Engineering Today No.185 (Issue Sep-Oct 2021)

Page 1










EDITOR TALK กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝ่ายโฆษณา e-Mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝ่ายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th คณะที่ปรึกษา ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปัทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร์, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ต่อตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค์ ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร บรรณาธิการอ�ำนวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย์ เรืองติก พิสูจน์อักษร อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ์ ฝ่ายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ์ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตย์, กัลยา ทรัพย์ภิรมย์, วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายผลิต ชุติมณฑน์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก กรรณิการ์ ศรีวรรณ์ โรงพิมพ์ ส เอเซียเพรส (1989) แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Engineering Today www.engineeringtoday.net

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

กระทรวงสาธารณสุขตั้งเป้า ต.ค. นี้ ฉีดวัคซีนให้คนไทยทั้งหมด 24 ล้านโดส มั่นใจสิ้นปีนี้คนไทย 60 ล้านคน ฉีดวัคซีนเข็มแรก 85% ท่ามกลางสถานการณ์เชื้อไวรัส COVID-19 ที่ยังแพร่ระบาดในไทยและ ทั่วโลกอย่างต่อเนื่อง ส�ำหรับประเทศไทยมีเรื่องที่น่ายินดีที่ยอดฉีดวัคซีนป้องกัน COVID-19 ในไทยก็เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่นกัน โดยเฉพาะเดือนกันยายน เพียงเดือนเดียวมียอดการฉีดวัคซีนสะสมทะลุ 21,184,811 โดส แบ่งเป็น เข็มแรก 8,782,734 โดส เข็มที่ 2 จ�ำนวน 11,625,824 โดส และเข็มที่ 3 จ�ำนวน 776,253 โดส ส่งผลให้นับตั้งแต่วันที่ 28 กุมภาพันธ์-30 กันยายน 2564 ที่ผ่านมา ไทยมียอดฉีดวัคซีนสะสมทั้งสิ้น 53,784,812 โดส แบ่งเป็นเข็มแรก จ�ำนวน 32,577,832 โดส เข็มที่ 2 จ�ำนวน 19,838,574 โดส และเข็มที่ 3 จ�ำนวน 1,368,406 โดส ส่วนแผนการจัดหาวัคซีนในเดือนตุลาคมนั้น รัฐบาลได้ตั้งเป้าวัคซีนทั้ง 3 ชนิด จ�ำนวน 24 ล้านโดส และจะมีซิโนฟาร์มเพิ่มเข้ามาอีก 6 ล้านโดส รวมเป็น 30 ล้านโดส โดยมีแผนจัดสรรและฉีดวัคซีน (1-31 ตุลาคม) เข็มแรก ด้ ว ย ซิ โ นแวค 6 ล้ า นโดส ไฟเซอร์ 4 ล้ า นโดส เข็ ม ที่ 2 แอสตราเซเนกา 9 ล้านโดส ไฟเซอร์ 3 ล้านโดส เข็มที่ 3 แอสตราเซเนกา 1 ล้านโดส ไฟเซอร์ 1 ล้านโดส พร้อมตั้งเป้า 31 ธันวาคม 2564 นี้จะมีคนไทย 60 ล้านคน ได้รับ วัคซีนเข็มแรกคิดเป็น 85% ส่วนเข็มที่ 2 จะมียอดรวมที่ 52 ล้านโดส หรือ 74% มากกว่าแผนที่เคยตั้งไว้ที่ 70% ขณะเดียวกันการผลิตวัคซีนของคนไทย โดย บริษทั ใบยา ไฟโตฟาร์ม จ�ำกัด มีความคืบหน้าไปมาก โดยใบยา ไฟโตฟาร์ม ได้พัฒนาวัคซีนจากต้นยาสูบพันธุ์ ทีม่ ปี ริมาณนิโคตินต�ำ่ ด้วยการใช้เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์ จากการผลิตเฉพาะ โปรตีน หรือชิน้ ส่วนของไวรัสทีส่ ามารถกระตุน้ ภูมคิ มุ้ กันได้ ทีเ่ รียกว่าซับยูนติ วัคซีน หรือโปรตีนวัคซีน และท�ำการส่งถ่ายยีนเฉพาะชิน้ ส่วนทีส่ ามารถน�ำไปเป็นโปรตีน ของไวรัสที่ต้องการได้ ในปัจจุบันบริษัทฯ มีโรงงานผลิตวัคซีนและยาชีววัตถุด้วย พืชที่ได้มาตรฐาน ซึ่งจะใช้ผลิตส�ำหรับมนุษย์เป็นแห่งแรกในเอเชีย ทั้งนี้ วัคซีน COVID-19 ที่ใบยา ไฟโตฟาร์ม ผลิตขึ้นจะน�ำเข้าทดสอบ ในมนุษย์ระยะที่ 1 ในช่วงสิ้นเดือนกันยายนนี้ ในขณะเดียวกันก็ได้มีการเตรียม วัคซีนรุ่นที่ 2 ที่มีการปรับสูตรที่ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้ดีขึ้น ซึ่งจะต้องรอดู ผลการศึกษาในเฟส 1 เพื่อน�ำไปพัฒนาปรับปรุงต่อไป โดยคาดว่าประมาณ ไตรมาส 3 ปี พ.ศ. 2565 จะมี วั ค ซี น ฉี ด ให้ ค นไทยได้ นั บ เป็ น ก้ า วส� ำ คั ญ ของอุตสาหกรรมยาและวิทยาศาสตร์ของไทย


CONTENTS Engineering Today

September • October 2021 Vol.5 No.185

10 E-Talk

กระทรวงสาธารณสุขตั้งเป้า ต.ค. นี้ ฉีดวัคซีนให้คนไทยทั้งหมด 24 ล้านโดส มั่นใจสิ้นปีนี้คนไทย 60 ล้านคน ฉีดวัคซีนเข็มแรก 85%

• กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

Report 12 นักวิชาการแนะใช้ AI ให้เหมาะสมในงานแต่ละด้าน

RADAR IS THE BETTER ULTRASONIC

• VEGA

22 Technology

สกาย ไอซีที จับมือพันธมิตรพัฒนา “การสแกนหน้า” ตอบโจทย์ธุรกิจในไทย รับเทรนด์ “Face Recognition” พลิกโฉมธุรกิจโลก

• กองบรรณาธิการ

24 Industry 4.0

ถึงเวลาขับเคลื่อน SME สู่โรงงานแห่งอนาคต

• เหลียง ยิง ชุน

27 AI

16

33 Environment

34 Big Data

20 Cover Story

• กองบรรณาธิการ

คาดไตรมาส 3 ปีหน้า มีวัคซีนฉีดให้คนไทยได้

• กองบรรณาธิการ

นาโนเทค พัฒนา nSPHERE หมวกแรงดัน บวก-ลบ ลดการแพร่กระจายเชื้อ รับมือวิกฤต COVID-19

• กองบรรณาธิการ

16 ใบยา ไฟโตฟาร์ม พร้อมทดสอบวัคซีนในมนุษย์เฟส 1 สิ้นเดือนกันยายน

สร้างโอกาสในการพัฒนาประเทศ

30 Innovation

ฟีโบ้ พัฒนา “หุ่นยนต์ขนส่งอาหารและยา” ให้ รพ. ใช้ดูแลผู้ป่วย COVID-19 ลดความเสี่ยงบุคลากรทางการแพทย์ติดเชื้อ

• กองบรรณาธิการ

คพ. จับมือ สวทช. ใช้ Super Computer คาดการณ์แนวโน้มฝุ่น PM2.5 ได้เร็วขึ้น 15 เท่า รู้ล่วงหน้า 3 วัน

• กองบรรณาธิการ

เพิ่มประสิทธิภาพให้ “Big Data” ด้วยฐานข้อมูลขนาดเล็กและกว้าง

• มร.จิม ฮาเร่

IT Update 36 ความปลอดภัยของการท�ำงาน

รูปแบบ Hybrid ในปัจจุบัน

• ปีเตอร์ แชมเบอร์ส

โดนภัยคุกคามผ่านมือถือเป็นอันดับ 2 ของอาเซียน รับกระแส Remote Working

39 แคสเปอร์สกี้ เผยองค์กรในไทย

• กองบรรณาธิการ

42 Management Tools Today

พระพุทธธรรมค�ำสอน : พุทธวิธีเพื่อการ ดูแลตนเองในสถานการณ์โควิด-19

• ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล


Report • กองบรรณาธิการ

นักวิชาการแนะใช้ AI

ให้เหมาะสมในงานแต่ละด้าน สร้างโอกาส ในการพัฒนาประเทศ ปัจจุบันปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI (Artificial Intelligence) ถื อ เป็ น เทคโนโลยี ส� ำ คั ญ ที่ ส ร้ า งความเปลี่ ย นแปลงให้ กั บ ทุ ก ภาคส่วนในประเทศไทย โดยเฉพาะการน�ำมาใช้ในการด�ำเนิน ธุรกิจ ซึ่งจะช่วยลดการท�ำงาน เพิ่มความสะดวกและรวดเร็ว และสร้างโอกาสให้กับธุรกิจ จึงจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกๆ องค์กร หรือทุกๆ หน่วยงานจะต้องศึกษาและน�ำเอาเทคโนโลยีนี้เข้ามา ปรับใช้ เพื่อช่วยให้การด�ำเนินธุรกิจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น

AI ท�ำให้คอมพิวเตอร์มีความสามารถคล้าย กับมนุษย์ โดยอาศัยศาสตร์และองค์ความรู้ หลายๆ ส่วนเข้าด้วยกัน ศ. ดร.ธนารักษ์ ธีระมั่นคง นายกสมาคมปัญญาประดิษฐ์ ประเทศไทย (AI) กล่าวว่า นิยามของปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI (Artificial Intelligence) คือการท�ำให้คอมพิวเตอร์มคี วามสามารถ คล้ า ยๆ กั บมนุ ษ ย์ แต่ ใ นบางครั้ ง ปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ ก็ ท� ำอะไร ได้มากกว่ามนุษย์ท�ำเสียอีก ปัญญาประดิษฐ์คือการท�ำให้เครื่อง ชาญฉลาดเท่ามนุษย์ และอาจจะอยู่เหนือการคิดค้นของมนุษย์ ขึน้ ไปในอนาคต ซึง่ เป็นเรือ่ งทีย่ ากเกินคาดเดา จึงต้องอาศัยศาสตร์ และองค์ความรู้หลายๆ ส่วนมาสร้าง AI เฉพาะด้านขึ้น เพื่อ น�ำไปใช้งาน โดยในห้องเรียนมีการสอนศาสตร์การเรียนรู้ AI มาตลอด เช่น Data Science วิทยาการข้อมูล Data Analytics

12

Engineering Today September • October 2021

การวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งเป็นศาสตร์ข้างเคียงของปัญญาประดิษฐ์ และ Big Data Analytics การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ และ เกีย่ วกับตัว I โครงสร้างพืน้ ฐานอัจฉริยะ Intelligent Infrastructure System, IIS จะเป็นไซเบอร์ทางกายภาพ Cyber-Physical System, CPS ที่ระบบจะฝังตัวอยู่ตามที่ต่างๆ ทั่วทุกหนทุกแห่ง พยายามเก็บข้อมูลแล้วน�ำมาวิเคราะห์ การเป็นโครงสร้างอัจฉริยะ พื้ น ฐานเกิ ด ขึ้ น และอาจจะไม่ ใ ช่ ป ระมวลผลแค่ ที่ เ ราเท่ า นั้ น แต่จะประมวลผลใกล้ๆ รอบตัวเรา เช่น การประเมินกลุ่มเมฆ Cloud Computing ซึ่งเป็นการประมวลผลที่อยู่ระยะไกลในการ จัดการ เพราะฉะนั้นศาสตร์ของปัญญาประดิษฐ์จึงเกี่ยวข้องกับ ศาสตร์หลายๆ ด้าน ส�ำหรับเทคโนโลยีฐานส�ำคัญที่เกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ ได้แก่ การประมวลผลภาพอัจฉริยะ (Intelligent Image Processing) เกี่ยวกับการวิเคราะห์ภาพ เป็นเสมือน ลูกตาของคนเรา เราสามารถเข้าใจว่าภาพนี้คืออะไร อย่างเช่น ภาพถ่ายเอกซเรย์ต่างๆ ก็จะวิเคราะห์ว่าภาพถ่ายเอกซเรย์นั้น เป็นโรคอะไร การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing) คือการน�ำคอมพิวเตอร์มาจัดการเรื่อง ภาษา ก็จ ะต้องเข้าใจเรื่องภาษา หลายๆ คนอาจจะเคยใช้ แชทบอท ซึ่งปัจจุบันมีการใช้แชทบอทกันอย่างแพร่หลาย คือ


ท� ำ งานแทนมนุ ษ ย์ ใ นการตอบค� ำ ถาม ปั จ จุ บั น มี ค วามฉลาด ในระดับหนึ่ง แต่อาจจะไม่ฉลาดถึงขั้นมนุษย์ แต่ในอนาคต AI จะเปลี่ ย นและจะมี ค วามชาญฉลาดมากขึ้ น ซึ่ ง จะมี ก าร ประมวลผลสัญญาณ Intelligent Signal Processing การประมวลผล สัญญาณอัจฉริยะ ประมวลผลสัญญาณความร้อน สัญญาณความถี่ Big Data Analytics ปัญญาประดิษฐ์กส็ ามารถเข้าไป จัดการพวกนี้ได้ เพื่อตีความหมายว่าข้อมูลต่างๆ เหล่านี้นั้นคืออะไร Intelligent Control/Robotics ซึ่งคือหุ่นยนต์ต่างๆ ส่ ว นเชื่ อ มโยงมนุ ษ ย์ กั บ คอมพิ ว เตอร์ HumanComputer Interaction ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับวิทยาการ ปัญญา จิตวิทยา ปรัชญา สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ นอกจากนีย้ งั มีศาสตร์ยอ่ ยของปัญญาประดิษฐ์ ประกอบด้วย การค้นหา การใช้ความน่าจะเป็น หรือการอนุมาน การวางแผน การเรียนรู้ การตัดสินใจต่างๆ โดยน�ำเรื่องที่ปัญญาประดิษฐ์ มาเกีย่ วข้อง ซึง่ ช่วงหลังเราพยายามสร้างคอมพิวเตอร์ทเี่ ลียนแบบ โครงสร้างต่างๆ ซึ่งเป็นที่มาของ Deep Learning หรือเป็น ที่มาของ Neural Network ที่จะสร้างให้คิดเองได้ โดยดูจาก ตัวอย่างแล้วเลียนแบบเส้นประสาทของมนุษย์ ซึ่งมีมากมาย

เทรนด์ดิจิทัลในอนาคต ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562-2564

ส�ำหรับเทรนด์ดิจิทัลในปี พ.ศ. 2562 ได้แก่ 1. Artificial Intelligence 2. Edge Computing 3. Blockchain 4. Amazon’s Retail 5. Augmented Reality 6. Event Driven Architecture 7. Data Analytics 8. Digital Twin 9. 5G Mobile Network และ10. Internet of Things ส่วนเทรนด์ดิจิทัลในปี พ.ศ. 2563 ได้แก่ 1. 5G for You and me : 2020 will be the year of 5G 2. WiFi6+5G : A faster WiFi for faster world 3. Analytics are the Competitive Advantage 4. AI & Machine Learning : Farce Multipliers for Data Analytics 5. Blockchain Moves beyond Crypto 6. Robotic Process Automation PPA catches a second wind 7. Conversational AI becomes a Legitimate interface 8. Always Connected PC (ACPC) transform laptop market forever 9. Connected vehicles, Autonomous Drones / Smart Cities และ10. XaaS, UX/CX and privacy (everything as a service) และ 10 เทรนด์ เทคโนโลยีเพื่อปรับเปลี่ยนสู่ยุคดิจิทัลในปี พ.ศ. 2564 ได้แก่ 1. 5G Will Finally Go Mainstream for Real this Time 2. Customer Data Platforms (CDP) Explosion 3. Hybrid

Cloud Declared the Winning Enterprise Architecture 4. Cybersecurity Gets a Jolt 5. Privacy and Confidential Computing Gains Momentum 6. Headless Tech Disrupts Industries, Reshapes Commerce 7. Work from Home Outlasts COVID-19 8. AI Democratized at Scale 9. Device from Factors Become Interesting Again และ10. Quantum Moves to Mainstream

ความก้าวหน้าในการพัฒนา AI ในไทย

ศ. ดร.ธนารักษ์ กล่าวว่า ประเทศไทยมีการพัฒนาปัญญา ประดิษฐ์มาอย่างต่อเนื่องตามนโยบายภาครัฐ ประกอบด้วย 1. แผนแม่บทปัญญาประดิษฐ์แห่งชาติเพือ่ การพัฒนาประเทศไทย (Thailand AI Master Plan พ.ศ. 2564-2570) 2. แผน ด�ำเนินการเร่งด่วนภายใต้แผนแม่บทปัญญาประดิษฐ์แห่งชาติ เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (พ.ศ. 2564-2565) 3. กรอบแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ 13 (พ.ศ. 2566-2570) หมุดหมายที่ 6 อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะและดิจิทัล 4. การส่งเสริม การให้ ทุ น การพั ฒ นาก� ำ ลั ง คนและผลงานวิ จั ย และพั ฒ นา การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเตรียมความพร้อมของประเทศ โดยสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม แห่งชาติ (สอวช.) ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.) และส�ำนักงานการวิจยั แห่งชาติ (วช.) 5. ภาครัฐส่งเสริมพัฒนาประดิษฐ์เพื่อใช้งานในภาครัฐ (DGA) 6. วิ ส าหกิ จ และองค์ ก รเอกชนพั ฒ นาประดิ ษ ฐ์ เ พื่ อ ใช้ ง าน 7. จัดตั้งสมาคมปัญญาประดิษฐ์แห่งประเทศไทย (AIAT) ส�ำหรับตัวอย่างองค์กรวิจัยและการพัฒนาที่เป็นต้นแบบ ที่ดี เช่น สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (Institute of Field Robotics : FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ซีรา่ คอร์ (CiRA-CORE) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) AI For Thai ศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) AlChest4All มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) และหุ่นยนต์ช่วยเหลือบุคลากร ทางการแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาเรื่อง Super AI Engineering ซึง่ เป็นโครงการ Development Program เริม่ ต้นพัฒนาโปรแกรม ด้าน AI เพื่อน�ำมาใช้งานด้านต่างๆ เช่น การท�ำแผนที่รถยนต์ ให้เป็นภาพ 3 มิติ การนับจ�ำนวนผู้ใส่หน้ากากอนามัยหรือไม่ใส่ หน้ากากอนามัยแบบ Real Time ด้วย AI การน�ำ AI ไปใช้ในงาน ด้านต่างๆ ของส�ำนักงานต�ำรวจแห่งชาติ เช่น การตรวจสอบ รู ป พรรณสั ณ ฐานของผู ้ ต ้ อ งสงสั ย หรื อ ผู ้ ร ้ า ยในแต่ ล ะคดี ไ ด้ โดยจัดการท�ำงานอย่างเป็นระบบ ภายใต้กฎหมาย กฎระเบียบ ในสังคม โครงสร้างพื้นฐาน ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์และข้อมูล Engineering Today September • October 2021

13


บุคลากร งานวิจัยและนวัตกรรม การส่งเสริมภาคอุตสาหกรรม สังคมและการลงทุน “ในอนาคตเราอาจจะได้เห็น AI รูปแบบใหม่ๆ ที่มีระบบ ข้อมูลเชื่อมโยงกันแล้วน�ำมาประยุกต์ใช้งาน อาจจะไม่ได้เรียกชื่อ ว่า AI ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับยุคสมัยในอนาคตว่าจะเรียก AI ว่าอย่างไร จะเรียกชื่อตามการใช้งาน หรือเรียกชื่อตามผู้ประดิษฐ์ เป็นต้น” ศ. ดร.ธนารักษ์ กล่าว

การพัฒนา AI ในไทยยังค่อนข้างช้า เพิ่งมีแผนปฏิบัติการด้านปัญญาประดิษฐ์ แห่งชาติฯ พ.ศ. 2564-2570 ผศ. ดร.วรรณรัช สันติอมรทัต ประธานคณะอนุกรรมการ แผนงานกลุ ่ ม ดิ จิ ทั ล แพลตฟอร์ ม กระทรวงการอุ ด มศึ ก ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (อว.) กล่าวว่า เทคโนโลยีปญ ั ญา ประดิษฐ์ หรือ AI เข้าไปอยู่ในชีวิตประจ�ำวันของเรามากมาย โดยเฉพาะในช่วงทีก่ ำ� ลังประสบกับวิกฤต COVID-19 ประเทศไทย ได้น�ำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์มาใช้ทางด้านการแพทย์ในการ อ�ำนวยความสะดวก ร่นระยะเวลาการให้ความช่วยเหลือผูต้ ดิ เชือ้ เพื่ อ ลดการสู ญ เสี ย การบาดเจ็ บ ล้ ม ตายจ� ำ นวนมาก ซึ่ ง ใน ต่ า งประเทศทั้ ง ในสหรั ฐ อเมริ ก า ประเทศในยุ โ รปและจี น ได้วางแผนแม่บทในเรื่อง AI มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 เมื่อย้อนกลับมามองประเทศไทยพบว่า การพัฒนา AI ยังค่อนข้างที่จะช้า จึงจ�ำเป็นต้องมีการปรับตัวในการน�ำ AI มาใช้ งานในทุกๆ บริบท รวมทัง้ ท�ำงานร่วมกับเครือข่ายหลายภาคส่วน ในการท�ำงานคิดค้น AI ซึง่ มีขนั้ ตอนและกระบวนการท�ำงานตัง้ แต่ เรื่องสมาร์ทซิตี้ เมื่อ 2 ปีที่ผ่านมา โดยเตรียมความพร้อม นักวิจัย บุคลากร เครือข่ายมหาวิทยาลัยและกลุม่ ต่างๆ การบริหารจัดการ ทุนมาร่วมพัฒนาก�ำลังคน พัฒนาความรูเ้ รือ่ ง AI ในการขับเคลือ่ น ประเทศ สอดรับกับแผนปฏิบัติการด้านปัญญาประดิษฐ์แห่งชาติ เพื่อการพัฒนาประเทศไทยระยะ 7 ปี (พ.ศ. 2564-2570)

โครงการระยะเร่งด่วน ระยะที่ 1 พ.ศ. 2564-2565) วางเป้าการท�ำงาน 3 เรื่อง

ชุดโครงการระยะเร่งด่วน ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2564-2565) ที่มีการด�ำเนินการวางเป้าการท�ำงานใน 3 เรื่อง ประกอบด้วย 1. การสร้างคนและเทคโนโลยี ตั้งแต่ในระดับมหาวิทยาลัยจนถึง ตลาดแรงงานทีต่ อ้ งพัฒนาน�ำไปใช้ในการท�ำงานในชีวติ ประจ�ำวัน เพื่อตนเอง สังคมและประเทศชาติในอนาคต 2. สร้างการเติบโต ทางเศรษฐกิจ ซึ่งมีความท้าทายและอุปสรรคมากมายที่รออยู่ จ�ำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ ต่อยอดเทคโนโลยี และนวัตกรรม สร้าง AI ให้รอบด้าน และ 3. สร้างผลกระทบ ทางสังคมและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ทุกคนเข้าถึงเทคโนโลยี AI ลดการเหลือ่ มล�ำ้ และสร้างเทคโนโลยีทเี่ ป็นของคนไทยโดยแท้จริง

14

Engineering Today September • October 2021

ขึน้ ใช้งานทดแทนการน�ำเข้าเทคโนโลยีทมี่ รี าคาสูงจากต่างประเทศ โดยวางยุทธศาสตร์ในการท�ำงานไว้ 5 ด้าน ได้แก่ 1. การเตรียม ความพร้อมของประเทศในด้านสังคม จริยธรรม กฎหมายและ กฎระเบียบส�ำหรับการประยุกต์การใช้ AI 2. การพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานและระบบสนับสนุนด้าน AI เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 3. การเพิ่ ม ศั ก ยภาพของบุ ค ลากรและการพั ฒนาการศึ ก ษา ด้าน AI 4. การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อสนับสนุน เทคโนโลยี AI และ 5. การส่งเสริมให้เกิดการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี และระบบ AI ในภาครัฐและเอกชน พร้อมทั้งวางกลุ่มเป้าหมาย ไว้ 10 กลุ่ม ประกอบด้วย 1. เกษตรกรและอาหาร 2. การแพทย์ และสุขภาวะ 3. การศึกษา 4. ความมั่นคงและความปลอดภัย 5. พลังงานและสิ่งแวดล้อม 6. การใช้งานและบริการภาครัฐ 7. โลจิสติกส์และการขนส่ง 8. ท่องเที่ยวและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 9. อุตสาหกรรมการผลิต และ 10. การเงินและการค้า โดยใน 3 กลุ่มแรกที่จะเร่งท�ำให้เกิดขึ้นภายในระยะสั้น ระหว่างปี พ.ศ. 2564-2565 เพื่อเตรียมความพร้อมของประเทศ ในเรื่ อ งโครงสร้ า งพื้ น ฐาน ได้ แ ก่ 1. เกษตรกรและอาหาร 2. การแพทย์และสุขภาวะ และ 3. การใช้งานและบริการภาครัฐ ส่วนอีก 7 กลุ่มที่เหลือจะเร่งการท�ำงานตามแผนระหว่างปี พ.ศ. 2566-2570 เพื่อเร่งผลักดัน ขยายผลการประยุกต์ใช้งานกลุ่ม เป้าหมาย สร้างระบบนิเวศ AI ของประเทศไทยรองรับการใช้งาน ในด้านต่างๆ ครบวงจรมากขึ้น ที่ส�ำคัญจะต้องมีการรื้อระบบ ดาต้าของภาครัฐที่ใช้งาน เข้าถึงยาก ไม่ทันสมัย โดยให้แต่ละ ภาคส่ ว นมาบู ร ณาการแจกแจงการท� ำ งานใหม่ ใ ห้ เ ป็ น ระบบ ที่พร้อมใช้งาน ลดขั้นตอนการท�ำงานให้เข้าถึงง่าย สะดวกและ รวดเร็วมากขึ้น

การน�ำเทคโนโลยี AI มาใช้งานในภาคการเกษตร สู่การเกษตรแบบแม่นย�ำ ดร.รัสรินทร์ ชินโชติธีรนันท์ CEO บริษัท ListenField จ�ำกัด กล่าวว่า บริษัทฯ ได้น�ำเทคโนโลยี AI มาใช้ในการวิเคราะห์ ด้านการเกษตรในบริเวณพื้นที่อารีย์ โดยได้พัฒนาโซลูชันขึ้นมา ชื่อว่า Farm AI เพื่อช่วยเกษตรกรที่เคยท�ำการเกษตรแบบเดิมๆ มาเป็นการเกษตรแบบแม่นย�ำ ผ่านระบบโทรศัพท์มือถือทั่วไป ซึ่งจะมีการน�ำภาพดาวเทียมที่เรียกว่า Ecosystem ไปวิเคราะห์ เชิงลึกในเรื่องลักษณะพื้นดิน ลักษณะพันธุ์พืชต่างๆ วิเคราะห์ สภาพภูมิอากาศที่แปรปรวน ปริมาณฝนทิ้งช่วงในฤดูฝนและ ฤดูแล้งนานเกินไป และการท�ำการเกษตรว่าควรปลูกพืชชนิดไหน ที่เหมาะสมกับพื้นที่นั้นๆ รวมไปถึงการน�ำข้อมูลในการให้น�้ำ ให้ปุ๋ยส�ำหรับพืชสวน ไร่นา อย่างถูกที่ถูกเวลาและถูกปริมาณ เพื่อลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จ�ำเป็น เป็นต้น ซึ่งไม่ใช่แค่เกษตรกรที่ได้รับ ประโยชน์เท่านั้น ผู้รับซื้อพืชผลของเกษตรกรก็ได้รับผลประโยชน์ จากการที่บริษัทฯ ได้ให้ความรู้ช่วยเหลือด้าน AI ด้วยเช่นกัน


ConvoLab แชทบอทตอบรับอัตโนมัติ มีลูกค้าองค์กรมากกว่า 50 บริษัท

นอกจากนี้ยังมีโซลูชันที่น�ำไปใช้ เช่น การน�ำกล้องไปติดตั้ง ในพื้นที่เพาะปลูกเพื่อให้เห็นสภาพการเปลี่ยนแปลง เห็นแมลง ตัวร้ายแมลงตัวดีในแปลงเพาะปลูกอย่างไรบ้างและเห็นสภาพการ แปรปรวนของอากาศล่วงหน้าเพื่อน�ำมาวิเคราะห์การเพาะปลูก พืชในฤดูกาลถัดไปได้อย่างเหมาะสม ลดการสูญเสีย ซึ่งขณะนี้ มีเกษตรกรน�ำระบบ AI โซลูชันที่บริษัทฯ คิดค้นไปใช้งานแล้วกว่า 10,000 คน ใน 4 ประเทศ ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา เวียดนาม ไทย และอินเดีย ในปี พ.ศ. 2564 นี้บริษัทฯ ได้รับเงินสนับสนุนจากคูโบต้า เจแปน ในการน�ำมาใช้สร้างอินโนเวชัน สร้างโซลูชันใหม่ๆ เสริม เพิ่มเติมด้าน AI ส�ำหรับน�ำไปใช้ช่วยเหลือเกษตรกร ไปพร้อมๆ กับการดูแลสภาพแวดล้อมในพืน้ ทีเ่ พาะปลูกนัน้ เพือ่ ให้เกษตรกร มีชีวิตมีรายได้ที่ดีขึ้น บนพื้นที่ไร้มลพิษ เพาะปลูกพืชการเกษตร ที่ตลาดต้องการตามการท�ำนายผลที่ใช้ AI ค�ำนวณด้วยระบบ เกษตรแม่นย�ำ

มนุษย์พัฒนาโปรแกรม AI ให้ใช้งานเฉพาะด้าน ได้ตามต้องการ

ส�ำหรับการใช้งาน AI นั้นเป็นเรื่องของการน�ำมาใช้งาน เฉพาะด้านที่มนุษย์ได้พัฒนาโปรแกรมให้มีความสามารถในด้าน นั้นๆ เช่น ใช้ในการขับรถ ค้นหาร้านอาหาร และเป็นผู้ช่วยแพทย์ ในการวิเคราะห์อาการป่วยต่างๆ เป็นต้น ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็น การสร้าง AI ให้เรียนรู้ดาต้าต่างๆ และดาต้าเฉพาะเรื่องตาม การใช้งานแต่ละด้านด้วย ที่ส�ำคัญจะต้องมีโครงสร้างพื้นฐานรองรับครอบคลุมพื้นที่ การใช้งาน AI ในแต่ละด้านให้เพียงพอด้วย เช่น การน�ำ AI โซลูชนั ต่างๆ มาใช้ในพื้นที่อารีย์ที่มีแหล่งอาหารมากมาย จะช่วยให้ ผูป้ ระกอบการร้านอาหาร ร้านกาแฟสวย สามารถสร้างมูลค่าเพิม่ ในการน�ำเสนออาหารและบริการในร้านอาหารของตนเองผ่าน แพลตฟอร์มถึงลูกค้ากลุ่มต่างๆ ได้เพิ่มขึ้น ยิ่งมีผู้ประกอบการ AI มาช่วยพัฒนาบริการต่างๆ ต่อยอดความคิดใหม่ๆ และสร้าง องค์ความรู้ใหม่ๆ ในการใช้งานในรูปแบบที่เข้าใจง่าย สะดวกแก่ ทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบริการได้อีกมากมาย

ทัชพล ไกรสิงขร SVP, CTO Amity Corporation Co., Ltd. / Co-Founder Convolab สตาร์ตอัปแชทบอทเพื่อธุรกิจ และองค์กร กล่าวว่า ConvoLab เป็นสตาร์ตอัปน้องใหม่ ก่อตั้ง เมื่อปี พ.ศ. 2559 เพื่อท�ำหน้าที่เป็นแชทบอทตอบรับเท่านั้น แต่เมื่อได้มีการพูดคุยกับบริษัทและองค์กรใหญ่ที่สนใจระบบ ตอบรับอัตโนมัติของบริษัทฯ จึงได้ขยายขีดความสามารถในการ ท�ำงานของแชทบอทให้ตอบรับลูกค้าจ�ำนวนมากในแต่ละวัน โดยพัฒนาให้แชทบอทสามารถโต้ตอบกับลูกค้าได้อย่างรวดเร็ว ผ่านโซเชียล แพลตฟอร์ม ท�ำให้ลูกค้าได้รับข้อมูลที่รวดเร็ว โดย ใช้เวลาในการตอบค�ำถามให้แก่ลกู ค้าเพียง 3 วินาที อีกทัง้ สามารถ โต้ตอบเป็นภาษาอังกฤษได้ รวมถึงสามารถส่งข้อมูล แพ็กเกจ และรูปภาพ ตลอดจนแผนทีใ่ ห้แก่ลกู ค้าได้ดว้ ย ซึง่ ส่งผลดีตอ่ ลูกค้า ที่เป็นองค์กรในการให้ข้อมูล การท�ำตลาด รวมถึงการชี้แจงต่างๆ ในประเด็ น ที่ ถู ก ต้ อ ง และช่ ว ยวางแผนกลยุ ท ธ์ ก ารท� ำ ตลาด ตามการใช้งานจริง ปัจจุบันนี้มีลูกค้าองค์กรมากกว่า 50 บริษัท ทั้งลูกค้า ชาวไทยและสหรัฐอเมริกา และขณะนี้ก�ำลังท�ำแผนการตลาด เพื่อน�ำเสนอขายลูกค้าในยุโรปอยู่

AI เป็นนวัตกรรมโซลูชันใหม่ที่คนสร้างขึ้น ตอบโจทย์กลุ่มลูกค้าที่ใช้งานจริงในแต่ละ สถานการณ์

