Engineering Today No.174 (Issue Nov-Dec 2019)

Page 1








EDITOR TALK

สภาวิศวกร และนักวิจัย สกสว. แนะดูแลอาคารสูงในกรุงเทพฯ ให้ปลอดภัย รับมือแผ่นดินไหว

กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝ่ายโฆษณา e-Mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝ่ายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th

คณะที่ปรึกษา

ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปัทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร์, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ต่อตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค์ ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร บรรณาธิการอ�ำนวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการผู้พิมพ์ผู้โฆษณา สุเมธ บุญสัมพันธ์กิจ บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย์ เรืองติก พิสูจน์อักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ์ ฝ่ายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ์ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตย์, กัลยา ทรัพย์ภิรมย์, วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายผลิต ชุติมันต์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์ โรงพิมพ์ หจก. รุ่งเรืองการพิมพ์ แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Engineering Today www.engineeringtoday.net

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวทีป่ ระเทศลาว เมือ่ เช้าวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 เวลาประมาณ 06.50 น. ในระดับความรุนแรงประมาณ 6.4 ริกเตอร์ และรับรู้ได้ในพื้นที่ ทางภาคเหนือของไทย เช่น จังหวัดน่าน จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดเลย รวมทัง้ กรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะในอาคารสูงทีร่ บั รูถ้ งึ แรงสัน่ ไหว บางอาคารกระเบือ้ ง ร่วงหล่นลงมา ทันทีที่เกิดเหตุ สภาวิศวกรได้จัดแถลงข่าวในช่วงบ่ายของวันเดียวกัน โดย สภาวิศวกรเสนอ 3 แนวทางเตรียมพร้อมคนกรุงเทพมหานครรับมือแผ่นดินไหว คือ 1) จัดอบรมให้ความรู้ประชาชน เรื่องผลกระทบจากแผ่นดินไหว วิธีการดูแลอาคารให้ ปลอดภัย 2) มีการตรวจสอบอาคารตามความเสีย่ ง โดยแบ่งประเภทของอาคารตามความ เสี่ยง เช่น สีแดง อาคารเก่าที่เสี่ยงมาก ต้องปรับปรุง เสริมโครงสร้างทันที สีส้ม อาคารที่ เสี่ยงระดับกลาง ที่ต้องหมั่นตรวจสอบตามก�ำหนด และ สีเหลือง อาจมีความเสี่ยง เช่น มีการต่อเติม และ 3) มีสถานีวดั แรงสัน่ สะเทือน พร้อมแจ้งเตือนประชาชนในทุกช่องทาง อย่างทันท่วงที ด้าน ศ. ดร.อมร พิมานมาศ นายกสมาคมวิศวกรโครงสร้างไทย และนักวิจัย ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) กล่าวว่า เหตุการณ์ครั้งนี้เป็นอีกหนึ่งบทพิสูจน์ว่ากรุงเทพฯ ยังมีความเสี่ยง ผู้คนรับรู้ถึงการ สัน่ สะเทือนของอาคาร ส่วนความเสียหายทางโครงสร้างคงไม่มากนัก ทัง้ นีเ้ จ้าของอาคาร ไม่ควรนิ่งนอนใจ ควรจัดให้มีวิศวกรโครงสร้างเพื่อตรวจสอบองค์อาคารที่ส�ำคัญ เช่น คาน เสา ก�ำแพงรับแรงเฉือน เป็นต้น พร้อมแนะน�ำอาคารที่ก่อสร้างขึ้นใหม่ต้องปฏิบัติ ตามกฎกระทรวงก�ำหนดการรับน�ำ้ หนักความต้านทานความคงทนของอาคารและพืน้ ดิน ที่รองรับอาคารในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว ที่เริ่มใช้บังคับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 เป็นต้นมา และวิศวกรผู้ออกแบบจะต้องใช้มาตรฐานการออกแบบอาคาร ต้านแผ่นดินไหวที่ออกโดยกรมโยธาธิการและผังเมือง (มยผ.1302) ส่วนอาคารเก่าที่ ก่อสร้างก่อนปีพ.ศ. 2550 ต้องประเมินอาคารเพื่อตรวจสอบสมรรถนะในการต้าน แผ่ น ดิ น ไหว และหาทางเสริ ม ความแข็ ง แรงอาคารในกรณี ที่ ต รวจพบว่ า อาคารไม่ แข็งแรงพอ ซึ่งการเสริมความแข็งแรงอาคารท�ำได้หลายวิธี ส�ำหรับวารสาร Engineering Today ฉบับส่งท้ายปีนี้ พรัง่ พร้อมด้วยสาระความรู้ และความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี โดยเฉพาะโครงการก่อสร้าง เริม่ จาก “สภาวิศวกร จัดเสวนา เมกะโปรเจกต์ภาครัฐ วิศวกรไทยได้หรือเสีย แนะรัฐเปิดช่องให้วิศวกรไทย รับถ่ายทอดเทคโนโลยีจากต่างชาติ”, “วสท. ผนึกก�ำลัง 2 องค์กรวิชาชีพ ออกมาตรฐาน BIM ครั้งแรกในไทย”, “สัมภาษณ์ ผศ. ดร.ณัฐ วรยศ ประธานสภาคณบดีคณะ วิศวกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย สมัยที่ 42”, “ไทยผนึกก�ำลัง 6 ประเทศ มุ่งลดขยะ พลาสติกในทะเล”, “EEC จับมือ UNIDO และ อบก. ชูแนวคิดแก้ไขปัญหาขยะ และ พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมในพื้นที่ EEC อย่างยั่งยืน” และคอลัมน์อื่นๆ ที่น่าติดตาม เช่นเคย ทั้งในรูปแบบ Hard Copy และ E-book ที่ www.engineeringtoday.net สวัสดีปีหนูทองครับ


..

IS O

90 0 1


CONTENTS Engineering Today

November - December 2019 VOL. 6 No. 174

COLUMNS

DIGITAL ECONOMY

8 บทบรรณาธิการ

สภาวิศวกร และนักวิจัย สกสว. แนะดูแลอาคารสูงในกรุงเทพฯ ให้ปลอดภัย รับมือแผ่นดินไหว

• กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

28 EEC

EEC จับมือ UNIDO และ อบก. ชูแนวคิดแก้ไขปัญหาขยะ และพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมในพื้นที่ EEC อย่างยั่งยืน

• ทัศนีย์ เรืองติก

13 Interview

ผศ. ดร.ณัฐ วรยศ ประธานสภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ แห่งประเทศไทย สมัยที่ 42

• กองบรรณาธิการ

28 33 Technology

แลนเซสส์โชว์นวัตกรรม ตอบโจทย์การเดินทางรูปแบบใหม่ ในงาน K 2019 พร้อมเปิดศูนย์เทคนิคในดอร์มาเจน

• กองบรรณาธิการ

39 Digital

13 18 Cover Story

Radar is the better ultrasonic!

• VEGA

20 Factory Today

ACE ตั้งเป้าเพิ่มก�ำลังการผลิตติดตั้งพลังงานไฟฟ้า รวม 1,000 เมกะวัตต์ อีก 5 ปีข้างหน้า

DGA จัดงาน “Digital Government Awards 2019” เผยหน่วยงานระดับกรม-จังหวัดรั้งท้ายด้านเทคโนโลยี ดิจิทัล-การน�ำไปใช้

• กองบรรณาธิการ

41 Innovation

สวทช.หนุนโรงแรมอ่าวนาง ปริ้นซ์วิลล์ วิลล่าฯ ใช้นวัตกรรม ประหยัดพลังงาน ชูเป็นเมืองต้นแบบกระบี่ Hotel Go Green

• กองบรรณาธิการ

• กองบรรณาธิการ

24 Energy Today

จีอี ลงทุน 60 ล้านเหรียญ สร้างศูนย์วิศวกรรมซ่อมบ�ำรุงและ พัฒนากังหันก๊าซรุ่น HA ระดับโลกแห่งใหม่ที่สิงคโปร์

• กองบรรณาธิการ

41



CONTENTS Engineering Today

November - December 2019 VOL. 6 No. 174

COLUMNS 46 IT Update

ไมโครซอฟท์เอเชียเผยผลส�ำรวจ ชี้ SMB ไทยต้องอัพเกรดเทคโนโลยี สร้างโอกาสทางธุรกิจที่ยั่งยืน

• ไมโครซอฟท์เอเชีย

64 Property

เน็กซัสเผยตลาดอาคารส�ำนักงานเกรด A ใน กทม.สดใส คาดทยอยเปิด 13 โครงการอีก 2 ปีข้างหน้า

• เน็กซัส

CONSTRUCTION THAILAND

Construction

แนะรัฐเปิดช่องให้วิศวกรไทย รับถ่ายทอดเทคโนโลยีจากต่างชาติ

50 สภาวิศวกรจัดเสวนา “เมกะโปรเจกต์ภาครัฐ วิศวกรไทยได้หรือเสีย”

55 วสท. ผนึกก�ำลัง 2 องค์กรวิชาชีพ ออกมาตรฐาน BIM ครั้งแรกในไทย

64

• กองบรรณาธิการ

• กองบรรณาธิการ

67 Project Management

Digital Transformation Is Not About Technology

• ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล

72 Environment

ไทยผนึกก�ำลัง 6 ประเทศ มุ่งลดขยะพลาสติกในทะเล

• สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล

55 59 คณะวิศวฯ มหิดล ร่วมกับ สวทช. ผ่าแผนการพัฒนาพื้นที่

รอบสถานีศาลายา (TOD) รองรับรถไฟฟ้าสายสีแดงส่วนต่อขยาย

• กองบรรณาธิการ

59

72


Interview • กองบรรณาธิการ

ผศ. ดร.ณัฐ วรยศ

ประธานสภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย สมัยที่ 42

คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การเป็นวิศวกรนั้น ไม่ใช่เรียนรู้เฉพาะ วิศวกรรมศาสตร์เท่านั้น แต่ต้องเรียนรู้ทักษะชีวิต

การเรี ย นการสอนในปั จ จุ บั น มี ก ารปรั บ เปลี่ยนหลักสูตรอยู่ตลอดเวลา ตามพลวัตของ ยุ ค สมั ย ที่ เ ปลี่ ย นไปประกอบกั บ มี ก ารพั ฒ นา เทคโนโลยี อ ย่ างรวดเร็ว มีก ารค้นพบ พัฒนา และสร้างเทคโนโลยีใหม่ๆ อยู่เสมอ จึงมีความ เป็นไปได้ยากทีก่ ารเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย จะสามารถครอบคลุมได้หมด เฉกเช่นเดียวกับ การเรียนการสอนตามหลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ ซึ่งจะต้องพัฒนากระบวนการเรียนการสอนของ แต่ละวิชาในแต่ละสาขาให้สอดรับกับการผลิต บัณฑิตทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ เพือ่ ให้ได้บณ ั ฑิต ที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการของตลาด แรงงาน สามารถทีจ่ ะน�ำพาสังคม ประเทศชาติให้ เจริญก้าวหน้าต่อไป

13

Engineering Today November - December

2019


ผศ. ดร.ณัฐ วรยศ จัดประชุมสภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย สมัยที่ 42 ครั้งที่ 1 /2562

เส้นทางการศึกษาและการท�ำงาน ของประธานสภาคณบดีวิศวฯ สมัยที่ 42 ผศ. ดร.ณั ฐ วรยศ ประธานสภาคณบดี ค ณะ วิศวกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย สมัยที่ 42 คณบดีคณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จบการศึกษาระดับ ปริ ญ ญาตรี จ ากคณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ สาขาวิ ช าวิ ศ วกรรม เครื่องกล จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยระหว่างการศึกษา ได้มีโอกาสท�ำงานในสโมสรนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การท�ำงานในฐานะของนายกสโมสร นั ก ศึ ก ษา ถื อ เป็ น ประสบการณ์ ชี วิ ต ที่ ส� ำ คั ญของอาจารย์ ณั ฐ เพราะได้ฝึกการน�ำองค์กรอย่างไม่รู้ตัว และเป็นการเรียนรู้จาก การลองผิด ลองถูก การน�ำองค์กรที่มีสมาชิกเกือบ 1,000 คน ในเวลา 8 เดือน และมีกิจกรรมใหญ่ๆ ที่ต้องรับผิดชอบจัดเกือบ ทุกเดือน ท�ำให้ได้เรียนรู้วิธีการแบ่งเวลาเรียนและการท�ำงาน กับเพื่อนรุ่นพี่ รุ่นน้อง และรุ่นเดียวกัน ทั้งจากในและนอกคณะ ต้องอาศัยการเรียนรู้อย่างเร่งด่วน อีกทั้งการเรียนในปีสุดท้ายก็มี ความเข้มข้นด้วยต้องท�ำโครงการวิศวกรรมเพือ่ ประกอบการส�ำเร็จ การศึกษาไปพร้อมๆ กัน ซึ่งถือเป็นความโชคดีที่ได้อาจารย์ ที่ปรึกษา เจ้าหน้าที่ฝ่ายกิจการนักศึกษา และเพื่อนๆ ช่วยให้ข้อ แนะน�ำท�ำให้งานต่างๆ ผ่านไปได้ด้วยดี ถือว่าเป็นช่วงเวลาที่ ส�ำคัญแห่งการเรียนรู้ที่ได้เห็นความส�ำคัญและได้ฝึกทักษะของ การบริ ห ารจั ด การ และสื่ อ สารกั บ คนทั้ ง ในและนอกองค์ ก ร ไปพร้อมๆ กับทักษะที่จ�ำเป็นส�ำหรับงานวิศวกรรมในหลักสูตร ไปพร้อมๆ กัน เมือ่ ส�ำเร็จการศึกษาแล้วก็ได้รบั การบรรจุเข้ารับราชการเป็น อาจารย์ที่ภาควิชา โดยระหว่างท�ำงานได้มีโอกาสท�ำงานเป็น

Engineering Today November - December

2019

14

วิศวกรโครงการการตรวจวิเคราะห์การใช้พลังงานในอาคารและ โรงงานอุ ต สาหกรรม ซึ่ ง เป็ น สั ญ ญาที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ฯ ท� ำ กั บ กรมพั ฒนาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน (พพ.) ใน ยุคก่อนที่จะแยกออกมาเป็นกระทรวงพลังงานในปัจจุบัน ซึ่ง ถือเป็นการท�ำงานวิชาชีพเป็นครั้งแรก งานที่ท�ำก็จะอยู่ภายใต้ การก�ำกับของคณาจารย์และวิศวกรอาวุโสของโครงการ หลังจาก ปฏิบัติหน้าที่ในภาควิชาได้ประมาณ 1 ปี ก็ได้รับการสนับสนุน จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ให้ได้รับทุนจากทบวงมหาวิทยาลัย ในขณะนั้ น ไปศึ ก ษาต่ อ ที่ ป ระเทศสหรั ฐ อเมริ ก าในระดั บ ปริ ญ ญาโท สาขาวิ ศ วกรรมการบิ น ที่ ส ถาบั น เทคโนโลยี แห่งแคลิฟอร์เนีย และในระดับปริญญาเอก สาขาวิศวกรรม เครื่องกลที่มหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐโอเรกอน ตามล�ำดับ ภายหลัง ส�ำเร็จการศึกษาจึงกลับมาท�ำงานเป็นอาจารย์ทภี่ าควิชาวิศวกรรม เครือ่ งกล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพือ่ น�ำความรูแ้ ละประสบการณ์ มาพัฒนาหลักสูตรและสอนนักศึกษาจวบจนปัจจุบัน

ส่งมอบต�ำแหน่งให้คณบดีคณะวิศวฯ มช. เป็นประธานสภาคณบดีวิศวฯ สมัยที่ 42 ในงานประชุมใหญ่ประจ�ำปีสภาคณบดีคณะวิศวกรรม แห่งประเทศไทย สมัยที่ 41 ประจ�ำปี พ.ศ. 2562 ครั้งที่ 17 ซึ่ ง เป็ น การประชุ ม วิ ช าการระดั บ นานาชาติ แ ละระดั บ ชาติ วิศวศึกษาเพื่อความสามารถเชิงอุตสาหกรรมของประเทศไทย จัดขึ้นในวันที่ 20-22 มิถุนายน 2562 ณ อวานี พลัส หัวหิน รีสอร์ท จังหวัดเพชรบุรี ได้มีพิธีส่งมอบต�ำแหน่งประธานสภา คณบดีฯ จาก ผศ. ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์ ประธานสภาคณบดี คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ แ ห่ ง ประเทศไทย สมั ย ที่ 41 ให้ แ ก่


ผศ. ดร.ณัฐ วรยศ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ประธานสภาคณบดีฯ สมัยที่ 42 เพื่อเป็นสัญลักษณ์ การเป็นเจ้าภาพการจัดประชุมเครือข่ายคณะวิศวกรรมศาสตร์ แห่งประเทศไทยต่อไป โดย ผศ. ดร.ณัฐ วรยศ ประธานสภา คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย ได้จดั ประชุมสภา คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย สมัยที่ 42 ครั้ง ที่ 1 /2562 เมือ่ วันที่ 18 กันยายน 2562 ณ ห้องประชุมแคแสด ชั้น 2 อาคารกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ซึง่ มีผแู้ ทนจาก 61 สถาบัน ที่ เ ป็ น สมาชิ ก ของสภาคณบดี ฯ เข้ า ร่ ว มประชุ ม ฯ เพื่ อ หารื อ เกี่ยวกับการด�ำเนินงานด้านต่างๆ ตลอดจนทิศทาง หรือแนวทาง การพัฒนาสภาคณบดีฯ ในปัจจุบันและอนาคต ทั้งนี้ เป็นการจัด ประชุมสืบเนื่องจากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มช. ได้รับแต่งตั้งเป็น เจ้าภาพจัดการสภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย สมัยที่ 42 ซึ่งเป็น ผู้ก�ำหนดนโยบาย และแผนการบริหารงาน เกี่ยวกับสภาคณบดีฯ แห่งประเทศไทย

ชี้วิศวกรรมศาสตร์ต้องปรับการสอนมากขึ้น หวังผลิตบัณฑิตตอบโจทย์ภาคอุตสาหกรรม อย่างแท้จริง ผศ. ดร.ณัฐ กล่าวว่า ปัจจุบันการเรียนการสอนในแต่ละ สาขาวิศวกรรมศาสตร์มกี ารปรับตัวมากขึน้ เริม่ ตัง้ แต่การหาข้อมูล ความต้องการของผู้ประกอบการที่ต้องการใช้บัณฑิตในตลาด แรงงานแต่ละประเภทอุตสาหกรรม เพื่อน�ำมาตั้งคุณลักษณะ ที่ส�ำคัญของบัณฑิตที่จะส�ำเร็จการศึกษาออกไปจากหลักสูตร เป็นโจทย์ ก�ำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ขั้นต�่ำที่จะให้บัณฑิต

ส�ำเร็จการศึกษา เพื่อสะท้อนองค์ความรู้ที่ต้องศึกษา น�ำไปสู่ ออกแบบชุ ด กระบวนวิ ช าและกิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ใ นกระบวน วิชาเหล่านั้น ความเกี่ยวข้อง สอดคล้อง ของกระบวนวิชาต่างๆ เป็นสิง่ ทีส่ ถาบันการศึกษาทางด้านวิศวกรรมได้ให้ความส�ำคัญมาก ขึ้นเรื่อยๆ ผลสัมฤทธิ์ของการเรียนรู้ของนักศึกษา คุณลักษณะ ที่ส�ำคัญของบัณฑิต ถูกเก็บข้อมูลและวิเคราะห์เพื่อการปรับ เปลี่ยนกระบวนวิธีในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยรอบ ของการประเมิน ผลสัมฤทธิ์ข้างต้นได้ถูกก�ำหนดไว้อย่างชัดเจน เพื่อท�ำการปรับปรุงก่อนด�ำเนินการซ�้ำในรอบการด�ำเนินงาน ต่อไป ด้วยหวังว่าหลักสูตรจะพัฒนาอย่างต่อเนื่องและปรับ คุณลักษณะของบัณฑิต ที่ส�ำเร็จ การศึกษาในแต่ละปีให้บรรลุ กับเป้าหมายที่ตั้งไว้

ความท้าทายของวงการศึกษาด้านวิศวกรรม มุ่งปรับตัว-เติมเต็มให้ทันพลวัตของสังคม

ผศ. ดร.ณัฐ กล่าวว่า การเตรียมนักศึกษาให้พร้อมกับ การท�ำงานในยุคที่เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงก้าวกระโดด อย่างรวดเร็วนีถ้ อื เป็นความท้าทายอย่างยิง่ ไม่วา่ จะท�ำตามกรอบ นโยบายของภาครัฐในแต่ละรัฐบาลก็ดี รวมถึงตลาดวิศวกรรมก็ ต้องการรับบัณฑิตที่เข้ามาท�ำงานแล้วสามารถช่วยให้องค์กร พัฒนา เพิ่มทวีความสามารถในการแข่งขันได้ทันท่วงที จาก เดิมที่คนสองคนที่อยู่ห่างกันคนละทวีปจะติดต่อกันได้ต้องใช้ ระยะเวลา แต่ในปัจจุบันสามารถที่จะติดต่อได้ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน หรือเวลาใดด้วยเทคโนโลยีที่ล�้ำสมัยขึ้น ซึ่งเทคโนโลยีเหล่านี้ล้วน ถูกคิดค้นจากมนุษย์และมนุษย์เหล่านั้นแน่นอนว่าย่อมมีวิศวกร เข้าไปร่วมคิดค้นจึงต้องเร่งพัฒนาศักยภาพของวิศวกรไม่ใช่แค่ ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เท่านั้นแต่ต ้องมองภาพรวมวิศวกร ทั้งประเทศว่าเรามีศักยภาพด้านใดและเพียงพอในการที่จะไป ร่วมท�ำงานเพื่อช่วยพัฒนาประเทศได้อย่างไรบ้าง ขณะนี้ต้องยอมรับว่าวิศวกรไทยที่มีศักยภาพยังมีน้อยและ ขาดแคลนในหลายๆ สาขา ซึ่งสังคมมักจะมองว่านี่คือวิกฤต ทางการศึกษา แต่หากมองให้ถ่องแท้แล้วนี่คือโอกาสของการ ยกระดับการศึกษาให้เกิดการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด ความรูท้ าง ด้านวิศวกรรมในบัณฑิตที่ตลาดต้องการสามารถถูกเรียนรู้และ ปรับตั้งได้อย่างรวดเร็วมากขึ้นโดยอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาเสริมใน การเรียนการสอน บางแหล่งไม่ได้คิดค่าใช้จ่าย สามารถเข้าถึงได้ โดยขอให้มีเทคโนโลยีที่เหมาะสม ทุกวันนี้คณาจารย์ไม่สามารถจะรวบรวมความรู้ทั้งหมด มาใส่ในตนเองที่จะตอบค�ำถามลูกศิษย์ได้ทุกค�ำถามอีกต่อไป แต่บทบาทของอาจารย์จะทวีความส�ำคัญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่

15

Engineering Today November - December

2019


จะช่วยเอื้อให้นักศึกษาสามารถย่อยและถักทอองค์ความรู้ ทีส่ ามารถหามาได้อย่างไม่จำ� กัดทัง้ เวลาและสถานที่ และทดสอบ ประเมินลูกศิษย์วา่ มีความสามารถในการใช้องค์ความรูน้ นั้ ในการ แก้โจทย์ปัญหาทั้งในสถานการณ์สมมุติหรือสถานการณ์จริงที่ ถูกก�ำกับควบคุมได้มากน้อยเพียงใด ขีดความสามารถของบัณฑิต ในการย่อยและถักทอองค์ความรู้ข้างต้นจึงเป็นสิ่งส�ำคัญยิ่งของ การศึกษาในยุคใหม่ รูปแบบของการบริหารจัดการหลักสูตรจึงต้อง มีความยืดหยุน่ ปรับกระบวนการเรียนรูไ้ ด้อย่างรวดเร็ว สอดคล้อง ไปกับความสนใจของนักศึกษา ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ในตลาดแรงงาน ที่มีความคาดหวังเพิ่มเติมมากขึ้นเรื่อยๆ เราจะ เริ่มมองเห็นการเรียนรู้เฉพาะทางมากขึ้นและหลากหลายแหล่ง ไม่จ�ำเป็นมาจากมหาวิทยาลัยอีกต่อไป เราจะเห็นกระบวนการ เรียนรู้ที่ให้นักศึกษาไปท�ำงานจริง เรียนรู้จากหน้างานจริง จาก ผู้ที่เป็นวิศวกรในภาคปฏิบัติจริงๆ โดยไม่ต้องไปปรากฏตัวอยู่ ณ สถานที่นั้นๆ เสียด้วยซ�้ำ องค์ความรู้เพียงแต่เปลี่ยนรูปแบบ จากสิ่งพิมพ์กระดาษมาสู่สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทักษะและขีดความ สามารถในการพั ฒนาเทคโนโลยี ข องผู ้ เ รี ย นจะเป็ น ไปอย่ า ง ก้าวกระโดด แต่ยังสามารถสนองความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ภาคอุตสาหกรรมและอนาคตของสังคมโลก สิง่ เหล่านีจ้ งึ เป็นความ ท้าทายของวงการศึกษาด้านวิศวกรรมอย่างยิ่งที่จะต้องปรับตัว เติมเต็มให้ทันพลวัตของสังคม “ด้วยนโยบายภาครัฐที่ต้องการให้ภาคอุดมศึกษาพร้อม รับมือกับการเปลีย่ นแปลงทางสังคมแบบก้าวกระโดด ทนทานต่อ สภาพ Disruption มหาวิทยาลัยจึงมีความรับผิดชอบต่อการผลิต บัณฑิตและองค์ความรู้ในยุคปัจจุบันเพื่อให้ก้าวทันเทคโนโลยี เทคโนโลยีดิจิทัลที่ส�ำคัญในยุคนี้ที่ภาคอุดมศึกษาต้องพิจารณา อย่างน้อยให้นักศึกษาในระดับปริญญาตรีทางด้านวิศวกรรมได้ รูจ้ กั ได้แก่ เทคโนโลยีทางด้านปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI, Machine Learning, Big Data, Sensor, Robot และอื่นๆ เพื่อน�ำเอา ความรูเ้ หล่านีเ้ ข้าสูใ่ นกระบวนการเรียนรู้ ต้องไม่นอ้ ยและมากเกิน ไป อยู่ในระดับที่พอเหมาะให้นักศึกษาและบัณฑิตสามารถไป ค้นคว้าต่อเองได้ ซึ่งบางเทคโนโลยีต้องส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา องค์ความรู้เชิงลึกในระดับบัณฑิตศึกษา และการค้นคว้าวิจัยขึ้น ได้อีก “ทีส่ ำ� คัญไม่ได้มงุ่ เป้าเพือ่ ให้นำ� องค์ความรูม้ าเพียงแค่พฒ ั นา ตนเองเท่านั้น แต่มุ่งเป้าให้การน�ำความรู้มาพัฒนาสังคมและ ประเทศให้ก้าวหน้าทัดเทียมนานาประเทศ โดยเฉพาะวิศวกร ด้านซอฟต์แวร์, วิศวกรด้านเครื่องกล, วิศวกรด้านอุตสาหการ, วิศวกรด้านเมคคาทรอนิกส์, วิศวกรด้านหุ่นยนต์, วิศวกรด้าน การผลิตอาหารรวมถึงกลุม่ วิศวกรรมชีวการแพทย์และวิศวกรด้าน สิ่งแวดล้อมที่ในอนาคตจะขาดแคลนและตลาดแรงงานมีความ ต้องการเพิ่มมากขึ้น”

Engineering Today November - December

2019

16

คณะวิศวฯ มช.ออกแบบการเรียนการสอน ให้ นศ.ได้พัฒนาทักษะด้านวิศวกรรมพร้อม การน�ำองค์กร

ในมุมมองของ ผศ. ดร.ณัฐ สิ่งที่สำ� คัญที่สุดของการท�ำงาน ในองค์กรคือการตัง้ เป้าหมายและไปให้ถงึ ซึง่ งานองค์กรวิศวกรรม เป็นงานทีต่ อ้ งท�ำงานเป็นหมูค่ ณะและต้องอาศัยการคิดอย่างเป็น ระบบ ทุกคนไม่เพียงแต่ต้องรู้หน้าที่ของตนเอง แต่ต้องรู้ในหน้าที่ ของเพือ่ นร่วมงานว่ามีสว่ นส�ำคัญอย่างไรและจะร่วมกันท�ำงานได้ อย่างไรเพื่อให้บรรลุเป้าหมายด้วยความมีเหตุมีผล เช่น ต้องมี กระบวนการที่ อ อกแบบมารองรั บ มี ก ารแบ่ ง หน้ า ที่ กั น ให้ สอดคล้องกัน มีการบริหารการจัดการทรัพยากรและงบประมาณ เพื่ อ ให้ ถึ ง ซึ่ ง เป้ า หมายตามระยะเวลาที่ ก� ำ หนด และมองหา เทคโนโลยีเข้ามาเพิม่ ประสิทธิภาพของกระบวนการให้การด�ำเนิน งานพัฒนาขึ้นตลอด เป็นต้น โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้น�ำ กระบวนการเรี ย นรู ้ ต ่ า งๆ มาออกแบบการเรี ย นการสอนให้ นักศึกษาได้พัฒนาทักษะและความรู้ทั้งทางวิศวกรรมและการน�ำ องค์กรไปพร้อมๆ กัน ซึ่งการร่วมออกแบบเป้าหมายของวงการ วิชาชีพวิศวกรของไทยเป็นเรื่องส�ำคัญข้อแรก วิศวกรไม่มีทางที่ จะเรียนรู้ทุกๆ อย่างได้ภายในช่วงเวลาที่อยู่ในมหาวิทยาลัย องค์ความรู้ที่เรียนในมหาวิทยาลัยเป็นเพียงองค์ความรู้พื้นฐาน หรือเฉพาะทางเบือ้ งต้น ทีส่ ามารถท�ำให้บณ ั ฑิตออกแบบและสร้าง ระบบและกระบวนการทางวิศวกรรมเบื้องต้นได้ ทั้งนี้นักศึกษา จะต้องพัฒนาทักษะความสามารถอื่นๆ เพื่อจะเป็น ผู้น�ำที่ดี สามารถท�ำงานในวงการวิชาชีพได้ไม่ว่าจะอยู่ที่ใด ซึ่งทักษะ ดังกล่าวก็จะต้องถูกปรับปรุงอยู่เป็นนิตย์เช่นกัน ภาครัฐและ เอกชนในฐานะของผู้ใช้บัณฑิตจึงมีความส�ำคัญอย่างยิ่งยวดที่จะ ร่วมกับภาคสถาบันการศึกษาในการให้ข้อแนะน�ำสร้างโจทย์ คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ของบัณฑิตทีผ่ ลิตจากมหาวิทยาลัย และ ยิง่ ในฐานะของผูใ้ ช้บณ ั ฑิตทีส่ ามารถจะแบ่งปันโอกาสให้คณาจารย์ และนักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสภาวะการท�ำงานจริงใน ภาครัฐและเอกชน จะเอื้อให้บัณฑิตที่ส�ำเร็จการศึกษาออกไปมี ความรู้และทักษะที่ตรงกับความต้องการของตลาดได้มากขึ้น อีกทั้งคณาจารย์จะได้เรียนรู้เพื่อปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้ กระบวนวิชา และหลักสูตรต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมมากขึ้น ส่วนการร่วมกันพัฒนาวิศวกรหลังจากส�ำเร็จการศึกษาไป แล้วเป็นเรื่องส�ำคัญข้อที่สอง การเรียนรู้เช่นนี้ทำ� ได้ทั้งในสถานที่ ท� ำ งานตามระบบพั ฒ นาทรั พ ยากรบุ ค คลของผู ้ ใ ช้ บั ณ ฑิ ต การพัฒนาบุคลากรตามกระบวนการทางวิชาชีพโดยหน่วยงาน ภาครั ฐ ตามที่ ก ฎหมายก� ำ หนด และการพั ฒนาบุ ค ลากรโดย หลักสูตรพิเศษ ซี่งในขณะนี้ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยี


สามารถเรี ย นรู ้ ไ ด้ ทุ ก ที่ ทุ ก เวลาผ่ า นเทคโนโลยี เ ครื อ ข่ า ย อิเล็กทรอนิกส์ การลงทุนเฉพาะทางของภาคเอกชนให้เฉพาะ พนักงานกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเป็นสิ่งที่ภาคเอกชนท�ำอยู่แล้ว แต่หาก ได้พัฒนาร่วมกับภาคเอกชนด้วยกัน หรือภาครัฐ หรือสถาบันการ ศึกษาในส่วนทีแ่ บ่งปันกันได้ จะเป็นกระบวนการทีค่ มุ้ ค่ามากทีส่ ดุ ท่ามกลางองค์ความรู้ใหม่ๆ ที่มีมากขึ้นทุกวันอย่างก้าวกระโดด และเป็นองค์ความรู้ที่ภาครัฐและภาคเอกชนในฐานะผู้บังคับ บัญชาของวิศวกรเหล่านี้ต้องการให้มี กระบวนการในการเรียนรู้ Retool และ Reskill รวมถึงกระบวนการในการ Unlearn ของ วิศวกรในหน้างาน ณ ปัจจุบันจ�ำเป็นต้องท�ำอย่างเร่งด่วน และ ต้องอาศัยความร่วมมือในการออกแบบกระบวนการดังกล่าวอย่าง มีแบบแผนและคุ้มค่า ส� ำ หรั บภาครัฐ ในฐานะเป็น ต้น สัง กัดกับมหาวิทยาลัย ยังคงต้องให้การสนับสนุนสถาบันการศึกษา ไม่ผลักภาระทางด้าน งบประมาณไปยังนักศึกษาในรูปของค่าธรรมเนียมไปทั้งหมด เพราะการศึกษาคือการลงทุนที่ดีที่สุดของประเทศ การออกแบบ การท�ำงานและการก�ำกับการท�ำงานร่วมกัน ของสถาบันการศึกษา องค์กรวิชาชีพผู้ถือกฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพ และองค์กร ผู้ใช้บัณฑิตเป็นเรื่องส�ำคัญในการพัฒนาวิชาชีพวิศวกร และสอง สิ่งสุดท้ายที่เป็นสิ่งส�ำคัญมากคือ การให้นโยบาย ยุทธศาสตร์ให้ แก่สถาบันการศึกษาอย่างชัดเจนและต่อเนื่อง พร้อมแหล่ง ทรัพยากรที่เหมาะสม เป็นสิ่งจ�ำเป็นของการพัฒนาวิชาชีพนี้

วางภาพของความส�ำเร็จเป็นเป้าหมายของชีวิต เรียนรู้ทักษะชีวิตที่จ�ำเป็นต่อการเป็นวิศวกร ผศ. ดร.ณัฐ มองว่า การที่คนเราจะประสบความส�ำเร็จ ได้นั้น จะต้องวางภาพของความส�ำเร็จเป็นเป้าหมายของชีวิต ซึ่งหมายถึงว่า จะต้องมองภาพอนาคตของตนเองและท�ำภาพ

อนาคตเหล่านั้นให้กลายเป็นความจริงให้มากที่สุด ยกตัวอย่าง ตั ว อาจารย์ เ องมี ค วามชอบเครื่ อ งจั ก รเครื่ อ งกลโดยเฉพาะ อากาศยานเป็นทุนเดิม แต่ ณ ขณะนั้นในประเทศไทย ไม่มีการ เปิดหลักสูตรนี้ มีเพียงบางกระบวนวิชา เช่น อากาศพลศาสตร์ เครือ่ งยนต์แก๊สเทอร์ไบน์ ทีเ่ ปิดให้เรียนในสาขาวิศวกรรมเครือ่ งกล ในมหาวิทยาลัยและสถาบันต่างๆ ต่อมาเมือ่ อาจารย์สอบเข้าสาขา วิศวกรรมเครือ่ งกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ ซึ่ ง เป็ น หลั ก สู ต รที่ ส อนนั ก ศึ ก ษาให้ เ ป็ นวิ ศ วกรเครื่ อ งกล ท�ำหน้าที่นอกจากในด้านวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมโดยตรงแล้ว ยังท�ำหน้าที่ในอุตสาหกรรมและธุรกิจได้หลากหลาย รวมทั้งการ ประกอบธุรกิจที่เป็นของตนเองได้ การมีผลสัมฤทธิ์ที่ดีทางการ ศึกษาเป็นเรื่องส�ำคัญก็จริง แต่การมองภาพอนาคตของตนเองใน วงการวิชาชีพวิศวกรรมให้ได้ภายใน 4 ปี เป็นสิ่งที่ส�ำคัญกว่า การหาข้อมูลถึงลักษณะงานวิศวกรรมจริงๆ ในขณะนั้นส่วนใหญ่ สามารถท� ำ ได้ เ พี ย งการรั บ การถ่ า ยทอดประสบการณ์ จ าก คณาจารย์ในชั้นเรียน จากรุ่นพี่ และที่สำ� คัญจากการฝึกงานของ ตนเองและเพื่อนร่วมรุ่น “ผมตระหนักได้วา่ การมองภาพอนาคตของการเป็นวิศวกร นั้ น จะต้ อ งอาศั ย การบ่ ม เพาะการเรี ย นรู ้ ไ ม่ เ ฉพาะเทคนิ ค วิศวกรรมศาสตร์เท่านัน้ แต่การเรียนรูท้ กั ษะชีวติ ทีจ่ ำ� เป็นต่อการ เป็นวิศวกรนั้นเป็นเรื่องที่ส�ำคัญไม่แพ้กัน เราไม่สามารถเรียนรู้ ทุกอย่างให้ครบก่อนไปท�ำงานได้ เพราะเราไม่สามารถรู้อย่าง แน่นอนด้วยซ�้ำว่าจะได้มีโอกาสไปท�ำงานด้านใด ในองค์กรไหน ล่วงหน้า แต่ความรูพ้ นื้ ฐานทางวิศวกรรมศาสตร์พร้อมด้วยทักษะ ความสามารถที่จะปรับตัว เรียนรู้ต่อไปในอนาคตต่างหากที่มี ความส�ำคัญอย่างยิ่งยวดจะช่วยให้เราปรับภาพอนาคต ใช้ชีวิต อย่างมีเป้าหมายไปโดยตลอด ไม่ใช่แค่เป้าหมายเพื่อตนเอง แต่ ต้องเป็นเป้าหมายเพือ่ สังคม สถาบันการศึกษา และประเทศชาติ” ผศ. ดร.ณัฐ กล่าว

17

Engineering Today November - December

2019


Cover Story

The new VEGAPULS instrument series is available both as compact version with cable connection housing (left in the photo) and as standard version with fixed cable connection (IP68). The new series is complemented by the VEGAMET controller (right in the photo), which can also be used to visualize all measured values.

