EDITOR TALK กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
สวนช. เห็นชอบ (ร่าง) แผนกลยุทธ์การพัฒนาบุคลากรวิจยั และนวัตกรรม ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) เพิม่ สัดส่วนนักวิจยั เป็น 60 คน ต่อประชากร 10,000 คน ใน 20 ปี เปนทีน่ า ยินดีอยางยิง่ สําหรับวงการวิจยั และพัฒนานวัตกรรมของไทย เมือ่ ทีป่ ระชุม สภานโยบาย วิจยั และนวัตกรรมแหงชาติ (สวนช.) ไดเห็นชอบ (ราง) แผนกลยุทธการพัฒนาบุคลากรวิจยั และนวัตกรรม ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ซึง่ ทีป่ ระชุมไดเนนยํา้ ใหแผนกลยุทธดงั กลาวใหความสําคัญกับการเรียน รูต ลอดชีวติ การสงเสริมใหเกิดอาชีพนักวิจยั เพือ่ สรางความเขมแข็งใหภาคอุตสาหกรรม โดยเฉพาะวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) รวมถึงใหความสําคัญกับการผลักดันใหมีการทํางานรวมกันระหวาง สถาบันอุดมศึกษากับภาคเอกชนและภาคสังคมมากขึ้น โดยอาจกําหนดเปนตัวชี้วัดการปฏิบัติงานของ บุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาเพื่อใหเห็นผลเปนรูปธรรมมากยิ่งขึ้น เปนตน เปาหมายของ (ราง) แผนกลยุทธการพัฒนาบุคลากรวิจยั และนวัตกรรม ระยะ 20 ป ประกอบดวย ประการแรก. มุง ใหเกิดบุคลากรวิจยั และนวัตกรรมของไทยทีม่ คี ณ ุ ภาพสูงทัดเทียมนานาชาติและมีจาํ นวน เพียงพอ โดยมีเปาหมายเพิม่ จํานวนบุคลากรวิจยั และพัฒนาเปน 60 คนตอประชากร 10,000 คน ภายใน ป 2579 จากเดิมป 2558 ที่มีจํานวนบุคลากรวิจัยและพัฒนาเพียง 13.6 คนตอประชากร 10,000 คน ประการทีส่ อง บุคลากรวิจยั และนวัตกรรมมีความสามารถในการพัฒนาตอยอดและนําเทคโนโลยีมาปรับใช และสามารถดึงดูดการลงทุนจากบริษทั ตางชาติได โดยมีอนั ดับดานคุณภาพของนักวิทยาศาสตรและวิศวกร ตรงความตองการของสถานประกอบการ ติด 1 ใน 14 จากการจัดอันดับของ WEF (The World Economic Forum) และเพิม่ สัดสวนแรงงานทักษะสูง เปนรอยละ 25 และ ประการสุดทาย ประเทศไทยมีระบบการ สรางตัวปอนเขาสูอาชีพบุคลากรวิจัยและนวัตกรรมที่ใหโอกาสกับทุกพื้นที่อยางทั่วถึง มีสัดสวนบัณฑิต สายวิทยาศาสตรตอสายสังคมศาสตร เพิ่มเปน 70:30 และเพิ่มจํานวนนักเรียนผูมีความสามารถพิเศษ ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ไดรับการพัฒนาตอยอดเพื่อเตรียมเขาสูอาชีพวิจัยและนวัตกรรมเปน รอยละ 3 ของเยาวชนทุกชวงวัย สําหรับ วารสาร Engineering Today ฉบับนี้ยังเกาะติดโครงการสําคัญระดับชาติของไทย ผาน รายงานเรื่อง “สภาวิศวกรและสภาสถาปนิก จับมือภาคีพันธมิตรองคกรวิชาชีพ ระดมสมองรถไฟ ความเร็วสูงไทย-จีน ระยะที่ 1 เนนถายโอนเทคโนโลยี-พัฒนาบุคลากร”, “สัมภาษณคณ ุ ไกรสีห กรรณสูต กรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) หนุนไทยเปน Hub ดานพลังงานทุกรูปแบบรองรับ Thailand 4.0” ตามดวย “ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกรวาดวยการขึ้นทะเบียนวิศวกรวิชาชีพอาเซียน (ASEAN Chartered Professional Engineer) ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๖๐” และ “ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร วาดวยการขึ้นทะเบียนเปนวิศวกรเอเปค (APEC Engineer) ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๖๐” ที่วิศวกรไทย ตองรู บอกไดคําเดียววาฉบับนี้ครบเครื่องจริงๆ ไมควรพลาดครับ
เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด วารสาร “Engineering Today” เปนวารสารรายสองเดือน ของบริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด บทความที่ตีพิมพในวารสาร “Engineering Today” ขอสงวนสิทธิใ์ นการนําไปใชคดั ลอก ดัดแปลง นําไปรวมตีพมิ พเผยแพรเพือ่ ประโยชนในวงการวิศวกรรม ขอความ ที่ตีพิมพในบทความและโฆษณาในวารสาร “Engineering Today” เปนความคิดเห็นสวนตัวของผูเขียนหรือผูลงโฆษณาเอง ซึ่งทาง วารสารฯ ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไปถาบทความใดผูอานเห็น วาไดมีการลอกเลียนหรือแอบอางโดยปราศจากการอางอิง หรือ ทํ า ให เ ข า ใจผิ ด ว า เป น ผลงานของตน กรุ ณ าแจ ง ให ท าง กองบรรณาธิการทราบ จักเปนพระคุณยิ่ง รายละเอียดตางๆ ที่ปรากฏในวารสารฯ ไดผานการตรวจ ทานอยางถีถ่ ว นเพือ่ ความถูกตองสมบูรณทสี่ ดุ เทาทีส่ ามารถกระทํา ได ทางวารสารฯ ไมไดมีการรับประกันความเสียหายอันอาจเกิด ขึ้นจากการนําขอมูลในวารสารฯ ไปใชแตอยางใด ผูนําเนื้อหาที่ตีพิมพในวารสารฉบับนี้ไปเผยแพรไมวาบาง สวนหรือทั้งหมด จะตองอางอิงชื่อวารสารและบริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด ดวยทุกครั้งในทุกหนาที่มีเนื้อหาดังกลาว
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝายโฆษณา e-Mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์
ฯพณฯ พลอากาศเอกกําธน สินธวานนท
คณะที่ปรึกษา
ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ตอตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน พันธุบรรยงก, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน เหมวชิรวรากร
บรรณาธิการอํานวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการผูพ มิ พผโู ฆษณา สุเมธ บุญสัมพันธกจิ บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรียพร วงศศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย เรืองติก พิสูจนอักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ ผูจัดการฝายโฆษณา เขมจิรา ปลาทิพย ฝายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตษ, กัลยา ทรัพยภิรมย เลขานุการฝายผลิต ชุติมันต บัวผัน ฝายสมาชิก นันธิดา รักมาก โรงพิมพ บจก. ฐานการพิมพ แยกสี บจก. คลาสิคสแกน จัดจําหนาย บจก. ธนบรรณปนเกลา Engineering Today
CONTENTS COLUMNS 8
32 วสท.จัดงานวิศวกรรมแหงชาติ 2560 ภายใตแนวคิด วิศวกรรม 4.0
บทบรรณาธิการ
สวนช. เห็นชอบ (ราง) แผนกลยุทธการพัฒนาบุคลากรวิจัย และนวัตกรรม ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) • กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
Interview 18 คุณไกรสีห กรรณสูต หนุนไทยเปน Hub ดานพลังงานทุกรูปแบบ รองรับ Thailand 4.0
สรางความตื่นตัวใหคนไทย-วิศวกรไทยเตรียมกาวสู Thailand 4.0
• กองบรรณาธิการ
34 Cover Story
New VEGAPULS 64 Radar Sensor secures processes in The Food Industry • บริษัท วีกา อินสตรูเมนท จํากัด
36 Project Today
• กองบรรณาธิการ
สมอ. เรงรัดกอสรางศูนยทดสอบยานยนตและยางลอแหงชาติ คาดเฟสแรกแลวเสร็จมีนาคม 2561
• กองบรรณาธิการ
38 Industry 4.0
18 22 คุณลิซา งามตระกูลพานิช มองหาจุดแข็งแลวพัฒนาใหดียิ่งขึ้น พรอมลดทอนจุดออนใหนอยลง
กระทรวงวิทยฯ จับมือเอกชน พัฒนาเครื่องจักรตนแบบ 5 เครื่อง
• กองบรรณาธิการ
41 บทความพิเศษ
ประโยชน 6 ประการที่ธุรกิจจะไดรับจาก Blockchain
• มร.สตีฟ ทรีกัสต
• กองบรรณาธิการ
24 ระเบียบวิศวกร วาดวยการขึ้นทะเบียนวิศวกรวิชาชีพอาเซียน
(ASEAN Chartered Professional Engineer) ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2560
41
25 ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกรวาดวยการขึ้นทะเบียน
เปนวิศวกรเอเปค (APEC Engineer) ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2560
26 Quality
ธปท.จับมือผูใหบริการเครดิตระดับโลก 5 ราย ใชมาตรฐาน QR Code เพื่อการชําระเงินแบบใหม
• กองบรรณาธิการ
45 Energy Today
เครื่องกังหันกาซรุน HA ของจีอี สรางสถิติโลกในกินเนสส เวิลด เรคคอรด
• กองบรรณาธิการ
Report
28 กสอ.เยี่ยมชมโรงงานป.พานิชรุงเรืองปาลมออยล 2 จ.กระบี่ พัฒนา
หมอนึ่งระบบอัตโนมัติ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต-ลดแรงงานกวาครึ่ง
• สุรียพร วงศศรีตระกูล
48 Digital Economy
ซีเมนสจัดงาน ดิจิทัลไลเซชัน เดย โชวดิจิทัลโซลูชั่น สนับสนุนองคกรในไทยกาวสูระบบดิจิทัล
• กองบรรณาธิการ
50 Thailand 4.0
28
สวทช. จับมือ ซัมมิท รวมวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีออกแบบ และผลิตชิ้นสวนยานยนต ตอบโจทย Thailand 4.0
• กองบรรณาธิการ
PRWLRQ SODVWLFV p
ಹࡡࢀࡩࡢ࡚ࡨࡑ PDFKLQH WRROV ࠹ࡤ࠾࠻ࡊಹ
ࡋࡌࡼࡐࡎࡐ ࡳࡎ࠻ࡵࡐࡵ࡙ࡎࡐ ࡨ ࡡࡘࡨ࡙࠹ࡐ ࡼ
EHDULQJV H FKDLQV H WXEHV ࡴࡧ FDEOHV ࡕ࡚ࡼࡤࡘࡡࢀࡩࡢ࡚ࡨࡑ࠸ࡩ࡚ࡌࡋࡌࡨ࠾ࡼ ࡴࡧࡎࢀࡩ࠾ࡩࡐࡵࡋ࡙ࡷࡘࡻࡌࡤ ࡼ ࠾ࡑࢀࡩ࡚࠾࡚ࡨ࠸ࡠࡩࡶࡋࡹ ࡡࢀࡩࡢ࡚ࡨࡑ PDFKLQH WRROV ࠹ࡤ࠾࠻ࡊ O ࡳࡡ࡙࠾ࡳ࠾࡙ࡑ ࡚࡞ࡋࡳ࡚ࡺ࡞ ࡘ࠸ࡩ࡚ࡎࢀࡩ࠾ࡩࡐࡴࡑࡑࡴࡢࡼ࠾ ࡴࡧࡘ࠻࡞ࡩࡘࡌࡼࡩࡐࡎࡩࡐࡌࡻࡤࡐࡼࡩࢀ ࡘࡨࡐ O ࡘ࠻࡞ࡩࡘࡐࡻࡩࡳࡁࡤ ࡻ ࡍࡤ ࡚ࡩ࠻ࡩࡍࡰ࠸ ࡴࡧࡘ࠻ࡨ࠾ࡡࡐ࠻ࡼࡩࡤ࡙ࡰࡎ ࡻ ࡞ࡻࡨ ࡵ࠸ O ࡡࡩࡘࡩ࡚ࡍ࠻ࢀࡩࡐ࡞ࡊࡤࡩ࡙࠸ࡩ࡚ࡶࡁࡼ࠾ࡩࡐࡎ࡙ ࡻ ࡩ࡞ࡐࡩࡐ࠹ࡐ ࡼ ࡨࡋࡡࡻ࠾ࡩ࠸ ࡁࡨ࡞ࡻ ࡵࡘ࠾ ࡡࡩࡘࡩ࡚ࡍ࠻ࢀࡩࡐ࡞ࡊࡎࡩ࠾ࡤࡤࡐࡷࡐࡿ ࡋࡰ࡞ࡏ ࡴ ࠸ࡼࡒࡄ ࡨ ࡢࡩ࠹ࡤ࠾ ࡳ࡚ࡩࡡࢀࡩࡢ࡚ࡨࡑ PDFKLQH WRROV ࠹ࡤ࠾࠻ࡊ ࡷࡋࡼࡎ ࡻ LJXV FR WK PDFKLQHWRROV p
ࡳ࡙࡙ ࡻ ࡘࡁࡘࡳ࡚ࡩࡎ ࡻ +DOO ದ %RRWK QR $0 LJXV 7KDLODQG &R /WG ࡤࡩ࠻ࡩ࡚ࡏࡐࡗࡰࡘ ࡁࡨࡐ ࡼ & ࡍࡐࡐࡳࡕࡁ࡚ࡑ࡚ ࡌࡨࡋࡶࡢࡘࡻ ࡴ࠹࡞࠾ࡘࡨ࠸࠸ࡧࡡࡨࡐ ࡳ࠹ࡌ࡚ࡩࡁࡳࡎ࡞ ࠸࡚࠾ࡳࡎࡕ p
ࡡࡐ࠻ࡼࡩࡌࡨ࡞ࡤ࡙ࡻࡩ࠾ࡖ࡚ ࡵࡎ࡚ )D[
SODVWLFV IRU ORQJHU OLIH p
CONTENTS COLUMNS 68 แนะนําสมาคม
เปดตัวสมาคมการคาผูใหบริการชําระเงินอิเล็กทรอนิกสไทยยกระดับ การชําระเงินอิเล็กทรอนิกสของไทยเทียบเทาสากล
• กองบรรณาธิการ
81 Project Management
52 Innovation
ศาสตรพระราชา กับการพัฒนาที่ยั่งยืน ขอตามรอยพระบาททุกชาติไป
50
• ดร.พรชัย องควงศสกุล
CONSTRUCTION THAILAND
มจธ. โชวนวัตกรรมฟองนํ้าเช็ดทําความสะอาดคราบนํ้ามัน และแผนเช็ดทําความสะอาดผิว สรางมูลคาเพิ่มใหเสนใยนุน
• กองบรรณาธิการ
70 Construction
สภาวิศวกรและสภาสถาปนิก จับมือภาคีพันธมิตรองคกรวิชาชีพ ระดมสมองรถไฟความเร็วสูงไทย-จีน ระยะที่ 1
54 Research & Develpoment
• กองบรรณาธิการ
รพ.ศิริราชนําเทคโนโลยีแสงซินโครตรอน พัฒนางานวิจัย ยกระดับวงการแพทยไทย
73 Tips
• กองบรรณาธิการ
“เอสซีจี เอลเดอรแคร โซลูชั่น” แนะ 4 เคล็ดลับ ปรับพื้นที่สําคัญของบาน เพิ่มความปลอดภัยในการอยูอาศัยของผูสูงวัย
56 บทความ
การจัดการดานความปลอดภัยทางรังสี สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องคการมหาชน)
• กองบรรณาธิการ
• เมธี โสภณ
59 Environment
ซิลเลี่ยน อินโนเวชั่น จับมือสิงคโปร เปดตัวนวัตกรรมสวน Green Wall ปรับภูมิทัศนกรุงเทพฯ สูเมืองสีเขียว
73
• กองบรรณาธิการ
76 Property
IT Update
60 ฮิตาชิ ดาตา ซิสเต็มส พัฒนาเทคโนโลยี HVS
ตอบโจทยการกาวสู Smart City ในเอเชียแปซิฟก
• กองบรรณาธิการ
ออริจิ้น จับมือ โนมูระ ชูโนวฮาว “Luxmore” สรางมิติใหมที่พักอาศัย พรอมเดินหนารวมทุนอสังหาริมทรัพยไทยครบวงจร
• กองบรรณาธิการ
78 Equipment
60 62 มทม. ผนึกกําลังซินนาคอรเปดตัว Zimbra Innovation Program มุงพัฒนาหลักสูตรสรางนักพัฒนาซอฟตแวร
• กองบรรณาธิการ
สยามคูโบตาครองตําแหนงผูนําตลาดรถขุดขนาดเล็กในไทย พรอมรองรับโครงการกอสรางทั้งภาครัฐ-เอกชน
• กองบรรณาธิการ
14, 16 86, 87, 88 93 95
Spotlight Focus Activities Gadget
Spotlight รองนายกฯ ตรวจสอบความคืบหน้าการจัดสร้างพระเมรุมาศ พลเอกธนะศั ก ดิ์ ปฏิ ม าประกร รองนายก รัฐมนตรี ประธานกรรมการฝายจัดสรางพระเมรุมาศ สิง่ ปลูกสรางประกอบพระเมรุมาศ และบูรณปฏิสงั ขรณ ราชรถและพระยานมาศ ในงานพระราชพิ ธี ถ วาย พระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมพิ ลอดุลยเดช ไดลงพืน้ ทีต่ รวจสอบความคืบหนา การจัดสรางพระเมรุมาศ สิ่งปลูกสรางประกอบพระ เมรุมาศ ณ ทองสนามหลวง โดย อนันต ชูโชติ อธิบดี กรมศิลปากร ไดรายงานความคืบหนาภาพรวมการ ดําเนินงาน พบคืบหนามากกวารอยละ 95 (ขอมูล ณ 21 กันยายน 2560)
พลเอกธนะศักดิ์ ปฏิมาประกร รองนายกรัฐมนตรี
14
On-line Partial Discharge Test & Service
PD TEST FOR RMU
PD TEST FOR POWER TRANSFORMER
OFF-LINE TEST PD FOR MV CABLES PD TEST FOR MV MOTOR & GENERATOR
PD TEST FOR DRY TYPE TRANSFORMER
www.planmarketgold.com
PD TEST FOR GIS
PD TEST FOR AIS
PD MONITORING SYSTEM
PD TEST FOR OIL TYPE TRANSFORMER
pdsolutions.th@gmail.com
planmarketgold@gmail.com
Spotlight สวทช. จับมือ สอท. และ มจพ. ร่วมลงนาม MOU EECi พัฒนาบุคลากร เสริมความแข็งแกร่ง ขับเคลื่อน EECi ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล ผูอํานวยการสํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) พรอมดวย ดร.ขัติยา ไกรกาญจน รองประธานสภา อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (ส.อ.ท.) และ ศ. ดร. สุชาติ เซี่ยงฉิน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกลาพระนครเหนือ (มจพ.) รวมลงนาม ความรวมมือ สนับสนุนการพัฒนาเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor of Innovation) หรื อ EECi เพื่ อ พั ฒ นากํ า ลั ง คน ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นวัตกรรมงานวิจัยที่ เกี่ยวของกับภาคอุตสาหกรรมไทย นําไปสูการสราง อุตสาหกรรมใหมที่มีมูลคาที่สูงขึ้น พรอมขับเคลื่อน พัฒนาพื้นที่เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออกใหแข็งแกรง สามารถแขงขันดานการคากับ ตางประเทศไดอยางยั่งยืนตามกรอบนโยบายที่รัฐบาล กํ า หนดไว ณ ชั้น 3 หองออดิ ทอเรีย ม ศูน ยประชุม อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย
ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล
ดร.ขัติยา ไกรกาญจน
ศ. ดร.สุชาติ เซี่ยงฉิน
ถายภาพรวมกัน
พิธีลงนามความรวมมือ ระหวาง สวทช. กับ มจพ.
พิธีลงนามความรวมมือ ระหวาง สวทช. กับ ส.อ.ท.
วช. จัดงาน ตลาดนัดเปิดโลกผลงานวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 2 ชูแนวคิด “วิจัยขายได้” ต่อยอดงานวิจัยอย่างเป็นรูปธรรม
พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง
ศ. ดร. นพ.สิริฤกษ ทรงศิวิไล
พิธีเปดงานตลาดนัดเปดโลกผลงานวิจัย และนวัตกรรม ครั้งที่ 2 วิจัยขายได
ประธานในพิธีเยี่ยมชมงานวิจัยในงาน
การผลิตมิริน เครื่องปรุง อาหารญี่ปุนจากขาวไทย
Stem Cell จากจมูกขาว
สวนหนึ่งของผลิตภัณฑ งานวิจัยที่นํามาจัดแสดง
16
สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ (วช.) จัดงาน ตลาดนัดเปดโลกผลงานวิจยั และนวัตกรรม ครัง้ ที่ 2 : วิจยั ขายได ตอบรับนโยบายของรัฐบาล ที่ ต อ งการให นํ า งานวิ จั ย มาพั ฒ นาให เ กิ ด เป น รูปธรรม และเปนป จจัยหลั กสําหรับ ขั บ เคลื่อน เศรษฐกิจและสังคมของประเทศตามยุทธศาสตรชาติ 20 ป และ Thailand 4.0 โดยไดรับเกียรติจาก พล.อ.อ.ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี เปน ประธานในพิธีเปดงาน โดย ศ. ดร. นพ.สิริฤกษ ทรงศิวิไล เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) ใหการตอนรับ ณ อาคาร ไปรษณียก ลาง บางรัก ภายในงานตลาดนั ด เป ด โลกผลงานวิ จั ย ครั้งที่ 2 นอกจากจะมีนิทรรศการผลงานวิจัยแลว ยังมีผลิตภัณฑจากผลงานวิจัยการใหคําปรึกษา จาก SME BANK และกรมทรัพยสินทางปญญา มาใหคําแนะนําใหกับผูที่สนใจตลอดการจัดงาน อีกดวย
Interview
• กองบรรณาธิการ
คุณไกรสีห์ กรรณสูต กรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.)
“หนุนไทยเป็น Hub ด้าน พลังงานทุกรูปแบบรองรับ Thailand 4.0”
คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) หรือมีชื่อ เรียกที่รูจักกันดีวา Regulator เปนองคกรอิสระและเปนองคกร หลักในการกํากับดูแลการประกอบกิจการพลังงานอยางเทีย่ งธรรม โปร ง ใส เพื่ อ ความมั่น คงของกิ จการพลัง งานไทย สร างความ มั่นใจ สรางความนาเชื่อถือใหแกประชาชน พัฒนาประเทศให เจริญกาวหนาตามมาตรฐานและเปนที่ยอมรับในระดับสากล เพื่อประโยชนในการพัฒนาประเทศไทยอยางยั่งยืน พรอมกับ สรางความมั่นใจวา ในอนาคตของประเทศไทยจะมีพลังงานที่ พอเพี ย งต อ การใช ง านและสร า งโอกาสทางการแข ง ขั น ของผู ประกอบการไทยใหมศี กั ยภาพ มีคณ ุ ภาพ ทัดเทียมกับตางประเทศ
Engineering Today September - October 2017
18
กกพ.ชูบทบาทสร้างความมั่นคง ด้านพลังงานของประเทศอย่างยั่งยืน คุณไกรสีห กรรณสูต หนึ่งใน กรรมการกํ ากับกิจ การ พลังงาน หรือ Regulator กลาวถึงการทํางานในหนาทีก่ รรมการ Regulator วามีสวนทั้งใหคุณและโทษแกผูประกอบการดาน กิจการพลังงานภายใตขอบเขตของกฎหมาย โดยกํากับดูแลกิจการ ไฟฟาทั้ง 3 หนวยงานหลักของรัฐบาล ไดแก การไฟฟาฝายผลิต แหงประเทศไทย (EGAT) การไฟฟาสวนภูมิภาค (PEA) และ การไฟฟานครหลวง (MEA) นอกจากนั้ นยังเขาไปกํากับดูแ ล กิจการโรงไฟฟา กิจการพลังงานทดแทน และพลังงานทุกรูปแบบ
ของภาคเอกชน ใหเกิดการแขงขันตามกรอบของกฎหมายกําหนด เพื่อใหเปนธรรมกับผูใชไฟฟา ประชาชนทั่วไป ผูประกอบการ โดยรัฐบาลซึ่งเปนผูกํากับการดานพลังงานอยางดีที่สุด “คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) หรือ Regulator เป น องค ก รอิส ระ ปลอดจากการกา วก า ยของการเมือง เปน องคกรทีค่ อยถวงดุลผลประโยชนของภาครัฐ โรงไฟฟา ประชาชน ผูใชไฟฟาและประชาชนที่อยูรอบๆ โรงไฟฟา มีอํานาจใหคุณ ใหโทษภายใตขอบเขตของกฎหมาย มีหนาที่ดูแลการประกอบ กิ จ การไฟฟ า ให มี ค วามมั่ น คง กํ า กั บ ดู แ ลราคาและคุ ณ ภาพ บริการใหมีความเหมาะสม เพื่อคุมครองผูบริโภค ประสานงาน ใหมกี ารลงทุนอยางเหมาะสมเพือ่ ใหเกิดการปรับปรุงประสิทธิภาพ และความมัน่ คงของระบบไฟฟา รองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ รวมทั้งดูแลความเปนธรรมใหกับผูประกอบการ และคุมครอง ผูบ ริโภคใหไดรบั คุณภาพบริการทีด่ ตี ามมาตรฐานสากล พรอมกับ สรางความมั่นใจวาในอนาคตของประเทศไทยจะมีพลังงานที่ พอเพียงตอการใชงาน ซึ่งคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานที่ ไดรับการแตงตั้งเขามาทํางานทุกคน ลวนมีความรูความสามารถ เชี่ยวชาญทางดานพลังงาน กฎหมายพลังงาน มีแนวการทํางาน ที่มุงมั่น ซื่อตรง ซื่อสัตยสุจริต และเปนธรรมแกทุกฝาย” ยึดหลักการทํางานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต สร้างความเป็นธรรมแก่ทุกฝ่าย ในการทํางานทุกงานที่ไดรับมอบหมาย คุณไกรสีห จะยึด หลักมุงมั่น ซื่อสัตยสุจริต สรางความเปนธรรมแกทุกฝาย พรอม ทั้งยึดหลักการครองตน ครองคน และครองงาน เขามาผนวกใช ในการดําเนินชีวิตชวยใหการทํางานประสบความสําเร็จนับตั้งแต เริ่มทํางานในระดับตางๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย ภายหลังจาก จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร สาขาไฟฟา จากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และระดับปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร สาขาไฟฟา จาก University of Washington ประเทศสหรัฐ อเมริกา เชน การทํางานในตําแหนง กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ผลิตไฟฟา จํากัด (มหาชน) ประธานกรรมการ บริษัท ไตร เอนเนอจี้ จํ ากัด และตํา แหน ง สุดท า ยในการทํางานกอน เกษียณอายุคือตําแหนง ผูวาการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย จวบจนกระทั่งรัฐบาลพลเอกประยุทธ จันทรโอชา คัดเลือกและ แตงตั้งใหเขามาทํางานในหนาที่ กรรมการกํากับกิจการพลังงาน ในปจจุบัน “การเรียนในสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟาในสมัยกอนนั้นยัง ไมมีเครื่องไมเครื่องมือที่ทันสมัยใชประกอบการเรียนการสอน อย า งในป จ จุ บั น และมีสิ่ ง ยั่ว ยุใ นการเรีย นมากมาย เราตอง ขวนขวาย ตองขยัน ตองรูจักตนเองวาเราเรียนไดไหม เราเรียน
การไดรับการคัดเลือกเขามาทํา หนาทีก่ รรมการกํากับกิจการพลังงาน หลักสําคัญทีผ่ มถือปฏิบตั คิ อื ตองมี ความเปนธรรม มีธรรมาภิบาล ซือ่ สัตย ตอตนเอง ซื่อสัตยกับประชาชน และ ประเทศชาติเปนสําคัญ เพราะหนาทีน่ ี้ สํ า คัญ มากไม อ ยากถู ก ตราหนา ไป ชั่ ว ลู ก ชั่ ว หลานว า เป น คนโกงกิ น พลังงาน
แลวจะทํางานอะไรเมื่อจบออกมา และเมื่อเขามาในสายงานที่ทํา แลวเราตองพบเจอปญหาและอุปสรรคตางๆ มากมายโดยเฉพาะ เรื่องการทํางานกับคนจํานวนมากและมีผลกระทบตอสวนรวม ชวงที่ผมเปนผูวาการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย รัฐบาลใน สมัยนั้นมีนโยบายในการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ทําใหพนักงานการ ไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยประทวงตอตาน เนื่องจากเห็นวา นโยบายของภาครัฐหมกเม็ดมีวาระซอนเรนในนโยบาย ซึ่งไม โปรงใส ผมในฐานะผูวาการไฟฟาแหงประเทศไทยในสมัยนั้น แมจะไมมีความเกงเขาใจมวลชน เขาใจเรื่องการประทวง แตเมื่อ ภาวะที่จําเปนตองแกปญหาใหพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทย สังคม และประชาชนทัว่ ไปมีความเชือ่ ใจมัน่ ใจวาผม จะทํางานดวยความซื่อสัต ยสุจริต จริงใจ นําพาองคก รไปใน ทิศทางที่ดีขึ้น เนนทําเพื่อประโยชนสวนรวม ทําใหเขาเกิดความ เชื่อมั่นวาเขาทําแลว เราทําแลว ผลประโยชนที่ทําตกอยูกับสวน รวมไมใชตกอยูก บั กลุม ใดกลุม หนึง่ หรือตกอยูก บั ใครคนใดคนหนึง่ อยางเด็ดขาด ซึ่งก็สามารถแกไขปญหาและคลี่คลายลงได” “การไดรับการคัดเลือกเขามาทําหนาที่กรรมการกํากับ กิจการพลังงาน หลักสําคัญทีผ่ มถือปฏิบตั คิ อื ตองมีความเปนธรรม มี ธรรมาภิบ าล ซื่อสัต ยต อตนเอง ซื่อสัต ยกับ ประชาชน และ ประเทศชาติเปนสําคัญ เพราะหนาที่นี้สําคัญมากไมอยากถูก ตราหนาไปชั่วลูกชั่วหลานวาเปนคนโกงกินพลังงาน”
19 19
Eng Engineering ngine inne neeri e ng n Tod Today ay Se Septe September ptembe embeer - Oct Octobe October obe b r 201 2017 17
นําหลักอิทธิบาท 4-พรหมวิหาร 4 สร้างการทํางานให้เป็น Happy Work Place นอกจากนี้ คุ ณ ไกรสี ห ยั ง ได นํ า หลั ก พุ ท ธศาสนาเรื่ อ ง อิทธิบาท 4 ประกอบดวย ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา และหลัก พุทธศาสนาเรื่อง พรหมวิหาร 4 ประกอบดวย เมตตา กรุณา มุติทา อุเบกขา เขามาประยุกตใชในการทํางานใหการทํางานเปน Happy Work Place ใหพ นั กงานในทุกระดับสายชั้นทํ างาน รวมกันอยางมีความสุข “การทํางานที่ตองติดตอกับหลายหนวยงานทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชนยอมเกิดความเครียด การสรางบรรยากาศทีผ่ อ นคลาย ใหพนักงานในทุกระดับไดมีโอกาสเขาถึงหลักพุทธศาสนาบาง จะเป น การกล อ มเกลาและขั ด เกลาจิ ต ใจให ผ อ นคลายลงได ผมจึงนําหลักพุทธศาสนาเรื่องอิทธิบาท 4 ซึ่งเปนหลักแหงความ สําเร็จประกอบดวย ฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา และหลักพุทธ ศาสนาเรื่องพรหมวิหาร 4 เปนหลักธรรมประจําใจเพื่อใหตน ดํารงชีวิตไดอยางประเสริฐและบริสุทธิ์ ประกอบดวย เมตตา กรุณา มุติทา อุเบกขา เขามาประยุกตใชในการทํางาน สราง บรรยากาศ Happy Work Place ใหพนักงานในทุกระดับสายชัน้ การทํางานทีผ่ มวัดไดจากตัวชีว้ ดั ทีก่ าํ หนดไวมปี ระสิทธิภาพมากขึน้ ขณะเดียวกันการใหรางวัล อาจจะเปนโบนัส คาตอบแทน หรือ เลือ่ นขัน้ การทํางาน เพือ่ ตอบแทนพนักงานทีม่ ผี ลงานดีแกองคกร ตามความเหมาะสม เปนตน
การที่จะทําใหประเทศไทยเปน Hub ทางดานพลังงานทุกรูปแบบได จะตอง บูรณาการทํางานรวมกันของทุกฝายที่เกี่ยวของ ปรับการทํางานใหมีทิศทางเดียวกัน ยอมรับการ เปลี่ยนแปลงเขาสูยุค Thailand 4.0 ที่ตองมีการ ทํางานรวมกับหุนยนตนอกจากการทํางานรวมกับ คนดวยกัน เพื่อใหการขับเคลื่อนประเทศไทย เปน Hub ดานพลังงานไดอยางรวดเร็ว มากยิ่งขึ้น
Enggine Engine Engineering in eri riing Tod Today o ay ay Se Septe September pt mbe pte mberr - Oct Oc October oberr 201 obe 2 2017 7
20 20
ผู้ประกอบการต้องมีจิตสํานึกด้านสิ่งแวดล้อม ให้ประชาชนเกิดการยอมรับและไว้ใจ คุณไกรสีห กลาววา ปจจุบนั มีเครือ่ งมือ เทคโนโลยีสมัยใหม ที่ดีมากมายหลายประเภท ทั้งที่คิดคนเองจากนักวิจัยไทยและ สั่งซื้อนําเขามาจากตางประเทศมาใชตรวจวัดตรวจสอบเรื่องการ กํากับดูแลกิจการพลังงาน เชน การพัฒนาการใชยานยนตไฟฟา EV (Electric Vehicle) การทําปลั๊กไฟที่ชารจยานยนตไฟฟา ตองมีมาตรฐานและไดมาตรฐานตามกําหนด สถานีชารจไฟฟา ตางๆ ทั้งที่จะเปนพื้นที่ของภาครัฐ เอกชน สถานีจําหนายนํ้ามัน สถานที่ราชการ หางสรรพสินคา การตรวจฝุนละอองในสถาน ประกอบการของผูป ระกอบกิจการดานพลังงาน ทัง้ นีก้ ารประกอบ ธุร กิจพลังงานผูประกอบการตองตระหนักถึงความปลอดภัย การมีสวนร วมของภาคสังคม ภาคประชาชน โดยเฉพาะการ ตรวจสอบเรื่ อ งผลกระทบสิ่ ง แวดล อ มต อ ส ว นรวมในสั ง คม ประชาชน และประเทศชาติอยางรอบดาน ใหทุกคนอยูรวมกัน อยางมีความสุขไมขัดแยงในเรื่องพลังงาน “สังคมชาวบานเขามีความเชือ่ มาโดยตลอดวาถามีโรงไฟฟา โรงงานชีวมวล ที่เกี่ยวกับพลังงานไปตั้งฐานการผลิตที่ไหนก็จะ สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมลอมตามมาอยางหลีกเลี่ยงไมได แตเชื่อวาถาเราชวยกันสรางความคิดใหมๆ สรางจิตสํานึกที่ดี ในการดูแลสิ่งแวดลอมเริ่มจากตัวเราเองกอน ชวยกันตรวจสอบ สอดสองการทํางานทั้งในสวนของภาครัฐเอง ภาคเอกชน และ ภาคประช ภาคประชาชนร วมกัน จะสรางโอกาสใหเกิดการยอมรับและ ลดการหว ลดการหวาดระแวงเรื ่องสิ่งแวดลอมระหวางราชการ เอกชน และ ประชาชน ประชาชน”
แนนอนวาการพัฒนาคน เปนอีกเรื่องที่มีความจําเปนในการ าร กาวสู Energy 4.0 และ Thailand 4.0 โดยขณะนี้กําลังพัฒนาและสรางคน รองรับไปพรอมๆ กับการขับเคลื่อน นโยบายดานพลังงานเชนเดียวกัน
ไทยจะก้าวสู่ Hub ด้านพลังงานทุกรูปแบบได้ ทุกฝ่ายต้องบูรณาการทํางานร่วมกัน คุณไกรสีห กลาววา ในฐานะคณะกรรมการกํากับกิจการ พลังงาน ปรารถนาทีจ่ ะใหประเทศไทยเปนศูนยกลาง (Hub) ดาน พลงงานทุ พลังงานทุกรูปแบบ โดยเฉพาะพลงงานทางเลอกซงเปนนโยบาย โดยเฉพาะพลังงานทางเลือกซึ่งเปนนโยบาย ของรัฐบาลทีต่ อ งการใหประเทศไทยใชพลังงานทางเลือกทดแทน พลังงานจากธรรมชาติที่นับวันจะหายาก และมีราคาที่สูง เชน นํ้ามัน ซึ่งตองนําเขาจากตางประเทศ โดยภาคสวนตางๆ ตอง บูรณาการทํางานรวมกัน ใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันเพื่อ ผลประโยชนของประเทศ “การที่จะทําใหประเทศไทยเปน Hub ทางดานพลังงาน แ บบได จะต จะะต อ งบู งบูร ณาการทํ ณาการทํา งานรว มกัน ของทุก ฝ ายที่ ทุทุกรูรูป แบบได เก่ียววขของ ปรั ปรับการทํ กาารทํางานให งานนใหมีทิศทางเดี ทางเดดียววกักัน อย อยามี Ego Ego ใน ใน เกี การทาํ งาน งาน ควรยอมรั ควรยอมรบั การแสดงความคิ การแแสดงความคิดเห็นจากตางหนวยงาน การทํ
ในเรื่องพลังงาน ยอมรับการเปลี่ยนแปลงเขาสูยุค Thailand 4.0 ที่ตองมีการทํางานรวมกับหุนยนตนอกจากการทํางานรวมกับ คนดวยกัน ดานพลังงานหนวยงานที่เกี่ยวของไดนํานโยบาย Energy 4.0 เชนเรื่อง Smart Grid มารองรับนโยบาย Thailand 4.0 เพื่อใหการขับเคลื่อนประเทศไทยเปน Hub ดานพลังงานได อยางรวดเร็วมากยิ่งขึ้น แนนอนวาการพัฒนาคนเปนอีกเรื่องที่มี ความจําเปนในการกาวสู Energy 4.0 และ Thailand 4.0 โดย ขณะนีก้ าํ ลังพัฒนาและสรางคนรองรับไปพรอมๆ กับการขับเคลือ่ น นโยบายดานพลังงานเชนเดียวกัน” สาหรบวสยทศนในการนาองคกรพฒนาสู สําหรับวิสยั ทัศนในการนําองคกรพัฒนาสูค วามยงยนของ วามยัง่ ยืนของ คณะกรรมการกิจการพลังงานไดนอมนําปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 มาประยุกตใชในการทํางาน โดยไมทํางานอยาง กาวกระโดดที่ไมมีความยั่งยืน ไมทํางานโดยหวังผลกําไรและ ตํ า แหน ง หน า ที่ ใ ดๆ แต ต ระหนั ก และทํ า งานอย า งรู ห น า ที่ รูรบั ผิดชอบตอสิ่งแวดลอม ประชาชน ประเทศชาติ อยางมีสติ ไมประมาท มีคุณธรรมพรอมสรางภูมิคุมกันบริหารจัดการ ความเสย่ี งในธุ งในธุรุ กิกจิ กิจการทีก่ าํ ลังทํทาํ อยู อยู รองรับการเปลี การเปปลีย่ นแปลง ความเสี ะเเขา มากระทบในอนาคตทุ มากระทบใในอนาคตทกุ รูรปู แบบ แบบ ที่จะเข
21 21
Eng Engineering ngine inne neeri e ng n Tod Today ay Se Septe September ptembe embeer - Oct Octobe October obe b r 201 2017 17
Interview
• กองบรรณาธิการ
คุณลิซ่า งามตระกูลพานิช อุปนายกสมาคมก่อสร้างไทยฯ และผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษัท วอลทเซ็นเอ็นเตอไพรซ จํากัด หรือเวนโก
มองหาจุดแข็งแล้วพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น พร้อมลดทอนจุดอ่อน ให้น้อยลง
“การทํางานในวงการกอสรางในประเทศกวา 30 ปทผี่ า นมา ยังไมถือวาตัวเองประสบความสําเร็จสักเทาไร เพราะยังมีอีก หลายอยางที่อยากทํา อยากเห็นและยังไมไดทํา การทํางานใน วงการกอสรางทีอ่ ยูม าไดจนถึงทุกวันนีม้ เี หตุและปจจัยหลายอยาง ไมเคยมองวาตัวเองเกงแตที่อยูมาไดเพราะไดรับการสนับสนุน โอกาสและคําแนะนําจากผูใ หญ พยายามทีจ่ ะเรียนรูจ ดุ แข็งจุดออน ของตัวเอง จากนั้นก็พยายามพัฒนาจุดแข็งใหมีศักยภาพที่ดีขึ้น อยางเต็มที่และลดทอนจุดออนใหนอยลงเพื่อนําเอามาใชในการ ทํางาน เราโชคดีที่มี Role Model หลายคน และมีผูรูดานการ บริหารงานกอสรางหลายทานที่พรอมถายทอดองคความรูดาน การกอสราง เพื่อนําไปพัฒนาการทํางานของตัวเองและวงการ กอสรางไทย” แนวคิดดังกลาวแสดงถึงความมุงมั่น และตั้งใจที่จะพัฒนา งานดานอุตสาหกรรมกอสรางไทยใหเปนที่ยอมรับจากสังคม มากขึ้ น ของ คุ ณ ลิ ซ า งามตระกู ล พานิ ช อุ ป นายกสมาคม กอสรางไทย ในพระบรมราชูปถัมภ และ ผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การ บริษัท วอลทเซ็นเอ็นเตอไพรซ จํากัด หรือเวนโก
Engineering Today September - October 2017
22
คุณลิซา งามตระกูลพานิช เลาวา โดยสวนตัวเปนคนชอบ วิชาคณิตศาสตรและฟสิกสเปนทุนอยูเดิมแลว จึงตัดสินใจที่จะ เลือกเรียนวิศวกรรมศาสตร สาขาวิศวกรรมโยธา ในระดับปริญญาตรี ที่มหาวิทยาลัย Tufts University สหรัฐอเมริกา และปริญญาโท ดานบริหารโครงการจาก Northwestern University สหรัฐอเมริกา เพื่อนําองคความรูทางดานวิศวกรรมศาสตรมาสานตอธุร กิจ ครอบครัวภายใตชื่อ บริษัท วอลทเซ็นเอ็นเตอไพรซ จํากัด หรือ เวนโก ซึ่งประกอบธุรกิจดานรับเหมากอสรางงานอาคารภาครัฐ พัฒนาทีด่ นิ และอสังหาริมทรัพย และโรงงานผลิตทอและอุปกรณ เหล็กหลอ มีอายุครบ 48 ปในป 2560 นี้ โดยมีหลักการบริหาร งานมุงเนนใหบริการดานวิศวกรรมที่มีความเปนเลิศทั้งคุณภาพ และบริการ เพราะเวนโกเปนผูรับเหมาหลักที่มีความชํานาญงาน กอสรางอาคารประเภทตางๆ เชน อาคารที่ทําการ สํานักงาน ทีพ่ กั อาศัย สถานศึกษา สถานพยาบาล และโรงงานอุตสาหกรรม เปนตน “ไปเรียนเมืองนอกตั้งแตไฮสกูลเลย เปนคนชอบเรียนทาง สายวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรเลยเลือกเรียนวิศวกรรมโยธา เมือ่ กลับมาทํางานทีป่ ระเทศไทยชวงแรกก็เขา Site ดูงานกอสรางเลย อยู Site หลายปถึงไดเขามาทํางานบริห ารที่สํ านั กงานใหญ
ทุ กวัน นี้ ก็ ยั ง ไป Site และถือ เปน ความโชคดีที่ทํ า งานที่เวนโก เพราะมีวศิ วกรอาวุโสทางดานวิศวกรรมและงานบริหารหลายทาน รวมทัง้ คุณแมคอยใหคาํ แนะนํา ใหคาํ ปรึกษา ไดมกี ารแลกเปลีย่ น องคความรู หลักการทํางาน การบริหารโครงการกอสรางและ ประสบการณตา งๆ ในอดีตจวบจนกระทัง่ ปจจุบนั ชวยหลอหลอม สรางแนวคิดในการทํางานใหเรา” สวนการทํางานตําแหนงอุปนายกสมาคมอุตสาหกรรม กอสรางไทย ในพระบรมราชูปถัมภนั้น จะเขามาชวยเรื่องงาน ทางดานตางประเทศที่สมาคมฯ ตองเขาไปเกี่ยวของ นอกจากนี้ ก็จะมีเรื่องกฎหมาย ระเบียบตางๆ พ.ร.บ.ตางๆ การชวยเหลือ ผูป ระกอบการกอสราง และเรือ่ งอืน่ ๆ ทีน่ ายกสมาคมฯ มอบหมาย เปนตน ซึ่งโชคดีที่ไดรับโอกาส ไดรับคําแนะนํา ขอคิดเห็นดีจาก ผูหลักผูใหญในวงการอยางสมํ่าเสมอ สําหรับมุมมองที่มีตออุตสาหกรรมกอสรางไทย คุณลิซา กลาววา เปนอุตสาหกรรมทีน่ า เห็นใจเพราะมีภาพลักษณทสี่ งั คม มักจะเหมารวมมองวาไมคอยโปรงใส มีการทุจริตคอรรัปชั่น แตหากจะมองดวยความเปนธรรม ทุกธุรกิจ ทุกอาชีพลวนมี ทั้งคนดีและไมดีทั้งนั้น เพียงแตในอุตสาหกรรมนี้ผูที่ทํางานดี มีคณ ุ ภาพผลงานกลับไมไดรบั การเผยแพร ตรงขามกับผูท ที่ าํ ไมดี ที่เปนสวนนอยกลับไดรับความสนใจในระดับที่เกินพอดี เหมือน หลายๆ เรื่องในสังคมปจจุบัน “คําถามคือ หากเราไมยกยองใหคาคนที่ทําดีแตกลับมุงให ความสนใจกับคนไมดี ในระยะยาวเราจะอยูก นั ไดหรือ เหมือนกับ อุตสาหกรรมกอสรางตอนนี้ โดยเฉพาะงานโครงการภาครัฐที่ ถูกตรวจสอบอยางเขมขนจากทั้งหนวยงานราชการและองคกร ภาคเอกชนทั้ ง หลาย รวมทั้ ง ยัง มีกฎหมายและระเบียบตางๆ อีกมากมายทีอ่ อกมา เพือ่ มุง เนนแกปญ หาการทุจริตเพียงอยางเดียว จนละเลย Core Value ของอุตสาหกรรมนี้ และไมไดพยายามที่ จะเสริมสราง ยกระดับหรือพัฒนาอุตสาหกรรมกอสรางในระยะยาว ทัง้ ทีอ่ ตุ สาหกรรมกอสรางเปนอุตสาหกรรมทีส่ าํ คัญของประเทศ” นอกจากเรื่ อ งกฎระเบี ย บต า งๆ ที่กดดัน ธุ ร กิจ กอสร าง ภาครัฐแลว ยังมีปญ หาอืน่ ๆ ทีท่ กุ บริษทั กอสรางกําลังเผชิญอยูค อื ปญหาการขาดแคลนแรงงาน ซึ่งปจจุบันแรงงานกอสรางมีนอย ตองนําเขาแรงงานมาจากประเทศเพือ่ นบาน ดังนัน้ ผูป ระกอบการ กอสรางจึงตองเนนพัฒนาตัวเอง ตองอาศัยเทคโนโลยีใหมๆ เขามาชวยบริหารงานใหสอดคลองกับยุคสมัยที่เปลี่ยนไปเพื่อให โครงการสํ า เร็ จ ได ภ ายใต ร ะยะเวลาและทรั พ ยากรที่ มี จํ า กั ด นอกจากนี้ งานกอสรางมีการแขงขันกันสูง นอกจากแขงขันกันเอง ระหวา งผู ประกอบการภายในประเทศแลว ความกดดันจาก ผูป ระกอบการกอสรางจากตางประเทศทีเ่ ขามาทําการกอสรางใน ประเทศไทยก็มีมากขึ้น ดวยการแขงขันที่เขมขนมากขึ้นนี้ทําให สิ่งแวดลอมและทักษะในการทํางานของเราตองเปลี่ยนไปดวย