ส�ำหรับการพัฒนา AI ในพื้นที่ย่านนวัตกรรมอารีย์นั้น ผู้คิดค้น AI แต่ละคนจะมีข้อดีของแต่ละด้านอยู่แล้ว เมื่อน�ำมา ร่วมท�ำงานกับผู้ประกอบการผู้คิดค้นรายอื่นๆ จะมีการสร้าง AI ชนิดใหม่มาตอบโจทย์ตามการใช้งาน อย่างไรก็ตาม ไม่อยาก ให้ผใู้ ช้งานคาดหวังกับ AI มากจนเกินไป เพราะ AI เป็นนวัตกรรม โซลูชนั ใหม่ทคี่ นเราสร้างขึน้ ซึง่ มีขอ้ จ�ำกัดในการพัฒนา ต้องอาศัย สั่งสมความรู้ การเขียนโปรแกรมตอบสนองและการน�ำไปทดลอง ใช้งานจริง เมื่อได้ข้อสรุปทั้งข้อดีข้อเสียแล้วก็ควรน�ำมาปรับปรุง อย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ ตอบโจทย์ของกลุม่ ลูกค้าทีใ่ ช้งานจริงในแต่ละ สถานการณ์ใช้งาน เช่น การน�ำแชทบอทไปใช้งานประเมินผู้ป่วย ในช่วงวิกฤต COVID-19 ว่าเป็น ผู้ป่วยสีเขียว สีส้ม และสีแดง เพือ่ แยกรับการรักษา กักตัว คัดกรองผูป้ ว่ ยและบรรเทาการท�ำงาน ของแพทย์ พยาบาลและเจ้าหน้าทีภ่ าคสนามได้รวดเร็วมากยิง่ ขึน้ เป็นต้น การต่อยอดผลิตภัณฑ์ AI ในการน�ำไปใช้ในชีวิตนั้น ขึ้นอยู่ กับการศึกษา พัฒนาและยอมรับการน�ำ AI ไปใช้ในรูปแบบต่างๆ ตลอดชีวิตที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง สร้างโอกาสในการ น�ำไปใช้ประกอบอาชีพและพัฒนาประเทศ

Engineering Today September • October 2021

15


Report • กองบรรณาธิการ

ใบยา ไฟโตฟาร์ม พร้อมทดสอบวัคซีนในมนุษย์ เฟส 1 สิ้นเดือนกันยายน คาดไตรมาส 3 ปีหน้า มีวัคซีนฉีดให้คนไทยได้ ส�ำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิ จั ย และนวั ต กรรมแห่ ง ชาติ (สอวช.) ได้ จั ด พู ด คุ ย ใน ประเด็น “ความก้าวหน้าการพัฒนาวัคซีน COVID-19 ของ บริษัทสตาร์ตอัปสัญชาติไทยด้วยกลไกการบ่มเพาะจาก สถาบันอุดมศึกษา” โดยได้รบั เกียรติจาก ผศ. ภญ.ดร. สุธรี า เตชคุ ณ วุ ฒิ อาจารย์ ค ณะเภสั ช ศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย Co-founder และ CEO บริษัท ใบยา ไฟโตฟาร์ม จ�ำกัด และ รศ. ดร.วรัญญู พูลเจริญ Co-founder และ Chief Technology Officer (CTO) บริษัท ใบยา ไฟโตฟาร์ม จ�ำกัด ร่วมพูดคุย ซึ่งนอกจากจะได้รับข้อมูล เกี่ยวกับความก้าวหน้าในการผลิตวัคซีน COVID-19 แล้ว ยั ง ชี้ ใ ห้ เ ห็ น แนวทางการริ เ ริ่ ม จั ด ตั้ ง บริ ษั ท สตาร์ ต อั ป ถ่ายทอดให้เห็นแง่มุมการผันตัวจากอาจารย์มหาวิทยาลัย มาเป็น CEO บริษัทสตาร์ตอัปควบคู่ไปด้วย

16

Engineering Today September • October 2021

วัคซีนใบยาฯ ใช้เทคโนโลยีซับยูนิตวัคซีน หรือโปรตีนวัคซีน เพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกัน รศ. ดร.วรัญญู พูลเจริญ Co-founder และ Chief Technology Officer (CTO) บริษัท ใบยา ไฟโตฟาร์ม จ�ำกัด กล่าวถึงแนวทางการ ผลิตวัคซีนของบริษัท ใบยาฯ ด้วยการใช้เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์ จากการผลิตเฉพาะโปรตีน หรือชิ้นส่วนของไวรัสที่สามารถกระตุ้น ภูมคิ มุ้ กันได้ ทีเ่ รียกว่าซับยูนติ วัคซีนหรือโปรตีนวัคซีน โดยบริษทั ฯ ใช้พชื ทัง้ ต้นจากต้นยาสูบ พันธุท์ มี่ ปี ริมาณนิโคตินต�ำ่ ในการผลิต ด้วยการปลูก พื ช ขึ้ น มาและท� ำ การส่ ง ถ่ า ยยี น เฉพาะชิ้ น ส่ ว นที่ ส ามารถน� ำ ไปเป็ น โปรตีนของไวรัสที่ต้องการได้ ซึ่งจุดเริ่มต้นในการตั้งบริษัทฯ เนื่องจาก เรียนจบด้านวิทยาศาสตร์ และได้มาเป็นอาจารย์ที่คณะเภสัชศาสตร์ จุ ฬ าฯ เริ่ ม มองเห็ นว่ า นิ สิ ต ที่ จ บการศึ ก ษาในสายนี้ ไ ม่ มี ใ ครท� ำ งาน ในด้านการพัฒนายา จึงมีความคิดที่จะเริ่มพัฒนาวัคซีนหรือยาใหม่ๆ ได้เองในประเทศตัง้ แต่ตน้ น�ำ้ เช่นเดียวกับ ผศ. ภญ. ดร.สุธรี า เตชคุณวุฒิ อาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Co-founder และ CEO บริษทั ใบยา ไฟโตฟาร์ม จ�ำกัด ซึง่ เรียนจบด้านเศรษฐศาสตร์ สาธารณสุ ข เกี่ ย วกั บ นโยบายประกั น สุ ข ภาพ และการเข้ า ถึ ง ยา ท�ำให้เห็นว่าประเทศไทยมีระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า แต่ประชาชน ยังไม่สามารถเข้าถึงยาทีม่ รี าคาแพงได้ ดังนัน้ หากสามารถผลิตยาได้เอง ก็น่าจะเป็นการสร้างอุตสาหกรรมใหม่ให้ประเทศ ท�ำให้ประเทศมีเงิน มากขึ้น และท�ำให้คนไทยเข้าถึงยาได้มากขึ้น


รศ. ดร.วรัญญู พูลเจริญ Co-founder และ Chief Technology Officer (CTO) บริษัท ใบยา ไฟโตฟาร์ม จ�ำกัด

ผศ. ภญ. ดร.สุธีรา เตชคุณวุฒิ อาจารย์คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Co-founder และ CEO บริษัท ใบยา ไฟโตฟาร์ม จ�ำกัด

“ความจริงแล้วประเทศไทยเป็นประเทศแรกในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ทผี่ ลิตวัคซีนได้เมือ่ หลายสิบปีกอ่ น แต่เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงของ เทคโนโลยีค่อนข้างสูงในเวลาต่อมา ท�ำให้มีระยะหนึ่งที่เราอาจจะตาม ประเทศอื่นไม่ทัน แต่โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ในประเทศไทยยังคงมีอยู่ และยังมีศักยภาพจากการลงทุนในการวิจัยและการพัฒนาที่เกิดขึ้นมา เป็นเวลานานในประเทศ ซึง่ บริษทั ฯ ก็ได้ใช้โครงสร้างพืน้ ฐานเหล่านัน้ ใน การช่วยพัฒนาวัคซีน และเตรียมพร้อมรับการระบาดในครั้งถัดไป โดย วัคซีน COVID-19 ที่ผลิตขึ้นก�ำลังจะน�ำเข้าทดสอบในมนุษย์ระยะที่ 1 ในช่วงสิ้นเดือนกันยายนนี้ ซึ่งในปัจจุบันเรามีโรงงานผลิตวัคซีนและยา ชีววัตถุด้วยพืชที่ได้มาตรฐานแล้วที่จะใช้ผลิตส�ำหรับมนุษย์เป็นแห่งแรก ในเอเชีย ในขณะเดียวกันก็ได้มีการเตรียมวัคซีนรุ่นที่ 2 ที่มีการปรับสูตร ที่ ช ่ ว ยกระตุ ้ น ภู มิคุ้มกัน ได้ดีขึ้น ซึ่ง ต้อ งรอดูผลการศึกษาในเฟส 1 เพื่อน�ำไปพัฒนาปรับปรุงต่อไป โดยคาดหวังว่าประมาณไตรมาส 3 พ.ศ. 2565 จะมีวัคซีนฉีดให้คนไทยได้ ซึ่งถือว่าเป็นก้าวส�ำคัญของ อุตสาหกรรมยาและวิทยาศาสตร์ของไทย” ผศ. ภญ. ดร.สุธีรา กล่าว

การผลิตวัคซีนแต่ละตัวต้องท�ำงานแบบสหวิชาชีพ เตรียมพร้อมท�ำวิจัยก่อนผลิตจริง

ผศ. ภญ. ดร.สุธีรา กล่าวถึงความท้าทายในการเริ่มจัดตั้งบริษัทฯ และเริ่มด�ำเนินการผลิตวัคซีนจริงว่า การผลิตวัคซีนขึ้นมาแต่ละตัวต้อง อาศัยการท�ำงานแบบสหวิชาชีพ ถึงแม้จะมีนักวิทยาศาสตร์ในทีมแล้ว

ขณะเดียวกันก็ยังต้องการองค์ความรู้ในการผลิตระดับ อุตสาหกรรม ความรู้เรื่องเภสัชกรรม การผลิต การประกัน คุณภาพ รวมถึงการออกแบบการศึกษาในสัตว์ทดลอง เพื่อให้ไปถึงเป้าหมายในการขึ้นทะเบียนวัคซีนเพื่อการ น�ำไปใช้จริง ในการท�ำงานจึงต้องมีคนจากหลากหลาย สาขาเข้ามาท�ำงานร่วมกัน ขณะที่ รศ. ดร.วรัญญู เสริมว่า การได้เริ่มตั้งบริษัทฯ ผลิตวัคซีนขึ้นเอง ท�ำให้มองระบบ การท�ำงานต่างไปจากเดิม หันมาให้ความส�ำคัญกับการ เตรียมพร้อมการท�ำวิจยั ก่อนการผลิตจริง ท�ำให้เริม่ ท�ำการ วิจัยตั้งแต่ต้นน�้ำได้ดียิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม ผู้ร่วมก่อตั้งบริษัท ใบยาฯ ทั้ง 2 ท่าน ยังคงท�ำหน้าทีเ่ ป็นอาจารย์ควบคูไ่ ปกับการท�ำบริษทั สตาร์ตอัป โดยต้องใช้การผสมผสานการท�ำงานเข้าด้วยกัน ด้วยการ ให้นิสิตที่สอนได้เข้ามาทดลองในห้องปฏิบัติการ พัฒนายา และวั ค ซี น ในบริ ษั ท ฯ น� ำ โปรเจ็ กต์ ม าเสนอกั บ บริ ษั ท ฯ ซึ่งเป็นแนวทางที่ช่วยให้เด็กได้ลองท�ำจริง และอาจารย์เอง ได้น�ำไปประยุกต์ใช้ในการสอน ท�ำให้วันนี้นิสิต นักศึกษา เริ่มเห็นเส้นทางอาชีพในสายไบโอเทคสตาร์ตอัปมากขึ้น เมื่อจบไปอาจไปท�ำให้เกิดสตาร์ตอัปอื่นๆ ในประเทศได้ มากขึ้น จากประสบการณ์จริงที่เด็กได้รับระหว่างเรียน

ใบยาฯ เป็น Sandbox Case กลุ่มแรก ของจุฬาฯ ที่ Spin-Off ออกมาจัดตัง้ บริษทั

หากมองในมุมของสตาร์ตอัป บริษัท ใบยาฯ ถือว่า เป็ น Sandbox Case กลุ ่ ม แรกๆ ของมหาวิ ท ยาลั ย ที่ Spin-Off ออกมาจัดตั้งบริษัท โดยยังได้รับการสนับสนุน จากมหาวิทยาลัยอยู่ บริษัทฯ จัดตั้งขึ้นตั้งแต่ก่อนการ แพร่ระบาดของ COVID-19 ซึ่งในระหว่างนั้นนโยบายของ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ก็ให้การสนับสนุนในส่วนนี้ รวมถึงมีนโยบายเข้ามา รองรับอย่างกลไกการจัดตั้ง Holding Company ใน มหาวิทยาลัย เป็นต้น “บริษัทฯ ของเราเริ่มด�ำเนินการมาประมาณ 3 ปี ใน ช่วงแรกไม่มอี ะไรเลย มีแค่หอ้ งปฏิบตั กิ ารทีไ่ ด้มาจากคณบดี คณะเภสัชศาสตร์ ซึ่งเราก็ได้ด�ำเนินการเหมือนบริษัทจริง Engineering Today September • October 2021

17


ดร.กิติพงค์ พร้อมวงค์ ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานสภานโยบายการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.)

ค่าใช้จา่ ยต่างๆ เป็นราคาทีเ่ กิดขึน้ จริง ให้เข้ากับสถานการณ์ จริง เริ่มต้นจากห้องปฏิบัติการขนาดเล็ก มีพนักงาน 2 คน Co-founder 3 คน รวมเป็น 5 คน จนถึงตอนนี้เรามี พนักงานมากกว่า 50 คน แต่เราก็ยังสู้ต่อ ยังหาแนวทาง ด�ำเนินกิจการของเราภายใต้บริษทั แห่งนีใ้ ห้ไปถึงเป้าหมาย ที่เราต้องการ” ผศ. ภญ. ดร.สุธีรา กล่าว

เปิดระดมทุนเพือ่ ให้ถงึ เป้าหมายทีต่ อ้ งการ

ผศ. ภญ. ดร.สุธีรา กล่าวถึงการระดมทุนของบริษัท ใบยาฯ ว่า แนวคิดการระดมทุนเป็นวิธีการเพื่อให้ไปถึง เป้าหมายที่เราต้องการ โดยเงินก้อนแรกมาจากเงินทุน ส่วนตัวของเรา 2 คนที่เป็นผู้ร่วมก่อตั้งตั้งแต่เริ่มตั้งบริษัท และมีการสนับสนุนห้องปฏิบตั กิ ารจากมหาวิทยาลัย ต่อมา เมื่อมีผลงานที่คนเริ่มให้ความสนใจก็ได้มีการระดมทุนใน หลากหลายรูปแบบ ทั้งจากภาคเอกชนและภาคประชาชน เพราะการผลิตยาตัวหนึ่งใช้เงินค่อนข้างมาก ซึ่งวิธีการ ระดมทุนเป็นวิธเี พือ่ ให้สามารถท�ำงานวิจยั ในช่วงทีเ่ ร่งด่วน ได้อย่างรวดเร็วอย่างในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารท� ำ Crowdfunding ผ่านมูลนิธิของมหาวิทยาลัย หรือ CU Enterprise รวมถึง ได้ทุนสนับสนุนจากภาครัฐในการท�ำ Critical Try ในการ ทดลองเฟส 1 และคาดว่าจะได้รบั ทุนต่อเนือ่ งในเฟสที่ 2-3 ต่อไปด้วย เพื่อให้บริษัทฯ มีการเติบโตได้อย่างมั่นคงต่อไป

วางแผนผลิตตัวยาและวัคซีนอื่นๆ รองรับโรคที่เกิดขึ้นในอนาคต

รศ. ดร.วรั ญ ญู กล่ า วถึ ง การเติ บ โตของบริ ษั ท ฯ ในอนาคตว่ า บริ ษั ท ฯ ยั ง มี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ตั ว ยาและวั ค ซี น อีกหลายอย่างที่อยากท�ำ และถ้าเราเริ่มท�ำตัวแรกได้ ก็จะ พัฒนายาหรือวัคซีนตัวอืน่ ได้ตอ่ ไป เพือ่ มารองรับการรักษา โรคอีกมากมายทีบ่ ริษทั ใหญ่ยงั ไม่ได้ผลิตขึน้ แต่เราต้องผลิต ได้เองตั้งแต่ต้นน�้ำ และเมื่อท�ำไปอย่างต่อเนื่อง มั่นคง มีประสบการณ์มากขึ้น ถ้าเกิดโรคระบาดขึ้นอีกในอนาคต เราก็จะสามารถผลิตวัคซีนที่มีประสิทธิภาพได้ดี รวดเร็ว และมีปริมาณมากขึ้น หากเราสามารถน�ำเข้าควบคู่ไปกับ การผลิ ต เองด้ ว ย คนไทยก็ จ ะเข้ า ถึ ง ยาหรื อ วั ค ซี น ที่ มี ประสิทธิภาพได้มากขึ้น คิดว่าระบบที่สร้างขึ้นนี้ จะช่วย

18

Engineering Today September • October 2021

สร้างความมัน่ คงทางสุขภาพในประเทศเราและประเทศในภูมภิ าคของเรา ให้ดีขึ้นได้ต่อไป การที่บริษัท ใบยาฯ มีจะพัฒนาให้เทียบเท่ากับบริษัทยักษ์ใหญ่ อย่างไฟเซอร์ หรือบริษัทยาชั้นน�ำอื่นๆ นั้น ผศ. ภญ. ดร.สุธีรา มองว่า ทุกครั้งที่ท�ำงานมีการตั้งเป้าหมายที่สูงไว้เพื่อไปให้ถึง อย่างน้อยก็ได้ เริ่มท�ำโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้เห็นว่าคนไทยท�ำได้ และประเทศไทยยังมีความหวัง เหมือนโครงสร้างของคนรุน่ ก่อนทีท่ ำ� มา เพื่อเป็นพื้นฐานที่ดีให้กับเราในปัจจุบัน ถ้าเราสร้างพื้นฐานที่ดีขึ้นมา อีกชัน้ หนึง่ ก็จะท�ำให้ลกู หลานของเราในรุน่ ต่อไปพัฒนาสร้างความมัน่ คง ให้กับประเทศไปได้ไกลกว่านี้

คาดอีก 10 ปี มีบริษัทสตาร์ตอัปด้านไบโอเทค ดีพเทค เกิดขึ้นจ�ำนวนมาก

รศ. ดร.วรัญญู ยังได้ฝากถึงอาจารย์และน้องๆ ทีส่ นใจเรียนในสาย วิทยาศาสตร์ หรืออยากท�ำวิจัย ให้มีความมุ่งมั่น ตั้งใจ ถึงแม้การเริ่มต้น ท�ำอะไรใหม่ๆ อาจเจอความคิดเห็นที่บอกว่าเป็นไปไม่ได้ แต่อย่าให้สิ่ง เหล่านัน้ มาหยุดความตัง้ ใจของเรา สิง่ ทีเ่ ราท�ำได้คอื ท�ำให้เห็นว่าเป็นไปได้ ถ้าเราไม่เลิก ไม่หยุดท�ำ เราก็จะไม่ล้มเหลว มองว่าประเทศไทยมีการ เปลีย่ นแปลงไปในทางทีด่ ขี นึ้ ส�ำหรับคนทีท่ ำ� งานหรือคนทีเ่ รียนทางด้าน วิทยาศาสตร์ ในอีก 10 ปีขา้ งหน้าเชือ่ ว่าจะมีบริษทั สตาร์ตอัปด้านไบโอเทค ดีพเทค เกิดขึน้ อีกมาก เพราะฉะนัน้ น้องๆ ทีเ่ รียนวิทยาศาสตร์หรือเรียน อะไรอยู่ก็ตาม ต้องท�ำตัวเองให้พร้อม วันที่เรียนจบออกไปจะมีโอกาส อีกมากมายรออยู่ ขอให้เรียนรู้ เก็บเกี่ยวประสบการณ์ อดทนและตั้งใจ “เราพูดเสมอว่าเราไม่ได้เป็นเด็กเรียนเก่ง ไม่ได้เป็นเด็กเกียรตินยิ ม แต่เรายังเดินมาได้ไกลมากพอที่คนคนหนึ่งจะฝันได้ เชื่อว่ามีคนเก่ง กว่าเราอีกมากมายทีอ่ าจต้องลองท�ำอะไรในรูปแบบใหม่ๆ เพือ่ จะท�ำให้ ประเทศชาติ ห รื อ สั ง คมนี้ มี สิ่ ง ที่ เ ราอยากให้ มี ด ้ ว ยกั น เชื่ อว่ า ถ้ า เรา พยายามที่จะเรียนรู้ใหม่ทุกวัน เราก็คงจะไปถึงเป้าหมายได้” สอดคล้อง กับ ผศ.ภญ.ดร.สุธีรา กล่าว

สอวช. พร้อมสร้างระบบนิเวศที่เอื้อต่อการเกิด นวัตกรรมอย่างใบยาฯ ส่งเสริมสตาร์ตอัปสัญชาติไทย ดร.กิติพงค์ พร้อมวงค์ ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานสภานโยบาย การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) กล่าวถึงบทบาทของ สอวช. ที่มีส่วนในการอ�ำนวยความสะดวก สร้าง ให้เกิดระบบนิเวศที่เอื้อต่อการเกิดนวัตกรรมอย่างที่บริษัท ใบยาฯ ด�ำเนินการข้างต้น โดยเฉพาะการผลักดันแก้ไขกฎระเบียบต่างๆ เช่น แนวทางส่งเสริมการลงทุนร่วมระหว่างภาครัฐและเอกชน การส่งเสริม การจัดตั้ง Holding Company ในมหาวิทยาลัย รวมถึงกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัย และนวัตกรรม พ.ศ. …. อีกทั้งยังร่วมกันกับ Innovation Club ที่จะช่วย ในการขับเคลื่อนเรื่องสตาร์ตอัป หาแนวทางแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถท�ำงานและระดมทุนได้สะดวกมากยิ่งขึ้นด้วย



Cover Story • VEGA

Radar is the better ultrasonic

VEGA adds to its portfolio of level sensors with a new non-contact radar instrument series for standard measuring tasks and price-sensitive applications.

20

Engineering Today September • October 2021


A new era in radar level measurement began a few years ago when VEGAPULS sensorsbased on 80 GHz technology were introduced. Thanks to the more precise focusing of theradar beam, the sensor virtually eliminates any unwanted or interfering reflections – the level measurement therefore becomes much easier and more reliable. Many difficult measuring tasks for ultrasonic sensors are now becoming standard practice with radar technology. VEGA has now added a new compact 80 GHz instrument series to its portfolio of radar sensors. It is especially suitable for price-sensitive applications, such as those found in the water/wastewater industry or in auxiliary process loops in process automation. VEGA designed a new radar microchip especially for this purpose, which is characterized by its extremely small size, fast start up time and low energy consumption. The end result is a particularly compact and versatile radar sensor.

Robust, unaffected and weatherproof The new VEGAPULS instruments are ideal for both liquids and bulk solids. They are available both as compact version with cable connection housing and as a standard version with a fixed IP68 cable connection. The radar sensors maintain steady, accurate measurements without effect or loss of echo

from external influences such as solar gain, air temperature fluctuations, weather conditions vapours, buildup or condensation. Users can choose from 4 ... 20 mA, HART, SDI-12 or Modbus as the direct output signal, ATEXversions are also available. The VEGAPULS instrument series are compact devices, but they are complemented by the optional VEGAMET controllers. These feature a large graphic display that can be used to visualize all measured values. They have also been particularly designed to meet the special requirements of the water/wastewater industry. VEGAMET controllers allow simple implementation of pump control, flow measurement in open channels and overfill protection according to WHG. These are designed for operation in outdoor environments and, are supplied in a weather-resistant housing.

Simple setup thanks to wireless operation Both the sensors and the controllers can be operated easily via Bluetooth with a smartphone or tablet. This makes setup, display and diagnostics considerably easier, especially in harsh environments or in hazardous areas. The new VEGAPULS radar instrument series offers many advantages over current ultrasonic level measurement technologies. Thanks to their better all-conditions reliability, ruggedness, simple operation and, last but not least, low price it’s the obvious choice for the modern water industry applications. The new VEGAPULS instrument series is available both as compact version with cable connection housing (left in the photo) and as standard version with fixed cable connection (IP68). The new series is complemented by the VEGAMET controller (right in the photo), which can also be used to visualize all measured values.

More information available at www.vega.com/vegapuls. Engineering Today September • October 2021

21


Technology • กองบรรณาธิการ

สกาย ไอซีที จับมือ พันธมิตร พัฒนา

“การสแกนหน้า”

ตอบโจทย์ธุรกิจในไทย รับเทรนด์ “Face Recognition” พลิกโฉมธุรกิจโลก

ในช่วง 3-5 ปีที่ผ่านมา “เทคโนโลยีการจดจ�ำใบหน้า” (Face Recognition) ก�ำลัง กลายเป็นเทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาทต่อภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมทั่วโลก และมีแนวโน้ม จะยิ่งทรงพลัง สร้างมิติใหม่ต่อการด�ำเนินธุรกิจและการใช้ชีวิตของผู้คนในอนาคต ขยล ตันติชาติวฒ ั น์ ประธานเจ้าหน้าทีส่ ายงานการตลาด บริษทั สกาย ไอซีที จ�ำกัด (มหาชน) หรือ SKY ผู้น�ำด้านการพัฒนานวัตกรรมการให้บริการ Digital Platform และ AI Solutions ระดับประเทศ กล่าวว่า เทคโนโลยี Face Recognition นับเป็นหนึ่งใน เมกะเทรนด์โลกทีเ่ ด่นชัดขึน้ อย่างมากในช่วง 3 ปีทผี่ า่ นมา จากการต่อยอดพัฒนาเทคโนโลยี ปัญญาประดิษฐ์ (AI) จนสามารถระบุข้อมูลของใบหน้ามนุษย์ได้อย่างแม่นย�ำ ล่าสุด Face Recognition ค่อยๆ เข้ามาทดแทนเทคโนโลยีการพิสูจน์อัตลักษณ์ทางกายภาพ ของบุคคล (Biometrics) รูปแบบอื่น เนื่องจากสามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ได้หลากหลาย

22

Engineering Today September • October 2021

ขยล ตันติชาติวัฒน์ ประธานเจ้าหน้าที่สายงานการตลาด บริษัท สกาย ไอซีที จ�ำกัด (มหาชน) หรือ SKY

รูปแบบและหลากหลายอุตสาหกรรม ขณะเดี ย วกั น ยั ง สามารถมองเห็ น รายละเอียดได้มากกว่าตาของมนุษย์ ณ ช่วงวินาทีเดียวกัน ท�ำให้มหาอ�ำนาจ หลายประเทศทัว่ โลกต่างน�ำเทคโนโลยี Face Recognition เข้ามาช่วยค้นหา คนหายจากฐานข้อมูลใบหน้า ไปจนถึง ใช้ ติ ด ตามมิ จ ฉาชี พ และผู ้ ต ้ อ งสงสั ย ในคดีอาชญากรรมต่างๆ ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ


นอกจากการใช้เพื่องานด้านความปลอดภัย (Security) แบบในภาพยนตร์แล้ว เทคโนโลยี Face Recognition ยังถูกน�ำ มาใช้ในหลากหลายธุรกิจ ได้แก่ 1 ธุรกิจค้าปลีก (Retail) ได้นำ� เทคโนโลยีดงั กล่าวเข้ามาใช้ ตั้งแต่การนับจ�ำนวนคนเข้ามาในห้าง ไปจนถึงการพัฒนาการ จัดการลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relationship Management หรือ CRM) ช่วยตรวจจับและแจ้งเตือนให้พนักงานขายทราบ ตั้งแต่ตอนที่ลูกค้า VIP เดินเข้ามาในห้าง เพื่อที่จะได้เข้าไปดูแล ได้อย่างรวดเร็วและเหมาะสม 2 ธุรกิจสุขภาพ (Health) ประเทศในแถบอเมริกาเหนือ เช่น แคนาดา สหรัฐอเมริกา น�ำเทคโนโลยี Face Recognition มาใช้กับศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ (Nursing Home) ตรวจจับเพื่อดูแล ไม่ให้ผู้สูงอายุเข้าไปในพื้นที่เสี่ยง 3 ธุรกิจโลจิสติกส์ (Logistic) น�ำอุปกรณ์ IoT (Internet of Thing) เข้ า มามี ส ่ ว นช่ ว ยเชื่ อ มต่ อ กั บ เทคโนโลยี Face Recognition ในยานพาหนะ มาใช้กับเรื่องระบบ Face Access เนื่องจากผู้เกี่ยวข้องในกระบวนการด้านโลจิสติกส์มีหลากหลาย กลุ่ม อาทิ คนขับรถ คนส่งของ พนักงานคลังสินค้า สินค้าที่จะ ขนส่งก็มีระดับความส�ำคัญหลากหลาย จึงใช้การสแกนใบหน้า เพื่อก�ำหนดสิทธิ์การเข้าพื้นที่ของคนแต่ละกลุ่ม ตรวจสอบว่า ผู้ขับรถคันดังกล่าว เป็น ผู้ที่มีใบอนุญาตขับขี่ประเภทดังกล่าว ไม่ได้เป็น ผู้ไม่มีใบอนุญาตมาขับแทน รวมถึงตรวจจับว่าใบหน้า ของผู้ขับขี่มีอาการอ่อนเพลียหรือหลับหรือไม่ และแจ้งเตือนให้ จอดพักหากมีอาการ นอกจากนี้ ยังรวมถึงช่วยตรวจสอบว่า พนักงานบางกลุ่มที่จ�ำเป็นต้องประจ�ำอยู่ในบางพื้นที่ของคลัง สินค้าตลอดเวลา เช่น พนักงานรักษาความปลอดภัย ได้ประจ�ำ อยู่ในพื้นที่จริงๆ

ในส่วนของการใช้งานเทคโนโลยี Face Recognition ในไทยนั้น ขยล กล่าวว่า ในอดีต Face Recognition ในไทย เคยเผชิญความท้าทายเรื่องคุณภาพของตัวกล้องที่ใช้ตรวจจับ ใบหน้า และความแตกต่างระหว่างบริบทของประเทศผู้พัฒนา เทคโนโลยี Face Recognition และประเทศไทย แต่ปัจจุบัน เทคโนโลยี Face Recognition ในไทยพั ฒ นาไปไกลขึ้ น จนสามารถทลายความท้าทายดังกล่าว และกลายเป็นสาเหตุ ส�ำคัญให้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนสนใจน�ำ Face Recognition มาใช้งานอย่างต่อเนื่อง และมีแนวโน้มจะถูกน�ำมาใช้อย่างเต็ม รูปแบบกับธุรกิจและอุตสาหกรรมใหม่ๆ มากขึ้น ทั้งนี้ สกาย ไอซีที ได้จับมือเป็นพันธมิตรกับ SenseTime ผู้พัฒนา AI ระดับท็อปของโลก เพื่อพัฒนาเทคโนโลยี Face Recognition ส�ำหรับประเทศไทยในลักษณะ “Co-develop” เพื่อน�ำข้อมูลดิบ (Raw Data) ในไทยมาป้อนให้ Machine Learning เพื่อพัฒนาและเรียนรู้บริบทของประเทศไทย รวมถึง ใส่ใจกับความหลากหลายของการใช้งานกล้อง มีเทคโนโลยี รวมศูนย์กล้อง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพความแม่นย�ำให้มากยิ่งขึ้น “ระบบการท�ำงานของ Face Recognition จะยิ่งมีบทบาท เหมือนภาพยนตร์ Sci-fi มากขึ้นในอนาคต โดยเฉพาะด้านความ ปลอดภัยสาธารณะ (Public Safety) และเข้ามาช่วยยกระดับ คุณภาพชีวิตของผู้คน เพิ่มความรู้สึกมั่นคงปลอดภัยในทุกด้าน โดยสกาย ไอซีที จะยังคงเดินหน้าพัฒนาเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง อาทิ เทคโนโลยี Face Recognition และ Access Control ส�ำหรับ เข้าพื้นที่ต่างๆ การพัฒนาเทคโนโลยีการท�ำความรู้จักลูกค้าด้วย ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-KYC) เพื่อเข้าไปช่วยตอบโจทย์ธุรกิจ การเงิน ประกันภัย การศึกษา สร้างความปลอดภัยและอ�ำนวย ความสะดวกในการใช้ชีวิตให้แก่ผู้คน” ขยล กล่าว

Engineering Today September • October 2021

23


Industry 4.0 • *เหลียง ยิง ชุน

ถึงเวลาขับเคลื่อน SME

สู่โรงงานแห่งอนาคต

เหลียง ยิง ชุน หัวหน้าฝ่าย Manufacturing Technical, Asia Pacific South, Dassault Systèmes

ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมหรือเอสเอ็มอี (SME) นับเป็นธุรกิจที่มีบทบาทส�ำคัญในการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ในเอเชีย-แปซิฟิก อาทิ เพิ่มอัตราการจ้างงานจ�ำนวนมาก เร่งการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆ กระตุ้นให้เกิดการบริโภคสูงขึ้น และมีบทบาทส�ำคัญในการ ส่งเสริมการแข่งขันในภาคอุตสาหกรรม ข้อมูลจากส�ำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ประจ�ำปี พ.ศ. 2562 ระบุวา่ ในปี พ.ศ. 2561 มี SME ประมาณ 3 ล้านบริษทั ซึง่ คิดเป็น 86% ของการจ้างงานในประเทศไทย และคิดเป็น 45% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศหรือจีดีพี (GDP) อย่างไรก็ตามพบว่า ตัวเลข การเติบโตของจีดีพีจากภาค SME ปรับลดลงเหลือ 35% ในไตรมาสแรกของปี พ.ศ. 2564 จากข้อมูล ของ สสว. ซึง่ รายงานภาพรวมของเศรษฐกิจไทยและกลุม่ ธุรกิจทีไ่ ด้รบั ผลกระทบหนักจากการระบาดใหญ่ ของ COVID-19 อุตสาหกรรมการผลิตในกลุ่ม SME ทั่วประเทศไทยจ�ำเป็นต้องก้าวข้ามการท�ำธุรกิจรูปแบบเดิมๆ และต้องเร่งน�ำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันท่ามกลางสภาวะเศรษฐกิจ ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาในปัจจุบัน โดยดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชันจะเปิดโอกาสใหม่ๆ ท�ำให้พวกเขา มี ส ่ ว นร่ ว มในนวั ต กรรมผลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ ล�้ ำ หน้ า และยกระดั บ บริ ก ารเพื่ อ ให้ บ ริ ก ารแก่ ลู ก ค้ า ได้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น สร้างแหล่งมูลค่าใหม่ๆ และท้ายที่สุดคือเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันพร้อมความยืดหยุ่นในการ ด�ำเนินธุรกิจทั้งตลาดในระดับประเทศและในระดับโลก Dassault Systèmes ได้เสนอมุมมองเกี่ยวกับความท้าทายในการรับมือปัญหาที่อาจเกิดขึ้น ของผูป้ ระกอบการโรงงานเอสเอ็มอี และข้อเสนอแนะในการปรับใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ การท�ำงาน ความคล่องตัว และความสามารถในการแข่งขันในตลาดได้มากขึ้น *หัวหน้าฝ่าย Manufacturing Technical, Asia Pacific South, Dassault Systèmes

