Engineering Today No.179 (Issue Sep-Oct 2020)

Page 1












EDITOR TALK กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

เจ้าของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จ�ำกัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0-2354-5333 โทรสาร : 0-2640-4260 www.technologymedia.co.th www.engineeringtoday.net e-Mail : editor@technologymedia.co.th กองบรรณาธิการ e-Mail : editor@engineeringtoday.net ฝ่ายโฆษณา e-Mail : marketing_mag@technologymedia.co.th ฝ่ายบัญชีและธุรการ e-Mail : account@technologymedia.co.th คณะที่ปรึกษา ศ.อรุณ ชัยเสรี, ดร.ทนง พิทยะ, รศ.ฉดับ ปัทมสูต, ศ. ดร.มงคล เดชนครินทร์, รศ. ดร.พิชนี โพธารามิก, รศ.พูลพร แสงบางปลา, รศ. ดร.ต่อตระกูล ยมนาค, ศ. ดร.วรศักดิ์ กนกนุกูลชัย, ดร.การุญ จันทรางศุ, ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย, สิริพร ไศละสูต, สิทธิพร รัตโนภาส, ประสงค์ ธาราไชย, ปราณี พันธุมสินชัย, รศ. ดร.ปริทรรศน์ พันธุบรรยงก์, วัลลภ เตียศิริ, ผศ. ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร บรรณาธิการอ�ำนวยการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการวิชาการ ศ. ดร.พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ, ดร.มนตรี วีรยางกูร บรรณาธิการ สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล กองบรรณาธิการ ทัศนีย์ เรืองติก พิสูจน์อักษร อ�ำพันธุ์ ไตรรัตน์ ศิลปกรรม พฤฒิยา นิลวัตร, ชุติภา จริตพันธ์ ฝ่ายโฆษณา มนัส ไชยเพส, ศิริภรณ์ กลิ่นขจร, กษิรา เหมบัณฑิตย์, กัลยา ทรัพย์ภิรมย์, วีระวรรณ พุทธโอวาท เลขานุการฝ่ายผลิต ชุติมณฑน์ บัวผัน ฝ่ายสมาชิก ศิรินทิพย์ โยธาพันธ์ โรงพิมพ์ หจก. รุ่งเรืองการพิมพ์ แยกสี บจก. คลาสิคสแกน Engineering Today www.engineeringtoday.net

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

วสท. จัดงาน “วิศวกรรมแห่งชาติ 2563” บนแนวคิด “Engineering Disruption” ชูไฮไลต์ของงาน “ประกาศรางวัล เชิดชูเกียรติ นายช่างผู้ปิดทอง หลังพระ”

เป็ น ธรรมเนี ย มที่ ใ นช่ ว งปลายปี ข องทุ ก ๆ ปี จะมี ง านส� ำ คั ญ ในแวดวง วิศวกรรม นั่นก็คืองาน “วิศวกรรมแห่งชาติ 2563 (National Engineering 2020: Engineering for Society)” งานแสดงเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมและ งานสัมมนาด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัยและใหญ่ท่ีสุดแห่งปี โดยปีนี้ วิศวกรรม สถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ได้จัดขึ้นภายใต้แนวคิด “Engineering Disruption” เพื่อวิศวกรและประชาชนทั่วไปได้อัปเดตและรองรับ การเปลี่ยนผ่านของธุรกิจอุตสาหกรรมและชีวิตวิถีใหม่ ยกระดับความก้าวหน้า งานวิศวกรรมไทยสู่ความเป็นผู้น�ำอาเซียน ในระหว่างวันที่ 11-13 พฤศจิกายน 2563 ณ อิมแพ็ค ฟอรั่ม เมืองทองธานี ไฮไลต์ของงานในปีนี้ คือการประกาศรางวัลเชิดชูเกียรติ “นายช่างผูป้ ดิ ทอง หลังพระ” แก่ผสู้ ร้างสรรค์คณ ุ ประโยชน์เพือ่ ส่วนรวมและประเทศชาติ การประกวด ผลงานหนังสั้น “วิศวกรดีมีจรรยาบรรณ” ที่จะส่งเสริมเยาวชนรุ่นใหม่ได้ให้ความ ส�ำคัญกับหลักจรรยาบรรณวิศวกรรมและภาพลักษณ์ของวิศวกรไทยในอนาคต อีกหนึ่งกิจกรรมส�ำคัญ “คลินิกช่าง” ซึ่งในแต่ละวันจะมีวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ ในแต่ละสาขาบริการให้ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับบ้าน อาคาร และปัญหาทางวิศวกรรม ต่างๆ ฟรี อาทิ การแก้ปัญหากรณีบ้านทรุด บ้านร้าว ระบบประปา สุขาภิบาล ในบ้าน ระบบความปลอดภัยภายในบ้าน รวมทัง้ สนุกกับการชมบูธสินค้าผลิตภัณฑ์ ที่ก้าวล�้ำทางเทคโนโลยีต่างๆ จากบริษัทที่มีชื่อเสียงที่จัดแสดงภายในงานอีกด้วย ส�ำหรับวารสาร Engineering Today ฉบับนี้ เดินทางมาถึงฉบับที่ 179 แล้ว ยังคงเจาะลึกความเคลื่อนไหวด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมและอุตสาหกรรม เพื่อให้ทันเทรนด์ยุคดิจิทัล โดยฉบับนี้ขอน�ำเสนอ วสท. จัด “งานวิศวกรรมแห่ง ชาติ 2563” บนแนวคิด Engineering Disruption รองรับการเปลี่ยนผ่านของ ธุรกิจอุตสาหกรรมและชีวิตวิถีใหม่, อว. เผยเมืองนวัตกรรม EECi พร้อมเปิด ด�ำเนินการปลายปี’64 หนุนจัดตั้งศูนย์ SMC ด้วยงบประมาณกว่า 5,000 ล้านบาท, ศูนย์ทดสอบมาตรฐานระบบขนส่งทางราง วว. รับมอบ ISO/IEC 17025 : 2017 จาก สมอ. เป็นรายแรกของไทย, มจธ. ตั้งศูนย์ KING ARC เพิ่มทักษะบุคลากรงานเชื่อม รองรับอุตสาหกรรม 10 S-Curve พร้อมผลักดัน Local Contents รางในประเทศ, BGRIM ฉลองความส�ำเร็จสร้างโรงไฟฟ้า เพือ่ อุตสาหกรรม 7 โครงการ ขนาด 980 เมกะวัตต์ และคอลัมน์อนื่ ๆ เชิญพลิก อ่านรูปแบบของฉบับพิมพ์ และ E-book กันฟรีๆ ที่ www.engineeringtoday.net ครับ


CONTENTS Engineering Today

September - October 2020 VOL. 5 No. 179

COLUMNS 12 บทบรรณาธิการ

วสท. จัดงาน “วิศวกรรมแห่งชาติ 2563” บนแนวคิด “Engineering Disruption” ชูไฮไลต์ของงาน “ประกาศรางวัลเชิดชูเกียรติ นายช่างผู้ปิดทองหลังพระ”

• กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

Report 14 วสท. จัด “งานวิศวกรรมแห่งชาติ 2563” บนแนวคิด

Engineering Disruption รองรับการเปลี่ยนผ่านของธุรกิจ อุตสาหกรรมและชีวิตวิถีใหม่

• กองบรรณาธิการ

16 สวทช. เยี่ยมชม FabLab วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี พร้อมชม

5 สิ่งประดิษฐ์เด่น พัฒนาทักษะความเป็นนวัตกรให้แก่เยาวชนไทย

• กองบรรณาธิการ

19 Lab

มจธ. ตั้งศูนย์ KING ARC เพิ่มทักษะบุคลากรงานเชื่อม รองรับอุตสาหกรรม 10 S-Curve พร้อมผลักดัน Local Contents รางในประเทศ

• กองบรรณาธิการ

21 In Trend

มจธ. ผนึกพลังจีซี น�ำธนาคารน�้ำใต้ดินช่วยชาวสวนมะม่วง จ.ระยอง ป้องกันน�้ำท่วม-ลดปัญหาน�้ำเค็มรุกล�้ำ-เพิ่มความชุ่มชื้นให้ผิวดิน

• สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล

Digital Economy 36 EEC

อว. เผยเมืองนวัตกรรม EECi พร้อมเปิดด�ำเนินการปลายปี’64 หนุนจัดตั้งศูนย์ SMC ด้วยงบประมาณกว่า 5,000 ล้านบาท

• กองบรรณาธิการ

40 Smart City

จับตาเทคโนโลยี 3 กลุ่มหลัก หนุนสร้างเมืองอัจฉริยะ (Smart City)

• สุวรรณี สิงห์ฤาเดช

44 IT Update

เอ็นทีที จับมือไมโครซอฟท์ เป็นผู้ให้บริการไลเซนส์ โซลูชัน ไมโครซอฟท์ อย่างเป็นทางการในไทย ตั้งเป้าได้ 100 ใบรับรองจากไมโครซอฟท์ภายในปลายปีนี้

• กองบรรณาธิการ

Preview 46 “Shaping a Brighter Tomorrow”

• Reed Tradex

• Reed Tradex

48 Hybrid METALEX ปรับตัวพร้อมพาโลหการผ่านวิกฤต 50 Energy

BGRIM ฉลองความส�ำเร็จสร้างโรงไฟฟ้าเพื่ออุตสาหกรรม 7 โครงการ ขนาด 980 เมกะวัตต์ • กองบรรณาธิการ

26 Cover Story

Construction

52 Construction

Quality at all levels

• VEGA

28 Innovation

กทปส. ให้ทุน NECTEC ต่อยอด “มิวเทอร์ม-เฟสเซนซ์” นวัตกรรมตรวจวัดอุณหภูมิแม่นย�ำเทียบเท่าต่างชาติ ใช้งานแล้ว 40 เครื่องทั่วประเทศ

• กองบรรณาธิการ

Environment 30 ECOTOPIA ร่วมกับ Environman จัดงาน The EnDay

วันรวมพลคนรักษ์โลก ตอนโรคไปใครเจ็บ

• กองบรรณาธิการ

เพิ่มประสิทธิภาพของแหล่งกักเก็บก๊าซเรือนกระจกในพื้นที่ป่าอนุรักษ์” เน้นให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมมากยิ่งขึ้น

31 การประชุมรับฟังความคิดเห็น “(ร่าง) มาตรการสร้างแรงจูงใจในการ

• กองบรรณาธิการ

ศูนย์ทดสอบมาตรฐานระบบขนส่งทางราง วว. รับมอบ ISO/IEC 17025 : 2017 จาก สมอ. เป็นรายแรกของไทย

• กองบรรณาธิการ

55 Property

SENA ปิดดีลขายหุ้นกู้ทะลุเป้า มูลค่า 1,110 ล้านบาท สะท้อนความเชื่อมั่นนักลงทุนสถาบัน - นักลงทุนรายใหญ่

• กองบรรณาธิการ

56 Advertorial

อินฟอร์มา มาร์เก็ตส์ เดินหน้าจัดงาน ProPak Asia 2020 ในรูปแบบนิวนอร์มอล เพื่อกระตุ้นการปรับใช้เทคโนโลยี ในการผลิต และบรรจุภัณฑ์เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภคที่เพิ่มขึ้น

• อินฟอร์มา มาร์เก็ตส์

58 Management Tools Today

OKRs and KPIs (Objective & Key Results and Key Performance Indicators)

• ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล


Report • กองบรรณาธิการ

วสท. จัด

“งานวิศวกรรม แห่ ง ชาติ 2563” บนแนวคิด Engineering Disruption รองรับการเปลี่ยนผ่านของธุรกิจ อุตสาหกรรมและชีวิตวิถีใหม่

พลังนวัตกรรมและวิศวกรรมเปลี่ยนแปลงโลก ขับเคลื่อน ประเทศไปข้างหน้าด้วยเทคโนโลยีและองค์ความรู้ วิศวกรรม สถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) โดย ดร.ธเนศ วีระศิริ นายก วสท. และ จีระศักดิ์ ปราชญ์โกสินทร์ ประธานจั ด งานวิ ศ วกรรมแห่ ง ชาติ 2563 ได้ จั ด แถลงข่ า ว เตรียมจัดงาน “วิศวกรรมแห่งชาติ 2563 (National Engineering 2020: Engineering for Society)” งานแสดงเทคโนโลยี ทางด้านวิศวกรรมและงานสัมมนาด้านเทคโนโลยีทที่ นั สมัยและ ใหญ่ที่สุดแห่งปี ภายใต้แนวคิด “Engineering Disruption” เพื่อ วิศวกรและประชาชนทั่วไป ได้อัปเดตและรองรับการเปลี่ยนผ่าน ของธุรกิจอุตสาหกรรมและชีวิตวิถีใหม่ ยกระดับความก้าวหน้า งานวิ ศ วกรรมไทยสู ่ ค วามเป็ น ผู ้ น� ำอาเซี ย น ในระหว่ า งวั น ที่ 11-13 พฤศจิกายน 2563 ณ อิมแพ็ค ฟอรั่ม เมืองทองธานี ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) กล่าวว่า ในวาระครบรอบ 77 ปี วสท. ซึ่งเป็นสมาคมวิชาชีพที่เป็นเสาหลักด้านวิศวกรรมของ ประเทศ ภายใต้การบริหารงานของคณะกรรมการอ�ำนวยการ มี ภ ารกิ จ ในการบริ ก ารสมาชิ ก จั ด ฝึ ก อบรมเทคโนโลยี แ ละ องค์ความรู้ การจัดท�ำมาตรฐานวิชาชีพทางด้านวิศวกรรมของ ประเทศ ให้ค�ำปรึกษา และบริการหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และช่วยเหลือประชาชนทั้งในยามปกติสุขและวิกฤตฉุกเฉิน

Engineering Today September- October 2020

» ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถาน แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)

14


» จีระศักดิ์ ปราชญ์โกสินทร์ ประธานจัดงานวิศวกรรมแห่งชาติ 2563

หนึ่ ง ในภารกิ จ ส� ำ คั ญ คื อ การจั ด งานวิ ศ วกรรมแห่ ง ชาติ เ ป็ น ประจ�ำทุกปี ในปีนี้ได้ก�ำหนดจัด งาน “วิศ วกรรมแห่ง ชาติ 2563 (National Engineering 2020)” ระหว่างวันที่ 11-13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 ณ อิมแพ็ค ฟอรั่ม เมืองทองธานี เพื่อมุ่งเป็นสื่อกลาง การพัฒนาองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมและนวัตกรรม ก้าวทันเทคโนโลยี กระตุน้ การเรียนรู้ การสร้างแรงบันดาลใจและเปิดเวทีกจิ กรรมให้กบั คน รุ่นใหม่ในการพัฒนาทักษะความสามารถ เป็นศูนย์กลางติดต่อสื่อสาร แลกเปลีย่ นความรูแ้ ละส่งเสริมด้านวิชาชีพ วิชาการ สูว่ ศิ วกร ผูอ้ อกแบบ ผูผ้ ลิต ผูใ้ ช้งาน และประชาชนทัว่ ไป ทัง้ ในระดับอุตสาหกรรมและองค์กร เพื่อสร้างการรับรู้และความเข้าใจในบทบาทวิศวกรรมที่สร้างคุณูปการ ต่ อ การด� ำ เนิ น ชี วิ ต ของประชาชนที่ ทั น สมั ย และปลอดภั ย น� ำ เสนอ ผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยีดา้ นวิศวกรรมทีก่ า้ วล�ำ้ เพือ่ ก่อให้เกิดการพัฒนา ความรู้ ความสามารถ และศักยภาพของประชาชน รวมถึงการตระหนักรู้ ถึงความปลอดภัยสาธารณะ จีระศักดิ์ ปราชญ์โกสินทร์ ประธานจัดงานวิศวกรรมแห่งชาติ 2563 กล่าวถึงจุดเด่นของงาน “วิศวกรรมแห่งชาติ 2563” ว่า ภายใน งานจั ด ให้ มี ก ารน� ำ เสนอข้ อ มู ล รอบด้ า น ความรู ้ ด ้ า นวิ ศ วกรรมใน ด้านต่างๆ ที่จะรับมือ Disrupt in และวิกฤต COVID-19 อาทิ เครือข่าย สื่อสาร 5G, ปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI (Artificial Intelligence), BIM (Building Information Modeling), เมืองอัจฉริยะและสมาร์ทไลฟ์, พลังงานทางเลือก (Renewable Energy) และดิจิทัล ดิสรัปชัน ฯลฯ

15

การสั ม มนามาตรฐาน กฎหมาย เทคโนโลยี ใ หม่ ด ้ า น วิศวกรรมทุกสาขาเพื่อรองรับ 5G โดยมุ่งเน้นการพัฒนา ธุรกิจเป็นหลัก การเพิ่มพูนองค์ความรู้ด้านความปลอดภัย สาธารณะ ทั้งด้านอัคคีภัย ภัยพิบัติ อุบัติภัยต่างๆ และ โรคอุบัติใหม่โควิด-19 ที่เกิดขึ้น พร้อมแนวทางมาตรการ แก้ ไ ขและป้ อ งกั น จั ด แสดงสิ น ค้ า ทางวิ ศ วกรรมและ ความปลอดภัยที่ก้าวล�้ำด้วยเทคโนโลยีใหม่ เพื่อพัฒนา และรองรับธุรกิจยุคดิจิทัล ที่จะช่วยยกระดับคุณภาพชีวิต ในชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ผลิตภัณฑ์จากเทคโนโลยี ด้านความปลอดภัยมาตรฐานสากล ระบบอัตโนมัติและ หุ่นยนต์ที่จะช่วยพัฒนาการบริหารจัดการและการผลิต ส�ำหรับผูป้ ระกอบการในทุกระดับ รวมทัง้ การจัดเสวนาและ สัมมนามาตรฐานวิชาการฟรี กว่า 30 หัวข้อ โดยรวบรวม ที่สุดของประเด็นที่น่าสนใจ อีกหนึ่งไฮไลต์ คือการประกาศรางวัลเชิดชูเกียรติ “นายช่างผูป้ ดิ ทองหลังพระ” แก่ผสู้ ร้างสรรค์คณ ุ ประโยชน์ เพื่อส่วนรวมและประเทศชาติ การประกวดผลงานหนังสั้น “วิศวกรดีมีจรรยาบรรณ” ที่จะส่งเสริมเยาวชนรุ่นใหม่ ได้ ใ ห้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ หลั ก จรรยาบรรณวิ ศ วกรรมและ ภาพลักษณ์ของวิศวกรไทยในอนาคต นอกจากนี้ ยังมีกิจกรรม “คลินิกช่าง” บริการให้ ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับบ้าน อาคาร และปัญหาทางวิศวกรรม ต่างๆ ฟรี โดยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขา อาทิ การแก้ ป ั ญ หากรณี บ ้ า นทรุ ด บ้ า นร้ า ว ระบบประปา สุขาภิบาลในบ้าน ระบบความปลอดภัยภายในบ้าน รวมทัง้ สนุกกับการชมบูธสินค้าผลิตภัณฑ์ที่ก้าวล�้ำทางเทคโนโลยี ต่างๆ จากบริษัทที่มีชื่อเสียงที่จัดแสดงภายในงานอีกด้วย

งาน “วิศวกรรมแห่งชาติ 2563 (National Engineering 2020)”

จัดขึ้นระหว่างวันที่ 11-13 พฤศจิกายน 2563 ณ อาคาร 4 อิมแพ็ค ฟอรั่ม เมืองทองธานี

สนใจลงทะเบียนเข้าร่วมสัมมนาได้ที่

http://www.nationalengineering2020.com/ index.php?modules=seminars

ฟรี

Engineering Today September- October

2020


Report • กองบรรณาธิการ

สวทช. เยี่ยมชม FabLab วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี

พร้อมชม 5 สิง่ ประดิษฐ์เด่น พัฒนาทักษะความเป็นนวัตกร ให้แก่เยาวชนไทย

เมื่ อเร็ว ๆ นี้ ส�ำนัก งานพัฒนาวิทยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม (อว.) น�ำโดย ดร.อ้อมใจ ไทรเมฆ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ สวทช. ได้ พ าคณะสื่ อ มวลชนเยี่ ย มชม โครงการโรงประลองต้ น แบบทาง วิศวกรรม (FabLab) ที่วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี พร้อมชมผลงานนวัตกรรมเยาวชนเด่นจ�ำนวน 5 ผลงาน ที่พัฒนาขึ้น จากเครื่องมือทางวิศวกรรมในห้อง FabLab ได้แก่ ชุดสาธิตแขนกล หุน่ ยนต์มด กล่องฆ่าเชือ้ ด้วยแสง UV เครือ่ งวัดอุณหภูมแิ บบไม่สมั ผัส และแขนกลหุ่นยนต์ขนาดเล็ก เพื่อพัฒนาทักษะความเป็นนวัตกร (Innovator) ให้แก่เยาวชนไทย ในการคิดสร้างสรรค์ ออกแบบและสร้าง ชิ้นงาน โดยมี ชาญชัย ชาญสุข รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารทรัพยากร วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี และผู้บริหาร ตลอดจนคณาจารย์ให้การ ต้อนรับ

Engineering Today September- October 2020

16

สวทช. จัดตั้งโครงการ FabLab ใน รร. และวิทยาลัยอาชีวศึกษา ทั่วประเทศรวม 150 แห่ง ภายใต้โครงการ Big Rock ดร.อ้อมใจ ไทรเมฆ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่ า วว่ า สวทช. มี โ รงประลองต้ น แบบทางวิ ศ วกรรม (Fabrication Lab) หรือ FabLab เพื่อฝึกทักษะความเป็น วิศวกร ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 ตั้งแต่เมื่อครั้งเป็นกระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในโครงการ Big Rock โดย สวทช. มองว่าน่าจะมีโครงการใหม่ๆ เพื่อสนับสนุนการ พัฒนาก�ำลังคนทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จึงได้ ผลั ก ดั น โครงการ FabLab หรื อ โรงประลองต้ น แบบ ทางวิศวกรรม ซึ่งมีข้ึนในต่างประเทศ ทั้งเครื่องมือและ อุปกรณ์ช่าง ให้แก่สถานศึกษา 100 แห่ง รวมทั้งวิทยาลัย อาชีวศึกษาจากทัว่ ประเทศอีก 50 แห่ง โดยห้องปฏิบตั กิ าร FabLab ของวิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี ถือเป็นหนึ่งใน 50 ของวิทยาลัยอาชีวศึกษา พร้อมกันนีไ้ ด้ขอความร่วมมือไปยัง มหาวิทยาลัย 10 แห่ง เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) เข้ามาช่วยเป็นพี่เลี้ยงให้แก่ โรงเรียน 100 แห่ง และวิทยาลัยอาชีวศึกษา 50 แห่ง อีกด้วย


เผยวิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี เป็นศูนย์กลางวิทยาลัยเทคนิค ที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

» ดร.อ้อมใจ ไทรเมฆ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการ สวทช.

» ชาญชัย ชาญสุข รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารทรัพยากร วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี » โมเดลองค์พระ ผลงานจาก 3D Printer ใน FabLab วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี

» 3D Printer ใช้พิมพ์ ชิ้นงานต่างๆ ได้ตาม ความต้องการ

ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี FabLab ใน 16 จังหวัด โดย วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี ถือเป็นศูนย์กลางวิทยาลัยเทคนิคในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด สามารถผลิตนักศึกษา ปวช. และ ปวส. ได้ปลี ะ 3,000-4,000 คน ซึง่ ในอนาคตจะต้องผลิตนักศึกษา อีกจ�ำนวนมาก เนื่องจากข้อมูลความต้องการบุคลากรของกระทรวง แรงงานพบว่า ภายใน 10 ปีข้างหน้า มีความต้องการนักศึกษา ปวช. และ ปวส. ทั้งสิ้น 2-3 ล้านคน โดยพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออกต้องการเป็นหลักแสนคนทุกปี “โครงการ FabLab มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะความเป็น นวัตกร (Innovator) ให้แก่เยาวชนไทย ในการคิดสร้างสรรค์ ออกแบบ และสร้างชิ้นงาน โดยใช้เครื่องมือทางวิศวกรรมและเครื่องมือวัดทาง วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องในห้อง FabLab เข้ามาช่วยพัฒนากิจกรรม ส�ำหรับนักเรียนและครู ให้มีทักษะด้านวิศวกรรม ความคิดสร้างสรรค์ สามารถออกแบบและสร้างชิน้ งานได้ รวมทัง้ เกิดแรงบันดาลใจและสนใจ ที่จะมีอาชีพเป็นวิศวกรหรือนวัตกรในอนาคต” ดร.อ้อมใจ กล่าว

FabLab ช่วยพัฒนาครูและนักเรียน ของวิทยาลัยฯ ให้มีทักษะด้านวิศวกรรมความคิดสร้างสรรค์เพิ่มมากขึ้น ด้าน ชาญชัย ชาญสุข รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายบริหารทรัพยากร วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี กล่าวว่า วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานีได้รับการ สนับสนุนงบประมาณด�ำเนินโครงการโรงประลองต้นแบบทางวิศวกรรม หรือห้อง FabLab จาก สวทช. ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 ราว 7 แสนบาท ซึ่งเป็นห้อง Lab ที่ประกอบด้วยเครื่องไม้เครื่องมือทางวิศวกรรมและ อุปกรณ์ต่างๆ ที่ช่วยพัฒนาครูและนักเรียนของวิทยาลัยฯ ให้มีทักษะ ด้านวิศวกรรม และความคิดสร้างสรรค์เพิ่มมากขึ้น เช่น เครื่องพิมพ์ สามมิติ (3D Printer) และวัสดุพมิ พ์ เครือ่ งตัดเลเซอร์ บอร์ด Kid Bright และเครื่องมือพื้นฐานต่างๆ รวม 39 รายการ ทั้งหมด 276 ชุด โดย ผลงานสิ่งประดิษฐ์เด่นของนักเรียนซึ่งพัฒนาขึ้นจากห้อง FabLab วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี ประกอบด้วย ชุดสาธิตแขนกล (Robot Arm) หุ่นยนต์เพื่อการศึกษาเบื้องต้น (หุ่นยนต์มด) กล่องฆ่าเชื้อด้วยแสง UV เครื่องวัดอุณหภูมิแบบไม่สัมผัส และแขนกลหุ่นยนต์ขนาดเล็ก เป็นต้น รวมทั้ ง สามารถท� ำ ชุ ด ทดลองออกแบบโมเดลเล็ ก ๆ เช่ น องค์ พ ระ ด้วย 3D Printer จากการประเมินการใช้ห้อง FabLab ในแง่ปริมาณการใช้ พบว่า จ�ำนวนนักศึกษาเข้ามาใช้งานเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในส่วนของคุณภาพ สามารถน�ำไปทดลองและผลิตชิ้นงานออกมาดังกล่าว

17

Engineering Today September- October

2020


3

ผลงานชิ น ้ ที ่ แขนกลหุ่นยนต์ขนาดเล็ก

นักเรียนวิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี โชว์ 5 สิ่งประดิษฐ์เด่นจากเครื่องมือ ทางวิศวกรรมใน FabLab

โดย จรินทร์ โสภากา สุริยา ขนชิด และ ธนภูมิ ค�ำภิมูล ชัน้ ปวส. 2/1 แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี มี อภิเดช ศิริตัง แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์ เป็นครูที่ปรึกษา โดย ผลงานดังกล่าวคิดค้นเพื่อพัฒนาผลการศึกษาการขับเคลื่อน แขนกลหุน่ ยนต์จากการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์จำ� ลองการท�ำงาน มาเป็นโครงสร้างแขนกลของจริงขนาดเล็ก ท�ำให้นักศึกษาได้ฝึก การใช้ วั ส ดุ วิ ศ วกรรมหลายชิ้ น เช่ น เซอร์ โ วมอเตอร์ บอร์ ด Arduino ตลับลูกปืน และบอร์ด Kid Bright ซึง่ สามารถขับเคลือ่ น และควบคุ ม ด้ ว ยรี โ มต ค อ น โ ท ร ล แ บ บ มี ส า ย ในอนาคตจะพั ฒนาเป็ น ระบบไร้ ส าย และแบบ โปรแกรมต่อไป

ผลงานแรก ชุดสาธิตแขนกล (Robot Arm) พัฒนาโดย มนัสชนก วงค์โต จุฬารัตน์ วงค์หาจักร และ สัญญาลักษณ์ เหล่าสน ชั้น ปวส. 2/1 แผนกวิชาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี มี ภานุวัฒน์ ศิลาคะจิ แผนกวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เป็นครูทปี่ รึกษา โดยชุดสาธิต แขนกล ที่พัฒนาต่อยอดจากชิ้นงานของรุ่นพี่ปีที่แล้ว ออกแบบ ให้เป็นหุน่ ยนต์ทสี่ งั่ การด้วยการกดสวิตช์ ซึง่ ควบคุมโดยโปรแกรม เพื่อให้หุ่นยนต์จับคัดแยกสิ่งของและนับจ�ำนวนสิ่งของได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ด้วยการใช้ปมุ่ กดบังคับควบคุมการท�ำงาน โดยใช้ งบประมาณเพียง 2,000 บาท

4

ผลงานชิ น ้ ที ่ กล่องฆ่าเชื้อด้วยแสง UV

โดยนักเรียนแผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์ มี ค�ำปัน สิงห์ปั้น แผนกวิ ช าอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เป็ น ครู ที่ ป รึ ก ษา ในช่ ว งวิ ก ฤต COVID-19 ทางวิทยาลัยเทคนิคอุดรธานีได้ส่งกล่องฆ่าเชื้อด้วย แสง UV ไปให้สาธารณสุขจังหวัดอุดรธานีใช้งาน 5 ชิ้น

2

ผลงานชิ น ้ ที ่ หุน่ ยนต์เพือ่ การศึกษาเบือ้ งต้น หรือหุน่ ยนต์มด

5

โดย กิตติพศ ฟ้ากระจ่าง พศวัต ศรีวงศ์ และ ธีรโชติ เหล่าเทพ ชั้น ปวส. 2/1 แผนกวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วิ ท ยาลั ย เทคนิ ค อุ ด รธานี มี จั ก รกฤษ รอดสุ ข แผนกวิ ช า เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เป็นครูที่ปรึกษา ถือเป็นสิ่งประดิษฐ์ ทีช่ ว่ ยส่งเสริมการเรียนรูเ้ ข้าใจเทคโนโลยีหนุ่ ยนต์และกระบวนการ ทางวิศวกรรม ผ่านโปรแกรมหุ่นยนต์ สร้างทางเลือกใหม่ให้กับ นักศึกษา ในการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์และเปลี่ยนการเล่น ให้เป็นการเรียนรู้ ซึ่งจะช่วยส่งเสริมการศึกษาในศตวรรษที่ 21 และ Thailand 4.0 ที่เน้นการเรียนรู้หุ่นยนต์

Engineering Today September- October 2020

ผลงานชิ น ้ ที ่ เครื่องวัดอุณหภูมิแบบไม่สัมผัส

โดย กันต์พงษ์ ศรีวัฒนาธนกุล ชั้ น ปวส. 2/1 และ อนุ วั ฒ น์ ตางจงราช ชั้น ปวส. 2/2 แผนก วิ ช าอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ มี อภิ เ ดช ศิริตัง แผนกวิชาอิเล็กทรอนิกส์ เป็ น ครู ที่ ป รึ ก ษา โดยเครื่ อ งวั ด อุณหภูมิแบบไม่สัม ผัส ใช้ส�ำหรับ ตรวจวัดอุณหภูมขิ องผูป้ ว่ ย สามารถ ตรวจจับความร้อนด้วย Infrared ใช้ โ ปรแกรม LabView ในการ ท�ำงานเขียนวงจร ผลงานดังกล่าว ใช้ ง บประมาณเพี ย ง 800 บาท ขณะนี้ อ ยู ่ ใ นระหว่ า งการทดสอบ การท�ำงาน