“การทํ า งานก อ สร า งตอนนี้ ย ากขึ้ น กว า เมื่ อ ก อ นมาก นอกจากที่จะตองโฟกั สในตั วเนื้องานแลว ยังตองคอยตามดู ศึกษาสภาพแวดลอม กฎระเบียบใหมๆ เทคโนโลยีใหมๆ วาโลก ไปถึงไหนแลว ตองอานมากขึ้น ฟงมากขึ้น เรียนรูมากขึ้น การ ทํ า งานต อ งมี ค วามเป น ที ม มากขึ้ น ต อ งมี ค วามไว ใ จมากขึ้ น ตองใหโอกาสคนที่ทํางานรวมกับเรา เราตองไวใจทีมงานของเรา อยางทีเ่ ราไวใจตัวเอง คือถาเราเริม่ ตนดีและมีพลัง เราก็จะทํางาน ไดอยางเต็มที่” “สําหรับตัวเองสิ่งที่ทาทายที่สุด คือ การพัฒนา Human Assets ทํายั งไงเราถึงจะไดคนรุนใหมที่มีศั กยภาพ มี ความ กระตือรือรนทีจ่ ะเรียนรูแ ละใชเทคโนโลยีใหม และเมือ่ ไดเขามาแลว ทํายังไงถึงจะทําใหเขาอยูก บั เรา คนรุน ใหมจะไมคอ ยเขามาทํางาน ในอุตสาหกรรมนี้เพราะงานกอสรางเปนงานที่เหนื่อยและปญหา มาก เมื่อเขาอยูกับ เราแลว เราตองพยายามสรางวั ฒนธรรม องคกรที่เอื้อใหเขาไดโต ไดเรียนรู ไดแสดงศักยภาพ และตอง ทําใหการเรียนรูภายใตการกํากับ คําแนะนํา คําปรึกษา และการ เคีย่ วกรํา่ ของคณะผูบ ริหารรุน พอแม รุน อาวุโส ซึง่ ไมลาํ บากเกินไป สําหรับเขา” แมวาจะตองรับผิดชอบงานทั้งงานราษฎรและงานหลวง ทัง้ ตําแหนงผูช ว ยกรรมการผูจ ดั การบริษทั วอลทเซ็นเอ็นเตอไพรซ จํากัด และอุปนายกสมาคมอุตสาหกรรมกอสรางไทย ในพระ บรมราชูปถัมภ คุณลิซา ก็จะตั้งใจทํางานในทุกๆ บทบาทอยาง เต็มที่ พรอมยอมรับความคิดเห็นจากผูรวมงานในทุกๆ ระดับ แมวาพวกเขาเหลานั้นจะไมไดมีตําแหนงใหญโต แตองคความรู และประสบการณการทํางานที่สั่งสมมาจะหลอหลอมใหทํางาน รวมกัน เพื่อเปาหมายของบริษทั ฯ และองคกรใหกาวไปขางหนา อยางยั่งยืน “สิ่งที่ยากในการทํางาน คือการบริหารคน ทํายังไงที่จะดึง ศักยภาพของทุกคนออกมาใชอยางเต็มที่ สามารถทําใหทุกคน ทํางานรวมกันไดอยางเต็มประสิทธิภาพและมีความสุขในการ ทํางานรวมกัน เนือ่ งจากงานกอสรางไมใชงานทีง่ า ย มีองคประกอบ และตัวแปรที่เราควบคุมไมไดเยอะ เพราะฉะนั้นการทํางานตอง อาศัยความอดทน อดกลั้น ความมุงมั่น และการมองโลกในแงดี อยูเสมอ ตองใจกวางที่จะฟงความเห็นจากหลายๆ ฝาย เพราะ เราคนเดียวไมสามารถรูไดทุกอยาง ถาหากเราทํางานผิดพลาด การมีทศั นคติทดี่ ที งั้ กับตัวเองและกับคนอืน่ ๆ จะชวยลดผลกระทบ ลดความเสียหายลงได” “ทั้งนี้ถามั่นใจวาเราทําทุกอยางอยางเต็มที่แลวเมื่อไมได ตามเปาหมายที่คาดไวก็ไมเสียใจ แตจะพยายามมองหาเหตุของ ความผิดพลาดแลวกลับมาแกไขทํางานในครั้งตอไป เรียกวาเอา ประสบการณทผี่ ดิ พลาดมาเปนบทเรียนในการทํางานใหดยี งิ่ ขึน้ ” คุณลิซา กลาวทิ้งทาย
23
Engineering Today September - October 2017
ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร ว่าด้วยการขึ้นทะเบียนวิศวกรวิชาชีพอาเซียน (ASEAN Chartered Professional Engineer) (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐
โดยที่เปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมระเบียบคณะกรรมการ สภาวิ ศ วกรว า ด ว ยการขึ้ น ทะเบี ย นวิ ศ วกรวิ ช าชี พ อาเซี ย น (ASEAN Chartered Professional Engineer) พ.ศ. ๒๕๕๗ อาศั ย อํ า นาจตามความในมาตรา ๓๓ (๓) แหงพระราช บัญญติวศิ วกร พ.ศ. ๒๕๔๒ ประกอบกับมติทปี่ ระชุมใหญวสิ ามัญ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๖๐ คณะกรรมการ สภาวิศวกรออกระเบียบไว ดังตอไปนี้ ขอ ๑ ระเบียบนีเ้ รียกวา “ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร วาดวยการขึน้ ทะเบียนวิศวกรวิชาชีพอาเซียน (ASEAN Chartered Professional Engineer) (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐” ขอ ๒ ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวัดถัดจากวันประกาศใน ราชกิจจานุเษกษาเปนตนไป ขอ ๓ ใหยกเลิกความในขอ ๔ ของระเบียบคณะกรรมการ สภาวิศวกรวาดวยการขึน้ ทะเบียนวิศวกรวิชาชีพอาเซียน (ASEAN Chartered Professional Engineer) พ.ศ. ๒๕๕๗ และใหใช ความตอไปนี้แทน “ขอ ๔ ผูขอขึ้นทะเบียนวิศวกรวิชาชีพอาเซียน (ASEAN Chartered Professional Engineer) ในสาขาวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุมตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ (๑) เปนบุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทย และตองเปนผูได รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมจากสภาวิศวกร ตั้งแตระดับสามัญวิศวกรขึ้นไปในสาขาวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ที่ยื่นคําขอ (๒) มีประสบการณในการปฏิบตั งิ านทางวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุมมาแลวไมนอยกวาเจ็ดปหลังจบการศึกษา (๓) มีประสบการณไมนอยกวาสองปในการรับผิดชอบ งานวิศวกรรมควบคุมที่เดนชัดตามที่ คณะกรรมการสภาวิศวกร กําหนด (๔) มีหนวยความรูต ามระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร วาดวยการพัฒนาวิชาชีพตอเนือ่ งตามที่ คณะกรรมการสภาวิศวกร กําหนด (๕) ไมเคยถูกพักใชใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต” ขอ ๔ ใหยกเลิกความใน (๔) ของขอ ๕ ของระเบียบคณะ
Engineering Today September - October 2017
24
กรรมการสภาวิศวกรวาดวยการขึน้ ทะเบียนวิศวกรวิชาชีพอาเซียน (ASEAN Chartered Professional Engineer) พ.ศ. ๒๕๕๗ และใหใชความตอไปนี้แทน “(๔) มีประสบการณไมนอ ยกวาสองปในการรับผิดชอบงาน วิศวกรรมที่เดนชัดตามที่ คณะกรรมการสภาวิศวกรกําหนด” ขอ ๕ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนขอ ๙ ของระเบียบคณะ กรรมการสภาวิศวกรวาดวยการขึน้ ทะเบียนวิศวกรวิชาชีพอาเซียน (ASEAN Chartered Professional Engineer) พ.ศ. ๒๕๕๗ “ขอ ๙ คณะกรรมการสภาวิศวกรมีอํานาจเพิกถอนการขึ้น ทะเบียน เมื่อปรากฏวาผูไดรับการขึ้นทะเบียนวิศวกรวิชาชีพ อาเซียน (ASEAN Chartered Professional Engineer) ขาด คุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามที่กําหนดไวในขอ ๔ หรือ ขอ ๕” ขอ ๖ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนขอ ๑๐ ของระเบียบคณะ กรรมการสภาวิศวกรวาดวยการขึน้ ทะเบียนวิศวกรวิชาชีพอาเซียน (ASEAN Chartered Professional Engineer) พ.ศ. ๒๕๕๗ “ขอ ๑๐ ใหการขึ้นทะเบียนสิ้นสุดลง เมื่อเกิดกรณีดังตอ ไปนี้กับผูขึ้นทะเบียน (๑) ตาย (๒) ถูกพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุม (๓) ทะเบียนขาดตออายุ (๔) คณะกรรมการสภาวิศวกรมีมติเพิกถอนการขึน้ ทะเบียน หามมิใหผูที่ทะเบียนสิ้นสุดตาม (๒) ยื่นคําขอขึ้นทะเบียน เปนวิศวกรวิชาชีพอาเซียน (ASEAN Chartered Professional Engineer) อีก” ขอ ๗ ใหใบรับรองการขึ้นทะเบียนวิศวกรวิชาชีพอาเซียน (ASEAN Chartered Professional Engineer) ซึ่งไดรับกอนวัน ที่ขอบังคับนี้ใชบังคับ ใหยังคงใชไดตอไปจนกวาจะหมดอายุ ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ กมล ตรรกบุตร นายกสภาวิศวกร
ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร ว่าด้วยการขึ้นทะเบียนเป็นวิศวกรเอเปค (APEC Engineer) (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยที่เปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมระเบียบคณะกรรมการ สภาวิ ศ วกรว า ดว ยการขึ้ น ทะเบีย นเปนวิศ วกรเอเปค (APEC Engineer) พ.ศ. ๒๕๕๒ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๓๓ (๓) แหงพระราช พระราชบัญญัตวิ ศิ วกร พ.ศ. ๒๕๔๒ ประกอบกับมติทปี่ ระชุมใหญ วิสามัญ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๖๐ คณะ กรรมการสภาวิศวกรออกระเบียบไว ดังตอไปนี้ ขอ ๑ ระเบียบนีเ้ รียกวา “ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร วาดวยการขึ้นทะเบียนวิศวกรเอเปค (APEC Engineer) (ฉบับ ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐” ขอ ๒ ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวัดถัดจากวันประกาศใน ราชกิจจานุเษกษาเปนตนไป ขอ ๓ ใหยกเลิกความในขอ ๔ ของระเบียบคณะกรรมการ สภาวิศวกรวาดวยการขึน้ ทะเบียนวิศวกรเอเปค (APEC Engineer) พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปนี้แทน “ขอ ๔ ผูขอขึ้นทะเบียนวิศวกรเอเปค (APEC Engineer) ในสาขาวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ (๑) เปน ผู ไ ดรั บใบอนุ ญาตประกอบวิช าชีพวิศวกรรม ควบคุมจากสภาวิศวกรตั้งแตระดับสามัญวิศวกรขึ้นไปในสาขา วิชาชีพวิศวกรรมควบคุมที่ยื่นคําขอ (๒) มีประสบการณในภาคปฏิบตั งิ านทางวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุมมาแลวไมนอยกวาเจ็ดปหลังจบการศึกษา (๓) มีประสบการณไมนอ ยกวาสองปในการรับผิดชอบงาน วิศวกรรมควบคุมทีเ่ ดนชัดตามที่ คณะกรรมการสภาวิศวกรกําหนด (๔) มีหนวยความรูต ามระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร วาดวยการพัฒนาวิชาชีพตอเนือ่ งตามที่ คณะกรรมการสภาวิศวกร กําหนด (๕) ไมเคยถูกพักใชใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต” ขอ ๔ ใหยกเลิกความใน (๔) และ (๕) ของขอ ๕ ของ ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกรวาดวยการขึ้นทะเบียนวิศวกร เปนวิศวกรเอเปค (APEC Engineer) พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใช ความตอไปนี้แทน “(๔) มีประสบการณในการปฏิบตั งิ านทางวิชาชีพวิศวกรรม มาแลวไมนอยกวาเจ็ดปหลังจบการศึกษา (๕) มีประสบการณไมนอยกวาสองปในการรับผิดชอบ งานวิศวกรรมที่เดนชัดตามที่ คณะกรรมการสภาวิศวกรกําหนด” ขอ ๕ ใหเพิม่ ความตอไปนีเ้ ปน (๖) ของขอ ๕ ของระเบียบ คณะกรรมการสภาวิศวกรวาดวยการขึน้ ทะเบียนเปนวิศวกรเอเปค
(APEC Engineer) พ.ศ. ๒๕๕๒ “(๖) มีหนวยความรูต ามระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร วาดวยการพัฒนาวิชาชีพตอเนือ่ งตามที่ คณะกรรมการสภาวิศวกร กําหนด” ขอ ๖ ใหยกเลิกความในวรรคสองของขอ ๘ ของระเบียบ คณะกรรมการสภาวิศวกรวาดวยการขึน้ ทะเบียนเปนวิศวกรเอเปค (APEC Engineer) พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปนี้แทน “การตออายุทะเบียน ใหยื่นคําขอตออายุทะเบียนตอคณะ กรรมการสภาวิศวกรภายในเกาสิบวันกอนวันที่ทะเบียนสิ้นอายุ และตองมีหนวยความรูตามระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร ว า ด ว ยการพั ฒนาวิ ช าชี พ ต อ เนื่ อ งตามที่ ค ณะกรรมการสภา วิศวกรกําหนด เพื่อประกอบการพิจารณาตออายุทะเบียน” ขอ ๗ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนขอ ๙ ของระเบียบคณะ กรรมการสภาวิศวกรวาดวยการขึ้นทะเบียนเปนวิศวกรเอเปค (APEC Engineer) พ.ศ. ๒๕๕๒ “ขอ ๙ คณะกรรมการมีอํานาจเพิกถอนการขึ้นทะเบียน เมื่อปรากฏวาผูไดรับการขึ้นทะเบียนเปนวิศวกรเอเปค (APEC Engineer) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามที่กําหนด ไวในขอ ๔ หรือ ขอ ๕” ขอ ๘ ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนขอ ๑๐ ของระเบียบคณะ กรรมการสภาวิศวกรวาดวยการขึ้นทะเบียนเปนวิศวกรเอเปค (APEC Engineer) พ.ศ. ๒๕๕๒ “ขอ ๑๐ ใหการขึน้ ทะเบียนสิน้ สุดลง เมือ่ เกิดกรณีดงั ตอไปนี้ กับผูขึ้นทะเบียน (๑) ตาย (๒) ถูกพักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุม (๓) ทะเบียนขาดตออายุ (๔) คณะกรรมการสภาวิศวกรมีมติเพิกถอนการขึน้ ทะเบียน หามมิใหผูที่ทะเบียนสิ้นสุดตาม (๒) ยื่นคําขอขึ้นทะเบียน เปนวิศวกรเอเปค (APEC Engineer) อีก” ข อ ๙ ให ใ บรั บ รองการขึ้ น ทะเบี ย นเป นวิ ศ วกรเอเปค (APEC Engineer) ซึ่งไดรับกอนวันที่ระเบียบนี้ใชบังคับ ใหยังคง ใชไดตอไปจนกวาจะหมดอายุ ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ กมล ตรรกบุตร นายกสภาวิศวกร
2 25
Engineering i g Todayy September Septem - October be 2017 17
Quality
• กองบรรณาธิการ
ธปท. จับมือผู้ให้บริการเครดิตระดับโลก 5 ราย ใช้มาตรฐาน QR Code เพื่อการชําระเงินแบบใหม่ ดาน GSB โชวความลํ้าพรอมรองรับ QR Code เปนรายแรกในไทย ธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) จับมือผูใ หบริการเครือขาย บัตรตางๆ ไดแก American Express, JCB International (Thailand), Mastercard, UnionPay International และ VISA พรอมทั้งผูใหบริการทางการเงินในไทย ประกอบดวย สมาคม ธนาคารไทย สภาสถาบันการเงินของรัฐ สมาคมธนาคารนานาชาติ สมาคมการค า ผู ใ ห บ ริ ก ารชํ า ระเงิ น ทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ไ ทย สมาคมโทรคมนาคมแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ บริ ษัท National ITMX จํ า กัด และบริษัท Thai Payment Network จํากัด แถลงความรวมมือการใชมาตรฐานคิวอารโคด เพื่อการชําระเงินรูปแบบใหม คาดวาจะสามารถเริ่มใชไดทั่วไป ภายในไตรมาส 4 ป 2560 นี้ @ หองภัทรรวมใจ อาคาร 2 ชั้น 2 ธปท. ภายในงานไดมกี ารจัดบูธสาธิต การใหบริการชําระเงินดวย QR Code และสัมมนา เรือ่ ง “QR Code มิตใิ หมของการชําระเงิน” วิรไท สันติประภพ ผูวาการธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) กลาววา ธปท.ไดผลักดันการพัฒนาระบบการชําระเงิน ทางอิเล็กทรอนิกสมาอยางตอเนื่อง อาทิ การผลักดันโครงการ National E-Payment การปรับเปลีย่ น บัตร ATM และบัตรเดบิต ใหเปน Chip Card การยกระดับความปลอดภัยการชําระเงินผาน โทรศัพทมอื ถือ การนาหลักการของ Regulatory Sandbox มาใช เพื่อสนับสนุนนวัตกรรมทางการเงิน และการนําพระราชบัญญัติ ระบบการชําระเงินมาใชในการกํากับดูแลธุรกิจดานการชําระเงิน “ในวันนี้เปนอีกหนึ่งเหตุการณสําคัญในการนํามาตรฐาน สากล QR Code มาใชในการชําระเงินในประเทศไทย ซึ่งเปน ความรวมมือครั้งแรกของผูใหบริการเครือขายบัตรระดับโลกทั้ง 5 แหง กับผูใหบริการทางการเงินในไทย ที่ตกลงใชมาตรฐาน เดียวกันในการใหบริการ ลดความซํ้าซอนในการมี QR Code หลากหลายรูปแบบ ชวยเสริมตอแนวทางการพัฒนาระบบการ ชํ า ระเงิ น ทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ห รื อ E-Payment ในมิ ติ ต า งๆ” ผูวาการ ธปท. กลาว สําหรับการใชมาตรฐาน QR Code เพื่อการชําระเงิน มี ประโยชนสาํ คัญใน 4 ดาน คือ 1) เปนมาตรฐานกลางทีส่ อดคลอง กับมาตรฐานสากล เปดโอกาสใหผูใหบริการและผูใชบริการ
Engineering Today September - Oc October 2017
26
พิธีเปดงานความรวมมือการใชมาตรฐานคิวอารโคด เพื่อการชําระเงินรูปแบบใหม
วิรไท สันติประภพ (กลาง) ผูวาการ ธปท. เยี่ยมชมบูธ M Pay
สามารถเขาถึงและใชงานรวมกันได ทัง้ รายการชําระเงินในประเทศ และตางประเทศ รานคามี QR Code เดียว ก็สามารถรับชําระ เงินผานชองทางทีห่ ลากหลายจากลูกคาได 2) เปนการเพิม่ ชองทาง การชําระเงินที่สะดวกและมีตนทุนตํ่าใหแกประชาชนและรานคา ชวยใหการจัดทําบัญชีและกระทบยอดเงินเขา งายกวาการทํา ธุรกรรมดวยเงินสดมาก 3) เปนการเพิ่มความปลอดภัยในการ ชําระเงิน เจาของบัตรไมตองใหบัตรหรือขอมูลบนบัตรแกรานคา และระบบงานที่รองรับเปนระบบโครงสรางพื้นฐานการชําระเงิน ที่ใชอยูในปจจุบันจึงมีความปลอดภัย และ 4) สามารถตอยอด
นวัตกรรมทางการเงินทีห่ ลากหลายไดโดยงาย ซึง่ เปนรากฐานสําคัญของรานคา ขนาดกลางและขนาดเล็ ก ที่ จ ะเก็ บ ข อ มู ล การรั บ ชํ า ระเงิ น อย า งเป น ระบบ เพือ่ ใหนาํ ไปใชประโยชนในหลายดานรวมถึงการขอสินเชือ่ ทัง้ นีส้ ถาบันการเงิน ในหลายประเทศได เ ริ่ ม ให สิ น เชื่ อ โดยใช ข อ มู ล ชํ า ระเงิ น เป น ข อ มู ล อ า งอิ ง (Information Based Lending) แทนการใชสนิ ทรัพยถาวรเปนหลักประกันแลว ชวยใหกา วขามผานอุปสรรคของการปลอยสินเชือ่ SMEs จากเดิมทีต่ อ งใชหลัก ประกันเพียงอยางเดียว ในการพัฒนาบริการชําระเงินดวย QR Code นี้ ธปท. ไดเปดใหธนาคาร และผูใหบริการเสนอโครงการเขาพิจารณาใน Regulatory Sandbox เพื่อ ทดสอบใหมั่นใจในความถูกตองของการทํารายการ และการดูแลผูใชบริการ ซึ่งมีธนาคาร 2 แหงอยูระหวางการทดสอบ คาดวาจะเปดใหบริการอยางเปน ทางการภายในไตรมาส 4 ของปนี้ และมีอีก 6 แหงที่อยูระหวางยื่นคําขอเขา โครงการ โดยการใหบริการจริงจะทยอยเปดตามความพรอมตอไป ดานธนาคารออมสิน นับเปนธนาคารแหงเดียวในประเทศ ที่พัฒนา แอพพลิเคชั่นเพื่อรองรับการใช QR Code มาตรฐานเพื่อการชําระคาสินคา และบริการในประเทศไทยไดสําเร็จเปนรายแรก ผาน GSB Pay แอพพลิเคชั่น ที่รวมบัตรเดบิต/บัตรเครดิตไวทุกธนาคาร ตอกยํ้าการใชชีวิตยุค Thailand 4.0 ที่งายและสะดวกยิ่งขึ้น ชาติชาย พยุหนาวีชัย ผูอํานวยการธนาคารออมสิน กลาววา ตามที่ ธนาคารแหงประเทศไทยไดมกี ารประกาศใชควิ อารโคด (QR Code) กลางหรือ QR Code มาตรฐาน เพื่อการชําระเงินในประเทศไทยอยางเปนทางการ ซึ่ง เปนหนึ่งในแผนงานตามนโยบายการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานระบบการชําระ เงินของไทยใหกาวสูระบบการชําระเงินอิเล็กทรอนิกส (National e-Payment) ปจจุบัน ธนาคารออมสินเปนธนาคารเพียงแหงเดียวในประเทศที่สามารถ พัฒนาแอพพลิเคชั่น เพื่อรองรับ QR Code มาตรฐานประเทศไทยไดสําเร็จ ทุกฟงกชันการใชงานเปนรายแรก ผาน GSB Pay แอพพลิเคชั่นที่รวมบัตร เดบิต/บัตรเครดิตไวทุกธนาคาร โดยผูใชสามารถรับเลือกที่จะชําระจากบัตร เดบิต/บัตรเครดิตของทุกธนาคาร หรือจะเลือกชําระจากบัญชีเงินฝากออมทรัพย หรือกระแสรายวัน “บริการ GSB PAY” เปนการชําระเงินผาน QR Code มาตรฐาน และ พัฒนาเชื่อมตอกับพรอมเพย (PromptPay) ที่เขามาตอบโจทยทั้งฝงลูกคา และรานคา เรียกวา ทั้งซื้อทั้งขาย ชีวิตคุณจะงายขึ้น ซึ่งลูกคาสามารถเลือก ชําระเงินในชองทางทีส่ ะดวกมากยิง่ ขึน้ ในขณะทีร่ า นคาก็สามารถเพิม่ ชองทาง และโอกาสในการขายสินคา เนื่องจากบริการ GSB PAY รองรับการชําระเงิน ที่หลากหลายรูปแบบทั้งบัตรเดบิต/บัตรเครดิต และการโอนเงินจากบัญชี ธนาคาร ไดทกุ ธนาคาร เพือ่ ชําระเงินคาสินคาและบริการ ซึง่ จะทําใหรา นคาได กลุมลูกคาที่มากขึ้น และเพิ่มโอกาสในการสรางยอดขาย รวมทั้งสงเสริม ภาพลักษณที่ทันสมัยในการใหบริการกับรานคา” ชาติชาย กลาว
27
ซื้อพวงมาลัยหรือนั่งมอเตอรไซครับจาง จายงายดายเพียงสแกน QR Code
เสี่ยงโชคยุคดิจิทัลดวยการชําระผาน QR Code
Rabbit LINE Pay ไดรับความสนใจอยางตอเนื่อง
Engineering Today September - October 2017
Report
• สุรียพร วงศศรีตระกูล
กสอ.เยี่ยมชมโรงงาน ป.พานิชรุ่งเรืองปาล์มออยล์ 2 จ.กระบี่ พัฒนาหมอนึ่งระบบอัตโนมัติ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต-ลดแรงงานกวาครึ่ง ลานเทผลปาลม วัตถุดิบสําคัญในการผลิต
โรงงานป.พานิชรุงเรืองปาลมออยล 2 จ.กระบี่ พื้นที่กวา 200 ไร
เมื่อเร็วๆ นี้ ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมสงเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) ไดลงพื้นที่ภาคใตเพื่อเยี่ยมชม บริษัท ป.พานิชรุงเรืองปาลม ออยล 2 จํากัด ผูประกอบการอุตสาหกรรมสกัดนํ้ามันปาลมตัวอยาง ที่นําทั้งเรื่องระบบการผลิตอัตโนมัติเพื่อลดการสูญเสียอยางครบวงจร การรวมกลุมคลัสเตอรในหวงโซการผลิตเพื่อรวมกันพัฒนา การลด กําลังคนเพียง 10 คน/1 กะทํางาน ตลอดจนการนําของเสียมาใชใน การผลิตไบโอแกส และการพัฒนาสถานประกอบการเพือ่ การอยูร ว มกัน กับสังคมอยางยั่งยืน โดย พานิช แซลิ้ม ประธานกรรมการบริหาร และ คณะผูบริหารใหการตอนรับ ณ อ.เมือง จ.กระบี่
Engineering Today September - October 2017
28
กสอ.กําหนดยุทธศาสตร์ปี 2560-2561 ผลักดัน SMEs ที่มีศักยภาพแต่ละท้องถิ่น ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมสงเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กลาววา ในป 2560-2561 กสอ. ไดกําหนด ยุทธศาสตรที่สําคัญดานหนึ่งคือ ยุทธศาสตรการผลักดัน SMEs ที่มีศักยภาพตามแตละทองถิ่นใหมีแนวทางในการ สงเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมที่อยูในทิศทางเดียวกัน ซึ่งไดกําหนดแนวทางการพัฒนา SMEs ที่สอดคลองกับ ยุทธศาสตรความตองการและศักยภาพของจังหวัด 3 ดาน คือ 1. ดานภูมิปญญาและเอกลักษณทางวัฒนธรรม 2. ดาน พื้นที่ยุทธศาสตรเศรษฐกิจ 3. ดานความหลากหลายของ ทรัพยากรธรรมชาติที่เอื้อตอตอการผลิตและอุตสาหกรรม โดยยุทธศาสตรทั้งหมดนี้จะชวยตอบสนองและกอใหเกิด กลไกทีเ่ อือ้ ตอการขยายธุรกิจในแตละพืน้ ทีไ่ ดอยางเหมาะสม ทั้ ง ยั ง เป น การผลั ก ดั น ให แ ต ล ะอุ ต สาหกรรมมี ก ารปรั บ บทบาทจากการ “เพิม่ มูลคา” เปนการ “สรางมูลคา” มากยิง่ ขึน้ พรอมกระจายความเขมแข็งใหเกิดขึ้นอยางเทาเทียมกัน ภาคใต ถือเปนหนึ่งในภูมิภาคที่มีศักยภาพโดดเดน และมีสว นสําคัญในการสรางมูลคาเศรษฐกิจใหกับประเทศ โดยเฉพาะอุ ต สาหกรรมปาลม นํ้ ามัน ถื อไดว าเปนภาค อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพมากที่สุดภาคหนึ่ง เนื่องจากมี
ดร.พสุ โลหารชุน (ขวา) อธิบดีกรมสงเสริมอุตสาหกรรม เยี่ยมชมกระบวนการผลิตอันทันสมัย
คุณภาพผลผลิตทีอ่ ยูใ นเกณฑดี จากขอมูลการผลิตพบวาในชวง 6 เดือน แรกของปนี้ ปริมาณการผลิตนํ้ามันปาลมดิบมีจํานวนทั้งสิ้นกวา 9.99 แสนตัน สามารถตอบสนองการบริโภคภายในประเทศไดอยางเพียงพอ และมีบทบาทเสมือนสารตัง้ ตนใหกบั ภาคการผลิตในอุตสาหกรรมตอเนือ่ ง อาทิ อาหารสําเร็จรูป เครื่องสําอาง ไบโอดีเซล ฯลฯ เปนแหลงผลิตที่ สําคัญอันดับ 3 ของโลก นอกจากนี้ยังมีจุดเดนในดานมาตรฐานการ ผลิตนํา้ มันปาลมบริสทุ ธิท์ ดี่ ที สี่ ดุ ในอาเซียน เนือ่ งจากมีความใส ไมเปนไข และตกตะกอน และคาดวาในปนี้จะมีทิศทางที่ดีขึ้นเนื่องจากปญหา ภัยธรรมชาติที่ผอนคลายลง พรอมทั้งการปรับตัวในดานตางๆ ของ ผูประกอบการที่ดีขึ้น รู้จักป.พานิชรุ่งเรือง ปาล์มออยล์ 2 ควบคุมและบริหารจัดการด้วยระบบอัตโนมัติ ดาน พานิช แซลมิ้ ประธานกรรมการบริหารบริษทั ป.พานิชรุง เรือง ปาลมออยล 2 จํากัด กลาววา บริษัทฯ มีโรงงานสกัดนํ้ามันปาลมดิบ ทั้งสิ้น 2 โรงงาน ในจังหวัดสุราษฎรธานีและกระบี่ ซึ่งเปน 2 จังหวัดที่มี พืน้ ทีป่ ลูกปาลมมากทีส่ ดุ แหงหนึง่ ของประเทศ กําลังการผลิตของโรงกลัน่ ทั้งสองแหงสูงสุดอยูที่ 75 ตันปาลมตอชั่วโมง ใหผลผลิตรวมกวา 420 ตันนํ้ามันปาลมตอวัน โดยโรงงานบริษัท ป.พานิชรุงเรือง ปาลมออยล 2 จํากัด จังหวัดกระบี่ มีพนื้ ทีก่ วา 200 ไร เริม่ กอสรางเมือ่ วันที่ 2 ธันวาคม 2557 ดวยทุนจดทะเบียน 220 ลานบาท ขนาดกําลังการผลิต 75 ตัน ทะลายปาลมสด/ชั่วโมง เพื่อผลิตนํ้ามันปาลมดิบและเมล็ดในอบแหง จําหนาย เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2559 โรงงานบริษัท ป.พานิชรุงเรือง ปาลม ออยล 2 ไดเปดดําเนินกิจการและเดินเครื่องจักร โดยนําเทคโนโลยีที่ ทันสมัยและมีประสิทธิภาพทีด่ ี อยางเชน การควบคุมและบริหารจัดการ ดวยระบบอัตโนมัติ (Automation and Monitoring System) มาใช ในกระบวนการผลิต เพื่อใหมีประสิทธิภาพสูงสุด สามารถประมวลผล วิเคราะหขอมูลไดอยางรวดเร็ว ซึ่งนับวาไดเปรียบกวาโรงงานสกัด นํ้ า มั น ปาล ม ดิ บ ทั่ ว ไปที่ ยั ง ใช ร ะบบคนงาน ซึ่ ง อาจเกิ ด ความล า ช า
29
พานิช แซลิ้ม ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ป.พานิชรุงเรือง ปาลมออยล 2 จํากัด
ตรวจสอบไดยาก และใชเวลาที่คอนขางนาน และสงผลถึง ประสิทธิภาพของผลผลิตที่นอยกวา ดานผลิตภัณฑทสี่ าํ คัญ ไดแก นํา้ มันปาลมดิบ 80-85% และเมล็ดในปาลม 15% โดยรายไดหลักจะมาจากการผลิต นํา้ มันปาลมดิบ สามารถผลิตนํา้ มันปาลมได 1,500-1,600 ตัน/วัน โดยรับ ซื้อผลปาล ม วันละ 1,000 ตัน ป จจุบัน บริษัท ป.พานิชรุงเรือง ปาลมออยล ถือไดวาไดผลผลิต Yield สูงสุดแหงหนึ่ง โดยโรงงานที่สุราษฎรธานี สามารถ ทําได 17% และมีเปาหมายที่จะพัฒนา Yield ใหสูงขึ้น พัฒนาหม้อนึ่งแบบตั้งระบบอัตโนมัติ ช่วยให้การนึ่งมีประสิทธิภาพ สําหรับกระบวนการอัตโนมัตจิ ะเริม่ ตัง้ แตการขนยาย ผลปาลม ไปยั งหมอนึ่งอบฆาเชื้อ โดยบริษั ทฯ ได ลงทุน เครื่องจักรประมาณ 500-600 ลานบาท เพื่อปรับเปลี่ยน เปนแบบหมอนึ่งแบบตั้ง ซึ่งพัฒนามาจากแบบเดิมที่เปน หมอนึง่ แบบนอนทีใ่ ชพนื้ ที่ กําลังคนทีค่ วบคุมมาก และเงิน ลงทุนในการกอสรางและบํารุงรักษาสูง โดยขอดีของหมอนึง่ แบบตั้ง จะเปนระบบอัตโนมัติใชโปรแกรมคอมพิวเตอร ควบคุมระบบการนึ่ งทั้ งหมด สามารถปรับ เปลี่ยนเวลา การนึ่งใหเหมาะสมกับสภาพของวัตถุดิบ ทําใหการนึ่งมี ประสิ ทธิภาพ ผลปาล ม สุกดี เขากระบวนการต อไปได อยางมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้หมอนึ่งทั้งหมดยังติดตั้ง Load Cell เพื่อใหทราบนํ้าหนักของปาลมที่เขาผลิตไดตลอด จากนั้นก็จะเขาสูกระบวนการคัดแยกสิ่งเจือปนตางๆ โดย
Engineering Today September - October 2017
หมอนึ่งแบบตั้งระบบอัตโนมัติ ชวยใหการนึ่งมีประสิทธิภาพ
ใชเครื่องแยกที่มีเทคโนโลยีพิเศษที่ทําใหกระบวนการตอไปๆ จนกระทั่ง กระบวนการสุดทายที่ไดผลผลิตเปนนํ้ามันปาลมที่มีประสิทธิภาพดี ทัง้ นี้ การผลิตในทุกขัน้ ตอนบริษทั จะเนนในเรือ่ งของการลดความ สูญเสีย ลดการใชกําลังคนเพียง 10 คน/1กะ จากเดิม 25 คน/1กะ มีการตรวจวัดคามาตรฐานทุกครัง้ อีกทัง้ ยังลงทุนในดานการพัฒนาการ อยูรวมกันกับสังคมทั้งดวยระบบบําบัดนํ้าเสีย การผลิตไบโอแกสและ ไฟฟา ซึ่งใชเงินลงทุน 100 ลานบาท บนพื้นที่ 16 ไร สามารถผลิต ไบโอแกสได 3 เมกะวัตต ใชในโรงงาน 1.2 เมกะวัตต โรงงานป.พานิชรุ่งเรืองปาล์มออยล์ทั้งสองแห่ง เข้าร่วมโครงการศภ.10 กสอ. สมชาย ประชาบุตร กรรมการผูจ ดั การฝายจัดซือ้ วัตถุดบิ บริษทั ป.พานิชรุงเรืองปาลมออยล 2 จํากัด และรองประธานอุตสาหกรรม จังหวัดกระบี่ กลาววา บริษัทฯ ไดเขารวมกิจกรรมกับศูนยสงเสริม อุตสาหกรรม ภาคที่ 10 กรมสงเสริมอุตสาหกรรม (ศภ.10 กสอ.) โดย โรงงานที่ 1 (จังหวัดสุราษฎรธานี) ไดเขาเปนสมาชิกกลุม คลัสเตอร อุตสาหกรรมนํา้ มันปาลม จังหวัดกระบี่ ในโครงการพัฒนาการรวมกลุม และเชื่อมโยงอุตสาหกรรม (Cluster) ตั้งแตป 2554-2557 จากนั้นใน ป 2555 ไดเขาโครงการบริการเงินสมทบจางที่ปรึกษาเพื่อปรับปรุง การผลิต การจัดการ การตลาดและการบริการ (CF) เพื่อจัดทําระบบ คุณภาพมาตรฐาน ISO 9001:2008 ในป 2556 เขาโครงการเตรียม ความพรอมผูป ระกอบการเพือ่ เขาสู AEC หลักสูตร Business Roadmap : เปดแนวรุก บุก AEC กระบี่ ตอมาป 2557 เขาโครงการพัฒนาบุคลากร ภาคอุตสาหกรรมเพื่อเขาสู AEC หลักสูตร การจัดทําขอเสนอโครงการ และการจัดทําโครงการในองคกร ในป 2559-2560 เขาโครงการสราง และพัฒนาเครือขายและการรวมกลุมอุตสาหกรรมในรูปแบบคลัสตอร (Cluster) กลุมคลัสเตอรอุตสาหกรรมนํ้ามันปาลม จังหวัดสุราษฎรธานี ลาสุดในป 2560 เขาโครงการสงเสริม ผลิตภาพและสุขภาวะ องคกรในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (Shap) เพือ่ ดําเนินการเพิม่ Productivity และลดตนทุนและสรางขวัญกําลังใจในการทํางาน โดยเลือก ทํา 3 ดานคือ Happy Body, Happy Heart, Happy Society
Engineering Today September - October 2017
30
ควบคุมและบริหารจัดการดวยระบบอัตโนมัติ
สวนโรงงานที่ 2 (จังหวัดกระบี่) ในป 2560 ไดเขา โครงการ CF เพื่ อจั ด ทํ า ระบบคุ ณ ภาพมาตรฐาน ISO 9001:2015 คาดวาจะไดรับการรับรองมาตรฐานภายใน สิน้ ป 2560 และเขาโครงการสงเสริมผลิตภาพและสุขภาวะ องคกรในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (Shap) เพื่อ ดําเนินการเพิม่ Productivity และลดตนทุนและสรางขวัญ กําลังใจในการทํางาน โดยเลือกทํา 3 ดานคือ Happy Body, Happy Heart, Happy Society ผลสําเร็จจากการเข้าร่วมโครงการของ ศภ.10 กสอ. สมชาย กลาววา จากการเขารวมเปนสมาชิกกลุม คลัสเตอรอตุ สาหกรรมนํา้ มันปาลม จังหวัดกระบี่ เนือ่ งจาก ในขณะนั้ น ไม มี ก ารจั ด ตั้ ง กลุ ม คลั ส เตอร นํ้ า มั น ปาล ม จังหวัดสุราษฎรธานี เมือ่ เขารวมดําเนินการในกลุม คลัสเตอร อุตสาหกรรมนํ้ามันปาลม จังหวัดกระบี่ ตั้งแตปที่ 1-5 แลว ทําใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาของสถานประกอบการ เปนอยางมาก เชน การฝกอบรมเพื่อการพัฒนาบุคลากร ในดานตางๆ คือ เทคโนโลยีสกัดนํ้ามันปาลม เทคนิค การเชือ่ ม หรือชางไฟฟา ทําใหบคุ ลากรของสถานประกอบ การมีศกั ยภาพเพิม่ ขึน้ สงผลตอการทํางานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เพิ่มขึ้น กิจกรรม Benchmarking ซึ่งไดรับประโยชนเปน อยางมากจากสมาชิกในกลุม จากการแลกเปลีย่ น ถายทอด ประสบการณ หรือใหขอ เสนอแนะทําใหสถานประกอบการ สามารถนําไปปรับประยุกต หรือแกไขจุดบกพรองของตน เปน ผลใหสามารถลดความสูญเสียจากกระบวนการผลิต
เปนมูลคากวา 1 ลานบาท/ป กิจกรรมสรางทีมงานหรือ การรวมกลุม ทําใหสมาชิกเกิดสัมพันธภาพอันดี เปนผลให สามารถพูดคุยแลกเปลี่ยนขอมูล รวมถึงใหความชวยเหลือ กันในดานตางๆ อาทิ การยืมอะไหล การขอเขาดูงานใน จุดทีต่ นเองสนใจหรือตองการความรูใ นสถานประกอบการ ของเพื่อนสมาชิก และกิจกรรมบริการเงินสมทบจางที่ ปรึกษาเพื่อปรับปรุงการผลิต การจัดการ การตลาดและ การบริการ (CF) ทําใหบริษัทไดรับการรับรองมาตรฐาน ตามระบบคุ ณ ภาพที่ ต อ งการเป น ผลต อ การได รั บ สิ ท ธิ ประโยชนของศูนยเศรษฐกิจการลงทุนภาคที่ 6
ระบบบําบัดนํ้าเสียแบบปดผลิตไบโอแกสได 3 เมกะวัตต
กสอ.เตรียม 5 กลยุทธ์หลัก ส่งเสริมศักยภาพอุตสาหกรรมปาล์มนํ้ามัน ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมสงเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กลาววา อุตสาหกรรมนํ้ามันปาลมของไทยยังมีขอจํากัดในเรื่อง การแขงขันจากประเทศผูนําอยางอินโดนีเซียและมาเลเซีย ซึ่งได เปรียบไทยในดานสภาพทางภูมิศาสตรซึ่งนับเปนปจจัยสําคัญที่ สงผลตอผลผลิต อีกทั้งการผลิตปาลมนํ้ามันยังมีสิ่งที่ตองแกไข โดยเฉพาะในเรื่องของการบริหารจัดการ ตนทุนการผลิต รวมทั้ง การสูญเสียในแตละกระบวนการ ดังนั้นกสอ.จึงไดเตรียมกลยุทธในการสงเสริมศักยภาพให SMEs ในอุตสาหกรรมปาลมนํ้ามัน 5 ขอ ดังนี้ 1. กลยุทธการพัฒนากระบวนการผลิต โดยเสริมสราง รากฐานการผลิตของนํ้ามันปาลมไทยใหมีประสิทธิภาพ เชน การ ลดตนทุนการผลิตและลดการสูญเสีย การสงเสริมคุณภาพและ การเพิ่ม ผลผลิตอยางสมํ่าเสมอ โดยจะอาศัยความรวมมือจาก ผูเ ชีย่ วชาญและการนําองคความรูก ารวิจยั เขามาชวย พรอมผลักดัน การเพิ่มเปอรเซ็นตนํ้ามันจากเดิมที่ 17% สู 20-22% 2. กลยุทธการเสริมแกรงดวยการรวมกลุม โดยสงเสริมให เกิดการรวมกลุมกันของผูประกอบการที่ผลิตนํ้ามันปาลมและ อุตสาหกรรมตอเนือ่ ง เพือ่ เสริมสรางอํานาจในทางตลาดและการ รวมมือกันพัฒนาใหมีทิศทางเดียวกันในลักษณะแบบเพื่อนชวย เพื่อน หรือพี่ชวยนอง ซึ่งจะเพิ่มความสามารถในการแขงขันได 3. กลยุ ท ธ ก ารสร า งความหลากหลายและการสร า ง มูล คา เพิ่ ม โดยตอ งสง เสริมองค ความรูใ นเรื่อ งห วงโซมู ลคา พรอมพัฒนาคุณภาพนํ้ามันปาลมเพื่อผลักดันสูอุตสาหกรรม ต อ เนื่ อ งอื่ น ๆ ใหมี ประสิทธิภาพมากขึ้น อาทิ อาหารแปรรูป
พลังงานทดแทน อุตสาหกรรม S-Curve เชน โอลิโอเคมิคอลที่ใช ในการผลิตสินคาในกลุม การแพทย เวชสําอาง ตลอดจนการตอยอด สูสินคาใหมเฉพาะกลุม อาทิ PCM หรือแผนกันความรอนที่ใชใน การกอสรางอาคารในประเทศเขตหนาว เปนตน 4. กลยุทธดานการบริหารจัดการ กลยุทธนี้มีความจําเปน ตอการพัฒนาอยางเปนระบบมากที่สุด โดยจะตองสรางความ รวมมือหนวยงานที่ดูแลตั้งแตระบบตนนํ้า-ปลายนํ้า เพื่อใหเกิด ความเป น หนึ่ ง เดี ย วกั น ในการส ง เสริ ม ทั้ ง นี้ การปฏิ บั ติ ต าม กระบวนการของมาตรฐาน RSPO (Roundtable For Sustainable Palm Oil) ซึ่งเปนมาตรฐานที่สนั บ สนุน การผลิ ต ปาลมนํ้ ามัน อยางยั่ง ยืนนับเปนอีกหนึ่งวิธีที่นาสนใจเนื่องจากสามารถลด ตนทุนการผลิตไดตลอดทัง้ หวงโซ โดยมีหลักการสําคัญ คือการปฏิบตั ิ ตามกฎเพือ่ ความโปรงใส การเลือกใชวธิ ที ดี่ ที สี่ ดุ ทัง้ ผูป ลูกและผูผ ลิต ความรั บ ผิ ด ชอบดานสังคมและสิ่งแวดล อม และความมุงมั่น ในการปรับปรุงสวนปาลมและโรงสกัดใหเกิดอยางตอเนื่อง 5. กลยุทธการสงเสริมดานนวัตกรรมและเทคโนโลยี โดย สงเสริมระบบตางๆ ดวยการนําระบบอัตโนมัติมาใชในกระบวน การผลิตเพื่อใหเกิดผลลัพธที่มีความแมนยํา คุณภาพที่สมํ่าเสมอ มากขึน้ อาทิ ระบบควบคุมตรวจสอบ ระบบคัดแยก ระบบวิเคราะห การผลิต เปนตน นอกจากนีย้ งั เตรียมผลักดันใหผปู ระกอบการเขาถึงกองทุน ปาล ม นํ้ า มั น และนํ้ า มั น ปาล ม 1,000 ล า นบาท และกองทุ น เอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐในวงเงิน 20,000 ลานบาท ซึ่งจะ ทําใหผูประกอบการสามารถเขาถึงสินเชื่อดอกเบี้ยตํ่าเพื่อนําทุน ไปปรับปรุงธุรกิจใหมีประสิทธิภาพครบทุกมิติ
31
Engineering Today September - October 2017
Report
• กองบรรณาธิการ
วสท.เตรียมจัดงานวิศวกรรมแห่งชาติ 2560 ภายใตแนวคิด วิศวกรรม 4.0 สรางความตื่นตัวใหคนไทย-วิศวกรไทย
เตรียมก้าวสู่ Thailand 4.0 วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ใน พระบรมราชูปถัมภ (วสท.) เตรียมจัด งาน วิ ศ วกรรมแห ง ชาติ 2560 (National Engineering 2017) งานแสดงผลิตภัณฑ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ทางวิศวกรรมของ ประเทศ และการสัมมนาวิชาการที่หลากหลายสาขาทางดาน วิศวกรรม ซึ่ง วสท.ไดจัดงานนี้ขึ้นอยางตอเนื่องมาตลอดกวา 20 ป โดยงานในป นี้ จั ด ขึ้ น ภายใต แ นวคิ ด “วิ ศ วกรรม 4.0” (Engineering 4.0) นําเสนอนวัตกรรมที่ชวยยกระดับคุณภาพ ชีวิตในปจจุบัน ผลิตภัณฑจากเทคโนโลยีใหมที่ชวยสรางความ สะดวกสบายใหกับชีวิต เทคโนโลยีด านความปลอดภัย และ เทคโนโลยีที่ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ และการ ผลิตสําหรับผูป ระกอบการในทุกระดับ โดยจะจัดขึน้ ระหวางวันที่ 16-18 พฤศจิกายน 2560 ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) กลาววา วิศวกรรมสถานแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) จัดงานวิศวกรรม แหงชาติขึ้นอยางตอเนื่องมาตลอดกวา 20 ป สําหรับงานในป 2560 นีจ้ ดั ขึน้ ภายใตแนวคิด “วิศวกรรม 4.0” (Engineering 4.0) เพื่อนําเสนอนวัตกรรมที่ชวยยกระดับคุณภาพชีวิตในปจจุบัน ผลิตภัณฑจากเทคโนโลยีใหมที่ชวยสรางความสะดวกสบายให กับชีวิต เทคโนโลยีดานความปลอดภัย และเทคโนโลยีที่ชวยเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการบริ ห ารจั ด การ และการผลิ ต สํ า หรั บ ผู ประกอบการในทุกระดับ เมกะเทรนดของโลกกําลังมีการปฏิรูป พัฒนาอุตสาหกรรมครัง้ ที่ 4 เนือ่ งจากกระแสดิจทิ ลั ระบบคลาวด ออโตเมชัน่ และ Internet of Things (IoT) เขามามีบทบาทนํามา ซึง่ การเปลีย่ นแปลงโดยเชือ่ มโยงเครือ่ งจักร หุน ยนต ไลนการผลิต และโรงงาน เขาเปนหนึ่งเดียวที่สื่อสารกันได ทําใหสามารถเพิ่ม ผลผลิต คุณภาพ ประสิทธิภาพ และประหยัดพลังงาน ประเทศไทย มุงพัฒนาสูเปาหมาย Thailand 4.0 ซึ่งขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม และองคความรูในดานวิศวกรรมที่ผสมผสานวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีหลายสาขาเชนกัน จะตองยกระดับเปน “Engineering 4.0” คนไทยต างตอ งเรีย นรูปรับตั ว และเตรีย มพร อม เพื่ อใช
Eng Engineering ngine ineeri ering ng Tod Today ay Se Septe September ptembe berr - Oct October ctobe ober 201 20 2017 7
32 32
ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.)
