Green Network Issue 88

Page 1



Contents July-August 2018 8 Special Scoop by จีรภา รักแกว 12 13 14 16 18 19 20 22

24 25 26 28 30

ยานยนตไฟฟาหรือสถานีอัดประจุไฟฟาตองมากอน? Green Focus by พิชัย ถิ่นสันติสุข สทน. องคกรปดทองหลังพระ เจาะลึกไมโครไคโตซาน สารสกัดจากธรรมชาติเพื่อสิ่งแวดลอม เรงพืชโตเร็ว ตานทานโรคและแมลง Floating Solar โรงไฟฟาเซลลแสงอาทิตย ประเภทลอยนํ้า นวัตกรรมไทยทํา ไทยใช Green Report by จีรภา รักแกว ปฏิรูปงานวิจัยและนวัตกรรม เพิ่มประสิทธิภาพพลังงานไฟฟาใหยั่งยืน Special Scoop by ดร.สุรพล ดํารงกิตติกุล, กิตติ วิสุทธิรัตนกุล Exploring Taiwan Int’L Lighting Tech Show 2018 to the Smartest Design for Radiant Living Green Scoop by พันธุเทพ คําปตะ Singapore Experience the Future Green Hotel by กองบรรณาธิการ อัคริณ โฮเทล กรุปปลุกปนโครงการรักษโลก ดันอคีรา ทัส สุขุมวิท ตนแบบที่ไมใชพลาสติกแบบใชครั้งเดียวแลวทิ้ง Green Article by ดร.บุญรอด สัจจกุลนุกิจ (JGESS) Green Technology & Innovation Torrefaction Technology Green People by จีรภา รักแกว กนกวรรณ จิตตชอบธรรม บานปู อินฟเนอรจี ชูโซลารรูฟท็อป กุญแจขับเคลื่อนสูเมืองอัจฉริยะ Green Factory by กองบรรณาธิการ ไทยเบฟเวอเรจ เอ็นเนอรยี่ ผลิตกาซชีวภาพจากนํ้าเสีย ลดโลกรอน นํ้าตาลบุรีรัมย ชูโรงไฟฟาพลังความรอนรวมชีวมวล เสริมความมั่นคงดานพลังงานทดแทน Green World by กองบรรณาธิการ Apple ใชพลังงานหมุนเวียน 100% ทั่วโลก RE Update by กองบรรณาธิการ ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) Smart City by กองบรรณาธิการ ก.พลังงานปนตนแบบไมโครกริดชุมชน จ.ลําพูน เสริมสรางความมั่นคงของระบบไฟฟา

32 Energy Saving by Mr.Save

3 การไฟฟา ผนึกกําลัง เปดตัวมาตรการอนุรักษพลังงานสําหรับผูผลิตและจําหนาย 34 Green Industry by ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี ตองบูรณาการเทานั้น

35 Green Technology & Innovation

by กองบรรณาธิการ ลูกหมุนระบายอากาศผลิตกระแสไฟฟา นวัตกรรมเพื่อการอนุรักษพลังงาน 36 Green Article by รศ. ดร.พิสทุ ธิ์ เพียรมนกุล, รัฐพล เจียวิรยิ บุญญ กาวใหทันเมมเบรนเทคโนโลยี (ตอนจบ) 38 Green Biz by กองบรรณาธิการ

35 22

8

30



ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ฯพณฯ พลอากาศเอก กําธน สินธวานนท คณะที่ปรึกษา ดร.ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน นินนาท ไชยธีรภิญโญ ดร.อัศวิน จินตกานนท ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย พานิช พงศพิโรดม ประสงค ธาราไชย ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.สุรพล ดํารงกิตติกลุ ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ชาย ชีวะเกตุ รศ. ดร.สิงห อินทรชูโต บรรณาธิการอํานวยการ/บรรณาธิการผูพิมพโฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ ภิญญาภรณ ชาติการุณ ผูชวยบรรณาธิการ จีรภา รักแกว เลขานุการกองบรรณาธิการ ปฐฐมณฑ อุยพัฒน พิสูจนอักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม ศศิธร มไหสวริยะ ประสานงาน ภัทรกันต กิจสินธพชัย ผูจัดการฝายการตลาด เขมจิรา บุญพระรักษา ฝายการตลาด กัลยา ทรัพยภิรมย เลขานุการฝายการตลาด ชุติมันต บัวผัน ฝายวิเทศสัมพันธ นันธิดา รักมาก แยกสี บริษัท คลาสสิคสแกน จํากัด โรงพิมพ บริษัท ฐานการพิมพ จํากัด

