Green Network Issue 85

Page 1



CONTENTS

January - February 2018

14

10

Special Scoop 8 จับตานโยบายโซลารรูฟท็อปจากอดีตถึงปจจบัน by กองบรรณาธิการ 10 เปดแนวคิดการพัฒนาอสังหาริมทรัพยติดรูฟท็อปรายแรกในเมืองไทย by ภิญญาภรณ ชาติการุณ 11 Green Story by พาไล ปเปลี่ยน เวลาใหมธรรมชาตินิรันดร Green Focus by พิชัย ถิ่นสันติสุข เหลียวหลังแลหนามองหาพลังงานทดแทน ธุรกิจซื้อขาย PPA (Power Purchase Agreement) 14 Green Report by กองบรรณาธิการ 11 มาตรการ สูการอนุรักษพลังงานภาคขนสงไทย 16 Solar Review by กองบรรณาธิการ เทคโนโลยีกักเก็บพลังงานแบบกาวหนา ตอบโจทยการใชระบบโซลารเซลล ระดับครัวเรือน Green Building by กองบรรณาธิการ Green People by จีรภา รักแกว อาคารเขียวไทยที่ใช ตามเกณฑมาตรฐาน TREES อาทิตย ไวทยะพัธน 19 Green Hotel by แวนแกว แมนดาริน โรงแรมอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม ดรีม ภูเก็ต โฮเท็ล แอนด สปา ปลุกกระแสรักษโลก 24 Green Factory by จีรภา รักแกว ยกระดับมาตรฐานการบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ไทย เอ็มเอ็มเอ จํากัด ผลิตแผนอะครีลิกดวยเทคโนโลยีขั้นสูง 20 Auto Challenge by ยาน-ยนต ขับเคลื่อนมาตรการอนุรักษพลังงานเต็มรูปแบบ e-Power ขุมพลังมอเตอรไฟฟาอัจฉริยะ 26 Green World by กองบรรณาธิการ เทคโนโลยีแบตเตอรี่สําหรับรถยนตไฟฟา ผลวิจัยชี้ผลิตไฟฟาพลังงานทดแทน 100% ทั่วโลกไดจริง แถมคุมคากวาระบบที่มีอยู RE Update by กองบรรณาธิการ การพยากรณไฟฟาที่ผลิตไดจากพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy Forecast) 30 Green Technology & Innovation by อักษรจัณ ไชยอนงค เราพรอมแลวหรือยังกับการเพิ่มขึ้นของโซลารรูฟท็อป 32 Energy Saving by Mr.Save ติดฉลากประหยัดพลังงานประสิทธิภาพสูง เบอร 5 สัญลักษณของการประหยัดพลังงาน 34 Green Industry by ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี เศรษฐศาสตรสิ่งแวดลอม Smart City by กองบรรณาธิการ ออกแบบเมืองใหอัจฉริยะ ควบคูโครงขายไฟฟาที่อัจฉริยะ 36 Green Article by รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล, ดร.ณัฐวิญญ ชวเลิศพรศิยา, รัฐพล เจียวิริยะบุญญา ฝนเยอะ-ขยะลน : ปญหา (ที่กําลังจะ) เรื้อรังของกรุงเทพฯ (2) 38 Green Biz by กองบรรณาธิการ

16

30

12

18

22

28

35

12



ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ฯพณฯ พลอากาศเอก กําธน คณะที่ปรึกษา ดร.ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน ดร.อัศวิน จินตกานนท ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย ประสงค ธาราไชย ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร รศ. ดร.สิงห อินทรชูโต บรรณาธิการอํานวยการ/ บรรณาธิการผูพิมพโฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ ภิญญาภรณ ชาติการุณ ผูชวยบรรณาธิการ จีรภา รักแกว เลขานุการกองบรรณาธิการ ปฐฐมณฑ อุยพัฒน พิสูจนอักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม กันยา จําพิมาย ประสานงาน ภัทรกันต กิจสินธพชัย ผูจัดการฝายการตลาด เขมจิรา บุญพระรักษา ฝายการตลาด กัลยา ทรัพยภิรมย เลขานุการฝายการตลาด ชุติมันต บัวผัน ฝายวิเทศสัมพันธ นันธิดา รักมาก แยกสี บจก. คลาสสิคสแกน โรงพิมพ บจก. ฐานการพิมพ

สินธวานนท นินนาท ไชยธีรภิญโญ ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ พานิช พงศพิโรดม ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี ดร.สุรพล ดํารงกิตติกุล ชาย ชีวะเกตุ

เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถ.ศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2354-5333 (ฝายการตลาด ext. 503) แฟกซ 0-2640-4260 http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com e-Mail : editor@greennetworkthailand.com

Editor Talk สวัสดีครับ ทานสมาชิกและทานผูอานทุกทาน

เปนทีท่ ราบกันดีสาํ หรับแวดวงพลังงาน วา “พลังงานและพลังงานทดแทน” ในยุคปจจบัน ไดรบั ความสนใจจากสังคมเปนอยางมาก เพือ่ ใหการนําเสนอขอมูลขาวสารทีอ่ พั เดทและเจาะลึก มากยิ่งขึ้น Green Network จึงไดปรับโฉมรูปแบบนิตยสารมาสู “Green Network 4.0” พรอมกับ Content ที่มีความเขมขนขึ้น โดยมุงนําเสนอสาระความรูดานการพัฒนาพลังงาน ทดแทนและการอนุรักษพลังงานในภาคสวนตางๆ ซึ่งกําลังเปนที่นาจับตามองในปจจบัน และอนาคต และนอกจากรูปเลมแลว ผูสนใจยังสามารถติดตามขอมูลขาวสารที่อัพเดทไดที่ www.greennetworkthailand.com ดวยราคาของระบบผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยลดลงอยางมาก พรอมกับการ พัฒนาเทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น จึงทําใหระบบดังกลาวโดยเฉพาะระบบพลังงาน แสงอาทิตยแบบติดตั้งบนหลังคา หรือโซลารรูฟท็อปไดรับความสนใจเปนอยางมาก ดังนั้น คอลัมน Special Scoop “จับตามองนโยบายโซลารรูฟท็อปจากอดีตถึงปจจบัน” ไดหยิบยก แผนนโยบายของกระทรวงพลังงาน ในเรือ่ งการผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตย ตัง้ แตอดีต ปจจบัน และอนาคต อยางลาสุด โครงการโซลารรูฟท็อปแบบเสรี ซึ่งขณะนี้อยูระหวางการ พิจารณารายละเอียดและความเหมาะสมเกี่ยวกับปริมาณการรับซื้อไฟฟา โดยยังรอคอย ความชัดเจนจากภาครัฐ สําหรับ คอลัมน Green Report กับ “11 มาตรการ สูการอนุรักษพลังงานภาคขนสง ไทย” เพราะปจจบันการใชพลังงานในภาคการขนสงคอนขางสูงและมีแนวโนมการใชพลังงาน เพิม่ สูงขึน้ ในอนาคต ฉะนัน้ 11 มาตรการนี้ จะเขาเปลีย่ นสูโ หมดอนุรกั ษพลังงานเขมขน คอลัมน Green People พบกับ อาทิตย ไวทยะพัธน “แมนดาริน โรงแรมอนุรักษพลังงานและ สิง่ แวดลอม” บอกเลาถึงธุรกิจโรงแรมสีเขียวซึง่ กําลังเปนกระแสในยุคปจจบัน คอลัมน Green Factory พาไปเยี่ยมชมโรงงานที่นําหลักการอนุรักษพลังงานมาปรับใชจนสามารถลดภาระ คาใชจา ยดานพลังงาน “ไทย เอ็มเอ็มเอ จํากัด ผลิตแผนอะครีลกิ ดวยเทคโนโลยีขน้ั สูง ขับเคลือ่ น มาตรการอนุรักษพลังงานเต็มรูปแบบ” มากันที่คอลัมน Green World “ผลวิจัยชี้ผลิตไฟฟา พลังงานทดแทน 100% ทั่วโลกไดจริง แถมคุมคากวาระบบที่มีอยู” และสุดทาย คอลัมน Energy Saving “ติดฉลากประหยัดพลังงานประสิทธิภาพสูง เบอร 5 สัญลักษณของการ ประหยัดพลังงาน” สาระความรูที่จะชวยใหเขาใจถึงการอนุรักษพลังงานมากยิ่งขึ้น แลวพบกันใหมฉบับหนา สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล



IEEE PES Technical Visit ABB Bangpoo Factory: Share the Power of Experts

คุณเสริมสกุล คลายแกว ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค ในฐานะประธานกรรมการบริหาร IEEE Power & Energy Society - Thailand ไดนาํ คณะผูบ ริหารของการไฟฟาสวนภูมภิ าคและคณะทีป่ รึกษา คณะกรรมการบริหาร คณะทํางานของ IEEE Power & Energy Society - Thailand เยี่ยมชมโรงงานเอบีบี บางปู จ.สมุทรปราการ ประกอบดวย โรงงานผลิตหมอแปลงไฟฟากําลัง สวิตชเกียรแรงดันปานกลาง ระบบควบคุมและปองกันสถานีไฟฟา และหุน ยนต โดยมี คุณชัยยศ ปยะวรรณรัตน กรรมการผูจ ดั การ และคณะผูบ ริหารของเอบีบี ใหการตอนรับ พรอม รวมฟงการบรรยายพิเศษ เรื่อง “The ABB Asset Management Integrated Digital Solution : EAM and EPM for Utilities” โดยผูเชี่ยวชาญ Mr. Sunney A.Singh, Regional Sales Director, Asia Pacific Enterprise Software, ABB Singapore และเชิญบริษัท เอบีบี จํากัด เขารวมงาน IEEE PES GTD Grand International Conference and Exposition Asia 2019 ซึ่งจะจัดขึ้นในประเทศไทย ระหวางวันที่ 19-23 มีนาคม 2562 Mr.Sermsakul Klaikaew, Governor of The Provincial Electricity Authority (PEA) As President of IEEE Power & Energy Society - Thailand, the leaders of the Provincial Electricity Authority and the Advisory Board Executive Committee Working Group of IEEE Power & Energy Society - Thailand Visit Bangpoo Samut Prakan Factory. Medium pressure switch Control and protection of electrical substations and robots by Mr. Chaiyos Piyawanarat, Managing Director And the management of ABB. Welcomed The ABB Asset Management Integrated Digital Solution (EAM and EPM for Utilities) was jointly organized by Mr.Sunney A. Singh, Regional Sales Director, Asia Pacific Enterprise Software, ABB Singapore. At the IEEE PES GTD Grand International Conference and Exposition Asia 2019, which will be held in Thailand. From March 19-23, 2019


SPECIAL

Scoop กองบรรณาธิการ

ปจจบัน หนวยงานทั้งภาครัฐและอุตสาหกรรมใหความสนใจการติดตั้งระบบการผลิตไฟฟาจากพลังงาน แสงอาทิตยทตี่ ดิ ตัง้ บนหลังคาหรือโซลารรฟู ท็อปเปนอยางมาก ดวยแนวโนมเทคโนโลยีระบบการผลิตโซลารเซลลมกี าร พัฒนาใหมีประสิทธิภาพและความปลอดภัยสูงขึ้นอยางตอเนื่อง กอปรกับเทคโนโลยีเหลานั้นยังมีราคาที่ถูกลงมาก คุม คาในการลงทุน และทีส่ าํ คัญพลังงานแสงอาทิตยถอื เปนพลังงานธรรมชาติทมี่ ศี กั ยภาพสูง นํามาใชในการผลิตไฟฟา ได สามารถติดตั้งใชงานในพื้นที่จํากัด เชน บนหลังคาบานอยูอาศัย อาคารสํานักงานและโรงงานตางๆ สําหรับประเทศไทยแลว ภาครัฐก็มีนโยบายในการสนับสนุนโซลารรูฟท็อป ภายใตแผนบูรณาการดานพลังงาน ระยะยาวของประเทศ (TIEB) ซึ่งประกอบดวย 5 แผนหลัก โดยพลังงานแสงอาทิตยจะอยูในแผน AEDP 2015 หรือ แผนพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558-2579 ซึ่งไดกําหนดใหเพิ่มสัดสวนการใชพลังงานทดแทน เปน 30% ของพลังงานขั้นสุดทาย ในป 2579 ในขณะที่สัดสวนการใชพลังงานทดแทน ในเดือน ตุลาคม 2560 อยูที่ 14.47% ทั้งนี้ในสวนโดยพลังงานแสงอาทิตยตามแผนนั้น เปาหมายอยูท ่ี 6,000 เมกะวัตต ซึง่ ปจจบันมีโควตาทีผ่ ลิตและจําหนาย หรือมีการซือ้ ขายกันแลว ประมาณ 3,000 เมกะวัตต

9" :)5 !F*":*

F -:+č+A' K5# : 5 = > #ď @"9!

นโยบายดานการผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตย และการดำเนินงานที่ผานมา ดวยประเทศไทยมีการจัดทําขอมูลแผนที่ศักยภาพของพลังงานแสงอาทิตย ซึ่งคาเฉลี่ยรังสีอาทิตยของประเทศไทย อยูที่ 18 เมกะจูล/ตารางเมตร/วัน หรือประมาณ 45 หนวยไฟฟา/ตารางเมตร/วัน เปนพื้นที่ที่มีศักยภาพสูงในการผลิตไฟฟา จากพลังงานแสงอาทิตย โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดรอยเอ็ด อุบลราชธานี และในภาคกลางจังหวัดลพบุรี เปนตน นอกจากนี้แลวราคาแผงเซลลแสงอาทิตยมีแนวโนมลดลง โดยขอมูลจาก International Renewable Energy Agency (IRENA) 2016 ระบุวาราคาแผงเซลลแสงอาทิตยในป 2553 อยูที่ 3 ดอลลารตอวัตต ในขณะที่ป 2559 ราคากลับลดลงเปน 0.5-0.7 ดอลลารตอวัตต ดังนั้น พลังงานแสงอาทิตยจึงเปนที่นาจับตามองเปนอยางมาก ในอดีตตั้งแตป 2536 ภาครัฐไดมีรูปแบบการสนับสนุนการติดตั้งพลังงานแสงอาทิตยแบบ 100% ในพื้นที่หางไกล หรือในบริเวณที่ สายสงยังเขาไปไมถึง การรูปแบบการสนับสนุน 100% นั้น เนื่องจากตนทุนแผงยังมีราคาคอนขางแพง ถัดมาในป 2550 โครงการไดเปดให ภาคเอกชนเขามาติดตั้งพลังงานแสงอาทิตย โดยการใหเงินสนับสนุนในรูปแบบ Adder อยูที่ 8 บาท ตอมาในป 2553 ราคาแผงลดลง จึงปรับ Adder ลงอยูที่ 6.50 บาท และในป 2556 ครม.โดย กพช.ไดเห็นชอบโครงการเปลี่ยนจาก Adder เปน Feed-in Tariff หรือ FiT เพื่อความเปนธรรม ตอประชาชนและภาครัฐ โดย FiT อยูที่ 5.66-6.85 บาท ทั้งนี้คา FiT ดังกลาวจะขึ้นอยูกับขนาดของการติดตั้งโซลารรูฟท็อป หากเปนบานอาศัยขนาดเล็ก ก็จะไดคา FiT มาก ในขณะที่โรงงานและอาคารธุรกิจคา FiT จะถูกกวา จนกระทั่งไดมีการปรับลด FiT ลงมาเปน 4.12 บาท และทายสุดจะมุงไปนโยบาย โครงการผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยแบบติดตั้งบนหลังคา โซลารรูฟท็อปแบบเสรี (Self-consumption)

8

GreenNetwork January-February 2017


ภายใตโครงการสงเสริมการติดตั้งโซลารรูฟท็อปแบบเสรี ซึ่งเปนระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตยสําหรับบานและอาคาร หรือ Self-consumption เกิดขึน้ มาจากขอเสนอโครงการปฏิรปู เร็ว (Quick Win) คณะกรรมาธิการปฏิรปู พลังงานแหงชาติ ไดมขี อ เสนอโครงการนํารอง (Pilot Project) การผลิตไฟฟพลังงานแสงอาทิตยบนหลังคาอยางเสรี พ.ศ. 2559 โดยเปด Pilot Project รวม 100 เมกะวัตต ภายใต Self-consumption นั่นก็คือ ติดตั้งโซลารรูฟท็อปสําหรับผลิตไฟฟาในตอนกลางวัน สวนกลางคืนก็ซื้อไฟฟาตามปกติ ซึ่งประชาชนสามารถ ผลิตไฟฟาใชภายในบานไดเองและขายไฟสวนที่เหลือ เพียงแตจะไมไดรับคาไฟในที่ไหลเขาสูระบบจําหนาย (Gird) แตจะไดรับการติดตั้ง และตรวจสอบมิเตอรฟรี ทั้งนี้ พื้นที่ดําเนินการจะแบงเปน กฟน. จํานวน 50 เมกะวัตต และ กฟภ. จํานวน 50 เมกะวัตต โดยมี สัดสวนบานขนาดไมเกิน 10 กิโลวัตต จํานวน 20 เมกะวัตต สวนอาคารขนาดไมเกิน 1,000 กิโลวัตต จํานวน 80 เมกะวัตต หลังจากมีประกาศขยายเวลาเชื่อมตอระบบโครงขายไฟฟาโครงการนํารอง (Pilot Project) รายงานขอมูลจาก กฟน. และ กฟภ. ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2560 พบวา สถานะการเชื่อมตอระบบโครงขายไฟฟามีการเชื่อมตอ รวมทัง้ สิน้ 180 ราย กําลังการผลิตรวม 5.63 เมกะวัตต โดย กฟน. 153 ราย กําลังการผลิต 3.93 เมกะวัตต และ กฟภ. 27 ราย กําลังการผลิต 1.70 เมกะวัตต นอกจากนี้ จฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไดศึกษาวิเคราะหโครงการนํารองการสงเสริม ติดตั้งโซลารรูฟท็อปแบบเสรีระยะขยายผล โดยไดเสนอ 2 แนวทางในการสงเสริม การติดตั้งโซลารรูฟท็อปในอนาคต นั่นก็คือ Net Metering และ Net Billing ซึ่งตรงนี้จะมีการตั้งคณะกรรมการขึ้น มาเพื่อพิจารณาดูวาวิธี ไหนที่ เหมาะกับประเทศไทย ณ เวลานี้

นโยบาย โซลารรูฟท็อปในอนาคต มุงไปสูการผลิตไฟฟาใชเอง สําหรับโซลารรฟู ท็อปนัน้ ภาคนโยบายมุง ไปทีก่ ารสงเสริมการติดตัง้ โซลารรฟู Self-consumption ไฟฟาสวนที่ใชเอง มีมลู คาเทากับคาไฟฟา ขายปลีกตามประเภทผูใชไฟฟา และไฟฟาสวนเกินขายใหการไฟฟา มีมิเตอรเก็บขอมูล นํามาหักลบหนวยสําหรับการใชไฟฟาในรูปแบบ kWh หรือบาท หลังจากการประชุมกันหลายครั้ง ทิศทางจะสงเสริมการติดตั้งโซลารรูฟ Self-consumption เปนแบบ Net Billing คํานวณตามรอบบิล รายเดือน ขอดี คือ สามารถรับซื้อและกําหนดราคาไฟฟาสวนเกิน การไฟฟาบริหารจัดการบัญชีไดงาย ตรวจวัดไฟไหลยอนได หากมิเตอรวัดไฟฟา เปนแบบจานหมุนจะตองเปลี่ยนมาเปนแบบดิจิทัลโดยมีบิลแสดงอยางชัดเจนของมูลคาการซื้อไฟฟาตามปกติ และมูลคาการขายไฟฟาสวนเกิน ที่ผานมาไดนําเสนอ Net Billing เขามติ ครม.แลว และ ครม.เห็นชอบหลักการติดตั้งแบบ Net Billing สําหรับอัตรารับซื้อไฟฟาสวนเกิน จะพิจารณาจากสัดสวนประเภทผูใชไฟฟาและการวิเคราะหผลตอบแทนการลงทุนโซลารรูฟไฟฟาสวนที่ ใชเอง (Self-consumption) และไฟฟาสวนเกิน (Excess) และราคารับซื้อไฟฟาสวนเกินต่ํากวาราคาคาไฟฟาขายสงเฉลี่ย โดยแบงออกเปน 3 กลุม คือ บานอยูอาศัย, อาคารหรือโรงงาน ขนาดติดตั้งนอยกวา 1 เมกะวัตต และบานอยูอาศัย อาคารหรือโรงงาน ขนาดติดตั้งมากกวา 1 เมกะวัตต สวนเรื่องการกําหนดเปาหมายและปริมาณรับซื้อ เนื่องจากสอดคลองกับแผน AEDP 2015 ที่กําหนดเปาหมายการติดตั้งพลังงานแสงอาทิตย อยูท ่ี 6,000 เมกะวัตต และยังสอดคลองกับการศึกษาโครงการนํารอง (Pilot Project) การศึกษาเชิงเทคนิค, ขอจํากัดของ, Grid Code, Capacity ของสายสง ทําใหสามารถกําหนดโควตาและเปาหมายไดไมมาก หากยังไมมีการปรับเปาหมายของแผน AEDP มากขึ้น ซึ่งนโยบายลาสุดอาจจะมี การปรับแผนของ AEDP เพิ่มสัดสวนการใชพลังงานทดแทนเปน 40% อยางไรก็ตาม โครงการผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยแบบติดตั้งบนหลังคา โซลารรูฟท็อปแบบเสรี (Self-consumption) ลาสุด ดร.ศิริ จิระพงษพันธ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน ไดใหหนวยงานภาครัฐและกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ทบทวน และพิจารณารายละเอียดและความเหมาะสมเกี่ยวกับปริมาณการรับซื้อไฟฟาในหลากหลายมิติ ขอกําหนด รวมไปถึงขอจํากัดตางๆ เพื่อกลั่นกรอง ใหละเอียดอีกครั้ง โดยเฉพาะเงื่อนไขตางๆ วามีเหตุผลที่เหมาะสมหรือไมอยางไร และเหตุใดตองจํากัดโควตาการรับซื้อหากเปนเสรี โดยทั้งนี้ คาดวาจะมีการเปดรับซื้อไฟฟาสวนเกินจากโซลารรูฟท็อปไดในป 2561 เพียงแตตอนนี้ยังคงรอความชัดเจนจากภาครัฐ

9

GreenNetwork January-February 2017


SPECIAL

Scoop กองบรรณาธิการ

เราไมสามารถเปลี่ยนอดีตได แตเราสามารถเริ่มเปลี่ยนสิ่งที่เราทำ ในวันนี้เพื่อสรางอนาคตที่ดีขึ้นได ถึงเวลาแลวที่เราจะตองชวยกัน อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ กอนที่มันจะแปรปรวน ไปมากกวานี้

“พลังงานแสงอาทิตย” เปนพลังงานจากธรรมชาติที่สามารถเปลี่ยนใหเปนพลังงานไฟฟาเพื่อนํา มาใชในชีวิตประจําวันได ไมเพียงแตเปนพลังงานสะอาด ที่มีตนทุนต่ําเมื่อเทียบกับการผลิตพลังงาน ในรูปแบบ อื่นๆ หากยังเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมอีกดวย ปจจบัน “พลังงานแสงอาทิตย” กลายเปนพลังงานทดแทนดาวรุงที่ประเทศตางๆ ทั่วโลก ตระหนักถึงความสําคัญและหันมาสงเสริมการติดตั้งแผงโซลาร (Solar Cell) เพื่อผลิตไฟฟา จากพลังงานแสงอาทิตยอยางจริงจัง โดยเฉพาะรูปแบบการติดตั้งบนหลังคาที่อยูอาศัยหรือ “โซลารรูฟท็อป” (Solar Rooftop) สําหรับในประเทศไทยการนําพลังงานแสงอาทิตยมาผลิตไฟฟาเพื่อใชในชีวิต ประจําวัน โดยเฉพาะบานทีอ่ ยูอ าศัยนัน้ คงปฏิเสธไมไดวา ผศ. ดร.เกษรา ธัญลักษณภาคย ผูบริหารบริษัท เสนาดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) คือ หญิงเกงผูบุกเบิกการพัฒนา อสังหาริมทรัพยทนี่ าํ พลังงานทดแทนเขามาใชประโยชนในบานทีอ่ ยูอ าศัยอยางเปนรูปธรรม ซึ่งผลจากความมุงมั่นทุมเทที่จะนําพลังงานแสงอาทิตยมาผลิตไฟฟาใชภายในบาน ทําให เกิด “บานเสนาโซลาร” ขึ้นเปนโครงการบานพลังงานแสงอาทิตยรายแรกของไทยที่ติดตั้ง โซลารเซลลใหทุกหลังและพื้นที่สวนกลาง เพื่ออนุรักษพลังงาน และลดคาใชจายสวนกลาง โดยเฉพาะคาไฟฟาในระยะยาว ทัง้ นี้ โครงการ “บานเสนาโซลาร” จึงถือเปนโครงการอสังหาริมทรัพยแหงแรกในประเทศไทย ที่มีการติดตั้งโซลารรูฟท็อฟบนหลังคาบานทุกหลังในโครงการ