ทศพร ศรีเอี่ยม ประธานการจัดงานวิศวกรรมแหงชาติ 2560
ประโยชน จ ากการเปลี่ ย นผ า นของเทคโนโลยี ในการพั ฒนา คุณภาพชีวิตใหดีขึ้น แสวงหาโอกาสและโมเดลทําธุรกิจใหมๆ ทีต่ อบโจทยตลาดผูบ ริโภค และไลฟสไตลชวี ติ ประจําวันทีส่ ะดวก และปลอดภัยมากยิ่งขึ้น
รศ. ดร.ชิต เหลาวัฒนา ผูกอตั้งสถาบัน วิทยาการหุนยนตภาคสนาม (FIBO) มจธ. และคณะทํางานสนับสนุนโครงการระเบียง เขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC)
ดรุณ แสงฉาย อธิบดีกรมทาอากาศยาน
นอกจากนี้ วสท. ไดรับเกียรติจาก สมาพันธวิศวกรรมแหง อาเซี ย น (AFEO) ให เ ป น เจ า ภาพในการในการจั ด ประชุ ม “CAFEO 35” (Conference of the ASEAN Federation of Engineering Organizations) ซึ่ง จะจัดพร อ มกัน ภายในงาน “วิ ศ วกรรมแห ง ชาติ 2560” โดยการจั ด ประชุ ม CAFEO มี วัตถุประสงคเพื่อสงเสริมความแข็งแกรงทางดานวิศวกรรมตอ วิศวกรและผูประกอบการในกลุมประเทศอาเซียน มีการประชุม สัมมนาแลกเปลี่ยนความรู ประสบการณดานงานวิศวกรรม และ กําหนดทิศทางวิศวกรรมของภูมิภาคอาเซียน ทั้ง 10 ประเทศ ได แ ก ไทย สาธารณรั ฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว กัม พูชา ฟลิปปนส อินโดนีเซีย บรูไน มาเลเซีย สิงคโปร เวียดนาม และ สาธารณรัฐสหภาพเมียนมา ขณะเดียวกันยังมีอีกหลายประเทศ ใหความสนใจเขารวมการประชุมครั้งนี้ดวย เชน ประเทศญี่ปุน เกาหลี ออสเตรเลีย และจีน เปนตน ทศพร ศรีเอี่ยม ประธานการจัดงานวิศวกรรมแหงชาติ 2560 กลาววา หัวใจสําคัญของการจัดงาน “วิศวกรรมแหงชาติ 2560” คือ การใหความรู และพัฒนาความสามารถของวิศวกร ไทยใหกา วหนาอยูเ สมอ ทัง้ ในดานเทคโนโลยีและกฎระเบียบตางๆ ดังนัน้ กิจกรรมหลักทีจ่ ะเกิดขึน้ ภายในงาน คือการสัมมนาเพิม่ พูน ความรูใหกับวิศวกร มีหัวขอที่นาสนใจตางๆ ตลอดการจัดงาน มากมาย เชน มาตรฐานวิศวกรรมฉบับใหม การออกแบบวิศวกรรม ในกระแส Internet of Things (IoT) อุตสาหกรรม 4.0 การขนสง 4.0 รหัสตนทุนงานอาคาร มาตรฐานการทํางานระบบ BIM นวัตกรรมบานปลอดภัย Home Safety เปนตน พรอมกันนี้ยัง
เจน นําชัยศิริ ประธานสภาอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย
วงเสวนา อนาคต Thailand 4.0 ภายใตการลงทุน EEC สําหรับอุตสาหกรรมแหงอนาคต และคณะทํางานสนับสนุน โครงการระเบียงเขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC)
ไดพบกับผลิตภัณฑและบริการที่โดดเดนจากองคกรและบริษัท ที่มีชื่อเสียงของไทยและตางประเทศ ซึ่งจะชวยยกระดับคุณภาพ ชีวิต อาทิ ผลิตภัณฑจากเทคโนโลยีดานความปลอดภัย ระบบ อัตโนมัติและหุนยนตที่จะชวยพัฒนาการบริหารจัดการและการ ผลิตสําหรับผูประกอบการในทุกระดับ นอกจากนั้นประชาชนโดยทั่วไป ยังสามารถเขามาเรียนรู นวัตกรรมที่ชวยกระดับความเปนอยูที่ดีขึ้นใหกับชีวิต ทั้งดาน ความสะดวกสบาย และความปลอดภัย อีกทั้งยังมี “คลินิกชาง” ทีมใหคาํ ปรึกษาปญหาตางๆ โดยวิศวกรผูเ ชีย่ วชาญในแตละสาขา เชน การแกปญ หากรณีบา นทรุด บานราว ระบบประปา สุขาภิบาล ในบาน ระบบความปลอดภัยภายในบาน สามารถเขารับบริการ ไดฟรี รวมทั้งยังสามารถเลือกซื้อผลิตภัณฑทางดานเทคโนโลยี ตางๆ จากผูประกอบการที่เขารวมภายในงาน
33 33
Engineeeri Engineering r ng TToday oday September - October 2017
Cover Story
• บริษัท วีกา อินสตรูเมนท จํากัด
New VEGAPULS 64 Radar Sensor secures processes in The Food Industry
T
he food industry – especially those in dairy product processing – is placing ever higher demands on hygiene, similar to those in the pharmaceutical sector. This primarily being done to extend the shelf life of products. The design and fit of all devices in the vessel is therefore becoming particularly significant, they are required to be flush, crevice free and made from approved materials. The new VEGAPULS 64 radar level transmitter however, not only meets these hygiene requirements, but also offers further advantages for this branch of industry.
>> Figure 1 (Fig-1-FA-FoodstuffsVEGAPULS-64-Antenna-Euro.jpg): The smallest antenna of the VEGAPULS 64 is no bigger than a 1 Euro coin. This makes this new radar sensor ideal for installation in small tanks.
Raw milk is one of the most sensitive products of the food industry. It is stored at a temperature of approx. 4°C and continuously, lightly stirred until it is needed for further processing. A slight overpressure protects the milk against germs. A level sensor serves to both measure the tank contents and prevent overfilling. Radar filling level measuring instruments are really ideal for such applications, because they measure without contact, they meet hygiene requirements optimally. However, some difficulties – at least from a level measurement point of view – are caused by agitators or cooling coils, because they can create interfering reflections to a non-contact level device. This means in the past, sensors often had to be adapted to the internal installations by means of suppression or mapping of unwanted signals. The new VEGAPULS 64 radar level sensor is developed for these applications. This is the first radar for liquids on the market that operates at the high frequency of 80 GHz (26 GHz frequency was previously the norm). The front-flush encapsulated antenna is designed to be very easy to clean and insensitive to the extreme conditions of the SIP and CIP processes. The VEGAPULS 64 therefore easily meets the hygiene requirements. A high measurement accuracy is also achieved, even in very high tanks with installations and agitators, thanks to tighter focusing. To further explain this: The focusing of a radar measuring instrument depends on the transmission frequency and the effective surface area of its antenna. Without changing the size of the antenna, this higher frequency enables much better focusing. At an antenna size of approx. 80 mm, the beam angle is only 3°, whereas a sensor with a 26 GHz transmission frequency and the same sized antenna, has a beam angle of 10°. The narrower beam angle delivers a much better and consistent level measurement in applications that used to be a great challenge.
Engineering Today September - October 2017
34
Adapts to changing media Typical in the food industry are small filling tanks with a height of about 1 m and 60 cm diameter which supply filling heads on the production lines. Products can range from jam and peanut butter, to chocolate spread. Another typical feature is that these media differ in viscosity, temperature and have varying densities with conditions inside the tanks including agitation, condensation and splashing too. Another example is the flavours and fragrance industry where small tanks with many internal installations are also used. These require cleaning several times daily when changing batches, so a flexible filling level measurement is essential that can measure independently of process parameters such as temperature, pressure and the liquid density, as well as being adaptable to changing conditions. This task is ideal for VEGAPULS 64. But the advantages of the new VEGAPULS 64 can also be seen in another aspect. There is a clear trend towards small batches in the food industry, so tanks and equipment are becoming increasingly smaller. In the past, the radar measuring technique often met with difficulties in these areas and problems were mainly caused by physical issues. These
>> Figure 2 (Fig-2-FA-Foodstuffs-VEGAPULS-64-Antenna-systems.jpg): The right sensor version for every application. The VEGAPULS 64 has antenna systems in different sizes.
included the blocking distance of the sensor (that is the distance between the sensor connection and the liquid surface), the large size and the design of the antennas and the measuring uncertainty with media such as cooking oil with poor reflection properties. Unaffected by build up An interesting example is the manufacture of processed cheese, in which different types of cheese are combined and melted in a mixing tank. The challenge: The cheese sticks to the walls and is scraped off. Even with this heavy build up, the new VEGAPULS 64 level sensor is able to measure safely and reliably. And, despite the much shorter wavelength and the high transmission frequency, the sensor is not affected to deposits or condensation forming on the antenna. This is achieved by optimisation of the sensitivity in the near range of the sensor. A distance-dependent dynamic adaptation reduces the influence of interference directly before the antenna system and at the same time enables very high signal sensitivity over longer distances. Also, because it has a flush, encapsulated antenna system integrated into the process connection, excellent cleaning of the sensor itself is ensured. With the previous 26 GHz transmission frequencies, it was often difficult to measure media with poor reflective properties, such as cooking oils, with high accuracy when the level was near to the tank bottom. This is a special advantage of an 80 GHz radar sensor. To explain how this works: In media with low dielectric factors, part of the radar signal penetrates the medium and it is reflected back by the tank bottom beneath. You therefore receive two signals: The actual liquid level and also the tank bottom. If the dielectric factor of the medium is very low, and the signals off the tank bottom (e.g. a flat metal bottom) are greater, the radar will go prematurely to zero, even though there is still a liquid level in the tank.This has now been overcome, due to the much shorter wavelength of the 80 GHz VEGAPULS 64, these penetrating signals are damped more strongly in the medium than with
>> Figure 3 (Fig-3-FA-Foodstuffs-Graphic-VEGAPULS-64-Focusing.eps): In the VEGAPULS 64 the radiation angle is only 3°. The sensor can therefore measure the filling level reliably even in tanks with agitators. The small process connections and the compact sensor design offer considerable advantages, especially in small tanks.
26 GHz sensors. The reflection from the bottom of the tank is therefore much less. This results in a much better measurement down to the bottom of the tank than is possible with previous sensors. Since the antenna system was integrated into the process connection, no antenna protrudes into the tank. It is also possible to measure right up close to the process connection. The volume of the tank can therefore be utilised efficiently and creates greater process flexibility. Later installation without re-acceptance Since such small process fitting sizes can be used, the new sensor is easy to install onto existing connections, this makes it quick and cost effective to install on existing vessels with little or no modification. This is of particular interest in the food industry, where plants and processes are acceptance tested and any subsequent engineering alterations are only possible by utilising considerable resources. One example is the manufacture of polyvinyl acetate – also known as the gum base of chewing gum. This takes place in a reaction vessel with a four-level agitator. The reaction of the different basic materials starts when these are mixed by the agitator. In addition to the advantages already mentioned, such as the exact focusing to avoid the agitator, the simple installation is also extremely convincing. The sensor can be installed through an existing ball valve, which in itself used to cause great interference reflections in the near range. This type of installation repeatedly lead to problems as the relatively small echoes of the product surface could not be measured optimally due to interfering noise from the valve in the near range. The VEGAPULS 64 works much better through a valve, because the sensor has much tighter signal focusing, which means it gets a stronger signal from the product and the interference from the ball valve are almost non-existent.
>> Figure 4 (Fig-4-FA-Foodstuffs-Graphic-VEGAPULS-64-Aroma-tank. eps): Aroma tanks are cleaned several times a day when changing batches. The VEGAPULS 64 adapts to the changing conditions and measures the filling level reliably, independent of process changes such as temperature and pressure.
35
Engineering Today September - October 2017
Project Today • กองบรรณาธิการ
สมอ. เร่งรัดก่อสร้าง ศูนย์ทดสอบยานยนต์และยางล้อแห่งชาติ คาดเฟสแรกแลวเสร็จมีนาคม 2561
ภาพพื้นปาศูนยยางลอกอนปรับพื้นที่
สํานักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม (สมอ.) เรงผลักดัน โครงการศู น ย ท ดสอบยานยนต แ ละยางล อ แห ง ชาติ เต็มสูบ ตามแผนงานโครงการกอสรางสนามทดสอบ ตามมาตรฐาน มอก.2721-2559 (UN R117) และ อาคารสํานักงานพรอมหองปฏิบตั กิ ารเฟสแรกใหแลวเสร็จ เร็วขึน้ ภายในป 2561 และเรงรัดงานตามแผนการกอสราง ตอเนื่องในระยะที่ 2 พิสฐิ รังสฤษฎวฒ ุ กิ ลุ เลขาธิการสํานักงานมาตรฐาน อุตสาหกรรม (สมอ.) กลาววา สมอ.ไดผลักดันมาตรฐาน มอก. 2721-2559 เสี ย งจากยางล อ ที่ สั ม ผั ส ผิ ว ถนน การยึดเกาะถนนบนพื้นเปยกและความตานทานการหมุน ซึง่ อางอิงมาจากมาตรฐาน UN R117 เปนมาตรฐานบังคับ และเรงผลักดันโครงการศูนยทดสอบยานยนตและยางลอ แหงชาติเพื่อใหการกอสรางระยะแรกแลวเสร็จภายใน ป 2561 พรอมกับเรงรัดทํางานบูรณาการรวมกับจังหวัด ฉะเชิงเทรา องคการบริหารสวนตําบลลาดกระทิง และ
Engineering Today September - October 2017
พิสิฐ รังสฤษฎวุฒิกุล เลขาธิการสมอ. เยี่ยมชมความคืบหนาศูนยยางลอแหงชาติ
หนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อใหการดําเนินโครงการบรรลุประสงคอยาง รวดเร็วตามเปาหมายของรัฐบาล
36
ลาสุด สมอ.ไดนําสื่อมวลชนเดินทางลงพื้นที่ศูนยทดสอบยางยนตและยางลอแหงชาติ ที่จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อติดตามความ กาวหนาของโครงการในระยะแรก ซึ่งขณะนี้อยูระหวางดําเนินการปรับพื้นที่ขนาด 200 ไร ใหแลวเสร็จภายในวันที่ 31 ตุลาคม 2560 เพือ่ ดําเนินการกอสรางสนามทดสอบยางลอตามมาตรฐาน UN R117 ในรายการเสียงจากยางลอทีส่ มั ผัสผิวถนน และการยึดเกาะถนน บนพื้นเปยก (Noise & Wet Grip) และกอสรางอาคารสํานักงานพรอมหองปฏิบัติการ โดยขณะนี้อยูระหวางดําเนินการจัดหาผูรับจาง คูขนานกันกับการปรับพื้นที่
สําหรับงานกอสรางโครงการระยะที่ 2 สวนทดสอบ ยานยนตและชิน้ สวน ประกอบดวยสนามทดสอบกลางแจง 5 สนาม คือ สนามทดสอบระบบเบรก (Brake Performance) สนามทดสอบระบบเบรกมือ (Park Brake) สนามทดสอบ อุปกรณบงั คับเลีย้ ว (Dynamic Platform) สนามทดสอบ ระบบเครื่องยนต ระบบสงกําลัง มาตรวัดความเร็ว และ อัตราการสิน้ เปลืองเชือ้ เพลิง (Long Distance and High Speed) และ สนามทดสอบการยึดเกาะถนนขณะเขาโคง (Skid-Pad) ที่สามารถทดสอบยานยนตและชิ้นสวนรวม 19 รายการ เชน ระบบเบรก เฟอง ระบบไฟ คาดวาจะ แลวเสร็จในป 2562 เมือ่ กอสรางแลวเสร็จ สนามทดสอบนี้ จะเปนโครงสรางพื้นฐานในการดึงดูดผูประกอบการและ นักลงทุนดานการวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต ชิน้ สวนยานยนต และยางลอจากทัว่ ทุกภูมภิ าคสูป ระเทศไทย “โครงการศูนยทดสอบยานยนตและยางลอแหงชาติ จะชวยเสริมสรางศักยภาพทําใหประเทศไทยมีศนู ยทดสอบ ยานยนตและยางลอมาตรฐานเดียวกันกับมาตรฐานโลก และยกระดับสูการเปนศูนยกลางการทดสอบของภูมิภาค อาเซี ย นโดยมี เ ป า หมายที่ จ ะให ใ นภู มิ ภ าคอาเซี ย นและ ผูผ ลิตรถยนตทวั่ โลกมาใชประเทศไทยเปนฐานดานการวิจยั ” เลขาธิการ สมอ. กลาว
นอกจากนี้ผูผลิตยางลอในประเทศสามารถขอรับการทดสอบ ยางลอตามมาตรฐาน มอก. ชวยลดคาใชจา ยในการทดสอบ จากปจจุบนั ทีต่ อ งไปทดสอบในตางประเทศ อีกทัง้ ผูใ ชรถยนตในประเทศไดใชยางลอ ที่ไดสมรรถนะผานการตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน มอก. ซึ่งจะชวย ปองกันอุบตั เิ หตุทางถนนอีกทางหนึง่ พรอมกันนีย้ งั ทําใหเกิดความเจริญ ในจังหวัดฉะเชิงเทรา ซึง่ เปนจังหวัดเปาหมายของรัฐบาลในการผลักดัน การสรางเมืองใหมพัฒนาเปนเขตเศรษฐกิจพิเศษทางภาคตะวันออก (EEC) ทีส่ าํ คัญรองรับการขยายตัวของกรุงเทพฯ และการเติบโตของเมือง เพื่อสรางรากฐานเศรษฐกิจประเทศใหเติบโตยั่งยืนในอนาคต
37
Engineering Today September - October 2017
Industry 4.0
• กองบรรณาธิการ
กระทรวงวิทย์ฯ จับมือเอกชน พัฒนาเครื่องจักรต้นแบบ 5 เครื่อง ภายใต้ “โครงการพัฒนาสร้างเครือ่ งจักรต้นแบบ ด้วยกระบวนการวิศวกรรมเพือ่ สร้างสรรค์คณ ุ ค่า” กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดย สํานัก สงเสริมและถายทอดเทคโนโลยี สํานักงานปลัดกระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมแถลงขาวความสําเร็จ การพัฒนาสรางเครื่องจักรตนแบบ 5 เครื่องซึ่งเปนการ สนั บ สนุ น งบประมาณภายใต โ ครงการพั ฒ นาสร า ง เครื่องจักรตนแบบ ดวยกระบวนการวิศวกรรมเพื่อการ สรางสรรคคุณคาประจําปงบประมาณ 2559 โดยศูนย เทคโนโลยี โ ลหะและวั ส ดุ แ ห ง ชาติ สํ า นั ก งานพั ฒ นา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ รวมกับ สมาคม เครื่ อ งจั ก รกลไทย และสถานประกอบการที่ เ ข า ร ว ม โครงการ เพือ่ การพัฒนาสรางเครือ่ งมือและเครือ่ งจักรกล ที่ใชเทคโนโลยีในดานการผลิต ชวยใหกระบวนการผลิต สิ น ค า มี ค วามรวดเร็ ว และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น ชวยพัฒนาและเพิ่มคุณคาวัสดุ/วัตถุดิบที่มีในประเทศ และลดการนาเขาจากตางประเทศ นอกจากนี้ยังชวย พัฒนาและสรางสิ่งแวดลอมที่ดีใหกับโลก โดยงานนี้ ดร. นพ.ปฐม สวรรคปญญาเลิศ รองปลัด กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เปนประธานในงาน แถลงขาว พรอมดวย วนิดา บุญนาคคา ผูอ าํ นวยการสํานัก ส ง เสริ ม และถ า ยทอดเทคโนโลยี สํ า นั ก งานกระทรวง วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ณ ห อ งโถง ชั้น 1 อาคาร พระจอมเกลา กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดร. นพ.ปฐม สวรรคปญญาเลิศ รองปลัดกระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กลาววา การจัดงานในครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อเผยแพรประชาสัมพันธผลงานความ สําเร็จจากความรวมมือของทัง้ สองหนวยงานทีไ่ ดดาํ เนินการ มาเมือ่ ป 2558 และ 2559 โดยเนนพัฒนาสรางเครือ่ งจักร ตนแบบที่มีการใชเทคโนโลยีขั้นสูง เพื่อตอบสนองนโยบาย รั ฐ บาลในการกา วสู Thailand 4.0 โดยเปลี่ย นระบบ เศรษฐกิจแบบเดิมไปสูเ ศรษฐกิจทีข่ บั เคลือ่ นดวยนวัตกรรม ดั ง นั้ น ผลงานบางประเภทเป น เครื่ อ งจั ก รต น แบบที่ สนั บสนุ น คลั ส เตอรหุ น ยนตเ พื่อ อุตสาหกรรม ที่อยู ใน New S-curve ตามยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ
Engineering Today September - October 2017
ดร.นพ.ปฐม สวรรคปญญาเลิศ รองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
เครื่องผสมเพื่อผลิตพื้นยาง
สําหรับเครือ่ งมือและเครือ่ งจักรดังกลาว เปนผลงานทีม่ สี มรรถนะ และคุณลักษณะทีโ่ ดดเดนแตกตางกัน ไดแก 1) หุน ยนตประกอบชิน้ สวน นาฬกาและเครื่องจักรสําหรับการผลิต PCBA ในกลุมธุรกิจ SMEs Startup Company พัฒนาโดย บริษทั เซ็นเซอรนกิ ส จํากัด 2) หุน ยนต อุ ต สาหกรรมขนาดเล็ ก เพื่ อ การเคลื่ อ นย า ยและประกอบชิ้ น งาน พัฒนาโดย บริษัท อาร แอล ซี อินโนเวชั่น จํากัด 3) ระบบเผากําจัด ควันเพื่อธุรกิจอาหาร พัฒนาโดย บริษัท อกรินโนเวท จํากัด 4) เครื่อง จักรกลเพื่อกระบวนการผลิตยางเตรียมพื้นลู-ลานกรีฑา สนามกีฬา และลานอเนกประสงค พัฒนาโดย บริษัท ที.ซี.เอ็ม เอ็นไวรอนเมนท จํากัด
38
เครื่องจักรกลเพื่อกระบวนการผลิตยางเตรียมพื้นลู่-ลาน กรีฑา สนามกีฬา และลานอเนกประสงค์ • เครื่องผลิตยางเม็ดรูปลูกบาศก์ มีอัตราการผลิตยางเม็ดที่
200 กิโลกรัมตอชัว่ โมง สามารถตัดแผนยางหนาประมาณ 3.5 มิลลิเมตร และกวาง 300 มิลลิเมตรโดยตัดแผนยางพาราใหเปนเม็ดทรงลูกบาศก ขนาด 3-4 ลูกบาศกมิลลิเมตร ดวยเทคนิคการตัดแบบ 2 มิติ ดวยชุด ใบมีดที่ออกแบบเปนพิเศษ ตัดแลวไมเปนฝุน ผงยาง ทําใหไดยางเม็ด ที่มีขนาดสมํ่าเสมอ • เครื่องผสมเพื่อผลิตพื้นยาง ออกแบบใหผิวผนังถังเกลี้ยง เรียบลื่น เพื่อปองกันยางที่ผสมเกาะติดกับผนัง มีใบกวนและปาดชนิด ติดตั้งอยูกับที่ ปรับตั้งมุมองศาได และแยกออกตางหากจากผนังถัง พรอมกับออกแบบใหถังสามารถหมุนเดินหนาและถอยหลังได ซึ่งชวย เพิ่มประสิทธิภาพในการกวนผสมเม็ดยางและโพลียูรีเทนใหคลุกเคลา กับเม็ดยางไดดี ขณะถังหมุนเดินหนาจะปรับใหทําหนาที่เปนใบกวน ผสมยาง แตหากถังหมุนเดินถอยหลังก็จะปรับใหทําหนาที่เปนใบกวาด ยาง กวาดเอายางที่ผสมแลวออกจากถังไดอยางหมดจด เหลือติดถัง และใบกวาดนอย มีกําลังการผลิตที่อัตรา 120 กิโลกรัมตอ 20 นาที ตอชุด
แขนหุนยนตอุตสาหกรรมขนาดเล็กเพื่อการเคลื่อนยายและ ประกอบชิ้นงาน
ระบบเผากําจัดควันเพื่อธุรกิจอาหาร กระบวนการคั่วเมล็ดกาแฟ จะมีมลภาวะในรูปแบบของควันและ กลิน่ ซึง่ สงผลกระทบตอสิง่ แวดลอมและชุมชน ระบบทีพ่ ฒ ั นานีส้ ามารถ กําจัดควันและกลิ่นไดอยางมีประสิทธิภาพ ประกอบดวย 3 สวน คือ ระบบการกรองและกําจัดฝุน ระบบการกําจัดควัน และระบบการกําจัด กลิ่น โดยใชการเผารวมกับการสเปรยนํ้าควบคุมการทํางานดวยระบบ พีแอลซี (PLC Controller) สามารถประยุกตใชกบั ธุรกิจอาหารประเภท อื่นได แขนหุ่นยนต์อุตสาหกรรมขนาดเล็กเพื่อการเคลื่อนย้าย และประกอบชิ้นงาน แขนหุนยนตเปนแขนกลขนาดเล็ก ประหยัดพื้นที่ สามารถติดตั้ง และเคลื่อนยายไดงาย มีจุดหมุน 6 ขอตอ ทําใหสามารถทํางานไดครบ ทุกมุม กําหนดการเคลื่อนที่แบบเรขาคณิตได ทํางานไดรวดเร็ว แมนยํา ชวยลดการใชแรงงานคนในงานที่มีลักษณะซํ้าๆ สามารถเพิ่มเติมการ ควบคุมระยะไกลผานอินเทอรเน็ตเพื่อรองรับ Industry 4.0
39
เครื่องผลิตยางเม็ดรูปลูกบาศก ผลิตยางเม็ดที่ 200 กก./ชม.
Engineering Today September - October 2017
เครื่องจักรสําหรับการผลิตแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (PCBA) ในกลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดเล็ก เครื่องผลิตแผน PCB มีความแมนยําสูง ราคาถูก ใชพื้นที่ในการ ติดตั้งนอย เหมาะสําหรับกลุมธุรกิจขนาดเล็ก (SMEs) ที่ตองการผลิต ในปริมาณไมมาก ใชเทคโนโลยีการผลิตแบบ SMT (Surface Mount Technology) ทําใหคุณภาพการผลิตเทียบเทาการผลิตแผน PCB ใน ไลนการผลิตขนาดใหญทมี่ เี ครือ่ งจักรจํานวนมากและราคาแพง โดยการ ยอขนาดเครื่องจักรไลนการผลิต PCBA ใหเหลือเพียง 4 เครื่อง ซึ่ง ประกอบดวย 1. เครื่องหยอดตะกั่วเหลว (Solder Cream Dispensing) 2. เครือ่ งวางอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสขนาดเล็ก (Chip Pick and Place) 3. เครื่องอบตะกั่ว (Solder Reflow Oven) 4. เครื่องทดสอบแผงวงจร (ICT Test) หุ่นยนต์ประกอบชิ้นส่วนนาฬิกา หุน ยนตประกอบชิน้ สวนนาฬกา โครงสรางเปนอะลูมเิ นียม และ สเตนเลส เปนเครื่องประกอบชิ้นสวนของนาฬกา 2 สวนคือ เฟอง และ
แขน หรือมือ ใชคอมพิวเตอรควบคุมระบบการทํางาน มี Part Feeder โหลดชิ้นงาน 2 ชิ้นดานซายและดานขวา มี ระบบลมดูดชิ้นงาน ใชแกนหุนยนตประกอบชิ้นสวน และ ใชระบบลมเปาใหชนิ้ สวนประกอบเขาที่ มีระบบการมองภาพ (Vision System) ชวยปรับระยะที่ถูกตอง และตรวจสอบ ชิน้ งาน แกปญ หาการขาดแคลนแรงงานทักษะชัน้ สูงได
นวัตกรรมก๊าซของบีไอจีคว้ารางวัล Thailand Energy Award 2017
ด้านพลังงานสร้างสรรค์จากพพ.
ปยบุตร จารุเพ็ญ (ซาย) กรรมการผูจัดการ บริษัท บางกอกอินดัส เทรียลแกส จํากัด หรือบีไอจี รับมอบรางวัลดีเดน Thailand Energy Award 2017 ดานพลังงานสรางสรรค ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน จากพลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง (ขวา) รองนายกรัฐมนตรี ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์
Engineering Today September - October 2017
40
สําหรับรางวัลดานพลังงานสรางสรรคที่บีไอจี ไดรับ ในครั้งนี้ มาจากผลงาน Oxygen Lancing Technology for Incinerator ทีใ่ ชนวัตกรรมจากกาซ ออกซิเจนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเผาไหมใน เตาเผาขยะอุตสาหกรรม สงผลใหประหยัดการใช พลังงานเชื้อเพลิง ถือเปนรางวัลที่ชวยตอกยํ้าความ เปน ผูนํานวัตกรรมกาซอุตสาหกรรม รายแรกและ รายเดียวในประเทศไทยที่ ไดรับ รางวัล Thailand Energy Award มาครอง 2 ปติดตอกัน ทั้งนี้ ภายในงานมีการจัดบอรดแสดงผลงาน ของผูที่ไดรับรางวัล รวมถึงบอรดของบีไอจีซึ่งไดรับ เกียรติจาก พลอากาศเอก ประจิน จัน่ ตอง รองนายก รั ฐ มนตรี เข า เยี่ ย มชมและพู ด คุ ย ถึ ง รายละเอี ย ด โครงการฯ โดยมีปย บุตร จารุเพ็ญ กรรมการผูจ ดั การ ใหการตอนรับ เมื่อเร็วๆ นี้
บทความพิเ ศษ
• *มร.สตีฟ ทรีกัสต
ประโยชน์ 6 ประการที่ธุรกิจจะได้รับจาก Blockchain 6 Business Benefits of Blockchain บล็อกเชน (Blockchain) ถือกําเนิดขึ้นเพื่อรับรอง ความถูกต้องให้กับบิทคอยน์ (Bitcoin) ระบบสกุลเงิน ที่สร้างปรากฏการณ์ให้กับอุตสาหกรรมการเงินอย่างมาก เมื่อปี 2551 แกนหลักของเทคโนโลยีนี้คือการกําจัดระบบ ควบคุ ม แบบเบ็ดเสร็จจากส่ วนกลาง ด้วยการนําเสนอ เครือข่ายแบบกระจายทีม่ ขี อ้ กําหนดและกฎระเบียบในแบบ ฉบับของตัวเอง นอกจากนี้ยังสามารถสร้างประโยชน์ทาง ธุรกิจได้อย่างคาดไม่ถึงด้วย จริงๆ แล้วสองสิ่งนี้ไม่ได้มี อะไรที่เหนือกว่ากัน แต่ขึ้นอยู่กับว่าใครจะนําสิ่งไหนไปใช้ ประโยชน์ได้มากกว่า
Blockchain was born to provide legitimacy to its Bitcoin master after the financial cataclysm of 2008. At its heart is a rebellious disdain for central authoritative control, offering instead a decentralized network of selfcompliance and regulation. But the servant has become the master, offering business benefits not envisaged during its conception. In fact, it’s nothing short of a game changer for those who can master it.
บล็อกเชนคืออะไร BitcoinBlockchain เป น บั ญ ชี แ ยกประเภทระบบ อิเล็กทรอนิกสที่มีความปลอดภัย โดยเชื่อมตอกับหลายภาคสวน บนเครือขายที่มีความนาเชื่อถือและไวใจได ทั้งยังชวยอํานวย ความสะดวกในการถายโอนสินทรัพยและขอมูลที่เกี่ยวของกับ สินทรัพยดังกลาวดวย โดยเบื้องตนแลว เทคโนโลยีนี้ถูกสรางขึ้น เพื่อใชเปนเครื่องมือของบิทคอยนในการรับรองความถูกตอง ของสกุลเงินอิเล็กทรอนิกสหลังจากที่เกิดเหตุการณครั้งใหญใน โลกการเงิน จนนําไปสูวิกฤตการณทางการเงินระดับโลกเมื่อ ป 2551
WHAT IS BLOCKCHAIN?
BitcoinBlockchain is a secure distributed electronic ledger, connecting multiple parties in a network of trust and integrity, facilitating the transfer of assets and the information pertaining to those assets. It was initially created as the means by which Bitcoin could be legitimized as genuine electronic currency after the seismic events in the financial world that lead to the global financial crisis in 2008.
*ผูอํานวยการดานอุตสาหกรรมการเงิน การบริหารทรัพยากรมนุษยและการวางกลยุทธ บริษัท ไอเอฟเอส
41 41
Engiineering Engineering i Today Td September Septe t mber b - October O t r2 2017 017 7
ทุกธุรกรรมในระบบดิจิทัลจะไดรับการเก็บบันทึกอยาง ปลอดภัยในหวงโซ (เชน) ที่เชื่อมตอกันดวยคียดิจิทัลที่มีการเขา รหัสไวสําหรับใชแสดงความถูกตองเมื่อไดรับการตรวจสอบจาก เครือขาย การสรางสําเนา การแกไข หรือการลบธุรกรรม จะได รับการปองกัน โดยเชนซึ่งมีอยูในคอมพิวเตอรของแตละคนบน เครือขาย ยิ่งบล็อกเชนยาวมากเทาใดและเครือขายกวางไกล มากเพียงใด คียด จิ ทิ ลั ก็ยงิ่ มีความซับซอนมากขึน้ ดังนัน้ บล็อกเชน จึงมีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้นไปอีก แพลตฟอร์มการค้าขายแลกเปลี่ยนแบบใหม่
A NEW TRADING PLATFORM
โดยปกติแลวรูปแบบของการคาขายแลกเปลีย่ นจะเปนการ แลกเปลี่ยนสินทรัพยระหวางกันอยางนอยสองคนขึ้นไป (ยกเวน การแลกเปลี่ยนแบบใชสินคาแลกกัน) และมักจะตองมีคนกลาง ในการทําใหขอ ตกลงบรรลุผล ตลอดจนชวยสรางความนาเชือ่ ถือ ใหกบั กระบวนการซือ้ ขายโดยแลกกับคาตอบแทนในการทําหนาที่ คนกลางดังกลาว (ซึง่ คาตอบแทนดังกลาวมีมลู คามากถึง 1.7 ลาน ลานดอลลารสหรัฐ ในป 2557 จากขอมูลของนักเศรษฐศาสตร) บล็ อ กเชนได เ ข า มาเปลี่ ย นแปลงระบบค า ขายดั ง กล า ว ด ว ยการนํ า แต ล ะคนหรื อ กลุ ม ต า งๆ มารวมเข า ด ว ยกั น บน เครือขายที่เชื่อถือไดและไมมีบุคคลที่สามเปนตัวกลาง ทั้งยัง สามารถบันทึกการทําธุรกรรมแตละรายการไดอยางตอเนื่อง และปลอดภัย โดยภาพรวมการทํางานของบล็อกเชนสามารถดูได จากคลิปวิดีโอของ MIT ความยาว 2 นาทีที่มีชื่อวา BlockchainA Short Introduction ข้อดีทางธุรกิจ การใชระบบคาขายแลกเปลี่ยนแบบใหมนี้สามารถสราง ประโยชนใหกบั ธุรกิจไดอยางมากมาย แตสว นใหญแลวจะมุง เนน ไปที่ความสามารถอยางนอย 1 ใน 6 อยาง ดังนี้ :
ข้อดีที่ 1 : ประสิทธิภาพ การทําธุรกรรมระหวางบุคคลหรือกลุมที่เกี่ยวของสามารถ เสร็จสมบูรณไดโดยตรงและไมตองมีคนกลาง ทั้งยังสามารถใช ขอมูลในรูปแบบดิจิทัล จึงทําใหการดําเนินธุรกรรมเปนไปอยาง รวดเร็ว นอกจากนีย้ งั สามารถใช ‘สัญญาอัจฉริยะ’ (Smart Contract) เพื่อผลักดันใหการดําเนินการดานการคาเปนไปตามเกณฑที่ กําหนดไวในสัญญาดังกลาว แนวทางนีช้ ว ยเสริมสรางประสิทธิภาพ ใหกับกระบวนการทํางานไดอยางมาก อีกทั้งยังชวยจํากัดเวลา
Engineering Today September - October 2017
It does this by securely recording digital transactions in a sequential chain using cryptographic digital keys, which are verified by the network as authentic. Duplication, editing or removal of transactions is prevented by the chain, which is held on everyone’s computer on the network. The longer the Blockchain and the wider the network the more complex the digital key, and hence the more secure the Blockchain.
42
Any type of trade requires exchanging assets between two or more parties, and unless the trade follows the bartering system, there is always at least one central third party that is brokering the deal, providing trust into the trade and seeking their own compensation for the role that they undertake ($1.7Tn in 2014 according to the economist). Blockchain alters this trading platform by bringing parties together in a trusted network without a third party and by recording each transaction sequentially and securely. This is illustrated succinctly in this twominute MIT video, Blockchain - A short introduction. BUSINESS BENEFITS
Utilizing this new trading platform can bring many business benefits, but most are centered on delivering one or more of six competencies:
Benefit #1 : Efficiency As transactions are completed directly between the relevant parties with no intermediary and with digitized information, settling the transaction can be quick. Added to this is the ability to operate ‘smart contracts’ which automatically trigger commercial actions based on satisfying the criteria laid out in the contract. This can dramatically streamline processes and in doing so, remove time and cost from transacting. The article, “How Utilities Are Using Blockchain to
Modernize the Grid,” by Oliver Wyman Consulting outlines how this is being utilized currently in the energy industry.
บล็ อ กเชนได เ ข า มาเปลี่ ย นแปลง ระบบคาขายดังกลาว ดวยการนําแตละ คนหรือกลุมตางๆ มารวมเขาดวยกันบน เครือขายที่เชื่อถือไดและไมมีบุคคลที่สาม เปนตัวกลาง ทัง้ ยังสามารถบันทึกการทํา ธุรกรรมแตละรายการไดอยางตอเนื่อง และปลอดภัย
Benefit #2 : Auditability As each transaction is recorded sequentially and indefinitely, it provides an indelible audit trail for the life of an asset even between parties. This is especially important if source data is essential in verifying an assets authenticity. Currently, this benefit is being realized by the company Everledger to track diamonds as summarized in this article in Wired magazine, “How the blockchain is helping stop the spread of conflict diamonds.”
Benefit #3 : Traceability และตนทุนในการทําธุรกรรมดวย บทความเรื่อง “How Utilities Are Using Blockchain to Modernize the Grid” โดย Oliver Wyman Consulting มีรายละเอียดเกี่ยวกับการใชประโยชน แนวทางนี้ในอุตสาหกรรมพลังงาน
ข้อดีที่ 2 : ความพรอมที่จะใหตรวจสอบบัญชี เนื่องจากธุรกรรมแตละรายการไดรับการเก็บบันทึกอยาง ตอเนื่องและไมมีกําหนด ดังนั้นจึงสามารถดําเนินการตรวจสอบ ได ต ลอดทั้ ง วงจรชี วิ ต ของสิ น ทรั พ ย สิ่ ง นี้ จ ะยิ่ ง มี ค วามสํ า คั ญ อย า งมากหากข อ มู ล ต น ฉบั บ เป น สิ่ ง จํ า เป น ที่ ต อ งใช ใ นการ ตรวจสอบความถูกตองของสินทรัพย และขอดีดังกลาวนี้ไดรับ การยืนยันแลวจากบริษัท Everledger ในการติดตามตรวจสอบ เพชรตามทีม่ ขี อ มูลสรุปไวในบทความเรือ่ ง “How the Blockchain Is Helping Stop the Spread of Conflict Diamonds” ใน นิตยสาร Wired
Tracking goods forwards in a supply chain can be advantageous when seeking to trace where components are currently residing. Information relating to the component can then relayed to or from the new owner for possible action. This benefit is succinctly described in this Harvard Business Review article, “Global Supply Chains Are About to Get Better, Thanks to Blockchain.”
ข้อดีที่ 3 : ความสามารถดานการติดตาม การติดตามสินคาในซัพพลายเชนจะไดรับประโยชนหาก ตองการติดตามตรวจสอบวาตอนนี้ชิ้นสวนตางๆ อยูที่ใดบาง โดยขอมูลที่เกี่ยวของกับชิ้นสวนดังกลาว จะถูกสงไปยังหรือไดรับ จากเจาของใหมเพื่อดําเนินการในดานอื่นๆ ตอไป ขอดีนี้มีราย ละเอียดในบทความของ Harvard Business Review เรื่อง “Global Supply Chains Are About to Get Better, Thanks to Blockchain”
43
Engineering Today September - October 2017
Benefit #4 : Transparency ข้อดีที่ 4 : ความโปรงใส ในบางครั้งการขาดความโปรงใสทางการคา อาจนําไปสู ความลาชาในการดําเนินธุรกิจและสามารถทําลายความสัมพันธ ระหวางกันได ซึ่งการใหรายละเอียดของการทําธุรกรรมอยาง ชั ด เจนจะช ว ยเพิ่ ม ความน า เชื่ อ ถื อ ให กั บ กระบวนการค า ขาย ทั้งยังชวยเสริมสรางความสัมพันธใหมั่นคงยิ่งขึ้นตามระดับความ โปรงใสที่มีอยูดวย
Lack of commercial transparency can sometimes lead to delays in commerce and a breakdown in relations. By providing details of transactions against the commercial construct, further trust can be enlisted within the process and so provide a more stable relationship based on transparency rather than negotiation.
Benefit #5 : Security ข้อดีที่ 5 : ความปลอดภัย ธุ ร กรรมแต ล ะรายการจะได รั บ การตรวจสอบภายใน เครือขาย โดยใชการเขารหัสลับทีซ่ บั ซอนและไดรบั การตรวจสอบ อยางอิสระ ดังนั้นจึงสามารถมั่นใจในความถูกตองของขอมูลได และขอมูลที่นาเชื่อถือดังกลาวเปนหนึ่งในพื้นฐานสําคัญของการ ใชประโยชนจากแนวทาง Internet of Things: IoT ซึ่งเปน กระบวนการทํางานเชื่อมโยงสินทรัพยที่ใชงานอยูผานระบบ อินเทอรเน็ตทีม่ กี ารควบคุมในระบบปด แนวทางนีก้ าํ ลังไดรบั การ นําไปใชในอุตสาหกรรมดานกลาโหมสําหรับการตรวจสอบความ ถูกตองของคําสัง่ และการปองกันทรัพยสนิ ทางปญญา ซึง่ สามารถ ดูร ายละเอี ย ดได ใ นบทความของ Ascent เรื่ อ ง “Securing 3D-Printing : Could Blockchain be the Answer?”
As each transaction is verified within the network using independently verified complex cryptography, the authenticity of the information can be assured. Assured information is one of the fundamental keys to unlocking the benefits of the Internet of Things (IoT), which is a closed loop cyber autonomous process linking assets to actions. A version of this is currently being used in the defense Industry for verification of instructions and protection of IP, as illustrated in this article by Ascent, “Securing 3D-Printing: Could Blockchain be the Answer?”
Benefit #6 : Feedback ข้อดีที่ 6 : ความเห็น ดวยความสามารถในการติดตามสินทรัพยครอบคลุมทั้ง วงจรชีวิต ผูออกแบบและผูผลิตสินทรัพยจึงสามารถปรับรูปแบบ การบริหารจัดการสินทรัพยตลอดวงจรชีวิตไดอยางเหมาะสม และมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ โดยอาศัยขอมูลในดานตางๆ ไมวา จะเปนการจัดสง การติดตั้ง การบํารุงรักษา และการรื้อถอน
Engineering Today September - October 2017
44
With full traceability throughout the lifecycle of an asset, the asset designers and manufacturers can accommodate through-life asset management into their products to make them more effective. This can allow for information returning from shipping, installation, maintenance and decommissioning.