Editor Talk สวัสดีครับ ทานสมาชิกและทานผูอานทุกทาน

ยานยนตไฟฟาไมใชเรือ่ งของอนาคตอีกตอไป เพราะขณะนีท้ วั่ โลกตืน่ ตัวเรือ่ ง ยานยนตไฟฟา และเริ่มปรับเปลี่ยนนโยบายที่เอื้อตอการใชยานยนตไฟฟามากขึ้น โดยผานมาตรการภาคบังคับ หามขายรถใหมที่ใชนํ้ามันเบนซินและดีเซลหรือยกเลิก ผลิตรถที่ใชนํ้ามันเปนเชื้อเพลิง สําหรับประเทศไทย ปจจุบนั เริม่ ตืน่ ตัวและมีการใชยานยนตไฟฟาเพิม่ ขึน้ คอลัมน Special Scoop ไดนาํ เสนอ “ยานยนตไฟฟาหรือสถานีอดั ประจุไฟฟา ตองมากอน? ทีผ่ า นมา รัฐบาลมีการสงเสริมเพือ่ ใหเกิดการใชงานยานยนตไฟฟาประเภทไฮบริดปลัก๊ อิน และยานยนตไฟฟาประเภทแบตเตอรี่ 1.2 ลานคัน ภายใน พ.ศ. 2579 นโยบายสงเสริม ในเรื่องของสถานีอัดประจุไฟฟา ที่ผานมาทางกระทรวงพลังงานไดดําเนินการ โครงการนํารอง เพื่อรองรับยานยนตไฟฟาที่กําลังจะตามมาเพราะเปนที่ถกเถียงวา ควรจะมียานยนตไฟฟามากอน หรือสถานีอดั ประจุไฟฟาควรจะมากอน ฉะนัน้ กระทรวง พลังงานจึงมองวา ใหเริม่ ตนมีโครงสรางพืน้ ฐานกอน เพือ่ จะไดเดินหนาตอไปไดในเรือ่ ง ของยานยนตไฟฟาแมแตคา ยรถยนตเอง ก็ปรับเปลีย่ นนโยบายมุง ไปสูย านยนตไฟฟา เชนกัน รวมไปถึงภาคเอกชน พรอมติดตัง้ สถานีอดั ประจุไฟฟารองรับการขยายตัวของ ยานยนตไฟฟา คอลัมน RE Update พบกับ “เทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System)” ซึง่ ปจจุบนั ในประเทศไทยไดถกู นํามาใชเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ และสัดสวน ของการใชพลังงานทดแทนใหเปนไปตามเปาหมายของแผนพัฒนาพลังงานทดแทน และพลังงานทางเลือก (AEDP 2015) อีกทัง้ ยังไดมกี ารพัฒนาระบบกักเก็บพลังงานให มีขนาดเล็ก เบาลง โดยไมไดเพียงแคนาํ มาใชกบั พลังงานลมหรือพลังงานแสงอาทิตย ซึง่ เปนพลังงานจากธรรมชาติทมี่ คี วามผันผวน ไมมนั่ คงนัก แตยงั สามารถนําไปใชกบั อาคารบานเรือน โรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล สถานีไฟฟา ระบบไมโครกริด และ โรงไฟฟาพลังงานทดแทน รวมถึงการนําไปใชกับรถยนตไฟฟา (EV) คอลัมน Green Report พบกับ “ปฏิรปู งานวิจยั และนวัตกรรม เพิม่ ประสิทธิภาพ พลังงานไฟฟาใหยงั่ ยืน” โดยสํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ (วช.) รวมกับ การไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) การไฟฟานครหลวง (กฟน.) และสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (ส.อ.ท.) เสวนา CEO FORUM : Electricity R&I Challenges in the 21st Century “พลังงานไฟฟากาวไกล วิจัยนําไทยยั่งยืน” คอลัมน Green People “บานปู อินฟเนอรจี ชูโซลารรฟู ท็อป กุญแจขับเคลือ่ นสูเ มือง อัจฉริยะ” ทีม่ าบอกเลาถึงแนวโนมศักยภาพการเติบโตของโซลารเซลล คอลัมน Smart City “ก.พลังงานปนตนแบบไมโครกริดชุมชน จ.ลําพูน เสริมสรางความมั่นคงของ ระบบไฟฟา” คอลัมน Green World “Apple ใชพลังงานหมุนเวียน 100% ทั่วโลก” คอลัมน Energy Saving “3 การไฟฟา ผนึกกําลัง เปดตัวมาตรการอนุรักษพลังงาน สําหรับผูผ ลิตและจําหนาย” และสุดทายคอลัมน Green Technology & Innovation “ลูกหมุนระบายอากาศผลิตกระแสไฟฟา นวัตกรรมเพื่อการอนุรักษพลังงาน” แลวพบกันใหมฉบับหนา สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2354-5333 (ฝายการตลาด Ext. 503) แฟกซ 0-2640-4260 http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com E-Mail : editor@greennetworkthailand.com


6

GreenNetwork4.0 July-August 2018


ประชาสัมพันธงาน IEEE PES GTD Asia 2019 ภายในงานเสวนา ”กาวสู EEC จังหวัดชลบุรี :

ทิศทางอุตสาหกรรมกับความมั่นคงทางพลังงานไฟฟา”

Presenting the IEEE PES GTD Asia 2019 at the Seminar "Step to the EEC in Chonburi : Industry Direction and Power Security"

เมือ่ เร็วๆ นี้ เสริมสกุล คลายแกว ผูว า การการไฟฟาสวนภูมภิ าค หรือ กฟภ. ไดเปนประธานในพิธเี ปดเสวนา “กาวสู EEC จังหวัดชลบุรี : ทิศทางอุตสาหกรรม กับความมั่นคงทางพลังงานไฟฟา” โดยไดรับเกียรติจาก เชาวลิตร แสงอุทัย รองผูวาราชการจังหวัดชลบุรี รวมในพิธีเปดฯ ณ หองประชุมแสนสุข โรงแรม บางแสนเฮอริเทจ จังหวัดชลบุรี การไฟฟาสวนภูมิภาค เขต 2 (ภาคกลาง) จังหวัดชลบุรี ใหความสําคัญกับ โครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) เปนแผนยุทธศาสตรภายใต ไทยแลนด 4.0 ซึ่งมีเปาหมายหลักในการสงเสริมการลงทุน ยกระดับเพิ่มขีดความ สามารถการแขงขันภาคธุรกิจ อุตสาหกรรม ทําใหเศรษฐกิจของประเทศไทยเติบโต ไดในระยะยาว ภายใตนโยบาย PEA 4.0 ซึง่ เปนการขับเคลือ่ นการไฟฟาสวนภูมภิ าค กาวสูการไฟฟาแหงอนาคต (The Electric Utility of the Future) ภายในงานดังกลาว ผศ. ดร.นพพร ลีปรีชานนท ในฐานะ Organizing Chair การจัดงาน IEEE PES GTD ASIA 2019 ไดนาํ เสนอรายละเอียดงานกับผูเ ขารวมงาน กวา 200 คน เพื่อเชิญชวนผูที่เกี่ยวของเขารวมงานประชุมวิชาการ รวมออกบูธ แสดงสินคาและเทคโนโลยีดา นการผลิตพลังงานไฟฟา หรือเขาเยีย่ มชมนิทรรศการ ภายในงานที่จะจัดขึ้นระหวางวันที่ 19-23 มีนาคม 2562 ณ ศูนยนิทรรศการและ การประชุมไบเทค บางนา

7

Recently, Mr.Sermsakul Klaikaew, Provincial Electricity Authority (PEA) presided over the opening ceremony of the “Step to EEC in Chonburi Province : Industrial Trends and Power Stability”. Deputy Governor of Chonburi at the opening ceremony at Sansuk meeting room. Bangsaen Heritage Hotel, Chonburi province Provincial Electricity Authority, Region 2 (Central Region) The Eastern Special Economic Zone (EEC) is a strategic plan under Thailand 4.0 that aims to promote investment. Enhancing the competitiveness of the industrial sector has made Thailand’s economy grow in the long run under the PEA 4.0 policy, which will drive the Electricity Generating Authority of the Future (PEA) In this event, Asst. Professor Dr.Nopbhorn Leepreechanon as Organizing Chair for The IEEE PES GTD ASIA 2019 was presenting the event and inviting attendees to join the Conference and visit the Exhibition booths to show the lastest technology for power industry. This event will be held from 19-23 March 2019 at the BITEC Exhibition and Convention Center Bangna.

GreenNetwork4.0 July-August 2018


SPECIAL

Scoop จีรภา รักแกว

ยานยนตไฟฟา หรือสถานี อัดประจุไฟฟา ตองมากอน?

