EDITOR TALK กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
สนข. จับมือ วสท. สร้างมาตรฐานระบบขนส่งทางรางของประเทศไทย ให้มีประสิทธิภาพและความปลอดภัย จากแผนการลงทุนของประเทศไทยในโครงสรางพื้นฐานระบบรางป ค.ศ. 2018-2040 รวม 23 โครงการ มูลคากวา 2.5 ลานลานบาทนั้น สงผลใหไทยจําเปนตองเรงพัฒนามาตรฐานระบบราง และทรัพยากรมนุษยของประเทศตั้งแตวันนี้ ผานการตอยอดมาตรฐานระบบรางอาเซียนใหเปนหนึ่ง เดียวกันเพื่อเชื่อมระบบคมนาคมอยางไรรอยตอ ลาสุด สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) จึงไดลงนามความรวมมือทาง วิชาการและวิชาชีพวิศวกรรมระบบขนสง (MOU) กับ วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ (วสท.) โดยมีจดุ มุง หมายเพือ่ สรางมาตรฐานระบบขนสงทางรางของประเทศไทยทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และความปลอดภัย ดวยประเทศไทยมีศักยภาพเพียงพอที่จะกาวสูการเปนศูนยกลาง (Hub) ระบบราง ของอาเซียนได ทั้งนี้จากผลการศึกษากรอบโครงสรางมาตรฐาน จะอางอิงแนวทางมาตรฐานยุโรป (European Norm) เนื่องจากมีความเหมาะสมในการใชงานทั้งดานโครงสรางมาตรฐานที่มีความชัดเจน และครอบคลุม นาเชื่อถือ มีความทันสมัย มีความยืดหยุน ไมปดกั้นการพัฒนาเทคโนโลยี เนนการใชหลัก การออกแบบภายใตพื้นฐานของศักยภาพการใชงานจริง (Performance Based Design) สําหรับมาตรฐานโครงสรางทางรถไฟ แบงออกเปน 10 มาตรฐาน ไดแก มาตรฐานการแบงประเภท ทางรถไฟ, มาตรฐานเขตโครงสรางทางรถไฟ, มาตรฐานการออกแบบและวางแนวเสนทาง, มาตรฐานการ ออกแบบทางรถไฟแบบมีหินโรยทาง, มาตรฐานการออกแบบทางรถไฟแบบไมมีหินโรยทาง, มาตรฐาน รางเชื่อมยาว, มาตรฐานองคประกอบทางรถไฟ, มาตรฐานตําแหนงเปลี่ยนผานบนทางรถไฟ, มาตรฐาน ความปลอดภัยบนทางรถไฟ และมาตรฐานระบบระบายนํ้าบนทางรถไฟ ในสวนของวารสาร Engineering Today ฉบับที่ 164 ที่ทานกําลังถืออยูในมือนี้ ขอเกาะติด โครงการ Mega Project ของไทย ผาน คอลัมน Construction เรือ่ ง “สนข. จับมือ วสท. สรางมาตรฐาน ระบบรางไทย ชูศักยภาพไทยพรอมกาวสู Hub ระบบรางของอาเซียน” ตามดวยบทสัมภาษณ “คุณยงวุฒิ เสาวพฤกษ ผูอํานวยการสถาบันอาหาร และ “ผศ. ดร.จิตรเกษม งามนิล นายกสมาคม วิ ศ วกรไฟฟ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส แ ห ง ประเทศไทย (IEEE Thailand Section)” ในคอลั ม น Engineering 4.0 เกาะติด EEC กับ “กนอ. จับมือกับ 5 หนวยงานพัฒนาโครงการนิคมฯ Smart Park ใน EEC รองรับการลงทุนของกลุม อุตสาหกรรมแหงอนาคต” และพลาดไมไดกบั “สกว. โชวผลงานวิจยั “หุนยนตแขนกล” ในงาน THAILAND Taking off to New Heights” และคอลัมนอื่นๆ ที่พรอมเสิรฟ สาระความรูทันยุคดิจิทัลครับ
เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด วารสาร “Engineering Today” เปนวารสารรายสองเดือน ของบริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด บทความที่ตีพิมพในวารสาร “Engineering Today” ขอสงวนสิทธิใ์ นการนําไปใชคดั ลอก ดัดแปลง นําไปรวมตีพมิ พเผยแพรเพือ่ ประโยชนในวงการวิศวกรรม ขอความ ที่ตีพิมพในบทความและโฆษณาในวารสาร “Engineering Today” เปนความคิดเห็นสวนตัวของผูเขียนหรือผูลงโฆษณาเอง ซึ่งทาง วารสารฯ ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไปถาบทความใดผูอานเห็น วาไดมีการลอกเลียนหรือแอบอางโดยปราศจากการอางอิง หรือ ทํ า ให เ ข า ใจผิ ด ว า เป น ผลงานของตน กรุ ณ าแจ ง ให ท าง กองบรรณาธิการทราบ จักเปนพระคุณยิ่ง รายละเอียดตางๆ ที่ปรากฏในวารสารฯ ไดผานการตรวจ ทานอยางถีถ่ ว นเพือ่ ความถูกตองสมบูรณทสี่ ดุ เทาทีส่ ามารถกระทํา ได ทางวารสารฯ ไมไดมีการรับประกันความเสียหายอันอาจเกิด ขึ้นจากการนําขอมูลในวารสารฯ ไปใชแตอยางใด ผูนําเนื้อหาที่ตีพิมพในวารสารฉบับนี้ไปเผยแพรไมวาบาง สวนหรือทั้งหมด จะตองอางอิงชื่อวารสารและบริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด ดวยทุกครั้งในทุกหนาที่มีเนื้อหาดังกลาว
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝายโฆษณา e-Mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์
ฯพณฯ พลอากาศเอกกําธน สินธวานนท
คณะที่ปรึกษา
ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ตอตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน พันธุบรรยงก, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน เหมวชิรวรากร
บรรณาธิการอํานวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการผูพ มิ พผโู ฆษณา สุเมธ บุญสัมพันธกจิ บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรียพร วงศศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย เรืองติก พิสูจนอักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ ผูจัดการฝายโฆษณา เขมจิรา ปลาทิพย ฝายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตษ, กัลยา ทรัพยภิรมย เลขานุการฝายผลิต ชุติมันต บัวผัน ฝายสมาชิก นันธิดา รักมาก โรงพิมพ บจก. ฐานการพิมพ แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Engineering Today www.engineeringtoday.net
DIGITAL ECONOMY
COLUMNS 8
บทบรรณาธิการ
สนข. จับมือ วสท. สรางมาตรฐานระบบขนสงทางรางของประเทศไทย ใหมีประสิทธิภาพและความปลอดภัย • กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
Digital 26 ปณท จับมือ กสิกรไทย ยกระดับระบบการเงินในองคกรดวย QR Payment นํารองใชกับกลุมบุคลากร-กลุมธุรกิจเครือขาย
• กองบรรณาธิการ
29 EGA สงโปรแกรม DTP เสริมทักษะบุคลากรภาครัฐ
Engineering 4.0
17 คุณยงวุฒิ เสาวพฤกษ ผูอํานวยการสถาบันอาหาร
“การเรียนรูไมมีวันสิ้นสุดตามบทบาทหนาที่ที่ไดรับ” • กองบรรณาธิการ
สูขาราชการดิจิทัล รับยุค 4.0 • กองบรรณาธิการ
31 Design
งาน SOLIDWORKS World 2018 จัดขึ้นครั้งที่ 20 ชู 5 องคประกอบใหมมุงตอบโจทยผูใชและโลกอนาคต
• กองบรรณาธิการ
36 Robotic
สกว. โชวผลงานวิจัย “หุนยนตแขนกล” ในงาน THAILAND Taking off to New Heights
• กองบรรณาธิการ
17
36
21 ผศ. ดร.จิตรเกษม งามนิล นายกสมาคมวิศวกรไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสแหงประเทศไทย (IEEE Thailand Section)
• กองบรรณาธิการ
38 EEC
กนอ. จับมือกับ 5 หนวยงานพัฒนาโครงการนิคมฯ Smart Park ใน EEC รองรับการลงทุนของกลุมอุตสาหกรรมแหงอนาคต
• กองบรรณาธิการ
38 21
40 IT Update
เทรนดไมโคร สรุปภาพรวมตลาดรักษาความปลอดภัยป’60 ชู 3 เทคโนโลยีหลัก รุกตลาดระดับกลาง-Enterprise ในป’61
• กองบรรณาธิการ
CONTENTS 52 อีตั้น อิเล็คทริค จัดงานโมบายเทคเดยเอเชียตะวันออกเฉียงใต
COLUMNS
ครั้งแรกในไทย พรอมเปดตัวเครื่องตัดกระแสไฟ สําหรับโรงงานและอาคารสูง • สุรียพร วงศศรีตระกูล
42 In Trend
สามตัวแปรพลิกเกมอุตสาหกรรมยานยนตป พ.ศ. 2561
• มร.สเตฟาน อิสซิ่ง
65 Project Management
พุทธบารมี ๑๐ สําหรับนักบริหาร (The 10 Most Effective Ways Leaders Solve Problems) • ดร.พรชัย องควงศสกุล
42 45 Energy Today
‘BGRIM’ แจงป’60 กําไรเฉียด 3,600 ลานบาท พุงกวา 55% ตั้งเปาเพิ่มกําลังการผลิตป’61 กวา 400 เมกะวัตต • กองบรรณาธิการ
Innovation 46 มจพ.เตรียมสงแนคแซท ดาวเทียมดวงแรกที่สรางและออกแบบ โดยคนไทยขึ้นถายภาพโลกจากอวกาศ ส.ค.นี้
• กองบรรณาธิการ
CONSTRUCTION THAILAND 56 Construction
สนข. จับมือ วสท. สรางมาตรฐานระบบรางไทย ชูศักยภาพไทยพรอมกาวสู Hub ระบบรางของอาเซียน
• กองบรรณาธิการ
59 Property
ดีดีพร็อพเพอรตี้ เผยราคาบาน-คอนโดฯ กรุงเทพฯ ในชวง 3 ป พุงสูงขึ้นกวา 100%
• กองบรรณาธิการ
61 New Office
แลนเซสส เปดสํานักงานแหงใหมในไทย สรางโอกาสการเติบโตทางธุรกิจในไทยและภูมิภาคเอเชีย
• กองบรรณาธิการ
62 Safety
46 48 สวทช.ภาคเหนือจัดงานประชุมวิชาการ
“นวัตกรรมเพื่อชุมชน สูสังคมแหงการแบงปนความรู”
• กองบรรณาธิการ
Technology
50 “มาสเตอรคูล” เปดตัวพัดลมไอเย็นเทคโนโลยีใหม “เย็นไลยุง” รายแรกของไทย ตอบโจทยผูบริโภคทุก Segment ของตลาด
• กองบรรณาธิการ
วสท.ลงนาม MOU กับกรมทางหลวงชนบท หวังยกระดับวิศวกรรม การทางและพัฒนาผูตรวจสอบความปลอดภัยตามระบบสากล RSAS
• กองบรรณาธิการ
63 Preview LED Expo Thailand 2018 เชื่อมตอการออกแบบแสงสูโลกดิจิทัล ในคอนเซ็ปต iLight Connect • กองบรรณาธิการ
70 77 79
Focus Activities Gadget
Engineering 4.0 • กองบรรณาธิการ
“การเรียนรู ไม มีวันสิ้นสุด ตามบทบาทหน าที่ที่ ได รับ”
“สถาบันอาหาร” สถาบันเครือขายภายใตกระทรวง อุตสาหกรรม มีภารกิจเปนแหลงใหบริการ ขอมูลดานการคาและเทคโนโลยี การบริการดานการ ตรวจวิเคราะห การประสานความรวมมือเพือ่ การแกไขปญหา และ ยกระดับขีดความสามารถของอุตสาหกรรมอาหาร ปจจุบันมี คุณยงวุฒิ เสาวพฤกษ ซึ่งเต็มเปยมดวยประสบการณในการทํางานทั้งจากภาค เอกชน รัฐวิสาหกิจ และรัฐบาล ดํารงตําแหนงผูอ าํ นวยการสถาบันอาหาร เพื่อสานตอนโยบายที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมอาหารของไทยในทุกๆ ดาน พรอมพัฒนาอุตสาหกรรมตามยุทธศาสตร Thailand 4.0 ของ รัฐบาล ใหเปนที่ยอมรับทั้งในประเทศและระดับโลก คุณยงวุฒิ จบปริญญาตรีจากคณะวิศวกรรมศาสตร สาขาเคมี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จากนั้นไดไปศึกษาตอในระดับปริญญาโท ดานการบริหารจาก Florida State University นอกจากนี้ยังไดศึกษา และอบรมหลักสูตรสําหรับกรรมการและผูบ ริหารระดับสูงของรัฐวิสาหกิจ และองคการมหาชน จากสถาบันพระปกเกลา และศึกษาหลักสูตรอื่นๆ อีกหลายดานเพื่อนํามาปรับใชในการทํางานตามตําแหนงหนาที่ตางๆ เชน ผูวาการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, ผูวาการสถาบันการบิน พลเรือน (สบพ.) กระทรวงคมนาคม, ประธานบริหารคายรถ Volvo บริ ษั ท สวีเ ดนมอเตอร จํ า กัด (มหาชน) กรรมการผูจั ด การบริห าร
17 17
Sitca Leasing (SLC Leasing) ผูอํานวยการ บริษัท ธนบุรี อุตสาหกรรมยานยนต จํากัด จําหนายรถยนต MercedesBenz, กรรมการบริหาร บริษทั ธนบุรี ประกอบรถยนต จํากัด, ผูจัดการทั่วไป บริษัท ไทยอัลติเมทคาร จํากัด จําหนายรถ Land Rover, Mini Cooper และทํางานดานประกันภัย และการเงินกวา 10 ปที่ประเทศสหรัฐอเมริกา “เหตุทเี่ ลือกเรียนวิศวกรรมศาสตรกเ็ พราะตอนนัน้ มี สองทางเลือก คือหากไมเลือกเรียนวิศวฯ ก็ตองเลือกเรียน แพทย และที่เลือกเรียนคณะวิศวฯ เพราะคิดวาวิชาที่เรียน จะสามารถช ว ยให ทํ า งานที่ ห ลากหลายได ม ากยิ่ ง ขึ้ น โดยเฉพาะวิศวฯ เคมี ดวยเปนพืน้ ฐานความรูเ รือ่ งวิศวกรรม สาขาอื่นๆ ทั้งวิศวฯ โยธา วิศวฯ ไฟฟา หลายตัว ผมก็เลย คิดวาตองรูหมด ก็เลยสนุกดี เปนอะไรที่รวมหมดในการ เรียนหลายๆ ตัว แนนอนก็เนนเรื่องของ Process, High Process วา เครื่องไมเครื่องมือ เครื่องจักรเปนอยางไร อุณหภูมิเปนอยางไร สถานการณที่ทําการผลิตจะตอง เปนเทาใด เปนเรื่องที่ตองเขาไปลึกในการวางผังโรงงาน และวิศวกรโรงงาน Industrial Engineering กระบวนการ ที่เปนปฏิกิริยาความรอนความเย็น ก็เหนื่อย สนุกดีและ ยากดี
Engineering Today
March- April
2018 2018
ƯıĉɿĒġüĎġġõĕĦõķĕĦċĽĦûĦčøčęĤİėīĸġûõĥĎċĩĸİėĩĖč ěĨ Ĝ ěģ ĴĈʀĕ ĦċĽ Ħ ûĦčċĩĸ İ õĩĸĖěõĥĎõĦėġġõıĎĎ "SDIJUFDU ċĽĦĈʀĦč *OUFSJPS ċĽĦİėīĸġûöġûõɿġĞėʀĦû ċĽĦûĦčõĦėİûĨč ċĽĦ ďėĤõĥč õķċĽĦĕĦċĬõġĖɿĦû İõķĎİďʇčďėĤĞĎõĦėćʃ ĴĈʀİėĩĖčėĭʀ õĦėüĥĈõĦėøěĦĕėĭʀ ,OPXMFEHF .BOBHFNFOU öġûõĦė ċĽ Ħ ûĦčijčğčʀ Ħ ċĩĸĉɿ ĦûĶ ijčėĭďıĎĎijğĕɿ Ķ ĴĈʀ İ ėĩĖ čėĭ ʀĞĨĸûċĩĸ ĐĨĈĒęĦĈ İġĦĉėûčĥĹčĕĦďėĥĎijþʀijčõĦėċĽĦûĦč
'5 6' N6 6 . 6 5 3 & '4 5 1< 3 16/6'E & D/ęA ğ =ę.Ę 11 16/6'15 5 ę G 1 C) øĬ ć ĖûěĬ ĆĨ õęɿĦěěɿĦ ĞĽĦ ğėĥĎĎċĎĦċıęĤğčʀ Ħċĩĸijč ĄĦčĤĐĭʀġĽĦčěĖõĦėĞĊĦĎĥčġĦğĦėõķİþɿčõĥč õķüĤċĽĦûĦčijč ėĭ ď ıĎĎijğĕɿ Ķ û ĦčĞɿ ě čijğāɿ øī ġ õĦėďėĥ Ď ďėĤĞĨ ċ ČĨ Ĕ ĦĒ ďėĤĞĨċČĨĐęİĒīĸġčĽĦĒĦġĬĉĞĦğõėėĕġĦğĦėöġûĴċĖijğʀİďʇč ĐĭʀĞɿûġġõĈʀĦčġĦğĦėċĩĸİĉĨĎIJĉĕĦõõěɿĦġĥčĈĥĎ öġûIJęõ ıęĤċĽĦûĦčĉĦĕõėġĎöġûĖĬċČĜĦĞĉėʃ ďɷöġûėĥĄĎĦęijč õĦėöĥĎİøęīĸġčďėĤİċĜĴċĖ ƯõĦėċĽĦûĦčċĩĸĞĊĦĎĥčġĦğĦė ĐĕĕĩõĦėěĦûıĐčõĦė üĥĈõĦėěɿĦüĤĉʀġûďėĥĎõĦėċĽĦûĦčġĖɿĦûĴėĎʀĦû ĉʀġûĕĩõĦėĒĥĆčĦ ĕĦõõěɿĦčĩĹ ıęĤċĽĦûĦčõĥčĕĦõõěɿĦčĩĹ IJĈĖčĽĦûĦčěĨüĥĖĕĦ İþīġĸ ĕIJĖûıęĤĞėʀĦûİďʇččěĥĉõėėĕĕĦõöĪčĹ İĒīġĸ ċĽĦijğʀİõĨĈõĦė ĒĥĆčĦ $PNNFSDJBM -JGF öġûûĦčěĨüĥĖijğʀĕĦõċĩĸĞĬĈ ijčõĦė ĉɿġĖġĈĞėʀĦûčěĥĉõėėĕıęĤûĦčěĨüĥĖ İĒėĦĤýĤčĥĹčüĤĉʀġûĕĩ 1JMPU 1MBOU ġĖɿĦûċĩĸĞĊĦĎĥčġĦğĦėĴďĞėʀĦûĜĭčĖʃģ ċĩĸĞûöęĦ İėĦİėĩĖõěɿĦ %FTJHO BOE *OTQFDUJPO $FOUFS ıĉɿěĥččĩĹİėĦ İėĩĖõěɿĦ 5SBOTGPSNBUJPO $FOUFS čĥĸčõķøīġĜĭčĖʃõĦėİėĩĖčėĭʀ İėīĸ ġ ûġĦğĦė ďʅ üüĬĎĥ č ċĩĸĞ ĊĦĎĥ č ġĦğĦėİėĦõķĕĩİ ğĕīġ čõĥč İėĩĖõěɿĦ ĜĭčĖʃõĦėİėĩĖčėĭġʀ ĦğĦėĴċĖ 5IBJ 'PPE )FSJUBHF
IJĈĖďėĥĎďėĬûöĪĹčĕĦ İĈĨĕċĩİėĦĕĩĒĨĒĨČĔĥćąʃijčõĦėüĥĈıĞĈû þɿěĖIJďėIJĕĉĞĨčøʀĦĴċĖĞĽĦğėĥĎĐĭʀďėĤõġĎõĦėėĦĖİęķõ ÿĪĸûĖĥû Ĵĕɿĕøĩ ěĦĕĞĦĕĦėĊİöʀĦĊĪûĉęĦĈ ĕĦċĽĦİėīġĸ ûĕĦĉėĄĦčġĦğĦė ĴċĖ ıęĤøɿġĖĶ ďėĥĎijĞɿėĦĖęĤİġĩĖĈĈʀĦčġĦğĦėİĒĨĸĕİĉĨĕ ĉĦĕĖĬøĞĕĥĖċĩİĸ ďęĩĖĸ čĴď İþɿč İėīġĸ ûöġû 4USFFU 'PPE ďʅüüĬĎčĥ ĴĈʀčĽĦİĞčġĕĦõöĪĹčijğʀĴďĒėʀġĕĶ õĥĎõĦėıčĤčĽĦĐĭʀďėĤõġĎ õĦėijğʀĕĩĕĦĉėĄĦčĕĦõöĪĹč öʀġĞĽĦøĥāøīġĉʀġûĕĩõĦėİþīĸġĕIJĖû õĥĎĉɿĦûďėĤİċĜ IJĈĖijğʀİöĦĕĦİÿķč .06 ıęʀěõķċĽĦIJďėİüõĉʃ ėɿěĕõĥĎİöĦijčûĦčĎĦûİėīġĸ û ġĖɿĦûöġûĴĉʀğěĥč ċĽĦİėīġĸ ûĒĥĆčĦ ijčõĦėĉėěüěĨİøėĦĤğʃĞĦėĉõøʀĦû İþɿč ĞĦėďėĦĎĜĥĉėĭĒīþ IJĈĖijþʀĴġċĩĉėěüĞġĎüĦõğʀġû -BC ıęĤčġõüĦõčĩĹİėĦõķĖĥû ĴĈʀĞûɿ øčöġûİėĦĴďİėĩĖčėĭİʀ ėīġĸ ûĕĦĉėĄĦčõĦėĉėěüĞġĎĉɿĦûĶ üĦõõĦėċĽĦ .06 ıęʀěčĽĦĕĦİėĩĖčėĭʀĞėʀĦûĐĭʀďėĤõġĎõĦė ġĦğĦėıęĤġĦğĦėöġûĴċĖijğʀİõĨĈõĦėĖġĕėĥĎċĩĸĈĩĖĨĸûöĪĹčüĦõ ĉęĦĈČĬėõĨüıęĤĐĭʀĎėĨIJĔøư
Engineering Today March- April
2018
+8A '64/Ĝ1< 3 16/6'B Ę)4 '4A$ 5 A );I1 1< 3 16/6'E &D/ę"5 61&Ę6 &5I &; øĬćĖûěĬĆĨ ĴĈʀijþʀõęĖĬċČʃijčõĦėċĽĦûĦčIJĈĖijþʀğęĥõõĦėěĨİøėĦĤğʃěɿĦ ġĬĉĞĦğõėėĕġĦğĦėijčıĉɿęĤďėĤİĔċčĥĹč ğėīġijčČĬėõĨüčĥĹčĶ ĕĩİċėčĈʃ ġčĦøĉİďʇčġĖɿĦûĴė üĪûĉʀġûĕĩõĦėěĨİøėĦĤğʃċĥĹûijčďʅüüĬĎĥč ijčġčĦøĉ İĒīĸġ ċĽĦøěĦĕİöʀĦijüijčõĦėċĽĦčIJĖĎĦĖõĦėöĥĎİøęīĸġčġĬĉĞĦğõėėĕġĦğĦė ijğʀĒĥĆčĦıęĤõʀĦěĴďöʀĦûğčʀĦġĖɿĦûĖĥĸûĖīč ƯġĬĉĞĦğõėėĕġĦğĦėıĉɿęĤďėĤİĔċĕĩøěĦĕİýĒĦĤİüĦĤüû ĕĩõĦė İĉĨĎIJĉċĩĸıĉõĉɿĦûõĥčĉĦĕğʀěûöġûİěęĦıęĤõĦėĉġĎėĥĎüĦõĉęĦĈ ĈĥûčĥĹč ijčõĦėċĽĦõęĖĬċČʃĉʀġûijþʀõĦėěĨİøėĦĤğʃěɿĦġĬĉĞĦğõėėĕġĦğĦėċĩĸõĽĦęĥû üĤċĽ Ħ ijčıĉɿ ę ĤďėĤİĔċøī ġ ġĤĴė ıęʀ ě ġĬ ĉ ĞĦğõėėĕġĦğĦėöġûĴċĖ İėĦčĥĹčġĖĭɿĉėûĴğč ıęʀěĕġûĴďijčġčĦøĉěɿĦüĦõčĩĹĉɿġĴďġĬĉĞĦğõėėĕ ġĦğĦėüĤĕĩİċėčĈʃõĦėĒĥĆčĦĴďijčĈʀĦčijĈĎʀĦû İėĦĉʀġûċĽĦõĦėĜĪõĝĦ ċĽĦøěĦĕİöʀĦijü ĕġûğĦďʅāğĦıęĤġĬďĞėėøċĩĸİõĨĈöĪĹč ıęĤõķøɿġĖĶ ěĦû ıčěøĨĈöġûİėĦĉĦĕğęĥõ -PHJD ċĩĸİėĩĖčĕĦİďʇčöĥĹčĉġčøěĦĕøĨĈ øĨĈıĎĎ ĕĩõĦėěĦûıĐč ĕĩõĦėċĽĦûĦčİďʇčõėĤĎěčõĦė ĕĩİğĉĬĕĐĩ ę ċĽĦġĖɿĦûčĩĴĹ ĈʀĴğĕ ĕĩõĦėþĥĸûčĽĹĦğčĥõ ÿĪĸûĴĈʀčĽĦğęĥõ -PHJD ĕĦijþʀėɿěĕijčõĦėċĽĦûĦčIJĈĖĴĕɿėĭʀĉĥě ıęĤõķĴĈʀĊɿĦĖċġĈøčėġĎöʀĦûĈʀěĖõĦėĞġč ıĉɿijøėüĤİöʀĦijüıęĤčĽĦĴďijþʀ ĴĈʀöčĦĈĴğččĥĹčõķıęʀěıĉɿİöĦ İöĦĉʀġûİėĩĖčėĭʀ öěčöěĦĖĈʀěĖĉĥěİöĦİġû öʀ ġ ĞĽ Ħ øĥ ā øī ġ ċĩ ĕ ûĦč İėĦċĽ Ħ ûĦčøčİĈĩ Ė ěĴĕɿ Ĵ Ĉʀ ĉ ʀ ġ ûĕġĎğĕĦĖûĦč ĕġĎıęʀěĉʀġûĕġĎüėĨûĶ ĉʀġûĉĨĈĉĦĕ ıęĤõķĉʀġûĴěʀijüijčõĦėĕġĎğĕĦĖ ûĦččĥĹčĈʀěĖư
5 N6'4 < $6" { »À ³ÅÅ w³Æ·Ä»À¹ D/ę. 6 9I )8 16/6'.N6/'5 /%=Ę%6 čġõüĦõčĩĞĹ ĊĦĎĥčġĦğĦėĴĈʀĕõĩ üĨ õėėĕĈĭıęıęĤėĥĎĐĨĈþġĎĉɿġĞĥûøĕ ijčċĬõĶ ĈʀĦč IJĈĖijþʀøěĦĕėĭøʀ ěĦĕĞĦĕĦėĊıęĤøěĦĕİþĩĖĸ ěþĦāöġûĎĬøęĦõė ġĬďõėćʃİøėīĸġûĕīġċĦûěĨċĖĦĜĦĞĉėʃċĩĸċĥčĞĕĥĖ İĒīĸġĉġĎıċčõĦėİďʇč ĞɿěčėɿěĕöġûĞĥûøĕ õĨüõėėĕċĩĸĈĽĦİčĨčõĦėøīġ õĦėüĥĈċĽĦėĤĎĎøĬćĔĦĒ (.1 JO .BTT $BUFSJOH ijğʀõĥĎĞĊĦčċĩĸĐęĨĉġĦğĦėĞĽĦğėĥĎøčğĕĭɿĕĦõ IJĈĖİėĨĸĕĈĽĦİčĨčIJøėûõĦėĉĥĹûıĉɿďɷ Ē Ĝ ĕĬɿûİčʀčĈĽĦİčĨčõĦėijğʀõĥĎ IJėûĒĖĦĎĦęĔĦøėĥĄ ĞĊĦčĜĪõĝĦ ijğʀĕĩĞĊĦčċĩĸĐęĨĉġĦğĦėċĩĸĴĈʀĕĦĉėĄĦč ıęĤĕĩøěĦĕďęġĈĔĥĖĞĽĦğėĥĎĐĭʀĎėĨIJĔø IJėûĒĖĦĎĦęċĩĸĴĈʀėĥĎõĦėüĥĈċĽĦ ėĤĎĎøĬ ć ĔĦĒ ĴĈʀ ı õɿ IJėûĒĖĦĎĦęĜĨ ėĨ ė Ħþ IJėûĒĖĦĎĦęėĦĕĦČĨ Ď Ĉĩ IJėûĒĖĦĎĦęĕğĦėĦþčøėİþĩĖûijğĕɿ IJėûĒĖĦĎĦęĜėĩčøėĨčċėʃöġčıõɿč IJėûĒĖĦĎĦęĞûöęĦčøėĨ č ċėʃ IJėûĒĖĦĎĦęĞĕİĈķ ü ĒėĤĎėĕėĦþİċěĩ ć ĜėĩėĦþĦ ĞĊĦĎĥčĞĬöĔĦĒİĈķõığɿûþĦĉĨĕğĦėĦþĨčĩ ėěĕċĥĹûIJėûİėĩĖčċĩĸ ĴĈʀėĎĥ õĦėüĥĈċĽĦėĤĎĎøĬćĔĦĒ ĴĈʀıõɿ IJėûİėĩĖčĕğĨĈęěĨċĖĦčĬĞėćʃ IJėûİėĩĖč ijčĞĥûõĥĈõėĬûİċĒĕğĦčøė ığɿû
18
. 6 5 3 N6 6 'Ę+% 5 C ' 6'.Ę+ "'41 Ĝ.+ 8 ') 6 5+1&Ę6 16/6'%6 +Ę6 ¢¡ä 5+1&Ę6 %=) Ę6'+% +Ę6)ę6 6 øĬ ć ĖûěĬ ĆĨ õęɿĦěěɿĦ ĞĊĦĎĥč ġĦğĦėĴĈʀĕĩIJġõĦĞċĽĦûĦčėɿěĕõĥĎ IJøėûõĦėĞɿěčĒėĤġûøʃĞěčüĨĉėęĈĦ IJĈĖĴĈʀĈĦĽ İčĨčõĦėüĥĈċĽĦėĤĎĎøĬćĔĦĒ ûĦčĉėěüěĨ İ øėĦĤğʃ øĬ ć ĔĦĒ ûĦčďėĤõĥ č øĬ ć ĔĦĒ ûĦčĞġĎİċĩ Ė Ď İøėīĸ ġ ûĕī ġ ěĥ Ĉ ûĦčĜĪ õ ĝĦõĦėõėĤüĦĖøěĦĕėʀ ġ čijčğĕʀ ġ úɿ Ħ İþīĹ ġ 5FNQFSBUVSF %JTUSJCVUJPO 4UVEZ 5% ûĦčĜĪõĝĦõĦėıċėõĐɿĦč øěĦĕėʀġč )FBU 1FOFUSBUJPO 4UVEZ )1 4UVEZ õĦėĈĽĦİčĨčûĦč ċĥĹûğĕĈijčIJøėûõĦėĞɿěčĒėĤġûøʃĞěčüĨĉėęĈĦĕĩüĽĦčěčĉĥěġĖɿĦûġĦğĦė ĕĦõõěɿĦ ĉĥěġĖɿĦû ĕĭęøɿĦėěĕõěɿĦ ĎĦċ IJøėûõĦė ĞɿěčĒėĤġûøʃĞĕİĈķüĒėĤİċĒėĥĉčėĦþĞĬĈĦģ ĞĖĦĕĎėĕėĦþõĬĕĦėĩ ĔĭēĦɻ
ĈĽĦİčĨčõĦėĒĥĆčĦ ĞɿûİĞėĨĕ ıęĤĖõėĤĈĥĎĐęĨĉĔĥćąʃ ĔĦĖijĉʀIJøėûõĦė ĒėĤėĦþĈĽĦėĨ ĞĕİĈķüĒėĤİċĒėĥĉčėĦþĞĬĈĦģ ĞĖĦĕĎėĕėĦþõĬĕĦėĩ İĒīĸġ ĒĥĆčĦøĬćĔĦĒıęĤĖõėĤĈĥĎĐęĨĉĔĥćąʃġĦğĦėIJĈĖĕĩõĨüõėėĕĈĽĦİčĨčõĦė ĈʀĦčõĦėĒĥĆčĦĐęĨĉĔĥćąʃĎėėüĬĔć ĥ ąʃ ıęĤėĤĎĎøĬćĔĦĒġĦğĦėďęġĈĔĥĖ ijğʀĕĩĕĦĉėĄĦčĞĭɿėĤĈĥĎĞĦõę ĞėʀĦûĕĭęøɿĦİĒĨĸĕijğʀõĥĎĞĨčøʀĦ õĨüõėėĕõĦė đɸõġĎėĕğęĥõĞĭĉėõĦėĒĥĆčĦİĒīĸġĞėʀĦûġĦþĩĒĐĭʀĐęĨĉıęĤĎėĨõĦėġĦğĦė ĴċĖ IJøėûõĦėøěĦĕėɿěĕĕīġėĤğěɿĦû IJøėûõĦėĒėĤĈĦĎĞ üĥûğěĥĈþĦĖ ıĈčĔĦøijĉʀıęĤĞĊĦĎĥčġĦğĦė ėěĕċĥûĹ õĨüõėėĕõĦėđɸõġĎėĕİĒīġĸ ĒĥĆčĦ ĐĭʀďėĬûďėĤõġĎġĦğĦė ğėīġ Ēɿġøėĥě ıĕɿøėĥě ċĩĸüĤėĥûĞėėøʃİĕčĭġĦğĦė ijğʀĈĪûĈĭĈĐĭʀĎėĨIJĔø ėěĕĊĪûėĞþĦĉĨöġûġĦğĦėıĉɿęĤİĕčĭċĩĸüĤďėĬûġġõĕĦ
ijğʀĊĭõďĦõĐĭʀĎėĨIJĔøĕĦõċĩĸĞĬĈ ėĞþĦĉĨöġûġĦğĦėıęĤõĦė ĎėĨõĦėċĩĸİďʇčİęĨĜ ÿĪĸûİďʇčďʅüüĥĖĞĽĦøĥāċĩĸüĤþɿěĖėĥõĝĦĄĦč ęĭõøʀĦöġûČĬėõĨüĎėĨõĦėġĦğĦėİġĦĴěʀĴĈʀ ėěĕĴďĊĪûõĦėėĭʀüĥõ İċøčĨøğėīġěĨČĩċĩĸüĤĉõıĉɿûİĕčĭġĦğĦėijčõĦėüĥĈİĞĨėʃēİĒīĸġ İĒĨĕĸ ĕĭęøɿĦöġûġĦğĦėčĥčĹ Ķ ĉĦĕõėġĎöġûĖĬċČĜĦĞĉėʃ ďɷ öġûėĥĄĎĦęċĩĸĉʀġûõĦėöĥĎİøęīĸġčĖĬċČĜĦĞĉėʃþĦĉĨ
"5 6. 6 5 16/6' 6% C& 6& º³»¾³À¶ ä A'8I% ę 6 < )6 'D . 6 5 3 ĞĊĦĎĥčġĦğĦėĖĥûĴĈʀčĽĦčIJĖĎĦĖ 5IBJMBOE čĽĦ İċøIJčIJęĖĩċİĩĸ õĩĖĸ ěöʀġûĕĦėɿěĕöĥĎİøęīġĸ čĒĥĆčĦĞĊĦĎĥčġĦğĦė ijğʀİďʇčċĩĸėĭʀüĥõĕĦõĖĨĸûöĪĹč IJĈĖİėĨĸĕĉʀčüĦõĒčĥõûĦčıęĤøčijč ĞĊĦĎĥčġĦğĦėõɿġč ıęʀěøɿġĖĶ ĞīĸġĞĦėĞĭɿĔĦĖčġõĉɿġĴď ƯõĦėĒĥ Ć čĦĞĊĦĎĥ č ġĦğĦė İėĦċĽ Ħ ĉĦĕčIJĖĎĦĖ 5IBJMBOE öġûėĥĄĎĦę IJĈĖõɿġčċĩĸüĤĴďþɿěĖĐĭʀďėĤõġĎ õĦė øčijčĞĊĦĎĥčġĦğĦėĉʀġûİöʀĦijüõɿġčěɿĦ øīġġĤĴė õɿġčċĩĸüĤĴďĎġõijøė İėĦĉʀġûĞėʀĦûøěĦĕİöʀĦijüijğʀİöĦijč ėĤĈĥĎğčĪĸûõɿġč ıęʀěõķıčɿčġčijčİėīĸġûûĦčċĩĸİėĦċĽĦ õķĉʀġûĴď ĉĦĕčIJĖĎĦĖĉėûčĩĹġĖĭɿıęʀě İėĦõķĉʀġûĈĭIJĕİĈę 5IBJMBOE ċĩĸĈĩ İğĕĦĤĞĕõĥĎġĬĉĞĦğõėėĕõĥĎøęĥĞİĉġėʃıĉɿęĤďėĤİĔċ ĈʀěĖ İþɿč ġĬĉĞĦğõėėĕĈʀĦčďėĤĕûčIJĖĎĦĖ 5IBJMBOE
ĜĭčĖʃõĦėİėĩĖčėĭʀġĦğĦėĴċĖ 5IBJ 'PPE )FSJUBHF
19
Engineering Today
March- April
2018
ยังไมไดขบั เคลือ่ นมากนัก แตถา เปนอุตสาหกรรมเครือ่ งดืม่ ใชนโยบาย Thailand 4.0 ขับเคลื่อนไดอยางสบาย เพราะ ฉะนัน้ ตองคอยๆ ปรับตัวไปทีละขัน้ ใหเขารูว า ทําไมตองเปน Thailand 4.0 และในอนาคตคงจะมีหลายอุตสาหกรรมที่ ปรับระบบเปนแบบอัตโนมัตนิ าํ หุน ยนตและระบบเทคโนโลยี เขามาใชมากขึน้ หากไมมอี ะไรทีเ่ ปนหุน ยนตมาชวยทํางาน ก็จะลําบาก ในบางสวนไมจาํ เปนตองเปนอัตโนมัตทิ กุ อยาง ทั้ ง หมด แต เ ป น การปรั บ บางส ว นให เ ป น อั ต โนมั ติ ก็ ไ ด แล ว ข อ สํา คัญ ก็ คือ ตัว เจา ของ ทํา อยา งไรใหเ ขาเปลี่ยน Mindset ของเขา ในเรื่องของทีมงานที่ปรึกษา เรื่องของ การสื่อ สารการประชาสั ม พัน ธ ใ ห รู ว า ทํา ไมต อ งเปลี่ย น ขอมูลเหลานี้ตองใหเขา ไมเชนนั้นเขาจะไมยอมเปลี่ยน ตองสื่อสารมากๆ
จัดทําแผนการทํางานร วมกับทุกๆ หน วยงาน สร างความมั่นคงทางด านอาหาร
สําหรับวิสัยทัศนในการนําพาองคกรไปสูองคกรที่ ยั่งยืนนั้น คุณยงวุฒิ ไดวางแนวทางในการจัดทําแผนการ ทํางานรวมกับทุกๆ หนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อการสราง ความมัน่ คงทางดานอาหาร ใหผปู ระกอบการของไทยอยูไ ด ดวยตนเองและพรอมทีจ่ ะหาชองทางสนับสนุนในการพัฒนา สงเสริมผูป ระกอบการอาหารทุกๆ ชองทางอยางสมํา่ เสมอ เพือ่ ใหผปู ระกอบการไทยสรางโอกาสผลิตสินคาทีแ่ ขงขันได ในประเทศไทยและในระดับสากล “ผูประกอบการที่เขามาที่สถาบันอาหารมีดวยกัน หลายประเภท จากตั ว เลขของสถาบัน อาหารป จจุบั นมี ผูประกอบการดานอาหารอยูประมาณ 110,000 ราย มี รายใหญ ไมเกิน 600 ราย นอกนั้นเปนรายขนาดกลาง ขนาดเล็ก และรายยอย มีตั้งแตไมมีองคความรูเลย มาจาก อุ ต สาหกรรมอื่น แล ว จะมาทํา อุ ต สาหกรรมด า นอาหาร (Zero Knowledge) หรือวาบางคนเพิ่งจบใหมๆ แตวันนี้
เขาอาจจะมีเงินทุนแลวมาลงทุนทํา แตถาถามวาวันนี้จะทําอยางไรนั้น อยากบอกวางานในวันหนาจะไมเหมือนงานในวันนี้แลว คนจะไมมีงาน ทําเยอะ เขาก็เลยอยากเปนเจาของธุรกิจมากขึ้น อะไรเปนเทรนดของ คนสมัยนี้ที่จบมาแลวอยากเปนเจาของ เยอะไปหมดในปจจุบัน ทาง สถาบันอาหารตองมาดูแลอยางเต็มกําลังเพื่อใหผูประกอบการทุกๆ รายเติบโตกาวหนาในธุรกิจทีท่ าํ อยางยัง่ ยืนพึง่ ตนเองได หากมีขอ ปญหา ติดขัดก็พรอมรับฟงและหาทางแกไขปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นให และยินดี ที่จ ะหาชองทางการเรียนรูอื่นๆ เพิ่ม เติม มอบใหแกผู ประกอบการ อุตสาหกรรมอาหารไทยในทุกๆ ชองทาง เชน การเรียนเสริมความรู ตามที่ทางสถาบันอาหารไดทํา MOU ไวเพื่อใหผูประกอบการไทยมี การเรียนรูท เี่ พิม่ เติมตามยุคสมัยทีเ่ ปลีย่ นไป เพือ่ สรางโอกาสผลิตสินคา ที่แขงขันไดในประเทศไทยและในระดับสากล” คุณยงวุฒิ กลาวทิ้งทาย ทุกอยางคือการเรียนรูที่ไมมีวันสิ้นสุด แมแตบทบาทหนาทีใ่ นฐานะผูอ าํ นวยการสถาบันอาหารทีท่ าํ อยูใ นปจจุบนั ซึ่งตองมีการเรียนรูเพิ่มเติมทุกๆ ครั้งที่มีโอกาส โดยอาจจะอานหนังสือ ศึกษาเพิ่มเติมและเรียนรูจากการทํางานกับทีมงาน แลวนํามาปรับใช เพื่อใหกา วทันสถานการณการเปลีย่ นแปลงของโลกธุรกิจ
คุณยงวุฒิ เสาวพฤกษ ผู อํานวยการสถาบันอาหาร
Engineering Today March- April
2018
20
Engineering 4.0 • กองบรรณาธิการ
“เลือกเรียนวิศวกรรมศาสตร เพราะทํางานเพื่อสังคม ได หลายรูปแบบ”
สมาคมวิ ศ วกรไฟฟ า และ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส แ ห ง ประเทศไทย หรือ (Institute of Electrical and Electronics Engineers: IEEE Thailand Section) จั ด ตั้งขึ้ นตั้งแต ป พ.ศ. 2537 โดยเปนสมาคมที่ไมหวังผลกําไรตามเจตนารมณการ กอตั้งของ IEEE ระดับนานาชาติ ที่ทําหนาที่สงเสริม สนับสนุน และเปน แหลงใหความรูและขอมูลเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับไฟฟาและคอมพิวเตอร เพื่อพัฒนาวิชาชีพทางดานวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร ใหการสนับสนุนการ พัฒนาและประยุกตใชเทคโนโลยีการสือ่ สาร และเทคโนโลยีอนื่ ทีเ่ กีย่ วของ มีสมาชิกเปนวิศวกร นักวิจัย ที่มีความรู โดยสมาชิกจะแบงกลุมศึกษา เรื่องตามความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของแตละบุคคล IEEE จึงมีกลุม ศึกษาเรื่องเฉพาะดาน ทุกกลุมมีบทบาทในการสรางองคความรูใหม ทัง้ จัดประชุมวิชาการประจําป จัดประชุมวิชาเฉพาะเรือ่ ง กําหนดมาตรฐาน ทางไฟฟา คิดคนนวัตกรรม และเขียนรายการเผยแพรในรูปวารสาร วิชาการ องคความรูทั้งหมดไดถูกรวบรวมเพื่อจัดเก็บอยางมีระบบ ปจจุบนั สมาคมฯ มีสมาชิกประมาณ 700 คน มี ผศ. ดร.จิตรเกษม งามนิล ดํารงตําแหนงนายกสมาคมฯ คนที่ 7 ทําหนาที่ชวยสนับสนุน และเผยแพรวิทยาการและเทคโนโลยีชั้นสูงทางวิศวกรรมไฟฟาและ
21
อิเล็กทรอนิกสแกบุคลากรทางการศึกษาและวิศวกรของ ประเทศไทย เปนตัวแทนของประเทศไทยในสังคมวิศวกร ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสระดับนานาชาติ
