Colated-with
Smart City Solutions Week
x
{ ¤° © ´ â± â ¥ ©¹
¢¡ å ´ ° x ¦{ ¦
Ò° þ ¨ ¨³ áv¡{ ¬ ¡ {¦ ± {° x² ² ©± ¤² ~¥¸ ᦠ¬ Ó
° «ù¡u¦ ¥ ¦° «¡{¡¥|} ¨ ¤ ©¸x {| ©¸ ¬ Smart Technologies ° x² ² ©± ¤² ~¥¸ å |¦u± å~¥¹ §u ᦠ¦ ©¸|¤~á ° ¨¸ v© x ¦ ¦ ¦ u¦ ±vá{v¥ ¦{ ¬ u¨|
Zhejiang Smart City Pavilion u¥ â ± ° «¡{¡¥|} ¨ ¤ ¥ | ¨{ â¡ §° ¡ ¥ u ᦠ¬ ± ¤° x² ² © ¬ ¹§u ᦠ± å|¦u °|â¡°|© {
International Partnership
100+ Seminar Topics °|¦¤ ªu ¤° · ¡ ²| åu¦ ¥ ¦ ° «¡{¡¥|} ¨ ¤³ ¬u¶ ⦠⡠u⦠°vâ¦ á ¬x
á¡ ¡ ¬ u¨| ¥¹{ â «¹¡± ¤ âv¦ |¦u ³ ± ¤ á¦{ ¤° â¡ u¥ 3$9,/,21 ¦ ¦~¦ ¨ ¡¦ ¨ ¨{x² å ´ â ¥ °u¦ ©
Get Your Ticket Now!
¨° ¬ { ¤° © ¥ ©¹ ¥ v¡{ ©¸ ¤ ªu´ ° § ¥ ¬u ᦠ©¸°v⦠á {¦
±u 45 &2'( ° «ù¡ { ¤° © ¡¡ ´ å ¡ ¦ ° ¨¸ ° ¨ ² á¡ 60$57 &,7< 62/87,216 :((. www.smartsolutionweek.com Host Organisation
Officially Supported by
Platinum Sponsors
Supported by
Silver Sponsor
Organised by
EDITOR TALK กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
พลอากาศเอก กําธน สินธวานนท์ “ปูชนียบุคคลที่มีความสําคัญต่อ วงการวิศวกรรมศาสตร์ของไทย”
เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด
471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝายโฆษณา e-Mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์
ฯพณฯ พลอากาศเอกกําธน สินธวานนท
คณะที่ปรึกษา
ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ตอตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน พันธุบรรยงก, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน เหมวชิรวรากร บรรณาธิการอํานวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการผูพิมพผูโฆษณา สุเมธ บุญสัมพันธกิจ บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรียพร วงศศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย เรืองติก พิสูจนอักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ ฝายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตย, กัลยา ทรัพยภิรมย, วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝายผลิต ชุติมันต บัวผัน ฝายสมาชิก ศิรินทิพย โยธาพันธ โรงพิมพ หจก. รุงเรืองการพิมพ แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Engineering Today www.engineeringtoday.net
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537
เมื่อวันเสารที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2562 เวลา 07.25 น. ประเทศไทยไดสูญเสีย ปูชนียบุคคลทีม่ คี วามสําคัญตอวงการวิศวกรรมศาสตรของไทย ดวยพลอากาศเอก กําธน สินธวานนท อดีตองคมนตรีในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพ ิ ลอดุลย เดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9 และอดีตผูวาการการไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทย (กฟผ.) คนที่ 2 ถึงแกอสัญกรรม สิริอายุ 93 ป โดย สมเด็จพระกนิษฐา ธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดเสด็จพระราชดําเนิน พระราชทานนํ้าหลวงอาบศพ ในวันอาทิตยที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2562 เวลา 18.00 น. ณ ศาลา 100 ป วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร มีพิธีพระราชทานสวด พระอภิธรรมกําหนด 7 วัน มีพิธีบําเพ็ญกุศล 50 วัน และ 100 วัน พรอมรอกําหนดพิธี พระราชทานเพลิงศพตอไป พลอากาศเอก กําธน มีบทบาทสําคัญตอวงการวิศวกรรมศาสตรของไทย โดย ดํ า รงตํ า แหน ง ประธานสถาบั นวิ ศ วกรไฟฟ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส แ ห ง ประเทศไทย (IEEE) และ นายกวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) 2 สมัย ติดตอกัน คือ ในป พ.ศ. 2533-2534 และป พ.ศ. 2535-2536 และดํารงตําแหนงสําคัญ ตางๆ อาทิ กรรมการบริหารและรองเหรัญญิกมูลนิธิอานันทมหิดล, กรรมการมูลนิธิ ชัยพัฒนา, ประธานโครงการสารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคใน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9, ประธานกรรมการมูลนิธิสวนหลวง ร.9, ประธานกรรมการมูลนิธพิ ระดาบส, ประธานกรรมการโครงการทุนเลาเรียนหลวงสําหรับ พระสงฆไทย, รองประธานมูลนิธโิ ครงการหลวง, รองประธานกรรมการมูลนิธสิ ายใจไทย ในพระบรมราชูปถัมภ, รองประธานคณะกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ พระบาท สมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ, ประธานกรรมการมูลนิธิ ประชาธิปก-รําไพพรรณี, กรรมการมูลนิธพิ ระบรมราชานุสรณ พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยูห วั และสมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี, ประธานทีป่ รึกษาคณะกรรมการอํานวยการ สถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทย, ประธานมูลนิธิธารนํ้าใจ, ประธานที่ปรึกษาคณะ กรรมการประสานงานเพื่อเตรียมการจัดตั้งโครงสรางพื้นฐานพลังงานนิวเคลียร และ นายกสมาคมเปตองแหงประเทศไทย ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สําหรับวารสาร Engineering Today ฉบับนี้ อัดแนนไปดวยสาระความรูและ ความกาวหนาทางดานเทคโนโลยี เริ่มจาก “พลิกโฉม Digital Transformation ดวย ปญญาประดิษฐ (AI)”, “สวทช. อัพเดท 10 เทคโนโลยีเปลีย่ นโลก มะเร็งรักษาหายดวย วัคซีนเฉพาะบุคคล”, “AOT จับมือพันธมิตร เปดตัว AOT DIGITAL AIRPORTS นํารองที่สุวรรณภูมิ พรอมเชื่อมสนามบิน 16 แหงทั่วโลกในอนาคต”, “สถาปตยกรรม ผังเมืองดิจทิ ลั กรณีศกึ ษา: ทาลลินน-เอสโตเนีย ‘เมืองหลวงดิจทิ ลั ’, “สภาวิศวกร ผนึก กําลัง วสท. ชูโมเดลแกมลิง-ระบบทอใตดนิ แกปญ หานํา้ ทวมชุมชนเมือง พรอมจัดโซน นิ่งเฝาระวังนํ้าลนตลิ่ง” และคอลัมนอื่นๆ ที่นาสนใจ ติดตามไดในฉบับและในรูปแบบ ของ E-book ที่ www.engineeringtoday.net และเชิญอัพเดทขาวสารทางดานวิศวกรรม และอุตสาหกรรม ไดที่ FB: Engineering Today ครับ
..
IS O
9001
2019
CONTENTS COLUMNS 8
บทบรรณาธิการ
พลอากาศเอก กําธน สินธวานนท “ปูชนียบุคคลที่มีความสําคัญตอวงการวิศวกรรมศาสตรของไทย” • กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
29
15 Technology
สวทช. อัพเดท 10 เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก มะเร็งรักษาหายดวยวัคซีนเฉพาะบุคคล
31 AI
• กองบรรณาธิการ
พลิกโฉม Digital Transformation ดวยปญญาประดิษฐ (AI)
• นัทธหทัย ทองนะ
15 31
21 บทความพิเศษ
พลอากาศเอก กําธน สินธวานนท อดีตองคมนตรี และอดีตผูวาการการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย คนที่ 2 “ปูชนียบุคคลที่มีคุณูปการตอวงการวิศวกรรมศาสตรของไทย” • กองบรรณาธิการ
DIGITAL ECONOMY 26 Digital
AOT จับมือพันธมิตร เปดตัว AOT DIGITAL AIRPORTS นํารองที่สุวรรณภูมิ พรอมเชื่อมสนามบิน 16 แหงทั่วโลกในอนาคต • กองบรรณาธิการ
29 3D
เอ็มเทค พัฒนาซอฟตแวรคอมพิวเตอร CAE 3D สัญชาติไทย ชวยคํานวณทางวิศวกรรมฟรี
• กองบรรณาธิการ
37 Smart City
“ออริจิ้น” รุกระยอง จัดตั้ง “Origin Smart City Rayong” เมืองอัจฉริยะหมื่นลานบาทใจกลาง EEC • กองบรรณาธิการ
39 Smart Business
ยูโอบี จับมือ เดอะ ฟนแล็บ จัดโครงการ Smart Business Transformation ครั้งแรกในไทย เลือกเฟน 15 SME ไทย พัฒนาสูธุรกิจดิจิทัล
• กองบรรณาธิการ
42 บทความ
สถาปตยกรรมผังเมืองดิจิทัล กรณีศึกษา: ทาลลินน-เอสโตเนีย “เมืองหลวงดิจิทัล” • รศ. ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ
CONTENTS COLUMNS
CONSTRUCTION THAILAND
47 Safety
วัฒนธรรมความปลอดภัยในโรงพยาบาล มุงสรางนโยบาย ความปลอดภัยของผูปวย-บุคลากรสาธารณสุข (2P Safety)
• กองบรรณาธิการ
Construction 56 สภาวิศวกร ผนึกกําลัง วสท. ชูโมเดลแกมลิง-ระบบทอใตดิน
แกปญหานํ้าทวมชุมชนเมือง พรอมจัดโซนนิ่งเฝาระวังนํ้าลนตลิ่ง
• กองบรรณาธิการ
59 รฟท.ใชเทคโนโลยีของทาเลส พัฒนาความปลอดภัยของระบบราง ในสถานีรถไฟ 48 แหง
• กองบรรณาธิการ
47 51 IT Update
“ดีปา” จัดงาน “DIGITAL THAILAND BIG BANG 2019” ภายใตแนวคิด “ASEAN Connectivity” ตั้งเปาผูชมงาน 500,000 คน • กองบรรณาธิการ
60 Property
เอสบี ปรับลุคสาขา CDC ใหม เปน Flagship Store ครบวงจร พรอมสง Zelection Built-in ทลายทุกกฎการตกแตง
• กองบรรณาธิการ
64 CSR
บราเดอร จัดกิจกรรม Brother Beat Cancer Run 2019 นํารายไดมอบรพ.รามาธิบดี ชวยผูปวยโรคมะเร็งที่ยากไร
• กองบรรณาธิการ
65 Project Management
ปจจัยแหงความสําเร็จในการสตารทอัพ โดย บิล กรอส
• ดร.พรชัย องควงศสกุล
51 53 Research & Development
เครื่องสแกนวัตถุ 3 มิติ ใชประเมินสภาพโบราณสถานวัดหลังคาขาว ของ น.ศ. มจธ. ควารางวัลงานวิจัยเดนจาก สกสว.
• กองบรรณาธิการ
70 Energy Today
โครงการ SPP Hybrid Firm บลู โซลาร รับเงินทุนจาก USTDA ศึกษาเทคโนโลยีกักเก็บพลังงาน พรอมจายไฟสูเชิงพาณิชยป’64
• กองบรรณาธิการ
72 Environment
มจพ.-กฟผ.-GIZ เปดหลักสูตรอบรมการใชสารทําความเย็น มุงใหชางแอรติดตั้งปลอดภัย-ใชเทคโนโลยีเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
• กองบรรณาธิการ
53
14
Spotlight
Spotlight
สวทช. จับมือ พันธมิตร
ผลักดัน “Smart Tambon Model”
ยกระดับคุณภาพชีวิตท องถิ่นด วยวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม องอาจ ป ญ ญาชาติ รั ก ษ ที่ ป รึ ก ษารั ฐ มนตรี ว า การกระทรวงการอุ ด มศึ ก ษา วิทยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม เปนประธานในพิธลี งนามความรวมมือ ระหวางสํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) องคกรปกครองสวนทองถิ่น กรมพัฒนาที่ดิน และเครือเบทาโกร เพื่อยกระดับการพัฒนาทองถิ่นดวยวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม พัฒนาชุมชนเชิงพืน้ ทีแ่ บบองครวม 5 ดาน สรางความรู ลดความ เหลือ่ มลํา้ นํารองตนแบบ 7 ตําบล 5 จังหวัด ภายใต “โครงการสงเสริมการใชวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการพัฒนาชุมชนเชิงพื้นที่แบบองครวมในระดับตําบล: Smart Tambon” ณ หองออดิทอเรียม บานวิทยาศาสตรสิรินธร อุทยานวิทยาศาสตร ประเทศไทย ความรวมมือของหนวยงานทั้งภาครัฐ สถาบันการศึกษา และภาคเอกชน ภายใต โครงการ Smart Tambon Model เพื่อพัฒนาชุมชนทั้ง 5 ดาน ไดแก อาชีพ สุขภาพ การศึกษา สังคม และสิ่งแวดลอม โดยใชวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม เปนกลไก ขับเคลื่อนสําคัญในการพัฒนาชุมชน ใหเกิดการพัฒนาแบบกาวกระโดด ชุมชนอยูดีกินดี
ลดความเหลื่อมลํ้า มีสุขภาวะที่ดี ชุมชน เขาถึงบริการภาครัฐ เด็กและเยาวชนได เขาถึงการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมีองคกร ปกครองสวนทองถิน่ เปนพันธมิตรขับเคลือ่ น ในพื้นที่ใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ พรอมทั้งเปนตนแบบขยายผลไปสูชุมชน อื่นๆ อยางยั่งยืนตอไป Smart Tambon Model นํารอง ในพื้นที่การทํางานชุมชนของเบทาโกร ประกอบดวย 7 พืน้ ที่ ใน 5 จังหวัด ไดแก 1) อบต.ชองเม็ก จ.อุบลราชธานี 2) อบต. สาน 3) อบต.ไชยสถาน จ.นาน 4) อบต. เขาดินพัฒนา 5) อบต.หวยบง จ.สระบุรี 6) เทศบาลตําบลคําพอุง จ.รอยเอ็ด และ 7) เทศบาลตําบลชุมโค จ.ชุมพร ซึ่งหลัก เกณฑในการคัดเลือกพื้นที่ตนแบบมีองค ประกอบสําคัญ 3 เรื่อง คือ 1) ชุมชนที่ เขมแข็ง ผูน าํ ชุมชนมีวสิ ยั ทัศน 2) สถาบัน การศึกษาในพืน้ ที่ ทําหนาทีเ่ ปนพีเ่ ลีย้ ง และ 3) องคกรปกครองสวนทองถิน่ สนับสนุน และรวมผลักดันการทํางาน
องอาจ ป ญญาชาติรักษ ที่ปรึกษารัฐมนตรี กระทรวง อว.
ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล ผู อํานวยการสํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแห งชาติ (สวทช.)
วนัส แต ไพสิฐพงษ ประธานคณะกรรมการบริหาร เครือเบทาโกร
ดร.สถาพร ใจอารีย รองอธิบดีฝ ายวิชาการ กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ
สําเนียง สิมมาวัน ผู อํานวยการส วนส งเสริมการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคมและการมีส วนร วม กรมส งเสริม การปกครองส วนท องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
พิธีลงนามความร วมมือ โครงการ Smart Tambon Model
ถ ายภาพร วมกันเป นที่ระลึก
บรรยากาศภายในงาน
14
Technology • สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.)
สวทช. อัพเดท 10 เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก
มะเร็งรักษาหายด วยวัคซีนเฉพาะบุคคล ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล ผูอํานวยการสํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจยั และนวัตกรรม (อว.) ไดบรรยายพิเศษเรือ่ ง “10 เทคโนโลยีทนี่ า จับตามอง (10 Technologies to Watch)” ซึ่ง สวทช.จัดขึ้นเปน ปที่ 10 แลว ในงาน THAILAND TECH SHOW 2019 ภายใตแนวคิด “นวัตกรรม 360 องศา เพื่อความยั่งยืน” เมือ่ ตนเดือนกันยายนทีผ่ า นมา ณ หองคอนเวนชัน่ ฮอลล ชั้น 22 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด เซ็นทรัลเวิลด ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล ผูอํานวยการสํานักงาน พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กลาววา ในปนี้นับเปนครั้งที่ 10 แลวที่ สวทช.ไดอัพเดท เทคโนโลยี ที่ จ ะมี บ ทบาทต อ โลกในอนาคต โดย 10 เทคโนโลยีที่ สวทช.เลือกมานีเ้ ปนการคาดการณเทคโนโลยี ซึ่ งจะมี ผลกระทบไดอย างชัดเจนใน 5-10 ปข างหนา
ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล ผู อํานวยการสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีแห งชาติ (สวทช.)
ขณะนีบ้ างเทคโนโลยีอาจใกลจะออกมาเปนผลิตภัณฑ หรือบริการใหมๆ แลว บางชนิดอาจจะยังเปนตนแบบหรือการทดสอบเบือ้ งตน แตมคี วาม เปนไปไดสูงที่จะสงผลกระทบตอชีวิตและธุรกิจในอนาคตอันใกลนี้
15
Engineering Today September - October
2019
สําหรับ 10 เทคโนโลยีที่น าจะจับตามอง เริ่มจากเทคโนโลยีใกล ตัวที่สุด
1
เครือข ายมือถือ 5G/6G (Mobile Network 5G/6G)
2
การคํานวณและวิศวกรรมควอนตัม (Quantum Computing & Engineering)
3
AI แห งอนาคต (Future AI)
โทรศัพทมือถือ (Mobile Phone) กลายเปนอวัยวะที่ 33 ของหลายคน ไปแลว ระบบ 4G ที่ใชกันในปจจุบันสามารถทําความเร็วในการรับสงขอมูลสูงสุด เพิ่มขึ้นจาก 3G อีกราว 50 เทา ขณะที่สําหรับ 5G จะมีการรับสงขอมูลสูงสุด เพิ่มขึ้นไปอีก 20 เทาจาก 4G แตที่พิเศษคือ สามารถใชงานไดแมวาจะเคลื่อนที่เร็ว
ในทศวรรษหนา โลกจะสามารถรองรับขอมูลขาวสารที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับ โจทยปญ หาตางๆ ที่ละเอียดและยากยิ่งขึน้ ดวยเหตุนจี้ งึ ตองการหนวยประมวลผล
ถึง 500 กิโลเมตร/ชั่วโมง อีกทั้งยังสามารถ สงขอมูลตอพืน้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ อีก 100 เทา ดังนัน้ 5G จะเปนแพลตฟอรม (Platform) ที่เชื่อมโยง เทคโนโลยีอื่นๆ เขาไวดวยกัน เชน ปญญา ประดิษฐ (AI), Big Data, Cloud และ IoT (Internet of Things) เปนตน ทําใหสามารถ รองรับระบบรถยนตไรคนขับ เกิดบริการรูปแบบ ใหมๆ ทีไ่ มเคยมีมากอนไดมากมาย เชน การขาย โดยใช AR (Augmented Reality)/VR (Virtual Reality) ชวยการเชื่อมตอยานพาหนะเขากับ ระบบควบคุมการจราจรได การใหบริการปรึกษา ทางการแพทยทางไกล (Telemedicine) หรือ แม แ ต ผ า ตั ด ทางไกลผ า นระบบอิ น เทอร เ น็ ต การใชโดรนในเกษตร และการควบคุมเครือ่ งจักร ในอุตสาหกรรมอัตโนมัติ นอกจากนีม้ กี ารพูดถึง 6G ซึง่ พูดถึงปริมาณขอมูลระดับเทราไบต (TB)
ที่ดีขึ้น เทคโนโลยีควอนตัม จะเขามามีบทบาท ทําใหภาพที่จินตนาการไวเกิดขึ้นไดจริง เชน คอมพิวเตอรสามารถเพิ่มประสิทธิภาพใหดีขึ้น หลายพันเทา สามารถถอดรหัส DNA ของสิ่ง มีชีวิตที่ยาวมากเปนพันๆ ลานหนวย สรางแบบ จําลองเพื่อคนหายาใหมๆ ที่ใชไดอยางแมนยํา กับผูปวย ใชตรวจวินิจฉัยโรคในการแพทยได อยางรวดเร็วไมตอ งรอผล Lab หลายวัน รวมถึง ยังมีการสรางอุปกรณไฮเทคอืน่ ๆ เชน ชิปสําหรับ นาฬกาอะตอม (Atomic Clock) ใชเทียบคา เวลาสากลที่มีความแมนยํามากถึงระดับนาโน วินาที (Nano-second) รองรับการซื้อขายใน ระบบธนาคาร หรือคําสั่งซื้อในตลาดหลักทรัพย ที่มีปริมาณถึง 100 ลานคําสั่งตอวินาทีได
ระบบปญญาประดิษฐแหงอนาคตหรือ Future Artificial Intelligence จะมีสว นทีเ่ ปนหัวใจหรือสมองของระบบไดแก เทคโนโลยี การเรียนรูของเครื่อง หรือ Machine Learning ดวยเครือขายประสาทเทียมที่เรียกวา Deep Neural Network ซึ่งสรางโดยเลียนแบบ เครือขายเซลลประสาทในสมองของมนุษย ความสามารถของ AI ที่เพิ่มขึ้น ทําใหระบบ Cyber-physical ที่สงผานขอมูลระหวางโลก อินเทอรเน็ตกับโลกจริงทางกายภาพมีประสิทธิภาพมากขึ้น เชน รถยนตขับเคลื่อนอัตโนมัติไรคนขับ AI ประมวลผลและสั่งการควบคุม
Engineering Today September - October 2019
16
การขับรถได้ในเวลาเสี้ยววินาทีด้วยประสิทธิภาพและความปลอดภัยที่มากขึ้น แต่อาจจะท�ำให้คนขับรถจ�ำนวนมากต้องตกงาน โดยบริษัท McKinsey ประเมินว่า
4
การเดินทางแบบไร้รอยต่อ (Mobility–as–a–Service: MaaS)
ในมหานครทีก่ ารจราจรซับซ้อน การให้บริการน�ำผูโ้ ดยสารไปยังทีห่ มายอย่าง สะดวกสบายที่ สุ ด หรื อ การเดิ น ทางแบบไร้ ร อยต่ อ ซึ่ ง เรี ย กรวมๆ ว่ า เป็ น Mobility–as–a–Service หรือ Maas ในกรุงลอนดอนใช้งานตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 ปัจจุบันเทคโนโลยีนี้ มีการเติบโตแบบก้าวกระโดด โดยตัวอย่างผูใ้ ห้บริการ Maas รายใหญ่ 2 รายคือ อูเบอร์ (Uber) ของสหรัฐอเมริกา กับ ตีต๊ ี๊ (DiDi) ของจีน จากข้อมูล
5
ในปี ค.ศ. 2030 ระบบนี้จะท�ำให้ต�ำแหน่งงาน หายไป 400-800 ล้านต�ำแหน่ง แม้ว่าจะท�ำให้ เกิดงานใหม่ๆ ขึ้นมาในจ�ำนวนใกล้เคียงกัน แต่ จะเป็นทักษะที่แตกต่างออกไปอย่างสิ้นเชิง ในทางการแพทย์ ช ่ ว ยวิ นิ จ ฉั ย ข้ อ มู ล เอกซเรย์ รังสีเทคนิค ของเหลวต่างๆ เพื่อลด ความผิดพลาดของคน ช่วยสนับสนุนการท�ำงาน ของคนให้แม่นย�ำและรวดเร็วขึน้ ปัจจุบนั จีนเป็น ผู้น�ำของโลกในด้านนี้ สร้างตลาดมูลค่า 1.5 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐในปี พ.ศ. 2561 คาดว่า ปี พ.ศ. 2573 AI จะเพิ่มสัดส่วน GDP ให้จีน ถึง 26%
ปี พ.ศ. 2560 ระบุว่ามูลค่าของบริษัทตี๊ตี๊อยู่ที่ ราว 56,000 ล้านเหรียญสหรัฐ ขณะที่อูเบอร์ มากกว่าคือ 62,000 ล้านเหรียญสหรัฐ ที่ น่าสนใจคือ ตีต๊ ี๊ เป็นบริษทั ทีโ่ ตอย่างก้าวกระโดด จากการ Take over บริษัทอูเบอร์ในจีน เมื่อปี พ.ศ. 2559 ปัจจุบัน นอกจากการน�ำผู้โดยสาร ไปยังที่หมายแล้ว ยังบริการส่งของต่างๆ อย่าง บริการ GrabFood และ Line Man ซึ่งได้รับ ความนิยมอย่างสูงในประเทศไทยอยู่ในขณะนี้ ทั้งนี้สถาบันวิจัย BIS Research ประเมินว่า อนาคตอันใกล้ตลาดของ Maas ก�ำลังเติบโต ด้วยความเร่ง โดยปัจจัยส�ำคัญคือ ความสามารถ ในการสร้างแพลตฟอร์มการให้บริการยานพาหนะ และความสามารถในการให้บริการแบบ On Demand รวมถึงการสนับสนุนอย่างเหมาะสม โดยภาครัฐ ซึ่งคาดว่าในปี ค.ศ. 2028 มูลค่า ตลาด Maas จะสูงถึง 1.75 ล้านล้านเหรียญ สหรัฐ
เซลล์แสงอาทิตย์เพอรอฟสไกต์ (Perovskite Solar Cell)
เซลล์แสงอาทิตย์แบบเพอรอฟสไกต์ มีโครงสร้างผลึกคล้ายแร่แคลเซียมไทเทเนียมออกไซด์ (CaTiO3) หรือแร่เพอรอฟสไกต์ ทีด่ ูดซับแสงและเปลีย่ นแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้าได้ดี ทัง้ ยังสามารถขึน้ รูปได้ในลักษณะสารละลายคล้ายกับน�ำ้ หมึกพิมพ์ เพื่อน�ำไป พิมพ์บนแผ่นฟิล์มหรือพื้นผิวต่าง ๆ โดยมีต้นทุนการผลิตต�่ำ 30-50% ของเซลล์แสงอาทิตย์แบบซิลิคอน ในอีก 5-6 ปีข้างหน้า มีการประเมินว่าตลาดของเซลล์แสงอาทิตย์น่าจะเติบโตไปได้จนถึง 1.4 แสนล้านเหรียญสหรัฐ ด้วยจุดเด่น
17
Engineering Today September - October
2019
ของเซลล์แบบนี้ที่มีน�้ำหนักเบาและโค้งงอได้ ไม่เสียหาย ปัจจุบัน ภาคเอกชนจากสหราช อาณาจักร เนเธอร์แลนด์ และจีน ตั้งเป้าผลิต เซลล์แสงอาทิตย์เพอรอฟสไกต์ออกจ�ำหน่ายใน ปีหน้า ส�ำหรับประเทศไทย นักวิจัย สวทช. พัฒนาทัง้ ส่วนทีเ่ ป็นโครงสร้างวัสดุในการส่งผ่าน อิ เ ล็ ก ตรอน สารเคลื อ บผิ ว ชนิ ด กั น น�้ ำ และ สะท้อนความร้อน รวมทั้งพัฒนากระบวนการ เคลือบฟิล์มบาง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ เสถียรภาพของเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดนี้
6
แบตเตอรี่ลิเทียมยุคหน้า (Next Generation Lithium Ion Batteries)
ในปี พ.ศ. 2561 มูลค่าตลาดของแบตเตอรี่ลิเทียมไอออน ส�ำหรับยานยนต์ ไฟฟ้า และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ อยู่ที่ 36,000 ล้านเหรียญสหรัฐ เติบโต ปีละ 13% และจีนนับเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ที่สุด แม้จะยังไม่มีแบตเตอรี่ที่มีคุณสมบัติ
ครบทุ ก อย่ า ง แต่ ก็ มี แ บตเตอรี่ ที่ น ่ า สนใจ หลายแบบ เช่น แบตเตอรี่แบบ Solid–state Lithium Ion ซึ่งจุพลังงานได้มากขึ้นเป็น 2 เท่า และมี ค วามปลอดภั ย มากขึ้ น สาเหตุ ที่ ค น หั น มาสนใจแบตเตอรี่ ลิ เ ที ย ม–ซั ล เฟอร์ (Lithium-sulfur) เพราะจุพลังงานได้มากกว่า แบบลิเทียมไอออน 2-4 เท่า แต่ราคาถูกกว่า ส�ำหรับบริษัทที่พัฒนาเทคโนโลยีนี้ ได้แก่ Oxis Energy และ Sion Power นอกจากนี้ยัง มีแบเตอรี่ลิเทียม–แอร์ (Lithium-air) จุพลังงาน มากขึ้นถึง 10-100 เท่า ทั้งนี้ เอ็มเทค สวทช. มีงานวิจัยด้านวัสดุใหม่ๆ และการออกแบบขึ้น รูปเซลล์ในแบตเตอรี่แบบ Solid-state Lithium Ion และ Lithium-air โดยเน้นไปที่การเพิ่ม ประสิทธิภาพ เพิม่ อายุการใช้งาน และลดต้นทุน ในอนาคต
7
โครงเสริมภายนอกกาย (Exoskeleton)
เป็นเรือ่ งทีน่ า่ ยินดี หากคนพิการทีเ่ ดินไม่ ได้กลับมาเดินได้อีกครั้ง คนดูแลผู้ป่วยตัวเล็กๆ สามารถยกเคลื่ อ นย้ า ยผู ้ ป ่ ว ยที่ น�้ ำ หนั ก มาก ที่นอนติดเตียงได้อย่างสบายๆ ไม่ปวดหลัง เทคโนโลยีดงั กล่าวนีเ้ รียกว่า Exoskeleton หรือ โครงเสริมภายนอกกาย เป็นเทคโนโลยีทชี่ ว่ ยให้ มนุษย์มพี ละก�ำลังเสริม และยังป้องกันอันตราย บางอย่างต่อร่างกายได้ ซึง่ มีการน�ำ Exoskeleton
Engineering Today September - October 2019
18
มาใช้เพิม่ ความสามารถในการท�ำภารกิจต่างๆ เช่น ใช้ในทางทหาร ใช้กภู้ ยั ใช้ฝกึ ฝนและสร้างสมรรถภาพของนักกีฬาได้ และในทางการ แพทย์ก็ช่วยเร่งกระบวนการฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายของผู้ป่วย ยกระดับคุณภาพชีวิตคนพิการหรือผู้สูงอายุโดยทั่วไปได้อีกด้วย โดยมีตัวอย่างในระดับอุตสาหกรรมที่ใช้งานแล้ว เช่น ชุด EskoVest ของ Esko Bionics ในโรงงานประกอบรถยนต์ของ Ford ทั่วโลก ชุด Chairless chair ของ Noonee ที่เป็นอุปกรณ์สวมใส่ติดอยู่บริเวณเอว ขา และเท้าของผู้ใช้สามารถกางออกเป็นเก้าอี้ได้ ซึ่งใช้งานแล้วมากกว่า 350 ชิ้น
8
ไฟเบอร์สารพัดประโยชน์จากจุลินทรีย์ (Microbial Multifunctional Fiber)
วุ้นมะพร้าว เต้าหู ไอศกรีม หรือโปรตีนเกษตร ในทางการแพทย์ ส ามารถเปลี่ ย นน�้ ำ ตาล Mannitol ได้ เมื่อผ่านกระบวนการอีก 2-3 ขัน้ ตอนจะเกิดเป็นไบโอฟิลม์ (Biofilm) ทีเ่ หมาะ ท�ำเป็น ผลิตภัณฑ์ปิดแผล หรือผิวหนังเทียม (Artificial Skin) นักวิจัยจาก ETH Zurich University ได้ พัฒนาเทคนิคการพิมพ์ 3 มิติ โดยใช้จุลินทรีย์ ที่ ยั ง มี ชี วิ ต อยู ่ เ ป็ น องค์ ป ระกอบน� ำ มาผลิ ต นาโนฟิ ล เตอร์ ใช้ ก รองสารพิ ษ ได้ ด้ า น อุตสาหกรรม บริษทั Nanollose ในออสเตรเลีย ผลิต Microbial Cellulose จากสารตั้งต้น ของเหลือทิ้งในอุต สาหกรรมและการเกษตร น�ำไฟเบอร์ทไ่ี ด้มาผลิตเป็นเสือ้ ผ้าหรือผลิตภัณฑ์ อื่นๆ โดยไม่ต้องตัดพืช ซึ่งต้องอาศัยความรู้ สาขาใหม่ด้านชีววิทยาการสังเคราะห์ที่เติบโต อย่างก้าวกระโดดในทศวรรษที่ผ่านมา
กายจ�ำลองทดสอบยา (Companion Diagnostics)
อายุ 5 สัปดาห์ มีขนาดเท่าก้อนยางลบดินสอ และส่งถ่ายกระแสประสาทได้จริง จึงใช้เป็น โมเดลในการทดลองต่างๆ แก้ปัญหาจริยธรรม เรื่องการใช้มนุษย์ทดลองยาโดยตรง ใช้รักษา โรคอัลไซเมอร์ พาร์กินสัน รวมถึงออทิสติก ไม่เพียงแต่สมองจิ๋ว ยังมีอวัยวะอื่นๆ อีก หลายอย่างก็เพาะเลี้ยงได้เช่นกัน เรียกรวมๆ ว่าเป็น ออร์แกนอยด์ (Organoid) ที่แปลว่า “อวัยวะเล็กๆ” ถือเป็นหนึ่งในเครื่องมือที่ใช้ ตรวจวิเคราะห์ทดสอบที่ส�ำคัญได้ เช่น ตรวจ ความเป็นพิษ และศึกษาปฏิสัมพันธ์ของเซลล์ กับสารออกฤทธิ์ ความก้าวหน้าครั้งใหญ่เกิดขึ้นจากระบบ ที่ เ ป็ น แพลตฟอร์ ม เชื่ อ มต่ อ ออแกนอยด์ ข อง
ปัจจุบนั มีจลุ นิ ทรียห์ ลายชนิดทีส่ ามารถสร้างเซลลูโลส แต่เซลลูโลสในจุลนิ ทรีย์ ต่างจากเซลลูโลสในพืช ตรงที่สามารถท�ำออกมาให้บริสุทธิ์ได้ง่ายกว่า แข็งแรงกว่า ขึ้นรูปได้ง่าย และยังอุ้มน�้ำได้ดีด้วย ตัวอย่างจุลินทรีย์ที่ผลิตเซลลูโลสได้ ได้แก่ พวก Acetobacter และ Agrobacteria โดยเซลลูโลสที่จุลินทรีย์เหล่านี้สามารถน�ำ มาประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้หลายรูปแบบ ทั้งเป็นสารตั้งต้นท�ำอาหาร เช่น เติมใน
9
ในปี พ.ศ. 2558 สวทช. เคยกล่าวถึงเทคโนโลยีการเพาะกลุม่ เซลล์สมอง ที่เรียกว่า Brain Organoid ที่มีขนาดและรูปร่างคล้ายกับสมองของตัวอ่อนในครรภ์
19
Engineering Today September - October
2019
อวัยวะต่าง ๆ เข้าด้วยกันผ่านระบบของเหลว จนได้ผลลัพธ์คล้ายเป็นร่างกายเทียมขนาดจิ๋ว หรือเป็น “กายจ�ำลอง” ที่นำ� มาใช้ทดสอบ ยาได้ โดยบริษัท CN Bio Innovations Ltd. ได้พัฒนาแพลตฟอร์ม Organ-on-a-Chip จุดเด่นของระบบนีค้ อื สามารถออกแบบให้ใช้เหมาะกับผูป้ ว่ ยแต่ละคนได้ จึงเป็นการแพทย์เฉพาะบุคคล (Personalized Medicine) แบบหนึ่ง ระบบนี้เรียกรวมๆ ว่าเป็น Companion Diagnostics หรือ “กายจ�ำลองทดสอบยา” ท�ำให้การทดสอบยากับเซลล์เพาะเลี้ยง แต่ละชนิดเป็นเรื่องล้าสมัย เพราะสามารถเลียนแบบการตอบสนองของร่างกายจริงๆ ได้อย่างน่าทึ่ง ทั้งการบีบตัวของเซลล์หัวใจ การตอบสนองของระบบภูมคิ มุ้ กันของเซลล์กระดูก การส่งถ่ายและก�ำจัดสารต่าง ๆ ออกจากเซลล์ไต รวมไปถึงการเผาผลาญท�ำลายสาร ต่างๆ ในเซลล์ตับ เป็นต้น ท�ำให้สามารถผลิตยาได้เร็วขึ้น แม่นย�ำขึ้น สามารถรักษาผู้ป่วยได้โดยตรง
10
วัคซีนมะเร็งเฉพาะบุคคล (Personalized Cancer Vaccine)
เทคโนโลยีการรักษาโรคมะเร็งในปัจจุบนั โดยการฉายรังสี การใช้ยาเคมีบำ� บัด เป็นการรักษาแบบเหมารวม ไม่จำ� เพาะกับบุคคล แต่ละคนจึงตอบสนองกับยาหรือ รังสีแตกต่างกันไป นอกจากนีม้ กั เกิดอาการข้างเคียงรุนแรง และบางครัง้ ผูป้ ว่ ยทีห่ าย แล้ว ก็อาจเป็นมะเร็งเดิมได้อีก วงการวิทยาศาสตร์การแพทย์จงึ มีความพยายามทีจ่ ะท�ำวัคซีนหรือยาส�ำหรับ โรคมะเร็งแบบเฉพาะบุคคลขึน้ โดยมีวธิ กี ารคือ เริม่ จากน�ำเซลล์ปกติและเซลล์มะเร็ง ของผูป้ ว่ ยออกมา “อ่านรหัส DNA” จากนัน้ เปรียบเทียบรหัสในต�ำแหน่งต่างๆ เพือ่ ค้นหาว่ามีต�ำแหน่งใดที่เปลี่ยนแปลงไปบ้าง โดยเฉพาะต�ำแหน่งที่เกี่ยวข้องกับการ สร้างโปรตีน จากนั้นใช้ซอฟต์แวร์ทางชีวสารสนเทศ หรือ Bioinformatics มาจัด ล�ำดับความส�ำคัญของส่วนที่เปลี่ยนแปลงไปนั้น โดยข้อมูลดังกล่าวจะเป็นจุดตั้งต้น ในการน�ำมาสร้างเป็นวัคซีนชนิดพิเศษ เรียกว่า นีโอแอนติเจนวัคซีน (Neoantigen
Vaccine) ซึ่งอาจจะเป็นสาย RNA หรือ DNA ก็ได้ จากนัน้ จะฉีดวัคซีนดังกล่าวเข้าไปในร่างกาย ผู้ป่วย โดยอาจจะใส่เข้าไปแบบนั้น หรืออาจห่อ หุม้ ด้วยสารโพลิเมอร์ หรือ ไลโปโซม (Liposome) ซึ่ ง วั ค ซี น จะไปกระตุ ้ น ให้ ร ะบบภู มิ คุ ้ ม กั น ของ ร่างกายให้จดจ�ำเซลล์มะเร็งได้ ก่อนเริม่ การค้นหา และท�ำลายเซลล์มะเร็งอย่างจ�ำเพาะ โดยไม่ยงุ่ กับ เซลล์ปกติ ในปี พ.ศ. 2559 บริษัท BioNTech ของ เยอรมนี ร่วมมือกับบริษัท Genetech ซึ่งเป็น บริษัทลูกของบริษัทยายักษ์ใหญ่ Roche เริ่มวิจัย ความเป็นไปได้ที่จะสร้างวัคซีนมะเร็งแบบเฉพาะ บุคคล ในปีต่อมาก็เริ่มทดสอบในผู้ป่วย 560 คน ที่เป็นมะเร็งแบบต่างๆ มากกว่า 10 ชนิด ขณะนี้ ยังอยู่ระหว่างรอสรุปผลการวิจัย ในเมืองไทยมีกลุม่ วิจยั ทีศ่ กึ ษาค้นคว้าเกีย่ ว กับวัคซีนรักษามะเร็งเฉพาะบุคคล เช่น กลุ่ม วิ จั ย นี โ อแอนติ เ จนและวั ค ซี น ต่ อ มะเร็ ง คณะ แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย น�ำโดย ดร.วิโรจน์ ศรีอฬุ ารพงศ์ และทีม ได้ศกึ ษาการสร้าง วัคซีนจากผู้ป่วย 25 ราย ขณะนี้อยู่ในขั้นตอน การศึกษาและพัฒนาวัคซีนให้มีประสิทธิภาพสูง เพื่อจะน�ำไปทดลองใช้กับผู้ป่วย หากได้ผลดีจะ เป็นความก้าวหน้าครัง้ ใหญ่ในการรักษาโรคมะเร็ง ที่ไม่จ�ำเป็นต้องตายเสมอไป
“จะเห็นได้ว่าเทคโนโลยีก้าวหน้าไปรวดเร็วมาก และเราอาจมีบทบาทเป็นผู้ใช้ประโยชน์ ผู้สร้างและสนับสนุน แล้วแต่เราจะเลือก ซึ่ง สวทช. อว. ได้ทุ่มเททรัพยากรไปกับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) ไม่น้อยและมีผลงานคุ้มค่า กับทรัพยากรที่ลงทุนเพื่อความเข้มแข็งของ วทน.ของประเทศไทยในอนาคตต่อไป” ผู้อำ� นวยการ สวทช. กล่าว
Engineering Today September - October 2019
20
บทความพิเ ศษ
• กองบรรณาธิการ
พลอากาศเอก ก�ำธน สินธวานนท์
อดีตองคมนตรี และอดีตผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย คนที่ 2 “ปูชนียบุคคลที่มีคุณูปการต่อวงการวิศวกรรมศาสตร์ของไทย”
21
Engineering Today September - October
2019
เมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2562 เวลา 07.25 น. พลอากาศเอก ก�ำธน สินธวานนท์ อดีตองคมนตรี และ อดีตผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ถึงแก่อสัญกรรมด้วยอาการติดเชื้อในกระแสโลหิต สิริอายุ 93 ปี สร้างความอาลัยแก่ครอบครัว ญาติสนิท รวมถึงผูค้ นใน แวดวงวิศวกรรมเป็นอย่างมาก ด้วยท่านเป็นหนึง่ ในปูชนียบุคคล ทีม่ คี วามส�ำคัญต่อวงการวิศวกรรมศาสตร์ของไทย โดยด�ำรง ต�ำแหน่งประธานสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ แห่ ง ประเทศไทย (IEEE) และ นายกวิ ศ วกรรมสถาน แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) 2 สมัย พลอากาศเอก ก�ำธน สินธวานนท์ เกิดเมือ่ วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2469 ณ อ�ำเภอทุ่งคา จังหวัดภูเก็ต เป็นบุตร คนที่ 2 ในจ�ำนวนพีน่ อ้ ง 8 คน ของหลวงบริหารสิกขกิจ และ จินดา สินธวานนท์ สมรสกับ ท่านผูห้ ญิงพึงใจ สินธวานนท์ มีบุตรธิดา 3 คน ส�ำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนเทพศิรินทร์ ในปี พ.ศ. 2484 จากนั้น 2 ปี ส�ำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาปลาย จากโรงเรียนเตรียม อุดมศึกษา ในปี พ.ศ. 2488 ได้รับการประดับยศว่าที่ ร้อยตรี จากโรงเรียนนายทหารสารวัตร จากนั้นในปี พ.ศ. 2490 ได้รับปริญญาตรีวิศวกรรมบัณฑิต (ไฟฟ้า) จาก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และได้รับทุนการศึกษา MDAP ไปศึกษาต่อต่างประเทศสาขา Communication Officer และ Technical Instructor Course ด้านประวัตกิ ารท�ำงาน พลอากาศเอก ก�ำธน เริม่ ต้น ท�ำงานในต�ำแหน่งช่างเครื่องบิน บริษัท เดินอากาศไทย จ�ำกัด ในปี พ.ศ. 2491 ด�ำรงต�ำแหน่งผู้บังคับฝูงทหาร อากาศ สังกัดกรมทหารสื่อสาร ในปี พ.ศ. 2492-2503 รั บ ราชการสั ง กั ด กรมทหารสื่ อ สาร ได้ รั บ ยศสู ง สุ ด เป็ น นาวาอากาศตรี ในปี พ.ศ. 2503 ได้ลาออกจากราชการ ทหารอากาศ เพื่อ เข้าท�ำงานที่การไฟฟ้าฝ่า ยผลิตแห่ง ประเทศไทย (ขณะนั้นเป็นการไฟฟ้ายันฮี) ในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503 ด�ำรงต�ำแหน่งนายช่างไฟฟ้า โรงไฟฟ้าพระนครเหนือ จากนั้นในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 ได้ รั บ ต� ำ แหน่ ง ผู ้ อ� ำ นวยการฝ่ า ยโรงจั ก ร พระนครเหนือ ในวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2507 ได้เลื่อน ต�ำแหน่งเป็น ผู้ช่วยผู้ว่าการฝ่ายผลิตและสายส่ง กฟผ. (ยันฮี) ก่อนทีจ่ ะเข้ารับต�ำแหน่ง ผูช้ ว่ ยผูว้ า่ การการไฟฟ้ายันฮี ในวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2512 ซึ่งขณะนั้นขึ้นกับ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2516 พลอากาศเอก ก�ำธน ด�ำรงต�ำแหน่งรองผู้ว่าการฝ่ายปฏิบัติการ กฟผ. จากนั้น ในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2528 ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่าการ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) คนที่ 2 ต่อจาก
Engineering Today September - October 2019
เกษม จาติกวณิช ผู้ว่าการคนแรกเป็นระยะเวลา 2 ปีเศษ ในช่วงที่ ด�ำรงต�ำแหน่งผู้ว่าการ กฟผ. นั้น พลอากาศเอก ก�ำธน ได้สนองงาน ในพระราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุ ล ยเดชมหาราช บรมนาถบพิ ต ร ด้ ว ยอั ธ ยาศั ย ไมตรี และมี มนุษยสัมพันธ์ที่ดี จึงได้รับความเคารพนับถือจากผู้ใต้บังคับบัญชา และ ผู้ปฏิบัติงาน ภายหลังจากเกษียณอายุราชการในวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2530 ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้ด�ำรงต�ำแหน่งองคมนตรี พระราชทานยศ พลอากาศตรี เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 เพื่อสนองงานในเบื้องพระยุคลบาท และได้รับพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ พระราชทานยศ พลอากาศเอก เป็นกรณีพิเศษ เมื่อเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2550 พลอากาศเอก ก�ำธน ด�ำรงต�ำแหน่งส�ำคัญต่างๆ อาทิ กรรมการ บริหารและรองเหรัญญิกมูลนิธอิ านันทมหิดล กรรมการมูลนิธชิ ยั พัฒนา, ประธานโครงการสารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9, ประธานกรรมการมูลนิธิ สวนหลวง ร.9, ประธานกรรมการมูลนิธิพระดาบส, ประธานกรรมการ โครงการทุนเล่าเรียนหลวงส�ำหรับพระสงฆ์ไทย, รองประธานมูลนิธิ โครงการหลวง, รองประธานกรรมการมูลนิธิสายใจไทยในพระบรม ราชูปถัมภ์, รองประธานคณะกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธเลิ ศ หล้ า นภาลั ย ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ , ประธานกรรมการมูลนิธิประชาธิปก-ร�ำไพพรรณี, กรรมการมูลนิธิ พระบรมราชานุสรณ์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จ พระนางเจ้าร�ำไพพรรณี, ประธานที่ปรึกษาคณะกรรมการอ�ำนวยการ สถาบันปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย, ประธานมูลนิธิธารน�ำ้ ใจ, ประธาน ที่ปรึกษาคณะกรรมการประสานงานเพื่อเตรียมการจัดตั้งโครงสร้าง พื้นฐานพลังงานนิวเคลียร์, นายกสมาคมเปตองแห่งประเทศไทยใน พระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี, ประธานสถาบัน วิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์แห่งประเทศไทย (IEEE) ปี พ.ศ. 25212523 และ นายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2 สมัย ในปี พ.ศ. 2533-2534 และปี พ.ศ. 2535-2536
พลอากาศเอก ก�ำธน
ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสูงสุดต่างๆ ดังนี้ • ปฐมจุลจอมเกล้า (ป.จ. 2539) • มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช. 2532) • มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม. 2531) • ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.ว. 2524) • เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 2 (ภ.ป.ร.2 2534)
22
SL 2100
Digital Economy @Engineering Today Vol. 5 No. 173
")8 C % Digital Transformation Ä&#x2122;+& Ä?gg6 '4 8- Ä&#x153; Â&#x2013;u}Â&#x2014; AOT 5 %;1 "5 %8 ' A Ä? 5+ AOT DIGITAL AIRPORTS 7'Ä&#x2DC;1 9I.<+'' $=%8 "'Ä&#x2122;1%A ;I1%. 6% 8 ü¢ B/Ä&#x2DC; 5I+C) D 1 6 Ă&#x2014;11'è èÚ Ă&#x2DC; '< '4&1 5 5J Ă&#x2014;Â&#x201A;Ă&#x192;º¸º¿ Â&#x2020;ž²Ă&#x192;Ă&#x2026; vÂşĂ&#x2026;Ă&#x160; Â&#x2026;²Ă&#x160;Ă&#x20AC;¿¸Ă&#x2DC; A%;1 15 'è&4/%;I )Ä&#x2122;6 6 D )6 yyw A1H%A "5 6 1# Ä&#x153;B+'Ä&#x153; 1%"Ă´+A 1'Ä&#x153; wuy Â&#x;x .5g 6 8E & Ä&#x2DC;+& 7 + 6 +è,+ ''%#'ĂŠ
Digital • กองบรรณาธิการ
AOT จับมือ พันธมิตร
เป ดตัว AOT DIGITAL AIRPORTS
นําร องทีส่ วุ รรณภูมิ พร อมเชือ่ มสนามบิน 16 แห งทัว่ โลกในอนาคต
ศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว าการกระทรวงคมนาคม
พิพัฒน รัชกิจประการ รัฐมนตรีว าการกระทรวงการท องเที่ยวและกีฬา
Engineering Today September - October 2019
บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) หรือ AOT พรอม ดวยพันธมิตร ประกอบดวย บริษทั กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) หรือ CAT, บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จํากัด (มหาชน) หรือ PTG, บริษัท กูเกิล (ประเทศไทย) จํากัด, บริษัท ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด, บริษัท ไทยซัมซุงอิเลคโทรนิคส จํากัด, บริษัท เมืองไทยประกันภัย จํากัด (มหาชน) รวมเปดตัว AOT DIGITAL PLATFORM : สนามบินมีชีวิต ครอบคลุมสนามบิน 6 แหงของ AOT โดยนํารองทีท่ า อากาศยานสุวรรณภูมิ เดินหนาเชือ่ มโยงทาอากาศยาน พันธมิตรอีก 16 แหงทั่วโลกในอนาคต ศักดิ์สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคม กลาววา ปจจุบันประเทศไทยไดกาวสูยุค Thailand 4.0 ตามที่รัฐบาลไดกําหนด นโยบายในการนําเทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหมเพื่อขับเคลื่อน ประเทศใหประชาชนไดรับความสะดวกสบาย การใหบริการผูโดยสาร และผูใ ชบริการทาอากาศยานใหไดรบั ความสะดวกสบายดวยเทคโนโลยี และนวัตกรรม ทําใหเกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและเกิดความ ประทับใจแกผูโดยสาร เปนสวนหนึ่งในนโยบายของรัฐบาล และของ กระทรวงคมนาคม ทีไ่ ดมอบใหผบู ริหารระดับสูงของกระทรวงคมนาคม ในชวงเขารับตําแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมนั้น AOT ได พัฒนาแอพพลิเคชั่น AOT DIGITAL AIRPORTS ซึ่งไดลงทุนไวกอน หนานี้ มาใชอํานวยความสะดวกแกผูโดยสารโดยไมตองใชงบประมาณ เพิ่มเติม ตามนโยบายที่ไดให AOT ดําเนินการตั้งแตตน นับแตนี้ไป กระทรวงคมนาคมจะไมมีเฉพาะดานกอสรางเทานั้น แตเนนการให บริการประชาชนคนไทยดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม ทีส่ ามารถ เชือ่ มโยงการเดินทางไดทงั้ ทางบก ทางนํา้ ทางอากาศ และระบบทางราง อยางเต็มรูปแบบ พิพัฒน รัชกิจประการ รัฐมนตรีวาการกระทรวงการทองเที่ยว และกีฬา กลาววา ในชวงครึ่งปหลังของป พ.ศ. 2562 มีการประมาณ การวาจะมีนกั ทองเทีย่ วในไทยประมาณ 39-39.8 ลานคนเพิม่ ขึน้ 2-4% จากป พ.ศ. 2561 ที่ผานมา โดยการนําแอพพลิเคชั่น AOT DIGITAL AIRPORTS เชื่อมโยงขอมูลที่สําคัญตางๆ ของการเดินทางเสมือน เปนการตอนรับดานแรกที่สําคัญในการเชื่อมโยงการเดินทางสนามบิน
26
ในประเทศและสนามบินพันธมิตรทั่วโลกของไทย ช่วยอ�ำนวยความ สะดวกนักท่องเที่ยวที่เข้ามาใช้บริการสามารถรู้เส้นทางการบิน รู้ช่วง เวลาที่ต้องรอสายการบินต่างๆ แม้กระทั่งการรอเปลี่ยนเครื่องจะได้ เพลิ ด เพลิ น ด้ ว ยการหาสถานที่ พั ก ผ่ อ นหรื อ ซื้ อ ของในสนามบิ น สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาที่ด�ำเนิน มาตรการกระตุ้นให้นักท่องเที่ยวเข้ามาเมืองไทยอย่างต่อเนื่องและมาก ขึ้นในอนาคต
แอพพลิเคชั่น AOT DIGITAL AIRPORTS ครอบคลุม สนามบิน 6 แห่ง น�ำร่องที่สนามบินสุวรรณภูมิ นิ ติ นั ย ศิ ริ ส มรรถการ กรรมการผู ้ อ� ำ นวยการใหญ่ บริ ษั ท ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน) หรือ AOT กล่าวว่า แอพพลิเคชั่น AOT DIGITAL AIRPORTS : สนามบินมีชวี ติ เป็นนวัตกรรมทีเ่ ชือ่ มโยง ระบบ IT ทั้งหมดในสนามบินหรือท่าอากาศยาน ครอบคลุมสนามบิน 6 แห่งของ AOT ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ดอนเมือง เชียงใหม่ ภูเก็ต หาดใหญ่ และแม่ฟ้าหลวง เชียงราย โดยในช่วงแรกจะน�ำร่องที่ สนามบินสุวรรณภูมิ ส่วนในอนาคตจะเชื่อมโยงสนามบินพันธมิตรอีก 16 แห่งทั่วโลก ให้สามารถคุยสื่อสารเพื่ออ�ำนวยความสะดวกและให้ บริการแก่ผู้ใช้บริการสนามบินในรูปแบบแอพพลิเคชั่น ใช้งานง่ายบน อุปกรณ์พกพา เช่น สมาร์ทโฟน แท็บเลต ในเบือ้ งต้นแอพพลิเคชัน่ ดังกล่าว จะมีฟงั ก์ชนั ให้ผโู้ ดยสารได้ใช้งาน เช่น 1. Flight Information ตรวจสอบ ข้อมูลเที่ยวบิน เคาน์เตอร์เช็คอินและสัมภาระ 2. Map & Navigation แผนทีอ่ จั ฉริยะ (Intelligence Map) ในอาคารผูโ้ ดยสารพร้อมน�ำทางไป ยังจุดต่างๆ 3. Transport & Car Park บริการข้อมูลการให้บริการ ขนส่งสาธารณะและการเดินทางภายในท่าอากาศยาน 4. Facilities & Services บริการข้อมูลสิ่งอ�ำนวยความสะดวกภายในท่าอากาศยาน 5. Shop & Dine แหล่งรวบรวมข้อมูลสินค้า ร้านอาหาร พร้อม โปรโมชั่ น และสิ ท ธิ พิ เ ศษ 6. Flight Alerts แจ้ ง เตื อ นเที่ ย วบิ น ที่ ก�ำหนดไว้เพื่อให้ผู้โดยสารได้มีเวลาเตรียมตัวก่อนไปท่าอากาศยาน 7. Suggestion & Help Desk ช่องทางการรับฟังข้อคิดเห็น และ 8. Mobile Application Translation เครื่องมือช่วยแปลภาษาได้ถึง 5 ภาษา ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ ภาษารัสเซีย และ ภาษาญี่ปุ่น ปัจจุบนั มีพนั ธมิตรจากองค์กรชัน้ น�ำมากมาย เล็งเห็นความส�ำคัญ ของ Digital Platform รูปแบบใหม่ จึงร่วมให้การสนับสนุนและน�ำเสนอ สิทธิประโยชน์ให้แก่ผู้ใช้งาน Application จากกลุ่มพันธมิตรต่างๆ เช่น บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) หรือ CAT, บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) หรือ PTG, บริษทั กูเกิล ประเทศไทย (จ�ำกัด), บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จ�ำกัด, บริษัท ไทยซัมซุง อิเลคโทรนิคส์ จ�ำกัด, บริษทั เมืองไทยประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) เป็นต้น
27
นิตินัย ศิริสมรรถการ กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน) หรือ AOT
ดร.ดนันท์ สุภัทรพันธุ์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาดและบริการ บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) หรือ CAT
พิทักษ์ รัชกิจประการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) หรือ PTG
Engineering Today September - October
2019
CAT ให้บริการ Free WiFi ภายในท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่ง ดร.ดนันท์ สุภัทรพันธุ์ รองกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ สายงานการตลาดและบริการ บริษัท กสท โทรคมนาคม จ�ำกัด (มหาชน) หรือ CAT กล่าวว่า CAT มั่นใจว่า Digital Platform จะเข้ามาเปลี่ยนแปลงวิธีการด�ำเนิน ชีวิต ทั้งด้านชีวิตประจ�ำวันและในเชิงธุร กิจ อย่างชัดเจน โดยองค์กรธุร กิจจะต้องมีการ Transformation อย่างต่อเนื่องและจริงจัง ซึ่ง AOT DIGITAL AIRPORTS เป็นการปฏิวัติรูป แบบการเดินทางให้ก้าวสู่การเป็น Smart Life อย่างแท้จริง นับเป็นการพลิกโฉมธุรกิจการ บริหารท่าอากาศยาน พร้อมทั้งเป็นการยก ระดับคุณภาพชีวิตให้กับผู้โดยสาร และเพิ่ม มูลค่าทางธุรกิจได้อย่างมาก ซึง่ CAT ได้จบั มือ กับ AOT รวมไปถึง Google Station เป็น พั น ธมิ ต รในการร่ ว มให้ บ ริ ก าร Free WiFi ภายในท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่งในชื่อ “Free Airport Google Station WiFi by CAT” โดย ให้ความเร็ว Super High Speed เปิดให้บริการ แก่ทกุ ๆ คน ทีเ่ ข้ามาในพืน้ ทีท่ า่ อากาศยานของ AOT โดยใช้ ง านได้ ง ่ า ย เพี ย งลงทะเบี ย น ชื่อ-นามสกุล และหมายเลขโทรศัพท์มือถือ สามารถเชื่อมต่อใช้งาน WiFi ความเร็วสูงถึง 30/30 เมกะบิตต่อวินาทีได้นาน 1 ชั่วโมงต่อ การล็อกอินแต่ละครัง้ ซึง่ ไม่จำ� กัดจ�ำนวนครัง้ ใน การล็อกอินต่อวัน
Engineering Today September - October 2019
“ส�ำหรับความร่วมมือกับ AOT ครั้งนี้ CAT มั่นใจว่าจะสอดคล้อง กับนโยบายภาครัฐที่ต้องการยกระดับธุรกิจไทยให้มีการใช้เทคโนโลยี ดิจทิ ลั เพือ่ ช่วยให้ทา่ อากาศยานของประเทศไทยได้รบั การยอมรับและเกิด ความเชือ่ มัน่ ในการเป็นศูนย์กลางการบินชัน้ น�ำของโลก” ดร.ดนันท์ กล่าว
AOT DIGITAL AIRPORTS มอบสิทธิพิเศษ ส�ำหรับบัตร PT Max Card พิทักษ์ รัชกิจประการ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) หรือ PTG กล่าวว่า PTG ยินดีที่ได้ร่วมมือกับ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จ�ำกัด (มหาชน) หรือ AOT ในการเปิดตัวแอพพลิเคชั่นในครั้งนี้ ซึ่งจะเกิด ประโยชน์ต่อการท�ำธุรกิจ สร้างการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและการซื้อหรือ ใช้บริการ โดยการเข้าถึงลูกค้าในจ�ำนวนมากขึน้ และเป็นการสร้างความ สะดวกสบาย เพราะว่า PTG มีสินค้าหรือการบริการเป็นของตนเอง นอกจากนีย้ งั มีเครือ่ งมือทีใ่ ช้เป็นตัวชีว้ ดั โดยสร้างเป็นแพลตฟอร์ม ได้แก่ บัตรสมาชิก PT Max Card ซึ่งปัจจุบันมีจ�ำนวนสมาชิกอยู่ประมาณ 11 ล้านราย จะช่วยสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า และบัตรสมาชิกยังท�ำ หน้าที่เป็นตัวกลางเชื่อมต่อสินค้า-บริการต่างๆ ในเครือ PTG กับ พันธมิตรคู่ค้า และลูกค้าเข้าด้วยกัน เพื่อน�ำเสนอสินค้าและบริการ ที่ตรงความต้องการของลูกค้าในแต่ละหมวดหมู่ โดย Digital Platform AOT ยังมอบสิทธิพเิ ศษให้แก่บตั ร PT Max Card ซึง่ จะมอบสิทธิประโยชน์แก่สมาชิกในรูปแบบ Turn Busy to Easy ผ่าน AOT AIRPORTS APPLICATION ได้แก่ การแลกเปลี่ยนแต้ม หรือโอนแต้มข้ามไปยังแอพพลิเคชั่น ซึ่งคะแนนหรือแต้มที่สะสมใน แอพพลิเคชั่นของ AOT จะสามารถน�ำมาแลกเปลี่ยนหรือใช้แทนเงินสด ในการซือ้ หรือใช้ในสถานีบริการน�ำ้ มัน PT และสามารถน�ำแต้มไปสะสม หรือแลกเปลี่ยนเป็นคะแนน พร้อมทั้งใช้แทนเงินสดเพื่อซื้อสินค้าหรือ ใช้บริการในเครือของ AOT ได้เช่นเดียวกัน
28
3D • กองบรรณาธิการ
เอ็มเทค พัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ CAE 3D สัญชาติ ไทย ช่วยค�ำนวณทางวิศวกรรมฟรี
นั ก วิ จั ย ศู น ย์ เ ทคโนโลยี โ ลหะและวั ส ดุ แ ห่ ง ชาติ (เอ็ ม เทค) ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (อว.) พัฒนา CAE 3D ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ช่วยในการค�ำนวณทางวิศวกรรม (Computer-aided Engineering: CAE) ที่สามารถวิเคราะห์ปัญหา ต่าง ๆ ใน 3 มิติ ซึ่งได้รับการออกแบบให้เป็นมิตรกับผู้ใช้ โดยติดต่อ กับผู้ใช้ในลักษณะของกราฟิก (Graphical User Interface: GUI) ทัง้ หมดบนระบบปฏิบตั กิ ารวินโดวส์ (Windows Operating System) ดร.สมบูรณ์ โอตรวรรณะ หัวหน้าทีมวิจยั คอมพิวเตอร์ชว่ ยในการ ค�ำนวณทางวิศวกรรม ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (เอ็มเทค) สวทช. กล่าวว่า ปัจจุบนั การออกแบบทางวิศวกรรมต้องอาศัยเทคโนโลยี CAE (Computer-aided Engineering) หรือซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์เพือ่ ช่วยงานวิศวกรรมค่อนข้างมาก ดังนั้น จ�ำเป็นที่บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นวิศวกรที่ใช้งานซอฟต์แวร์ CAE เอง หรือคนที่ใช้ประโยชน์ จากผลการค�ำนวณจากซอฟต์แวร์ก็ตาม เช่น ผู้จัดการฝ่ายวิศวกรรม ผูบ้ ริหารโรงงาน เป็นต้น จะต้องมีพนื้ ฐานองค์ความรูเ้ กีย่ วกับเทคโนโลยี
ดร.สมบูรณ์ โอตรวรรณะ หัวหน้าทีมวิจัยคอมพิวเตอร์ช่วยในการค�ำนวณทางวิศวกรรม เอ็มเทค สวทช.
ซอฟต์แวร์ CAE 3D ที่เป็นซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ช่วยในการค�ำนวณทางวิศวกรรม
29
Engineering Today September - October
2019
CAE ด้วย ทั้งนี้การมีพื้นฐานองค์ความรู้ได้นั้น ส่วนหนึ่งที่จำ� เป็น คือ การได้ทดลองใช้ซอฟต์แวร์ CAE ด้วยตนเอง แต่ปัจจุบันการ เข้าถึงซอฟต์แวร์ CAE ที่เป็นซอฟต์แวร์ในเชิงพาณิชย์พบปัญหา คือ ราคาแพงมากหลักหลายล้านบาท ทีมวิจยั จึงได้พยายามสร้าง ซอฟต์แวร์ชอื่ CAE 3D ขึน้ มาให้ใช้งานได้งา่ ย เมือ่ ใช้งานซอฟต์แวร์ CAE 3D ประกอบกับหนังสือ “คอมพิวเตอร์ช่วยในการค�ำนวณ ทางวิศวกรรม” จะท�ำให้เกิดการเรียนรู้แบบครบวงจร กล่าวคือ เริม่ ตัง้ แต่ได้รพู้ นื้ ฐานของเทคโนโลยี CAE ต่อด้วยการเรียนรูค้ วาม หมายของตัวแปรในสมการเชิงอนุพนั ธ์ตา่ งๆ รวมถึงสมการไฟไนต์ เอลิเมนต์และไฟไนต์วอลุ่ม ตลอดจนได้มีประสบการณ์ลองใช้ ซอฟต์แวร์วิเคราะห์ปัญหาทางวิศวกรรมด้วยตนเอง ซอฟต์แวร์ CAE 3D มีส่วนส�ำคัญในการสร้างโมเดลและ แสดงผลที่ใช้งานง่ายซึ่งพัฒนาโดยทีมวิจัยภายใน สวทช. ทั้งหมด ประกอบด้วย 4 โมดูลส�ำหรับใช้วิเคราะห์ 4 ประเภทของปัญหา ทางวิศวกรรม คือ 1. SOLID เป็นโมดูลทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ปญ ั หา เกีย่ วกับโครงสร้าง 2. HEAT เป็นโมดูลทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ปญ ั หา การถ่ายเทความร้อน ส�ำหรับ 2 โมดูลแรกได้พฒ ั นาขึน้ โดยทีมของ ศ. ดร.สุทธิศักดิ์ พงศ์ธนาพาณิช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) 3. VIBRA เป็นโมดูลที่ใช้ วิเคราะห์ค�ำนวณการสั่นสะเทือน ซึ่งพัฒนาโดยทีมวิจัยเอ็มเทค น�ำโดย ดร.อธิพงษ์ มาลาทิพย์ และ 4. CFD เป็นโมดูลเกี่ยวกับ ปัญหาการไหลของไหล เช่น น�ำ้ อากาศ น�ำ้ มัน เป็นต้น พัฒนาขึ้น โดยทีม รศ. ดร. เอกชัย จันทสาโร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.)
หนังสือคอมพิวเตอร์ช่วยในการค�ำนวณทางวิศวกรรม
Engineering Today September - October 2019
30
ส�ำหรับกลุ่มเป้าหมายผู้ใช้งานซอฟต์แวร์ CAE 3D มีอยู่ ด้วยกัน 3 กลุ่มหลัก ได้แก่ 1. กลุ่มภาคอุตสาหกรรม เช่น วิศวกร ผู้จัดการ ผู้บริหารของโรงงาน 2. กลุ่มภาคการศึกษาระดับ มหาวิทยาลัย ปัจจุบนั ได้มคี วามร่วมมือกับอาจารย์ในมหาวิทยาลัย ต่างๆ ซึ่งอยู่ระหว่างในการท�ำโรดโชว์ประชาสัมพันธ์ให้รู้จัก ซอฟต์แวร์ CAE 3D เพื่อน�ำไปใช้ในการเรียนการสอนต่อไป และ 3. กลุ่มภาคการศึกษาระดับอาชีวศึกษา รวมถึง มัธยมศึกษา ตอนปลาย และมัธยมศึกษาตอนต้น โดยทีมวิจัยได้มีแผนน�ำ ซอฟต์แวร์ CAE 3D ไปใช้สอนให้ความรู้ในลักษณะจัดท�ำเป็น หลักสูตรฝึกอบรมต่างๆ ด้วย “องค์ ค วามรู ้ 3 องค์ ป ระกอบหลั ก ที่ จ� ำ เป็ น ในการน� ำ ซอฟต์แวร์ CAE 3D ไปใช้งาน คือ 1. ทักษะการใช้งานซอฟต์แวร์ CAE เช่น ทราบปุ่มค�ำสั่งต่างๆ และสามารถเลือกใช้งานได้อย่าง เหมาะสม 2. ความเข้าใจด้านสมการเชิงอนุพันธ์และสมการ ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข เช่น เข้าใจในค่าตัวแปรต่างๆ ของสมการ ที่ เ กี่ ยวข้ อ งกั บ ปั ญ หาที่ ก� ำ ลั ง วิ เ คราะห์ และ 3. ความรู ้ แ ละ ประสบการณ์ในระบบทางวิศวกรรม เช่น ถ้าก�ำลังวิเคราะห์ปญ ั หา ที่เกี่ยวกับการท�ำงานของระบบ Cooling Tower ต้องเข้าใจว่า ระบบดังกล่าวมีสว่ นประกอบและการท�ำงานอย่างไร” ดร.สมบูรณ์ กล่าวสรุป ส�ำหรับรายละเอียดการใช้งานในแต่ละโมดูลนั้น ผู้สนใจสามารถ ดาวน์ โหลดซอฟต์แวร์ CAE 3D มาติดตั้งและใช้งานได้ที่ https://www. mtec.or.th/cae3d/ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
AI • *นัทธหทัย ทองนะ
บอยครั้งที่เรามักจะไดยินคําวา “Digital Transformation” แทรกซึม อยูแทบทุกกิจกรรม องคกร ธุรกิจ โดยเฉพาะอยางยิง่ ในยุคทีม่ กี ารแขงขันสูง อยางปจจุบนั Digital Transformation คือ สวนสําคัญในการสรางศักยภาพ ดานการแขงขันใหสามารถพัฒนาเปนไปตามความคาดหวังของกลุม เปาหมาย สงผลใหการดําเนินงานหรือธุรกิจตางๆ ประสบความสําเร็จ Digital Transformation จึ ง เกี่ ย วข อ งกั บ การใช เ ทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล เปนการสรางกระบวนการใหมใหมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากขึ้น ไมเพียงแตเปนการนําเทคโนโลยีเขาทําซํา้ บริการทีม่ อี ยูใ นรูปแบบดิจทิ ลั เทานัน้ แตเปนการใชเทคโนโลยีเพื่อเปลี่ยนแปลงบริการดังกลาวจาก “สิ่งที่มีอยู” ให เปน “สิ่งที่ดีกวาเดิม” แตเทคโนโลยีก็สามารถเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลา โดย หัวขอทีส่ ว นใหญมกั จะพูดถึงมากทีส่ ดุ ในตอนนีค้ งหนีไมพน เรือ่ งการนําปญญา ประดิษฐ AI (Artificial Intelligence) เขามาชวยในการ Digital Transformation
บทบาทของเนคเทคในการพัฒนา AI
ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (เนคเทค) ได รวบรวมผลงานพรอมใชที่พัฒนาอยูบนเทคโนโลยี AI มาใหบริการเพื่อใหคน ไทยไดเขาถึงในชื่อของ AI Service Platform เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ ดําเนินงาน (Operation) ใหดีขึ้น, ประหยัดมากขึ้น (Save Cost) ทรัพยากร
ที่ใชในการผลิตและบริการ (Resource) ตองใช นอยลง ภายใตแนวคิดที่รอยเรียงกันทั้ง 3 สวน คือ 1. IoT: Data Collection Through IoT เปนพื้นฐานโครงสราง (Infrastructure) ทํา หนาทีเ่ ก็บขอมูลมาเยอะๆ จากเซ็นเซอรของสิง่ ตางๆ ที่เราใชงาน เชน หลอดไฟ อุณหภูมิ ฝุน เปนตน 2. Big data: Capture, Storage, and Analysis of Data-IoT: Data Collection Through IoT จากแหล ง เก็ บ ข อ มู ล เดิ ม ๆ ซึ่ ง เก็ บ ข อ มู ล จํานวนมหาศาลไมพอ ก็จะมีเทคโนโลยีใหมเขามา ชวยเก็บและวิเคราะหขอมูลดวย แตเราจะไมหยุด เพียงเทานี้ ไมอยางนั้นความฉลาดจะไมเกิดขึ้น 3. AI: Data-based Learning พวก Deep Learning มาชวยใหเกิดขอมูล ขอมูลดิบจากการจัดเก็บ ถูกกรอง และจัดแบง ใหเปนระเบียบในเบื้องตนไดดวย AI แลวจึงใหคนมา ปรับแตงและตรวจสอบ กอนสงตอเขากระบวนการ เรียนรูเพื่อสรางเครื่องมือมาใหบริการ
*ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (เนคเทค)
31
Engineering Today September - October
2019
Concept การให บริการของซอฟต แวร
เดิมการใหบริการของซอฟตแวรแทนที่จะตองลงแผน เชน Microsoft Word, Adobe ในเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งมีขอดอยอยูมาก ทําใหบริษัทผลิต ซอฟตแวรตางๆ หันมาใหบริการในรูปแบบ Software as a Service (SaaS) หรือเรียกวา “On Demand Software” คือ รูปแบบการใหบริการซอฟตแวร ผานทางอินเทอรเน็ต Web Server คลายกับการเชาใช เพียงแคผูซื้อจายคา ซอฟตแวรตามลักษณะการใชงานทีต่ อ งการ (Pay-as-you-go) เชน ตามจํานวน
ผูใชและตามระยะเวลาที่ตองการใช เพียงเทานี้ ผู ซื้ อ ก็ ส ามารถเข า ใช ง านได ป จ จุ บั น ได เ ปลี่ ย น รูปแบบการใหบริการในลักษณะ Micro Service ซึ่งยอยลงไปอีก ทั้งนี้เทรนดที่กําลังเขามา คือการให บริการในรูปแบบ AIaaS (Artificial Intelligence as a Service) หรือเรียกวา การใหบริการซอฟตแวร ดวย Cloud AI
การสง Input ดวยภาษาหนึง่ แลว Output ออก มาเปนอีกภาษาหนึง่ เชน การสง Input เปนขอความ ภาษาไทยแลวแสดงผล Output เปนภาษาอังกฤษ หรือการสงรูปภาพเขาสูบริการ Micro Service ที่ เปนการนับใบหนา ระบบก็จะนับใบหนาวาในหองนี้ นัง่ กันอยูก คี่ น ซึง่ การใหบริการแบบ Micro Service นี้ กําลังที่เปนเทรนดที่ใหบริการกันอยู จากภาพจะเห็นวารายไดการเติบโตจาก AI มีลักษณะการเจริญเติบโตแบบทะยานสูงขึ้น เพราะ AI เปนสิ่งที่เกือบทุกบริษัทตองการใหมี เพื่อลด คาใชจาย เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน จึงเห็น แนวโนมวา AI มีการเจริญเติบโตเรื่อยๆ
Engineering Today September - October 2019
32
4 ยักษ ใหญ ในตลาด Cloud & AI
ที่เปนเชนนั้น เพราะเมื่อเคลมสถานะบริษัทวาเปน Startup ดาน AI จะไดรบั เงิน Funding เฉลีย่ แลวกวา 15% มากกวาบริษัทที่ไมมี AI สรุปแลวเทและ ไดเงินดวย จะเห็นวา AI ในโซนยุโรป อเมริกา มี การพั ฒ นาไปได ไ กลมาก แต ใ นความจริ ง แล ว ไม ส ามารถ Apply ได ม ากขนาดนั้ น เพราะยั ง ขาดทักษะและบุคลากร ทั้งนี้การ Apply นั้นจะตอง ดูความเหมาะสมดวย
The Valley of Death
ปจจุบันมี 4 บริษัทยักษใหญระดับโลกที่ใหบริการเกี่ยวกับ AI ไดแก Google Cloud, Microsoft Azure, Amazon, IBM Cloud ซึ่งเมื่อมีตรงนี้แลว บริษัทตางๆ ก็สามารถเขาไปใชงานได แตก็ไมสามารถ Plug and Play ได เชนกัน เชน กรณีมีขอมูลแลวอยากใหทํา AI ก็ไมสามารถทําได เพราะยังขาด ความรูเชิงลึกในสาย Computer Science คือ มีบริการใหใช แตถา Apply ผิด ก็ประยุกตใชไดไมถกู ซึง่ บุคคลทีท่ าํ หนาทีเ่ หลานี้ คือ Data Scientist บุคคล เหลานีจ้ ะตองมีทกั ษะรอบดาน Programming Database, Communication, Visualization Skill และความรูแบบเฉพาะทาง เชน Financial ความรูในทาง ที่ตองการจะนําไปประยุกตใชงานในดานอื่นๆ เมื่อเร็วๆ นี้ มีขาวดานไอทีวามีการสํารวจบริษัทตางๆ ในยุโรปกวา 2,830 บริษัท พบวากวา 40% ซึ่งเปนบริษัทดาน AI ไมไดใช AI at all หมายความวาไมไดใช AI เลย แตบริษัทเหลานั้นก็ยังเคลมวามี AI ในบริษัท
33
จากงานวิจัยในหอง Lab พัฒนาสูตนแบบ ฝาฟนจนมี Business Model เพือ่ ใหเกิดการซือ้ จาก คนที่ยอมจายเงิน การ Commercialization คือ สวนที่ตองใชเวลาเนื่องจากเทคโนโลยีตองสามารถ ตอบโจทย (Pain Point) วาเขาไปชวยใหชีวิตดีขึ้น ยังไงบาง เชน ทํางานใหงายและเร็วขึ้น เนคเทคใน ฐานะที่มีความเชี่ยวชาญดานการวิจัยและพัฒนา R&D จึงตัง้ บทบาทเปน Service และพัฒนา Module AI ใหดีที่สุด เพื่อใหผูใชไดมีโอกาสนําไปพัฒนา ตอยอดใหทั่วถึงทั้งระดับ SME หนวยงานภาครัฐ เอกชน รวมถึง Startup และเปดโอกาสใหองคกร ตางๆ ไดเปนผูด าํ เนินการแทน เพราะวาพวกตัวแทน จากบริษัทจะรูดีวา Pain Point ของบริษัทตนเอง อยูตรงไหน ตรงนี้สามารถตอบโจทยอะไรไดบาง
Engineering Today September - October
2019
จากกราฟนี้บอกไดวา AI Service Platform ที่เนคเทคพัฒนาจะ ตอบโจทยไดจนถึงสวนของ Technology Transfer โดยจะพัฒนาใหดที สี่ ดุ แลว ใหหนวยงานตางๆ ตอยอดและนําไปใชงาน
AINRG (Artificial Intelligence Research Group)
AI ในเนคเทคมีหนวยงานที่มีประสบการณกวา 20 ป ปจจุบันมีชื่อวา กลุม วิจยั ปญญาประดิษฐ AINRG (Artificial Intelligence Research Group) ซึ่งทําหนาที่วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีแพลตฟอรมทางดานปญญาประดิษฐ และการประมวลผลภาษาไทย เพื่ อ สนั บ สนุ น การใช ง านและต อ ยอดใน ภาคอุตสาหกรรมบริการภายในประเทศ สําหรับ Mission การทํา R&D ทางดาน AI and NLP เนคเทคมีความ เชี่ยวชาญพอสมควรจากประสบการณ 20 ป เพื่อใหเกิดการใชงาน AI ภายใน ประเทศไทย โดยหนาตาของ AI Service Platform มี 3 สวน 1. การประมวลผลภาษา เนคเทคมีความเชีย่ วชาญในภาษาไทย ไมวา จะเปนการตัดคํา การวิเคราะห ไวยากรณ (Grammar) การรูจําชื่อบุคคลชื่อสถานที่ การวิเคราะหคําเฉพาะ การแปลภาษา การวิเคราะหขั้วอารมณของขอความ โดยจะรวบรวมประยุกต สิง่ เหลานีใ้ หอยูใ นรูปแบบบริการ ทีม่ กี ารจัดการ Input ทีส่ ง เขามา และตอบกลับ เปน Output ที่เปนรูปแบบเดียวกัน
Engineering Today September - October 2019