ยานยนตไฟฟาไมใชเรื่องของอนาคตอีกตอไป ขณะนี้ทั่วโลกตื่นตัวเรื่อง ยานยนตไฟฟา และเริม่ ปรับเปลีย่ นนโยบายทีเ่ อือ้ ตอการใชยานยนตไฟฟามากขึน้ โดยผานมาตรการภาคบังคับ หามจําหนายรถใหมทใี่ ชนาํ้ มันเบนซินและดีเซลหรือ ยกเลิกผลิตรถที่ใชนํ้ามันเปนเชื้อเพลิง สําหรับประเทศไทย ปจจุบันเริ่มตื่นตัวและมีการใชยานยนตไฟฟาเพิ่มขึ้น รัฐบาลมีการสงเสริมเพื่อใหเกิดการใชงานยานยนตไฟฟาประเภทไฮบริดปลั๊กอิน และยานยนตไฟฟาประเภทแบตเตอรี่ 1.2 ลานคันภายใน พ.ศ. 2579 ที่ผานมา ทางกระทรวงพลังงานไดดําเนินการโครงการนํารองเพื่อรองรับยานยนตไฟฟา ทีก่ าํ ลังจะตามมา เพราะเปนทีถ่ กเถียงวาควรจะมียานยนตไฟฟามากอน หรือสถานี อัดประจุไฟฟาควรจะมากอน ฉะนัน้ กระทรวงพลังงานจึงมองวา ใหเริม่ ตนมีโครง สรางพื้นฐานกอน เพื่อจะไดเดินหนาตอไปไดในเรื่องของยานยนตไฟฟา

กระทรวงพลังงาน เดินหนาเปดสถานี อัดประจุไฟฟา ตั้งเปา 150 หัวจาย ภายใน พ.ศ. 2562

ดร.ศิริ จิระพงษพันธ

ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร

โครงการสงเสริมใหเกิดสถานีอดั ประจุไฟฟา เกิดจาก กองทุนเพือ่ การอนุรกั ษพลังงาน ไดมอบหมายใหทางสมาคมยานยนตไฟฟาไทยชวย ดําเนินโครงการสงเสริมใหเกิดสถานีอดั ประจุไฟฟาตัง้ เปา 150 หัวจาย ทัว่ ประเทศไทย ภายใน พ.ศ. 2562 เมือ่ ตนปทผี่ า นมา กระทรวงพลังงาน โดย กองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษ พลังงาน สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) และ สมาคมยานยนตไฟฟาไทย เปด สถานีอัดประจุไฟฟา (Charging Station) ผลักดันนโยบายพลังงาน 4.0 เพือ่ ขับเคลือ่ นใหประเทศไทยกลายเปนสมารทซิตี้ (Smart City) รวมถึงการสราง ความเชือ่ มัน่ ใหผบู ริโภคทีส่ นใจยานยนตไฟฟาโดยตัง้ เปาหมายใน พ.ศ. 2562 ใหมี สถานีครบ 150 สถานี ซึ่งไดรับความรวมมือจากหนวยงานการไฟฟา ผูใหบริการ สถานีอดั ประจุไฟฟาในแตละเครือขาย รวมทัง้ คายรถยนตตา งๆ กวา 20 หนวยงาน รวมกันลงนามบันทึกความเขาใจ (MOU) เพือ่ รวมกันเดินหนาพัฒนาระบบเชือ่ มตอ การใชงานของแตละเครือขายเขาดวยกัน เพีอ่ ประโยชนสงู สุดของผูใ ชรถยนตไฟฟา ทั้งหมด ดร.ศิริ จิระพงษพนั ธ รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน กลาววา นโยบาย ยานยนตไฟฟา การพัฒนายานยนตไฟฟา เปนนโยบายหลักประเทศ อีกทัง้ ประเทศไทย ยังเปนฐานของการผลิตยานยนตใหญทสี่ ดุ ในอาเซียนโดยผลิตกวา 2 ลานคันตอป และสงออกมากกวา 1.2 ลานคันตอป เพราะฉะนั้นการที่วิวัฒนาการของโลก ในอนาคตจะกาวไปสูการเลิกใชนํ้ามัน หันไปใชไฟฟาสําหรับยานยนต หากเราไม เตรียมพรอมก็จะมีผลกระทบตออุตสาหกรรม ไมเพียงแคผปู ระกอบการ การจางงาน การประกอบอาชีพของพนักงาน ธุรกิจ SME ที่ผลิตชิ้นสวนตางๆ ปอนใหกับ อุตสาหกรรมนี้ รัฐบาลไดตระหนักและเตรียมพรอมทีจ่ ะขับเคลือ่ น ปรับโครงสราง อุตสาหกรรม จากอุตสาหกรรมยานยนตทใี่ ชนาํ้ มันเปนเชือ้ เพลิงมาเปนอุตสาหกรรม ทีผ่ ลิตยานยนตไฟฟาเปนหลัก เพือ่ เตรียมทีจ่ ะกาวไปสูอ นาคต โดยขณะนีไ้ ดเรงขยาย สถานีอัดประจุไฟฟาใหเพิ่มมากขึ้นโดยตั้งเปาไววาใน พ.ศ. 2579 ประเทศไทยจะ ตองมียานยนตไฟฟาใหไดมากถึง 1.2 ลานคัน “คาดวาไมเกิน 10 ป ทัว่ โลกนาจะมีการเปลีย่ นไปใชยานยนตไฟฟาในสัดสวน ทีส่ งู มาก สนพ.เริม่ ทดสอบหลักการเรียกวาสมารทซิตี้ ในการกระจายวาทุกๆ ชุมชน ทุกๆ หนวยงาน ทุกๆ บาน สามารถผลิตไฟฟาใชเองและขายไฟในสวนทีเ่ หลือตรงนี้ เปนอนาคตที่เรามองออกไปในการบริหารจัดการไฟฟา” ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอ าํ นวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กลาววา คาดการณในอนาคตจะมีประชาชนหันมาใชมากขึ้นโดยเฉพาะรถยนต สวนบุคคล ซึง่ ขณะนีไ้ ดเรงขยายสถานีอดั ประจุไฟฟาใหเพิม่ มากขึน้ เพือ่ สรางความ เชื่อมั่นใหผูบริโภคที่สนใจยานยนตไฟฟา นอกจากนี้ยังไดเตรียมความพรอมเพื่อ รองรับการใชงานยานยนตไฟฟาที่กําลังขยายตัวและจะเพิ่มขึ้นในอนาคต ไดแก 8