VEGA adds to its portfolio of level sensors with a new non-contact radar instrument series for standard measuring tasks and price-sensitive applications.

Radar is

the better

ultrasonic!

Engineering Today November - December

2019

18

A new era in radar level measurement began a few years ago when VEGAPULS sensors based on 80 GHz technology were introduced. Thanks to the more precise focusing of the radar beam, the sensor virtually eliminates any unwanted or interfering reflections – the level measurement therefore becomes much easier and more reliable. Many difficult measuring tasks for ultrasonic sensors are now becoming standard practice with radar technology.


VEGA has now added a new compact 80 GHz instrument series to its portfolio of radar sensors. It is especially suitable for price-sensitive applications, such as those found in the water/wastewater industry or in auxiliary process loops in process automation. VEGA designed a new radar microchip especially for this purpose, which is characterized by its extremely small size, fast start up time and low energy consumption. The end result is a particularly compact and versatile radar sensor.

Robust, unaffected and weatherproof The new VEGAPULS instruments are ideal for both liquids and bulk solids. They are available both as compact version with cable connection housing and as a standard version with a fixed IP68 cable connection. The radar sensors maintain steady, accurate measurements without effect or loss of echo from external influences such as solar gain, air temperature fluctuations, weather conditions vapours, buildup or condensation. Users can choose from 4 ... 20 mA, HART, SDI-12 or Modbus as the direct output signal, ATEX versions are also available.

The VEGAPULS instrument series are compact devices, but they are complemented by the optional VEGAMET controllers. These feature a large graphic display that can be used to visualize all measured values. They have also been particularly designed to meet the special requirements of the water/wastewater industry. VEGAMET controllers allow simple implementation of pump control, flow measurement in open channels and overfill protection according to WHG. These are designed for operation in outdoor environments and, are supplied in a weather-resistant housing.

Simple setup thanks to wireless operation Both the sensors and the controllers can be operated easily via Bluetooth with a smartphone or tablet. This makes setup, display and diagnostics considerably easier, especially in harsh environments or in hazardous areas. The new VEGAPULS radar instrument series offers many advantages over current ultrasonic level measurement technologies. Thanks to their better all-conditions reliability, ruggedness, simple operation and, last but not least, low price it’s the obvious choice for the modern water industry applications.

More information available at www.vega.com/vegapuls

19

Engineering Today November - December

2019


Factory Today • กองบรรณาธิการ

ACE ตั้งเป้า

เพิ่มก�ำลังการผลิต ติดตัง้ พลังงานไฟฟ้า รวม 1,000 เมกะวัตต์ อีก 5 ปีข้างหน้า

จิรฐา ทรงเมตตา ประธานกรรมการบริหาร บมจ. แอ๊บโซลูท คลีน เอ็นเนอร์จี้ หรือ ACE

Engineering Today November - December

2019

โรงไฟฟ้าชีวมวลน�ำ้ พอง (Biomass) จ.ขอนแก่น

บริษัท แอ๊บโซลูท คลีน เอ็นเนอร์จี้ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ACE ผู้ผลิต และจ�ำหน่ายไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนรายใหญ่ของประเทศไทยและผูน้ ำ� ด้านพลังงานสะอาด (The Clean Energy Leader) ซึ่งด�ำเนินธุรกิจในการ ผลิตไฟฟ้าจาก 4 เชื้อเพลิงหลัก ประกอบด้วย เชื้อเพลิงชีวมวล (Biomass) เชือ้ เพลิงขยะชุมชน (Municipal Solid Waste : MSW) เชือ้ เพลิงก๊าซธรรมชาติ และพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคาอาคาร โรงงาน (Solar Rooftop) บนพื้นดิน (Solar Farm) และบนผิวน�ำ้ (Solar Floating) ตั้งเป้าภายในปี พ.ศ. 2567 จะเพิ่มก�ำลังการผลิตติดตั้งพลังงานไฟฟ้ารวม 1,000 เมกะวัตต์ จาก ที่ปัจจุบันมีธุรกิจในการผลิตไฟฟ้าเปิดด�ำเนินการเชิงพาณิชย์ (Commercial Operation Date : COD) แล้ว 13 โครงการ ก�ำลังการผลิตติดตั้งรวม 211.18 เมกะวัตต์ และอยู่ระหว่างการพัฒนาโครงการอีก 20 โครงการ ก�ำลังการผลิต ติดตั้งรวมที่ 210.19 เมกะวัตต์ จิรฐา ทรงเมตตา ประธานกรรมการบริหาร บริษัท แอ๊บโซลูท คลีน เอ็นเนอร์จี้ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ACE กล่าวว่า ACE เป็นบริษัทผู้ผลิต และจ�ำหน่ายไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนรายใหญ่ของประเทศไทยและผู้น�ำ ด้านพลังงานสะอาด (The Clean Energy Leader) โดยด�ำเนินธุรกิจในการ ผลิตไฟฟ้าจาก 4 เชื้อเพลิงหลัก ประกอบด้วย เชื้อเพลิงชีวมวล (Biomass) เชื้อเพลิงขยะชุมชน (MSW), เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติ และพลังงานแสงอาทิตย์ ที่ติดตั้งบนหลังคาอาคารโรงงาน (Solar Rooftop) บนพื้นดิน (Solar Farm)

20


และบนผิวน�้ำ (Solar Floating) ซึ่งเป็นพลังงาน ธรรมชาติที่มีศักยภาพสูง สะอาด และเป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อม โดยจ�ำหน่ายไฟฟ้าทีไ่ ด้จากธุรกิจของ ACE ให้กบั การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) การไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) การรับจ้างก�ำจัด ขยะโดยผลิตเป็นกระแสไฟฟ้า และจ�ำหน่ายไอน�ำ้ ให้ แก่ลูกค้าอุตสาหกรรม เป็นต้น ซึ่งได้ด�ำเนินการ เชิงพาณิชย์ (COD) ครั้งแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 จวบจนถึงปัจจุบัน ACE มีโครงการทั้งหมด 32+1 โครงการ ก�ำลังการผลิตรวม 411.47+9.9 เมกะวัตต์ ปั จ จุ บั น ACE มี โ ครงการทั้ ง หมด 32+1 โครงการ คิดเป็นก�ำลังการผลิตรวม 411.47+9.9 เมกะวัตต์ แบ่งเป็น ด�ำเนินการเชิงพาณิชย์แล้ว 13 โครงการ ก�ำลังการผลิตติดตั้งรวม 211.18 เมกะวัตต์ และอยู่ระหว่างการพัฒนาโครงการอีก 20 โครงการ ก�ำลังการผลิตติดตั้งรวม 210.19 เมกะวัตต์ ประกอบด้วย 1) โครงการโรงไฟฟ้า ชีวมวล (Biomass) มีทั้งหมด 24 โครงการ แบ่ง เป็ น โครงการที่ เ ปิ ด ด� ำ เนิ น การเชิ ง พาณิ ช ย์ แ ล้ ว 9 โครงการ ก�ำลังการผลิตติดตัง้ รวม 89.1 เมกะวัตต์ ได้แก่ โรงไฟฟ้าพลังงานสะอาดน�้ำพอง จังหวัด ขอนแก่น บนพื้นที่ประมาณ 53 ไร่ ก�ำลังการผลิต ติดตั้ง 9.9 เมกะวัตต์ ซึ่งถือเป็นต้นแบบโรงไฟฟ้า ชีวมวลของประเทศไทย เพราะสามารถใช้เชื้อเพลิง ชีวมวลที่มีความชื้นสูงถึง 65% คือ มีปริมาณน�้ำ 65 ส่วน เนื้อชีวมวล 35 ส่วน น�ำมาเป็นเชื้อเพลิง ในการเผาไหม้ ใ ช้ เ ดิ น เครื่ อ งจั ก รได้ อ ย่ า งเต็ ม ประสิทธิภาพต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง โดยมีเป้าหมาย เดิ น เครื่ อ งจั ก รผลิ ต ไฟฟ้ า อย่ า งต่ อ เนื่ อ งเป็ น ระยะเวลา 435 วัน ไม่ตอ้ งหยุดซ่อมบ�ำรุง, โรงไฟฟ้า พลังงานสะอาดบ้านบึง อ�ำเภอบ้านบึง จังหวัด ชลบุรี บนพื้นที่ประมาณ 146 ไร่ ก�ำลังการผลิต ติดตั้ง 9.9 เมกะวัตต์, โรงไฟฟ้าพลังงานสะอาด ศรีเชียงใหม่ อ�ำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย บนพื้นที่ประมาณ 302 ไร่ ก�ำลังการผลิตติดตั้ง 9.9 เมกะวัตต์, โรงไฟฟ้าพลังงานสะอาดโชคชัย อ� ำ เภอโชคชั ย จั ง หวั ด นครราชสี ม า บนพื้ น ที่ ประมาณ 56 ไร่ ก�ำลังการผลิตติดตัง้ 9.9 เมกะวัตต์, โรงไฟฟ้าพลังงานสะอาดโพนทอง อ�ำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด บนพื้นที่ประมาณ 82 ไร่ ก�ำลัง การผลิตติดตั้ง 9.9 เมกะวัตต์, โรงไฟฟ้าพลังงาน

ธนะชัย บัณฑิตวรภูมิ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ACE

ธีรวุฒิ ทรงเมตตา ประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มงานเทคโนโลยีและนวัตกรรม ACE

สะอาดสิรนิ ธร อ�ำเภอสิรนิ ธร จังหวัดอุบลราชธานี บนพืน้ ทีป่ ระมาณ 115 ไร่ ก�ำลังการผลิตติดตั้ง 9.9 เมกะวัตต์, โรงไฟฟ้าพลังงานสะอาดบ่อพลอย อ�ำเภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี บนพื้นที่ประมาณ 120 ไร่ ก�ำลังการผลิต ติดตั้ง 9.9 เมกะวัตต์, โรงไฟฟ้าพลังงานสะอาดตานี อ�ำเภอปราสาท จังหวัด สุรินทร์ บนพื้นที่ประมาณ 123 ไร่ ก�ำลังการผลิตติดตั้ง 9.9 เมกะวัตต์ และ โรงไฟฟ้าพลังงานสะอาดเถิน อ�ำเภอเถิน จังหวัดล�ำปาง บนพื้นที่ประมาณ 69 ไร่ ก�ำลังการผลิตติดตั้ง 9.9 เมกะวัตต์ นอกจากนี้มีโครงการที่อยู่ระหว่าง การพัฒนา 14 โครงการ และอยู่ระหว่างด�ำเนินการ EIA 1 โครงการ คิดเป็น ก�ำลังการผลิตติดตั้ง 291.0 เมกะวัตต์ 2.) โครงการโรงไฟฟ้าขยะชุมชน (MSW) เป็นโรงไฟฟ้าขยะชุมชน แบบปิด ไม่มีกลิ่นเหม็น ไม่มีฝุ่นละออง และมีระบบบ�ำบัดน�้ำเสียจากขยะ ด้วยการน�ำน�้ำขยะที่มีลักษณะเป็นโคลนข้นสีด�ำ มาผ่านการบ�ำบัดด้วยระบบ Reverse Osmosis (RO) จะท�ำให้น�้ำใสเหมือนน�ำ้ ดื่มบรรจุขวด จากนั้นจึงน�ำ ไปใช้ในขบวนการผลิตของโรงไฟฟ้าขยะ โดยไม่มีการปล่อยออกนอกโรงงาน คิดเป็นก�ำลังการผลิตติดตั้งรวม 11.0 เมกะวัตต์ แบ่งเป็นเปิดด�ำเนินการ เชิงพาณิชย์แล้ว 1 โครงการ ที่เทศบาลต�ำบลโนนท่อน อ�ำเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่น ก�ำลังการผลิตติดตั้ง 6.0 เมกะวัตต์ โดยใช้ขยะกว่า 400 ตันต่อวัน ในการน�ำมาเผาเพื่อเป็นเชื้อเพลิง และอีก 1 โครงการที่จังหวัดกระบี่ ซึ่งอยู่

21

Engineering Today November - December

2019


ระหว่างการพัฒนาโครงการ 3) โครงการโรง ไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม อ�ำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา บนพื้นที่ประมาณ 195 ไร่ ด�ำเนินการเชิงพาณิชย์แล้ว ก�ำลังการผลิตติดตั้ง 114.35 เมกะวัตต์ และ 4.) โครงการโรงไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ (Solar) จ�ำนวน 6 โครงการ ก�ำลังการผลิตติดตั้งรวม 5.02 เมกะวัตต์ แบ่งเป็น เปิดด�ำเนินการเชิงพาณิชย์แล้ว 2 โครงการ มีก�ำลัง การผลิตติดตั้งรวม 1.73 เมกะวัตต์ ได้แก่ โรงไฟฟ้า พลังงานแสงอาทิตย์ อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ก�ำลังการผลิตติดตั้ง 1 เมกะวัตต์ และโรงไฟฟ้า พลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ อ� ำ เภอโชคชั ย จั ง หวั ด นครราชสีมา ก�ำลังการผลิตติดตั้ง 0.73 เมกะวัตต์ และอีก 4 โครงการอยู่ระหว่างการพัฒนาโครงการ

พรเมตต์ ทรงเมตตา ประธานเจ้าหน้าที่กลุ่มงานปฏิบัติการ ACE

ผลการด�ำเนินงาน 6 เดือนแรกของปี’62 ก�ำไรสุทธิ 342 ล้านบาท ส�ำหรับผลประกอบการ ACE มีอัตราการ เติบโตอย่างต่อเนื่องและมั่นคง โดยภาพรวมผล การด�ำเนินธุรกิจ 3 ปีย้อนหลัง ระหว่างปี พ.ศ. 2559-2561 ACE มีรายได้ปี พ.ศ. 2559 รวม 2,161 ล้านบาท ส่วนปี พ.ศ. 2560 มีรายได้รวม 4,346 ล้านบาท และปี พ.ศ. 2561 มีรายได้รวม 4,849 ล้านบาท ตามล�ำดับ คิดเป็นอัตราการเติบโต เฉลี่ยต่อปี ประมาณ 50% ส่วนภาพรวมผลการ ด�ำเนินงาน 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2562 มีรายได้ รวม 2,555 ล้านบาท และก�ำไรสุทธิ 342 ล้านบาท ส�ำหรับกระแสเงินสดของ ACE มีประมาณ 2,000 ล้านบาท จ่ายหนี้สินต่างๆ ปีละประมาณ 1,000 ล้านบาท ACE ตั้ งเป้า หมายในอนาคตไว้ว ่า ภายใน ปี พ.ศ. 2567 ACE จะขยายการลงทุนโรงไฟฟ้า ในไทยและต่ า งประเทศ โดยเฉพาะประเทศใน ภูมิภาคอาเซียนที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้าใกล้เคียง กับประเทศไทย เพื่อเพิ่มก�ำลังการผลิตติดตั้งรวม ของ ACE ให้ได้ 1,000 เมกะวัตต์ หรือเพิ่มขึ้น ประมาณ 5 เท่าจากปัจจุบัน น�ำเทคโนโลยีมาใช้ ในการผลิต สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ธีรวุฒิ ทรงเมตตา ประธานเจ้าหน้าที่กลุ่ม งานเทคโนโลยีและนวัตกรรม บริษัท แอ๊บโซลูท คลีน เอ็นเนอร์จี้ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ACE

Engineering Today November - December

2019

โรงไฟฟ้าขยะชุมชนต้นแบบ เทศบาลต�ำบลโนนท่อน อ.เมือง จ.ขอนแก่น

กล่ า วว่ า ส� ำ หรั บ ความได้ เ ปรี ย บในเชิ ง การแข่ ง ขั น ทั้ ง ในประเทศและใน ระดับสากล ของ ACE นั้นมาจากการน�ำระบบ Auto Load Control (ALC) มาใช้ ค วบคุ ม การผลิ ต ไฟฟ้ า แบบอั ต โนมั ติ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการ เดินเครื่องจักร ประหยัดเชื้อเพลิงและลดการสูญเสียที่ไม่เกิดประโยชน์ มีการ ปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยีในกระบวนการผลิตภายในโรงไฟฟ้าอย่าง สม�่ำเสมอ มีการน�ำเทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูลด้วย Big Data เข้ามาใช้ในการ จัดเก็บข้อมูลเครื่องจักรใช้งานแต่ละตัวเพื่อน�ำผลไปวิเคราะห์และประมวลผล เพือ่ ออกแบบพัฒนาเครือ่ งจักรให้มปี ระสิทธิภาพตามการใช้งานและระยะเวลา การซ่อมบ�ำรุงที่เหมาะสม อีกทั้งมีการควบคุมระบบการท�ำงานออนไลน์ผ่าน Artificial Intelligence Cyber Command Center ซึ่งเครื่องจักรที่ใช้จะเป็น MARTIN จากประเทศเยอรมนี พร้อมด้วยทีมวิจัยของ ACE และส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้องร่วมศึกษาวิจัยหาเชื้อเพลิงที่เหมาะสมน�ำมาใช้ในกระบวนการผลิต ไฟฟ้ า เพื่ อ ไม่ ท� ำ ลายสิ่ ง แวดล้ อ มและชุ ม ชนโดยรอบ สร้ า งความมั่ น ใจใน ประสิทธิภาพในการดูแลรักษาสิง่ แวดล้อมของ ACE ทีจ่ ะเข้าไปตัง้ โรงงานผลิต ไฟฟ้าในแต่ละพืน้ ทีไ่ ด้ดอี กี ทางหนึง่ ด้วย โดยเฉพาะโครงการโรงไฟฟ้าขยะชุมชน ต้นแบบที่จังหวัดขอนแก่น ที่มีการออกแบบกระบวนการผลิตให้ปลอดกลิ่น ไร้ควัน และเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม โดยไม่ปล่อยของเสียและน�ำ้ เสียกลับสูช่ มุ ชน (Zero Discharge) พร้อมตัง้ เป้ามีปริมาณการปล่อยคาร์บอนเท่ากับศูนย์ภายใน ปี พ.ศ. 2593

22


ได้รับใบรับรองมาตรฐานสากลด้านผลิต ความปลอดภัย - สิ่งแวดล้อม พรเมตต์ ทรงเมตตา ประธานเจ้าหน้าที่ กลุ ่ ม งานปฏิ บั ติ ก าร บริ ษั ท แอ๊ บ โซลู ท คลี น เอ็นเนอร์จี้ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ACE กล่าวว่า ACE ได้รับหนังสือรับรอง (Certificate) มาตรฐาน สากลเรือ่ งสิง่ แวดล้อมมากมาย เช่น มาตรฐานระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อม ISO 14001, มาตรฐาน เรื่องการผลิตที่มีประสิทธิภาพ ISO 9001 และ มาตรฐานการจั ด การอาชี ว อนามั ย และความ ปลอดภั ย ของพนั ก งาน OHSAS 18001 เพื่ อ เป็นการพิสูจน์ว่าโรงไฟฟ้าขยะของ ACE ยึดหลัก Environmental Social and Governance (ESG) และ Total Societal Impact (TSI) โรงไฟฟ้าขยะ ของ ACE จึงอาสา (Volunteer) ขอส่งผลตรวจวัด คุ ณ ภาพอากาศจากเครื่ อ งมื อ ตรวจวั ด คุ ณ ภาพ อากาศก่อนปล่อยออกปล่อง (CEM) ทั้ง 4 เครื่อง ไปยังกรมโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อเก็บบันทึกไว้ และประชาชนโดยทั่วไปสามารถเปิดเข้าไปตรวจดู ได้ตลอดเวลานับตั้งแต่วันเริ่มเดินเครื่องถึงปัจจุบัน ยั ง ไม่ เ คยกระท� ำ ผิ ด มาตรฐานที่ ก รมโรงงาน อุตสาหกรรมก�ำหนดไว้

นอกจากนี้ได้รับรางวัล 3Rs Award ในปี พ.ศ. 2559 จากการที่เป็น ผูด้ ำ� เนินธุรกิจด้านพลังงานทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม เพือ่ สร้างพลังงานสะอาด แก่ประชาชน สิ่งแวดล้อม และรอบๆ โรงงานของ ACE ในทุกๆ พื้นที่ ACE เตรียมเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ปลายปีนี้ ธนะชัย บัณฑิตวรภูมิ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั แอ๊บโซลูท คลีน เอ็นเนอร์จี้ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ACE กล่าวว่า ACE คาดว่าจะสามารถ ก�ำหนดราคาขายหุ้นเพิ่มทุนต่อประชาชนทั่วไปครั้งแรก (IPO) ภายในเดือน พฤศจิ ก ายน 2562 และคาดว่ า จะเข้ า จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แห่งประเทศไทย (SET) ได้ภายในปี พ.ศ. 2562 นี้ ซึ่งในช่วงที่ผ่านมา ACE ได้เดินสายโรดโชว์ต่อนักลงทุนสถาบันในประเทศไปแล้ว 20 กว่าราย ซึ่ง ได้ รั บ กระแสตอบรั บ ดี ม ากและพร้ อ มเตรี ย มโรดโชว์ แ ก่ นั ก ลงทุ น ทั่ ว ไป ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอีกครั้งเร็วๆ นี้ โดยปัจจุบันอยู่ระหว่าง เตรียมเสนอขายหุ้น IPO จ�ำนวนไม่เกิน 1,818 ล้านหุ้น หรือคิดเป็น 16.56% ของหุ้นสามัญที่ออกและเรียกช�ำระแล้วทั้งหมดของ ACE นอกจากนี้ ACE พร้อมจัดตั้งบริษัทลูกเพื่อร่วมลงทุนกับวิสาหกิจชุมชนในโครงการโรงไฟฟ้า ชุมชนของรัฐบาล ตามหลักเกณฑ์ทภี่ าครัฐเตรียมก�ำหนดออกมา เนือ่ งจาก ACE เป็นผู้ผลิตและจ�ำหน่ายไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนรายใหญ่ของไทย และได้ ประสานงานร่วมกับชุมชนจนมีเกษตรกรเป็นสมาชิกของ ACE จ�ำนวนมาก จึงพร้อมที่จะลงทุนหากรัฐเปิดโครงการขึ้นในปี พ.ศ. 2563 นี้ โดยคาดว่าจะ ประกันราคารับซื้อชีวมวลที่เหมาะสมแก่เกษตรกรที่สนใจเข้าร่วมน�ำพืชผล ทางการเกษตรที่ ACE สามารถน�ำมาใช้เป็นเชือ้ เพลิงในการน�ำไปผลิตไฟฟ้าได้ เช่น อ้อย หญ้าเนเปียร์ แกลบ ขี้เลื่อย และอื่นๆ ราคาประมาณ 1,200 บาท ต่อตัน

แปลงวิจัยส�ำหรับทดลองปลูกเชื้อเพลิงของ ACE

23

Engineering Today November - December

2019


Energy Today • กองบรรณาธิการ

จีอี ลงทุน 60 ล้านเหรียญ สร้างศูนย์วิศวกรรมซ่อมบ�ำรุง และพัฒนากังหันก๊าซรุ่น HA ระดับโลกแห่งใหม่ที่สิงคโปร์

จีอี ประกาศลงทุนจ�ำนวน 60 ล้านเหรียญ สหรัฐ ใน 10 ปีขา้ งหน้านีเ้ พือ่ พัฒนาศูนย์ซอ่ มบ�ำรุง ระดั บ โลกที่ มี อ ยู่เดิมในสิงคโปร์ โดยสร้า งศูนย์ วิศวกรรมซ่อมบ�ำรุงและพัฒนาเครื่องกังหันก๊าซ รุ่น HA ภายใต้การสนับสนุนจากคณะกรรมการ พัฒนาเศรษฐกิจสิงคโปร์ ตอกย�้ำถึงความมุ่งมั่น ของบริษัทฯ ที่จะลงทุนเกี่ยวกับก๊าซอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นส่วนส�ำคัญของพลังงานแบบผสมผสาน ศู น ย์ พั ฒ นาเพื่ อ ความเป็ น เลิ ศ แห่ ง ใหม่ นี้ จะเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาคุณภาพการ ซ่อมบ�ำรุงของจีอที วั่ โลกและส่งผลดีตอ่ ประสิทธิภาพ การท�ำงานของเครือ่ งกังหันก๊าซทีล่ ำ�้ หน้ากว่ารุน่ ใดๆ ในอุตสาหกรรมนี้ โดยศูนย์แห่งนี้จะสร้างมาตรฐาน โลกใหม่ของการพัฒนาเทคโนโลยีดา้ นการผลิตไฟฟ้า และเมือ่ เริม่ ด�ำเนินการบริการซ่อมบ�ำรุงส่วนประกอบ กังหันในปี พ.ศ. 2564 ศูนย์นี้จะมีแผนกวิจัยและ พัฒนา (R&D) ที่จะพัฒนาความสามารถในการ ซ่อมบ�ำรุง รวมทั้งการซ่อมบ�ำรุงส่วนประกอบไฮเทค ของกังหันก๊าซรุ่น HA เช่น หัวฉีด และใบพัด จากการที่กังหันก๊าซรุ่น HA ที่ใช้อยู่ทั่วโลก มีจำ� นวนมากขึน้ คาดว่าการลงทุนในสิงคโปร์จะท�ำให้ จีอีต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมและการซ่อม บ�ำรุงเพิ่มอีก 160 คน ศูนย์นี้ยังจะให้บริการแก่ โรงไฟฟ้าในเอเชีย และประเทศอื่น นอกเหนือจาก ทวี ป อเมริ ก าได้ ดี ม ากยิ่ ง ขึ้ น โดยที่ ลู ก ค้ า ในทวี ป อเมริกาจะได้รับการบริการจากศูนย์การผลิตและ บริการที่กรีนวิลล์ การประกาศการลงทุ น ครั้ ง นี้ เ กิ ด ขึ้ น พร้ อ ม กับการฉลองค�ำสั่งซื้อกังหันรุ่น HA เครื่องที่ 100 จากโรงงานไฟฟ้า Mytilineos ในประเทศกรีซ และ การเปิดตัวกังหันก๊าซรุ่น 7HA.03 ซึ่งปัจจุบัน เป็น โรงไฟฟ้าความร้อนร่วมที่มีประสิทธิภาพสูงที่สุด ส�ำหรับการผลิตไฟฟ้าที่ความถี่ 60 Hz ที่มีต้นทุน การเปลี่ยนก๊าซธรรมชาติเป็นไฟฟ้าที่ต�่ำที่สุด

Engineering Today November - December

2019

สก็อต สตราซิก (ที่ 2 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร จีอี ก๊าซ พาวเวอร์ ดร.เบธ์ สวาน จิน (กลาง) ประธานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจสิงคโปร์ และผู้บริหารจีอีระดับสูง ในพิธีประกาศแผนลงทุนศูนย์ซ่อมบ�ำรุงและ พัฒนากังหันก๊าซรุ่น HA ระดับโลกแห่งใหม่ที่สิงคโปร์

“สิงคโปร์เป็นศูนย์กลางธุรกิจและทาเลนท์ที่ส�ำคัญของจีอี มาตลอด 50 ปี เหตุผลส�ำคัญทีเ่ ราเลือกลงทุนครัง้ นีใ้ นสิงคโปร์คอื ความเชือ่ มัน่ ในทีมงาน ของเรา และโครงการทีเ่ ราท�ำอยูใ่ นขณะนี้ รวมถึงความสัมพันธ์ทแี่ นบแน่นและ ความเชื่อมั่นที่มีต่อรัฐบาลและคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจสิงคโปร์ เรา ตัง้ เป้าว่าศูนย์แห่งใหม่นี้ จะมุง่ พัฒนาและให้บริการเทคโนโลยีกงั หันก๊าซรุน่ HA และ Aeroderivative ทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลกของจีอี ศูนย์นจี้ ะท�ำให้เราบริการลูกค้า ในเอเชียทีใ่ ช้กงั หันก๊าซรุน่ HA นีไ้ ด้ดยี งิ่ ขึน้ โดยการให้บริการจะมาจากบุคลากร ในภูมิภาคนี้ และระยะเวลาของรอบของการซ่อมแซมจะลดลงได้มากที่สุดถึง 2 เดือน” สก็อต สตราซิก ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร จีอี ก๊าซ พาวเวอร์ กล่าว ดร.เบธ์ สวาน จิน ประธานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจสิงคโปร์ กล่าวว่า การที่จีอีลงทุนในการสร้างศูนย์วิศวกรรมซ่อมบ�ำรุงและพัฒนาระดับ โลกนี้นับเป็นก้าวส�ำคัญล่าสุดของการเป็นหุ้นส่วนที่ยาวนานของเรา และการ ขยายธุรกิจของบริษทั ฯ ในสิงคโปร์ การก่อตัง้ ศูนย์ซอ่ มบ�ำรุงและพัฒนาส�ำหรับ เครื่องกังหันก๊าซนี้นับเป็นเรื่องดีส�ำหรับฐานกิจกรรมทางอุตสาหกรรมของ ประเทศ และยังช่วยสร้างงานให้กับคนสิงคโปร์ด้วย จีอีเริ่มด�ำเนินธุรกิจศูนย์บริการนี้ในสิงคโปร์ก่อนปี พ.ศ. 2512 โดยมี บริษัทสิงคโปร์เป็น ผู้ร่วมถือหุ้น ก่อนหน้านี้ศูนย์แห่งนี้ให้บริการซ่อมบ�ำรุงที่ เกีย่ วกับการเดินเรือ รวมทัง้ การซ่อมบ�ำรุงนอกชายฝัง่ เมือ่ จีอเี ข้ามาด�ำเนินงาน จึงได้เปลีย่ นมาให้บริการซ่อมบ�ำรุงโรงไฟฟ้า กังหันก๊าซ กังหันไอน�ำ้ และเครือ่ ง ให้ก�ำเนิดไฟฟ้า แต่ในปัจจุบันให้บริการเฉพาะการซ่อมบ�ำรุงกังหันก๊าซใน โรงไฟฟ้า และบริการที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ใหม่ของจีอี นอกจากนี้ ยังบริการ ยกเครื่องใบกังหันก๊าซ โรเตอร์ และส่วนประกอบเครื่องยนต์ Aeroderivative โดยใช้เทคโนโลยีขั้นสูงในการซ่อมบ�ำรุง เช่น การหุ้มเลเซอร์ด้วยหุ่นยนต์ การ ควบคุมเครื่องจักรกลอัตโนมัติ (Adaptive CNC Machining) การเคลือบผิว และขัดด้วยหุน่ ยนต์ และเทคโนโลยีเพือ่ การตรวจสอบต่างๆ ปัจจุบนั มีพนักงาน ประมาณ 250 คน

24


Digital Economy @Engineering Today Vol. 6 No. 174

EEC จับมือ UNIDO และ อบก. ชูแนวคิดแก ไขป ญหาขยะ และพัฒนา เมืองอุตสาหกรรมในพ�้นที่ EEC อย างยั่งยืน DGA จัดงาน “Digital Government Awards 2019” เผยหน วยงาน ระดับกรม-จังหวัดรั้งท าย ด านเทคโนโลยีดิจ�ทัล-การนำไปใช สวทช.หนุนโรงแรมอ าวนาง ปร��นซ ว�ลล ว�ลล าฯ ใช นวัตกรรมประหยัดพลังงาน ชูเป นเมืองต นแบบกระบี่ Hotel Go Green


Advertorial

2 บริษัทชั้นน�ำ มั่นใจความปลอดภัย เลือกใช้

"เทคโนโลยีนี้มีประโยชน์มาก และคิดว่าในอนาคตน่าจะมี การต่อยอด เพื่ออ�ำนวยความ สะดวกส�ำหรับผู้ประกอบการ ในประเทศได้มากยิ่งขึ้น"

e-LG BLOCKCHAIN สะดวก - รวดเร็ว -ปลอดภัย ไม่พลาดโอกาสทางธุรกิจ

คุณวรงค์ วงศ์วรกุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท แพร่ธ�ำรงวิทย์ จ�ำกัด

เมื่ อ เดื อ นพฤษภาคมที่ ผ ่ า นมา ธนาคาร แห่งประเทศไทย พร้อมด้วยธนาคารพาณิชย์ใน ประเทศไทย 22 แห่ง ร่วมเปิดตัว บริษัท บีซีไอ (ประเทศไทย) จ�ำกัด หรือ Thailand Blockchain Community Initiative เพื่อสร้างระบบ Blockchain เพื่อใช้งานร่วมกันในส่วนของธนาคาร โดย เปิดตัวบริการแรกคือ บริการหนังสือค�้ำประกัน บน Blockchain เพื่อความสะดวกในการท�ำงาน ส่งเสริมให้ธุรกิจท�ำงานได้รวดเร็วขึ้น และมีความ ปลอดภัย ในส่วนของธนาคารกรุงไทย ได้เปิดบริการ Krungthai e-LG BLOCKCHAIN เพื่อให้บริการ หนังสือค�ำ้ ประกันบน Blockchain เช่นกัน ซึง่ ปัจจุบนั มีลูกค้าให้ความสนใจเข้ามาใช้บริการอย่างต่อเนื่อง รวมทัง้ ลูกค้าจากบริษทั ชัน้ น�ำ 2 บริษทั ได้แก่ บริษทั แพร่ธ�ำรงวิทย์ จ�ำกัด และ บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) เพือ่ ตอบโจทย์การท�ำธุรกิจยุคดิจทิ ลั คุณวรงค์ วงศ์วรกุล กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั แพร่ธ�ำรงวิทย์ จ�ำกัด กล่าวถึงเหตุผลส�ำคัญในการ เลือกใช้บริการ Krungthai e-LG BLOCKCHAIN ว่าตัง้ แต่เริม่ ก่อตัง้ ธุรกิจ บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจรับเหมา ให้ กั บ ภาครั ฐ เป็ น หลั ก โดยเฉพาะงานก่ อ สร้ า ง ทางหลวงชนบท ซึ่งภาครัฐจะสั่งจ่ายเช็คกรุงไทย

Engineering Today November - December

2019

มาให้โดยตลอด จึงติดต่อและใช้บริการ ของธนาคาร จนกระทั่งได้ใช้บริการทั้ง เปิดบัญชี และวงเงินกู้สนับสนุนธุร กิจ หลังจากนั้นจึงใช้บริการของกรุงไทยเป็น หลักมาโดยตลอด ด้วยเป็นคู่ค้ากับทาง ภาครัฐ ซึ่งช่วยให้ธุรกิจคล่องตัวมากขึ้น ปัจจุบนั บริษทั ฯ มีการใช้บริการ LG Online ผ่าน Krungthai Corporate Online เพียงเข้าไปท�ำรายการผ่านระบบ e-GP ของกรมบัญชีกลางเพื่อขอออกหนังสือค�้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์สำ� หรับ วางค�ำ้ ประกันกับหน่วยงานภาครัฐ หลังจากนั้นรายการจะถูกส่งมายังธนาคาร เพื่อพิจารณาออกหนังสือค�้ำประกันอิเล็กทรอนิกส์และส่งกลับไปยังกรมบัญชี กลางทันที จากการใช้บริการดังกล่าว พบว่าประหยัดทั้งเวลาและบุคลากร อีกทั้งยังลดความเสี่ยงที่เกิดจากการใส่ข้อมูลผิดพลาด เช่น ถ้ามีการใส่ข้อมูล ผิดพลาด บริษทั ฯ จะต้องน�ำกลับไปแก้ไขข้อมูลและยื่นเอกสารให้ธนาคารใหม่ ทั้งหมด เท่ากับว่ากลับไปเริ่มต้นท�ำงานใหม่ ซึ่งบางครั้งอาจท�ำให้ยื่นเอกสาร ไม่ทัน ท�ำให้เสียโอกาสทางธุรกิจ ขณะที่บริการนี้ช่วยส่งเสริมให้ธุรกิจท�ำงาน ได้รวดเร็วขึ้น และลดความผิดพลาดในการท�ำเอกสาร ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงมีความคุน้ เคยในการใช้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ และ เมือ่ มีการเปิดให้บริการหนังสือค�ำ้ ประกันอิเล็กทรอนิกส์ผา่ นระบบ Blockchain เพือ่ วางหนังสือค�ำ้ ประกันกับบริษทั เอกชนทีเ่ ข้าร่วมโครงการ (ปัจจุบนั มี SCG, GC MARKETING และ IRPC เป็นต้น) จึงสมัครใช้บริการ คุ ณ วรงค์ เน้ น ย�้ ำ ถึ ง ความมั่ น ใจในความปลอดภั ย ของเทคโนโลยี Blockchain ว่า แม้ว่าเทคโนโลยี Blockchain จะเป็นเรื่องที่ค่อนข้างใหม่

26


"ลดขั้นตอนการจัดเตรียม เอกสาร ยื่นหนังสือค�ำ้ ประกัน ถึงผู้รับผลประโยชน์ ได้โดยตรงผ่าน ช่องทางออนไลน์"

คุณเขมจิรา วินทะไชย เจ้าหน้าที่การเงิน บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จ�ำกัด (มหาชน)

