Green Network Issue 83

Page 1






THAILAND

lighting fair

2017

ÖāèČùãÖèöĀäÐòòðďîîŖāČùÖùöŚāÖæĄēÓòéöÖ×òæĄēùćãĎèüāċÚĄñè

íó÷×ăÐāñè ýüôôŞ ďéċæÓ

Presented by

Powered by

Organized by

&" 9"F ! ;-5 D)?5 59 +<*8 D)?5 #-5 (9* E-82@ *5 :!29))!: : $AĊD =L*/ : 9M G!E-8 ĉ: #+8D 0 5: < ċæòèãŞÐāòüüÐČééČùÖĎèæ÷öòòøúèśā ×āÐèĀÐüüÐČééČùÖÙĆüē ãĀÖÑüÖčôÐ .S ,BPSV .FOEF Čôÿ .S .BSUJO ,MBBTFO čÚôāòŞòĈîæĒüê æĂČôśöãĄ æĂČôśöÓćśð×òăÖúòĆüďðŚ èöĀäÐòòðòÿãĀéčôÐãśāèċæÓčèčôñĄüāÓāòüĀ×Øòăñÿ ×āÐëĈśÐĂúèãðāäòßāè ,/9 ×ĀãČùÖďîċùòăðýöÖ×ćśñ ÐòÿäćśèíôĀÖðÖÓô ðĀēÖÓĀēÖòēĂòöñ ċæÓčèčôñĄòÿééďîîŖāüĀ×Øòăñÿ

&<D012@ ŧ 29))!:3-9 2A +#+8 :0!=*"9 + : :+H''ą:2ĉ/!(A)<(:

Smart City. Safe City. ×Āãíòśüð

building fair 2017

- 8D"=*!55!H-!č'+=ŧ H ĊE-Ċ//9!!=M =L www.thailandlightingfair.com

25" :)D&<L)D <)F +Ģ `b ffd fdii ĉ5 b`` b`a bab info@thailandlightingfair.com


CONTENTS

September - Octover 2017

14

14 Green Tips by MR. Save

28

ขยะมีคา 15 Green Health by คุณนายเขียว น้ําตมผักที่วาหวาน หรือจะสู “หญาหวาน” สมุนไพรเพื่อสุขภาพ Green Cover by จีรภา รักแกว BEC เกณฑมาตรฐานอาคารไทย พลิกโฉมการอนุรักษพลังงาน 18 Green Travel by ตะลอนทัวร รักน้ํา รักปลา ตองมาทะเลกระบี่ เสนหแหงอันดามัน 20 Special Scoop by กิตติ วิสุทธิรัตนกุล Taiwan 2017 กับ Green Industry (Part 2) 21 Green Building by กองบรรณาธิการ ซิลเลี่ยน เปดตัว “GREEN WALL” นวัตกรรมตอบโจทยอาคารเขียว 22 Green Report by กองบรรณาธิการ ดาว เคมิคอล เปดศูนยการวิเคราะหเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยี และผลิตภัณฑ สนับสนุนงานดานการผลิตแหงแรกในเอเซียแปซิฟก 24 Green Innovation by กองบรรณาธิการ วิศวฯ จฬาฯ เปดตัวนวัตกรรมติดตั้งระบบเซ็นเซอร ตรวจวัดคุณภาพอากาศภายในอาคาร Green People by จีรภา รักแกว ดร.ณรัณ ศิริสันธนะ ยูนิแอร คิดคนนวัตกรรมทําความเย็น เทคโนโลยีทางเลือกใหมเพื่อการประหยัดพลังงาน 26 โกศล แสงทอง กวาจะเปน “ปาเด็งโมเดล” ชุมชนตนแบบพลังงานที่ยั่งยืน 28 Green Focus by พิชัย ถิ่นสันติสุข ไทยตองพรอมรับการเปลี่ยนผานยานยนตใชน้ํามันสูยานยนตไฟฟา 29 Green Auto by ยาน-ยนต วอลโว คาร ประเทศไทย เปดตัว S90 Twin Engine Plug-in Hybrid 30 Special Scoop by กองบรรณาธิการ GIZ เผยโครงการ EBA การปรับตัวเชิงระบบนิเวศ กลไกแกปญหาพื้นที่ลุมน้ํา

16

25

32 Green Learning by กองบรรณาธิการ

วิทยาลัยการจัดการ มหิดลฯ จับมือ มูลนิธิมั่นพัฒนา เปดตัวสื่อออนไลน “ธุรกิจเศรษฐกิจพอเพียง” Green World by กองบรรณาธิการ รถไฟดีเซลกึ่งพลังงานแสงอาทิตย ขบวนแรกในอินเดีย 34 Green Visit by จีรภา รักแกว ป.พานิชรุงเรืองปาลมออยล 2 ยกระดับการผลิตแบบอัตโนมัติ ลดการสูญเสียอยางครบวงจร 36 Green Energy by กองบรรณาธิการ PEA Hive Platform เปลี่ยนบานธรรมดา สูบานอัจฉริยะ Green Article by รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล, รัฐพล เจียวิริยบุญญา Avoid concept :ไมมี ไมทิ้ง ไมเก็บ (ขยะ) สูการพัฒนาที่ยั่งยืน Green Scoop by กองบรรณาธิการ 40 น้ํามันเชลล ฟวเซฟ ดีเซล สูตรใหม ที่ดีขึ้นไปอีกขั้น ชวยลดตนทุน เพิ่มศักยภาพอุตสาหกรรมไทย 41 ฉลอง 20 ป อิเมอรสันระยอง ผูบุกเบิกสโครลคอมเพรสเซอรครั้งแรก สูอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและระบบทําความเย็น 44 กรมโรงงานเยี่ยมชมโรงกลั่นบางจาก เจาของรางวัล อุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 5 45 Green CSR by กองบรรณาธิการ 25 ป อีสท วอเตอร “Steps of Growth” ไมหยุดยั้งพัฒนาเพื่อการเติบโตที่ยั่งยืน

33

38

25

16

10 Green News by กองบรรณาธิการ

12 Green Read by หนอนหนังสือ

34

13 Green Product by ชื่น ชอบ ช็อป

42 Green Activity by กองบรรณาธิการ

46 Green Biz by กองบรรณาธิการ



ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ฯพณฯ พลอากาศเอก กําธน คณะที่ปรึกษา ดร.ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน ดร.อัศวิน จินตกานนท ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย ประสงค ธาราไชย ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รศ. ดร.สิงห อินทรชูโต บรรณาธิการอํานวยการ/ บรรณาธิการผูพิมพโฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล ผูชวยบรรณาธิการ จีรภา รักแกว เลขานุการกองบรรณาธิการ ปฐฐมณฑ อุยพัฒน พิสูจนอักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม กันยา จําพิมาย ประสานงาน ภัทรกันต กิจสินธพชัย ผูจัดการฝายการตลาด เขมจิรา บุญพระรักษา ฝายการตลาด กัลยา ทรัพยภิรมย เลขานุการฝายการตลาด ชุติมันต บัวผัน ฝายวิเทศสัมพันธ นันธิดา รักมาก แยกสี บจก. คลาสสิคสแกน โรงพิมพ บจก. ฐานการพิมพ

สินธวานนท นินนาท ไชยธีรภิญโญ ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ พานิช พงศพิโรดม ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี ดร.สุรพล ดํารงกิตติกุล ชาย ชีวะเกตุ

เพื่อนอมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณอันใหญหลวง ของพระบทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ผูทรงมีพระคุณสูงสุดตอพสกนิกรชาวไทย กองบรรณาธิการ นิตยสาร Green Network ขอนอมเกลานอมกระหมอมถวายอาลัย พระผูเสด็จสูสวรรคาลัย สํานึกในพระมหากรุณาธิคุณเปนลนพนอันหาที่สุดมิได ขาพระพุทธเจา ผูบริหาร และพนักงาน บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด

Editor Talk สวัสดีครับ ทานสมาชิกและทานผูอานทุกทาน เปนที่ทราบกันดีวาพลังงานเปนปญหาหลักอยางหนึ่งในระดับโลก อันเกี่ยวโยงไปถึงปญหา สิง่ แวดลอม ทําใหทวั่ โลก รวมทัง้ ประเทศไทย ไดมกี ารสงเสริมแกไขปญหาพลังงานและสิง่ แวดลอม ดวยการรณรงคใหประหยัดพลังงาน ไมเวนแตอาคารทีต่ อ งมุง ไปสูอ าคารประหยัดพลังงาน โดยการ อนุรักษพลังงานในอาคารนั้น เปนสวนหนึ่งของแผนงานอนุรักษพลังงาน 20 ป (พ.ศ. 2557-2579) ซึ่งอาคารมีสัดสวนการใชพลังงานกวารอยละ 20 ของการใชพลังงานขั้นสุดทาย Green Network ฉบับนี้ คอลัมน Green Cover พบกับ “BEC เกณฑมาตรฐานอาคารไทย พลิกโฉมการอนุรกั ษพลังงาน” การบังคับใชเกณฑมาตรฐานประสิทธิภาพพลังงานของอาคาร (BEC) ซึ่งใชกับอาคารที่จะขออนุญาตกอสรางใหมหรือดัดแปลงอาคาร โดยภาครัฐเรงผลักดันเพื่อใหเกิด การอนุรกั ษพลังงานตัง้ แตขนั้ ตอนเริม่ ตนในการออกแบบอาคารใหเปนไปตามกฎหมาย จึงจะอนุญาต ใหกอสรางหรือดัดแปลงได เพราะบทบาทของผูออกแบบอาคารและผูใชอาคารนั้นสงผลกระทบ โดยตรงกับการใชพลังงานโดยรวมของประเทศ หากเจาของอาคารและผูออกแบบเขาใจในเรื่อง พลังงาน แลวออกแบบอาคารใหประหยัดพลังงานและมีประสิทธิภาพ ก็จะสงผลดีตอประเทศชาติ และสิ่งแวดลอมไปพรอมกัน คอลัมน Green People พบกับ ดร.ณรัณ ศิริสันธนะ “ยูนิแอร คิดคนนวัตกรรมทําความเย็น เทคโนโลยีทางเลือกใหมเพือ่ การประหยัดพลังงาน” และ โกศล แสงทอง “กวาจะเปน ‘ปาเด็งโมเดล’ ชุมชนตนแบบพลังงานที่ยั่งยืน” คอลัมน Green Visit ไปเยี่ยมชมโรงงานสกัดน้ํามันปาลมเจาใหญ ของภาคใต กับ “ป.พานิชรุง เรืองปาลมออยล 2 ยกระดับการผลิตแบบอัตโนมัติ ลดการสูญเสียอยาง ครบวงจร” คอลัมน Green Energy “PEA Hive Platform เปลีย่ นบานธรรมดา สูบ า นอัจฉริยะ” บาน ยุคใหมที่ตอบโจทยทุกการใชงานภายในบาน ผูอยูอาศัยอยูแลวรูสึกประหยัด สะดวกสบาย และ ปลอดภัย คอลัมน Green Innovation “วิศวฯ จฬาฯ เปดตัวนวัตกรรม ติดตัง้ ระบบเซ็นเซอร ตรวจวัด คุณภาพอากาศภายในอาคาร” และ คอลัมน Green World “รถไฟดีเซลกึ่งพลังงานแสงอาทิตย ขบวนแรกในอินเดีย” คอลัมน Green Travel “รักนา้ํ รักปลา ตองมาทะเลกระบี่ เสนหแ หงอันดามัน” และคอลัมน Green Health “น้ําตมผักที่วาหวาน หรือจะสู ‘หญาหวาน’ สมุนไพรเพื่อสุขภาพ”

แลวพบกันใหมฉบับหนา สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด

471/ 3-4 อาคารพญาไท เพลส ถ.ศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2354-5333 (ฝายการตลาด ext. 503) แฟกซ 0-2640-4260 http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com e-Mail : editor@greennetworkthailand.com


GREEN

บานปู อินฟเนอรจ เปดตัวบรษัทสูผู ใหบรการวางระบบผลิตไฟฟา จากพลังงานแสงอาทิตยแบบครบวงจร

News กองบรรณาธิการ

บริษัท บานปู อินฟเนอรจี จํากัด หนึ่งในบริษัทลูกของบริษัท บานปู จํากัด (มหาชน) เปดตัวอยางเปนทางการ ในฐานะผูใ หบริการดานการวางระบบผลิตไฟฟา จากพลังงานแสงอาทิตยแบบครบวงจร One Stop Service ดวยเทคโนโลยีทที่ นั สมัย ภายใตแนวคิด “Go Green Together” สมฤดี ชัยมงคล กรรมการ บริษัท บานปู อินฟเนอรจี จํากัด กลาววา การ เปดตัวบานปู อินฟเนอรจี ถือเปนการตอยอดความเชี่ยวชาญจากการดําเนินธุรกิจ โซลารฟารมของบานปู อินฟเนอรจี ในประเทศจีนและญี่ปุน มาสูธุรกิจวางระบบ ผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย อีกทัง้ ยังเปนการรวมขับเคลือ่ นการพัฒนาประเทศ ดานพลังงาน หรือนโยบายพลังงาน 4.0 ที่มุงเนนผลักดันใหเกิดนวัตกรรมดาน พลังงานใหมๆ สงเสริมการใชพลังงานทดแทน เพื่อสรางความมั่นคงดานพลังงาน ใหกับประเทศ โดยในระยะแรก บานปู อินฟเนอรจี จะใหบริการระบบผลิตไฟฟา พลังงานแสงอาทิตยทตี่ ดิ ตัง้ บนหลังคา (Rooftop Solar) ระบบไฟถนน และอุปกรณ ไฟสองสวางจากพลังงานแสงอาทิตย (Solar Streetlight and Accessories) ดวย อุปกรณชั้นนําที่มีคุณภาพสูง เนนแพ็กเกจ Signature Infinergy ที่คุมคามากที่สุด ลูกคาไมตอ งลงทุนคาติดตัง้ หรือคาอุปกรณเลยแมแตบาทเดียว (Zero Investment) และจายคาไฟจากระบบโซลารในราคาที่ถูกลง พรอมบริการดูแลรักษาระบบ และ ฟรีอุปกรณตลอดอายุสัญญา 20-25 ป นอกจากนี้ยังมีอีก 2 แพ็กเกจใหลูกคาเลือก ตามความตองการ ซึ่งผลประโยชนที่ไดรับจะแตกตางกัน สําหรับแผนกลยุทธในอีก 5 ปขางหนา บานปู อินฟเนอรจี ตั้งเปาผลิตไฟฟา จากพลังงานแสงอาทิตยใหไดรวม 300 เมกะวัตต เพื่อตอบรับความตองการของ ลูกคาในอนาคต ซึง่ ถือเปนหนึง่ ในการรวมสนับสนุนแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและ

พลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558-2579 (Alternative Energy Development Plan : AEDP 2015) ของกระทรวงพลังงาน ที่ตั้งเปาเพิ่มการใชพลังงานทดแทนโดยรวม ของประเทศจาก 13.9% ในปจจบัน เปน 30% ภายในป 2579 นอกจากนี้ ยังมุงมั่น ทีจ่ ะศึกษาและนําระบบการบริหารจัดการพลังงาน (Energy Management System: EMS) และระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System: ESS) มาใชในการ ควบคุมการผลิต การสง และการกักเก็บพลังงาน เพือ่ ใหการใชพลังงานเปนไปอยาง มีประสิทธิภาพสูงสุด รวมถึงการใชไฟฟาในรถยนต (Electric Vehicle)

สกว. โชวผลวจัยไมโตเร็ว-พืชพลังงาน

โครงการรวมวิจัย สกว.-กฟผ. หนุน ม.เกษตรฯ วิจัยไมโตเร็วและพืชพลังงาน หวังนําความรูเปนขอมูลประกอบการวางแผนพลังงานแกภาครัฐและเอกชน เพื่อสราง ความมั่งคั่งยัง่ ยืนของพลังงานไทย ชีพ้ ชื ชีวมวลชวยสรางงานและสรางรายไดแกเกษตรกร ซึง่ จะสงผลดี ตอเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม ศ. ดร.สวัสดิ์ ตันตระรัตน ประธานกรรมการโครงการรวมวิจัย กฟผ.-สกว. เปน ประธานเปดงานแถลงขาว “ความสําเร็จจากงานวิจัยดานไมโตเร็วและพืชพลังงาน” ซึ่ง จัดโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร รวมกับสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) และ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) พรอมเปดเวทีเสวนาวิชาการ “โอกาสของงาน วิจัยพืชพลังงานกับความมั่นคงยั่งยืนของพลังงานไทย” เพื่อนําขอเสนอผลการวิจัยและ เปดรับฟงขอเสนอแนะจากภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวของ รวมถึงภาคประชาสังคม เพื่อให 10

ไดมาซึ่งโจทยวิจัยที่สามารถพัฒนาเปนโครงการวิจัยที่สรางองคความรูและ นวัตกรรมที่จะนําไปใชในการพัฒนาและสงเสริมพลังงานชีวมวล ตลอดจน เปนขอมูลสนับสนุนในการวางแผนเชิงนโยบายและเชิงพาณิชยแกภาครัฐและ ภาคเอกชน ดร.วราวุฒิ ศุภมิตรมงคล ผูวิจัย “การศึกษาศักยภาพของพื้นที่ดิน เสื่อมโทรมในการปลูกไมโตเร็วเพื่อผลิตกระแสไฟฟา” กลาววา ไดศึกษาเพื่อ จัดทําแผนทีค่ วามเหมาะสมในการปลูกไมโตเร็วทีท่ ศี่ กั ยภาพในการนํามาปลูก เปนเชื้อเพลิงทางเลือก รวม 5 สกุล ไดแก ยูคาลิปตัส กระถินณรงค-กระถิน เทพา กระถินยักษ สนประดิพัทธ และเสม็ดขาว โดยนอกจากพิจารณาความ เหมาะสมของพืน้ ทีแ่ ลว ยังตองพิจารณาเรือ่ งตนทุนการปลูก การจัดการแปลง และเมือ่ คํานึงถึงผลกําไรสูงสุดจากการปลูกพบวา ไมสกุลยูคาลิปตัสถูกแนะนํา ใหปลูกเปนอันดับแรกในพื้นที่ที่มีศักยภาพทั้งหมด โครงการ “การรวบรวมขอมูลการปลูกตนไมโตเร็วสําหรับจัดทําแผนที่ นําทางงานวิจัยการปลูกไมโตเร็วเพื่อพลังงาน” ซึ่งไดรวมวิจัยกับภาคเอกชน และเกษตรกรเพื่อใหเกิดการนําผลงานวิจัยไปใชประโยชนอยางเปนรูปธรรม โดยแบงแผนทีน่ าํ ทางระยะสัน้ ระยะกลาง และระยะยาว ออกเปน 7 กลุม หลัก คือ การพัฒนาและปรับปรุงพันธุไ มโตเร็ว ระบบการปลูกและการเตรียมพืน้ ที่ การจัดการสวนปา การตัดฟน และโลจิสติกส การประเมินผลผลิตมวลชีวภาพ การวิเคราะหผลตอบแทนและการขยายผลการสงเสริมปลูก และการยอมรับ และผลกระทบสิง่ แวดลอม เพือ่ ใหตอบโจทยความตองการพัฒนาพลังงานชีวมวล อยางยั่งยืน ทั้งนี้ปญหาสําคัญที่สุด คือ การขาดแคลนแรงงาน ในระยะสั้น จึงตองเรงพัฒนาเครื่องจักรเพื่อทดแทนแรงงานที่มีจํานวนลดลงและแรงงาน สูงวัย รวมถึงชวยลดตนทุน

GreenNetwork September-October 2017


ซเมนส พรอมผนึกธุรกิจกลุมอุตสาหกรรมอาหาร และเคร่องดื่มไทย กาวไกลเปลี่ยนสูยุคดิจทัล

เมื่อเร็วๆ นี้ ซีเมนสไดจัดสัมมนาในหัวขอ “The Future of Manufacturing in Food and Beverage Thailand” โดยทีมงานของซีเมนสจากทัว่ โลก และองคกรชัน้ นําในอุตสาหกรรม อาหารและเครือ่ งดืม่ ของไทย ตางสงผูเ ชีย่ วชาญมาถายทอดความรูเ ชิงกรณีศกึ ษาในหัวขอการนํา เทคโนโลยีมาใชงานในอุตสาหกรรมอาหารและเครือ่ งดืม่ อาทิ บุญรอด บริวเวอรี,่ ไทยเบฟเวอเรจ, โอสถสภา อินเทอรเนชัน่ แนล, ซีพเี อฟ, เบียร ไทย, อุตสาหกรรมแปงมันกรุงเทพ และสุราษฎรธานี เบฟเวอรเรช ในงานสัมมนา ซีเมนสไดนําเสนอวิธีการคนหาความเปนไปไดในการปรับเปลี่ยนองคกร ในการเขาสูยุคดิจิทัล ใหกับผูประกอบการอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ภายใตหัวขอ “Digitalization - The Future of Manufacturing in Food and Beverage” และ “Set The Pace for Digitalization” และได มี ก ารสาธิ ต ตั ว อย า งเพื่ อ เป น แนวทางศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ “กระบวนการเปลีย่ นแปลงองคกร” รวมทัง้ วิธกี ารลดชวงเวลาและตนทุนทีเ่ กิดขึน้ กรณีเครือ่ งจักร ในระบบการผลิตหยุดทํางาน โดยใชการจําลองสถานการณที่เกิดขึ้นในอุตสาหกรรมนม เพื่อให เกิดความเขาใจในกระบวนการและขั้นตอนในการทํางานที่มีรูปแบบเฉพาะตัวในอุตสาหกรรม อาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งจะแสดงใหเห็นถึงประโยชนที่ภาคอุตสาหกรรมนี้จะไดรับจากการ ปรับเปลี่ยนไปสูรูปแบบดิจิทัล และเห็นถึงองคประกอบสําคัญที่สงผลกระทบตออุตสาหกรรม เชน ความออนไหวตอตนทุน ความพรอมที่จะปรับเปลี่ยนรองรับการขยายตัว ที่มีศักยภาพ ในการใชนวัตกรรมใหมๆ และรองรับความตองการตามแนวคิดของลูกคาได ทั้งนี้ ไดรับเกียรติจากวิทยากรผูทรงคุณวุฒิ ดร.วิเชียร ฤกษพัฒนกิจ จากสถาบันอาหาร (National Food Institute of Thailand) และ นายวรปญญา สุธานุภาพวุฒิ จาก The European Hygienic Engineering Design Group (หนึ่งในองคกรของสหภาพยุโรปที่กอตั้งขึ้น ดวยวัตถุประสงคหลักเพื่อสรางความกาวหนาในดานสุขอนามัยและวิศวกรรมอาหาร) ไดมาให รายละเอียดสภาวการณของตลาดอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มของประเทศไทย และชี้ ใหเห็นถึงโอกาสทางธุรกิจที่จะเกิดขึ้นอันเปนผลมาจากการปรับตัวสูรูปแบบดิจิทัลอีกดวย 11

MOBIKE จับมือ 3 พันธมิตรในไทย เปดตัวจักรยานสาธารณะอัจฉรยะ นํารองใชจรงที่ ม.เกษตรฯ บางเขน

โมไบค (Mobike) ผูใ หบริการจักรยานสาธารณะอัจฉริยะรายแรก ที่ใหญทสี่ ดุ ในโลก ประกาศเปดตัวในตลาดประเทศไทยดวยการจับมือเปน หุน สวนทางยุทธศาสตรกบั แอดวานซ อินโฟร เซอรวสิ (เอไอเอส) เซ็นทรัล พัฒนากรุป (ซีพีเอ็น) และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยทั้ง 3 หุนสวน ลงนามบันทึกขอตกลงความเขาใจ (MOU) กับโมไบคเพือ่ รวมกันนําเสนอ โซลูชนั่ การเดินทางอัจฉริยะทีม่ คี วามยัง่ ยืนใหแกประชาชนผูอ ยูอ าศัยและ ผูที่มาเยือนประเทศไทย โมไบค เริ่มใหบริการครั้งแรกในประเทศไทยที่มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร บางเขน ในกรุงเทพฯ เพือ่ ใหนสิ ติ คณาจารย และผูม าเยือน สามารถเดินทางระหวางสถานทีภ่ ายในมหาวิทยาลัยไดอยางงายดาย โดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร นับเปนมหาวิทยาลัยผูนําในการผลักดันและ สงเสริมโครงการมหาวิทยาลัยสีเขียวอยางแทจริงของไทยที่มีขนาดใหญ ที่สุด จักรยานโมไบคติดตั้งเทคโนโลยีขั้นสูงมากมายที่เปนกรรมสิทธิ์ เฉพาะของโมไบค ซึ่งใหประโยชนแกทั้งผูใชและเมืองตางๆ ที่ครอบคลุม จักรยานโมไบคทกุ คันมาพรอมเทคโนโลยีลอ็ กอัจฉริยะทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะ ตัวและจีพีเอส (GPS) ในตัวเชื่อมตอผานเครือขายโมไบค IoT ซึ่งเปน คุณสมบัติที่ประเมินคาไมไดสําหรับเมืองใหญตางๆ และยังไมเคยมีผูให บริการจักรยานสาธารณะใดทําไดมากอน เทคโนโลยีของโมไบคสามารถ ติดตามและตรวจสอบสถานะของจักรยานแตละคัน เพื่อนํามาวิเคราะห ปริมาณและเสนทางคมนาคมตางๆ และนํามาจัดสรรใหเหมาะสมกับความ ตองการของการใชงานในพื้นที่ ซึ่งจะชวยแกไขปญหาความไมเพียงพอ ของยานพาหนะในชวงจดเชือ่ มตอระหวางการขนสงมวลชนจนถึงจดหมาย ปลายทางไดอยางดีเยี่ยม ดร.จงรัก วัชรินทรรัตน ผูรักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร กลาววา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรและโมไบค มีความ ฝนรวมกันทีจ่ ะสรางอนาคตและสิง่ แวดลอมทีด่ กี วา มลพิษและการจราจร แออัดที่นอยลงในเมืองใหญทั่วประเทศไทย เรากําลังทํางานรวมกันเพื่อ มุง สูเ ปาหมายดังกลาว โมไบคจะไมเพียงแคสรางประโยชนแกมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตรในดานการมอบการเดินทางอัจฉริยะใหแกนสิ ติ และบุคลากร ของเราเทานัน้ แตยงั รวมถึงโมเดลธุรกิจทีม่ คี วามยัง่ ยืนทีเ่ ราสามารถเรียนรู ไดอีกดวย

GreenNetwork September-October 2017


GREEN

GREEN

Read

Story

หนอนหนังสือ

พาไล

สําเร็จได สไตล คนขี้เกียจ ผูเขียน : นะโอะยุกิ ฮนดะ ผูแปล : สุธาสินี ขจร สํานักพิมพ : Shortcut วากันวา คนขยัน มีจดออน และคนขี้เกียจก็มี จดแข็งเชนกัน นีค่ อื เคล็ดลับความสําเร็จสําหรับคนขีเ้ กียจ เพือ่ คนขีเ้ กียจ โดยคนขีเ้ กียจทีป่ ระสบความสําเร็จอยาง งดงามในชีวิตและหนาที่การงานมาแลว เลิกมองความ ขี้เกียจในแงลบ เพราะหนังสือเลมนี้จะทําใหคุณรูวิธีใช ความขีเ้ กียจของตัวเองใหเกิดประโยชนสงู สุดโดยไมตอ ง หยุดขี้เกียจเลย การคิดพลิกแพลงเพียงเล็กนอย แคทํา ตามกฎงายๆ 57 ขอในเลมซึ่งมาในรูปขอความสั้นๆ อานงายพรอมภาพประกอบ แคนี้ คุณก็สําเร็จในทุกเรื่องไดแบบงายๆ สบายๆ สไตลคนขี้เกียจ

The Last Lecture

การบรรยายครั้งสุดท าย ของชายที่เปลี่ยนโลก ผูเขียน : Randy Pausch (แรนดี้ เพาซ), Jeffery Zaslow (เจฟฟรีย ซาสโลว) ผูแปล : วนิษา เรซ สํานักพิมพ : อมรินทร How To จดเริ่ ม ต น ของหนั ง สื อ เกิ ด จากแรนดี้ เพาซ รูตัววาตัวเองเปนมะเร็งตับระยะสุดทาย จึงไดบอกเลาเรื่องราวของความตายอยาง ตรงไปตรงมามากทีส่ ดุ เทาที่ใครสักคนบนโลกใบนีจ้ ะบอกได ตัง้ แตการใชชวี ติ ในเวลาที่ มีอยางจํากัดไดอยางไร ใหคมุ คามากทีส่ ดุ ในทุกฐานะ (ลูก /สามี/พอ/เพือ่ น/อาจารย และ ในฐานะคนธรรมดาคนหนึ่งบนโลกใบนี้) โดยเขาตองการที่จะถายทอดเรื่องราวชีวิต ที่ผานมา ผานการปาฐกถา หนังสือเลมนี้ไมไดสอนวิธีการรับมือสําหรับผูที่เปนมะเร็ง แตเปนตัวจดประกายแรงบันดาลใจสําหรับการใชชีวิต ชี้ ใหเห็นวาควรใชชีวิตอยางไร ใหคุมคาและมีคุณคา อีกทั้งไมประมาทกับความตายที่จะเกิดขึ้นเมื่อไรก็ได

สมองแห งพุทธะ

(Buddha’s Brain) ผูเขียน : Richard Mendius (ริชารด แมนดิอัส), Rick Hanson (ริค แฮนสัน) ผูแปล : ดร.ณัชร สยามวาลา สํานักพิมพ : อมรินทรธรรมะ หนังสือธรรมะแนววิทยาศาสตรทกี่ ลาวถึงความ สัมพันธระหวางสมองและจิตใจ โดงดังมากในหลาย ประเทศทั่วโลก ผูเขียนเลาเรื่องระบบการทํางานของ สมอง การทํางานของจิตใจ และการทํางานทีเ่ กีย่ วเนือ่ ง สั ม พั น ธ กั น ระหว า งสมองและจิ ต ใจ ซึ่ ง ส ง ผลต อ พฤติกรรมและอารมณความรูสึกของคนไดอยางเปนระบบ ชัดเจน และเขาใจไดงายขึ้น นําเสนอวิธกี ารพัฒนาสมองและจิตใจทีท่ กุ คนสามารถปฏิบตั ติ ามเพือ่ พัฒนาตนเองไดจริง รวมทั้งเปดเผยความยิ่งใหญของการปฏิบัติที่ชวยพัฒนาสมอง ทั้งยังไดหยิบยกวิธีการ ตางๆ ตามหลักพุทธ รวมทั้งคําสอนของครูบาอาจารยทางวิปสสนา และใชหลัก วิทยาศาสตรมาอธิบายควบคูก นั ไป ไมวา จะในเรือ่ งของการมีเมตตาตอตนเอง วิธสี รางสุข วิธีผอนคลาย และวิธีเจริญภาวนา 12

C .4 )6& เคยไหม … รู ว าโกรธไม ดี แต ก็โกรธ รู ว าโกรธเผาตัว แต ก็โกรธ รู ว าโกรธเป นอกุศล แต ก็โกรธ ในหนึง่ วันถาไมระวัง โกรธไดกวาสิบครัง้ เพราะรําคาญ ไมชอบ หงุดหงิด ไมใช ลวนเปนบริวารของโกรธทั้งสิ้น บางทีบริวารมากอนแลวคอยๆ ไตระดับ แตบางทีก็ พรวดเดียวโกรธเลย สวนจะพลานนาน จะเรารอนแคไหน จะเอาคืนหรือไม ก็ตางคน ตางกาล เรื่องชวนโกรธพาอารมณเดือดรายวัน เห็นทีไมพนคําพูดบาดหู วาจารําคาญใจ ถาขมไดกแ็ ลวไป แตถา ขมไมไหวก็มสี วนใหสะใจ แมรวู า สวนแลวพิษ จะตกใน แตกห็ ยุด ไมได เพราะยังโกรธไมหาย เรื่องคําพูดชวนโกรธนี้ พระสัมมาสัมพุทธเจาทรงสอนอุบายระงับไววา คําพูด ที่จดไฟโกรธนั้นจะอยูไ มเกินกรอบหา คือ พูดถูกเวลาหรือไม พูดเรื่องจริงหรือไม พูดออนหวานหรือหยาบคาย พูดมีประโยชนหรือไรประโยชน และสุดทาย พูดดวยเมตตา หรือพูดดวยโทสะ ถาพิจารณาทันก็จะรูวาโกรธเพราะเหตุใด ไฟพลุงพลานก็จะระงับ ไดงายขึ้น เร็วขึ้น ระงับโกรธอีกตัวอยางหนึ่ง เรื่องมีอยูวา สมัยหนึ่ง กอนที่จะมีขอบัญญัติหามภิกษุตัดตนไม ครานั้นภิกษุ รูปหนึง่ ตองการไมไปทําเสนาสนะ เมือ่ พบไมขนาดพอดีตน หนึง่ ก็คดิ จะตัด ขณะเงือ้ ขวาน ขึ้นกําลังจะฟน เทพธิดาผูสถิตอยูก็พลันปรากฏ รองขอวาอยาตัดตนนี้เลยเพราะนาง มีลกู ออน ไมตอ งการยายไปทีอ่ น่ื ฝายภิกษุกค็ ดิ วา เราอาจไมไดไมเชนนี้ในทีอ่ น่ื จึงไมฟง ตัดสินใจจะลงขวาน เทพธิดาเห็นเชนนั้นจึงวางทารกนอยไวบนกิ่งไมใหภิกษุเห็นใจ ใน จังหวะนั้นภิกษุลงขวานพอดี ยั้งไมทัน ฟนฉับไปบนแขนทารก เทพธิดาโกรธสุด พุงเขาหาภิกษุหมายเอาชีวิต แตคิดไดวา ภิกษุเปนผูมีศีล ถา เราฆาคงตกนรก ทางที่ดีควรไปหาเจาของภิกษุนี้ ยั้งใจไดเชนนั้นแลวจึงตรงไปเขาเฝา พระสัมมาสัมพุทธเจาทั้งน้ําตาอาบใบหนา กราบทูลเลาเรื่องทั้งหมด พระพุทธองคทรงสดับเรื่องแลวตรัสวา เธอทําถูกแลว เทพธิดา ผูใดอดกลั้นความโกรธที่เกิดขึ้นไวได เหมือนนายสารถีหยุดรถที่กําลังแลนอยูได เราเรียกผูนั้นวา นายสารถี คนนอกจากนี้ เปนเพียงผูถือเชือกเทานั้น อางอิงบทกวีและภาพ ●

พระสุตตันตปฎกขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ วรรคที่ ๑๗ โกธวรรค และอรรถกถา (ภาษาไทย) ฉบับมหาจฬาลงกรณราชวิทยาลัย เลม ๒๕, พ.ศ. ๒๕๓๙. พระสุตตันตปฎกมัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก โอปมมวรรค กกจูปมสูตร (ภาษาไทย) ฉบับมหาจฬาลงกรณราชวิทยาลัย เลม ๑๒, พ.ศ. ๒๕๓๙.