34
2. Vision คือ การประมวลผลพวกรูปภาพ และวิดีโอ ด า นการประมวลผลรู ป ภาพของเนคเทค ทีมวิจัยและพัฒนามีความเชี่ยวชาญในดานตางๆ ดังตอไปนี้ • OCR ในมิติที่เฉพาะลงไป เชน สามารถ Customize กับปายจราจร ซึ่งเนคเทคจะพยายาม ทําในมุมที่ลึกลงไป • Object Recognition มีการใชงานจํานวน มาก โดยทางเนคเทคมีทีมนักวิจัยที่มีประสบการณ ทางดานนี้ เชน การถายภาพใบขาว แลว Identify วา มีโรคอะไรเกิดขึ้นบางในใบขาว และสามารถที่จะ Apply ความรูตรงนี้ไดเพื่อตอยอดตอไป • Face Analytics เปนสิ่งหนึ่งที่จําเปนตอง ทําเนื่องจากมี Data Privacy แมวาปจจุบันหลายๆ บริษัท ไมวาจะ 4 บริษัทยักษใหญที่ใหบริการดาน Cloud และ AI ตางก็มี หรือแมกระทั่งบริษัทมือถือ เจาใหญในประเทศจีนก็มีใช แตถาประเทศไทยเรา ไมมสี งิ่ นี้ ก็จาํ ตองนําเขาองคความรูน จี้ ากตางประเทศ
ดังนัน้ ใบหน้าของเราแทนทีจ่ ะทีอ่ ยูใ่ นหน้าหน่วยงานเรา ก็จะไปแสดงผลอยูใ่ น Cloud ส่วนไหนของโลกก็ไม่รู้ นี่คือเหตุผลว่าท�ำไมประเทศไทยถึงจ�ำเป็นต้อง มีและท�ำขึ้นมาก • Person & Active Analytics คือ การ Detect Activity เช่น การยก มือถือ วางของทิ้งไว้ หรือมีแอพพลิเคชันเชิงถ่ายวิดีโอ แล้วดูพฤติกรรมการ ใส่หมวกกันน็อค ใช้ในการ Detect เพื่อความปลอดภัยได้ ถ้าลองย้อนกลับไปดูเนคเทคมี Open Source ที่ค่อนข้างใช้งานได้ดี อยู่แล้ว เราเพียงวิจัยพัฒนาต่อยอดให้ดีขึ้นไปอีก ภายใต้คอนเซ็ปต์ที่ว่า “น�ำสิ่ง ที่มีอยู่แล้ว มาต่อยอดให้ดีขึ้น” 3. Conversation (การสนทนา) เนคเทคยังมีความช�ำนาญด้าน Speech to Text และ Text to Speech ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่พัฒนามาอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นความเชี่ยวชาญในการรู้จ�ำ และสร้างสัญญาณเสียงภาษาไทย แล้วแปลเป็นข้อความผ่าน Chatbot ให้เข้าใจ ว่าเป็น Intent Sentiment แล้วตอบโต้ออกมาเป็นเสียง
Strength & Differentiation
1. ความเชี่ยวชาญด้านการประมวลผลภาษาไทย 2. พร้อมแนะน�ำและให้ค�ำปรึกษา 3. สร้างโมเดลที่แตกต่างจากทั่วไป โดยสร้างการจ�ำลองโมเดลที่บ่งบอก ถึงลักษณะเฉพาะที่ เช่น ส่งภาพเข้าไปแล้วสามารถแสดงผลว่า นี่คือ ส้มต�ำ ผัดไทย รวมทั้งด้านวัฒนธรรม เช่น วัดวาอาราม สามารถถ่ายรูปพระแล้ว บอกได้ว่า นี่คือ ศาสนาพุทธ
Virtual Assistant : JibJib
ภายใน ‘JibJib’ ประกอบด้วยเทคโนโลยี 3 ตัวหลัก ของเทคโนโลยีหมวด Conversation อันได้แก่ Speech to text (Partii), Chatbot (Abdul) และ Text to speech (Vaja) ที่มีความสามารถในการฟังค�ำพูด/ค�ำสั่งภาษาไทย ประมวลผลค�ำตอบ และพูดตอบด้วยภาษาไทย
35
JibJib ถู ก น� ำ เสนอด้ ว ยลั ก ษณะของ 3D Avatar ที่เลียนแบบลักษณะคน โดยใส่ Character ความเป็นไทย โดยสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้เป็น Digital Reception ตามร้านต่างๆ หรืองาน Expo ส�ำหรับรองรับค�ำถามค�ำตอบที่ผู้ร่วมงานสงสัยได้ ในเบื้องต้น
Technology Roadmap
อนาคตเป็นสิ่งที่น่าจับตามองว่าวันนี้เนคเทค ได้ด�ำเนินการกับหลายภาคส่วน การสร้างพันธมิตร บ่มเพาะก่อเกิดเป็น Community ด้าน AI รวมทั้ง คาดหวังว่าหากประเทศไทยมี AI Service platform ที่สามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ทั้ง AI ด้านภาษา ด้าน การมองเห็น ด้านการสนทนา แล้วเนคเทคพร้อม ขยายผลและส่งเสริมการใช้งานอย่างแน่นอน ส�ำหรับแผนการพัฒนา AI Service Platform มีระยะเวลา 3 ปี ให้ตดิ ตามและเท่าทันต่อเทคโนโลยี ด้าน AI ที่ก�ำลังถูกพัฒนา และเปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเร็ว โดยในปีแรก (พ.ศ. 2563) โครงการจะเริ่ม พัฒนาแพลตฟอร์มด้วยการน�ำเทคโนโลยีดา้ นปัญญา ประดิ ษ ฐ์ ท่ี มี อ ยู ่ ใ นปั จ จุ บั น ของเนคเทคมาเริ่ ม ให้ บริการในรูปแบบ Web Service API ซึ่งจะท�ำให้ ระบบสามารถให้บริการใช้งาน Engine ต่างๆ ได้ ตามคุณสมบัติดังต่อไปนี้ Sentiment Analysis (S-Sense) สามารถจัดข้อความภาษาไทยลงกลุ่ม Sentiment ที่ก�ำหนดไว้ได้โดยใช้ Deep Learning, Machine Translation (Parsit) สามารถแปล ข้อความภาษาไทยในโดเมนการท่องเที่ยวให้เป็น ภาษาอังกฤษได้ Face Analytics สามารถระบุ ใบหน้ า คนในภาพได้ ถู ก ต้ อ งจากการฝึ ก ฝนจาก ใบหน้าคนไทยเพิม่ ขึน้ , Person & Activity Analytics สามารถตรวจจับและวิเคราะห์ส่วนของร่างกายคน ได้ Thai OCR (ArnThai) สามารถวิเคราะห์ตวั อักษร และโครงสร้างของเอกสารที่ได้จากภาพสแกนได้
Engineering Today September - October
2019
Object Detection สามารถตรวจจับยานยนต์จากภาพได้ Speech-to-Text (Partii) สามารถรู้และจ�ำค�ำพูดภาษาไทยได้โดยใช้ LSTM-based Neural Networks Text-to-Speech (Vaja) สามารถสร้างเสียงพูดภาษาไทยได้โดยใช้ Deep Neural Network และ Chatbot (ABDUL) สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ตาม Pattern ที่กำ� หนดไว้ได้ ในระหว่างการให้บริการแพลตฟอร์มจ�ำเป็นต้องพัฒนาโครงสร้างอย่าง ต่อเนื่องเพื่อให้เท่าทันเครื่องมือและเทคโนโลยีที่ห้องปฏิบัติการวิจัยต่างๆ จ�ำเป็นต้องใช้ รวมถึงรองรับการปรับแต่งเครือ่ งมือต่างๆ ให้สามารถท�ำงานตาม Application Program Interface (API) ที่อาจเปลี่ยนแปลงไปตามเทคโนโลยี ได้ โดยในปีที่ 2 และ 3 (พ.ศ. 2564-2565) AI Engine ต่างๆ จะมีความ สามารถเพิ่มขึ้น และพร้อมให้บริการตามแผนวิจัยและพัฒนา ดังนี้ • S-Sense ในปีที่ 2 สามารถวิเคราะห์ Intent ในข้อความภาษาไทยได้ ส่วนในปีที่ 3 สามารถวิเคราะห์ Emotion ของข้อความภาษาไทยได้ • Parsit ในปีที่ 2 สามารถแปลงข้อ ความภาษาไทยในโดเมนการ ท่องเที่ยวเป็นภาษาจีนได้ ส่วนในปีที่ 3 สามารถแปลงข้อความภาษาไทยใน โดเมนการท่องเที่ยวเป็นภาษาอาเซียนได้ • Face Analytics ในปีที่ 2 สามารถวิเคราะห์อารมณ์ของคนจากภาพ ได้ ส่วนในปีที่ 3 สามารถรู้และจ�ำหน้าของคนไทยได้แม่นย�ำยิ่งขึ้น • Person & Activity Analytics ในปีที่ 2 สามารถวิเคราะห์องค์ประกอบ ของภาพได้ดียิ่งขึ้น และสามารถแยกเพศของคนได้ ส่วนในปีท่ี 3 สามารถ บ่งบอกประเภทของกิจกรรมของบุคคลในภาพได้
Engineering Today September - October 2019
36
• ArnThai ในปีที่ 2 สามารถวิเคราะห์ ตัวอักษรที่ใช้ Font ต่างๆ และวิเคราะห์ตารางจาก เอกสารทีไ่ ด้จากภาพสแกนได้ ส่วนในปีที่ 3 สามารถ วิ เ คราะห์ ตั ว อั ก ษรจากเอกสารที่ ไ ด้ จ ากกล้ อ ง ดิจิทัลได้ • Object Detection ในปีที่ 2 สามารถใช้ Deep Learning มาวิเคราะห์วัตถุในภาพทางการ เกษตรได้ ส่วนในปีที่ 3 สามารถเรียกใช้เครื่องมือ บน Embedded System ได้โดยเน้นการวิเคราะห์ ภาพอาหารไทย และโดเมนการท่องเที่ยว • Partii ในปีที่ 2 สามารถรู้และจ�ำเสียงพูด แม้มีเสียงรบกวนได้ ส่วนในปีที่ 3 สามารถแปลง สัญญาณเสียงพูดเป็นอักขระภาษาไทยได้โดยตรง • Vaja ในปีที่ 2 สามารถให้บริการสร้างเสียง พูดภาษาไทยตามน�้ำเสียงที่กำ� หนดได้ ส่วนในปีที่ 3 สามารถให้ บ ริ ก ารสร้ า งเสี ย งพู ด ภาษาไทยตาม ส�ำเนียงท้องถิ่นที่กำ� หนดได้ • Chatbot ในปีที่ 2 สามารถโต้ตอบได้ตาม บทสนทนาที่กำ� หนด ส่วนในปีที่ 3 สามารถตอบโต้ บทสนทนาได้โดยอัตโนมัติ
Smart City • กองบรรณาธิการ
“ออริจิ้น” รุกระยอง จัดตั้ง “Origin Smart City Rayong” เมืองอัจฉริยะหมื่นล้านบาทใจกลาง EEC “ออริจิ้น” เดินแผนรองรับการลงทุน 1.5 ล้านล้านบาทใน EEC เล็งจัดตั้ง “Origin Smart City Rayong” เมกะโปรเจ็กต์มิกซ์ยูสหมื่น ล้านบาท บุกใจกลาง New CBD ระยอง บนที่ดินกว่า 25 ไร่ สร้าง เมืองอัจฉริยะและไลฟ์สไตล์ฮับครบวงจร คอนโดฯ-คอมมูนิตี้มอลล์รีเทล-โรงแรม-เซอร์วิสอพาร์ตเมนท์-เซอร์วิสออฟฟิศ ชูคอนเซ็ปต์ Beyond a Living Platform ยกระดับการอยูอ่ าศัยด้วย Smart Tech, Smart Eco และ Smart Community ตอบโจทย์การใช้ชวี ติ แห่งอนาคต มั่นใจกระแสตอบรับดี หลังประสบความส�ำเร็จจากมิกซ์ยูสที่ศรีราชาแหลมฉบัง เตรียมเปิดแผนพัฒนาเฟสแรกในระยองกันยายนนี้ พีระพงศ์ จรูญเอก ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ออริจิ้น ั นาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ORI ผูพ้ ฒ ครบวงจร เปิดเผยว่า จากกรอบการลงทุนในระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก (EEC) ของภาครัฐและเอกชนระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564) ท�ำให้พื้นที่ 3 จังหวัดใน EEC ทั้งระยอง ชลบุรี และฉะเชิงเทรา มีการ เติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยจะมีเมกะโปรเจ็กต์ด้านต่างๆ เกิดขึ้นอย่าง ครบถ้วน เชื่อมโยงการคมนาคมทั้งทางบก ผ่านรถไฟความเร็วสูง
ทางอากาศผ่านสนามบินอู่ตะเภา และทางน�้ำผ่านท่าเรือ น�ำ้ ลึกมาบตาพุด ส่งผลให้พนื้ ทีภ่ ายใน EEC มีศกั ยภาพจะ ก้าวสู่การเป็นย่านใจกลางธุรกิจแห่งใหม่ (New CBD) อีก แห่งหนึ่งของไทย “ที่ผ่านมา เราอาจคุ้นเคยว่า CBD และ New CBD ต้ อ งอยู ่ ใ นกรุ ง เทพฯ แต่ ด ้ ว ยการลงทุ น เมกะโปรเจ็ กต์ โครงสร้ า งพื้ น ฐานใน EEC จะท� ำ ให้ มี เ ม็ ด เงิ น สะพั ด มหาศาล มีการจ้างงานในพื้นที่เพิ่มขึ้นกว่า 1 แสนอัตรา มีนักท่องเที่ยวเข้ามาปีละกว่า 10 ล้านคน หลายพื้นที่ ใน EEC เองจึงมีศักยภาพจะก้าวสู่การเป็น New CBD ได้ เช่นกัน” พีระพงศ์ กล่าว ทั้งนี้ ระยองถือเป็นจังหวัดที่มีศักยภาพมากและ โดดเด่นใน EEC เนื่องจากปัจจุบันมีประชากรในพื้นที่และ ประชากรแฝงอาศัยอยู่รวมกันมากถึงกว่า 1 ล้านคน มี รายได้เฉลี่ยต่อหัวสูงเป็นระดับท็อปของประเทศ พนักงาน บริษัทที่ย้ายจากกรุงเทพฯ เข้าไปท�ำงาน มีเงินเดือนเฉลี่ย เริ่มต้นที่ประมาณ 50,000 บาท ภาพรวมของจังหวัด จึงถือว่ามีผู้บริโภคที่มีก�ำลังซื้อสูงจ�ำนวนมาก เมื่อมีการ ลงทุนทีเ่ กีย่ วข้องกับ EEC อย่างต่อเนือ่ ง จะยิง่ เพิม่ ทัง้ ความ ต้องการที่อยู่อาศัยและแหล่งไลฟ์สไตล์คุณภาพในพื้นที่
อรุช ช่างทอง กรรมการผู้จัดการ กลุ่มธุรกิจใน EEC บริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน)
37
Engineering Today September - October
2019
พีระพงศ์ กล่าวว่า ด้วยเป้าหมายรองรับการลงทุนและเพิ่ม ศักยภาพการเติบโตดังกล่าว บริษัทฯ จึงได้กว้านซื้อที่ดินหลายแปลง บริเวณหัวมุมแยกเนินส�ำลี อ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง ติดถนนสุขุมวิท ซึ่งถือเป็นพื้นที่ “ไข่แดง” ของระยอง จนสามารถรวมกันเป็นที่ดิน ผืนเดียวกว่า 24 ไร่ และเป็นที่ดินเอกชนแปลงใหญ่ที่สุดในจังหวัด เพื่อ พัฒนาพื้นที่ดังกล่าวให้กลายเป็นทั้ง New CBD เมืองอัจฉริยะ และ ไลฟ์สไตล์ฮับครบวงจร ที่ประกอบด้วยทั้งคอนโดมิเนียมที่สูงที่สุดใน ระยอง คอมมูนิตี้มอลล์ โรงแรม เซอร์วิสอพาร์ทเมนท์ และเซอร์วิส ออฟฟิศในพื้นที่เดียว ภายใต้ชื่อโครงการ “ออริจิ้น สมาร์ท ซิตี้ ระยอง” (Origin Smart City Rayong) คาดว่าจะมีมูลค่าโครงการรวมไม่น้อย กว่า 10,000 ล้านบาท ต่อยอดกลยุทธ์ Blue Ocean ของบริษัทฯ ที่ให้ ความส�ำคัญกับการลงทุนในท�ำเลศักยภาพทีย่ งั มีการแข่งขันไม่สงู มากนัก “Origin Smart City Rayong จะพัฒนาขึ้นภายใต้คอนเซ็ปต์ Beyond a Living Platform ยกระดับการอยู่อาศัยและการใช้ชีวิต ของคนในพื้นที่ ด้วยแพลตฟอร์มการอยู่อาศัยที่ท�ำให้สามารถจัดการ ใช้ชีวิตได้อย่างอัจฉริยะ น�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้ามาอ�ำนวยความ สะดวกในหลากมิตขิ องการใช้ชวี ติ สร้างอาณาจักรมิกซ์ยสู ยกระดับพืน้ ที่ ให้กลายเป็น New CBD ของระยอง พร้อมทั้งเป็นเมืองต้นแบบสังคม แห่งพลังงานทดแทน” พีระพงศ์ กล่าว ด้าน อรุช ช่างทอง กรรมการผู้จัดการ กลุ่มธุรกิจใน EEC บริษัท ออริจิ้น พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า คอนเซ็ปต์ Beyond a Living Platform ของ Origin Smart City Rayong ประกอบด้วย 3 แกน หลัก ได้แก่ 1) Smart Tech น�ำเรื่อง Internet of Things มา “ทรานส์ ฟอร์ม” ชีวิต สู่การอยู่อาศัยแห่งอนาคต ทั้งเรื่อง Home Automation ให้สามารถควบคุมสิ่งต่างๆ ภายในที่อยู่อาศัยด้วยปลายนิ้วสัมผัส หรือ Intelligent Facility พืน้ ทีส่ ว่ นกลางอัจฉริยะ เช่น ระบบ Smart Security, VR Fitness, Smart Locker, Smart Screen (กระจกอัจฉริยะ)
Engineering Today September - October 2019
38
2) Smart Eco ใส่ใจระบบการจัดการพลังงาน (Energy Management System) สร้างคุณภาพชีวิตที่ดี ต่อผู้อยู่อาศัย และเกิดประโยชน์สูงสุดจากการใช้พลังงาน อย่างคุ้มค่า ด้วยเทคโนโลยีต่างๆ อาทิ Solar Cell น�ำ พลังงานสะอาดอย่างพลังงานไฟฟ้าแสงอาทิตย์มาช่วย ประหยั ด ค่ า ไฟฟ้ า ในพื้ น ที่ ส ่ ว นกลาง Smart Shelter สเตชั่นอัจฉริยะจากพลังงานแสงอาทิตย์ ติดตั้ง Smart Screen ให้เช็คค่าสภาพอากาศ พร้อมทั้งมีจุด Bike Sharing มีจุด EV Charger ส�ำหรับชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า 3) Smart Community ภายในโครงการมิกซ์ยูส ประกอบด้วยพืน้ ทีส่ ำ� หรับคอมมูนติ ี้ พร้อมมอบบริการครบ วงจร เหมาะกับการเป็นไลฟ์สไตล์ฮับของพื้นที่ พร้อม ผลักดันให้เกิดอีโคซิสเท็มในรูปแบบ Cashless Society โดยจะมีบริการต่างๆ ให้สามารถจ่ายได้ผ่าน e-Payment และ QR Code Payment “ทีผ่ า่ นมา บริษทั ฯ ได้รบั การตอบรับเป็นอย่างดีจาก การพัฒนาโครงการออริจนิ้ ซิตี้ แหลมฉบัง-ศรีราชา ให้เป็น แลนด์มาร์คใหม่ใน จ.ชลบุรี และกลายเป็นอีกหนึง่ โครงการ ขนาดใหญ่ในพื้นที่ EEC จึงมั่นใจว่า Origin Smart City Rayong ภายใต้คอนเซ็ปต์ Beyond a Living Platform จะได้รับการตอบรับที่ดี และกลายเป็นเมืองอัจฉริยะที่ยก ระดับการใช้ชีวิตของคนในพื้นที่” อรุช กล่าว อย่ า งไรก็ ต าม บริ ษั ท ฯ ยั ง อยู ่ ร ะหว่ า งจั ด ท� ำ โรดแมปการพัฒนาโครงการ Origin Smart City Rayong ให้สมบูรณ์ โดยคาดว่าจะจัดท�ำแล้วเสร็จ และสามารถ เปิ ด เผยแผนการพั ฒ นาพื้ น ที่ ใ นเฟสแรกได้ ใ นเดื อ น กันยายนนี้
Smart business • กองบรรณาธิการ
ยูโอบี จับมือ เดอะ ฟินแล็บ
จัดโครงการ Smart Business Transformation ครั้งแรกในไทย เลือกเฟ้น 15 SME ไทย พัฒนาสู่ธุรกิจดิจิทัล
ธนาคารยูโอบี (ประเทศไทย) และเดอะ ฟินแล็บ โชว์ผลงาน การขับเคลื่อนธุรกิจสู่ดิจิทัลของ SME ไทย 15 บริษัท ในโครงการ Smart Business Transformation ซึ่งจัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ภายใต้การสนับสนุนจากองค์กรพันธมิตร ได้แก่ ส�ำนักงานส่งเสริม เศรษฐกิจดิจทิ ลั (depa) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) และส�ำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม (สสว.) ภายใต้โครงการดังกล่าว SME ที่เข้าร่วมโครงการจะได้รับการ ชี้ แ นะจากผู ้ เ ชี่ ยวชาญด้านธุร กิจ และเทคโนโลยีทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ พร้อมทบทวนรูปแบบธุรกิจของตนเอง วิเคราะห์หาโอกาส เพื่อพัฒนาและก�ำหนดแผนยุทธศาสตร์ในการเปลี่ยนผ่านสู่ความเป็น ดิจิทัลในระยะยาว รวมถึงประเมินและประยุกต์ใช้โซลูชั่นน�ำร่องที่ เดอะ ฟินแล็บคัดสรรมาจากกว่า 350 แอพพลิเคชั่น โครงการ Smart Business Transformation เป็นโครงการ ที่ธนาคารยูโอบีตั้งใจและมุ่งมั่นที่จะช่วยติดอาวุธและทักษะ SME ไทย ให้สามารถเติบโตได้ในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล และยังตระหนักถึงบทบาท หลั ก ของธนาคารยู โ อบี ที่ จ ะต้ อ งด� ำเนิ น การให้ ส อดรั บ กั บ นโยบาย Thailand 4.0 ซึ่งมีเป้าหมายที่จะช่วยให้ SME ไทยน�ำนวัตกรรมดิจิทัล มาประยุกต์ ใช้พฒ ั นาธุรกิจและสร้างเครือข่ายในการขยายธุรกิจทัง้ ในและ ต่างประเทศ
39
ปิยพร รัตน์ประสาทพร ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่พาณิชย์ธุรกิจ ธนาคารยูโอบี (ประเทศไทย)
ปิยพร รัตน์ประสาทพร ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ใหญ่พาณิชย์ธุรกิจ ธนาคารยูโอบี (ประเทศไทย) กล่าวว่า ธนาคารยูโอบี มี Innovation Hub ซึ่งมีนวัตกรรมและ เทคโนโลยีที่จะเสนอแนะโซลูชั่นต่อ SME พร้อมทั้งให้ ค�ำปรึกษาทางการเงินแก่ SME หากต้องการขยายธุรกิจไป ต่างประเทศ โดยมี FDI (Foreign Direct Investment) ซึ่ง มีเครือข่ายระดับโลก ใน 19 ประเทศและเขตการปกครอง ทั้งในเอเชียแปซิฟิก ยุโรป และอเมริกาเหนือที่ช่วยเหลือ SME ได้
Engineering Today September - October
2019
วิศัลย์ วนะศักดิ์ศรีสกุล (ขวา) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท วอริกซ์ สปอร์ต จ�ำกัด
เฟลิกซ์ ตัน หัวหน้ากลุ่มงานร่วม เดอะ ฟินแล็บ
เฟลิกซ์ ตัน หัวหน้ากลุ่มงานร่วม เดอะ ฟินแล็บ กล่าวว่า เหตุผลส�ำคัญทีเ่ ลือกท�ำโครงการ Smart Business Transformation ในประเทศไทย เนื่องจากประเทศไทย มีศักยภาพ อีกทั้งรัฐบาลมีเป้าหมายให้ประเทศขับเคลื่อน สู่นโยบาย Thailand 4.0 ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการ SME สามารถเพิ่มผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศจาก 36% ในปี พ.ศ. 2561 ได้ถงึ 50% ภายในปี พ.ศ. 2568 สิงคโปร์ จึงเห็นไทยเป็นศูนย์กลางทางนวัตกรรมของสิงคโปร์ การที่จะพลิกโฉมธุรกิจสู่ดิจิทัลได้ ผู้ประกอบการ SME ไทยจะต้องมีคุณสมบัติสำ� คัญ 3 ประการ คือ 1) เปิด ใจรับการเปลีย่ นแปลง 2) มีศกั ยภาพ และ 3) มีความตัง้ ใจ ที่จะท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น ซึ่ง SME ที่เข้าร่วม โครงการจะได้รับประโยชน์ คือ ธุรกิจเติบโตขึ้น การเข้าสู่ ตลาดใหม่ และค้นพบความต้องการใหม่ๆ ตลอดจนสร้าง เครือข่าย เรียนรู้จากผู้ที่ทำ� ธุรกิจแวดวงเดียวกัน SME สามารถเลื อ กใช้ โ ซลู ชั่ น เพื่ อจั ด การความ ท้าทายต่างๆ ที่ประสบปัญหาอยู่ เช่น วิธีการวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงลึกเพือ่ รูใ้ จลูกค้ามากขึน้ การท�ำตลาดโดยใช้ดจิ ทิ ลั ช่วยในการเข้าถึงลูกค้า เพิ่มยอดขาย และสร้างวิธีการ ปรั บ ปรุ ง ประสิ ทธิภาพผ่านการปรับกระบวนการธุร กิจ ซึง่ สอดคล้องกับผลการส�ำรวจทีท่ างเดอะ ฟินแล็บได้จดั ท�ำ
Engineering Today September - October 2019
ไปก่อนหน้านี้และพบว่า SME ในประเทศไทยระบุว่ากลยุทธ์เพื่อสร้าง การเติบโต 2 อันดับแรก คือ การรุกตลาดใหม่ 54% และการใช้การ ตลาดระบบดิจิทัลเพื่อเพิ่มยอดขาย 51% “ผู้ประกอบการ SME 15 บริษัทที่เข้าร่วมโครงการ Smart Business Transformation มุง่ มัน่ ทีจ่ ะขับเคลือ่ นและเปลีย่ นแปลงธุรกิจ ทั้งยังเปิดกว้างต่อแนวคิด และโซลูชั่นใหม่ๆ ซึ่งจากความรู้และแนวทาง ปฏิบตั ทิ ไี่ ด้รบั ไม่เพียงแต่จะสามารถต่อยอดการปรับเปลีย่ นธุรกิจเท่านัน้ แต่ยังสามารถสร้างจุดยืนที่แข็งแกร่งพร้อมรับมือต่อความท้าทายใน อนาคต นับว่าเป็นสัญญาณทีด่ ตี อ่ เศรษฐกิจและทิศทางธุรกิจ SME ของ ประเทศไทย” เฟลิกซ์ กล่าว
2 ตัวอย่าง SME ที่ประสบความส�ำเร็จ จากการเข้าร่วมโครงการ Smart Business Transformation ในบรรดาผูป้ ระกอบการ SME 15 บริษทั ทีเ่ ข้าร่วมโครงการ Smart Business Transformation มี 2 บริษทั ทีป่ ระสบความส�ำเร็จและต้องการ แชร์ประสบการณ์ในการปรับเปลี่ยนธุรกิจสู่ระบบดิจิทัล เพื่อประโยชน์ ส�ำหรับ SME ไทย เริ่มจาก บริษัท วอริกซ์ สปอร์ต จ�ำกัด แบรนด์ ผูค้ า้ ส่งและค้าปลีกเครือ่ งแต่งกายกีฬาชือ่ ดัง และเป็นเจ้าของลิขสิทธิผ์ ลิต ชุดแข่งขันฟุตบอลทีมชาติไทยและเมียนมา ด�ำเนินธุรกิจ 5 ปี เป็นอีก หนึ่ง SME ที่ประสบความส�ำเร็จในการเข้าร่วมโครงการ โดยวอริกซ์ได้ ท�ำงานกับ Boostorder ผู้ให้บริการโซลูชั่นอีคอมเมิร์ซจากประเทศ มาเลเชีย เป็นผู้พัฒนาระบบงานขายผ่านช่องทางออนไลน์ วิศลั ย์ วนะศักดิศ์ รีสกุล ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั วอริกซ์ สปอร์ต จ�ำกัด กล่าวว่า บริษทั ฯ เพิง่ เริม่ ต้นทีจ่ ะศึกษาและน�ำเทคโนโลยี Digital Marketing มาใช้เป็นเครื่องมือส�ำคัญการขาย สิ่งที่ได้คือ ข้อมูล ที่อัพเดท ซึ่งสามารถน�ำเทคโนโลยีใหม่ๆ ในเชิงดิจิทัลมาเพิ่มยอดขาย โดยใช้เงินลงทุนด้านเทคโนโลยี 25 ล้านบาท ท�ำ Data Mining ซอฟต์แวร์ และ Digital Infrastructure ให้ลกู ค้า ซึง่ ช่วยให้ประสิทธิภาพ การท�ำงานดีขึ้น การจัดการสต็อกดีขึ้น และยอดขายดีขึ้น ส่งผลให้ก�ำไร เพิ่มขึ้น
40
ชนกพร ศิรนานนท์ ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท เอ็ม.ซี.ซี. อินดัสเทรียล นิว 1999 จ�ำกัด
โดยฟินแล็บได้แนะน�ำ Boostorder ผู้พัฒนาโซลูชั่น ในการปรับกระบวนการหลักและช่องทางการจัดจ�ำหน่าย ให้เป็นดิจิทัล ซึ่งด�ำเนินธุรกิจนี้เกิน 3 ปี น�ำเทคโนโลยี SaaS (Software-as-a-service) ซอฟต์แวร์ส�ำหรับธุรกิจ แบบ B2B และ e-commerce ที่ครอบคลุมหลายช่องทาง โดยแบรนด์และผู้จัดจ�ำหน่ายสินค้าสามารถน�ำไปใช้เพื่อ เพิ่มยอดขายออนไลน์ พร้ อ มท� ำ งานร่ ว มกั บ วอริ ก ซ์ ใ นการพั ฒนาอิ น เต อร์เฟซแบบ Front-facing ซึ่งจะช่วยให้วอริกซ์สามารถ จัดการกับพนักงาน เจ้าหน้าทีข่ าย และผูเ้ กีย่ วข้องคนส�ำคัญ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่สูงขึ้น ด้วยโซลูชั่น ของ Boostorder วอริกซ์ยังสามารถเก็บรวบรวมข้อมูล ลูกค้าจากจุดทัชพอยท์รวมถึงตลาดทีเ่ กีย่ วข้องกับผลิตภัณฑ์ ต่างๆ ท่ามกลางลูกค้าที่แตกต่างกันออกไปได้ ขณะนี้บริษัทฯ อยู่ระหว่างการพัฒนาแพลตฟอร์ม แบบธุรกิจสู่ธุรกิจสู่ผู้บริโภค (B2B2C) ส�ำหรับบรรดาผู้จัด จ�ำหน่ายในการขายผลิตภัณฑ์และเปลี่ยนแปลงระบบการ บริหารจัดการให้แก่ผคู้ า้ ปลีก เพือ่ เป็นอาวุธในการรับมือยุค Disrupt Technology เพื่อ หาลูกค้า โดยตรง (Direct Customer) ปัจจุบนั บริษทั ฯ มียอดขาย 700-800 ล้านบาท ทั้งนี้คาดว่าแพลตฟอร์มแบบ B2B2C ท�ำให้ยอดขาย
ต่างประเทศ เช่น ในอินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ มียอดขายเพิ่มขึ้น มากกว่าไทยหลายเท่า จากเดิมซึ่งน้อยมาก นอกจากนี้วอริกซ์ยังใช้โซลูชั่นด้าน e-commerce ของแอนชันโต ให้ธรุ กิจสามารถบริหารกิจกรรมทางการขายบนหลากหลายช่องทาง โดย แอนชันโต จะท�ำงานร่วมกับวอริกซ์ในการพัฒนาโซลูชั่นที่ช่วยให้วอริกซ์ สามารถบริหารจัดการยอดขายออนไลน์ทั้งหมดบนแพลตฟอร์มเดียว ซึง่ จะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพและลดข้อผิดพลาดจากกิจกรรมการขายของ วอริกซ์ลง เพื่อบรรลุเป้าหมายการเติบโตของยอดขายออนไลน์ 15% ภายในสิ้นปีนี้ “โครงการ Smart Business Transformation ช่วยให้บริษัทฯ พัฒนาโครงสร้างการบริหารและปรับขนาดธุรกิจ ได้เรียนรู้ความส�ำคัญ ของการสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่งซึ่งถือเป็นหัวใจส�ำคัญต่อการด�ำเนิน ธุรกิจให้โตอย่างมั่นคงและยั่งยืน” วิศัลย์ กล่าว ส่วนบริษทั เอ็ม.ซี.ซี. อินดัสเทรียล นิว 1999 จ�ำกัด (เอ็ม.ซี.ซี. 4x4 แอคเซสซอรี่) บริษัทยานยนต์ที่เชี่ยวชาญด้านการผลิตอุปกรณ์ประดับ ยนต์ ส�ำหรับรถยนต์ออฟโรดขับเคลื่อน 4 ล้อ โดยเน้นส่งออกสินค้าไป ยังต่างประเทศ อาทิ ออสเตรเลีย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ สูงถึง 90% จึงต้องมี Trade Solution โดยปัจจุบันได้เปิดศูนย์กระจายสินค้าที่ ออสเตรเลีย ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ ได้วางแผนใช้เทคโนโลยีเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ การด�ำเนินธุรกิจ และรวบรวมองค์ความรู้ทางธุรกิจตลอดหลายปีที่ ผ่านมาเพื่อสร้างความยั่งยืนในการด�ำเนินงาน ชนกพร ศิรนานนท์ ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท เอ็ม.ซี.ซี. อินดัสเทรียล นิว 1999 จ�ำกัด ผู้บริหารเจนเนอเรชั่นที่ 2 กล่าวว่า ข้ อ มู ล มี ค วามส� ำ คั ญ มากในการวิ เ คราะห์ ฐ านลู ก ค้ า จึ ง น� ำ โชลู ชั่ น Workforce ซึ่งพัฒนาโดยบริษัทไทย มาใช้ด้านการบริหารทรัพยากร บุคคล เพือ่ ให้เข้าใจ Framework ในการท�ำงานว่าจะต้องใช้ Technology Solution ใดที่บ้างจะตอบโจทย์ Pain Point ของธุรกิจได้ จากการ เข้าร่วมโครงการ 3 เดือนที่ผ่านมา โครงการฯ สามารถตอบโจทย์ มีการ เก็บข้อมูลในการส่งสินค้าให้ลูกค้า พร้อมทั้งพัฒนากระบวนการให้ มีประสิทธิภาพ และมีแนวคิดทีจ่ ะพัฒนาแพลตฟอร์มช่วยลดขัน้ ตอนการ ท�ำงานจาก 1 ถึง 10 เหลือเพียง 1 ถึง 5 ท�ำให้ส่งสินค้าได้ Delivery และเร็ ว ขึ้ น นอกจากนี้ ยั ง ได้ รั บ ทั ก ษะการจั ด การการเปลี่ ย นแปลง (Change Management) และสามารถน�ำโซลูชนั่ ทางดิจทิ ลั ไปใช้ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ “โครงการ Smart Business Transformation ช่วยให้เราสามารถ ขับเคลื่อนความต่อเนื่องและการเปลี่ยนแปลงได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งส�ำคัญมาก ส�ำหรับเราในฐานะธุรกิจครอบครัวที่ต้องการขยายธุรกิจในยุคเศรษฐกิจ ดิจทิ ลั ตอนนีเ้ รามีความมัน่ ใจมากขึน้ ทีจ่ ะผลักดันการเปลีย่ นผ่านสูด่ จิ ทิ ลั และได้เริ่มน�ำโซลูชั่นมาใช้ในการท�ำงานกับบริษัทคู่ค้าต่างๆ ช่วยเพิ่ม ความคล่องตัวในการด�ำเนินงานได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ มากขึ้น” ชนกพร กล่าว
41
Engineering Today September - October
2019
บทความ • *รศ. ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ์
Digital Urban Architecture: Case of Tallinn-Estonia
“The Capital Digital City” สถาปัตยกรรมผังเมืองดิจิทัล กรณีศึกษา: ทาลลินน์-เอสโตเนีย “เมืองหลวงดิจิทัล” HEART OF -
Urban Design - is - INNOVATION Urban Planning EFFICIENCY Urban Logistics BENEFIT Urban Digital MODERN หัวใจเมืองทางวิชาการเหล่านี้ คือ นวัตกรรม ประสิทธิภาพ ผลประโยชน์ ล�้ำสมัย ในฐานะสถาปนิกผังเมืองที่พยายามตระเวนไปเมืองต่างๆ ทั่วโลก เพื่อ น� ำ ประสบการณ์และความรู้ที่ได้รับจากสภาพจริง มาสอนนิสิตนักศึกษา สถาปนิกผังเมืองของประเทศไทย ให้ทันสมัยไปกับสถานการณ์ต่างๆ ของโลก และเพราะสถาปนิกผังเมืองคือ “ศิลปินผู้ออกแบบสร้างสรรค์เมือง” แต่เมือง ที่จะเสนอในบทความนี้ “ทาลลินน์ Tallinn” ประเทศเอสโตเนีย เมืองที่มี มนต์ขลังที่เข้าไปค้นคว้าและสัมผัสอยู่นานพอสมควร และได้ค้นพบความเป็น เมืองดิจิทัลที่ทันสมัยในเมืองเก่าที่งดงามแห่งนี้ คุณเคยไปเที่ยวเมืองในยุโรปตะวันออกไหมครับ โดยเฉพาะเมืองใน เครือสหภาพโซเวียตที่ประกาศอิสรภาพหลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต เมืองเหล่านี้มักเป็นเมืองเก่าที่สวยงามมากและมีวัฒนธรรมในระดับมรดกโลก ทั้งนั้น แม้แต่เมืองปราค สาธารณรัฐเช็ก เมืองในยุโรปตะวันออกแห่งหนึ่งที่ได้ ฉายาว่า “Mother of All Europe Cities” ด้วยความงดงามเป็นแหล่งท่องเที่ยว ยอดนิยม “ตัวแม่” ของบรรดาทัวร์ของประเทศไทยด้วย บทความนีม้ ไิ ด้ประสงค์ จะพาไปท่องเที่ยวเมืองเก่าเหล่านี้ แต่ในฐานะสถาปนิกผังเมือง อยากน�ำท่าน ผู้อ่านพบกับเมืองโบราณแห่งทะเลบอลติก เมืองทาลลินน์ ประเทศเอสโตเนีย ที่ควรจะเป็นต้นแบบตัวอย่างการพัฒนาแบบทันสมัยของกรุงเทพมหานคร 2020 ท่านอ่านไม่ผิดหรอกครับ เมืองอะไรนะ ไม่รู้จัก แล้วจะเป็นต้นแบบให้ กรุงเทพมหานครของเราได้อย่างไร เมืองทาลลินน์ ประเทศเอสโตเนียนี้ ได้ชื่อว่าเป็นเมืองของประเทศ ที่พัฒนารวดเร็วที่สุด อันดับที่ 3 ของโลก (1-เกาหลีใต้, 2-ญี่ปุ่น 3-เอสโตเนีย, *ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Engineering Today September - October 2019
42
4-จีน, 5-สิงคโปร์) และเป็นเมืองดิจิทัลซิตี้ที่ดีที่สุด ของยุโรปตะวันออก แม้แต่ Skype Application ก็มีจุดก�ำเนิด มาจากชาวเมืองนี้ด้วย (First released in August 2003, Skype was created by the Swede Niklas Zennström and the Dane Janus Friis, in cooperation with Ahti Heinla, Priit Kasesalu, and Jaan Tallinn, Estonians who developed the backend that was also used in the music-sharing application Kazaa.) ประเทศเอสโตเนียใช้ระยะเวลา 30 ปี ของ การปลดแอกจากสหภาพโซเวียตเป็นเอกราชใน ปี ค.ศ. 1991 กลายเป็นประเทศดิจิทัลด้วยความ ช่วยเหลือจากเยอรมนีและรัสเซีย มีการให้บริการฟรี WiFi ทัง้ เมือง Everything Online ประชาชนสามารถ เข้ า ถึ ง ระบบดิ จิ ทั ล ด้ ว ยบั ต รประจ� ำ ตั ว ประชาชน ใบเดียว ประชากรประกอบด้วยเชื้อชาติ Russia 29%, Estonia 60% ที่ เ หลื อ เป็ น เชื้ อ ชาติ อื่ น ประเทศเอสโตเนียเข้าเป็นประเทศดิจิทัลตั้งแต่ปี ค.ศ. 1994 (Enter e-Estonia 1994) และมีเคร์สติ คัลยูไลด์ (Kersti Kaljulaid) เป็นประธานาธิบดีคน ปัจจุบัน เป็นประธานาธิบดีหญิงคนแรกและอายุ น้ อ ยที่ สุ ด ในประวั ติ ศ าสตร์ ก ารเมื อ งเอสโตเนี ย (เข้ารับต�ำแหน่งเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 2016 เมื่ออายุ 46 ปี)
>> รูปแบบผังเมืองและการใช้ชีวิตแบบดิจิทัล Urban Digital and Digital Life (InterNations, Richard J. Witismann, 26 กรกฎาคม ค.ศ. 2018) ระบบการเมือง: สาธารณรัฐ เมืองหลวง: ทาลลินน์ พื้นที่ทั้งหมด: 45,000 km.² ประชากร: 1.3 ล้านคน • เด็ก-ผูใ้ หญ่ Online 81% ของประชากรทัง้ หมดใช้อนิ เทอร์เน็ตเป็นประจ�ำ • บริษทั ประเภท Startup ในเอสโตเนียคือการเริม่ ต้น เอสโตเนียมีจำ� นวน Startup ต่อหัวมากที่สุดในโลก • มีระบบ X-road and Blockchain เพื่อความปลอดภัย Government+Private Sector • ในการเลือกตั้ง Online QR Code ประจ�ำตัว เลือกแล้วเปลี่ยน เลือก แล้วเปลี่ยนได้ จนนับอันสุดท้าย • เพือ่ แก้ปญ ั หาการซือ้ เสียง รวมทัง้ มีระบบ e-ID, e-Business, e-Health, e-Education, e-Registry and Startup etc.