18


Lab • กองบรรณาธิการ

มจธ. ตั้งศูนย์ KING ARC เพิ่มทักษะบุคลากรงานเชื่อม

รองรับอุตสาหกรรม 10 S-Curve พร้อมผลักดัน Local Contents รางในประเทศ

» กระบวนการเชื่อมไฟฟ้า » เครื่อง Phase Array Ultrasonic Testing » Digital Radiographic Testing (SMAW) ใช้คลืน่ เสียงเพือ่ หารอยแตกร้าวและความหนา การตรวจสอบแบบไม่ท�ำลาย ของชิ้นงาน ด้วยการถ่ายภาพรังสีแบบดิจิทัล

1

ภายใต้ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานด้านคมนาคม ขนส่งของประเทศ ทีเ่ น้นการเชือ่ มต่อการคมนาคมขนส่งในประเทศ และในภูมิภาค รัฐบาลได้ทุ่มงบเพื่อพัฒนาระบบราง ทั้งรถไฟฟ้า ความเร็วสูง รถไฟรางคู่ และรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ส่งผลให้ อุตสาหกรรมระบบรางของประเทศขยายตัวอย่างรวดเร็ว และมี ความต้องการบุคลากร เทคโนโลยี และอุปกรณ์ชิ้นส่วนที่ผลิตใน ประเทศ (Local Contents) เพือ่ ลดการน�ำเข้าและพึง่ พาตนเองได้ เมือ่ ปลายปีทผี่ า่ นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี (มจธ.) ได้จัดตั้ง ศูนย์ KING ARC (Advanced Railway Research Center) ศูนย์ทดสอบระบบราง ซึง่ เป็นห้องปฏิบตั กิ าร ที่เป็นมาตรฐานสากล ภายใต้ศูนย์วิจัยและบริการวิศวกรรม งานเชือ่ ม (KINGWELD) เพือ่ ให้บริการทดสอบมาตรฐานในระดับ สากล และพัฒนาบุคลากร งานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบ ขนส่งทางราง และถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับอุตสาหกรรมใน ประเทศ เพื่อผลิตชิ้นส่วนระบบรางในประเทศ รศ. ดร.บวรโชค ผู้พัฒน์ หัวหน้าศูนย์วิจัยและบริการ วิศวกรรมงานเชื่อม หรือ KMUTT’S Welding Research and Consulting Center (KINGWELD) และ อาจารย์ประจ�ำภาควิชาวิศวกรรม อุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ. กล่าวว่า ศูนย์ KING ARC จัด ตั้งขึ้นโดยมีเป้าหมายที่จะท�ำงานวิจัย เพื่อพัฒนาให้ภาคเอกชน บริษัท และ โรงงานในไทย สามารถผลิตชิ้นส่วนระบบรางในประเทศ (Local Contents) ได้เองเหมือนอุตสาหกรรมรถยนต์ ซึ่งขณะนี้สามารถ ผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ในประเทศได้ถึง 90% เหลือแค่บางส่วน ทีเ่ ป็นเครือ่ งยนต์ทยี่ งั ไม่ได้ผลิต และระบบรางก็ควรจะเป็นเช่นนัน้ โดยต้ อ งไปพั ฒนาตั้ ง แต่ ก ระบวนการเริ่ ม ต้ น มาตรฐานการ ผลิตของโรงงาน เมื่อผลิตได้แล้วก็ต้องทดสอบว่าผ่านความ ปลอดภัยและได้มาตรฐานที่จะน�ำไปใช้งานได้หรือไม่ โดยทาง ศู น ย์ ฯ วางเป้ า หมายจะเป็ น หน่ ว ยรั บ รองผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ รงงาน (Manufacturer Product Certification Body) ในอนาคต รศ. ดร.บวรโชค กล่าวว่า KINGWELD ด�ำเนินภารกิจ 4 ด้านหลักๆ คือ

» เครื่อง ET (Eddy Current Testing) เป็นการตรวจสอบโดยวิธี กระแสไหลวน

ฝึกอบรมและออกใบรับรอง (Training & Certification) โดยศูนย์อบรมของ KINGWELD ได้รับการรับรอง มาตรฐานสากล และมีหน่วยงานทัง้ การไฟฟ้า การบิน รถไฟ และ อุตสาหกรรมปิโตรเคมี น�้ำมัน และอื่นๆ จัดส่งบุคลากรเข้ามา อบรม ส�ำหรับงาน Certification รับรองงานตรวจสอบ มีใบ อนุญาตในการให้ Certified ตามมาตรฐานสากล นอกจากนี้ยังมีหลักสูตรในการอบรมและทดสอบที่เปิด ให้เข้าอบรม ทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ เช่น Welding Procedure Specification, Visual Inspection (Level I, II), Magnetic Particle Testing (Level II), Acoustic Emission (Level I, II), Liquid Penetrant Testing (Level I, II), Radiographic Testing (Level I, II), Radiographic Testing: Film Interpretation, Ultrasonic Testing(Level I, II), Eddy Current Testing (Level I, II) เป็นต้น งานที่ปรึกษาและบริการ (Consulting & Service) ศูนย์ฯ จะท�ำหน้าทีเ่ ป็นทีป่ รึกษาให้กบั โครงการใหญ่ๆ เช่น การท่าเรือแห่งประเทศไทย ได้ท�ำสัญญาจ้างศูนย์ฯ ให้เป็น ที่ปรึกษาในการควบคุมงาน Rail Mounted Shore Side Gantry Crane with the maximum of 40-ton capacity ที่ท่าเรือ คลองเตยแล้วถึง 8 คัน และอยู่ระหว่างด�ำเนินการอีก 2 คัน ซึ่งทางศูนย์ฯ จะต้องไปตรวจสอบตั้งแต่ขั้นตอนการออกแบบ การผลิต การตรวจสอบคุณภาพ การทดสอบการใช้งานที่โรงงาน ผู้ผลิตผลิตในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน จนกระทั่งถึง การขนส่งและติดตั้งที่ท่าเรือคลองเตยเพื่อใช้งาน และบริษัทอื่น เช่น การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) เป็นต้น ส่วนงานบริการ ก็จะให้บริการงานทดสอบ งานตรวจสอบ งานวิจัย (Research) ซึ่งร่วมกับบริษัทใหญ่ๆ ตาม โจทย์ ที่ บ ริ ษั ท ต้ อ งการ และใช้ ง านวิ จั ย ช่ ว ยเพิ่ ม ประสิทธิภาพในการท�ำงาน เช่น การวิจัยการซ่อมบ�ำรุงที่ใน อุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี หรื อ อุ ต สาหกรรมโรงไฟฟ้ า ซึ่ ง ภาค อุ ต สาหกรรมอยากรู ้ ว ่ า เมื่ อ ไรต้ อ งเปลี่ ย นอุ ป กรณ์ ชิ้ น นั้ น ซึ่งเมื่อท�ำวิจัยเสร็จ โรงงานที่มีลักษณะเดียวกันก็สามารถน�ำงาน วิจัยชิ้นนี้ไปปรับใช้ได้

2

3

19

Engineering Today September- October

2020


4

DT&NDT Testing ศูนย์ฯ มีอปุ กรณ์ดา้ นการทดสอบ และตรวจสอบที่ทันสมัย ทั้งการทดสอบแบบท�ำลาย เช่น การทดสอบทางกลต่างๆ ซึ่งทางศูนย์ฯ ได้รับการรับรองตาม มาตรฐาน ISO 17025 ส่วนทางด้านการทดสอบแบบไม่ท�ำลาย นั้น ทางศูนย์มีเครื่องมือที่พร้อมให้บริการ เช่น การตรวจสอบ ด้ ว ยคลื่ น ความถี่ สู ง การตรวจสอบด้ ว ยกระแสไหลวน การ ตรวจสอบด้วยสารแทรกซึม การตรวจสอบด้วยอนุภาคผงแม่เหล็ก การตรวจสอบด้วยการพินิจ การตรวจสอบด้วยการถ่ายภาพรังสี ทั้งแบบใช้ฟิล์มและแบบดิจิทัล และการตรวจสอบด้วยอคูสติก อิมิชชั่น (Acoustic Emission) เป็นต้น ในช่วงต้นปีทผี่ า่ นมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือด้านวิชาการส่งเสริม การพัฒนาระบบราง ระหว่างกรมการขนส่งทางราง (ขร.) กับ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) และหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องรวม 15 หน่วยงาน เพือ่ บูรณาการความ ร่วมมือให้ครอบคลุมด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยี วิจยั และพัฒนา มาตรฐานระบบราง อุตสาหกรรมระบบราง ทดสอบและการ ทดลอง พัฒนาทรัพยากรบุคคล ซึ่งจะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพ ระบบขนส่งทางรางและความปลอดภัยในการให้บริการเดินรถไฟ ยกระดับมาตรฐานอุตสาหกรรมชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์ระบบราง ให้เป็นไปตามมาตรฐานระบบรางของประเทศและมาตรฐานสากล ช่วยเพิม่ ขีดความสามารถด้านการทดสอบวิเคราะห์ดา้ นระบบราง สนับสนุนการผลิตชิน้ ส่วนในประเทศ (Local Contents) ทดแทน การน�ำเข้า สนับสนุนการผลิตบุคลากรและผู้เชี่ยวชาญวิจัยด้าน ระบบราง ตลอดจนวิจัยและพัฒนาแก้โจทย์ปัญหาด้านระบบราง ของประเทศ “สิง่ ทีจ่ ะต้องท�ำ คือ ปรับปรุงพัฒนาโรงงานให้สามารถผลิต ชิ้นส่วนรถไฟได้ทั้งหมด ไม่ใช่ทุกอย่างต้องสั่งจากประเทศผู้ผลิต โดยประเทศผู้ผลิตต้องถ่ายทอดเทคโนโลยี อุปกรณ์ที่ต้องเปลี่ยน ประจ�ำให้กับไทย ซึ่ง มจธ. จะเป็นหน่วยงานวิจัยที่ท�ำ Product Development และเมื่อท�ำแล้วจะต้องท�ำการรับรองและทดสอบ ตามมาตรฐาน โดยมีเป้าหมายหลักคือประเทศไทยจะต้องท�ำ Local Contents ให้ได้” รศ. ดร.บวรโชค กล่าว ก่อนหน้านี้ศูนย์ KINGWELD ได้ให้บริการงานทดสอบ ชิ้นส่วนต่างๆ ของระบบราง เช่น หมอนคอนกรีต จากเดิมจะต้อง ส่งไปทดสอบที่ต่างประเทศ แต่ปัจจุบันสามารถทดสอบได้ที่ห้อง ปฏิบัติการทดสอบระบบราง โดยผู้ประกอบการสามารถน�ำงาน มาทดสอบทีม่ หาวิทยาลัย หรือขอค�ำปรึกษาทีมวิจยั เพือ่ ออกแบบ สร้างอุปกรณ์ทดสอบติดตั้งไว้ที่โรงงานผลิต โดย KINGWELD จะจัดส่งวิศวกรจากมหาวิทยาลัยไปท�ำการทดสอบว่าผลิตภัณฑ์ ที่ส่งมอบนั้นได้คุณภาพหรือไม่ ปัจจุบัน KINGWELD สามารถให้บริการทดสอบหมอน คอนกรีตส�ำหรับระบบรางได้เกือบครบทุกหัวข้อ รวมทั้งการ ทดสอบชิ้นส่วนรางรถไฟ ตามมาตรฐานงานเชื่อมต่อระบบราง อาทิ Flash Butt Welding Thermit Welding มาตรฐาน เครื่องยึดเหนี่ยวราง และทดสอบความต้านทานไฟฟ้า ถือได้ว่า

Engineering Today September- October 2020

» เครือ่ ง Viewer ส�ำหรับแปลฟิลม์ จากการทดสอบ Radiographic Testing

KINGWELD สามารถรับงานทดสอบได้ครอบคลุมทั้งระบบราง โดย มจธ. จะออกใบรับรองให้ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการทดสอบให้ ผู้ประกอบการที่น�ำชิ้นส่วนระบบรางมาทดสอบทั้งในประเทศ และต่างประเทศ “KINGWELD ท�ำเรื่องระบบรางมานาน มีห้องปฏิบัติการ ห้องทดสอบที่ทันสมัย มีบุคลากรที่ช�ำนาญ และมีหลักสูตรอบรม คนท�ำงานในสายงานนี้ โดยเฉพาะกลุ่มธุรกิจงานด้านระบบราง ซึ่งความสามารถและฝีมือของ KINGWELD เป็นที่ประจักษ์” รศ. ดร.บวรโชค กล่าว ห้องปฏิบัติการของศูนย์ KINGWELD มีความทันสมัย ระดับต้นๆ ของประเทศ สามารถจัดหลักสูตรอบรมเพื่อพัฒนา บุคลากรทางด้านงานเชือ่ ม และบุคลากรด้านตรวจสอบงานเชือ่ ม KINGWELD ท�ำหน้าทีเ่ ป็น Authorized Center สามารถทดสอบ คุณภาพและฝึกอบรมช่างเชื่อม ออกใบรับรองคุณภาพช่างเชื่อม ตามมาตรฐานสากล และใบอนุญาตตามทีก่ รมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ก�ำหนด รวมถึงการให้บริการวิชาการ โดยให้ค�ำปรึกษาด้านงาน เชื่อมกับบริษัทในภาคอุตสาหกรรม งานซ่อมบ�ำรุง งานโครงสร้าง งานติดตั้ง รวมทั้งงานวิจัยเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้นภายในโรงงาน รศ. ดร.บวรโชค กล่าวว่า วิชาชีพงานเชื่อมแบ่งเป็น วิศวกร งานเชื่อม (Welding Engineer) ผู้ตรวจสอบงานเชื่อม (Welding Inspector) ครูช่างเชื่อม (Welding Instructor) และช่างเชื่อม (Welder) งานสาขาเชื่อมเป็นสาขาวิชาชีพที่ผู้ท�ำงานในทุกระดับ ต้องมีใบอนุญาตในการท�ำงานเชือ่ ม ซึง่ งานเชือ่ มเป็นองค์ประกอบ ส� ำ คั ญของสิ่ ง ปลู ก สร้ า งที่ อ ยู ่ ร อบตั ว เกื อ บทั้ ง หมด เช่ น งาน โครงสร้างเหล็ก โครงสร้างอาคารสูง โครงสร้างสะพาน รวมถึง งานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ อาทิ อุตสาหกรรมน�้ำมัน แก๊ส ปิโตรเคมี เหล่านีล้ ว้ นจ�ำเป็นทีจ่ ะต้องมีคณ ุ ภาพงานเชือ่ มทีส่ งู มาก เพราะมีผลกระทบต่อความปลอดภัยของชีวติ ของผูค้ นจ�ำนวนมาก อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยยังขาดแคลนช่างเชือ่ มในสายงาน เกื อ บทุ ก ระดั บ เพราะฉะนั้ น นอกจากการผลิ ต บุ ค ลากรใน สายงานด้านนี้แล้ว ช่างเชื่อมที่มีอยู่ในปัจจุบันจะต้องเรียนรู้หรือ ฝึกฝนในทักษะใหม่ (Reskill) และการเสริมทักษะในงานเดิม (Upskill) ทั้งนี้ประเทศไทยยังขาดช่างเชือ่ มทีม่ ีฝีมอื และช่างเชื่อม ที่ ผ ่ า นการรั บ รองเกื อ บทุ ก ระดั บ ยิ่ ง อุ ต สาหกรรมการบิ น อุตสาหกรรมระบบราง ยิ่งมีช่างเชื่อมที่ผ่านมาตรฐานน้อยมาก ในทุ ก ๆ ปี จ ะมี บุ ค ลากรจากหน่ ว ยงานต่ า งๆ ทั้ ง อุตสาหกรรมการบิน โรงไฟฟ้า ระบบราง และปิโตรเคมี เข้ามา อบรมที่ศูนย์ KINGWELD เป็นจ�ำนวนมาก โดยศูนย์ฯ มี บุคลากรพร้อมที่จะสนับสนุนให้บุคลากรงานเชื่อมมีคุณภาพ และได้มาตรฐานสากล เพือ่ รองรับอุตสาหกรรม 10 S-Curve

20


In Trend • สุรีย์พร วงศ์ศรีตระกูล

» สวนมะม่วง จ.ระยอง ต้นแบบที่เข้าร่วมโครงการธนาคารน�้ำใต้ดิน

มจธ. ผนึกพลังจีซี

ป้องกันน�้ำท่วม ลดปัญหาน�้ำเค็มรุกล�้ำ เพิ่มความชุ่มชื้นให้ผิวดิน

น�ำธนาคารน�้ำใต้ดิน

ช่วยชาวสวนมะม่วง จ.ระยอง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) โดยศูนย์ วิศวกรรมสารสนเทศภูมิศาสตร์และนวัตกรรม (KGEO) ร่วมกับ บริษทั พีทที ี โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GC และเทศบาล เมืองมาบตาพุด จังหวัดระยอง จัดท�ำโครงการบริหารการจัดการ น�้ำใต้ดิน หรือธนาคารน�้ำใต้ดิน เพื่อช่วยชาวสวนมะม่วงจากปัญหา น�้ำท่วม น�้ำแล้ง และน�้ำเค็ม ในต�ำบลเนินพระ ซึ่งอยู่ในพื้นที่ความ รั บผิ ด ชอบของเทศบาลเมือ งมาบตาพุด โดยให้ความรู้ความเข้าใจ และพัฒนาต้นแบบการบริหารจัดการน�้ำใต้ดินในพื้นที่เกษตรพื้นทราย สวนมะม่วงของ บุญส่ง บุญยัง่ ยืน ตามมาตรฐานการท�ำธนาคารน�ำ้ ใต้ดนิ 8 ขัน้ ตอน ผลการทดสอบพบว่าเป็นทีน่ า่ พอใจ สามารถตอบโจทย์ให้กบั เกษตรกรและท้องถิ่นเกิดความมั่นใจมากขึ้น ล่าสุด เตรียมขยายออกไป ในพื้นที่สวนอื่นๆ ในต�ำบลเนินพระ โดยตั้งเป้าจัดท�ำระบบน�้ำใต้ดิน จ�ำนวน 20 บ่อ คาดว่าปีนี้จัดท�ำได้ 17 บ่อ

21

นวคิดธนาคารน�้ำใต้ดินมีมานานนับพันปี มจธ. ต่อยอดและด�ำเนินการแล้ว 3 ปี

ดร.ปริ เ วท วรรณโกวิ ท หั ว หน้ า ศู น ย์ วิ ศ วกรรม สารสนเทศภู มิ ศ าสตร์ แ ละนวั ต กรรม (KGEO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) กล่าวว่า โครงการการบริหารจัดการน�้ำใต้ดิน หรือธนาคารน�้ำใต้ดิน ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา โดย การริเริม่ ของพระนิเทศศาสนคุณ (หลวงพ่อสมาน สิรปิ ญ ั โญ) ที่มีมานับ 1,000 ปี โดยน�ำเอาแนวคิดการเก็บน�้ำไว้ใต้ดิน จากประเทศสหรัฐอเมริกามาประยุกต์ใช้กับพื้นที่ทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมักจะมีปัญหาน�้ำท่วมหนักใน ฤดูฝนและแล้งมากในฤดูรอ้ น หลักการคือการเติมน�ำ้ ลงไป เก็บไว้ใต้ดินและน�ำออกมาใช้ได้เมื่อยามต้องการ

Engineering Today September- October

2020


ทั้ ง นี้ มจธ. ได้ เ ข้ า ไปมี ส ่ ว นร่ ว มในการใช้ อ งค์ ค วามรู ้ ใ นด้ า น สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) และการแปลภาพถ่ายดาวเทียมเข้ามา สนับสนุน เพื่อรวบรวมข้อมูลหาพื้นที่ในการจัดท�ำธนาคารน�้ำใต้ดิน เนือ่ งจากในแต่ละพืน้ ทีน่ นั้ มีลกั ษณะชัน้ ดินและหินอุม้ น�ำ้ แตกต่างกัน โดย ตัง้ แต่เริม่ ต้นด�ำเนินการในปี พ.ศ. 2560 มีพนื้ ทีต่ น้ แบบทีร่ ว่ มด�ำเนินการ ไปแล้ว ได้แก่ ต�ำบลบ้านผึ้ง จังหวัดนครพนม ต�ำบลวังหามแห จังหวัด ก�ำแพงเพชร ต�ำบลหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท และต�ำบลเชียงเครือ จังหวัดสกลนคร ปัจจุบนั เข้าไปมีสว่ นร่วมในโครงการฯ นับเป็นปีที่ 3 แล้ว

3 » ดร.ปริเวท วรรณโกวิท หัวหน้าศูนย์วิศวกรรมสารสนเทศภูมิศาสตร์ และนวัตกรรม (KGEO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)

» บุญส่ง บุญยั่งยืน ชาวบ้านต�ำบลเนินพระกับสวนมะม่วงต้นแบบ ที่เข้าร่วมโครงการธนาคารน�้ำใต้ดิน

Engineering Today September- October 2020

ประสานรวมพลังจัดท�ำต้นแบบธนาคารน�้ำใต้ดิน ช่วยชาวสวนมะม่วง จ.ระยอง

ส�ำหรับโครงการธนาคารน�้ำใต้ดินที่ต�ำบลเนินพระ อ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง เป็นโครงการความร่วมมือ 3 ฝ่าย โดย บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GC สนับสนุนทุน วัสดุหินถม และการขนส่ง ภายใต้โครงการ “มาบตาพุดรวมใจฝากน�ำ้ ไว้กบั แผ่นดิน” ส่ ว นเทศบาลเมื อ งมาบตาพุ ด สนั บ สนุ น เรื่ อ งการประสานพื้ น ที่ เครื่องมือ อุปกรณ์ เช่น รถแบ็กโฮเพื่อใช้ขุด ขณะที่มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) สนับสนุนองค์ความรู้เข้าไปช่วย วิเคราะห์และส�ำรวจพืน้ ทีเ่ หมาะสมส�ำหรับท�ำบ่อกักเก็บน�ำ้ ในแต่ละสวน โดย มจธ. ได้เข้าไปท�ำการส�ำรวจและจัดท�ำบ่อกักเก็บน�้ำ หรือธนาคาร น�้ำใต้ดินในสวนมะม่วงต้นแบบของ บุญส่ง บุญยั่งยืน ต�ำบลเนินพระ ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่ของสวนบุญส่งมีลักษณะเช่นเดียวกับสวนมะม่วง รายอื่นๆ ที่มีสภาพเป็นดินทราย ในช่วงที่ฝนตกหนักจะระบายไม่ทัน และพอฝนตกน�้ำจะท่วมสูงขึ้นมาประมาณ 15-20 เซนติเมตร โดย จัดท�ำเป็นบ่อระบบปิดขนาดเล็ก เนื่องจากสภาพพื้นที่ไม่สามารถท�ำ บ่อระบบเปิดได้ ซึ่งด�ำเนินการเสร็จทันในช่วงหน้าฝนนี้พอดี การจัดการน�ำ้ ใต้ดนิ ระบบปิด จะท�ำหน้าทีเ่ ป็นหลุมดักน�ำ้ เพือ่ ช่วย ลดผลกระทบน�้ำท่วมในฤดูฝนและน�้ำขัง เป็นระบบที่ใช้พื้นที่ไม่มาก จึงสามารถท�ำในบริเวณที่อยู่อาศัยได้ โดยขุดผิวดินที่น�้ำซึมผ่านได้ยาก และใส่วัสดุที่แข็งแรง เช่น หิน เพื่อให้มีช่องน�้ำไหลผ่านได้สะดวก อีกทั้ง ยังมีการกรองน�้ำก่อนที่จะไหลลงสู่ใต้ดินเพื่อไม่ให้บ่ออุดตันเร็ว หลังจากผ่านไป 1 เดือน พบว่าธนาคารน�ำ้ ใต้ดนิ ช่วยระบายน�ำ้ ท่วม ให้ลดลงเร็ว ไม่มีปัญหาน�้ำท่วมหรือน�้ำขังอีก ขณะเดียวกันมวลน�้ำ เหล่านี้ไปช่วยลดความเค็มที่อยู่ในดินให้ชะล้างออกไป ซึ่งถือเป็นการ จัดการน�ำ้ ชายฝัง่ ได้อกี ด้วย เนือ่ งจากเทศบาลเมืองมาบตาพุดอยูต่ ดิ ทะเล และด้วยสภาพของเมืองทีเ่ ปลีย่ นไป พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นผิวคอนกรีต ท�ำให้ ความเค็มยิ่งรุกล�้ำ และท�ำให้พื้นดินสวนมะม่วงชุ่มชื้น ช่วยให้ต้นมะม่วง เจริญเติบโตในภาวะแล้งได้มากขึ้น “เทศบาลต�ำบลมาบตาพุดแนะน�ำให้ท�ำธนาคารน�้ำใต้ดิน ซึ่ง มีประโยชน์หลายอย่าง คือ ใช้นำ�้ หน้าแล้ง ป้องกันน�ำ้ ท่วม ช่วยดันตะกอน น�้ำออกทะเล ท�ำเกษตรบนความยั่งยืน โดยบ่อตัวอย่างที่จัดท�ำต้นแบบ ธนาคารน�ำ้ ใต้ดนิ มีทงั้ หมด 3 บ่อ บนพืน้ ทีท่ งั้ หมด 7 ไร่ ผลคือน�ำ้ ไม่ทว่ ม เก็บน�้ำไว้ใช้ยามหน้าแล้งได้ ท�ำให้ต้นไม้ชุ่มชื้นมากขึ้น” บุญส่ง กล่าว

22


ำความรู้จักธนาคารน�้ำใต้ดิน ชะลอน�้ำท่วมลดปัญหาน�้ำเค็มรุกล�้ำ-กักเก็บน�้ำยามแล้ง

ดร.ปริเวท อธิบายว่า การบริหารจัดการน�้ำใต้ดิน หรือธนาคาร น�้ำใต้ดินคือ กระบวนการเติมน�้ำฝน เพื่อเพิ่มปริมาณน�้ำใต้ดินที่ชั้นหิน อุ้มน�้ำในช่วงฤดูฝน เพื่อลดผลกระทบจากปัญหาน�้ำท่วมในพื้นที่ และ เมื่ อ ถึ ง ช่ ว งฤดู แ ล้ ง สามารถน� ำ น�้ ำ จากบ่ อ ผิ ว ดิ น และบ่ อ บาดาลที่ อ ยู ่ ใกล้เคียงมาใช้ประโยชน์ได้ตอ่ ไป ทัง้ นีก้ ารบริหารจัดการน�ำ้ ใต้ดนิ ดังกล่าว ไม่ เ พี ย งช่ ว ยชะลอน�้ ำ ท่ ว ม ช่ ว ยกั ก เก็ บ น�้ ำ ในฤดู แ ล้ ง แต่ ยั ง ช่ ว ยลด ความเค็มและเพิ่มความชุ่มชื้นให้หน้าดินในสวนมะม่วงของชาวสวนใน พื้นที่เทศบาลเมืองมาบตาพุด อ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง ได้อีกด้วย

ารจัดการน�้ำใต้ดินที่จัดท�ำ

การจั ด การน�้ ำ ใต้ ดิ น ระบบปิ ด : ท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น หลุมดักน�ำ้ เพือ่ ช่วยลดผลกระทบน�ำ้ ท่วมในฤดูฝนและน�ำ้ ขัง เป็นระบบที่ใช้พื้นที่ไม่มาก จึงสามารถท�ำในบริเวณที่อยู่ อาศัยได้ โดยขุดผิวดินที่น�้ำซึม ผ่านได้ยากและใส่วัสดุที่ แข็งแรง เช่น หิน เพื่อให้มีช่องน�้ำไหลผ่านได้สะดวก อีกทั้ง ยั ง มี ก ารกรองน�้ ำ ก่ อ นที่ จ ะไหลลงสู ่ ใ ต้ ดิ น เพื่ อ ไม่ ใ ห้ บ ่ อ อุดตันเร็ว

» การจัดท�ำธนาคารน�้ำใต้ดินที่ต�ำบลเนินพระ อ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง

ริหารจัดการน�้ำใต้ดินด้วย 8 ขั้นตอนธนาคารน�้ำใต้ดิน ตามมาตรฐาน American Groundwater Solution

จากความส�ำเร็จดังกล่าว มจธ. ร่วมกับเทศบาลเมืองมาบตาพุด และบริษัท GC จัดอบรมให้ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ การบริหารจัดการน�้ำใต้ดินตามโครงการเพิ่มศักยภาพแหล่งน�้ำต้นทุนด้วยระบบธนาคารน�้ำใต้ดิน 8 ขั้นตอน ตามมาตรฐาน American Groundwater Solution: AGS ให้กับเกษตรกรชาวสวนในพื้นที่ต�ำบลเนินพระ เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2563 ที่ผ่านมา

23

Engineering Today September- October

2020


Engineering Today September- October 2020

24


ชี้

พื้นดินเป็นดินทราย ชาวสวนประสบปัญหาน�้ำท่วม น�้ำแล้งเกือบทุกปี โดยเฉพาะปี ’62 แล้งรุนแรง

วรรณธิดา แสนศิริ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชน กองสวัสดิการ สังคม เทศบาลเมืองมาบตาพุด จังหวัดระยอง กล่าวว่า เนื่องจาก พืน้ ดินทีน่ เี้ ป็นดินทราย ไม่สามารถเก็บกักความชืน้ ไว้ได้ ชาวสวนมะม่วง จึงประสบปัญหาน�้ำท่วม น�้ำแล้งเกือบทุกปี โดยเฉพาะปี พ.ศ. 2562 ที่ ผ่านมา เกิดภัยแล้งรุนแรง เกษตรกรประสบปัญหาอย่างมาก ไม่มีน�้ำ รดสวน ท�ำให้เกษตรกรต้องมีคา่ ใช้จา่ ยสูงขึน้ จากเดิมทีอ่ าศัยเพียงน�ำ้ ฝน ส�ำหรับการท�ำเกษตรของชาวบ้านเท่านั้น “แม้สภาพพื้นดินจะเป็นพื้นทราย แต่ชาวบ้านที่นี้ท�ำสวนมะม่วง กันมากว่า 50 ปีแล้ว เนื่องจากเกิดปัญหาภัยแล้งอย่างหนักเมื่อปีที่ผ่าน มา ท�ำให้ตน้ มะม่วงยืนต้นตายเป็นจ�ำนวนมาก ถือเป็นภัยแล้งทีห่ นักทีส่ ดุ เกษตรกรต้องหาซื้อน�้ำมารดสวน พออาจารย์เข้ามาให้ค�ำแนะน�ำว่ายังมี หนทางที่จะสามารถเอาน�ำ้ ลงไปไว้ในใต้ดิน ไม่ให้ระเหยไป โดยจัดท�ำ ธนาคารน�้ำใต้ดิน เพื่อสร้างความชุ่มชื้นให้กับพื้นที่ได้บ้าง ดีกว่าไหล ลงคลองลงทะเล ซึ่งยอมรับว่าเรื่องนี้ถือเป็นองค์ความรู้ใหม่ของเรา เพราะไม่ เ คยคิ ด ว่าสภาพพื้น ดิน ที่เ ป็น ดิน ทรายจะสามารถท�ำอะไร แบบนี้ได้ หลังจากได้ผลทดลองที่ได้จากสวนต้นแบบ ท�ำให้เรามั่นใจ มากขึ้น จึงต้องการจัดท�ำบ่อหรือธนาคารน�้ำใต้ดินกระจายไปให้ทั่ว ทุกสวน” วรรณธิดา กล่าว อย่างไรก็ตาม นอกจากปัญหาภัยแล้ง น�้ำท่วมและน�้ำเค็มที่รุกล�้ำ พื้ น ที่ ส วนมะม่ ว งแล้ ว อี ก สิ่ ง หนึ่ ง ที่ เ ทศบาลฯ ยั ง มี ค วามกั ง วลคื อ ภาคอุตสาหกรรมมีการดึงน�ำ้ จากคลองชลประทานไปใช้ ขณะทีช่ าวบ้าน ไม่ได้ใช้น�้ำเพื่อภาคการเกษตร แต่ใช้เพื่อรักษาระดับน�้ำผิวดิน เพื่อให้ ดินชุ่มชื้น และช่วยในการระบายน�้ำเท่านั้น ดร.ปริเวท กล่าวทิ้งท้ายว่า ด้วยมะม่วงที่ปลูกจากพื้นทราย ของต�ำบลเนินพระ มีรสชาติที่อร่อยเข้มข้น ทั้งยังไม่อมน�้ำมากเกินไป เนือ้ ละเอียดไม่แฉะน�ำ้ ท�ำให้เนือ้ มะม่วงมีความกรอบ ซึง่ เป็นเอกลักษณ์ เฉพาะทีไ่ ม่เหมือนใคร นอกจากนีย้ งั มีผวิ สวยและเปลือกบาง ในอนาคต จึงมีแนวคิดที่จะรับ Pre- order เพื่อเพิ่มช่องทางการจ�ำหน่าย และ เพิ่มมูลค่าโดยตรง อีกทั้งพื้นที่มาบตาพุดตั้งอยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพฯ หากได้รับการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวสวนมะม่วงและสวนพุทรา ก็จะเพิ่มมูลค่าด้านการท่องเที่ยวเชิงเกษตรให้กับคนในพื้นที่ได้อีกด้วย

» วรรณธิดา แสนศิริ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาชุมชน กองสวัสดิการสังคม เทศบาลเมืองมาบตาพุด จังหวัดระยอง

» ด้วยภูมิปัญญามะม่วงต้นเดียวเสียบกิ่งได้หลายพันธุ์ และยังมีรสชาติที่อร่อยเข้มข้น เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ไม่เหมือนใคร

25

Engineering Today September- October

2020


Cover Story • VEGA

Quality

at all levels

VEGA offers a complete sensor portfolio with compact pressure sensors and level switches for hygienic food production. Complete supplier for level and pressure

VEGA completes its measurement technology portfolio for food production with two new compact instrument series, comprising of pressure sensors and level switches. The product families VEGABAR and VEGAPOINT prove that automation can be both simple and highly efficient at the same time, without compromising on dependability, hygiene or accuracy. The new measuring instruments are perfectly tailored to standard applications that still demand the highest quality. Their standardized hygienic adapter system provides the flexibility needed to reduce and keep installation work and parts inventory at a minimum. The process fittings can be selected as needed and adapted to local requirements.