ดร.ยศพงษ ลออนวล

การปรับปรุงกฎหมายและกฎระเบียบตางๆ ที่เกี่ยวของ การสนับสนุนงานวิจัย แบตเตอรี่ สนับสนุนการนํารองยานยนตไฟฟาในกลุม รถสาธารณะ อาทิ รถตุก ตุก ไฟฟา และการเตรียมความพรอมดานสาธารณูปโภคทีเ่ กีย่ วของ เชน เตรียมความ พรอมระบบไฟฟา และสถานีอัดประจุไฟฟา ดร.ยศพงษ ลออนวล นายกสมาคมยานยนตไฟฟาไทย กลาววา ในขณะนี้ สถานีอัดประจุไฟฟาที่แลวเสร็จและเปดใหใชบริการแลว จํานวน 15 หัวจาย จาก 13 หนวยงาน ประกอบดวย 1. กรมควบคุมมลพิษ 2. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตองครักษ 3. บริษัท บางกอกโซลาร พาวเวอร จํากัด ปทุมวัน 4. บริษัท บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) (สํานักงานใหญ) 5. บริษทั เค.อี.รีเทล จํากัด (CDC) 6. ทรัสตเพือ่ การลงทุนในสิทธิการเชาอสังหาริมทรัพย แอลเอชช็อปปง เซ็นเตอร สาขา 001 (ศูนยการคาเทอรมนิ ลั 21 อโศก) 7. บริษทั แรบบิท ออโต คราฟท จํากัด 8. บริษทั ทีเอสแอล ออโต คอรปอเรชัน่ จํากัด 9. บริษทั ทีเอสแอล ออโต เซอรวสิ 2016 จํากัด 10. บริษัท บางจากคอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) (ราชพฤกษ 2) 11. บริษทั นิสสัน มอเตอร (ประเทศไทย) จํากัด 12. บริษทั สแตนดารด เอ็นจีวี จํากัด 13. บริษัท เกษรเรียลตี้ จํากัด (ศูนยการคาเกษร) นอกจากนี้ สมาคมยานยนตไฟฟาไทยยังไดริเริ่มโครงการเพื่อสรางความ รวมมือระหวางผูใหบริการสถานีอัดประจุไฟฟาที่มีอยูหลากหลายเครือขายและ บริษทั รถยนตทจี่ าํ หนายยานยนตไฟฟาประเภทปลัก๊ อินไฮบริด (PHEV) และยานยนต ไฟฟาแบตเตอรี่ (BEV) โดยไดรว มกันลงนามในบันทึกความเขาใจเพือ่ ความรวมมือ ในการพัฒนาระบบเชื่อมตอการใชงานของแตละเครือขายเขาดวยกัน อันมี วัตถุประสงคเพื่อประโยชนสูงสุดของผูใชรถยนตไฟฟา ใหสามารถใชบริการ อัดประจุไฟฟาในแตละแหงไดโดยไมตอ งพกบัตรผูใ ชบริการหลายใบ โดยในเบือ้ งตน สมาคมยานยนตไฟฟาไทยไดลงนามบันทึกความรวมมือกับ 1. การไฟฟาฝายผลิตแหง ประเทศไทย 2. บริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) 3. บริษทั กริดวิซ (ประเทศไทย) จํากัด 4. บริษทั บีเอ็มดับเบิลยู (ประเทศไทย) จํากัด 5. บริษทั ชไนเดอร (ไทยแลนด) จํากัด 6. บริษทั นิสสัน มอเตอร (ประเทศไทย) จํากัด 7. บริษทั จีแอลที กรีน (ประเทศไทย) จํากัด 8. บริษทั ไรเซน เอนเนอรจี จํากัด 9. บริษทั เดอะ ฟฟท อีลเี มนท อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด 10. บริษทั วอลโวคาร (ประเทศไทย) จํากัด 11. บริษทั บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) 12. บริษทั เอสเอไอซี มอเตอร-ซีพี จํากัด 13. บริษทั อีโวลท เทคโนโลยี จํากัด 14. บริษทั เอเอเอส ออโต เซอรวสิ จํากัด 15. บริษทั อี.วี.เอฟ (ประเทศไทย) จํากัด 16. บริษทั เอฟโอเอ็มเอ็ม (เอเซีย) จํากัด 17. บริษทั ฮอปคาร จํากัด 18. บริษทั อินชเคป (ประเทศไทย) จํากัด และไดรบั การสนับสนุนจากการไฟฟานครหลวงและการไฟฟา สวนภูมภิ าค และลาสุดโครงการเปดรับสมัครมาถึงรอบที่ 5 มีสถานีอดั ประจุไฟฟา จํานวนทั้งสิ้น 83 สถานี จํานวน 103 หัวจาย

GreenNetwork4.0 July-August 2018


เดลตา พรอมติดตัง้ สถานีอด ั ประจุไฟฟา รองรับการขยายตัว ของยานยนตไฟฟา

กิตติศักดิ์ เงินงอกงาม

รัฐบาลไทยคาดหวังวาจะมียานยนตไฟฟาในประเทศ 1.2 ลานคันภายใน พ.ศ. 2579 เพื่อสนับสนุนแผนนโยบายนี้จึงจําเปนตองมีสถานี อัดประจุไฟฟารองรับเปนจํานวนมาก ซึ่งเดลตาอยูในสถานภาพที่พิเศษกวาผูอื่น ทีส่ ามารถจัดใหบริการติดตัง้ สถานีได ยกระดับความเชีย่ วชาญในการเปนผูน าํ ดาน เทคโนโลยีการแปลงและจัดการพลังงาน เพือ่ สรางเครือ่ งชารจแบบไฟฟากระแสตรง (DC) และไฟฟากระแสสลับ (AC) ทีใ่ ชทงั้ ระบบภาพสัญลักษณสอื่ สารกับผูใ ชผา น เว็บไซต หรือ Graphical User Interface (GUI) และแอพพลิเคชัน่ สําหรับสมารทโฟน ในการติดตั้ง การใชงาน และการบํารุงรักษาเพื่อลดความยุงยาก เมื่อตนปนี้ เดลตาเปดตัวอุปกรณชารจยานยนตไฟฟาแบบครบชุดใน ประเทศอินเดีย และจะเปดโรงงานผลิตใน พ.ศ. 2562 เดลตายังวางแผนทีจ่ ะขยาย งานดานยานยนตไฟฟาในประเทศไทย โดยไดรวมมือกับการไฟฟานครหลวงใน กรุงเทพมหานคร และสถาบันยานยนตในบางปู เพื่อใหบริการโซลูชั่นสําหรับการ อัดประจุไฟฟา ในปนี้ เดลตาเขารวมกับสมาคมยานยนตไฟฟาไทย ในฐานะหนึ่งในบริษัท ผูผ ลิตชิ้นสวนอุปกรณยานยนตไฟฟา ที่สามารถจัดหาโซลูชั่นการชารจประจุไฟ ยานยนตไฟฟาสําหรับผูประกอบการสถานีชารจยานยนตไฟฟาชั้นนําของประเทศ การเปนสมาชิกของเดลตาเปนผลมาจากความรวมมือกับเจาหนาที่ดานยานยนต ชัน้ นําของรัฐบาลไทย เพือ่ ขับเคลือ่ นการพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานและกําหนดรูปแบบ การชารจประจุไฟยานยนตไฟฟาของประเทศใหเปนมาตรฐานเดียวกัน กิตติศกั ดิ์ เงินงอกงาม ผูอ าํ นวยการฝายพัฒนาธุรกิจ เดลตา ประจําภูมภิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต กลาววา ที่ผานเดลตาไดติดตั้งสถานีอัดประจุไฟฟาใน ประเทศไทย โดยติดตั้งใหกับสถาบันยานยนต จํานวน 2 สถานี ไดแก สํานักงาน บางปูและสํานักงานกลวยนํ้าไท รวมทั้งการไฟฟานครหลวง จํานวน 10 สถานีใน