Energy Today • กองบรรณาธิการ
เครื่องกังหันก๊าซรุ่น HA จีอีสร้างสถิติโลกในกินเนสส์ เวิลด์ เรคคอร์ด ขึ้นแท่นผู้ขับเคลื่อนโรงไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพสูงสุด การเลือกผสมผสานแหลงพลังงานเพื่อสนับสนุน นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจ 4.0 ของประเทศไทย และ การปรับปรุงนโยบายเพื่อเพิ่มความมั่นคงดานพลังงาน และประสิทธิภาพการใชพลังงาน เปนประเด็นทีเ่ จาหนาที่ ที่มีสวนเกี่ยวของดานพลังงานใหความสําคัญเปนลําดับ ตนๆ แผนอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2558-2579 (Energy Efficiency Plan; EEP 2015) กําหนดเปาหมายที่จะลด ความเขมการใชพลังงานลงรอยละ 30 ในป 2579 เมื่อ เทียบกับป 25531 แมเปาหมายดังกลาวจะมีความทาทาย แต เ ทคโนโลยี ใ หมๆ ซึ่ ง ชว ยใหก ารผลิ ตกระแสไฟฟามี ประสิทธิภาพ เสถียร ยั่งยืน และคุมคามากขึ้น ก็กําลังออก สูตลาดในเวลาอันรวดเร็ว ตัวอยางเชน เครื่องกังหันกาซ รุน HA ของจีอที มี่ ใี หบริการแลวในประเทศไทยสําหรับใชใน อุตสาหกรรมพลังงานและโรงไฟฟา โดยไดรบั การยอมรับวา เปนหนึ่งโซลูชั่นดานพลังงานที่มีประสิทธิภาพสูงสุดใน ตลาดปจจุบัน และในป 2559 กังหัน 9HA.01 ก็ไดสราง สถิติโลกใหมดานประสิทธิภาพการผลิตกระแสไฟฟา เครื่องกังหันก๊าซ 9HA.01 สร้างสถิติโลกใหม่ ประสิทธิภาพการทํางานสูงสุด 62.22%
รั ส เซล สโตคส ประธานและหั ว หน า เจ า หน า ที่ บ ริ ห ารของ จีอี พาวเวอร กลาววา เรายินดีที่ไดรับการบันทึกในกินเนสส เวิลด เรคคอร ด ในฐานะผู ขั บ เคลื่ อ นโรงไฟฟ า พลั ง ความร อ นร ว มที่ ท รง ประสิทธิภาพที่สุดของโลก และภูมิใจที่เครื่องกังหันกาซของจีอีไดมอบ ความยืดหยุนและเพิ่มความนาเชื่อถือใหกับลูกคาของเรา
เมือ่ เดือนมิถนุ ายน ป 2559 เครือ่ งกังหันกาซ 9HA.01 ของจีอี ซึ่งติดตั้งที่โรงไฟฟาพลังความรอนรวมในประเทศ ฝรั่งเศส สามารถบรรลุประสิทธิภาพการทํางานในอัตรา สู ง สุ ด ที่ ร อ ยละ 62.22 ซึ่ ง เป น การบั น ทึ ก สถิ ติ ใ หม ใ น กินเนสส เวิลด เรคคอรด โดยสถิติลาสุดกอนหนานี้อยูที่ รอยละ 61.5 ทัง้ นีส้ ถิตดิ งั กลาวไดรบั การบันทึก ณ โรงไฟฟา บูแชง ในประเทศฝรั่งเศส ของการไฟฟาฝรั่งเศส หรือ อีดีเอฟ (Électricité de France - EDF) โดยมีเจาหนาที่ จากกินเนสส เวิลด เรคคอรดเปนสักขีพยาน http://www.enconfund.go.th/pdf/index/eep2015.pdf
1
45
Engineering Today September - October 2017
ผลิตกระแสไฟฟ้าได้เร็วขึ้น สะอาดขึ้น มีประสิทธิภาพมากขึ้น
เครือ่ งกังหันกาซ 9HA.01 ของจีอที มี่ นี าํ้ หนักเทากับ เครื่ อ งบิ น โดยสารโบอิ้ ง 747 ที่ มี ก ารบรรทุ ก เต็ ม ลํ า นี้ สามารถผลิตกระแสไฟฟาจากพลังงานเชือ้ เพลิงไดมากกวา รอยละ 62.22 ซึง่ เพียงพอสําหรับใชใน 680,000 ครัวเรือน สามารถเดินเครื่องไดเต็มพิกัดภายในระยะเวลา 30 นาที หรือนอยกวานั้น ซึ่งทําใหการไฟฟาฝรั่งเศสสามารถรับมือ ความตองการไฟฟาที่เปลี่ยนแปลงขึ้นลงไดอยางรวดเร็ว และยั ง สามารถผลิ ต กระแสไฟฟ า จากแหล ง พลั ง งาน ทดแทนซึ่งมีความตอเนื่องตํ่ากวาได อาทิ พลังงานลมและ พลังงานแสงอาทิตย ดานสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีที่ลํ้าหนาของจีอี ชวยให การปลอยกาซเสียมีปริมาณที่ตํ่า ไดมีการคํานวณแลววา เมื่อเครื่องกังหันกาซเผาไหมกาซธรรมชาติซึ่งรวมอยูกับ อากาศรวมปริมาณ 3.3 ตัน หรือเทียบเทากับรถบรรทุก นํา้ มันจํานวน 23 คัน จะมีปริมาณของเสีย (มลพิษ) ทีผ่ ลิต ออกมาเพียง 6.3 ออนซของเหลว ซึง่ มากกวานํา้ อัดลมครึง่ กระปองเพียงเล็กนอย2 เครื่องกังหันก๊าซรุ่น HA สร้างประโยชน์ให้โรงไฟฟ้าในระยะยาว
มร.จอหน ลัมมัส ประธานเจาหนาทีฝ่ า ยเทคโนโลยี ของจีอี พาวเวอร กลาววา โรงไฟฟาพลังความรอนรวมชวย ใหผูประกอบการโรงไฟฟาประหยัดคาใชจายไดมาก โดย คํานวณวาโรงไฟฟาขนาดกําลังการผลิต 1,000 เมกะวัตต ซึ่งใชงานเครื่องกังหันกาซรุน HA 1 คู (2 เครื่อง) สามารถ ประหยัดเชือ้ เพลิงได 50 ลานเหรียญสหรัฐในชวงระยะเวลา 10 ป โดยมีคาประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นรอยละ 1 “โดยทัว่ ไปแลว การพัฒนาเพือ่ ใหไดรบั คาประสิทธิภาพ ที่เพิ่มขึ้นรอยละ 1 จะใชเวลาประมาณหนึ่งทศวรรษ แตเรา ใช เ วลาเพี ย ง 36 เดื อ นในการพั ฒ นาเครื่ อ งกั ง หั น ก า ซ รุ น HA และใช เ วลารวม 6 ป ใ นการมุ ง มั่น พัฒนาจน ประสบความสําเร็จในปจจุบนั ทีส่ ามารถเพิม่ ประสิทธิภาพ การผลิตกระแสไฟฟาจากระดับที่ตํ่ากวารอยละ 60 ขึ้นมา ไดสูงกวารอยละ 62.22 จากสถิติโลกของโรงไฟฟาที่บูแชง ประเทศฝรั่งเศส” มร.จอหน ลัมมัส กลาว
• Combined cycle efficiency% = คาประสิทธิภาพของโรง ไฟฟาพลังความรอนรวม (%) • Guinness World Record = กินเนสส เวิลด เรคคอรด • Materials, Combustion & Cooling Technology = วัสดุ เทคโนโลยีการเผาไหมและการระบายความรอน • Gas turbine firing temperature C = อุณหภูมิการเผาไหม ของเครื่องกังหันกาซ (°C)
พร้อมขับเคลื่อนโรงไฟฟ้าประเทศไทย
โกวิทย คัน ธาภั สระ ประธานและหัว หนาเจาหนาที่ บริหาร บริษัท จีอี ประเทศไทยและลาว กลาววา เทคโนโลยีกังหันกาซรุน HA มีใหบริการในประเทศไทยแลว และคาดวาจะไดรับการตอบรับที่ดีจาก ลูกคาที่มีอยูเดิมและลูกคาใหมๆ
http://www.gereports.com/bouchain/
2
Engineering Today September - October 2017
46
ผูประกอบการทั้งโรงไฟฟาหรือโรงงานผลิต ตางมีความ ตองการโซลูชั่นดานพลังงานที่ใหผลลัพธที่ยอดเยี่ยมในทุกเกณฑ มาตรฐาน เพือ่ ลดตนทุนและใชประโยชนจากทรัพยากรใหไดสงู สุด เครือ่ งกังหันกาซรุน HA ถูกพัฒนาใหสามารถบรรลุเปาหมาย ดังกลาว เนื่องจากมีอัตราการใหความรอนและการปลอยกาซตํ่า ที่สุดในโลก จึงไดรับความสนใจจากลูกคาทั่วโลก รวมถึงประเทศ จีน เกาหลี ปากีสถาน กาตาร และฝรั่งเศส และเรามั่นใจวา กังหัน กาซรุน HA จะไดรับความนิยมในประเทศไทยเชนเดียวกัน เครื่องกังหันกาซรุน HA เปนหนึ่งในกลุมผลิตภัณฑกังหัน กาซที่เติบโตเร็วที่สุดในโลก รวมทั้งในเอเชีย เมื่อปที่ผานมา เมื่อ บริษัทฮารบินอีเล็กทริกของประเทศจีนไดจัดทําสัญญากับจีอีให จัดหากังหันกาซรุน 9HA สําหรับโครงการโรงไฟฟาพลังความรอน รวม Huadian Tianjin Junliangcheng VI ขนาด 650 เมกะวัตต นอกจากนี้ เครื่องกังหันกาซ 9HA.02 รุนลาสุดของจีอีจะ
ชวยผลิตกระแสไฟฟาใหกับโรงไฟฟาพลังความรอนรวมที่ใช กังหันกาซ (CCGT) แหงใหมขนาด 2,242 เมกะวัตตของบริษัท Edra Energy ซึ่งเมื่อการดําเนินการกอสรางเสร็จสิ้น จะเปน โรงไฟฟา CCGT ที่ใหญที่สุดของมาเลเซีย โดยคาดวาโรงไฟฟา ดังกลาวจะเริ่มดําเนินการเชิงพาณิชยในเดือนมกราคม 25643 เป้าหมายประสิทธิภาพผลิตกระแสไฟฟ้า 65%
สําหรับคาประสิทธิภาพการผลิตกระแสไฟฟาที่รอยละ 65 เปนเปาหมายถัดไปของจีอี โดยจีอีมีการพัฒนาวัสดุใหมๆ อาทิ วั ส ดุ ค อมโพสิ ต ที่ มี เ ซรามิ ก เป น ส ว นผสมหลั ก (CMCs) ซึ่ ง มี นํ้าหนักเบา แตทนทานและทนความรอน และใชการพิมพแบบ สามมิติ (3D) เพื่อทําใหเสนทางระบายความรอนภายในใบพัดมี ประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งกอนหนานี้ยังไมสามารถผลิตได
GE’s World Record Setting HA Gas Turbine Tech Delivers Maximum Power Generation Efficiency
GE’s 9HA gas turbine range achieved a rare milestone last year when a GE 9HA.01 gas turbine - installed in a combined-cycle power plant in France - achieved a peak operating efficiency rate of up to 62.22% to set a new Guinness World Record - the previous best was 61.5 percent. The record was set in a power plant owned by Électricité de France (EDF) in Bouchain city. Operationally, the GE 9HA.01 gas turbine converts more than 62.22% of fuel energy into electricity. Weighing the same as a Boeing 747, it generates enough power to supply more than 680,000 homes. It can also go to full-power in 30 minutes or less, allowing EDF to respond quickly to changing demand, and supply customers with power from intermittent sources of renewable energy (wind, solar). Environmentally, GE calculated that when the turbine burns 3.3 tons of natural gas mixed with air - equivalent to 23 tanker trucks - just 6.3 fluid ounces of pollution is produced. This is because the turbine operates at temperatures approaching the melting point of steel. In terms of cost efficiencies, GE calculates a 1,000-megawatt power plant using a pair of HA turbines could save $50 million on fuel over 10 years by raising efficiency by 1 per cent. Commenting on the 9HA’s performance and global popularity, Kovit Kantapasara, president and CEO of GE Thailand and Laos said, “The HA turbines have the lowest heat rate and emissions in the world. These features, and more, are attracting customer orders around the world including, China, Korea, Pakistan, Qatar, and France, and we are confident they will also be popular in Thailand.” The HA gas turbines are one of the fastest growing fleet of gas turbines in the world with 58 units ordered to date.1 A recent deal was announced in March, when China’s Harbin Electric Corp awarded GE a contract to provide a 9HA gas turbine for the 650 MW Huadian Tianjin Junliangcheng VI gas combined-cycle power plant project. http://www.thestar.com.my/business/business-news/2017/04/13/edra-power-closer-to-listing-with-ppa-melaka-power-plant/
3
47
Engineering Today September - October 2017
Digital Economy • กองบรรณาธิการ
ซีเมนส์จัดงาน ดิจิทัลไลเซชัน เดย์ โชว์ดิจิทัลโซลูชั่น สนับสนุนองค์กรในไทยก้าวสู่ระบบดิจิทัลรับ Thailand 4.0
มร.มาร์คุส ลอเรนซินี่ ประธานและหัวหน้าฝ่ายบริหาร บริษัท ซีเมนส์ จํากัด ประเทศไทย
ซีเมนสจัดงานดิจิทัลไลเซชัน เดย ครั้งแรกที่กรุงเทพฯ โดยนํา เสนอตัวอยางพลังของการเปลีย่ นแปลงสูด จิ ทิ ลั (Digitalization) ซึง่ คือ การนําเทคโนโลยีและขอมูลดิจทิ ลั มาใชในการสรางความเปลีย่ นแปลง และสิ่งที่บริษัทสามารถชวยสนับสนุนองคกรธุรกิจและภาครัฐในการ เพิม่ ประสิทธิภาพ ความยัง่ ยืน และความปลอดภัย ณ โรงแรมดับเบิล้ ยู ถนนสาทร โดยการจัดงานครั้งนี้มีบุคคลระดับผูนําและผูมีสวนเกี่ยวของทั้ง จากภาครัฐและเอกชนจากทั่วประเทศเขารวมงานอยางคับคั่ง โดยมี เปาหมายเดียวกันคือการสรางประโยชนสูงสุดใหแกประเทศ มร.มารคุส ลอเรนซินี่ ประธานและหัวหนาฝายบริหาร บริษัท ซีเมนส จํากัด ประเทศไทย กลาววา โลกปจจุบันมีการเชื่อมตอกัน มากขึ้น การเปลี่ยนแปลงดวยดิจิทัล ดวยการนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช ในการปรับเปลี่ยนการปฏิบัติงานดานตางๆ ในธุร กิจ เปนการสราง ความแตกตางที่สําคัญ ที่จะชวยใหบริษัททั้งหลายสามารถรักษาความ สามารถทางการแขงขันเอาไวได การเปลี่ยนแปลงดวยดิจิทัลชวยลดตนทุน เพิ่มคุณภาพการผลิต ความยื ด หยุ น และประสิ ท ธิ ภ าพการดํ า เนิ น งาน ลดระยะเวลาการ ตอบสนองตอความตองการของลูกคาและตลาด ตลอดจนเปนการ เปดรับโอกาสและนวัตกรรมใหมๆ ทางธุรกิจ ใหกับองคกร ดังนั้นจึง จําเปนอยางยิง่ สําหรับองคกรตางๆ ในประเทศไทย ทัง้ ภาครัฐและเอกชน ในการเปดรับการเปลี่ยนแปลงสูดิจิทัล
Engineering Today September - October 2017
48
ภายในงาน ผูบ ริหารของซีเมนสไดแบงปนกรณีศกึ ษา เกี่ยวกับผลของการเปลี่ยนแปลงสูดิจิทัลที่มีตอธุรกิจใน ปจจุบัน รวมถึงผลิตภัณฑและบริการดิจิทัลของซีเมนส ที่สามารถชวยใหองคกรตางๆ ปรับตัวดานดิจิทัล และเพิ่ม ประสิทธิภาพของระบบงานตางๆ ทีม่ อี ยูแ ลว และชีใ้ หเห็น ว า เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล จะสามารถช ว ยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ความยั่งยืน และความปลอดภัยไดในสวนใดบาง นอกจากนี้ยังไดเนนยํ้าวาหากธุรกิจไมไดปรับตัวให เขาสูร ปู แบบดิจทิ ลั องคกรธุรกิจมีโอกาสทีจ่ ะสูญเสียสวนแบง การตลาด ทรัพยากรบุคคลทีม่ ศี กั ยภาพ และทายทีส่ ดุ คือ การตองเผชิญกับการเขามาแทรกแซงโดยธุรกิจรูปแบบใหมๆ “ในฐานะผูนําดานเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ซีเมนส ยังมุงมั่นนําเสนอผลงานเพื่อใหลูกคาไดรับประโยชนจาก การเปลีย่ นแปลงสูด จิ ทิ ลั ในทุกกลุม ธุรกิจของซีเมนส ตัง้ แต กลุม ธุรกิจระบบผลิตไฟฟาและบริการ (Power Generation and Services) กลุมธุรกิจการจัดการพลังงาน (Energy Management) กลุมธุรกิจอุตสาหกรรมดานกระบวนการ ผลิตและการขับเคลื่อน (Process Industries and Drives) กลุม ธุรกิจโรงงานระบบดิจทิ ลั (Digital Factory) กลุม ธุรกิจ การเดินทางและระบบขนสง (Mobility) ตลอดจนกลุม ธุรกิจ เทคโนโลยีสํ าหรับ อาคาร (Building Technologies)” มร.มารคุส กลาว สําหรับผลิตภัณฑและบริการดิจิทัลของซีเมนสชวย เพิ่มมูลคาใหกับลูกคา ตลอดทั้งหวงโซคุณคาตั้งแตเริ่ม จนครบทั้งกระบวนการ ประกอบดวย การออกแบบและ วิศวกรรม เทคโนโลยีแบบจําลองดิจิทัล ชวยเรงกระบวน การออกแบบไดอยางรวดเร็ว ทั้งยังชวยใหสามารถเปรียบ เทียบผลิตภัณฑ ทดสอบ และประเมินผลแบบเสมือนจริง ไดในระยะเวลาอันสั้น ทําใหลูกคาประหยัดเวลาและเงิน ในสภาพแวดลอมทางธุรกิจทีม่ คี วามตองการเพิม่ ขึน้ และมี การแขงขันสูง ผลงานการออกแบบและการจําลองแบบของ ซีเมนสมาจากประสบการณการดําเนินงานนานกวา 10 ป มีไลเซนสมากกวา 9 ลานฉบับ และลูกคากวา 77,000 ราย ทัว่ โลก เชน ซอฟตแวรการออกแบบและการจําลองผลิตภัณฑ ชวยใหผูผลิตยานยนตลดเวลาในการพัฒนาลงไดมากถึง รอยละ 30
การผลิตและการดําเนินงาน สวนประกอบตางๆ ใน ระบบและในโรงงานสามารถเชื่อมตอเครือขายไดอยาง ชาญฉลาดและปลอดภัยเพื่อการสื่อสารและแลกเปลี่ยน ขอมูลแบบเรียลไทม การวิเคราะหขอ มูลนีจ้ ะเพิม่ ประสิทธิภาพ ระบบในการพัฒนาดานความยืดหยุน ประสิทธิภาพและ ความสามารถในการกูคืน เพื่อตอบสนองตอการหยุดการ ทํางานที่คาดไมถึง การเรียนรูของเครื่องจักรทําใหระบบที่ ซับซอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยไมมีการแทรกแซงของ มนุษยดวยการใชขอมูล การประมวลผลประสิทธิภาพสูง และอัลกอริทึมอัจฉริยะที่ลํ้าหนา เชน กังหันลมสามารถ เพิ่มกําลังการผลิตไฟฟา โดยการเปรียบเทียบขอมูลการ ทํางานกับขอมูลสภาพอากาศและทําการปรับเปลี่ยนที่ จํา เป น ซี เ มนส เ ป น ผู ผลิตระบบอั ตโนมัติอั น ดับหนึ่งใน อุตสาหกรรม การกอสราง โครงขายพลังงาน โรงไฟฟา และ รางรถไฟ อีกทั้งยังเปน ผูใหบริการดานการบริหารจัดการ กระบวนการสําคัญและเทคโนโลยีอตั โนมัตริ ายสําคัญอีกดวย อาทิ เทคโนโลยีอาคารอัจฉริยะ ทีส่ ามารถลดการใชพลังงาน ของอาคารไดสูงสุดถึงรอยละ 40 การบํารุงรักษาและการบริการ การวิเคราะหแบบ อัจฉริยะจากขอมูลการดําเนินงาน ชวยใหสามารถระบุ รูปแบบและคาดการณชวงเวลาที่เครื่องหยุดการทํางาน ทําใหสามารถตรวจจับและแกไขปญหาไดอยางรวดเร็ว บริการดานดิจิทัล (Digital Services) ของซีเมนสนําเสนอ การตรวจสอบและวินจิ ฉัยสภาพจากระยะไกล การเทียบวัด เพื่อปรับปรุงยานพาหนะ คาดการณและกําหนดการบํารุง รักษาดวยพลังของขอมูล ทําใหลูกคาไดรับประโยชนจาก ความพรอมใชงานทีส่ งู ขึน้ จากโรงงานและอุปกรณตลอดจน ประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น ลดตนทุน และความปลอดภัยที่ มากขึ้นดวย ทัง้ นีห้ วั ใจสําคัญของผลิตภัณฑและบริการดานดิจทิ ลั ของซีเมนสคือ มายดสเฟยร (MindSphere) ซึ่งเปนระบบ ปฏิบตั กิ าร IoT แบบเปด ทํางานบนระบบคลาวดของบริษทั ซึ่งเชื่อมโยงสิ่งที่เปนจริงเขากับโลกดิจิทัล และกอใหเกิด การประยุ ก ต อุ ต สาหกรรมและบริ ก ารแบบดิ จิ ทั ล ที่ มี ประสิทธิภาพเพื่อขับเคลื่อนใหธุรกิจประสบความสําเร็จได ดวยการใหบริการแบบ Platform as a Service (PaaS) ชวยสรางระบบการทํางานทีช่ ว ยใหพนั ธมิตรสามารถพัฒนา และนําไปใชงานไดเอง ปจจุบนั มีบริษทั เอกชนในกลุม ธุรกิจการเดินทางและ ระบบขนสง (Mobility) ที่ใชดิจิทัลโซลูชั่นของซีเมนสแลว รวมทัง้ กลุม ธุรกิจระบบไฟฟาและบริการ (Power Generation and Services) ที่ใชพัฒนาธุรกิจไปในแตละสวน เชื่อวา
ผลงานดิจิทัลโซลูชั่นสุดลํ้าที่จัดแสดงภายในงาน
บริษัทเอกชนกําลังพัฒนาและนําดิจิทัลโซลูชั่นของซีเมนสไปใชอยาง ตอเนื่อง “ในฐานะทีซ่ เี มนสเติบโตมาพรอมกับประเทศไทยเปนเวลายาวนาน กวาศตวรรษ เราจึงมุงมั่นที่จะเดินหนาสนับสนุนการปรับโฉมองคกรใน ประเทศไทยให เ ข า สู ร ะบบดิ จิ ทั ล และสร า งเศรษฐกิ จ ที่ เ น น คุ ณ ค า ขับเคลือ่ นดวยนวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสรางสรรค” มร.มารคสุ กลาว
49
Engineering Today September - October 2017
Thailand 4.0 • กองบรรณาธิการ
สวทช. จับมือ
ซัมมิท รวมวิจัย พัฒนาเทคโนโลยีออกแบบ
และผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ขั บ เคลื่ อ นอุ ต สาหกรรม ยานยนต์ไทย ตอบโจทย์
Thailand 4.0
สวทช. จับมือ ซัมมิท ร่วมวิจยั พัฒนาเทคโนโลยีออกแบบและผลิตชิน้ ส่วนยานยนต์
กระทรวงวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี สํ า นั ก งานพั ฒ นา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) โดย ดร.ณรงค ศิรเิ ลิศวรกุล ผูอํานวยการ สวทช. และ บริษัท ซัมมิท อารแอนดี เซ็นเตอร จํากัด โดย กรกฤช จุฬางกูร ประธานบริหาร ลงนาม MOU “โครงการวิจัย และพั ฒ นาเทคโนโลยี ก ารออกแบบและผลิ ต ชิ้ น ส ว นยานยนต ” เพื่อรวมกันดําเนินงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑเทคโนโลยีชิ้นสวน ยานยนต พรอมแถลงเดินหนาพัฒนานวัตกรรมชิน้ งานกลุม มีนาํ้ หนักเบา กระบวนการขึน้ รูปรอน และระบบอัตโนมัตใิ นการทดสอบเพือ่ จําลอง การสัน่ สะเทือนชุดทอไอเสีย เพือ่ ตอบสนองความตองการตลาด และ สนับสนุนอุตสาหกรรมยานยนตไทยใหสามารถเติบโตไดอยางยั่งยืน ณ อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย ดร.ณรงคศิรเิ ลิศวรกุลผูอ าํ นวยการสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กลาววา สวทช. ใหความสําคัญในการ วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมยานยนตและ ชิน้ สวนมาอยางตอเนือ่ งเพือ่ ตอบนโยบายของประเทศ ทัง้ การสนับสนุน องคความรูแ ละเทคโนโลยีในการพัฒนากระบวนการผลิต การลดตนทุน การสรางมูลคาเพิม่ และรายไดการสงออกชิน้ สวนยานยนตของประเทศ โดยความรวมมือครั้งนี้กับบริษัท ซัมมิท อารแอนดี เซ็นเตอร จํากัด ในกลุม บริษทั ซัมมิท โอโต บอดี้ อินดัสตรี จํากัด ผูผ ลิตชิน้ สวนยานยนต รายใหญของประเทศไทย ในโครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการ ออกแบบและผลิตชิน้ สวน เพือ่ รวมกันดําเนินงานวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ เทคโนโลยีชนิ้ สวนยานยนต เปนอีกกาวหนึง่ ของ สวทช. ในการสนับสนุน อุตสาหกรรมยานยนตไทย ดวยการรวมพัฒนานวัตกรรมชิ้นงานกลุม ทีม่ นี าํ้ หนักเบา กระบวนการขึน้ รูปรอน และระบบอัตโนมัตใิ นการทดสอบ
Engineering Today Septemberr - Oct Oc October ober 2017
50
ดร.ณรงค์ ศิรเิ ลิศวรกุล ผูอ้ าํ นวยการ สวทช.
ดร.กฤษดา ประภากร รองผูอ้ าํ นวยการเอ็มเทค สวทช.
กรกฤช จุฬางกูร ประธานบริหาร บริษทั ซัมมิท อาร์แอนด์ดี เซ็นเตอร์ จํากัด
เพื่อจําลองการสั่นสะเทือนชุดทอไอเสีย ซึ่ง สวทช. มีองคความรูและ เทคโนโลยีในการพัฒนากระบวนการผลิต เชน การออกแบบทางวิศวกรรม เพื่อขึ้นรูปและการออกแบบแมพิมพสําหรับชิ้นสวนยานยนตประเภท พลาสติก ยาง อะลูมิเนียม และโลหะตางๆ รวมถึงการวิจัยและพัฒนา ตนแบบระบบและชิน้ สวนในยานยนตไฟฟา เชน แบตเตอรีล่ เิ ทียม ระบบ บริหารจัดการแบตเตอรี่ มอเตอร สถานีประจุไฟฟา และการผลักดันให เกิดโครงสรางพืน้ ฐาน มาตรฐานและการทดสอบทีเ่ กีย่ วของกับยานยนต สมัยใหมของประเทศไทย ตลอดจนการวิจยั พัฒนาเพือ่ เตรียมความพรอม รองรับเทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เชน เซลลเชื้อเพลิง Supercapacitor การรีไซเคิลแบตเตอรี่ กระบวนการผลิตแบบดิจิทัล เปนตน ทําใหเกิดประโยชนและผลสําเร็จของการพัฒนาผลิตภัณฑ ชิ้นสวนยานยนต และยกระดับอุตสาหกรรมยานยนตของไทยกาวไกลสู ระดับโลก ดร.กฤษดา ประภากร รองผูอํานวยการศูนยเทคโนโลยีโลหะ และวัสดุแหงชาติ (เอ็มเทค) สวทช. กลาวเสริมวา บริษัท ซัมมิท อาร แอนดดี เซ็นเตอร จํากัด ใหความสําคัญกับการวิจัยและพัฒนาเปน อยางสูง โดยมีความรวมมือดานการวิจัยและพัฒนากับ สวทช. อยาง ตอเนื่องหลายโครงการตั้งแตป 2555 ถึงปจจุบัน อาทิ การประยุกตใช Design Guideline และ Simulation Technique ในการออกแบบชุด ลูกรีดสําหรับกระบวนการรีดขึ้นรูปชิ้นสวนยานยนต การปรับปรุงการ ออกแบบโครงสรางแมพิมพเพื่อแกปญหาการโกงตัวของโครงสราง แมพิมพ และ Robot Retrofit ที่ไดรับทุนสนับสนุนและการจัดหา ผูเชี่ยวชาญจากโปรแกรม ITAP สวทช. เปนตน ซึ่งการดําเนินโครงการ ขางตนชวยใหบริษัทสามารถพัฒนากระบวนการผลิตและลดตนทุนได อยางมาก และการลงนามความรวมมือในครั้งนี้ระหวาง สวทช. และ บริษทั จะรวมกันวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตใหมๆ ชวยสรางองค ความรู และยกระดับศักยภาพการผลิตชิ้นสวนยานยนตของคนไทยให เกิดขึ้นในประเทศตอไป ดาน กรกฤช จุฬางกูร ประธานบริหาร บริษทั ซัมมิท อารแอนดดี เซ็นเตอร จํากัด กลาววา บริษัท ซัมมิท อารแอนดดี เซ็นเตอร จํากัด ซึง่ เปนบริษทั ในกลุม บริษทั ซัมมิท โอโต บอดี้ อินดัสตรี จํากัด ดําเนินการ ดวยความภาคภูมิใจที่เปนบริษัทของคนไทยที่มีศักยภาพ ตั้งแตการวิจัย การพัฒนาผลิตภัณฑ และการผลิต ปจจุบันเปนผูผลิตระดับ First Tier ลัก ษณะการผลิ ตแบบ OEM ผลิตชิ้น สว นยานยนตปม ขึ้นรู ปโลหะ สงมอบใหกับผูประกอบรถยนตทุกยี่หอที่มีฐานการผลิตในประเทศไทย โดยความรวมมืองานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการออกแบบชิ้นสวน รถยนตในครั้งนี้ บริษัทฯ คาดหวังอยางยิ่งที่จะไดรวมมือดําเนินการ ศึกษาวิจัยรวมกับทุกหนวยงานภายใตการบริหารงานของ สวทช. โดย โครงการที่ จ ะดํ า เนิ น งานวิ จั ย และพั ฒ นาร ว มกั น จะเป น สิ่ ง ช ว ยให อุตสาหกรรมยานยนตไทยกาวไกลไดตอไป ประกอบดวย
5 51
• โครงการพัฒนาชิน้ งานกลุม มีนาํ้ หนักเบา (Light Weight) ซึ่งไดรับความรวมมือจากศูนยเทคโนโลยีโลหะ และวัสดุแหงชาติ (เอ็มเทค) ของ สวทช. ที่มีความเชี่ยวชาญ ดานโลหะและวัสดุศาสตร ทําใหบริษัทมีความกาวทันกับ เทคโนโลยีใหมๆ ทีเ่ กิดขึน้ อยางตอเนือ่ ง โดยคาดวาโครงการ นี้จะสามารถพัฒนาลดนํ้าหนักชิ้นสวนได 20% • โครงการศึ กษากระบวนการขึ้ น รู ปรอ น (Hot Stamping) ชิ้ น ส ว นยานยนต โดยใช เ หล็ ก กล า ผสม โบรอน ซึง่ เปนโครงการรวมวิจยั ระหวาง บริษทั สวทช. และ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า ธนบุ รี สํ า หรั บ โครงการนี้ จะศึกษาเพื่อพัฒนาลดนํ้าหนักชิ้นสวน โดยหา กระบวนการผลิตใหมๆ • โครงการศึกษาความเปน ไปไดใ นการพัฒนา ระบบอัตโนมัตใิ นการทดสอบ เพือ่ จําลองการสัน่ สะเทือน ชุดทอไอเสีย (Road Load Vibration) โดยบริษัทฯ ไดรับ ความรวมมือจากโปรแกรม ITAP ของ สวทช. ในการจัดหา ผู เ ชี่ ย วชาญ และสนั บ สนุ น ทุ นวิ จั ย ใน “โครงการพิ เ ศษ ยกระดับผูประกอบการสู Industry 4.0” นอกจากนี้ ยังไดรับความอนุเคราะหจาก สวทช. ที่ จะชวยประสานอาจารยจากโครงการ TAIST-Tokyo Tech ประเทศญีป่ นุ ในการพัฒนาศึกษาวิธกี ารทดสอบดวย
Engine Engineering ineering Today September - October 2017
Innovation
• กองบรรณาธิการ
มจธ. โชว์นวัตกรรมฟองนํ้า เช็ดทําความสะอาดคราบนํ้ามัน และแผ่นเช็ดทําความสะอาดผิว สรางมูลคาเพิ่มใหเสนใยนุน ควารางวัลในงานประกวดนวัตกรรมและสิ่งประดิษฐ 2560 ที่เกาหลีใต
ผลงาน SuperClean Sponge และ NViro Pad ควารางวัล ในงานประกวดนวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ ณ กรุงโซล เกาหลีใต
เสนใยนุน เปนเสนใยธรรมชาติจากฝกของตนนุน ปราศจาก ยาฆ า แมลงและสิ่ ง สกปรก นุ น มีคุ ณ สมบัติพิ เ ศษเฉพาะตัวที่ สามารถดูดซับนํ้ามัน และยอยสลายไดตามธรรมชาติ จากจุด เด น ดั ง กล า ว นั ก ศึ ก ษาภาควิช าวิ ศ วกรรมสิ่งแวดลอม คณะ วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) ประกอบดวย ชุติพนธ ลิ้มนิวัติกุล, จิรัฐติกาล แดงดวง, ภูวนัตถ รัตนเสถียร และ ธนาคาร จันทราคีรี จึงวิจัยและพัฒนา เสนใยนุน ใหเกิดประโยชน สามารถสรางมูลคาเพิม่ ใหกบั เสนใยนุน ไดจนเปน ผลงาน ฟองนํ้าเช็ดทําความสะอาดคราบนํ้ามันบน ภาชนะ และเครื่องครัว (SuperClean Sponge: Oily-Utensil
Cleaning Material) สวน แผนเช็ดทําความสะอาดผิว (NViro Pad: Biodegradable Cosmetic Pad) เป น ผลงานของ ฉั ต รชั ย กลอมแกว, ธนธรณ เผือกวิสุทธิ์, ปริวรรต บุญยะไทย และ วุฒิสิทธิ์ กิจเกรียงไกร นักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร มจธ.เชนกัน เปนทีน่ า ยินดีวา ทัง้ สองผลงานไดรบั รางวัลในงานประกวด นวัตกรรมและสิง่ ประดิษฐ The 3rd World Invention Innovation Contest (WiC 2017) ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลีใต โดย ผลงาน SuperClean Sponge ควารางวัล Gold Medal 1 รางวัล ถวยรางวัลพิเศษจาก WIA และรางวัลพิเศษจาก TISIAS Special Award ขณะที่ ผลงาน NViro Pad ควา Gold Medal 1 รางวัล และ ถวยรางวัลพิเศษจาก KINEWS ชุตพิ นธ ลิม้ นิวตั กิ ลุ หนึง่ ในผูพ ฒ ั นาผลงาน SuperClean Sponge กลาววา เสนใยนุนมีสารเคลือบผิวตามธรรมชาติ หรือ แว็กซ ซึง่ จะปองกันนํา้ ทําใหเสนใยนุน ไมเปยกนํา้ และมีคณ ุ สมบัติ ปองกันแมลง ไรฝุน และเชือ้ รา ทีมวิจยั จึงนําเสนใยนุน มาลอกแว็กซ และเคลือบสาร 2 ชนิด ไดแก สารทึบนํ้า และสารลดแรงตึงผิว จะไดเสนใยนุนที่มีคุณสมบัติไมเปยกนํ้าแตมีคุณสมบัติดูดซับ นํ้ามันได จึงไดออกแบบสําหรับการใชงาน 2 ลักษณะ คือ แผน ทําความสะอาดภาชนะ เครื่องครัว และ ใชดูดซับนํ้ามันจาก
NViro Pad แผ่นเช็ดทําความสะอาดผิว
SuperClean เช็ดทําความสะอาดภาชนะ
Engineering Today September - October 2017
52
อาหารทอด ทั้งนี้เสนใยพิเศษของนุนที่มีคุณสมบัติดูดซับนํ้ามันที่ บรรจุใน SuperClean Sponge จํานวน 20 กรัม สามารถดูดซับ นํา้ มันได 50 เทาของนํา้ หนักเสนใย SuperClean สามารถกําจัด คราบนํ้ามันบนภาชนะโดยไมตองใชนํ้ายาลางจาน ดังนั้นการ ทําความสะอาดเครื่องครัวจะใชนํ้านอยลง ดวยเวลาที่สั้น แตมี ประสิทธิภาพมากขึน้ โดยใช SuperClean Sponge เช็ดทีผ่ วิ ของ ในภาชนะ และลางดวยนํ้าอุน ภาชนะและเครื่องครัวก็จะสะอาด หากใช SuperClean ดูดซับนํ้ามันจากอาหารทอด เสน ใยนุนสามารถทําใหอาหารทอดคายความรอนไดชา นํ้ามันจะ ออกมาจากอาหารไดมาก อาหารจะไมอมนํา้ มันและคงความกรอบ สวนนํ้ามันถูกดูดซึมบน SuperClean Sponge สามารถบีบออก ไดงาย สามารถใชซํ้าไดมากกวา 10 ครั้ง เทียบกับการดูดซับ นํ้ามันไดถึง 10 ลิตร นํ้ามันเหลานี้สามารถใชเปนวัตถุดิบในการ ผลิตไบโอดีเซลได ผศ. ดร.ธิดารัตน บุญศรี อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร มจธ. ที่ปรึกษาทั้ง 2 ผลงาน กลาววา เสนใยนุน เปนไฟเบอรทเี่ ปนทอสัน้ และผนังบาง จึงสราง ความสมดุลระหวางความนุมและความยืดหยุน เหมาะสําหรับ การทําความสะอาดผิวที่บอบบาง พื้นที่ผิวของ NViro Pad จะ เก็บกักความชืน้ คายตัวไดดี จึงลดปริมาณการใชคลีนซิง่ โทนเนอร และยาฆาเชื้อโรค สามารถนํากลับมาใชซํ้าได โดยลางทําความ สะอาดดวยการตมในนํ้าเดือด แลวนํามาผึ่งในสภาพอากาศปกติ เพียง 30 นาที เสนใยจะแหง ซึ่งแผนเสนใยนุนที่ใชแลวสามารถ ยอยสลายไดภายใน 60 วันกลายเปนสารอินทรียวัตถุ หรือปุย ในดินได “การทํ า โปรเจ็ กต ลั ก ษณะนี้ นั ก ศึ ก ษาได ใ ช ค วามรู แ บบ บูรณาการ ทําใหนักศึกษาไดคิดและมองครบทุกดาน เนื่องจาก
ผลงานนี้ไมใชเปนงานวิ ศวกรรมสิ่ งแวดลอมเพี ยงอย างเดียว ตองเกี่ยวกับงานชุมชนและเกษตรกรรมดวย และสามารถพัฒนา ตอยอดเพื่อการแกปญหาระดับโลก เชน เสนใยนุนดูดซับนํ้ามัน ทีร่ วั่ ไหลในทะเล หรือผาออมเด็กทีย่ อ ยสลายได” ผศ. ดร.ธิดารัตน กลาว ผศ. ดร.ธิดารัตน กลาววา นอกเหนือจากการทําโปรเจ็กต ของนักศึกษาแลว ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม มจธ.ตองการ สรางสังคมแหงการเรียนรูท นี่ าํ ไปสูก ารตอบโจทยของสังคมไดจริง ซึ่งประกอบดวย 3 กลุม กลุมอาจารยและบุคลากรมหาวิทยาลัย ทําหนาที่สอนนักศึกษาและทําวิจัยเพื่อใหไดองคความรูใหม กลุม ผูป ระกอบการ ทีเ่ ปนนักลงทุนผูท าํ หนาทีผ่ ลิต ไดผลงานวิจยั ที่เปน ผลิตภัณฑนําไปผลิตไดจริง และไดทรัพยากรบุคคลที่จะ เขาไปทํางานกับบริษทั และกลุม นักศึกษาทีร่ ว มเรียนรูก ารทําวิจยั ที่ ต อบโจทย จ ริ ง ของสั ง คมและมี คุ ณ ค า ผลิ ต ได จ ริ ง โดยเมื่ อ นักศึกษาจบจะมีสถานประกอบการรอรับเขาไปทํางานเพราะเปน สวนหนึ่งในการทําผลงาน
ผศ. ดร.ธิดารัตน์ บุญศรี อาจารย์ประจําภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ.