Food production is a matter of trust, and hygiene is the number one priority in the manufacturing process. Success is determined by both the reliability and the efficiency that make flawless production possible - whether during bottling, container filling or CIP cleaning. This makes it all the more important for plant operators to be able to rely fully on the measurement technology employed. Level and pressure sensors from VEGA have made a name for themselves over many decades for their reliability and longevity. Robust, versatile and easy to use: even under extreme conditions or strict regulations, they provide important inputs for delivering greater plant safety and efficiency.

Engineering Today September- October 2020

Always in the know thanks to 360o switching status display

Thanks to the all-round switch status display, all sensor states can be visually discerned from any direction. The colour of the illuminated ring, which can be customised from over 256 different colours remains clearly visible, even in daylight. At a glance, the user can see if the measuring process is running, if the sensor is switched or if there is a possible malfunction in the process.

26


»

((PN-VEGABAR2x_VEGABAR3x_ VEGAPOINT21-300DPI.tif)): The new VEGABAR compact pressure sensors with switch function and VEGAPOINT capacitive level switches are perfectly tailored to standard applications. One special feature is the 360° status display, which can be set to any one of 256 different colours and easily seen from any direction.

»

((PN-VEGABAR38_VEGAPOINT21Hygadapter-300DPI-cmyk.tif)): The universal, flexible hygienic adapter system of the new instrument series reduces not only the amount of work involved, but also the spare parts inventory.

Intelligence with IO-Link

There is a lot of sensor intelligence built right into the new compact series: the standard IO-Link protocol ensures both a universal and particularly simple system of communication. This means that the instruments have a standardized communication platform that enables seamless data transfer and simple system integration.

Everything’s easier with wireless operation

The new VEGABAR and VEGAPOINT instrument series can be easily read out and configured with a smartphone or tablet. Device setup and operation become considerably easier, especially in environments such as clean rooms, where physical access involves a lot of effort.

The new VEGABAR pressure sensors and VEGAPOINT level switches represent an important milestone for VEGA. Users cannot only get an entire range of level and pressure measurement technology from a single source, but also hygiene-optimised instrument designs that are extremely easy to install and an application-based combination of reliability, flexibility and reproducibility in the food production process.

More information available at www.vega.com/food-industry 27

Engineering Today September- October

2020


Innovation • กองบรรณาธิการ

กทปส. ให้ทุน NECTEC ต่อยอด

“มิวเทอร์ม-เฟสเซนซ์” นวัตกรรมตรวจวัดอุณหภูมิ แม่นย�ำเทียบเท่าต่างชาติ

ใช้งานแล้ว 40 เครื่องทั่วประเทศ เตรียมวางตลาดราคาถูกลง 50%

» มิวเทอร์ม-เฟสเซนซ์ นวัตกรรมตรวจวัดอุณหภูมิสัญชาติไทย แม่นย�ำเทียบเท่าต่างชาติ

องทุนวิจัยและพัฒนา กิจการกระจาย เสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น์ และกิ จ การ โทรคมนาคมเพือ่ ประโยชน์สาธารณะ (กทปส.) ให้ทนุ วิจัยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (NECTEC) กว่า 15 ล้านบาท สนับสนุน แพทย์ ไ ทยคั ด กรองอุ ณ หภู มิ ป ระชาชนแม่ น ย� ำ ใน 0.1 วินาที ด้วยเทคโนโลยีตรวจจับใบหน้าบุคคล อัตโนมัติ (Face Detection) แม้สวมหน้ากากอนามัย และเครือข่ายการสื่อสาร ที่ช่วยให้การประมวลผล เป็นไปอย่างรวดเร็ว และสามารถตรวจวัดพร้อมกันได้ ถึง 9 คน ในระยะห่างสูงสุด 1.5 เมตร ใช้งานจริงแล้ว 40 เครื่อง ทั่วประเทศ ลดการพึ่งพาเทคโนโลยีที่มี ราคาสูงจากต่างประเทศ ตรียมวางตลาดราคาถูก 50% “อุณหภูมิร่างกาย” หนึ่งในปัจจัยส�ำคัญที่บ่งชี้ ความสมบูรณ์ของร่างกายแต่ละบุคคล กรณีที่บุคคล มีอณ ุ หภูมริ า่ งกายสูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียส ย่อมสรุป ได้ว่าอาจจะเกิดความผิดปกติภายในร่างกาย หรือ มีอาการของโรคแอบแฝง อาทิ โรคไข้หวัดใหญ่ โรค ไข้หวัดนก โรคซาร์ส หรือกระทั่งเชื้อ COVID-19 ที่ ล้วนแสดงอาการของโรคในอุณหภูมทิ สี่ งู กว่าปกติ ดังนัน้ การเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อราย บุคคลได้นนั้ “การวัดอุณหภูม”ิ จึงถือเป็นปัจจัยพืน้ ฐาน

Engineering Today September- October 2020

ทีจ่ ำ� เป็นต้องตรวจวัด ภายใต้บริบทของการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) เพือ่ ลดเลีย่ งการสัมผัสและการแพร่กระจายของเชือ้ ระหว่างบุคคล นิ พ นธ์ จงวิ ชิ ต ผู ้ อ� ำ นวยการกองทุ น วิ จั ย และพั ฒ นา กิ จ การ กระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชน์ สาธารณะ (กทปส.) ภายใต้การก�ำกับดูแลของส�ำนักงานคณะกรรมการ กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) กล่าวว่า กทปส. ได้รว่ มมือกับทีมวิจยั ศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ และคอมพิ ว เตอร์ แ ห่ ง ชาติ (NECTEC) เร่ ง ผลิ ต นวั ต กรรมต้ น แบบ “มิ ว เทอร์ ม -เฟสเซนซ์ ” (µTherm-FaceSense) จ� ำ นวน 40 เครื่ อ ง ภายใต้งบฯ วิจยั กว่า 15.41 ล้านบาท สนับสนุนแพทย์ไทยคัดกรองอุณหภูมิ ประชาชนแม่นย�ำใน 0.1 วินาที ด้วยเทคโนโลยีตรวจจับใบหน้าบุคคล อัตโนมัติ (Face Detection) แม้สวมหน้ากากอนามัย และเครือข่ายการ สื่อสาร ที่ช่วยให้การประมวลผลเป็นไปอย่างรวดเร็ว และสามารถตรวจวัด พร้อมกันได้ถึง 9 คน ในระยะห่างสูงสุด 1.5 เมตร จากผลส�ำเร็จดังกล่าว นับเป็นการตอกย�้ำศักยภาพทีมวิจัยไทย ที่สามารถพัฒนาฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์รปู แบบเฉพาะได้ 100% ทัง้ ยังลดการพึง่ พาเทคโนโลยีทมี่ รี าคาสูง จากต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพือ่ ใช้จริงในสถานการณ์ COVID-19 ด้าน อาโมทย์ สมบูรณ์แก้ว นักวิจัย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ทีมพัฒนา “มิวเทอร์ม เฟสเซนซ์” กล่าวว่า ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของไข้หวัดนก โรคซาร์ส และ ไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ุใหม่ต่างๆ ในขณะนั้น ที่ต้องการเครื่องมือสนับสนุน การท�ำงานของบุคลากรทางการแพทย์ โดยเฉพาะการตรวจวัดอุณหภูมแิ บบ

28


» นิพนธ์ จงวิชิต ผู้อ�ำนวยการกองทุน » อาโมทย์ สมบูรณ์แก้ว นักวิจัย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ วิจัยและพัฒนา กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) เพื่อประโยชน์สาธารณะ (กทปส.)

» ทีมวิจัยและพัฒนามิวเทอร์ม-เฟสเซนซ์ จาก NECTEC

» มิวเทอร์ม-เฟสเซนซ์ ตรวจวัดพร้อมกันได้ถึง 9 คน

มีระยะห่างและแสดงผลแบบเรียลไทม์ NECTEC ได้ทำ� การวิจยั และพัฒนา “มิวเทอร์ม-เฟสเซนซ์” ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 ล่าสุด ในปี พ.ศ. 2562 ที่ผ่าน มา NECTEC ได้รบั ทุนวิจยั จาก กทปส. กว่า 15.41 ล้านบาท ในการพัฒนา และปรับปรุงเครื่องคัดกรองอุณหภูมิรุ่นใหม่ให้มีฟังก์ชันการค้นหาใบหน้า และตรวจวัดอุณหภูมไิ ด้อย่างแม่นย�ำและรวดเร็วภายใน 0.1 วินาที ตลอดจน สามารถตรวจวัดต่อครั้งได้จ�ำนวนหลายคนพร้อมกัน โดยเพิ่มเติมฟังก์ชัน การสื่อสารแบบออนไลน์ ท�ำให้ระบบมีประสิทธิภาพและสมบูรณ์แบบ มากขึ้น โดยทีมวิจัยจากกลุ่มวิจัยอุปกรณ์สเปกโทรสโกปีและเซนเซอร์ (SSDRG) และกลุ่มวิจัยการสื่อสารและเครือข่าย (CNWRG) รวม 16 คน ได้พัฒนาระบบการท�ำงานของเครื่องส่วนต่างๆ ด้วยตนเองให้สามารถ ใช้งานเชื่อมต่อกันได้อัตโนมัติอย่างต่อเนื่อง สามารถลดต้นทุนการน�ำเข้า เทคโนโลยีจากต่างประเทศ สู่การพัฒนา 40 นวัตกรรมต้นแบบ ที่มีมูลค่า ต�่ำกว่าท้องตลาดถึง 50% หรือราว 100,000 บาท เพื่อใช้จริง ณ สถานพยาบาล เรือนจ�ำ หน่วยงานราชการ และขนส่งสาธารณะ 40 เครื่อง ทัว่ ประเทศ นับเป็นโอกาสส�ำคัญของคนไทย ในการเข้าถึงนวัตกรรมทีพ่ ฒ ั นา โดยนักวิจัยไทย ในราคาที่ต�่ำลง แต่ประสิทธิภาพที่แข่งขันกับต่างประเทศ “มิวเทอร์ม-เฟสเซนซ์” มาพร้อมระบบถ่ายภาพและประมวลผล เบ็ดเสร็จใน 5 มิติ คือ 1. พิกัดของต�ำแหน่ง 2. ภาพปกติกับภาพความร้อน 3. ชุดอุณหภูมอิ า้ งอิงอยูภ่ ายในตัวเครือ่ ง 4. ระบบการชดเชยความแปรปรวน ของสภาพแวดล้อม และ 5. ระบบการชดเชยความแปรปรวนของระยะทาง ด้วยการท�ำงานของนวัตกรรมดังกล่าว จะท�ำให้ระบบควบคุมและประมวลผล ทีท่ ำ� งานอยูเ่ บือ้ งหลังได้รบั “บิก๊ ดาต้า” (Big Data) ทีเ่ ป็นค่าดิบจากเซนเซอร์

29

ต่างๆ ของตัวเครือ่ งจ�ำนวนมากนัน้ สามารถน�ำไปต่อยอด หรือใช้ประโยชน์ในบริบทต่างๆ ได้หลากรูปแบบ อาทิ ปรับปรุงประสิทธิภาพของเครือ่ งทัง้ ในรุน่ ปัจจุบนั และรุน่ ถัดไป (ปัจจุบนั เครือ่ งมีการอัปเดตโปรแกรมใหม่อตั โนมัต)ิ เพิม่ ความสามารถต่างๆ ให้เครื่อง เช่น แสดงสถิติการ ใช้งาน (ปัจจุบนั เครือ่ งนับจ�ำนวนคนในแต่ละวันให้ตลอด เวลา) ช่วยดูแลสุขภาพเครือ่ งจากระยะไกล ท�ำให้ประหยัด ค่าใช้จา่ ยได้จำ� นวนมาก รวมถึงเผยแพร่ขอ้ มูลบางส่วนเป็น Open Data เพือ่ ประโยชน์สาธารณะทางระบาดวิทยา เช่น จ�ำนวนคนเข้าออก และค่าอุณหภูมทิ วี่ ดั ได้” อาโมทย์ กล่าว นอกจากนี้ นวัตกรรมดังกล่าวยังผ่านการทดสอบ มาตรฐานความปลอดภัยทางด้านไฟฟ้า การทดสอบ มาตรฐานคลื่นแม่เหล็ก ที่ไม่กระทบต่ออุปกรณ์ทาง การแพทย์ การทดสอบความแม่นย�ำของอุณหภูมิ จาก สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติเป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว การันตี ด้วยชุดทรัพย์สินทางปัญญาหลายฉบับ ในอนาคตอันใกล้นี้ NECTEC เตรียมถ่ายทอด สิทธิให้เอกชนน�ำไปผลิตเชิงพาณิชย์ในเฟส 2 ไป พร้อมๆ กับการเตรียมผลิตเชิงพาณิชย์ รุ่น Limited Edition จ�ำนวนจ�ำกัดอีก 40 เครื่อง เพื่อวางจ�ำหน่าย รองรับความต้องการภาคประชาชนทุกพื้นที่ ในราคา ที่จับต้องได้

Engineering Today September- October

2020


Environment • กองบรรณาธิการ

ECOTOPIA ร่วมกับ Environman จัดงาน The EnDay

วันรวมพลคนรักษ์โลก ตอนโรคไปใครเจ็บ

ในปี ค.ศ. 2020 ทั่วโลกต่างได้รับผลกระทบอย่างหนักจากการแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ทุกคนจึงให้ความส�ำคัญต่อการยับยั้งการ แพร่ระบาดของโรค ท�ำให้ความสนใจต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมลดน้อยลง ด้วยเหตุนี้ ECOTOPIA เมืองแห่งคนรักษ์โลก และบริษทั Environman จ�ำกัด ร่วมกัน Co-create เป็นกระบอกเสียงและสร้างความตระหนักต่อปัญหา สิง่ แวดล้อมทีย่ งั คงเกิดขึน้ ในช่วงวิกฤตนี้ ด้วยการเป็นตัวแทนในการน�ำเสนอ ความเชื่ อ มโยงระหว่ า งการแพร่ ร ะบาดของโรคกั บ ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ ม เพื่ อ แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ท� ำ ไมจึ ง ไม่ ส ามารถมองข้ า มปั ญ หาทั้ ง สองอย่ า งได้ ด้วยการจัดงาน “The EnDay วันรวมพลคนรักษ์โลก ตอนโรคไปใครเจ็บ” โดยได้รับเกียรติจาก ดร.สาธิต ปิตุเตชะ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง สาธารณสุข เป็นประธานเปิดงาน มี อุสรา ยงปิยะกุล ประธานเจ้าหน้าที่ บริหาร บริษัท สยามพิวรรธน์ รีเทล โฮลดิ้ง จ�ำกัด และ วิลาวัณย์ ปานยัง ผู้ร่วมก่อตั้ง Environman ให้การต้อนรับ ณ ECOTOPIA ชั้น 3 สยาม ดิสคัฟเวอรี่ ดิเอ็กซ์พลอราทอเรี่ยม ในงานได้รวบรวมองค์กรต่างๆ จากหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรอิสระ และภาคประชาชน มาร่วมน�ำเสนอถึงปัญหา ข้อ เสนอแนะ และวิธกี ารแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อมต่างๆ พร้อมกิจกรรม นิทรรศการ มากมายที่สามารถน�ำกลับไปใช้ในชีวิตประจ�ำวันได้อย่างยั่ง ยืนในรูปแบบ ของ New N หรือเรียกว่า Green New Normal ประกอบด้วย เวทีเสวนาสิ่งแวดล้อม พื้นที่พูดคุยถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมเพื่อหา แนวทางแก้ไขไปพร้อมกัน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรอิสระ และภาคประชาชนมากมาย ได้แก่ เชอรี่-เข็มอัปสร สิริสุขะ, อเล็กซ์ เรนเดลล์, จิรพัฒน์ ฐานสันโดษ, ณัฐกานต์ คลอวุฒิอนันต์, นพ.ม.ล.ทยา กิติยากร, ผศ. ดร.ปริญญา เทวานฤมิตรกุล และ ดร.ธรณ์ ธ�ำรงนาวาสวัสดิ์ นิทรรศการทีช่ วนให้รถู้ งึ ปัญหาสิง่ แวดล้อม นิทรรศการสร้างความ ตระหนักรูถ้ งึ ปัญหาสิง่ แวดล้อมทีย่ งั คงเกิดขึน้ ในช่วงวิกฤต COVID-19 และยังคงเป็นปัญหาต่อไปในอนาคตหากไม่ได้รับการแก้ไข ผ่านการน�ำเสนอ ในรูปแบบของการเกริ่นน�ำถึงผลกระทบจากภาวะโลกร้อนที่ส่งผลต่อสุขภาพ มนุษย์ ข่าวสิ่งแวดล้อมเชิงบวกที่เกิดขึ้นในช่วงของการแพร่ระบาด COVID-19 ข่ า วสิ่ ง แวดล้ อ มเชิ ง ลบที่ ยั ง คงเกิ ด ขึ้ น ทั้ ง ก่ อ น ระหว่ า ง และหลั ง จากที่ สถานการณ์การแพร่ระบาดคลี่คลาย เพื่อที่จะสร้างความตระหนักถึงค�ำถาม

1 2

» ดร.สาธิต ปิตเุ ตชะ รมช.กระทรวงสาธารณสุข » เชอรี่-เข็มอัปสร สิริสุขะ เป็นประธานเปิดงาน พร้อมด้วย และ อเล็กซ์ เรนเดลล์ อุสรา ยงปิยะกุล และ วิลาวัณย์ ปานยัง 2 ดาราหัวใจสีเขียว

Engineering Today September- October 2020

30

ที่ว่าโควิด-19 ท�ำให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้นจริงหรือเปล่า หรื อ แท้ ที่ จ ริ ง คื อ มนุ ษ ย์ ต ่ า งหากที่ จ ะท� ำ ให้ สิ่งแวดล้อมดีได้อย่างยั่ง ยืน และในส่วนสุดท้าย ผู้เข้าร่วมงานจะได้รับข้อมูลวิธีการและแนวทางการ ปฏิบัติต่างๆ ที่เราจะช่วยท�ำให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้นได้ จุด “เริ่ม” รักษ์โลก บริจาคขยะรี ไซเคิล จุดรับบริจาคเปิดโอกาสให้ผเู้ ข้าร่วมงาน ได้ “เริ่ม” ลงมือสร้างความเปลี่ยนแปลงไปด้วยกัน โดยในงานจะมีจุดบริจาคให้กับ 5 โครงการด้วยกัน ได้แก่ 1. โครงการส่งพลาสติกกลับบ้าน : รับบริจาค ขยะพลาสติกทั้งพลาสติกยืดและพลาสติกแข็ง โดย ขยะพลาสติกต่างๆ จะถูกน�ำไปส่งต่อให้กับองค์กร ภาคีในเครือข่ายได้น�ำไปรีไซเคิลอย่างเหมาะสม 2. AIS E-Waste : รับบริจาคขยะอิเล็กทรอนิกส์ 5 ประเภท ได้แก่ โทรศัพท์มอื ถือ/แท็บเล็ต แบตเตอรี่ มือถือ สายชาร์จ หูฟัง และพาวเวอร์แบงก์ เพื่อน�ำ ไปก�ำจัดอย่างถูกวิธีด้วยกระบวนการ Zero Landfill ทัง้ ระบบ ช่วยลดการรัว่ ไหลของสารเคมีลงสูแ่ ผ่นดิน และแหล่งน�้ำ อันจะก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต บนโลก 3. โครงการ “ไปรษณีย์ reBOX” : รับบริจาค กล่องทุกประเภท ซองกระดาษที่ใช้แล้ว เพื่อน�ำไป รีไซเคิลเป็นชุดโต๊ะ เก้าอีก้ ระดาษ เป็นของขวัญปีใหม่ พ.ศ. 2564 ให้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนต�ำรวจ ตระเวนชายแดน 4. บริษัท TBC Ball : รับกระป๋อง อะลูมเิ นียมเก่ามารีไซเคิลเป็นกระป๋องใหม่ให้ทกุ คน ได้ใช้ซ�้ำไม่สิ้นสุด 5. โครงการปันกัน : รับสิ่งของ ทีไ่ ม่ใช้แล้วแต่ยงั สภาพดีและอยากส่งต่อ เช่น เสือ้ ผ้า รองเท้า กระเป๋า เครื่องประดับ ตุ๊กตา หนังสือ ของตกแต่งบ้าน โดยรายได้ที่ได้จากของมือสอง จะถูกน�ำไปเป็นทุน เพือ่ สร้างประโยชน์และก่อให้เกิด การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นแก่สังคม พื้นที่น�ำเสนอข้อมูล และแสดงตัวอย่าง ผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม จัด แสดงข้อมูลและแสดงตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตร ต่อสิง่ แวดล้อมจากหลากหลายองค์กรทีม่ แี นวคิดการ ด�ำเนินธุรกิจและพันธกิจที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม ร่วมขับเคลือ่ นร่าง พ.ร.บ.อากาศสะอาด เป็นอีกหนึ่งจุดที่ให้ผู้เข้าร่วมงานลงมือ และมี ส ่ ว นร่ ว มในการขั บ เคลื่ อ นความยั่ ง ยื น ทาง สิง่ แวดล้อมภายในประเทศไทย โดย Thailand CAN เครือข่ายอากาศสะอาดได้เรียกร้องให้ประชาชนร่วม ลงลายมือชือ่ ให้ครบ 10,000 ชือ่ เพือ่ เสนอกฎหมาย ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ก�ำกับดูแลการจัดการ อากาศสะอาดเพื่ อ สุ ข ภาพแบบบู ร ณาการ พ.ศ. 2563

3

4 5


Environment • กองบรรณาธิการ

การประชุมรับฟังความคิดเห็น

“(ร่าง) มาตรการสร้างแรงจูงใจในการเพิ่มประสิทธิภาพ ของแหล่งกักเก็บก๊าซเรือนกระจกในพื้นที่ป่าอนุรักษ์” เน้นให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมมากยิ่งขึ้น

กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (อส.) ร่วมกับสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (Thailand Environment Institute : TEI) ร่วมจัดประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) มาตรการสร้างแรงจูงใจในการเพิม่ ประสิทธิภาพของแหล่งกักเก็บก๊าซเรือนกระจกในพืน้ ที่ ป่าอนุรักษ์ เวทีแรกจากทัง้ หมด 4 ภูมภิ าคทัว่ ประเทศ รวม 8 ครัง้ เพือ่ รวบรวมความคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากภาคส่วนต่างๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงมาตรการสร้าง แรงจู ง ใจให้ ส มบู ร ณ์ แ ละเหมาะสมต่ อ การนำ�ไปปรั บ ใช้ ใ ห้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในอนาคต โดยเฉพาะมาตรการสร้างแรงจูงใจเชิงบวกในการเพิ่มประสิทธิภาพของแหล่งกักเก็บ ก๊าซเรือนกระจกในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่ครอบคลุมด้านกฎระเบียบและข้อตกลง ด้านการเงิน ด้านสังคม และด้านสนับสนุนการสร้างแรงจูงใจรวม 12 มาตรการ 25 แนวทาง ซึ่งจะเป็น กลไกและเครื่องมือสำ�คัญของภาคป่าไม้ในการเพิ่มพื้นที่ป่า เพิ่มศักยภาพของแหล่งดูดซับ ก๊าซเรือนกระจกในพื้นที่ป่า และลดภาวะโลกร้อนในระยะยาวต่อไป

»

สมหวัง เรืองนิวัติศัย รองอธิบดีกรมอุทยาน แห่งชาติ สัตว์ป่า และ พันธุ์พืช (อส.) กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (ทส.)

อส. เพิ่มบทบาทการอนุรักษ์ป่า การจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน

สมหวัง เรืองนิวัติศัย รองอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช (อส.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ทส.) กล่าวว่า ประเทศไทยจำ�เป็นต้องลด การปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพื่อลดอุณหภูมิโลก และภาคป่าไม้เป็นภาคที่มีความสำ�คัญ เป็นแหล่งดูดซับและกักเก็บคาร์บอน ปัจจุบันประเทศยังมีความต้องการใช้พื้นที่ป่าและ ทรัพยากรป่าไม้เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จึงยังมีการทำ�ลายป่าเกิดขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ทั้งนี้จำ�เป็นต้องส่งเสริมการลดการทำ�ลายป่าและลดการทำ�ให้ป่าเสื่อมโทรม ซึ่ง อส. ได้เพิ่มบทบาทการอนุรักษ์ป่า การจัดการป่าไม้อย่างยั่งยืน และการเพิ่มพื้นที่ป่าใช้ กักเก็บคาร์บอนและส่งเสริมการปลูกป่า โดยใช้มาตรการสร้างแรงจูงใจเชิงบวกเพือ่ เป็นกลไก และเครื่องมือให้ภาคประชาชนและภาคส่วนต่างๆ ร่วมกันเพิ่มพื้นที่ป่าและเพิ่มศักยภาพ ของแหล่งดูดซับก๊าซเรือนกระจก ควบคูก่ บั การสนับสนุนการพัฒนาด้านสังคมและเศรษฐกิจ ของประเทศในอนาคต

31

Engineering Today September- October

2020


“สำ�หรั บ การจั ด ประชุ ม รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ในวั น นี้ เ พื่ อ ที่ จ ะได้ นำ�ข้ อ เสนอแนะ ข้อคิดเห็นต่างๆ จากผู้เข้าร่วมประชุมที่ได้ทำ�งานอยู่ร่วมกับป่า ประชาชน และอื่นๆ เพื่อ นำ�ไปปรับให้มาตรการสร้างแรงจูงใจดังกล่าวมีความครบถ้วนสมบูรณ์มากยิง่ ขึน้ ก่อนทีจ่ ะนำ�ไป ประกาศบังคับใช้ในอนาคตต่อไป” สมหวัง กล่าว

ดร.วิจารย์ สิมาฉายา ผู้อำ�นวยการสถาบัน สิ่งแวดล้อมไทย (Thailand Environment Institute : TEI)

วิลาวรรณ น้อยภา (ซ้าย) หัวหน้าโครงการ (ร่าง) มาตรการสร้างแรงจูงใจฯ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย พวงผกา ขาวกระโทก (ขวา) นักวิจัยโครงการ (ร่าง) มาตรการสร้าง แรงจูงใจฯ สถาบัน สิ่งแวดล้อมไทย

Engineering Today September- October 2020

»

สถาบันสิ่งแวดล้อมไทยพร้อมหนุนทุกภาคส่วน สร้างแรงจูงใจเชิงบวกในการทำ�งาน

»

มาตรการสร้างแรงจูงใจในการทำ�งาน เพิ่มประสิทธิภาพแหล่งกักเก็บก๊าซเรือนกระจกในพื้นที่ป่าอนุรักษ์

ดร.วิจารย์ สิมาฉายา ผู้อำ�นวยการสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย กล่าวว่า การประชุม รับฟังความคิดเห็น (ร่าง) มาตรการสร้างแรงจูงใจในการเพิม่ ประสิทธิภาพของแหล่งกักเก็บ ก๊าซเรือนกระจกในพืน้ ทีป่ า่ อนุรกั ษ์ จัดโดยสถาบันสิง่ แวดล้อมไทยและกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ในครั้งนี้ ถือเป็นเวทีแรกจากทั้งหมด 4 ภูมิภาคทั่วประเทศ รวม 8 ครั้ง เพื่อรวบรวมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากภาคส่วนต่างๆ ที่จะเป็นประโยชน์ ต่อการปรับปรุงมาตรการสร้างแรงจูงใจให้สมบูรณ์และเหมาะสมต่อการนำ�ไปปรับใช้ให้มี ประสิทธิภาพในอนาคต โดยเฉพาะมาตรการสร้างแรงจูงใจเชิงบวกในการเพิม่ ประสิทธิภาพ ของแหล่งกักเก็บก๊าซเรือนกระจกในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ที่ครอบคลุมด้านกฎระเบียบและ ข้อตกลง ด้านการเงิน ด้านสังคมและด้านสนับสนุนการสร้างแรงจูงใจในด้านต่างๆ เพือ่ เป็น กลไกและเครื่องมือสำ�คัญของภาคป่าไม้ในการเพิ่มพื้นที่ป่า เพิ่มศักยภาพของแหล่งดูดซับ ก๊าซเรือนกระจกในพื้นที่ป่า และลดภาวะโลกร้อนในระยะยาว สิ่งสำ�คัญต้องได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ทั้งความร่วมมือระหว่างประเทศ ความร่วมมือด้านนโยบายของประเทศ ความร่วมมือด้านศักยภาพการดำ�เนินงาน และความ ร่วมมือด้านการติดตามประเมินผล เพื่อนำ�มาใช้ขับเคลื่อนและยกระดับมาตรฐานสร้างแรง จูงใจให้เป็นกรอบแนวทางและรูปแบบการจัดการป่าอนุรักษ์ของภาคส่วนต่างๆ ให้คนอยู่ ร่วมกับป่าอนุรักษ์ ป่าอนุรักษ์อยู่ร่วมกับคน เกื้อกูลต่อกัน ทั้งในด้านการจัดการป่าไม้ อย่างยั่งยืน การเพิ่มพื้นที่ป่าอนุรักษ์ ต้นไม้ต่างๆ ให้เป็นแหล่งดูดซับก๊าซเรือนกระจกและ การให้บริการของระบบนิเวศป่าไม้ รักษาไว้ซึ่งความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ และคุณภาพสิง่ แวดล้อมทีด่ อี ย่างสมดุลได้อย่างมีประสิทธิภาพ

