Engineering Today No.175 (Issue Jan-Feb 2020)

Page 1




SMART Machinery, SMART Factory, SMART Manufacturer • FIRST INTERNATIONAL MACHINERY EXHIBITION: is being held at the start of the annual industrial purchasing period • ADVANCED TECHNOLOGY: 1,200 Brands from 45 Countries • NATIONAL PAVILIONS: China, Japan, Korea, Singapore and Taiwan • SPECIAL ZONES: Smart Manufacturing showcase, Additive Manufacturing Technology, Robot Welding Competition • OVER 50 SEMINARS: AI, Future Automotive, Medical Device, Aerospace, and Japanese Seminar • Co-located SUBCON Thailand: Most Important Industrial Subcontractor for Procurement of Industrial parts and Business Matching Event

EXCLUSIVE ! Exhibitors have exclusive access to participate in the business matching program that has over 500 part-makers from Thailand, Japan, Korea, Taiwan and more in SUBCON Thailand!

: +66 2036 0500 : intermach@intermachshow.com : www.intermachshow.com Organised by:

Co-Located with

Co-organised SUBCON Thailand by:

Officially Supported by:

Event Partner:

In Conjunction with:

Gold Sponsor:





EDITOR TALK

คณะแพทย์-วิศวฯ จุฬาฯ รวมพลังพัฒนาหุ่นยนต์ ช่วยประเมินดูแลฟื้นฟูผู้ป่วยติดเชื้อ “ไวรัสโคโรนา”

กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝายโฆษณา e-Mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th

คณะที่ปรึกษา

ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ตอตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน พันธุบรรยงก, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน เหมวชิรวรากร บรรณาธิการอํานวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการผูพิมพผูโฆษณา สุเมธ บุญสัมพันธกิจ บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรียพร วงศศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย เรืองติก พิสูจนอักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ ฝายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตย, กัลยา ทรัพยภิรมย, วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝายผลิต ชุติมณฑน บัวผัน ฝายสมาชิก ศิรินทิพย โยธาพันธ โรงพิมพ หจก. รุงเรืองการพิมพ แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Engineering Today www.engineeringtoday.net

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

ในขณะทีส่ าธารณรัฐประชาชนจีนและทัว่ โลกกําลังหวัน่ วิตกกับสถานการณการแพรระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม ประเทศไทยนอกจากจะถอดรหัสคนพบเชื้อไวรัสโคโรนา เปนประเทศแรกกอนหนาจีนถึง 2 วันแลว ทีมแพทยโรงพยาบาลราชวิถียังประสบความสําเร็จ ในการรักษาผูปวยที่ติดเชื้อปอดอักเสบจากไวรัสโคโรนาสายพันธุ 2019 ดวยยาตานไวรัส ไขหวัดใหญ และ HIV ลาสุด ศ. ดร.วิบูลย แสงวีระพันธุศิริ (กลาง) อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และหัวหนาศูนย Regional Center of Robotic Technology ไดมอบนวัตกรรม Telemedicine Robots 3 ตัวแรก ใหแก นพ.เขตต ศรีประทักษ แพทยเฉพาะทางโรคหัวใจและหลอดเลือด สถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย เพื่อใชในการสื่อสารระหวางผูปวยไวรัสโคโรนาใหกับบุคลากรทางการแพทยและลาม โดยเริ่มใช ทีส่ ถาบันบําราศนราดูร โรงพยาบาลราชวิถี และสถาบันโรคทรวงอก นับเปนนวัตกรรมทางการ แพทยใหมลาสุดของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย ที่กําลังเปนที่จับตามองในแวดวง สาธารณสุขไทย โครงการ Telemedicine นี้ มี ศ. ดร. พญ.นิจศรี ชาญณรงค หัวหนาศูนยความเปนเลิศ ดานโรคหลอดเลือดสมองแบบครบวงจร Chula Excellence Center เปนหัวหนาโครงการ ซึ่งไดรับความรวมมืออยางดีจาก คณะแพทยศาสตรและคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย โดย ศ. ดร.วิบูลย แสงวีระพันธุศิริ อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และหัวหนาศูนย Regional Center of Robotic Technology และทีมวิจัย รศ. พญ.กฤษณา พิรเวช หัวหนาฝายเวชศาสตรฟนฟู โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย ไดรวมกันพัฒนาหุนยนตและระบบกายภาพบําบัด สําหรับใชบริการผูส งู อายุ และผูป ว ยโรคหลอดเลือดสมอง ภายใตการสนับสนุนเงินทุน เทคโนโลยี และการพัฒนาโปรแกรม จาก บริษัท Haxter Robotics และ บริษัท Soft Square ซึ่งหุนยนต สามารถประเมินสภาวะของผูปวย ชวยใหแพทยและพยาบาลสามารถติดตามอาการของผูปวย ทางโทรเวชกรรม รวมถึงการเตือนใหรบั ประทานยาหรือทํากิจกรรมตางๆ ได ขณะนีม้ กี ารวางแผน ที่จะนําหุนยนตไปใชในการดูแลผูปวยที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนาตามโรงพยาบาลทั้งกรุงเทพฯ และ ตางจังหวัดอีกดวย สําหรับวารสาร Engineering Today ฉบับแรกของปหนูทองนี้ พรั่งพรอมดวยเนื้อหา สาระดานวิศวกรรมและอุตสาหกรรม เริม่ จาก วสท.-สภาวิศวกร-สภาสถาปนิก เสนอ “ขอกําหนด มาตรฐาน BIM Standard ของสภาวิศวกร” ยกรางเปนมาตรฐานวิชาชีพของไทย, ส.อ.ท. จับ มือ ม.นเรศวร ใชหลัก 3R + IoT เปลีย่ น “นํา้ เสีย” เปน “นํา้ ดี” แกปญ  หาภัยแลงในพืน้ ที่ EEC, สัมภาษณ รศ. ดร.กฤษณชนม ภูมิกิตติพิชญ “คิดตางอยางสรางสรรค สรางงานวิจัยขายได เชิงพาณิชย”, แนวทางพัฒนาเมืองอัจฉริยะของไทย สูความเปนเมืองนาอยูอยางแทจริง, วว.มุงวิจัยกัญชา 3 ดานหลัก เพื่อใชประโยชนทางการแพทยอยางปลอดภัย และถูกตอง ตามกฎหมาย และคอลัมนอื่นๆ เชิญติดตามไดในฉบับครับ



CONTENTS Engineering Today

January - February 2019 VOL. 1 No. 175

COLUMNS 8

บทบรรณาธิการ

คณะแพทย-วิศวฯ จุฬาฯ รวมพลังพัฒนาหุนยนต ชวยประเมินดูแลฟนฟูผูปวยติดเชื้อ “ไวรัสโคโรนา”

22

• กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

13 Engineering 4.0

รศ. ดร.กฤษณชนม ภูมิกิตติพิชญ “คิดตางอยางสรางสรรค สรางงานวิจัยขายไดเชิงพาณิชย”

DIGITAL ECONOMY

• กองบรรณาธิการ

26 AI

การใชงานเทคโนโลยีปญญาประดิษฐ (AI) ในกลุมอุตสาหกรรมการผลิต โทรคมนาคม และการแพทย

• เน็ตแอพ

29 Digital

Grundfos Launches First Digital Lab in Singapore to Drive Adoption of Smart Water Solution • S.Wongsritrakool

13

29

17 In Trend

วว.มุงวิจัยกัญชา 3 ดานหลัก เพื่อใชประโยชนทางการแพทย อยางปลอดภัย และถูกตองตามกฎหมาย

• กองบรรณาธิการ

20 Cover Story

Radar is the better ultrasonic!

31 Smart Farm

สยามคูโบตาชู KUBOTA Farm เปนโมเดลนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม ของอาเซียน ยกระดับภาคการเกษตรอาเซียน รองรับ Smart Farm

• กองบรรณาธิการ

• VEGA

22 EEC

ส.อ.ท. จับมือ ม.นเรศวร ใชหลัก 3R + IoT เปลี่ยน “นํ้าเสีย” เปน “นํ้าดี” แกปญหาภัยแลงในพื้นที่ EEC

• กองบรรณาธิการ

31



CONTENTS Engineering Today

January - February 2019 VOL. 1 No. 175

57 Research & Development

DIGITAL ECONOMY

33 Smart City

แนวทางพัฒนาเมืองอัจฉริยะของไทย สู่ความเป็นเมืองน่าอยู่อย่างแท้จริง

นักวิชาการวิศวฯ มหิดลเผยดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพรถไฟฟ้าไทย 6 มิติ 9 ด้าน พร้อมแนะพัฒนาระบบการจัดการเดินรถ เพื่อประโยชน์แก่ผู้ใช้บริการ

• กองบรรณาธิการ

• กองบรรณาธิการ

37 Technology

10 เทรนด์เทคโนโลยีในปี พ.ศ. 2563

• การ์ทเนอร์

57

บทความ 41 7 แนวโน้มด้านซัพพลายเชนกับวิสัยทัศน์ในปี พ.ศ. 2563 • ฟาบิโอ ทิวิติ

44 ระบบโรงเรือนอัจฉริยะ ผักสะอาด ปลอดภัย ไฟเบอร์สูง

ตอบโจทย์สายสุขภาพ

• สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน

47 Thailand 4.0

ธุรกิจของคุณพร้อมแล้วหรือยังส�ำหรับ Thailand 4.0

• สมศักดิ์ มุกดาวรรณกร

48 IT Update

SCG จับมือ GIZTIX พัฒนาดิจิทัลแพลตฟอร์มครบวงจร เสริมแกร่งบริการจัดส่งสินค้าร้านผู้แทนหน่ายวัสดุก่อสร้างทั่วประเทศ

• กองบรรณาธิการ

50 Logistics

บทวิพากษ์ผงั เมืองโลจิสติกส์ กรณี ท่าอากาศยานนานาชาติภาคตะวันตก The Critical of Urban Logistics: Western International Airport

• รศ. ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ์

55 Environment

กนอ.ตั้งเป้ายกระดับนิคมฯ ที่เปิดแล้ว 36 แห่ง สู่การเป็นนิคมฯ เชิงนิเวศในปี พ.ศ. 2565

• กองบรรณาธิการ

CONSTRUCTION THAILAND Construction 60 วสท.-สภาวิศวกร-สภาสถาปนิก เสนอ

“ข้อก�ำหนดมาตรฐาน BIM Standard ของสภาวิศวกร” ยกร่างเป็นมาตรฐานวิชาชีพของไทย

• กองบรรณาธิการ

65 Ananda UrbanTech เผยน�ำระบบ BIM เข้ามาใช้รายแรกในไทย

พร้อมจับมือพันธมิตร อัพเดทเทรนด์ก่อสร้าง

• กองบรรณาธิการ

67 Property

จับตา “บางนา” ท�ำเลทองที่อยู่อาศัยระดับพรีเมียม New CBD แห่งใหม่กรุงเทพฯ ฝั่งตะวันออก

• กองบรรณาธิการ

69 Project Management

การบริหารโครงการอย่างมืออาชีพ ตอนที่ 1 (Professional Project Management) : ความส�ำคัญของการบริหาร

• ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล


Engineering 4.0 • กองบรรณาธิการ

รศ. ดร.กฤษณ์ชนม์ ภูมิกิตติพิชญ์ รองอธิการบดี ด้านวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

“คิดต่างอย่างสร้างสรรค์ สร้างงานวิจัยขายได้ เชิงพาณิชย์”

ากเอ่ยถึงผลงานวิจัย “บ้านปราชญ์เปรื่อง ด้วยปัญญาประดิษฐ์ หรือ แนวคิดบ้าน อัจฉริยะแบบใหม่ (New Smart Home Concept)” โดย รศ. ดร.กฤษณ์ชนม์ ภูมิกิตติพิชญ์ เชื่อว่าหลายคนคงจะ รู้จักและก�ำลังให้ความสนใจในผลงานวิจัยนี้ ด้วยเป็น ผลงานที่สร้างประโยชน์ต่อสาธารณะ ท�ำให้การใช้ไฟฟ้า และการตรวจสอบความผิดปกติภายในบ้านปลอดภัย และ ยังช่วยประหยัดไฟฟ้าได้มากยิ่งขึ้น นอกจากผลงานวิจัยชิ้นนี้แล้ว เส้นทางการศึกษา และการท�ำงาน รวมทั้งแนวคิดของ รศ. ดร.กฤษณ์ชนม์ มีความน่าสนใจไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากัน โดยล่าสุดเมื่อ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 รศ. ดร.กฤษณ์ชนม์ ได้รับ แต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่งรองอธิการบดี ด้านวิชาการและ วิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร. ธัญบุรี) ซึ่งต�ำแหน่งดังกล่าวน่าจะช่วยจุดประกายให้ เกิดการสร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรมใหม่ๆ ได้อย่าง แพร่หลายและกว้างขวางมากยิ่งขึ้น

13

Engineering Today January - February

2020


ท�ำความรู้จัก รศ. ดร.กฤษณ์ชนม์ รศ. ดร.กฤษณ์ ช นม์ จบการศึ ก ษาในระดั บ มัธยมศึกษาจากอ�ำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรนิ ทร์ จากนัน้ ได้เข้า ศึกษาต่อในระดับ ปวช.สาขาช่างไฟฟ้าที่วิทยาลัยเทคนิค สุรนิ ทร์ ด้วยต้องการเรียนจบแล้วมีอาชีพหารายได้ชว่ ยเหลือ ทางบ้าน แต่ขณะที่เรียนเกิดความชอบ ท�ำให้ได้เกรดที่ดี จึ ง ท� ำ ให้ ไ ด้ โ ควตาในระดั บ ปวส.ที่ วิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา ในปี พ.ศ. 2535 หลั ง จากเรี ย นจบในระดั บ ปวส. ทางวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา ได้ให้ทนุ ศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า เพือ่ กลับมาเป็นอาจารย์ทมี่ หาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธั ญ บุ รี (มทร.ธั ญ บุ รี ) ซึ่ ง ขณะนั้ น มทร.ธั ญ บุ รี ถื อ เป็ น ศูนย์กลางของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลทั้งหมด ของประเทศ ด้วยผลการเรียนดี ท�ำให้ รศ. ดร.กฤษณ์ชนม์ มีโอกาสศึกษาต่อในระดับปริญญาโท สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ทีจ่ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2539 ต่อมาในปี พ.ศ. 2541 มีโอกาสไปศึกษาในระดับปริญญาโท สาขาวิศวกรรม ไฟฟ้าอีกใบทีป่ ระเทศแคนาดา และเมือ่ ส�ำเร็จการศึกษาได้ กลับมาใช้ทนุ ตามระบบ โดยเป็นอาจารย์สอนที่ มทร.ธัญบุรี จากนัน้ ในปี พ.ศ. 2544 ได้รบั ทุนศึกษาต่อในระดับปริญญา เอก สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าที่ประเทศเยอรมนี จากสมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อศึกษาจบในปี พ.ศ. 2547 ได้กลับ มาเป็นอาจารย์ใช้ทนุ ที่ มทร.ธัญบุรี ในระหว่างท�ำหน้าทีเ่ ป็น อาจารย์สอนนิสติ นักศึกษาในระดับปริญญาตรีและปริญญา โทนั้น รศ. ดร.กฤษณ์ชนม์ ก็ได้ทำ� งานวิจัยควบคู่กันไปด้วย โดยเฉพาะด้านไฟฟ้าที่มีความถนัดจนถึงปัจจุบัน

พัฒนาบ้านปราชญ์เปรื่อง ด้วยปัญญาประดิษฐ์ เฟส 4 ประหยัดไฟได้ถึง 80-90% ส�ำหรับผลงานวิจัยเรื่อง “บ้านไร้เบรกเกอร์ 4.0 ปฏิวัติอุตสาหกรรมการใช้ไฟฟ้าและการป้องกันภัย” ซึ่งได้ สร้างชื่อเสียงให้ รศ. ดร.กฤษณ์ชนม์ เป็นที่รู้จักและยอมรับ อย่างกว้างขวาง ทั้งนี้ รศ. ดร.กฤษณ์ชนม์ ได้ย้อนรอยถึง ที่มาของโครงการฯ ว่า เมื่อประมาณ 5 ปีที่ผ่านมาได้มี แนวคิดในการท�ำวิจยั เพือ่ ประโยชน์ตอ่ สาธารณะเรือ่ ง ไฟฟ้าเพื่อให้เข้ากับยุคที่ประเทศไทยก�ำลัง เข้าสู่ Smart City ในหัวข้อวิจัยเรื่อง “บ้านไร้เบรกเกอร์ 4.0 ปฏิวัติ อุตสาหกรรมการใช้ไฟฟ้า และการป้องกันภัย” ขึ้น

Engineering Today January - February

2020

จนกระทัง่ ได้รบั ทุนวิจยั จากโครงการขอรับการส่งเสริมและสนับสนุนจาก เงินกองทุนวิจยั และพัฒนา กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ โทรคมนาคม (กสทช.) โดยน�ำทุนวิจยั มาต่อยอดเป็นบ้านปราชญ์เปรือ่ ง ด้วยปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) หรือ แนวคิดบ้าน อัจฉริยะแบบใหม่ (New Smart Home Concept) ปัจจุบันได้พัฒนา ถึงเฟส 3 คือ พัฒนาให้มขี นาดทีเ่ ล็กลงไม่ใหญ่จนเกินไป ใช้งานง่าย มีการ จัดการรูปแบบที่ง่าย สามารถที่จะควบคุมได้ ช่วยประหยัดไฟฟ้าได้ 50-70% โดยได้รบั เงินทุนวิจยั เพิม่ เติมอีกจาก สวทช.ในการต่อยอดงานวิจยั และในกลางปีนี้ จะพัฒนาเฟส 4 สามารถประหยัดไฟฟ้าได้ถงึ 80-90%

บ้านปราชญ์เปรื่องค�ำนวณการใช้ ไฟ แยกการใช้ ไฟอย่างเป็นระบบ ในช่วงแรกที่ได้รับทุนจาก กสทช. เพื่อคิดค้นและทดลองระบบ เพียงบ้านเดียว แต่เมื่อศึกษาคิดค้นและท�ำงานอย่างต่อเนื่อง พบว่า ควรที่จะสร้างระบบการท�ำงานในภาพใหญ่ขึ้น โดยผลงานวิจัยบ้าน ปราชญ์เปรือ่ งด้วยปัญญาประดิษฐ์ (AI) มีการติดตัง้ ตูร้ วมไฟฟ้าสมองกล อัจฉริยะท�ำหน้าที่คล้าย CPU (Central Processing Unit) หลัก ของบ้าน ท�ำหน้าที่จับตัวคลื่นไฟฟ้าโดยตรง พร้อมควบคุมป้องกัน และจัดการไฟฟ้าที่จ่ายไปยังเครื่องใช้ไฟฟ้า ท�ำให้การใช้ไฟฟ้าปลอดภัย เหนือกว่าบ้านอัจฉริยะ ทีส่ งั่ งานอุปกรณ์ภายในบ้านผ่านระบบโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ เนือ่ งจากระบบใหม่นจี้ ะเพิม่ เรือ่ งความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้า เข้าไปด้วย โดยตู้รวมไฟฟ้าจะเก็บข้อมูลการใช้พลังงานไว้ในระบบ คลาวด์ (Cloud) เพือ่ สังเคราะห์ ตรวจจับการใช้ไฟฟ้าของเครือ่ งใช้ไฟฟ้า และระบบยังช่วยตรวจสอบความผิดปกติการใช้ไฟฟ้าได้อกี ด้วย คล้ายๆ กับกล่องรับสัญญาณโทรทัศน์ จากแนวคิดบ้านหนึ่งหลังซื้อกล่องรับ สัญญาณโทรทัศน์ 1 กล่องติดตั้งเฉพาะจุด เมื่อน�ำไปติดตั้งที่บ้านจะพบ ว่าจะมีการติดตั้งมากกว่า 1 กล่อง ท�ำให้การใช้ไฟฟ้าภายในบ้านเกิน แต่บ้านปราชญ์เปรื่องนี้จะดูแลไฟฟ้าครอบคลุมหมู่บ้าน มีมาตรวัด เป็นตัวค�ำนวณการใช้ไฟฟ้าทั้งหมู่บ้าน มีตัวล็อกติดตั้งในกล่องบ้าน ปราชญ์เปรื่องนี้ ในตัว Home Cloud และมีการจัดการเป็น Home Master ซึ่งจะค�ำนวณการใช้ไฟฟ้า เพื่อให้ทราบการใช้ไฟฟ้าแต่ละบ้าน การเก็บพลังงานเป็นอย่างไร และมีการรองรับการใช้งานนั้นอย่างไร

14


ตั้งใจท�ำงาน พร้อมเรียนรู้ สูตรของความส�ำเร็จ

“การท�ำเป็นเซอร์กิตเบรกเกอร์ จะควบคุมทั้งแอร์ และไฟฟ้าในแต่ละจุด หากตู้หนึ่งมีเซอร์กิตเบรกเกอร์ ควบคุม 10 จุด ก็จะควบคุมไฟฟ้าที่ใช้เกินในแต่ละจุดตาม ที่ ก� ำ หนดได้ โดยระบบจะใช้ AI สั ง เคราะห์ สั ญ ญาณ ประมวลสัญญาณทุกๆ อย่างในบ้าน พยากรณ์ออกมา เป็นการใช้ไฟฟ้าในแต่ละวันว่าแต่ละจุดใช้ไปเท่าใด เดือนนี้ ใช้ไฟฟ้าเกินบ้างหรือไม่อย่างไร ซึง่ ระบบจะจัดเก็บข้อมูลไป เรื่อยๆ แล้วประมวลผลไว้ในระบบเพื่อน�ำมาใช้ต่อไป “ที่ใส่ค�ำว่าปราชญ์เปรื่องลงไปนั้น เพราะเป็นสมอง กลที่คิดค้นใส่ลงไปในบ้าน ท�ำให้เกิดบ้านปราชญ์เปรื่อง ค� ำ นวณการใช้ ไ ฟ แยกการใช้ ไ ฟฟ้ า อย่ า งเป็ น ระบบ หากต้องการใส่รายละเอียดอื่นๆ เพิ่มเติมลงไปในกล่อง”

คิดต่างอย่างสร้างสรรค์ สร้างงานวิจัยขายได้เชิงพาณิชย์ ขณะนี้มีการน�ำร่องติดตั้งไปมากกว่า 58 กล่อง ใน หมู ่บ้ านจัด สรร โรงเรียน และสถานที่ราชการในพื้นที่ กรุงเทพมหานคร และจังหวัดปทุมธานี หากสามารถขยาย ไปสู่ระดับประเทศจะช่วยให้ประหยัดพลังงานได้อย่าง มหาศาล ซึง่ ปัจจุบนั นีไ้ ด้รบั ทุนวิจยั จาก สวทช.น�ำมาต่อยอด ในการคิดค้นงานวิจัยนี้ให้ก้าวหน้า เหมาะส�ำหรับการ ใช้งานในแต่ละบ้านมากยิ่งขึ้น เพราะบ้านแต่ละหลังมี การใช้ปริมาณไฟฟ้าที่แตกต่างกัน และช่วงการใช้งานที่ ต่างกัน “ผมจะไม่ท�ำวิจัยเรื่องที่มีอยู่แล้ว ผมจะท�ำเรื่องใหม่ โดยท�ำงานวิจัยร่วมกับนักศึกษา อันไหนที่นักศึกษาท�ำได้ก็ ท�ำไป อันไหนที่นักศึกษาท�ำไม่ได้ก็จะไปท�ำร่วมกับบริษัท ส่วนใหญ่งานวิจยั ทีท่ ำ� จะเป็นงานวิจยั ทีข่ ายได้ในเชิงพาณิชย์ ซึง่ ไม่ใช่เรือ่ งง่ายส�ำหรับประเทศไทยทีจ่ ะสร้างงานวิจยั ทีข่ าย ได้ ม าช่ ว ยยกระดั บ อุ ต สาหกรรมกลางน�้ ำ และปลายน�้ ำ เพราะยังขาดองค์ความรู้ ขาดการสนับสนุน และที่สำ� คัญ ขาดบุคลากรที่จะมาท�ำงานวิจัยร่วมกัน”

รศ. ดร.กฤษณ์ชนม์ มองว่าตนเองไม่ใช่นกั ปรัชญาแต่เป็นคนทีต่ งั้ ใจ ท�ำงานหรือท�ำงานวิจัยใดๆ แล้วต้องท�ำให้ส�ำเร็จ โดยพยายามท�ำใน สิ่งที่ยังขาด ขณะเดียวกันก็จะไม่ท�ำงานตามหลังคนอื่น สมมุติว่ามี โครงการใหม่ๆ ในองค์กรก็จะก�ำหนดกลยุทธ์ในการท�ำงานใหม่ๆ ทีเ่ ป็น ประโยชน์ต่อองค์รวม เพื่อท�ำให้องค์กรดีขึ้น ก่อนขยายไปสู่ในระดับ ประเทศ ในการเรียนการสอนนั้นก็เช่นกัน ค่อยๆ สอน ร่วมท�ำงานกับ นิสติ นักศึกษาทีพ่ ร้อมท�ำงานเป็นทีมทัง้ ในห้อง Lab และรายงานผลลัพธ์ ที่ได้จากงานวิจัยต่างๆ นอกจากนี้จะพยายามสร้างเครือข่ายในกลุ่ม เพื่อนๆ ที่เรียนด้านวิศวกรรมไฟฟ้ามาด้วยกัน งานวิจัยที่เคยท�ำร่วมกับ สถาบันต่างๆ รวมทั้งเครือข่ายสถาบันไฟฟ้าที่เคยเข้าไปร่วมท�ำงาน หากมีปัญหา ข้อสงสัยจะได้ขอค�ำแนะน�ำปรึกษาได้ “ปัญหานัน้ มีมาให้แก้ไขอยูต่ ลอดเวลา ยิง่ ในระดับผูบ้ ริหารย่อมจะ มีมากกว่าระดับปกติ ผมค่อนข้างโชคดีที่มีทีมงานมีลูกน้องที่ดีที่ร่วมกัน หาทางแก้ไขปัญหาต่างๆ ทัง้ นีส้ งั คมไทยเป็นสังคมทีช่ อบสบาย Comfort Zone วิธีการที่จะท�ำให้เกิดผ่อนคลายจาก Comfort Zone คือต้องฉีก ออกมาจาก Comfort Zone แล้วหาทางท�ำอย่างอื่นที่เป็นประโยชน์ ถ้าเราไม่ทำ� คนอืน่ ท�ำ เราก็จะสูญเสียโอกาสในการพัฒนาตนเอง พัฒนา ผลงานให้ตนเอง ทีมงาน มหาวิทยาลัยและประเทศชาติ มีโอกาสในการ แข่งขันในทุกๆ เรื่อง และเมื่อประสบความส�ำเร็จแล้วจะค่อยๆ หา พันธมิตรเข้ามาร่วมท�ำงานที่ถนัดในเรื่องเดียวกัน ถ้าเป็นอาจารย์ก็แยก ออกมาท�ำอะไรทีไ่ ม่ใช่สอน เช่น ท�ำงานวิจยั ทีเ่ ป็นประโยชน์ งานบัญชีผม ไม่เคยท�ำ ผมก็พยายามเรียนรู้ คือผมจะลงมือท�ำแล้วให้คนอื่นๆ ดูเป็น ตัวอย่างเพื่อที่จะได้นำ� ไปประยุกต์ใช้ตามความเหมาะสม” นอกจากนี้ยังน�ำหลัก Logic ในการเรียนวิศวกรรมศาสตร์เรื่อง ความมี เ หตุ มี ผ ลมาใช้ ใ นการท� ำ งานและผสมผสานประสบการณ์ การท�ำงานที่ผ่านมาสังเคราะห์ เพื่อใช้ทำ� งาน การใช้ชีวิต พร้อมทั้งหมั่น หาความรู้เพิ่มเติม สิ่งใดที่รู้จริงอยู่แล้วต้องศึกษาให้รู้ยิ่งขึ้นเพื่อที่จะ ถ่ายทอดให้คนอื่นๆ น�ำไปใช้ประโยชน์ต่อ เช่น การที่เป็นอาจารย์สอน หนังสือ ทีป่ รึกษาโครงการวิจยั ต่าง ๆ จะมีอปุ สรรคตรงทีก่ ารเป็นอาจารย์ เขาจะให้ความเชื่อถือมั่นใจ หากท�ำอะไรออกไปเขาจะยอมรับ ฉะนั้น จ�ำเป็นต้องมีการศึกษาคิดค้นจากต�ำราที่น�ำมาอ้างอิงงานวิจัยหลายๆ ครั้งเพื่อให้ได้ผลส�ำเร็จที่แท้จริง

แนะรัฐบาลสร้างบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์พฒ ั นาประเทศ สอดรับนโยบาย Thailand 4.0 รศ. ดร.กฤษณ์ชนม์ กล่าวว่า การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management) ให้ถูกต้องและเหมาะสมกับการท�ำงานใน แต่ละส่วน ถือเป็นเรือ่ งส�ำคัญ โดยการพัฒนาบุคลากรรองรับในส่วนงาน ต่างๆ ควบคู่ไปกับยุทธศาสตร์ของประเทศ พร้อมทั้งน�ำเครื่องจักรที่มี ประสิทธิภาพมาลดค่าใช้จ่ายในการท�ำงาน สร้างผลิตผลในการท�ำงาน โดยเฉพาะสินค้าทีล่ ะเอียดอ่อน รองรับช่วงชีวติ สังคมสูงวัย ทัง้ นี้ คาดว่า

15

Engineering Today January - February

2020


ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2565 เป็นต้นไป ประเทศไทยและ ในหลายๆ ประเทศทั่วโลกจะมี ผู้สูงวัยมากขึ้น ดังนั้นการพัฒนางาน วิจัยและนวัตกรรมสมัยใหม่จะช่วยตอบโจทย์ตลาด และสามารถจ�ำหน่ายในเชิงพาณิชย์ได้มากยิ่งขึ้น ในส่วนของรัฐบาลไทยควรจัดการเรียนการสอนด้าน วิทยาศาสตร์ให้มากยิ่งขึ้นเพื่อสร้างบุคลากรมาช่วยพัฒนา ประเทศ โดยเฉพาะในเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ทีต่ อ้ งการบุคลากรทีม่ คี วามรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์เข้าไป พัฒนาพื้นที่ พัฒนาเครื่องมือและอุปกรณ์ที่จะน�ำไปใช้ เป็นต้น ส�ำหรับการขาดแคลนบุคลากร ไม่ใช่เฉพาะในระดับ วิศวกร นักวิทยาศาสตร์ และนักบริหารเท่านัน้ แต่ประเทศไทย ยังขาดก�ำลังคนในระดับช่างเทคนิค ปวช.และ ปวส.อยู่มาก ต้องน�ำเข้าแรงงานจากต่างประเทศ ซึ่งสูญเสียงบประมาณ ในแต่ ล ะปี เ ป็ น จ� ำ นวนมาก จึ ง ต้ อ งเร่ ง หาแนวทางและ มาตรการฟื้นฟูส่งเสริมการศึกษาของไทยให้พร้อม “การเรียนรู้ตลอดชีวิต ทุกคนอาจจะมองว่าศิวิไลซ์ แต่จริงๆ ไม่ใช่ เพราะในสังคมไทยแยกออกเป็นหลายสังคม มาก จ�ำเป็นต้องมีการจัดการความรูใ้ ห้แต่ละสังคม ให้คนใน แต่ละช่วงอายุได้มีโอกาสเรียนรู้ตามความเหมาะสม เช่น

Engineering Today January - February

2020

ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในขณะนี้จบออกมาแล้วส่วนใหญ่จะท�ำงาน โรงงานกันเกือบหมด มีนอ้ ยมากทีจ่ ะเลือกศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย หรือสายอาชีพอื่นๆ ซึ่งเมื่อเข้าไปท�ำงานในโรงงานแล้วไม่มีโอกาสหรือ คิดที่จะศึกษาต่อเพราะไม่มีเวลา ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจที่ต้องหา เลีย้ งชีพต้องมีรายได้จงึ ท�ำงานก่อนทีจ่ ะเรียน อยากให้ภาครัฐเข้ามาดูแล ให้การศึกษาทั่วถึง เข้าถึงส�ำหรับกลุ่มคนในโรงงานและอื่นๆ โดยปรับ เปลี่ยนเป็นระบบการเรียนที่ไหนก็ได้ เสริมทักษะที่ต้องใช้การประกอบ อาชีพอย่างมั่นคง โดยให้มีการเรียนรู้ที่เป็น Transform มีประสบการณ์ ไม่จ�ำกัดเวลาในการเรียนจบเหมือนกับมหาวิทยาลัยรามค�ำแหง ไม่ควร ก�ำหนดว่าจะต้องจบใน 8 ปี ต้องให้เขาจบออกมาไม่ว่าจะเกิน 8 ปี แต่ ต้องจบออกมาแบบเป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ และยิ่งสมัยนี้เด็กไทยเรียน สายวิทยาศาสตร์นอ้ ยลงท�ำให้การคิดค้นวิจยั สิง่ ต่างๆ น้อยลงตามไปด้วย เมือ่ เทียบกับในหลายๆ ประเทศทีม่ งุ่ ปลูกฝังการเรียนรูท้ างด้านวิทยาศาสตร์ ตัง้ แต่เกิดจนกระทัง่ อายุ 15 ปี เพือ่ ใช้ความรูว้ ทิ ยาศาสตร์คดิ ค้นงานวิจยั ใหม่ ๆ ซึ่ ง จะมี ส ่ ว นช่ ว ยในการขั บ เคลื่ อ นและพั ฒนาประเทศ เช่ น สหภาพยุโรป เยอรมนี ญี่ปุ่น และสหรัฐอเมริกา ปัจจุบนั มีเด็กทีส่ นใจ ด้านวิทยาศาสตร์เทียบกับด้านบริหารประมาณ 50 : 50”

จับตาเทรนด์ Smart Home และบทบาทของ AI ในอนาคต รศ. ดร.กฤษณ์ชนม์ ยอมรับว่าในอนาคตจะมีการน�ำเทรนด์ Smart Home และ AI มาใช้ และปรับเปลี่ยนตามช่วงอายุของประชากรผู้ใช้ สินค้าแต่ละประเภท โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศไทยมีจำ� นวนประชากร เข้าสู่วัยสูงอายุมากขึ้น ดังนั้นจึงจ�ำเป็นต้องคิดค้นเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อ รองรับผูส้ งู อายุ ทีเ่ น้นความปลอดภัย ใช้งานไม่ยงุ่ ยาก เช่น มีการควบคุม การเปิด-ปิดใช้ไฟฟ้าเฉพาะจุด การใช้ AI ในการดูแลผู้ป่วย เป็นต้น ซึ่งประเทศไทยจะต้องคิดค้นเองไม่ใช่น�ำเข้ามาจากต่างประเทศ เพราะ จะเป็นการเสียเงินและเสียโอกาสมากกว่าจะได้ประโยชน์ “คนไทยเก่งๆ มีเยอะแต่ขาดการสนับสนุน ดังนั้นภาครัฐต้อง เข้ามามีบทบาทสนับสนุน ต้องเสริมการเรียนรู้ เพื่อเป็น ผู้น�ำในกลุ่ม ประเทศอาเซียนให้ได้ อีกอย่างที่ประเทศไทยต้องเร่งท�ำคือ การเอาคน ออกจาก Comfort Zone ให้ได้ โดยน�ำคนเรียนเก่งสอบได้อันดับที่ 1 และอันดับที่ 2 ไปเป็นครูหรือนักกฎหมายเพื่อสอนคนรุ่นต่อไปให้มี ความรู้ เที่ยงธรรม มีความซื่อสัตย์ในการเรียนและการท�ำงานพัฒนา ประเทศ ส่วนคนที่สอบได้อันดับที่ 3 และอันดับที่ 4 ควรไปเรียนแพทย์ เพราะการท�ำงานย่อมจะมีคนเก่งในหมู่คนไม่เก่งผสมผสานกัน จะให้ เก่งทัง้ กลุม่ เพือ่ มาช่วยกันท�ำงานท�ำ Lab คงไม่ได้ ด้วยแต่ละคนมีพนื้ ฐาน ความรู้ที่ไม่เท่ากัน มีความเก่งความช�ำนาญเฉพาะด้านที่ไม่เหมือนกัน การสังเคราะห์ข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลจึงแตกต่างกัน ดังนั้น ต้อง สนับสนุนคนให้เรียนรู้รอบด้านเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันจะต้องค�ำนึงถึง การท�ำงานให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม เพื่อพัฒนาประเทศให้เจริญ ก้าวหน้าต่อไป” รศ. ดร.กฤษณ์ชนม์ กล่าวทิ้งท้าย

16


In Trend • กองบรรณาธิการ

วว.มุ่งวิจัยกัญชา 3 ด้านหลัก

เพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์อย่างปลอดภัย และถูกต้องตามกฎหมาย

ถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี แ ห่ ง ประเทศไทย (วว.) จัดงานสัมมนา วิ ช าการ “The International Cannabis-based Medicine Industry 2019” เพื่อเป็นเวทีแลก เปลี่ยนความรู้ ความก้าวหน้าของ งานวิ จั ย และประโยชน์ ท างการ แพทย์ของสารสกัดกัญชา รวมทั้ง เพื่อสร้างเครือข่ายจากหน่วยงาน

ภาครัฐ เอกชน หน่วยงานการศึกษาและหน่วยงานวิจัยต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง ประเทศไทย (วว.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) กล่าวว่า ปัจจุบันการน�ำกัญชามาใช้เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ ได้รับความสนใจอย่างแพร่หลาย ทัว่ โลก ดังนัน้ เพือ่ ให้เกิดการแลกเปลีย่ นข้อมูล ความรู้ ส่งเสริมความเข้าใจ และรับทราบถึงความ ก้าวหน้าทางการวิจยั รวมถึงการน�ำกัญชามาใช้เพือ่ ประโยชน์ทางการแพทย์ วว. จึงร่วมกับบริษทั GH Medical ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึง่ ด�ำเนินธุรกิจเกีย่ วกับการใช้กญ ั ชาเพือ่ ประโยชน์ทางการ แพทย์อนั ดับต้นๆ ของโลก จัดงานสัมมนาวิชาการเรือ่ ง “The International Cannabis-based Medicine Industry 2019” เพือ่ ให้ความรู้ สร้างความเข้าใจด้านการวิจยั และพัฒนากัญชงและ กัญชาในประเทศไทยและในต่างประเทศ โดยมีเนื้อหาครอบคลุมข้อมูลพื้นฐาน ประวัติความ เป็นมา กฎระเบียบสากล และกรอบแนวคิดของข้อกฎหมายของการน�ำกัญชาเพื่อใช้ประโยชน์ ทางการแพทย์และในด้านอื่นๆ ในอนาคต

วว.เน้นงานวิจัย 3 ด้านหลัก รองรับการใช้กัญชาตาม กม.

ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)

ส�ำหรับงานวิจัยและพัฒนาต่อยอดการใช้ประโยชน์กัญชงและกัญชา ทั้งด้านความ เชี่ยวชาญของบุคลากร อุปกรณ์เครื่องมือ โดย วว.จะท�ำการปลูกและทดลองใน Plant Factory เหมือนพืชสมุนไพรชนิดหนึ่ง แต่จะมีความพิเศษตรงที่มีการดูแลควบคุมและต้องได้รับอนุญาต ตามกฎหมายเป็นพิเศษ มีการติดกล้องวงจรปิดและมีเจ้าหน้าทีด่ แู ลตรวจความเรียบร้อยตลอด 24 ชั่วโมง ใครจะเข้าจะออกต้องได้รับอนุญาต อาจจะเรียกได้ว่าเป็นห้องมั่นคง เพื่อที่จะให้กัญ ชงและกัญชาที่นำ� มาทดลองปลูกนั้นมีประสิทธิภาพที่เหมาะสมในการน�ำไปใช้ในด้านต่างๆ

17

Engineering Today January - February

2020


ในอนาคต วว. มีความยินดี หากภาคเอกชน ที่ได้รับอนุญาต ตามกฎหมาย จะเข้ามาร่วม ท�ำงานวิจัย เกี่ยวกับกัญชง และกัญชา ร่วมกับ วว. เพื่อพัฒนา สายพันธุ์ และ พัฒนาการ น�ำไปใช้ตาม ที่กฎหมาย ก�ำหนด

ทัง้ นีง้ านวิจยั ของ วว. เพือ่ รองรับการน�ำกัญชงและกัญชาไปใช้นนั้ จะเน้น 3 ด้านหลัก ได้แก่ 1. ด้านการเพาะปลูก การวิจัยสภาพดิน น�ำ้ สายพันธุ์ สภาพภูมิอากาศที่เหมาะสมส�ำหรับการ ปลูกเพือ่ น�ำมาสกัดใช้ตามกรอบของกฎหมายทีก่ ำ� หนด 2. ด้านการสกัดและวิเคราะห์สารส�ำคัญ ทีมนักวิจัยของ วว. ประมาณ 20 คนที่มีความเชี่ยวชาญจากการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี เกี่ยวกับสมุนไพรเข้ามาช่วยในด้านการสกัดสารส�ำคัญจากกัญชงและกัญชาว่ามีสาร CBD (Canabidiol) และ THC (Tetrahydrocannabinol) ในปริมาณเท่าใด มีสารปนเปื้อนอะไร อย่างไรบ้าง รวมทั้งศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและพิษวิทยาในการน�ำไปทดสอบว่ากัญชาที่น�ำ มาทดสอบนั้ น เป็ น ของจริ ง หรื อ ของปลอมเพื่ อ ทดสอบสารตกค้ า งผลข้ า งเคี ย งอื่ น ๆ และ 3. ด้านการวิจัยและพัฒนาเพิ่มมูลค่ากัญชงและกัญชาก่อนน�ำไปใช้รักษาคนไข้เป็นอันดับแรก "ส�ำหรับการต่อยอดใช้ในด้านอืน่ ๆ ไม่วา่ จะเป็นสกัดเป็นสารระเหย สกัดเป็นตัวยาใช้รกั ษา โรคสะเก็ดเงินและอื่นๆ นั้น จะต้องควบคุมการใช้และการน�ำไปใช้ตามกฎหมายด้วย เนื่องจาก กัญชงและกัญชายังถือเป็นสารเสพติดให้โทษตาม พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2562 ไม่ได้เปิด เสรีให้ปลูกและใช้เหมือนอย่างในหลายๆ ประเทศ ซึ่งในขณะนี้ วว.ได้มีการด�ำเนินการวิจัย กัญชงและกัญชารองรับนโยบายรัฐบาลไว้แล้วในเบื้องต้น และอยู่ระหว่างการขออนุญาต จากส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เพื่อน�ำมาทดลองใช้จริงได้ประมาณเดือน กุมภาพันธ์ 2563 ซึง่ การน�ำมาใช้ตอ้ งอยูภ่ ายใต้การก�ำกับดูแลของแพทย์ทเี่ ชีย่ วชาญทุกขัน้ ตอน” ดร.ชุติมา กล่าว

วว.พร้อมจับมือภาคเอกชนที่ ได้รับอนุญาต ร่วมวิจัยพัฒนาสายพันธุ์กัญชา-น�ำไปใช้ถูกต้องตาม กม.