พ.ศ. 2555 ซึง่ จะเปนเครือ่ งชารจแบบไฟฟากระแสตรง (DC) หรือ Quick Charge โครงการที่ติดตั้งสวนใหญ เปนโครงการนํารองของภาครัฐ สวนเครื่องชารจ แบบกระแสสลับ (AC) หรือ Normal Charge จะติดตัง้ ในสวนของภาคเอกชน เชน คอนโดมิเนียม ในสวนของตางประเทศมีการติดตัง้ ทีท่ า อากาศยานนานาชาติฮอ งกง และประเทศนอรเวย ติดตัง้ ตัง้ แต พ.ศ. 2559-2561 จํานวน 388 สถานี ทัง้ นี้ กลุม ลูกคาโดยสวนใหญแลวจะเปนยุโรป ญี่ปุน และอเมริกา เนื่องจากรัฐบาลในหลาย ประเทศก็เริม่ ใหความสนใจกับนโยบายทีเ่ กีย่ วของกับการเปลีย่ นแปลงนี้ โดยเฉพาะ การอัดงบประมาณสําหรับติดตั้งสถานีประจุไฟฟา และการพัฒนาหลักสูตรเพื่อ รองรับอุตสาหกรรมยานยนตแหงอนาคต อีกตัวหนึง่ ทีเ่ ปนองคประกอบสําคัญ คือจะเห็นวาตัวอัดประจุไฟฟาเปนตัวที่ ใชพลังงาน โดยการดึงไฟฟาจากแหลงพลังงานคอนขางสูง หากติดตัง้ ตัวอัดประจุ ไฟฟาในปริมาณมาก อนาคตกอใหเกิดปญหาเรือ่ งระบบไฟหรือระบบสายสง และ ระบบหมอแปลงได ดังนั้น เดลตาจึงพัฒนาอุปกรณที่เรียกวา Energy Storage หรือตัวกักเก็บพลังงาน เขามาชวยเสริม ตัวกักเก็บพลังงานเปรียบเสมือนแท็งกนาํ้ สํารองอีกหนึง่ แท็งก นัน่ ก็คอื ในบานปกติจะมีนาํ้ ประปาเปนตัวหลัก แตกม็ แี ท็งกนาํ้ สํารองเก็บไวเพือ่ ใชยามขาดแคลน แนวคิดดังกลาวเหมือนกันกับตัวกักเก็บพลังงาน จะเปนเหมือนแท็งกไฟฟาสํารอง ทีช่ ว ยทําใหสภาวะระบบไฟฟาเกิดความมัน่ คงและ มีเสถียรภาพมากขึ้น “ภาพในอนาคตถาเราติดตั้งตัวอัดประจุไฟฟาไปเยอะแลว แนนอนวา จะไปมีปญหาหรือระบบกวนระบบสายสงหรือระบบที่นําสงไฟฟาใหกับโรงงาน อุตสาหกรรม และบานเรือน ฉะนัน้ นวัตกรรมคือ ตัวกักเก็บพลังงาน เขามาชวยเสริม ในระบบสายสงไฟฟาใหมีความเสถียรภาพและสามารถมีพลังงานไฟฟาเพียงพอ ตอผูใชในอนาคต”

EA Anywhere ตัง้ เปาติดตัง้ สถานีอด ั ประจุไฟฟา

1,000 สถานีทั่วประเทศ ภายใน พ.ศ. 2561

สมโภชน อาหุนัย

บริษัท พลังงานมหานคร จํากัด เปนบริษัทยอยของ บริษัท พลังงานบริสุทธิ์ จํากัด (มหาชน) หรือ EA ซึ่งดําเนินธุรกิจดานพลังงาน มีความเชี่ยวชาญ และเปนผูนําในเทคโนโลยีเกี่ยวกับอุตสาหกรรมพลังงาน จาก นโยบายทีเ่ ล็งเห็นวา ในอนาคตพลังงานจากฟอสซิลซึง่ กอใหเกิดมลภาวะ เชน นํา้ มัน กาซ ถานหิน จะถูกลดบทบาทไป พลังงานอืน่ ทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอมจะเพิม่ บทบาท ยิง่ ขึน้ และเขามาแทนที่ จึงเปนทีม่ าของการกอตัง้ บริษทั พลังงานมหานคร จํากัด เพื่อดําเนินธุรกิจดานสถานีอัดประจุไฟฟาสําหรับยานยนตไฟฟา ซึ่งสอดคลองกับ นโยบายของภาครัฐทีต่ อ งการสนับสนุนการผลิตและใชยานยนตไฟฟาในประเทศไทย สมโภชน อาหุนยั ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั พลังงานมหานคร จํากัด กลาววา EA Anywhere ไดเพิม่ งบประมาณสําหรับการกอสรางสถานีอดั ประจุไฟฟา 1,000 สถานีทวั่ ประเทศ จาก 600 ลานบาทเปน 800 ลานบาท โดยขณะนีอ้ ยูร ะหวาง การดําเนินการติดตัง้ ในเขตพืน้ ทีก่ รุงเทพฯ ปริมณฑล และเริม่ ทีจ่ ะกระจายสูภ มู ภิ าค ตอไป โดยมีกาํ หนดแลวเสร็จภายใน พ.ศ. 2561 เราตองการใหมสี ถานีอดั ประจุไฟฟา 9

กระจายอยูทั่วทุกพื้นที่ เพื่อความสะดวกของผูใชบริการ ไมตางจากการใชบริการ ของสถานีบริการนํ้ามัน ดังนั้นจะเห็นไดวาอัตราการเติบโตของยอดขายรถยนต ประเภทนีใ้ นประเทศไทย เพิม่ ขึน้ อยางชัดเจน และยังคงมีแนวโนมการเพิม่ ขึน้ อยาง รวดเร็ว “EA Anywhere พรอมเปดโอกาสใหผูที่สนใจรวมเปนสวนหนึ่งในโครงการ เพราะการติดตัง้ และลงทุนอุปกรณสถานีชารจ EA Anywhere เปนผูล งทุนเองทัง้ หมด เพียงแคเจาของพืน้ ทีจ่ ะตองมีพนื้ ทีจ่ ดุ จอดใหตรงตามสเปก รวมถึงสายไฟทีเ่ หมาะสม กับเครื่องอัดประจุไฟฟาแตละสถานีจะมีรูปแบบสถานีที่แตกตางกันออกไป เชน สถานีบริการนํ้ามันขนาดใหญ รานกาแฟ ศูนยอาหารขนาดใหญ ผูใหบริการดูแล รถยนต โรงแรม คอนโดมิเนียม อาคารจอดรถ โรงพยาบาล สถานศึกษา สนามกีฬา รวมถึงศูนยการคา ซึ่งรองรับไลฟสไตลที่แตกตางกันออกไป” EA Anywhere ใชเทคโนโลยีทที่ นั สมัยเพือ่ ใหลกู คามัน่ ใจในความปลอดภัย อยางสูงสุด ดวยการรับรองมาตรฐานความปลอดภัยจาก IEC STANDARD ทัง้ แบบ

GreenNetwork4.0 July-August 2018


กระแสไฟฟาตรง และกระแสไฟฟาสลับ สถานีอัดประจุไฟฟานั้นมีหัวจายอยู 2 แบบ คือ แบบ DC ชารจเร็วภายใน 7 นาที วิ่งไดระยะทาง 100 กม. สวนแบบ AC ชารจปกติ 1-2 ชม. รองรับรถยนต ปลั๊กอินไฮบริด และรถยนตไฟฟาทุกคายและทุกรุนสามารถชารจไฟฟาได