แต่ได้รบั ความนิยมอย่างรวดเร็ว เนือ่ งจาก มีความปลอดภัยสูง จะเห็นว่า องค์กร ขนาดใหญ่ตา่ งๆ เริม่ หันมาใช้ระบบนีแ้ ล้ว จากที่ บ ริ ษั ท ฯ มั่ น ใจในระบบความ ปลอดภั ย ของธนาคารกรุ ง ไทยอยู ่ แ ล้ ว เมือ่ มีระบบนีเ้ ข้ามายิง่ ช่วยเสริมให้บริษทั ฯ มีความมั่นใจมากยิ่งขึ้น “เทคโนโลยีนี้มีประโยชน์มาก และคิดว่าในอนาคตน่าจะมีการต่อยอด เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกส�ำหรับผูป้ ระกอบการในประเทศได้มากยิง่ ขึน้ คุณวรงค์ กล่าว ด้าน บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) เป็นอีกหนึ่งบริษัท ที่ เ ลื อ กใช้ บ ริ การ Krungthai e-LG BLOCKCHAIN เช่นกัน ในเรื่องนี้ คุณเขมจิรา วินทะไชย เจ้าหน้าที่การเงิน บริษัท พีทีจี เอ็นเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) ให้รายละเอียดว่า เดิมทีบริษัทฯ มีวงเงินค�้ำประกันและเปิด LG ผ่านธนาคารกรุงไทยอยู่แล้ว ประกอบกับผู้ผลิตน�้ำมันเชื้อเพลิงรายใหญ่ ทั้ง ของ IRPC และ Thai Oil ก็เปิดให้ยื่นหนังสือค�้ำประกัน ผ่านระบบ Blockchain ได้ จึงตัดสินใจใช้บริการ Krungthai e-LG BLOCKCHAIN ในส่วนของขัน้ ตอนการใช้บริการระบบ LG Blockchain เริม่ จากเข้าระบบ ออนไลน์ของ Supplier ทีเ่ ปิดให้คคู่ า้ เข้าไปท�ำรายการเองได้ กรอกรายละเอียด ของบริษัทฯ และกดอนุมัติการท�ำธุรกรรมบนระบบ เพียงแค่นี้ก็จบขั้นตอน การยื่นหนังสือค�้ำประกัน ท�ำให้ลดขั้นตอนการด�ำเนินงานของผู้ที่เกี่ยวข้อง ทั้ง 3 ฝ่าย ได้แก่ ผู้ขอออก LG, ธนาคาร และผู้รับประโยชน์ เนื่องจากระบบ จะเชื่อมต่อข้อมูลจากทุกธนาคารผ่านแพลตฟอร์มเดียวกัน ท�ำให้การท�ำงาน

27

มีความคล่องตัว รวมทัง้ ท�ำให้หนังสือค�ำ้ ประกัน เป็น Paperless ช่วยลดการสูญหายของหนังสือค�ำ้ ประกัน และลดภาระการจัดเก็บเอกสารได้ส่งเสริมให้ธุรกิจ ท�ำงานได้เร็วขึ้น และลดความผิดพลาดในการยื่น เอกสารหรือเอกสารสูญหาย ขณะที่การออก LG ตามระบบเดิมจะต้อง รวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องจัดส่งให้ธนาคาร เพื่อ ประกอบการพิจารณาออกหนังสือค�้ำประกัน และ เมือ่ ได้รบั การอนุมตั แิ ล้วต้องไปรับหนังสือค�ำ้ ประกัน กับธนาคารเพื่อน�ำส่งให้กับผู้รับประโยชน์ ท�ำให้ การท�ำงานมีความซ�้ำซ้อน และใช้เวลาค่อนข้างมาก คุณเขมจิรา กล่าวว่า เทคโนโลยี Blockchain เกิดขึ้นได้สักระยะหนึ่ง โดยในต่างประเทศเริ่มใช้ บ้างแล้ว ส�ำหรับ ประเทศไทย การพัฒนาระบบ Blockchain เป็นความร่วมมือระหว่างธนาคาร รวม ทั้งธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งองค์กรเหล่านี้ล้วน แต่เป็นองค์กรขนาดใหญ่ ท�ำให้ระบบน่าจะมีความ ปลอดภัย และน่าจะใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยปัจจุบนั เริม่ ใช้งานผ่านการออกหนังสือค�ำ้ ประกัน ซึ่ ง ในอนาคต บริ ษั ท ฯ คาดว่ า อาจมี ก ารพั ฒนา ต่อยอดไปยังผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ ซึง่ น่าจะช่วยลดขัน้ ตอน การท�ำงานในธุรกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับธนาคาร รวมทัง้ กับ Supplier ต่างๆ ได้ “เรามั่ น ใจในความปลอดภั ย ของระบบ Blockchain เพราะได้ เ ห็ น จากการจั ด ตั้ ง บริ ษั ท BCI ซึ่งเป็นความร่วมมือระดับ ประเทศ น�ำ โดย ธนาคารแห่งประเทศไทย สถาบันการเงินและองค์กร ใหญ่ต่างๆ เพื่อสร้างศูนย์กลางในการศึกษาและ พัฒนาเทคโนโลยี Blockchain โดยเฉพาะ” คุณเขมจิรา กล่าว

ช่องทางการยื่นหนังสือค�้ำประกันบล็อกเชน • สาขาหรือส�ำนักธุรกิจกรุงไทยทั่วประเทศ

• ช่องทางออนไลน์ของกรุงไทย https://www.ktb.co.th/elg-portal/#/ • ช่องทางออนไลน์ของกลุ่มธุรกิจที่เปิดให้บริการ ได้แก่ • บริษัท ไออาร์พีซี จ�ำกัด (มหาชน) • บริษัท จีซี มาร์เก็ตติ้ง โซลูชั่น จ�ำกัด • บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) • และหน่วยงานอื่นๆ ในอนาคต

ช่องทางการสมัครใช้บริการ

• ธนาคารกรุงไทยทุกสาขา หมายเหตุ บริการนี้อยู่ในช่วงทดสอบภายใต้ Regulatory Sandbox ของธนาคารแห่งประเทศไทย

Engineering Today November - December

2019


EEC • ทัศนีย์ เรืองติก

EEC จับมือ UNIDO และ อบก. ชูแนวคิดแก้ ไขปัญหาขยะ และพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม ในพื้นที่ EEC อย่างยั่งยืน วราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.)

ดร.คณิศ แสงสุพรรณ เลขาธิการคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)

Engineering Today November - December

2019

28

ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวั น ออก (สกพอ.) ร่ ว มกั บ องค์ ก ารพั ฒ นา อุตสาหกรรมแห่งสหประชาชาติ (The United Nations Industrial Developments Organization- UNIDO) และ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) หรือ อบก. จัดงานประชุมสัมมนา “Seminar during the 35th ASEAN Summit in Thailand on Circular Economy, Waste Management and Sustainability” ณ โรงแรมอินเตอร์คอนติเนนตัล เพือ่ แสดงศักยภาพและ ความก้าวหน้าการพัฒนาพื้นที่ EEC ให้เกิดความยั่งยืน ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม บนหลักการ เศรษฐกิ จ หมุ น เวี ย น (Circular Economy) และ แลกเปลี่ยนประสบการณ์การด�ำเนินงานของภาครัฐและ ภาคเอกชนของไทยในการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม เช่น


การจัดการขยะ และการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ก่อนที่จะมีการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 35 และการประชุม สุดยอดที่เกี่ยวข้อง ระหว่างวันที่ 2-4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ซึ่ง ประเทศไทยในฐานะประธานอาเซียน เป็นเจ้าภาพ

ทส. เตรียมน�ำกฎหมายพิเศษใช้บริหารจัดการขยะในพื้นที่ EEC มุ่งให้เป็นเมืองที่มีระบบก�ำจัดขยะที่ดีระดับสากล

ภายในงาน ได้รับเกียรติจาก วราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (ทส.) เป็นประธานในพิธี เปิดการประชุมสัมมนา โดย วราวุธ กล่าวว่า ประเทศไทยได้มกี ารบูรณา การด�ำเนินการจัดการเรื่องขยะ ของเสียประเภทต่างๆ น�้ำเสีย มลพิษ ทางเสียงและอากาศ และผังเมืองอย่างเป็นระบบ ด้วยหลัก 3R โดย เฉพาะขยะพลาสติกจะรณรงค์ให้ประชาชนงดใช้พลาสติกที่ไม่จ�ำเป็น ให้เร็วที่สุด ซึ่งทาง ทส.ได้เริ่มด�ำเนินมาตรการงดใช้ถุงพลาสติกแบบ ใช้ครั้งเดียวทิ้งในห้างสรรพสินค้าแล้ว โดยจะเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 เป็นต้นไป ซึ่งได้รับความร่วมมือจากห้างสรรพสินค้าและ ร้านค้าสะดวกซื้อในขณะนี้แล้ว 46 แห่ง ส่วนมาตรการต่อไปคาดว่าในปี พ.ศ. 2564 จะออกมาตรการห้าม ใช้ถุงพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งอย่างเด็ดขาดได้ในทุกๆ พื้นที่ ส�ำหรับ พื้นที่ EEC จะมีการน�ำกฎหมายพิเศษมาใช้ในการบริหารจัดการขยะ ตัง้ แต่การคัดแยกขยะจนถึงกระบวนการรีไซเคิล และพัฒนาเมืองให้เป็น เมื อ งอุ ต สาหกรรมต้ น แบบที่ มี ร ะบบสิ่ ง แวดล้ อ มการก� ำ จั ด ขยะที่ ดี แห่งหนึ่งในระดับสากลในอนาคต สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนา อย่างยัง่ ยืนขององค์การสหประชาชาติ ในการปกป้องสิง่ แวดล้อมด้วยถึง จะเกิดความสมดุล ซึ่งหากการด�ำเนินการในพื้นที่ EEC ประสบความ ส�ำเร็จในการประเมินทุกๆ ปีแล้วจากนั้นจะขยายสู่พื้นที่อื่นๆ ต่อไป

เน้นให้แต่ละพื้นที่ใน EEC เห็นประโยชน์ ในการจัดการขยะ ร่วมด�ำเนินการเศรษฐกิจหมุนเวียนอย่างสมัครใจ ดร.คณิศ แสงสุพรรณ เลขาธิการคณะกรรมการนโยบายเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) กล่าวว่า การด�ำเนินการเรื่อง เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ของประเทศไทยนั้น จะต้อง ก�ำหนดการท�ำงานเป็นพื้นที่ เพื่อให้แต่ละพื้นที่ได้มีส่วนร่วมเข้ามา ด�ำเนินการในการจัดการพื้นที่มากกว่าที่จะไปบังคับ เพราะหากท�ำงาน โดยขอความร่ ว มมื อ อย่ า งสมั ค รใจให้ ป ระชาชนทุ ก ภาคส่ ว นเข้ า มา ร่วมท�ำงาน ให้เห็นถึงประโยชน์ของการแก้ไขปัญหาขยะว่าหากท�ำแล้ว ชุ ม ชนจะมี สุ ข อนามั ย ที่ ดี ขึ้ น อย่ า งไร การบริ ห ารจั ด การเมื อ งสร้ า ง สิ่ ง แวดล้ อ มที่ ดี จ ะสร้ า งปอดและอากาศที่ ดี แ ก่ ทั้ ง ประชาชนและ สิ่งแวดล้อมอย่างไรบ้าง เพราะการลงมือท�ำด้วยตนเองจะเกิดความ ตระหนักหวงแหนสิ่งแวดล้อมมากกว่าการไปก�ำหนดหรือบังคับให้ท�ำ ส� ำ หรั บ การด� ำ เนิ น การจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มทุ ก รู ป แบบและ การพัฒนาเมืองในพื้นที่ EEC ขณะนี้โครงสร้างพื้นฐานใกล้ที่จะเสร็จ สมบูรณ์แล้ว ส่วนต่อมาก็คือการจัดระเบียบการท�ำผังเรื่องสิ่งแวดล้อม

29

ส�ำหรับพื้นที่ EEC จะมีการน�ำ กฎหมายพิเศษมาใช้ ในการบริหาร จัดการขยะตั้งแต่การคัดแยกขยะ จนถึงกระบวนการรี ไซเคิล และพัฒนา เมืองให้เป็นเมืองอุตสาหกรรมต้นแบบ ที่มีระบบสิ่งแวดล้อมการก�ำจัดขยะที่ดี แห่งหนึ่งในระดับสากลในอนาคต สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนา อย่างยั่งยืนขององค์การ สหประชาชาติ ในการปกป้อง สิ่งแวดล้อม ให้เป็นต้นแบบเมืองสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย โดยใช้ งบประมาณในการจัดการไปแล้วกว่า 10,000 ล้านบาท ตามแผนการด�ำเนินงาน และอุตสาหกรรมที่น�ำร่องใน การจัดการเรื่องขยะ ที่น�ำหลัก 3R เบื้องต้นมาใช้ คือ ภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ ได้แสดงเจตจ�ำนงเข้ามาเป็น อุตสาหกรรมแรก เชื่อว่าเมื่อการก่อสร้างแล้วเสร็จ ทุกๆ อุตสาหกรรมจะให้ความร่วมมือในการด�ำเนินการพัฒนา เมืองอุตสาหกรรมพร้อมๆ กับการดูแลสิ่งแวดล้อมภายใน EEC ให้เป็นไปอย่างยั่งยืนร่วมกัน

เผยไทยทิ้งขยะพลาสติกลงสู่ทะเลเป็นอันดับที่ 5 เสนอให้มีบทลงโทษจริงจัง ป้องกันการท�ำผิดซ�ำ้ นิอร สุขุม ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ระหว่างประเทศ ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม กล่าวว่า ประเทศไทยทิ้งขยะ พลาสติกลงสู่ทะเลเป็นอันดับที่ 5 จากการจัดอันดับของ องค์กรอนุรักษ์ท้องทะเล (Ocean Conservancy) ท�ำให้ เกิดปัญหาสัตว์ทะเลกลืนกินขยะพลาสติกเข้าไปในท้อง จนไม่ย่อย สะท้อนถึงมาตรการการบริหารจัดการขยะ ที่เกิดจากน�้ำมือของมนุษย์ทั้งทางตรงและทางอ้อมที่ขาด ประสิทธิภาพ เช่น ถุงพลาสติก ขวด ภาชนะใส่อาหาร กระดาษ ยางรัดของ และอื่นๆ การสร้างความตระหนักรู้ และสร้ า งจิ ต ส� ำ นึ กอาจจะแก้ ป ั ญ หาได้ ใ นระยะสั้ น เมื่ อ ผ่านไปปัญหาเหล่านี้ก็จะกลับมาอีก หรืออาจจะมีปัญหา อื่นๆ ตามมา เช่น ปัญหาการปล่อยน�ำ้ เสียลงสู่แม่นำ�้ ลงสู่ ธรรมชาติ การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกินค่า ก�ำหนด ปัญหาการไม่แยกขยะก่อนทิ้ง และการประกอบ อุตสาหกรรมที่ไม่มีจิตส�ำนึก

Engineering Today November - December

2019


นิอร สุขุม ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)

“ดังนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีบทลงโทษที่จริงจัง อย่าละเว้น เพื่อเป็นตัวอย่างไม่ให้กระท�ำผิดซ�้ำอีก แต่ปัญหาในการปฏิบัติก็คือ ไม่สามารถกระท�ำหรือละเว้นการกระท�ำ เนื่องจากประเทศไทยยัง ไม่มีกฎหมายที่รองรับหรือบทลงโทษที่รุนแรงต่างกับในหลายประเทศ” นิอร กล่าว

ระยองมีขยะทุกประเภทมากกว่า 1,000 ตัน ชี้ประชาชนให้ความร่วมมือจัดการขยะ 100%

สุ ริ ย า ศิ ริ วั ฒ น์ ผู ้ อ� ำ นวยการกองทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง กล่าวว่า ในจังหวัด ระยองมีขยะทุกประเภทมากกว่า 1,000 ตัน ในทุกๆ วัน ซึ่งในการ บริหารจัดการจะมีการรณรงค์ให้เกิดการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ทั้งเศษ อาหาร กล่องอาหาร ขวดแก้ว ขวดพลาสติก กระดาษหนังสือพิมพ์ และอื่นๆ เพื่อที่จะน�ำขยะเหล่านี้กลับมาใช้อีกครั้งหรือขยะจ�ำพวกเศษ อาหารจะน�ำไปท�ำปุ๋ยหมัก น�้ำหมักชีวภาพ เพื่อน�ำไปใช้เป็นปุ๋ยทดแทน สารเคมี น�ำขวดพลาสติกไปแปรเปลีย่ นเป็นกระถางต้นไม้ เป็นต้น แม้วา่ การด�ำเนินการในระยะแรก ๆ จะไม่ได้รบั ความร่วมมือจากประชาชนใน พืน้ ทีม่ ากนักแต่เมือ่ สร้างการรับรูแ้ ละการตระหนักรูเ้ รือ่ งการคัดแยกขยะ มากขึ้นก็มีจ�ำนวนประชาชนที่เข้ามาร่วมท�ำงานมากขึ้น จนปัจจุบันมี ประชาชนให้ความร่วมมือแล้ว 100% “ส่วนภาพใหญ่ของประเทศนั้นการสร้างจิตส�ำนึกยังเป็นเรื่อง ที่ส�ำคัญโดยเริ่มจากตัวเราเองเป็นต้นแบบให้กับคนในครอบครัวก่อน จากนั้นค่อยๆ ขยายสู่ชุมชนและพื้นที่อื่นๆ ต่อไป” สุริยา กล่าว

Engineering Today November - December

2019

30

GC น้อมน�ำแนวพระราชด�ำริเศรษฐกิจพอเพียงในหลวง รัชกาลที่ 9 มาปรับใช้ เน้นใช้อย่างคุ้มค่า

ดร.ชญาน์ จันทวสุ รองประธานกรรมการบริหาร บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GC กล่าวว่า GC ได้ด�ำเนินการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมตาม ปรัชญาของบริษัทฯ มาโดยตลอด เพื่อรับผิดชอบต่อสังคม ตามแผนยุทธศาสตร์ในการด�ำเนินงานของบริษทั ฯ เพือ่ ลด ปัญหาขยะ ลดการใช้พลาสติก ลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจกที่เป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส�ำคัญของโลก โดยได้ น้อมน�ำแนวพระราชด�ำริเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง รัชกาลที่ 9 มาปรับใช้ด�ำเนินธุรกิจ เพื่อให้การใช้ประโยชน์ ของวัตถุดิบในการผลิตมีค่าและใช้อย่างคุ้มค่า เช่น หากมี สิ่งหลงเหลือจากการผลิตจะน�ำมารีไซเคิล เพื่อน�ำกลับมา ใช้ให้เป็นประโยชน์รอบด้าน โดยเฉพาะเรื่องเชื้อเพลิงที่จะ หาได้ยากขึ้นทุกวัน ต้องใช้อย่างคุ้มค่าในการน�ำมาผลิต ผลิตภัณฑ์ในบริษัทฯ จะต้องลดเชื้อเพลิงในกระบวนการ ผลิตทุกๆ ครัง้ ให้ได้ 10% และวัตถุดบิ ทีน่ ำ� มาใช้นนั้ จะต้อง มั่นใจว่าคู่ค้าของเราด�ำเนินธุรกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ด้วย ในทุกๆ กระบวนการ “ความท้ า ทายคื อ การคั ด แยกขยะที่ ต ้ น ทางต้ อ ง ด�ำเนินการอย่างเป็นระบบและสม�่ำเสมอ ต้องคัดแยก พลาสติกออกมาก่อน ก่อนที่จะเข้าระบบเผาในโรงไฟฟ้า ขยะที่จะน�ำไปใช้เป็นเชื้อเพลิง เราไม่ได้เพิ่มขยะ แต่เราจะ


คัดแยกขยะให้น้อยลงเพื่อให้ทุกคนในสังคมสามารถที่จะมีส่วนร่วมใน การช่วยกัน” ดร.ชญาน์ กล่าว

ชี้มีคนไทยมากกว่า 50% ไม่ตระหนักถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมจากขยะ

สุพจน์ เกตุโตประการ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการขายและการตลาด กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย กล่าวว่า ปัญหาสังคมในเรื่องการจัดการ ขยะคือความตระหนักรู้และไม่เห็นความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ยังคิดว่าเรือ่ งการจัดการขยะเพียงแค่เริม่ จากตัวเราช่วยกันคัดแยกขยะทิง้ ให้ลงถังตามชนิดของขยะเป็นสิ่งส�ำคัญ ยังมีจ�ำนวนคนมากกว่า 50% ที่ ยังไม่ตระหนักถึงปัญหานี้ แต่ในกลุม่ บริษทั ดาวได้สร้างความตระหนักรู้ ตั้งแต่ระดับพนักงานธรรมดาไปจนถึงผู้บริหารในส่วนต่างๆ ให้มีการรับ รูป้ ญ ั หาการจัดการขยะและมีการจัดกิจกรรมให้รางวัลส�ำหรับส่วนงานที่ สามารถจัดการขยะ ลดของเสียในแต่ละแผนกภายในบริษทั ฯ ในทุกๆ ปี นอกจากนี้ในชุมชนรอบๆ ที่บริษัทฯ เข้าไปตั้งฐานการผลิตจะมีการลง พืน้ ทีใ่ ห้ความรูอ้ ยูเ่ สมอเพือ่ พัฒนาชุมชน สังคมรอบๆ ให้ตระหนักรูเ้ รือ่ ง สิ่งแวดล้อม การจัดการขยะร่วมกัน และจะเลือกคู่ค้าที่มีแนวทางการ ด�ำเนินธุรกิจด้านสิง่ แวดล้อมทีช่ ดั เจนเพือ่ ร่วมกันดูแลผูบ้ ริโภค รับผิดชอบ สังคมและประเทศชาติร่วมกัน

น�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรมช่วยดูแลสภาพภูมิอากาศ ให้มีความยั่งยืน ดร.พงษ์วิภา หล่อสมบูรณ์ รองผู้อ�ำนวยการองค์การบริหาร จัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) กล่าวว่า ปัจจุบนั มีเทคโนโลยี และนวั ต กรรมที่ ทั น สมั ย ในการน� ำ มาใช้ ใ นกระบวนการผลิ ต ภาค

ปัญหาเรื่องสิ่งแวดล้อม เป็นเรื่องที่ใหญ่มีหลายปัจจัย ที่สนับสนุนท�ำให้เกิดขึ้น ทั้งจากการ กระท�ำของมนุษย์และการกระท�ำ ของธรรมชาติแต่ส่วนใหญ่จะเป็น การกระท�ำของมนุษย์ ซึ่งหากจะแก้ ไข ให้หมดภายในเวลาอันรวดเร็วคงยาก แต่หากร่วมมือกันท�ำงานทุกๆ ภาคส่วน ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ ก็จะบรรลุตามเป้าประสงค์ ได้ ไม่ยาก

อุตสาหกรรมทีจ่ ะช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากขึน้ โดยเฉพาะในประเทศที่พัฒนาแล้วเพราะตระหนักในการ ดูแลสภาพภูมอิ ากาศ สิง่ แวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นไป เช่น การเกิด ภาวะโลกร้อน ภาวะเรือนกระจก มลพิษจากท่อไอเสีย รถยนต์ปล่อยควันพิษ PM 2.5 และอื่นๆ แต่ก็ยังมีปัญหา ที่เกิดจากน�้ำมือมนุษย์จากการเผาเศษซากวัสดุเหลือใช้

สุริยา ศิริวัฒน์ ผู้อ�ำนวยการกองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อบจ.ระยอง

31

Engineering Today November - December

2019


ปัญหาสิ่งแวดล้อมต้องอาศัยความร่วมมือ ของทุกภาคส่วน

ดร.ชญาน์ จันทวสุ รองประธานกรรมการบริหาร บมจ.พีทีที โกลบอล เคมิคอล หรือ GC

จากการประกอบการเกษตร ท�ำให้เกิดภาวะสภาพอากาศที่ไม่ดี ซึ่งคงต้องใช้การรณรงค์และการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องต่อไป แต่หาก ภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าไปช่วยให้ความรู้และน�ำนวัตกรรม ติดตั้งเครื่องมือที่ตรวจวัดปริมาณที่ปล่อยของเสียทั้งทางน�้ำ ทางบก และทางอากาศของภาคอุตสาหกรรมแล้วออกกฎหมายเก็บภาษีในการ ปล่อยของเสียต่างๆ เกินทีก่ ำ� หนด แล้วน�ำเงินจ�ำนวนนัน้ มาใช้เป็นต้นทุน ในการสร้างกิจกรรมรณรงค์อนื่ ๆ คูข่ นานไป ก็จะท�ำให้ภาคอุตสาหกรรม ที่ยังมีการปล่อยน�้ำเสีย ของเสียมลพิษต่างๆ ตระหนักแล้วกลับมา พิจารณาการประกอบกิจการให้ถูกต้องตามกฎหมายที่มีในอนาคตได้

ดร.ปานเทพ รั ต นากร สถาบั น บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา จุฬาภรณ์ กล่าวว่า ทุกๆ ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมต้อง อาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วนและควรก�ำหนดให้มี หน่วยงานที่ดูแลในแต่ละด้านแล้วประเมิน ผลการท�ำงาน เป็นเดือน เป็นไตรมาส หากพบหน่วยงานใดหรือภาคส่วน ใดที่ยังขาดความรับผิดชอบด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ก็ควรมีบทลงโทษที่เป็นรูปธรรม อย่าปล่อยผ่านเหมือน อย่างที่ผ่านมา อีกทั้งข้อมูลที่จัดเก็บของแต่ละหน่วยงาน นอกจากจะเป็นตัวชีว้ ดั การท�ำงานของแต่ละหน่วยงานแล้ว จะได้นำ� ไปเป็นส่วนหนึง่ ในการให้ภาครัฐน�ำไปก�ำหนดเป็น นโยบายและให้งบประมาณในการสนับสนุนได้ตรงปัญหา และความต้องการมากทีส่ ดุ สอดคล้องกับความคิดเห็นของ คุรจุ ติ นาครทรรพ ประธานองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือน กระจก (องค์การมหาชน) กล่าวว่า ปัญหาเรือ่ งสิง่ แวดล้อม เป็ น เรื่ อ งที่ ใ หญ่ มี ห ลายปั จ จั ย ที่ ส นั บ สนุ น ท� ำ ให้ เ กิ ด ขึ้ น ทัง้ จากการกระท�ำของมนุษย์และการกระท�ำของธรรมชาติ แต่ส่วนใหญ่จะเป็นการกระท�ำของมนุษย์ ซึ่งหากจะแก้ไข ให้หมดภายในเวลาอันรวดเร็วคงยาก แต่หากร่วมมือกัน ท�ำงานทุกๆ ภาคส่วนทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศก็ จะบรรลุตามเป้าประสงค์ได้ไม่ยาก

สุพจน์ เกตุโตประการ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการขายและการตลาด กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย

Engineering Today November - December

2019

32


Technology • กองบรรณาธิการ

แลนเซสส์ โชว์นวัตกรรม

ตอบโจทย์การเดินทางรูปแบบใหม่ ในงาน K 2019

พร้อมเปิดศูนย์เทคนิคในดอร์มาเจน พาชมเทคโนโลยีระบบเป่าขึ้นรูป เป็นที่ทราบกันดีว่า งาน K 2019 ถือเป็นงานแสดงสินค้าที่รวบรวม นวัตกรรมด้านพลาสติกและยางที่ใหญ่ที่สุดในโลก จัดขึ้นทุกๆ 3 ปี โดยปีนี้ จัดขึ้นระหว่างระหว่างวันที่ 16-23 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ณ ศูนย์แสดงสินค้า ดุสเซลดอร์ฟ ประเทศเยอรมนี มีบูธแสดงงานต่างๆ กว่า 3,300 ราย จากกว่า 60 ประเทศ พื้นที่จัดงานรวมถึง 175,000 ตารางเมตร ส�ำหรับงานในครั้งนี้ แลนเซสส์ไม่พลาดที่จะเข้าร่วมแสดงนวัตกรรมล่าสุดภายในงานเช่นกัน โดย จัดสรรพื้นที่ 700 ตารางเมตร เพื่อจัดแสดงโซลูชั่นและเทคโนโลยีวัสดุที่ยั่งยืน ส�ำหรับการเดินทางแบบใหม่ มุ่งเน้นที่ระบบไฟฟ้า ระบบส่งก�ำลัง โครงสร้าง พื้นฐานและระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติ การใช้วัสดุที่มีน�้ำหนักเบา เทคโนโลยี

33

HPH เป็นการผสมผสานระหว่างพลาสติกและ Hallow Profile และการเป่าขึน้ รูป ซึง่ ใช้ในระบบการ จัดการอากาศในเครื่องยนต์และ Tank System โดยลงทุ น ติ ด ตั้ ง เครื่ อ งจั ก รในการเป่ า ขึ้ น รู ป เพื่ อ ตอบโจทย์ความต้องการของผูบ้ ริโภค รวมทัง้ โซลูชนั่ พลาสติกวิศวกรรมอัจฉริยะ ซึง่ เปลีย่ นจากพลาสติก PA 66 เป็น PA 6 หรือสารประกอบโพลีบิวทิลีน เทเรพทาเลต (PBT) และการปรับกระบวนการ ท�ำงานเข้าสู่ระบบดิจิทัล (Digitalization)

Engineering Today November - December

2019


ปี’61 ลงทุนด้านวิจัยและพัฒนา 120 ล้านยูโร มุ่งขับเคลื่อนครั้งใหญ่ภายใต้แนวคิด “เศรษฐกิจหมุนเวียน”

Hubert Fink สมาชิกคณะผู้บริหารของแลนเซสส์

Engineering Today November - December

2019

Hubert Fink สมาชิกคณะผูบ้ ริหารของแลนเซสส์ กล่าวถึงภาพรวมของ บริษัทฯ ว่า แลนเซสส์เป็น ผู้น�ำอุตสาหกรรมสารเคมีชนิดพิเศษ (Specialty Chemicals) มียอดรายได้รวมกว่า 7.2 พันล้านยูโรในปี พ.ศ. 2561 และมี พนักงาน 15,500 คนอยู่ใน 33 ประเทศทั่วโลก มีโรงงานทั่วโลกถึง 60 แห่ง แลนเซสส์เป็นบริษัทผลิตเคมีภัณฑ์ที่มีเทคโนโลยีสูง มีผลิตภัณฑ์และโซลูชั่น มากมายออกสู่ตลาด โดยเฉพาะตลาดอุตสาหกรรมรถยนต์ Tier 1 โดยมี ประสบการณ์ในการพัฒนาพลาสติกวิศวกรรม (Engineering Plastic) มากกว่า 40 ปี การน�ำพลาสติกวิศวกรรมมาใช้ในภาคอุตสาหกรรมถือเป็นโอกาสในการ พัฒนานวัตกรรมของแลนเซสส์ และเป็นโอกาสทางธุรกิจในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ซึ่งก�ำลังเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อรองรับลูกค้าใน Global Market Place ด้วยเหตุนี้แลนเซสส์จึงให้ความส�ำคัญต่อการสร้างนวัตกรรม โดยใน ปี พ.ศ. 2561 ได้ลงทุนด้านวิจัยและพัฒนา เป็นเงิน 120 ล้านยูโร มี นักวิทยาศาสตร์ 500 คนที่ท�ำงานในแผนกวิจัยและพัฒนา มีโครงการวิจัย ที่ท�ำแล้ว 250 โครงการ และมีสิทธิบัตรครอบคลุม 800 สิทธิบัตร และมี ทรัพย์สินทางปัญญาที่จดทะเบียนแล้ว 5,500 รายการ Hubert Fink กล่าวว่า แลนเซสส์มุ่งขับเคลื่อนครั้งใหญ่ โดยใช้เศรษฐกิจ หมุนเวียน (Circular Economy) เป็นปัจจัยส�ำคัญในการขับเคลื่อนบริษัทฯ โดยมีเป้าหมายที่จะน�ำพลาสติกวิศวกรรมที่มีคุณภาพสูงมาใช้งานให้เกิด ประโยชน์ ขณะนีม้ โี ครงการน�ำร่องทีร่ ว่ มท�ำกับลูกค้าและอยูร่ ะหว่างการพัฒนา ในระยะยาวจะมีการเชือ่ มโยงกับผูท้ มี่ สี ว่ นร่วมใน Value Chain เพือ่ การอนุรกั ษ์ ทรัพยากร โดยออกแบบพลาสติกในลักษณะที่ง่ายต่อการน�ำมารีไซเคิลเพื่อ น�ำกลับมาใช้งานใหม่

34


พัฒนาแบรนด์ Tepex น�้ำหนักเบา - แข็งแรง ตอบโจทย์รถยนต์ - สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ - กีฬา

น�ำนวัตกรรมล่าสุดรองรับยานพาหนะรูปแบบใหม่ มาจัดแสดงในงาน K 2019 เป็นครั้งแรก Axel Tuchkenski หัวหน้าผลิตภัณฑ์ระดับ โลกและการพัฒนาการใช้งาน หน่วยธุรกิจวัสดุ ประสิทธิภาพสูง (High Performance Materials) ของแลนเซสส์ กล่าวว่า แลนเซสส์ประสบความ ส�ำเร็จในการพัฒนาสารประกอบโพลีอะไมด์และ สารประกอบโพลีบิวทิลีนเทเรพทาเลต (PBT) ใน เฉดสี ส ้ ม ต่ า งๆ ใช้ ใ นการสร้ า งผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ฟฟ้ า แรงสูง ซึง่ ผลิตภัณฑ์เหล่านีจ้ ะมีสสี ม้ สดใสในระดับสูง ที่เฉดสี RAL 2003 และตัวแปรเฉดสีอื่นที่พร้อม ใช้งานตามออกมาในอนาคตอันใกล้นี้ สารประกอบ เหล่านี้จะมีอยู่ในแบบสูตรมาตรฐาน โดยวัสดุยังคง รูปและมีเสถียรภาพทางความร้อน แม้วา่ จะมีการใช้ งานติดต่อกันถึง 1,000 ชั่วโมงที่อุณหภูมิ 150 °C โดยไม่ท�ำให้สีส้มมีการเปลี่ยนแปลงสีแต่อย่างใด อีกทั้งยังป้องกันการกัดกร่อนทางไฟฟ้าเมื่อสัมผัส กับชิ้นส่วนโลหะขณะท�ำงาน ปราศจากฮาโลเจน นับเป็นนวัตกรรมล่าสุดของแลนเซสส์ที่มาจัดแสดง ในงาน ในบรรดาผลิตภัณฑ์ที่ออกมาประเภทแรกที่ มีสใี หม่นคี้ อื โพลีอะไมด์ 6 ชนิด เสริมแรงด้วยใยแก้ว และปราศจากสารฮาโลเจน ได้แก่ สายผลิตภัณฑ์ Durethan รุ่น BKV20FN01, BKV30FN04 และ BKV45FN04 โดยเฉพาะ BKV45FN04 จะถูก เสริมใยแก้วถึง 45% แต่ยังบิดรูปได้ง่าย ผ่านการ ทดสอบการติดไฟได้ตามมาตรฐาน UL 94 อีกทั้ง ยังได้รบั การจัดประเภทสูงสุดที่ V-0 ทีค่ วามหนาของ ชิ้นงานทดสอบเพียง 0.4 มิลลิเมตร ด้วยความ แข็งแรงสูงท�ำให้วัสดุนี้เหมาะส�ำหรับใช้เป็นส่วน ประกอบโครงสร้างในแบตเตอรี่ เช่น Cell Frames และ End Plates รวมถึงขั้วต่อแรงดันสูงขนาดใหญ่ ทีต่ อ้ งการความเสถียรเชิงกลสูง มีการใช้งานแล้วใน High-voltage Connector KHV 1000 ที่บริษัท Kostal Kontakt System GmbH ประเทศเยอรมนี การพัฒนาสารประกอบตัวใหม่ แลนเซสส์ มุง่ เน้นไปทีย่ านพาหนะรูปแบบใหม่ นอกเหนือจาก โพลีอะไมด์ปลอดสารฮาโลเจนที่ปราศจากเปลวไฟ ที่พัฒนาเพื่อยานยนต์ไฟฟ้าโดยเฉพาะแล้ว HPM ยังมีผลิตภัณฑ์โพลีอะไมด์ 6 ชนิดที่นำ� ความร้อนสูง และป้องกันแม่เหล็กไฟฟ้าได้อีกด้วย