ในส่วนของการเผยแพร่องค์ความรู้ในการน�ำกัญชงและกัญชาไปใช้ในสังคมไทยยังมี ความรู้ความเข้าใจที่ค่อนข้างน้อย เพราะหากน�ำไปใช้ในปริมาณที่มากและผิดวัตถุประสงค์จะ ก่อให้เกิดโทษมากกว่าประโยชน์ จึงต้องมีการก�ำหนดกรอบการใช้และก�ำหนดกรอบการปลูก มีกฎหมายเฉพาะเพื่อป้องกันเหตุการณ์ก่อคดีอาชญากรรมและอื่นๆ ที่จะสร้างเหตุแห่งความ ไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของคนในสังคมได้ นอกจากนี้ในอนาคต วว.มีความยินดีหาก ภาคเอกชนที่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายจะเข้ามาร่วมท�ำงานวิจัยเกี่ยวกับกัญชงและกัญชา ร่วมกับ วว. เพื่อพัฒนาสายพันธุ์ และพัฒนาการน�ำไปใช้ตามที่กฎหมายก�ำหนด “ส่วนการเผยแพร่งานวิจัยสู่ประชาชนนั้นยังคงต้องรอในการศึกษาผลกระทบรอบด้าน เสียก่อน เนือ่ งจากมีขอ้ ดีและข้อเสียอีกหลายด้านทีต่ อ้ งระมัดระวังโดยเฉพาะเรือ่ งความปลอดภัย ในการน�ำไปใช้ในปริมาณทีม่ ากเกินไปอาจจะก่อให้เกิดโทษมากกว่าประโยชน์ ส�ำหรับราคาของ สารสกัดกัญชงและกัญชาที่น�ำไปใช้นั้นอยู่ท่ีกรรมวิธีในการสกัดกัญชงและกัญชาให้ได้สารที่ สามารถน�ำมารักษาโรคให้หายขาดได้และผูป้ ว่ ยไม่ได้รบั ผลข้างเคียงของการรักษาให้มากทีส่ ดุ ” ดร.ชุติมา กล่าว

พร้อมเป็นที่ปรึกษาให้ค�ำแนะน�ำสกัดสาร CBD ในปริมาณที่เหมาะสมส�ำหรับผู้ป่วยไทย

Dr.Joost Heeroma บริษัท GH Medical

Engineering Today January - February

2020

Dr.Joost Heeroma บริษัท GH Medical กล่าวว่า การน�ำสารสกัดที่ได้จากกัญชา ไปใช้ในแต่ละประเทศนั้นมีการน�ำไปใช้แตกต่างกันตามเงื่อนไข ข้อห้ามและกฎหมายของแต่ละ ประเทศ ส�ำหรับการน�ำกัญชาเพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ในประเทศไทยนั้นมีหน่วยงาน ทีท่ ำ� การวิจยั เช่น วว. แต่การน�ำไปใช้นนั้ ยังไม่มกี ฎหมายรองรับเพราะกัญชายังถือเป็นสิง่ เสพติด ให้โทษทีผ่ ดิ กฎหมาย แต่ในอนาคตเมือ่ กฎหมายในประเทศไทยได้มกี ารปรับแก้ให้กญ ั ชาสามารถ น�ำมาใช้ในทางการแพทย์ได้กจ็ ะน�ำงานวิจยั ทีม่ อี ยูม่ าใช้ พร้อมทัง้ ร่วมศึกษาและน�ำงานวิจยั พร้อม

18


การเผยแพร่ งานวิจัยสู่ ประชาชนนั้น ยังคงต้องรอ ในการศึกษา ผลกระทบรอบ ด้านเสียก่อน เนื่องจากมีข้อดี และข้อเสียอีก หลายด้านที่ ต้องระมัดระวัง โดยเฉพาะเรื่อง ความปลอดภัย ในการน�ำไปใช้ ในปริมาณที่ มากเกินไปอาจ จะก่อให้เกิด โทษมากกว่า ประโยชน์

Christopher Smith บริษัท GH Medical

ทีมนักวิจัยกัญชงและกัญชาของ วว.

ทั้งผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศเข้ามาเป็นที่ปรึกษาให้ค�ำแนะน�ำในการสกัดสาร CBD เพื่อน�ำ ไปใช้ในปริมาณที่เหมาะสมส�ำหรับผู้ป่วย ไม่ว่าจะสกัดเป็นตัวยาส�ำหรับรับประทาน สูดดม ทาและรักษาด้วยการฉีดเข้าเส้นเลือด เป็นต้น ทัง้ นีจ้ ะต้องมีแพทย์ผชู้ ำ� นาญดูแลตลอดการรักษา อีกทั้งมีงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมารองรับด้วย นอกจากนี้อาจจะน�ำข้อมูลงานวิจัย กรณีการรักษาจริงของผู้ป่วยในต่างประเทศที่ใช้สาร สกัดจากกัญชารักษาอาการป่วยเทียบเคียงกับการรักษาผูป้ ว่ ยในประเทศไทยเพือ่ ช่วยรักษาผูป้ ว่ ย ตามอาการป่วยของแต่ละโรค ซึง่ จะช่วยให้การรักษารวดเร็ว ไม่ตอ้ งทดลองใช้ยาในการรักษาได้

น�ำเทคโนโลยี AI และ Blockchain มาใช้อุตสาหกรรมยาที่มีส่วนผสมของกัญชา

Christopher Smith บริษทั GH Medical กล่าวว่า การพัฒนาเทคโนโลยีและเครือ่ งจักร กลเข้ามาใช้ส�ำหรับอุตสาหกรรมยามีหลากหลายประเภทเพื่อให้เกิดความสะดวก ลดความ ผิดพลาดจากการใช้แรงงานคนในการท�ำงาน ในระยะแรกอาจจะใช้ QR Code เพื่อระบุที่มา ของยาแต่ละประเภท แต่เนื่องจากพบว่ามีการก็อบปี้ QR Code ไปใช้ ท�ำให้เกิดยาจริงและยา ปลอมปะปนกันยากทีจ่ ะแยกแยะและควบคุมได้ ท�ำให้ความน่าเชือ่ ถือลดลง โดยเฉพาะการสกัด กัญชาที่จะน�ำมาใช้เป็นยารักษาเพราะกัญชามีมากกว่า 1,000 สายพันธุ์ในโลกนี้ ซึ่งเป็นเรื่อง ยากทีจ่ ะเทียบเคียงและคัดแยกด้วยสายตา ว่าแต่ละสายพันธุม์ ที มี่ าจากประเทศใดบ้าง มีขอ้ มูล ทางพันธุกรรมเป็นอย่างไรบ้าง รวมถึงประเมิน ผลที่จะกระทบต่อร่างกายเมื่อน�ำมาใช้ทั้งทาง ด้านการแพทย์และด้านอื่นๆ ต่อมาจึงได้มีการน�ำเทคโนโลยีประดิษฐ์ AI (Artificial Intelligence) และ Blockchain มาใช้ พบว่า AI ช่วยให้การท�ำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งเรื่องการปลูก ข้อมูลแสงสว่าง ความชื้น ดิน ปุ๋ย การบันทึกการเติบโตในแต่ละวัน ซึ่งมีข้อมูลจ�ำนวนมาก หากใช้แรงงานคนท�ำ ก็จะเสียเวลาและข้อมูลทีไ่ ด้อาจจะไม่ครบถ้วน ขณะทีเ่ ทคโนโลยี Blockchain สามารถแก้ปญ ั หา การก็อปปีส้ นิ ค้าได้ดเี ยีย่ ม เนือ่ งจากมีระบบสอบย้อนกลับถึงทีม่ าว่ากัญชาทีน่ ำ� มาใช้นนั้ เป็นของ แท้หรือไม่ มีการผลิตตัง้ แต่เมือ่ ใด สายพันธุใ์ ดทีใ่ ช้ผลิตส�ำหรับเป็นยาหรือเป็นสารอืน่ ๆ มีการน�ำ ไปใช้แล้วที่ไหนบ้าง และที่ส�ำคัญช่วยตรวจสอบสารสกัด TSC (Total Solid Content) ตาม กฎหมายของแต่ประเทศด้วย ส�ำหรับประเทศไทย การใช้กัญชาในวงการแพทย์ยังอยู่ระหว่างการพิจารณาว่าจะให้ หน่วยงานและบุคคลใดบ้างที่สามารถปลูก และสามารถเข้าถึงกัญชา ซึ่งต้องมีการน�ำ AI, Blockchain และ Data Center มาใช้เก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อที่จะประมวลผลการคัดเลือก สายพันธุ์และการปลูกที่เหมาะสม รวมทั้งน�ำตัวอย่างกรณีการรักษาในประเทศและต่าง ประเทศเปรียบเทียบย้อนหลัง ทั้งผลข้างเคียงและประโยชน์และโทษที่จะน�ำสารสกัดจาก กัญชาไปใช้อย่างรอบด้าน ที่ส�ำคัญจะต้องตรวจสอบสารสกัด TSC ให้ไม่เกิน 1% ตามที่ กฎหมายก�ำหนด เพื่อความปลอดภัยในการใช้งาน

19

Engineering Today January - February

2020


Cover Story • VEGA

RADAR IS THE BETTER ULTRASONIC!

VEGA adds to its portfolio of level sensors with a new non-contact radar instrument series for standard measuring tasks and price-sensitive applications.

Engineering Today January - February

2020

20


A new era in radar level measurement began a few years ago when VEGAPULS sensors based on 80 GHz technology were introduced. Thanks to the more precise focusing of the radar beam, the sensor virtually eliminates any unwanted or interfering reflections - the level measurement therefore becomes much easier and more reliable. Many difficult measuring tasks for ultrasonic sensors are now becoming standard practice with radar technology. VEGA has now added a new compact 80 GHz instrument series to its portfolio of radar sensors. It is especially suitable for price-sensitive applications, such as those found in thewater/wastewater industry or in auxiliary process loops in process automation. VEGA designed a new radar microchip especially for this purpose, which is characterized by its extremely small size, fast start up time and low energy consumption. The end result is a particularly compact and versatile radar sensor.

Robust, unaffected and weatherproof The new VEGAPULS instruments are ideal for both liquids and bulk solids. They are available both as compact version with cable connection housing and as a standard version with a fixed IP68 cable connection. The radar sensors maintain steady, accurate measurements without effect or loss of echo from external influences such as solar gain, air temperature fluctuations, weather conditions vapours, buildup or condensation. Users can choose from 4 ... 20 mA, HART, SDI-12 or Modbus as the direct output signal, ATEX versions are also available.

The VEGAPULS instrument series are compact devices, but they are complemented by the optional VEGAMET controllers. These feature a large graphic display that can be used to visualize all measured values. They have also been particularly designed to meet the special requirements of the water/wastewater industry. VEGAMET controllers allow simple implementation of pump control, flow measurement in open channels and overfill protection according to WHG. These are designed for operation in outdoor environments and, are supplied in a weather-resistant housing.

Simple setup thanks to wireless operation Both the sensors and the controllers can be operated easily via Bluetooth with a smartphone or tablet. This makes setup, display and diagnostics considerably easier, especially in harsh environments or in hazardous areas. The new VEGAPULS radar instrument series offers many advantages over current ultrasonic level measurement technologies. Thanks to their better all-conditions reliability, ruggedness, simple operation and, last but not least, low price it’s the obvious choice for the modern water industry applications.

More information available at

www.vega.com/vegapuls

21

Engineering Today January - February

2020


EEC • กองบรรณาธิการ

ส.อ.ท. จับมือ ม.นเรศวร

ใช้หลัก 3R + IoT เปลี่ยน “น�้ำเสีย” เป็น “น�้ำดี”

แก้ปัญหาภัยแล้งในพื้นที่ EEC

กระบวนการรีไซเคิลน�้ำ (Water Recycling Process) ในโรงงานอุตสาหกรรม

ว่าที่ร้อยตรี พิรุณ เหมะรักษ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดระยอง ในฐานะประธานที่ประชุมฯ

จังหวัด “ระยอง” ถือ เป็น 1 ใน 3 จังหวัด ที่เป็นเป้าหมายของ การพัฒนาตามนโยบายเขตการพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เพื่อ ยกระดับอุตสาหกรรมของประเทศ และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ซึ่งท�ำให้เศรษฐกิจของไทยเติบโตในระยะยาวได้อย่างยั่งยืน แต่ปฏิเสธไม่ได้ ว่าการพัฒนาดังกล่าวจะน�ำไปสู่การเพิ่มจ�ำนวนประชากรในพื้นที่ ซึ่งจะมี ประชากรแฝงเพิ่มมากขึ้นเป็นเท่าตัว สิ่งที่ตามมาคือ ความไม่เพียงพอของ น�้ำกินน�้ำใช้ จนอาจเกิดความขัดแย้งในการใช้น�้ำและปัญหาการจัดการการใช้ น�ำ้ ในอนาคต เพื่อสร้างความมั่นคงในการใช้ทรัพยากรน�้ำในพื้นที่ ซึ่งถือเป็นปัจจัย ส�ำคัญยิง่ ต่อผลส�ำเร็จตามเป้าหมายของการพัฒนาเชิงพืน้ ทีด่ า้ นต่างๆ ในพืน้ ที่ EEC เมื่อเร็วๆ นี้ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้จัดการประชุมชี้แจงแผนงานการพัฒนาระบบการ วางแผนบริหารจัดการน�้ำในพื้นที่ EEC ภายใต้แผนยุทธศาสตร์เป้าหมาย (Spearhead) ด้านสังคม การบริหารจัดการน�ำ้ ขึน้ ณ ห้องประชุม ศาลากลาง จังหวัดระยอง

แผนงานพัฒนาระบบการวางแผนบริหารจัดการน�้ำใน EEC ลดการใช้น�้ำในพื้นที่ EEC 15% พรรรัตน์ เพชรภักดี หัวหน้าโครงการการพัฒนา ระบบบริหารจัดการน�ำ้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้น�้ำภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่ EEC

Engineering Today January - February

2020

ว่าที่ร้อยตรี พิรุณ เหมะรักษ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดระยอง ในฐานะ ประธานที่ประชุมฯ กล่าวว่า แผนงานการพัฒนาระบบฯ ในการสร้างความ มั่นคงด้านน�้ำและการวางระบบบริหารจัดการน�้ำด้านอุปสงค์ ที่มีเป้าหมาย

22


ผศ. ดร.ธนพล เพ็ญรัตน์ หัวหน้าโครงการ พัฒนาระบบบริหารจัดการน�ำ้ อัจฉริยะส�ำหรับภาคบริการ ในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)

เพื่ อ ลดอั ต ราการใช้ น�้ ำ คาดการณ์ ใ นพื้ น ที่ EEC ลง 15% เทียบกับข้อมูลการจัดการความต้องการใช้ น�้ำที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่ EEC มีความสอดคล้องกับ นโยบายการบริ ห ารจั ด การน�้ ำ ของจั ง หวั ด ระยอง ทีม่ งุ่ เน้นการใช้นำ�้ ให้ทวั่ ถึง ครอบคลุม และเป็นธรรม ทุกภาคส่วน ทั้งน�้ำกินน�้ำใช้ น�้ำภาคอุตสาหกรรม และน�้ำภาคการเกษตร “เพราะทุ ก ภาคส่ ว นจ� ำ เป็ น ต้ อ งเพิ่ ม ประสิทธิภาพในการใช้น�้ำ เพื่อลดความต้องการน�้ำ จึ ง คาดหวั ง ว่ า แผนงานนี้ จะเข้ า มาช่ ว ยพั ฒ นา กลไกเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น�้ำให้กับทุกภาคส่วน ด้วยการใช้ระบบการจัดการน�้ำอัจฉริยะ รวมถึงมี แนวทางการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมและเมืองโดย ใช้น�้ำเสียที่บ�ำบัดแล้ว ตลอดจนการจัดสรรน�้ำให้ กับทุกภาคส่วนอย่างสมดุลเป็นธรรมและยั่ง ยืน” ว่าที่ร้อยตรี พิรุณ กล่าว

เชื่อ “น�้ำเสีย” ช่วยกู้วิกฤตน�้ำพื้นที่ EEC ในอนาคต

นอกจากแผนงานการพัฒนาระบบเพื่อการ บริหารจัดน�ำ้ แล้ว เรือ่ งของ “น�ำ้ เสีย” ถือเป็นประเด็น ที่ได้รับความสนใจและถูกหยิบยกขึ้นมาแลกเปลี่ยน กันอย่างมากจากผู้เกี่ยวข้องทั้งหัวหน้าส่วนราชการ ต่างๆ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ และคณะนักวิจยั ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ เป้าหมาย (Spearhead) ด้านสังคม การบริหาร จั ด การน�้ ำ เพราะเชื่ อ ว่ า “น�้ ำ เสี ย ” น่ า จะเป็ น อี ก หนทางของการกู ้ วิ ก ฤตน�้ ำ ในพื้ น ที่ EEC ใน อนาคตได้

จากโจทย์ที่ว่าท�ำอย่างไรจะลดปัญหาการขาดแคลนน�้ำ เพราะการ หาแหล่งน�้ำเพิ่ม ทั้งน�ำ้ ผิวดินและน�้ำใต้ดินนั้นอาจไม่พอ แต่ประเด็นส�ำคัญคือ ต้องลดการใช้น�้ำลงด้วย เฉพาะในส่วนของจังหวัดระยอง ซึ่งมีการประเมินว่า ในปี พ.ศ. 2570 จะมีความต้องการใช้นำ�้ เพิ่มขึ้นประมาณ 370 ล้านลูกบาศก์ เมตร และในปี พ.ศ. 2580 จะเพิ่มขึ้นประมาณ 570 ล้านลูกบาศก์เมตร ขณะเดี ย วกั น เมื่ อ พู ด ถึ ง EEC คนส่ ว นใหญ่ จ ะเพ่ ง เล็ ง ไปที่ ภ าค อุตสาหกรรมคือต้นเหตุของปล่อยน�ำ้ เสียลงสูแ่ หล่งน�ำ้ ธรรมชาติ แต่ในความเป็น จริงแล้ว มีหลายโรงงาน รวมทั้งนิคมอุตสาหกรรม ที่มีการจัดการน�้ำเสียอย่าง เป็นระบบ และสามารถน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็น อี ก แนวทางหนึ่ ง ของการเพิ่ ม ทรั พ ยากรน�้ ำ ต้ น ทุ น ที่ นั ก วิ จั ย ภายใต้ แ ผน ยุทธศาสตร์เป้าหมาย (Spearhead) ด้านสังคม การบริหารจัดการน�้ำ มองกัน ว่าเป็นประเด็นส�ำคัญ

ลดการใช้น�้ำ 15% ในภาคอุตสาหกรรม เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น�้ำ-ลดการสูญเสียน�้ำ

พรรรัตน์ เพชรภักดี ผู้อ�ำนวยการอาวุโส สถาบันน�้ำและสิ่งแวดล้อม เพือ่ ความยัง่ ยืน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) ในฐานะหัวหน้า โครงการการพัฒนาระบบบริหารจัดการน�้ำเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ น�ำ้ ภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่ EEC กล่าวว่า การลดการใช้น�้ำ 15% ส�ำหรับ ภาคอุตสาหกรรมไม่ใช่เพียงการลดปริมาณการใช้น�้ำ แต่จะหมายถึงการเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้น�้ำเพื่อลดการสูญเสียน�้ำที่เกิดขึ้นในกระบวนการต่างๆ ด้วยภาคอุตสาหกรรม จะมีน�้ำที่ผ่านกระบวนการบ�ำบัดและศักยภาพสามารถ น�ำกลับมาใช้ได้ (Recycle) เนือ่ งจากโรงงานอุตสาหกรรมมีระบบบ�ำบัดน�ำ้ เสีย ภายในโรงงาน รวมถึงมีระบบบ�ำบัดน�้ำเสียส่วนกลาง (Center Treatment) ของนิ ค มอุ ต สาหกรรม หรื อ สวนอุ ต สาหกรรมที่ ส ามารถรองรั บ น�้ ำเสี ย ได้ ในปริมาณมาก ส�ำหรับภาคส่วนอื่น เช่น ภาคชุมชน และภาคบริการบางแห่ง ก็มีระบบบ�ำบัดน�้ำเสียเช่นกัน ซึ่งทางคณะวิจัยก�ำลังศึกษาและพัฒนา เพื่อหา แนวทางในการน�ำน�้ำเสียเหล่านั้นกลับมาใช้ประโยชน์

คัดเลือกโรงงาน-นิคมพัฒนาเป็นต้นแบบบริหารจัดการน�้ำ ก่อนขยายผลในพื้นที่อื่น ๆ ใน EEC

โครงการฯ นี้ เป็ น โครงการ “หวั ง ผล” โดยมี เ ป้ า หมาย เพื่ อ เพิ่ ม ประสิทธิภาพการใช้นำ�้ เพื่อลดการใช้น�้ำให้ได้อย่างน้อย 15% โดยประยุกต์ใช้ ระบบบริหารจัดการน�้ำอัจฉริยะ หรือ Smart System ที่รวมการใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยี 3R (Reuse, Reduce and Recycle) กับการใช้ Internet of Thing (IoT) ที่ช่วยเสริมให้ระบบบริหารจัดการท�ำงานได้สะดวก รวดเร็ว และแม่นย�ำยิ่งขึ้น “ตามแผนงานจะมีระยะเวลาด�ำเนินงาน 3 ปี โดยในปีแรก จะท�ำการ การคัดเลือกต้นแบบระดับโรงงาน จ�ำนวน 15 แห่ง และต้นแบบระดับนิคม 2 แห่ง ส�ำหรับรวบรวมข้อมูลการใช้นำ�้ ในปัจจุบนั ทัง้ ในเชิงคุณภาพ และปริมาณ โดยผู้เชี่ยวชาญ และท�ำการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 3R ร่วมกับ IoT (Internet

23

Engineering Today January - February

2020


of Things) เพือ่ พัฒนาเป็น “ต้นแบบหรือโมเดลการ บริหารจัดการน�ำ้ ของนิคมอุตสาหกรรมและโรงงาน แต่ละประเภท” ก่อนขยายผลไปยังโรงงานหรือ นิคมฯ อื่นๆ ในพื้นที่ EEC และจัดท�ำข้อเสนอ เชิงนโยบายให้ภาครัฐเพื่อออกเป็นกฎหมาย หรือ มาตรการส่งเสริมให้ภาคอุตสาหกรรมใช้น�้ำอย่าง มีประสิทธิภาพต่อไป” พรรรัตน์ กล่าว

ระบบ 3R เป็นทางออกให้ภาคบริการเช่นกัน ด้าน ผศ. ดร.ธนพล เพ็ญรัตน์ อาจารย์จาก มหาวิทยาลัยนเรศวร ในฐานะหัวหน้าโครงการ พัฒนาระบบบริหารจัดการน�ำ้ อัจฉริยะส�ำหรับภาค บริ ก ารในพื้ น ที่ เ ขตพั ฒ นาพิ เ ศษภาคตะวั น ออก (EEC) กล่าวว่า การบริหารจัดการน�้ำด้วยหลัก เศรษฐกิจหมุนเวียน หรือ 3R คือ Reuse , Reduce และ Recycle นัน้ เป็นทิศทางทีท่ ำ� กันมาแล้วทัว่ โลก โดยสหภาพยุโรปมีนำ� มาใช้แล้วสามารถลดการใช้นำ�้ ได้ 10-50% จึงเชื่อว่าระบบ 3R จะเป็นทางออก ให้กับภาคบริการเช่นกัน “ในฐานะนักวิจัยเรามองว่า เรื่องของ 3R ไม่ได้แค่เรื่องของเทคโนโลยี แต่เป็นองค์รวม คือ Circular Economy การศึกษาจึงไม่เพียงศึกษาด้าน สิง่ แวดล้อม แต่ยงั ต้องศึกษาในด้านของเศรษฐศาสตร์ และแรงจูงใจทางด้านกฎหมายด้วย” ผศ. ดร.ธนพล กล่าว

Engineering Today January - February

2020

โครงการนี้ในระยะที่ 1 จะท�ำการศึกษาความเป็นไปได้ และออกแบบ ทั้งน�้ำใต้ดินและน�้ำผิวดิน ศึกษาการจัดการองค์ความรู้ 3R โดยที่ผ่านมา ผู้วิจัยได้เข้าส�ำรวจเก็บข้อมูลโรงงานสถานประกอบการ พร้อมถอดบทเรียน ในพื้นที่ที่ท�ำจริง ออกแบบและประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์และที่ไม่ใช่ เชิงเศรษฐศาสตร์

บริหารจัดการน�้ำด้วยหลัก 3R

ผศ. ดร.ธนพล กล่าวถึงการบริหารจัดการน�้ำด้วยหลัก 3R ว่า เมื่อเรา ใช้นำ�้ แล้ว แทนทีเ่ ราจะบ�ำบัดแล้วปล่อยออก เราจะเพิม่ การบ�ำบัดอีกขัน้ หนึง่ ให้ สามารถน�ำกลับมาใช้ได้ เบื้องต้นเราตั้งเป้าการน�ำกลับมาใช้ใหม่แบบ Non Portable คือ ไม่สมั ผัสร่างกาย ซึง่ สามารถใช้ได้ทงั้ กับ Black Water คือน�ำ้ เสีย จากสุขภัณฑ์/ส้วม และ Gray Water น�้ำเสียจากกระบวนการอื่น ๆ โดยผลผลิตในระยะที่ 1 (ระยะเวลาด�ำเนินการ 1 ปี) คือแบบทาง วิศวกรรมของระบบ 3R ที่มี IoT เข้าช่วยส�ำหรับภาคบริการ 6 ประเภท คือ กลุ่มธุรกิจการค้า, กลุ่มสถานบริการและที่พัก, กลุ่มสถานศึกษา, กลุ่ม โรงพยาบาล, กลุ่มสถานีบริการเชื้อเพลิง, และ กลุ่มตลาด ศูนย์การค้า ห้างสรรพสินค้าและสหกรณ์ นอกจากนี้ผลผลิตส�ำคัญคือการวิเคราะห์ว่า ภาคส่วนใดของภาคบริการที่มีโอกาสในการท�ำ 3R เพื่อลดการใช้น�้ำและน�ำ น�้ำกลับมาใช้ใหม่ได้มากที่สุด พร้อมทั้งการประเมินทางเศรษฐศาสตร์เพื่อ พัฒนามาตรการทางนโยบาย และกฎหมายในการสนับสนุนให้เกิดการน�ำระบบ บริหารจัดการน�ำ้ อัจฉริยะส�ำหรับภาคบริการทีศ่ กึ ษาในโครงการนีม้ าใช้งานจริง “ในปี พ.ศ. 2563 และ พ.ศ. 2564 จะมีการท�ำต้นแบบการใช้ระบบ บริหารจัดการน�้ำอัจฉริยะส�ำหรับภาคบริการที่ศึกษาในโครงการระยะที่ 1 กับสถานประกอบการจริง และเก็บผลสัมฤทธิ์จริงเพื่อเป็นต้นแบบสู่การขยาย ผลในระดับประเทศต่อไป” ผศ. ดร.ธนพล กล่าว

24


Digital Economy @Engineering Today Vol. 1 No. 175

Grundfos Launches First Digital Lab in Singapore to Drive Adoption of Smart Water Solutions สยามคูโบตา ชู KUBOTA Farm เปนโมเดลนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม ของอาเซียน

แนวทางพัฒนาเมืองอัจฉร�ยะของไทย สูความเปนเมืองนาอยูอยางแทจร�ง การใชงานเทคโนโลยีปญญาประดิษฐ (AI) ในกลุมอุตสาหกรรมการผลิต โทรคมนาคม และการแพทย 10 เทรนดเทคโนโลยีในป พ.ศ. 2563


AI • เน็ตแอพ

การใช้งานเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในกลุ่มอุตสาหกรรม

การผลิต โทรคมนาคม และการแพทย์

มเดล Deep Learning (DL) ก่ อ ให้ เ กิ ด ความ เปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เกี่ยวกับรูปแบบการประยุกต์ใช้ งานข้ อ มู ล เชิ ง ลึ ก ในสถานการณ์ จ ริ ง และในชี วิ ต ประจ� ำ วั น ก่อนหน้านีโ้ มเดล Deep Learning ถูกใช้งานอย่างจ�ำกัดเฉพาะ ในแวดวงวิทยาศาสตร์และการวิจยั แต่เนือ่ งจากปัจจุบนั มีขอ้ มูล จ� ำ นวนมหาศาล อี ก ทั้ ง พลั ง ประมวลผลของคอมพิ ว เตอร์ สามารถรองรับการประมวลผลแบบคู่ขนานได้อย่างรวดเร็ว มากขึน้ มีเฟรมเวิรก์ ซอฟต์แวร์และโมเดลต่างๆ ด้วยเหตุนบี้ ริษทั ทั้ ง ขนาดเล็ ก และขนาดใหญ่ จึ ง หั น มาปรั บ ใช้ เ ทคโนโลยี AI (Artificial Intelligence) กันอย่างกว้างขวาง เพือ่ กลัน่ กรองข้อมูล เชิงลึกและน�ำไปใช้ในการปรับปรุงและขยายธุรกิจให้เติบโต โดยเน็ตแอพ ผูน้ ำ� ในการบริหารจัดการข้อมูลส�ำหรับระบบ ไฮบริดคลาวด์ ได้แบ่งปันประสบการณ์การใช้งานเทคโนโลยี ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ในกลุม่ อุตสาหกรรมการผลิต โทรคมนาคม และการแพทย์

กรณีการใช้งาน AI ในอุตสาหกรรมการผลิต

การพบเจอกันของ Internet of Things (IoT) และ AI ส่งผล ให้เกิดแนวคิดเรื่องระบบการผลิตแบบอัจฉริยะ หรือ Smart Manufacturing ทีม่ กี ารใช้เทคโนโลยีดา้ นการรูค้ ดิ ของคอมพิวเตอร์ ปรับปรุงประสิทธิภาพในด้านต่างๆ เช่น การจัดการสินทรัพย์

Engineering Today January - February

2020

26

การจัดการซัพพลายเชน การจัดการการขนส่ง และการตรวจสอบ ติดตามค�ำสั่งซื้อ กรณี ก ารใช้ ง าน AI ที่ พ บเห็ น อย่ า งแพร่ ห ลายในภาค การผลิตมีดังนี้ • การบ�ำรุงรักษาเชิงคาดการณ์ ความสามารถในการคาด การณ์ล่วงหน้าว่าอุปกรณ์และเครื่องจักรจะเสียหรือหยุดท�ำงาน ช่วยปรับปรุงการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์และประสิทธิภาพการ ท�ำงาน โดยครอบคลุมถึงการรับรู้และการพยากรณ์ล่วงหน้า เกีย่ วกับความล้มเหลวทีอ่ าจเกิดขึน้ การบ�ำรุงรักษาเชิงคาดการณ์ จะช่วยลดระยะเวลาหยุดท�ำงานของอุปกรณ์และช่วยประหยัดค่า ใช้จ่ายในการตรวจสอบ ตัวอย่างเช่น “Predi” เป็นแพลตฟอร์ม IoT ส�ำหรับภาคอุตสาหกรรม (ซึ่งใช้ AI) จาก GE ส�ำหรับ อุตสาหกรรมการผลิต โดยใช้เซ็นเซอร์เพื่อบันทึกขั้นตอนของ กระบวนการทั้งหมด และตรวจสอบดูแลเครื่องจักรที่ซับซ้อน แพลตฟอร์มนี้ประกอบด้วยการประมวลผลเหตุการณ์ที่ซับซ้อน กับเทคโนโลยี Machine Learning (ML) ที่อยู่บนอุปกรณ์ ปลายทาง (Egde) • การปรับปรุงผลผลิต การลดข้อบกพร่องที่ท�ำให้ต้อง ก� ำ จั ด ผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ะส่ ง ผลดี โ ดยตรงต่ อ ผลก� ำ ไรขององค์ ก ร ในอุ ต สาหกรรมเซมิ ค อนดั ก เตอร์ การสู ญ เสี ย ผลผลิ ต ใน กระบวนการผลิตคิดเป็นสัดส่วนเปอร์เซ็นต์ที่สูงมากในต้นทุน


การผลิตทั้งหมด ด้วยการใช้เอนจิ้น AI บริษัทต่างๆ จะสามารถ ระบุ ป ั ญ หาที่ ท� ำ ให้ เ กิ ด การสู ญ เสี ย ผลผลิ ต รวมถึ ง สาเหตุ ซึ่งสามารถหลีกเลี่ยงได้ด้วยการเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิต ตัวอย่างเช่น Design for Manufacturability (DFM) เป็นกระบวน การออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ พื่ อ ให้ ง ่ า ยในการน� ำ ไปผลิ ต นั ก วิทยาศาสตร์ที่ Lowa State University ก�ำลังพัฒนาเฟรมเวิร์ก การรองรับการตัดสินใจด้วย AI DFM ซึ่งเร่งความเร็วด้วย GPU เพือ่ ช่วยให้นกั ออกแบบปรับปรุงโมเดล CAD ให้มคี วามเหมาะสม สูงสุดซึ่งจะช่วยเพิ่มความสามารถด้านการผลิต • การทดสอบและปรับปรุงคุณภาพ: ยิ่งสินค้าผ่านการ คั ด กรองคุ ณ ภาพได้ เ ร็ ว ขึ้ น เท่ า ไร บริ ษั ท ก็ จ ะยิ่ ง ขายสิ น ค้ า ได้ มากขึ้นเท่านั้น การตรวจสอบสินค้าโดยใช้ AI มีความแม่นย�ำกว่า การตรวจสอบโดยใช้แรงงานคน ทั้งยังมีค่าใช้จ่ายในการด�ำเนิน งานทีต่ ำ�่ กว่า อัลกอริทมึ เหล่านีพ้ งึ่ พาการเรียนรูภ้ ายใต้การก�ำกับ ดูแลเพื่อตรวจจับข้อบกพร่องของสินค้าที่รู้จักก่อนหน้านี้ รวมถึง เทคนิคการเรียนรูท้ อี่ ยูภ่ ายใต้การควบคุมบางส่วนเพือ่ ระบุประเภท ของข้อบกพร่องทีไ่ ม่เคยรูจ้ กั มาก่อน ตัวอย่างเช่น Bosch สามารถ ลดเวลาที่ ใ ช้ ใ นการทดสอบและการปรั บ เที ย บ (Test and Calibration Time) ได้ถงึ 35% ในกระบวนการผลิตปัม๊ ไฮดรอลิก โดยใช้โมเดล ML ที่คาดการณ์ผลการทดสอบและเรียนรู้เพิ่มเติม อย่างต่อเนื่องเมื่อเวลาผ่านไป • การปรั บ ปรุ ง ในส่ ว นของการจั ด การสิ น ค้ า คงคลั ง การคาดการณ์ความต้องการ และการจัดการซัพพลายเชน เป็น อีกหนึ่งแง่มุมส�ำคัญที่มีการปรับใช้เทคโนโลยี AI ตัวอย่างเช่น Honeywell ใช้โมเดลการคาดการณ์ความต้องการโดยอาศัย AI โดยใช้ ค วามแตกต่ า งและอั ต ราส่ ว นของดั ช นี ร าคาน�้ ำ มั น ดิ บ เป็นข้อมูลส�ำหรับการประมวลผล โดยบริษัทฯ ใช้โมเดลดังกล่าว ส�ำหรับการจัดซื้อจัดจ้าง การจัดหาเชิงกลยุทธ์ และการจัดการ ต้นทุน

กรณีการใช้งาน AI ในธุรกิจโทรคมนาคม

ในระดับที่สูงขึ้นไป สองปัจจัยหลักที่ขับเคลื่อนการใช้งาน AI ในธุรกิจโทรคมนาคม ได้แก่ การลดค่าใช้จา่ ยในการด�ำเนินงาน โดยอาศัยระบบงานอัตโนมัติ และการมอบประสบการณ์ที่เหนือ กว่ า ให้ แ ก่ ลู ก ค้ า ข้ อ มู ล จาก Tractica ชี้ ว ่ า การลงทุ น ด้ า น โทรคมนาคมในเทคโนโลยี AI คาดว่าจะแตะระดับ 36.7 พันล้าน เหรียญต่อปีภายในปี พ.ศ. 2568 กรณีการใช้งาน AI ที่สำ� คัญใน ภาคธุรกิจโทรคมนาคมคาดว่าจะเป็นเรื่องของการตรวจสอบและ จัดการการด�ำเนินงานเกี่ยวกับเครือข่าย โดยครองสัดส่วนค่าใช้ จ่ายด้าน AI สูงทีส่ ดุ ในช่วงระยะเวลาดังกล่าว ส่วนกรณีการใช้งาน AI ที่ส�ำคัญอื่นๆ เกี่ยวข้องกับโปรแกรมผู้ช่วยเสมือนจริงส�ำหรับ บริการลูกค้า, ระบบ CRM อัจฉริยะ และไซเบอร์ซีเคียวริตี้ กรณีการใช้งาน AI ที่ได้รับความนิยมในธุรกิจโทรคมนาคม มีดังนี้ • การปรับปรุงเครือข่าย ใช้ AI เพื่อท�ำนายการเชื่อมต่อ ทีเ่ หมาะสมส�ำหรับเครือข่ายโทรคมนาคม ขับเคลือ่ นการวิเคราะห์ เครือข่ายและการสร้างแบบจ�ำลองทีซ่ บั ซ้อน และการวางแผนเกีย่ ว กับเครือข่ายอัจฉริยะ และผลักดันให้มีการปรับปรุงประสิทธิภาพ • แชทบอท โปรแกรมแชทแบบอัตโนมัติที่ขับเคลื่อนด้วย AI ส�ำหรับตอบข้อซักถามของลูกค้า โอนการติดต่อของลูกค้าไป ยังเจ้าหน้าทีใ่ นแผนกทีเ่ กีย่ วข้อง และโอนลูกค้าเป้าหมายไปยังทีม งานฝ่ายขาย ถือว่ามีความส�ำคัญต่อการด�ำเนินงาน ตัวอย่างเช่น Spectrum ใช้โปรแกรมผู้ช่วยเสมือนจริง “Ask Spectrum” ซึ่ง ขับเคลื่อนด้วย AI เพื่อช่วยเหลือลูกค้าส�ำหรับการแก้ไขปัญหา การตรวจสอบข้อมูลบัญชี และการตอบค�ำถามทั่วไป ขณะที่ CenturyLink ได้ปรับใช้โปรแกรมผูช้ ว่ ยเสมือนจริง ‘Angie’ ซึง่ เป็น ซอฟต์แวร์ที่ใช้ AI ส�ำหรับงานขายและการตลาด โดยท�ำหน้าที่ ส่งอีเมล์ 30,000 ฉบับต่อเดือน และตีความการตอบกลับเพื่อ ระบุลูกค้าเป้าหมาย

27

Engineering Today January - February

2020


• บริการสั่งงานด้วยเสียง ผู้ให้บริการพยายามที่จะปรับ เปลี่ยนอุปกรณ์รีโมทคอนโทรลให้มีความสามารถในการจดจ�ำ เสียงพูด เพื่อให้สามารถขายคอนเทนต์และบริการในลักษณะ ทีเ่ ป็นแบบเฉพาะบุคคลมากขึน้ ตัวอย่างเช่น “XI Talking Guide” คื อ เครื่ อ งมื อ AI ที่สั่ง งานด้ว ยเสีย งพูดจาก Comcast โดย สามารถพูด แสดงชื่อรายการ ช่อง และช่วงเวลา • การบ�ำรุงรักษาเชิงคาดการณ์ แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ (หอส่งสัญญาณ สายไฟ ฯลฯ) ก่อนที่จะเสีย รวมทั้ ง ตรวจจั บ สั ญ ญาณและจุ ด เปลี่ ย นที่ มั ก จะน� ำ ไปสู ่ ค วาม ล้มเหลวในการท�ำงาน เช่น การใช้โดรนเพือ่ ตรวจสอบเสาสัญญาณ โทรศัพท์ ตัวอย่างเช่น AT&T พัฒนาอัลกอริทึมที่ใช้ DL เพื่อ ควบคุ ม สั่ ง การโดรนแบบอั ต โนมั ติ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ ส� ำ หรั บ การ ตรวจสอบเสาสัญญาณโทรศัพท์มือถือโดยใช้ AI ในการวิเคราะห์ ข้อมูลวิดีโอ