D#Ā E!/ < :+&9 !:

529 3:+<) +9&*č < +A' K5#

+:*E+ G!D)?5 H *

ผศ. ดร.เกษรา ธัญลักษณภาคย รองประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั เสนาดีเวลลอปเมนท จํากัด (มหาชน) กลาววา การพัฒนาบานพลังงานแสงอาทิตยมีจากแนวคิดที่ตั้งใจจะคนหาพลังงานทางเลือก ที่เปนคําตอบในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย ที่จะมีสวนชวยยับยั้งการทําลายธรรมชาติในระดับ ประเทศ ความคิดแรกคือตองการใหแตละหมูบานมีแหลงพลังงานสะอาด เปนแหลงพลังงานหมุนเวียน โดยไมตองใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติของโลก และคาดหวังวาแนวคิดนี้จะสงตอจากบาน หนึ่งหลังเปนบานหลายๆ หลัง… บานทุกๆ หลัง…ทั้งหมูบาน…ทุกหมูบาน…และทั่วประเทศในที่สุด “แนนอนวาการพัฒนาโครงการใหมๆ ขึน้ มา ตองคํานึงถึงการใชทรัพยากรอยางยัง่ ยืนและไมเกิด การสิ้นเปลืองโดยเปลาประโยชน การใชพลังงานแสงอาทิตยจากโซลารเซลลจึงเปนคําตอบ เพื่อใหบาน ในทุกๆ โครงการมีความเปนบานพอเพียงและมีความยัง่ ยืนทางพลังงาน ดังนัน้ โครงการของเสนาฯ จึง ติดโซลารเซลล เพื่อใหโครงการนั้นๆ สามารถผลิตไฟฟาเลี้ยงตัวเองไดและเปนการใชแสงอาทิตยใหเกิด ประโยชนสูงสุดโดยไมปลอยผานไปเฉยๆ”

ผศ. ดร.เกษรา ธัญลักษณภาคย 10

GreenNetwork January-February 2017


เพราะคําวา “บานประหยัดพลังงาน” ไมเพียงแคลดการใชพลังงานและคา ใชจาย แตสิ่งที่เปนองคประกอบสําคัญที่มีสวนรวมประการแรก ก็คือ วัสดุกอสราง ก็ควรจะตองชวยลดการใชไฟฟา นอกจากนี้บานตัวเองก็ควรตั้งอยู ในลักษณะที่ ใช ประโยชนจากทิศทางลมเพื่อชวยในการระบายอากาศและลดคาใชจายของการไฟฟา และยังไดพัฒนาตอยอดใหครบวงจรดวยการจัดตั้งและดูแลระบบสุริยะของลูกบาน ผูอยูอาศัยตลอด 24 ชั่วโมงทุกวัน พรอมทั้งรับประกันตลอดอายุการใชงานอีกดวย ผศ. ดร.เกษรา ยังไดกลาวตอไปวา ดวยความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่มีการ พัฒนาอยางตอเนื่อง ทําใหแผงโซลารเซลลที่เคยมีราคาแพงในอดีต มีตนทุนที่ต่ําลง มากในปจจบัน เชนเดียวกันกับแบตเตอรีท่ มี่ กี ารเรงคนควาวิจยั และพัฒนาใหมศี กั ยภาพ ในการกักเก็บพลังงานไดมากขึน้ มีตน ทุนทีส่ ามารถจับตองไดมากขึน้ ดังนัน้ การพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพยที่ติดตั้งโซลารรูฟท็อปบนหลังคาบานทุกหลังในโครงการ จึงไมใชเรื่องที่เปนไปไมไดอีกตอไป จะเห็นไดวา ประเทศไทยการติดตั้งโซลารรูฟท็อปบนหลังคาบานที่อยูอาศัย หรือหลังคาอาคารตางๆ โรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล มีปริมาณเพิ่มมากขึ้น อยางตอเนื่อง นั่นเพราะการลงทุนซื้อแผงโซลารเซลลแมจะมีตนที่ตองลงทุน หากแต ก็เปนตนทุนทีล่ งทุนเพียงครัง้ เดียว และสามารถใชไดยาวนานถึง 25 ป ดังนัน้ “โซลาร” ไม ใชเพียงแคกระแสแฟชั่น แตเปนเทรนดระยะยาวซึ่งอาจกลาวไดวาโซลารเซลล เปนหนึ่งในเทคโนโลยีที่เรียกวา Disruptive หรือ เทคโนโลยีพลิกโลก อยางไรก็ตาม นอกจากกระบวนการดานการออกแบบสถาปตยกรรม ที่ใหความ สําคัญกับบริบทดานสิง่ แวดลอม ทีต่ งั้ ทิศทางของแดด ลม ฝน การใชภมู สิ ถาปตยกรรม เขาชวยเพื่อสรางสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสม รวมไปถึงการเลือกใชวัสดุเพื่อปองกัน ความรอนหรือชวยสรางความเย็นสบายใหกับบานดวย สุดทายสิ่งสําคัญที่จะทําใหการอยูอาศัยของสังคมโดยรวมเกิดความยั่งยืนและ มั่นคง นั่นก็คือการทําใหที่พักอาศัยมีรูปแบบการใชพลังงานที่มีอยูจํากัดไดอยาง ประหยัดคุม คา มีประสิทธิภาพ และเกิดประโยชนสงู สุด ซึง่ นับวาสําคัญอยางยิง่ ตอการ ใชชีวิตในอนาคต

องคประกอบ 3 ประการ เปลี่ยนแสงอาทิตยใหเปนพลังงานไฟฟา >> ดวงอาทิตย ขุมพลังงานบริสทุ ธิบ์ นทองฟา ซึง่ ไมสามารถกําหนดปริมาณของพลังงานในแตละวัน ไดวา วันนีแ้ สงจะจา หรือถูกเมฆหมอกบังหรือไม เพราะเปนพลังงานบริสทุ ธิจ์ ากธรรมชาติ >> ที่วางแผงโซลาร ตองติดตั้งอยูในมุมที่รับแสงไดดี และรับแสงไดนานที่สุด ถาผูประกอบการที่ขาด ความชํานาญการติดตั้งแผงโซลารบนหลังคา บานคุณอาจอยูในตําแหนงที่รับพลังงาน แสงอาทิตยไดไมเต็มทีพ่ อ ซึง่ จะสงผลใหประสิทธิภาพในการรับแสงเปนไปไดอยางไมเต็มที่ >> ตัวแผงโซลาร แผงที่มีประสิทธิภาพดี จะตองรับแสงไดชั่วโมงที่ยาวนาน และผลิตไฟไดแมสภาพ อากาศไมเอื้ออํานวย การติดตั้งแผงโซลารเซลลบนหลังคา หรือโซลารรูฟท็อป จึงเปน ทางออกที่จะชวยใหทุกครัวเรือนในเมืองผลิตไฟไดดี เพราะหลังคาทุกบาน มีที่วางให สําหรับแผงโซลารเซลลอยูแลวเพียงแตตองเลือกบริษัทผูติดตั้งที่มีความนาเชื่อถือ และ ศึกษาดูคุณภาพของแผงโซลารเซลลใหดี ตัวแปลงไฟ สายไฟและอุปกรณตางๆ ใหมี คุณภาพดี ไดมาตรฐาน มีการดูแลหลังการขายที่ครบวงจร และเปนมืออาชีพ มีความรู และประสบการณจริง ทัง้ นี้ โซลารรฟู ท็อปนัน้ สามารถติดไดเกือบทุกหลังคา และติดไดเกือบทุกแบบบาน ทั้งหลังคากระเบื้องลอนคู ซีแพค เมทัลชีท แตทั้งนี้ตองมีโครงสรางคอนกรีตสําหรับการ รองรับน้ําหนักหลังคาที่ดี 11

GREEN

Story พาไล

#āD#-=L*!

D/-:G3)ĉ ++) : <!<+9! +č

ปใหมอกี ที เปลีย่ นปอกี ครัง้ แมเปลีย่ นมาหลายสิบครัง้ แลวก็ยงั ตืน่ เตน แตอนั ที่จริงก็เปลี่ยนแตป หลายสิ่งยังคงเดิม ชวงวันหยุดเปลีย่ นปมโี อกาสไดอา นหนังสือทีช่ อบหลายเลม หนึง่ ในนัน้ คือรจนา ของ รพินทรนาถ ฐากูร “นกเถื่อน” แปลโดย ปรีชา ชอปทุมมา และในโอกาสตอนรับปเปลี่ยนเวลาใหมนี้ ขอนําบทสดุดีธรรมชาติงามอันเปน นิรันดรเหลานั้น มาแบงปน ครั้งหนึ่งทองฟาทักทายทะเล โอทะเล อะไรคือภาษาของทาน? ภาษาของฉันคือ คําถามไมรูจบ แลวคําตอบของทานเลา, ทองฟา คือภาษาอะไร? ภาษาของฉันคือ ความสงบชั่วนิรันดร What language is thine, O sea? The language of eternal question. What language is thy answer, O sky? The language of eternal silence. และอีกครั้งหนึ่ง ดอกไมเอื้อนเอย ขาจะรองเพลงสดุดีทานดวยวิธีใด โอ ดวงอาทิตย? ดอกไมเล็กๆ ถาม ก็ดว ยความเงียบทีเ่ รียบงายแหงความพิสทุ ธิข์ องเจาอยางไรละ ดวงอาทิตยแนะ How may I sing to thee and worship, O Sun? Asked the little flower. By the simple silence of thy purity. Answered the sun. และอีกหลายครั้ง ธรรมชาติเลาวา “ราตรี” ขยายกลีบดอกไมเงียบๆ ปลอยให “ทิวา” เปนผูรับคําขอบคุณ The night opens the flowers in secret and allows the day to get thanks. ดวงจันทรสาดแสงไปทั่วฟา แตเก็บรอยตําหนิไวกับตัว The moon has her light all over the sky, her dark spots to herself. กอนเมฆดํามืดกลายเปนดอกไมสวรรค เมื่อถูกจมพิตดวยแสงสุริยา Dark clouds become heaven’s flowers when kissed by light. รากซึ่งแฝงภายใตพื้นดิน ไมเคยเรียกรองรางวัลที่ดลใหกิ่งออกผลดก The roots below the earth claim no rewards for making the branches fruitful. สุดทายมนุษยใจพิสุทธิ์ตั้งสัจจะวา โลกที่รัก, ขาเหยียบขึ้นบนฝงทานในฐานะคนแปลกหนา เขาอาศัยเรือนเชนอาคันตุกะ และออกพนประตูไปเสมอดวยมิตรแท I came to your shore as a stranger, I lived in your house as a guest, I leave your door as a friend, my earth. อางอิง ●

ปรีชา ชอปทุมมา. นกเถื่อน แปลจาก Stray Birds โดย รพินทรนาถ ฐากูร. สํานักพิมพสวนเงินมีมา (พิมพครั้งที่ ๒), ๒๕๔๗.

GreenNetwork Green Network January-February 2017


GREEN

Focus พิชัย ถิ่นสันติสุข

D3-=*/3-9 E-3!Ċ:

)5 3: &-9 :! E ! @+ < ?M5 :* ĸĸĩ ŮĸŗşōŚ ĸŝŚŋŐʼnśō ĩŏŚōōŕōŖŜů ทานคงจะมีคําถามวาป พ.ศ. 2561 นี้ ทิศทางพลังงานทดแทน เปนเชนไร จะรุง เรืองหรือรวงโรยตามภาวะเศรษฐกิจ คงตองมองภาพรวม เชิงนโยบายกอน เนื่องจากพลังงานทดแทน (Renewable Energy) เปนธุรกิจนโยบายของรัฐ ถึงแมวาจะไมมีพลังงานทดแทนเลย วันนี้ คนไทยก็ยังคงมีพลังงานใชกันอยางเหลือเฟอ ดังนั้นธุรกิจพลังงาน ทดแทนจะมีมากนอยเพียงใดอยูที่นโยบายของแตละประเทศ โดย คาดหวังวาพลังงานทดแทนจะชวยเสริมความมัน่ คงดานพลังงาน และ ชวยลด Green House Gas หรือกาซเรือนกระจกซึง่ เปนสาเหตุทที่ าํ ให เกิดภาวะโลกรอน…วันนี้พลังงานทดแทนไทยมีผูเลนและผูเกี่ยวของ มากหนาหลายตาทั้งภาครัฐและเอกชน จะขอกลาวถึงภาครัฐกอน นอกจากกระทรวงพลังงานเจาของเรือ่ งของพลังงานเกือบทุกประเภท แลวก็ยังมีอีกหลายๆ กระทรวงและหลายๆ หนวยงานของรัฐเขามา เกี่ยวของดังตอไปนี้ 1. กระทรวงพลังงานกระทรวงเกรด A+ ถึงแมจะมีงบประมาณ นอย แตมีพลังมากจนเปนกระทรวงเกรด A+กระทรวงพลังงานมี นโยบาย ดานพลังงานทดแทนที่ชัดเจนคือ ปรับตามแนวทางของ รัฐมนตรีแตละทานที่มาเปนเจากระทรวง มีหลายๆ กรมและหลายๆ หนวยงานในกระทรวงนี้ที่เขามาเกี่ยวของกับพลังงานทดแทน 2. กกพ. (คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน) หรือภาษาสากล เรียกวา Energy Regulator Commission (ERC) เปนหนวยงานอิสระ สังกัดกระทรวงพลังงานในเกือบทุกๆ ประเทศมักจะมีหนวยงานนี้ ไวกํากับดูแลดานพลังงาน ไมเพียงแตพลังงานทดแทนแตครอบคลุม ไปถึงพลังงานอืน่ ๆ ดวย ซึง่ แลวแตวา ในประเทศนัน้ จะกําหนดบทบาท และอํานาจหนาที่ไวอยางไรสําหรับประเทศไทย ERC งานกํากับดูแล หลักก็คอื ไฟฟาและกาซธรรมชาติ สําหรับพลังงานทดแทนแลว กกพ. คือหนวยงานทีร่ วมศูนยอาํ นาจอนุมตั ิ ตรวจสอบ และตรวจติดตามทีม่ ี อํานาจหนาทีต่ ามกฎหมายสูงสุด จนเปนทีจ่ บั ตามองทัง้ ของภาครัฐและ เอกชน

12

GreenNetwork January-February 2017


3. คณะกรรมาธิการการพลังงานสภานิติบัญญัติแหงชาติ (สนช.) มีคณะอนุกรรมการดานพลังงานทดแทน ทําหนาทีต่ งั้ แตรบั เรือ่ งรองเรียน และ ราง พ.ร.บ. ไปจนถึงพิจารณาแกไขระเบียบตางๆ ผลงานที่ชาวพลังทดแทน รอคอยมากทีส่ ดุ มีอยูส องเรือ่ ง คือ พ.ร.บ.พลังงานทดแทน และ การปรับปรุง พ.ร.บ.การประกอบกิจการพลังงานพ.ศ. 2550 ใหทันสมัย สําหรับ พ.ร.บ. พลังงานทดแทน ไดมกี ารชวยกันผลักดันทัง้ สปท. และ สนช. ตอมาเมือ่ สปท. หมดวาระทางอนุกรรมาธิการพลังงานทดแทน สนช. จึงรับหนาปรับปรุงราง สงสภานิตบิ ญ ั ญัตแิ หงชาติ อีกครัง้ หลังจากทีเ่ คยผลักดันและรับฟงความคิดเห็น มาหลายครั้ง…ขอใหผานกอน สนช.หมดวาระ นั่นคือกอนการเลือกตั้งใหญ ทั่วไป สําหรับ พ.ร.บ. การประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 เนื่องจาก เกาและแกจึงควรมีการแกไขปรับปรุงใหทันยุคทันสมัย กระจายอํานาจให เหมาะสมโดยเฉพาะอยางยิ่งคณะกรรมการอุทธรณ มีการยกรางใหบุคคล ภายนอกเปนผูพ จิ ารณากลัน่ กรอง จากเดิม กกพ. (คณะกรรมการกํากับกิจการ พลังงาน) ใชอนุกรรมการรับเรื่องและพิจารณาอุทธรณ เกือบจะชุดเดียวกับ กรรมการชุดทีถ่ กู อุทธรณ ผลปรากฏวาไมคอ ยมีการอุทธรณและการอุทธรณ ก็ไมเคยชนะ กกพ. ทําใหฟองกันทุกเรื่องไป 4. คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ ดานพลังงาน (สภาปฏิรูปประเทศ) เมื่อ สปท. หมดวาระลงตามรัฐธรรมนูญชั่วคราว ครม.จึงตั้งคณะกรรมการ ปฏิรูปประเทศ 11 ดาน รวมทั้งดานพลังงาน โดยมี พ.ร.บ.รองรับ และให ทางสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ เปนฝาย เลขาฯ คณะกรรมการทั้ง 11 ดาน 11 คณะ มีวาระ 5 ป เพื่อนําผลพวงจาก รางรายงานของ สปท. มาใชใหเปนรูปธรรม อาจมีคําถามวากระทรวงตางๆ จะเห็นชอบและเดิน หนาปฏิรูปประเทศไทย ตามที่คณะกรรมการนี้เสนอ หรือไม คงตองรอดูตอ ไปในการผลักดันและตรวจติดตามรัฐบาลใหมทจ่ี ะเขามา จะขอสรุปโดยยอสําหรับแผนปฏิรูปประเทศดานพลังงาน 6 ดาน 17 ประเด็น ปฏิรูป ดังนี้ 1. ดานการบริหารการจัดการพลังงาน การปฏิรูปองคกรดานพลังงาน การพัฒนาศูนยสารสนเทศพลังงานแหงชาติ ปฏิรูปการสรางธรรมาภิบาลในทุกภาคสวน 2. ดานไฟฟา โครงสรางแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟา สงเสริมกิจการไฟฟาเพื่อเพิ่มการแขงขัน ปฏิรูปโครงสรางการบริหารกิจการไฟฟา ● ● ●

3. ดานปโตรเลียมและปโตรเคมี ดานการพัฒนาอุตสาหกรรมกาซธรรมชาติ การพัฒนาปโตรเคมีระยะที่ 4 4. ดานการสนับสนุนพลังงานทดแทนเพื่อการสงเสริม การแขงขันและสราง มูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ ปฏิรูประบบบริหารจัดการเชื้อเพลิงชีวมวลไมโตเร็ว สําหรับโรงไฟฟา ชีวมวล แนวทางสงเสริมและขจัดอุปสรรคในการนําขยะมูลฝอยไปเปนเชือ้ เพลิง เพื่อผลิตไฟฟา การสงเสริมการติดตั้งโซลารรูฟอยางเสรี ปฏิรูปโครงสรางการใชพลังงานคาขนสงระยะ 20 ป 5. ดานการอนุรักษพลังงานและการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ การสงเสริมการอนุรกั ษพลังงานและการใชพลังงานอยางคุม คาในกลุม อุตสาหกรรม การใชขอบัญญัติเกณฑมาตรฐานอาคารดานพลังงาน (Building Energy Code: BEC) 6. ดานเทคโนโลยีนวัตกรรมและโครงสรางพื้นฐาน การสงเสริมยานยนตไฟฟาในประเทศไทย การสงเสริมเทคโนโลยีระบบการกักเก็บพลังงาน ● ●

● ●

● ●

วันนีพ้ ลังงานทดแทนไทยยังตัง้ อยูบ นธุรกิจการซือ้ ขาย PPA (Power Purchase Agreement) เปนสําคัญ ไมวานักลงทุนหรือสถาบันการเงิน รวมทั้งหนวยงาน ของรัฐก็ตาม ถนนทุกสายมุงสู PPA โดยเฉพาะอยางยิ่ง บริษัทในตลาดหลักทรัพย อยากได PPA ไวเพิ่มมูลคาหุนแบบเอาสเตกมาแลกก็ไมยอม ยิ่งเปนสถาบันการเงิน และธนาคารดวยแลว คือผูคา PPA รายสําคัญที่สุด ประโยคแรกที่ทานเดินเขาไป เพื่อขอกูเงิน จะไดยินคําถามวา “PPA นะมีมั้ย” วันพรุงนี้ หลังจากที่พลังงานทดแทนมีพ.ร.บ.ของตนเองและกลไกการปฏิรูป ประเทศดานพลังงานผาน ครม. ซึ่งวาระการทํางานของคณะกรรมการปฏิรูปดาน พลังงานยาวนานถึง 5 ป ในอนาคตเราอาจจะมี Solar Roof เสรี ไฟฟาเสรี Private PPA รวมทั้งSmart Micro Grid แถมดวยโรงไฟฟาประชารัฐที่ชุมชนเปนเจาของ 100% และอีกมากมายที่สะดวกสบายกวาปจจบัน เมื่อถึงวันนั้นเจา PPA อาจกลาย เปนทางเลือกสุดทายของธุรกิจพลังงานทดแทนก็ได

● ●

13

GreenNetwork January-February 2017


GREEN

Report กองบรรณาธิการ

): + :+

2Aĉ :+5!@+9 1č&-9 :!

(:

!2ĉ H *

จากมติ กพช. สูแผนอนุรักษพลังงานภาคขนสง แผนอนุรกั ษพลังงานในภาคขนสง เริม่ มาจากมติทปี่ ระชุมคณะกรรมการนโยบาย พลังงานแหงชาติ (กพช.) เมือ่ วันที่ 8 ธันวาคม 2559 ซึง่ ไดพจิ ารณาการบูรณาขับเคลือ่ น นโยบายดานการอนุรกั ษพลังงานในภาคขนสง ตามแผนอนุรกั ษพลังงาน (EEP) ใหดาํ เนิน ไปอยางเปนรูปธรรม มีประสิทธิภาพ บรรลุตามเปาหมายและเกิดประโยชนสูงสุด ตอประเทศ โดยที่ประชุม กพช.จึงมีคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการบูรณาการนโยบาย ดานการอนุรักษพลังงานในภาคขนสง ซึ่งมีองคประกอบที่สําคัญๆ ไดแก รองนายกรัฐมนตรี ที่ไดรับมอบหมายใหเปนประธานกรรมการ รัฐมนตรีวาการ กระทรวงพลังงาน กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงคมนาคม เปนกรรมการ ปลัด กระทรวงการคลัง กระทรวงพลังงาน กระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม และกระทรวงแรงงาน เปนกรรมการ รวมทั้งยังประกอบดวยผูทรง คุณวุฒกิ ารอนุรกั ษพลังงานในภาคขนสง เปนตน และใหผแู ทนจากกรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุรักษพลังงาน เปนกรรมการและฝายเลขานุการ 14

ปจจบันการใชพลังงานในภาคการขนสงคอนขางสูงและมีแนวโนม การใชพลังงานเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต โดยจากขอมูลในป พ.ศ. 2559 ประเทศไทยมีสัดสวนการใชพลังงานขั้นสุดทายในภาคการขนสงสูงถึง 35.8% ซึง่ ใกลเคียงกับภาคอุตสาหกรรมคือ 36.4% นอกจากนัน้ เปนการ ใชพลังงานในสวนอื่นๆ เชน ที่อยูอาศัย ภาคธุรกิจการเกษตร และ กอสราง เปนตน และจากการใชพลังงานในภาคการขนสงจะเปนการใช พลังงานในการขนสงทางบกสูงถึง 79% ซึ่งมีสัดสวนการขนสงทางถนน สูงที่สุดคือ 86% ทั้งนี้ เพื่อลดการใชพลังงานในภาพรวมของประเทศลง กระทรวงพลังงานโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) จึงไดกาํ หนดใหมาตรการการอนุรกั ษพลังงานในภาคขนสง ถือเปน นโยบายสําคัญภายใตแผนอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2558 2579 (Energy Efficiency Plan : EEP) ตามกรอบ แผนบูรณาการพลังงานของประเทศในระยะยาว (Thailand Integrated Energy Blueprint: TIEB)

โดยคณะ กรรมการบูรณาการ นโยบายด า นการอนุ รั ก ษ พลังงานภาคขนสงดังกลาว จะมี อํ า นาจหน า ที่ สํ า คั ญ ๆ คื อ กํ า กั บ ดู แ ลการ ดําเนินงานตามนโยบายและมาตรการดานการอนุรักษพลังงานในภาค ขนสง ใหบรรลุเปาหมายตามแผนอนุรักษพลังงาน (EEP) ขับเคลื่อนและ ผลักดันใหนโยบายเปนรูปธรรม บูรณาการการดําเนินงานตามมาตรการ ดานการอนุรกั ษพลังงานในภาคขนสงใหมปี ระสิทธิภาพ เสนอแนะใหขอ มูล และขอคิดเห็นที่เปนประโยชนตอ การดําเนินนโยบาย รวมทั้งติดตามและ ประเมินผลการดําเนินงานใหไดผลสัมฤทธิ์สูงสุด