GreenNetwork September-October 2017


BOOST UPTM WIRELESS CHARGING PAD แทนชารจ สำหรับ iPhone 8, iPhone 8 Plus และ iPhone X

GREEN

Product ชื่น ชอบ ช็อป

Belkin (เบลคิน) ผูน าํ ตลาดในดานอุปกรณเสริมโทรศัพทมอื ถือ เปดตัวแทนชารจ ไรสาย Boost Up Wireless Charging Pad สําหรับ iPhone 8, iPhone 8 Plus และ iPhone X ในขณะทีท่ ช่ี ารจยังคงใหการใชงานอุปกรณ รวมถึงความสามารถในการรับสาย เรียกเขาดวย ซึ่งมาพรอมกับเทคโนโลยี Qi ที่สามารถชารจพลังไดสูงถึง 7.5 วัตต สามารถชารจไดแมขณะใสเคสโดยมีความหนาไมเกิน 3 มม. แทนชารจไรสาย Boost Up Wireless Charging Pad ของเบลคินสามารถสั่งซื้อผาน apple.com. และราน Apple Store

DOD RC500S สุดยอดนวัตกรรมกลองติดรถยนตหนาหลัง ขอแนะนํา DOD RC500S ซึ่งไดรับการออกแบบดีไซนมาเปนพิเศษดวยการตัดจอ แสดงผล LCD ดานหลังกลองออกไป เพื่อไมรบกวนการขับขี่ แตสามารถดูภาพเรียลไทม และยอนหลังไดผานแอพฯ ดวยไวไฟ ระหวางกลองกับสมารทโฟนหรือแท็บเล็ต เปนกลอง ติดรถยนตตัวแรกที่ใช SONY STARVIS CMOS Sensor ชวยเพิ่มประสิทธิภาพการบันทึก วิดโี อในสภาวะแสงนอยไดสวางชัดเจนเหมือนตอนกลางวันพรอมกับเทคโนโลยี WDR (Wide dynamic range) สําหรับปรับแสงอัตโนมัติ และคา ISO 12800 รวมถึงรูรับแสงขนาดใหญ แบบเลนสกระจกขนาด F/1.6 ทําใหสามารถจับภาพ ไดอยางรวดเร็วและใหความละเอียด คมชัดสูง ทั้งยังมีระบบปฏิบัติการ GPS ที่มีความเร็ว 10 Hz ชวยใหอัพเดตขอมูลไดอยาง รวดเร็วถึง 10 ครั้งตอวินาทีพรอมแจงเตือนความเร็วและเสนทางการขับขี่ไปพรอมๆ กับ บันทึกภาพวิดีโอ ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมทาง www.rtbtechnology.com

Acer VL7860 โฮมโปรเจกเตอร เพื่อความบันเทิงภายในบาน Acer ขอแนะนํา Acer VL7860 โฮมโปรเจกเตอรเพือ่ ความบันเทิงภายในบาน ทีฉ่ ายภาพ คมชัดระดับ 4K UHD (3,840 x 2,160) ขนาด 120 นิว้ พรอมความละเอียดบนจอ 8.3 เมกะพิกเซล ดวยระบบการทํางานของเทคโนโลยี XPR จากบริษัท Texas Instruments Acer โปรเจกเตอร รุน นี้ออกแบบมาใหสามารถฉายภาพและวิดีโอไดทุกรูปแบบ มอบภาพที่คมชัดเก็บลึกทุก รายละเอียด จดเดนคือการนําเอาระบบสี sRGB มาใช ทําใหไดโทนสีที่แมนยํา โปรเจกเตอร รองรับ HDR (High Dynamic Range) ทําใหสามารถสรางชวงไดนามิกความสวาง คา Contrast ปรับคาความสวางที่มากขึ้นและการเก็บรายละเอียดภาพที่คมชัดมากขึ้น แมกระทั่งในฉากที่มืด แตภาพยังคงความสวางทั้งเฟรม นับเปนตนแบบความบันเทิง Home Entertainment ของคน รักหนังอยางแทจริง

13

GreenNetwork September-October 2017


GREEN

Tips Mr.Save

ทุกวันนี้ “ขยะ” ไม ใช สงิ่ ของทิง้ ขว างจากการ ใช สอยในครัวเรือนหรือจากกากอุตสาหกรรม อีกต อไป แต ปจ จุบนั ขยะกําลังกลายเป น “ทองคํา” หรื อ สิ่ ง ที่ มี ร าคาขึ้ น มา คนรุ น ใหม เ ริ่ ม รู จั ก การ คั ด แยกขยะเพื่ อ นํ า กลั บ มาใช ใ หม มี ก ารนํ า ไป บริจาคและนําไปขาย ซึ่งสร างรายได ที่หลายคน คาดไม ถึง เหนือสิ่งอื่นใด การคัดแยกขยะยังเป น การแสดงความเป น หนึ่ ง ในพลั ง ชุ ม ชนที่ จ ะได มีสว นช วยรักษ สงิ่ แวดล อมและโลกของเราอีกด วย ถึงเวลาแล วที่ต องร วมกันจัดการขยะอย างเป น ระบบด วยการคัดแยก

ปริมาณขยะที่จําแนกได ในป จจุบัน 50%

ขยะยอยสลายได เศษอาหาร เศษผัก ผลไม กิ่งไม ใบไม คัดแยกนําไป หมักทําปุย นํ้าชีวภาพ หรือหมักกาซชีวภาพ และนําไปขายเปนอาหารสัตว โดย คัดแยกใสถงั ไวตา งหาก เปนการเพิม่ รายไดและชวยลดปริมาณขยะไดอกี ทางหนึง่

30%

วัสดุรีไซเคิล แกว กระดาษ โลหะ พลาสติก และอืน่ ๆ คัดแยกเปนประเภท แลวขายใหรานรับซื้อเพื่อนํากลับไปเปนวัตถุดิบในการผลิตสินคามาใชใหม

17%

ขยะทัว่ ไป ขยะยอยสลายยาก เชน โฟม ถุงพลาสติก นําไปใชเปนเชือ้ เพลิง ในเตาเผา ผลิตกระแสไฟฟาได เศษกระเบือ้ ง เซรามิก คัดแยกสงใหกรุงเทพมหานคร นําไปกําจัด

3%

&4%9 Ę6

ขยะมีพิษ/ขยะอันตราย ถานไฟฉาย แบตเตอรี่ กระปองยาฆาแมลง สารเคมี สารพิษ มีทั้งสวนที่เปนรีไซเคิลได และรีไซเคิลไมได ควรแยกทิ้งและสง ใหกรุงเทพมหานครกําจัดอยางถูกสุขลักษณะ ปองกันสารพิษรั่วไหลลงดินและ แหลงน้ํา

หยุดคิดกันหน อย

มี ก ารประมาณว า โดยเฉลี่ ย 1 คนจะผลิ ต ขยะแข็ ง วั น ละประมาณ 1 กิโลกรัม น้ํา คนละประมาณ 6 ลิตร กาซ คนละประมาณ 6 กิโลกรัม หากนํา ขยะแข็งมาอัด ใหได 1 ตัน : 1 ลูกบาศกเมตร ใชเวลา 25 วัน ก็เต็มตึกใบหยก หากเปนน้ํา จะใชเวลาเพียง 8 ชั่วโมงเทานั้น (ตึกใบหยก กวาง 50 เมตร ยาว 10 เมตร สูง 110 เมตร) ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน

ประโยชน ของการนําวัสดุกลับมาใช ใหม กระปองเครื่องดื่มทําจากอะลูมิเนียม ซึ่งไดจากการไปขุด จากดิน เอามารอนถลุง ผานกระบวนการทําใหบริสุทธิ์ จนทําเปน กระปอง ตองใชพลังงานถึง 100 หนวย หากเอากลับไปถลุงใหม จะใช พลังงานเพียง 5 หนวย ประหยัดพลังงานในการผลิตใหมถงึ 95 เปอรเซ็นต และแกวนํากลับมาใชใหม จะเสียพลังงานแค 30 เปอรเซ็นต

14

GreenNetwork Green Network September-October 2017


GREEN

Health คุณนายเขียว

3`M/ ;6K 1O_A LEAL3E=āG#JDS

Ø/gę6/+6 Ù D;R3[8=W8č_GDR :L8

หญ าหวาน

เปนพืชที่ ใหความหวานโดยธรรมชาติ ใบหญาหวานสด สกัดดวยนํ้าได สารหวานแหงประมาณรอยละ 1 ซึง่ สารหวานนีม้ คี วามหวานมากกวานา้ํ ตาลทราย 150-300 เทา และทนความรอนไดถึง 200 องศาเซลเซียส จึงไมสลายตัวหรือ เปลี่ยนสภาพจากความรอนในการปรุงอาหาร สารใหความหวานจากหญาหวานเปนสารสกัดที่มาจากธรรมชาติอยาง แทจริง เปนความหวานทีป่ ราศจากแคลอรี่ และไมมผี ลกระทบตอปริมาณนาํ้ ตาล ในรางกาย เพราะเมือ่ รับประทานไปแลว รางกายสามารถขับออกมาไดทนั ทีไมมี การสะสม จึงเหมาะกับผูที่ใสใจสุขภาพ ผูที่ตองการควบคุมน้ําหนัก และผูที่เปน เบาหวาน ที่ยังตองการรสหวานในอาหารและเครื่องดื่ม รูปแบบของหญาหวานทีค่ นนิยมรับประทานกันมี 2 แบบคือ นําใบหญาหวาน มาผสมกับสมุนไพรอื่นๆ เพื่อเติมรสหวานเปนชาสมุนไพร ยาชงสมุนไพรตางๆ หรืออาจใชในรูปของสารสกัดจากหญาหวานเปนผงสําเร็จรูปบรรจซองสําหรับ เติมลงในชา กาแฟ หรืออาหารตางๆ

มารู จักกับพืชและสารสกัดจากหญ าหวานกันเถอะ

หญาหวานมีชอ่ื วิทยาศาสตรวา Stevia Rebaudiana Bertoni หรือทีเ่ รียก สัน้ ๆ วา Stevia เปนพืชทีถ่ กู จัดอยูในวงศ Asteraceae (Compositae) มีถน่ิ กําเนิด อยู ในทวีปอเมริกาใตตามแนวพรมแดนระหวางประเทศบราซิลและปารากวัย ซึ่งชาวปารากวัยมีการใชใบหญาหวานผสมกับชาดื่มมานานกวา 1,500 ปแลว ตอมาประเทศญีป่ นุ ก็ไดนาํ มาใชอยางกวางขวาง หญาหวานชอบอากาศคอนขางเย็น อุณหภูมิประมาณ 20-26 องศาเซลเซียส และขึ้นไดดีเมื่อปลูกในพื้นที่สูงจาก ระดับน้ําทะเลประมาณ 600-700 เมตร มีการนํามาปลูกในประเทศไทยเมื่อป พ.ศ. 2518 โดยพื้นที่ปลูกที่เหมาะสมคือทางภาคเหนือ และบริเวณเขาใหญ 15

หวาน เป น รสชาติ ที่ ค นขาดไม ไ ด

ซึ่งป จจุบันคนให ความสําคัญกับสุขภาพมาก จึงเลือกบริโภคเครือ่ งดืม่ โดยพิจารณาสารปรุงแต ง รสหวานทีม่ คี ณ ุ ประโยชน ตอ สุขภาพ อุตสาหกรรม เครื่องดื่มหันมาสนใจใช สารให ความหวานจาก ธรรมชาติแทนสารสังเคราะห มากขึ้น

หญาหวานเปนไมลมลุกขนาดเล็กสูงประมาณ 30-90 เซนติเมตร ใบเดี่ยว รูปใบ หอกกลับ ขอบใบหยัก มีดอกชอสีขาว ลักษณะคลายตนโหระพา หากมีการปลูก ไวในบริเวณบานเปนพืชผักสวนครัวจะมีประโยชนมาก เพราะใบสดหรือตากแหง ตมกับน้ําก็จะใหสารหวานใชปรุงอาหารและเครื่องดื่มไดอยางดี หญาหวานจัดเปนสมุนไพรที่ ไ มไดใหพลังงานกับรางกายเหมือนพืช สมุนไพรชนิดอืน่ ๆ แตมสี รรพคุณทางยาทีส่ าํ คัญ โดยเฉพาะชวยลดนา้ํ ตาลในเลือด ซึ่งเหมาะสําหรับผูปวยโรคเบาหวานที่ตองการควบคุมระดับนํ้าตาลในเลือด ชวยบํารุงตับออน ลดไขมันในเสนเลือดและลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูงและโรคอวนได ทั้งยังชวยสมานแผลทั้งภายนอกและภายใน ทําใหแผลหายไวขึ้นได รวมทั้งทําใหเลือดไปเลี้ยงสมองมากขึ้น นอกจากนี้ มี ง านวิ จั ย พบว า กากหญ า หวานที่ ผ า นการสกั ด สารหวาน (ที่พัฒนาเปนผงแหงบรรจซองสําหรับเติมลงในชา กาแฟ หรืออาหาร) ยังคงมี ความหวาน สามารถใชทดแทนนํ้าตาลในการใหความหวานในเครื่องดื่มชาชงได ซึ่งบรรจเปนถุงสําเร็จพรอมชงดื่มไดทุกชวงเวลา ดื่มไดงาย ชวยดับกระหาย จากการประเมินความพึงพอใจผลิตภัณฑจากกากหญาหวาน ผสมอัญชัน มะลิ กระเจี๊ยบแดง และเตยหอม พบวาชากากหญาหวานผสมมะลิซึ่งประกอบดวย กากหญาหวาน 250 มิลลิกรัม และมะลิ 80 มิลลิกรัม เปนสูตรทีม่ สี ี กลิน่ และรสชาติ เปนที่นาพึงพอใจที่สุด ซึ่งการพัฒนาหาสูตรผสมที่ถูกใจเฉพาะบุคคลก็ทําไดงาย สําหรับใครก็ตามทีร่ สู กึ ไมคอ ยมีแรง ก็ลองดืม่ เครือ่ งดืม่ ทีผ่ สมหญาหวาน ก็จะชวยใหมีกําลังวังชาเพิ่มขึ้น และดวยความที่หญาหวานเปนพืชที่ไมมีพลังงาน จึงมีการนําไปใชในการลดความอวนกันอยางกวางขวาง ไมวาจะใชผสมดื่ม หรือ ไปผลิตเปนอาหารเสริมในการควบคุมน้ําหนักไดอีกดวย ที่มา : ภาควิชาเภสัชเคมี คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล

GreenNetwork September-October 2017


GREEN

Cover กองบรรณาธิการ

วโลกมีการกําหนดเกณฑอ าคารอนุรกั ษพลังงาน และอาคารเขียว สง เสริมวัสดุและอุปกรณอนุรกั ษพ ลังงาน เพือ่ ประหยัดการใชพ ลังงานในอาคาร โดยประเทศทีม่ กี ารบังคับใช BEC มีจาํ นวนมากกวา 35 ประเทศทัว่ โลก สําหรับ ประเทศไทยนั้น อาคารเกาที่ติดตั้งใชงานแลวไมไดมีการออกแบบที่คาํ นึงถึงการประหยัดตั้งแตตน ทําใหการใชพลังงาน เปนไปอยางไมมีประสิทธิภาพ ประกอบกับการปรับปรุงอาคารที่ ใชงานอยูแลวมีความยุงยาก และในบางกรณี ไมคุมคา กับการลงทุน

ทั่

กระทรวงพลังงาน โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ไดออกกฎกระทรวงกําหนดประเภทหรือขนาดของอาคาร และมาตรฐาน หลักเกณฑ วิธี ในการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2552 ตามมาตรา 19 แหง พระราชบัญญัตกิ ารสงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน พ.ศ. 2535 (แกไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2550) เพื่อเปนการเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานในภาคอาคาร โดยเริ่มตั้งแตการออกแบบ อาคารใหสามารถลดความรอนเขาสูอาคาร และเลือกใชวัสดุอุปกรณที่มีประสิทธิภาพ และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ที่เรียกวา เกณฑมาตรฐานการออกแบบอาคารเพื่อการ อนุรักษพลังงาน (Building Energy Code) หรือ BEC

Building Energy Code คืออะไร

Building Energy Code หรือ BEC คือ เกณฑมาตรฐานประสิทธิภาพพลังงาน ของอาคาร โดยกระทรวงพลังงานไดออกกฎกระทรวงกําหนดเกณฑมาตรฐานการอนุรกั ษ พลังงานในอาคารขึ้นมา ซึ่งมีผลบังคับใชกับอาคารที่จะขออนุญาตกอสรางใหมหรือ ดัดแปลงอาคาร โดยจะตรวจสอบการใชพลังงานตัง้ แตขนั้ ตอนการออกแบบวาเปนไปตาม กฎหมายหรือไม แลวจึงอนุญาตใหกอ สรางหรือดัดแปลงได โดยไดรว มกับกรมโยธาธิการ และผังเมือง กระทรวงมหาดไทย บังคับ 9 ประเภทอาคาร ไดแก สถานพยาบาล สถานศึกษา สํานักงาน อาคารชุด อาคารชุมนุมคน โรงมหรสพ โรงแรม อาคารสถานบริการ และ

BEC เกณฑ มาตรฐานอาคารไทย พลิกโฉมการอนุรักษ พลังงาน

16

อาคารศูนยการคาหรือหางสรรพสินคาที่จะกอสรางใหม หรือดัดแปลง โดย จะมีเกณฑการประเมินกลุมอาคารทั้ง 9 ประเภท จะตองออกแบบอาคารตาม มาตรฐานการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษพลังงาน

เกณฑ มาตรฐานอาคารด านพลังงาน (BEC)

BEC จะมีตัวชี้วัดตางๆ ทั้งหมด 5 ระบบ ไดแก 1. ระบบกรอบอาคาร เปนการลดความรอนเขาสูอาคารทางหลังคาและผนังอาคาร ออกแบบให ความรอนเขาอาคารไดนอย ควรเลือกใชผนังอาคารที่มีคาตานทานความรอน (Thermal Resistance) สีผนังทาสีขาวหรือสีออ นเพือ่ ลดการดูดกลืนความรอน อัตราสวนพื้นที่กระจกตอพื้นที่ผนังทั้งหมด (Window to Wall Ratio, WWR) ไมเกินรอยละ 30 และเลือกใชกระจกเขียวตัดแสง หรือกระจกสะทอนแสง และติดฉนวนกันความรอน เปนตน 2. ระบบไฟฟาแสงสวาง เปนการสงเสริม การใชหลอดไฟประหยัดพลังงาน โดยเลือกใชหลอดไฟประสิทธิภาพสูง เชน หลอดประหยัดไฟ หรือหลอดไฟ LED 3. ระบบปรับอากาศ สําหรับเครื่องปรับ อากาศขนาดเล็ก (Split Type) ควรเลือกใชเครือ่ งปรับอากาศเบอร 5 สวนระบบ ปรับอากาศขนาดใหญ เชน เครือ่ งทํานาํ้ เย็น (Chiller) ควรเลือกคาประสิทธิภาพ ตามเกณฑมาตรฐาน BEC กําหนด 4. อุปกรณผลิตน้ํารอน ควรเลือกที่มีคา ประสิทธิภาพตามเกณฑกําหนด 5. การใชพลังงานโดยรวมในอาคาร และ 6. การใชพลังงานหมุนเวียนในระบบตางๆ ของอาคาร ทั้งนี้ อาคารแตละประเภทจะมีคามาตรฐานตามเกณฑที่แตกตางกัน การผานเกณฑมาตรฐานประสิทธิภาพการใชพลังงาน (BEC) ไดจะมี 2 วิธี คือ อาคารสามารถผานเกณฑการประเมินประสิทธิภาพการใชพลังงาน ไดทกุ ดาน แตหากอาคารไมสามารถผานเกณฑไดครบยังมีโอกาสทีจ่ ะ ผาน BEC ในทางเลือกที่สองซึ่งจะประเมินจากคาการใชพลังงาน โดยรวม

GreenNetwork September-October 2017


BEC เปนไปตามยุทธศาสตรและถือเปนนโยบายเรงดวน ของรั ฐ บาลเพื่ อให เ ป นไปตามแนวทางส ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ พลังงาน ภายใตแผนอนุรักษพลังงานของประเทศ (EEP 2015) พ.ศ. 2558-2579 ที่เห็นความสําคัญในการใชพลังงานใหเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด โดยเฉพาะในกลุมที่มีการใชพลังงานมาก ถือเปนนโยบายสําคัญของ พพ. จะใชเปนเครื่องมือใหอาคาร สรางใหม ซึ่งจะไดเริ่มนํารองบังคับในอาคารขนาดใหญ พื้นที่ ตั้งแต 10,000 ตารางเมตรขึ้นไป ในชวงกลางป 2561 และ จะเริ่มทยอยบังคับใชกับอาคารพื้นที่ตั้งแต 5,000 ตารางเมตร ภายในป 2562 และตั้งแตป 2563 หรืออีก 3 ปขางหนา จะเริ่ม บังคับใชในพืน้ ที่ 2,000 ตารางเมตรขึน้ ไป ซึง่ ตองออกแบบและ กอสรางภายใตเกณฑ BEC กําหนดไว ทั้งนี้ พพ. จึงไดจัดตั้ง ศูนยประสานงานการออกแบบ อาคารเพือ่ การอนุรกั ษพลังงาน มีหนาที่ในการประสานงานและ จัดกิจกรรมสนับสนุน สงเสริม และประชาสัมพันธใหความรู ความเขาใจในการออกแบบอาคารที่สอดคลองกับกฎกระทรวง รวมถึง การฝกอบรมผูต รวจประเมินแบบอาคารเพือ่ การอนุรกั ษ พลังงาน ตั้งแตป 2552 ถึงปจจบัน พบวามีการสงแบบอาคาร BEC แลว 500 อาคาร โดยเปนอาคารใหมมีพื้นที่ตั้งแต 2,000 ตารางเมตรขึน้ ไป แบงเปนอาคารรัฐ 379 อาคาร อาคารเอกชน 121 อาคาร เกิดผลประหยัดไดสูงสุด 278 ลานหนวย คิดเปน ผลประหยัดไดสูงถึง 970 ลานบาท รวมทั้งยังชวยลดการปลด ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดที่เปนสาเหตุหลักของปญหา โลกรอนไดสูงถึง 1.6 แสนตันคารบอนอีกดวย

ฉลากรับรองมาตรฐานการออกแบบอาคาร

ฉลากรับรองมาตรฐานการออกแบบอาคารทีม่ ปี ระสิทธิภาพพลังงาน ถือเปน มาตรการสงเสริมตัวหนึ่งที่ริเริ่มโดยศูนยประสานงานการออกแบบอาคารเพื่อการ อนุรักษพลังงาน ซึ่งอางอิงจากกฎกระทรวงกําหนดประเภท หรือขนาดอาคาร และมาตรฐาน หลักเกณฑ และในการออกแบบอาคารเพื่อการอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2522 หรือเกณฑ BEC นั่นคือเปนอาคารประเภทใดประเภทหนึ่ง ตาม กฎกระทรวงและมีขนาดพื้นที่รวม 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป ที่ออกแบบ ใหเกณฑการประเมินประสิทธิภาพการใชพลังงานต่ํากวาเกณฑ มาตรฐานอยางนอยรอยละ 30 ขึ้นไป ปจจบันอาคารทีเ่ ขาขายตามกฎกระทรวง สามารถ เขามาขอรับบริการตรวจประเมิน ประสิทธิภาพการใช พลังงานจากศูนยประสานงานการออกแบบอาคารเพื่อ การอนุรกั ษพลังงานโดยไมเสียคาใชจา ย ซึง่ การประเมิน จะใชตวั ชีว้ ดั 5 ดานหลัก ไดแก คาการถายเทความรอน รวมผานผนัง (OTTV) คาการถายเทความรอนรวม ผานหลังคา (RTTV) ระบบไฟฟาแสงสวาง ระบบ ปรั บ อากาศ และการใช พ ลั ง งานโดยรวมของ อาคาร อยางไรก็ดี อาคารจะไดรับการติดฉลาก หรือไมนั้นจะพิจารณาจากตัวชี้วัด 3 ประเภท

17

ประกอบดวย การถายเทความรอนรวมผานผนัง (OTTV) คาการถายเทความรอน รวมผานหลังคา (RTTV) และ การใชพลังงานโดยรวมในอาคาร โดย ฉลากแสดงประสิทธิภาพของอาคารมี 3 ระดับ ซึ่งทั้งหมดจะตอง ผานเกณฑ OTTV และการใชพลังงานรวม แตจะแตกตางกันทีค่ า การใชพลังงานรวม ที่ลดลง อาคารที่ไดรับฉลากประเภท “ระดับดีเดน” จะตองลดการใชพลังงานรวม ไดมากกวารอยละ 70 “ระดับดีมาก” มีการใชพลังงานรวมลดลงรอยละ 50-70 และ “ระดับดี” มีการใชพลังงานรวมลดลงตั้งแตรอยละ 30 แตไมเกินรอยละ 50 นับตัง้ แตป 2561 เปนตนไป อาคารทีจ่ ะมีการกอสรางใหม จะตองเริม่ ปฏิบตั ิ ตามกฎระเบียบดังกลาว จะชวยใหประหยัดพลังงานเพิม่ ขึน้ อยางนอยรอยละ 10 เมือ่ เทียบกับอาคารที่ออกแบบทั่วไป โดยศักยภาพผลการประหยัดรวมของ BEC พบวา จะลดการใชไฟฟาลง 13,600 ลานหนวยหรือคิดเปนมูลคาสูงถึง 54,000 ลานบาท ภายในป 2579 ขอดีของ BEC ทีเ่ ห็นไดชดั คือมีการออกแบบใหประหยัดพลังงานรวมถึงติด ตัง้ อุปกรณประสิทธิภาพสูง ผลลัพธที่ไดออกมาก็คอื คาใชจา ยพลังงานตา่ํ ซึง่ สงผล ดีทั้งตอเจาของอาคารที่ชวยประหยัดเงินไปพรอมกับการชวยดูแลสิ่งแวดลอม ที่มา : กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.)

GreenNetwork September-October 2017


GREEN

Travel ตะลอนทัวร์

'5 J7 '5 )6

ę1 %6 4A) '4 9I

A. Ę/ĜB/Ę 15 6%5 ระบี่ ถือเปนหนึง่ ในจังหวัดยอดฮิตของเหลานักทองเทีย่ วทุกมุมโลก ที่ขนานนามวาเปน Unseen Thailand ดวยเสนหของความเปน ธรรมชาติแหงทองทะเล หาดทรายสวย นาํ้ ทะเลใส ทีว่ า กันวามองผานเลนส ก็ไมสามารถรับอรรถรสความงดงามจากการมองผานดวยตา และการได มาสัมผัสของจริง

ทัวร 4 เกาะไฮไลต

กอนจะไปยังแตละเกาะไฮไลตของทะเลกระบี่ นักทองเทีย่ วจะตอง เดินทางมายังทาเรือหาดนพรัตนธารา เพือ่ ออกเดินทางจากทาเรือโดยเรือ Speed Boat มุงหนาไปยัง “ทะเลแหวก” (เกาะทับ) Unseen Thailand ชมความงามของสันทราย ที่เชื่อมระหวางเกาะไก และเกาะทับ ในชวง นา้ํ ทะเลลดลง ทําใหเห็นเปนสันทรายขาวละเอียดไดอยางชัดเจน และเมือ่ น้ําทะเลลดลงต่ําสุดจะเห็น ทะเลแหวก ที่เกิดจากเชื่อมระหวางสามเกาะ คือ เกาะไก เกาะทับ และเกาะหมอ นักทองเทีย่ วสามารถเดินจากเกาะหนึง่ ไปอีกเกาะหนึ่งได

จดเดนของการเที่ยวชมทะเลแหวก คือการมาชมวิว ถายภาพ ถาจะมาชมทะเลแหวกใหประทับใจควรเลือกมาในชวงวันหยุดธรรมดา หลีกเลีย่ งการมาในชวงวันหยุดเทศกาลเพราะมีนกั ทองเทีย่ วมาก นอกจาก ชมวิว ถายภาพทะเลแหวกแลว ที่นี่ยังเปนหาดหนึ่งที่นาลงเลนน้ํา เพราะ มีแนวหาดทรายกวาง น้ําใส ปลามากมาย “เกาะไก” ซึ่งมีที่มาจากทางดานปลายสุดของเกาะมีหินแหลมๆ เมือ่ มองขึน้ ไปแลวคลายคอไก เกาะไกเปนเกาะทีส่ ามารถหยุดเรือแลวให นักทองเทีย่ วลงไปวายนาํ้ และดํานาํ้ ดูฝงู ปลาสวยงามแหวกวายรอบลอมตัว เชน ปลาเสือ ปลานีโม รวมไปถึงความละลานตาของปะการังใตผืนน้ํา หลังจากนั้นเดินทางตอไปยัง “เกาะปอดะ” ซึ่งเปนเกาะที่มีหาดทรายขาว ละเอียด นา้ํ ทะเลสีฟา ใส ฝูงปลามากมาย สนุกกับการเลนนา้ํ หรือพักผอน บริเวณชายหาด พรอมกับเก็บภาพสวยๆไวเปนทีร่ ะลึก เกาะปอดะเหมาะ กับการมาเทีย่ วพักผอนชมวิวและเลนนา้ํ มากกวาทีจ่ ะมาดํานา้ํ ชมปะการัง

เกาะทับ

ทะเลแหวก

18

GreenNetwork September-October 2017

เกาะปอดะ


Wake Up Ao Nang สุดทาย ออกเดินทางไปยัง “ถ้ําพระนาง” อีกสถานที่ไฮไลตแหลงทองเที่ยว ทางทะเลของกระบี่ ชมความงามของถ้ําพระนาง ซึ่งเปนที่เคารพของชาวเรือและผูคน ทั่วไป เดินลึกเขาไปจนสุดชายหาด อันเปนที่ตั้งของ ถํ้าพระนาง ดวยเปนที่สถิตของ พระนางอันศักดิส์ ทิ ธิซ์ งึ่ ชาวเรือแถบนีเ้ คารพสักการะ มุมมองนีเ้ ปนเอกลักษณไมเหมือน ที่ใด คือเมือ่ เขาไปอยูภ ายในถา้ํ มองออกมาจะเห็นปากโพรงถา้ํ มีหนิ ยอยลงมาเปนฉาก ระยา สวยงาม มีทองทะเลกวาง และเกาะนอยใหญเรียงรายในยามพระอาทิตยตก จะเปนมุมมองสวยงามแปลกตานาทึง่ ทีส่ ดุ แหงหนึง่ ในเมืองไทย นอกจากนีเ้ ปนจดปนผา ที่สวยงามระดับโลกอีกดวย

ที่พักสุดฮิป ใกล อ าวนาง

สําหรับนักทองเที่ยวที่กําลังมองหาที่พักที่ ไ มไกลจากอาวนาง ขอแนะนํา Wake Up Ao Nang ตอบโจทยนักเดินทางรุนใหม ที่ชอบความสะดวกสบาย รวดเร็ว โรงแรมแหงนี้เปนที่พักแบบ Poshtel มาจากคําวา Posh (มีระดับ, หรูหรา) + Hotel (โรงแรม) รวมกันกลายเปน Poshtel ซึ่งโดยรวมแลวก็คลายกับ Hostel ทั่วไป แตจะ ถูกอัพเกรดดวยภาพลักษณและบริการใหดขี นึ้ มาอีกระดับ ภายในสวนตางๆ ของโรงแรม ยังมีการเพนตเรื่องราวกิจกรรมของเมืองกระบี่ ที่นี่ถือนับเปนแหงแรกที่ตอบโจทย ความตองการของคนรุนใหม ที่มีความตองการหลากหลายมากขึ้น ตองการที่พักราคา ประหยัด แตมีสิ่งอํานวยความสะดวกครบครัน รูปแบบโครงสรางออกแบบใหรวมสมัย Wake Up Ao Nang จึงเปนที่ชื่นชอบของวัยรุนทุกไลฟสไตล และอีกสถานที่พักอยาง Relax@Krabi Home Gallery เปนที่พักโฮมสเตย กึ่งแกลเลอรี่สีน้ํา สําหรับคนที่ชื่นชอบงานศิลปะ โดยเฉพาะสีน้ํา เพราะเจาของเปนทั้ง สถาปนิกและศิลปนสีน้ํา สามารถใหคําแนะนําหรือเรียนสีน้ําคอรสสั้นๆ แบบวาดไป เที่ยวไป ตามสถานที่สวยๆ ของทะเลกระบี่ และมีแกลเลอรี่เล็กๆ สามารถชมผลงาน สีน้ําที่สะสมไว ที่นี่หางจากหาดนพรัตนธาราประมาณ 1 กิโลเมตร และหางจากยาน ศูนยกลางของอาวนางประมาณ 2 กิโลเมตร การเดินทางสะดวกสําหรับไปในทุกๆ ที่ สวนหองพักสะอาด สะดวกสบาย ทันสมัย ตกแตงดวยสไตลโมเดิรนลอฟท แตละหอง มีหองรับแขกสวนตัว หองนอน หองนํา้ ชั้นลอย และระเบียง ที่พักในโฮมแกลเลอรี่หลังนี้ มีหองพักทั้งหมด 3 หอง เจาของบานคอยดูแล และพักในบานอีกหลังในรั้วเดียวกันและเชื่อมติดกัน บริเวณชั้นลางของบานมีพื้นที่ สวนโถงกลางสําหรับแสดงงานศิลปะสีนํ้า เรียนสีนํ้า รวมรองเพลงเลนดนตรีดวยกัน และมีหองทานอาหาร ไวรวมรับประทานอาหารเชาแบบทองถิ่นกระบี่ มีครัวสําหรับ รวมประกอบอาหาร รวมถึงแลกเปลี่ยนเรียนรูและสาธิตการทําอาหารของเพื่อนใหม ชาวตางชาติจากทั่วโลก จะเปนอีกหนึ่งประสบการณที่ตองประทับใจ ที่มา : ททท.