กรณีการใช้งาน AI ในแวดวงการแพทย์

การด�ำเนินการทางการแพทย์ตอ้ งอาศัยกระบวนการต่างๆ อย่างมาก จึงมีความเป็นไปได้สงู มากทีจ่ ะใช้ AI เพือ่ ขับเคลือ่ นการ ปรับปรุงประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการในส่วนทีย่ งั เข้าไม่ ถึง และรองรับการท�ำงานซ�้ำๆ โดยอัตโนมัติ ทั้งในส่วนของการ วิจยั และพัฒนา (R&D) การดูแลรักษาผูป้ ว่ ย การถ่ายภาพทางการ แพทย์ และงานด้านการบริหารจัดการ ผลการศึกษาของ Accenture ชี้ว่า ภายในปี พ.ศ. 2569 การประยุกต์ใช้งาน AI ในด้านการ แพทย์จะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายได้ถึง 150 พันล้านเหรียญต่อปี กรณีการใช้งาน AI ที่ได้รับความนิยมในแวดวงการแพทย์ มีดังนี้ • การผ่าตัดโดยใช้หุ่นยนต์ เทคโนโลยีเหล่านี้จะช่วย ปรั บ ปรุ ง การวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล จากเวชระเบี ย นก่ อ นการผ่ า ตั ด แนะน�ำเครื่องมือในแบบเรียลไทม์ในระหว่างการผ่าตัด ใช้ข้อมูล จากประสบการณ์การผ่าตัดจริงเพื่อน�ำเสนอเทคนิคการผ่าตัด ใหม่ๆ ประโยชน์ทไี่ ด้รบั คือ การลดข้อผิดพลาด และลดระยะเวลา พั ก ฟื ้ น ของผู ้ ป ่ ว ยภายหลั ง การผ่ า ตั ด ตั ว อย่ า งเช่ น Mazor Robotics ใช้ AI เพือ่ ช่วยเหลือในกระบวนการผ่าตัดแบบส่องกล้อง • ความช่วยเหลือของพยาบาลเสมือนจริง แอพพลิเคชั่น ที่สั่งงานด้วยเสียงและข้อความได้รับการฝึกฝนเพื่อให้สามารถ ถามและจัดการค�ำถามเบื้องต้นเกี่ยวกับสุขภาพ โดยรองรับการ ตรวจสุขภาพผ่านการสั่งงานด้วยเสียงพูดและ AI ลดการเดินทาง ไปยังโรงพยาบาลโดยไม่จ�ำเป็น ประเมินอาการ และส่งผู้ป่วยไป ยังแผนกที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การดูแลรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ สูงสุด เป้าหมายของแอพฯ นี้คือ เพื่อลดระยะเวลาที่พยาบาล ต้องใช้ในการให้บริการแก่ผู้ป่วย ตัวอย่างเช่น Sensely น�ำเสนอ ตัวละครพยาบาล “Molly” ที่ขับเคลื่อนด้วย AI ซึ่งรับฟังและ ตอบค�ำถามของผู้ใช้

Engineering Today January - February

2020

28

• การวินิจฉัย ด้วยการปรับใช้เทคโนโลยีการรู้คิดเพื่อปลด ล็อคข้อมูลเวชระเบียนจ�ำนวนมหาศาล ระบบ AI จะให้คุณ ประโยชน์มากมายในการจดจ�ำแบบแผนของภาพสแกนหลายล้าน ชุดภายในระยะเวลาที่รวดเร็ว และมีความแม่นย�ำสูงมาก โดย เป้ า หมายหลั ก คื อ การค้ น คว้ า วิ จั ย ด้ า นมะเร็ ง และรั ง สี วิ ท ยา ตัวอย่างเช่น LYNA (Lymph Node Assistant) ของ Google AI ตรวจจั บมะเร็ ง เต้ า นมระยะแพร่ ก ระจายได้ อ ย่ า งแม่ น ย� ำ ถึง 99% • การบริหารจัดการ: บุคลากรทางการแพทย์ตอ้ งเสียเวลา มากมายไปกับกิจกรรมที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย ดังนั้นจึงมีการ ใช้แอพฯ แปลงเสียงพูดเป็นข้อความเพือ่ ลดระยะเวลาส�ำหรับงาน เอกสาร ปรับปรุงการรายงานเรื่องคุณภาพ และวิเคราะห์รายงาน ทางการแพทย์ ห ลายพั น ฉบั บ โดยใช้ NLP ในการแจ้ ง ข้ อ มู ล เกี่ยวกับแผนการรักษาพยาบาล ซึ่งทั้งหมดนี้ช่วยให้บุคลากร สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างเต็มที่ และเพิ่มประสิทธิภาพการ ท�ำงาน

กรณีศึกษาส�ำหรับ ONTAP AI ในแวดวงการแพทย์

นอกเหนือจากกรณีศึกษาเกี่ยวกับกรณีการใช้งาน AI ใน กลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ แล้ว เรามาลองดูตัวอย่างบางส่วนของ การน�ำแพลตฟอร์ม ONTAP AI ไปใช้งานในภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ ส�ำหรับกรณีการใช้งานที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ มีการน�ำ แพลตฟอร์มไปใช้ในการคัดแยกภาพถ่ายเนื้องอกมะเร็งเต้านม เราใช้ชุดข้อมูลของภาพเซลล์จาก University of Wisconsin รวมไปถึ ง โมเดล CNN พร้ อ มด้ ว ยเลเยอร์ แ บบคอนโวลู ชั น 3 เลเยอร์ และเลเยอร์แบบเชื่อมต่ออย่างทั่วถึง 2 เลเยอร์ โดย ทั้งหมดนี้อยู่บนระบบ DGX-1, AFF A800, TensorFlow โดยมี การจัดเก็บข้อมูลด้วยเทคโนโลยี FlexGroup Volumes เราสามารถฝึกสอนโมเดลดังกล่าวให้มีความแม่นย�ำ 79% ในการระบุเซลล์ที่เป็นเนื้องอกธรรมดา และมีความแม่นย�ำถึง 92% ในการระบุเซลล์ที่เป็นเนื้อร้ายภายในชุดข้อมูลที่ทดสอบ แน่นอนว่าความแม่นย�ำดังกล่าวถูกจ�ำกัดด้วยชุดข้อมูลขนาดเล็ก ที่ใช้ แต่ก็แสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ในการใช้งาน AI และ ONTAP AI การประยุกต์ใช้งาน AI ในกลุม่ อุตสาหกรรมต่าง ๆ จ�ำเป็น ต้องอาศัยการจัดเก็บข้อมูลที่สอดประสานกันระหว่างอุปกรณ์ ปลายทาง (Edge) ศูนย์คอมพิวเตอร์หลัก (Core) และระบบ คลาวด์ ดังนั้นการจัดการข้อมูลอย่างไร้รอยต่อจึงมีความส�ำคัญ องค์กรต่างๆ สามารถเลือกทีจ่ ะพัฒนาแอพพลิเคชัน่ AI บนระบบ คลาวด์สาธารณะหรือระบบที่ติดตั้งภายในองค์กรก็ได้ โดย ขึ้นอยู่กับแหล่งข้อมูล ขนาดของชุดข้อมูล และต้นทุนค่าใช้จ่าย


Digital • S.Wongsritrakool

Grundfos Launches Kim Jensen (right), Group Senior Vice President & Regional Managing Director, Grundfos Asia Pacific Region, and Chee Meng Tan, Regional Product Portfolio Director and Regional Business Director, Water Utility, Asia Pacific, Grundfos, officially launch the Grundfos iSOLUTIONS lab

First Digital Lab in Singapore to Drive Adoption of Smart Water Solutions

Global pump manufacturer Grundfos inaugurated its digital lab in Singapore – the first of its kind by the industry leader in Asia Pacific – as a strategic initiative to drive greater adoption of intelligent water solutions in the region. The lab will showcase Grundfos’ range of iSOLUTIONS products, which leverage intelligent technology to deliver optimal performance, greater Kim Jensen , Group Senior Vice President & Regional Managing Director, energy efficiency and reliability. These products Grundfos Asia Pacific Region are used for a wide range of applications across sectors – from water distribution and wastewater treatment by water utilities, pressure boosting and heating, ventilation and air conditioning in commercial buildings, to industrial applications such as washing, cleaning and industrial cooling. Key solutions on showcase include the Grundfos SMART Digital XL DDA and DDE dosing Gary Flanagan, Regional Product Portfolio Manager, pumps, which enable accurate chemical dosage Grundfos Asia Pacific Region across numerous production processes including drinking water, wastewater treatment, and industrial processing, reducing chemical consumption by 5% to 19% per cent. The lab also demonstrates the Grundfos Remote Management – a secure, internet-based system, which intelligently monitors and manages water flows in pump installations through the interconnectivity of pumps, sensors and meters. Kim Jensen, Regional Managing Director of Grundfos Asia Pacific region, said that establishing a dedicated lab in the region is a demonstration of the company’s confidence in Asia-Pacific’s digitalisation potential, as well as recognition of Singapore as the hub for this digital transformation, thanks to its Smart Nation ambitions. Asia-Pacific is poised for digital growth – by 2021, approximately 60% of the region’s GDP will come from products and services created through digital transformation[1]. Through the lab, Grundfos seeks to demonstrate the value of intelligent pump solutions, with the aim of driving greater uptake among its wide customer base, which range from utilities and government agencies to property owners and major industries. Microsoft (2018). Digital transformation to contribute more than US$1 trillion to Asia Pacific GDP by 2021; AI is primary catalyst for further growth [1]

29

Engineering Today January - February

2020


“Pumps do not exist in isolation. We believe that the key to maximum efficiency is optimising the entire pump system, and not only the pumps. The iSOLUTIONS range aims to optimise energy and water efficiency across the entire system by leveraging connectivity, intelligent monitoring and commissioning wizards. Through our iSOLUTIONS portfolio, we have successfully delivered significant energy savings for our customers, whilst at the same time driving significant cost savings with optimised performance.” Kim Jensen said The iSOLUTIONS lab will also play the role of a training facility for Grundfos partners and employees across sales, service, and production to familiarise them with iSOLUTIONS. Previously only available in Europe, the new lab will make iSOLUTIONS training much more accessible for Grundfos employees in the region, providing them a ready avenue to develop the necessary digital skills. “With our pumps being such an important part of critical water infrastructure across the region, it is imperative that not only are we offering the most cutting-edge and intuitive solutions with the highest levels of performance, but that our employees are also equipped with the necessary skillsets to develop and service these products.” Kim Jensen also added Gary Flanagan, Regional Product Portfolio Manager, Grundfos Asia Pacific Region is responsible for the iSOLUTIONS product portfolio, said our expertise is based on 70 years of experience with pump system. Our skilled engineers take an inquisitive approach to projects, and work to get a deep understanding of its goals. Grundfos iSOLUTIONS is intelligent high performace that can control, monitor and optimize your system. We work closely with customers to precisely tailor the pump systems to achieve, smooth operation, energy

Engineering Today January - February

2020

30

optimization, reduced downtime, visual overview and best-in-class components. The iSOLUTIONS lab was built on 500 sqm of open space previously used for storage and is used for live demonstrations of iSOLUTIONS applications. Grundfos AQpure is an ultrafiltration-based water treatment system optimised for producing drinking water in local communities, also in remote areas where establishing a stable, reliable and affordable production of drinking water from lakes and rivers can be extremely challenging. Distributed Pumping System (DPS), an innovation in considerably reducing energy consumption for building cooling systems. The DPS aims to help air-conditioning systems consume up to 50% less energy than current conventional methods


Smart Farm • กองบรรณาธิการ

KUBOTA Farm โมเดลนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ของอาเซียน บนเนื้อที่ 220 ไร่ อ.บ้านบึง จ.ชลบุรี

รถด�ำนาคูโบต้า ติดตั้งระบบ GPS

สยามคูโบต้าชู KUBOTA Farm เป็นโมเดลนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ของอาเซียน

ยกระดับภาคการเกษตรอาเซียน รองรับ Smart Farm

มื่อเร็วๆ นี้ บริษัท สยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด น�ำคณะ สื่อมวลชน เยี่ยมชม KUBOTA Farm ฟาร์มสร้างประสบการณ์ เกษตรสมัยใหม่ของภูมิภาคอาเซียน บนพื้นที่ 220 ไร่ อ.บ้านบึง จ. ชลบุรี พร้ อ มเปิ ด ทั้ ง 9 โซน 40 โซลู ชั่ น ให้ เ ข้ า ชม ชู จุ ด เด่ น ของ KUBOTA (Agri) Solutions น�ำนวัตกรรมการเกษตรแบบครบวงจรสร้างประสบการณ์ เพาะปลูกด้วยวิธีการเกษตรสมัยใหม่ หวังให้ KUBOTA Farm เป็นโมเดล นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่แห่งแรกในภูมภิ าคอาเซียน รองรับเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farm) สมศักดิ์ มาอุทธรณ์ กรรมการรองผู้จัดการใหญ่อาวุโส บริษัท สยาม คูโบต้าคอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด กล่าวถึงการจัดตั้ง KUBOTA Farm ว่า จุดเริ่มต้น เกิดจากบริษัทฯ ค�ำนึงถึงความต้องการของเกษตรกรเป็นหลัก (Customer Centric) โดยมุง่ หวังให้เกษตรกรได้เข้าถึงทุกนวัตกรรมทีใ่ ช้ได้จริง ผ่านการลงมือ ท�ำและเห็นด้วยตาตนเอง จึงได้เริม่ พัฒนา KUBOTA Farm ตัง้ แต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2561 ต่อยอดจากแนวคิด KUBOTA (Agri) Solutions หรือ KAS ซึ่ง เป็นการจัดการเกษตรกรรมครบวงจรทีเ่ ป็นเอกลักษณ์เฉพาะของคูโบต้า จัดตัง้ บนเนื้อที่กว่า 220 ไร่ ในอ�ำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี ด้วยการใช้เทคนิคการ เพาะปลูกผสานเทคโนโลยีและนวัตกรรมเครื่องจักรกลการเกษตรเข้าด้วยกัน อีกทั้งยังมีระบบจัดการฟาร์มที่ช่วยในการวางแผน ปฏิบัติการ ตรวจสอบ และ ปรับปรุงแก้ไขในการท�ำการเกษตร รวมถึงการใช้โดรนฉีดพ่นสารชีวภัณฑ์ ทดแทนแรงงานคน โดยน�ำเสนอเทคโนโลยี loT (Internet of Things) และ Robot ที่ช่วยลดแรงงานและเพิ่มประสิทธิภาพการท�ำงานแม่นย�ำมากขึ้น เพื่อช่วยเกษตรกรในการลดต้นทุน เพิ่มคุณภาพ ผลผลิตและรายได้ ตลอดจน ยกระดับและสร้างมาตรฐานเกษตรกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขัน

31

ในตลาดโลก และช่วยลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น กับเกษตรกร รวมไปถึงสิ่งแวดล้อม เพื่ออนาคต ที่มั่นคงและยั่งยืนของเกษตรกรไทย KUBOTA Farm ฟาร์มสร้างประสบการณ์จริง ในการเพาะปลู ก พื ช ด้ ว ยวิ ธี ก ารเกษตรสมั ย ใหม่ ให้ความรูแ้ ละเน้นการปฏิบตั จิ ริงในการท�ำการเกษตร เต็มรูปแบบแห่งแรกในอาเซียน ถูกออกแบบภายใต้ แนวคิด End to End Solutions ตั้งแต่ต้นน�้ำ กลางน�้ำ และปลายน�ำ้ ที่ออกแบบและติดตั้งระบบ จัดการฟาร์มด้วย IoT (Internet of Things) มาใช้ ในระบบบริ ห ารจั ด การเครื่ อ งจั ก รกลการเกษตร โดยคาดว่าจะแล้วเสร็จสมบูรณ์ต้นเดือนสิงหาคมนี้ เพือ่ เปิดโอกาสให้ผทู้ สี่ นใจด้านการเกษตรได้รจู้ กั และ ทดลองใช้งานนวัตกรรมเครือ่ งจักรกลการเกษตรอัน ทันสมัยของสยามคูโบต้า

สมศักดิ์ มาอุทธรณ์ กรรมการรองผู้จัดการใหญ่อาวุโส บริษัท สยามคูโบต้าคอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด

Engineering Today January - February

2020


โซนเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชด�ำริรัชกาลที่ 9 ปลูกพืชสร้างรายได้แบบรายเดือน

ภายใน KUBOTA Farm มีโซนต่างๆ ทั้งหมด 9 โซน และ 40 โซลูชั่น ดังนี้ 1. โซนให้คำ� ปรึกษาเกษตรครบวงจร ซึง่ จะเป็นโซนแนะน�ำการท�ำเกษตร แบบครบวงจรของสยามคูโบต้าและให้ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับการท�ำเกษตร 2. โซนเกษตรแม่นย�ำข้าวและพืชหลังนา การน�ำนวัตกรรมต่างๆ เข้ามาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้การท�ำเกษตรมีความแม่นย�ำมากยิ่งขึ้น ซึ่ง ในโซนนี้ สยามคูโบต้ามุ่งน�ำเสนอ 5 เรื่องส�ำคัญ ได้แก่ 1) Zero Broadcast (โครงการปลอดนาหว่าน) โดยแสดงตัวอย่างด้วยการส่งเสริม 3 วิธดี ว้ ยกัน คือ การปักด�ำ การหยอดน�้ำตม และ การหยอดข้าวแห้ง 2) KAS Crop Calendar ปฏิทินการเพาะปลูก 3) Zero Burn (โครงการเกษตรปลอดการเผา) โดย แนะน�ำวิธีการและนวัตกรรมเกษตรต่างๆ ที่เหมาะสมในการลดการเผาหลัง จากเก็บเกี่ยว 4) การปลูกพืชหลังนาเพิ่มรายได้ โดยส่งเสริมให้เกษตรกร ปลูกพืชหลังนา เช่น ข้าวโพด ถั่วเหลือง หรือ ถั่วเขียว 5) การใช้เทคโนโลยี ช่วยเพิม่ ผลผลิตในข้าว ด้วยเครือ่ งจักรกลอัจฉริยะอย่าง KUBOTA Intelligent Solutions (KIS) ซึ่งคือ ระบบ GPS Telematics ที่จะช่วยให้สามารถระบุพิกัด ของเครื่องจักรกลคูโบต้าและสามารถดึงข้อมูลรายงานออกมาให้เกษตรกร พัฒนาประสิทธิภาพการท�ำเกษตรได้ รวมทั้งยังมีการสาธิตการใช้โดรนเพื่อ การเกษตร ระบบควบคุมทิศทางอัตโนมัติ ตลอดจนสถานีวัดสภาพอากาศ ส่งเสริมให้เกษตรกรรวมกลุ่มกันบริหารเครื่องจักรกลอย่างมีประสิทธิภาพ 3. โซนเกษตรสมั ย ใหม่ พื ช ไร่ แสดงรู ป แบบการเพาะปลู ก อ้ อ ย มันส�ำปะหลัง และข้าวโพดด้วยเครือ่ งจักรกลการเกษตรครบวงจรในทุกขัน้ ตอน การเพาะปลูก เทคนิคการลดต้นทุน เพิ่มผลก�ำไร ด้วยโซลูชั่นเกษตรครบวงจร แนะแนวทางการจัดการน�ำ้ เทคนิคการปลูกอ้อยน�ำ้ น้อย การปรับระดับดินตาม แนวความลาดชันด้วยเลเซอร์ ตลอดจนแนะน�ำวิธีการและนวัตกรรมเกษตร ต่างๆ ที่เหมาะสมในการลดการเผาหลังจากเก็บเกี่ยว (Zero Burn) 4. โซนเกษตรทฤษฎีใหม่ ทีน่ อ้ มน�ำแนวพระราชด�ำริในหลวง รัชกาลที่ 9 ในการบริหารจัดการพื้นที่ 10-15 ไร่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ด้วยเครื่องจักรกล การเกษตรคูโบต้า และน�ำเสนอเทคโนโลยีที่ช่วยพัฒนารูปแบบการเกษตรสมัย ใหม่ เช่น ระบบน�ำ้ สั่งการด้วย Smart Device เทคโนโลยีวัดความหวานเพื่อ เพิม่ มูลค่า เทคโนโลยีเครือ่ งปลูกผักกึง่ อัตโนมัติ เทคโนโลยีเตรียมแปลงปลูกผัก เทคโนโลยีเพาะกล้าผัก และการปลูกพืชในโรงเรือน มุ่งเน้นการบริหารจัดการ ให้สร้างรายได้เป็นแบบรายวัน รายสัปดาห์ รายเดือน เป็นต้น Engineering Today January - February

2020

32

5. โซนก่อสร้าง น�ำเสนอโซลูชนั่ เครือ่ งจักรกล ส�ำหรับธุรกิจรับเหมาก่อสร้างและการเกษตรแบบ มืออาชีพ การขุดบ่อน�้ำขนาดเล็ก เพื่อช่วยบรรเทา ความเดื อดร้ อ นเมื่ อ ประสบปั ญ หาน�้ ำ ท่ ว ม หรื อ ภัยแล้ง จากวิกฤตภัยแล้งในปัจจุบัน ส่งผลให้ยอด จ�ำหน่ายรถขุดของสยามโคบูต้าเพิ่มมากขึ้น 6. โซนวิจยั เกษตรโซนปาล์มน�ำ้ มัน ยางพารา และผลไม้ น� ำ เสนอรู ป แบบการเพาะปลู ก เพื่ อ ลดต้ น ทุ น และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการท� ำ งานด้ ว ย เทคโนโลยีเครื่องจักรกลการเกษตรคูโบต้า และการ สร้างรายได้จากการปลูกพืชเสริมในร่อง หรือแถว ระหว่างต้น 7. โซนวิจัยเกษตรครบวงจร วิจัยและพัฒนา โซลู ชั่ น เกษตรครบวงจรด้ ว ยนวั ต กรรมเกษตร รวมถึงการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพดิน ร่วมกับกรม พัฒนาที่ดิน 8. โซนอบรมเกษตรครบวงจร พื้นที่ถ่ายทอด องค์ความรู้เกษตรครบวงจรให้กับ เกษตรกรและ ผู้สนใจเพื่อให้เกิดทักษะและน�ำกลับไปใช้พัฒนาใน พื้นที่ของตนเองได้ 9. โซนสร้างประสบการณ์เทคโนโลยีเครื่อง จักรกลการเกษตรคูโบต้า พื้นที่ส�ำหรับทดลองใช้ และเลื อ กเทคโนโลยี เ ครื่ อ งจั ก รกลการเกษตร คูโบต้าที่เหมาะสมกับการเพาะปลูกของเกษตรกร ที่ ผ ่ า นมามี ค ณะจากหน่ ว ยงานราชการ องค์ ก ร พั น ธมิ ต ร และเกษตรกรจากทั่ ว ประเทศและใน อาเซียนให้ความสนใจเข้าร่วมศึกษาดูงานแล้วกว่า 7,700 ราย รวมทั้ ง ประเทศนอกอาเซี ย นอย่ า ง เยอรมนี และอินเดีย ซึ่งในอนาคตคาดว่าจะมีผู้เข้า เยี่ยมชมมากกว่า 10,000 รายในแต่ละปี ส�ำหรับประโยชน์ทางตรงที่ได้รับจากการเปิด KUBOTA Farm คือ เกษตรกรที่มาดูงานกลับมาซื้อ เครื่องจักร ส่วนประโยชน์ทางอ้อม คือ เป็นธุรกิจ เกษตรสมัยใหม่ที่ภาคเกษตรต้องน�ำไปใช้ เพื่อสร้าง ธุรกิจใหม่ๆ สอดรับกับ Agri 4.0 “เราคาดหวังว่าเกษตรกร หรือผู้เข้าเยี่ยมชม จะเกิดการเรียนรูแ้ ละมีประสบการณ์จริง ได้มโี อกาส ทดสอบ ทดลองด้วยตนเอง เห็นถึงประโยชน์ที่จะได้ รับหากใช้เครื่องจักรกลการเกษตรร่วมกับโซลูชั่น องค์ความรู้ของสยามคูโบต้า เพื่อเป็นข้อมูลในการ ตั ด สิ น ใจซื้ อ เครื่ อ งจั ก รกลการเกษตรในอนาคต พร้อมตั้งเป้าพัฒนา KUBOTA Farm ให้เป็นโมเดล นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ของอาเซียน มุ่งยกระดับ ภาคการเกษตรอาเซียนเพิ่มขีดความสามารถทาง ด้านการผลิตแบบยั่งยืน” สมศักดิ์ กล่าว


Smart City • กองบรรณาธิการ

แนวทางพัฒนา

เมืองอัจฉริยะของไทย สู่ความเป็นเมืองน่าอยู่ อย่างแท้จริง

ดร.ภาสกร ประถมบุตร รองผู้อ�ำนวยการใหญ่ กลุ่มงานศูนย์ดิจิทัลและนวัตกรรม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี)

ผศ. ดร.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการภารกิจการจัดท�ำแผนยุทธศาสตร์และ กรอบงบประมาณ ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)

“เมืองอัจฉริยะ” หรือ “Smart City” เป็นเรื่องใกล้ตัวของประชาชน คนไทยในทุกภูมภิ าค โดยรัฐบาลถือเป็นวาระแห่งชาติ หวังให้เป็นกลไกทีจ่ ะช่วย ลดความเหลื่อมล�้ำ และกระจายความเจริญอย่างเท่าเทียมกันในทุกภูมิภาค ของประเทศ ซึง่ จะช่วยยกระดับการพัฒนาทัว่ ทุกภูมภิ าคของประเทศให้กา้ วไป ด้วยกัน ที่ผ่านมารัฐบาลได้ส่งเสริมและเร่งสร้าง “เมืองอัจฉริยะ” ต่อเนื่อง โดยในปี พ.ศ. 2561 ได้นำ� ร่องเมืองอัจฉริยะ 7 จังหวัด 10 พื้นที่ ได้แก่ ภูเก็ต เชียงใหม่ ขอนแก่น กรุงเทพฯ ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา ในปี พ.ศ. 2562 ขยายไปสู่ 24 จังหวัด 30 พื้นที่ และภายใน 5 ปี (2563-2565) จะปูพรมการ พัฒนาให้ครอบคลุมทั่วประเทศ 76 จังหวัดและกรุงเทพฯ รวม 100 พื้นที่

าเซียนมุ่งสู่ความเป็นเมืองอัจฉริยะ

ดร.ภาสกร ประถมบุตร รองผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ กลุม่ งานศูนย์ดจิ ทิ ลั และ นวัตกรรม กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) กล่าวว่า นโยบาย การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) สอดคล้องตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 และโมเดลพัฒนา เศรษฐกิจ Thailand 4.0 ทั้งนี้ เมืองอัจฉริยะ คือ เมืองที่ใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัยและชาญฉลาด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ การให้บริการและการบริหารจัดการเมือง ลดค่าใช้จ่ายและการใช้ทรัพยากร โดยเน้นการมีส่วนร่วมของภาคธุรกิจและภาคประชาชนในการพัฒนาเมือง ภายใต้แนวคิดการพัฒนาเมืองน่าอยู่ ทันสมัย ให้ประชาชนในเมืองอยู่ดี มีสุข อย่างยั่งยืน

33

Engineering Today January - February

2020


Network (WAN) ส่วนเมืองดานัง ก�ำลังพลิกโฉมเป็นสมาร์ทซิตี้เมืองแรกของ เวียดนาม ขณะที่เมืองย่างกุ้งในพม่า มีการเปิดระบบจ่ายเงิน ผ่าน Yangon Payment System ซึ่งจะเชื่อมโยงกับการใช้รถขนส่งสาธารณะต่อไปด้วย

เมืองในไทยยื่นแผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะ

ฐาปนา บุณยประวิตร นายกสมาคมการผังเมืองไทย หัวหน้าคณะวิจัย โครงการวิจัยเชิงพื้นที่เพื่อการออกแบบเมืองอย่างชาญฉลาด เพื่อยกระดับเศรษฐกิจ และสังคม (SG-SBC)

ด้านความเคลื่อนไหวของรัฐบาลในภูมิภาค อาเซียนต่างผสานเมืองเข้ากับดิจิทัลเทคโนโลยี เช่น นครบรูไนดารุสซาราม ท�ำงานร่วมกับอีรคิ สันน�ำร่อง การสีอ่ สาร 5G และ IoT (Internet of Things) ด้าน พนมเปญในกัมพูชา โดยสมาพันธ์ไอซีทีก�ำลังสร้าง เมื อ งใหม่ อั จ ฉริ ย ะ ซึ่ ง จะใช้ ป ระโยชน์ จ ากไอซี ที หลายด้าน รวมทั้งแหล่งบริโภคอุปโภคและเชื่อมต่อ กับประชาชน ขณะที่กรุงจาร์กาตา อินโดนีเซียก�ำลัง เปลี่ยนผ่านสู่การเป็นนครแห่งความโปร่งใสและ เมืองน่าอยู่ ด้านเมืองกัวลาลัมเปอร์ในมาเลเซียเร่ง ส่งเสริมการใช้ IoT ผ่านเครือข่าย Wide Area

Engineering Today January - February

2020

ส� ำ หรั บ มิ ติ ข องการเริ่ ม ต้ น พั ฒ นาเมื อ งให้ เ ป็ น เมื อ งอั จ ฉริ ย ะ ดร.ภาสกร เห็นว่า ควรกระตุ้นให้เมืองต่างๆ ตื่นตัวลุกขึ้นมาพัฒนาเมืองของ ตนให้กลายเป็นเมืองอัจฉริยะ ซึ่งจะตอบโจทย์และเข้าถึงความต้องการของ ประชาชนเมืองต่างๆ ได้ดกี ว่า โดยรัฐบาลออกมาตรการส่งเสริมและสนับสนุน การเป็นเมืองอัจฉริยะ ผ่านกลไกด้านการจัดท�ำแผนนโยบายและแผนการ ขับเคลือ่ นน�ำร่อง รวมไปถึงการสร้างระบบนิเวศเพือ่ ให้เกิดการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานดิจิทัลและประยุกต์ใช้งานเมืองอัจฉริยะทั้งในพื้นที่เมืองเดิม และ เมืองใหม่ เช่น สิทธิประโยชน์ทางภาษีจากส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุน (BOI), Sandbox เพื่อทดสอบ, งบประมาณหรือทุน เป็นต้น ซึ่งขณะนี้ มี 27 เมืองที่สนใจและได้ส่งแผนเข้าร่วมพัฒนาเป็นเมืองอัจฉริยะแล้ว ทั้งนี้ผู้ยื่นข้อเสนอจะต้องจัดท�ำข้อเสนอโครงการ 5 ข้อ เพื่อขอรับการ พิจารณาการเป็นเมืองอัจฉริยะของประเทศไทย ประกอบด้วย 1. การก�ำหนด พื้นที่และเป้าหมาย (Vision & Goals) 2. แนวทางการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐาน (Infrastructure Plan) 3. แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลและ ความปลอดภัย (City Data & Security) 4. บริการพื้นที่ และระบบเมือง อัจฉริยะ 7 ด้าน (Solutions) และ 5.แนวทางการบริหารจัดการอย่างยั่งยืน (Management)

34


เมืองอัจฉริยะ คือ เมือง ที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ทันสมัย และชาญฉลาด เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของการให้ บริการและการบริหารจัดการ เมือง ลดค่าใช้จ่ายและการใช้ ทรัพยากร โดยเน้นการ มีส่วนร่วมของภาคธุรกิจและ ภาคประชาชนในการพัฒนา เมือง ภายใต้แนวคิดการ พัฒนาเมืองน่าอยู่ ทันสมัย ให้ประชาชนในเมืองอยู่ดี มีสุข อย่างยั่งยืน

7

เกณฑ์สำ� คัญสูค่ วามเป็นเมืองอัจฉริยะ

คณะกรรมการขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นาเมื อ ง อัจฉริยะ จะพิจารณาตัดสินตาม 7 เกณฑ์หลัก ได้แก่ 1. Smart Environment การพัฒนาเมืองใน มิ ติ ข องสิ่ ง แวดล้ อ ม ที่ ค� ำ นึ ง ถึ ง ผลกระทบที่ มี ต ่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มและสภาวะการเปลี่ ย นแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศ โดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยบริหารจัดการ 2. Smart Government การก�ำกับดูแลการให้ บริการภาครัฐ เพือ่ อ�ำนวยความสะดวกแก่ประชาชน แลผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของ ภาครัฐ โดยมุ่งเน้นความโปร่งใสและการมีส่วนร่วม มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องผ่านการประยุกต์ใช้ นวัตกรรมบริการ 3. Smart Mobility ระบบจราจร และขนส่งอัจฉริยะเพือ่ ขับเคลือ่ นประเทศสู่ Thailand Smart Transportation 4. Smart Energy พัฒนา พลังงานอัจฉริยะในพื้นที่เพื่อสร้างความมั่นคงทาง พลั ง งานและลดการพึ่ ง พาพลั ง งานจากระบบ โครงการข่ายไฟฟ้าหลัก 5. Smart Economy เมือง ที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มใน ระบบเศรษฐกิจอัจฉริยะและบริหารจัดการทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพ 6. Smart Living เมืองทีม่ กี าร พัฒนาสิ่งอ�ำนวยความสะดวกการอยู่อาศัย เพื่อให้

ประชาชนมีสขุ ภาพและคุณภาพชีวติ ทีด่ ี มีความปลอดภัย และมีความสุขในการ ด�ำรงชีวิต 7. Smart People การพัฒนาองค์ความรู้ ทักษะ และสิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ลดความเหลื่อมล�้ำทางสังคมและเศรษฐกิจ ตลอดจนการเปิ ด กว้ า งให้ กั บ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ แ ละการมี ส ่ ว นร่ ว มของ ประชาชน

มืองอัจฉริยะต้องเป็นเมืองน่าอยู่ มีความเสี่ยงน้อย-โอกาสสูง

ผศ. ดร.ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการภารกิจการจัดท�ำแผน ยุ ท ธศาสตร์ แ ละกรอบงบประมาณ ส� ำ นั ก งานคณะกรรมการส่ ง เสริ ม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) กล่าวว่า สิ่งหนึ่งที่สามารถค้นพบ ในเมืองคือโครงสร้างพื้นฐานที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ ให้ดีขึ้น เมืองอัจฉริยะ จึงเป็นโครงสร้างพื้นฐานชุดหนึ่งที่ต้องถูกออกแบบให้มี ความอัจฉริยะ โดยภาพใหญ่ของเมืองอัจฉริยะ องคาพยพของเมืองทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานและผู้คนที่อยู่ในบริเวณนั้น สามารถที่จะ ตอบสนองกับปัญหาและ Pain Point ที่ผ่านมา รวมถึงปัญหาที่จะเกิดขึ้นใน อนาคตด้วย ในยุคปัจจุบันที่ข้อมูล (Data) เข้ามาช่วยให้การติดต่อสื่อสารและ การเชื่อมต่อเป็นไปอย่างรวดเร็วและแม่นย�ำขึ้น ท�ำให้เกิดสิ่งแวดล้อม โอกาส ทางธุรกิจ และสินค้าพืน้ ฐานใหม่ๆ ทีจ่ ะยกระดับเมืองให้เป็นเมืองอัจฉริยะและ เป็นเมืองน่าอยู่ “ความเป็นเมืองน่าอยู่ จึงไม่ใช่แค่วาทกรรม แต่มีรายละเอียดของการ เป็นเมืองที่มีโอกาสหลากหลายและมีความเสี่ยงต�่ำ เช่น อยู่แล้วมีความสุข แก้ปญ ั หาขยะ คุณภาพน�ำ้ และมลพิษ สร้างโอกาสและรายได้ ปลอดภัย สะอาด และเป็นระเบียบ โปร่งใสในการบริหาร เดินทางสะดวกปลอดภัย เอื้อต่อการ ใช้ชีวิตของผู้พิการ ผู้สูงอายุ มีสวนสาธารณะและแหล่งเรียนรู้ เป็นเมืองที่เชื่อม ต่อกันผ่านเทคโนโลยีและระบบอัตโนมัตแิ บบเรียลไทม์เพือ่ ประสิทธิภาพสูงสุด” ผศ.ดร.ปุ่น กล่าว ทั้งนี้เมืองมี 4 ระดับคือ เมืองอยู่ไม่ได้: มีทั้งความเสี่ยงสูงและไร้ซึ่ง โอกาส, เมืองไม่น่าอยู่: ความเสี่ยงสูง โอกาสน้อย, เมืองอยู่ได้: ความเสี่ยงต�่ำ มีโอกาสปานกลาง ส่วนเมืองน่าอยู่ นั้นความเสี่ยงน้อยมากขณะที่โอกาส มีสูงมาก

ครงสร้างพื้นฐานที่ส�ำคัญของเมืองอัจฉริยะ

ส�ำหรับโครงสร้างพื้นฐานที่ส�ำคัญของเมือง ประกอบด้วย 1.Traditional Infrastructure สาธารณูปโภคดัง้ เดิม 2. Digital Infrastructure สาธารณูปโภค ด้านดิจิทัลซึ่งมีรายละเอียดที่แตกต่างกันไปในแต่ละเมือง 3. Charter หรือ กฎบัตร เพราะการพัฒนาเมืองอัจฉริยะนั้น ไม่ได้มีข้อปัจจัยเพียงในเรื่องของ เทคโนโลยีและการลงทุนเท่านัน้ แต่สงิ่ ทีท่ า้ ทายของเมืองอัจฉริยะคือ จะท�ำงาน ร่วมกันอย่างไร ซึง่ หากด�ำเนินการถูกต้องมีประสิทธิภาพ ก็จะท�ำให้เกิด Public Asset Investment ขึ้นมา เพราะฉะนั้นงานที่ส�ำคัญยิ่งยวดคือ Project Management หากการขับเคลือ่ นบริหารจัดการโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ ในแต่ละเมือง จะดึงดูดให้ภาคเอกชนเข้ามาร่วมลงทุนได้

35

Engineering Today January - February

2020


ความเป็นเมืองน่าอยู่ จึงไม่ใช่ แค่วาทกรรม แต่มีรายละเอียด ของการเป็นเมืองที่มีโอกาส หลากหลายและมีความเสีย่ งต�ำ่ เช่น อยู่แล้วมีความสุข แก้ปัญหาขยะ คุณภาพน�ำ้ และมลพิษ สร้างโอกาสและ รายได้ ปลอดภัย สะอาด และเป็นระเบียบ โปร่งใสใน การบริหาร เดินทางสะดวก ปลอดภัย เอื้อต่อการใช้ชีวิต ของผู้พิการ ผู้สูงอายุ มีสวนสาธารณะและ แหล่งเรียนรู้

หั

วใจส�ำคัญของเมืองอัจฉริยะ สู่ความมั่งคั่ง

ฐาปนา บุณยประวิตร นายกสมาคมการ ผังเมืองไทย หัวหน้าคณะวิจัย โครงการวิจัยเชิง พืน้ ทีเ่ พือ่ การออกแบบเมืองอย่างชาญฉลาดเพือ่ ยก ระดับเศรษฐกิจ และสังคม (SG-SBC) กล่าวว่า เมืองอัจฉริยะเป็นกลไกที่จะเดินไปสู่ความมั่งคั่ง หลักการส�ำคัญของเมืองอัจฉริยะ คือ 1. Multimodal Transportation Phase ควรจะเป็นเมืองที่มีหลาย รู ป แบบโหมดการเดิ น ทางอย่ า งมี เ ป้ า หมายและ ทิศทาง จ�ำเป็นจะต้องศึกษาท�ำความเข้าใจและ วิเคราะห์แก้ปัญหา วางแผนพัฒนารูปแบบการเดิน ทางของประชาชน 2. Innovation District เริ่ม เรียนรู้ว่าเมื่อมีคนมาอยู่มากขึ้น ส่งผลต่อกิจกรรม แรงหมุนทางเศรษฐกิจบริเวณรอบๆ มากขึ้น ดึงดูด ให้คนต้องเข้ามาทีใ่ จกลางก่อนเพือ่ ส่งต่อไปยังขนส่ง มวลชนต่างๆ ท�ำให้สามารถรู้ได้ว่าคนจะมารวมกัน ที่จุดไหน มาเพื่อซื้อของและใช้บริการท�ำให้เกิดการ เพิ่มมูลค่าของ Mobility คมนาคมเดินทาง และ Living การใช้ชีวิตอยู่อาศัย 3. ในพื้นที่ Downtown ของเมืองทีไ่ ด้มาตรฐาน ควรใช้พนื้ ทีใ่ ห้มคี วามคุม้ ค่า อย่างน้อย 18 ชั่วโมงต่อวัน กลางวันท�ำงาน เย็นท�ำ

Engineering Today January - February

2020

กิจกรรมนันทนาการ กลางคืนค้าขายกับต่างประเทศ จะท�ำให้ทดี่ นิ มีมลู ค่าเพิม่ มากขึน้ ระบบ Mobility ทัง้ หมด จะส่งผลต่อการตอบสนองมูลค่าทางเศรษฐกิจ โดยจะท� ำ กิ จ กรรมไปพร้ อ มๆ กั น ทั้ ง หมด รวมถึ ง ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ส� ำ นั ก งาน โรงพยาบาล ร้านค้าต่างๆ เป็นต้น

2

แพลตฟอร์มส�ำคัญในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ ให้สอดคล้องกันทุกภาคส่วน

เพือ่ ให้การพัฒนาเมืองอัจฉริยะมีความสอดคล้องกันทุกภาคส่วน จะต้อง ด�ำเนินกิจกรรมตามแพลตฟอร์มทัง้ สองส่วน คือ แพลตฟอร์มแรก กฎบัตรแห่ง ชาติ ปี 2050 ก�ำหนดการจ�ำแนกตัวชี้วัดตามบทบาทเมืองและต�ำแหน่งเมือง ของไทย ออกเป็น 15 บทบาทได้แก่ 1. เศรษฐกิจสีเขียว 2. การคมนาคมขนส่ง ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม 3.อุ ต สาหกรรมสี เ ขี ย ว 4. อาหารและการเกษตรท้องถิ่น 5. พลังงานสะอาดและภูมิอากาศน่าอยู่ 6. สาธารณูปโภคและอาคารเขียว 7. ที่อยู่อาศัยที่มีราคาเข้าถึงได้ 8. พื้นที่ เปิดโล่งและสวน 9. การฟื้นฟูเมืองให้มีชีวิตชีวา 10. ชีวิตความเป็นอยู่ที่ดี และมีสขุ ภาพดี 11. การศึกษาทีเ่ ป็นเลิศและเท่าเทียมกัน 12. อากาศสะอาด 13. น�้ำสะอาด 14. การบริหารในเมืองและจัดเมือง 15. นวัตกรรมและ สาธารณูปโภคทันสมัย แพลตฟอร์มที่ 2 กฎบัตรแห่งชาติ ด้านการพัฒนากิจกรรมซึ่งแตกต่าง กันไปตามโซนพืน้ ที่ เช่น 1. ประเภทใจกลางเมือง (Downtown) ศูนย์เศรษฐกิจ ค้าปลีก โรงแรมและการประชุม 2. ประเภทพาณิชยกรรมเมือง (General Urban) ศูนย์เศรษฐกิจ ค้าปลีก โรงแรมและการประชุม 3. ประเภทชานเมือง (Suburban) ศูนย์เศรษฐกิจ ค้าปลีก โรงแรมและการประชุม 4. ศูนย์เศรษฐกิจ ใจกลางเมืองประเภทเกิดใหม่ (New Downtown) 5. ศูนย์เศรษฐกิจพาณิชย กรรมชนบท (Rural Center)