เลือกเรียนวิศวกรรมศาสตร ต องการทํางานเพื่อสังคมหลายรูปแบบ
ผศ. ดร.จิตรเกษม งามนิล นายกสมาคมวิศวกร ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสแหงประเทศไทย หรือ IEEE Thailand Section เลาวา มีความสนใจดานวิศวกรรม ศาสตรมาตั้งแตเรียนในระดับมั ธยมศึ กษาตอนปลายที่ โรงเรียนเซนตคาเบรียลเพราะคิดวา คณะวิศวกรรมศาสตร สามารถทํางานเพื่อสังคมไดหลายรูปแบบ จึงไดตัดสินใจ สอบเขาเรียนตอระดับปริญญาตรี ที่คณะวิศวกรรมศาสตร สาขาไฟฟา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร ลาดกระบัง ป พ.ศ. 2529 และศึกษาตอในระดับปริญญาโท คณะวิ ศวกรรมศาสตร สาขาไฟฟา สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ป พ.ศ. 2533
Engineering Today
March- April
2018
“อยางตอนเลือกเรียนวิศวกรนั้น เพราะสามารถ ทํางานเพื่อสังคมไดหลายแบบ จบมาใหมๆ มีความรู มี ขอมูลมาเยอะมาก ก็คิดวาหากเปนอาจารยสอนหนังสือ จะไดนําความรูที่มีนั้นมาถายทอดใหกับนิสิ ตนั กศึ กษา เพื่อใหมีองคความรูใหมๆ ชวยสรางกระบวนการคิด ใหมๆ ใหเกิดการแกปญหาอยางเปนระบบ พรอมๆ กับเพิ่มเติม ความรูดานคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อใหนักศึกษาที่จบ ออกไปเปนบุคลากรที่มีคุณภาพของสังคม ทําใหสังคมเกิด การพัฒนาไดอยางยั่งยืน”
รับบทบาทสําคัญทั้งงานภาครัฐ-เอกชน พร อมพัฒนางานวิจัย-เขียนบทความ กว าร อยบทความ
เมื่อสําเร็จการศึกษาแลวไดเริ่มทํางานดานวิชาการ ระหวางป พ.ศ. 2533-2552 ในตําแหนงผูช ว ยศาสตราจารย สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส หัวหนาภาควิชา คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร และรองอธิการบดี ประจํามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีมหานคร โดยในขณะทํางานตามหนาที่ที่ไดรับ มอบหมายในแตละตําแหนงแลวยังแบงเวลาในการทํางาน ไปพัฒนางานวิจัยและหลักสูตรการเรียนการสอนทางดาน การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกสสาํ หรับประเทศไทยควบคู ไปกับการเขียนบทความวิจัยมากกวารอยบทความ และ ในชวงป พ.ศ. 2539 ไดศึกษาตอระดับปริญญาเอกดาน วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส การออกแบบวงจรรวมทีใ่ ชพลังงาน ตํ่ า มากสํ า หรั บ อุ ป กรณ ชี ว การแพทย ที่ ใ ช ใ นร า งกาย (IC Design) จาก Imperial College London, the University of London สําหรับการทํางานภาครัฐนั้น เมื่อป พ.ศ. 25492550 เคยรับราชการในฐานะเลขานุการรัฐมนตรีวาการ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นอกจากนี้ เมื่ อ ป พ.ศ. 2551-2552 เคยดํ า รงตํา แหน ง เปน คณะ กรรมการรัฐวิสาหกิจ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) และยังเคยเปนคณะอนุกรรมการขององคกรวิชาชีพ วิ ศ วกรรมและองค กรอิ ส ระ ตามวาระการแตง ตั้ง เชน สภาวิ ศ วกร สมาคมวิ ศ วกรไฟฟ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส แหงประเทศไทย และ คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคมแหงชาติ หรือ กสทช. เปนตน สวนการทํางานในภาคอุตสาหกรรมเมือ่ ป พ.ศ. 25532554 ไดเขาทํางานในตําแหนงรองกรรมการผูอํานวยการ ใหญสายบริหารกลยุทธ ที่บริษัท อินเตอรแนชั่นเนิลเอน
Engineering Today March- April
2018
จีเนียริง จํากัด (มหาชน) หรือ IEC และป พ.ศ. 2558 เปนประธาน เจาหนาที่บริหารรวม บริษัท อินเตอรเนชั่นแนล รีเสริช คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) โดยไดทํางานในการพัฒนาธุรกิจและโครงการสําคัญ ตางๆ ไดแก เทคโนโลยีทีวีดิจิทัล การออกแบบและกอสรางโรงไฟฟา พลังงานแสงอาทิตย โรงไฟฟาพลังงานความรอนจากขยะชุมชน มีความ สนใจในการพัฒนาโครงการเทคโนโลยีพลังงานทดแทนจากกระแสนํ้า และเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสเพื่อการเกษตรยุคใหมและระบบอัจฉริยะ สําหรับหมูบานหางไกล “หลัก Logic ทีเ่ รียนมาทีผ่ มมักจะนํามาใชในชีวติ และการทํางานคือ การลําดับความสําคัญในการทํางานกอนและหลัง คอยๆ ทํางานทุกๆ อยางใหสาํ เร็จลุลว ง ควบคูก บั การดูแลสุขภาพของตัวเองไปพรอมๆ กัน ยิ่งในยุคที่เทคโนโลยีเปลี่ยน ทุกอยางเปลี่ยน สภาพแวดลอมเปลี่ยน นอกจากนี้ทํางานทุกอยางตองตระหนักรับผิดชอบตอสังคมดวย”
เริ่มต นช วยงาน IEEE ในป พ.ศ. 2554 ได รับเลือกให เป นนายกสมาคมฯ ในป พ.ศ. 2560
ผศ. ดร.จิตรเกษม เลาถึงการเขามาทํางานใน IEEE วาเกิดจาก การพูดคุยชักชวนของเพื่อนๆ พี่ๆ ที่เรียนวิศวกรรมไฟฟาใหเขามาชวย ทํางานเมื่อป พ.ศ. 2554 ในหนาที่คณะกรรมการ และตอมาไดรับเลือก จากสมาชิ ก ให ดํ า รงตํ า แหน ง นายกสมาคมวิ ศ วกรไฟฟ า และ อิเล็กทรอนิกสแหงประเทศไทย ทั้งนี้ สมาคมวิศวกรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสแหงประเทศไทย กอตั้งขึ้นในป พ.ศ. 2537 ทําหนาที่เชนเดียวกับสมาคมวิศวกรไฟฟา และอิเล็กทรอนิกส Institute of Electrical and Electronics Engineers: IEEE ระดับนานาชาติ กอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2506 ที่สหรัฐอเมริกา คือ เปนสมาคม ทีไ่ มหวังผลกําไร ทําหนาทีส่ ง เสริม สนับสนุนและเปนแหลง ให ค วามรู แ ละข อ มู ล เทคโนโลยี ที่ เ กี่ ย วกั บ ไฟฟ า และคอมพิ ว เตอร เพื่อพัฒนาวิชาชีพทางดานวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร ใหการสนับสนุนการ พัฒนาและประยุกตใชเทคโนโลยีการสือ่ สาร และเทคโนโลยีอนื่ ทีเ่ กีย่ วของ มีสมาชิกเปนวิศวกร นักวิจัย ที่มีความรู ความสามารถจากทั่วโลก สําหรับ IEEE มียอดสมาชิกในประเทศไทยประมาณ 700 ทาน เทานั้น แตจริงๆ แลววิศวกรไฟฟาทุกสาขามีหลายหมื่นคน เพียงแตวา ในไทยยังไมไดรวบรวมเขามาในเครือขาย ซึง่ ตองใชเวลาอีกสักระยะหนึง่ อยางไรก็ตาม สมาชิกทั้ง 700 ทานลวนมีความรูและพรอมที่จะเรียนรู สิ่งใหมๆ เทคโนโลยีใหมๆ และพรอมที่จะนําประสบการณความรูของ แตละทานมาชวยกันทํางานทัง้ ในสมาคมฯ และในการถายทอดสูว ศิ วกร ที่ยังไมไดเปนสมาชิกของสมาคมฯ “ทุกคนทีเ่ ขามาชวยงานในสมาคมฯ ลวนตองการเห็นวิชาชีพวิศวกร ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสไทยมีบทบาทชวยเหลือสังคม ประเทศชาติ มี งานวิชาการที่วิจัยและคิดคนโดยคนไทยใหเปนที่ยอมรับในประเทศและ ในระดับสากลมากยิ่งขึ้น”
22
ยึดหลักทําหน าที่ให ดีที่สุด ต อยอดความรู ปรับใช ในการทํางาน
ในการทํางานในแตละที่ แตละบทบาท ผศ. ดร.จิตรเกษม ไดวาง กลยุทธในการทํางานและการใชชีวิตอยางเปนระบบและสมดุล มีการ นําความรูทุกๆ ดานทั้งที่เรียน และการทํางานมาปรับใช เพื่อใหงาน วิศวกรรมดานตางๆ ซึง่ เปนงานทีน่ า สนใจ มีความสนุก พรอมทัง้ ปรับตัว และการขวนขวายหาความรูใหมๆ มาใชในการทํางานและการใชชีวิต ใหกาวทันโลกและทันสถานการณตางๆ รอบตัวอยูเสมอ “เราพยายามทําหนาที่ของเรา ใหดีที่สุด ทั้งเรื่องการเรียนและงานที่ ไดรบั มอบหมาย อยางตอนเรียนหนังสือ ก็ทําหนาที่เรื่องของการเรียน พอมาถึง ชวงการทํางานจริงเราก็ทํางานอยาง เต็มที่ โดยแบงเวลาเรียนและเวลาทํางาน ใหเ ป น ซึ่ ง ไม จํ า เปน ตอ งจํา กัดเวลา จํากัดตัวเองในทุกๆ เรือ่ ง แตจะพยายาม รั ก ษาสมดุ ล ของการใช ชี วิ ต ในการ ทํางาน ทํางานใหสนุก ซึ่งในหลายๆ สาขา วิศวกรรมก็เปนงานที่นาสนใจ อยูแลว เราก็ยิ่งตองสนุกกับงานและ ทํางานออกมาใหมีผลงานที่ดี” “บางครั้งชีวิตในการทํางานจริง เราก็ มั ก จะได รั บ มอบหมายงานที่ หลากหลาย ไม ใ ช ไ ด รั บ มอบหมาย เฉพาะงานที่เราเรียนมาและเราถนัด เทานั้น ยังมีงานและการเรียนรูที่ไมมี วันหมดสิน้ เพราะฉะนัน้ ในฐานะทีเ่ ปน วิ ศ วกรก็ ต อ งมี ก ารปรั บ ตั ว อยู ต ลอด เวลา เราก็ ต อ งทํ า งานที่ ไ ด รั บ มอบ หมายอยางเต็มที่ และพยายามที่จะ ขวนขวายความรูใหมๆ เพื่อนํามาปรับ ใชในการทํางานอยางเต็มที่เพื่อใหงาน ที่ ทํ า ออกมาประสบความสํ า เร็ จ ที่ สําคัญเราตองมีทีมงานที่รวมทํางาน กับเราดวย ผมวาวิชาชีพวิศวกร จุดเดน ก็ คือ การทํ า งานเปน ทีม ป ญหาอะไร ตางๆ จะถูกสะสางไปดวยการใชความรู แบงปนขอมูลและชวยเหลือ ชวยกันคิด ชวยกันทํา”
ชี้การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีนับจากนี้ จะรุนแรงและรวดเร็ว
ผศ. ดร.จิ ต รเกษม กล า วว า ในยุ ค การสื่ อ สารที่ เปลี่ ย นแปลงอย า งรวดเร็ ว เราต อ งปรั บ ตั ว ตามยุ ค สมั ย โดยเฉพาะเรื่องการสื่อสารไรพรมแดนดวยแลวยิ่งตอง ปรับตัวหาความรูเพิ่มเติม และยิ่งประเทศไทยกําลังเขาสู ยุค Thailand 4.0 ถือเปนชวงจังหวะที่โลกของเรากําลัง ที่จะปรับเทคโนโลยีตางๆ นวัตกรรมสื่อสารรูปแบบใหม
ผศ. ดร.จิตรเกษม งามนิล
นายกสมาคมวิศวกรไฟฟ าและอิเล็กทรอนิกส แห งประเทศไทย หรือ IEEE Thailand Section 23
Engineering Today
March- April
2018
จะเขามา ขอมูลความรูมากมายจะเขามา หนวยงานทั้ง ภาครัฐ เอกชน ภาคการศึกษา และสวนที่เกี่ยวของอื่นๆ ตองเตรียมพรอมรับมือการเปลี่ยนแปลงเพื่อชวยกันนํา ความรู การสื่อสารที่ไดรับมาพัฒนาประเทศ “การสื่อสารจากนี้จะทําใหโลกเปลี่ยนไปมากและ เปลี่ยนไปจนนาตกใจ อยางตอนสมัยที่ผมเรียนชวงนั้นจะ เปนยุคที่มนุษยไปเหยียบดวงจันทรก็มีความตื่นเตนใน ระดับที่นาตกใจแลวเพราะสมัยนั้นการสรางยานอวกาศ และการคิดคนที่จะไปดวงจันทรเปนเรื่องที่แปลกใหมและ นาสนใจเปนอยางยิง่ สวนในยุคปจจุบนั เปนยุคใหมทมี่ นุษย เราพยายามที่จะไปตั้งรกรากอยูบนดาวอังคารหรือแม กระทัง่ หาทีอ่ ยูใ นอวกาศ หาทีอ่ ยูย งั ดาวดวงใหมๆ ซึง่ หลายๆ สิ่ง หลายๆ อยางในหวงจักรวาล ในยุคสมัยกอนมีขอมูล นอยมากแตกอน แตปจจุบันไดถูกไขปริศนาออกมาเยอะ มากจากการคิดคนพิสจู นของมนุษย ทําใหการเดินทางออก สูจักรวาล ออกไปนอกสุริยะจักรวาล ออกไปไดไกลขึ้น เร็วขึ้น ดวยเพราะมีการคิดคนเทคโนโลยีใหมๆ มารองรับ มาชวยในการสรางสิง่ ทีจ่ ะไปนอกจักรวาล สรางเทคโนโลยี ที่ตองการพิสูจนทฤษฎีและสมมติฐานเพื่อหาคําตอบใน เรื่องราวเกี่ยวกับจักรวาลและทุกๆ เรื่องราวที่มนุษยตอง การที่จะรู ซึ่งการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีจากนี้จะเห็นการ เปลี่ยนแปลงที่รุนแรงและรวดเร็ว”
แนะวิศวกรหมั่นหาความรู ใหม ให ทันกับโลกยุคดิจิทัล
“เราตองยอมรับความจริงวาเทคโนโลยีเมื่อ 20 ป ความรูที่เรียนมา ลาหลังอยางชัดเจน เมื่อเรารูตัวอยูแลว เราก็ ต อ งพั ฒนาตนเองอยู เสมอและตลอดเวลา ก็ไมมี อะไรที่นาจะเปนหวง แตกลับเปนโอกาสดวยซํ้าหากเรา สามารถที่จะพัฒนาตนเองใหเหนือกวาคนอื่นที่เขามอง โอกาสนี้ไมเห็น อยากใหตระหนักวาเราคือวิศวกรของโลก ไมใชแควิศวกรภายในประเทศเทานั้น พยายามหาโอกาส ในเรื่องชีวิตการทํางานใหไดกวางขึ้น หนาที่การงานที่ไหน เพิ่มพูนความรูใหตนเองใหโตตามยุคสมัยอยางรูเทาทัน และดวยการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วนี้เอง ผมมองวา วิ ช าชี พวิ ศ วกรต อ งตระหนักและหมั่นหาความรู ใ หม มี ความรูร อบตัวในเรือ่ งของเทคโนโลยีของโลกอยูต ลอดเวลา เพื่อที่จะปรับตัวใหทันกับโลกยุคดิจิทัล วิชาความรูที่เคย เรียนมาในอดีต อาจจะไมจาํ เปนในโลกอนาคต แตตอ งมีไว เปนฐานความรูเมื่อจะหยิบมาใชงานตอนไหนก็สามารถที่
Engineering Today March- April
2018
จะใชไดเลยและตองปรับตัวในการหาความรูใหมๆ ตองไปขวนขวายหา ขอมูลเพิ่มใหมากที่สุดแลวถายทอดสูคนรุนตางๆ ดวย อยาเก็บความรู ไวคนเดียวตองแลกเปลี่ยนกับสวนอื่นๆ ในการทํางาน ในการเรียนรู เพราะวิศวกรเราจะเกงและทํางานคนเดียวไมได เชนกันในการทํางาน ในสมาคมฯ สมาชิกทุกทานก็ตองชวยกันระดมความคิดทํางานอยาง เต็มที่”
ทํางานอย างมีความสุข รักษาสมดุลชีวิต
สําหรับปรัชญาในการดําเนินชีวิตของ ผศ. ดร.จิตรเกษม จะเนน การทํางานใหมีความสุขไปพรอมกับการรักษาสมดุลชีวิต ในการทํางาน ชวยเหลือสังคม ประเทศชาติในกําลังที่สามารถทําได “วิศวกรทําหนาที่พัฒนาสรางสิ่งตางๆ ขึ้นเพื่อใหเพื่อนมนุษย นําไปใชใหไดรับความสะดวกสบาย มีความปลอดภัย มีประสิทธิภาพ ใชงานอยางคุม คา เพราะฉะนัน้ การทํางานใดๆ ทีเ่ กีย่ วของกับเพือ่ นมนุษย เครื่องมื อเครื่ องใชต างๆ ที่ใช ในชีวิต ประจําวัน ระบบการคมนาคม Infrastructure ตางๆ หรือแมแตการใชงานที่ไมเกี่ยวของกับเทคโนโลยี ตางๆ เรื่องของอุปกรณหรือเรื่องนโยบายที่เกี่ยวของ วิศวกรเราจะ ตระหนัก คิด หาความรู ม าสรางจัด ทําขึ้นใหสิ่งที่จะออกมานั้นเกิด ประโยชนสูงสุดในการใชงาน” ผศ. ดร.จิตรเกษม กลาวในทายที่สุด
24
Digital Economy @Engineering Today Vol. 2 No. 164
Digital • กองบรรณาธิการ
ปณท จับมือ กสิกรไทย ยกระดับระบบการเงินในองค์กรด้วย QR Payment นําร่องใช้กับกลุ่มบุคลากร-กลุ่มธุรกิจเครือข่าย
บริษัท ไปรษณียไทย จํากัด (ปณท) มุงหนาสูการเปนองคกร ยุคใหมที่ขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม รุกจับมือ ธนาคารกสิกรไทย สราง “สังคมไปรษณียไทยยุคใหม ไมใชเงินสด” (Thailand Post Cashless Society) เริ่ ม นํา รอ งดว ยการประยุกตใ ชร ะบบชําระเงิน ผานระบบ คิวอารโคด (QR Code) สําหรับกลุมบุคลากร กลุมธุรกิจเครือขาย คูคา ประจําของไปรษณียไทย ชวยอํานวยความสะดวกในการจัดทําบัญชี สามารถออกรายงานสรุปยอดรับชําระไดทกุ วัน ในขณะเดียวกันผูใ ชงาน สามารถทราบผลการชําระเงินไดทนั ทีผา นระบบแจงเตือนในแอพพลิเคชัน่ โมบาย แบงกิ้ง ทั้ ง นี้ สมร เทิ ด ธรรมพิ บู ล กรรมการผู จั ด การใหญ บริ ษั ท ไปรษณียไทย จํากัด และปรีดี ดาวฉาย กรรมการผูจัดการ ธนาคาร กสิกรไทย ไดรวมลงนามในพิธีบันทึกขอตกลงความรวมมือ การเปดใช บริการรับชําระเงินดวยระบบคิวอารโคด (QR Code) เพื่อสราง “สังคม ไปรษณียไทยยุคใหม ไมใชเงินสด” (Thailand Post Cashless Society) เมือ่ เร็วๆ นี้ ณ อาคารบริหาร บริษทั ไปรษณียไ ทย จํากัด สํานักงานใหญ (แจงวัฒนะ)
Engineering Today March- April
2018
26
สมร เทิดธรรมพิบูล กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ไปรษณียไทย จํากัด (ปณท)
สมร เทิดธรรมพิบูล กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท ไปรษณียไทย จํากัด (ปณท) กลาววา ในป พ.ศ. 2561 ไปรษณียไ ทย ไดมงุ หนาสูก ารเปนองคกรยุคใหมทขี่ บั เคลือ่ น ดวยนวัตกรรม มุงเนนประยุกตใชนวัตกรรมใหมๆ เพื่อการ พัฒนา ขับเคลื่อนธุรกิจทั้งระบบงานภายในและบริการ
ภายนอก ซึ่ งสอดคลอ งกับหั ว ขอ “การสงเสริมการสรางนวั ตกรรมภายใน องคกร” (Responsive to Innovation) หนึ่งใน 5 หลักสําคัญตามกลยุทธ THP POWER เพื่อมุงหนาสูการเปน ไปรษณียไทย 4.0 อยางสมบูรณแบบ ซึ่งเปนที่มาของความรวมมือระหวาง บริษัท ไปรษณียไทย จํากัด และ ธนาคาร กสิกรไทย ในการเดินหนาสราง “สังคมไปรษณียไทยยุคใหม ไมใชเงินสด” (Thailand Post Cashless Society) สอดคลองกับกระแสโลกและทิศทาง ของทางรัฐบาล ในระยะแรกเริ่ม ไปรษณียไทยจะเปดชองทางการรับชําระเงินผานระบบ คิวอารโคด (QR Code) สําหรับบุคลากรภายใน และคูค า ประจําของไปรษณียไ ทย ที่ทําธุรกรรมทางการเงินกับฝายการเงินของไปรษณียไทย ซึ่งจะทําใหผูติดตอ สามารถใชสมารทโฟนสแกนคิวอารโคด เพื่อชําระและรับเงินเขาบัญชีธนาคาร โดยไมตองใชเงินสด ชวยอํานวยความสะดวกในการจัดทําบัญชี สามารถออก รายงานสรุปยอดรับชําระไดทุกวัน ในขณะเดียวกัน ผูใชงานก็สามารถทราบ ยอดเงินเขาออกไดทนั ทีผา นขอความเอสเอ็มเอส (SMS) ในสวนของคาธรรมเนียม สําหรับผูใชบริการที่ไมไดใชบัญชีธนาคารกสิกรไทย จะมีอัตราคาธรรมเนียมที่ เปนไปตามหลักการธนาคารแหงประเทศไทยกําหนด ดาน ปรีดี ดาวฉาย กรรมการผูจัดการ ธนาคารกสิกรไทย กลาววา ธนาคารกสิกรไทยและบริษัท ไปรษณียไทย จํากัด มีแนวทางดําเนินธุรกิจที่ สอดคลองกัน ในการแสวงหานวัตกรรมใหมๆ เพื่อยกระดับการใหบริการ อยางตอเนื่อง ความรวมมือครั้งนี้สะทอนภาพการมุงสูการเปนไปรษณียไทย
ปรีดี ดาวฉาย กรรมการผูจัดการ ธนาคารกสิกรไทย
4.0 ทีช่ ว ยลดการใชเงินสดอยางแทจริง โดยธนาคาร กสิกรไทยไดดาํ เนินการติดตัง้ เครือ่ ง EDC ทีส่ ามารถ สร าง Dynamic QR Code ซึ่งเปนคิวอารโคด ที่ถู กสร างตามมู ลคาเงิ นที่ต องชําระจริง ที่ส วน เงิ น สดของไปรษณี ย ไ ทย เพื่ อ ให พ นั ก งานและ
ปณท และธนาคารกสิกรไทย ผนึกกําลังเปดใชบริการรับชําระเงินดวยระบบคิวอารโคด (QR Code) สรางสังคมไปรษณียไทยยุคใหม ไมใชเงินสด
27
Engineering Today
March- April
2018
คูคาของทางไปรษณียไทยที่มีแอพพลิเคชั่น K PLUS และแอพพลิ เ คชั่ น โมบาย แบงกิ้ง ทุ ก ธนาคาร สแกนเพื่ อ ชํ า ระเงิ น ได ง า ยขึ้ น ชวยเพิ่มความสะดวก ปลอดภัย จากการลด ภาระการถือเงินสดติดตัวจํานวนมากใหแก ผูชําระเงิน และสามารถทราบผลการชําระเงิน ไดทันทีผานระบบแจงเตือนในแอพพลิเคชั่น โมบาย แบงกิ้ง ในขณะเดียวกันก็จะชวยเพิ่ม ประสิทธิภาพการจัดการเงินสดใหแกไปรษณีย ไทย ลดขั้ น ตอนเรื่ อ งเงิ น ทอน ลดความเสี่ยง ในการถือเงินสดจํานวนมากไปฝากธนาคาร อย า งไรก็ ต าม หลั ง จากทดลองให บริการที่สาขาแจงวัฒนะแลว ธนาคารฯ ก็มี ความพรอมทีจ่ ะขยายความรวมมือกับไปรษณีย ไทยในอนาคต รวมทั้งการศึกษาแนวทางการ ติดตั้ง EDC ที่สามารถสราง Dynamic QR Code ได เพื่ อ เปน ทางเลือ กหนึ่ ง ในการให
Engineering Today March- April
2018
ความสะดวกแกผใู ชบริการไปรษณีย ทีท่ าํ การไปรษณีย รวมเคานเตอรรบั ฝาก จํานวน 1,427 สาขาทั่วประเทศ
28
Digital • กองบรรณาธิการ
EGA สงโปรแกรม DTP
เสริมทักษะบุคลากรภาครัฐสู่ข้าราชการดิจิทัล รับยุค 4.0 ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน รัฐมนตรีวาการกระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม เปนประธานในพิธีเปดงาน การเปลี่ยน ผานสูรัฐบาลดิจิทัล “กุญแจสําคัญในการยกระดับทักษะดิจิทัล ข า ราชการและบุ ค ลากรภาครั ฐ ” จั ด โดย สํ า นั ก งานรั ฐ บาล อิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน) หรือ EGA เพื่อสนับสนุนให สวนราชการมีกรอบการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพกําลังคน ภาครัฐใหมีทักษะดานดิจิทัลที่เหมาะสม สามารถนําเทคโนโลยี ดิจทิ ลั มาใชใหเกิดประโยชนสงู สุด เพือ่ เปนกลไกขับเคลือ่ นทีส่ าํ คัญ ในการเปลี่ยนผานสูรัฐบาลดิจิทัล ตามที่ไดรับมอบหมายจาก พลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี ให สถาบันพัฒนา บุคลากรดานดิจิทัลภาครัฐ (Thailand Digital Government Academy : TDGA) โดย สํ า นั กงานรัฐบาลอิเ ล็ก ทรอนิกส (องคการมหาชน) เปนแกนหลักในการบริหารจัดการฝกอบรม พัฒนาทักษะดานดิจิทัลสําหรับขาราชการและบุคลากรภาครัฐ ใหผูที่ผานการอบรมเปน ผูนําดานดิจิทัล ของหนวยงานภาครัฐ ที่สามารถนํานวัตกรรม (Innovation Base) มาปรับปรุงการให บริการหรือพัฒนา การเชื่อมโยงขอมูลระหวางหนวยงานภาครัฐ และประชาชนอยางเปนระบบ รวมถึงการสรางคุณคาจากขอมูล เพื่ อ นํ า ไปสู การเป ดเผยขอ มูล (Open Government) ที่เปน ประโยชนตอสาธารณะ ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน รัฐมนตรีวาการกระทรวงดิจิทัล เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม กลาววา ยุทธศาสตรหลักของแผนพัฒนา ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม คือการพัฒนาไปสูรัฐบาลดิจิทัล (Digital Government) มุงเนนความ “มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” ของประเทศ ซึ่งการยกระดับขีดความสามารถเชิงดิจิทัลภาครัฐ ไทยสูการเปนรัฐบาลดิจิทัลนั้น ตองตั้งอยูบนพื้นฐานของการ ดําเนินการ 4 ประการ ไดแก การบูรณาการภาครัฐ (Government Integration) การดําเนินงานแบบอัจฉริยะ (Smart Operation) การใหบริการโดยมีประชาชนเปนศูนยกลาง (Citizen-centric Service) และการสนั บ สนุ น ให เ กิ ด การขั บ เคลื่ อ นไปสู ก าร เปลี่ยนแปลง (Transformation) พรอมกาวสูการพัฒนาบริการ ดิ จิ ทั ล (Government Digital Service) ที่มีการบูรณาการ ระหวางหนวยงาน ตั้งแตการเชื่อมโยงขอมูล บริการ ไปจนถึง การดําเนินงาน เพื่อยกระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและ การใหบริการของรัฐ ทั้งในระดับหนวยงานยอยไปจนถึงระดับ
ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน รัฐมนตรีวาการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม หรือ DE
กระทรวง ตามแบบแนวคิดของประเทศที่ประสบความสําเร็จใน การเปลีย่ นผานบริการภาครัฐสูย คุ ดิจทิ ลั อยางเชน สหราชอาณาจักร และออสเตรเลีย ในป พ.ศ. 2561 ทั้งปรัฐบาลจะมุงเนนเรื่อง Big Data โดย ใหมกี ารบริหาร Big Data ระหวางกระทรวงตางๆ ทีเ่ กีย่ วของ เชน การบริหารจัดการนํ้า ซึ่งมีหนวยงานที่เกี่ยวของหลายกระทรวง ทั้ ง กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม กระทรวง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และกระทรวงเกษตรและสหกรณ ถาทําสําเร็จเชื่อวา e-Government จะเกิดขึ้น “ขณะนี้มีสัญญาณที่ดีขึ้นในเรื่อง Big Data หากทําให เกิดขึ้นไดในระดับกระทรวงที่มีมากกวา 20 กระทรวง โดยมีการ ตัง้ คณะกรรมการ Big Data, Data Center และ Cloud Computing โดยมอบหมายใหพลอากาศเอกประจิน จัน่ ตอง รองนายกรัฐมนตรี
29
Engineering Today
March- April
2018
เปนประธาน และผมเปนรองประธาน ทัง้ นีจ้ ะมีการเชิญผูเ ชีย่ วชาญ จาก 20 กระทรวงมาแลกเปลี่ยนและรันวิธีการทํางาน Big Data ตั้งแตตนจนจบ พรอมหารือวาแตละกระทรวงจะดําเนินการ เกี่ยวกับ Big Data อยางไร และมอบการบานใหแตละกระทรวง ไปจัดการ เชน กระทรวง A หนึง่ ตองใหนยิ ามวา Big Data คืออะไร สอง ขอมูล Big Data ทีเ่ ก็บไวมขี อ มูลอิเล็กทรอนิกสอยูใ นสวนไหน หนาตาอยางไร และใครดูแล สาม โจทยของกระทรวงทีจ่ ะใชประโยชน จาก Big Data คืออะไร แสดงวาวันนี้ไมไดเริ่มตนจากศูนย” ดร.พิเชฐ กลาว ประโยชนของ Big Data อยูที่การนําขอมูลมาวิเคราะหให เกิดชุดความรูที่สามารถนําไปใชประโยชนได เชน ใชวางแผน ตัดสินใจและวางมาตรการใหมๆ ซึ่งจะเปนการบริหารประเทศ บนพื้นฐานของขอมูล เพื่อนําไปสู Digital Thailand
ดร.ศักดิ์ เสกขุนทด ผูอํานวยการสํานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน) หรือ EGA
Engineering Today March- April
2018
30
ดร.ศั ก ดิ์ เสกขุ น ทด ผู อํ า นวยการสํ า นั ก งานรั ฐ บาล อิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน) หรือ EGA กลาววา ลาสุด TDGA ไดนําโปรแกรมการเปลี่ยนผานบริการภาครัฐสูยุคดิจิทัล (Digital Transformation Program : DTP) ซึ่งเปนโปรแกรมการ อบรมเชิงปฏิบัติการที่นําโจทยจากการบริการจริงมารวมปฏิบัติ การคนหาความตองการของผูบริโภค รวมกันคิดคนคําตอบและ รวมทดสอบกับกลุมเปาหมายจริง โดยอาศัยกระบวนการเปลี่ยน ผานภาครัฐ มุง เนนผลสัมฤทธิ์ (Outcome-driven Transformation) ที่มีการปรับเปลี่ยนองคกรแบบครบวงจร (End-to-End Transformation) โดยใชห ลักการของ Service Design และ Agile Development โดยมีหนวยงานภาครัฐที่นํารองเขามามีสวนรวม กับโครงการ Digital Transformation Program จํานวน 5 หนวยงาน ดังนี้ 1. กรมสรรพากร : ระบบเงินบริจาคผาน QR CODE (e-Donation QR CODE) 2. กรมการจัดหางาน : ระบบ บริการจัดหางานเพื่อเด็กจบใหม 3. กรมพัฒนาธุรกิจการคา : ระบบคลังขอมูลธุรกิจ 4. สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ : ระบบตรวจสอบสิทธิ์และเปลี่ยนหนวยบริการผาน Mobile Application และ 5. สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน : การอนุมัติใหการสงเสริมแบบอัตโนมัติ นอกจากนี้สถาบัน TDGA ยังไดจัดโครงการอบรมสําหรับ ผูบริหารหนวยงานภาครัฐ จํานวน 3 หลักสูตร ไดแก 1. หลักสูตร รัฐบาลอิเล็กทรอนิกสสาํ หรับผูบ ริหารระดับสูง (รอส.) 2. หลักสูตร นักบริหารรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส 3. หลักสูตรการบริหารยุทธศาสตร องคกรดวย Enterprise Architecture (EA) ซึ่งไดรับการตอบรับ จากหนวยงานภาครัฐเขารวมอบรมเปนจํานวนมาก โดยปจจุบัน TDGA มีชองทางการเรียนรูใหเลือกหลากหลายชองทาง อาทิ e-Learning อบรมรวมกับหลักสูตรของหนวยงานภาครัฐอื่น การจัดอบรมรวมกับเครือขายความรวมมือ อบรมตามความ ตองการของหนวยงานภาครัฐนั้นๆ โดยเฉพาะ
Design • กองบรรณาธิการ