>> รายละเอียดของการใช้ชวี ติ ดิจทิ ลั โดยมีกระทรวง เศรษฐกิจและการสือ่ สารของเมืองทาลลินน์-เอสโตเนีย ได้เสร็จสิ้นการเก็บรหัส e-State รุ่นแรกที่จะท�ำให้ โซลูชนั่ ซอฟต์แวร์ทอี่ อกแบบมาส�ำหรับรัฐบาลเข้าถึง ได้โดยอิสระทีเ่ ก็บรหัสขึน้ อยูก่ บั เทคโนโลยีโอเพ่นซอร์ส และรหัสที่จัดเก็บไว้จะมีให้ทุกคนที่ต้องการใช้งาน ซอร์สโค้ด e-State ทั้งหมดจะสามารถเข้าถึงได้และ สามารถใช้งานได้ผ่านที่เก็บรหัสในอนาคต
>> การแบ่งปันซอฟต์แวร์และโซลูชั่นอิเล็กทรอนิกส์
>> การส�ำรวจความพึงพอใจ ด้านดิจทิ ลั ของ เมืองทาลลินน์-เอสโตเนียมีดงั ต่อไปนี้ : • การเข้าถึงบริการ Online ไม่จำ� กัด เช่น สื่อสังคม Online • ความพร้อมใช้ของบริการรัฐบาล/ผู้ดูแลระบบ Online • ความสะดวกในการรับหมายเลขโทรศัพท์มือถือในพื้นที่ • ความเป็นไปได้ในการใช้จ่ายโดยไม่ใช้เงินสด • เข้าถึงอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงที่บ้าน • ความพร้อมในการให้บริการของรัฐบาล/ผู้ดูแลระบบ Online • โซลูชั่นอิเล็กทรอนิกส์ที่รวมถึงบัตรประจ�ำตัวประชาชน • การยื่นภาษี Online และการลงคะแนน Online >> สถิติ การเป็นประเทศดิจิทัลนั้น มีเอสโตเนียตามมาด้วย ฟินแลนด์ นอร์เวย์ เดนมาร์ก และนิวซีแลนด์ในภาพรวม ส่วนอีกด้านหนึง่ มี เมียนมา อียปิ ต์ อินเดีย และฟิลิปปินส์เป็นประเทศที่แย่ที่สุดในแง่ของชีวิตดิจิทัล
43
ช่วยให้โอกาสในการสร้างบริการและผลิตภัณฑ์ใหม่ และการพั ฒ นาของรั ฐ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ โซลู ชั่ น สามารถตรวจสอบค่าใช้จ่ายในการพัฒนาได้ด้วย มีเป้าหมายระยะยาวคือโซลูชั่น e-State ในชุมชน ที่ส�ำคัญที่สุดคือพื้นที่เก็บข้อมูลที่แชร์ โดยเป็นการ รวมตัวของภาคเอกชนและภาครัฐเข้าด้วยกันช่วยให้ เกิดความร่วมมือและความโปร่งใสมากขึน้ ซึง่ จะช่วย ให้บรรลุผลประโยชน์ร่วมกันกับภาครัฐระยะยาว ทีย่ งั่ ยืน มีการเปิดข้อมูลและการเก็บรหัสของรัฐบาล ในส่วนที่เป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญในการให้บริการ การมีส่วนร่วมอย่างเป็นระบบในการเข้าถึงในส่วน ของข้อมูลและรหัสเปิดที่ประชาชนเข้าถึงได้ ที่เก็บ รหัสปัจจุบนั เป็นรุน่ เบือ้ งต้นให้บริการโดยหน่วยงาน ด้านระบบสารสนเทศของประเทศเอสโตเนีย และ แผนงานในอนาคตจะถู ก วางแผนโดยกระทรวง เศรษฐกิจและการสื่อสารโดยร่วมมือกับส�ำนักงาน ระบบสารสนเทศ
Engineering Today September - October
2019
>> กระทรวงเศรษฐกิจและการสือ่ สารและมหาวิทยาลัย TalTech ได้ทำ� การส�ำรวจ
ความคิดเห็นผูป้ ระกอบการกับโอกาสทางเศรษฐกิจแบบเรียลไทม์ในเอสโตเนีย โดยเศรษฐกิจแบบเรียลไทม์ของเมืองทาลลินน์-เอสโตเนีย ประกอบด้วยโซลูชั่น ดิจิทัลที่สามารถอ่านได้ด้วยเครื่องเรียลไทม์ เช่น e-Invoices, e-Receipts และ e-Reports เพือ่ ให้บรรลุผลทางธุรกิจทีป่ ราศจากระบบราชการทีย่ งุ่ ยากและซับซ้อน มี e-Solutions เป็นผู้บุกเบิกในภาคเศรษฐกิจดิจิทัลที่ปรับปรุงสภาพแวดล้อม ทางธุรกิจอย่างต่อเนื่อง และสามารถให้ค�ำติชมบริการอิเล็กทรอนิกส์ได้ ในการจัดตั้งบริษัทเอกชนในเมืองทาลลินน์-เอสโตเนีย ใช้เวลาน้อยกว่า 20 นาทีและการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ 3 นาที ยังมีวิธีการพิสูจน์ ตัวตนที่น่าเชื่อถือ และโซลูชั่น X-road ที่ปลอดภัย หัวใจหลักของ e-Estonia ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 2019 เป็นต้นไป ธุรกิจที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ไม่จ�ำเป็นต้องส่งภาษีเงินได้และงบคืนภาษีทางสังคมอีกต่อไป เนื่องจากธุรกิจ ดังกล่าวไม่มกี ารจ่ายเงินส�ำหรับงวดการเปลีย่ นแปลงเล็กน้อยทีเ่ พิม่ เติม ช่วยลด ภาระการบริหารโดยรวมของธุรกิจได้ มีการลดบันทึกและรายงานการส่งมอบ ที่เขียนด้วยตนเอง, ใบแจ้งหนี้ PDF และกิจกรรมการบริหารอื่นๆ ในเดือน พฤษภาคม 2019 กลุ่มผู้อยู่อาศัยทางอิเล็กทรอนิกส์ e-Resident ได้เปิดตัว องค์กรไม่แสวงหาก�ำไรเรียกว่า สมาคมหอการค้านานาชาติเอสโตเนีย e-Resident (EERICA) คือ การรวมตัวบริษทั e-Resident ช่วยให้ทำ� ธุรกิจกับเอสโตเนียมาก ขึน้ และเป็นอิสระจากรัฐบาล มีการจัดตัง้ องค์กรทีแ่ สดงถึงผลประโยชน์และสิทธิ ของผู้อยู่อาศัยทาง e-Resident ต่อหน่วยงานด้านกฎหมายและต่อประชาชน รวมถึงผู้ให้บริการและธนาคาร >> โครงการ e-Resident ช่วยให้ผู้คนมารวมตัวกันที่เมืองทาลลินน์-เอสโตเนีย และ EERICA สามารถให้คำ� แนะน�ำและความช่วยเหลือเพิม่ เติมเมือ่ พวกเขามา ประกอบธุรกิจที่เมืองทาลลินน์ การรวมตัวของ EERICA ที่ยอมรับสมาชิกแล้ว และวางแผนทีจ่ ะเริม่ จัดกิจกรรมทัว่ โลก เพือ่ เชือ่ มโยงผูป้ ระกอบการในปัจจุบนั และช่วยให้ผู้ประกอบการที่มีศักยภาพให้เข้าใจว่าพวกเขาสามารถเติบโต ทางธุรกิจในเอสโตเนียได้อย่างไร >> รายงานประจ�ำปีส�ำหรับบริษัทในเอสโตเนีย ส่งทุกวันที่ 30 มิถุนายน เป็น กระบวนการส�ำหรับทุกบริษัทที่อยู่ในเอสโตเนียที่สามารถค้นหาแนวทางโดย ละเอียดเกี่ยวกับกระบวนการได้โดยให้ภาพรวมเกี่ยวกับฐานะการเงินและ ผลการด�ำเนินงานทางการเงินขององค์กร ตามขนาดขององค์กร ดังนี้ 1. องค์กรขนาดเล็ก 2. วิสาหกิจขนาดเล็ก 3. วิสาหกิจขนาดกลาง 4. องค์กรขนาดใหญ่ รายงานประจ�ำปีประกอบด้วยงบดุลและงบก�ำไรขาดทุน รายงานการ จัดการ การบัญชีต้นทุนแรงงานและการท�ำธุรกรรม แสดงงบกระแสเงินสดและ งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ ภาพรวมของการด�ำเนินงานของ องค์กร พึงระลึกไว้เสมอว่าผู้มีส่วนได้เสีย เช่น ลูกค้าคู่แข่งที่มีศักยภาพ หรือ พันธมิตรที่มีอยู่ ก็จะสามารถเข้าถึงการรายงานทางการเงินได้ด้วยเช่นกัน จึงควรให้คดิ อย่างรอบคอบเกีย่ วกับสิง่ ทีจ่ ะเขียนในรายงาน และรายงานประจ�ำปี จะต้องส่งภายใน 6 เดือนหลังจากสิ้นสุดปีการเงิน โดยจะตรงกับวันที่ 30 มิถุนายน
>> เทคโนโลยี Blockchain และการเปิดตัวสมาคมใหม่
กลุม่ บริษทั Blockchain แห่งใหม่ประกอบด้วยบริษทั ทีม่ ชี อื่ เสียงกว่า 100 บริษทั เช่น Ripple, SWIFT และ IBM เปิดตัวในกรุงบรัสเซลส์ในวันที่ 3 เมษายน
Engineering Today September - October 2019
44
จากความคิดริเริ่มของคณะกรรมาธิการยุโรป วัตถุ ประสงค์หลักของสมาคมคือ การสนับสนุนและส่งเสริม การใช้เทคโนโลยี Blockchain ในสหภาพยุโรป INATBA คือสมาคมแอพพลิเคชั่น Blockchain ทีเ่ ชือ่ ถือได้ระหว่างประเทศได้รบั การจัดตัง้ ขึน้ เป็นเวทีระหว่างประเทศทีม่ ผี มู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียหลาย กลุ ่ ม มุ ่ ง เน้ น ไปที่ ก ารรวมผู ้ พั ฒนาและผู ้ ใ ช้ จ าก อุตสาหกรรม Blockchain โดยมีจุดประสงค์เพื่อส่ง เสริมการน�ำ Blockchain INATBA ได้กล่าวว่าจุด สนใจหลักของสมาคมจะแนะน�ำกรอบการท�ำงาน ที่จะช่วย: • ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน • ปรับปรุงการสือ่ สารระหว่างผูก้ ำ� หนดนโยบาย และหน่วยงานก�ำกับดูแล • สร้างความมั่นใจในการคาดการณ์ท าง กฎหมายความสมบูรณ์และความโปร่งใสในโครงสร้าง พื้นฐาน Blockchain • พั ฒนาแนวทางและข้ อ ก� ำ หนดส� ำ หรั บ แอพพลิเคชั่นที่ใช้ Blockchain และ DLT • องค์กรอืน่ เช่น บริษทั ดูแลส่วนตัวทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลก L’Oreal นอกเหนือจากธนาคารที่มีชื่อเสียง เช่น Barclays และ BBVA มีการเริ่มต้นบล็อกเชน ที่รุนแรงเช่นกัน เช่น บริษัทขุด Bitcoin, Bitcoin, ผู ้ ผ ลิ ต กระเป๋ า เงิ น ฮาร์ ด แวร์ Cryptocurrency Ledger, ConsenSys, R3 และ IOTA INATBA ก่อตัวมาระยะหนึ่งก่อนที่มันจะถูก สร้างขึน้ สมาคมนีส้ ามารถจะมีบทบาทส�ำคัญในการ จัดตัง้ แนวปฏิบตั ทิ ดี่ ที สี่ ดุ และมาตรฐานอุตสาหกรรม ส�ำหรับ Blockchain เมืองทาลลินน์-เอสโตเนีย ได้รบั การพิจารณา ว่าเป็นหนึง่ ในเมืองของประเทศทีม่ รี ะบบดิจทิ ลั มาก ทีส่ ดุ ในโลก แม้วา่ จะมีหลายประเทศทีผ่ า่ นกระบวนการ แปลงเป็นดิจิทัล แต่ก็ไม่มีใครได้รับประโยชน์จาก มันมากเท่ากับเอสโตเนีย ภาคธนาคารและโรงเรียน เป็ น กลุ ่ ม แรกที่ ไ ด้ รั บ การแปลงเป็ น ดิ จิ ทั ล ในช่ ว ง ยุค 90 ขัน้ ตอนต่อไปคือ การใช้ระบบการลงคะแนน ออนไลน์ เ อสโตเนี ย ซึ่ ง เป็ น โครงการที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น เมื่ อ ต้ น ทศวรรษที่ ผ ่ า นมา ณ วั น นี้ เ กื อ บหนึ่ ง ใน สามของประชากรเอสโตเนียโหวตออนไลน์ อดีต ประธานาธิบดีเอสโตเนีย โทมัส เฮนดริคอิลเวส กล่าวว่า ความไว้วางใจในระบบนั้นสูง ประชาชน ที่ ล งคะแนนออนไลน์ มี โ อกาสที่ จ ะยื น ยั น และ เปลีย่ นแปลงการลงคะแนนของพวกเขาจนกว่าจะถึง ก� ำ หนด ก้ า วต่ อ ไปคื อ สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย ว และ การปฏิรูปด้านการแพทย์ส่วนบุคคล ด้วยโครงการ จี โ นมใหม่ ที่ ค รอบคลุ ม เอสโตเนี ย เป็ น หนึ่ ง ใน
สภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่ดีที่สุดในโลกมี 3 เหตุผล คือ 1. อัตราภาษีที่ต�่ำและแข่งขันได้ หนึ่งในวิธีที่ดีที่สุดในการพิจารณาว่า ประเทศใดมีสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่ได้เปรียบคือ ดูโครงสร้างของรหัสภาษี ของประเทศ ระบบภาษีท่ีมีโครงสร้างดีส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจและง่าย ต่อการปฏิบตั ติ ามในขณะทีร่ หัสภาษีทมี่ โี ครงสร้างไม่ดสี ามารถเป็นอันตรายต่อ เศรษฐกิจในประเทศและเป็นค่าใช้จา่ ยส�ำหรับผูป้ ระกอบการ การศึกษาทีต่ พี มิ พ์ ในปี พ.ศ. 2561 โดย Tax Foundation สหรัฐอเมริกาได้จัดอันดับประเทศ เอสโตเนียว่ามีรหัสภาษีที่ดีที่สุดใน OECD เป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน เหตุผลทีเ่ อสโตเนียได้รบั การจัดเป็นอันดับแรกนัน้ เป็นเพราะการรวมกัน ของ 3 คุณสมบัติหลักของรหัสภาษี: • อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล 0% จากก�ำไรที่นำ� กลับมาลงทุนและก�ำไร สะสมในบริษัทของตน • ภาษีทรัพย์สนิ ค�ำนึงถึงมูลค่าของทีด่ นิ เท่านัน้ (แทนทีจ่ ะเป็นมูลค่าของ ทรัพย์สินหรือทุน) • เอสโตเนียได้ใช้ระบบภาษีอาณาเขตที่ระบุว่า ก�ำไรจากต่างประเทศ ทั้งหมดที่บริษัทในประเทศได้รับจะยกเว้นจากการเก็บภาษีในประเทศ ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 2019 เมืองทาลลินน์-เอสโตเนีย ใช้อตั ราภาษีทตี่ ำ�่ กว่า 14% ส�ำหรับเงินปันผลทีจ่ า่ ยเป็นประจ�ำ ส�ำหรับเจ้าของเอกชนจะมีการหักภาษีพเิ ศษ ซึ่งจะเป็น 7% หรือเปอร์เซ็นต์ที่มาจากข้อตกลงเพื่อการหลีกเลี่ยงการเก็บภาษี ซ้อนระหว่างเอสโตเนียและประเทศที่พ�ำนักภาษีของเจ้าของเอกชน 2. การจัดการธุรกิจง่ายและมีประสิทธิภาพ การตั้งค่าและจัดการธุรกิจใน เมืองทาลลินน์-เอสโตเนีย เป็นกระบวนการทีง่ า่ ยและรวดเร็ว ด้วยความพยายาม ของรัฐบาลเอสโตเนียในการลดระบบราชการและบริการอิเล็กทรอนิกส์จำ� นวน มากที่ผู้ประกอบการสามารถด�ำเนินธุรกิจอย่างราบรื่น 3. e-Residency-ตัวตนดิจทิ ลั ทีม่ ีให้สำ� หรับทุกคน เอสโตเนียเป็นประเทศ แรกในโลกทีเ่ สนอ e-Residency ทีส่ ามารถอธิบายได้วา่ มีตวั ตนดิจทิ ลั ทีใ่ ห้สทิ ธิ์ แก่คุณในการเข้าถึงบริการของภาครัฐและเอกชนของเอสโตเนียไม่ว่าคุณจะอยู่ ทีใ่ ด คือคุณสามารถสร้างบริษทั เอสโตเนีย Online ได้อย่างสมบูรณ์ เซ็นสัญญา และเอกสารแบบดิจิทัลรวมถึงเข้าถึงธนาคารและผู้ให้บริการช�ำระเงิน Online เพื่อรับการช�ำระเงินจากลูกค้าทั่วโลก ทุกวันนีว้ สิ าหกิจขนาดเล็กได้รบั ความนิยมมากขึน้ เรือ่ ยๆ ในสหภาพยุโรป มีผปู้ ระกอบการธุรกิจตนเองมากกว่า 162 ล้านคน ทุกคนต้องการจดทะเบียน ธุรกิจในสถานที่ซึ่งระบบภาษีและการบริหารธุรกิจจะให้การสนับสนุนพวกเขา e-Residence ให้โอกาสพวกเขาท�ำเช่นนั้น e-Residency มีไว้ส�ำหรับผู้คน ทั่วโลก e-Residency ท�ำให้ผู้คนทั่วโลกสามารถท�ำธุรกิจของตนได้ง่ายขึ้น ผ่านบริษัทในสหภาพยุโรปที่รับประกันการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการฟรี ข้ามพรมแดนยุโรป ทุกคนสามารถสมัคร e-Residency และมีค่าใช้จ่ายเพียง 100 ยูโรเท่านั้น เมืองทาลลินน์-เอสโตเนีย ก�ำลังสร้างนโยบาย AI ระดับประเทศ ด้วย ประชากรทีม่ คี วามช�ำนาญด้านเทคโนโลยีของเอสโตเนียได้ช่วยเปลี่ยนประเทศให้ กลายเป็นศูนย์กลางนวัตกรรมด้วยทีต่ งั้ ทางภูมศิ าสตร์ของเอสโตเนียได้ผลักดัน แนวทางของรัฐบาลในด้านเทคโนโลยี เอสโตเนียเป็นผู้น�ำด้านความปลอดภัย ทางไซเบอร์ เอสโตเนียก�ำลังด�ำเนินนโยบายระดับชาติเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ แผนปฏิบัติการ AI ระดับประเทศ รัฐบาลใช้ AI โดยไม่ต้องพึ่งพาเทคโนโลยี หรือการบุกรุกความเป็นส่วนตัวมากเกินไป ประเทศที่มีประชากรประมาณ 1.3 ล้านคนจะเข้าร่วมกับ คนอื่นๆ ที่ได้พัฒนากลยุทธ์ระดับชาติเพื่อส่งเสริม
45
การใช้และการพัฒนาของ AI รวมถึงจีน ฟินแลนด์ แคนาดา ฝรั่งเศส และเยอรมนี ได้เป็นอย่างดี
>> เมืองทาลลินน์-เอสโตเนียเป็นที่รู้จักกันดีในเรื่อง โครงสร้างพืน้ ฐานและรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ทพี่ ฒ ั นาแล้ว
โครงการ e-Residency เป็นเอกลักษณ์ ซึ่งมอบการ เข้าถึงบริการทีร่ วดเร็ว และมีประสิทธิภาพแก่บคุ คล และองค์กรเอกชน กระบวนการสมัครใบอนุญาตเข้า รหัสลับใช้เวลาเพียงประมาณ 2 สัปดาห์ การตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าและการป้องกันการฟอกเงิน เป็นสิ่งที่จ�ำเป็นส�ำหรับการอนุมัติ เอสโตเนียเป็น หนึง่ ในหลายเขตอ�ำนาจศาลทีเ่ ป็นหัวหอกในการน�ำ กฎหมายและกฎระเบียบที่เป็นมิตรกับ Crypto มา ใช้ในยุโรปรวมถึงสวิตเซอร์แลนด์และมอลตา วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2019 การจัดตั้งบริษัทเอกชนใน เมืองทาลลินน์-เอสโตเนีย ไม่จ�ำเป็นต้องเปิดบัญชี ธนาคารในธนาคารเอสโตเนียอีกต่อไป บริษทั เอกชน ที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น (PLC) มี สิ ท ธิ์ ที่จะใช้บัญชีใดๆ ของ ธนาคารหรือสถาบันการเงินของเขตเศรษฐกิจยุโรป (EEA) การเปลีย่ นแปลงนีช้ ว่ ยให้ ชีวติ ของผูอ้ ยูอ่ าศัย e-Resident ง่ายขึ้น ซึ่งต้องการเริ่มธุรกิจในเอสโต เนีย และยังให้โอกาสในการมีส่วนร่วมในการลงทุน จากต่างประเทศมากขึ้น รัฐบาลสนับสนุนการท�ำให้ ชาวต่างชาติงา่ ยขึน้ ในการจัดตัง้ ธุรกิจในเอสโตเนีย... รัฐบาลเอสโตเนียอนุมัติแผนการที่จะอนุญาตให้ใช้ บัญชีที่ตั้งอยู่ในเขตเศรษฐกิจยุโรป (EEA) ใดๆ ในการจัดตั้งบริษัทเอกชนในเอสโตเนีย
>> เมืองทาลลินน์-เอสโตเนีย จะกลายเป็นศูนย์กลาง ICO ระดับโลก ความสนใจของสาธารณชนในสินทรัพย์
ดิจิทัลได้ขยายตัวในปี ค.ศ. 2017 ขับเคลื่อนด้วย นวัตกรรมเทคโนโลยีและความเชื่อมั่นที่ลดลงของ รัฐบาลและธนาคารกลางหลังจากวิกฤตการเงิน แต่ การซือ้ ขาย Cryptocurrency ทีไ่ ม่มกี ารควบคุมส่วน ใหญ่ ไ ด้ เ รี ย กร้ อ งให้ มี ก ารเพิ่ ม กฎเพื่ อ ปกป้ อ งนั ก ลงทุนและปกป้องรัฐบาลจากการสูญเสียรายได้ จากภาษี >> การท�ำงานระยะไกล การตัดสินใจเป็นบริษทั ทีอ่ ยู่ ห่างไกล การท�ำงานทีย่ ดื หยุน่ ได้ ปฏิวตั วิ ธิ กี ารท�ำงาน ที่ไหนก็ได้และการท�ำงานตั้งแต่ 9.00-17.00 น. นั้นจะใช้ไม่ได้อีกต่อไป ผู้คนจะไม่ถูกล่ามโซ่ไว้ที่โต๊ะ หรือต่อสายกับโทรศัพท์อีกต่อไป คนรุ่นใหม่ก�ำลัง ท�ำให้โลกเป็นส�ำนักงานของพวกเขา ลูกค้าส่วนใหญ่ ทีไ่ ปเมืองทาลลินน์-เอสโตเนีย จะแนะน�ำให้ไปประชุม ทีโ่ รงแรมทีพ่ วกเขาพักพนักงานของเมืองทาลลินน์เอสโตเนีย ส่วนใหญ่ให้บริการผ่านแล็ปท็อปของ พวกเขา และพบปะลูกค้าเยี่ยมชมธนาคารหรือ
Engineering Today September - October
2019
ทีส่ ำ� นักงานสาธารณะ จะมีคนเดียวทีน่ งั่ อยูใ่ นส�ำนักงานใหญ่คอื เลขาฯ ซึง่ ต้อง รับโทรศัพท์ เมืองทาลลินน์-เอสโตเนีย มีเทคโนโลยีความปลอดภัยบนคลาวด์ ขั้นสูงส�ำหรับการให้บริการลูกค้า และมีสถานที่ปลอดภัยส�ำหรับจัดเก็บฐาน ข้อมูลลูกค้า >> เมืองทาลลินน์-เอสโตเนีย ยินดีต้อนรับ Startup ในขณะที่ สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกาพยายามที่จะแยกตัวเองออกจากสหภาพยุโรป แต่เมือง ทาลลินน์-เอสโตเนียกลับใกล้ชิดกับสหภาพยุโรปที่ครอบคลุมตลาดนานาชาติ และวัฒนธรรมที่ไม่เหมือนใครและยังต้อนรับบริษัทที่ก�ำลังขยายตัวและบริษัท Startup ด้วยเหตุผลทีบ่ ริษทั ทีก่ ำ� ลังขยายตัวและ Startup เลือกเอสโตเนีย ได้แก่ : • ทุกอย่าง Online - ธนาคาร ค่าใช้จา่ ย ภาษี เอกสารต่างๆ ที่ปกติต้องมี ลายเซ็นสามารถท�ำออนไลน์ได้เกือบตลอดเวลา • ประเทศมีอนั ดับทีส่ งู มากในเสรีภาพทางเศรษฐกิจ - ยังดีทส่ี ดุ ในภูมภิ าค • ง่ายต่อการเข้าถึง WiFi โดยถือว่าการเข้าถึง WiFi เป็นสิทธิมนุษยชน • ระบบภาษีและเงินปันผลเสียแค่ภาษีเงินได้นิติบุคคล >> เมืองทาลลินน์-เอสโตเนีย E-Education…ผลการส�ำรวจ 10 เหตุผลว่าท�ำไม นักเรียนต่างชาติจึงรักเอสโตเนีย 1. เป็นประเทศเล็กๆ แต่มีความห่วงใย เอสโตเนียมีประชากรมากกว่า 1 ล้านคนเล็กน้อยและวัฒนธรรมเป็นอัตลักษณ์มีตัวตนของเอสโตเนีย 2. ไม่มรี ะเบียบแบบแผนทีเ่ คร่งเครียดเกินไป ส�ำหรับเอสโตเนียนพวกเขา ไม่ได้มบี คุ ลิกทีเ่ ยือกเย็น จริงจัง หรือมีความเครียดตลอดเวลาแบบเครือสหภาพ โซเวียตเก่า 3. ภูมิทัศน์ในเอสโตเนียนั้นสวยงามมาก ดินแดนเอสโตเนียถูกปกคลุม ไปด้วยป่าไม้และธรรมชาติมากกว่าทีอ่ นื่ สามารถไปทีบ่ งึ ป่า เล่นสกีขา้ มประเทศ เก็บเห็ดและผลเบอร์รี่ มีหมู่บ้าน และเมืองที่สวยงาม 4. ในเมืองทาลลินน์มีระบบขนส่งสาธารณะฟรีส�ำหรับผู้ที่ลงทะเบียน เพือ่ อยูใ่ นเมือง มีรถบัสและรถรางวิง่ ให้บริการจ�ำนวนมากในระหว่างวัน รอน้อย กว่า 10 นาที ใจกลางเมืองมีรถยนต์น้อยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 5. เอสโตเนียอยู่ในพื้นที่ส�ำคัญทางภูมิศาสตร์ เมืองหลวงของฟินแลนด์ เฮลซิงกิอยู่ห่างออกไปเพียง 88 กิโลเมตร และใกล้ออสโล สตอกโฮล์ม ริกา วิลนีอุส และเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก 6. “อาหารเอสโตเนีย” ไม่ใช่อร่อยที่สุด ที่ส�ำคัญที่สุดคือมันฝรั่ง แต่มีของ ว่างที่ลองแล้วจะรักคือ Cheesecake kohuke Kalev และช็อคโกแลตหลาย ประเภท: สตรอว์เบอร์รี่ ส้ม ถั่ว มินต์ ราสเบอร์รี่ และอื่นๆ 7. มีประชากรเอสโตเนียเพียง 14% นับถือศาสนา จึงไม่มีปัญหาความ ขัดแย้งทางศาสนา การเมือง หรืออุดมการณ์ 8. เด็กเล็กๆ อยู่ในรถราง หรือเดินทางคนเดียว เด็กอายุ 6 ขวบมี โทรศัพท์มือถือ และเป็นอิสระเร็วกว่าเด็กประเทศอื่นช่วยให้เด็กทันสมัยเติบโต ได้เร็วขึ้นมาก
Engineering Today September - October 2019
46
9. มี กิ จ กรรมดนตรี อ ยู ่ เ สมอทุ ก ที่ แ ละคุ ณ สามารถเลือกตามความสนใจ จากดนตรีอเิ ล็กทรอนิกส์ ดิสโก้ ป๊อป ร็อค แร็พ ซัลซ่า พื้นบ้าน เร้กเก้ และ แจ๊ ส เทศกาลทาลลิ น น์ มิ ว สิ ค วี ค และเทศกาล Viljandi นักแต่งเพลงชื่อดังระดับโลก Arvo Pärt หรือ วงอินดี้อย่าง Ewert และ Two Dragons มา เรียมิเนอร์วา 10. ภาษาเอสโตเนียค่อนข้างนุ่มและมีเสียง ที่ไพเราะมาก ทีม่ า: ส�ำนักงานการลงทุนเอสโตเนีย และโลก เอสโตเนีย โดย Isabel Fernandez Felipe ทั้ ง หมดที่ ก ล่ า วมาแล้ ว นั้ น จะพบว่ า ค� ำ ว่ า “สถาปัตยกรรมผังเมือง” ในระบบดิจิทัลของเมือง ทาลลินน์-เอสโตเนียนั้น มิได้ห มายถึงเพียงการ สร้างสรรค์อาคารบ้านเรือน และสาธารณูปโภค สาธารณู ป การทางกายภาพ ตามแบบฉบั บ ของ สถาปนิกผังเมืองเท่านั้น แต่ยังหมายถึงระบบการ บริ ห ารจั ด การเมื อ งดิ จิ ทั ล และรวมไปถึ ง การ ออกแบบสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และการด�ำเนินชีวติ ความเป็นอยู่ การท�ำมาหากินแบบดิจิทัล Culture and Urban Digital Life ของคนเมืองนี้อีกด้วย เมืองทาลลินน์-เอสโตเนียนั้นมีขนาดไม่ใหญ่ โต ประชากรไม่ ม ากนั ก และเพิ่ ง มี เ อกราชจาก สหภาพโซเวียตมาไม่กี่ 10 ปี การพัฒนาทัง้ บุคลากร และวิทยาการเทคโนโลยี ก็เริ่มต้นแบบเมืองขึ้นของ ประเทศอืน่ ทัว่ ไป ทรัพยากรธรรมชาติ แร่ธาตุ ป่าไม้ ก็ไม่มากมาย งบประมาณก็ไม่นา่ จะมีมหาศาลเท่ากับ กรุงเทพมหานคร โดยรวมแล้วเรียกว่า “เป็นเมือง หลวงทีเ่ กือบเล็กทีส่ ดุ ในบรรดาเมืองหลวงของยุโรป” แล้วอะไรท�ำให้เมืองนี้พัฒนาเป็นเมืองหลวงดิจิทัล ที่ดีที่สุดของยุโรปตะวันออก และเป็นอันดับต้นๆ ของโลก ค�ำตอบคือ “การมีผู้บริหารเมืองที่เก่งกาจ สามารถ” อีกไม่นานกรุงเทพมหานครจะมีการเลือกตัง้ ผู้ว่ากรุงเทพมหานครแดนศิวิไลซ์แห่งนี้ แม้จะ ไม่ใช่ประชากรที่นิยมลงแป้งขูดเลขเพื่อไปซื้อหวย ลอตเตอรี่ แต่ก็ยังแอบอธิษฐานต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ในใจ ขอให้ ไ ด้ ผู ้ ว ่ า กรุ ง เทพมหานครคนใหม่ ที่ เก่งกาจสามารถ แบบเมืองทาลลินน์ เมืองหลวง ดิจิทัลแห่งนี้ด้วยเทอญ
Safety • กองบรรณาธิการ
นพ.กิตตินันท์ อนรรฆมณี ผู้อ�ำนวยการ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) หรือ สรพ.