เกาะไก

ถ้ําพระนาง

19

GreenNetwork September-October 2017


SPECIAL

Scoop กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

Taiwan 2017

5 Green Industry (PART 2)

การมาเยือนไตหวันครั้งที่ 3 ของผมครั้งนี้มีระยะหางจากครั้งที่ 2 ประมาณ 14 ป ไดเห็นความกาวหนาของอุตสาหกรรมไตหวัน นับเปน ประเทศอุตสาหกรรมไดเต็มตัว จากการวางโครงสรางพื้นฐานที่ดี ในชวงญี่ปุนปกครอง 50 ป (ค.ศ. 1895-1945) ความ ชวยเหลือของสหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1950-1964 การปฏิรูปดานตางๆ ดวยกลไกของรัฐ การชักนํานักวิทยาศาสตร นักเทคโนโลยีเชื้อสายจีนจากทั่วโลกมาวางรากฐานความรูได อยางมั่นคง ธุรกิจอุตสาหกรรมไตหวันที่ไดไปเยือนครั้งนี้อยูในกลุม Green Industry ที่ทาง Green Trade Project Office (GTPO) ไดประสานงานไวรวมกับ Taiwan External Trade Development (TAITRA)

TECO Corp. www.teco.com.tw/en_version/index.asp เปนบริษัทที่กอตั้งขึ้น ใน ค.ศ. 1956 ในนามบริษั ท TECO Electric and Machinery Co., Ltd. เริ่มตนจาก การผลิตมอเตอรไฟฟาอุตสาหกรรม ธุรกิจไดขยายตัวและเติบโตสูธุรกิจระดับโลก มีความ รวมมือกับ Westing House นอกจากเปนที่ยอมรับในผลิตภัณฑเครื่องจักรกลไฟฟาแลว ยังเปนผูน าํ การผลิตดานผลิตภัณฑเครือ่ งใชในบาน ระบบการสือ่ สารทางการแพทย พาณิชย อิเล็กทรอนิกส (e-Commerce) Semiconductor, Optronics, Network, Software, Wind Turbine อุตสาหกรรมอาหาร ระบบการกระจายสินคา ไดกาวสูการเปนบริษั ทระดับโลก กลุม อุตสาหกรรมเทคโนโลยีชนั้ สูง กลุม บริษัท TECO Group มีบริษัทในเครือทัว่ โลกประมาณ 30 แหงในทวีปเอเชีย อเมริกา และกลมประเทศยุโรป มีพนักงานมากกวา 10,000 คน บริษัท มีการพัฒนางานวิจัยอยางตอเนื่องเปนเวลานาน ไดมีเทคโนโลยีและผลิตภัณฑคุณภาพสูง สูการแขงขันในตลาด ดวยบุคลากรที่มีความสามารถสูง

Chung-Hsin Electric & Machinery MFG. Corp. (CHEM) www.chem.com.tw เปนผูผลิตอุปกรณ ผลิตภัณฑทางวิศวกรรมและจัดจําหนายทั่วโลก เชน อุปกรณไฟฟา การกอสรางโครงการและติดตั้งโครงการทางวิศวกรรมที่ดําเนินการประกอบดวยโครงการ ไฟฟากําลัง โครงการผลิตไฟฟาพลังงานลม, ผลิตไฟฟาจากพลังงานน้ํา, ระบบปรับอากาศ เครื่องกําเนิดไฟฟา, ระบบจัดการสิ่งแวดลอม เครื่องจักร เครื่องมืออุปกรณ ที่ผลิตได มี Chillers, Generator Sets, Hight Voltage Circuit Breakers, Smart Grid Electric Power Automation Equipment, Customized Fuel Systems, Parking Facilities

Motech Industries Inc. www.motechsolar.com/en/index.php เปนบริษัท ที่ใหความสําคัญของงานวิจยั และพัฒนา เปนผูผ ลิตและใหบริการแผงเซลลแสงอาทิตย (PV) คุณภาพสูง, PV Modules, PV Power System ในชวงหลายปนี้ Motech Industries ไดขยาย ประสบการณและบริการสูการจัดหาหวงโซการผลิต การจัดหาในตลาดทั่วโลกเปนผูผลิต เซลลแสงอาทิตยรายใหญของโลก จดเดนของ Motech ที่มีงานวิจัยผลิตภัณฑคุณภาพสูง พรอมออกสูตลาดโลกอีกมาก เพียงใหถึงเวลาและตนทุนการผลิตเชิงพาณิชยที่เหมาะสม

20

Enrestec, Inc www.enrestec.com.tw กอตั้งขึ้น ค.ศ. 2005 มีความเชี่ยวชาญ และมีลิขสิทธิ์ดานเทคโนโลยีการเผากากของเสียโดยใชความรอนสูงแบบ Pyrolysis โดย เฉพาะในกลุมของเสียที่เปน พลาสติก ยาง การรีไซเคิลของเสียอินทรีย เทคโนโลยีการคาย ความรอน และการปรับปรุงดิน Enrestec, Inc ใหบริการออกแบบและกอสรางการดําเนิน การผลิตและเทคนิคการควบคุมคุณภาพ มีวสิ ยั ทัศน (Mission) หาขอสรุปวิธกี ารแกไขปญหา สิ่งแวดลอม ในขณะเดียวกันจะตองปองกันปญหาสิ่งแวดลอมใหมที่อาจตามมา ปญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) และปญหาโลกรอน เปนปญหาที่เราเผชิญอยู การใชซําทรัพยากรและการลดการปลอยคารบอนไดออกไซด (CO2) เปนสิ่งจําเปนยิ่ง ในป 2013 Enrestec, Inc ไดนําเสนอระบบการกําจัดเศษยางอยาง สมบูรณแบบ

China Ecotek Corporation (CEC) www.ecotek.com.tw หนวยงานของรัฐ The Commision of National Corporation, Ministry of Economic Affairs แหงไตหวัน ไดมอบหมายให China Steel Corporation รวบรวมองคกรที่เกี่ยวของรวมกันกอตั้ง China Ecotek Corporation (CEC) เมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ. 1993 โดยนําประสบการณและความ สําเร็จอันโดดเดนของ China Steel Corporation ดานวิศวกรรมจักรกลไฟฟาและวิศวกรรม สิ่งแวดลอม อาทิ Incinerators, Water Treatment Facilities and Water Treatment Plants CEC ไดขยายธุรกิจออกไปในแขนง Steam-Electricity Cogeneration, Ralways and Metro Systems, Biotechnology, Corrostion and Leak Resistance Engineering และโครงการแบบ Turnkey ในอนาคตมีการขยายธุรกิจสูงความรวมมือกับหนวยงานภายใน ประเทศ และตางประเทศ ในงานดานสิ่งแวดลอมในระดับเทคโนโลยีที่สูงขึ้น

Delta Electronics, Inc www.deltaww.com/about/company กอตั้งใน ค.ศ. 1971 ดวยพัฒนาการดานการวิจัยพัฒนาและการขยายตัวทางธุรกิจ Delta ไดเปนผูนํา ของโลกในป ค.ศ. 2002 ดาน Switching Power Supply Solutions ในป ค.ศ. 2006 เปน ผูนําดาน Brushless Fans Delta เปนผูผลิตอุปกรณที่ใหประสิทธิภาพสูงในการใชพลังงาน อาทิ Switching Power Supplies ประสิทธิภาพสูงกวา 90% Telecom Power สูงกวา 98% PV Inverters ประสิทธิภาพสูงกวา 96% Delta จะลงทุนดาน R&D ที่ระดับ 6-7% ของยอดขาย มีศูนย R&D อยูทั่วโลก อาทิ จีน ยุโรป อินเดีย ญี่ปุน สิงคโปร ไทย และสหรัฐอเมริกา

การเดินทางมาไตหวันครั้งนี้ไดเห็นการลงทุนและทุมเทกับงาน R&D ของ ทุกบริษัทอยางจริงจัง และยาวนาน ซึ่งจะเปนเหตุผลสําคัญที่จะทําใหสินคา ผลิตภัณฑเครือ่ งจักรอุปกรณ และเทคโนโลยีจากประเทศไตหวันเปนทีย่ อมรับ มี การคํานึงถึงความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมในทุกขั้นตอนของการดําเนินการ Taiwan Green Industry จึงมีความนาสนใจและเปนตนแบบหนึ่งที่ดี ใหไดศกึ ษา เปนแบบอยางของการพัฒนาอุตสาหกรรมไดอยางตอเนือ่ งและยัง่ ยืน ผานการลงทุนงานวิจัยและพัฒนา (R&D)

GreenNetwork September-October 2017


GREEN

8)A)9I& A ď 5+

Building กองบรรณาธิการ

ซิลเลีย่ น อินโนเวชัน่ ผูน าํ ดานวัสดุกอ สรางเชิงนวัตกรรม พรอมดวย บริษทั แอลมิช จํากัด ผูน าํ ดานผลิตภัณฑแลนดสเคประดับโลกจากประเทศ สิงคโปร รวมเปดตัวนวัตกรรม “GREEN WALL” สวนสีเขียวแนวตัง้ มาตรฐาน ระดับโลกครั้งแรกในประเทศไทย ชูจดเดนนวัตกรรมสวนแนวตั้งแบบครบ วงจร ปลอดภัย ไดมาตรฐาน อายุการใชงานที่ยาวนาน เนวินธุ ชอชัยทิพฐ กรรมการผูจัดการ บริษัท ซิลเลี่ยน อินโนเวชั่น จํากัด กลาววา ซิลเลี่ยน อินโนเวชั่น เปนผูเชี่ยวชาญดานวัสดุกอสราง เชิงนวัตกรรมทัง้ ในสวนงานโครงสราง และการตกแตง โดยมีประสบการณ มากวา 15 ป ซึ่งเริ่มจากการชวยปรับปรุงและซอมแซมโครงสรางอาคาร ตางๆ และตอมา เมือ่ ความตองการของผูว า จางมากขึน้ ประกอบกับกระแส เรื่องเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม อาคารสีเขียวเริ่มเปนที่สนใจ ผูประกอบการ หลายแหงจึงไดเริม่ ติดตอใหออกแบบ เริม่ จากงานจัดสวนบนหลังคา (Green Roof) จนกระทัง่ ตอยอดมาถึงการตกแตงผนังสีเขียว (Green Wall) ซึง่ ทาง ซิลเลีย่ น อินโนเวชัน่ ไดรว มกับบริษัท แอลมิช ประเทศสิงคโปร ผนึกกําลังกัน เพือ่ ตองการใหประเทศไทยมีสภาพแวดลอมในเมืองทีด่ เี หมือนทางสิงคโปร มีการสนับสนุนเรือ่ งราคาใหกบั ทางซิลเลีย่ น อินโนเวชัน่ จึงทําใหเราสามารถ จําหนายวัสดุไดในราคาทีด่ ี โดยตองการใหประเทศไทยโดยเฉพาะในกรุงเทพฯ มีสิ่งแวดลอมที่ดีขึ้น วัสดุสวนแนวตัง้ หรือ Green wall ของซิลเลีย่ น อินโนเวชัน่ แบงเปน 2 ประเภท คือ (1) แบบแผน ความหนาเพียง 35 มม. เปนวัสดุที่บาง และ เบามาก จึงทําใหสามารถใชกับงานที่มีพื้น ที่จํากัด และมีแรธาตุในตัว สามารถออกแบบและปลูกตนไมไดตามลวดลายที่ตองการไดอยางไมมี ขีดจํากัด และ (2) แบบกระถางที่มีระบบเก็บน้ําในตัว สามารถดูแลตนไม ไดงา ย ตนไมมกี ารเจริญเติบโตไดดี โดยจดเดนทีถ่ อื เปนนวัตกรรมก็คอื การ

21

×z ö¶¿ ²½½Ø +5 ''% 1 C & Ĝ

16 6'A é&+

จายนา้ํ อัตโนมัตใิ หกบั สวนแนวตัง้ จากสหรัฐอเมริกา ทีส่ ามารถควบคุมผานระบบสัญญาณ ดาวเทียม และตรวจสอบระบบได Real-time เพื่อปองกันการขาดน้ําของตนไม ทําให สามารถดูแลตนไมไดสะดวก และลดการใชแรงงานคนโดยไมจําเปนได นอกจากนี้ ความพิเศษของผลิตภัณฑสวนแนวตั้งของซิลเลี่ยน อินโนเวชั่น ก็คือ ผลิตภัณฑทั้งหมดผานการตรวจสอบมาตรฐานจาก American Society of Testing ทําให มัน่ ใจไดวา ผลิตภัณฑมคี วามแข็งแรง ทนทานตอสภาพอากาศ และลมแรง และยังมีบริการ ทีมงานคุณภาพเขาไปศึกษา วิเคราะหหนางานใหกับลูกคา กอนจะเสนอราคาในการ ออกแบบติดตั้งโดยไมคิดคาใชจาย นอกจากนี้ ทางบริษั ทฯ ยังมีโรงอนุบาลตนไม เพื่อ ควบคุมคุณภาพตนไมใหเหมาะสมกับการนํามาใชงาน และดวยความใสใจในรายละเอียด และคุณภาพตลอดกระบวนการ ทําใหทางซิลเลี่ยน อินโนเวชั่น ไดรับความไววางใจให ออกแบบสวนแนวตั้งใหกับหลากหลายโครงการทั้งโครงการ “Avani Riverside Hotel” โครงการ “98 Wireless” โครงการ “Ashton 41” “สํานักงานใหญของ ปตท. วิภาวดี” รวมไปถึงงาน “Green Roof อุทยาน 100 ป จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เนวินธุ กลาววา การเติบโตของตลาด Landscape Engineering นั้น ตลาดของ ผลิตภัณฑและบริการสวนแนวตั้งยังถือวาเปนเรื่องใหมในประเทศไทย และยังเปนกระแส ที่ไดรับความสนใจทั้งจากภาครัฐ และเอกชน อีกทั้งการจัดสวนแนวตั้งสําหรับอาคารยังมี ประโยชนทั้งในดานความสวยงาม ชวยการลดใชพลังงานภายในอาคาร ชวยลดมลพิษ และฝุนละออง อีกทั้งยังชวยเพิ่มออกซิเจนใหกับบริเวณอาคาร ทําใหตลาด Landscape Engineering เติบโตอยางตอเนื่องเฉลี่ยปละประมาณ 15-20% คิดเปนมูลคาเฉลี่ย 200 ลานบาทตอป และมีแนวโนมในการเติบโตขึ้นเรื่อยๆ Green Wall นอกจากเปนตัวที่ชวยลดความรอน ลดมลพิษทางเสียงหรือฝุนแลว ยังเปนตัวชวยสงเสริมใหพื้นที่ ไมไดใชใหเกิดประโยชน กลับกลายเปนพื้นที่สีเขียวที่มี ชีวิตชีวามากขึ้น

GreenNetwork September-October 2017


บริษทั เคมิคอล ประเทศไทย ซึง่ เป นฐานการผลิตเคมีภณ ั ฑ ทใี่ หญ ทสี่ ดุ ในภูมภิ าคเอเชีย

แปซิฟิก ได เป ด “ศูนย การวิเคราะห เพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ ” (Center for Advanced Analytical Technology) นับเป นศูนย ฯ ใหม ลา สุดของดาว หน วยทีใ่ ห บริการด าน การวิเคราะห ทางวิทยาศาสตร ขนั้ สูง ทีช่ ว ยส งเสริมโซลูชนั่ เพือ่ การขับเคลือ่ นอุตสาหกรรม การผลิต ด วยเทคโนโลยีการวัดค าและการวิเคราะห ทางวิทยาศาสตร ที่ทันสมัย และทีมนักวิเคราะห ที่มีความเชี่ยวชาญ

GREEN

Report กองบรรณาธิการ

6+ A %8 1) A ď ,= &Ĝ 6'+èA '64/ĜA"÷I1 6'"5 6

A C C)&9B)4 )8 $5 Ĝ

. 5 . < 6 ę6 6' )8

B/Ę B' D A1A 9&B 8#ì >> ตั้งศูนย วิเคราะห ด านวิทยาศาตร หนุนกระบวนการผลิตให มีประสิทธิภาพสูงสุด

เคย เบิรนส ผูอํานวยการฝายปฏิบัติการดานการวิเคราะหเพื่อพัฒนา เทคโนโลยีและผลิตภัณฑ ณ เมืองเพลคมิน รัฐหลุยเซียนา ประเทศสหรัฐอเมริกา กลาววา ดาว เคมิคอล เปนผูเชี่ยวชาญทั้งเทคโนโลยีและโซลูชั่น ที่ชวยสนับสนุน นโยบาย Thailand 4.0 รวมไปถึงสงเสริมอุตสาหกรรมไทยสูอ ตุ สาหกรรม 4.0 ดวย เทคโนโลยีดา นการวิจยั และพัฒนา และศูนยฯ แหงนี้ ยังเปนหนวยงานการวิเคราะห ดานวิทยาศาสตร 1 ใน 4 ของหนวยวิเคราะหทวั่ โลก ทีม่ อี ยูในบริษัท ดาว เคมิคอล โดยมีมูลคาใชเงินลงทุนในการกอสรางและพัฒนาเทคโนโลยีรวมทั้งสิ้นมากกวา 340 ลานบาท หรือประมาณกวา 10 ลานเหรียญสหรัฐ และยังเปนศูนยแหงแรก ในประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียแปซิฟก โดยจัดตั้งขึ้นมาเพื่อสนับสนุนหนวยงาน การผลิต สนับสนุนงานทีเ่ กีย่ วของกับลูกคา เพิม่ ความพึงพอใจใหกบั ลูกคา รวมไปถึง การวิเคราะหผลิตภัณฑใหมๆ กอนออกสูตลาด เพื่อใหตรงตามที่ลูกคาตองการ และชวยวิเคราะหใหกระบวนการมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพิ่มจํานวนผลิตภัณฑ ออกสูตลาดไดมากขึ้น

22

“ในแงของการบริการของศูนยฯ จะเปนการวิเคราะห ขั้นสูง (Advanced Analysis) เพื่อใหไดผลิตภัณฑตรงตาม ความตองการของลูกคา (Product Applications) รวมไปถึง การใหบริการในเชิงความรูค วามสามารถ โดยการใชมนั สมองของ ผูเชี่ยวชาญรวมแกปญหากับฝายการผลิต เพื่อใหกระบวนการผลิต มีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น และชวยลดตนทุนกระบวนการผลิต” บริการของศูนยเพือ่ พัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ ประกอบดวย การวิเคราะหขั้นสูงสําหรับปญหาที่ซับซอน เชน การวิเคราะหเพื่อระบุ สารเคมีที่ไมทราบชัด การพัฒนาผลิตภัณฑใหม การตอบคําถามดานคุณภาพ และตอบปญหาเพือ่ ความพึงพอใจของลูกคา รวมไปถึงการวิเคราะหดา นชีวอนามัย โดยหองปฏิบตั กิ ารวิเคราะหเชิงปฏิกริ ยิ าเคมี รองรับการระบุถงึ อันตรายทีอ่ าจจะ เกิดขึ้นของปฏิกิริยาเคมี รวมไปถึงการใหคําปรึกษาดานการวิเคราะหโดย ผูเชี่ยวชาญเพื่อปรับปรุงหรือแกปญหาในกระบวนการผลิต

>> ผลงานสู ความสําเร็จของการวิเคราะห เพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ

เคย กลาววา ศูนยการวิเคราะหเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ ไดกอ ตัง้ และเริม่ ดําเนินการเมือ่ ป 2555 และไดเปดตัวดําเนินการอยางเต็มรูปแบบ ในป 2560 ขึ้นในนิคมอุตสาหกรรมเอเชีย จังหวัดระยอง โดยเริ่มตั้งแตเตรียม ความพรอมในดานเทคโนโลยีและองคความรูต า งๆ การพัฒนาบุคลากรใหทาํ งาน ควบคูไปกับผูเชี่ยวชาญ ที่ผานมาการวิเคราะหของศูนยฯ ชวยเพิ่มมูลคาใหแก ธุรกิจของบริษัทฯ เปนเงินกวา 800 ลานบาท หรือประมาณ 24 ลานเหรียญสหรัฐ ผานการดําเนินงานและบริการตางๆ โดยลักษณะงานที่เกี่ยวกับความปลอดภัย และความยั่งยืน (Save and Sustainable) อยางเชน ผลการวิเคราะหของศูนยฯ ชวยลดสารเคมีและของเสีย แกไขปญหาในโรงงานไดอยางทันทวงที ปองกันการ เกิดอุบัติเหตุรายแรง ปรับปรุงจากระบบแรงงานเปนระบบอัตโนมัติ ที่มีความ แมนยําและความนาเชื่อถือ ลดการปรับผังโรงงาน เพิ่มผลผลิต และสรางความ

GreenNetwork September-October 2017


เคย เบิรนส >> <<มาเธียส พัวรช ปลอดภัยใหคนงาน รวมไปถึงชวยสนับสนุนการเติบโตของภาคธุรกิจ และในแง ของความยั่งยืน ดาวใหความสําคัญในเรื่องของการทํางานอยางยั่งยืนดวยการ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ไมวาจะเปนการออกแบบลดการใชของเสียลง ลดการ ใชพลังงาน และลดการใชทรัพยากร

>> ถ ายทอดองค ความรู สู ภาครัฐและภาคการศึกษา สร างผู เชี่ยวชาญเฉพาะด านในประเทศไทย

พันธกิจของศูนยการวิเคราะหเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ คือ การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการผลิตสูความสําเร็จ ดวยการคิดคนโซลูชั่น ที่ดีที่สุดผานการวิเคราะหขั้นสูงทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยีการวัดคา และทีม นักวิเคราะหที่มีความเชี่ยวชาญ เคย เบิรนส กลาววา การดําเนินงานของศูนยฯ แหงนี้ยังชวยคิดคน เทคโนโลยี ใหมๆ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ปรับปรุง และพัฒนาผลิตภัณฑ เพื่อใหการผลิตมีความนาเชื่อถือ มีประสิทธิภาพ และเปนที่พอใจของลูกคา นอกจากนี้ ยังชวยสนับสนุนการเติบโตของ ดาว ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก รวมถึงสงเสริมอุตสาหกรรมไทยสูอ ตุ สาหกรรม 4.0 ดวยเทคโนโลยีดา นการวิจยั และพัฒนา การถายทอดเทคโนโลยีการวิเคราะหขั้นสูงทางวิทยาศาสตรใหกับ บุคลากรของไทย รวมทั้งการสรางนักวิจัยรุนใหมใหกับประเทศไทย ดวยการ สนับสนุนจากรัฐบาลไทย นอกจากนี้ ศูนยการวิเคราะหเพือ่ พัฒนาเทคโนโลยีและ ผลิตภัณฑยนิ ดีทจี่ ะแบงปนและถายทอดเทคโนโลยีและความรู โดยไดรว มมือกับ มหาวิทยาลัยชั้น นํา ในการพัฒนานิสิตนักศึกษาใหมีองคความรูและความ เชี่ยวชาญดานการแกไขปญหาและเทคโนโลยีการวิเคราะห เพื่อสงเสริมใหเกิด นักวิจัยที่มีศักยภาพและสรางผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานในประเทศไทยใหเพิ่ม มากขึ้น “ศูนยการวิเคราะหทางวิทยาศาสตรแหงนี้ มีการคิดและคํานวณสูตร ขึ้นมาเพื่อชวยวิเคราะหและแกไขปญหาหรือปรับปรุงกระบวนการทํางาน สิ่งนี้ จะไมไดออกมาเปนผลิตภัณฑที่จับตองได แตจะออกมาเปนวิธีการหรือสูตร เพือ่ นําไปใชในการแกปญ  หานัน้ ๆ ดาวจึงอยากใหเกิดการถายเทคโนโลยีทางดาน วิทยาศาสตรในเมืองไทยมากที่สุด”

23

>> เทคโนโลยีสําหรับการวิเคราะห ขั้นสูงทางด านวิทยาศาสตร

มาเธียส พัวรช ผูจัดการอาวุโสฝายงานวิจัย ดานวิทยาศาสตรการวิเคราะห ณ เมืองสเตด ประเทศเยอรมนี กลาววา เทคโนโลยีสําหรับการวิเคราะหขั้นสูง ที่มีอยูในศูนยฯ จะประกอบไปดวย 5 ดาน ไดแก 1. การวิเคราะหสารอนินทรีย ครอบคลุมการวิเคราะหสารอินทรียที่มีความเขมขนสูงจนถึงต่ํา (Sub-Ppb) ทั้ง ในตัวอยางของแข็ง ของเหลว และกาซ เพื่อระบุชนิดของสาร และทําการวิเคราะห การหาปริมาณ 2. การวิเคราะหสารอนินทรียและเคมีทั่วไป จะเปนการระบุและหา ปริมาณของธาตุ โดยใชคณ ุ สมบัตเิ ฉพาะทางเคมีและการวัดชวงความเขมขนทีก่ วาง ทดสอบธาตุไดเกือบทุกตัวในตารางธาตุ เชน การวิเคราะหโลหะในตัวอยางตางๆ ใน รูปแบบของเหลว ของแข็ง ผง สารตกคาง หรือเจล 3. การวิเคราะหเชิงแสง เปนการ ศึกษาสารอินทรียใ นตัวอยางที่ไมสามารถระบุชนิดได และใหขอ มูลเกีย่ วกับองคประกอบ ทางเคมีไดอยางรวดเร็ว 4. การวิเคราะหเชิงจลทรรศน เปนการวิเคราะหอนุภาค เจล หรือวัสดุที่มีความละเอียดสูง ดวยภาพจากกลองจลทรรศน สามารถใชสําหรับ การศึกษาอนุภาค ฟลม หรือการแกปญหาทั่วไป และในอนาคตจะมี Electron Microscope เพื่อชวยวิเคราะหในเชิงลึกใหเห็นถึงลักษณะของโครงสรางของสารที่ ละเอียดยิง่ ขึน้ 5. การวิเคราะหเชิงปฏิกริ ยิ าเคมี เพือ่ ประเมินความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ จากปฏิกริ ยิ าเคมี รองรับการวิเคราะหเพือ่ ตอบสนองตอเหตุฉกุ เฉินภายใน 24 ชัว่ โมง ขอมูลที่ไดสามารถนําไปใชในการปองกันที่จะไมใหเกิดอุบัติเหตุขั้นรายแรงได ในสวนศักยภาพการทํางานของศูนยฯ แบงออกเปนสองสวน คือ ในสวน ปจจบันทีด่ าํ เนินการเปนผลสําเร็จแลว และสวนในอนาคตทีจ่ ะเพิม่ เติมขึน้ มา เนือ่ งจาก ศูนยฯ ยังมีพื้นที่วางที่จะรองรับบุคลากรและอุปกรณสําหรับใชในหองแล็บ ดวย ศักยภาพปจจบันจะเปนการวิเคราะหสารระเหยโดยการแยก การวิเคราะหสารตกคาง หรือสารปนเปอน การวิเคราะหกลิ่นและสี การวิเคราะหสิ่งปนเปอนในเจล การ วิเคราะหโลหะหนักปริมาณตํ่า การทดสอบและตรวจสอบคุณสมบัติการติดไฟ คุณสมบัติเชิงเคมี และคุณสมบัติเชิงอุณหภูมิ เปนตน สวนในป 2561-2563 จะเปน พันธกิจในอนาคต คือ การวิเคราะหโครงสรางเพื่อระบุชนิดของสารที่ ไมระเหย การตรวจสอบพื้นผิวขั้นสูงรวมถึงการวิเคราะหเพื่อระบุชนิดของธาตุ การวิเคราะห เพื่อหาปริมาณไออนบวกและลบ การพัฒนาวิธีการและเทคโนโลยี ใหม การวัด ความร อ นและการวิ เ คราะห เ ชิ ง อุ ณ หภู มิ ขั้ น สู ง ผ า นการสร า งแบบจํ า ลองทาง คณิตศาสตรสําหรับปริมาณวิเคราะห เปนตน ทั้งหมดนี้เพื่อสงเสริมการเติบโต ดานวิทยาศาตรในประเทศไทย ศูนยการวิเคราะหเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑแหงนี้ นอกจาก จะเปนเทคโนโลยีการวิเคราะหขั้นสูงทางดานวิทยาศาสตร เพื่อนํามาชวยเหลืองาน ดานการผลิตและบริการกลุม ธุรกิจลูกคาของดาวแลว ศูนยฯ แหงนีย้ งั รองรับนักศึกษา ที่จบสายวิทยาศาสตรเพื่อไดเขามาทํางานตรงตามสายงาน นับเปนการเปดโอกาส และสงเสริมใหเกิดนักวิจัยเพิ่มมากขึ้น อันจะนําไปสูการเติบโตดานวิทยาศาสตรใน ประเทศไทยตอไปในอนาคต

GreenNetwork September-October 2017


GREEN

Innovation กองบรรณาธิการ

ณะวิศวกรรมศาสตร จฬาฯ พัฒนานวัตกรรมเมกะเทรนด ติดตั้งระบบเซ็นเซอร ตรวจวัดคุณภาพอากาศภายใน อาคาร นํารองติดตั้งภายในหองสมุดและหองเรียน โดยทํางานบูรณาการรวมกับระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ในการสงขอมูลแบบเรียลไทมสรู ะบบคลาวด พรอมพัฒนาแอพพลิเคชัน่ สําหรับแสดงผลและแจงเตือนคาคุณภาพอากาศ ที่ตรวจวัดไดใหแกผูที่เกี่ยวของ