ทีม่ า: เวทีเสวนาเรือ่ ง “แนวทางการพัฒนาเมืองอัจฉริยะของไทย” ภายใน งานวิศวกรรมแห่งชาติ 2562 จัดโดย วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ณ อิมแพ็ค ฟอรั่ม เมืองทองธานี

36


Technology

10 • การ์ทเนอร์

เทรนด์เทคโนโลยี

ในปี พ.ศ. 2563

าร์ทเนอร์ระบุถึงแนวโน้มเทคโนโลยีท่ีส�ำคัญ ซึ่ง จะก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในอนาคต โดยขณะนี้ยังอยู่ในระยะเริ่มต้นและคาดว่าจะได้รับการใช้งาน อย่างแพร่หลายและสร้างแรงกระเพื่อมในวงกว้างมากขึ้น หรือ มีแนวโน้มที่จะเติบโตอย่างรวดเร็วจนถึงระดับสูงสุดในช่วงอีก 5 ปีข้างหน้า เดวิ ด เซี ย ร์ ลี ย ์ รองประธานและผู ้ เ ชี่ ย วชาญอาวุ โ ส ของการ์ทเนอร์ กล่าวว่า People-Centric Smart Space คื อ โครงสร้ า งที่ ใ ช้ ใ นการจั ด การและประเมิ น ผลกระทบหลั ก ของเทรนด์ เ ทคโนโลยี ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ที่ ก าร์ ท เนอร์ ใ ช้ ส� ำ หรั บ

ปี พ.ศ. 2563 การก�ำหนดกลยุทธ์ด้านเทคโนโลยีโดยยึดเอา ผู ้ ใ ช้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลาง นั บ เป็ น หนึ่ ง ในแง่ มุ ม ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด ของ เทคโนโลยี ซึ่ ง พิ จ ารณาถึ ง ผลกระทบของเทคโนโลยี ที่ มี ต ่ อ ลูกค้า พนักงาน คู่ค้า สังคม และภาคส่วนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง การด�ำเนินการทั้งหมดขององค์กรจะต้องค�ำนึงถึงผลกระทบ โดยตรงและโดยอ้ อ มที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ต่ อ บุ ค คลและกลุ ่ ม ต่ า งๆ และนี่ คื อ แนวทางการด� ำ เนิ น งานที่ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ บุ ค คล เป็นหลัก ส�ำหรับ 10 แนวโน้มเทคโนโลยีที่ส�ำคัญที่สุดส�ำหรับปี พ.ศ. 2563 มีดังนี้

37

Engineering Today January - February

2020


3 เดวิด เซียร์ลีย์ รองประธานและผู้เชี่ยวชาญอาวุโสของการ์ทเนอร์

1

Hyperautomation

เป็นการผสานรวมเทคโนโลยี Machine Learning (ML), ซอฟต์ แ วร์ ส�ำ เร็ จรู ป และเครื่ อ งมื อ ต่ า งๆ ส�ำ หรั บ ระบบงาน อัตโนมัติเข้าไว้ด้วยกันเพื่อรองรับการท�ำงาน Hyperautomation นอกจากจะครอบคลุมเครื่องมือที่หลากหลายแล้ว ยังครอบคลุม ทุกขั้นตอนของระบบงานอัตโนมัติ (ค้นหา วิเคราะห์ ออกแบบ ด�ำเนินการโดยอัตโนมัติ ตรวจวัด ก�ำกับดูแล และประเมิน ผล) การท�ำความเข้าใจเกีย่ วกับกลไกทีห่ ลากหลายของระบบอัตโนมัติ รวมถึงความเกีย่ วข้องกันของกลไกเหล่านี้ และแนวทางการผสาน รวมกลไกต่างๆ เพื่อให้ท�ำงานร่วมกันได้อย่างกลมกลืนถือเป็น หัวใจส�ำคัญของ Hyperautomation เทรนด์ ดั ง กล่ า วเริ่ ม ต้ น จากกระบวนการท� ำ งานแบบ อัตโนมัติ (Robotic Process Automation - RPA) อย่างไรก็ตาม ล�ำพังเพียงแค่ RPA ไม่ถอื ว่าเป็น Hyperautomation เพราะระบบ Hyperautomation จ�ำเป็นต้องอาศัยการผสานรวมเครื่องมือ ต่างๆ เพื่อท�ำหน้าที่แทนมนุษย์

2

Multiexperience

จนถึงปี พ.ศ. 2571 ประสบการณ์การใช้งานของผู้ใช้จะ มีการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ในส่วนที่เกี่ยวกับวิธีที่ผู้ใช้รับรู้และ สัม ผัสกับโลกดิจิทัล รวมถึงวิธีการโต้ตอบและมีปฏิสัมพันธ์กับ โลกดิจทิ ลั แพลตฟอร์มการสนทนา (Conversational Platforms) ก่อให้เกิดการเปลีย่ นแปลงส�ำหรับรูปแบบการโต้ตอบระหว่างผูใ้ ช้ กับโลกดิจทิ ลั ขณะที่ Virtual Reality (VR), Augmented Reality (AR) และ Mixed Reality (MR) ท�ำให้รูปแบบการรับรู้และสัมผัส กับโลกดิจทิ ลั เปลีย่ นแปลงไป การเปลีย่ นแปลงทัง้ หมดนีท้ งั้ ในส่วน ของรูปแบบการรับรูแ้ ละการมีปฏิสมั พันธ์จะน�ำไปสูป่ ระสบการณ์ แบบพหุประสาทสัมผัส (Multisensory) ในหลากหลายรูปแบบ (Multimodal)

Engineering Today January - February

2020

38

Democratization of Expertise

การเปิดโอกาสให้ผู้คนเข้าถึงความเชี่ยวชาญด้านเทคนิค (เช่น ML, การพัฒนาแอพพลิเคชั่น) หรือความเชี่ยวชาญด้าน ธุรกิจ (เช่น กระบวนการขาย การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์) ผ่านประสบการณ์ที่เรียบง่ายกว่าเดิม และไม่จ�ำเป็นต้องเข้ารับ การฝึกอบรมทีย่ าวนานและเสียค่าใช้จา่ ยจ�ำนวนมาก ตัวอย่างเช่น นักพัฒนาทั่วไปที่สามารถท�ำหน้าที่เป็นดาต้า ไซแอนทิส (Data Scientists) หรือผูต้ ดิ ตัง้ ระบบโดยไม่ตอ้ งมีความเชีย่ วชาญเฉพาะ ด้าน หรือสามารถพัฒนาโปรแกรมหรือสร้างโมเดลข้อมูลโดย ไม่ต้องเขียนโค้ด จนถึงปี พ.ศ. 2566 การ์ทเนอร์คาดว่า 4 ปัจจัยที่ส�ำคัญ ที่ เ ป็ น ตั ว เร่ ง แนวโน้ ม Democratization ให้ เ กิ ด ขึ้ น ได้ แ ก่ Democratization ในด้านข้อมูลและการวิเคราะห์ (เครื่องมือ ที่ใช้ส�ำหรับนักวิทยาศาสตร์ข้อมูลจะขยายไปสู่ชุมชนนักพัฒนา ระดับมืออาชีพ), การพัฒนา (ใช้เครื่องมือ AI ในการพัฒนา แอพพลิเคชั่น), การออกแบบ (ขยายไปสู่กระบวนการที่ไม่ต้องมี การเขียนโค้ดหรือใช้โค้ดน้อยมาก โดยอาศัยฟังก์ชันการพัฒนา แอพพลิเคชั่นเพิ่มเติมที่ท�ำงานแบบอัตโนมัติ เพื่อเสริมศักยภาพ ให้แก่นกั พัฒนาทัว่ ไป) และความรู้ (บุคลากรทีไ่ ม่ได้อยูใ่ นสายงาน ไอทีสามารถใช้เครื่องมือและระบบความเชี่ยวชาญเพื่อปรับใช้ ทักษะเฉพาะด้าน)

4

Human Augmentation

เป็ น การใช้ เ ทคโนโลยี เ พื่ อ ปรั บ ปรุ ง ทางด้ า นการรั บ รู ้ และกายภาพ โดยเป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญของประสบการณ์ ข องผู ้ ใ ช้ Augmentation ในด้านกายภาพจะช่วยปรับปรุงหรือเปลีย่ นแปลง ขีดความสามารถของมนุษย์ ด้วยการปลูกถ่ายหรือติดตั้งส่วน ประกอบทางด้านเทคโนโลยีไว้บนร่างกายของมนุษย์ เช่น อุปกรณ์ สวมใส่ ส่วน Augmentation ในด้านการรับรู้จะอาศัยการเข้าถึง ข้ อ มู ล และการใช้ แ อพพลิ เ คชั่ น บนระบบคอมพิ ว เตอร์ ทั่ ว ไป รวมถึงอินเทอร์เฟซแบบ Multiexperience ในสภาพแวดล้อม ของสมาร์ทสเปซ ในช่วง 10 ปีขา้ งหน้า จะมีการยกระดับ Human Augmentation ทั้งด้านกายภาพและการรับรู้ โดยจะได้รับการใช้ งานอย่างแพร่หลายเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ของผู้ใช้ และจะ น�ำไปสู่กระแส “Consumerization” รูปแบบใหม่ ซึ่งพนักงานจะ พยายามใช้เทคโนโลยีเพื่อเสริมสร้างและขยายขีดความสามารถ และประสบการณ์ของตนเอง และปรับปรุงสภาพแวดล้อมการ ท�ำงานภายในส�ำนักงาน


5

ผู้บริโภคมีความตระหนักรู้เพิ่มมากขึ้นว่าข้อมูลส่วนตัวของ ตนมีมูลค่า ดังนั้นจึงต้องการที่จะควบคุมข้อมูลดังกล่าว องค์กร ต่าง ๆ รับรูถ้ งึ ความเสีย่ งทีเ่ พิม่ มากขึน้ ของการปกป้องและจัดการ ข้ อ มู ล ส่ ว นตั ว ขณะที่ รั ฐ บาลเริ่ ม บั ง คั บ ใช้ ก ฎหมายที่ เ ข้ ม งวด เพื่อให้มีการคุ้มครองและจัดการข้อมูลดังกล่าวอย่างเหมาะสม ความโปร่งใส (Transparency) และการตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) ถือเป็นองค์ประกอบส�ำคัญที่จะช่วยสนับสนุน จริยธรรมทางดิจิทัล (Digital Ethics) และการปกป้องความเป็น ส่วนตัว ความโปร่งใสและการตรวจสอบย้อนกลับหมายรวมถึง แนวคิด การด�ำเนินการ เทคโนโลยีที่รองรับ และแนวทางปฏิบัติ ที่ได้รับการออกแบบเป็นพิเศษเพื่อรองรับกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง และสนับสนุนแนวทางที่ถูกต้องตามหลักจริยธรรมส�ำหรับการ ใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI) และเทคโนโลยีขนั้ สูงอืน่ ๆ รวมทัง้ แก้ไขปัญหาการขาดความน่าเชือ่ ถือของบริษัทต่างๆ องค์กรที่พยายามจะสร้างความโปร่งใสและ ความน่าเชื่อถือจ�ำเป็นที่จะต้องมุ่งเน้น 3 ส่วนหลักๆ ได้แก่ 1) AI และ ML 2) การเก็บรักษา การครอบครอง และการควบคุมข้อมูล ส่วนตัว และ 3) การออกแบบที่สอดคล้องกันตามหลักจริยธรรม

6

7

Transparency and Traceability

การเพิ่มขีดความสามารถ ให้กับส่วนขอบของเครือข่าย (Empowered Edge)

ระบบคลาวด์แบบกระจาย (Distributed Cloud)

หมายถึงการกระจายตัวของบริการคลาวด์สาธารณะไปยัง สถานที่ต่างๆ โดยที่ผู้ให้บริการต้นทางของคลาวด์สาธารณะมี หน้าที่ควบคุม ก�ำกับดูแล ปรับปรุง และพัฒนาบริการดังกล่าว ซึ่งนับเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งส�ำคัญจากเดิมที่บริการคลาวด์ สาธารณะส่วนใหญ่มีลักษณะรวมศูนย์ (Centralized) และ การเปลี่ยนแปลงนี้จะน�ำไปสู่ศักราชใหม่ของคลาวด์คอมพิวติ้ง (Cloud Computing)

8

อุปกรณ์อัตโนมัติ (Autonomous Things)

หมายถึงอุปกรณ์ทางกายภาพที่ใช้ AI เพื่อท�ำงานต่างๆ โดยอัตโนมัติ โดยเข้ามาแทนที่มนุษย์ อุปกรณ์อัตโนมัติที่พบเห็น ได้ทั่วไปก็คือ หุ่นยนต์ โดรน ยานพาหนะ/เรือไร้คนขับ และ เครื่องมือต่างๆ ที่ท�ำงานได้เอง การท�ำงานแบบอัตโนมัติที่ว่านี้ จะครอบคลุมขอบเขตมากกว่าการท�ำงานอัตโนมัติตามโมเดลที่ ตั้งค่าไว้อย่างตายตัว กล่าวคือ อุปกรณ์เหล่านี้จะใช้ AI เพื่อ ท�ำงานขั้นสูง และโต้ตอบกับคนหรือสิ่งรอบข้างได้อย่างเป็น ธรรมชาติมากขึ้น ขณะที่ความสามารถทางเทคโนโลยีได้รับการ พัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง กฎระเบียบก็มีการเปิดกว้างและ อนุญาตให้ใช้งานอุปกรณ์เหล่านีม้ ากขึน้ และสังคมให้การยอมรับ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้อุปกรณ์อัตโนมัติถูกใช้งานมากขึ้น ในพื้นที่สาธารณะที่ปราศจากการควบคุม

Edge Computing เป็นโครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่จัดวางการประมวลผลข้อมูลและการรวบรวมและน�ำเสนอ คอนเทนต์ไว้ใกล้กบั แหล่งทีม่ า คลังข้อมูล และผูใ้ ช้ขอ้ มูลดังกล่าว โดยพยายามที่ จ ะท� ำ ให้ Traffic และการประมวลผลอยู ่ ใ น เครือข่าย Local เพื่อลดความหน่วง ใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ที่ส่วนขอบของเครือข่าย และเพิ่มอ�ำนาจในการควบคุมและ ตัดสินใจให้กับระบบที่อยู่ส่วนขอบของเครือข่าย ในอนาคต Edge Computing จะเป็นปัจจัยส�ำคัญต่อ ทุกกลุม่ อุตสาหกรรมและทุกการใช้งาน เพราะส่วนทีอ่ ยูร่ อบนอก ของเครือข่ายถูกเสริมศักยภาพด้วยทรัพยากรประมวลผลทีก่ า้ วล�ำ้ และรองรับการใช้งานเฉพาะด้านมากขึน้ รวมไปถึงอุปกรณ์จดั เก็บ ข้อมูลที่มากขึ้น อุปกรณ์ลูกข่ายที่ซับซ้อน เช่น หุ่นยนต์ โดรน ยานพาหนะไร้คนขับ และระบบปฏิบัติการ จะเร่งให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงรวดเร็วยิ่งขึ้น

39

Engineering Today January - February

2020


9

บล็อกเชนที่ใช้งานได้ ในทางปฏิบัติ

เทคโนโลยี บ ล็ อ กเชน (Blockchain) มี ศั ก ยภาพที่ จ ะ พลิกโฉมอุตสาหกรรมต่างๆ โดยจะช่วยสร้างความน่าเชื่อถือ ความโปร่งใส และรองรับการแลกเปลี่ยนมูลค่าในระบบนิเวศ ทางธุรกิจ ทั้งยังช่วยลดต้นทุนและค่าใช้จ่าย เพิ่มความรวดเร็วใน การท�ำธุรกรรม และปรับปรุงกระแสเงินสด เทคโนโลยีดังกล่าว ช่วยให้สามารถตรวจสอบแหล่งที่มาของสินทรัพย์ จึงลดโอกาส ทีจ่ ะมีการสลับเปลีย่ นเป็นสินค้าปลอม นอกจากนี้ การตรวจสอบ ติดตามสินทรัพย์ยังมีประโยชน์ในด้านอื่นๆ เช่น การตรวจสอบ สินค้าประเภทอาหารในซัพพลายเชนเพื่อระบุแหล่งที่มาของการ ปนเปือ้ น หรือการตรวจสอบชิน้ ส่วนทีเ่ ฉพาะเจาะจงเพือ่ เพิม่ ความ สะดวกในการเรียกคืนสินค้า การใช้งานบล็อกเชนในอีกรูปแบบ หนึ่งที่มีความเป็นไปได้ก็คือ การจัดการตัวตนผู้ใช้ นอกจากนี้ ยังสามารถตั้งค่าสัญญาแบบ Smart Contract ไว้ในบล็อกเชน เพือ่ ให้เหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึง่ เป็นทริกเกอร์ให้เกิดการด�ำเนิน การอื่นต่อไป เช่น ระบบจะปลดล็อคการช�ำระเงินหลังจากลูกค้า ได้รับสินค้า

10

ระบบรักษา ความปลอดภัย AI

AI และ ML จะยังคงถูกใช้งานเพื่อยกระดับการตัดสินใจ ของมนุษย์ในการใช้งานทีห่ ลากหลาย ซึง่ จะช่วยสร้างโอกาสในการ รองรับระบบ Hyperautomation และการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์ อัตโนมัติเพื่อปรับปรุงธุรกิจ แต่ในขณะเดียวกันก็ท�ำให้เกิดปัญหา ท้าทายใหม่ ๆ ส�ำหรับทีมงานฝ่ายไอทีที่ดูแลด้านความปลอดภัย และผู้บริหารที่ต้องจัดการดูแลความเสี่ยง เพราะจะท�ำให้มีช่อง ทางการโจมตีเพิ่มขึ้นอย่างมากจากการใช้งาน IoT, คลาวด์คอม พิวติ้ง, ไมโครเซอร์วิส และระบบที่มีการเชื่อมต่อกันอย่างกว้าง ขวางในสมาร์ทสเปซ ผูบ้ ริหารฝ่ายรักษาความปลอดภัยและความ เสีย่ งควรจะให้ความส�ำคัญกับ 3 เรือ่ งหลัก ๆ ได้แก่ 1) การปกป้อง ระบบที่ขับเคลื่อนด้วย AI 2) การใช้ AI เพื่อปรับปรุงระบบรักษา ความปลอดภัย และ 3) การคาดการณ์เกี่ยวกับการใช้งาน AI โดยคนร้ายที่ต้องการโจมตีเครือข่าย

Engineering Today January - February

2020

40

Top 10 Strategic Technology Trends for 2020

Rapid developments and adoption of these technologies in the enterprise are contributing to the digital transformation that slowly started some years ago. And so, year after year industry analysts identify the technology trends that will shape and disrupt businesses in the next few years. Gartner's Strategic Technology Trends for 2020 are organized into two categories: PeopleCentric and Smart Spaces. This is mainly to convey where the primary impact and manifestation of the trend will be happening. However, Gartner says in the report that virtually all of the trends will have an impact on both the people and smart spaces concepts.


บทความ

• *ฟาบิโอ ทิวิติ

แนวโน้มด้านซัพพลายเชน กับวิสัยทัศน์ ในปี พ.ศ. 2563

นปี พ.ศ. 2563 มาพร้อมกับความมุ่งมั่นขององค์กร ต่างๆ ท่ามกลางนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลงที่จะ เกิ ด ขึ้ น ด้ ว ยความรวดเร็ ว อย่ า งที่ ไ ม่ มี ใ ครเคยสั ม ผั ส มาก่ อ น เราก�ำลังประสบกับการปฏิวตั สิ รู่ ะบบดิจทิ ลั ทีเ่ ปลีย่ นแปลงวิถชี วี ติ ความเป็นอยู่การท�ำงาน และการมีปฏิสัมพันธ์ของผู้คน พลังของ ข้อมูลเหมือนดอกไม้ที่เพิ่งจะเริ่มบานจากการที่เราใช้ข้อมูลเพื่อ ประกอบการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ และเราก�ำลังได้เห็นผลลัพธ์ ที่มีคุณค่า โดดเด่นจากการใช้งานปัญญาประดิษฐ์ (AI: Artificial Intelligence) ในขณะเดียวกัน การเคลื่อนไหวในการปกป้องโลก และการด�ำเนินงานอย่างมีความรับผิดชอบยังคงเพิ่มขึ้นอย่างมี นัยส�ำคัญ นอกจากนีก้ ระบวนการลดการพึ่งพาซึ่งกันและกัน และ การรวมตัวกันของกลุ่มต่างๆ ทั่วโลกยังเป็นเหมือน คลื่ น ใต้ น�้ ำ ที่ ท� ำ ให้ แ นวทางและวิ ธี ก าร ปฏิสัมพันธ์กันของประเทศต่างๆ และองค์กรต่างๆ เปลีย่ นไป

ฟาบิ โ อ ทิ วิ ติ รองประธานบริ ษั ท อิ น ฟอร์ อาเซี ย น กล่าวถึงแนวโน้มและประเด็นหลักบางประการทีน่ า่ จะได้เห็นเป็น รูปเป็นร่างในปี พ.ศ. 2563

1. ความยั่งยืนเป็นสิ่งจ�ำเป็น ความยั่ ง ยื น ก� ำ ลั ง จะเป็ น สิ่ ง ที่ อุ ต สาหกรรมหลากหลาย จ�ำเป็นต้องมี ไม่เพียงแต่เฉพาะผูค้ า้ ปลีกและบริษทั จ�ำหน่าย/ผลิต สินค้าอุปโภคบริโภคเท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงธุรกิจในทุกวงการอีกด้วย ไม่เว้นแม้แต่ในเรื่องของการสรรหาบุคลากรที่มีความสามารถ กล่าวได้ว่าความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อมจะกลายเป็นประเด็น หลักในการหาเสียงเพื่อแข่งขันเลือกตั้งทั่วโลกในปี พ.ศ. 2563

ในปี พ.ศ. 2563 จะเกิดสิ่งส�ำคัญคือการเปลี่ยนไป เป็นเศรษฐกิจที่ยั่งยืนด้วยตนเอง โดยที่ซัพพลายเชน ต้องพึ่งพาทรัพยากรภายในประเทศและคู่คา้ ที่มี ซึ่งเรื่องนี้จะเกิดในสหรัฐอเมริกา จีน และในประเทศ ที่มีระบบเศรษฐกิจที่พัฒนาแล้วอื่น ๆ เป็นส่วนใหญ่ ภาคการผลิตจะอยู่ในลักษณะ ‘ผลิตในประเทศ และส่งมอบในประเทศ’ มากขึ้น ผู้บริโภคก็มีแนวโน้ม ที่จะใช้แบรนด์ภายในประเทศมากขึ้นเช่นกัน

*รองประธานบริษัท อินฟอร์ อาเซียน

41

Engineering Today January - February

2020


ตัวอย่างหนึ่งจะเห็นได้จากโครงการส�ำคัญที่เกิดขึ้นในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2563 คือ การที่องค์การทางทะเลระหว่าง ประเทศ (International Maritime Organization: IMO) จะเริ่ม มาตรการ IMO 2020 ทีบ่ งั คับให้เรือทุกล�ำลดการปล่อยก�ำมะถัน หรือก๊าซซัลเฟอร์ในการเดินเรือ จากปัจจุบันที่ 3.5% ให้เหลือ เพียง 0.5% เพือ่ ลดมลพิษทางอากาศให้กบั โลก มาตรการนีจ้ ะส่ง ผลกระทบที่ชัดเจนต่ออุตสาหกรรมการขนส่ง ไม่ว่าจะเป็นการ ลงทุนในระบบดักจับเขม่าควันและเชือ้ เพลิงซัลเฟอร์ตำ�่ ทีแ่ สนแพง และท�ำให้ผลก�ำไรลดลง โดยที่ผู้ให้บริการและผู้ขนส่งตั้งรับปรับ ตัวกันไม่ทัน การแล่นเรือด้วยความเร็วต�่ำท�ำให้ระยะเวลาในการ เดินทางนานขึ้น และเป็นตัวบังคับให้ระบบนิเวศทั้งระบบต้องจัด โครงสร้างใหม่เพื่อให้เป็นไปตามแผนการผลิตและการส่งมอบ สินค้าให้ถงึ มือลูกค้า ภายใต้กฎข้อบังคับของมาตรการใหม่ทกี่ ำ� ลัง จะเกิดขึ้น

2. ขจัดการขนส่งที่ ไม่ก่อให้เกิดรายได้ ด้ ว ยเป้ า ของธุ ร กิ จ ที่ เ น้ น การเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น และมี ประสิทธิภาพ เมือ่ ใดทีม่ กี ารขนส่งตูค้ อนเทนเนอร์เปล่า ก็จะกลาย เป็นประเด็นร้อนต่อทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรมการ ขนส่งสินค้า ในแง่การขนส่งนั้น ความสูญเปล่าหมายถึงการ สิ้นเปลืองเชื้อเพลิงมากขึ้น ปล่อยคาร์บอนออกสู่บรรยากาศ มากขึ้ น และผู ้ ขั บ ขี่ ย านพาหนะใช้ เ วลานานหลายชั่ ว โมงไป โดยเปล่าประโยชน์ การขนส่งที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ กลายเป็น ตัวถ่วงการขยายตัวของเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม เพราะธุรกิจ ต่างๆ ต้องจ่ายเงินมากขึ้น ในการขนส่งสินค้า บริษัทขนส่งจะค�ำนึงถึงการขนส่งที่ ไม่ก่อให้เกิดรายได้ส่วนนี้ด้วย และจะค�ำนวณค่าใช้จ่ายเพิ่มลงไป ในค่าบริการ นั่นหมายถึงทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นบริษัท ขนส่งไปจนถึงผู้บริโภคปลายทาง รวมถึงผู้ที่อยู่ในห่วงโซ่ไม่ว่าจะ ด้านใด ล้วนต้องจ่ายค่าใช้จ่ายให้กับการขนส่งที่ไม่ก่อให้เกิด รายได้นั้นในท้ายที่สุด

3. การเมืองและการค้าที่พัวพันกันมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงนโยบายการค้าต่างๆ ในปี พ.ศ. 2562 ถูกมองว่าเป็นเรื่องกวนใจ แต่ส�ำหรับปี พ.ศ. 2563 นโยบาย ประเภทนี้จะกลายเป็นส่วนหนึ่งของความเป็นจริงใหม่ๆ ที่เรา ต้องเผชิญ ความผันผวนทางการเมืองและความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศคาดว่าจะทวีความรุนแรงมากขึ้น อัตราภาษีและกฎ ระเบียบทางการค้าจะกลายเป็นเรือ่ งหลักในการก�ำหนดการตัดสิน ใจเชิ ง กลยุ ท ธ์ ท างธุ ร กิ จ และทุ ก คนตั้ ง แต่ หั ว หน้ า ที่ ดู แ ลด้ า น ซัพพลายเชน ตลอดไปจนถึงผู้จัดการโลจิสติกส์จะต้องติดตาม ความเปลี่ยนแปลงทางการค้าที่เกิดขึ้นตลอดเวลาเพื่อจะได้ไม่ พลาดในการท�ำธุรกิจ ความไม่แน่นอนจะยังคงเกิดขึ้นเป็นเรื่อง

Engineering Today January - February

2020

42

การที่ซัพพลายเชนก�ำลัง จะใช้ระบบอัตโนมัติมากขึ้น แพลตฟอร์ม ML และ AI จะเรียนรู้ด้วยการ เฝ้าดูพฤติกรรมของมนุษย์ และสัญญาณ ต่าง ๆ จากข้อมูลที่ ได้จากทุกฝ่าย ทุกภูมิภาคและจากทุกระบบซัพพลายเชน เพื่อจะได้เข้าใจความซับซ้อนและความ หลากหลายของการค้าโลก

ปกติ เพราะความเป็นชาตินิยมและความขัดแย้งทางการค้าจะยัง คงก่อให้เกิดความไม่ลงรอยอีกมากมาย และในปี พ.ศ. 2563 เราจะได้เห็นการรายงานข่าวการเมืองที่เมื่อก่อนแยกจากข่าว ทางธุรกิจ วันนี้ข่าวทั้งสองแบบในหลายๆ ประเด็นจะไม่แยกจาก กันอีกต่อไป

4. ความเฉลียวฉลาดและสติปัญญาของมนุษย์ เป็นต้นแบบให้กับ AI จิตใจมนุษย์กับ AI จะเชื่อมโยงถึงกันมากขึ้น นักวิจัยได้ มีการศึกษาเชิงลึกเกี่ยวกับจิตใจมนุษย์รวมไปถึงทารก เพื่อความ เข้าใจมากขึ้นเกี่ยวกับการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาได้ตั้งแต่อายุ ยังน้อย เป้าหมายคือเพือ่ ยกระดับรูปแบบของปัญญาประดิษฐ์ (AI) และการเรียนรู้ของเครื่องจักร (ML: Machine Learning) ให้ ท�ำงานได้ราบรื่น อยากรู้อยากเห็น หยั่งรู้และเข้าใจได้มากขึ้น โปรแกรม ML ในปัจจุบันต้องอาศัยการป้อนข้อมูลภาพหลาย พันภาพเพื่อสอนให้เครื่องเหล่านั้นจดจ�ำว่าวัตถุหรือสิ่งมีชีวิต ธรรมดาๆ เช่น แมวมีรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร ถึงกระนั้นก็ตาม ข้อผิดพลาดก็ยังคงเกิดขึ้นได้หาก ML ได้รับภาพที่ไม่ชัดเจนพอ ในทางกลับกัน ทารกจะเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ที่หลากหลายว่า แมวมีรปู ร่างหน้าตาเป็นอย่างไร ซึง่ อาจจะเกิดจากการได้เห็นภาพ หรือรูปวาดในหนังสือ นอกจากนี้ เด็กยังเรียนรู้ผ่านการทดลอง และความอยากรู้อยากเห็นของตนเองอีกด้วย ดังนั้น เพื่อให้ ML สามารถลอกเลียนประสบการณ์แบบนี้ได้ จึงพัฒนาการให้รางวัล กับ ML บางระบบทีส่ ามารถเลียนแบบความช่างสงสัยในลักษณะ นีไ้ ด้โดยจะต้องมีความถูกต้องแม่นย�ำด้วย การวิจยั ในเรือ่ งของการ เชื่อมโยงสมองมนุษย์ไปสู่ AI จะเพิ่มและเริ่มแสดงผลที่ชัดเจน มากขึน้ อย่างแน่นอนหากมีการพัฒนาต่อด้วยการเสริมคุณลักษณะ ของมนุษย์เข้าไปในเครื่องจักร


การที่ ซั พ พลายเชนก� ำ ลั ง จะใช้ ร ะบบอั ต โนมั ติ ม ากขึ้ น แพลตฟอร์ม ML และ AI จะเรียนรู้ด้วยการเฝ้าดูพฤติกรรมของ มนุษย์ และสัญญาณต่างๆ จากข้อมูลทีไ่ ด้จากทุกฝ่าย ทุกภูมภิ าค และจากทุกระบบซัพพลายเชน เพื่อจะได้เข้าใจความซับซ้อน และความหลากหลายของการค้าโลก กระบวนการการท�ำงานบาง อย่ า งอาจย้ า ยไปอยู ่ ใ นสถานะที่ ถ อยห่ า งออกไป ในขณะที่ กระบวนการที่ ซั บ ซ้ อ นอื่ น ๆ ที่ ต ้ อ งการการท� ำ งานร่ ว มกั น หลายฝ่ายและหลายเครือข่ายนั้น ML และ AI จะต้องการการ เรียนรู้จากมนุษย์เป็นอย่างมาก

เปลี่ยนแปลง ณ จุดนี้ ความสามารถในการปรับตัวและความ ยืดหยุน่ ยังคงเป็นสิง่ ส�ำคัญ แต่ความสามารถในการให้บริการและ ให้การสนับสนุนซัพพลายเออร์ที่อยู่นอกเขตของฮับที่ให้บริการ ปกติ ได้อย่างรวดเร็วจะกลายเป็นสิง่ จ�ำเป็นขึน้ มาทันทีเมือ่ เกิดการ ติดขัดด้านดิจิทัล นอกจากนี้การจัดการกับความเสี่ยงต่าง ๆ ได้ อย่างรวดเร็ว เช่น วัตถุดบิ และปัจจัยการผลิตทีอ่ าจขาดแคลนหรือ มีราคาแพงขึ้นมาแบบทันทีทันใด ก็เป็นสิ่งจ�ำเป็นที่มีผลต่อการ แข่งขัน

7.บรรทัดฐานทางอุตสาหกรรมเกิดการ เปลี่ยนแปลงขนานใหญ่

5. ซัพพลายเชนให้บริการอยู่ในพื้นที่ ในปี พ.ศ. 2562 เราได้เห็นการย้ายฐานงานด้านซัพพลาย เชนในบางพืน้ ที่ เช่นในประเทศจีน ด้วยสาเหตุจากปัญหาด้านภาษี และความขัดแย้งทางการค้า ในปี พ.ศ. 2563 จะเกิดสิ่งส�ำคัญคือ การเปลีย่ นไปเป็นเศรษฐกิจทีย่ งั่ ยืนด้วยตนเอง โดยทีซ่ พั พลายเชน ต้องพึ่งพาทรัพยากรภายในประเทศและคู่ค้าที่มี ซึ่งเรื่องนี้จะเกิด ในสหรัฐอเมริกา จีน และในประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจที่พัฒนา แล้วอื่น ๆ เป็นส่วนใหญ่ ภาคการผลิตจะอยู่ในลักษณะ “ผลิตใน ประเทศและส่งมอบในประเทศ” มากขึ้น ผู้บริโภคก็มีแนวโน้มที่ จะใช้แบรนด์ภายในประเทศมากขึน้ เช่นกัน ในประเทศจีน ผูบ้ ริโภค หันไปใช้แบรนด์เสื้อผ้า อุปกรณ์ไฮเทค โทรศัพท์ และรถยนต์ของ จีนมากขึ้นเรื่อยๆ แทนที่จะเป็นแบรนด์จากตะวันตก ส�ำหรับ สหรัฐอเมริกา บริษทั ต่างๆ ก�ำลังรับมือกับความตึงเครียดทีจ่ ะเกิด ขึน้ ในระยะยาวกับจีน โดยต้องปรับเปลีย่ นเครือข่ายซัพพลายจาก จีนไปเป็นประเทศอื่นๆ และสร้างเครือข่ายใหม่ๆ ที่อยู่ใกล้กับ สหรัฐอเมริกามากขึ้น

6) ก�ำแพงเบอร์ลินดิจิทัล คริสตาลินา จอร์จวิ า่ ผูอ้ ำ� นวยการกองทุนการเงินระหว่าง ประเทศ (IMF) ได้กล่าวไว้ว่า “แม้จะมีการเติบโตทางการค้าเพิ่ม ขึ้นในปี พ.ศ. 2563 แต่ความไม่ลงรอยกันในปัจจุบันอาจท�ำให้ เกิดความเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะส่งผลไปอีกนาน ไม่วา่ จะเป็นซัพพลาย เชนที่อยู่ในภาวะวิกฤต ภาคการค้าที่ต่างคนต่างท�ำ และ “ก�ำแพง เบอร์ลินดิจิทัล” ที่บีบคั้นให้ประเทศต่างๆ ต้องเลือกใช้ระบบทาง เทคโนโลยี ก�ำแพงเบอร์ลินดิจิทัลเป็นการเปรียบเทียบให้เห็นถึง อุปสรรคต่างๆ ที่เพิ่งเกิดขึ้นและผลกระทบจากเทคโนโลยีที่มีต่อ การค้า ทั้งนี้การหดตัวของงานด้านซัพพลายเชน และความ ก้าวหน้าทางเทคโนโลยีดา้ นต่างๆ ทีไ่ ด้ฝงั แน่นอยูใ่ นวงการการค้า ท�ำให้ความเคลื่อนไหวบางประการที่เกิดขึ้นในปัจจุบันอาจส่งผล ระยะยาวกับระบบซัพพลายเชน บวกกับการตั้งก�ำแพงกีดกัน โดยฝ่ายต่างๆ และพืน้ ทีต่ ามภูมภิ าคต่างๆ ส�ำหรับความคล่องตัว และความยืดหยุ่นที่มีอยู่ทั่วโลก และการเน้นความส�ำคัญกับการ ขยายตั ว ของโลกาภิ วั ตน์ ที่ มี ม าเป็ น เวลาหลายปี จะเกิ ด การ

แบรนด์สินค้าสุดหรู หลุยส์ วิตตอง ประกาศแผนการเปิด โรงงานขนาด 100,000 ตารางฟุตในรัฐเท็กซัสเมื่อเดือนตุลาคม ที่ผ่านมา การประกาศนี้เป็นตัวอย่างล่าสุดของการเปลี่ยนแปลง แนวปฏิบัติที่ดีที่สุดของอุตสาหกรรมการผลิตสินค้าคุณภาพสูง การผลิตกระเป๋าคุณภาพสูงนั้นขยายตัวขึ้นเรื่อยๆ ในปัจจุบัน มีโรงงานผลิต 8 ใน 24 แห่งที่เปิดท�ำการนอกประเทศฝรั่งเศส ในเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา กลุ่มบริษัทเมิร์ส์กที่ด�ำเนิน การเกีย่ วกับโลจิสติกส์และพลังงาน ประกาศดึงเงินลงทุนจากการ เดินเรือทะเล ไปใช้กบั บริการทางบกแทน ซึง่ เป็นส่วนหนึง่ ของการ ริเริ่มเพื่อผลักดันการเติบโตของบริษัท แซ้น สเกา ประธานเจ้า หน้าทีบ่ ริหาร กล่าวว่า “เราจ�ำเป็นต้องเติบโตด้วยการเข้าซือ้ ทีด่ นิ เพื่อท�ำคลังสินค้า และให้บริการด้านศุลกากร เราลงทุนไปแล้ว ประมาณ 1 พันล้านเหรียญสหรัฐในซัพพลายเชนด้านที่ดิน และ จะลงทุนเพิ่มอีกหลายร้อยล้านเหรียญในปีหน้า” เป็นที่คาดการณ์ว่าในปี พ.ศ. 2563 จะมีการปฏิบัติที่เป็น มาตรฐานมากขึ้น เนื่องจากธุรกิจต่างๆ พากันแสวงหาวิธีการ ใหม่ๆ เพื่อคิดค้นและให้บริการลูกค้าท่ามกลางสภาพแวดล้อม ทางการค้าที่ตึงเครียด

ก้าวต่อไป

เมื่อเข้าสู่ปี พ.ศ. 2563 สิ่งที่ส�ำคัญมากอย่างไม่เคยเป็นมา ก่อนส�ำหรับธุรกิจต่างๆ คือการต้องเชื่อมโยงกับพันธมิตรใน ต่างประเทศอย่างทั่วถึง การท�ำงานร่วมกัน การรับรู้สถานะและ ได้รับข้อมูลที่เชื่อมโยงกันระหว่างฝ่ายต่างๆ ถือเป็นปัจจัยส�ำคัญ ต่อการเจริญเติบโตในอนาคตที่เต็มไปด้วยความไม่แน่นอนและ อัดแน่นไปด้วยความกดดันนานัปการ ทัง้ นี้ บริษทั ทีม่ กี ารเตรียมการเชือ่ มประสานซัพพลายเชน ของตนให้เป็นเครือข่ายเดียวกัน จะมีความคล่องตัวและความเร็ว ในการด�ำเนินงาน สามารถรับรู้และตอบสนองเชิงรุกต่อความ ต้องการของลูกค้า สิ่งนี้จะเป็นข้อได้เปรียบในการแข่งขันที่ ส�ำคัญในปี พ.ศ. 2563 และทีย่ งิ่ ไปกว่านัน้ คือจะส่งผลให้บริษทั ก้าวขึ้นมาโดดเด่นเป็นผู้น�ำในอุตสาหกรรมของตน

43

Engineering Today January - February

2020


บทความ • สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน

ระบบโรงเรือนอัจฉริยะ

ผักสะอาด ปลอดภัย ไฟเบอร์สูง ตอบโจทย์สายสุขภาพ ส

ถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน ร่วมกับ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีสุรนารี (มทส.) และบริษัท อินโน ฟู๊ด มาร์เก็ตติง้ แอนด์ ซัพพลาย จ�ำกัด พัฒนาระบบโรงเรือนอัจฉริยะ ภายในตู้คอนเทนเนอร์แบบโรงเรือนระบบปิด ควบคุมตัวแปร ปริมาณธาตุอาหาร ความยาวคลื่นแสงและความเข้ม อุณหภูมิ ความชื้นในอากาศ และปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ แก้ปัญหา ความผันแปรของสภาพอากาศในแต่ละฤดู และเมื่อวิเคราะห์ ผั ก ที่ ป ลู ก ด้ ว ยระบบดั ง กล่ า วด้ ว ย Synchrotron FTIR Microspectroscopy พบว่า มีคาร์โบไฮเดรตและไฟเบอร์สูง กว่าพืชที่ปลูกในระบบระบบไฮโดรโปนิกส์ปกติและพืชที่ปลูก ด้วยดิน ทีมวิจัยพร้อมเดินหน้าลุยวิจัยด้านการกระตุ้นพืชสร้าง สารส�ำคัญทางชีวภาพ ทั้งฤทธิ์ทางยาของพืชสมุนไพร หรือ พืชที่กลิ่นหอม หวังเพิ่มมูลค่าการปลูกพืชเศรษฐกิจ ตอบโจทย์ ผูบ้ ริโภคสายสุขภาพ ส่งเสริมการน�ำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาสู่ด้านเกษตรกรรมตามนโยบาย Thailand 4.0 ประเทศไทย เป็นประเทศเกษตรกรรม ทีม่ มี ลู ค่าการส่งออก มหาศาลในแต่ละปี รวมถึงมีการบริโภคผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ในประเทศ ทัง้ ผัก ผลไม้สด และผลิตภัณฑ์แปรรูปเป็นจ�ำนวนมาก การน�ำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ในการปลูกพืชพร้อม ระบบควบคุมตัวแปรปัจจัยในการเจริญเติบโตของพืช จึงเป็นเรือ่ ง ส�ำคัญที่จะน�ำประเทศเข้าสู่การเกษตรยุคใหม่ ที่สามารถควบคุม

Engineering Today January - February

2020

44

คุณภาพและมีปริมาณผลผลิตทางการเกษตรให้คงที่ตลอดทั้งปี บริษัทผลิตผักไฮโดรโปนิกส์รายใหญ่ในอ�ำเภอหาดใหญ่ ประสบ ปัญหาสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวนสูงในแต่ละวัน นอกจากนั้น ยังมีฤดูฝนที่ยาวนาน มีปริมาณแสงแดดไม่เพียงพอต่อการเจริญ และความสมบูรณ์ของผักสลัด ส่งผลให้การผลิตในแต่ละช่วงเวลา ของปีไม่คงที่ จึงได้แสวงหาเทคโนโลยีการปลูกที่จะสามารถแก้ไข ปัญหาดังกล่าว สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี และบริษทั อินโน ฟูด๊ มาร์เก็ตติง้ แอนด์ ซัพพลาย จ�ำกัด ได้ร่วมกันพัฒนาโรงเรือนอัจฉริยะภายในตู้คอนเทนเนอร์ ซึ่งเป็น โรงเรือนแบบระบบปิดสมบูรณ์ (ภาพที่ 1) ภายในโรงเรือนติดตั้ง ระบบควบคุมตัวแปรต่างๆ ที่จ�ำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ปริมาณธาตุอาหาร ความยาวคลื่นแสงและความเข้ม อุณหภูมิ ความชืน้ ในอากาศ และปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ เพือ่ แก้ไขปัญหาสภาวะแวดล้อมไม่เหมาะสม หรือมีความผันแปรของ สภาพอากาศในแต่ละวัน และในแต่ละช่วงฤดูกาล นอกจากนั้น ยังเป็นการแก้ปัญหาโรคพืช แมลงศัตรูพืช และวัชพืชได้อีกด้วย ผักที่ปลูกในระบบโรงเรือนอัจฉริยะนี้ มีความสมบูรณ์แข็งแรง ปลอดโรค ปลอดสารก�ำจัดแมลงและวัชพืช จึงเป็น ผักที่สะอาด มีความปลอดภัยสูง และมีอายุการเก็บภายหลังการเก็บเกี่ยวเพื่อ จ�ำหน่ายที่ยาวนานขึ้น


Control System for Hydroponics and Environment

ภาพที่ 1 ตู้โรงเรือนที่ติดตั้งระบบควบคุมอัตโนมัติและระบบแสง LED โดยมีระบบ Wi-Fi ส�ำหรับเชื่อมต่อกับระบบ Cloud เพื่อการเข้าถึงข้อมูลผ่านโทรศัพท์มือถือ และมีกล้องวงจรปิดเพื่อความปลอดภัย งานวิ จั ย หลั ก ของโครงการนี้ คณะผู ้ วิ จั ย ได้ พั ฒนาและ ทดสอบแหล่งก�ำเนิดแสงโดยใช้เทคโนโลยี LED ที่สามารถเลือก แสงเฉพาะในย่านความยาวคลื่นที่พืชใช้ในการสังเคราะห์แสง เท่านัน้ จากการวิจยั พบว่าความยาวคลืน่ แสงในสีแดงและสีนำ�้ เงิน ในอัตราส่วนที่เหมาะสมและมีความเข้มที่พอเพียง จะสามารถ กระตุ้นให้ผักสลัด ชนิดกรีนโอ๊ค เรดโอ๊ค มีน�้ำหนักต่อต้นสูงกว่า การปลู ก ในโรงเรื อ นไฮโดรโปรนิ ก ส์ มทส. ส่ ว นกรี น คอสมี

น�้ำหนักใกล้เคียงกัน อย่างไรก็ตาม ผลการวิเคราะห์ผักสลัดด้วย Synchrotron FTIR Microspectroscopy พบว่า การปลูกภายใต้ โรงเรือนอัจฉริยะนี้ พืชสะสมคาร์โบไฮเดรตและไฟเบอร์สูงกว่า พืชที่ปลูกในโรงเรือนไฮโดรโปนิกส์ มทส. และพืชที่ปลูกด้วยดิน นอกจากนัน้ ยังพบปริมาณคลอโรฟิลล์ในปริมาณทีส่ งู กว่าทัง้ สอง ระบบดังกล่าว

45

Engineering Today January - February

2020


พืชใช้คลื่นแสงสีแดงและสีน�้ำเงิน ในการสังเคราะห์แสงจริงหรือ??