วัฒนธรรม
ความปลอดภัยในโรงพยาบาล
มุ่งสร้างนโยบายความปลอดภัยของผู้ป่วยบุคลากรสาธารณสุข (2P Safety)
เกอมันน์ มูลเลอร์ ผู้จัดการโครงการ การพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยในการ ท�ำงานให้กับบุคลากรทางสาธารณสุข ในประเทศไทยของ GIZ
เป็ น แบบแผนการประพฤติ ที่คนในสังคมเดียวกันสามารถเข้าใจ ยอมรับ และใช้ปฏิบัติ ร่วมกัน ถ้าเราเอา “ความปลอดภัย” มาสร้างเป็นแบบแผน ปฏิบัติ จนเกิดเป็น “วัฒนธรรมความปลอดภัย” ก็จะท�ำให้ สังคมไทยลดภัยอันตรายต่างๆ ลงได้ไม่น้อย สังคมไทยในทีน่ ี้ เราอาจหมายรวมถึงบ้าน วัด โรงเรียน โรงแรม สถานีต�ำรวจ หรือแม้กระทั่ง “โรงพยาบาล” การ สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยใน “โรงพยาบาล” จะช่วย แสดงให้เห็นถึงการพัฒนาคุณภาพของการบริการอย่าง ต่อเนื่อง และถือเป็นความรับผิดชอบของผู้บริหารระดับสูง ที่จะต้องก�ำหนดนโยบายอย่างชัดเจน มีการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพ จัดฝึกอบรมเพื่อสร้างการเรียนรู้และกระตุ้น ให้บุคลากรสาธารณสุขแสดงพฤติกรรมความปลอดภัยจน เป็นอุปนิสัย ความส�ำเร็จของการสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยส่วนหนึง่ ขึน้ อยูก่ บั การสนับสนุนของผูบ้ ริหารระดับ สูง เพราะต้องอาศัยความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น หากผู้ บริหารไม่ให้ความสนใจแล้ว วัฒนธรรมความปลอดภัยจะ ไม่มีวันเกิดขึ้น นพ.กิตตินันท์ อนรรฆมณี ผู้อ�ำนวยการสถาบัน รับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) หรือ สรพ. กล่าวในทีป่ ระชุม “การเสริมสร้างขีดความสามารถให้
“วั ฒ นธรรม”
แก่ผู้บริหารระดับสูงในการบริหารโรงพยาบาลด้านความปลอดภัยของ บุคลากรทางสาธารณสุข” ซึง่ จัดขึน้ ภายใต้ความร่วมมือของ สรพ. บริษทั บี.บราวน์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด และองค์กรความร่วมมือระหว่าง ประเทศของเยอรมัน (GIZ) ประจ�ำประเทศไทย ว่าปีนเี้ ป็นปีทนี่ ายแพทย์ ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ให้ความ ส� ำ คั ญ มากกั บ เรื่ อ งนโยบายความปลอดภั ย ของผู ้ ป ่ ว ยและบุ ค ลากร สาธารณสุข (Patient and Personnel Safety : 2P Safety) โดยตั้งเป้า ให้โรงพยาบาลในสังกัดของกระทรวงสาธารณสุขต้องเน้นความปลอดภัย ของผูป้ ว่ ยและบุคลากรทางสาธารณสุข เป็น 2P Safety Hospital 100% เพื่อให้เกิดผลลัพธ์บริการที่ดีทั้งกับผู้ป่วย ญาติ และบุคลากร ทั้งนี้ โรงพยาบาลในประเทศไทย ได้พัฒนากระบวนการคุณภาพและผ่าน การรับรองตามมาตรฐานคุณภาพโรงพยาบาล (HA) มากว่า 20 ปี ส่งผลให้ปี พ.ศ. 2562 มีโรงพยาบาลสมัครเข้าร่วมโครงการเพื่อพัฒนา เป็น 2P Safety Hospitals จ�ำนวน 371 แห่ง ซึ่งจะน�ำไปสู่การสร้างการ เปลีย่ นแปลงในระบบบริการสุขภาพ และการมีวฒ ั นธรรมความปลอดภัย ที่ดีอย่างยั่งยืน “ผมอยากเห็นการขับเคลือ่ นเรือ่ งความปลอดภัยในทุกโรงพยาบาล ในเชิงมิติของการจัดการ เพราะเรามีองค์ความรู้อยู่แล้ว แต่สิ่งส�ำคัญ ก็ คื อ การน� ำ เอาความรู ้ นั้ น ไปท� ำ ให้ ก ลายเป็ น นโยบายที่ ใ ช้ ไ ด้ จริ ง ใน โรงพยาบาล โดยเฉพาะผู้บริหารจะต้องมีนโยบายเกี่ยวกับการบริหาร จัดการทรัพยากรบุคคลทีเ่ พียงพอและเหมาะสม รวมทัง้ เรือ่ งงบประมาณ อาคารสถานที่ เครื่องมือต่างๆ ด้วย” นพ.กิตตินันท์ กล่าว
เสริมทัพความร่วมมือจากเยอรมนี พัฒนาผู้บริหาร สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย
เกอมันน์ มูลเลอร์ ผู้จัดการโครงการการพัฒนามาตรฐานความ ปลอดภัยในการท�ำงานให้กบั บุคลากรทางสาธารณสุขในประเทศไทย ของ GIZ กล่ า วว่ า ประเทศไทยและเยอรมนี ร ่ ว มกั น พั ฒนาด้ า น
47
Engineering Today September - October
2019
สาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง เพราะเป็นความต้องการขั้น พืน้ ฐานของประชาชน และเรามองว่าความปลอดภัยในการ ท�ำงานของบุคลากรทางสาธารณสุข ถือเป็นเป้าหมายหลัก ที่ส�ำคัญขององค์การอนามัยโลก (WHO) และรัฐบาลไทย ในการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขอย่างยั่งยืน อย่างไร ก็ตาม ปัจจุบันบุคลากรทางสาธารณสุขในประเทศไทย ยั ง คงขาดความรู ้ ค วามเข้ า ใจและหลั ก ปฏิ บั ติ ที่ ถู ก ต้ อ ง เรือ่ งความปลอดภัยในการท�ำงาน อันเสีย่ งต่อการเกิดความ เจ็บป่วย ความเครียด และอุบัติเหตุระหว่างปฏิบัติงาน นอกจากผลกระทบด้านสุขภาพของบุคลากรแล้ว วิธีการ ท� ำ งานที่ ไ ม่ ป ลอดภั ย ยั ง ส่ ง ผลให้ โ รงพยาบาลมี ต ้ น ทุ น เพิ่มขึ้นด้านค่ารักษาและพัฒนาอุปกรณ์ทางการแพทย์
พัฒนามาตรฐานความปลอดภัย แก่บุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลทั่วประเทศ
จากข้อมูลของ WHO ระบุว่าผู้ป่วยในประเทศไทย ประมาณ 7.3% เกิดการติดเชื้อในโรงพยาบาล ดังนั้นการ ค�ำนึงถึงต้นทุนทางเศรษฐกิจจึงมีความส�ำคัญ ด้วยความ ตระหนั ก ถึ ง ความส� ำ คั ญ เหล่ า นี้ บริ ษั ท บี . บราวน์ (ประเทศไทย) จ�ำกัดและ GIZ จึงได้รว่ มกันด�ำเนินโครงการ การพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยในการท�ำงานให้แก่ บุคลากรทางสาธารณสุขในประเทศไทย เพือ่ ให้ความรูแ้ ละ พั ฒ นามาตรการด้ า นความปลอดภั ย แก่ บุ ค ลากรทาง สาธารณสุขในโรงพยาบาลทัว่ ประเทศ ซึง่ จะส่งผลต่อความ ปลอดภัยของคนไข้ในอนาคต “อีกก้าวของความร่วมมือของเราก็คือ การเน้นย�ำ้ ให้ ผูบ้ ริหารแต่ละโรงพยาบาลร่วมกันพัฒนาระบบสาธารณสุข อย่างเต็มทีแ่ ละเสริมสร้างขีดความสามารถบุคลากรของตน ซึง่ จะช่วยปรับปรุงคุณภาพชีวติ ไม่เพียงแต่สำ� หรับบุคลากร ทางสาธารณสุขเท่านัน้ แต่ยงั ส่งต่อคนไทยทัง้ ประเทศด้วย” เกอมันน์ กล่าว ด้าน สายันห์ รอย กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั บี.บราวน์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า ด้วยประสบการณ์ด้าน สาธารณสุขที่มีมายาวนานถึง 30 ปี บริษัท บี.บราวน์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด มีความภูมิใจที่ได้ร่วมมือกับรัฐบาล และหน่วยงานท้องถิ่น ในการปรับปรุงความปลอดภัยใน การท�ำงานส�ำหรับบุคลากรทางสาธารณสุขในโรงพยาบาล ของรัฐในประเทศไทย เรามีวสิ ยั ทัศน์เดียวกัน คือ การสร้าง การเติบโตที่ยั่งยืน เราแบ่งปันความเชี่ยวชาญของเราและ ตระหนักถึงความปลอดภัยของบุคลากรในโรงพยาบาล องค์ประกอบในโรงพยาบาล แต่ละแห่งล้วนมีความส�ำคัญ เท่ า กั น นั่ น คื อ เหตุ ผ ลที่ ท� ำ ไมเราถึ ง ท� ำ งานร่ ว มกั บ ทั้ ง โรงพยาบาลรามาธิบดี เครือข่ายพยาบาลผู้ให้สารน�้ำทาง หลอดเลือดแห่งประเทศไทย สมาคมพยาบาลโรคมะเร็ง แห่งประเทศไทย และสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ผ่านกิจกรรมต่างๆ ซึ่งประกอบด้วย
Engineering Today September - October 2019
1) มาตรฐานของขั้นตอนการท�ำความสะอาดมือเพื่อป้องกันการติดเชื้อ ในบุ ค ลากรทางสาธารณสุ ข 2) ขั้ น ตอนการจั ด การและการใช้ เ ข็ ม ให้สารละลายทางหลอดเลือดด�ำ 3) ขั้นตอนและความปลอดภัยในการ ให้ยาเคมีบำ� บัดทางหลอดเลือดด�ำ และ 4) การจัดระบบ วางแผนนโยบาย ของผูบ้ ริหารระดับสูง โดยโครงการจะด�ำเนินกิจกรรมเหล่านีผ้ า่ นรูปแบบ การจัดฝึกอบรมพยาบาลทัว่ ประเทศ และผูบ้ ริหารระดับกลางและระดับ สูง เพื่อส่งเสริมมาตรการความปลอดภัยในการท�ำงานของบุคลากรใน กลุ่มโรงพยาบาลน�ำร่อง รวมทั้งค้นหาวิธีการและนโยบายที่ดีที่สุดใน การน�ำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละโรงพยาบาล ส่งผล ให้โรงพยาบาลสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายและสร้างชื่อเสียง ซึ่งจะ สามารถเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันในระยะยาวได้ด้วย
เจาะลึกการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยรอบด้าน “การท�ำความสะอาดมือ”
ผศ. นพ.ก�ำธร มาลาธรรม หัวหน้าหน่วยโรคติดเชื้อ ภาควิชา อายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี กล่าวว่า ค�ำว่า Hand Hygiene ในภาษาไทยเรานิยมใช้วา่ “การล้างมือ” แต่จริงๆ ค�ำที่เหมาะกว่า คือค�ำว่า “การท�ำความสะอาดมือ” เพราะค�ำว่าล้างมือ เราจะนึกถึงการล้างมือด้วยน�้ำกับสบู่ แต่จริงๆ ในโรงพยาบาล เรา ล้างมือโดยใช้นำ�้ กับสบู่ผสมน�้ำยาฆ่าเชื้อ หรือไม่ก็ใช้แอลกอฮอล์ เพราะ จะก�ำจัดเชื้อโรคบนมือได้ แต่ถ้าเป็นการล้างมือเฉยๆ เชื้อบนมือก็หลุด ไปบ้าง แต่ไม่ได้หลุดออกไปมากในระดับที่จะเกิดความปลอดภัยเต็มที่ “พอพูดถึงว่า การท�ำความสะอาดมือ ทุกคนก็มองว่าดีหมด แต่ เราพบว่าในพฤติกรรมจริง การดูแลผูป้ ว่ ยในโรงพยาบาล จะไม่คอ่ ยดูแล ท� ำ ความสะอาดมื อ กั น ในโอกาสที่ เ หมาะสม ปั จ จุ บั น จะพบว่ า การ ท�ำความสะอาดมือได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม มีประมาณ 50-70% เท่านั้นเอง เพราะมันเป็นความเคยชิน เวลาเราไปจับอะไรต่ออะไร เราไม่ได้ทำ� ความสะอาดมือก่อน แล้วพอเราไปจับคนไข้ บางทีเราก็ไม่ได้ นึกว่าพวกเขาเหล่านั้นเป็นคนไข้ เพราะเห็นกันอยู่ทุกวัน เพราะฉะนั้น ในบรรยากาศที่ทุกอย่างเป็นปกติประจ�ำวันนี่ล่ะ เรามักจะมองข้ามไป” ผศ. นพ.ก�ำธร กล่าว ส�ำหรับเรื่อง Hand Hygiene เราท�ำมานานแล้ว และได้รับรางวัล ต่างๆ มากมาย ได้แก่ รางวัล Asia Pacific Hand Hygiene Excellence Award รางวัล Innovation Award โดยโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเจนีวา (HUG) ประเทศสวิ ต เซอร์ แ ลนด์ ตลอดจนรางวั ล Asia Pacififc Society of Infection Control and Aesculap Academy Asia Pacific Society of Infection Control-APSIC เมือ่ ปี พ.ศ. 2560 และปีทผี่ า่ นมา เป็นเวลาประจวบเหมาะทีเ่ ราก็ได้รบั ความร่วมมือจาก GIZ และ บี.บราวน์ เข้ามาสนับสนุนการจัดอบรมให้ฟรีกบั โรงพยาบาลต่างๆ ซึง่ เราวางแผน จะท�ำ 2 เฟส เฟสแรก จัดอบรมไปเมือ่ ปีทแี่ ล้วให้กบั โรงพยาบาล 15 แห่ง บุคลากรทั้งหมด 60 ราย มีสอนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ เนื้อความรู้ คือของเราเป็นสิ่งที่เรามี เพราะเป็นความรู้ทางวิชาการ โดยยึดกรอบ การประเมินและติดตามผลขององค์การอนามัยโลก ส่วนโรงพยาบาล ที่ จ ะไปอบรม เราก็ คั ด เลื อ กเอง เราเปิ ด รั บ สมั ค รก่ อ นและเราก็ ดู โรงพยาบาลที่มีศักยภาพ คือต้องมีการท�ำงานด้านนี้มาแล้วระดับหนึ่ง มีความรู้พื้นฐานที่เราสามารถต่อยอดให้ได้ เพื่อให้เดินไปสู่จุดที่ประสบ
48
ความส�ำเร็จขัน้ สูงสุดให้ได้ เพราะเราคาดหวังให้โรงพยาบาล ในเมืองไทย ท�ำเรื่องนี้ให้ส�ำเร็จ และเป็นที่ยอมรับในระดับ ภูมิภาคได้ ส�ำหรับปีนี้ เราก�ำลังเตรียมการอบรมรอบ 2 ก็จะมีจ�ำนวนใกล้เคียงกันกับปีที่แล้ว เราจัดอบรมจ�ำนวน ไม่เยอะ เพราะอยากสอนแบบเจาะลึก เข้มข้น และให้ได้ ผลจริ ง คื อ มาเรี ย นแล้ ว สามารถกลั บ ไปท� ำ ได้ เ ลยและ สอนคนอื่ น ได้ สามารถยื น บนขาตนเองได้ อั น นี้ คื อ วัตถุประสงค์หลักของเรา “สิ่งที่เน้นย�้ำอีกหนึ่งเรื่องก็คือต้องให้พวกเขารู้ว่า ถ้ามือไม่สะอาด จะเกิดอะไรขึ้น และเราจะต้องป้องกัน อันตรายด้วยการท�ำให้มือเราสะอาด ข้อมูลพวกนี้จะต้อง ฝังลึกในตัวบุคลากรในโรงพยาบาลนะครับ นี่คือการสร้าง วัฒนธรรม ให้เป็นสิ่งที่เราปฏิบัติเป็นประจ�ำวัน โดยไม่ต้อง คิด ต้องให้เป็นสัญชาตญาณว่าไปหาผู้ป่วย ต้องท�ำความ สะอาดมือก่อน” ผศ. นพ.ก�ำธร กล่าวเสริม
ใช้เข็มให้สารละลายทางหลอดเลือดด�ำ
ดร.ภัทรารัตน์ ตันนุกิจ ประธานชมรมเครือข่าย พยาบาลผู้ให้สารน�้ำทางหลอดเลือด กล่าวว่า การให้ สารน�ำ้ ทางหลอดเลือด เป็นค�ำทีก่ ว้างมาก คนทีไ่ ม่ได้อยูใ่ น วงการแพทย์หลายคนอาจจะฟังแล้วไม่เข้าใจ ที่จริงก็คือ การให้น�้ำเกลือ การให้ยา การให้เลือดหรือส่วนประกอบ ของเลือดทางเส้นเลือด ผ่านการแทงเข็ม เราได้จัดการอบรม Training for the Trainer ให้กับ บุคลากรสาธารณสุข เรื่องการให้สารน�้ำทางหลอดเลือด และการป้องกันการติดเชื้อ ในการอบรมเรามีกิจกรรม ทั้งหมด 4 ฐานด้วยกัน ฐานแรก คือ การฝึกเลือกเส้น
ว่าควรใช้เส้นตรงไหน ฐานที่สอง คือการฝึกแทงเข็ม ฐานที่สาม ดูเรื่อง สารน�ำ้ ทีจ่ ะให้วา่ ต้องมีความเข้มข้นแค่ไหน และฐานสุดท้าย คือการดูแล ต�ำแหน่งทีแ่ ทงเข็ม ว่าจะดูแลหลังแทงอย่างไร ปิดแผลให้ถกู ต้องอย่างไร ส�ำหรับการอบรมส�ำหรับผูบ้ ริหารนัน้ เราจะท�ำให้เขาเข้าใจว่า มาตรฐาน มีอะไรบ้าง ต้องบริหารจัดการให้เป็น รู้วิธีก�ำกับดูแลให้บุคลากรของตน ท�ำได้ตามมาตรฐาน ทีส่ ำ� คัญอีกหนึง่ สิง่ ก็คอื ต้องรูว้ า่ จะสนับสนุนบุคลากร ของตนเองอย่างไร ให้สามารถเข้าถึงอุปกรณ์ที่ดี ได้มาตรฐาน ไม่ว่า จะเป็นเข็ม หรืออุปกรณ์ต่างๆ “ปัญหาหลักก็คือบุคลากรมีภาระหน้าที่เยอะ หน้างานต้องท�ำให้ จบ มาตรฐานเลยมักจะมองข้ามไป ซึ่งจริงๆ แล้ว เขาต้องคิด และท�ำให้ สมดุลควบคูก่ นั ไป ถ้าท�ำไม่ดี ผลก็ออกมาไม่ดี เราก็ตอ้ งท�ำงานเยอะขึน้ มาตามแก้ปญ ั หาทีเ่ กิดขึน้ เพราะฉะนัน้ การอบรม เราจะพยายามเปลีย่ น ความคิดเขา พยายามสอนเขาว่าหน้าที่ต้องมาพร้อมกับมาตรฐาน” ดร.ภัทรารัตน์ กล่าว ทั้งนี้ ผลลัพธ์ที่น่าพอใจหลังจากการอบรม คือ บางโรงพยาบาล สามารถตัง้ ทีมผูใ้ ห้สารน�ำ้ เองได้เลย หรือทีเ่ ข้าใจง่ายๆ ก็คอื ทีมแทงเข็ม การมีทีมถือเป็นเรื่องที่ดีมาก เพราะจะมีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ เรื่องการแทงเข็ม ซึ่งเปรียบเสมือนคนขับรถ น�ำพาทุกคนไปสู่เป้าหมาย ความปลอดภัยได้ การสร้างคนหนึ่งคนให้เก่งมาก โรงพยาบาลจะ ลดภาระ และปัญหาไปได้เยอะ เพราะคนๆ นี้จะสามารถเป็นผู้ฝึกสอน ให้กับบุคลากรคนอื่นๆ ได้ นั่นคือ เราต้องสร้างความเป็น ผู้น�ำให้เขา ซึ่งการอบรม เราคาดว่าจะเสร็จสิ้นภายในสิงหาคมปีนี้ และเราจะมีการ ติดตามและประเมิน ผล โดยให้โรงพยาบาลน�ำร่องที่เข้าร่วมการอบรม มาน�ำเสนอและรายงานผล “ท้ายทีส่ ดุ แล้ว เราเชือ่ มัน่ ว่าโรงพยาบาลเหล่านีจ้ ะสานต่อการเป็น ผู้น�ำในการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านมาตรฐานความปลอดภัยไปยัง โรงพยาบาลอื่นๆ ทั่วประเทศ โดยเราวางแผนที่จะผลิตวิดีโอเพื่อเป็น สื่อการสอนส�ำหรับคนไข้ ในการดูแลตนเองหลังกลับจากโรงพยาบาล พร้อมกับการท�ำคู่มือสอนเรื่องข้อปฏิบัติและข้อห้ามส�ำหรับพยาบาล ซึง่ ยังไม่เคยมีในประเทศไทย และหวังว่าจะเป็นประโยชน์ได้มากในแวดวง สาธารณสุข” ดร.ภัทรารัตน์ กล่าว
ให้ยาเคมีบ�ำบัดทางหลอดเลือดด�ำ
ดร.ยุวดี เกตสัมพันธ์ อดีตนายกสมาคมพยาบาลโรคมะเร็ง แห่งประเทศไทย กล่าวว่า ยาเคมีบำ� บัดอันตรายมาก มีความรุนแรงมาก และสามารถเข้าได้ทุกส่วนของร่างกาย เพราะฉะนั้นต้องมีการจัดสรร พื้นที่ เตียงผู้ป่วยเฉพาะทาง เพราะนี่คือชีวิตของทั้งพยาบาลและผู้ป่วย โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง พยาบาลก็ ต ้ อ งตระหนั ก การใส่ อุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น อันตรายให้ครบชุด ผู้บริหารต้องใส่ใจและให้ความส�ำคัญกับเรื่องนี้และ คอยกระตุ้นเตือนบุคลากรอีกทางหนึ่ง “การอบรมเรื่องการให้ยาเคมีบ�ำบัด เราจะมีบรรยายเชิงทฤษฎี และให้ดูวิดีโอการใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล หรือเรียกสั้นๆ ว่า PPE ที่ถูกต้องและครบชุด เบื้องต้นเราจะมี PPE แจกให้ครบชุด ส�ำหรับผูเ้ ข้าอบรมด้วย เพือ่ ให้เขาได้ฝกึ ฝนจริงและให้เขามัน่ ใจว่าป้องกัน ได้ และป้องกันได้อย่างไร หน้ากากต้องใส่ ถุงมือต้องมี 2 ชั้น นอกจาก นี้ในทางปฏิบัติเราจะมีการจ�ำลองเหตุการณ์จริงขณะท�ำงาน การฝึก
49
Engineering Today September - October
2019
สรรพสิทธิประสงค์ โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช โรงพยาบาล กลาง โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ และโรงพยาบาลวชิร พยาบาล “การคัดเลือกโรงพยาบาลน�ำร่อง เราจะเลือกโรงพยาบาลที่มี ขนาดใหญ่ที่จะสามารถสร้างระบบและมาตรฐานความปลอดภัยให้ กระจายออกไปทัว่ ภูมภิ าคได้ เพราะในอนาคตโรงพยาบาลเหล่านีจ้ ะต้อง เป็นโรงพยาบาลต้นแบบทีส่ ามารถเผยแพร่ความรูไ้ ปสูโ่ รงพยาบาลย่อยๆ ในพื้นที่ได้ในอนาคต” พญ.ปิยวรรณ กล่าว ค�ำนวณปริมาณยา ซึ่งส�ำคัญมาก เพราะยาเคมีบ�ำบัดเป็น ยาอันตรายมาก ค�ำนวณผิด เสร็จเลย” ดร.ยุวดี กล่าว ทั้งนี้สมาคมพยาบาลโรคมะเร็งแห่งประเทศไทย ได้ จัดหลักสูตรการอบรมขึน้ มาเป็นครัง้ แรก และจนถึงปัจจุบนั ได้จดั อบรมมาแล้ว 6 แห่ง การอบรมครัง้ สุดท้ายเพิง่ เสร็จสิน้ ไปเมือ่ ต้นเดือนเมษายนทีผ่ า่ นมา หลังจากนีท้ กุ โรงพยาบาล ที่เข้ารับการอบรมต้องท�ำรายงานส่ง เพื่อเราจะได้ประเมิน ว่าการอบรมเกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพเป็นอย่างไร กระบวนการท�ำงานเขาปลอดภัยขึน้ ไหม เกิดการเปลีย่ นแปลง แค่ไหน ในแง่ความเชี่ยวชาญ ทักษะ และความตระหนัก ที่เกี่ยวกับความปลอดภัยกับตัวบุคลากรเอง เพื่อน�ำมา วิ เ คราะห์ อี ก ที ใ นบริ บ ทของประเทศไทย และมองถึ ง ในอนาคตว่าเราต้องพัฒนาอะไรอีก เพื่อให้ไปไกลกว่าเดิม และเทียบเท่ามาตรฐานระดับนานาชาติได้ “หลังจากการประเมินเสร็จ เราจะรวบรวมรายงาน เหล่านี้ และท�ำเป็นคู่มือออนไลน์ เพื่อให้ทุกโรงพยาบาล สามารถเข้าถึงได้ และน�ำไปเรียนรู้ ไปใช้ต่อ เพื่อสร้าง มาตรฐานในโรงพยาบาลและเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น” ดร.ยุวดี กล่าว
การจัดระบบ-วางแผนนโยบาย โดยผู้บริหารระดับสูง
พญ.ปิยวรรณ ลิ้มปัญญาเลิศ รองผู้อ�ำนวยการ สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) หรือ สรพ. เน้นย�ำ้ ว่า สรพ. ได้รบั ความร่วมมือและได้รบั ทุน สนับสนุนจากรัฐบาลเยอรมนี ภายใต้การด�ำเนินงานของ GIZ และภาคเอกชนอย่างบี.บราวน์ มาด�ำเนินโครงการ นอกเหนื อจากการจั ด อบรมทั้ ง 3 สาขาใหญ่ แ ล้ ว ยั ง สนับสนุนการจัดวางระบบและนโยบายของผู้บริหารระดับ สูงของโรงพยาบาลน�ำร่องทั้ง 16 แห่งทั่วประเทศ ได้แก่ โรงพยาบาลพระปกเกล้ า โรงพยาบาลพระจอมเกล้ า โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลชัยภูมิ โรงพยาบาล ชลบุรี โรงพยาบาลระยอง โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร โรงพยาบาลนครพิงค์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โรงพยาบาล รามาธิบดี โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า โรงพยาบาล
Engineering Today September - October 2019
จะบรรลุ 2P Safety ได้ ผู้ป่วยต้องปลอดภัย บุคลากรสาธารณสุขท�ำงานด้วยความปลอดภัย
ส�ำหรับโครงการจะท�ำการอบรมบุคลากรใน 3 สาขาเป็นระยะเวลา 1 ปี ไปพร้อมๆ กับการผลักดันผู้บริหารระดับกลางและระดับสูงของ แต่ละโรงพยาบาลให้สร้างนโยบายความปลอดภัยและวางระบบบริหาร ความเสีย่ งในโรงพยาบาลเพราะกลุม่ ของผูบ้ ริหารถือเป็นแกนหลักส�ำคัญ ในการสร้างสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมให้เกิดวัฒนธรรมความปลอดภัย แก่โรงพยาบาลได้ ดังนั้นสิ่งที่เราเน้นก็คือผู้บริหารจะต้องเลือกประเด็น ความปลอดภัยในโรงพยาบาลให้สอดคล้องกับบริบทของโรงพยาบาล ของตนเสียก่อน โดยอิงคู่มือและกฎตามกรอบ 2P Safety ของคณะ กรรมการแห่งชาติ ซึ่งมีหลายประเด็น เช่น ความมั่นคงของข้อมูล สารสนเทศ ข้อมูลเวชระเบียน ประวัติเจ็บป่วยของคนไข้และบุคลากร ทางสาธารณสุขป้องกันได้ดแี ค่ไหน มาตรการคุม้ ครองความเป็นส่วนตัว ของคนไข้และบุคลากรทางสาธารณสุข เป็นต้น “เมื่อเลือกประเด็นได้แล้ว ก็จะต้องน�ำประเด็นนั้นมาวางแผน วางระบบ คิดเป้าหมาย และร่างเป็นนโยบายความปลอดภัย ว่าควรจะ มีนโยบายสนับสนุนความปลอดภัยอย่างไร มีแนวทางปฏิบัติอย่างไร มีระบบบริหารความเสีย่ งอย่างไร ทัง้ หมดนีค้ อื การมองภาพใหญ่มากขึน้ นอกเหนือจากการได้องค์ความรูจ้ ากการอบรมต่างๆ ไปแล้ว นัน่ คือเรือ่ ง ของการวางระบบให้เกิดขึ้น แผนและนโยบายต่างๆ ที่ถูกร่างจะถูกน�ำ มาเสนอให้ สรพ. ภายในตุลาคมปีนี้” แพทย์หญิงปิยวรรณ กล่าว เป้ า หมายสู ง สุ ด คื อ การบรรลุ 2P Safety ซึ่ ง หมายถึ ง ว่ า โรงพยาบาลจะเดินได้ ต้องมีผู้ป่วย ผู้ป่วยต้องปลอดภัย ผู้ป่วยจะ ปลอดภัยได้ ก็ตอ้ งมีบคุ ลากรทางสาธารณสุขทีท่ ำ� งานด้วยความปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ ถ้ามี 2 องค์ประกอบนี้ที่เข้มแข็ง โรงพยาบาลจะ เดินหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีคุณภาพ ผู้น�ำจะดูแลผู้ป่วยให้ดี อย่างเดียวไม่ได้ ต้องดูแลบุคลากรทางสาธารณสุขให้ดีด้วย
“ความปลอดภัย” เริ่มที่ตัวเรา และทุกวันของเรา และนั่นเป็นสิ่งที่เราหวังว่าบทเรียนในการสร้าง ความปลอดภัยของเรา จะเป็นหนึ่งในบทเรียนที่เรา จะเรียนรู้ร่วมกันและส่งเสริมให้เกิด “วัฒนธรรม ความปลอดภัย” ขึ้นในโรงพยาบาลของไทย 50
IT Update • กองบรรณาธิการ
“ดีป้า” จัดงาน “DIGITAL THAILAND BIG BANG 2019”
ภายใต้แนวคิด “ASEAN Connectivity” ตั้งเป้าผู้ชมงาน 500,000 คน
พุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ รัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม (ดีอ)ี
ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผูอ้ ำ� นวยการ ส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั (ดีปา้ )
ส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั (ดีปา้ ) กระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจ และสังคม (ดีอี) แถลงความพร้อมการจัดงาน “DIGITAL THAILAND BIG BANG 2019” มหกรรมแสดงเทคโนโลยีดิจิทัลระดับนานาชาติ ซึ่งจัด ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 โดยในปี พ.ศ. 2562 นี้จัดขึ้นภายใต้แนวคิด “ASEAN Connectivity” รวมพลคนดิจทิ ลั ทัง้ ในประเทศไทยและระดับนานาชาติสอดรับ ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพการจัดประชุมสุดยอดผู้น�ำอาเซียน (34th-35th ASEAN SUMMIT) ระหว่างวันที่ 28-31 ตุลาคม พ.ศ. 2562 บนพื้นที่กว่า 40,000 ตารางเมตร ณ ฮอลล์ EH98-104 ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา ไฮไลท์ที่น่าสนใจภายในงานแบ่งเป็น 3 โซน ได้แก่ โซนที่ 1 : Digital Economy น�ำเสนอเทคโนโลยีที่จะเป็นตัวก�ำหนด Trend ของโลกอนาคต โซนที่ 2 : Digital Society น�ำเสนอนวัตกรรมทางด้านสังคม และ โซนที่ 3 : Creativity พื้นที่ที่รวบรวมเทคโนโลยีเพื่อการสร้างสรรค์จากหลากหลาย
51
Startup นักพัฒนาเกม และเทคโนโลยีต่างๆ ตั้งเป้า มีผู้เข้าชมงานประมาณ 500,000 คน พุ ท ธิ พ งษ์ ปุ ณ ณกั น ต์ รั ฐ มนตรี ว ่ า การ กระทรวงดิ จิ ทั ล เพื่ อ เศรษฐกิ จ และสั ง คม (ดี อี ) กล่ า วว่ า มหกรรมแสดงเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ระดั บ นานาชาติ “DIGITAL THAILAND BIG BANG 2019” รวมพลคนดิจทิ ลั ทัง้ ในประเทศไทยและระดับ นานาชาติ ในครั้งที่ 3 นี้ ต้องการให้งานเป็นที่จดจ�ำ และเฝ้ารอของประชาชน นักธุรกิจ ผูป้ ระกอบการใน อุตสาหกรรมดิจิทัล จากนี้ต่อไปในทุกๆ ปีของการ จัดงานที่จะน�ำเสนอรูปแบบดิจิทัลใหม่ เทคนิคการ คิด แนวคิดสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ทางด้านดิจิทัล ที่เข้ามามีบทบาทในชีวิตของคนเราในอนาคตมาก ยิ่งขึ้น อีกทั้งในปีนี้ประเทศไทยได้รับเกียรติให้เป็น เจ้ า ภาพการจั ด ประชุ ม ผู ้ น� ำ อาเซี ย น (34 th-35 th ASEAN SUMMIT) คณะผู้จัดงานจึงมีความตั้งใจ ทีจ่ ะน�ำเสนอรูปแบบการจัดงานทีจ่ ะน�ำคนไทยทุกคน ก้ า วเข้ า สู ่ ยุ ค ดิ จิ ทั ล ไปพร้ อ มๆ กั น โดยได้ เ ชิ ญ ผู ้ ป ระกอบการที่ มี เ ทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ที่ ไ ด้ รั บ การ ยอมรับจากประเทศเกาหลี ญี่ปุ่น จีน สหรัฐอเมริกา ภูมิภาคอาเซียน และในประเทศไทยมาร่วมออกบูธ น� ำ เสนอผลงานกว่ า 3,000 บู ธ พร้ อ มทั้ ง เชิ ญ วิทยากรทีป่ ระสบความส�ำเร็จในการสร้างสรรค์ผลงาน ด้านดิจทิ ลั มาร่วมเล่าประสบการณ์คดิ ค้นภายในงาน กว่า 100 คน มีพื้นที่แข่งขัน E-Sports เวที น�ำเสนอ ผลงานของกลุ่ม Startup และคนรุ่นใหม่ การแข่งขัน หุ่นยนต์ (Robot Fighting) และกิจกรรมอื่นๆ ที่น่า สนใจอีกมากมายภายในงาน ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (ดีป้า) กล่าวว่า การจั ด งานในสองปี ที่ ผ ่ า นมาถื อว่ า ประสบความ ส� ำ เร็ จ เป็ น อย่ า งยิ่ ง เห็ น ได้ จ ากจ� ำ นวนของผู ้ เ ข้ า ร่วมชมงานและผูป้ ระกอบการทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยในปีที่ 1 มีผู้ชมงานประมาณ 200,000 คน และในปีที่ 2 มีผู้ชมงานประมาณ 350,000 คน ส�ำหรับในการ จัดงานปีที่ 3 นี้ เบื้องต้นตั้งเป้าจะมียอดผู้ชมงาน เท่ากับปีทผี่ า่ นมา แต่จากการตอบรับจากผูป้ ระกอบการ นักธุรกิจ ประชาชน และนักศึกษา ที่ให้ความสนใจ
Engineering Today September - October
2019
สอบถามเข้ามาทางคณะผู้จัดงานจึงได้ตั้งเป้าว่า จะมีผู้ชมงานประมาณ 500,000 คน ขณะนี้มี ผู้ประกอบการทั้งภาครัฐ เอกชน ทั้งในประเทศและ ต่างประเทศตอบตกลงมาร่วมงานแล้วกว่า 300 บริษัท ส�ำหรับรูปแบบการจัดงานจะแบ่งออกเป็น 3 โซนหลัก ได้แก่ โซนที่ 1: Digital Economy น�ำ เสนอเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่จะเป็นตัวก�ำหนด Trend ของโลกอนาคต เช่ น เทคโนโลยี AI (Artificial Intelligence), IoT (Internet of Things), 3D Printing, Artificial Reality, Virtual Reality และ Big Data ผ่านผู้ประกอบการที่มาร่วมจัดแสดง รวมถึ ง เครื อ ข่ า ยเมือ งอัจฉริย ะอาเซีย น ASEAN Smart Cities Network: ASCN จาก 10 ประเทศ สมาชิกอาเซียน เวที Showcase เทคโนโลยียานยนต์ อนาคต หรือ Future Mobility ที่จะให้ผู้เข้าชมได้ สัม ผัสกับรูปแบบการเดินทางในอนาคตก่อนใคร โซนที่ 2 : Digital Society น�ำเสนอนวัตกรรมทาง ด้านสังคม ที่คิดค้นและพัฒนาขึ้นเพื่อทุกๆ คนเพื่อ ยกระดับชีวิต สร้างความเท่าเทียมกันในสังคมไม่ให้ เป็นเพียงจินตนาการหรือแนวคิดเท่านั้น เช่น การ รักษาทางการแพทย์ ผ่าตัดด้วยกล้องดิจิทัล โดรน ส�ำหรับการท�ำการเกษตรและโดรนส�ำหรับส่งของ ในพื้นที่ห่างไกล หรือพื้นที่ประสบภัยพิบัติต่างๆ เป็นต้น และ โซนที่ 3 : Creativity เป็นพื้นที่ที่ รวบรวมเทคโนโลยีเพือ่ การสร้างสรรค์จากหลากหลาย Startup นักพัฒนาเกม และ เทคโนโลยีต่างๆ และ น� ำ เสนอในรู ป แบบของเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ที่ ช ่ ว ย ปลดล็อกความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ให้ไร้ขดี จ�ำกัด ตื่นตากับเทคโนโลยีหุ่นยนต์ ที่จะเข้ามามีบทบาท ส�ำคัญในชีวติ มนุษย์หลากหลายมิติ จะมีการจัดแสดง หุน่ ยนต์ทเี่ ต้นประกอบเพลงได้เป็นหมูค่ ณะหลายตัว มาร่ ว มแสดง และพยายามที่ จ ะหาดิ จิ ทั ล ใหม่ ๆ เทคโนโลยีใหม่ๆ E-Sports เกม ที่น่าสนใจในการ ที่จะท�ำเป็นเอ็นเตอร์เทนเมนท์มาจัดแสดงภายใน งานมากขึ้น ที่ส�ำคัญภายในงานยังมีพิธีมอบรางวัล เกียรติยศ (Prime Minister’s Digital Award) จาก พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เพื่อ ประกาศถึ ง ความส� ำ เร็ จ ที่ โ ดดเด่ น ของผลงาน นวัตกรรมดิจิทัล ทั้งในระดับเยาวชน ชุมชนดิจิทัล ธุรกิจดิจิทัล Digital Startup และองค์กรดิจิทัล
Engineering Today September - October 2019
นอกจากนี้ ภ ายในงานยั ง ได้ ร วบรวมวิ ท ยากรชั้ น น� ำ ผู ้ เ ชี่ ยวชาญด้ า น เทคโนโลยีในหลากหลายแขนงทัง้ ในไทยและต่างประเทศ มาร่วมเป็น Speaker เช่น Ray Chan ผู้ก่อตั้ง 9GAG.com, Mark Adams Senior Vice President and Head of Innovation จาก VICE Media, Ben Hammersley นักพูดและ นักเขียนเกี่ยวกับเทคโนโลยีดิจิทัล จาก Wired UK และ BBC, Mich Goh Head of Public Policy Airbnb, Inés Caldeira Managing Director L’Oréal ประเทศไทย, Roland Folger ประธานบริหาร เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) นริสสา ลิมปนาทร ผูจ้ ดั การฝ่ายการตลาดจาก Zilingo ภูศณัฎฐ์ การุณวงศ์วฒ ั น์ จากเพจ Little Monster Family และ เทพลีลา, Kosuke Sogo Co-Founder And Chief Executive Officer,Anymind Group,Bill Church Child’s Learning Expert From Lego และวิทยากรด้านดิจิทัลอีกกว่า 100 คน มาร่วมแบ่งปันแนวคิดและประสบการณ์ตลอดการจัดงานทั้ง 4 วัน รวมถึง กิจกรรมเสวนากลุ่มน้อยใหญ่อีกมากมาย และกิจกรรมเสริมทักษะด้านดิจิทัล ผ่านเกมหมูปา่ เกมโค้ดดิง้ สัญชาติไทย, กิจกรรม HACKATHON และกิจกรรม อื่นๆ อีกมากมาย โดยงานจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 28-31 ตุลาคม พ.ศ. 2562 บนพื้นที่กว่า 40,000 ตารางเมตร ณ ฮอลล์ EH98-104 ศูนย์นิทรรศการและ การประชุมไบเทค บางนา โดยค่าใช้จา่ ยในการจัดงานประมาณ 100 ล้านบาท แบ่งเป็นงบประมาณจากภาครัฐ 60% และงบประมาณเอกชน 40%
52
Research & Development • กองบรรณาธิการ
เครื่องสแกนวัตถุ 3 มิติ
ใช้ประเมินสภาพโบราณสถานวัดหลังคาขาวของ น.ศ. มจธ. คว้ารางวัลงานวิจัยเด่นจาก สกสว.
พีรสิทธิ์ มหาสุวรรณชัย นักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ. เจ้าของผลงาน
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการสแกนวัตถุ 3 มิติ และวิธี ไฟไนต์เอลิเมนต์เพื่อการประเมินและติดตามสภาพโครงสร้าง โบราณสถานของไทย กรณี ศึ ก ษาวั ด หลั ง คาขาว จั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ได้รับการคัดเลือกเป็น “งานวิจัย เด่น” 1 ใน 25 ผลงาน และได้รบั รางวัลชมเชยประเภทความนิยมด้าน ผลงานวิจัยและความนิยมด้านการน�ำเสนอจากกลุ่มงานวิจัย เพื่ออุตสาหกรรม จากผลงานทั้งสิ้น 221 ผลงาน ในงานการ ประชุมวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา สกสว. ประจ�ำปี 2562 พีรสิทธิ์ มหาสุวรรณชัย นักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชา วิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ได้รับทุน โครงการปริญญาเอก กาญจนาภิ เ ษก (คปก.) ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.) โดยมี ผศ.ดร.ชัยณรงค์ อธิสกุล เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา กล่าวว่า ได้น�ำเทคโนโลยีมาใช้
กระบวนการสร้างแบบจ�ำลอง 3 มิติ โดยอาศัยเทคโนโลยีการสแกนวัตถุ 3 มิติ ด้วยแสงเลเซอร์
53
Engineering Today September - October
2019
ในการประเมินสภาพโบราณสถานของประเทศไทยที่วัดหลังคา ขาว ซึง่ เป็นการวิจยั เชิงลึกด้านวิศวกรรมศาสตร์ โดยน�ำเทคโนโลยี การสแกนวัตถุ 3 มิติ มาใช้ในการหาขนาดมิติและรูปทรงเจดีย์ วัดหลังคาขาว โดยเครื่องสแกนวัตถุ 3 มิติ จะหมุนรอบตัวเอง 360 องศา เมื่อพบวัตถุจะสะท้อนกลับมาเป็นข้อมูลกลุ่มจุด ที่จะสามารถต่อเป็นกลุ่มข้อมูลพิกัด 3 มิติได้ โดยข้อมูลที่ได้ เทียบเท่ากับขนาดจริงและมีความแม่นย�ำสูง ท�ำให้ทราบขนาด ความสูง ความกว้าง ความหนา ด้านในและด้านนอกของเจดีย์ เพื่อน�ำมาประเมินผล นอกจากนั้นยังเก็บตัวอย่างของอิฐก่อและ ปูนก่อโบราณ เพือ่ มาทดสอบในห้องปฏิบตั กิ ารภาควิชาวิศวกรรม โยธาอีกด้วย เมือ่ ได้ขอ้ มูลกลุม่ จุด 3 มิติ และข้อมูลสมบัตขิ องวัสดุโบราณ แล้ว จะน�ำมาประเมินด้วยวิธไี ฟไนต์เอลิเมนต์ ท�ำให้สามารถบอก ได้วา่ โบราณสถานมีการเอียงตัวในมุมทีโ่ ครงสร้างยังอยูใ่ นสภาวะ ที่มีเสถียรภาพหรือไม่ รวมถึงวัสดุมีค่าก�ำลังเพียงพอหรือไม่ เพื่อเป็นแนวทางให้กรมศิลปากรใช้ในการบูรณะโบราณสถาน การประเมิ น โบราณสถานวั ด หลั ง คาขาว เป็ น การพั ฒ นา กระบวนการประเมิ น และติ ด ตามสภาพโครงสร้ า ง อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถน�ำไปใช้ส�ำหรับการศึกษาโบราณสถานแห่งอื่น โดย ติดตามสภาพโครงสร้างด้วยการเก็บซ�้ำจากครั้งแรก 6 เดือน เพื่อให้ทราบว่าในระยะเวลา 6 เดือน โบราณสถานเปลี่ยนแปลง อย่างไร เพื่อการคาดการณ์อนาคต “ที่ผ่านมาการประเมินสภาพโบราณสถานต้องใช้ก�ำลังคน และการตั้ ง นั่ ง ร้ า นในการเก็ บ ข้ อ มู ล ที่ สู ง ซึ่ ง ใช้ เ วลานานและ งบประมาณมาก ด้วยเทคโนโลยีนี้จะเข้ามาช่วยให้การประเมิน
สภาพโบราณสถาน ใช้ระยะเวลาเก็บข้อมูลลดลง ไม่ตอ้ งตัง้ นัง่ ร้าน ให้ความแม่นย�ำสูง นอกจากนี้ในรูปแบบข้อมูลดิจิทัลเหล่านี้ สามารถช่วยให้การประเมินและติดตามสภาพโบราณสถานของ ไทยตามหลักวิศวกรรมเกิดความยั่งยืน” พีรสิทธิ์ กล่าวสรุป
ภาพผลสแกนภายในโบราณสถาน
Engineering Today September - October 2019
54
เครือ่ งสแกนวัตถุ 3 มิติ ด้วยแสงเลเซอร์
ตัวอย่างผลการวิเคราะห์เจดีย์โดยอาศัยวิธกี ารไฟไนต์เอลิเมนต์
@Engineering Today Vol. 5 No. 173
D:LAþBA = 63P M?K" AD1
%SY;W.?X ;?N" =J441 GZ/ .N3
X 5 }EL3`M1 A;%R;%3W;QG" 8= G;#K.Y&33NĎ"W7 L=JAK"3`M? 3/?NĎ" =91 Z% W1 Y3Y?<O G"1LW?D 8K,3L AL;5?G.:K< G"=J44=L"Z3D0L3O=0[9 ü XE " WGD4O 5=K4?R DL L ¨©¨ ZE; W5 3 «ÑÆÌØÍÎÕ ¸ÙÔ×Ê =4A"#= 8= G;D " ¿ÊÑÊÈÙÎÔÓ §ÚÎÑÙ ÎÓ 1?L<1R ( L=/ X/ "
Construction • กองบรรณาธิการ
สภาวิศวกร
แก มลิง หนึ่งใน โครงการพระราชดําริของในหลวงรัชกาลที่ 9 ในการแก ป ญหานํ้าท วม
สภาวิศวกร ชง 2 แนวทาง “แกมลิง” และ “ระบบทอใตดิน” เสนอตอรัฐบาลรับมือ นํ้าทวมชุมชนเมือง ชวยในการบริหารจัดการนํ้า รองรับสมารทซิตี้ ซึง่ สามารถทําไดทนั ที โดยไมผลาญ งบประมาณรัฐ เพราะไมสูญเสียพื้นที่ ไมตองเวนคืนที่ดิน ลงทุนครั้งเดียวแกปญหาไดอยางยั่งยืน ชวยลดผลกระทบตอ ประชาชนและระบบเศรษฐกิจ พรอมจัดโซนนิ่งเฝาระวังพื้นที่ เสี่ยงนํ้าลนตลิ่ง นํ้าทวมซํ้าซาก อาทิ ลุมแมนํ้ามูลในภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ และลุม แมนาํ้ เจาพระยา 5 จังหวัดในภาคเหนือ ตอนลางจนถึงภาคกลางตอนบน
สภาวิศวกรชี้แก มลิง-ระบบท อใต ดิน แก ป ญหานํ้าท วมชุมชนเมือง ศ. ดร.สุชัชวีร สุวรรณสวัสดิ์ นายกสภาวิศวกร กลาววา สภาวิ ศ วกรมี ค วามเป น ห ว งต อ สถานการณ นํ้ า ในพื้ น ที่ ภ าค ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเฉพาะบริเวณจังหวัดอุบลราชธานี รวมถึงพืน้ ทีล่ มุ ตํา่ ปลายนํา้ ริมฝง แมนาํ้ เจาพระยา ทีม่ ีความเสี่ยง ตอการเกิดภาวะนํา้ ลนตลิง่ ซึง่ เปนสาธารณภัยทีส่ ง ผลกระทบตอ ชีวติ ความเปนอยูข องประชาชนในพืน้ ที่ และยังสรางความเสียหาย อย า งมหาศาล ทั้ ง ด า นโครงสร า งทางวิ ศ วกรรม และระบบ เศรษฐกิ จ ในพื้ น ที่ โดยสภาวิ ศ วกรในฐานะสภาวิ ช าชี พ ด า น วิศวกรรมของประเทศไทย ไดนาํ ขอเท็จจริงใน 2 พืน้ ทีม่ าวิเคราะห โดยวิศวกรผูเชี่ยวชาญ ดวยเทคนิคดานวิศวกรรมหลายสาขามา ประยุกตใช โดยมีเปาหมายในการบรรเทาความเดือดรอนใหกับ ประชาชน รวมถึงตกผลึกเปนขอเสนอแนะไปยังรัฐบาลและ หนวยงานทีเ่ กีย่ วของ เพือ่ เปนแนวทางในการรับมือกับสาธารณภัย ที่เกิดขึ้นซํ้าซากในชวงฤดูนํ้าหลากของประเทศไทยไดอยางยั่งยืน
Engineering Today September - October 2019
56
ผนึกกําลัง วสท. ชูโมเดล
แก มลิง-ระบบท อใต ดิน แก ป ญหานํ้าท วมชุมชนเมือง พร อมจัดโซนนิ่งเฝ าระวัง นํ้าล นตลิ่ง
จากการวิเคราะหพื้นที่ชุมชนริมฝงแมนํ้าของไทย พบวา แนวทางในการแกปญ หาทีเ่ หมาะสม คือ การทําแกมลิงและระบบ ท อ ใต ดิ น ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยในหลวงรั ช กาลที่ 9 ทรง พระราชทานแนวทางการแกปญ หานํา้ ทวมดวย “แกมลิง” คือการ ปรับพื้นที่แอง บึง ทะเลสาบขนาดเล็ก ใหเปนพื้นที่รองรับนํ้า เมือ่ ฝนตกหนัก ซึง่ สภาวิศวกรมัน่ ใจวาแนวทางนี้ สามารถใชไดใน ทุกพื้นที่ แตสําหรับพื้นที่ชุมชนเมืองที่อัดแนนดวยสิ่งปลูกสราง และทีอ่ ยูอ าศัย มีขอ จํากัดในการใชพนื้ ทีท่ าํ แกมลิง ตองใช “ระบบ ทอใตดิน” และวางเครือขายไวใตดินเพื่อระบายนํ้า เชน ใตถนน สวนสาธารณะ ทั้งนี้การวางระบบทอสามารถทําไดงายเพราะไม เสียพื้นที่ และสิ้นเปลืองงบประมาณนอย เพราะไมตองเวนคืน “ประเทศไทย มี ห ลายลุ ม นํ้ า ที่ ป ระสบป ญ หาคล า ยกั น ซึ่งนอกจากการลงทุนทําแกมลิงและระบบทอใตดิน จะชวยลด ผลกระทบใหกับชุมชนในฤดูนํ้าหลาก และชวยรับมือกับฝนที่ตก ไมเปนไปตามฤดูกาลแลว ในพื้นที่ใกลเคียงยังสามารถนํานํ้าจาก แกมลิงไปชวยเรือ่ งชลประทาน เพือ่ บรรเทาปญหาภัยแลงและชวย พื้นที่เกษตรกรรมใหมีนํ้าใชทั้งปไดอีกดวย โดยทั้งสองระบบ คือ “แกมลิง” และ “ระบบทอใตดิน” จะทํางานเชื่อมโยงกัน เมื่อนํ้าใน
แมนาํ้ สูงเกินมาตรฐานก็ระบายไปตามระบบทอใตดนิ และระบาย สูแกมลิง โดยใชวิธีการระบบสูบนํ้าดวยระบบอัตโนมัติ ดวย เซ็นเซอรทแี่ มนยํา รองรับสมารทซิตี้ เพราะจะชวยลดปญหาความ ผิดพลาดจากมนุษย และชวยใหชาวบานไมไดรบั ความเดือดรอน” ศ. ดร.สุชัชวีร กลาว
จัดโซนนิ่งวิเคราะห พื้นที่เสี่ยงนํ้าล นตลิ่ง พืน้ ทีล่ ม ุ ตํา่ ริมแม นาํ้ มูล และพืน้ ทีล่ ม ุ ตํา่ ริมแม นาํ้ เจ าพระยา
ศ. ดร.สุชัชวีร สุวรรณสวัสดิ์ นายกสภาวิศวกร
ขณะเดียวกัน พื้นที่ลุมตํ่าปลายนํ้าริมฝงแมนํ้าเจาพระยา ซึง่ เปนระบบชลประทานทางธรรมชาติทเี่ ปรียบเสมือนหลอดเลือด ใหญที่หลอเลี้ยงชุมชนในพื้นที่ภาคเหนือตอนลางและภาคกลาง กอนจะระบายออกสูทะเลอาวไทย โดยมีตนนํ้าจากแมนํ้าสําคัญ 4 สายในพื้นที่ภาคเหนือ ไดแก ปง วัง ยม นาน กอนจะมาบรรจบ กันที่ปากนํ้าโพ จ.นครสวรรค ซึ่งมีหลายจุดที่มีความออนไหว โดยเฉพาะชวงปลายเดือนกันยายนที่จะมีฝนตกชุกในพื้นที่ภาค เหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง จากอิทธิพลของ รองมรสุมทีพ่ าดผานบริเวณดังกลาว สภาวิศวกรจึงได “จัดโซนนิง่ ” วิ เ คราะห พื้ น ที่ เ สี่ ย งนํ้ า ล น ตลิ่ ง ได แ ก บริ เ วณพื้ น ที่ ลุ ม ตํ่ า ริ ม แมนํ้ามูล ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งยังคงมีหลายพื้นที่ยัง อยูในภาวะวิกฤต และพื้นที่ลุมตํ่าริมแมนํ้าเจาพระยา บริเวณ ภาคเหนือตอนลางและภาคกลางตอนบน
ศ. ดร.สุวัฒนา จิตตลดากร
ผู เชี่ยวชาญด านวิศวกรรมทรัพยากรนํ้า สภาวิศวกร
แนะไทยวางแนวทางจัดการภาวะฉุกเฉินในพื้นที่อุทกภัย ป องกันป ญหาที่ตามมาจากอุทกภัย ศ. ดร.สุวัฒนา จิตตลดากร ผูเชี่ยวชาญดานวิศวกรรม ทรัพยากรนํา้ สภาวิศวกร กลาววา พืน้ ทีล่ มุ ตํา่ ริมแมนาํ้ เจาพระยา บริเวณภาคเหนือตอนลางและภาคกลางตอนบน มีจุดเสีย่ งทีต่ อ ง เฝาระวังเปนพิเศษ ไดแก ชัยนาท พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี
รศ.สิริวัฒน ไชยชนะ
ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมการประสานงานด านภัยพิบัติ และความปลอดภัยสาธารณะ สภาวิศวกร และที่ปรึกษา วิศวกรรมสถานแห งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.)