+è,+3 Ā063 A ď 5+ +5 ''%

8 '+ +5 5 <J '4 A H A 1'Ĝ $6"16 6,$6&D 16 6'

รศ. ดร.สุพจน เตชวรสินสกุล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร จฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย กลาววา คณะวิศวกรรมศาสตรไดตอ ยอดงานดานนวัตกรรม 1 ใน 5 Megatrends (กระแสหลักของการเปลี่ยนแปลงที่มีแนวโนมจะเกิดขึ้นในอนาคต) ไดแก ระบบเครือขายเซ็นเซอรตรวจวัดคุณ ภาพอากาศ ที่ ไดติดตั้งเครือขาย เซ็นเซอรเพื่อตรวจวัดหมอกฝุนควัน (Haze) ในพื้นที่ จ.นาน และสามารถใชงาน ไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถประเมินผลไดแบบทันทีทันใด (Real-time) ผาน ทางเครือขายอินเทอรเน็ต สงผลใหสามารถประเมินผลกระทบจากหมอกฝุนควัน ไดแมนยํายิ่งขึ้น ซึ่งจะชวยใหการเฝาระวังผลกระทบตอสุขภาพของประชาชน ไดอยางถูกตอง จึงไดมีการพัฒนาตอยอด ประยุกตเปนระบบเซ็นเซอรอยางงาย เพื่อตรวจวัดคุณภาพอากาศในอาคาร (System of Indoor Air Quality Sensor) ลาสุด ทางคณะวิศวกรรมศาสตร จฬาฯ จึงไดทําการบันทึกขอตกลง ความรวมมือกับ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ในการดําเนินงาน ศูนยนวัตกรรมเมืองอัจฉริยะ (IoT City Innovation Center) เพื่อพัฒนาระบบ นิเวศนวัตกรรมบนพืน้ ฐานเทคโนโลยี Internet of Things (IoT) ในการนําเครือขาย อินเทอรเน็ตเขามาใชสําหรับสงขอมูลจากการตรวจวัดคุณภาพทางอากาศไดแบบ เรียลไทม และสามารถนําขอมูลที่ไดไปใชประโยชนตอไป รศ. ดร.ศิรมิ า ปญญาเมธีกลุ อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมสิง่ แวดลอม จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กลาววา การติดตั้งระบบเซ็นเซอรตรวจวัดคุณภาพ

24

อากาศ ในบริเวณหองสมุด หองประชุม และหองเรียน เนือ่ งจากบริเวณดังกลาวมีบคุ คล ที่เขามาใชงานคับคั่ง ซึ่งอาจสงผลตอสภาวะสบายของผูใชงาน ทั้งนี้ปจจัยที่ทําการ ตรวจสอบ ประกอบดวย อุณหภูมิ ความชื้น ฝุนละออง และกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) เพื่อใชในการวางแผนและบริหารจัดการ ดานคุณภาพอากาศภายในอาคาร ซึง่ ขอมูลที่ไดนนั้ จะใชในการเฝาระวัง ตลอดจนการจัดการสภาพแวดลอมภายในอาคาร ทั้งดานสุขภาพของผูที่ใชงานในพื้นที่ รวมถึงการควบคุมการใชพลังงานอยางเหมาะสม “การตรวจวัดและเฝาระวังสภาวะของคุณภาพอากาศภายในอาคาร สามารถใช ประโยชนจากชุดเซ็นเซอรตรวจวัดอากาศขนาดเล็ก บูรณาการรวมกับระบบเครือขาย อินเทอรเน็ตในการสงขอมูลแบบเรียลไทมสูระบบคลาวด และการพัฒนาแอพพลิเคชั่น สําหรับแสดงผลและแจงเตือนคาคุณภาพอากาศทีต่ รวจวัดได ใหแกผทู เ่ี กีย่ วของ รวมถึง ผูใชพื้นที่ไดรับทราบ เพื่อวางแผนและปรับปรุงระบบในพื้นที่ตอไป” ดาน ดร.ณัฏฐวิทย สุฤทธิกุล ผูชวยกรรมการผูจัดการใหญ สายงานสื่อสาร ไรสาย บมจ.กสท โทรคมนาคม (CAT) กลาววา CAT ไดรับใบอนุญาตการทดลองใช ความถี่สําหรับ LoRaWAN จากสํานักงาน กสทช. และไดดําเนินการติดตั้งโครงขาย LoRaWAN เพือ่ ใหอาจารย นักศึกษา และผูท ส่ี นใจไดใชงานในการทดลองพัฒนานวัตกรรม ใหมๆ โดยที่โครงขาย LoRaWAN นี้ เปน Low Power Wide Area Network (LPWAN) รูปแบบหนึ่ง ซึ่งออกแบบมาใหประหยัดพลังงานและสงขอมูลที่ความเร็วต่ํา จึงเหมาะ สําหรับเซ็นเซอรตางๆ และอุปกรณที่ทํางานโดยใชแบตเตอรี่ นอกจากนี้ CAT ไดทําการติดตั้งแพลตฟอรมสําหรับการพัฒนาแอพพลิเคชั่น และบริการดาน IoT (IoT Service and Application Development Platform) ทีร่ องรับ การทํางานรวมกับโครงขาย LoRaWAN และโครงขาย อื่นๆ เชน 3G, 4G ซึ่งแพลตฟอรมนี้จะชวยใหอาจารย นักศึกษา และผูท สี่ นใจสามารถพัฒนา IoT Application ไดอยางสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น

GreenNetwork September-October 2017


&= 8B1'Ĝ

GREEN

People จีรภา รักแก้ว

M- 22@J. <<:0L @K:V;]2

V0 X2X>;N0K!V>PF YD: V7Č^F K<4<ID;J-7>J!!K2

บริษทั ยูนแิ อร คอรปอเรชัน่ จํากัด ผูผ ลิตและจําหนายเครือ่ งปรับอากาศ โดยคนไทย ภายใตแบรนด “ยูนิแอร” (UNI-Aire) ถือเปนแบรนดไทยในธุรกิจ เครื่องปรับอากาศที่เกาแกที่สุด โดยผลิตภัณฑครอบคลุมทุกเซกเมนตในตลาด ทัง้ ประเภททีอ่ ยูอ าศัย อาคารพาณิชย และโรงงานอุตสาหกรรม ไดรบั การยอมรับ ในระดับสากล ดร.ณรัณ ศิรสิ นั ธนะ กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ยูนแิ อร คอรปอเรชัน่ จํากัด กลาววา ประเทศไทยเปนผูผลิตและสงออกเครื่องปรับอากาศอันดับ 2 ของโลก รองจากจีน ดวยความเชื่อมั่นในศักยภาพการผลิตของไทย โดยในสวนของ ยูนิแอรเอง ไมหยุดยั้งที่จะพัฒนานวัตกรรมขึ้นมาเพื่อตอบโจทยความตองการ ของกลุม ลูกคา เริม่ ตัง้ แตกระบวนการผลิตและบริการทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม เปนเทรนดท่ภี าคอุตสาหกรรมทั่วโลกใหความสนใจ ที่ผานมาไดใหความสําคัญ กับงานวิศวกรรมและเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดลอมเปนหลัก เนื่องดวยยูนิแอร เติบโตมาจากกลุม วิศวกรไทยทีร่ ว มบุกเบิก จนทําใหผลิตภัณฑไดรบั การยอมรับ จากผูบ ริโภควาเปนแอรพนั ธุอ ดึ เพราะผลิตจากวัสดุทที่ นทาน เทคโนโลยีทนั สมัย ประหยัดพลังงาน และไมทําลายสิ่งแวดลอม ดร.ณรัณ กลาววา นวัตกรรมที่คิดคนมาเพื่อตอบโจทยในเรื่องของการ ประหยัดพลังงานและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ไดแก “เครื่องทําความเย็นระบบ อินเวอรเตอรแบบ Modular รุน MWCU-PHE” ไดรับการพัฒนาขึ้นสําหรับงาน ระบบปรับอากาศที่ใชในเชิงอุตสาหกรรม, อาคารสํานักงานขนาดใหญ, โรงแรม, ระบบหล อ เย็ น , โรงผลิ ต อาหาร และ โรงผลิ ต ยา ถื อ เป น อี ก หนึ่ ง ทางเลื อ ก สําหรับสินคาเครื่องปรับอากาศในกลุม อุตสาหกรรม ซึ่งใชพื้น ที่ ในการติดตั้ง นอย ซอมบํารุงงาย โดยเครื่องดังกลาว จะทํ า หน า ที่ ผ ลิ ต น้ํ า เย็ น เพื่ อ นํ าไปใช ใ น ระบบปรั บ อากาศหรื อ ระบายความร อ น เพิม่ ประสิทธิภาพการทํางานดวยระบบ อิ น เวอร เ ตอร สามารถปรั บ การทํ า ความเย็ น ตามความ ต อ งการในขณะนั้ น ทํ าให ประหยัดพลังงานยิง่ ขึน้ โดย มีคาสัมประสิทธิ์สมรรถนะ การทําความเย็น (COP) สูงถึง 6.64

โดยในอดีตสารทําความเย็นที่ ใชในเครื่องปรับอากาศ เรียกกันวา R22 มี ค า ศั ก ยภาพการทํ า ลายชั้ น บรรยากาศโอโซน ODP = 0.05 คา ศักยภาพทําใหโลกรอน GWP = 1,810 แตปจ จบันพบวาสารทําความเย็น R32 มีคา ศักยภาพการทําลายชัน้ บรรยากาศ โอโซน ODP = 0 คาศักยภาพทําใหโลกรอน GWP = 680 ซึ่งมีผลตอสภาพ ภูมิอากาศนอยลง 3 เทา สําหรับในประเทศไทยนั้น กรมโรงงานอุตสาหกรรม ซึง่ เปนหนวยงานในการดําเนินการภายใตพธิ สี ารมอนทรีออล ไดประกาศใหโรงงาน ผลิตเครือ่ งปรับอากาศขนาดตาํ่ กวา 50000 BTU หามใชสารทีท่ าํ ลายชัน้ บรรยากาศ โอโซน (R22) ดังนัน้ “เครือ่ งปรับอากาศแบบตัง้ ไดแขวนได” จึงเลือกใชสารทําความเย็น R32 รุน UFV/AFV เปนเครื่องปรับอากาศที่ ใชสารทําความเย็นชนิดใหม มีคา ทําลายชั้นโอโซนเปนศูนย ชวยลดผลกระทบจากกาซเรือนกระจกที่เกิดจากสาร ทําความเย็น จากเครือ่ งปรับอากาศที่ใชในบานเรือนไดมากถึง 1 ใน 3 นอกจากนี้ ยังมีประสิทธิภาพในการทําความเย็นไดสงู กวาสารทําความเย็นชนิดเดิม ทําใหชว ย ประหยัดพลังงานไดเพิ่มขึ้น โดยยูนิแอรถือเปนเจาแรกที่นําสารทําความเย็น R32 มาใช และตั้งเปาจะใช R22 100% ภายในป 2560 ดร.ณรัณ กลาวเพิ่มเติม “เครื่องปรับอากาศ มักถูกมองวาเปนผูรายในการทําลายสิ่งแวดลอม จึงเปนสาเหตุที่เราตองคิดคนพัฒนานวัตกรรมใหมๆ อยางตอเนื่อง เพื่อใหกลุม ผูบริโภคไดรับความคุมคาและเปนผลดีตอสภาพแวดลอม” ปจจบัน ยูนแิ อร ดําเนินธุรกิจเขาสูป ท ี่ 45 นับเปนแบรนดเครือ่ งปรับอากาศ ไทยที่เกาแกที่สุด กําลังการผลิต 190,000 ยูนิตตอป มีลูกคาทั้งตลาดภายใน ประเทศและตางประเทศ ไดเริ่มสงออกตั้งแตป 2518 ปจจบันสงออกไปแลวกวา 70 ประเทศทัว่ โลก เชน บังคลาเทศ ปากีสถาน ศรีลงั กา อิหราน ดูไบ อินโดนีเซีย กัมพูชา ลาว ออสเตรเลีย อเมริกากลาง คิวบา เม็กซิโก เปนตน มีสัดสวนตลาด ในประเทศไทย 70% ตางประเทศ 30% โดยในอีก 4-5 ปขางหนายังไดตั้งเปา สวนการตลาดในประเทศและตางประเทศอยูในสัดสวน 50 : 50% ทั้งยังตั้งเปา การเติบโตในป 2561 ไวที่ 15%

ดร.ณรัณ ศิรสิ นั ธนะ 25

GreenNetwork September-October 2017


GREEN

People จีรภา รักแก้ว

โกศล แสงทอง

+Ĕ6 4A ě

ป าเด็ง ชุมชนพลังงานทดแทนในพื้นที่ ไฟฟ าสายส งเข าไม ถึง

ñ4 K V-] ! X:V->ò <% ę B ")5

6 9I&5I &; “เรามีวตั ถุดบิ ชีวภาพ ชีวมวล มีการเลีย้ งโคนมเยอะ เรามีแกนข าวโพด เศษกิ่งไม เยอะ เราจึงนํามาผลิตเป นพลังงานทดแทน”

จากอดีตนักพัฒนาของสถาบันสิ่งแวดลอมไทย กลับเปลี่ยนวิถีชีวิตสูชนบท ณ ชุมชนบานปาเด็ง อ.แกงกระจาน จ.เพชรบุรี เพือ่ เปนเกษตรกรอยางทีเ่ รียนรู ใชชวี ติ อยางเรียบงายและพอเพียง เกิดการเขาถึงหัวใจของเศรษฐกิจพอเพียงไม ใชวิธีการ แตเปนวิธคี ดิ และการขับเคลือ่ นดวยพลังชุมชนเพือ่ ควบคูไปกับการใหความรูแ ละวิธคี ดิ ใหมๆ จึงไดรวมคนที่มีใจกอตั้งเปน “เครือขายรวมใจตามรอยพอ” ภายใตการกอตั้ง เครือขายรวมใจตามรอยพอ มาพรอมกับโจทยใหญ 2 ขอ คือ ทําอยางไรใหทกุ คน มีอาหารกิน และมีพลังงานใช โดยตัง้ เปาหมายการพึง่ พาตนเอง 5 ดาน เนนไปในเรื่อง พัฒนาความรู, รูจัก เขาใจและใชวิถีพอเพียง, เพิ่มรายได ลดรายจาย, ปลูกผักกินเอง ทําสวนแบบผสมผสานแทนการปลูกพืชเชิงเดี่ยว และดูแล สิ่งแวดลอมของชุมชน 26

เครือขายรวมใจตามรอยพอ ตั้งอยู ต.ปาเด็ง อ.แกงกระจาน จ.เพชรบุรี โดยชุมชนพื้นที่ทางตอนใตบางสวน ติดกับอุทยานแหงชาติ แกงกระจาน ซึง่ มี 10 หมูบ า น ในจํานวนนีม้ บี างหมูบ า นทีร่ ะบบไฟฟาสายสง เขาไมถงึ เนือ่ งจากตัง้ อยูในพืน้ ทีอ่ ทุ ยานแหงชาติ มี 4 หมูบ า น คือ หมูท ่ี 1, 8, 9, 10 ซึ่งอยู ในโครงการพระราชดําริ เพราะถือเปนผูอพยพตั้งแต สมัยสัมปทานปาไม เมื่อชวง 30 ปกอนไดมีการสงเสริมใหเลี้ยงโคนม จึงมีวัตถุดิบเพียงพอที่จะนํามาผลิตพลังงานทดแทน เริ่มตนจากการทํา แกสชีวภาพใชเอง จากนั้น ในป 2555 ไดมีการตอยอดโดยขอทุนสนับสนุน จากกองทุนสิง่ แวดลอมโลก (GEF/SGP) UNDP ขอบขายการเปลีย่ นแปลง สภาวะภูมิอากาศ (Climate Change) โดยมีพลังงานจังหวัดเพชรบุรี เปนที่ปรึกษา เพื่อนําทุนดังกลาว ทําโครงการครัวเรือนตนแบบผลิตไฟฟา จากพลังงานทดแทน 100% โกศล แสงทอง ประธานเครือขายรวมใจตามรอยพอ กลาววา แนวคิด “ปาเด็งโมเดล” ไดเนนใน 5 เรื่อง คือ 1. เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง เชน เมล็ดพันธุพ ชื ทีป่ ลูกกันเองมาแบงปนกัน ปลูกพืช เลีย้ งไกไขไวบริโภค 2. เรื่องสิ่งแวดลอม เชน การปลูกตนไมโตเร็ว ไมตางถิ่น เพื่อลดปญหา กับอุทยาน 3. เรือ่ งพลังงาน เชน การทําแกสชีวภาพ การซอมแผงโซลารเซลล ใหกลับนํามาใชไดอกี ครัง้ และขยายไปใชในการเกษตรดวย 4. การพัฒนาคน ยังมีการอบรมตางๆ อยางตอเนื่อง และ 5. เรื่องสวัสดิการออมบุญ วันละบาท

GreenNetwork September-October 2017


ป าเด็งโมเดล ต นแบบพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก

วิถีแห งความสุขอย างพอเพียง

โกศล กลาววา เครือขายรวมใจตามรอยพอ รวมกันทดลอง แลกเปลีย่ น เรียนรู จนเกิดองคความรูเ รือ่ งพลังงานทดแทน 3 เรือ่ งคือ ไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย แกสชีวภาพ และเตาชีวมวล ทําใหที่นี่กลายเปน “ปาเด็งโมเดล” ที่เปนตนแบบการจัดการเรื่อง พลังงานทดแทน จากสมาชิกเพียง 13 คน กลายเปนสมาชิกกวา 100 หลังคาเรือน โดยกลุมเครือขายยังชวยแบงปนองคความรูของตนใหกับพื้นที่ที่สนใจเขามาเรียนรู พรอมทํางานรวมกับสถานศึกษาตางๆ โดยตั้งสถาบันการเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง และพลังงานทางเลือก เพื่อเผยแพรแนวคิดและแลกเปลี่ยนองคความรูอีกดวย สําหรับไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย หรือโซลารเซลล เกิดขึ้นจากชุมชนอยู ใน พื้นที่หางไกลทําใหสายสงไฟฟาไมสามารถเขาถึงได ภาครัฐจึงไดติดตั้งชุดโซลารโฮม แตเปนการติดตั้งโดยไมไดติดอาวุธทางปญญาใชกับชาวบาน เมื่อระบบเกิดขัดของ แมจะเปนปญหาเพียงเล็กนอย ชาวบานก็ไมสามารถแกไขหรือซอมเองได กอรปกับ นําไปซอมราคาก็แพง นําไปสูก ารทิง้ ขวาง เครือขายรวมใจตามรอยพอ มองวาทุกคนใช พลังงานหมุนเวียนไดถา เขาใจ เพราะไมเคยทํามากอนจึงตองเรียนรูโ ดยการทดลองจริง จึงไดสงเสริมชางชุมชน ดวยการสงคนในชุมชนไปอบรมและเรียนรูระบบโซลารเซลล จนสามารถซอมและแกไขหากระบบโซลารเซลลเกิดปญหา รวมไปถึงเขาใจหลักการ ใชงานทีถ่ กู ตองและการดูรกั ษาระบบใหมกี ารใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพและยาวนาน ยิ่งขึ้น ปจจบันมีกําลังการติดตั้งโซลารเซลลรวม 14.045 กิโลวัตต

โกศล กลาววา เดิมทีชุมชนปาเด็งเริ่มตนการทําเรื่องของเศรษฐกิจ พอเพียงมากอนพลังงานทดแทน เนื่องดวยมองวาปจจบัน ประเทศไทย ยังประสบกับปญหาเรือ่ งการเกษตร นัน่ คือ การทําการเกษตรในประเทศไทย เกษตรกรยังตองพึง่ พาวัตถุดบิ วัสดุอปุ กรณจากภายนอกเปนสวนใหญ สงผล ใหมีตนทุนการทําการเกษตรสูง ชุมชนปาเด็งจึงไดริเริ่มการแลกเปลี่ยน เมล็ดพันธุภายในชุมชน รวมไปถึงการลดการใชสารเคมี ดวยการนําเอา มูลสัตวมาทําเปนปุย เพือ่ ใชในการเกษตร หรือแมแตการพึง่ พาตนเองในเรือ่ ง อาหาร ดวยการสงเสริมการเลี้ยงกบ เลี้ยงเปด เลี้ยงไกไขเพื่อเปนอาหาร การนําวัตถุดิบที่มีอยูในชุมชนมาแปรรูปเปนผลิตภัณฑ เชน สบู แชมพู จาก นา้ํ มันมะพราวและมะคําดี ซึง่ เปนผลไมประจําถิน่ ไวใชในครัวเรือน ชวยลด คาใชจา ยของแตละครอบครัว เพราะมองวาอะไรทีเ่ ราลดและสามารถทําใช เองได ถือเปนความมั่นคง และยังถือวาเปนการปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียง ที่สงตอความสุขกับวิถีชีวิตพอเพียงใหแกคนในชุมชนปาเด็ง “ผมพยายามศึกษาบริบทของเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางหนึ่งที่คน มักไมไดพูดถึงกัน ในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง คือ ขั้นตอนในการดําเนินงาน ซึ่งมี 3 ขั้นตอน 1. ตองเริ่มที่ตัวเราเองใหไดกอน 2. ตองมารวมกลุมกัน อยาทําคนเดียว และ 3 ตองรวมแรงกับหนวยงานภาครัฐหรือหนวยงานอื่นๆ หากสามารถทําทั้ง 3 ขั้นตอนนี้ไดครบ ความยั่งยืนก็จะเกิดอยางแนนอน”

“ผมสอนใหชาวบานรูวา เขามีพลังงานอยูเทาไหร หากมีโซลารเซลล 1 แผง แบตเตอรี่ 1 ตัว เขาจะคํานวณไดวา สามารถนําพลังงานไปใชกบั เครือ่ งใชไฟฟาอะไรไดบา ง รวมทั้งโหลดที่เขาใชงานตองเปนโหลดที่ประหยัดพลังงานดวย เพราะฉะนั้นพฤติกรรม ของคนในชุมชนก็จะเปลี่ยนไปทันที เขาใจหลักการใชพลังงานใหสมดุลมากยิ่งขึ้น” สวนเรือ่ งของ เตาชีวมวล เนือ่ งจากชุมชนปาเด็งอยูในเขตพืน้ ทีท่ กี่ ฎหมายกําหนด ไมใหมีการตัดไมเพื่อนํามาเผาถาน แตดวยในหมูบานจะมีวัตถุดิบ กิ่งไม แกนขาวโพด จึงไดเกิดแนวคิดการพัฒนาเรื่องของเตาชีวมวลเพื่อใชในครัวเรือนแทนเตาอั้งโลที่เปน มิตรตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของสมาชิกในครัวเรือน ทั้งนี้ เตาอั้งโลดังกลาวยังเปน นวัตกรรมแหงเดียวของประเทศ และสุดทายเรื่อง แกสชีวภาพ โดยปกติการทําเรื่อง แกสชีวภาพจะมีหลากหลายแบบ แตทนี่ ยิ มใชมากทีส่ ดุ คือ แบบบอลลูน โดยปกติในบาน เราจะผูกขาดการซื้อบอลลูนเพื่อนํามาติดตั้ง ในขณะที่ยังมีขอจํากัดเรื่องการเขาถึง ไดยาก ดังนั้นทางเครือขายฯ จึงไดปรับเปลี่ยนรูปแบบใหคลายกับบอลลูน จนกลายเปน นวัตกรรมแหงแรกของประเทศไทย ติดตั้งใน ต.ปาเด็ง โดยการผลิตแกสชีวภาพระดับ ครัวเรือน จะใชวัตถุดิบจากมูลสัตว เศษอาหาร และหญาเนเปยร แกสชีวภาพที่ผลิตได นอกจากจะสามารถทดแทน LPG ได 100% ยังชวยลดปญหาสภาพโลกรอน โดยใน 1 ป จะลดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดลงได 1 ตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทา ปจจบันมีผูใชงานแกสชีวภาพแบบบอลลูนแลวกวา 10 ครัวเรือน โกศล กลาวเพิ่มเติม อยางไรก็ตาม ในการทําเรื่องพลังงานทดแทนนั้น ทางเครือขายฯ ไดกําหนด เงื่อนไขในการดําเนินการดานพลังงานทดแทน คือการติดตั้งพลังงานทดแทนแตละแหง นัน้ เจาของบานจะตองลงมือทําเอง จะไมมกี ารรับจางทํา ฉะนัน้ สิง่ สําคัญในการทําเรือ่ ง พลังงานทดแทนคือ ชาวบานจะตองเขามาเรียนรู หลักการ วิธกี าร และการใชเทคโนโลยี โดยมีเครือขายฯ เปนพี่เลี้ยงคอยใหคําแนะนํา พรอมกับการพัฒนาและการสงเสริม การเผยแพรตอไปโดยไมหยุดนิ่ง

ศูนย การเรียนรู ป าเด็งโมเดล

27

โกศล กลาววา เครือขายรวมใจตามรอยพอ จากชุมชนที่ ไฟฟา เขาไมถึงสูชุมชนที่มีความเขมแข็งทางดานพลังงานทดแทน สามารถพึ่งพา ตัวเองได เกิดขึ้นไดจากความรวมมือรวมใจของชาวชุมชน ที่มีการนํา นวัตกรรมดานพลังงานทางเลือกมาใชอยางจริงจัง ไมวาจะเปนพลังงาน แสงอาทิตย แกสชีวภาพ รวมไปถึงการติดตั้งแผงโซลาเซลล และบอลลูน ไบโอแกสขนาดใหญ จึงทําใหชาวบานปาเด็ง มีพลังงานไฟฟาและกาซหุงตม ใชอยางเพียงพอ ที่สําคัญทั้งหมดนี้เกิดจากองคความรูที่ชาวบานไดลงมือ ปฏิบัติจริง เกิดเปน “ปาเด็งโมเดล” นําไปสูการขยายผลสูหมูบานขางเคียง จนสามารถยกระดับไปสู “สถาบันเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงและพลังงาน ทางเลือก” ซึ่งจะทําหนาที่เปนผูแบงปนแนวพระราชดําริไปยังชุมชนอื่นๆ โดยมีผูที่สนใจเขามาศึกษาเรียนรูในชุมชนปาเด็งกวา 38 คณะตอป และ นอกจากนี้ “ปาเด็งโมเดล” ยังควารางวัลจากการประกวด Thailand Energy Awards 2017 ในประเภทโครงการที่ ไมเชื่อมโยงกับระบบสายสงไฟฟา (Off-Grid) และรางวัลชนะเลิศ ASEAN Energy Awards 2017 อีกดวย ปาเด็ง ถือเปนชุมชนตัวอยางที่สามารถพึ่งพาตัวเองไดอยางยั่งยืน ในขณะที่กําลังขาดซึ่งสิ่งอํานวยความสะดวก แตชุมชนก็ ไ มไดรอความ ชวยเหลือเพื่อใหหนวยงานตางๆ เขามาหยิบยื่นใหเพียงอยางเดียว แตกลับ รวมพลังสรางเปนเครือขายที่เขมแข็ง รูจักการเรียนรูและพัฒนานวัตกรรม เพื่อตอบโจทยการใชชีวิตของคนในชุมชน จนทําใหปาเด็งที่เคยมืดสนิท กลับมีแสงสวางขึ้นไดอีกครั้ง

GreenNetwork September-October 2017


GREEN

Focus พิชัย ถิ่นสันติสุข

E & ę1 "'ę1%'5 6'A )9I& Ę6

&6 & Ĝ D ę J7%5 .=Ę&6 & Ĝ E##Ĕ6

ป พ.ศ. 2559 กรมสรรพสามิตรายงานวา สามารถเก็บภาษีนา้ํ มันทางตรง ไดถงึ 177,000 ลานบาท สวน ปตท. บริษัทธุรกิจนาํ้ มันทีร่ ฐั ถือหุน เกินครึง่ แจงวา เสียภาษีปละกวา 300,000 ลานบาท นอกจากนั้นภาษีจากปมนาํ้ มันทั่วประเทศ อีกนับหมืน่ ลานบาทตอป เรากําลังจะบอกทานวารายไดนาํ้ มันจากนาํ้ มันเชือ้ เพลิง ที่เราอาจจะใชคําวา “ของตาย” กําลังไดรับผลกระทบเพิ่มขึ้นแบบวันตอวัน จาก การที่ยานยนตใชนํ้ามันในประเทศเปลี่ยนไปสูยานยนตไฟฟา (EV: Electric Vehicle) ทั้งนี้ยังไมรวมระบบภาษีการนําเขาของยานยนตไฟฟาที่ต่ํากวานาํ้ มัน และอาจต่ําลงอีก คําถามนาทีก็คือ…ไทยไดอะไรหรือเสียอะไร…?