ชู 11 มาตรการ เปลี่ยนสูโหมดอนุรักษพลังงานเขมขน มาตรการการอนุรักษพลังงานภาคขนสงนั้น กรมพัฒนาพลังงาน ทดแทนและอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน (พพ.) ได กํ า หนดไว อ ย า งรอบด า นถึ ง 11 มาตรการ โดยบูรณาการรวมกับกระทรวงหลักๆ ที่เกี่ยวของ อาทิ กระทรวงคมนาคม กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงการคลัง และ ไดกาํ หนดเปาหมายผลการประหยัดพลังงานทีจ่ าํ นวน 30,213 ktoe ภายใน ป 2579 ทั้งนี้ มาตรการการอนุรักษพลังงานในภาคขนสงของ พพ. ประกอบดวย

GreenNetwork January-February 2017


1. มาตรการปรับโครงสรางราคาน้ำมัน

8. มาตรการระบบขนสงมวลชน (รถไฟฟา)

พพ. จะไดรวมกับสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) ศึกษา ทําแบบจําลองการพยากรณและสํารวจการใชพลังงานในภาคขนสง โดยคาดการณ อัตราการเติบโตของรถยนตดีเซล จะเพิ่มขึ้นรอยละ 0.22 ตอป และเมื่อการ ปรับโครงสรางราคา จะทําใหอัตราการเติบโตของรถยนตดีเซล คอยๆ ทยอย ลดลงเปนรอยละ 0.05 ตอป และ 0.01 ตอป และจะเติบโตคงที่หลังป 2564 เปนตนไป

พัฒนาโครงสรางพื้นฐานและการพัฒนาระบบรางเพื่อขนสงมวลชน การ บริหารจัดการระบบสงสินคา และบริการ เชน รถไฟฟา 10 สาย สวนตอขยาย Airport Rail Link

2. มาตรการปรับโครงสรางภาษีสรรพสามิต

มาตรการทีก่ าํ หนดใหผผู ลิตและผูน าํ เขารถยนตใหม ตองติด Eco Sticker เพือ่ แสดงขอมูลรถยนตทผี่ า นการทดสอบมาตรฐาน เพือ่ ใหประชาชนใชเปนขอมูล ตัดสินใจซื้อรถยนต โดยขณะนี้มีรถไดรับ Eco Sticker 2,249 รุน จาก 97 บริษัท

9. มาตรการพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานภาคขนสง (รถไฟรางคู)

ติดตามผลการศึกษาของสํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร หากมีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ระบบรถไฟทางคู รวม 3,165 กิโลเมตร ทั้ง รถไฟรถไฟทางคูความกวาง 1.00 เมตร (Meter Gauge) และรถไฟทางคูขนาด ทางมาตรฐานความกวาง 1.43 เมตร (Standard Gauge)

3. มาตรการติดฉลากยางรถยนต

10. มาตรการขนสงน้ำมันทางทอ

พพ.อยูระหวางรอสนามทดสอบยางของสํานักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม (สมอ.) ซึง่ คาดวาจะแลวเสร็จภายในป 2561 โดยสนามทดสอบยางรถยนตดงั กลาว จะเปน ที่ ใชศึกษามาตรฐานของยางรถยนต เพื่อ พพ.จะไดเริ่มการติดฉลาก ประสิทธิภาพสูงได ซึ่งคาดวาจะเริ่มติดฉลากยางรถยนตไดในป 2563 เปนตนไป

แนวคิ ด เพื่ อ ลดการขนส ง น้ํ า มั น ในรู ป แบบเดิ ม ที่ ข นส ง จากรถบรรทุ ก ขนาดใหญ ซึ่งใชพลังงานสูง โดยจะติดตามความคืบหนาการสรางทอสงน้ํามัน ที่กําลังอยูระหวางเตรียมการกอสราง ใน 2 สาย ไดแก สายอีสาน ทอสงไปที่ จ.ขอนแกน และภาคเหนือ ทอสงไปที่จ.พิจิตร

4. มาตรการบริหารจัดการขนสง (Logistics and Transportation Management: LTM)

11. มาตรการสงเสริมยานยนตไฟฟา (EV)

พพ.ไดรวมกับ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (สอท.) พัฒนาระบบ บริหารจัดการการขนสงเพือ่ การประหยัดพลังงาน โดยจะสงเสริมใหผปู ระกอบการ ภาคขนสงทีม่ จี าํ นวนรถบรรทุกและรถโดยสาร เขารวมโครงการการจัดการขนสง อยางมีประสิทธิภาพ ผานการบริหารจัดการดวยการใหคําแนะนําระบบขนสง การบริหารจัดการเสนทางขนสงและระบบคลังสินคา โดยคาดการณวา ในชวง 2 ปแรก โปรแกรม Logistics and Transportation Management (LTM) จํานวน รถบรรทุก 4,000 คันตอป 5. มาตรการขับประหยัดพลังงาน (Eco Driving)

พพ.รวมกับสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (สอท.) ฝกอบรมการขับขี่ เพื่อการประหยัดพลังงานสําหรับผูขับขี่รถบรรทุก โดยการขับขี่ถูกวิธีจะชวย ประหยัดพลังงานได 25% สําหรับเปาหมายในชวง 10 ปแรก ป 2560-2569 ฝกอบรมพนักงานขับรถเพิ่มขึ้นปละ 0.1% ของจํานวนพนักงานขับรถ ในอนาคต จะมีการพัฒนาศูนยฝก ใหมจี าํ นวนมากเพียงพอตอจํานวนพนักงานขับรถเปาหมาย จะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนการฝกอบรมใชชวง 10 ปหลัง ในชวงปลายแผน ป 2570-2579 จากปละ 1% เปน ปละ 10% ในป 2579 โดยจะมีการอบรมตลอด 20 ป ครอบคลุมจํานวนพนักงานขับรถใหได 84% 6. มาตรการเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการอนุรักษพลังงานในภาคขนสง

พพ.รวมกับสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (สอท.) ทีจ่ ะใหการสงเสริม ธุรกิจ บริษั ทจัดการพลังงานในภาคขนสง (Logistics ESCO) โดยจะใหความรู เบื้องตนเกี่ยวกับธุรกิจจัดการพลังงาน 7. มาตรการเงินอุดหนุนผลประหยัดพลังงานในภาคขนสง

การสงเสริมใหผูประกอบการภาคขนสงมีการประยุกตใชอุปกรณหรือ เทคโนโลยีเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงาน ผานโครงการชวยเหลือดวย เงินอุดหนุนแบบใหเปลา โดยวางเปาหมายประมาณ 200 บริษัท เบื้องตนคํานวณ อัตราสนับสนุน 75 บาทตอ 1 ลานบีทียูตอป แตไมเกิน 500,000 บาทตอแหง 15

เปนมาตรการสําคัญ ที่จะเปลี่ยนโหมดการใชเชื้อเพลิง โดยจะสนับสนุน ใหเกิดสถานีชารจไฟฟา 100 หัวจาย ผลักดันการผลิตรถตุก ตุก ไฟฟา รถเมลไฟฟา 200 คัน การเตรียมโครงสรางพืน้ ฐานตางๆ เพือ่ รองรับยานยนตไฟฟาในอนาคต

กาวตอไป พพ. เดินเครื่องสงเสริมผูประกอบการเต็บสูบ สําหรับแนวทางการสงเสริมกลุมผูประกอบการภาคขนสง โดยเฉพาะ ในกลุมรถบรรทุกและรถโดยสาร ซึ่งมีผูประกอบการสูงถึง 200,000 ราย และ มีจํานวนรถประมาณ 1,306,000 คัน นับเปนกลุมสําคัญที่มีการใชพลังงานสูง เปนลําดับตนๆ ของการใชพลังงานภาคขนสง โดยมาตรการที่จะสงเสริมใหกลุม ผูป ระกอบการภาคขนสงดังกลาว เกิดการลดใชพลังงาน คาดวาจะเริม่ ดําเนินการ ไดในปงบประมาณ 2561โดยจะมีโครงการเดนๆ ที่พรอมจะขับเคลื่อนภายใต ทั้ง 11 มาตรการอนุรักษพลังงานในภาคขนสงดังกลาว ไดแก 1. โครงการบริหารจัดการขนสงเพือ่ การประหยัดพลังงาน (Logistics and Transportation Management : LTM) โดยจะสงเสริมใหผูประกอบการเขารวม โครงการจัดการระบบขนสงอยางมีประสิทธิภาพ โดยจะมีการอบรม อาทิ การ ใหคําแนะนําระบบขนสง การบริหารจัดการเสนทางการขนสง ระบบการจัดการ เดินรถเพื่อลดจํานวนเที่ยวเปลา และระบบคลังสินคา 2. โครงการขับขี่เพื่อการประหยัดพลังงาน โดยจะสงเสริมใหพนักงาน ขับรถเขารวมโปรแกรมการฝกการขับขี่ ECO driving ซึ่งเปนหลักสูตรที่ยอมรับ ในระดับสากล 3. มาตรการดานการเงิน โดยจะสงเสริมใหผูประกอบการปรับเปลี่ยน อุปกรณ สวนควบตางๆ คาดวาเบื้องตนจะมีจํานวนเงินสงเสริมแบบใหเปลา ในลักษณะรวมลงทุนเพือ่ ใหผปู ระกอบการภาคขนสงปรับเปลีย่ นอุปกรณเพือ่ การ ประหยัดพลังงานดังกลาว

GreenNetwork January-February 2017


D F!F-*= 9 D K"&-9 :!E"" Ċ:/3!Ċ:

SOLAR

5"F *č :+G Ċ+8"" F -:+čD --č+8 9" +9/D+?5!

Review กองบรรณาธิการ

งคกรความรวมมือระหวางประเทศของเยอรมัน (GIZ) และกระทรวงพลังงาน รวมกันจัดงานสัมมนาโครงการพลังงานทดแทนชุมชน ไทย-เยอรมัน ครัง้ ที่ 3 มีวตั ถุประสงคเพือ่ สรางความรูค วามเขาใจ และเปนเวทีแลกเปลีย่ นเกีย่ วกับรูปแบบ การพัฒนาและการดําเนินโครงการพลังงานทดแทนในระดับชุมชน รวมไปถึง เทคโนโลยีพลังงานทดแทนระหวางผูเชี่ยวชาญ ทั้งจากเยอรมัน ไทย และตัวแทน ชุมชน อีกทัง้ เพือ่ สรางและดํารงเครือขายพลังงานทดแทนระดับชุมชนในประเทศไทย โดยภายในงาน ผูเชี่ยวชาญระดับนานาชาติไดมีโอกาสพบกับผูแทนชุมชน เพือ่ แบงปนประสบการณเกีย่ วกับการติดตัง้ พลังงานแสงอาทิตยแบบติดตัง้ บนหลังคา แบตเตอรีก่ กั เก็บพลังงาน ระบบสูบนา้ํ พลังงานแสงอาทิตย และระบบกริด พลังงาน ทดแทนแบบผสมผสาน

“ ระบบกักเก็บพลังงาน มีความจำเปนสำหรับระบบไฟฟา ในอนาคตเปนอยางยิ่ง เนื่องจาก ระบบกักเก็บพลังงานสามารถสงเสริม ใหระบบผลิตไฟฟามีเสถียรภาพ และรักษาคุณภาพไฟฟาได ” 16

หรอหยา จันทรัตนา ผูตรวจราชการ กระทรวงพลังงาน กลาววา เพื่อใหสอดคลอง กั บ เป า หมายการพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น (SDGs) กระทรวงพลั ง งานได ร ว มดํ า เนิ น การตาม เปาหมายที่ 7 ดานสรางหลักประกันใหทุกคน สามารถเขาถึงพลังงานสมัยใหมทยี่ งั่ ยืนในราคา ที่ยอมเยา ในอดีตเทคโนโลยีพลังงานทดแทน โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตยราคาคอนขางสูง ไมวาจะเปนแผงโซลารเซลล แบตเตอรี่ที่ราคา สูงแตประสิทธิภาพต่ํา ปจจบันเทคโนโลยีผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย ระบบกักเก็บพลังงาน แบตเตอรี่ มีการพัฒนาเพิม่ มากขึน้ สงผลใหราคาตาํ่ ลง ทําใหตนทุนการผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยใกลเคียงกับไฟฟาของ ทางภาครัฐ และดวยพลังงานแสงอาทิตยสามารถผลิตไดเฉพาะชวงกลางวัน จึงจําเปนตองกักเก็บพลังงานสําหรับใชในชวงกลางคืน ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System: ESS) คือ ระบบและ อุปกรณตา งๆ ทีส่ ามารถแปลงพลังงานไฟฟาเปนพลังงานในรูปแบบอืน่ เพือ่ ให สามารถกักเก็บไวเพื่อการใชงานในเวลาอื่น ที่จําเปนได โดยระบบกักเก็บ พลังงานจะแปลงพลังงานที่กักเก็บไวในกลับมาเปนพลังงานไฟฟาอีกครั้งเมื่อ มีความตองการใชไฟฟา ทัง้ นี้ ระบบกักเก็บพลังงานทีด่ จี ะตองลดความสูญเสีย ในการแปลงรูปพลังงานใหเหลือนอยทีส่ ดุ ระบบกักเก็บพลังงานนัน้ มีหลากหลาย รูปแบบ และมีตง้ั แตขนาดเล็ก เชน แบตเตอรีโ่ ทรศัพท ไปจนถึงขนาดใหญ เชน โรงไฟฟาพลังงานนํ้าแบบสูบกลับ (Pumped-storage Hydropower Plant) เปนตน ระบบกักเก็บพลังงานมีขึ้นเพื่อรองรับการผลิตไฟฟาจากพลังงาน หมุนเวียนซึ่งมีความไมแนนอนสูง เชน ไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย เดิมที่ ระบบกักเก็บพลังงานในแบตเตอรีจ่ ะเปนแบบตะกัว่ กรด (Lead-acid Battery) ที่มีการใชอยางแพรหลายในพื้นที่มากกวา 20 ปแลว ซึ่งเทคโนโลยีดังกลาว ยังคงมีจดออน เชน มีสารโลหะหนัก สารพิษ ไอพิษ หรือสารตกคางอืน่ ๆ ทีเ่ ปน สวนประกอบ ซึง่ อาจจะรัว่ ไหลไปสูแ หลงนา้ํ และดิน ทําใหเกิดปญหาสิง่ แวดลอม

GreenNetwork January-February 2017


และสงผลตอสุขภาพอนามัยของคนในทองถิ่น อีกทั้งแบตเตอรี่ชนิดนี้มีรอบการจายไฟจํากัด ชุมชน ตองจายเงินในการเปลี่ยนแบตเตอรี่เฉลี่ยปละกวา 1,500-3,000 บาทตอครัวเรือน กอปรกับการขนยายลําบากเพราะมีน้ําหนักมาก สําหรับชุมชนทีอ่ ยูในพืน้ ทีห่ า งไกล หรือระบบสายสงไปไมถงึ นัน้ เทคโนโลยีกกั เก็บพลังงาน มีความสําคัญเปนอยางมากตอการนําพลังงานทีผ่ ลิตจากโซลารเซลลเพือ่ นําไปใชในชวงกลางคืน อยาง เครือขายรวมใจตามรอยพอ ตําบลปาเด็ง อําเภอแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี กวาครึ่งตําบลที่อยูในเขตพื้นที่ อุทยาน ไฟฟาสายสงเขาไมถึง จึงมีการใชไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยหรือโซลารเซลล หลังจากที่เครือขายรวมใจตามรอยพอ ตําบลปาเด็ง ประสบปญหาจากการใชระบบกักเก็บพลังงานในแบตเตอรี่ แบบตะกัว่ กรด ชุมชนมีความสนใจทีจ่ ะปรับเปลีย่ นมาใชนวัตกรรมการกักเก็บพลังงานดวยแบตเตอรีล่ เิ ทียมไอออน กับการใชไฟ ในระบบโซลารเซลล โดยมีสํานักสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน กระทรวงพลังงาน เปนผูอบรมใหความรู และบริษั ท โฟเซรา จํากัด ผูผลิตเทคโนโลยีระบบโซลารเซลลระดับครัวเรือน จากประเทศเยอรมนี ใหการสนับสนุนผลิตภัณฑ โซลารเซลล ประสิทธิภาพสูงที่กักเก็บพลังงานดวย Battery Lithium-lron-Phosphate (LiFePO4) ใชกับแสงสวางและอุปกรณไฟฟากระแสตรง 3.25V และ 12V มีนํ้าหนักเบาขึ้นกวาเดิม ปลอดภัย เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ประหยัด และอายุการใชงานที่ยาวนานกวาเดิม สามารถชารจใหเต็มได เร็วกวา คายประจไดชากวา สํานักสงเสริมการมีสว นรวมของประชาชน กระทรวงพลังงาน เปนผูป ระสานงาน จนสามารถพัฒนาเปนโครงการความรวมมือ “การสนับสนุน อุปกรณโซลารเซลลเพื่อการพัฒนาชุมชนตามแนวทางประชาเอกรัฐ” และไดจัดกิจกรรมกิจกรรมรับมอบอุปกรณ ภายในงานมีการใหความรูดาน การติดตั้ง การดูแลรักษาระบบ การวิเคราะหปญหาในการใชเบื้องตน โดยมีอุปกรณที่นาสนใจ เชน Fosera รุน Blue Line PSHS และรุน Power Line LSHS ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อใชกับอุปกรณไฟฟากระแสตรง (DC) แรงดันต่ําเพียง 3.25 โวลต และ 12 โวลต ที่หลากหลาย เชน หลอดไฟ LED วิทยุ โทรศัพท ทีวี พัดลม เปนตน โดยมีพอรต USB ในตัวชวยใหสามารถชารจโทรศัพทมือถือและเครื่องเลน MP3 ไดอยางงายดาย เปน ทางเลือกที่เหมาะสมเมื่อใหพลังงานไฟฟาในชนบท มีเทคโนโลยีแบตเตอรี่ที่ทันสมัยและสวนประกอบที่มีคุณภาพสูง Fosera ใชแบตเตอรี่ LiFePO4 มีประสิทธิภาพสูงและทนตอการชารจ ใชไดกวา 5,000 ครัง้ ทําใหระบบสามารถรองรับการบํารุงรักษาไดถงึ 10 ป สําหรับแสงสวาง ใชหลอด LED ประสิทธิภาพสูงดวย ที่ใหความสวางไดถึง 135 lm/W ประหยัดกวาหลอด LED กระแสตรง ทั่วไปกวา 40% อายุการใชงาน เกินกวา 50,000 ชั่วโมง กลองแบตเตอรี่ Fosera มีคุณลักษณะการปองกันอัจฉริยะหลายแบบรวมอยูดวย นอกจากนี้ ยังมีผลิตภัณฑชดุ โคมไฟถนน Commlight ออกแบบมาเพือ่ แกปญ  หาไฟถนนรุน เกาซึง่ มีรอบคาใชจา ยในการบํารุงรักษา สูงและบอยเกินไป ตองมีการแลกเปลี่ยนแบตเตอรี่เปนประจํา มีเทคโนโลยีการชารจที่ ไมไดรับการปรับแตง ไมมีปองกันการขโมย Commlight รุน 800 lumen ใชแบตเตอรี่ลิเทียมไอออนฟอสเฟต Battery Lithium-Iron-Phosphate (LiFePO4) ประสิทธิภาพสูง LEDs การจัดการพลังงานทีท่ นั สมัย การออกแบบ All-in-one อุปกรณทกุ อยางรวมอยูในชิน้ เดียว ตนทุนการบํารุงรักษาตาํ่ การติดตัง้ ที่รวดเร็วและยืดหยุนมีระบบปองกันการขโมย ลักษณะเฉพาะของแบต LiFePO4 รอบการชารจไฟมากกวา 2,000 ครั้ง สูงกวา แบตเตอรี่กรดตะกั่ว 6 เทา ไมมีโลหะหนักที่เปนพิษ เชน ตะกั่ว, แคดเมียม และกรดกัดกรอน ใชหลอด LED ประสิทธิภาพสูง จากความรวมมือของฝายราชการ เอกชน และประชาชน (ประชาเอกรัฐ) ทําใหชุมชนยกระดับสูการเปนศูนยเรียนรู Solar Off Grid แหงแรกที่ใชนวัตกรรมเทคโนโลยีการกักเก็บพลังงานแบบกาวหนา LiFePO4 หรือลิเทียมไอออนฟอสเฟต (Lithium Iron Phosphate) เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ตามแนวทาง Energy 4.0 ที่บริหารจัดการโดยชุมชน โดยมีสํานัก สงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน กระทรวงพลังงาน เปนพี่เลี้ยงเชื่อมโยงความรูประสานความรวมมือกับเอกชน วางเปาหมายตอยอดสูการทําธุรกิจเพื่อสังคม สรางอาชีพดานพลังงานทดแทนเพื่อชุมชน Social Energy Community Enterprise (SECE) ตอไป 17

GreenNetwork January-February 2017


GREEN

Building กองบรรณาธิการ

5: :+D =*/H * =LG ĉ :)D č): + :!

TREES

าคารสีเขียว (Green Building) คืออาคารทีส่ รางขึน้ โดยใชทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพ คุม คา มีความรับผิดชอบตอสิง่ แวดลอมและสังคมตลอดวัฏจักรชีวติ (Life Cycle) ของตัวอาคาร ไมวาจะเปนขั้นตอนการเลือกพื้นที่ทําเล การออกแบบ การกอสราง การดําเนินการ การดูแล การซอมแซมปรับปรุง รวมไปถึงการทําลายตัวอาคารดวย เพราะเปาหมายหลัก คือการลดผลกระทบ จากอาคารกอสราง หรือสิ่งแวดลอมสรรคสรางตางๆ (Built Environment) ที่จะมีผลตอสุขภาพ ของผูคน (Human Health) และสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติ (Natural Environment) หลายคนคงคุนเคยกับ LEED หรือ Leadership in Energy & Environmental Design ซึ่งเปน เกณฑประเมินอาคารเขียว สภาอาคารเขียวสหรัฐอเมริกา หรือ U.S. Green Building Council (USGBC) ไดเปนผูกําหนดเกณฑในการประเมินอาคารตางๆ ทั้งในสหรัฐอเมริกาและประเทศตางๆ สําหรับประเทศไทยมี เกณฑ TREES (Thai’s Rating of Energy and Environmental Sustainability) การประเมินความยัง่ ยืนทางพลังงานและสิง่ แวดลอมไทย โดยสถาบันอาคารเขียวไทย (TGBI) หนวยงานที่ใหการรับรองอาคารประหยัดพลังงานและเปนมิตรตอสิง่ แวดลอมตามมาตรฐาน อาคารเขียว ซึ่งจะเปนหลักเกณฑสําหรับการกอสรางและการปรับปรุงโครงการใหม ที่มุงเนนการ ประเมินโครงการอาคารสาธารณะที่จะสรางขึ้นใหมหรือมีการปรับปรุงครั้งใหญ เชน เปลี่ยนระบบ ปรับอากาศหรือเปลือกอาคาร เปนตน

¸¶©©· W3 !<I-J3 K<<J3<F!FK K<V þ;@V4 2 û <I-J3.K:$ @! IW22 <I-J3Z- <J3 K<<J3<F!

ú ú IW22

<I-J3V!ý2

ú ûü IW22

<I-J30F!