วิ ล าวรรณ น้ อ ยภา หั ว หน้ า โครงการ (ร่ า ง) มาตรการสร้ า งแรงจู ง ใจในการ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของแหล่ ง กั ก เก็ บ ก๊ า ซเรื อ นกระจกในพื้ น ที่ ป่ า อนุ รั ก ษ์ สถาบั น สิ่งแวดล้อมไทย กล่าวว่า สำ�หรับมาตรการในการดำ�เนินงานสร้างแรงจูงใจในการทำ�งาน เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพของแหล่งกักเก็บก๊าซเรือนกระจกในพืน้ ทีป่ า่ อนุรกั ษ์ มีดว้ ยกัน 4 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านกฎระเบียบและข้อตกลง มี 3 มาตรการในการทำ�งาน ได้แก่ มาตรการด้าน กฎระเบียบในการเก็บหาของป่า มาตรการด้านกฎระเบียบในที่อยู่อาศัยและที่ทำ�กิน และ มาตรการด้านกฎระเบียบในการใช้ประโยชน์เนื้อไม้ที่ปลูกในพื้นที่รัฐอนุญาต 2. ด้านการ เงิน ได้แก่ มาตรการดำ�เนินงานด้านกองทุน มาตรการลดหย่อนภาษี และมาตรการส่งเสริม รายได้ 3. ด้านสังคม ได้แก่ มาตรการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการป่าไม้ และมาตรการ มอบรางวัลและเชิดชูเกียรติ และ 4. ด้านสนับสนุนการสร้างแรงจูงใจ ได้แก่ มาตรการ รวบรวมและเผยแพร่ข้อมูล มาตรการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ มาตรการการพัฒนา ศักยภาพกลไกในการจัดการป่าไม้และมาตรการยกระดับบทบาทของภาคส่วนต่างๆ โดย มาตรการต่างๆ เหล่านี้ต้องนำ�ไปปรับใช้ให้เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ และจะต้องจัดลำ�ดับ

32


ความสำ�คั ญ ในการเลื อ กใช้ ม าตรการที่ ค าดว่ า จะมี ผ ลสำ�เร็ จ ก่ อ น ประชาชนในพื้ น ที่ ยอมรับและทำ�งานร่วมกับภาครัฐเพื่อให้เกิดความยั่งยืนภายใต้กฎหมายของการอนุรักษ์ อย่างเข้มข้น การดำ�เนินในด้านต่างๆ นั้นทุกคนจะต้องปฏิบัติตามกรอบกฎหมายและแนวทาง กติกา ข้อตกลงในแต่ละพืน้ ทีร่ ว่ มกัน ประกอบด้วย 1. มาตรการด้านกฎระเบียบในการเก็บ หาของป่า จะต้องมีการกำ�หนดกรอบขอบเขตและจัดทำ�ข้อตกลงในการเก็บหาของป่าใน บริเวณที่ได้รับอนุญาตเพื่อสร้างแรงจูงใจในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ดูแลทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพในเขตพื้นที่ ด้วยการมีระบบสารสนเทศหรือ ระบบฐานข้อมูลอื่นๆ รวบรวมข้อมูลพื้นฐานเหล่านี้ไว้เพื่อทำ�การศึกษา ตรวจสอบและ พิจารณาคุณสมบัติของบุคคลที่จะได้รับอนุญาตในการเข้าป่าเพื่อเก็บของป่าโดยไม่ทำ�ลาย วิถชี วี ติ ของชุมชนโดยรอบในบริเวณพืน้ ทีป่ า่ นัน้ ๆ 2. มาตรการด้านกฎระเบียบในทีอ่ ยูอ่ าศัย และทีท่ ำ�กิน จะต้องจัดทำ�แผนทีแ่ ละขอบเขตเพือ่ ขอใช้ประโยชน์สำ�หรับเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยและ ที่ทำ�กิน พร้อมจัดให้มีบัญชีรายชื่อบุคคล และจำ�นวนที่ดินเพื่อขออนุญาตในที่อยู่อาศัยและ ทีท่ ำ�กิน พร้อมทัง้ จัดทำ�เกณฑ์และวิธกี ารเงือ่ นไขต่างๆ เพือ่ ในพืน้ ทีน่ นั้ ๆ ทำ�กินโดยไม่ละเมิด พืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์ 3. มาตรการด้านกฎระเบียบในการใช้ประโยชน์เนือ้ ไม้ทปี่ ลูกในพืน้ ทีร่ ฐั อนุญาต ควรมี ก ารจั ด ทำ�กฎระเบีย บและข้อ ตกลงร่วมกันระหว่ างเจ้ าหน้ าที่ รั ฐกั บ ประชาชนใน พืน้ ทีป่ า่ อนุรกั ษ์ ในการใช้ประโยชน์พนื้ ที่ โดยเฉพาะการตัดต้นไม้ทไี่ ด้รบั อนุญาตตามความ เหมาะสมโดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศโดยรวม พร้อมทั้งควรมีการส่งเสริม ให้ปลูกป่าต้นไม้ที่ตัดทดแทนและจัดทำ�บัญชีแสดงชนิด จำ�นวนไม้ที่ปลูกและข้อมูลพิกัด ตำ�แหน่งที่ได้รับอนุญาตให้ปลูก เพื่อประกอบการพิจารณาหนังสือรับรองการแจ้งตัดหรือ โค่นต้นไม้ที่ปลูกในพื้นที่ 4. มาตรการด้านการดำ�เนินงานด้านกองทุน ควรส่งเสริมการ จั ด ตั้ ง และดำ�เนิ น งานกองทุ น ในระดั บ พื้ น ที่ ต ามแนวทางการตอบแทนคุ ณระบบนิ เ วศ โดยยึดหลักผูท้ ไี่ ด้รบั ประโยชน์เป็นผูจ้ า่ ย เพราะจะช่วยให้เกิดแรงจูงใจในการใช้ทรัพยากรใน พืน้ ทีอ่ ย่างมีประสิทธิภาพ และหากพืน้ ทีใ่ ดมีความพร้อมมีศกั ยภาพในการจัดหาแหล่งเงินทุน อื่นๆ เพิ่มเติมจากภาคเอกชนทั้งทางตรงและทางอ้อมในการนำ�มาใช้บริหารจัดการพื้นที่ ก็ทำ�ได้ในกรอบของกฎหมายกำ�หนด เช่น จัดทำ�โครงการเพื่อขอรับทุนสนับสนุนกิจกรรม ทางสังคมในด้านการจัดการป่าไม้ในพืน้ ที่ เป็นต้น 5. มาตรการการลดหย่อนภาษี ควรเสนอ ให้มีการลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคลให้แก่บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่บริจาคเงิน สนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการป่า เพื่อสร้างแรงจูงใจและส่งเสริมให้ทุกๆ หน่วยงานเข้ามามีส่วนร่วมหรือลดหย่อนภาษีที่ดินให้แก่เจ้าของที่ดินที่ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น ปลูกสวนป่าและปลูกป่าเศรษฐกิจแบบสวนเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่งหรือรวมกัน บนพื้นที่ ตัง้ แต่ 1 ไร่ และมีจำ�นวนต้นไม้ตงั้ แต่ 15 ต้นขึน้ ไป 6. มาตรการเสริมรายได้ เพือ่ สร้างอาชีพ และการตลาดให้กับชุมชนที่เข้าร่วมในการอนุรักษ์ พร้อมทั้งดึงสถาบันการเงินเข้ามา สนับสนุนให้ดอกเบีย้ เงินกูต้ ำ�่ หรือสินเชือ่ แบบผ่อนปรนแก่เกษตรกรทีส่ นใจเข้าร่วมโครงการ อนุรักษ์ป่าไม้ในพื้นที่อนุรักษ์ 7. มาตรการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการป่าไม้ ภายใต้การมีส่วนร่วมของหน่วยงาน องค์กรและชุมชนอย่างแท้จริง เช่น ส่งเสริมกิจกรรม การปลูกต้นไม้ตามแนวพระราชดำ�ริในหลวงรัชกาลที่ 9 ที่ทรงดำ�ริให้ปลูกป่า 3 อย่าง ได้ประโยชน์ 4 อย่าง และจัดกิจกรรมจิตอาสาปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติทุกรูปแบบ ตามกำ�ลังอย่างสม่ำ�เสมอทดแทนพื้นที่ป่าที่ถูกทำ�ลายทั้งจากฝีมือมนุษย์และธรรมชาติ 8. มาตรการมอบรางวัลเชิดชูเกียรติ เพื่อเป็นการตอบแทนความทุ่มเท ความตั้งใจและ ความสำ�เร็จ รวมทัง้ เพือ่ เป็นขวัญกำ�ลังใจและเชิดชูผมู้ สี ว่ นร่วมในการอนุรกั ษ์ ฟืน้ ฟู และดูแล ทรัพยากรป่าไม้ ทั้งมอบเป็นโล่รางวัลและเงินรางวัลตามความเหมาะสม 9. มาตรการ

33

อส. ได้เพิม่ บทบาท การอนุรักษ์ป่า การจัดการป่าไม้ อย่างยั่งยืน และการเพิ่ม พื้นที่ป่าใช้ กักเก็บคาร์บอน และส่งเสริม การปลูกป่า โดยใช้มาตรการ สร้างแรงจูงใจ เชิงบวกเพื่อ เป็นกลไกและ เครื่องมือให้ ภาคประชาชน และภาคส่วน ต่างๆ ร่วมกัน เพิ่มพื้นที่ป่าและ เพิ่มศักยภาพ ของแหล่งดูดซับ ก๊าซเรือนกระจก ควบคู่กับการ สนับสนุนการ พัฒนาด้าน สังคมและ เศรษฐกิจ ของประเทศ ในอนาคต

Engineering Today September- October

2020


รวบรวมและเผยแพร่ข้อมูล ส่งเสริมให้มีการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลในพื้นที่และจัดทำ�ระบบ ฐานข้อมูล เพื่อให้ชุมชนทราบข้อมูลของชุมชนตนเอง และให้ชุมชน หน่วยงานอื่นๆ สืบค้น เพื่อนำ�ไปใช้ประโยชน์ต่อไป 10. มาตรการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ สนับสนุนให้มีการ ศึกษาวิจยั และพัฒนาพืน้ ทีป่ า่ ไม้เพือ่ การใช้ประโยชน์และการอนุรกั ษ์อย่างยัง่ ยืนทุกรูปแบบ โดยเน้นชุมชนร่วมกับสถาบันการศึกษา องค์การบริหารส่วนตำ�บล (อบต.) และส่วนราชการ ทีเ่ กีย่ วข้องกับพืน้ ทีร่ ว่ มกันทำ�การศึกษาวิจยั และประเมินคุณค่า มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของ ทรัพยากรป่าไม้ในพืน้ ทีร่ ว่ มกัน เพือ่ ให้ทราบสถานภาพความเปราะบางของสิง่ แวดล้อม ป่าไม้ ความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ของพืชและสัตว์ 11. มาตรการพัฒนาศักยภาพกลไกในการ จัดการป่าไม้ โดยสอดแทรกความรู้ การดูแล ปกป้อง ฟืน้ ฟูและอนุรกั ษ์ให้กบั เยาวชนรุน่ หลัง ประชาชนทั่วไป และหน่วยงานราชการและเอกชนที่เกี่ยวข้องตระหนักและเข้ามาเป็น ฟันเฟืองหนึ่งในการร่วมขับเคลื่อนเสริมความแข็งแกร่งให้กลไกการจัดการป่าไม้มีความ เข้มแข็งมากยิ่งขึ้น และ 12. มาตรการยกระดับบทบาทของภาคส่วนต่างๆ ควรมีการริเริ่ม และพัฒนาคณะทำ�งานในพื้นที่และแผนการทำ�งานร่วมกัน เพื่อสนับสนุนการดำ�เนินงาน ทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดการป่าไม้ รวมทัง้ มีการติดตามการดำ�เนินงานในทุกๆ โครงการที่เกิดขึ้น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เช่ น การจั ด เวที ป ระชุ ม แลกเปลี่ ย นระหว่ า งเครื อ ข่ า ยเพื่ อ แลกเปลี่ ย น ความคิดเห็นในการดำ�เนินงานจัดการป่าไม้ทั้งในระดับชุมชน ระดับตำ�บล ระดับอำ�เภอ ระดับจังหวัด และระดับประเทศ เป็นต้น

»

ขยายความร่วมมือในการพัฒนาป่าไม้ กับประเทศต่างๆ ในอาเซียน

พวงผกา ขาวกระโทก นักวิจัยโครงการ (ร่าง) มาตรการสร้างแรงจูงใจในการเพิ่ม ประสิทธิภาพของแหล่งกักเก็บก๊าซเรือนกระจกในพื้นที่ป่าอนุรักษ์ สถาบันสิ่งแวดล้อม ไทย กล่าวว่า นอกจากการดำ�เนินงานพัฒนาป่าไม้ในประเทศให้เกิดความยั่งยืนอย่างเป็น รูปธรรมแล้วขยายความร่วมมือสู่ต่างประเทศในภูมิภาคอาเซียนโดยรอบและอื่นๆ ซึ่งเป็น อีกเป้าหมายที่สำ�คัญของโครงการดังกล่าวนี้เพื่อเสริมสร้างศักยภาพและความร่วมมือของ ภาคีเครือข่ายให้เกิดการยอมรับร่วมกัน ช่วยให้ป่าไม้ที่ทำ�การปลูกทดแทนในพื้นที่ต่างๆ เพียงพอต่อการช่วยดูดซับก๊าซเรือนกระจก มลพิษต่างๆ ที่ถูกปล่อยทำ�ลายสภาพแวดล้อม อื่นๆ โดยรวม และในปี พ.ศ. 2564 หวังว่าจะมีพื้นที่ป่าเพิ่มขึ้น 40% แบ่งเป็นพื้นที่เพื่อ การอนุรักษ์ 25% และพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ 15% พื้นที่ป่าชายเลน ตามแนวทางแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 เพื่อสร้างสมดุลธรรมชาติ ปกป้องและฟืน้ ฟูทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ปา่ ของประเทศไทยให้กลับมาอุดมสมบูรณ์อกี ครัง้

Engineering Today September- October 2020

34


Digital Economy @Engineering Today Vol. 5 No. 179

เอ็นทีที จับมือไมโครซอฟท เปนผูใหบร�การ ไลเซนส โซลูชั่น ไมโครซอฟท อยางเปนทางการในไทย

อว. เผยเมืองนวัตกรรม EECi พรอมเปดดำเนินการปลายป ’64 หนุนจัดตั้งศูนย SMC ดวยงบประมาณ กวา 5,000 ลานบาท

BGRIM ฉลองความสำเร็จ สรางโรงไฟฟาเพ�่ออุตสาหกรรม 7 โครงการ ขนาด 980 เมกะวัตต

จับตาเทคโนโลยี 3 กลุมหลัก หนุนสรางเมืองอัจฉร�ยะ (Smart City) 35

Engineering Today September- October

2020


EEC • กองบรรณาธิการ

» ความคืบหน้าการก่อสร้างเมืองนวัตกรรม EECi เป็นไปตามแผนงานที่วางไว้

อว. เผยเมืองนวัตกรรม EECi พร้อมเปิดด�ำเนินการปลายปี’64

หนุนจัดตั้งศูนย์ SMC ด้วยงบประมาณกว่า 5,000 ล้านบาท ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ลงพื้ น ที่ ต รวจเยี่ ย มความคื บ หน้ า การ ก่อสร้างอาคารส�ำนักงานใหญ่ EECi และ เยี่ยมชมสถาบันวิทยสิริเมธี (VISTEC) และโรงเรียนก�ำเนิดวิทย์ (KVIS) ณ พื้นที่ ก่ อ สร้ า งอาคารส� ำ นั ก งานใหญ่ เ ขต นวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก (EECi) วังจันทร์วลั เลย์ จังหวัด ระยอง ด้านทีป่ ระชุม ครม. สัญจร จังหวัด ระยอง อนุมตั จิ ดั ตัง้ ศูนย์นวัตกรรมการผลิต

Engineering Today September- October 2020

» ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)

36

ยั่งยืน (Sustainable Manufacturing Center: SMC) ภายในเมืองนวัตกรรม EECi ระยะเวลาด�ำเนินงาน 5 ปี ด้วย งบประมาณกว่า 5,000 ล้านบาท เพือ่ เป็น ศู น ย์ ส าธิ ต ด้ า นอุ ต สาหกรรมอั จ ฉริ ย ะ พั ฒ นาแพลตฟอร์ ม ที่ ผู ้ ป ระกอบการ อุตสาหกรรมการผลิต ผู้พัฒนาระบบ (SI) นวัตกร นักวิจัย ตลอดจนนักศึกษา ในสาขาที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถเข้ามาใช้ ประโยชน์ผา่ นกิจกรรมต่าง ๆ ทีจ่ ดั เตรียม ไว้ให้ ทั้งในรูปแบบการสาธิต การเรียนรู้ และการทดลองปฏิบัติจริง


» เผย EECi ก่อสร้างคืบหน้าตามแผนงาน คาดพร้อมเปิดด�ำเนินการได้ปลายปีหน้า

ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) กล่าวถึงการลงพื้นที่ตรวจสอบความคืบหน้า ก่อสร้างอาคารส�ำนักงานใหญ่ EECi และเยีย่ มชมในครัง้ นีว้ า่ งานนีน้ บั เป็นงานแรกหลังจาก ด�ำรงต�ำแหน่งรัฐมนตรีวา่ การกระทรวง อว. โดยกิจกรรมนีถ้ อื เป็นส่วนหนึง่ ของ ครม.สัญจร จ.ระยอง จากการลงพืน้ ที่ พบว่า EECi มีความคืบหน้าในการก่อสร้างเป็นไปตามแผนงาน ที่วางไว้แล้วกว่าร้อยละ 40 โดยคาดว่าเมืองนวัตกรรม EECi จะพร้อมเปิดด�ำเนินการ ได้ในช่วงปลายปี พ.ศ. 2564 รวมถึงการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ ส�ำคัญที่สามารถรองรับการท�ำวิจัยขยายผลที่จะเกิดขึ้นในอนาคตของ EECi อาทิ โรงงาน ต้นแบบไบโอรีไฟเนอรี โรงเรือนฟีโนมิกส์ ศูนย์นวัตกรรมการผลิตยั่งยืน (Sustainable Manufacturing Center: SMC) นอกเหนือจากการหาพันธมิตรทั้งในและต่างประเทศ จากหน่วยงานรัฐ เอกชน สถาบันการศึกษา/สถาบันวิจัย กว่า 70 ราย แล้ว EECi ยัง ด�ำเนินกิจกรรมพัฒนาชุมชนด้วยการน�ำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) เข้าไปส่งเสริมและสนับสนุนภาคการเกษตร ภาคการศึกษา และวิสาหกิจชุมชนบนพื้นที่ EEC ครอบคลุมจังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง เพื่อตอบโจทย์การใช้งานของผู้ใช้ ประโยชน์ด้วย “อว. พร้อมให้การสนับสนุนการด�ำเนินกิจกรรมของ EECi อย่างเต็มก�ำลัง เนือ่ งจาก EECi เป็นโครงสร้างพื้นฐานด้าน วทน. ที่ส�ำคัญของคนไทย ที่จะช่วยพลิกโฉมการท�ำ นวัตกรรมของประเทศสูเ่ ชิงพาณิชย์อย่างแท้จริง ช่วยให้ประเทศหลุดพ้นจากกับดักรายได้ ปานกลาง ยกระดับและพัฒนาอุตสาหกรรมเดิม รวมถึงสร้างให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ ทัง้ ในพืน้ ที่ EEC และในพืน้ ทีอ่ นื่ ๆ ทัว่ ประเทศ ซึง่ จะน�ำไปสูก่ ารเป็นประเทศแห่งนวัตกรรม ควบคู่กับการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ตลอดจนน�ำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไปในอนาคต” ศ.(พิเศษ) ดร.เอนก กล่าว

» EECi ชูเป็นเมืองนวัตกรรม แห่งใหม่ของระยองและของ ประเทศ บนพื้นที่ EEC

ดร.เจนกฤษณ์ คณาธารณา รองผู ้ อ� ำ นวยการ ส� ำ นั ก งานพั ฒ นา วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ ง ชาติ (สวทช.) ก�ำกับดูแลเขตนวัตกรรมระเบียง เศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาคตะวั น ออก หรื อ Eastern Economic Corridor of Innovation (EECi) กล่าวว่า EECi จะ เป็นเมืองนวัตกรรมแห่งใหม่ของจังหวัด ระยองและของประเทศ บนพื้นที่ EEC ซึ่ ง เป็ น แหล่ ง พั ฒ นางานวิ จั ย ขยายผล (Translational Research) และเป็น แหล่ ง ปรั บ แปลงเทคโนโลยี ขั้ น สู ง จาก ต่างประเทศ (Technology Localization) ให้ เ ข้ า กั บ บริ บ ทของประเทศไทยและ ภู มิ ภ าคอาเซี ย น เพื่ อ ปิ ด ช่ อ งว่ า งทาง เทคโนโลยีของไทย รวมทัง้ การพัฒนาและ ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพของ ไทยทีม่ อี ย่างหลากหลายออกสูต่ ลาดโลก ทีด่ า้ นหนึง่ มีขดี ความสามารถสร้างผลงาน แล้วในระดับห้องปฏิบัติการ แต่ผลงาน ที่ได้ส่วนใหญ่ยังส่งไม่ถึงผู้ใช้ประโยชน์ เพราะที่ผ่านมาประเทศไทยไม่ได้ลงทุน กับโครงสร้างพื้นฐานและกลไกขยายผล งานวิจัย และอีกด้านหนึ่งไม่สามารถใช้ ประโยชน์ จ ากเทคโนโลยี ขั้ น สู ง จาก ต่างประเทศได้มากนัก เพราะขาดโครงสร้าง พืน้ ฐานและกลไกทีจ่ ะรองรับการปรับเปลีย่ น เทคโนโลยีให้เข้ากับบริบทของไทย

» ดร.เจนกฤษณ์ คณาธารณา รองผู้อ�ำนวยการ สวทช. ก�ำกับดูแล EECi น�ำชมความคืบหน้า EECi

37

Engineering Today September- October

2020


» พื้นที่ EECi เน้นเทคโนโลยีสนับสนุนกลุ่มอุตฯ สมัยใหม่ สร้างบุคลากรด้านวิจัยและพัฒนาส�ำหรับรัฐและเอกชน

ทินกร หาญชนะ ผู้ช่วยผู้จัดการเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก หรือ Eastern Economic Corridor of Innovation (EECi) กล่าวว่า ศูนย์นวัตกรรมการผลิตยั่งยืน (Sustainable Manufacturing Center : SMC) เกิดขึ้น เมื่อประมาณ 2 ปีที่ผ่านมา โดยเน้นเทคโนโลยีสนับสนุนกลุ่มอุตสาหกรรมสมัยใหม่ 6 กลุ่ม เพื่อก้าวสู่ Industry 4.0 ซึ่งคาดว่าจะใช้งบประมาณ 4,000-5,000 ล้านบาท ขณะที่ Bio Refinery ใช้งบประมาณ 3,000 ล้านบาท ศูนย์ SMC ได้สร้างผู้เชี่ยวชาญเข้าไปช่วยโรงงานอุตสาหกรรมและ SME ในการ ปรับกระบวนการผลิต โดยร่วมกับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (สอท.) ซิสโก้ และ ซีเมนส์ น�ำอุปกรณ์ IoT (Internet of Things) บริหารจัดการใช้พลังงาน ท�ำให้ได้ข้อมูล สามารถท�ำ Preventive เครือ่ งจักรเสีย มีไลน์ทดลองการผลิต เดินเครือ่ งจักร ผลิตเซนเซอร์ เพื่อให้ผู้ประกอบการรายเล็กสามารถ Demo ไลน์การผลิตนี้ได้ด้วย ขณะนี้มีภาคเอกชน ที่เข้ามาใช้บริการ คือ ปตท.สผ. และ GC ที่ส�ำคัญไม่จ�ำเป็นต้องเป็นภาคเอกชนที่อยู่ใน พื้นที่ EECi แต่ใช้ประโยชน์จากพื้นที่ EECi นอกจากนี้ พื้นที่ EECi เน้นสร้างบุคลากรด้านวิจัยและพัฒนาส�ำหรับภาครัฐ และเอกชนด้วย โดยมีทุน 300 ทุนภายใน 4-5 ปี เมื่อ 2 ปีที่ผ่านมาได้ส่งบุคลากรไป ศึกษาต่อด้านหุ่นยนต์ที่ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา

» ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อ�ำนวยการ สวทช.

» สวทช. หนุนวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูงเต็มสูบ หลัง ครม. ไฟเขียวจัดตั้งศูนย์ SMC ใน EECi

» ดร.จุฬารัตน์ ตันประเสริฐ รองผู้อ�ำนวยการ สวทช.

» รมว. อว. เยี่ยมชมสวนทุเรียนบัวแก้ว ในพื้นที่ EECi ที่ได้รับการสนับสนุนจาก สวทช.

ทั น ที ที่ ครม. อนุ มั ติ จั ด ตั้ ง ศู น ย์ SMC ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เจ้าภาพ หลั ก ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจั ด ตั้ ง “ศู น ย์ นวัตกรรมการผลิตยั่งยืน (Sustainable Manufacturing Center : SMC)” ภายใต้ เ มื อ งนวั ต กรรมระบบอั ต โนมั ติ จากกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้พัฒนา EECi ร่วมกับหน่วยงานพันธมิตรในทุกภาคส่วน เพื่ อ ให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางการท� ำ วิ จั ย และ พัฒนา สามารถต่อยอดไปสูก่ ารใช้งานจริง เชิ ง พาณิ ช ย์ แ ละเชิ ง สาธารณประโยชน์ ได้รับลูกและเดินหน้าโครงการทันที โดย ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อ�ำนวยการ ส� ำ นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า โครงการหุ่นยนต์ และระบบอัจฉริยะ ใน เขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก (EECi ARIPOLIS) ทีไ่ ด้รบั การ

ในที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) สัญจร จังหวัดระยอง เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2563 ได้อนุมัติจัดตั้งศูนย์นวัตกรรมการผลิตยั่งยืน (Sustainable Manufacturing Center : SMC) ภายใต้เมืองนวัตกรรมระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และระบบอัจฉริยะ ในเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi ARIPOLIS) ณ วังจันทร์ วัลเลย์ ต�ำบลป่ายุบใน อ�ำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง พร้อมมอบนโยบายให้ความส�ำคัญ กับการพัฒนาเศรษฐกิจและการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิต เพือ่ ต่อยอดการวิจยั พัฒนา น�ำไปสู่เชิงพาณิชย์ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศอย่างยั่งยืน

Engineering Today September- October 2020

38


อนุมตั จิ าก ครม. นีใ้ ช้ระยะเวลาในการด�ำเนินงานตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2564-2568 ด้วยงบประมาณ กว่า 5,000 ล้านบาท เพื่อเป็นศูนย์สาธิตด้านอุตสาหกรรมอัจฉริยะ พัฒนาแพลตฟอร์ม ที่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมการผลิต ผู้พัฒนาระบบ (SI) นวัตกร นักวิจัย ตลอดจน นักศึกษาในสาขาทีเ่ กีย่ วข้อง ให้สามารถเข้ามาใช้ประโยชน์ผา่ นกิจกรรมต่างๆ ทีจ่ ดั เตรียม ไว้ให้ ทัง้ ในรูปแบบการสาธิต การเรียนรู้ และการทดลองปฏิบตั จิ ริง ได้แก่ เครือ่ งมือประเมิน ความพร้อมสู่อุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0 Assessment Tools) สายการผลิตเพื่อ การเรียนรู้ (Learning Station/Line) และแพลตฟอร์มทดสอบ (Testbed/Sandbox) รวมไปถึงกิจกรรมวิจัยเพื่อการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีระบบ อัตโนมัติ หุ่นยนต์ และระบบอัจฉริยะ ซึ่งถือเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ส�ำคัญในการพัฒนา ศักยภาพทางการแข่งขันของอุตสาหกรรมการผลิตและบริการ ยกระดับความสามารถใน การแข่งขันภาคอุตสาหกรรมของประเทศ ในการเป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมและ ศูนย์กลางรองรับการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมายหลักของประเทศ เปลีย่ นวิถกี ารผลิต ของประเทศตลอด Value Chain ครอบคลุมอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ และ SME รวมถึง สร้างมูลค่าเพิม่ จากการเป็นฐานเชือ่ มโยงงานบูรณาการองค์ความรูแ้ ละนวัตกรรมร่วมกัน เพื่อต่อยอดการวิจัยพัฒนาสู่เชิงพาณิชย์ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง ซึ่งเป็นหนึ่งในฟันเฟือง ส�ำคัญในการขับเคลื่อนประเทศไทยด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) ตามนโยบาย Thailand 4.0 และสร้างให้เกิดผู้ประกอบการฐานนวัตกรรมในการพัฒนา เศรษฐกิจอย่างยั่งยืน สอดคล้องนโยบาย BCG เพิ่มคุณภาพชีวิตและการจ้างงานของ ประเทศต่อไป

» สท. จับมือเนคเทคน�ำเทคโนโลยี IoT บริหารจัดการแปลงเกษตรภายในพื้นที่ EECi

ดร.จุฬารัตน์ ตันประเสริฐ รองผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กล่าวว่า สวทช. โดยสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและ นวัตกรรมเกษตร (สท.) ร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ได้น�ำเทคโนโลยี IoT มาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการแปลงเกษตรภายใน พืน้ ที่ EECi เพือ่ ให้เกิดการพัฒนาความสามารถและกระบวนการเรียนรูข้ องเกษตรกรและ ชุมชน โดยเน้นการท�ำเกษตรแบบแม่นย�ำ ควบคุมสภาวะแวดล้อมการผลิตและเตรียม รับมือกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) ซึ่ง สวทช. ให้ความ ส�ำคัญกับภาคการเกษตรในพื้นที่ EECi เป็นอย่างมาก โดยได้ด�ำเนินการขยายผลและ สนับสนุนถ่ายทอดเทคโนโลยีพร้อมใช้ ตลอดจนองค์ความรู้ด้านการจัดการเกษตร สมัยใหม่ ร่วมกับพันธมิตรทัง้ ภาคเกษตรกร หน่วยงานภาครัฐ ภาคสถาบันการศึกษา และ ภาคเอกชนในพื้นที่ ในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะทั้งในด้านพืชผัก ผลไม้ และประมง ได้แก่ เทคโนโลยีโรงเรือนเพาะปลูกและการบริหารจัดการครบวงจร เพือ่ จัดการ การปลูกพืชผักครบวงจรตัง้ แต่การผลิตเมล็ดพันธุ์ การเพาะปลูกในโรงเรือน การผลิตสาร ชีวภาพเพือ่ ควบคุมโรคพืชและแมลงศัตรูพชื ผัก ระบบการผลิตเพือ่ ให้ได้ผลผลิตทีม่ คี ณ ุ ภาพ และปลอดภัยได้มาตรฐาน เทคโนโลยีโรงเรือนอัจฉริยะพร้อมระบบติดตามและควบคุม เพื่อสาธิตและถ่ายทอดการปลูกพืชมูลค่าสูง เพื่อส่งต่อภาคอุตสาหกรรมแปรรูปในกลุ่ม อาทิ มะเขือเทศ พริก เทคโนโลยีระบบตรวจวัดด้วยเซนเซอร์แบบเครือข่ายไร้สายเพื่อการ จัดการและควบคุมอัตโนมัติ ส�ำหรับการจัดการแปลงเพาะปลูกและเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ ได้อย่างเหมาะสมและแม่นย�ำ เทคโนโลยีระบบการให้นำ�้ ตามสภาวะความต้องการของพืช ในระบบแปลงเปิด เพื่อประยุกต์ใช้ในการจัดการทรัพยากรน�้ำในสวนทุเรียน สวนมังคุด ให้มีประสิทธิภาพและคุ้มค่า โดยถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับเกษตรกร 29 ชุมชน รวมถึง

39

เกษตรกรแกนน�ำ และ Young Smart Farmer รวม 29 ราย และร่วมพัฒนาศูนย์ เรี ย นรู ้ เ พื่ อ การขยายผลการถ่ า ยทอด เทคโนโลยีร่วมกับภาคเอกชนและภาค การศึกษา 3 แห่ง

» สวทช. จัดกิจกรรมรองรับ อุตสาหกรรมฐานชีวภาพ ส่งเสริม EECi ตอบโจทย์ การพัฒนาประเทศ