24

Engineering Today September • October 2021


SME รับมือความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงเร็ว โดยเฉพาะการขอปรับงานดี ไซน์ ได้อย่างไร เมื่อความต้องการลูกค้าเปลี่ยนแปลงตลอด และคาดหวังการตอบสนองที่รวดเร็ว นั่นคือเหตุผลที่การท�ำงานเป็นทีมจึงมีความส�ำคัญอย่างมากในปัจจุบัน และระบบงาน วิศวกรรมช่วยให้ทีมสามารถท�ำงานร่วมกันได้ผ่านแพลตฟอร์มหนึ่งเดียวกัน ซึ่งช่วยขจัด ปัญหาการท�ำงานแบบไซโลได้อย่างสิ้นเชิง เมื่อค�ำนึงถึงความท้าทายดังกล่าว SME จ�ำเป็น ต้องมองหาแพลตฟอร์มเพื่อให้พนักงานท�ำงานร่วมกันผ่านฐานข้อมูลแบบรวมศูนย์ โดยใช้ แพลตฟอร์มเดียวทีเ่ ปิดโอกาสให้ทมี งานทุกคนสามารถเข้าถึงและท�ำงานร่วมกันได้ ยกระดับ ธุรกิจและทีมงานให้สร้างสรรค์สิ่งใหม่ รวมทั้งคิดค้นผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆ ได้อย่าง เต็มที่ ตัวอย่างเช่น ผู้ออกแบบแม่พิมพ์จะสามารถใช้ฟีเจอร์ต่างๆ เช่น การจ�ำลองการ ฉีดพลาสติกในสภาพแวดล้อมเดียว และท�ำงานในแบบจ�ำลองเดียว SME ยังสามารถ ใช้ประโยชน์จากคุณสมบัติขั้นสูงเพิ่มเติม เช่น การออกแบบอัตโนมัติ ซึ่งช่วยให้ประหยัด เวลามากขึ้น นอกจากนี้ยังเพิ่มความมั่นใจในการปกป้องข้อมูล โดยก�ำหนดผู้ใช้ที่ได้รับ อนุญาตให้เข้าถึงข้อมูลได้ ไม่ว่าจะเป็นแบบกลุ่มหรือรายบุคคล

ฝ่ายผลิตสามารถจัดการกับแบบที่มีการแก้ ไข และรับมือกับตัวแปรอื่นๆ ได้อย่างไร การถอดองค์ความรู้แบบเฉพาะเจาะจง (Capturing Knowledge) เป็นสิ่งส�ำคัญ หากต้องการเพิ่มความเร็วในการท�ำโปรเจ็กต์หรือเตรียมการปรับแต่ง โดยสามารถน�ำเข้า ข้อมูลจากโครงการทีผ่ า่ นมา เช่น ชนิดของอุปกรณ์เสริม การก�ำหนดค่า หรือรหัสเครือ่ ง NC ที่ใช้ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ที่คล้ายคลึงกัน ส�ำหรับการเปลี่ยนแปลงการออกแบบ เนื่องจาก ทีมงานทั้งหมดท�ำงานอยู่บนแพลตฟอร์มดิจิทัลตัวเดียวกัน ข้อมูลจะถูกส่งต่อจากทีมงาน ออกแบบไปสู่ทีมงานการผลิตอย่างราบรื่น ซึ่งฝ่ายผลิตจะได้รับการแจ้งเตือน และสามารถ อัปเดตตามโมเดลที่ได้รับการอัปเดตได้อย่างง่ายดาย ด้วยชุดแอปพลิเคชันที่ท�ำงาน สอดประสานกันเพื่อก�ำหนดรูปแบบการใช้งานของเครื่องมือ จ�ำลองการน�ำวัสดุออก และการเคลื่อนไหวของเครื่องจักร โดย SME ไม่ต้องจัดการกับความซับซ้อนของการ ใช้เครื่องมือและรูปแบบข้อมูลที่หลากหลายเพื่อตรวจสอบความถูกต้องในการปฏิบัติงาน

ฝ่ายผลิตควรด�ำเนินการ อย่างไร เพื่อลดความ ซับซ้อนในการใช้งานหุ่นยนต์ ใน กระบวนการผลิต ด้ ว ยแพลตฟอร์ ม การท� ำ งาน ร่วมกัน SME สามารถเขียนโปรแกรม และจ�ำลองหุ่นยนต์เพื่อใช้งานได้อย่าง รวดเร็วและแม่นย�ำ โดยสามารถเข้าถึง แค็ตตาล็อกหุ่นยนต์จ�ำนวนมากหรือ สามารถสร้ า งหุ ่ น ยนต์ ท่ี ก� ำ หนดค่ า ต่างๆ เองได้ โซลูชนั การเขียนโปรแกรม หุ ่ น ยนต์ จ ะช่ ว ยให้ SME สามารถ จ�ำลองและตรวจสอบการท�ำงานของ หุน่ ยนต์ รวมทัง้ ด�ำเนินการตัง้ โปรแกรม ออฟไลน์ได้ ซึ่งความสามารถเหล่านี้ ช่วยให้องค์กรสามารถเพิม่ ประสิทธิภาพ การท�ำงานของหุ่นยนต์ได้

หากต้องการซือ้ หุน่ ยนต์ และเครื่องจักรเพิ่มเติม สามารถประเมินผลตอบแทนจาก การลงทุนล่วงหน้าได้อย่างไร SME สามารถใช้ประโยชน์จาก สภาพแวดล้อมเสมือนจริงเพื่อจัดวาง และจ� ำ ลองสภาพแวดล้ อ มการผลิ ต แบบ 3 มิ ติ รวมทั้ ง เลื อ กแนวทาง ที่ ดี ที่ สุ ด ส� ำ หรั บ ใช้ ใ นการผลิ ต ได้ ซึ่งหมายความว่าไม่ต้องลงทุนอุปกรณ์ ล่ ว งหน้ า เพื่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลลั พ ธ์ อี กต่ อ ไป สามารถสร้ า งแบบจ� ำ ลองของพื้ น ที่ โรงงาน รวมถึง Automated Guided Vehicles (AGV) ให้เหมาะสมกับขนาด การผลิต ทัง้ แบบเดีย่ วหรือทัง้ โรงงานได้ โดยการจ�ำลองโลกเสมือนจริง (Virtual Twin Simulation) จะช่วยให้ SME ตั้งค่าได้เหมาะสมที่สุดจนถึงพิจารณา รายละเอียดที่ซับซ้อนได้ นอกจากนี้ ยังสามารถวางแผนได้ตั้งแต่ขั้นตอน การผลิต ลดรอบเวลา ระบุปญ ั หาคอขวด หรื อ เข้ า ใจการใช้ ท รั พ ยากรได้ ดี ขึ้ น พร้อมๆ กับการปรับปรุงการท�ำงาน ของระบบหุ่นยนต์

Engineering Today September • October 2021

25


ปรับปรุงและจัดการกับการผลิตหน้างาน ให้ดียิ่งขึ้นได้อย่างไร เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ในปัจจุบัน SME ต้องปรับปรุงแนวทางการด�ำเนินงานใหม่ โดยโซลูชนั Manufacturing Operations Management (MOM) จะรวบรวมข้อมูลทัง้ หมด ลงในแทบเล็ต ท�ำให้ SME มองเห็นและบริหารจัดการหน้างานได้แบบเรียลไทม์ ด้วยระบบ ดังกล่าว SME จะทราบถึงข้อมูลส�ำคัญๆ อาทิ สถานะเครื่องจักร ความคืบหน้าใบสั่งงาน การใช้ทรัพยากร ตัวชี้วัด เช่น ประสิทธิภาพอุปกรณ์โดยรวม (OEE) และข้อมูลอื่นๆ ที่จ�ำเป็นส�ำหรับการตรวจสอบและการตัดสินใจ ด้วยข้อมูลแบบเรียลไทม์นี้ SME จะ สามารถท�ำงานได้อย่างคล่องตัวและรับมือกับสถานการณ์ที่ไม่คาดคิดและความต้องการ ลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

ปัญหาด้านคุณภาพหน้างานมักเกิดขึ้นเป็นประจ�ำ สามารถปรับปรุงคุณภาพผลผลิตได้อย่างไร ความสามารถในการจั ด การคุ ณ ภาพถู ก รวมเข้ า กั บ โซลู ชั น MOM โดย SME สามารถตรวจสอบแดชบอร์ดสรุปข้อมูลโดยรวมของผลิตภัณฑ์ทผี่ า่ นการทดสอบการใช้งาน เช่น ระบุว่าผลิตภัณฑ์ใดผ่านเกณฑ์มาตรฐานหรือไม่ผ่าน ผู้ตรวจสอบคุณภาพสามารถ เลือกผลิตภัณฑ์ทเี่ กีย่ วข้อง และท�ำการวัดผลบนระบบนีโ้ ดยไม่ตอ้ งใช้กระดาษ หากมีปญ ั หา ผู้จัดการฝ่ายประกันคุณภาพ (QA) สามารถสร้างรายงานส�ำหรับปัญหานั้นๆ เพื่อติดตาม ผล รวมทั้งศึกษารูปแบบ วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาได้จากรายงานดังกล่าว นอกจากนี้ ยังสามารถจัดเรียงการแจ้งเตือนที่มีรหัสข้อบกพร่องตามระดับความส�ำคัญได้ เพื่อแก้ไข ปัญหาเหล่านี้ได้ในเวลาที่เหมาะสมและเป็นระบบ ส� ำ หรั บ การตรวจสอบด้ ว ยสายตา รู ป แบบการจ� ำ ลองโลกเสมื อ นจริ ง สามารถ ช่วยให้การตรวจสอบข้อบกพร่องที่พบได้อย่างแม่นย�ำ ช่วยให้ SME สามารถแก้ไข ได้อย่างรวดเร็วและใช้บทวิเคราะห์เชิงลึกเพื่อพัฒนาและปรับปรุงต่อไป การควบคุม กระบวนการผลิตด้วยหลักสถิติ (SPC) ยังสามารถน�ำมาใช้เพื่อติดตามผลิตภัณฑ์และ ตรวจสอบคุ ณ ภาพในกระบวนการ ช่ ว ยให้ SME ตรวจเช็ ก กระบวนการย้ อ นหลั ง

26

Engineering Today September • October 2021

พร้อมตรวจสอบว่ากระบวนการเหล่านี้ มีความเสถียรหรือไม่ และยังสามารถ ช่วยระบุปญ ั หาทีอ่ าจเกิดขึน้ ในระหว่าง การผลิต หลักส�ำคัญอย่างหนึ่งตามแผน พั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของประเทศไทย “Thailand 4.0” คือความพยายาม ส่งเสริมการน�ำนวัตกรรมดิจิทัล ออโตเมชั น และเทคโนโลยี หุ ่ น ยนต์ ไ ปใช้ ในภาคเอสเอ็มอี ประกอบกับรายงาน “ASEAN SME Transformation Study 2020” จั ด ท� ำ โดย UOB, Accenture และ Dun & Bradstreet พบว่า เกือบ 3 ใน 4 หรือราว 71% ของ SME ในประเทศไทยจัดอันดับ ให้ ก ารลงทุ น ด้ า นเทคโนโลยี เ ป็ น สิ่ ง ที่ มี ค วามส� ำ คั ญ สู ง สุ ด ซึ่ ง สู ง ที่ สุ ด ใน บรรดาประเทศอืน่ ๆ ในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ด้วยโซลูชนั เหล่านี้ SME สามารถ แปลงกระบวนการผลิ ต ทั้ ง หมดของ พวกเขาให้ เ ป็ น ดิ จิ ทั ล ตั้ ง แต่ ก าร ออกแบบจนเข้ า สู ่ ขั้ น ตอนการผลิ ต น� ำ ความเป็ น เลิ ศ ด้ า นการผลิ ต ไปสู ่ อี ก ระดั บ ก้ า วสู ่ ก ารเป็ น โรงงาน แห่งอนาคต


AI • กองบรรณาธิการ

ฟีโบ้ พัฒนา “หุ่นยนต์ขนส่งอาหารและยา” ให้ รพ. ใช้ดูแลผู้ป่วย COVID-19 ลดความเสี่ยงบุคลากรทางการแพทย์ติดเชื้อ

รองผู ้ อ� ำ นวยการฝ่ า ยวิ ช าการ ฟี โ บ้ ชี้ แ นวโน้ ม ความ ต้องการ “CARVER-Mini หุ่นยนต์ขนส่งอาหารและยา” ใน โรงพยาบาลเพิ่มมากขึ้น หลังสถานการณ์ COVID-19 เริ่ม ส่อเค้าวิกฤต ท�ำให้ล่าสุดมียอดความต้องการใช้หุ่นยนต์ช่วย ดูแลผู้ป่วย COVID-19 ทั้งจากในพื้นที่ กทม. และปริมณฑล สู ง ขึ้ น มากกว่ า 500 ตัว ขณะที่ส ถาบันธัญ ญารักษ์ยืน ยัน ใช้ “หุ่นยนต์ CARVER-Mini” ช่วยดูแลผู้ป่วย COVID-19 ลดความเสี่ยงติดเชื้อของบุคลากรทางการแพทย์ได้ผลจริง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ COVID-19 สายพันธุ์เดลต้าที่ยังคงความรุนแรง ท�ำให้ปัจจุบันผู้ป่วยมีจ�ำนวน เพิม่ มากขึน้ อย่างต่อเนือ่ งวันละหลายหมืน่ คน วิกฤตดังกล่าวยังส่งผล ต่อบุคลากรทางการแพทย์ด่านหน้าเกิดภาวะงานล้นมือ และเกิด ความเสีย่ งทีต่ อ้ งสัมผัสกับผูป้ ว่ ยติดเชือ้ ทีม่ จี ำ� นวนเพิม่ มากขึน้ ด้วย

ฟีโบ้เตรียมส่งมอบหุ่นยนต์ขนส่งอาหารและยา ให้ สปสช. รวม 10 ตัว สถาบันวิทยาการหุน่ ยนต์ภาคสนาม (ฟีโบ้) มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จึงได้จัดส่ง CARVERMini หุ ่ น ยนต์ ข นส่ ง อาหารและยา ส� ำ หรั บ ปฏิ บั ติ ง านใน โรงพยาบาลสนามและโรงพยาบาลทีม่ คี วามจ�ำเป็น ตามแผนการ ส่งมอบในโครงการให้กบั สปสช. รวม 10 ตัว ภายใต้ทนุ สนับสนุน

ผศ. ดร.สุภชัย วงศ์บุณย์ยง รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายวิชาการ สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม มจธ. และหัวหน้าโครงการฯ

จากบริษัท อาซาฮี-ไทยอัลลอย จ�ำกัด ผู้ผลิตก๊อกน�้ำ SANWA โดยเมือ่ เดือนมิถนุ ายนทีผ่ า่ นมาได้มกี ารส่งมอบให้กบั สปสช. ไปแล้ว 2 ตัว เพื่อน�ำไปทดลองใช้ในโรงพยาบาลสนามบุษราคัม และ สถาบันธัญญารักษ์ ล่าสุดฟีโบ้ยังได้ด�ำเนินการส่งมอบหุ่นยนต์ CARVER-Mini เพื่อน�ำไปใช้ในสถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ จ�ำนวน 2 ตัว และมอบให้กับสถาบันธัญญารักษ์เพิ่มอีก 4 ตัว รวมเป็นจ�ำนวนทีส่ ง่ มอบภายในเดือนสิงหาคม 2564 นีท้ งั้ สิน้ 6 ตัว ผศ. ดร.สุภชัย วงศ์บุณย์ยง รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายวิชาการ สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และหัวหน้าโครงการฯ กล่าวว่า หุ่นยนต์ CARVER-Mini พัฒนาโดยทีมวิจัยฟีโบ้ ประกอบด้วย นักศึกษาทั้งระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก โดย ได้รับการสนับสนุนเงินทุนจากบริษัท อาซาฮี-ไทยอัลลอย จ�ำกัด จ�ำนวน 1,000,000 บาท เพื่อสนับสนุนการท�ำงานของแพทย์ และพยาบาลในการดูแลผูป้ ว่ ยติดเชือ้ COVID-19 ในโรงพยาบาล สนาม และโรงพยาบาลที่มีความต้องการ โดยเฉพาะกลุ่มผู้ป่วย สีเขียวและสีเหลือง ซึ่งจะช่วยลดการสัม ผัสกับผู้ป่วยโดยตรง และช่วยลดความเสี่ยงจากการติดเชื้อลงได้มาก จุดเด่นของหุน่ ยนต์ CARVER-Mini คือ ผูใ้ ช้บริการสามารถ บังคับด้วยระบบ Tele-operation ควบคุมการเคลื่อนที่เองผ่าน ระบบอินเทอร์เน็ต สามารถขนส่งอาหาร ยา และเครื่องมือแพทย์

CARVER-mini หุ่นยนต์ขนส่งอาหารและยาส�ำหรับปฏิบัติงานที่สถาบันธัญญารักษ์

Engineering Today September • October 2021

27


ทดลองใช้ในงาน CARVER-mini ที่โรงพยาบาลสนามบุษราคัม

ส�ำหรับผู้ป่วยใช้บริการด้วยตนเอง บรรทุกน�้ำหนักได้อย่างน้อย 60 กิโลกรัม และสื่อสารระยะไกลระหว่างแพทย์ พยาบาล และผู้ป่วย คุยโต้ตอบกันได้ผ่าน Web-application

ฟีโบ้ต่อยอดหุ่นยนต์ CARVER พัฒนาหุ่นยนต์ช่วยขนส่งในโรงพยาบาล ผศ. ดร.สุภชัย กล่าวถึงจุดเริ่มต้นในการพัฒนาหุ่นยนต์ CARVER-Mini ว่า เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อ COVID-19 น่าจะยืดเยื้อและไม่สิ้นสุดโดยง่าย ทาง ฟีโบ้ได้พัฒนาหุ่นยนต์ที่ช่วยเรื่องการขนส่ง เพื่อลดภาระของ บุคลากรได้ จึงน�ำเทคโนโลยีที่เรามีอยู่คือ หุ่นยนต์ CARVER ซึ่งเป็นหนึ่งในชุดหุ่นยนต์มดบริรักษ์ ประกอบด้วย เทคโนโลยี Autonomous Mobile Robot Platform-CARVER-AMR เป็น ตัวฐานด้านล่าง ส่วนด้านบนจะเป็นถาดหรือดัดแปลงได้ ขึ้นอยู่ กับการน�ำไปใช้งาน จากช่วงแรกเป็นหุ่นยนต์เคลื่อนที่ได้อัตโนมัติ น�ำมาพัฒนาต่อยอดตามความต้องการการใช้งานในพื้นที่จริง หลังจากทีท่ มี ฯ ได้เข้าไปท�ำงานร่วมกับโรงพยาบาลมากขึน้ ท�ำให้ เข้าใจระบบต่างๆ ของโรงพยาบาลแล้วน�ำมาปรับปรุงแก้ไขให้ ตอบโจทย์ ก ารใช้ ง านในโรงพยาบาลได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เกิดประโยชน์และเป็นรูปธรรมมากขึ้น โดยใช้ระยะเวลาในการ พัฒนาและผลิตประมาณ 1 เดือน “การใช้หุ่นยนต์ในโรงพยาบาลจะเป็นประโยชน์อย่างมาก กับงาน 3 เรื่องหลัก คือ งานสกปรก งานอันตราย และงานที่ต้อง ท�ำซ�้ำๆ ถ้าตอบได้ 3 เรื่องนี้ก็จะตอบสนองความต้องการของ โรงพยาบาลได้มาก แม้กอ่ นหน้านีค้ วามสนใจส่วนใหญ่มงุ่ เน้นเรือ่ ง

28

Engineering Today September • October 2021

ของการรักษาผูป้ ว่ ย COVID-19 จึงยังให้ความต้องการใช้หนุ่ ยนต์ ค่อนข้างน้อย แต่ในตอนนี้ด้วยสถานการณ์ที่รุนแรงขึ้น จ�ำนวน ผู้ป่วย COVID-19 เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ท�ำให้หลายแห่งมองว่า มีความจ�ำเป็นที่จะน�ำหุ่นยนต์ CARVER-Mini ไปใช้มากขึ้นทั้งใน พื้นที่กลุ่มผู้ป่วยสีเหลืองและสีแดง เพราะจะช่วยลดจ�ำนวนครั้ง ในการเข้าพื้นที่เสี่ยงของเจ้าหน้าที่และบุคลากรทางการแพทย์ ล่ า สุ ด จากการส� ำ รวจพบว่ า มี ค วามต้ อ งการหุ ่ น ยนต์ บ ริ ก าร เพื่อใช้งานในการดูแลผู้ป่วย COVID-19 มากกว่า 500 ตัว ทั้งใน พืน้ ที่ กทม. และปริมณฑล และยังมีแนวโน้มความต้องการเพิม่ ขึน้ อีก ดังนั้นทางทีมงานตอนนี้ก�ำลังเตรียมแผนที่จะร่วมมือกับ ภาคเอกชนในการผลิต CARVER-mini เพิ่มเพื่อรองรับกับความ ต้องการ” ผศ. ดร.สุภชัย กล่าว

สถาบันธัญญารักษ์เผยหุน่ ยนต์ CARVER-Mini ช่วยลดความเสี่ยงในการติดเชื้อ ด้าน นพ.อังกูร ภัทรากร รองผู้อ�ำนวยการด้านการพัฒนา ระบบสุขภาพ สถาบันบ�ำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด แห่งชาติบรมราชชนนี (สบยช.) หรือสถาบันธัญญารักษ์ และ ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลสนาม สถาบันธัญญารักษ์ กล่าวว่า โรงพยาบาลเปิดรับการดูแลผู้ป่วย COVID-19 มาตั้งแต่เดือน เมษายน 2564 เริ่มแรกมีด้วยกัน 2 ส่วน ส่วนที่หนึ่งเป็น โรงพยาบาลสนามมี 215 เตียง จากเดิม 200 เตียง และส่วนของ ผู้ป่วยที่มีอาการหนักหรือผู้ป่วยโคฮอร์ทวอร์ด ที่จะต้องได้รับการ ดูแลอย่างใกล้ชดิ อีกจ�ำนวน 33 เตียง ล่าสุดยังได้ดแู ลผูป้ ว่ ยกักตัว ที่บ้าน หรือ Home Isolation อีก 60 ราย สถานการณ์ตอนนี้


ยอมรั บว่ า จากการตรวจเชิ ง รุ ก ท� ำให้ พ บจ� ำ นวนผู ้ ป ่ ว ยติ ด เชื้ อ ที่มีเพิ่มขึ้นส่วนใหญ่เกิดจากการติดเชื้อแบบครอบครัว “การที่ เ ราจะดู แ ลผู ้ ป ่ ว ยซึ่ ง มี โ อกาสแพร่ เ ชื้ อ ได้ ง ่ า ย โดยเฉพาะหากมีการสัมผัสหรืออยูใ่ กล้ชดิ กับผูป้ ว่ ย การมีหนุ่ ยนต์ เข้ามาถือว่าได้ประโยชน์อย่างมาก จากการทดลองใช้หุ่นยนต์ ในช่วง 2 เดือนที่ผ่านมาถือว่าได้ช่วยลดโอกาสความเสี่ยงในการ ติดเชือ้ ของบุคลากรทางการแพทย์ลงได้มาก เราใช้หนุ่ ยนต์ในการ ช่วยส่งยา ส่งผ้า หรือส่งขนมให้กับน้องๆ ผู้ติดเชื้อ ซึ่งหุ่นยนต์ จะช่วยผู้ป่วยที่ยังสามารถดูแลตัวเองได้ และเข้าใจถึงแนวทาง การให้บริการ การใช้งานถือว่าได้ผลดี ลดโอกาสทีเ่ จ้าหน้าทีจ่ ะไป สัมผัสผู้ป่วย อันนี้ถือว่าได้ประโยชน์อย่างยิ่ง” นพ.อังกูร กล่าว ส�ำหรับหุ่นยนต์ CARVER-Mini ที่เพิ่มขึ้นอีก 4 ตัว ทาง โรงพยาบาลจะน�ำหุ่นยนต์ไปไว้ประจ�ำชั้นชั้นละ 1 ตัว เนื่องจาก โรงพยาบาลมีอยู่ 3 ชั้น และมีตึกเฉพาะกิจอีก 2 ชั้น การได้ หุ่นยนต์มาเพิ่มประจ�ำทุกชั้นจะท�ำให้การท�ำงานของพยาบาล มีความคล่องตัวมากยิ่งขึ้น จากเดิมที่เรามีอยู่แล้ว 1 ตัวและ ได้เห็น ผลจริงจากการใช้งานหุ่นยนต์ตัวแรก จึงต้องการเพิ่ม หุ ่ น ยนต์ ม าใช้ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง หุ ่ น ยนต์ ที่ มี ข นาดใหญ่ ขึ้ น สามารถบรรจุอาหารได้มากขึ้น ก็จะช่วยให้งานบริการและดูแล ผู้ป่วย COVID-19 มีประสิทธิภาพมากขึ้น

ชี้หุ่นยนต์ ใช้งานง่าย ช่วยลดภาระงาน สื่อสารกับผู้ป่วยผ่าน Video Call ได้ สรารัตน์ ปิดนุ้ย พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ สถาบัน ธั ญ ญารั ก ษ์ พยาบาลประจ� ำ ห้ อ งผู ้ ป ่ ว ยโรงพยาบาลสนาม ในฐานะผูใ้ ช้งาน กล่าวว่า เดิมทีไม่เคยน�ำเทคโนโลยีนมี้ าใช้ในการ ดูแลผู้ป่วย ในช่วงแรกๆ ที่น�ำมาใช้ยังบังคับไม่คล่อง แต่พอใช้ ไปทุกวันก็จะเริ่มรู้วิธีบังคับท�ำให้การเคลื่อนตัวเร็วขึ้น และจาก ที่ได้ใช้งานจริงๆ ถือว่าใช้งานง่าย

ส�ำหรับการใช้งานของหุ่นยนต์ จะท�ำหน้าที่ขนส่งยาและ อุปกรณ์ทางการแพทย์ให้กับผู้ป่วย COVID-19 ประมาณ 5-6 รอบต่อวัน ซึ่งมีรอบส่งยา 3 รอบต่อวัน แต่ละรอบอัตราของผู้ รับยาอยูป่ ระมาณ 10-15 ราย ระยะเวลาในการใช้งานต่อ 1 รอบ ประมาณ 45 นาที ถึง 1 ชั่วโมง แล้วแต่จ�ำนวนยา นอกจากนี้ ยังมีรอบส่งเสื้อผ้า 2-3 รอบต่อวัน ลักษณะการใช้งานแต่ละรอบ จะใช้ระยะเวลาประมาณ 1-2 ชั่วโมงต่อวัน ทั้ ง นี้ ก ารใช้ ง านหุ ่ น ยนต์ จ ะมี ก ารปรั บ เปลี่ ย นไปตาม สถานการณ์หน้างาน เนื่องจากโรงพยาบาลมีกิจกรรมหรืองาน ที่ต้องท�ำมากมายตั้งแต่เวลาประมาณ 8.00-20.00 น. หากมี กิจกรรมทีต่ อ้ งท�ำกับผูป้ ว่ ยมากขึน้ ก็จะต้องใช้งานหุน่ ยนต์มากขึน้ ซึ่งอาจท�ำให้เกิดภาวะโหลดได้ “การมี หุ ่ น ยนต์ เ พิ่ ม ขึ้ น ในฐานะผู ้ ใ ช้ ง านถื อว่ า ยิ น ดี ม าก เพราะที่มีอยู่ 1 ตัว สามารถใช้ได้แค่ 1 ชั้น การได้เพิ่มมาอีก 4 ตัว จะได้กระจายไปแต่ละชั้น ก็จะช่วยลดภาระงาน ลดจ�ำนวน คนในการเข้ า ถึ ง ผู ้ ป ่ ว ยได้ ม าก เนื่ อ งจากการเข้ า ถึ ง ตั ว ผู ้ ป ่ ว ย COVID-19 หนึ่งคนเป็นการไปใกล้ชิดกับบุคคลที่ติดเชื้อย่อม มีความเสี่ยง พอเอาหุ่นยนต์เข้าไปแทนเราเองก็ไม่ต้องเข้าไป ใกล้ชิดกับผู้ป่วย นอกจากนี้ยังมี Video Call ท�ำให้เราสามารถ พูดคุยสือ่ สารและเห็นหน้ากันได้ สามารถสังเกตอาการของผูป้ ว่ ย ผ่านจอ จากปกติถา้ ไม่ใช้หนุ่ ยนต์เราก็จะสือ่ สารผ่านทางโทรศัพท์ ทีเ่ ราเคยใช้อยูเ่ ดิม แต่ไม่สามารถเห็นหน้าตาของผูป้ ว่ ยได้ พอเป็น หุ่นยนต์ ท�ำให้เป็นการสื่อสารสองทางที่มีประโยชน์” สรารัตน์ กล่าวทิ้งท้าย

ทีมวิจัยฟีโบ้ที่ร่วมกันพัฒนา CARVER-mini Engineering Today September • October 2021

29


Innovation • กองบรรณาธิการ

นาโนเทค พัฒนา

nSPHERE

หมวกแรงดัน บวก-ลบ ลดการแพร่กระจายเชื้อ รับมือวิกฤต COVID-19

ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโน เทค) ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (อว.) ผนึ ก เครื อ ข่ า ยพั ฒนา “nSPHERE หมวกแรงดันบวก-ลบ” นวัตกรรมเพือ่ ลดการ แพร่กระจายเชื้อ ด้วยแนวคิดประกอบง่าย ผลิตได้เร็ว ราคาไม่แพง สู่การใช้งานเป็น อุ ป กรณ์ ส ่ ว นบุ ค คลที่ ส ะดวก น�้ ำ หนั ก เบา และสามารถน�ำส่วนควบคุมกลับมาใช้ซ�้ำได้ เตรียมถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เอกชน กระจาย การผลิตตอบความต้องการใช้งาน ภายใต้วิกฤต COVID-19 ในปัจจุบัน การขาดแคลนวัคซีน ประสิทธิภาพการป้องกัน การติดต่อของวัคซีนแต่ละยี่ห้อ รวมไปถึง การกลายพั น ธุ ์ ข องเชื้ อ COVID-19 ที่ มี แนวโน้มรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ สถานการณ์เช่นนี้ จึ ง ถื อ ว่ า อยู ่ ใ นระดั บ ที่ มี ค วามเสี่ ย งและ เปราะบางสูง และยังไม่สามารถคาดการณ์

30

Engineering Today September • October 2021

nSPHERE หมวกแรงดันบวก-ลบ ลดการแพร่กระจายเชื้อของบุคลากรทางการแพทย์และผู้ป่วย COVID-19

ถึงแนวโน้มที่ดีขึ้นได้ในเวลาอันใกล้ กลยุทธ์การรับมือข้อหนึ่งที่ส�ำคัญมากและ ไม่สามารถละเลยได้ก็คือ มาตรการลดความเสี่ยงการติดเชื้อของบุคลากรด่านหน้า หรือผู้ป่วยที่จ�ำเป็นต้องรับบริการจากสถานพยาบาลไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ เช่น ฟอกเลือด คลอดบุตร หรือประสบอุบัติเหตุ จ�ำเป็นต้องปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง

นาโนเทคพัฒนานวัตกรรมหมวกแรงดันบวก-ลบ รับ COVID-19 แพร่ระบาด

ด้วยเหตุนี้ ดร.ไพศาล ขันชัยทิศ หัวหน้าทีมวิจัยเข็มระดับนาโน กลุ่มวิจัยวัสดุ ตอบสนองและเซ็นเซอร์ระดับนาโน ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (นาโนเทค) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จึงได้ริเริ่มพัฒนา “nSPHERE หมวกแรงดันบวก-ลบ” ขึ้น ซึ่งสามารถป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ไวรัสโคโรน่า โดยหลักการเบื้องต้นของ nSPHERE นั้น เป็นหมวกที่มีระบบการกรอง ประสิทธิภาพสูงร่วมกับการควบคุมความดันภายในหมวกให้สูงหรือต�่ำกว่าภายนอก แล้วแต่กรณี เพื่อตัดโอกาสการเล็ดลอดละอองไอจามซึ่งเป็นแหล่งที่อยู่ของเชื้อไวรัส โคโรน่า หมวกแรงดันบวก หรือ nSPHERE(+) จึงเหมาะส�ำหรับบุคลากรทางการ แพทย์หรือด่านหน้า ความดันภายในหมวกสูงกว่าภายนอก ในทางกลับกัน หมวก แรงดันลบ หรือ nSPHERE(-) ส�ำหรับผู้ป่วยที่ติดเชื้อหรือกลุ่มเสี่ยงที่มีอาการนั้น ความดันภายในหมวกต�่ำกว่าภายนอก ซึ่งเป็นหลักการเดียวกับการควบคุมเชื้อใน โรงพยาบาลขนาดใหญ่ที่นับว่ามีประสิทธิภาพสูงวิธีหนึ่งในปัจจุบัน


ประสิทธิภาพการท�ำงานของหมวกฯ พบว่า บรรยากาศภายนอกหมวกมีความดัน ขึ้นลงตลอดเวลา จึงติดเซนเซอร์วัดค่าเอาไว้ แล้วเราก็พบว่าค่าความแตกต่าง ความดันที่เราอยากได้ควบคุมได้ล�ำบาก ในเชิงการออกแบบก็ท�ำได้ยาก เพราะถ้า ความดันในหมวกฯ สูงหรือต�่ำเกินไปก็จะท�ำให้อึดอัด ไม่สะดวกสบาย เช่น อาจหูอื้อ หรือขาดอากาศหายใจ ดังนั้นเราจึงเสนอแนวคิดระบบการเตือนเมื่อความดันภายใน หมวกไม่เป็นไปตามก�ำหนด โดยวัดความดันภายในและภายนอกหมวกเปรียบเทียบ กันตลอดเวลา” ดร.ไพศาล กล่าว ในส่วนนี้กลายเป็นจุดเด่นของ nSPHERE ท�ำให้การเคลื่อนย้ายผู้ติดเชื้อ ท�ำได้จริงในเชิงปฏิบตั ิ เนือ่ งจากการเข้าออกจากห้อง การเข้าลิฟต์ หรือพาหนะโดยสาร มีความดันแตกต่างอยู่ตลอดเวลา ซึ่งระบบเดิมจะไม่มีสัญญาณเตือน แต่ nSPHERE ให้ความส�ำคัญ ณ จุดนี้เป็นพิเศษ