ระบบท อใต ดิน และวางเครือข ายไว ใต ดินเพื่อระบายนํ้า เช น ใต ถนน สวนสาธารณะ
57
Engineering Today September - October
2019
นนทบุ รี กรุ ง เทพมหานคร และสมุ ท รปราการ โดยเฉพาะ กรุ ง เทพมหานครที่ มี ค วามเสี่ ย งจากนํ้ า ท ว มขั ง เนื่ อ งจากมี ศักยภาพรองรับนํ้าฝนเพียง 60 มิลลิเมตรตอชั่วโมง และการ ระบายนํา้ ทีเ่ ต็มไปดวยสิง่ กีดขวาง อาทิ ทอขนาดเล็ก ขยะทีอ่ ดุ ตัน ตามทอระบายนํ้า สงผลใหประสิทธิภาพในการระบายนํ้าลดลง อีก ทั้งนี้ ในชวงที่ฝนตกหนัก มีโครงสรางดานวิศวกรรมที่ตอง เฝาระวัง 2 ประเภท คือ โครงสรางในระบบชลประทาน อาทิ เขือ่ น อางเก็บนํา้ ประตูระบายนํา้ และสิง่ ปลูกสรางในเสนทางทีน่ าํ้ หลาก อาทิ แนวคันกั้นนํ้า เชิงสะพาน โรงพยาบาล สถานศึกษา โบราณ สถาน และเสนทางคมนาคม นอกจากนี้ ประเทศไทยควรมี แ นวทางการจั ด การ ภาวะฉุกเฉินในพื้นที่ประสบอุทกภัยที่มีมาตรฐานสากล เพื่อ ปองกันปญหาทีม่ ากับอุทกภัย คือแนวทางการบริหารจัดการไฟฟา อาทิ การตัดไฟในพื้นที่นํ้าทวมสูง เพราะมีความเสี่ยงที่จะทําให เกิดปญหาไฟรั่ว ไฟช็อต ซึ่งเปนอันตรายตอชาวบานในพื้นที่ รวมถึงแนวทางการบริหารเทคโนโลยีการสือ่ สาร ถึงแมผใู หบริการ เครือขายสัญญาณ จะเพิ่มมาตรการปองกันความเสียหายจาก นํ้าทวมก็ตาม แตในขอเท็จจริงยังพบวาสัญญาณอินเทอรเน็ตใน หลายจุดมีปญ หา กระทบตอการเขาถึงขอมูลขาวสาร และในพืน้ ที่ นํ้าทวมสูง มักถูกตัดไฟเปนเวลานาน จนกระทบตอการชารจ แบตเตอรี่โทรศัพทมือถือ ทําใหขาดการติดตอจากโลกภายนอก โดยมีแนวปองกัน คือ การเพิ่มประสิทธิภาพระบบการเตือนภัย และการแจงขาวสารที่ทันตอสถานการณ ซึ่งจะชวยใหชาวบาน สามารถประเมินความเสี่ยง ขนยายสิ่งของ และอพยพออกจาก พื้นที่ไดทันเวลา
หมั่นตรวจสอบความแข็งแรงของโครงสร างบ าน เพื่อสวัสดิภาพและความปลอดภัยของประชาชน ดาน รศ.สิริวัฒน ไชยชนะ ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมการ ประสานงานด า นภั ย พิ บั ติ แ ละความปลอดภั ย สาธารณะ สภาวิศวกร และที่ปรึกษาวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) กลาววา ที่ผานมาบริเวณริม แมนํ้ามูล และริมแมนํ้าเจาพระยา ประสบปญหานํ้าลนตลิ่งใน ฤดูนาํ้ หลากซํา้ ซากทุกป และฝนทีต่ กหนักยังสงผลใหสงิ่ ปลูกสราง ทีม่ โี ครงสรางทีไ่ มแข็งแรง และไมไดรบั การติดตาม ซอมแซม ตาม อายุการใชงาน อาจไดรบั ผลกระทบ เชน หลังคารัว่ ฝาเพดานถลม รวมถึงอันตรายจากลมแรง ทีอ่ าจทําใหหลังคา แผนปายขนาดใหญ แผงบังแดด รางนํ้าฝน เกิดความเสียหาย ซึ่งสงตอผลโดยตรง ตอสวัสดิภาพและความปลอดภัยของประชาชน ดังนั้น ตองหมั่น ตรวจสอบความแข็งแรงอยูเ สมอ รวมทัง้ ตองมีระบบการพยากรณ อากาศตองใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยและแมนยํา จะชวยลดความ สูญเสียลงได
Engineering Today September - October 2019
58
เส นทางของนํ้าช วงฝนตกหนัก กรณีมีต นไม ช วยซับนํ้า
เส นทางของนํ้าช วงฝนตกหนัก
โดยสภาวิศวกร เตรียมลงพืน้ ทีเ่ พือ่ ตรวจสอบความเสียหาย พรอมแนะนําแนวทางในการฟน ฟูพนื้ ทีป่ ระสบอุทกภัย จ.อบุ ลราชธานี หลังนํา้ ลด เนนการฟน ฟูระบบโครงสรางพืน้ ฐาน และหาแนวทาง การบูรณะซอมแซมบานเรือนประชาชนที่ไดรับผลกระทบจาก กระแสนํา้ ทีก่ ดั เซาะและจมอยูใ นนํา้ เปนเวลานาน ใหสามารถกลับ เขาสูภาวะปกติเร็วที่สุด สําหรับปญหาอุทกภัยใน จ.อุบลราชธานี เนื่องจากความ เปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป ทําใหฝนไม ตกตอนตนฤดู และตกหนักสะสมในชวงปลายฤดู ซึง่ ฝนทีต่ กหนัก อยางตอเนื่องและไมกระจายตัว กระทบ 4 จังหวัดในลุมแมนํ้าชี ไดแก นครพนม สกลนคร รอยเอ็ด และขอนแกน กอนระบายออก สูแมนํ้ามูลบริเวณ จ.อุบลราชธานี ซึ่งเปนพื้นที่ปลายนํ้า กอนจะ ระบายออกสูแมนํ้าโขง ซึ่งขณะนี้ทั้ง 25 อําเภอ ไดรับผลกระทบ จากปญหาอุทกภัย นับเปนเหตุอุทกภัยใหญที่สุดในรอบ 20 ป เฉพาะฤดูฝนของปนี้ จนถึงปจจุบนั มีพนื้ ทีท่ ไี่ ดรบั ผลกระทบทัง้ สิน้ 32 จังหวัด แบงเปน ภาคเหนือ 10 จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียง เหนือ 16 จังหวัด ภาคตะวันออก 3 จังหวัด และภาคใต 3 จังหวัด ซึง่ มีประชาชนทีไ่ ดรบั ผลกระทบ 407,069 ครัวเรือน โดยทีมสภา วิ ศ วกร และ วิ ศ วกรรมสถานแห ง ประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ (วสท.) พรอมลงพื้นที่ชวยเหลือผูประสบภัยหลัง นํ้าลดทันที
Construction • กองบรรณาธิการ
รฟท.ใช้เทคโนโลยีของทาเลส
พัฒนาความปลอดภัยของระบบรางในสถานีรถไฟ 48 แห่ง การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ก�ำลังเดินหน้าปรับปรุง เครือข่ายรถไฟของประเทศให้ทนั สมัย โดยมีแผนการลงทุนเพือ่ พัฒนารถไฟในรัศมี 500 กิโลเมตรรอบๆ กรุงเทพมหานครให้ เป็นระบบไฟฟ้า ส�ำหรับเฟสแรกของการปรับปรุงให้ทนั สมัย คือ การเปลี่ยนระบบอาณัติสัญญาณเป็นระบบควบคุมรถไฟของ ยุโรป (ETCS) ระดับ 1 ซึ่งเป็นระบบมาตรฐานของยุโรป เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพและความเชื่อถือได้ให้กับเครือข่ายรถไฟไทย ทั้งนี้ การรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ได้เซ็นสัญญากับ ทาเลสและริเวอร์ เอนจิเนียริง่ (River Engineering) ซึง่ เป็นบริษทั พันธมิตรในกลุ่มบริษัทของทาเลส โดยทาเลสได้รับสัญญาบริการ สนั บ สนุ น การฟื ้ น ฟู อุ ต สาหกรรมรถไฟของประเทศไทยด้ ว ย การออกแบบ จัดหา และติดตั้ง ETCS ระดับ 1 ในเครือข่ายรถไฟ 4 ช่วงของ รฟท. (สายเหนือ สายตะวันออกเฉียงเหนือ สายตะวัน ออก และสายใต้) ซึ่งคาดว่าโครงการนี้จะใช้เวลาด�ำเนินการ 2 ปี และจะช่วยสนับสนุน รฟท. ในการปรับปรุงเครือข่ายรถไฟให้ ทันสมัยด้วยการใช้ ETCS ซึ่งเป็นระบบมาตรฐานในการป้องกัน และควบคุมความปลอดภัยอัตโนมัติของรถไฟ (ATP) โครงการระบบอาณัตสิ ญ ั ญาณจะครอบคลุมสถานีรถไฟ 48 แห่งจากลพบุรที างทิศเหนือลงใต้ไปถึงนครปฐม และถึงมาบกะเบา ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ การติดตั้งระบบ ETCS ระดับ 1 ช่วงระยะทางยาวที่สุดจะเป็นการติดตั้งที่ครอบคลุมสถานีรถไฟ 21 แห่งจากสถานีหัวหมากจนถึงสถานีแหลมฉบัง ซึ่งจะช่วยให้ ผู้โดยสารสามารถเดินทางไปยังชายแดนไทยฝั่งตะวันออกได้ อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมานี้ ทาเลสได้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพ เทคโนโลยีของทาเลสในอุตสาหกรรมการคมนาคม เช่น ระบบ เก็บค่าโดยสารอัตโนมัตแิ ละบริการซ่อมบ�ำรุงรถไฟฟ้าสายสีนำ�้ เงิน ส่วนต่อขยายของกรุงเทพมหานคร ส�ำหรับการติดตัง้ ระบบ ETCS ระดับ 1 ถือเป็นเฟสแรกที่เพิ่งเริ่มต้นอย่างเป็นทางการในเดือน กรกฎาคมของปีนี้ โดยทาเลสได้น�ำเทคโนโลยี ETCS เข้ามาใน ประเทศไทยเมือ่ ปี พ.ศ. 2560 เพือ่ ใช้กบั โครงการรถไฟรางคู่ (104 กิโลเมตรจากฉะเชิงเทราถึงคลองสิบเก้าและแก่งคอย) ต่อมาในปี พ.ศ. 2561 ชื่อเสียงของเทคโนโลยี ETCS ของทาเลสได้รับการ ยืนยันอีกครั้งด้วยการได้รับสัญญาให้ด�ำเนินการติดตั้งเทคโนโลยี
ดังกล่าวกับรถไฟสายสีแดงของกรุงเทพมหานครในระยะทาง 41 กิโลเมตร ซึ่งคาดว่าจะให้บริการผู้โดยสารมากกว่า 130,000 คนต่ อวั น และยั ง เป็ น ผู ้ ใ ห้ บ ริ ก ารระบบบั ต รโดยสารส� ำ หรั บ รถไฟฟ้าสายสีน�้ำเงินส่วนต่อขยาย การท�ำสัญญาฉบับล่าสุด กับการรถไฟแห่งประเทศไทยเป็นการยืนยันถึงความเป็น ผู้น�ำ ของบริษัทฯ ด้านระบบอาณัติสัญญาณในประเทศไทย ระบบ ETCS ระดับ 1 จะช่วยยกระดับความปลอดภัย ให้การขนส่งระบบรางในประเทศไทยสู่มาตรฐานความปลอดภัย สูงสุด เดิมทีเทคโนโลยีนพี้ ฒ ั นาขึน้ มาเพือ่ ส่งเสริมระบบการใช้งาน ร่วมกันกับเครือข่ายรถไฟของยุโรป ต่อมาระบบนี้ได้ถูกน�ำไปใช้ อย่างแพร่หลายในการรถไฟต่างๆ ทั่วโลก ระบบ ETCS จะ ค�ำนวณความเร็วสูงสุดที่ปลอดภัยส�ำหรับรถไฟแต่ละคันอย่างต่อ เนื่อง โดยมีระบบอาณัติสัญญาณเตือนในห้องพนักงานขับรถไฟ และระบบออนบอร์ดทีจ่ ะท�ำการบังคับรถไฟหากความเร็วเกินกว่า อัตราที่ปลอดภัย ส�ำหรับการปรับใช้เทคโนโลยี ETCS ระดับ 1 นั้นสามารถน�ำไปปรับใช้กับระบบอาณัติสัญญาณที่มีอยู่เดิมใน ประเทศได้อย่างง่ายดายและจะรบกวนการด�ำเนินการเพียงเล็ก น้อยเท่านั้น และสามารถเพิ่มประสิทธิภาพของเครือข่ายที่มีอยู่ ได้ถึง 40% มาสสิโม มารินซี ผู้อ�ำนวยการประจ�ำประเทศไทยของ ทาเลส กล่าวว่า ในส่วนของระบบอาณัติสัญญาณเส้นทางหลัก ระบบเทคโนโลยีของทาเลสใช้ใน 38 ประเทศ ครอบคลุมพืน้ ทีก่ ว่า 17,000 กิโลเมตร อีกทั้งยังสนับสนุนวิสัยทัศน์คมนาคมรวม เป็นหนึง่ ของประเทศไทย โดยมีวตั ถุประสงค์รว่ มกัน คือการเชือ่ ม ต่อเครือข่ายในประเทศและช่วยให้ผู้เดินทางสามารถเดินทางได้ อย่างสะดวก “ในฐานะผู ้ บุ ก เบิ ก เทคโนโลยี ETCS ในประเทศไทย โครงการนี้ช่วยให้เรามีส่วนร่วมมากขึ้นในอุตสาหกรรมคมนาคม และท�ำให้เราเป็นพันธมิตรแนวหน้าของการรถไฟแห่งประเทศไทย ในด้านระบบเครือข่ายรถไฟสายหลักและระบบอาณัติสัญญาณ เรามีความยินดีอย่างยิ่งที่จะได้ร่วมงานกับริเวอร์ เอนจิเนียริ่ง พันธมิตรของเราในการปรับปรุงเครือข่ายรถไฟไทยให้ทันสมัย เพื่ออนาคต” มาสสิโม กล่าว
59
Engineering Today September - October
2019
Property • กองบรรณาธิการ
เอสบี ปรับลุคสาขา CDC ใหม่ เป็น Flagship Store ครบวงจร พร้อมส่ง Zelection Built-in ทลายทุกกฎการตกแต่ง
ธัญญรักข์ ชวาลดิฐ กรรมการบริหาร กลุ่มบริษัท เอสบี เฟอร์นิเจอร์
เอสบี ดีไซน์สแควร์ ตอกย�้ำความเป็นผู้น�ำด้าน นวัตกรรมและดีไซน์เฟอร์นิเจอร์ของเมืองไทย ทุ่มงบกว่า 200 ล้านบาท ปรับลุคสาขา CDC ใหม่ เป็น Flagship Store ครบวงจร บนพื้นที่ 15,000 ตารางเมตร ภายใต้ คอนเซ็ปต์ “The New Era of Luxe Design Home Decorations” ประกาศปฏิ วั ติ ว งการบิ ล ท์ อิ น ด้ ว ย นวัตกรรมดีไซน์ล่าสุดและเทคโนโลยีล�้ำสมัยแห่งแรกใน เมืองไทยกับ “Zelection Built-in” ที่ทลายทุกกฎการ ตกแต่งบ้าน เสริมทัพด้วยเฟอร์นิเจอร์ 2 แบรนด์ดังจาก ฝั่งยุโรปและอเมริกา Laura Ashley (ลอร่า แอชลีย์) และ Universal (ยูนิเวอร์แซล) พร้อมเปิด “Designer Club” ที่จะเป็น Hub ของกลุ่มลูกค้าอินทีเรียร์ดีไซเนอร์ที่เป็น สมาชิก SB Designer Club เท่านั้น ธัญญรักข์ ชวาลดิฐ กรรมการบริหาร กลุ่มบริษัท เอสบี เฟอร์นิเจอร์ กล่าวถึงแนวคิดการปรับเปลี่ยนลุคใหม่ ของ เอสบี ดีไซน์สแควร์ สาขา คริสตัล ดีไซน์เซ็นเตอร์ (CDC) ว่า ตลอดช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา เอสบี ดีไซน์ สแควร์ มี สิ น ค้ า ตกแต่ ง บ้ า นใหม่ ๆ แบรนด์ ชั้ น น� ำ จาก
Engineering Today September - October 2019
ต่างประเทศเข้ามาเพื่อตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าหลากหลาย สไตล์ แต่ด้วยพื้นที่ที่มีอยู่ 10,000 ตารางเมตร ไม่สามารถเอื้ออ�ำนวย ต่อการเพิ่มแบรนด์สินค้าใหม่ๆ ดังนั้น บริษัทฯ จึงทุ่มงบประมาณกว่า 200 ล้านบาท ขยายพื้นที่เพิ่มจากเดิมเป็น 15,000 ตารางเมตร พร้อมปรับโฉมใหม่ให้เป็น Flagship Store สุดครบวงจร ภายใต้ คอนเซ็ปต์ “The New Era of Luxe Design Home Decorations” “สาขานีเ้ ปิดมาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2552 ถึงปัจจุบนั นับเป็นปีที่ 10 แล้ว เรามีแบรนด์สินค้าใหม่ๆ เข้ามาเสริมทัพอย่างต่อเนื่อง รวมถึงแบรนด์ จากต่างประเทศ อาทิ Habitat ซึ่งเป็นแบรนด์ที่ เอสบี ดีไซน์สแควร์ ได้ รั บ สิ ท ธิ์ จั ด จ� ำ หน่ า ยแต่ เ พี ย งผู ้ เ ดี ย วในประเทศไทย อี ก ทั้ ง ยั ง มี นวัตกรรมดีไซน์ใหม่ๆ ทีส่ ร้างสรรค์ขนึ้ มาอีกมากมาย และเพือ่ ตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าทีม่ อี ย่างหลากหลายเราจึงท�ำการปรับปรุงพืน้ ที่ ซึ่งการปรับลุคใหม่ในครั้งนี้ นอกจากเป็นการขยายพื้นที่ให้บริการแล้ว เรายังมีการเปิดตัว Zelection Built-in ซึ่งเป็นแบรนด์ของกลุ่มสินค้า บิลท์อินที่เรียกได้ว่าเป็นการปฏิวัติวงการบิลท์อินในธุรกิจเฟอร์นิเจอร์ อย่างเต็มรูปแบบ เพราะจากการส�ำรวจพฤติกรรมลูกค้าส่วนใหญ่ที่เข้า มาใช้บริการ ไม่เพียงแต่ให้ความสนใจกับสินค้าทีเ่ ป็นเฟอร์นเิ จอร์ของเรา เท่านั้น แต่ยังให้ความสนใจกับงานตกแต่งอื่นๆ เช่น การกรุกระจกและ การท�ำผนังตกแต่งในห้องตัวอย่างของเรา ท�ำให้เราได้แรงบันดาลใจใน การพัฒนาสินค้าที่สามารถตอบโจทย์และแก้ปัญหาที่ลูกค้าต้องประสบ จากกระบวนการท�ำงานบิลท์อนิ รูปแบบเดิมๆ อีกด้วย” ธัญญรักข์ กล่าว Zelection Built-in เป็นนวัตกรรมดีไซน์ที่นับเป็น “จุดเปลี่ยน” ส�ำคัญและจะช่วยสร้างความแตกต่างให้แบรนด์ในตลาดเฟอร์นิเจอร์ได้ อย่างแท้จริง นับเป็น “ครั้งแรกในไทย” กับการน�ำเอากระบวนการแบบ “PREFAB” มาใช้ในการท�ำบิลท์อิน ซึ่งวันนี้ เอสบี ก้าวข้ามความเป็น ผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์ไปแล้ว และเราก�ำลังก้าวสู่โลกของ “งานตกแต่ง ภายใน” อย่างเต็มรูปแบบ เราพร้อมเป็นผู้รับเหมาท�ำงานตกแต่งภายใน แบบครบวงจร เพื่อตอบโจทย์ลูกค้าทั้งกลุ่มที่เป็น End User และกลุ่ม ที่เป็นอินทีเรียร์ดีไซเนอร์ ซึ่งโดยศักยภาพของ เอสบี ที่พร้อมอย่างเต็มที่ ในด้านนวัตกรรมดีไซน์ กระบวนการผลิต เทคโนโลยี และเครือข่ายที่ แข็งแกร่งของซัพพลายเออร์วตั ถุดบิ จากทัว่ โลก ท�ำให้ Zelection Built-in ทลายกรอบเดิมๆ ของงานบิลท์อินในหลากหลายมิติ ทั้งในเรื่อง Smart Structural Design คือ ทุกชิน้ ส่วนของงานโครงสร้างและวัสดุตกแต่งจะ ถูกผลิตที่โรงงานเพื่อช่วยให้กระบวนการติดตั้งเป็นไปอย่างรวดเร็ว ประหยัดเวลาการท�ำงานไปได้มากกว่าครึ่ง ท�ำให้ลูกค้าได้งานบิลท์อิน ที่สวยสมบูรณ์แบบ มีคุณภาพมาตรฐาน และในเวลาอันรวดเร็ว ซึ่ง สอดรับกับไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคยุคนี้ที่ชอบความสะดวกรวดเร็ว ซึ่งใน
60
ฌอห์ณ แองลิม ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน และประธานเจ้าหน้าที่บริหารร่วม ฝ่ายปฏิบัติการ แบรนด์ Laura Ashley
แมททิว คิม รองประธานฝ่ายขายต่างประเทศ แบรนด์ Universal
ส่วนนี้เราได้ท�ำการจดสิทธิบัตรการออกแบบไว้เรียบร้อย แล้ ว Limitless Design โดยเรามี ศู น ย์ ร วมวั ส ดุ ห รื อ Material Library ที่คัดสรรมาจากทั่ว โลกนับ 1,000 รายการ ซึ่ง เอสบี เป็นผู้นำ� เข้าเองแบบเอ็กซ์คลูซีฟจะไม่มี จ�ำหน่ายอยู่ตามท้องตลาดทั่วไป สร้างความยืดหยุ่นสูง ในการให้ลูกค้าเลือกออกแบบงานบิลท์อินที่ตรงใจ เพื่อ สร้างสรรค์ดีไซน์ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว และตอบโจทย์ แบบ Personalize ได้อย่างแท้จริง Design Automation ซอฟต์แวร์สุดล�้ำจากเยอรมัน เป็นตัวเชื่อมระหว่างการ ออกแบบและกระบวนการผลิต ให้ทุกออเดอร์ดีไซน์จาก หน้าโชว์รูมพุ่งตรงสู่โรงงานผลิต ลด Human Error ช่วยให้ ลูกค้าได้ชิ้นงานที่ถูกต้องแม่นย�ำได้มาตรฐานในเวลาอัน รวดเร็ว ซึ่งที่นี่เรามี Model Rooms จ�ำนวน 24 ห้องที่ สร้างสรรค์ด้วย Zelection Built-in เพื่อสร้างแรงบันดาลใจ และแสดงให้เห็นถึงศักยภาพในการบิลท์อนิ การตอบโจทย์ และการแก้ ป ั ญ หาพื้ น ที่ การมิ ก ซ์ แ อนด์ แ มตช์ วั ส ดุ ที่ หลากหลาย การสร้างสรรค์งานดีไซน์ให้สะท้อนคาแรคเตอร์ ของผู้อยู่อาศัยตอบรับกับไลฟ์สไตล์ที่แตกต่างของลูกค้า
ธั ญ ญรั ก ข์ กล่ า วต่ อ ไปว่ า แม้ ภ าพรวมตลาดเฟอร์ นิ เ จอร์ ป ี พ.ศ. 2562 อาจจะไม่สวยหรูนัก เนื่องจากผลกระทบทางเศรษฐกิจและ ตลาดอสังหาฯ แต่กลุ่มลูกค้าตลาดระดับบนของที่อยู่อาศัยแนวราบ นับว่ายังพอไปได้ ดังนั้นการเปิดตัว “Zelection Built-in” ครั้งนี้ เราจึง เน้นเจาะลูกค้ากลุม่ นีเ้ ป็นหลัก และเพือ่ เพิม่ ทางเลือกให้แก่ลกู ค้าของเรา มากยิ่งขึ้น ครั้งนี้เราได้รับเกียรติจาก 2 แบรนด์เฟอร์นิเจอร์ชั้นน�ำจาก ฝั่งยุโรปและอเมริการ ได้แก่ Laura Ashley และ Universal มาเปิด ที่สาขา CDC แห่งนี้ ฌอห์ณ แองลิม ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงินและประธาน เจ้าหน้าที่บริหารร่วม ฝ่ายปฏิบัติการ แบรนด์ Laura Ashley (ลอร่า แอชลี่) กล่าวถึงความร่วมมือกับ เอสบี ครั้งนี้ ว่า เรามองว่า เอสบี เป็นแบรนด์ทมี่ คี วามเข้มแข็งมากในตลาดเฟอร์นเิ จอร์เมืองไทย มีทมี งาน ที่เป็นมืออาชีพ มีประสบการณ์และความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเรารู้สึกโชคดี ที่ได้ร่วมท�ำงานกับพาร์ทเนอร์ที่มีความเชี่ยวชาญในหลายๆ ด้าน ทั้ง การออกแบบโชว์รูม การคัดสรรสินค้าที่เหมาะกับรสนิยมของผู้บริโภค ชาวไทย การจัดแสดงสินค้าสวยงามและมีแผนการตลาดทีด่ ี เราหวังเป็น อย่างยิ่งว่าจะได้ขยายแบรนด์ลอร่าร่วมกับเอสบีไปอีกหลายสาขา” ทั้งนี้ หากใครที่เคยอยู่อังกฤษ เชื่อว่าน่าจะคุ้นเคยกับแบรนด์ Laura Ashley (ลอร่า แอชลี่) เป็นอย่างดี โดยเฉพาะผู้ที่ชื่นชอบการแต่งบ้านสไตล์ Modern Vintage ด้วยความ โดดเด่นเรือ่ ง “ลวดลายและสีสนั ของงานผ้า” ทีเ่ ป็นเอกลักษณ์สะท้อนความมีระดับในแบบฉบับอังกฤษ ทัง้ เฟอร์นเิ จอร์ ส�ำหรับห้องนอน ห้องนัง่ เล่น ห้องรับประทานอาหาร ห้องน�ำ้ รวมถึงของ ตกแต่งต่างๆ มากมาย จะถูกยกมาไว้ให้ได้ชอ้ ปแบบเอ็กซ์คลูซฟี ที่ เอสบี ดีไซน์สแควร์ แมททิว คิม รองประธานฝ่ายขายต่างประเทศ แบรนด์ Universal (ยูนิเวอร์แซล) กล่าวว่า Universal เป็นแบรนด์ที่มุ่งเรื่องการท�ำตลาด ต่างประเทศ และเราก็รู้สึกตื่นเต้นยินดีเสมอที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการ เติบโตของพาร์ทเนอร์ของเรา โดยเฉพาะกับ เอสบี ดีไซน์สแควร์ ซึง่ เป็น แบรนด์ผู้น�ำในตลาดเมืองไทย มันมากกว่าแค่เรื่องของสัมพันธภาพที่ดี ต่อกันมาเป็นเวลาหลายปี แต่ท้ังยูนิเวอร์แซลและเอสบี เราต่างเป็น แบรนด์ที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนานกว่า 50 ปี ในอุตสาหกรรม เฟอร์นิเจอร์ เรามักจะแชร์กระบวนการคิดความเข้าใจต่อความต้องการ ของลูกค้า และท�ำงานร่วมกันในการที่จะตอบสนองความต้องการนั้นๆ ในหลายแง่มมุ ไม่วา่ จะเรือ่ งสไตล์ ราคา คุณภาพ และความสบายในการ ใช้งาน ซึ่งการที่ยูนิเวอร์แซลได้ขยายตลาดมาใน เอสบี ดีไซน์สแควร์ สาขาที่ตั้งอยู่ในท�ำเลที่ดีเช่นนี้ก็นับเป็นอีกหนึ่งก้าวที่ท้าทายส�ำหรับเรา” แบรนด์ Universal (ยูนิเวอร์แซล) ได้เปิดช็อปแบบเอ็กซ์คลูซีฟเฉพาะที่ เอสบี ดีไซน์สแควร์ เท่านัน้ โดยมีความหรูหราสง่างามและทันสมัยสไตล์ Modern American เป็นจุดเด่นของแบรนด์ เฟอร์นิเจอร์ทุกชิ้นล้วนเป็น งาน Handcraft เน้นการใช้วัสดุเกรดพรีเมี่ยม เพื่อสร้างสัมผัสที่โดดเด่น แบบ American Signature เชือ่ ว่าคนรักการแต่งบ้านทีม่ าเยีย่ มชมภายใน ร้านต้องได้ Inspire ดีๆ ในการตกแต่งบ้านแน่นอน
61
Engineering Today September - October
2019
Advertorial ปัจจุบัน เน็กซ์ อินโนเทคด�ำเนินธุรกิจมาแล้ว 6 ปี และขยายไป เป็นกลุ่ม “เน็กซ์ กรุ๊ป” ที่มีความหลากหลายทางด้านเทคโนโลยีและ ผลิตภัณฑ์ โดยผลิตภัณฑ์ของกลุม่ เน็กซ์ จะเน้นผลิตภัณฑ์ทมี่ คี ณ ุ ภาพสูง และจ�ำหน่ายในราคาที่เหมาะสมกับคุณภาพของสินค้า ซึ่งสินค้าหลาย ส่วนผลิตในประเทศ ขณะที่บางส่วนก็นำ� เข้าจากต่างประเทศ แต่ก็เป็น สินค้าที่อยู่ภายใต้มาตรฐาน มอก.