ชุติพนธ์ ลิ้มนิวัติกุล และจิรัฐติกาล แดงด้วง เจ้าของผลงาน SuperClean Sponge
53
Engineering Today September - October 2017
Research&Development • กองบรรณาธิการ
ดร.อรรชกา สีบุญเรือง (กลาง) ประธานในพิธีลงนามความรวมมือวิจัยแสงพัฒนาดานการแพทย ระหวาง ศาสตราจารย ดร.นายแพทยประสิทธิ์ วัฒนาภา คณบดีคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล และศาสตราจารย นาวาอากาศโท ดร.สราวุฒิ สุจิตจร ผูอํานวยการสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน
รพ.ศิริราชนําเทคโนโลยีแสงซินโครตรอน พัฒนางานวิจัย ยกระดับวงการแพทย์ไทย สถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน (องคการมหาชน) กระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จับมือ คณะแพทยศาสตรศิริราช พยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือ วิจัยแสงพัฒนาดานการแพทย มุงสรางสรรคงานวิจัยเชิงลึก พัฒนางานทางดานชีวการแพทย ตอยอดเทคโนโลยีและนวัตกรรม ยกระดับคุณภาพชีวิตคนไทย ดร.อรรชกา สีบญ ุ เรือง รัฐมนตรีวา การกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี กลาววา กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เปนองคกรหลักในการพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อสรางปญญาในสังคม สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความสามารถในการแขงขันของประเทศอยางยัง่ ยืน นอกจากนี้ ยังคงดําเนินงานภายใตยุทธศาสตรชาติ 20 ป ที่มุงเนนการมี สวนรวมของภาคเอกชน ภาคการเงินการธนาคาร ภาคประชาชน ภาคสถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัย รวมกัน ระดมความคิ ด ผนึกกํา ลัง กั น ขั บเคลื่อ น ผา นโครงการบันทึก ความรวมมือ กิจกรรม หรืองานวิจัย
Engineering Today September - October 2017
54
“กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รูสึกเปนเกียรติ อยางยิ่งที่คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของงานวิจัยดานวิทยาศาสตรขั้นสูง เขามารวมวิจัยกับสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน ซึ่งจะเปนการ ยกระดับการวิจยั และพัฒนาทางดานการแพทยทงั้ ในดานคุณภาพ ความเขมแข็งทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของชาติ เกิดการนํา ไปพัฒนาตอยอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหกับประเทศตอไป” รัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กลาว ศาสตราจารย นาวาอากาศโท ดร.สราวุฒิ สุจติ จร ผูอ าํ นวย การสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องคการมหาชน) กลาววา สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอนดําเนินงานภายใตพันธกิจการวิจัย และการใชประโยชนจากแสงซินโครตรอน รวมถึงการใหบริการ แสงซินโครตรอน และเทคโนโลยีดา นแสงซินโครตรอน นอกจากนี้ ยังสงเสริมการถายทอด การเรียนรูเ ทคโนโลยีดา นแสงซินโครตรอน ทัง้ นีเ้ ปนทีท่ ราบกันวา เทคโนโลยีแสงซินโครตรอนเปนเทคโนโลยี แสงขั้นสูง สามารถนํามาประยุกตใชในงานวิจัยหลากหลายดาน
อาทิ ดานอาหาร ยา และเครื่องสําอาง ดานวัสดุศาสตร ยางและ พอลิ เ มอร สิ่ ง แวดลอ ม โบราณคดี อี กทั้ง ดา นอิเ ล็กทรอนิ กส เปนตน และอีกหนึ่งงานวิจัยที่เทคโนโลยีแสงซินโครตรอนจะเขา ไปตอบโจทยไดนั่นคือ งานวิจัยทางการแพทย “สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน จึงมีความยินดีเปนอยางยิ่ง ที่ ไ ด ร ว มลงนามบั น ทึก ขอตกลงความรว มมือวิจั ย พัฒนาดา น การแพทย รวมกับคณะแพทยศาสตรศริ ริ าชพยาบาล ซึง่ การลงนาม ครั้งนี้ถือเปนการเปดประตูโลกวิทยาศาสตรดานเทคโนโลยีแสง ซินโครตรอนใหมาเจอกับงานวิจยั ดานการแพทย พรอมทัง้ ยังเปน การขยายฐานงานวิจยั ของแสงซินโครตรอนใหครอบคลุมในทุกมิติ ของงานวิจัยอยางแทจริง นอกจากความรวมมือดานงานวิจัยแลว ยั ง มี ค วามร ว มมื อ ด า นพั ฒนากํ า ลั ง คน ทั้ ง ด า นการฝ ก อบรม การแลกเปลี่ยนความรูทางวิทยาศาสตรและการแพทยเพื่อให คนไทยพรอมเขาสูงานวิจัยในระดับสากล” ผูอํานวยการสถาบัน วิจัยแสงซินโครตรอน กลาว ศาสตราจารย ดร.นายแพทยประสิทธิ์ วัฒนาภา คณบดี คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล กลาววา คณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล ตระหนักถึงความสําคัญของงานวิจัยและพัฒนา ดานการแพทย โดยเฉพาะดานอาหารและยา ผลึกศาสตรของ โปรตีนกอโรคเพื่อการพัฒนาตัวยาใหมๆ รวมถึงการพัฒนาวัสดุ อุปกรณทางการแพทย ดวยเหตุนี้ทางคณะแพทยศาสตรศิริราช พยาบาล พรอมเต็มที่สําหรับการรวมวิจัย พัฒนา และสรางสรรค สิ่งใหมๆ รวมกับสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน เพื่อนําไปสูการ สรางนวัตกรรมสําหรับวงการแพทยของไทย นําองคความรูที่ได ไปประยุกตใชกับผูปวยไดจริง
ศาสตราจารย นาวาอากาศโท ดร.สราวุฒิ สุจิตจร ผูอํานวยการสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องคการมหาชน)
“การลงนามบันทึกขอตกลงวิจัยและพัฒนาครั้งนี้ แสดงให เห็ น ถึ ง ความร ว มมื อ ระหว า งสองหน ว ยงานภาครั ฐ ที่ จ ะช ว ย สนับสนุนงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมดานการแพทยของไทย บนพื้นฐานของการวิจัยดานวิทยาศาสตร ซึ่งจะเปนผลดีตอภาพ รวมของวงการแพทยของไทย นําไปสูการยกระดับคุณภาพชีวิต ของคนไทยไดอยางแทจริง” คณบดีคณะแพทยศาสตรศิริราช พยาบาล กลาว
55 55
Engine Eng Engineering inneeri ring n Tod Today oday ay Se September epte p mb pt m r - Oct mbe Oc October ccttobe obe b r 201 2 2017 01 017 7
บทความ
• เมธี โสภณ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องคการมหาชน)
การจัดการด้านความปลอดภัยทางรังสี สถาบันวิจยั แสงซินโครตรอน (องคการมหาชน) เมื่อพูดถึงเครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอน หลายคนในประเทศไทยที่ ไมไดมี ค วามรู พื้ น ฐานทางฟ สิ ก ส ก็ อ าจจะนึ ก ไม อ อกว า มั น คื อ เครื่ อ งอะไร แลวแสงซินโครตรอนคืออะไร ทําไมจึงตองมีการปองกันอันตรายทางรังสีดวย คําถามหลักๆ เหลานี้จะถูกหยิบยกมาอธิบายเปนคําตอบที่พยายามใหผูอาน ทั่วไปสามารถเขาใจไดงายๆ ผานบทความสั้นๆ ในฉบับนี้ และกอนที่จะเขาสู คําถามเหลานั้น จะขออนุญาตกลาวถึงรังสีใหทราบเปนพื้นฐานดังนี้ “รังสี” (Radiation) คือการปลดปลอยพลังงานออกไปในรูปแบบของคลื่นหรือ อนุภาค ดังนั้นเมื่อรังสีเกี่ยวของกับพลังงาน รังสีจึงสามารถแบงออกได 2 ชนิด ใหญๆ คือชนิดพลังงานสูงที่กอใหเกิดไอออนได (Ionizing Radiation) และ ชนิดพลังงานตํ่าที่ไมกอใหเกิดไอออน (Non-Ionizing Radiation) โดยทั่วไป หากมีพลังงานสูงกวา 10 keV จะถูกจัดเปนพวกที่กอใหเกิดไอออนได [1] และ แตละชนิดยังสามารถแยกยอยออกไปไดอีกมากมาย ดังภาพที่ 1 แสดงใหเห็น การแบงชนิดของรังสี
ภาพที่ 1 การแบงชนิดของรังสี[1] รังสีจากเครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอน เครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอนจะผลิต อิเล็กตรอน ออกมากอนแลวเรง ใหมพี ลังงานสูงๆ สูงขนาดทีม่ คี วามเร็วใกลความเร็วแสงหรือประมาณ 3×108 m/s และดวยความเร็วขนาดนัน้ มันจึงตองวิง่ เลีย้ วโคงเปนวงกลมอยูใ น ทอสุญญากาศ เพื่อไมใหมีโมเลกุลของอากาศมาขวางทางวิ่งของอิเล็กตรอน วิธีการทําใหมัน วิ่งเลี้ยวโคงของเครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอนที่นี่จะใช แมเหล็กไฟฟา บังคับ ใหมันวิ่งเลี้ยวโคงทีละ 45 องศา ทั้งหมด 8 ตัว ก็จะครบ 1 รอบพอดี และทุก ขณะทีม่ นั กําลังวิง่ เลีย้ วโคงในสนามแมเหล็ก อิเล็กตรอนจะปลดปลอยพลังงาน ออกไปในรูปแบบของคลื่นแมเหล็กไฟฟา ซึ่งเราเรียกวา “แสงซินโครตรอน” นั่นเอง มาถึงตรงนีแ้ ลว พอนึกออกหรือยังวา จะมีรงั สีอะไรบางจากการผลิตแสง ซินโครตรอน มาลองพิจารณา อิเล็กตรอน ทอสุญญากาศแมเหล็กไฟฟา และ คลื่นแมเหล็กไฟฟา จะพบวาเมื่ออิเล็กตรอน ซึ่งเปนอนุภาคพลังงานสูงวิ่งอยู ในทอสุญญากาศ
Engineering Today September - October 2017
56
กรณีแรก ถามีโมเลกุลของอากาศหลงเหลือ อยูในทอ (เปนระบบสุญญากาศที่ไมสมบูรณ) ก็จะ ถูกอิเล็กตรอนพลังงานสูง (˜1.2 GeV) วิ่งชนเมื่อ ชนแล ว มั น จะปลดปล อ ยพลั ง งานออกมาเป น รังสีเอกซ และ รังสีแกมมา ได กรณีต อมา อิเล็กตรอนพลังงานสูงอาจจะ วิ่งชนเขากับผนังดานในของทอสุญญากาศมันก็จะ ปลดปล อยพลั งงานออกมาเปน รั ง สีเ อกซ รังสี แกมมา รวมถึง นิวตรอน ดวย สวนกรณีสุดทาย ก็คือแสงซินโครตรอน หรือ คลืน่ แมเหล็กไฟฟาทีเ่ ราตัง้ ใจผลิตขึน้ มา จะประกอบ ดวย รังสีอินฟราเรด แสงที่มองเห็นได รังสียูวี และ รังสีเอกซ ตามภาพที่ 2 ทีแ่ สดงแถบชวงคลืน่ แมเหล็ก ไฟฟา โดยแสงจะออกมาพรอมกันทั้งหมด ดังนั้น เมื่อจะเอาแสงซินโครตรอนไปใชงานจึงตองมีระบบ ลํ า เลี ย งแสง เพื่ อ คั ด เอาเฉพาะพลั ง งานที่ นั ก วิทยาศาสตรสนใจ เชน ระบบลําเลียงแสงนี้จะใช พลังงานของแสงซินโครตรอนยานรังสีอินฟราเรด เทานั้น ระบบลําเลียงแสงนั้นจะใชพลังงานของแสง ซินโครตรอนยานรังสีเอกซเทานัน้ เปนตน แลวในระบบ ลําเลียงแสงเองก็จะมีอปุ กรณตา งๆ มากมายทีจ่ ะตอง มีการสะทอนแสง การโฟกัสแสง การกระเจิงของแสง หรือหักเหทิศทางของแสง ซึง่ เหลานีล้ ว นแตมโี อกาส ที่จะทําใหเกิดรังสีเอกซและนิวตรอนขึ้นไดอีก[2]
ภาพที่ 2 แสดงแถบชวงคลื่นแมเหล็กไฟฟา การจัดการด้านความปลอดภัยทางรังสี บุคคลมีโอกาสไดรับปริมาณรังสีสูงกวา 1 มิลลิซีเวิรตตอป[5] และ จากทีก่ ลาวไวแลววา รังสีจากเครือ่ งกําเนิดแสงซินโครตรอน พื้นที่ควบคุม (Controlled Areas) คือบริเวณใดก็ตามที่ทําให จะมีทั้งชนิดพลังงานสูงที่กอใหเกิดไอออน เชน รังสีเอกซ แกมมา บุคคลมีโอกาสไดรับปริมาณรังสีสูงกวาหรือเทากับ 6 มิลลิซีเวิรต นิวตรอน เปนตน และชนิดพลังงานตํ่าที่ไมกอใหเกิดไอออน เชน ตอป[5] ดังภาพที่ 3 ซึง่ แสดงการแบงพืน้ ทีท่ างรังสีประจําสถาบันฯ อินฟราเรด แสงทีม่ องเห็นได รังสียวู ี เปนตน ทัง้ นีก้ ารจัดการดาน นอกจากนัน้ ยังได กําหนดเครือ่ งหมายทางรังสี เพือ่ การเตือนให ความปลอดภัยทางรังสีนนั้ ไดมงุ เนนทีพ่ ลังงานสูงทีก่ อ ใหเกิดไอออน บุคคลที่เกี่ยวของใหไดรับทราบถึงอันตรายทางรังสีที่อาจเกิดขึ้น โดยอาศัยหลักใน การไดรับรังสีใหนอยที่สุดเทาที่จะเปนไปได ซึง่ หมายรวมถึง พนักงานผูป ฏิบตั งิ านทางรังสี เชน นักวิทยาศาสตร อยางสมเหตุสมผล หรือ As low As Reasonably Achievable วิศวกร ชางเทคนิค ผูใ ชบริการจากภายนอก เปนตน และผูท ไี่ มได (ALARA) ซึง่ เปนหลักการสากลและเปนทีย่ อมรับอยางแพรหลาย ปฏิบัติ งานทางรังสี เชน พนั กงานเจาหนาที่บ ริ ห ารงานทั่ วไป รวมถึงพระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียร พ.ศ. 2559 ซึ่งเปน ประชาชนทั่วไป เปนตน กฎหมายหลักในการกํากับการ ใช พ ลั ง งานนิ ว เคลี ย ร แ ละรั ง สี อยางถูกตองและปลอดภัยของ ประเทศ สถาบั น ฯ จึ ง ได ใ ห ความสําคัญกับความปลอดภัย ทางรั ง สี ทั้ ง ต อ ผู ป ฏิ บั ติ ง าน สถานที่ ป ฏิ บั ติ ง านประชาชน ทั่วไป และสิ่งแวดลอม จึงวาง ระบบการจั ด การด า นความ ปลอดภัยทางรังสีไว ดังตอไปนี้ 1. การฝกอบรมผูป ฏิบตั ิ งานทางรังสีกอ นทีจ่ ะเขาปฏิบตั ิ ภาพที่ 3 แสดงการแบงพื้นที่ทางรังสีประจําสถาบันฯ งานจริ ง โดยได จั ด ฝ ก อบรม หลักสูตรมาตรฐานใน การอบรมบุคคลที่ทํางานในบริเวณรังสี 3. การเตรียมแผน วัดรัง สี ประจํ าบุ คคลใหกับผูปฏิบัติ เพือ่ ความปลอดภัยของผูป ฏิบตั งิ านกอนการเขาไปปฏิบตั งิ านจริง งานทางรั ง สี ทุ ก คน โดยใช OSL (Optically Stimulated รวมทัง้ เปนการทบทวนและฟน ฟูความรูใ หกบั ผูป ฏิบตั งิ านทางรังสี Luminescence) และแบบ Electronics Dosimeter เพือ่ ประเมิน รายเดิมที่เคยผานอบรมมากอน ทั้งนี้กฎหมายกําหนดใหมีการ และติดตามการไดรับรังสีใหไมเกินปริมาณที่กฎหมายกําหนด ฝกอบรมฟนฟูความรู (Refreshment) ใหผูปฏิบัติงานทางรังสี กลาวคือ ปริมาณรังสียังผล 20 มิลลิซีเวิรตตอป โดยเฉลี่ยใน [5] อยางนอย 2 ปตอครั้ง เพื่อสรางความรู ความเขาใจถึงอันตราย ช วง 5 ปติ ด ตอกัน ทั้งนี้ในแต ละป จ ะรั บ รั งสีไดไมเกิน 50 จากรังสี วิธีการปฏิบัติงานเกี่ยวกับรังสีอยางปลอดภัย มิลลิซีเวิรต และตลอดชวง 5 ปติดตอกันนั้นจะตองไดรับรังสี 2. การกําหนดพื้นที่ปฏิบัติงานทางรังสี โดยไดกําหนด ไมเกิน 100 มิ ลลิซีเวิรต [3], [4] โดยตลอดระยะเวลามากกวา พื้นที่ปฏิบัติงานทางรังสี จําแนกตามปริมาณรังสีที่เกิดขึ้นหรือ 10 ปที่ผานมาของการใหบริการแสงซินโครตรอน ยังไมปรากฏ โอกาสที่จะเกิดการไดรับรังสีของผูปฏิบัติงาน ซึ่งประกอบดวย ว า มี ผู ป ฏิ บั ติ ง านทางรั ง สี ร ายใดได รั บ รั ง สี เ กิ น ปริ ม าณที่ พืน้ ทีต่ รวจตรา (Supervised Areas) คือบริเวณใดก็ตามทีท่ าํ ให กฎหมายกําหนด
57
Engineering Today September - October 2017
4. การกําหนดเวลาเขาปฏิบัติงาน เพื่อลดโอกาส และเวลาในการไดรับรังสีใหนอยที่สุด โดยการเดินเครื่อง กําเนิดแสงซินโครตรอนนั้น ไดถูกกําหนดใหมีการผลิต และเรงพลังงานของอิเล็กตรอนเพื่อผลิตแสงซินโครตรอน ใน 2 ชวงเวลาของแตละวัน (เราเรียกชวงเวลานีว้ า Injection) ชวงแรกเวลา 08:30 ถึง 09:00 น. และชวงที่สองเวลา 20:30 ถึง 21:00 น. ซึ่งเปนชวงที่อาจจะเกิดรังสีเอกซ แกมมา และนิวตรอนขึ้นได จึงไมอนุญาตใหทุกคนเขาไป ในโถงทดลองของอาคารหองปฏิบัติการวิจัยแสงสยามใน ชวงเวลาดังกลาว 5. สถาบันฯ ไดจดั ใหมกี ารตรวจสุขภาพเปนประจํา ทุกป ทัง้ นีเ้ พือ่ เฝาระวังโรคหรืออาการทีอ่ าจจะมีผลมาจาก การได รับรัง สี และหากกรณีจํ า เปน ที่จะต อ งทํา งานใน ลักษณะที่ใกลชิดกับรังสีมากๆ สถาบันฯ ได จัดเตรียม อุ ป กรณ ป อ งกันรังสี ไว เชน เสื้อ ตะกั่ว ถุ ง มื อ กันรังสี แวนตากันรังสี เปนตน 6. สถาบั น ฯ ได ติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ ก ารตรวจวั ด รั ง สี ตามจุดตางๆ ทั้งในและนอกอาคาร เพื่อตรวจติดตาม และเฝาระวังระดับรังสีที่เกิดขึ้นทั้งตอผูปฏิบัติงานทางรังสี ประชาชนทั่วไป และตอสภาพแวดลอมจากการเดินเครื่อง และไมไดเดินเครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอน ซึ่งสามารถ ตรวจวัดรังสีไดทั้ง รังสีแกมมาและนิวตรอนพรอมๆ กัน โดย แสดงผลเปนขอมูลแบบเวลาจริง สามารถตัง้ คาระดับ รังสีให มีสัญญาณไฟและเสียงเตือนผูที่อยูใกลเคียงเมื่อ มีระดับรังสีทเี่ กิดขึน้ สูงกวาคาทีต่ งั้ ไวพรอมกับสงสัญญาณ ไปยังหองควบคุม การเดินเครื่องกําเนิดแสงซินโครตรอน ใหทราบและหยุดการเดินเครื่องไดทันทีจากภาพที่ 4 ซึ่ง แสดงผลการวัดระดับรังสีที่เกิดขึ้นแบบเวลาจริงที่แสดงคา ผลรวมของรังสีแกมมาและนิวตรอนที่เกิดขึ้น ณ บริเวณ ระบบลําเลียงแสงที่ 6 ในโถงทดลอง อาคารหองปฏิบัติ การวิจัยแสงสยาม นอกจากนั้นสถาบันฯ ยังจะไดมีการ ตรวจวิเคราะหหาสารกัมมันตรังสีทอี่ าจจะเกิดการปนเปอ น ในอากาศทัง้ ในและนอกอาคารเปนประจําทุกป รวมทัง้ การ ติดตั้งระบบการตรวจวัดรังสีในนํ้าทิ้งตอไป
ภาพที่ 4 แสดงผลการวัดระดับรังสีที่เกิดขึ้นแบบเวลาจริง จากทัง้ หมดทีก่ ลาวมานัน้ สามารถทีจ่ ะพอสรุปไดวา รังสี (Radiation) คื อ การปลดปล อ ยพลั ง งานออกไปในรู ป แบบของคลื่ น หรื อ อนุ ภ าค สามารถแบงออกได 2 ชนิดใหญๆ คือชนิดพลังงานสูงทีก่ อ ใหเกิดไอออน ได (Ionizing Radiation) และชนิด พลังงานตํ่าไมก อใหเกิดไอออน (Non-Ionizing Radiation) สวนรังสีที่ไดจากการผลิตแสงซินโครตรอน ของสถาบันวิจยั แสงซินโครตรอนในปจจุบนั จะมีทงั้ สองชนิด ประกอบดวย รังสีอินฟราเรด แสงที่มองเห็นได รังสียูวี ซึ่งเปนรังสีชนิดพลังงานตํ่า ไมกอใหเกิดไอออนและยังประกอบดวย รังสีเอกซ รังสีแกมมารวมถึง นิวตรอน ซึ่งเปนรังสีชนิดพลังงานสูงที่กอใหเกิดไอออนได ทั้งนี้ รังสี แกมมาและนิวตรอนเกิดขึ้นตามปรากฏการณทางฟสิกส เครื่องกําเนิด แสงซินโครตรอนมิไดมีขีดความสามารถในการกําเนิดรังสีสองชนิดนี้ ดังนั้นการจัดการดานความปลอดภัยทางรังสีจึงมุงเนนที่รังสี พลังงานสูงที่กอใหเกิดไอออน โดยอาศัยหลักใน การไดรับรังสีใหนอย ที่สุดเทาที่จะเปนไปไดอยางสมเหตุสมผล (As Low As Reasonably Achievable) :ALARA รวมถึง พระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียร พ.ศ. 2559 โดยสถาบันฯ ไดใหความสําคัญกับความปลอดภัยทางรังสี ทั้งตอผูปฏิบัติงาน สถานที่ปฏิบัติงาน ประชาชนทั่วไป และสิ่งแวดลอม ซึง่ ไดจดั ใหมี การอบรมบุคคลทีท่ าํ งานในบริเวณรังสี การกําหนดพืน้ ที่ ปฏิบตั งิ านทางรังสีและกําหนดเครือ่ งหมายทางรังสี การเตรียมแผนวัด รังสีประจําบุคคลใหกับผูปฏิบัติงานทางรังสีทุกคน การกําหนดเวลา เขาปฏิบัติงาน การตรวจสุขภาพเปนประจําทุกปและการจัดเตรียม อุปกรณปองกันรังสี การติดตั้งอุปกรณการตรวจวัดรังสีตามจุดตางๆ ทัง้ ในและนอกอาคาร ทัง้ นีเ้ พือ่ ใหมนั่ ใจไดวา การผลิตและการใหบริการ แสงซินโครตรอนนั้นมีความถูกตอง ปลอดภัยตามกฎหมายและหลัก การสากล
เอกสารอ้างอิง [1] http://safetytraining.nsrrc.org.tw [2] P. Berkvens, Radiation Protection European Regulations Radiation Safety Meeting, SOLEIL Synchrotron, 18 October 2006 [3] http://www.oap.go.th/attachments/article/481/รางกฎกระทรวงความปลอดภัยมาตรา%2091.pdf [4] http://www.icrp.org/icrpaedia/limits.asp [5] ประกาศคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ เรื่อง มาตรฐานความปลอดภัยเกี่ยวกับรังสี
Engineering Today September - October 2017
58
Environment
• กองบรรณาธิการ
ซิลเลี่ยน อินโนเวชั่น จับมือสิงคโปร์ เปิดตัวนวัตกรรมสวน Green Wall ปรับภูมิทัศนกรุงเทพฯ สูเมืองสีเขียว บริษัท ซิลเลี่ยน อินโนเวชั่น จํากัด ผูนําดานวัสดุกอสราง เชิงนวัตกรรม พรอมดวย บริษทั แอลมิช จํากัด ผูน าํ ดานผลิตภัณฑ แลนดสเคประดับโลกจากประเทศสิงคโปร รวมแถลงขาวเปดตัว นวัตกรรม “Green Wall” สวนสีเขียวแนวตั้งมาตรฐานระดับโลก ครัง้ แรกในประเทศไทย ชูจดุ เดนนวัตกรรมสวนแนวตัง้ แบบครบวงจร ปลอดภัย ไดมาตรฐาน เผยตลาด Landscape Engineering มี แนวโนมเติบโตอยางตอเนือ่ งเฉลีย่ ปละประมาณ 15-20% หรือมูลคา ตลาดประมาณ 200 ลานบาทตอปพรอมเตรียมบุกตลาดอาเซียน เนวินธุ ชอชัยทิพฐ กรรมการผูจัดการ บริษัท ซิลเลี่ยน อินโนเวชั่น จํากัด กลาววา ซิลเลี่ยน อินโนเวชั่น เปนบริษัทที่ เชีย่ วชาญดานวัสดุกอ สรางเชิงนวัตกรรม ทัง้ ในสวนงานโครงสราง และการตกแตง โดยมีประสบการณมากวา 15 ป เริ่มจากการ ชวยปรับปรุง และซอมแซมโครงสรางอาคารตางๆ ตอมาเมื่อ ความตองการของผูว า จางมากขึน้ ประกอบกับกระแสเรือ่ งเกีย่ วกับ สิง่ แวดลอม อาคารสีเขียว เริม่ เปนทีส่ นใจ ผูป ระกอบการหลายแหง จึ ง ได เ ริ่ ม ติ ด ต อ ให อ อกแบบ เริ่ ม จากงานจั ด สวนบนหลั ง คา (Green Roof) จนกระทั่งตอยอดมาถึงการตกแตงผนังสีเขียว (Green Wall) โดยซิลเลี่ยน อินโนเวชั่น ไดรับความไววางใจจาก บริษัท แอลมิช ประเทศสิงคโปร ใหเปนผูจัดจําหนาย และติดตั้ง ผลิตภัณฑสวนแนวตั้ง มาตรฐานคุณภาพระดับโลกอยางเปน ทางการแตเพียงผูเ ดียวในประเทศไทย เพือ่ ใหไทยมีสภาพแวดลอม ในเมืองที่ดีเชนเดียวกับสิงคโปร ปจจุบนั ซิลเลีย่ น อินโนเวชัน่ ถือเปนผูจ ดั จําหนาย และติดตัง้ ผลิตภัณฑแลนดสเคป และวัสดุเคมีภัณฑสําหรับการปรับปรุง
อาคารรายใหญรายหนึง่ ของประเทศไทย โดยผลิตภัณฑและบริการ ของบริษัทจะแบงเปนสองกลุมหลักๆ คือ วัสดุเคมีภัณฑ ประเภท ระบบกันซึมสําหรับอาคาร และระบบพื้นเรซิ่นไรรอยตอ และ ผลิตภัณฑและบริการออกแบบแลนดสเคปตางๆ ประกอบดวย สวนบนหลังคา และสวนแนวตั้ง สําหรับวัสดุสวนแนวตั้ง หรือ Green wall ของซิลเลี่ยน อินโนเวชั่น แบงเปน 2 ประเภท คือ แบบแผน ความหนาเพียง 35 มม. เปนวัสดุที่บางและเบามาก ทําใหสามารถใชกับงานที่มี พื้นที่จํากัด และมีแรธาตุในตัว สามารถออกแบบและปลูกตนไม ไดตามลวดลายที่ตองการไดอยางไมมีขีดจํากัดและ แบบกระถาง ทีม่ รี ะบบเก็บนํา้ ในตัว สามารถดูแลตนไมไดงา ย ตนไมมกี ารเจริญ เติบโตไดดี “จุดเดนที่ถือเปนนวัตกรรมก็คือการจายนํ้าอัตโนมัติใหกับ สวนแนวตั้ง จากสหรัฐอเมริกา ที่ ส ามารถควบคุม ผานระบบ สัญญาณดาวเทียม และตรวจสอบระบบได Real-time เพื่อ ปองกันการขาดนํ้าของตนไม ทําใหสามารถดูแลตนไมไดสะดวก และลดการใชแรงงานคนโดยไมจาํ เปน” เนวินธุ กลาว นอกจากนี้ทางบริษัทฯ ยังมีโรงอนุบาลตนไม เพื่อควบคุม คุณภาพตนไมใหเหมาะสมกับการนํามาใชงาน ทั้งนี้ซิลเลี่ยน อินโนเวชั่น ไดรับความไววางใจใหออกแบบสวนแนวตั้งใหกับ หลากหลายโครงการ อาทิ โครงการ “Avani Riverside Hotel” โครงการ “98 Wireless” โครงการ “Ashton 41” “สํานักงานใหญ ของปตท. วิภาวดี” รวมถึงงาน “Green Roof อุทยาน 100 ป จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
59
Engineering Today September - October 2017
IT Update
• กองบรรณาธิการ
ฮิตาชิ ดาต้า ซิสเต็มส์ พัฒนาเทคโนโลยี HVS ตอบโจทยการกาวสู Smart City ในเอเชียแปซิฟิก และนโยบาย Thailand 4.0
มร. คีท รอสคาเรล ผูอ าํ นวยการดานความปลอดภัยสาธารณะและเมืองอัจฉริยะ ประจําภูมิภาคเอเชียแปซิฟก บริษัท ฮิตาชิ ดาตา ซิสเต็ม พีทีอี ลิมิเต็ด และ ดร. มารุต มณี ส ถิ ตย กรรมการผูจั ดการประจําประเทศไทย และพม า บริษัท ฮิตาชิ ดาตา ซิสเต็มส พีทอี ี ลิมิเต็ด
มร. คี ท รอสคาเรล ผูอํ า นวยการดา นความปลอดภัย สาธารณะและเมื องอัจฉริยะ ประจํา ภูมิ ภาคเอเชียแปซิฟก บริษัท ฮิตาชิ ดาตา ซิสเต็ม พีทีอี ลิมิเต็ด กลาววา ปจจุบัน เมืองใหญทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟกตางเรงวางโครงสรางพื้นฐาน สําหรับเตรียมพรอมการเกิดขึ้นของเขตเศรษฐกิจใหมในภูมิภาค เอเชีย ดวยมีการคาดการณวาในอีก 10 ปขางหนา จะมีการ เปลี่ยนแปลงการไหลของเงินทุนจากทั่วโลกเขามายังเศรษฐกิจ เกิดใหมในเอเชีย สงผลใหประเทศตางๆ ในภูมิภาคนี้เกิดการ ขยายตัวของพื้นที่เมือง จํานวนประชากรในเขตเมืองจะเพิ่มขึ้น และขนาดเศรษฐกิจของเมืองในประเทศกําลังพัฒนาจะมีขนาด ใหญขึ้นตามไปดวย และเพื่อใหบริหารจัดการเมืองที่มีประชากร มากไดอยางมีประสิทธิภาพ ทําใหหลายประเทศตางตองการ เดินหนาสรางเมืองอัจฉริยะ (Smart City) เพื่อรองรับการเติบโต ของเศรษฐกิจในอนาคต ยกตัวอยางเชน ประเทศสิงคโปร ซึ่งมี การลงทุนดานนี้สูงมาก อยางไรก็ตาม แมวา ในหลายเมืองใหญทมี่ คี วามพรอมเรือ่ ง สาธารณูปโภค เทคโนโลยี ระบบอินเทอรเน็ต และการทุม เม็ดเงิน ลงทุนเพื่อวางระบบสําหรับ Internet of Things (IoT) อยาง ครอบคลุมเพือ่ เชือ่ มตอขอมูลจากแหลงตางๆ เขามายังฐานขอมูล ขององคกร หากแตการนําขอมูลมาใชประโยชนในเชิงเศรษฐกิจ และสังคมยังมีนอ ยมาก ดวยขอจํากัดของเทคโนโลยีทแี่ ตกตางกัน การขาดการบูรณาการและเชื่อมตอขอมูลอยางเปนระบบ อีกทั้ง ยังขาดเครือ่ งมือในการวิเคราะหขอ มูลเชิงลึกเพือ่ นํามาประมวลผล แบบเรียลไทม จนสามารถนําขอมูลดังกลาวมาใชใหเกิดประโยชน ไดสูงสุด
ทีผ่ า นมา ฮิตาชิฯ ไดเรงพัฒนาความกาวหนาของเทคโนโลยี เพื่อใหพรอมสําหรับความตองการของโลกอนาคต โดยพัฒนา Hitachi Visualization Suite (HVS) ซึง่ เปนซอฟตแวรแพลตฟอรม ทีท่ าํ งานไดบนระบบไฮบริดคลาวด สามารถผสานรวมขอมูลทัว่ ไป และขอมูลจากวิดีโอหรืออุปกรณตางๆ (Internet of Things) จาก ระบบความปลอดภัยสาธารณะทีแ่ ยกออกจากกันของแตละหนวยงาน เขาไวดวยกัน และนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหเพื่อแสดงผล ซึ่งจะ ชวยใหองคกรภาครัฐและเอกชนไดรบั ขอมูลและเขาใจในสถานการณ จากขอมูลเชิงลึก ทําใหสามารถวางแผนจัดการไดอยางดีเมื่อเกิด เหตุการณที่สงผลตอความปลอดภัยของประชาชน อาทิ หนวย จัดสงความชวยเหลือ 911 ทีค่ วบคุมดวยระบบคอมพิวเตอร ตัวอาน ปายทะเบียน เซ็นเซอรกระสุนปน ฯลฯ ในแบบเรียลไทม และ นําเสนอใหภาพขอมูลในรูปแบบภูมสิ ารสนเทศเชิงพืน้ ที่ โดย HVS จะชวยใหหนวยงานบังคับใชกฎหมายไดรับขอมูลเชิงลึกที่สําคัญ สําหรับใชในการเสริมความเชี่ยวชาญในการดําเนินงาน ยกระดับ ความสามารถดานการสืบสวนสอบสวน และเพิ่มประสิทธิภาพ ดานการปฏิบัติการตางๆ พรอมดวยคุณสมบัติของการบันทึก ขอมูลเหตุการณแบบเรียลไทมจากเซ็นเซอร จากขอมูลในป 2559 การเติบโตของ Video Intelligence ในภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิ ฟ ก มี อั ต ราสู ง ถึ ง 18% ซึ่ ง ถื อ เป น ตลาด ขนาดใหญทสี่ ดุ โดยมีมลู คา 3.3 พันลานเหรียญสหรัฐ เนือ่ งจาก เมืองขยายตัวมากขึ้น และตองการความปลอดภัยมากขึ้น อีกทั้ง ตองการใชเปนหลักฐานในการพิสูจนตางๆ ในคดี ขณะที่ไทยโต 19% และจีนโต 21% สําหรับตัวอยางประเทศทีม่ กี ารใช Video Intelligence ของฮิตาชิฯ คือ ประเทศออสเตรเลีย โดยติดตั้ง
Engineering Today September - October 2017
60
กลอง 500 ตัวในรัฐสภา เพือ่ ใชเปน Boarder Protection เขา-ออกรัฐสภา ดาน ดร. มารุต มณีสถิตย กรรมการผูจ ดั การประจํา ประเทศไทย และพมา บริษทั ฮิตาชิ ดาตา ซิสเต็มส พีทอี ี ลิมเิ ต็ด กลาววา การเขาสูส งั คมยุคดิจทิ ลั (Digital Society) ประกอบดวย People, Process และ Technology สําหรับ ประเทศไทยจะตองเตรียมความพรอมในเรือ่ งของบุคลากร ในสวนของทัง้ ภาครัฐและเอกชนตางก็มคี วามตองการสราง Smart City ใหเกิดขึ้น เพื่อประโยชนทั้งในแงความมั่นคง ความปลอดภัย และประโยชนเชิงเศรษฐกิจ ซึ่งตอนนี้มี นโยบาย Thailand 4.0 เขามาผลักดันในเรื่องความพรอม ของโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยี สงผลในทั้งภาครัฐ และเอกชนหลายแหงมีการลงทุนเพื่อวางระบบตางๆ เพื่อ รองรับการเกิดขึน้ ของ Smart Citiy ในอนาคต และสามารถ ใชประโยชนจาก Big Data ที่เกิดขึ้นไดอยางเต็มศักยภาพ ทัง้ นี้ ฮิตาชิฯ มีเทคโนโลยีรองรับ Smart City ไดแก HVS ที่สามารถแสดงภาพขอมูลภูมิสารสนเทศเชิงพื้นที่ เกี่ยวกับขอมูลอาชญากรรมที่ผานมาในอดีตหลากหลาย รูปแบบ ซึ่งครอบคลุมถึงเขตพื้นที่ความเสี่ยงอาชญากรรม (Heat Map) ดวย HVS เปนแพลตฟอรมทีม่ คี วามสามารถ ในการปรับขนาดไดอยางเต็มที่ ซึ่งจะชวยใหองคกรภาครัฐ และเอกชนสามารถในการรวบรวมเหตุการณจําลองหลาย ร อ ยรายการสํ า หรั บ การสร า งภาพและการเฝ า ติ ด ตาม เชิงพื้นที่ HVS ชวยแกปญหาเกี่ยวกับการบูรณาการและ รวมจุดตางๆ ที่ใชโดยเมือง องคกร และเจาหนาที่ความ ปลอดภัยสาธารณะ จากการที่ HVS มีมุมมองแบบแผนที่ เดียว ซึ่งรวมขอมูลวิดีโอขอมูลการปฏิบัติงานการขนสง GPS และการติ ด ตามยานพาหนะ ข อ มู ล อาคารและ โครงสรางพืน้ ฐาน สือ่ สังคมออนไลน และแหลงขอมูลอืน่ ๆ นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารวิ เ คราะห พื้ น เมื อ งและเวิ ร ก โฟลว อัตโนมัติ เพื่อชวยใหองคกรทุกประเภทมีความชาญฉลาด และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
Video Intelligence เพื่อความปลอดภัยมากขึ้นและใชเปนหลักฐานในคดี
Hitachi Video Analytics
“HVS นับเปนเครื่องมือแรกที่ใชโซเชียลมีเดีย และฟดขอมูลจาก อินเทอรเน็ตแบบเรียลไทม รวมกับการวิเคราะหขั้นสูงที่มีความละเอียด และมีเอกลักษณเฉพาะตัว เพื่อเก็บรวบรวมขอมูลเชิงลึกและยกระดับ ความปลอดภัยสาธารณะในรูปของการนําเสนอขอมูลพยากรณการเกิด อาชญากรรมที่มีความแมนยําสูง โดย Hitachi Visualization เปนหนึ่ง ในของโซลูชั่น Hitachi Social Innovation ที่ชวยพัฒนาโครงการเมือง อัจฉริยะ (Smart City) และออกแบบขึ้นเปนพิเศษเพื่อยกระดับแนวคิด ดานความปลอดภัยสาธารณะของเมืองและเทศบาลตางๆ ผานทาง การใชการวิเคราะหขั้นสูงเชิงพยากรณและการเขาถึงขอมูลวิดีโอ หรือ อุ ป กรณ ต า งๆ จากระบบความปลอดภั ย สาธารณะได อ ย า งเต็ ม ประสิทธิภาพ” ดร.มารุต กลาว จะเห็นไดวาหนึ่งในนโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาล คือ การให ความสําคัญกับความปลอดภัยสาธารณะ (Public Society) ที่ตองใช เทคโนโลยีระดับสูง สงผลใหแพลตฟอรม HVS นาจะเติบโตในไทย และ มั่นใจวาแมมีการเปลี่ยนรัฐบาลชุดใหม แตนโยบาย Thailand 4.0 คงได รับการสานตอ เนือ่ งจาก Trend ของประเทศไทยจะตองเขายุค Thailand 4.0 อยางหลีกเลี่ยงไมได โดยขณะนี้ภาคอุตสาหกรรมเขาสู Industry 4.0 แลว
61
Engineering Today September - October 2017
IT Update
• กองบรรณาธิการ
มทม. ผนึกกําลังซินนาคอร์เปิดตัว Zimbra Innovation Program มุงพัฒนาหลักสูตรสรางนักพัฒนาซอฟตแวร ตอบโจทย Digital Society
มทม. จับมือซินนาคอรเปดตัว Zimbra Innovation Program
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร (มทม.) โดย รศ. ดร.สุเจตน จันทรังษ อธิการบดี และ มร.เบรนท ริเมส รองประธานฝาย บริหารการขายและการตลาด ซินนาคอร ไดลงนามความรวม มือกัน (MOU) ใน โครงการ Zimbra Innovation Program เปน ระยะเวลา 3 ป ซึ่งมีเปาหมายมุงเนนการพัฒนาหลักสูตรการ เรียนการสอนเพื่อเพิ่มพูนความรูทางเทคนิคและทักษะในการคิด เชิงวิพากยทจี่ าํ เปนตอการพัฒนาโซลูชนั่ ซอฟตแวรใหแกนกั ศึกษา เพือ่ นําไปพัฒนาตอยอด และสนับสนุนความมุง มัน่ ของรัฐบาลไทย ในการกาวเปนดิจทิ ลั ฮับแหงภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใตทมี่ งุ พัฒนาใหบริการของรัฐแกภาคการศึกษา การลงทุน การทองเทีย่ ว และอื่นๆ ใหดีขึ้น โดยใชดิจิทัลตามแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของ รัฐบาลไทย ณ โรงแรมอนันตราสยาม ราชดําริ โครงการนี้จะเปนหลักสูตรที่ใหความรูครบถวนจําเปน สําหรับอาชีพนักพัฒนาซอฟตแวร (Developer) โดยเฉพาะใน ระบบเปด (Opensource) ซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุมตั้งแต ระบบ ปฏิบตั กิ ารลินกุ ซ, ระบบเสมือนจริง (Virtualization), Messaging Platform (Zimbra), ระบบรักษาความปลอดภัยและระบบเครือขาย พรอมทัง้ ออกใบรับรองความสามารถในการผานหลักสูตรให โดย ทางคณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีมหานคร (IST MUT) ใหแกนักศึกษาและบุคคลทั่วไป ทั้งเปนหลักสูตรและการเปดอบรมระยะสั้น โดยทางคณะมีความ พรอมในดานอุปกรณทันสมัยสําหรับการเรียนการสอนและการ
Engineering Today September - October 2017
62
รศ. ดร.สุเจตน จันทรังษ อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
มร.เบรนท ริเมส รองประธานฝายบริหารการขาย และการตลาด ซินนาคอร
วิจัยอยางครบครัน อันไดแก ระบบการตอเชื่อมสัญญาณ Wi-Fi ที่ ครอบคลุมทุกพื้นที่ของมหาวิทยาลัย หองปฏิบัติการสําหรับการ วิจัย และมีการติดตั้งคอมพิวเตอรเพียงพอสําหรับสนับสนุนการ ทํากิจกรรมทางวิชาการและการเรียนการสอนในคณะ นอกจาก นั้นยังไดรับการสนับสนุนแพลตฟอรมอีเมล Zimbra จากทาง ซินนาคอรเพือ่ ใหบริการแกนกั ศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีมหานครอีกดวย
รศ. ดร.สุเจตน จันทรังษ อธิการบดีมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีมหานคร กลาววา ขณะนี้มีความตองการนัก พัฒนาซอฟตแวรมากกวาผูดูแลระบบในตลาดไอทีของ ประเทศไทยจํานวนมาก โดยมีความตองการปละไมตาํ่ กวา 3,000 คน ยัง ไม ร วมถึง การสง เสริมธุร กิจ Starup ที่ นายกรัฐมนตรีใหการสงเสริม ซึ่งหมายถึง Tech Startup อีกปละ 1,000 คน แตปจจุบัน ผลิตบุคลากรไมเพียงพอ อี กทั้ ง บุ ค ลากรที่จบก็ ไ มไ ดทํ างานตรงสายงาน หรือใช ความรู ไ ม เ ต็ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ขณะที่ บุ ค ลากรที่ มี ทั ก ษะ ความเชีย่ วชาญ เพียง 10-20% เทานัน้ ทีส่ ามารถตอบโจทย ตางๆ ทําใหประเทศไทยขาดแคลนบุคลากรทางดานนี้ คอนขางมาก ทั้งนี้บุคลากรดานวิศวกรรมคอมพิวเตอรที่ MUT ผลิตออกมาไดงานทําสูง 95% และสามารถหางานทําได ภายใน 4 เดือน สําหรับผูที่จบสายตรง บางคนไดงานทํา กอนจบ “การรวมมือกันกับซินนาคอรจะชวยพัฒนาหลักสูตร และการเรียนการสอนทางวิชาการของเราใหกา วหนาขึน้ มาก ทําใหเราสามารถผลิตบุคลากรที่มีความสามารถที่จําเปน เพียงพอที่จะผลักดันประเทศไทยใหบรรลุเปาหมายทาง ดิจิทัล หรือ Thailand 4.0 ได โดยเฟสแรก นักศึกษาสาขา วิศวกรรมคอมพิวเตอร 400 คน จะไดปรับหลักสูตรการ เรียนใหม เพื่อมุงสูเศรษฐกิจดิจิทัลมากขึ้น” รศ. ดร.สุเจตน กลาว มร.เบรนท ริเมส รองประธานฝายบริหารการขาย และการตลาดซินนาคอร กลาววา รูสึกยินดีเปนอยางยิ่ง ที่ไดรวมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร ในการ เปดตัว Zimbra Innovation Program โครงการนี้จะให การอบรมความรูค วามสามารถทีจ่ าํ เปนทางดานการพัฒนา ระบบเปดแกนกั ศึกษา ซึง่ จะเปนกําลังสําคัญทีม่ คี วามจําเปน แกประเทศไทยในการสรางสรรคนวัตกรรมทางซอฟตแวร ขึ้นมาเพื่อขับเคลื่อนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของ
MAHANAKORN UNIVERSITY OF TECHNOLOGY AND SYNACOR LAUNCH ZIMBRA INNOVATION CENTER Mahanakorn University of Technology (MUT), and Synacor (Nasdaq: SYNC) today announced a partnership to launch a Zimbra Innovation Center. The Center will be focused on enhancing academic curriculum to improve technical knowledge and critical thinking skills required to develop software solutions. Thailand aspires to be a digital hub in Southeast Asia, attempting to use government services in all sectors including but not limited to the education, investment, and tourism sectors. This initiative was recently announced in the Digital Government Plan. The program wil deliver an end-to-end curriculum spanning topics such as Linux operating systems, virtualization, messaging platform (Zimbra), security and networking along with the corresponding certification from the university. IST MUT is well equipped with modern facilities for teaching and research including campus-wide WIFI connectivity, fully furnished computer and research laboratories to support the academic activities and programs within the faculty. In addition, Zimbra, Synacor’s email platform, will be offered to faculty and students at MUT. The announcement was made at a press conference hosted by MUT and Synacor.
