธรรมเนียม และค่าบริหารจัดการ พร้อมศึกษารูปแบบการจัดเก็บ ค่าบริการทีเ่ หมาะสม โดย นิพนธ์ บุญญามณี รัฐมนตรีชว่ ยว่าการ กระทรวงมหาดไทย เป็นประธานในพิธี พร้อมกล่าวถึงความร่วมมือ ในโครงการว่า จากสถานการณ์ในปัจจุบนั พืน้ ทีภ่ าคตะวันออกของ ประเทศไทย โดยเฉพาะเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) มี ความจ�ำเป็นต้องขับเคลื่อนมาตรการในการบริหารจัดการน�้ำที่มี ประสิทธิภาพ เพือ่ รองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจและสังคม รัฐบาล มีความมุง่ มัน่ ในการพัฒนาพืน้ ทีภ่ าคตะวันออก (EEC) ทีค่ รอบคลุม พื้นที่ 3 จังหวัด คือ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง เป็นพื้นที่เศรษฐกิจ ส�ำคัญ เพือ่ ยกระดับการพัฒนาประเทศ ส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย เพือ่ เป็นการยกระดับอุตสาหกรรม เป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ง โลจิสติกส์ และเน้นการลงทุนด้านโครงสร้างพืน้ ฐานทีท่ นั สมัย ส่งเสริม การลงทุนและการท่องเที่ยวเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน และท�ำให้เศรษฐกิจของไทยเติบโตได้ในระยะยาวและเป็นเขต เศรษฐกิจชั้นน�ำของอาเซียน เชื่อมโยงการพัฒนาภายในประเทศ และประเทศเพื่อนบ้าน

จิรายุทธ รุง่ ศรีทอง กรรมการ ผู้อ�ำนวยการใหญ่ อีสท์ วอเตอร์ กล่าวว่า วันนี้ถือเป็นความร่วมมือ ครัง้ ส�ำคัญระหว่างอีสท์ วอเตอร์ อจน. เพื่ อ เดิ น หน้ า พั ฒ นารู ป แบบการ บริหารจัดการน�้ำเสียและการน�ำน�้า กลั บ มาใช้ ใ หม่ ใ นเขตพั ฒ นาพิ เ ศษ ภาคตะวันออก อันเป็นพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจ ส�ำคัญในการขับเคลื่อนประเทศ ด้วย ศักยภาพและความเชี่ยวชาญในการ บริหารจัดการน�ำ้ ของอีสท์ วอเตอร์ และ อจน. จะช่วยสร้างเสถียรภาพ ความมัน่ คงด้านน�ำ้ ในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออก เพือ่ รองรับการเติบโตของ ทุกภาคส่วนตามนโยบายโครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอีกด้วย มุ่งเน้นการบริหารจัดการน�ำ้ เสียและ การน�ำน�ำ้ ทีผ่ า่ นการบ�ำบัดแล้วกลับมาใช้ใหม่ เพือ่ สร้างความยัง่ ยืน และให้เกิดความคุ้มค่าในน�ำ้ ทุกหยดที่ถูกใช้ไป ทัง้ นี้ องค์การจัดการน�ำ้ เสียและอีสท์ วอเตอร์ ร่วมกันขับเคลือ่ น ภารกิจให้ส�ำเร็จบรรลุเป้าหมายตามนโยบายของรัฐบาล กระทรวง มหาดไทย เพือ่ บ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุขให้กบั พีน่ อ้ งประชาชน การลงนาม บันทึกข้อตกลงความร่วมมือในครั้งนี้ จึงเป็นแนวทางในการน�ำน�้า ที่ผ่านการบ�ำบัดกลับมาใช้ประโยชน์และยังเป็นการแก้ไขปัญหา การขาดแคลนน�ำ้ ส�ำหรับกิจกรรมประเภทต่างๆ ในเขตพื้นที่ EEC และจะเป็นประโยชน์ส�ำหรับประชาชนในพื้นที่ที่ประสบปัญหาการ ขาดแคลนน�้ำใช้ต่อไป และมีวัตถุประสงค์ในการจัดให้มีและบริหารจัดการระบบ บ�ำบัดน�้ำเสียชุมชน รวมทั้งบริการหรือกิจการต่อเนื่องที่เกี่ยวกับ การจัดการน�ำ้ เสีย ทีผ่ า่ นมา อจน. ได้ดำ� เนินการตามภารกิจให้ลลุ ว่ ง อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงมหาดไทย ทีก่ ำ� หนดให้การจัดการน�ำ้ เสียชุมชนเป็นภารกิจส�ำคัญ โดยมีเป้าหมาย บ�ำบัดน�้ำเสียจากชุมชนให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานทิ้งก่อน ปล่อยลงสู่แหล่งน�้ำสาธารณะ ในการนี้จึงมีเจตนารมณ์ร่วมกับอีสท์ วอเตอร์ เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการน�้ำเสียในพื้นที่เขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ซึ่งเป็นพื้นที่เศรษฐกิจส�ำคัญของไทย องค์การจัดการน�ำ้ เสียและอีสท์ วอเตอร์ เห็นถึงความส�ำคัญในการ บริหารจัดการน�ำ้ เสียให้มปี ระสิทธิภาพ เพือ่ ให้สามารถน�ำน�ำ้ บางส่วน ที่ผ่านการใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด


ใบสมัครสมาชิก

ELECTRICITY & INDUSTRY MAGAZINE ชื่อ-นามสกุล ........................................................................................................................................................................................................................... บริษัท/ห้าง/ร้าน ..................................................................................................................................................................................................................... ที่อยู่ ........................................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................................................ โทรศัพท์ ............................................................................................................. แฟกซ์ ........................................................................................................ รหัสสมาชิก ............................................................................................................................................................................................................................. ประสงค์จะบอกรับนิตยสาร “ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม” สมาชิกใหม่  1 ปี 6 ฉบับ 480 บาท  2 ปี 12 ฉบับ 960 บาท สมาชิกต่ออายุ  1 ปี 6 ฉบับ 450 บาท  2 ปี 12 ฉบับ 900 บาท ตั้งแต่ฉบับที่ ............. เดือน ......................................... ปี .................. โดยส่งนิตยสารไปที่  ที่ทำ�งาน  ที่บ้าน พร้อมกันนี้ได้ส่งค่าสมาชิกเป็นจำ�นวนเงิน ................................... บาท (ตัวอักษร ............................................................................................)  เช็คธนาคาร ................................................................................... สาขา ................................................................................................... เช็คคร่อมสั่งจ่าย “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด”

ธนาณัติ สั่งจ่ายในนาม “คุณวาสนา แซ่อึ้ง” ที่ทำ�การไปรษณีย์โทรเลขบางกอกน้อย โอนเข้าบัญชีออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำ�กัด” ชื่อธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี  กสิกรไทย บางยี่ขัน 047-2-56333-5  ไทยพาณิชย์ จรัญสนิทวงศ์ ซ.48 21-2-04080-0  กรุงไทย ถนนศรีอยุธยา 013-0-09071-9 หมายเหตุ : กรุณาส่งแฟกซ์ หรือสำ�เนาใบเข้าบัญชี (Pay-in Slip) มาให้ บริษัทฯ พร้อมเขียนชื่อ-นามสกุล และรหัสสมาชิก (ถ้ามี) กำ�กับมาด้วย กรุณากรอกข้อมูลดังกล่าวให้ครบถ้วนเพื่อการติดต่อจัดส่งข้อมูล กลับไปยังท่านต่อไป

ดัชนีสินค้าประจ�ำเดือนกันยายน-ตุลาคม พ.ศ. 2564 บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ABB POWER GRIDS (THAILAND) LTD.

0-2665-1000

0-2324-0502

BANGKOK INDUSTRIAL GAS CO., LTD.

0-2685-6789

-

LS ELECTRIC CO., LTD.

0-2053-9133

-

0-2194-8738-9

0-2003-2215

POWEREX & ELECTRIC ASIA EXPO

0-2513-1418

TAIWAN EXCELLENCE การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

MAXIMIZE INTEGRATED TECHNOLOGY CO., LTD.

ประเภทสินค้า อุปกรณ์ไฟฟ้า

หน้า ปกหลังนอก ปกหลังใน

หม้อแปลงไฟฟ้า

ปกหน้าใน

อุปกรณ์ไฟฟ้า

8

-

Exhibition

10

081-750-4630

-

อุปกรณ์ไฟฟ้า

6-7

0-2590-9590

0-2590-9598

บริการด้านวิศวกรรมไฟฟ้า

13

0-2002-4395-97

0-2002-4398

อุปกรณ์ไฟฟ้า

5

0-2239-7847

0-2239-7898

น�ำ้ มันหล่อลื่นอุตสาหกรรม

3

เพาเวอร์ เรด บจก.

0-2322-0810-6

0-2322-0430

อุปกรณ์ไฟฟ้า

9

ลีฟเพาเวอร์ บจก.

0-2130-6371

0-2130-6372

อุปกรณ์ไฟฟ้า

11

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727-8

0-2476-1711

Coupling

4

เอวีร่า บจก.

0-2074-4411

0-2074-4400

อุปกรณ์ไฟฟ้า

15

ที แอนด์ ดี เพาเวอร์ เทค (ไทยแลนด์) บจก. ปตท. น�้ำมันและการค้าปลีก บมจ.




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.