รูปแบบสถานีอัดประจุไฟฟามี 3 ขนาด คือ เอส, เอ็ม, แอล

i. ขนาดเอส 3 หัวจาย ประกอบดวย DC 2 หัว และ AC 1 หัว ii. ขนาดเอ็ม 4 หัวจาย ประกอบดวย DC 1 หัว และ AC 3 หัว iii. ขนาดแอล ประกอบดวยหัวจายแบบ DC 1 หัว และแบบ AC ทีจ่ ะกระจาย แยกจุดออกไปติดตั้งยังจุดจอดรถตางๆ อัตราคาบริการ คิดคาบริการลูกคาที่มาใชบริการแบบชารจปกติ 1 ชม. 50 บาท, 2 ชม. 80 บาท, 3 ชม. 120 บาท และ 4 ชม. 150 บาท สวนแบบชารจ เร็ว คิดตามหนวยไฟฟา ซึง่ ขณะนีอ้ ยูร ะหวางการพิจารณาราคาเบือ้ งตนทีไ่ มสงู กวา กาซเอ็นจีวีอยางแนนอน ปจจุบันประเทศไทยกาวเขาสูสังคมไรเงินสด Cashless Society หรือ Cashless Economy เปนแนวคิดสังคมเศรษฐกิจที่ปราศจากเงินสด หรือสังคม เศรษฐกิจที่ไมนิยมถือเงินสด ความสําคัญของเงินสดลดนอยลง และจะถูกแทนที่ ดวยการใชระบบคอมพิวเตอร และโทรคมนาคมในการทําธุรกรรมทางการเงินแทน ซึง่ จะชวยเพิม่ ประสิทธิภาพ การจัดการและการลดตนทุนรวม โดย EA Anywhere มุงเนนการพัฒนาระบบโดยใชงานผานแอพพลิเคชั่น EA Anywhere ทั้งระบบ iOS และ Android ซึง่ สามารถ จอง จาย ชารจ ไดอยางสะดวกปลอดภัยงายตอการจัดการ และบริหารระบบ Station ของ EA Anywhere อีกดวย

วอลโว ยกเลิกพัฒนา หรือติดตั้งดวย เครื่องยนตดีเซล เปลี่ยนผานสู ยานยนตไฟฟา ใน พ.ศ. 2562

สมโภชน กลาววา บริษทั ฯ ดําเนินธุรกิจดานพลังงานทดแทนมาอยางตอเนือ่ ง และเชื่อมาตลอดวา ในชวง 2-3 ปที่ผานมา มีการเปลี่ยนแปลงเรื่องสิ่งแวดลอม คอนขางมาก EA จึงมุงเนนธุรกิจที่เกี่ยวของกับพลังงานทดแทน และอนุรักษ สิง่ แวดลอม จากปจจุบนั ทีพ่ ลังงานทดแทนเปนเพียงพลังงานทางเลือก ดังนัน้ จึงตอง ไปลงทุนในอุตสาหกรรม แบตเตอรีร่ ถยนต ถือวาเปนจิก๊ ซอวตวั สุดทาย ทีจ่ ะทําให พลังงานทางเลือกกลายเปนพลังงานหลักได เราจึงรวมมือกับพันธมิตรทํานิคม อุตสาหกรรมแบบใหมมีความสวยงามนาอยู เราเริ่มจากรัฐสนับสนุน แลวกลับมา ตอยอดชวยเหลือสังคม ผลักดันใหเศรษฐกิจเติบโตอยางเปนรูปธรรม สถานีอัดประจุไฟฟา EA Anywhere เปดตัวโครงการในสถานะผูใหบริการ สถานีอดั ประจุไฟฟา (Service Provider) ซึง่ มุง เนนการใหบริการกับยานยนตไฟฟา ทุกคาย ทัง้ นี้ EA Anywhere ไดตอ ยอดธุรกิจโดยจัดตัง้ บริษทั ไมน โมบิลติ ี้ จํากัด ภายใตเครื่องหมายการคา MINE (MISSION NO EMISSION) เพื่อคิดคน และ พัฒนายานยนตไฟฟาที่เกิดจากความรวมมือของบริษัทฯ และวิศวกรชาวไทย การผลิตรถยนตของ ไมน โมบิลติ ี้ ไมไดเปนเพียงรถยนตตน แบบเทานัน้ แต บริษัทฯ มีแผนที่จะผลิตรถยนตดังกลาวออกจําหนายภายใน พ.ศ. 2562 ซึ่งขณะนี้ อยูระหวางเตรียมความพรอมในการผลิต ซึ่งเมื่อถึงเวลาผลิตยานยนตไฟฟาก็จะ สามารถพัฒนาใหเหมาะสมได และสอดคลองกับแผนพัฒนาธุรกิจของทาง EA Anywhere ซึ่งจะมีสถานีบริการรองรับครบ 1,000 สถานีภายใน พ.ศ. 2561 อยางไรก็ตาม เมือ่ เริม่ ตนดวยการปูทางโครงสรางพืน้ ฐานแลว สิง่ ทีต่ อ งมอง ตอไปคือยานยนตไฟฟาทีจ่ ะเขามาตอบโจทย และบรรลุเปาหมายตามนโยบายของ กระทรวงพลังงาน การทีย่ านยนตไฟฟาจะเติบโตไดนนั้ ภาคเอกชนถือเปนกําลังหลัก ในการชวยผลักดัน

คริส เวลส

เมือ่ ปทผี่ า นมา วอลโวไดประกาศวา รถยนตทกุ รุน ของ วอลโวทจี่ ะเปดตัวตัง้ แต พ.ศ. 2562 เปนตนไป จะใชเครือ่ งยนตปลัก๊ อินไฮบริดระบบ เชือ้ เพลิงรวมกับมอเตอรไฟฟา หรือใชมอเตอรไฟฟาเทานัน้ ซึง่ ถือเปนกลยุทธเพือ่ การเปลีย่ นผานสูย คุ พลังงานไฟฟาอยางแทจริงของอุตสาหกรรมรถยนต ซึง่ วอลโว นับเปนผูผลิตรถยนตระบบเชื้อเพลิงรายแรกที่ใหคํามั่นสัญญาในการผลิตรถยนต พลังงานไฟฟาทุกรุนในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2560 คริส เวลส กรรมการผูจัดการ บริษัท วอลโว คาร (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา อนาคตของเราคือพลังงานไฟฟา และเราจะไมพัฒนาเครื่องยนตดีเซล รุนใหมอีกตอไป โดยจะยุติการผลิตรถยนตที่ใชเครื่องยนตแบบสันดาปภายใน เทานัน้ โดยยังคงมีเครือ่ งยนตไฮบริดเชือ้ เพลิงเบนซินเปนทางเลือกในชวงการเปลีย่ น ผานไปสูระบบพลังงานไฟฟาอยางเต็มรูปแบบ โดยการเปลี่ยนผานจะเกิดขึ้นแบบ คอยเปนคอยไปและไดเริม่ ตนขึน้ แลวในประเทศไทย เห็นไดจากการทีล่ กู คาของเรา กวา 80% เลือกรถยนตรนุ T8 Plug-in Hybrid ในรุน รถยนตทเี่ ปดจําหนาย ในเวลา เดียวกัน เรายังตองตอบสนองความคาดหวังของลูกคาใหได และความตองการของ ผูบริโภคในประเทศจะเปนสวนหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญในเรื่องนี้ ลูกคาในปจจุบันมีความคาดหวังที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ซึ่งทําให วอลโวจาํ เปนตองปรับตัวอยางตอเนือ่ งเพือ่ ใหสามารถตอบสนองตอความคาดหวัง ของลูกคาไดอยางสมบูรณแบบ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงจากเครื่องยนตดีเซลมาสู เครื่องยนตไฮบริดระบบเชื้อเพลิงรวมกับมอเตอรไฟฟา ถือเปนอีกหนึ่งกลยุทธที่ วอลโวจะเดินหนาพัฒนาเพื่อผูบริโภคของเราตอไป ในเดือนทีผ่ า นมา วอลโวตอกยํา้ ถึงกลยุทธเพือ่ การเปลีย่ นผานสูย คุ พลังงาน ไฟฟาดวยการประกาศวา บริษทั จะตัง้ เปาหมายใหรถยนตพลังงานไฟฟาเปนผลิตภัณฑ 10