ดร.ไพศาล ขันชัยทิศ หัวหน้าทีมวิจัยเข็มระดับนาโน กลุ่มวิจัยวัสดุ ตอบสนองและเซ็นเซอร์ระดับนาโน นาโนเทค

พัฒนาหมวกความดัน ทั้งบวกและลบ ลดโอกาสแพร่เชื้อบุคลากร ทางการแพทย์-ผู้ป่วย

ดร.ไพศาล ขันชัยทิศ กล่าวว่า ในการ ออกแบบ ทีมวิจัยได้ก�ำหนดให้อากาศที่เข้า และออกจากหมวกถู ก กรองด้ ว ยการดู ด อากาศผ่านฟิลเตอร์ แต่มขี อ้ แตกต่างระหว่าง nSPHERE ลบและบวก คือ แบบลบ เน้นให้ อากาศขาออกจากหมวกสะอาดที่สุด เพราะ ผู้สวมใส่มีหรืออาจมีเชื้อ แต่ในทางกลับกัน หมวกแบบบวก จะเน้ น ให้ อ ากาศขาเข้ า สะอาดที่สุด เนื่องจากต้องป้องกันเชื้อแพร่ กระจายจากภายนอกสู่ผู้สวมใส่ ซึ่งถือว่ามี ความท้าทายมาก เมื่อพยายามพัฒนาให้เป็น อุ ป กรณ์ ส วมใส่ ส ่ ว นบุ ค คล โดยเฉพาะกั บ nSPHERE(-) ทีเ่ ป็นแนวคิดใหม่ สร้างความดัน ให้ เ ป็ น ลบ ท� ำ งานตรงกั น ข้ า มกั บ PAPR (Powered Air Purifying Respirator) ที่ แพทย์มกั จะเป็นผูใ้ ช้ แต่ดว้ ยมีแนวคิดว่า หาก ทั้งผู้ติดเชื้อและผู้ดูแลได้ใช้ก็จะมีประโยชน์ กับทั้ง 2 ฝ่าย ในภายหลังจึงพัฒนาทั้งบวก และลบ เพือ่ สร้างกลไกการป้องกันทีแ่ น่นหนา ลดโอกาสแพร่เชื้อได้มากยิ่งขึ้น “ภายใน nSPHERE ยังมีเซนเซอร์วัด ความดั น ซึ่ ง มี แนวคิดมาจากตอนทดสอบ

เลือกใช้ฟิลเตอร์กรองอากาศ (HEPA) ประสิทธิภาพสูง ในราคาที่เหมาะสม-คุ้มค่าต่อการใช้งาน

เพื่อให้ประสิทธิภาพสูงสุด ทีมวิจัยนาโนเทคจึงเลือกใช้ฟิลเตอร์กรองอากาศ ประสิทธิภาพสูง หรือ HEPA ซึง่ จะต้องออกแบบให้เหมาะสมต่อการใช้งานในลักษณะ สวมใส่เป็นอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล ความยากจึงอยู่ที่ประสิทธิภาพและราคา ทีจ่ ะสะท้อนความคุม้ ค่าของ nSPHERE ดร.ไพศาลและทีมวิจยั จึงพยายามหาเกณฑ์ การพิ จ ารณาเปรี ย บเที ย บ (Benchmark) ในการพั ฒนาเชิ ง ความคุ ้ ม ค่ า เช่ น nSPHERE(-) ซึ่งเปรียบเทียบการใช้งานกับการลงทุนสร้างห้องแรงดันลบ ส่วน nSPHERE(+) อาศัยการเทียบค่าใช้จ่ายในการท�ำความสะอาด PAPR แต่ละครั้ง กับการใช้งานหมวกแบบใช้แล้วทิ้ง “ในตอนแรกที่เราออกแบบหมวกให้ใช้ครั้งเดียวทิ้งก็เพื่อให้มั่นใจว่า การใช้งาน nSPHERE จะไม่กลายเป็นพาหะในการแพร่กระจายเชื้อ ดังนั้นการออกแบบจึงให้ ทุกส่วนประกอบที่สัมผัสกับละอองหายใจ ไอจาม จะถูกก�ำหนดให้ทิ้งทั้งหมด นั่นคือ เราให้ทิ้งหมวกทั้งใบ ฟิลเตอร์ เซนเซอร์ และพัดลมดูดอากาศ ในทีเดียวเลย โดยที่ ต้นทุนไม่สูงเกินไป และพยายามให้ใกล้เคียงกับค่าเสื่อมและค่าใช้จ่ายในการท�ำ ความสะอาด PAPR ตามมาตรฐานทั่วไป” ดร.ไพศาล กล่าว ส�ำหรับข้อดีของการทิ้งหมวกทั้งใบคือ ให้ความมั่นใจว่า ฟิลเตอร์ไม่รั่วระหว่าง การใช้งาน และไม่เป็นที่สะสมเชื้อไวรัส เนื่องจากตามข้อก�ำหนดทั่วไปของการ ใช้ PAPR นั้น ควรจะเป็นอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล แต่เนื่องจากราคาค่อนข้างแพง มีตั้งแต่สินค้าของจีนราคาหลักหมื่นบาท ไปจนถึงยี่ห้อดังราคาหลักแสนบาท โดย ส่วนใหญ่บุคลากรทางการแพทย์มักใช้งานร่วมกัน จึงใช้วิธีท�ำความสะอาด ปัญหา จึงอยู่ที่มาตรการท�ำความสะอาดที่รัดกุมเพียงพอหรือไม่ นอกจากนั้น การเปลี่ยน ฟิลเตอร์ PAPR จะต้องน�ำไปทดสอบการรั่วก่อนน�ำไปใช้งานด้วย ซึ่งในสถานการณ์ แบบนี้ไม่น่าจะท�ำได้ เมื่อต้นแบบได้ถูกน�ำไปทดลองใช้งานภายใต้สถานการณ์จริง ทางแพทย์ และพยาบาลได้เสนอให้เป็นอุปกรณ์ส่วนบุคคลแบบใช้ซ�้ำได้ ท�ำให้ต้นทุนต่อการ ใช้งานแต่ละครั้งน้อยลง แต่เราก�ำหนดระยะเวลาสะสมต่อหมวกหนึ่งใบไว้ เพื่อไม่ให้ ใช้งานในลักษณะถาวร โดยมีชุดท�ำความสะอาดด้วย UV/Ozone ให้ในกรณีที่มี การใช้งานจ�ำนวนมาก ทั้งนี้ nSPHERE ครบชุด (หมวกเเละคอนโทรลเลอร์) ราคา 2,500 บาท แบ่งออกเป็น คอนโทรลเลอร์ 2000 บาท (ใช้ซ�้ำได้) และหมวก 500 บาท ซึ่งเป็นแบบใช้แล้วทิ้ง ระยะเวลาการใช้สะสม 24 ชั่วโมง Engineering Today September • October 2021

31


และการใช้กล้อง thermal camera ช่วยระบุต�ำแหน่งจุดอับท�ำให้ร้อนเมื่อสวมใส่ ก็ทำ� ให้สร้างความเชือ่ มัน่ ในนวัตกรรมนีไ้ ด้มากยิง่ ขึน้ ท�ำให้ปจั จุบนั มีการน�ำไปใช้งาน รวมถึงการใช้ในเชิงสาธิตกว่า 900 ชุด ใน 37 หน่วยงานและสถานพยาบาล ทั่วประเทศ อาทิ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์บริการการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร (ศูนย์เอราวัณ) โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลเวชการุณย์รศั มิ์ โรงพยาบาลสิรนิ ธร โรงพยาบาลลาดกระบัง โรงพยาบาล นครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ โรงพยาบาลก�ำแพงเพชร เป็นต้น

ผ่านการทดสอบมาตรฐาน ด้านความปลอดภัย น�ำไปใช้ เชิงสาธิตกว่า 900 ชุด ใน 37 หน่วยงานทั่วประเทศ

ดร.ไพศาล กล่ า วว่ า ความท้ า ทาย อีกประการหนึ่งคือ มาตรฐาน โดยทีมวิจัย ได้ ส ่ ง นวั ต กรรม nSPHERE ไปทดสอบ มาตรฐานที่ มี ค วามท้ า ทายสู ง เนื่ อ งจาก การทดสอบยังไม่มีมาตรฐานรองรับชัดเจน เพราะมีลักษณะเป็นนวัตกรรมที่มีข้อบ่งใช้ ใหม่ จึงต้องประยุกต์ใช้มาตรฐานใกล้เคียง ตามข้อมูลที่ CDC และ OSHA ก�ำหนด เป็ น Guideline ไว้ อาทิ มาตรฐาน ISO14644-3 ซึ่ ง เป็ น มาตรฐานที่ ใ ช้ กั บ ห้อง Clean Room ที่มีพื้นที่ขนาดใหญ่ แต่หมวกของเรามีปริมาตรช่องอากาศไม่ถึง ลูกบาศก์ฟุต ดังนั้นในทางปฏิบัติจริงจึงต้อง ขอความร่วมมือจากผู้ทดสอบ และต้องใช้ กรอบที่ก�ำหนดขึ้นเฉพาะเป็นกรณีพิเศษ ซึ่ง สามารถผ่านมาตรฐานในระดับทีส่ งู กว่าเกณฑ์ ที่ก�ำหนดจาก CDC หลายเท่าตัว สร้างความ เชื่ อ มั่ น เรื่ อ งความปลอดภั ย ที่ มี ข ้ อ กั ง วล มาก่อนหน้านี้ นอกจากนี้ยังได้น�ำหมวกไปทดสอบ ความปลอดภัยด้านไฟฟ้า และการแผ่รังสี รบกวน ที่ศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (PTEC) ในมุ ม ของวั ส ดุ เพิ่ ม เติ ม เพื่ อ สร้ า งความเชื่ อ มั่ น ให้ กั บ โครงสร้างกระดาษเคลือบกันน�้ำ เมื่อรวบรวมผลการทดสอบมาตรฐาน เหล่านี้ไปใช้อ้างอิงพร้อมกับการทดสอบที่ นาโนเทค สวทช. สร้างขึน้ เช่น เทคนิคการใช้ การกระเจิงแสงเลเซอร์ต่อละอองฝุ่นจ�ำลอง

32

Engineering Today September • October 2021

จับมือวิทยาลัยเทคนิคในแต่ละภูมิภาค ตั้งเป้าผลิต 800 ใบต่อวัน

ด้านก�ำลังการผลิตที่ไม่เพียงพอ เมื่อเทียบกับจ�ำนวนผู้ป่วยที่มีจ�ำนวนมาก ด้วยทีมวิจัยมองว่า หากจะใช้นวัตกรรมนี้ให้ได้ประสิทธิภาพ ต้องผลิตให้เพียงพอ ต่อความต้องการใช้งาน ซึ่งการออกแบบให้สามารถประกอบได้เองแก้ปัญหานี้ได้ แต่ก็มีความกังวลเรื่องของประสิทธิภาพหากน�ำไปประกอบเอง ในช่วงแรกจึงต้อง ระดมทีมทั้งนักวิจัยและกลุ่มพ่อบ้านแม่บ้าน และอาสาสมัครมาช่วยประกอบหมวกฯ เพื่อน�ำไปแจกจ่ายยังสถานพยาบาลที่แสดงความจ�ำนงขอรับไปใช้ในพื้นที่ “จุดนี้เราพยายามจะตอบโจทย์เรื่อง Speed และ Scale ให้ได้ จากที่เริ่มแรก ผลิตได้ไม่กสี่ บิ ใบต่อวัน จนตอนนีเ้ ราได้กว่า 100 ใบ ก�ำลังขยายก�ำลังผลิตสูพ่ นั ธมิตร เช่น วิทยาลัยเทคนิคในแต่ละภูมิภาค เช่น วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี วิทยาลัย เทคนิคเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย วิทยาลัยเทคนิคอยุธยา โดยตั้งเป้า ผลิตที่ 800 ใบต่อวัน” ดร.ไพศาล กล่าว

คาดมีเอกชนน�ำไปผลิตในเชิงพาณิชย์ ในอนาคตอันใกล้นี้

ส�ำหรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้ผู้อื่นสามารถน�ำไปผลิต ปัจจุบันมีผู้ประสงค์ ขอรับถ่ายทอดเทคโนโลยีแล้วหลายราย อยูใ่ นขัน้ ตอนของการเจรจา คาดว่าจะทราบ ผลเร็วๆ นี้ ซึ่งพยายามท�ำให้กระบวนการผลิตหมวกสามารถท�ำได้ง่าย ลงทุนไม่สูง เกินไป ก็จะสามารถถ่ายทอดเทคโนโลยีได้ง่าย น�ำไปสู่การใช้ประโยชน์ในวงกว้างได้ อย่างทันท่วงที โดยเปิดถ่ายทอดสิทธิแบบ Non Exclusive เพื่อให้เกิดการกระจาย เพิ่มจ�ำนวนการผลิตไปสู่ผู้ใช้ได้มากและเร็ว ทันสถานการณ์และความต้องการ “ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ยากที่สุด แต่มีความส�ำคัญที่สุด เพราะหากสามารถ ถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่การใช้จริง จะตอบความตั้งใจที่ริเริ่มนวัตกรรมนี้ขึ้น สามารถ ช่วยลดความเสีย่ ง ลดการแพร่กระจายเชือ้ เกิดประโยชน์กบั ประชาชน ในขณะเดียวกัน นวัตกรรมไทยในราคาที่เอื้อมถึง ก็จะเป็นเม็ดเงินที่สร้างรายได้กับผู้ผลิตไทย รวมถึง กลายเป็นเงินภาษีกลับคืนให้ประเทศ ส่งต่อเป็นงบประมาณให้เกิดงานวิจยั ไทยได้อกี ท�ำให้ประเทศชาติเกิดความยั่งยืน” ดร.ไพศาล กล่าว ดร.ไพศาล กล่ า วถึ ง แผนงานในอนาคตว่ า หลั ง จากถ่ า ยทอดเทคโนโลยี เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เราต้องการทดสอบผลสัมฤทธิ์ของการใช้งานในเชิงสถิติใน กลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ร่วมกับสถาบันบ�ำราศนราดูร รวมถึงผลักดันให้เป็นอุปกรณ์ เครื่องมือแพทย์ตามนิยามขององค์การอาหารและยา (อย.) ซึ่งจ�ำเป็นต้องทดสอบ ความสามารถในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ไม่ใช่เพียงละอองไอจาม โดยมี แผนงานที่ จ ะร่ ว มมื อ กั บ โรงพยาบาลเวชศาสตร์ เ ขตร้ อ น มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล เพื่อทดสอบในเรื่องนี้


Environment • กองบรรณาธิการ

คพ. จับมือ สวทช. ใช้ Super Computer

คาดการณ์แนวโน้มฝุ่น PM2.5 ได้เร็วขึ้น 15 เท่า-รู้ล่วงหน้า 3 วัน กรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (ทส.) และส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (อว.) ลงนามบันทึก ข้อตกลงความร่วมมือ “ด้านการคาดการณ์คุณภาพอากาศ และระบบ คอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง” ระยะเวลาการด�ำเนินงาน 3 ปี เพื่อคาดการณ์ แนวโน้มของสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ได้เร็วขึ้นถึง 15 เท่า ช่วยรองรับการคาดการณ์สถานการณ์ฝุ่นละออง PM2.5 ล่วงหน้า 3 วัน ให้มีความแม่นย�ำและมีประสิทธิภาพมากขึ้น อรรถพล เจริญชันษา อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กล่าวว่า คพ. และ สวทช. ได้มีค วามร่ว มมือ ในการจัดการพัฒนาระบบการคาดการณ์ คุณภาพอากาศมาตัง้ แต่ปลายปี พ.ศ. 2563 เพือ่ ใช้ประเมินสถานการณ์ปญ ั หา ฝุ่นละออง PM2.5 ในพื้นที่ภาคเหนือ และพื้นที่กรุงเทพและปริมณฑล โดย ได้รบั การสนับสนุนการใช้งานระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงจาก สวทช. ท�ำให้ การคาดการณ์ ส ถานการณ์ปัญหา PM2.5 ของประเทศมีบ ทบาทส�ำคัญ ต่อการตัดสินใจ และวางแผนบริหารจัดการเพื่อตอบโต้สถานการณ์ปัญหา มลพิษทางอากาศทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ โดยรัฐบาลและทุกภาคส่วนได้ใช้ประโยชน์ จากข้อมูลดังกล่าว เพื่อการด�ำเนินการภายใต้แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระ แห่งชาติ การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง และแผนเฉพาะกิจเพื่อแก้ไข ปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง 12 ข้อ ท�ำให้สถานการณ์ฝุ่นละออง PM2.5 รวมทั้งแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจในพื้นที่ที่เกิดมลพิษให้กลับฟื้นดีขึ้นและร่วมกัน พัฒนาเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมในการน�ำมาใช้แก้ปญ ั หามลพิษทัง้ ประเทศให้ครบวงจร และต้องมีการพยากรณ์ลว่ งหน้าทีม่ ปี ระสิทธิภาพ แจ้งเตือนทีแ่ ม่นย�ำล่วงหน้าได้ มากกว่า 3 วัน เช่น อาจจะพยากรณ์ลว่ งหน้าภายใน 7 วัน หรือ 15 วัน เป็นต้น “ในอนาคตหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าเทคโนโลยีซปุ เปอร์คอมพิวเตอร์ทคี่ ดิ ค้นได้ จะช่วยน�ำไปใช้พยากรณ์เรื่องมลพิษ หมอกควันข้ามแดนร่วมกันในภูมิภาค อาเซียน แล้วเกิดความร่วมมือแก้ไขปัญหามลพิษข้ามแดน PM2.5 อย่าง ยั่งยืนต่อไป” อรรถพล กล่าว ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า ความร่วมมือในครั้งนี้มีระยะเวลาการท�ำงาน ร่วมกัน 3 ปี ซึ่งเป็นการร่วมกันพัฒนาขีดความสามารถในการคาดการณ์ สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก โดยใช้แบบจ�ำลองคณิตศาสตร์บนระบบ

ขั้นตอนการคาดการณ์สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก

คอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง ซึ่ง สวทช. มีบุคลากร ทีม่ คี วามเชีย่ วชาญเฉพาะด้านและโครงสร้างพืน้ ฐาน อยู ่ ภ ายใต้ ก ารด� ำ เนิ น งานของศู น ย์ ท รั พ ยากร คอมพิ ว เตอร์ เ พื่ อ การค� ำ นวณขั้ น สู ง (NSTDA Supercomputer Center) หรือ ThaiSC ซึ่งเป็น หน่วยงานของ สวทช. ที่มีภารกิจหลักตามพันธกิจ ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ข องประเทศ ซึ่ ง เป็ น ก� ำ ลั ง ส� ำ คั ญ ที่ จ ะช่ ว ยท� ำ ให้ ค ณะท� ำ งานด้ า นการประมวลผล การคาดการณ์สถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็กของ กรมควบคุ ม มลพิ ษ สามารถประมวลผลระบบ คาดการณ์ ส ถานการณ์ ม ลพิ ษ อากาศในพื้ น ที่ 9 จังหวัดภาคเหนือ ได้เร็วขึ้นถึง 15 เท่า จากเดิมใช้ เวลาค�ำนวณ 11.5 ชัว่ โมง ลดลงเหลือเพียง 45 นาที ท� ำ ให้ ก รมควบคุ ม มลพิ ษ คาดการณ์ ส ถานการณ์ ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ได้ล่วงหน้าถึง 3 วัน ส�ำหรับขั้นตอนการคาดการณ์สถานการณ์ ฝุน่ ละอองขนาดเล็ก เริม่ จากการน�ำข้อมูลแหล่งก�ำเนิด ฝุ่นละอองขนาดเล็กและข้อมูลทางอุตุนิยมวิทยา มาใช้ในการเตรียมข้อมูลบน Computer Workstation ทีก่ รมควบคุมมลพิษ จากนัน้ จึงถ่ายโอนข้อมูลดังกล่าว ไปยังระบบ High-Performance Computing (HPC) ของศูนย์ทรัพยากรคอมพิวเตอร์เพื่อการค�ำนวณ ขั้นสูง สวทช. เพื่อประมวลผลโดยใช้แบบจ�ำลอง คณิ ตศาสตร์ เ ฉพาะทางด้ า นมลพิ ษ อากาศ ด้ ว ย ประสิทธิภาพระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงของ สวทช. ท�ำให้สามารถประมวลผลข้อมูลขนาดใหญ่ได้ อย่างแม่นย�ำและรวดเร็ว โดยข้อมูลผลการค�ำนวณ ทีไ่ ด้จะถูกถ่ายโอนกลับมายัง Computer Workstation ที่กรมควบคุมมลพิษ เพื่อวิเคราะห์และจัดรูปแบบ การแสดงข้อมูลเผยแพร่ผ่านทางเว็บไซต์ Air4Thai. com และสือ่ ออนไลน์ของทาง คพ. และแอปพลิเคชัน “รูท้ นั ” ของเนคเทค สวทช. เพือ่ รายงานและแจ้งเตือน สถานการณ์มลพิษทางอากาศให้กับประชาชน “การท� ำ งานในปี แ รกนี้ สวทช. หวั ง ว่ า จะ สามารถสนั บ สนุ น การใช้ ง านและให้ ค� ำ แนะน� ำ ปรึ ก ษาเชิ ง เทคนิ ค ส� ำ หรั บ การประมวลผลบน ระบบคอมพิ ว เตอร์ ส มรรถนะสู ง เพื่ อ สนั บ สนุ น ให้ ก รมควบคุ ม มลพิ ษ สามารถพั ฒ นาระบบ คาดการณ์ ส ถานการณ์ ฝุ ่ น ละอองขนาดเล็ ก หรื อ PM2.5 ได้ อ ย่ า งแม่ น ย� ำ และครอบคลุ ม พื้ น ที่ ไ ด้ ทั่วประเทศ รวมถึงสามารถคาดการณ์สถานการณ์ มลพิษอากาศอื่นๆ ซึ่งจะน�ำไปสู่การบริหารและ จัดการคุณภาพอากาศของประเทศไทยได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และประชาชนมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ตี อ่ ไป” ดร.ณรงค์ กล่าว Engineering Today September • October 2021

33


Big Data • *มร.จิม ฮาเร่

เพิ่มประสิทธิภาพ

“Big Data”

ให้ ด้วยฐานข้อมูลขนาดเล็กและกว้าง เหตุการณ์ที่ท�ำให้เกิดการหยุดชะงัก อาทิ การระบาด ครั้งใหญ่ของไวรัส COVID-19 ส่งผลให้ข้อมูลในอดีตที่สะท้อน ถึงสถานะขององค์กรต่างๆ ล้าสมัยอย่างรวดเร็ว เนื่องจาก องค์กรธุรกิจต้องเผชิญกับข้อจ�ำกัดต่างๆ ในการใช้บิ๊กดาต้า ทีเ่ ป็นปัจจัยส�ำคัญในการสร้างระบบวิเคราะห์ขอ้ มูลและปัญญา ประดิษฐ์ (AI) ตามแนวทางใหม่ที่เรียกว่า “ชุดข้อมูลขนาดเล็ก” และ “ชุดข้อมูลแบบกว้าง” ในยุคของบิ๊กดาต้านั้นประสบความส�ำเร็จในเรื่องของการ จัดเก็บและจัดการข้อมูล แต่ยังไม่สามารถช่วยให้องค์กรธุรกิจ ได้รับประโยชน์จากข้อมูลดังกล่าว แต่ “ชุดข้อมูลขนาดเล็กและ กว้าง” นั้นสามารถตอบโจทย์ในจุดนี้ได้ แนวทางการใช้ “ชุ ด ข้ อ มู ล แบบกว้ า ง” ช่ ว ยให้ อ งค์ ก ร วิเคราะห์และท�ำงานร่วมกับแหล่งข้อมูลหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น จากแหล่งข้อมูลขนาดเล็กและขนาดใหญ่ หรือแหล่งข้อมูลแบบ ไม่มโี ครงสร้างและมีโครงสร้างได้ ในขณะทีแ่ นวทางการใช้ชดุ ข้อมูล ขนาดเล็ ก นั้ น เป็ น เรื่ อ งเกี่ ยวกั บ การประยุ กต์ ใ ช้ เ ทคนิ ค ในการ วิเคราะห์ที่ต้องการข้อมูลน้อยลงแต่ยังให้ประโยชน์ในเชิงลึก โดยทั้งสองแนวทางช่วยให้การวิเคราะห์และใช้ระบบ AI มีประสิทธิภาพมากขึน้ ลดการพึง่ พาข้อมูลขนาดจ�ำนวนมหาศาล ให้แก่องค์กรและยังช่วยให้รู้เท่าทันสถานการณ์แบบเบ็ดเสร็จ เรียกว่ามองได้รอบด้านแบบ 360 องศา โดยองค์กรสามารถน�ำ ข้อมูลมาวิเคราะห์เพือ่ ช่วยในการตัดสินใจทีด่ ขี นึ้ ในบริบททีซ่ บั ซ้อน *รองประธานฝ่ายวิเคราะห์ การ์ทเนอร์ อิงค์

34

Engineering Today September • October 2021

อันเกี่ยวเนื่องกับเหตุการณ์การหยุดชะงักได้ เพื่อขับเคลื่อนได้ อย่างรวดเร็วและตอบสนองความต้องการของลูกค้า การ์ทเนอร์คาดว่าภายในปี พ.ศ. 2568 องค์กรต่างๆ ประมาณ 70% จะถูกบังคับให้โฟกัสกับการใช้ชุดข้อมูลขนาดเล็ก และกว้างแทนฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ซึ่งช่วยให้วิเคราะห์บริบท ของข้อมูลได้หลากหลายขึ้นและท�ำให้ระบบ AI ใช้ข้อมูลน้อยลง ผู้บริหารด้านข้อมูลและการวิเคราะห์ (D&A) ต้องมองหา กลยุทธ์ที่ช่วยให้องค์กรใช้ชุดข้อมูลขนาดเล็กและกว้าง รวมถึง ข้อมูลสังเคราะห์เพื่อขับเคลื่อนองค์กรธุรกิจไปสู่การเปลี่ยนผ่าน ด้วยการใช้รูปแบบการวิเคราะห์ข้อมูลเพิ่มขึ้นด้วยระบบ AI และ แมชชีนเลิรน์ นิง่ (ML) ทีจ่ ะช่วยให้สามารถจัดการกับความท้าทาย ต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ จัดการกับข้อมูลการฝึกอบรม ที่ไม่ค่อยได้ใช้งาน หรือการพัฒนาโมเดลธุรกิจที่มีประสิทธิภาพ มากขึ้น โดยอาศัยข้อมูลหลากหลายและกว้างกว่าเดิม

>> ท�ำไมข้อมูลขนาดเล็กและกว้าง จึงส�ำคัญ

แน่นอนว่าการวิเคราะห์และใช้ระบบ AI นั้นต้องท�ำงาน ร่วมกับข้อมูลที่สดใหม่และในขนาดของข้อมูลที่น้อยกว่าเดิม นอกจากนี้การเก็บรวบรวมข้อมูลในอดีตที่เพียงพอหรือติดป้าย ก�ำกับไว้ใช้เฉพาะเพื่อใช้วิเคราะห์และสร้างระบบ AI ยังถือเป็น ความท้าทายของหลายๆ องค์กรอยู่ในวันนี้


การจัดเรียงข้อมูล คุณภาพข้อมูล การปกป้องความเป็นส่วนตัวและอคติถือเป็น ความท้าทายทั่วไป ถึงแม้จะมีฐานข้อมูลบิ๊กดาต้า แต่ค่าใช้จ่าย เวลาที่เสียไป และพลังงาน ในการใช้ระบบ ML ที่มีการควบคุมดูแลแบบเดิมก็ยังคงเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่เสมอ นอกจากนี้ การตัดสินใจของมนุษย์และระบบ AI นั้นจะมีความซับซ้อนและความต้องการมากขึ้น ซึ่งต้องอาศัยข้อมูลหลากหลายเพื่อให้รับรู้สถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วน เมื่อน�ำทุกอย่างมารวมเข้าด้วยกันนั่นหมายความว่าเราต้องการเทคนิคการวิเคราะห์ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ถึ ง จะสามารถใช้ ป ระโยชน์ จ ากฐานข้ อ มู ล ที่ มี อ ยู ่ เ ดิ ม ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ไม่ว่าจะลดปริมาณหรือเพิ่มปริมาณข้อมูลที่ต้องการใช้หรือดึงประโยชน์จากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายและข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้างมาใช้เพิ่ม

>> มีผลกระทบอะไรบ้าง

แนวทางการใช้ “ชุดข้อมูลแบบกว้าง” ใช้หลักการวิเคราะห์ในรูปแบบสมการ X โดยที่ X หมายถึงการค้นหาความเชื่อมโยงระหว่างแหล่งข้อมูล ตลอดจนหมายถึงรูปแบบ ข้อมูลที่หลากหลาย ซึ่งรูปแบบข้อมูลเหล่านี้มีตั้งแต่ข้อมูลในรูปแบบของตาราง ข้อความ รูปภาพ วิดีโอ เสียงที่ได้ยิน เสียงพูด อุณหภูมิ หรือแม้แต่กลิ่นและการสั่นสะเทือน โดย มาจากแหล่งข้อมูลทัง้ ภายในและภายนอกทีม่ คี วามหลากหลาย อาทิ ข้อมูลบนมาร์เก็ตเพลส โบรกเกอร์ โซเชียลมีเดีย เซนเซอร์ไอโอที และฝาแฝดดิจิทัล (Digital Twins) ส่วนแนวทางการใช้ “ชุดข้อมูลขนาดเล็ก” คือการสร้างโมเดลเรียนรูโ้ ดยใช้ขอ้ มูลจ�ำนวน น้อย เช่น เทคนิคการวิเคราะห์ขอ้ มูลอนุกรมเวลา แทนทีจ่ ะใช้เทคนิคการเรียนรูเ้ ชิงลึกทีอ่ าศัย ข้อมูลจ�ำนวนมากในลักษณะรูปแบบเดียวใช้เหมือนกันทัง้ หมด ซึง่ ยังมีเทคนิคการสร้างโมเดล เรียนรู้อื่นๆ ได้แก่ เทคนิค Few-Shot Learning เทคนิค Synthetic Data หรือเทคนิค Self-Supervised Learning โดยเรายังสามารถใช้ข้อมูลน้อยลงได้อีกจากการใช้เทคนิค ต่างๆ เช่น การท�ำงานร่วมกันหรือการรวมกลุ่ม การปรับตัว การเสริมก�ำลัง และการ ถ่ายโอนการเรียนรู้ ส�ำหรับการพัฒนานวัตกรรมด้วยการใช้ “ชุดข้อมูลขนาดเล็กและกว้าง” ยังรวมถึง การใช้คาดการณ์ความต้องการสินค้าในร้านค้าปลีก เรียนรู้พฤติกรรมและอารมณ์แบบ เรียลไทม์กับการบริการลูกค้าเพื่อให้แบรนด์ได้เรียนรู้ ศึกษาและวิเคราะห์พฤติกรรมของ ลูกค้าโดยละเอียดมากขึ้นในแบบ Hyper-Personalisation และช่วยปรับปรุงประสบการณ์ ของลูกค้าให้ดียิ่งขึ้น ด้านอื่นๆ ได้แก่ การรักษาความปลอดภัยทางกายภาพหรือการตรวจจับการฉ้อโกง และระบบอัตโนมัติที่ปรับเปลี่ยนได้ เช่น หุ่นยนต์ ซึ่งมีการเรียนรู้การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ของห้วงเวลาและพื้นที่เหตุการณ์ผ่านทางประสาทสัมผัสต่างๆ อยู่ตลอดเวลา การเริ่มต้น เริ่มจากส�ำรวจแนวทางการปรับใช้ชุดข้อมูลขนาดเล็กและกว้างเพื่อ ลดอุปสรรคในการเข้าสู่โหมดการวิเคราะห์ขั้นสูงและ AI อันเนื่องมาจากการขาดข้อมูล ที่ควรรับรู้จริงๆ แทนที่จะอาศัยการเรียนรู้เชิงลึกที่พึ่งพาการใช้ข้อมูลมากเกินไป และเพิ่ม เครือ่ งมือทางเทคนิคต่างๆ ให้กบั ทีม D&A เพือ่ สร้างบริบทของข้อมูลทีส่ มบูรณ์ยงิ่ ขึน้ ส�ำหรับ ใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจที่แม่นย�ำ โดยใช้ประโยชน์จากแหล่งข้อมูลภายนอกที่มีเพิ่ม มากขึ้นผ่านการแบ่งปันข้อมูลและมาร์เก็ตเพลส สุดท้าย คือเพิ่มคุณค่าและปรับปรุงพลังการท�ำนายของข้อมูลด้วยการผสมผสาน แหล่งข้อมูลทั้งที่มีโครงสร้างและไม่มีโครงสร้างให้มีมิติมากขึ้น

มร.จิม ฮาเร่ รองประธาน ฝ่ายวิเคราะห์ของการ์ทเนอร์ อิงค์ ได้น�ำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับ Small & Wide Data ในงาน Gartner Data & Analytics Summit 2021 in APAC ซึ่งจัดขึ้น เมื่อวันที่ 8-9 มิถุนายน 2564

แนวทางการใช้ ชุดข้อมูลแบบกว้าง ช่วยให้องค์กร วิเคราะห์และท�ำงาน ร่วมกับแหล่งข้อมูล หลากหลาย ไม่ว่า จะเป็นจากแหล่ง ข้อมูลขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ หรือ แหล่งข้อมูลแบบ ไม่มีโครงสร้างและ มีโครงสร้างได้ ในขณะที่แนวทางการ ใช้ชุดข้อมูลขนาดเล็ก นั้นเป็นเรื่องเกี่ยวกับ การประยุกต์ ใช้ เทคนิคในการ วิเคราะห์ที่ต้องการ ข้อมูลน้อยลง แต่ยังให้ประโยชน์ ในเชิงลึก

Engineering Today September • October 2021

35


IT Update • *ปีเตอร์ แชมเบอร์ส

ความปลอดภัยของการท�ำงาน รูปแบบ Hybrid ในปัจจุบัน *ค�ำว่า “ไฮบริด” และ “ระยะไกล (รีโมต)” สามารถใช้เแทนกันได้ตลอดทั้งบทความ

ก่อนการระบาดของ COVID-19 บริ ษั ท ข้ า มชาติ ร ะดั บ ชั้ น น� ำ ครุ ่ น คิ ด เรื่องแนวคิดการท�ำงานรูปแบบไฮบริด และมีพนักงานไม่มากนักที่ท�ำงานใน รูปแบบไฮบริดนี้ อย่างไรก็ตาม ด้วย อุปสรรคทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย และเทคโนโลยี จึ ง เป็ น ไปได้ ย ากที่ ธุ ร กิ จ จ ะ จิ น ต น า ก า ร ไ ป ถึ ง ก า ร เปลี่ยนแปลงรูปแบบการท�ำงานที่มีอยู่ ในอุ ต สาหกรรมไปสู ่ รู ป แบบไฮบริ ด เพราะการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง เช่ น นี้ จ ะเกิ ด ขึ้ น ไม่ ไ ด้ ห ากปราศจาก ตัวเร่ง ปัจจุบันท่ามกลางสถานการณ์ โรคระบาด หลายองค์กรเริ่มมองว่า ท้ายที่สุด ธุร กิจสามารถด�ำเนินและ เห็น ผลก�ำไรได้จากค่าใช้จ่ายที่ลดลง ไปจนถึงประสิทธิภาพการท�ำงานและ ขวั ญ ก� ำ ลั ง ใจของพนั ก งานที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ก่อนหน้านี้มาตรการฉุกเฉินด้านการ จัดการความปลอดภัยถูกมองว่าเป็น เรื่องยุ่งยาก แต่ในปัจจุบันมาตรการ เหล่านี้ในหลายๆ กลุ่มอุตสาหกรรม เริม่ มีความสมเหตุสมผลมากขึน้ บริษทั ข้ามชาติต่างมองหาวิธีน�ำการท�ำงาน รูปแบบไฮบริดมาใช้มากขึ้น ซึ่งในอีก ไม่นานจะมีองค์กรต่างๆ เริ่มน�ำมา ปฏิบัติตามมากขึ้น

ก�ำหนดบริบท: การท�ำงานรูปแบบไฮบริดในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก จากการศึกษาของ Deloitte พบว่า “อาจมีพนักงานจ�ำนวนมากถึง 47.8 ล้านคน จาก 6 ประเทศในภูมิภาคอาเซียน ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ ไทย และเวียดนาม ปรับเปลี่ยนไปท�ำงานรูปแบบจากระยะไกลมากขึ้นในอนาคต”1 ลักษณะของงานจะเป็นตัวก�ำหนดศักยภาพในการพิจารณาการท�ำงานในรูปแบบ ไฮบริดหรือแบบระยะไกลในบางอุตสาหกรรม เช่น ก่อสร้างและเกษตรกรรมนั้นอาจ ไม่เหมาะเสียทีเดียว ในท�ำนองเดียวกัน จากสัดส่วนการครองตลาดด้านอุตสาหกรรมบริการ คาดว่าสิงคโปร์และมาเลเซียจะเป็นผู้น�ำในภูมิภาคนี้ในการเปลี่ยนผ่านเชิงโครงสร้างไปสู่ รูปแบบการท�ำงานระยะไกล โดยมีพนักงานที่ท�ำงานนอกสถานที่สูงถึงร้อยละ 45 และ 26 ตามล�ำดับ2 ประเทศที่มีลักษณะเศรษฐกิจ เช่น ประเทศไทย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม อาจเห็นการเปลี่ยนแปลงด้านผลผลิตการท�ำงานที่เพิ่มขึ้นจากการเดินทางที่ลดลง โดยอาจ มีพนักงานท�ำงานจากระยะไกลสูงขึ้นถึง 15%, 16%, 22% และ 13% ตามล�ำดับ3

Source: Remote work: A temporary ‘bug’ becomes a permanent ‘feature’. 2020 Deloitte Consulting Pte Ltd.