û IW22

<I-J3W7>00M2J:

ø IW22 ÿ_2Z4

0

60

ทัง้ นี้ อาคารสีเขียวจะมุง เนนไปที่ 3 ประเด็นหลัก ไดแก ประสิทธิภาพของการใชนา้ํ พลังงาน และทรัพยากรธรรมชาติ อื่นๆ ปกปองสุขภาพและสงเสริมความสามารถในการทํางานของผูคนในอาคาร รวมถึง ลดปญหาขยะ มลพิษ และการทําลาย สิ่งแวดลอม ซึ่งปจจบันรางวัลอาคารเขียวโดยสถาบันอาคารเขียวไทยแบงออกเปน 4 ระดับดวยกัน อันไดแก Certified (ผาน), Silver (ดี), Gold (ดีมาก) และ Platinum (ดีเดน) เมื่อเร็วๆ นี้ สถาบันอาคารเขียวไทย ไดใหการรับรองเกณฑ TREES แก ไดกิ้น (Daikin) ผูผลิตเครื่องปรับอากาศที่ใสใจ สิ่งแวดลอมและการประหยัดพลังงาน ซึ่งเขารวมโครงการอาคารเขียวประเทศไทย ในการตรวจประเมินอาคาร ตามมาตรฐาน เกณฑการประเมินความยั่งยืนทางพลังงาน และสิ่งแวดลอมไทย หรือ TREES (Thai’s Rating of Energy and Environmental Sustainability) โดยอาคารแหงนี้เปนอาคารสรางใหม ที่เปนศูนยรวมการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑเครื่องปรับอากาศไดกิ้น เพื่อผลิตและจําหนายใหทั้งในประเทศไทยและภาคพื้นเอเชียแปซิฟก อาคารศูนยวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ ตั้งอยูท่ี บริษั ท ไดกิ้น อินดัสทรีส (ประเทศไทย) จํากัด นิคมอุตสาหกรรม อมตะนคร จังหวัดชลบุรี เปนอาคารขนาด 4 ชั้น มีพื้นที่อาคาร 6,960 ตารางเมตร อยูบนพื้นที่ดิน 1,760 ตารางวา โดย ในสวนของการใชพลังงานภายในอาคารทั้งหมดนั้น 75% จะใชในอาคารสํานักงาน ซึ่งมาจากระบบปรับอากาศ ดังนั้น อาคาร แหงนี้ใชเทคโนโลยีเครื่องปรับอากาศไดกิ้น VRV ผสานกับเทคโนโลยีการระบายอากาศ Heat Reclaim Ventilator ที่ชวยให อาคารแหงนี้มีการใชพลังงานที่มีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังออกแบบกรอบอาคารใหรับพลังงานที่ต่ําลง ติดตั้งระบบควบคุม สวนกลาง รวมไปถึงการติดระบบพลังงานไฟฟาจากแสงอาทิตยและสรางพื้นที่สีเขียวชวยใหอุณหภูมิต่ําลง และเลือกใชวัสดุ กอสรางที่ไดมาตรฐาน จึงทําใหอาคารศูนยวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑเครื่องปรับอากาศไดกิ้นแหงนี้ มีความสามารถลดการใช พลังงานไดสูงถึง 43% เมื่อเทียบกับอาคารมาตรฐาน ซึ่งสูงกวาเกณฑสูงสุดของเกณฑอาคารเขียวไทย หรือประหยัดคาไฟฟา ไดถึง 800,000-900,000 บาทตอป จนทําใหอาคารแหงนี้ผานการตรวจสอบและไดรับรางวัลอาคารเขียวขั้นสูงสุด ระดับ Platinum (ดีเดน) จากสถาบันอาคารเขียวประเทศไทย ไมเพียงแตไดกิ้น ปจจบันอาคารเกือบทุกอาคารก็มุงไปสูการเปนอาคารเขียวกันทั้งนั้น เพราะการพัฒนาอาคารเขียว ถือเปนการลงทุนที่ยั่งยืน อันเนื่องมาจากการใชอาคารใหมีความสามารถในการประหยัดพลังงานไปพรอมกับการเปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม

18

GreenNetwork January-February 2017


GREEN

+=) (AD K F6D K- E5! č 2#:

Hotel

#-@ +8E2+9 1č F - * +8 9"): + :! :+"+< :+ =LD#đ!)< + 9"2<L E/ -Ċ5)

แว่นแก้ว

ารทองเทีย่ วในประเทศไทยมีแนวโนมทีจ่ ะเติบโตขึน้ อยางตอเนือ่ ง โดยเฉพาะ การทองเที่ยวเชิงอนุรักษสิ่งแวดลอม นักทองเที่ยวหรือลูกคาที่เขามาพัก จํานวนไมนอยเริ่มจะใหความสําคัญกับเรื่องการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม จึงหันมาเลือกใชบริการโรงแรมที่ใสใจสิ่งแวดลอมกันมากขึ้น จะดีสกั แคไหน หากทุกโรงแรมในประเทศไทยหันมาสู Green Hotel เหมือน อยางโรงแรม ดรีม ภูเก็ต โฮเท็ล แอนด สปา ซึ่งลาสุดไดรับรางวัลตราสัญลักษณ G-Green ระดับดีเยี่ยม (G ทอง) จากกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม โดย ดรีม ภูเก็ต โฮเท็ล แอนด สปา ยึดมัน่ ใจ และใสใจคุณภาพ เห็นคุณคาของการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม เริ่มตั้งแต การออกแบบโรงแรมใหเปนโรงแรมที่ประหยัดพลังงาน ภายใตนโยบายและ เปาหมายในการอนุรกั ษพลังงานและสิง่ แวดลอม มุง มัน่ ทีจ่ ะลดการใชพลังงานไฟฟา ลง 5% ลดการใชน้ําลง 3% และลดปริมาณขยะลง 3% เทียบปกอนหนา รวมไปถึง การใหความรูและจิตสํานึกในการดูแลรักษาสิ่งแวดลอมและการอนุรักษพลังงาน ภายในโรงแรมแกพนักงาน การจัดการดานสิ่งแวดลอมนั้น เริ่มตั้งแตการจัดการนํ้า โดยมีกิจกรรม ลดการใชน้ําสําหรับผูใชบริการและพนักงาน รณรงคใหผูใชบริการใชผาเช็ดตัว ผาปูที่นอน และปลอกหมอนซ้ํา ในกรณีมีการพักมากกวา 1 คืน และแสดงปาย รณรงคใหประหยัดน้ํา ในหองน้ําพนักงาน หองครัว และหองอาหารพนักงาน รวมไปถึงการจัดการเศษอาหาร นาํ้ มันและไขมันในหองอาหาร โดยการคัดแยกขยะ ของหองครัวหลัก (Main Kitchen) และถังบรรจเศษอาหาร ซึง่ จะมีผปู ระกอบการ ฟารมเลี้ยงสุกรมารับทุกวันเพื่อนําไปเปนอาหารสุกร สวนการกําจัดขยะ จะมี กิจกรรมตามหลัก 3 R คือ ลดการเกิดขยะ (Reduce) การนําไปใชซ้ํา (Reuse) การคัดแยกเพื่อนํากลับไปใชใหม (Recycle) และรวบรวมขยะเพื่อรอการเก็บขน ของเทศบาล/ผูรับจางกอนนําไปกําจัดอยางเหมาะสม ขณะที่การจัดการพลังงาน จะเริ่มตั้งแตกิจกรรมลดใชพลังงงานในสถาน ประกอบการ การติดบอรดประชาสัมพันธ รณรงคใหพนักงานรวมกันประหยัด พลังงาน และติดปายประกาศใหปรับตัง้ อุณภูมเิ ครือ่ งปรับอากาศที่ 25 องศาเซลเซียส 19

ดําเนินการถอดหลอดไฟที่ไมจาํ เปนบางสวนออก เพือ่ ประหยัดพลังงานในสวน ของสํานักงาน รวมทั้งเปลี่ยนหลอดไฟจากฮาโลเจนมาเปนหลอดไฟแอลอีดี 100% ติดตัง้ เซ็นเซอรทปี่ ระตูหลังระเบียงหองพัก เมือ่ เปดประตูทงิ้ ไวเกิน 3 นาที เครือ่ งปรับอากาศในหองพักจะหยุดการทํางานอัตโนมัติ และจะกลับมาทํางาน อีกครั้งเมื่อปดประตูสนิทแลว ทั้งยังปรับลดพื้นที่ปรับอากาศ โดยพื้นที่สวน ตอนรับของโรงแรมจะเปนเปนพืน้ ที่ไมปรับอากาศ และหองอาหารของโรงแรม จะมีทง้ั พืน้ ทีป่ รับอากาศและไมปรับอากาศ นอกจากนีย้ งั มีการปลูกพืชประเภท ไมเลือ้ ยและไมยนื ตน ชวยลดการถายเทความรอนจากภายนอกเขาสูต วั อาคาร หลังจากดําเนินการจัดการพลังงานไปแลว โรงแรมสามารถกลดการใช ไฟฟาลงไดถึง 20% ในขณะที่ผูเขาพักในโรงแรมเพิ่มสูงขึ้น 20% คิดเปนเงินที่ ประหยัดไดประมาณ 1.8 ลานบาท นับเปนการการันตีไดวาแมจะมีจํานวนแขก ทีเ่ ขาพักเพิม่ มากขึน้ แตทางโรงแรมยังสามารถบริหารจัดการใหลดการใชไฟฟา ลงไดเกินกวาเปาหมายที่ตั้งไว และเมื่อปลายปที่ผานมา ทางโรงแรมไดสมัครเขารวมโครงการเพิ่ม ประสิทธิภาพการใชพลังงาน เพื่ออนุรักษพลังงาน จังหวัดภูเก็ต เพื่อขอรับเงิน สนับสนุนจากภาครัฐ มีการปรับเปลี่ยนอุปกรณเพื่อลดการใชพลังงาน ซึ่งทาง โรงแรมก็ไดรบั คัดเลือกให เขารวมโครงการเชนกัน ซึง่ ขณะนีถ้ งึ ขัน้ ตอนสุดทาย คือการตรวจวัดผลการประหยัดพลังงาน สําหรับการสรางพื้น ที่สีเขียวภายในโรงแรม ประกอบดวยไมยืนตน ไมพุมหลากหลายชนิด ไมคลุมดิน และสวนแนวตั้ง เพราะไดคํานึงถึงสภาพ ภูมิทัศนของโครงการ ซึ่งชวยเพิ่มความรมรื่นและมีความเปนธรรมชาติใหกับ ผูเขาพัก รวมพื้นที่สีเขียวทั้งหมดประมาณ 2,624 ตารางเมตร คิดเปนรอยละ 34.16 ของพื้นที่ทั้งหมด การทีโ่ รงแรมทุกโรงแรมจะมุง ไปสูก ารบริการสีเขียว หรือ Green Hotel ไดนน้ั องคประกอบสําคัญก็คอื โรงแรมตองมีนโยบายดานการบริการทีเ่ ปนมิตร กับสิง่ แวดลอม ไปนําไปสูก ารพัฒนาบุคลากรใหมคี วามรูใ นเรือ่ งดังกลาว พรอม กับการประชาสัมพันธขา วสาร สรางความเขาใจใหกลุม เปาหมาย หรือแมกระทัง่ การจัดซื้อจัดจางสีเขียว ตลอดจนการจัดการพลังงานที่ยั่งยืน

GreenNetwork January-February 2017


AUTO

Challenge ยาน - ยนต์

@)&-9 )5D 5+čH''ą:59 +<*8

D F!F-*=E" D 5+=L

2;3+9"+ *! čH''ą:

ในป พ.ศ. 2549 นิสสันประสบความสําเร็จดวยการ คิดคนและพัฒนาแบตเตอรี่สําหรับรถยนตแบบไฮบริดที่มี ประสิทธิภาพสูงเมื่อเทียบกับคูแขง ในขณะเดียวกันก็มีการ นําเทคโนโลยีของนิสสันไมวาจะเปน การผสมผสานของ เครื่องยนตผลิตกําลัง มอเตอรไฟฟาขับเคลื่อน เพื่อใหเกิด ความทนทาน ลดเสียงรบกวน, ลดการสั่นสะเทือน และลด ความกระดางตางๆ (Noise/Vibration/Harshness - NVH) ซึง่ ทัง้ หมดไดกลายมาเปนพืน้ ฐานสําคัญของการพัฒนาขุมพลัง สุดล้ําอยาง e-Power สําหรับรถยนตขนาดคอมแพกต โดยเฉพาะ 20

นิสสันมุงมั่นในการพัฒนารถยนตปลอดมลพิษที่ ใชพลังงานไฟฟาในการขับเคลื่อนมาตลอด โดยผานการใชเชื้อเพลิงรูปแบบตางๆ เพื่อตอบสนองตอความตองการที่หลากหลาย ขุมพลัง e-Power จึงถือเปนอีกกาวสําคัญในการเติมเต็มรูปแบบของระบบขับเคลื่อนที่ ใชพลังงานไฟฟา ของนิสสัน นอกเหนือ จากการมุง พัฒนา รถยนตท่ีใชเซลลเชือ้ เพลิงแบบใหมทเ่ี รียกวา SOFC (Solid Oxide Fuel Cell Vehicle) ที่เพิ่งประกาศความสําเร็จไปเมื่อไมนานมานี้อีกดวย ขุมพลัง อี-เพาเวอร (e-POWER) เปนการประยุกตจากแนวคิดของเทคโนโลยีขบั เคลือ่ นดวย ไฟฟา ทีม่ อี ยูในนิสสัน ลีฟ (Nissan LEAF) ทีป่ ระสบความสําเร็จในดานยอดขายและไดรบั การยอมรับ จากผูใ ชงานมาแลวทัว่ โลก โดยในระบบใหมนม้ี กี ารติดตัง้ เครือ่ งยนตสนั ดาปภายในขนาดเล็กเพิม่ เติม เพือ่ ทําหนาทีเ่ ปนเครือ่ งปน ไฟฟาพลังงานสูง เพือ่ สรางกระแสไฟฟาชารจเขามาเก็บในแบตเตอรี่ ลด การพึ่งพาพลังงานไฟฟาจากภายนอก แตยังใหพลังงานไฟฟาในขนาดใกลเคียงกัน GreenNetwork January-February 2017


อี-เพาเวอร เทคโนโลยี ขุมพลังมอเตอรไฟฟาอัจฉริยะ e-Power ประกอบดวยเครือ่ งยนตสนั ดาป ภายในที่ใชนํา้ มันเชื้อเพลิง, เครื่องกําเนิดไฟฟา (Generator), อินเวอรเตอร (Inverter) และมอเตอรไฟฟา โดยรถยนตจะถูกขับเคลื่อนดวยกําลังจาก มอเตอรไฟฟาเทานัน้ ซึง่ กระแสไฟฟาทีถ่ กู สงมาใหกบั มอเตอรไฟฟานัน้ จะถูก เก็บอยูในแบตเตอรี่กําลังสูง โดยที่มีเครื่องยนตสันดาปภายในขนาดกะทัดรัด ทําหนาที่ในการสรางกระแสไฟฟาเขามา เก็บอยูตลอดเวลาเพื่อชดเชยกระแส ไฟฟาที่ถูกใชงานไป ดวยแนวคิดและการออกแบบที่ล้ําหนาของทีมวิจัยและ พัฒนา ภายใต ระบบ e-Power เครือ่ งยนตสนั ดาปภายในจะไมเชือ่ มตอเขากับ ชุดสงกําลังหรือเกียรโดยตรง แตจะทํางานรวมกับเครือ่ งกําเนิดไฟฟาเพือ่ สราง กระแสไฟฟาและชารจเขามาเก็บในแบตเตอรี่ กอนที่กระแสไฟฟานี้จะถูกสง ไปสูมอเตอรไฟฟาในการสรางกําลังเพื่อใชในการขับเคลื่อนตัวรถ ระบบ e-Power มีความโดดเดนกวาเมื่อเปรียบเทียบกับระบบไฮบริดแบบดั้งเดิม ซึ่งมีมอเตอรไฟฟาขนาดเล็กเชื่อมตอเขากับเครื่องยนตสันดาปภายในเพื่อ ขับเคลื่อนผานระบบสงกําลัง เพราะในระบบไฮบริดทัว่ ไปมอเตอรไฟฟาจะไม ทํางานในภาวะ ทีแ่ บตเตอรีม่ กี าํ ลังไฟฟาตา่ํ หรือขณะอยูในยานความเร็วสูง และ ขณะเดียวกัน ระบบ e-Power ยังแตกตางกับรถยนตไฟฟา ที่ ไดรับพลังงาน ไฟฟามาจากชารจแบตเตอรี่เพียงอยางเดียวอีกดวย

โดยทั่วไป โครงสรางของระบบรถยนตไฟฟาแบบนิสสัน ลีฟ จําเปน ตองมีมอเตอรและแบตเตอรีข่ นาดใหญเปนแหลงกําลังหลักในการขับเคลือ่ น ซึ่งยากตอการนําระบบไปประยุกตใหเขากับรถยนตแบบคอมแพกตทั่วไป ได แตทีมวิศวกรของนิสสันสามารถคน พบวิธีการที่ลดไดทั้งขนาดและ น้ําหนักไปจนถึงพัฒนาวิธีการควบคุมมอเตอรและจัดการพลังงานไฟฟา ที่เกิดขึ้น ซึ่งผลที่ไดทําใหขุมพลัง e-Power มีแบตเตอรี่ที่มีขนาดยอมกวา นิสสัน ลีฟ แตสามารถใหความรูสึกในการขับขี่เชนเดียวกับรถยนตไฟฟา

ประโยชนของ อี-เพาเวอร (e-Power) ขุมพลังแบบ อี-เพาเวอร (e-POWER) ใหแรงบิดมหาศาลในทันที และคงที่ตลอดเวลาทําใหมีอัตราเรงที่รวดเร็วแตนุมนวล นอกจากนี้ยังมี ความเงียบในระหวางการขับเคลื่อนเชนเดียวกับนิสสัน ลีฟ ที่เปนรถยนต ไฟฟา 100% โดยในระบบ e-Power เครื่องยนตสันดาปภายในจะไมได ทําหนาทีข่ บั เคลือ่ นตัวรถ จึงทําใหมอี ตั ราการบริโภคนาํ้ มันเชือ้ เพลิงตาํ่ กวา เมือ่ เทียบกับเครือ่ งยนตในรถยนตไฮบริดทัว่ ไป โดยเฉพาะอยางยิง่ การใชงาน ในเมือง ซึ่งเทคโนโลยีสุดลํ้านี้ยังใหผูขับขี่ไดรับประโยชนเฉกเชนเดียวกับ รถยนต ไฟฟาแบบแบตเตอรี่ (Battery Electric Vehicle - BEV) แตสามารถ ลดความวิตกกังวลเมื่อตองหาสถานีชารจไฟฟาไดอีกดวย

ดวยความมุงมั่นที่จะลดการปลอยมลพิษ และลดอัตราความสูญเสีย บนทองถนนใหเปนศูนย ผานนวัตกรรมยานยนตที่ ใชพลังงานสะอาด อยาง รถยนตไฟฟา และระบบขับขี่อัตโนมัติ (Autonomous Drive) ภายใตแนวคิด ของ “การขับเคลื่อนอัจฉริยะของนิสสัน (Nissan Intelligent Mobility)” ที่ได กําหนดทิศทางของการพัฒนาผลิตภัณฑผานการใชพลังงาน, การขับขี่, การ อยูร ว มกันของรถยนตและสังคมไปจนถึงการสรางความสุขของการใชรถยนต เทคโนโลยี e-Power จะเปนอีกกาวทีส่ าํ คัญใหนสิ สันเขาใกลเปาหมายในดาน การปลอยมลพิษที่เปนศูนย

21

GreenNetwork January-February 2017


GREEN

People จีรภา รักแก้ว

ใน

อนาคตโรงแรมทุกโรงแรมจะใหความสําคัญกับความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น เริม่ ตัง้ แตการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ การซือ้ และขายพลังงาน ใหกับแหลงพลังงานทดแทน ใชผลิตภัณฑที่สะอาดและปลอดภัย การใชพลังงาน ทดแทนอยางพลังงานแสงอาทิตย รวมไปถึงการตระหนักถึงเรือ่ งคารบอนฟุตพรินต ที่จะเปนตัวบงบอกความเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมของโรงแรมนั่นเอง Green Hotel หรือโรงแรมที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม คือรูปแบบหนึ่ง ที่สงเสริมศักยภาพโรงแรมใหมีการใชทรัพยากรพลังงานอยางคุมคาและมี ประสิทธิภาพ มีการจัดการสิ่งแวดลอมที่ดี และยกระดับมาตรฐานการบริการ ใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม

เมือ่ เร็วๆ นี้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม โดยกรมสงเสริม คุณภาพสิง่ แวดลอม (สส.) ไดมอบรางวัลตราสัญลักษณ G-Green ระดับประเทศ เพื่อเชิดชูและประกาศเกียรติคุณแกสถานประกอบการ โรงแรม และสํานักงาน ทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม นับวาเปนการผลิตและการบริโภคทีย่ ง่ั ยืน เปน 1 ใน 17 เปาหมายการพัฒนาอยางยัง่ ยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) ใน ภาคสวนของโครงการโรงแรมที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (Green Hotel) ในปนี้ มีโรงแรมที่ไดรับรางวัลจํานวน 74 แหง แมนดาริน เปนหนึ่งในโรงแรมที่ไดรับ รางวัลตราสัญลักษณ G-Green ระดับดีเยี่ยม (G ทอง) บริษัท แมนดารินโฮเต็ล จํากัด (มหาชน) ดําเนินกิจการโรงแรมเพื่อให นักธุรกิจและนักทองเที่ยวเชาพักอาศัย เริ่มเปดบริการตั้งแตป 2508 เปนตนมา ตอมาไดมีการปดปรับปรุง และปรับโฉมในป 2556 เปน โรงแรมแมนดาริน แมนเนจบาย เซ็นเตอรพอยต (Mandarin Hotel Managed by Center Point) โดยในป 2559 ไดสนับสนุนและสงเสริมคุณภาพชีวิต โดยเปลี่ยนเปน “โรงแรม ปลอดบุหรี่” (Smoke Free Hotel) และลาสุดไดเขารวมโครงการโรงแรมสีเขียว

E)! :+<!

F+ E+)5!@+9 1č&-9 :! E-82<L E/ -Ċ5)

อาทิตย ไวทยะพัธน

22

การอนุรักษพลังงาน เปนสิ่งสำคัญและเปนหนาที่ ของพนักงานทุกคนที่ตอง รวมมือกันดำเนินการ จัดการพลังงานอยางตอเนื่อง และใหคงอยูตอไป

GreenNetwork January-February 2017


อาทิตย ไวทยะพัธน ผูจัดการทั่วไป โรงแรมแมนดาริน ไดเปดเผยถึงการ เขารวมโครงการโรงแรมที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (Green Hotel) วา แมนดาริน มีนโยบายและเปาหมายที่ชัดเจนเกี่ยวกับ Green Hotel ตั้งแตการประกาศ เจตนารมณนโยบายดานการบริการที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ควบคูไปกับการ อนุรักษพลังงาน ตั้งแตการตั้งเปาหมายจะลดการใชไฟฟาลง 1% ภายในป 2560 และเนือ่ งจากในภาวะปจจบัน ประเทศชาติกาํ ลังประสบปญหาดานพลังงาน ซึง่ เปน ปญหาที่มีความสําคัญและมีผลกระทบตอการดํารงชีวิตและเศรษฐกิจของชาติ เปนอยางมาก ดังนั้น แมนดารินจึงไดดําเนินการนําระบบการจัดการพลังงานมา ประยุกตใชภายในบริษัทฯ ตัง้ แตป 2558 ทัง้ ยังไดกาํ หนดนโยบายอนุรกั ษพลังงาน เพื่อใชเปนแนวทางการดําเนินงานดานพลังงาน สงเสริมการใชพลังงานใหเกิด ประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด

จัดซื้อจัดจางที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ภายใตนโยบายการเปนโรงแรมสีเขียวของแมนดารินนั้น ไดตั้งเปาไววา โรงแรมจะตองทําการสัง่ ซือ้ วัสดุอปุ กรณทนี่ าํ มาใชภายในโรงแรม ทีเ่ ปนผลิตภัณฑ ที่ไดรบั มาตรฐานอุตสาหกรรมและไดรบั เครือ่ งหมายทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอมอยาง นอย 50% ภายในระยะเวลา 1-2 ป และภายในปตอๆไป เริ่มตั้งแตการคัดเลือก และซื้อผลิตภัณฑหรือวัสดุที่หาไดในทองถิ่นและเปน มิตรกับสิ่งแวดลอม เชน ขาวอินทรียปลอดสารเคมี ขาวออรแกนิกจากเกษตรกร วัตถุดิบที่สั่งมาพรอมใช เพื่อลดขยะ และเลือกใชผักปลอดสารพิษ เปนตน การจัดการน้ำที่มีประสิทธิภาพ อาทิตย กลาววา น้ําถือเปนทรัพยกรธรรมชาติที่มีความสําคัญตอทุกสิ่ง มีชวี ติ ฉะนัน้ จึงมีระบบการจัดการนาํ้ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ โดยผานกิจกรรมลดการใชนาํ้ สําหรับพนักงานและผูใ ชบริการ จัดทําปายรณรงคเพือ่ ลดการใชนา้ํ เชน ไมเปดนา้ํ ไหลทิ้งขณะฟอกสบู กดน้ําดื่มแตพอดี หรือแมแตจัดขวดน้ําดื่มไวบริการแกผูเขา รวมประชุมแทนการเติมนา้ํ ในแกวทีเ่ ตรียมไว รณรงคใหผมู าใชบริการ ใชผา เช็ดตัว ผาปูที่นอนและปลอกหมอนซา้ํ รวมไปถึงการติดตามตรวจสอบอุปกรณและระบบ ทอภายในโรงแรมอยางตอเนื่อง เลือกใชสุขภัณฑประหยัดน้ําที่มีระบบเซ็นเซอร อัตโนมัติในการชวยประหยัดนํ้า และสามารถเลือกใชนํ้านอยหรือมากได มีการ ติดตั้งมาตรวัดน้ําเพื่อติดตามปริมาณการใช และการควบคุมการรดน้ําสนามหญา และพืชพรรณที่เหมาะสม โดยตั้งเวลาเปด-ปด 2 ชวงคือ เวลา 21.00-21.30 น. และ 05.00-05.30 น. ซึ่งเปนชวงเวลากลางคืนลดการระเหยของน้ํา สวนดานการ จัดการนา้ํ เสีย มีการจัดทําตะแกรงดักเศษอาหาร โดยมีการตักและทําความสะอาด เศษอาหารและไขมันออกจากตะแกรงอยางสมาํ่ เสมอ และมีบอ ดักไขมันทีเ่ หมาะสม และการจัดการน้ําภายในโรงแรมนั้น ไดมีการบันทึกปริมาณการใชน้ําประปา เปรียบเทียบ 3 ป ตั้งแตป 2557-2559 พบวามีปริมาณการใชน้ําลดลงทุกป การจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพ อาทิตย กลาววา แมนดารินใหความสําคัญเรื่องขยะ จึงมีการดําเนินการ เพือ่ ลดการเกิดขยะ (Reduce) สําหรับผูใ ชบริการ พนักงาน และบริษัทคูค า ไดแก เลือกใชภาชนะแกวน้ําดื่ม แทนการใชแกวกระดาษสําหรับ Welcome Drink Corner เลือกใชถุงผาซักรีด แทนการใชถุงพลาสติก ตกแตงสถานที่โดยใช