นอกจากนี้ สวทช. ยังได้จดั กิจกรรม เตรี ย มพร้ อ มรองรั บ อุ ต สาหกรรมฐาน ชี ว ภาพ จากงานวิ จั ย ขยายผล มี ก าร พั ฒนาและติ ด ตั้ ง ต้ น แบบแพลตฟอร์ ม อิเล็กทรอนิกส์อจั ฉริยะเพือ่ เกษตรสมัยใหม่ ในพื้ น ที่ ได้ แ ก่ ระบบเกษตรแม่ น ย� ำ ฟาร์มอัจฉริยะ (Handy Sense) ติดตั้ง ในฟาร์มเกษตรกรรวม 34 แห่ง ระบบ ติดตามแจ้งเตือนสภาพทั้งกายภาพ เคมี และชีวภาพ พร้อมระบบเฝ้าระวังและ ติดตามการระบาดของโรคส�ำหรับประมง อัจฉริยะ (Aqua IoT) ขยายผลการใช้งาน ในฟาร์มของผู้ประกอบการเลี้ยงสัตว์น�้ำ เศรษฐกิจ (กุ้ง ปลา) รวม 15 แห่ง และ อยู ่ ร ะหว่ า งการพั ฒ นาระบบบ่ อ ไร้ ดิ น ส�ำหรับเลี้ยงกุ้งแนวใหม่ที่มีการควบคุม คุ ณ ภาพน�้ ำ มี ร ะบบหมุ นวนน�้ ำ เติ ม ออกซิเจน ประสิทธิภาพสูง ต้นทุนต�ำ่ เป็น แหล่งข้อมูลการควบคุมสภาพแวดล้อม และการจัดการอาหารตลอดระยะเวลา การเลี้ ย งกุ ้ ง เพื่ อ พั ฒนาระบบปั ญ ญา ประดิษฐ์ในอนาคตอีก 1 ต้นแบบ น�ำ ไปสู่การยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิต ภาคเกษตรกรในพื้นที่ EEC ให้เทียบเท่า กลุม่ การบริการและภาคอุตสาหกรรม ด้วย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อสนับสนุนให้การบริหารและส่งเสริม EECi เป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศต่อไป

Engineering Today September- October

2020


Smart City • *สุวรรณี สิงห์ฤาเดช

จับตาเทคโนโลยี 3 กลุ่มหลัก

หนุนสร้าง เมืองอัจฉริยะ (Smart City)

*ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและซีอีโอ ซีเมนส์ ประเทศไทย

Engineering Today September- October 2020

40

องค์ ก ารสหประชาชาติ (United Nation) ได้ประมาณการว่า ภายในปี ค.ศ. 2050 จะมีจ�ำนวนประชากรบนโลกเพิ่มขึ้น อีก 2 พันล้านคน ส่งผลให้เมืองขนาดใหญ่ แบบมหานคร Mega Urban City มีจ�ำนวน มากขึ้นในอีก 15 ปีข้างหน้า และจากสถิติ เฉลีย่ ในปัจจุบนั มีผอู้ าศัยอยูใ่ นเมืองใหญ่ราว 55% ในขณะที่ 45% อาศัยอยูน่ อกเขตเมือง โดยในอีก 30 ปีข้างหน้า คาดว่าสัดส่วน ผู้อาศัยอยู่ในเมืองใหญ่จะเพิ่มเป็น 68% ส� ำ หรั บ ประเทศไทย ปั จ จุ บั น มี อั ต ราการ อยู่อาศัยในเมืองใหญ่อยู่ที่ประมาณ 50% (Research by Siemens)


1

สมาร์ทกริด (Smart Grid) หรือโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ ซึ่งเป็นโครงข่ายไฟฟ้าที่น�ำเทคโนโลยีหลายประเภท เข้ามาท�ำงานร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นระบบเซนเซอร์และการควบคุม อัตโนมัตเิ พือ่ ให้ระบบไฟฟ้าก�ำลังสามารถรับรูข้ อ้ มูลสถานะต่างๆ ในระบบได้แบบ Real Time รวมถึงระบบสารสนเทศ ระบบเก็บ ข้อมูล และระบบการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้โครงข่ายไฟฟ้า สามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้ได้อย่างชาญฉลาด มากขึ้ น มี ค วามสามารถมากขึ้ น โดยใช้ ท รั พ ยากรน้ อ ยลง มี ประสิทธิภาพ มีความน่าเชื่อถือ มีความยั่ง ยืนปลอดภัยและ ที่ส�ำคัญคือเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ระบบโครงข่ายไฟฟ้า อัจฉริยะจะต้องครอบคลุมระบบไฟฟ้าทั้งหมด ซึ่งรวมถึงตั้งแต่ ระบบการผลิต ระบบส่ง ระบบจ�ำหน่าย จนถึงระบบของผูใ้ ช้ไฟฟ้า

นอกเหนือจากเมืองขนาดใหญ่แบบมหานคร Mega Urban City ที่มีแนวโน้มเพิ่มจ�ำนวนมากขึ้น ด้วยสถานการณ์โลกที่ เปลีย่ นไปอย่างรวดเร็ว ไม่วา่ จะเป็นด้านสภาพภูมอิ ากาศ (Climate Change) หรือ โรคระบาดร้ายแรงต่างๆ (Pandemic) ปัจจัยเหล่านี้ ส่งผลให้การพัฒนาเมืองใหญ่ และการเตรียมการในด้านต่างๆ เพื่อรับมือต่อสถานการณ์ดังกล่าวกลายเป็นภารกิจส�ำคัญ อาทิ การบริหารสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน การบริหารจัดการด้าน สิ่งแวดล้อมและที่พักอาศัย การบริการทางสังคม บริการด้าน สาธารณสุ ข หรื อ แม้ แ ต่ ก ารศึ ก ษา ซึ่ ง ความท้ า ทายเหล่ า นี้ ไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยเทคโนโลยีเดิมๆ ที่มีอยู่ ในขณะที่เทรนด์ การเติบโตของมหานคร (Urbanization) และดิจิทัลไลเซชัน (Digitalization) ได้พัฒนามาจนเกิดเป็นมิติใหม่ส�ำหรับคนเมือง ดังนั้น “เมืองอัจฉริยะ” จึงเป็นหนึ่งในค�ำตอบที่จะเข้ามาช่วย บริหารเรื่องใหม่ๆ เหล่านี้

2

อาคารอัจฉริยะ (Smart Building) ภายในปี ค.ศ. 2050 ประชากรโลกกว่ า 70% จะพ� ำ นั กอาศั ย อยู ่ ภ ายในอาคาร และจะยิ่ ง เพิ่ ม จ� ำ นวนมากขึ้ น ในอนาคต ซึ่งหมายความว่า ความคาดหวังของผู้อยู่อาศัยจะสูงขึ้นตามไป ด้วย อาคารต้องเป็นมากกว่าโครงสร้างผนังและหลังคา สามารถ มอบความสะดวกสบายและความปลอดภัยให้แก่ผู้อยู่อาศัยได้ มากขึ้น ดังนั้น อาคารจะต้องมีระบบอัจฉริยะที่ท�ำให้อาคาร สามารถตอบสนองต่อความต้องการผู้อยู่อาศัยได้ สามารถ เรียนรูแ้ ละปรับตัวให้เข้ากับสภาวะแวดล้อมทีเ่ ปลีย่ นแปลง และ ที่ส�ำคัญคือเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

» นิยามความเป็นเมืองอัจฉริยะ

การเติบโตของเมืองใหญ่

เมืองอัจฉริยะ คือ การผสานรวมวิสัยทัศน์เกี่ยวกับการ พัฒนาเมืองใหญ่ โดยมุง่ เน้นการบริหารทรัพยากรของเมืองอย่าง ชาญฉลาด เพื่อสร้างการเติบโตที่ยั่งยืน และสร้างคุณภาพชีวิต ที่ดีให้แก่ผู้คนที่อาศัยอยู่ในเมือง ด้วยการน�ำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ ในการจัดการ พร้อมลดการท�ำลายทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ซึ่งการสร้างเมืองอัจฉริยะให้เกิดขึ้นได้จริงนั้น จ�ำเป็นจะต้องมี เทคโนโลยีส�ำคัญ 3 กลุ่มหลัก ประกอบด้วย

41

Engineering Today September- October

2020


3

ไฟฟ้าจะมีเสถียรภาพมากขึน้ ปัญหาไฟตกไฟดับจะน้อยลงเรือ่ ยๆ จนแทบไม่มีเลย เนื่องจากมีระบบการจัดการที่ชาญฉลาด เมื่ อ ระบบสมาร์ ท กริ ด มี ก ารติ ด ตั้ ง ครบถ้ ว น ระบบจะ สามารถรูไ้ ด้วา่ มีปญ ั หาไฟฟ้าเกิดขึน้ ทีบ่ ริเวณใดหรือบ้านหลังไหน ผ่านทางมิเตอร์ทตี่ ดิ หน้าบ้าน และจะส่งข้อมูลไปยังระบบควบคุม ว่าสามารถจ่ายไฟจากวงจรข้างเคียงมาทดแทนได้หรือไม่ รวมถึง สามารถส่งข้อมูลไปยังทีมงานที่ดูแลการแก้ไขปัญหาให้เข้ามา ด�ำเนินการแก้ไขได้อย่างรวดเร็ว หรืออีกแนวทางหนึ่งคือการ ใช้ระบบแก้ไขแบบอัตโนมัติ โดยระบบนีส้ ามารถน�ำไปใช้ในอาคาร ที่ขนาดใหญ่ขึ้นได้ เช่น ในอาคารอัจฉริยะ ซึ่งหัวใจส�ำคัญของ สมาร์ทกริดคือ การท�ำให้พลังงานสะอาด สามารถถูกน�ำมาใช้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ประหยัดทีส่ ดุ และยัง่ ยืนทีส่ ดุ ภายใต้ แนวคิดพลังงานไฟฟ้าแบบกระจายศูนย์ (Decentralization) นอกจากนี้ ระบบการซื้อขายไฟฟ้าในอนาคตจะเปลี่ยนไป เช่นกัน ผู้ใช้ไฟจะมีทางเลือกมากขึ้น สามารถเลือกซื้อไฟฟ้า ผ่าน Energy Trading Platform และสามารถเป็นผู้ขายไฟฟ้าได้ หากมีการติดตัง้ แผงโซลาร์บนหลังคา (Solar Rooftop) พฤติกรรม ของโพรซูเมอร์ (Prosumer) (ซึ่งมาจากค�ำว่า Professional Producer บวกกับ Consumer) หมายถึงการเข้ามามีบทบาทใน

ระบบไอซีทอี จั ฉริยะ (Smart ICT : Smart Information and Communication Technology) ปีนี้อุปกรณ์ มากกว่า 5 หมื่นล้านชิ้นจะสามารถเชื่อมต่อกันได้ และ 1 ใน 5 ของอุปกรณ์เหล่านี้จะถูกใช้อยู่ภายในอาคาร นั่นหมายความว่า ข้อมูลจ�ำนวนมากมายมหาศาลจะถูกสร้างขึ้น หัวใจส�ำคัญคือเรา จะสามารถน�ำข้อมูลเหล่านี้มาใช้และวิเคราะห์ได้อย่างไร จึงจะ ท� ำ ให้ เ มื อ งมี ค วามยื ด หยุ ่ น ในการบริ ห าร ในขณะเดี ย วกั น ยังสามารถตอบสนองความต้องการในระดับชุมชนและระดับ บุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เมืองอัจฉริยะจะเกิดขึ้นได้ เมื่อทั้ง 3 ส่วนนี้ท�ำงานผสานกัน

» สมาร์ทกริดเชื่อมต่อระหว่าง ระบบพลังงานอัจฉริยะกับผู้บริโภค

ในอนาคตผูใ้ ช้ไฟฟ้าจะเป็นเป้าหมายของการท�ำดิจทิ ลั ไลเซชัน (Digtialization) ของการใช้พลังงาน ระบบสมาร์ทกริดจะเริ่มจาก ในบ้านเรือน มีการใช้เซนเซอร์อ�ำนวยความสะดวกสบาย การน�ำ เทคโนโลยี IoT (Internet of Things) มาใช้ควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้า จะท�ำให้เราสามารถควบคุมและเฝ้าติดตามการเปิดปิดอุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านผ่านโทรศัพท์มือถือได้ นอกจากนี้ระบบ

Engineering Today September- October 2020

42


» สมาร์ทไอซีที ...ระบบพลังงานใหม่แห่งอนาคต ให้ประโยชน์สูงสุดต่อผู้บริโภค

การผลิตไฟฟ้าเพื่อใช้เอง เปลี่ยนจากผู้บริโภคให้กลายมาเป็น ทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคในตัวเอง เป็นพื้นฐานส�ำคัญอย่างหนึ่งของ เมืองอัจฉริยะ ผู้ใช้ไฟยังสามารถรวมตัวกันเป็นกลุ่ม ผู้ผลิตใน หนึ่งหมู่บ้าน เพื่อขายไฟฟ้าในลักษณะของ Virtual Power Plant ซึ่งหากมีแหล่งผลิตไฟฟ้าอื่นๆ เพิ่มเติม ก็สามารถเพิ่มให้มีการ จัดการไฟฟ้าภายในหมูบ่ า้ นเองโดยการใช้ระบบไมโครกริด (Micro Grid) ท�ำให้การบริหารจัดการไฟฟ้าภายในหมูบ่ า้ นมีประสิทธิภาพ มากขึ้น สามารถมีไฟฟ้าใช้ตลอดเวลา แม้ว่าไฟจากการไฟฟ้า จะเกิดเหตุขัดข้องจากภัยธรรมชาติ หรือแม้แต่โครงการโรงไฟฟ้า ชุมชนเพื่อเศรษฐกิจฐานรากของกระทรวงพลังงานที่มีเป้าหมาย เปิดรับซื้อไฟฟ้า 700 เมกะวัตต์ ในปี พ.ศ. 2564 รวมถึงการ เพิ่มขึ้นของรถยนต์ไฟฟ้า ก็นับเป็นตัวแปรส�ำคัญที่ต้องการระบบ สมาร์ทกริดเพื่อการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ

สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดอย่างหนึ่งของสมาร์ทไอซีที คือการช่วย วิเคราะห์และน�ำเสนอจากข้อมูลที่มีอยู่ เพื่อตอบสนองความ ต้องการในการบริหารระบบได้อย่างรวดเร็ว ในขณะที่ยังสามารถ ช่วยคาดการณ์ปริมาณของโหลดพลังงานที่ต้องใช้ และแนวโน้ม ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต ท�ำให้ระบบบริหารพลังงานมีความยืดหยุน่ และตอบโจทย์ความต้องการของผู้อาศัยได้หลากหลายมิติยิ่งขึ้น ซีเมนส์เป็นหนึ่งในทีมที่ร่วมสนับสนุนโครงการ Aspern Smart City Research ประเทศออสเตรี ย ซึ่ ง นั บ เป็ น เมืองอัจฉริยะที่ใหญ่ที่สุดในยุโรป และเป็น Living Lab หรือ ห้องวิจยั ทีเ่ ก็บตัวอย่างจากการใช้งานในชีวติ จริง ทีใ่ ช้เพือ่ พัฒนา โซลูชันพลังงานส�ำหรับเมืองแห่งอนาคต และยังเป็นโครงการ ที่ได้รับรางวัล World Smart City Awards ที่งาน Smart City Expo World Congress 2016 อีกด้วย

» อาคารอัจฉริยะต้องสื่อสารกับเราได้

ในอนาคต อาคารมีหน้าที่ปรับตัวให้เข้ากับพฤติกรรม ของผู้อาศัย หัวใจส�ำคัญคือท�ำอย่างไรอาคารจึงสามารถบริหาร พลังงานที่สร้างขึ้นด้วยค่าใช้จ่ายต�่ำที่สุด แต่ยังใช้ประโยชน์สูงสุด ได้ อาคารอัจฉริยะจะมีความสามารถในการค�ำนวณค่าใช้จา่ ยด้าน พลังงานได้อย่างแม่นย�ำ แม้แต่ในสภาพอากาศแปรปรวนก็ยัง ไม่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพของพลังงาน และความสะดวกสบาย ของผู ้ พั ก อาศั ย ระบบท� ำ ความเย็ น จะยั ง สามารถท� ำ งานได้ ตามปกติ ทั้ ง หมดนี้ คื อ ผลที่ ไ ด้ รั บ จากการประมวลผลของ เทคโนโลยีพยากรณ์อากาศ บวกกับการวิเคราะห์ขอ้ มูลพฤติกรรม ของผู้พักอาศัย เราจะสามารถน�ำพลังงานมาวางแผน กระจาย ใช้และจัดเก็บตามความเหมาะสม และเมื่ออาคารสามารถสร้าง และบริหารพลังงานได้ดว้ ยตัวเอง อาคารก็จะกลายเป็นส่วนหนึง่ ของระบบพลังงานในเมืองอัจฉริยะ เทคโนโลยีดิจิทัลทวิน (Digital Twins) เป็นอีกหนึ่ง เทคโนโลยี ที่ จ ะเข้ า มามี บ ทบาทส� ำ คั ญ ในการบริ ห ารอาคาร การออกแบบเสมือนจริงก่อนการก่อสร้าง จะช่วยให้เจ้าของอาคาร สามารถเห็นภาพจ�ำลองดิจิทัลของอาคารล่วงหน้าในทุกมิติ ซึ่ง จะช่วยให้การก่อสร้างเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด หรือแม้แต่ ในช่วงของการบริหารอาคาร อาคารจะสามารถให้ข้อมูลซึ่งจะถูก น�ำไปประมวลผลคู่กับแบบจ�ำลองดิจิทัลของอาคารเพื่อจ�ำลอง สถานการณ์เสมือนจริงล่วงหน้า ทั้งหมดนี้จะท�ำให้การบริหาร อาคารเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดเช่นกัน นอกจากนี้ อาคาร ยังสามารถคาดการณ์ปัญหาต่างๆ ได้ล่วงหน้า ความสามารถ เหล่านี้จะท�ำให้ต้นทุนการบริหารอาคารลดลง แต่มีประสิทธิภาพ เพิ่มสูงขึ้น

ส�ำหรับประเทศไทย นโยบายการผลักดันเมืองอัจฉริยะ (Smart City) ของรั ฐ บาล นั บ เป็ น ทิ ศ ทางที่ ถู ก ต้ อ งในการ น�ำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการแก้ปัญหา อย่างไรก็ตาม เรื่องนี้ ใหญ่เกินกว่าจะเป็นความรับผิดชอบของหน่วยงานใดหน่วยงาน หนึ่ง โดยภาครัฐควรมีบทบาทในการสนับสนุนเรื่องกฎหมายและ การลงทุน ขณะที่ภาคเอกชนสามารถช่วยในเรื่อง Know-how เทคโนโลยี เพื่ อ น� ำ มาช่ ว ยในเรื่ อ งการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพทาง พลังงานและการลดการเกิด CO2 ดังนั้นทุกฝ่ายจ�ำเป็นต้องท�ำงานประสานกัน เพื่อน�ำ เทคโนโลยีตา่ งๆ เข้ามาปรับใช้ในการรวบรวม วิเคราะห์ แยกแยะ ข้อมูลอย่างเหมาะสม ซึง่ จะน�ำไปสูค่ วามเข้าใจ วางแผน ปรับปรุง สร้างสรรค์ร่วมกัน ด้วยความร่วมมือของทุกฝ่าย เมืองอัจฉริยะ สามารถเกิดขึ้นในประเทศไทยได้อย่างแท้จริง

43

Engineering Today September- October

2020


IT Update • กองบรรณาธิการ

» สุทัศน์ คงด�ำรงเกียรติ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เอ็นทีที จ�ำกัด ประจ�ำประเทศไทย กัมพูชา เมียนมา และลาว จับมือเป็นพันธมิตรกับ ธนวัฒน์ สุธรรมพันธุ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด

เอ็นทีที จับมือ ไมโครซอฟท์ เป็นผู้ ให้บริการ

ไลเซนส์ โซลูชัน ไมโครซอฟท์ อย่างเป็นทางการในไทย ตั้งเป้าได้ 100 ใบรับรอง จากไมโครซอฟท์ภายใน ปลายปีนี้

Engineering Today September- October 2020

บริษัท เอ็นทีที จ�ำกัด ผู้ให้บริการเทคโนโลยีชั้นน�ำระดับโลก ประกาศความร่วมมือกับไมโครซอฟท์ในประเทศ โดยได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นคู่ค้าหลักในการให้บริการ Microsoft Licensing Solution Provider (LSP) น�ำเสนอโซลูชันเพื่อเพิ่มศักยภาพให้กับองค์กรธุรกิจ ผ่านแพลตฟอร์มของไมโครซอฟท์ (Microsoft 365, Microsoft Azure, Microsoft Dynamics 365) ตลอดจนให้คำ� ปรึกษาและบริการ การบริหารจัดการ (Managed Service) ส�ำหรับลูกค้าองค์กรโดยใช้ โซลูชันและแพลตฟอร์มคลาวด์ของไมโครซอฟท์ การที่เอ็นทีทีได้รับแต่งตั้งให้เป็น Microsoft Licensing Solution Provider (LSP) และ Microsoft Cloud Solution Provider (CSP) กับ ไมโครซอฟท์ในครั้งนี้ จะเป็นการซื้อลิขสิทธิ์แบบข้อตกลงองค์กรรองรับ ส�ำหรับกลุม่ ลูกค้าขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก สามารถใช้สทิ ธิ ในองค์กรเชิงพาณิชย์ องค์กรภาครัฐ และองค์กรทางการศึกษา ซึง่ เหมาะ ส�ำหรับองค์กรที่ต้องการใช้งานซอฟต์แวร์ บริการคลาวด์ หรือบริการ ทั้ง 2 ประเภทของไมโครซอฟท์ พร้อมกันนี้ เอ็นทีทียังให้บริการ Microsoft Azure ในด้านการ บริหารจัดการแก่ลูกค้า ซึ่งจะช่วยให้โซลูชันบนคลาวด์ได้รับการปกป้อง และการจัดการด้วยประสิทธิภาพทีย่ อดเยีย่ มภายใต้มาตรฐานระดับโลก ของเอ็นทีทีบน Microsoft Azure พร้อมด้วยทีมงานมืออาชีพที่จะช่วย พัฒนาระบบไอทีสำ� หรับลูกค้าองค์กรในแบบ end-to-end และสนับสนุน ให้องค์กรเปลี่ยนไปใช้โซลูชันของไมโครซอฟท์ได้อย่างราบรื่น สุทศั น์ คงด�ำรงเกียรติ ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร บริษทั เอ็นทีที จ�ำกัด ประจ�ำประเทศไทย กัมพูชา เมียนมา และลาว กล่าวว่า ปัจจุบันนี้องค์กรธุรกิจต้องการโซลูชันเพื่อสนับสนุนการท�ำงานได้อย่าง

44


รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เรายินดีอย่างยิ่งที่ได้ประกาศความร่วมมือ กับไมโครซอฟท์ ซึ่งไว้วางใจให้เราเป็นคู่ค้าในการให้บริการ Microsoft Licensing Solution Provider (LSP) ส�ำหรับองค์กรธุรกิจขนาดกลาง และขนาดใหญ่ โดยเอ็นทีทพี ร้อมทีจ่ ะเป็นส่วนช่วยเร่งกระบวนการพัฒนา และฟื้นฟูศักยภาพของธุรกิจให้ขับเคลื่อนไปสู่ดิจิทัลและลดต้นทุนการ ด�ำเนินงานให้กับองค์กร ในส่วนการให้บริการของเอ็นทีที ยังรวมถึงการพัฒนาและสร้าง แอปพลิเคชันดิจิทัลที่เหมาะกับความต้องการของลูกค้าด้วย Microsoft 365 โดยสามารถให้บริการส�ำนักงานในรูปแบบ Modern Workplace ที่มีความปลอดภัยเพื่อให้พนักงานสามารถท�ำงานร่วมกันได้ทุกที่ ทุก เวลา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การใช้งาน Microsoft Teams ที่มี ฟังก์ชนั ในการโทรและการประชุมเพือ่ มอบประสบการณ์การท�ำงานร่วมกัน และความปลอดภัยทางไซเบอร์ให้กับพนักงาน ภายใต้ความร่วมมือ เชิงกลยุทธ์ โดยเอ็นทีทีได้ผสานรวมโครงสร้างพื้นฐานระดับโลกและ ความเชี่ยวชาญด้านบริการเข้ากับแพลตฟอร์ม Microsoft Azure เพื่อ สร้างโซลูชันที่ล�้ำสมัยส�ำหรับลูกค้า และให้การดูแลลูกค้าในทุกขั้นตอน ในระหว่างการย้ายไปอยู่บนระบบคลาวด์ ตั้งแต่การย้ายเวิร์กโหลดการ ท�ำงาน การจัดการระบบไฮบริดคลาวด์ ไปจนถึงการพัฒนาแอปพลิเคชัน ให้ทันสมัยยิ่งขึ้น “เอ็นทีทีตั้งเป้าได้รับ 100 ใบรับรองจากไมโครซอฟท์ภายใน ปลายปีนี้ พร้อมกันนีไ้ ด้สร้าง Center of Excellence ซึง่ เป็นการส่งเสริม ให้พนักงานมีความมุ่งมั่นที่จะดูแลลูกค้าแบบ end-to-end ตั้งแต่การ ดูแลในเรื่องของอุปกรณ์ไปจนถึงระบบคลาวด์ ซึ่งจะเป็นการตอบโจทย์ ธุรกิจให้กับลูกค้าแบบครบวงจร โดยมีทีมงานบริการมากกว่า 700 คน

45

ในการดูแลและจัดการทุกระบบไอทีดา้ นการบริหารจัดการ (Managed Service) ให้ ทุ ก องค์ ก รด้ ว ยที ม งานที่ มี ประสบการณ์” สุทัศน์ กล่าว ในฐานะผู้ให้บริการเทคโนโลยีและโซลูชันทางธุรกิจ ระดับโลก เอ็นทีทีพร้อมน�ำเสนอบริการแบบครบวงจร แก่ลูกค้า รวมถึงการให้ค�ำปรึกษาทางธุรกิจด้านดิจิทัลและ บริการการบริหารจัดการส�ำหรับความปลอดภัยไซเบอร์ แอปพลิเคชัน คลาวด์ ดาต้าเซ็นเตอร์ และบริการด้าน เครือข่าย ส�ำหรับ เอ็นทีที ประเทศไทย ในฐานะคู่ค้าในการให้ บริการ Microsoft Licensing Solution Provider (LSP) ของไมโครซอฟท์ ด้วยแพลตฟอร์มคลาวด์อย่าง Microsoft Azure และการท�ำงานบน Microsoft 365 ที่สามารถ เชื่อมต่อบนคลาวด์ ช่วยให้การท�ำงานในองค์กรง่ายขึ้น รวมถึงการผสานรวมในรูปแบบ Cloud Collaboration จากทั้งการประชุม ผ่านทางโทรศัพท์และวิดีโอสตรีมมิ่ง ภายใต้แพลตฟอร์มทีห่ ลากหลายให้สามารถท�ำงานร่วมกันได้ นอกจากนี้ยังมีนวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) ที่จะเข้ามาช่วยในส่วนของการ ให้บริการระบบศูนย์บริการข้อมูล หรือ Call Center และ ระบบการท�ำงานในส�ำนักงานแบบอัตโนมัติ หรือ Robotic Process Automation (RPA) ให้ท�ำงานเชื่อมโยงกันได้ อย่างราบรื่น “ด้วยความเชี่ยวชาญของเอ็นทีทีและไมโครซอฟท์ ซึง่ ได้ทำ� งานร่วมกันมาอย่างยาวนาน จะท�ำให้ความร่วมมือ ของเราลึกซึง้ ยิง่ ขึน้ ในการจัดหาโซลูชนั ทีเ่ ปีย่ มประสิทธิภาพ ให้ กั บ ลู ก ค้ า เรามี วิ สั ย ทั ศ น์ ร ่ ว มกั น ในการเสริ ม สร้ า ง ศักยภาพให้กบั องค์กรและสังคมด้วยเทคโนโลยีทชี่ าญฉลาด และปลอดภัย เพื่ออนาคตที่ดีและยั่งยืน” สุทัศน์ กล่าว ด้าน ธนวัฒน์ สุธรรมพันธุ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า เรามี ความยินดีอย่างยิง่ ทีไ่ ด้ขยายความร่วมมือระดับโลกระหว่าง ไมโครซอฟท์และเอ็นทีทใี ห้ครอบคลุมถึงประเทศไทยอย่าง เต็มรูปแบบ เราจะร่วมกันขับเคลื่อนภาคธุรกิจของไทยให้ เกิดความแข็งแรง คล่องตัวและยืดหยุน่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในช่วงเวลาทีท่ กุ องค์กรต้องเผชิญกับความท้าทายครัง้ ใหญ่ จาก COVID-19 เรามั่ น ใจว่ า ทางเอ็ น ที ที จ ะสามารถ สนับสนุนองค์กรต่างๆ ในประเทศไทยได้อย่างรอบด้าน เพื่อน�ำเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับกลยุทธ์หลัก ขององค์กร ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบใด เราพร้อมที่จะร่วมมือ กับเอ็นทีทีเพื่อช่วยให้ทุกลูกค้า ทุกองค์กร ได้น�ำดิจิทัลมา เพิ่มศักยภาพเพื่อความส�ำเร็จที่ยิ่งใหญ่กว่า

Engineering Today September- October

2020


Preview • Reed Tradex

“Shaping a Brighter Tomorrow” “เมทัลเล็กซ์ 2020” คือ มหกรรมเทคโนโลยีเครื่องจักรกล โลหการอันดับหนึง่ ของอาเซียน ในปีนจี้ ดั ขึน้ ภายใต้ธมี “Shaping a Brighter Tomorrow” ซึ่งกว่า 34 ปีที่เมทัลเล็กซ์อยู่เคียงข้าง อุตสาหกรรมโลหการ และพร้อมเดินหน้าสานต่อความตั้งใจที่จะ ช่วยสร้างโอกาสทางธุรกิจ ด้วยเทคโนโลยีเครื่องจักรกลโลหการ ใหม่ล่าสุดกว่า 3,300 รายการ จากกว่า 2,700 แบรนด์ชั้นน�ำ พบผูเ้ ข้าร่วมงานกว่า 60,000 ราย ในรูปแบบ Hybrid Exhibition ซึง่ เป็นการผสานระหว่างงานแบบ Physical event (Face-to-face)

Engineering Today September- October 2020

กั บ Virtual Exhibition ซึ่ ง จะปิ ด รอยต่ อ ระหว่ า งระยะทาง ผ่านการพบปะในโลกออนไลน์ คู่ต่างที่อยู่คนละประเทศสามารถ พูดคุยผ่าน Live Chat สอบถามและชมการสาธิตสินค้ากันได้ ไม่พลาดโอกาสทางธุรกิจดีๆ ที่เราน�ำมาเสนอ อีกทั้งภายในงาน ยั ง มี สั ม มนาให้ นั ก อุ ต สาหกรรมได้ แ ลกเปลี่ ย นความรู ้ สร้ า ง เครือข่ายกับคู่ค้าและลูกค้ารายใหม่ ท่ามกลางบรรยากาศงาน ทีป่ ลอดภัยและเป็นระเบียบจากมาตรการเพือ่ สุขภาพ ในระหว่าง วันที่ 18-21 พฤศจิกายน 2563 นี้ ณ ไบเทค บางนา

46


สัมผัสประสบการณ์ที่สุด ของเมทัลเล็กซ์ 2020

METALEX, the Virtual

ครั้งแรกของโลกกับการเปิดตัวเทคโนโลยี เครือ่ งจักรกลโลหการใหม่ลา่ สุด จัดแสดง ในงานเมทัลเล็กซ์เป็นที่แรกและที่เดียว