โครงสร้างพลาสติกรองรับ Front-end ของรถเบนซ์รุ่น GLE SUV ผลิตจาก Tepex น�้ำหนักเบากว่าผลิตจากเหล็กแผ่น 30% รองรับการชนและทนแรงบิดได้ดีเยี่ยม พร้อมกันนี้แลนเซสส์ยังได้พัฒนาแบรนด์ “Tepex” ซึ่งเป็น Composite Sheet ทีม่ นี ำ�้ หนักเบา และมีความแข็งแรงกว่าวัสดุประเภทอืน่ ๆ ท�ำให้สามารถ ออกแบบวัสดุที่มีน�้ำหนักเบาใช้ผลิตนวัตกรรมอัจฉริยะได้ ด้วยความหนาที่ น้อยมาก ถือเป็นข้อได้เปรียบที่ท�ำให้สามารถออกแบบชิ้นส่วนเฉพาะให้มี น�้ำหนักเบา และใช้งานได้หลากหลายกว่าเดิม Tepex ก�ำลัง มีบทบาทส�ำคัญ ในการผลิตที่หุ้มเบาะรถยนต์ในยานยนต์อัตโนมัติ รถไฟฟ้า รถรับส่ง รถวีไอพี และรถครอบครัว และใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์ เช่น ประตูและกันชน รวมทัง้ ใช้เป็นส่วนประกอบในสินค้าทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ เช่น แล็ปท็อป แท็บเล็ต โทรทัศน์ โทรศัพท์มือถือ และอุตสาหกรรมกีฬา เช่น พื้นรองเท้า ชิ้นส่วนรถ จักรยาน รองเท้าสกี อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย และหมวกนิรภัย ซึ่งจะช่วยลด ค่าใช้จ่ายและเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขัน โดยแลนเซสส์ได้จัดแสดง แผ่นวัสดุคอมโพสิตเทอร์โมพลาสติกเสริมแรง แบบต่อเนื่อง ภายใต้แบรนด์ Tepex Dynalite ซึ่งสามารถน�ำไปใช้ผลิตชิ้นส่วน โครงสร้างทีม่ ขี นาดใหญ่และเชือ่ มต่อกันเป็นชิน้ เดียว เพือ่ ออกแบบยานยนต์ทมี่ ี น�ำ้ หนักเบา ตัวอย่างเช่น Mercedes-Benz รุน่ GLE SUV ซึง่ โครงสร้างพลาสติก ส่วนที่รองรับ Front-end ประกอบด้วยแผ่นคอมโพสิตครึ่งแผ่น 2 ชิ้นที่ท�ำจาก สารประกอบโพลีโพรพิลีนที่ผลิตมาจาก Tepex Dynapite 104-RG600 (3) / 47% ความยาวประมาณ 1.2 เมตรและกว้าง 0.35 เมตร ในกระบวนการขึ้น รูปแบบผสม แผ่นหุ้ม (Shell) ทั้ง 2 ผืนผลิตโดยใช้เครื่องมือฉีดขึ้นรูปที่มี 2 ช่อง ท�ำให้สามารถขึ้นรูปแผ่นคอมโพสิตก่อนจะตัดแต่งได้ตามต้องการและสามารถ เสริมเพิ่มเติมผ่านการฉีดขึ้นรูปได้ในเวลาเดียวกัน ท�ำให้ Front-end ที่ท�ำจาก แผ่นหุม้ มีนำ�้ หนักเบากว่าผลิตจากเหล็กแผ่นประมาณ 30% และมีประสิทธิภาพ ในการรองรับการชนและทนแรงบิดได้ดีเยี่ยม

35

Engineering Today November - December

2019


Axel Tuchkenski (ขวา) หัวหน้าผลิตภัณฑ์ระดับโลก และการพัฒนาการใช้งาน หน่วยธุรกิจวัสดุ ประสิทธิภาพสูง ของแลนเซสส์

สารประกอบใหม่ในการเป่าขึ้นรูป ประสิทธิภาพสูง เป็นมิตรต่อสภาพแวดล้อมทางอากาศ ภายในงาน K 2019 ยังมีการจัดแสดงสารประกอบใหม่ใช้ในการเป่าขึ้น รูป เพื่อผลิตส่วนประกอบที่มีประสิทธิภาพสูงส�ำหรับการจัดการอากาศใน เครื่องยนต์ เครื่องยนต์สันดาปเทอร์โบชาร์จเจอร์ ซึ่งนอกจากจะได้ประโยชน์ แล้วยังเป็นมิตรต่อสภาพแวดล้อมทางอากาศอีกด้วย ส่งผลให้ความต้องการ ส่วนประกอบในการจัดการอากาศในเครื่องยนต์เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะการ เป่าขึน้ รูปท่อชาร์จอากาศ ซึง่ ในตลาดภูมภิ าคเอเชียเป็นตลาดหลักทีก่ ำ� ลังเติบโต มาก เพราะส่วนแบ่งทางการตลาดของเครื่องยนต์สันดาปเทอร์โบชาร์จเจอร์ ยังถือว่าน้อย ในทางกลับกัน จ�ำนวนรถยนต์ที่ใช้แก๊สธรรมชาติกลับเพิ่มขึ้น ตลอดเวลา และเทคโนโลยีเซลล์เชื้อเพลิงเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่เติบโต การเป่า ขึน้ รูปผนังซับใน (Liners) จึงเหมาะส�ำหรับเครือ่ งยนต์ทใี่ ช้พลังงานก๊าซธรรมชาติ และเป็นทางเลือกที่ดีส�ำหรับถังไฮโดรเจน

ใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) พัฒนาผลิตภัณฑ์ มุ่งลดเวลาในการพัฒนาสูตรมากกว่าครึ่ง - น�ำผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาดเร็วขึ้น ในยุคที่เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก (Disruptive Technology) หลายบริษัทได้ ปรับกระบวนการท�ำงานเข้าสู่ระบบดิจิทัล (Digitalization) แลนเซสส์ก็เช่นกัน โดยตั้งเป้าหมายที่จะใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีดิจิทัลในอนาคตให้มากยิ่งขึ้น ซึ่งตามโมเดลธุรกิจดิจิทัล จะมีการน�ำเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาใช้ตลอดห่วงโซ่ คุณค่า (Value Chain) และท�ำการวิเคราะห์ รวมทั้งใช้ประโยชน์จากข้อมูล จ�ำนวนมาก บริษัทฯ ก�ำลังใช้ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) เพื่อ

Engineering Today November - December

2019

36


สร้างสูตรที่มีประสิทธิภาพสูงสุดส�ำหรับก�ำหนด ขนาดใยแก้ว (Glass-fiber Sizings) ที่ใช้ในการ เสริมแรงในพลาสติก โครงการนีแ้ ลนเซสส์ได้รว่ มมือ กับ Citrine Informatics ซึ่งเป็นบริษัทด้าน AI ตั้งอยู่ที่เมืองเรดวูดซิตี้ มลรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศ สหรัฐอเมริกา ด้วยการปรับสูตรให้มีประสิทธิภาพ สูงสุด เพือ่ ลดเวลาในการพัฒนาสูตรลงมากกว่าครึง่ เพือ่ จะได้นำ� เสนอผลิตภัณฑ์ออกสูต่ ลาดได้เร็วยิง่ ขึน้

ประสบการณ์ ใน E&E เพื่อโลกแห่งการชาร์จของ e-Mobility การเติบโตของตลาด E-Mobility เทียบเท่า การเติบโตทางด้านโครงสร้างพื้นฐาน แลนเซสส์มี ค�ำตอบในการผสมผสานตามความต้องการของ ลูกค้า โดยแลนเซสส์ได้จัดตั้งสถานีชาร์จรถยนต์ Wallbox รวมทัง้ การชาร์จเพลา (Charging Couplers) ด้วยระบบชาร์จแบบไร้สาย สามารถน�ำไปใช้พื้นที่

หลักต่างๆ ด้วยประสบการณ์อนั ยาวนานและองค์ความรูท้ สี่ งั่ สมในอุตสาหกรรม ยานยนต์ และอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ได้มกี ารถ่ายทอดเทคโนโลยี ถึงการน�ำไปใช้ในโครงสร้างพื้นฐาน เช่น การชาร์จเพลา แบบ 1 และ 2 สถานี ชาร์จรถยนต์ สามารถชาร์จไฟได้ 11kW ถึง 150 kW Wallbox ชาร์จไฟได้ถึง 22kW ขณะนี้มีจุดชาร์จรถไฟฟ้า (Electrical Vehicle : EV) ส่วนตัว ประมาณ 1 ล้านจุด ในส่วนของการชาร์จแบบไร้สาย ปัจจุบันสามารถชาร์จไฟ AC ได้ถึง 11kW

ศูนย์เทคนิคในดอร์มาเจนมีประสบการณ์ ในการผลิตพลาสติกวิศวกรรม มากกว่า 40 ปี แนวโน้มของหน่วยธุรกิจวัสดุประสิทธิภาพสูงของแลนเซสส์ไม่เพียงจัดตัง้ ทีมงานระดับโลกเพื่อพัฒนาวัสดุในการเป่าขึ้นรูปและน�ำไปใช้ในระบบส่งก�ำลัง ที่ ทั น สมั ย เท่ า นั้ น แต่ ยั ง พั ฒนาเทคโนโลยี ล ่ า สุ ด ของระบบการเป่ า ขึ้ น รู ป ที่ ศูนย์เทคนิคของแลนเซสส์ในดอร์มาเจน (Dormagen) ด้วย โดยศูนย์เทคนิค ของแลนเซสส์ในดอร์มาเจนได้รับมอบหมายให้พัฒนาวัสดุส�ำหรับการใช้งาน พิเศษนี้

37

Engineering Today November - December

2019


ด้ ว ยประสบการณ์ ใ นการผลิ ต พลาสติ ก วิศวกรรมมากกว่า 40 ปี ศูนย์เทคนิคของแลนเซสส์ ในดอร์ ม าเจนมี เ ป้ า หมายที่ จ ะพั ฒนาผลิ ต ภั ณ ฑ์ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ภายใต้ กระบวนการผลิตที่ปลอดภัยและเหมาะสม ภายใน ศูนย์เทคนิคมีการทดลองขึ้นรูปด้วย Lab เทคนิค ทั้งภายในและภายนอก พร้อมส่งมอบการทดสอบ การผลิ ต และระบบขนส่ ง โลจิ ส ติ ก ส์ ตรวจสอบ ข้อร้องเรียนของลูกค้า และจัดฝึกอบรมและพา เยี่ยมชม Lab ส�ำหรับการให้บริการทางวิศวกรรมแก่ลูกค้า มีการสนับสนุนเทคโนโลยีการผลิตในหัวข้อต่างๆ เช่น พลาสติก-วัสดุเทคโนโลยีไฮบริด เช่น HPH การขึ้ น รู ป ของคอมโพสิ ต เทอร์ โ มพลาสติ ก เช่ น Tepex เทคโนโลยีการฉีดของเหลว เช่น แก๊สหรือน�ำ้ การฉีดขึน้ รูปส่วนประกอบ 2 ชิน้ ส่วน การขึน้ รูปทาง กายภาพและทางเคมี และการอัดขึน้ รูปและเป่าขึน้ รูป รวมทัง้ ตรวจเช็คความสามารถของกระบวนการผลิต การประมวลผลและค�ำแนะน�ำ สนับสนุนการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ ตรวจเช็คทางเลือกของวัตถุดิบตลอดจน วิเคราะห์การถอดแบบ

Engineering Today November - December

2019

สร้างระบบเป่าขึ้นรูปพลาสติกที่ทันสมัย ด้วยทีมงานระดับโลก ภายในศูนย์เทคนิค มีเครื่องเป่าขึ้นรูปพลาสติกแบบ Extrusion รุ่น KBS20-SB ซึ่งเป็นระบบใหม่ที่พัฒนาขึ้นโดย บริษัท Bonn-based Kautex Maschinenbau GmbH หนึ่งในผู้น�ำของอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องจักร ประเภทนี้จากประเทศเยอรมนี ระบบใหม่นี้จะมีเครื่องมือ 2 ชนิดส�ำหรับการ ผลิตส่วนประกอบทีใ่ กล้เคียงผลิตภัณฑ์ทพี่ ร้อมน�ำมาใช้ได้ โดยเครือ่ งมือแรกได้ รับการออกแบบส�ำหรับผลิตท่ออากาศมาโดยเฉพาะ เช่น ท่อชาร์จอากาศ (Charge Air Ducts) หรือท่ออากาศสะอาด (Clean Air Ducts) ในเครื่องยนต์ เผาไหม้ภายใน โดยกระบวนการเป่าขึ้นรูปแบบสามารถใช้ในการผลิตท่อที่ ซับซ้อนที่มีเส้น ผ่านศูนย์กลางต่างๆ และรูปวงรีท่ีมีความกว้างสูงสุดถึง 630 มิลลิเมตร นอกจากนี้ ยังสามารถผลิตท่ออากาศสะอาดทีเ่ ชือ่ มต่อเครือ่ งเป่าลม ได้อกี ด้วย ส่วนเครือ่ งมือชนิดทีส่ องได้รบั การออกแบบส�ำหรับเป่าพลาสติกเข้าไป ที่ผนังภายในของถังแรงดันสูงในยานพาหนะที่ขับเคลื่อนด้วยไฮโดรเจนและ ก๊าซธรรมชาติ นอกจากนี้ ยังสามารถสร้างพืน้ ทีม่ โี พรงเรียบในชิน้ งานทดสอบส�ำหรับ การค�ำนวณค่าคุณลักษณะของวัสดุที่สามารถสร้างขึ้นมาได้อีกด้วย

38


Digital • กองบรรณาธิการ

DGA จัดงาน “Digital Government Awards 2019” เผยหน่วยงานระดับกรม-จังหวัดรั้งท้ายด้านเทคโนโลยีดิจิทัล-การน�ำไปใช้

ส�ำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การ มหาชน) สพร. หรือ DGA จัดพิธีมอบรางวัล “Digital Government Award 2019” หรือรางวัล รัฐบาลดิจิทัลประจ�ำปี 2562 เพื่อให้ก�ำลังใจ และสร้างแรงบันดาลใจให้แก่หน่วยงานภาครัฐ ทุกหน่วยงาน ที่ได้ด�ำเนินการตามนโยบายของ รัฐบาลในการมุ่งสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัลเชื่อมต่อ กั น อย่ า งเป็ น รู ป ธรรม โดยได้ รั บ เกี ย รติ จ าก พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหม เป็นประธานใน พิธมี อบรางวัล พร้อมกล่าวปาฐกถาพิเศษ “รัฐบาล ดิจิทัล : กลไกส�ำคัญในการขับเคลื่อนประเทศ” ณ ตึกสันติไมตรี ท�ำเนียบรัฐบาล พลเอก ประยุ ท ธ์ จั น ทร์ โ อชา นายก รัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม กล่าวว่า รัฐบาลได้ให้ความส�ำคัญและสนับสนุน ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานต่างๆ เพื่อเข้าสู่ รัฐบาลดิจทิ ลั อย่างจริงจัง ซึง่ จะต้องรับมือกับความ ท้ า ทายในหลายมิ ติ การที่ แ ต่ ล ะหน่ ว ยงานจะ ประสบความส�ำเร็จในการเข้าสู่รัฐบาลดิจิทัลนั้น จะต้องปรับทัศนคติของบุคลากรในองค์กรตาม ยุคสมัยตามโลกที่เปลี่ยนไป ให้ท�ำงานด้วยความ ทุ่มเททั้งแรงกายแรงใจในรูปแบบต่างๆ พร้อมทั้ง เรียนรู้เทคโนโลยีที่มีความซับซ้อน ความท้าทาย ในการน� ำ มาใช้ ง านและถ่ า ยทอดประสบการณ์ ความรู้ต่างๆ จากรุ่นสู่รุ่น เมื่อโลกปรับเราก็ต้อง เปลี่ยน ไม่เช่นนั้นจะอยู่ต่อไม่ได้ ต้องสร้างความ

พลเอก ประยุทธ์ จันทร์ โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

39

Engineering Today November - December

2019


ปลอดภัยทางไซเบอร์ ถ้าไม่สร้างเมือ่ ถูกแฮกข้อมูลจะท�ำให้ ทุกการพัฒนาหยุดชะงัก เช่น การแฮกข้อมูลทางดิจิทัลป่วน โครงการ “ชิม ช้อป ใช้ เฟส 2” ซึ่งหน่วยงานที่รับผิดชอบสามารถ จับตัวผู้กระท�ำความผิดได้แล้ว ดังนั้น เราต้องปรับตัว ช่วยกันท�ำงานร่วมกับรัฐบาล และ หากจ�ำเป็นที่จะต้องแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้สอดรับด้วย ในการค้าการลงทุนต่างๆ ในภูมภิ าคและระดับโลกก็จำ� เป็นต้องท�ำ ซึ่งต้องขอบคุณทุกหน่วยงานที่ให้ความร่วมมือในการท�ำงาน สร้างการตระหนักรู้ โดยเฉพาะเรือ่ งการยกเลิกส�ำเนาเอกสารทาง ราชการ เช่น บัตรประจ�ำตัวประชาชน และส�ำเนาทะเบียนบ้าน เพื่อลดภาระประชาชนในการจัดเตรียมส�ำเนาเอกสาร เมื่อต้อง ติดต่อขอรับบริการจากหน่วยงานของรัฐ สามารถใช้บัตรประจ�ำ ตัวประชาชนใบเดียวท�ำได้ทกุ เรือ่ งเป็นรูปแบบ One-Stop Service รวมทัง้ ผลักดันการออกพระราชบัญญัตกิ ารบริหารงานและการให้ บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 ที่มีผลใช้บังคับตั้งแต่ วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 ทีผ่ า่ นมา ส่งผลให้เกิดการปฏิรปู ระบบข้อมูลภาครัฐสูก่ ารเป็นรัฐบาลทีเ่ ปิดเผยและเชือ่ มต่อระหว่าง กัน ภายใต้ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ 6 ประการ ได้แก่ หลัก นิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า “สิ่งที่ต้องปรับเปลี่ยนคือหน่วยงานที่ดูแลการถ่ายรูปบัตร ประจ�ำตัวประชาชนอยากให้รูปที่ถ่ายออกมาเหมือนกับตัวจริง จากเสียงสะท้อนของประชาชนที่น�ำบัตรไปใช้กับเครื่องอ่านบัตร แล้วแสดงผลรูปถ่ายที่ปรากฏไม่เหมือนกับตัวจริง รูปไม่เหมือน หน้า หน้าไม่เหมือนรูป ซึ่งจริงๆ ก็คือคนเดียวกัน แต่อาจเพราะ ระยะเวลาในการถ่ายรูปจะมีใบหน้ามีหนวด หรือไม่มีหนวดเพิ่ม เข้ามาท�ำให้รปู ณ ปัจจุบนั ทีข่ อรับสิทธิประโยชน์ภาครัฐไม่สามารถ กระท�ำได้ รวมถึงการตรวจสอบก็ไม่มีฐานข้อมูลรองรับ ทั้งนี้การ ท�ำงานของรัฐบาลเพื่อเข้าสู่รัฐบาลดิจิทัลนอกจากมีปัญหาและ อุปสรรคภายในประเทศเข้ามากระทบแล้วยังมีปญ ั หาและอุปสรรค จากต่างประเทศ เช่น สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร หรือ GSP ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งปกติ ธ รรมดาเพราะทุ ก วั น นี้ ก ารค้ า เป็ น แนวทาง ต่างตอบแทน อะไรที่เขาให้ เมื่อเขาจะเอาคืนก็สามารถที่กระท�ำ ได้หมด เพราะเป็นสิทธิประโยชน์ อย่าลืมว่าเราก็โตขึ้นมากแล้ว บางครั้งถ้าเราท�ำตัวเป็นเด็กเล็กๆ ต่อไปก็ไม่ได้อีก เราต้องสร้าง ความเข้มแข็งด้วยตัวเราเอง คนไทยต้องสร้างประเทศไทยเข้มแข็ง ด้วยตัวเราเอง ด้วยความร่วมมือระหว่างกันให้เร็วทีส่ ดุ อย่าท�ำงาน ด้วยรูปแบบเดิมๆ ส่วนการซื้อของออนไลน์ ได้มีการก�ำชับให้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าไปตรวจสอบดูแลว่าสินค้า ผลิตภัณฑ์ ต่างๆ ทีข่ ายออนไลน์โดยเฉพาะใน Facebook ทีม่ กี ารขายสินค้า จ�ำนวนมากนั้น โฆษณาเกินจริง หรือได้มาตรฐาน อย. จาก ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาหรือไม่ อย่างไร เพื่อสร้าง ความปลอดภัยไม่ให้เกิดอันตรายกับประชาชน” นายกรัฐมนตรี กล่าว

Engineering Today November - December

2019

40

ไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อ�ำนวยการ รักษาการแทน ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) สพร. หรือ DGA กล่าวว่า DGA ด�ำเนินโครงการส�ำรวจระดับ ความพร้อมรัฐบาลดิจิทัลของหน่วยงานภาครัฐ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 เป็นประจ�ำทุกปี และในปี พ.ศ. 2562 นี้ DGA ได้ส�ำรวจ หน่วยงานภาครัฐระดับกรมหรือเทียบเท่า จ�ำนวน 323 หน่วยงาน โดยมีหน่วยงานตอบแบบส�ำรวจฯ กลับ จ�ำนวน 301 หน่วยงาน คิดเป็น 93.2% และหน่วยงานภาครัฐระดับจังหวัดทัง้ 76 จังหวัด ไม่รวมกรุงเทพมหานคร จ�ำนวน 1,533 หน่วยงาน ซึ่งมีหน่วย งานตอบแบบส�ำรวจฯ กลับ จ�ำนวน 1,356 หน่วยงาน คิดเป็น 88.5% จากผลส�ำรวจพบว่า หน่วยงานภาครัฐระดับกรมโดยรวม มีคะแนนระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลอยู่ที่ 64.60 คะแนน จาก 100 คะแนน ส�ำหรับคะแนนที่ได้มากที่สุด คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน ความมั่ น คงปลอดภั ย และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ (Secure and Efficient Infrastructure) 75.36 คะแนน ด้านบริการภาครัฐ (Public Services) 68.57 คะแนน ด้านศักยภาพเจ้าหน้าทีภ่ าครัฐ ด้านดิจทิ ลั (Digital Capabilities) 66.08 คะแนน ด้านการบริหาร จัดการรูปแบบดิจิทัล (Smart Back Office) 61.97 คะแนน และด้านแนวนโยบายและหลักปฏิบัติ (Policies / Practices) 57.21 คะแนน ส่ ว นด้ า นที่ ไ ด้ ค ะแนนน้ อ ยที่ สุ ด คื อ ด้ า น เทคโนโลยีดิจิทัลและการน�ำไปใช้ (Digital Technological Practices) มีคะแนนอยู่ที่ 37.46 คะแนน ส�ำหรับหน่วยงานภาครัฐระดับจังหวัดโดยรวมมีคะแนน ระดับความพร้อมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลอยู่ที่ 51.09 คะแนน จาก 100 คะแนน โดยคะแนนที่ได้มากที่สุด คือด้านโครงสร้าง พื้ น ฐานความมั่ น คงปลอดภั ย และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ 59.65 คะแนน ด้านศักยภาพเจ้าหน้าทีภ่ าครัฐด้านดิจทิ ลั 57.20 คะแนน ด้านบริการภาครัฐ 53.66 คะแนน ด้านการบริหารจัดการรูปแบบ ดิจิทัล 52.57 คะแนน และด้านแนวนโยบายและหลักปฏิบัติ 41.07 คะแนน ส่ ว นด้ า นที่ ไ ด้ ค ะแนนน้ อ ยที่ สุ ด คื อ ด้ า น เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั และการน�ำไปใช้ มีคะแนนอยูท่ ี่ 22.73 คะแนน ไอรดา กล่าวว่า ในปี พ.ศ. 2562 นี้ หน่วยงานระดับกรม ทีไ่ ด้รบั โล่รางวัลรัฐบาลดิจทิ ลั จ�ำนวน 10 รางวัล ได้แก่ กรมพัฒนา ธุรกิจการค้า ส�ำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ส�ำนักงานปลัด กระทรวงพาณิชย์ การไฟฟ้านครหลวง ส�ำนักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (สกสว.) กองทุนบ�ำเหน็จ บ� ำ นาญข้ า ราชการ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการป้ อ งกั น และ ปราบปรามยาเสพติด ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ การประปาส่วนภูมิภาค และส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม ส�ำหรับประกาศนียบัตรระดับจังหวัด 5 รางวัล ได้แก่ จังหวัด ร้อยเอ็ด ล�ำพูน ระนอง เพชรบูรณ์ และอุตรดิตถ์ และรางวัลการ สนับสนุนนโยบายรัฐบาล ตามโครงการยกเลิกส�ำเนาเอกสาร ราชการ จ�ำนวน 60 หน่วยงาน


Innovation • กองบรรณาธิการ

สวทช.หนุนโรงแรม

อ่าวนาง ปริ้นซ์วิลล์ วิลล่าฯ ใช้นวัตกรรมประหยัดพลังงาน ชูเป็นเมืองต้นแบบกระบี่ Hotel Go Green

ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย ศูนย์พัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจเทคโนโลยี (BIC) ภายใต้ศูนย์บริหาร จัดการเทคโนโลยี (TMC) ให้การสนับสนุนการจับคู่นวัตกรรมด้าน ประหยัดพลังงาน ระหว่าง บริษัท แพค คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผู้ประกอบการนวัตกรรมด้านการประหยัดพลังงาน ในการน�ำ เทคโนโลยีและนวัตกรรมการติดตัง้ เครือ่ งท�ำน�ำ้ ร้อนประหยัดพลังงาน แบบฮีทปั๊ม (Heat Pump) ซึ่งน�ำความร้อนจากอากาศรอบๆ มาผลิต น�ำ้ ร้อนแก่โรงแรมอ่าวนาง ปริน้ ซ์วลิ ล์ วิลล่า รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัด กระบี่ ช่วยให้โรงแรมประหยัดค่าไฟฟ้า และช่วยลดความร้อนใน บรรยากาศได้อย่างมีประสิทธิภาพ กุลประภา นาวานุเคราะห์ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ สวทช. ด้านสื่อและประชาสัมพันธ์

ศันสนีย์ ฮวบสมบูรณ์ ผู้อำ� นวยการศูนย์พัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจเทคโนโลยี (BIC) สวทช.

41

Engineering Today November - December

2019


สวทช.น�ำร่องสนับสนุนนวัตกรรมพลังงาน แก่โรงแรมฝั่งอันดามัน มุ่งให้อุตฯ ท่องเที่ยวประหยัดพลังงาน

กุ ล ประภา นาวานุ เ คราะห์ ผู ้ ช ่ ว ยผู ้ อ� ำ นวยการส� ำ นั ก งาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ด้านสื่อและ ประชาสัมพันธ์ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (อว.) กล่าวว่า สวทช. ด�ำเนินนโยบายขับเคลื่อนการท�ำงาน ตามนโยบายภาครัฐและเร่งผลักดันเทคโนโลยีและนวัตกรรมเดิมที่มีอยู่ พร้อมทัง้ พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ ทีเ่ หมาะสมเป็นประโยชน์ แก่ผปู้ ระกอบการ นักวิจยั และทุกๆ คนในการน�ำไปใช้งานเพือ่ ยกระดับ เทคโนโลยีและนวัตกรรมสินค้า ผลิตผลิตภัณฑ์ การบริการ การท่องเทีย่ ว การประหยัดพลังงาน และอืน่ ๆ ซึง่ ทีผ่ า่ นมามีผปู้ ระกอบการภาคเอกชน จ�ำนวนมากเริม่ เข้ามาร่วมท�ำงานกับ สวทช. น�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่ร่วมคิดค้นในด้านต่างๆ ไปใช้ประโยชน์ และต่อยอดสู่ผู้ประกอบกา รอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง เช่น โครงการ KidBright, Fab Lab และการเก็บ จีโนมของพืช เป็นต้น การน� ำ ผู ้ ป ระกอบการที่ มี เ ทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมด้ า นการ ประหยั ด พลั ง งานมาให้ ค� ำ แนะน� ำ และสนั บ สนุ น ผู ้ ป ระกอบการ อุ ต สาหกรรมท่ อ งเที่ ย วที่ จั ง หวั ด กระบี่ เ พื่ อ ช่ ว ยประหยั ด พลั ง งาน และค่าใช้จ่าย และส่งเสริมให้ธุรกิจโรงแรมเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งถือเป็นการน�ำร่องในการด�ำเนินการด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม ด้านพลังงาน “ในอนาคตตั้งเป้าว่าจะขยายโครงการนี้ครอบคลุมผู้ประกอบการ ท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดฝั่งอันดามันทั้งหมดและจะขยายต่อไปในพื้นที่ อื่นๆ ทั่วประเทศ” กุลประภา กล่าว

Engineering Today November - December

2019

42

อิทธิฤทธิ์ กิ่งเล็ก ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ประธานสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และกรรมการผู้จัดการ อ่าวนาง ปริ้นซ์วิลล์ วิลล่า รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดกระบี่

อัจฉรา ปู่มี กรรมการผู้จัดการ บริษัท แพค คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด


โรงแรมอ่าวนาง ปริ้นซ์วิลล์ วิลล่าฯ ใช้ระบบฮีทปั๊ม ลดค่าไฟฟ้าและแก๊ส แถมลูกค้าพอใจ

BIC หนุนการจับคู่นวัตกรรมระหว่างผู้คิดค้นนวัตกรรม และผู้ ใช้งานจริง

ศันสนีย์ ฮวบสมบูรณ์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์พัฒนาผู้ประกอบการ ธุรกิจเทคโนโลยี (BIC) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า ตลอดการด�ำเนิน 17 ปีที่ผ่านของ BIC ใน การสนับสนุนบ่มเพาะช่วยเหลือผู้ประกอบการทางด้านเทคโนโลยี ตั้งแต่กระบวนการเริ่มต้นของกิจการไปจนถึงการก่อร่างสร้างตัวเป็น ผู้ประกอบการใหม่และมีกิจการเป็นของตนเองได้อย่างมั่นคงมากกว่า 300 กิจการโดยผูป้ ระกอบการมีรายได้รวมกันมากกว่า 2,000 ล้านบาท ส�ำหรับการสนับสนุนการจับคู่นวัตกรรม (Innovation Matching) ระหว่ า งเจ้ า ของนวั ต กรรมกั บ ผู ้ ใ ช้ ง านจริ ง ส� ำ หรั บ ผู ้ ป ระกอบการ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวในจังหวัดกระบี่ โดยน�ำร่องที่โรงแรมอ่าวนาง ปริ๊นซ์วิลล์ วิลล่า รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดกระบี่ ด้วยการนํา นวัตกรรมประหยัดพลังงานในระบบทาํ น�ำ้ ร้อนและระบบปรับอากาศไป ใช้ในโรงแรม ทําให้เกิดการนํานวัตกรรมไปใช้งานจริง มีการติดตั้งเครื่อง ท�ำน�ำ้ ร้อนประหยัดพลังงานแบบฮีทปัม๊ มาใช้แทนระบบเดิมซึง่ เป็นแบบ หม้อต้มด้วยแก๊ส โดยมีหลักการท�ำงาน คือน�ำความร้อนจากอากาศ รอบๆ มาผลิตเป็นน�้ำอุ่น โดยฮีทปั๊มจะดึงอากาศร้อนรอบๆ เข้าไป บีบอัดในระบบให้ร้อนขึ้นแล้วถ่ายเทความร้อนให้แก่น�้ำที่ไหลผ่านใน ระบบออกมาเป็นน�้ำอุ่น และท�ำให้อากาศในห้องท�ำน�้ำอุ่นเย็นสบาย ซึง่ เสียค่าไฟฟ้าเพียง 20% เมือ่ เทียบกับระบบน�ำ้ ร้อนทัว่ ไปในท้องตลาด สามารถน�ำไปจ่ายความร้อนได้ทกุ อาคาร ท�ำให้โรงแรมประหยัดค่าไฟฟ้า ได้มาก และช่วยลดความร้อนในบรรยากาศอีกด้วย ระบบประหยัดพลังงานแบบฮีทปัม๊ ยังช่วยให้โรงแรมประกอบธุรกิจ ทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมสามารถดึงดูดนักท่องเทีย่ วโดยเฉพาะชาวยุโรป ที่ให้ความไว้วางใจโรงแรมที่ใช้นโยบายการประหยัดพลังงานในการ ด�ำเนินธุรกิจเข้ามาพักในแต่ละปีมากกว่า 70-80% นอกจากนี้ยังช่วย ประหยัดพลังงานและค่าใช้จา่ ย เป็นการสนับสนุนและส่งเสริม และตอบ โจทย์ BCG (Bio-Circular-Green) ทัง้ ในอุตสาหกรรมด้านพลังงานและ การท่องเที่ยว ที่ส�ำคัญช่วยให้ผู้ประกอบการด้านโรงแรมเข้าสู่เมือง ต้นแบบของ Hotel Go Green ซึ่งจะช่วยให้ผู้ประกอบการให้ความ ส�ำคัญและตระหนักเรื่องการประหยัดพลังงานและสิ่งแวดล้อมมากขึ้น

อิทธิฤทธิ์ กิง่ เล็ก ทีป่ รึกษากิตติมศักดิป์ ระธานสภา อุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และกรรมการ ผู้จัดการ อ่าวนาง ปริ้นซ์วิลล์ วิลล่า รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดกระบี่ กล่าวว่า จากการที่จังหวัดกระบี่เป็นจังหวัด ที่นักท่องเที่ยวให้ความสนใจและเข้ามาท่องเที่ยวมากขึ้น เป็ น ล� ำ ดั บ ต้ น ๆ ของประเทศในทุ ก ๆ ปี โดยเฉพาะ นักท่องเทีย่ วชาวยุโรปกลุม่ ประเทศสแกนดิเนเวีย 80%, จีน ประมาณ 9-10%, อินเดีย 7% และมาเลเซีย 4% ท�ำให้ ผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมท่องเทีย่ วหันมาให้ความส�ำคัญ กับการรองรับการด�ำเนินธุรกิจทีเ่ หมาะสมกับนักท่องเทีย่ ว โดยเฉพาะเรื่ อ งสิ่ ง แวดล้ อ มและการประหยั ด พลั ง งาน จึงเป็นที่มาของการรวมกลุ่มของผู้ประกอบการที่ร่วมกัน ขับเคลื่อนการท่องเที่ยวในเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ไม่ใช่ เฉพาะสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วส�ำคัญเท่านัน้ แต่รวมถึงการด�ำเนิน ธุรกิจที่พัก สถานที่พักอาศัยต่างๆ ก็จะให้ความส�ำคัญ มากขึน้ เริม่ ทีโ่ รงแรมแต่ละโรงแรมได้มนี โยบายในการดูแล รักษาสิ่งแวดล้อม ไม่ปล่อยน�้ำเสียลงสู่ทะเล คัดแยกขยะ ก่อนทิง้ ท�ำความสะอาดชายหาดด้วยการเก็บขยะ ล้างพืน้ ที่ สกปรกอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ครั้ง และพยายามที่จะ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในการน�ำเทคโนโลยี และนวัตกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมาใช้พร้อมทั้งให้ ความรูค้ วามเข้าใจแก่พนักงานในการดูแลสิง่ แวดล้อมอย่าง เป็นระบบ อีกทัง้ ยังได้ถา่ ยทอดความรูแ้ ก่ชมุ ชนรอบๆ เพือ่ ให้การด�ำเนินนโยบายทางด้านสิ่งแวดล้อมประสบความ ส�ำเร็จเป็นต้นแบบของชุมชนให้พื้นที่อื่นๆ ในจังหวัดกระบี่ และจังหวัดอื่นๆ ที่สนใจได้ ส�ำหรับโรงแรมอ่าวนาง ปริ้นซ์วิลล์ วิลล่า รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดกระบี่ ด�ำเนินธุรกิจมากกว่า 10 ปี มีจ�ำนวนห้องพัก 58 ห้อง ได้ให้ความส�ำคัญในการดูแล สิ่งแวดล้อมมาโดยตลอด จะเห็นได้ว่าการก่อสร้างห้องพัก

ระบบประหยัดพลังงานแบบฮีทปั๊มยังช่วยให้โรงแรมประกอบธุรกิจ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ช่วยประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย เป็นการสนับสนุนและส่งเสริม และตอบโจทย์ BCG (Bio-Circular-Green) ทั้งในอุตสาหกรรมด้านพลังงานและการท่องเที่ยว ที่ส�ำคัญ ช่วยให้ผู้ประกอบการด้านโรงแรมเข้าสู่เมืองต้นแบบของ Hotel Go Green 43

Engineering Today November - December

2019


ในพื้นที่โรงแรมจะไม่มีการตัดต้นไม้ทิ้งแต่จะออกแบบสร้างให้ สมดุลระหว่างห้องพักกับต้นไม้ให้ลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการรู้สึกร่มรื่น “ทางโรงแรมได้ปรึกษากับ สวทช.เพือ่ เข้ามาช่วยเหลือด้านพลังงาน เนือ่ งจากต้นทุนค่าพลังงานในการด�ำเนินธุรกิจสูงขึน้ อยากได้เทคโนโลยี และนวัตกรรมทีจ่ ะน�ำมาประยุกต์ใช้กบั โรงแรม ซึง่ ใช้เวลาในการปรึกษา กว่า 1 ปี จึงน�ำมาสู่การจับคู่ทางธุรกิจเกิดการท�ำงานร่วมกันระหว่าง โรงแรมอ่าวนาง ปริ้นซ์วิลล์ วิลล่า รีสอร์ท แอนด์ สปา กับ บริษัท แพค คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด ที่ สวทช.ดูแลโดย BIC ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา ได้ร่วมกันเปลี่ยนระบบน�้ำร้อนจากระบบเดิมที่ใช้แก๊ส มาเป็นระบบฮีทปั๊ม (Heat Pump) ช่วยให้ค่าไฟฟ้าลดลงกว่า 15-20% จากเดิมที่ต้องจ่ายเดือนละประมาณ 200,000 บาท มาอยู่ที่ประมาณ 160,000-170,000 บาท และค่าพลังงานแก๊สลดลงจากเดิมทีต่ อ้ งจ่าย ประมาณเดือนละ 20,000 บาท เหลือจ่ายค่าพลังงานแก๊สเดือนละ ไม่ถึง 10,000 บาท ที่สำ� คัญจากการสอบถามการเข้าพักและใช้บริการ จากลูกค้าหลังจากปรับเปลี่ยนมาใช้ระบบฮีทปั๊มให้บริการน�้ำร้อนและ ห้องปรับอากาศแล้วลูกค้าพึงพอใจมากขึ้นด้วย” ส่วนการต่อยอดการใช้งานของโรงแรมในอนาคตนัน้ ก�ำลังปรึกษา กับ สวทช.ในการน�ำเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องด้านประหยัดพลังงานดูแล รักษาสิง่ แวดล้อมและด้านอืน่ ๆ มาใช้งานภายในโรงแรมเพิม่ เติม เพือ่ ลด ต้นทุนการบริหารโรงแรม แล้วน�ำเงินที่ได้ไปพัฒนาโรงแรมให้ดียิ่งขึ้น