23

ไมประดับหรือดอกไมปลอม แทนการใชดอกไมสด เพื่อลดปริมาณขยะ และ สามารถหมุนเวียนกลับมาใชใหม เลือกใชภาชนะใสขนม แทนการใชถวยกระดาษ หรือฟอยลเคก จัดเตรียมภาชนะเพื่อรองรับแผนพับ ใบปลิวหรือเอกสารตางๆ ที่ ผูรวมประชุมไมตองการ เพื่อนําไปใชเปนกระดาษรีไซเคิล เลือกใชวัสดุธรรมชาติ ที่ยอยสลายไดเปนวัสดุที่ใชแลวทิ้ง จัดใหมีภาชนะแยกเศษอาหาร เครื่องดื่ม เพื่อ สะดวกตอการนําไปใชประโยชนหรือกําจัดตอไป มีการประสานงานกับคูค า ในการ จัดซือ้ ผักผลไมทอ งถิน่ ที่ไดรบั การตัดแตงเรียบรอยแลว เพือ่ ลดการเกิดขยะ มีการ ใชผาเช็ดมือ เพื่อลดการใชกระดาษในหองน้ํา “การคัดแยกขยะ แบงเปนขยะรีไซเคิล ขยะอินทรีย ขยะอันตราย และขยะ มูลฝอยทัว่ ไป เก็บรวบรวมอยางถูกตอง โดยขยะรีไซเคิลจะสงขายใหกบั รานรับซือ้ ของเกาในทองถิน่ สวนการจัดเก็บขยะอันตราย รวบรวมหลอดไฟเกาที่ไมสามารถ ใชงานได เพื่อสงตอใหทางเขตฯ เขามารับไปจัดการอยางถูกวิธีตอไป และสําหรับ ขยะอาหารจะนําไปใชเปนอาหารเลี้ยงสัตว”

การจัดการพลังงานที่มีประสิทธิภาพ สําหรับลดการใชพลังงานในสถานประกอบการ ในสวนของพนักงานเริม่ แต ตัง้ การปรับอุณหภูมเิ ครือ่ งปรับอากาศใหเปนมาตรฐานเดียวกัน ปรับความเย็นของ ตูเ ย็น ใหอยูในอุณหภูมทิ ป่ี ระหยัดพลังงาน ใชกระดาษครบทัง้ 2 หนา ปดไฟดวงที่ ไมใชงาน ขึน้ ลงบันไดแทนการใชลฟิ ต ทําการปดชัน้ หองพัก ในชวงการเขาพักนอย เพื่อลดการใชพลังงาน มีการดูแล บํารุงรักษาอุปกรณแสงสวางภายในโรงแรม ใหสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยจะมีการบํารุงรักษาเปนประจําทุก 6 เดือน มีการเปลี่ยนหลอดไฟเมื่อพบวาชํารุดโดยเปลี่ยนจากหลอดคอมแพ็กต ฟลูออเรสเซนต 8 วัตต เปนหลอดไฟ LED 5 วัตต มีการติดตั้งและใชสวิตชตั้งเวลา เพื่อควบคุมการใชพลังงานเพื่อแสงสวางในอาคาร ควบคุมและปองกันความเย็น รั่วไหลออกสูพื้นที่หองหรืออาคาร ดวยการติดตั้งประตูเปด-ปดอัตโนมัติที่ประตู ทางเขา-ออก เพื่อไมใหความเย็นรั่วไหล รวมไปถึงปรับลดพื้นที่ปรับอากาศ เพื่อ ลดคาใชจายดานพลังงาน มีการใชความเย็นของระบบ Heat Pump ไปหลอเลี้ยง หอง Chiller เพื่อชวยลดการเกิดเปนหยดนําตามทอและวาลวตางๆ และมีการใช รมเงาของพรรณพืชชวยลดการถายเทความรอนจากภายนอกอาคารเขาสูต วั อาคาร โรงแรม และยังเปนการเพิ่มพื้นสีเขียวภายในโรงแรม อาทิตย กลาวเพิ่มเติม กอนการเขารวมโครงการโรงแรมสีเขียว แมนดารินมีอัตราการใชไฟฟา ของผูเ ขาพักในป 2557 อยูท ี่ 20.3 หนวยตอป ในขณะทีป่  2559 อัตราการใชไฟฟา ของผูเขาพักลดลงเหลือเพียง 17.4 หนวยตอป และนอกเหนือจากการรับรางวัล สัญลักษณ G-Green ประเภทโรงแรมที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมแลว แมนดาริน ไมไดหยุดเพียงเทานี้ พรอมทีจ่ ะสานตอโครงการอยางตอเนือ่ ง ไมวา จะเปน SEAN Green Hotel Awards และ Thailand Energy Awards ซึ่งลวนเปนรางวัลที่ การันตีดานการอนุรักษพลังงานและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม “อยากใหโรงแรมในบริเวณกรุงเทพฯ และทั่วประเทศเขาสู Green Hotel กันมากขึ้น ดวยการมุงมั่นและจริงจัง เพื่อแสดงใหเห็นวาประเทศไทยมีศักยภาพ ในการใหบริการ เพื่อเราจะไดเปนประเทศที่รักษสิ่งแวดลอม เพราะในอนาคต อั น ใกล นี้ ทิ ศ ทางโรงแรมสี เ ขี ย วจะเปลี่ ย นไปในทิ ศ ทางของการเป น มิ ต รต อ สิ่งแวดลอมและการอนุรักษพลังงาน”

GreenNetwork Green Network January-February 2017


GREEN

Factory

H * D5K)D5K)D5 ; 9

จีรภา รักแก้ว

$-

“มุงมั่นใหเกิด การพัฒนาอยางยั่งยืน (Sustainable Development) เนนการบริหารจัดการ ตลอดหวงโซอุปทาน พัฒนาบุคลากรใหพรอม กับการเจริญเติบโต อยางยั่งยืน”

9"D -?L5!): + :+5!@+9 1č&-9 :!D K)+A#E""

บริษัท ไทย เอ็มเอ็มเอ จํากัด (CCS Plant) เปนบริษัทรวมทุนระหวาง SCG Chemicals และ Mitsubishi Chemical Corporation (ประเทศญีป่ นุ ) ซึง่ เปนผูผ ลิตแผนอะครีลกิ แบบตอเนือ่ ง (Continuous Casting) ด ว ยเทคโนโลยี ชั้ น สู ง มี ค วามมุ ง มั่ น ให เ กิ ด การพั ฒ นาอย า งยั่ ง ยื น (Sustainable Development) โดยเนนการบริหารจัดการตลอดหวงโซอปุ ทาน รวมถึงการดูแลพัฒนา ชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม เพื่อยกระดับการพัฒนา และสรางความเชื่อมั่นความไววางใจ ในการ อยูรวมกันอยางยั่งยืน โรงงานผลิตแผนอะครีลิกแบบตอเนื่อง (CCS Plant) ของ บริษัท ไทย เอ็มเอ็มเอ จํากัด ตั้งอยูใน นิคมอุตสาหกรรม อาร ไอ แอล ตําบลมาบตาพุด อําเภอเมือง จังหวัดระยอง บนพื้นที่จํานวนกวา 15 ไร การอนุรักษพลังงาน เปนการผลิตและใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ และประหยัด เพื่อ กอใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรมถือเปนภาคสวนที่มีการใชพลังงาน ในปริมาณสูง หากมีการบริหารจัดการดานการใชพลังงานใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดแลว นอกจากจะเปนการชวยประหยัดคาใชจา ยดานพลังงานภายในโรงงานแลว ยังเปน การชวยลดรายจายดานพลังงานของประเทศอีกดวย

มาตรการอนุรักษพลังงานใชในโรงงาน CCS บริษัท ไทย เอ็มเอ็มเอ จํากัด (CCS Plant) ไดใหความสําคัญในการ เรื่องการจัดการพลังงานภายในโรงงานมาอยางตอเนื่อง โดยไดดําเนินมาตรการ อนุรักษพลังงานในชวงป 2557-2559 จํานวน 10 มาตรการ ทั้งในสวนของมาตรการที่ใช เงินลงทุนและไมใชเงินลงทุน อาทิ ปรับปรุงกระบวนการผลิตแผนแบบ L-Grade แบบตอเนื่อง, การเพิ่มอุณหภูมิอากาศในหอง Belt Machine Room จาก 28 ํC เปน 32 ํC, การเปลี่ยนใบพัดหอผึ่งเย็น เปน Fibre-reinforced Plastic (FRP) รุน Super Aerodynamic, การเปลี่ยนมาใชหลอดไฟประหยัดพลังงาน LED 100 วัตต แทนหลอดเมทัลฮาไลด 250 วัตต, การจัดการลดใชพลังงานชวง Turnaround ที่ระบบตางๆ, การซอม วาลวควบคุมและติดตั้ง Steam Flow Meter สงผลใหสามารถลดพลังงานลงไดรอยละ 22.49 คิดเปนคาพลังงานไฟฟา 999 MWh เปนพลังงานความรอน 11.83 TJ หรือคิดเปนคาใชจายดานพลังงานที่ลดลงมากกวา 6.21 ลานบาท ดวยเงิน ลงทุนกวา 2.25 ลานบาท ทั้งนี้ กอนเขารวมโครงการมีคาใชจายดานพลังงานปละกวา 40 ลานบาท แตปจ จบันคาใชจาย ดานพลังงานลดลงเหลือประมาณ 30 ลานบาท นอกจากนี้ ดานบริหารจัดการไดนําระบบ TPM และแนวคิดการบริหารจัดการดานพลังงานที่เรียกวา Integrated Business Excellence (IBE) มาประยุกตใชเปนระบบหลักในการขับเคลือ่ นการบริหารจัดการธุรกิจเนนนโยบายการสราง ทัศนคติที่ดีตามมาตรฐานระบบการจัดการพลังงาน ISO 50001: 2011

24

GreenNetwork January-February 2017


CCS Plant โรงงานสีเขียว ลดผลกระทบตอสิง่ แวดลอม ไทย เอ็มเอ็มเอ ไดดําเนินการจัดการมลพิษและของเสียที่เกิดขึ้นจาก กระบวนการผลิตอยางเปนระบบ ภายใตมาตรฐานระบบการจัดการสิง่ แวดลอม (ISO 14001: 2015) และใชหลักการ 3Rs (Reuse Reduce Recycle) ในการ ควบคุมและจัดการของเสียที่เกิดขึ้นเพื่อนําทรัพยากรมาใชอยางคุมคาและ ประหยัด และลดกากของเสียใหเหลือปริมาณนอยทีส่ ดุ กอนนําออกนอกโรงงาน เพือ่ นําไปกําจัดอยางถูกตองตามกฎหมาย ทัง้ นี้ ไทย เอ็มเอ็มเอ ยังไดรบั ฉลาก รับรองผลิตภัณฑตามมาตรฐาน SCG Eco Value ดานกระบวนการผลิตที่ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (Eco Process) เมื่อป 2557 รวมไปถึงการไดรับการ รับรองอุตสาหกรรมสีเขียวระดับ 3 จากกระทรวงอุตสาหกรรมในป 2555 และ ไดรบั การรับรองคารบอนฟุตพรินตองคกร (Carbon Footprint Organization: CFO) ประเภทกระบวนการผลิตป พ.ศ. 2559 อีกดวย นอกจากนีโ้ รงงานยังสรางพืน้ ทีส่ เี ขียวประมาณ 5,010 ตารางเมตร หรือ ประมาณ 3 ไร โดยคิดเปนรอยละ 16 ของพื้นที่ทั้งหมด โดยพื้นที่สีเขียวนั้น จะจัดไวโดยรอบของพื้นที่โรงงาน การจัดการองคความรูและการถายทอดเทคโนโลยี ไทย เอ็มเอ็มเอ ไดเล็งเห็นความสําคัญของการจัดการองคความรู และการถายทอดเทคโนโลยี จึงไดมีการเก็บรวบรวมองคความรูที่เกิดขึ้นจาก โครงการ TMMA University และเปดโอกาสใหนําเสนอผลงานแลกเปลี่ยน ความรู ประสบการณ ปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการดําเนินการผานทาง กิจกรรม Show & Share การจัดบอรดอนุรักษพลังงาน การจัดทําวารสาร อนุรักษพลังงานตลอดจนการเผยแพรองคความรูและผลสําเร็จไปยังบริษั ท ในกลุม SCG Chemicals ผานทีป่ ระชุมคณะกรรมการดานการจัดการพลังงาน และการประกวด SCG Innovation Suggestion Awards ปลูกจิตสำนึกพนักงานอนุรักษพลังงาน ไทย เอ็มเอ็มเอ ยังไดสนับสนุนการสรางกระบวนการเรียนรู กระตุน และการพัฒนาความรูความสามารถของบุคลากรเพื่อใหพนักงานมีความรูที่ ถูกตองทั้งหลักทางทฤษฎีและปฏิบัติ สามารถนําความรูไปตอยอดในการเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต การแกไขปญหา และลดการสูญเสียพลังงานไดผาน โครงการ TMMA University สงเสริมการมีสว นรวมของพนักงานตัง้ แตผบู ริหาร ระดับสูงจนถึงพนักงานระดับปฏิบัติการ มีสวนรวมในการทํากิจกรรมเพื่อ ปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพในการทํางานผานทางระบบการบํารุงรักษา ทวีผล (TPM) อาทิ Kaizen, Energy Loss Killer เปนตน

25

นอกจากนี้ ไทย เอ็มเอ็มเอ ยังได สงเสริมกิจกรรมสรางความ ตระหนักดานพลังงานที่หลากหลาย เชน Energy Day, Sustainable Development Day, การอบรมสร า งความตระหนั ก ด า นพลั ง งาน ประจําป เปนตน

ควารางวัล Thailand Energy Awards 2017 ดานอนุรักษพลังงาน จากผลความสําเร็จจากการดําเนินงานดานพลังงานในหลายๆ กิจกรรม ผูบ ริหารไดเล็งเห็นถึงความสําคัญจึงสนับสนุนใหทมี งานอนุรกั ษพลังงานสงโครงการ การดําเนินการดานพลังงานภายในโรงงานเขาประกวดรางวัล Thailand Energy Awards 2017 เพื่อสรางความภูมิใจใหกับพนักงานทุกระดับชั้นและเปนเมล็ดพันธุ ความสําเร็จในการดําเนินกิจกรรมสรางความตระหนักดานพลังงานอยางยั่งยืน ตอไป โดยลาสุด โรงงานผลิตแผนอะครีลิกแบบตอเนื่อง (CCS Plant) ของ บริษัท ไทย เอ็มเอ็มเอ จํากัด สามารถควารางวัลดีเดน Thailand Energy Awards 2017 ดานอนุรักษพลังงาน ประเภทโรงงานควบคุม จากกรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน ถือเปนรางวัลอันทรงเกียรติที่สรางความ ภาคภูมิใจ Thailand Energy Awards สุดยอดรางวัลดานพลังงานไทยระดับสากล Thailand Energy Awards ถือเปนเวทีที่สงเสริมใหภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม ซึ่งประกอบดวยโรงงานและอาคารควบคุมตามพระราชบัญญัติการสงเสริมการ อนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2535 และที่อยูนอกขายควบคุม ซึ่งเปนภาคที่ ใชพลังงาน ในปริมาณสูง สงเสริมใหเกิดการตื่นตัวในการอนุรักษพลังงาน และผลักดันให เกิดการพัฒนาพลังงานทดแทนมากยิ่งขึ้น โดยการจัดประกวด Thailand Energy Awards ตัง้ แตป 2543 เปนตนมา เพือ่ เปนการแสดงความชืน่ ชมและยกยองโรงงาน อาคารบุคลากร และผูมีสวนสงเสริม สนับสนุนใหเกิดการอนุรักษพลังงานและการ พัฒนาพลังงานทดแทน นอกจากนี้ ยังไดคัดเลือกผูชนะการประกวดเปนตัวแทน ประเทศไทยไปประกวดในระดับอาเซียนตอไปดวย และสําหรับการจัดประกวด Thailand Energy Awards 2018 อยูในระหวางขั้นตอนการพิจารณาผลงานผูเขา ประกวด คาดวาจะประกาศผลการประกวดและพิธีมอบรางวัล Thailand Energy Awards 2018 ในเร็วๆ นี้

GreenNetwork January-February 2017


GREEN

World กองบรรณาธิการ

6?Aþ#K<%O` 5>M.Z88 K7>J!!K20-W02

100% 1K_AY? [. #=þ" W/: Q : K @ K=J441O_;OG<S

https://cdn.pixabay.com/photo/2017/04/15/11/01/renewable-2232160_960_720.jpg

ลังงานมีความสําคัญตอทุกชีวติ บนโลกใบนี้ โลกจะอยูไมไดหากปราศจาก พลังงาน ขณะที่พลังงานลวนแตใชแลวก็หมดไป เชน น้ํามันหรือไฟฟา ในปจจบันทั่วโลกไดเล็งเห็นความสําคัญของพลังงานที่กําลังจะหมดไป ดวยการ ปรับปลีย่ นเขาสูย คุ ของการสรางพลังงานทดแทนหรือพลังงานสะอาดเขามาใชงาน พรอมกับการคํานึงถึงทรัพยากรธรรมชาติและการเปนมิตรตอสิง่ แวดลอมอีกดวย

การเปลี่ยนแปลงของทั่วโลกไปสูการผลิตกระแสไฟฟาหมุนเวียน 100% ไม ใชวิสัยทัศนในระยะยาว แตเปนความจริงที่เปนรูปธรรมซึ่งเปนผลงานวิจัย ชิน้ ใหมของ Lappeenranta University of Technology (LUT) และ Energy Watch Group (EWG) การศึกษาไดรบั การนําเสนอในระหวางการประชุมสุดยอด Global Energy Solutions Showcase (GRESS) ในระหวางการประชุมการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศของสหประชาชาติครั้งที่ 23 ในกรุงบอนน ทั้งนี้ ผลจากการศึกษาพบวาระบบผลิตไฟฟาที่ ใชพลังงานทดแทนทั่วโลก ไมเพียงแตเปนไปได แตจริงๆ แลวมีความคุม คากวาระบบทีม่ อี ยูซ ง่ึ สวนใหญมาจาก เชือ้ เพลิงฟอสซิลและพลังงานนิวเคลียร ทําใหตน ทุนการผลิตไฟฟาตาํ่ กวาในปจจบัน อยางไรก็ตาม ศักยภาพและเทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียนทีม่ อี ยู ซึง่ รวมถึง พื้นที่เก็บขอมูลสามารถสรางพลังงานที่เพียงพอและมีความปลอดภัยเพื่อรองรับ ความตองการใชไฟฟาทัว่ โลกไดภายในป 2050 จากแบบจําลองของการวิจยั พบวา ระดับราคาตนทุนพลังงานทั้งหมดจะลดลงจาก 70 ยูโรตอเมกะวัตต-ชั่วโมง ใน ปจจบันเหลือเพียง 52 ยูโรตอเมกะวัตต-ชั่วโมง ภายในป 2050 และการเปลี่ยน 26

ไปใชพลังงานทดแทน 100% จะทําใหการปลอยกาซ เรือนกระจกในภาคไฟฟาลดลงเปนศูนยและลดการสูญเสีย พลังงานทัง้ หมด อยางไรก็ตาม ในการเปลีย่ นแปลงนีย้ งั จะสราง ตําแหนงงานใหมอกี 36 ลานตําแหนงในกระบวนการนีด้ ว ย ทัง้ นี้ คาดวาประชากร โลกจะเติบโตจาก 7.3 พันลานคน เปน 9.7 พันลานคน ความตองการใชไฟฟา ทัว่ โลกสําหรับภาคไฟฟาจะเพิม่ ขึน้ จาก 24,310 TWh ในป 2015 เปน 48,800 TWh ภายในป 2050 เชนกัน หากพิจารณาจากการปลอยคารบอนจากแบบจําลองนี้จะเห็นวามันลดลง อยางรวดเร็วถึง 80% ในระหวางป 2020-2030 และใชเวลาอีก 20 ปคอ ยๆ ลดลง จนเปนศูนยในป 2050 และดูจากกราฟการปลอยคารบอนแบบแยกตามภูมิภาค ดานลางเห็นไดชัดเลยวาประเทศไหนเปนตัวการสําคัญ

GreenNetwork January-February 2017


เนื่องจากราคาพลังงานแสงอาทิตยลดลงอยางรวดเร็วและการจัดเก็บ แบตเตอรี่ทําใหระบบไฟฟามีพลังงานมากขึ้น โดยมีพลังงานแสงอาทิตยถึง 69% พลังงานลม 18% พลังน้ํา 8% และพลังงานชีวภาพ 2% ของการผสมผสานพลังงาน ไฟฟาทั้งหมดในป 2050 ทั่วโลก ความเปนไปไดที่จะผลิตไฟฟาดวยพลังงาน หมุนเวียน 100% มีโอกาสเปนจริงตามงานวิจัยสูงมากดวยปจจัยหลายอยาง กอปรกับขณะนี้หลายประเทศไดเริ่มประกาศเปาหมายการผลิตไฟฟาดวยพลังงาน หมุนเวียน 100% กันบางแลว อาทิ ประเทศสกอตแลนดใชเวลา 15 ปที่ผานมาเพิ่มการใชพลังงานหมุนเวียน ผลิตไฟฟาจาก 10% เปน 60% และไดประกาศยืนยันออกมาแลววาจะผลิตไฟฟา ดวยพลังงานหมุนเวียน 100% ภายในป 2020 ในขณะที่นิวซีแลนดเปนอีกประเทศ หนึ่งที่ไดประกาศเปาหมายในเรื่องนี้แลวเชนกัน หลังจากไดนายกรัฐมนตรีผูหญิง ทีม่ อี ายุนอ ยทีส่ ดุ ในโลก Jacinda Ardern หลังรับตําแหนงเพียงไมนาน ก็ไดประกาศ เปาหมายการผลิตไฟฟาดวยพลังงานหมุนเวียน 100% ภายในป 2035 สวนประเทศ เดนมารก ซึง่ เปนผูน าํ ดานการใชพลังงานจากกังหันลม ไดทาํ สถิตโิ ลกในเปนผูผ ลิต เครื่องพลังงานกังหันลมมากที่สุด ปจจบันเดนมารกมีอัตราการใชพลังงานจากลม เปนสัดสวน 40% ของพลังงานทั้งประเทศ เดนมารกตั้งเปาวาจะกาวเขาสูการเปน ประเทศที่ใชพลังงานสะอาด 100% ในป 2050 เชนกัน และสวีเดนประกาศวาจะเปนประเทศแรกในโลกทีเ่ ลิกใชนา้ํ มันใหไดภายใน ป 2020 โดยไดตั้งเปาไวชัดเจนแลวรัฐบาลสวีเดนจึงมุงสงเสริมใหประชาชนหันมา ใชพลังงานทางเลือกที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม มีขอเสนอและผลประโยชน เพื่อ สรางแรงจูงใจใหชาวสวีเดนลดการใชนํ้ามันและพลังงานถานหิน อาทิ ลดภาษี รถยนตที่ใชพลังงานทางเลือกที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม พรอมทั้งใหผูขับขี่รถยนต ประเภทนี้ใชทางดวนไดฟรี ในงานวิ จั ย ยั ง ได เ น น ย้ํ า ว า จําเปนจะตองใชแหลงพลังงานหมุนเวียน ทุกชนิด คลังและอุปกรณเก็บพลังงานทุกรูปแบบ รวมไปถึงเทคโนโลยีการบริหารจัดการความตองการใชไฟฟา และยังแสดงใหเห็นการเพิ่มมากขึ้นของโซลารฟารมและคลังแบตเตอรี่ เนื่องจากราคาที่ลดลง พลังงานลมจะเปนคูแขงสําคัญของพลังงานแสงอาทิตย ชวงสั้นๆ ในป 2020 แตในที่สุดจะลดบทบาทลงไป การศึกษาเรื่อง “ระบบพลังงานโลกจากพลังงานทดแทน 100%” จะมี นัยสําคัญสําหรับผูกําหนดนโยบายและนักการเมืองทั่วโลก เนื่องจากเปนการ ปฏิเสธขอโตแยงที่นักวิจารณมักใชบอยๆ วาแหลงพลังงานหมุนเวียนไมสามารถ จัดหาพลังงานไดเต็มรูปแบบเปนรายชั่วโมง การสรางแบบจําลองศิลปะแหงแรกของ LUT ไดรับการพัฒนาโดย LUT จะคํานวณการผสมผสานเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับคาใชจายโดยอาศัยแหลง พลังงานหมุนเวียนทีม่ อี ยูในทองถิน่ สําหรับโลกทีม่ โี ครงสรางใน 145 ภูมภิ าค และ คํานวณเสนทางการเปลี่ยนพลังงานที่คุมคาที่สุดสําหรับการจายไฟฟาดวยความ ละเอียดรายชัว่ โมง สําหรับปอา งอิงทัง้ หมด สถานการณการเปลีย่ นแปลงพลังงาน ทั่วโลกจะดําเนินการในชวงเวลา 5 ป ตั้งแตป 2015 จนถึงป 2050 ผลลัพธที่ได จะรวมอยูใน 9 ภูมิภาคหลักๆ ของโลก ไดแก ยุโรป, ยูเอเชีย, ตะวันออกกลาง และแอฟริกาเหนือ, ทะเลทรายซาฮาราแอฟริกา, เอเชียใต, เอเชียตะวันออก เฉียงเหนือ, เอเชียตะวันออกเฉียงใต, อเมริกาเหนือ และอเมริกาใต

https://cdn.pixabay.com/photo/2017/ 05/10/21/21/energy-2302001_960_720.jpg

https://cdn.pixabay.com/photo/2017/ 08/21/20/29/solar-2666770_960_720.jpg

ทิศทางทางดานพลังงานโลกที่กําลังเกิดขึ้นนั้น ลวนแตมุงไปสูการจัดหา พลังงานทดแทนหรือพลังงานสะอาด ทีจ่ ะเขามาแทนทีพ่ ลังงานหลักไดอยาง 100% แตอยางไรก็ตาม การที่แตละประเทศจะหันมาใหพลังงานทดแทนไดทั้งหมดนั้น ก็ยอ มมีหลายปจจัยเขามาเกีย่ วของ ไมวา จะเปนสภาพภูมอิ ากาศ ทีต่ งั้ ของประเทศ นั้นๆ ระบบเศรษฐกิจ นโยบายดานพลังงาน รวมไปถึงการพัฒนาเทคโนโลยีตางๆ ที่จะเขามาชวยตอบโจทยใหเกิดพลังงานทดแทนอยางจริงจัง ตามที่แตละประเทศ ไดตั้งเปาไวดวยเชนกัน ซึ่งคาดวาคงจะมีใหเห็นกันอีกไมนานนี้อยางแนนอน ที่มา : www.treehugger.com 27

GreenNetwork January-February 2017


:+&*: + čH''ą:

=L$-< H Ċ : &-9 :!3)@!D/=*!