หลักทีส่ รางยอดขายได 50% ของยอดขายทัว่ โลกภายใน พ.ศ. 2568 โดยประกาศไว ที่งาน 2018 Beijing Auto Show ซึ่ง พ.ศ. 2568 ก็จะมาถึงในอีกไมนานนี้แลว “เราไดเห็นแลววาลูกคาของเราในประเทศไทยกําลังเปลี่ยนมาใชรุน เครื่องยนต T8 Twin Engine Plug-in Hybrid Engine กันมากขึ้นเรื่อยๆ เมื่อ ตองการซื้อรถยนตคันใหม ในชวงที่ผมเดินทางมาถึงเมืองไทยในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2560 เรามียอดจําหนายรถยนตเครือ่ งยนตดเี ซล 50% และเครือ่ งไฮบริด 50% โดยประมาณ หากวันนี้เราไดเห็นวามีลูกคาถึง 80% ที่เลือกเครื่องยนต T8 Twin Engine ซึง่ ผมไมคดิ วาแนวโนมนีจ้ ะเปลีย่ นแปลง รถยนตพลังงานไฟฟาจะแพรหลาย อยางรวดเร็วหากมีสงิ่ อํานวยความสะดวกพืน้ ฐานรองรับอยางเพียงทัว่ ประเทศไทย แตผมเชือ่ วา ลูกคาของเราจะยังคงเลือกรุน เครือ่ งยนตไฮบริดเปนตัวเลือกยอดนิยม ตอไปอีกในระยะสั้นๆ” ปจจุบัน เรานําเสนอเครื่องยนต T8 Twin Engine Plug-in Hybrid Engine ในรุน XC90, S90 และ XC60 และจะเพิ่มเครื่องยนตนี้ในรุนอื่นๆ ตอไปเพื่อให สอดคลองกับกลยุทธเพือ่ การเปลีย่ นผานสูย คุ พลังงานไฟฟาของเรา เปาหมายของ วอลโว คาร ประเทศไทย คือทําใหผบู ริโภคใชชวี ติ ไดอยางเรียบงายไมซบั ซอน เรา จึงนําเสนอทางเลือกที่หลากหลาย เพื่อมอบบริการที่ดีเยี่ยมเหนือความคาดหมาย ของผูบริโภคในทุกๆ ดาน ยานยนตไฟฟาหรือสถานีอดั ประจุไฟฟาอะไรตองมากอน กลายเปนทีถ่ กเถียง กันเชนเดียวกับไขและไก แตอยางไรก็ตาม ไมวาจะยานยนตไฟฟาหรือสถานี อัดประจุไฟฟา ลวนแลวแตเปนสิ่งที่ตองเกิดควบคูกัน ฉะนั้นการสงเสริมทั้งสอง สวนนีใ้ หเกิดขึน้ อยางเปนรูปธรรม แนนอนวาจะสรางความมัน่ ใจใหกบั ผูใ ชยานยนต ไฟฟา อันจะสงผลตอการเติบโตของยานยนตไฟฟาในบานเรา

GreenNetwork4.0 July-August 2018


ผลิตไฟฟาดวยโซลารเซลล ไมใชเรื่องใหมอีกตอไป

Great Solar พรอมใหบริการครบวงจร ดานโซลารรูฟท็อป

การใชไฟฟาที่ผลิตมา จาก “โซลารรฟู ท็อป” ในหลายๆ ประเทศกลายเปนเรือ่ งปกติไป แลว ไมเวนแมแตประเทศไทย เองที่ไดรับความนิยมมากขึ้น เรือ่ ยๆ เพือ่ ใหบา น อาคาร หรือ โรงงาน ที่ติดตั้งไดผลิตไฟฟา ไวใชเองในเวลากลางวัน ชวย ประหยัดไฟฟาและลดสภาวะโลกรอน ปจจุบนั การสงเสริมการผลิตโซลารเซลล มีมากขึน้ โดยเฉพาะในตางประเทศความตองการระบบ โซลารเซลลคอนขางสูงถึง 80% เชน อเมริกา ญี่ปุน และจีน เกิดเปนแรงผลักดัน กระตุน ใหทวั่ โลกหันมามองเรือ่ งพลังงานทดแทน โดยเฉพาะพลังงานจากแสงอาทิตย ซึง่ จะไมมวี นั หมดไป สวนอนาคตคาดวาจะมีการผลิตและติดตัง้ โซลารเซลลมากขึน้ จากปจจุบันการเติบโตของโซลารเซลลอยูที่ 20-30% คาดวาจะเติบโตเพิ่มขึ้นเปน 60% ในอีก 5 ปขา งหนา ณ วันนีร้ าคาแผงโซลารเซลลลดลงคอนขางมาก จาก 60-80 บาทตอวัตต เหลือเพียง 30-40 บาทตอวัตต ลดลงเกือบ 60% เมื่อเทียบกับ 2 ป ที่ผานมา และจากเดิมคืนทุนในระยะเวลา 10 ป ปจจุบันเหลือเพียง 6-8 ปเทานั้น สําหรับนโยบายโซลารเซลลของภาครัฐนั้น ยังคงรอความชัดเจนเพื่อให สอดคลองกับระบบที่จะเกิดขึ้นของภาคครัวเรือน ซึ่งหากมีความชัดเจนจะชวย กระตุน ใหเกิดการติดตัง้ ระบบโซลารเซลลในภาคครัวเรือนมากขึน้ สวนของระบบ โรงงาน ซึง่ เปนระบบ Self- Consumption คือการติดตัง้ ผลิตพลังงานไฟฟา และ ใชในครัวเรือน ซึ่งกฎระเบียบไดออกมานานแลวและคอนขางชัดเจน แตยังติด ปญหาความยุง ยากเรือ่ งการขออนุญาตจากหลายองคกร อยางเชน การขออนุญาต ดัดแปลงอาคาร (อ.1) สําหรับการติดตัง้ โซลารเซลล ใบอนุญาตเชือ่ มตอเขาระบบ จําหนายของการไฟฟานครหลวง ใบอนุญาตเชื่อมตอเขาระบบจําหนายของการ ไฟฟาสวนภูมิภาค ซึ่งยังมีการทําเอกสารที่ยงุ ยาก แตอยางไรก็ตาม หากนโยบาย ภาครัฐมีความชัดเจน มัน่ ใจวาภาคเอกชนมีความพรอม สามารถดําเนินการไดทนั ที Great Solar แบรนดภายใตบริษทั แวลูเอชัน่ เอ็นจิเนียริง่ จํากัด ธุรกิจทีใ่ ห บริการดานการประหยัดพลังงานแบบครบวงจร โดยเฉพาะระบบพลังงานแสงอาทิตย (Solar Cell) ซึง่ ใหบริการออกแบบ ติดตัง้ โครงการไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยแบบ 11