ต่อยอดเทคโนโลยี สร้างนวัตกรรมใหม่สู่ตลาด
“Nex Innotech” นวัตกรรมไฟฟ้าส่องสว่าง คุณภาพสูงฝีมือคนไทย “High-performance & Innovative” น่าจะเป็นค�ำ จ�ำกัดความที่ตรงกับ “Nex Innotech” มากที่สุด เพราะ บริษัทผู้พัฒนาโซลูชั่นเทคโนโลยีด้านไฟฟ้าแสงสว่าง สัญชาติไทยแห่งนี้ ไม่เคยหยุดที่จะสร้างสรรค์นวัตกรรม ใหม่ออกสู่ตลาด จากผู้คร�ำ่ หวอดในธุรกิจสุขภัณฑ์กว่า 60 ปีภายใต้ ชื่อ “สุขกมลรัชดา” มาจนถึงการแตกไลน์ออกมาบุกธุรกิจ เทคโนโลยีไฟฟ้าส่องสว่างภายใต้ชอื่ “Nex Innotech” หรือ “เน็กซ์ อินโนเทค” ปัจจุบนั ผลิตภัณฑ์แบรนด์ เน็กซ์ (Nex) ถือได้ว่าเป็นแบรนด์ของคนไทยที่กล่าวได้ว่าเป็นผู้นำ� ด้าน นวั ต กรรมเทคโนโลยี ไ ฟฟ้ า แสงสว่ า งเพื่ อ การประหยั ด พลังงานอย่างแท้จริง รวมทัง้ เป็นแบรนด์ทไี่ ด้รบั การยอมรับ อย่างกว้างขวางจากลูกค้าทั้งในและต่างประเทศ
• รู้จัก “เน็กซ์ อินโนเทค” อัศพล บุณยเกียรติ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท เน็กซ์ อินโนเทค จ�ำกัด กล่าวถึงภาพรวมของบริษัทว่า เน็กซ์ เติบโตจากธุรกิจสุขภัณฑ์ซงึ่ เป็นทีร่ จู้ กั กันในชือ่ สุขกมลรัชดา ทีป่ จั จุบนั ด�ำเนินธุรกิจมาแล้ว 64ปี ขณะทีใ่ นส่วนของเน็กซ์ เกิดมาจากตอนทีเ่ ราเข้าไปหาลูกค้ากลุม่ เป้าหมายเพือ่ ผลักดัน ขายสุ ข ภั ณ ฑ์ จึ ง เห็ นว่ า กลุ ่ ม ลู ก ค้ า หลายคนต้ อ งการ ให้ท�ำเรื่องไฟฟ้าเพื่อให้ครบวงจร จึงมาเริ่มด�ำเนินธุรกิจ เทคโนโลยีไฟฟ้าแสงสว่างเพือ่ การประหยัดพลังงานภายใต้ ชื่อ “เน็กซ์ อินโนเทค”
Engineering Today September - October 2019
อัศพล กล่าวว่า จุดแข็งของบริษัท เน็กซ์ อินโนเทค คือการมี ทีมวิจัยและพัฒนา (R&D) ที่แข็งแรง โดยเน็กซ์จะหยิบเทคโนโลยีและ ผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ มาพัฒนาต่อยอด โดยจะเน้นนวัตกรรมทีส่ ามารถน�ำไป ใช้งานได้จริง “นวัตกรรมในตลาดมีอยู่ 2-3 ชนิด คือบางนวัตกรรมเป็นนวัตกรรม เพื่อโชว์แต่ใช้งานจริงไม่ได้ แต่เน็กซ์เน้นการสร้างสรรค์นวัตกรรม ทีส่ ามารถใช้งานได้จริง เราท�ำนวัตกรรมมาแล้วต้องน�ำไปใช้ในท้องตลาด ได้จริง” อัศพล กล่าว อย่างไรก็ตาม อัศพลให้ความเห็นว่า บางนวัตกรรมก็ไม่สามารถ พัฒนาต่อยอดได้ ซึ่งสุดท้ายก็จ�ำเป็นต้องหยุดพัฒนา เขายกตัวอย่าง เทคโนโลยี “Powerline” ทีเ่ ป็นการน�ำสายไฟมาส่งสัญญาณอินเทอร์เน็ต ซึง่ มีการพูดถึงในช่วง 10 ปีทผี่ า่ นมา แต่สดุ ท้ายก็ไม่เติบโตเพราะเหตุผล ด้านการส่งข้อมูล หรือ Data ผ่านสายไฟไม่สมบูรณ์ ขณะที่ซอฟต์แวร์ พัฒนาต่อไม่ได้
ทิศทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของ “เน็กซ์ อินโนเทค” อัศพล กล่าวว่า ทิศทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ของเน็กซ์ คือ เน็กซ์ มองว่าอนาคตเรื่องระบบไฟส่องสว่างเพียงอย่างเดียวไม่เพียงพอแล้ว แต่ต้องมีนวัตกรรมในการใช้เข้ามาด้วย ปัจจุบันมีทั้งนวัตกรรมในการ ควบคุม นวัตกรรมในการประหยัด เน็กซ์ก็จะพัฒนาสิ่งเหล่านี้ออกไป ซึ่งเราเชื่อว่าอนาคตในแง่การขาย ลูกค้าจะเปรียบเทียบเรื่องนวัตกรรม สิ่งที่เน็กซ์ทำ� คือการ “Retrofit” คือท�ำให้ผลิตภัณฑ์สามารถติดตั้ง และใช้งานได้เลยไม่ตอ้ งยุง่ ยากกับการดัดแปลงแก้ไขส่วนอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น หลอด LED ของเน็กซ์ทปี่ รับความสว่างได้ดว้ ยรีโมท คือท�ำหลอดไป ใส่กบั โคมก็ใช้ได้เลย ไม่ตอ้ งไปติดตัง้ สวิทช์แยกออกมา เน็กซ์พยายามจะ ดีไซน์ผลิตภัณฑ์ออกมาในรูปแบบนี้ “เน็กซ์มองไปในอนาคตว่าล�ำพังหลอดไฟอย่างเดียวอนาคตมัน ไม่ได้ เราพยายามจะเอาเทคโนโลยีอจั ฉริยะ หรือ สมาร์ท (Smart) ต่างๆ เช่น IoT (Internet of Things) เข้ามาร่วมเพือ่ ให้หลอดไฟสามารถท�ำงาน ร่วมกับเทคโนโลยีเหล่านี้ได้ สิ่งที่เน็กซ์ผลิตจะเน้นคุณภาพสูง ไม่ได้ผลิต สินค้าในราคาโลว์เอนด์ เราจะท�ำอยู่ในระดับกลาง ผมใช้ค�ำว่าราคา ที่เหมาะสมกับคุณภาพ” อัศพล กล่าว ผูจ้ ดั การทัว่ ไป บริษทั เน็กซ์ อินโนเทค จ�ำกัด ยังยกตัวอย่างเรือ่ ง หลอดไฟไว้อย่างน่าสนใจว่า ขอยกตัวอย่างเรื่องหลอดไฟ เราเห็นตั้งแต่ 5-6 ปีทแี่ ล้ว ผูผ้ ลิตทัว่ ๆไปจะขายหลอดไฟแล้วก็มาแข่งขันกันเรือ่ งราคา
62
ซึง่ หลอดไฟบางอันไม่ผา่ นมาตรฐานของประเทศไทยด้วยซ�ำ้ ซึ่งบ้านเรามาตรฐานในเรื่องนี้ค่อนข้างสูง ฉะนั้นเมื่อเน็กซ์ ท�ำตามมาตรฐานของประเทศทั้งหมดราคาจึงสูงกว่า แต่ผู้ บริโภคไม่ค่อยรู้เรื่องนี้ โดยเฉพาะเรื่องการรับประกัน ซึ่ง จ�ำนวนไม่น้อยมักเคลมไม่ได้จริง แต่เน็กซ์ไม่ท�ำอย่างนั้น การรับประกันของเน็กซ์ ถ้ามีปัญหาเราเปลี่ยนให้เลยทันที อัศพล กล่าวเสริมด้วยว่า หลายนวัตกรรมที่เน็กซ์ พัฒนาออกมา พูดได้ว่าไม่แพ้ต่างชาติ ซึ่งเน็กซ์ก็ได้เริ่มบุก ตลาดต่างประเทศแล้ว และอนาคตก็จะขยายเพิ่มมากขึ้น เน็กซ์มีทั้งลูกค้าจากสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ฯลฯ
3 กลุ่มลูกค้าหลักที่มีความต้องการอันหลากหลาย อัศพล กล่าวถึงกลุม่ ลูกค้าหลักของเน็กซ์วา่ ปัจจุบนั ลูกค้าของเน็กซ์มี 3 กลุม่ หลักคือ โรงงาน โรงพยาบาล และ โรงแรม ซึง่ ความต้องการของลูกค้า 3 กลุม่ ไม่เหมือนกันเลย เช่น กลุม่ โรงพยาบาลต้องการหลอดไฟทีม่ ฮี าร์มอนิกส์ทตี่ ำ�่ เพราะถ้าฮาร์มอนิกส์สูงจะเข้าไปรบกวนเครื่องมืออุปกรณ์ ทางการแพทย์ ค่าแสงสีฟา้ (Blue light) ทีไ่ ปท�ำลายสายตา ต้องไม่มี ไม่เช่นนั้นจะส่งผลกระทบต่อผู้ป่วย รวมทั้งค่า การสั่นกะพริบของแสง (Flicker) ของหลอด LED ที่ก่อให้ เกิดอาการตาล้าต้องไม่มี ซึ่งเน็กซ์ก็พัฒนาหลอดไฟที่ไม่มี การสั่นกะพริบของแสงออกมาเพื่อตอบสนองลูกค้ากลุ่มนี้ นอกจากนี้กลุ่มลูกค้ายังต้องการในเรื่องของสีจาก หลอดไฟทีไ่ ม่เหมือนกัน เช่น กลุม่ โรงแรมต้องการโทนสีสม้ ทีใ่ ห้ความรูส้ กึ อบอุน่ แต่ถา้ เป็นโรงงานจะต้องการแสงสีขาว ที่ให้อารมณ์กระตือรือร้น หนักแน่น หรือในเรื่องของการ ควบคุม กลุม่ โรงแรมจะต้องการให้หลอดไฟสามารถปรับค่า ความสว่างได้ แต่กลุ่มโรงงานต้องการระบบการควบคุม ทีส่ ามารถตรวจสอบและแจ้งเตือนเมือ่ เกิดปัญหา เช่น หาก หลอดไฟเสียระบบจะแจ้งเตือนไปหาใครเพือ่ ให้มกี ารแก้ไข “เน็กซ์พฒ ั นาผลิตภัณฑ์ทเี่ กีย่ วกับโรงงานค่อนข้างเยอะ ปัจจุบันเราท�ำคอนโทรลบอร์ดในโรงงานได้เลย ไฟแต่ละ ดวงท�ำงานอย่างไร ควบคุมการเปิดปิดได้จากนอกโรงงาน ผ่านเทคโนโลยี IoT เรามีการใส่เซ็นเซอร์บนหลอดไฟทีเ่ ปิด ปิดได้อัตโนมัติเมื่อไม่มีผู้อยู่ในพื้นที่ หรือหลอดไฟจะลด ความสว่างลง ซึ่งช่วยให้ประหยัดไฟ รวมทั้งมีระบบการ เตือนเมือ่ หลอดไฟเสียในจุดต่างๆ เช่น เตือนไปยังโทรศัพท์ มือถือของผู้รับผิดชอบทันที” อัศพล กล่าว อัศพล เสริมอีกว่า สิ่งที่ส�ำคัญกลุ่มโรงงานต้องการ เรื่องนวัตกรรมที่เข้ามาช่วยในการประหยัด เริ่มตั้งแต่การ เปลี่ยนหลอดไฟเป็น LED เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย เมื่อ เปลี่ยนแล้วก็ต้องการนวัตกรรมที่เข้ามาช่วยให้ประหยัด มากขึ้น เช่น การเข้าไปดูแลควบคุมการใช้พลังงานของ
โรงงาน เน็กซ์สามารถร่วมวางแผนกับลูกค้าและน�ำเสนอโซลูชั่นในการ บริหารจัดการพลังงานเพื่อตอบโจทย์ลูกค้า ซึ่งจะได้ประโยชน์ตั้งแต่การ ประหยัดค่าใช้จ่ายและความคุ้มค่าในระยะยาว
อัพเดทนวัตกรรมใหม่จาก “เน็กซ์ อินโนเทค” อัศพล กล่าวว่า ปีนี้เน็กซ์จะน�ำนวัตกรรมใหม่ 3 กลุ่มหลัก คือ High-performance & Innovative LED Lights, Industrial Internet of Things (IIoT) และ IoT Entertainment Industry ไปจัดแสดงภายใน งาน Thailand Lighting Fair 2019 ซึ่งจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 28-31 ตุลาคม พ.ศ. 2562 เขายกตัวอย่าง สิง่ ทีผ่ เู้ ข้าชมงานจะได้สมั ผัสในบูธของเน็กซ์วา่ ปีนี้ เน็กซ์พฒ ั นาผลิตภัณฑ์ในคอนเซ็ปต์ทเี่ รียกว่า “Self-powered wireless technology” หรืออุปกรณ์ที่มีพลังงานในตัวเองไม่ต้องใช้พลังงาน ภายนอก ซึง่ หลักการท�ำงานของเทคโนโลยีนคี้ อื ต้องบอกก่อนว่า ปัจจุบนั ของทุกอย่างต้องมีพลังงานภายนอกเสมอ ไม่ว่าจะเป็นรีโมทเปิดปิดไฟ ก็ต้องมีแบตเตอรี่ แต่ Self-powered wireless technology คือการ ไม่ต้องใช้แบตเตอรี่เพราะสามารถมีพลังงานในตัวเอง “สิ่งที่เราเอาไปโชว์คือ สวิทช์ที่ไม่ต้องใช้แบตเตอรี่ แต่เอาพลังงาน ที่เหลือรอบข้างมาใช้ เพราะรอบข้างเรามีพลังงานเหลือจากบลูทูธ 3G 4G พลังงาน IR ที่ใช้ไม่หมด เราจึงคิดค้นสวิทช์ที่น�ำพลังงานเหล่านี้ มาใช้ ฉะนั้นสวิทช์จะอยู่ตรงไหนก็ได้เพราะไม่ต้องพึ่งพาแหล่งจ่าย พลังงาน ซึ่งจะช่วยในเรื่องความประหยัดและสะดวกเพิ่มขึ้นอย่างมาก” อัศพล กล่าว นอกจากนี้จะมีเรื่องของ “Ambient” ที่มีการน�ำเซ็นเซอร์ไปฝังไว้ ในหลอดไฟ ซึ่งสามารถเรียนรู้ความสว่างและสีสันได้ เช่น ห้องๆ หนึ่ง ต้องการความสว่างในระดับหนึง่ แต่เมือ่ เปิดม่านท�ำให้คา่ ความสว่างเกิน หลอดไฟก็จะลดค่าความสว่างลงเอง อัศพล กล่าวว่า บูธของเน็กซ์ในปีนจี้ ะเน้นให้ลกู ค้าสามารถสัมผัส และทดลองใช้งานนวัตกรรมได้จริงไม่ใช่แค่คุยเรื่องคอนเซ็ปต์ เช่น ระบบการบริหารจัดงานพลังงาน เน็กซ์จะท�ำห้องควบคุมเดโมภายในงาน ให้ดูเลยว่ามีการควบคุมไฟภายในพื้นที่อย่างไร “เราร่วมจัดแสดงผลิตภัณฑ์ในงาน Thailand Lighting Fair ตั้งแต่ เริ่มแรก ซึ่งผ่านมาหลายปีเน็กซ์มีลูกค้าให้ความสนใจเข้ามาติดตาม นวัตกรรมใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง และเน็กซ์จะได้ลูกค้ารายใหญ่จากงาน เยอะมาก ซึง่ ส่วนใหญ่ลกู ค้าจะมีปญ ั หามา เมือ่ มาเจอเน็กซ์ เราสามารถ ดูแลเขาได้ ช่วยเขาแก้ปัญหา จนกลายเป็นลูกค้าประจ�ำ” อัศพล กล่าว พบกับบริษัท เน็กซ์ อินโนเทค จ�ำกัด และผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าแสง สว่ า งเพื่ อ การประหยั ด พลั ง งานได้ ใ นงาน Thailand Lighting Fair, Thailand Building Fair และ Secutech Thailand 2019 ซึ่ง จะจัดขึ้นพร้อมงาน Digital Thailand Big Bang ภายใต้แนวคิดร่วม Smart City Solutions Week 2019 ระหว่าง วันที่ 28-31 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ณ ฮอลล์ 104-105 ศูนย์นิทรรศการและการประชุม ไบเทค บางนา
63
Engineering Today September - October
2019
CSR • กองบรรณาธิการ
บราเดอร์ จัดกิจกรรม Brother Beat Cancer Run 2019
น�ำรายได้มอบรพ.รามาธิบดี ช่วยผูป้ ว่ ยโรคมะเร็งทีย่ ากไร้
บริษัท บราเดอร์ คอมเมอร์เชี่ยล (ประเทศไทย) จ�ำกัด ร่วมกับ โรงพยาบาลรามาธิบดี จัดวิ่งการกุศล Brother Beat Cancer Run 2019 เส้นทางสะพานพระราม 8 เพื่อน�ำรายได้ช่วยเหลือผู้ป่วยโรคมะเร็งที่ยากไร้ ในมูลนิธิรามาธิบดี กองทุนมะเร็งโลหิตวิทยาผู้ใหญ่ โรงพยาบาลรามาธิบดี ธีรวุธ ศุภพันธุภ์ ญ ิ โญ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั บราเดอร์ คอมเมอร์เชีย่ ล (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า กิจกรรม Brother Beat Cancer Run 2019 ถือเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมด้าน CSR ของบริษัทฯ เพื่อช่วยเหลือผู้ป่วย โรคมะเร็งที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ในการรักษา ในโครงการของมูลนิธิรามาธิบดี กองทุนมะเร็งโลหิตวิทยาผู้ใหญ่ โรงพยาบาลรามาธิบดี ภายใต้นโยบายการ ด�ำเนินกิจกรรมเพือ่ ชุมชนท้องถิน่ ซึง่ ถือเป็นหนึง่ ในปรัชญาการด�ำเนินธุรกิจตาม พันธสัญญาสากล (Global Charter) ของกลุม่ บริษทั บราเดอร์ ภายใต้โครงการ “Golden Ring” ของบราเดอร์สำ� นักงานใหญ่ ประเทศญีป่ นุ่ ซึง่ ทีผ่ า่ นมากิจกรรม ดังกล่าว มีผู้สนใจและเข้าร่วมจากหลากหลายภาคส่วน “โรคมะเร็งคือสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทยในปัจจุบัน และ มีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ในทุกๆ ปี ซึง่ บราเดอร์ได้เล็งเห็นและให้ความส�ำคัญกับปัญหา จึงให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่องตลอด 5 ปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรม วิ่งการกุศล Brother Beat Cancer Run 2019 นอกจากจะได้ช่วยผู้ป่วย โรคมะเร็งแล้ว ยังได้สร้างความแข็งแรงให้กบั ร่างกายของตนเองอีกด้วย จึงอยาก เชิญชวนผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ โดยตลอด 5 ปีที่ผ่านมา บราเดอร์
Engineering Today September - October 2019
64
สามารถรวบรวมเงินบริจาคได้สงู ถึง 5,478,187 บาท และได้ช่วยเหลือผู้ป่วยโรคมะเร็งในมูลนิธิรามาธิบดี กองทุ น มะเร็ ง โลหิ ต วิ ท ยาผู ้ ใ หญ่ โรงพยาบาล รามาธิบดีไปแล้วกว่า 240 ราย” ธีรวุธ กล่าว พรภั ค อุ ไ พศิ ล ป์ ส ถาพร ผู ้ จั ด การทั่ ว ไป ฝ่ า ยการเงิ น และการบริ ห าร บริ ษั ท บราเดอร์ คอมเมอร์เชี่ยล (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวถึง รายละเอียดการจัดกิจกรรมวิ่งการกุศล Brother Beat Cancer Run 2019 ว่าในปีนี้ บริษัทฯ ตั้งเป้า จ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมไว้ที่ 3,000 คน รวมทั้งยัง ได้กำ� หนดยอดเงินบริจาคขัน้ ต�ำ่ ไว้ที่ 1,000,000 บาท ซึง่ ความพิเศษของการจัดกิจกรรมในปีนคี้ อื เราต้องการ เน้นให้ทกุ คนรับรูว้ า่ รายได้ทกุ บาททุกสตางค์ทไี่ ด้รบั จากการจัดกิจกรรมนี้ จะถูกน�ำไปใช้กับผู้ป่วยโรค มะเร็งในมูลนิธิรามาธิบดี กองทุนมะเร็งโลหิตวิทยา ผู้ใหญ่ โรงพยาบาลรามาธิบดี โดยไม่หักค่าใช้จ่าย ซึ่งในครั้งนี้ได้มีการเพิ่มระยะทางการวิ่งให้เพิ่มขึ้น เพื่อให้ผู้วิ่งได้ท้าทายขีดความสามารถของตนเอง ขณะเดียวกันก็ได้ส่งพลังใจไปยังผู้ป่วยโรคมะเร็ง ให้ก้าวผ่านจุดเปลี่ยนของชีวิตไปด้วยกัน ส�ำหรับกิจกรรมวิ่งการกุศล Brother Beat Cancer Run 2019 จะจั ด ขึ้ น ในวั น อาทิ ต ย์ ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2562 เส้นทางสะพานพระราม 8 โดยการแข่งขันในครั้งนี้ถูกแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ประกอบด้วย ระยะทาง 6 กิโลเมตร 12 กิโลเมตร และ 24 กิโลเมตร โดยมีค่าสมัครดังนี้ ระยะทาง 6 กิโลเมตร และ 12 กิโลเมตร ค่าสมัคร 600 บาทต่อ ท่าน ระยะทาง 24 กิโลเมตร ค่าสมัคร 800 บาท ต่อท่าน เปิดรับสมัครแล้ววันนีท้ ี่ www.brotherbeat cancerrun.com ทั้งนี้ผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมจะได้รับ เสือ้ ทีร่ ะลึก ถุงผ้า และเหรียญทีร่ ะลึกเมือ่ เข้าเส้นชัย
Project Management • ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล dr.pornchai.ong@gmail.com
ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จ ในการสตาร์ทอัพ โดย บิล กรอส
(Key Success Factors in Startup by Bill Gross) เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ (New Management Tools)
จากผลงานการเขียนหนังสือของ Alvin Toffler ในปี ค.ศ. 1960 หนังสือชื่อว่า “คลื่นลูกที่สาม The Third Wave” ได้เขียนบรรยายการเปลี่ยนแปลงของวิวัฒนาการของโลก โดย แบ่งออกเป็นการเปลี่ยนแปลงผ่านคลื่น 3 ลูก ดังนี้ คลื่นลูกแรก (1st Wave; The Age of Agriculture) คื อ ยุ ค การเกษตร ที่ ดิ น เป็ น ความมั่ ง คั่ ง ของมนุ ษ ย์ การพัฒนาความเจริญด้านเกษตรกรรม มหาอ�ำนาจคือผู้ที่มีที่ดิน มากเพื่อท�ำการเกษตร อ�ำนาจส�ำคัญอยู่ที่การได้ครอบครอง อาณาจักรและประชากร ซึ่งจะเป็นช่วงก่อนเราจะเห็นว่าอ�ำนาจ คือการได้ครอบครองพื้นที่อันอุดมสมบูรณ์ ผู้ที่ครอบครองที่ดิน มากคือผู้ที่มีอ�ำนาจสูง และเช่นกันในยุคนั้นต้องใช้วิวัฒนาการ ในการเปลี่ยนแปลงเป็นเวลานับพัน นับหมื่นปี คลื่นลูกที่สอง (2nd Wave; Industrial Revolution Age) คือการพัฒนาอุตสาหกรรม ผูท้ มี่ เี ครือ่ งจักรและ วัตถุดบิ ในการผลิตมากจะเอาชนะผูท้ มี่ ที ดี่ นิ มากๆ ได้มกี ารปฏิวตั ิ อุตสาหกรรม (18C) มีเปลี่ยนโครงสร้างการใช้พลังงาน จาก Labor Intensive เป็นเครื่องจักรกล (ไอน�้ำ เชื้อเพลิง) และมี การแบ่ ง Zoning Area เป็ น พื้ น ที่ ส ่ ว นราชการ ส่ ว นธุ ร กิ จ ส่วนอุตสาหกรรม ตลอดจนมีการพัฒนาเป็นโรงไฟฟ้า โทรศัพท์ และวิวัฒนาการที่ส�ำคัญที่สุดของมวลมนุษย์โลกคือ การมีการ สร้างเครื่องบินส�ำเร็จโดยพี่น้องตระกูลไรท์ (Wright ฺBrothers) ในปี ค.ศ. 1900 สามารถย่อโลกให้เล็กลงโดยการเดินทางทาง อากาศด้ ว ยเครื่ อ งบิ น จะเห็ นว่ า การเปลี่ ย นแปลงในยุ ค นี้ คื อ
1
2
Engineering Today September - October 2019
66
การพัฒนาสิ่งประดิษฐ์สมัยใหม่และการผลิตจ�ำนวนมากๆ และ เช่นกันในยุคนี้ต้องใช้วิวัฒนาการในการเปลี่ยนแปลงเป็นเวลา นับเพียงระยะ 10 ปี ในระยะ 100 ปีจะมีการเปลีย่ นแปลงผลงาน สิ่ ง ประดิ ษ ฐ์ ม ากมายเพื่ อ อ� ำ นวยประโยชน์ สุ ข ของมวลมนุ ษ ย์ ซึ่งเป็นยุคอุตสาหกรรม คลื่นลูกที่สาม (3rd Wave; Information Age and Knowledge Age) คือโลกยุคปัจจุบัน ซึ่งเป็นยุค คอมพิวเตอร์และระบบข่าวสาร สารสนเทศ คอมพิวเตอร์เป็น ของราคาถูก ผู้ที่มีสมองสามารถคิดออกแบบ จัดการท�ำงานการ ผลิตได้ดีจะเป็นผู้มีอ�ำนาจและได้เงินมากที่สุด และช่วงเวลาของ การเปลี่ยนแปลง ช่วงระยะเปลี่ยนแปลงจะสั้นมากอาจเพียงช่วง ข้ามคืนก็เป็นไปได้ การเปลี่ ย นผ่ า นครั้ ง มหึ ม าผ่ า นจากยุ ค ของการปฏิ วั ติ อุตสาหกรรม (Industrial Revolution) มาเป็นยุคของการปฏิวัติ ของข้อมูลสารสนเทศ (Information Revolution) ในช่วงกว่า 15 ปีทผี่ า่ นมานี้ การจ้างงานและการเติบโตของเศรษฐกิจปริมาณ มหาศาลของ U.S.A. ล้วนเกิดจากธุรกิจไฮเทคจากผู้ประกอบการ เทคโนโลยีที่ผลักดันให้เกิดเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) เช่น Apple, Amazon, Google, Salesforce, VMware, Facebook, Twitter, Groupon, Zynga เฉพาะ 9 บริษทั นีท้ เี่ พิง่ เกิดมาในช่วงไม่ถงึ 15 ปีทผี่ า่ นมา แต่กลับสามารถ สร้าง Gross Domestic Products (GDP) ให้เกือบ $1Trillion จาก GDP ของ U.S.A. ที่ประมาณ $15 Trillion! ค�ำตอบคือโลก
3
เราตอนนี้ ก� ำ ลั ง อยู ่ ใ นยุ ค ของการเปลี่ ย นผ่ า นครั้ ง ส� ำ คั ญ จาก การปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรมมาสู ่ ก ารปฏิ วั ติ ข องข้ อ มู ล สารสนเทศ โลกเราตอนนีม้ ผี ใู้ ช้บรอดแบนด์อนิ เทอร์เน็ตจ�ำนวนหลายพันล้าน คนและมีผู้ใช้สมาร์ทโฟนอีกหลายพันล้านคนและมากขึ้นเรื่อยๆ สิ่งเหล่านี้เป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ก่อให้เกิดการมาของยุคข้อมูล สารสนเทศอย่างแท้จริง ดังนั้น สามารถกล่าวได้ว่า ผู้ประกอบการเทคโนโลยีจึงมี ความส�ำคัญในยุคนี้เป็นอย่างมาก เพราะคนกลุ่มนี้จะเป็นคน ที่ ส ร้ า งสรรค์ เ ทคโนโลยี ใ หม่ ขึ้ น มาเพื่ อ เข้ า ไปช่ ว ยแก้ ป ั ญ หา หลายๆ อย่าง และน�ำมาซึ่งการสร้างการเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่ หลวงในหลายๆ ภาคธุรกิจ น�ำนวัตกรรมให้เข้ามามีส่วนในการ ด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันมากขึ้นกว่าสมัยก่อน มีการเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้นมากมาย ทั้งในด้านกิจวัตรประจ�ำวันที่ต้องใช้เทคโนโลยี และอิ น เทอร์ เ น็ ต เข้ า มาช่ ว ย รวมไปถึ ง การประกอบอาชี พ การด�ำเนินธุร กิจ ผู้ประกอบการจะต้องปรับตัวให้ทันกับการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว การเปลี่ยนแปลงโลกธุรกิจ อย่างมากในศตวรรษที่ 21 เป็นอีกสาเหตุสำ� คัญทีท่ ำ� ให้ธรุ กิจต้อง มีการปรับตัวหรือคิดวิธีใหม่ ๆ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป บริบทการแข่งขันทางธุรกิจของตลาดในประเทศ และตลาดโลกที่เปลี่ยนแปลง ธุรกิจ Startup เป็นแนวคิดธุรกิจแบบใหม่ คือการที่เรา มองเห็นปัญหาทีเ่ กิดขึน้ กับคนส่วนมากแล้วสร้างโมเดลธุรกิจเพือ่ มาแก้ไขปัญหาโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้อง ด้วยวิธีการที่ แตกต่างจากเดิม และธุรกิจจะต้องสามารถสร้างก�ำไรได้เรื่อยๆ เพิ่มผู้ใช้ได้เรื่อยๆ และสามารถเติบโตขึ้นได้อย่างรวดเร็วภายใน เวลาอันสั้นและกลายเป็นบริษัทขนาดใหญ่นั่นเอง Startup มีจุด เริ่มต้นที่ Silicon Valley ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งถือเป็น ศูนย์กลางแห่งเทคโนโลยีปัจจุบัน นักลงทุนเริ่มให้ความสนใจกับ ธุรกิจ Startup มากขึ้น เพราะ Startup มีแนวโน้มที่จะเติบโตได้
แบบก้าวกระโดด เมื่อเทียบกับการท�ำธุรกิจแบบในอดีตที่ต้อง ใช้เวลาและเงินลงทุนจ�ำนวนมากในการขยายธุร กิจให้เติบโต หลายบริษัทระดับโลก เช่น 1. Apple 2. Google 3. Facebook 4. Instagram 5. Twitter ฯลฯ ล้วนแล้วแต่เคยผ่านการเป็น Startup มาก่อนแล้วทั้งสิ้น Startup จึงเป็นแนวคิดธุรกิจแบบใหม่ที่เกิดขึ้นและเติบโต อย่างรวดเร็ว แต่การทีจ่ ะท�ำให้ธรุ กิจประสบความส�ำเร็จนัน้ ต้องมี ปัจจัยหลายๆ ด้านทีต่ อ้ งเรียนรู้ ซึง่ ในยุคนีเ้ ราจะได้ยนิ คนรุน่ ใหม่ๆ ทั้งที่ก�ำลังจบการศึกษาและที่ก�ำลังท�ำงานประจ�ำพูดให้ได้ยิน อยูเ่ สมอว่า การเป็นเจ้าของธุรกิจเป็นอาชีพในฝันทีอ่ ยากท�ำเพราะ นอกจากจะได้เป็นเจ้านายตัวเองแล้ว ยังมีอิสระในการท�ำงานหา รายได้ด้วยฝีมือตนเอง อย่างไรก็ตาม การจะเป็นเจ้าของธุรกิจที่ เข้มแข็งอยูร่ อดได้จนประสบความส�ำเร็จนัน้ จ�ำเป็นทีผ่ ปู้ ระกอบการ ต้องมีความรู้ความเข้าใจในการท�ำธุรกิจเป็นอย่างดีเสียก่อน โดย เฉพาะธุรกิจ Startup โดยองค์ประกอบความส�ำเร็จมีปจั จัยทีส่ ำ� คัญ ดังเช่น ปัจจัยด้านจังหวะเวลา ปัจจัยด้านทีมงาน ปัจจัยด้านแนว ความคิดสร้างสรรค์ ปัจจัยด้านแผนธุรกิจ และปัจจัยด้านเงินทุน ซึ่งปัจจัยแต่ละด้านก็ขึ้นอยู่กับประเภทของธุรกิจ Startup นั้นๆ ด้วยว่าจะให้ความส�ำคัญกับปัจจัยด้านไหนเป็นอันดับแรก ดังนั้น ธุรกิจ Startup จะประสบความส�ำเร็จได้นนั้ จะต้องใส่ใจในปัจจัยนี้ เป็นหลักดังกล่าว หรืออาจมีปจั จัยอืน่ ๆ ทีเ่ ข้ามาเกีย่ วเนือ่ งซึง่ เป็น สภาพแวดล้อมภายนอก (External Environment: PEST& EL) ประกอบด้วย นโยบายรัฐ (Political) เศรษฐกิจ (Economic) สังคม (Social) เทคโนโลยี (Technology) และสิ่งแวดล้อม (Environment) กฎหมาย (Law) อย่างไรก็ตาม ธุรกิจ Startup ที่จะประสบความส�ำเร็จได้คือ ธุรกิจต้องสามารถตอบโจทย์และ แก้ปญ ั หาได้ตามความต้องการของผูบ้ ริโภคได้และเป็นความถนัด และช�ำนาญการของผู้ประกอบการ
ปัจจัยที่ทำ� ให้ธุรกิจ Startup ประสบความส�ำเร็จ
บิล กรอส (Bill Gross) นักลงทุนและผูก้ อ่ ตัง้ บริษทั Idealab ในประเทศสหรัฐอเมริกาได้ทำ� การวิจยั และศึกษาจนพบว่าการทีบ่ ริษทั เกิดใหม่จะประสบความส�ำเร็จนั้นต้องมีปัจจัย 5 อย่าง ซึ่งประกอบไปด้วย แนวคิด ทีมงาน แผนธุรกิจ เงินทุน และจังหวะเวลา Legend Ranking
5 Essential Elements that Lead to Success
Top 5 Factors in Success Across More Than 200 Companies
แนวคิดหรือไอเดียในการท�ำธุรกิจ ต้องมีความแปลกใหม่ มีความน่าสนใจ ตอบโจทย์ปัญหา หรือ Pain Point ของ ผู้บริโภคได้ และสร้างความเปลี่ยนแปลงบางสิ่งบางอย่าง ที่จะท�ำให้เกิดความสะดวกสบายมากขึ้น
(3) 28%
67
Engineering Today September - October
2019
ทีมงาน เมือ่ มีไอเดียทีด่ แี ล้ว คุณจ�ำเป็นต้องหาผูท้ มี่ าร่วมกัน ท�ำงานเป็นทีมเพราะธุรกิจไม่สามารถประสบความส�ำเร็จได้ ด้วยตัวคนเดียว การคัดเลือกคนมาร่วมในทีมท�ำงานจึงเป็น เรื่องส�ำคัญมาก แผนธุรกิจที่ชัดเจน ว่าสินค้าหรือบริการของธุรกิจคืออะไร กลุ่มลูกค้าเป้าหมายเป็นใคร จะสร้างรายได้จากจุดไหนได้ บ้าง แผนธุรกิจที่ชัดเจนจะเป็นตัวขับเคลื่อนธุรกิจให้เดินไป ในทางที่ถูกต้อง ธุรกิจที่คุณท�ำจะต้องสามารถตอบโจทย์ ความต้ อ งการของผู ้ บ ริ โ ภคได้ และสามารถสร้ า งความ แตกต่างให้เกิดขึ้นในใจผู้บริโภคด้วย เพื่อการเติบโตของ ธุรกิจที่ยั่งยืน
(4) 24%
เงินทุน เป็นปัจจัยส�ำคัญในการเริ่มต้นท�ำธุรกิจ เพราะหาก ไม่มีเงินทุนแล้วธุรกิจคงไปได้ยาก แต่หากวิเคราะห์ให้ลึก กว่านี้ การมีเงินทุนที่มากพอก็ไม่ได้รับรองว่าธุรกิจของคุณ จะไปรอด เพราะนอกจากมีเงินทุนแล้ว การบริหารเงินทุน รวมถึงการจัดท�ำบัญชีอย่างรอบคอบก็เป็นส่วนส�ำคัญใน การท�ำธุรกิจเช่นกัน
(5) 14%
จังหวะเวลา การท�ำธุรกิจนั้นต่อให้มีปัจจัยทั้ง 4 ที่กล่าวมา ข้างต้นเพียบพร้อมแล้ว แต่ถา้ ธุรกิจเปิดตัวและด�ำเนินการใน ช่วงเวลาที่ไม่เหมาะสม เช่น ในช่วงตลาดอิ่มตัว หรือมี ตัวเลือกมาก ก็จะท�ำให้ธุรกิจไม่ประสบความส�ำเร็จ
(1) 42%
ซึ่งสิ่งที่ค้นพบจากการศึกษาและวิจัย Startup ที่ประสบ ความส�ำเร็จมากว่า 20 ปี กว่า 200 บริษัท พบว่ากระบวนการ ท�ำงานกับไอเดียนั้นส�ำคัญมากเป็นอันดับแรก แต่ผลกลับเป็นว่า จังหวะเวลานั้นส�ำคัญกว่าทุกอย่าง และวิธีที่ดีที่สุดที่จะประเมิน จังหวะเวลาคือดูวา่ เวลานัน้ กลุม่ ลูกค้าเป้าหมายของเราพร้อมหรือ ยังกับสิ่งที่เราจะเสนอให้ ซึ่งต้องประเมินอย่างตรงไปตรงมา อย่าหลอกตัวเองกับผลลัพธ์ทเี่ ห็น เพราะถ้าคุณมีสงิ่ ทีค่ ณ ุ รักจะท�ำ และต้องการส่งมอบมัน คุณต้องประเมินผลลัพธ์อย่างซือ่ สัตย์กบั ตนเอง โดยมีทีมงานที่สามารถตอบสนองความต้องการและมี ประสิทธิภาพเป็นตัวช่วยผลักดัน การมีไอเดียที่ดีจะช่วยส่งเสริม ธุรกิจสู่ความต้องการของลูกค้า ด�ำเนินการอย่างมีแผนธุรกิจที่ สามารถสร้างความเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน และการมีเงินลงทุน ทางธุรกิจหลังจากได้พิสูจน์แล้วว่ามาถูกทางและต้องการขยาย สู่ความยิ่งใหญ่ทางธุรกิจต่อไป ในวันทีเ่ ริม่ ท�ำ Startup ทุกคนคาดหวังความส�ำเร็จในธุรกิจ แต่การที่จะท�ำธุรกิจ Startup ประสบความส�ำเร็จนั้นต้องมีปัจจัย หลายๆ อย่างจากวงการ Startup โดย บิล กรอส ได้กล่าวไว้
Engineering Today September - October 2019
(2) 32%
68
และพอสรุปให้พอเข้าใจเบื้องต้นใน Startup ของธุร กิจไทย ที่ประสบความส�ำเร็จ ดังนี้ จังหวะเวลาการท�ำธุรกิจ นัน้ ต้องมีปจั จัยหลายๆ ปัจจัย แต่ ถ ้ า ธุ ร กิ จ เปิ ด ตั ว และด� ำ เนิ น การในช่ ว งเวลาที่ ไ ม่ เหมาะสม เช่นในช่วงตลาดอิ่มตัวแล้วหรือมีตัวเลือกมาก ก็จะ ท�ำให้ธุรกิจไปรอดได้ยาก อย่างเช่น ธุรกิจ Ookbee เป็นธุรกิจ แอพพลิเคชั่นขายหนังสือออนไลน์ เป็นธุรกิจ Startup ประเภท พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) ที่ท�ำธุรกิจมา 5 ปีกว่า จะได้เป็นที่รู้จักก็ต้องผ่านการเปลี่ยนแปลงของบริษัทในหลาย รูปแบบ โดยณัฐวุฒิ พึงเจริญพงค์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและ ผู้ร่วมก่อตั้ง Ookbee ได้กล่าวว่า เวลาและข้อได้เปรียบที่เหนือ กว่าคนอื่นเป็นปัจจัยหลักที่ท�ำให้ธุรกิจได้เปรียบในการเข้าครอบ ครองตลาด และ ธุรกิจ Uber เป็นธุรกิจผูใ้ ห้บริการแท็กซีแ่ บบใหม่ โดยให้บคุ คลทัว่ ไปทีม่ รี ถยนต์มาขับเป็นแท็กซีแ่ ละมีการเรียกผ่าน แอพพลิ เ คชั่ น ได้ เป็ น ธุ ร กิ จ Startup ประเภทบริ ก ารซึ่ ง ใน ประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายรองรับ เป็นธุรกิจที่เปิดตัวในช่วงที่ เศรษฐกิจไม่ดหี รือคนหารายได้เสริมมากขึน้ ท�ำให้ Uber เป็นทีร่ จู้ กั
1
2
ทีมธุรกิจ ทุกธุรกิจทีมงานเป็นสิง่ ทีส่ ำ� คัญมาก การท�ำงาน เป็นทีมจะท�ำให้ไปได้ไกลและประสบความส�ำเร็จและ ถ้าได้ทีมงานที่ดี เข้าใจกัน มีแนวคิดการท�ำงานที่ตรงกันและให้ ความร่วมมือดี งานก็จะออกมาดี ธุรกิจก็จะเติบโตและประสบ ความส�ำเร็จ อย่างเช่น ธุรกิจ Ookbee ให้ความส�ำคัญกับทีม เพราะในการท� ำ ธุ ร กิ จ Startup จะใช้ เ วลาไม่ ม ากแต่ ก าร เปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นเร็ว ท�ำให้ต้องมีทีมที่ดีและเข้าใจการแบ่ง งานกันท�ำเพราะคนเดียวไม่สามารถท�ำทุกอย่างได้เองทัง้ หมด และ ไม่สามารถเข้าใจงานได้ถ้าไม่ใช่ทีมเดียวกัน ธุรกิจ Ookbee มี ทีมงานทีเ่ รียกว่า IT WORKS ทีท่ ำ� ให้ธรุ กิจสามารถเป็นเบอร์หนึง่ ของตลาดได้ และ ธุรกิจ Wongnai เป็นแอพพลิเคชั่นร้านอาหาร ที่ผู้บริโภคสามารถรีวิวอาหารได้ทั่วประเทศ เป็นธุรกิจ Startup ประเภท User-Generated Content หรือการสร้างเนื้อหา (Content) ทีเ่ กิดจากผูใ้ ช้ หรือผูต้ ดิ ตาม มาไว้บนพืน้ ทีข่ องเว็บไซต์ โดย ยอด ชินสุภัคกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง ได้เริ่มท�ำธุร กิจ Startup ที่อเมริกาเพราะช่วงนั้นที่นั่นคนท�ำ ค่ อ นข้ า งมาก และจากการขาดที ม งานจึ ง จ้ า งที ม ที่ อิ น เดี ย เขียนโปรแกรม แต่ก็ไม่ประสบความส�ำเร็จจึงกลับมาท�ำธุรกิจ ที่ประเทศไทย เพราะยอด มั่นใจว่าหาทีมได้ไม่จำ� เป็นต้องจ้างท�ำ และค่อยๆ รวมทีมเพือ่ นมหาวิทยาลัยขึน้ มา การท�ำงานกับเพือ่ น ท�ำให้เข้าใจกันง่ายขึน้ อยากเปลีย่ นตรงไหน อยากเพิม่ อะไรก็ทำ� ได้ ง่ายขึ้น เมื่อได้ทีมที่ดีธุรกิจก็ประสบความส�ำเร็จ ไอเดี ย หรือแนวความคิด ใหม่ๆ การจะท�ำธุร กิจให้ ประสบความส� ำ เร็ จ ได้ ต ้ อ งมี แ นวความคิ ด ใหม่ ๆ ที่สร้างสรรค์ รู้จักแก้ปัญหา เพราะแนวความคิดใหม่ๆ จะเป็นตัว บอกว่าเราจะท�ำอะไร ท�ำอย่างไร แก้ไขอะไร เป็นการเริ่มต้นใน การท�ำ Startup ให้ประสบความส�ำเร็จโดยที่แนวความคิดต้องไม่ ซ�้ำหรือจะเป็นการต่อยอดแนวความคิดเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีความ น่าสนใจยิง่ ขึน้ อย่างเช่น Garrett Camp ผูร้ ว่ มก่อตัง้ Uber Camp ที่เขาเกิดแนวความคิดใหม่ๆ จากการแก้ปัญหาเรียกแท็กซี่ยาก จึงมีแนวความคิดเรียกรถผ่านแอพพลิเคชั่นที่ชื่อว่า UberCab. com และอีกธุรกิจที่ให้ความส�ำคัญกับแนวความคิดใหม่ๆ แผนธุรกิจ เป็นอีกปัจจัยทีท่ ำ� ให้ธรุ กิจ Startup ประสบ ความส�ำเร็จ การที่เราจะท�ำธุรกิจอะไรก็ตามต้องมีการ วางแผนทีช่ ดั เจนเพือ่ ให้ธรุ กิจเป็นไปในทิศทางทีเ่ ราต้องการ อย่าง เช่น ธุรกิจ WASHBOX 24 เป็นธุรกิจ Startup ที่ช่วยแก้ปัญหา คนท�ำงานที่ไม่มีเวลาและต้องการความสะดวกในการซักผ้า โดย ใช้บริการซัก-รีดผ่านแอพพลิเคชั่นบนมือถือใช้งานได้ 24 ชั่วโมง โดย นิธิพนธ์ ไทยานุรักษ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ก่อตั้ง ธุรกิจ WASHBOX24 เป็นธุรกิจ Startup ประเภทบริการ ธุรกิจ Wongnai เป็นธุรกิจที่มีแผนธุรกิจที่ชัดเจนเช่นกัน เนื่องจาก ผู้ก่อตั้งมีความถนัดทางด้านซอฟต์แวร์จึงท�ำให้สามารถพัฒนา โปรแกรมตามแผนธุรกิจที่วางไว้ได้ และธุรกิจ CLAIM DI ที่มี
3 4
แผนธุร กิจ ที่ยืด หยุ่นเมื่อเกิด ปัญหาก็สามารถเปลี่ยนแปลงได้ อย่างรวดเร็ว เงินทุน ปัจจัยสุดท้ายที่ท�ำให้ธุรกิจ Startup ประสบ ความส�ำเร็จคือ เงินทุน การท�ำธุรกิจสิ่งที่สำ� คัญคือเงิน ทุนหรือแหล่งเงินทุน เงินลงทุนเป็นเครื่องมือของการเติบโตของ ธุรกิจ Startup และธุรกิจ Wongnai ที่ใช้เงินทุนตนเองลงเพื่อ พัฒนาให้มีผู้ใช้จ�ำนวนมากและขอรับการระดมทุนในภายหลัง ท�ำให้ง่ายต่อการระดมทุนเพราะธุรกิจมีการพัฒนาขึ้นไปเรื่อยๆ จึงมีความเสี่ยงน้อย จะเห็นว่าลักษณะของธุรกิจแตกต่างกันออกไป อย่างไร ก็ตาม แต่ละธุร กิจต่างมีปัจจัยแห่งความส�ำเร็จที่เหมือนหรือ คล้ายคลึงกัน ประกอบด้วย 5 ปัจจัยหลักๆ คือ 1. จังหวะเวลา 2. ทีม 3. ไอเดียหรือแนวคิดใหม่ๆ 4. แผนธุรกิจ และ 5. เงินทุน ที่ทำ� ให้ธุรกิจ Startup ประสบความส�ำเร็จ แต่ มิ ไ ด้ ห มายถึ ง ว่ า ทุ ก ธุ ร กิ จ ต้ อ งให้ ค วามส� ำ คั ญ ตาม อันดับที่ บิล กรอส ศึกษา ในแต่ละธุรกิจจะสามารถเน้นปัจจัย ที่แตกต่างกัน เช่น ธุรกิจ Startup ประเภทพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) จะให้ความส�ำคัญกับปัจจัยด้านจังหวะเวลาเป็น อั น ดั บ แรก เพราะจะต้ อ งอาศั ย สิ น ค้ า หรื อ บริ ก ารที่ ต รงกั บ ช่วงจังหวะเวลาและความต้องการของผู้คนส่วนมาก และปัจจัย รองลงมาคือทีมงานที่ดี ร่วมงานกันง่ายและเงินทุน ส่วนธุรกิจ Startup ประเภท User-Generated Content จะให้ความส�ำคัญ กับปัจจัยด้านทีมเป็นอันดับแรก เพราะการที่มีทีมที่สามารถ ท�ำงานกันได้ง่าย เข้าใจกัน ก็จะน�ำไปสู่แผนธุรกิจที่ลงตัว ออกมา ในจังหวะเวลาที่เหมาะสม ก็จะส่งผลให้สามารถระดมเงินทุน ได้มาก ธุรกิจ Startup ประเภทบริการ จะให้ความส�ำคัญกับ ปัจจัยด้านแนวความคิดใหม่ๆ ธุรกิจนี้จะต้องมีความแปลกใหม่ ตลอดเวลา มีความคิดสร้างสรรค์ที่สามารถเรียกความสนใจให้ คนมาใช้บริการได้ และยังให้ความส�ำคัญกับจังหวะเวลาที่ผู้คน ส่วนมากพบเจอปัญหาและเกิดความต้องการพอดีอีกด้วย ดังนั้น จึงต้องมีการวางแผนธุรกิจที่ดีและคิดครอบคลุมทุกด้านทุกมุม ในการท�ำธุรกิจนั้นปัจจัยด้านเงินทุนส�ำคัญมากกับธุรกิจ Startup ทุกๆ ประเภท แต่ทั้งนี้ก็ถือเป็นปัจจัยรองที่แต่ละธุรกิจให้ความ ส�ำคัญเพราะหากธุรกิจนัน้ มีทมี ทีด่ ี แนวความคิดใหม่ๆ แผนธุรกิจ ทีน่ า่ ลงทุน และจังหวะเวลาทีเ่ หมาะสม ก็จะสามารถหาเงินระดม ทุนได้ไม่ยาก ซึ่งปัจจุบันมีโอกาสเปิดกว้างและมีการสนับสนุน อย่างกว้างขวางจากบริษัทขนาดใหญ่ รวมถึงการสนับสนุนจาก ภาครัฐด้วย และสุดท้ายปัจจัยหลักที่ทำ� ให้ Startup ประสบความ ส�ำเร็จนั้น คือความสามารถในการตอบโจทย์ความต้องการและ สามารถแก้ไขปัญหาได้ตรงใจผู้บริโภค ขณะเดียวกัน Startup ก็ตอ้ งสามารถสร้างรายได้จากธุรกิจดังกล่าวได้ดว้ ย ถึงจะกล่าวได้ ว่าธุรกิจ Startup นั้นประสบความส�ำเร็จจริง
5
69
Engineering Today September - October
2019
Energy Today • กองบรรณาธิการ
โครงการ SPP Hybrid Firm บลู โซลาร์ รับเงินทุนจาก USTDA ศึกษาเทคโนโลยีกักเก็บพลังงาน พร้อมจ่ายไฟสู่เชิงพาณิชย์ปี’64
Thomas Hardy ผู้อำ� นวยการ ส�ำนักงานธุรกิจ การค้าระหว่างประเทศสหรัฐอเมริกา USTDA
วิเศษ หาญสวัสดิ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท บลู โซลาร์ จ�ำกัด
โครงการ SPP Hybrid Firm ของบริษัท บลู โซลาร์ จ�ำกัด ได้ รั บ เงิ น ทุ น จากส� ำ นั ก งานธุ ร กิ จ การค้ า ระหว่ า งประเทศ สหรั ฐ อเมริ ก า USTDA (United States Trade and Development Agency) มูลค่า 553,000 เหรียญสหรัฐ เพื่อ ศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ข องโครงการในระบบผลิ ต ไฟฟ้ า จาก พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ และระบบกั ก เก็ บ พลั ง งาน (Energy Storage) โดยจะน�ำเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน ทีป่ ระสบ ความส�ำเร็จในรัฐแอริโซนา เนวาดา และแคลิฟอร์เนีย จาก สหรัฐอเมริกา มาประยุกต์ใช้ เพื่อตอบโจทย์การผลิตไฟฟ้าใน ราคาไม่แพง ใช้เงินลงทุนดอกเบี้ยต�ำ่ คุ้มค่าต่อการลงทุน และ เสถียรภาพความมัน่ คงของโรงไฟฟ้าในระยะยาว พร้อมเดินหน้า จ่ายไฟฟ้าสู่เชิงพาณิชย์ในปี พ.ศ. 2564 Thomas Hardy ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานธุรกิจการค้า ระหว่างประเทศสหรัฐอเมริกา USTDA และ วิเศษ หาญสวัสดิ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท บลู โซลาร์ จ�ำกัด ร่วมลงนามในพิธี เซ็นสัญญาให้เงินทุน มูลค่า 553,000 เหรียญสหรัฐ ในโครงการ
Engineering Today September - October 2019
70
สุวฒ ั น์ กมลพนัส ประธานกลุม่ อุตสาหกรรมพลังงาน หมุนเวียน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (สอท.)