จากองค์ความรู้ในเรื่องการเกิดปฏิกิริยาทางเคมีของ Corophyll Pigment กับอนุภาคของแสงในช่วงความยาวคลื่น 400-700 นาโนเมตร พบว่าแสงทีใ่ ช้ในการสังเคราะห์แสงของพืช โดยเฉพาะพืชสีเขียวจะอยูใ่ นช่วงของสีนำ�้ เงิน (ความยาวคลืน่ 400-500 นาโนเมตร) หรือช่วงสีแดง (ความยาวคลื่น 600-700 นาโนเมตร) เท่านั้น (ดังรูปที่ 1) ในช่วงความยาวคลื่นอื่นนั้น เช่น ช่วงสีเหลือง-เขียว (ความยาวคลื่น 500-600 นาโนเมตร) จะไม่ถูกใช้ในการสังเคราะห์แสง พืชจึงสะท้อนแสงในช่วง สีเหลือง-เขียวออก ท�ำให้พืชปรากฏเป็นเป็นสีเขียวให้เห็น

รูปที่ 1 แสดงสเปกตรัมการดูดกลืนแสง ของคลอโรฟิล-A และ คลอโรฟิล-B

รูปที่ 2 แสดงสเปกตรัมของแสงที่ปลดปล่อยออกมา จากหลอด LED สีน�้ำเงิน สีเหลือง-เขียว และสีแดง

และเมื่อเปรียบเทียบกับแสงที่ปลดปล่อยออกมาจากหลอด LED (รูปที่ 2) จะพบว่ามีความยาวคลื่นอยู่ในช่วงเดียวกับ ความยาวคลื่นแสงที่พืชต้องการ (หลอด LEDสีน�้ำเงินและสีแดง) นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยหลายชิ้นที่น�ำหลอดแอลอีมาใช้ ซึ่งพบว่าในพืชแต่ละชนิดมีความต้องการแสงที่แตกต่างกัน เช่น กะหล�่ำปลีต้องการแสงสีน�้ำเงินมากกว่าสีแดง เป็นต้น ระบบโรงเรือนอัจฉริยะนี้ เป็นงานวิจัยขั้นแรกที่จะน�ำไปสู่ การวิจัยด้านการกระตุ้นพืชด้วยความยาวคลื่นแสงช่วงต่างๆ ที่ ส่งผลต่อการเจริญเติบโต หรือการกระตุ้นให้เกิดการสร้างสาร ส�ำคัญทางชีวภาพมากขึน้ เช่น สารทีม่ ฤี ทธิท์ างยาของพืชสมุนไพร พืชผักหรือผลไม้หลากสี และพืชที่กลิ่นหอม เพื่อเพิ่มมูลค่าการ ปลูกพืชเศรษฐกิจ หรือพืชมูลค่าสูงได้ อีกทั้งยังช่วยให้สามารถ

วางแผนการปลูก การเก็บเกี่ยว เพื่อให้มียอดการผลิตได้ต่อเนื่อง ตลอดทั้งปี และมีสามารถปลูกพืชนอกฤดูกาลได้ จึงเป็นการช่วย เพิ่ ม มู ล ค่ า สิ น ค้ า การเกษตรให้ แ ก่ ผู ้ ป ระกอบการได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ถือเป็นการส่งเสริมการน�ำ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาสู่ด้านเกษตรกรรมตามนโยบาย Thailand 4.0

คณะผู้วิจัย ศ. เกียรติคุณ ดร.นันทกร บุญเกิด, ดร.สมชาย ตันชรากรณ์, ธาวิน วิทยอุดม, ดร.วราภรณ์ ตัณฑนุช, ดร.ศิริวรรณ ณะวงษ์, กันตภณ พิมล ผู้สนับสนุนทุนวิจัย Food Innopolis, Talent Mobility, iTAP

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่:

ส่วนพัฒนาธุรกิจ สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน)

เลขที่ 111 หมู่ที่ 6 อาคารสิรินธรวิชโชทัย ถ.มหาวิทยาลัย ต.สุรนารี อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 โทรศัพท์ 0-4421-7040 ต่อ 1607-9, 1613 โทรสาร 0-4421-7047 อีเมล์: bds@slri.or.th www.siri.or.th/bdd

Engineering Today January - February

2020

46


Thailand 4.0 • *สมศักดิ์ มุกดาวรรณกร

ธุรกิจของคุณ

พร้อมแล้วหรือยังส�ำหรับ Thailand 4.0

T

hailand 4.0 และหัวข้อเกี่ยวกับเศรษฐกิจยุคดิจิทัล ทีเ่ ข้ามาเปลีย่ นวิถกี ารด�ำเนินธุรกิจ คือหัวข้อสนทนา ที่เราได้ยินกันอยู่รายวัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากคุณคือเจ้าของ กิจการ และแม้จะเคยได้ยินตามที่กล่าวมา คุณอาจไม่เห็นว่าเรื่อง เหล่านี้มีความส�ำคัญต่อผู้ประกอบการเล็กๆ อย่างคุณเพราะ เทคโนโลยีที่ทันสมัยส�ำหรับการใช้งานในยุคแห่งการเปลี่ยนผ่าน ทางเทคโนโลยีอย่างปัจจุบันนั้น มีผลแค่เฉพาะกับองค์กรขนาด ใหญ่ ความเชื่อดังกล่าวอาจท�ำให้คุณมองข้ามความจริงที่ว่า เทคโนโลยีใน 10 ปีที่ผ่านมามีการเปลี่ยนแปลงไปมากและส่งผล โดยตรงต่อธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นในเชิงของการท�ำงานร่วมกันของ พนักงาน เรื่องความปลอดภัยของการจัดเก็บข้อมูลส�ำคัญของ ธุรกิจ และเรือ่ งทรัพยากรบุคคลของบริษทั ทีอ่ าจเกิดการขาดแคลน แรงงานที่มีทักษะเนื่องจากเทคโนโลยีที่ล้าสมัย ไม่ดึงดูดต่อการ ท�ำงานของคนรุ่น Gen X, Y และ Z ในอนาคต การใช้ ง านอุ ป กรณ์ ไ อที แ ละระบบปฏิ บั ติ ก ารที่ ทั น สมั ย นอกจากจะช่วยดึงดูดแรงงานที่มีทักษะให้มาเข้าร่วมทีมแล้ว ยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้การท�ำงานร่วมกันของพนักงานใน องค์กร ไม่ว่าจะเป็นการท�ำงานเอกสารร่วมกันผ่านระบบคลาวด์ เพิ่มความคล่องตัวเพราะสามารถท�ำงานได้จากทุกสถานที่และ ทุกเวลา ช่วยสร้างความพึงพอใจของพนักงานในบริษัท ซึ่งมี ผลโดยตรงต่อประสิทธิภาพการท�ำงาน ส�ำหรับการท�ำงานแบบโมบาย เวิรค์ กิง้ (Mobile Working) หรือ การท�ำงานที่มีการเคลื่อนที่ตลอด เช่น ท�ำงานนอกสถานที่ ก�ำลังเป็นเทรนด์ที่ได้รับความนิยมในหมู่แรงงานยุคใหม่ ซึ่งธุรกิจ จ�ำเป็นต้องตามให้ทัน อย่างไรก็ตาม ผลส�ำรวจจากไมโครซอฟท์ พบว่า มีผู้ประกอบการในประเทศไทยเพียง 24% เท่านั้นที่มี นโยบายเกี่ยวกับ โมบาย เวิร์คกิ้ง การมีอปุ กรณ์ไอทีและระบบปฏิบตั กิ ารทีท่ นั สมัย นอกจาก จะมีผลด้านทรัพยากรบุคคลแล้ว อุปกรณ์ไอที เช่น คอมพิวเตอร์ และระบบปฏิบตั กิ ารรุน่ ใหม่ ยังช่วยประหยัดทรัพยากรทางการเงิน เนื่องจากคุณไม่จ�ำเป็นต้องลงทุนด้านไอทีซัพพอร์ท ลดปัญหา เครื่องเสียต้องส่งซ่อม ซึ่งสิ้นเปลืองทั้งเงินและเวลาในการท�ำงาน

รายงานจากไมโครซอฟท์ระบุว่า อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่มีอายุ มากกว่า 4 ปีนั้นมีโอกาสเสียมากกว่าอุปกรณ์ใหม่ถึง 3.3 เท่า ซึ่งเทียบเป็นเงินราว 1,631 เหรียญสหรัฐต่อเครื่อง (หรือราว 50,561 บาท หรือคอมพิวเตอร์ใหม่ 2 เครื่องหรือมากกว่า) และเสียเวลาในการท�ำงานมากถึง 208 ชั่วโมงต่อปี นอกจากนี้ การมีอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตั กิ าร ที่ทันสมัยยังช่วยเสริมความปลอดภัยทางไซเบอร์ให้กับธุรกิจของ คุณ ซึ่งจากรายงานพบว่า ความปลอดภัยด้านไซเบอร์เป็นเรื่องที่ ท้าทายส�ำหรับผูป้ ระกอบการ SME โดยกว่า 62% ของผูป้ ระกอบ การยอมรับว่าเคยประสบปัญหาด้านข้อมูลรั่วไหล อีกทั้งการใช้ ระบบปฏิบัติการรุ่นเก่ายังสร้างความเสี่ยงในการถูกโจรกรรม ข้อมูล ซึ่งแตกต่างจากระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่ที่มีการอัพเดทอยู่ ตลอดเวลา จึงเป็นเสมือนป้อมปราการในการป้องกันการถูกโจมตี ทางไซเบอร์จากแฮกเกอร์ Software-as-a-Service หรือการเช่าใช้ซอฟต์แวร์นั้นเป็น อีกหนึง่ ทางเลือกทีผ่ ปู้ ระกอบการ SME ไม่ควรมองข้ามเพือ่ รับมือ กับความผัน ผวนต่างๆ ในการด�ำเนินธุรกิจและการท�ำงานใน ยุคดิจิทัล ซึ่งบริการเหล่านี้นอกจากจะมาพร้อมโซลูชั่นที่ทันสมัย อย่างคลาวด์ และรองรับการซัพพอร์ททางไอทีแล้ว ยังช่วยเพิ่ม ความปลอดภัยทางเทคโนโลยี จากการส�ำรวจ กว่า 71% ของ SME ได้มีการอัพเกรดระบบปฏิบัติการเป็น Windows 10 ในปี ทีผ่ า่ นมาบนเครือ่ งคอมพิวเตอร์เดิม ซึง่ สร้างความได้เปรียบให้กบั ธุ ร กิ จ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง เมื่ อ การสนั บ สนุ น ระบบปฏิ บั ติ ก าร Windows 7 ก�ำลังจะสิ้นสุดในเดือนมกราคม 2020 เพื่อสร้าง ข้ อ ได้ เ ปรี ย บในการแข่ ง ขั น ทางธุ ร กิ จ เพิ่ ม ยอดขาย เพิ่ ม ประสิทธิภาพการท�ำงานของพนักงาน ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อม เครือ่ ง การเปลีย่ นมาใช้อปุ กรณ์คอมพิวเตอร์และระบบปฏิบตั กิ าร ใหม่จงึ เป็นเรือ่ งทีจ่ ำ� เป็น เพราะการเปลีย่ นแปลงอาจหมายถึงการ อยู่รอดของธุรกิจ

*ผู้อำ� นวยการฝ่ายส่งเสริมธุรกิจองค์กร ขนาดกลาง ขนาดย่อม และบริหารพันธมิตร ไมโครซอฟท์ ประเทศไทย

47

Engineering Today January - February

2020


IT Update • กองบรรณาธิการ

SCG จับมือ GIZTIX

พัฒนาดิจิทัลแพลตฟอร์ม ครบวงจร

เสริมแกร่งบริการจัดส่งสินค้า ร้านผู้แทนหน่ายวัสดุก่อสร้างทั่วประเทศ

ธุ

รกิจจัดจ�ำหน่ายและช่องทางการค้าปลีก ในกลุ ่ ม ธุ ร กิ จ ซี เ มนต์ แ ละผลิ ต ภั ณ ฑ์ ก่อสร้าง บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จ�ำกัด (มหาชน) หรือเอสซีจี จับมือ บริษทั จิซทิกซ์ จ�ำกัด สตาร์ทอัพ ที่มีความเชี่ยวชาญในการสร้างดิจิทัลแพลตฟอร์ม ส�ำหรับธุรกิจโลจิสติกส์ การบริการขนส่งผ่านระบบ ออนไลน์ พัฒนาดิจทิ ลั แพลตฟอร์มด้านการขนส่ง แบบครบวงจร เพือ่ เพิม่ ศักยภาพในการจัดส่งสินค้า ของร้านผู้แทนจ�ำหน่ายสินค้าวัสดุก่อสร้างของ เอสซีจีทั่วประเทศ 314 ร้าน ให้ถึงมือลูกค้าได้ อย่างสะดวกและรวดเร็ว อีกทั้งยังช่วยลดต้นทุน ของร้านค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิโรจน์ รัตนชัยสิทธิ์ กรรมการผูจ้ ดั การ ธุรกิจ จัดจ�ำหน่ายและช่องทางการค้าปลีก ในกลุ่มธุรกิจ ซีเมนต์และผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง เอสซีจี กล่าวว่า ปัจจุบันเอสซีจีมีจ�ำนวนตัวแทนจ�ำหน่ายสินค้าวัสดุ ก่อสร้างของเอสซีจจี ำ� นวน 314 ร้านทัว่ ประเทศ และ ก�ำลังปรับการให้บริการเสริมศักยภาพให้กับตัวแทน จ�ำหน่ายในหลายด้านตามยุคสมัยมากขึ้น เนื่องจาก ทีผ่ า่ นมาใช้ระบบ Manual ใช้คนใช้กระดาษจดบันทึก แล้ ว อาจจะมี จุ ดบกพร่อ งที่ข้อ มูล ตกหล่น ล่าช้า จึงร่วมพัฒนาเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ในการท�ำธุรกิจเข้ามา ใช้งาน โดยอาศัยบุคลากรและสตาร์ทอัพของเอสซีจี มาร่วมสร้างแพลตฟอร์มทีเ่ หมาะสม สร้างประสิทธิภาพ ด้านการบริการแก่ลูกค้าในแต่ละพื้นที่ ส�ำหรับความร่วมมือกับ บริษทั จิซทิกซ์ จ�ำกัด ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท สตาร์ ท อั พ ที่ ท างเอสซี จี ใ ห้ เ งิ น ทุ น สนั บ สนุ น ในการพั ฒ นารู ป แบบแพลตฟอร์ ม โลจิสติกส์และระบบขนส่ง ตอบโจทย์การให้บริการ ของเอสซีจีเพื่อให้ลูกค้ายอมรับ ซึ่งการน�ำระบบนี้ เข้ามาท�ำให้ตวั แทนจ�ำหน่ายวัสดุกอ่ สร้างของเอสซีจี

Engineering Today January - February

2020

วิโรจน์ รัตนชัยสิทธิ์ กรรมการผูจ้ ดั การ ธุรกิจจัดจ�ำหน่ายและ ช่องทางการค้าปลีก ในกลุ่มธุรกิจซีเมนต์ และผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง เอสซีจี

สิทธิศักดิ์ วงศ์สมนึก ประธานบริหารและผู้ก่อตั้ง บริษัท จิซทิกซ์ จ�ำกัด (GIZTIX)

สามารถบริ ห ารจั ด การพื้ น ที่ ข องรถ ขนส่ ง ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเพื่ อ ลดต้ น ทุ น ซึ่ ง เป็ น หนึ่ ง ในสิ่ ง ที่ ท� ำ ให้ ผู ้ จั ด จ� ำ หน่ า ยมี ข ้ อ ได้ เ ปรี ย บที่ ดี ก ว่ า บริษทั อืน่ ทีป่ ระกอบธุรกิจด้านโลจิสติกส์ โดยพนักงานขับรถขนส่งใช้เวลาเรียนรู้ ระบบนี้เพียง 3 ชั่วโมงเท่านั้น การที่ ระบบสามารถตรวจสอบรถได้ แ บบ Real-time ถื อ เป็ น ข้ อ ได้ เ ปรี ย บอี ก ประการหนึ่ง ท�ำให้ลูกค้าและตัวแทน จ�ำหน่ายสามารถทราบเวลาและที่อยู่ ของรถได้ โดยปั จ จุ บั น เริ่ ม มี ผู ้ ใ ช้ บริ ก ารนี้ 32,000 เที่ ย วต่ อ เดื อ น ซึ่งนอกจากจะช่วยลดรายจ่ายแล้วยัง เพิ่ ม เวลาให้ ผู ้ ป ระกอบการในการ ด�ำเนินธุรกิจมากยิ่งขึ้นอีกด้วย

ปัจจุบนั เอสซีจมี ตี วั แทนจ�ำหน่าย กว่ า 400 รายและมี ก ารใช้ ง าน แพลตฟอร์มนี้แล้วกว่า 100 ราย ใน 50 จั ง หวั ด ทั่ ว ประเทศ การใช้ ง าน แพลตฟอร์มดังกล่าว ไม่ได้เป็นการ บังคับตัวแทนจ�ำหน่ายที่มีอยู่ให้เข้ามา ใช้ บ ริ ก าร แต่ จ ะใช้ น โยบายสมั ค รใจ ในการเข้าร่วมมากกว่า ซึง่ คาดว่าภายใน สิ้นปี พ.ศ. 2563 ตัวแทนจ�ำหน่ายและ ร้านค้าของเอสซีจีประมาณ 50% จะ น�ำระบบแพลตฟอร์มนี้ไปใช้เพื่อช่วย ให้การท�ำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนีท้ งั้ สองบริษทั มีแผนทีจ่ ะเพิม่ ความร่ ว มมื อ ทางด้ า นธุ ร กิ จ ให้ ม าก ยิ่ ง ขึ้ น โดยจะเน้ น การพั ฒ นาและ ปรั บ ปรุ ง ระบบในการบริ ห ารจั ด การ

48


ขนส่ ง ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเชื่ อ มโยงการใช้ ง าน ต่างๆ ให้การบริหารจัดการรถขนส่งง่ายขึ้น ติดตาม รถรับส่งสินค้าผ่านระบบออนไลน์ ทั้งการขยายการ ให้บริการครอบคลุมร้านตัวแทนจ�ำหน่ายทัว่ ประเทศ เพื่อลดต้นทุนในการขนส่ง มีการน�ำ AI (Artificial Intelligence) และ Blockchain เข้ามาช่วยให้การ ท� ำ งานสะดวกสบาย มี ก ารพั ฒนาระบบบริ ห าร จัดการพื้นที่บนรถขนส่งและการบริหารจัดการเส้น ทางให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น อีกทั้งมีการพัฒนา ระบบไร้เงินสดส�ำหรับคนขับเพือ่ ใช้ในการเติมน�ำ้ มัน และช�ำระค่าบริการออนไลน์ภายในแพลตฟอร์มเพิม่ ขึน้ สิทธิศักดิ์ วงศ์สมนึก ประธานบริหารและ ผู้ก่อตั้ง บริษัท จิซทิกซ์ จ�ำกัด (GIZTIX) กล่าวว่า GIZTIX ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2559 เพื่อเป็นบริษัท ด้ า นเทคโนโลยี ส� ำ หรั บ ธุ ร กิ จ โลจิ ส ติ ก ส์ ด ้ ว ยการ พัฒนาบริการขนส่งให้ง่ายส�ำหรับลูกค้าและผู้ให้ บริการขนส่ง โดยให้บริการในการจัดหารถขนส่งผ่าน ระบบออนไลน์และท�ำให้ลกู ค้าสามารถเลือกรถผ่าน เว็ บ ไซต์ แ ละแอพพลิ เ คชั่ น บนโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ได้ คล้ายคลึงกับแพลตฟอร์มของ Grab แต่มขี อ้ แตกต่าง อยู่ตรงที่ไม่ใช่การเรียกรถเดี๋ยวนั้นเลย แต่เป็นการ เรียกรถล่วงหน้าเพื่อใช้บริการในวันถัดไป ปัจจุบัน บริ ษั ท ฯ ให้ บ ริ ก ารรถขนส่ ง ของส่ ง ลู ก ค้ า ตั้ ง แต่ 4-22 ล้อ ทั่วประเทศและก�ำลังทดลองให้บริการ ลูกค้าในต่างประเทศผ่านเอสซีจที เี่ ข้าไปท�ำธุรกิจ โดย มีลูกค้าในธุร กิจอยู่มากกว่า1,000 บริษัท และ สามารถสร้างงานให้กับคนขับได้มากกว่า 3,000 เที่ยวต่อเดือน โดยบริษัทฯ ได้รับเงินทุนสนับสนุน จาก SCG KK Fund, Wavemaker จ�ำนวน 100 ล้านบาท เพื่อน�ำไปพัฒนาและปรับปรุงระบบให้มี ประสิทธิภาพสามารถตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าผู้ใช้บริการให้ดียิ่งขึ้น ส� ำ หรั บ ความร่ ว มมื อ ในครั้ ง นี้ จ ะเป็ น การ ต่อยอดบริษทั ฯ ให้สามารถตอบโจทย์กลุม่ ผูผ้ ลิตและ จัดจ�ำหน่ายสินค้าวัสดุก่อสร้างของเอสซีจี ที่มีความ กังวลสินค้าสูญหาย พร้อมทั้งมีระบบการช�ำระเงิน ซึ่งให้เครดิตค่าขนส่ง โดยที่ลูกค้าและผู้ใช้บริการ สามารถเข้ า ไปเลื อ กใช้ บ ริ ก ารได้ ทั น ที ทั้ ง ราคา ค่าขนส่ง ระบบการจองรถขนส่ง ระบบการช�ำระเงิน และเครดิตวงเงิน เป็นต้น โดยคิดค่าแรกเข้าใช้บริการ เริ่มต้นเพียง 250 บาท ต่อคน ต่อเดือน ส�ำหรับ ใช้ซิมโทรศัพท์มือถือเพื่อที่จะน�ำไปใช้เชื่อมระบบ แอพพลิ เ คชั่ น ของระบบการขนส่ ง แบบออนไลน์

ตัวอย่างดิจิทัลแพลตฟอร์มครบวงจร

ปัจจุบันบริษัทฯ มียอดรถทุกขนาดที่ ใช้งานอยูจ่ ริง ประมาณ 2,000 คัน และ อยู่ในระบบแพลตฟอร์มที่ก�ำลังรอร่วม ท�ำงานอีกกว่า 7,000 คันจากคู่ค้าและ พันธมิตร เนื่องจากบริษัทฯ มีจุดเด่น มากกว่ า แพลตฟอร์ ม อื่ น ๆ ในธุ ร กิ จ เดียวกันคือความเร็วในการให้บริการ ทั้ ง ในส่ ว นของตั ว แทนจ� ำ หน่ า ยและ การรับสินค้า รวมถึงการลดต้นทุนให้ กับตัวแทนจ�ำหน่าย ลดการซ�้ำซ้อนการ ท�ำงานของพนักงานในร้าน ข้อมูลจะไม่ สูญหายเรียกใช้ได้ตลอดเวลา เนือ่ งจาก มีระบบจัดเก็บแบบ Cloud สิทธิศกั ดิ์ กล่าวว่า นอกจากการ ใช้งานที่ง่ายแล้วต้องการที่จะขยายไป สู่ SME มากยิ่งขึ้นด้วย ซึ่งเบื้องต้นจาก การประเมิน ผลการน�ำแอพพลิเคชั่น มาใช้ในช่วงประมาณ 2 ปีทผี่ า่ นมาพบว่า สามารถลดต้นทุนได้ถึง 15% ไม่ว่าจะ ลดการส่งสินค้าผิดพลาดหรือโทรศัพท์

49

หาคนขับและลดค่าใช้จ่ายในส่วนของ บรรจุ ภั ณ ฑ์ ต ่ า งๆ เป็ น ต้ น โดยตั้ ง เป้าพัฒนาศักยภาพของบริษัทฯ สร้าง แพลตฟอร์ ม ใหม่ ๆ เพื่ อ ก้ า วสู ่ Exit Unicorns ภายใน 2-3 ปีจากนี้

Engineering Today January - February

2020


Logistics • รศ. ดร.ระหัตร โรจนประดิษฐ์

บทวิพากษ์ผังเมืองโลจิสติกส์

กรณี ท่าอากาศยานนานาชาติภาคตะวันตก

The Critical of Urban Logistics: Western International Airport

ทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนวิชาการ วางผังเมืองโลจิสติกส์ Urban Logistics Planning ในหลักสูตรวิทยาการจัดการโลจิสติกส์และ โซ่อุปทาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ขอเผยแพร่เพื่อ อาจเป็นประโยชน์ตอ่ ผูท้ เี่ กีย่ วข้องด้านการจัดการโลจิสติกส์ การอ้างอิงข่าวสารใดเพือ่ น�ำเป็นข้อมูลเชิงวิเคราะห์อย่าง เที่ยงตรงเป็นกลางเท่านั้น มิได้ชี้น�ำเป็นด้านใดด้านหนึ่ง ต่อการเมืองหรือธุรกิจใดๆ

บทวิพากษ์ส่วนที่ 1. ผังเมืองโลจิสติกส์ กรณีสนามบินหาดใหญ่-เชียงราย ข่าวที่ 1. ท่าอากาศยานไทยจ่อคิวยุบสนามบินหนี ขาดทุน ข่าวเศรษฐกิจ ไทยรัฐ ฉบับพิมพ์ 28 ตุลาคม 2562 ปัจจุบนั สนามบินทีม่ อี ตั ราเติบโตดีคอื สนามบินทีเ่ ป็น จุดศูนย์กลาง ที่ผู้โดยสารเดินทางเชื่อมต่อไปยังปลายทาง ได้หลายที่ ส่วนสนามบินที่เป็นเกตเวย์หรือศูนย์กลางการ ค้าและเศรษฐกิจ ทีไ่ ม่ใช่ศนู ย์กลางการเดินทางจะเติบโตได้ ไม่ดี ผู้โดยสารและเที่ยวบินเริ่มหดตัวอย่างต่อเนื่อง “ในอนาคตอีก 5-6 ปี ทอท. มีแผนที่จะยุบสนามบิน หาดใหญ่ไปรวมกับสนามบินภูเก็ตแทน ซึ่งขณะนี้ ทอท. มีแผนที่พัฒนาสนามบินภูเก็ตแห่งที่สองอยู่แล้ว เพราะ หาดใหญ่ไม่ใช่ฮบั การเดินทางเชือ่ มต่อ เป็นเพียงศูนย์กลาง ทางด้านธุรกิจและแหล่งท่องเที่ยวเท่านั้น คนเดินทางไป เที่ยวหาดใหญ่ไม่สามารถไปเที่ยวต่อที่อื่นๆ ได้ ท�ำให้ ปัจจุบันนักท่องเที่ยวต่างชาติเช่นมาเลเซีย ก็หันไปเที่ยว ที่อื่นแทนบินมาหาดใหญ่ ในอนาคต ทอท.อาจจะต้องปรับ แผนธุรกิจน�ำสนามบินหาดใหญ่พัฒนาเป็นธุรกิจอื่นแทน เช่น พื้นที่ให้เช่าจอดเครื่องบิน หรืออื่นๆ” ส่วนท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย (ทชร.) อยู ่ ใ นข่ า ยที่ จ ะต้ อ งยุ บ เช่ น เดี ย วกั น เพราะผู ้ โ ดยสาร ไม่ ส ามารถเดิ น ทางเชื่ อ มต่ อ ไปยั ง สนามบิ น อื่ น ๆ ได้ ทั้งสาธารณูปโภคโดยรอบพัฒนายังไม่เต็มที่ ท�ำให้มีคน มาเที่ยวน้อย ส่งผลให้เที่ยวบินเริ่มลดลงด้วย ขณะนี้ ทอท. ต้องปรับแผนลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ สนามบินไหนขาดทุน ต้ อ งปรั บ เปลี่ ย นรู ป แบบเร่ ง เพิ่ มรายได้ ด ้ า นอื่ น ๆ ด้ ว ย นอกเหนือไปจากการให้เช่าสนามบิน

Engineering Today January - February

2020

ข่าวที่ 2. รมว.คมนาคม ยัน แค่ข่าวลือ! ยุบสนามบิน “หาดใหญ่เชียงราย” วันที่ลงข่าว 28 ตุลาคม 2562 การที่ บ ริ ษั ท ท่ า อากาศยานไทยระบุ ว ่ า เตรี ย มยุ บ สนามบิ น หาดใหญ่และเชียงรายที่พบว่ามีรายได้ลดลงนั้น รมว.คมนาคมยืนยันว่า ไม่มีมูลความจริง มักมีข้อสงสัยเสมอว่าสายการบินและรถไฟความเร็ว สูงนัน้ เป็นคูแ่ ข่งหรือสนับสนุนทางธุรกิจอย่างไร สายการบินเป็นการเดิน ทางระยะไกล+ไกลมาก สามารถผ่านพื้นที่ภูมิศาสตร์ภูเขา ป่าไม้ ทะเล ทราย หรือแม่น�้ำ ทะเล เกาะแก่งได้ ส่วนรถไฟความเร็วสูงเป็นการเดิน ทางระยะกลาง+ไกล ที่ ต ้ อ งวางแนวรางและไม่ ส ามารถข้ า มทะเล มหาสมุทรได้ เป็นต้น หากทั้งสอง Mode มีจุดเริ่มต้นและปลายทาง Origin/Destination O/D เดียวกันนั้น มีแนวโน้มว่าจะเป็นคู่แข่งขันกัน เช่นหากจะเดินทางกรุงเทพฯ-เชียงใหม่ ผู้โดยสารจะตัดสินใจเลือกด้วย การเปรียบเทียบ Mode เช่น ราคาค่าโดยสาร ระยะเวลาเดินทาง ความสะดวกสบาย การเข้าถึงสถานีต้นทาง-ปลายทาง (สะดวกหรือไม่) โปรโมชั่นพิเศษ เป็นต้น ดั ง นั้ น รถไฟความเร็ ว สู ง เชื่ อ ม 3 สนามบิ น จึ ง ไม่ เ ป็ น คู ่ แ ข่ ง สายการบิน แต่จะเชื่อมการเดินทางระหว่างสนามบินทั้งสาม ผู้โดยสาร จะไม่เดินทางไปสนามบินทั้งสามด้วยเครื่องบินแต่จะใช้รถไฟฟ้าแทน เป็นต้น เป็นตรรกะอย่างง่ายๆ ที่ผู้โดยสารวางแผนการเดินทางได้เอง แต่ในโครงการโลจิสติกส์ระดับประเทศและระดับโลกแล้ว จะต้องใช้ความ เชี่ ย วชาญการขนส่ ง โลจิ ส ติ ก ส์ แ ละข้ อ มู ล ที่ ทั น สมั ย เพื่ อวางแผนให้ เหมาะสม เพราะเกีย่ วกับก�ำไรขาดทุนและผลประโยชน์ของประเทศชาติ

50


ในแผนภู มิ นี้ แ สดงว่ า หากทั้ ง สอง Mode มี ส ่ ว น ต่อเชื่อมแล้วจะสนับสนุนการเดินทาง เช่น การวางแผน โลจิสติกส์ของ “สนามบินเชียงราย” มีรถไฟความเร็วสูง North-South จาก Kunming ประเทศจีนมุ่งลงมาทางใต้ (สายสีเขียวอ่อน) มาถึง Boten ประเทศลาว ก็สามารถต่อ สายการบิน East-West มาลงที่ “สนามบินเชียงราย” (เพราะไม่มีระบบรางข้ามแนวภูเขา East-West) แล้ว ต่ อ ด้ ว ยเส้ น ทางบกกระจายทั่ ว ภาคเหนื อ ทั้ ง หมดของ ประเทศไทยได้สะดวก การวางแผนโลจิสติกส์ของ “สนามบินหาดใหญ่” นัน้ สะดวกกว่าเพราะเป็นสนามบินหลักของภาคใต้เชื่อมกับ มาเลเซี ย และสิ ง คโปร์ และบิ น ต่ อ ไปภู มิ ภ าคใกล้ เ คี ย ง เช่น อินโดนีเซีย และเอเชียกลาง ได้สะดวก “สนามบิน หาดใหญ่” จะเชือ่ มรถไฟความเร็วสูงทีจ่ ะส่งวัตถุดบิ -สินค้า และผูโ้ ดยสารจากจีน-อินโดจีนสูป่ ระเทศมาเลเซีย-สิงคโปร์ โดยสะดวก หากย้ายไปสนามบินภูเก็ตที่เป็นเกาะไม่เชื่อม รถไฟความเร็วสูงจะไม่เหมาะสม และสนามบินนั้นเป็น Node ไม่ใช่ Mode ที่เปลี่ยนแปลงได้ การเคลื่อนย้ายจะ หมายถึงย้ายบุคลากรและอุปกรณ์การบินที่เคลื่อนย้าย ได้เท่านั้น “ตามสถิติปริมาณผู้โดยสาร ของสนามบินหาดใหญ่ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 พบว่า มีปริมาณผู้โดยสาร 4,028,506 คน ขยายตัวลดลงมากถึง 5.60% มีจำ� นวน เที่ยวบินรวม 2,027 เที่ยวบินลดลง” มีข้อเสนอแนะว่าไม่ควร “ยุบสนามบินหาดใหญ่ +สนามบินเชียงราย” หรือ “ควรให้เช่าราคาถูกลดการ ขาดทุ น ” เพราะด้ ว ยศั ก ยภาพที่ สู ง สุ ด ในภาคใต้ ข อง “สนามบิ น หาดใหญ่ ” และศั ก ยภาพที่ จ ะสู ง มากของ “สนามบินเชียงราย” เมื่อมีรถไฟความเร็วสูง ควรมีการ ปรั บ ปรุ ง สนามบิ น หรื อ หากจะมี ก ารแปรรู ป เป็ น เอกชน Privatization เช่ น เดี ย วกั บ รั ฐ วิ ส าหกิ จ ของประเทศ อังกฤษแล้ว ควรมีการแข่งขันประกวดราคาให้สัมปทาน และรั บ พิ จ ารณาผู ้ เ สนอราคาที่ สู ง สุ ด จะเกิ ด ประโยชน์ ต่อประเทศชาติได้มาก

บทวิพากษ์ส่วนที่ 2. ท่าอากาศยานนานาชาติภาคตะวันตก ข่าวโพลชี้คนหนุนสร้าง “สนามบินใหม่นครปฐม” ลดความแออัด 2 แอร์พอร์ตหลัก (15 กันยายน 2562) นิดา้ โพล ออกส�ำรวจความคิดเห็นประชาชนเกีย่ วกับ ประเด็น “สนามบินใหม่นครปฐม” พบว่าส่วนใหญ่สนับสนุน ให้สร้าง เพือ่ ลดความแออัด 2 สนามบินหลักของกรุงเทพฯ • 62.53% ไม่เคยเดินทางด้วยเครื่องบิน 37.47% เคยเดินทางด้วยเครื่องบิน • 87.84% สนามบินดอนเมือง 59.75% สนามบินสุวรรณภูมิ

และ 3.56% สนามบินอื่น • การสร้างสนามบินนครปฐม 65.28% เห็นด้วย 18.54% ไม่เห็นด้วย • ผู้ที่จะได้ประโยชน์จากสนามบิน a. 37.86% นายทุน นักธุรกิจการบิน b. 37.00% ชาวนครปฐม c. 36.61% ประชาชนภาคตะวันตก d. 30.71% ประเทศไทย e. 29.69% ท่องเที่ยวภาคตะวันตก f. 2.12% ไม่มีใครได้ประโยชน์ ในหลั ก การการสร้ า งโครงการโลจิ ส ติ ก ส์ ข นาดใหญ่ เ ช่ น ท่ า อากาศยานนานาชาตินครปฐมนัน้ การท�ำโพลของนิดา้ โพลถือเป็นความ ทันสมัยตรงต่อกิจกรรมที่น่าสนใจมาก การประชาพิจารณ์จะลดการ ต่อต้านในพื้นที่ และข้อมูลของนิด้าโพลนี้เป็นประโยชน์มากในการ พิจารณารูปแบบของการก่อสร้างโครงการต่อไป แบบส�ำรวจจะช่วยลด ผลกระทบของสนามบินต่อชุมชนอย่างมาก อย่างไรก็ตาม ควรมีการเพิม่ แบบสอบถามถึงลูกค้าตัวจริงของสนามบินนานาชาติประกอบมาด้วย เพราะเมื่อสอบถามถึงการเดินทางด้วยเครื่องบินของประชาชน พบว่า ส่วนใหญ่ 62.53% ไม่เคยเดินทางด้วยเครือ่ งบิน มีเพียง 37.47% ทีเ่ คย เดินทางด้วยเครือ่ งบิน การส�ำรวจความต้องการลูกค้าสนามบินก็ควรเป็น “นักท่องเทีย่ วไทย-ต่างชาติ หรือผูป้ ระกอบการน�ำเข้า-ส่งออกสินค้า” ด้วย กรณีสำ� รวจความคิดเห็นการสร้างสนามบินนครปฐมเป็นการสร้าง สนามบินนานาชาติ International Airport แม้เป็นอันดับรองก็ตาม เป็น โลจิสติกส์ระดับ Mega Project ของชาติที่มีงบประมาณมหาศาลและ อาจต้องการการกู้เงินหรือการลงทุนจากต่างประเทศเพื่อการแข่งขัน ระดับภูมิภาคหรืออาจจะเป็นระดับโลก และที่ตั้งสนามบินใหม่ก็เป็น ปัจจัยหนึง่ ของการวางแผนโครงการโลจิสติกส์เส้นทางไกล Long-Distant Logistics Project ทีต่ อ้ งการจ�ำนวนผูโ้ ดยสารระดับชาติ-นานาชาติ และ ปริมาณสินค้าน�ำเข้า-ส่งออกอยู่ในระดับที่จะต้องได้กำ� ไรมาก ในอดีตสนามบินก�ำแพงแสน เป็น Location Analysis ทีเ่ หมาะสม เมื่ อ กลุ ่ ม ผู ้ เ ชี่ ยวชาญด้ า นการวางผั ง เมื อ ง Litchfield ของประเทศ สหรัฐอเมริกาได้เข้ามาวางผังเมืองกรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2502 ได้ เสนอแนะอย่างชัดเจนว่า สนามบินดอนเมืองที่มีศักยภาพเป็นศูนย์ กลางการบินของเอเชียตะวันตกเฉียงใต้จะแออัดอย่างรวดเร็ว ภาครัฐจึง ต้องจัดหาการสร้างสนามบินแห่งใหม่อย่างเร่งด่วนเป็นที่มาของการ วิเคราะห์สำ� รวจทีต่ งั้ สนามบินนานาชาติโดยได้หลายแห่ง เช่น หนองงูเห่า บางปะกง ชลบุรี ก�ำแพงแสน ฯลฯ ส่วนปัจจุบันสนามบินของประเทศไทย ประกอบด้วย 1) สนาม บินสุวรรณภูมิ 2) สนามบินดอนเมือง และ 3) สนามบินอู่ตะเภา ที่มี บทบาทที่แตกต่างกันในยุทธศาสตร์โลจิสติกส์ทางอากาศ แม้ว่าจะยัง ขาดแคลนสนามบินภาคตะวันตกเป็นสนามบินนานาชาติแห่งที่ 4 แต่ เงือ่ นไขและบทบาทของสนามบินอาจเปลีย่ นไปแล้ว ดังนัน้ การวิเคราะห์ ทางผังเมืองและภูมิศาสตร์ รวมทั้งข้อมูลสถิติต่างๆ จากองค์กร หน่วย ราชการ และเอกชน ที่จะน�ำมาเป็นตัวตัดสินใจในการเลือกที่ตั้งสนาม บินนานาชาติภาคตะวันตก จะต้องมีเป้าหมายที่ชัดเจนและเที่ยงตรงที่ ส่งเสริมการแข่งขันโลจิสติกส์การบินระหว่างประเทศทีร่ นุ แรงในภูมภิ าคนี้