*กรรมการผู้จัดการ บริษัท AMD ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และประเทศญี่ปุ่น Indranil Roy, Duleesha Kulasooriya, Clarissa Turner and Vicnan Pannirselvam, Deloitte Consulting Pte. Ltd, “Remote work, A temporary ‘bug’ becomes a permanent ‘feature’”, 2020, p5 2 Indranil Roy, Duleesha Kulasooriya, Clarissa Turner and Vicnan Pannirselvam, Deloitte Consulting Pte. Ltd, “Remote work, A temporary ‘bug’ becomes a permanent ‘feature’”, 2020, p5 3 Indranil Roy, Duleesha Kulasooriya, Clarissa Turner and Vicnan Pannirselvam, Deloitte Consulting Pte. Ltd, “Remote work, A temporary ‘bug’ becomes a permanent ‘feature’”, 2020, p5 1

36

Engineering Today September • October 2021


ประโยชน์ที่ส�ำคัญหลายประการ และวิธีที่ดีที่สุดส�ำหรับองค์กรในการเก็บเกี่ยวประโยชน์ เหล่านี้ให้ดีที่สุด คือการลงทุนในเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อช่วยให้พนักงานท�ำงานร่วมกัน ได้อย่างมีประสิทธิผลและปลอดภัย

วิวัฒนาการของภัยคุกคามและการฉวยโอกาสของแฮกเกอร์

ปีเตอร์ แชมเบอร์ส กรรมการผู้จัดการ บริษัท AMD ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และประเทศญี่ปุ่น

ในขณะที่ ลั ก ษณะของงานจะ มี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการก� ำ หนดว่ า สามารถท�ำงานจากระยะไกลได้ไหม ปัจจัยอื่นๆ เช่น วัฒนธรรมและการ เข้าถึงเทคโนโลยีกม็ คี วามส�ำคัญเช่นกัน ภู มิ ภ าคเอเชี ย -แปซิ ฟ ิ ก ที่ มี จ� ำ นวน ประชากรประมาณ 60% ของประชากร โลก เป็ น หนึ่ ง ในภู มิ ภ าคที่ มี ค วาม หลากหลายด้ า นวั ฒ นธรรมและ เทคโนโลยี ซึ่งทั้ง 2 ประเด็นเป็นปัจจัย ส�ำคัญในการก�ำหนดแนวคิดว่าจะน�ำ รูปแบบการท�ำงานแบบไฮบริดมาปรับใช้ อย่างไร เช่น วัฒนธรรมการท�ำงาน ของพนั ก งานชาวญี่ ปุ ่ น ที่ เ รี ย กกั นว่ า “presenteeism” นั ก วิ จั ย ระบุ ว ่ า พนักงานจ�ำนวนหนึ่งไม่สะดวกใจที่จะ ท� ำ งานที่ บ ้ า น เนื่ อ งจากไม่ มั่ น ใจว่ า “นายจ้างจะประเมินผลการท�ำงาน ของตนอย่ า งถู ก ต้ อ งและมี ค วาม เป็นธรรม”4 นอกเหนื อ จากข้ อ มู ล ข้ า งต้ น ปรากฏชัดเจนว่าการท�ำงานแบบไฮบริด บางประเภทจะยั ง สามารถท� ำ ได้ ท่ า มกลางสถานการณ์ ก ารระบาดที่ เกิ ด ขึ้ น ซึ่ ง การท� ำ งานรู ป แบบนี้ มี 4 5

จากการศึกษาที่สนับสนุนโดยบริษัท Cisco เปิดเผยว่าภัยคุกคามหรือการแจ้งเตือน การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์เพิ่มขึ้นถึง 25% หรือมากกว่านั้นจากจ�ำนวนธุรกิจ 6 ใน 10 แห่งที่ท�ำการส�ำรวจ 62% ของบริษัทที่ท�ำการส�ำรวจระบุว่า การตรวจสอบความ ปลอดภัยในการเข้าถึงข้อมูลเป็นความท้าทายด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์อันดับต้นๆ และ 85% ระบุว่าการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์เป็นสิ่งที่ส�ำคัญที่สุดของตน ข้อกังวลนี้มีเหตุผล-กลุ่มแฮกเกอร์มักฉวยโอกาสจากการเปลี่ยนแปลงการท�ำงาน ไปสู่การท�ำงานระยะไกลอย่างกะทันหัน ซึ่งหลายธุรกิจยังไม่มีระบบรักษาความปลอดภัย ที่เพียงพอและโครงสร้างพื้นฐานระบบคลาวด์ที่มีช่องโหว่ การโจมตีทางไซเบอร์บนระบบ Domain Name Systems (NDS) ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกนั้นมีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วตั้งแต่ เกิดเหตุการณ์โรคระบาด และจากข้อมูลของ IDC InfoBrief ซึ่งได้รับการสนับสนุนโดย Efficient iP ระบุวา่ “ประเทศมาเลเซียได้รบั ความเสียหายเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วทีส่ ดุ ถึง 78% มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อการโดนโจมตีทาง DNS เพิ่มขึ้นจาก 442,820 เหรียญสหรัฐฯ ในปี พ.ศ. 2562 เป็น 787,200 เหรียญสหรัฐฯ ในปีที่ผ่านมา” การโจมตีรูปแบบ Phishing ยังคงเพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณในภูมิภาคนี้ ซึ่งประเทศสิงคโปร์มีอัตราการโดนโจมตีรูปแบบ Phishing สูงเป็นอันดับที่ 2 ในเอเชีย อยู่ที่ 46% และตามมาด้วยมาเลเซีย ที่ 43%5 แฮกเกอร์มักฉวยโอกาสใช้มัลแวร์เพื่อรวบรวมข้อมูลที่มีความซับซ้อน เช่น Remote Access Trojan โปรแกรมส�ำหรับขโมยข้อมูลและที่คล้ายคลึงกัน เพื่อขโมยข้อมูลส�ำคัญ ของบริษัทไปจนถึงเงิน องค์กรควรก�ำหนดมาตรฐานของซอฟต์แวร์ตรวจสอบการรักษา ความปลอดภัยที่สามารถเข้าถึงและลดความเสี่ยงของภัยคุกคามและช่องโหว่อย่างต่อเนื่อง เพื่อปกป้องข้อมูลขององค์กร ระบบ Secured-core PC เป็นระบบที่ริเริ่มโดย Microsoft ได้รับการสนับสนุนจาก AMD ท�ำให้พนักงานสามารถบูทแล็ปท็อปด้วยฟีเจอร์ด้านความ ปลอดภัยที่แข็งแกร่ง ช่วยให้มั่นใจว่าได้รับการปกป้องจากช่องโหว่ของเฟิร์มแวร์และการ เข้าถึงที่ไม่ได้รับอนุญาต

พื้นฐานการรักษาความปลอดภัยบนฮาร์ดแวร์: ระบบรักษาความปลอดภัยที่ระดับของฮาร์ดแวร์ (Hardware Root of Trust) และการเข้ารหัสหน่วยความจ�ำ สิ่ ง ที่ ต ้ อ งระลึ ก ถึ ง เสมอเมื่ อ มี ก ารซื้ อ หรื อ อั ป เกรดฮาร์ ด แวร์ ใ ห้ กั บ พนั ก งานคื อ คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสม จะช่วยให้องค์กรธุรกิจมีภาพรวมแนวทางในการรักษาความ ปลอดภัยและในหลากหลายขั้น นอกเหนือจากฟีเจอร์และฟังก์ชันการรักษาความปลอดภัย บนคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ (OS) แล้ว คอมพิวเตอร์ที่มีฟีเจอร์การรักษาความ ปลอดภัยภายในตัวชิปยังจะได้รบั ประโยชน์จากการป้องกันทีม่ ากขัน้ ตอนขึน้ เพิม่ ความมัน่ ใจ ในการท�ำงานตั้งแต่การเปิดเครื่องอย่างปลอดภัยไปจนถึงการท�ำงาน “Hardware root-of-trust” เป็นพื้นฐานของฟีเจอร์ด้านความปลอดภัยในด้าน การประมวลผล ใช้ คี ย ์ เ ข้ า รหั ส เพื่ อ ท� ำ ให้ ก ารเปิ ด เครื่ อ งท� ำ งานอย่ า งปลอดภั ย เป็ น

Nippon.com, Implementation of Telework in Japan Continues to Lag, May 2021 IDC InfoBrief, sponsored by Efficient iP, 2020 Global DNS Threat Report, doc #EUR146302820, June 2020 Engineering Today September • October 2021

37


องค์ประกอบที่ส�ำคัญและเป็นสาเหตุ ที่สถาปัตยกรรมบนโปรเซสเซอร์ของ AMD ต้องมาพร้อมฟีเจอร์รักษาความ ปลอดภัยบนฮาร์ดแวร์ที่รู้จักกันในชื่อ AMD Secure Processor (ASP)6 ท�ำหน้าทีเ่ ป็นระบบรักษาความปลอดภัย ที่ ร ะดั บ ของฮาร์ ด แวร์ (hardware root-of-trust) ท�ำให้แพลตฟอร์มมี ความสมบูรณ์โดยการตรวจสอบสิทธิ การเข้าถึงเฟิร์มแวร์ที่โหลดลงมาบน แพลตฟอร์ ม หากตรวจพบว่ า มี ข ้ อ ผิดพลาดหรือมีการแก้ไข จะถูกปฏิเสธ การเข้ า ถึ ง โดยอัตโนมัติ ช่ว ยให้ผู้ใ ช้ มีความมั่นใจในการเปิดเครื่องท�ำงาน ได้อย่างปลอดภัยและมีชั้นรักษาความ ปลอดภัยเฟิร์มแวร์ที่เป็นภัย7 ดั ง นั้ น องค์ ก รต่ า งๆ เมื่ อ ต้ อ ง ซื้อคอมพิวเตอร์จ�ำเป็นต้องพิจารณา เครื่องที่มีระบบรักษาความปลอดภัย ที่มีความหลากหลาย เมื่อผู้คนจ�ำนวน มากขึ้ น เรื่ อ ยๆ เริ่ ม มองหาสถานที่ ท� ำ งานที่ ห ลากหลายขึ้ น ท� ำ ให้ เ กิ ด ความเสี่ยงต่างๆ มากขึ้นตามมา เช่น โน้ตบุ๊กถูกขโมย รวมถึงข้อมูลที่เป็น ความลับและมีความส�ำคัญ ในกรณีของ โน้ตบุ๊กถูกขโมย การเข้ารหัสแบบ full disk encryption (FDE) เป็นแนว ป้องกันแรกในการปกป้องข้อมูลผู้ใช้ อย่างไรก็ตาม มันยังมีข้อจ�ำกัดด้าน การป้องกันและแฮกเกอร์ก็ยังมีวิธีที่ สามารถเปิดดูข้อมูลของผู้ใช้ได้ในที่สุด ซึ่งแฮกเกอร์อาจถอดรหัสของคีย์การ เข้ารหัสได้หากสามารถเข้าถึงข้อความ ต่างๆ ได้ทงั้ หมด รวมไปถึงการเข้ารหัส หรือถอดรหัสบนไดรฟ์ วิธีรักษาความ ปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพคือ การเข้า รหัสบนหน่วยความจ�ำ (encrypting the system memory) 8 ด้ ว ยวิ ธี นี้ ผู ้ ไ ม่ ใ ช่ เ จ้ า ของเครื่ อ งแล็ ป ท็ อ ปนั้ น ๆ จะไม่สามารถผ่านการรหัสแบบ FDE

ไปได้งา่ ยๆ เพราะต้องเข้ารหัสทีถ่ กู จัดไว้ในหน่วยความจ�ำ นีค่ อื เหตุผลทีว่ า่ ท�ำไมโปรเซสเซอร์ AMD ทั้งหมดที่มาพร้อมเทคโนโลยี PRO จึงมีระบบรักษาความปลอดภัยหลายขั้น รวมถึง เลเยอร์ของการป้องกันการเข้ารหัสด้วยฟีเจอร์ AMD Memory Guard ที่จะช่วยป้องกัน ไม่ให้สิ่งไม่พึงประสงค์เกิดขึ้น

มาตรการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ระดับองค์กร มาตรการป้องกันภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่ได้ผลที่สุดวิธีหนึ่งคือการเปลี่ยนพฤติกรรม การใช้งานบนโลกออนไลน์ของพนักงาน ด้วยการจัดฝึกอบรมการป้องกันภัยในโลกไซเบอร์ ทีเ่ หมาะสม อย่างสม�ำ่ เสมอ เนือ่ งจากภัยคุกคามต่างๆ มีววิ ฒ ั นาการอย่างต่อเนือ่ ง จึงจ�ำเป็น อย่างยิ่งที่พนักงานต้องคอยสอดส่องความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ให้ความรู้ในเรื่องการแยกแยะ กิจกรรมทางออนไลน์ที่เป็นอันตรายและการแก้ไขในเชิงรุก เมื่อพนักงานได้รับองค์ความรู้ ด้านความเสีย่ งของภัยคุกคามทางไซเบอร์ พวกเขาจะมีความมัน่ ใจมากขึน้ ในการท�ำงานจาก ระยะไกลและมีความปลอดภัยในการท�ำงานมากขึ้นในอนาคต Virtual Private Network (VPN) เป็นสิ่งแรกที่ควรติดตั้งบนแลปท็อปทุกเครื่อง เพื่อช่วยให้มั่นใจได้ว่าพนักงานที่ท�ำงานจากนอกออฟฟิศจะได้รับประโยชน์จากระดับ การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์เช่นเดียวกับอยู่ที่ท�ำงาน ซึ่ง VPN เป็นบริการที่มีราคา สมเหตุสมผล สามารถใช้ได้ในอุปกรณ์ที่หลากหลาย ตั้งแต่แล็ปท็อป แทบเล็ต และ สมาร์ทโฟน เป็นมาตรการป้องกันที่ช่วยให้มั่นใจว่าข้อมูล บทสนทนา และพฤติกรรมการใช้ อินเทอร์เน็ตของพนักงานจะได้รับการเข้ารหัสและมีความปลอดภัย ถึงแม้ว่าจะมีมาตรการ ป้องกันที่มีประสิทธิภาพ แต่ก็สามารถป้องกันได้เพียงในระดับหนึ่งเท่านั้น การติดตั้ง ซอฟต์แวร์ป้องกันไวรัสเชิงตั้งรับหลังจากตรวจพบกิจกรรมทางอินเทอร์เน็ตที่เป็นอันตราย จะมีผลก็ต่อเมื่อพนักงานทราบวิธีตรวจจับและระบุความเสี่ยงได้เท่านั้น สิ่งส�ำคัญที่ต้อง จ�ำไว้คือแฮกเกอร์มีวิธีการมากมายที่ท�ำให้ผู้ใช้ไม่สามารถตรวจพบ ถึงแม้ว่าผู้ใช้จะได้รับ การฝึกเรื่องภัยคุกคามทางไซเบอร์มาแล้ว เพราะฉะนั้นกันไว้ดีกว่าแก้ Cloud Security หรือความปลอดภัยบนระบบคลาวด์ เป็นอีกสิ่งที่ธุรกิจต้องจัดการ เพื่อท�ำให้มั่นใจได้ว่าพนักงานจะสามารถท�ำงานร่วมกันได้อย่างปลอดภัย เป็นที่ทราบกันดี ว่าเครื่องมือการประชุมทางวิดีโอ (video conferencing) ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากใน ช่วงเหตุการณ์โรคระบาด เนื่องจากมีประสิทธิภาพสูง ไม่เพียงแต่สามารถท�ำงานร่วมกันได้ แต่ยังสามารถติดต่อสื่อสารกับเพื่อนและเพื่อนร่วมงานในช่วงเวลาที่มีข้อจ�ำกัดต่างๆ ได้อีก ด้วย อย่างไรก็ตาม แม้ว่าเครื่องมือเหล่านี้จะมีการรักษาความปลอดภัยที่ดีในระดับหนึ่ง แต่กย็ งั มีผไู้ ม่หวังดีทสี่ ามารถเข้าถึงการประชุมทางวิดโี อได้ ธุรกิจต่างๆ ควรเตือนให้พนักงาน ตรวจสอบลิงก์เข้าประชุมทางวิดโี ออย่างรอบคอบและน�ำระบบ multi-factor authentication หรือ MFA เข้ามาใช้เพื่อท�ำการยืนยันตัวตนของผู้เข้าร่วมประชุมทางวิดีโอทั้งหมด เมื่อเราพูดถึงการเปลี่ยนแปลงการท�ำงานมาเป็นรูปแบบการท�ำงานจากระยะไกล สุดท้ายแล้วก็ไม่มีวิธีที่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างครบวงจร แม้ว่าจะได้รับการส่งเสริมทั้ง จากธุรกิจขนาดใหญ่และขนาดเล็ก เพื่อให้พนักงานสามารถท�ำงานได้ในรูปแบบไฮบริด หรือระยะไกล เพราะเป็นการด�ำเนินงานที่มีความส�ำคัญและมีความเสี่ยงหลายประการ เป็นสิ่งส�ำคัญที่ธุรกิจต้องประเมินความต้องการให้สามารถตอบโจทย์ด้วยทรัพยากรที่มีอยู่ เพื่อน�ำมาลงทุนด้านเทคโนโลยีให้มีความเหมาะสม จัดหาเครื่องมือที่จ�ำเป็นและมีความ ปลอดภัยส�ำหรับการท�ำงานไม่ว่าพนักงานจะอยู่ที่ใด

Advanced Micro Devices, “AMD PRO Security”, 2021 Akash Malhotra, Advanced Micro Devices, “Full-stack, Multilayered Security Features for a Changing World”, 2020 8 Akash Malhotra, Advanced Micro Devices, “Full-stack, Multilayered Security Features for a Changing World”, 2020 6 7

38

Engineering Today September • October 2021


IT Update • กองบรรณาธิการ

แคสเปอร์สกี้

เผยองค์กรในไทย โดนภัยคุกคามผ่านมือถือ เป็นอันดับ 2 ของอาเซียน รับกระแส Remote Working

เป็นที่ทราบกันดีว่า ประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ยงั ต้องเผชิญสถานการณ์การระบาดของ COVID-19 ด้ วยเหตุนี้พนักงานจ�ำนวนมากจึง ต้องจัด สภาพแวดล้อมส�ำหรับการท�ำงานจากระยะไกล แนวโน้มนี้ ช่วยให้ประชากรมีความปลอดภัยทางกายภาพมากขึ้น แต่ก็เป็นการเปิดช่องโหว่องค์กรทางออนไลน์ด้วยเช่นกัน แคสเปอร์ ส กี้ บริ ษั ท รั ก ษาความปลอดภั ย ทาง ไซเบอร์ระดับโลก ได้ตรวจพบและบล็อกการโจมตีผู้ใช้ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ผ่านมือถือจ�ำนวน 382,578 ครั้ง ในช่วงครึง่ แรกของปี ค.ศ. 2021 เพิม่ ขึน้ 14% เมือ่ เทียบกับ ช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว ซึ่งมี 336,680 ครั้ง แม้ ว ่ า การน� ำ อุ ป กรณ์ ส ่ ว นตั ว มาใช้ ใ นการท� ำ งาน หรือ BYOD จะเป็นแนวโน้มที่เกิดขึ้นก่อนสถานการณ์ โรคระบาด แต่การใช้งานก็ยังเพิ่มขึ้นอย่างมากตั้งแต่ปี ค.ศ. 2020 เนือ่ งจากบริษทั ต่างๆ ได้ปรับโครงสร้างพืน้ ฐาน ด้านไอทีเพื่อความต่อเนื่องในการด�ำเนินธุรกิจ ส่งผลให้ พนักงานมีบทบาทในการรักษาความปลอดภัยเน็ตเวิร์ก ของบริษัทเพิ่มขึ้นเช่นกัน จากการส�ำรวจเรื่อง “How COVID-19 changed the way people work” ของแคสเปอร์สกี้เมื่อปีที่ผ่านมา ระบุว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจ�ำนวนมากกว่า 2 ใน 3 ก�ำลัง ใช้ อุ ป กรณ์ ส ่ ว นตั ว เพื่ อ ท� ำ งานจากที่ บ ้ า น นอกจากนี้ พนักงานยังใช้อปุ กรณ์ในการท�ำงานเพือ่ ท�ำกิจกรรมส่วนตัว เช่ น ดู วิ ดี โ อและเนื้ อ หาเพื่ อ การศึ ก ษา อ่ า นข่ า ว และ เล่นวิดีโอเกม ที่น่าสนใจที่สุดคือพนักงาน 33% จาก 6,017 คน ที่ ต อบแบบสอบถามจากทั่ ว โลกยอมรั บ ว่ า ใช้ อุ ป กรณ์

ส�ำนักงานเพื่อดูเนื้อหาส�ำหรับผู้ใหญ่ ซึ่ง เป็นเนือ้ หาประเภทหนึง่ ทีม่ กั ตกเป็นเป้าหมาย ของอาชญากรไซเบอร์ เซียง เทียง โยว ผู้จัดการทั่วไปประจ�ำภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แคสเปอร์สกี้ กล่าวว่า คอมพิวเตอร์ หรือแล็ปท็อปเป็นตัวขับเคลื่อนหลักในการท�ำงาน แต่อุปกรณ์พกพา อย่างสมาร์ทโฟนก็ยังใช้เพื่อเข้าถึงอีเมลส�ำนักงานและระบบที่เกี่ยวข้อง กับงานตั้งแต่ก่อนเกิดโรคระบาด การใช้อุปกรณ์การท�ำงานส�ำหรับ เรื่องส่วนตัวและเข้าถึงความบันเทิงที่อันตราย ถือเป็นวิธีปฏิบัติที่เสี่ยง ต่อภัยออนไลน์ ด้วยแนวโน้มทีเ่ พิม่ มากขึน้ ในสภาพแวดล้อมโฮมออฟฟิศ เสมือนจริงนี้ บริษัทต่างๆ ควรทบทวนนโยบาย สิทธิ์การเข้าถึง และ การตัง้ ค่าความปลอดภัยเพือ่ บล็อกอาชญากรไซเบอร์ไม่ให้เข้าสูเ่ น็ตเวิรก์ องค์กรผ่านอุปกรณ์ที่ติดมัลแวร์ มั ล แวร์ บ นมื อ ถื อ หรื อ โมบายมั ล แวร์ (Mobile Malware) หมายถึงซอฟต์แวร์ท่ีเป็นอันตรายซึ่งก�ำหนดเป้าหมายไปยังอุปกรณ์ พกพาโดยเฉพาะ รวมถึงโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต และสมาร์ทแกดเจ็ต อื่นๆ แม้ว่ามัลแวร์บนอุปกรณ์พกพาจะไม่เทียบเท่าคอมพิวเตอร์ในแง่ ของปริมาณหรือความซับซ้อน แต่ผู้เชี่ยวชาญก็พบมัลแวร์ที่ออกแบบ เพื่อใช้กับฟีเจอร์ของสมาร์ทโฟนหรือช่องโหว่ของแท็บเล็ตโดยเฉพาะ ในยุคของการท�ำงานจากระยะไกลอย่างต่อเนื่อง มัลแวร์บน อุปกรณ์พกพาสามารถขโมยข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้แต่ละคน และยังเป็น จุดเริม่ ส�ำหรับการโจมตีแบบก�ำหนดเป้าหมายต่อนายจ้างของผูใ้ ช้ได้อกี ด้วย ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 2020 แคสเปอร์สกีไ้ ด้เฝ้าติดตามและบล็อกการโจมตี ของมัลแวร์บนอุปกรณ์พกพามากกว่า 100,000 รายการในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่อหนึ่งไตรมาส โดยในไตรมาสแรกของปี ค.ศ. 2021 มีตัวเลขสูงสุด ตรวจพบเหตุการณ์การพยายามโจมตี 205,995 ครั้ง Engineering Today September • October 2021

39


ทั้งนี้ประเทศอินโดนีเซียมีสถิติการโจมตีผ่านมือถือสูงสุด ในภูมิภาคช่วงเดือนมกราคม 2020 ถึงมิถุนายน 2021 ตามมา ด้วยไทยและมาเลเซีย โดยอินโดนีเซียอยู่ในอันดับที่ 3 ของโลก ที่ตรวจพบมัลแวร์บนมือถือมากที่สุดในไตรมาสที่ 2 ของปีนี้ รัสเซียและยูเครนอยู่ในอันดับที่ 1 และ 2 ตามล�ำดับ อินเดีย อยู่ในอันดับที่ 4 และตุรกีอยู่ในอันดับที่ 5 ส�ำหรับตัวเลขเปอร์เซ็นต์ของผู้ใช้ที่ถูกโจมตีโดยมัลแวร์ มือถือ ผู้ใช้ 4.42% ในมาเลเซียตกเป็นเป้าหมายในช่วงครึ่งแรก ของปี ตามด้วยประเทศไทย 4.26% และอินโดนีเซีย 2.95% สิ ง คโปร์ มี ตั ว เลขที่ ใ กล้ เ คี ย งกั น โดยมี ผู ้ ใ ช้ มื อ ถื อ 2.83% ที่ เกือบติดเชื้อจากภัยคุกคามประเภทนี้ ฟิลิปปินส์ 2.27% และ เวียดนาม 1.13% ซึ่งมีตัวเลขต�่ำสุดในภูมิภาค

3

ภัยคุกคามทางมือถือที่พบบ่อย ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ภัยคุกคามทางมือถือที่พบบ่อยที่สุด 3 รายการในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีดังนี้ ๏ Trojan โทรจันคือโปรแกรมที่เป็นอันตรายซึ่งด�ำเนินการ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ใช้ โทรจันจะลบ บล็อก แก้ไข คัดลอกข้อมูล และขัดขวางประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์ หรือเน็ตเวิร์กคอมพิวเตอร์

๏ Trojan-Downloader ดาวน์โหลดและติดตั้งเวอร์ชันใหม่ ของโปรแกรมที่เป็นอันตราย รวมทั้งโทรจันและ AdWare บนคอมพิวเตอร์ของเหยือ่ เมือ่ ดาวน์โหลดจากอินเทอร์เน็ต แล้ว โปรแกรมจะเปิดท�ำงานหรือรวมอยูใ่ นรายการโปรแกรม ที่จะท�ำงานโดยอัตโนมัติเมื่อระบบปฏิบัติการเริ่มท�ำงาน ๏ Trojan-Dropper โปรแกรมที่ออกแบบมาเพื่อแอบติดตั้ง โปรแกรมทีเ่ ป็นอันตรายซึง่ สร้างไว้ในรหัสไปยังคอมพิวเตอร์ ของเหยื่อ โปรแกรมที่เป็นอันตรายประเภทนี้มักจะบันทึก ไฟล์ช่วงหนึ่งไปยังไดรฟ์ของเหยื่อ และเปิดใช้งานโดยไม่มี การแจ้ ง เตื อ นใดๆ (หรื อ การแจ้ ง เตื อ นปลอมเกี่ ยวกั บ ข้อผิดพลาดในการเก็บ เวอร์ชันระบบปฏิบัติการที่ล้าสมัย ฯลฯ) เซียง เทียง โยว กล่าวว่า ทั้งพนักงานและ CIO ในภูมิภาค นี้ต่างยอมรับประโยชน์จากการท�ำงานจากระยะไกลในปัจจุบัน และสภาพแวดล้อมแบบไฮบริดในอนาคต แต่บริษทั ควรพิจารณา ประเด็ น ช่ อ งโหว่ ด ้ า นความปลอดภั ย ทางไซเบอร์ ด ้ ว ยเช่ น กั น เทรนด์ BYOD นัน้ จะอยูก่ บั เราอีกนาน บริษทั ควรด�ำเนินการตาม ขั้นตอนเพื่อเพิ่มการป้องกัน สิ่งส�ำคัญคือต้องฝึกอบรมพนักงาน อย่างสม�ำ่ เสมอ แจ้งเรือ่ งภัยคุกคามทางออนไลน์ลา่ สุด และจัดหา เครื่องมือ เช่น อุปกรณ์ที่เข้ารหัส การป้องกันเครื่องเอ็นด์พอยต์ และ VPN สิ่งส�ำคัญที่สุดคือ สร้างวัฒนธรรมความไว้วางใจและ ความรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความปลอดภัยขององค์กร


เคล็ดลับปกป้องเน็ตเวิร์กและอุปกรณ์ จากอาชญากรไซเบอร์ส�ำหรับองค์กร อย่างไรก็ตาม ผูเ้ ชีย่ วชาญของแคสเปอร์สกีแ้ นะน�ำเคล็ดลับ ส�ำหรับองค์กรในการปกป้องเน็ตเวิร์กและอุปกรณ์จากอาชญากร ไซเบอร์ให้ดียิ่งขึ้น ดังนี้ ๏ ตรวจสอบว่าพนักงานมีทุกสิ่งที่จ�ำเป็นส�ำหรับการท�ำงาน จากที่บ้านอย่างปลอดภัย และให้ข้อมูลว่าต้องติดต่อใคร หากต้องเผชิญกับปัญหาด้านไอทีหรือความปลอดภัย ๏ จัดก�ำหนดการการฝึกอบรมความตระหนักรู้ด้านความ ปลอดภัยขัน้ พืน้ ฐานส�ำหรับพนักงาน ซึ่งสามารถท�ำได้ทาง ออนไลน์ให้ครอบคลุมแนวทางปฏิบัติที่จ�ำเป็น เช่น การ จั ด การบั ญ ชี อ อนไลน์ แ ละรหั ส ผ่ า น การรั ก ษาความ ปลอดภัยของอีเมล การรักษาความปลอดภัยปลายทาง และ การท่องเว็บ โดยแคสเปอร์สกี้ และ Area9 Lyceum ได้ เตรียมหลักสูตรฟรีเพื่อช่วยให้พนักงานท�ำงานจากที่บ้าน ได้อย่างปลอดภัย ๏ ใช้มาตรการป้องกันข้อมูลที่ส�ำคัญ รวมถึงการเปิดใช้การ ป้องกันด้วยรหัสผ่าน การเข้ารหัสอุปกรณ์ที่ท�ำงาน และ ตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้ส�ำรองข้อมูลไว้เรียบร้อย ๏ ตรวจสอบว่าอุปกรณ์ ซอฟต์แวร์ แอปพลิเคชัน และบริการ ต่างๆ ได้รับการอัปเดตด้วยแพตช์ล่าสุด ๏ ติดตั้งซอฟต์แวร์การป้องกันที่ได้รับการพิสูจน์แล้ว เช่น Kaspersky Endpoint Security Cloud บนเครื่ อ ง เอ็นด์พอยต์ปลายทางทั้งหมด รวมถึงอุปกรณ์พกพา และ เปิดไฟร์วอลล์ ๏ สิทธิ์เข้าถึงข้อมูลภัยคุกคามล่าสุด (Threat Intelligence) เพื่อสนับสนุนโซลูชันการป้องกันเพื่อความปลอดภัย ๏ ตรวจสอบการป้องกันบนอุปกรณ์มือถืออีกครั้ง ตัวอย่าง เช่ น ควรเปิ ด ใช้ ฟ ี เ จอร์ ก ารป้ อ งกั น การโจรกรรม เช่ น ต�ำแหน่งของอุปกรณ์ระยะไกล การล็อกและการล้างข้อมูล การล็อกหน้าจอ รหัสผ่าน และฟีเจอร์ด้านความปลอดภัย แบบไบโอเมตริก เช่น Face ID หรือ Touch ID ตลอดจน เปิดใช้การควบคุมแอปพลิเคชันเพื่อให้พนักงานใช้เฉพาะ แอปพลิเคชันที่ได้รับอนุมัติเท่านั้น