https://alborsanews.com ยอนเวลาไปไมถงึ 10 ป รัฐบาลไทยในสมัยนัน้ ตองทุม ทุนมากมายมหาศาล เพื่อใหประเทศไทยไดใชน้ํามันที่ปลอดภัยจากสารตะกั่ว พรอมผลักดันเชื้อเพลิง ชีวภาพอยางเอทานอลและไบโอดีเซล ภาพโฆษณาคนที่แตงชุดเหมือนอาบ สารตะกั่วยังไมทันจะเลือน ภาพของยานยนตไฟฟาซึ่งกูรูเคยพยากรณวาตองใช เวลาพัฒนาอีกกวา 10 ป จึงจะคุม คาเชิงพาณิชย แตยานยนตไฟฟากลับเรียนลัด ใชเวลาเพียงปสองปทะลุกาํ แพงความคิดกูรสู ธู รุ กิจทีต่ อ งจับตามอง กอนจะไปที่ Energy Storage ซึ่งเปน Key Success ของยานยนตไฟฟา เราคงไมทิ้งใครไว เบื้องหลัง ตามสัญญาที่ทานนายกรัฐมนตรีไดกลาวไววา “Stronger Together” นั่นก็คือกลุมไบโอดีเซล และเอทานอล ที่มีผูผลิตอยู ในกลุมธุรกิจนี้นอยราย จึงคอนขางปลอดภัยจากคูแขงรายใหมอันเนื่องจากคนในไมอยากออก คนนอก ไมอยากเขา จนมีคําพูดมากมาย เชน “ผูผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพใชชาวไรชาวสวน เปนตัวประกัน” “โรงงานผลิตน้ํามันชีวภาพมีแตรวยกับรวย แตคนปลูกพืชราคา ขึ้นๆ ลงๆ” “เราใชน้ํามันชีวภาพเพื่อปรับสมดุลราคาพืชผล” และนานาทัศนะซึ่ง ลวนแตนาฟง กอนที่ ใครๆ จะลืมโรงงานผูผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพเอทานอลและ ไบโอดีเซล รวมทั้งชาวไรชาวสวนที่หลังขดหลังแข็งชวยเมืองไทยลดมลพิษ และ เพิม่ สัดสวนพลังงานทดแทนจนไดหนาไดตาในเวทีโลกกันมาตลอด เรามาเรียนรู พลังงานเชื้อเพลิงสีเขียวทั้งสองชนิดนี้ดูดีกวา ในป พ.ศ. 2515 ไทยใชนาํ้ มัน (Petroleum Products) 48.80% นอกนั้น เปนไฟฟาและแกส รวมทั้งถานหิน และอื่นๆ สวนดานขนสง (Transportation) ใชพลังงาน 36.60% แซงภาคอุตสาหกรรมไปเรียบรอยแลว กอนทีก่ ลุม เชือ้ เพลิง ชีวภาพจะกลายเปนประวัติศาสตรไป ขอทบทวนความจํายอๆ ใหฟง ดังนี้ 28

https://www.mmthailand.com เอทานอล (Ethanol) คือแอลกอฮอล 99.5% ทีเ่ รามาผสมกับเบนซินพืน้ ฐานแลว เรียกชื่อตามสัดสวนเอทานอลที่ผสมเขาไป เชน E10, E20, E85 ขอมูลจากกรมโรงงาน อุตสาหกรรมเมื่อเดือนสิงหาคม 2560 มีโรงงานที่ ไดรับอนุญาตผลิตเอทานอลใน ประเทศไทยทั้งสิ้น 26 โรง โดยใชนาํ้ ออย กากนาํ้ ตาล มันสด มันเสน แปงมันเปน วัตถุดิบ กําลังการผลิตประมาณ 7 ลานลิตรตอวัน ผลิตจริงๆ วันละประมาณ 5 ลาน ลิตรตอวัน เอทานอลในเมืองไทยคลายๆ สวนเกินในสังคมถูกตบซายจากผูปลูกขอขึ้น ราคาวัตถุดิบและตบขวาจากรัฐใหขายราคาถูกๆ แตที่ช้ําใจสุดๆ คือผูบริโภคกลาวหา วาเอทานอลทําใหเครื่องยนตมีปญหา อยากจะเอาวิสัยทัศนคนไทยใสโดรนลอยขึ้นฟา ใหมองเห็นความยิ่งใหญของ เอทานอลในระดับโลก ทานอาจไมทราบวาสหรัฐอเมริกาผลิตเอทานอลถึงปละกวา 50,000 ลานลิตร บราซิลผลิตปละ 20,000 กวาลานลิตร ในขณะที่ไทยผลิตไดประมาณ ปละ 1,200 ลานลิตร ในป พ.ศ. 2559 สําหรับประเทศไทยใชวัตถุดิบจากออยเปนหลัก รองลงมาก็คือมันสําปะหลัง โดยออย 1 ตัน ผลิตเอทานอลได 80 ลิตร, กากนาํ้ ตาล 1 ตัน ผลิตได 238 ลิตร และแปงมัน 1 ตัน ผลิตได 500 ลิตร ลองคํานวณดูเอง แลวกันวา ถาเมืองไทยผลิตเอทานอลวันละ 5 ลานลิตร ตนทุน 80% อยูที่ภาคเกษตร แลวทานจะรักเอทานอลขึ้นมาทันที ไบโอดีเซล B100 ปจจบันประเทศไทยนํา B100 มาผสมกับน้ํามันดีเซล 5-7% แลวเรียกรวมๆ กันวา กรีนดีเซล โดยผลิตจากสวนตางๆ ของผลปาลม มีพืชน้ํามัน หลากหลายชนิดที่ใหนา้ํ มัน เชน ปาลมนาํ้ มัน ใหนา้ํ มัน 512 กิโลกรัม/ไร, เมล็ดในปาลม 70 กิโลกรัม/ไร, Rapeseed 89 กิโลกรัม/ไร, ทานตะวัน 81 กิโลกรัม/ไร, มะพราว 54 กิโลกรัม/ไร และ ถั่วเหลือง 52 กิโลกรัม/ไร สวนสาหรายน้ํามันใหผลผลิตสูงกวา มากแตการลงทุนปลูกสูงจึงไมคอยไดรับความนิยมมากนัก สวนใหญสหรัฐอเมริกา จะเปนผูปลูกรายใหญ สําหรับปาลมนา้ํ มันแลวประเทศไทยปลูกเพียง 3% ของโลก ในขณะทีเ่ พือ่ นบาน อยางมาเลเซียปลูกปาลม 39% ของโลก และอินโดนีเซีย 48% ของโลก สวนอีก 10% ก็จะเปนอินเดียและประเทศในอเมริกาใต ตองขอชมคนไทยที่เอาตัวรอดเรื่องการแขงขันกับประเทศเพื่อนบานภายใต กติกาการเปดอาเซียน ทั้งๆ ที่เราปลูกไมถึง 10% ของมาเลเซียประเทศเพื่อนบาน ปจจบันประเทศไทยปลูกปาลมประมาณ 5 ลานไร มีโรงงานผลิตไบโอดีเซล 13 โรง โรงกลั่น 18 โรง และมีโรงสกัดนาํ้ มันปาลมมากถึง 135 โรง ซึ่งเกินความจําเปน กอนทีร่ ฐั บาลจะชัดเจนวาจะเดินหนาหรือถอยหลังอยางไรกับ Big Change ครัง้ นี้ ฝายผูผ ลิตแบตเตอรีก่ เ็ ริม่ ออกขาวสรางกระแสการแขงขันดานเทคโนโลยีแบตเตอรีก่ นั อยางเปดเผย อาจกลาวไดวากําลังจะหมดยุคแบตเตอรี่ตะกั่วกรด, นิเกิล-แคดเมียม, นิเกิลเมทัลไฮดราย ไปสูยุค ลิเทียม-ไอออน, ลิเทียม-พอลิเมอร การแขงขันนอกจาก จะตองใชทน รับประกันยาวนาน ระยะเวลาการประจไฟฟาทีร่ วดเร็วก็นบั วาสําคัญมาก ในอนาคตใกลๆ นี้ เราแวะดื่มกาแฟเพียง 5 นาทีที่ปมก็ชารจไฟใหเราวิ่งรถได 400 กิโลเมตรแลว แลวน้ํามันเชื้อเพลิงทั้งหลายจะปรับตัวอยางไร ไทยจะไป 4.0 ทันเวลา หรือไม อยางไร จะมีใครบางที่ตกรถไฟรอบ Stronger Together หรือเปลา…

GreenNetwork September-October 2017


GREEN

Auto ยาน - ยนต์

+1)C+Ę 6'Ĝ '4A ,E & A ď 5+ ¤ã Ⱥ¿ x¿¸º¿¶ ½Æ¸ º¿ {ʳúµ

S90 เปนรถซีดานหรู 4 ประตู 5 ที่นั่ง สะทอนเอกลักษณแหง รสนิยมชั้นเลิศเหมาะกับนักธุรกิจชั้นนํา ผูบริหารระดับสูง ผูที่ประสบ ความสําเร็จในชีวติ และความกาวหนาทีต่ อ งการความโกหรูและทันสมัย ภายใตแนวคิดการออกแบบ Designed Around You โดยคิดคํานึงถึง ผูใชเปน หลัก โครงสรางตัวรถออกแบบโดย Scalable Product Architecture (SPA) ซึ่งเปนแพลตฟอรมการออกแบบทางวิศวกรรม ทีน่ าํ สมัยทีส่ ดุ ของวอลโวและไดนาํ มาใชกบั รถวอลโวตระกูล 90 รุน ใหม ทั้งหมด ดานหนาวอลโว S90 ไดรับการปรับโฉมหนาใหมใหแฝงดวย ความมั่นใจในแบบฉบับของวอลโว โดยมีการออกแบบที่โดดเดน มีเอกลักษณ อันไดแก รูปทรงไฟหนาที่จําลองแบบ “คอนแหงเทพเจา ธอร” (Thor Hammer) แบบแอลอีดีผนวกกับกระจังหนาสวยหรู พรอม ตราโลโก Iron Mark รูปแบบใหมของวอลโว การออกแบบตกแตงภายในของ S90 ดวยแผงหนาปด ที่แสดงผลกราฟกขนาดใหญ 12.3 นิ้ว (ในรุน T8 Twin Engine) พิถพี ถิ นั แมกระทัง่ ปุม ปรับทิศทางของชองลมแอรแนวตัง้ ทีข่ ดั เกลา เคลือบดวยโลหะรูปทรงเพชร ระบบกรองอากาศ Clean Zone ทีด่ กั ละอองฝุน เกสร ดอกไม อันเปนสาเหตุของโรคภูมิแพ และสูดสัมผัสไดถึงบรรยากาศในรถที่บริสุทธิ์ สะอาดเหมือนที่สวีเดน แมจะเปนรถยนตนั่งซีดาน 4 ประตูคันใหญ แตก็ ไมลืม คุณสมบัติดานอรรถประโยชน เชน ชองเก็บของรอบหองโดยสาร ที่คอนโซลกลาง และที่วางแขนกลางเบาะหลัง พนักพิงเบาะหลังแยกพับราบได 60/40 เพิ่มเนื้อที่ บรรทุกสัมภาระ ขณะเดียวกันก็สามารถนั่งโดยสารฝงใดฝงหนึ่งของเบาะหลัง

Intellisafe ความปลอดภัยอัจฉริยะของโลก

ระบบความปลอดภัยของวอลโว หรือ Intellisafe ควบรวมระบบความ ปลอดภัยทั้งเชิงปองกันและปกปอง ไมวาจะเปนระบบ Pilot Assist เจนเนอเรชั่น ที่ 2 เปนระบบชวยในการขับขี่กึ่งอัตโนมัติ ทํางานที่อัตราความเร็วสูงสุดที่ 130 กิโลเมตรตอชั่วโมง และไมตองอาศัยรถคันหนาอีกตอไป นอกจากนี้ S90 ยังติดตั้ง ระบบความปลอดภัยอันเปนนวัตกรรมของโลก คือ ระบบปองกันรถยนตวงิ่ ออกนอก ชองทาง (Run-Off Road Mitigation) ทํางานในยานความเร็ว 65-140 กม./ชม. รวมทั้งระบบ City Safety ที่มาพรอมกับเซ็นเซอรตรวจจับสัตวขนาดใหญ (Large Animal Detection) ซึ่งเปนครั้งแรกของโลกที่นําระบบเหลานี้ติดตั้งในรถยนตนั่ง ซีดาน เพื่อการขับขี่ที่ปลอดภัยตลอดการเดินทางทั้งกลางวันและกลางคืน

29

เทคโนโลยี Sensus Connect และระบบเสียงขั้นเทพของ Bowers & Wilkins

วอลโวใหมทกุ รุน ติดตัง้ อุปกรณเชือ่ มสัญญาณสัง่ การและสือ่ สารผานดาวเทียม เรียกชื่อเฉพาะวา Sensus Connect ระบบแรกของโลกที่เชื่อมตอกับ Apple CarPlay และรองรับอุปกรณสอื่ สารเคลือ่ นที่ในเครือขาย iOS เชน iPhone และระบบ Android Auto ไดโดยซอฟตแวรที่มากับตัวรถ บังคับควบคุมที่ปุมสัมผัสบนแกนพวงมาลัยรถ และการสั่งการดวยเสียง Voice Control ของผูขับขี่ แสดงขอมูลบนหนาจอแสดงผล ขนาด 9.0 นิว้ ทันสมัย สะดวกสบาย และเสริมขับขีป่ ลอดภัย นอกจากนี้ วอลโว S90 ยังติดตั้งเครื่องเสียงติดรถยนต “Premium Sound by Bowers & Wilkins” ในรุน Inscription สเตอริโอรอบทิศทาง ที่ ใหคุณภาพเสียงคมชัดเปนมิติฟงนุมหูที่สุดของโลก ระบบเสียงชัน้ นําชุดนีม้ าพรอมกับแอมปลิฟายเออร 1,400 วัตต 12-แชนเนล คลาส-ดี และลําโพง 19 ตัวรอบหองโดยสาร สามารถเลือกฟงได 3 โหมด ไดแก Studio, Individual Stage และ Gothenburg Concert Hall ที่สรางสรรคประสบการณ การไดยินเหมือนนั่งอยูใน Gothenburg Concert Hall และวอลโว S90 ยังมาพรอม กับระบบสงกําลัง Drive-E Powertrains ทัง้ เครือ่ งยนตดเี ซล D4 และ T8 Twin Engine AWD Plug-in Hybrid เครื่องยนตขนาดความจ 1969 ซี.ซี. แถวเรียง 4 สูบ ระบบ สงกําลังเกียรอัตโนมัติ 8 สปดพรอมเกียรทรอนิค (Geartronic) รถยนตตระกูล S90 ใหม มาพรอมเครือ่ งยนต 2 รุน แบงออกเปน 3 รุน ใหเลือก ไดแก วอลโว S90 Twin Engine AWD ปลั๊กอิน ไฮบริด ใหม เปนเครื่องยนตที่ผสาน การทํางานของเทอรโบชารจ (Turbocharger) และซูเปอรชารจ (Supercharger) เขา ดวยกันอยางไมมีที่ติ ใหกําลังสูงสุด 320 แรงมา ที่ 5,700 รอบ/นาที แรงบิด 400 นิวตัน-เมตร ที่ความเร็วรอบ 2,220-5,400 ตอนาที พรอมมอเตอรไฟฟา 87 แรงมา แรงบิดสูงสุดจากมอเตอรไฟฟาที่ 240 นิวตัน-เมตร และเมื่อรวมกับกําลังเครื่องยนต เบนซินกับมอเตอรไฟฟา จึงไดเครื่องยนตที่มีพละกําลังแรงถึง 407 แรงมา เรียกพลัง จากแรงบิดสูงถึง 640 นิวตัน-เมตร ใหอัตราเรง 0-100 กม./ชม. ไดในเวลาเพียง 4.8 วินาที เทานั้น อัตราสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิงเฉลี่ย 55.5 กิโลเมตรตอลิตร และ ปลอยกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) เพียง 41 กรัมตอกิโลเมตรเทานัน้ และสามารถ วิ่งดวยมอเตอรไฟฟาอยางเดียว (Pure mode) ไดไกลถึง 52 กิโลเมตร, วอลโว S90 T8 Twin-Engine AWD ปลั๊กอิน ไฮบริด สามารถเสียบปลั๊กชารจแบตเตอรี่สูงสุด ที่ 16A สามารถชารจไฟเต็มโดยใชเวลาเพียง 2.5 ชั่วโมง และ วอลโว S90 D4 Momentum เครือ่ งยนตดเี ซลคอมมอนเรล ทวินเทอรโบพรอมเทคโนโลยีหวั ฉีด i-Art ใหกําลังสูงสุด 190 แรงมา ที่ 4,250 รอบตอนาที ใหกําลังแรงบิด 400 นิวตัน-เมตร ที่ 1,750-2,500 รอบตอนาที อัตราเรง 0-100 กม./ชม. ใน 8.2 วินาที อัตราสิน้ เปลือง น้ํามันเชื้อเพลิงเฉลี่ย 20.4 กม./ลิตร ปลอย CO2 เพียง 129 กรัมตอกิโลเมตร

GreenNetwork September-October 2017


SPECIAL

Scoop กองบรรณาธิการ

GIZ A &C ' 6' EBA

6' '5 5+A 8 '4 8A+, )E B ę ĝg/6"÷J 9I)<Ę% J7 งคกรความรวมมือระหวางประเทศของเยอรมนี (GIZ) ประจําประเทศไทย ภายใต โครงการบริหารพื้นที่ลุมน้ําโดยอาศัยมาตรการเชิงระบบนิเวศเพื่อบรรเทาภัยแลง และอุทกภัย นําคณะทํางานจากนานาประเทศเขาเยี่ยมชมปาชายเลน การปองกันการ กัดเซาะชายฝงและการจัดการน้ําเสีย ณ อุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี เพื่อศึกษา Best Practice ของประเทศไทย

โครงการบริหารพื้นที่ลุ มน้ําโดยอาศัยมาตรการเชิงระบบนิเวศ เพื่อบรรเทาภัยแล งและอุทกภัย

สืบเนือ่ งจากผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ สงผลใหประเทศไทย ประสบกับนา้ํ ทวมและภัยแลงถีข่ นึ้ และมีความรุนแรงมากขึน้ ทัง้ นีห้ นวยงานทีเ่ กีย่ วของดาน การบริหารจัดการนา้ํ ของประเทศไทยมีศกั ยภาพทางวิชาการและนวัตกรรมเพือ่ แกไขปญหา ภัยพิบัติทางน้ําไมพอเพียง ผลกระทบดังกลาวจะสงผลใหเกิดความสูญเสียอยางมหาศาล ตอระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย เนือ่ งจากกระบวนการผลิตทีช่ ะงัก สรางความเสียหาย แกผลิตผล ดังนั้นการจัดการน้ําในภาวะวิกฤตโดยอาศัยการปรับตัวเชิงระบบนิเวศในพื้นที่ ลุมน้ําจะเปนอีกมาตรการ อันจะชวยบรรเทาผลกระทบและปองกันการเกิดน้ําทวมและ ภัยแลงอยางยั่งยืนโดยการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิผล

โครงการ EBA ใช ระบบนิเวศเป นกลไก แก ป ญหา

จารุวรรณ งามสิงห เจาหนาที่บริหารโครงการ การจัดการพื้นที่ลุมน้ําเชิงระบบนิเวศเพื่อปองกันน้ําทวม และภัยแลง กลาววา จากป 2554 ทีผ่ า นมาประเทศไทย

ไดรบั ผลกระทบจากมหาอุทกภัย สรางความเสียหายจํานวนมากในหลายพืน้ ที่ องคกรความรวมมือระหวางประเทศของเยอรมนี หรือ GIZ จึงรวมมือกับ กรมทรัพยากรนา้ํ เพือ่ นําแนวคิดในเรือ่ งการปรับตัว และแกไขปญหานา้ํ ทวม และน้ําแลง มาปรับใชในประเทศไทย ดวยการใชประโยชนจากระบบนิเวศ (Ecosystem-based Adaptation - EBA) เปนตัวขับเคลือ่ นในการแกปญ  หา นา้ํ ทวมและภัยแลงในประเทศไทย ดังนัน้ GIZ เปนองคกรทีม่ คี วามเชีย่ วชาญ ในเรื่องการเปลี่ยนแปลงและปกปองสภาพภูมิอากาศ จึงไดริเริ่มโครงการ EBA ดวยคัดเลือกพืน้ ทีน่ าํ รองในการแกไขปญหานา้ํ ทวมและภัยแลง 3 จังหวัด คือ นครศรีธรรมราช, ราชบุรี และขอนแกน เพือ่ เปนโครงการทดลองในพืน้ ที่ ลุมน้ําขนาดเล็ก และพิสูจนวาสามารถปรับใชในประเทศไทยทั้งประเทศได หรือไม “โครงการ EBA ใชประโยชนจากระบบนิเวศแกปญ  หาทัง้ นา้ํ ทวมและ ภัยแลง เนื่องดวยระบบนิเวศมีประโยชนอยู 4 ดาน คือ 1. การใหอาหารและ ออกซิเจนในนาํ้ ทําใหระบบธรรมชาติทาํ งานอยางลงตัว 2. สรางสมดุลตางๆ ในธรรมชาติใหทาํ งานไดอยางลงตัว 3. ดานวัฒนธรรม เชน ลอยกระทง หรือ การทิ้งศพลงแมน้ําคงคาของชาวอินเดีย และ 4. เปนระบบเพาะพันธุสัตว”

3 พื้นที่นําร อง ภายใต แนวคิด EBA สู การปรับใช จริงทั่วประเทศ

จารุวรรณ กลาววา โครงการ EBA ไดริเริ่มนํารองใน 3 พื้นที่ของ ประเทศไทย คือ นครศรีธรรมราช, ราชบุรี และขอนแกน โดยมีเจาหนาที่ และผูเชี่ยวชาญจากเยอรมนีเขามาทํางานรวมกับมหาวิทยาลัยในแตละพื้นที่ นํารองนัน้ ๆ เชน มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ สวนราชบุรี ผูเชี่ยวชาญจะทํางานรวมกับกรมทรัพยากรน้ํา หลังจากนั้นจึงลงพื้นที่เพื่อ สํารวจตนเหตุของปญหา พรอมทั้งหามาตรการปองกันแกไข เพื่อนําเสนอ เปนแนวทางใหกรมทรัพยากรน้ํานําไปปรับใชตอไป สําหรับในจังหวัดนครศรีธรรมราช ปญหาที่พบคือ น้ําทวมในพื้นที่ รับน้ํากอนจะออกสูทะเล ดวยสภาพการวางผังเมืองที่ผิดรูปแบบ มีความ ชันมาก แมระยะทางจากตนน้ําไปปลายน้ําจะสั้น แตตัวเมืองยังคงขวางทาง ปลายนา้ํ การแกปญ  หาโดยการปรับผังเมืองไมสามารถทําได ดังนัน้ EBA จึง ใชหลักการแกปญหาที่ตนน้ํา เชน มาตรการบอดักตะกอน เพราะวาจังหวัด นครศรีธรรมราช สวนใหญจะปลูกยางพาราเปนอาชีพหลัก ซึ่งเปนการปลูก พืชเชิงเดี่ยว ทําใหดินสูญเสียปุย และกอใหเกิดปญหาการตกตะกอน และ ชาวบานสวนใหญจะนิยมปลูกยางพาราติดลําคลอง โดยไมมพี นื้ กันชน ฉะนัน้

จารุวรรณ งามสิงห 30

GreenNetwork September-October 2017


ตะกอนพรอมกับปุยก็จะไหลลงมายังลําคลองไปสูปลายน้ํา จึงทําใหเกิดน้ําทวม ในบริเวณปลายน้ํานั่นเอง เพราะฉะนั้นจึงไดกอสรางบอดักตะกอนที่มีลักษณะ คลายกับฝายกัน้ วางไวเปนระยะๆ โดยใหหนาฝายเปนพืน้ ทีด่ กั ตะกอนใหไหลลงบอ จดนีเ้ องจะกลายเปนพืน้ ทีช่ มุ นาํ้ เปนแหลงทีอ่ ยูอ าศัยและเพาะเลีย้ งของสัตว ชาวบาน ยังสมารถจับสัตวนา้ํ หรือปลูกพืชนา้ํ ไวใชประโยชน และนอกจากนีน้ า้ํ ก็ยงั ซึมไปใตดนิ ซึง่ เปนการกับเก็บนา้ํ ไดอกี วิธหี นึง่ และเพือ่ ใหเกิดความยัง่ ยืนชาวบานตองดูแลรักษา บอดักตะกอนนี้เอง จารุวรรณ กลาวเพิม่ เติมวา สวนจังหวัดขอนแกน จะประสบปญหาดานภัยแลง โครงการฯ จึงแนะนําใหทาํ เรือ่ งบอดักตะกอน เนือ่ งดวยลักษณะการใชทดี่ นิ จะเนน การปลูกพืชเศรษฐกิจเปนสวนใหญ ซึง่ พืชบางชนิดใชนา้ํ มาก จึงไมเหมาะทีจ่ ะนํามา ปลูก แตการทีจ่ ะจูงใจใหชาวบานเปลีย่ นลักษณะการทํามาหากิน เปนเรือ่ งทีค่ อ นขาง ตองใชระยะเวลา เพราะฉะนั้นจึงเลือกในพื้นที่ที่สามารถทําโครงการไดกอน ซึ่งจะ เปนพื้นที่คลองขนาดเล็กที่ ไหลลงมาสูอางเก็บนํ้า ซึ่งเปนแหลงนํ้าขนาดใหญของ ชาวบาน และในจังหวัดราชบุรี เปนปญหาดินตะกอนสะสม ทําใหเกิดปญหานํา้ แลง และนาํ้ ทวมหนักบริเวณปลายนาํ้ จึงเลือกใชบอ ดักตะกอนเชนเดียวกัน พรอมทัง้ สราง ความเขาใจใหชาวบาน ไดเห็นวามาตรการที่ไมเปนธรรมชาติ ก็สามารถชวยกักเก็บ น้ําได ชวยใหปริมาณน้ําเพิ่มขึ้น นําไปสูการเพิ่มรายไดจากการทําการเกษตรไดอีก ทางหนึง่ สําหรับโครงการ EBA นีม้ รี ะยะการดําเนินงาน 4 ป ใชงบประมาณทัง้ หมด 2.8 ลานยูโร หรือประมาณ 110 ลานบาท โดยหลังจากที่จบโครงการไปแลว มาตรการนี้ยังคงดําเนินงานตอภายใตการทํางานของกรมทรัพยากรน้ํา “ตัวชี้วัดความสําเร็จของโครงการมี 4 อยาง คือ 1. เจาหนาที่ของไทยตอง มีความรูความสามารถเกี่ยวกับรื่อง EBA สามารถออกแบบเรื่อง EBA ได 2. พื้นที่ นํารองแตละที่ ตองทํามาตรการ EBA 1 มาตรการ เปนหนึง่ ในผลลัพธของโครงการ 3. เรือ่ งของการพัฒนาขีดความสามารถของทางคณะกรรมการลุม นาํ้ ตางๆ ทีม่ อี ยูใน ภาคสวนเรือ่ งนา้ํ ซึง่ ไดแก คณะกรรมการลุม นา้ํ กรมชลประทาน และกรมทรัพยากร น้ํา และ 4. การเอาแนวคิด EBA เขาไปในแผนการปรับตัวระดับชาติ”

มาตรการการปรับตัวโดยใช ระบบนิเวศ ณ อุทยานสิ่งแวดล อมนานาชาติสิรินธร

ลาสุด โครงการ EBA ไดจัดการเรียนรูใหแกผูเชี่ยวชาญ นักวิทยาศาสตร ทีม่ าจากตางประเทศ กวา 5 ประเทศ ทีม่ คี วามเปราะบางทางดานการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ เชน ฟลปิ ปนส เวียดนาม และกลุม ประเทศทางฝง ตะวันออกกลาง เขามาเยี่ยมชมปาชายเลน การปองกันการกัดเซาะชายฝงทะเล และการจัดการ นํา้ เสีย ที่อุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร อ.ชะอํา จ.เพชรบุรี เพื่อศึกษา Best Practice ของประเทศไทย เพราะในหลายประเทศยังไมไดทาํ เรือ่ ง EBA ใหเกิดเปน รูปธรรมเพือ่ นําไปใชไดจริงอยางในประเทศไทย โดยภายในอุทยานนัน้ มีในสวนของ

31

แหลงเรียนรูเกี่ยวกับปาชายเลน การกัดเซาะชายฝงบริเวณอุทยาน และการจัดการ น้ําเสีย ระบบบําบัดน้ําเสียแบบควบรวมบึงประดิษฐ สําหรับปาชายเลนในเขตพื้นที่อุทยานสิ่งแวดลอมนานาชาติสิรินธร ตั้งอยู บริเวณปากคลองบางตรานอยและปากคลองบางตราใหญ เดิมบริเวณนี้มีสภาพปา ชายเลนทีอ่ ดุ มสมบูรณ มีพนั ธุไ มตา งๆ ขึน้ อยูอ ยางหนาแนนและเปนแหลงอาศัยของ สัตวนานาชนิด แตไดมีการบุกรุกทําลายและปามีสภาพเสื่อมโทรมลงจนเกือบหมด สภาพปาธรรมชาติ ในอดีตชายฝง บริเวณพระราชนิเวศนมฤคทายวัน ประสบปญหาการกัดเซาะ ชายฝง อยางรุนแรง จึงไดมกี ารศึกษาเพือ่ แกไขปญหาดังกลาว ทัง้ เรือ่ งการตกตะกอน ทับถมบริเวณปากคลองบางตรานอยและบางตราใหญ และการกัดเซาะชายฝง ทะเล ครอบคลุมพื้นที่ดานเหนือและดานใตของพระราชนิเวศนมฤคทายวันรวมระยะทาง 3 กิโลเมตรไวทั้งหมด 7 รูปแบบ คือ เขื่อนกันทราย และคลื่น, กําแพงปองกันคลื่น ริมชายหาด, เขือ่ นปองกันคลืน่ นอกชายฝง , เขือ่ นปองกันเขือ่ นนอกชายฝง แบบจมนาํ้ , รอกดักทราย, การถมทรายถมชายหาด และกําแพงหินทิ้ง โดยอุทยานสิ่งแวดลอม นานาชาติสิรินธร จึงใชสถานที่บริเวณนี้เปนแหลงเรียนรูเกี่ยวกับการแกปญหาการ กัดเซาะชายฝง เพื่อใหผูที่มาชมนําความรูและวิธีการตางๆ ไปประยุกตใชในการ แกปญหาการกัดเซาะชายฝงในบริเวณอื่นๆ ได สวนระบบบําบัดนา้ํ เสียแบบควบรวมบึงประดิษฐ ในพืน้ ทีอ่ ทุ ยานสิง่ แวดลอม นานาชาติสิรินธร ไดมีการดําเนินการวางแผนศึกษา สํารวจ และออกแบบกอสราง ระบบําบัดน้ําเสียในพื้นที่บริเวณบานพักขาราชการตํารวจคายพระรามหก ซึ่งเปน ระบบบําบัดน้ําเสียระดับครัวเรือนขนาด 200 ลูกบาศกเมตรตอวัน ที่พัฒนาตอยอด มาจากเทคโนโลยีการบําบัดน้ําเสียของโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอม แหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ บนเนื้อที่ประมาณ 9.5 ไร ซึ่งเพิ่มระบบ เติมอากาศใหแกน้ําเสีย เพื่อลดการเกิดกาซเรือนกระจกในระหวางการบําบัด โดยการใชกงั หันนา้ํ ชัยพัฒนา และใชเปนแหลงเรียนรูร ะดับนานาชาติดา นเทคโนโลยี บึงประดิษฐ การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม นอกจากนี้ยังเปนการ พัฒนาและฟน ฟูอทุ ยานสิง่ แวดลอมนานาชาติสริ นิ ธรใหมคี วามหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศสมดุล สามารถใชประโยชนเปนแหลงเรียนรูที่ยั่งยืน และยังเปนสถานที่ ทองเที่ยวเชิงนิเวศ สงผลใหเกิดจิดสํานึกดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อีกดวย อยางไรก็ตาม โครงการ EBA ซึ่งเปนความรวมมือระหวางประเทศเยอรมนี หรือ GIZ และประเทศไทย ในการกําหนดมาตรการ การปรับตัวเชิงระบบนิเวศ และแกไขปญหานํ้าทวมและนํ้าแลงในประเทศไทย เกิดเปนโครงการนํารอง และ ตอยอดผลสําเร็จดังกลาวไปสูการใชจริงในพื้น ที่ปญหาของประเทศไทยตอไป ในอนาคต

GreenNetwork September-October 2017


GREEN

Learning กองบรรณาธิการ

+è &6)5& 6' 5 6' %/8 ) #K4;QG %=) 8 8%5I "5 6 W5 ./KADQ_GGG3[?3 Ü <' 8 A,'- 8 "1A"õ& Ý วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล รวมกับ มูลนิธิ มัน่ พัฒนา เปดตัวเว็บไซต www.seb.cm.mahidol.ac.th สือ่ การ เรียนรูด ว ยตนเอง ทีร่ วบรวมองคความรูด า นปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง จากงานวิจยั องคกรตนแบบเกีย่ วกับประสบการณในการ ดําเนินธุรกิจ ตามแนวทางของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เผยแพรใหผปู ระกอบการธุรกิจรุน ใหม ไดเรียนรูหลักคิดและวิธีการบริหารงานใหประสบความสําเร็จ พรอมฟงกชันประเมินองคกร แบงออกตาม 7 สายงานสําคัญที่ จําเปนตองมีเพื่อพัฒนาสูความยั่งยืน

ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธาน กรรมการมู ล นิ ธิ มั่ น พั ฒ นา กล า วว า มู ล นิ ธิ มัน่ พัฒนา และวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัย มหิดล ไดรวมกันพัฒนา เว็บไซต www.seb. cm.mahidol.ac.th ซึ่งเปนเว็บไซตที่รวบรวม ขอมูลออนไลน เกี่ยวกับ “องคความรูในการ บริหารองคกรธุรกิจตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง” ที่ทันสมัยและเขาถึงไดงาย ตาม แนวทางของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมพิ ลอดลุยเดช รัชกาลที่ 9 ซึง่ จะเนนการสรางองคกรธุรกิจทีม่ คี วามรับผิดชอบ ในการรักษาและพัฒนาสังคมอยางตอเนื่อง ไมเนนการทํากําไรสูงสุดในระยะสั้น แตเพียงอยางเดียว ซึ่งในที่สุดแลวองคกรธุรกิจตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง จะ สามารถอยูรวมกับสวนอื่นๆ ของสังคมไดอยางมีความสมดุลและยั่งยืน โดย เว็บไซตนี้เกิดขึ้นจากองคความรูจากงานวิจัยที่สะสมมากวาหนึ่งทศวรรษของ วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล เกีย่ วกับประสบการณในการดําเนินธุรกิจ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากผูบ ริหารองคกรธุรกิจทีป่ ระสบความสําเร็จ มาพัฒนาเปนเว็บไซต เพื่อใหผูสนใจไดเรียนรูและประเมินการบริหารงานองคกร ของตนเอง ดาน รศ. ดร.สุขสรรค กันตะบุตร รองคณบดีวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล และกรรมการมูลนิธิมั่นพัฒนา กลาววา เว็บไซตดังกลาว ประกอบดวยขอมูล รายละเอียดแนวทางการบริหารธุรกิจตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง แบงออกเปน 7 สายงาน ไดแก 1. การจัดการวัฒนธรรมองคกร