ผู้เข้าชมงานจากทั่วทุกมุมโลกจะ สามารถเชื่อมต่อกับผู้ให้บริการโซลูชัน เ ค รื่ อ ง จั ก ร ก ล โ ล ห ก า ร ทั้ ง ที่ อ ยู ่ ใ น ประเทศไทยและในต่างประเทศ ผ่านงาน METALEX ในรู ป แบบงานออนไลน์ (Virtual Event) ไปพร้อมๆ กับงานที่ ไบเทค บางนา ถือเป็นงานแบบไฮบริด ครบมิติเต็มรูปแบบที่จะสร้างโอกาสทาง ธุรกิจอย่างสูงสุดให้กับทุกภาคส่วน

รวมทีส่ ดุ ความไฮเทคของเทคโนโลยีชนั้ สูง ทีจ่ ะท�ำให้คณ ุ ตืน่ ตากับกองทัพเครือ่ งจักรกล โลหการล�้ำสมัยล่าสุด

มาตรการคุมเข้มความปลอดภัย เพิ่มความมั่นใจให้ผู้ร่วมงาน

พบเทคโนโลยีสุดฮอตที่มาพร้อมข้อเสนอ สุ ด พิ เ ศษจากผู ้ แ สดงสิ น ค้ า ภายในงาน เมทัลเล็กซ์เท่านั้น ที่ Hall 100

ก้าวล�ำ้ น�ำหน้าในยุค A.I. ด้วยความครบครัน ทุกโซลูชันการผลิต ระบบอัตโนมัติ และ หุ่นยนต์ จากหลากหลายแบรนด์ชั้นน�ำ ที่ Hall 99

บริ ก ารแนะน� ำ คู ่ ค ้ า ทางธุ ร กิ จ ที่ ต รงใจ ผู ้ ช มงานสามารถลงทะเบี ย นออนไลน์ หรื อ ลงทะเบี ย นก่ อ นเข้ า ชมงาน แล้ ว รั บ 10 รายชื่ อ ผู ้ แ สดงสิ น ค้ า แนะน� ำ ที่ ตรงกับความต้องการ เพือ่ ช่วยให้วางแผน ชมงานได้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

47

เมทัลเล็กซ์ 2020 ถูกออกแบบให้ ถึ ง พร้ อ มด้ ว ยมาตรการรั ก ษาความ ปลอดภั ย อย่ า งเคร่ ง ครั ด โดยท� ำ งาน ร่วมกับไบเทค ทัง้ การตรวจอุณหภูมริ า่ งกาย ผู ้ ร ่ ว มงาน การสวมหน้ า กากอนามั ย จุ ด จ่ า ยแอลกอฮอลล์ ล ้ า งมื อ การเว้ น ระยะห่ า งระหว่ า งบุ ค คล การควบคุ ม ความหนาแน่นภายในงาน การถ่ายเทและ ฆ่าเชื้ออากาศภายในฮอลล์

แล้วพบกันอีกครั้งในงาน METALEX 2020 ในระหว่าง วันที่ 18 -21 พฤศจิกายน 2020 ณ ไบเทค บางนา

ติดตามความเคลื่อนไหว ในวงการโลหการเพิ่มเติมได้ที่

website : www.metalex.co.th

Engineering Today September- October

2020


Preview • Reed Tradex

Hybrid

METALEX ปรับตัวพร้อมพา โลหการผ่านวิกฤต

“เราถู ก ถามเข้ า มาบ่ อ ยค่ ะ ว่ า ในสถานการณ์ COVID-19 นี้ งานเมทัลเล็กซ์ถูกกระทบไหม” ศิริรัตน์ สังข์วิชัย ผู้อ�ำนวยการ โครงการ บริษัท รี้ด เทรดเด็กซ์ จ� ำ กั ด ผู ้ จั ด งานเมทั ล เล็ ก ซ์ 2020 มหกรรมเครือ่ งจักรกลและ เทคโนโลยีโลหการอันดับหนึ่ง แห่งอาเซียน พูดถึงผลกระทบ จากวิ ก ฤตการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น กั บ งานแสดงสิ น ค้ า “ค� ำ ตอบ ก็คือ เราปฏิเสธไม่ได้ค่ะว่าถูก กระทบ เพราะสถานการณ์ นี้ มีผลกับ ทุกภาคส่วน แต่ว่าเรา ไม่เคยหยุด ทีมงานกลับช่วยกัน คิดและท�ำงานหนักกว่าเดิมเพื่อ ลูกค้าของเรา”

Engineering Today September- October 2020

48


การระบาดของโรค COVID-19 เป็นแรงผลักดันอันมหาศาล ที่บังคับให้ทุกคนต้องใช้ชีวิตวิถีใหม่หรือ New Normal ท�ำให้ เทคโนโลยีต่างๆ ทวีความส�ำคัญในการใช้ชีวิต ส�ำหรับภาคการ ผลิตก็เช่นกัน การปรับเปลี่ยนมุมมองการท�ำงานแบบเดิม แล้ว น�ำเอาเทคโนโลยีและเครื่องจักรต่างๆ เข้ามาประยุกต์ใช้ ไม่เพียง แต่เป็นการฟันฝ่าวิกฤตการณ์นี้ไปให้ได้ แต่ยังเป็นการเตรียม ความพร้อมที่จะวิ่งให้เร็วขึ้นเมื่อทุกอย่างกลับคืนสู่สภาวะปกติ “หลายเดือนทีผ่ า่ นมา เราใช้เวลาพูดคุยกับลูกค้า ทัง้ ผูแ้ สดง สินค้าและผูช้ มงาน หลายท่านบอกเราว่า ทุกคนหยุดไม่ได้ เพราะ การทีจ่ ะกลับมายืนขึน้ ใหม่ได้อกี ครัง้ ต้องอาศัยการปรับเปลีย่ นวิธี คิด และการเตรียมความพร้อมให้สามารถกูส้ งิ่ ทีเ่ สียไปให้คนื มาได้ เร็วขึ้นเมื่อสถานการณ์ปกติกลับมา ซึ่งแน่นอนว่าเทคโนโลยีและ เครือ่ งจักรต่างๆ จะเข้ามามีสว่ นช่วยพัฒนาประสิทธิภาพ ทัง้ ด้าน การบริหารจัดการและด้านการผลิต รวมถึงการลดต้นทุน ทุกคน ยังอยากพูดคุยกับคู่ค้า อยากหาลูกค้าหรือผู้ขายใหม่ๆ ยังอยาก เห็นเทคโนโลยีใหม่ๆ ซึ่งท�ำให้เราสร้างเครื่องมือและช่องทางด้าน ดิจิทัลที่จะช่วยเชื่อมต่อผู้ซื้อและผู้ขายได้ทุกเวลาที่ต้องการ โดย ไม่ต้องรอจนถึงวันงานแสดงสินค้า และเรายังได้เตรียมคอนเซ็ปต์ งานแสดงสินค้าแบบไฮบริด หรือ Hybrid Exhibition ไว้ เพือ่ เสริม ให้ผู้ร่วมงานของเราได้รับประโยชน์สูงสุด”

พูดคุยกัน ทั้งการจัด Webinar และกิจกรรมโรดโชว์ ซึ่งทุกท่าน สามารถติดตามกิจกรรมดีๆ ของเราได้จากไลน์ของงานผ่านไอดี: @metalex_expo” งานเมทัลเล็กซ์ 2020 ซึ่งก�ำหนดจัดขึ้นในระหว่างวันที่ 18-21 พฤศจิกายน นี้ ที่ไบเทค บางนา นั้น จะนับเป็นงานแสดง ด้านเครื่องจักรและเทคโนโลยีที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ดังนั้น รี้ด เทรดเด็กซ์ จึงได้จัดเตรียมมาตรการรักษาความปลอดภัยเอาไว้ อย่างเข้มงวด ศิริรัตน์ เผยถึงเรื่องนี้ว่า “รี้ด เทรดเด็กซ์ เป็น สมาชิกกลุ่มบริษัท รี้ด เอ็กซ์ฮิบิชั่นส์ [Reed Exhibitions] ซึ่งเป็น ผู้น�ำด้านการจัดงานแสดงสินค้าระดับโลก มีงานแสดงสินค้าอยู่ ใน 30 ประเทศ จึงมีการแชร์ข้อมูลข่าวสาร รวมทั้งมาตรการการ รักษาความปลอดภัยในประเทศต่างๆ อยู่เสมอ และที่ผ่านมา เราได้เฝ้าติดตามสถานการณ์และปฏิบัติตามกฎระเบียบของ ภาครัฐมาโดยตลอด อีกทั้งยังได้จัดเตรียมมาตรการรักษาความ ปลอดภัยส�ำหรับงานของเราที่จะจัดขึ้น ซึ่งแน่นอนว่า ต้องมี การตรวจวัดอุณหภูมิ จัดเตรียมพยาบาลและรถพยาบาล รวมทั้ง ห้องกักกัน มีการเช็กอิน ผ่านแอปไทยชนะ มีการเว้นระยะห่าง และดูแลความหนาแน่นของผู้ร่วมงานภายในแต่ละฮอลล์ให้เป็น ไปตามที่รัฐบาลก�ำหนด ดังนั้น ผู้ร่วมงานทุกท่านจะสามารถ เดินชมงานได้อย่างสบายใจ เพราะสุขอนามัยและสุขภาพของ ทุกท่านคือความส�ำคัญอันดับหนึ่งของเรา”

๏ Hybrid Exhibition

คือการผสมผสานระหว่างการจัดงานแสดงสินค้าที่เป็น Physical Event กับ Virtual Event เอาไว้ด้วยกัน โดยผู้ซื้อและ ผู้ขายสินค้าจะมีช่องทางเพิ่มเติมในการได้พบปะเจรจาธุรกิจกัน โดยไม่มกี รอบแห่งการเดินทางหรือเงือ่ นเวลามาบังคับ “เราได้เพิม่ บริการเสริมที่เราเรียกว่า On-demand Buyers Connectors ทีส่ ามารถช่วยผูจ้ ำ� หน่ายเทคโนโลยีสร้างตัวตนและแบรนดิง้ ในโลก ออนไลน์ พร้อมเชือ่ มต่อเพือ่ ให้ได้พบกับผูซ้ อื้ ผ่านบริการจับคูท่ าง ธุรกิจหรือ Digital Sourcing ซึ่งที่ผ่านมาเราก็ได้มีการจับคู่ ให้ลูกค้าส�ำเร็จไปแล้วหลายราย ได้เกิดการพบลูกค้าใหม่ผ่าน ช่องทางออนไลน์ขึ้น” “นอกจากนัน้ เราเพิง่ มีการปล่อยแคมเปญวิดโี อชือ่ We Are Here For You ซึ่งผู้แสดงสินค้าของเรากรุณามาแบ่งปันข้อมูล การดูแลลูกค้าในช่วงโควิด ซึ่งทุกท่านสามารถเข้าไปชมได้ใน เว็บไซต์ www.metalex.co.th หรือเฟซบุก๊ www.facebook.com/ metalexpage และเรายังมีอกี หลายแคมเปญและกิจกรรมทีก่ ำ� ลัง ทยอยออกมาให้ความรู้และท�ำให้คนในวงการโลหการได้เชื่อมต่อ

ท่านสามารถติดตามรายละเอียดของงาน รวมทั้งมาตรการการรักษาความปลอดภัย ของงาน ได้จากเว็บไซต์ของเมทัลเล็กซ์ ที่

www.metalex.co.th โทรสอบถามที่ศูนย์บริการข้อมูลลูกค้า

0-2686-7222

ก่อนจะจากกันไป ศิรริ ตั น์ ทิง้ ท้ายไว้วา่ “ทีมงานเมทัลเล็กซ์ อยากเป็นก�ำลังใจให้กับผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมการผลิต ทุกท่าน เราคิดแคมเปญ We Are Here For You ขึ้นมาเพราะ เราอยากจะบอกทุกท่านว่าเราอยู่ตรงนี้เพื่อคุณ หากมีสิ่งใดที่เรา ร่วมมือกันท�ำเพือ่ ฝ่าวิกฤตนีไ้ ปได้ดว้ ยกัน เรายินดีเสมอ เพียงติดต่อ เราเข้ามา เพราะเราจะต้องก้าวผ่านไปสู่อนาคตที่สดใสกว่า ด้วยกัน”

49

Engineering Today September- October

2020


Enerqy • กองบรรณาธิการ

» BGRIM ฉลองความส�ำเร็จสร้างโรงไฟฟ้าเพื่ออุตสาหกรรม 7 โครงการ ขนาด 980 เมกะวัตต์ ร่วมกับสถาบันการเงินชั้นน�ำ 5 แห่ง และ 2 บริษัทชั้นน�ำด้านก่อสร้าง

» นิรมาณ ไหลสาธิต รองผู้จัดการใหญ่ บมจ.ธนาคารกรุงเทพ

» ดร.ฮาราลด์ ลิงค์ ประธาน บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ BGRIM

ปรียนาถ สุนทรวาทะ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ BGRIM กล่าวเสริมว่า ส�ำหรับโครงการโรงไฟฟ้าเพือ่ การอุตสาหกรรมจ�ำนวน 7 โครงการ มีก�ำลังการผลิตติดตั้งสุทธิรวม 980 เมกะวัตต์ แบ่งเป็นโครงการ ก่อสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ทดแทนของเดิม เพื่อต่ออายุสัญญาซื้อขาย ไฟฟ้าจ�ำนวน 5 โครงการ และโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ (เปลี่ยนแปลงสถานที่ตั้งโรงไฟฟ้า) 2 โครงการ ได้ลงนามสัญญา ซื้ อ ขายไฟฟ้ า (PPA) ระยะยาวกั บ การไฟฟ้ า ฝ่ า ยผลิ ต แห่ ง ประเทศไทย (กฟผ.) ในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา เป็นระยะเวลา 25 ปี โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ การพัฒนาสาธารณูปโภคขั้น พื้นฐานที่ส�ำคัญในรูปแบบพลังงานไฟฟ้าและไอน�้ำที่มีคุณภาพ และเสถียรภาพ เพื่อที่จะส่งเสริมและดึงดูดการลงทุนของภาค อุตสาหกรรมที่จะส่งผลดีและก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศไทยได้อย่างยั่งยืน ส�ำหรับมูลค่ารวมของเงินลงทุนในการด�ำเนินการก่อสร้าง โครงการโรงไฟฟ้าเพื่อการอุตสาหกรรมนี้ คิดเป็นจ�ำนวนรวม โดยประมาณทั้งสิ้น 39,248 ล้านบาท ซึ่งได้รับการสนับสนุน เงินกู้โครงการ (Project Finance) จากสถาบันการเงินชั้นนํา อีกทั้งบริษัทฯ ยังคงรักษาระดับความแข็งแกร่งทางการเงิน โดย มีเงินสดในมือประมาณ 19,000 ล้านบาท และกระแสเงินสด จากการดําเนินงานเพื่อการลงทุนโครงการต่างๆ และรองรับการ เติบโตในอนาคต นิรมาณ ไหลสาธิต รองผู้จัดการใหญ่ ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า ธนาคารกรุงเทพให้บริการสินเชื่อแก่ โรงไฟฟ้าบี.กริม ตั้งแต่โครงการแรกในปี พ.ศ. 2538 ด้วยเชื่อมั่น ในกลุ่มบี.กริม มาตลอดระยะเวลา 25 ปี เนื่องจากการก่อสร้าง โครงการไม่เคยล่าช้า และอยู่ภายใต้งบประมาณมาโดยตลอด ทั้งนี้เชื่อว่าด้วยความเชี่ยวชาญของบี.กริม จะท�ำให้บี.กริม เติบโต ตลอดไป และภายใต้วิสัยทัศน์ของ ดร.ฮาราลด์ ลิงค์ จะท�ำให้เกิด Modern Transmission System ในไทย “การที่ บี . กริ ม ลงทุ น ในต่ า งประเทศ เช่ น เวี ย ดนาม ฟิลิปปินส์ และก�ำลังจะไปที่กัม พูชา รวมทั้งการลงทุนสร้าง โรงไฟฟ้าใน สปป.ลาว แล้ว ท�ำให้บี.กริม เติบโตต่อไปเป็นบริษัท พลังงานชั้นน�ำในภูมิภาค” นิรมาณ กล่าว ทัง้ นี้ บี.กริม ยังเดินหน้าศึกษาการลงทุนโครงการพลังงาน ใหม่ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศอย่างต่อเนื่องเพื่อขยาย ก�ำลังการผลิตไฟฟ้าให้เป็นไปตามเป้าหมาย 7,200 เมกะวัตต์ ตามเป้าหมายที่วางไว้

BGRIM ฉลองความส�ำเร็จ สร้าง

โรงไฟฟ้าเพื่ออุตสาหกรรม

7 โครงการ ขนาด 980 เมกะวัตต์ ด้วยงบสนับสนุนจากสถาบันการเงิน ชั้นน�ำ 5 แห่ง รวม 40,000 ล้านบาท

BGRIM ฉลองความส� ำ เร็ จ เตรี ย มความพร้ อ มพั ฒนา โรงไฟฟ้าเพื่อการอุตสาหกรรม 7 โครงการ ก�ำลังการผลิต 980 เมกะวัตต์ ด้วยงบลงทุน 4 หมื่นล้านบาท พร้อมได้รับการ สนับสนุนจาก 5 สถาบันการเงินชั้นน�ำ ประกอบด้วย ธนาคาร กรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารเพื่ อ การส่ ง ออกและน� ำ เข้ า แห่ ง ประเทศไทย (EXIM BANK) ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) และธนาคารออมสิน ร่วมกับ 2 บริษัทชั้นน�ำด้านก่อสร้าง ได้แก่ บริษัท ซีเมนส์ เอนเนอร์ยี่ จ�ำกัด ประเทศไทย และบริษัท โตชิบา แพลนท์ ซิสเต็มส์ แอนด์ เซอร์วิสเซส คอร์ปอเรชั่น ผู้รับเหมาก่อสร้าง ระดับโลก หนุนศักยภาพการเป็นผู้น�ำด้านพลังงานไฟฟ้า ดร.ฮาราลด์ ลิงค์ ประธาน บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ BGRIM กล่าวว่า นับเป็นอีกหนึ่งความส�ำเร็จ ของบริษัทฯ ในการเตรียมความพร้อมเพื่อก่อสร้างโรงไฟฟ้าเพื่อ การอุตสาหกรรมจ�ำนวน 7 โครงการ มูลค่า 40,000 ล้านบาท ซึ่งได้รับการสนับสนุนจาก 5 สถาบันการเงินชั้นน�ำ ประกอบด้วย ธนาคารกรุงเทพ จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารเพื่อการส่งออกและน�ำเข้าแห่งประเทศไทย (EXIM BANK) ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) และธนาคาร ออมสิน ร่วมกับ 2 บริษัทชั้นน�ำด้านการก่อสร้าง ได้แก่ บริษัท ซีเมนส์ เอนเนอร์ยี่ จ�ำกัด ประเทศไทย และบริษทั โตชิบา แพลนท์ ซิสเต็มส์ แอนด์ เซอร์วสิ เซส คอร์ปอเรชัน่ ท�ำให้มนั่ ใจถึงศักยภาพ ในการด�ำเนินโครงการที่จะลุล่วงตามแผนงานที่วางไว้

Engineering Today September- October 2020

50


@Engineering Today Vol. 5 No. 179

ศูนยทดสอบมาตรฐาน ระบบขนสงทางราง วว. รับมอบ ISO/IEC 17025 : 2017 จาก สมอ. เปนรายแรกของไทย

SENA ปดดีลขายหุนกูทะลุเปา มูลคา 1,110 ลานบาท สะทอนความเชื่อมั่นนักลงทุน สถาบัน - นักลงทุนรายใหญ OKRs and KPIs (Objective & Key Results and Key Performance Indicators)


Construction • กองบรรณาธิการ

ศูนย์ทดสอบมาตรฐาน ระบบขนส่งทางราง วว. รับมอบ ISO/IEC 17025 : 2017 จาก สมอ. เป็นรายแรกของไทย

ห้องปฏิบัติการศูนย์ทดสอบมาตรฐานระบบขนส่งทางราง (ศทร.) สถาบั น วิ จั ย วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ ง ประเทศไทย (วว.) ได้ รั บ การรั บ รองความสามารถห้ อ ง ปฏิบัติการ มอก.17025-2561 (ISO/IEC 17025 : 2017) จากส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ครอบคลุมด้านการทดสอบทางกลของโลหะและผลิตภัณฑ์ โลหะ รวมถึงชิ้นงานเชื่อมของเหล็ก เหล็กกล้า โลหะผสม และชิ้นส่วนระบบราง ทั้งหมอนคอนกรีต หมอนประแจ และ เครื่องยึดเหนี่ยวราง นับเป็นหน่วยงานแรกของประเทศไทย ที่ ได้รับการรับรอง ISO/IEC 17025 เวอร์ชัน 2017 ด้าน ระบบราง ตามมาตรฐาน BSEN 13230, BSEN 13481 และ BSEN 13146 ครอบคลุมผลิตภัณฑ์หมอนคอนกรีต หมอนประแจ และเครือ่ งยึดเหนีย่ วราง เดินหน้าน�ำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวั ต กรรม ส่ ง เสริ ม ผู ้ ป ระกอบการไทยผลิ ต และส่งออกสินค้าในภูมิภาค สนับสนุนพัฒนาโลจิสติกส์ ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง สร้ า งความได้ เ ปรี ย บการแข่ ง ขั น ให้ ประเทศไทย

» ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการ วว. รับมอบใบรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการ มอก.17025-2561 จาก วันชัย พนมชัย เลขาธิการ สมอ.

Engineering Today September- October 2020

52

เมื่ อ เร็ ว ๆ นี้ ดร.ชุ ติ ม า เอี่ ย มโชติ ช วลิ ต ผู้ว่าการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) รับมอบ ใบรั บ รองความสามารถห้ อ งปฏิ บั ติ ก าร มอก. 17025-2561 (ISO/IEC 17025 : 2017) จาก วันชัย พนมชัย เลขาธิการส�ำนักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (สมอ.) ในโอกาสนี้ ผูบ้ ริหาร จากภาคเอกชน ได้แก่ น�ำชัย สกุลฏ์โชคน�ำชัย ประธานกรรมการกลุ ่ ม บริ ษั ท โชคน� ำ ชั ย กฤช นิวาตพันธุ์ ผูจ้ ดั การหน่วยวิจยั และพัฒนา (เชซซีย)์ บริษัท ไมน์ โมบิลิตี รีเสิร์ช จ�ำกัด จิตต์ เลวรรณ์ ผู้ช่วยรองประธานบริหารสายงานธุรกิจ บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จ�ำกัด Mr.Louis Vandamme, General Manager, Pandrol (Thailand) Co., Ltd. ณัฐพงษ์ ปิตา Technical Support Manager, VOSSLOH พร้อมด้วย วิรัช จั น ทรา รองผู ้ ว ่ า การบริ ก ารอุ ต สาหกรรม วว. ดร.อาณัติ หาทรัพย์ ผู้อ�ำนวยการ ศทร. และ นักวิชาการ ร่วมแสดงความยินดี ณ ห้องประชุม 200 อาคาร สมอ. กระทรวงอุตสาหกรรม

» ศทร. วว. เป็นหน่วยงานแรกของไทย ได้การรับรอง ISO/IEC 17025 เวอร์ชัน 2017 ด้านระบบราง

ดร.ชุ ติ ม า เอี่ ย มโชติ ช วลิ ต ผู ้ ว ่ า การ สถาบั น วิ จั ย วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ห่ ง ประเทศไทย (วว.) กล่าวว่า ศูนย์ทดสอบมาตรฐาน ระบบขนส่งทางราง เป็นหน่วยงานในสังกัดกลุ่ม บริการอุตสาหกรรม วว. ท�ำหน้าที่เป็นหน่วยงาน กลางในการทดสอบวัสดุ ชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์ โลหะ และชิ้นส่วนระบบราง การที่ได้รับการรับรอง ความสามารถห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 : 2017 ดังกล่าว แสดงให้เห็นว่า ห้อง ปฏิบัติการ วว. สามารถด�ำเนินงานด้านระบบ คุณภาพ มีความสามารถทางวิชาการ ผลการทดสอบ จากห้องปฏิบัติการของ ศทร. น่าเชื่อถือ ถูกต้อง ตามหลักวิชาการ มีคุณภาพและความน่าเชื่อถือใน รายงานผลการทดสอบเป็นทีย่ อมรับในกลุม่ ประเทศ สมาชิก Asia Pacific Laboratory Accreditation (APLAC) และ International Laboratory Accreditation Council (ILAC) ในความเทียบเท่า


» วันชัย พนมชัย เลขาธิการส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (สมอ.)

» ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย (วว.)

ทางด้านความสามารถทางวิชาการ การอ�ำนวยประโยชน์และความสะดวก ทางการค้าระดับประเทศและระดับระหว่างประเทศ ลดการกีดกันทางการค้า อันเนื่องมาจากการทดสอบซ�้ำ ลดการตรวจซ�้ำจากประเทศคู่ค้า การได้รับการรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการของ ศทร. จาก สมอ. ท�ำให้ ศทร. วว. ถือเป็นหน่วยงานแรกของประเทศไทยที่ได้รับการรับรอง ISO/IEC 17025 เวอร์ชนั 2017 ด้านระบบราง ตามมาตรฐาน BSEN 13230, BSEN 13481 และ BSEN 13146 ครอบคลุมผลิตภัณฑ์หมอนคอนกรีต หมอนประแจ และเครื่องยึดเหนี่ยวราง ซึ่งเป็นชิ้นส่วนที่ภาคเอกชนไทยผลิต โดยที่ ศทร. สามารถทดสอบได้ครบทุกรายการ และ ศทร. ยังมีแผนงานจะ ขยายขอบข่ายขอการรับรองให้ครอบคลุม ผลิตภัณฑ์งานทาง และล้อเลื่อน ทุกระบบต่อไป รวมถึงตัวรถไฟฟ้าภายในเวลา 3 ปี แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการ ความพร้อมในด้านโครงสร้างพืน้ ฐานคุณภาพของประเทศไทยในด้านระบบราง ที่ก้าวหน้าและไม่ได้ด้อยกว่าประเทศใดๆ ในภูมิภาคนี้ “ในโอกาสที่ ศทร. วว. ได้รับการรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการ มอก.17025-2561 (ISO/IEC 17025 : 2017) จากส�ำนักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมอย่างเป็นทางการในวันนี้ ถือเป็นอีกหนึง่ ก้าวส�ำคัญของ วว. ซึ่งจะช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้ประกอบการ ผู้ผลิตชิ้นส่วนทางด้าน ยานยนต์ และชิ้นส่วนระบบรางในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงหน่วยงาน ภาครัฐทั้งในประเทศและต่างประเทศ ได้เห็นถึงศักยภาพในการให้บริการ ทดสอบด้านระบบรางของประเทศไทย ทีม่ มี าตรฐาน เป็นทีย่ อมรับในระดับสากล นับเป็นอีกฟันเฟืองส�ำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย” ผู้ว่าการ วว. กล่าว

» ช่วยเอกชนประหยัดค่าทดสอบผลิตภัณฑ์ สัง่ สมองค์ความรูก้ ารผลิตในประเทศเพิม่ ขีดความสามารถการแข่งขัน

» วิรัช จันทรา (ซ้าย) รองผู้ว่าการกลุ่มบริการอุตสาหกรรม และ ดร.อาณัติ หาทรัพย์ (ที่ 2 จากขวา) ผู้อ�ำนวยการ ศทร. วว.

» จิตต์ เลวรรณ์ ผู้ช่วยรองประธานบริหารสายงานธุรกิจ บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จ�ำกัด

ดร.ชุติมา กล่าวว่า ในส่วนของอัตราค่าบริการของ ศทร. เมื่อเทียบกับ การทดสอบที่ Lab ต่างประเทศ พบว่า สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายประมาณ 30% เนื่องจาก ศทร. มีเครื่องมือและอุปกรณ์พร้อม ไม่ต้องส่งผลิตภัณฑ์ ไปทดสอบยังต่างประเทศ ซึ่งบางรายการค่าใช้จ่ายในการส่งผลิตภัณฑ์ไป ทดสอบสูงกว่าค่าบริการทดสอบเสียอีก ที่ส�ำคัญคือ องค์ความรู้จากการผลิต ในประเทศ เทคโนโลยีได้รบั การพัฒนา ซึง่ จะช่วยเพิม่ ขีดความสามารถทางการ แข่งขันของไทย โดย ศทร. ท�ำงานกับ VOSSLOH ซึ่งเป็นบริษัทผลิตรถไฟ สัญชาติเยอรมนีมานาน ช่วยเพิ่มความสามารถของผู้ประกอบการ ซึ่งจะเป็น กลไกส�ำคัญในการผลิต Local Contents ทีไ่ ด้การยอมรับจากต่างประเทศ และ ด้วยขีดความสามารถในการทดสอบของ ศทร. ท�ำให้ ศทร. เป็นอันดับ 1 ในภูมิภาคอาเซียน เมื่อเทียบกับประเทศต่างๆ ในอาเซียน เนื่องจากสิงคโปร์ ยังไม่มีศูนย์ทดสอบทางด้านนี้ ส�ำหรับการพัฒนาระบบขนส่งทางรางของไทย ได้มีการจัดตั้งศูนย์วิจัย ร่วมไทย-จีน โดย ศทร. เป็นหน่วยปฏิบัติการร่วมกับสถาบันมาตรวิทยา และ ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เน้นการทดสอบ งานทาง ตัวรถ และซ่อมบ�ำรุง ท�ำให้ระบบรางของประเทศพัฒนาอย่างยั่งยืน พร้อมเปิดโอกาสให้เอกชนมาร่วมท�ำวิจัยและรับถ่ายทอดเทคโนโลยีอีกด้วย

53

Engineering Today September- October

2020


» ปี’63 ให้บริการทดสอบโครงการรถไฟของคมนาคม 15 โครงการ ขยายงานบริการทดสอบไปต่างประเทศ

วิ รั ช จั น ทรา รองผู ้ ว ่ า การกลุ ่ ม บริ ก ารอุ ต สาหกรรม สถาบั น วิ จั ย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กล่าวถึงผลการด�ำเนินของ ศทร. ในรอบปี พ.ศ. 2563 ว่า ศทร. มีผลงานโดดเด่นเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับ ประเทศและต่างประเทศ ได้แก่ บริการทดสอบให้แก่โครงการก่อสร้างรถไฟของ กระทรวงคมนาคม 15 สัญญาโครงการ โดยชิ้นส่วนที่ ศทร. ให้บริการทดสอบ เช่น ตาข่ายเสริมก�ำลังดิน (Geo-grid) วัสดุในงานก่อสร้าง (คอนกรีต ยาง วัสดุ คอมโพสิต เหล็กเส้น เหล็กข้ออ้อย เหล็กรูปพรรณ ลวดเหล็กอัดแรง ฯลฯ) แผ่นยางรองราง สลักภัณฑ์ หมอนคอนกรีต หมอนประแจ ราง รอยเชื่อมราง ประกับราง เครื่องยึดเหนี่ยวราง แผ่นพื้นทางผ่านเสมอระดับ คันชักประแจกล ท่อร้อยสายไฟ ชิน้ ส่วนสะพานรถไฟ โครงเสาระบบจ่ายไฟเหนือศีรษะ ชิน้ ส่วน รางสาม โครงแคร่ ล้อ เพลาล้อ โบกีบ้ รรทุกตูส้ นิ ค้า (บทต) แท่งห้ามล้อ เป็นต้น นอกจากนี้ ศทร. ยังสามารถขยายงานบริการทดสอบไปยังต่างประเทศ เช่น เยอรมนี ฝรัง่ เศส เกาหลีใต้ ญีป่ นุ่ ออสเตรเลีย เวียดนาม เมียนมา มาเลเซีย สิงคโปร์ รวมทั้งยังด�ำเนินงานในด้านการยกร่างมาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานรถ โบกี้บรรทุกตู้สินค้า (บทต) ให้แก่กรมการขนส่งทางราง ร่างมาตรฐานแผ่น ยางพาราครอบก�ำแพงคอนกรีตให้แก่กรมทางหลวงชนบท รวมทั้งพัฒนาการ ทดสอบประเมินสมรรถนะการชนของรถบรรทุกขนาด 2 ตัน ได้สำ� เร็จในประเทศ ท� ำ ให้ ส ามารถประหยัดงบประมาณในการส่ง แผ่น ยางพาราครอบก�ำแพง คอนกรีตไปทดสอบทีเ่ กาหลีใต้ ซึง่ ลดลงมากกว่า 5 เท่า ตลอดจนใช้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม สนับสนุนให้นโยบายส่งเสริมการใช้ยางพารา ในอุปกรณ์ความปลอดภัยทางถนน สามารถเดินไปสู่นโยบายการผลิตได้ เนื่องจากมีหน่วยงาน วว. ให้การทดสอบรับรองได้ภายในประเทศ

» ศทร. เตรียมความพร้อมยกระดับ Lab สูส่ ากล

ดร.อาณัติ หาทรัพย์ ผู้อ�ำนวยการศูนย์ทดสอบมาตรฐานระบบขนส่ง ทางราง (ศทร.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กล่าวว่า ศูนย์ทดสอบมาตรฐานระบบขนส่งทางราง (ศทร.) วว. จัดตัง้ เป็นเวลา นานหลายปี โดยได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น ศทร. ในปี พ.ศ. 2560 ส�ำหรับแนวทาง ในการเตรียมพร้อมยกระดับห้องปฏิบัติการของ ศทร. ว่า ขณะนี้ได้เตรียมแผน ในการให้บริการทดสอบด้านระบบขนส่งทางราง อาทิ บริการทดสอบและพัฒนา ห้องปฏิบัติการทดสอบ และตรวจสอบระบบรางระดับสากล ครอบคลุมรถไฟ ทุกระบบ ทั้งความเร็วปานกลางและความเร็วสูง การร่วมกับบริษัทเอกชน เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมชิ้นส่วนผลิตในประเทศ หรือ Local Contents การ ยกร่างมาตรฐานให้แก่หน่วยงานภาครัฐต่างๆ ซึ่งเริ่มออกมาตรฐานระบบราง โดย สมอ. ได้จัดท�ำมาตรฐานออกมา ตลอดจนการด�ำเนินงานวิจัยพัฒนา เทคโนโลยีระบบราง เช่น ระบบเฝ้าระวังน�้ำหนักบรรทุกรถไฟ รวมทั้งส่งเสริม การใช้ยางพาราในงานราง เช่น Fastener, Under Sleeper Pad เป็นต้น

» กลุม่ บริษทั โชคน�ำชัย-อิตาเลียนไทย มัน่ ใจบริการทดสอบของ ศทร.