งาน SOLIDWORKS World 2018 จัดขึ้นครั้งที่ 20 ชู 5 องคประกอบใหม มุงตอบโจทยผูใชและโลกอนาคต กลับมาสรางปรากฏการณในวงการออกแบบทาง ดานวิศวกรรมอีกครั้ง สําหรับ งาน SOLIDWORKS World 2018 งานประชุ ม ประจํ า ป เ พื่ อ ประชาคม นักออกแบบและวิศวกรดาน 3D ซึง่ บริษทั แดสสอลท ซิสเต็มส (Dassault Systèmes) ผูนําของโลกดาน ซอฟต แ วร ก ารออกแบบ 3 มิ ติ แ ละแพลตฟอร ม 3DEXPERIENCE จัดขึ้นเปนครั้งที่ 20 ภายใตแนวคิด หลัก คือ “THINK FUTURE, THINK INNOVATION และ THINK NEXT IS NOW” โดยปนี้วิศวกร สถาปนิก นักออกแบบจากทั่วโลกที่มารวมงานกวา 5,000 คน สามารถอั พ เดตเทคโนโลยี ใ หม ล า สุ ด ผ า นหั ว ข อ การ ประชุมกวา 200 Session และผลงานจัดแสดงกวา 120 โซลูชนั่ ตลอด 4 วันของการจัดงาน ณ ศูนยประชุม แหงมหานครลอสแอนเจลิส ประเทศสหรัฐอเมริกา
SOLIDWORKS ชู 5 องค ประกอบใหม ตอบโจทย ผู ใช และโลกอนาคต Gian Paolo Bassi ซีอีโอ แดสสอลท ซิสเต็มส ประธาน ในพิธีเปดงาน SOLIDWORKS World 2018 กลาวตอนรับ ผูเ ขารวมงาน พรอมเนนวามี 2 เรือ่ งหลักทีบ่ ริษทั ฯ ยึดมัน่ เสมอมา คือ ประชาคมผูใช SOLIDWORKS ทั้งหลายและโลกอนาคต สําหรับโลกอนาคตกําลังเขาสูย คุ Industrial Renaissance ซึง่ เปน ยุคที่จักรกลจะเขามาชวยมนุษยขยายความรูและความสามารถ ในการออกแบบและสรางสรรคสงิ่ ใหมๆ ทัง้ นี้ แดสสอลท ซิสเต็มส พรอมพัฒนาเครื่องมือสนับสนุนใหประชาคม SOLIDWORKS ไดนําไปใช เพื่อตอบโจทยโลกอนาคตนี้ ประกอบดวย 5 องค ประกอบใหมๆ คือ 1) 3DEXPERIENCE Social Collaborative Services เปนการนําวิถที างแนว Social Media มาใชในการระดม สมองและทํางานรวมกันของเหลาวิศวกรและนักออกแบบ เพื่อ ใหสรางสรรคงานไดงา ยขึน้ 2) SOLIDWORKS 3DEXPERIENCE
Gian Paolo Bassi ซีอีโอ แดสสอลท ซิสเต็มส ประธานในพิธีเปดงาน SOLIDWORKS World 2018
PLM Services เป น การจั ด การวงจรชี วิ ต ของข อ มู ล ในการ ออกแบบทั้งหมด การจัด การการเปลี่ยนแปลง จนถึงการทํา โครงการ โดยทําการยายขอมูลทั้งหมดขึ้นสูคลาวด และสามารถ นําชิ้นงานเกากลับมาทําเพิ่มความสามารถใหมๆ เพียงแคคลิก เมาส ซึ่งใชไดกับทุกอุปกรณผาน 3DEXPERIENCE Viewer และ 3DEXPERIENCE Platform 3) SOLIDWORKS Product Designer นํา GVK ความสามารถในการออกแบบอยางครบถวน สมบูรณเขามาไวดว ยกัน ไดแก Parts, Assemblies, Sheet Metal, Motion Simulation และ Drawings 4) SOLIDWORKS xDesign แอพพลิเคชั่นในการออกแบบโมเดลที่สามารถทํางาน ไดบน Browser และทุกๆ อุปกรณ ทําใหสามารถทํางาน CAD ไดทกุ เวลา ทุกสถานที่ และบนทุกๆ อุปกรณ (Anytime, Anywhere and on Any Device) และ 5) 3DEXPERIENCE Marketplace เปนตลาดกลางเชื่อมตอผูออกแบบเขากับโรงงานผูผลิตทั่วโลก เหมือน Amazon สําหรับนักออกแบบ
31
Engineering Today
March- April
2018
เปลี่ยนเป น Digital Manufacturing ด วย SOLIDWORKS ทําให ทํางานดีขึ้น-ง ายขึ้น-รวดเร็วขึ้น Jim และ Mike Ring จาก Ringbrothers ผูเชี่ยวชาญ การออกแบบรถยนตต ามความต อ งการเฉพาะของลูก ค า แตละราย ไดนาํ เสนอวิธกี ารออกแบบเครือ่ งยนต 1,036 แรงมา ที่โดงดังของเขาภายใตชื่อ Javelin ซึ่งออกแบบและผลิตโดย ใช SOLIDWORKS และ SOLIDWORKS CAM ทั้งนี้ Jim และ Mike Ring ไดอธิบายวาการเปลี่ยนไปเปน Digital Manufacturing โดยใช SOLIDWORKS ทําใหทํางานดีขึ้น งายขึ้น และรวดเร็วขึ้น พรอมกันนี้ไดนํารถยนต Javelin มา แสดงบริเวณทางเขางานซึง่ ไดรบั ความสนใจจากผูเ ขารวมงาน เปนอยางมาก
รถยนต Javelin ผลิตดวยระบบ Digital Manufacturing ไดรับความสนใจจากผูเขารวมงาน
2 Guest Speaker ร วมแบ งป นประสบการณ ใช SOLIDWORKS สร างผลงานสุดลํ้าเป นที่กล าวขาน ไฮไลทของงาน คือ การปรากฏตัวของ Guest Speaker คนสําคัญอยาง Neri Oxman ซึง่ เปนทีร่ จู กั ในวงการศิลปะ สถาปนิก ที่สามารถผสมผสานชีววิทยา คอมพิวเตอร และวิศวกรรมวัสดุ เข า ด ว ยกั น กับบทบาทในฐานะสถาปนิก นักออกแบบ และ ศาสตราจารย หัวหนาทีมวิจัย Mediated Matter ประจํา Lab Media, MIT ทีไ่ ดมารวมแบงปนประสบการณในการใช 3D Printing และเทคนิคการประดิษฐการออกแบบวัตถุดบิ สี ความแข็ง รูปราง โดยไดรบั แรงบันดาลใจจากธรรมชาติและชีววิทยา ผลงานทีน่ า ทึง่ คือ การปรับปรุงเทคนิคการพิมพ 3 มิติ G3DP (Glass 3D Printing)
จนสามารถสรางปรากฏการณงานพิมพโดยใชแกวเปนวัสดุได สําเร็จเปนครั้งแรก สวน Brent Bushnell วิศวกรและซีอีโอ ผูรวมกอตั้ง บริษัท Two Bit Circus ซึ่งไดนํา SOLIDWORKS มาใชในธุรกิจ บันเทิงในอนาคต เลาถึงการรวมมือกันกับ Google Virtual Reality และ NPL Films ในการสรางภาพที่สามารถมองดูไดครบทุกมุม 360 องศาใหแกทมี อเมริกนั ฟุตบอล Philadelphia Eagles เพือ่ จะ ไดเตรียมตัวกอนเขาแขงขัน นอกจากนั้น Two Bit ยังพัฒนา สวนสนุกขนาดยอม ขนาด 50,000 ตารางฟุตบอล VR (Virtual Reality) หรือโลกเสมือนจริง รวมทั้งมองวารานคาปลีกจะมีการ เปลี่ยนแปลง โดยนําเทคโนโลยี VR มาใชเพื่อเพิ่มความสะดวก สบายในการจับจายใชสอย
Brent Bushnell วิศวกรและซีอีโอ ผูรวมกอตั้งบริษัท Two Bit Circus นํา SOLIDWORKS มาใชในธุรกิจบันเทิง
Engineering Today March- April
2018
Neri Oxman สถาปนิก นักออกแบบ และศาสตราจารย หัวหนาทีมวิจัย Mediated Matter ประจํา Lab Media, MIT
32
Exoskeletons ช วยเหลือผู พิการให กลับมาเดินได อีกครั้ง นวัตกรรมที่สร าง Impact ต อสังคม
Exoskeletons เพื่อชวยเหลือผูพิการใหสามารถเดินไดอีกครั้ง โดย SG Robotics เกาหลีใต
นํา IoT มาใช งานร วมกับ 3D Printing สร างนวัตกรรมใหม ที่ประหยัดค าใช จ าย ในสวนของ Internet of Things (IoT) ซึ่งมีบทบาทสําคัญ ไดมกี ารนํา IoT มาใชงานรวมกับ 3D Printing ทําใหเกิดผลิตภัณฑ ทีแ่ ปลกใหมสาํ หรับตนเองและลูกคา เชน การใช AR (Augmented Reality) ใน บริษทั Meta Vision ทีพ่ ฒ ั นา Meta เครือ่ งมือทีด่ ที สี่ ดุ ที่สามารถเห็นภาพการออกแบบ 3D จริง ทั้งรูปทรงและสเกล ถือเปนการนํานวัตกรรม AR มาใชในภาคอุตสาหกรรม เพื่อลด คาใชจายและเพิ่มยอดขาย รวมทั้งวางสายการงานการผลิต
หากจะโฟกัสไปทางดาน นวัตกรรม (Innovation) มี วิศวกร นักสรางสรรค และผูประกอบการหลายรายขึ้นนํา เสนอผลงานสุดลํ้าที่ SOLIDWORKS มีสวนชวยทําใหความ ฝนกลายเปนความจริง และทํางานไดจริง หนึง่ ในความสําเร็จ ทีจ่ ะควรกลาวถึงคือ การที่ บริษทั SG Robotics จากประเทศ เกาหลีใตโดย Kyoung Kong, ซีอีโอ ซึ่งใช SOLIDWORKS ออกแบบ Exoskeletons เพื่อชวยเหลือผูพิการใหสามารถ เดินไดอีกครั้ง โดยไมตองมีผูชวยเหลือ นับเปนผลงานที่สราง Impact ตอสังคมและไดรับความชื่นชมจากผูเขารวมงาน
Dimension โดยบริษัท Desktop Metal ใช 3DEXPERIENCE ในการผลิตเครื่องพิมพโลหะ 3D สําหรับผูผลิตและวิศวกรใน การออกแบบขั้นสูงรองรับ Additive Manufacturing ผูใชงาน สามารถออกแบบ Additive Manufacturing ไดหลากหลายและ ประหยัดตนทุนวัตถุดบิ และคาใชจา ย เรียกวา Live Parts ซึง่ เปน ผลงานพัฒนาลาสุดระหวางหนวยงานวิจยั และพัฒนา ของ Desktop Metal และ DM Labs โดยผูใชทดลองเรียนรูเทคโนโลยีและ โซลูชั่นใหมๆ ที่งายตอการออกแบบ
บริษัท Desktop Metal ใช 3DEXPERIENCE ในการผลิตเครื่องพิมพโลหะ 3D Meta ใชเทคโนโลยี AR ทําใหเห็นภาพการออกแบบ 3D จริง ทั้งรูปทรงและสเกล
ดาน 3D Printing SOLIDWORKS มีพันธมิตรสําคัญ ประกอบดว ย บริษัท Meta, Desktop Metal และ Nano
สําหรับตัวอยางโอกาสทางธุรกิจของ Internet of Things (IoT) ทีเ่ ห็นไดชดั คือ บริษทั Seebo ซึง่ พัฒนาระบบ IoT แบบใหม ทีเ่ ปน IoT Ecosystem และเปนระบบเปด (Open System) ทําให ความรวมมืองายขึ้น สามารถสรางสรรคบน Server สามารถทํา
33
Engineering Today
March- April
2018
Simulation ในเรื่องสเปคทั่วไป และวิเคราะหไดวาจะเกิดอะไร ในผลิตภัณฑ ซึ่งมีอยูในโซลูชั่น SOLIDWORKS ทําใหผูผลิต สามารถวางแผนงานการออกแบบผลิตภัณฑ 3D บนระบบ IoT ที่เชื่อมตอกับผลิตภัณฑ และผลิตไดทันเวลา ทางดานอุตสาหกรรมภาพยนตรกม็ กี ารนํา SOLIDWORKS ไปสรางสรรคงาน โดย Joseph Hiura และ Robert Andrew Johnson ผูอํานวยการและผูผลิตภาพยนตร ไดกลาวถึงการใช
SOLIDWORKS ออกแบบยานยนตตางๆ ในภาพยนตร เชน เรื่ อง Oblivion, Passengers, Tron Legacy และ Batman Versus Superman. Robert ใหสมจริงคลายกับการผลิตใน โรงงาน โดยออกแบบชิ้นสวนทีละชิ้นแลวนํามาประกอบกันเปน ยานยนตที่สมบูรณในขั้นสุดทาย ซึ่งจะตองทําใหเร็วและปรับแก ไดทนั เวลาทีก่ าํ หนดไวตายตัว แนนอนวา SOLIDWORKS ทําให เขาสําเร็จไดทุกครั้ง
จับตา Boom Technology Startup รายแรก พัฒนาเครื่องยนต ให เครื่องบินเจ็ตขนาดเล็กบินเร็วขึ้น อี ก หนึ่ ง ความน า สนใจ คื อ Startup อย า ง บริ ษั ท Boom Technology ซึ่ ง ถื อ เป น Startup รายแรกที่ ใ ช SOLIDWORKS พัฒนาเทคโนโลยีและผลิตสินคาออกสูต ลาด ไดโดย Mike Jagemann ไดออกแบบเครือ่ งยนต Supersonic สํ า หรั บ เครื่ อ งบิ น เจ็ ต ขนาดเล็ ก รุ น XB-1 ด ว ยโปรแกรม SOLIDWORKS ซึ่งสามารถบินระยะทาง 4,500 ไมลดวย
ความเร็ว Mach 2.2-2.6 นับไดวา บินเร็วกวาเครือ่ งบินพาณิชย ในปจจุบัน และบรรทุกผูโดยสาร 45 คน หากสําเร็จจะทําให คาใชจายในการเดินทางโดยเครื่องบินเจ็ตราคาถูกลงมาก ใกล เ คี ย งกั บ ค า โดยสารชั้ น ประหยั ด ในเครื่ อ งบิ น พาณิ ช ย ทุกวันนี้
เอชพีเป ดตัว 3D Printers รุ นใหม เพิ่มโอกาสในการออกแบบของวิศวกร-นักออกแบบ ภายในงาน HP ยักษใหญแหงวงการ IT ยังไดเปดตัว 3D Printers รุนใหม ไดแก รุน The New HP Jet Fusion 300/500 ออกมาโชว ซึ่งมีความสามารถในการพิมพงานแบบ 3 มิติไดครบ ทุกสี พิมพไดทั้งตัวอยาง (Prototypes) และพิมพออกมาเปน ผลิตภัณฑสําเร็จไดเลย โดย Stephen Nigro ประธาน HP 3D Printing กลาววา เครือ่ งพิมพทเี่ ปดตัวใหมนี้ สามารถพิมพ 3 มิติ ไดรวดเร็ว ผลิตไดตามที่ตองการ เที่ยงตรง คุณภาพสูง ครบทุกสี ผลิตไดในราคาทีถ่ กู ลง นํา้ หนักเบา เหมาะสําหรับตลาด Additive Manufacturing ซึ่งจะชวยเพิ่มโอกาสในการออกแบบสําหรับ วิศวกรและนักออกแบบ นอกจากนั้นยังมีบูธของพันธมิตรและ ลูกคามาโชวผลงานที่ลํ้าหนาใหดูมากมาย สําหรับ 3D Printers มีหลายบริษทั รวมออกบูธในหองแสดง Partner Pavilion เชน Markforged Manufacturer, Metal X
Engineering Today March- April
2018
34
Stephen Nigro ประธาน HP 3D Printing แนะนํา 3D Printers รุนใหม
นําเครื่องพิมพโลหะมาแสดง และบริษัท Sindoh จากเกาหลีใต ไมพลาดที่จะแสดงผลงานที่พิมพจากเครื่องพิมพ 3 มิติในงาน ครั้งนี้อีกดวย
My SOLIDWORKS มีผู ใช มากกว าล านคนทั่วโลก Suchit Jain, Vice President, Strategy & Business Development, SOLIDWORKS กล า วว า โปรแกรม My SOLIDWORKS มีผูใชมากกวาลานคนทั่วโลก นับเปน ประชาคมที่มีขนาดใหญที่สุดในโลก ดวยการออกแบบระดับ มืออาชีพ ตอนนี้มีวิธีการทํางานใหม บริการใหม และการ ออกแบบใหม รวมทั้งมี Showcase ที่จะแบงปนทักษะและ ทาทายความสามารถในการออกแบบ
Suchit Jain, Vice President, Strategy & Business Development, SOLIDWORKS
ส ว น 3DEXPERIENCE Marketplace เป น การ เชือ่ มตอนักออกแบบกับภาคอุตสาหกรรม มีความรวมมือกับ ภาคการผลิต เชน CNC Modelling 3D บนออนไลน ชวยให ผูใชแกปญหาที่เกิดขึ้นและทํางานไดสําเร็จ เปนการนําพลัง ของ 3D สูลูกคาทุกคน
นอกจากนี้ยังมีการแสดงโชวความสามารถใหมๆ ที่ กําลังจะมีเพิม่ ใน SOLIDWORKS 2019 ซึง่ คาดวาจะประกาศ อยางเปนทางการในเร็วๆ นี้ โดยเนนใหผใู ชทงั้ หลายตระหนัก ถึงการสอบเพื่อใหไดรับใบรับรองใน Version 5 ของ CSWP Exam และ Additive Manufacturing Associate Exam เพื่อประโยชนในการประกอบวิชาชีพ ปด ทายงานดวยการนั ด หมายการจั ด งาน SOLIDWORKS World 2019 ซึง่ จะจัดขึน้ ในวันที่ 10-13 กุมภาพันธ 2019 ณ เมือง Dallas รัฐ Texas ประเทศสหรัฐอเมริกา โดย Gian Paolo Bassi ซีอีโอ แดสสอลท ซิสเต็มส ได เชื้อเชิญใหวิศวกรและนักออกแบบมารวมอัพเดตนวัตกรรม ใหมๆ ที่กาวลํ้ากันอีกครั้ง
3D Systems-3Dxpe Systems-3Dxpert
35
Engineering Today
March- April
2018
Robotic • กองบรรณาธิการ
สกว. โชว์ผลงานวิจัย “หุ่นยนต์แขนกล” ในงาน THAILAND Taking off to New Heights ร่วมพลิกโฉมประเทศไทยสู่ก้าวใหม่ ของการพัฒนาประเทศ
ผลงานวิจัย “Smart Pick & Place with AI” ที่สกว.นํามาจัดแสดงในงาน
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) นําผลงานวิจยั “หุ นยนต แ ขนกล” ซึ่งเปนหนึ่งในอุตสาหกรรมแหง อนาคต (New S-Curve) ที่จะมีบทบาทสําคัญในอนาคต เขารวมงาน THAILAND Taking off to New Heights ซึ่งสํานักงานคณะ กรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) จัดขึ้น เพื่อสรางความเขาใจ ในนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศแกนักลงทุน สื่อมวลชน และผูเ กีย่ วของใหรบั ทราบถึงทิศทางการดําเนินงานของภาครัฐ และเอกชนทีจ่ ะรวมกันพลิกโฉมประเทศไทยสูก า วใหมของการ พัฒนาประเทศ โดยไดจดั แสดงนิทรรศการ คลินกิ นักลงทุน พืน้ ที่ จัดแสดงผลิตภัณฑตอยอดจากผลงานวิจัยจากหนวยงานวิจัย ตางๆ ซึง่ มีผเู ขารวมงานกวา 3,000 คน ประกอบดวยผูบ ริหาร ภาครัฐ เอกชน นักลงทุนทั้งไทยและตางชาติ รวมถึงผูแทน สถาบันการศึกษา ดร.สมคิด จาตุศรีพทิ กั ษ รองนายกรัฐมนตรี กลาวระหวาง ปาฐกถาพิเศษ “กาวใหมเศรษฐกิจไทยและความทาทายอยาง ตอเนื่อง” วาประเทศไทยจะพลิกโฉมสูการเปนศูนยกลางทาง เศรษฐกิจ การคา การลงทุน และการทองเทีย่ ว ดวยเหตุผลสําคัญ 3 ประการ คือ 1) เศรษฐกิจโลกกําลังสงสัญญาณเพื่อฟนตัวหลัง ประสบภาวะถดถอยทั้งสหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และประเทศคูคา ในอาเซียน 2) การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร ฐานการเติบโต ทางเศรษฐกิจโลกเปลี่ยนจากตะวันตกมาตะวันออก คือ เอเชีย เปนตลาดสําคัญทีเ่ ติบโตอยางกาวกระโดดและเปนความหวังใหม
Engineering Today March- April
2018
36
ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ รองนายกรัฐมนตรี
ของโลก ลาสุดไดมีการผลักดันใหภูมิภาคอินโดแปซิฟกไดรับการ สนับสนุนอยางกวางขวาง ในสวนของประเทศไทยนั้นไดชักชวน กลุมประเทศลุมนํ้าโขงใหมารวมกันพัฒนาเศรษฐกิจของภูมิภาค โดยรวมอยางมัน่ คง มีเสถียรภาพ และแข็งแกรง โดยมีปจ จัยสําคัญ เชื่อมโยงกับภูมิภาคเอเชียโดยรวม 3) ความสงบเรียบรอยของ บานเมือง ที่เอื้อใหประเทศไทยทุมเทกับการปฏิรูปใหทันสมัย และมีความสามารถในการแขงขันอยางตอเนื่อง โอกาสของเรา กําลังมาถึงหนาประตูบาน จึงควรรวมกัน ผนึกกําลังกับประเทศ พันธมิตรสรางจุดแข็งและเปลี่ยนโอกาสนี้ใหเปนความเจริญทาง เศรษฐกิจอยางเปนรูปธรรม
“ประเทศไทยไม เ พี ย งแต จ ะสามารถฟ น ตั ว ทาง เศรษฐกิ จ แต ยั ง สามารถสรา งโอกาสทางเศรษฐกิจ ให ปรากฏเปนรูปธรรมอยางตอเนื่อง ซึ่งตนมั่นใจวานี่ยังไมใช จุดสูงสุดของประเทศ สิ่งที่ดีกวากําลังรออยูขางหนา ดวย ความรวมมือจากทุกภาคสวนจะทําใหเราไปถึงจุดนั้นได และเปนจุดเริ่มตนของโฉมหนาใหมของเศรษฐกิจไทย ที่จะสามารถทะยานขึ้นไปและกระจายความมั่งคั่งสูทุก ภาคสวนของสังคมไดดีกวาที่ผานมาถาไมมีปรากฏการณ อะไรมาทําใหสะดุด โฉมหนาเศรษฐกิจไทยยุคใหมจะกาว สูจุดที่สูงขึ้นและพรอมสูการเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจ การขนสง และการทองเที่ยวของภูมิภาคไดอยางแนนอน” ดร.สมคิด กลาว การที่โฉมหนาเศรษฐกิจไทยยุคใหมจะกาวสูจุดที่ สูงขึ้นและพรอมสูการเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจ การ ขนสง และการทองเทีย่ วของภูมภิ าคได จะตองอยูภ ายใตการ สนับสนุนของกลุมลงทุน 3 กลุมใหญ ไดแก 1) การลงทุน ขนาดใหญ ที่จะยกระดับสมรรถนะของประเทศดานการ คมนาคมขนสงเพือ่ กระจายความเจริญสูภ มู ภิ าค ทัง้ รถไฟฟา รถไฟความเร็วสูง และหัวใจสําคัญคือทาอากาศยานตางๆ ทีจ่ ะตองปรับปรุงเพือ่ สนับสนุนการเชือ่ มโยงของเศรษฐกิจ และการทองเที่ยวในจังหวัดตางๆ 2) พื้นที่เขตเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก (EEC) และเศรษฐกิจฐานชีวภาพ 3) การลงทุนดานดิจิทัล ซึ่งไทยตองการพันธมิตรมารวม กันเปลีย่ นโฉมหนาเพือ่ เปนหัวใจสําคัญในการเปลีย่ นผาน ไปสู Smart SME และ Smart Economic เปนการสราง เศรษฐกิจบนฐานของผูประกอบการที่มีแพลตฟอรมทาง ดิจิทัล ภายในงาน THAILAND Taking off to New Heights สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ได นํ า ผลงานวิ จั ย “หุ น ยนต แ ขนกล” ซึ่ ง เป น หนึ่ ง ใน อุตสาหกรรมแหงอนาคต (New S-Curve) ที่จะมีบทบาท สําคัญในอนาคตเขารวมงาน เพื่อรวมเปนสวนหนึ่งในการ พลิกโฉมประเทศไทยสูกาวใหมของการพัฒนาประเทศ
ดร.สมคิด เยี่ยมชมบูธหุนยนตแขนกล สกว.
ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน รมว.กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เยี่ยมชมบูธหุนยนตแขนกล สกว.
37
Engineering Today
March- April
2018
EEC • กองบรรณาธิการ
กนอ. จับมือกับ 5 หน่วยงานพัฒนาโครงการนิคมฯ Smart Park ใน EEC รองรับการลงทุนของกลุม อุตสาหกรรมแหงอนาคต (New S-Curve) ทัง้ ในและตางประเทศ
ดร.สมชาย หาญหิรัญ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงอุตสาหกรรม
ปยบุตร จารุเพ็ญ เอ็มดี บริษัท บางกอกอินดัสเทรียลแกส จํากัด
ดร.สมชาย หาญหิรัฐ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงอุต สาหกรรม เปนประธานใน พิธลี งนามบันทึกขอตกลงความรวมมือ โครงการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมในพืน้ ทีร่ ะเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก : นิคมอุตสาหกรรม Smart Park ระหวาง การนิคม อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย กับพันธมิตร 5 หนวยงาน ไดแก สํานักงานเพือ่ การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก, บริษทั บีซพี จี ี จํากัด (มหาชน), บริษทั พีทที ี โพลีเมอร โลจิสติกส จํากัด, บริษทั บางกอกอินดัสเทรียลแกส จํากัด และบริษทั โกลบอล ยูทลิ ติ ี้ เซอรวสิ จํากัด ซึง่ การลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือ ดังกลาว เปนการชวยพัฒนาโครงการแบบบูรณาการ เพื่อรองรับ การลงทุนของกลุมอุตสาหกรรมแหงอนาคต (New S-Curve) ทั้งจากในประเทศและตางประเทศ ซึ่งมีมูลคาเพิ่มในสินคาและ บริการ รวมทัง้ เปนการวางรากฐานการพัฒนาประเทศในระยะยาว โดยมี ดร.พสุ โลหารชุน ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ในฐานะ ประธานกรรมการการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย วีรพงศ ไชยเพิม่ ผูว า การ การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.) และ ดร.คณิศ แสงสุพรรณ เลขาธิการคณะกรรมการนโยบายการ พัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก และผูบ ริหารภาค เอกชนรวมงาน ณ โรงแรมเดอะ สุโกศล กรุงเทพฯ ดร.สมชาย หาญหิ รั ญ รั ฐ มนตรี ช ว ยว า การกระทรวง อุตสาหกรรม กลาววา ในปงบประมาณ พ.ศ. 2561 การนิคม อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ไดมนี โยบายจัดตัง้ โครงการพัฒนา นิคมอุตสาหกรรมในพืน้ ทีร่ ะเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก : นิคมอุตสาหกรรม Smart Park ในพืน้ ทีน่ คิ มอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยองโดยจุดเดนของนิคมอุตสาหกรรม Smart Park เปน พื้นที่เศรษฐกิจใหมที่รองรับการลงทุนในธุรกิจอุตสาหกรรมดาน
Engineering Today March- April
2018
38
ดิจิทัลอยางสมบูรณแบบ รวมทั้งเปนศูนยกลางการพัฒนาและ ถายทอดเทคโนโลยีอันทันสมัย โดยมุงเนนบูรณาการการทํางาน รวมกันระหวางภาครัฐและภาคธุรกิจเพือ่ ใหเกิดการรวมผลิตและ สรางสรรคนวัตกรรม ระบบฮารดแวร ซอฟตแวร และระบบดิจทิ ลั ในเชิงพาณิชยใหกระจายไปถึงทุกภาคสวน นอกจากนี้ การเกิดขึ้นของนิคมฯ Smart Park ยังถือเปน นิคมอุตสาหกรรมแนวใหมทจี่ ะตอบโจทยไลฟสไตลผปู ระกอบการ นักธุรกิจ นักลงทุน และบุคคลทั่วไป เริ่มตั้งแตการออกแบบและ วางผั ง พื้ น ที่ การติ ด ตั้ ง ระบบความปลอดภั ย การให บ ริ ก าร อินเทอรเน็ตความเร็วสูงทีด่ ที สี่ ดุ และศูนยรวม Data Center ทีใ่ หญ ทีส่ ดุ สําหรับนักลงทุน รวมถึงระบบคมนาคม การสือ่ สาร สิง่ อํานวย ความสะดวก ภายใตแนวคิดนิคมอุตสาหกรรม 4.0 สําหรับ EEC (Industrial Estate 4.0 for EEC) ซึง่ กระทรวงอุตสาหกรรมมัน่ ใจ เปนอยางยิ่งวานิคมฯ แหงนี้จะเปนมิติใหมของการพัฒนาพื้นที่ อุตสาหกรรมที่ดีที่สุดทั้งในประเทศและแถบภูมิภาคอาเซียน ดาน วีรพงศ ไชยเพิม่ ผูว า การ การนิคมอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย (กนอ.) กลาววา ตามที่ กนอ.ไดมีนโยบายในการ พัฒนานิ คมอุต สาหกรรม Smart Park ในนิ คมอุต สาหกรรม มาบตาพุด จ.ระยอง นั้น ลาสุด กนอ.ไดนําคณะผูดําเนินงานดาน การพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเดินทางไปยังประเทศญี่ปุนเพื่อ ศึกษาเทคโนโลยี การคิด คนนวั ต กรรม รูปแบบในการพั ฒนา อุต สาหกรรมที่ทันสมัย รวมถึงความกาวหนาทางเทคโนโลยี และการคิดคนนวัตกรรมใหมๆ เพื่อนําไปปรับใชกับการพัฒนา นิคมอุตสาหกรรมดังกลาว รวมถึงนิคมอุตสาหกรรมอื่นๆ ใน พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ที่กําลังเปน ฐานการผลิตที่สําคัญของประเทศและภูมิภาค
สําหรับการพัฒนานิคมอุตสาหกรรม Smart Park ซึง่ เปนพืน้ ทีร่ องรับอุตสาหกรรม ใหมตามเปาหมายของรัฐบาล เชน อุตสาหกรรมดิจทิ ลั อุตสาหกรรมหุน ยนต อุตสาหกรรม อากาศยาน โดยจะขับเคลือ่ นดวยยุทธศาสตร 9 สมารทนัน้ กนอ.ไดเริม่ ศึกษาเทคโนโลยี และแนวทางที่สอดคลองกับยุทธศาสตร Smart Security (ความปลอดภัยสาธารณะ และการคมนาคมขนสง) จาก NEC Corporation ซึ่งเปนบริษัทที่ไดการยอมรับจาก หลายๆ อุตสาหกรรมทั่วโลกทั้งในเรื่องของการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีเขามา พัฒนาธุรกิจ ทั้งในดานเครือขายระบบโทรศัพทและโครงขายการติดตอสื่อสาร ระบบ ปฏิบัติการไอที ระบบการรักษาความปลอดภัย รวมถึงระบบโลจิสติกส นอกจากนี้ NEC ยังมีนวัตกรรมที่ชวยสรางเมืองที่ชาญฉลาดทั่วโลก (Smart City) โดยเฉพาะ เทคโนโลยีการรูจําใบหนา NeoFace ที่มีความถูกตองในการตรวจสอบสูงสุดในโลก มีฟงกชันในการแจงเตือนแบบเรียลไทม เมื่อระบบสามารถตรวจจับไดวาใบหนาของ คนที่กําลังเขามาในพื้นที่ของกลองตรงกับใบหนาของคนในฐานขอมูลที่ควรเฝาระวัง หรือที่อยูในความสนใจ ซึ่งจะชวยใหระบบการเฝาระวังอาชญากรรม มีความถูกตอง และรวดเร็ว โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อรวมกับความสามารถในการทํางานรวมกับกลอง แบบพกพาไดทําใหการตอบสนองสถานการณที่สุมเสี่ยงเปนไปอยางทันทวงทีอีกดวย นอกจากนีใ้ นการจัดตัง้ โครงการระเบียงผลไมภาคตะวันออก (Eastern Fruit Corridor : EFC) ภายในนิคมอุตสาหกรรม Smart Park กนอ. ยังไดรว มศึกษาตนแบบ การบริหารจัดการจาก Ota Wholesale Market หรือที่รูจักกันในชื่อตลาดกลางโอตะ ซึ่งเปนตลาดคาสงผัก ผลไม และไมดอกที่ใหญที่สุดในญี่ปุน และมีระบบการประมูล ทีไ่ ดรบั การยอมรับในระดับโลก โดยการเขามาศึกษาตัวอยางการดําเนินงานในครัง้ นีจ้ ะนํา ประโยชนจากระบบตลาดประมูลมาประยุกตใชในการซื้อขายผลไมในโครงการจัดตั้ง ระเบียงผลไมภาคตะวันออก ซึ่งเชื่อวาจะชวยใหเกษตรกรในพื้นที่ภาคตะวันออกมี รายไดเพิ่มขึ้นจากการตอรองราคา ตอเนื่องถึงการจัดทําหองเย็นขนาดใหญสําหรับ กักตุนผลผลิตที่รวบรวมไดจากเกษตรกร กอนกระจายสินคาไปยังตลาดตางๆ โดยจะมีการศึกษา 4 ขั้นตอนที่สําคัญ คือ 1. การตรวจสอบสินคากอนประมูล (Inspection Prior to Auction) ขั้นตอนที่ผูรับชวงคาสงและผูมีสิทธิ์ซื้อ จะตรวจสอบ สินคากอนการประมูล เพื่อประกอบการตัดสินใจวาจะนําไปขายตอในราคาเทาใด 2. การเริ่มประมูล (Start of the Auction) ขั้นตอนที่สินคาทั้งหมดจะถูกนํามาประมูล โดยผูที่ใหราคาสูงที่สุดจะเปน ผูชนะการประมูล โดยการประมูลนั้นจะผานระบบ
39
วีรพงศ ไชยเพิ่ม ผูวาการ การนิคมอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย (กนอ.)