Engineering Today November - December

2019

44

ในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา ได้ร่วมกันเปลี่ยนระบบน�้ำร้อน จากระบบเดิมที่ใช้แก๊สมาเป็น ระบบฮีทปั๊ม (Heat Pump) ช่วย ให้ค่าไฟฟ้าลดลงกว่า 15-20% จากเดิมที่ต้องจ่ายเดือนละ ประมาณ 200,000 บาท มาอยู่ที่ ประมาณ 160,000-170,000 บาท และค่าพลังงานแก๊สลดลง จากเดิมที่ต้องจ่ายประมาณ เดือนละ 20,000 บาท เหลือ จ่ายค่าพลังงานแก๊สเดือนละ ไม่ถึง 10,000 บาท


แพค คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) สตาร์ทอัพเทคโนโลยีโดดเด่นด้านนวัตกรรมประหยัดพลังงาน

อัจฉรา ปู่มี กรรมการผู้จัดการ บริษัท แพค คอร์ปอเรชั่น (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า บริษัทฯ เป็นสตาร์ทอัพด้านเทคโนโลยี ของไทย ซึ่งด�ำเนินธุรกิจเน้นระบบท�ำน�้ำร้อน, ระบบปรับอากาศที่ ประหยัดพลังงาน, ระบบท�ำน�้ำร้อนจากความร้อนที่ระบายทิ้งจากแอร์, เครื่องปรับอุณหภูมิสระน�้ำประหยัดพลังงาน, เครื่องปรับอากาศผลิต น�ำ้ ร้อนแบบ 2 in 1 สามารถปรับอากาศและท�ำน�ำ้ ร้อนได้ในเครือ่ งเดียว, เครื่องปรับอากาศระบบ Inverter และ VRF (Virtual Routing and Forwarding) ทีใ่ ช้พลังงานแสงอาทิตย์ผา่ นแผงโซลาร์เซลล์โดยตรง และ เครื่องปรับอากาศพลังงานแสงอาทิตย์แบบแยกส่วน เป็นต้น โดย ผลิตภัณฑ์ทั้งหมดเน้น ผลิตด้วยกระบวนการและการใช้งานที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมคิดค้นและพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรมประเภท ใหม่ๆ ออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง เช่น เครื่องท�ำน�้ำอุ่นจากเครื่องปรับ อากาศ, เครื่องท�ำน�้ำอุ่นส�ำหรับสระว่ายน�้ำ และเครื่องปรับอากาศ จากพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น จุดเริ่มต้นในการเข้ามาร่วมท�ำงานกับ สวทช.นั้น ย้อนกลับไปเมื่อ 6 ปีที่แล้ว บริษัทฯ ได้ร่วมพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีประสิทธิภาพเป็น ที่ยอมรับทั้งในประเทศและต่างประเทศ อีกทั้งบริษัทฯ ยังเป็นกลุ่ม ผู้ประกอบการกลุ่มแรกๆ ที่เข้ามาส่งเสริมดูแลผู้ประกอบการในพื้นที่ จังหวัดกระบี่ ร่วมกับ สวทช. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการน�ำ เทคโนโลยีและนวัตกรรมประหยัดพลังงานไปใช้ในสถานประกอบการ

45

โรงแรม รีสอร์ท ร้านอาหารต่างๆ เพื่อลดการสูญเสีย พลังงานโดยเฉพาะพลังงานจากไฟฟ้าทีค่ อ่ นข้างจะมีราคา ที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากการที่ร่วมกันคิดค้นบ่มเพาะ เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านพลังงานในการสร้างระบบ ฮีทปั๊มขึ้นส�ำเร็จ ซึ่งน�ำมาสู่การจับคู่การท�ำธุรกิจร่วมกับ โรงแรมอ่าวนาง ปริ้นซ์วิลล์ วิลล่า รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดกระบี่ น�ำร่องแล้วประสบความส�ำเร็จ โรงแรม อ่าวนางฯ ให้การยอมรับ ช่วยให้ค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน ลดลงเป็นอย่างมาก ปัจจุบันบริษัทฯ มีลูกค้าทั้งในและต่างประเทศ เช่น ประเทศในแอฟริกา อินเดียใต้ มาเลเซีย จีน และอินโดนีเซีย มีรายได้กว่า 100 ล้านบาทต่อปี หรือเติบโต 20-30% ต่อปี อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ประสบปัญหาการแข่งขัน ด้านราคาสินค้าจากผูป้ ระกอบการหลายรายในตลาดสินค้า ประเภทนี้เริ่มท�ำสงครามการค้าด้านราคากันมากขึ้น แต่ บริษัทฯ ยังคงมุ่งมั่นที่จะผลิตผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ และพัฒนา ผลิตภัณฑ์เดิมที่มีอยู่ให้เป็นที่ยอมรับสนองความต้องการ ของลูกค้าอย่างดีทสี่ ดุ โดยเฉพาะเรือ่ งการประหยัดพลังงาน ที่จะควบคุมการใช้งานเฉพาะจุดให้มากขึ้น ในอนาคต โดยกลุ่ม ลูกค้าที่จ ะเข้าไปท�ำ ตลาดมากขึ้นจะเป็นกลุ่ม โรงพยาบาลและกลุ่มอสังหาริมทรัพย์

Engineering Today November - December

2019


IT Update • ไมโครซอฟท์เอเชีย

ไมโครซอฟท์เอเชีย

เผยผลส�ำรวจ ชี้ SMB ไทยต้องอัพเกรดเทคโนโลยี สร้างโอกาสทางธุรกิจที่ยั่งยืน แม้ เ ทคโนโลยี จ ะช่ ว ยเสริ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งาน ของบุคลากรและขับเคลื่อนธุรกิจให้เติบโต ธุรกิจขนาดเล็กและ ขนาดกลางหรือ SMB ในประเทศไทยยังคงใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ทีเ่ ก่า อีกทัง้ ขาดการวางแผนประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทสี่ ำ� คัญอย่าง คลาวด์ และโมบิลิตี้ จากผลส�ำรวจพบว่า 1 ใน 3 หรือราว 34% ของ SMB ในประเทศไทยยังคงใช้คอมพิวเตอร์ที่มีอายุมากกว่า 4 ปี และ ใช้ ร ะบบปฏิ บัติการคอมพิว เตอร์รุ่น เก่า ซึ่ง ไม่เ พียงส่งผลต่อ ประสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งาน แต่ ยั ง สร้ า งความเสี่ ย งด้ า นความ ปลอดภั ย ทางไซเบอร์ อ ย่ า งมหาศาลให้ แ ก่ ธุ ร กิ จ โดยจากผล ส�ำรวจ มากกว่า 63% ของ SMB ในประเทศไทยยอมรับว่า พวกเขาเคยประสบปัญหาเรื่องความปลอดภัยทางไซเบอร์ในปี ที่ ผ ่ า นมากั บ ตั ว เอง และเมื่ อ กล่ า วถึ ง นโยบายด้ า นโมบิ ลิ ตี้ ผลส�ำรวจชี้ให้เห็นว่ามีเพียง 1 ใน 4 ของ SMB เท่านั้นที่มีการ วางแผนการใช้งานโมบิลิตี้ในธุรกิจ ผลส�ำรวจดังกล่าวจัดท�ำขึ้นโดย ไมโครซอฟท์เอเชีย ซึ่งได้ ร่วมมือกับบริษัทส�ำรวจและจัดเก็บข้อมูลส�ำหรับธุรกิจ SMB ระดับโลกอย่าง TechAisle ท�ำการส�ำรวจธุรกิจประเภท SMB ในประเทศไทยกว่า 330 ราย

Engineering Today November - December

2019

46

สมศักดิ์ มุกดาวรรณกร ผู้อ�ำนวยการฝ่ายส่งเสริมธุรกิจ องค์กร ขนาดกลาง ขนาดย่อม และบริหารพันธมิตร บริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า เทคโนโลยีคือ ตั ว สร้ า งโอกาสที่ แ ท้ จ ริ ง ให้ กั บ ธุ ร กิ จ ทั้ ง ขนาดเล็ ก และใหญ่ ผู้ประกอบการ SMB ในประเทศควรให้ความส�ำคัญกับการลงทุน ทางเทคโนโลยีเพือ่ การพัฒนาธุรกิจทัง้ ในปัจจุบนั และเพือ่ อนาคต ประเทศไทยมีธุรกิจขนาดเล็กและกลางอยู่มากถึงราว 3 ล้านราย และแรงงานในประเทศส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุไม่เกิน 35 ปี ซึ่งเป็นช่วงอายุที่คุ้นเคยและให้ความส�ำคัญกับการใช้เทคโนโลยี เพือ่ การท�ำงานทีส่ ะดวกและมีประสิทธิภาพมากขึน้ ไมโครซอฟท์ มุ่งมั่นที่จะช่วย SMB ในประเทศไทยเห็นถึงความส�ำคัญดังกล่าว เพือ่ ธุรกิจจะสามารถพัฒนาไปได้อย่างต่อเนือ่ งในยุคทีก่ ารแข่งขัน ทางธุรกิจมีอยู่มาก

ลดช่องว่างในการปรับตัว

จากผลส�ำรวจพบว่า สาเหตุที่ทำ� ให้ SMB ในประเทศไทย มีการปรับตัวทางเทคโนโลยีช้าเนื่องจาก SMB มีความกังวล ว่า ระบบความพิวเตอร์และเทคโนโลยีใหม่จะไม่รองรับกับระบบ และอุปกรณ์ทมี่ อี ยูเ่ ดิม ท�ำให้ตอ้ งลงทุนเพิม่ มากขึน้ นอกเหนือจาก


การอั พ เกรดอุ ป กรณ์ (53%) นอกจากนี้ มากกว่ า ครึ่ ง หรื อ ราว 56% ของ SMB ที่ถูกส�ำรวจกล่าวว่า บริษัทไม่ได้ท�ำตาม นโยบายในการอัพเกรดอุปกรณ์ไอที อีกทั้งบางบริษัทที่ตอบ แบบสอบถามไม่มีนโยบายเกี่ยวกับการอัพเกรดอุปกรณ์ไอที การที่ผู้ประกอบการธุรกิจ SMB ไม่มีนโยบายอย่างเป็น รู ป ธรรมในการเปลี่ ย นหรื อ อั พ เกรดอุ ป กรณ์ ไ อที นั้ น อาจ

ส่งผลเสียระยะยาวให้แก่ธุรกิจ รายงานจากไมโครซอฟท์ระบุว่า อุ ป กรณ์ ค อมพิ ว เตอร์ ที่ มี อ ายุ ม ากกว่ า 4 ปี นั้ น มี โ อกาสเสี ย มากกว่าอุปกรณ์ใหม่ถึง 3.3 เท่า ซึ่งเทียบเป็นเงินราว 1,631 USD ต่อเครื่อง (หรือราว 50,561 บาท) และเสียเวลาในการ ท�ำงานมากถึง 208 ชั่วโมงต่อปี

ภาพเปรียบเทียบการใช้คอมพิวเตอร์ที่อายุมากและน้อยกว่า 4 ปี เทคโนโลยีที่ส�ำคัญที่ SMB สามารถใช้เพื่อเริ่มต้นการ เปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ได้แก่ การใช้งานอุปกรณ์ผ่านระบบ คลาวด์ โดย 54% ของ SMB ในประเทศไทยที่ถูกส�ำรวจกล่าวว่า พวกเขารูจ้ กั บริการ PC-as-a-Service หรือการเช่าใช้คอมพิวเตอร์ และ 38% มีการวางแผนที่จะใช้บริการดังกล่าวใน 5 ปีข้างหน้า ซึ่งสาเหตุที่ธุรกิจต้องการเปลี่ยนมาใช้บริการดังกล่าวเป็นเพราะ ต้องการอุปกรณ์ที่สามารถท�ำงานได้เร็วขึ้น (72%) และช่วย ลดงานด้านไอทีซัพพอร์ทส�ำหรับธุรกิจ (62%) นอกจากนี้ Windows-as-a-Service หรือการเช่าใช้ระบบ ปฏิบัติการ Windows ยังเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ SMB สามารถ ใช้เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการท�ำงานและความปลอดภัยของข้อมูล เนื่ อ งจากระบบปฏิบัติการใหม่มีการอัพเดทระบบให้ทันสมัย อย่างต่อเนือ่ ง ช่วยปิดช่องโหว่ทอี่ าจส่งผลด้านความปลอดภัยทาง

ไซเบอร์ให้แก่ธุรกิจ ระบบปฏิบัติการ Windows 10 นั้นรองรับ แอพพลิเคชั่นที่หลากหลายได้มากกว่าระบบปฏิบัติการรุ่นเดิม มาพร้อม App Telemetry, รองรับ ISV Partnerships ส�ำหรับ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ เพื่อวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและ สร้าง Feedback Loops และในอนาคตอันใกล้ที่การสนับสนุน Windows 7 จะสิ้นสุดลง ส่งผลให้คอมพิวเตอร์ที่ยังใช้ระบบ ปฏิบัติการ Windows 7 ไม่ได้รับความช่วยเหลือด้านเทคนิค และการอัพเดทซอฟต์แวร์จาก Windows Update อีกต่อไป ผูป้ ระกอบการ SMB ควรเริม่ ต้นการเปลีย่ นแปลงด้วยการเปลีย่ น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ เพื่อรองรับ การอัพเดทด้านความปลอดภัย, Non-security Hotfixes, บริการ ความช่วยเหลือทัง้ แบบฟรีและมีคา่ ใช้จา่ ย และการอัพเดทเนือ้ หา ทางด้านเทคนิคออนไลน์

47

Engineering Today November - December

2019



@Engineering Today Vol. 6 No. 174

สภาว�ศวกรจัดเสวนา

“เมกะโปรเจกตภาครัฐ ว�ศวกรไทยไดหร�อเสีย” แนะรัฐเปดชองใหว�ศวกรไทย รับถายทอดเทคโนโลยีจากตางชาติ วสท. ผนึกกำลัง 2 องคกรว�ชาชีพ ออกมาตรฐาน BIM ครั้งแรกในไทย พรอมเสนอรัฐบรรจ�แผนพัฒนา BIM แหงชาติใน Thailand 4.0 คณะว�ศวฯ มหิดล รวมกับ สวทช. ผาแผนการพัฒนาพ�้นที่รอบสถานีศาลายา (TOD) รองรับรถไฟฟาสายสีแดงสวนตอขยาย เน็กซัสเผยตลาดอาคารสำนักงานเกรด A ใน กทม.สดใส คาดทยอยเปด 13 โครงการอีก 2 ปขางหนา


Construction • กองบรรณาธิการ

สภาวิศวกรจัดเสวนา

“เมกะโปรเจกต์ภาครัฐ วิศวกรไทยได้หรือเสีย” แนะรัฐเปิดช่องให้วิศวกรไทย รับถ่ายทอดเทคโนโลยีจากต่างชาติ

วิศวกรรมทั้งขั้นตอนการออกแบบ การก่อสร้าง การผลิต แก่วิศวกรไทย และสนับสนุนการใช้วัสดุชิ้นส่วน (Local Content) ในประเทศ ลดการพึ่งพาเทคโนโลยี-น�ำเข้า อุปกรณ์ก่อสร้าง ภายในงานเสวนาดั ง กล่ า ว ได้ รั บ เกี ย รติ จ าก ดร.อธิ รั ฐ รั ต นเศรษฐ รั ฐ มนตรี ช ่ ว ยว่ า การกระทรวง คมนาคม เป็นประธานพิธเี ปิดเสวนา ณ โรงแรมเจ้าพระยา ปาร์ ค ถนนรั ช ดาภิ เ ษก โดยมี ผู ้ วิ ศ วกร และผู ้ ที่ ส นใจ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมฟังเสวนาจ�ำนวนมาก

สภาวิศวกรเสนอรัฐเปิดช่องให้วิศวกรไทย รับถ่ายทอดเทคโนโลยีจากวิศวกรต่างชาติ

ดร.อธิรัฐ รัตนเศรษฐ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม

สภาวิศวกร (COE) ระดมผูท้ รงคุณวุฒจิ ากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ทั้งการรถไฟแห่งประเทศไทย กรมการขนส่งทางราง สมาคมวิศวกร ที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย และสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ใน พระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมเสวนา “โครงการเมกะโปรเจกต์ภาครัฐ วิศวกร ไทยได้หรือเสีย” ชีโ้ ครงการ Mega Project เป็นโอกาสของวิศวกรไทย ในการยกระดั บ ศั ก ยภาพปรั บ ตั ว รั บ เทคโนโลยี ใ หม่ โดยเฉพาะ เทคโนโลยีระบบราง พร้อมเสนอให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้าน

Engineering Today November - December

2019

50

ดร.ประเสริฐ ตปนียางกูร เลขาธิการสภาวิศวกร กล่าวว่า โครงการลงทุนขนาดใหญ่ (Mega Project) ของ ภาครัฐ ด้านโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของ ประเทศในระยะเร่งด่วน 8 ปี (พ.ศ. 2558-2565) เพื่อ พัฒนาด้านการขนส่งทางถนน ระบบราง ทางน�้ำ และ ทางอากาศ มีจ�ำนวนถึง 44 โครงการ วงเงิน 1.974 ล้าน ล้านบาท โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในโครงการด้านระบบราง อาทิ โครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ 7 เส้นทาง 993 กิโลเมตร ในเส้นทางฉะเชิงเทรา-คลองสิบเก้า-แก่งคอย เส้นทาง


ดร.วีรพงศ์ ไชยเพิ่ม ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ด้านการลงทุนอุตสาหกรรมเป้าหมาย สกพอ.

ดร.ประเสริฐ ตปนียางกูร เลขาธิการสภาวิศวกร

ชุมทางถนนจิระ-ขอนแก่น โครงการความร่วมมือด้านรถไฟความเร็วสูง ไทย-จีน 252 กิโลเมตร และโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (Motorway) 3 เส้นทาง ในสายพัทยา-มาบตาพุด สายบางปะอินนครราชสีมา และสายบางใหญ่-กาญจนบุรี โครงการลงทุนขนาดใหญ่ รถไฟฟ้าความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน การขยายสนามบินสุวรรณภูมิ สนามบินอู่ตะเภา โครงการลงทุนขนาดใหญ่ในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ EEC โครงการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนของการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่ง ประเทศไทย (รฟม.) นอกจากนี้ยังมีโครงการใน EEC ประมาณ 1.7 ล้านล้านบาท ซึ่ง วิศวกรไทยขณะนี้มีประมาณ 1.7 แสนคน มีความพร้อมในทุกๆ ด้าน เพียงแต่ตอ้ งการโอกาสจากทางภาครัฐทีจ่ ะเปิดช่องให้วศิ วกรไทยทุกคน ทีม่ ศี กั ยภาพเข้ามาท�ำงานเคียงบ่าเคียงไหล่กบั วิศวกรในต่างประเทศ โดย เฉพาะอย่างยิ่งการถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึ่งดูตัวอย่างความส�ำเร็จได้จาก ประเทศจีนที่เริ่มต้นจากไม่มีอะไร ปัจจุบันก้าวรุดหน้าไประดับโลก ด้วย วิธกี ารถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึง่ อาจจะน�ำเทคโนโลยีมาในครัง้ แรกร่วมกัน กับต่างประเทศ แต่จะท�ำงานคู่กันไป “ขณะนี้มีปัญหาเรื่องการถ่ายทอดเทคโนโลยีมาก เพราะภาครัฐ ไม่ได้พดู อย่างจริงจังว่าจะให้โอกาสวิศวกรไทยเข้ามาท�ำงานในส่วนไหน และเข้ามาเวลาใดในเวลาทีเ่ หมาะสม ต้องการอะไรบ้างจะได้ตอบสนอง เพราะเป็น Demand Size จากทางภาครัฐ ในส่วนของสภาวิศวกร เป็น Supply Size ถือว่าเป็นภารกิจหลักที่จะจัดการเรื่องนี้ ให้วิศวกร ไทยทุกคนเตรียมตัวเตรียมใจได้ใช้ความรู้ความสามารถ ซึ่งสภาวิศวกร ไทยมีการยกระดับมาตรฐานตรงนีแ้ ล้ว เรามีความพร้อมทีจ่ ะส่งคนเข้าไป

เพียงแต่อยากรูก้ อ่ นว่าความต้องการของทางภาครัฐในการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีในส่วนใดบ้าง อย่างไรก็ตาม ถือเป็น นิมติ หมายอันดีทรี่ ฐั มนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงคมนาคมให้ เวลารับฟังว่าวิศวกรไทยต้องการอะไรบ้าง” ดร.ประเสริฐ กล่าว

51

5 ปีข้างหน้า EEC ต้องการบุคลากร 5 แสนคน วิศวกรรับ S-curve ราว 1.2 แสนคน

ดร.วี ร พงศ์ ไชยเพิ่ ม ผู ้ เ ชี่ ย วชาญพิ เ ศษ ด้ า น การลงทุ น อุ ต สาหกรรมเป้ า หมาย ส� ำ นั ก งานคณะ กรรมการนโยบายเขตพั ฒ นาพิ เ ศษภาคตะวั น ออก (สกพอ.) กล่าวว่า ในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ตั้งเป้าหมายว่าจะเป็นพื้นที่อุตสาหกรรมยุคใหม่ เรียกว่า S-curve ซึ่งเกี่ยวข้องกับวิศวกรจ�ำนวนมาก และ เป็ นวิ ศ วกรรมแนวใหม่ ๆ ซึ่ ง ได้ พู ด คุ ย กั บ สภาวิ ศ วกร ใน 3 ประเด็นคือ 1. สภาวิศวกรควรเตรียมวิศวกรใหม่ ที่สอดรับกับความต้องการของ EEC ในอนาคต 2. การที่ จะพั ฒนาทั ก ษะต่ อ ยอดกั บ อุ ต สาหกรรมเดิ ม เพื่ อ สร้ า ง วิศวกรรุ่นใหม่ โดยต่อยอดวิศวกรรุ่นเดิมด้วย 3. ด้วย สภาวิศวกรควบคุมเรือ่ งมาตรฐาน เหมือนการเหยียบเบรก เพราะการท�ำงานเกี่ยวข้องกับความปลอดภัยทั้งชีวิตและ ทรั พ ย์ สิ น ดั ง นั้ น ต้ อ งมี ม าตรการให้ ค นทั่ ว ไปเชื่ อ ได้ ว ่ า การท�ำวิชาชีพใน EEC ได้มาตรฐานที่เหมาะสม

Engineering Today November - December

2019


จากซ้าย ดร.ประเสริฐ ตปนียางกูร ศุภฤกษ์ สุดยอดประเสริฐ จุลเทพ จิตะสมบัติ วัลลภ รุ่งกิจวรเสถียร อังสุรัสมิ์ อารีกุล และ ดร.วิทูร เจียมจิตต์ตรง

“เราต้องการเหยียบคันเร่งให้ไปข้างหน้า และมีเบรกเพื่อความ ปลอดภัยในคุณภาพชีวิตของคนไทยด้วย ผู้ที่จะมาประกอบวิชาชีพ ต้องมีใบประกอบวิชาชีพ คือ ยืนยันว่าตัวเองมีความรู้เพียงพอ การที่จะ ด�ำเนินการใดก็ตามทีเ่ ป็นวิศวกรรมควบคุม เช่น ความมั่นคงของอาคาร ความปลอดภัยของเครื่องจักรไอน�้ำ เครื่องจักรกลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ชีวิตของผู้ปฏิบัติงานในโรงงานและการก่อสร้างนั้น ต้องมีมาตรฐานของ วิศวกรเข้ามาเพื่อป้องกันความปลอดภัยและสิ่งที่ไม่ได้มาตรฐาน นี่คือ บทบาทส�ำคัญของสภาวิศวกร นอกจากควบคุมมาตรฐาน ดูเรื่องการ สร้างปริมาณให้เพียงพอ ถือเป็นบทบาทเชิงรุกด้วย เดิมเรามีวิศวกร ช่างกล ไฟฟ้าแต่ไม่มีวิศวกรด้านนาโนเทค เมคคาทรอนิกส์ การมี มาตรฐานเพียงพอให้ทันต่อความต้องการของตลาด และมาตรฐาน วิชาชีพเป็นอย่างไร คุณสมบัติที่จะมาขึ้นทะเบียนต้องผ่านอะไรมาบ้าง ต้องเปิดกว้างมากขึน้ สัมพันธ์กบั การใช้งานของปลายทางและสัมพันธ์กบั ผู้ผลิตต้นทางอย่างมหาวิทยาลัยด้วย ซึ่งในเรื่องนี้ EEC ได้เสนอให้สภา วิศวกรต่อยอดปรับใบอนุญาตให้สอดรับกับความต้องการในอนาคต” ดร.วีรพงศ์ กล่าว ใน 5 ปีข้างหน้า มีการประเมินว่าในเขตพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก (EEC) มีต้องการบุคลากรถึง 5 แสนคน แบ่งเป็นบุคลากร ที่จบการศึกษาต�่ำกว่า ปวส. 2.5 แสนคน ระดับปริญญาตรี 2.4 แสนคน และวิศวกรประมาณ 1.2 แสนคน ตอนนี้ทางกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ได้รับเป้าผลิตบุคลากรขึ้นมาใหม่ พร้อมพัฒนาต่อยอดเดิม เพื่อส่งเสริมให้วิศวกรและช่างเทคนิคชาวไทยเข้ามามีส่วนร่วม รวมทัง้ สนับสนุนการใช้วสั ดุชนิ้ ส่วนทีบ่ ริษทั ไทยสามารถผลิตได้เข้ามาใช้ ในโครงการลงทุนขนาดใหญ่ ตลอดจนสามารถคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ ควบคู ่ กั บ การศึ ก ษาวิ จั ย และพั ฒ นา สู ่ ห นทางลดการพึ่ ง พาจาก ต่างประเทศ สภาวิศวกร จึงได้จัดงานเสวนา ในหัวข้อ “โครงการเมกะ

Engineering Today November - December

2019

52

โปรเจกต์ภาครัฐ วิศวกรไทยได้หรือเสีย” ขึ้น โดยมีผู้ทรง คุ ณ วุ ฒิ เ ข้ า ร่ ว มการเสวนาจ� ำ นวนมาก อาทิ จุ ล เทพ จิตะสมบัติ วิศวกรอ�ำนวยการศูนย์โครงการปรับปรุงทาง การรถไฟแห่ ง ประเทศไทย ดร.วิ ทู ร เจี ย มจิ ต ต์ ต รง นายกสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย อังสุรัสมิ์ อารี กุ ล นายกสมาคมอุ ต สาหกรรมก่ อ สร้ า งไทย ใน พระบรมราชูปถัมภ์ วัลลภ รุง่ กิจวรเสถียร กรรมการผูท้ รง คุณวุฒิสภาวิศวกรและประธานกรรมการบริหาร บริษัท ซิโน-ไทย เอ็น จีเ นียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จํากัด (มหาชน) และศุภฤกษ์ สุดยอดประเสริฐ หัวหน้ากลุ่ม มาตรฐานโครงสร้างพื้นฐาน กรมการขนส่งทางราง

เผยเงินลงทุนทางด้านระบบราง 1.2 ล้านล้านบาท ยังขาดแคลนบุคลากรทางด้านระบบราง

ศุภฤกษ์ สุดยอดประเสริฐ หัวหน้ากลุ่มมาตรฐาน โครงสร้างพื้นฐาน กรมการขนส่งทางราง กล่าวว่า เงิน ลงทุนโครงการ Mega Project ของภาครัฐ วงเงิน 1.974 ล้านล้านบาท แบ่งเป็นเงินลงทุนทางด้านระบบราง 1.2 ล้านล้านบาท โดยแผน 8 ปี ทางด้านระบบรางมีทั้งหมด 2 โครงการ คือ โครงการรถไฟทางคู่ เพื่อเพิ่มการขนส่ง สินค้า 20% ภายใน 3 ปี และโครงการรถไฟความเร็วสูง กรุงเทพฯ-นครราชสีมา ด�ำเนินการแล้ว ในอนาคตจะมี โครงการรถไฟความเร็ ว สู ง กรุ ง เทพฯ-พิ ษ ณุ โ ลก และ โครงการรถไฟความเร็วสูงกรุงเทพฯ-เชียงใหม่ ซึง่ เป็นความ ร่วมมือระหว่างไทยกับญี่ปุ่น ขณะนี้อยู่ในระหว่างปรับ รูปแบบขบวนรถให้ลดลง ซึง่ ยังไม่ได้ขอ้ สรุป เนือ่ งจากญีป่ นุ่ มองว่าเป็นโครงการของไทยยินดีให้การสนับสนุนแหล่งเงินกู้


ปัจจุบนั มีวศิ วกรทีจ่ บทางด้านระบบรางโดยตรง ประมาณ 10 คน ส่วนใหญ่จะเป็นวิชาเลือก นอกจากนีม้ หี ลักสูตร ปวช.ด้านรางมีการเรียน 2 ปี โดยเรียนในไทย 1 ปีและฝึกอบรมทางด้านโยธา ก่อสร้าง และระบบ รางที่จีน 1 ปี บางหลักสูตรใช้เวลา 1.5 ปี ได้ใบประกาศนียบัตร 2 แห่ง ทั้ ง จากไทยและจี น ขณะนี้ ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนือ (มจพ.) ร่วมกับกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมจัดตั้งหลักสูตรวิศวกรรมด้านรางโดยเฉพาะ ซึ่งอาจ จะต้องใช้เวลากว่าจะผลิตบุคลากรมาป้อนตลาด ในอนาคตอันใกล้นี้ กรมการขนส่งทางราง จะเซ็นสัญญาความ ร่ ว มมื อ (MOU) กั บ สถาบั นวิ จั ย วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ ง ประเทศไทย (วว.) เพื่อให้ วว.ช่วยทดสอบโบกี้ ระบบราง ในส่วนของ ระบบไฟฟ้า อาณัติสัญญาณ ให้ศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์ไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ (PTEC) ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) ท�ำการทดสอบ ส่วนวัสดุ ให้ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและ วัสดุแห่งชาติ ( MTEC) สวทช.ทดสอบ รวมทั้งมาตรฐาน เป็นหน้าที่ของ ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)

วอนภาครัฐผลักดันการผลิตและการวิจัยและพัฒนา ในโครงการรถไฟฟ้าความเร็วสูง

จุลเทพ จิตะสมบัติ วิศวกรอ�ำนวยการศูนย์โครงการปรับปรุงทาง การรถไฟแห่งประเทศไทย กล่าวว่า รถไฟฟ้าสายสีแดงของ รฟท. รับขนส่งคนแถบปริมณฑลให้เดินทางเข้าเมืองสะดวกสบาย เป็นการ กระจายโครงข่ายของ รฟท. ในส่วนของรถไฟฟ้าความเร็วสูง ได้ระบุใน ข้อกําหนดของผูว้ า่ จ้าง (TOR : Term of Reference ) ให้มกี ารถ่ายทอด เทคโนโลยีและฝึกอบรมจากจีนให้สถาบันการศึกษา ภาคอุตสาหกรรม และหน่วยงานวิจัยชั้นน�ำของไทย เพื่อพัฒนาและยกระดับศักยภาพ วิศวกรไทย รวมทั้งด้าน Operation และการบ�ำรุงรักษา ซึ่ง รฟท. ฝึกอบรมด้าน Operation และการบ�ำรุงรักษา โดยรับการถ่ายทอด เทคโนโลยีและการวิจัยและพัฒนาจากจีน ตามที่ระบุไว้ในสัญญา 2.3 ซึ่งปัจจุบันจบแค่ตรงนี้ ทั้งนี้ยังขาดในส่วนของการผลิตและการวิจัย และพัฒนา จึงต้องการเสนอให้ภาครัฐช่วยผลักดันในส่วนนี้ด้วย

วปท.ชี้วิศวกรไทยไม่ปรับตัวท�ำงาน Mega Project อาจถูก Disrupt

ดร.วิ ทู ร เจี ย มจิ ต ต์ ต รง นายกสมาคมวิ ศ วกรที่ ป รึ ก ษาแห่ ง ประเทศไทย (วปท.) กล่าวว่า หากเป็นโครงการขนาดเล็ก เชื่อมั่นว่า วิศวกรไทย และผู้ประกอบการก่อสร้างไทย สามารถท�ำได้ทุกอย่าง ซึง่ เป็นไปตามกฎ กติกาทีส่ ภาวิศวกรและวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ก�ำหนดไว้ แต่ขณะนี้มีโครงการขนาดใหญ่ ระดับ Mega Project เกิดขึ้นมากมายหลายโครงการ เช่น ถนนไฮเวย์ อุโมงค์ สะพาน สนามบิน และท่าเรือ เป็นต้น ซึ่งบางโครงการ หรือ เทคโนโลยีบางอย่างยังถือเป็นเรือ่ งใหม่สำ� หรับวิศวกรไทย ท�ำให้โครงการ มีความซับซ้อนกว่าเดิม หากวิศวกรไทยไม่ปรับตัวอาจจะถูก Disrupt ได้

53

ขณะนี้มีปัญหาเรื่องการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีมาก เพราะภาครัฐไม่ ได้พูดอย่าง จริงจังว่าจะให้โอกาสวิศวกรไทย เข้ามาท�ำงานในส่วนไหน และ เข้ามาเวลาใดในเวลาที่เหมาะสม ต้องการอะไรบ้าง จะได้ตอบสนอง ในส่วนของ สภาวิศวกร เรามีความพร้อม ที่จะส่งคนเข้าไป เพียงแต่อยากรู้ ก่อนว่าความต้องการของทาง ภาครัฐในการถ่ายทอดเทคโนโลยี ในส่วนใดบ้าง จากข้อมูลในปี พ.ศ. 2558 มีจ�ำนวนวิศวกรไทย 2 แสนคน ใน 7 สาขา หากจ�ำแนกถึงจ�ำนวนสามัญวิศวกร และวุฒิวิศวกรแล้วยังมีไม่เพียงพอ และไม่มีปรับจ�ำนวน ให้สูงขึ้นเมื่อเทียบกับอาเซียน วิศวกรไทยเมื่อเทียบกับ วิศวกรสิงคโปร์ ทักษะความเชีย่ วชาญยังห่างไกลอีกหลาย เท่า ในส่วนของ Charge Rate ของจีนกับไทยต่างกัน ถึง 5 เท่า ไทยได้แสนบาทต้นๆ แต่จีนได้ 5 แสนบาท “ทั้ ง นี้ ต ้ อ งอาศั ย สามเสาหลั ก ประกอบด้ ว ย สภาวิศวกร ซึง่ ดูแลปริมาณและคุณภาพของวิศวกร วสท. ท�ำหน้าที่ก�ำหนดมาตรฐาน (Coding) ต่างๆ และสมาคม วิชาชีพ เช่น สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย (วปท.) สมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์ ต้องท�ำงานร่วมกันอย่างเต็มที่ พร้อมปรับตัว อัพเดทเทคโนโลยี คุณภาพ ยึดตามกติกาที่วางไว้ โดยเพิ่ม จ�ำนวน License Engineer Reskill และ Retrain ที่ส�ำคัญ วิ ศ วกรไทยต้ อ งพั ฒนาวิ ช าชี พ ต่ อ เนื่ อ ง (Continuing Professional Development: CPD) เพื่อให้ทันกับยุค สมั ย ที่ เ ปลี่ ย นไป” นายกสมาคมวิ ศ วกรที่ ป รึ ก ษาแห่ ง ประเทศไทย (วปท.) กล่าว

Engineering Today November - December

2019


พัฒนาความรู้วิศวกร สถาปนิก โฟร์แมน รับโครงการ Mega Project จ�ำนวนมาก

อั ง สุ รั ส มิ์ อารี กุ ล นายกสมาคมอุ ต สาหกรรมก่ อ สร้ า งไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ตงั้ ข้อสังเกตว่า สภาวิศวกรอบรมจีน 227 คน ในทางกลับกันวิศวกรจีนได้อบรมและให้ความรูด้ า้ นรถไฟฟ้าความเร็วสูง แก่วศิ วกรไทยด้วยหรือไม่ อีกทัง้ ขอบข่ายการท�ำงานของวิศวกรจีนทีผ่ า่ น การอบรม สามารถท�ำงานได้แค่ไหน ภาระความรับผิดชอบเทียบเท่า วิศวกรไทยทั้งแพ่งและอาญาหรือไม่ ในโครงการ Mega Project เช่น งานโครงสร้างทัง้ หมด ถ้าหากเป็นของความเร็วรถไฟฟ้า มัน่ ใจว่าวิศวกร โยธาไทยสามารถค� ำ นวณได้ ยกเว้ น รางและตั ว รถ ซึ่ ง ต้ อ งซื้ อจาก ต่างประเทศ หากใน TOR ระบุให้มีบริษัทก่อสร้างขนาดใหญ่ 5-6 ราย ร่วมด้วย ก็จะเป็นเรื่องดีที่ไม่ได้ผูกขาดรายใดเพียงรายเดียว ในงานก่อสร้างไม่ได้มเี ฉพาะวิศวกร ยังมี Safety ผูด้ แู ลสิง่ แวดล้อม โฟร์แมน Operator สิง่ ทีเ่ ราต้องพัฒนาความรูว้ ศิ วกร สถาปนิก โฟร์แมน ซึ่งมีความต้องการในโครงการ Mega Project จ�ำนวนมาก แต่ส่วนใหญ่ ผูท้ จี่ บวิศวกรจะไปเรียนต่อสาขาอืน่ ๆ ไม่ได้ทำ� งานด้านวิศวกรรม อีกทัง้ งานวิศวกรรมจะต้องออกไปตากแดด ตากฝน ท�ำให้มวี ศิ วกรท�ำงานทาง ด้านนี้น้อย ท�ำอย่างไรจะจูงใจให้วิศวกรไทยหันมาประกอบวิชาชีพ วิศวกรรม ซึ่งก�ำลังเป็นที่ต้องการของตลาด และมูลค่าโครงการสูง อังสุรัสมิ์ กล่าวว่า ส�ำหรับโครงการ Mega Project ในเขต EEC เฉพาะ 3 จังหวัด ได้แก่ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง มูลค่าโครงการ 1.7 ล้านล้านบาทนัน้ ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมก่อสร้างสูง เนือ่ งจาก เปิดเฉพาะใน EEC ในเรื่องนี้ สมาคมฯ ต้องคอยตอบค�ำถามสมาชิกว่า เหตุใดโครงการ Mega Project จึงไม่กระจายไปตามภูมิภาคอื่นๆ เช่น ภาคใต้ ภาคเหนือบ้าง วัลลภ รุ่งกิจวรเสถียร กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภาวิศวกรและ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอน สตรัคชั่น จํากัด (มหาชน) กล่าวว่า ในฐานะกรรมการสภาวิศวกร สภา