RE

Update กองบรรณาธิการ

(Renewable Energy (Forecast)

การพยากรณไฟฟาที่ผลิตไดจากพลังงานแสงอาทิตย การพยากรณไฟฟาทีผ่ ลิตไดจากพลังงานแสงอาทิตย (Solar Power Forecast) จําเปนทีจ่ ะตองมีความรู วามทาทายในการจัดสรรไฟฟา เกี่ยวกับเสนทางการเดินทางของดวงอาทิตย สภาพบรรยากาศ กระบวนการกระจายของแสง และขอมูล ตามความต อ งการของประชาชน ทางเทคนิคของโรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยที่อยู ในระบบ กําลังการจายไฟฟาของระบบผลิตไฟฟา ที่นับวันเพิ่มมากขึ้น สงผลใหแนวโนมการใช จากพลังงานแสงอาทิตยขึ้นอยูกับความเขมรังสีจากดวงอาทิตยและลักษณะทางเทคนิคของแผงเซลล พลังงานหมุนเวียนเพิ่มมากขึ้น อันจะสอดคลอง แสงอาทิตยที่ติดตั้งในโรงไฟฟา ในปจจบันมีระบบผลิตไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยเขามาเชื่อมตอ กับแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ในระบบเปนอยางมาก ดังนั้น ขอมูลการพยากรณเปนสิ่งจําเปนสําหรับการบริหารจัดการระบบ (AEDP 2015) การการพยากรณไฟฟาที่ผลิตไดจาก โครงขายไฟฟาและการซื้อขายไฟฟาจากแสงอาทิตย พลั ง งานหมุ น เวี ย นจึ ง มี บ ทบาทสํ า คั ญ เพื่ อ ประเมิ น คาพลังงานแสงอาทิตยซึ่งตกกระทบลงบนพื้นที่หนึ่ง สามารถคาดการณไดโดยอาศัย ศักยภาพในการผลิตพลังงานหมุนเวียนของประเทศ เครื่องมือตางๆ เชน การใชระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร (Geographic Information การพยากรณไฟฟาที่ผลิตไดจากพลังงานหมุนเวียน System: GIS) ปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence: AI) หรืออาศัยการวิเคราะห (Renewable Energy Forecast) คือระบบพยากรณพลังงาน ขอมูลจากดาวเทียม เปนตน นอกจากนี้รังสีจากดวงอาทิตยยังสามารถถูกประเมินได ไฟฟาทีส่ ามารถผลิตไดจากโรงไฟฟาพลังงานหมุนเวียน ซึง่ ประเมิน โดยใชโมเดลการพยากรณอากาศเชิงตัวเลข (Nemerial Weather Prediction: ศักยภาพการผลิตไฟฟาของโรงไฟฟาพลังงานหมุนเวียนประเภทตางๆ NWP) โดยเครือ่ งมือเหลานีต้ อ งมีฐานขอมูลเชิงพืน้ ทีแ่ บบถาวร ซึง่ ถูกพัฒนาขึน้ มา ในชวงระยะเวลาที่สนใจ ซึ่งในการพยากรณนั้นจะอาศัยขอมูลจาก จากการรวบรวมขอมูลที่ไดรบั จากสถานีวดั ตางๆ ครอบคลุมพืน้ ทีก่ วางในระดับ ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของปจจัยทางธรรมชาติที่ไดจากระบบตรวจวัด ภูมิภาค ที่ติดตั้งและขอมูลทางไฟฟาตางๆ ณ ขณะนั้น โดยระบบประมวลผลของ อยางไรก็ตาม ปจจบันความเขมของรังสีดวงอาทิตยยังมิไดถือเปน ศูนยขอมูลจะทําการพยากรณการผลิตไฟฟาจากโรงไฟฟาพลังงานหมุนเวียน ตัวแปรหลักในทางอุตุนิยมวิทยาเหมือนตัวแปรอื่นๆ เชน อุณหภูมิ ที่มี ในระบบและสงตอมายังศูนยควบคุมเพื่อประโยชนในการบริหารจัดการ ปริมาณน้ําฝน เปนตน จึงยังไมมีขอมูลความเขมรังสีดวงอาทิตยใน กําลังผลิตโดยรวมของประเทศตอไป โดยทั่วไปการศึกษาระบบพยากรณพลังงาน บางพืน้ ที่ นอกจากนี้ สถานีตรวจวัดและบันทึกขอมูลรังสีแสงอาทิตย หมุนเวียนนัน้ จะเนนไปทีก่ ารพยากรณพลังงานแสงอาทิตย และการพยากรณพลังงานลม สวนมากมักจะตั้งอยู ในพื้นที่การเกษตรหรือในพื้นที่ที่มีคนอยู เนื่องดวยพลังงานทั้งสองนั้นเปนพลังงานที่มีความไมแนนอนสูง อาศัยแลว นั่นคือในพื้นที่ชวงลุมน้ําและพื้นที่ราบเปนสวนมาก จากรูปดานซาย แสดงแนวความคิด ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่จะตองจัดตั้งสถานีวัดเพิ่มเติมใน ของการพยากรณไฟฟาทีผ่ ลิตไดจากพลังงาน พื้นที่ภูเขาและพื้นที่สูง หมุนเวียนประเภทลมและแสงอาทิตย โดยการ พยากรณ นั้ น จะใช ข อ มู ล ประกอบกั น สามส ว น อันไดแก ขอมูลสภาพอากาศ เชน ความเร็วลม อุณหภูมิ ความเขมของแสงอาทิตย ขอมูลดานเทคนิคของโรงไฟฟาตางๆ เชน กําลัง การผลิตติดตั้งของโรงไฟฟา รวมถึงตารางการซอมบํารุงของ โรงไฟฟา ขอมูลทางสถิติในอดีต ศู น ย ก ารพยากรณ ไ ฟฟ า ที่ ผ ลิ ตได จ ากพลั ง งานหมุ น เวี ย น จะรวบรวมขอมูลตางๆ ในขางตนเพือ่ ทําการประมวลและวิเคราะหผล โดยอาศัยแบบจําลองการพยากรณเขามาชวย และจะตองมีระบบ คอมพิวเตอรเซิรฟเวอรที่มีขีดความสามารถในการคํานวณสูง เนื่องจากการพยากรณเกี่ยวของกับการประมวลผลขอมูล จํานวนมาก ผลลัพธที่ไดจากการคํานวณคือคาพลังไฟฟา ที่แหลงผลิตไฟฟาหมุนเวียนตางๆ นาจะสามารถจาย เขาสูระบบไดในอนาคต ●

28

GreenNetwork January-February 2017


Persistence Forecast

วิธกี ารพยากรณโดยการพิจารณาคากระแสไฟฟาหรือกําลังไฟฟาทีผ่ ลิตไดจากเซลลแสงอาทิตย เมือ่ มุมตกกระทบของแสงอาทิตยกบั เซลล แสงอาทิตยเปลี่ยนแปลงไป อยางไรก็ตาม วิธีการพยากรณนี้มีขอเสียคือ ความแมนยําจะลดลงไปอยางมากเมื่อมีเมฆมาบดบังแสงอาทิตย ในชวงเวลาที่พยากรณ

Total Sky Imagery

วิธกี ารพยากรณโดยใชการประมวลผลรูปภาพ (Image Processing) และเทคนิคการติดตามเมฆ (Cloud Tracking) เพือ่ ใหไดมาซึง่ ภาพถาย ของทองฟา ซึง่ การพยากรณดว ยวิธกี ารนีส้ ามารถประเมินลวงหนาไดเปนระยะเวลาประมาณ 15-30 นาที โดยความเขมแสงจะถูกพยากรณ โดยพิจารณาจากเงาที่เกิดจากเมฆ ทิศทางการเคลื่อนที่ของเมฆและความเร็วของเมฆ วิธีการพยากรณโดยใชการประมวลผลรูปภาพจากดาวเทียม โดยมีรูปแบบคลายคลึงกับวิธี Total Sky Imagery โดยใชหลักการคํานวณคา ความเขมของแสงอาทิตยที่สะทอนจากโลกผานเมฆเขาสูดาวเทียม

Satellite Imagery Numerical Weather Prediction (NWP)

วิธนี ถี้ อื เปนวิธกี ารพยากรณทดี่ ที สี่ ดุ สําหรับการพยากรณ ซึง่ สามารถพยากรณลว งหนาไดมากกวา 5 ชัว่ โมงขึน้ ไป หลักการที่ใชคอื การสราง แบบจําลองการกระจายของแสงอาทิตยเชนเดียวกับที่แสงอาทิตยแพรกระจายในชั้นบรรยากาศผานชั้นของเมฆ

ตัวอยางของการพยากรณไฟฟาที่ผลิตไดจากพลังงานแสงอาทิตย นอกจากนี้ สามารถแยกแยะความแตกตางในเชิงความละเอียดของการ พยากรณตามชวงเวลาตางๆ ไดเปน 3 รูปแบบ ไดแก

การคาดการณในปจจุบัน (Nowcasting) เพือ่ ทราบรายละเอียดของสภาพอากาศทีเ่ ปนอยูในปจจบัน ซึง่ มีศกั ยภาพ เพียงพอในการใชพยากรณสภาพอากาศในอนาคตไดประมาณ 3-4 ชั่วโมง ถือเปนการคาดการณในระยะสั้นมาก แตการคาดการณในปจจบันมีความ สําคัญตอผูควบคุมระบบโครงขายไฟฟาหลักใหสามารถบริหารจัดการระบบ ไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้นและเพื่อรักษาความมั่นคงของโครงขายไฟฟา เปนหลัก และการคาดการณในปจจบันยังมีความสําคัญตอผูควบคุมโรงไฟฟา พลังงานแสงอาทิตย โดยทําใหสามารถบริหารจัดการการผลิตไฟฟาของตนเอง ได รวมทั้งทําใหทราบและเขาใจถึงประสิทธิภาพและความสามารถของระบบ ผลิตไฟฟาของตนเองอยางแทจริงมากขึ้น โดยการเปรียบเทียบกําลังไฟฟาที่ โรงไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยผลิตไดจริงกับคากําลังการผลิตไฟฟาทีน่ า จะเปน ซึ่งคํานวณโดยใชขอมูลความเขมแสงที่วัดได ณ ขณะนั้น โดยทั่วไปแลว การคาดการณปจจบันจะมีการดําเนินการทุกๆ 10-15 นาที ระบบเก็บขอมูล สภาพอากาศและระบบประมวลผลขอมูลอัตโนมัตเิ ปนสิง่ สําหรับการดําเนินการ คาดการณปจจบัน การคาดการณระยะสั้น (Solar PV Short-term Forecasting) การคาดการณระยะสั้น สามารถคาดการณลวงหนาไดในระยะเวลา 7 วันขางหนา โดยจะมีประโยชนตอผูควบคุมระบบโครงขายไฟฟาหลัก สามารถ ชวยเปนขอมูลสนับสนุนในการตัดสินใจที่เกี่ยวของกับการวางแผนและควบคุม ระบบโครงขายไฟฟาหลัก ขอมูลทางอุตนุ ยิ มวิทยาจะถูกประเมินอยางละเอียด ทัง้ ในเชิงพืน้ ทีแ่ ละเชิงเวลาทีแ่ ตกตางกัน นัน่ หมายความวาตัวแปรอุตนุ ยิ มวิทยา และปรากฏการณตา งๆ จะถูกมองจากมุมมองทีก่ วางขึน้ ไมเปนขอมูลในระดับ ทองถิน่ เหมือนการคาดการณในปจจบัน ทัง้ นีก้ ระบวนการทีม่ กั จะนํามาใชในการ คาดการณระยะสั้นคือ การใชงานแบบจําลองการพยากรณอากาศเชิงตัวเลข (Numerical Weather Prediction: NWP) ปจจบันมีแบบจําลองหลากหลาย รูปแบบที่ ใชเพื่อการนี้ เชน บริการคาดการณทั่วโลก (Global Forecasting Service: GFS) หรือขอมูลจากศูนยการพยากรณอากาศระยะกลางของยุโรป (European Center for Medium Range Weather Forecasting: ECMWF) โดยทั้งสองแบบจําลองไดรับการพิจารณาใหเปนตนแบบของแบบจําลองการ คาดการณอุตุนิยมวิทยาโลก

29

การคาดการณระยะยาว (Solar PV Long-term Forecasting) การคาดการณทรัพยากรดานพลังงานที่จะมีอยูในอนาคตในรายปหรือ รายเดือน การคาดการณในลักษณะนีน้ บั วามีประโยชนตอ ผูผ ลิตพลังงานไฟฟา และชวยเปนขอมูลสนับสนุนในการเจรจาตอรองเพื่อทําสัญญาซื้อขายไฟฟา การพยากรณไฟฟาที่ผลิตไดจากพลังงานลม ในการพยากรณพลังงานลมนั้น จะใชแบบจําลองซึ่งสรางจากโปรแกรม คอมพิวเตอร โดยความซับซอนของแบบจําลองนัน้ มีตงั้ แตแบบจําลองซึง่ มีความ ซับซอนนอยไปยังแบบจําลองที่มีความซับซอนมาก ตัวอยางเชน Persistence Model จะใช ห ลั ก การที่ ง า ยที่ สุ ด คื อ พยากรณ ว า พลั ง งานลมที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคต จะเทากับพลังงานลมทีเ่ กิดในปจจบัน เปนตน ในปจจบันแบบจําลอง พลังงานถูกจําลองขึ้นอยางมากมายและซับซอน โดยชื่อของแบบจําลองนั้น มักจะเปนชื่อของผูคิดคนขึ้น ดังตัวอยางเชน แบบจําลอง AWS Truewind’s eWind ซึง่ จะพิจารณาทัง้ แบบจําลองการพยากรณของสภาพอากาศ แบบจําลอง ชั้นบรรยากาศ และแบบจําลองทางสถิติรวมกัน

ประโยชนของการพยากรณไฟฟา ที่ผลิตไดจากพลังงานหมุนเวียน ผูท ี่ไดรบั ประโยชนมอี ยูส องภาคสวน ไดแก ผูค วบคุมโรงไฟฟาพลังงาน หมุนเวียน และหนวยงานดานการไฟฟาที่ทําหนาที่ควบคุมระบบโครงขาย ไฟฟาหลักหรือควบคุมระบบไมโครกริด โดยทัว่ ไปโรงไฟฟาพลังงานหมุนเวียน มักจะมีการตรวจวัดขอมูลดานสภาพอากาศในพื้นที่ของตนเอง ทั้งนี้ขอมูล เหลานั้นจะเปนประโยชนตอผูควบคุมโรงไฟฟาพลังงานหมุนเวียน ชวยให เปรียบเทียบกําลังไฟฟาทีค่ าดวาระบบพลังงานหมุนเวียนจะสามารถผลิตและ จายเขาระบบไดภายใตสภาพอากาศที่เปนอยูกับกําลังไฟฟาที่ผลิตไดจริง ในชวงเวลานัน้ โดยผลจากการเปรียบเทียบจะทําใหผคู วบคุมโรงไฟฟาทราบ ถึงความผิดปกติทเ่ี กิดขึน้ กับระบบของตนเอง เชน หากการคํานวณกําลังไฟฟา ทีค่ าดวานาจะผลิตไดภายใตสภาพอากาศทีเ่ ปนอยูในขณะนัน้ เปน 3 เมกะวัตต แตกําลังไฟฟาที่ผลิตไดจริง ณ ชวงเวลานั้นเปนแค 2.5 เมกะวัตต ผูควบคุม โรงไฟฟาอาจจะตองเริ่มตรวจสอบระบบของตนเองโดยละเอียดวาเหตุใด กําลังไฟฟาที่ผลิตไดจริงจึงมีคานอยกวาคาที่ควรจะผลิตได เปนตน สําหรับผูควบคุมระบบโครงขายไฟฟาหลัก ขอมูลที่ไดจากระบบการ พยากรณฯ เปนขอมูลที่เปนประโยชนอยางยิ่งซึ่งสามารถนํามาใชประกอบ การตัดสินใจในการควบคุมระบบโครงขายไฟฟาหลักในอนาคต

GreenNetwork January-February 2017

ที่มา : thai-smartgrid


GREEN

Technology & Innovation อักษรจัณ ไชยอนงค์ นักศึกษาปริญญาเอก บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (JGSEE)

D+:&+Ċ5)E-Ċ/3+?5*9

9" :+D&<L) >M! 5

F -:+č+A' K5#

จจบันการเปลี่ยนแปลงในวงการพลังงานเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ประกอบกับนโยบายดานพลังงานของรัฐบาล หรือนโยบาย Energy 4.0 ซึ่งมุงเนนการพัฒนาสังคมใหเปนสังคมสีเขียวและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และหนึ่งในมาตรการที่รัฐบาลใหการสนับสนุนตลอดมาเพื่อเขาสู ยุค Energy 4.0 คือการเพิ่มสัดสวนการผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทนตามเปาหมายที่ถูกกําหนดไวอยางชัดเจนในแผนพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน การผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยบนหลังคา หรือทีเ่ รียกกันวา “โซลารรฟู ท็อป” นับเปนเทคโนโลยีการผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทนทีถ่ กู กลาวถึง มากที่สุด โซลารรฟู ท็อป ถือเปนรูปแบบการผลิตไฟฟาเพือ่ ใชเองแบบใหมทแ่ี หลงผลิตอยูใกลสถานทีท่ ม่ี คี วามตองการใชไฟฟา หรือเปนการผลิตไฟฟาแบบกระจายศูนย (Distributed Generation) นั่นเอง การผลิตไฟฟาลักษณะนี้เปนการชวยลดความเสี่ยงจากการพึ่งพาโรงไฟฟาฟอสซิลขนาดใหญเพียงแหลงเดียว แมไฟฟา ทีผ่ ลิตจากโซลารรฟู ท็อปในประเทศไทยยังมีปริมาณไมมาก (นอยกวารอยละ 0.1) เมือ่ เปรียบเทียบกับความตองการไฟฟาของประเทศโดยรวม แตปจ จัย ขับเคลื่อนตางๆ เชน ราคาแผงโซลารที่ต่ําลงมากกวารอยละ 90 ภายในระยะเวลา 40 ป ราคาคาไฟฟาขายปลีกที่มีความผันผวน และนโยบาย การสนับสนุนพลังงานทดแทนจากภาครัฐ เปนตน นาจะสงผลใหการผลิตไฟฟาจากโซลารรูฟท็อปมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้นในอนาคต นอกจากนี้ การพัฒนาอยางตอเนื่องของเทคโนโลยีกักเก็บพลังงาน ยังเปนอีกปจจัยหนึ่งที่สนับสนุนใหการใชพลังงานทดแทนอยางโซลารรูฟท็อป มีประสิทธิภาพเพิม่ มากขึน้ ซึง่ ถือเปนการพลิกโฉมธุรกิจผลิตไฟฟาในประเทศอยางแทจริง เทคโนโลยีดงั กลาวทําใหเกิดการเปลีย่ นแปลง และสงผลกระทบอยางมีนยั สําคัญตอสังคมโลก ในตางประเทศจึงมีการเรียกเทคโนโลยีโซลารรฟู ท็อปวา “Disruptive Technology” ดังนั้น ภาคสวนตางๆ ตองปรับตัวอยางไรใหพรอมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงนี้? จึงเปนคําถามที่นาสนใจสําหรับประเทศไทย โดยเฉพาะวงการพลังงาน แตเนื่องจากปริมาณพลังงานไฟฟาที่ผลิตไดจากโซลารรูฟท็อปขึ้นกับความเขมของแสงอาทิตยและสภาพ อากาศบริเวณจดผลิตเปนหลัก ซึ่งอาจถือไดวาเปนแหลงผลิตไฟฟาที่มีความแนนอนต่ํา เมื่อเปรียบเทียบกับ การเดินเครื่องกําเนิดไฟฟาเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ใชกันอยางแพรหลาย ประกอบกับการพยากรณศักยภาพ ของแสงอาทิตยในประเทศไทยยังมีเทคโนโลยีที่ ใชพยากรณอยูในระดับจํากัด จึงกอใหเกิดเปน ความวิตกกังวลแกการไฟฟาทั้งฝายผลิตและฝายจําหนายในการบริหารจัดการและ พยากรณ ค วามต อ งการใช ไ ฟฟ า ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ดํ า เนิ น การขยายการลงทุ น ให สอดคลองกับพันธกิจในการจัดหาไฟฟาและไฟฟาสํารองใหเกิดความ มั่นคงสูงสุด ซึ่งการผลิตไฟฟาแบบใชเองจากโซลารรูฟท็อป ยังกอใหเกิดการสูญเสียรายไดของการไฟฟาจาก การจําหนายไฟฟาในชวงเวลาที่โซลาร รูฟท็อปทํางานอีกดวย

30

GreenNetwork January-February 2017


อยางไรก็ดี โซลารรูฟท็อปไมไดมีเพียงผลกระทบดานลบ จากการ ศึกษาวิจัยในตางประเทศ เชน งานวิจัยจาก Lawrence Berkeley National Laboratory ป 2014 ชื่อ Financial Impacts of Net-Metered PV on Utilities and Ratepayers: A Scoping Study of Two Prototypical U.S. Utilities และจาก Energy + Environmental Economics (E3) ป 2013 ชื่อ Califonia Net Energy Metering (NEM) Cost Effectiveness Evaluation) พบวาโซลารรฟู ท็อปสามารถชวยชะลอการลงทุนขยายระบบผลิตและจําหนาย ไฟฟา เนือ่ งจากผูใ ชไฟฟาสามารถผลิตไฟฟาและใชเองได โดยเฉพาะในเวลา กลางวัน ซึ่งถือเปนชวงเวลาที่เกิดความตองการใชไฟฟาสูงสุดอยูบอยครั้ง รวมทั้งสามารถลดความสูญเสียที่เกิดในสายสงและสายจําหนาย ดวยเหตุที่ วาการผลิตไฟฟาจากโซลารรูฟท็อปอยู ในลักษณะใกลสถานที่ที่มีความ ตองการใชไฟฟา นอกเหนือประเด็นทางดานเทคนิคแลว โซลารรูฟท็อปยัง ชวยลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจก สงผลดีตอสิ่งแวดลอมและสภาพ ภูมิอากาศของโลกดวย ที่กลาวมาขางตน เปนเพียงการชี้ ใหเห็นถึงผลดี และผลเสียจากการเพิ่มขึ้นของโซลารรูฟท็อป ซึ่งคงตองอาศัยการประเมิน อยางถีถ่ ว นผานมุมมองผูม สี ว นไดสว นเสียฝายตางๆ โดยละเอียด เพือ่ ประเมิน ถึงคุณคาของโซลารรูฟท็อป (Value of Solar) ที่แทจริง