อิเล็กทรอนิกส และผูมีสิทธิ์รวมประมูลจะ ประกอบดวย ผูป ระกอบการทีไ่ ดรบั ใบอนุญาต และพอคาคนกลาง เทานั้น 3. การตรวจสุข อนามัยของสินคา (Hygiene Checks) เมื่อ การประมู ล เสร็ จ สิ้ น ลงจะมี ก ารตรวจเช็ ก คุณภาพของสินคา โดยจะมีหนวยงานตรวจ สอบสุขอนามัย ในสถานที่ประมูล สถานที่ จําหนาย และตรวจสอบมาตรฐาน คุณภาพ ความปลอดภัยของสินคา ซึง่ หากตรวจพบวา สิ น ค า ไม ไ ด ม าตรฐาน จะถู ก ระงั บ ไม ใ ห จํ า หน า ยทั น ที และ 4. การกระจายสิ น ค า (Distribution) โดยผูร บั ชวงคาสง จะนําสินคา ที่ประมูลไดออกจําหนายใหผูซื้อในเวลาที่ กําหนดไว
Engineering Today
March- April
2018
IT Update • กองบรรณาธิการ
การเติบโตของ Machine Learning ในป พ.ศ. 2561 เปนเปาหมายโจมตีจากอาชญากรทางไซเบอร
เทรนด์ไมโคร สรุปภาพรวมตลาด รักษาความปลอดภัยปี’60 ชู 3 เทคโนโลยีหลัก รุกตลาด ระดับกลาง-Enterprise ในปี’61 บริษัท เทรนดไมโคร อินคอรปอเรท ผูนําระดับโลก ด า นโซลู ชั่ น รั ก ษาความปลอดภั ย ทางไซเบอร สรุ ป ผล ประกอบการประจําป พ.ศ. 2560 ทีผ่ า นมา เผยทํายอดขาย ไดเติบโตตามเปาในทุกภาคอุตสาหกรรม (Cross Industry) เมื่ อ เที ย บกั บ ป ที่ ผ า นมา โดยเฉพาะในกลุ ม ผลิ ต ภั ณ ฑ สําหรับผูใชงาน (User Protection) และกลุม ผลิตภัณฑ (Network Security) ซึง่ ประกอบไปดวยกลุม ธุรกิจระดับกลาง ไปจนถึงกลุมธุรกิจระดับ Enterprise ในกลุมธุรกิจดาน การเงิน และภาครัฐ ในป พ.ศ. 2561 เดินหนามุง มัน่ ในการ พั ฒนาเทคโนโลยี ด า นความปลอดภั ย รวมถึ ง การเพิ่ ม บุคลากร พรอมทั้งอัพเดตและอบรมใหความรูแกบริษัท ตัวแทนจําหนาย และบริษัทคูคาใหมีความเชี่ยวชาญ เพื่อ ตอบโจทยความตองการลูกคาและตลาดไดมากยิ่งขึ้น
Engineering Today March- April
2018
ปยธิดา ตันตระกูล ผูจัดการประจําประเทศไทย บริษัท เทรนดไมโคร (ประเทศไทย) จํากัด
ปยธิดา ตันตระกูล ผูจัดการประจําประเทศไทย บริษัท เทรนด ไมโคร (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา ในปที่ผานมาภัยคุกคามทางดาน ไซเบอรมีความรุนแรงและนากลัวมากกวาในอดีต ตัวอยางเชน ภัย คุกคามดานแรนซั่มแวร ซึ่งในแตละเดือนมีตระกูลใหมๆ เกิดขึ้นมาก ถึง 27 สายพันธุ แมวาจะมีการปองกันแลวก็ตาม แตยังหลุดรอดเขา ผานทางชองโหวตางๆ และทําการเขารหัสเครื่องเอนดพอยตอยาง รวดเร็วเพียงแค 60 วินาที ทั้งนี้เชื่อวาในป พ.ศ. 2561 จะมีจํานวนใกล เคียงกัน และยังคงความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ปจจุบันเทคโนโลยีดาน Internet of Things : IoT ไดเขามามีบทบาทมากยิ่งขึ้น ในสวนของ อาชญากรทางไซเบอรเริ่มมีความฉลาดมากขึ้น อาจจะเขาไปกอกวน Machine Learning อุปกรณ IoT Devices โทรศัพทมือถือและโนตบุก สวนการโจมตีในแบบ BEC (Business Email Compromise) ก็รุนแรง ไมแพกัน สรางความเสียหายใหกับอุตสาหกรรมตางๆ ไปแลวเกินกวา 9 พันลานเหรียญสหรัฐ
40
ส ว นประเด็ น ด า นช อ งโหว (Vulnerabilities) นั้ น พบว า เมื่ อ ป ที่ ผ า นมามี ช อ งโหวต า งๆ มากมายถูก คนพบกวา 1,000 รายการ โดยเฉพาะ ชองโหวที่นากลัวไมวาจะเปนชองโหว แบบ Zero Days, ชองโหวที่สัมพันธ กับระบบ SCADA ซึ่งเปนโซลูชั่นแบบ ปดและชองโหวในเว็บเบราวเซอรตางๆ เปนตน ในชวงป พ.ศ. 2560 ที่ผานมา เทรนด ไ มโครได เ สริ ม เทคโนโลยี แ ละ นวัตกรรมการปองกันเพิม่ เขาไปมากมาย อาทิ เทคโนโลยีแมชชีน เลิรน นิง่ (Machine Learning) ที่ นํ า ไปติ ด ตั้ ง อยู ใ นทุ ก ๆ โซลูชั่นหลักของผลิตภัณฑเทรนดไมโคร ชวยสรางระบบความปลอดภัยอัจฉริยะ ในการจัดการกับภัยคุกคามทัง้ แบบทีร่ จู กั (Known Threat) คิดเปน 97% ของมัลแวรทั้งหมดและ แบบไมรจู กั (Unknown Threat) ซึง่ มีถงึ 69% ของมัลแวร ทั้งหมดไดอยางครอบคลุมมากขึ้น ปยธิดา กลาววา ในป พ.ศ. 2561 พวกอาชญากรทาง ไซเบอรเหลานี้ จะเพิม่ วิธกี ารใหม เชนการโจมตีแบบ BPC (Business Process Compromise) ขึ้นมาอีก ดังนั้นใน ป พ.ศ. 2561 เทรนดไมโครไดเตรียมนําเสนอเทคโนโลยีดา น การปองกันภัยรุนใหม โดยแบงออกเปน 3 เทคโนโลยีหลัก ดวยกัน ประกอบดวย กลุมแรก Connected Threat Defense หรือ CTD ซึ่งเปนแนวคิดในการปองกันภัยที่ เชื่อมโยงและผสานระบบความปลอดภัยตางๆ ไดมากขึ้น กวาเดิม ชวยใหองคกรสามารถมองเห็นระบบไดชัดเจน ยิ่ ง ขึ้ น สามารถป อ งกัน ตรวจสอบ และตอบสนองภัย คุกคามไดอยางทันทวงที มั่นใจวาจะชวยตอบโจทยการ จัดการ Threat ทั้งในปจจุบันและอนาคต กลุมที่สอง จะเปน เทคโนโลยีที่ออกแบบมาเพื่อ ปกปองระบบบนคลาวด หรือ Security on Cloud โดย ผลิตภัณฑของเทรนดไมโคร สามารถทีจ่ ะชวยปกปองความ ปลอดภัยใหกับผูใชงานไดทั้งระบบที่รันบน AWS หรือ Azure นอกจากนั้นแลวยังสามารถปกปองลงไปถึงระดับ แอพพลิ เ คชั่ น เช น Office 365 และ Google และ กลุม ทีส่ าม ก็คอื กลุม ผลิตภัณฑจาก TippingPoint ในตระกูล TX Series ที่เปนเทคโนโลยี Next Generation
เทคโนโลยีหลัก 3 สวนของเทรนดไมโคร เชื่อมตอเขาดวยกัน เพื่อปองกัน ตรวจสอบ และตอบสนองภัยคุกคามไดทันทวงที
Intrusion Prevention System หรือเรียกวา Next-Gen IPS ซึ่งเพิ่ม Performance และความฉลาดดวย Machine Learning ทําใหมี ความเหนือชั้นในการปองกันภัยคุกคามทางไซเบอรมากยิ่งขึ้น คาดวา จะเปดตัวในปนี้ “จากการเติบโตของภัยคุกคาม (Threat) ในป พ.ศ. 2561 คิดเปน ตัวเลขสองหลัก คาดวาธุรกิจของเทรนดไมโครจะเติบโตดวยตัวเลข สองหลักเชนเดียวกัน” ปยธิดา กลาว สําหรับเปาหมายและกลยุทธทางดานการตลาดของเทรนดไมโคร ในป พ.ศ. 2561 ที่จะเติบโตดวยตัวเลขสองหลักมี 4 ปจจัยดวยกัน ประการแรก มุง เนนเทคโนโลยีโดยตรง ประการทีส่ อง ใหความรูแ ละขอมูล แกตลาดครอบคลุมตัง้ แตบนลงลาง โดยเทรนดไมโครจะเขาไปเพิม่ ศักยภาพ ของตัวแทนจําหนายใหมากยิง่ ขึน้ ไมวา จะเปนการสนับสนุนและอัพเดต ความรูดานเทคโนโลยีของเทรนดไมโครใหมีความชํานาญและเชี่ยวชาญ มากยิ่งขึ้น ประการที่สาม การขยายการเติบโตของตลาดแบบแนวดิ่ง ทั้งตลาดระดับกลาง ไดแก ตลาดธุรกิจ อุตสาหกรรมการผลิต ธนาคาร และภาครัฐ และระดับ Enterprise โดยลงทุนจางพนักงานเพิ่ม เพื่อ รองรับตลาดทั้งสองสวนนี้ และ ประการที่สี่ ทํางานรวมกับพันธมิตร ทางธุรกิจ ปจจุบันเทรนดไมโคร ดําเนินการจัดจําหนายผลิตภัณฑผาน ทางตัวแทนจําหนายทีม่ ผี เู ชีย่ วชาญใหบริการ โดยมีตวั แทนจําหนายหลัก (Distiributor) 3 ราย ประกอบไปดวย บริษทั nForce Secure, Netpoleon Thailand และ SIS Distribution (Thailand) รวมถึงมีบริษทั คูค า (Partner) อีกเปนจํานวนมาก โดยในป พ.ศ. 2561 นีย้ งั พรอมทีจ่ ะเปดรับคูค า ใหมๆ อยางตอเนื่อง
41
Engineering Today
March- April
2018
In Trend • *มร.สเตฟาน อิสซิ่ง
สามตัวแปรพลิกเกม อุตสาหกรรมยานยนต์ ปี พ.ศ. 2561
บริการใหมที่ขับเคลื่อนดวยขอมูล วัสดุนํ้าหนักเบาที่มี ความแข็งแรง และโครงสรางพื้นฐานที่ไดรับการพัฒนาอยาง รวดเร็ว สําหรับยานพาหนะไฟฟาหรืออีวี (Electric Vehicle) เปนแนวโนมสําคัญที่สงผลกระทบตออุตสาหกรรมยานยนต ในปนี้ โดยมร.สเตฟาน อิสซิ่ง ผูอํานวยการดานอุตสาหกรรม ยานยนตทั่วโลกบริษัท ไอเอฟเอส ไดนําเสนอการคาดการณ เกี่ยวกับอุตสาหกรรมยานยนตในป พ.ศ. 2561 ไวดังนี้
1. รายได จากบริการในอุตสาหกรรมยานยนต จะเพิ่มขึ้น 30% ในป พ.ศ. 2561
บริษัท โอเปล ผูผลิตยานยนตสัญชาติเยอรมันไดเปดตัว บริษัทครั้งแรกเมื่อป พ.ศ. 2406 โดยเริ่มจากการเปนผูผลิตจักร เย็บผา จากนัน้ ก็ไดเปลีย่ นมาผลิตรถยนตในป พ.ศ. 2442 ขณะที่ บริษัท เปอโยต เจาของธุรกิจโรงสีขาวโพดและไดหันมาจับธุรกิจ เหล็กกลาเปนเวลา 8 ปกอนที่จะตัดสินใจเปดตัวในฐานะผูผลิต รถยนต เ มื่อ ป พ.ศ. 2434 แมว าอุ ตสาหกรรมยานยนตอาจดู เหมือนจะกาวเดินไปในทิศทางอนุรกั ษนยิ ม แตอตุ สาหกรรมแหงนี้ เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงก็จะเกิดการพลิกผันในระดับ DNA กัน เลยทีเดียว จะเห็นไดวา ผูน าํ ดานยานยนตในปจจุบนั ตองการแสดง ใหตลาดและคูแ ขงเห็นถึงความยืดหยุน ความคลองตัว และความ สามารถในการปรับตัวของตนเพือ่ ทีจ่ ะไดไมอยูใ นตําแหนงรัง้ ทาย เมื่อบรรดาคูแขงหันมาลงทุนในบริการใหมที่ขับเคลื่อนดวยระบบ ดิจิทัล
Engine Eng Engineering ineeri ering ng Tod Today ay Ma March Marchrch- April April
2018 2018
4 42
มาลองดูเรือ่ งราวของบริษทั แชฟฟเลอร กรุป (Schaeffler) ซึ่งเปนหนึ่งในซัพพลายเออรรายใหญที่สุดของโลกสําหรับลูกปน แบริ่ง คลัตช อุปกรณแปลงแรงบิด และระบบสงกําลัง ใหกับ อุตสาหกรรมยานยนต โดยในป พ.ศ. 2559 บริษัทฯ สามารถ จําหนายชิน้ สวนยานยนตคดิ เปนมูลคา 10,880 ลานเหรียญสหรัฐ และไดเปดตัวกลยุทธดา นดิจทิ ลั สําหรับการดําเนินงานดานยานยนต ของบริษทั ฯ เพิม่ เติมดวย และในเดือนตุลาคม ป พ.ศ. 2560 บริษทั แชฟฟเลอรไดเขาซื้อ บริษัท Autinity Systems GmbH ซึ่งเปน บริษทั ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (ไอที) สัญชาติเยอรมันทีม่ คี วาม เชี่ยวชาญพิเศษดานการบันทึกขอมูลเครื่องจักรและการติดตาม สภาพการทํางานของเครื่องจักรผานระบบดิจิทัลโดยเฉพาะ มร.คลอส โรเซนเฟลด ประธานเจาหนาที่ฝายบริหาร (ซีอโี อ) บริษทั แชฟฟเลอร กลาวกับ Automotive News เกีย่ วกับ การคาของสหรัฐอเมริกาวา สถานการณทเี่ ราไดเตรียมการไวแลว ในตอนนี้คือ ในป พ.ศ. 2573 จํ า นวนรถยนต ที่ ผ ลิ ต ทั่ ว โลกใน สัดสวน 30% จาก 120 คันจะใชพลังงานจากแบตเตอรี่แตเพียง อยางเดียว การเปลี่ยนแปลงดังกลาวไมใชเรื่องใหมสําหรับเรา เนื่องจากเรามีประสบการณที่ยอดเยี่ยมในการเปลี่ยนแปลงกลุม ผลิตภัณฑที่เรามีอยูโดยใชเทคโนโลยีใหมๆ เขามาชวยแลว และไมไดมีเพียงบริษัท แชฟฟเลอร เทานั้น ลูกคารายหนึ่ง ของบริษัท ไอเอฟเอส ซึ่งเปนซัพพลายเออรยานยนตรายใหญ เพิง่ ไดขอ สรุปในสัญญาใหมทมี่ คี วามสําคัญอยางมาก นัน่ คือบริษทั แหงนีจ้ ะไมไดทาํ หนาทีเ่ พียงแคผลิตและจัดหาชิน้ สวนใหกบั OEM เทานั้น แตยังตองเก็บรวบรวมขอมูลจากชิ้นสวนตางๆ เพื่อนําไป ใชในบริการหลังการขายสําหรับตัวแทนจําหนายดวย สิง่ นีค้ รอบคลุม
ถึงการจัดเตรียมขอมูลสําหรับชิ้นสวนอะไหลที่อาจจําเปนตองใช ในกรณีที่มีการเรียกคืน รวมถึงการกรอกขอมูลเอกสารเกี่ยวกับ ชิ้นสวนอะไหลที่บริษัทตัวแทนจําหนายโดยตรง หากฟงดูแลว แปลกๆ ใหลองคิดพิจารณาอีกครัง้ กลาวคือซัพพลายเออรรายนี้ เริ่มดําเนินการตามสัญญาใหมภายในระยะเวลาเพียงหนึ่งเดือน เทานั้น ซึ่งไมนาเชื่อวาจะสามารถทําได จากการผลิตเพียงแค ชิ้นสวนตามตารางการผลิตของลูกคา กลายมาเปนการบริหาร จัดการชิ้นสวนอะไหลสําหรับ OEM ครอบคลุมทุกกระบวนการ ตั้ ง แต ต น จนจบ ซึ่ ง รวมถึ ง การบริ ห ารจั ด การคลั ง สิ น ค า โดย ทั้งหมดนี้จําเปนตองใชระบบธุรกิจที่มีการเชื่อมตอระหวางกัน และ มร.คลอส ยังยํ้าเนนดวยวา นาฬกากําลังเดินอยูตลอดเวลา
จงเริ่มซะตั้งแต วันนี้ เพราะพรุ งนี้อาจสายเกินไป ปจจุบนั รถยนตทใี่ ชนาํ้ มันเชือ้ เพลิงตองการชิน้ สวนประมาณ 30,000 ชิน้ ขณะทีร่ ถยนตไฟฟาตองใชชนิ้ สวนประมาณ 10,00012,000 ชิ้นเทานั้น โดยประเทศสหราชอาณาจักรและฝรั่งเศส จะเริ่มยุติการใชรถยนตที่ใชนํ้ามันเชื้อเพลิงในป พ.ศ. 2583 ซึ่ง กรุงปารีสประกาศวาจะหามการใชรถยนตที่ใชนํ้ามันเชื้อเพลิงใน ป พ.ศ. 2573 ขณะที่ประเทศอินเดียตองการใหมียานพาหนะ ไฟฟ า ทั้ งประเทศภายในป พ.ศ. 2573 และแนน อนว าผูผลิต ชิ้นสวน เชน ทอไอเสีย (ที่จะไมมีอยูในรถไฟฟาอีกตอไป) ก็ใกล จะสิ้นอายุขัยแลว ซึ่งพวกเขาตองเริ่มนับถอยหลังกันไดแลวหลัง จากป พ.ศ. 2563, 2573 และ 2583 ทั้งยังจะตองเตรียมตัวให พรอมรับกับการเปลี่ยนแปลงดวย อยางไรก็ตาม อาจตองใชเวลา ในการผสานรวมซอฟต แ วร อ งค ก รเพื่ อ ช ว ยให มั่ น ใจถึ ง ความ คลองตัวและความสามารถในการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ สรุปก็คือ การรอไมใชตัวเลือกที่ดีอีกตอไป
ในป พ.ศ. 2561 เราจะเห็ นการใชวั สดุ ประเภทใหมที่มี นํ้าหนักเบาและปลอดภัยมากขึ้น ที่สามารถตอบสนองความ ตองการดานกฎหมายที่เขมงวดเกี่ยวกับยานพาหนะที่จะตองมี ความปลอดภัยยิ่งขึ้นและสามารถปลอยกาซคารบอนไดออกไซด ใหไดนอ ยลงดวย จะเห็นไดวา วัสดุ เชน อะลูมเิ นียมและเหล็กกลา ทนแรงดึงสูง (High Tensile Steel) จะกลายเปนมาตรฐานของ ตลาดในทีส่ ดุ และพลาสติกทีม่ คี วามแข็งแรงทนทานและปลอดภัย เปนพิเศษ ที่เรียกวา พลาสติกชนิดเสริมแรงดวยคารบอน หรือ CFRP (Carbon Fiber Reinforced Plastic) ซึ่งปจจุบันเปนสวน ประกอบหลักของรถยนตสปอรตจะเริ่มถูกนํามาใชในรถยนต ชนิดอื่นๆ เพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ยังมี แผนคารบอนไฟเบอร ลามิเนต หรือ CFL (Carbon Fiber Laminate) ที่ทําจากชั้นของ เสนใยคารบอน (เกือบบริสุทธิ์) ที่มีความแข็งแรงอยางมากและ นํามาเชื่อมระหวางชั้นเขาดวยกันดวยวัสดุยึดติดที่มีความแข็ง อยางมาก เชน เรซิ่นอีพ็อกซี่
การวิจัยและพัฒนาที่เพิ่มมากขึ้นในด าน CFRP จะทําให ต นทุนลดตํ่าลง
2. วัสดุที่มีนํ้าหนักเบากว าเดิมและแข็งแรงยิ่งขึ้น เช น พลาสติกชนิดเสริมแรงด วยคาร บอน หรือ CFRP (Carbon
วั ส ดุ ใ หม ย อ มมี ร าคาแพง งานศึ ก ษาชิ้ น ใหม ข องโกลด แมนแซคสเรื่อง Cars 2025 แสดงใหเห็นวาปจจุบัน CFRP มี ราคาแพงกวาเหล็กกลาปกติถึง 40 เทาเมื่อเทียบกันที่ระดับตอ กิโลกรัม นอกจากนีย้ งั จําเปนตองใชทกั ษะและอุปกรณเฉพาะทาง ในการผลิ ต ด ว ย แต ข ณะนี้ บ รรดานั ก พั ฒนากํ า ลั ง ร ว มมื อ กั บ มหาวิทยาลัยตางๆ ทั่วยุโรปเพื่อศึกษาวิจัยวัสดุชนิดใหมที่เปน พลาสติกและคารบอนลามิเนต ซึ่งเมื่อพิจารณาในเรื่องยานยนต แลวก็จะพบวาเหล็กกลาและอะลูมเิ นียมทนแรงดึงสูงอาจมีตน ทุน ลดลงอยางมากและตนทุนของ CFRP ก็จะลดลงดวยเหมือนกัน เมือ่ มีการคิดคนกรรมวิธกี ารผลิตใหมๆ เกิดขึน้ สิง่ ทีจ่ ะไมเปลีย่ นแปลง คือกฎระเบียบดานการปลอยมลพิษและความปลอดภัยทีเ่ ขมงวด ซึ่งวัสดุเหลานี้จะเปนแนวทางแกปญหาดังกลาวไดอยางชัดเจน
จะเกิดอะไรขึ้นกับความเบาหรือความปลอดภัย และทําไม เราถึงจะมีทั้งสองสิ่งนี้รวมกันไมไดละ ใชแลว เราทําไดแนนอน จะเห็นไดวาหลายปที่ผานมานี้ ผูผลิตรถยนตตางเผชิญหนากับ ภาวะที่ ก ลื น ไม เ ข า คายไม อ อก เพราะพวกเขาพยายามที่ จ ะ ตอบสนองความตองการที่มีความขัดแยงกันอยู ประเด็นแรกคือ ยานพาหนะที่มีนํ้าหนักเบาที่ปลอยคารบอนไดออกไซดนอยลง และอีกประเด็นคือยานพาหนะทีม่ คี วามปลอดภัยยิง่ ขึน้ ซึง่ ขัดแยง กันอยางมากเพราะตองใชชิ้นสวนที่มีนํ้าหนักมาก
อยางไรก็ตาม มีความผันผวนเกิดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ กลาวคือ ยอดขายของรถไฟฟาในป พ.ศ. 2560 นอยกวาป พ.ศ. 2559 ถึง 7.7% (จากยอดขายทั่วโลกที่ 2 ลานคัน) แนวโนมโดยรวมที่มีตอ รถไฟฟาเริม่ เปนทีเ่ ขาใจในวงกวางมากขึน้ แลวในตอนนี้ แมกระทัง่ ในประเทศจีน ซึง่ รัฐบาลกลางก็ไดออกกฎหมายอยางชัดเจนเกีย่ วกับ รถไฟฟา แตก็ยังมีอุปสรรคสําคัญสองประการ คือการขาดสถานี ชารจกระแสไฟฟาที่ไดมาตรฐานและความจุของแบตเตอรี่
Fiber Reinforced Plastic) จะเป นกระสุนเงินนัดใหม ของ อุตสาหกรรม
3. 1 ใน 4 ของรถยนต คันใหม จะเป นรถไฟฟ าภายในป พ.ศ. 2565 และจะเป นรถไฟฟ าทั้งหมดภายในป พ.ศ. 2570
4 43
Engine Eng Engineering ineeri ering ng Tod Today ay
MMarcharchh- April arc April
2018 2018
ทั้งนี้ ประเทศจีนถือเปน ผูนําโลกดานจํานวนของสถานี ชารจไฟ โดยปจจุบนั มีจดุ ชารจไฟสาธารณะอยูป ระมาณ 150,000 จุด และวางแผนทีจ่ ะติดตัง้ ใหเพียงพอเพือ่ รองรับรถไฟฟาจํานวน 5 ลานคันภายในป พ.ศ. 2563 แตประเด็นเรือ่ งการขาดมาตรฐาน ยังคงเปนปญหาใหญสาํ หรับลูกคาอยู โดยในบทความของ Citylab ประจําเดือนกันยายน พ.ศ. 2560 ไดเจาะลึกถึงวิธกี ารทีจ่ นี ไดมอบ เงินอุดหนุนใหแกบริษัทเอกชนหลายแหงเพื่อสรางสถานีชารจ ซึง่ สงผลใหสถานีเกือบทุกแหงใชรปู แบบการชําระเงินทีแ่ ตกตางกัน และอาจตองใชเวลาตัง้ แตหนึง่ ถึงแปดชัว่ โมงในการชารจไฟใหกบั ยานพาหนะ ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก บั ผูป ระกอบการและผูผ ลิตรถยนตไฟฟา นับสิบรายที่เปดใหบริการอยูนั่นเอง ซึ่งผูบริโภครถยนตไฮบริด ชาวจีนรายหนึ่งกลาววา “ผมพยายามจะชารจไฟใหกับรถของผม ตอนอยูนอกบาน แตก็ไมสามารถทําได เนื่องจากหัวชารจใชรวม กันไมไดหรือตองซื้อบัตรเติมเงินกอนจึงจะชารจไฟได” นี่เปนการแจงเตือนที่ชัดแจงสําหรับหนวยงานกํากับดูแล รัฐบาลและผูผลิต วาแมแตในประเทศที่กําลังใหการสงเสริม รถไฟฟาอยางจริงจังก็ยังขาดระบบชารจไฟที่เปนมาตรฐาน ซึ่ง รถไฟฟาอาจใชเวลานานกวาทีค่ าดการณไวกอ นหนานีก้ วาจะบรรลุ ศักยภาพทางการตลาดไดสําเร็จ ในขณะที่แบตเตอรี่ก็ยังคงเปน อีกหนึง่ ปญหา ซึง่ กําลังมีการเรงวิจยั ดานเซลลเชือ้ เพลิงไฮโดรเจน อยูใ นขณะนี้ รวมถึงเปาหมายของรัฐบาลญีป่ นุ ทีต่ อ งการลดตนทุน ของเซลลเชื้อเพลิงลงใหไดภายในป พ.ศ. 2568 ก็กําลังไดรับการ สนับสนุนอยางเต็มที่ อยางไรก็ตาม ศักยภาพทางธุรกิจในการ พัฒนาแบตเตอรี่ก็ยังคงเต็มไปดวยความหวัง โดยคาดวาปจจุบัน มีมูลคาของตลาดอยูที่ 240,000 ลานเหรียญสหรัฐ ซึ่งยังคงมี สวนแบงขนาดใหญและมีการแขงขันกันอยางหนัก แตยงั ไมมผี ชู นะ ที่ชัดเจนในตอนนี้ ดังนัน้ ผูผ ลิตและ OEM จึงจะตองจับตาดูใหดี ซึง่ ขอมูลจาก รายงานของแมคคินซีย ประจําเดือนกรกฎาคม 2560 เกี่ยวกับ อุตสาหกรรมยานยนตในประเทศจีน พบวายอดขายของรถไฟฟา ที่ผลิตในประเทศจีนมีการขยายตัวเพิ่มมากขึ้น โดยสวนแบงการ ผลิตรถไฟฟาที่กําลังเติบโตของอุตสาหกรรมในประเทศเพิ่มขึ้น จาก 18% ในป พ.ศ. 2559 เปน 23% ในป พ.ศ. 2560 ซึ่งแสดง ใหเห็นวาแบรนดจีนกําลังเดินหนาเพิ่มสวนแบงตลาดในภาค รถไฟฟาอยางตอเนื่อง เนื่องจากผูซื้อรถยนตยอมรับวาผูผลิต รถยนตรายใหญของจีนสามารถผลิตรถไฟฟาไดในระดับทีน่ า พอใจ และแมคคินซียย งั จัดอันดับใหประเทศจีนอยูใ นอันดับสูงสุดของ ดั ช นี ย านพาหนะไฟฟ า อี ก ด ว ย ดั ง นั้ น ก็ น า จะได เ วลาของ รถไฟฟาแลว แตแบตเตอรี่และการชารจไฟที่ไดมาตรฐานยังคง เปนปญหาสําคัญยิ่งและเปนอุปสรรคที่ทําใหไมสามารถพัฒนา ไปไดอยางรวดเร็วตามที่อุตสาหกรรมยานยนตคาดหวังไวกอน หนานี้
Engine Eng Engineering ineeri ering ng Tod Today ay Ma March Marchrch- April April
2018 2018
44
Three Game-changers in the Automotive Industry in 2018 New data-driven services, strong light-weight materials and a rapidly built out infrastructure for EVs (Electric Vehicles) are trends impacting the automotive industry the coming year. Stefan Issing, the Global Industry Director for Automotive at IFS, presents his industry predictions for 2018. 1. Service Revenue in Automotive will Increase by 30% During 2018 When German car manufacturers Opel first launched in 1863 they made sewing machines, switching to cars in 1899. Peugeot milled corn and then steel for eighty years before turning their hand to cars in 1891. So although it’s sometimes seen as conservative, the auto industry has change woven deep into its DNA. Today’s automotive leaders need to show the same resilience, agility and adaptability so as not to fall behind when their competitors invest in new digitally-driven services. 2. New Lighter, Stronger Materials Like CFRP will be the New Silver Bullet What’s it going to be-lightness or safety? And why can’t we have both? Well, we can. But for many years automotive manufacturers have faced a dilemma, as they’ve tried to satisfy conflicting demands: One for lighter vehicles (that produce less CO2 emissions), and another for safer vehicles (that, paradoxically, require heavier components.) 3. 1 in 4 New Cars will be an EV by 2022, and Complete Electrification could Occur by 2027 Recent fluctuations in the fortunes of EVs are important, with 7.7% fewer EVs being sold in 2017 than in 2016 (when, famously, sales passed 2 million worldwide). The overall trend toward wider EV uptake is solid. But even in in China, where a strong, central government has legislated clearly for EVs, two major roadblocks remain: a lack of standardized charging stations, and battery capabilities.
Energy Today • กองบรรณาธิการ
‘BGRIM’ แจงปี’60 กําไรเฉียด 3,600 ล้านบาท พุ่งกว่า 55% ตั้งเป้าเพิ่มกําลังการผลิตปี’61 กว่า 400 เมกะวัตต์ บี.กริม เพาเวอร (BGRIM) ชูความสําเร็จจากการรับรูร ายได ของป พ.ศ. 2561 ทําสถิตสิ งู สุด 31,482 ลานบาท หรือเติบโต 14% เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกัน ของปทผี่ า นมา เผยเปนผลจาก การเปดดําเนินการโรงไฟฟาใหม เข า สู ร ะบบ พร อ มเพิ่ ม อั ต รา กําไร EBITDA 28% และอัตรา กําไรสุทธิปรับปรุง 9% นั่งแทน ปรียนาถ สุนทรวาทะ เปนหนึ่งในผูผลิตและจําหนาย ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท บี.กริม เพาเวอร จํากัด (มหาชน) ไฟฟ า อุ ต สาหกรรมรายใหญ ที่สุดของประเทศไทย เชื่อมั่นศักยภาพและความพรอมของบริษัทฯ ขยายธุรกิจสูภูมิภาคอาเซียนตามเปาที่วางไว ปรียนาถ สุนทรวาทะ ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท บี.กริม เพาเวอร จํากัด (มหาชน) กลาวถึงภาพรวมผลการดําเนินงานของ บริษทั ฯ ในป พ.ศ. 2560 วา บริษทั ฯ มีรายไดจากการขายและการใหบริการ จํานวน 31,482 ลานบาท เพิ่มขึ้น 14% เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของ ปทผี่ า นมา ซึง่ มีสาเหตุมาจากการรับรูร ายไดการขายไฟฟาของโรงไฟฟา อมตะ บี.กริม เพาเวอร 5 (ABP5) ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร เต็ม 9 เดือนของป พ.ศ. 2560 และการเปดดําเนินการเชิงพาณิชยของโรงไฟฟา บี.กริม เพาเวอร ดับบลิวเอชเอ 1 (BPWHA1) ในนิคมอุตสาหกรรม เหมราช ซึ่งทั้ง 2 โครงการเริ่มเปดดําเนินการเชิงพาณิชยเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2559 และ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ตามลําดับ ส ว นกํ า ไรก อ นดอกเบี้ ย ภาษี และค า เสื่ อ มราคา (EBITDA) 8,725 ลานบาท เพิม่ ขึน้ 16% เมือ่ เทียบกับชวงเดียวกันของปทผี่ า นมา ขณะที่ EBITDA Margin เพิ่มขึ้น เปน 28% มีป จ จัยหลักมาจาก ประสิทธิภาพที่สูงขึ้นของโครงการโรงไฟฟาใหมๆ ของกลุมบริษัทฯ ที่ ทยอยเปดดําเนินการเชิงพาณิชย กําไรสุทธิ 3,594 ลานบาท เพิ่มขึ้น 55% และกําไรสุทธิปรับปรุง 2,918 ลานบาท เพิ่มขึ้น 40% เมื่อเทียบ กับชวงเดียวกันของปที่ผานมา และมีกําไรสุทธิปรับปรุงสวนที่เปนของ บริษัทใหญจํานวน 1,727 ลานบาท เพิ่มขึ้นกวา 48% เมื่อเทียบกับ ชวงเดียวกันของปผานมา จากการเพิ่มขึ้นของกําไรจากการดําเนินงาน และการประหยัดดอกเบี้ยจากการชําระคืนเงินกูของบริษัทฯ หลังจาก การปรับโครงสรางเงินทุนที่เหมาะสมจากการทํา IPO “ผลการดําเนินงานในปนเี้ ติบโตเกินกวาทีค่ าดการณไวมาจากปจจัย หลัก คือการเปดดําเนินการของโรงไฟฟาตามแผนที่ไดกําหนดไว ไดแก
45
โรงไฟฟาอมตะ บี .กริม เพาเวอร 5 (ABP5) ในนิคม อุตสาหกรรมอมตะนคร เดือนมิถนุ ายน พ.ศ. 2559 โรงไฟฟา บี.กริม เพาเวอร ดับบลิวเอชเอ 1 (BPWHA1) ในนิคม อุตสาหกรรมเหมราช เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2559 และโรง ไฟฟาพลังนํ้าเซนํ้านอย 2 และเซกะตํา 1 (XXHP) เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2560 รวมถึงการบริหารตนทุนของโรงไฟฟา ซึ่งสงผลใหอัตรากําไร EBITDA สูงขึ้นเปน 28% และ การประหยัดดอกเบี้ยจากการชําระคืนเงินกู 5,960 ลาน บาท หลังไดเงินจาก IPO สงผลใหสดั สวนหนีส้ นิ ตอทุนสุทธิ ในปนี้ ลดลงเหลือเพียง 1.4 เทา ซึง่ เปนไปตามแผนระดมทุน ที่วางไว” ปรียนาถ กลาว ปรียนาถ กลาวเพิ่มเติมวา สําหรับแผนการดําเนิน งานในชวงป พ.ศ. 2561 บริษทั ฯ ยังคงเดินหนาสานตอตาม แผนการพัฒนาโครงการโรงไฟฟาทีว่ างไว ทัง้ ในประเทศและ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยบริษัทฯ เชื่อมั่นใน ศักยภาพดานบุคลากรทีมปฏิบตั กิ ารและทีมบํารุงรักษาทีม่ ี ความเชีย่ วชาญและมากประสบการณในการพัฒนาโครงการ โรงไฟฟา และมีแผนสรางโรงไฟฟากวา 400 เมกะวัตต ในป พ.ศ. 2561 ซึ่งเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ พ.ศ. 2561 ที่ ผานมา โรงไฟฟาอมตะ บี.กริม เพาเวอร (ระยอง) 3 มีกาํ ลัง การผลิตติดตัง้ 133 เมกะวัตต ไดเปดดําเนินการเชิงพาณิชย และจําหนายไฟฟาใหการไฟฟาฝายผลิต 90 เมกะวัตต โดยทันที หลังจากนั้นจะมีโรงไฟฟาพลังความรอนรวมอีก 2 โครงการ กําลังการผลิตติดตั้งรวม 266 เมกะวัตต โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย 7 โครงการ กําลังการผลิต ติดตั้งรวม 31 เมกะวัตต โรงไฟฟาพลังนํ้า 1 โครงการใน ประเทศ สปป.ลาว กําลังการผลิตติดตั้ง 15 เมกะวัตต นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ยังไดรบั การสนับสนุนทางการเงินเพิม่ เติม จากธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) ในวงเงิน 235 ลานเหรียญ สหรัฐ เพือ่ รองรับโครงการโรงไฟฟาทีอ่ ยูร ะหวางการพัฒนา ปจจุบัน บริษัทฯ ลงทุนในโครงการโรงไฟฟาจํานวน ทั้งสิ้น 52 โครงการ มีกําลังการผลิตติดตั้งรวม 2,518 เมกะวัตต โดยมีโครงการโรงไฟฟาที่เปดดําเนินการเชิง พาณิชยแลวรวมทัง้ สิน้ 31 โครงการ มีกาํ ลังการผลิตติดตัง้ รวม 1,779 เมกะวั ต ต และมี โ ครงการโรงไฟฟ า ที่ อ ยู ระหวางการกอสรางและอยูร ะหวางการพัฒนา มีกาํ ลังการ ผลิตติดตั้งรวม 739 เมกะวัตต
Engineering Today
March- April
2018
Innovation • กองบรรณาธิการ
มจพ.เตรียมส่งแนคแซท
ดาวเทียมดวงแรก ที่สร้างและออกแบบโดยคนไทย ขึ้นถ่ายภาพโลกจากอวกาศ ส.ค.นี้
โฉมหนาดาวเทียมแนคแซท ดาวเทียมดวงแรก ที่สรางและออกแบบโดยคนไทย
ศ. ดร.สุวัฒน กุลธนปรีดา หัวหนาโครงการวิจัยแนคแซท ศ. ดร.สุชาติ เซี่ยงฉิน อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ (มจพ.)
มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า พระนครเหนือ (มจพ.) พรอมสงดาวเทียมแนคแซท ดาวเทียมดวงแรกของประเทศไทยทีอ่ อกแบบและสราง โดยคนไทย ขนาด 10x10x10 ลูกบาศกเซนติเมตร นํ้ า หนั ก ประมาณ 1 กิโลกรัม ขึ้ น สู อวกาศในเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2561 เพือ่ ถายภาพโลกจากอวกาศและ ทดสอบการทํางานของระบบตางๆ ที่ออกแบบและ จัดสรางขึน้ ในอวกาศ และเปนการกระตุน ใหหนวยงาน ภาครัฐ เอกชน และภาคการศึกษา ทีจ่ ะไดรว มกันสราง บุคลากรดานอวกาศทีย่ งั ขาดแคลนและรวมกันพัฒนา ตอยอดการสรางดาวเทียมโดยคนไทยใหสามารถใช ประโยชนเชิงพาณิชยไดในอนาคต ศ. ดร.สุชาติ เซีย่ งฉิน อธิการบดี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า พระนครเหนื อ (มจพ.) กล า วว า ดาวเทีย มแนคแซท (KNACKSAT) เปน ดาวเทียมดวงแรกของประเทศไทยทีอ่ อกแบบและสราง
Engineering Today March- April
2018
โดยคนไทย ผลงานของนักศึกษาและอาจารยจากภาควิชาวิศวกรรมเครือ่ งกล และการบิน-อวกาศ คณะวิศวกรรมศาสตร มจพ. รวมกับภาควิชาวิศวกรรม สื่อสาร บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตรนานาชาติสิรินธร ไทย-เยอรมัน (TGGS) กวา 20 คน โดยเปนโครงการออกแบบและจัดสงดาวเทียมขนาดเล็ก เพื่อการศึกษาในรูปแบบคิวแซท (CubeSat) มีขนาด 10x10x10 ลูกบาศก เซนติเมตร นํ้าหนักประมาณ 1 กิโลกรัม ใชคลื่นความถี่วิทยุสมัครเลนใน การสื่อสาร ไดรับทุนสนับสนุนจากกองทุนวิจัยและพัฒนา คณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน และกิจการโทรคมนาคม เพือ่ ประโยชน สาธารณะ ขณะนี้สรางแลวเสร็จและผานการทดสอบการทํางานในสภาพ จําลองบนอวกาศเปนที่เรียบรอย พรอมติดตั้งระบบสื่อสารและสรางศูนย ควบคุมภาคพื้นดินซึ่งตั้งอยูภายในอาคาร TGGS ขณะนี้ตัวดาวเทียมเก็บ อยูในหองสุญญากาศของคณะวิศวกรรมศาสตร ในเดือนมีนาคมนี้ไดจัดสง ไปทดสอบยังประเทศสหรัฐอเมริกาอีกครัง้ กอนจะปลอยสูว งโคจร ดวยจรวด Space X Falcon 9 จากฐานยิงจรวด Vandenberg AFB รัฐแคลิฟอรเนีย สหรัฐอเมริกา ในชวงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 ศ. ดร.สุวัฒน กุลธนปรีดา ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการบินอวกาศ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ (มจพ.) ในฐานะหัวหนาโครงการวิจัยแนคแซท กลาววา
46
ดาวเทียมแนคแซท (KNACKSAT) ยอมาจาก King Mongkut’s University of Technology North Bangkok Academic Challenge of Knowledge SATellite) ซึง่ โครงการนีไ้ ดเริม่ ศึกษา วิจัยและจัดสรางตั้งแตป พ.ศ. 2555 ใชเวลาโดยรวมกวา 6 ป เบือ้ งตนใชทนุ จากสถาบันฯ ในการจัดทําโครงการ ตอมาชวงปลายป พ.ศ. 2558 ไดรบั ทุนสนับสนุนจากกองทุนวิจยั และพัฒนาจาก กสทช. จํานวน 9.6 ลานบาท รวมกับเงินสมทบจากมหาวิทยาลัยอีก 10 กวาลานบาทในการสรางดาวเทียมแลวเสร็จสมบูรณในชวง เดือนกันยายน พ.ศ. 2560 ทัง้ นีก้ ารประกอบดาวเทียมกระทําในหอง ปลอดฝุน เปนไปตามมาตรฐานการสรางยานอวกาศและไดรบั การ ทดสอบความคงทนตอแรงสั่นของจรวดสงดาวเทียมเปนไปตาม ขอกําหนดดาวเทียม ไมเกิดความเสียหายจากแรงสั่นสะเทือน ของจรวด เรงทนความเร็วไดไมนอยกวา 15 กรัม ทดสอบการวัด ปริมาณการปลอยแกสในสภาวะสุญญากาศที่สถาบันวิจัยแสง ซินโครตรอน (องคการมหาชน) ไมเกินคาที่กําหนด และไดรับ อนุญาตตั้งสถานีจาก กสทช.เพื่อใชในกิจการวิทยุสมัครเลนและ ทดสอบดาวเทียมนี้เมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 นอกจากนี้ยังไดประสานงานความถี่วิทยุกับสหภาพวิทยุ สมั ค รเล น ระหวา งประเทศ (International Amateur Radio Union : IARU) และสหภาพโทรคมนาคมนานาชาติ (International Telecommunication Union : ITU) เปนที่เรียบรอยแลวเพื่อนํา ดาวเทียมสงขึ้นวงโคจรในอวกาศ “ทีผ่ า นมาประเทศไทยมีการสงดาวเทียมขึน้ สูว งโคจรมาแลว กว า 10 ดวง แตเ ป น การนํ าเข า และซื้อจากตา งประเทศ สวน ดาวเทียมแนคแซทเปนดาวเทียมสัญชาติไทยดวงแรกที่ออกแบบ และสรางโดยคนไทย ภายในรั้วมหาวิทยาลัยไทยโดยนักศึกษาทั้ง ปริญญาตรี โท เอกและอาจารยกวา 20 คนชวยกันทุมเทเวลา และความยากลําบากรวมกันสรางดาวเทียมดวงนีข้ นึ้ มาจนสําเร็จ สําหรับประเทศไทยถือวาเปนเรื่องที่ใหมในการสรางดาวเทียม เพื่ิอสงขึ้นวงโคจรในอวกาศ” ศ. ดร.สุวัฒน กลาว ดร.พงศธร สายสุจริต ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและ การบิน-อวกาศ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือ (มจพ.) ในฐานะผูจัดการโครงการ กลาววา การทํางานของดาวเทียมแนคแซทไมตางจากดาวเทียม ดวงใหญและสรางยากกวาดวงใหญ ภารกิจคือการถายภาพสง ลงมาโดยกลองที่ใชใสไวสําหรับถายภาพนั้นจะมีสเปกถายภาพ แบบเดียวกับโทรศัพทมือถือไอโฟน 4 เพราะในขณะที่ทําการ ออกแบบและทดลองสรางนัน้ เปนชวงเวลาเดียวกับไอโฟน 4 พอดี แตเปาหมายหลักของโครงการนี้ไมไดอยูแคการสรางดาวเทียม เพือ่ เอาไปใชงาน แตเปนการพิสจู นวา ความสามารถของนักศึกษา และเทคโนโลยีที่มหาวิทยาลัยมีอยูสามารถสรางดาวเทียมเองได ปจจุบันมีดาวเทียมคิวแซทอยูในวงโคจรรวม 1,000 ดวง โดย 100 มหาวิทยาลัยทั่วโลกสงดาวเทียมเขารวมโครงการแต