32

ตองมีคานิยมรวมความดีซึ่งก็คือความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอม สังคม และนวัตกรรม 2. การจัดการทรัพยากรมนุษย มีการกําหนดสมรรถนะหลักตามคานิยมรวมแหงปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง เปนสวนหนึง่ ในการคัดเลือกพนักงานใหม การพัฒนา การประเมินผล การทํางาน และการเลื่อนตําแหนง ฯลฯ 3. การจัดการการตลาด มีนโยบายและกลยุทธ ในการพัฒนาสินคาใหมทชี่ ดั เจน โดยนําความตองการของลูกคา คูค า และบริบทของสังคม มาใชพัฒนาสินคาและบริการอยางตอเนื่อง ควบคูกับมีระบบประเมินความพึงพอใจและ ั นาสินคา ทีส่ าํ คัญตองตัง้ ราคา การรับขอรองเรียนของลูกคา มีการนําวัตถุดบิ ทองถิน่ มาใชพฒ อยางยุติธรรมตามกลไกการตลาด และรักษาความเปนผูนําทางการตลาดดวยภาพลักษณ และลักษณะของสินคาที่เปนประโยชนและปลอดภัย 4. การจัดการการผลิตและบริการ คํานึงถึงผูอ นื่ รวมถึงผูม สี ว นไดสว นเสียทัง้ หมด เชน ลูกคา พนักงาน ผูจัดหาวัตถุดิบ สิ่งแวดลอม สังคม ชุมชน เพื่อใหมีการจัดการหวงโซ อุปทานที่ดี พรอมใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมและสังคมรอบๆ โรงงาน หรือแหลงผลิต สินคาโดยการลดของเสีย มลพิษ การสรางเครือขาย 5. การจัดการนวัตกรรมและ เทคโนโลยี กําหนดแนวทางในการบริหารจัดการใหเกิดนวัตกรรมและเทคโนโลยี โดยมี แหลงขอมูลและคนรับผิดชอบอยางชัดเจน 6. การจัดการการเงินการลงทุน ไมใชกลยุทธ ตัดราคาเพือ่ โจมตีตลาดของคูแ ขง แตใชยทุ ธศาสตรการลงทุนทีเ่ ขาใจในแนวโนมระยะยาว และตองมีนโยบายปนผลกําไรเพื่อนําไปใชในโครงการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม และ 7. การจัดการความเสีย่ ง มีวางแผนกําลังคน ประเมินศักยภาพ และพัฒนาพนักงาน รวมทัง้ สงเสริมความรูอยางตอเนื่อง รวมถึงการปองกันความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ยและอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตรา และมีคณะทํางานประเมินความเสี่ยงในองคกรอยูตลอดเวลา ทั้งนี้ ในการดําเนินโครงการและกิจกรรมตางๆ เพื่อทําใหองคความรูอันเกี่ยวเนื่อง กับ “ศาสตรของพระราชา” โดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่อง “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง” ซึ่งถือเปนตนแบบที่สามารถนําไปปฏิบัติสูการพัฒนาไดอยางยั่งยืน อันเปนหนึ่ง ในแนวทางที่สมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 10 พระราชทานแกรัฐบาล ในการชวยสราง ความเขาใจและขยายงานพัฒนาที่พระบาทสมเด็จพระปรมิน ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงทําไวอยางมากมาย เพื่อยึดถือเปนแนวปฏิบัติในการพัฒนาประเทศชาติบานเมือง ให เจริญกาวหนาทัดเทียมนานาประเทศสืบไป การทีค่ ณาจารย นักศึกษา และบุคลากร วิทยาลัย การจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล ไดรว มกัน ทําวิจยั และประยุกตองคความรูเ กีย่ วกับปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง สําหรับนําไปเผยแพร ในหมูน กั ธุรกิจใหนาํ ไปปรับใชในองคกรของตน ในทางปฏิบัติจะกอใหเกิดความยั่งยืนตอประเทศชาติในหลากหลายมิติ โดยเฉพาะในดาน สังคมและเศรษฐกิจ สําหรับผูป ระกอบการและประชาชนทัว่ ไปทีส่ นใจ เรียนรูก ารบริหาร งานองคกรตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดวยตนเอง สามารถคลิก เขาไปศึกษารายละเอียดไดที่ www.seb.cm.mahidol.ac.th หรือ สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ มูลนิธิมั่นพัฒนา โทร. 0-2787-7959 คลิก www.tsdf.or.th หรือที่ วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัย มหิดล โทร. 0-2206-2000 คลิก www.cmmu.mahidol. ac.th

GreenNetwork September-October 2017


GREEN

World กองบรรณาธิการ

อินเดียขึน้ ชือ่ วาเปนประเทศแรกๆ ทีม่ กี ารนํารถไฟเขามาใชกนั อยาง จริงจัง โดยมีประชากรใชบริการรถไฟมากที่สุดประเทศหนึ่งของโลก อินเดียมีทางรถไฟยาวถึง 108,000 กิโลเมตร ถือเปนระบบรถไฟที่ใหญ เปนอันดับ 4 ของโลกรองจากสหรัฐอเมริกา จีน และรัสเซีย ในแตละวัน รถไฟอินเดียกวา 11,000 ขบวนจะเดินเครือ่ งขนสงผูโ ดยสารราว 23 ลานคน ไปยังเมืองตางๆ ทั่วประเทศ สําหรับพัฒนาการของรถไฟนั้น เดิมรถไฟขับเคลื่อนโดยใช หมอตมน้ําทําใหเกิดไอน้ํา รถจักรไอน้ํา รถไฟแบบถานหิน ที่ตอง เผาไหมเพื่อที่จะใชพลังงาน มาสูการใชน้ํามันดีเซล หรือที่ เรี ย กว า หั ว รถจั ก รดี เ ซล จนมาล า สุ ด คื อ รถไฟฟ า ความเร็ ว สู ง และเมื่ อไม นานมานี้ ได มี ก ารนํ า พลังงานแสงอาทิตยซึ่งเปนพลังงานทดแทน เขามา ปรับใชติดตั้งไวบนหลังคารถไฟ เพื่อใชประโยชน จากพลังงานที่มาจากธรรมชาติในการขับเคลื่อน ของขบวนรถไฟ และยังเปนการลดการใชเชื้อเพลิง ฟอสซิส ซึง่ เปนพลังงานหลักที่ใชแลวหมดไป พรอม กับชวยลดปญหาความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดลอม

' E# 9 A ) :I ")5

6 B. 16 8 &Ĝ + B' D 18 A 9&

ประเทศอินเดียมีการใชรถไฟเปนชองทางหลักในการคมนาคม มีโครงขายรถไฟขนาดใหญ เปนอันดับตนๆ ของโลก ดังนั้นรัฐบาลจึงพัฒนาระบบรถไฟอยางตอเนื่อง ลาสุดไดเปดตัวรถไฟพลังงาน แสงอาทิตย ที่กรุงนิวเดลี เปนขบวนแรกของประเทศอินเดีย โดยขบวนรถไฟพลังงานแสงอาทิตย เปน รถไฟชนิดรถรางไฟฟา ความเร็ว 1,600 แรงมา ขับเคลือ่ นดวยพลังงานดีเซลผสมกับพลังงานแสงอาทิตย ทั้งขบวนมี 6 ตู และในแตละตูจะมีการติดตั้งแผงโซลารเซลลบนหลังคาจํานวน 16 แผง และแตละตูจะมี การติดตั้งพัดลม อุปกรณไฟฟาภายในตู รวมทั้งเครื่องสํารองไฟฟา จึงทําใหรถไฟพลังงานแสงอาทิตย ขบวนนี้มีพลังงานสํารองที่สามารถวิ่งไดโดยการใชการขับเคลื่อนดวยแบตเตอรี่ไดอยางนอย 72 ชั่วโมง โดยรถไฟขบวนดังกลาวจะใหบริการรับสงผูโดยสารเสนทางระหวางสถานีซารายโรฮิลลา ในกรุงนิวเดลี ไปยังชุมทางคารฮีฮารซารู ในรัฐหรยาณา ทางตอนเหนือของประเทศ อยางไรก็ตาม รัฐมนตรีกระทรวงการรถไฟของอินเดีย ยังไดประกาศวา กระทรวงการรถไฟมุง มัน่ จะพัฒนาดานพลังงานผสมผสานระหวาง พลังงานฟอสซิล ซึ่งเปนเชื้อเพลิงจากน้ํามันและพลังงาน ทางเลือก เชื้อเพลิงที่ไมใชน้ํามัน เชนเดียวกับรถไฟขบวนดังกลาวซึ่งใชพลังงานแสงอาทิตย เพื่อนําไป สนับสนุนโครงขายรถไฟของอินเดียที่มีขนาดใหญเปนอันดับ 3 ของโลก โดยเบื้องตนไดมีการปรับแก นโยบายดานการใชเชือ้ เพลิงและพลังงานสําหรับการเปดใชรถไฟดีเซลกึง่ พลังงานแสงอาทิตย สอดคลอง กับความมุง มัน่ ของรัฐบาลอินเดีย ทีจ่ ะดําเนินการตามขอตกลงปารีส วาดวยการแกปญ  หาสภาพภูมอิ ากาศ เปลี่ยน อีกทั้งยังสอดผสานกับนโยบาย “Make in India” ของรัฐบาลภายใตการนําของ นาเรนดรา โมดี นายกรัฐมนตรี เพราะรถไฟขบวนนี้เปนรถไฟที่อินเดียผลิตขึ้นเองในประเทศอีกดวย รถไฟพลังงานดีเซลผสมกับพลังงานแสงอาทิตย ที่เปดตัวขึ้นเปนครั้งแรกในอินเดีย ถือเปนการ สอดรับกับเทรนดของโลกที่กําลังมุงไปสูการใชพลังงานทดแทนอยางจริงจัง ลดการใชพลังงานจากฟอส ซิส และกาวไปสูสังคมคารบอนต่ํา ที่มา : http://inhabitat.com/ 33

GreenNetwork September-October 2017


GREEN

Visit กองบรรณาธิการ

"6 8 '<Ę A'ë1 6)Ĝ%11&)Ĝ & '4 5 6' )8 B 15 C %5 8 ) 6'.=gA.9&1&Ę6 ' + ' เมือ่ เร็วๆ นี้ กรมสงเสริมอุตสาหกรรม หรือ กสอ.ไดลงพืน้ ทีเ่ พือ่ สนับสนุนมาตรการการผลักดัน SMEs ที่มีศักยภาพตามแตละทองถิ่นและสอดคลองกับยุทธศาสตรความตองการและศักยภาพของ จังหวัด โดยไดเขาเยี่ยมชมตัวอยางผูประกอบการอุตสาหกรรมสกัดนํ้ามันปาลมตัวอยางที่นําทั้งเรื่อง ระบบการผลิตอัตโนมัตเิ พือ่ ลดการสูญเสียอยางครบวงจร การรวมกลุม คลัสเตอรในหวงโซการผลิตเพือ่ รวมกันพัฒนา ตลอดจนการนําของเสียมาใชในการผลิตไบโอแกส และการพัฒนาสถานประกอบการ เพือ่ การอยูร ว มกันกับสังคมอยางยัง่ ยืน ณ บริษทั ป.พานิชรุง เรืองปาลมออยล 2 จํากัด อ.เมือง จ.กระบี่

กสอ. เตรียมกลยุทธ สง เสริมศักยภาพให SMEs ในอุตสาหกรรมปาล มน้าํ มัน

อุตสาหกรรมน้ํามันปาลมภาคใต เปนหนึ่งในอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ โดยจากขอมูลการผลิต พบวาในชวง 6 เดือนแรกของปนี้ ปริมาณการผลิตนา้ํ มันปาลมดิบมีจาํ นวนทัง้ สิน้ กวา 9.99 แสนตัน ทัง้ นี้ กสอ.เตรียมกลยุทธในการสงเสริมศักยภาพให SMEs ในอุตสาหกรรมปาลมนาํ้ มัน และยังเตรียมผลักดัน ใหผูประกอบการเขาถึงกองทุนปาลมน้ํามันและน้ํามันปาลม 1,000 ลานบาท และกองทุน SMEs ตาม แนวประชารัฐในวงเงิน 20,000 ลานบาท ดร.พสุ โลหารชุน อธิบดีกรมสงเสริมอุตสาหกรรม กลาววา กสอ.ในฐานะหนวยงานหลักทีม่ หี นา ที่ในการสงเสริม พัฒนา และสนับสนุนผูประกอบการ ไดเตรียมความพรอมในการเพิ่มศักยภาพใหกับ อุตสาหกรรมปาลมนา้ํ มันโดยมีกลยุทธ 5 ขอ ไดแก 1. กลยุทธการพัฒนากระบวนการผลิต เสริมสราง รากฐานการผลิตของนา้ํ มันปาลมไทยใหมปี ระสิทธิภาพ เชน การลดตนทุนการผลิตและลดการสูญเสีย การสงเสริมคุณภาพและการเพิม่ ผลผลิตอยางสมา่ํ เสมอ โดยจะอาศัยความรวมมือจากผูเ ชีย่ วชาญและ การนําองคความรูก ารวิจยั เขามาชวย พรอมผลักดันการเพิม่ เปอรเซ็นตนาํ้ มันจากเดิมที่ 17% สู 20-22% 2. กลยุทธการเสริมแกรงดวยการรวมกลุม สงเสริมใหเกิดการรวมกลุ ารรวมกลุมกนของผู กันของผูประกอบการทผลต ระกอบการที่ผลิต นํา้ มันปาลมและอุตสาหกรรมตอเนื่อง เพื่อเสริมสรางอํานาจในทางตลาดและการร นทางตลาดและการรวมมือกัน พัฒนาใหมที ศิ ทางเดียวกันในลักษณะแบบเพือ่ นชวยเพือ่ น หรือพีช่ ว ยนอง ซึง่ จะเพิม่ ความ ลากหลายและการสราง สามารถในการแขงขันได 3. กลยุทธการสรางความหลากหลายและการสร มูลคาเพิม่ สงเสริมองคความรูใ นเรือ่ งหวงโซมลู คาพรอมพัฒนาคุณภาพ น้ํามัน ปาลม เพื่อผลักดันสูอุตสาหกรรมต รรมตอเนื่องอื่นๆ ใหมี ประสิทธิภาพมากขึน้ อาทิ อาหารแปรรู หารแปรรูป พลังงานทดแทน อุตสาหกรรม S-Curvee 4. กลยุทธดา นการบริหาร จัดการ สรางความรวมมือหนวยงาน

ที่ดูแลตั้งแตระบบตน น้ําถึงปลายน้ํา เพื่อใหเกิดความเปน หนึ่ง เดียวกันในการสงเสริม และ 5. กลยุทธการสงเสริมดานนวัตกรรม และเทคโนโลยี โดยสงเสริมระบบตางๆ ดวยการนําระบบอัตโนมัติ มาใช ใ นกระบวนการผลิ ต เพื่ อให เ กิ ด ผลลั พ ธ ที่ มี ค วามแม น ยํ า คุณภาพที่สม่ําเสมอมากขึ้น อาทิ ระบบควบคุมตรวจสอบ ระบบ คัดแยก ระบบวิเคราะหการผลิต เปนตน

เยี่ยมชมโรงงานสกัดน้ํามันปาล มดิบ ป.พานิชรุ งเรือง ปาล มออยล 2

พานิ ช แซ ลิ้ ม ประธาน กรรมการบริหารบริษัท ป.พานิช รุ ง เรื อ ง ปาล ม ออยล 2 จํ า กั ด กลาววา บริษั ทฯ มีโรงงานสกัด น้ํามัน ปาลมดิบทั้งสิ้น 2 โรงงาน ในจังหวัดสุราษฎรธานีและกระบี่ ซึง่ เปน 2 จังหวัดทีม่ พี นื้ ทีป่ ลูกปาลม มากที่ สุ ด แห ง หนึ่ ง ของประเทศ กําลังการผลิตของโรงกลั่นทั้งสองแหงสูงสุดอยูที่ 75 ตันปาลม ตอชั่วโมง ใหผลผลิตรวมกวา 420 ตันนํา้ มันปาลมตอวัน สําหรับ ป.พานิชรุง เรือง ปาลมออยล 2 จํากัด ซึง่ เปนโรงงานแหงที่ 2 ตัง้ อยู ที่ ม.5 ต.ทับปริก อ.เมือง จ.กระบี่ บนเนื้อที่ 200 ไร ไดเปด ดําเนินการเมื่อเดือนมีนาคม 2559 โดยบริษั ทดําเนินธุรกิจผลิต น้ํามันปาลมดิบ ดวยเครื่องจักรและเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัย มีการออกแบบและพัฒนาเครือ่ งจักรอยางตอเนือ่ ง เพือ่ ใหสามารถ สกัดนา้ํ มันปาลมดิบไดอยางมีคณ ุ ภาพ ไดมาตรฐาน คัดสรรวัตถุดบิ ที่ดี เพื่อสงตอไปยังกระบวนการแปรรูปเปนน้ํามันปาลมดิบ และ นํามันเมล็ดในปาลมตอไป “บริษัทฯ ไดมกี ารนําเทคโนโลยีทท่ี นั สมัย และมีประสิทธิภาพ ที่ดี อยางเชน การควบคุมและบริหารจัดการดวยระบบอัตโนมัติ (Automation and Monitoring System) มาใชในกระบวนการผลิต เพื่อใหมีประสิทธิภาพสูงสุด สามารถประมวลผล วิเคราะหขอมูล ไดอยางรวดเร็ว นับวาไดเปรียบกวาโรงงานสกัดน้ํามันปาลมดิบ ทั่วไปที่ยังใชระบบคนงาน ซึ่งอาจเกิดความลาชา ตรวจสอบยาก และใชเวลาทีค่ อนขางนาน” พานิช กลาววา ผลิตภัณฑที่สําคัญของบริษัทฯ คือ น้ํามัน ปาลมดิบ และเมล็ดในปาลม โดยรายได โด หลักจะมาจากการผลิต นํ้ามันปาลมดิบ ดวยคุณภาพและมาตรฐานที ภาพ ่ดีจึงไดรับการ ตอบรับจากชองทางการจัดจําหนายมาอยางตอเนื่อง ทั้งนี้ ในไตรมาสที่ 1-2 ป 2560 ผลผลิตเพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกัน ของปกอ นตามปริมาณผลปาลมนาํ้ มันทีเ่ ขาสูโ รงงานสกัดเพิม่ ขึน้ แตก็ยังมีปริมาณที่นอยกวาเปาหมายที่วางไว อยางไรก็ตาม กําลังการผลิตยังคงมีกาารผันผวนตามสภาพดินฟาอากาศ และธรรมชาติ ซึ่ ง เป น สิ่ ง ที่ ค วบคุ ม ไม ไ ด แต คาดวาในปนถ้ี งึ ปหนาสถานการณนา จะมีทศิ ทาง ที่สดใสขึ้นตา ตามความตองการบริโภคน้ํามันพืช และกําลังกา การผลิตของอุตสาหกรรมตอเนื่อง ที่เพิ่มขึ้น ปปริมาณการขยายการปลูกปาลม จากเกษตรก จากเกษตรกรผูปลูกยางพารา รวมทั้งความ ตองการใชไบโอดีเซล ตลอดจนปญหาภัย ธรรมชาติที่คาดวาจะลดนอยลง

ดร.พสุ โลหารชุน 34

GreenNetwork September-October 2017


พัฒนาระบบการผลิตอัตโนมัติปรับใช ในโรงงาน

สมชาย ประชาบุตร กรรมการผูจัดการฝายจัดซื้อวัตถุดิบ กลาววา กระบวนการผลิตอัตโนมัติจะเริ่มตั้งแตการนํา ผลปาลมผานเขาระบบหมอนึ่งอบฆาเชื้อ ซึ่งไดปรับเปลี่ยนเปนแบบหมอนึ่งแบบตั้ง พัฒนามาจากแบบเดิมที่เปนหมอนึ่ง แบบนอนที่ใชพื้นที่ กําลังคนที่ควบคุมมาก และเงินลงทุนในการกอสรางและบํารุงรักษาสูง โดยขอดีของหมอนึ่งแบบตั้ง จะเปนระบบอัตโนมัติใชโปรแกรมคอมพิวเตอรควบคุมระบบการนึ่งทั้งหมด สามารถปรับเปลี่ยนเวลาการนึ่งใหเหมาะสม กับสภาพของวัตถุดบิ ทําใหการนึง่ มีประสิทธิภาพ ผลปาลมสุกดี เพือ่ นําเขาสูก ระบวนการตอไปไดอยางมีประสิทธิภาพ โดย หมอนึง่ ทัง้ หมดยังติดตัง้ Load Cell เพือ่ ใหทราบนา้ํ หนักของปาลมทีเ่ ขาผลิตไดตลอด จากนัน้ ก็จะเขาสูก ระบวนการคัดแยก สิง่ เจือปนตางๆ โดยใชเครือ่ งแยกทีม่ เี ทคโนโลยีพเิ ศษทีท่ าํ ใหกระบวนการตอไปๆ จนกระทัง่ กระบวนการสุดทายที่ไดผลผลิต เปนนํามันที่มีประสิทธิภาพดี “การผลิตในทุกขัน้ ตอนบริษัทจะเนนในเรือ่ งของการลดความสูญเสีย ลดการใชกาํ ลังคนเพียง 8 คน ตอ 1 กะทํางาน มีการตรวจวัดคามาตรฐานทุกครั้ง อีกทั้งยังลงทุนในดานการพัฒนาการอยูรวมกันกับสังคม ทั้งดวยระบบบําบัดนํ้าเสีย การผลิตไบโอแกสและไฟฟา มีการปรับปรุงเรื่องมลภาวะตลอดเวลา ตลอดจนความใสใจกับการนําสิ่งเหลือใชเพื่อใหเกิด ประโยชนในดานตางๆ อยางสูงสุด”

กระบวนผลิตน้ํามันปาล มดิบและน้ํามันเมล็ดในปาล ม

กระบวนผลิตน้ํามันปาลมดิบ เริ่มจากการนําทะลายปาลมสด ผานเขาระบบนึ่งทะลายปาลม เปนการหยุดปฏิกิริยา การเกิดกรดไขมันอิสระในผลปาลม และชวยทําใหทะลายปาลมสดออนตัวและหลุดออกจากขั้วผลไดงาย จากนั้นจึงแยก ผลปาลมและทะลายออกจากกัน นําผลปาลมไปยอยดวยเครือ่ งยอยผลปาลม เพือ่ ใหสว นเปลือกแยกออกจากเมล็ด เนือ้ ปาลม ที่แยกออกมาไดจะถูกสงเขาเครื่องหีบ เพื่อบีบเอาน้ํามันปาลมดิบออกมา และไลน้ําออกเพื่อทําใหแหง สงเขาถังเก็บน้ํามัน สําหรับรอการกลั่น หรือจําหนายตอไป โดยน้ํามันปาลมดิบที่ ไดแยกเปนสองสวน คือ สวนบน มีลักษณะเปนของเหลว สีสม แดง ประมาณ 30-50% สวนลางมีลกั ษณะเปนไขสีเหลืองสม ประมาณ 50-70% สําหรับกากผลปาลมจะถูกแยกเสนใย ออกจากเมล็ด นําเมล็ดที่ไดอบแหงและทําความสะอาด จากนั้นนําเขาเครื่องกระเทาะเพื่อแยกกะลาออก และนําเมล็ดใน มาอบแหง ใหมีความชื้น ไมเกิน 7% ทั้งนี้ น้ํามันปลมดิบและน้ํามันเมล็ดในปาลมที่ไดจากกระบวนการสกัด สามารถสง เขาสูโรงงานเพื่อทําใหบริสุทธ หรือจะนําไปแยกสวนกอนก็ได ซึ่งจะไดนํามันปาลมที่มีคุณสมบัติแตกตางกันไป

ผลิตไบโอแก สจากน้ําเสียในโรงงาน ด วยหลักการ Zero Waste

สมชาย กลาววา สวนตางๆ ของปาลมสามารถนํามาใชประโยชนไดทั้งหมด ในกระบวนการผลิตน้ํามันปาลม แบบ “Zero Waste หรือ ของเสียเหลือศูนย” สามารถผลิตพลังงานเพื่อนํามาใชเองและขายใหกับทางการไฟฟา ที่เรียกวา ไบโอแกส บนเนือ้ ทีก่ วา 16 ไร ใชเงินลงทุนกวา 100 ลานบาท โดยในโรงงานที่ 2 แหงนี้ มีกาํ ลังการผลิตไบโอแกสประมาณ 3 เมกะวัตต การผลิตเริม่ จากการนํานาํ้ เสียจากโรงสกัดนาํ้ มันปาลมเขาสูร ะบบไบโอแกส โดยไฟฟาทีผ่ ลิตไดทง้ั หมดจะสงขาย ใหการไฟฟา สวนไฟฟาที่ผลิตสําหรับใชเองนั้น จะนําไปใชกับบอยเลอรภายในโรงงาน นอกจากนั้น ยังใชกากดีแคนเตอร เคกหรือกากตะกอนปาลมนาํ้ มันผสมกับนาํ้ เสียและนําเขาระบบไบโอแกส สวน กะลา เสนใย ทะลาย จะสงขายใหกบั โรงงาน ที่ผลิตไบโอแมสตอไป สําหรับไบโอแกสนั้น โรงงานได PPA แลว แตปญหาที่พบ คือภาครัฐประกาศชะลอการรับซื้อไฟฟา ที่ผลิตจากไบโอแกส ทําใหอุตสาหกรรมไมตอเนื่อง เกิดการหยุดชะงัก จึงอยากใหภาครัฐเขามาผลักดันในสวนนี้ นอกจาก Zero Waste แลว บริษัทฯ ยังไดรับการรับรองระบบมาตรฐานคุณภาพ ISO 9001 : 2008 และในสวน ของโรงงานที่ 2 แหงนี้ กําลังดําเนินการขอการรับรองระบบมาตรฐานคุณภาพ ISO 9001 : 2015 โดยการสนับสนุนของ ศูนยสง เสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 10 รวมไปถึงดําเนินการโครงการ CSR มาอยางตอเนือ่ ง ภายใตการพัฒนาธุรกิจใหเติบโต อยางยั่งยืนควบคูกับการดูแลเอาใจใสตอสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยของชุมชน

สมชาย ประชาบุตร

35

GreenNetwork September-October 2017


GREEN

PEA Hive Platform

Energy กองบรรณาธิการ

A )9I& ę6 ''% 6

.=Ę ę6 15 'è&4

ในยุคที่ IT เขาไปมีบทบาทสําคัญ ในทุก ๆ ดาน ไมเวนแตดานพลังงานเอง การ เปลี่ยนบานธรรมดาใหเปนบานอัจฉริยะ หรือ Smart Home ดวยการนําเทคโนโลยีดิจิทัลและการสื่อสารมาควบคุม ระบบไฟฟาภายในบานและการทํางานของอุปกรณ ไฟฟาที่เปน Smart Devices รวมทั้งยังสามารถบริหารพลังงานทดแทน ชวยลดคาใชจายดานพลังงาน ภายในบานลงได และเทคโนโลยีที่จะเขามาตอบโจทย เรียกวา “PEA Hive Platform” เปน แพลตฟอรมระบบบริหารและจัดการพลังงานไฟฟาอัจฉริยะสําหรับบานพักอาศัย PEA Hive Platform ตนแบบแพลตฟอรมระบบบริหารและจัดการพลังงานอัจฉริยะ สําหรับ บานพักอาศัย ของการไฟฟาสวนภูมิภาค หรือ PEA โดยทีมวิจัยไดคิดคนและพัฒนา จนสามารถ เชื่อมตออุปกรณภายในบานและอาคาร การจัดการดานพลังงานใหมีประสิทธิภาพสูงสุดและ สอดคลองกับพลังงานทดแทนที่ผลิตได เชน Solar PV Rooftop เพื่อใหการใชพลังงานสุทธิของ บานเปนศูนย (Net–Zero Energy) หรือใกลเคียง และรองรับการใชพลังงานในภาวะฉุกฉิน ซึ่งจะเปลี่ยนบานพักอาศัยธรรมดาใหเปนบานอัจฉริยะ (Smart Home) PEA Hive Platform เปนโซลูชั่นของผูอยูอาศัยรวมถึงชุมชน สําหรับบริหารจัดการการ ใชพลังงานภายในบานพักอาศัยและอาคารใหมปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึน้ โดยมีการดวยกับอุปกรณ IOT ทัง้ หมด แลวมาเขาสูต วั แพลตฟอรม โดยแพลตฟอรมเหลานีก้ จ็ ะมีการใชงานรวมกับแอพพลิเคชัน่ ตางๆ บนตัว Hive Platform ทัง้ นี้ PEA Hive Platform จะอยูภ ายใตของ PEA Connect จะประกอบ ไปดวย Home Connect โดยใชตวั ของ PEA Hive Platform เปนตัวดําเนินการในการบริหารจัดการ นั่นเอง ตัว Hive Platform จะเนนดานการบริหารจัดการพลังงานเปนหลัก ทัง้ ในสวนของภาคผลิตไฟฟา ทีจ่ ะมาจากตัวของโซลารรฟู ท็อป พลังงานลม พลังงานจากแบตเตอรีร่ ถยนตเขาสูบ า น หรือแบตเตอรี่ ที่อยู ในบานเอง เปนการบริหารจัดการนําเอาพลังงานไฟฟาจาก Storage หรือที่ผลิตได ณ เวลานั้น โดยมีตนทุนต่ําสุดในขณะเวลานั้นมาใชกอน และนอกจากจะเนนดาน การบริหารจัดการพลังงานแลว จะเปนเรื่องเกี่ยวกับความสะดวกสบาย

36

GreenNetwork September-October 2017


และการใชของตัวอุปกรณไฟฟาภายในบาน จะชวยอํานวยความสะดวกในรูปแบบของอุปกรณ ทีอ่ ยูในบานเรา โดยอุปกรณสมัยใหม ทีม่ กี ารควบคุมโดยใช รีโมตทีเ่ ปนอินฟราเรด มีแอพพลิเคชัน่ ทีจ่ ะคุมอุปกรณ ซึง่ จะ Integral ในสวนของการควบคุม ไมวาจะเปนการสื่อสารรูปแบบใด เชน ตัวอินฟราเรด ควบคุมในเรือ่ งของ RF หรือ Internet โดยจะรวบรวมและ Integral รูปแบบการสือ่ สาร ทั้งหมดอยูในตัวแพลตฟอรมนี้ สําหรับผูอ ยูอ าศัยในบานอัจฉริยะนีส้ ามารถควบคุมเครือ่ งใชไฟฟาตางๆ ภายใน บาน ตลอดจนเรื่องการใชพลังงานไฟฟาจากระบบของการไฟฟาหรือแหลงพลังงาน ทางเลือก เชน โซลารรูฟท็อป ผาน Mobile Application โดย PEA Hive Platform จะทําใหอุปกรณตางๆ ทํางานรวมกัน เพื่อลดการใชพลังงานไฟฟาที่ไมจําเปนลง และ ตอบสนองตอสภาวะวิกฤตดานพลังงาน ทั้งนี้เจาของบานยังสามารถเลือกอุปกรณ และเครื่องใชไฟฟา จากหลากหลายยี่หอและผูผลิตไดอีกดวย และนอกจากนั้น Hive Platform ยังตอบโจทยความเปนไลฟสไตลของแตละบุคคล ที่เรียกวา Smart Mode โดยสามารถเลือกโหมดการใชงานในรูปแบบของ Comfort Mode, Eco Mode, DR Mode และ Emergency Mode สําหรับ Eco Mode จะมีจดเดนดานเนนเรื่องการ ประหยัดพลังงาน สวน DR Mode จะเปนเรื่องของดีมานดเรสปอนดที่จะเกิดขึ้นใน ประเทศไทยในอนาคตอันใกลนี้ สวนโหมดทีเ่ กีย่ วของกับสุขภาพ Comfort Mode เชน การควบคุมปริมาณแสงที่เหมาะสม หรือการออกแบบแสงตามอารมณหรือความรูสึก ของคน รวมถึงการบริหารจัดการคารบอนไดออกไซดภายในบาน หากพบวาคารบอนได ออกไซดมีปริมาณมากกวาที่ควรจะเปน ก็ดําเนินการสั่งเปดมาน เปดประตูหนาตาง หรือเปดพัดลม เพื่อใหคารบอนไดออกไซดออกจากตัวบาน ในเรื่องของผูสูงอายุ ก็จะ อยูในรูปแบบการบริหารจัดการในบานเหลานี้ ระบบสามารถสงขอมูลเหลานั้นไปยัง สวนที่เกี่ยวของไมวาจะเปนสวนของโรงพยาบาล หรือรูปแบบที่มีการแจงเตือนตางๆ หรือแมแตเรื่องของความปลอดภัย สามารถตรวจสอบบุคคลภายนอกที่ไมใชสมาชิก ภายในบาน เพือ่ สงตอและแจงเตือนไปยังสถานีตาํ รวจหรือสวนทีเ่ กีย่ วของกับทางดาน ความปลอดภัย การใชงาน PEA Hive Platform ทําไดงายๆ เพียงแค ใชสมารทโฟนผาน แอพพลิเคชัน่ ชือ่ Home Connect ซึง่ มีความสามารถหลักดังนี้ Home จะแสดงสถานะ โดยรวมของบานแตละหองได Scene สามารถเลือกฉากตางๆ ของบานตามความ ตองการของผูอยูอาศัยไดงายๆ เชน Eco Mode เพื่อใหบานอยู ในโหมดของการ ประหยัดพลังงาน สามารถปรับเปลีย่ นอุณหภูมขิ องเครือ่ งปรับอากาศ ปรับความสวาง ของหลอดไฟไดเองตามสภาพแวดลอมที่เหมาะสม หรือ Energy สามารถติดตามคา ไฟฟา ปริมาณการผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยที่ทํางานแบบ Real-time และ Devices ผูอ ยูอ าศัยตรวจสอบสถานะและควบคุมอุปกรณอจั ฉริยะตางๆ ภายในบานได อยางไรก็ตาม การสั่งดวยสมารทโฟน กวาจะเขาถึงเพื่อใหการสั่งการอุปกรณ Devices ทําตามที่ ไดกําหนด ตองผานกระบวนการหลายอยางที่ซับซอน ตั้งแตเปด