ประเทศ ขณะเดียวกันเราจะไดผูเชี่ยวชาญจํานวนมากมาชวยใหบริการ แกลูกคาในตลาดประเทศไทยที่กําลังเจริญเติบโต “นับเปนโครงการนํารองความรวมมือระหวางเรากับสถาบันการ ศึกษาเปนครั้งแรก โดยในอนาคตจะมีการขยายความรวมมือนี้ไปยัง มหาวิทยาลัยในภูมภิ าคอืน่ ๆ ของโลกตอไป” มร.เบรนท ริเมส กลาว
63
Engineering Today September - October 2017
Advertarial • กองบรรณาธิการ
ศิริรัตน์ สังข์วิชัย ผูอํานวยการโครงการ บริษัท รี้ด เทรดเด็กซ จํากัด
Metalex 2017 งานแสดงสินค้า สัมมนา สําหรับเครื่องจักรกลและเทคโนโลยีที่ใหญ่ที่สุดในอาเซียน คาดมีผูเขาชมงาน 100,000 คน เงินสะพัดไมนอยกวา 10,000 ลานบาท บริ ษั ท รี้ ด เทรดเด็ ก ซ จั ด งาน Metalex 2017 งาน แสดงสินคา สัมมนาสําหรับเครือ่ งจักรกลและเทคโนโลยีโลหการ ภายใตแนวคิด “แปลก ใหม ใหญ ครบเครื่อง เรื่องโลหการ” โดยได ร วบรวมสิ น ค า สํ า หรั บ เครื่ อ งจั ก รกลด า นโลหการใน ทุกแขนงจาก 50 ประเทศทั่วโลก กวา 3,300 แบรนดชั้นนํา มาจั ด บนพื้ น ที่ 64,000 ตารางเมตร เต็ ม พื้ น ที่ อ าคารศู น ย แสดงสิ น ค า ไบเทคทั้ ง 10 ฮอลล ในระหว า งวั น ที่ 22-25 พฤศจิกายน 2560 ศิ ริ รั ต น สั ง ข วิ ชั ย ผู อํ า นวยการโครงการ บริ ษั ท รี้ ด เทรดเด็ ก ซ จํ า กั ด กล า วว า จากความสํ า เร็ จ ในการจั ด งาน The Grand Metalex 2016 ในปทผี่ า นมา ดวยยอดผูเ ขาชมงาน
Engineering Today September - October 2017
64
90,516 คน แบงเปนคนไทย 90 เปอรเซ็นต และคนตางชาติ 10 เปอรเซ็นต ทําใหคณะผูจัดงานของ รี้ด มุงมั่นอยางเต็มที่ใน การจั ด งาน Metalex 2017 งานแสดงสินคา สัม มนาสําหรับ เครื่องจักรกลและเทคโนโลยีโลหการในปนี้ โดยยึดแนวคิดการ จัดงาน “แปลก ใหม ใหญ ครบเครื่อง เรื่องโลหการ” ตอเนื่อง จากป 2559 ที่ผานมา เพื่อตอยอดการแสดงเครื่องจักรกลดาน โลหการในทุ ก มิ ติ ที่ ใ หญ ที่ สุ ด ของอุ ต สาหกรรมโลหการใน ประเทศไทยและอาเซียน โดยไดรวบรวมสินคาสําหรับเครื่องจักร กลดานโลหการในทุกแขนงจาก 50 ประเทศทัว่ โลก กวา 3,300 แบรนดชนั้ นํามาจัดแสดงบนพืน้ ที่ 64,000 ตารางเมตรเต็มพืน้ ที่ อาคารศูนยแสดงสินคาไบเทคทั้ง 10 ฮอลล
สําหรับไฮไลตของการจัดงาน Metalex 2017 ในปนี้อยูที่ การแบงโซนพื้นที่จัดงานรองรับในทุกๆ มิติของเครื่องจักร ทั้งตัด เจาะ กลึง พับ เชื่อม ตรวจวัด ที่มีประสิทธิภาพในการทํางานที่ เร็วทีส่ ดุ แมนยําทีส่ ดุ โดยนํา Super Robot หุน ยนตแขนกลทีใ่ หญ ที่สุดในโลกที่ใชงานจริงในอุตสาหกรรม สามารถยกรถไดทั้งคัน ยกขึ้นจากพื้นสูง 8 เมตร ทํางานได 360 องศา ยกชิ้นงานในมุม ตางๆ ของการผลิตไดอยางครบวงจรมาจัดแสดง และมีพนื้ ทีส่ าํ หรับ ใหผูประกอบการที่ประกอบธุรกิจดาน Factory Automation, Pumps & Valves, Equipment, Accessories, Robot Welding, Machine Tool, Sheet Metalex, Wire & Tube, Metrology และ Tools &Tooling นําสินคาและเทคโนโลยีมารวมออกบูธ บริเวณเวทีกลางฮอลล 106 จะเปนเวที สัมมนา Metalex Talk นําเสนอมุมมองของผูประกอบการที่ทําธุรกิจในแบรนด ชั้นนํามาถายทอดประสบการณแกผูเขาชมงาน ตอบสนองความ ต อ งการของผู ป ระกอบการในการใช ง านในแต ล ะภาคธุ ร กิ จ เชน เครื่องมือวัดที่เร็วที่สุดในโลก Robot หุนยนตแขนกลที่นําไป ใช ใ นภาคอุ ต สาหกรรมขนาดต า งๆ ยานยนต ไ ฟฟ า ชิ้ น ส ว น อากาศยาน เครื่องปรับอากาศและทําความเย็น เครื่องพับโลหะ แผนที่มีความซับซอนสูง เครื่องพิมพชิ้นงานโลหะ 3 มิติ เปนตน สวนพื้นที่ฮอลลอื่นๆ จะเปนการนําสินคาและนวัตกรรม ใหมๆ กาวลํ้า ตอบโจทยทั้งเทรนด Thailand 4.0 และ Industry 4.0 ของผูประกอบการ ที่นําสินคาและนวัตกรรมเขารวมออกบูธ ภายในงาน ซึง่ ขณะนีม้ ปี ระมาณ 100 สินคาจากกวา 1,000 สินคา ศิริรัตน กลาววา บริเวณ ฮอลล 99 จัดแสดงสินคาและ นวัตกรรมของ International Pavilion จากตางประเทศที่ทาง คณะผูจ ดั งานไดไปโรดโชวใหผปู ระกอบการในประเทศนัน้ นําสินคา และนวัตกรรมดานโลหการเขามารวมออกบูธภายในงาน เชน ประเทศจีน เยอรมนี อินเดีย ญี่ปุน เกาหลี มาเลเซีย สิงคโปร ไตหวัน และสาธารณรัฐเช็ก เปนตน “ดวยประสบความสําเร็จในการจัดงาน The Grand Metalex 2016 ในปที่ผานมา ทําใหการจัดงาน Metalex 2017 ในปนี้
คณะผูจัดงานมีการตระเตรียมงานหนักขึ้น นําเสนอสินคาและ นวัตกรรมใหดียิ่งๆ ขึ้นจากปที่ผานมา ทั้งการจัดโรดโชวเชิญชวน ผูประกอบการทั้งในประเทศและตางประเทศที่ยังไมเคยเขามา รวมนําสินคาและบริการเขามารวมจัดแสดงภายในงานเพื่อให ผูเขารวมชมงานทั้งผูประกอบการอุตสาหกรรม ประชาชนทั่วไป และนิสติ นักศึกษาไดเห็นสินคาและนวัตกรรมจากผูป ระกอบการ ที่นํามาจัดภายในงานอยางใกลชิด พรอมทั้งใหผูซื้อ ผูขายสินคา และนวัตกรรมดานโลหการมีโอกาสไดพูดคุยเจรจาธุรกิจภายใน งานนี้ เบือ้ งตนคาดวาจะมีผเู ขารวมชมงานไมนอ ยกวา 100,000 คน มีเงินสะพัดภายในงานไมนอ ยกวา 10,000 ลานบาท ในสวน สถาบันการเงินที่จะมีบริการใหแกผูซื้อภายในงาน ขณะนี้มีการ เจรจาอยูประมาณ 7 สถาบันการเงินดวยกัน” ศิริรัตน กลาว เพื่อใหการเขาชมงาน Metalex 2017 มีความคลองตัวใน ทุกๆ ดาน ทางคณะผูจัดงานไดอํานวยความสะดวกในการเพิ่ม ที่จอดรถจํานวนมากขึ้น เนื่องจากการจัดงานครั้งนี้ไดเปดพื้นที่ ทั้ง 100 เปอรเซ็นต จึงมีที่จอดรถทั้งในอาคารและพื้นที่นอก อาคารไมนอยกวา 7000-9,000 คัน สวนพื้นที่ตรงขามศูนย แสดงสินคาไบเทคที่เปนบริเวณบางกอกมอลล และพื้นที่ตรง บริเวณอิเกีย สามารถรองรับรถเพิ่มเติมไดอีกกวา 1,000 คัน พรอมกันนี้จะมีรถตูบริการรับสงผูจอดรถในพื้นที่นอกอาคาร และพื้นที่เพิ่มเติมนอกศูนยไบเทคทุกๆ 9 นาที แตแนะนําให ผูเขาชมงานเดินทางมาดวยรถสาธารณะ คือ รถไฟฟา BTS จะ สะดวกกวา โดยสามารถลงที่สถานีบางนาแลวเดินเขามาชมงาน เพียง 200 เมตร นอกจากนี้ ทางคณะผูจั ด งานไดเป ด ใหผูเขาชมงานลง ทะเบียนลวงหนาเพื่อความสะดวกรวดเร็วไมตองมารอคิวในการ ลงทะเบียนบริเวณหนางานไดแลว ผานชองทางโซเชียลประกอบ ดวย E-mail: metalex@reedtradex.com, Line: @metalexexpo และ www.facebook/metalexpage และสามารถเขาไปอัพเดต การเตรียมการจัดงาน Metalex 2017 ไดที่ www.metalex.co.th
65
Engineering Today September - October 2017
Advertarial
>> ระบบโซลาร์เซลล์ แอลอีดี
>> สัมฤทธิ์ ทองรุ่ง กรรมการผู้จัดการ บริษัท แวลูเอชั่น เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด
บริษัท แวลูเอชั่น เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด ผูวิจัย ออกแบบ พัฒนา ผลิตภัณฑไฟฟาแสงสวาง เพื่อการประหยัดพลังงาน โชวนวัตกรรมหลอด LED และระบบโซลารเซลล ในงาน Thailand Lighting Fair 2017 สั ม ฤทธิ์ ทองรุง กรรมการผูจั ด การ บริษัท แวลูเ อชั่น เอ็ นจิ เ นี ย ริ่ ง จํ ากัด ซึ่ ง วิจัย ออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑไฟฟา แสงสว า งเพื่ อ การประหยั ด พลั ง งาน ได ใ ห สั ม ภาษณ ว ารสาร Engineering Today ถึงภาพรวมธุร กิจและการเขารวมแสดง ผลิตภัณฑ โซลารเซลล แอลอีดีของแวลูเอชั่น ในงาน Thailand Lighting Fair 2017 ซึง่ จะจัดขึน้ ระหวางวันที่ 16-18 พฤศจิกายน 2560 ณ ฮอลล 102-104 ศูนยนทิ รรศการและการประชุมไบเทค บางนา ขอทราบภาพรวมผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ทางบริ ษั ท ฯ เป น ผู นํ า ของผลิ ต ภั ณ ฑ ด า นการประหยั ด พลังงาน โดยผลิตภัณฑของบริษัท แวลูเอชั่น เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด นั้นเปนสินคา Industrial Grade มีประสิทธิภาพสูง อายุการใช งานนาน พรอมทั้งมีบริการติดตั้งและบํารุงรักษาตลอดอายุการ รับประกันอีกดวย
Engineering Today September - October 2017
66
ขอทราบเกี่ยวกับการวิจัย ออกแบบและพัฒนา เทคโนโลยีเพื่อการประหยัดพลังงาน (Energy Saving) ของบริษัทฯ ทีมออกแบบและวิจัยของบริษัทฯ นั้นไดศึกษาเทคโนโลยี จากหลายๆ ประเทศทั่วโลก โดยนําวัสดุตั้งตน (Raw Material) นํามาวิจัย ทดสอบ และประกอบเพื่อใหไดประสิทธิภาพสูงสุด ในราคาที่เหมาะสม ตัวอยางเชน หลอดไฟแอลอีดีที่ผลิตโดย บริษัทฯ มีประสิทธิภาพความสองสวางไดถึง 150 lm/Watt และ ทีส่ าํ คัญคือทําใหเกิดการสูญเสียพลังงานนอยลงแตไดประสิทธิภาพ การสองสวางเทาเดิม ปัจจุบนั ผลิตภัณฑ์ โซลาร์เซลล์ แอลอีดี ของบริษทั มีการ พัฒนาเป็นรุน่ ใดบ้างและรองรับการใช้งานด้านใดบ้าง สําหรับ ผลิต ภัณฑโ ซลาร เซลล แอลอีดี ของบริษั ท ฯ นั้น กลุมลูกคาหลักๆ ของเราจากเดิมเปนกลุมโรงงานอุตสาหกรรม
เพราะลูกคากลุมนี้มีการใชพลังงานคอนขางสูง และชั่วโมงการ ใชงานมาก ซึ่งเหมาะกับสินคาของเราที่ชวยในเรื่องการประหยัด พลังงาน แตในปจจุบันบริษัทฯ ไดขยายตลาดสูไปสูกลุมลูกคา ทีเ่ ปนกลุม ลูกคาผูบ ริโภคทัว่ ไป (Consumer) โดยไดปรับขยายรุน ของสินคากับราคาใหเหมาะสมกับกลุมผูใชงานที่ตางกัน ตลาดประเทศไทยมีความต้องการผลิตภัณฑ์ โซลาร์ เซลล์ แอลอีดี อย่างไรบ้าง ทั้งในภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ และผู้ใช้งานตามบ้าน สามารถกลาวไดวา ทุกวันนี้คาใชจายดานพลังงานไฟฟา เปนคาใชจายหลักในทุกภาคสวน ไมวาจะเปนภาคอุตสาหกรรม ภาคธุรกิจ หรือแมกระทัง่ ผูใ ชงานตามทีพ่ กั อาศัย และเปนคาใชจา ย ที่ตองจายในทุกๆ เดือน ทําใหปจจุบันทุกภาคสวนตางใหความ สําคัญในการหาวิธลี ดคาใชจา ยตรงนี้ ซึง่ ทาง แวลูเอชัน่ เอ็นจิเนียริง่ นั้นเปน ผูนําและใหความสําคัญในดานผลิตภัณฑที่ชวยประหยัด พลังงานอยูแลว สินคา โซลารเซลล และแอลอีดี ของเราจึงเปน สินคาที่ตอบโจทยและแกไขปญหาได ขอทราบตัวอย่างโครงการความสําเร็จในการติดตั้ง ผลิตภัณฑ์/โซลูชั่น โซลาร์เซลล์ แอลอีดี ของบริษัทฯ และช่วยให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลลัพธ์ที่ได้ในด้านการ ประหยัดพลังงานของโครงการนัน้ ๆ เป็นอย่างไรบ้าง ลูกคาในภาคสวนอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจของเรา เชน กลุมบริษัทเด็นโซประเทศไทย บริดจสโตนกรุปในประเทศไทย กลุมบริษัทอาปโก และบริษัท คอบรา อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ในมุมมองของแวลูเอชัน่ มีความเห็นว่า ปัจจัยใดทีช่ ว่ ย สนั บ สนุ น ความต้ อ งการของตลาดต่ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ โซลาร์เซลล์ แอลอีดี ปจจัยสําคัญทีจ่ ะชวยสนับสนุนความตองการของตลาดตอ ผลิตภัณฑโซลารเซลล และแอลอีดี หรือในดานการประหยัดพลังงาน คือการสนับสนุนจากภาครัฐ โดยภาครัฐตองเปนแรงกระตุนและ ผลักดันใหทุกภาคสวนตระหนักถึงความสําคัญและประโยชนที่ แตละคนจะไดรับในการเปลี่ยนไปใชอุปกรณประหยัดพลังงาน รวมทัง้ จัดตัง้ โครงการตางๆ เพือ่ เปนแรงจูงใจ เชน ใหเงินสนับสนุน ลดหยอนภาษี หรืออืน่ ๆ สําหรับผูท เี่ ขารวมโครงการ รวมถึงจัดให มีกฎหมายบังคับใช เพือ่ กําหนดระยะเวลาในการดําเนินโครงการ ใหเปนไปอยางรวดเร็ว
>> นวัตกรรมหลอดไฟแอลอีดี
ผลิตภัณฑ์ โซลาร์เซลล์ แอลอีดี ช่วยส่งเสริมความเป็น Smart Home หรือ Smart City ได้อย่างไรบ้าง บานอัจฉริยะ และเมืองอัจฉริยะ (Smart Home & Smart City) เปนเทรนดที่กําลังเปนที่นาสนใจในขณะนี้ ซึ่งในสวนของ ผลิตภัณฑ โซลารเซลล และแอลอีดี ก็ถือเปนพารตหลักๆ ที่ชวย สงเสริมใหเกิดบานอัจฉริยะ เพราะเปน ผลิตภัณฑที่ชวยในเรื่อง ประหยัดพลังงานและเพิ่มความปลอดภัยมากขึ้น ดังตัวอยางที่ กลาวไปกอนหนานี้ คือหลอดไฟแอลอีดีที่ใชพลังงานนอยกวา หลอดไฟทั่วไป แตใหประสิทธิภาพความสวางสูง และในปจจุบัน ก็สามารถหาไดในราคายอมเยา สามารถเพิม่ จํานวนการติดตัง้ ใน ทองทีต่ า งๆ ทีม่ โี อกาสเกิดอาชญากรรมและถือเปนการเพิม่ ความ ปลอดภัยใหกับผูสัญจรและพักอาศัยในทองที่นั้นๆ ในสวนของโซลารเซลล ทีเ่ ปนพลังงานทางเลือกอีกแขนงหนึง่ ทีท่ าํ ใหผใู ชงานสามารถผลิตไฟฟาไดดว ยตนเอง และดวยเทคโนโลยี ในปจจุบันทําใหสามารถเชื่อมตอการใชงานไดทั้งระบบ โดยเพิ่ม ความสะดวกสบายในการควบคุมทั้งจากระยะใกลและระยะไกล หรือสามารถควบคุมเชือ่ มตอดวยกันไดทงั้ เมือง ซึง่ เปนการผนวก แนวคิดบานแบบอัจฉริยะ (Smart Home) รวมกับบานประหยัด พลังงาน อันนําไปสูเมืองอัจฉริยะได ในงาน Thailand Lighting Fair 2017 ผู้เข้าชม งานหรือผู้ประกอบการจะได้สัมผัสกับผลิตภัณฑ์ โซลาร์เซลล์ แอลอีดี ของแวลูเอชั่นเพื่อต่อยอดธุรกิจ ได้อย่างไรบ้าง ผลิตภัณฑที่ทาง แวลูเอชั่น เอ็นจิเนียริ่ง จะนําเขาไปแสดง ในงาน Thailand Lighting Fair 2017 เปนสินคานวัตกรรมใหม ของทางบริษัทฯ อยางเชน หลอดแอลอีดี โดยเราจะแสดงรุนที่ให ประสิทธิภาพความสวางสูงถึง 165 lm /Watt และนอกจากนั้น ในสวนระบบโซลารเซลล เราจะจัดกลุมสินคา แพ็กเกจพิเศษ สําหรับบานพักอาศัย เปนราคาที่จับตองไดและมีคุณภาพ
พบกับบริษัท แวลูเอชั่น เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด และผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าแสงสว่างเพื่อการประหยัดพลังงานได้ ในงาน Thailand Lighting Fair 2017 ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 16-18 พฤศจิกายน 2560 ณ ฮอลล์ 102 – 104 ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา
67
Engineering Today September - October 2017
แนะนําสมาคม
• กองบรรณาธิการ
เปิดตัวสมาคมการค้าผู้ให้บริการชําระเงินอิเล็กทรอนิกส์ไทย ยกระดับการชําระเงินอิเล็กทรอนิกสของไทยเทียบเทาสากล
ดวยนวัตกรรมการเงินใหมๆ ในปจจุบัน ประกอบกับการใชงาน สมารทโฟนทีเ่ พิม่ มากขึน้ ในประเทศไทย โดยตัวเลขอยูท ี่ 40 ลานเครือ่ ง ในป 2558 และเพิ่มขึ้นมาเปน 50 ลานเครื่องในป 2559 และคาดวา จะเพิ่มถึง 80 ลานเครื่องในป 2564 ทําใหโทรศัพทมือถือกลายเปน ปจจัยทีห่ า และการชําระเงินอิเล็กทรอนิกสกลายเปนกิจกรรมประจําวัน ดวยเหตุนผี้ ใู หบริการชําระเงินอิเล็กทรอนิกสจงึ เล็งเห็นความสําคัญในการ ผนึกกําลังจัดตัง้ สมาคมการคาผูใ หบริการชําระเงินอิเล็กทรอนิกสไทย (Thailand E-Payment Trade Association: TEPA) เพื่อยกระดับ การชําระเงินอิเล็กทรอนิกสของไทย ใหเทียบเทามาตรฐานสากล และ เพิ่มความไววางใจในการชําระเงินอิเล็กทรอนิกสใหกับผูบริโภคไทย สมาคมการคาผูใ หบริการชําระเงินอิเล็กทรอนิกสไทย (Thailand E-Payment Trade Association: TEPA) ไดรับอนุญาตใหจัดตั้งเปน สมาคมการคาเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ 2559 โดยมีวัตถุประสงคหลัก เพื่อสงเสริมการประกอบวิสาหกิจที่เกี่ยวกับการใหบริการชําระเงินทาง อิเล็กทรอนิกส สนับสนุนและชวยเหลือสมาชิกแกไขขอขัดของตางๆ ตลอดจนเจรจาทําความตกลงในการประกอบวิสาหกิจของสมาชิก ปจจุบนั สมาคมฯ มีจํานวนสมาชิกทั้งหมด 16 ราย ทั้งบริษัทที่ใหบริการกระเปา เงินอิเล็กทรอนิกสไปจนถึงบัตรโดยสาร E-Money ซึ่งประกอบไปดวย 1. บริษัท ไทยสมารทคารด จํากัด 2. บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด 3. บริษัท เพยสบาย จํากัด 4. บริษัท ทรู มันนี่ จํากัด 5. บริษัท บางกอก สมารทการด ซิสเทม จํากัด 6. บริษัท ทีทูพี จํากัด 7. บริษัท แอรเพย (ประเทศไทย) จํากัด 8. บริษัท แรบบิท-ไลน เพย จํากัด 9. บริษัท ฟอรท สมารท เซอรวสิ จํากัด (มหาชน) 10. บริษทั เอ็มโอแอล เพยเมนท
Engineering Today September - October 2017
6 68
จํากัด 11. บริษัท ทูซีทูพี (ประเทศไทย) จํากัด 12. บริษัท เพย โซลูชั่น จํากัด 13. บริษัท เน็ตเบย จํากัด (มหาชน) 14. บริษัท บลูเพย จํากัด 15. บริษัท โอมิเซะ จํากัด และ 16. บริษัท บิ๊กซี ซูเปอรเซ็นเตอร จํากัด (มหาชน) ปุณณมาศ วิจิตรกุลวงศา ประธานคณะผูบริหาร กลุม บริษทั แอสเซนด กรุป จํากัด ในฐานะนายกสมาคม การคาผูใ หบริการชําระเงินอิเล็กทรอนิกสไทย (Thailand E-Payment Trade Association: TEPA) กลาววา การ ชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกสสะทอนถึงนโยบาย Thailand 4.0 และการผลักดันในการเปนสังคมไรเงินสดของภาครัฐ ในหลายประเทศ อาทิ จีน และอินเดีย การชําระเงินทาง อิเล็กทรอนิกสไดลํ้าหนาไปไกลมาก และในประเทศ เชน สวีเดน สังคมไรเงินสดก็กลายเปนภาพแหงความเปนจริง ขึ้นมาแลว ขอดีของการไมใชเงินสดตางๆ อาทิ การลด ภาระคาใชจายการจัดการเงินสด ลดความเสี่ยงในการ ครอบครองเงินสด ตรวจสอบไดในทุกขั้นตอนทําใหลด ความเสี่ยงจากการคอรรัปชั่น TEPA จะคอยผลักดันการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส โดยใหความรูกับผูบริโภคไทยและองคกรทั้งภาครัฐและ เอกชน พรอมกันนี้ สมาคมฯ ก็จะคอยกํากับดูแลสมาชิก ใหปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบของทางธนาคารแหงประเทศไทย และนโยบายภาครัฐ และจะคอยเปนกระบอกเสียงใหกับ ผูใ หบริการชําระเงินอิเล็กทรอนิกสเพือ่ สงเสริมธุรกิจชาวไทย “สมาคมฯ หวั งวาผูบ ริโ ภคและองคกรต างๆ ได ตระหนักและเปดใจรับนวัตกรรมทางการเงินใหมๆ โดย เฉพาะการชําระเงินอิเล็กทรอนิกส ซึ่งจะชวยเพิ่มความ สะดวกสบายอยางแทจริง และยังมัน่ ใจไดถงึ ความปลอดภัย เพราะภาครัฐและทางธนาคารแหงประเทศไทยไดลงมา กํากับดูแลธุรกิจนี้อยางใกลชิด ผูบริโภคและองคกรตางๆ สามารถมั่นใจไดวาสมาชิกของสมาคมการคาผูใหบริการ ชําระเงินอิเล็กทรอนิกสไทย ทั้ง 16 ราย เปนผูใหบริการ ชําระเงินอิเล็กทรอนิกสที่ไดรับใบอนุญาตประกอบธุรกิจ อยางถูกตอง และมุงเนนใหบริการผูบริโภคดวยบริการที่ มี คุ ณ ภาพและปลอดภั ย เที ย บเท า มาตรฐานสากล” ปุณณมาศ กลาวทิ้งทาย
@Engineering @Engineering Today Today Vol. Vol. 5 No. No. 161 161
LBTIþJI$E `GRLBTL8T=;V$ +S<CYOBT'W@S;:CV7EO*' $EIþ-T-ÿ@
ER6CLCO*E8cA'ITC_Ef ER6CLCO*E8cA'ITC_EIf L[L*[ c9Dª+ÿ c9Dª+;ÿ ERDR9W ERDR9g W ®
_; _;; 8 8T DaO;_9'a;aGDW DaO;_9'a;aGDªW @S@4 S ;T<Z ;T<'Z GT$E GT$E
ĐĐĆėéėĨü éĔýĄĚĐ ġüĄĜĆē ëĜġüĊŋđĕĊ Á.WZOQTG TG čĆňĕèĄėøėĢĎĄŇúĘħāĔâĐĕċĔą āĆňĐĄğ÷ėüĎüňĕ ĆŇĊĄúěüĐčĔèĎĕĆėĄúĆĔāąŋģúąåĆýĊèéĆ ğåĈĦ÷ĈĔý þĆĔýāĚĨüúĘħčĖåĔîãĐèýňĕü ğāėħĄåĊĕĄþĈĐ÷ăĔąĢüâĕĆĐąĜŇĐĕċĔąãĐèÿĜňčĜèĊĔĔą ĆĔĔý #IKPI 5QEKGV[ #IKPI 5QEKGV[ čąĕĄåĜġýøňĕåĆĐèøĖĠĎüŇèÿĜňüĖøĈĕ÷Ćùãě÷ãüĕ÷ğĈĦâĢüģúą āĆňĐĄĆĐèĆĔýġåĆèâĕĆâŇĐčĆňĕèúĔĨèăĕåĆĔò ğĐâëü
Construction • กองบรรณาธิการ
สภาวิศวกรและสภาสถาปนิก จับมือภาคีพันธมิตรองค์กรวิชาชีพ ระดมสมองรถไฟความเร็วสูงไทย-จีน ระยะที่ 1
เน้นถ่ายโอนเทคโนโลยี-พัฒนาบุคลากร สภาวิศวกร สภาสถาปนิก พรอมดวย ภาคีพนั ธมิตรองคกร วิชาชีพดานวิศวกรรมและสถาปนิก ประกอบดวยวิศวกรรม สถานแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) สภาคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตรแหงประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย (ส.อ.ท.) รวมประชุ มการระดมสมองหารือการ ถายโอนเทคโนโลยีโครงการรถไฟความเร็วสูง ไทย-จีน ระยะ ที่ 1 ชวงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะทาง 252.35 กิโลเมตร วงเงิ น ลงทุ น 179,412.21 ล า นบาท เพื่ อ นํ า ไปเป น ข อ มู ล ประกอบในการรวมประชุมกับกระทรวงคมนาคม กอนทีจ่ ะมีการ ประชุ ม ร ว มกั น อย า งเป น ทางการระหว า งประเทศไทยและ ประเทศจีนในโอกาสตอไป
ดร.กมล ตรรกบุตร (ขวา) นายกสภาวิศวกรและ เจตกําจร พรหมโยธี นายกสภาสถาปนิก
ศ. ดร.อมร พิมานมาศ เลขาธิการสภาวิศวกร
สภาวิศวกรและสภาสถาปนิก จับมือองค์กรวิชาชีพ ระดมสมองรถไฟความเร็วสูงไทย-จีน เป็นครั้งแรก
ดร.กมล ตรรกบุตร นายกสภาวิศวกร กลาววา การประชุม การระดมสมองหารื อ การถ า ยโอนเทคโนโลยี โ ครงการรถไฟ ความเร็วสูงไทย-จีน ระยะที่ 1 ชวงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะ ทาง 252.35 กิโลเมตร วงเงินลงทุน179,412.21 ลานบาท เปน การรวมกันหารือระหวาง สภาวิศวกร สภาสถาปนิก วิศวกรรม สถานแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ สภาคณบดีคณะ วิศวกรรมศาสตรแหงประเทศไทย กลุม อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
ผศ. ดร.ประมวล สุธีจารุวัฒน กรรมการถายโอนเทคโนโลยี โครงการกอสรางพื้นฐาน วสท.
ศ. ดร.เปนหนึ่ง วานิชชัย ผูเชี่ยวชาญดานแผนดินไหว สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย (AIT)
Engineering Today September - October 2017
70
ซึ่งถือเปนครั้งแรกที่ไดหารือรวมกันเพื่อแลกเปลี่ยนองคความรู และระดมสมองหาแนวทางในการนําเสนอขอมูล ความคิดเห็น ตางๆ ตอรัฐบาล เริ่มตั้งแตการออกแบบ ไปจนถึงการควบคุม งานกอสราง การถายโอนเทคโนโลยีในเรื่องการพัฒนาบุคลากร ออกแบบ และควบคุมงานกอสราง การถายโอนเทคโนโลยีที่ เกีย่ วของกับการเดินรถซอมบํารุง การถายโอนเทคโนโลยีเรือ่ งของ การผลิตตูรถโดยสาร และการถายโอนเทคโนโลยีผลิตอุปกรณ หรือชิ้นสวนตางๆ ที่เกี่ยวของกับราง โดยเอกชนไทยสามารถเขา มามีสวนรวมเพื่อนําไปเปนขอมูลประกอบในการรวมประชุมกับ กระทรวงคมนาคม เพือ่ เตรียมความพรอมกอนจะประชุมรวมกับ ฝายจีนอยางเปนทางการในโอกาสตอไป สภาสถาปนิกร่วมออกแบบสถานีรถไฟความเร็วสูง ช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา
เจตกําจร พรหมโยธี นายกสภาสถาปนิก กลาววา การ ออกแบบอาคารสถานีรถไฟถือเปนเรื่องสําคัญ ตองออกแบบ ใหทันสมัยเหมาะสมกับรถไฟความเร็วสูง ซึ่งสภาสถาปนิกไดเขา ไปมีสวนรวมในการออกแบบตัวสถานีทั้ง 6 สถานีโครงการรถไฟ ความเร็วสูงไทย-จีน ระยะที่ 1 ชวงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา ระยะ ทาง 252.35 กิโลเมตร จึงใหรฐั บาล หนวยงานราชการทีเ่ กีย่ วของ เตรียมความพรอมเรือ่ งการวางผังเมือง ออกแบบพืน้ ทีส่ ถานีใชงาน การพัฒนาชุมชนโดยรอบสถานี เนื่องจากในสวนนี้ไมไดอยูใน ขอบเขตขอตกลงไทย-จีน รัฐบาลและหนวยงานทีเ่ กีย่ วของจะตอง วางแผนจัดการเองทั้งหมด “หากไมมีการเตรียมแผนรับมือ อยากจะแนะนําใหมีการ จัดการออกแบบวางผังเมืองรอบๆ โครงการดังกลาวที่จะเกิดขึ้น ใหชัดเจน ไมใหเกิดภาพการพัฒนาแบบไรทิศทางเหมือนที่เคย เกิดขึ้นมา เพื่อใหการจัดทําโครงการนี้มีความถูกตอง ชัดเจน ตรวจสอบได ประโยชนของเงิ น ภาษี จะไดตกกั บคนไทยและ ประเทศไทยใหมากที่สุด”
1. ดานการถายโอนเทคโนโลยีการออกแบบ เพือ่ ใหบคุ ลากร ของไทยสามารถดําเนินการได เบื้องตนจะมีตัวแทนคนไทยทั้งใน สวนนักวิชาการและผูเ ชีย่ วชาญวิศวกรรมและสถาปนิกเฉพาะดาน เขารับองคความรูจาก 9 กลุมงานใหญรวม 40 คน เมื่อเสร็จสิ้น ภารกิจ จะถูกขึน้ ทะเบียนเปนผูเ ชีย่ วชาญดานการออกแบบ มามอบ ใหโครงการกอสรางรถไฟความเร็วสูงระยะที่ 2 จากนครราชสีมาหนองคาย วิศวกรไทยจะไดเปนแบบหลัก และใหฝงจีนทําหนาที่ เปนเพียงพี่เลี้ยงเทานั้น หลังจากนั้นในอนาคตหากมีโครงการอื่น คนไทยจะสามารถออกแบบเองไดทั้งหมด 2. ดานการเดินรถรวมถึงการบํารุงรักษา (O&M) จะตอง มีความชัดเจนวา กระบวนการเดินรถ การบํารุงรักษา มีอะไรบาง หนวยงานใดรับผิดชอบดูแลการเดินรถ โดยระบุเปนสวนไหน ระยะทางใด หรือจะจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนสง ทางรางแหงชาติขึ้นมา เพื่อเปนหนวยงานกลางประสานความ รวมมือหนวยงานที่เกี่ยวของ 3. ดานการผลิตตูรถไฟโดยสารเพื่อใหมีฐานการผลิตใน ประเทศไทยไมนอยกวา 50 เปอรเซ็นต และการผลิตชิ้นสวน อะไหลตอ งเปนวัสดุในประเทศไทยไมนอ ยกวา 40 เปอรเซ็นต ของ มูลคาโครงการดานระบบเฉพาะสวนสัญญา 2.3 ซึ่งเปนสัญญา งานระบบราง ระบบไฟฟาและเครือ่ งกล รวมทัง้ จัดหาขบวนรถไฟ และอบรมบุคลากร เพือ่ ใหผปู ระกอบการไทยทีม่ ศี กั ยภาพในการ ผลิตตูรถไฟไดมีโอกาสรวมประมูลงาน ใชวัสดุในประเทศไทยที่มี ราคาถูกกวาการสั่งและนําเขาจากตางประเทศ 4. ดานการถายโอนพัฒนาบุคลากร โดยนําเสนอในราย ละเอียดดานการออกแบบ ถ ายทอดวิชาชีพและวิ ชาการเพื่อ บุ ค ลากรของไทยจะได เ กิ ด ความชํ า นาญสามารถออกแบบ โครงการได เพื่อที่การขยายโครงการเฟสอื่นจะไดใชบุคลากรของ ไทยเปนคนดําเนินการเองทั้งหมด สวนชาวจีนหรือชาวตางชาติ รายอื่นที่เขามาถายทอดเทคโนโลยีดานการรถไฟในอนาคตจะได ทําหนาที่เปนเพียงพี่เลี้ยงเทานั้น ไทยเซ็นสัญญาจ้างจีนออกแบบ-ควบคุมงานรถไฟ ความเร็วสูงระยะที่ 1 เดินหน้าวางแผนออกแบบระยะที่ 2 ทันที
องค์กรวิชาชีพเผย 4 บทสรุปสําคัญ ในโครงการรถไฟความเร็วสูงไทย-จีน ระยะที่ 1
ศ. ดร.อมร พิมานมาศ เลขาธิการสภาวิศวกร กลาววา ในการประชุมรวมกันของสภาวิศวกร สภาสถาปนิก พรอมดวย ภาคี พั น ธมิ ต รองค ก รวิ ช าชี พ ด า นวิ ศ วกรรมและสถาปนิ ก ประกอบด ว ย วิ ศ วกรรมสถานแห ง ประเทศไทยในพระบรม ราชู ป ถั ม ภ (วสท.) สภาคณบดี ค ณะวิ ศ วกรรมศาสตร แ ห ง ประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (ส.อ.ท.) ในครัง้ นี้ ไดขอสรุปสําคัญในการประชุม 4 ขอ ประกอบดวย
ล า สุ ด เมื่ อ ต น เดื อ นกั น ยายนที่ ผ า นมา ฯพณฯ อาคม เติมพิทยาไพสิฐ รั ฐ มนตรีว าการกระทรวงคมนาคม ไดร วม ลงนามสั ญญากับ มร.หวัง เสี่ยวเทา รองผูอํานวยการคณะ กรรมการพัฒนาและปฏิรูปแหงชาติ สาธารณรัฐประชาชนจีน ภายใตโครงการความรวมมือระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทย กับรัฐบาลแหงสาธารณรัฐประชาชนจีนในการพัฒนาระบบรถไฟ ความเร็วสูงเพือ่ เชือ่ มโยงภูมภิ าค ชวงกรุงเทพฯ-หนองคาย (ระยะที่ 1
71 71
Engineering Today September - October 2017
ชวงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา) จํานวน 2 สัญญา ไดแก สัญญา 2.1 การออกแบบรายละเอียด (Detailed Design Services Agreement) วงเงิน 1,706.771 ลานบาท และสัญญา 2.2 ที่ ปรึกษาควบคุมงานการกอสราง (Construction Supervision Consultant Services Agreement) วงเงิน 3,500 ลานบาท ฯพณฯ อาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีวาการกระทรวง คมนาคม กลาววา หลังจากนี้จะวางแผนการออกแบบระยะที่ 2 ชวงนครราชสีมา-หนองคายตอเนื่อง เพราะจะตองใชเวลาในการ สํารวจและออกแบบ ทั้งนี้การเรงรัดเสนทางระยะที่ 2 ดังกลาว
เพื่อใหรถไฟความเร็วสูงชวงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา-หนองคาย สามารถกอสรางไดแลวเสร็จพรอมๆ กับเสนทางรถไฟความเร็วสูง ช วงจากประเทศจีน-เวียงจั นทน สปป.ลาว ซึ่งจะเชื่ อมตอกับ สปป.ลาวไดในป 2564-2565 โดยทั้งสปป.ลาวและไทยตางใช เวลากอสรางประมาณ 3-4 ปเชนกัน ถึงเวลานั้นเสนทางรถไฟ ความเร็วสูงจะวิ่งเชื่อมตอจากกรุงเทพฯ-หนองคาย-เวียงจันทนคุนหมิง ไดตลอดเสนทาง นับเปนความสําเร็จในดานยุทธศาสตร การเชื่อมตอ One Belt One Road
ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางไทย ผศ. ดร.ประมวล สุ ธี จ ารุ วั ฒ น กรรมการถ า ยโอนเทคโนโลยี โ ครงการก อ สร า งพื้ น ฐาน วิ ศ วกรรมสถานแห ง ประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) กลาววา สําหรับยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางไทยที่ไดทําการ ศึกษามา 8 ปอยางตอเนื่อง ควรนําการศึกษาที่ไดไปถายทอดสูองครวมของนักวิชาการภาคสวนตางๆ ที่เกี่ยวของในการ พัฒนาระบบรางของประเทศไทยใหเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม ประกอบดวย 1. พัฒนาแผนการใช้งานระบบรางแบบองค์รวม เนื่องจากประเทศไทยมีการเดินรถไฟระบบรางหลายแบบ จึงตอง การใหภาครัฐวางแผนการพัฒนาการใชงานระบบรางที่ชัดเจนในแตละระบบ และในแตละระบบสามารถที่จะเชื่อมตอทั้งเรื่อง การเดินรถ การบํารุงรักษา การถายทอดเทคโนโลยีตางๆ ใหบุคลากรของแตละหนวยงานสามารถนําไปเรียนรูถายทอด บูรณาการทุกระบบได 2. ลดเทคโนโลยีที่หลากหลายไม่จําเป็น หรือเทคโนโลยีที่ซํ้าซ้อน แลวนําไปสูการคิดเทคโนโลยีเฉพาะดาน เฉพาะ เรื่องรถไฟ ตูรถไฟ ศูนยซอมบํารุง ควรมีเทคโนโลยีอะไรบาง รวมเปนหนึ่งเดียวนั่นคือเทคโนโลยีของคนไทยที่สามารถเขาถึง และนําไปตอยอดพัฒนาเทคโนโลยีตอไป 3. พัฒนามาตรฐานระบบรางของไทยและในประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC ให้ดียิ่งขึ้น เชน สราง Lab หรือศูนยทดสอบตูขบวนรถไฟ ระบบการเดินรถ การซอมบํารุงรถไฟรวมกัน อาจจะมีประเทศละ 1 Lab เปนตน 4. พัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางหรืออุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้องภายในประเทศให้มคี ณ ุ ภาพ อยาเลือกใหทางมหาวิทยาลัย แขงขันกันในการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางเพราะจะไมคมุ คา เสียทัง้ เงิน เสียทัง้ เวลา เหมือนอยางในอดีตทีผ่ า นมา ควรเลือก มหาวิทยาลัยที่มีความชํานาญ มีการเรียนการสอน แลวใหดําเนินการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบราง ใหมหาวิทยาลัยอื่นๆ เขาไปรวมศึกษา รวมแลกเปลี่ยนองคความรู แลวรวมกันทํางานจะไดผลสัมฤทธิ์ที่ดีกวา 5. จัดตั้งสถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบรางให้เกิดขึ้นจริงเสียที โดยรัฐบาลจะตองเลือกวาจะใหสถาบันวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีระบบรางไปขึ้นตรงกับหนวยงานรัฐในกระทรวงใด การทํางานจะไดตอเนื่องและมีความเปนเอกภาพ ในการทํางาน เชน จะใหสํานักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม หรือจะให กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) กระทรวงคมนาคม เปนหัวขบวนขับเคลื่อนในอนาคต เปนตน 6. พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือสร้างนวัตกรรมเทคโนโลยีที่เชื่อมโยงระหว่างการใช้งานงานวิจัย R&D เบื้องต้น
จําเปนอยางยิ่งที่จะตองตั้งหนวยงานมาเก็บขอมูลการวิจัย งานวิจัยนวัตกรรมระบบรางและเรื่องรถไฟที่เกี่ยวของไวเพียง หนวยงานเดียวและใหทุกหนวยงานเขาถึงขอมูลดังกลาวรวมกันได ทั้งนี้หากรัฐบาลไทยสามารถนํายุทธศาสตรดังกลาวไปตอยอดการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางของไทยตามสภาพ เงื่อนไขของแตละยุคแตละสมัย ก็จะทําใหเกิดการพัฒนาระบบรางของไทยแบบกาวกระโดดและดีย่งิ ขึ้น
Engin Eng Engineering ngin i ering ine ngg To To ayy Septe Today September ptembe pte mber - Oct OOctober Oc obeer 201 20 2017 7
722
Tips
• กองบรรณาธิการ
“เอสซีจี เอลเดอร์แคร์ โซลูชั่น”
แนะ 4 เคล็ดลับ ปรับพื้นที่สําคัญของบาน เพิ่มความปลอดภัยในการ อยูอาศัยของผูสูงวัย รับ
Aging Society
หองนอนสําหรับผูส งู อายุ
จากสภาวะสังคมไทยทีไ่ ดกา วเขาสูส งั คมผูส งู อายุ (Aging Society) คือเปนสังคมที่มีประชากรอายุ 60 ป ขึน้ ไป มาตัง้ แตป 2548 ดวยจํานวนผูส งู อายุในประเทศไทย มีแนวโนมเพิม่ ขึน้ ขณะทีป่ ระชากรโดยรวมมีแนวโนมลดลง ทั้งนี้ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผูสูงอายุไทยไดคาด การณวา ประเทศไทยจะเปนสังคมผูส งู อายุอยางสมบูรณ ในป 2564 และจะเปนสังคมสูงอายุระดับสุดยอดใน ป 2578 ซึง่ เร็วมากเพราะใชเวลาเพียง 3 ทศวรรษเทานัน้ สงผลใหทั้งภาครัฐและเอกชนหันมาใหความสําคัญกับ การเตรียมความพรอมเพือ่ กาวสูส งั คมผูส งู อายุกนั มากขึน้ โดยเฉพาะดานที่อยูอาศัย เพราะผูสูงอายุมักใชชีวิต ประจําวันสวนใหญอยูภายใน “บาน” เนื่องจากสภาพ ร า งกายของผู สู งอายุจะเปลี่ ยนแปลงไป โดยมีค วาม เสื่อมถอยของกลามเนื้อ กระดูก ระบบประสาทสัมผัส รวมถึงสภาพจิตใจ “เอสซีจี เอลเดอรแคร โซลูชนั่ ” ในฐานะผูเ ชีย่ วชาญ ดานการเตรียมที่อยูอาศัยสําหรับผูสูงอายุ จึงขอแนะ 4 เคล็ดลับปรับพื้นที่สําคัญของบาน ซึ่งเปนพื้นที่ที่มัก เกิดอุบัติเหตุกับผูสูงอายุมากที่สุด เพื่อเติมเต็มการอยู อาศัยในบานของผูสูงอายุใหสมบรูณ พรอมมอบความ ปลอดภัย สะดวกสบาย และสุขภาวะที่ยืนยาว ใหเปน ของขวัญที่มีคุณคาสําหรับคนที่คุณรัก
ไฟสองสวางอัจฉริยะในหองนอน
73
Engineeri Engineering er ng Tod Today ay SSeptember eptember - Octobe October er 201 2017 7
หองนํา้ สําหรับผูส งู อายุทแี่ บงโซนเปยกโซนแหง
ลิฟทบนั ได
บันไดทีป่ รับสําหรับผูส งู อายุ ปวีรม น ทองราช ผูเ ชีย่ วชาญดานการออกแบบทีอ่ ยูอ าศัย สําหรับผูสูงอายุ (Design Consultant) เอสซีจี เอลเดอรแคร โซลูชั่น กลาววา การออกแบบและปรับบานใหเหมาะกับการ อยูอาศัยของผูสูงอายุตองคํานึงถึง 5 องคประกอบหลัก ไดแก Safety ความปลอดภัย เพื่อลดความเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุ หกลม Ease of Use อุปกรณตางๆ ควรใชงานงาย สะดวกและ ออกแรงนอย Eligible ดีไซนใหเหมาะสมกับสภาพรางกายและ ขอจํากัดของแตละบุคคล Accessibility การจัดพืน้ ทีแ่ ละอุปกรณ ที่เอื้อตอการเคลื่อนตัว หรือกาวเดิน และ Stimulation การฟนฟู ความมีชีวิตชีวาผานการจัดสภาพแวดลอม นอกจากนี้ยังพบวา ในแตละป 1 ใน 3 ของผูสูงอายุที่มีอายุ 65 ปขึ้นไป มักประสบ ปญหาการหกลม และแนวโนมการเกิดอุบัติเหตุเพิ่มขึ้นตามอายุ ที่มากขึ้นดวย ซึ่งบริเวณที่เกิดการหกลมบอย ไดแก หองนอน หองนํ้า พื้นที่ขึ้นลงบันได และภูมิทัศนรอบบาน ดวยเหตุนี้ เอสซีจี เอลเดอรแคร โซลูชั่น จึงแนะเคล็ดลับ ปรับพื้นที่สําคัญของบาน ดวยแนวคิด เอจเลส ลีฟวิ่ง (Ageless Living) ทีม่ งุ ใหผสู งู อายุสามารถดําเนินชีวติ ไดอยางอิสระ ปลอดภัย ลดเสนแบงทางอายุและขีดจํากัดของรางกาย ใหสามารถทํากิจกรรม ตางๆ ภายในบานกับครอบครัวไดอยางมีความสุข เริ่มจาก
ราวจับรุน ตางๆ สําหรับติดตัง้ ในหองนํา้
อางลางมือทีเ่ หมาะกับการใชงานผูส งู อายุ
Engine Eng Engineering in ering Tod Today o ay Septe September ptembe mberr - Oct Octobe October o r 201 2017 017
744
ภูมทิ ศั นรอบบานสําหรับผูส งู อายุ 1. ห้องนอน หองนอนสําหรับผูสูงอายุควรอยูชั้นลางเพื่อ ลดการขึ้นลงบันได อยูในบริเวณที่มีความสงบ เปนสวนตัวและมี อากาศถายเทไดสะดวก • พื้น ควรปูดวยวัสดุลดแรงกระแทกและไมควรมีพื้นที่ ตางระดับ เพื้อปองกันการสะดุด หกลม • เตียงนอน เลือกขนาดใหเหมาะสมกับผูส งู อายุ ปรับระดับ ความสูงได มีราวจับขางเตียง ฟูกที่นอนไมแข็ง หรือนิ่มเกินไป พรอมแนะใหมพี นื้ ทีบ่ ริเวณขางเตียง 90-100 ซม. เพือ่ ใหสามารถ เขาไปดูแลไดและรองรับการใชงานรถเข็น • ภายในหองนอน ติดตั้งราวจับบริเวณที่มีการลุกนั่ง มีไฟ สองสวางอัจฉริยะที่สามารถเปดปดอัตโนมัติ ดวยการตรวจจับ ความเคลื่อนไหวอยางแมนยํา เพื่อนําทางเดินจากเตียงนอน ไปกลับหองนํ้าในยามคํ่าคืน • เฟอรนเิ จอร แนะนําใหมโี ตะขางเตียงทีห่ ยิบของไดสะดวก ตูเสื้อผา ชั้นวางของควรมีระดับความสูงที่เหมาะสมกับผูใชงาน • ประตู ไมควรมีธรณีประตูเพื่อปองกันการสะดุด เลือก แบบบานเลื่อนเปด-ปด ที่มีระบบรางแขวนดานบนตัวล็อกใช งานงาย ใชแรงนอย 2. ห้ อ งนํ้ า เป น พื้ น ที่ ที่ มี ค วามเสี่ ย งต อ การลื่ น ล ม สู ง นอกจากการคํานึงถึงขนาดของหองนํ้าที่ควรกวางอยางนอย 200 ซม. เพื่อรองรับการใชรถเข็น ยังแนะนําใหมีการแบงพื้นที่ โซนหองนํ้าเพื่อความปลอดภัยในการใชงาน ดังนี้ • พื้นที่โซนแหง เลือกใชอางลางหนาแบบแขวนผนังที่ สามารถรองรับนํ้าหนักการเทาแขนของผูสูงอายุ หรือเลือกอาง แบบฝงครึ่งเคานเตอร เพื่อใหมีพื้นที่ใตอางสะดวกตอการใชงาน ของรถเข็น กอกนํ้าควรเปนแบบกานโยก หรือกานปด สวนโถ