แนะพนักงานที่ Work From Home ดูแลอุปกรณ์-เน็ตเวิร์กขององค์กร ให้ปลอดภัย แม้ว่านายจ้างจะรับผิดชอบเรื่องดูแลอุปกรณ์และเน็ตเวิร์ก ขององค์ ก รให้ ป ลอดภั ย แต่ แ คสเปอร์ ส กี้ ข อแนะน� ำ ผู ้ ใ ช้ แ ละ พนักงานในช่วงเวลาที่อยู่บ้าน ดังนี้ ๏ ตรวจสอบว่าเราเตอร์รองรับและท�ำงานได้อย่างราบรื่น เมื่อส่ง Wi-Fi ไปยังอุปกรณ์หลายเครื่องพร้อมกัน แม้ว่า พนักงานหลายคนจะออนไลน์และมีทราฟฟิกหนาแน่น (เช่น กรณีเมื่อใช้การประชุมทางวิดีโอ) ๏ อัปเดตเราเตอร์เป็นประจ�ำเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาด้านความ ปลอดภัยที่อาจเกิดขึ้น ๏ ตั้งรหัสผ่านที่รัดกุมส�ำหรับเราเตอร์และเน็ตเวิร์ก Wi-Fi ๏ หากท�ำได้ ให้ท�ำงานบนอุปกรณ์ที่นายจ้างให้มาเท่านั้น การใส่ข้อมูลบริษัทลงในอุปกรณ์ส่วนตัวอาจน�ำไปสู่ปัญหา ด้านความปลอดภัยและการรักษาความลับที่อาจเกิดขึ้น ๏ อย่าเปิดเผยรายละเอียดบัญชีงานแก่ผู้อื่น ๏ พูดคุยกับทีม IT หรือทีม IT Security ของบริษัทหากมี ข้อกังวลหรือปัญหาใดๆ ขณะท�ำงานจากที่บ้าน ๏ ปฏิบตั ติ ามกฎของสุขอนามัยทางไซเบอร์ ได้แก่ ใช้รหัสผ่าน ที่รัดกุมส�ำหรับทุกบัญชี ห้ามเปิดลิงก์ที่น่าสงสัยจากอีเมล และข้อความ ห้ามติดตั้งซอฟต์แวร์จากตลาดเธิร์ดปาร์ตี้ ตื่นตัวต่อภัยคุกคาม และใช้โซลูชันความปลอดภัยที่เชื่อถือ ได้ เช่น Kaspersky Total Security

Engineering Today September • October 2021

41


พระพุทธธรรมค�ำสอน พุทธวิธีเพื่อการดูแลตนเอง ในสถานการณ์โควิด-19


Management Tools Today • ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล dr.pornchai.ong@gmail.com

เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ (New Management Tools)

พระพุทธธรรม ค�ำสอน :

พุทธวิธีเพื่อการดูแล ตนเองในสถานการณ์ โควิด-19

ผู้เขียนได้น�ำเสนอในบทที่แล้วถึงแนวทางเพื่อชีวิต และสังคมในช่วงวิกฤตโรคภัยโควิด-19 และได้น�ำความ ตามโอวาทเจ้ า พระคุ ณ สมเด็ จ พระอริ ย วงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ซึ่งได้ทรง ประทานพระคติธรรมความว่า “ไม่มีชีวิตใดประสบแต่ ความเกษมสุข ปราศจากทุกข์ภัยไปได้ตลอด” เมื่อบางสิ่ง เกิ ด ขึ้ น มาแล้ ว จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งขวนขวายสั่ ง สมความรู ้ สติ ปัญญา ส�ำหรับเป็นอุปกรณ์เครื่องมือบ�ำบัดความทุกข์ อยู ่ ทุ ก เมื่ อ เพื่ อ ให้ ส มกั บ ที่ เ ราด� ำ รงอั ต ภาพแห่ ง ความ เป็นมนุษย์ ผูม้ ศี กั ยภาพต่อการพัฒนา ท่ามกลางสถานการณ์ โรคระบาด ซึ่ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด ความหวาดหวั่ น ครั่ น คร้ า ม กันทั่วหน้า ทุกคนมีหน้าที่แสวงหาหนทาง เพิ่มพูนสติ และปัญญา พร้อมทัง้ แบ่งปันหยิบยืน่ ให้แก่เพือ่ นร่วมสังคม อย่าปล่อยให้ความกลัวและความหดหู่ท้อถอยมาบั่นทอน ความเข้มแข็งในใจ เรายังต้องอยู่ร่วมกันในบ้านเมืองเรา เราจะไม่ทิ้งกัน โดยผู้เขียนขออราธนาพระธรรมค�ำสอน ที่สามารถประยุกต์น�ำมาเพื่อใช้ประโยชน์และน�ำเสนอ บางส่วนที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ในช่ ว งการเกิ ด ภั ย พิ บั ติ เ ช่ น นี้ การพึ่ ง พาตนเอง การปฏิบัติตนเองนั้นส�ำคัญที่สุด “อัตตาหิ อัตโนนาโถ” ตนนั้นแลเป็นที่พึ่งแห่งตน แต่ความจริงพุทธภาษิตไม่ได้ มีเท่านี้ พระพุทธเจ้ายังตรัสต่อว่า “ผู้ที่ฝึกตนไว้ดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งอันหาได้ยาก” พุทธภาษิตกล่าวว่า “อโรคยา ปรมา ลาภา แปลว่า การไม่มีโรค เป็นลาภอันประเสริฐ” นั่นเป็นความจริงแท้ จงดูแลสุขภาพร่างกายและจิตใจ ของตนเองให้ดี หากดูแลดี ไม่มีโรคใดๆ มากระทบก็ถือว่า โชคดี ได้ลาภอันประเสริฐยิ่งกว่าลาภใดๆ ดังนั้น เราควร รักตัวเอง ดูแลตัวเองให้ดี อย่าคิดว่าแข็งแรง และต้องด�ำเนิน ชีวิตด้วยความไม่ประมาท ตนนั้นแลเป็นที่พึ่งแห่งตนนั้น ดีที่สุด และถ้ามีก�ำลังเหลือพอ การสละแรงกาย การสละ ก� ำ ลั ง ทรั พ ย์ เ พื่ อ การช่ ว ยเหลื อ ให้ ผู ้ อื่ น ที่ มี ค วามทุ ก ข์ ความล�ำบากนั้นเป็นมหากุศลยิ่ง สืบเนื่องในสมัยพุทธกาล องค์สมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจ้าได้แสดงธรรมในพระสูตร “คิลานสูตร” ว่าด้วย คนไข้และบุคคลผู้เปรียบด้วยคนไข้ กล่าวโดยย่อว่า คนไข้

Engineering Today September • October 2021

43


3 จ�ำพวกนี้ปรากฏอยู่ในโลก คนไข้ 3 จ�ำพวกไหนบ้าง จึงขอสรุปกล่าวโดยย่อว่า คนไข้ 3 จ�ำพวกนี้ปรากฏอยู่ ในโลกมี 3 ประเภทคือ 1 รักษาหรือไม่รักษาก็ตาย 2 รักษาหรือไม่รักษาก็หาย 3 รักษาก็หาย ไม่รักษาก็ตาย เป็นสัจจธรรมความจริงของโลกนีท้ ตี่ อ้ งยอมรับ และ แสดงให้เห็นเป็นประจักษ์ในยุควิกฤตการณ์โรคโควิด-19 ที่ก�ำลังระบาดอยู่ในปัจจุบัน ในบทนี้ผู้เขียนได้มีโอกาสอ่านบทความในวารสาร บัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563 หั ว ข้ อ “พุ ท ธวิ ธี เ พื่ อ การดู แ ลตนเองในสถานการณ์ โควิ ด -19” The Buddhist Method for Self-Care during COVID-19 Situation เขียนโดยคุณนภาพัทธ์ งามบุษบงโสภิน และคุณมนตรี สิระโรจนานันท์ ซึ่งมี ประโยชน์เป็นอย่างมากในการต้องใส่ใจดูแลตนองในช่วง วิ ก ฤตจากสถานการณ์ ก ารระบาดของโรคโควิ ด -19 ที่มียอดผู้ติดเชื้อและเสียชีวิตสูง จึงขอน�ำเสนอบทสรุป โดยย่อตามหัวข้อดังนี้

พุทธศาสนากับสังคมไทย พระพุทธศาสนาที่อยู่คู่กับคนไทยมานาน จะเห็นได้ จากวิถีการใช้ชีวิตของชาวไทย ที่มีการใส่บาตรพระสงฆ์ ทุ ก เช้ า คนนิ ย มไปวั ด ท� ำ บุ ญ หรื อ มี ก ารเวี ย นเที ย นใน วันส�ำคัญต่างๆ ทางพระพุทธศาสนา มีการฟังธรรม มีการ ปฏิบัติธรรม ซึ่งกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้มีอยู่ทั่วประเทศไทย การที่เราไหว้พระและท�ำกิจกรรมทางศาสนาต่างๆ เป็น ธรรมข้อหนึ่งในพระพุทธศาสนา คือ ความเคารพ 6 คือ ความเคารพในพระพุทธเจ้า ในพระธรรม ในพระสงฆ์ ในสิกขา ในอัปปมาทธรรม ในปฏิสันถาร พระพุทธศาสนา จึงมีบทบาทและมีความกลมกลืนในการด�ำเนินชีวิตของ คนไทย ที่ถูกปลูกฝังทีละน้อยมาตั้งแต่เด็กจากการด�ำเนิน ชีวิตประจ�ำวัน พระธรรมค�ำสอนได้ซึมซับเข้าไปในวิถีชีวิต ของชาวไทย และมีการน�ำมาใช้จนเป็นเรื่องปกติธรรมดา ของทุกคน กลายเป็นวัฒนธรรมที่อ่อนน้อมและงดงามของ คนไทย ซึง่ ได้แสดงออกให้เห็นเป็นประจักษ์ในความร่วมมือ และการเสียสละในทุกระดับ ด้วยความมีเมตตาและมีกรุณา ในการช่วยเหลือกันของสังคมไทย

44

Engineering Today September • October 2021

หลักค�ำสอนในพระพุทธศาสนาที่เป็นส่วนหนึ่งของ ทุกคนในสังคมไทย จะเป็นเรือ่ งของการรักษาศีล ในอังคุตตร นิกาย ได้แสดงสิกขาบท 5 ประการ ไว้ว่า ศีล 5 คือ เป็นผู้เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ จากการลักทรัพย์ จากการ ประพฤติผดิ ในกาม จากการพูดเท็จ จากการเสพของมึนเมา คือสุราเมรัยอันเป็นเหตุแห่งความประมาท ซึง่ จะเห็นว่าการ แพร่กระจายเชื้อโควิด-19 นั้นส่วนใหญ่เกิดจากการมั่วสุม ในกามและสุ ร า แล้ ว แพร่ ก ระจายเข้ า สู ่ ค รอบครั ว เป็ น ส่วนใหญ่ในช่วงทีผ่ า่ นมา ทางการจึงต้องหามาตรการในการ จ� ำ กั ด การเกิ ด เหตุ ดั ง กล่ า วโดยการปิ ด สถานเริ ง รมย์ สถานบันเทิง สถานชุมชนอันเป็นต้นเหตุส�ำคัญในการ แพร่กระจายของเชือ้ โรค เพือ่ เป็นการระงับการแพร่กระจาย จากบุคคลสู่ครอบครัว สู่ชุมชนและสังคม พระพุทธศาสนากับสังคมไทย ท�ำให้เราสามารถ พบเจอคนดี ค นใจบุ ญ ในช่ ว งสถานการณ์ ที่ เ ลวร้ า ยได้ จากผลกระทบที่เกิดจากสถานการณ์โรคโควิด-19 ท�ำให้มี คนตกงานมากขึ้ น ความเป็ น อยู ่ ใ นการด� ำ เนิ น ชี วิ ต มีความล�ำบากมากขึ้น แต่ในขณะเดียวกันจากเหตุการณ์นี้ ก็มีหน่วยงานและผู้ใจบุญจ�ำนวนมากที่ได้มีการบริจาคเงิน และสิ่งของต่างๆ รวมทั้งอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ใช้ใน การรักษาดูแลผู้ป่วยและผู้ที่ติดเชื้อให้กับทางโรงพยาบาล ต่างๆ เกิดอาสาสมัครจ�ำนวนมากในการเข้าช่วยในกิจกรรม ทางการรักษา การน�ำส่งผู้ป่วย การเข้าช่วยเหลือผู้ป่วย การตั้ ง ตู ้ ป ั น สุ ข ความมี น�้ ำ ใจของผู ้ ใ จบุ ญ ทั้ ง หลายใน การบริจาค ได้ มี ก ารจั ด ระบบการดู แ ลผู ้ ป ่ ว ยเสมื อ นอยู ่ โรงพยาบาล ตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุ ข คือ การกักตัวในชุมชน (Community Isolation) โดยใช้ วั ด เป็ น สถานที่ ส� ำ หรั บ กั ก ตั ว ซึ่ ง มี ช ่ อ งทางการสื่ อ สาร ผ่านทาง Telemedicine และติดตามอาการอย่างใกล้ชิด โดยที ม แพทย์ พยาบาล เพื่ อ ป้ อ งกั น การติ ด เชื้ อ และ สร้างความมัน่ ใจให้กบั ประชาชนรวมถึงคนในชุมชนโดยรอบ การช่วยเหลือต่างๆ ตรงกับค�ำสอนในพระพุทธศาสนา ในธรรมทีเ่ ป็นทีต่ งั้ แห่งการสงเคราะห์กนั จัดอยูใ่ นหมวดของ สังคหวัตถุ 4 (ธรรมเครื่องยึดเหนี่ยว) คือ 1 ทาน (การให้) 2 เปยยวัชชะ (วาจาเป็นที่รัก) 3 อัตถจริยา (การประพฤติประโยชน์) 4 สมานัตตตา (การวางตนสม�่ำเสมอ)


มีการแสดงความมีนำ�้ ใจในการช่วยเหลือคนทีล่ ำ� บาก จากเหตุ ก ารณ์ ที่ ทุ ก คนไม่ ค าดคิ ด และไม่ ทั น ตั้ ง ตั ว นี้ เป็ น การกระท� ำ ที่ น ่ า ชมเชยน่ า ยกย่ อ ง เพราะเป็ น การ ช่วยเหลือสังคมให้กับผู้ที่ก�ำลังเดือดร้อน

พุทธวิธเี พือ่ การดูแลตนเองในสถานการณ์ โควิด-19 พุทธวิธีเพื่อการดูแลตนเองในสถานการณ์โควิด-19 เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยเยียวยาทางด้านจิตใจได้ เมื่อ ดูแลจิตใจได้ดีก็จะสามารถดูแลกายได้ดีตามมาด้วย และ ถ้าเราดูแลตนเองได้ดี ก็จะท�ำให้สามารถปรับตัวอยู่กับ สถานการณ์ย�่ำแย่ที่เกิดขึ้นได้ สถานการณ์โควิด-19 ที่เกิดขึ้นในครั้งนี้ ท�ำให้ทุกคน เห็นถึงความไม่เที่ยงของทุกอย่าง งานในหลายอาชีพที่เคย คิดว่าเป็นงานมั่นคง ก็กลายเป็นตกงานอย่างที่ไม่เคย คาดคิดมาก่อน การเงินที่คิดว่ามั่นคง ก็เกิดความผันผวน ไม่แน่นอน เศรษฐกิจทั้งในประเทศและทั่วโลกได้ตกลง พร้อมกันอย่างรวดเร็ว และการเสพข่าวสารจากสื่อต่างๆ ที่มากเกินไป จากสถิติผู้ติดเชื้อนับหมื่นรายและเสียชีวิต เป็น 100 รายในแต่ละวันตลอดเดือนกันยายน 2564 และที่ส�ำคัญคือมีผู้เสียชีวิตบางท่านเป็น ผู้ที่รู้จักกันหรือ เป็นญาติมิตร จนท�ำให้เกิดการวิตกกังวลเกินกว่าเหตุด้วย กลัวว่าจะติดโรคโควิด-19 จากสถานการณ์ทเี่ กิดขึน้ นีท้ ำ� ให้ คนจ�ำนวนมากเกิดความเครียด ความวิตกกังวล ท�ำให้เกิด มีปัญหาด้านสุขภาพจิต ท�ำให้เกิดทุกข์ “ทุกข์หมายถึง สภาพทีท่ นอยูไ่ ด้ยาก สภาพทีค่ งอยูไ่ ม่ได้ เพราะถูกบีบคัน้ ด้วยความเกิดขึ้นและดับสลาย เนื่องจากต้องเป็นไป ตามเหตุปจั จัยทีไ่ ม่ขนึ้ ต่อตัวมันเอง” พระพุทธศาสนาสอน ให้เข้าใจเรื่องทุกข์ ว่าเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้กับทุกคน ไม่ได้ เฉพาะบุคคลใดบุคคลหนึ่ง คนที่รู้สึกเป็นทุกข์นั้น มาจาก การยึดถือสิ่งที่เคยมีเคยเป็นและท�ำใจยอมรับกับความจริง ของการเปลีย่ นแปลงกับสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ไม่ได้ ความไม่เหมือนเดิม ท�ำให้จิตใจเกิดการดิ้นรนต่อการเปลี่ยนแปลงนั้น ท�ำให้ เกิดการไม่สบายกายไม่สบายใจ ค� ำ สอนในพระพุ ท ธศาสนา ได้ ส อนให้ รู ้ จั ก ทุ ก ข์ เรียนรู้ทุกข์ เข้าใจในทุกข์ และให้กลับไปแก้เหตุที่ท�ำให้ เกิดทุกข์ ด้วยการยอมรับกับสิ่งเปลี่ยนแปลงนั้นๆ ซึ่ง ตรงกับหลักธรรมในข้อสมุทัย เหตุแห่งการเกิดทุกข์ของ อริยสัจ 4 ในการที่จะเรียนรู้ทุกข์และการแก้เหตุท่ีท�ำให้

เกิด ทุกข์ จากจิต ใจที่ดิ้นรนไม่ยอมรับ ความจริงในการ เปลีย่ นแปลง ควรเริม่ จากการกลับมาตัง้ สติให้ระลึกรูอ้ ยูก่ บั ปัจจุบัน “สติ คือ ความระลึกได้ นึกได้ ความไม่เผลอ การกุ ม ใจไว้ กั บ กิ จ หรื อ กุ ม จิ ต ไว้ กั บ สิ่ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง” การมี ส ติ อ ยู ่ เ สมอก็ เ พื่ อ การปรั บ ตั ว อยู ่ กั บ เหตุ ก ารณ์ ความจริงที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน การประพฤติโดยมีสติก�ำกับ อยู่เสมอนั้น มีชื่อเรียกโดยเฉพาะว่า “อัปปมาท คือ ความ ไม่ประมาท หมายความว่า การเป็นอยู่โดยไม่ขาดสติ การระมัดระวังอยู่เสมอ ไม่ยอมถล�ำลงไปในทางเสื่อม และไม่ ย อมพลาดโอกาสส� ำ หรั บ ความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ตระหนักดีถึงสิ่งที่จะต้องท�ำและต้องไม่ท�ำ” เมื่อเรามีสติ ในการด�ำเนินชีวิตจะท�ำให้เราทราบว่าปัจจุบันเราควรต้อง มีการปรับตัวอย่างไรให้เข้ากับสถานการณ์ปัจจุบัน อะไร ที่ เ ราควรท� ำ และอะไรที่ เ ราไม่ ค วรท� ำ ด้ ว ยการเปลี่ ย น มุมมองใหม่ว่าสถานการณ์นี้สอนอะไรเรา เราควรปรับตัว และวางแผนในการด�ำเนินชีวิตอย่างไรคือเป็นการใช้ชีวิต โดยไม่ประมาทในการดูแลตนเองทัง้ ร่างกายและจิตใจให้รบั กับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้ พุทธวิธีในการดูแลจิตเป็นเครื่องมือในการรู้ทันจิต รู้ทันอารมณ์ของตนเอง ด้วยหลักธรรมการตั้ง “สติ” ด้วย วิธกี ารปฏิบตั ใิ ห้มสี ติอยูก่ บั ปัจจุบนั ท�ำให้ใช้ชวี ติ ไม่ประมาท มีความระมัดระวังอยู่เสมอ ซึ่งวิธีการดับทุกข์ที่เกิดขึ้น ในกายในใจ วิธีในการฝึกสติให้กายกับใจอยู่ด้วยกัน เป็น วิธีการในการฝึกปฏิบัติกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 “สติปัฏฐาน คือธรรมเป็นที่ตั้งแห่งสติ การตั้งสติก�ำหนด พิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นเท่าทันตามความเป็นจริง โดยรู้เท่าทันตามสภาวะของสิ่งที่เกิดขึ้น ไม่ถูกครอบง�ำ ด้วยความยินดีหรือยินร้าย” ในการฝึกให้กายกับใจอยู่ด้วยกัน เป็นการฝึกให้ อยู่กับความจริงในปัจจุบัน เป็นการช่วยลดความคิดมาก ความฟุ้งซ่านกับเรื่องราวในอดีตที่ผ่านมาหรือเรื่องอนาคต ที่ยังมาไม่ถึง เป็นการฝึกการยอมรับความจริงที่เกิดขึ้น ในปัจจุบัน ตรงกับหลักธรรมใน ภัทเทกรัตตสูตร วิธีการ ในการฝึกสติ ตามแนวของสติปัฏฐาน 4 พระพุทธองค์ ตรัสในมหาสติปัฏฐานสูตร พอสรุปแนวทางการฝึกสติ ได้ว่า เป็นวิธีที่ฝึกให้สติระลึกรู้ 1. กาย 2. เวทนา 3. จิต และ 4. ธรรม เป็นการให้จิตระลึกรู้อยู่ในธรรมทั้ง 4 หมวด หมวดกาย ให้ระลึกรู้อยู่กับอิริยาบถต่างๆ ของ ร่ า งกายในทุ ก ๆ อิ ริ ย าบถ ว่ า ขณะนี้ ก� ำ ลั ง ท� ำ อะไรอยู ่

Engineering Today September • October 2021

45


โดยแบ่งอิรยิ าบถออกเป็น 4 อิรยิ าบถ คือ ยืน เดิน นัง่ นอน โดยวิธกี ารทีใ่ ช้ฝกึ สติในการก�ำหนดรูอ้ าการของกายและใจ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน เป็นการระวังป้องกันโรคภัยจากการ ติดเชื้อโควิด-19 ในทุกอิริยาบถ การฝึกสติให้ระลึกรู้กาย เป็นวิธีการฝึกเบื้องต้นของการฝึกกรรมฐาน เพราะอาการ ของร่างกายเป็นสิ่งที่สังเกตระลึกรู้ได้ง่าย เมื่อระลึกรู้กาย แล้ว รู้ป้องกันกายให้ห่างไกลต่อการติดเชื้อ หมวดเวทนา ฝึกให้สติระลึกรูเ้ วทนาความรูส้ กึ ต่างๆ ที่เกิดขึ้น ว่าตัวเรามีความรู้สึกอย่างไรบ้าง เช่น รู้สึกเป็นสุข หรือรู้สึกเป็นทุกข์ เมื่อรู้ความรู้สึกแล้ว ก็ฝึกระลึกรู้จิตใจ ของตนเอง โดยการใช้สติระลึกรู้ลงไปใน จิตว่า “ขณะนี้จิต มีความหดหู่ ความฟุ้งซ่าน ความท้อแท้ ความร�ำคาญใจ หรือไม่” เมื่อเราฝึกระลึกรู้กาย ระลึกรู้เวทนาความรู้สึก หมวดจิต ให้ระลึกรู้จิตใจ เราก็ต้องมาฝึกสติในการ พิจารณาดูความเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นว่า ทุ ก อย่ า งไม่ เ ที่ ย ง มี ก ารเปลี่ ย นแปลงได้ ต ลอดเวลา เหตุการณ์ในครั้งนี้ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เป็ น ความไม่ เ ที่ ย งแท้ แ น่ น อน เรื่ อ งนี้ ต รงกั บ ค� ำ สอน ในพระพุ ท ธศาสนาที่ เ ราเคยได้ ยิ น กั น อยู ่ บ ่ อ ยๆ ว่ า “อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา” ที่มีหลักการว่า ทุกสิ่งทุกอย่าง เป็นธรรมชาติที่อยู่ภายใต้กฎไตรลักษณ์ ที่เราไม่สามารถ บังคับได้ อันได้แก่ “อนิจจตาคือความไม่เที่ยง ทุกขตา คือความเป็นทุกข์ อนัตตาคือความไม่มีตัวตน” หมวดธรรม เมื่อฝึกในธรรมทั้ง 4 คือ กาย เวทนา จิต และธรรม จนครบแล้ว ท�ำให้เวลามีสิ่งใดมากระทบ ไม่ว่าจะเกิดขึ้นทางกาย ทางความรู้สึก ทางใจ หรือในการ เปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้น สติก็จะระลึกรู้ได้ทัน ไม่ไป หลงยินดีหรือยินร้าย “ธรรมที่มักปรากฏคู่กับสติ คือ สัมปชัญญะ ซึง่ ก็คอื ตัวปัญญา การฝึกสตินจี้ งึ เป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการพั ฒ นาปั ญ ญา” การพั ฒ นาปั ญ ญา จากการฝึกสติในพระพุทธศาสนา ตามแนวการปฏิบัติ สติปัฏฐาน 4 เป็นปัญญาที่ท�ำให้รู้เห็นตามความเป็นจริง ผลจากการปฏิ บั ติ ต ามหลั ก สติ ป ั ฏ ฐาน 4 ในแง่ ของปัญญา คือ ไม่ถูกเคลือบหรือหันเหไปด้วยความรู้สึก ความเอนเอียง และอคติต่างๆ ท�ำให้รู้เห็นตามที่มันเป็น คือตามความเป็นจริง จิตจะปราศจากอาการกระวนกระวาย ต่างๆ เป็นภาวะจิตที่เรียกว่าพ้นทุกข์ มีความโปร่งเบา ผ่อนคลาย สงบ ผ่องใส เป็นตัวของตัวเอง ดังนั้น การฝึก

46

Engineering Today September • October 2021

สติท�ำให้จิตเกิดความพ้นทุกข์ได้ ด้วยการยอมรับและ รู ้ จั ก วางเฉยได้ สติ จึ ง เป็ น พุ ท ธวิ ธี ใ นการดู แ ลจิ ต ใจได้ เป็นอย่างดี เปรียบเสมือนการบ�ำบัดจิตใจของคนเราไม่ให้ หลงยึ ด ติ ด ในสิ่ ง ต่ า งๆ ท� ำ ให้ รู ้ ทั น อารมณ์ ข องตนเอง และรั ก ษาสภาพจิ ต ใจของตนเองไม่ ใ ห้ ทุ ก ข์ จ นเกิ น ไป ให้ ส ามารถปรั บ ตั ว ให้ อ ยู ่ ไ ด้ กั บ สถานการณ์ ต ามความ เป็นจริงในปัจจุบันได้ พุทธวิธีในการดูแลจิตเป็นเครื่องมือในการรู้ทันจิต รู้ทันอารมณ์ของตนเอง จึงเป็นวิธีการดับทุกข์ที่เกิดขึ้น ในกายในใจ ด้วยการมีสติที่รู้เท่าทันในธรรมทั้ง 4 เริ่ม จากรูเ้ ท่าทันการเคลือ่ นไหวของร่างกาย รูเ้ ท่าทันความรูส้ กึ เช่น รู้สึกมีความสุข รู้สึกมีความทุกข์ รู้เท่าทันความคิด เช่ น โกรธ เกลี ย ด ดี ใ จ เสี ย ใจ และรู ้ เ ท่ า ทั น ความ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น การฝึกจิตให้มีสติอยู่กับปัจจุบัน เป็นการฝึกคลายความยึดถือ ฝึกให้ใช้ชีวิตโดยไม่ประมาท การอยู่โดยไม่ขาดสติ ท�ำให้เกิดการระมัดระวังอยู่เสมอ ไม่หลงคิดไปในอดีตและกังวลไปกับอนาคต มีความเข้าใจ ถึงสิ่งที่จะต้องท�ำและต้องไม่ท�ำ ได้ฝึกให้มองเห็นและ ยอมรับความจริงที่เกิดขึ้นว่ามีการเปลี่ยนแปลงทุกขณะ ให้เข้าใจว่าเมื่อความสุขอยู่กับเราไม่นาน ความทุกข์ก็ อยู่กับเราไม่นานเช่นกัน ทุกสิ่งไม่เที่ยง ไม่มีอะไรแน่นอน ในเหตุการณ์วิกฤตต่างๆ ที่เกิดขึ้น พระธรรมค�ำสอนจึง เปรียบเหมือนธรรมโอสถทีช่ ว่ ยเยียวยาจิตใจให้คนได้คลาย ทุกข์ และมีสติได้ปรับตัวยอมรับกับความจริงที่เกิดขึ้นได้ พุทธวิธีในการดูแลกายและจิต จึงเป็นทางเลือก เพื่อปฏิบัติกายให้ระวังกายมิให้สัมผัสกับเชื้อโควิด-19 ทัง้ ทางตรงและทางอ้อมในทุกขณะจิต การป้องกันตนเอง ด้วยการเข้ารับการฉีดวัคซีนป้องกัน การรับประทาน อาหารหลักทีม่ ปี ระโยชน์และอาหารเสริมภูมคิ มุ้ กันตนเอง และการฝึ ก ให้ ยึ ด มั่ น ทางด้ า นจิ ต ใจในการปฏิ บั ติ ใ ห้ รอดพ้นจากทุกข์ ด้วยการฝึกจิต “เมื่อจิตตกให้ยกจิต เมื่อจิตฟุ้งควรข่มจิต” การตั้งสติและสมาธิ โรคภัยและ มรณภัยจากสถานการณ์โควิด-19 นั้นสามารถป้องกัน ตนเองในเบื้องตนได้ “อัตตาหิ อัตโนนาโถ” การมีสติ คือ สัมปชัญญะด้วยตนนัน้ แลเป็นทีพ่ งึ่ แห่งตนเป็นหลักส�ำคัญ ในแนวทางปฏิ บั ติ เ พื่ อ การรอดพ้ น จากสถานการณ์ โรคระบาดในครั้งนี้


ใบสมัครสมาชิก 2021

ที่อยูในการรับวารสาร / สิ่งพิมพ : ................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... เบอรโทรศัพทที่ทำงาน : ......................................................... มือถือ : ........................................................... E-mail.................................................................................. ID Line : .........................................................

สมาชิกใหม

ตออายุสมาชิก

สมาชิกใหม

ตออายุสมาชิก

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

1 ป 6 ฉบับ 450 2 ป 12 ฉบับ 900

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

1 ป 6 ฉบับ 450 2 ป 12 ฉบับ 900

ใบเสร็จรับเงินออกในนาม บุคคล บริษัท/องคกร ที่อยูในการออกใบเสร็จ ............................................... ................................................................................. ................................................................................. หมายเหตุ : กรุณาสงสำเนาการชำระเงิน (Pay-in Slip) มาใหบริษัทฯ ตามที่อยูที่แนบไวดานลาง

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำกัด

.................................................................................

TECHNOLOGY MEDIA CO., LTD.

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท 0-2354-5333, 0-2644-4555 Ext. 231 โทรสาร 0-2644-6649 ID Line : membertechno E-mail : member.technologymedia.co.th@gmail.com / marketing_mag@technologymedia.co.th


INDEXSeptember ADVERTISING • October 2021 Engineering Today • Vol.5 No.185 September - October 2021 บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ต�ำแหน่งหน้า

Website/E-mail

SAMWHA (THAILAND) CO., LTD.

0-3855-9002

0-3855-9003

8

VEGA INSTRUMENTS CO., LTD.

0-2700-9240

0-2700-9241

ปกหน้า

กุลธรอินเตอร์เนชั่นแนล บจก.

0-2282-5775-8

0-2281-0009

9

คณิต เอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2642-9209-11

0-2246-3214

5, 19

www.kanitengineering.com

เบย์ คอร์ปอเรชั่น บจก.

0-2926-0111

0-2926-0123-4

2

www.bay-corporation.com

ปตท. น�้ำมันและการค้าปลีก บมจ.

092-252-7666

-

6

www.pttlubricants.pttor.com

โปรแมช (ประเทศไทย) บจก.

081-592-4456

-

3

www.promach.co.th

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727

0-2476-1711

7

www.virtus.co.th welcome@virtus.co.th

เอส เอ วี เมคคานิคคอลเซอร์วิส แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.

0-27028801, 0-2702-0581-8

0-2395-1002

4

savthai@yahoo.com sav-545@hotmail.com

แปซิฟิค เทคโนโลยี ดิสตริบิวชั่น บจก.

0-2362-6188-9

0-2368-6190

9

www.ptdthai.com

www.samwha.com www.vega.com www.kulthorn.com

Construction Thailand • Vol.1 No.5 September - October 2021 บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ต�ำแหน่งหน้า

-

-

2

www.cotto.com

อิตัลไทย อินดัสเทรียล บจก.

0-2050-0555

-

3

www.italthaiindustrial.com

อินเทค 2000 บจก.

0-2440-1853

0-2440-1900

4

www.flowmeterthailand.com

โปรแจคแพลนนิ่ง เซอร์วิส บจก.

0-2718-2785

-

5

เอสซีจี เซรามิคส์ บมจ.