37

สมารทโฟน ใส Password เขาไปแอพพลิเคชั่นที่ตองการ บานอัจฉริยะจึงสามารถ สั่งการดวยเสียง โดยจะตอบสนองเรื่องการรับขอมูลและสงขอมูลผานทางเสียง ตามการตั้งคาของบานแตละหลัง เชน สั่งการดวยเสียง Good Morning ระบบก็จะ ทําการเปดเครื่องใชไฟฟา และหากสั่งการดวยเสียง Good Bye ระบบก็จะทําการ ปดเครื่องใชไฟฟาภายในบานเชนกัน สําหรับตัวบานไดมกี ารออกแบบใหมกี ารใชวสั ดุทป่ี ระหยัดพลังงาน ใชอปุ กรณ ประหยัดพลังงาน ทั้งในสวนของอุปกรณที่มี IP Address เปนบานที่มีอุปกรณที่ สื่อสารได กับบานที่มีอุปกรณที่ไมสามารถมีระบบสื่อสาร ซึ่งตองควบคุมผานปลั๊ก เปดและปด แตไมสามารถควบคุมปริมาณการทํางานของอุปกรณได สวนอุปกรณ ที่มีการสื่อสาร จะมีการควบคุมปริมาณการใชใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมหรือ สภาพตามทีก่ าํ หนด เชน การปรับลดอุณหภูมขิ องเครือ่ งปรับอากาศ เปนการควบคุม การใชโดยใชเทคโนโลยีเขามาจัดการ และหากตองการใหระบบมีประสิทธิภาพ มากขึน้ ตองใหอปุ กรณสามารถสือ่ สารกันระหวางอุปกรณดว ยกันได ภายใตเปาหมาย คือการใชไฟฟาใหประหยัดลง อยางไรก็ตาม การดําเนินการดังกลาว สงผลใหผตู ดิ ตัง้ ใชประโยชนอยางเต็มที่ และคุมคามากที่สุด โดยมีประโยชนในการติดตาม ควบคุมการทํางานของอุปกรณ ตางๆ ทั้งจากในและนอกบาน มีระบบการเรียนรูดวยตัวเองเพื่อบริหารจัดการ พลังงาน วิเคราะหขอมูล รวบรวมสถิติการใชพลังงานภายในบาน ทั้งยังตอบโจทย ทีจ่ ะทําใหคนไทยไดสมั ผัสประสบการณชวี ติ รูปแบบใหมทสี่ ะดวก สบาย และทันสมัย พรอมสงเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหแพรหลาย และเปนระบบ ที่เปดโอกาสใหนักพัฒนาฮารดแวรและซอฟตแวรไดเขามารวมพัฒนาอุปกรณและ แอพพลิเคชั่นใหตรงความตองการมากขึ้น สงผลใหผูติดตั้งใชประโยชนอยางเต็มที่ และคุมคามากที่สุด ซึ่งจะเสริมสรางศักยภาพความพรอมในการขับเคลื่อนประเทศ ไทยใหเติบโตเปนศูนยกลางเศรษฐกิจดิจิทัลระดับภูมิภาคตามยุทธศาสตรชาติ Thailand 4.0 ลาสุดการพัฒนาตนแบบดําเนินการแลวเสร็จ ทางทีมวิจยั ยังไมไดหยุดแคการ ทําตนแบบ แตจะมีการพัฒนาตอยอด โดยการออกแบบการใชพลังงานดวย Hive Platform ของ PEA ที่จะนํามาใชกับที่อยูอาศัย เปนงานวิจัยที่จะนํามาใชในเชิง พาณิชยในสิ้นป 2560 โดยเปนการพัฒนาธุรกิจนี้รวมกับผูประกอบการบานพัก อาศัยหรือคอนโดมิเนียม เพือ่ ทําธุรกิจรวมกัน และเพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการ ใหบริการของลูกคา สรางองคความรูและพัฒนานวัตกรรมใหมที่สามารถขยายผล เพื่อสรางเครื่องมือ หรืออุปกรณพาณิชย และสรางการบริการใหมๆ เพื่อรองรับ เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ที่มา : งานวิจัยและพัฒนา การพัฒนาตนแบบแพลตฟอรมระบบบริหารและจัดการ พลังงานไฟฟาอัจฉริยะ การไฟฟาสวนภูมิภาค (PEA HiVE Platform) สําหรับบาน พักอาศัย

GreenNetwork September-October 2017


GREEN

Article

Avoid concept :

รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล รัฐพล เจียวิริยบุญญา

ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Pisut.p@chula.ac.th Facebook: เรื่องสิ่งแวดล้อมเรื่องของเรา

E%Ę%9 E%Ę 8ù E%ĘA H &4 .=Ę 6'"5 6 9I&5I &;

หลายคนที่เคยมีโอกาสไปประเทศญี่ปุนนาจะมีประสบการณเกี่ยวกับการ “ทิ้งขยะ” เริ่มกันตั้งแต ทําไมถังขยะที่ญี่ปุนถึงมีนอย เดินหาจนทั่วก็ยังไมเจอ ครั้น จะแอบทิง้ ๆ ตามถนนหรือมุมอับ (วิถแี บบไทยๆ) ก็ไมกลา หรือบางครัง้ เจอถังขยะแลว แต!!! จะทิ้งถังไหน ทิ้งยังไง เพราะมีการแยกประเภทขยะไวหลายรูปแบบมาก จน สุดทายตองเก็บขยะตางๆ ไวในกระเปาและหอบกลับมาทิง้ ที่โรงแรม แตเหนือสิง่ อืน่ ใดก็คือ ทําไมเราถึงใชชีวิตอยูในประเทศญี่ปุนได นั่นอาจเปนเพราะเราตองปรับตัว ใหเขากับประเทศที่ ไป แตพอกลับมาก็ใชวิถี ไทยๆ เหมือนเดิม สิ่งหนึ่งที่เห็นไดชัด ก็คอื มนุษยเราสามารถปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมได อาจจะขัดใจบางในชวงแรก แตเราก็สามารถใชชีวิตอยูในกฎเกณฑเหลานั้นไดในที่สุด อยางไรก็ตาม หลักปฏิบัติที่เกิดขึ้นในญี่ปุนนั้น อาจเกิดขึ้นจากความจําเปน เนือ่ งจากมีพนื้ ที่ในการจัดการขยะนอยจึงตองมีการนํากลับมาใชใหมใหไดมากทีส่ ดุ หรือเหตุผลในเรื่องการกอการรายที่มีการนําระเบิดไปทิ้งไวในถังขยะ ทําใหญี่ปุน ตองปรับลดถังขยะในสถานทีท่ อ งเทีย่ วและปรับเปลีย่ นเปนถังขยะแบบใสใหสามารถ มองเห็นสิ่งที่ทิ้งดานในได ดวยเหตุผลเหลานี้เองที่ทําใหประชาชนตองปรับตัวและ พัฒนาไปถึงการหลีกเลีย่ งไมใหเกิดขยะ (Avoid) ซึง่ ในความเปนจริงแลว Avoid นัน้ เปนผลพลอยไดจากแนวคิดงายๆ นัน่ ก็คอื “ไมมกี ็ไมตอ งทิง้ ไมตอ งเก็บขยะ” นัน่ เอง โดยหลักการของ Avoid จะเปนการปรับทัศนคติของผูค นใหหลีกเลีย่ งหรือไมใหสราง ขยะ โดยเฉพาะในสถานที่ทองเที่ยวที่มีผูคนจํานวนมาก ดังนั้น Avoid จึงควรอยูใน ขั้นตอนแรกในการแกไขปญหาขยะลนเมือง

Avoid 3R

โดยการทีเ่ ราจะนําเอาหลักการ Avoid มาทําใหเกิดขึน้ ไดจริงและมีผลในทาง ปฏิบัติ เราจะตองอาศัย 4 ปจจัยดังนี้ 1. ปริมาณขยะ : สิ่งที่ควรทดลองทําในการลดจํานวนขยะนั่นก็คือ ทดลอง ลดปริมาณถังขยะเพื่อใหประชาชนเกิดความคิดไมอยากสรางขยะเนื่องจากหาที่ทิ้ง ยาก ผูค นจะเกิดการปรับตัวและคิดวาการกระทําใดทีจ่ ะทําใหเกิดขยะก็จะหลีกเลีย่ ง เชน ทานขนมหรือดื่มน้ําอัดลมแบบขวดแกวที่ราน (ลดบรรจภัณฑ) การไมรับถุง พลาสติก เปนตน โดยกระบวนการดังกลาวยังสงเสริมเรือ่ งการแยกขยะเพือ่ นํากลับ มาใชใหม เชน ขวดแกว ขวดพลาสติก กระปองน้ําอัดลมตางๆ ทําใหทางรานคา จัดการขยะไดงายขึ้น และยังมีสวนชวยลดปริมาณขยะที่จะตองนําไปกําจัดไดอีก ทางหนึ่ง 2. กฎหมายควบคุม : คนเรามีทศั นคติทแี่ ตกตางกันแตทกุ คนตองอยูร ว มกัน โดยใชกฎหมายเปนตัวควบคุมใหสงั คมอยูร ว มกันอยางมีระเบียบ เรือ่ งขยะก็เชนกัน ประเทศไทยควรจะมีกฎหมายทีค่ วบคุมเรือ่ งการทิง้ ขยะ การแยกขยะทีช่ ดั เจน มีบท ลงโทษที่เครงครัด เพื่อเปนบรรทัดฐานใหสงั คมไดปฏิบัติตามไดอยางถูกตอง โดย อาจเริ่มจากการกําหนดเปนพื้นที่ควบคุม “หามทิ้งขยะโดยเด็ดขาด มีโทษปรับสูง” 3. ทัศนคติ : ขยะในแมนา้ํ ลําคลองทีถ่ กู พัดพามารวมกันทีบ่ ริเวณประตูระบาย นา้ํ (ในชวงฝนตกนา้ํ รอระบาย) แสดงใหเห็นวาคนไทยมักงายและระดับความมักงาย ก็แปรผันตามจํานวนขยะทีเ่ ราเห็นนัน่ เอง ดังนัน้ การสรางทัศนคติใหผคู นเห็นวาการ สรางขยะและการทิ้งขยะไมเปนที่เปนทาง ขยะพวกนั้นไมไดไปไหนและในวันนึง มันจะกลับมาสรางปญหาใหกบั ตัวเราเองในทีส่ ดุ ทัง้ นีก้ ารใหความรูเ รือ่ งการจัดการ ขยะทีถ่ กู ตองรวมถึงการอธิบายถึงผลกระทบของการทิง้ ขยะแบบมักงาย จึงเปนอีก หนึ่งประเด็นที่สําคัญที่จะตองไดรับการพัฒนาเพื่อสรางทัศนคติที่ดีใหกับประชาชน 4. การสรางและถายทอดความรู : ความรูเรื่องการจัดการขยะที่ถูกตอง จะกระจายไปสูประชาชนไดโดยการใชเทคโนโลยีที่มีอยูในปจจบันใหเปนประโยชน การกดแชรหรือกดไลค ขอมูลการจัดการขยะตางๆ ในเฟซบุก การลงพื้นที่ ให ความรูกับประชาชนที่อาศัยอยูติดแมน้ําลําคลอง การติดปายรณรงคหรือการสราง กิจกรรมที่ ใหความรู ลวนเปนสิ่งที่จําเปนจะตองเกิดขึ้นในสังคมใหมากขึ้นกวาที่ เปนอยูในปจจบัน

ผลที่คิดว าจะได รับจากการหลีกเลี่ยงไม ให เกิดขยะ

Treat Disposal

รูปที่ 1 กระบวนการลดและกําจัดขยะ 38

หากเรานําเอาหลักการ Avoid ไปปรับใชงานที่ตลาดนัดสวนจตุจักร สถานที่ ที่มีการกําเนิดขยะในปริมาณมากทั้งจากนักทองเที่ยวและผูประกอบการรานคา (สัดสวนการเกิดขยะประมาณ 1.1 กิโลกรัม/คน/วัน) โดยการ “ลดจํานวนถังขยะ ในตลาดนัดลง” ผูเขียนคาดวาจะเกิดการเปลี่ยนแปลงดังรูปที่ 2 ขยะจํานวน 100% ทีเ่ คยเกิดขึน้ นัน้ จะคอยๆ ถูกปรับลดจํานวนลงจากพฤติกรรม ทีเ่ ปลีย่ นไปของคนในตลาดนัดสวนจตุจกั ร โดยในชวงแรกอาจจะเกิดความไมสะดวก แตในที่สุดทุกคนจะปรับตัวและสามารถทํากิจกรรมตางๆ ไดเชนเดิม ในเรื่องการ ปรับตัวนั้นผูเขียนอยากขอยกตัวอยางเรื่องการมาทําธุระตางๆ ของประชาชนทั่วไป GreenNetwork September-October 2017


ที่จฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผูคนสวนใหญมักจะเดิน ทางมาโดยขนสงสาธารณะเนื่องจาก ทีจ่ อดรถในมหาวิทยาลัยมีจาํ นวนจํากัด ซึง่ เหตุผลดังกลาวอาจเทียบเคียงไดกบั วิธกี ารลดถังขยะ นั่นเอง ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นกับผูคนในตลาดนัดสวนจตุจักร มีดังนี้ ลูกคาไมรับพลาสติกบรรจภัณฑตางๆ เพราะหาที่ทิ้งยาก กระปองน้ําอัดลมจะถูกดื่มและทิ้งไวที่รานจึงสามารถรวบรวมนําไปสูกระบวนการ รีไซเคิลตอไดงาย รานคาอาจปรับเปลี่ยนไปขายเครื่องดื่มแบบคืนขวดมากขึ้นจึงลดการเกิดขยะ เมื่อขยะลดลง งบประมาณที่ใชในการเก็บขยะก็นอยลง ตลาดนัดสวนจตุจักรจะสะอาดนาเดินจับจายซื้อของ กลายเปนตัวอยางใหอีกหลายๆ พื้นที่ที่เปนแหลงทองเที่ยวไดนําไปปรับใชงาน สรางรายไดจากขยะ (พลังงานจากขยะ) ซึง่ เราสามารถใชรายไดในสวนนีก้ ลับมาพัฒนา พืน้ ทีต่ ลาดนัดสวนจตุจกั ร หรือ พัฒนาสังคมสวนรวมไดอกี ทางหนึง่ อีกทัง้ ยังชวยลดปริมาณขยะ ที่ตองฝงกลบลงไดอีกดวย กระตุนใหประชาชนเห็นความสําคัญของปญหาขยะลนเมือง โดยประชาชนและ ภาครัฐสามารถรวมมือใหเกิดการแกไขปญหาอยางจริงจังได ผูเขียนไดมีโอกาสนําเสนอแนวคิดดังกลาวขางตนในรายการ “นโยบาย By ประชาชน” ทีอ่ อกอากาศทางสถานีโทรทัศนไทยพีบเี อส เมือ่ วันจันทรที่ 12 มิถนุ ายน 2560 http://program. thaipbs.or.th/PbyP/episodes/45858 โดยในรายการทําใหเกิดการพูดคุยแลกเปลีย่ นความคิด ในแงมุมตางๆ ที่มีทั้งเห็นดวยและไมเห็นดวย ซึ่งสามารถนํามาใชปรับปรุงโครงการใหมี ประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น อยางไรก็ตาม ผูเขียนคิดวาแนวคิดนี้เปนการสรางระเบียบวินัยและ ทัศนคติดา นการจัดการขยะอยางมีประสิทธิภาพ ซึง่ สอดคลองกับโรดแมป การจัดการขยะมูลฝอย และของเสียอันตรายของประเทศ ที่ คสช. ผลักดันใหเกิดขึ้นไดแก 1. แกไขปญหาขยะเกา 2. สรางรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยใหม 3. วางระเบียบ มาตรการ 4. สรางวินัยคนในชาติ ในการนีท้ กุ ทานทีเ่ ห็นดวยกับโครงการดังกลาวสามารถรวมลงชือ่ สนับสนุนไดท่ี www.change.org คนหาโครงการ ลดจํานวนถังขยะในกรุงเทพมหานคร สิ่งที่นําเสนอนั้นอาจจะตองมีกระบวนการตางๆ ที่มีรายละเอียดปลีกยอยอีกมาก แตสิ่ง สําคัญทีผ่ เู ขียนคาดหวังคือการสรางกระแสหรือการรณรงคทสี่ รางผลกระทบตอสังคมอยางมาก อยางที่เคยเกิดขึ้นกับโครงการตาวิเศษ เพราะเมื่อทุกคนปรับเปลี่ยนทัศนคติและคิดวาปญหา สิ่งแวดลอมเปนเรื่องของเรา ในที่สุดปญหาสิ่งแวดลอมก็จะไดรับการแกไขอยางจริงจังตอไป ● ●

● ● ●

å å +5 Ê 7 + D )6 5 .+ < 5 ' © åää Avoid ) 7 + 5 &4 D )6 5 .+ < 5 ' Reduce Reuse Recycle Ę6& êJ A"'64%9 6' 5 B& 9I 9

A H .Ę

) 'è%6 &4 9I 4.Ę E !ĝ ) Sewage Treatment System .6%6' 7 &4E )8 A ğ ")5

6 E ę Ę6& êJ A"'64%9 6' 5 B& 9I 9 Disposal ) 'è%6 &4 9I 7E 8ù D /)<%!ĝ ) รูปที่ 2 การเปลี่ยนแปลงจากกระบวนการหลีกเลี่ยงไมใหเกิดขยะ

รูปที่ 3 ถังขยะในประเทศญีป่ นุ ทีม่ า http://cp.japantourlist.com

รูปที่ 4 Waste to Energy Process ที่มา www.pinterest.com 39

GreenNetwork September-October 2017

รูปที่ 5 รายการ “นโยบาย By ประชาชน”


GREEN

Scoop กองบรรณาธิการ

บริษัท เชลล แห งประเทศไทย จํากัด ตอกย้ํา

ความเป นผู นําด านเทคโนโลยีนํ้ามันเชื้อเพลิง เป ดตัว เทคโนโลยี ไดนาเฟล็กซ (DYNAFLEX) นวัตกรรมน้ํามัน เชือ้ เพลิงล าสุด ซึง่ เป นผลจากการวิจยั และพัฒนาร วมกัน ของนักวิทยาศาสตร เชลล และเฟอร รารี่มานานกว า 5 ป เพื่อมอบน้ํามันที่ดีที่สุดให แก ผู บริโภคและธุรกิจไทย

J7%5 A ))Ĝ #ì+A # 9A ) DS/=ZE; 1O_.O Ā`3[5GO K`3

% A<?./ 31R3 W8Ċ_;BK <:L8GR/DLE ==;[1<

ธาดา เชียงกูล กรรมการบริหาร ธุรกิจนาํ้ มันเชือ้ เพลิงอุตสาหกรรม กลาววา เชลลประเทศไทย ดําเนินธุรกิจมากวา 125 ป เรามีความภูมใิ จทีเ่ ปนหนึง่ ในการชวย พัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศ และในฐานะผูน าํ เทคโนโลยีนา้ํ มันเชือ้ เพลิงระดับโลก เชลลไดทุมเทดานการวิจัยและพัฒนาน้ํามันเชื้อเพลิงอยางตอเนื่อง โดยรวมมือกับ พันธมิตรระดับโลก ไมวาจะเปน เฟอรรารี่ บีเอ็มดับเบิลยู และบริษัทผูผลิตรถยนต ชัน้ นํา ดวยการจัดสรรงบในการวิจยั และพัฒนามากกวา 30,000 ลานบาทตอป เพือ่ คิดคนสูตรนา้ํ มันทีด่ ที สี่ ดุ สําหรับเครือ่ งยนตประเภทตางๆ ทัง้ ของรถยนตสว นบุคคล รถยนตเพื่อการพาณิชย เครื่องจักรหนัก รวมถึงการคิดคนเชื้อเพลิงที่สะอาดและ ยั่งยืนสําหรับรถยนตในอนาคต การพัฒนามาจนถึงวันนี้ เชลลไดนาํ เสนอผลิตภัณฑทด่ี ที ส่ี ดุ นัน่ คือ เทคโนโลยี ไดนาเฟล็กซ (DYNAFLEX) ซึง่ เปนเทคโนโลยีใหมลา สุด ทีเ่ รียกวา นาํ้ มันเชลล ฟวเซฟ ดีเซล สูตรใหม มาพรอมสารทําความสะอาด Dual Detergent ที่กาวหนาที่สุด พรอมคุณสมบัติและประโยชนตางๆ สําหรับผูประกอบการ โดยสามารถใชไดกับ เครือ่ งยนตดเี ซลทัง้ เกาและใหม จะชวยบํารุงพรอมทําความสะอาดเครือ่ งยนต และ ยังชวยรักษาความสะอาดของหัวฉีดใหเครื่องยนตทํางานไดเต็มสมรรถนะ ทําให ประหยัดน้ํามัน และสามารถชวยเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องยนตใหกับรถยนต เพือ่ การพาณิชย ไมวา จะเปนในภาคการขนสง โลจิสติกส การกอสราง การทําเหมือง หรือภาคการเกษตร ทั้งยังชวยเพิ่มแรงดึงหัวลากของเครื่องจักรหนัก ชวยให ผูประกอบการลดตนทุนในการดําเนินงานไดอีกดวย โคลิ่น ชิน ผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีของเชลล กลาววา เทคโนโลยี ไดนาเฟล็กซ (DYNAFLEX) เทคโนโลยีใหมทเี่ ปน Duo Intelligent จากเดิมทีท่ าํ งาน อยูเ พียงดานเดียว เปลีย่ นมาสายชะลางเปนคู (Double Action) ในขณะทีน่ าํ้ มันดีเซล ในรุนเกาจะเนนในเรื่องของ Give Clean คือการทําใหหัวฉีดสะอาด แตไมมีการ

40

เอาสิ่งสกปรกออกมา เพื่อใหสะอาดมากขึ้น (Clean Up) ดังนั้นการทํางานของ เครื่องยนตดีเซลในรุนตอมา จึงตองการการสเปรยของน้ํามันที่ดี เพื่อทําใหเกิด การเผาไหมไดหมดจด สะอาด และประหยัดนาํ้ มัน หรือในกรณีทม่ี กี ารใชงานไปแลว เกิดตะกรันเกาะติดตามหัวฉีดก็จะทําใหการสเปรยของน้ํามันไมมีประสิทธิภาพ อยางที่ออกแบบไว ทําใหกําลังเครื่องยนตตก และยังตองใชน้ํามันเพิ่มมากขึ้น และ ดวย เทคโนโลยี ไดนาเฟล็กซ (DYNAFLEX) นา้ํ มันตัวใหมทสี่ ามารถทําความสะอาด สิ่งที่สกปรกที่เกาะติดหัวฉีด เมื่อหัวฉีดสะอาดขึ้น ก็จะสามารถฟนฟูพลังงานที่ สูญเสียจากการใชงานไปในชวงหนึ่งใหกลับมาใชงานไดดีขึ้น “OEM หรือผูผลิตรถยนต ที่ผลิตเครื่องยนตรุนใหมออกมา พัฒนาการก็ ทํางานดวยแรงดันน้ํามันที่สูงขึ้น ตองการการฉีดน้ํามันที่ดีขึ้น ตัวหัวฉีดโดยเฉพาะ รูของหัวฉีดก็มีขนาดที่เล็กลง จึงกอใหเกิดการทํางานหนักหนวงขึ้น ปญหาที่พบคือ เกิดสิ่งสกปรกอุดตัน เกาะเปนคราบตะกรันเพิ่มมากขึ้น นี่จึงเปนปญหาหนึ่งที่ทําให กําลังของเครือ่ งยนตหรือการใชงานของเครือ่ งยนตตก ฉะนัน้ เทคโนโลยี ไดนาเฟล็กซ (DYNAFLEX) จะเขาไปชวยทัง้ ทําความสะอาดและใหมนั สะอาดไปเรือ่ ยๆ จึงนับเปน การตอบโจทยปญหาดังกลาว” เทคโนโลยี ไดนาเฟล็กซ (DYNAFLEX) มีคุณสมบัติชวยทําความสะอาด คราบสะสมทีห่ วั ฉีด และปองกันการกอตัวใหม จึงชวยประหยัดนา้ํ มัน ขณะเดียวกัน ยังชวยเพิ่มแรงบิดและกําลังของเครื่องยนตใหมากขึ้น นอกจากนี้ยังลดการปลอย กาซคารบอนไดออกไซดและควันดํา ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ทั้งยังเพิ่มความ เสถียรในการทําปฏิกริ ยิ าออกซิเดชัน่ และชวยใหนา้ํ มันเชือ้ เพลิงคงความเสถียรเมือ่ ผสมกับไบโอดีเซล ลดโอกาสการเสือ่ มสภาพของนา้ํ มัน และลดการกอตัวของตะกอน ทําใหเครื่องยนตและเครื่องจักรใชไดนาน ชวยยับยั้งการกัดกรอนในอุปกรณสําคัญ ของระบบเชื้อเพลิงและถังน้ํามัน จึงชวยลดคาใชจายในการซอมบํารุง และลดการ เกิดฟองอากาศขณะเติมนาํ้ มัน จึงลดความเสีย่ งทีน่ าํ้ มันจะหกลนจากถัง ขณะเดียวกัน ยังชวยประหยัดเวลาในการเติมน้ํามัน ซึ่งเปนการเพิ่มชั่วโมงการทํางานใหกับธุรกิจ อีกทางหนึ่ง ดวยคุณสมบัติตางๆ เหลานี้ น้ํามันเชลล ฟวเซฟ ดีเซล สูตรใหม ชวยให ผูป ระกอบการสามารถขับเคลือ่ นธุรกิจไดอยางเต็มศักยภาพ ดวยการชวยลดตนทุน ดานการดําเนินงาน และเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของยานพาหนะและอุปกรณ เครื่องจักรใหดีขึ้น

GreenNetwork September-October 2017


GREEN

Scoop กองบรรณาธิการ

เมอร สัน คอมเมอร เชียล แอนด เรซิเดนเชียล โซลูชั่น หนึ่งในกลุ มธุรกิจอิเมอร สัน (NYSE : EMR) จัดงานฉลองครบรอบ 20 ป ณ โรงงานอิเมอร สันจังหวัดระยอง

ธอมัส ซอฟกี้

)1 ä Đ

18=ę A< %1'Ĝ . 5 '4&1

A 8 .C ') 1%A"'.A 1'Ĝ '5J B' .=Ę1< .6/ ''%A 'ëI1 '5 16 6,

B)4'4 7 +6%A&H

ธอมัส ซอฟกี้ รองประธานฝายปฏิบตั กิ ารภาคพืน้ เอเชีย อิเมอรสนั คอมเมอรเชียล แอนด เรซิเดนเชียล โซลูชั่น กลาววา เมอรสัน คอมเมอรเชียล แอนด เรซิเดนเชียล โซลูชั่น ผูบุกเบิกในการนําเทคโนโลยีสโครลมาใชในคอมเพรสเซอรเปนครั้งแรก ซึ่ ง นั บ เป น การพลิ กโฉมอุ ต สาหกรรมคอมเพรสเซอร ผลิ ต และจํ า หน า ยสโครล คอมเพรสเซอรไปทั่วโลก โดยในประเทศไทยนั้นมีความสัมพันธทางธุรกิจกันมาอยาง ยาวนานกวา 20 ป บริษัทฯ ไดนําเสนอนวัตกรรมและโซลูชั่นที่เชื่อถือไดในการสราง มูลคาแกลูกคาและหุนสวนของเรา เทคโนโลยีของอิเมอรสันชวยสรางสิ่งแวดลอม ที่สามารถควบคุมไดและมอบความสะดวกสบายในสถานที่ทํางานตางๆ ดวยพลังงาน อยางมีประสิทธิภาพ ระบบความรอน การระบายอากาศ เครือ่ งปรับอากาศและระบบ ทําความเย็นที่มีคุณภาพสูง (HVACR) เพื่อการพาณิชยและที่อยูอาศัย จดมุงหมายคือ การแกไขและทาทายความยากในอุตสาหกรรมดวยระบบคอมเพรสเซอร คอนเดนเซอร การแลกเปลี่ยนความรอนและอุปกรณที่เกี่ยวของเชนเดียวกับการเพิ่มปริมาณกาซ ทัง้ หมดดวยเทคโนโลยีคอมเพรสเซอรทชี่ ว ยยืดอายุการใชงาน มีความนาเชือ่ ถือสูงขึน้ และประสิทธิภาพของชิ้นสวนตางๆ ที่ดีขึ้น “ดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรมของอิเมอรสนั ทางบริษัทฯไดยดึ มัน่ และใหความ สําคัญดานคุณภาพชีวิต ความปลอดภัยของผูคนในที่ทํางานและที่อยูอาศัย เราสราง สภาพแวดลอมการทํางานทีป่ ลอดภัยสําหรับพนักงานตามกฎความปลอดภัยระดับโลก มาตรฐานสุขภาพ รวมถึงการติดตามและการตรวจสอบตางๆ”

41

องอาจ วีรชาติยานุกุล ผูจัดการโรงงาน บริษัท อิเมอรสัน คอมเมอรเชียล แอนด เรซิเดนเชียล โซลูชนั่ กลาววา โรงงานอิเมอรสนั ประเทศไทย ตัง้ อยูบ นเนือ้ ที่ กวา 60 ไร ในนิคมอุตสาหกรรมอีสเทิรนซีบอรด จังหวัดระยอง ซึ่งผลิตภัณฑคือ ผลิตสโครลคอมเพรสเซอร (Scroll Compressor) ที่ใชสําหรับอุตสาหกรรมระบบ เครือ่ งปรับอากาศ ระบบความเย็น ระบบระบายความรอน และระบบระบายอากาศ สําหรับที่พักอาศัยอุตสาหกรรมและการพาณิชย โดยไดผสมผสานเทคโนโลยีชั้นนํา เขากับความสามารถดานวิศวกรรม การออกแบบ การจัดจําหนาย การติดตั้งและ การตรวจสอบ เพื่อนําเสนอระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นตอบสนองความ ตองการของลูกคาทั่วโลก สําหรับโซลูชั่นของอิเมอรสัน คอมเมอรเชียล แอนด เรสซิเดนเชียล ประกอบดวยแบรนดชั้นนํา อาทิ โคปแลนดสโครล (Copeland Scroll) ที่ไดรบั การออกแบบมาเพือ่ ชวยเพิม่ ความสบายใหกบั ผูใ ช ชวยถนอมอาหาร และเป น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล อ ม เพื่ อ ส ง มอบผลิ ต ภั ณ ฑ ยั ง ลู ก ค าในเอเชี ย ยุ โ รป อเมริกาใต ตะวันออกกลาง แอฟริกา ออสเตรีย และนิวซีแลนด “อิเมอรสันมุงมั่นที่จะสงมอบผลิตภัณฑและโซลูชั่นคุณภาพสูงเชนเดียว กับการพัฒนาสังคมและความปลอดภัยในที่ทํางาน ภายใตจดแข็งของสโครล คอมเพรสเซอร นั่นคือ มีประสิทธิภาพ ความทนทาน และการประหยัดพลังงาน สามารถใชงานไดนานถึง 20 ป” วินนี่ อึง ผูอ าํ นวยการฝายสือ่ สารการตลาดและธุรกิจอิเล็กทรอนิกส ภูมภิ าค เอเชีย อิเมอรสัน คอมเมอรเชียล แอนด เรสซิเดนเชียล โซลูชั่น กลาววา ตลอด ระยะเวลาทีผ่ า นมา อิมเมอรสนั ระยองไดสง ตอผลิตภัณฑไปทัว่ โลกกวา 18 ลานเครือ่ ง โดยภาพรวมในภูมิภาคเอเชียนั้น ตลาดเครื่องปรับอากาศและเครื่องทําความเย็น ณ ปจจบัน มีอตั ราการเติบโตขึน้ อยางตอเนือ่ ง เราสามารถการันตีไดวา เปนอันดับ 1 จากการวัดดัชนีการเติบโตของตลาดเอเชีย ซึ่งตลาดหลักคือคอมเพรสเซอรแอร ระบบเครื่องทําความเย็น ที่จะมีการเติบโตขึ้นอยางตอเนื่อง และในปนี้อิเมอรสัน มีการคาดการณไววา ตลาดคอมเพรสเซอรจะมีอัตราการเติบโตขึ้นเปน 2 เทา “ผลิตภัณฑของอิเมอรสนั มีจดแข็งดวยกัน 3 ดาน คือ 1. ความนาเชือ่ ถือในตลาด คอนขางสูง เนื่องจาก โคปแลนดสโครล (Copeland Scroll) เปนแบรนดหลักของ ตัวระบบทําความเย็น 2. การประหยัดพลังงาน มีความคุม คาในการใชพลังงาน โดย ทุกครัง้ ทีม่ กี ารจัดทําผลิตภัณฑ จะมีการวิจยั และศึกษาตลอดทัง้ วงจรของผลิตภัณฑ กอนเสมอ และ 3. ดานนวัตกรรม อิเมอรสนั จะเปนผูน าํ ดานนวัตกรรมมาโดยตลอด ดวยการคิดคนนวัตกรรมที่ล้ําหนาอยูเสมอ”