51

Engineering Today January - February

2020


ข่าว “คมนาคม” ลุยสนามบินนครปฐมปี 2563 จากสถิติการอนุญาตเที่ยวบินเชิงธุรกิจ (Business Aviation) ในลักษณะเช่าเหมาล�ำ (Charter Fight) พบว่า ในปี พ.ศ. 2557- 2558 มีสถิติเที่ยวบินเพิ่มขึ้นอย่างมาก จากจ�ำนวน 155 เที่ยวบินในปี พ.ศ. 2557 เพิ่มเป็น 642 เที่ยวบินในปี พ.ศ. 2558 ซึ่งจ�ำนวนนี้ยังไม่รวมถึงเที่ยวบิน ที่ไม่สามารถท�ำการบินเข้ามาในประเทศไทยได้ เนื่องจาก

ไม่มที จี่ อดอากาศยานหรือได้รบั การจัดสรรให้ไปลงจอดทีท่ า่ อากาศยาน ทีไ่ ม่ตรงกับความต้องการ ด้วยเหตุนจี้ งึ เป็นทีม่ าของการศึกษาความเป็น ไปได้ในการจัดตั้ง ท่าอากาศยานรองรับการบินเชิงธุรกิจ (Business Aviation Airport) แห่งใหม่...สถานที่ที่เหมาะสมที่สุดจาก 11 พื้นที่ โดยรอบกรุงเทพฯ พบว่าพื้นที่ที่เหมาะสมที่สุดอยู่ด้านตะวันตกของ กรุงเทพฯ บริเวณอ�ำเภอนครชัยศรีชว่ งรอยต่อกับอ�ำเภอบางเลน จังหวัด นครปฐม (มติชนออนไลน์, พฤศจิกายน 2562)

หมายเหตุ “โครงการจัดตั้งสนามบินนครปฐมศึกษาความต้องการใช้ท่าอากาศยานและเปรียบเทียบพื้นที่ทางเลือกที่มีศักยภาพในการก่อสร้างสนามบิน โดยพิจารณาในหลายด้าน เช่น เศรษฐกิจ วิศวกรรม และสิ่งแวดล้อม เพื่อคัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสม รวมทั้งส�ำรวจออกแบบและจัดท�ำแบบก่อสร้าง เพื่อบรรเทา ความคับคั่งของท่าอากาศยานหลักและอ�ำนวยความสะดวกให้กับประชาชน” (ข่าวจาก กรมท่าอากาศยาน, กรกฎาคม 2562)

หากพิจารณาโครงการสนามบินนครปฐมนี้ที่ห่าง สนามบินดอนเมือง 61 กม. เดินทางด้วยรถยนต์ 1 ชั่วโมง กว่า (60 กม./ชม.) จึงเป็นสาธารณูปโภคเพื่อประชาชน ภาคตะวันตกมากกว่าโลจิสติกส์ที่แข่งขันระดับภูมิภาค หรือไม่ และผลนิด้าโพลก็สอบถามประชาชนที่ไม่เคยเดิน ทางเครื่องบิน 62.53% และเคยเดินทางเครื่องบินบ้าง 37.47% จะเป็นลูกค้าหลักของสนามบินหรือไม่ และท�ำไม ประชาชนไม่เดินทางด้วยรถยนต์มาสนามบินดอนเมืองแทน การสร้างท่าอากาศยานนานาชาติแห่งใหม่งบประมาณ มหาศาลหรือขยายสนามบินเดิม อย่างไรก็ตาม เมื่อยุทธศาสตร์โลจิสติกส์ทางอากาศ ของภาครั ฐ เป็ น เช่ น นี้ แ ล้ ว หลั ก สู ต รวิ ท ยาการจั ด การ โลจิสติกส์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก็ตอบสนองด้วยการ ทดลองวางผั ง เมื อ งโลจิ ส ติ ก ส์ โ ดยกลุ ่ ม นิ สิ ต ที่ จ ะเป็ น บุคลากรของชาติในอนาคต โดยตั้งโจทย์ว่า “จงวิเคราะห์ หาที่ตั้งที่เหมาะสมของสนามบินโลจิสติกส์ภาคตะวันตก ของประเทศไทย” โดยผลลัพธ์จะแตกต่างหรือตรงตามทีไ่ ด้ ก�ำหนดกันไว้หรือไม่กไ็ ด้ จึงขอเสนอตัวอย่างและทฤษฎีการ

Engineering Today January - February

2020

หาที่ ตั้ ง ของสนามบิ น ภู มิ ภ าคตะวั น ตกที่ ใ ช้ ป ระกอบ เพื่ อ อาจเป็ น ประโยชน์บ้างไม่มากก็น้อย

การประเมินต�ำแหน่งของศูนย์กลางการขนส่งสินค้าทาง อากาศ (Salomon Smith Barney, 2015) 1. Size of Natural Catchment Area พื้นที่มีประชากรอาศัย และพึ่งพาสนามบินนั้น เป็นปัจจัยหลักในการบอกขนาดของตลาด (Market Size) ว่าจะมีโอกาสเป็นศูนย์การบริการทางอากาศ 2. Location Relative to Main Traffic มีภูมิศาสตร์ให้บริการการ บินชุมชนท้องถิน่ (Local Traffic) และ Point-to-Point Traffic เป็นอย่างดี 3. Attractiveness to Connecting Traffic พื้นที่ที่เอื้ออ�ำนวย ต่อ Connecting Traffic เหมาะเป็น Aviation Hub ที่สมบูรณ์มากขึ้น 4. Commitment of Airline or Alliance การเป็นพันธมิตรทางการ บินในกลุ่มที่แข็งแกร่ง 5. Airport Expansion Potential ศักยภาพในการขยายตัวใน อนาคต

องค์ประกอบการวางผังเมืองเพื่อส่งเสริมศูนย์กลาง การบินภาคตะวันตก 1. การส่งเสริมการบริหารจัดการท่าอากาศยาน

52


2. คุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องประชาชนในเขตผังเมืองโดยรอบ 3. ประสิทธิภาพการกระจายผู้โดยสารและสินค้า จากท่าอากาศยานสู่พื้นที่เมือง

เกณฑ์และมาตรฐานการวางผังเพื่อส่งเสริม ศูนย์กลางการบินภาคตะวันตก 1. ต�ำแหน่งที่ตั้ง Location 2. ขอบเขตพื้นที่ Scope of the Area 3. การใช้ที่ดิน Land Use 4. สถานภาพทั่วไปของพื้นที่ GIS Layer 5. เส้ น ทางแสดงปริ ม าณการจราจรหลายระดั บ Traffic Level

เกณฑ์ด้านการจัดท�ำผังการสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ

เกณฑ์ในการจัดท�ำข้อก�ำหนดด้านอาคารสิง่ ปลูกสร้าง 1. อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน (Floor Area Ratio : FAR) 2. อัตราส่วนพื้นที่อาคารปกคลุมดินต่อพื้นที่ดิน (Building Coverage Ratio : BCR) 3. อั ต ราส่ ว นที่ ว ่ า งต่ อ พื้ น ที่ อ าคารรวม (Open Space Ratio : OSR) เกณฑ์ดา้ นจุดทีต่ งั้ และพืน้ ทีต่ ามแนวเส้นทาง 1. ต�ำแหน่งทีต่ งั้ อยูก่ งึ่ กลางของขัว้ ความเจริญ (Node)

2. ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะสม 3. เส้นทางคมนาคมที่เชื่อมระหว่างเมืองหลวงกับเมืองการบิน 4. ขนาดของประชากรกับข้อจ�ำกัดด้านภูมิศาสตร์พื้นที่

องค์ประกอบที่ ใช้ ในการพิจารณาเพื่อก�ำหนดที่ตั้งของ ท่าอากาศยาน

1. คุ ณ ลั ก ษณะทางกายภาพ เป็ น พื้ น ที่ ร าบไม่ ล ้ อ มรอบด้ ว ย ภู เ ขาสู ง ระบายน�้ ำ ได้ ดี ลั ก ษณะของดิ น เหมาะสมในการปรั บ พื้ น สนามบินและฐานรากของอาคาร 2. พื้ น ที่ ก ารเดิ น อากาศ มี ค วามปลอดภั ย และประสิ ท ธิ ภ าพ ทางการบิน ปราศจากสิ่งกีดขวางการเดินอากาศ เช่น ภูเขา ต้นไม้ และอาคารสูง 3. สภาพอากาศ ทิศทางลมและควันกับทัศนวิสัยทางการบิน ทิศทางลมที่ชักน�ำสัตว์ปีกเข้ามาในพื้นที่ พื้นที่ที่ไม่มีลมกรรโชกแรง หมอก และฝนตกมาก 4. การใช้ประโยชน์และราคาที่ดิน การตั้งถิ่นฐานไม่หนาแน่น เพื่อป้องกันผลกระทบจากเสียง มีราคาที่ดินไม่สูงมาก 5. การเข้าถึงทางภาคพื้นดิน การเข้าถึงสะดวกโดยเฉพาะการ เดิ น ทางชุ ม ชนเมื อ งและสนามบิ น ไม่ ห ่ า งจากเมื อ งมากนั ก เพื่ อ ลด การลงทุนขนส่งมวลชน 6. การใช้ประโยชน์ที่ดินในอนาคต วางแผนที่ดินตามทางของ Runway ลดผลกระทบจากเสียง และสามารถขยายตัวได้ดีไม่ต้องซื้อ ที่ดินที่มีราคาสูง

หลักการพิจารณาเกณฑ์การเลือกพื้นที่ในการก่อสร้างท่าอากาศยาน (Passenger/Freight Airport) ปัจจัยทั่วไป General Factors ของการก�ำหนดที่ตั้งของท่าอากาศยาน เกณฑ์ค่าคะแนน 1. เกณฑ์ความเหมาะสมด้านกายภาพ (50%) 1.1 ความยากง่ายในการรวบรวมพื้นที่ (15%) 1.1.1 การมีอยู่ของที่ดินขนาดใหญ่ของทางราชการ ต่อไร่ (6%) 1.1.2 ลักษณะการใช้ที่ดินที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน (3%) A = Agriculture O = Open Space R = Residential I = Industrial 1.1.3 ราคาที่ดินในปัจจุบัน บาทต่อไร่ (6%) 1.2 ความสมบูรณ์ของระบบโครงข่ายถนน (10%) 1.2.1 มีทางหลวงสายหลักผ่าน หรือห่างจากพื้นที่ ต่อกิโลเมตร (4%) 1.2.2 ขนาดและสภาพความแข็งแรงของถนนด้านหน้าที่ตั้ง (2%) ถนนกี่ช่องทางจราจร และสามารถรับรถขนาดใหญ่ได้หรือไม่ 1.2.3 ปริมาณการจราจรในพื้นที่ (2%) เป็นเส้นทางส�ำหรับหลักส�ำหรับการจราจร 1.2.4 มีโครงการลงทุนในระบบโครงข่ายถนนในอนาคต (2%) มีโครงการลงทุนในเวลากี่ปี 1.3 ความสามารถในการรองรับการขนส่งทางน�้ำ (15%) 1.3.1 พืน้ ทีอ่ ำ� นวยให้สามารถสร้างท่าเรือการท่องเทีย่ วและสินค้า (4%) พื้นที่ติดแม่น�้ำเจ้าพระยา แม่น�้ำหลัก และแม่น�้ำรอง มีความยาว กี่เมตร 1.3.2 ความสูงของตลิ่งสามารถรองรับการขนส่งทางน�้ำ (4%) 1.3.3 ความยากง่ายในการก่อสร้างท่าเทียบเรือการท่องเทีย่ วและสินค้า (4%) ร่องน�ำ้ มีความลึกพอเหมาะ ท่าเทียบเรือยื่นพ้นตลิ่งกี่เมตร

5-มากที่สุด

4-มาก

3-ปานกลาง

2-น้อย

1-น้อยที่สุด

-

> 801 ไร่ A+O> 80%

501-800 ไร่ A+O+R > 80%

201-500 ไร่ R+I > 50%

100 – 200 ไร่ R+I > 80%

< 300,000

300,000600,000

600,0011,000,000

1,000,0011,500,000

> 1,500,000

ผ่านพื้นที่

ห่างพื้นที่ < 5 กิโลเมตร 4 ช่องทางรับ รถขนาดใหญ่ สินค้าเกษตร ระดับภูมิภาค

-

6 ช่องทางรับ รถขนาดใหญ่ การท่องเที่ยว การเกษตร อุตสาหกรรม ระดับภูมิภาค 10 ปี ติดแม่น�้ำ เจ้าพระยา > 200 เมตร ดีมาก -

53

8 ปี ติดแม่น�้ำหลัก > 200 เมตร ดี ไม่เกิน 2 เมตร

ห่างพื้นที่ < 10 ห่างพื้นที่ < 15 ห่างพื้นที่ > 15 กิโลเมตร กิโลเมตร กิโลเมตร 2 ช่องทางรับ 2 ช่องทาง ถนนท้องถิ่น รถขนาดใหญ่ จราจร ไม่ได้มาตรฐาน อุตสาหกรรม เส้นทาง เส้นทาง ระดับเมือง ส�ำหรับสัญจร ส�ำหรับสัญจร ระดับท้องถิ่น ของชาวบ้าน 6 ปี

4 ปี

ไม่มีโครงการ

ติดแม่น�้ำ ติดแม่น�้ำหลัก < ติดแม่น�้ำรอง < เจ้าพระยา < 200 เมตร 100 เมตร 200 เมตร พอใช้ ไม่ดี รับไม่ได้ ไม่เกิน 4 เมตร ไม่เกิน10 เมตร พ้นตลิ่งเกิน 10 เมตร

Engineering Today January - February

2020


1.3.4. อุ ป สรรคต่ อ การขนส่ ง ทางน�้ ำ (4%) เช่ น ไม่ มี ส ะพานหรื อ โครงสร้างที่ไม่ได้มาตรฐานด้านท้ายน�้ำในระยะ กี่กิโลเมตร 1.4 ระบบการขนส่งทางราง (5%) 1.4.1 ความสามารถในการเข้าถึงระบบรางการท่องเที่ยวและสินค้า (3%) มีระบบรางอยู่ห่างกี่กิโลเมตร 1.4.2 ศักยภาพในการพัฒนาระบบรางการท่องเที่ยวและสินค้าในพื้นที่ (2%) มีโครงการลงทุนพัฒนาระบบรางในพื้นที่เพียงใด 1.5 ความสมบูรณ์ของระบบสาธารณูปโภคมูลฐาน (5%) 1.5.1 ความสามารถในการให้บริการของระบบไฟฟ้า (1%) มีโครงการลงทุนพัฒนาระบบไฟฟ้าในพื้นที่เพียงใด 1.5.2 ความสามารถในการให้บริการของระบบน�ำ้ ประปา (1%) มีโครงการลงทุนพัฒนาระบบประปาในพื้นที่เพียงใด 1.5.3 ความสามารถในการให้บริการของระบบสื่อสาร (1%) มีโครงการลงทุนพัฒนาระบบสื่อสารในพื้นที่เพียงใด 1.5.4 ความพร้อมของระบบสาธารณูปการ (2%) มีโครงการลงทุนพัฒนาระบบสาธารณูปการในพื้นที่เพียงใด 2. เกณฑ์ความเหมาะสมทางการตลาดการท่องเที่ยวและสินค้า (40%) 2.1 การเข้าถึงแหล่งการท่องเที่ยวและสินค้า (20%) 2.1.1 การเข้าถึงแหล่งการท่องเที่ยวและสินค้าทางการเกษตร (10%) ในระยะกี่กิโลเมตร 2.1.2 การเข้าถึงแหล่งการท่องเที่ยวและสินค้า ทางอุตสาหกรรม (5%) ในระยะกี่กิโลเมตร 2.1.3 การเข้าถึงแหล่งการท่องเที่ยวและสินค้า OTOP (5%) ในระยะกี่กิโลเมตร 2.2 การเข้าถึงปลายทางการท่องเที่ยวและสินค้า (10%) 2.2.1 การเข้าถึงท่าเรือสินค้า และ ท่าเรือท่องเที่ยว (10%) 2.2.2 การเข้าถึงสนามบินอื่น (5%) 2.2.3 การเข้าถึงปริมาณศูนย์กลางการขนส่งทางบก (5%) 3. เกณฑ์ความเหมาะสมทางด้านสังคม (10%) 3.1 ความสอดคล้องทางวัฒนธรรมของประชากรในพื้นที่ (3%) 3.2 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพเนื่องจากการก่อสร้าง และด�ำเนินการของท่าอากาศยานต่อการด�ำเนินชีวิต (3%) 3.3 ความหนาแน่นของประชากรในพื้นที่ (2%) 3.4 ปริมาณและคุณภาพของแรงงาน (2%)

5 กิโลเมตร

2 กิโลเมตร

1 กิโลเมตร

0.5 กิโลเมตร

0.2 กิโลเมตร

ไม่เกิน 1 กิโลเมตร มาก

ไม่เกิน 2 กิโลเมตร ปานกลาง

ไม่เกิน 5 กิโลเมตร พอใช้

ไม่เกิน 10 กิโลเมตร น้อย

เกินกว่า 10 กิโลเมตร ไม่มีโครงการ

มาก

ปานกลาง

พอใช้

น้อย

ไม่มีโครงการ

มาก

ปานกลาง

พอใช้

น้อย

ไม่มีโครงการ

มาก

ปานกลาง

พอใช้

น้อย

ไม่มีโครงการ

มาก

ปานกลาง

พอใช้

น้อย

ไม่มีโครงการ

20 กิโลเมตร

50 กิโลเมตร

100 กิโลเมตร

200 กิโลเมตร

20 กิโลเมตร

50 กิโลเมตร

100 กิโลเมตร

200 กิโลเมตร

20 กิโลเมตร

50 กิโลเมตร

100 กิโลเมตร

200 กิโลเมตร

> 200 กิโลเมตร > 200 กิโลเมตร > 200 กิโลเมตร

20 กิโลเมตร 20 กิโลเมตร 20 กิโลเมตร

50 กิโลเมตร 50 กิโลเมตร 50 กิโลเมตร

100 กิโลเมตร 100 กิโลเมตร 100 กิโลเมตร

200 กิโลเมตร > 200 กิโลเมตร 200 กิโลเมตร > 200 กิโลเมตร 200 กิโลเมตร > 200 กิโลเมตร

ดีมาก น้อยมาก

ดี น้อย

พอใช้ ปานกลาง

น้อย มาก

น้อยมาก มากที่สุด

น้อยมาก ดีมาก

น้อย ดี

ปานกลาง พอใช้

มาก น้อย

มากที่สุด น้อยมาก

ปัจจัยเฉพาะ Specific Factors ของการก�ำหนด ที่ตั้งของท่าอากาศยาน 1. บทบาทของสนามบินภูมิภาคตะวันตก 2. รถยนต์ในระยะเวลา ระยะทาง 200 กม. (80-120) กม./ชม. 3. HSR ในระยะเวลา ระยะทาง 200 กม. (160-250) กม./ชม. 4. ระยะทางของสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วส�ำหรับนักท่องเทีย่ วขาเข้า 5. การคาดการณ์จำ� นวนผู้โดยสารขาเข้า 6. จ�ำนวนสถานที่ท่องเที่ยวส�ำหรับนักท่องเที่ยวขาเข้า 7. จ�ำนวนโรงงานอุตสาหกรรมส�ำหรับนักลงทุน 8. ความหนาแน่นประชากรที่เป็นผู้โดยสารขาออก 9. ระยะทางเฉลี่ยผู้โดยสารขาออกในรัศมี 100 กม. 10. ปริมาณจ�ำนวนผู้โดยสารขาออกในรัศมี 100 กม. 11. GDP GPP ของจังหวัดที่ตั้งสนามบิน

Engineering Today January - February

2020

54

12. จ�ำนวนสาธารณูปโภคที่เกี่ยวข้องกับสนามบิน 13. จ�ำนวนสาธารณูปการที่เกี่ยวข้องกับสนามบิน 14. การมีโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ (ภาครัฐ) 15. การมีโ อกาสของนักลงทุนต่างชาติ (การกู้เงินภาค เอกชน) หวังว่าบทความนี้จะเป็นประโยชน์บ้างในการหาท�ำเลที่ตั้ง โลจิสติกส์ทางอากาศที่จะเป็นการแข่งขันสร้างรายได้จากภายใน และต่างประเทศต่อไป และเนื่องจากโครงการเหล่านี้เป็น Mega Projects ที่มีต้นทุนและผลประโยชน์มหาศาล และหากไม่มีการ บริหารควบคุมอย่างมีประสิทธิภาพแล้ว อาจจะเกิดจุดอ่อนใน ผลประโยชน์แอบแฝงของโครงการด้วย ดังนั้นความโปร่งใสความ ระมัดระวังในการด�ำเนินการที่จะต้องมีควบคู่ไปกับวิสัยทัศน์และ การคาดการณ์ท่ีชาญฉลาดเที่ยงตรงของผู้บริหารบ้านเมืองจะ ท�ำให้โครงการ Mega Projects เหล่านีน้ ำ� พาประเทศไทยไปสูก่ าร พัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป


Environment • กองบรรณาธิการ

Eco Town

กนอ.ตั้งเป้ายกระดับนิคมฯ ที่เปิดแล้ว 36 แห่ง

สู่การเป็นนิคมฯ เชิงนิเวศในปี พ.ศ. 2565

ารนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) เผยผล การด�ำเนินงานเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศปี พ.ศ. 2562 ประสบความส�ำเร็จตามเป้าหมาย และตั้งเป้าภายในปี พ.ศ. 2565 นิคมอุตสาหกรรม 36 แห่ง ต้องเข้าสู่การเป็นเมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศ พร้อมเดินหน้าสานต่อภารกิจพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิง นิเวศอย่างต่อเนือ่ งและจริงจัง เพือ่ ท�ำให้อตุ สาหกรรมอยูร่ ว่ มกับชุมชน ด้วยความผาสุกและยัง่ ยืน อันเป็นเป้าหมายสูงสุดของการพัฒนานิคม อุตสาหกรรมและบริการ และเป็นไปตามแผนยุทธศาสตร์ ตามวิสัย ทัศน์ 5G+ ของ กนอ. ที่สอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี มุ่งสู่ความ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน สมจิ ณ ณ์ พิ ลึ ก ผู ้ ว ่ า การ การนิ ค มอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย (กนอ.) กล่าวว่า ผลการตรวจประเมินพัฒนานิคม อุ ต สาหกรรมเชิ ง นิ เ วศ ประจ� ำ ปี ง บประมาณ 2562 มี นิ ค ม อุตสาหกรรมที่ผ่านการรับรองใน ระดับ Eco-Champion จ�ำนวน สมจิณณ์ พิลึก 32 แห่ง โดยมีนิคมอุตสาหกรรม ผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย (กนอ.) ที่ ไ ด้ รั บ การยกระดั บ เป็ น นิ ค ม อุ ต สาหกรรมเชิ ง นิ เ วศในระดั บ Eco-Excellence จ�ำนวน 9 แห่ง

55

และยกระดับเป็น Eco-World Class จ�ำนวน 2 แห่ง นอกจากนี้ยังมีโรงงานเชิงนิเวศอีก 16 แห่ง และโรงงาน สนับสนุนข้อมูลให้กับนิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ จ�ำนวน 67 แห่ง จากพัฒนาการที่เกิดขึ้น และผลการด�ำเนินงาน ที่น่าพึงพอใจนี้ แสดงให้เห็นถึงความส�ำเร็จที่มีมาอย่าง ต่อเนื่อง นับตั้งแต่ กนอ. มีบทบาทส�ำคัญในการขับเคลื่อน เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 ส�ำหรับนิคมอุตสาหกรรมที่ผ่านการรับรองในระดับ Eco-Champion ทั้ง 32 แห่ง ได้แก่ 1. นิคมฯ บางปู 2. นิคมฯ อีสเทิรน์ ซีบอร์ด 3. นิคมฯ แหลมฉบัง 4. นิคมฯ บางชัน 5. นิคมฯ สมุทรสาคร 6. นิคมฯ บางพลี 7. นิคมฯ ลาดกระบัง 8. นิคมฯ บางปะอิน 9. นิคมฯ ภาคใต้ 10. นิคมฯ เกตเวย์ซิตี้ 11. นิคมฯ สินสาคร 12. นิคมฯ บ้านหว้า 13. นิคมฯ ปิน่ ทอง 14. นิคมฯ พิจติ ร 15. นิคมฯ เวลโกรว์ 16. นิคมฯ WHA ตะวันออก 17. นิคมฯ ปิน่ ทอง 18. นิคมฯ ราชบุรี 19. นิคมฯ ผาแดง (แหลมฉบัง) 20. นิคมฯ แก่งคอย 21. นิคมฯ WHA อีสเทิร์นซีบอร์ด 22. นิคมฯ WHA ชลบุรี 23. นิคมฯ ปิน่ ทอง 5 ในจ�ำนวนนี้ มีนิคมฯ ที่ได้รับการยกระดับเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิง นิเวศระดับ Eco-Excellence ได้แก่ 24. นิคมฯ อมตะซิตี้ ชลบุรี 25. นิคมฯ หนองแค 26. นิคมฯ ภาคเหนือ 27. นิคมฯ อมตะซิตี้ ระยอง 28. นิคมฯ มาบตาพุด

Engineering Today January - February

2020


คณะผู้บริหาร กนอ.ร่วมเปิดงานมอบรางวัลนิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ

29. นิคมฯ เอเชีย 30. นิคมฯ ปิ่นทอง 3 และนิคมฯ ที่ได้รับการ ยกระดับเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ระดับ Eco-World Class ได้แก่ 31. นิคมฯ อาร์ ไอ แอล 32. ท่าเรือฯ มาบตาพุด “ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ กนอ.ปี พ.ศ. 2563-2565 มีเป้าหมาย ให้นิคมฯ ที่เปิดด�ำเนินการแล้ว จ�ำนวน 36 แห่งเข้าสู่การเป็นนิคม อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ภายในปี พ.ศ. 2565 โดยนิคมอุตสาหกรรม อัญธานี และนิคมอุตสาหกรรม WHA ชลบุรี 2 ตั้งเป้าหมายจะเข้ารับ การตรวจประเมินเพื่อขอรับรองการเป็นนิคมอุตสาหกรรมระดับ Eco Champion ในปี พ.ศ. 2563 ทั้งนี้นิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ถือเป็น หนึง่ ในความท้าทายของ กนอ. ทีจ่ ะต้องสร้างสมดุลของการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน เนื่องจาก กนอ. ให้ความส�ำคัญกับคุณภาพชีวิตชุมชน และ สิ่งแวดล้อม ควบคู่กับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ด้วยหลักการ 5 มิติ 22 ด้าน ทัง้ ในมิตกิ ายภาพ มิตเิ ศรษฐกิจ มิตสิ งิ่ แวดล้อม มิตสิ งั คม และมิติการบริหารจัดการ” ผู้ว่าการ กนอ. กล่าว ทั้งนี้ “เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ” หมายถึง รูปแบบการพัฒนา อุตสาหกรรมที่ยั่งยืนบนพื้นฐานความสมดุลของเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม สังคม ความสอดคล้องกับกฎหมาย และความเป็นไปได้ทางเทคโนโลยี โดย กนอ.ท�ำหน้าที่ขับเคลื่อนการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศมา ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2542 ด้วยการก�ำหนดเป็นวิสยั ทัศน์ขององค์กร ขับเคลือ่ น ผ่านยุทธศาสตร์ของ กนอ. ภายใต้แผนงาน 5G+ ซึ่งแผนงานเมือง อุ ต สาหกรรมเชิ ง นิ เ วศอยู ่ ใ นยุ ท ธศาสตร์ Green โดยมี ก ารจั ด ตั้ ง คณะกรรมการ/คณะท�ำงานเพื่อขับเคลื่อนได้แก่ Eco Team, Eco Committee และ Eco Green Network เพื่อร่วมกันวางแผน และ ยกระดับการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศร่วมกัน ส�ำหรับแนวทางและเกณฑ์การพัฒนาได้รับการตรวจประเมินโดย ผู้ตรวจติดตามภายในและภายนอกเพื่อให้การรับรองที่เป็นที่ยอมรับ และสอดคล้องกับมาตรฐานสากล โดยแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ 1.) Eco-Champion นิคมฯ ที่ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ สามารถอยู่ร่วมกับสังคมอย่างผาสุกบนหลักธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม 2.) Eco-Excellence นิคมฯ ที่สามารถพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิต ชุมชนและสิ่งแวดล้อม พัฒนาอย่างยั่งยืนบนพื้นฐานความสมดุลของ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยอาศัยความร่วมมือและการสร้าง เครือข่ายของทุกภาคส่วน และ 3.) Eco-World Class นิคมฯ ที่เป็นผู้นำ� ในเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ พัฒนาให้เกิดการบริหารจัดการทรัพยากร และพลังงานอย่างคุม้ ค่า เพิม่ ประสิทธิภาพ พัฒนาการผลิตและเศรษฐกิจ ชุมชน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ และเป็นที่พึ่งของ ชุมชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม

Engineering Today January - February

2020

56

นิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ถือเป็นหนึ่งในความท้าทายของ กนอ. ที่จะต้องสร้างสมดุลของการ พัฒนาอย่างยั่งยืน เนื่องจาก กนอ. ให้ความส�ำคัญกับคุณภาพชีวิตชุมชน และสิ่งแวดล้อม ควบคู่กับการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศ ด้วยหลักการ 5 มิติ 22 ด้าน ทั้งในมิติกายภาพ มิติเศรษฐกิจ มิติสิ่งแวดล้อม มิติสังคม และมิติการบริหารจัดการ

อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ

ท่าเรือฯ มาบตาพุด รับรางวัลระดับ Eco World Class


Research & Development • กองบรรณาธิการ

นักวิจัยวิศวฯ มหิดล

เผยดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพรถไฟฟ้าไทย 6 มิติ 9 ด้าน

พร้อมแนะพัฒนาระบบการจัดการเดินรถ เพื่อประโยชน์แก่ผู้ ใช้บริการ

ณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยกลุ่มสาขาโลจิสติกส์และ ระบบขนส่งทางราง ได้ด�ำเนินการ โครงการศึกษาแนวทางการเพิ่ม ประสิทธิภาพการให้บริการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน โดยศึกษาวิจัยเพื่อก�ำหนดตัวชี้วัด ที่เหมาะสมเสนอให้หน่วยงานที่ให้บริการเดินรถ ส่งข้อมูลการให้บริการมาที่ภาครัฐ เพื่อการก�ำกับดูแลการให้บริการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมเสนอแนะแนวทางการพัฒนาระบบการจัดการเดินรถให้เกิดประโยชน์แก่ผใู้ ช้บริการ อย่างแท้จริง ผศ. ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์ คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัญหาทั่วไปที่พบในการใช้บริการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในประเทศไทย คือ 1. เรื่องข้อมูลการเดินทางไม่เพียงพอส�ำหรับผู้ใช้บริการในการวางแผนการเดินทาง 2. บัตรโดยสารที่หลากหลายชนิดตามผู้ให้บริการ 3. คิวซื้อบัตรโดยสารที่ค่อนข้างยาว 4. ความไม่สะดวกในการเข้าออกและใช้งานสถานี 5. ความหนาแน่นของผู้ใช้บริการ ในช่วงเวลาเร่งด่วน 6. ความสับสนของชื่อสถานี 7. ความล่าช้าของการบริการ เป็นต้น ซึ่งเป็น ผลมาจากการมีหน่วยงานที่รับผิดชอบการให้บริการเดินรถหลายหน่วยงาน ภาครัฐขาดมาตรฐานและมาตรการก�ำกับดูแลที่ชัดเจน และไม่ได้ใช้ ข้อมูลในรูปแบบ ดิจิทัลเพื่อการวางแผนหรือพัฒนาการให้บริการอย่างต่อเนื่อง ดร.จิรพรรณ เลี่ยงโรคาพาธ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาการ จัดการโลจิสติกส์และวิศวกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะ นักวิจัยหลักของโครงการศึกษาแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการรถไฟฟ้า ขนส่งมวลชน กล่าวถึง การเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการว่า สิ่งส�ำคัญที่จ�ำเป็น

57

ผศ. ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์ คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

Engineering Today January - February

2020


อันดับแรกคือ การหาดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพ หรือ Key Performance Indicators (KPIs) ที่เป็นข้อตกลงร่วมกัน ระหว่างผู้ให้บริการเส้นทางต่างๆ ก่อนว่า ควรจะวัดอะไร เมื่อใด และอย่างไร จึงจะท�ำการการวัดประสิทธิภาพ การท�ำงานของรถไฟฟ้าแต่ละเส้นทาง เพื่อดูว่าปัจจุบัน ประสิทธิภาพตามตัวชี้วัดของแต่ละเส้นทางอยู่ระดับใด เมื่อเปรียบเทียบกับเส้นทางอื่นในประเทศไทย และอ้างอิง กับการด�ำเนินงานรถไฟฟ้าในต่างประเทศ และสุดท้าย จึงเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพให้ดีขึ้นต่อไป จากการทบทวนการวั ด ประสิ ท ธิ ภ าพของต่ า ง ประเทศ อาทิ สิงคโปร์ ฮ่องกง อังกฤษ รวมทั้งหน่วยงาน สากล CoMET and Nova ที่ทำ� หน้าที่ในการเปรียบเทียบ สมรรถนะของการให้บริการรถไฟฟ้าทั่วโลกที่เป็นสมาชิก ท�ำให้สรุปตัวชี้วัดที่จ�ำเป็นส�ำหรับการวัดประสิทธิภาพการ ให้บริการได้จำ� นวนหนึง่ เมือ่ น�ำตัวชีว้ ดั ดังกล่าวมาสอบถาม ผูใ้ ห้บริการและเจ้าของโครงการรถไฟฟ้าแต่ละรายด้วยการ สัมภาษณ์เชิงลึก พบว่าตัวชี้วัดบางตัวไม่เหมาะสมกับการ วัดการท�ำงานของรถไฟฟ้าของไทย จึงปรับตัวชีว้ ดั ใหม่ และ น� ำ เสนอในการจั ด สนทนากลุ ่ ม หรื อ Focus Group หลายครั้ง เพื่อท�ำข้อตกลงตัวชี้วัดเริ่มต้นส�ำหรับการวัด ประสิทธิภาพการให้บริการของรถไฟฟ้าเส้นทางต่างๆ ของ ประเทศไทย โดยกลุ่ม ผู้ร่วมสนทนาประกอบด้วยผู้ให้ บริการ เจ้าของโครงการ หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานภาค การศึกษา หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง และประชาชนทั่วไป ได้สรุปดัชนีชี้วัดการด�ำเนินการได้ 6 มิติ 9 ด้าน ดังนี้

Engineering Today January - February

2020

ดร.จิรพรรณ กล่าวว่า ส�ำหรับขั้นตอนต่อไป หน่วยงานภาครัฐ ที่มีห น้าที่ในการก�ำกับ ดูแล ซึ่งก็คือ กรมขนส่ ง ทางรางในปัจจุบัน ต้องเก็บรวบรวมข้อมูลตามตัวชี้วัดข้างต้น และน�ำมาเปรียบเทียบกับ รถไฟฟ้าสายต่างๆ ภายในประเทศและต่างประเทศ และเสนอแนวทาง การปฏิบัติที่ดีที่สุดเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ รวมถึงการ น�ำข้อมูลเชิงดิจิทัลมาใช้วิเคราะห์พฤติกรรมของผู้โดยสาร และกระตุ้น การใช้รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ลดการใช้รถส่วนตัว ช่วยประหยัดพลังงาน และรักษาสิ่งแวดล้อมให้กรุงเทพฯ ของเราน่าอยู่ยิ่งขึ้น

58


@Engineering Today Vol. 1 No. 175

วสท.-สภาว�ศวกร-สภาสถาปนิก เสนอ “ขอกำหนดมาตรฐาน BIM Standard ของสภาว�ศวกร” ยกรางเปนมาตรฐานว�ชาชีพของไทย Ananda UrbanTech เผยนำระบบ BIM เขามาใชรายแรกในไทย พรอมจับมือพันธมิตร อัพเดทเทรนดกอสราง จับตา “บางนา” ทำเลทองที่อยูอาศัยระดับพร�เมียม New CBD แหงใหมกรุงเทพฯ ฝงตะวันออก


Construction • กองบรรณาธิการ

วสท.