48

Engineering Today September • October 2021

Website/E-mail

-







EDITORTALK Construction Thailand

กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-2644-4555, 0-2354-5333 ต่อ 214, 231, 219, 230, และ 313 โทรสาร : 0-2644-6649 Website : www.technologymedia.co.th E-mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ E-mail : editor@engineeringtoday.net ฝ่ายโฆษณา E-mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝ่ายบัญชีและธุรการ E-mail : account@technologymedia.co.th

ในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมา ประเทศไทยได้เปลี่ยนจากสังคมชนบท ที่มีอัตราการพัฒนาความเป็นเมือง ต�่ำกว่า 30% เพิ่มขึ้นเป็นมากกว่า 50% อย่างเช่นทุกวันนี้ ซึ่งเป็นช่วงที่ประชากรของกรุงเทพมหานครเพิ่มขึ้น เป็น 2 เท่า จนกลายเป็นมหานคร (Greater Bangkok) ที่เต็มไปด้วยผู้คนมากกว่า 10.5 ล้านคน ในยุคดิจิทัลนี้ ได้สร้างปัจจัยบวกต่อการพัฒนากรุงเทพมหานคร ได้แก่ เทคโนโลยีที่ก�ำลังเฟื่องฟู ระบบพลังงานที่เปลี่ยนไปสู่ พลังงานหมุนเวียน และการขนส่งทีเ่ ริม่ ใช้พลังงานไฟฟ้ามากขึน้ รวมถึงสือ่ สังคมออนไลน์ ก�ำลังขยายขอบเขตใหม่ ของการเชื่อมต่อทางสังคม ซึ่งล้วนเปลี่ยนแปลงและการขยายเมืองไปในทางที่ดีขึ้น อย่างไรก็ตาม การพัฒนาสู่ความเป็นเมืองที่ขาดการวางแผนอย่างรอบคอบและการแพร่ระบาดของ เชือ้ ไวรัส COVID-19 สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเมืองทีเ่ ปราะบางและส่งผลกระทบต่อประชาชน วิกฤตนีเ้ กิดขึน้ พร้อมกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งเป็นประเด็นที่สร้าง ความกังวลต่อความเป็นเมืองอย่าง Greater Bangkok FutureTales Lab by MQDC จึงได้ศึกษา Greater Bangkok พร้อมเผย 7 เมกะเทรนด์ที่จะฉายภาพ อนาคต Greater Bangkok ในปี ค.ศ. 2050 ซึง่ ประกอบด้วย 1. ความเป็นอยูท่ ดี่ สี ำ� หรับทุกคน (Wellbeing for all) 2. ประเทศชาญฉลาด (Wise Nation 3. การครอบง�ำด้วยข้อมูล (Data Dominance) 4. ความโปร่งใสใน ทุกแพลตฟอร์ม (Platform Transparency) 5. จากขยะสูอ่ าชีพ (Waste to jobs) 6. วันหยุดเพือ่ สุขภาพ (Health Holidays) และ 7. ความกลมกลืนของชุมชนเมือง (Village Harmony) ขณะที่ McKinsey and Co เชื่อมั่นว่าการพัฒนาเมืองอัจฉริยะสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตได้ โดยประมาณการแอปพลิเคชันที่น�ำมาใช้พัฒนาเมืองอัจฉริยะในอาเซียนว่า สามารถลดการแพร่มลพิษได้ 260-270 กิโลตัน หลีกเลี่ยงการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรได้ 5,000 คน สร้างงานใหม่ 1.2-1.5 ล้านต�ำแหน่ง และประหยัดค่าครองชีพได้ 9-16 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ผู้ที่สนใจสามารถอ่านรายละเอียดได้ในนิตยสาร Construction Thailand ฉบับนี้ เรื่อง “FutureTales Lab เผย 7 เมกะเทรนด์ฉายภาพอนาคต Greater Bangkok ในปี 2050” ส�ำหรับนิตยสาร Construction Thailand ฉบับนี้เดินทางมาถึงฉบับที่ 5 แล้ว นอกจากจะน�ำเสนอ 7 เมกะเทรนด์ฉายภาพอนาคต Greater Bangkok ในปี 2050 เป็นเรื่องเด่นแล้ว ยังมีเรื่องอื่นๆ ที่น่าสนใจ เช่นเคย อาทิ “RISC by MQDC จับมือกลุ่ม EEC พัฒนาห้องฉุกเฉินความดันลบ 100% Fresh Air ช่ ว ย รพ.กลางฝ่ า วิ ก ฤต COVID-19 เป็ น แห่ ง แรก”, “โอเชี่ ย น พรอพเพอร์ ตี้ ’ ชี้ เ ทรนด์ ฮ อลิ เ ดย์ โ ฮม รับ New Normal หนุนอสังหาฯ เมืองพัทยาโตส่งท้ายปี ’64”, “The future of cleaner and more durable building materials”, “ใส่ใจทุกรายละเอียด เพื่อให้บ้านสวยเนี้ยบ ไร้ที่ติ” ท้ายนี้ ขอเชิญทุกท่านเข้าไปอัปเดตข่าวสารด้านอุตสาหกรรมก่อสร้างได้ทเี่ ว็บไซต์ www.construction thailand.net และ Facebook : Construction Thailand ชอบใจช่วยกดไลค์ กดแชร์ด้วยนะครับ

คณะที่ปรึกษา • ศ.อรุณ ชัยเสรี • ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร์ • ดร.ประสงค์ ธาราไชย • ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย • รศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย • รศ. ดร.ต่อตระกูล ยมนาค • รศ. ดร.การุญ จันทรางศุ • รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์ • ศ. ดร.สมศักดิ์ ไชยะภินันท์ • ดร.ทศพร ศรีเอี่ยม • ผไท ผดุงถิ่น

บรรณาธิการอ�ำนวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ บรรณาธิการ สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย์ เรืองติก พิสูจน์อักษร อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรม ชุติภา จริตพันธ์ ฝ่ายโฆษณา พรเพ็ชร โตกทองค�ำ, มนัส ไชยเพส, กัลยา ทรัพย์ภิรมย์, ศิรภิ รณ์ กลิน่ ขจร, กษิรา เหมบัณฑิตย์, วีรวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายผลิต ชุติมณฑ์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก กรรณิการ์ ศรีวรรณ์ โรงพิมพ์ ส เอเซียเพรส (1989) แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Facebook : Construction Thailand

เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

www.constructionthailand.net


Vol.1 No.5 September - October 2021

CONTENTS

8

Cover Story

Advertorial

Construction Thailand

8

FutureTales Lab เผย 7 เมกะเทรนด์ ฉายภาพอนาคต Greater Bangkok ในปี 2050 • กองบรรณาธิการ

The future of cleaner and more durable building materials • Anke Lee

Report

RISC by MQDC จับมือกลุ่ม EEC พัฒนาห้องฉุกเฉิน ความดันลบ 100% Fresh Air ช่วย รพ.กลาง ฝ่าวิกฤต COVID-19 เป็นแห่งแรก

11

บทความ

Tips

ใส่ใจทุกรายละเอียด เพื่อให้บ้านสวยเนี้ยบ ไร้ที่ติ

• ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ์

13

• SCG D’COR Trim

‘โอเชี่ยน พรอพเพอร์ตี้’ ชี้เทรนด์ฮอลิเดย์โฮม รับ New Normal หนุนอสังหาฯ เมืองพัทยาโตส่งท้ายปี ’64 • กองบรรณาธิการ

20

นวนิยายไทย “บทความแห่งความเงียบ”

• กองบรรณาธิการ

Property

18

16 11

16 13


Cover Story • กองบรรณาธิการ

Future

Tales Lab เผย 7 เมกะเทรนด์ ฉายภาพอนาคต Greater Bangkok ในปี 2050 ศูนย์วจิ ยั อนาคตศึกษา ฟิวเจอร์ เทลส์ แล็บ ร่วมมือกับศูนย์วิจัย Arup Foresight and Innovation ประเทศ ออสเตรเลีย ท�ำการศึกษาแนวโน้ม เมกะเทรนด์ (Mega Trends) ในอีก 30 ปีข้างหน้า หรือปี 2050 ที่เป็น ตัวก�ำหนดอนาคตของความเป็นเมือง ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และเมืองใกล้เคียง หรือเรียกว่า Greater Bangkok ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ทางด้าน ทิศตะวันออกไป 150 กิโลเมตร เพื่อ ส�ำรวจปัจจัยขับเคลือ่ นการเปลีย่ นแปลง และวิสัยทัศน์อันหลากหลายที่จะเป็น แนวทางเปลี่ ย นแปลงให้ Greater Bangkok พั ฒนาเศรษฐกิ จ สั ง คม และสิ่งแวดล้อม ไปสู่เมืองที่มีน่าอยู่ ยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดร.การดี เลี ย วไพโรจน์ ผู ้ อ� ำ นวยการบริ ห าร ฟิ ว เจอร์ เ ทลส์ แล็ บ บริ ษั ท แมกโนเลี ย ควอลิ ตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (FutureTales Lab by MQDC) กล่าวว่า ในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมา ประเทศไทยได้เปลีย่ นจากสังคมชนบท ที่ มี อั ต ราการพั ฒนาความเป็ น เมื อ ง ต�่ำกว่า 30% เพิ่มเป็นมากกว่า 50%

8

Construction Thailand September • October 2021

อย่างในทุกวันนี้ ซึ่งเป็นช่วงที่ประชากรของกรุงเทพมหานครเพิ่มเป็น 2 เท่า จนกลายเป็น มหานครที่เต็มไปด้วยผู้คนมากกว่า 10.5 ล้านคน อย่างไรก็ตาม การพัฒนาสู่ความ เป็นเมืองที่ขาดการวางแผนและการเกิดขึ้นของ COVID-19 นับเป็นเครื่องเตือนใจถึง ความเป็นเมืองที่เปราะบางและส่งผลกระทบต่อประชาชน วิกฤตนี้เกิดขึ้นพร้อมกับการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งเป็นประเด็น ที่สร้างความกังวลต่อความเป็นเมือง อย่ า งไรก็ ต าม ยั ง มี ป ั จ จั ย บวกต่ อ การพั ฒนา อาทิ เทคโนโลยี ที่ ก� ำ ลั ง เฟื ่ อ งฟู ระบบพลังงานที่เปลี่ยนไปสู่พลังงานหมุนเวียนและการขนส่งที่เริ่มใช้พลังงานไฟฟ้ามากขึ้น รวมถึงสื่อสังคมออนไลน์ ก�ำลังขยายขอบเขตใหม่ของการเชื่อมต่อทางสังคม ซึ่งล้วน เปลี่ยนแปลงและการขยายเมืองไปในทางที่ดีขึ้น ดร.ภัณณิน สุมนะเศรษฐกุล ผู้อ�ำนวยการวิจัยด้านการคาดการณ์อนาคต ฟิวเจอร์ เทลส์ แล็บ บริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (FutureTales Lab by MQDC) กล่าวว่า จากการศึกษาพบว่า Greater Bangkok จะเกิดการพัฒนาไปสู่ 7 เมกะเทรนด์ที่ส�ำคัญ ดังนี้ ความเป็นอยู่ที่ดีส�ำหรับทุกคน (Wellbeing for all) ปัญหาสุขภาพของมนุษย์ และสิง่ แวดล้อมของเมืองทีก่ ำ� ลังเติบโตอย่างรวดเร็วก�ำลังถาโถมใส่คนกรุงเทพฯ ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะมลพิษทางอากาศ เป็นสาเหตุของการเสียชีวิต ของผู้คนประมาณ 1 ใน 4 และก่อให้เกิดโรคต่อเนื่อง จนท�ำให้มีผู้เสียชีวิตคิดเป็น 13 ล้าน คนทั่วโลกต่อปี จากผลส�ำรวจผู้บริโภคมากกว่า 15,000 คน พบว่า ประเด็นด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม จัดเป็นความกังวลอันดับ 1 และอันดับ 2 ตามล�ำดับ และสอดคล้องกับ ความเห็นของผู้บริโภค 3 ใน 5 ที่เชื่อว่า สุขภาพของพวกเขาได้รับผลกระทบจากปัญหา สิ่งแวดล้อมแล้ว ซึ่งสะท้อนในผลส�ำรวจของนักเรียนมัธยมศึกษาไทยมากกว่า 1,000 คน พบว่า 92% ของทัง้ หมดเชือ่ ว่า ทุกชีวติ มีคา่ ทีจ่ ะรักษาและให้ความส�ำคัญกับการสร้างสมดุล ระหว่างการใช้ชีวิตและการท�ำงาน เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีส�ำหรับทุกคน ประเทศชาญฉลาด (Wise Nation) คนไทยมีอายุยืนยาวมากขึ้น โดยคาดว่า ในปี ค.ศ. 2025 การคาดการณ์ อ ายุ ขั ย ของคนจะยั ง เพิ่ ม สู ง ขึ้ น ต่ อ เนื่ อ ง


โดยเฉลีย่ 72.6 ปี (เพศชาย) และ 78.1 ปี (เพศหญิง) และ มากกว่ า ครึ่ ง หนึ่ ง ของประชากรไทยจะมี ป ระชากรอายุ มากกว่า 60 ปีภายในปี ค.ศ. 2050 ส่งผลให้อัตราการ เติบโตเฉลีย่ ของของจีดพี ขี องประเทศไทยอาจลดลง 0.75% ในช่วง 30 ปีข้างหน้า ซึ่งคาดว่ารายจ่ายด้านสวัสดิการ สุขภาพของผูส้ งู วัยไทยจะเพิม่ ขึน้ เป็น 4 เท่าระหว่างปี ค.ศ. 2019-2022 ขณะเดียวกันยังส่งผลให้เกิดโอกาสแรงงาน สูงวัยเช่นกัน โดยเฉพาะการส่งต่อประสบการณ์ให้กับ คนรุน่ ใหม่ จากการวิจยั พบว่าคนงานอายุมากกว่ามีผลงาน ดีกว่าคนงานคนรุ่นใหม่ในงานด้าน Soft Skills (ทักษะการ จัดการ ทักษะทางสังคม และความภักดี) ซึ่งเราสามารถ ใช้ ป ระโยชน์ จ ากส่ ว นนี้ เ พื่ อ สร้ า งการเรี ย นรู ้ ต ลอดชี วิ ต น�ำไปสู่ประเทศชาญฉลาด การครอบง�ำด้วยข้อมูล (Data Dominance) จะเห็นได้วา่ Internet of Thing (IoT) ได้สง่ ผล ให้ ร ะบบของเมื อ งอยู ่ ภ ายใต้ ก ารควบคุ ม ของบริ ษั ท ด้านเทคโนโลยีขนาดใหญ่ไม่กี่ราย โดยเฉพาะด้านความ ปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว โดย 7 ใน 10 บริษัทชั้นน�ำ ทั่วโลกตามมูลค่าตลาดคือบริษัทด้านเทคโนโลยี เช่นเดียว กับ 7 ใน 10 อันดับแรกของผูล้ งทุนด้านการวิจยั และพัฒนา มากที่สุดก็คือบริษัทด้านเทคโนโลยีเช่นกัน สะท้อนว่า ภาคเทคโนโลยีใช้จ่ายด้านการวิจัยและพัฒนามากกว่า

ภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ อย่างไรก็ตาม การพัฒนาเมืองอัจฉริยะสามารถ ยกระดับคุณภาพชีวิตได้ โดย McKinsey and Co ประมาณการ แอปพลิเคชันที่น�ำมาใช้พัฒนาเมืองอัจฉริยะในอาเซียนว่า สามารถ ลดการแพร่ ม ลพิ ษ ได้ 260-270 กิ โ ลตั น หลี ก เลี่ ย งการเสี ย ชี วิ ต ก่อนวัยอันควรได้ 5,000 คน สร้างงานใหม่ 1.2-1.5 ล้านต�ำแหน่ง และ ประหยัดค่าครองชีพได้ 9-16 พันล้านดอลลาร์ ความโปร่งใสในทุกแพลตฟอร์ม (Platform Transparency) การลุกขึน้ มาเรียกร้องของประชาชนไทยและทัว่ โลกเพิม่ ขึน้ 11.5% ระหว่างปี ค.ศ. 2009-2019 ท�ำให้เกิดสาธารณูปโภคพื้นฐาน ระบบดิจิทัลที่สามารถส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการศึกษาภาครัฐ มากขึ้น อันดับดัชนีความพร้อมทางด้านเครือข่ายของไทยเพิ่มขึ้นอย่าง สม�่ำเสมอในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา จนอยู่ที่อันดับ 56 ในปี ค.ศ. 2019 จากอันดับ 67 ในปี ค.ศ. 2015 การเข้าถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง Construction Thailand September • October 2021

9


และการใช้แพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์เป็นจุดแข็งที่ส�ำคัญของคนที่ อยู่อาศัยใน Greater Bangkok ซึ่งจะช่วยผลักดันให้นโยบายและการ วางแผนจัดท�ำขึ้นสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนมากขึ้น จากขยะสู่อาชีพ (Waste to jobs) ภายในปี ค.ศ. 2025 คาดการณ์กันว่า ประเทศไทยจะมีขยะพลาสติกที่ขาด การจั ด การกว่ า 3.16% ของพลาสติ ก ทั่ ว โลก ถื อ เป็ น ประเทศที่ ก่อมลภาวะพลาสติกมากเป็นอันดับ 6 ของโลก ในทางตรงกันข้าม เทคโนโลยีที่เข้ามาในหลากหลายอุตสาหกรรมนี้ จะสร้างเศรษฐกิจ หมุนเวียนและงานใหม่ๆ ทั้งนี้สถาบันวิจัยเศรษฐกิจอาเซียนและเอเชีย ตะวันออกพบว่า การน�ำหลักการเศรษฐกิจหมุนเวียนมาปรับใช้ อาจ ส่งเสริมให้เศรษฐกิจเติบโตได้มากถึง 324 พันล้านดอลลาร์ และสร้างงาน ในเมืองใหญ่ต่างๆ ของเอเชียได้มากกว่า 1.5 ล้านต�ำแหน่ง ภายใน ปี ค.ศ. 2042 รวมทั้งการแปรรูปพลาสติกให้สามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ และการใช้ซ�้ำ พลิกสถานการณ์ของไทยที่ก�ำลังประสบอยู่ในขณะนี้ได้ วันหยุดเพื่อสุขภาพ (Health Holidays) ในช่วงที่ผ่านมา ประเทศไทยพึ่งพาการท่องเที่ยวอย่างหนักหน่วง ส่งผล ให้ภาคการท่องเทีย่ วระหว่างประเทศกลายเป็นภาคทีม่ สี ว่ นต่อการสร้าง การเติบโตของจีดีพีให้กับประเทศ เห็นได้จากเฉพาะการท่องเที่ยว ภาคเดียวมีส่วนต่อการเติบโตของจีดีพี คิดเป็น 21.6% ของจีดีพี ทั้งประเทศในปี ค.ศ. 2018 และได้กลายเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทาง ชัน้ น�ำของโลกส�ำหรับคนวัยเกษียณ และนักท่องเทีย่ วทีแ่ สวงหาการดูแล

สุ ข ภาพ ผ่ า นอุ ต สาหกรรมความเป็ น อยู ่ ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิง่ แวดล้อม (Eco-Wellbeing Industry) จนเป็นจุดหมาย วันหยุดเพื่อสุขภาพ ความกลมกลื น ของชุ ม ชนเมื อ ง (Village Harmony) คนไทยสู ง วั ย ก� ำ ลั ง ต่ อ สู ้ กั บ ค่าครองชีพและค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพที่เพิ่มสูงขึ้น และ เริ่มกังวลกับปัญหา “เมืองใหญ่” โดยเฉพาะปัญหามลพิษ ทางอากาศเพิ่ ม ขึ้ น จากความหนาแน่ น ของประชากร จากการศึ ก ษาเมื่ อ เร็ ว ๆ นี้ พบความสั ม พั น ธ์ ข องการ พัฒนาเมืองและเศรษฐกิจ โดยมีแนวโน้มว่า ความเป็นอยู่ ที่ ดี ร ะหว่ า งประชากรในชนบทและในเมื อ งจะแตกต่ า ง กันมาก ดังนั้น จึงมีคนไทยมากขึ้นเรื่อยๆ ที่แสวงหาการ ใช้ ชี วิ ต ในหมู ่ บ ้ า นที่ ส งบสุ ข โดยให้ คุ ณ ค่ า กั บ การฟื ้ น ฟู สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของพวกเขามากขึ้น การน�ำความ ก้าวหน้าในเมืองไปสูช่ นบท ด้วยการขนส่งทางไกลราคาถูก จะช่วยเปิดทางให้การพัฒนาเศรษฐกิจกระจายออกไป จนสามารถให้ความน่าอยูท่ มี่ ากขึน้ โดยมีปญ ั หาความแออัด น้อยกว่า ผ่านการขนส่งสาธารณะที่ราคาถูกและการใช้ ยานพาหนะร่วมกัน (Shared Mobility) ที่จะเติบโตควบคู่ ค่านิยมในการฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมและสุขภาพส่วนบุคคล ดร.ภัณณิน กล่าวทิง้ ท้ายว่า โอกาสและความท้าทาย จะสร้างมุมมองใหม่ รวมถึงเตรียมตัวรับมือกับสิ่งที่อาจ จะเกิดขึ้นใน Greater Bangkok ระยะ 30 ปีข้างหน้า ในแต่ละมิติของเมกะเทรนด์ ที่นอกจากจะสร้างความ ตระหนักรู้แล้ว ยังช่วยให้นักพัฒนาเมือง ภาครัฐ และ เอกชน มองถึงความเป็นไปได้ทจี่ ะช่วยให้สร้างเมืองส�ำหรับ ทุกสิ่งมีชีวิตที่น่าอยู่ได้อย่างยั่งยืน

ข้อมูลอ้างอิง : งานวิจัย Megatrends for Urbanization of Greater Bangkok

10

Construction Thailand September • October 2021


Report • กองบรรณาธิการ

ห้องฉุกเฉินความดันลบ 100% Fresh Air ติดตั้งที่โรงพยาบาลกลางเป็นแห่งแรก

RISC by MQDC จับมือกลุ่ม EEC พัฒนาห้องฉุกเฉินความดันลบ 100% Fresh Air

ช่วย รพ.กลางฝ่าวิกฤต COVID-19 เป็นแห่งแรก ศู น ย์ วิ จั ย และนวั ต กรรมเพื่ อ ความ ยั่ ง ยื น โดยบริ ษั ท แมกโนเลี ย ควอลิ ตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด หรือ RISC by MQDC ตอกย�้ำกลยุทธ์การสร้างความ เป็ น อยู ่ ที่ ดี ใ ห้ กั บ ทุ ก ชี วิ ต หรื อ ‘For All Well-Being’ ร่ ว มกั บ กลุ ่ ม บริ ษั ท อี อี ซี เอ็นจิเนียริง่ เน็ทเวิรค์ จ�ำกัด (EEC) พันธมิตร

รศ. ดร.สิงห์ อินทรชูโต หัวหน้าคณะที่ปรึกษาศูนย์วิจัย และนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน

เกชา ธีระโกเมน ประธานกรรมการ กลุ่มบริษัท อีอีซี เอ็นจิเนียริ่ง เน็ทเวิร์ค จ�ำกัด (EEC)

ด้านงานระบบและวิศวกรรม ทั้งระดับชาติและนานาชาติ ในการพัฒนาและเปิดตัว นวัตกรรม “ห้องฉุกเฉินความดันลบ (Negative Pressure ER) 100% Fresh Air” น�ำร่องติดตั้งที่โรงพยาบาลกลาง ส�ำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร เพื่อให้บริการ แก่ผู้ป่วยในสถานการณ์ COVID-19 ที่ก�ำลังระบาดหนัก โดยเน้นคุณภาพอากาศ เทียบเท่าห้องผ่าตัด ทัง้ นีท้ กุ ชิน้ ส่วนสามารถถอดประกอบได้ เพือ่ ความสะดวกต่อการ เคลื่อนย้าย และสามารถติดตั้งภายนอกอาคาร โรงพยาบาลสนาม หรือส่วนต่อเติม ที่ใกล้ห้องฉุกเฉิน (ER) เพื่อรองรับการเข็นเตียงผู้ป่วยที่ติดเชื้อเข้าใช้งาน รศ. ดร.สิงห์ อินทรชูโต หัวหน้าคณะที่ปรึกษาศูนย์วิจัยและนวัตกรรมเพื่อ ความยั่งยืน กล่าวว่า RISC by MQDC เล็งเห็นถึงสถานการณ์ COVID-19 ที่ก�ำลัง ระบาดเป็นวงกว้าง ส่งผลให้ทีมแพทย์และพยาบาลประสบปัญหาพื้นที่ปลอดภัยใน การท�ำงานไม่เพียงพอ ขาดแคลนห้อง ER หรือห้องรักษาผูป้ ว่ ยอาการหนักทีต่ อ้ งการ ท�ำหัตถการ เราจึงคิดว่า ห้องที่สามารถรองรับผู้ป่วยที่ต้องได้รับการรักษาเร่งด่วน รองรับการท�ำหัตถการฉุกเฉินทีต่ อ้ งใช้เครือ่ งช่วยหายใจ (ผูป้ ว่ ยสีแดง) ส�ำคัญอย่างยิง่ เพือ่ บรรเทาปัญหาการขาดแคลนห้อง ER และช่วยเหลือผูป้ ว่ ยได้อย่างคล่องตัวยิง่ ขึน้ เพือ่ รองรับและสร้างความปลอดภัย ให้ใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพในพืน้ ทีจ่ ำ� กัด ให้กับบุคลากรด่านหน้า RISC by MQDC จึงได้รว่ มมือกับ EEC บริษทั ทีเ่ ชีย่ วชาญด้านงานระบบอาคาร ออกแบบ “ห้องฉุกเฉินความดันลบ (Negative Pressure ER) 100% Fresh Air” ให้เป็นนวัตกรรมทีใ่ ช้ระบบปรับคุณภาพอากาศแบบไหลทางเดียว ลดการแพร่กระจาย เชือ้ จึงเป็นการช่วยเพิม่ พืน้ ทีร่ องรับผูป้ ว่ ยและบรรเทาปัญหาความไม่เพียงพอต่อการ รักษาผู้ป่วยอาการหนักที่ต้องการท�ำหัตถการอย่างปลอดภัย “ห้องฉุกเฉินความดันลบ (Negative Pressure ER) 100% Fresh Air ได้รับ การออกแบบทุกส่วนตามหลักสุขภาวะที่ดี (Health and Well-being) สร้างความ ปลอดภัยด้วยระบบปรับการไหลของอากาศภายในห้อง รวมถึงการออกแบบทีอ่ นุรกั ษ์ พลังงานและยืดหยุ่นต่อการใช้งาน สามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวก และมีการใช้ หลักการออกแบบเพื่อสุข ภาพจิต ที่ดีผนวกเข้าไปกับ ส่วนผนังภายนอกของห้อง เพื่ อ ช่ ว ยผ่ อ นคลายผู ้ ป ่ ว ยที่ ร อรั บ การตรวจ ด้ ว ยการใช้ แ สงสี ฟ ้ า ในการช่ ว ยลด ความเครี ย ดลงได้ เ ร็ ว กว่ า แสงสี ข าวถึ ง 3 เท่ า ให้ แ ก่ ผู ้ ป ่ ว ย ถื อ เป็ น การช่ ว ยลด ความเครียดให้กับทั้งผู้ป่วย ญาติ และผู้ที่สัญจรผ่านไปมาอีกด้วย” รศ. ดร.สิงห์ กล่าว

Construction Thailand September • October 2021

11


ทั้งนี้ ห้องฉุกเฉินความดันลบ (Negative Pressure ER) 100% Fresh Air” ออกแบบให้มคี วามดันลบ 12 Pa (*ข้อก�ำหนด ขั้ น ต�่ ำ ของห้ อ งความดั น ลบ 7.5 Pa) ทางเข้ า ของแพทย์ (Anteroom) เตรียมความดันลบที่ 5 Pa เพื่อท�ำให้อากาศภายใน ห้องที่มีผู้ป่วยติดเชื้ออยู่ไม่ไหลออกสู่ภายนอก ป้องกันการแพร่ กระจายเชือ้ ภายในห้องได้มกี ารออกแบบแยกพืน้ ทีใ่ ห้มคี วามดันลบ ต่างกัน แยกทางเข้า-ออกเป็นทางเดียว (one-way route) เพือ่ ลดทัง้ โอกาสการติดเชือ้ และลดการแพร่เชือ้ สูส่ ว่ นต่างๆ ของห้อง นอกจากนั้ น ยั ง ได้ ท� ำ การออกแบบงานระบบให้ มี ก าร ดูดอากาศออกไปโดยตรงจากผู้ป่วย เพื่อป้องกันการแพร่ระบาด ภายในห้อง โดยผ่าน HEPA Filter กรองอากาศและกักเชื้อ ก่อนปล่อยออกสู่ภายนอก ท�ำให้ปลอดภัยทั้งภายในและบริเวณ โดยรอบ และมีการเติมอากาศบริสุทธิ์ (100% Fresh Air) เข้าสู่ ห้อง เพื่อท�ำให้มีการแลกเปลี่ยนอากาศใหม่ตลอดเวลา ไม่ใช้ อากาศเดิมหมุนเวียนในห้อง และเป็นระบบปรับอากาศที่มีการ ควบคุมทิศทางการไหลของอากาศ โดยแยกแต่ละพืน้ ทีด่ งั นี้ พืน้ ที่ ทางเข้าของแพทย์เพื่อเตรียมเข้าห้อง (Anteroom) ออกแบบ ระบบอัตราการถ่ายเทเปลี่ยนอากาศ 10 รอบต่อชั่วโมง (10 Air changes/hour) และส่วนหัตถการ มีการออกแบบระบบอัตราการ ถ่ายเทเปลีย่ นอากาศ 13 รอบต่อชัว่ โมง (13 Air Changes/hour) *มาตรฐานด้ า นการแพทย์ ก� ำ หนดขั้ น ต�่ ำ ของห้ อ ง ER ระบบอัตราการถ่ายเทเปลี่ยนอากาศ 12 รอบต่อชั่วโมง (12 Air changes/hour) ส่วนการออกแบบทางสถาปัตยกรรมของตัวห้อง ได้มีการ ออกแบบโดยค�ำนึงถึงการป้องกันการเจริญเติบโตของเชื้อโรคบน พื้น ผิวของห้องและการอนุรักษ์พลังงาน การใช้งานได้ตรงตาม พฤติกรรม ออกแบบตามหลักด้านสุขอนามัย และมีความยืดหยุน่ ต่อการประกอบติดตัง้ ใช้พนื้ ทีน่ อ้ ย มีความคล่องตัวในการขนย้าย ภายในห้องมีรายละเอียด ดังนี้ ผนัง ISO WALL มีพื้นผิว ผนั ง ไม่ เ อื้ อ ต่ อ การเกิดเชื้อ ราและท�ำความสะอาดง่าย ประตู ทั้งหมดเป็น Seal Door ป้องกันการรั่วไหลของอากาศ เพื่อ ความปลอดภัยบริเวณโดยรอบ ขนาดประตูหลักกว้างเหมาะสม ส�ำหรับรถเข็นและการขนย้ายอุปกรณ์ต่างๆ ขนาดห้องวางเตียง ผู้ป่วยได้ 1 เตียง และรองรับท�ำหัตถการฉุกเฉินที่ต้องใช้เครื่อง ช่วยหายใจ (ผู้ป่วยสีแดง) พื้นห้องปูกระเบื้องยางตามมาตรฐาน ห้อง Clean Room ไฟแสงสว่างภายในห้องเลือกใช้อุณหภูมิสี ของแสง 4000K และติดตัง้ ไฟในต�ำแหน่งท�ำหัตถการ และพืน้ ผิว ภายในห้องเน้นสีขาวเพื่อสร้างการสะท้อนเพิ่มความสว่างภายใน ห้อง แพทย์ท�ำการรักษาและท�ำหัตถการมองเห็นได้อย่างชัดเจน และดูสะอาด มองเห็นสิ่งผิดปกติในห้องได้ง่าย

12

Construction Thailand September • October 2021

ส่วนภายนอกห้องมีรายละเอียด ดังนี้ ผนัง ISO WALL ติดตั้งฉนวนโพลิยูริเทนชนิดกันไฟลาม ความหนา 2 นิ้ว เพื่อ ป้องกันความร้อนจากภายนอก และป้องกันการรั่วซึมของอากาศ (Air Leakage Protection) เพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้าภายใน ห้อง ห้องสามารถน�ำไปวางพื้นที่ภายนอกได้ กันแดด กันฝน ห้องทุกชิ้นส่วนสามารถถอดประกอบได้ เพื่อสะดวกต่อการ เคลื่ อ นย้ า ย ห้ อ งออกแบบให้ มี ข นาดกะทั ด รั ด เพื่ อ ใช้ ไ ด้ ทุ ก สถานที่ แม้จะมีพื้นที่จ�ำกัด และผนังห้องภายนอกเปลี่ยนสีของ แสงได้ตามช่วงเวลา เพื่อผ่อนคลายและให้ความสว่างโดยรอบ RISC by MQDC ให้ความส�ำคัญกับการออกแบบที่ส่งผล ต่อสุขภาพจิตใจ จากการออกแบบผนังห้องภายนอกให้มีการ เปลีย่ นสีได้ตามเวลา ช่วงกลางคืนเปิดไฟโทนสีอนุ่ (Warm White) และช่ ว งกลางวั น เปิ ด ไฟสี โ ทนฟ้ า (Blue Light) ในช่ ว ง ความยาวคลื่น 470-480 นาโนเมตร จากผลงานวิจัยพบว่า แสงสีฟ้าช่วยลดความเครียดได้เร็วกว่าถึง 3 เท่า เมื่อเทียบกับ แสงสี ข าว และยั ง กระตุ ้ น การท� ำ งานของสมองส่ ว นหน้ า (Prefrontal Cortex : PFC) ซึ่งช่วยในการบริหารจัดการ ก�ำกับ ความคิด อารมณ์ และสร้างความผ่อนคลายโดยตรง เกชา ธีระโกเมน ประธานกรรมการ กลุ่มบริษัท อีอีซี เอ็นจิเนียริง่ เน็ทเวิรค์ จ�ำกัด (EEC) กล่าวว่า EEC ร่วมกับ RISC by MQDC ในการพัฒนาและเปิดตัวนวัตกรรม “ห้องฉุกเฉิน ความดันลบ (Negative Pressure ER) 100% Fresh Air” แห่ ง แรก และติ ด ตั้ ง ที่ โ รงพยาบาลกลาง ส� ำ นั ก การแพทย์ กรุงเทพมหานคร ในฐานะบริษัทชั้นแนวหน้าด้านวิศวกรรมทั้ง ระดับชาติและนานาชาติ EEC ได้เข้ามามีสว่ นในการช่วยออกแบบ และงานด้านวิศวกรรมของ “ห้องฉุกเฉินความดันลบ (Negative Pressure ER) 100% Fresh Air” โดยมีขนาดตัวห้องกว้าง 2.50 เมตร ยาว 6.00 เมตร สูง 2.75 เมตร หรือขนาดพื้นที่ห้อง 15.00 ตารางเมตร สามารถวางเตียงผูป้ ว่ ยได้ 1 เตียง และรองรับ ท�ำหัตถการฉุกเฉินทีต่ อ้ งใช้เครือ่ งช่วยหายใจ (ผูป้ ว่ ยสีแดง) มีการ ออกแบบแบ่งแยกพืน้ ทีแ่ ละทิศทางเข้าออกอย่างชัดเจนของผูป้ ว่ ย และบุคลากร พร้อมทั้ง Anteroom ก่อนเข้าพื้นที่และก่อนออก จากพื้นที่ที่ควบคุมแรงดันลบ (Negative Pressure) พร้อมระบบ ประตู Seal Door เพือ่ ป้องกันการรัว่ ไหลเชือ้ ออกสูภ่ ายนอก ระบบ ปรับอากาศในพื้นที่ถูกออกแบบเป็นระบบ 100% Fresh Air (ไม่ใช้อากาศเดิมหมุนวนในห้อง) ทีม่ กี ารควบคุมอุณหภูมิ ความชืน้ ความสะอาด โดยผ่าน HEPA FILTER ที่มีการจ่ายอากาศภายใน ห้องแบบ Uni-Directional Air Flow เพื่อควบคุมทิศทางการไหล อากาศในพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างความปลอดภัยให้แก่ บุคลากรฯ ขณะท�ำการรักษา และมีระบบระบายอากาศเสียจาก ตัวผู้ป่วยโดยตรงที่บริเวณหัวเตียงผู้ป่วย โดยน�ำไปผ่านการกรอง ด้วย HEPA FILTER และฆ่าเชื้อโรคก่อนน�ำไปทิ้งสู่ภายนอก เพื่อความปลอดภัยส�ำหรับพื้นที่บริเวณโดยรอบอีกด้วย