Engineering Today November - December

2019

54

วิศวกรจะต้องสนับสนุนวิศวกรไทยและผลิตวิศวกรรองรับ งานในอนาคตมากมาย ในโครงการรถไฟความเร็ ว สู ง กรุงเทพฯ-นครราชสีมา รัฐบาลได้ยกเว้นให้วิศวกรจีนไม่ อยูใ่ นบังคับมาตรา 45, 47, 49 แห่งพระราชบัญญัตวิ ศิ วกร พ.ศ. 2542 กรณีการควบคุมการประกอบวิชาชีพ โดย เปิ ด โอกาสให้ วิ ศ วกรจากจี น สามารถจดทะเบี ย นได้ พร้อมมอบหมายให้สภาวิศวกรช่วยประสานในเรื่องจัด หลักสูตรฝึกอบรมและทดสอบแก่บุคลากรดังกล่าวตาม ความเหมาะสม ที่ผ่านมามีวิศวกรจีนที่ผ่านอบรม 3 รุ่น รวมทั้งสิ้น 227 คน หากต้องดําเนินการในลักษณะของการประกอบ วิชาชีพวิศวกรรมหรือวิชาชีพสถาปัตยกรรม ให้ได้รบั ยกเว้น ไม่อยู่ในบังคับมาตรา 45 นอกจากนี้พระราชบัญญัติเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 มาตรา 59 และ มาตรา 54 และ 55 เปิดโอกาสให้คนต่างด้าวมาท�ำงาน ในไทยได้ และได้รับยกเว้นหลายเรื่อง อีกทั้งกฎหมายนี้ มีผลระยะยาวใน EEC หากวิศวกรได้รับใบอนุญาตใน ประเทศตัวเองแล้วเข้ามาท�ำงานในไทย โดยไม่ต้องมาขึ้น ทะเบี ย นที่ ไ ทย เบื้ อ งต้ น ส่ ง ผลกระทบต่ อ วิ ศ วกรไทย เพราะเราไม่มีความรู้เพียงพอ ทั้งนี้จะต้องมีการถ่ายทอด เทคโนโลยีให้วิศวกรไทยด้วย “ในข้อกฎหมายของสภาวิศวกร วิศวกรไทยที่เซ็น รับรองแบบ จะเป็นผูร้ บั ผิดชอบ หากวิศวกรต่างชาติทำ� งาน เสร็จแล้วกลับประเทศ หากภายหลังงานเสียหาย จะตาม ตัวมารับผิดชอบอย่างไร ทั้งนี้สภาวิศวกรจะต้องดูแลและ วางมาตรการป้องกันในเรื่องนี้” กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สภาวิศวกร กล่าว


Construction • กองบรรณาธิการ

วสท. ผนึกก�ำลัง 2 องค์กรวิชาชีพ

ออกมาตรฐาน BIM ครั้งแรกในไทย พร้อมเสนอรัฐ บรรจุแผนพัฒนา BIM แห่งชาติใน Thailand 4.0 อุตสาหกรรมออกแบบและก่อสร้าง มีบทบาทส�ำคัญต่อ การพั ฒ นาเมื อ งและสร้ า งมู ล ค่ า ทางเศรษฐกิ จ แก่ ป ระเทศ ปีละกว่า 1.2 ล้านล้านบาท ท่ามกลางสงครามการค้า และ Disruption ส่งผลให้สถาปนิก วิศวกร และผู้ประกอบการไทย จ�ำเป็นต้องเปลี่ยนผ่านด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาเสริม สร้างศักยภาพในการแข่งขัน เพือ่ ก้าวสู่ “Digital Construction”

เทคโนโลยี BIM กลไกส�ำคัญของ Digital Construction บูรณาการทุกส่วนของงานก่อสร้างบนโมเดลเดียวกัน ดร.ทศพร ศรี เ อี่ ย ม กรรมการ วิ ศ วกรรมสถานแห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) กล่าวว่า ประเทศไทย ก� ำ ลั ง เผชิ ญ ปั ญ หา Disruption อุ ต สาหกรรมก่ อ สร้ า งและ

สถาปัตยกรรมสร้างรายได้ให้ประเทศกว่า 1.2 ล้านล้านบาท ซึง่ เป้าหมายปี พ.ศ. 2563 ประมาณ 1.3 ล้านล้านบาท โดยวิศวกร ในประเทศไทยซึ่งมีจ�ำนวน 240,000 คน สถาปนิก 20,000 คน ผูป้ ระกอบการและซัพพลายเชนอีกจ�ำนวนมาก จ�ำเป็นต้องเปลีย่ น ผ่านเพื่อก้าวสู่แพลตฟอร์ม “Digital Construction” และภูมิทัศน์ ใหม่ๆ BIM (Building Information Modeling) ถือเป็นหนึ่ง ในกลไกของ Digital Construction กระบวนการบูรณาการของ ทุกส่วนในงานก่อสร้างบนโมเดลเดียวกัน ซึ่งจะช่วยพัฒนางาน ก่อสร้างให้เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น ประหยัดก�ำลัง คน แก้ปัญหาแรงงานที่ขาดแคลน ประหยัดเวลาและพลังงาน ตลอดจนการบริหารจัดการที่แม่นย�ำและโปร่งใส ลดค่าใช้จ่าย

55

Engineering Today November - December

2019


ดร.ทศพร ศรีเอี่ยม กรรมการ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)

ทรงพล ยมนาค ประธานคณะท�ำงาน BIM สภาสถาปนิก

ด้านก่อสร้างอย่างน้อย 30% ลดเวลาที่ใช้ในการเตรียมแบบและ ก่อสร้าง และลดค่าใช้จา่ ยการบริหารโครงการและอาคารลง 20% ทั้งนี้ในต่างประเทศ อาทิ ฮ่องกง สิงคโปร์ มาเลเซีย และ เวียดนาม ล้วนใช้เทคโนโลยี BIM แทบทั้งสิ้น โดยเฉพาะประเทศ จีน ซึง่ เจริญเติบโตไปอย่างรวดเร็ว ส่วนประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย รุดหน้าไปไกลแล้ว ตามด้วยประเทศเวียดนาม ซึ่งเป็นประเทศ ทีม่ ศี กั ยภาพทางด้านอุตสาหกรรมสูง เนือ่ งจากประเทศเวียดนาม นั้นมีความจ�ำเป็นต้องเร่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านต่างๆ ทั้ง ทางด้านสาธารณูปโภค โครงการพัฒนาเมืองใหม่ การพัฒนา คมนาคม และการพัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ส�ำหรับประเทศไทยเองมีศักยภาพและจุดเด่นการเป็น เศรษฐกิจอาเซียน แต่ยังน�ำเทคโนโลยี BIM มาใช้ไม่กว้างขวางนัก เนื่องจากชุดค�ำสั่งมีราคาต้นทุนสูง ท�ำให้หลายองค์กรยังคงนิยม ใช้เทคโนโลยีดั้งเดิมแบบ 2 มิติ (AutoCAD)

วิจิตร ศิลาวิเศษฤทธิ์ สภาสถาปนิก

วสท. จับมือ 2 องค์กรวิชาชีพ ออก BIM Standard เป็นครั้งแรกในไทย

ดร.ทศพร กล่าวว่า ล่าสุดประเทศไทยได้มีการออก BIM Standard ซึ่งจะเป็นมาตรฐานกลางที่สามารถใช้ท�ำงานร่วมกับ องค์กรต่างๆ และต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้ ความร่วมมือของ 3 องค์กร ได้แก่ วสท. สภาวิศวกร และสภา สถาปนิก ซึง่ ร่วมมือกันตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2560 มีการฝึกอบรมวิศวกร เพื่อให้ความรู้ด้าน BIM ภายในงานสัปดาห์วิศวกรรมแห่งชาติ 2560 ในปี พ.ศ. 2561 ได้มีการพูดคุยกับมาเลเซีย สิงคโปร์ และ เวียดนาม เพื่อมา Implement ด้าน BIM โดยวสท.ร่วมกับ สภาวิศวกร จัดมาตรฐาน BIM Standard และ BIM Application 1 เล่มพร้อมกันนี้ วสท.ได้ร่วมกับสภาสถาปนิกจัดฝึกอบรม บุคลากรทางด้าน BIM ประมาณ 3,000 คน ในอนาคต BIM จะมีบทบาทส�ำคัญในอุตสาหกรรมก่อสร้าง เนือ่ งจาก BIM ช่วยให้สามารถวางโครงสร้างพืน้ ฐาน ซึง่ จะช่วยให้ เกิดการบริหารจัดการเมืองแบบ Smart City ได้ง่ายขึ้น เนื่องจาก มีข้อมูลของเมืองในรูปแบบ Digital สามารถน�ำไปใช้กับการ วิเคราะห์ บริหารจัดการเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ กรรมการ สภาวิศวกร

ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)

Engineering Today November - December

2019

56


“สิง่ ทีส่ ำ� คัญของ Smart City คือ เทคโนโลยีและการวางแผน โดย BIM ท�ำให้สามารถแก้ไขข้อมูลเพื่อแลกเปลี่ยน ใช้เป็นเครื่อง มือในการพัฒนา Smart City ร่วมกับกระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจ และสังคม อยากเสนอให้ BIM Standard ประเทศไทย เป็นวาระ แห่งชาติ โดยให้ท่านประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ลงนาม ความเข้าใจ (MOU) แผน BIM แห่งชาติ เหมือนประเทศเวียดนาม ที่นายกรัฐมนตรีลงนามแผน BIM แห่งชาติด้วยตนเอง ท�ำให้ เวียดนามล�้ำหน้าไปมาก” ดร.ทศพร กล่าว

อยากเสนอให้ BIM Standard ประเทศไทย เป็นวาระแห่งชาติ โดยให้ ท่านประยุทธ์ จันทร์ โอชา นายกรัฐมนตรี ลงนาม ความเข้าใจ (MOU) แผน BIM แห่งชาติ เหมือนประเทศ เวียดนามที่นายกรัฐมนตรี ลงนามแผน BIM แห่งชาติ ด้วยตนเอง ท�ำให้เวียดนาม ล�้ำหน้าไปมาก

คณะท�ำงานได้ออกแบบ Roadmap ของ BIM ในไทย ผลักดันการจัดท�ำมาตรฐาน BIM ในไทย ทรงพล ยมนาค ประธานคณะท�ำงาน BIM สภาสถาปนิก กล่าวว่า ทางคณะท�ำงานได้มีการออกแบบ Roadmap ของ BIM ในประเทศไทยว่าควรเป็นอย่างไร จากความร่วมมือของสภา วิชาชีพเกิดผลงานหลายด้าน โดยเฉพาะการจัดท�ำมาตรฐาน BIM ในประเทศไทย เพื่อให้ผู้ประกอบวิชาชีพได้ใช้ประโยชน์ พร้อมทั้ง ฝึกอบรมบุคลากรให้ความรู้ด้าน BIM ซึ่ง วสท.ได้เตรียมความ พร้อมและพัฒนาคุณภาพบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถใน เรื่องนี้ ในส่วนของภาคการศึกษา จะต้องพัฒนาในด้านนี้อีกมาก เป็นเนื้องานจะเกิดในการท�ำงานในปีนี้ “ส�ำหรับโครงการขนาดใหญ่ทใี่ ช้ระบบ BIM ได้แก่ โครงการ ONE Bangkok ดุสิตธานีใหม่ Bangkok Mall ซึ่งเป็นอาคารสูง ที่สุดในไทย รวมทั้ง บมจ. พฤกษา เรียลเอสเตท ที่ใช้ BIM ออกแบบบ้าน ในการพัฒนา BIM ทั่วประเทศ ภาครัฐจะต้องเป็น แม่งานใหญ่ ปัจจุบนั อุตสาหกรรมออกแบบก่อสร้างมีมลู ค่าสูงมาก ท�ำอย่างไรจะให้บุคลากรในอุตสาหกรรมนี้ท�ำงานทั้งในประเทศ และออกไปท�ำงานต่างประเทศได้” ทรงพล กล่าว

ไทยขาดบุคลากรด้าน BIM รัฐยังไม่สนับสนุนเต็มที่ ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรม ไม่ ได้ทำ� งานทางด้านนี้จริงจัง วิจิตร ศิลาวิเศษฤทธิ์ สภาสถาปนิก กล่าวว่า BIM หรือ Building Information Modeling เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ถูกพัฒนา ขึ้นส�ำหรับวงการก่อสร้าง เป็นกระบวนการตั้งแต่การเริ่มต้นของ อาคารจนครบวงจรชีวติ ของอาคาร (Life Cycle) เริม่ ตัง้ แต่การวาง โจทย์โครงการ, ออกแบบแนวคิดโครงการ, การออกแบบอาคาร หรือโครงสร้างด้วยแบบจ�ำลอง 3 มิติ โดยสามารถสร้างแบบจ�ำลอง เสมือนจริงในคอมพิวเตอร์ รวมไปถึงการค�ำนวณระบุขนาด สเปค จ�ำนวนวัสดุ เหล่านี้จะส่งผลดีต่อสถาปนิกและวิศวกรผู้ออกแบบ ทุกฝ่าย ทั้งงานโครงสร้าง งานสถาปัตยกรรม งานระบบ สามารถ ท� ำ งานบนโมเดลเดี ยวกั น ได้ ท� ำ ให้ ป ระสานงานระหว่ า งที ม

ออกแบบและบริ ห ารต้ น ทุ น โครงการได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มากขึ้น ตลอดกระบวนการตั้งแต่ออกแบบจ�ำลองแบบอาคาร 3 มิติ ทดสอบ และก่อสร้าง แม้กระทั่งอาคารหมดอายุ สามารถ สร้างอาคารให้มีคุณภาพหากมีการเก็บข้อมูลต่างๆ ไว้ ปัจจุบัน มีบริษัทชั้นน�ำในวงการก่อสร้างใช้ระบบ BIM ค่อนข้างมาก เนื่องจากช่วยลดเวลา ปัญหา และลดค่าใช้จ่าย ท�ำให้การอนุมัติ เร็วขึ้น อย่างไรก็ตาม ปัญหาในอุตสาหกรรมก่อสร้าง คือ ขาด บุคลากรทางด้าน BIM อีกทั้งผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมยังไม่ท�ำงาน ทางด้านนี้อย่างจริงจัง เนื่องจากภาครัฐยังไม่สนับสนุนเต็มที่

ชี้วิศวกรกว่า 240,000 คน ต้องได้รับการส่งเสริม ด้าน BIM เพื่อเป็นเครื่องมือส�ำคัญในการแข่งขัน กิ ต ติ พ งษ์ วี ร ะโพธิ์ ป ระสิ ท ธิ์ กรรมการ สภาวิ ศ วกร กล่าวว่า อุตสาหกรรมไทยมีแนวโน้มการเติบโตเพิ่มขึ้น มูลค่า ก่อสร้างในภาครัฐในปี พ.ศ. 2561 มีมลู ค่ากว่า 1.2 ล้านล้านบาท และคาดว่าจะมีมูลค่า 1.3 ล้านล้านบาทในปี พ.ศ. 2562

57

Engineering Today November - December

2019


(สัดส่วนปี พ.ศ. 2561 เป็นงานก่อสร้างภาครัฐ 53% และ งานก่อสร้างภาคเอกชน 47%) เติบโตเฉลี่ย 3-5% โดยศูนย์วิจัย กรุ ง ศรี ค าดว่ า มู ล ค่ า การลงทุ น อุ ต สาหกรรมก่ อ สร้ า งโดยรวม ในปี พ.ศ. 2562, ปี พ.ศ. 2563 และปี พ.ศ. 2564 จะเติบโต 3.5-5.0%, 5-7% และ 7.5-9.5% ตามล�ำดับ ผลจากการเร่ง ลงทุนโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐและการลงทุนก่อสร้างภาค เอกชนที่ ค าดว่ า จะเติ บ โตต่ อ เนื่ อ งตามความเชื่ อ มั่ น ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น นอกจากนี้ ปริมาณงานก่อสร้างในกลุม่ ประเทศเพือ่ นบ้าน CLMV (กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา และเวียดนาม) ระยะ 3 ปีข้างหน้า มีแนวโน้มขยายตัวเช่นเดียวกัน ปัจจุบันเทคโนโลยีของไทยที่ยังล้าหลังตามประเทศอื่นๆ ไม่ทัน คือ BIM ส�ำหรับผู้ประกอบการก่อสร้าง 80,000 ราย มีทงั้ บริษทั ขนาดใหญ่และเล็ก บริษทั ใหญ่เติบโตแต่บริษทั เล็กตาม ไม่ทัน เพราะต้องใช้เงินลงทุนสูง ในส่วนวิศวกรกว่า 240,000 คน จะต้องได้รับการส่งเสริมองค์ความรู้ในเรื่องนี้ เนื่องจาก สภาวิศวกรมองว่า BIM เป็นเครื่องมือส�ำคัญในการแข่งขัน จึงได้ ร่วมมือกับ วสท.และสภาสถาปนิกในการท�ำมาตรฐาน BIM ดังนี้ คือ 1. เปลีย่ นแปลงไปสูก่ ารท�ำงานเพือ่ เพิม่ คุณภาพ 2. สร้างทัศนะ ใหม่เพื่อขีดความสามารถและยกระดับวิศวกรไทยในการแข่งขัน ในสากล 3. ใช้เทคโนโลยีในวิชาชีพอย่างเหมาะสม 4. วิธีการ ท�ำงานบนมาตรฐานที่เป็นสากล 5. กระบวนการท�ำงานที่ใช้ ข้อมูลเชือ่ มโยงด้วยเทคโนโลยี และ 6. น�ำไปสูป่ ระโยชน์รว่ มกันใน ระบบฐานข้อมูลทีโ่ ปร่งใส ขณะนีส้ ภาวิศวกรก�ำลังก่อสร้างอาคาร ใหม่ทโี่ ชคชัย 4 ซึง่ เป็นอาคารทีล่ ำ�้ สมัยและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม มีการออกแบบ ก่อสร้าง และบ�ำรุงรักษาโดยระบบ BIM

วสท.แนะเปิดหลักสูตร BIM ในสาขาวิศวกรรมโยธา ในมหาวิทยาลัย เดินหน้าร่วมมือกับมหาวิทยาลัย ในการพัฒนาหลักสูตร BIM ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) กล่าวว่า ปัจจุบันผู้ประกอบการ สถาปนิก และวิศวกรต่างใช้ BIM จากประเทศต่างๆ โดยทีย่ งั ไม่มี BIM Standard ของประเทศไทย ทั้ง 3 องค์กรจึงจับมือพัฒนา BIM Standard เป็นครั้งแรกของประเทศไทย ซึ่งส่งผลดีและเกิด ประโยชน์ต่อประเทศไทยหลายด้าน คือ 1. ส่งเสริมศักยภาพใน การแข่งขันของอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย เพื่อสร้างรายได้แก่ ประเทศ 2. เป็นมาตรฐานกลางทัง้ ทางด้านโปรแกรม และผูใ้ ช้งาน และแนวทางการเลือกใช้งาน BIM สามารถส่งต่อข้อมูลข้าม ประเทศได้อย่างสอดคล้องกันกับมาตรฐานของนานาประเทศ

Engineering Today November - December

2019

58

3. เสริมสร้างความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในการก่อสร้างและ สถาปัตยกรรมท�ำให้วิศวกร สถาปนิก และบุคลากรในวิชาชีพ พัฒนาเรียนรู้ก้าวทันโลก 4. ยกระดับ ความก้าวหน้าในการ ประกอบวิชาชีพด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี 5. ส่งเสริมการ พัฒนานวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ใหม่ในอุตสาหกรรมก่อสร้าง และ 6. ส่งเสริมคุณภาพและประสิทธิภาพของอุตสาหกรรม ก่อสร้าง ที่ถูกต้องแม่นย�ำและโปร่งใสด้วยธรรมาภิบาล ส�ำหรับ BIM มีการพูดถึงประมาณ 3-4 ปีทผี่ า่ นมา ปัจจุบนั มีหลายบริษัท 3 หน่วยงานได้ร่วมกันออกมาตรฐานฉบับที่ 2 โดยค�ำนึงถึง Competency ส�ำหรับวิศวกร ส่วนมาตรฐาน BIM Standard ซึ่ง 3 หน่วยงานร่วมกันพัฒนาเช่นกัน คาดว่าจะแล้ว เสร็จในปลายปี พ.ศ. 2563 ที่ผ่านมา วสท.ได้จัดฝึกอบรมให้ ความรูด้ า้ น BIM แต่ปจั จุบนั มีวศิ วกรทีเ่ ชีย่ วชาญด้าน BIM ไม่มาก ทั้งนี้เห็นควรที่จะเปิดหลักสูตร BIM ในสาขาวิศวกรรมโยธา ในมหาวิทยาลัย ซึ่งปัจจุบันได้มีการยืดหยุ่นให้มหาวิทยาลัย สามารถเปิดหลักสูตรได้ ในเบื้องต้น วสท.ได้มีการพูดคุยกับ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ซึ่งเป็นพันธมิตร รวมถึงมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จ.เชียงใหม่ ที่จัดอบรมวิชาเลือก ระบบ BIM พร้อมทั้งมีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยของภาครัฐ ในการพัฒนาหลักสูตร BIM โอกาสต่อไป

3 องค์กรชั้นน�ำ เสนอให้รัฐบรรจุแผนพัฒนา BIM แห่งชาติ ไว้ ในแผน Digital และ Thailand 4.0 ทั้งนี้ 3 องค์กรชั้นน�ำ ได้เสนอให้รัฐบาลบรรจุแผนพัฒนา BIM แห่งชาติ ไว้ในแผน Digital และ Thailand 4.0 เนื่องจาก เวียดนาม ล�้ำหน้าไทยไปไกลเพราะนายกรัฐมนตรีเวียดนามมี วิสัยทัศน์ ในการผลักดันและลงนามแผน BIM แห่งชาติด้วย ตนเอง โดย BIM จะเชื่ อ มต่ อ ท� ำ ให้ เ กิ ด Smart City ที่ มี ประสิทธิภาพ และยกระดับการพัฒนาประเทศและก่อสร้างไทย เป็น Digital Construction แข่งขันได้ในเวทีสากล พร้อมกันนี้ รัฐบาลควรเร่งพัฒนาบุคลากรด้าน BIM ใน 2 กลุ่ม คือ 1. บรรจุ เข้าหลักสูตรมหาวิทยาลัย 2. Reskill คนท�ำงานให้อัพเดทกับ เทคโนโลยี BIM ในส่วนของกรมโยธาธิการและผังเมือง ควรส่งเสริมการ พัฒนาและใช้ Thailand BIM Standard เพื่อเป็นมาตรฐาน กลางของประเทศไทย ผู้ประกอบการและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง สามารถน�ำไปเป็นแนวทางหรือประยุกต์ใช้ให้เหมาะกับธุรกิจ หรือภารกิจของกรมฯ ซึ่งจะช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ต้องจ่าย ค่าเช่าโมดูล BIM ต่างประเทศต่อปีในราคาสูง


Construction • กองบรรณาธิการ

คณะวิศวฯ มหิดล ร่วมกับ สวทช.

ดร.ชยธรรม์ พรหมศร รองผู้อ�ำนวยการ สนข. รักษาการแทนผู้อ�ำนวยการ สนข.

นคร จันทศร ที่ปรึกษาผู้อำ� นวยการ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

ผศ. ดร.วศพร เตชะพีรพานิช หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ผ่าแผนการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีศาลายา (TOD) รองรับรถไฟฟ้าสายสีแดงส่วนต่อขยาย ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยการ สนับสนุนจากส�ำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยมหิดล และ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดงานเสวนา “ผ่าแผนการพัฒนาพื้นที่รอบสถานี ศาลายาและสถานีธรรมศาสตร์รองรับรถไฟฟ้าสายสีแดง” เปิดแผนพัฒนาพื้นที่ เศรษฐกิจใหม่ ในเส้นทางโครงการรถไฟฟ้าสายสีแดง (ส่วนต่อขยาย) ตลิง่ ชัน-ศาลายา และรังสิต-ธรรมศาสตร์ มูลค่า 16,772 ล้านบาท พร้อมศึกษาแนวทางการพัฒนาพืน้ ที่ และการเชื่อมต่อระบบคมนาคม พัฒนาเมือง เพื่อรองรับการขยายตัวของชุมชนเมือง และเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน รองรับรถไฟฟ้าสายสีแดง

>> มติ ครม. เห็นชอบโครงการก่อสร้างรถไฟชานเมืองส่วนต่อขยาย สายสีแดงอ่อนและสายสีแดงเข้ม 2 โครงการ

จากมติ ครม.เมื่อต้นปี พ.ศ. 2562 เห็นชอบโครงการก่อสร้างรถไฟชานเมือง ส่วนต่อขยายสายสีแดง 2 โครงการ วงเงินลงทุนส่วนต่อขยายรวม 16,772.58 ล้านบาท ซึง่ จะเป็นรถไฟฟ้าวิง่ บนรางขนาด 1 เมตร เดินรถด้วยระบบไฟฟ้า Overhead Feeding System วิ่งด้วยความเร็วสูงสุด 160 กม./ชม. เมื่อแล้วเสร็จจะเติมเต็มโครง ข่ายของสายสีแดงช่วงบางซื่อ-รังสิต และบางซื่อ-ตลิ่งชัน ซึ่งจะเปิดให้บริการภายใน เดือนมกราคม 2564 ท�ำให้การเดินทางเชื่อมต่อในกลางกรุงเทพฯ กับชานเมืองด้าน ทิศเหนือ ไปยังพื้นที่ จ.ปทุมธานี และตะวันตกไปยัง จ.นครปฐม สะดวกและรวดเร็ว ยิ่งขึ้น โดยมีสถานีกลางบางซื่อเป็นจุดเชื่อมต่อ ในส่วนต่อขยายสายสีแดง 2 โครงการ แบ่งเป็น สายสีแดงอ่อน ช่วงตลิ่งชันศาลายา ระยะทาง 14.8 กม. วงเงิน 10,202.18 ล้านบาท ประกอบด้วยการสร้าง สถานีเพิ่ม 4 สถานี ได้แก่ สถานีฉิมพลี สถานีกาญจนาภิเษก สถานีศาลาธรรมสพน์

59

Engineering Today November - December

2019


และสถานีศาลายา และสายสีแดงเข้ม ช่วงรังสิต-มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระยะ ทาง 8.84 กม. วงเงิน 6,570.40 ล้านบาท มีการก่อสร้างสถานีเพิ่ม 4 สถานี ได้แก่ สถานีคลองหนึ่ง สถานีเชียงรากน้อย สถานี มหาวิทยาลัยกรุงเทพที่สร้างเพิ่มใหม่ และ สถานีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

>> แนะคนเปลี่ยนจากการใช้ถนนเป็น Public Transport เน้นขนส่งระหว่างเมืองโดยรางคู่

ดร.ชยธรรม์ พรหมศร รองผู้อ�ำนวย การส�ำนักงานนโยบายและแผนการขนส่ง และจราจร (สนข.) รักษาการแทนผู้อ�ำนวย การ สนข. กล่าวว่า ปัญหาในเมือง ไม่ว่าจะ เป็ น กรุ ง เทพมหานคร และปริ ม ณฑล คื อ รถติด และมลพิษ ความสะดวกสบายในการ เดินทางไปที่ท�ำงานและกลับบ้าน เนื่องจาก

ปริมาณถนนในกรุงเทพฯ มีปริมาณจ�ำกัด ประกอบกับนโยบายสร้างทางด่วนสายแรก ก่อนรถไฟ เน้นการขนส่งทางรถยนต์ ซึ่งสามารถส่งแบบ Door to Door ได้ แต่ท�ำให้ ต้นทุนด้านโลจิสติกส์สูง ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการแข่งขันลดลง อย่างไรก็ตาม สนข.ได้วางยุทธศาสตร์ 20 ปี เน้น 3 เรื่องหลัก และปัจจัยเสริม เริ่มจาก 1. Efficient Transport ในเมือง ให้คนเปลี่ยนจากการใช้ถนนเป็น Public Transport ส่วนการขนส่งระหว่างเมือง ต้องเปลี่ยนจากรถบรรทุกเป็นราง ซึ่งสร้าง ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ราว 4,000 กม. เป็นรางเดี่ยว ไม่สามารถควบคุมระบบให้ขนส่ง ได้ จึงต้องวางรางคู่ 2. Green & Safe Transport การใช้ระบบราง แก้ปญ ั หาสิง่ แวดล้อม ได้ และ 3. Inclusive Transport นโยบายไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง โดยออกแบบให้เป็น Universal Design เพื่อใช้กับคนทุกๆ กลุ่ม รัฐบาลมีนโยบายจัดสร้างโครงการรถไฟฟ้า 10 สาย รวมระยะทางทั้งสิ้น 464 กม. ขณะนี้ก่อสร้างไปแล้ว 125 กม. คิดเป็น 25% ของทั้งหมด ได้แก่ สายสีน�้ำเงิน เขียว ม่วง และแดง ขณะนี้อยู่ในระหว่างการก่อสร้างอีก 170 กม. ได้แก่ สายสีชมพู เหลือง น�้ำเงินส่วนต่อขยาย เขียว และส้ม นับจากนี้ไปจะทยอยเปิดทุกปี ปีละ 20 กม. โดยปี นี้ เ ปิ ด สายสี น�้ ำ เงิ น ให้ ค รบ Loop ทั้ ง นี้ คาดว่ า จะเปิ ด ให้ บ ริ ก ารรถไฟฟ้ า ครบทั้ง 10 สายใน ปี พ.ศ. 2572 หรืออีก 10 ปีข้างหน้า ส�ำหรับสายสีน�้ำเงิน และสายสีม่วง เป็นเส้นทางจากเหนือ-ใต้ ขณะที่สายสีส้มเส้นทางมีนบุรี-ศิริราช จะ Cross จากฝั่งตะวันออกมายังตะวันตก

>> องค์ประกอบที่ส�ำคัญของการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟ (TOD)

การพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟ (TOD : Transit Oriented Development ) ให้เป็นพื้นที่เศรษฐกิจ ซึ่งช่วยสร้างมูลค่ารายได้เพิ่ม และเสริมศักยภาพการพัฒนาเมือง มีองค์ประกอบที่ส�ำคัญ คือ จะต้องไม่มีมลพิษ มีพื้นที่คนเดิน มีพื้นที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้น ในการออกแบบจะต้องหาจุดที่เหมาะสมในแต่ละเมือง มีทางเดินเชื่อมต่อด้วย Feeder เช่น Light Rail Sky Walk สร้างสภาพแวดล้อม มีต้นไม้ มีเลนจักรยานให้ขี่จักรยาน มี Park & Ride มีจุด Drop ที่สถานี และมีจุดเชื่อมต่อ Public Transport ให้ครบถ้วน ในส่วนของสถานีศาลายา ซึ่งอยู่ใกล้คลองมหาสวัสดิ์ สามารถเชื่อมการเดินทางกับเรือและรถไฟฟ้า ทั้งนี้ สนข.ได้พัฒนาสถานี ร่วมกับโรงพยาบาลศิริราช เชื่อมกับท่าเรือบางกอกน้อย ซึ่งเป็นต้นแบบร่วมกัน เพี่อให้ประชาชนเดินทางได้สะดวกยิ่งขึ้น

Engineering Today November - December

2019

60


“แนวคิ ด หลั ก ในการผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด TOD ทั่ ว ประเทศ จะต้ อ งตี ก รอบให้ ใ ช้ กฎหมายพิเศษ เพื่อให้คนในท้องถิ่นเจรจา พูดคุยกัน ทั้งนี้ปัจจัยแห่งความส�ำเร็จอยู่ที่ หน่ ว ยงานทุ ก ภาคส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งร่ ว มกั น เริ่ ม ต้ น ที่ อ งค์ ก รปกครองท้ อ งถิ่ น เอกชน นักลงทุน สถาบันการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัย มหิดล และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สุดท้าย อยู่ที่ประชาชน” ดร.ชยธรรม์ กล่าว

>> ชูกลยุทธ์ TOD พัฒนาระบบ ขนส่งสาธารณะให้เป็น Backbone ของระบบขนส่ง

นคร จันทศร ที่ปรึกษาผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) คาดว่าในปี พ.ศ. 2565 หรืออาจจะบวกเวลาอีก 1-2 ปี โครงการ ก่อสร้างสายสีแดงส่วนต่อขยาย สายสีแดง อ่อน ช่วงตลิง่ ชัน-ศาลายา และสายสีแดงเข้ม ช่วงรังสิต-มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ น่าจะ แล้วเสร็จ ในอดีตบริหารการอยูบ่ นรถ ซึง่ ในความ เป็นจริงจะต้องบริหารการขนส่งคน ถ้าไม่ออก จากวงจรดังกล่าว แต่ใช้วิธีขยายถนนแทน รถ ก็จะติดขึ้นเรื่อยๆ เนื่องจากรถ 1 คัน ใช้พื้นที่ 15 ตร.ม. หากรถวิ่งด้วยความเร็ว ด้วยพื้นที่ เท่ากัน รถ 1 คัน ขนคนได้ 1.5-1.7 คน ขณะ ทีร่ ถไฟขนคนได้ 40-50 คน เฉลีย่ 5 คน/ตร.ม. ปัจจุบันหากคนเราเดินทางเกิน 1.5 ชม. จะ เริ่มหงุดหงิด ดังนั้นจึงมีการพูดถึงระบบหลัก Feeder เวลาใช้เดินทางและการรอ รวมทัง้ จุด เชื่อมต่อ Connectivity กันมาก ด้วยเหตุนี้ จึงมีการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะให้เป็น แกนหลั ก (Backbone) ของระบบขนส่ ง เพื่อเพิ่มสัดส่วนการใช้ระบบขนส่งสาธารณะ และลดสั ด ส่ ว นการใช้ ร ถยนต์ ส ่ ว นบุ ค คล ท� ำ ให้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพการใช้ พ ลั ง งานสู ง กว่ า ประสิทธิภาพการใช้ที่ดินสูงกว่า เป็นมิตร ต่อสภาพแวดล้อมมากกว่า ปลอดภัยกว่า และ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต โดยใช้ ก ลยุ ท ธ์ ก าร พั ฒนาพื้ น ที่ ร อบสถานีร ถไฟ (TOD) เพื่อ กิจกรรม Work, Live and Play ค�ำนึงถึงความ สะดวกในการเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะ

โดยเฉพาะการเดินเท้า ความสะดวกในการเชื่อมต่อระบบการเดินทาง ความรวดเร็ว ในการเดินทางเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ประหยัดค่าใช้จ่ายเมื่อ เปรียบเทียบกับการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล

>> นักวิจัยมหิดลแนะพัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานีศาลายา 2 ระยะ

ผศ. ดร.วศพร เตชะพีรพานิช หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งวิจัยศึกษาการพัฒนาพื้นที่รอบสถานี ศาลายา (TOD) กล่าวว่า สถานีศาลายาอยู่ใกล้สถานีสีแดงอ่อน สามารถเชื่อมต่อได้ ทั้งระบบล้อ ราง และเรือ ทางถนน กรมทางหลวงมีโครงการต่อขยายถนนยกระดับ เชื่อมต่อ 3 เฟส ข้ามแม่น�้ำนครชัยศรี วงแหวนรอบนอก 3 พุทธมณฑลสาย 5 ส่วน กรมทางหลวงชนบท มีโครงการถนนศาลายา-นครอินทร์ และโครงการสะพานและ อุโมงค์จดุ ตัดรถไฟศาลายา ทางราง มีโครงการสายสีแดงอ่อนของ รฟท. และโครงการ รถไฟความเร็วสูง ซึ่งเป็นทางผ่าน และทางเรือทะลุผ่านไปทางคลองบางกอกน้อย โครงการวิจัยฯ ได้จัดเวทีรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4 ครั้ง จากผลการศึกษาและวิจัยพื้นที่รอบสถานีศาลายาเพื่อรองรับโครงการรถไฟฟ้าสาย สีแดงพบว่า ในอนาคตต�ำบลศาลายามีแนวโน้มที่จะมีประชากรและผู้สัญจรเพิ่ม มากขึ้น โดยมีจ�ำนวนประชากรใน 4 ชุมชนรอบ TOD ราว 2,000 คน เพื่อให้เกิดการ เชือ่ มต่อกันด้านคมนาคม และการบูรณาการพืน้ ทีใ่ ห้เป็นประโยชน์ จึงมีแผนการศึกษา พัฒนาและด�ำเนินการ 3 โครงการ โครงการแรก การศึกษาแนวทางการพัฒนาพื้นที่ โดยรอบสถานีขนส่งมวลชน (Study of Transit-Oriented Development) โดย ด�ำเนินการศึกษาข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน ข้อมูลประชากรและพื้นที่ การออกแบบ พื้นที่ ตามเกณฑ์ TOD Standard 4 หมวด คือ การเดิน, จักรยาน, การเชื่อมต่อ และ ระบบขนส่งรอบสถานีขนส่งมวลชน โดยผลการศึกษาได้เสนอแนะการพัฒนาพืน้ ทีโ่ ดย รอบสถานีใน 2 ระยะ (ตามแผนที่) ดังนี้