สภาวิศวกร

สภาสถาปนิก

เสนอ “ข้อก�ำหนด มาตรฐาน BIM Standard ของสภาวิศวกร” ยกร่างเป็นมาตรฐาน วิชาชีพของไทย

ปั

จจุบัน ผู้ประกอบการก่อสร้างทั้งภาครัฐและ เอกชนของไทยได้นำ� เทคโนโลยีระบบ Building Information Modeling (BIM) ซึ่งเป็นระบบการก่อสร้าง ที่สร้างแบบจ�ำลองเสมือนจริงในคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ ในงานมากขึ้น เพื่อช่วยเพิ่มศักยภาพในการออกแบบ การ ก่อสร้าง และการพัฒนาโครงการ รวมทั้งช่วยให้ประหยัด เวลา ประหยัดค่าใช้จา่ ยในการก่อสร้าง และลดปัญหาความ ขัดแย้งของแต่ละฝ่ายที่เกี่ยวข้อง แต่ยังไม่มีการก�ำหนด กรอบการใช้ BIM จากสภาวิชาชีพที่ก�ำกับดูแล ดังนั้น วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) พร้อมด้วยสภาวิศวกร สภาสถาปนิก สมาคมและ เครือข่ายอุตสาหกรรมก่อสร้าง จึงร่วมกันจัดเวทีเสวนาเรือ่ ง “ข้อก�ำหนดมาตรฐาน BIM Standard ของสภาวิศวกร” ขึ้น เพื่อเสนอแนวทาง ข้อก�ำหนดต่างๆ น�ำไปสู่การยกร่าง เป็นมาตรฐานที่จะใช้ในการปฏิบัติวิชาชีพในประเทศไทย น� ำ ไปสู ่ ก ารยอมรั บ อย่ า งกว้ า งขวางในวงการก่ อ สร้ า ง ระดับสากล

Engineering Today January - February

2020

60


เชื่อว่าแต่ละบริษัทก่อสร้างของไทย นั้นมีมาตรฐานการท�ำงาน BIM เบื้องต้นอยู่บา้ งแล้วแต่ยังไม่ ได้ น�ำมาแลกเปลี่ยนระหว่างกัน ซึ่งหาก มีการแลกเปลี่ยนรูปแบบ BIM ของแต่ละ บริษัทตั้งแต่ต้นน�้ำ กลางน�้ำ และปลายน�้ำ วงการก่อสร้างของไทยจะพัฒนาไปไกล กว่านี้และอาจจะก้าวขึ้นมาเป็นผู้น�ำ ในการมีมาตรฐาน BIM ส�ำหรับใช้ในการ ก่อสร้างในภูมิภาคอาเซียน กิตติพงษ์ วีระโพธิ์ประสิทธิ์ เหรัญญิกและประธานอนุกรรมการสวัสดิการและสมาชิกสัมพันธ์ สภาวิศวกร

เทคโนโลยี BIM เครื่องมือส�ำคัญในงานก่อสร้าง รับยุค Digital Construction กิ ต ติ พ งษ์ วี ร ะโพธิ์ ป ระสิ ท ธิ์ เหรั ญ ญิ ก และประธาน อนุกรรมการสวัสดิการและสมาชิกสัมพันธ์ สภาวิศวกร กล่าวว่า ปัจจุบันการท�ำงานของวิศวกรก่อสร้าง ผู้ควบคุมงาน สถาปนิก ผู้ออกแบบงานก่อสร้าง ผู้ที่เกี่ยวข้องรวมทั้งเจ้าของโครงการ ก่อสร้าง ได้นำ� เทคโนโลยีระบบ Building Information Modeling (BIM) เข้ามาใช้มากขึน้ จากในอดีตเมือ่ ประมาณ 20 กว่าปีทผี่ า่ น มานิยมใช้การออกแบบด้วยแบบพิมพ์เขียวแปลนโครงการแบบ หยาบๆ ก่อนแล้วท�ำการแก้แบบตามทีผ่ พู้ ฒ ั นาโครงการแต่ละแห่ง ต้องการ รวมทั้งมีการแก้แบบระหว่างการด�ำเนินการก่อสร้าง ท�ำให้เกิดความล่าช้า อีกทั้งการตรวจรับงานต้องใช้ระยะเวลาใน การตรวจ การรับประกันระบบก่อสร้างโครงสร้างภายในหากเกิด ปัญหาการใช้งานขึ้นในอนาคตจะต้องมีวิธีการแก้ไขอย่างไรบ้าง ท�ำให้โครงการหนึ่งๆ กว่าจะผ่านออกมาแล้วใช้งานได้ใช้เวลา ค่อนข้างนาน แต่เมื่อน�ำระบบ BIM เข้ามาใช้ในการก่อสร้าง ทั้งที่เป็น BIM จากสหรัฐอเมริกา ยุโรป และในเอเชียด้วยกัน ช่วยให้การท�ำงานมีความรวดเร็วขึ้นกว่า 20% เนื่องจากเป็น ระบบมาตรฐานที่ ค� ำ นวณการท� ำ งานทุ กอย่ า งตามข้ อ มู ล จริ ง ช่วยเพิม่ ความน่าเชือ่ ถือในการก่อสร้างโครงการแต่ละแห่ง มีขอ้ มูล ที่ พ ร้ อ มให้ ร ายละเอี ย ดแยกการก่ อ สร้ า งแต่ ล ะเฟสแต่ ล ะชั้ น ไม่ว่าจะเป็นการใช้อิฐ หิน ปูน เหล็ก เทปูนซีเมนต์บริเวณฐานราก เทปู น ซี เ มนต์ ใ นแต่ ล ะชั้ น มี ค วามหนาเท่ า ใด การก่ อ สร้ า ง ลดพลังงานและก่อผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไรบ้าง เป็นต้น

“BIM เป็นเครือ่ งมือก่อสร้างแบบจ�ำลองเสมือนจริงทีเ่ ปลีย่ น จากการสร้ า งแบบบนกระดาษมาสู ่ เ ทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล โดยใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยให้การท�ำงานมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ลดต้นทุน มีทางเลือกในการเลือกใช้วัสดุส�ำหรับก่อสร้างที่หลากหลายขึ้น การประสานงานของผู้ร่วมงานทุกฝ่ายท�ำงานบนแพลตฟอร์มที่มี ข้ อ มู ล เชื่ อ มโยงถึ ง กั น ด้ ว ยโปรแกรมซอฟต์ แ วร์ ที่ เ หมาะสม บนมาตรฐานที่เป็นสากลและเป็นที่ยอมรับของประเทศต่างๆ” กิตติพงษ์ กล่าว

วสท. จับมือ 2 สภาวิชาชีพน�ำข้อก�ำหนดมาตรฐาน BIM Standard ของสภาวิศวกร ยกร่างเป็นมาตรฐานวิชาชีพของไทย แม้ว่า BIM จะเป็นเครื่องมือก่อสร้างส�ำคัญในการก่อสร้าง ในปัจจุบัน และผู้ประกอบการในวงการก่อสร้างไทยใช้เทคโนโลยี BIM มาหลายปี ซึ่งส่วนใหญ่เป็นมาตรฐาน BIM จากต่างประเทศ เนื่องจากประเทศไทยยังไม่มีข้อก�ำหนดนโยบาย ข้อก�ำหนด ข้อบังคับ โมเดลการท�ำงานทีเ่ ป็นแบบแผนมาตรฐานทีช่ ดั เจน อาจ จะมีที่ใช้กันอยู่เฉพาะผู้ประกอบการก่อสร้างต่างๆ ในบริษัท ตนเอง เนื่องจากชุดค�ำสั่ง BIM มีราคาต้นทุนสูง และในแต่ละ ประเภทการใช้งานมีความแตกต่างกับการก่อสร้างในประเทศไทย เมื่อน�ำมาใช้จะไม่คุ้มทุน ด้วยเหตุนี้ วสท. สภาวิศวกร และสภาสถาปนิก ร่วมกับ สมาคมและเครื อ ข่ า ยอุ ต สาหกรรมก่ อ สร้ า ง จึ ง ได้ ร ่ ว มกั น จัดเวทีเสวนาเรื่อง “ข้อก�ำหนดมาตรฐาน BIM Standard

61

Engineering Today January - February

2020


ของสภาวิศวกร” ขึ้น เพื่อระดมความคิดเห็น เสนอแนวทาง ข้อก�ำหนด ต่างๆ น�ำไปสู่การยกร่างเป็นมาตรฐานที่จะใช้ในการ ปฏิบัติวิชาชีพ ซึ่งเป็นมาตรฐานของประเทศไทยสู่การยอมรับใน วงการก่อสร้างในประเทศไทย ในระดับภูมิภาคอาเซียนและ ในระดับสากลมากยิ่งขึ้น

เผย 4 ปีมี BIM Standard in the World ประมาณ 116 รายการ ทรงพล ยมนาค คณะกรรมการ Building Information Modeling Guide สภาสถาปนิก กล่าวว่า ตั้งแต่ปี พ.ศ. 25582562 BIM Standard in the World มี ป ระมาณ 116 รายการทีเ่ ป็นมาตรฐานในเรือ่ งต่างๆ ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา 47 รายการ ยุโรป 34 รายการ และเอเชีย 35 รายการ ส่วนใน ประเทศไทยยังไม่มี BIM ที่เป็นมาตรฐานในการก่อสร้างของ ประเทศประกาศใช้ อาจจะมีบ้างในบริษัทรับเหมาก่อสร้างขนาด ใหญ่ที่มีเงินทุนในการซื้อ BIM จากต่างประเทศมาศึกษาและ ใช้ ง านจริ ง ในช่ ว ง 5 ปี ที่ ผ ่ า นมาเพื่ อ น� ำ มาปรั บ ใช้ ง านให้ มี ประสิทธิภาพ เกิดความสะดวก ลดต้นทุน ลดการใช้แรงงาน และ บู ร ณาการท� ำ งานมากขึ้ น แต่ ค าดว่ า จากนี้ ต ่ อ ไปจะมี ก ารใช้ BIM เพิ่มขึ้นอีกหลายๆ รายการ เพราะโลกมีการพัฒนาแบบ ก้าวกระโดดในทุกๆ ด้าน ไม่เว้นแม้แต่วงการก่อสร้าง หาก ประเทศไทยไม่มีเทคโนโลยี BIM เป็นของตนเองก็จะต้องสูญเสีย ค่าใช้จ่ายในการซื้อ BIM จากต่างประเทศมาใช้อย่างต่อเนื่อง

Engineering Today January - February

2020

62

2 ปีที่แล้ว องค์กรวิชาชีพก�ำหนดรูปแบบ BIM ติดข้อจ�ำกัดเทคโนโลยี-เครื่องมือใช้ควบคุม ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ส� ำ หรั บ ในประเทศไทย องค์ ก รวิ ช าชี พ ที่ ก� ำ กั บ ดู แ ล ผูป้ ระกอบการก่อสร้าง วิศวกรก่อสร้างได้มกี ารพูดคุยเพือ่ ก�ำหนด รายละเอียดรูปแบบ BIM ขึ้นใช้เองส�ำหรับวงการก่อสร้างไทย เมื่อประมาณ 2 ปีที่ผ่านมา แต่ยังมีข้อจ�ำกัดเรื่องเทคโนโลยีและ เครือ่ งมือต่างๆ ทีเ่ หมาะสมทีจ่ ะน�ำมาใช้ควบคุมการท�ำงานให้เป็น มาตรฐานแบบเดียวกัน เช่น แพลตฟอร์ม ซอฟต์แวร์ต่างๆ ควรเป็นแบบเดียวกันทัง้ ทีมงานเพือ่ ให้การท�ำงานสือ่ สารกันอย่าง มีประสิทธิภาพ รวมทัง้ ค่าใช้จา่ ยและระยะเวลาในการรวบรวมราย ละเอียดต่างๆ ที่ค่อนข้างมาก ไม่ว่าจะเป็น 1) แผนการด�ำเนิน การโครงการ Project Execution Plan : PEP) ต้องพัฒนาจาก


ระดับง่ายไปสู่ระดับยาก และต้องท�ำความเข้าใจจากทุก ฝ่าย ที่เกี่ยวข้องตั้งแต่เจ้าของโครงการผู้เป็นเจ้าของเงินทุนก่อสร้าง ผู้บริหารทุกฝ่าย รวมไปจนถึงผู้รับเหมาก่อสร้างรายวัน ให้เข้าใจ แผนการท� ำ งานเพื่ อ ให้ ง านส� ำ เร็ จ ตามแผนการด� ำ เนิ น งาน ที่วางเอาไว้ 2) วิธีการสร้างแบบจ�ำลองโมเดลในการท�ำงาน (Modeling Methodology : MM) ร่วมกันร่างการท�ำงานของ แต่ละทีมทัง้ เจ้าของโครงการ ผูร้ บั เหมาก่อสร้าง และอืน่ ๆ ปรับจูน การท�ำงานให้มีความเข้าใจตรงกันพร้อมๆ กับช่วยกันแก้ปัญหา ระหว่างการท�ำงานจริง 3) ระดับการพัฒนารายละเอียดและ กระบวนการท�ำงาน BIM (Levels of Development : LOD) ให้คนร่วมงานในทีมเข้าใจและมีสว่ นร่วมในการแสดงความคิดเห็น และ 4) การจัดระเบียบข้อมูล (BIM Protocol and Information Organization : P&O) มีการวางแผนการท�ำงานเป็นขั้นตอน ก่อนและหลัง งานอะไรควรท�ำก่อนและงานอะไรควรท�ำหลัง เพื่อลดการสูญเสียทุกรูปแบบ เป็นต้น “ที่ส�ำคัญคือ ทัศนคติในการท�ำงานร่วมกับผู้อื่น ต้องใส่ใจ และท�ำความเข้าใจในรูปแบบการท�ำงาน และเหตุผลของการ ปรับเปลี่ยนที่จะมีผลต่อการก่อสร้างในอนาคต เชื่อว่าทุกคนที่ ร่วมท�ำงานอยากเห็นโครงการของตนเองเป็นทีช่ นื่ ชมและใช้บริการ โดยไม่กอ่ ให้เกิดปัญหาใดๆ ไปชัว่ ลูกชัว่ หลาน รวมทัง้ การถ่ายทอด รูปแบบการก่อสร้าง อย่างน้อยคนที่เกี่ยวข้องอ่านแล้วเข้าใจใน รายละเอียด BIM ของไทย และพร้อมทีจ่ ะส่งต่อและพัฒนาวงการ ก่อสร้างของไทยให้รนุ่ ต่อๆ ไปในอนาคต ได้มแี บบแผนครอบคลุม ทุกมิติมากขึ้น” ทรงพล กล่าว

แนะแต่งตั้ง BIM Manager เพื่อน�ำเสนอแผนการ ท�ำงาน ก่อนเริ่มต้นท�ำงานทุกครั้ง ปณิธิ พรหมสาขา ณ สกลนคร ตัวแทนจากสภาวิศวกร กล่าวว่า ในการท�ำงานจริง ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะปรับเปลี่ยนการ ท�ำงานด้านวิศวกรรมแบบเดิมทีร่ า่ งแบบในพิมพ์เขียวแล้วน�ำไปใช้ งานไปพร้อม ๆ กับการแก้แบบระหว่างการท�ำงาน ให้เปลี่ยนมา ใช้ระบบ BIM ที่เป็นแบบจ�ำลองการก่อสร้างจากคอมพิวเตอร์ เพราะการด�ำเนินการนัน้ มีขอ้ มูลและมีอปุ สรรคหลายด้านมาก ไม่ ว่าจะเป็นนโยบายในการท�ำงานของแต่ละโครงการ แต่ละบริษัท แต่ละผูว้ า่ จ้างโครงการไม่เหมือนกัน อีกทัง้ ทัศนคติและวัฒนธรรม การท�ำงานขององค์กรแต่ละแห่งเมื่อมาร่วมท�ำงานกันจะต้องใช้ เวลาในการปรับเปลี่ยนระบบการท�ำงาน อาจจะมีผู้เชี่ยวชาญ แต่ละส่วนงานมาร่วมชีแ้ นะแลกเปลีย่ นการท�ำงานระหว่างกัน รวม ทั้ ง การใช้ เ ครื่ อ งมื อ และเทคโนโลยี รู ป แบบของแพลตฟอร์ ม ซอฟต์แวร์ในการอ่านค่าการเขียนแบบงาน ต้องมีการปรับเปลีย่ น ให้เป็นระบบเดียวกันเชื่อมโยงการท�ำงานให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในการ ท�ำงานสามารถเข้าไปตรวจสอบการก่อสร้างในแต่ละขัน้ ตอนว่าใน ขณะนีก้ ารท�ำงานไปถึงขัน้ ไหนแล้ว มีการท�ำงานส่วนใดบ้างทีล่ า่ ช้า

ตรงนี้อยากให้รัฐบาล เข้ามาช่วยเหลือในการแลกเปลี่ยน บุคลากรการศึกษาการท�ำงาน เนื่องจากหลายๆ โครงการ ภาครัฐด้านการก่อสร้างโดยเฉพาะ โครงการ EEC ที่ก่อสร้างอาคาร ระบบโครงสร้างต่างๆ จะต้องใช้ BIM มากมาย ซึ่งหากรัฐบาลช่วยเหลือ จะท�ำให้วิศวกรก่อสร้าง ผู้ประกอบการ ก่อสร้างของไทย และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้รับความรู้และประโยชน์กลับมา ต่อยอดการท�ำงานในวงการ ก่อสร้างไทยในอนาคต

ผู้ร่วมงานทีมงานไหนรับผิดชอบเพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อภาพ รวมการท�ำงานทั้งหมด และควรแต่งตั้ง BIM Manager Project เป็น ผู้ควบคุมงาน เพื่อเสนอแผนการท�ำงานก่อนเริ่มต้นท�ำงาน ทุกครัง้ ไม่วา่ โครงการก่อสร้างนัน้ จะมีมลู ค่ากีห่ มืน่ ล้านบาทก็ตาม เพือ่ จะได้มแี นวทางในการท�ำงานทีช่ ดั เจนในการแบ่งงานและดูแล ทุกๆ ทีมงานไม่ต้องเสียเวลาในการท�ำงาน ซ่อม แก้ไขงาน และ ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น “ต้องเข้าใจว่าระบบคอมพิวเตอร์ในทุกๆ ซอฟต์แวร์ที่ใช้ ย่อมมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นได้ ควรจะมีทีมงานที่ท�ำหน้าที่ส�ำรอง ข้อมูลเป็นระบบ Manual ท�ำการจดบันทึกข้อมูลการท�ำงานท�ำ เป็นคู่มือการท�ำงานทุกขั้นตอนควบคู่กันไปด้วย” ปณิธิ กล่าว ส�ำหรับค่าใช้จ่ายเรื่องซอฟต์แวร์ในการก่อสร้างในอนาคต นัน้ คาดว่าจะมีราคาทีเ่ พิม่ สูงขึน้ เนือ่ งจากมีการวิวฒ ั นาการคิดค้น ซอฟต์แวร์ใหม่ๆ ทีช่ ว่ ยสนับสนุนเอือ้ ให้การก่อสร้างมีความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ก็มีซอฟต์แวร์พื้นฐานหลายๆ ตัวจะมี ราคาลดลงเช่นกัน ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก่ บั เจ้าของโครงการทีจ่ ะเลือกใช้งาน ให้ตรงกับวัตถุประสงค์มากที่สุด

63

Engineering Today January - February

2020


ชี้ใช้ BIM ของคนไทยเอง ลดค่าใช้จ่ายปีละหลายล้านบาท สุ ชิ น สุ ข พั น ธ์ กรรมการจั ด ท� ำ มาตรฐานรหั ส ต้ น ทุ น ก่อสร้างงานอาคาร วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรม ราชูปถัมภ์ (วสท.) กล่าวว่า BIM ที่ใช้กันอยู่ในขณะนี้ล้วนแต่ เขี ยนรูป แบบอ้างอิงตามการใช้ง านของประเทศตนเองทั้งสิ้น มีเปอร์เซ็นต์นอ้ ยมากทีจ่ ะเขียนเพือ่ ทีจ่ ะเอือ้ ประโยชน์ในการน�ำไป ใช้ทั้งหมดในประเทศอื่นๆ แต่หลายส่วนของ BIM ในแต่ละ ประเทศสามารถน�ำมาศึกษาและต่อยอดเพื่อสร้าง BIM ของคน ไทยเอง ซึง่ ต้องมีการน�ำข้อมูลทีม่ อี ยูจ่ ำ� นวนมากในการก่อสร้างมา แยกประเภท แยกวิธกี ารก่อสร้าง แยกวิธกี ารจัดการแก้ไขโครงการ หลังการส่งมอบและอื่นๆ ที่ส�ำคัญผู้ที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็น เจ้าของโครงการ ผู้รับเหมาก่อสร้าง ผู้รับช่วงต่อในการก่อสร้าง ต้องน�ำข้อมูลมาช่วยกัน สร้าง BIM เพื่อเป็นมาตรฐานเดียวกันใน การท�ำงานอาจจะต้องใช้เวลา 2-3 ปีกว่าจะแล้วเสร็จ ทั้งนี้ควรที่จะเชิญผู้เชี่ยวชาญจากประเทศที่มีวิวัฒนาการ ก่อสร้างแบบเดียวกับประเทศไทยมาเป็นที่ปรึกษาในการด�ำเนิน การ หรืออาจจะน�ำองค์รวมแบบ BIM ทีม่ อี ยูแ่ ล้วในสหรัฐอเมริกา ยุโรป และเอเชีย ที่สอดคล้องกับการก่อสร้างในประเทศไทยมา ปรับและทดลองใช้เพือ่ เก็บข้อมูลท�ำการศึกษาจะท�ำการเก็บข้อมูล ความส�ำคัญต่างๆ จากบนลงล่าง หรือท�ำจากล่างขึ้นบนก็ได้ แล้วเขียน BIM ก�ำหนด สัญลักษณ์การด�ำเนินการก่อสร้างที่เป็น รูปแบบที่ผู้ประกอบการก่อสร้างของไทยมีความเข้าใจตรงกัน ไม่ว่าจะเป็นระบบการก่อสร้างแอร์ในอาคารก�ำหนดให้ชัดเจนลง ไปเลยว่า ถ้าอาคารขนาดใหญ่จะต้องใช้แอร์ขนาดเท่าไรต่อพื้นที่ กีต่ ารางเมตร ก�ำหนดหลอดไฟประหยัดพลังงานในแต่ละชัน้ ว่าจะ มีกดี่ วง ก�ำหนดการขุดเจาะพืน้ ทีอ่ าคารจอดรถชัน้ ใต้ดนิ ในกีเ่ มตร ว่าจะมีการใช้ขนาดเหล็ก เทปูนซีเมนต์เท่าใด มีการรับน�้ำหนักรถ ที่จะน�ำมาจอดขนาดใดบ้าง อาคารโครงการก่อสร้างตั้งแต่กี่ชั้น ต้องมีการแจ้งรายละเอียด BIM ที่ใช้อะไรบ้าง ถ้าไม่แจ้งจะมี ข้อก�ำหนดโทษอย่างไรบ้าง มีการติดตั้งเครื่องปั่นไฟกี่ตัว วางไว้ บริเวณพื้นที่ส่วนไหน พื้นที่ใช้งานเฉพาะควรมีการออกแบบ อย่างไร การติดตั้งอุปกรณ์เครื่องใช้ส�ำนักงานรับน�้ำหนักได้เท่าไร ในแต่ละห้อง ในแต่ละชั้น รวมทั้งท�ำการประเมินผลการท�ำงาน ของแต่ ล ะที ม ในการเข้ า พื้ น ที่ ก ่ อ สร้ า งในแต่ ล ะวั น เพื่ อ น� ำ ไป ปรับปรุง หาข้อยุติปัญหาที่จะเกิดและวางเป้าหมายแก้ปัญหาใน วันต่อๆ ไปทีละขั้นอย่างต่อเนื่อง เป็นต้น “เชื่อว่าแต่ละบริษัทก่อสร้างของไทยนั้นมีมาตรฐานการ ท�ำงาน BIM เบื้องต้นอยู่บ้างแล้วแต่ยังไม่ได้น�ำมาแลกเปลี่ยน ระหว่างกัน ซึง่ หากมีการแลกเปลีย่ นรูปแบบ BIM ของแต่ละบริษทั ตั้งแต่ต้นน�้ำ กลางน�้ำ และปลายน�้ำ วงการก่อสร้างของไทยจะ พั ฒ นาไปไกลกว่ า นี้ แ ละอาจจะก้ า วขึ้ น มาเป็ น ผู ้ น� ำ ในการมี มาตรฐาน BIM ส�ำหรับใช้ในการก่อสร้างในภูมภิ าคอาเซียนเพราะ

Engineering Today January - February

2020

64

คนไทยเก่งและมีข้อมูลการคิดค้นใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์ในการ ก่อสร้างที่เป็นข้อเสนอแนะและข้อก�ำหนดต่างๆ อีกมาก และ หากได้ใช้ BIM ของคนไทยเองจะช่วยลดการซื้อ BIM จาก ต่างประเทศมาใช้ได้ปีละหลายล้านบาท” สุชิน กล่าว

เสริมการเรียนรู้ BIM ส�ำหรับบุคลากรผู้ร่วมท�ำงาน ศักดิณ ์ รงค์ เดชระพีพงษ์ อุปนายกฝ่ายวิชาการและพัฒนา ฝีมือช่าง สมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครื่องกลไทย กล่าวว่า ประเทศไทยถือว่าเก่งและเชีย่ วชาญในเรือ่ งการก่อสร้าง ซึง่ ได้การ ยอมรั บ ในภู มิ ภ าคอาเซี ย น แต่ ป ระเทศไทยยั ง ขาดเครื่ อ งมื อ เทคโนโลยีที่ทันสมัยและบุคลากรที่เชี่ยวชาญในงานก่อสร้างมา สานต่องาน รวมทั้งไม่มีการสร้างหรือก�ำหนดมาตรฐานการ ก่อสร้างที่เป็นของคนไทยขึ้นใช้ควบคุมการก่อสร้าง ท�ำให้เกิด ปัญหาผู้รับเหมาละทิ้งงานบ้าง ข่าวอาคารก่อสร้างหลายๆ แห่ง ถล่ม ร้าว สร้างความเสียหายต่อชีวติ และทรัพย์ของประชาชนเป็น จ�ำนวนมากในช่วงที่ผ่านมา ดังนั้นสภาวิชาชีพที่เกี่ยวข้องจึงได้ มีแนวคิดที่จะวางรากฐานและก�ำหนดมาตรฐานในการท�ำงาน ก่อสร้าง ซึ่งเชื่อว่าแต่ละสภาวิชาชีพที่ก�ำกับดูแลได้มีคู่มือแนะน�ำ ในรายละเอียดต่างๆ แก่เหล่าสมาชิกแล้ว แต่การที่จะก้าวไปสู่ ระดับสากล สร้างมาตรฐานของประเทศไทยให้เป็นที่ยอมรับนั้น บุคลากรถือว่าเป็นสิง่ ทีม่ คี วามจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีไ่ ม่สามารถละเลยได้ เพราะเป็นหน้าเป็นตาของประเทศในการสร้างความเชื่อมั่นและ มั่นใจในบุคลากรก่อสร้างของไทยในการประกอบธุรกิจก่อสร้าง จะเห็ น ได้ ว ่ า ในแต่ ล ะบริ ษั ท มี ก ารจั ด อบรมและเชิ ญ ผู้เชี่ยวชาญจากหลายๆ หน่วยงานมาให้องค์ความรู้เรื่อง BIM ส�ำหรับการก่อสร้างบ้างแล้ว แต่การเรียนรู้ในบริษัทเพียงอย่าง เดียวไม่เพียงพอ เนือ่ งจากการก่อสร้างในปัจจุบนั จ�ำเป็นทีจ่ ะต้อง เรียนรู้จากองค์กรภายนอก จากการท�ำงานร่วมกับบริษัทอื่นๆ ท�ำให้เกิดการแลกเปลีย่ นวิธกี ารท�ำงาน แลกเปลีย่ นเทคนิคในการ ใช้เครื่องมือให้เกิดทักษะใหม่ๆ มีการตั้งชื่อเทคนิคใหม่ๆที่คิดค้น ได้ระหว่างการท�ำงานร่วมกัน ซึ่งควรตั้งชื่อง่ายๆ ให้จดจ�ำได้ มีสัญลักษณ์และรูปแบบในการอ้างอิงส�ำหรับใช้ในการท�ำงาน เพื่อน�ำไปสู่การใช้ประโยชน์การก่อสร้างในอนาคตร่วมกัน หรือ อาจจะส่งบุคลากรของแต่ละบริษัทไปศึกษาเฉพาะเรื่อง BIM ในต่างประเทศ รวมทั้งแลกเปลี่ยนบุคลากรระหว่างประเทศที่มี ความรู้ความเชี่ยวชาญและเป็นที่ยอมรับด้าน BIM “ตรงนี้อยากให้รัฐบาลเข้ามาช่วยเหลือในการแลกเปลี่ยน บุคลากรการศึกษาการท�ำงาน เนื่องจากหลายๆ โครงการภาครัฐ ด้านการก่อสร้างโดยเฉพาะโครงการ EEC ทีก่ อ่ สร้างอาคาร ระบบ โครงสร้างต่างๆ จะต้องใช้ BIM มากมาย ซึง่ หากรัฐบาลช่วยเหลือ จะท�ำให้วศิ วกรก่อสร้าง ผูป้ ระกอบการก่อสร้างของไทย และอืน่ ๆ ที่เกี่ยวข้องได้รับความรู้และประโยชน์กลับมาต่อยอดการท�ำงาน ในวงการก่อสร้างไทยในอนาคต” ศักดิ์ณรงค์ กล่าว


Construction • กองบรรณาธิการ

Ananda UrbanTech เผยน�ำระบบ BIM เข้ามาใช้รายแรกในไทย พร้อมจับมือพันธมิตร อัพเดทเทรนด์ ก่อสร้าง

บริษัท อนันดา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) น�ำเทคโนโลยี VR มาใช้กับ BIM เป็นรายแรกของไทย

ดร.จอห์น เลสลี่ มิลลาร์ ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาเชิงกลยุทธ์ อนันดา เออร์เบินเทค บริษัท อนันดา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน)

A

nanda UrbanTech หน่วยงานด้านนวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนารูปแบบคุณภาพ ชี วิ ต ของคนเมื อ งในด้ า นต่ า งๆ เช่ น ด้ า นที่ อ ยู ่ อ าศั ย การเดินทาง สุขภาพ การเงิน และด้านอื่นๆ ของบริษัท อนันดา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมกับ Brick & Mortar Ventures ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการ ก่อสร้างในระดับโลก และผู้ก่อตั้งสมาคมเพื่อการแก้ ปัญหาการก่อสร้าง (SCS) จัดเสวนา “The World's Leading-Edge Construction Technologies” เพื่อ ถ่ า ยทอดความรู ้ และแลกเปลี่ ย นประสบการณ์ ก าร ใช้เทคโนโลยีส�ำหรับวงการก่อสร้าง ตั้งแต่การออกแบบ การก่อสร้าง การค�ำนวณระยะเวลาการก่อสร้าง การ ค�ำนวณงบประมาณในการก่อสร้าง ตลอดจนอัพเดท เทคโนโลยีเทรนด์ก่อสร้างในอนาคต

ดร.จอห์น เลสลี่ มิลลาร์ ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาเชิงกล ยุทธ์ อนันดา เออร์เบินเทค หน่วยงานที่ช่วยขับเคลื่อนวิสัยทัศน์และ ความมุ่งมั่นด้านผู้น�ำทางเทคโนโลยี บริษัท อนันดา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ปัจจุบนั ในวงการก่อสร้างทัง้ ภาครัฐและเอกชน ในประเทศเร่งพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยขึ้น โดยน�ำ AI (Artificial Intelligence), IoT (Internet of Things), BIM (Building Information Modeling) และอื่ น ๆ เพื่ อ น� ำ มาใช้ ใ นการก่ อ สร้ า ง ตั้งแต่ การออกแบบ การก่อสร้าง การค�ำนวณระยะเวลาการก่อสร้าง การค�ำนวณงบประมาณในการก่อสร้างและอื่นๆ เพื่ออ�ำนวยความ สะดวกในการท�ำงาน ช่วยลดค่าใช้จ่ายและหวังยกระดับมาตรฐานการ ท�ำงานของวงการก่อสร้างของไทยให้ทัดเทียมในระดับสากล พร้อมทั้ง อัพเดทเทรนด์เทคโนโลยีการก่อสร้างในอนาคตส�ำหรับผูอ้ ยูอ่ าศัยในเมือง ต่างจังหวัด รวมทั้งคนย้ายถิ่นฐานเข้ามาท�ำงานต้องใช้ชีวิตที่เหมาะสม กั บ รู ป แบบบ้ า น คอนโดมิ เ นี ย ม หรื อ ที่ พั กอาศั ย รู ป แบบไหนบ้ า งที่ ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์คนแต่ละวัยได้อย่างเหมาะสม เป็ น ที่ แ น่ น อนว่ า นวั ต กรรมและเทคโนโลยี ต ่ า งๆ นั้ น ต้ อ งใช้ งบประมาณที่ มี มู ล ค่ า สู ง แต่ ผ ลตอบแทนคุ ้ ม ค่ า ท� ำ ให้ ผู ้ พั ฒ นา อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ร ายใหญ่ ๆ เริ่ ม ให้ ค วามสนใจและพร้ อ มที่ จ ะทุ ่ ม งบประมาณส�ำหรับซื้อนวัตกรรมและเทคโนโลยีส�ำหรับการก่อสร้าง เข้ามาใช้ให้เหมาะสมกับโครงการก่อสร้างแต่ละประเภทตามยุคสมัย นอกจากซื้อนวัตกรรมและเทคโนโลยีจากต่างประเทศที่มีความ เชี่ยวชาญมาใช้ในการก่อสร้างแล้ว หลายๆ บริษัทเริ่มใช้งบประมาณ ส�ำหรับสร้างนวัตกรรมและเทคโนโลยีการก่อสร้างจากการคิดค้นของ พนักงานในบริษัทของตนเองมาพัฒนาต่อยอดทดลองน�ำไปใช้งานจริง มากขึ้น เช่น ในประเทศจีน และญี่ปุ่น ส�ำหรับประเทศไทยนั้นการคิดค้น นวัตกรรมและเทคโนโลยีส�ำหรับการก่อสร้างเพิ่งเริ่มต้นแต่ก็สามารถ ทีจ่ ะช่วยให้ทกุ ส่วนของการท�ำงานมีสว่ นร่วมในการพัฒนาโครงการแต่ละ โครงการ ตั้งแต่ผู้รับเหมาไปจนถึงนักออกแบบ ทีมการขาย และทีม การตลาด ได้สมั ผัสถึงความสามารถของการน�ำนวัตกรรมและเทคโนโลยี มาใช้งานในโครงสร้างอาคารต่างๆ ของบริษัทฯ ซึ่งบริษัท อนันดา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) ถือเป็นรายแรกในประเทศไทยที่น�ำ นวัตกรรมและเทคโนโลยีการก่อสร้างเข้ามาใช้ในการก่อสร้าง โดยเฉพาะ ระบบ BIM (Building Information Modeling) โมเดล 3 มิติ ทีผ่ เู้ ชีย่ วชาญ ของบริษทั ฯ คิดค้นขึน้ เป็นรูปแบบเฉพาะของบริษทั เอง ซึง่ น�ำมาใช้ตงั้ แต่ กระบวนการออกแบบจนถึงกระบวนการก่อสร้างช่วยให้ทมี งานทุกคนไม่ ว่าจะเป็นผู้ออกแบบ ผู้ร่วมงาน ผู้รับเหมา สามารถสื่อสารได้เข้าใจกัน ง่ายขึ้นเพื่อลดปัญหาความไม่เข้าใจในการท�ำงานในระบบนี้ เนื่องจาก BIM นั้นมีความซับซ้อนมาก จึงจ�ำเป็นต้องมีกฎ กติกา เพื่อให้เป็น แนวทางในการท�ำงานให้ถกู ต้องตัง้ แต่วนั แรกทีเ่ ริม่ โครงการ เห็นขัน้ ตอน กระบวนการท�ำงานว่าใครจะต้องท�ำงานก่อนและหลัง ทีมงานติดตั้ง กระจก ฝ้า เพดาน ติดตั้งโคมไฟ เครื่องปรับอากาศ ตู้เตียง ปลูกต้นไม้ สร้างสวน ช่วงเวลาเดินรถขนส่งวัสดุสำ� หรับการก่อสร้างทีเ่ หมาะสมและ ช่วงเวลาทีพ่ นักงานท�ำความสะอาดเก็บกวาดควรเข้าไปเวลาไหนตรงจุด ไหน อย่างไรบ้าง เพื่อให้ได้งานที่มีคุณภาพและยังคงความสวยงาม

65

Engineering Today January - February

2020


เคอร์ติส ร็อดเจอร์ส ประธาน Brick & Mortar Ventures และผู้ก่อตั้งสมาคมเพื่อการแก้ ไขปัญหาการก่อสร้าง (SCS)

ดร.เบนจามิน คูเรย์ ผู้ก่อตั้งและประธานบริษัท ArchiStar

ไม่มีภาพพื้นเลอะไปด้วยขยะ เศษปูน เศษกระเบื้อง และ อื่นๆ ตามที่ผู้ออกแบบจินตนาการ เพื่อให้ลูกค้าได้รับสิ่ง ที่ ดี ที่ สุ ด คุ ้ ม ค่ า เงิ น คุ ้ ม ค่ า เวลา ซึ่ ง ช่ ว ยลดระยะเวลา การก่อสร้างให้น้อยลงเพียง 12 ชั่วโมงส�ำหรับบาง Site งานก่อสร้างคอนโดมิเนียมที่ไม่มีรูปแบบพิมพ์เขียวแปลน ห้องที่ซับซ้อน “นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ พร้อมทีจ่ ะเปิดรับแนวคิดรูปแบบ การก่อสร้างสมัยใหม่จากเหล่าสนับสนุนสตาร์ทอัพชาวไทย ทั้งในมหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญ นวัตกร บริษัทพันธมิตร และหน่วยงานภาครัฐที่มีงานวิจัยที่เกี่ยวข้องผ่านเงินทุน สนับสนุนการวิจัยของบริษัทฯ เพื่อสร้างเป็นทีมงานใหม่ๆ เข้ามาร่วมท�ำงานร่วมคิดค้นนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ ที่เหมาะสมส�ำหรับการก่อสร้างในแต่ละพื้นที่แต่ประเภท ทัง้ บ้านเดีย่ ว ทาวน์เฮาส์ คอนโดมิเนียมขนาดความสูงต่างๆ เป็นต้น ซึ่งทางบริษัทฯ ได้คิดค้นนวัตกรรมและเทคโนโลยี ส�ำหรับการก่อสร้างหลายรูปแบบเพื่อทดลองน�ำไปใช้ใน พื้นที่การก่อสร้างจริง พบว่าสามารถช่วยลดระยะเวลา ในการก่อสร้างและลดค่าใช้จ่ายต่างๆ ได้กว่า 20%” ดร.จอห์น เลสลี่ มิลลาร์ กล่าว ด้าน เคอร์ตสิ ร็อดเจอร์ส ประธาน Brick & Mortar Ventures และผู้ก่อตั้งสมาคมเพื่อการแก้ปัญหาการ ก่อสร้าง (SCS) กล่าวว่า ทีผ่ า่ นมาได้มกี ารคิดค้นนวัตกรรม

Engineering Today January - February

2020

และเทคโนโลยีการก่อสร้างอย่างต่อเนื่อง และหลากหลายรูปแบบ ซึ่งล้วนแต่มีข้อดีและเหมาะสมส�ำหรับในการก่อสร้างแต่ละประเภท ทัง้ ในแนวดิง่ และแนวราบ ทัง้ นีส้ ว่ นใหญ่แล้วผูพ้ ฒ ั นาด้านอสังหาริมทรัพย์ จะเลือกรูปแบบการลดต้นทุนทีเ่ หมาะสมพร้อมๆ กับประเมินความเสีย่ ง ในการก่อสร้างอย่างรอบด้าน เช่น การก่อสร้างต้องออกแบบสร้างบริเวณ ส่วนไหนก่อนและหลังเพื่อลดความซ�ำ้ ซ้อน ลดการสูญเสียวัสดุอุปกรณ์ และก�ำลังคนในการท�ำงาน สามารถบ่งชี้จุดบกพร่องในระหว่างการ ก่ อ สร้ า งแต่ ล ะจุ ด ได้ เ มื่ อ มาย้ อ นดู ใ นพิ ม พ์ เ ขี ยวแปลนของโครงการ ที่ส�ำคัญช่วยสร้างโอกาสในการสร้างศักยภาพความเป็น ผู้น�ำในการน�ำ นวัตกรรมและเทคโนโลยีส�ำหรับการก่อสร้างให้เป็นที่ยอมรับในระดับ สากลต่อไป “ทั้งนี้บรรดาผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์ ต้องมีการปรับตัว และพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอให้สามารถตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้า ให้ได้มากทีส่ ดุ ในอนาคต จะท�ำการก่อสร้างแบบเดิม ใช้แรงงาน กางแบบ แปลนเดินดูตาม Site งานคงไม่ได้อีกต่อไป ส�ำหรับนวัตกรรมและ เทคโนโลยีจะเป็นตัวช่วยอันดับแรกๆ ไม่ว่าจะเป็น AI, 3D Printing, Robot ส�ำหรับการก่อสร้างและ Big Data Analytics ซึ่งผู้ประกอบการ จะหันมาเลือกใช้เพื่อสร้างความแตกต่างให้กับสินค้าและบริการ เพื่อ ก้าวสู่ความเป็น ผู้น�ำในธุรกิจของตน โดยเฉพาะการก่อสร้างที่มีการ แบ่งสัดส่วนการใช้งานของภายในตัวห้องของลูกค้าครอบครัวเดียว ครอบครัวใหญ่ ครอบครัวสูงวัย ครอบครัวผสมผสานมากขึ้น ไม่ว่าจะ เป็น ทั้งห้องนอน ห้องนั่งเล่น ห้องครัว การเปิดปิดไฟ การเปิดปิดประตู จึงต้องมีการคิดค้นเลือกใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเฉพาะห้องเพื่อให้ โครงการของบริษัทฯ มีความเป็น Smart Home, Smart Technology Solution รองรับกลุ่มลูกค้าทุกเพศทุกวัย” เคอร์ติส ร็อดเจอร์ส กล่าว ดร.เบนจามิน คูเรย์ ผู้ก่อตั้งและประธานบริษัท ArchiStar กล่าวว่า ในอดีตการออกแบบตึก อาคาร หรือโครงการหนึ่งโครงการ จะต้องใช้เวลาในการออกแบบนานกว่าปัจจุบัน เนื่องจากรูปแบบที่ ออกแบบนัน้ จะต้องผสมผสานให้เหมาะสม มีการร่วมแลกเปลีย่ นข้อมูล ข้อเสนอแนะระหว่างสถาปนิกกับวิศวกรผู้ควบคุมงาน ปรับเปลี่ยนแบบ เพือ่ ให้ถกู ใจแก่เจ้าของโครงการและสอดรับกับกฎหมายอาคารกฎหมาย สิ่งแวดล้อมในแต่ละพื้นที่แต่ละประเทศ แต่ในปัจจุบันเมื่อมีการคิดค้น น� ำ นวั ต กรรมและเทคโนโลยี ที่ เ ข้ า มาช่ ว ยในอุ ต สาหกรรมก่ อ สร้ า ง โดยเฉพาะในประเทศยุโรป สหรัฐอเมริกา และเอเชีย เรียกว่านวัตกรรม และเทคโนโลยีจะเข้าไปมีบทบาทในทุกแง่มุมของการใช้ชีวิตมากขึ้น ท�ำให้การออกแบบ วิธกี ารก่อสร้าง การออกแบบสิง่ อ�ำนวยความสะดวก ที่จะน�ำมาใช้นั้นสะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา ที่ส�ำคัญยังสามารถ ที่จะปรับแต่งอาคารที่ช�ำรุดมีอายุกว่า 100 ปี โดยน�ำวัสดุก่อสร้าง ซึ่งได้พัฒนาให้มีรูปแบบสถาปัตยกรรมที่หลากหลาย มาฟื้นฟูอาคาร ให้ ก ลั บมาทรงคุ ณ ค่ า ไว้ ใ ห้ ค นรุ ่ น หลั ง ได้ ชื่ น ชมความงามควรค่ า แก่ การอนุรักษ์มากขึ้น ทั้งนี้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีแต่ละประเภทนั้นก็จะมีความ เหมาะสมทีแ่ ตกต่างกัน แต่กม็ จี ดุ มุง่ หมายเดียวกันเพือ่ ให้งานก่อสร้าง ออกมาตอบโจทย์ผู้ใช้งานมากที่สุด และท้ายสุด เจ้าของโครงการก็ จะได้รับความเชื่อมั่น ส่งผลให้ได้รับงานก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่ ทั้งจากภาครัฐและเอกชนในอนาคตเพิ่มมากขึ้น

66


Property • กองบรรณาธิการ ระบบขนส่งมวลชนในอนาคต สนับสนุนให้การเดินทางเชื่อมต่อในทุกเส้นทาง สะดวกสบายยิ่งขึ้น

ถนนบางนา-ตราด เชื่อมโยงถนนสายส�ำคัญอย่าง สุขุมวิท ศรีนครินทร์ รวมถึงโครงข่ายทางด่วนพิเศษเฉลิมมหานคร

อัมฤทธิ์ทานชู รอย

ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่าย ปฏิบัติการ บริษัท กรีนฟิลด์ แอดไวซอรี่ จ�ำกัด

จับตา “บางนา” ท�ำเลทองที่อยู่อาศัย

ระดั บ พรี เ มี ย ม New CBD แห่งใหม่ กรุงเทพฯ ฝั่งตะวันออก

นปีที่ผ่านมา “บางนา” และพื้นที่ใกล้เคียง มี การเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างร้อนแรง เปลีย่ นผ่าน จากเขตอุ ต สาหกรรม มาเป็ น ศู น ย์ ก ลางของการสร้ า ง ที่พักอาศัยอย่างเห็นได้ชัดเจน เป็นพื้นที่ที่กลุ่มนักพัฒนา อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ใ ห้ ค วามสนใจเข้ า มาจั บจองท� ำ เลทอง แห่งนี้ เพือ่ เปิดตัวโครงการด้านทีอ่ ยูอ่ าศัยอย่างต่อเนือ่ ง จน พื้นที่โซนบางนาติดอันดับ “บางนา-ท�ำเลทองที่อยู่อาศัย แห่งใหม่ในระดับพรีเมียม” ด้วยเป็นจุดศูนย์กลางธุรกิจ CBD (Central Business District) แห่งใหม่ย่านกรุงเทพฯ ตะวันออก โดยกลุ่มผู้ประกอบการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Developer) ได้ขยายตัวพื้นที่เป้าหมายอย่างกว้างขวาง และรวดเร็ว ครอบคลุมพื้นที่ตั้งแต่ ถนนลาดกระบัง, ถนน อ่อนนุช-ลาดกระบัง ที่มุ่งสู่จังหวัดฉะเชิงเทรา, ต�ำบล เปร็ง-สยามโปโลปาร์ค, เลียบคลองส่งน�้ำสุวรรณภูมิ-นิคม