น� ำ ชั ย สกุ ล ฏ์ โ ชคน� ำ ชั ย ประธานกรรมการกลุ ่ ม บริ ษั ท โชคน� ำ ชั ย กล่าวว่า บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจผลิตแม่พิมพ์ป้อนอุตสาหกรรมยานยนต์ให้ ค่ายรถทุกค่าย และส่งออกสัดส่วน 85% ปัจจุบนั บริษทั ฯ พยายามผลิตชิน้ ส่วน รถไฟ โดยส่งชิ้นส่วนทางรางรถไฟให้ ศทร. ทดสอบ การที่ ศทร. ได้การรับรอง

Engineering Today September- October 2020

54

» Lab ศูนย์ทดสอบมาตรฐานระบบขนส่งทางราง (ศทร.) วว. ได้มาตรฐานระดับสากล

ISO/IEC 17025 เวอร์ชัน 2017 ด้านระบบราง จาก สมอ. ในครัง้ นี้ ซึง่ ถือเป็นมาตรฐานสากล ท�ำให้ ผู้ประกอบการไทยได้รับความสะดวก ไม่ต้องส่ง ชิ้นส่วนไปทดสอบต่างประเทศ และช่วยยกระดับ การผลิตให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ด้าน จิตต์ เลวรรณ์ ผูช้ ว่ ยรองประธานบริหาร สายงานธุรกิจ บริษทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จ�ำกัด กล่าวว่า อิตาเลียนไทยได้ร่วมงานกับ วว. มานานกว่า 10 ปี ที่ผ่านมาบริษัทฯ ได้งานรถไฟฟ้า ทั้งมาเลเซียและสิงคโปร์ จึงให้ ศทร. ทดสอบหมอน ราง และเครือ่ งยึดเหนีย่ ว ทัง้ นีผ้ ลิตภัณฑ์จะจ�ำหน่าย ให้ลูกค้าได้ จะต้องได้รับการรับรองจากหน่วยงาน ภายนอกที่เรียกว่า Third Party โดยอิตาเลียนไทย ได้หน่วยงาน วว. มาช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้ทั้ง มาเลเซียและสิงคโปร์ รวมทัง้ งานปรับปรุงทางรถไฟ ภาชี-ลพบุรี ในปี พ.ศ. 2545 และงานอื่นๆ ก็ได้ ศทร. มาช่วยทดสอบ ท�ำให้ลูกค้ามั่นใจในคุณภาพ ของผลิตภัณฑ์มากยิ่งขึ้น “วว. พร้ อ มใช้ วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวั ต กรรม ส่ ง เสริ ม ผู ้ ป ระกอบการไทยผลิ ต และ ส่ ง ออกสิ น ค้ า ในภู มิ ภ าค สนั บ สนุ น การพั ฒ นา โลจิสติกส์ประสิทธิภาพสูง สร้างความได้เปรียบใน การแข่งขันให้ประเทศไทย” ผู้ว่าการ วว. กล่าวสรุป ทิ้งท้าย


Property • กองบรรณาธิการ

SENA ปิดดีลขายหุ้นกู้ ทะลุเป้า มูลค่า 1,110 ล้านบาท

สะท้อนความเชือ่ มัน่ นักลงทุนสถาบัน-นักลงทุนรายใหญ่

» ผศ. ดร.เกษรา ธัญลักษณ์ภาคย์ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เสนาดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ SENA

บริษัท เสนาดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ SENA ปิดดีลขายหุ้น กู้ ล็ อ ตใหม่ รวมมู ล ค่ า 1,110 ล้ า นบาท ทะลุเป้าเกินทีค่ าดการณ์ไว้ที่ 800 ล้านบาท สวนกระแสตลาด สะท้ อ นความเชื่ อ มั่ น นั ก ลงทุ น สถาบั น และนั ก ลงทุ น รายใหญ่ อย่างล้นหลาม ผศ. ดร.เกษรา ธั ญ ลั ก ษณ์ ภ าคย์ รองประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เสนา ดีเวลลอปเม้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ SENA กล่าวว่า บริษัทฯ ได้รับกระแสตอบรับที่ดี เกินคาดจากการเสนอขายหุน้ กูช้ ดุ ใหม่ ระหว่าง วันที่ 1-2 และ 5 ตุลาคมที่ผ่านมา โดยได้รับ ความสนใจจองซือ้ เกินกว่าเป้า 800 ล้านบาท และหุ้นส�ำรอง 400 ล้านบาท สะท้อนถึง ความมัน่ ใจในฐานะการเงินและโอกาสเติบโต ของบริ ษั ท ฯ จากทั้ ง ผู ้ ล งทุ น สถาบั น และ ผู้ลงทุนรายใหญ่ โดยมี 5 สถาบันการเงิน ได้แก่ ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ โนมูระ พัฒนสิน จ�ำกัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ เอเชีย พลัส จ�ำกัด และบริษัทหลักทรัพย์ เกียรตินาคิน

55

ภัทร จ�ำกัด (มหาชน) เป็นผู้จัดการจ�ำหน่าย หุ้นกู้ ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ ประสบความส� ำ เร็ จ มียอดขายหุ้นกู้ชุดใหม่ 2/2563 รวมทั้งสิ้น 1,110.04 ล้านบาท มีอายุ 3 ปี 4 เดือน ครบก�ำหนดไถ่ถอนปี 2567 อัตราดอกเบี้ย คงที่ 4.5% ต่อปี ช�ำระดอกเบี้ยทุก 3 เดือน โดยเงินที่ได้จากการขายหุ้นกู้ดังกล่าวจะน�ำ ไปช�ำระคืนหุ้นกู้ที่จะครบก�ำหนดไถ่ถอนใน เดือนมีนาคม 2564 และ/หรือเพื่อใช้เป็น เงิ น ทุ น หมุ น เวี ย นในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ของ บริษัทและบริษัทย่อยภายใน 1 ปี อย่างไรก็ตาม ภายใต้สถานการณ์ เศรษฐกิจที่ชะลอตัวที่เกิดขึ้นจากการแพร่ ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 นักลงทุน ยังมีความต้องการเข้ามาลงทุนในตลาดหุน้ กู้ ด้วยผลตอบแทนทีด่ กี ว่าเงินฝากจากสถาบัน การเงิน ซึ่งการออกหุ้นกู้ของ sena ได้รับ การตอบรับอย่างดีมาอย่างต่อเนือ่ ง สะท้อน ให้เห็นถึงความเชือ่ มัน่ ในการด�ำเนินงานของ บริษัทที่มีศักยภาพในการเติบโต มีผลการ ด�ำเนินงานทีด่ ี รวมถึงการวางกลยุทธ์ในการ ขับเคลือ่ นองค์กรและการลงทุนทีช่ ดั เจน

Engineering Today September- October

2020


Advertorial • อินฟอร์มา มาร์เก็ตส์

อินฟอร์มา มาร์เก็ตส์ เดินหน้าจัดงาน ProPak Asia 2020 ในรูปแบบนิวนอร์มอล

รุ้งเพชร ชิตานุวัตร์ ผู้อ�ำนวยการ กลุม่ โครงการ-ภูมภิ าคอาเซียน อินฟอร์มา มาร์เก็ตส์ กล่าวถึงความมั่นใจในการ จัดงานโพรแพ็ค เอเชีย 2020 ว่า แม้ สถานการณ์ COVID-19 จะเกิดขึ้นมา มากกว่า 6 เดือนทัว่ โลกแล้ว แต่อตุ สาหกรรม หลายๆ ประเภทนัน้ ยังคงมีการด�ำเนินการ อย่างต่อเนื่อง และยังมีการปรับเปลี่ยน รูปแบบการน�ำเสนอสอดคล้องกับข้อมูล ของส� ำ นั ก งานเศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรม (สศอ.) ที่ ร ายงานว่ า ดั ช นี ผ ลผลิ ต อุ ต สาหกรรม (MPI) เดื อ นมิ ถุ น ายน ขยายตัว 4.18% เมื่อเทียบกับเดือนก่อน และขยายตั ว ต่ อ เนื่ อ งเป็ น เดื อ นที่ 2 อัตราการใช้ก�ำลังการผลิตเพิ่มขึ้นอยู่ที่ 55.21% จากเดิมที่ 52.34% ถือเป็น สั ญ ญาณการฟื ้ น ตั ว ทางเศรษฐกิ จ และ อุตสาหกรรมที่ดี ซึ่งก็มีบางอุตสาหกรรม

Engineering Today September- October 2020

ได้รบั ผลบวกจากสถานการณ์ COVID-19 อาทิ อุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม ยา และเวชภัณฑ์ นอกจากนั้นในอีกหลาย อุ ต สาหกรรมเริ่ ม มี สั ญ ญาณดี ใ ห้ เ ห็ น จากการปรั บ ตั ว พั ฒ นาธุ ร กิ จ ให้ รั บ กั บ สถานการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ท� ำ ให้ เ ริ่ ม ทยอย กลั บมาด� ำ เนิ น การได้ เ ป็ น ปกติ ม ากขึ้ น นอกจากนี้ จ ากการส� ำ รวจของบริ ษั ท ทางด้านการตลาดมากมายพบว่า สิ่งที่ ผู ้ บ ริ โ ภคในปั จ จุ บั น ต้ อ งการคื อ ความ ปลอดภั ย จากสิ น ค้ า ที่ ซื้ อ และรู ป แบบ การซื้อ เป็นรูปแบบของอีคอมเมิร์ซ และ ดิลิเวอรี่ เพิ่มมากขึ้น ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ ล้วนแล้วแต่ส่งผลให้เกิดการปรับตัวของ ผู ้ ผ ลิ ต ที่ จ ะต้ อ งน� ำ เทคโนโลยี เ ข้ า เป็ น ตัวช่วยในการปรับรูปแบบสินค้าทั้งด้าน การผลิต และการบรรจุหีบห่อ

56

เพื่อกระตุ้นการปรับใช้ เทคโนโลยีในการผลิต และบรรจุภัณฑ์เพื่อ ความปลอดภัยของ ผู้บริโภคที่เพิ่มขึ้น

อินฟอร์มา มาร์เก็ตส์ ผู้จัดงาน โพรแพ็ค เอเชีย 2020 ยืนยันจัดงานใน วันที่ 20-23 ตุลาคม 2563 ณ ศูนย์นิทรรศการและ การประชุมไบเทค บางนา โดยเตรียมมาตรการ รองรับผู้ร่วมงานโดยน�ำ รูปแบบการใช้ดิจิทัล แพลตฟอร์มต่างๆ มาใช้ เพื่ออ�ำนวยความสะดวก แก่ผู้เข้าร่วมงาน อีกทั้ง ร่วมมือกับสถานที่ในการ คัดกรอง และวางมาตรการ สุขอนามัยเต็มที่เพื่อให้ ความมั่นใจแก่ผู้ร่วมงาน โดยมีผู้ตอบรับเข้าร่วมงาน มากกว่า 300 บริษัท


โดยงานโพรแพ็ค เอเชีย นับเป็น งานแสดงสิ น ค้ า ด้ า นการผลิ ต แปรรู ป และบรรจุภณ ั ฑ์อย่างครบวงจรตัง้ แต่ตน้ น�ำ้ ถึ ง ปลายน�้ ำ ที่ ส� ำ คั ญ ที่ สุ ด งานหนึ่ ง ของ ภูมิภาคเอเชีย ถึงแม้ว่าผู้ประกอบการ จากประเทศอื่นๆ ยังไม่สามารถเดินทาง เข้าร่วมงานได้ก็ตาม ทางอินฟอร์มาร์ มาร์ เ ก็ ต ส์ ได้ ป รั บ กลยุ ท ธ์ โ ดยการน� ำ ดิจิทัลแพลตฟอร์มที่เขียนขึ้นเพื่อมาใช้ ในการจั ด งานเพื่ อ ให้ เ กิ ด การเจรจา ธุ ร กิ จ ขึ้ น ทั้ ง นี้ ท างอิ น ฟอร์ ม าได้ น� ำ แพลตฟอร์มที่ชื่อว่า BEPlace (บีเพลส) ซึ่งเป็นรูปแบบแพลตฟอร์มการจัดงาน แสดงสินค้าออนไลน์ โดยมีฟงั ก์ชนั ในการ ให้ผใู้ ช้งานทีไ่ ม่สามารถเข้าร่วมงานได้นนั้ มี โ อกาสพบผู ้ ป ระกอบการที่ เ ข้ า ร่ ว ม ออกบูธในงาน ProPak Asia 2020 และ สามารถเจรจาธุ ร กิ จ กั น ได้ เ สมื อ นจริ ง ผ่านระบบการถามตอบ และการประชุม ออนไลน์ นอกจากนีส้ ำ� หรับผูป้ ระกอบการ ทีเ่ ป็นฝัง่ ขายเสนอเทคโนโลยีนนั้ สามารถ เข้ า ร่ ว มงานได้ ใ นรู ป แบบไฮบริ ด โดย บริ ษั ท เหล่ า นั้ น จะมี คู ห ามาตรฐาน ภายในงาน ProPak Asia 2020 และมี เจ้าหน้าที่ที่ทางผู้จัดงานได้จัดไว้ให้ เพื่อ รอรับผู้ซื้อสินค้าที่มาเดินในงานที่ไบเทค สามารถติดต่อกลับ ฝากข้อความเพื่อ นัดหมายเจรจาล่วงหน้า หรือเจรจาการค้า ได้ทันที โดยให้มีการประชุมสาย หรือ น�ำเสนอสินค้าผ่านระบบ BEPlace ได้ เช่นกัน

รุ ้ ง เพชร เปิ ด เผยว่ า อิ น ฟอร์ ม า มาร์เก็ตส์ ในฐานะผู้ประกอบธุรกิจการ จั ด แสดงสิ น ค้ า และกิ จ กรรมส� ำ หรั บ เจรจาธุรกิจระดับนานาชาติกว่า 550 งาน ทั่วโลก และพันธมิตรภาครัฐและเอกชน มีความพร้อมที่จะจัดงานโพรแพ็ค เอเชีย 2020 ต่อเนื่องเป็นครั้งที่ 28 เป้าหมาย ที่ส�ำคัญของอินฟอร์มา มาร์เกตส์นั้น คือ การจัดงานที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตของ ภาคอุตสาหกรรมเน้นการให้ความส�ำคัญ กับคู่ค้า และสร้างความยั่งยืน ทั้งนี้ในปีนี้ ด้วยสถานการณ์ COVID-19 ที่เกิดขึ้น ทางบริษัทฯ ได้ให้ความส�ำคัญกับความ ปลอดภั ย ของผู ้ ร ่ ว มงานและพนั ก งาน จึงได้มีการจัดมาตรการการจัดงานและ การด�ำเนินการด้านสุขอนามัย เน้นความ ปลอดภัยตามมาตรฐานของอินฟอร์มา ออลซีเคียว (Informa AllSecure) และ ตามมาตรฐานของ ศบค. เช่น การจัดวาง พื้ น ที่ พ ร้ อ มระยะห่ า งส� ำ หรั บ ทางเดิ น การควบคุมความหนาแน่น การลดการ สั ม ผั ส ในการรั บ เอกสารต่ า งๆ โดยน� ำ เทคโนโลยีดิจิทัลมาปรับใช้ เช่น การใช้ e-badge (บัตรร่วมงานอิเล็กทรอนิกส์)

การจัดสัมมนาต่างๆ พร้อมจัดการเผยแพร่ ในรูปแบบออนไลน์ การใช้ BEPlace งานแสดงสินค้าในเครื่องโทรศัพท์ของ ผู้ชมงาน ทั้ ง นี้ เ ชื่ อ ว่ า การจั ด งานดั ง กล่ า ว จะมี ส ่ ว นส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การกระตุ ้ น อุตสาหกรรมการผลิต และบรรจุภัณฑ์ โดยรวมไปจนถึงปี พ.ศ. 2564 ถึงแม้ รูปแบบการจัดงานจะมีการปรับเปลี่ยน ตามมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาด ของโควิ ด -19 ก็ ต าม ทางอิ น ฟอร์ ม า มาร์เก็ตส์ หวังว่าการจัดงานในรูปแบบนี้ จะเป็ น จุ ด เริ่ ม ต้ น ของการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ วิ ถี ใ หม่ ที่ เ ข้ า มาเสริ ม การจั ด งานแสดง สินค้าให้มกี ารเข้าถึงเพิม่ มากขึน้ สิง่ ส�ำคัญ ในการจัดงานของอินฟอร์มา มาร์เก็ตส์ คือความปลอดภัยของผูร้ ว่ มงาน และการ สร้างโอกาสทางธุรกิจที่ยั่งยืน ท้ า ยนี้ ไ ม่ ว ่ า ท่ า นจะเป็ น องค์ ก ร ขนาดใด งาน ProPak Asia 2020 จะ เป็นเสมือนการน�ำเสนอโรงงานจ�ำลอง ให้ ท ่ า นสามารถเลื อ กซื้ อ สิ น ค้ า และ เทคโนโลยีที่เหมาะกับขนาดของธุรกิจ ของท่าน พบกันที่ ProPak Asia 2020 ในวันที่ 20-23 ตุลาคม 2563 เวลา 9.00-18.00 น. ณ ศูนย์นทิ รรศการและ การประชุมไบเทค บางนา

ผู้ที่สนใจสามารถเข้าชมข้อมูล การจัดงาน ProPak Asia 2020 ได้ที่

www.propakasia.com

57

Engineering Today September- October

2020



Management Tools Today • ดร.พรชัย องค์วงศ์สกุล dr.pornchai.ong@gmail.com

เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ (New Management Tools)

OKRs and KPIs (Objective & Key Results and Key Performance Indicators) การบริ ห ารองค์ ก รคงไม่ มี ใ ครไม่ รู ้ จั ก เครื่ อ งมื อ ทางการ บริหารทีใ่ ช้วดั ผลองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบการใช้ KPIs (Key Performance Indicators) หรือตัวชี้วัดผลการด�ำเนินงาน ในระดับองค์กร และเครื่องมือที่ใช้ในการผลิตผลงานได้อย่าง มีประสิทธิผลเต็มที่อย่าง OKRs (Objective and Key Results) หรือตัวชี้วัดผลส�ำเร็จของผลงานในระดับปฏิบัติการ แต่เราแน่ใจหรือว่าก�ำลังใช้ KPIs อย่างถูกต้อง KPIs เป็น เครือ่ งมือทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ ของระบบการบริหารผลการด�ำเนินงานหรือ MBO (Management by Objectives) ถูกน�ำมาใช้ส�ำหรับการ บริ ก ารกั น อย่ า งแพร่ ห ลาย ผู ้ พั ฒ นาแนวคิ ด การบริ ห ารโดย วัตถุประสงค์คือศาสตราจารย์ปีเตอร์ ดรักเกอร์ (Peter Drucker) ซึง่ เรามักจะยอมรับกับค�ำกล่าวทีว่ า่ “What gets measure, gets done.” หรือหมายถึงการมี KPI เพื่อให้เรายึดเป็นเป้าหมายต่อ การด�ำเนินงานเพื่อบรรลุความส�ำเร็จ เป็นมุมมองที่ผู้บริหารวาง นโยบาย วางเป้าหมายและก�ำหนดความส�ำเร็จ อีกทั้งก�ำหนด รางวัลที่ได้จากความส�ำเร็จนั้น เป็นการบริหารแบบ Top-Down ส่วน OKRs เป็นเครื่องมือที่ส�ำคัญในการติดตามผลลัพธ์ ความคืบหน้าอย่างต่อเนือ่ งแบบ On time & In time (ตามก�ำหนด เวลาและทันเวลา) ในวัตถุประสงค์และผลลัพธ์ (Objective and Key Results) ทีต่ งั้ ไว้ เป็นมุมมองทีผ่ บู้ ริหารก�ำหนดให้สอดคล้อง กับแผน แต่ให้ฝา่ ยปฏิบตั กิ ารก�ำหนดผลลัพธ์มาตอบวัตถุประสงค์ ที่ตั้งไว้เอง เป็นการบริหารแบบ Top-Up ซึ่งเครื่องมือทางการบริหารแบบการชี้วัดได้ทั้งสองแบบ มีลกั ษณะทางจิตวิทยาทางการบริหารในรูปแบบการสร้างพลังด้วย แรงจูงใจ (Power of Motivation) ด้วย KPIs และการสร้างพลัง ด้วยแรงบันดาลใจ (Power of Motive) ด้วย OKRs ซึง่ จะมีเนือ้ หา ที่อรรถาธิบายมีความแตกต่างเล็กน้อยจากหนังสือ ต�ำราอื่นๆ

ในเรื่องการน�ำ OKRs มาประยุกต์เพื่อการใช้งานจริง โดยแบ่ง ออกเป็น 3 ตอนส�ำคัญคือ 1 การท�ำความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของ OKRs and KPIs (Objective & Key Results and Key Performance Indicators) ในมุมมองทีท่ ำ� งานร่วมกันของตัวชีว้ ดั ทางการบริหาร 2 ที่มาและปัจจัยส�ำคัญของหลักการ OKRs (Objective and Key Results) 3 การประยุกต์ใช้งานเครื่องมือทางการบริหาร OKRs (Objective and Key Results Application) ในตอนนี้จึงเป็นการท�ำความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของ OKRs and KPIs (Objective & Key Results and Key Performance Indicators) ในมุมมองทีท่ ำ� งานร่วมกันของตัวชีว้ ดั ทางการบริหาร ดังนี้ ไม่มีอะไรเป็นไปไม่ ได้ ค�ำนี้เองที่บอกว่า ตนเองเป็นไปได้ (Nothing is Impossible, this’s the word itself says I’m Possible.) ในที่นี้ขอยกตัวอย่างการท�ำ ไม่มีอะไรที่เป็นไปไม่ได้ แต่ ค� ำ นั้ น กลั บ บอกว่ า ตนเองเป็ น ไปได้ ของท่ า นประธานาธิ บ ดี อับราฮัม ลินคอล์น (Abraham Lincoln) ที่จุดประกายความฝัน จากหนังสือ “ชีวิตวอชิงตัน” หนังสือชีวประวัติของประธานธิบดี ยอร์ช วอชิงตัน ประธานาธิบดีคนแรกของอเมริกา จนเกิดความ ประทับใจในแนวทางการด�ำเนินชีวิตและการปฏิบัติให้ส�ำเร็จ เขาประกาศฝันตนเองว่า “ผมจะต้องเป็นประธานธิบดีอย่าง ยอร์ช วอชิงตัน” อับราฮัม ลินคอล์น ได้รบั การเลือกตัง้ เป็นประธานาธิบดี คนที่ 16 ของสหรัฐอเมริกาที่มีวิสัยทัศน์ในระดับประเทศ ในการ รวมเชือ้ ชาติและเผ่าพันธ์เุ ป็นหนึง่ เดียวจนคนอเมริกนั ส่วนใหญ่ยอมรับ

59

Engineering Today September- October

2020


ขับเคลื่อนทางธุรกิจ ซึ่งเป็นพลังที่เกิดจากการสร้างแรงจูงใจ (Power of Motivation) ทีส่ ามารถท�ำในสิง่ ทีเ่ ป็นไปไม่ได้ ให้เป็นสิง่ ที่ เป็นไปได้ (Can do the impossible To be possible) อย่างเป็นระบบ

อับราฮัม ลินคอล์น วีรบุรุษของอเมริกาที่ประสบความ ล้มเหลวในชีวติ ในการท�ำธุรกิจและการเลือกตัง้ มากถึง 35 ครัง้ มี เพียง 3 ครัง้ ทีส่ ำ� เร็จ ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1831 แต่เขาได้รบั การเลือกตัง้ เป็นประธานาธิบดีคนที่ 16 ของสหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ. 1860 ประธานาธิบดี อับราฮัม ลินคอล์น เป็นผูน้ ำ� ทีย่ งิ่ ใหญ่ทสี่ ร้างปึกแผ่น ให้เป็นรัฐบาลของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน อีกสิ่งหนึ่งในตัวบุรุษผู้นี้ที่ผู้แสวงหาความส�ำเร็จในชีวิต สมควรเอาเป็นแบบอย่างก็คอื การไม่ยอมแพ้ตอ่ ความด้อยโอกาสของ ตนเอง แม้ อับราฮัม ลินคอล์น แทบจะไม่ได้รบั การศึกษาในโรงเรียน เลย แต่เขาก็สามารถสร้างตนเองไปสู่ความส�ำเร็จที่ยิ่งใหญ่ได้ หนังสือมอบเส้นทางทีแ่ ตกต่างให้แก่เขา ความใฝ่รทู้ ำ� ให้เขามองเห็น หนทางเหล่านั้นชัดเจนขึ้น และการแสวงหาประสบการณ์อย่าง ไม่กลัวเกรง ท�ำให้การเดินทางไปสู่เส้นทางแห่งความส�ำเร็จ ของเขาบรรลุผล และแล้ว… ความด้อยโอกาสก็เป็นเพียงเรื่องขี้ผง ในอดีต ที่ไม่เห็นว่าจะส�ำคัญนักหนาเลย… มีอีกหนึ่งท่านที่เป็นบุคคลที่ไม่ประสบความส�ำเร็จในชีวิต ทัง้ การงานและครอบครัวจวบจนถึงวัยเกษียณ คือพันเอกฮาร์แลนด์ เดวิด แซนเดอส์ (Harland David Sanders) หรือที่รู้จักกันดี ในชื่อ ผู้พันแซนเดอส์ เป็น ผู้ก่อตั้งร้านไก่ทอดเคนทักกี (KFC) อั น เลื่ อ งชื่ อ ความล้ ม เหลวในชี วิ ต ครอบครั ว ตลอดจนอาชี พ การงาน จวบจนวันที่ได้รับเช็คเงินประกันสังคมฉบับแรกของเขา จากรัฐจ�ำนวน 105 ดอลลาร์ ซึง่ มีความหมายทีบ่ อกว่าเขาไม่อาจ จะดูแลตัวเองได้อีกต่อไปแล้ว เสมือนคนไร้ค่าที่อยู่ได้ด้วยเงิน ช่วยเหลือจากรัฐ ท�ำให้เขาคิดถึงการจบชีวิตตนเองและได้เขียน จดหมายอ�ำลาคนทีร่ กั แต่กอ่ นเขียนจดหมายสัง่ ลาในความคิดสัน้ เรื่องดังกล่าว ด้วยความสับสน เขากลับมาฉุกคิดเรื่องความฝัน ที่เขาอยากท�ำแต่ยังไม่ได้ท�ำ จึงกลับมาเขียนแผนการท�ำงาน ตามฝันและคิดว่าด้วยเงินทีไ่ ด้มาสามารถลงมือท�ำไก่ทอดกระทะแรก ขายด้วยเงินของรัฐที่ได้รับ ด้วยรสชาติในฝีมือและสูตรการท�ำ ไก่ทอดที่มีรสชาติอร่อยในความกรอบ ท�ำให้เป็นที่เลื่องลือใน รสชาติไก่ทอด KFC ตามชื่อเมือง ในบั้นปลายชีวิตเขากลับเป็น ผูป้ ระสบความส�ำเร็จในธุรกิจ สามารถขยายสาขาออกไปได้ทวั่ โลก และเป็นมหาเศรษฐีเพราะไก่ทอดเคนทักกี (KFC) และความฝัน ทีจ่ ะทอดไก่ให้คนทัง้ โลกได้กนิ ไก่ทอด KFC ก็ประสบความส�ำเร็จ ในทุกวันนี้ สิ่งนั้นคือตัวอย่างการน�ำความฝันมาลงมือปฏิบัติจริง เป็นพลังของความฝันที่เป็นจริง ไม่มีอะไรเป็นไปไม่ได้ ค�ำนี้เองที่บอกว่า ตนเองเป็นไปได้ (Nothing is Impossible, this’s the word itself says I’m Possible.) ซึ่งในที่นี้เป็นการแสดงให้เห็นว่า ความเชื่อพิสูจน์ ความจริง และการลงมือปฏิบตั สิ ามารถท�ำให้ความล้มเหลวทีเ่ คย เกิดในหลายครั้งกลับมาเป็นความส�ำเร็จได้ เป็นพลังส่วนบุคคล ที่เราเรียกว่าพลังจากแรงบันดาลใจ (Power of Motive) แต่การด�ำเนินธุรกิจ ความสามารถและพลังเฉพาะบุคคล นั้นเป็นส่วนหนึ่ง แต่ความสามารถขององค์กรนั้นต้องมีพลัง