GreenNetwork September-October 2017


“THIP จับมือ คลินิกนมแม โรงพยาบาลนครปฐม จัดโครงการ มหัศจรรย แห งรัก The Greatest Gift of Love”

GREEN

เมื่อเร็วๆ นี้ รุจิรางค วรรณธนาทัศน รองผูอํานวยการฝายการพยาบาลโรงพยาบาล นครปฐม เปนประธานเปดงานโครงการ มหัศจรรยแหงรัก “The Greatest Gift of Love” ซึ่งจัดโดยบริษัท ทานตะวันอุตสาหกรรม จํากัด (มหาชน) รวมกับคลินิกนมแม โรงพยาบาล นครปฐม ภายในงานมีการแสดงของชมรมผูสูงอายุอําเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม และการ เสวนาหัวขอ มหัศจรรยแหงรัก “The Greatest Gift of Love” โดยไดรับเกียรติจาก ทักดนัย เบาเงิน ผูอ าํ นวยการกลุม งานทรัพยากรบุคคล เปนตัวแทนบริษัทฯ และ ธรรศพงศ ฐิตหิ ริ ญั เมธี ผูอํานวยการกลุมงานออกแบบผลิตภัณฑและรักษาการผูอํานวยการกลุมงานนวัตกรรม เปน ตัวแทนบริษัทฯ และใหเกียรติรว มเปนวิทยากรในการเสวนาครัง้ นี้ในหัวขอแนวคิดทีจ่ ดประกาย การคิดคนพัฒนาการทําถุงเก็บน้ํานมแม SUNMUM และเปนรายแรกของประเทศไทยที่ ตระหนักในนําวัสดุมาใชผลิตมีความปลอดภัยมากนอยแคไหน และรางวัลที่ไดรบั ของผลิตภัณฑ SUNMUM บรรยากาศภายในงานเปนแบบอบอุนและเปนกันเอง

Activity กองบรรณาธิการ

เดลต าฯ แสดงนวัตกรรมสถานีอัดประจุยานยนต ไฟฟ า และระบบกักเก็บพลังงาน ในงาน Thailand Industry Expo 2017

สมบูรณ หอตระกูล ผูอํานวยการสถาบันไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ชมนวัตกรรมจาก บมจ.เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) โดย กิตติศกั ดิ์ เงินงอกงาม ผูอ าํ นวยการฝายพัฒนาธุรกิจ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต จัดแสดงนวัตกรรมสถานีอัดประจยานยนตไฟฟา (EV Charging Station) Delta DC Wallbox ขนาดกําลัง 25 กิโลวัตต และระบบกักเก็บพลังงาน (ESS) ในงาน Thailand Industry Expo 2017 ณ อิมแพ็คเมืองทองธานี งานมหกรรมนี้จัดโดยกรมสงเสริม อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม วัตถุประสงคเพื่อกอใหเกิดความรวมมือและบูรณาการดาน ธุรกิจระหวางองคกรตางๆ ทุกภาคสวน พรอมแสดงศักยภาพความกาวหนาดานผลิตภัณฑและบริการ จากกลุมอุตสาหกรรมหลักทั่วไทย

BAFS รับโล เกียรติยศจากกระทรวงทรัพยากรฯ และประกาศนียบัตรคาร บอนฟุตพรินต

ดร.วิจารย สิมาฉายา ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอม มอบโลเกียรติยศแก บริษทั บริการเชือ้ เพลิงการบินกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ในการพัฒนาโครงการลดกาซเรือนกระจกภาคสมัครใจ ตามมาตรฐานของประเทศไทย (T-VER) ในการดําเนินโครงการติดตั้ง ระบบผลิตพลังงานไฟฟาจากโซลารเซลลและโครงการเปลี่ยนหลอดไฟ สองสวางเปนแบบ Light Emitting Diode ระยะสอง นอกจากนี้ บริษัท ยังไดรับประกาศนียบัตรจากการจัดทําคารบอนฟุตพรินตองคกรประจํา ป 2559 พิธีดังกลาวจัดขึ้น ณ หองวิภาวดีบอลรูม โรงแรมเซ็นทารา แกรนด แอท เซ็นทรัลพลาซาลาดพราว กรุงเทพฯ ที่ผานมา

พีแอนด จี ฉลอง 30 ป ในประเทศไทย ภายใต แนวคิด “We Grow Together” ราฟฟ ฟารฮาโด กรรมการผูจัดการ พรอมดวย กรรณิการ จรัสอุไรสิน ผูอํานวยการ ฝายองคกรสัมพันธ บริษัท พรอคเตอร แอนด แกมเบิล เทรดดิ้ง (ประเทศไทย) จํากัด รวม แถลงขาวครบรอบการดําเนิน 30 ป พีแอนดจีประเทศไทย ภายใตแนวคิด “We Grow Together” มุงมั่นพัฒนาสุขอนามัย และความเปนอยูที่ดีแกประชาชนไทย พรอมดวยการ พัฒนาเศรษฐกิจและสิง่ แวดลอมอยางตอเนือ่ ง มุง หวังพัฒนาใหเปนองคกรทีเ่ ปนเลิศ เพือ่ ยก ระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยจากรุนสูรุน ระบุนวัตกรรม ความเปนผูนํา และความเปน พลเมืองที่ดีตอสังคม เปนกุญแจขับเคลื่อนธุรกิจ ณ สํานักงานใหญ พีแอนดจีประเทศไทย ชั้น 20 อาคารเอ็มโพเรียม ทาวเวอร เมื่อเร็วๆ นี้

42

GreenNetwork September-October 2017


บี.กริม เพาเวอร ลงนามบันทึกข อตกลงความร วมมือ กับ SN Group

มร.ฮาราลด ลิงค (ที่ 2 จากซาย) ประธาน บี.กริม พรอมดวย ปรียนาถ สุนทรวาทะ (ซายสุด) ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั บี.กริม เพาเวอร จํากัด (มหาชน) รวมลงนามบันทึก ขอตกลงความรวมมือกับ SN Group โดย เกตุวลี นภาศัพท (ที่ 3 จากซาย) ประธานกรรมการ และประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั ส.นภา (ประเทศไทย) จํากัด และ วิรพจน ศุภธนสินเขษม (ขวาสุด) ทีป่ รึกษาประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั ส.นภา (ประเทศไทย) จํากัด ผูน าํ การใหบริการ ระบบบริหารจัดการนา้ํ และสิง่ แวดลอมแบบครบวงจร เพือ่ สรางกรอบความรวมมือในการพัฒนา โอกาสทางธุรกิจผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยบนหลังคา (โซลารรูฟท็อป) สําหรับผูประกอบ กิจการอุตสาหกรรมภายในประเทศ ณ หองประชุมชั้น 20 อาคารทูแปซิฟค เพลส เมื่อเร็วๆ นี้

ถิรไทย ได รับการรับรอง หม อแปลงฉลากเขียว รายแรกในประเทศไทย

สัมพันธ วงษปาน กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ถิรไทย จํากัด (มหาชน) ผูน าํ นวัตกรรม หมอแปลงไฟฟาของไทย รับการรับรองหมอแปลง “ฉลากเขียว” จาก ศ. ดร.เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ รักษาการผูอํานวยการสถาบันสิ่งแวดลอมไทย ซึ่งเปนบริษัทผูผลิตหมอแปลง รายแรก และรายเดียวที่ไดรบั รองฉลากเขียว ซึง่ เปนหมอแปลงทีม่ คี ณ ุ ภาพและมีผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอมนอยกวาเมื่อเปรียบเทียบกับหมอแปลงที่ทําหนาที่อยางเดียวกัน ณ โรงงาน แหงใหม บริษัท ถิรไทย จํากัด (มหาชน) นิคมอุตสาหกรรมบางปู เมื่อเร็วๆ นี้

กฟภ. ประกาศความพร อมการจัดงาน Thailand Lighting Fair 2017

การไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) รวมกับ เมสเซ แฟรงคเฟรต และ ดิ เอ็กซซบิ สิ ประกาศความพรอมจัดงาน Thailand Lighting Fair 2017 เวทีแสดงสินคาและ เทคโนโลยีนานาชาติดานไฟฟาแสงสวาง เตรียมอวดโฉมเทคโนโลยีอัจฉริยะ แพลตฟอรมใหมเพือ่ การบริหารและจัดการพลังงานไฟฟาอัจฉริยะใหมปี ระสิทธิภาพ สูงสุด ดานเมสเซ แฟรงคเฟรต เผยความสําเร็จการจัดงานตอเนื่อง 3 ป และ ผลสํารวจมูลคาตลาดไฟฟาแสงสวางอัจฉริยะคาดจะมีมลู คา 19.47 พันลานเหรียญ สหรัฐ ภายในป 2565 จากปจจัยผลักดันการเติบโตสําคัญ คือความตองการของ ผูบริโภคในระบบไฟฟาที่ชวยประหยัดพลังงานเพิ่มมากขึ้น โดยกําหนดจัดงานขึ้น ในวันที่ 16-18 พฤศจิกายน 2560 ณ ฮอลล 102-104 ไบเทคบางนา

ปตท.สผ. ชวนเยาวชนนักอนุรักษ PTTEP Teenergy ป ที่ 4 ภาคใต เติมเต็มประสบการณ เรียนรู การทรัพยากรทางทะเล ประพนธ จารุไสลพงษ (กลาง) ผูจ ดั การอาวุโส ฐานสนับสนุนการพัฒนาปโตรเลียมสงขลา บริษทั ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) หรือ ปตท.สผ. เปนประธานจัดคาย PTTEP Teenergy ปที่ 4 (ภาคใต) นําเยาวชน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 70 คน จาก 14 จังหวัดภาคใต รวมกิจกรรม เติมเต็มประสบการณอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทางทะเล โดยนอมนําศาสตรของ พระราชามาบูรณาการในการเรียนรูของเยาวชน ภายใตแนวคิด “กาวเพื่อรักษ” โดยเยาวชนไดเรียนรู การอนุรักษทรัพยากรทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ พรอมรวมกิจกรรมฟนฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝง โดยการปลอยลูกปูมาคืนสูธรรมชาติ ณ สวนประวัติศาสตรพลเอกเปรม ติณสูลานนท จ.สงขลา กิจกรรมคายครั้งนี้ ไดรับเกียรติจาก อมรเศรษฐ สุวรรณมาศ ผูอํานวยการสวนประวัติศาสตร พลเอกเปรม ติณสูลานนท ธิติ ปรียาณุรกั ษ ผูจ ดั การแผนกฐานสนับสนุนสงขลา ปตท.สผ. ชํานาญ มานิล ปราชญชุมชน และ ดร.มลฤดี สระฏัน ผูแ ทนศูนยสถานศึกษาพอเพียง มูลนิธยิ วุ สถิรคุณ เปนวิทยากร ถายทอดประสบการณดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 43

GreenNetwork September-October 2017


GREEN

Scoop กองบรรณาธิการ

'%C'

6 A&9I&% %C' )5I 6 6 A ę6 1 '6 +5) 1< .6/ ''%.9A é&+ '4 5 กรมโรงงานอุตสาหกรรมเขาเยีย่ มชมโรงกลัน่ นา้ํ มันบางจาก ซึง่ เปนโรงกลัน่ น้ํามันรายแรกในประเทศไทยที่ ไดรับรางวัลมาตรฐานอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) ระดับ 5 ที่เปนระดับสูงสุด ในฐานะเปนองคกรธุรกิจที่มีความรับผิดชอบ ตอสังคม และดูแลสิ่งแวดลอมตลอดหวงโซอุปทานเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน มงคล พฤกษ วั ฒ นา อธิ บ ดี ก รมโรงงาน อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม กลาววา ในป 2560 กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีเปาหมาย ใหสถานประกอบการเขาสูอ ตุ สาหกรรมสีเขียวอยาง ตอเนื่องตามยุทธศาสตร Green Industry ของ ประเทศไทย โดยสร า งความตระหนั ก ให ผูประกอบการและประชาชนมีความเขาใจเกี่ยวกับ อุตสาหกรรมสีเขียว ดวยการลดปริมาณการใชน้ํา พัฒนากระบวนการผลิตและการใหบริการเพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถในการแขงขัน และโดยเฉพาะในชวงฤดูฝน ผูป ระกอบการโรงงาน อุตสาหกรรมควรมีมาตรการควบคุมและปองกันการปนเปอนในดินและน้ํา เพื่อไม ใหสารเคมีอันตรายลงสูดินและน้ําใตดิน อันนําซึ่งผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและ คุณภาพชีวิตของประชาชนรอบโรงงาน ปจจบันมีโรงงานที่ไดมาตรฐานอุตสาหกรรมสีเขียวระดับ 1-5 จํานวน 30,836 โรงงาน และตั้งเปาหมายจํานวนโรงงานเขาสูมาตรฐานดังกลาวเพิ่มมากขึ้น โดย ตัง้ แตตน ปนจ้ี นถึงปจจบันมีโรงงานทีเ่ ขารวมแลว 1,736 โรงงาน สูงกวาเปาหมาย ที่ ตัง้ ไว 1,000 โรงงาน และในป 2561 ตัง้ เปาหมายจะมีโรงงานเขาสูม าตรฐานนี้ 1,500 โรงงาน ซึ่งปจจบันมีโรงงานที่ ไดมาตรฐานอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับ 5 อยู 34 โรงงาน และหนึ่งในนั้นก็คือโรงกลั่นน้ํามันบางจาก พงษชัย ชัยจิรวิวัฒน ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการโรงกลั่นและ รองกรรมการผูจัดการใหญ กลุมธุรกิจโรงกลั่นและการคาน้ํามัน บริษัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) กลาววา ภายใตยุทธศาสตร อุ ต สาหกรรมสี เ ขี ย วของกรมโรงงานอุ ต สาหกรรมที่ ส ง เสริ ม ให ภ าค อุตสาหกรรมมีการประกอบการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและสังคม ซึ่ง สอดคลองกับนโยบายของบริษั ทฯ คือการพัฒนานวัตกรรมธุรกิจอยาง ยั่งยืนไปกับสิ่งแวดลอมและสังคม ควบคูกับการใหความสําคัญในการ พัฒนาปรับปรุงอยางตอเนื่องในทุกดาน เพื่อดูแลและปองกันผลกระทบ ดานสิ่งแวดลอมตอสังคมและชุมชนในทุกๆ มิติ ทั้ง อากาศ ดิน น้ํา และ ของเสีย โดยบางจากฯ ไดกําหนดมาตรการดานสิ่งแวดลอมในโรงกลั่น พรอมนําเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมมาบริหารจัดการใหมคี วามปลอดภัยสูงสุด

44

เพื่อใหสอดรับกับยุทธศาสตร Green Industry ของ ประเทศไทยที่มุงสูการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) เพือ่ สรางความสมดุลระหวางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ในดานเทคโนโลยีและมาตรการดานการควบคุม ปองกันตางๆ ถังทุกใบในโรงกลั่นน้ํามันบางจากจะถูก ควบคุมระดับนา้ํ มันภายในโดยอัตโนมัตใิ หอยูในเกณฑ มาตรฐาน พรอมทั้งมีระบบการปองกันการลนถัง และ หากเกิดความผิดปกติระบบจะมีการแจงเตือนและสง สัญญาณไปยังหองควบคุม เพือ่ แจงสถานะปริมาณของเหลวในถังกอนทีน่ าํ้ มันจะลนถัง ทําใหสามารถยับยั้งและปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นได สวนมาตรการดาน สิ่งแวดลอมนั้น ดานการบริหารจัดการควบคุมและปองกันการปนเปอนในดินและ น้ําใตดินโดยเฉพาะในชวงฤดูฝนครอบคลุมตั้งแตมาตรฐานการกอสรางถังเก็บ น้ํามันดิบและถังเก็บผลิตภัณฑ ที่มีการตรวจสอบคุณ ภาพถังน้ํามันและอุปกรณ อยางสม่ําเสมอตามมาตรฐานสากลทั้งในประเทศและตางประเทศ นอกจากนี้ บริษั ทฯ ยังมีการสรางกําแพงคอนกรีตลอมถังโดยรอบ เพื่อใช สําหรับรองรับในกรณีทเี่ กิดการไหลลน พรอมปรับพืน้ ทีภ่ ายในกําแพงถังนาํ้ มันใหเปน คอนกรีตเพื่อปองกันการปนเปอนลงดินและนํ้าใตดิน สวนมาตรการดานการติดตาม ตรวจสอบและเฝาระวังการปนเปอนที่บอเก็บตัวอยางน้ําใตดิน และจดเฝาระวัง การปนเปอ นในโรงกลัน่ นา้ํ มันทีส่ อดคลองกับขอกําหนดของกรมโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อควบคุมการปนเปอนในดินและน้ําใตดินภายในบริเวณโรงงาน ทําใหไดบอที่มี คุณภาพ และไมกอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม บางจากฯ เปนโรงกลั่นรายแรกในประเทศไทยที่ ไดรับรางวัลมาตรฐาน อุตสาหกรรมสีเขียวสูงสุดในระดับที่ 5 เครือขายสีเขียว (Green Network) จากการ ขยายเครือขาย สนับสนุนใหคูคาและพันธมิตรเขาสูกระบวนการรับรองอุตสาหกรรม สีเขียวครอบคลุมทั้งหวงโซอุปทาน (Green Supply Chain) โดยใหความสําคัญตอ การดูแลสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยในทุกขั้นตอนของกระบวนการผลิต รวมถึง การจําหนายผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ตลอดจนมีการพัฒนากระบวนการ ผลิตและการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง

GreenNetwork September-October 2017


GREEN

CSR กองบรรณาธิการ

úý 5 GOD1 AGW/G=

“Steps of Growth” [; E<R.<K`"8K,3L W8č_G L=W/N4Y/1O_<K_"<Q3

บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้ําภาคตะวันออก จํากัด (มหาชน) หรืออีสท วอเตอร ยังคงมุงมั่นตั้งใจที่จะดําเนินภารกิจเพื่อ สืบสานพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ที่มุงหวัง ใหประเทศไทยมีความมัน่ คงและรักษาเสถียรภาพดานแหลงนา้ํ มาอยาง ตอเนื่อง พรอมไปกับการมีสวนรวมรับผิดชอบตอชุมชนและสังคม จิรายุทธ รุงศรีทอง กรรมการผูอํานวยการใหญ อีสท วอเตอร กลาววา อีสท วอเตอร ไดคน พบวาการดําเนินธุรกิจจําเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะ ตองดูแลใหครอบคลุมทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ตั้งแต ตนทางของน้ําไปจนถึงปลายน้ํา โดยชุมชนที่อยูตลอดแนวโครงขาย ทอสงน้ําดิบความยาวกวา 491.8 กม. จะตองมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมี นาํ้ กินนาํ้ ใชอยางเพียงพอและไดมาตรฐาน ดังนัน้ ในโอกาสทีอ่ สี ท วอเตอร จะครบ 25 ป จึงเตรียมเดินหนาสรางชุมชนตนแบบตลอดเสนทางการ ลําเลียงนาํ้ ดวย 3 โครงการตนแบบ ตัง้ แตตน นาํ้ กลางนาํ้ และปลายนาํ้

45

ภายใตโครงการ 25th East Water…Steps of Growth จากพระราชดํารัสของสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถในพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชทีว่ า “พระเจาอยูห วั เปนนา้ํ ฉันจะเปนปา ปาทีถ่ วายความจงรักภักดี ตอน้ํา พระเจาอยูหัวสรางอางเก็บน้ํา ฉันจะสรางปา” สะทอนถึงความสําคัญของ น้ํา กับ ปา ที่ตอง พึ่งพาและผูกพันกัน อีสท วอเตอร จึงไดนอมนําพระราชดํารัสของพระองคทานสูการปฏิบัติใน โครงการชุมชนตนแบบ “สรางปาชุมชน สรางชีวิตอยางยั่งยืน” ดวยความรวมมือของภาคีเครือขาย ปาชุมชนรอยตอ 5 จังหวัดภาคตะวันออก เพื่อดูแลรักษาและฟนฟูปาอันเปนตนนํ้าสําคัญของภาค ตะวันออก พรอมสรางคุณคารวมตอวิถีชีวิต สังคม วัฒนธรรม ประเพณี ของชุมชนกับปาอยางเปน รูปธรรม โดยมีพนื้ ทีน่ าํ รอง ไดแก พืน้ ทีป่ า ชุมชนบานสามพราน อ.คลองตะเกรา จ.ฉะเชิงเทรา จํานวน 32 ไร และพื้นที่ปาชุมชนบานหนองมวง อ.วังจันทร จ.ระยอง จํานวน 70 ไร ทั้งสองพื้นที่ถือเปนปา ตน น้ําของอางเก็บน้ําคลองสียัดและอางเก็บน้ําประแสร ซึ่งเปนแหลงน้ําที่ ใหญที่สุดในจังหวัด ฉะเชิงเทรา และระยองตามลําดับ และอีกหนึ่งโครงการชุมชนตนแบบ “ประปาชุมชน สรางคน สรางสุข” เปนโครงการเพื่อแก ปญหาการเขาถึงน้ําสะอาดของชุมชนตามแนวประชารัฐ ซึ่งเปนหนึ่งในโครงการขับเคลื่อนประเทศ ใหเขมแข็งและมั่นคงของรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ จันทรโอชา โดยจับมือกับ การประปานครหลวง (กปน.) ฝกอบรมทักษะหลักสูตร “การควบคุมการผลิตและบํารุงรักษาระบบประปาชุมชน” ใหกับ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกจํานวน 9 แหง ผานโครงการศูนยซอมสรางเพื่อชุมชน (Fixed It Center) เพือ่ เปนศูนยกลางดูแลและบํารุงรักษาระบบประปาตามชุมชนตางๆ ใหเกิดประสิทธิภาพ และยั่งยืนในอนาคต เมือ่ “นา้ํ ” เดินทางมาจนถึงปลายทางปญหาสําคัญก็คอื คุณภาพนา้ํ เริม่ เสือ่ มโทรม โครงการ “รักษน้ํา รักษสิ่งแวดลอม” เปนอีกหนึ่งโครงการตนแบบที่จะชวยเปลี่ยนน้ําเสียเปนน้ําใส ดวยการ สรางจิตสํานึกในการดูแลรักษาสภาพแหลงน้ํา สรางเครือขายเฝาระวังและตรวจวัดคุณภาพน้ํา ในชุมชน สรางระบบดักไขมันหรือน้ําเสียในครัวเรือนกอนปลอยลงสูแหลงน้ําสาธารณะ สรางระบบ หมุนเวียนน้ําดวยอากาศตามหลักการของโครงการพระราชดําริ กังหันชัยพัฒนา เปนตน กาวตอไปในอนาคต อีสท วอเตอร มองเห็นทั้งความทาทายและโอกาสที่รอคอยอยู การกาว เขาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของประเทศไทย (AEC) และนโยบายสนับสนุนอุตสาหกรรมแหง อนาคต “โครงการระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก” (EEC) ของรัฐบาล ทําใหอสี ท วอเตอร ตองพัฒนา และปรับกลยุทธใหม โดยตัง้ เปาเปน “ผูน าํ ในการบริหารจัดการนาํ้ ครบวงจรของประเทศ” เพือ่ สราง ความเขมแข็งและมั่นคงของระบบสาธารณูปโภคดานนํ้าใหกับประเทศในอนาคต ในขณะเดียวกัน ยังคงสานตอพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จ พระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในการอนุรักษปาไมและทรัพยากรน้ําควบคูกันไป

GreenNetwork Green Network September-October 2017


GREEN

BIZ การไฟฟ าส วนภูมิภาค และ เอบีบี ลงนามความร วมมือทางวิชาการพัฒนาบุคลากร และระบบงาน รองรับเทคโนโลยีอนาคต เมื่อเร็วๆ นี้ เสริมสกุล คลายแกว ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค พรอมดวย ชัยยศ ปยะวรรณรัตน กรรมการผูจ ดั การ บริษทั เอบีบี จํากัด ผูน าํ ดานเทคโนโลยีไฟฟากําลังและเทคโนโลยีอตั โนมัติ รวมลงนามบันทึก ความเขาใจความรวมมือทางวิชาการ เพือ่ แลกเปลีย่ นความรูด า นเทคนิค และประสบการณ ที่เปนประโยชนในการพัฒนาองคกร บุคลากรและ ระบบงาน รองรับเทคโนโลยีดานระบบไฟฟาและพลังงานในอนาคต อาทิ Smart Grid, Microgrid, Energy Storage, Power Quality, EV Charging Infrastructure, Digital Substation, Asset Management ฯลฯ ตลอดจนเสริมสรางความสัมพันธและความรวมมือทางดานวิชาการ ของทั้งสององคกร เพื่อนําความรูและเทคโนโลยีที่ไดมาใชในการพัฒนา การทํางานใหเกิดประสิทธิภาพและประโยชนสูงสุด อันจะนํามาซึ่งการ พัฒนาประเทศตอไป จัดขึ้น ณ อาคาร LED การไฟฟาสวนภูมิภาค

2

1

3

5

4

6

1. เสริมสกุล คลายแกว ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค 2. ชัยยศ ปยะวรรณรัตน กรรมการผูจัดการ บริษัท เอบีบี จํากัด 3.-5. พิธีลงนามบันทึกความเขาใจความรวมมือทางวิชาการ 6. ถายภาพรวมกัน 7.-8. ภายในงาน

7

8

ก.พลังงาน มอบรางวัลสุดยอดผลงาน Thailand Energy Awards 2017 2

1

3

5

6

4

7

เมื่อเร็วๆ นี้ กระทรวงพลังงานจัดพิธีมอบรางวัลใหแกผูชนะการ ประกวด Thailand Energy Awards 2017 สุดยอดรางวัลดานพลังงาน ไทยระดับสากล ซึง่ จัดขึน้ อยางตอเนือ่ งเปนปที่ 18 เพือ่ ใหทกุ ภาคสวนรวม สนับสนุนการอนุรกั ษพลังงานและการพัฒนาพลังงานทดแทน และเผยแพร ผลงานความสําเร็จของตนเอง ใหแกผูอื่นไดนําไปใชเปนแบบอยางในการ นําไปปฏิบัติ เพื่อสอดรับกับการขับเคลื่อนนโยบายพลังงาน 4.0 สูความ สําเร็จ โดยมี พลอากาศเอกประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี ไดให เกียรติเปนประธานมอบรางวัลแกผูชนะการประกวด Thailand Energy Awards 2017 จํานวน 66 ราย พรอมดวย ประพนธ วงษทาเรือ อธิบดี กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน, ยศพงศ คุปตะบุตร รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน และตัวแทน จากหนวยงานภาครัฐและเอกชน ผูป ระกอบการ ผูท อี่ ยูแ วดวงดานพลังงาน รวมแสดงความยินดีแกผูไดรับรางวัล ณ ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ 1. พลอากาศเอกประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี

8

46

2. ประพนธ วงษทาเรือ อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน 3. ยศพงศ คุปตะบุตร รองอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ อนุรักษพลังงาน 4. มอบรางวัล Thailand Energy Awards 2017 5.-7. ภายในงานพิธีมอบรางวัล Thailand Energy Awards 2017 8. ถายภาพรวมกัน

GreenNetwork September-October 2017


Magazine to Save The World

Asia Power Week 2017 มหกรรมสัมมนา และนิทรรศการชั้นนําด านอุตสาหกรรมพลังงาน เมือ่ เร็วๆ นี้ พลเอกสุรศักดิ์ ศรีศกั ดิ์ ผูช ว ยรัฐมนตรีประจํากระทรวง พลังงาน, สหรัฐ บุญโพธิภักดี รองผูวาการประจําสํานักผูวาการพลังงาน หมุนเวียนและพลังงานใหม การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย, มร.เคนจิ อันโดะ ประธานกรรมการบริหารและประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท มิตซูบิชิ ฮิตาชิ พาวเวอร ซิสเต็มส จํากัด และ มร.เฮรุ เดวันโต ประธาน เจาหนาทีอ่ าํ นวยการ PT. Cirebon Energi Prasarana ประเทศอินโดนีเซีย รวมพิธีเปดงาน งาน Asia Power Week 2017 งานประชุมสัมมนา และนิทรรศการดานอุตสาหกรรมพลังงานระดับแนวหนาของเอเชียทีผ่ นวก รวมเอางาน POWER-GEN Asia และ Renewable Energy World Asia ไว ใ นงานเดี ย วกั น โดยมี ผู เ ข า ชมงานจากอุ ต สาหกรรมพลั ง งานกว า 8,000 คน มาจาก 75 ประเทศ นับเปนสิ่งบงชี้ไดวา ภูมิภาคเอเชียยังคง ไดรับความสนใจจากบุคคลในวงการพลังงานทั้งภาครัฐและเอกชนจาก นานาประเทศ จัดขึ้น ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา

2

1

3

4

5

6

7

8

1. พลเอกสุรศักดิ์ ศรีศักดิ์ ผูชวยรัฐมนตรีประจํากระทรวงพลังงาน

2. สหรัฐ บุญโพธิภักดี รองผูวาการประจําสํานักผูวาการพลังงาน หมุนเวียนและพลังงานใหม การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 3. มร.เคนจิ อันโดะ ประธานกรรมการบริหารและประธาน เจาหนาทีบ่ ริหาร บริษัท มิตซูบชิ ิ ฮิตาชิ พาวเวอร ซิสเต็มส จํากัด 4. มร.เฮรุ เดวันโต ประธานเจาหนาที่อํานวยการ PT. Cirebon Energi Prasarana ประเทศอินโดนีเซีย 5. พิธีเปดงาน งาน Asia Power Week 2017 6.-8. บรรยายภายในงาน

Bangkok RHVAC 2017 และ Bangkok E&E 2017 โชว ศักยภาพฐานการผลิตเครื่องปรับอากาศ เครื่องใช ไฟฟ าระดับเวิลด คลาส

1

2

4

3

กรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย รวมกับ กลุมอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศ และเครื่องทําความเย็น และกลุม อุตสาหกรรมไฟฟา อิเล็กทรอนิกส และโทรคมนาคม สภาอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย และหนวยงานพันธมิตร จัดพิธีเปดงานสุดยอดมหกรรม แสดงสินคา “Bangkok RHVAC 2017 และ Bangkok E&E 2017” เพื่อ แสดงศักยภาพ มาตรฐานของสินคาไทย พรอมสงเสริมใหประเทศไทย กาวสูการเปนศูนยกลางของอุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศ เครื่องทํา ความเย็นและเครือ่ งใชไฟฟาของภูมภิ าคและของโลก โดยไดรบั เกียรติจาก ปลัดกระทรวงพาณิชย วิบูลยลักษณ รวมรักษ เปนประธานพิธีเปดงาน พรอมดวย มาลี โชคลาํ้ เลิศ อธิบดีกรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ และ ผูบริหารจากหนวยงานผูรวมจัดงาน อาทิ อรุณ เอี่ยมสุรีย ประธานกลุม อุตสาหกรรมเครื่องปรับอากาศและเครื่องทําความเย็น วิษณุ ลิ่มวิบูลย ประธานกลุมอุตสาหกรรมไฟฟา อิเล็กทรอนิกสและโทรคมนาคม และ มงคล พฤกษวฒ ั นา อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ณ ฮอลล 98-100 ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา

1. วิบูลยลักษณ รวมรักษ

5

6

47

2. พิธีเปดงาน Bangkok RHVAC 2017 และ Bangkok E&E 2017 3.-6. บรรยากาศภายในงาน

GreenNetwork September-October 2017







Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.