ดร.พงศธร สายสุจริต (ซาย) ผูจัดการโครงการ และ ผศ. ดร.สุรเมธ เฉลิมวิสุตมกุล ผูจัดการระบบสื่อสารดาวเทียมแนคแซท
สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน รวมทดสอบดาวเทียมแนคแซท ภายใต สภาวะสุญญากาศ อุณหภูมิและความดัน คลายอวกาศจริง
สวนใหญไมทาํ งาน และไมสามารถสือ่ สารกับศูนยควบคุมบนโลกได แตแนคแซทเปนดาวเทียมทีม่ รี ะบบการสือ่ สารทีส่ มบูรณและเปน ระบบเดียวกับทีใ่ ชในองคการอวกาศนาซา และไดรบั การตรวจสอบ มาตรฐานในการจัดสรางจากผูเชี่ยวชาญดานวิศวกรรมอวกาศ ของประเทศญี่ปุนและยืนยันวาดาวเทียมแนคแซทสามารถใชงาน บนอวกาศไดแนนอน “สวนความทาทายตอไปในอนาคตนัน้ อยากสรางดาวเทียม แบบเดียวกันนี้อยางนอย 2-3ป จะสรางดาวเทียมฝมือคนไทยให ไดหนึ่งดวงและสรางฐานปลอยจรวดหรือปลอยดาวเทียมฝมือ คนไทยขึ้น” ดร.พงศธร กลาว ผศ. ดร.สุรเมธ เฉลิมวิสุตมกุล ภาควิชาวิศวกรรมสื่อสาร บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร นานาชาติสริ นิ ธร ไทย-เยอรมัน ในฐานะผูจัดการระบบสื่ อสารดาวเที ยมแนคแซท กลาววา การสรางดาวเทียมแนคแซทนี้ถือเปนการขามผานประสบการณ เดิมๆ ที่ การสรางดาวเทียมในอดีตมักจะนิยมสรางดาวเทียม ขนาดใหญแตปจจุบันการสรางดาวเทียมดวงเล็กเพื่อกระตุนให เกิดความสนใจทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหกบั เยาวชน ที่เปนกําลังในการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไมจําเปน ตองสรางดาวเทียมแตรูจักคิดรูจักพัฒนาศักยภาพของเด็กไทยให ทัว่ โลกไดรจู กั มากกวาถือเปนประโยชนทแี่ ทจริง อีกทัง้ ยังเปนการ กระตุนใหหนวยงานภาครัฐ เอกชน และภาคการศึกษาที่จะได รวมกันสรางบุคลากรดานอวกาศทีย่ งั ขาดแคลน และรวมกันพัฒนา ตอยอดการสรางดาวเทียมโดยคนไทยใหสามารถใชประโยชน เชิงพาณิชยไดในอนาคต
47
Engineering Today
March- April
2018
Innovation • กองบรรณาธิการ
สวทช.ภาคเหนือจัดงานประชุมวิชาการ “นวัตกรรมเพื่อชุมชน สู่สังคมแห่งการแบ่งปันความรู้”
ชูผลงานวิจัย สรางมูลคาเพิ่มแกเกษตรกรและชุมชน สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ภาคเหนือ จัดงานประชุมวิชาการและนิทรรศการ ประจํา ป พ.ศ. 2561 ภายใตชื่องาน “นวัตกรรมเพื่อชุมชน สูสังคมแหง การแบงปนความรู” เพื่อนําเสนอผลงานวิจัยและแลกเปลี่ยน ความรูที่ไดจากการนําวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ถายทอด จากนักวิชาการหนวยงานภาครัฐ เอกชน และชุมชน ในรูปแบบ ที่เขาใจงาย บูรณาการเพื่อใชงานจริง สรางรายได สรางชุมชน เขมแข็ง สรางอาชีพใหเกิดประโยชนแกชุมชนอยางยั่งยืน ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล ผูอํานวยการสํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กลาววา สวทช. มีเปาหมายในการวิจยั และพัฒนาดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ นวัตกรรม (วทน.) เพื่อนําผลงานวิจัยไปใชประโยชน พรอมทั้ง ดําเนินนโยบายตอบโจทย Thailand 4.0 ผลิตผลงานวิจยั และพัฒนา สํ า หรั บ พื้ น ที่ ใ นภาคเหนื อ ถื อ เป น หั ว ใจสํ า คั ญ อี ก แห ง หนึ่ ง ที่ มี วัตถุดิบ มีเกษตรกร มีเครือขายที่เขมแข็งรวมกันทํางานมาโดย ตลอด โดยทาง สวทช.จะมุงเนนงานวิจัยดานอาหารเพื่ออนาคต และนวัตกรรมเพื่อการเกษตรยั่งยืนเปนหลัก รวมกับเครือขาย พันธมิตรในพื้นที่ทุกภาคสวนรวมมือ รวมแรง รวมใจกันพัฒนา ผลงานวิ จั ย และถ า ยทอดสู ก ารใช ป ระโยชน ใ นชุ ม ชนท อ งถิ่ น รวมทัง้ สรางความเขมแข็งใหกบั ผูป ระกอบการ SME ชวยยกระดับ ผลิตภัณฑและบริการใหเกิดมูลคาเพิม่ สูงขึน้ สรางงาน สรางอาชีพ สรางความมัน่ คง มัง่ คัง่ ไดอยางยัง่ ยืน ใหเกิดประโยชนในวงกวาง และจับตองไดจริง สําหรับการประชุม สวทช.ภาคเหนือ ประจําป พ.ศ. 2561 นี้ มีผใู หความสนใจลงทะเบียนรวมงานมากกวา 900 ราย มีผลงาน ที่ มี ก ารสนั บ สนุ น ทุ นวิ จั ย รวมถึ ง เชื่ อ มโยงทุ นวิ จั ย พั ฒนาและ วิศวกรรมเพื่อแกไขปญหาทองถิ่น จํานวน 9 ทุน มีการถายทอด เทคโนโลยีจากงานวิจัยสูเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือกวา 69 ครั้ง ใน 62 หมูบาน มีเกษตรกรไดรับการถายทอดองคความรูและ เทคโนโลยีไมนอยกวา 2,300 คน พัฒนาบุคลากรทั้งเกษตรกร แกนนํา เจาหนาทีส่ ง เสริม และผูป ระกอบการ กวา 130 รายใหการ สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีภาคอุตสาหกรรมผานโปรแกรม สนั บ สนุ น การพั ฒ นาเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม หรื อ ITAP จํานวน 78 โครงการ กิจกรรมคายวิทยาศาสตรสําหรับเยาวชน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 4 คาย และเกิดมูลคา การลงทุนรวมถึงผลกระทบเชิงเศรษฐกิจและสังคมทัง้ ในภาคชุมชน และภาคอุตสาหกรรมกวา 359.13 ลานบาท จากการเก็บขอมูล 147 โครงการในปที่ผานมา
Engineering Today March- April
2018
48
ปยะฉัตร ใครวานิช เบอรทนั ผูอ าํ นวยการ สวทช.ภาคเหนือ กลาววา ในป พ.ศ. 2560 ทีผ่ า นมา สวทช.ภาคเหนือไดนาํ นวัตกรรม จาก สวทช. และเครือขายเขามาถายทอดใหแกชุมชนตางๆ ผาน โปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ITAP) เชน การประยุกตใชภาพถายดาวเทียมเพื่อการจัดการเกษตร เทคโนโลยี UAV & Robot จักรกลอัตโนมัติ โรงเรือนปลูกอัจฉริยะ Smart Green House และระบบตรวจสอบยอนกลับ (Traceability System) เปนตน กวา 69 ครั้ง ใน 62 หมูบาน มีเกษตรกรไดรับ การถายทอดเทคโนโลยีแลว 2,361 ราย รวมทัง้ ไดพฒ ั นาบุคลากร ของ สวทช.และเครือขายไปดวยกันกวา 130 คน เพือ่ สรางนวัตกรรม และงานวิจยั ใหเกษตรกรมีความเปนอยูท ดี่ ขี นึ้ สามารถผลิตสินคา และผลิตภัณฑตอยอดอาชีพใหทุกคนมีศักยภาพตามการทํางาน ทีเ่ หมาะสมสําหรับทุกๆ คนรวมกัน โดยเฉพาะผูม รี ายไดนอ ยและ ผูดอยโอกาสทางสังคม ดวยการนําวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เขามาชวยลดชองวาง ลดการเหลื่อมลํ้า สรางคน สรางสังคมแหง การเรียนรูสังคมเพื่อนําประเทศสูอนาคตที่ดีตอไป “สวนเปาในป พ.ศ. 2561 นี้ สวทช.ภาคเหนือตองการเห็น ชุมชนมีการแลกเปลี่ยนและแบงปนความรูที่ไดจากการถายทอด จาก สวทช.ภาคเหนือและเครือขายไปเผยแพรแกเกษตรกรรายอืน่ ๆ ทัง้ เรือ่ งการปลูกพืชผักแบบอินทรีย การแปรรูปสินคาและผลิตภัณฑ ใหไดมาตรฐานตามทีต่ ลาดตองการ สรางแรงบันดาลใจ แลกเปลีย่ น ประสบการณซงึ่ กันและกัน รักษาเอกลักษณภมู ปิ ญ ญาทองถิน่ ให ทุกๆ ชุมชนในพืน้ ทีภ่ าคเหนือเขมแข็งไปพรอมๆ กัน” ผูอ าํ นวยการ สวทช.ภาคเหนือ กลาว เกษคง พรทวี ผูบริหาร บริษัท เชียงใหมไบโอเวกกี้ จํากัด หนึ่งในผูประกอบการที่นําโปรแกรม ITAP สวทช.มาชวยสราง มูลคาเพิม่ กลาววา บริษทั ฯ เริม่ เปดกิจการโรงงานแปรรูปผักเมือ่ ป พ.ศ. 2554 ที่ตําบลนํ้าแพร อําเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม ดวยงบการลงทุนกวา 50 ลานบาท ในการวิจัยสรางเครื่องจักร สรางโรงงานนวัตกรรมแปรรูปผักรายแรกของประเทศไทย ภายใต แบรนด Bioveggie ซึ่งใชเวลาศึกษานานถึง 6 ปรวมกับตัวแทน ของเกษตรกร นักวิทยาศาสตรการอาหารจากทางมหาวิทยาลัย ที่อยูในพื้นที่ สวทช.และเครือขายรวมกันทํางานลองผิดลองถูก จากผัก 12 ชนิด ไดแก พริกหวาน แครอท มะเขือเทศ หัวหอม ญีป่ นุ ฟกทองญีป่ นุ กะหลํา่ ปลีมว ง บีทรูท ผักโขม เฟนเนล เซเลอรี่ พารสเลย และบร็อคโคลี ซึ่งลวนเปนผักสดที่บริษัทฯ รับซื้อจาก มู ลนิธิโ ครงการหลวง 100% ซึ่งมี ไฟเบอรและสารอาหารสูง ปหนึ่งประมาณเกือบ 1 ลานตันมาแปรรูปเปน ผักอัดเม็ด เยลลี่
ป ยะฉัตร ใคร วานิช เบอร ทัน
ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล
ธณัทชัย ป ญญาฟอง
ผัก สําหรับเด็ก ซุปผัก ชาผักเซเลอรี่ เปนตน เพือ่ เปนสินคาพรอม รับประทานไดทันที โดยมีชองทางการตลาดสําหรับกลุมอาหาร เพือ่ สุขภาพ โดยเฉพาะกลุม ผูบ ริโภคทีไ่ มชอบรับประทานผัก หรือ ไมมีโอกาสที่จะไดรับประทานผักยังมีอยูมาก ทั้งเด็ก คนทั่วไป และผูสูงอายุ และไดรับการสนับสนุนจาก สวทช.ในการเขามา ชวยดูแลกระบวนการแปรรูปสินคาใหแหงแตคณ ุ คาของสารอาหาร ยังคงอยู สูงถึง 80-90% โดยใชเทคโนโลยีการอบแหงในอุณหภูมิ ความรอนที่ตํ่ากวาแสงอาทิตยเปนตัวควบคุม นอกจากนี้มีการควบคุมการผลิตตามมาตรฐาน GMP, HACCP แลวเขาสูกระบวนการสกัดจนกลายเปนผงวิตามิน ตาม ดวยอัดเปนเม็ดๆ จํานวน 5 เม็ด 5 สี เนื่องจากถาอัดเปนเม็ด เดียวจะมีขนาดใหญ รับประทานยากเกินไป ซึง่ การรับประทานผง วิตามิน 5 เม็ดจะไดสารอาหารเทียบเทารับประทานผักสดใน ปริมาณ 150 กรัม และสามารถคงคุณคาสารอาหารไดครบถวน และทดแทนการรับประทานผักสดได 100% ปจจุบนั วางจําหนาย ในรานสะดวกซือ้ รานขายยาทัว่ ประเทศ หางสรรพสินคา โมเดิรน เทรด และรานจําหนายสินคาสุขภาพ อีกทั้งยังมุงสรางชองทาง จําหนายทางออนไลน และอีคอมเมิรซ ใหมากยิง่ ขึน้ เนือ่ งจากเทรนด การซื้อขายยุคดิจิทัลผูบริโภคลูกคานิยมสั่งซื้อทางออนไลนเพิ่ม มากขึน้ นอกจากนีย้ งั มีผลิตภัณฑใหมสาํ หรับเด็กเยลลีว่ ติ ามินซีสงู ผสมผักรวม 5 ชนิด แบรนด ‘ไบโอเวกกี้ กัมมี่วี” โดยในป พ.ศ. 2561 นี้ คาดวาผลิตภัณฑจะเติบโต 2-3 เทาตัว จากปจจุบันที่มี รายไดประมาณ 30 ลานบาทตอปโดยเฉพาะตลาดในประเทศ ทีม่ สี ดั สวนประมาณ 80% สวนการสงออกไปขายยังตางประเทศ จะเปนแถบตะวันออกกลาง ดูไบ ยุโรปจะมีโปแลนด และประเทศ ในอาเซียน สวนประเทศที่กําลังทําตลาด ไดแก เกาหลีใต ซาอุดิ อาระเบีย ธณัทชัย ปญญาฟอง ผูบ ริหาร บริษทั เชียงใหมซดี ส จํากัด กลาววา ดวยสภาพอากาศที่แปรปรวนสงผลตอการผลิตและ คุณ ภาพของเมล็ดพั น ธุ การผลิตเมล็ดพัน ธุใ นระบบโรงเรือน จึงเปนทางออกใหกับอุตสาหกรรมผลิตเมล็ดพันธุไดนําระบบ โรงเรือนอัจฉริยะที่ สวทช.พัฒนาขึน้ มาชวยควบคุมสภาวะแวดลอม ในโรงเรือนใหเหมาะกับการปลูกพืช ชวยลดความเสี่ยงในการ เพาะปลูกเพือ่ ผลิตเมล็ดพันธุ ซึง่ มองวาคุม คาทีจ่ ะลงทุน เนือ่ งจาก เมล็ดพันธุมีมูลคาทางการตลาดสูง โดยโรงเรือนที่สรางนี้ใชงบ
เกษคง พรทวี เกษค
วิสูตร อาสนวิจิตร
ระมาณราว 500,000 500 000 บาทในการกอสราง ซึ่งภายในระบบโรง ประมาณราว เรือนนี้ประกอบดวย พลาสติกคลุมโรงเรือนสูตร Multi-funtional ระบบควบคุมพัดลมระบายอากาศ ระบบเซ็นเซอรแสง ระบบ เซ็นเซอรอุณหภูมิความชื้นอากาศ ระบบควบคุมมานและมานลด แสงอัตโนมัติ ระบบสเปรยหมอกอัตโนมัติ Cooling Pad และพัดลม โดยการทํางานนัน้ สามารถตัง้ คาควบคุมตางๆ ไดตามเงือ่ นไข ทีต่ อ งการตามชนิดของพืชผักทีป่ ลูกในโรงเรือนตามความเหมาะสม เชน การตัง้ คารดนํา้ เวลารดนํา้ การคํานวณสถิติ การคุมเขมแสง การตัง้ คาควบคุมความชืน้ ดิน เปนตน นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังรวมกับ สวทช. ศึกษาวิจยั การผลิตเมล็ดพันธุพ ชื ตางๆ ในโรงเรือนอัจฉริยะ นี้ เพื่อยกระดับขีดความสามารถการผลิตเมล็ดพันธุใหประเทศ รวมทั้ ง จะเป น เสมื อ นโชว รู ม เพื่ อ ขยายผลเทคโนโลยี ดังกลาว ออกไปสูบริษัทผลิตเมล็ดพันธุอื่นในอีก 1-2 ป นับจากนี้ วิสตู ร อาสนวิจติ ร อาจารยประจํามหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลลานนา ผูประสานงานกลุมเตาชีวมวลปนมือ บาน สันติสุข อ.พราว จ.เชียงใหม กลาววา ดวยเหตุผลที่ตองการให คนในพื้นที่ปรับพฤติกรรมการกําจัดขยะชีวมวลแทนการเผาทิ้ง จึงตัดสินใจเขาขอคําแนะนําจาก สวทช. ภาคเหนือ และไดจับคู ผลงานวิจัยที่พรอมถายทอดเทคโนโลยีเตาชีวมวลเชื้อเพลิงซัง ขาวโพด ผลงานขององอาจ สองสี นักวิจัยอิสระ ซึ่งมีหลักการ ทํางานแบบเตาแกสเชื้อเพลิงจากชีวมวลชนิดอากาศไหลขึ้น เปน การเผาไหมเชื้อเพลิงแบบจํากัดปริมาณอากาศใหเกิดความรอน บางสวนแลวไปเลนปฏิกริ ยิ าตอเนือ่ งอืน่ ๆ เพือ่ เปลีย่ นเชือ้ เพลิงแข็ง ใหกลายเปนแกสเชือ้ เพลิง ไดแก คารบอนมอนนอกไซด ไฮโดรเจน และมีเทน ทีส่ าํ คัญเทคโนโลยีนที้ าํ ไดงา ย ราคาถูก ใชวสั ดุในพืน้ ที่ และสรางไดในทุกพื้นที่ ชาวบานใหความสนใจมาก โดยปจจุบันมีชาวบานเขามาเรียนรูเพื่อผลิตและจําหนาย เตาชีวมวล 2 ราย และจํานวนมากกวา 40% ของครัวเรือนใน พื้นที่มีและใชงานเตานี้ เนื่องจากเตาชีวมวลมีคุณสมบัติโดดเดน คือ ใหพลังงานความรอนไดมากกวาเตาทั่วไป และการลดใชฟน หรือถานไดกวาครึ่งหนึ่ง ทําใหชุมชนใกลเคียงหมูบานสันติสุข สนใจที่จะรับ ถายทอดเทคโนโลยีก ารผลิ ต เตาชี วมวลนี้ ขณะ เดียวกัน ผูประกอบการรานหมูกระทะสนใจในคุณสมบัติที่ให ความรอนสูงกวาเตาทั่วไป แตอาจตองปรับใหมีขนาดเล็กลงและ ใสหูจับเพื่อความสะดวกในการขนยาย
49
Engineering Today
March- April
2018
Technology • กองบรรณาธิการ
“มาสเตอรคลู ” สงพัดลมไอเย็นชวยคนไทย ดับรอนป พ.ศ. 2561 ผสานสุดยอดเทคโนโลยี ดีไซนแรงลมสูง พรอมเพิม่ ฟงกชนั ใหม รุน ไลยงุ ไรสารเคมี รายแรกในไทย มัน่ ใจเขาถึงทุกกลุม เปาหมาย ตั้งเปายอดขาย 10,000-15,000 ยูนิต ชี้ตลาดพัดลมไอเย็นยังโตตอเนื่อง รับ เศรษฐกิจไทยขาขึ้น เดินหนาขยายชองทาง การตลาดทุกชองทาง ทัง้ ออฟไลนและออนไลน พรอมเสริมทัพรุกตลาดตางประเทศ คาดรายได เติบโต 25%
“มาสเตอร์คูล” เปิดตัวพัดลมไอเย็นเทคโนโลยีใหม่ “เย็นไล่ยุง” รายแรกของไทย ตอบโจทย์ผู้บริโภคทุก Segment ของตลาด
นพชัย วีระมาน กรรมการผู จัดการ บริษัท มาสเตอร คูล อินเตอร เนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) หรือ KOOL
นพชัย วีระมาน กรรมการผูจ ดั การ บริษทั มาสเตอรคลู อินเตอร เนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) หรือ KOOL ผูผลิตและจําหนายพรอม ใหเชา พัดลมไอนํา้ -ไอเย็นภายใตแบรนด “มาสเตอรคลู ” กลาววา บริษทั ฯ ไดเปดตัวพัดลมไอเย็นรุน ใหม MIK-28EX “เย็นไลยงุ ” ซึง่ เปนผลิตภัณฑ พัดลมไอเย็น ตัวแรกของไทย ทีผ่ สานเทคโนโลยีความเย็นสบาย ปองกันยุง ไรสารเคมี โดยใชคลืน่ ความถีส่ งู อัลตราโซนิค ติดตัง้ ภายในเครือ่ งเดียวกัน เพื่อตอบสนองและเขาถึงการใชงานไลฟสไตลของคนในยุคปจจุบัน นับเปนฟงกชันพิเศษของมาสเตอรคูล ซึ่งเปนการพัฒนาและคิดคน นวัตกรรมใหมๆ สูตลาดพัดลมไอเย็นภายใต แบรนด “มาสเตอรคูล” โดยเปดตัวพรอมกับรุน MIK-14EX ซึ่งเปนพัดลมไอเย็นตัวใหม ทั้ง สองรุน ไดรบั การออกแบบและดีไซนใหมทงั้ หมด มีการพัฒนานวัตกรรม ใบพัดลมพิเศษ ที่สามารถใหกําลังแรงลมไดมากกวาเดิม เหมาะสมกับ การใชงานในทุกพื้นที่ทั้งภายในอาคารและนอกอาคาร พรอมกับการ ออกแบบระบบปุมควบคุมการใชงานสําหรับการเปด-ปดฟงกชันตางๆ
Engineering Today March- April
2018
50
ที่งายและสะดวกตอผูใช นับเปน ผลิตภัณฑที่เขาถึงกลุม ผูบ ริโภคในทุก Segment ของตลาด ไมวา จะเปนกลุม ทีอ่ ยู อาศัย บานเดี่ยว คอนโดมิเนียม รีสอรต โรงแรม เปนตน “ผลิตภัณฑพัดลมไอเย็นรุนใหมทั้งสองรุนในครั้งนี้ เกิดจากงานวิจัยและพัฒนา โดยนําผลสํารวจความคิดเห็น ของผูบริโภคมาเปนองคประกอบในการออกแบบ เพื่อให ไดผลิตภัณฑทตี่ รงกับความตองการของผูบ ริโภคใหมากทีส่ ดุ โดยเฉพาะฟงกชันการไลยุง ถือเปนการพัฒนาเทคโนโลยี มาใชเพื่ออํานวยความสะดวกใหกับผูใชเพิ่มขึ้น นอกเหนือ จากความเย็นสบายที่ไดรับจากผลิตภัณฑพัดลมไอเย็น เพราะดวยสภาพแวดลอมของประเทศไทย ที่มีป ญหา เรื่องยุงมาอยางยาวนาน ทั้งในกรุงเทพฯ และตางจังหวัด ทําใหบริษัทฯ เล็งเห็นถึงความสําคัญในการพัฒนาและนํา เอาเทคโนโลยีที่ปราศจากสารเคมี มาใชเพื่อตอบสนอง ความตองการของผูบ ริโภค กลุม ผูบ ริโภคทัว่ ไปและกลุม นิช มารเก็ต (Niche Market) ที่ตองการเลือกใชผลิตภัณฑที่ สามารถสะทอนความเปนตัวตน ทั้งในเรื่องการออกแบบ ความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ สามารถใชงานไดทุก โอกาสและทุกสถานที่ไดอยางลงตัว ซึ่งมั่นใจวาจะไดรับ การตอบรับจากตลาดเปนอยางดีในทุกกลุมเปาหมาย” นพชัย กลาว
พัดลมไอเย็นรุ นใหม MIK-28EX “เย็นไล ยุง”
รุ นเล็ก MIK-14EX (ขวา) มาพร อมนวัตกรรมใบพัดลมพิเศษ ให กําลังแรงลมมากกว าเดิม ใช งานในทุกพื้นที่
เพื่อใหผูบริโภคไดเขาถึง และรับรูในเทคโนโลยีความเย็นไลยุง บริษัทฯ ไดออกภาพยนตรโฆษณาตัวแรก ชุด “มาสเตอรคูล เย็นไลยุง” ซึ่งมีเนื้อหาที่สะทอนถึงประสิทธิภาพการใชงานไดทุกสภาวะแวดลอม รวมถึงการสรางความมั่นใจในคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ และ ตอกยํ้าการเปนผูนํานวัตกรรมพัดลมไอเย็นรายแรกของไทย นพชัย กลาวถึง ภาพรวมกลุมตลาดพัดลมไอเย็นในป พ.ศ. 2560 วามีมลู คารวมราว 2,000 ลานบาท ซึง่ บริษทั ฯ มีสว นแบงทางการตลาด 30-40% ปจจุบันมีผูประกอบการเขามาทําตลาด และแขงขันในการ ออกผลิตภัณฑมาเปนจํานวนมาก โดยมีแบรนด 2 ราย และนําเขาจาก ตางประเทศ เชน ประเทศจีน ประมาณ 4-5 ราย ในสวนของมาสเตอรคลู ด ว ยมี แ บรนด ของตนเอง ยั ง มั่น ใจในนวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อ ตอบโจทยใหผบู ริโภคคนไทย ดวยมาตรฐานและคุณภาพความปลอดภัย รวมถึงการประหยัดพลังงาน การบริการ ที่สามารถเขาถึงไดทุกกลุมใน ตลาด ดวยกลุมสินคาที่มีความหลากหลาย ทั้งในดานที่อยูอาศัย รานคา
5 51
โรงแรม รีสอรต รวมถึงการพัฒนาระบบความเย็นเพื่อใช ในโรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล เปนตน จนเปนที่ ยอมรับจากตลาดทั้งในและตางประเทศ ในป พ.ศ. 2561 บริษทั ฯ ตัง้ เปารายไดเติบโตขึน้ 25% เมือ่ เทียบกับป พ.ศ. 2560 ทีม่ ยี อดขาย 500-600 ลานบาท ซึ่งหดตัวไปกวา 30-40% ดวยสภาพภูมิอากาศที่หนาว และสภาพเศรษฐกิจโดยรวมที่ชะลอตัว แบงเปนยอดขาย ในประเทศ 70% ยอดขายในตางประเทศ 30% เพิ่มขึ้น จากปทผี่ า นมา 5% บริษทั ฯ ไดเตรียมแผนงานและกลยุทธ ทางการตลาด โดยทุมงบประมาณการทําตลาดประมาณ 30 ลานบาท พรอมวางแผนการขยายชองทางการขาย สินคาในทุกชองทางจําหนาย ทั้งจากดีลเลอรและโมเดิรน เทรด ขณะเดียวกันไดนําเสนอผลิตภัณฑ ผานชองทาง การขาย บนระบบอีคอมเมิรซ (E-commerce) ชัน้ นําของไทย เชน Shopee, Lazada รวมทั้งขายสินคาผานชองทาง เว็บไซต shop.masterkool.com ซึ่งเปนชองทางที่บริษัทฯ ไดทาํ การตลาดเพือ่ รองรับการเขาถึงของลูกคาไดครอบคลุม ทั่วประเทศคาดวาจะมีรายไดจากสวนนี้ประมาณ 5-8% จากเดิมที่มีเพียง 5% “เศรษฐกิจของไทยในป พ.ศ. 2561 เชือ่ มัน่ วาจะเติบโต จากปทผี่ า นมา เปนผลจากการขยายตัวดานการลงทุนของ ภาครัฐและเอกชน รวมถึงภาคการสงออกปนที้ มี่ กี ารขยาย ตัวที่ดีขึ้น สงผลใหกําลังซื้อโดยรวมของประเทศจะปรับตัว ดีขนึ้ กวาป พ.ศ. 2560 ทําใหยอดจําหนายของบริษทั ฯ เติบโต ไปดวย ทั้งนี้มีลูกคาสวนใหญถึง 70% ที่ยังไมใชพัดลม ไอเย็น ในปนี้บริษัทฯ เปดตัวพัดลมไอเย็นทั้งหมด 3 รุน ทั้งรุนเล็ก กลาง และใหญ ซึ่ง สามารถตอบโจทยความ ตองการของลูกคาทั้ง 3 กลุมไดครอบคลุมยิ่งขึ้น” นพชัย กลาว นอกจากนี้บริษัทฯ ยังมีแผนงานขยายตลาดไปตาง ประเทศ โดยเฉพาะประเทศเพื่อนบานในกลุมอาเซียน เชน กัมพูชา เมียนมา ฟลิปปนส และเวียดนาม โดยได ออเดอรพัดลมไอเย็นรุนใหม MIK-28EX เย็นไลยุง และ รุน MIK-14EX และจากเวียดนาม ซึ่งมีสภาพอากาศใกล เคียงไทยมากกวา 10 ลานบาท พรอมกันนี้เริ่มมีตัวแทน จําหนายในประเทศออสเตรเลีย นิวซีแลนด และเม็กซิโก ทําใหยอดขายในครึ่งปหลังนาจะดีขึ้นและเปนไปตามเปา ที่วางไว
Engineering Today
March- April
2018
Technology • สุรียพร วงศศรีตระกูล
อีตั้น อิเล็คทริค จัดงานโมบายเทคเดย์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ครัง้ แรกในไทย
พรอมเปดตัวเครื่องตัดกระแสไฟ สําหรับโรงงานและอาคารสูง อีตั้น อิเล็คทริค บริษัทจัดการพลังงานไฟฟาระดับโลก จัดงานโมบายเทคเดยเอเชียตะวันออกเฉียงใต (South East Asia Mobile Techday) เปนครั้งแรกในประเทศไทย พรอม เปดตัว Power Defense™ เครื่องตัดกระแสไฟแบบหอหุม ฉนวนมิดชิด โซลูชั่นปองกันไฟฟารั่วรุนใหม ซึ่งใชเทคโนโลยี ลาสุดจากอีตั้น สําหรับโรงงานและอาคารสูง เชื่อมั่นปนี้ ตลาด ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกรวมทัง้ ไทย เติบโตดวยตัวเลขสองหลัก จากการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานสาธารณูปโภค มร.จิมมี่ ยัม รองประธานฝายขายประจําภูมิภาคเอเชีย ตะวั น ออก สว นธุร กิจไฟฟา บริษัท อีตั้น อิเ ล็คทริค จํากัด กลาววา อีตนั้ อิเล็คทริค เปนบริษทั สัญชาติอเมริกนั กอตัง้ มาแลว 107 ป มีธุรกิจหลัก 2 ประเภท คือ ธุรกิจพลังงานไฟฟา และ ธุรกิจอุตสาหกรรม มีพนักงานประมาณ 96,000 คน และให บริ การลูกคาในกวา 175 ประเทศทั่วโลก มีแบรนดทั้ งหมด 7 แบรนด สําหรับแบรนด Moeller เปนที่รูจักในเอเชีย และลาสุด แบรนด Cooper ซึ่งอีตั้นเพิ่งซื้อกิจการจากบริษัท Cooper วงเงิน 11.8 พันลานเหรียญสหรัฐ ในป พ.ศ. 2555 ทําใหสามารถขยาย ธุรกิจนํ้ามันและแกส ปจจุบนั อีตนั้ เปนผูน าํ ดานธุรกิจไฟฟาระดับโลก ดวยความ เชี่ยวชาญในการบริหารจัดการพลังงาน อุปกรณตัดกระแสไฟฟา ระบบสํารองไฟฟา ระบบควบคุมและสั่งการ ระบบไฟฟาและ การรักษาความปลอดภัย โครงสรางโซลูชนั่ และอุปกรณเดินสายไฟ โซลูชั่นสําหรับบรรเทาสภาพแวดลอมที่เสี่ยงภัยและเปนอันตราย และบริการทางวิศวกรรม สําหรับธุรกิจทางดานพลังงานไฟฟาในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟก มีสํานักงานใหญที่เมืองเซี่ยงไฮ ประเทศจีน มีโรงงาน 17 แหง สํานักงาน 38 แหงและพนักงานมากกวา 11,000 คน มีศูนย วิจัยและพัฒนา (R&D) 8 แหง ในป พ.ศ. 2560 อีตั้นเปนบริษัทจัดการพลังงานที่มีรายได สูงถึง 20,400 ลานเหรียญสหรัฐ โดยมีตลาดหลัก คือ ประเทศจีน คิดเปนสัดสวน 64% อินเดีย 7% ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด 10%
มร. จิมมี่ ยัม รองประธานฝายขายประจําภูมิภาคเอเชียตะวันออก สวนธุรกิจไฟฟา บริษัท อีตั้น อิเล็คทริค จํากัด เปดตัว Power Defense™ เครื่องตัดกระแสไฟแบบหอหุมฉนวนมิดชิดสําหรับโรงงานและอาคารสูง
ภายในตูคอนเทนเนอร อีตั้นไดจัดแสดงผลิตภัณฑและโซลูชั่น ที่ชวยบริหารพลังงานไฟฟา
Engineering Today March- April
2018
52
และทีเ่ หลือ 19% เปนตลาดในภูมภิ าคเอเชียตะวันออก ประกอบ ดวย เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย และเกาหลีใต ซึ่งคาดวาใน ป พ.ศ. 2561 ยอดขายนาจะเติบโตดวยตัวเลขสองหลัก เนือ่ งจาก ตลาดในภูมิภาคนี้มีการเติบโต เชน มาเลเซีย ลงทุนใน High Speed Rail และเกาหลีใต มีการลงทุนทางดานโครงสรางพืน้ ฐาน ประกอบกับอีตั้นมีผลิตภัณฑที่เหมาะสําหรับตลาด อีกทั้งลูกคา ชื่นชอบในผลิตภัณฑ โดยมีสัดสวนจากภาคเอกชน 60% และ ภาครัฐ 40% มร.จิมมี่ กลาววา ขณะที่ประเทศไทย ตลาดของภาครัฐ และเอกชนมีสัดสวนเทากัน คือ 50:50 โดยปนี้อีตั้นไดตั้งเปา ยอดขายในไทยเติบโตดวยตัวเลขสองหลักเชนกัน เนือ่ งจากไทยมี โครงการกอสรางโครงสรางพืน้ ฐานและสาธารณูปโภค และอาคาร ตางๆ มากมาย “ประเทศไทยคือหนึ่งในตลาดที่สําคัญเปนลําดับตนๆ ของ อีตั้น ดวยการเติบโตอยางเขมแข็งและตอเนื่องของธุรกิจระบบ ไฟฟาสําหรับอุตสาหกรรมตลอดหลายปที่ผานมา นอกจากนี้ ด ว ยนโยบายจากภาครั ฐ ในการสร า งและปรั บ ปรุ ง รางรถไฟ การคมนาคมขนสงทัง้ อากาศและทางนํา้ ซึง่ จะใชงบประมาณกวา 18,900 ลานบาท การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดังกลาวจะชวย ผลักดันให GDP ของประเทศเติบโตในระดับ 0.3 ถึง 1% ใน แตละป และยังมีสวนชวยกระตุนการลงทุนจากภาคเอกชนให สูงขึน้ โครงการพัฒนาระดับมหภาคตางๆ เหลานี้ จะชวยตอยอด และสรางความเติบโตในหลายภาคอุตสาหกรรมตางๆ ตั้งแต อุตสาหกรรมการกอสราง การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ไปจนถึง ธุรกิจการบินเชิงพาณิชย ธุรกิจคาปลีก ธุรกิจโรงแรม และการขนสง” มร.จิมมี่ กลาว ในชวง 5 ปที่ผานมา อีตั้นใชงบประมาณในการวิจัยและ พัฒนา (R&D) คิดเปนเงิน 2.8 พันลานเหรียญสหรัฐ ในป พ.ศ. 2559 ใชงบงบประมาณในการวิจัยและพัฒนา คิดเปนเงิน 589 ล า นเหรี ย ญสหรัฐ ปจจุบั น มีจํ า นวนสิทธิบัตรทั้ ง หมด 1,615 สิทธิบัตร นอกจากนี้ อี ตั้ นวางแผนงานเพิ่ ม หน ว ยธุ ร กิ จ ทางด า น รถไฟฟา ภายใตชื่อ e-Mobility อยูในหมวด Vehicle ของกลุม อุตสาหกรรม ดวยเล็งเห็นศักยภาพการเติบโตของรถไฟฟา ซึ่ง มีความตองการใชแบตเตอรีใ่ นการกักเก็บพลังงาน เนือ่ งจากอีตนั้ มีความพรอมดานเทคโนโลยี (Energy Storage) โดยในชวง 2-3 ปทผี่ า นมา ไดมโี ครงการ Energy Storage สําหรับในสหภาพ ยุ โ รป และมี โ ครงการ Energy Storage ในสนามฟุ ต บอล Manchester United
โมบายเทคเดย เปดใหสัมผัสนวัตกรรมใหมลาสุดของอีตั้นแลว ตามจังหวัดตางๆ ทั่วไทย
มร.จิมมี่ กลาวถึงการจัดงานโมบายเทคเดยฯ วา ไดเปดตัว อยางเปนทางการที่จังหวัดภูเก็ตตั้งแตวันที่ 6-14 มีนาคม 2561 นับเปนการจัดงานครั้งแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยอีตั้นออกแบบโมบายเทคเดยในรูปแบบตูคอนเทนเนอร เพื่อ เปดโอกาสใหหนวยงานและองคกรตางๆ พันธมิตรทางธุรกิจ และประชาชนทั่วไปไดเรียนรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ รวมทั้งสัม ผัสนวัตกรรมใหมลาสุดของอีตั้น ซึ่งตอบโจทยความ ตองการและสามารถจัดการความทาทายในการบริหารพลังงาน ระดับโลกไดเปนผลสําเร็จ ภายในตูคอนเทนเนอรขนาด 11 ตารางเมตร อีตั้นไดจัด แสดงผลิตภัณฑและโซลูชั่นที่ชวยบริหารพลังงานไฟฟาซึ่งอีตั้น เปน ผูออกแบบวางระบบใหเหมาะกับธุรกิจอุตสาหกรรมตางๆ ที่สําคัญ อาทิ ดาตาเซ็นเตอร อุตสาหกรรมผลิตเครื่องจักร และ อุตสาหกรรมนํ้ามันและกาซธรรมชาติ พรอมกันนี้ อีตั้นไดเปดตัว Power Defense™ เครื่องตัด กระแสไฟแบบหอหุมฉนวนมิดชิด หรือ MCCB (Molded Case Circuit Breakers) ทีม่ าพรอมเทคโนโลยีประมวลผลระดับจุลภาค และชุดคําสั่งที่ไดรับการพัฒนาลาสุดเพื่อแจงเตือนผูใชงานเมื่อ ระบบจายไฟจําเปนตองไดรับการซอมแซมหรือเปลี่ยนตัวเครื่อง นอกจากนี้เครื่องตัดไฟตัวนี้ยังสามารถเก็บขอมูลและมีระบบ แจงเตือนผูใชงานใหควบคุมและสั่งการจากระยะที่ปลอดภัย โดย ที่กระแสไฟฟายังสามารถทํางานไดตามปกติ Power Defense™ มีการรับประกันจากอีตั้นทั่วโลก หลังจากจัดแสดงที่ภูเก็ต โมบายเทคเดยจะเดินทางไป ตามจังหวัดตางๆ ทั่วประเทศไทยจนถึงสิ้นเดือนเมษายน อาทิ กรุงเทพฯ สระบุรี สุราษฎรธานี หาดใหญ กอนที่จะเดินทาง ตอไปยังประเทศมาเลเซียในเดือนมิถุนายน
53
Engineering Today
March- April
2018
Advertorial
Redefining Manufacturing
through Advanced
Technology! Advanced Manufacturing Technology is the new face of manufacturing. Technologies such as 3D printing, automation, robotics, computation, software are set to transform the way we conduct manufacturing. INTERMACH 2018 under the concept of “Redefining Manufacturing through Advanced Technology” will feature the very latest cutting edge technology in Industrial Machinery plus activities such as Conferences, Seminars and Workshops designed to boost manufacturers to the next level. The show will be held in conjunction with MTA 2018 – the showcase of cutting edge precision engineering technology and machinery.
INTERMACH 2018 features…..
• NEW! The world’s FIRST Progressive Bending Robot! To be unveiled at Intermach! The consolidating 3 bending machines and one robot in one intelligent solution • NEW! ASEAN’s FIRST SMART FACTORY SHOWCASE A live demonstration of a SMART Automated Production line by the collaboration of major brands. • NEW! Thailand’s FIRST SMART LOGISTICS A Production model thought advanced System by Thai Automation and Robotics Association (TARA). • NEW! Advanced Technology Zone The smart machineries as the world’s fast 3D printer, Virtual Reality
Engineering Today March- April
2018
54
(VR), 3D Measuring Instrument, Automation System 4.0 and Latest Welding Robot technology. • 1,200 brands showcasing SMART technology. • 45 participating countries and pavilions from Japan, China, Singapore, Korea and Taiwan. • 7,000 business matchmaking appointments scheduled at SUBCON Thailand. • Attend the Intermach Forum to help you prepare for Industry 4.0 Pre-register to attend the show today and receive a FREE bespoke SMARTBOX produced at the SMART Factory Showcase Intermach 2018 co-located with other leading events part of the manufacturing DNA! • SUBCON Thailand ASEAN’s leading Industrial Subcontracting and Business Matching Event • SHEET METAL ASIA The most comprehensive selection of fiber laser technology in Thailand • MTA – A complete showcase of cutting-edge precision engineering technology and machinery For more information and immediate booking please visit www.intermachshow.com or contract Sukanya A. (Project Manager)
@Engineering Today Vol. 2 No. 164
L;%« +S<CYO IL9« LE T*CT7E2T;ER<<ET*c9D -[JS$DBT@c9D@E OC$ TIL[ Åòß ER<<ET*%O*OT_.ÿD;
÷Ę÷ĘāĆĦĐāğāĐĆŋøĘĨ ğÿąĆĕåĕýňĕü åĐüġ÷Ē âĆěèğúāĒ ĢüëŇĊè þĿ āěŇèčĜèãęĨüâĊŇĕ ĠĈüğìččŋ ğþľ÷čĖüĔâèĕüĠĎŇèĢĎĄŇĢüģúą čĆňĕèġĐâĕčâĕĆğøėýġøúĕèûěĆâėéĢüģúąĠĈēăĜĄėăĕåğĐğëĘą .'& 'ZRQ 6JCKNCPF ğëĚħĐĄøŇĐâĕĆĐĐâĠýýĠčèčĜŇġĈâ÷ėéėúĔĈĢüåĐüğìĦþøŋ K.KIJV %QPPGEV
Construction • กองบรรณาธิการ
สนข. จับมือ วสท. สร้างมาตรฐานระบบรางไทย
ชัยวัฒน ทองคําคูณ
ผู อํานวยการสํานักงานนโยบาย แและแผนการขนส งและจราจร (สนข.)
ชูศกั ยภาพไทยพร้อมก้าวสู่ Hub
ระบบรางของอาเซียน จากแผนการลงทุ น ของประเทศไทยใน โครงสรางพื้นฐานระบบรางป ค.ศ. 2018-2040 รวม 23 โครงการ มูลคากวา 2.5 ลานลานบาทนัน้ สงผลใหไทยจําเปนตองเรงพัฒนามาตรฐานระบบ รางและทรัพยากรมนุษยของประเทศตั้งแตวันนี้ ผานการตอยอดมาตรฐานระบบรางอาเซียนให เปนหนึ่งเดียวกันเพื่อเชื่อมระบบคมนาคมอยาง ไรรอยตอ ขณะที่โครงการลงทุนระบบรางกําลัง สรางความเปลีย่ นแปลงใหกรุงเทพฯ และเมืองตางๆ ในประเทศไทยนั้น มีระบบขนสงทางรางหลาย รูปแบบ แตยังไมเคยมีมาตรฐาน ดวยเหตุนี้ สํานักงานนโยบายและแผนการ ขนสงและจราจร (สนข.) และ วิศวกรรมสถานแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) จึงได รวมลงนามความรวมมือทางวิชาการและวิชาชีพ วิศวกรรมระบบขนสง (MOU) โดยมีจุดมุงหมาย เพื่ อ สร า งมาตรฐานระบบขนส ง ทางรางของ ประเทศไทยที่มีประสิทธิภาพและความปลอดภัย
Engineering Today March- April
201 2018 18
ดร.ธเนศ วีระศิริ
นายกวิศวกรรมสถานแห งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.)