อุตสาหกรรมบางปู, อ�ำเภอบางบ่อ, อ�ำเภอบางพลี, ถนนกิ่งแก้ว, ถนน สุวินทวงศ์ มุ่งสู่จังหวัดปราจีนบุรี ตลาด 100 ปี, ถนนศรีวารีน้อย เชื่อม ต่อวงแหวนกาญจนาภิเษก และมอเตอร์เวย์ อัมฤทธิ์ทานชู รอย ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ บริษัท กรีนฟิลด์ แอดไวซอรี่ จ�ำกัด กลุ่มทุนสิงคโปร์ ซึ่งเข้ามาร่วมทุนจัดตั้ง บริษัท ฟัลครัม เวนเจอร์ส จ�ำกัด ได้พัฒนาและเปิดตัวโครงการบ้านพัก อาศัยระดับพรีเมียมในชื่อ “พานารา เทพารักษ์” ได้วิเคราะห์ภาพรวม ท�ำเลดาวรุ่งเศรษฐกิจโซน “บางนา” ไว้อย่างน่าสนใจ

โอกาสทองของนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

จากการวิเคราะห์ของ ธีระวิทย์ ลิ้มทองสกุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท เน็กซัส เรียลเอสเตท แอ็ดไวเซอรี่ จ�ำกัด ระบุว่า ในรายงานการ ศึกษาด้านอสังหาริมทรัพย์ต่างเห็นพ้องตรงกันว่า โซน “บางนา” เป็น ท�ำเลศักยภาพทีเ่ ติบโตและขยายตัวอย่างรวดเร็ว กลุม่ ทุนทีม่ แี ลนด์แบงก์ แปลงใหญ่ต่างเตรียมพัฒนาโครงการในพื้นที่โซนนี้ โดยรวบรวมความ หลากหลาย พรั่งพร้อมทั้ง ที่อยู่อาศัย อาทิ ร้านค้าปลีก ศูนย์การค้า ต่ อ เนื่ อ งไปถึ ง โครงการบ้ า นเดี่ ย วระดั บ พรี เ มี ย ม ที่ มี ร ะดั บ ราคาที่ จับต้องได้ ไม่สูงมากนัก การเติบโตทางเศรษฐกิจโซนบางนา ผนวกกับท�ำเลทีต่ งั้ ในการเป็น ประตูสู่พื้นที่โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ของแผนยุทธศาสตร์ Thailand 4.0 ทีภ่ าครัฐบาลทุม่ งบประมาณ ผลักดันโครงสร้างพื้นฐาน สร้างการตอบรับในเชิงบวกให้กับภาคเอกชน ให้เกิดขึ้นในรูปแบบของการพัฒนาศูนย์การค้าขนาดใหญ่ โรงเรียน นานาชาติ โรงพยาบาล โรงแรมชั้ น น� ำ ตลอดจนศู น ย์ นิ ท รรศการ สวนสนุกและสวนน�ำ้ ได้เกิดขึ้น

67

Engineering Today January - February

2020


ท�ำเลที่ตั้ง-ระบบขนส่งมวลชนในอนาคต พร้อมเป็น Hub กรุงเทพฯ ฝั่งตะวันออก

ด้วยโซนพืน้ ทีท่ สี่ ามารถเป็นศูนย์กลาง (Hub) เชือ่ มโยง ความสะดวกในการเดินทางออกไปชายฝั่งทะเลตะวันออก ขณะเดียวกันยังสามารถเดินทางเข้าสู่ใจกลางกรุงเทพฯ ได้อย่างสะดวกง่ายดาย เขตบางนาและบริเวณโดยรอบจึง กลายเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมทีส่ ำ� คัญ เป็นพืน้ ทีร่ ะเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ตามทีร่ ฐั บาลก�ำหนด ให้เป็น EEC ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ 3 จังหวัด ประกอบด้วย ชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา เป็นที่ตั้งของ 12 นิคม อุตสาหกรรม บริษทั โลจิสติกส์ และศูนย์กลางการกระจาย สินค้าส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเขตบางนา ท�ำให้พื้นที่ส่วนนี้เป็น แหล่งจ้างงานที่ส�ำคัญของจังหวัดสมุทรปราการอีกด้วย ปัจจุบันบางนา ท�ำเลทอง มีการสัญจรเชื่อมต่อกับ ส่วนพื้นที่อื่นๆ ของเมืองผ่านระบบรถไฟฟ้าสายสีเขียว รวมถึงถนนสายหลักอย่างบางนา-ตราด ซึ่งเชื่อมโยงถนน สายส�ำคัญอย่าง สุขุมวิท ศรีนครินทร์ รวมถึงโครงข่าย ทางด่ ว นพิ เ ศษเฉลิ ม มหานคร พื้ น ที่ โ ซนบางนายั ง ถู ก โอบล้ อ มด้ ว ยวงแหวนรอบนอก ทั้ ง มอเตอร์ เ วย์ และ วงแหวนกาญจนาภิเษก อีกทัง้ แผนสร้างระบบขนส่งมวลชน ในอนาคตจะสนับสนุนให้การเดินทางเชือ่ มต่อในทุกเส้นทาง มีความสะดวกสบายด้วยยิง่ ขึน้ ประกอบด้วยโครงการ ดังนี้ รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ระยะทาง 30.4 กม. ส่วนต่อขยาย จาก BTS ส�ำโรง-ลาดพร้าว จะแล้วเสร็จปี พ.ศ. 2564 ซึ่ ง เมื่ อ แล้ ว เสร็ จ สามารถเชื่ อ มต่ อ เขตบางนากั บ พื้ น ที่ กรุ ง เทพฯ ตอนเหนื อ ทั้ ง หมดได้ อ ย่ า งสะดวกรวดเร็ ว รถไฟฟ้าบางนา-สุวรรณภูมิ ระยะทาง 18.3 กม. ซึ่งจะ เชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีเขียวปัจจุบัน (สายสุขุมวิท) ที่ BTS บางนาถึงสุวรรณภูมิ โดยจะวิ่งไปตามถนนบางนา-ตราด มีทั้งหมด 14 สถานี สถานีขนส่งสายตะวันออก (เอกมัย) ซึ่งเป็นสถานีร ถโดยสารและรถตู้ ที่เชื่อมต่อกรุงเทพฯจังหวัดทางภาคตะวันออก ที่ในอนาคตจะย้ายไปอยู่สี่แยก โซนบางนา และโครงการรถไฟความเร็ ว สู ง เชื่ อ ม 3 สนามบิน แบบไร้รอยต่อ ใช้โครงสร้างและแนวเส้นทาง การเดินรถเดิมของระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแอร์พอร์ต เรลลิงค์ (Airport Rail Link) โดยมีส่วนต่อขยาย 2 ช่วง คือ จากสถานีพญาไท-สนามบินดอนเมือง และจากสถานี ลาดกระบัง-สนามบินอู่ตะเภา รวมระยะทาง 220 กม. จ�ำนวน 9 สถานี ได้แก่ สถานีดอนเมือง บางซื่อ มักกะสัน สุวรรณภูมิ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ศรีราชา พัทยา และสถานี อู่ตะเภา

รัฐหนุนโครงสร้างพื้นฐาน เอกชนเดินหน้าผุดโครงการเพียบ

จะเห็ น ได้ ว ่ า รั ฐ บาลให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ พื้ น ที่ โซนบางนาในการและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สิ่งอ�ำนวย

Engineering Today January - February

2020

ความสะดวกทุ ก ด้ า นที่ จ� ำ เป็ น อย่ า งเต็ มรู ป แบบ ส่ ง ผลให้ โ ครงการ เมกะโปรเจ็กต์ (Mega Project) ขนาดใหญ่ที่มีอยู่และที่ก�ำลังจะเกิดขึ้น เตรี ย มเปิ ด ตั ว รั บ ประชาชนที่ อ ยู ่ อ าศั ย ในพื้ น ที่ โ ซนนี้ อ ย่ า งร้ อ นแรง เพื่อมอบประสบการณ์การช้อปปิ้งและการพักผ่อนที่หลากหลาย เพิ่ม คุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัยในย่านนี้และพื้นที่ใกล้เคียงให้มีความหลาก หลาย อาทิ การพัฒนาของกลุ่ม The Bangkok Mall, Central Village, เมกา ซิตี้ บางนา, Siam Premium Outlets Bangkok, The Forestias ที่จะเปลี่ยนโฉมและยกระดับโซนบางนาให้เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจ ที่ส�ำคัญ และท�ำเลแห่งนี้ยังคงเป็นที่ต้องการอย่างต่อเนื่อง ด้วยการเป็น ที่ตั้งของโรงเรียนนานาชาติชั้นน�ำ อย่างเช่น โรงเรียนนานาชาติบางกอก พัฒนา, โรงเรียนนานาชาติไทย-สิงคโปร์, โรงเรียนนานาชาติเบิร์คลีย์, โรงเรียนเซนต์แอนดรูส์อินเตอร์เนชั่นแนล, Concordian International School, โรงเรียนนานาชาติดษิ ยะศริน อินเตอร์เนเชอร์แนล เพร็พพะทอรี สคูล แบงค็อก, โรงเรียนนานาชาติไทย-จีน และโรงเรียนเซนต์โจเซฟ บางนา เป็นต้น

Developer หลายค่ายต่างพัฒนาโครงการ ส่งผลราคาทาวน์เฮาส์ ในบางนาขยับสูงขึ้น

ผลพวงจากการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอย่างต่อเนื่องและการ เติบโตทางเศรษฐกิจ ท�ำให้พื้นที่นี้เป็นที่ดึงดูดส�ำหรับครอบครัวเล็กๆ และนักลงทุน มีทาวน์เฮาส์จ�ำนวนมาก และการพัฒนาที่อยู่อาศัย บ้ า นเดี่ ยวที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในพื้ น ที่ ใ กล้ เ คี ย ง นั ก พั ฒนาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ (Developer) หลายค่าย เช่น บมจ. แสนสิริ, ฟัลครัม เวนเจอร์ส, บมจ. แลนด์แอนด์เฮ้าส์, บมจ. แอล.พี.เอ็น., บมจ. อนันดา ดีเวลลอปเม้นท์, บริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จ�ำกัด, บมจ. เสนาดีเวลลอปเม้นท์ ตามรายงานตลาดอสังหาริมทรัพย์ จาก DDproperty ในปี พ.ศ. 2562 ราคาทาวน์เฮาส์ในบางนาขยับสูงขึ้นเกือบ 9% ระหว่าง ปี พ.ศ. 2560-2561 เป็นรองแค่พื้นที่ย่านสาทรที่เพิ่มขึ้น 10% เท่านั้น “บางนา กลายเป็นเมืองที่อยู่อาศัยที่ได้รับความนิยมอย่างมาก ขณะเดียวกันได้เพิ่มมูลค่าให้ราคาอสังหาริมทรัพย์ในพิ้นที่โซนนี้สูงขึ้น ตามไปด้วย บ่งบอกถึงความนิยมของผู้ซื้อบ้านที่มีความสนใจในแหล่ง ที่ต้ังย่านบางนา และนั่นคือเหตุและผลของ Fulcrum Ventures ที่ได้ มีการศึกษาถึงความต้องการของคนในพื้นที่ย่านนี้จึงได้เปิดตัวโครงการ ชือ่ พานารา ขึน้ ทีเ่ ทพารักษ์ อีกทัง้ อยูร่ ะหว่างการส�ำรวจโอกาสการลงทุน ในย่านบางนา โดยเฉพาะเขตลาดกระบัง อีกด้วย” อัมฤทธิ์ทานชู กล่าว โอกาสของแหล่งงานใหม่ที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นในพื้นที่กรุงเทพฯ ตะวั น ออกและสุ ว รรณภู มิ รวมถึ ง มู ล ค่ า เพิ่ ม ในการอยู ่ อ าศั ย ใกล้ สถานที่ท�ำงาน ฉุดให้ว งการพัฒนาภาคอสัง หาริมทรัพย์ในพื้นที่ เป็นไปอย่างคึกคัก รัฐบาลได้ระดมสร้างโครงการสาธารณูปโภค สาธารณูปการพื้นฐาน ยิ่งส่งเสริมให้เกิดโครงการใหม่ๆ มากขึ้น Developer ต่ า งปรั บ แผนการลงทุ น ให้ ส อดคล้ อ งกั บ โอกาสนี้ ความสะดวกจากโครงการพืน้ ฐานของรัฐ ส่งเสริมภาคธุรกิจในวงกว้าง ทั้งวงการค้าปลีก โรงเรียน โรงพยาบาล และอื่นๆ เมืองที่อยู่อาศัย แบบบู ร ณาการก� ำ ลั ง ฉายภาพที่ ชั ด เจน กั บ Greater Bangna ความน่าสนใจอยู่ที่ตลาดครอบครัวรายได้ระดับปานกลาง ที่ต้องการ ขยับขยายยกระดับคุณภาพชีวิตการอยู่อาศัยที่ดีขึ้น

68



Project Management • ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล dr.pornchai.ong@gmail.com

เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ (New Management Tools)

การบริหารโครงการ อย่างมืออาชีพ ตอนที่ 1

(Professional Project Management) :

ความส�ำคัญของการบริหาร

นโลกของธุรกิจการบริหารเป็นสิ่งที่ส�ำคัญเป็นอย่างยิ่ง ต่อการอยู่รอด การเจริญเติบโตและความมั่นคงทาง ธุรกิจ (Business Growth and Sustainability) แต่ค�ำที่พบอยู่ เสมอและนิยมใช้ในหลักการบริหารจะมีการใช้คำ� ว่า “การบริหาร” (Administration) และค�ำว่า “การจัดการ” (Management) ซึ่งมี ความหมายทีแ่ ตกต่างกันในบริบท “การบริหาร” (Administration) จะใช้ในช่วงการบริหารที่เป็นหน้าที่ของนักบริหารระดับสูงหรือ เจ้าของกิจการ ทีจ่ ะเป็นผูก้ ำ� หนดเป้าหมาย (Goal) ขององค์กรใน วิสัยทัศน์ (Vision) การวางนโยบาย (Policy) การก�ำหนดทิศทาง (Direction) และการบริหารความเสี่ยง (Risk Management) โดยมีคณะกรรมการบริหาร (Board Executive or Board of Director) เป็น ผู้ก�ำหนด “การบริหาร (Administration)” มี ผู้บริหารระดับสูงสุดขององค์กรเป็นประธานกรรมการบริหาร (Chairman) และคณะกรรมการ (Board) และมีกรรมการผูจ้ ดั การ (Chief Executive Officer : CEO ) เป็นกรรมการโดยต�ำแหน่ง เพือ่ รับทราบพันธกิจขององค์กร ซึง่ จะมีการ “ชีน้ ำ� และชีแ้ นะ” จาก รายงานความคืบหน้าทางการบริหารจากคณะกรรมการองค์กร

Engineering Today January - February

2020

70

ตามก�ำหนดการประชุมของคณะกรรมการบริหาร (Exclusive Board Committee) ส่วนกรรมการผู้จัดการ(Chief Executive Officer : CEO) จะเป็นผู้น�ำนโยบายเข้าสู่การปฏิบัติ จึงเรียกการบริหารช่วงนี้ว่า “การจัดการ” (Management) โดยเน้นที่การก�ำหนดนโยบายที่ ส�ำคัญและการก�ำหนดแผน โดยจะเน้นการน�ำนโยบายสู่แผนการ ปฏิบตั ใิ ห้เป็นไปตามนโยบาย ลงในรายละเอียดของการด�ำเนินการ ทุกขั้นตอนเชิงปฏิบัติการตั้งแต่การน�ำนโยบาย วิสัยทัศน์และ เป้าหมายองค์กรเข้าสู่พันธกิจ (Mission) มาด�ำเนินการในการ วางแผนกลยุทธ์ทางธุรกิจ (Strategic Business Plan) เพื่อให้ได้ มาซึ่งแผนการวางแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ซึ่งแผนปฏิบัติ การจะมีการก�ำหนดวัตถุประสงค์ (Objective) เป้าหมาย (Target) ก�ำหนดภาระกิจกรรม (Activity) ก�ำหนดช่วงเวลา งบประมาณ โดยมีผจู้ ดั การ/หัวหน้างาน (Manager/Leader) เป็นผูร้ บั ผิดชอบ แผนปฏิบัติการนั้นๆ และทีมงาน


การบริหาร (Administration) และการจัดการ (Management) ของผู้บริหารทั้งระดับสูง (Exclusive Manager) ผู้บริหาร ระดับกลาง (Middle Manager or Director) และผู้จัดการระดับ ปฏิบตั กิ าร(Manager) ซึง่ เป็นการด�ำเนินการธุรกิจตามแผนหลัก ทางธุรกิจ เป็นงานประจ�ำตามหน้าที่ที่เป็นของธุรกิจหลัก (Core Business) เพื่อให้องค์กรมีความเจริญเติบโตและความมั่นคง ทางธุรกิจ (Business Growth and Sustainability) ตามการ วางแผนธุรกิจ แต่ในบางครัง้ การท�ำธุรกิจหลัก (Core Business) อาจต้อง มีภารกิจเสริมเพื่อให้องค์กรสามารถด�ำเนินไปได้ แต่การวางแผน นั้นจะเป็นปฏิบัติการเพื่อการสร้างเสริมให้เกิดในลักษณะเป็น โครงการและมีการบริหารเป็นโครงการ Project Management (หมายเหตุ : เราจะเคยชินค�ำว่าการบริหารโครงการและใช้ค�ำนี้ แทนการจัดการโครงการ) จึงมีความหมายตามนัยส�ำคัญในเชิงการ แปลงเจตนารมณ์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Intent) ทางธุรกิจ ให้ เป็นกลายเป็นแผนการด�ำเนินการเชิงกลวิธี (Tactics) ให้ส�ำเร็จ เป็นการด�ำเนินการโดยเริ่มตั้งแต่จุดเริ่มต้นที่กระบวนการเริ่มงาน กระบวนการวางแผน กระบวนการด�ำเนินการ กระบวนการ ควบคุม และจุดสุดท้ายคือกระบวนการปิดงาน โครงการจึงมี กระบวนการในการท�ำงานหลายขั้นตอน สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดในโครงการคือผู้บริหารโครงการ (Project Manager) ทีจ่ ะต้องขับเคลือ่ นภารกิจ ให้เข้าสูเ่ ป้าหมายแห่งความ ส�ำเร็จของโครงการอย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพอย่าง สูงสุด และแผนงานโครงการ (Project Planning) จึงเป็นแผนการ ปฏิบัติ (Action Plan) ทางธุรกิจอย่างหนึ่งที่แยกออกจากแผน ปฏิบัติการปัจจุบัน แต่มีเป้าหมายอย่างเด่นชัด มีก�ำหนดเวลา สิ้นสุดและมีงบประมาณ แผนงานโครงการอาจมีก�ำหนดเวลา มากกว่าแผนปฏิบตั กิ าร บางโครงการอาจมากกว่า 2-3 ปีและหลัง สิ้นสุดโครงการ ผู้บริหารโครงการ (Project Manager) และ ทีมงาน (Project Teamwork) ก็จะกลับสู่งานประจ�ำหรือหมด สัญญาจ้างตามอายุโครงการ

ความหมายของโครงการ ก่อนที่เราจะท�ำความเข้าใจว่าโครงการคืออะไร เราจะต้อง ตั้ ง ค�ำถามถึ ง ที่ ม าและที่ไ ปของโครงการ ถึง ว่าท�ำไมต้องเป็น โครงการต้องด�ำเนินการในรูปแบบโครงการ โครงการเป็นกลไก หรือกิจกรรมในการพัฒนาการจัดการใช่หรือไม่? ถ้าไม่มโี ครงการ จะสามารถท�ำได้หรือไม่? ถ้าไม่ได้ จะแบ่งโครงการออกเป็นกี่ ประเภท? และกระบวนการด�ำเนินการเป็นอย่างไร?

สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดในโครงการ คือผู้บริหารโครงการ ที่จะต้อง ขับเคลื่อนภารกิจ ให้เข้าสู่ เป้าหมายแห่งความส�ำเร็จ ของโครงการอย่างมีประสิทธิผล และประสิทธิภาพอย่างสูงสุด และแผนงานโครงการ จึงเป็น แผนการปฏิบัติทางธุรกิจ อย่างหนึ่งที่แยกออกจาก แผนปฏิบัติการปัจจุบัน แต่มีเป้าหมายอย่างเด่นชัด มีก�ำหนดเวลาสิ้นสุด และมีงบประมาณ

โครงการหมายถึง กระบวนการท�ำงานทีป่ ระกอบไปด้วยกิจ กรรมหลายๆ กิจกรรม ซึ่งมีการท�ำโครงการให้เป็นไปตามล�ำดับ โดยการท�ำงานจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ (Objective) และเป้าประสงค์ (Target) ทีต่ งั้ ไว้ เช่น โครงการก่อสร้าง โครงการ สร้างนวัตกรรม โครงการแก้ไขปัญหา โดยจะมีการก�ำหนดระยะ เวลาและงบประมาณทีจ่ ำ� กัด ในการด�ำเนินงานโครงการจะต้องมี ผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบต่อโครงการ มีหน้าที่ท�ำการบริหารงาน กิจกรรมต่าง ๆ ให้เป็นไปตามแผนงาน เหมาะสมกับเวลา และ งบประมาณที่ตั้งไว้ ส�ำหรับโครงการที่ตั้งเป้าไว้นั้น อาจจะประสบความส�ำเร็จ ตามเป้าหมายหรือล้มเหลวก็ขึ้นอยู่กับการบริหารและการจัดการ สภาพแวดล้อมอันเป็นปัจจัยหลัก โดยรูปแบบของโครงการนั้นก็ จะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับขนาด, วิสัยทัศน์, เงินลงทุน และเวลา เป็นส�ำคัญ และที่ส�ำคัญมากที่สุดคือการสิ้นสุดโครงการ

71

Engineering Today January - February

2020


ประเภทของโครงการ เราจะเห็นว่ามีโครงการมากมายที่องค์กรต่างๆ ก�ำลัง ด�ำเนินการ ซึ่งแต่ละโครงการมีช่ือและแตกต่างกันไปในแต่ละ โครงการ ขึ้นอยู่กับเป้าหมายของงาน หน่วยงาน แต่ส่วนใหญ่จะ เป็นชือ่ ทีม่ าจากสิง่ ทีต่ อ้ งการท�ำให้สำ� เร็จ เราสามารถแบ่งโครงการ ได้ออกเป็น 3 ประเภทโครงการ กล่าวคือ 1. โครงการปรับปรุงแก้ไขปัญหา (Improvement Project) ท�ำการปรับปรุงงานที่เป็นปัญหา(Problem) ที่ต้องการแก้ไขให้ ส�ำเร็จในระยะเวลาที่ก�ำหนด ในบางโครงการของปัญหาที่ต้อง แก้ไขในเรื่องเดียวกันเสมอ แตกต่างที่เวลาและสถานที่ โครงการ ดังกล่าวจะมีผลลัพธ์ที่ออกมาเข้าสู่งานประจ�ำได้ต่อไป 2. โครงการริเริ่มหรือนวัตกรรม (Innovation Project) มุ่ง สู่แนวคิดการเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือเปลี่ยนแปลงวิธีการใหม่ โครงการดังกล่าวมักเป็นโครงการท�ำตามแนวคิดเพือ่ การประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์ตวั ใหม่ (Creative Product) บางโครงการอาจใช้วธิ กี าร ลอกเลียนแบบหรือการคิดพัฒนา (Copy and Development) ก็ได้ในระยะแรกเพื่อให้เกิดความรวดเร็ว 3. โครงการวิจยั และพัฒนา (Research and Development Project) หลังจากลอกแบบมาแล้ว จะถึงจุดหนึ่งที่จะต้องท�ำการ วิจยั และพัฒนาเพือ่ การบุกเบิกต่อไปข้างหน้า ไม่ให้ผอู้ นื่ ตามได้ทนั ซึ่งอาจท�ำเป็นโครงการน�ำร่อง (Pilot Project) ขึ้นมาก่อน หรือ อาจท�ำเป็นโครงการทดลอง(Experimental Project) ในบางพืน้ ที่ ก่อน เพื่อไม่ให้เกิดการสูญเสียจากการผิดพลาด เราจะเห็นโครงการต่างๆ ตามประเภทที่กล่าวถึง เช่น โครงการบ้ า นเอื้ อ อาทร ที่ ใ ช้ ใ นการแก้ ไ ขปั ญ หาชุ ม ชนแออั ด โครงการวิจัยพันธ์ุพืชเพื่อการพัฒนา โครงการสร้างยานอวกาศ เพื่อใช้ในการส�ำรวจ เป็นต้น

ความส�ำคัญของโครงการ โครงการ (Project) เป็นงานนโยบายที่ได้ก�ำหนดขึ้นใน องค์กร เพือ่ แปลงเจตนารมณ์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Intent) ให้เป็น กลวิธี (Tactics) ในระดับแผนปฏิบตั กิ าร โดยจะต้องตรงตามความ ต้องการที่ตั้งไว้ให้มากที่สุดในทุกหน่วยงาน ซึ่งผู้บริหารโครงการ (Project Manager) จะต้องเผชิญกับสถานการณ์ต่างๆ ดังนี้ 1. ปัญหาการบริหารทีส่ ลับซับซ้อน (Complexity) มากขึน้ เวลาที่ผ่านไปปัญหายิ่งซับซ้อนมากขึ้น จนกระทั่งหน่วยงานเดียว ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ จึงต้องจัดท�ำเป็นโครงการขึ้นมาแก้ไข ปัญหา 2. การเปลีย่ นแปลงตลอดเวลาและความรวดเร็ว ท�ำให้งาน ประจ�ำสนองตอบไม่ทัน แต่โครงการสามารถตอบสนองการ เปลี่ยนแปลงนี้ได้

Engineering Today January - February

2020

72

โครงการเป็นการจัดกิจกรรม ที่ต้องมีแนวคิดที่ท�ำเป็นระบบ เพื่อการปฏิบัติหน้าที่องค์กร ให้บรรลุถึงเป้าหมายอย่างมี ประสิทธิภาพ โครงการที่ดีย่อม ท�ำให้ประสิทธิภาพของการด�ำเนิน งาน และผลตอบแทนที่องค์กร หรือหน่วยงานจะได้รับอย่าง คุ้มค่า ตอบโจทย์หรือปัญหาได้ อย่างถูกต้อง ถูกเวลา น�ำมา ซึ่งความเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน ขององค์กรนั้นๆ

3. ทรัพยากรต่างๆ มีมูลค่าสูงขึ้น ทรัพยากรมีจ�ำกัด ต้อง ใช้ให้คุ้มค่าที่สุด ความล่าช้าท�ำให้มูลค่าทรัพยากรสูงขึ้น จึงต้อง คิดเป็นโครงการ เพื่อให้การใช้ทรัพยากรคุ้มค่าและคุ้มการลงทุน มากที่สุด 4. ความจ�ำเป็นในการใช้เทคโนโลยี เทคโนโลยีล้าสมัยเร็ว มาก การจัดหาเทคโนโลยีตอ้ งค�ำนึงถึงความคุม้ ค่าและคุม้ ทุน ก่อน จะใช้เทคโนโลยีจะต้องคิดให้เป็นโครงการ ปัญหาทั้ง 4 ข้างต้น สามารถแก้ปัญหาได้ด้วยโครงการ เพียง 1 โครงการ ซึ่งเป็นแนวคิดสมัยใหม่ 5. เพิ่ ม ความรวดเร็ ว และถู กต้ อ งในการบริ ห าร ความ ต้ อ งการจะรวดเร็ ว มากเสมอ โครงการมี ค วามจ� ำ เป็ น ใน สถานการณ์เช่นนี้ การตอบสนองที่ฉับไวจะเป็นชัยชนะในการ ท�ำงานและเป็นความอยู่รอดของกิจการ เพราะโครงการจะช่วย ลดขัน้ ตอนการท�ำงาน เพิม่ เทคโนโลยี มีคนเพิม่ ช่วยในการท�ำงาน ให้เร็วขึ้น


6. การพัฒนาคุณภาพ คนจะพัฒนาคุณภาพตนเองได้ เพียงระดับหนึง่ เท่านัน้ ก็จะถึงจุดอิม่ ตัว ดังนัน้ การพัฒนาคุณภาพ คนให้เพิ่มขึ้นจึงต้องใช้โครงการเข้ามาเสริม เพื่อการเรียนรู้ 7. เผชิ ญ ความเสี่ ย งและความไม่ แ น่ น อน โรงงาน อุตสาหกรรมหรือสถานบริการที่ต้องท�ำงานตลอด 24 ชั่วโมง เมื่อเกิด Breakdown ขึ้น งานประจ�ำจะไม่สามารถกู้ได้ จ�ำเป็น ต้องใช้คนอีกกลุ่มหนึ่งมาจัดการ ซึ่งเรียกว่าชุดปฏิบัติการพิเศษ การเริ่มต้นในกิจการใหม่ ย่อมมีความเสี่ยง จ�ำเป็นต้องท�ำเป็น โครงการน�ำร่อง (Pilot Project) ขึ้นมา 8. การเผชิญกลไกใหม่ของการแข่งขันยุคโลกาภิวัตน์ ที่มี ความรุนแรงมาก โครงการจะเป็นคานงัดที่จะต่อสู้กับการแข่งขัน นี้ กลไกใหม่ (New Mechanisms) ประกอบด้วยสิ่งต่างๆ ดังนี้ a. ตลาดใหม่ (New Markets) เกิดจากตลาดเงินและตลาด ทุนทั่วโลก ค่าเงินอาจมีค่าสูงขึ้นหรือลดลงได้อย่างรวดเร็วตลอด เวลา ท�ำให้การต่อรองในตลาดเข้มข้น b. เครื่องมือใหม่ (New Tools) เช่น ระบบ Internet โทรศัพท์มือถือ สื่อสารมวลชนท�ำให้เกิดการเรียนรู้ข้อมูลข่าวสาร มากยิง่ ขึน้ มีผลต่อการด�ำเนินชีวติ ของคน เกิดการผันแปรกิจกรรม ต่างๆ มากขึ้น c. ผู้มีบทบาทใหม่ (New Actors) หมายถึงบรรษัทข้าม ชาติ (World Trade Organization หรือ WTO) และองค์กร พัฒนาเอกชนหรือองค์กรที่ท�ำประโยชน์เพื่อสังคมที่ไม่ใช่ภาครัฐ (Non-Governance Organization หรือ NGO) จะเข้ามามีบทบาท หลัก ช่วงชิงความได้เปรียบหรือจังหวะโอกาสในการแข่งขัน หรือ เป็นอุปสรรคในการแข่งขัน d. กติ ก าใหม่ (New Rules) มาพร้ อ มกั บ ข้ อ ตกลง พหุ พ าคี ซึ่ ง เป็ น ข้ อ ตกลงร่ ว มกั น หลายฝ่ า ย ในทางการค้ า การบริ ห าร ทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญา ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดล้อม สิทธิมนุษยชน ข้อตกลงเหล่านี้จะมีบทบาทและ อิทธิพลเหนือกว่านโยบายของรัฐ การที่จะรับมือกับสถานการณ์เหล่านี้ได้จะต้องคิดและท�ำ เป็นโครงการ (Projectization) คิดโครงการและบริหารจัดการให้ ส�ำเร็จ กลยุทธ์การวิเคราะห์โครงการ (Strategic Analysis) จึง มีความส�ำคัญอย่างยิ่ง ในบทความต่อไปจะมีการเขียนเฉพาะใน เรื่องนี้

ลักษณะของโครงการที่ดี โครงการเป็ น การจั ด กิ จ กรรมที่ ต ้ อ งมี แ นวคิ ด ที่ ท� ำ เป็ น ระบบ เพื่อการปฏิบัติหน้าที่องค์กรให้บรรลุถึงเป้าหมายอย่าง มีประสิทธิภาพ โครงการที่ดีย่อมท�ำให้ประสิทธิภาพของการ ด�ำเนินงาน และผลตอบแทนทีอ่ งค์กรหรือหน่วยงานจะได้รบั อย่าง คุ้มค่า ตอบโจทย์หรือปัญหาได้อย่างถูกต้อง ถูกเวลา อันจะน�ำมา ซึ่งความเจริญเติบโตอย่างยั่งยืนขององค์กรนั้นๆ ลักษณะของ โครงการที่ดี มีดังต่อไปนี้ 9. โครงการมีวตั ถุประสงค์และเป้าหมายทีช่ ดั เจน มีแผนการ ด�ำเนินการเด่นชัด สามารถด�ำเนินงานและปฏิบัติได้ 10. โครงการสามารถตอบสนองความต้ อ งการใน วัตถุประสงค์หรือแก้ปัญหาขององค์กรหรือหน่วยงานได้ 11. รายละเอียดของโครงการต้องสอดคล้องและสัมพันธ์ กัน กล่าวคือ วัตถุประสงค์ของโครงการต้องสอดคล้องกับหลักการ และเหตุผล และวิธกี ารด�ำเนินงานต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ โครงการต้องก�ำหนดขึน้ จากข้อมูลทีม่ คี วามเป็นจริง และเป็นข้อมูล ที่ได้รับการวิเคราะห์อย่างรอบคอบ 12. รายละเอียดของโครงการสามารถเข้าใจได้งา่ ย สือ่ สาร ได้ ค รบถ้ ว นและอ� ำ นวยความสะดวกต่ อ การด� ำ เนิ น งานตาม โครงการ 13. เป็นโครงการที่สามารถน�ำไปปฏิบัติได้ สอดคล้องกับ แผนงานหลักขององค์กรและสามารถติดตามประเมินผลได้ 14. โครงการต้องได้รับการสนับสนุนในด้านทรัพยากร และผู้บริหารระดับสูง ได้รับการมอบหมายอ�ำนาจในการจัดการ เพื่อการตัดสินใจในการบริหารอย่างเหมาะสม 15. โครงการต้องมีระยะเวลาในการด�ำเนินงาน กล่าวคือ ต้องระบุถึงวันเวลาที่เริ่มต้น และสิ้นสุดโครงการ ในรูปแบบ Project Schedule แสดงรายละเอียดของ Tark Management ที่ชัดเจน 16. สามารถติดตาม ควบคุมกระบวนการท�ำงาน ควบคุม ผลกระทบและความเสี่ยง ที่สามารถประเมินผลได้ในทุกขั้นตอน ในตอนที่ 1 จึ ง ขอให้ มี ค วามเข้ า ใจในเบื้ อ งต้ น ของ ความแตกต่างของการบริหาร (Administration) และการจัดการ (Management) ในส่วนการบริหารโครงการ (Project Management) ก็เช่นกัน เรานิยมใช้ค�ำว่าบริหารกับ Management ซึ่งผู้เขียน ก็เห็นควรใช้ค�ำเดียวกัน แต่ให้เป็นที่เข้าใจว่าคือการจัดการ ใน ภาษาอังกฤษหลายค�ำจะใช้ค�ำที่เราต้องสงสัย แต่ต้องจ�ำอย่างนั้น

ในตอนต่อไป จะกล่าวถึงขั้นตอนการบริหารโครงการ (Project Management Process) ปัจจัยที่ส�ำคัญของการบริหารโครงการ 73

Engineering Today January - February

2020


Advertorial

TIF 2020 งานแสดงเทคโนโลยี

เครื่องจักรอุตสาหกรรม เครื่องมือ อุปกรณ์ และสินค้าอุตสาหกรรม

านแสดงสินค้าซึ่งรวบรวมเทคโนโลยีการผลิตและ โซลู ชั่ น ล่ า สุ ด เพื่ อ การผลิ ต อย่ า งครบวงจรทั้ ง ใน ประเทศและภูมภิ าคอาเซียน น�ำเสนอเครือ่ งจักรอุตสาหกรรมและ อุ ป กรณ์ ที่ เ กี่ ยวข้อ งอัน ทัน สมัย จากหลากหลายแบรนด์ชั้นน�ำ ท่านจะได้พบกับเครื่องจักร อุปกรณ์ขนส่งล�ำเลียง ระบบการ บริหารจัดการคลังสินค้าอัจฉริยะ โฟร์คลิฟท์ไร้คนขับ รวมถึง อุปกรณ์ เครื่องมือ-เครื่องใช้ และสินค้าอุตสาหกรรมครบวงจร Highlight Activities • กิจกรรม Exclusive Business Matching Activity การจับคู่เจรจาธุรกิจ • กิจกรรมสัมมนา และการบรรยายพิเศษ เพิ่มองค์ความ รู ้ ใ หม่ ก ว่ า 50 หั ว ข้ อ โดยกู รู ผู ้ เ ชี่ ย วชาญหลากหลายด้ า น ที่ผู้ประกอบการและนักอุตสาหกรรมไม่ควรพลาด • การสาธิตสายการผลิตอัจฉริยะโชว์นวัตกรรมระบบ อั ต โนมั ติ แ ละหุ ่ น ยนต์ ประชั น สุ ด ยอดเทคโนโลยี ก ารผลิ ต จากแบรนด์ดังระดับโลก

Engineering Today January - February

2020

74

• พบสุดยอดคลังสินค้า “WAREHOUSE AUTOMATION” จาก TOYOTA MATERIAL HANDLING • ระบบปฏิ บั ติ ก ารขนส่ ง อั จ ฉริ ย ะแบบไร้ ค นขั บ โดย JUNGHEINRICH ตื่นตากับ Logistics Solutions มากมาย พร้อมแคมเปญส่วนลดแบบจัดเต็ม! รับโปรโมชั่นซื้อสินค้า ในราคาพิเศษลดสูงสุดกว่า 30-70% และหลากหลายกิจกรรม ต่อยอดขยายเครือข่ายธุรกิจ ตอบโจทย์ทุกความต้องการของ ผู้ประกอบการ และผู้สนใจทุกท่าน จั ด ขึ้ น ระหว่ า งวั น ที่ 12-15 กุ ม ภาพั น ธ์ 2563 เวลา 10.00-19.00 น. ณ ไบเทค บางนา

สอบถามรายละเอียดติดต่อ : คุณพรสวัสดิ์ และ คุณบุญวลี โทร: 0-2838-9999 ต่อ 1177 Email: digiview.tbppr@gmail.com www.foodpackthailand.com หรือ www.thailandindustrialfair.com


ใบสมัครสมาชิก 2020

เลขที่.................. หมูที่........ หมูบาน................................... อาคาร............................ ชั้น............... หอง............ ตรอก/ซอย...................... ถนน............................... แขวง/ตำบล........................... เขต/อำเภอ............................ จังหวัด................................ รหัสไปรษณีย....................... โทรศัพทที่ทำงาน....................................................... โทรศัพทมือถือ............................ โทรสาร................................. E-mail.............................................................

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

สมัครสมาชิกประเภท

Corporaeter Memb 3 เลม

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

แถม YG Directory

2018/2019

มูลคา 400.-

สมาชิกใหม ตออายุสมาชิก

แซอึ้ง

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำกัด

1 ป 6 ฉบับ 300 2 ป 12 ฉบับ 600

1 ป 1,260 บาท 1 ป 1,100 บาท

2 ป 2,520 บาท 2 ป 2,200 บาท

TECHNOLOGY MEDIA CO., LTD.

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท 0-2354-5333, 0-2644-4555 Ext. 231 โทรสาร 0-2644-6649 E-mail : member.technologymedia.co.th@gmail.com / marketing_mag@technologymedia.co.th


INDEX January ADVERTISING - February 2020

Engineering Today

บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ต�ำแหน่งหน้า

ASEAN SUSTAINABLE ENERGY WEEK

0-2036-0500

-

6

www.asew-expo.com

INTERLINK CO., LTD.

0-2666-1111

-

11

www.interlink.co.th

INTERMACH

0-2036-0500

-

4

www.intermachshow.com

PUMPS AND VALVES ASIA

0-2036-0500

-

81

www.pumpsandvalves-asia.com

THAILAND INDUSTRIAL FAIR

0-2838-9999 Ext.1177

-

83

www.thailandindustrialfair.com

-

-

82

www.thaioil.com

VEGA

0-2700-9240

0-2700-9241

ปกหน้า

www.vega.com

กุลธร บจก.

0-2282-2151

0-2280-1444

9

0-2642-9209-11

0-2246-3214

78, 84

ทีพีไอ โพลีน บมจ.

0-2285-5090

0-2213-1035

2

-

เบย์ คอร์ปอเรชั่น บจก.

0-2926-0111

0-2926-0123-4

3

www.bay-corporation.com E-mail: bayinsu01@gmail.com

โปรแมช (ประเทศไทย) บจก.

081-592-4456

-

7

www.promach.co.th

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727

0-2476-1711

79

www.virtus.co.th E-mail: welcome@virtus.co.th

เอส เอ วี เมคคานิคคอลเซอร์วิสส์ แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.

0-2702-8801, 0-2702-0581-8

0-2395-1002

5

E-mail: savthai@yahoo.com, sav-545@hotmail.com

อินเตอร์ลิงค์ บจก.

0-2666-1111

-

11

www.interlink.co.th

อี-บิซิเนส พลัส บจก.

0-2409-5409

0-2424-0972

80

www.businessplus.co.th

ไอแซค มาร์เก็ตติ้ง บจก.

0-2735-0581-8

0-2377-5937

77

www.ตู้สาขา.com, www.ไฟอราม.com

THAI OIL CO., LTD.

คณิตเอ็นจิเนียริ่ง บจก.

Engineering Today January - February

2020

76

Website/E-mail

www.kulthorn.co.th www.kanitengineering.com





onnect HRM C

ทำรายการ

คลังสินคา

สรุปงาน

แสดงยอดขาย

ลูกคา

แคมเปญ

ตั้งคา

ออกจากระบบ






Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.