สุขภัณฑควรเปนแบบนั่งราบ มีระดับความสูงใหเหมาะสม ใหลุก นั่งงาย เทาไมลอย และติดตั้งราวจับบริเวณขางโถสุขภัณฑ • พืน้ ทีโ่ ซนเปยก แนะนําใหมที นี่ งั่ อาบนํา้ ทีม่ คี วามแข็งแรง ขนาดและความสูงเหมาะกับผูสูงอายุ โดยฝกบัวควรติดตั้งอยู บริเวณดานขางของทีน่ งั่ กานฝกบัวสามารถปรับระดับความสูงได เลือกใชวาลวเปด-ปดนํ้าที่สามารถคุมอุณหภูมิได ติดตั้งราวจับ บริเวณพืน้ ทีอ่ าบนํา้ ทีส่ าํ คัญควรใชกระเบือ้ งปูพนื้ ทีม่ คี า ความฝด ตั้งแต R10 ขึ้นไป เพื่อปองกันการลื่นลม รวมไปถึงการติดตั้ง ราวจับโดยเฉพาะพื้นที่อาบนํ้า 3. พื้นที่ขึ้นลงบันได หากหองนอนผูสูงอายุอยูชั้นบน อาจทําใหปวดเขาเวลาขึ้นลงบันได หรืออาจสะดุดพลัดตกจาก บันได ดังนั้นควรใหปรับมีความกวางที่เหมาะสม ลูกตั้งบันไดสูง ไมเกิน 15 ซม. ลูกนอนกวางอยางนอย 30 ซม. จมูกบันไดมีสี แตกตางจากพืน้ ผิวของบันไดเพือ่ ใหสงั เกตเห็นความแตกตางของ บันไดชัดเจน ควรมีราวบันไดทัง้ 2 ขาง ในระยะ 80 ซม. จากพืน้ และมีแสงสวางใหเพียงพอ หรือแนะนําใหติดตั้ง “ลิฟตบันได” เพื่อชวยอํานวยความสะดวก 4. ภูมิทัศน์รอบบ้าน ทางเขาบานและบริเวณสวน พื้น ทางเดินควรเรียบ มีที่นั่งสําหรับชมธรรมชาติเปนระยะ ที่นั่งพัก ควรมีราวจับ หรือเทาแขน เพือ่ ชวยในการพยุงตัวลุกไดสะดวก ใน กรณีที่มีทางลาดเขาบาน ควรมีความชัน ไมเกิน 1:12 มีพื้นที่ วางหนาทางลาดไมนอ ยกวา 150 ซม. ใชวสั ดุพนื้ ผิวไมลนื่ มีขอบ กั้นและราวจับตลอดแนวทางลาด สําหรับความกวางทางเดิน ควรกวางอยางนอย 90 ซม. เพื่อรองรับการใชรถเข็น นอกจากนี้ หากผูส งู อายุชอบการทําสวน ควรเลือกการปลูกในกระบะ ทีร่ ะยะ ความสูงประมาณ 60-80 ซม. หรือปลูกตนไมแบบสวนแนวตัง้
755
Engineeri En Engineering ring ng Tod Today ay Se SSeptember ptember - Octobe October er 201 2017 7
Property
• กองบรรณาธิการ
ออริจนิ้ จับมือ โนมูระ ชูโนว์ฮาว “Luxmore” สร้างมิตใิ หม่ทพ ี่ กั อาศัย
พร้อมเดินหน้าร่วมทุนอสังหาริมทรัพย์ไทยครบวงจร
พีระพงศ์ จรูญเอก ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร ออริจนิ้ พร็อพเพอร์ตี้ จับมือเป็นพันธมิตรกับ มร.เอย์จิ คุสคึ าเขะ ประธานกรรมการ โนมูระ เรียลเอสเตท ดีเวลล็อปเมนท์
โครงการไนท์บริดจ์ ไพรม์ รัชโยธิน มูลค่า 1,600 ล้านบาท
“ออริจนิ้ ” ผาแผนรวมมือ “โนมูระ” ดึงโนวฮาว “Luxmore” จากญี่ ปุ น สร า งมิ ติ ใ หม ข องการใช ชี วิ ต ในคอนโดมิ เ นี ย มให ผูบริโภค ประเดิมขาย 3 โครงการแรก กวา 1,600 ยูนิต มูลคา โครงการรวม 6,100 ลานบาท ในงานอีเวนทใหญ “My Life. My Origin” ดานโนมูระเดินหนาตามแผนลงทุน 3 แสนลานเยน ในตางประเทศภายในป 2025 หวังผนึกออริจนิ้ ลุยยาวโครงการ อสังหาริมทรัพยประเภทอื่นๆ เพิ่มเติม พีระพงศ จรูญเอก ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั ออริจนิ้ พร็ อ พเพอร ตี้ จํ า กัด (มหาชน) หรือ ORI ผูพั ฒนาโครงการ คอนโดมิเนียมภายใตแบรนดเคนซิงตัน นอตติ้ง ฮิลล และไนท บริ ด จ กล า วภายหลั ง จากตั ด สิ น ใจร ว มทุ น กั บ บริ ษั ท โนมู ร ะ เรี ย ลเอสเตท ดี เ วลล็อ ปเมนท จํ า กัด บริษั ทอสัง หาริม ทรัพย รายใหญของญี่ปุนวา ภายใตการรวมทุนผาน 4 บริษัทยอย ลาสุด บริษทั ฯ จะเริม่ นําดีไซน โนวฮาว และนวัตกรรมตางๆ ของโนมูระ เขามาใชกับ 3 โครงการแรกที่จะเปดขายในไตรมาส 3 ปนี้ โดย เฉพาะอยางยิ่งโนวฮาวและนวัตกรรมสําคัญของโนมูระ ภายใต โครงการ “Luxmore”
Engineering Today September - October 2017
76
โครงการ Luxmore เปนแนวทางการพัฒนาที่อยูอาศัย ของโนมูระ ที่คํานึงถึงปจจัยสําคัญตอการใชชีวิตในที่อยูอาศัย 5 ดาน ไดแก การสรางสรรคไลฟสไตลที่สมบูรณ ความสะดวก ในการใชสอย การใชประโยชนไดหลากหลาย ดีไซน และการบํารุง รักษาและการทําความสะอาด ทําใหโครงการตางๆ ของโนมูระ สามารถสร า งสรรค มิ ติ ใ หม ใ นการอยู อ าศั ย ให แ ก ผู บ ริ โ ภค ชาวญี่ปุน เปนจุดสําคัญที่ทําใหออริจิ้นประทับใจในโนมูระ และ จะนําแนวทางนี้มาใชกับการพัฒนา โครงการใหมๆ ที่รวมทุนกัน สําหรับ 3 โครงการรวมทุนที่จะเปดขายในไตรมาส 3 ปน้ี และอาจพิจารณานําแนวทาง Luxmore มาใช ไดแก 1. โครงการ ไนทบริดจ ไพรม รัชโยธิน จํานวน 334 ยูนิต มูลคาโครงการ 1,600 ลานบาท 2. โครงการไนทบริดจ ไพรม ออนนุช จํานวน 601 ยูนิต มูลคาโครงการ 2,500 ลานบาท 3. โครงการไนท บริดจคอลลาจ รามคําแหง จํานวน 685 ยูนิต มูลคาโครงการ กวา 2,000 ลานบาท รวม 3 โครงการระหวางออริจิ้นและ โนมู ร ะในป นี้ 1,620 ยู นิ ต มู ล ค า โครงการรวมกว า 6,100 ลานบาท
ผูบ้ ริหารทัง้ สองฝ่ายถ่ายภาพร่วมกัน
ดาน บริษัท โนมูระ เรียลเอสเตท ดีเวลล็อปเมนท จํากัด ถือเปนบริษัทอสังหาริมทรัพยรายใหญของญี่ปุน กอตั้งขึ้นตั้งแต ป 2500 ปจจุบันมีโครงสรางธุรกิจหลากหลาย ไดแก 1. ธุรกิจ พัฒนาที่อยูอาศัย ทั้งคอนโดมิเนียม บานเดี่ยว 2. ธุรกิจจัดหา สํานักงานใหเชา 3. ธุรกิจคาปลีก 4. ธุรกิจโลจิสติกส และ 5. ธุรกิจ บริการที่เกี่ยวของกับอสังหาริมทรัพย เชน การขาย การซื้อ การ เชาอสังหาริมทรัพย มีทุนจดทะเบียนชําระแลว (ณ 1 เม.ย. 2560) จํานวน 2,000 ลานเยน หรือราว 600 ลานบาท มีรายไดจาก การดําเนินการ (Operating Revenue) ในปงบประมาณลาสุด (1 เม.ย. 2559-31 มี.ค. 2560) จํานวน 4.01 แสนลานเยน หรือ ราว 1.2 แสนลานบาท มร.เอยจิ คุสึคาเขะ ประธานกรรมการ บริษัท โนมูระ เรียลเอสเตท ดีเวลล็อปเมนท จํากัด กลาววา บริษัทฯ วางแผน การเติบโตระยะกลาง-ยาวตั้งแตปงบประมาณ 2559-2567 (สิน้ สุด มี.ค. 2568) ดวยการลงทุนในตางประเทศภายใตงบลงทุน 3 แสนลานเยน หรือราว 9.06 หมื่นลานบาท เนนการลงทุน ในประเทศแถบเอเชี ย เป น หลั ก เนื่ อ งจากเป น แถบที่ ภ าค อสังหาริมทรัพยยังคงเติบโตอยางตอเนื่อง ลาสุด จึงไดตัดสินใจ รวมทุนกับออริจนิ้ เพือ่ เดินหนาการลงทุนในกรุงเทพฯ ประเทศไทย นําโนวฮาวที่สั่งสมมาเพื่อชวยประเทศในเอเชีย “เชื่อมตอปจจุบัน ดวยความเปนไปไดแหงอนาคต” “สาเหตุทตี่ ดั สินใจเลือกออริจนิ้ เปนพันธมิตรเดินหนาลงทุน ในไทยนั้น เนื่องจากออริจิ้นเปนบริษัทที่กอตั้งมาเพียง 8-9 ป แต
โครงการไนท์บริดจ์ ไพรม์ อ่อนนุช มูลค่า 2,500 ล้านบาท
สามารถเติบโตไดอยางรวดเร็ว จนกลายเปนบริษัทที่มียอดขาย ปละมากกวา 1 หมืน่ ลานบาท สะทอนใหเห็นวาออริจนิ้ เปนบริษทั ที่เขาใจธุรกิจอสังหาริมทรัพย เขาใจทําเล เขาใจความตองการ ผูบริโภค และสามารถพัฒนาที่อยูอาศัยใหตอบโจทยผูบริโภค ในไทยได ประกอบกับออริจิ้นมีวิสัยทัศนขยายธุรกิจสูการเปนผู พัฒนาอสังหาริมทรัพยครบวงจร สอดคลองกับทิศทางของโนมูระ ที่เปนผูพัฒนาอสังหาริมทรัพยครบวงจร จึงเปนโอกาสอันดีที่เรา จะรวมมือกันพลิกโฉมการพัฒนาอสังหาริมทรัพยเพื่อตอบโจทย ผูบริโภคในกรุงเทพฯ และประเทศไทย” หลังจากการรวมกันพัฒนาคอนโดมิเนียมระดับพรีเมียม 3 โครงการในปนี้และอีก 1 โครงการในปหนาแลว ในอนาคต บริษัทฯ มีแผนที่จะรวมกันพัฒนาโครงการที่อยูอาศัยเพิ่มเติม และยังอาจพิจารณารวมมือกันพัฒนาอสังหาริมทรัพยประเภทอืน่ ๆ ที่โนมูระมีประสบการณมาแลวในประเทศญี่ปุน “เรามองเห็นแนวโนมตลาดอสังหาริมทรัพยในกรุงเทพฯ วายัง สามารถเติบโตอยางมีเสถียรภาพไดในระยะยาว เพราะกลุมผูมี รายไดปานกลางยังคงเติบโตอยางตอเนื่อง ขณะเดียวกัน ตลาด อสังหาริมทรัพยในกรุงเทพฯ กําลังอยูในชวงเปลี่ยนผานจาก การเติบโตเชิงปริมาณ สูการเติบโตเชิงคุณภาพ เราเองเปน ผูมี ประสบการณดี ไซน โนวฮ าว และนวัต กรรมด านการพัฒนา คอนโดมิเนียมที่มีคุณภาพในญี่ปุนมายาวนาน จึงมองเห็นโอกาส และเดินหนารวมทุนกับบริษัทที่เชี่ยวชาญการพัฒนาที่อยูอาศัย ในไทย” มร.เอยจิ กลาวทิ้งทาย
77
Engineering Today September - October 2017
Equipment • กองบรรณาธิการ
สยามคูโบต้า ครองตําแหน่งผูน้ าํ ตลาดรถขุดขนาดเล็กในไทย พรอมรองรับโครงการกอสรางทั้งภาครัฐ-เอกชน
โฉมหนารถขุดขนาดเล็กของสยามคูโบตา
บริษทั สยามคูโบตาคอรปอเรชัน่ จํากัด ผูน าํ ตลาดรถขุดขนาดเล็ก ที่ครองสวนแบงทางการตลาดถึง 70 เปอรเซ็นต ซึ่งสูงสุดเปนอันดับ 1 ในประเทศ ดวยประสบการณในการทําตลาดรถขุดขนาดเล็กทีต่ อบโจทย คุณภาพสินคาและอุปกรณตอพวงตั้งแตป 2551 พรอมศูนยบริการ หลังการขาย และศูนยกระจายอะไหล ที่สามารถดูแลลูกคาครบวงจร ในทุกๆ ดานอยางมืออาชีพและครบวงจร รองรับการเติบโตของธุรกิจ กอสราง โดยเฉพาะนโยบายการลงทุนโครงสรางพื้นฐานขนาดใหญที่ รัฐบาลกําลังขับเคลื่อน รวมทั้งการงานดานกอสรางของภาคเอกชนที่ เติบโตอยางตอเนื่อง โอภาศ ธันวารชร กรรมการรองผูจัดการใหญอาวุโส บริษัท สยามคูโบตาคอรปอเรชั่น จํากัด กลาววา สยามคูโบตา ถือไดวาเปน ผูบุกเบิกและครองเจาตลาดรถขุดขนาดเล็กที่มีขนาดตํ่ากวา 8 ตัน มาโดยตลอด เนือ่ งจากมีทมี งานวิจยั ลงพืน้ ทีท่ าํ การตลาดและสํารวจความ ตองการของลูกคา กอนนําสินคาเขามาจําหนายในประเทศไทยและ ในภู มิ ภ าคอาเซีย น โดยไดนํา สิ น คา และบริก ารรถขุด ขนาดเล็ก ที่มี สมรรถนะสูง แกรงรอบตัว ทํางานไดรวดเร็วทันใจ เหมาะสมกับงาน ทุกสภาพพื้นที่ ซึ่งเปนรถใหมทั้งหมดเขามาทําตลาดเจาะกลุมลูกคา ในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนตั้งแตป 2551 เชน รถขุดขนาดเล็ก KX Series ขนาดตั้งแต 1.6 ตัน-8 ตัน รถขุดขนาดเล็ก U Series ขนาด 1.6 ตัน-5 ตัน อุปกรณตอพวงรถขุด สําหรับงานบดอัดดิน หัวเจาะ ไฮดรอลิก เข็มเจาะ และหัวเจาะสวาน เปนตน พรอมกันนี้ยังมีศูนย บริการคูโบตา 74 แหง ที่ใหบริการหลังการขายแกลูกคา และตัวแทน จัดจําหนายอีก 200 แหงทั่วประเทศ ในป 2559 ที่ผานมาตลาดรถขุดขนาดเล็กรถอยูที่ 6,000 คัน สยามคูโบตาสามารถจําหนายรถขุดขนาดเล็กได 1,600 คัน โดยลูกคา นํามาใชงานในงานกอสราง 80 เปอรเซ็นต และงานดานการเกษตรอีก
Engineering Today September - October 2017
78
20 เปอรเซ็นต แบงเปนลูกคารายยอยประมาณ 70 เปอรเซ็นต และลูกคาหลักที่เปนนิติบุคคลประมาณ 30 เปอรเซ็นต ส วนในป 2560 คาดการณวาสั ด สว นของตลาดรถขุด ขนาดเล็กจะเติบโต 20 เปอรเซ็นต ทัง้ นีส้ ยามคูโบตาตัง้ เปา ยอดขายรถขุดขนาดเล็กในป 2560 ไวที่ประมาณ 2,000 คัน หรือเติบโตขึ้นจากป 2559 ประมาณ 25 เปอรเซ็นต “สั ด สว นรถขุ ด ขนาดเล็ กที่ตํ่ ากวา 8 ตั นในตลาด ขณะนี้จะเปนรถขุดขนาดเล็กมือสอง 60 เปอรเซ็นต และ รถขุดใหมขนาดเล็ก 40 เปอรเซ็นต สําหรับสวนแบงการ ตลาดของรถขุดใหมนั้นเปนรถขุดสยามคูโบตาประมาณ 70 เปอรเซ็นต และรถขุดยีห่ อ อืน่ ๆ ประมาณ 30 เปอรเซ็นต จากสวนแบงทางการตลาดทําใหเห็นวาคูโบตาเปนผูน าํ ของ ตลาดรถขุดใหมขนาดเล็กอันดับ 1 ในไทย และคาดการณ วาในอนาคตรถขุดใหมขนาดเล็กจะมีสัดสวนที่เพิ่มสูงขึ้น เนือ่ งจากความตองการของลูกคานิยมใชรถขุดขนาดเล็กใหม มีจํานวนที่เพิ่มสูงขึ้น เพราะคาใชจายในการซอมแซมรถ ขุดมือสองในทองตลาดมีราคาทีใ่ กลเคียงกับการซือ้ รถขุดใหม ศูนยซอ ม การบํารุงรักษา ชาง และอะไหลรถมือสองก็เริ่ม หายากขึ้น” โอภาส กลาว สําหรับรถขุดขนาดเล็กที่สยามคูโบตานําเขามาจัด จําหนายมีฐานการผลิตมาจากเมืองฮิราตะ ประเทศญี่ปุน ซึ่งมีกําลังผลิต 34,000 คันตอป ลาสุดไดขยายฐานการ ผลิตไปที่ยังประเทศเยอรมนีและจีน สําหรับประเทศไทย นั้นหากสรางยอดขายไดตั้งแต 3,000 คันขึ้นไป ทางสยาม คูโบตาทีป่ ระเทศญีป่ นุ จะพิจารณาจัดตัง้ ฐานการผลิตรถขุด ขนาดเล็กในอนาคต คาดวาอีกประมาณ 5 ปจะสามารถ จัดตั้งฐานการผลิตในประเทศไทยได ป จ จั ย ที่ ทํ า ให ต ลาดรถขุ ด ขนาดเล็ ก เติ บ โตอย า ง ตอเนื่องในชวง 2-3 ปที่ผานมานั้น มาจากนโยบายการ ลงทุนการกอสรางโครงสรางพื้นฐานของทางภาครัฐและ ภาคเอกชนทีม่ งี านกอสรางโครงการตางๆ เพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะ การเลือกใชรถขุดขนาดเล็กเขาไปในพืน้ ทีโ่ ครงการกอสราง ที่รถขุดขนาดใหญมากเขาไปไมถึงในพื้นที่จํากัด และใน
สมบูรณ จินตนาผล (ซาย) ผูชวยกรรมการ ผูจัดการใหญและผูจัดการทั่วไป สายงาน ขายและบริการ สยามคูโบตาคอรปอเรชั่น โอภาศ ธันวารชร กรรมการรองผูจัดการใหญ อาวุโส สยามคูโบตาคอรปอเรชั่น
พื้นที่ชุมชชนหนาแน นหนาแนน เช เชน การจั การจัดภูภูมิทัศนนสววนโครงการรถไฟฟ นโครงการ า สวนหน าโครงการบ า โครงการบ า นจั ด สรร การเคลื่ อ นย า ยสิ น ค า ภายใน โรงงานดวยรถขดขนาดเล็ วยรถขุดขนาดเล็ก การทําเสนทางรถมอเตอร ทางรถมอเตอรไซคและ ทางเดินเขาออกในพื้นที่อุโมงครถไฟฟา การเปลี่ยนหมอนไม รางรถไฟจากไมมาเปนคอนกรีต โดยใชรถขุดขนาดเล็กขุดหมอนไม ออกแลวนําคอนกรีตใสเขาไปแทนเพือ่ ลดกําลังคน ลดระยะเวลา การรื้อหมอนไม เปนตน สวนภาพรวมการใชงานทางดานการ เกษตรนั้น ลูกคาที่ประกอบอาชีพการเกษตรทําสวนจะนิยมซื้อ รถขุดใหมไปใชงานในการปรับพื้นที่ ขุดทํารองระบายนํ้า วางทอ ในสวนผลไม สวนยางพารา ลําเลียงไมยางพาราที่ตัดออกจาก บริเวณสวนเพื่อรวบรวมรอขึ้นรถบรรทุกสงจําหนาย โดยเฉพาะ ในพื้นที่ภาคใตและภาคตะวันออกที่เพิ่มสูงขึ้น โอภาส กลาววา นอกจากตลาดการจําหนายรถขุดใหมใน ประเทศไทยแลว ทางสยามคูโบตายังไดขยายตลาดรถขุดขนาดเล็ก ในภูมภิ าคอาเซียน ไดแก ประเทศกัมพูชา เมียนมา ลาว ฟลปิ ปนส และมาเลเซีย ซึง่ มีการเติบโตเพิม่ ขึน้ ทุกๆ ปอยางนอย 10 เปอรเซ็นต ของยอดขายรวมทั้งหมดของรถขุดขนาดเล็กของสยามคูโบตา โดยสยามคูโบตาไดใชกลยุทธการทําตลาด เนนงานกอสรางและ การเกษตรเชนเดียวกับในประเทศไทย และทําตลาดแบบคอยเปน คอยไป พรอมกับการศึกษาพฤติกรรมกลุมลูกคา ความเสี่ยงใน การทําตลาดควบคูกันไปดวย เนื่องจากลูกคาในภูมิภาคอาเซียน มีพนื้ ฐานการซือ้ รถขุดขนาดเล็กใหมทแี่ ตกตางกัน อีกทัง้ พฤติกรรม สวนใหญจะนิยมซื้อเงินสดและผอนสินเชื่อผานตัวแทนจําหนาย ทองถิ่นควบคูกับตัวแทนจําหนายคนไทยเปนหลัก แตมั่นใจวา ตลาดรถขุดขนาดเล็กในภูมิภาคอาเซียนยังมีโอกาส และมีกลุม ลูกคาเฉพาะอีกมาก ดาน สมบูรณ จินตนาผล ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ ผูจัดการทั่วไป สายงานขายและบริการ บริษัท สยามคูโบตา คอรปอเรชัน่ จํากัด กลาววา สยามคูโบตาไดวางกลยุทธทางการ ตลาดภายใตแนวคิด “รถขุดคูโบตา มืออาชีพเพื่องานกอสราง” เนื่องจากสยามคูโบตามีความพรอมทุกดานในการใหบริการดาน
สินคา บริริการ อะไหล และสินเชื่อที่พรอมดูแลลูกคา ทั้งลูกคา ละขยายตลาดไปยังกลุ กลมลูลกค นรปปแบบการ รายเกาและขยายตลาดไปยั กคารายใหม ผานรู จัดกิจกรรมสงเสริมการตลาดในพื้นที่เปาหมายทั่วประเทศและ ในภูมิภาคอาเซียน โดยเฉพาะการบริการหลังการขายที่มีบริการ Beyond Service Checking สําหรับบริการตรวจเช็กฟรี 9 ครั้ง ทุกๆ 250 ชั่วโมง ภายใน 2 ปแกลูกคา นอกจากนีย้ งั ใหบริการชิน้ สวนอะไหลมากกวา 7,000 ชิน้ ที่ศูนยกระจายอะไหลสยามคูโบตา นิคมอุตสาหกรรมนวนคร อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี คอยบริการ Next Day Sevice สําหรับลูกคาที่สั่งซื้ออะไหลวันนี้ จะไดรับการจัดสงถึงลูกคาใน วันถัดไปทั่วประเทศ ในแตละปสยามคูโบตาไดคิดคนนวัตกรรมและพัฒนางาน วิจัยอยางตอเนื่องพรอมกับจัดสรรงบประมาณในการพัฒนา นวั ต กรรมและงานวิจั ยไมนอยกวา 10 เปอรเซ็ นตข องรายได ในแตละป เพื่อสรางสรรคใหเกิดนวัตกรรมและงานวิจัยใหมๆ เชน สยามคูโบตาไดรวมกับ ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและ คอมพิวเตอรแหงชาติ (NECTEC) พัฒนาเครื่อ งฝกขั บ รถขุด คูโบตา Simulator ซึ่งเปนรถขุดเสมือนจริง ฝมือคนไทย 100 เปอรเซ็นต เขามาชวยฝกหัดขับ สอนทักษะการขับ สอนวิธีขับ ทีถ่ กู ตอง เพือ่ ปองกันอุบตั เิ หตุในระหวางการทํางานใหแกพนักงาน ขับของลูกคาที่ซื้อสินคาของสยามคูโบตา เปนตน
ศูนยกระจายอะไหลสยามคูโบตา นิคมอุตสาหกรรมนวนคร จ.ปทุมธานี
79
Engineering Today September - October 2017
Project Management • ดร.พรชัย องควงศสกุล dr.pornchai.ong@gmail.com
ศาสตร์พระราชา กับการพัฒนาที่ยั่งยืน ขอตามรอยพระบาททุกชาติไป เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ (New Management Tools) พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช มหิ ต ลาธิ เ บศรรามาธิ บ ดี จั ก รี น ฤบดิ น ทร สยามิ น ทราธิ ร าช บรมนาถบพิตร เสด็จสวรรคต สิรพิ ระชนมพรรษาปที่ ๘๙ ทรงครอง สิริราชสมบัติได ๗๐ ป พระราชหฤทัยที่ทรงมุงมั่นบรรเทาทุกข พสกนิกร ตามพระราชสัตยาธิษฐานเมื่อครั้งเสด็จขึ้นเถลิงถวัลย ราชสมบั ติ นั่ น คื อ “เราจะปกครองแผ น ดิ น โดยธรรม เพื่ อ ประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม” มีคําถามหนึ่งวา “ทําไม คนไทยรักพระราชาของเขาไดมากขนาดยอมตายแทนได” คําตอบ ก็ คื อ พระราชาทรงหว งใยประชาชนของพระองค และทําเพื่อ บําบัดความทุกขทุกอยางของประชาชนตลอดระยะเวลาที่ทรง ครองราชยกวา ๗๐ ป จึงเปนหนาที่ของคนไทยที่ตองชวยกัน ดําเนินการตามรอยพระบาท หรือ “การเดินตามรอยเทาพอ” ศึกษาแนวทางที่พระองคทานไดทรงงานและวางแนวทางแกไข ปญหาของประชาชนไวทที่ กุ คนรูจ กั กันในนาม “ศาสตรพระราชา” หรือ “ศาสตรแหงพระราชา” ตั้ ง แต วั น ที่ ๒๘ ตุ ล าคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ซึ่ ง เป นวั น แรกที่ สมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอม พระราชทานพระราชานุญาตใหประชาชนเขากราบถวายบังคม พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวัง สํานักพระราชวัง สรุปยอดรวมประชาชนที่เดินทางมา กราบถวายบังคมพระบรมศพ จนถึงวันที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ รวม ๓๒๕ วั น มีประชาชนเขา กราบถวายบัง คมพระบรมศพ จํานวน ๑๑,๑๓๓,๖๙๑ คน และมีประชาชนถวายเงินเพื่อรวม บําเพ็ญพระราชกุศล เปนเงินทั้งสิ้น ๘๒๐,๓๒๔,๗๐๑ บาท ๕๑ สตางค บางวันมีประชาชนเขากราบถวายบังคมพระบรมศพมาก ถึง ๖๙,๐๐๐ กวาคน ใชเวลาในการรอเขาเฝากวา ๑๒ ชั่วโมง ในการคอยเวลาการเคลือ่ นขบวนทามกลางความรอน สายฝนและ แสงแดด ซึ่งหมายถึงผูใหญ เด็ก และคนชราที่แสดงความเพียร วิริยะ อุตสาหะ เพื่อใหครั้งหนึ่งในชีวิตไดใกลชิดพระมหากษัตริย อั น เป น ที่ รั ก ยิ่ ง ได ม ากที่ สุ ด เพื่ อ ถวายอาลั ย รั ก ความศรั ท ธา และความจงรักภักดีตอเบื้องพระบรมศพดวยตนเอง มีคําๆ หนึ่ง ที่ทุกคนพูดเหมือนกันวา ขอไดเขากราบถวายบังคมพระบรมศพ สักครั้งหนึ่ง แมวาจะตองลําบากสักเพียงใดความลําบากนั้นมิได เศษเสี้ยวในความรักและความลําบากของพระองคที่ทรงมอบให กับประชาชนกวา ๗๐ ป ทุกกาวเดินจึงมุงมั่นอยางไมทอเพื่อได
Engineering Today September - October 2017
82
เขากราบถวายบังคมพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชเปนครั้งสุดทายในชีวิต “พระมหาชนก” บทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช “พระมหาชนก” เปนพระราชนิ พนธในพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระองคทรงเริ่มคนควาเรื่อง พระมหาชนกจากพระไตรปฎกในปพทุ ธศักราช ๒๕๒๐ หลังจากที่ ได ท รงสดั บ พระธรรมเทศนาของสมเด็ จ พระมหาวี ร วงศ (วิน ธมฺมสาโร มหาเถร) แหงวัดราชผาติการาม เรือ่ งพระมหาชนก แสดงใหเห็นถึงการบําเพ็ญวิริยบารมีของพระมหาชนก ซึ่งมีคติที่ ชัดเจนและนาจะเปนประโยชนอยางมหาศาลแกชนทุกหมูเหลา จึงทรงเก็บใจความสําคัญของเรื่องมาทรงพระราชนิพนธเปน สํานวนทีท่ นั สมัย ดัดแปลงแกไขเรือ่ งตอนทายในคติธรรมเกีย่ วกับ การศึกษาเพิ่มเติม ซึ่งพระราชนิพนธพระมหาชนก ทรงแปลจาก ตนฉบับในพระไตรปฎก (พระไตรปฎกเลมที่ ๒๘ พระสุตตันตปฎก เลมที่ ๒๐ ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๒) ทรงดัดแปลงเล็กๆ นอยๆ ใหเขาใจงายขึ้น พระราชนิพนธพระมหาชนก เปนหนังสือที่ สวยงาม มีภาพประกอบศิลปะไทยรวมสมัยที่งดงามดวยศิลปน ทีม่ ฝี ม อื ยอดเยีย่ ม สามารถใหประชาชนเขาใจไดอยางงาย ทรงใช ระยะเวลาคนควาและพระราชนิพนธประมาณ ๑๙ ป ตั้งแตป พุทธศักราช ๒๕๒๐ จนถึ งปพุทธศักราช ๒๕๓๙ จึงแลวเสร็จ สมบูรณออกสูสายตาพสกนิกรไทยและชาวตางชาติในวโรกาส เฉลิมฉลองกาญจนาภิเษกแหงรัชกาล ซึ่งไดรับการตอนรับและ เปนที่ชื่นชมแกผูที่ไดพบเห็นเปนอยางมาก ขอคิดที่ไดจากเรื่อง คือความเพียร ความพยายาม ความ กลาที่จะลงมือทํา เปนแนวทางใหดําเนินไปสูความสําเร็จตาม วัตถุประสงค กลาเผชิญกับความทุกขยาก ปญหาและอุปสรรคที่ จะเกิด ขึ้น หากมีอุปสรรคขอขัด ของใดๆ ไมยอทอ ไมสิ้นหวัง เดินหนาเรื่อยไปจนกวาจะบรรลุเปาหมายคือความสําเร็จ ดังเชน พระมหาชนกที่มีความเพียร อดทน วายนํ้าในทะเลนาน ๗ วัน ๗ คืน โดยมิไดยอทอ พระราชนิพนธพระมหาชนกมีเนื้อเรื่องกลาวถึง พระเจา มหาชนก กษัตริยแหงกรุงมิถิลา มีพระราชโอรสสองพระองค พระนามวา อริฏฐชนก และ โปลชนก เมื่อสวรรคตแลว พระอริฏฐ ชนกไดครองราชสมบัตแิ ละทรงตัง้ พระโปลชนกเปนอุปราช อํามาตย
ผู ใ กล ชิ ด ได ก ราบทู ล ใส ร า ยว า พระอุ ป ราชโปลชนกคิ ด ไม ซื่ อ พระอริฏฐชนกก็หลงเชือ่ สัง่ จองจําพระโปลชนก แตพระโปลชนก ตัง้ จิตอธิษฐานและหลบหนีไปได ภายหลังไดรวบรวมพลมาทารบ และเอาชนะไดในที่สุด พระอริฏฐชนกสิ้นพระชนมในสนามรบ พระเทวีทกี่ าํ ลังทรงครรภจงึ ปลอมตัวหนีไปจนถึงเมืองกาลจัมปากะ ตอมามีพระประสูติกาล ตั้งพระนามพระโอรสตามพระอัยกาวา “มหาชนก” จวบจนกระทั่ ง มหาชนกเติ บ ใหญ และได ท ราบ ความจริง ก็คิดจะไปเอาราชสมบัติคืน ระหวางทางในมหาสมุทร เรือเจอพายุจนลมลง ลูกเรือตายหมดเหลือแตพระมหาชนกรอด ผูเ ดียว ทรงอดทนวายนํา้ ในมหาสมุทรดวยความเพียร ๗ วัน ๗ คืน จนไดพบนางมณีเมขลา ในทีส่ ดุ นางมณีเมขลาไดอมุ พระมหาชนก ไปสงยังมิถิลานคร ฝายมิถลิ านคร พระโปลชนกไดสวรรคตเหลือเพียงพระราช ธิดานาม “สีวลีเทวี” กอนสวรรคตทรงตั้งปริศนาเรื่องขุมทรัพยทั้ง ๑๖ ไวสําหรับผูจะขึ้นครองราชยตอไป แตไมมีผูใดไขปริศนาได เหลาอํามาตยจงึ ไดประชุมกันแลวปลอยราชรถ ราชรถก็แลนไปยัง ที่มหาชนกประทับอยู พระองคทรงไขปริศนาตางๆ ได เหลา อํามาตยจึงเชิญเสด็จขึ้นครองราชยและอภิเษกกับสีวลีเทวี และ ทรงครองราชสมบัติ โดยธรรม การบํา เพ็ญเพีย รวิริ ยบารมี ใน พระชาติพระมหาชนกยิ่งใหญมาก เพราะเปนการบําเพ็ญเพียร โดยไมหวังผลตอบแทนใดๆ ยิ่งกวานั้นทรงใชความเพียรเพื่อ มุงหวังความเจริญมั่งคั่งใหกับกรุงมิถิลาดวยพระปรีชา นําพา ปวงราษฎรผาสุกสืบตอมา ทศชาติแห่งพระบารมี ทศชาติ ช าดก หรือ พระเจา ๑๐ ชาติ เปน ชาดกที่สํ าคัญ กลาวถึงการบําเพ็ญบารมีใน ๑๐ ชาติสุดทายของพระโพธิสัตว กอนจะเสวยพระชาติมาเกิดเปนพระโคตมพุทธเจา หรือเจาชาย สิทธัตถะแหงศากยวงศ ชาดกทั้ง ๑๐ เรื่อง ประกอบดวย ชาติที่ ๑. ปฐมชาติ พระเตมีย เพื่อบําเพ็ญเนกขัมมบารมี เพือ่ ละหนาทีก่ ษัตริยท ตี่ อ งใหคณ ุ ใหโทษจากการปกครอง บานเมือง จึงแสรงเปนคนใบ ชาดกเรื่องนี้ใหคติวา “แมจะตองรอเวลา แตถา มีความมุง มัน่ แลว ก็จะประสบ ความสําเร็จได” ชาติที่ ๒. ทุติยชาติ พระมหาชนก เพื่อบําเพ็ญวิริยบารมี วายนํ้า ๗วัน ๗ คืนในมหาสมุทร ชาดกเรื่องนี้ใหคติวา “ความมุงมั่นพากเพียร จะนําไปสูความสําเร็จ” ชาติที่ ๓. ตติยชาติ พระสุวรรณสาม เพื่อบําเพ็ญเมตตา บารมี กตัญู กตเวทีตอบุพการี แมถูกทํารายจากผูอื่นก็ไม โกรธศัตรู ชาดกเรื่องนี้ใหคติวา “ผูที่มีเมตตาคือผูที่มีความรักและปรารถนาดี ใหแกทั้ง ผูที่เปนมิตรและศัตรู” ชาติที่ ๔. จตุตถชาติ พระเนมิราช เพื่อบําเพ็ญอธิษฐาน บารมี บําเพ็ญทานและรักษาศีล ชาดกเรื่องนี้ใหคติวา
“ผูประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่ดี ยอมไดรับผลแหงความดี นั้นในที่สุด” ชาติที่ ๕. ปญจมชาติ พระมโหสถ เพื่อบําเพ็ญปญญา บารมี มีปญญาลํ้าแกไขปญหา ชาดกเรื่องนี้ใหคติวา “ปญญาลํ้าเลิศ ยอมประเสริฐกวามีทรัพยนับแสน” ชาติที่ ๖. ฉัฐมชาติ พระภูริทัต เพื่อบําเพ็ญศีลบารมี แมถกู เบียดเบียนใหทกุ ขทรมานปางตาย ก็ไมทาํ รายผูท ี่ มาทรมานนั้น ชาดกเรื่องนี้ใหคติวา “ผูตั้งมั่นอยูในศีล แมจะมีอุปสรรคมากมาย แตสุดทาย ยอมประสบความสําเร็จ” ชาติที่ ๗. สัตมชาติ พระจันทกุมาร เพือ่ บําเพ็ญขันติบารมี ขันติธรรม ความอดทนเปนเลิศ ชาดกเรื่องนี้ใหคติวา “จงเอาชนะความชั่วของผูอื่นดวย ความดีของตน” ชาติที่ ๘. อัฐมชาติ พระนารทพรหม เพือ่ บําเพ็ญอุเบกขา บารมี ใชป ญญาอั นลึกซึ้ง เชื่ อกฎแหงกรรม การเวียนว าย ตายเกิด ชาดกเรื่องนี้ใหคติวา “การทําความดียอ มไดผลดี การทําความชัว่ ยอมไดผล ชั่วตอบแทน และ การคบคนยอมสงผลดีเลวใหกับ บุคคลนั้นดวย” ชาติที่ ๙. นวมชาติ พระวิธรู บัณฑิต เพือ่ บําเพ็ญสัจจบารมี นักปราชญ วาจาไพเราะ ฉลาด หลักแหลม ชาดกเรือ่ งนี้ ใหคติวา “ผูที่มีสัจจะตอตนเองและผูอื่น ยอมพนภัยไดเสมอ” ชาติที่ ๑๐. ทศชาติ พระเวสสันดร เพื่อบําเพ็ญทานบารมี ทานบารมีสงู สุด เมตตาและกรุณา ชาดกเรือ่ งนีใ้ หคติวา “การสรางทาน เปนบารมีแกตน” คําวา ชาตก หรือ ชาดก แปลวา ผูเกิด คือเลาถึงการที่ พระพุทธเจาทรงเวียนวายตายเกิด ถือเอากําเนิดในชาติตางๆ ได พบปะผจญกับเหตุการณดีบางชั่วบาง แตก็ไดพยายามทําความดี ติ ด ตอกันมากบางนอยบางตลอดมา จนเปนพระพุ ท ธเจาใน ชาติสดุ ทาย กลาวอีกอยางหนึง่ จะถือวาเรือ่ งชาดกเปนวิวฒ ั นาการ แหงการบําเพ็ญคุณงามความดี ของพระพุทธเจาตั้งแตยังเปน พระโพธิสัตวอยู “วิริยบารมี” เพื่อแก้ทุกข์สร้างความผาสุกแก่พสกนิกร ชาวไทย “พระมหาชนก” เปนชาดกที่สามารถนํามาใชเพื่อการขจัด ความทุกข ดังที่พระพุทธเจาตรัสไววา “วิริเยน ทุกฺขมจฺเจติ” กลาว คือ “บุคคลลวงทุกขไดดวยความเพียร” แตความเพียรในทาง พระพุทธศาสนามีความหมายลึกซึ่งในความเพียรพยายามระวัง ไมใหบาปเกิดขึ้นภายในจิตสันดาน ความเพียรในการละบาป ความเพียรทีใ่ หกศุ ลเกิดขึน้ ในสันดาน และความเพียรในการรักษา ความดีใหเพิ่มพูนมากขึ้น ความเพียรสามารถขจัดความทุกขได จริงแทแนนอน
83
Engineering Today September - October 2017
ซึง่ คําวา “ทุกข” ในนิยามของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช นั้นคือความทุกขของราษฎรที่ยังยากจนอยู จํานวนมาก มิใชความทุกขของพระองคเอง พระองคทานทรง ทุมเทพระราชหฤทัยและพระวรกายทรงงานหนักตลอด ๗๐ ป ก็ เพือ่ หาทางบรรเทาทุกข ใหเกิดประโยชนสขุ แกพสกนิกร เพือ่ ลูกๆ ของพระองค ดวยความหมายของคําวา “บุคคลลวงทุกขไดดว ยความเพียร” จึงเปนศาสตรพระราชา ผานพระราชนิพนธพระมหาชนกมีเนื้อ เรือ่ งแสดงถึงวิรยิ บารมีธรรม ทีพ่ ระองคตอ งการสือ่ สารกับประชาชน ถึงความเพียรและแฝงดวยธรรมะอีกประการ กลาวคือ อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ “ตนแลเปนที่พึ่งแหงตนเอง” นั่นคือการหลุดพน จากทุกขไดยอมเกิดขึ้นจากความเพียรวิริยะพยายามลงมือทํา ดวยตนเอง “เราจะปกครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่ง มหาชนชาวสยาม” เมื่อประมวลพระราชกรณียกิจในพระองคที่ทรงทําเพื่อ ประชาชน ตามพระราชสัตยาธิษฐานเมื่อครั้งเสด็จขึ้นเถลิงถวัลย ราชสมบั ติ นั้ น คือ “เราจะปกครองแผนดินโดยธรรม เพื่อ ประโยชนสขุ แหงมหาชนชาวสยาม” สิง่ ทีค่ น พบไดอกี ประการหนึง่ คือการดําเนินตามพระธรรมอันเปนความจริงอันประเสริฐสุดคือ อริยสัจ ๔ กลาวคือ ๑. ทุกข ความทุกขและปญหาของประชาชน คือความ ยากจนไรโอกาส ซึง่ ในหลวง รัชกาลที่ ๙ ทรงมีความเขาใจในทุกข ของทวยราษฎรเปนอยางดี และเขาใจลึกซึง้ ถึงปญหาในความทุกข ความเปนอยูของประชาชน ๒. สมุทัย สาเหตุแหงทุกข การเสด็จพระราชดําเนินใน
ทุกข
ความยากจนของคนไทย
ศาสตรพระราชา พระองคทรงงานที่สําคัญ จะตองประกอบดวย “การเขาใจ เขาถึง พัฒนา“
สมุทัย
๗๐ ป ทรงครองราชย รอยพระบาททั่วปฐพี พุทธจริยศาสตร ของในหลวง ๑. ทรงรอบรู จากการศึกษา ๒. ทรงมีความละเอียด จากผูเชี่ยวชาญ ๓. ทรงมีความรอบคอบ จากขอมูลจริง ๔. ทรงมีความตั้งใจ จากความวิริยะ
เสด็จพระราชดําเนิน ถึงพื้นที่
Engineering Today September - October 2017
พืน้ ทีป่ า เขาลําเนาไพรในถิน่ ทุรกันดาร การเสด็จเยีย่ มราษฎร มิใชเปน การเสด็จเพื่อความสําราญพระราชฤทัย แตพระองคมีพระราช ประสงค ที่จะไดรับรูความจริงจากสายพระเนตรของพระองคเอง ทุกเรือ่ งราวทุกสถานทีท่ พี่ ระองคเสด็จฯ จะถูกบันทึกเปนลายลักษณ อั ก ษรและทรงบั น ทึ ก เป น ภาพถ า ยด ว ยพระองค ทรงเตรี ย ม โครงการพรอมดวยหลักภูมศิ าสตร ประชากรศาสตร ความเปนอยู และอาชีพ ทุกกาวรอยพระบาทพระองคทรงตามหาความจริง ดวยพระองคเอง เพื่อหาความจริงของสาเหตุแหงทุกขของทวย ราษฎรดวยพระองคเอง ๓. นิโรธ ความจริงวาดวยความดับทุกข การทําใดๆ อัน เปนประโยชนในความสุขของประชาชน คือการแกไขปญหาความ ยากจนที่ ร ากฐาน พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุลยเดชเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ ทรงขึ้นครองราชยเปน รัชกาลที่ ๙ แหงราชวงศจักรีเมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ตอมาทรงประกอบพระราชพิธบี รมราชาภิเษกเมือ่ วันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ ในวโรกาสมหามงคลนี้ พระองค ทรงตั้ งพระราช สัตยาธิษฐานและทรงประกาศพระปฐมบรมราชโองการ ณ พระทีน่ งั่ ไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง เมือ่ วันศุกรที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ วา “เราจะปกครองแผนดินโดยธรรม เพื่อประโยชน สุขแหงมหาชนชาวสยาม” ตลอดนับแตนั้นเปนตนมาพระองค ทรงงานหนักตามพระราชสัตยาธิษฐานที่ใหกับปวงชนชาวไทย ๔. มรรค หนทางแหงการดับทุกข ทรงนําสิ่งที่ไดมีเพื่อ การศึ ก ษาถึ ง โครงการที่ จ ะช ว ยบรรเทาทุ ก ข ทรงหาความรู ปรึกษาผูเ ชีย่ วชาญในแตละแขนงเพือ่ ใหไดมาโดยละเอียดรอบคอบ สถานที่ทรงงานของพระองคมิใชโตะทํางาน แตคือพื้นหองที่ทรง งานกับเหลาผูเชี่ยวชาญแตละสาขา หลักการทรงงานคือ “ทุกข ของประชาชน ไมมีวันหยุด” พระองคทรงงานไมมีวันหยุด ไมมี
มรรค
วิริเยน ทุกฺขมจฺเจติ บุคคลลวงทุกขไดดวย ความเพียร
ศาสตรพระราชาเศรษฐกิจพอเพียง ๑.ความพอประมาณ ๒.ความมีเหตุผล ๓.ภูมิคุมกัน
พระองคทรงพัฒนาทรัพยากรชาติ ๑.มนุษย ความรู ความคิด ๒.แหลงนํ้า การกักเก็บนํ้า
นิโรธ
ประโยชนสุขของชาวสยาม
84
เวลาแหงการพักผอน เพราะทุกขของประชาชนไมมีวันหยุด โดย ใชหลักอริยมรรคมีองค ๘ อันมี ๑. สัมมาทิฏฐิ (เห็นชอบ) ๒. สัมมา สังกัปปะ (ดําริชอบ) ๓. สัมมาวาจา (เจรจาชอบ) ๔. สัมมากัม มันตะ (กระทําชอบ) ๕. สัมมาอาชีวะ (เลี้ยงชีพชอบ) ๖. สัมมา วายามะ (พยายามชอบ) ๗. สัมมาสติ (ระลึกชอบ) ๘. สัมมา สมาธิ (ตัง้ จิตมัน่ ชอบ) เปนหลักธรรมในการทรงงาน เพือ่ ใหมาซึง่ การประมวลความรู ความละเอียด ความรอบคอบ และความตัง้ ใจ มรรคที่พระองคทรงแสดงใหเห็นเดนชัดในการแกไขปญหา ตางๆ คือการลงมือทําเปนแบบอยาง ไมวาจะเปนเรื่องการทรง งานโครงการตามพระราชดําริ พระจริยวัตรในการดําเนินชีวิต ทรงเปนตนแบบในมรรคาการปฏิบัติ ทรงเปน “ผูนําทาง” ให ประชาชนและขาราชบริพาร มากกวาเปน “ผูชี้ทาง” ทุกโครงการ ทีพ่ ระองคทรงงาน เราจะเห็นรอยพระบาทของพระองคทกี่ า วเดิน ตามวิถีที่พระองคนํา ดังตัวอยางเชน ๔.๑ การแก ไขปญ หาของแหล งนํ้า การบริห ารจัด การ แหลงนํา้ การรักษาผูป ว ยยากไร โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราช ดํ า ริ ตั้ ง แต พ.ศ. ๒๔๙๕-๒๕๕๖ มี โ ครงการทั้ ง หมด ๔,๔๔๗ โครงการ (ขอมูลสํานักงาน กปร. ณ เดือนกันยายน ๒๕๕๖) แบง เปนโครงการพัฒนาทรัพยากรนํ้า ๓,๐๓๑ โครงการ สิ่งแวดลอม รวมถึงการอนุรักษปา ๑๕๙ โครงการ การเกษตร ๑๖๕ โครงการ การพัฒนาโอกาสในการประกอบอาชีพ ๓๒๕ โครงการ สวัสดิการ สังคมและการศึกษา ๓๙๕ โครงการ การคมนาคมสื่อสาร ๗๗ โครงการ สาธารณสุข ๕๕ โครงการ และโครงการพัฒนาและ บูรณาการอื่นๆ อีก ๒๔๐ โครงการ ธ ทรงงานเพื่อประโยชนสุข แหงมหาชนชาวสยามโดยแทจริง พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรงสงเสริมการเกษตรดวย “โครงการฝนหลวง” ที่คนไทยทุก วันนีร้ ูจักกันดี โครงการนี้ถือกําเนิดขึ้นมาจากแนวพระราชดําริ ที่ ไ ด จ ากการเสด็ จ เยี่ ย มราษฎรในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ เมือ่ พ.ศ. ๒๔๙๘ ดังพระราชบันทึกตอนหนึ่งวา “ขณะนั้นขาพเจา ไดแหงนดูทองฟา และพบวามีเมฆจํานวนมาก แตเมฆเหลานั้น พัดผานพืน้ ทีแ่ หงแลงไป วิธแี กไขอยูท วี่ า จะทําอยางไร ทีจ่ ะทําให เมฆเหลานั้นตกลงมาเปนฝนในทองถิ่นนั้น ความคิดนั้นเปนจุด เริ่มตนของโครงการทําฝนเทียม ซึ่งประสบความสําเร็จในอีก ๒-๓ ปตอมาในภายหลัง” โครงการฝนเทียมจึงเปนโครงการหนึ่ง ทีแ่ สดงใหเห็นวา ทรงใสพระราชหฤทัยและมองหาการแกไขปญหา แหลงนํ้า แมกระทั่งละอองนํ้าที่เปนเมฆอยูบนทองฟา พระองค ทรงเห็นและทรงลงมือปฏิบตั จิ ริงดวยการศึกษา ทดลอง และวาง แผนงานดวยพระองคเอง นํา้ จากฟากฟาทีไ่ หลรินลงมาสูแ ผนดิน อันแหงแลงไดจริงเหนือปาฏิหาริย การหาแหลงนํ้าที่เปนโครงการในพระราชดําริในหลวง รัชกาลที่ 9 ทรงเปน “ผูน าํ ทาง” ในการดําเนินการจัดสรรทรัพยากร นํ้าใหกับแผนดินและเราชาวสยาม ๔.๒ การปกครองแผนดินโดย “ธรรม” หนึง่ ในพระจริยวัตร งดงามสําคัญแหงองคกษัตริยท พี่ ระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา
ภูมพิ ลอดุลยเดช ทรงดํารงพระองคดว ยอยางเพียบพรอมในคําวา “ธรรม” บนแนวแหงธรรมะของพระราชาที่องคสมเด็จพระสัมมา สัมพุทธเจาตรัสสอนแกเจาผูครองนคร อันควรพึงยึดถือเปนขอ ปฏิบัติ ๑๐ ประการเรียกวา “ทศพิธราชธรรม” พระองคผูทรง คุณประเสริฐของปวงชนชาวไทยไดทรงถือเปนหลักปฏิบัติในการ ปกครองพระราชอาณาจั กร ให พสกนิ กรของพระองคอยู เย็น เปนสุข เปนทีป่ ระจักษตา ประจักษใจแกชนชาวโลกเสมอมา เปน จริยศาสตรพระราชา ที่ปวงประชานอมนํามาปฏิบัติ ตามรอยที่ พอสอน ดังปรากฏในพระราชดํารัสของพระองคทที่ รงพระราชทาน แก ค ณะบุ ค คลต า งๆ พระบรมราโชวาทในพิ ธี พ ระราชทาน ปริญญาบัตรแกมหาวิทยาลัย ฯลฯ อันเปนแนวทางที่พอใหไว โดยเฉพาะพระราชนิพนธ “พระมหาชนก” ที่ทรงใหพึงระลึกถึง ความเพียร วิริยะ อุตสาหะ เปนที่ตั้งในการฟนฝาอุปสรรคใดๆ ทั้งปวง เพื่อการพนทุกขไดดวยตนเอง ๔.๓ ศาสตรพระราชา “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” คือ ความพอประมาณ ทีห่ มายถึงความพอดีทไี่ มนอ ยเกินไปและ ไมมากเกินไป โดยไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น เชน การผลิต และการบริ โ ภคที่อยูในระดั บ พอประมาณ ความมีเ หตุผล ที่ หมายถึงการตัดสินใจเกีย่ วกับระดับความพอเพียงนัน้ จะตองเปน ไปอยางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจ จัยทีเ่ กีย่ วของ ตลอดจน คํานึงถึงผลทีค่ าดวาจะเกิดขึน้ จากการกระทํานัน้ ๆ อยางรอบคอบ ความมีภมู คิ มุ กัน ทีห่ มายถึงการเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงดานตางๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคํานึงถึงความ เปนไปไดของสถานการณตา งๆ ทีค่ าดวาจะเกิดขึน้ ในอนาคต เปน “มัชฌิมาปฏิปทา” ทางสายกลางในการดําเนินชีวิต พระองคทรงวางแนวทางทัง้ เปนรูปธรรมคือโครงการตาง ๆ และนามธรรม คือคําสอน ความรู แนวคิดและปรัชญาในการ ดําเนินชีวิต ซึ่งเปนสิ่งที่ตองมี “ประโยชนสุข” ซึ่งความหมายของ คําวาประโยชนสุขคือความสุขที่สามารถสรางความยั่งยืนถาวร ในอนาคต พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช ทรงเปน แบบอยางของ “ผูนํ าทาง” กระบวนความรู ของพอ แห ง แผ น ดิ น ด ว ย “ศาสตร พ ระราชา” ทรงเป น แบบอย า ง ในการปฏิบตั ติ นใหถงึ พรอมในธรรม พระองคทรงเปนพระราชา ที่ ท รงพระเมตตากรุ ณ าและมอบความรั ก ความปรารถนาดี ที่ปวงชนชาวไทยจักตองระลึกไวในดวงใจชั่วนิรันดร สํานักพระราชวังไดออกประกาศเรื่องการเขากราบถวาย บั ง คมพระบรมศพพระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ล อดุ ลยเดช วาสมเด็ จ พระเจาอยูหั วทรงพระกรุ ณาโปรดเกลา โปรดกระหมอมใหเลื่อนกําหนดการวันสุดทายของการกราบ ถวายบังคมพระบรมศพ โดยจะเปดใหประชาชนเขากราบถวาย บังคมพระบรมศพ ไดจนถึงวันที่ ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เวลา ๒๔.๐๐ นาฬกา ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ นอมสํานึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ เปนลนพนอันหาทีส่ ดุ มิได ขาพระพุทธเจา ดร.พรชัย องควงศสกุล