Engineering Today September- October 2020

KPIs (Key Performance Indicators) พลังขับเคลื่อนธุรกิจ ด้วยการสร้างแรงจูงใจ (Power of Motivation) KPIs เป็นตัวย่อมาจากค�ำว่า Key Performance Indicators แปลได้ว่า “ดัชนีชี้วัดความส�ำเร็จของผลงาน” เป็นตัววัดคุณค่า ที่ประเมินผลออกมาเป็นตัวเลข จ�ำนวน ปริมาณได้ชัดเจน และ แสดงให้เห็นว่าองค์กรหรือพนักงานนั้นมีศักยภาพเพียงใดหรือ ประสบความส�ำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้หรือไม่? องค์ ก รจะมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและสามารถผลิ ต ผลงานได้ อย่างเต็มที่ การบริหารจัดการองค์กรจึงเป็นเรื่องที่ส�ำคัญอย่างยิ่ง การจัดการองค์กรให้ประสบความส�ำเร็จก็ต้องอาศัยเครื่องมือ ทางการบริหารที่ทันสมัย เพื่อจะให้รับมือได้ทันกับสถานการณ์ ในโลกปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การบริหารจัดการที่มี ประสิทธิภาพต้องอาศัยปัจจัยหลายอย่าง ซึง่ เครือ่ งมือการจัดการ ที่ทันสมัยก็เป็นสิ่งหนึ่งที่ส�ำคัญไม่แพ้ปัจจัยอื่นๆ เพราะฉะนั้น เครื่องมือในการที่จะท�ำงานก็คืออุปกรณ์ทางด้านการบริหาร จัดการองค์กรสู่ความส�ำเร็จ ซึ่งแต่ละองค์กรมีการน�ำเครื่องมือ ทางการบริ ห ารมาใช้ ดั ง เช่ น การท� ำ แผนกลยุ ท ธ์ ท างธุ ร กิ จ (Strategic Business Plan) ก็จะมีเครื่องมือในการก�ำหนด วิสัยทัศน์ (Vision) การแยกพันธกิจ (Mission) ที่ส�ำคัญ และ การก�ำหนดเป้าหมาย (Goal) รวมถึงการก�ำหนดวัตถุประสงค์ (Objective) เพือ่ การน�ำพาให้แผนธุรกิจด�ำเนินได้อย่างสอดคล้อง ซึ่งเครื่องมือทางการบริหารต่างๆ มีส่วนช่วยให้การด�ำเนินการ ด้านการวางแผนมีความรัดกุม จากการวิเคราะห์สถานการณ์ องค์กรในรูปแบบ S-W-O-T Analysis การหากลยุทธ์ที่ส�ำคัญด้วย S-W-O-T Matrix เพื่อหาแผนกลยุทธ์ (Strategic Plan) ในการ ด�ำเนินธุรกิจตามวัตถุประสงค์ทตี่ งั้ ไว้ และมีการก�ำกับองค์กรในการ ขับเคลื่อนที่ส�ำคัญด้วยการน�ำ Balance Score Card (BSC) มาใช้ เ พื่ อ การก� ำ กั บ องค์ ก รให้ ขั บ เคลื่ อ นอย่ า งมี ค วามสมดุ ล บนดัชนีชี้วัดความส�ำเร็จ KPIs วัตถุประสงค์ขององค์กร (Corporate Objective) มีความ ส�ำคัญมากที่จะตอบโจทย์ของแผนธุรกิจที่วางไว้ ในปี ค.ศ. 1954 Professor Peter Drucker ศาสตราจารย์ผู้เขียนต�ำราด้าน การบริหาร ได้แต่งต�ำราชือ่ Management By Objective (MBO) จุ ด เด่ น ของหลั ก การบริ ห ารแบบ MBO ก็ คื อ มี ก ารก� ำ หนด วัตถุประสงค์ของการบริหารจัดการ ท�ำให้มีทิศทางในการบริหาร ที่ ชั ด เจนขึ้ น มี ห ลั ก การสั่ ง การแบบบนลงล่ า ง (Top-down) ซึ่งเหมาะสมและมีประสิทธิภาพกับองค์กรหรือแผนกที่ต้องมีการ ควบคุมการท�ำงานให้เป็นระบบและเป็นหลักการบริหารที่เป็น ข้อก�ำหนดหลักการบริหารใหม่ๆ ในยุคใหม่ๆ หลายตัวที่ประสบ ความส� ำ เร็ จ และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ การน� ำ MBO ไปใช้ อ ย่ า ง

60


มีประสิทธิภาพ โดยก�ำหนดเป้าหมายส�ำคัญคือ √ เป้าหมายต้องสอดคล้องกับกลยุทธ์หรือทิศทางขององค์กร √ เป้าหมายต้องก�ำหนดร่วมกันที่ชัดเจน Specific √ เป้าหมายที่จับต้องและวัดผลได้ Measurable √ เป้าหมายต้องท้าทาย Achievement √ เป้าหมายต้องท�ำได้จริง Realistic √ มีการก�ำหนดระยะเวลาที่ชัดเจน Time Frame √ มีการตอบแทนผลของความส�ำเร็จ จึ ง เป็ น ที่ ม าของหลั ก การบริ ห ารองค์ ก รธุ ร กิ จ ที่ น� ำ เอา BSC & KPIs มาเป็นเป้าหมายที่ส�ำคัญขององค์กรในโลกธุรกิจ ขนาดกลางและใหญ่ จนประสบความส� ำ เร็ จ เป็ น อย่ า งมาก ในข้อสุดท้ายมีการตัง้ รางวัลในรูปแบบทีเ่ รียกว่าการสร้างแรงจูงใจ (Motivation) ด้วยการตอบแทนผลของความส�ำเร็จ BSC ใน 4 Perspectives คือ 1. มุมมองด้านการเงิน (Finance Perspective) 2. มุมมองด้านลูกค้า (Customer Perspective) 3. มุมมองด้านการพัฒนา (Business Development Perspective) และ 4. มุมมองด้านการเรียนรู้ (Learning and Growth Perspective) โดยการสร้างเครื่องมือวัดการท�ำให้ บรรลุผลทั้ง 4 มุมมองในสมรรถนะความส�ำเร็จขององค์กรเป็น เชิงคุณค่าด้านคุณภาพ (Quality) หรือเชิงคุณค่าด้านปริมาณ (Quantity) ที่เรียกกันว่า Key Performance Indicators; KPIs) ซึ่ง BSC และ KPIs ที่กล่าวถึง เป็นเสมือนความต้องการของ องค์กรเชิงปฏิบัติการด้วย BSC และวัดผลด้วย KPI โดยผลที่ได้ จะเป็นสิง่ ก�ำหนดผลตอบแทนส�ำหรับผูป้ ฏิบตั งิ านในเชิงของโบนัส ที่จะได้ หากสามารถท�ำได้ตาม Business Growth ในเกณฑ์ที่ ตั้งไว้ก็จะถือว่าได้ตามเป้าประสงค์ นั้นคือเข้าเป้าใน Target ทางธุรกิจ แต่ถ้าท�ำได้น้อยกว่า เป้าจะก็จะอยู่ในช่วงไม่ผ่าน เข้าเกณฑ์ จะถูกเรียกว่าต�่ำกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ใน Threshold ทางธุรกิจ และหากสามารถท�ำได้ส�ำเร็จทะลุเป้า ก็จะเข้าโหมด Outstanding รางวัลที่ได้ก็จะเป็น Big Bonus ในปีนั้นตาม KPIs ที่ตั้งไว้ แต่อย่าลืมว่า KPIs นั้นจะท�ำงานต่ออย่างไม่หยุด Outstanding ในวันนี้จะเป็น Target ในปีหน้าอย่างแน่นอน ประโยชน์ของ KPIs จากการน�ำมาใช้เพื่อการวัดผลส�ำเร็จคือ 1 ประเมินผลและชี้วัดประสิทธิภาพการท�ำงานในระดับ องค์ ก ร ถึ ง ระดั บ บุ ค คลแต่ ล ะต� ำ แหน่ ง ว่ า สามารถบรรลุ วัตถุประสงค์ที่วางไว้ได้หรือไม่ หรือควรปรับปรุงอะไร 2 ชี้วัดความส�ำเร็จขององค์กรว่าสามารถบรรลุเป้าหมาย ที่องค์กรวางไว้ได้หรือไม่ 3 ใช้ประเมินผลทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ การพิจารณาเพิม่ อัตราจ้าง หรือโบนัสประจ�ำปี 4 วัดผลเพื่อตรวจสอบข้อบกพร่องแล้วแก้ไข 5 น�ำผลมาใช้ในการวางแผนงานตลอดจนแผนการลงทุน ไปจนถึงประเมินงบประมาณในปีหน้าได้ 6 ใช้เป็นเกณฑ์พิจารณาในการตั้ง KPI ในปีถัดไป

การที่ KPIs จะมีประสิทธิภาพที่ดีหรือไม่นั้น ส่วนหนึ่งขึ้น อยู่กับการก�ำหนดตัวชี้วัดหลักที่มีส่วนส�ำคัญต่อการประเมิน ผล การปฏิบัติงานอย่างยิ่ง เพราะตัวชี้วัดนั้นจะเป็นเกณฑ์ตลอดจน มาตรฐานของการประเมินผลนั่นเอง การก�ำหนดตัวชี้วัดนั้นต้อง พิจารณาให้เหมาะสมและรอบคอบ ในขณะเดียวกันต้องมองถึง ความเป็นไปได้ในการบรรลุความส�ำเร็จที่เหมาะสมกับธุร กิจ นโยบายองค์กร ตลอดจนขนาดของบริษัทด้วย ซึ่งตัวชี้วัดความ ส�ำเร็จทัง้ 4 มุมมองนัน้ ถูกก�ำหนดโดยคณะกรรมการผูบ้ ริหารและ ก�ำหนดผลตอบแทนความส�ำเร็จ ซึ่งเป็นลักษณะ Top-Down Management ที่น�ำพลังขับเคลื่อนธุรกิจด้วยการสร้างแรงจูงใจ (Power of Motivation) OKRs (Objective and Key Results) พลังขับเคลื่อนธุรกิจ ด้วยการสร้างแรงดลใจ (Power of Motive) มีอยู่หนึ่งเครื่องมือที่ใช้ได้ผลดีตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990 ซึ่ง Andrew Grove ประธานคณะกรรมการบริหารของหนึง่ ในยักษ์ใหญ่ ด้านเทคโนโลยีของโลกคือ Intel (Intel Corporation) เขาน�ำมัน มาใช้กับการบริหารองค์กรของตัวเอง รวมถึงตีพิมพ์ในหนังสือ High Output Management โดยมีความคิดเห็นว่าองค์กรควรให้ ความส�ำคัญกับการตั้งวัตถุประสงค์ที่มาจากการมีส่วนร่วมจาก ระดับปฏิบัติการ โดยหวังผลลัพธ์ที่ร่วมกันรับผิดชอบในลักษณะ Bottom Up และน�ำมาใช้ในการท�ำงานที่ Intel อย่างได้ผล ซึง่ มีการ เรียกว่า iMBO (Intel Management by Objectives) ต่อมาใน ปี พ.ศ. 1975, John Doerr (at the time a sales person working for Intel OKRs Implementation) ได้น�ำมาใช้เต็มรูปแบบใน หลักการตัง้ วัตถุประสงค์และการวัดผลลัพท์ทสี่ ำ� คัญ (Objectives and Key Results) และเรียกโดยย่อว่า OKRs และได้นำ� หลักการ ดังกล่าวมาใช้ใน Google จนเป็นที่ยอมรับ ในปี ค.ศ. 2018 John Doerr ได้เขียนหนังสือชือ่ ว่า Measure What Matters ซึ่งเป็นผู้ที่นําเอา OKRs มาใช้ใน Google สิ่งที่ ทําให้หนังสือเล่มที่มีอธิบายความรู้ในเรื่องของ OKRs ได้ดีเป็น อย่างยิ่ง โดยอธิบายตั้งแต่เขาเริ่มทํางานที่ Intel ซึ่งเป็นบริษัทแรก ที่นําเอา OKRs มาใช้อย่างได้ผล และเมื่อเขาลาออกมาเป็น นักลงทุนและได้ลงทุนในบริษัท Google ในปี ค.ศ. 1999 ระยะ เริ่มแรก เขาก็ได้แนะนําให้ Google นําระบบนี้ไปใช้จน Google ประสบความสําเร็จเป็นอย่างมากจนมาถึงปัจจุบัน John Doerr ได้ ก ล่ า วถึ ง OKRs ว่ า เป็ น การก� ำ หนด วัตถุประสงค์คือสิ่งที่เราต้องการให้ประสบความส�ำเร็จ และ ผลลัพธ์ที่ส�ำคัญจะระบุว่าเราจะท�ำให้ประสบความส�ำเร็จได้ อย่ า งไร (Objectives are what you want to have accomplished and Key Results are how I’m going to get that done.) และอธิบายได้ OKRs 4 ด้าน ที่จะต้องใส่ใจ ได้แก่

61

Engineering Today September- October

2020


1 Focus and Commit to Priorities การมุง่ เน้นจุดสนใจ

แรงจูงใจอย่างหนึ่งให้กับพนักงาน เพื่อให้ทีมงานสามารถพัฒนา ตนเองจากแรงบันดาลใจทีส่ ร้างขึน้ มาจากการตัง้ วัตถุประสงค์และ มุ่งสู่เป้าของผลลัพธ์ รวมถึงการสร้างวัฒนธรรมของความรู้สึก ขอบคุณ (Gratitude) ให้เกิดขึ้นระหว่างพนักงานด้วยกัน หรือที่ เรียกว่า Peer-to-Peer recognition การเคารพและการนับถือ ซึ่งกันและกันเป็นส่วนที่ส�ำคัญยิ่ง John Doerr ซึ่งเป็นผู้เขียนได้บอกว่า OKRs บนพื้นฐาน ของพลังจากการสร้างแรงบันดาลใจจาก FACTS เมื่อมารวมกับ พลังจากแรงจูงใจของผูบ้ ริหารหรือหัวหน้างานด้วย CFR ก็จะเป็น ระบบที่เรียกว่า Continuous Performance Management คือระบบการจัดการผลการดําเนินงานอย่างต่อเนื่องที่เกิดพลัง ภายในและก�ำลังใจภายนอก ซึ่งจะแตกต่างกับระบบ KPIs แบบ เดิมๆ ที่เน้นการผลักดันด้วยการประเมิน ผลปีละครั้งตอนสิ้นปี และตั้งเกณฑ์ให้สูงขึ้นเพื่อตบรางวัล ซึ่งอาจจะช้าเกินไปและ จะไม่มีความยืดหยุ่น เพราะผลลัพธ์ที่ได้คือการสร้างก�ำไรและ ผลตอบแทนเป็นหลัก หัวใจส�ำคัญของ OKRs คือการน�ำวัตถุประสงค์หลักและ เป้าหมายที่เป็นตัวชี้วัดใน KPIs มาก�ำหนดเป็นวัตถุประสงค์ย่อย (Objective) ใน OKRs เพื่อตั้งเป็นโจทย์ให้พนักงานระดับล่าง มีส่วนร่วมคิดว่าหน่วยงานของแต่ละหน่วยงานจะท�ำอะไร มีผล ชีว้ ดั อย่างไร (Key Results) ด้วยตนเอง ให้เกิดพลังความคิดอย่าง มีส่วนร่วมที่เรียกว่า พลังขับเคลื่อนธุรกิจด้วยการสร้างแรงดลใจ (Power of Motive) ด้ ว ยตนเอง ในเมื่ อ ผู ้ ป ฏิ บั ติ เ ป็ น ผู ้ คิ ด และตั้งเป้าหมายเองและสอดคล้องกับความต้องการหลักของ วัตถุประสงค์เป็นลักษณะ Bottom Up ย่อมเกิดพลังผลักดันให้ เกิดความส�ำเร็จ ในรูปแบบ FACTS ความส�ำเร็จของผลงานนั้น คือหัวใจของ OKRs ในหนั ง สื อ Measure What Matters ซึ่ ง กล่ า วถึ ง เครื่ อ งมื อ ทางการบริ ห าร OKRs ได้ ส ะท้ อ นและสามารถ ตอบโจทย์ปัญหาในสถานการณ์ปัจจุบันได้ดี เป็นเครื่องมือที่ สร้างแนวคิดในการสร้างพลังแห่งแรงบันดาลใจ (Power of Inspiration) และพลังจากแรงดลใจ (Power of Motive) ให้กับ ผู้ปฏิบัติงานด้วยการก�ำหนดวัตถุประสงค์ (Objectives) และ ผลลัพธ์ของความส�ำเร็จ (Key Results) ด้วยทีมงานและผูป้ ฏิบตั งิ าน เอง และกล่าวโดยสรุปถึงเรื่องราวของ OKRs ซึ่ง Google บอกเสมอว่าเป็นองค์ประกอบส�ำคัญทีท่ ำ� ให้ประสบความส�ำเร็จ มาจนถึงทุกวันนี้ เป็นการขับเคลื่อนที่ต้องสอดประสานกันใน ทุกๆ ส่วน เป็นการสร้างแรงผลักดันให้คนในองค์กรได้น�ำ ศักยภาพสูงสุดของตัวเองมาใช้ให้เกิดประโยชน์ การใส่ใจใน คุ ณ ค่ า ของคนในองค์ ก ร การท� ำ ให้ เ ป็ น องค์ ก รที่ มี ชี วิ ต ชี ว า พนักงานมีมุมมองและทัศนคติที่ดีในการอยู่ร่วมกัน สิ่งต่างๆ เหล่ า นี้ จ ะช่ ว ยท� ำ ให้ ก ารบริ ห ารผลงานโดยใช้ OKRs เกิ ด ประโยชน์ขึ้นได้จริง สามารถสร้างความส�ำเร็จให้เกิดขึ้นกับ องค์กรได้อย่างก้าวกระโดดและอย่างยั่งยืน

และผูกมัดไปที่สาระที่ส�ำคัญก่อน ซึ่งหมายถึง OKRs จะทําให้ ผูบ้ ริหารเน้นจัดอันดับวัตถุประสงค์ทมี่ คี วามส�ำคัญมากๆ จึงทําให้ ไม่เป็นการกระจายทรัพยากรไปในเรือ่ งต่างๆ อย่างสะเปะสะปะ และทาํ ให้โอกาสทีจ่ ะทําในเรือ่ งทีส่ าํ คัญนัน้ ๆ ประสบความสําเร็จ ก็จะสูงขึ้น 2 Align and Connect for Teamwork การทําให้ สิ่งที่ทําสอดคล้องในแนวทางเดียวกันกับกลยุทธ์และเป้าหมาย ขององค์กรและมีการทาํ งานเป็นทีม โดย OKRs จะทาํ ให้เกิดความ สอดคล้องกันระหว่างสิ่งที่ผู้บริหารต้องการกับสิ่งที่พนักงานควร จะทําให้สําเร็จ โดยการกระตุ้นให้เกิดการช่วยเหลือกัน และการ ทํางานเป็นทีมข้ามหน่วยงานกันได้งา่ ยขึน้ 3 Track for Accountability การติดตามและมีคน รับผิดชอบ ระบบ OKRs จะมีระบบการติดตามอย่างต่อเนือ่ งและ ยังมีผู้รับผิดชอบ(เจ้าภาพ)ที่ชัดเจนในเรื่องนั้นๆ ที่จะต้องทําให้ สําเร็จในแต่ละไตรมาสหรือช่วงเวลาที่ก�ำหนด 4 Stretch for Amazing การตั้งเป้าหมายที่ท้าทายที่น่า อั ศ จรรย์ ระบบ OKRs จะกระตุ ้ น ให้ พ นั ก งานแต่ ล ะคนตั้ ง เป้าหมายที่ท้าทายและจะไม่มีการทําโทษหากไม่ถึงเป้าหมายนั้น จึงทําให้พนักงานกล้าที่จะทําอะไรที่ท้าทาย การมีบทลงโทษจะมี ผลเสียที่ทําให้พนักงานพยายามที่จะตั้งเป้าหมายให้ตํ่ากว่าความ สามารถของตัวเองและไม่ทา้ ทาย นัน้ หมายถึงว่าสามารถยืดหยุน่ (Stretch) ได้ โดยหลักการส�ำคัญในข้อนี้ John Doerr ได้กล่าวว่า “เป้าหมายที่คนอื่นก�ำหนดให้เรา เราจะไม่รู้สึกผูกพันเหมือนกับ เป้าหมายที่เราก�ำหนดขึ้นมาเอง” ซึ่งค�ำย่อทั้ง 4+1 ด้านนั้นเป็น Superpower ของ OKRs บนพื้นฐานของความเป็นจริง (F-A-C-T-S; Focus - Align Commit - Track + Stretch) การท�ำงานให้บรรลุผลส�ำเร็จจะเป็น เรือ่ งของการทํางานภายใต้ระบบของ OKRs โดยหัวใจหลักจะผ่าน สิ่งที่เรียกว่า CFR ดังต่อไปนี้ • Conversation หมายถึงการเจรจาพูดคุย ผู้บริหาร จําเป็นต้องมีการพูดคุยกับลูกน้องอยู่เสมอ เป็นการรับรู้ถึงความ ก้าวหน้า เป็นลักษณะของ Two Way Communication ที่เป็น การรับทราบความก้าวหน้าของงาน รับทราบปัญหา โอกาสของ การแนะน�ำและเป็นการให้ก�ำลังใจ • Feedback คือผลสะท้อนกลับ ผู้บริหารจะต้องมีการ แสดงออกในรูปแบบ Feedback Control กับพนักงานถึงผลลัพธ์ ทีไ่ ด้วา่ บรรลุหรือไม่บรรลุเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้ เป็นการควบคุมให้เป็น ไปตามแนวทาง Align ทีไ่ ด้วางไว้ และเป็นการสะท้อนถึงเป้าหมาย ที่ตั้งไว้ ซึ่งอาจจะสามารถทําได้ดีขึ้นไปกว่าเดิมได้อีก Feedback เป็นสิ่งสําคัญที่จะทําให้พนักงานรับทราบว่าเขาควรจะต้องทํา อะไร ท�ำเช่นไรต่อไป เป็นการทวนสอบสถานะของงานที่ดีเพื่อ ป้องกันความผิดพลาด • Recognition คือการให้ความยอมรับ ซึ่งเป็นการสร้าง

Engineering Today September- October 2020

62


ใบสมัครสมาชิก 2020

ที่อยูในการรับวารสาร / สิ่งพิมพ : ................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... เบอรโทรศัพทที่ทำงาน : ......................................................... มือถือ : ........................................................... E-mail.................................................................................. ID Line : .........................................................

สมาชิกใหม

ตออายุสมาชิก

สมาชิกใหม

ตออายุสมาชิก

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

1 ป 6 ฉบับ 450 2 ป 12 ฉบับ 900

1 ป 6 ฉบับ 480 2 ป 12 ฉบับ 960

1 ป 6 ฉบับ 450 2 ป 12 ฉบับ 900

แซอึ้ง ุ

ใบเสร็จรับเงินออกในนาม บุคคล บริษัท/องคกร ที่อยูในการออกใบเสร็จ ............................................... ................................................................................. ................................................................................. หมายเหตุ : กรุณาสงสำเนาการชำระเงิน (Pay-in Slip) มาใหบริษัทฯ ตามที่อยูที่แนบไวดานลาง

บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จำกัด

.................................................................................

TECHNOLOGY MEDIA CO., LTD.

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400

โทรศัพท 0-2354-5333, 0-2644-4555 Ext. 231 โทรสาร 0-2644-6649 ID Line : membertechno E-mail : member.technologymedia.co.th@gmail.com / marketing_mag@technologymedia.co.th


INDEXSeptember ADVERTISING - October 2020

Engineering Today

บริษัท

โทรศัพท์

โทรสาร

ต�ำแหน่งหน้า

METALEX

0-2686-7299

-

4

www.metalex.co.th

PISANU ENGINEERING CO., LTD.

0-2245-9113

0-2642-9220

9

www.pisanu.co.th

SANY HEAVY INDUSTRY (THAILAND) CO., LTD.

0-2693-3108

0-2693-3180

3

www.sanygroup.com, E-mail : sany@sany.co.th

VEGA INSTRUMENTS CO., LTD.

0-2700-9240

0-2700-9241

ปกหน้า

กุลธรอินเตอร์เนชั่นแนล บจก.

0-2282-5775-8

0-2281-0009

11

www.kulthorn.com

คณิต เอ็นจิเนียริ่ง บจก.

0-2642-9209-11

0-2246-3214

66

www.kanitengineering.com

เบย์ คอร์ปอเรชั่น บจก.

0-2926-0111

0-2926-0123-4

2

www.bay-corporation.com, E-mail : sales@bay-corporation.com

เฟ้ลปส์ ดอด์จ อินเตอร์เนชั่นแนล (ไทยแลนด์) บจก.

0-2680-5800

0-2680-5898

ปกหลังใน

เวอร์ทัส บจก.

0-2876-2727

0-2476-1711

7

www.virtus.co.th, E-mail : welcome@virtus.co.th

ดร.อุดมวิทย์ (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์)

0-2441-6059

-

11

-

สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน

0-4421-7040 ต่อ 1607-9

0-4421-7047

ปกหลังนอก

เอส เอ วี เมคคานิคคอลเซอร์วิส แอนด์ ซัพพลายส์ หจก.

0-2702-8801, 0-2702-0581-8

0-2395-1002

5

E-mail : savthai@yahoo.com, sav-545@hotmail.com

ไอแซค มาร์เก็ตติ้ง บจก.

0-2735-0581

0-2377-5937

65

www.ตู้สาขา.com, www.notifier.co.th

Engineering Today September- October 2020

64

Website/E-mail

www.vega.com

www.pdcable.com

www.slri.or.th/bdd





Õ¦¨Ì²Ö£¼ij¼Å²Ô·ÏÜÅÅÐijÂÊà ¼¼º 2XMBGQNSQNM +HFGS ENQ (MCTRSQX ǰ ÿëćïĆîüĉÝ÷Ć ĒÿÜàĉîēÙøêøĂî ĂÜÙŤÖćøöĀćßî ÿà đðŨîĀîŠü÷Üćîõć÷ĔêšÖĞćÖĆï×ĂÜÖøąìøüÜÖćø ĂčéöýċÖþć üĉì÷ćýćÿêøŤ üĉÝ÷Ć Ēúą îüĆêÖøøö ēé÷öĊóîĆ íÖĉÝđóČĂę ÖćøüĉÝ÷Ć đÖĊ ę ÷ üÖĆ ï ĒÿÜàĉ î ēÙøêøĂîĒúą ÖćøĔßš ð øąē÷ßîŤ Ý ćÖĒÿÜàĉîēÙøêøĂî ÖćøĔĀšïøĉÖćøĒÿÜàĉîēÙøêøĂî ĒúąđìÙēîēú÷ĊìĊęđÖĊę÷üךĂÜ ĂĊÖìĆĚÜ éĞćđîĉîÖćøÿŠÜđÿøĉöÖćøëŠć÷ìĂéĒúąÖćøđøĊ÷îøĎšđìÙēîēú÷ĊĒÿÜàĉîēÙøêøĂî ìĆĚÜîĊĚ ÿëćïĆîöčŠÜöĆęîĔîÖćø éĞćđîĉîÜćîüĉÝĆ÷đóČęĂĔĀšÿĂéÙúšĂÜÖĆïîē÷ïć÷ÖćøóĆçîć×ĂÜðøąđìý öĊđðŜćĀöć÷ĔîÖćøóĆçîćýĆÖ÷õćóđÙøČęĂÜÖĞćđîĉéĒÿÜàĉîēÙøêøĂî ĀøČĂ ĶđÙøČęĂÜÖĞćđîĉéĒÿÜÿ÷ćöķ đóČęĂÿćöćøëéĞćđîĉîÖćøĕéšĂ÷ŠćÜđêĘöðøąÿĉìíĉõćó ēé÷öĊÙüćöóøšĂöĔîÖćøĔĀšïøĉÖćøĒÿÜàĉîēÙøêøĂî øąïïúĞćđúĊ÷ÜĒÿÜ Ēúą ÿëćîĊìéúĂÜ àċęÜÙøĂïÙúčöđìÙîĉÙêŠćÜ ė ĕéšĒÖŠ đìÙîĉÙÖćøÖøąđÝĉÜøĆÜÿĊđĂÖàŤ đìÙîĉÙÖćøéĎéÖúČîøĆÜÿĊ đĂÖàŤ đìÙîĉÙÖćøðúéðúŠĂ÷ĂĉđúĘÖêøĂî đìÙîĉÙÖćøđøČĂÜøĆÜÿĊđĂÖàŤ đìÙîĉÙÖćøĂćïøĆÜÿĊđĂÖàŤ ĒúąđìÙîĉÙÖćøđúĊ÷Ě üđïîøĆÜÿĊđĂÖàŤ îĂÖÝćÖîĊĚ ÿëćïĆî÷ĆÜĔĀšïøĉÖćøéšćîĂČęî ė ĕéšĒÖŠ ïøĉÖćøüĉÝĆ÷ ïøĉÖćøìĊęðøċÖþć ïøĉÖćøđìÙîĉÙĒúąüĉýüÖøøö ïøĉÖćøđÙøČęĂÜöČĂüĉì÷ćýćÿêøŤóČĚîåćî ĒúąïøĉÖćøëŠć÷đìÙēîēú÷Ċ ēé÷đîšîÖćøĔĀšïøĉÖćøĒïïđïĘéđÿøĘÝ 5PUBM 4PMVUJPO đóČĂę ߊü÷ĒÖšðŦâĀćĔîÖøąïüîÖćøñúĉê ÖćøÙĉéÙšî Ēúą óĆçîćñúĉêõĆèæŤĒÖŠÖúčŠöÜćîüĉÝĆ÷êŠćÜ ė đߊî ÖćøđÖþêø ĂćĀćø ÷ć ĒúąđÙøČęĂÜÿĞćĂćÜ ÷ćÜĒúąóĂúĉđöĂøŤ ēúĀą ĂĉđúĘÖìøĂîĉÖÿŤ Öćøñúĉê ßĉĚîÿŠüîÝčúõćÙ ßĉĚîÿŠüî×îćéÝĉĜü ĂĆâöèĊ ĒúąéšćîÖćøĒóì÷Ť đóČęĂÿîĆïÿîčî ÜćîüĉÝĆ÷ĒúąóĆçîćĔĀšĒÖŠĀîŠü÷ÜćîõćÙøĆåĒúąđĂÖßî îĞćĕðÿĎŠ ÖćøÿøšćÜÿøøÙŤîüĆêÖøøö ĒúąÿøšćÜöĎúÙŠćđóĉęö ìćÜđýøþåÖĉÝĔĀšÖĆïðøąđìý ¾Ðĉº¦Ê²ÀÌĶɻԷÏÜÅÅÐijÂÊà ¼¼º ¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼º»Ê Õ¾ÈÔ£¼ÏÜŦÂĻÊÅʦ

¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼ºÅÌÔ¾Û °¼Å²Ì Âčč

¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼ºÅÊÃʼ Õ¾È Ê¼Ô Áij¼

¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼ºÕºĉ·Ìº·č ¡²ÊIJĶо¹Ê£ ¡²ÊIJĶÌßÀ

¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼ºÖ¾ÃÈ Õ¾ÈÔ¨¼ÊºÌ

¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼ºÂÌܦ°Å Õ¾ÈÔ£ºÍ¹É®­č

¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼º»Ê¦ վȷžÌԺżč

¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼ºÅÉ©º®Í

¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼º»Ê²»²ijč

¾ÐĉºÅÐijÂÊà ¼¼ºÅÏܲ Ú

¡ÉݲijŲ ʼ¡Å¼É³³¼Ì ʼÀÌĶÉ»

1

2

»Ïܲճ³¸Å¼čº¡Å¼É³ ³¼Ì ʼ

3

´¼ÈԺ̲վÈÔ²Š¼Ê£Ê

4

ij¼ÀĶÂų׳ÔÂ²Å¼Ê£Ê Ã¼ÏÅ ÅŠ׳ÂÉܦ¨ÏÝÅ ÂÉܦĶĊʦ Âĉ¦ºÊ°ÍÜ !##

5

Ô¼Ìܺ×ÃĊ³¼Ì ʼÀÌĶÉ» ÀÌÔ£¼ÊÈÃ č µ¾Ìij§Ìݲ¦Ê²

6

¼Ê»¦Ê²µ¾ÀÌÔ£¼ÊÈÃč ÀÌĶÉ» Âĉ¦ºÅ³¦Ê²

Ô Û³£ĉʳ¼Ì ʼÀÌĶÉ» ÅŠ׳ÕĶĊ¦Ã²ÍÝ ×³Ô¼ÛĶ

ijÌIJijĉÅ ÿŠüîóĆçîćíčøÖĉÝǰòść÷Öú÷čìíŤĒúąóĆçîćíčøÖĉÝĂÜÙŤÖø ÿëćïĆîüĉÝĆ÷ĒÿÜàĉîēÙøêøĂîǰ ĂÜÙŤÖćøöĀćßî

đú×ìĊę ĀöĎŠìĊę ĂćÙćøÿĉøĉîíøüĉßēßìĆ÷ ë öĀćüĉì÷ćúĆ÷ ê ÿčøîćøĊ Ă đöČĂÜ Ý îÙøøćßÿĊöć

ēìøýĆóìŤ êŠĂ ēìøýĆóìŤđÙúČęĂîìĊę ēìøÿćø ĂĊđöú CET!TMSJ PS UI

XXX TMSJ PS UI CEE

4-3*ǰJOEVTUSJBMǰVTFS


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.