ดวยประเทศไทยมีศกั ยภาพเพียงพอ ที่กาวสูการเปนศูนยกลาง (Hub) ระบบรางของอาเซียนได นอกจากนี้ ผศ. ดร.รัฐภูมิ ปริชาตปรีชา ประธานคณะกรรมการระบบราง วสท. ในเดือนพฤศจิ กายน พ.ศ. 2561 วสท. จะเปนเจาภาพจัดงานสัมมนา ASEAN Rail Standardization ครัง้ ที่ 2 ในปลายป พ.ศ. 2561 อีกดวย ชัยวัฒน ทองคําคูณ ผูอ าํ นวยการสํานักงานนโยบายและแผนการขนสง และจราจร (สนข.) กลาวถึงโครงการศึกษาและจัดทําคูม อื การออกแบบ กอสราง และบํารุงรักษางานโครงสรางทางรถไฟ และมาตรฐานโครงสรางทางรถไฟวา
56
สืบเนือ่ งจากแผนยุทธศาสตรและแผนปฏิบตั กิ ารของ กระทรวงคมนาคมที่มุงเนนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน การคมนาคมขนสง โดยเฉพาะการพัฒนาและปรับปรุง ประสิทธิภาพโครงขายระบบขนสงทางราง เพื่อใหระบบ ขนสงทางรางมีความปลอดภัย มีประสิทธิภาพ และได มาตรฐาน จึงไดมกี ารลงทุนพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานระบบ ขนสงทางรางคิดเปนมูลคามหาศาล อยางไรก็ตาม ปจจุบนั การพัฒนาระบบขนสงทางรางของประเทศยังขาดมาตรฐาน และหลักการออกแบบ การกอสราง และการบํารุงรักษา โครงสรางทางรถไฟที่เหมาะสมตอการใชงานและ/หรือ การปฏิบัติ สงผลทําใหโครงการพัฒนาที่เกี่ยวของกับการ พัฒนาระบบขนสงทางรางของประเทศตองอางอิงมาตรฐาน จากตางประเทศที่มีความหลากหลายและแตกตางกันใน แต ล ะโครงการ ส ง ผลใหประสบป ญหาด า นความเปน เอกภาพของการดําเนินงานออกแบบ กอสราง และบํารุง รักษา ซึง่ อาจเปนปจจัยความทาทายสําคัญในการยกระดับ คุณภาพในการใหบริการระบบขนสงทางรางในอนาคต อาทิ ระดับคุณภาพความปลอดภัย คุณภาพการใหบริการ รวมถึ ง คุ ณ ภาพเชิ ง วิ ศ วกรรมที่ ต อ งดํ า เนิ น การให เ ป น มาตรฐานเดียวกัน จึงถือเปนปจจัยทาทายสําคัญตอการ พัฒนาระบบขนสงทางรางของประเทศ แนวคิดในการจัดทํามาตรฐานโครงสรางทางรถไฟ คูมือการออกแบบและกอสรางโครงสรางทางรถไฟ และ คูมือบํารุงรักษาโครงสรางทางรถไฟ จึงเปน ผลจากการ ศึกษาเชิงเปรียบเทียบจากการศึกษามาตรฐานของแตละ ประเทศที่ตางก็มีความแตกตางและลักษณะเฉพาะ และ การใชงานระบบรางของประเทศนั้นๆ โดยในการศึกษาได นํามาตรฐานดังกลาวมาพิจารณารวมกับมาตรฐานที่ได ดําเนินการใชอยูเดิมในประเทศ จากผลการศึกษากรอบ โครงสรางมาตรฐานจะอางอิงแนวทางมาตรฐานยุโรป (European Norm) เนื่องจากมีความเหมาะสมสําหรับ นําไปใชงานทัง้ ในดานโครงสรางมาตรฐานทีม่ คี วามชัดเจน และครอบคลุม นาเชื่อถือ มีการใชงานมายาวนานภายใต ขั้นตอนการปรับปรุงใหมีความทันสมัย มีความยืดหยุน ไมเปนการปดกัน้ การพัฒนาเทคโนโลยี เนนการใชหลักการ ออกแบบภายใต พื้ น ฐานของศั ก ยภาพการใช ง านจริ ง (Performance Based Design) อยางไรก็ตาม ไดมีการ นําขอดีของมาตรฐานตางๆ มาใชอางอิงรวม เพื่อใหเกิด ประโยชนสูงสุดและมีความเหมาะสมตอการใชงานทัง้ การ ออกแบบ กอสราง และบํารุงรักษาอีกดวย สําหรับมาตรฐานโครงสรางทางรถไฟ แบงออกเปน 10 มาตรฐาน ไดแก มาตรฐานการแบงประเภททางรถไฟ, มาตรฐานเขตโครงสรางทางรถไฟ, มาตรฐานการออกแบบ
สนข. จับมือ วสท. สรางมาตรฐานระบบรางไทย
และวางแนวเสนทาง, มาตรฐานการออกแบบทางรถไฟแบบมีหนิ โรยทาง, มาตรฐานการออกแบบทางรถไฟแบบไมมีหินโรยทาง, มาตรฐานราง เชื่อมยาว, มาตรฐานองคประกอบทางรถไฟ, มาตรฐานตําแหนงเปลี่ยน ผานบนทางรถไฟ, มาตรฐานความปลอดภัยบนทางรถไฟ และมาตรฐาน ระบบระบายนํ้าบนทางรถไฟ ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ใน พระบรมราชูปถัมภ (วสท.) กลาวถึงบทบาทของ วสท.ในการจัดทํา มาตรฐานวา ตลอดหลายทศวรรษ วสท.ไดมีบทบาทดานการพัฒนา มาตรฐานและขอกําหนดทางวิศวกรรมที่ใชในงานกอสรางและแนวทาง ปฏิบตั งิ านทางวิศวกรรม และบํารุงรักษาระบบขนสงทางรางในประเทศไทย ที่ผานมารัฐบาลเห็นความสําคัญและไดลงทุนปฏิรูประบบขนสงทางราง และการเชื่อมตอเพื่อคุณภาพชีวิต เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน พัฒนาเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอม ในกรุงเทพฯ และปริมณฑลกําลัง กอสรางระบบรางรถไฟฟา 6 โครงการ และ 2 โครงการในตางจังหวัด โดยจะเริ่มโครงการกอสรางรถไฟความเร็วสูงไทย-จีน สายกรุงเทพฯนครราชสีมา และในอนาคตโครงการกอสรางรถไฟความเร็วสูงไทย-ญีป่ นุ สายกรุงเทพฯ-พิษณุโลก ซึง่ การพัฒนายกระดับคุณภาพความปลอดภัย ทั้งกอน ระหวาง และหลังกอสรางเสร็จ เปนเรื่องที่ตองใหความสําคัญ เปนอยางยิ่ง ทัง้ นี้ วสท.ไดรว มกับ สถาบันสงเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน (สสปท.) สํานักงานประกันสังคม จัดฝกอบรมเรือ่ ง “คูม อื ใหมความปลอดภัยในงานกอสรางระบบราง” ขึน้ เพื่อสรางความตระหนักถึงเรื่องความปลอดภัยในระหวางการกอสราง และใหวิศวกร ผูควบคุมงาน และแรงงาน สําหรับสรางบุคลากรใหเปน ผูสามารถสรางทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพในหนวยงานของตนเองได ในอนาคต ซึ่งสอดคลองกับความรวมมือในครั้งนี้ ที่มีวัตถุประสงคเพื่อ พัฒนาทรัพยากรมนุษยในรูปแบบการจัดการศึกษา สายวิชาการ สาย วิชาชีพ และฝกอบรมเพือ่ พัฒนาสงเสริมการทํางานดานวิศวกรรมระบบ ขนสงทางรางใหกบั บุคลากรทัง้ ในสวนกลางและในสวนภูมภิ าค ทีส่ อดรับ กับความตองการของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมและที่เกี่ยวของ และ เปนประโยชนตองานวิศวกรรม
5 57
Engineering Today
MMarcharchh- April arc
2018
โดยสาระสําคัญของความรวมมือครอบคลุมประเด็นตางๆ ดังนี้ 1) ความรวมมือดานความรับผิดชอบทางสังคม (CSR) 2) การสนับสนุน วิชาการและวิชาชีพดานวิศวกรรมที่เกี่ยวกับงานพัฒนาบุคลากรทั้งสวน กลางและสวนภูมิภาค ครอบคลุมงานกอสราง งานสิ่งแวดลอม งาน ความปลอดภัย และงานดานอื่นที่เกี่ยวของ รวมถึงการสรางมาตรฐาน วิชาชีพในการทํางานของบุคลากรดานงานวิศวกรรมระบบราง 3) การ แลกเปลีย่ นองคความรูท างวิชาการและวิชาชีพวิศวกรรมระหวางทัง้ สอง องคกร เพื่อกอใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏิบัติงาน 4) การ สนับสนุนและพัฒนาใหบุคลากรดานวิศวกรรมระบบรางใหมีความรู ความสามารถ โดยหนวยงานทั้งสองจะตั้งคณะกรรมการรวมและ/หรือ คณะทํ า งานร ว มเพื่ อดํ า เนิ น การตามวั ต ถุ ป ระสงค แ ละขอบเขตของ ความรวมมือ การดําเนินการจะประกอบดวยกิจกรรม อาทิ การฝก อบรมเพิ่มพูนความรูในการพัฒนาบุคลากรทั้งในสวนกลางและสวน ภูมิภาค การจัดทํามาตรฐานงานวิศวกรรมที่เกี่ยวของกับวิศวกรรม ระบบราง และการใหความชวยเหลือและแนะนํางานทางดานวิศวกรรม และความปลอดภัย ผศ. ดร.รัฐภูมิ ปริชาตปรีชา ประธานคณะกรรมการระบบราง วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) กลาววา การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานระบบรางถือเปนยุทธศาสตรสําคัญใน การพัฒนาระบบคมนาคมขนสงของทุกชาติในภูมิภาคอาเซียน ทําใหใน รอบทศวรรษนี้หลายประเทศในภูมิภาคอาเซียนจึงวางแผนการลงทุน ดานการพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานระบบรางรวมกันถึงกวา 6 ลานลานบาท อาทิ ประเทศมาเลเซีย สิงคโปร อินโดนีเซีย และไทย โดยตางก็ตั้ง เปาที่จะเพิ่มศักยภาพการแขงขันดานคมนาคมขนสงของประเทศใหมี ความสามารถในการแขง ขั น ที่สู ง ขึ้น ดว ยระบบขนสงสาธารณะที่มี ความปลอดภัย สะดวก ประหยัดและคุม คา รวมถึงการพัฒนาอุตสาหกรรม ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งภายใตการรองรับการถายทอดเทคโนโลยีจากประเทศผูผ ลิต
Engineering Today March- April
2018
58
อยางไรก็ตาม ในภูมิภาคนี้ยังตองเผชิญกับความ ทาทายสําคัญรวมกันในหลายดาน อาทิ การเดินทางเชือ่ มตอ กับภูมภิ าคดวยระบบรางทีย่ งั ขาดชวง (Missing Link) และ ในแตละประเทศตางก็อางอิงมาตรฐานตางกัน ซึ่งจะสง ผลกระทบในการเดินทางโดยใชโครงสรางพื้นฐานรวมกัน (Interoperability) ตลอดจนการขาดอํานาจตอรองใน กระบวนการพัฒนาอุตสาหกรรมและการถายทอดเทคโนโลยี จากประเทศผูผลิต ทัง้ นีห้ ากมีความรวมมือกันภายใตการลงทุนมหาศาล จะถือเปนโอกาสในการดึงดูดประเทศเจาของเทคโนโลยีใน การพัฒนาอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วของ ซึง่ จะทําใหกลุม ประเทศ อาเซียนกาวขึ้นเปนศูนยกลางอุตสาหกรรมระบบรางของ โลกไดในอนาคต ดังนัน้ จึงมีความจําเปนอยางยิง่ ทีป่ ระเทศ ในภูมิภาคอาเซียนตองรวมมือกันในการพัฒนามาตรฐาน กลางระบบรางของภูมิภาคขึ้น โดยเมื่อป พ.ศ. 2559 ได มีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ The 1st ASEAN Rail Standardization ขึ้นที่ประเทศเกาหลีใต และในปลายป พ.ศ. 2561 นี้ ประเทศไทยโดย วสท. รวมกับ มหาวิทยาลัยนเรศวร และหนวยงานที่เกี่ยวของ จะเปนเจาภาพการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ The 2nd ASEAN Rail Standardization ที่จะจัดในงานวิศวกรรม แหงชาติ 2561 ในวันที่ 1-3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 ณ ศูนยแสดงสินคาและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี โดยมีนานาประเทศเขารวมแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็น ในการวางแผนสรางมาตรฐานรวมกัน เพื่อการเชื่อมกัน อยางไรรอยตอภายในภูมภิ าค เพือ่ ประโยชนของประชาชน สังคม และเศรษฐกิจอาเซียนรวมกัน
Property • กองบรรณาธิการ
ดีดีพร็อพเพอร์ตี้ เผยราคาบ้าน-คอนโดฯ กรุงเทพฯ ในช่วง 3 ปี พุ่งสูงขึ้นกว่า 100% คาดอุปทานปี’61
โตขึ้นแต่ไร้สัญญาณโอเวอร์ซัพพลาย กมลภัทร แสวงกิจ ผู จัดการใหญ ประจําประเทศไทย ดีดีพร็อพเพอร ตี้ เว็บไซต สื่อกลางซื้อ-ขาย อสังหาริมทรัพย อันดับ 1 ของไทยในเครือพร็อพเพอร ตี้กูรู กรุ ป รายงานดัชนีที่อยูอาศัย ดีดีพร็อพเพอรตี้ พร็อพเพอรตี้ อินเด็กซ (DDproperty Property Index) ฉบับลาสุดเผยแนวโนมดัชนีราคาที่อยู อาศัยในกรุงเทพฯ ยังคงเปนบวก สอดคลองกับ สภาพเศรษฐกิ จ และกํ า ลั ง ซื้ อ ที่ ป รั บ ตั ว ดี ขึ้ น ชี้แมอุปทานในตลาดจะถูกดูดซับชา แตยังคง ไรสัญญาณโอเวอรซัพพลาย แมแนวโนมของราคาบาน-คอนโดฯ จะเพิม่ ขึ้นอยางตอเนื่องนับตั้งแตตนป พ.ศ. 2560 แต อัตราการเติบโตเมือ่ เทียบไตรมาสตอไตรมาสแลว ถือวาเปนไปอยางชาๆ เนื่องจากผูประกอบการ ชะลอการเปดตัว รวมไปถึงการจัดกิจกรรมสงเสริม การขายในชวงไวทกุ ขและพระราชพิธสี าํ คัญ ทัง้ นี้ ในชวงไตรมาสสุดทายของป พ.ศ. 2560 ดัชนี ราคาปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 199 จุดในชวงไตรมาส
กอนมาอยูที่ 205 จุด คิดเปนสัดสวนการเติบโตระหวางไตรมาสราว 3% “แมวาการอัตราการเติบโตของดัชนีราคาที่อยูอาศัยในกรุงเทพฯ ในชวง ไตรมาสสุดทายของป พ.ศ. 2560 จะอยูใ นระดับทีค่ อ นขางตํา่ เมือ่ เทียบกับไตรมาส กอนหนา แตยังถือเปนภาพรวมที่ดีของตลาดที่อยูอาศัยกรุงเทพฯ ที่กําลังคอยๆ ฟนตัว ในขณะที่กําลังซื้อของผูบริโภคใน Segment ระดับกลางไปจนถึงระดับบน มีการปรับตัวดีขึ้น” กมลภัทร แสวงกิจ ผูจัดการใหญประจําประเทศไทย ของ ดีดีพร็อพเพอรตี้เว็บไซตสื่อกลางซื้อ-ขายอสังหาริมทรัพยอันดับ 1 ของไทยใน เครือพร็อพเพอรตี้กูรูกรุป กลาว
>> ชี้ราคาบ านในกรุงเทพฯ 3 ป พุ งสูงขึ้นกว า 100%
ถามองยอนกลับไปตัง้ แตชว งทีเ่ ริม่ ทําการเก็บขอมูลในป พ.ศ. 2558 พบวาการ เติบโตของราคาที่อยูอาศัยในเขตกรุงเทพฯ สูงขึ้นถึง 105% ถือเปนอัตราการ เติบโตที่นาจับตา โดยเฉพาะราคาตอตารางเมตรของคอนโดมิเนียม ซึ่งเปน อสังหาริมทรัพยทกี่ าํ ลังไดรบั ความนิยมในปจจุบนั เมือ่ เทียบกับทีอ่ ยูอ าศัยแนวราบ อยางบานเดีย่ วและทาวนเฮาส โดยในชวงไตรมาสที่ 4 ของป พ.ศ. 2560 ดัชนีราคา
59
Engineering Today
March- April
2018
คอนโดฯ ขึ้นไปแตะที่ระดับ 154 จุด เพิ่มขึ้นจากชวงตนปถึง 54% อยางไรก็ดี ที่อยูอาศัยประเภททาวนเฮาส มีการเติบโตดานราคาสูงที่สุดในชวงไตรมาสที่ 4 ของป พ.ศ. 2560 โดยเพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่ 3 ของป พ.ศ. 2560 7% และเพิ่มขึ้น ราว 14% ในชวง 1 ป เมื่อดูแนวโนมราคาตาม Segment ตางๆ พบวาดัชนีของที่อยูอาศัยราคา 15 ลานบาทขึ้นไป มีการเติบโตสูงสุด โดยเพิ่มขึ้นจากปกอนหนาราว 12% และ เพิ่มขึ้นถึง 39% ภายในระยะเวลา 2 ป ทั้งนี้เขตจตุจักร ยังคงเปนพื้นที่ที่ราคามีการเติบโตสูงสุด โดยเพิ่มขึ้นจาก ไตรมาสที่ 3 ของป พ.ศ. 2560 5% สวนเขตบางนาแซงเขตพระโขนงขึ้นมาอยูที่ อันดับ 2 ดวยอัตราการเติบโตในรอบไตรมาสราว 3% ในระยะยาวเขตบางนา นับเปนพื้นที่ที่นาจับตามอง เนื่องจากดัชนีราคาชี้ใหเห็นวามีการเติบโตเพิ่มสูงถึง 75% ในชวงระยะเวลาไมถึง 3 ป “โดยภาพรวม ราคาที่อยูอาศัยจะยังคงมีแนวโนมปรับตัวเพิ่มขึ้นตอไป จาก ปจจัยบวกทีช่ ว ยใหเกิดพืน้ ทีศ่ กั ยภาพเหมาะกับการพัฒนา อาทิ โครงการรถไฟฟา สวนตอขยายหลายสายที่มีความคืบหนา รวมไปถึงการลงทุนแผนพัฒนาระบบ คมนาคมขนสงของไทยระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ซึง่ คาดวาจะชวยกระตุน ให เกิดการพัฒนาโครงการทีอ่ ยูอ าศัยบนทําเลใหมๆ ทัง้ ในกรุงเทพฯ และตามหัวเมือง สําคัญๆ มากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก (EEC)” กมลภัทร กลาว
>> อุปทานแนวสูงยังคงโตแรงแซงแนวราบ
ในฝงของอุปทาน แมเดือนตุลาคมแทบจะไมมีการเปดตัวโครงการใหม หรือกิจกรรมสงเสริมการขายใดๆ แตชวง 2 เดือนสุดทายของไตรมาสที่ 4 ของ ป พ.ศ. 2560 กําลังซือ้ ก็กลับมาอยางรวดเร็ว โดยในชวงนีด้ ชั นีอปุ ทานทีอ่ ยูอ าศัย ในกรุงเทพฯ ปรับตัวลดลง 7% มาอยูที่ 240 จุด สวนหนึ่งเปน ผลมาจากการที่ ผูประกอบการพากันแขงออกแคมเปญและโปรโมชั่นสงเสริมการขายมาเปน จํานวนมากเพื่อเรงยอดขายในชวงโคงสุดทายของปนั่นเอง
Engineering Today March- April
2018
60
เมื่อพิจารณาถึงประเภทของที่อยูอาศัย อุปทานทีม่ อี ยูใ นตลาดสวนใหญคอื คอนโดมิเนียม คิดเปน 88% ของอุปทานทั้งหมดในชวงไตรมาส ที่ 4 ของป พ.ศ. 2560 ขณะที่บ านเดี่ ยวและ ทาวนเฮาสมสี ดั สวนทีค่ อ นขางนอย เนือ่ งจากทีอ่ ยู อาศัยแนวราบสวนใหญ ผูซ อ้ื มักจะซือ้ เพือ่ อยูอ าศัย เองตางกับคอนโดฯ ที่ผูซื้อจํานวนมากซื้อมาเพื่อ จําหนายตอหรือลงทุน ทําใหการดูดซับของอุปทาน ของคอนโดฯ คอนขางเร็ว ในขณะทีผ่ ปู ระกอบการ ก็เปดตัวโครงการใหมๆ เขาสูต ลาดอยางตอเนือ่ ง สําหรับทําเลทีม่ อี ปุ ทานคอนโดฯ มากทีส่ ดุ ในชวงไตรมาสที่ 4 ของป พ.ศ. 2560 ไดแก เขต วัฒนา ในขณะทีเ่ ขตลาดพราวมีปริมาณทาวนเฮาส เขาสูต ลาดมากทีส่ ดุ สวนเขตคลองสามวาเปนโซน ยอดนิยมสําหรับบานเดี่ยว
>> คาดอุปทานป ’61 โตเพิ่มขึ้น แต ไม มีสัญญาณโอเวอร ซัพพลาย
ทั้ ง นี้ ไ ด มี ก ารคาดการณ ว า ดั ช นี อุ ป ทาน ที่อยูอาศัยในกรุงเทพฯ มีแนวโนมที่จะเพิ่มสูงขึ้น ในป พ.ศ. 2561 จากการที่ผู ประกอบการทั้ง รายเล็ก-รายใหญสงสัญญาณวาจะเปดโครงการ ใหมๆ เปนจํานวนมาก ในขณะทีต่ ลาดทีอ่ ยูอ าศัย ในกรุ ง เทพฯ นั้ น คาดว า จะยั ง คงฟ น ตั ว อย า ง ตอเนื่องแตอาจจะไมหวือหวานักเพราะกําลังซื้อ ยังคอนขางจํากัดจากปญหาหนี้ครัวเรือนที่แมจะ เริ่มคลี่คลายลง แตก็ยังอยูในระดับที่ถือวาสูง “แมการดูดซับอุปทานในตลาดจะเปนไป แบบชาๆ ขณะที่ผูประกอบการเองก็มีแผนที่จะ เป ด โครงการใหม ๆ ออกมาอย า งคึ ก คั ก ในป พ.ศ. 2561 แตเราเชื่อวาไมนาจะมีภาวะโอเวอร ซัพพลาย หรือสินคาลนตลาดเกิดขึ้น เนื่องจาก ผูประกอบการและทุก ฝายที่เกี่ยวของตางเฝา สังเกตการณสถานการณอยางใกลชิด ในสวน ของผูขายจะยังคงไดรับอานิสงสที่ดีจากราคาที่ ปรับตัวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องของที่อยูอาศัยใน กรุงเทพฯ โดยดัชนีราคามีการเติบโตมากกวา 100% ในชวงเวลาไมถึง 3 ป ขณะเดียวกัน ทางฝงผูซื้อเองก็ยังคงไดรับประโยชนจากอัตรา ดอกเบีย้ ทีย่ งั คงตํา่ และจากโปรโมชัน่ และขอเสนอ พิเศษต างๆ จากผูประกอบการที่ต องการเรง ระบายสินคาในสตอกและเปดโครงการใหมๆ อยางตอเนื่อง” กมลภัทร กลาวสรุป
New Office • กองบรรณาธิการ
แลนเซสส์ เปิดสํานักงานแห่งใหม่ในไทย สร้างโอกาสการเติบโตทางธุรกิจในไทยและภูมิภาคเอเชีย
Vinod Agnihotri (ขวา) เอ็มดี แลนเซสสประจําอาเซียน และหัวหนาหนวย MPP ในเอเชียแปซิฟก
เมื่อเร็วๆ นี้ แลนเซสส (LANXESS) ผูนําอุตสาหกรรม สารเคมีชนิดพิเศษ ประกาศเสริมความแข็งแกรงทางธุรกิจใน ประเทศไทย ดวยการเปดสํานักงานถาวรในกรุงเทพมหานคร หวังสรางโอกาสการเติบโตทางธุรกิจในไทยและภูมิภาคเอเชีย ชูจดุ เดนมีผลิตภัณฑมากมายทีส่ อดรับกับนโยบาย Thailand 4.0 Vinod Agnihotri กรรมการผูจัดการ แลนเซสสประจํา ภูมิภาคอาเซียนและหัวหนาหนวยธุรกิจผลิตภัณฑเพื่อการ ปองกัน (Material Protection Products : MPP) ในภูมิภาค เอเชียแปซิฟก กลาววา แลนเซสสเปนบริษัทผูนําในอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑสารเคมีชนิดพิเศษ (Specialty Chemicals) มียอดขาย รวมกวา 9.7 ลานยูโรในป พ.ศ. 2560 เพิ่มขึ้น 2% จากยอดขาย รวม 7.7 พันลานยูโรในป พ.ศ. 2559 มีพนักงาน 19,200 คน อยูใน 25 ประเทศทั่วโลก มีโรงงานทั่วโลกถึง 74 แหง ปจจุบัน มีธรุ กิจหลัก คือการพัฒนา การผลิต และการจัดจําหนายผลิตภัณฑ เคมีทเี่ กิดขึน้ ระหวางกระบวนการผลิต (Chemical Intermediates) เคมีภัณฑเติมแตง (Additives Chemicals) ผลิตภัณฑสารเคมี ชนิดพิเศษ (Specialty Chemicals) และพลาสติก ในชวงหลายปที่ผานมาเศรษฐกิจของประเทศไทยพึ่งพา การสงออกสูงมาก โดยภาคการสงออกมีสวนสรางผลิตภัณฑ มวลรวมในประเทศ (GDP) มากกวา 2 ใน 3 ของทัง้ หมด ผลิตภัณฑ สงออกที่สําคัญ ไดแก ยานยนต อิเล็กทรอนิกส และผลิตผลทาง การเกษตร จึงเปนตลาดที่มีแรงดึงดูดสูงอยางยิ่งตอแลนเซสส บริษัทฯ จึงกระตือรือรนที่จะทําการปกหลักชัย (Milestone) แหง ความสําเร็จในประเทศไทย ดวยมองวาประเทศไทยเปนตลาดที่ เปนกุญแจสําคัญอยางยิ่งในการไขไปสูการเจริญเติบโตของเรา ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย เรามุงมั่นที่จะพยายามใกลชิดกับลูกคา และคูคาของเราใหมากขึ้น โดยจะนําผูเชี่ยวชาญหลายๆ ทานมา
รวมทํางานเปนทีมเพือ่ ใหการชวยเหลือสนับสนุนลูกคาของหนวย ธุรกิจผลิตภัณฑเพื่อการปองกัน (Material Protection Products : MPP) ในภูมิภาคอาเซียน จากสํานักงานในประเทศไทยแหงนี้ นอกจากนัน้ ดวยการไดสทิ ธิเ์ ต็มทีใ่ นการดําเนินงานในประเทศไทย หนวยธุรกิจอืน่ ๆ ของแลนเซสสยงั มารวมใชความสามารถชวยกัน ขยายธุรกิจในประเทศไทยไดอีกดวย “เหตุผลสําคัญในการจัดตั้งสํานักงานถาวรในกรุงเทพฯ เพือ่ ตองการใหธรุ กิจเติบโตในไทยและเอเชีย สําหรับตลาดในไทย ในป พ.ศ. 2559 เติบโตเปน 1 ใน 3 ในเอเชีย ในสวนของเอเชียจะ เนนไปที่เวียดนาม อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ดวยเล็งเห็นโอกาส ขนาดใหญ โดยเนนยอดขาย การตลาด และการสนับสนุนทาง เทคนิค” Vinod กลาว การที่รัฐบาลไทยมีนโยบายมุงมั่นไปสู Thailand 4.0 เพื่อ ผลักดันระบบเศรษฐกิจไปสูการสรางสรรคนวัตกรรม แลนเซสส สามารถตอบโจทยของนโยบายดังกลาวได เนื่องจากมีผลิตภัณฑ มากมายที่สอดรั บ กั บ การขับ เคลื่อนเศรษฐกิจครั้ งนี้ ซึ่งได แ ก อุตสาหกรรมแหงอนาคต (New S-Curve) อาทิ อุตสาหกรรม เกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและ เคมีชวี ภาพ อุตสาหกรรมยานยนตแหงอนาคต และอุตสาหกรรม การแพทย เปนตน Vinod กลาวถึงกลยุทธการเติบโตของแลนเซสสในอนาคต วา แลนเซสสเนน ผลิตสารเคมีพิเศษที่เพิ่มมูลคาและมีกําไรสูง พรอมขยายการเติบโตในตลาดขนาดกลาง โดยเฉพาะในภูมิภาค เอเชียแปซิฟก พรอมทั้งนําเสนอผลิตภัณฑที่แข็งแกรงในตลาด ภูมิภาคอเมริกาเหนือ และเอเชีย และขยายความรวมมือดาน Value Chain
ดร.นันทวัฒน เกิดชื่น (ที่ 2 จากขวา) กรรมการบริษัท แลนเซสส ไทย และหัวหนาสายผลิตภัณฑสารออกฤทธิ์และฆาเชื้อ ประจําเอเชียแปซิฟก
61
Engineering Today
March- April
2018
Safety • กองบรรณาธิการ
วสท.ลงนาม MOU กับ กรมทางหลวงชนบท
หวังยกระดับวิศวกรรมการทาง และพัฒนาผูตรวจสอบความปลอดภัย ตามระบบสากล RSAS วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ (วสท.) โดยดร.ธเนศ วีระศิริ นายก วสท. และ พิศักดิ์ จิตวิริยะวศิน อธิบดีกรมทางหลวงชนบท กระทรวงคมนาคม รวมลงนามบันทึกขอตกลง (MOU) เพื่อผนึกพลังความรวมมือดานเทคโนโลยีวิศวกรรม และพัฒนาทรัพยากรมนุษย ดวยตระหนักถึงความสําคัญ ของคมนาคมและโลจิสติกสทมี่ คี ณ ุ ภาพ ประสิทธิภาพ และความปลอดภัยแกประชาชนเพื่อพัฒนาประเทศสู Thailand 4.0 ที่ยั่งยืนตามมาตรฐานวิศวกรรมระดับ สากล มุง สรางผูต รวจสอบ 3 ระดับและพัฒนาบุคลากร ดานวิศวกรรมการทางทั่วประเทศใน 5 ภาค เริ่มเดือน กุมภาพันธ พ.ศ. 2561 สํ า หรั บ MOU ข อ ตกลงระหว า งสององค ก ร กรมทางหลวงชนบท และ วสท.ครั้งนี้จะครอบคลุมความรวมมือดังนี้ คือ 1) แสดงเจตนารมณรว มกันในการใหความรวมมือดานความรับผิดชอบ ทางสังคม 2) สนับสนุนวิชาการและวิชาชีพดานวิศวกรรมทีเ่ กีย่ วกับงาน พั ฒนาบุ ค ลากรทั้ ง สว นกลางและในสว นภูมิ ภาค ดานงานกอสร าง งานสิง่ แวดลอม งานความปลอดภัย และงานดานอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ รวมถึง การสรางมาตรฐานวิชาชีพในการทํางานของบุคลากรดานวิศวกรรม 3) แลกเปลี่ยนองคความรูทางวิชาการและวิชาชีพวิศวกรรมระหวางทั้ง สององคกรเพื่อกอใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏิบัติงาน และ 4) สนับสนุนและพัฒนาใหบคุ ลากรดานวิศวกรรมทีม่ คี วามรูค วามสามารถ และกาวทันโลกเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง พิศกั ดิ์ จิตวิรยิ ะวศิน อธิบดีกรมทางหลวงชนบท กลาววา ภารกิจ เรงดวนทีก่ รมทางหลวงชนบท จะรวมกับ วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) ทั้ง วสท.สวนกลาง และ วสท.ในสวน ภูมภิ าค ทัง้ 4 ภาค คือ การยกระดับและพัฒนาวิศวกรรมการทางสูส ากล พัฒนาสรางผูตรวจสอบความปลอดภัยงานทางระดับตน (Inspector) ของกรมทางหลวงชนบท เพื่อใหเปนหนึ่งในบุคลากรหลักสําหรับการ ดํ า เนิ น งานด า นความปลอดภั ย ของกรมทางหลวงชนบทตามหลั ก วิศวกรรมสากล ซึ่งประกอบดวย ผูตรวจสอบความปลอดภัยงานทาง ระดับตน (Inspector) ผูตรวจสอบความปลอดภัยงานทางระดับกลาง (Auditor) และผู ต รวจสอบความปลอดภั ย งานทางระดั บ อาวุ โ ส
Engineering Today March- April
2018
62
(Senior Auditor) รวมไปถึงพัฒนาบุคลากรของผูประกอบ การรับจางกอสราง กลุม ทีป่ รึกษาดานสํารวจออกแบบ และ ควบคุมงานกอสราง ซึง่ ทํางานรวมกับกรมทางหลวงชนบท ใหสามารถขึ้นทะเบียนเปน ผูตรวจสอบความปลอดภัย งานทางของกรมฯ ได อีกทั้งยังสงเสริมเรื่องระบบที่กรมทางหลวงชนบท ไดพัฒนา Road Safety Audit System (RSAS) สําหรับ ใชในการประเมินความปลอดภัยของทางหลวงชนบทตาม วิธกี ารสากล เพือ่ ใหการดําเนินงานดานความปลอดภัยแก ประชาชนและสังคมเกิดผลสัมฤทธิต์ ามเปาหมายทีว่ างไวได
ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) กลาววา ปจจุบันทางหลวง ชนบทมี ค วามยาวทั้ ง ประเทศรวม 45,000 กิ โ ลเมตร เปรียบเสมือนเสนโลหิตที่หลอเลี้ยงทองถิ่นทั่วประเทศ และเชือ่ มตอชุมชนภูมภิ าคเขาดวยกัน จากความรวมมือของ กรมทางหลวงชนบท และ วสท.ครั้ ง นี้ จะเสริ ม สร า ง ทางหลวงชนบทใหมีประสิทธิภาพและความปลอดภัยทั้ง ในระยะกอนกอสราง ระหวางกอสราง และหลังกอสรางเสร็จ มีความสะดวกในการขับขี่และขนสง ซึ่งจะตองไดรับการ ตรวจสอบจากวิศวกรการทางที่มีความรูความสามารถ ตลอดจนการบริ ห ารจั ด การและการบํ า รุ ง รั ก ษาที่ มี ประสิทธิภาพมาตรฐานตามหลักวิศวกรรมสากล จะเปน ผลดีชว ยลดอุบตั เิ หตุและการสูญเสีย เสริมสรางพัฒนาระบบ เศรษฐกิจชุมชนของประเทศใหเขมแข็ง ซึ่งสอดคลองกับ นโยบายรัฐบาลที่ใหความสําคัญกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ฐานราก (Local Economy) การทองเที่ยวในชุมชน และ ธุรกิจ Micro SME เพิ่มโอกาสการจางงานในชุมชนและ คมนาคมเมืองรอง ที่เชื่อมโยงใหผูผลิต ผูบ ริโ ภค และ นักทองเทีย่ วไดเขาถึงกันอยางสะดวกรวดเร็วและปลอดภัย ยิ่งขึ้น
Preview • กองบรรณาธิการ
LED Expo Thailand 2018 เชื่อมต่อการออกแบบแสง สู่โลกดิจิทัลในคอนเซ็ปต์ iLight Connect
LED Expo Thailand 2018 เดิน หนาสานตอ ความยิง่ ใหญในการจัดงานแสดงสินคาระดับนานาชาติ ดานเทคโนโลยีระบบไฟฟาและผลิตภัณฑ LED ที่ใหญ ที่สุดในภูมิภาคอาเซียน ตอเนื่องเปนปที่ 6 โดยงานนี้จะ เปนเวทีทางการคาทีเ่ ปดโอกาสใหผปู ระกอบการไดพบปะ เจรจา นําเสนอผลิตภัณฑและเทคโนโลยีลา สุดโดยตรงกับ กลุม ผูซ อื้ จากทัง้ ในประเทศไทยและตางประเทศ นอกจาก จะเปนสื่อกลางในการเจรจาธุรกิจสําหรับอุตสาหกรรม ไฟฟาแสงสวางแลว ยังเปนศูนยรวมองคความรู เทรนด และเทคโนโลยีแหงอนาคตเอาไวในงานเดียว งาน LED Expo Thailand 2018 กําหนดจัดขึ้นในระหวางวันที่ 10-12 พฤษภาคม 2561 ณ อาคารชาเลนเจอร 1 ศูนย แสดงสินคาและการประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี การจั ด งานในครั้ ง นี้ จ ะเป น การรวมตั ว กั น ของ ผูเ ชีย่ วชาญในอุตสาหกรรมไฟฟาแสงสวาง อาทิ สถาปนิก นั ก ออกแบบแสง บริ ษั ท รั บ เหมาก อ สร า ง หน ว ยงาน ราชการและรัฐวิสาหกิจ นิคมอุตสาหกรรมและโรงงาน อุตสาหกรรม ผูป ระเมินอาคารตามมาตรฐาน LEED และ
มาตรฐานพลังงานอื่นๆ รวม ไปถึงผูน าํ เขา สงออก และ บริษทั ผู ผ ลิ ต LED เป น ต น ซึ่ ง นอกเหนื อ จากการมาชมสินคาภายในงานแลว ยัง สามารถร ว มเรี ย นรู เ ทคนิ ค ในการออกแบบ แสงสว า งผ า นเวที สั ม มนา International LED Summit ทีใ่ นปนมี้ าพรอมกับคอนเซ็ปต “iLight Connect” อีกดวย
63
Engineering Today
March- April
2018
iLight Connect : International LED Summit
สั ม มนาเทคนิ ค ในการออกแบบแสงสว า งในคอนเซ็ ป ต “iLight Connect” เปน การผสมผสานระหว า งการออกแบบ แสงสวางและระบบอัจฉริยะควบคุมความสวางดวยโปรโตคอล ซึ่งสอดคลองกับความตองการที่เพิ่มขึ้นในการเชื่อมตอระหวาง ผูใ ชงาน ทัง้ ในดานการออกแบบ วิศวกรรม และการบริหารอาคาร โดยมุงเนนกรณีศึกษา เทรนด นวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อการ ออกแบบทั้งภายในและภายนอกอาคาร โดยมีชวงเวลาพิเศษที่ ทานจะไดรว มพูดคุยแบบตัวตอตัวกับผูเ ชีย่ วชาญดานการออกแบบ แสงสวางจากทัง้ ในประเทศไทยและตางประเทศ เพือ่ เปนแนวทาง ในการประยุ กต ใ ชเ ทคโนโลยี LED สํา หรับโครงการของท าน โดยเฉพาะ วิทยากรจะมาเจาะเบือ้ งลึกของเทคโนโลยี LED ในปจจุบนั ที่เราอาจไมเคยรูมากอน เพื่อใหสอดคลองกับ Theme ในการ จัดงาน LED Expo Thailand คือ “อนาคตของเทคโนโลยี LED” ตามดวยหัวขอที่เปนกระแสในปจจุบัน เชน ระบบไฟฟาอัจฉริยะ และ IoT ซึ่งเรื่องราวทั้งหมดจะถูกเลาผาน 4 หัวขอสัมมนาหลัก ภายในงาน ซึ่งประกอบไปดวย • IoT and the Future of Lighting • Smart Lighting - Opportunities and Constraints • Lighting Festivals - Beyond the Wow Factor • Hotel Value Creation Through Lighting Design
Engineering Today March- April
2018
64
สําหรับวิทยากรที่จะมารวมใหความรูในงานสัมมนาครั้งนี้ ไดรบั คัดเลือกจาก International Advisory Council (IAC) ซึง่ เปน หนวยงานที่มีความเชี่ยวชาญในการคัดเลือกวิทยากรจากความ เชีย่ วชาญ ประสบการณ การศึกษา และงานวิจยั ดานการออกแบบ แสงสวาง ไดแก Mr.Bill Bensley ประเทศไทย/ประเทศอินโดนีเซีย, Prof. Maria Joao Pinto Coelho ประเทศโปรตุเกส, Mr.Lear Hsieh, ประธานบริษัท MS Design และนายกสมาคม Chinese Lighting Designer Association (CLDA) ประเทศไตหวัน, ดร.อัจฉราวรรณ จุฑารัตน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี ประเทศไทย, Mr.Johan Moritz ประเทศสวีเดน, Mr.KjellHult ประเทศสวีเดน, Mr.Arjan de Boer ประเทศสิงคโปร และ Mr.Martin Klaasen ผูบริหารบริษัท Klaasen Lighting Design ประเทศสิงคโปร/ประเทศออสเตรเลีย
งานสัมมนาในครั้งนี้จะเป นประโยชน อย างยิ่งสําหรับ สถาปนิก นักออกแบบตกแต งภายใน สถาปนิกผังเมือง เจ าหน าที่ผังเมือง นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย หน วยงาน รัฐบาล ผูป ระกอบการ วิศวกร สมาคมทีเ่ กีย่ วข องด านการ ออกแบบและวิ ศ วกรรม และหน ว ยงานอื่ น ๆ ที่ อ ยู ใ น อุตสาหกรรมไฟฟ าแสงสว าง
Project Management • ดร.พรชัย องควงศสกุล dr.pornchai.ong@gmail.com
พุทธบารมี ๑๐ สําหรับนักบริหาร (The 10 Most Effective Ways Leaders Solve Problems)
เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ (New Management Tools) พระบารมี คือ ธรรมทีน่ าํ ไปใหถงึ ฝง พระนิพพาน หมายความวา เมื่อพระบรมโพธิสัตวเฝาบําเพ็ญธรรมจนเต็มครบบริบูรณเต็มที่แลวก็ จะเปนสะพานนําพระองคทา นใหบรรลุถงึ ฝง คือ ไดตรัสพระปรมาภิเษก สัมโพธิญาณ และเสด็จดับขันธเขาสูป รินพิ พาน ซึง่ เรียกอีกอยางหนึง่ วา “พระบารมีธรรม” ซึง่ พระบารมีธรรมนัน้ มิใชจะบําเพ็ญเพียง ๒๐-๓๐ ชาติ เทานั้น แตตองบําเพ็ญเปนเวลายาวนานหลายอสงไขย นับพระชาติที่ เกิดไมถว น ดังนัน้ พระบารมีทสี่ รางแตละพระชาติจงึ ไมเทากัน การบําเพ็ญ บารมีของพระโพธิสตั วผทู จี่ ะไดตรัสรูเ ปนพระพุทธเจาในสิบชาติสดุ ทาย ซึ่งเปนที่มาของหลั ก ธรรมในบารมี ๑๐ หรื อ ทศบารมี คํา ว า บารมี หมายถึง ปฏิปทาอันยวดยิ่ง, คุณธรรมที่ประพฤติปฏิบัติอยางยิ่งยวด คือความดีที่บําเพ็ญอยางพิเศษ เพื่อบรรลุซึ่งจุดหมายอันสูง และเปน ๑๐ แนวทางในการฝาฟนอุปสรรคทางการบริหารดวยเชนกัน ในตอนนีผ้ เู ขียนจึงขอนําหลักพุทธธรรม ทีว่ า ดวยการสรางบารมี ใหกบั ผูบ ริหาร เพือ่ การศึกษาใหรซ ู งึ่ ทีม่ าของหลักธรรมในบารมี ๑๐ ประการ อันเปนคุณธรรมแหงความสําเร็จพรอมกับใหทราบทีม่ าของ ๑๐ บารมี ของพระโพธิสัตวในทศชาติสุดทาย กอนที่จะตรัสรู จากบทที่แลว ดังนี้
๗. สัตมชาติ - ทรงบําเพ็ญในพระชาติพระจันทกุมาร ขันติบารมี
ที่มาแหงบําเพ็ญขันติบารมี พระเจาเอกราชพระราชาทรงพระ สุบินวาไดขึ้นสวรรค แลวอยากขึ้นสวรรคจริงๆ จึงไปปรึกษาพราหมณ ผูกําลังหาทางกําจัดพระราชโอรสจันทกุมาร พราหมณจึงทูลใหทําพิธี บูชายัญดวยชีวติ ของคนและสัตวทสี่ าํ คัญ ไดแก พระราชโอรส พระมเหสี เศรษฐีโคอุสุภราช ชางมงคล มามงคล พระราชาก็ทรงเชื่อ… พระเจาเอกราชแหงกรุงพาราณสี มีพราหมณชอื่ กัณฑหาล เปนที่ ปรึกษาและมีหนาที่ตัดสินคดีความอีกตําแหนง แตกัณฑหาลรับสินบน จากคูความอยูเสมอ ขางไหนใหสินบนมากก็จะตัดสินเขาขางนั้น เมื่อ ความอยุติธรรมรูไปถึงพระจันทกุมาร พระราชโอรสผูเปนอุปราช พระ จันทกุมารจึงพิจารณาความใหม แลวตัดสินไปโดยยุตธิ รรม ฝูงชนโหรอ ง แซซอ งสดุดใี หพระจันทกุมารทําหนาทีต่ ดั สินคดีความแตผเู ดียว พราหมณ กัณฑหาลเมือ่ ถูกถอดออกจากตําแหนงก็คดิ แคนพระจันทกุมาร เพราะ ทําใหตนขาดผลประโยชนและอับอาย จึงผูกใจพยาบาทแตนั้นมา อยูม าวันหนึง่ พระเจาเอกราชทรงพระสุบนิ เห็นสวรรคชนั้ ดาวดึงส วาสวยงามรืน่ รมย เมือ่ ตืน่ จากพระสุบนิ พระองคยงั อาลัยอาวรณอยูแ ละ ปรารถนาจะไดไปสูดินแดนนั้น จึงตรัสถามที่ปรึกษาวาใครบอกทางไป สวรรคแกพระองคได กัณฑหาลไดโอกาสทูลวาผูที่จะไปสูสวรรคมีอยู ทางเดียวเทานั้นคือ ทําบุญใหทาน และฆาบุคคลที่ไมควรฆา ไดแก การบูชายัญดวยพระราชโอรส พระมเหสี เศรษฐี และชางแกว มาแกว จึงจะไปสูสวรรคได ดวยความที่อยากจะไปสวรรค พระเจาเอกราช ยินดีจะทําตามทีก่ ณ ั ฑหาลบอก อันทีจ่ ริงกัณฑหาลคิดฆาพระจันทกุมาร เพียงพระองคเดียว แตเกรงวาผูคนจะสงสัยความอาฆาตของตน จึง ตองใหบูชายัญผูอื่นและสิ่งอื่นดวย เมื่อมีการรวบรวมบุคคล ชาง มา มาเขาพิธี ก็เกิดความโกลาหล วุนวายไปทั่ว บรรดาญาติพี่นองของเศรษฐีพยายามทูลวิงวอนขอชีวิต
Engineering Today March- April
2018
66
แตพระราชาก็ไมยนิ ยอม พระราชบิดาพระราชมารดาของพระราชาเอง ก็เสด็จมาหามปรามแตพระราชาก็ไมทรงเชื่อ พระจันทกุมารรูวาความ พยาบาททีก่ ณ ั ฑหาลมีตอ พระองคเปนสาเหตุ จึงออนวอนพระราชบิดา วา “อยาฆาคนทัง้ หลายเลย หากจองจําเอาไวกย็ งั มีประโยชน จะใหเปน ทาสเลีย้ งชางเลีย้ งมา หรือขับไลไปเสียก็ยอ มได” พระราชาไดทรงสดับก็ ทรงพระทัยออน ตรัสใหปลอยทุกสิง่ ทุกคนทีจ่ บั มาทําพิธี ครัน้ กัณฑหาล รูก็มาทูลคัดคาน ลอลวงใหพระราชาคลอยตามดวยความหลงใหลใน สวรรคอีก พระราชาก็ใหจับคนทั้งหลายมาอีก พระจันทกุมารจึงทูล ออนวอนพระราชบิดาดวยเหตุผลตางๆ นานา ครัง้ หนึง่ พระจันทกุมารทูล พระบิดาวา “หากคนเราจะไปสวรรคไดเพราะการบูชายัญ เหตุใดพราหมณ จึงไมบชู ายัญดวยบุตรภรรยาของตนเอง เหตุใดจึงไดชกั ชวนใหคนอืน่ ทํา ในเมื่อพราหมณบอกวา ผูใดทําบูชายัญเอง คนผูนั้นยอมไปสูสวรรค เชนนัน้ ก็ใหพราหมณบชู ายัญดวยบุตรภรรยาตนเองเถิด” ครัน้ พระราชา ทรงพระทัยออน พราหมณก็มาทูลลอลวงกลับไปอีก วนเวียนอยูเชนนี้ หลายครั้ง จนกัณฑหาลซึ่งเรงจัดแจงมณฑลพิธีอยู สั่งใหปดประตูวัง ไมใหใครเขาเฝาพระราชาได เมื่อถึงเวลาทําพิธี กัณฑหาลเตรียมดาบจะบั่นพระศอพระจันท กุมาร นางจันทาเทวีผเู ปนพระชายาของพระจันทกุมาร ประนมมือกลาว สัจจวาจาขึ้นวา “กัณฑหาลพราหมณเปนคนชั่ว มีจิตมุงรายพยาบาท ดวยวาจาสัตยนี้ เทวดา ยักษ และสัตวทั้งปวง จงชวยสามีใหรอดพน อันตราย” พระอินทรไดยินสัจจวาจานั้น จึงเสด็จถือคอนไฟลุกโชติ ชวงมาทําลายพิธี พระราชาตกพระทัยกลัวสัง่ ใหปลอยคนทัง้ หมด ทันใด นั้นประชาชนที่รุมลอมอยูก็ชวยกันเอากอนหินกอนดินและทอนไมเขา ขวางปาทุบตีกณ ั ฑหาลพราหมณจนสิน้ ชีวติ แลวหันมาจะฆาพระราชา แตพระจันทกุมารปองกันไว ประชาชนจึงไดแตถอดยศพระราชา แลว ไลออกจากพระนครไป แลวอภิเษกพระจันทกุมารขึ้นเปนพระราชา ปกครองบานเมืองดวยความยุติธรรมสืบตอมา เมื่อพระจันทกุมารถึง ที่สุดแหงพระชนมชีพ ก็ไดเสด็จไปเสวยสุขในเทวโลก Management Tip ขันติ [ขัน-ติ] ความอดกลั้นตอสิ่งที่ไมพอใจ ความอดทน ความอดทนตอสิง่ ทีม่ ากระทบ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ประยุทธ ปยุตฺโต) ไดเคยแสดงเทศนาไว บุคคลผูมีความอดทน ยอม ไมมีอันตรายแกใครๆ มีแตจะนําประโยชนสุขมาใหแกบุคคลผูที่คบหา เสวนาดวยอยางเดียว เพราะบุคคลผูมีความอดทน ยอมเปนผูมีมงคล คือเหตุแหงความเจริญในตนอยูแลว จะประกอบกิจการทุกสิ่งลวนทํา ดวยปญญาอันประกอบดวยเหตุผลทั้งสิ้น อีกทั้งเปน ผูหนักแนน ไม หวั่นไหวไดงาย สวนบุคคลผูที่ไมมีความอดทน ยอมตรงกันขาม คือ เมื่อไดประสบกับอารมณที่ไมนาพอใจเขา ก็อาจจะแสดงกิริยาอาการ อันไมงาม ไมนาชมออกมาไดทุกเวลา ทุกโอกาสสถานที่ และเมื่อเปน เชนนี้ การประกอบกิจการทุกสิ่งทุกอยาง หรือการคบหาสมาคมกัน เพื่อที่จะใหเกิดประโยชนสุขตอกันนั้น ก็ยอมจะถึงกาลเสื่อมเสียไป ขันติธรรม คือ ความอดทน ทานจําแนกไวสามประการ คือ ประการทีห่ นึง่ อดทนตอความยากลําบาก หมายความวา อดทน
ตอทุกขเวทนาทีเ่ กิดจากความเจ็บไขไดปว ย เพราะทุกชีวติ ทีเ่ กิดมาแลว ยอมไมพนจากความแก ความเจ็บ และความตายไปได ประการที่สอง อดทนตอความตรากตรํา หมายความวา อดทน ตอความทุกขยากจากการทํางาน เพราะคนทุกคนจะสามารถดํารงชีวติ อยูได ก็เพราะอาศัยอาหาร เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย และยารักษาโรค ซึ่งบุคคลจะไดสิ่งเหลานี้มาเปนเครื่องเลี้ยงชีวิต ก็จะตองขยันประกอบ อาชีพการงาน เพียรพยายามทําใหเต็มกําลังความสามารถและสติปญ ญา การประกอบอาชีพการงานนัน้ ยอมประสบกับอุปสรรค ทานทีม่ ปี ญ ญา ความสามารถ ตองการทีจ่ ะไดรบั ประโยชนและความสุข ก็ไมควรทอดทิง้ หรือทอถอย ควรใชความอดทนเปนเบื้องหนา ก็จะสําเร็จลุลวงไปได ประการที่สาม อดทนตอความเจ็บใจ หมายความวา อดทนตอ ความโกรธที่มากระทบกระทั่ง เพราะบุคคลทุกคนจะอยูคนเดียวลําพัง ไมได ตองอาศัยอยูรวมกัน เปนหมูคณะ เปนครอบครัว ตลอดถึง ประเทศชาติ ในบางเรือ่ งจะตองสงบอยูใ นขัน้ ทีเ่ รียกวาทําใจ ยอมรับตอ สิ่งที่เกิดขึ้น ดังนั้น ผูที่มี ขั นติธ รรม คื อ ความอดทน เป น ผู ปราศจากเวร นอกจากจะเปนที่รักใครนับถือสําหรับมนุษยทั้งหลายแลว ยังเปนที่รัก ใครนบั ถือของทวยเทพเทวดาทัง้ หลาย ยอมสามารถนําประโยชนสขุ มา ใหแกตนเองและคนเหลาอื่นไดอีกดวย ในฐานะของผูบริหาร ขันติบารมี มีความหมายถึงความอดทน แบงออกเปน ทนลําบาก ทนตรากตรํา และทนเจ็บใจ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช เปนพระธรรมราชา เพราะพระองค ทรงประกาศพระราชปณิธานในวันเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติวา “เราจะครองแผนดินโดยธรรม เพื่อประโยชนสุขของมหาชนชาวสยาม” เมือ่ พระองคทรงประกาศพระราชปณิธานดังกลาวแลว พระองค ทรงบําเพ็ญพระราชกรณียกิจโดยขันติธรรมตั้งแตวันแรกแหงการเปน องคพระประมุขจนถึงวันสุดทายของพระชนมชีพ พระองคทรงปฏิบัติ ทศพิธราชธรรมอยางครบถวน หนึ่งในทศพิธราชธรรมคือ ขันติธรรม เปนหลักธรรมทีพ่ ระองคทรงใชในการบําเพ็ญพระราชกรณียกิจทุกชนิด ทรงเปนตนแบบแหงการนําขันติธรรมมาใชในฐานะพุทธมามกะชนได เปนอยางดี เปนทีป่ รากฏชัด เปนทีป่ ระทับใจแกพสกนิกรทัว่ ไปทีไ่ ดเห็น อยูผานสื่อตางๆจนคุนชินตา เปนแบบอยางแหงความรัก ความเมตตา ที่นักบริหารควรพึงระลึกและพากเพียรนําพาองคกรใหบรรลุผลสําเร็จ อันเปนประโยชนสุข ดวยขันติบารมีธรรมสืบไป
๘. อัฐมชาติ - บําเพ็ญในพระชาติพระนารทพรหม อุเบกขาบารมี
ที่มาแหงบําเพ็ญอุเบกขาบารมี พระเจาอังคติราช ครองเมือง มิถลิ า ตัง้ มัน่ ในทศพิธราชธรรม มีพระราชธิดารูปโฉมงดงามพระนามวา รุจาราชกุมารี พระราชาทรงรักใครพระราชธิดาอยางยิง่ คืนวันหนึง่ เปน เทศกาลมหรสพ พระเจาอังคติราชประทับอยูก บั เหลาอํามาตย พระจันทร ทรงกลดอยูก ลางทองฟา พระราชาทรงปรารภขึน้ วา “ราตรีเชนนีเ้ ราจะทํา อะไรใหเพลิดเพลินดีหนอ” อํามาตยหนึ่งทูลวา ควรจะเตรียมกองทัพ ยกออกไปกวาดตอนดินแดนนอยใหญมาอยูในอํานาจ อํามาตยหนึ่ง ทูลวา ประเทศใหญนอยก็อยูในอํานาจหมดแลว ควรจัดงานเลี้ยงดู ระบํารําฟอนใหสําราญกัน อํามาตยอีกคนทูลวา ควรไปฟงธรรมจาก สมณพราหมณผูรูธรรม พระราชาตรัสถามวา ใครเลาที่เปน ผูรูธรรม อํามาตยหนึง่ ทูลวา มีชเี ปลือยรูปหนึง่ ชือ่ คุณาชีวก เปนพหูสตู พูดจานาฟง พระเจาอังคติราชจึงยกขบวนไปหาชีเปลือยนัน้ เมือ่ ไปถึงก็ตรัสถามปญหา ธรรมที่สงสัยอยูวา “บุญบาปมีจริงหรือไม บุคคลพึงปฏิบัติกับพอแม ลูกเมีย ครูอาจารย อยางไร” เปนตน คําถามเหลานี้เปนปญหาธรรม
ชั้นสูง คุณาชีวกเปนผูโงเขลา ไมเขาใจ จึงไดตอบไปวา “สนใจเรื่องนี้ ไปทําไม ไมมีประโยชน บุญบาปไมมี ปรโลกไมมี สัตวทั้งหลายเกิดมา เสมอกันหมด ดีชั่วเกิดขึ้นเอง เมื่อเกิดมาครบ ๘๔ กัป ก็จะบริสุทธิ์พน ทุกขไปเอง ถายังไมครบ ถึงจะทําบุญกุศลสักเทาไร ก็ไมมีประโยชน” พระราชาไดฟงก็เชื่อโดยสนิทใจ เมื่อเสด็จกลับมาก็มีคําสั่งวา ตอไปนี้ พระองคจะไมทํากิจใด ๆ ทั้งสิ้น เพราะไมมีประโยชน ไมมีผลอันใด จากนัน้ ก็เลาลือไปทัง้ พระนครวา พระราชากลายเปนมิจฉาทิฏฐิ หลงผิดตามคําของชีเปลือยคุณาชีวก บานเมืองจะถึงความเสือ่ ม ความนี้ รูไปถึงรุจาราชกุมารี ทรงรอนใจเมื่อทรงรูวาพระบิดาใหรื้อโรงทาน และกระทําการขมเหงนํา้ ใจชาวเมืองหลายประการ ดวยเชือ่ วาบุญบาป ไมมี บุคคลไปสูสุขคติเองเมื่อถึงเวลา รุจาราชกุมารีจึงเขาเฝาพยายาม กราบทูลเตือนสติพระราชบิดา แตพระราชายังคงยึดมั่นตามที่ไดฟงมา จากคุณาชีวก พระราชธิดาทรงเปนทุกขถึงผลที่พระราชบิดาจะไดรับ เมื่อสวรรคต จึงทรงตั้งจิตอธิษฐานวา ขอเทพยดาฟาดินมาชวยเปลื้อง ความเห็นผิดของพระราชบิดาดวยเถิด พรหมเทพองคหนึ่งชื่อ นารทะ มีความกรุณาในสรรพสัตว เล็ง เห็นความทุกขของรุจาราชกุมารี และความเดือดรอนอันจะเกิดแก ประชาชน หากพระราชาทรงเป น มิจ ฉาทิ ฏฐิ จึ งเสด็จ จากเทวโลก แปลงเปนบรรพชิต เอาภาชนะใสทองสาแหรกขางหนึ่ง คนโทแกวใส สาแหรกอีกขางหนึง่ สอดคานวางบนบา เหาะมาลอยอยูต อ หนาพระเจา อังคติราช พระราชาตกพระทัยตรัสถามวา “เปนใคร มาจากไหน เหตุใดจึง มีฤทธิ์ลอยอยูในอากาศได” พระนารทะตอบวา “ชื่อนารทะ มาจาก เทวโลก เพราะบําเพ็ญคุณธรรมในชาติกอน ชาตินี้จึงมีฤทธิ์เดช ไปไหน ไดตามใจปรารถนา” เพือ่ จะบอกพระราชาวา ผลบุญมีจริง ปรโลกมีจริง พระราชาตรัสวา “ถาปรโลกมีจริง ขอขาพเจายืมเงินสักหารอยเถิด ขาพเจาจะใชใหทานในโลกหนา” พระนารทะตอบวา “ถาทานเปน ผู ประพฤติธรรม มากกวาหารอยเราก็ใหยมื ได เพราะรูว า ผูอ ยูใ นศีลธรรม เมื่อเสร็จธุระแลว ก็ยอมนําเงินมาใชคืนใหเอง แตอยางทานนี้ ตายไป แลวก็จะตองไปเกิดในนรก ใครเลาจะตามไปทวงเงินคืนจากทานได” แลวพรรณนาความทุกขทรมานตางๆ ในนรกใหฟง พระราชาไดทรงสดับ แลวก็รูตัววาเดินทางผิด กลาวกับพระนารทะวา โปรดบอกหนทาง ที่ ถูกต องแก ข า พเจา ด ว ยเถิ ด พระนารทะจึง สอนธรรมแก พระเจ า อังคติราช จนยอมละมิจฉาทิฏฐิ กลับมาตั้งมั่นในธรรม ทําบุญทําทาน เลือกคบแตผูที่มีศีลธรรม บานเมืองก็สุขสงบรมเย็นสืบมา Management Tip อุเบกขาบารมี [อุ-เบก-ขา] หมายถึง ความ ไมไยดี, ความปราศจากความลําเอียง, ความมีใจเปนกลาง ความเที่ยง ธรรม สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย (ประยุทธ ปยุตโฺ ต) ไดเคยแสดงเทศนา ไวตอ งมีปญ ญาเลิศ จึงรูจ กั ความประเสริฐของอุเบกขา จิตทีเ่ ปนอุเบกขา ซึง่ ประกอบดวยปญญา จึงเรียบสงบ เพราะอยูก บั ธรรม อยูก บั ความจริง เปนจิตที่เขาถึงความจริง ดวยเหตุนี้ จิตอุเบกขาทานจึงวาเปนจิตที่ ประเสริฐ เพราะมันอยูตัว ลงตัว สงบ เรียบ อยูกับความรู ดวยปญญา ในฐานะของผูบริหาร อุเบกขาบารมี อุเบกขาคือการวางเฉย แตไมใชเฉยเมย ความวางใจเปนกลางดวยเที่ยงธรรม ลักษณะของผูมี อุเบกขา คือเปนคนหนักแนนมีสติอยูเสมอ ไมดีใจไมเสียใจจนเกินเหตุ เปนคนยุติธรรม ยึดหลักความเปน ผูใหญ รักษาความเปนกลางไวได มั่นคง ไมเอนเอียงเขาขาง ปฏิบัติหนาที่ดวยเหตุผลถูกตองตามทํานอง คลองธรรม และเปนผูว างเฉยไดเมือ่ ไมอาจประพฤติเมตตา กรุณา หรือ มุทติ าได การรูจ กั วางเฉย หมายถึง การวางใจเปนกลางเพราะพิจารณา เห็นวา ใครทําดียอมไดดี ใครทําชั่วยอมไดชั่ว ตามกฎแหงกรรม คือ
67
Engineering Today
March- April
2018
ใครทําสิ่งใดไวสิ่งนั้นยอมตอบสนองคืนบุคคลผูกระทํา เมื่อเราเห็นใคร ไดรบั ผลกรรมในทางทีเ่ ปนโทษเราก็ไมควรดีใจหรือคิดซํา้ เติมเขาในเรือ่ ง ที่เกิดขึ้น เราควรมีความปรารถนาดี คือพยายามชวยเหลือผูอื่นใหพน จากความทุกขในลักษณะที่ถูกตองตามทํานองคลองธรรม
๙. นวมชาติ - บําเพ็ญในชาติพระวิธุรบัณฑิต สัจจบารมี
ทีม่ าแหงบําเพ็ญสัจจบารมี ชายาพญานาคไดฟง สามีบรรยายธรรม จากวาจาของวิธุรบัณฑิต ก็อยากฟงธรรมของบัณฑิตดวยตนเอง จึงทํา อุบายวาปวย ตองการหัวใจของวิธุรบัณฑิตจึงจะหาย ลูกสาวสงสารแม จึงเสนอตัวจะแตงงานกับผูท นี่ าํ หัวใจของวิธรุ บัณฑิตมาใหได ปุณณกยักษ “เราประสงคจะไดนางเปนชายา บอกเรามาวา วิธุรบัณฑิตเปนใครอยู ที่ไหน…” ฤๅษีสี่ตน เลาเรื่องสมบัติในที่ตางๆ ใหเศรษฐีสี่คนฟง ไดแก สมบัติพระอินทร, สมบัติพญานาค, สมบัติพญาครุฑ และสมบัติของ พระเจาธนัญชัย คือ วิธุรบัณฑิต ผูเปนปราชญในสํานักนั้น เศรษฐีทั้งสี่ ไดฟง แลวก็อยากจะไดสมบัตนิ นั้ ๆ จึงทําบุญ ทําทาน รักษาศีล อธิษฐาน ขอใหไดไปเกิดเปนเจาของสมบัติที่ตองการ เมื่อสิ้นอายุขัยแลว เศรษฐี ทั้งสี่ก็ไ ดไปเกิดตามที่ ตั้ ง ใจไว คื อ ไปเกิ ด เปนพระอินทร พญานาค พญาครุฑ และพระราชโอรสของพระเจาธนัญชัย มีพระนามวาโกรพกุมาร ซึ่งเมื่อพระเจาธนัญชัยเสด็จสวรรคต พระเจาโกรพก็ไดขึ้นครองราชย เปนพระราชาและเปนเจาของวิธุรบัณฑิต และดวยความผูกพันที่มีมา สหายทัง้ สีก่ ไ็ ดมาพบกันอีก แลวสนทนากันวา ศีลของใครประเสริฐทีส่ ดุ ตางฝายตางอางเหตุผลวา ศีลของตนประเสริฐที่สุด ตกลงกันไมไดจึง ชวนกันไปหาวิธุรบัณฑิต ใหมาชวยตัดสิน วิธุรบัณฑิตฟงเรื่องราวแลว ก็ตัดสินวา ศีลของทุกคนลวนเปนเลิศเทากัน ทั้งสี่พอใจในปญญาของ วิธุรบัณฑิต จึงถอดของมีคาในกายใหเพื่อบูชาปญญาบัณฑิต เมื่อพญานาคกลับวัง พระนางวิมลามเหสีถามวา “แกวมณีที่คอ หายไปไหน” พญานาคตอบวา “ถอดใหกับวิธุรบัณฑิต ผูมีสติปญญา และมีธรรมวาจาอันไพเราะ” พระนางวิมลาก็ปรารถนาจะไดฟงวิธุร บั ณ ฑิ ต แสดงธรรมบ า ง จึ ง ทํ า อุ บ ายว า ป ว ย และจะหายหากได หัวใจของวิธุรบัณฑิต พญานาควา เปนไปไมได พระนางวิมลาก็แสรง ทําปวยกําเริบหนักขึ้นอีก นางอริทันตีผูเปนธิดาทราบเรื่องจึงคิดชวย มารดาโดยปาวประกาศวา หากผูใดสามารถนําหัวใจวิธุรบัณฑิตมาให นางจะยอมแตงงานดวย ปุณณกยักษหลานของทาวเวสสุวัณเขาไปหา และบอกนางวา “เราประสงคจะไดนางเปนชายา บอกเรามาวาวิธุร บัณฑิตอยูที่ไหน” เมื่อปุณณกยักษรูวาวิธุรบัณฑิตอยูในราชสํานักของ พระเจาโกรพ ไมอาจจะพาตัวมาไดงา ยๆ จึงไปทําพนันสกากับพระเจาโกรพ โดยเอาแกวมณีกับมาคูบุญพระราชาเปนเดิมพัน เมื่อพระเจาโกรพถูก ถามวาจะเอาอะไรมาเดิมพัน ทรงตอบวา “ยกเวนตัวเรา, เศวตฉัตร และ มเหสีแลว จะเอาอะไรเปนเดิมพันก็ไดทั้งสิ้น” ปุณณกยักษขอเอาวิธุร บัณฑิตเปนเดิมพัน พระราชาตรัสวา “วิธุรบัณฑิตนั้นก็เปรียบไดกับตัว เราเอง เราใหทา นไมได” ยักษวา อยาโตเถียงกันเลย ใหวธิ รุ บัณฑิตตัดสิน ดีกวา วิธุรบัณฑิตตัดสินวา ตนเปนของเดิมพันได พระราชาเสียพระทัย วาวิธุรบัณฑิตไมเห็นแกพระองค วิธุรบัณฑิตทูลวา “ขาพระองคจักพูด ในสิ่งที่เปนจริง สิ่งที่เปนธรรมเสมอ จักไมหลีกเลี่ยงความจริง เพราะ วาจาจะไพเราะดวยหลักธรรม” ปุณณกยักษชนะพนันสกา จึงไดตัววิธุรบัณฑิตไป ระหวางทาง ยักษคิดวาถาเอาแตหัวใจของวิธุรบัณฑิตไปจะสะดวกกวา จึงพยายาม ฆาวิธุรบัณฑิต แตไมสําเร็จ วิธุรบัณฑิตถามวา ตองการจะฆาตนทําไม ยักษเลาความเปนมาใหฟง วิธรุ บัณฑิตรูด ว ยปญญา ทีแ่ ทพระนางวิมลา
Engineering Today March- April
2018
68
ปรารถนาจะไดฟง ธรรมของตน จึงแสดงธรรมแกปณ ุ ณกยักษ เพือ่ มิให หลงผิด ยักษฟงธรรมแลวสํานึกผิด จะพาวิธุรบัณฑิตกลับ และไมตอง การนางอริทันตีอีกแลว แตวิธุรบัณฑิตก็ใหพาไปเมืองนาค เมือ่ พระนางวิมลาพบวิธรุ บัณฑิตก็ถามวา “ทานตกอยูใ นอันตราย ถึงเพียงนี้ เหตุใดจึงไมเศราโศกหรือหวาดกลัว” วิธุรบัณฑิตตอบวา “ขาพเจาไมเคยทําความชั่วจึงไมกลัวความตาย ขาพเจามีธรรมะและ ปญญาจึงไมกลัวภัยใดๆ” แลวตอบปญหาตางๆ ที่พระนางวิมลาถาม จนเปนที่พอใจ ครั้นแลววิธุรบัณฑิตก็บอกพญานาควา “จงเอาหัวใจ ของตนไปรักษาพระนางวิมลาเถิด” พญานาคจึงบอกวา “ปญญานั้น แหละคือหัวใจของบัณฑิต หาใชหวั ใจทีเ่ ปนเลือดเนือ้ ไม” แลวใหปณ ุ ณก ยักษพาวิธุรบัณฑิตไปสงคืนพระเจาโกรพ และยกนางอริทันตีใหแก ปุณณกยักษ Management Tip สัจจบารมี [สัด สัดจะ] น. ความจริง ความ จริงใจ เชน ทํางานรวมกันตองมีสจั จะตอกัน คําวาสัจจะ แปลวา ความสัตย ความซือ่ คนทีม่ สี จั จะมีความรับผิดชอบตองานทีท่ าํ ทุกอยาง ไมปลอย ผานกับสิ่งที่ไดรับมา จะทําทุกสิ่งที่มาถึงมืออยางสุดกําลังและเต็ม ความสามารถ ลั ก ษณะของสั จ จะมี ๕ ประการ ที่ ต อ งรั ก ษาคื อ ๑. สัจจะตอหนาที่ ๒. สัจจะตอการงาน ๓. สัจจะตอวาจา ๔. สัจจะตอ บุคคล และ ๕. สัจจะตอความดี จะเห็นไดวา สัจจบารมีนั้นมีความเกี่ยวของตอการทํางานและ การทํางานรวมกันกับผูอื่น เปนบารมีเพื่อความสําเร็จในการประกอบ กิจการอยางแทจริง ในฐานะของผูบริหาร สัจจบารมี เปนคุณธรรมหลักทางการคา และการดําเนินธุรกิจ ตัวอยางที่แสดงออกทางการคาและธุรกิจผาน หนังสือและละครเรื่องดังคือ “ลอดลายมังกร” เปนนวนิยายที่ประพันธ โดย ประภัสสร เสวิกุล วาดวยเรื่องราวของชาวจีนโพนทะเลที่อพยพ ตั้งถิ่นฐานในประเทศไทย ที่ชื่อ เหลียง สือพาณิชย ที่สรางเนื้อสรางตัว จากเสือ่ ผืนหมอนใบจนกลายเปนมหาเศรษฐี ไดรบั รางวัลชมเชยประเภท นวนิยาย จากการประกวดหนังสือดีเดน ประจําป พ.ศ. 2533 อาเหลียง มีภรรยาชื่อ เหมยหลิง มีลูกชายเล็กๆ สองคนชื่อ อาเทียน กับ แอนดี้ อาเหลียงไดเดินทางจากซัวเถาสูเมืองไทยดวยเรือสําเภาพรอมกับ เพื่อนอีกสองคน คือ อาจั๊วและหลงจูบุน ดวยความหวังที่จะสรางเนื้อ สรางตัว อาเหลียงไดเริ่มกิจการเล็กๆ จนขยับขยายใหใหญขึ้น และได แตงงานอีกครั้งกับภรรยาชาวไทย ชื่อ เนียม ซึ่งตองยุติความฝนในการ ศึกษาตอระดับมหาวิทยาลัยมาแตงงานกับอาเหลียง และมีลูกดวยกัน หลายคน โดยลูกคนโตเปนลูกชาย ชือ่ นัฐกิจ จนกระทัง่ เหมยหลิงพรอม ลูกไดเดินทางสูเ มืองไทยเพือ่ ตามหาอาเหลียง ความวุน วายในครอบครัว ก็เกิดขึ้น พรอมๆ กับการขยายตัวของกิจการ ซึ่งมีทั้งประสบความ สําเร็จและลมเหลว ดวยความยึดมั่นในคุณธรรมและความขยัน ดวย การเตือนใจดวยตัวอักษรคําวา “หงี” (อักษรจีน: ) ซึ่งหมายถึง คุณธรรมที่ติดไวกลางบาน และในเรื่องราวของอาเหลียงที่สามารถกอ รางสรางตัวตั้งแตเปนกรรมกรแบกหามจนกระทั่งมาทําการคาของ ตนเอง การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ เจริ ญ รุ ง เรื อ งจนฐานะขั้ น รํ่ า รวยได ก็ คื อ ความขยัน มีความซื่อสัตย และการรักษาคํามั่นสัญญาดวยวาจา คือ การดําเนินธุรกิจดวยสัจจวาจา ในยุคกอนกวา ๕๐ ป การดําเนินการ ทางการคาการขาย สัจจวาจาทางธุรกิจและความนาเชื่อถือมีความ สําคัญมากกวาสัญญาทีล่ งนามและเงือ่ นไขทีร่ ะบุเปนลายลักษณอกั ษร นั่นคือการดําเนินธุรกิจการคาซึ่งกันและกันดวย “สัจจบารมี”
๑๐. ทศชาติ พระเวสสันดร ทานบารมีสูงสุด
ที่มาแหงบําเพ็ญทานบารมี พระเจาสญชัยแหงนครสีพี มีพระ ราชโอรสคือพระเวสสันดร ซึ่งฝกใฝในการบริจาคทานอยางยิ่งจนรูจัก กันไปทั่ว ในตอนนั้นเมืองกลิงคราษฎรเกิดฝนแลง ราษฎรอดอยากจึง พากันไปเฝาพระราชา ทูลวาที่เมืองสีพีมีชางปจจัยนาคเปนชางวิเศษ ถาอยูเมืองใดจะทําใหฝนฟาตกตองตามฤดูกาล พระเจากลิงคราษฎร จึงสงทูตไปทูลขอชางจากพระเวสสันดร พระเวสสันดรก็ทรงบริจาคให สวนชาวสีพีพากันโกรธเคืองวาตอไปบานเมืองจะลําบากเพราะไมมี ชางปจจัยนาค จึงทูลพระเจาสญชัยกลาวโทษพระเวสสันดรขอใหขับ พระเวสสันดรไปเสียจากเมือง พระเวสสันดรกับพระนางมัทรีพรอมดวย พระราชโอรสพระราชธิดาคือพระชาลีกับพระกัณหา จึงตองออกไป อยูปา กอนไปพระเวสสันดรก็ทรงบริจาคใหญอีกครั้งหนึ่ง ครั้นนั่งรถ ออกจากเมืองก็มีคนวิ่งตามมาขอรถ ขอมา พระองคก็ยกใหไปอีก ตอง พากันเดินเทา พระเวสสันดรจูงพระชาลี พระนางมัทรีอุมพระกัณหา ไปบําเพ็ญพรตเปนฤๅษีอยูในปาหิมพานต พราหมณอปั ลักษณชอื่ ชูชก ไดนางอมิตตาเมียสาวจากคาไถหนี้ จะหาเด็กรับใชมาชวยงานเมีย รูกิตติศัพทของพระเวสสันดร จึงดั้นดน เขาปาไปหาเพื่อจะขอพระชาลีกับพระกัณหา ระหวางทางเจอพราน เจอบุตรที่คอยรักษาเสนทางไมใหใครเขาไปรบกวนขอบริจาคกับพระ เวสสันดร แตชูชกทําอุบายเขยากลักเสบียงหลอกวาเปนสาสนจาก พระเจาสญชัยใหเชิญพระเวสสันดรกลับ พรานจึงยอมใหผาน ระหวาง ทางชูชกยังพบกับอัจจุตฤๅษีใหชวยบอกทางอีกราย ชูชกรอใหพระนางมัทรีออกไปหาผลาหารกอนแลวจึงเขาไปขอ กุมาร พระเวสสันดรก็ทรงยกให สองกุมารหนีลงสระไปซอนใตใบบัว พระเวสสันดรรูรองเรียกขอใหชวยรักษาคําพูดของบิดา ทั้งสองจึงยอม ขึ้นจากสระ เมื่อชูชกไดกุมารแลวก็ฉุดลากทุบตีตอหนาพระเวสสันดร ที่ตองทนฝนพระทัยเพราะทรงยกใหเขาแลว พระอินทรเห็นวาพระนางมัทรีจะกลับมาทันเห็นลูก แลวจะเปน อุปสรรคขัดขวางไมใหพระเวสสันดรไดบําเพ็ญบารมีสําคัญ จึงสั่งให เทวดาแปลงกายเปนสิงหเปนเสือนอนขวางทางพระนางมัทรีไวจน พนเวลา เมื่อพระนางกลับมาถึงอาศรมไมเห็นลูกก็ออกตามรํ่าไหหา จนสลบไป เมื่อฟนขึ้น พระเวสสันดรจึงเลาเหตุแหงการบริจาคครั้ง สําคัญใหฟง และขอใหพระนางรวมอนุโมทนาในทานนี้ดวย พระนาง มัทรีจึงรวมอนุโมทนา พระอินทรเกรงวาจะมีใครมาทูลขอพระนางมัทรีกบั พระเวสสันดร อีก จึงแปลงกายเปนพราหมณมาทูลขอพระนางมัทรี พระเวสสันดรก็ ยกให พราหมณแปลงกลาวอนุโมทนาแลวคืนรางเปนพระอินทร ถวาย พระนางมัทรีคืนใหอยูรับใชพระเวสสันดร เทวดาดลใจใหเฒาชูชกพากุมารมาถึงกรุงเชตุดร แควนสีพี บังเอิญ พระเจาสญชัยไดทอดพระเนตร ทรงคลับคลายคลับคลาวาจะเปน พระราชนัดดาที่ติดตามพระโอรสเวสสันดรไป เมื่อเรียกมาตรัสถามก็ ไดความจริง จึงจัดงานสมโภชรับขวัญพระราชนัดดาและเลี้ยงดูชูชก อยางเต็มที่ ตาเฒาตะกละกินอาหารอรอยจนทองแตกตาย พระเจาสญชัยจัดขบวนทัพออกไปรับพระเวสสันดรกลับพระนคร เมือ่ ผูพ ลัดพรากทัง้ ปวงไดพบหนากัน ทรงเขาสวมกอดกันและทรงพระ กันแสงดวยความตื้นตันจนถึงสลบไสลสิ้นทุกคน กองทัพบริวารก็พา กันโศกเศราสะเทือนใจรองไหจนสลบไปดวย พระอินทรจึงบันดาลให เกิดฝนโบกขรพรรษาสาดซัดตองตัวผูคนทั้งปวง ใหฟนตื่นโดยทั่วกัน แลวพระเวสสันดรกับพระนางมัทรีกท็ รงลาสิกขาจากความเปนนักบวช
กลับสูกรุงเชตุดร แควนสีพีนับแตนั้น. Management Tip ทานบารมี [ทานนะ-] น. จรรยาอยางเลิศ คือ ทาน. (ป. ทานปารมี ส. ทานปารมิตา) ทาน หมายถึง การให, การแบงปน, การเสียสละ, การเอื้อเฟอ หรืออีกความหมายหนึ่งคือ วัตถุทพี่ งึ ให ทานทีแ่ ปลวา วัตถุทพี่ งึ ให ยอมาจาก “ทานวัตถุ” หมายถึง สิ่งของสําหรับใหสําหรับเสียสละใหผูอื่น ไดแก สิ่งของที่ถวายพระ สิ่งของที่ควรนําไปใหเพื่อตอบแทนบุญคุณแกผูมีพระคุณ เชน พอแม ครู อาจารย ญาติผใู หญ เรียกวาไทยทานบาง ไทยธรรมบาง การใหทาน เปนบุญอีกอยางหนึ่ง เรียกวา “ทานมัย” คือบุญที่เกิดจากการให เปน สังคหวัตถุ คือเปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจกันไวได และเปนบอเกิดแหง บารมีที่เรียกวา ทานบารมี ในฐานะของผูบริหาร ทานบารมี เปนขอแรกของสังคหวัตถุ ๔ ธรรมแหงการเสียสละ และอีกสามขอตอมาก็คือการทําใหดูดี มีประโยชนและตอเนื่อง หลักธรรมสังคหวัตถุ ๔ เปนหลักธรรมที่ เปนการสรางมนุษยสัมพันธที่ดีตอผูอื่น ประกอบดวย ๑. ทาน หมายถึง การให มีนํ้าใจโอบออมอารี เอื้อเฟอเผื่อแผ การใหทั้งสิ่งของและนํ้าใจ การใหวัตถุภายนอกเปนสิ่งของตางๆ โดย ตองมีผรู บั โดยตรง ทานมี ๓ อยาง คือ วัตถุทาน ธรรมทาน และอภัยทาน ๒. ปยวาจา หมายถึง การพูดถอยคําไพเราะออนหวานไมหยาบ กระดาง การพูดดวยถอยคําที่ดีที่สรางสรรค ผูกใจ ไดมิตร ๓. อัตถจริยา หมายถึง การทําตนใหเปนประโยชนแกผูอื่น ๔. สมานัตตตา หมายถึง การวางตัวสมํ่าเสมอ หรือการทําอยาง ตอเนื่อง ทานบารมี ใ นด า นการบริ ห ารก็ คื อ การทํ า ซี เ อสอาร (CSR : Corporate Social Responsibility) ทางการดําเนินธุรกิจ เปนความ รับผิดชอบตอสังคมและสิง่ แวดลอมขององคกร ซึง่ คือการดําเนินกิจการ ภายใตหลักจริยธรรมและการจัดการที่ดี โดยรับผิดชอบสังคมและ สิง่ เเวดลอมทัง้ ภายในและภายนอกองคกร อันนําไปสูก ารพัฒนาทีย่ งั่ ยืน ทางธุรกิจ (Business Sustainable) ดวยทานบารมี บารมี คื อ คุ ณ งามความดี ที่ ค วรบํ า เพ็ ญ คุ ณ ความดี ที่ ไ ด บําเพ็ญมา คุณสมบัติที่ทําใหยิ่งใหญ เปนธรรมสวนหนึ่งที่สําคัญใน อันที่ชวยเหลือเกื้อหนุนใหถึงซึ่งการกระทําที่ประเสริฐ ปวงบารมี ยอมมีการอนุเคราะหแกบุคคลอื่น เปนลักษณะของการดําเนินซึ่ง บารมีในธรรม การสรางสมบารมีเปนการสรางความสุขและความ สําเร็จทั้งตอตนเองและตอผูอื่น พุทธบารมี ๑๐ ประการ จึงเปนแนว ทางแหงการปฏิบัติที่ประเสริฐอยางยิ่งตอความสําเร็จที่ยั่งยืน เอกสารอางอิง พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับ ประมวลธรรม. พิมพครั้งที่ ๑๐. นครปฐม : วัดญาณเวศกวัน, ๒๕๔๕. พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับ ประมวลศัพท. พิมพครั้งที่ ๑๐. นครปฐม : วัดญาณเวศกวัน, ๒๕๔๖. สื่อออนไลน ธรรมไทย (ออนไลน) : แหลงที่มา http://www.dhammathai.org/index.php ทศชาติบารมี 10 ทัศน (ออนไลน) : แหลงที่มา http://www.goodlifeupdate.com วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี(ออนไลน) : แหลงที่มา http://www. th.wikipedia.or
69
Engineering Today
March- April
2018
Focus
“ฟีโบ้” จับมื อ “ANCA ผู้ผลิต CNC ชั้นนํารายใหญ่ของโลก ร่วมกันพัฒนาหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
พร้อมตั้งโรงงานในเขต EEC สถาบั น วิ ท ยาการหุ น ยนต ภ าคสนาม (ฟ โ บ ) มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) รวมมือกับ บริษัท แอนคา แมนู แฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด ผูผลิตเครื่อง CNC ชั้นนํารายใหญ ของโลก พัฒนาหุนยนตอุตสาหกรรม-CNC เปดโรงงานสายการผลิต ในเขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ANCA ผูผลิตเครื่องจักร CNC ชั้นนําระดับโลกมีสวนแบงการ ตลาดสูงในอุตสาหกรรมหุนยนตและระบบอัตโนมัติ มองเห็นศักยภาพ และโอกาสการเติบโตของอุตสาหกรรม S-Curve ในเขตระเบียงเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) เขามา ลงทุนในประเทศไทย แตกยอดธุรกิจใหมพัฒนาหุนยนตอุตสาหกรรม เพื่อใชงานรวมกับ CNC สําหรับงานวิจัยและพัฒนาตนแบบผลิตภัณฑ หุนยนตอุตสาหกรรมและสรางกําลังคน ANCA โดยรวมมือกับสถาบัน วิทยาการหุนยนตภาคสนาม (ฟโบ) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกลาธนบุรี (มจธ.) “แหลงวิทยาการและงานวิจัยหุนยนตในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต” ดวยเล็งเห็นถึงศักยภาพบุคลากร และผลงาน การทํางานทีต่ อบโจทยอตุ สาหกรรมไดจริง ตลอดระยะเวลาทีเ่ ปดดําเนิน งานมา 23 ป ดร.ชิต เหลาวัฒนา ผูก อ ตัง้ และทีป่ รึกษาของฟโบ มจธ. กลาวถึง ความรวมมือครั้งสําคัญนี้ แสดงถึงความมั่นใจของบริษัทขามชาติดาน เทคโนโลยี ในนโยบายของรัฐบาลไทยที่มุงสูอุตสาหกรรมใหมหลาย อุตสาหกรรมที่มีเทคโนโลยีหุนยนตและระบบอัตโนมัติเปนฐานสําคัญ ความรวมมือนีย้ งั เปนประโยชนสาํ หรับคณาจารย วิศวกร นักศึกษา ทีจ่ ะ ได มี โ อกาสร ว มมือ ทํ า งานกับ ANCA บริษั ทที่มีชื่ อเสี ย งในการผลิต เครื่องจักรที่มีคุณภาพสูง การทํางานจริงจังระหวางสองหนวยงานนี้จะ ช ว ยให เ กิ ด การแลกเปลี่ ย นองค ค วามรู อ ย า งแท จริ ง สอดคล อ งกั บ เจตนารมณของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ที่เนนการ เรียนรูแบบ Work-Integrated Learning (WIL) จนเกิดการรูจริง ดาน