การปรับตัวขององคกรทีเ่ กีย่ วของ ทัง้ ผูก าํ หนดนโยบาย (Policymaker) ผูกํากับนโยบาย (Regulator) และการไฟฟา (Utility) จึงเปนสิ่งจําเปนตอการ สงเสริมโซลารรูฟท็อปในประเทศ โดยผูออกแบบนโยบายจําเปนตองเขาใจ ถึงสถานการณราคา การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามกลไกตลาด และคุณคา ของโซลารทมี่ ตี อ ประเทศ เพือ่ วางแผนและออกแบบนโยบายสนับสนุนไดอยาง เหมาะสม นอกจากนัน้ ผูก าํ กับนโยบายยังตองชวยอํานวยความสะดวกในขัน้ ตอน การสมัครเขารวมของโครงการโซลารรูฟท็อปของภาครัฐ พรอมทั้งใหขอมูล ความรูที่เปนประโยชนและถูกตองเพื่อการดําเนินการที่รวดเร็ว และอีกหนาที่ สําคัญของผูกํากับนโยบายคือ การทบทวนและการศึกษาโครงสรางคาไฟฟา ที่เหมาะสมในอนาคต เพื่อสะทอนตนทุนที่เกิดขึ้นจริงของการผลิตไฟฟาและ ไมกอใหเกิดภาระแกผูใชไฟฟาทั่วไป ในสวนสุดทาย การไฟฟาทั้งฝายผลิตและฝายจําหนาย อาจจะถึงเวลา ที่ตองเกิดการปรับตัวสูการเปลี่ยนแปลงอยางจริงจังทั้งในดานเทคนิคและดาน รูปแบบธุรกิจ ยกตัวอยางเชน รายงานของ International Energy Agency ป 2017 ชื่อ Getting Wind and Sun onto the Grid: A Manual for Policy Makers พบวาเมื่อไฟฟาจากโซลารรูฟท็อปเขามาในระบบของการไฟฟา อยูในชวงรอยละ 3-15 ของการผลิตไฟฟาของประเทศ การไฟฟาจะตองนํา เทคโนโลยีการบริหารจัดการ เชน เทคโนโลยี Smart Grid ผนวกรวมกับ เทคโนโลยีที่มีอยูแลวของการไฟฟา เพื่อนําเทคโนโลยีสารสนเทศเขามา ประยุกตใชในการวางแผนและบริหารจัดการระบบผลิตไฟฟาใหมปี ระสิทธิภาพ มากยิง่ ขึน้ นอกจากนัน้ การพัฒนาโรงไฟฟาใหมลี กั ษณะทีส่ ามารถเปลีย่ นแปลง กําลังการผลิตไดอยางรวดเร็ว จะชวยเพิ่มความยืดหยุนใหกับระบบผลิตไฟฟา ของประเทศ นอกเหนือจากประเด็นทางดานเทคนิคแลว รูปแบบธุรกิจของ การไฟฟาเองอาจจะตองเกิดการเปลี่ยนแปลงใหตอบสนองตอการเพิ่มขึ้นของ โซลารรูฟท็อปมากยิ่งขึ้น เชน การเพิ่มหนวยธุรกิจ หรือบริการใหคําปรึกษา 31

ตางๆ ในการติดตัง้ โซลารรฟู ท็อป เพือ่ เปนชองทางในการเพิม่ รายไดจากหนวยไฟฟา ทีข่ ายไดลดลง นอกจากนัน้ ผูก าํ กับอาจเปลีย่ นมาตรการกํากับดูแลการไฟฟาใหเกิด แรงจูงใจในการชะลอการลงทุนในระบบไฟฟา เนนการลดตนทุนและเพิป่ ระสิทธิภาพ การใชทรัพยากรในระบบไฟฟาปจจบันมากยิ่งขึ้น หรือที่เรียกกันวา Performancebased Regulation จะเห็นแลววา รูปแบบการผลิตไฟฟาของประเทศไทยอาจถึงเวลาที่ตองเกิด การเปลี่ยนแปลงจากเทคโนโลยีที่เรียกวา โซลารรูฟท็อป อยางหลีกเลี่ยงไมไดตาม กลไกของราคา ดังนัน้ การเตรียมความพรอมของภาคสวนตางๆ ตอการเปลีย่ นแปลง ดังกลาวถือเปนความทาทายของประเทศ ในการเปดรับเทคโนโลยีใหมๆ สูการเปน สังคมสีเขียวและพึ่งพาตัวเองไดตามแนวนโยบาย Energy 4.0 ที่ไดวางไว

GreenNetwork January-February 2017


ENERGY

Saving Mr.Save

ลายคนที่กําลังมองหาอุปกรณสําหรับใชบานเรือนหรืออาคารแลว มักจะคุนเคยกับ “ฉลากประหยัดไฟเบอร 5” ของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) ที่เปน สัญลักษณของสินคาประหยัดพลังงาน แตรูหรือไมวา “ฉลากประหยัดพลังงานประสิทธิภาพ สูง เบอร 5” ที่ออกโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน ก็มแี นวคิดที่กอใหเกิดประโยชนตอผูใช ชวยลดภาระคาใชจายดานพลังงานภายในครัวเรือน ลดการใชไฟฟาของประเทศ อันจะเปนประโยชนในการอนุรักษพลังงานในอนาคต

< -: #+83*9 &-9 :!

#+82< <(:&2A D"5+č e 29 -9 1 č 5 :+#+83*9 &-9 :! “ฉลากประหยั ด พลั ง งาน ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง คื อ ฉลากที่ แ สดง ค า ประสิ ท ธิ ภ าพของผลิ ต ภั ณ ฑ โดยค า ประสิ ท ธิ ภ าพที่ ป รากฏบนตั ว ฉลากจะเป น ค า ประสิ ท ธิ ภ าพที่ ไ ด จ ากการทดสอบจริ ง ตามมาตรฐานที่ กําหนด โดยรูปแบบฉลากของแตละผลิตภัณฑมลี กั ษณะเหมือนกัน แตจะตางกันตรงขอความดานลาง ซึ่งจะระบุชนิดและคาประสิทธิภาพ ของผลิตภัณฑนั้นๆ ซึ่งผูผลิตตองกรอกใบสมัครเขารวมโครงการตอกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานกระทรวงพลังงาน เพื่อขอทดสอบผลิตภัณฑ กอนจะนําฉลากไปใชที่ตัวผลิตภัณฑหรือหีบหอหรือบรรจภัณฑตอไป” กระทรวงพลังงาน โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ดําเนินการ ติดฉลากประหยัดพลังงานประสิทธิภาพสูงแกผปู ระกอบการตัง้ แตป 2550-2559 ภายใต “โครงการสงเสริม เครือ่ งจักรอุปกรณประสิทธิภาพสูงและวัสดุเพือ่ การอนุรกั ษพลังงานโดยการติดฉลาก” โดยมีผลิตภัณฑที่ไดรบั การ ติดฉลากรวม 12 ผลิตภัณฑ ไดแก เตาหุงตมในครัวเรือนใชกบั กาซปโตรเลียมเหลวประสิทธิภาพสูง, เตากาซความดันสูง, กระจกอนุรกั ษพลังงาน, ฉนวนใยแกว, มอเตอรเหนีย่ วนําสามเฟส, อุปกรณปรับความเร็วรอบมอเตอร, เครือ่ งยนต ดีเซลขนาดเล็กระบายความรอนดวยน้ํา, เครื่องยนตแกสโซลีนขนาดเล็กระบายความรอนดวยอากาศ, ปมความรอน, เครื่องอัดอากาศขนาดเล็กแบบลูกสูง, สีทาผนังอาคาร และลาสุดในป 2560 ได ติดฉลากเพิ่มอีก 4 ผลิตภัณฑ คือ ไดแก เตารังสีอินฟราเรด, ฟลมติดกระจก, คอนกรีต มวลเบา, กระเบื้องหลังคา 32

GreenNetwork January-February 2017


โดยภายในฉลากประสิทธิภาพสูงนั้นไดมีรายละเอียดขอมูลของผลิตภัณฑ ดังตัวอยางตอไปนี้ หมายเลข 1 คือ หมายเลขแสดงระดับประสิทธิภาพ เบอร 5 เปนระดับประสิทธิภาพสูงสุด หมายเลข 2 คือ สวนแสดงชื่อหนวยงานที่รับผิดชอบ หมายเลข 3 คือ สวนแสดงชื่อผลิตภัณฑที่สงเสริม หมายเลข 4 คือ สวนแสดง ยี่หอ รุน ชนิด ของผลิตภัณฑ หมายเลข 5 คือ สวนแสดงคาประสิทธิภาพตางๆ ของผลิตภัณฑนั้น

การดําเนินการติดฉลากเปนไปตามนโยบายกระทรวงพลังงานภายใต แผนอนุรักษพลังงาน (EEP-2015) ที่มุงเนนการสงเสริมผูบริโภคเลือกใช เครื่องจักรอุปกรณประสิทธิภาพสูง และกระตุนใหผูประกอบการพั ฒ นา ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑของตนใหสูงขึ้น ครอบคลุมทั้งกลุมอุปกรณที่ ใช ในภาคอุตสาหกรรม, ภาคที่อยูอาศัย, ภาคธุรกิจ และภาคเกษตร เพื่อลดการ นําเขาพลังงานของประเทศ และรองรับการแขงขันของตลาดทีป่ จ จบันผูบ ริโภค เริ่มใหความสําคัญกับสินคาที่ประหยัดพลังงานมากขึ้น ฉลากประหยัดพลังงานประสิทธิภาพสูง เปนสินคาที่ผานการรับรอง จากกระทรวงพลังงานวา เปนสินคาประหยัดพลังงานคือใชพลังงานนอยกวา สินคารุนทั่วไปในตลาดตั้งแต 10-30% หรืออาจมากกวานั้น ขึ้นกับประเภท สินคา โดยจะใชฉลากเปนเครือ่ งหมายแสดงใหรบั รูต ดิ บนตัวสินคา ซึง่ กระทรวง พลังงานเปนผูรับผิดชอบดูแลเรื่องการติดฉลากในอุปกรณประหยัดพลังงาน ตางๆ เพือ่ ใหประชาชนสามารถเลือกซือ้ สินคาทีป่ ระหยัดพลังงานโดยดูทฉี่ ลาก เปนสําคัญ และมั่นใจไดเพราะสินคาที่ติดฉลากจะตองผานการทดสอบและ รับรองโดยกระทรวงพลังงานแลว และนอกจากนี้ยังมีการสุมเก็บสินคา ติดฉลากที่มีการจําหนาย กลับมาทดสอบเปนระยะๆ อีกดวยเพื่อใหมั่นใจ ในประสิทธิภาพของสินคา

33

ทั้ ง นี้ การติ ด ฉลากประหยั ด พลั ง งานประสิ ท ธิ ภ าพสู ง เพิ่ ม ขึ้ น อี ก 4 ผลิตภัณฑขางตนสงผลใหมผี ปู ระกอบการที่ไดรบั ฉลาก ในป 2560 จํานวน 94 ราย ในผลิตภัณฑ 1,838 รุน จํานวนฉลากประสิทธิภาพสูงรวม 7,186,626 ลานใบ ซึ่งจะสงผลใหลดการใชกาซปโตรเลียมเหลวลงได 31,969,972 ลาน กิโลกรัมตอป, ลดการใชนา้ํ มันดีเซลลงได 424,518 ลิตรตอป, ลดการใชนา้ํ มัน เบนซินลงได 7,781,518 ลิตรตอป และลดการใชพลังงานไฟฟาลงไดประมาณ 1,250 ลานหนวยตอป คิดเปนพลังงานทีล่ ดไดรวมทัง้ สิน้ 150 พันตันเทียบเทา น้ํามันดิบ (ktoe) มูลคาพลังงานที่ประหยัดไดรวม 4,594 ลานบาทตอป ลดปริมาณการปลอยกาซคารบอนได ออกไซด 779,847 ตันตอป อยางไรก็ตาม ฉลากประหยัดพลังงานประสิทธิภาพสูง เบอร 5 นี้ นับวา เปน ประโยชนตอผูบริโ ภคใหสามารถเลือกใช ผลิตภัณฑประสิทธิภาพสูง โดยสามารถตรวจดูไดวา ผลิตภัณฑ มีคาประสิทธิภาพพลังงานเทาใด เพื่อใช เปรียบเทียบกับผลิตภัณฑประเภทเดียวกัน ดวยการสังเกตไดจากตัวเลขทีแ่ สดง คาประสิทธิภาพของแตละผลิตภัณฑ เพื่อชวยใหผบู ริโภคประหยัดคาใชจาย ดานพลังงาน และมีการใชพลังงานใหเกิดประโยชนสูงสุด

GreenNetwork January-February 2017


GREEN

Industry ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี

D0+1 0:2 +č 2<L E/ -Ċ5)

แม

วาตลอดเวลาที่ผานมาพัฒนาการทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมของไทยจะดีขึ้นตามลําดับ แตเราก็ตอง ยอมรับวา การพัฒนาในชวง 20 กวาปที่ผานมาไดกอใหเกิดปญหามลพิษสิ่งแวดลอมและความเสื่อมโทรมของ ทรัพยากรธรรมชาติเปนอยางมากในบานเรา ทุกวันนี้ปญหามลพิษสิ่งแวดลอมซึ่งเคยถูกมองวามีความสําคัญนอยกวาปญหาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ไดกลายเปนปญหาที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นตามลําดับ จนบอยครั้งที่กอใหเกิดความขัดแยงระหวางประชาชน (ผูไดรับ ผลกระทบหรือความเสียหายจากโครงการตางๆ ของภาคอุตสาหกรรมและภาครัฐ) กับโรงงานและภาครัฐทีเ่ กีย่ วของ แมจะมีมาตรการและวิธแี กปญ  หามลพิษสิง่ แวดลอมหลายประการ แตกฎหมายสิง่ แวดลอมของไทย ที่เนนมาตรการกํากับและควบคุมเปนหลักยังมีขอจํากัดในการแกไขปญหา เนื่องจากความไมเขมงวด ในการบังคับใชกฎหมาย บทลงโทษและคาปรับตามกฎหมายที่ต่ํา และหนวยงานรัฐยังขาดการ ติดตามตรวจสอบแหลงกําเนิดมลพิษ อยางทันการณดวยเหตุผลดานบุคลากร งบประมาณ และอื่นๆ ปรากฏว า ผู ที่ ต อ งได รั บ ผลกระทบจากความไม เ ป น ธรรมและการขาด ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการมลพิษสิง่ แวดลอมจึงมักตกไปอยูท กี่ ลุม คนทีย่ ากจน และดอยโอกาสในสังคม ปจจบันประเทศตางๆ ไดนํา “เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร” (Economic Instruments) มาเสริมมาตรการกํากับและควบคุมดูแลในการบริหารจัดการ ปญหามลพิษสิ่งแวดลอมมากขึ้น เพราะเครื่องมือทางเศรษฐศาสตรถือเปน กลไกสําคัญประการหนึ่งในการสะทอนตน ทุน ทางดานสิ่งแวดลอมตาม “หลักการผูก อ มลพิษเปนผูจ า ย” (Polluter Pays Principle : PPP) และเปน มาตรการทีส่ รางแรงจูงใจใหผกู อ มลพิษและผูบ ริโภคเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม และดําเนินกิจกรรมที่ลดการสรางมลพิษสิ่งแวดลอมดวย กฎหมายทีว่ า ดวยเครือ่ งมือทางเศรษฐศาสตรเพือ่ การบริหารจัดการ มลพิษสิ่งแวดลอมจึงเปนนวัตกรรมใหมที่จะมาชวยเสริมความเขมแข็ง ใหแกกฎหมายสิง่ แวดลอมทีม่ อี ยู โดยการเปดใหหนวยงานตางๆ สามารถ นําเครือ่ งมือทางเศรษฐศาสตรมาใชในการบริหารจัดการมลพิษสิง่ แวดลอม ไดอยางหลากหลายตามความเหมาะสม และตามพันธกิจของแตละ หนวยงาน รวมทัง้ เปนการสงเสริมการกระจายอํานาจใหองคกรปกครอง สวนทองถิน่ ไดเขามามีบทบาทสําคัญในการแกปญ  หาและมีรายไดจากการ บริหารจัดการมลพิษสิ่งแวดลอมดวย เครื่องมือทางเศรษฐศาสตรที่วานี้ ไดแก คาปรับ คาภาษีการปลอย มลพิ ษ การซื้ อ ขายหรื อ ขอใบอนุ ญ าตการปล อ ยมลพิ ษ ค า ธรรมเนี ย ม การอนุญาต การใชระบบภาษีที่แตกตางกัน มาตรการอุดหนุน การวางประกัน ความเสี่ยงหรือความเสียหายตอสิ่งแวดลอม ระบบมัดจําคืนเงิน เปนตน เครื่องมือทางเศรษฐศาสตรจะมีวัตถุประสงคที่สําคัญ 2 ประการ คือเพื่อ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูผลิตและผูบริโภคในการลดการกอมลพิษ สิ่งแวดลอม และเพื่อสรางแรงจูงใจใหลดการกอมลพิษ การเก็บภาษีมลพิษ ตามปริมาณนํ้าเสียหรืออากาศเสียที่ระบายออกสูสิ่งแวดลอม จะทําใหผูกอมลพิษ ตองพยายามดําเนินมาตรการหรือปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อทําใหเกิด น้ําเสียหรืออากาศเสียนอยลง การใชเครื่องมือทางเศรษฐศาสตรจึงไมใชการกํากับและควบคุมดูแล แตเปนการสรางแรงจูงใจทาง เศรษฐกิจเพือ่ ใหองคกรหรือผูบ ริหารตระหนักถึงตนทุนทีแ่ ทจริงของทรัพยากร และคํานึงถึงผลกระทบตอภายนอก องคกรของกิจกรรมนั้นๆ จึงเปนการเปดโอกาสใหผูผลิตหรือผูบริโภคตัดสินใจเองวาจะดําเนินมาตรการอยางไรตอไป หรือจะเลือกผลิตเลือกใชผลิตภัณฑที่กอใหเกิดมลพิษนอยลงประการใดหรือไม…ครับผม!

34

GreenNetwork January-February 2017


SMART

City กองบรรณาธิการ

55 E""D)?5 G3Ċ59 +<*8

/" AĉF + ĉ:*H''ą: =L59 +<*8 เมืองอัจฉริยะ และโครงขายไฟฟาอัจฉริยะ (Smart City + Smart Grid : SC) เป น เมื อ งที่ อ อกแบบวางแผน เพื่ อ การอยู อ าศั ย ในอนาคต โดยคํ า นึ ง ถึ ง คุ ณ ภาพ สิ่งแวดลอม คุณภาพชีวิต และสังคมวัฒนธรรม รวมกับการประยุกตเทคโนโลยีดิจิทัล หรือขอมูลสารสนเทศและการสื่อสารในการเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของการ บริหารจัดการเมือง สิ่งแวดลอม การศึกษา และการบริการชุมชน เพื่อชวยในการ ลดตนทุน และการลดการบริโภคของประชากร โดยใหประชาชนสามารถอยูอาศัยได ในคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น โดยนํา Internet of Things (loT) มาใชกับระบบเซ็นเซอรของ อุปกรณสมารทตางๆ เชน ระบบ SCADA ในการควบคุมระยะไกล โครงขายไฟฟา อัจฉริยะ ระบบสื่อสารขอมูลอินเทอรเน็ตความเร็วสูง มาเชื่อมตอกับอุปกรณสมารท ตางๆ เชน Smart Home, Smart Office, Smart Buses, Smart Traffic, Smart Classroom, Smart SMEs, Smart Irrigation, Smart Communications เปนตน

การออกแบบเมืองอัจฉริยะ รูปแบบการพัฒนาโครงการเมืองอัจฉริยะทีม่ อี ยูในปจจบันสามารถแบงออกเปน 3 ประเภท ประกอบดวย 1. การพัฒนาเมืองใหม (New Urban Development) คือ การพัฒนากอสราง พื้นที่เมืองใหมทั้งหมดในเขตพื้นที่การเกษตรหรือพื้นที่ธรรมชาติ 2. การพัฒนาฟน ฟูเมือง (Urban Redevelopment) คือ การพัฒนา ปรับเปลีย่ น เพิ่มเติมพื้น ที่และโครงสรางพื้นฐานของเมืองที่มีอยูเดิมแตชํารุดทรุดโทรมหรือมี ศักยภาพไมเพียงพอตอการพัฒนาเมืองและประเทศไทยในอนาคต 3. การพัฒนาระบบบริหารจัดการเมือง (Development of Urban Management System) เปนการพัฒนาเมืองที่มุงเนนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารเพื่อการควบคุมการใหบริการสาธารณูปโภค การใหบริการขอมูลแกประชาชน และการสรางการมีสวนรวม มักพบในการพัฒนาเมืองในประเทศพัฒนาแลว

องคประกอบเมืองอัจฉริยะและเทคโนโลยีที่เหมาะสม 1. เทคโนโลยีดานพลังงาน ระบบบริหารจัดการพลังงานระดับชุมชน (Community Energy Management Systems: CEMS) เปนการบริหารจัดการพลังงานที่เริ่มตนจากครัวเรือนดวยการ ออกแบบใหประชาชนสามารถพึ่งพาตัวเองได แลวขยายตอไปในชุมชนไปถึงระดับ จังหวัด และขยายตอไปในพื้น ที่ ใกลเคียง โดยจะเพิ่มขนาดการผลิตพลังงานขึ้น ตามปริมาณความตองการใชของบาน ชุมชน โรงเรียน โรงพยาบาล อาคารสํานักงาน ตลอดจนถึงโรงงานอุตสาหกรรม เชน จากเซลลแสงอาทิตยติดตั้งบนหลังคาบาน (Solar Roof) ก็ปรับเปลีย่ นเปนเซลลแสงอาทิตยตดิ ตัง้ บนพืน้ (Solar Farm) ขนาดใหญ พรอมแบตเตอรี่ขนาดใหญที่สามารถเก็บสํารองกระแสไฟฟาปริมาณเพียงพอเพื่อปอน สูชุมชนเมือง ประกอบดวย ระบบบริหารพลังงานประเภทที่อยูอาศัย (House Energy Management Systems: HEMS), ระบบการบริหารพลังงานประเภทอาคาร (Building Energy Management Systems: BEMS) และระบบการบริหารพลังงานประเภทโรงงาน (Factory Energy Management Systems: FEMS) 35

2. โครงขายไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) Smart Grid หรือโครงขายจายไฟอัจฉริยะ ซึง่ เปนเทคโนโลยีดา นการจัดการ พลังงานไฟฟาที่มีการบูรณาการโครงสรางพื้นฐานของระบบผลิตกระแสไฟฟา ทีม่ อี ยูเ ขากับโครงสรางพืน้ ฐานดานการสือ่ สารทีส่ ามารถตรวจวัด ควบคุมการผลิต จัดเก็บ และจัดสรรไฟฟา ไดอยางมีประสิทธิภาพ ทําใหคุณภาพในการใชชีวิตใน ชุมชนดีขึ้น ลดผลกระทบที่มีตอสิ่งแวดลอม และลดการใชพลังงานของชุมชนลง 3. ระบบสะสมพลังงาน (Energy Storage) ระบบสะสมพลังงานทําหนาทีเ่ พิม่ ความยืดหยุน ใหกบั ระบบไฟฟา โดยเฉพาะ อยางยิง่ ระบบไฟฟาทีผ่ ลิตดวยพลังงานหมุนเวียน และยังชวยลดพลังงานความรอน เหลือทิ้งจากภาคอุตสาหกรรมได ระบบสะสมพลังงานมีรูปแบบ เชน การสะสม พลังงานเปนพลังงานศักยของนา้ํ ดวยการปม การสะสมพลังงานในแบตเตอรี่ การ สะสมพลังงานในตัวเก็บประจ การสะสมพลังงานเปนพลังงานความรอน เปนตน 4. เทคโนโลยีดานสาธารณูปโภคพื้นฐานและดานสิ่งแวดลอม ในระบบจั ด การน้ํ า ในชุ ม ชนเมื อ งอย า งชาญฉลาดมั ก ประกอบด ว ย องคประกอบดังนี้ การจัดการดานชลประทานและการจัดการแหลงนา้ํ การจัดการ ระบบระบายนา้ํ การผลิตนา้ํ ประปาคุณภาพสูง การสูบและสงนา้ํ ประปา การจัดการ น้ําเสีย ระบบกําจัดขยะมูลฝอย และระบบกําจัดขยะอุตสาหกรรม 5. เทคโนโลยีดานสารสนเทศ เชน เครือขายอินเทอรเน็ตความเร็วสูง, Cloud Computing, Embedded Systems, Big Data & Analysis, and Image Processing 6. เทคโนโลยีการจัดการคมนาคมขนสง มหานครสวนใหญมกั จะประสบกับปญหาดานการจราจรติดขัดทัง้ นีเ้ ปนผล เนื่องมาจากความตองการในการเดินทางของประชาชนที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งสาเหตุ มาจากการพัฒนาของเมืองที่ขยายตัวเพิ่มมากขึ้น เมืองอัจฉริยะอาจจะแกปญหา จราจรโดยใชระบบขนสงมวลชนและการบริหารจัดการจราจรที่มีประสิทธิภาพ เปน หลัก รวมไปถึงการบริหารจัดการในเรื่องระบบที่จอดรถ และอื่นๆ เชน Real-time Traffic Rerouting Apps, Traffic Management System, AVL Bus หรือ Real-time Bus Tracking ระบบเชาจักรยานสาธารณะ ระบบจัดการ การขนสงสินคา การลดการเดินทางโดยการใชการสือ่ สาร การจัดการจราจร ระบบ ที่จอดและลานจอดอัจฉริยะ และระบบขนสงมวลชนและการเชื่อมระบบ อยางไรก็ตาม การดําเนินโครงเมืองอัจฉริยะลวนแตมีจดมุงหมายเพื่อการ เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตและการดําเนินธุรกิจ ซึ่งเปนผลตอเนื่องจากการ ประหยัดพลังงาน และการมีระบบคมนาคมขนสงที่มีประสิทธิภาพ ลดตนทุน เพิ่มความสามารถในการแขงขัน ทั้งยังชวยใหคุณภาพชีวิตของผูคนดีขึ้น และลด การสรางผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

GreenNetwork January-February 2017

ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน


%!D*58ų *8-Ċ! Ģ

GREEN

Article

#ď 3: Ů =L ;-9 8ů D+?M5+9

5 +@ D &7 (2)

รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล ดร.ณัฐวิญญ์ ชวเลิศพรศิยา รัฐพล เจียวิริยะบุญญา

ยางไรก็ตาม ดวยขอจํากัดของระบบระบายน้ําของกรุงเทพฯ ที่มีการใชงานมาอยางยาวนานจนเกิดการทรุดตัวและชํารุด ไปตามกาลเวลา ทําใหศักยภาพการระบายน้ําที่ ไดวางระบบเอาไวให สามารถรองรับนํ้าฝนไดที่ปริมาณ 60 มิลลิเมตรตอชั่วโมง คงจะไมสามารถ ใชงานไดเต็มประสิทธิภาพอีกตอไป เนื่องจากปริมาณน้ําฝนที่ตกลงมาในชวง วันที่ 13-14 ตุลาคมที่ผานมานั้นโดยเฉลี่ยอยูที่ 40 มิลลิเมตรตอชั่วโมง (ปริมาณ ฝนตกสูงสุด 120 และ 200 มิลลิเมตรตอชัว่ โมง บริเวณฝง ธนบุรแี ละฝง กรุงเทพฯ ตามลําดับ) แตระบบระบายน้ําก็ไมสามารถรองรับได ตองปลอยใหมวลน้ําฝน กลายเปนน้ํารอการระบายที่ตองใชเวลาอีกประมาณ 24 ชั่วโมง จึงจะสามารถ ระบายไดหมด และเมื่อรวมเขากับปญหาการอุดตันในทอระบายนํ้าเนื่องจาก ตะกอนดินและขยะมูลฝอยแลว ยิง่ ทําใหปญ  หานาํ้ ทวมทวีความรุนแรงเพิม่ มากขึน้ อีกดวย ปญหาดานขยะจึงเปนสิง่ ทีต่ อ งจัดการเปนอันดับตนๆ เพือ่ บรรเทาปญหา การระบายนา้ํ จากนัน้ ในระยะยาวจึงควรปรับปรุงซอมแซมระบบระบายนา้ํ ทีช่ าํ รุด เสียหายตอไป ทั้งนี้เมื่อปญหาน้ําทวมไดรวมเขากับปญหาขยะลนเมือง จะทําให เกิดผลกระทบและคําถามอื่นๆ ตามมาอีกมากมาย เชน วิธีการจัดการขยะที่มี ปริมาณเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เมื่อขยะมีปริมาณมากจะสามารถนําไปกําจัดไดดวย วิธีการใดบาง หากหลุมฝงกลบไมเพียงพอ ปญหาดานสุขภาพหรือโรคที่มากับ น้ําทวม (ที่มีขยะปนมาดวย) เชน โรคฉี่หนู โรคจากเชื้อรา และโรคผิวหนังตางๆ อีกทัง้ มวลนา้ํ ทีป่ นเปอ นขยะนีจ้ ะถูกผลักดันใหออกสูท ะเลหรือซึมลงพืน้ ดิน ซึง่ อาจ สงผลกระทบตอระบบนิเวศทางทะเลและแหลงน้ําใตดิน นอกจากปญหาน้ําทวม แลว เรายังมีปญ  หาขยะลนเมืองทีค่ วรเรงแกไขเพือ่ ไมให 2 ปญหานีร้ วมเขาดวยกัน จนกลายเปน ปญหาเดียวกัน ที่ยากจะแกไข โดยการจัดการและแกไขปญหา ขยะลนเมืองอยางยั่งยืนสามารถนําหลักการตางๆ ทางวิศวกรรมสิ่งแวดลอม (Environmental Engineering) เขามาชวยแกไขปญหาไดดังนี้ 1. Avoid คือ การหลีกเลี่ยงไม ใหเกิดขยะ หรืออาจทําไดโดยการลด ความสะดวกในการทิ้งขยะ เชน การลดจํานวนถังขยะในสถานที่ทองเที่ยว เพื่อ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมในการสรางขยะใหลดลง หรือทําใหเกิดการทิง้ ขยะในพืน้ ที่ ทีส่ ามารถคัดแยกขยะไดโดยงาย เชน ตามรานสะดวกซือ้ ซึง่ สามารถลดปริมาณ ขยะที่จะตองนําไปกําจัดลงไดอยางมาก

36

2. หลักการ 3Rs ไดแก ลดการใช (Reduce), ใชซ้ํา (Reuse) และการ แปรรูปมาใชใหม (Recycle) ซึ่งยังคงเปนหลักการที่สําคัญและสามารถนํามาใช ในการแกปญหาขยะลนเมืองไดเปนอยางดี โดยเราควรมีโครงการที่สนับสนุน หลักการดังกลาวใหมากขึ้น เชน การนัดวันทิ้งขยะเพื่อใหทุกคนสามารถนําขยะ ขนาดใหญมาทิง้ หรือขายในวันดังกลาวได ซึง่ ในทางกลับกัน ผูท ต่ี อ งการของชิน้ นัน้ ก็สามารถเลือกหาเลือกซื้อและนํากลับไปใชประโยชนตอไดเชนกัน จึงเปนการ ลดการเกิดขยะลงไดอีกทางหนึ่ง 3. Collection and Transport การเก็บขนขยะของกรุงเทพมหานคร นับวา มีการจัดการไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยมีการเก็บขนขยะเปน ประจําทุกวัน อยางไรก็ตาม หากปริมาณการเกิดขยะมีอัตราที่เพิ่มสูงขึ้น ศักยภาพของผูที่รับ ผิดชอบนั้นจะสามารถรองรับไดมากเพียงใดก็เปนคําถามที่สําคัญที่จะตองคํานึง ถึง เพราะหากมีขยะตกขางในพื้นที่จะทําใหเกิดปญหาเรื่องกลิ่นเหม็นและเปน แหลงเพาะเชือ้ โรคได ดังนัน้ แนวทางทีส่ ามารถลดความเสีย่ งตอปญหาในการเก็บ ขนขยะก็คอื ชวยกัน ลดปริมาณขยะนั่นเอง 4. Treatment & Resource Recovery กอนขั้นตอนสุดทายในการกําจัด ของเสีย (ฝงกลบ) ควรมีการพิจารณาถึงแนวทางตางๆ ในการบําบัดและนํากลับ ทรัพยากร ยกตัวอยางเชน ขยะเศษอาหารในประเทศแถบเอเชียนั้นถือวามี ปริมาณสูงและจัดเปนขยะที่ตองกําจัดชนิดหนึ่ง ดังนั้นเราจึงสามารถนําหลักการ Recovery เขามาจัดการกับปญหาดังกลาวได โดยการนําเศษอาหารไปผลิตเปน

GreenNetwork January-February 2017


อาหารสัตว ปุย หรือผลิตกาซชีวภาพ ซึ่งเปนการลดปริมาณขยะตั้งแตตนทาง เชนกัน รวมถึงเทคโนโลยีการผลิตเชือ้ เพลิงจากขยะ (Refuse Derived Fuel, RDF) ควรไดรับการสนับสนุนใหเกิดการนํามาใชอยางจริงจัง เพื่อลดปริมาณขยะที่จะ สงไปยังหลุมฝงกลบได 5. Disposal การทิง้ ขยะในหลุมฝงกลบที่ไดมาตรฐานยังคงเปนเรือ่ งทีต่ อ ง ใหความสําคัญ เนื่องจากยังคงมีหลุมฝงกลบที่ไมไดมาตรฐานหรือมีการใชงาน อยางไมถูกตอง เชน การทิ้งขยะในหลุมฝงกลบแตไมมีการปดคลุมในแตละชั้น ตามที่ ไดออกแบบไว จึงสงผลกระทบเรื่องกลิ่นเหม็นไปยังชุมชนที่อยูรอบขาง ดังนั้นการจัดการการทิ้งขยะในหลุมฝงกลบจึงตองมีการดําเนินการอยางถูกตอง และมีมาตรการติดตามตรวจสอบอยางเครงครัด จากสถานการณที่เราไดเผชิญอยู ทําใหเราไดรับรูวาระบบระบายน้ํา ของกรุงเทพฯ นั้นมีขอจํากัด ทําใหไมสามารถทํางานไดอยางเต็มประสิทธิภาพ การปรับปรุงแกไขตองใชทงั้ เวลาและงบประมาณ ซึง่ อาจจะไมทนั การณ สิง่ ทีเ่ รา ทุกคนชวยกันไดคือ ไมเพิ่มภาระใหกับระบบระบายน้ําโดยการลดการเกิดขยะ ไมทง้ิ ขยะในทีส่ าธารณะ และการจัดการขยะอยางถูกวิธี เพือ่ ชวยบรรเทาทัง้ ปญหา นา้ํ ทวมและขยะลนเมืองไดพรอมกัน โดยแนวทางในการจัดการขยะเพือ่ ลดปญหา ที่เกิดขึ้นเมื่อมีเหตุการณน้ําทวม ซึ่งสรุปเปนขอเสนอแนะได ดังนี้ 1. ขยะประเภทถุง/ขวดพลาสติกและขยะชิน้ ใหญ ควรเนนการนํากลับมา ใชใหม รณรงคลดปริมาณการใช รวมถึงการผลักดันใหเกิดพืน้ ทีก่ ารแลกเปลีย่ นซื้อขายสินคามือสอง เพื่อลดการเกิดขยะมูลฝอยโดยรวมลง โดยเฉพาะอยางยิ่ง ถุงพลาสติก ที่นับวาเปนหนึ่งในปจจัยสําคัญของการอุดตันและขัดขวางระบบ ระบายน้ําในพื้นที่เมือง เนื่องจากยอยสลายไดยากทางชีวภาพ สามารถหอหุม เศษขยะอื่นๆ ไดเปนอยางดี และสงผลตอการเพิ่มพื้นที่สัมผัสหรือพื้นที่ผิวใน วงกวาง ขัดขวางการไหลของนาํ้ เขาสูร ะบบระบายนาํ้ ในการนีร้ า นสะดวกซือ้ หรือ ประชาชนในบานเราที่มีทัศนคติที่วา “เมื่อซื้อของแลว ตองใสถุงพลาสติก” นั้น จึงเปนเรือ่ งสําคัญทีค่ วรปรับเปลีย่ นอยางยิง่ หลายประเทศในปจจบันมีการคิดเงิน คาถุงพลาสติกจนเปนเรือ่ งปกติไปแลว ดังนัน้ การดําเนินการขางตน อาจเปนหนึง่ ในแนวทางที่ควรมีการศึกษาตอไป

http://www.greenpeace.org/seasia/th/news/blog1/blog/58586/

37

https://www.posttoday.com/local/scoop_bkk/370027 2. วางผังเมือง ใหความสําคัญกับการวางผังเมือง โดยใชกฎหมายควบคุม การขยายพืน้ ทีข่ องตัวเมืองแบบไมเปนระเบียบและปองกันการกอสรางทีข่ วางทาง รองน้ําธรรมชาติอยางเขมงวด 3. การขุดลอก คู คลอง และทอระบายน้ํา ที่เปนเสนทางระบายน้ําออกสู ทะเลควรไดรับการขุดลอกอยางสม่ําเสมอ เพื่อลดตะกอนและขยะสะสม 4. ควบคุมการกอสรางและการจัดการ พื้นที่ที่จะมีการกอสรางขึ้นใหม ในอนาคต ควรมีระบบการระบายน้ํารองรับเพื่อไมใหกระทบกับพื้นที่ขางเคียง จนเกิดเปนจดนํา้ ทวมใหม 5. หลุมฝงกลบขยะ ขยะอันตรายและขยะอุตสาหกรรม ควรมีหลุมฝงกลบ ที่แยกเฉพาะและมีการจัดการที่ ไดมาตรฐาน รวมถึงการติดตามตรวจสอบโดย หนวยงานที่เกี่ยวของอยางเขมงวด เนื่องจากสามารถปนเปอนเขาสูสิ่งแวดลอม และประชาชนได เมื่อเกิดปญหาน้ําทวมขังรอการระบาย 6. การแจงเตือน ควรใชระบบแจงเตือนภัยและเฝาระวังตางๆ ผานเครือขาย อินเทอรเน็ต (IoT) เพือ่ ใหกรุงเทพฯ กลายเปนเมืองอัจฉริยะ (Smart City) อยาง เต็มรูปแบบ 7. ขยะกับการปนเปอ นในแหลงนา้ํ ธรรมชาติ ควรมีการติดตามและศึกษา ผลกระทบดังกลาวอยางตอเนือ่ ง เพือ่ นําไปสูก ารฟน ฟูแหลงนา้ํ ที่ไดรบั ผลกระทบ และปองกันไมใหเกิดการลุกลามไปยังแหลงน้ําอื่นๆ ตอไป ฤดูกาลเปนสิ่งที่เปลี่ยนหมุนไปตามชวงเวลา จึงตองเจอกับฤดูฝนในทุกป และมีแนวโนมวาฝนจะตกมากขึน้ และยาวนานขึน้ ในอนาคตโดยเฉพาะในเขตเมือง เราจึงตองเตรียมพรอมปองกันและรับมือกับน้ําทวม ทั้งสําหรับหนวยงาน ที่มีหนาที่รับผิดชอบในการดูแลระบบระบายน้ําและปองกันน้ําทวม และประชาชนทุกคนทีจ่ ะปองกันผลกระทบจากขยะตอการเกิด นา้ํ ทวม และแกไขปญหา “ฝนตก-นา้ํ ทวม-ขยะเกลือ่ น” กอนที่จะกลายเปนปญหาเรื้อรังที่ ไมสามารถ แยกออกจากกันไดอีกตอไป

GreenNetwork Green Network January-February 2017


GREEN

BIZ รัฐมนตรี ก.พลังงาน เยีย่ มชมโครงการพลังนาํ คิรีธาร-คลองทุงเพล จ.จันทบุรี เมื่อเร็วๆ นี้ ดร.ศิริ จิระพงษพันธ รัฐมนตรีวาการกระทรวง พลังงาน พรอมคณะผูบ ริหารระดับสูงจากกระทรวงพลังงาน ไดเดินทาง ตรวจเยีย่ มโครงการพลังงานนาํ้ คิรธี ารและโครงการพลังนาํ้ คลองทุง เพล ซึ่งเปนโครงการพัฒนาแหลงน้ําอเนกประสงคขนาดกลาง ของกรม พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ตั้งอยู ในพื้นที่ จังหวัดจันทบุรี สําหรับโครงการพลังนาํ คิรธี ารนัน้ สามารถผลิตไฟฟา รวมไดทั้งสิ้น 847 ลานหนวย มีการจําหนายไฟฟาเขาระบบ และ สามารถสรางรายไดรวมทั้งสิ้นประมาณ 1,600 ลานบาท ในขณะที่ โครงการไฟฟาพลังนําคลองทุงเพล สามารถผลิตพลังงานไฟฟาจาก พลังนา้ํ ไดประมาณปละ 28.16 ลานหนวย ชวยลดการสูญเสียในระบบ สายสงไฟฟาและเสริมสรางความมั่นคงในระบบสายสงของประเทศ

1

2

1. ดร.ศิริ จิระพงษพันธ รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน 2.-5. เยี่ยมชมโรงไฟฟาพลังน้ํา จังหวัดจันทบุรี 6. ถายภาพรวมกัน

3

4

5

6

โครงการพลังงานทดแทนชุมชน ไทย-เยอรมัน ครั้งที่ 3 หนุนการผลิตพลังงานยั่งยืน

1

2

3

4

5

6

องคกรความรวมมือระหวางประเทศของเยอรมัน (GIZ) และ กระทรวงพลังงาน รวมกันจัดงานสัมมนา โครงการพลังงาน ทดแทนชุมชน ไทย-เยอรมัน ครั้งที่ 3 โดย หรอหยา จันทรัตนา ผูตรวจราชการกระทรวงพลังงาน ใหเกียรติเปนประธานเปดงาน สัมมนาฯ ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อสรางความรูความเขาใจ และเปน เวทีแลกเปลีย่ นเกีย่ วกับรูปแบบการพัฒนาและการดําเนินโครงการ พลังงานทดแทนในระดับชุมชน รวมไปถึงเทคโนโลยีพลังงาน ทดแทนระหวางผูเชี่ยวชาญ ทั้งจากเยอรมัน ไทย และตัวแทน ชุมชน อีกทั้งเพื่อสรางและดํารงเครือขายพลังงานทดแทนระดับ ชุมชนในประเทศไทย โดยภายในงาน ผูเ ชีย่ วชาญระดับนานาชาติ ไดมีโอกาสพบกับผูแทนชุมชนเพื่อแบงปนประสบการณเกี่ยวกับ การติดตั้งพลังงานแสงอาทิตยแบบติดตั้งบนหลังคา แบตเตอรี่ กักเก็บพลังงาน ระบบสูบน้ําพลังงานแสงอาทิตย และระบบกริด พลังงานทดแทนแบบผสมผสาน งานดังกลาว จัดขึ้น ณ โรงแรม ฮีสติน แกรนด สาทร

1. หรอหยา จันทรัตนา ผูตรวจราชการกระทรวงพลังงาน 2.-3. ภายในงานสัมมนาฯ 4.-6. นิทรรศการภายในงาน 7.-8. ถายภาพรวมกัน 7

8

38

GreenNetwork January-February 2017


Magazine to Save The World

“อมตะ” ปรับโฉมธุรกิจสูยุค 4.0 ในงาน AMATA BEYOND 2018 เมือ่ เร็วๆ นี้ บริษทั อมตะ คอรปอเรชัน จํากัด (มหาชน) จัดงาน AMATA BEYOND 2018 เปนงานประจําปที่จัดขึ้นโดย มีวัตถุประสงคเพื่อสรางเวทีสําหรับลูกคา คูคา นักลงทุนจาก ตางประเทศ นักศึกษา และบุคคลที่สนใจ เพื่อทําความรูจัก แลกเปลีย่ นความคิดเห็น และสรางเครือขายระหวางกัน บริษัท ชั้นนําระดับโลกที่มีสายการผลิตในเมืองอุตสาหกรรมอมตะ ตลอดจนบริษัทในเครืออมตะและคูค า ของอมตะ รวมจัดแสดง ผลิตภัณฑและบริการทีเ่ ปนนวัตกรรมแหงอนาคตและเทคโนโลยี ที่ทันสมัยตางๆ เชน หุนยนต ผลิตภัณฑยางรถยนต เครื่อง ปรับอากาศ เปนตน ในงาน AMATA Beyond 2018 จัดขึ้น ณ อมตะคาสเซิล นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี

2

1

4

3

1. วิกรม กรมดิษฐ กรรมการและประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท อมตะ คอรปอเรชัน จํากัด (มหาชน) 2. แถลงขาวงาน AMATA BEYOND 2018 3.-5. นิทรรศการภายในงาน 6.-7. ถายภาพรวมกัน

6

5

7

วช. มอบรางวัลสิ่งประดิษฐนานาชาติ 2561

2

1

3

4

5

6

7

สํ า นั ก งานคณะกรรมการวิ จั ย แห ง ชาติ (วช.) ในฐานะ เลขานุการสภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแหงชาติรวมกับหนวยงาน ในระบบวิจยั และเครือขายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพือ่ การวิจยั จัดงาน วันนักประดิษฐ ประจําป 2561 โดยมี ดร.วิภารัตน ดีออ ง รองเลขาธิการ คณะกรรมการวิจยั แหงชาติ เปนผูม อบรางวัล โดยผลงานที่ไดรบั รางวัล สูงสุด จํานวน 4 รางวัล ไดแก 1. รางวัล ASEAN Outstanding Invention and Innovation Award ผลงานเรื่อง “Lord of Lock” จากประเทศมาเลเซีย 2.รางวัล The Best International Invention and Innovation of Industry Award ผลงานเรื่อง “Escalator Handle Cleaning System” จากประเทศเกาหลีใต 3. รางวัล The Best International Invention and Innovation of Social and Quality of Life Award ผลงานเรื่อง “Modular-adaptiv Stem for Total Hip Prosthesis, based on Intelligent Materials” จาก ประเทศโรมาเนีย และ 4.รางวัล The Outstanding International Invention and Innovation Award ผลงานเรื่อง “Intelligent Safety Module Applicable to Smart City” จากประเทศเกาหลีใต โดยพิธีมอบรางวัลจัดขึ้น ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา

1. ดร.วิภารัตน ดีออง รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ 2.-8. พิธีมอบรางวัลสิ่งประดิษฐนานาชาติ 2561 8

39

GreenNetwork January-February 2017


Supporting Organization

Organizers

FUTURE OF LED ASEAN's Largest International Exhibition on LED Products & Technology

10-12 MAY, 2018

CHALLENGER 1

IMPACT EXHIBITION & CONVENTION CENTER BANGKOK, THAILAND

www.ledexpothailand.com

EXPO 2018

DO YOU WANT TO BE A LEADER IN THE LED LIGHTING INDUSTRY IN THAILAND AND ASEAN? BOOK YOUR SPACE NOW!

Line ID : @ledexpo

LED Expo Thailand


ENDORSED BY:

ASIA’S INTEGRATED OIL, GAS & ENERGY TRANSFORMATION FULL ENERGY VALUE CHAIN WILL INCLUDE: E: Government Leaders

Intergrated Energy rgy gy Companies Technology Providers

National Oil Companies

Power Generation

International Oil Companies

Gas & LNG Companies

SPEAKERS

DELEGATES

Thousands of energy professionals to learn from ground-breaking & extra-ordinary content.

BOOK A STAND AT THAILAND’S LARGEST OIL, GAS AND POWER GENERATION EXHIBITION AND CONFERENCE EXHIBIT WITH US, CALL +66 2 559 0603 OR EMAIL SALES@FUTUREENERGYASIA.COM CO-ORGANISED BY:

50+ 300

Energy companies to build new partnerships and be part of the future energy mix.

SUPPORTING INDUSTRY ASSOCIATIONS:

15,000+

Mobility

Technology providers and entrepreneurs to showcase products, services and solutions.

SILVER SPONSOR:

VISITORS

COUNTRIES

Policy makers to meet, discuss and debate future energy scenarios.

GOLD SPONSOR:

600+

Transmission & Distribution

THE REGION’S MEETING POINT FOR:

OFFICIALLY SUPPORTED BY:

EXHIBITORS

ORGANISED BY:

2,000




Conference 19th-23rd March 2019

Exposition st

21 -23rd March 2019 Bangkok International Trade & Exhibition Centre (BITEC), Bangkok, Thailand

10,000+ ATTENDEES

400+ EXHIBITORS

300+ INTERNATIONAL SPEAKERS

24 CONFERENCE TRACKS

SUPER SESSIONS

PANEL SESSIONS

FORUM SESSIONS

POSTER SESSIONS

MULTIPLE NETWORKING OPPORTUNITIES


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.