ระยะที่ 1 (ก่อนการประกวดราคารถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน) มหาวิทยาลัยมหิดล จัดท�ำทางข้าม ทางเดิน และทางจักรยานพร้อมที่จอด เชื่อมจากมหาวิทยาลัยมายัง สถานีศาลายา เทศบาลต�ำบลศาลายา ร่วมกับกรมทางหลวงชนบทและ สภ.พุทธมณฑล รวมจุดเชื่อมต่อรถโดยสารสาธารณะให้อยู่บริเวณด้านหน้าสถานี และปรับปรุง ป้ายรถโดยสารประจ�ำทาง และจัดท�ำจุดจอด รับ-ส่งผู้โดยสารรถตู้สาธารณะ

61

Engineering Today November - December

2019


กรมทางหลวง และกรมทางหลวง ชนบท ปรับปรุงทางเท้าและป้าย บนถนนหลัก ถนนพุทธมณฑลสาย 4 และถนน 3004 และ เทศบาลต�ำบลศาลายา ปรับปรุงทางเท้าและ ทางจักรยานในพื้นที่สถานีให้ได้มาตรฐาน ส�ำหรับคนทุกวัย และสร้างทางเดินระยะทาง 1 กม. ขนาดกว้าง 3 เมตร และทางจักรยาน ริมคลองมหาสวัสดิ์ “ระยะที่ 1 ทางเดินถนนริมคลอง ถนน หมายเลข 4006 และ 3310 สามารถท�ำได้ ทันที ให้เป็น Univer Design ไม่ต้องรอสถานี

ศาลายา โดยมีข้อเสนอ คือ 1. ทางเดินเท้า และทางจักรยาน 2. เชื่อมต่อกับถนน เลียบคลองทวีวัฒนาให้เป็น Connectivity ดีขึ้น 3. เสนอท�ำพื้นที่สีแดง ซึ่งรับผิดชอบ โดยส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ให้ใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ทั้งบล็อก และ ควรมีคณะกรรมการพืน้ ทีร่ ว่ มกัน เช่น รฟท. และเทศบาล เพือ่ ตรวจสอบว่าได้กอ่ สร้าง ตามแบบ” ผศ. ดร.วศพร กล่าว ด้วยสถานีศาลายา เป็นโครงการยกระดับ ในส่วนของพื้นที่ด้านล่างใต้สถานี มีพื้นที่ด้านข้าง ข้างละ 1.5 กม. ซึ่ง รฟท.ออกแบบให้เป็นที่จอดรถ โดยพยายาม ผลั ก ดั น ให้ ที่ จ อดรถขยั บ ออกมา แล้ ว จั ด ท� ำ พื้ น ที่ ดั ง กล่ า วให้ มี ส ภาพแวดล้ อ ม สร้างสรรค์ มีสถานทีอ่ อกก�ำลังกาย พืน้ ทีเ่ ด็กเล่น พืน้ ทีจ่ อดรถจักรยาน รองรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งมีนักศึกษานับหมื่นคน มีทางเดินจักรยานเชื่อมต่อกับระบบ ขนส่งสาธารณะ

>> พัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานีศาลายา ระยะที่ 2

ระยะที่ 2 (หลังการประกวดราคาก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน) กรมทางหลวงชนบท ปรับปรุงการเชื่อมต่อถนน ทล 4006 กับถนนเลียบทางรถไฟ รวมทั้งติดตั้งสัญญาณไฟจราจร การรถไฟแห่งประเทศไทย ปรับปรุงพื้นที่ด้านหน้าสถานี ให้เป็นพื้นที่สีเขียว มีทางเดินร่มเงา มีลานกิจกรรม รวมถึงปรับปรุงแนวพื้นทีด่ า้ นข้างสถานีเป็นที่จอดรถและพื้นทีพ่ าณิชยกรรม จัดท�ำทางข้ามด้านหน้าและ ด้านหลังสถานี เพื่อเชื่อมต่อชุมชนโดยรอบ และจัดท�ำทางกลับรถทั้ง 2 ด้านบนถนนเลียบทางรถไฟเพื่อความคล่องตัวในการจราจร การรถไฟแห่งประเทศไทย ร่วมกับกรุงเทพมหานคร เพิม่ โครงข่ายทางถนนทีเ่ ชือ่ มต่อระหว่างถนนทวีวฒ ั นาและถนนเลียบทางรถไฟ ส่วนส�ำนักงานทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย์ และเทศบาลต�ำบลศาลายา ได้ปรับปรุงทางเข้าหลักของสถานีรถไฟ ให้เป็นเส้นทางการเดิน และทางจักรยาน และเป็นพื้นที่เชิงพาณิชย์ โดยส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ปรับปรุงการใช้พื้นที่ให้เป็นพื้นที่พาณิชยกรรม

Engineering Today November - December

2019

62


เพื่ อ ส่ ง เสริ ม เศรษฐกิ จ ในพื้ น ที่ นอกจากนี้ ส�ำนักงานทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย์ และ กรมทางหลวง ได้เพิ่มโครงข่ายการเดินรถ เชื่อมต่อถนนพุทธมณฑลสาย 4 เข้าสู่ถนน เลียบทางรถไฟ

>> โครงการที่ 2 ศึกษาแนวทางการ พัฒนาการเดินทางในพื้นที่ชานเมือง โดยใช้ระบบขนส่ง

โครงการที่ 2 ศึ ก ษาแนวทางการ พั ฒ นาการเดิ น ทางในพื้ น ที่ ช านเมื อ งโดย ใช้ ร ะบบขนส่ ง สาธารณะ (Enhancing Suburban Mobility Using Public Transportation) โดยศึกษาพฤติกรรมของ ผู ้ สั ญ จรผ่ า นเขตพื้ น ที่ ต� ำ บลศาลายา และ ศึกษาถึงการจัดการระบบขนส่งสาธารณะใน พื้นที่ ในมุมมองผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รวมถึง ศึกษาและวิเคราะห์ความสามารถของระบบ ขนส่ ง สาธารณะในต� ำ บลศาลายา ดั ง นี้ 1. พัฒนาจุดเชื่อมต่อรถสาธารณะ โดยพื้นที่ ที่เหมาะสมต่อการพัฒนา คือ พื้นที่ซึ่งอยู่ติด กับเขตสถานีรถไฟศาลายาด้านทิศใต้ ซึ่งเป็น พื้นที่ของส�ำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหา กษั ต ริ ย ์ สามารถเข้ า -ออกได้ ส ะดวกทั้ ง 2 ทิศทาง 2. ปรับปรุงการให้ขอ้ มูลการเดินรถ เพือ่ ให้ผโู้ ดยสารเข้าใจได้งา่ ยและสามารถใช้ได้ ทั้ ง แบบออฟไลน์ แ ละออนไลน์ โดยคณะ ผูว้ จิ ยั ฯ ได้ออกแบบแผนผังเส้นทางการเดินรถ สาธารณะในบริ เ วณพื้ น ที่ ศ าลายาไว้ แ ล้ ว 3. ปรับปรุงโครงสร้างในการให้สมั ปทานและ การบริหารจัดการการเดินรถสาธารณะ เพื่อ ตัดวงจรป้อนกลับเชิงลบ โดยคณะผู้วิจัยฯ

เสนอให้มีการสนับสนุนในรูปแบบเงินทุน ภาษี หรือปัจจัยในการด�ำเนินการอื่นๆ และ 4. ออกนโยบายส่งเสริมการใช้รถสาธารณะที่เป็นรูปธรรม ท�ำให้ผู้ใช้เห็นว่ารถ สาธารณะ เป็นทางเลือกที่ดีกว่าและมีค่าใช้จ่ายถูกกว่ารถส่วนตัว โดยจะเพิ่มความถี่ ในการเดินรถสาธารณะ จัดการเดินรถให้มตี ารางทีแ่ น่นอน รวมถึงการปรับปรุงการให้ บริการ พร้อมพัฒนาเรื่องความสะอาดของที่นั่ง ตลอดจนการขับขี่ของพนักงานขับรถ และความเย็นสบาย

>> โครงการที่ 3 ศึกษาแนวทางการพัฒนาเส้นทางสัญจร ปราศจากสิ่งกีดขวาง สู่ระบบรางของชุมชน

โครงการที่ 3 ศึกษาแนวทางการพัฒนาเส้นทางสัญจรปราศจากสิ่งกีดขวางสู่ ระบบรางของชุมชน (The Barrier-Free Railway Feeder Pathway For Community Development) สภาพพื้นที่ศาลายาถูกแบ่งออกเป็น 2 ฝั่ง โดยแนวเส้นทาง รถไฟสายใต้ ซึง่ การพัฒนาโครงข่ายถนนและการใช้ประโยชน์ทดี่ นิ ของทัง้ 2 ฝัง่ มีความ แตกต่างกัน ส่งผลให้บางพื้นที่มีข้อจ�ำกัดด้านการเดินทาง และขาดการเชื่อมต่อกับ การคมนาคมภายนอก ผลการศึกษาได้เสนอแนะแนวทาง ดังนี้ 1. แผนการพัฒนาเส้นทางสัญจรพืน้ ที่ ศาลายา การส�ำรวจพืน้ ที่ แบ่งเป็น 3 ระยะ เริม่ จากการด�ำเนินงานระยะสัน้ (เร่งด่วน) ปรับปรุงเส้นทางน�ำร่องมุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ตามตัวชี้วัด Mobility ระยะกลาง ปรับปรุงโครงข่ายเส้นทางพืน้ ฐานเชือ่ มต่อทัง้ หมด เน้นการพัฒนาโครงสร้าง พืน้ ฐานตามตัวชีว้ ดั Mobility ระยะยาว ปรับปรุงโครงข่ายเชือ่ มต่อระดับชุมชนทัง้ หมด และพั ฒนาโครงสร้ า งพื้ น ฐานโดยมุ ่ ง เน้ น การพั ฒนาตามตั ว ชี้ วั ด Mobility และ Attractiveness 2. จ�ำกัดจ�ำนวนรถบรรทุกทีว่ งิ่ ผ่านพืน้ ที่ โดยเปลีย่ นเส้นทางรถบรรทุก ให้ใช้เส้นทางพุทธมณฑลสาย 5 เป็นหลัก และจ�ำกัดเวลาการเข้าพื้นที่ของรถบรรทุก ซึง่ แนวคิดนีย้ งั ต้องการความร่วมมือจากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในพืน้ ที่ 3. การปรับปรุง ตัวชี้วัดให้เหมาะสมกับพื้นที่ศึกษา น�ำแนวคิดหน่วยงานการคมนาคมขนส่งแบบ ไร้เครื่องยนต์ (Non-Motorizes Transportation) ส�ำนักงานการจัดการทางหลวงแห่ง ชาติ (The Federal Highway Administration: FHWA) จากสหรัฐอเมริกามาท�ำการ ปรับปรุงตัวชีว้ ดั ความครบถ้วนของทางเท้าและถนนให้เหมาะสมกับพืน้ ที่ และคัดเลือก จัดท�ำรายการตรวจเช็คสภาพเส้นทางสัญจรในพืน้ ที่ ได้แก่ จ�ำนวนสิง่ กีดขวางทางสัญจร ชัว่ คราว, ความสะอาด, ความสวยงาม, ความสะดวกและความปลอดภัยของทางสัญจร, ความง่ายในการเข้าถึงพื้นที่, อุปสรรคทางลาดชันและทางต่างระดับ เป็นต้น

63

Engineering Today November - December

2019


Property • กองบรรณาธิการ

เน็ ก ซั ส เผยตลาดอาคาร

ส�ำนักงานเกรด A ใน กทม.สดใส

คาดทยอยเปิด 13 โครงการ อีก 2 ปีข้างหน้า เน็กซัสส�ำรวจ 12 เดือนที่ผ่านมา ตลาดอาคาร ส�ำนักงานเกรด A ในกรุงเทพฯ ทยอยเปิดไปแล้ว 5 อาคาร ส่งผลให้มีพื้นที่เช่าอาคารส�ำนักงานเกรด A จากเดิม 2.34 ล้านตารางเมตร ปัจจุบันเพิ่มขึ้นเป็น 2.53 ล้าน ตารางเมตร ส่วนค่าเช่าปัจจุบันเฉลี่ยอยู่ที่ 1,025 บาท/ ตารางเมตร/เดือน เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วถึง 7% คาด ผู้ประกอบการจะทยอยเปิดอีก 13 โครงการภายใน 2 ปี ข้ า งหน้ า ส่ ง ผลให้ภาวะการแข่งขันของตลาดอาคาร ส�ำนักงานคึกคักยิ่งขึ้น ซึ่งส่งผลดีต่อผู้เช่าอย่างแน่นอน แนะเจ้ า ของอาคารเก่ า ควรปรั บ ตั ว ทั้ ง การบริ ก าร สาธารณู ป โภคภายใน การปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ ใ ห้ ทั น สมั ย และการดูแลผู้เช่าให้ได้มาตรฐานยิ่งขึ้น ธีระวิทย์ ลิ้มทองสกุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท เน็กซัส เรียลเอสเตท แอ็ดไวเซอรี่ จ�ำกัด กล่าวว่า ตั้งแต่ อดีตจนถึงไตรมาส 3 ของปี พ.ศ. 2561 กรุงเทพฯ ชั้นใน และชั้นกลาง มีพื้นที่ส�ำนักงานเกรด A ประมาณ 2.34 ล้านตารางเมตร และนับตั้งแต่ไตรมาส 3 ของปี 2561 จนถึงปัจจุบัน มีอาคารส�ำนักงานเกรด A ใหม่ ทยอยเปิด ตั ว เพิ่ ม ขึ้ น อี ก 5 อาคาร หรื อ คิ ด เป็ น พื้ น ที่ เ ช่ า เกื อ บ 200,000 ตารางเมตร เพิม่ ขึน้ เกือบ 10% จากปีกอ่ น และ จะยังทยอยเปิดเพิ่มอย่างต่อเนื่องอีก 13 อาคาร ใน 2 ปี ข้างหน้า หรือคิดเป็นพื้นที่เช่าเกือบ 350,000 ตารางเมตร

Engineering Today November - December

2019

ธีระวิทย์ ลิ้มทองสกุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท เน็กซัส เรียลเอสเตท แอ็ดไวเซอรี่ จ�ำกัด

64


ส�ำหรับอาคารส�ำนักงานเกรด A ทีเ่ ปิดตัวไปในรอบปีทผี่ า่ น มา (ตุลาคม 2561-กันยายน 2562) ทั้งสิ้น 5 อาคาร ได้แก่ สิงห์ คอมเพล็กซ์ (Singha Complex), 101 แอท ทรู ดิจิทัล พาร์ค (101@True Digital Park), ที-วัน (T-ONE), เอ็มเอส สยาม (MS Siam) และสามย่านมิตรทาวน์ (Samyan Mitrtown) การเปิดตัวของทั้ง 5 โครงการ นับเป็นอาคารส�ำนักงานที่เข้ามา เติมเต็มความต้องการของผูเ้ ช่า ทัง้ เรือ่ งการเดินทาง และไลฟ์สไตล์ การใช้ชีวิตในปัจจุบัน เนื่องจากทุกโครงการล้วนตั้งอยู่บนสุดยอด ของท�ำเลที่เป็นไข่แดง และศูนย์กลางแหล่งธุรกิจของกรุงเทพฯ

แทบทั้งสิ้น อีกทั้งหลายอาคารยังเชื่อมต่อไปยังสถานีรถไฟฟ้า BTS/MRT อีกด้วย ทั้งนี้ การเพิ่มขึ้นของซัพพลายใหม่ ไม่ส่งผลต่อตลาด มากนัก โดยอัตราการเช่าลดลงเพียง 1% จาก 96% ในปีที่แล้ว เหลืออยู่ที่ 95% ในไตรมาสนี้ นั่นหมายความว่าความต้องการ อาคารส�ำนักงานเกรด A ยังคงมีอยู่มาก และในส่วนของราคา ค่าเช่าเฉลี่ยขยับขึ้นถึง 7% มาอยู่ที่ 1,025 บาท/ตารางเมตร/ เดือน จากเดิมอยู่ที่ 960 บาท/ตารางเมตร/เดือน เมื่อเทียบกับ ช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว

65

Engineering Today November - December

2019


ธีระวิทย์ กล่าวว่า ในอีก 2 ปีข้างหน้า คาดว่าจะมีอาคาร ส�ำนักเกรด A สร้างเสร็จและพร้อมเปิดใช้งานได้อกี 10-13 อาคาร อาทิ เดอะ พาร์ค (The PARQ), สีลม เซ็นเตอร์ (Silom Center), สยาม สเคป (Siam Scape) และ โอ-เนส ทาวเวอร์ (O-NES Tower) ซึง่ อาคารเหล่านีจ้ ะท�ำให้มพี นื้ ทีเ่ ช่าเข้ามาในตลาดเพิม่ ขึน้ อีกเกือบ 350,000 ตารางเมตร โดยคาดว่าพื้นที่เช่าอาคาร ส�ำนักงานเกรด A จะเพิ่มมากขึ้นถึง 1 ล้านตารางเมตร ในอีก 5 ปีข้างหน้า “จากข้อมูลทั้งหมดที่ท�ำการส�ำรวจมาสรุปได้ว่า ตลาด อาคารส�ำนักงานให้เช่าเกรด A ในกรุงเทพฯ ยังมีความต้องการ อีกมาก การเข้ามาของซัพพลายใหม่ๆ ท�ำให้ตลาดมีสีสันมาก ยิ่งขึ้น หลังจากที่ตลาดอาคารส�ำนักงานให้เช่าเกรด A มีอยู่อย่าง จ�ำกัดมากว่า 20 ปีแล้ว การเปิดอาคารส�ำนักงานเพิม่ มากขึน้ ท�ำให้ ผูเ้ ช่ามีทางเลือกมากยิง่ ขึน้ ทัง้ ทางเลือกด้านท�ำเล สิง่ อ�ำนวยความ สะดวก รวมไปถึงการให้บริการภายในอาคาร และยิง่ ส่งผลดีอย่าง มากกับกลุ่มผู้เช่าที่เป็นต่างชาติ (Multi-National Corporation หรือ MNC) เนื่องจากลูกค้ากลุ่มนี้ เป็นบริษัทข้ามชาติที่เข้ามาใน ไทย ซึ่งต้องค�ำนึงถึงภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร การเช่าอาคาร ส�ำนักงานเกรด A ใหม่ ๆ ที่สวยงาม อยู่บนท�ำเลทอง จะเป็นการ เสริมภาพลักษณ์ที่ดีให้กับลูกค้าหรือคู่ค้าของบริษัทนั้นๆ ได้เป็น อย่างดี การเพิม่ ขึน้ ของซัพพลายใหม่อย่างรวดเร็วนี้ ส่งผลให้ตลาด ตื่นตัวมากขึ้นและท�ำให้เจ้าของอาคารเดิม ต้องหันมาใส่ใจกับ

Engineering Today November - December

2019

66

อาคารของตนเองให้มาก ซึง่ ก็ถอื เป็นก�ำไรของผูบ้ ริโภค” ธีระวิทย์ กล่าว การพัฒนาโครงการเพื่อตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์และความ ต้องการของผูบ้ ริโภค ถือเป็นความท้าทายอย่างมาก เนือ่ งจากการ พัฒนาโครงการนั้น คือการคิดสร้างวันนี้เพื่อขายพื้นที่วันหน้า โดยเฉพาะโครงการขนาดใหญ่ที่ต้องใช้เวลาอย่างน้อย 2 ปีใน การพัฒนา ในประเด็นนี้ ธีระวิทย์ กล่าวว่า จึงต้องอาศัยการ มองตลาดที่เฉียบขาดและท�ำเลทองของโครงการ ตัวอย่างเช่น โครงการล่าสุดของปีนี้ คือ สามย่านมิตรทาวน์ ซึ่งโครงการนี้เป็น อีกหนึ่งโครงการที่ตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคได้อย่าง ครบถ้วน ชูจุดเด่น “Smart & Eco Friendly” และเป็นโครงการ มิกซ์ยูสที่มีทั้งอาคาร ส�ำนักงาน คอนโดมิเนียม โรงแรม และ ศูนย์การค้า มีระบบสาธารณูปโภคครบครัน ส่วนที่เป็นอาคาร ส�ำนักงานเกรด A หรือ มิตรทาวน์ ออฟฟิศ ทาวเวอร์ สูง 31 ชั้น มีพื้นที่เช่ามากถึง 48,000 ตารางเมตร ตั้งอยู่ใจกลางเมืองบน สีแ่ ยกพระราม 4-พญาไท เดินทางสะดวกจากการลงทุนท�ำอุโมงค์ เชื่อมรถไฟฟ้าใต้ดินสถานีสามย่าน เพื่ออ�ำนวยความสะดวกแก่ ผู้ใช้บริการ ซึ่งเป็นการพัฒนาโครงการที่ตอบโจทย์ความต้องการ และเข้าใจถึงไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคอย่างแท้จริง โดยคาดว่า มิตรทาวน์ ออฟฟิศ ทาวเวอร์ จะเป็นอาคารส�ำนักงานที่มีอัตรา การเช่า 100% ในเร็วๆ นี้



Project Management • ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล dr.pornchai.ong@gmail.com

Harvard Business Review :

Digital Transformation

Is Not About Technology

วิ วั ฒ นาการของโลกมนุ ษ ย์ นั้ น มี ก ารเปลี่ ย นแปลง เกิดขึน้ มากมายนับพันปี แต่มเี หตุการณ์สำ� คัญทีเ่ กิดการ เปลี่ยนแปลงความเป็นอยู่ของมวลมนุษยชาติที่ส�ำคัญ อันเกิดจากการใช้ปัญญาในการค้นคิดและพัฒนาจน สามารถเปลี่ยนแปลงน�ำความคิดและสิ่งประดิษฐ์มา สร้างฐานเศรษฐกิจใหม่ ดังเช่นการค้นพบพลังงานจากไอ น�้ำและสร้างสิ่งประดิษฐ์เครื่องจักรกลไอน�้ำท�ำให้เกิด อุ ต สาหกรรมในยุ ค แรกที่ มี ก ารใช้ เ ครื่ อ งจั ก รกลไอน�้ ำ เป็นพลังในการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมและเป็นความ เปลี่ยนแปลงโฉมหน้าโลกสู่ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม ซึ่งใน ยุคดังกล่าวยังมีการค้นพบพลังงานไฟฟ้าและสามารถ ผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อการใช้งานแทนพลังงานกลต่างๆ ซึ่ ง กระแสไฟฟ้ า ที่ ส ามารถผลิ ต ได้ เ ป็ น รู ป แบบไฟฟ้ า กระแสสลับ (Alternative Current : AC) และไฟฟ้า กระแสตรง (Direct Current : DC) และมีการใช้ระบบ ควบคุมและสือ่ สารในรูปแบบกระแสสลับ (Analog) เป็น ผลให้เกิดการสื่อสารในรูปแบบโทรศัพท์ ตลอดจนการ สร้างเครื่องบันเทิงทั้งภาพและเสียงในระบบ Analog อย่างเช่นเครื่องเล่นเทปแบบพกพา (Sony Walkman)

Engineering Today November - December

2019

68

แต่การพัฒนาของเทคโนโลยีเข้าสู่ยุค Digitization ซึ่งเป็น กระบวนการเปลี่ยนแปลงข้อมูลจาก Analog โดยสัญญาณที่ เป็นคลื่นแบบ Fundamental Wave Form และต่อมาได้มีการ พัฒนาสัญญาณคลื่นรับส่งเป็นข้อมูล Digital โดยสัญญาณเป็น คลื่นแบบ Binary Code ระบบเลขฐานสองในรหัส 0-1 แทน ซึ่งง่ายต่อการพัฒนาทั้งด้าน Software และ Hardware ในระบบ Computer ระบบประมวลผลด้วย Microprocessor การเก็บ ข้อมูลในรูปแบบ Information Technology และฐานข้อมูล ขนาดใหญ่ (Big Data) ซึ่งถือเป็นจุดเริ่มต้นของพื้นฐานการน�ำ ข้อมูลดิจิทัลไปใช้ประโยชน์ในระบบ Digitalization จึงเป็นการ ปรับเปลี่ยนกระบวนการหรือวิธีการท�ำงานที่น�ำเทคโนโลยีดิจิทัล เข้ามาช่วยการพัฒนาระบบการท�ำระบบอัตโนมัติในกระบวนการ ต่ า งการพั ฒ นา Computer และการพั ฒ นาการสื่ อ สาร (Communication) เป็นต้น เป็นผลให้เกิดการสือ่ สารระบบไร้สาย ผ่านเครือข่ายบนโทรศัพท์มือถือ การเก็บข้อมูลใส่ Hardware ที่เป็น Memory ขนาดเล็กแต่สามารถเก็บข้อมูลได้มาก ดังเช่น iPod ที่เป็นเครื่องฟังเพลงแบบพกพาขนาดเล็กที่สามารถบรรจุ เพลงได้นับพันเพลง Digital จึงมีผลส�ำคัญต่อการด�ำเนินธุรกิจ ในโลกยุคปัจจุบันอย่างแท้จริงและต่อเนื่อง


จากบทความยอดนิ ย มบนเว็ บ ไซต์ Harvard Business Review เรื่อง Digital Transformation Is Not About Technology ลงวันที่ 13 มีนาคม 2562 ได้สื่อ ความหมายที่ส�ำคัญของค�ำว่า Digital ซึ่งเป็นความหมาย ของค�ำว่าเทคโนโลยี แต่มีข้อแตกต่างของค�ำว่า Digital Transformation มีความหมายที่สื่อถึงการเปลี่ยนแปลง แนวความคิดทางการบริหารผนวกเข้ากับการน�ำเทคโนโลยี มาใช้ในธุรกิจในยุคดิจิทัล ตั้งแต่การวางรากฐานในเชิงกล ยุ ท ธ์ การสร้ า งยุ ท ธศาสตร์ ข องความส� ำ เร็ จ การวาง เป้าหมาย ไปจนถึงการด�ำเนินธุรกิจเพื่อให้ส่งต่อคุณค่าให้ แก่ผู้บริโภค เป็นการเปลี่ยนแปลง Transformation ที่ไม่ เพียงแต่ภาคการปฏิบัติการ แต่จะต้องมีการเปลี่ยนแปลง ครั้งใหญ่เท่านั้นในกระบวนการด�ำเนินการ ไม่เฉพาะการ ลงทุนด้าน Digitalization ในเทคโนโลยีเท่านั้น แต่สิ่งนี้ รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงด้านวัฒนธรรมที่องค์กรและ บุคลากรทุกภาคส่วน ตั้งแต่ผู้บริหารไปจนถึงพนักงาน ต�ำแหน่งล่างสุดจะต้องมีส่วนร่วมในการปรับตัวไปสู่ยุค Digital Transformation นีด้ ว้ ย ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ เพิม่ ศักยภาพให้ องค์กรสามารถแข่งขันในยุคทีม่ กี ารต่อสูก้ นั อย่างดุเดือดได้ และสามารถท�ำให้องค์กรประสบความส�ำเร็จในเชิงธุรกิจ เราจึงต้องมาท�ำความเข้าใจกับค�ำว่า Digital Transformation ให้ดีเพื่อเป็นแนวทางในการวางแผนงานและการปฏิบัติ

Digital Transformation Is Not About Technology จากบทความยอดนิยมบนเว็บไซต์ Harvard Business Review เรื่อง Digital Transformation Is Not About Technology ลงวันที่ 13 มีนาคม 2562 ได้สะท้อน มุมมองทีท่ ำ� ให้การเปลีย่ นผ่านสูด่ จิ ทิ ลั ในหลายองค์กรทีไ่ ม่ ประสบความส�ำเร็จเพราะมีแนวความคิดในเรือ่ งการลงทุน ไปกับเทคโนโลยีด้านดิจิทัลมากแต่ไม่ได้ปรับทัศนคติของ พนักงานในความเข้าใจของค�ำว่า Digital Transformation จะเรียกว่าเกิดความหลงทางในการลงทุนที่อาจไม่เกิด ประโยชน์มากนัก จากการส�ำรวจข้อมูลจากผูบ้ ริหารระดับ สูงในหลายองค์กรทั่วโลก โดย North Carolina State University ในงานวิจยั กลับพบว่า Digital Transformation

เป็นความเสี่ยงและความท้าทายสูงสุดขององค์กรในปี 2019 อันเนื่องมาจากมีโอกาสที่จะล้มเหลวสูงมาก โดยเฉพาะองค์กร ขนาดใหญ่และเก่าแก่จะมีความกังวลในเรื่องนี้มากกว่าองค์กร ขนาดเล็กที่เกิดขึ้นมาใหม่ จากการส�ำรวจยังพบว่า เกือบ 70% ของเม็ดเงินที่ลงทุนไปกับ Digital Transformation นั้นเกิดความ สูญเปล่า จึ ง เป็ น เรื่ อ งที่ น ่ า คิ ด ว่ า อะไรเป็ น สิ่ ง ที่ ท� ำ ให้ Digital Transformation ประสบความส� ำ เร็ จ Harvard Business Review เรื่ อ ง Digital Transformation Is Not About Technology จึงเสนอเรื่องดังกล่าวและวางแนวทางการปฏิบัติ เพิ่มเติมในการท�ำความเข้าใจว่า Digital Transformation จะมี ความแตกต่ า งจาก Digitalization ซึ่ ง เป็ น การเปลี่ ย นระบบ สั ญ ญาณทางเทคโนโลยี ที่ ส ามารถพั ฒ นาให้ เ กิ ด Function การท�ำงาน การควบคุม การเก็บข้อมูล โดยเป็นการเปลี่ยน เทคโนโลยีในระบบ Digital แต่ Digital Transformation เป็น การเปลี่ยนวิธีคิด สร้างรูปแบบทางธุรกิจและกลยุทธ์ใหม่ๆ ที่ให้ ความส� ำ คั ญ กั บ พฤติ ก รรมของลู ก ค้ า โดยการน� ำ เทคโนโลยี ดิจิทัลมาใช้ประโยชน์ ผู้บริหารบางคนอาจจะเข้าใจว่า Digital Transformation คือการท�ำโครงการปรับปรุงแบบ Digitalization หลายๆ โครงการทีม่ าสนับสนุนหน่วยธุรกิจ ซึง่ ถือเป็นความเข้าใจ ที่ผิดพลาด เพราะนั่นคือการปรับปรุงกระบวนการที่มีอยู่เดิม ไม่ได้สร้างโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ แบบที่ Digital Transformation ต้องการ บทความนี้จึงน�ำเสนอแนวคิดเพื่อให้เกิดทัศนคติของ คนในองค์กรต่อการเปลี่ยนแปลง และการด�ำเนินการของฝ่าย บริหารในการน�ำ Digital Transformation มาใช้งานที่อาจมอง ข้ามบางประเด็นไป โดยถอด 5 บทเรียนที่จะช่วยเปลี่ยนองค์กร ด้วย Digital Transformation ให้ประสบความส�ำเร็จ ดังต่อไปนี้

Lesson 1: Figure out your business strategy before you invest in anything. จั ด ท� ำ แผนกลยุ ท ธ์ ท างธุ ร กิ จ ให้ เ ห็ น ชั ด เจนก่ อ นในระดั บ แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ซึ่งการวางแผนกลยุทธ์ทาง ธุรกิจ (Strategic Business Plan) เราจะเห็นภาพของวิสัยทัศน์ (Vision) ขององค์กร พันธกิจ (Mission) เป้าหมาย (Goal) และ แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ซึ่งจะสามารถวิเคราะห์ได้ ซึ่ง การลงทุนในการน�ำเทคโนโลยีมาใช้งานว่าจะลงทุนกับเรื่องใดๆ

69

Engineering Today November - December

2019


โดยส่วนมากแล้วผู้บริหารองค์กรจะมีแนวคิดถึงจุดที่ ต้องปรับปรุงและเทคโนโลยีดิจิทัลที่จะเอามาใช้ในใจอยู่ แล้ว จนบางครัง้ ท�ำให้ขาดการมองภาพรวมและเปิดใจกับ แนวทางอื่นๆ การท�ำ Digital Transformation นั้น ต้อง เกิดจากการมองธุรกิจในภาพกว้างแล้วจึงก�ำหนดกลยุทธ์ ที่ ชั ด เจน จากนั้ น จึ ง พิ จ ารณาเทคโนโลยี ต ่ า งๆ มาใช้ ประกอบกันอย่างเหมาะสม จ�ำไว้ว่าไม่มีเทคโนโลยีใด เทคโนโลยีหนึ่งที่จะท�ำให้องค์กรบรรลุกลยุทธ์ที่ตั้งไว้ได้ ส�ำเร็จหากยังไม่เข้าใจว่าเราต้องการอะไร

ดังนั้นการส�ำรวจ การสอบถามและการสัมภาษณ์ลูกค้าในเชิงลึก จะช่วยให้ทราบความต้องการและปัญหาต่างๆ ที่ลูกค้าพบเจอใน การใช้บริการ การปรับปรุงแบบ In-Side-Out หรือองค์กรคิดวิธี การต่างๆ ขึ้นมาเองจะไม่สามารถตอบโจทย์ลูกค้าได้ตรงจุด ที่ส�ำคัญในเรื่องนี้ การเข้าใจลูกค้าและได้ท�ำการวิจัยเพื่อให้ได้ Solution แล้ว ยังไม่ถือว่าส�ำเร็จ การทดลองใช้จริงและผลตอบ สนองที่มาปรับปรุงให้ได้ผลดีที่สุด คือความพึงพอใจของลูกค้า และการบอกต่อๆ กันเองของลูกค้าที่มาใช้บริการ ต้องนับว่าเป็น เสียงจากพระเจ้าจริงๆ ทางธุรกิจ

Lesson 2: Leverage Insiders.

Lesson 4: Recognize Employees’ Fear of Being Replaced.