Tips • SCG D’COR Trim

ใส่ใจทุกรายละเอียด เพื่อให้บ้านสวยเนี้ยบ ไร้ที่ติ

ดีเทลรายละเอียดของการสร้างบ้าน แม้จะมีเพียงเล็กน้อย แต่กเ็ ป็นเรือ่ งทีไ่ ม่อยาก ให้ทุกคนมองข้าม นั่นก็เพราะจุดเล็กจุดน้อย เหล่านั้น เป็นสิ่งส�ำคัญที่ช่วยให้บ้านสวยงาม อยู่กับเราไปได้ตลอดอายุการใช้งาน และที่ ส�ำคัญคือไม่ตอ้ งตามแก้ปญ ั หาจุกจิกภายหลัง SCG D’COR จึงมาพร้อมกับ Trim ที่มีวัสดุตกแต่ง รุ่น ซี-ชาแนล ซี-ชาแนล พลัส และบัวผนัง เพื่อความงามพร้อมกับฟังก์ชัน ที่ช่วยให้บ้านสวยครบ มีสไตล์ ไม่ว่าจะเป็น กรอบอาคาร หรื อ บั ว ผนั ง ส� ำ หรั บ จบงาน รอยต่อระหว่างวัสดุ คุณจึงสามารถอาศัย ภายในบ้ า นอย่ า งสบายใจ ตลอดอายุ ก าร ใช้งาน

Construction Thailand September • October 2021

13


โมเดิร์นกับเส้นสาย คมเฉียบ เรียบเท่

รายละเอียดเล็กน้อยที่ SCG D’COR Trim ต้องการ บอกเล่าให้กับงานสถาปัตยกรรม คือการปกปิดรอยต่อ สร้างเส้นสายของงานให้ตอบโจทย์กบั งานดีไซน์ ส่งเสริมให้ รูปลักษณ์โดยรวมของบ้านเรียบร้อยสมบูรณ์แบบในทุกจุด ในส่วนของดีไซน์ Trim มีให้เลือกหลายรูปแบบ ตั้งแต่ C-Channel วัสดุตกแต่งเหมือนเหล็กจริง ส�ำหรับ งานตกแต่งกรอบอาคาร และ Trim บัวตกแต่งผนัง ที่ช่วย เก็บงานรอยต่อให้เรียบร้อย โดยความงามนี้มาพร้อมกับ ฟั ง ก์ ชั น ในแง่ ก ารใช้ ง าน ส� ำ หรั บ ป้ อ งกั น น�้ ำ ไหลย้ อ นที่ หน้าต่างและประตู

กรอบอาคาร กับงานดี ไซน์

จุดเด่นส�ำคัญส�ำหรับงานตกแต่งสไตล์โมเดิร์น คือ เส้นตรงที่เฉียบคม เรียบตรง เน้นให้บ้านโมเดิร์น และ สวยงามต่อไปแสนนาน กรอบอาคาร หรือขอบอาคารแบบเหล็กบีม เป็นส่วน ประกอบที่ได้รับความนิยมมากในบ้านโมเดิร์น โดยเฉพาะ กับสไตล์ลอฟต์ที่ชื่นชอบการใช้งานเหล็ก ซึ่ง C-Channel สามารถใช้ตกแต่งอาคารได้ทดแทนการใช้เหล็กจริง ด้วย ค่าใช้จ่ายที่น้อยกว่า ติดตั้งง่ายกว่า และไม่เป็นสนิม โดย ยังคงได้รูปลักษณ์ที่สวยงามตรงตามความต้องการของ งานดีไซน์ ในเรื่องของความทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงของ สภาวะแวดล้อมตลอดทั้งวันก็เป็นเรื่องส�ำคัญ คุณสมบัติ ทนแดด ทนฝน ทนอากาศ จึงเป็นอีกจุดเด่นที่ SCG D’COR เน้นย�้ำเสมอในการพัฒนาฟาซาดและผลิตภัณฑ์ส�ำหรับ การใช้งานนอกบ้าน

Trim กับรายละเอียด เพื่อการใช้งาน

ในส่วนของบัวผนัง มีหน้าที่ดักกันน�้ำไหลย้อนเข้า บริเวณหน้าต่างและประตู พร้อมกับเก็บความเรียบร้อยของ รอยต่อระหว่างวัสดุ 2 ชนิดหรือสีหลายสีที่แตกต่างกัน เพื่อให้บ้านสวยงามยาวนาน ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการใช้บวั ผนัง ควรเลือกทีเ่ นือ้ แน่น ผิวเรียบเนียน ไม่มรี อยร้าว เพือ่ เก็บงานได้เรียบร้อยตรงตาม วัตถุประสงค์ โดยจุดเด่นของบัวผนัง SCG D’COR คือ

14

Construction Thailand September • October 2021


ความแข็งแรงทนทานจากการผลิตส�ำเร็จรูปจากโรงงาน ด้วยเทคโนโลยี X-Trusion จึงได้มาตรฐานเท่ากันทุกแผ่น และน�ำ้ หนักเบา ผิวเรียบเนียนจึงติดตัง้ ได้อย่างง่ายดายด้วย ระบบแห้ง เพียงใช้พุก-สกรู ไม่จ�ำเป็นต้องก่อปูน นอกจากดีเทลส�ำหรับการแต่งบ้านแล้ว ในตัวบัวผนัง เองก็ยังมีรายละเอียดที่ถูกออกแบบเพื่อการใช้งานที่เต็ม ประสิทธิภาพ ด้วยการเซาะร่องส�ำหรับดักน�้ำฝนขั้นต้น ป้องกันการเกิดคราบบนผนังไว้ตั้งแต่เริ่มต้น

เข้ามุม รอยต่อ เก็บเรียบร้อยทุกจุด

จุดเด่นส�ำคัญอีกประการของ SCG D’COR Trim คือความเรียบร้อยหลังจบงานในทุกมุมมอง ทั้งส�ำหรับ การต่อในแนวระนาบ และการเข้ามุม ด้วยการออกแบบ วิธีการและเทคนิคติดตั้งที่สามารถท�ำได้ง่ายแล้ว และยัง สวยงามเป็นมาตรฐานเดียวกันทุกแผ่น ส�ำหรับการเข้ามุม มีเทคนิควิธีการ 3 แบบด้วยกัน ได้แก่ การประกบแบบล็อก การปาดมุม 45 องศา และ ประกบแบบล็อกให้ขอบเหมือนกับแบบปาดมุม ส่วนการต่อในแนวระนาบมาพร้อมกับเหล็กรูปตัว C ยึดด้านหลังด้วยตะปูเกลียวเพื่อให้งานติดสนิทต่อเนื่องกัน โดยเทคนิคมีทั้งแบบตรงและปาด 45 องศา ซึ่งดีเทลเล็กๆ น้อยๆ นี้ บอกเล่าถึงความใส่ใจในรายละเอียด เพือ่ ให้ใช้งาน วัสดุทุกชิ้นได้สวยงามยาวนานตลอดอายุการใช้งาน

งานออกแบบ กับความคิดสร้างสรรค์

เพราะความสนุกกับการใช้งานวัสดุตกแต่งช่วยก่อ ให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ในงานออกแบบมากมายกับ การใช้งาน SCG D’COR Trim ก็เช่นเดียวกัน ด้วยคุณสมบัติ ของวัสดุ ทั้งหน้าตารูปตัว C และสามารถแต่งแต้มสีสัน ได้ตามจินตนาการ คุณจึงสามารถประยุกต์และพลิกแพลง ให้กลายเป็นวัสดุตกแต่งที่สร้างพื้นที่ให้สวยงามอย่างมี เอกลักษณ์ ทั้งกับงาน Façade อาคารภายนอก และงาน ออกแบบพื้นที่ภายใน หรือจะพลิกแพลงคิดนอกกรอบ ออกมาเป็ น งานออกแบบรั้ ว บ้ า น ด้ ว ยคุ ณ สมบั ติ ข อง ผลิตภัณฑ์ SCG D’COR ซึ่งมีความแข็งแรงทนทาน และ ความเรียบร้อยจากการเป็นวัสดุเก็บงานขอบรุน่ C-Channel จึงสามารถใช้งานได้กับทุกขอบเขตพื้นที่ของบ้าน รวมทั้ง ขอบรั้วบริเวณเช่นกัน

Construction Thailand September • October 2021

15


Property • กองบรรณาธิการ

โอเชี่ยน พรอพเพอร์ตี้

ชีเ้ ทรนด์ฮอลิเดย์โฮม

รับ New Normal หนุนอสังหาฯ เมืองพัทยา โตส่งท้ายปี ’64

16

Construction Thailand September • October 2021

โอเชี่ยน พรอพเพอร์ตี้ เผยเทรนด์ตลาดบ้านหลังที่ 2 หรือฮอลิเดย์โฮม ในเมืองพัทยาดีมานด์ยังดี เนื่องจากเทรนด์การท�ำงานที่บ้าน (Work from Home) ยาวนานขึ้น ท�ำให้ผู้ซื้อเริ่มมองหาที่พักระยะยาวหรือบ้านหลังที่ 2 ส�ำหรับพักผ่อน และท�ำงานไปพร้อมๆ กัน ชี้ลูกค้าให้ความสนใจโครงการ “โอเชี่ยน พอร์โตฟิโน่ จอมเทียน-พัทยา” โดยมีการซื้อขายต่อเนื่องในช่วง COVID-19 เชื่อมั่นศักยภาพ เมืองพัทยาจะฟื้นกลับมาได้ในอนาคต ตลาดอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ มื อ งพั ท ยายั ง คงเป็ น ที่ น ่ า จั บ ตามองแม้ ใ นวิ ก ฤต COVID-19 ที่ก�ำลังระบาด แม้ว่าโดยรวมจะพบว่าผู้บริโภคชะลอการตัดสินใจ แต่ในขณะเดียวกันก็มีก�ำลังซื้อบางส่วนที่ต้องการหาซื้อบ้านพักตากอากาศหรือ บ้านพักหลังที่ 2 ยังมีแนวโน้มยอดขายเติบโตได้ ซึ่งหากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของ COVID-19 สามารถคลี่คลายได้ภายในปีน้ี ตลาดก็มีแนวโน้มว่าสถานการณ์ จะค่อยๆ ฟื้นตัว เริ่มกลับมาสู่ภาวะปกติได้ในช่วงปี พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป อย่างไรก็ดี แม้ในสถานการณ์ของการระบาด COVID-19 ความต้องการ ซื้ อ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ใ นเมื อ งพั ท ยาก็ ยั ง เติ บ โตได้ ดี จากข้ อ มู ล ของคอลลิ เ ออร์ ส


ณพงศ์ ปริพนธ์พจนพิสุทธิ์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั โอเชีย่ น พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด

ประเทศไทย ระบุ ว ่ า ในครึ่ ง แรกของปี พ.ศ. 2564 อั ต ราการขายเฉลี่ ย ในตลาด คอนโดมิ เ นี ย มพั ท ยาปรั บ ตั ว ขึ้ น มาอยู ่ ที่ 69.20% เพิม่ ขึน้ ประมาณ 1.20% จากในช่วง ครึ่ ง หลั ง ของปี พ.ศ. 2563 ปัจจัย หลักๆ จากที่ยังไม่มีซัพพลายเติมเข้าสู่ตลาดมากนัก จนไม่ เ กิ น ภาวะล้ น เกิ น ศั ก ยภาพของ เมืองที่แข็งแกร่งจากการก่อสร้างโครงการ สาธารณูปโภคพื้นฐานให้กับเมืองอยู่อย่าง ต่อเนื่องในช่วงที่ผ่านมา ในขณะเดียวกันก็ได้สง่ ผลให้พฤติกรรม คนไทยเปลี่ยนไป ปรับสู่การท�ำงานที่บ้าน มากขึ้ น (Work from Home) และด้ ว ย เทคโนโลยี ก ารสื่ อ สารที่ ทั น สมั ย ท� ำ ให้ ค น ท�ำงานยุคใหม่ไม่ได้จำ� กัดตัวเองอยูท่ ใี่ ดทีห่ นึง่ โดยเฉพาะ แต่ปรับวิถีไปเป็น Work from Anywhere มากขึ้น เชื่อว่าจะเป็นเทรนด์ใหม่ หลัง ยุค COVID-19 ด้วยเหตุนี้ บ้านตาก อากาศ หรื อ ฮอลิ เ ดย์ โ ฮม จึ ง เป็ น อี ก หนึ่ ง ทางเลือกของคนที่ก�ำลังมองหาบ้านหลังที่ 2 ทั้งเพื่อการพักผ่อน ท�ำงาน และสร้างมูลค่า จากการลงทุนในอนาคต ณพงศ์ ปริพนธ์พจนพิสุทธิ์ กรรมการ ผูจ้ ดั การ บริษทั โอเชีย่ น พรอพเพอร์ตี้ จ�ำกัด ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์คุณภาพครบวงจร กล่ า วว่ า นั บ ตั้ ง แต่ ก ารแพร่ ร ะบาดของ COVID-19 ตั้ ง แต่ ป ลายปี พ.ศ. 2563 จนถึงปัจจุบัน เทรนด์การท�ำงานจากที่บ้าน ที่ยาวนานขึ้น ส่งผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภค เปลี่ยนไป และเริ่มมองหาชีวิตที่ยืดหยุ่นได้ และมีพื้นที่พักผ่อนมากขึ้น รวมถึงการจ�ำกัด พื้ น ที่ แ ละการเคลื่อ นย้ายจากการประกาศ

ล็อกดาวน์เนื่องจากการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 ระลอกใหม่ในประเทศ สะท้อนทิศทางที่สอดรับสภาพความเป็นจริงของการขายและการตลาดฮอลิเดย์โฮม ในพืน้ ทีพ่ ทั ยา โดยเฉพาะโครงการของบริษทั “โอเชีย่ น พอร์โตฟิโน่ จอมเทียน-พัทยา” ได้รับความสนใจจากการซื้อเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ในช่วง COVID-19 ที่ก�ำลังซื้อส่วนใหญ่ มาจากในประเทศ ที่จะมองว่าพัทยายังคงเป็นแหล่งท่องเที่ยวและการพักผ่อน ตากอากาศบ้านหลังที่ 2 บรรยากาศโดยรวมเอื้อต่อการท่องเที่ยว มีกิจกรรม เชิงไลฟ์สไตล์ให้ทุกคนในครอบครัวได้ท�ำร่วมกัน อีกทั้งใช้เวลาในการเดินทางจาก กรุงเทพฯ และจังหวัดใกล้เคียงเพียง 2-3 ชั่วโมงเท่านั้น “จากแนวโน้มการใช้ชีวิตรูปแบบใหม่ หรือ New Normal ผู้ประกอบการ อสังหาริมทรัพย์ก�ำลังเผชิญกับรสนิยมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปส�ำหรับชีวิตที่ ยืดหยุน่ ได้และมีพนื้ ทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจ ท�ำให้เริม่ มีการมองหาทีพ่ กั ระยะยาว หรือบ้าน หลังที่ 2 ส�ำหรับพักผ่อนและท�ำงานไปพร้อมๆ กัน” ณพงศ์ กล่าว ข้อมูลที่น่าสนใจอีกด้านของงานวิจัยคอลลิเออร์ส ประเทศไทย ระบุว่า ในช่วง ครึ่งแรกของปี พ.ศ. 2564 ไม่พบว่ามีโครงการคอนโดมิเนียมโครงการใหม่เปิดขาย ในพื้นที่พัทยา โครงการส่วนใหญ่ชะลอเปิดตัวออกไป บางโครงการก็อาจมีการ ปรับเปลี่ยนรูปแบบการพัฒนาใหม่ เนื่องจากผลกระทบทางเศรษฐกิจ ท�ำให้จ�ำนวน หน่วยที่เปิดขายอยู่ในตลาดปัจจุบันไม่ล้นเกินกว่าความต้องการซื้อที่แท้จริง นอกจากซัพพลายที่มีอยู่ไม่มากจะเป็นโอกาสสร้างยอดขายให้กับก�ำลังซื้อ คนไทยทีม่ องหาบ้านหลังที่ 2 ในแหล่งท่องเทีย่ วแล้ว “ขนาด” พืน้ ทีข่ องคอนโดมิเนียม ก็มีผลต่อการตัดสินใจซื้อด้วย จากข้อมูลงานวิจัยคอลลิเออร์ส ประเทศไทย พบว่า ห้องชุดขนาดมากกว่า 100 ตารางเมตรขึ้นไปเหลืออุปทานในตลาดเพียงแค่ 1% ของอุปทานที่อยู่ระหว่างการขายในตลาด หรือประมาณ 610 ยูนิตเท่านั้น เพราะ จ�ำนวนยูนิตเปิดขายใหม่ในโครงการต่างๆ ส่วนใหญ่พัฒนาเป็นห้องขนาดเล็ก “ก�ำลังซื้อระดับบนที่มีความพร้อมยังคงมองหาคอนโดมิเนียมหรูที่สามารถ มองเห็นวิวทะเลที่มีห้องขนาดใหญ่ ส�ำหรับเป็นบ้านพักตากอากาศหลังที่ 2 หรือ ต้องการเปลี่ยนบรรยากาศในการท�ำงานที่บ้านเป็นบรรยากาศที่ผ่อนคลายมากขึ้น หากห้องมีขนาดเล็กมากเกินไป อาจไม่ตอบโจทย์การมองหาเพื่อเป็นบ้านหลังที่ 2 มากนัก เพราะส่วนใหญ่คนซื้อจะมองถึงประโยชน์การใช้พื้นที่ของสมาชิกทุกคน ในครอบครัวได้มากกว่า” ณพงศ์ กล่าว ส�ำหรับ “โอเชี่ยน พอร์โตฟิโน่ จอมเทียน-พัทยา” มีขนาดห้อง Over-Size Unit 1-2 ห้องนอน พื้นที่กว้าง 80-133 ตารางเมตร ในราคาเริ่มต้นเพียง 6.9 ล้านบาท ที่พัฒนาไว้ส�ำหรับรองรับกลุ่มก�ำลังซื้อเพื่อเป็นบ้านหลังที่ 2 ของครอบครัว เป็น การซื้อไว้เพื่อการลงทุน และสร้างมูลค่าการเติบโตของสินทรัพย์ในระยะยาว ด้วย ศักยภาพของท�ำเลทีต่ งั้ นาจอมเทียนมีแนวโน้มการเติบโตในอนาคต จากการก่อสร้าง เส้นทางหลวงพิเศษตัดใหม่เลี่ยงเมือง (มอเตอร์เวย์) หมายเลข 7 ส่วนต่อขยาย ช่วงพัทยา-มาบตาพุด ที่มีจุดทางลงอยู่บริเวณด้านหน้าโครงการ โครงการ “โอเชี่ยน พอร์โตฟิโน่ จอมเทียน-พัทยา” คอนโดมิเนียมแบบไฮไรส์ (High Rise) สูง 37 ชั้น จ�ำนวน 268 ยูนิต บนเนื้อที่กว่า 120 ไร่ เน้นการออกแบบ โดยมอบความเป็นส่วนตัว และความสบายสูงสุด พร้อมเปิดมุมมอง 180 องศา ของวิวทะเลและท่าจอดเรือยอชต์ ที่สามารถชมวิวทะเลแบบพาโนรามา และสัมผัส บรรยากาศ “มารีน่า ไลฟ์สไตล์” ท่าจอดเรือยอชต์หรูระดับเวิลด์คลาส แลนด์มาร์ก ส�ำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของเมืองพัทยา หนึ่งเดียวของฮอลิเดย์โฮมเมืองพัทยาที่เติมเต็ม การพักผ่อนอย่างเหนือระดับทุกวันพักผ่อนแนวใหม่ส�ำหรับทุกคนในครอบครัว Construction Thailand September • October 2021

17


Advertorial

The future of cleaner and more durable building materials

Anke Lee, Director of Business Development (APAC) at Microban® International, and Norawee Sershthin, Marketing and Corporate Communication Director for Jorakay Corporation

Building materials such as tile grouting are hugely susceptible to the impact of microorganisms, particularly in the warm, humid climate of Thailand. These materials typically contain starches, organic adhesives and cellulose sugars that act as a food source for colonies to grow and flourish. As they develop, fungal and bacteria growth can cause unsightly staining, musty odours and the premature biodegradation of building materials, so is a considerable pain-point for many consumers. More damage means more frequent repair and replacement, which can be costly for business owners, not to mention the expenses associated with business shut down periods.

18

Construction Thailand September • October 2021


Regular cleaning to combat the growth of microorganisms can help to improve the cleanliness of surfaces. However, traditional cleaning products only offer limited residual activity against microbes, meaning that there is no lasting protection and populations can quickly return, so a more durable solution is needed. Consumers are increasingly looking for building materials that are more hygienic and resilient, slowing down the product deterioration that occurs from microbial growth. Thailand’s Jorakay Corporation has partnered with Microban® International to tackle this challenge and develop a range of colour cements, tile grout, stucco,

tile trims and stair noses that are protected from the growth of mould and mildew. Microban® antimicrobial technology is incorporated into the building materials during manufacture, to protect the surface from the growth of microbes for the expected lifetime of the product, without succumbing to harsh cleaning chemicals. Incorporating antimicrobial technology into raw building materials can provide long-lasting protection against early deterioration to keep buildings looking as good as new, setting a new standard for building materials in Thailand.

Construction Thailand September • October 2021

19


บทความ

• ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ์

นวนิยายไทย

“บทความแห่งความเงียบ” ในการวิจัยด้านวิศวกรรม วิทยาศาสตร์ ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ทั้งศาสตร์และศิลปะนั้น มาจากแนวความคิดของนักคิดและนักวิทยาศาสตร์ในสาขาเหล่านัน้ ทีแ่ ม้จะไม่ตอ้ งการเกีย่ วข้องกับ การเมืองการปกครองหรือศักยภาพของมหาอ�ำนาจ แต่ผลลัพธ์ของวิทยาศาสตร์บางส่วนอาจ ส่งผลกระทบต่อศักย์อ�ำนาจเหล่านั้นได้ ดั่งเช่นการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ของอัลเบิรต์ ไอน์สไตน์ ก็นำ� ไปสูโ่ ครงการแมนฮัตตันทีค่ น้ คว้าวิจยั ระเบิดปรมาณู และ ดร.ไอแซค อสิมอฟ (อเมริกนั -รัสเซีย) นักวิทยาศาสตร์ท่ีค้นคว้าวิจัยโครงการที่เกิดประโยชน์แก่มวลมนุษย์ด้านหุ่นยนต์ จนได้รับเกียรติ ตั้งชื่อ Asimo หุ่นยนต์เดินได้ตัวแรกของโลก ในนิยายวิทยาศาสตร์ชุด “สถาบันสถาปนา” ...ว่ า กั นว่ า นิ ย ายเรื่ อ งนี้ เ ป็ น ความคิ ด ของเขาที่ เ ห็ น การล่ ม สลายของสหภาพโซเวี ย ต (เหมือนเรือไตตานิคที่พุ่งไปหาภูเขาน�้ำแข็ง แต่ด้วยความมหึมาของเรือนั้นจึงไม่อาจหยุดยั้งได้) เมื่อไม่สามารถกล่าวความจริงต่อสาธารณชนได้แล้ว เขาจึงเขียนนิยายวิทยาศาสตร์ที่กล่าวถึง ความเสื่อมถอยของโครงสร้างเมือง “จักรวรรดิเอ็มไพร์” ที่ไม่อาจหยุดยั้งได้ จะท�ำได้เพียงการ สร้างเมืองใหม่ 2 เมืองให้เป็นเมืองวิทยาศาสตร์และเมืองศิลปศาสตร์ ที่จะรวมตัวกันเป็น จักรวรรดิเอ็มไพร์อันยิ่งใหญ่ในอนาคต…

Isaac Asimov 1920-1991/ ASIMO 2000-2018

ในประเทศไทยก็มีการเขียนนวนิยายเรื่องเกี่ยวกับ 3 สาระส�ำคัญในสงครามคือ “SPY, SNIPER and SUBMARINE สายลับ พลแม่นปืน และเรือด�ำน�้ำ” Heart of SPY, SNIPER, SUBMARINE is Silence “เป็นเรื่องราวของราชนาวีไทยที่จะสร้างก�ำลังรบให้ครบ 3 มิติ คือ ก�ำลังทางอากาศ ผิวน�้ำ และใต้น�้ำ และสร้างหน่วยงานคล้ายหน่วยสืบราชการลับ Military Intelligence Section 6 (MI6) ของราชนาวีองั กฤษ เน้นสงครามเรือด�ำน�ำ้ Submarine Warfare โดยส่งบุคลากรเข้าศึกษาเรือด�ำน�ำ้ ที่เมืองอ๊อกฟอร์ด ประเทศอังกฤษ”

20

Construction Thailand September • October 2021


นิยายเรือ่ งนีเ้ กิดจากจินตนาการทัง้ สิน้ ชือ่ ตัวละคร หน่วยงาน องค์กร และสถานที่ อาจคล้ายกับทีอ่ น่ื แต่ไม่มอี ยูจ่ ริง จากการค้นคว้า ทางสถาปัตยกรรมที่ Oxford Brookes University, UK และการฝึกอบรม (SEA-NET) the Institute of Marine Affairs and Resource Management. National Taiwan Ocean University จนเตรียมเสนอโครงร่างงานวิจัย “ซอฟต์แวร์การค้นหาเรือด�ำน�้ำ Submarine Searching Software” แก่ราชนาวี ในปี ค.ศ. 2018 แต่ด้วยเหตุผลบางประการ โครงร่างงานวิจัยกลายเป็นบทความวิชาการลงพิมพ์ในวารสารนาวิกศาสตร์ เดือนกุมภาพันธ์ 2018 และเดือนเมษายน 2021 ของราชนาวิกสภา กองทัพเรือ และกลายเป็นนิยายเริม่ ลงพิมพ์ในนิตยสาร GB Gun & Blade Year 7 Volume 8/ number 92 November 2018 (จ�ำนวน 33 ตอน จนปัจจุบัน)

สมมติฐานงานวิจยั “เมือ่ พบสัญญาณของเรือด�ำน�ำ้ ครัง้ แรก เช่น พบ periscope หรือสัญญาณ วิทยุ ฯลฯ ซอฟต์แวร์จะคาดการณ์ต�ำแหน่งเรือด�ำน�้ำชั้น Kilo Submarine ในอีก 5-10-30 นาที” ซอฟต์แวร์ Apache 5.0 พัฒนาที่อังกฤษและการฝึกอบรม (SEA-NET) ที่ไต้หวัน “ซอฟต์แวร์ ชื่อ Apache (Royal Thai Navy SEAL: Apache Hooyah) ส่วน 5.0 หมายถึง “find her in 5 minutes or we die: ค้นหาเธอให้พบภายใน 5 นาที ก่อนที่เธอจะฆ่าเรา” ข้อมูลทางทหาร... หากเรือด�ำน�้ำถูกค้นพบเธอจะยิงจรวดมิสไซด์หรือตอร์ปิโดภายใน 5 นาที

“NAVIKSART” issue Year 102 Volume 2 February 2018 and “NAVIKSART” issue Year 104 Volume 4 April 2021 “Gun & Blade” Magazine, issue Year 7 Volume 8 number 92 November 2018

Construction Thailand September • October 2021

21


None of this Experiment is ever happened: การทดลองนี้ไม่เคยเกิดขึ้นเลย

ฤดูหนาวปี 2002 Oxford, England เสียงกระซิบ “Hooyah” แผ่วมาตามสายลม

22

Construction Thailand September • October 2021


จากนวนิยายในจินตนาการขอน�ำสู่ข่าวสารในปัจจุบัน

ข่าวที่ 1 ฝันไปหรือท�ำได้จริง อีก 7 ปี ไทยจะส่งยานอวกาศส�ำรวจดวงจันทร์

...รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษาฯ ระบุว่า อีก 7 ปีไทยจะเป็นชาติที่ 5 ของเอเชีย ทีผ่ ลิตยานอวกาศไปโคจรรอบดวงจันทร์ ต่อจากจีน อินเดีย ญีป่ นุ่ และเกาหลีใต้...ผูเ้ ชีย่ วชาญอวกาศ ไทยระบุว่าเป็นไปไม่ได้ เพราะต้องเริ่มจากการสร้างดาวเทียม ระบบสื่อสารระยะไกลในการ โคจรรอบดวงจันทร์ (ไทยรัฐ, 15 ธ.ค. 2020)

ข่าวที่ 2 จรวดตงเฟิง-41 ของจีน: ในงานสวนสนามวันชาติของจีนครบ 70 ปี

ในปี ค.ศ. 2020 กองทัพจีนได้แสดงแสนยานุภาพขีปนาวุธตงเฟิง-41 ไฮเปอร์โซนิกความเร็ว ถึง 25 เท่าความเร็วเสียง (36,000 กม./ชม.) ที่จะติดตั้งในทะเลจีน มหาสมุทรอินเดีย และทะเล

เมดิ เ ตอร์ เ รเนี ย น ขี ป นาวุ ธ เหล่านีบ้ งั คับได้ตลอดวิถกี ารบิน และตรวจจับได้ยาก สามารถ ยิงจากฐานยิงเคลื่อนที่บนถนน รางรถไฟ และฐานยิงจรวด หรือ ไซโลทีจ่ ะเคลือ่ นย้ายสูฐ่ านยิงได้ (Dongfeng-41(CSS-X-20) missiledefenseadvocacy. org)

Construction Thailand September • October 2021

23


ในปี ค.ศ. 2018 มีการท�ำ architecture workshop กรณี ก ารตั้ ง ฐานทั พ เรื อด� ำ น�้ ำ ด้านอ่าวไทยทีเ่ กาะสมุย จังหวัด สุราษฎร์ธานี จึงมีการวางผัง แม่บท Navy Base Center, Samui Island Thailand ที่ คณะสถาปั ต ยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย จังหวัดสงขลา และได้รับการ ตอบรั บ เข้ า ประชุ ม ในงาน Annual Conference on Engineering and Information Technology ACEAIT Osaka, Japan, March 24-26, 2020 ยกเลิกด้วย COVID 19 จากเดิ ม การวิ เ คราะห์ ที่ ตั้ ง Navy Base Center, Samui Island Thailand แต่มี ข้อมูลใหม่ว่า Chinese Cruise-Missile System ของประเทศจีน ทีว่ างฐานขีปนาวุธนิวเคลียร์ตาม แนวชายฝั่งจากด้านตะวันออก ตั้ ง แต่ ด ้ า นเหนื อ จรดด้ า นใต้ จะสิ้ น สุ ด ที่ ป ระเทศเวี ย ดนาม ที่ไม่อนุญาตให้ก่อสร้างได้ จึง หยุดทีแ่ นว X จนไม่สามารถวาง ก�ำลังได้ตลอดแนว “เส้นประ

1

“บทความแห่งความเงียบ The Article of Silence” “จากความเงียบของเรือด�ำน�้ำ ในท้องทะเล นับแต่นี้ไป กัมปนาทแห่งท้องฟ้า ของขีปนาวุธจะปรากฎ” ดังที่กล่าวมาแล้ว “ก็เป็นเพียงนิยาย เรื่องหนึ่งเท่านั้น”

24

Construction Thailand September • October 2021

“Master Plan Design of Navy Base Center, Samui Island Thailand 2018”

ช่องว่างของฐานขีปนาวุธนิวเคลียร์ของมหาอ�ำนาจ เส้นประสีแดง X-Y

9 เส้น” Chinese Nine-Dash Line Map ทะเลจีนใต้ได้ (X-Y GAP) ส่วนทางใต้ของไทยนั้น สิงคโปร์และมาเลเซียก็ไม่อนุญาตให้ประเทศใดสร้างฐานขีปนาวุธนิวเคลียร์ได้ หากมี ก ารอนุ มั ติ ใ นประเทศไทย เส้ น ขอบเขตที่ เ หมาะสมจะอยู ่ ร ะหว่ า งแนว A-B (A-สุราษฎร์ธานี ที่พ้นเขตแนวอินโดจีนทางทิศตะวันออก) (B-สงขลา) ที่พ้นจากพื้นที่ความ ไม่สงบของสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามหลักวิศวกรรมอวกาศนั้น จรวดไปดวงจันทร์กับจรวดขีปนาวุธนิวเคลียร์จะมีลักษณะ แตกต่างกัน แต่ด้านสถาปัตยกรรมแล้ว ฐานยิงจรวดทั้ง 2 แบบจะมีผังแม่บทที่เหมือนกันมาก

2 3

เมื่อมีการสร้างสะพานแล้วเกาะสมุยจะกลายเป็นแหลมสมุย เหมือนแหลมคะแนเวอรัล ของสหรัฐอเมริกา ที่เหมาะสมในการสร้างฐานจรวดไปดวงจันทร์ หรือฐานยิงขีปนาวุธนิวเคลียร์ ของต่างชาติ บทความนีบ้ ง่ ถึงความวิตกกังวล หากรัฐบาลไทยจะสร้างฐานยิงจรวดไปดวงจันทร์ ทีม่ ปี ระเทศ จีนให้การสนับสนุน และจะเหมือนกับ ดร.ไอแซค อสิมอฟ ที่มีความห่วงใยประเทศชาติก�ำเนิด ของเขา แต่ไม่สามารถแสดงออกได้ จึงเขียนนวนิยายดังกล่าว และด้วยเหตุผลเดียวกัน นวนิยาย ไทยเรื่องนี้จึงเกิดขึ้น


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.