85
Engineering Today September - October 2017
Focus
PTTGC ผนึกกําลัง ซันโยเคมิคอล และ โตโยต้าทูโช จัดตั้งบริษัท GC Polyols
ผลิตและจําหนายโพลีออลส ตอยอดธุรกิจ สูอ ุตสาหกรรมแหงอนาคต (New S-Curve)
PTTGC จับมือพันธมิตรยักษใหญจากญีป่ นุ Sanyo Chemical Industries และ Toyota Tsusho Corporation ในกลุม บริษทั โตโยตา จัดตัง้ บริษทั GC Polyols เพือ่ ผลิตและจัดจําหนายโพลีออลส (Polyols) ซึง่ ใชเปนวัตถุดบิ หลักสําหรับการผลิตโพลียรู เี ทน นับเปนกาวทีส่ าํ คัญ ของ PTTGC ในการเดินหนาโครงการปโตรเคมีในพื้นที่ Eastern Economic Corridor (EEC) พรอมตอยอดธุรกิจสูอุตสาหกรรมแหง อนาคต (New S-Curve) ตามนโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาล สุพฒ ั นพงษ พันธมเี ชาว ประธานเจาหนาทีบ่ ริหารและกรรมการ ผูจ ดั การใหญ บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จํากัด (มหาชน) ลงนาม ในสัญญารวมทุนกับ Dr.Takao Ando, President, Sanyo Chemical Industries, Ltd. (SCI) บริษัทดานเคมีภัณฑชั้นนําของญี่ปุน และ Mr. Soichiro Matsudaira, Representative Director, Member of the Board, Executive Vice President, Chief Division Officer of Chemicals & Electronics Division, Toyota Tsusho Corporation (TTC) ในโครงการ Polyols & PU System รวมลงทุนจัดตั้ง บริษัท GC Polyols เพื่อผลิตและจัดจําหนายโพลีออลส (Polyols) โดยมี สัดสวนการถือหุนประกอบดวย PTTGC 82.1% SCI 14.9% และ TTC 3% ตามลําดับ โครงการรวมทุนในครั้งนี้ นับเปนกาวที่สําคัญของ PTTGC ที่จะ เขาสูอ ตุ สาหกรรมแหงอนาคต (New S-Curve) ตามนโยบายของรัฐบาล เพื่ อ มุ ง สู Thailand 4.0 ที่จ ะสามารถตอยอดการดําเนินธุร กิจไปสู
Engineering Today September - October 2017
86
Performance Chemical เปนการเพิม่ มูลคาของผลิตภัณฑ สอดคลองตามแผนกลยุทธและทิศทางการดําเนินงานของ บริษัทฯ โดยมุงเนนที่จะขยายธุรกิจเพื่อตอบสนองความ ตองการทีเ่ พิม่ ในภาคอุตสาหกรรมยานยนต เครือ่ งใชไฟฟา และอิเล็กทรอนิกส (E&E) และอุตสาหกรรมวัสดุกอสราง สําหรับโรงงานผลิตโพลีออลส ตั้งอยูบนพื้นที่กวา 200 ไร ในนิคมเหมราชตะวันออก จังหวัดระยอง ซึ่งเปน พื้ น ที่ ก ารลงทุ น ภายในเขตระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาค ตะวันออก (Eastern Economic Corridor- EEC) โดย โรงงานมีกําลังการผลิตโพลีออล 130,000 ตันตอป และ PU Systems กําลังการผลิต 20,000 ตันตอป จะเริ่มการ กอสรางในเดือนกันยายน 2560 คาดวาจะผลิตเชิงพาณิชย ไดประมาณป 2563 โดยโครงการดังกลาวจะสรางรายได ปละ 1 หมื่นลานบาท ทําให PTTGC ดําเนินการผลิต ปโตรเคมีสายเอทิลีนไดครบวงจร ภายใตการรวมลงทุน PTTGC จะเปนผูจ ดั หาวัตถุดบิ หลัก Propylene Oxide (PO) และ Ethylene Oxide (EO) ซึ่งเปนวัตถุดิบหลักในการผลิตโพลีออลส สําหรับใชในการ ผลิตโพลียรู เี ทนคุณภาพสูงทีใ่ ชอยางแพรหลายในอุตสาหกรรม ยานยนต อิเล็กทรอนิกสและอุปกรณไฟฟา (E&E) และ อุตสาหกรรมกอสราง โดย SCI จะเปนผูถ า ยทอดเทคโนโลยี การผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑโพลีออลส ประเภทตางๆ เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคา สวน TTC จะให การสนั บ สนุ นดานการตลาด ทําใหส ามารถเจาะตลาด รถยนตญี่ปุนได รวมทั้งการจัดจําหนายและการบริหาร จัดการดานโลจิสติกสในทวีปเอเชีย ดวยความรวมมืออัน แข็งแกรงของ 3 พันธมิตร จะทําใหโครงการมีศักยภาพใน การแขงขันในภูมิภาคนี้ยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังมีสถาบันการเงินชั้นนํา ประกอบดวย ธนาคารกรุงไทย ธนาคารแลนดแอนดเฮาส ธนาคารธนชาติ และธนาคารเกียรตินาคิน ใหการสนับสนุนโครงการใน วงเงินลงทุน 23,100 ลานบาท โดยเปนกลุมธนาคารที่ เขาใหการสนับสนุนการลงทุนโครงการระเบียงเศรษฐกิจ ภาคตะวันออก (EEC) ซึง่ เปนสวนสําคัญของยุทธศาสตรชาติ Thailand 4.0 อีกดวย ปจจุบนั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล ดําเนินธุรกิจปโตรเคมี และเคมีภัณฑ โดยมีธุรกิจหลัก 8 กลุม ปจจุบันมีกําลัง การผลิต ปโ ตรเคมีและเคมีภั ณฑรวม 9.2 ล านตั นตอป และมี กํ า ลั ง การกลั่ น นํ้ า มั น ดิ บ และคอนเดนเสทรวม 280,000 บารเรลตอวัน นอกจากนี้ บริษทั ฯ ใหความสําคัญ ตอการลงทุนเพื่อขยายธุรกิจสูธุรกิจเคมีภัณฑชนิดพิเศษ (Performance and Specialties Chemicals)
Focus
วอลโว่เปิดตัว เอ็มดีคนใหม่
พร้อมนําทัพ “วอลโว่”
สูแบรนดรถยนตพรีเมียมที่โตเร็วที่สุดในไทย วอลโว แบรนดรถยนตหรูสัญชาติสวีเดนเปดตัว มร.คริส เวลส (Mr. Chris Wailes) กรรมการผูจัดการ บริษทั วอลโว คาร (ประเทศไทย) จํากัด คนใหม ซึง่ เขามา รับตําแหนงเมือ่ วันทีี่ 1 มิถนุ ายน 2560 พรอมชูเปาหมาย ใหวอลโวเปนแบรนดรถยนตพรีเมียมที่เติบโตเร็วที่สุดใน ประเทศไทย ซึง่ ถือเปนภารกิจทาทาย ภายใตกลยุทธ 3 ดาน มร.คริส เวลส กรรมการผูจัดการ บริษัท วอลโว คาร (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา วอลโวเปนแบรนดรถยนตหรู สัญชาติสวีเดนที่คนทั่วโลกรูจักมายาวนานกวา 90 ป ดวย ศักยภาพและจุดแข็งทีช่ ดั เจนในการเปนผูน าํ ระดับโลกดาน วัตกรรมความปลอดภัยทีป่ กปองทุกชีวติ บนทองถนนทําให ไดรับความเชื่อถือและไววางใจจากลูกคาวอลโวทั่วโลก สําหรับในประเทศไทยเราจัดเปนแบรนดรถหรูอันดับที่ 3 ทัง้ นีเ้ ราไดวางเปาหมายชัดเจนวา วอลโวจะเปนแบรนดรถยนต พรีเมียมที่เติบโตเร็วที่สุดในประเทศไทย ซึ่งถือเปนภารกิจ ทาทายทีว่ อลโวจะขับเคลือ่ นใหธรุ กิจเติบโตดวยการนําเสนอ ประสบการณใหมที่เหนือใครแกลูกคาในประเทศไทย สําหรับแผนดําเนินการในปนเี้ ราไดปรับแผนใหสอดรับ กับกระบวนการในการซื้ อ สิน คา และบริ การ พฤติกรรม ผูบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปทําใหการซื้อสินคาในปจจุบันก็ เปลีย่ นไปดวย จะพบวามีชอ งทางในการซือ้ ขายใหมๆ เกิดขึน้ คนสวนใหญนิยมซื้อสินคาผานระบบออนไลนและผาน สมารทโฟนมากขึ้น มร.คริส เวลส กลาววา เพือ่ จัดการกับสภาพแวดลอม ทางการตลาดทีเ่ ปลีย่ นไป วอลโวจะสรางประสบการณใหมๆ โดยผานเทคโนโลยีสมัยใหมเขามามีสว นรวม ทีจ่ ะทําใหเรา เขาถึงลูกคาและใหบริการไดใกลชดิ ขึน้ เพือ่ มอบประสบการณ และมาตรฐานการบริการที่เหนือระดับในการใหบริการ โดยแบงกลยุทธออกเปน 3 ดาน ดังนี้ 1) กลยุทธดานงานขาย โดยตั้งเปาหมายที่จะเปน แบรนด อั น ดั บ หนึ่ ง ในการสร า งความพึ ง พอใจแก ลู ก ค า ผานทางผูจ ดั จําหนายทีม่ มี าตรฐานการใหบริการระดับโลก ในปนเี้ ราไดมกี ารปรับกลยุทธในการขายทีแ่ ข็งแกรงและเขา ถึงลูกคาไดมากขึ้น โดยการเพิ่ม ผูจัดจําหนายในกรุงเทพ มหานครถึง 2 แหง บนถนนวิทยุ และถนนแจงวัฒนะ ซึ่ง ดําเนินการโดย บริษัท เพรสทีจ มอเตอรคารส จํากัด และ บริษัท เมอรค ออโต จํากัด โชวรูมใหมจะมีการออกแบบ
ภายใตคอนเซปต Volvo Retail Experience (VRE) ซึ่งสอดรับกับหลัก การสรางประสบการณใหมแหงการใหบริการผานโชวรูมหลังปรับโฉม แบรนดในป 2557 เปนตนมา โดยคอนเซปตใหมของโชวรูมในครั้งนี้ คือมีพนื้ ทีก่ ารจัดแสดงรถวอลโวในรูปแบบใหม รวมถึงบริเวณรับรองลูก ที่สะดวกสบาย มีมุมใหบริการกาแฟและเครื่องดื่มและมีการจัดแสดง อุปกรณตกแตงรถยนตอีกดวย 2) กลยุทธดานบริการหลังการขาย ซึ่งถือเปนหัวใจสําคัญในการ ดําเนินธุรกิจ ในปนี้เราไดแนะนําปรากฏการณใหมของการใหบริการ รถยนตที่เรียกวา ‘Volvo Personal Service” (VPS) ซึ่งเปนรูปแบบการ ใหบ ริ การใหมภายใตห ลักการสําคัญ 3 ข อคือ Personal Service Technician (PST), Multi-skilled Team (MST) และ Lean Management (LEAN) เพื่อยกระดับการบริการใหดียิ่งขึ้น วอลโวนับเปนผูผลิตรถยนต รายแรกทีก่ าํ หนดนิยามใหมของการนําการบริการรูปแบบนีเ้ ขามาอํานวย ความสะดวกแกลูกคา นับเปนการพลิกโฉมการใหบริการและการบํารุง รักษารถยนตครั้งใหญ 3) กลยุทธดานผลิตภัณฑ วอลโวเปนที่ยอมรับเสมอมาในฐานะ บริษัทที่มีเปาหมายและวิสัยทัศนที่ชัดเจน เราคํานึงถึงคนเปนสําคัญ เราเขาใจในผูคน เราปกปองสิ่งที่สําคัญสําหรับพวกเขาและเราตองการ สรางประสบการณพิเศษใหพวกเขา การออกแบบ โดยคํานึงถึงคนเปน ศูนยกลางนับเปนเอกลักษณหนึ่งเดียวของวอลโว และเปนหัวใจสําคัญ ในการสรางสรรคผลงานของเราเสมอมา มร.คริส เวลส กลาววา วอลโวถอื เปนแบรนดรถยนตทมี่ ศี กั ยภาพ ที่สูงที่สุดในการเติบโตในประเทศไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งรถรุนใหมๆ ทีส่ ะทอนเอกลักษณความพิถพี ถิ นั ในแบบฉบับสแกนดิเนเวียนพรอมกับ นวัตกรรมความปลอดภัยอันลํ้าสมัย ที่สําคัญที่สุดเรามุงมั่นที่จะกาวไป สูวิสัยทัศนของเพื่อสรางรถยนตแหงอนาคตอยางแทจริง เราเปนคาย รถยนตเจาแรกที่ออกมาประกาศวาตั้งแตป 2562 เปนตนไป รถวอลโว ที่ออกสูตลาดจะเปนรถที่ใชเครื่องยนตปลั๊กอิน ไฮบริด หรือรถไฟฟา ทั้งคัน และเราวางเปาหมายที่จะเปนผูนําในดานระบบความปลอดภัย อันลํ้าสมัย ระบบการขับขี่อัตโนมัติ และรถยนตไฟฟา โดยในป 2568 ตั้งเปาที่จะมีรถยนตไฟฟาของวอลโววิ่งบนทองถนน 1 ลานคัน ในป 2568 และในป ค.ศ. 2020 จะตองไมมีผูใดไดรับบาดเจ็บสาหัสหรือ เสียชีวิตในรถยนต
87
Engineering Today September - October 2017
Focus
และยอดชําระ รวมไปถึงการนําบารโคด ไปชําระเงินตามชองทางตางๆ โดย ไมตองนําใบชําระเงินไปดวย นอกจากนั้นยังสามารถคนหา จุ ด บริ ก ารใกล เ คี ย ง รวมถึ ง ข อ มู ล ขาวสารและโปรโมชัน่ ทีเ่ ปนประโยชน โดยไดมกี ารแจงกลุม ลูกคาในปจจุบนั กวา 100,000 ราย ใหดาวนโหลด แอพลิเคชัน่ เจ มันนี่ รวมถึงการสือ่ สาร การตลาดอื่นๆ เพื่อใหแอพพลิเคชั่น เจ มันนี่ แพรหลายมากขึ้น สามารถ ดาวนโหลดดาวนโหลดแอพลิเคชั่น เจ มั น นี่ ไ ด ที่ Apple Store และ Google Play ดุ สิ ต สุ ขุ ม วิ ท ยา ประธาน เจาหนาทีบ่ ริหารรวม บริษทั เจมารท โมบาย จํากัด กลาวถึงการรวมมือวา ในปจจุบัน เจ มารทมีสาขาอยูกวา 200 สาขา ที่พนักงานสาขาสามารถ แนะนํ า แอพพลิ เ คชั่ น ตั ว นี้ ไ ปกั บ ลูกคาได โดยแอพพลิเคชัน่ ตัวนีจ้ ะชวย ลดงานตางๆ ของสาขาไดเปนอยางดี ไมวาจะเปนการสอบถามดานวงเงิน ยอดชําระ ประวัติการชําระเงิน และ ข อ มู ล ต า งๆ เกี่ ย วกั บ สิ น เชื่ อ เจ มั น นี่ นอกจากนั้ น แอพพลิเคชัน่ นีจ้ ะชวยใหลกู คาทราบ โปรโมชัน่ ในการผอน ชําระสิ นคา ทั้ งสมารทโฟน และกล องที่ เจมารท หรือ เจคาเมราไดอกี ชองทางหนึง่ ซึง่ จะชวย ผลักดันใหยอดขาย สินคากับเจมันนี่สูงขึ้น เอกชัย สุขุมวิทยา รองประธานเจาหนาที่บริหาร บริษทั เจ เวนเจอรส จํากัด กลาววา เจ เวนเจอรส ไดรว ม พัฒนาแอพพลิเคชั่นเจมันนี่กับบริษัท เจ ฟนเทค จํากัด โดยในเวอรชั่นแรกนี้จะสามารถทํารายการไดตั้งแตสมัคร สินเชื่อ ตรวจสอบวงเงินที่อนุมัติ ประวัติธุรกรรมตางๆ และขอมูล (บารโคด) ทีน่ าํ ไปใชในการชําระเงินตามชองทาง ตางๆ โดยแอพลิเคชัน่ ในเวอรชนั่ ถัดไปจะพัฒนาในดานการ ขอถอนเงิน การจายเงิน รวมถึงความสามารถอื่นๆ เพื่อ ตอบสนองความตองการในยุคดิจิทัลตอๆ ไป
“เจ ฟินเทค” เปิดตัว J Money Application
มอบประสบการณสินเชื่อรูปแบบใหมในยุคดิจิทัล
บริษทั เจ ฟนเทค จํากัด ผูป ระกอบธุรกิจปลอยสินเชือ่ สวนบุคคล เปดตัว J Money Application มอบประสบการณสินเชื่อรูปแบบใหม ในยุคดิจิทัล เขาถึงกลุมลูกคาใหมอยูที่ไหนก็สมัครได หวังดันยอด สินเชื่อในปนี้ใหไดเขาเปา 3,500 ลานบาท สําหรับลูกคาปจจุบัน สามารถเช็กยอดวงเงินที่ตองชําระผานแอพพลิเคชั่น เช็กสาขาใกล เคียงได พรอมเตรียมฟเจอรใหมๆ มุง สูค วามเปนดิจทิ ลั เต็มรูปแบบ โดย รวมมือกับบริษทั เจ เวนเจอรส จํากัด และ บริษทั เจมารทโมบาย จํากัด มุงเพิ่มชองทางดาวนโหลดแอพพลิเคชั่นใหเปนที่แพรหลายมากขึ้น Mr.Takeharu Uematsu ประธานเจา หน าที่บริห าร บริษัท เจ ฟนเทค จํากัด กลาววา ในปนี้บริษัทฯ ตั้งเปาสินเชื่อไว ที่ 3,500 ลานบาท สําหรับแอพพลิเคชัน่ เจ มันนี่ จะชวยเพิม่ ในเรือ่ งของการเขาถึง กลุม ลูกคาไดมากขึน้ เพิม่ โอกาสในการสมัครไดงา ย โดยการกรอกขอมูล ในแอพพลิเคชัน่ หลังจากนัน้ จะมีเจาหนาทีต่ ดิ ตอกลับเพือ่ ขอรับเอกสาร สําหรับฟเจอรอื่นๆ จะชวยอํานวยความสะดวกลูกคาในการเช็กวงเงิน
Engineering Today September - October 2017
88
ปฏิ ท ิน สัม มนา/แสดงสิ นค้ า สัมมนา 7 ต.ค. 60 7-8 ต.ค. 60
การอบรมเรือ่ ง เทคนิคการผูกรัดวัสดุสาํ หรับรถขนสง การอบรมเรื่อง การเลือกและการคํานวณระบบ ควบคุมความชื้นในงานปรับอากาศ รุนที่ 10 27-28 ต.ค. 60 โครงการอบรมพื้นฐานความรูดานวิศวกรรมยกหิ้ว และปนจั่น เพื่อเตรียมความพรอม สําหรับการขอ ใบอนุญาตภาคีวิศวกรพิเศษ รุนที่ 3 วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ โทรศัพท 0-2184-4600-9 โทรสาร 0-2319-2710-1 http://www.eit.or.th
31 ต.ค. 60
12 ต.ค. 60 17 ต.ค. 60 20 ต.ค. 60 25 ต.ค. 60
11-12 ต.ค. 60 เทคนิคการถอดองคความรู 12 ต.ค. 60 How Korea Drives Industry 4.0: a Step-by-Step Implementation to Success 20 ต.ค. 60 กลยุทธบริหารการผลิต 25 ต.ค. 60 การจัดการกระบวนการอยางเหนือชั้น
แสดงสินคา
14-22 ต.ค. 60
การบริหารคนเพื่อเพิ่มผลงาน สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ โทรศัพท 0-2619-5500 ตอ 451-455 โทรสาร 0-2619-8098 E-mail: training@ftpi.or.th www.ftpi.or.th Introduction to ISO 26000 Introduction to ISO 22301 GRI Sustainability Reporting Guidelines: G4 Introduction to ISO/IEC 17020 (Inspection Body) สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ โทรศัพท 0-261-71727-36 โทรสาร 0-2617-1703-4, 0-2617-1707-9 E-mail: webmaster@masci.or.th www.masci.or.th
Thailand One Stop Shopping Expo 2017 IMPACT
5-8 ต.ค. 60
House and Condo Expo 2017 #37th
บริษัท ยูเนี่ยน แพน เอ็กซิบิชั่นส จํากัด
QSNCC
โทรศัพท 0-2719-0408
Facebook : House and Condo Show
www.unionpan.com 18-29 ต.ค. 60
www.housecondoshow.com 10-12 ต.ค. 60
10-12 ต.ค. 60
Book Expo Thailand 2017
Worlddidac Asia 2017
QSNCC
QSNCC
สมาคมผูจัดพิมพและผูจําหนาย
www.worlddidacasia.com
หนังสือแหงประเทศไทย
Facebook : worlddidacasiapage
โทรศัพท 0-2954-9560-4
ASEAN Cold / Pharma Chain 2017
www.pubat.or.th 2 ต.ค.- 5 พ.ย. 60 Commart Work 2017
BITEC Kavin Intertrade Co., Ltd.
QSNCC
โทรศัพท 0-2861-4013
www.commartthailand.com
www.aseancoldpharma.com
Facebook : commartthailand
Engineering Today September - October 2017
90
¤ i o f
k b w ¥hl ¦ z h |Ã b v Ï ¡x h e z zÌ z e { x i b e |bv { x
2)9 +2): < #+8D(
Corporaeter Memb
vË k b
k b Ë |Ã 1,260 { x k b Ë | 2,520 { x ï w |Ã b v Ï¡x eË ò |Ã e 1,100 { x |Ã e 2,200 { x ï w |Ã b v Ï¡x eË ò
¢pÏ ªl Z
Q
g p £z y|| { e jz Íj p £z ex m z d j z
x xÏ
OK x
ó D8@C D<D9<I K<:?EFCF>PD<;@8 :F K? NNN K<:?EFCF>PD<;@8 :F K?
INDEXSeptember ADVERTISING - October 2017
Engineering Today บริษัท
โทรศัพท
โทรสาร
ตําแหนงหนา
ARTITH VENTILATOR MACHINERY
0-2509-3065
0-2943-1814
7
www.artith.com, E-mail : contact@artith.com
ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK 2018
0-2642-6911
0-2642-6919-20
13
www.asew-expo.com
0-2002-4395-97
0-2002-4398
ปกหนาใน
IGUS THAILAND CO., LTD.
0-2207-0541
0-2652-7326
11
www.igus.co.th
METALEX
0-2686-7299
-
6
www.metalex.com
OIL&GAS THAILAND
0-2513-1418
-
98
www.oilgasthail.com
PD SOLUTIONS CO., LTD.
0-2314-13411-2
0-2314-1343
15
www.planmarketgold.com, pdsolutions.th@gmail.com
THAILAND LIGHTING FAIR
0-2664-6499 Ext. 212
-
97
www.thailandlightingfair.com
VEGA INSTRUMENTS CO., LTD.
0-2694-2400
0-2694-3404
ปกหนา
YAMABISHI ELECTRIC CO., LTD.
0-2879-9699
0-2879-4200
17
E-mail: sales@yamabishi.com
กุลธรอินเตอรเนชั่นแนล บจก.
0-2282-5775-8
0-2281-0009
7
www.kulthorn.com
เจริญเมืองแมชชีนเนอรี่ บจก.
0-2280-8431-5
0-2280-8033-5
9
www.crm.co.th, E-mail: info@crm.co.th
เบย คอรปอเรชั่น บจก.
0-2926-0111
0-2926-0123-4
ปกหลัง
ปภพ
0-2570-5580
-
17
มิตซูบซิ ิ อีเล็คทริค ออโตเมชัน่ (ประเทศไทย) จํากัด
02-517-1326
-
เวอรทัส บจก.
0-2876-2727
0-2476-1711
5
www.virtus.co.th, E-mail: welcome@virtus.co.th
อินเตอรลิงค คอมมิวนิเคชั่น บมจ.
0-2693-1222
0-2693-1399
3
www.interlink.co.th, E-mail: info@interlink.co.th
อีพีเอ็มซี บจก.
0-2322-4330-3
0-2720-5155
4
www.epmc.co.th
เอส เอ วี เมคคานิคคอลเซอรวิส แอนด ซัพพลายส หจก.
0-2702-8801, 0-2702-0581-8
0-2395-1002
89
E-mail: savthai@yahoo.com, sav-545@hotmail.com
HYUNDAI HEAVY INDUSTRIES CO., LTD.
Engineering Today September - October 2017
92
Website/E-mail
www.hyundai-ele.com, E-mail: info@tdpowertech.com
www.vega.com
www.bay-corporation.com, E-mail:sales@bay-corporation.com www.papop.com, E-mail:papop@papop.com
ปกหลังดานใน www.meath-co.com/meter
Activities >> ซีเกท ประเทศไทย ต้อนรับรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดร.อรรชกา สีบุญเรือง (แถวแรก ที่ 5 จากซาย) รัฐมนตรีวาการกระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และ ดวงใจ อัศวจินตจิตร (แถวแรก ที่ 6 จากซาย) รองเลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (บีโอไอ) และคณะ เขาเยี่ยมชมและรับฟงขอมูลเกี่ยวกับอุตสาหกรรมฮารดดิสกไดรฟและเทคโนโลยี การจัดเก็บขอมูล ณ บริษทั ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จํากัด โรงงานเทพารักษ จ.สมุทรปราการ โดยมี ดร. มารค เร (ขวาสุด) รองประธานอาวุโสและหัวหนาเจา หนาที่ฝายเทคโนโลยี พรอมคณะผูบริหารใหการตอนรับ
>> สจล. จับมือ “หัวเว่ย” และ “จีเอเบิล” สร้างมหาวิทยาลัยดิจิทัล ศ. ดร.สุชัชวีร สุวรรณสวัสดิ์ (ที่ 4 จากซาย) อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง หรือ สจล. พรอมดวย จาง หลิน (เอิรนเนส) (ที่ 3 จากซาย) ประธานบริหาร กลุมธุรกิจเอ็นเตอรไพรส หัวเวย เอเชียตะวันออก เฉียงใต และ สุเทพ อุน เมตตาจิต (ที่ 5 จากซาย) กรรมการผูจ ดั การ กลุม บริษทั จีเอเบิล รวมลงนามความรวมมือสรางระบบเครือขายคอมพิวเตอรและอินฟราสตรัคเจอร สําหรับสถาบันการศึกษาที่สมบูรณแบบที่สุดในประเทศไทย อาทิ โครงขายสงถาย ขอมูลที่ความเร็ว 100 กิกะบิตตอวินาที ติดตั้งไวไฟ 3,000 จุดทั่วพื้นที่ และจัดทํา ศูนยขอ มูลบิก๊ ดาตาออน คลาวดแบบ All-in-one ฯลฯ เตรียมพรอมสําหรับการเปลีย่ น ผานรูปแบบการเรียนการสอนสู Education 4.0 และการกาวสูมหาวิทยาลัยดิจิทัล เต็มรูปแบบภายใน 5 ป
>>กรอ.ยกระดับหม้อนํ้าสมองกล 4.0 มงคล พฤกษวัฒนา (ซาย) อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม (กรอ.) และ ประพนธ วงษทา เรือ (ขวา) อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษพลังงาน (พพ.) รวมเปดงานสัมมนา “SMART Boiler ภายใต Thailand 4.0” กิจกรรมให ความรูค วามเขาใจพรอมแนวทางและประโยชนทผี่ ปู ระกอบการจะไดรบั เมือ่ ยกระดับ พัฒนาหมอนํ้า สู Smart Boiler พรอมเปดนิทรรศการความกาวหนาและนวัตกรรม ดานหมอนํ้า Boiler เพื่อพัฒนาประเทศไปสูเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม เมื่อเร็วๆ นี้ ณ ศูนยประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี
>> อินเตอร์ลิ้งค์ หนุนหลักสูตรการศึกษาสาขาอิเล็กทรอนิกส์ และเทคนิคคอมพิวเตอร์ บริษทั อินเตอรลงิ้ ค คอมมิวนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) โดย ชลิดา อนันตรัมพร กรรมการผูจัดการ รวมลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือทางวิชาการกับ ณัชธร ทองดอนเปรียง ผูอํานวยการวิทยาลัยเทคนิคดอนเมือง เพื่อจัดการเรียนการสอน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขา อิเล็กทรอนิกส และสาขาเทคนิคคอมพิวเตอร โดยใหนักเรียน นักศึกษาไดฝกปฏิบัติ งานในสถานประกอบการและสงเสริมสนับสนุนให นักเรียน นักศึกษา ไดพัฒนา การเรียนรูจากประสบการณจริง เพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากรใหสอดคลองกับ พระราชบั ญ ญั ติ ก ารศึ ก ษา นโยบายภาครั ฐ บาล และความต อ งการของสถาน ประกอบการอีกดวย เมือ่ เร็วๆ นี้ ณ หองเกียรติยศ อาคารอินเตอรลงิ้ ค สํานักงานใหญ
>> สดช.เปิดแผนขับเคลื่อนดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจสังคม อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม วรรณพร เทพหัสดิน ณ อยุธยา (ที่ 5 จากซาย) เลขาธิการคณะกรรมการ ดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ สํ า นั ก งานคณะกรรมการดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สดช.) แถลงยุทธศาสตรขบั เคลือ่ นดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจ และสังคม ตอบรับนโยบาย Thailand 4.0 นําประเทศสูเ ปาหมาย “มัน่ คง มัง่ คัง่ ยัง่ ยืน” เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันใน เวทีประชาคมโลก โดยมีคณะผูบริหารสํานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ เขารวมงานแถลงขาว ณ หองประชุม 803 กระทรวงดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม
93
Engineering Today September - October 2017
>> ไปรษณีย์ไทย รวมใจประดิษฐ์ ‘ดอกดารารัตน์’ สมร เทิ ด ธรรมพิ บู ล (ที่ 4 จากซ า ย) กรรมการผู จั ด การใหญ บริ ษั ท ไปรษณียไทย จํากัด รวมดวย กรรณิการ ชารักษภักดี (ที่ 5 จากซาย) ผูเชี่ยวชาญ เฉพาะดานนโยบายและแผน สํานักพระราชวัง พรอมคณะผูบริหารและพนักงาน รวมรับมอบดอกไมจนั ทน (ดอกดารารัตน) ในโครงการจิตอาสาประดิษฐดอกไมจนั ทน พระราชทาน เพื่ อ ทู ล เกล า ฯ ถวายในพระราชพิ ธี ถ วายพระเพลิ ง พระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เมื่อเร็วๆ นี้ ณ อาคารรับรองพระราชวังดุสิต สนามเสือปา
>> CAZ ร่วมลงนามโครงการใช้ประโยชน์จากความเย็นเหลือใช้ ของ LNG ในระบบไฟฟ้าโรงงานครั้งแรกของไทย วิรัตน เอื้อนฤมิต (ที่ 4 จากซาย) ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการกลุมธุรกิจ ปโตรเลียมขั้นตนและกาซธรรมชาติ พรอมดวยนพดล ปนสุภา (ที่ 5 จากขวา) รองกรรมการผูจัดการใหญหนวยธุรกิจกาซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) พรอมดวย Mr. Robert Yun, Executive Vice President/ Head of Plant Business Division 2, Samsung Engineering (Thailand) Co., Ltd. ลงนาม ในสัญญาโครงการผลิตนํ้าเย็นเพื่อใชสนับสนุนในกระบวนการผลิตไฟฟากับ บริษัท ซี เอ แซด (ประเทศไทย) จํากัด โดยมี ซุงซิค ฮง (ที่ 4 จากขวา) ประธานเจาหนาที่ บริหาร บริษทั ซี เอ แซด (ประเทศไทย) จํากัด ซึง่ เปนบริษทั ยอยของ บริษทั ทาคูนิ กรุป จํากัด (มหาชน) หรือ TAKUNI โดยไดรับการจางงานมูลคาโครงการ 642.39 ลานบาท สําหรับโครงการรับเหมากอสราง ระบบหลอเย็น เมื่อเร็วๆ นี้
>> สมาคมผู้สื่อข่าวรถยนต์ฯ รับรองรายชื่อสื่อยานยนต์ เข้างาน “MOTOR EXPO 2017” ชลัทชัย ปภัสรพงษ” (ที่ 3 จากซาย) รองประธานจัดงาน ควบคุมงานดาน การบริหารงานทั่วไป “มหกรรมยานยนต ครั้งที่ 34” ใหการตอนรับและแสดงความ ขอบคุณแก ยุทธพงษ ภาษี (ที่ 4 จากซาย) นายกสมาคมผูสื่อขาวรถยนตและ รถจักรยานยนตไทย (TAJA) ในโอกาสที่สมาคมฯ ใหความรวมมือรับรองรายชื่อ สื่อมวลชนที่จะเขาปฏิบัติหนาที่ในงาน “มหกรรมยานยนต ครั้งที่ 34” ซึ่งจะจัดขึ้น ระหวางวันที่ 30 พฤศจิกายน-11 ธันวาคม 2560 ณ อาคารชาเลนเจอร IMPACT เมืองทองธานี
>> ทาทา สตีล พาสื่อมวลชนชมนวัตกรรมเหล็กเส้นขึ้นรูป ตัดและดัด (CUT & BEND) บริษัท ทาทา สตีล (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) เปดโรงงานตอนรับ สื่อมวลชน พาชมนวัตกรรมเหล็กเสนขึ้นรูปตัดและดัด (CUT & BEND) ชวยเพิ่ม ประสิทธิภาพงานกอสราง และชมการทดสอบเหล็กเสนขอออยคุณภาพสูง “ทาทา ทิสคอน เอส ซุปเปอร ดั๊กไทร” ที่มีคุณสมบัติตานแรงสั่นสะเทือนแผนดินไหว โดยมี วันเลิศ การวิวัฒน รองกรรมการผูจัดการใหญ และอรุน คูมาร ชอวดารี ผูชวย กรรมการผูจ ดั การใหญ-โรงงานชลบุรี บริษทั ทาทา สตีล (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ใหการตอนรับ ณ โรงงาน เอ็น.ที.เอส. สตีล กรุป จํากัด (มหาชน) นิคมอุตสาหกรรม เหมราช ชลบุรี อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี
>> เอ็ม.ไทย กรุ๊ป จับมือ สจล. พัฒนางานศึกษาวิจัย Smart Home ฉัตรชัย วีระเมธีกุล ประธานกรรมการบริหาร พรอมดวยคณะผูบริหาร บริษัท เอ็ม.ไทย กรุป และ บริษัทในเครือ ผูพัฒนาโครงการวารีโอ สุวรรณภูมิ รวม ลงนามความรวมมือในการพัฒนางานวิจัยทางดานเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่อยู อาศัยสมารท โฮม (Smart Home) กับ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณ ทหารลาดกระบัง โดย ศาสตราจารย ดร.สุชชั วีร สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี รวมลงนาม ในครั้งนี้ เพื่อพัฒนาและผลักดันมาตรฐานวงการอสังหาริมทรัพยไทยกาวเขาสูยุค Innovation อยางเต็มรูปแบบ คาดวาจะเห็นผลเปนรูปธรรมภายใน 3 ป
Engineering Today September - October 2017
94
>> Gadget เปิดตัว “HP Jet Fusion 3D Printing Solution” เครื่องแรกในไทยและอาเซียน อชพี แนะนํา “HP Jet Fusion 3D Printing Solution” โซลูชนั่ งานพิมพ 3 มิตเิ อชพี เจ็ต ฟวชัน เครือ่ งแรกในภูมภิ าคตะวันออก เฉียงใต ที่จะปฏิวัติรูปแบบใหมของการสรางตนแบบและผลิตชิ้นงานที่ใช ไดจริงเปนครัง้ แรกในประเทศไทย ดวยเทคโนโลยีการพิมพทเี่ ปนกรรมสิทธิ์ เฉพาะของเอชพี ซึง่ ไดรบั การพัฒนาประสิทธิภาพความเร็วทีม่ ากกวาเดิมถึง 10 เทา สงผลใหคุณภาพของผลงานรวดเร็วกวาเดิมถึง 10 เทาในราคาแค 50% เทคโนโลยี มัลติ เจ็ต ฟวชันของเอชพี และวัสดุพิมพตางๆ ที่ให รายละเอียดงานทีป่ ระณีต และความถูกตองแมนยําทางดานมิตขิ องงาน ควบคุมอุณหภูมแิ ตละชัน้ อยางแมนยํา โดยสามารถแกไขใหถกู ตองไดกระทัง่ จุดเล็กๆ ที่มารวมกันจนเกิดเปนงาน 3 มิติ เพื่อใหไดชิ้นงานที่มีสมบัติเชิงกลที่ดีที่สุด อีกทั้งยังสามารถตรวจสอบคุณภาพภายในเครื่องพิมพผาน หนาจอสัมผัส ชวยลดทอนขอผิดพลาด และสามารถติดตามความกาวหนาของงานไดงายและแมนยํา HP Jet Fusion 3D Printing Solution ผลิตชิน้ งานดวยวัสดุชนิดเทอรโมพลาสติก (Thermoplastic) ทีห่ ลอมขึน้ รูปไดแข็งแรง และใชงานได หลากหลายวัตถุประสงค สงผลดีตอตนทุนและคุณภาพของชิ้นงาน นอกจากนี้เอชพียังมีแพลตฟอรมแบบเปด “มัลติ เจ็ต ฟวชัน” ทําใหเขาถึงวัสดุ พิมพใหมในอนาคต รวมถึงเปนการเปดสูก ารใชงานในแอพพลิเคชัน่ ใหมๆ ตอบโจทยความตองการของลูกคาในภาคอุตสาหกรรม สถาบันการศึกษา และโรงพยาบาล โดย บริษัท เมโทรซิสเต็มสคอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ไดรับแตงตั้งใหเปนตัวแทนจําหนายโซลูชั่นงานพิมพ 3 มิติเปนแหงแรก ของเอชพีทั้งในไทยและเอเชียแปซิฟก สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ บริษัท เมโทรซิสเต็มส จํากัด (มหาชน) โทร. 1640 หรือ www.metro-oa.com
เ
เอปสัน เปิดตัวอิงค์เจ็ทพรินเตอร์ระบบแท็งก์ L-Series พร้อมกัน 6 รุ่น
เ
อปสัน เปดตัว อิงคเจ็ทพรินเตอรระบบแท็งก L-Series ซึ่งเปนเครื่องมัลติ ฟงกชั่นสี่สี พรอม Wi-Fi ไดแก L405 และรุนที่ใชหมึกพิกเมนตสีดํากันนํ้า จํานวน 5 รุน ไดแก L4150, L4160, L6160, L6170 และ L6190 โดยไฮไลท อยูท รี่ นุ L6160, L6170 และ L6190 ทีใ่ ชหวั พิมพไมโครปเอโซรุน ใหม PrecisionCore ทําใหสามารถพิมพ งานปริมาณมากในความเร็วสูง และใหตน ทุนการพิมพตอ แผนทีถ่ กู โดยพิมพสีอยูที่ 13 สตางค และพิมพขาวดํา 5 สตางค ทั้งยังสามารถพิมพสองหนา (Duplex) แบบอัตโนมัติ ซึ่งเปนฟงกชันที่ชวยประหยัด ตนทุนคากระดาษในออฟฟศ ลงไดถึง 50% และพิมพแบบไรขอบ (Borderless) ไดใหญสุดถึงขนาด A4 จุดเดนอีกประการของสินคาใหม คือขนาดเครื่องที่เล็กลง ประหยัดพื้นที่ในการใชงาน และระบบการเติมหมึกแบบใหมที่ปองกันการหกเลอะ และปญหาการเติมหมึกผิดสี ดวยหัวล็อกชองเติมหมึกบนแท็งก และจุกขวดนํ้าหมึกที่ไดรับการออกแบบใหมีความแตกตางเฉพาะตัวของแตละสี ที่สําคัญ สินคาทุกรุนยังเพิ่มระยะเวลาการ รับประกันเปน 2 ป เพื่อเพิ่มความคุมคาใหกับลูกคา สนใจคนหารายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ www.epson.co.th
โลจิเทค จี 603 ยุคใหม่ของเมาส์เกมแบบไร้สาย ลจิเทค จี 603 พรอมสงมอบประสบการณไรสายแบบไรทตี่ ิ ดวยประสิทธิภาพ การทํางานที่สูงมากพอแมกับนักเลนเกมที่มีความตองการสูง และยังเปน เมาสเกมตัวแรกที่ติดตั้ง โลจิเทค จี ฮีโร เซ็นเซอร (Logitech G’s HERO sensor) ซึ่ง เปนเลิศในเรือ่ งความถูกตองแมนยําทีร่ ะดับ 12,000 DPI เมาสโลจิเทค จี 603 ทํางาน ควบคูกับเซ็นเซอรที่มีศักยภาพสูงอยาง ฮีโร เพื่อสงตอประสิทธิภาพการทํางานสูงสุด ดวยการเลนเกมตอเนื่องไดนานมากกวา 500 ชั่วโมง รวมถึงการใชเทคโนโลยีไรสาย ความเร็วสูงแบบไลทสปด เพื่อมอบประสบการณการใชงานไรสายแบบมืออาชีพ และ ความนาเชือ่ ถือชนิดไรคแู ขงขัน แมกระทัง่ กับเมาสเกมแบบใชสายตัวเกงๆ ในตลาด พรอมวางจําหนายโดยตัวแทนขายทัว่ โลกแลวในราคา 2,699 บาท สนใจเยี่ยมชมไดที่ www.LogitechG.com บล็อกของบริษัท หรือ @Logitech
โ
95
Engineering Today September - October 2017
Gadget >> ฟูจิตสึ เปิดตัว สแกนเนอร์ขนาด A3 ประสิทธิภาพสูงเพื่องานหนักระดับมืออาชีพ พร้อมกัน 3 รุ่น ตอบโจทย์การสแกนเอกสารที่หลากหลาย และง่ายดาย เอฟยู บริษทั ในเครือฟูจติ สึ นําเสนอ สแกนเนอรขนาด A3 พรอมถาดปอนอัตโนมัตริ นุ ใหม ลาสุด ในตระกูล fi ถึง 3 รุน ไดแก fi-7700, fi-7600 และ fi-7700S ซึ่งเปนสแกนเนอร ประสิทธิภาพสูงเพื่องานหนักระดับมืออาชีพ ตอบโจทยความตองการในการสแกนเอกสารที่หลากหลาย ชวยเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของลูกคาไดมากยิ่งขึ้น นํ้าหนักเบาเพียง 11 กิโลกรัมโดย รุน fi-7700 และ fi-7600 มาพรอมกับความเร็วในการสแกนถึง 100 แผนตอนาที/200 ภาพตอนาที รองรับกระดาษ ขนาดยาวถึง 200 เมตร เลือกตัดขนาดไดตามที่ตองการ ถาดปอนกระดาษอัตโนมัติ ที่ชวยปอนเอกสาร จากขวาไปซายหรือพลิกกลับ 180 องศา ชวยใหผใู ชงานสามารถปอนเอกสารไดงา ย และทีห่ นาเครือ่ งยังมี จอแอลซีดีสําหรับการแสดงผลการทํางานที่ชวยใหผูใชงานตรวจสอบสถานะการทํางานไดอยางงายดาย สแกนเนอรของฟูจิตสึไดพัฒนาซอฟตแวรชั้นสูง ซึ่งเปนลิขสิทธิ์เฉพาะ ดวยไดรเวอรสแกนเนอร รุ่น fi-7700 PaperStream IP ทีร่ องรับไดรเวอร TWAIN/ISIS จึงชวยอํานวยความสะดวกในการปรับแตงตัง้ คาสําหรับ กระบวนการ OCR ชวยปรับแตงภาพใหมีคุณภาพอัตโนมัติ ทําใหการทํา OCR รวดเร็วขึ้น ในกรณีที่งานสแกนมีรอยยนหรือสกปรก หรือเอกสารมี ภาพพื้นหลัง ดวยอินเทอรเฟสที่ใชงานงาย PaperStream Capture จึงมีประสิทธิภาพและใหประสิทธิผลในการทํางานสูง เหมาะสําหรับงาน ภาครัฐ สถาบันการเงิน โรงพยาบาลและสํานักงานบริการตางๆ คนหารายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ www.fujitsu.com
พี
ดิจิทัลมิเตอร์ EasyLogic™ PM2000 Series จัดการระบบไฟฟ้าให้ง่ายขึ้น asyLogic™ PM2000 series ดิจทิ ลั มิเตอรไฟฟาคุณภาพสมราคา จากชไนเดอร อิเล็คทริค ชวยใหควบคุมและจัดการระบบไฟฟาไดงายขึ้น ครอบคลุมฟงกชันการใชงาน ดวยเครือ่ งมือวัดและการจัดการโหลดไฟฟาทีม่ าพรอมกับการเชือ่ มตอผาน RS485 (เฉพาะรุน 2120, 2130, 2220, 2230) โดดเดนเรื่องของความงายในการใชงาน และราคาที่สมเหตุสมผล ติดตั้งงาย เหมาะสมกับโรงงาน อาคารในยุคดิจิทัล ชวยลดเวลาและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานอีกดวย มีให เลือก 2 ซีรีส รุน PM2100 Series หนาจอแสดงผลแบบ LED ตัวเลขขนาดใหญ แสดงผลคาขอมูล 3 บรรทัด มองเห็นไดในระยะไกล มีสัญลักษณบอกชนิดของขอมูลบริเวณ 2 แถวดานขาง ใหตัวเลขที่ แมนยําและประหยัดพืน้ ทีม่ ากกวาแบบเข็มดัง้ เดิม สวนรุน PM2200 Series มาพรอมหนาจอแสดงผล แบบ LCD สี Monochrome ตัวเลขขนาดใหญ สามารถอานขอมูลได 3 เฟสพรอมกัน โดดเดนดวยระบบ Anti-glare Display เพื่อปองกันแสง สะทอน และมี Backlight ชวยใหอานคาไดงาย และมีเมนูที่หลากหลาย รองรับหลายภาษา
E
Switch 7 Black Edition โน้ตบุ๊กทูอินวัน เครื่องแรกที่ระบายความร้อนแบบไร้พัดลม พร้อมระบบการ์ดจอแยก อเซอร์ พัฒนา Switch 7 Black Edition คอมพิวเตอรโนตบุกแบบทูอินวัน เครือ่ งแรกของโลก ทีไ่ รพดั ลมสําหรับระบายความรอน พรอมระบบการดจอแยก ตัวเครือ่ งใชเทคโนโลยีระบบระบายอากาศแบบ Dual LiquidLoop™ พรอมระบบประมวลผล 8th Generation Intel Core i7 และการดจอ NVIDIA® GeForce® MX150 รองรับ การใชงานที่หนักหนวง งานครีเอทีฟ หรือการไลฟสตรีมมิ่ง Switch 7 Black Edition ออกแบบมาใหใชงานไดอยางคลองตัว ขีดจํากัดของพลังเครือ่ งทีส่ วนทางกับนํา้ หนักทีเ่ บา แทบไมถึง 1.15 กิโลกรัม คูมากับคียบอรดแยกจอ ลักษณะการออกแบบของ Switch 7 Black Edition ที่เรียวบางและนํ้าหนักเบา ตัวเครื่องหุมอะลูมิเนียมขัดเงาทนทาน สื่อถึงความแข็งแกรงทวาใหสัมผัสที่นุมนวล Switch 7 Black Edition โดดเดนดวยระบบ AutoStand™ ขาตั้งลิขสิทธิ์จากทางเอเซอร สามารถใชงานและพับเก็บไดอัตโนมัติ ใหมุมมอง กวางดวยหนาจอขนาด 13.5 นิ้ว ความละเอียด 2256 x 1504 พิกเซล ใชงานรวมกับปากกาสไตลัส Wacom ที่มีเทคโนโลยี EMR ใหแรงกดที่ ระดับ 4096 บริเวณมุมปากกาเอียงนิดๆ ชวยในการเขียนองศาภาพที่มีความลึก และการไลระดับของเฉดสีตางๆ ตัวปากกาไดรับการออกแบบมา ใหใชงานโดยไมตองชารจแบตเตอรี่ เนื้อสัม ผัสปากกามันขลับ เรียวบาง เพื่อสุนทรียภาพในการเขียนและสเกตชภาพเมื่อใช Windows Ink นอกจากนี้ยังมีระบบเซ็นเซอรลายนิ้วมือฝงอยูใตกระจกหนาจอคู มากับระบบ POA (Power on Authentication) ชวยใหการเปดเครื่องงายดาย เพียงปลายนิ้วสัมผัส
เ
Engineering Today September - October 2017
96
THAILAND
lighting fair
2017
ÖāèČùãÖèöĀäÐòòðďîîŖāČùÖùöŚāÖæĄēÓòéöÖ×òæĄēùćãĎèüāċÚĄñè
íó÷×ăÐāñè ýüôôŞ ďéċæÓ
Presented by
Powered by
Organized by
&" 9"F ! ;-5 D)?5 59 +<*8 D)?5 #-5 (9* E-82@ *5 :!29))!: : $AĊD =L*/ : 9M G!E-8 ĉ: #+8D 0 5: < ċæòèãŞÐāòüüÐČééČùÖĎèæ÷öòòøúèśā ×āÐèĀÐüüÐČééČùÖÙĆüē ãĀÖÑüÖčôÐ .S ,BPSV .FOEF Čôÿ .S .BSUJO ,MBBTFO čÚôāòŞòĈîæĒüê æĂČôśöãĄ æĂČôśöÓćśð×òăÖúòĆüďðŚ èöĀäÐòòðòÿãĀéčôÐãśāèċæÓčèčôñĄüāÓāòüĀ×Øòăñÿ ×āÐëĈśÐĂúèãðāäòßāè ,/9 ×ĀãČùÖďîċùòăðýöÖ×ćśñ ÐòÿäćśèíôĀÖðÖÓô ðĀēÖÓĀēÖòēĂòöñ ċæÓčèčôñĄòÿééďîîŖāüĀ×Øòăñÿ
&<D012@ ŧ 29))!:3-9 2A +#+8 :0!=*"9 + : :+H''ą:2ĉ/!(A)<(:
Smart City. Safe City. ×Āãíòśüð
building fair 2017
- 8D"=*!55!H-!č'+=ŧ H ĊE-Ċ//9!!=M =L www.thailandlightingfair.com
25" :)D&<L)D <)F +Ģ `b ffd fdii ĉ5 b`` b`a bab info@thailandlightingfair.com