Engineering Today March- April
2018
70
ทฤษฎีออกแบบ-สรางได (Practical Hands On) เกิดผลงาน ที่นําไปใชงานจริงในอุตสาหกรรม “มหาวิทยาลัยฯ ตระหนักถึงความรับผิดชอบนี้ที่ ตองตอบสนองความตองการของภาคอุตสาหกรรมดานงาน วิจัยและพัฒนา ผลิตกําลังคนที่ชวยสงเสริมการพัฒนา ประเทศ โดยการพัฒนากําลังคนนั้นจะรวมกับเครือขาย วิทยาลัยสัตหีบในพืน้ ที่ EEC ทีใ่ กลเคียงกับทีต่ งั้ ของโรงงาน ของบริษัท แอนคา แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด ซึง่ ตัง้ อยูท นี่ คิ มอุตสาหกรรมอีสเทิรน ซีบอรด อําเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง” ดร.ชิต กลาว ดาน ญาณิศา นิลวงษ ผูจ ดั การทัว่ ไป บริษทั แอนคา แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด กลาวถึงเหตุผล สําคัญในการรวมมือกับฟโบ มจธ. ในการพัฒนาหุน ยนตวา เปนความประสงคของสํานักงานใหญในออสเตรเลีย ที่ ตองการคัดเลือกสถาบันการศึกษาดวยคํานึงถึงประสบการณ ของบุ คลากร ชื่ อเสียงที่ดี และโอกาสความสํ าเร็ จของ โครงการ อี ก ทั้ ง ยิ น ดี ที่ จ ะร ว มสร า งกลุ ม นั ก ศึ ก ษาซึ่ ง มี พืน้ ฐานดีใหเพิม่ ทักษะขัน้ สูงเฉพาะทางดานระบบอัตโนมัติ เพราะอนาคตนักศึกษากลุมนี้จะเปนพลังสําคัญในการ ขับเคลื่อนประเทศรวมถึงอาจกลับมาเปนกําลังสําคัญให กับบริษัทฯ ทัง้ นีอ้ ตุ สาหกรรมหุน ยนตและระบบอัตโนมัตนิ บั เปน 1 ใน 5 อุตสาหกรรมแหงอนาคต (New S-Curve) ภายใน เวลา 1-3 ปจากนี้ ความตองการใชงานจะเพิ่มขึ้นสูงอยาง กาวกระโดดจากการเผชิญภาวะแรงงานขาดแคลน รวมถึง จากการผลักดันโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก (EEC) ของแผนยุทธศาสตร Thailand 4.0
Focus
“วัตคินสัน” เปิดตัวเครื่องบดวัสดุ สัญชาติออสเตรีย เจาะตลาด ก่อสร้างครั้งแรกในไทย “วัตคินสัน” เปดตัวเครื่องบดวัสดุขนาดกะทัดรัด แบบเคลื่อนที่ไดรุน RM 70GO! 2.0 และเครื่องรอนคัด แยกวัสดุอัจฉริยะรุน CS3600/2 รายแรกของไทยใช เทคโนโลยีจากประเทศออสเตรีย พรอมรุกตลาดกอสราง หลังทิศทางอุตสาหกรรมกอสรางและเหมืองแรขยายตัว ตอเนื่อง กมลวัฒน วีรศุภกาญจน ประธานฝายปฏิบัติการ บริษทั วัตคินสัน คอนสตรัคชัน่ อิควิปเมนท จํากัด ในฐานะ ตัวแทนจําหนายและใหบริการเครื่องจักรกลหนักสําหรับ งานกอสรางและเหมืองแรครบวงจร กลาววา ในป พ.ศ. 2561 บริษัทฯ ไดเตรียมแผนธุรกิจเพื่อเพิ่มชองทางการตลาด ในการขยายฐานลูกคาผูร บั เหมากอสรางและผูป ระกอบการ เหมืองแร โดยสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการ ผลิตและลดตนทุนดวยเครื่องบดวัสดุขนาดกะทัดรัดแบบ เคลื่อนที่ไดหรือ RM Mobile Compact Crusher รุน RM 70GO! 2.0 และเครื่องรอนคัดแยกวัสดุอัจฉริยะ รุน CS3600/2 ซึง่ เปนระบบอัจฉริยะและเปนเทคโนโลยีใหม ภายใตแบรนด RM จากประเทศออสเตรีย และถือเปน ครั้งแรกที่บริษัทฯ ไดนําเขามาจําหนายในประเทศไทย สําหรับประสิทธิภาพเครือ่ งบดวัสดุเพือ่ การกอสราง และเหมืองแร รุน RM 70GO! 2.0 นี้ เปรียบเสมือนโรงโม เคลื่ อ นที่ ที่ มี ร ะบบป น กระแสไฟในตั ว ส ง ผ า นไปยั ง “เครื่องรอนคัดแยกวัสดุ” ที่เปนอุปกรณเสริมชวยในการ รอนคัดกรองและแยกขนาดของวัสดุทตี่ อ งการไดถงึ 3 ขนาด
พรอมกัน สามารถดีดแยกเหล็กเสนออกเปนสัดสวน และยังสามารถ รีไซเคิลซากเศษวัสดุมาใชเปนชั้นปูสําหรับงานเตรียมรองพื้นชั้นลางๆ ชวยประหยัดตนทุนดานนํ้ามัน การขนสง ลดการใชทรัพยากร “เครื่องบดวัสดุและเครื่องรอนคัดแยกวัสดุ ถือเปนเครื่องจักรที่มี สมรรถนะในการบดและคัดแยกวัสดุไดหลายขนาดในครั้งเดียว ไมวาจะ เปนหินธรรมชาติ คอนกรีต ยางมะตอย ซึ่งในปจจุบันผูรับเหมากอสราง ตองการเพิ่มประสิทธิภาพ ลดตนทุน และรนระยะเวลาการทํางานให สามารถดําเนินโครงการเปนไปตามสัญญาการวาจาง” กมลวัฒน กลาว ทั้งนี้คาดวาเครื่องบดวัสดุและเครื่องรอนคัดแยกวัสดุ รุนดังกลาว จะได รั บ การตอบรั บจากธุ ร กิ จรั บ เหมาก อ สร า งและผู ป ระกอบการ เหมืองแรเปนอยางดี โดยลาสุดไดรับความสนใจจากหลายบริษัท มีการ สั่งซื้อและสงมอบไปแลวจํานวน 2 ชุด โดยเครื่องบดวัสดุและเครื่องรอน คัดแยกวัสดุมมี ลู คากวา 30 ลานบาท ซึง่ เชือ่ มัน่ วาตลาดเครือ่ งจักรกลหนัก เพื่อการกอสรางยังมีทิศทางการเติบโตตอเนื่อง จากการที่ประเทศไทย มีการขยายตัวดานการลงทุนในการกอสรางโครงการขนาดใหญทั้งภาค รัฐและเอกชน อาทิ โครงการกอสรางถนน ทางดวน และรถไฟฟาสาย ตางๆ ซึง่ ปจจุบนั มีหลายโครงการทีอ่ ยูร ะหวางการกอสรางและเปดประมูล อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ตั้งเปาภายในป พ.ศ. 2563 จะเปน ผูนํา ในระดับแนวหนาของการเปนตัวแทนจําหนายและใหบริการเครื่องจักร สําหรับอุตสาหกรรมกอสรางและเหมืองแรแบบครบวงจร ทัง้ ดานคุณภาพ ของเครือ่ งจักรและการใหบริการหลังการขาย รวมทัง้ บริษทั ฯ จะแสวงหา เครือ่ งจักรทีท่ นั สมัยมีประสิทธิภาพเพือ่ ตอบสนองตอความตองการของ ผูประกอบการที่ตองการใชเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ ทํางานและลดตนทุนในการดําเนินโครงการ
71
Engineering Today
March- April
2018
Focus
โอซีเอส กรุ๊ป ประเทศไทย ครบรอบ 50 ปี ตั้งเป้าครองตําแหน่ง ผู้นําด้านบริหารจัดการอาคาร ระดับสากล แบบครบวงจร ใน 2-3 ปีข้างหน้า “เครือโอซีเอส กรุป ” ในประเทศไทย ครบรอบ 50 ป จัดงานฉลองความสําเร็จ ดวยการตอกยํ้าความเปนผูนํา ดานบริหารจัดการอาคารในระดับสากลแบบครบวงจร (Integrated Facilities Management : IFM) โดยพัฒนา นวัตกรรมการทํางานรูปแบบใหมเนนความพึงพอใจสูงสุด เปนสําคัญ พรอมขยายฐานลูกคาในประเทศไทยและ ขยายธุรกิจไปยังตางประเทศ กิตติ นครชัย กรรมการผูจัดการ บริษัท รักษาความ ปลอดภัย พีซีเอส และ ฟาซิลิตี้ เซอรวิสเซส จํากัด ในเครือ โอซีเอส กรุป กลาววา โอซีเอส กรุป คือผูใหบริการบริหาร จัดการอาคารในระดับสากลแบบครบวงจร (Integrated Facilities Management : IFM) จากประเทศอังกฤษ เปน ผูชํานาญการในดานตางๆ ที่ประกอบดวย การบริการทํา ความสะอาด บริการดานโภชนาการ บริการรักษาความ ปลอดภัยแบบครบวงจร บริการกําจัดแมลง บริการดูแลสวน บริการตรวจนับสินคา บริการซอมแซมอาคารและบริการ สุขอนามัยภัณฑ บริการเหลานี้จะชวยอํานวยความสะดวก ใหแตละองคกร ใหสามารถดําเนินธุร กิจไดอยางเต็มที่ โดยโอซีเอสเปนผูใหบริการแบบ Outsource มีองคความรู และเทคโนโลยีที่ทันสมัยดวยประสบการณมากวารอยป ตอบโจทยลกู คาดวยการใหบริการอยางเปนระบบทีส่ มบูรณ และเครือขายที่พรอมใหบริการลูกคาทั่วโลก อาทิ ประเทศ ไทย สาธารณรัฐกัมพูชา เวียดนาม ออสเตรเลีย นิวซีแลนด อินเดีย บังคลาเทศ รวมทัง้ สิงคโปร จีน และกาตาร เปนตน ทัง้ นีแ้ บงลูกคาออกเปน 4 กลุม ไดแก กลุม ลูกคาธุรกิจและ อุตสาหกรรม กลุมลูกคาหางสรรพสินคาและโรงแรม กลุม ลูกคาสถานศึกษา และกลุมลูกคาสถานพยาบาล ปจจุบัน บริษัทฯ มีลูกคาที่ใหบริการ 6,000 รายทั่วประเทศ เฉพาะ ในประเทศไทย มีพนักงานจํานวนมากกวา 3 หมื่นคน จาก จํานวนพนักงานทัง้ หมดทัว่ โลกกวา 9 หมืน่ คน ประเทศไทย จึงถือเปนตลาดใหญของโอซีเอส กรุป การบริหารจัดการอาคารในระดับสากลแบบครบวงจร (IFM) เป น การเพิ่ ม ศั ก ยภาพการให บ ริ ก ารดู แ ลอาคาร สถานที่ จากเดิมที่เปนเพียงแค Facility Service ซึ่งจะเปน
Engineering Today March- April
2018
เพียงการใหบริการในแตละสวนงาน การบริหารจัดการอาคารในระดับ สากลแบบครบวงจร ถือเปนการบริหารจัดการอาคารที่เปนการบริหาร ทรัพยากร ซึ่งครอบคลุมไปถึงการวางแผนควบคุม ประเมินผล รวมทั้ง การจัดระบบฐานขอมูลตางๆ จําเปนตองอาศัยทีมงานทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ และประสบการณในแตละดานเพื่อใหอาคารนั้นๆ สามารถใชประโยชน ไดอยางสูงสุด เรียกวาเปนงานที่อยูเบื้องหลังหรือเปนเงาของภาคธุรกิจ ก็วาได IFM เปน ผูที่ควบคุมดูแลทุกบริการที่จําเปนสําหรับที่อยูอาศัย สถานที่ทํางาน สถานพยาบาล สถานศึกษา โรงงานอุตสาหกรรม หาง สรรพสินคา รานคาปลีก สาธารณูปโภคและโครงสรางพื้นฐานอื่นๆ ที่ จําเปนตองมี เชน การบริการทําความสะอาด บริการดานโภชนาการ บริการรักษาความปลอดภัยแบบครบวงจร บริการกําจัดแมลง บริการ ดูแลสวน บริการตรวจนับสินคา บริการซอมแซมอาคาร (วิศวกรรมอาคาร) และบริการสุขอนามัยภัณฑ ซึง่ ธุรกิจประเภทนีเ้ กิดขึน้ มากมายสวนใหญ ก็มีการจัดจางบริษัทที่ใหบริการแตละประเภทจากหลายๆ แหง แต โอซีเอสใหบริการครอบคลุมทั้งหมด กิตติ กลาววา แนวโนมตลาดการบริหารจัดการอาคารแบบครบ วงจรทั่วโลกมีการเติบโตเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง เนื่องจากองคกรทั่วโลก เริ่มใหความสําคัญกับการจัดการแบบองครวม ซึ่งชวยลดตนทุนและ ทรัพยากรในดานตางๆ ลงได โดยตลาดการบริหารจัดการอาคารแบบ ครบวงจรในประเทศไทย ปจจุบันมีมูลคาตลาดรวมหลายหมื่นลานบาท และยังคงมีแนวโนมการเติบโตทีเ่ พิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง ไมตาํ่ กวาปละ 5% ดวยการเติบโตของตลาดอสังหาริมทรัพยของไทยยังคงขยายตัวอยาง ตอเนื่อง ทั้งอาคารสํานักงาน คอนโดมิเนียม สถานพยาบาล และศูนย การคาโดยเฉพาะในกรุงเทพฯ รวมถึงการเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) รวมถึงโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) โดยการลงทุนของนักลงทุนตางชาติ ผานการพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพยในรูปแบบตางๆ ในพื้นที่ EEC ปจจัยเหลานี้จะทําให ธุรกิจ IFM เติบโตตามไปดวย “แมผลประกอบการภาพรวมในป พ.ศ. 2560 ทีผ่ า นมา ซึง่ เติบโต เพียง 8-9% ไมเปนไปตามที่ตั้งไว สาเหตุมาจากเศรษฐกิจในประเทศ ทีย่ งั ไมฟน ตัว แตในปนบี้ ริษทั ฯ มัน่ ใจวาจะกลับมาเติบโตไมตาํ่ กวาตัวเลข สองหลักไดแนนอน เพราะเศรษฐกิจเริม่ มีสญ ั ญาณทีด่ ขี นึ้ และอีก 2-3 ป นี้นาจะครองแชมปธุรกิจไดไมยาก” กิตติ กลาวทิ้งทาย
72
INDEX ADVERTISING March - April 2018
Engineering Today
บริษัท
โทรศัพท
โทรสาร
ตําแหนงหนา
Website/E-mail
-
-
ปกหนาใน
www.abb.co.th
ASEAN Sustainable Energy Week 2018
0-2642-6911
0-2642-6919-20
16
www.asew-expo.com, E-mail: asew-th@ubm.com
Assembly Technology
0-2686-7299
-
74
www.assemblytechexpo.com
Igus Thailand Co., Ltd.
0-2207-0541
0-2652-7325
3
www.igus.co.th
Interlink Co., Ltd.
0-2666-1111
-
7
www.interlink.co.th
Intermach
0-2642-6911
0-2642-6919-20
ปกหนา, 82-83
www.intermachshow.com, www.mta-asia.com
Manufacturing Expo
0-2686-7299
-
73
www.manufacturing-expo.com
Thailand Lighting Fair
0-2664-6499 ตอ 212
-
14
www.thailandlightingfair.com
Thailand PCB Expo
0-2833-5348
-
15
www.pcbexpothailand.com
กุลธรอินเตอรเนชั่นแนล บจก.
0-2282-5775-8
0-2281-0009
11
www.kulthorn.com
เจริญเมืองแมชชีนเนอรี่ บจก.
0-2280-8431-5
0-2280-8033-5
5
www.crm.co.th, E-mail: info@crm.co.th
เบย คอรปอเรชั่น บจก.
0-2926-0111
0-2926-0123-4
81
www.bay-corporation.com, E-mail: sales@bay-corporation.com
ปภพ บจก.
0-2570-5580
-
11
www.papop.com, www.biogasthail.com
พิศนุการชาง บจก.
0-2245-4451, 0-2245-0419
0-2246-3214
ปกหลัง
www.kanitengineering.com, www.pisanu.co.th
เวอรทัส บจก.
0-2876-2727
0-2476-1711
9
www.virtus.co.th, E-mail: welcome@virtus.co.th
สถาปนิก
0-2717-2477
-
13
www.ArchitectExpo.com
อีพีเอ็มซี บจก.
0-2322-4330-3
0-2720-5155
6
www.epmc.co.th
เอส เอ วี เมคคานิคคอลเซอรวิสส แอนด ซัพพลายส หจก.
0-2702-8801, 0-2702-0581-8
0-2395-1002
4
E-mail: savthai@yahoo.com, sav-545@hotmail.com
ABB
Engineering Today March- April
2018
76
Activities
>> ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร รับพระราชทานปริญญา ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ม.ทักษิณ ดร.กฤษณพงศ กีรติกร ที่ปรึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา ธนบุรี (มจธ.) เขารับพระราชทานปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ ประจําปการศึกษา 2559 จาก สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในฐานะผูที่อุทิศตนเพื่อประโยชน ทางการศึกษาของชาติ มีความมุงมั่นที่จะพัฒนาการศึกษาของชาติใหกาวหนา อยางยั่งยืน ตลอดจนนําความรูความสามารถมาบริหารการศึกษา อันกอใหเกิด คุณประโยชนแกอนาคตของประเทศ ทั้งนี้ทานยังดํารงตําแหนงประธานมูลนิธิ รางวัลสมเด็จเจาฟามหาจักรีทคี่ ดั เลือกครูผอู ทุ ศิ ตนเพือ่ การศึกษาของเด็กและเยาวชน ในประเทศอาเซียนและติมอร-เลสเต
>> กฟผ. จับมือ 4 สถาบันการเงิน หนุนจําหน่ายตู้เย็นเบอร์ 5 เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน- ลดก๊าซเรือนกระจก กฎชยุตม บริบรู ณจตุพร (ที่ 2 จากซาย) รองผูว า การพัฒนาโรงไฟฟา การไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) รวมลงนามความรวมมือกับสถาบันการเงิน 4 แหง ประกอบดวย โชค ณ ระนอง ผูชวยผูจัดการใหญ ผูจัดการสายบัตรเครดิต ธนาคาร กรุงเทพ จํากัด (มหาชน) อมร สุวจิตตานนท ผูชวยกรรมการผูจัดการ ธนาคาร กสิกรไทย จํากัด (มหาชน) สืบพงษ บูรณศิรนิ ทร รองผูว า การกิจการสังคมโรงไฟฟา การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ผกาฉัตร เตชาบูรพานนท ผูชวย ผูจัดการใหญ ผูบริหารสายผลิตภัณฑบัตรเครดิต ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) และ จรูญศรี ศรีสุขสันต รองประธานเจาหนาที่บริหาร-ธุรกิจรานคา “เคทีซี” หรือ บริษัท บัตรกรุงไทย จํากัด (มหาชน) เพื่อสงเสริมการขายผลิตภัณฑ ตูเย็นที่ใชสารทําความเย็นธรรมชาติที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ในโครงการเพิ่ม ประสิทธิภาพการใชพลังงานและการลดกาซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศใน อุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและเครื่องทําความเย็น ในโอกาสนี้ไดรับเกียรติจาก มร.ทิม มาเลอร (ขวา) ผูอํานวยการ GIZ ประจําประเทศไทย เขารวมในพิธีดวย
>> “PTG” จับมือ “KTB” ออกบัตรเครดิตสําหรับชําระค่านํ้ามัน @ สถานีบริการนํ้ามันพีที รังสรรค พวงปราง (ซาย) ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จํากัด (มหาชน) จับมือ ผยง ศรีวณิช กรรมการผูจัดการใหญ ธนาคาร กรุงไทย รวมกันออกบัตรเครดิตนิติบุคคล “ฟลีทการด” บัตรเครดิตสําหรับชําระคา นํ้ามัน เพิ่มความคลองตัวในการบริหารจัดการคาใชจาย ณ สถานีบริการนํ้ามัน พีที ทั่วประเทศ
>> CWT เดินเครื่อง โรงไฟฟ้า Green Power 2 วีระพล ไชยธีรัตต (ที่ 1 จากขวา) กรรมการผูจัดการ พรอมทีมงาน บริษัท ชัยวัฒนา กรีน เพาเวอร จํากัด รวมจุดไฟในเตาเผาโรงไฟฟาชีวมวล Green Power 2 เพื่อเตรียมทดลองเดินเครื่อง และพรอมจายไฟฟาขนาด 8 MW ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2561 ณ Green Power 2 อําเภอเมือง จังหวัดสระแกว เมื่อเร็วๆ นี้
>> ซีเกท ประเทศไทย ต้อนรับคณะนักศึกษา จากมหาวิทยาลัยมหิดล ทีมวิศวกรโรงงานซีเกท ประเทศไทย นครราชสีมา ตอนรับ คณะอาจารยและ นักศึกษาจากคณะวิศวกรรมศาสตร สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร จากมหาวิทยาลัยมหิดล ในโอกาสเขาเยี่ยมชมโรงงานเพื่อศึกษาดูงานกระบวนการผลิตที่ใช เทคโนโลยีขั้นสูงซึ่งใชคอมพิวเตอรควบคุมการทํางาน เพื่อเสริมสรางการเรียนรูจาก ประสบการณจริง ณ โรงงานซีเกท นครราชสีมา
77
Engineering Today
March- April
2018
>> 3 สมาคมอสังหาฯ ผนึกกําลัง ร่วมเปิดงานมหกรรมบ้าน และคอนโด ครั้งที่ 38 สนธิรัตน สนธิจิรวงศ (กลาง) รัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย ใหเกียรติ เปนประธานในพิธีเปดงาน มหกรรมบานและคอนโด ครั้งที่ 38 ซึ่งจัดขึ้นโดย 3 สมาคมหลักของวงการอสังหาริมทรัพย ไดแก สมาคมธุรกิจบานจัดสรร สมาคมอาคาร ชุดไทย และสมาคมอสังหาริมทรัพยไทย ในโอกาสนี้ วรัทภพ แพทยานันท (ขวาสุด) ประธานคณะกรรมการจัดงานมหกรรมบานและคอนโด ครั้งที่ 38 ใหการตอนรับ งานจัดขึน้ ระหวาง 15-18 มีนาคม พ.ศ. 2561 บริเวณโซนซี ชัน้ 1, 2 ศูนยการประชุม แหงชาติสิริกิติ์
>> กรมการขนส่งทางบก จับมือ EU-GIZ และผู้ประกอบการ ขนส่ง ยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยขนส่งทางถนน อาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม (ที่ 6 จากซาย) เปนประธานเปดงานสัมมนา “เสริมสรางความปลอดภัยและการเพิ่มประสิทธิภาพ ในการขนสงสินคา” โดยมี หลุยซา ราเกร รักษาการหัวหนาคณะผูแทนสหภาพ ยุโรป (EU) ประจําประเทศไทย (ที่ 4 จากซาย) และ ทิม มาเลอร ผูอํานวยการ GIZ ประจําประเทศไทยและมาเลเซีย (ที่ 2 จากขวา) สนิท พรหมวงษ อธิบดีกรม การขนสงทางบก ผูบริหารกรมการขนสงทางบก (ที่ 4 จากซาย) ผูประกอบการ โลจิสติกสดานการขนสงสินคาดวยรถบรรทุก หนวยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่ เกี่ยวของเขารวม รวมในพิธีดังกลาว ณ โรงแรมรามาการเดนส โอกาสนี้รัฐมนตรีวา การกระทรวงคมนาคม ไดมอบนโยบายเพื่อการขับเคลื่อนและยกระดับมาตรฐาน ความปลอดภัยในการขนสงสินคาดวยรถบรรทุกของประเทศไทย ลดความเสี่ยงการ เกิดอุบัติเหตุทางถนนอยางยั่งยืน
>> อิตัลไทยวิศวกรรมเซ็นสัญญากับ PEA ในโครงการพัฒนา โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ (Smart Grid) เมืองพัทยา เสริมสกุล คลายแกว (ที่ 6 จากซาย) ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค (PEA) และ สมพงษ ปรีเปรม (ที่ 5 จากซาย) รองผูวาการวางแผนและพัฒนาระบบไฟฟา การไฟฟาสวนภูมิภาค พรอมดวย สกล เหลาสุวรรณ (ที่ 6 จากขวา) กรรมการ ผูจัดการ บริษัท อิตัลไทยวิศวกรรม จํากัด และ ชรินทร กูลประดิษฐศิลป (ที่ 4 จากขวา) ผูอํานวยการฝาย Smart Substation บริษัท อิตัลไทยวิศวกรรม จํากัด รวมลงนามสัญญาโครงการพัฒนาโครงขายไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) ในพื้นที่ เมืองพัทยา จ.ชลบุรี สวนงานกลุมที่ 2 งานติดตั้งระบบสถานีไฟฟาอัตโนมัติตาม IEC 61850 มูลคา 96,500,000 บาท โดยมีทีมผูบริหารของทั้งสองหนวยงาน รวมแสดงความยินดี ณ หองประชุมชั้น 22 อาคาร LED การไฟฟาสวนภูมิภาค สํานักงานใหญ เมื่อเร็วๆ นี้
>> เชลล์จับมือพันธมิตร ส่งนอนออยล์รุกธุรกิจครบวงจร พร้อมขยายสถานีบริการนํ้ามันเต็มรูปแบบ อรอุทัย ณ เชียงใหม กรรมการบริหาร ธุรกิจการตลาดคาปลีก บริษัท เชลล แหงประเทศไทย จํากัด แถลงขาวทิศทางการรุกธุรกิจคาปลีกสถานีบริการนํ้ามัน สงนอนออยลรกุ ตลาด โดยเนนกลยุทธหลักคือนวัตกรรม การทํางานรวมกับพันธมิตร และการพัฒนาบุคลากร ตั้งเปาขยายสาขาพรอมปรับปรุงภาพลักษณสถานีบริการ นํ้ามันเชลลทั่วประเทศ เนนบริการที่เปนเลิศ มุงมั่นใหสถานีบริการนํ้ามันเชลลเปน “สถานีเติมสุข” สําหรับลูกคาทุกคน ตามแนวคิด “เชลลเติมสุขใหทุกชีวิต” หรือ “Making Life’s Journey Better”
>> ศาสตราภิชานของวิศวกรรม จุฬาฯ เยี่ยมโรงงานถิรไทย อวยชัย ศิริวจนา ผูจัดการฝายขาย บริษัท ถิรไทย จํากัด (มหาชน) หรือ TRT ผูผลิตและจําหนายหมอแปลงไฟฟาอันดับหนึ่ง ของประเทศ ใหการตอนรับ รศ.พูลพร แสงบางปลา ศาสตราภิชานของวิศวกรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย นายกกิตติมศักดิ์ พรอมดวย ดร.ผณิศวร ชํานาญเวช นายกสมาคมมาตรฐานและ คุ ณ ภาพแห ง ประเทศไทย และคณะกรรมการกลาง ในโอกาสเข า เยี่ ย มชม กระบวนการผลิ ต หม อ แปลงไฟฟ า กํ า ลั ง และห อ งทดสอบที่ ไ ด รั บ การรั บ รอง ISO/IEC17025 ในโอกาสนี้ รศ.พูลพร ไดใหคําแนะนําที่เปนประโยชน และชื่นชม บริษัทในฐานะเปนผูผลิตของคนไทย ที่สามารถผลิตหมอแปลงที่มีมาตรฐานเพื่อการ ทดแทนการนําเขาจากตางประเทศ ณ บริษัท ถิรไทย จํากัด (มหาชน) เมื่อเร็วๆ นี้
Engineering Today March- April
2018
78
>> Gadget Mavic Air โดรนรุ่นล่าสุดขนาดพกพา พร้อมทุกการผจญภัย บริษทั ซินเน็ค (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) หรือ SYNNEX ผูน าํ เขาจัดจําหนายสินคา เทคโนโลยีชั้นนําระดับโลก และตัวแทนจําหนายผลิตภัณฑจาก DJI เปดตัว Mavic Air โดรน รุนลาสุดที่ DJI ผลิตออกมาเพื่อตอบโจทยไลฟสไตลของลูกคาในกลุมคอนซูเมอรโดรน มีขนาด เล็ก นํ้าหนักเพียง 430 กรัม พกพาสะดวก ความจุเครื่อง 8 GB กลองถูกออกแบบใหมีระบบ ปองกันภาพสั่นไหวแบบ 3 แกน มีกลองวิดีโอแบบ 4K ที่ 30 เฟรมตอวินาที ดวยรายละเอียด ขนาด 100 Mbps มีระบบรองรับการถายภาพนิ่งดวยความละเอียดที่ 12 ลานพิกเซล และภาพ เคลื่อนไหวแบบ Multiple Panorama ที่สามารถเก็บภาพมุมกวางไดทั้งแนวตั้ง แนวนอน และ แบบ 180 องศา ฟเจอร Sphere Panorama สั่งการใหโดรนหมุนรอบตัวเพื่อถายภาพ 25 ภาพ ติดตอกัน ใหเกิดเปนภาพมุมกวางที่มีความละเอียด 32 ลานพิกเซลไดภายในหนึ่งนาที มีระบบ ชวยบินหลบหลีกสิ่งกีดขวางอัตโนมัติ (Advanced Pilot Assistance Systems) ที่ถูกพัฒนามา เพื่อชวยเพิ่มความปลอดภัยและความแมนยําในสภาวะแวดลอมกลางแจงที่ซับซอน สามารถบิน ไดนานถึง 21 นาทีดว ยแบตเตอรีห่ นึง่ กอน โดยสามารถบินนิง่ ๆ ในกระแสลมแรงได 36 กิโลเมตร ตอชั่วโมงและบินขึ้นในแนวดิ่งไดสูงถึง 5,000 เมตร สําหรับรีโมตคอนโทรลของ Mavic Air นับเปนเครื่องแรกที่มาพรอมขาชวยถือในตัว และ มีเสารับสัญญาณบนอุปกรณชว ยลงจอดทีเ่ พิม่ การครอบคลุมระยะสัญญาณไดไกลถึง 4 กิโลเมตร
มี 3 สีใหเลือก ไดแก Onyx Black Arctic White และ Flame Red รับประกันสินคา 1 ป สามารถสั่ ง จองและซื้ อ สิ น ค า ได แลววันนี้ ที่รานคาไอทีชั้นนําทั่วประเทศ พร อ มถามหาผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ มี สั ญ ลั ก ษณ Trusted By Synnex เพือ่ การบริการกอน และหลังการขายที่มั่นใจได
ฟอร์ด เรนเจอร์ แร็พเตอร์ รถกระบะสมรรถนะสูงรุ่นใหม่ เครื่องยนต์ดีเซล เทอร์โบคู่ 2.0 ลิตร ฟอรด เรนเจอร แร็พเตอร มาพรอมการออกแบบที่โดดเดนอันเปนเอกลักษณทั้ง ภายนอกและภายใน เนนฟงกชันในการใชงานเปนหลัก เชน มีแกมคูหนาที่ผลิตจากวัสดุ คอมโพสิตตีโปงรองรับการยุบตัวของโชกอัพทีเ่ พิม่ มากขึน้ และรองรับลอยางขนาดใหญ สําหรับ รถออฟโรดที่ใชขับบนผิวขรุขระ พรอมความสูงของตัวถัง สูง1,873 มิลลิเมตร กวาง 2,180 มิลลิเมตร ยาว 5,398 มิลลิเมตร ระยะชวงลอหนาและหลัง กวางขึ้นเปน 1,710 มิลลิเมตร ความสูงใตทองรถเพิ่มขึ้นเปน 283 มิลลิเมตร มาพรอมมุมไตที่ 32.5 องศา มุมครอมที่ 24 องศา และมุมจากที่ 24 องศา ถือวาดีที่สุดในรถระดับเดียวกัน มีโหมดการขับขี่ทั้งหมด 6 รูปแบบ โดยเปนโหมดทางเรียบ 2 โหมดคือ ปกติ และ สปอรต และ 4 โหมดการขับขี่แบบออฟโรด คือ โหมดหญา/กรวดหิน/หิมะ, โหมดโคลน/ทราย, โหมดหิน และโหมดบาฮา สําหรับเฉดสีตัวรถฟอรด เรนเจอร แร็พเตอรนี้ในสวนสีภายนอก มีใหเลือกหลากหลาย ประกอบดวย สีฟา Lightning Blue สีแดง Race Red สีดํา Shadow Black สีขาว Frozen White และสีพิเศษเฉพาะตัว สีเทา Conquer Grey ตัดกับสีเทา Dyno Grey เพื่อใหรูปลักษณของรถมี ความโดดเดนมากขึ้นเวลาขับ
“SUBWAY 2.0” สุขภัณฑ์จาก “วิลเลรอย แอนด์ บอค” รังสรรค์สไตล์ลงตัวทุกขนาดพื้นที่ นับวันขนาดของที่อยูอาศัยก็ยิ่งมีพื้นที่จํากัด โดยเฉพาะที่อยูอาศัยใจกลางเมือง “วิลเลรอย แอนด บอค” เขาใจถึงความตองการของคนยุคใหมที่ตองการความครบครัน บนขนาดจํากัด จึงไดรังสรรคสุขภัณฑซีรีส “SUBWAY 2.0” ชุดสุขภัณฑที่เลือกปรับได ตามความตองการ ในขนาดที่เหมาะสมที่สามารถลงตัวไดแมพื้นที่จํากัด ในชุดประกอบ ดวย อางลางที่ผสานดวยรูปทรงกลมและเหลี่ยม เหมาะกับทุกสไตลของหองนํ้า และยัง คงประสิทธิภาพอยางเต็มเปยม โถสุขภัณฑแบบไรขอบ รูปรางกะทัดรัด มาพรอมระบบ ชําระแบบ Direct Flush ชวยใหชาํ ระลางไดสะอาดยิง่ ขึน้ และชุดเฟอรนเิ จอร ทีม่ ใี หเลือก ทั้งตู ชั้นวางของทรงสูง และเคานเตอรอางลางหนาที่สามารถเลือกโทนสีไดมากถึง 10 สี เขาไดกับทุกสไตล
79
สัมผัสซีรีส “SUBWAY 2.0” ไดที่ โชวรูม “วิลเลรอย แอนด บอค” ทุกสาขาทั่วประเทศ
Engineering Today
March- April
2018
Gadget >> ดาคอนเปิดตัวอุปกรณ์ตรวจสอบระบบท่อด้วยสนามแม่เหล็กขนาด 8 นิ้ว ครอบคลุมทุกตลาดตรวจสอบระบบท่อ แผนกวิจัยและพัฒนา ดาคอน เปดตัวผลงานชิ้นโบแดง อุปกรณตรวจสอบระบบทอดวยสนามแมเหล็กขนาด 8 นิ้ว (Magnetic Flux Leakage : MFL) เพื่อตรวจวัดการสึกกรอน และวัดความหนาของฝาผนังทอ ครอบคลุมทุกตลาด ของการตรวจสอบระบบทอ โดยเทคโนโลยีการตรวจสอบทอดวยระบบสนามแมเหล็ก ชวยในการประเมินปริมาณของ การกัดกรอนหรือการสูญเสียเนือ้ โลหะในทอสง ซึง่ มีการใชกนั อยางแพรหลายในอุตสาหกรรมนํา้ มันและกาซดวย 3 เหตุผล หลัก คือ ระบบสนามแมเหล็กสามารถตรวจสอบทั้งทอสงกาซและทอสงนํ้ามันได อุปกรณระบบสนามแมเหล็กสามารถ เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็วทีส่ งู กวาระบบอัลตราโซนิค ชวยประหยัดเวลาในการหยุดการทํางานในระบบทอ และเปนเทคโนโลยี ที่เสถียรและราคาตํ่ากวาระบบอัลตราโซนิค โดยปกติแลว ทอสงกาซนอกชายฝงในภูมิภาคเอเชีย จะนําสงกาซเปนหลัก ผูประกอบการไมตองการนําของเหลว มาใชเพือ่ ตรวจสอบทอสงกาซเหลานี้ ทําใหอปุ กรณตรวจสอบทอดวยสนามแมเหล็กของดาคอนเขาถึงพืน้ ทีต่ ลาดสวนใหญ ไดมากกวาการใชอุปกรณตรวจสอบทอดวยคลื่นเสียงอัลตราโซนิค
AMD Ryzen™ Desktop APUs กับกราฟิกที่ทรงพลังที่สุด ในโลก บนเดสก์ท็อปโปรเซสเซอร์ AMD แนะนํา โปรเซสเซอร Ryzen™ Desktop สองรุนที่ใชกราฟก การด Radeon™ Vega ในตัว กราฟกการดสําหรับเดสกท็อปโปรเซสเซอร ที่ทรงประสิทธิภาพที่สุดในโลกออกสูตลาด ประกอบดวยโปรเซสเซอร AMD Ryzen™ 5 2400G และ AMD Ryzen™ 3 2200G ซึ่งเปนการรวมพลัง ระหวางสถาปตยกรรม “Zen” รุนลาสุดกับสถาปตยกรรม Radeon “Vega” ในการออกแบบการวางระบบบนชิปเซตเดียวกัน นําเสนอความเปนผูนําดาน ระบบ และประสิทธิภาพดานกราฟก3 ดวยฟเจอรขั้นสูงที่จะชวยเพิ่มประสิทธิภาพของ Ryzen บนชิปเซต APU ดวยเทคโนโลยี AMD SenseMI ที่ไดรับการปรับปรุงใหม ชวยให Ryzen Desktop APUs ใชพลังงานนอยลงทีร่ ะดับความถีท่ สี่ งู ขึน้ และชวยลดลาเทนซี ของหนวยความจํา APU รุนใหมนี้ ยังรองรับเทคโนโลยี Precision Boost 2 ซึ่งเปนอัลกอริทึ่มแบบมัลติคอรที่จะชวยใหความถี่ในแกนของ CPU สูงขึ้นใน
ดานการเลนเกม และแอพพลิเคชัน่ ตางๆ และดวยกราฟกการด ที่อยูขางในชิปเซต ทําใหสามารถทํางานรวมกันกับเทคโนโลยี Radeon™ FreeSync และการแสดงผลในดานการเลนเกมได อยางราบรื่น สามารถตรวจสอบขอมูล และราคาลาสุดของผลิตภัณฑ AMD Ryzen Desktop APUs ที่เว็บไซต AMD.com
HP Ink Tank Wireless 415 เครื่องพิมพ์ ออล อิน วัน สําหรับงานพิมพ์ เอชพี อิงค (ประเทศไทย) เปดตัว HP Ink Tank Wireless 415 เครื่องพิมพ ขนาดเล็กสําหรับธุรกิจขนาดเล็ก มีคุณสมบัติครบถวนสําหรับงานพิมพทุกชนิด ดวยฟงกชัน ถายเอกสารและสแกน ชวยใหประหยัดเวลาและไดประโยชนหลากหลายจากเครื่องเดียว ฟงกชัน Wi-Fi Direct บนเครื่องพิมพ สามารถใชงานไดผานอุปกรณเคลื่อนที่หลากหลายรูป แบบ รวมทั้ง iPhone และ iPad ผานแอพพลิเคชั่น AirPrint หรือสมารทโฟนและแท็บเล็ต บนระบบปฏิบตั กิ าร Android, Windows 8, Windows 10 และดวยการทํางานผาน Google Chrome เปดกวางใหผูใชสามารถสั่งพิมพไดจากทุกที่ แมไมมีเครือขายไวเลส นอกจากนี้ HP Remote App ยังชวยใหผูใชสามารถสแกนไฟลอยาง งายดายแลวแชรไปยังอีเมลหรือระบบคลาวดไดอยางรวดเร็วผานโทรศัพทมือถือ ใหงานพิมพปริมาณมากดวยตนทุนสุดคุม สามารถพิมพสีไดสูงถึง 8,000 แผน จากหนึ่งชุดพิมพ 3 สี หรือพิมพขาวดําไดถึง 6,000 แผน หมึกพิมพแทมาตรฐานเอชพี ใหงานพิมพคุณภาพสูงการันตีงานพิมพสีสด ตัวหนังสือคมชัด กันนํ้าและทนตอการซีดจางถึง 22 เทา มั่นใจไดในคุณภาพ ระบบหมึก Spill Free นวัตกรรมจากเอชพี คิดคนใหเติมหมึกงายไม หกเลอะเทอะ วางจําหนายแลววันนี้ ที่ HP Online Store, Power Buy, Power Mall, IT City และตัวแทนจําหนายทั่วประเทศ
Engineering Today March- April
2018
80