SPP Hybrid Firm ของบริษทั บลู โซลาร์ จ�ำกัด เพือ่ ศึกษาความ เป็นไปได้ของโครงการในระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ และระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage) ณ ชั้น 9 อาคาร จีพีเอฟ ทาวเวอร์ ถนนวิทยุ Thomas Hardy ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานธุรกิจการค้า ระหว่างประเทศสหรัฐอเมริกา USTDA กล่าวว่า งานในครั้งนี้ ถือเป็นการเปิดส�ำนักงาน USTDA อีกครัง้ หลังจากทีเ่ คยเปิดเมือ่ หลายปีกอ่ น อีกทัง้ ยังเป็นการแสดงถึงวิสยั ทัศน์เอเชียแปซิฟคิ และ แสดงความมุ่งมั่นของรัฐบาลสหรัฐอเมริกาที่มีต ่อบริษัท ด้าน พลังงานของไทย คือ บริษัท บลู โซลาร์ จ�ำกัด ส�ำหรับโครงการนี้ จะช่วยสนับสนุนการใช้พลังงานหมุนเวียน ท�ำให้เกิดคาร์บอนต�่ำ สามารถผลิตไฟฟ้า 50 เมกะวัตต์ ทั้งในช่วง Peak และไม่ Peak อีกทั้งยังเป็นทางเลือกทางการเงิน เพื่อให้มีพลังงานที่น่าเชื่อถือ ในไทย และยังเป็นการสนับสนุนนโยบาย Indo-Pacific ของรัฐบาล สหรัฐอเมริกาอีกด้วย
ด้านวิเศษ หาญสวัสดิ์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั บลู โซลาร์ จ�ำกัด กล่าวว่า บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจด้านพลังงานหมุนเวียน ซึ่งพัฒนาโรงผลิตไฟฟ้าจาก Solar Roof จนถึง Solar Farm ด้วย ตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) โดยใช้พลังงานสะอาดแทนการใช้พลังงานฟอสซิล ซึ่ง จะช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ในปี พ.ศ. 2560 บริษัทฯ ชนะการประมูลโครงการ โครงการ SPP Hybrid Firm จากทาง ภาครัฐ เพื่อผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์และระบบกักเก็บ พลังงาน โดยออกแบบระบบจ่ายพลังงานไฟฟ้า ติดตั้งพลังงาน 42 เมกะวัตต์ และระบบกักเก็บพลังงาน 54 MWh โดยโรงไฟฟ้า บลู เอสพีพี อยู่ห่างจากจังหวัดสุพรรณบุรี 10 กิโลเมตร ซึ่งเป็น ศูนย์กลางเรียนรู้ด้านพลังงานหมุนเวียนและเป็นศูนย์เกษตร อินทรีย์ เริ่มจ่ายไฟฟ้าสู่เชิงพาณิชย์ในปี พ.ศ. 2564 การใช้เทคโนโลยี Energy Storage จะต้องมั่นใจว่ามี ความเสถียรในระยะยาว และให้ผลตอบแทนทางการเงินที่ดี การทีบ่ ริษทั บลู โซลาร์ จ�ำกัด ได้รบั เงินทุนจากหน่วยงาน USTDA มูลค่า 553,000 เหรียญสหรัฐ เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของ ระบบกักเก็บพลังงาน เนื่องจากสหรัฐอเมริกาถือเป็นประเทศ ที่มีการติดตั้งระบบกักเก็บพลังงานมากที่สุดในโลก และประสบ ความส�ำเร็จในการท�ำให้ไฟฟ้ามีราคาถูก ที่รัฐแอริโซนา เนวาดา และแคลิฟอร์เนีย “ขณะนี้เหลือเวลาประมาณ 2 ปีครึ่ง เพื่อที่จ่ายไฟฟ้าสู่ เชิงพาณิชย์ในปี พ.ศ. 2564 โดยจะมีผเู้ ชีย่ วชาญจากสหรัฐอเมริกา เป็นผูด้ ำ� เนินการศึกษาอย่างละเอียดครอบคลุมทุกด้านทีเ่ กีย่ วข้อง โดยเสนอแนะให้ผลิตไฟฟ้าในราคาไม่แพง ใช้เงินลงทุนดอกเบีย้ ต�ำ่
พยายามหา Carbon Credit ที่มีราคาต�่ำ เพื่อให้เกิดความคุ้มค่า ในการลงทุน และเสถียรภาพของโรงไฟฟ้าในระยะยาว” วิเศษ กล่าว วิเศษ กล่าวต่อไปว่า เรือ่ งแบตเตอรีถ่ อื เป็นเรือ่ งใหม่สำ� หรับ ประเทศไทย จึงต้องศึกษาข้อมูลจากหลายๆ ประเทศ โดย โครงการนีไ้ ด้รบั ทุนในด้านการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ และระบบกักเก็บพลังงาน อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ มีความสนใจ ทีจ่ ะขยายธุรกิจพลังงานประเภทอืน่ ๆ ด้วย ทัง้ นีบ้ ริษทั ฯ มีสญ ั ญา จ�ำหน่ายไฟฟ้าให้แก่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) 20 ปี ในส่วนของการจ�ำหน่ายไฟฟ้าให้ครัวเรือนและชุมชน จะต้อง ได้รบั ความยินยอมถึงจะท�ำได้ นอกจากการจ�ำหน่ายไฟฟ้าภายใน ประเทศแล้ว บริษทั ฯ สนใจทีจ่ ะเข้าไปท�ำธุรกิจในประเทศทีไ่ ฟฟ้า ยั ง เข้ า ไม่ ถึ ง เช่ น เมี ย นมา บั ง คลาเทศ และอิ น เดี ย อี ก ด้ ว ย สุวัฒน์ กมลพนัส ประธานกลุ่มอุตสาหกรรมพลังงาน หมุนเวียน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (สอท.) กล่าวว่า โครงการ SPP Hybrid Firm ของบริษัท บลู โซลาร์ จ�ำกัด นั บ เป็ น โครงการพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ แ ละพลั ง งานแบตเตอรี่ กักเก็บโครงการแรกที่ด�ำเนินงานในระดับโรงไฟฟ้า โดยทั่วไป แผงโซลาร์เซลล์มกั จะผลิตได้มากในเวลากลางวัน และผลิตได้นอ้ ย ในเวลากลางคืน ดังนั้นการใช้ Energy Storage จะเป็นจิ๊กซอว์ ในการเปลี่ยนผ่านระบบพลังงานนี้ ซึ่งจะช่วยลดค่าใช้จ่ายด้าน พลังงาน ลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ สนับสนุนระบบคมนาคม ขนส่งและรถไฟฟ้า ท�ำให้เกิดเป็นพลังงานหมุนเวียนได้ 100% ปัจจุบันไทยผลิตพลังงานหมุนเวียน 10,000 เมกะวัตต์ แบ่งเป็น พลังงานแสงอาทิตย์ 3,000 เมกะวัตต์
คณิตเอ็นจิเนียริ่ง
น�ำเสนอ Gas Turbine ในงาน 20 ปี สถาบันพลังงานเพื่ออุตสาหกรรม งาน 20 ปี สถาบันพลังงานเพือ่ อุตสาหกรรม ภาย ใต้หัวข้อ “20 ปี พลังงานเพื่ออุตสาหกรรมสู่อนาคตที่ ยั่งยืน” ได้รับเกียรติจาก สนธิรัตน์ สนธิจิรวงศ์ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงพลังงาน กล่าวเปิดงานและปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “พลังงานเพื่ออุตสาหกรรมสู่อนาคตที่ยั่งยืน” โดย มีกลุ่มอุตสาหกรรมทั้งภาครัฐและเอกชนเข้าร่วมงานกว่า 500 คน ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว ในโอกาสนี้ บริษัท คณิตเอ็นจิเนียริ่ง จ�ำกัด (Kanit Engineering Corp., Ltd.) ร่วมกับ บริษัท เบเคอร์ ฮิวช์ส จีอี (Baker Hughes, a GE company) ได้น�ำ เสนอ Gas Turbine ขนาดเล็ก ขนาด 5 MW, 12 MW,
16 MW ที่ถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองความต้องการของโรงงาน อุตสาหกรรม เพิม่ ประสิทธิภาพการท�ำงานสูงสุด ลดการดูแลรักษา และ ลดการปล่อยก๊าซพิษสู่ธรรมชาติภายในงานนี้ด้วย
71
Engineering Today September - October
2019
Environment • กองบรรณาธิการ
มจพ.-กฟผ.-GIZ
เปิดหลักสูตรอบรมการใช้สารท�ำความเย็น มุ่งให้ช่างแอร์ติดตั้งปลอดภัย-ใช้เทคโนโลยี เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) จับมือการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) และองค์กรความ ร่ ว มมื อ ระหว่ า งประเทศของเยอรมั น (GIZ) ประจ� ำ ประเทศไทย เปิดหลักสูตรอบรม “การจัดการใช้สารท�ำความเย็นที่ติดไฟได้อย่าง ปลอดภั ย ” เพื่ อ ฝึ ก อบรมช่ า งให้ เ ข้ า ใจเกี่ ย วกั บ การใช้ แ ละติ ด ตั้ ง สารท�ำความเย็นธรรมชาติในเครือ่ งปรับอากาศและเครือ่ งท�ำความเย็น อย่างถูกต้อง ปลอดภัย น�ำไปสู่การลดพลังงานและลดภาวะโลกร้อน โดยได้รับความร่วมมือจากส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) และกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน (กพร.) ในการจัดตัง้ ศูนย์ฝกึ อบรม ที่วิทยาลัยเทคนิคและสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน รวมถึงสถาบัน การศึกษาทั้งหมด 8 แห่ง ทั่วประเทศ
โครงการ RAC NAMA ฝึกอบรมช่างแอร์ ให้ติดตั้งปลอดภัย-ใช้เทคโนโลยี เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ศ. ดร.สุชาติ เซี่ยงฉิน อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) กล่าวว่า โครงการเพิม่ ประสิทธิภาพ การใช้พลังงานและการลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศไทย ในภาคอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและเครื่องท�ำความเย็น (RAC NAMA) ภายใต้ ค วามร่ ว มมื อ ระหว่ า ง มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ (มจพ.), การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย (กฟผ.) และ องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศ ของเยอรมัน (GIZ) ประจ�ำประเทศไทย ภายใต้กองทุน RAC NAMA มีระยะด�ำเนินการโครงการถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 นี้ เป็นการริเริ่ม ความร่วมมือเพื่อที่จะฝึกอบรมช่างให้เข้าใจเกี่ยวกับการใช้และติดตั้ง สารท�ำความเย็นธรรมชาติในเครื่องปรับอากาศและเครื่องท�ำความเย็น อย่างถูกต้องได้มาตรฐานสากล ทั้งในภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ เรื่องการ ติดตัง้ การปฏิบตั งิ านเชือ่ ม การใช้งาน การตรวจสอบจุดรัว่ การติดฉลาก การรายงานผล รวมไปถึงความเสีย่ ง ข้อควรระวังเกีย่ วกับความปลอดภัย ในการใช้เครื่องมือที่ใช้ในต่างประเทศ และการประยุกต์ใช้กับเครื่องมือ ที่หาได้ในประเทศไทย และสามารถที่จะน�ำไปถ่ายทอดสู่ช่างคนอื่นๆ ทั่วทั้งภูมิภาค เพื่อที่จะได้มีครูฝึกที่มีคุณภาพมากขึ้นในอุตสาหกรรม เครื่องปรับอากาศและเครื่องท�ำความเย็น และพร้อมก้าวสู่สังคมที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อมไปด้วยกัน
Engineering Today September - October 2019
72
ศ. ดร.สุชาติ เซี่ยงฉิน อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.)
ยาน แชร์ อัครราชทูตและอุปทูต สถานเอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีประจ�ำประเทศไทย
ทิม มาเลอร์ ผู้อำ� นวยการองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศ ของเยอรมัน (GIZ) ประจ�ำประเทศไทยและมาเลเซีย
นอกจากนี้ มจพ. ยังได้รับเงินทุนจากกองทุน RAC NAMA ที่ บริหารโดย กฟผ. มาสนับสนุนอุปกรณ์การฝึกอบรมส�ำหรับจัดตั้ง ศูนย์ฝกึ อบรม ขณะที่ GIZ จะสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรม ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศ โดยวิทยากรหลักของการฝึกอบรมครั้งที่ 1 ที่ศูนย์ฝึกอบรม มจพ. คือ Anthony Darlow ผู้เชี่ยวชาญการฝึกอบรม ผู้สอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน และผู้ตรวจสอบคุณภาพจากบริษัท AD Training Services Ltd. สหราชอาณาจักร โดยมี รศ. ดร.ฉัตรชาญ ทองจับ หัวหน้าโครงการ และทีมงานจากสาขาวิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมการท�ำความเย็นและการ ปรับอากาศ (Refrigeration and Airconditioning Engineering Technology : RAET) มจพ. เป็นผู้ช่วยการฝึกอบรม ซึ่งการฝึกอบรม เป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด โดยจะมีล่ามและหูฟังแปลภาษา คู่มือการฝึก อบรมและไฟล์นำ� เสนอฉบับแปลไทยให้ผเู้ ข้าฝึกอบรมทุกคน ในการสอน ผู้เข้าอบรมจ�ำนวน 16 คนในแต่ละรุ่น ต่อ 1 ศูนย์ฝึกอบรม และมีครูฝึก 2 คนในแต่ละศูนย์การฝึก จัดการฝึกอบรม 6 ครั้ง ใช้เวลาในการอบรม ประมาณ 3-4 เดือน ส่วนวิทยากรในศูนย์อนื่ ๆ จะมีทงั้ วิทยากรทีม่ าจาก GIZ กฟผ. อาจารย์จาก มจพ. และผู้ผ่านการฝึกอบรม ครั้งที่ 1 เข้าไป ช่วยท�ำการฝึกอบรมในศูนย์อื่นๆ ต่อไป
สนับสนุนสถาบันการศึกษา สร้างบุคลากรที่ตรงกับสายงานในตลาด
สมรักษ์ เพ็ชรเจริญ ผู้ช่วยผู้ว่าการแผนงานโรงไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.)
ยาน แชร์ อัครราชทูตและอุปทูต สถานเอกอัครราชทูตสหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนีประจ�ำประเทศไทย กล่าวว่า มจพ. เป็นมหาวิทยาลัย เทคนิคทีก่ อ่ ตัง้ โดยโครงการอาชีวศึกษาของเยอรมนีและยังคงเป็นสถาบัน ชั้ น น� ำ ด้ า นการศึ ก ษาทางเทคนิ ค และอาชี ว ศึ ก ษาจนถึ ง ปั จ จุ บั น เพื่ อ สนับสนุนให้นิสิตนักศึกษา บุคลากรที่จบออกมาในสายแต่ละสาขา มีโอกาสทีจ่ ะประกอบวิชาชีพทีเ่ หมาะสมกับสายงานจริง นอกจากความ ร่วมมือกับสถาบันการศึกษาและภาคเอกชน เพือ่ พัฒนาคุณภาพของการ ฝึกอบรมด้านอาชีวศึกษาในประเทศไทยแล้ว ยังมุ่งเน้นในเรื่องการต่อสู้ กับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศอีกด้วย หนึง่ ในพันธกิจทีส่ ำ� คัญ คือ การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานในอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศ และเครือ่ งท�ำความเย็นในประเทศไทย และหลีกเลีย่ งการใช้สารอันตราย ที่ดำ� เนินการไปแล้วในหลายๆ ประเทศทั่วโลก “ดังนั้นเราจึงต้องการสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง ด้านอุตสาหกรรมการท�ำความเย็นในภูมิภาคอาเซียน และเป็นประเทศ ตัวอย่างที่สามารถใช้พลังงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความ ยั่งยืน” ยาน กล่าว
ศูนย์ฝึกอบรมได้รับเงินทุนสนับสนุนจากกองทุน RAC NAMA รศ. ดร.ฉัตรชาญ ทองจับ หัวหน้าโครงการ และหัวหน้าสาขาวิชา RAET วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.)
ทิม มาเลอร์ ผู้อำ� นวยการองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศ ของเยอรมัน (GIZ) ประจ�ำประเทศไทยและมาเลเซีย กล่าวว่า ศูนย์ ฝึกอบรมนี้ได้รับเงินสนับสนุนส�ำหรับอุปกรณ์การฝึกอบรมจากกองทุน
73
Engineering Today September - October
2019
RAC NAMA มุ่งเน้นส่งเสริมเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพพลังงานสูง และใช้สารท�ำความเย็นธรรมชาติที่มีค่าศักยภาพในการท�ำให้เกิดภาวะ โลกร้อน (Global Warming Potential : GWP) ทีต่ ำ�่ มาก รวมทัง้ กระตุน้ ให้ผใู้ ช้กลุม่ ครัวเรือนและผูใ้ ช้เชิงพาณิชย์ในกลุม่ วิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม (SME) หันมาใช้ผลิตภัณฑ์ที่ประหยัดพลังงานและเป็นมิตร ต่อสิง่ แวดล้อมมากกว่าสารท�ำความเย็นสังเคราะห์ทวั่ ไปถึง 100-1,000 เท่า นอกจากนีก้ ารใช้สารท�ำความเย็นธรรมชาติดงั กล่าวควบคูไ่ ปกับการ พัฒนาอุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม จะสามารถลดการใช้ พลังงานได้ประมาณ 5-25%
กฟผ. พร้อมสนับสนุนโครงการ RAC NAMA เต็มที่ สมรักษ์ เพ็ชรเจริญ ผู้ช่วยผู้ว่าการแผนงานโรงไฟฟ้า การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) กล่าวว่า กฟผ.เล็งเห็นถึงความ ปลอดภัยในการท�ำงานของอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและเครื่อง ท�ำความเย็นในประเทศไทยมาอย่างต่อเนื่องผ่านกองทุน RAC NAMA โดย กฟผ.ท�ำหน้าที่บริหารเงินทุน ผ่านมาตรการจูงใจทางการเงินเพื่อ ส่งเสริมการผลิตและการใช้เทคโนโลยีท่ีมีประสิทธิภาพสูงและใช้สาร ท�ำความเย็นธรรมชาติทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมอย่างเต็มทีใ่ น 4 ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ตู้เย็น ตู้แช่ เครื่องท�ำน�ำ้ เย็น และเครื่องปรับอากาศ การที่ กฟผ. เข้ามาสนับสนุนในโครงการดังกล่าวนี้ คาดว่าจะเป็นประโยชน์ในการ สร้างผู้เชี่ยวชาญ หัวหน้างาน ช่างที่มีความรู้ให้ปฏิบัติงานจริงของ พนักงาน กฟผ.ทีอ่ ยูใ่ นสายงาน ซึง่ กฟผ.จะส่งเข้ามาร่วมฝึกอบรมในศูนย์ ต่างๆ อย่างน้อยรุ่นละ 2 คน และจะเป็นการเสริมสร้างความรู้แก่ผู้เข้า ร่วมฝึกอบรมจากสถานประกอบการอื่นๆ ในวิชาชีพในตลาดแรงงาน ที่จะช่วยยกระดับฝีมือแรงงานช่างของไทยให้ทัดเทียมมาตรฐานสากล
Engineering Today September - October 2019
74
และเป็นทีย่ อมรับในอนาคตให้มากยิง่ ขึน้ เนือ่ งจากปัจจุบนั ช่างผูเ้ ชีย่ วชาญทางด้านนีป้ ระเทศไทยขาดแคลนอย่างมาก ทั้งในระดับ ปวช. ปวส. และในระดับปริญญาตรี
จัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมในภูมิภาคเบื้องต้น 8 แห่ง ปี’63 ตั้งเป้าจัดฝึกอบรมทั้งหมด 13 หลักสูตร รศ. ดร.ฉัตรชาญ ทองจับ หัวหน้าโครงการและ หัวหน้าสาขาวิชา RAET วิทยาลัยเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) กล่าวว่า โครงการ RAC NAMA นี้นอกจากได้รับ ความร่วมมือจาก กฟผ. และ GIZ แล้ว ยังได้รับการ สนับสนุนจากส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) และกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ในการส่งผู้เชี่ยวชาญ และช่างผูช้ ำ� นาญงานด้านทีเ่ กีย่ วข้องมาร่วมฝึกอบรมให้กบั ผู้เข้าร่วมในโครงการ พร้อมทั้งขยายโครงการและจัดตั้ง ศูนย์ฝึกอบรมในภูมิภาคเพื่อขยายองค์ความรู้ที่ถูกต้องสู่ ภูมภิ าค ในเบือ้ งต้นมี 8 แห่ง คาดว่าจะมีผเู้ ข้าร่วมประมาณ 200 คน ประกอบด้ ว ย 1. มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือเป็นแห่งแรก 2. สถาบันพัฒนา ฝีมอื แรงงานภาค 2 สุพรรณบุรี 3. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน 4. สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 10 ล�ำปาง 5. วิทยาลัยเทคนิคยโสธร 6. วิทยาลัยเทคนิคกระบี่ 7. วิทยาลัยเทคนิคอุตรดิตถ์ และ 8. สถาบันพัฒนาฝีมือ แรงงานภาค 17 ระยอง และในปี พ.ศ. 2563 ตั้งเป้า การจัดฝึกอบรมทั้งหมด 13 หลักสูตร
ใบสมัครสมาชิก 2019
เลขที่.................. หมูที่........ หมูบาน................................... อาคาร............................ ชั้น............... หอง............ ตรอก/ซอย...................... ถนน............................... แขวง/ตำบล........................... เขต/อำเภอ............................ จังหวัด................................ รหัสไปรษณีย....................... โทรศัพทที่ทำงาน....................................................... โทรศัพทมือถือ............................ โทรสาร................................. E-mail.............................................................
1 ป 6 ฉบับ 300 2 ป 12 ฉบับ 600
สมัครสมาชิกประเภท
Corporaeter Memb 3 เลม
1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960
แถม YG Directory
2018/2019
มูลคา 400.-
1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960
สมาชิกใหม ตออายุสมาชิก
แซอึ้ง
บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำกัด
1 ป 1,260 บาท 1 ป 1,100 บาท
ุ
2 ป 2,520 บาท 2 ป 2,200 บาท
ฯ
TECHNOLOGY MEDIA CO., LTD.
471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท 0-2354-5333, 0-2644-4555 Ext. 231 โทรสาร 0-2644-6649 E-mail : member.technologymedia.co.th@gmail.com / marketing_mag@technologymedia.co.th
INDEXSeptember ADVERTISING - October 2019
Engineering Today
บริษัท
โทรศัพท์
โทรสาร
ต�ำแหน่งหน้า
CEBIT ASEAN THAILAND
0-2833-6336
-
79
IEEE PES
0-2354-5333 ต่อ 500
0-2354-5322
77, 78
INTERLINK CO., LTD.
0-2666-1111
-
11
www.interlink.co.th
MATALEX
0-2686-7299
-
83
www.metalex.co.th
-
-
82
www.asia-maintenance-resilience.com
0-2997-7359-62
0-2997-7363
3
E-mail : waruneevi@proudasia.com
THAILAND LIGHTING FAIR
0-2664-6488 ต่อ 402, 406
-
6
www.thailandlightingfair.com
VEGA
0-2700-9240
0-2700-9241
ปกหน้า
กุลธรอินเตอร์เนชั่นแนล บจก.
0-2282-5775-8
0-2281-0009
9
www.kulthorn.com
คอนกรีตไลน์ บจก.
0-2895-6901-8
0-2895-6909
81
www.concreteline.co.th, E-mail: concreteline@yahoo.com
คณิตเอ็นจิเนียริ่ง บจก.
0-2642-9209-11
0-2246-3214
4, 23
เบย์ คอร์ปอเรชั่น บจก.
0-2926-0111
0-2926-0123-4
ปกหน้าใน
โปรแมช (ประเทศไทย) บจก.
081-592-4456
-
7
สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน
0-4421-7040 ต่อ 1612
0-4421-7047
ปกหลังนอก
เวอร์ทัส บจก.
0-2876-2727
0-2476-1711
13
www.virtus.co.th, E-mail: welcome@virtus.co.th
เอส เอ วี เมคคานิคคอลเซอร์วิสส์ แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.
0-2702-8801 0-2702-0581-8
0-2395-1002
5
E-mail : savthai@yahoo.com, sav-545@hotmail.com
อินเตอร์ลิงค์ บมจ.
0-2666-1111
-
11
www.interlink.co.th
ไอแซค มาร์เก็ตติ้ง บจก.
0-2735-0581-8
0-2377-5937
24
www.ตู้สาขา.com, www.ไฟอราม.com
อาทิตย์เวนติเลเตอร์ บจก.
0-2509-3065 0-2509-2884
0-2943-1814
9
www.artith.com
MAINTENANCE & RESILIENCE ASIA PROUD ASIA Co., Ltd.
Engineering Today September - October 2019
76
Website/E-mail www.cebitasean.com www.greennetworkseminar.com
www.vega.com
www.kanitengineering.com www.bay-corporation.com E-mail: sales@bay-corporation.com www.promach.co.th www.slri.co.th
27-29 ·½ĺķÌ Ê»² 2562 Åʣʼ 7 ĺѲ»čÕÂij¦Â̲£ĊÊÕ¾È Ê¼´¼È§Ðº Å̺շۣ ÔºÏŦ°Å¦±Ê²Í
¦Ê²ÕÂij¦Â̲£ĊÊÕ¾ÈÔķ¼ķʱм Ìķ ײÅÐĴÂÊà ¼¼ºÔ°£Ö²Ö¾»ÍÂʼ²԰ĺ Õ¾ÈijÌķ̰ɾÕÃĉ¦ÅÊԨͻ² ·³ ɳ³¼ÌÁÉ°§Éݲ²Ë ÀĉÊ 250 ³¼ÌÁÉ° ķÊ ²Ê²Ê´¼ÈÔ°ĺ ÔÀ°Í°Ê¦±Ð¼ ÌķײÅÐĴÂÊà ¼¼º Ô°£Ö²Ö¾»ÍÂʼ²԰ĺÕ¾È ijÌķ̰ɾ°ÍÜ£¼³£¼É²°ÍÜÂÐij
°Ëغ
¯Î¦£À¼Ô¡ĊʼĉÀº §º¦Ê² ·³´ÈվȼĊʦԣ¼ÏÅ¡ĉÊ» °Ê¦±Ð¼ Ìķ ɳµÑĊ´¼È ų ʼ վȵÑĊÔ§ÍÜ»À§Ê©×²ÅÐĴÂÊà ¼¼º
ÀĉÊ 8,000 ¼Ê»
¾¦°ÈԳͻ²§º¦Ê²¸¼Í`
cebitasean.com /visitor-registration/
·ÊÀ̾ԾÍÜ»²²Ê²Ê§ÊĴÌķÊ
ÀĉÊ 10 ´¼ÈÔ°ĺ ÅÊ°ÌÔ§ĉ² ©ÍÜ´ÐĄ² Â̦£Ö´¼č Ô ÊþÍÕ¾ÈÅÍ ºÊ ºÊ»
ÅÉ·ÔijĴÕ²ÀÖ²Ċº¾ĉÊÂÐij ײÅÐĴÂÊà ¼¼º ɳ¦Ê²Âɺº²Ê °ÍܼĉÀººÏŠɳ Tech Talk Thai ÔÀ۳بĴčÔ°£Ö²Ö¾»Í§Éݲ²Ë ·¼Ċź¸ď¦Ô¼ÏÜŦ¼ÊÀ£ÀʺÂËÔ¼ÛķÕ¾È £Àʺ¼ÑĊķÊ Ñ¼ÑÔ·ÏÜÅ·Éĵ²Ê Õ²À£ÌijijÌķ̰ɾԷÏÜÅ ĊÊÀÂÑĉ »Ð£ijÌķ̰ɾ Å»ĉʦհĊķ¼Ì¦
x
@cebitasean
¼Ãɾ¦°ÈԳͻ² CBTM Âų¯Êº¡ĊźѾԷÌܺÔĴ̺ ĴÌijĴĉÅ 02-833-6336 üÏÅÅÍÔº¾ info@cebitasean.com Organizer
Show Hosts
Show Consultant
Supporters
Strategic Partners
Bronze Sponsor
Knowledge Partner
Media Partner
Leading Journals and well-known in the industry, Engineering and Renewable Energy for over 20 Years in Thailand
Technology Mediaâ&#x20AC;&#x2122;s Journals Quality Awarded : Thailand Energy Awards, the awards promote energy conservation by the Department of Alternative Energy Development and Energy Conservation, Ministry of Energy and the Asian Green TJ Awards.
www.electricityandindustry.com www.greennetworkthailand.com www.engineeringtoday.net www.thaipack.or.th www.intania.com Vol.29 No.136 July-August 2019
#Ä =L bi "9" =L acf + : )Ĺł2< 3: ) befb
òX8^ 8=Ăž`31 GN3W/G= W3%K_3X3? ĂşÂ&#x161;ĂšÂ&#x17E;Ăł "L3XD."W1 Y3Y?<O 3AK/ ==;. L3 L=4==#Ä&#x2013;:K-+ X?J L=8Ä&#x160;;8 =K`"<NÄ&#x17D;"ZE} Z3[1<
www.electricityandindustry.com
www.greennetworkthailand.com
www.thaipack.or.th
www.intania.com
www.engineeringtoday.net
8Ä&#x160;2O;G4=L"AK?
ThaiStar Packaging Awards 2019 Packaging 4.0 â&#x20AC;&#x153;Smart Packaging the Wave of the Futureâ&#x20AC;? GR/DLE ==;[1<W/=Ăż<; AL;8= G; K4 â&#x20AC;&#x153;Single Use Plastic Directiveâ&#x20AC;? E=Ä G<K"Ă Ă L=DM=A#8>/N ==; L=Z% A.8?LD/N G" 3[1<Ă W8Ä?_GD "WD=Ăž; L=Z% A.8?LD/N =Ăż[&W N?G< L"5?G.:K< W1 Y3Y?<O Smart Factory D= L"D== 3AK/ ==; W8Ä&#x160;_;5=JDN12N:L8 L=6?N/X?JW5 3;N/= K4DNÄ&#x17D;"XA.? G;
ĂX;^ Y = .N#N1K? DY/= ĂŽ E L" LD "GK#$=Ăž<J Z3<R GN3W1G= W3^/GG92N"D LUMAFIN ;N/NZE; XE " L=/ X/ "4==#Ä&#x2013;:K-+ W1 Y3Y?<O1O_#JW5?O_<3Y$; W =Ä _G"#K =4==#Ä&#x2013;:K-+ G;S?1O_[; ;O R-:L8 K4:L=J LZ% # L< G"G" =
190710
80.00
Directory Year Book
:
www.yellowgreenthailand.com
www.thaiconstructionpages.com
www.technologymedia.co.th
www.technologymedia.co.th www.yellowgreenthailand.com
Directory & Catalogue â&#x20AC;˘ Network Solution & Mobile App â&#x20AC;˘ Exhibition & Distribution
TECHNOLOGY MEDIA CO., LTD. 471/3-4 Phayathai Places, Sri-Ayutthaya Rd., Thung Phayathai, Ratchathewi, Bangkok 10400 Tel. +66 (0)23 545 333, (0)26 444 555 Fax. +66 (0)26 446 649, (0)23 545 322
4=ĂžCK1 W1 Y3Y?<O ;OW.O< #M K.
œšÝ³¾¹œ GL L8}L[1W8?D 033B=ĂżG<R2<L W /=L%W1AĂż =R"W18I Ýúœúú Y1=² ¯¸¸ ú´¾ ¡œ¡ ¾¾¾° ú´¸ œœœ ¡¡¡ X9 & ² ¯¸¸ ú´¸ œœ¸ ¸œ° ú´¾ ¡œ¡ ¾´´
"+<19 5! += H-!Ä? ; 9 čġĜčĺÄÄźÄ Ä´ÄąÄśÄ ÄŤÄˇĹ´Ĺ˛Ä´ÄźÄŹĹ´
Soi Thakarm Thakarm 5,5, Samaedam, Samaedam, Bangkhuntien, Bangkhuntien, Bangkok Bangkok 10150 10150 22 Soi
b 5* Ä&#x2030;: Ä&#x160;:) e E / E2) ; D ": @!D =*! +@ D &7 a`ae` Tel. 0-2895-6901-8 Fax. 0-2895-6909 Email : concreteline@yahoo.com www.concreteline.co.th Email : concreteline@yahoo.com Website : www.concreteline.co.th
Concurrent Event:
2-4
October
< ) 6 %
2019
BITEC | Bangkok
E A '< A "3
MAINTENANCE & RESILIENCE ASIA 2019
â&#x20AC;&#x153;The Key to Smart Manufacturing & Infrastructureâ&#x20AC;? The exhibition focused on advanced maintenance technologies and solutions for maximizing productivityâ&#x20AC;Ś The Key... to Smart Manufacturing & Infrastructure
6 B. A C C)&9B)4C )= 5I )NJ6.%5&.N6/'5 6' '8/6'B)4+6 B 6 N6'< '5 -6 A";I1A"8I% '4.8 8$6" 6' )8 Ă <gB .=Ä&#x201D; 6' )8 B)4C ' .'Ä&#x2022;6 ";J 6 15 '8&4
Register today for free admission to the exhibition & conference
) 4A 9& +5 9J A";I1A Ä&#x2022;6 % 6 B)4'Ä&#x201D;+% '4 <%.5%% 6#'9uu
Free Shuttle Van for Group Visitors |Ÿ¸½¸ŸĂ&#x201E;Âź 10 ¿´à Ă&#x201A;ž½Ă&#x201A;} #'9' '5 .Ä&#x201D; /%=Ä&#x201D; 4uu | 5J NI6 10 }
https://asia-maintenance-resilience.com | email: info@exposis.co.th | Tel: +66 (0) 2 559 0856
Official Supporter :