สร้างพลังผลักดันการเปลีย่ นแปลงด้วยบุคลากรภายใน องค์กร องค์กรส่วนมากจะน�ำเอาทีมทีป่ รึกษาจากภายนอก ทีม่ าพร้อมกับแนวปฏิบตั ติ ามทีแ่ ต่ละส�ำนักออกแบบเอาไว้ มาใช้ในการปรับเปลี่ยนองค์กรในรูปแบบการฝึกอบรมทั้ง การใช้งานระบบนั้น แต่ก็ควรระลึกเสมอว่าไม่ได้มีวิธีการ ใดที่จะแก้ปัญหาได้ทุกเรื่อง องค์กรควรให้ความส�ำคัญกับ การสร้างคนในองค์กรที่มีความรู้และประสบการณ์ในงาน ที่ท�ำเป็นประจ�ำ ดึงเข้ามามีส่วนร่วมกับโครงการในการ เสนอความคิ ด เห็ นว่ า วิ ธี ก ารใดที่ ใ ช่ ห รื อ ไม่ ใ ช่ กั บ การ ปรับปรุง รวมทั้งให้เห็นความส�ำคัญของหน่วยงานแต่ละ หน่วยในแผนปฏิบัติการ และต้องใช้การสร้างพลังผลักดัน ที่เรียกว่า Motive จากภายในบุคลากรเอง และพลังผลัก ดันที่เกิดจากแรงจูงใจ Motivation ค�ำว่า Leverage Insiders จึงเป็นความหมายของการสร้างคนเพื่อรองรับ ระบบที่ น� ำ มาใช้ ใ ห้ ไ ด้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ซึ่ ง ขอใช้ ค� ำ ว่ า In-Side-Out พลังจากภายใน

Lesson 3: Design Customer Experience from the Outside In. จากปรั ช ญาของ ซุ น วู ที่ ก ล่ า วว่ า รู ้ เ ขา รู ้ เ รา รบร้ อ ยครั้ ง ชนะร้ อ ยครั้ ง นั้ น เป็ น หนึ่ ง ในกลยุ ท ธ์ ที่ ดี Design Customer Experience from the Outside In จึ ง เป็ น การน� ำ ความต้ อ งการของลู ก ค้ า มาสร้ า งสรรค์ ประสบการณ์ให้ลูกค้าจาก Out-Side-In เป้าหมายของ Digital Transformation คื อ การปรั บ ปรุ ง เพื่ อ สร้ า ง ประสบการณ์ที่เพิ่มความพึงพอใจและเอาใจใส่กับลูกค้า

Engineering Today November - December

2019

70

โดยปกติแล้วการในชีวิตการท�ำงานของทุกคนมักไม่ชอบการ เปลี่ยนแปลง พฤติกรรมที่เขาเหล่านั้นเลือกมาท�ำงาน ณ จุดนี้ ย่อมชอบในระบบนั้นๆ และการท�ำงานรูปแบบนั้น เมื่อพนักงาน รู้ว่าองค์กรจะมุ่งสู่ Digital Transformation ย่อมท�ำให้เกิดการ คาดเดาและกังวลกับความไม่แน่นอน Recognize Employees’ Fear of Being Replaced การสร้างการความยอมรับและขจัด ความกังวลของพนักงานต่อการเปลีย่ นแปลง ความกลัวโดยเฉพาะ ความมัน่ คงในอาชีพทีง่ านอาจถูกเทคโนโลยีเข้ามาแทนที่ ผูบ้ ริหาร จะต้องใส่ใจกับความกังวลเหล่านี้ เพราะถ้าปล่อยไว้จะท�ำให้กลาย เป็นแรงต้านในระยะต่อต้าน (Resistance Stage) จน Digital Transformation ต้องหยุดชะงัก เพราะตกเป็นจ�ำเลยของความ กังวล ผูบ้ ริหารควรท�ำให้พนักงานเห็นโอกาสของการเปลีย่ นแปลง การพัฒนาทักษะ และความเป็นมืออาชีพที่ทุกคนมีส่วนในการ พัฒนาองค์กรไปสู่อนาคต สิ่งที่ดีที่สุดของการแก้ไขความกลัวคือ การให้พนักงานรู้และเข้าใจในหน้าที่ที่ต้องท�ำและท�ำให้ดีที่สุด เท่านั้น ในเรื่องอื่นๆ เป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้บริหาร ที่จะน�ำทางให้เกิดความส�ำเร็จ

Lesson 5: Bring Silicon Valley Startup Culture Inside. น�ำวัฒนธรรมแบบ Startup ใน Silicon Valley มาประยุกต์ ใช้ Silicon Valley ถือว่าเป็นผูน้ ำ� ของวงการเทคโนโลยีแล้ว ยังเปิด รับแนวความคิดใหม่ๆ จึงไม่คิดว่ามันมีความจ�ำเป็นต้องไปรอดู งานจากประเทศไหนหรือจากใคร หากมีใครท�ำผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ และมีศักยภาพออกมา แล้วเขาพิจารณาแล้วว่ามีโอกาสส�ำเร็จได้


เป็นคนแรกๆ โอกาสก็พร้อมจะเปิดและมีลงทุนด้วยทันที นั้นคือการตัดสินใจที่คล่องตัว การพัฒนาที่รวดเร็ว และ โครงสร้างองค์กรที่ไม่เทอะทะ คือวัฒนธรรมการท�ำงาน ของกลุ่ม Startup ใน Silico Valley ที่ประสบความส�ำเร็จ จาก Digital Transformation เพราะการน�ำเทคโนโลยี ดิจิทัลต่างๆ มาใช้ในการปรับเปลี่ยนส่วนมากจะเป็น ลักษณะการทดลองกับไอเดียใหม่ๆ และแก้ไขปัญหาทีเ่ กิด ขึน้ เฉพาะหน้าอย่างรวดเร็ว ซึง่ ต้องอาศัยการตัดสินใจจาก ผู้เกี่ยวข้องอย่างทันควัน องค์กรที่ไม่เทอะทะจะช่วยท�ำให้ วิธีการท�ำงานแบบนี้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งองค์กรควร สร้างทีมหรือหน่วยงานที่มีวัฒนธรรมการท�ำงานแบบนี้ แยกออกมาจากโครงสร้างตามปกติขององค์กร การสร้าง วัฒนธรรมภายในที่เปิดโอกาสให้กับการน�ำเสนอแนวทาง ใหม่ๆ และมีช่องทางในการน�ำเสนอ การเคารพในความ คิดเห็น การรับข้อเสนอและการเปิดโอกาสจึงเป็นสิง่ ส�ำคัญ ในการ Bring Silicon Valley Startup Culture Inside. ตัวอย่างเช่น Steve Jobs ได้น�ำเสนอผลงานชิ้นแรกและมี การเห็นความส�ำคัญของผลงาน จนมีค�ำสั่งซื้อ Apple I จ�ำนวนหนึ่ง และเกิดการพัฒนาจนสามารถท�ำให้ Apple เป็นที่โด่งดังใน Apple II จนเป็นบริษัทที่ยิ่งใหญ่ได้นั้นเกิด จากเวทีที่เปิดอกาสในการน�ำเสนอแนวคิด เครื่องมือ และ การท�ำงาน การท�ำ Digital Transformation ในภาคธุรกิจ ส่วน มากเกิดขึน้ กับบริษทั เดิมทีก่ ำ� ลังประสบปัญหา หรือเล็งเห็น ว่ า ปั ญ หาก� ำ ลั ง จะเกิ ด นั่ น เป็ น Approach แรก ใน Approach ต่ อมาซึ่งธุร กิจเกิดใหม่ใ นยุค Startup ที่ Disrupt ธุรกิจเดิม หรือธุรกิจที่ก้าวเข้าสู่โลกดิจิทัลและ พัฒนาตัวเองด้วยความ เข้าใจลูกค้า และ เข้าใจคู่ค้า ก็ได้ใช้แนวคิดการสร้างธุร กิจในยุคดิจิทัล ก็ใช้แนวคิด Digital Transformation ได้เช่นกัน ส่งผลให้องค์กรเกิด แนวคิดที่จะท�ำเรื่อง Digital Transformation แต่ปัญหา หลักคือ เมื่อลงทุนไปแล้วกลับพบว่า ไม่ท�ำให้ธุรกิจดีขึ้น ซ�ำ้ ร้ายบางองค์กร พบว่า เทคโนโลยีไอทีทลี่ งทุนไปไม่ได้ใช้ งานให้คุ้มค่า ความไม่สำ� เร็จของ Digital Transformation มาจากผู้บริหารเข้าใจผิดคิดว่า เป็นเรื่องของเทคโนโลยี จึงมอบภารกิจให้แผนกไอที ทั้งที่แท้จริงแล้วเป็นเรื่อง เปลี่ยนแปลง (Transformation) ดังนั้น จึงควรให้ความ

ส� ำ คั ญ ต่ อ กลยุ ท ธ์ อ งค์ ก รให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลง ค� ำ นึ ง ถึ ง เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล มากกว่ า มุ ่ ง น� ำ เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ต่ า งๆ มา ติ ด ตั้ ง ในองค์ ก ร ซึ่ ง องค์ ก รต้ อ งเข้ า ใจความแตกต่ า งระหว่ า ง Digitization และ Digitalization ซึง่ เป็นการลงทุนระบบเทคโนโลยี ดิจิทัล เช่น การจัดหาระบบคอมพิวเตอร์, การจัดท�ำ ERP, CRM, การเก็บข้อมูลขึ้นระบบคลาวด์ หรือการแปลงข้อมูลต่างๆ ในองค์กรให้อยู่ในรูปดิจิทัล เหล่านี้เป็นเพียงขั้นตอนการท�ำ Digitization แต่สำ� หรับ Digitalization คือ การน�ำเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ใหม่ๆ เข้ามาแล้วท�ำให้กระบวนการท�ำงานเปลี่ยนไป ท�ำงาน มีประสิทธิภาพขึ้น ข้อส�ำคัญคือ Customer Experience, Customer Journey เปลี่ยนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ซึ่ง Digital Transformation คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการท�ำ Digitalization นั่นเอง บทความใน Harvard Business Review เรื่อง Digital Transformation Is Not About Technology จึงน�ำเสนอแนวคิดเพื่อน�ำมาใช้ได้ อย่างถูกต้อง โดยกระบวนการ Digital Transformation มิใช่ เฉพาะ 5 แนวทางที่นำ� เสนอ เราควรศึกษาและเข้าใจในความ หมายของ Digital Transformation แต่ 5 แนวทางคือการก�ำกับ และพึงสังวรว่าต้องระวังมิให้เดินทางผิดทางการบริหารจนเกิด ความเสียหายในการลงทุนด้าน Digital และเสียเวลาการด�ำเนิน ธุรกิจมากไปกับเทคโนโลยี

สื่อออนไลน์ Digital Transformation Is Not About Technology (ออนไลน์) : Harvard Business Review แหล่งที่มา https://hbr.org/2019/03/digitaltransformation-is-not-about-technology 5 องค์ประกอบหลักในการท�ำ Digital Transformation ให้ส�ำเร็จ! (ออนไลน์) : Digital Transformation Forum 2019 แหล่งที่มา https://tma.or.th/2016/news_detail. php?id=388 Digital Transformation is NOW ทลายขีดจ�ำกัดทาง ธุรกิจด้วยกลยุทธ์ดิจิทัล (ออนไลน์) : แหล่งที่มา https://www.techtalkthai.com/ digital-transformation-is-now-by-g-able/

71

Engineering Today November - December

2019


Environment • สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล

ฯพณฯ เปียร์ก้า ตาปิโอลา เอกอัครราชทูตสหภาพยุโรปประจ�ำประเทศไทย

ฯพณฯ เกออร์ค ชมิดท์ เอกอัครราชทูตสหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนีประจ�ำประเทศไทย

ประลอง ด�ำรงค์ ไทย อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ

ไทยผนึกก�ำลัง 6 ประเทศ

มุ่งลดขยะพลาสติกในทะเล ประเทศไทยพร้อม 6 ประเทศในเอเชียตะวันออกและตะวันออก เฉียงใต้ สหภาพยุโรป (EU) และรัฐบาลเยอรมนี ประสานความร่วมมือ ในการลดขยะพลาสติกและขยะทะเล ผ่านการเปิดตัว “โครงการส่ง เสริมการใช้เศรษฐกิจหมุนเวียนเพือ่ จัดการปัญหาขยะทะเล” หวังเสริม สร้างความร่วมมือระหว่างสหภาพยุโรปและประเทศต่างๆ ในภูมิภาค ในด้านเศรษฐกิจหมุนเวียน การลดปริมาณขยะพลาสติกและขยะใน ทะเล ตามที่ระบุไว้ในยุทธศาสตร์พลาสติกของสหภาพยุโรป โดยมี ผู้เข้าร่วมงานกว่า 80 ท่านจากภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชา สังคม ณ ห้องประชุมจี ชั้น 1 ศูนย์ประชุมแห่งสหประชาชาติ โครงการฯ ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ 10 ล้านยูโร ประมาณ 336 ล้านบาท จาก EU และกระทรวงเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (BMZ) ด�ำเนินงาน

Engineering Today November - December

2019

72

โดยองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมนี (GIZ) ร่วมกับ Expertise France (EF) โดยมีระยะเวลา ด�ำเนินโครงการทั้งหมด 3 ปี (พฤษภาคม 2562-เมษายน 2565) ฯพณฯ เปียร์ก้า ตาปิโอลา เอกอัครราชทูตสหภาพ ยุโรปประจ�ำประเทศไทย กล่าวว่าปัญหาขยะถือเป็นปัญหา นานาชาติ ทุ ก เดื อ นมี ก ารผลิ ต พลาสติ ก เพิ่ ม ขึ้ น อย่ า ง ต่อเนือ่ ง ท�ำอย่างไรจึงจะจัดการขยะเหล่านีไ้ ด้ เริม่ จากการ ก�ำจัดตั้งแต่ต้นทางไปจนถึงปลายทางคือป้องกันไม่ให้ หลุ ด รอดไปสู ่ ท ะเล ดั ง นั้ น การจั ด การขยะจึ ง เป็ น เรื่ อ ง ของทุกคน นับเป็นโอกาสดีทม่ี โี ครงการนี้ เพือ่ ให้การจัดการ ขยะอย่างเป็นรูปธรรม


ทั้งนี้สหภาพยุโรปให้ความส�ำคัญต่อ Circular Economy โดยใน ปี พ.ศ. 2561 ได้ออกกฎระเบียบเกี่ยวกับ Circular Economy และ ส่งเสริม Circular Economy โดยเฉพาะการผลิตพลาสติกเพื่อให้มีการ ใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน ปกป้องสภาพแวดล้อมและภูมิอากาศ ห้ามใช้ พลาสติกชนิดใช้ครั้งเดียว โดยในปี พ.ศ. 2573 ให้ใช้วัสดุรีไซเคิล 90% ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นในการพยายามผลักดันไปสู่ Circular Economy เพื่อ ให้การจัดการขยะง่ายขึ้น "การจัดการขยะไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ไม่ใช่เรื่องยากจนเกินไป เพราะ ขยะในทะเลลอยจากประเทศหนึ่งไปยังประเทศหนึ่ง ดังนั้นขยะทะเล จึงเป็นความร่วมมือแบบไร้พรมแดน ไม่ได้ท�ำเฉพาะในประเทศ แต่ท�ำ ในประเทศต่างๆ ในอาเซียนและขยายไปประเทศอื่นๆ ทั้งไทย สิงคโปร์ เวียดนาม ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย จีน และญี่ปุ่น เป็นการท�ำงานข้าม พรมแดน ซึ่งจะส่งผลดีต่อระยะยาว” เอกอัครราชทูตสหภาพยุโรป ประจ�ำประเทศไทย กล่าว ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2563 สหภาพยุโรปจะห้ามใช้พลาสติกชนิดใช้ครัง้ เดียว จากตลาด กระตุ้นให้เกิด Circular Economy ในกรุงเทพมหานคร ควรท�ำลักษณะนี้เช่นกัน สิงคโปร์มีนโยบาย Zero Waste มาเลเซีย มีแผนจัดการขยะในปี พ.ศ. 2561-2563 เวียดนามมีแผนจัดการขยะ เช่นกัน ส่วนจีนเน้น Circular Economy มีการลงนามความร่วมมือกับ ประเทศอื่นๆ ขณะที่ญี่ปุ่นมีการน�ำ Circular Economy มาใช้มากขึ้น เรื่อยๆ และใช้ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น “การเลิกใช้พลาสติกชนิดใช้ครัง้ เดียว ท�ำได้โดยปรับเปลีย่ นพฤติกรรม และมีนโยบายเบื้องต้นในการขับเคลื่อนให้ไปในทิศทางเดียวกัน โดยส่ง ต่อความตระหนักจากรุ่นเราไปสู่รุ่นหลาน เพื่อความยั่งยืนในอนาคต” ฯพณฯ เปียร์ก้า กล่าว ส�ำหรับโครงการส่งเสริมการใช้เศรษฐกิจหมุนเวียนเพือ่ จัดการปัญหา ขยะทะเล ถือเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนและการปฏิบัติงานระดับโลก โดยสหภาพยุ โ รปมี ค วามมุ ่ ง มั่ น ที่ จ ะร่ ว มมื อ กั บ ประเทศไทย จี น อินโดนิเซีย ฟิลิปปินส์ เวียดนาม ญี่ปุ่น และสิงคโปร์ในโครงการฯ ด้วยแผนปฏิบตั กิ ารเศรษฐกิจหมุนเวียน และยุทธศาสตร์ยโุ รปเพือ่ จัดการ พลาสติก เราจึงพร้อมก้าวเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงวิธีการออกแบบ การใช้ และการรีไซเคิลบรรจุภัณฑ์พลาสติก และเชื่อมั่นว่าเราสามารถเรียนรู้ ประสบการณ์ของแต่ละประเทศร่วมกัน เพื่อเสริมสร้างก�ำลังความ ร่วมมือในการลดขยะพลาสติกลงสู่ทะเล ด้าน ฯพณฯ เกออร์ค ชมิดท์ เอกอัครราชทูตสหพันธ์สาธารณรัฐ เยอรมนีประจ�ำประเทศไทย กล่าวว่า โครงการนี้พยายามลดขยะ โดยเฉพาะขยะกระจายไปสู่ทะเล ประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคพยายาม แก้ไขปัญหานี้ หลายประเทศร่วมมือกันและสหภาพยุโรปด้วย เพื่อ ปรับเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น ที่ผ่านมามีการประชุม ASEAN Summit ในกรุงเทพฯ จะเห็นได้ว่า ไทยมีความร่วมมือกับสหรัฐอเมริกาและจีน ขณะเดียวกันสหภาพยุโรป มี ค วามส� ำ คั ญ ไม่ น ้ อ ยกว่ า จี น และสหรั ฐ อเมริ ก า ทั้ ง นี้ ส หภาพยุ โ รป มีเทคโนโลยีความก้าวหน้า โดยเฉพาะ Circular Economy อยากให้

73

อาวาโร ซุริตา ผู้อ�ำนวยการโครงการส่งเสริม การใช้เศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อจัดการปัญหาขยะทะเล องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมนี (GIZ)

รั ฐ บาลฉายภาพและโฟกั ส มาที่ ส หภาพยุ โ รปมากขึ้ น นอกจากในเรื่องเศรษฐกิจ เพื่อให้เกิดการพัฒนามากขึ้น ในสหภาพยุโรป เยอรมนีถือเป็นประเทศสมาชิกที่มี ขนาดใหญ่ มีความพยายามจัดการสิง่ แวดล้อม และสภาพ ภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะเห็นความส�ำคัญ ของขยะทะเล ด้วยเหตุนี้จึงมีการออกกฎหมายมากมาย เช่น การจัดการใช้พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว ให้มีการใช้ พลาสติกอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ในปี พ.ศ. 2561 เยอรมนี ล ดการพลาสติ ก ชนิ ด ใช้ ค รั้ ง เดี ย วจาก 45% เหลื อ 20% ในปี พ.ศ. 2562 กระทรวงเศรษฐกิ จ และกระทรวงสิ่งแวดล้อมของเยอรมนีในส่วนของภาคี ฝั่งภาครัฐได้พูดคุยกับผู้ผลิตเพื่อที่จะหากระบวนการที่มี ประสิทธิภาพ ซึง่ ในเยอรมนีทำ� ส�ำเร็จแล้ว แต่ยงั มีจดุ ทีต่ อ้ ง ปรับปรุงเพือ่ ให้กระบวนการผลิตมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ล่าสุดในวันที่ 6 พฤศจิกายนที่ผ่านมา เยอรมนีเริ่มห้ามใช้ พลาสติกชนิดใช้ครั้งเดียวในบางรายการ โดยมีเทคโนโลยี ที่ เ อื้ อ ต่ อ การผลิ ต ในรู ป แบบอื่ น ๆ และเปิ ด โอกาสให้ ผู้ประกอบการที่มีศักยภาพเข้าร่วมโครงการโดยสมัครใจ ส�ำหรับประเทศไทยถือว่าเริ่มต้นและไปได้ไกลในเรื่อง การลดใช้พลาสติกชนิดใช้ครัง้ เดียว แต่อยากให้มกี ารพัฒนา ในเชิงผลผลิตมากขึ้น มีการตระหนักในเรื่องสิ่งแวดล้อม มากขึ้น โดยที่ภาครัฐจะต้องออกกฎระเบียบ และรับฟัง Feedback จากผู้ประกอบการด้วย เพื่อที่จะได้ออกกฎ ระเบี ย บที่ เ อื้ อ ต่ อ การท� ำ ธุ ร กิ จ ดั ง นั้ น การท� ำ งานด้ า น พลาสติกจะต้องท�ำงานร่วมกันหลายฝ่าย พลาสติกเข้าสู่ Food Chain มีการปนเปือ้ น รวมทัง้ การเผาพลาสติก ท�ำให้ เกิดมลพิษทางอากาศ เป็นปัญหาลูกโซ่ เนือ่ งจากทุกอย่าง สัมพันธ์กัน “อย่างไรก็ตาม พลาสติกมีประโยชน์มากมาย ทั้งทาง ด้านยาและทางการแพทย์ รวมทั้งอุตสาหกรรมด้านอื่นๆ จึงพยายามบอกว่า อย่ามองพลาสติกเป็นผูร้ า้ ย แต่ควรใช้ ตามความจ�ำเป็นอย่างเหมาะสมและมีบริหารจัดการใช้ อย่างมีประสิทธิภาพ” ฯพณฯ เกออร์ค กล่าว

Engineering Today November - December

2019


ส�ำหรับโครงการนี้ มีองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของ เยอรมนี (GIZ) เป็นหน่วยงานหลักที่ด�ำเนินการร่วมกับ Expertise France (EF) เน้น Circular Economy ที่มีความเชี่ยวชาญแตกต่างกัน ไปในแต่ละด้าน เนื่องจาก Circular Economy สามารถตีความได้แตก ต่างกัน และท�ำได้หลายบริบท เช่น Green Procurement ในส่วนของ GIZ จัดท�ำ Green Procurement Guideline ซึ่งหลายองค์กรสามารถ น�ำมาปรับใช้ เช่น สถานทูตเยอรมนีก็น�ำมาใช้ตาม Guideline ส่วนขยะ ทะเล จะมีองค์ประกอบ เช่น Co-Financing มีการร่วมทุนจากหลายๆ ส่วน นอกจากงบประมาณยังมีผู้เชี่ยวชาญจากหลายองค์กรให้ความรู้ อีกด้วย “ประเทศเยอรมนีมีความร่วมมือกับประเทศไทยมายาวนานและ ประเทศภาคีอนื่ ๆ รวมทัง้ เรายังสนับสนุนให้มกี ารจัดการขยะอย่างยัง่ ยืน และการน�ำเอาแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนมาปรับใช้ทั่วโลก กิจกรรม ทีก่ ำ� ลังจะเกิดขึน้ จะช่วยส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือมากขึน้ ตามแนวคิด เศรษฐกิจหมุนเวียน เราต้องมุ่งเน้นไปที่การหลีกเลี่ยง การรวบรวม การรีไซเคิลและการทิ้งขยะพลาสติกไปพร้อมกัน แทนที่จะปล่อยขยะ ต่างๆ เหล่านี้ลงสู่ทะเล จุดมุ่งหมายที่ส�ำคัญของเราก็คือ พลาสติกจะ ต้องลดลง ถูกน�ำกลับมาใช้ซ�้ำและรีไซเคิล ภายใต้โครงการส่งเสริมการ ใช้เศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อจัดการปัญหาขยะทะเล เราจะสามารถแก้ไข ปัญหาขยะพลาสติกตามเป้าที่เราวางไว้” เอกอัครราชทูตสหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมนีประจ�ำประเทศไทย กล่าว ด้าน ประลอง ด�ำรงค์ไทย อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ หน่วยงาน ความร่วมมือหลักของโครงการฯ กล่าวว่า บางทีเราลืมว่าเราก็มสี ว่ นการ สร้างขยะ การคิดง่ายแต่ทำ� จริงไม่ใช่เรือ่ งง่าย ท�ำอย่างไรให้ประชาชนคิด ในทางเดียวกัน คนไทย 7 ล้านคนชอบความสะดวกสบาย ในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 ในร้านสะดวกซื้อ 7- eleven และห้างสรรพสินค้า ทั้ง 47 แห่ง จะงดการให้ถุงพลาสติก ซึ่งทั้งหมดนี้คิดเป็น 30% ของถุง พลาสติกหลายล้านใบต่อปี อีก 70% ซึง่ มีจำ� นวนมหาศาล จะท�ำอย่างไร เพื่อลดการใช้ถุงพลาสติกให้ได้มากที่สุด “จุดเริ่มต้นอยู่ที่พวกเราทุกคนจะต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการทาง ความคิด โดยให้ทุกคนมีจุดหมายเดียวกัน คือ การลดขยะสู่สิ่งแวดล้อม รวมทั้งทะเลและมหาสมุทร” อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ กล่าว ในส่ ว นของภาครั ฐ ให้ ค วามส� ำ คั ญ ในเรื่ อ งนี้ ม ากและพยายาม ผลักดันนโยบายออกมาอย่างต่อเนื่อง โดยกรมควบคุมมลพิษได้จัดท�ำ Roadmap การจัดการขยะพลาสติก พ.ศ. 2561-2573 ขึ้น ซึ่งมี เป้าหมายเพื่อส่งเสริมแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนและลดพลาสติกแบบ ใช้ครั้งเดียว และห้ามใช้ Microbead และสารออกโซ (Auxo) เมื่อ พลาสติกย่อยสลายแล้ว จะเป็น Microplastic หรือพลาสติกที่หุ้มฝา พลาสติก รวมทั้งโฟม ส่วนหลอด มีการใช้หลอดกระดาษมากยิ่งขึ้น ค่อยๆ ห้ามไปทีละรายการ ในปี พ.ศ. 2570 จะเลิกใช้พลาสติกที่หนา น้ อ ยกว่ า 36 ไมครอนให้ ไ ด้ 100% ส่ ง ผลให้ ก ารจั ด การขยะมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และร่วมมือกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการผลักดัน นโยบายของ Roadmap ในประเทศไทยเพิ่มเติม

“เราหวังว่าประเทศไทยจะได้รับองค์ความรู้และการ สนับสนุนจากโครงการฯ เพือ่ มาด�ำเนินการกับ Roadmap นี้ซึ่งจะช่วยผลักดันให้ลดการใช้ถุงพลาสติก ในปีหน้าจะ ท� ำ งานร่ ว มกั น กั บ สมาคมอุ ต สาหกรรมพลาสติ ก เพื่ อ ปรับเปลีย่ นกระบวนการผลิตพลาสติก พร้อมทัง้ สร้างความ ตระหนักในระยะยาวว่าคนไทยควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในการใช้พลาสติก นอกจากนี้จะมีการใช้เครื่องมือในการ ลดการใช้ พ ลาสติ ก อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ” อธิ บ ดี ก รม ควบคุมมลพิษ กล่าว อาวาโร ซุริตา ผู้อ�ำนวยการโครงการส่งเสริมการใช้ เศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อจัดการปัญหาขยะทะเล องค์กร ความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมนี (GIZ) ซึ่งเป็น หน่วยงานหลักที่ด�ำเนินการร่วมกับ Expertise France ชี้แจงขอบเขตการด�ำเนินงานของโครงการฯ ว่า โครงการฯ จะให้ค�ำปรึกษาและด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ซึ่งครอบคลุม เรี่องการจัดการขยะพลาสติก การบริโภคและการผลิต พลาสติกอย่างยั่งยืน การลดปริมาณขยะ ณ แหล่งทิ้งขยะ ลงสู่ทะเล ยกตัวอย่างเช่น อุปกรณ์ดักจับสัตว์นำ�้ หรือขยะ ที่มาจากเรือ นอกจากนี้เรายังสนับสนุนโครงการน�ำร่อง เพื่อเผยแพร่แนวทางปฏิบัติที่ดี และเรามีความมุ่งมั่นที่จะ ด�ำเนินงานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม โครงการเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา ในช่วง 6 เดือนแรกของโครงการได้มีการประชุมโครงการ มีการ ระดมความคิด ติดต่อหน่วยงานต่างๆ ศึกษาวิจัยเบื้องต้น และวางแผน Workshop มี ที ม งานในแต่ ล ะประเทศ และมี Expertise Team ที่แยกท�ำงานเฉพาะ มีการเลือก พื้นที่ทำ� Pilot Project ในแต่ละประเทศ “ประเทศต่างๆ ที่เข้าร่วมเริ่มตื่นตัวในการใช้พลาสติก หลายประเทศให้ความส�ำคัญมากขึ้น นับเป็นโอกาสที่ดีใน การตีเหล็กในช่วงไฟก�ำลังร้อน ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมาย Roadmap และ Action Plan ในแต่ละประเทศ เพื่อ ผลักดันให้เป็นไปตามเป้าหมาย อย่างไรก็ตาม หลาย ประเทศยังต้องการองค์ความรู้ และงบประมาณ ซึง่ จะต้อง ศึกษาเพื่อให้การสนับสนุนในโอกาสต่อไป” ผู้อ�ำนวยการ โครงการส่งเสริมการใช้เศรษฐกิจหมุนเวียนฯ GIZ กล่าว การที่ประเทศไทยจะห้ามใช้พลาสติกชนิดใช้ครั้งเดียว ในต้นปีหน้า ในเรื่องนี้ GIZ ได้มีการหารือกับกรมควบคุม มลพิษถึงความพยายามในการหาทางเลือกทดแทนการ ใช้พลาสติก โดยจัด Study Tour ศึกษากระบวนการผลิต เพื่อไม่ให้กระทบต่อการใช้งานของผู้บริโภค ขณะเดียวกัน ให้ผู้ผลิตตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมด้วย


ใบสมัครสมาชิก 2020

เลขที่.................. หมูที่........ หมูบาน................................... อาคาร............................ ชั้น............... หอง............ ตรอก/ซอย...................... ถนน............................... แขวง/ตำบล........................... เขต/อำเภอ............................ จังหวัด................................ รหัสไปรษณีย....................... โทรศัพทที่ทำงาน....................................................... โทรศัพทมือถือ............................ โทรสาร................................. E-mail.............................................................

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

สมัครสมาชิกประเภท

Corporaeter Memb 3 เลม

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

แถม YG Directory

2018/2019

มูลคา 400.-

สมาชิกใหม ตออายุสมาชิก

แซอึ้ง

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำกัด

1 ป 6 ฉบับ 300 2 ป 12 ฉบับ 600

1 ป 1,260 บาท 1 ป 1,100 บาท

2 ป 2,520 บาท 2 ป 2,200 บาท

TECHNOLOGY MEDIA CO., LTD.

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท 0-2354-5333, 0-2644-4555 Ext. 231 โทรสาร 0-2644-6649 E-mail : member.technologymedia.co.th@gmail.com / marketing_mag@technologymedia.co.th


INDEX ADVERTISING November - December 2019

Engineering Today

บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ต�ำแหน่งหน้า

ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK

0-2036-0500

-

78

www.asew-expo.com

INTERLINK CO., LTD.

0-2666-1111

-

11

www.interlink.co.th

INTERMACH

0-2036-0500

-

79

www.intermachshow.com

0-2997-7359-62

0-2997-7363

3

E-mail : waruneevi@proudasia.com

THAILAND INDUSTRIAL FAIR

0-2838-9999 Ext.1177

-

6

www.thailandindustrialfair.com

VEGA

0-2700-9240

0-2700-9241

ปกหน้า

กุลธรอินเตอร์เนชั่นแนล บจก.

0-2282-5775-8

0-2281-0009

9

www.kulthorn.com

คณิตเอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2642-9209-11

0-2246-3214

48

www.kanitengineering.com, E-mail: sales1@kanitengineering.com

เฌอร่า บมจ.

0-2289-9888

0-2289-9800

82

เบย์ คอร์ปอเรชั่น บจก.

0-2926-0111

0-2926-0123-4

ปกหลังใน

โปรแมช (ประเทศไทย) บจก.

081-592-4456

-

7

www.promach.co.th

พิศนุการช่าง บจก.

0-2245-9113, 0-2248-2896-8

0-2642-9220

4

www.pisanu.co.th, E-mail: pisales@pisanu.co.th

-

-

ปกหลัง

-

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์

0-2441-6059

-

81

-

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727

0-2476-1711

77

www.virtus.co.th, E-mail: welcome@virtus.co.th

เอส เอ วี เมคคานิคคอลเซอร์วิสส์ แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.

0-2702-8801, 0-2702-0581-8

0-2395-1002

5

E-mail: savthai@yahoo.com, sav-545@hotmail.com

อาทิตย์เวนติเลเตอร์ บจก.

0-2509-3065, 0-2509-2884

0-2943-1814

9

www.artith.com

PROUD ASIA CO., LTD.

ธนาคารกรุงไทย

Engineering Today November - December

2019

76

Website/E-mail

www.vega.com

www.bay-corporation.com, E-mail: sales@bay-corporation.com




SMART Machinery, SMART Factory, SMART Manufacturer • FIRST INTERNATIONAL MACHINERY EXHIBITION: is being held at the start of the annual industrial purchasing period • ADVANCED TECHNOLOGY: 1,200 Brands from 45 Countries • NATIONAL PAVILIONS: China, Japan, Korea, Singapore and Taiwan • SPECIAL ZONES: Smart Manufacturing showcase, Additive Manufacturing Technology, Robot Welding Competition • OVER 50 SEMINARS: AI, Future Automotive, Medical Device, Aerospace, and Japanese Seminar • Co-located SUBCON Thailand: Most Important Industrial Subcontractor for Procurement of Industrial parts and Business Matching Event

EXCLUSIVE ! Exhibitors have exclusive access to participate in the business matching program that has over 500 part-makers from Thailand, Japan, Korea, Taiwan and more in SUBCON Thailand!

: +66 2036 0500 : intermach@intermachshow.com : www.intermachshow.com Organised by:

Co-Located with

Co-organised SUBCON Thailand by:

Officially Supported by:

Event Partner:

In Conjunction with:

Gold Sponsor:


Leading Journals and well-known in the industry, Engineering and Renewable Energy for over 20 Years in Thailand Technology Media’s Journals Quality Awarded : Thailand Energy Awards, the awards promote energy conservation by the Department of Alternative Energy Development and Energy Conservation, Ministry of Energy and the Asian Green TJ Awards.

www.electricityandindustry.com www.greennetworkthailand.com www.engineeringtoday.net www.thaipack.or.th www.intania.com Vol.29 No.136 July-August 2019

#Ä =L bi "9" =L acf + : )Ĺł2< 3: ) befb

òX8^ 8=Ăž`31 GN3W/G= W3%K_3X3? úšÚžó "L3XD."W1 Y3Y?<O 3AK/ ==;. L3 L=4==#Ä–:K-+ X?J L=8ÄŠ;8 =K`"<NÄŽ"ZE} Z3[1<

www.electricityandindustry.com

www.greennetworkthailand.com

www.thaipack.or.th

www.intania.com

www.engineeringtoday.net

8ÄŠ2O;G4=L"AK?

Packaging 4.0 “Smart Packaging the Wave of the Futureâ€? GR/DLE ==;[1<W/=Ăż<; AL;8= G; K4 “Single Use Plastic Directiveâ€? E=Ä G<K"Ă Ă L=DM=A#8>/N ==; L=Z% A.8?LD/N G" 3[1<Ă­ W8Ä?_GD "WD=Ăž; L=Z% A.8?LD/N =Ăż[&W N?G< L"5?G.:K< W1 Y3Y?<O Smart Factory D= L"D== 3AK/ ==; W8ÄŠ_;5=JDN12N:L8 L=6?N/X?JW5 3;N/= K4DNÄŽ"XA.? G;

Ă­X;^ Y = .N#N1K? DY/= ĂŽ E L" LD "GK#$=Ăž<J Z3<R GN3W1G= W3^/GG92N"D LUMAFIN ;N/NZE; XE " L=/ X/ "4==#Ä–:K-+ W1 Y3Y?<O1O_#JW5?O_<3Y$; W =Ä _G"#K =4==#Ä–:K-+ G;S?1O_[; ;O R-:L8 K4:L=J LZ% # L< G"G" =

ThaiStar Packaging Awards 2019

190710

80.00

Directory Year Book

:

www.yellowgreenthailand.com

www.thaiconstructionpages.com

www.technologymedia.co.th

www.technologymedia.co.th www.yellowgreenthailand.com

Directory & Catalogue • Network Solution & Mobile App • Exhibition & Distribution

TECHNOLOGY MEDIA CO., LTD. 471/3-4 Phayathai Places, Sri-Ayutthaya Rd., Thung Phayathai, Ratchathewi, Bangkok 10400 Tel. +66 (0)23 545 333, (0)26 444 555 Fax. +66 (0)26 446 649, (0)23 545 322

4=ĂžCK1 W1 Y3Y?<O ;OW.O< #M K.

œšÝ³¾¹œ GL L8}L[1W8?D 033B=ÿG<R2<L W /=L%W1Aÿ =R"W18I Ýúœúú Y1=² ¯¸¸ ú­´¾ ¡œ¡ ¾¾¾° ú­´¸ œœœ ¡¡¡ X9 & ² ¯¸¸ ú­´¸ œœ¸ ¸œ° ú­´¾ ¡œ¡ ¾´´




IEEE Power & Energy Society Series:

Renewable Energy

GW%N}W L= A;"L3DK;;3LW%N"Aþ%L L=

Y="[99 L%R;%3 W8č_GWB=C* N#*L3=L 2X;3K; F LD2- K<FF W33 .M-.J_! @3 Q:W>I3L<Q!<J BK §ÓÑÑÙÒÍØÝ ´ÓÛÉÖ ´ÐÅÒØ× ÊÓÖ °ÓÇÅÐ ©ÇÓÒÓÑÝ

Policy, Regulation, Design, Installation, Operation and Maintenance

@J20N^ øú øü : <K : ùü ú - E G" ¬ÝÙÚØÌ Y="X=;GY3;L X =3. =R"W18I

À£ ³£ ¿¦± ³¤«m ¾«¤µ¢À¤  i³ ¹¢ ¡³£Á n À£ ³£ ¦² ³ ¾ ¸Æ®¾©¤ª µ ³ ¤³ « ³ ³¤ q z è ² ¿¦± ¸Ç ¶Æ ¶Æ¢¶©² £¡³ ´¾ µ ³¤ m®«¤n³ À¤  i³ ¹¢ ¬¦² ¾ qÁ ³¤¤² ¸Ç® ¦² ³  i³ ³ À¤  i³ ¹¢ ¦² ³ ¹¢ ¦² ³ ³ ¾¦¸® ¿¦± ³¤ ¤µ¬³¤ ² ³¤®£m³ £²Æ £¸ ¿ ¨ ³ ³¤ µ ³¤ ³¤² ¾ ¸Æ®¢ m®¤± À ¤ m³£Â i³¿¦± ²Ç ® ³¤¤² ¸Ç® · ¨² m³£Â i³¾ n³¤± ¾ µ ³ µ £q ® ³¤Â i³ ¨³¢¤ºn ¸Ç ³ ¾ À À¦£¶ z鬳 ®¹ «¤¤ n®¿ ± ´ «´¬¤² ³¤ ¦µ  i³ ³ ¦² ³ ¶¨¡³ ¶¨¢¨¦ ¿¦± ¦² ³ ¿« ®³ µ £q ³¤®® ¿ µ ²Ç ¨ ¹¢¿¦± ´¤¹ ¤² ª³ À¤  i³ ¹¢ ¯ ¤µ ¶¨¡³ ¶¨¢¨¦ ¿¦± ¦² ³ ¿« ®³ µ £q £¹ ©³« ¤q ³¤ ² ³À ¤ ³¤À¤  i³ ¹¢ ¤® ¤² ¿ ³¤ ¦µ  i³ ³¤ ² ³À ¤ ³¤¿¦±©· ª³ ¨³¢¾ |   n ® À¤  i³ ¹¢ ¤ ¶©· ª³ À¤  i³ ¹¢ ¿¢m¿ m¢ À £ ºn¾ ¶Æ£¨ ³é ³ « «¡³®¹ «³¬ ¤¤¢¿¬m ¤±¾ ©Â £ ¡ ºn®® ¿ ¿¦± ºn ¦µ ®¹ ¤ q ¤µª² ºn ¤± ® ³¤ ¿¦±« ³ ² ®¹ ¢©· ª³

www.greennetworkseminar.com/powerplant



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.