ครบวงจร โดย Great Solar ใหบริการ ดานระบบโซลารเซลล ตั้งแตการให คําปรึกษา ออกแบบ สํารวจหนางาน คํ า นวณเรื่ อ งของประสิ ท ธิ ภ าพแผง โซลารเซลล ตรวจคาพลังงานและสถานะ อุปกรณ ติดตัง้ ตามมาตรฐาน ตลอดจน การคํานวณโหลดการใชงาน ความคุม ทุน ของการติดตัง้ โซลารรฟู ท็อป และจัดหา อุปกรณตามความตองการของกลุมลูกคา ภายใตสญ ั ญา O&M (Operate and Management) ในรูปแบบการบริการครบวงจร ที่สําคัญโซลารรูฟท็อปยังตองคํานึงความปลอดภัย ฉะนั้น Great Solar จะมีระบบ Remote Monitoring ซึง่ จะสามารถตรวจสอบระบบโซลาร จากหนางาน หากระบบเกิดเหตุขดั ของ หรือมีปญ  หาเรือ่ งประสิทธิภาพการทํางาน ของโซลารเซลล สามารถแกไขไดทันที สัมฤทธิ์ ทองรุง กรรมการผูจัดการ บริษัท แวลูเอชั่น เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด กลาววา ที่ผานมาโครงการของภาครัฐสนับสนุนโซลารรูฟท็อปในรูปแบบ Adder โดยใน พ.ศ. 2556-2557 Great Solar ในนาม EPC ไดตดิ ตัง้ ระบบโซลารรฟู ท็อป จํานวน 200 หลังคาเรือน ประมาณ 2 เมกะวัตต และจากนัน้ ภาครัฐไดปรับโครงการ มาเปนระบบ FiT (Feed-in Tariff) Great Solar จึงมีเปาหมายฐานกลุมลูกคาเดิม ซึ่งเปนกลุมอุตสาหกรรม แตในขณะนั้นกลุมลูกคาที่เปนโรงงานอุตสาหกรรมให ความสนใจเรื่องโซลารรูฟท็อปนอย และตั้งแต พ.ศ. 2559-2560 โครงการติดตั้ง ระบบโซลารรูฟท็อปไปแลว 10 เมกะวัตต นอกจากนี้ยังรับติดตั้งโซลารฟารม แต จะไมใช EPC โดยตรง จะเปนในรูปแบบ Subcontract ประมาณ 18 เมกะวัตต หัวใจสําคัญของการผลิตไฟฟาจากโซลารรูฟท็อป คือแผงโซลารเซลล เมือ่ ใชงานมาสักระยะหนึง่ ควรตรวจสอบ และบํารุงรักษาแผงโซลารเซลล เมือ่ เทียบ ประสิทธิภาพแผงโซลารเซลลที่ลางทําความสะอาดเอาฝุนละอองออกกับแผง โซลารเซลลทไี่ มไดทาํ ความสะอาดมาแลว 2 เดือน ประสิทธิภาพจะตางกัน 20-30% ฉะนั้นการทําความสะอาดแผงโซลารเซลลจึงมีความสําคัญตอประสิทธิภาพการ ผลิตไฟฟา ปจจุบันปญหาดานโซลารเซลล ที่นาจะมีการแกไข นั่นก็คือ นโยบายการ ขออนุญาตติดตั้งระบบโซลารเซลล ซึ่งยังตองมีหลายหนวยงานเขาไปเกี่ยวของ และในแตละสวนตองใชเวลาในการทําเอกสารคอนขางนาน ทําใหโครงการติดตัง้ โซลารเซลลเกิดความลาชา อยางไรก็ตาม โซลารเซลลยงั คงมีความทาทาย โดยเฉพาะ ในเรือ่ งของประสิทธิภาพของแผงโซลารเซลลทเี่ พิม่ มากขึน้ ทุกป จากเดิมประสิทธิภาพ อยูท ี่ 10% ปจจุบนั ประสิทธิภาพเพิม่ ขึน้ เปน 18% โดยทีม่ ขี นาดทีเ่ ล็กลงแตประสิทธิภาพ กลับเพิม่ ขึน้ ในราคาทีถ่ กู ลง ทําใหเกิดการแขงขันคอนขางสูง อีกทัง้ ยังเปนพลังงาน ทดแทนที่สามารถใชโดยไมมีวันหมด ทุกคนมองเห็นโอกาสตรงนี้ จึงทําใหคูแขง เพิ่มขึ้น และนอกจากนี้ นโยบายสงเสริมการลงทุน BOI ยังไดขยายจาก พ.ศ. 2560-2563 ทําใหความทาทายในการติดตั้งโซลารเซลลในภาคสวนของโรงงาน อุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้น เพราะหากไดรับ BOI สามารถลดหยอนภาษีไดถึง 50% นั่นเอง

GreenNetwork4.0 July-August 2018


GREEN

Focus พิชัย ถิ่นสันติสุข

สทน. องคกรปดทองหลังพระ

สทน. [สถาบัน เทคโนโลยีนิวเคลียรแหง ชาติ (องค ก ารมหาชน)] อาจไม ใ ช อ งค ก รที่ มี ใ ครรู  จั ก มากนัก ทั้งๆ ที่แยกตัวออกจาก สํานักงานปรมาณูเพื่อสันติ อันเปน หนวยงานราชการมากวา 10 ปแลวก็ตาม สาเหตุ อ าจเนื่ อ งจากชื่ อ องค ก รที่ มี คํ า ว า นิวเคลียร คนในองคกรก็ลําบากใจในการทํา ความเขาใจกับสังคม สวนคนนอกองคกรไดยนิ ชือ่ ก็ไมฟงรายละเอียด เดินหนีอยางเดียว 10 ปแลวที่ สทน. ปดทองหลังพระ วันนี้ เราขอประกาศดังๆ วา สทน. อยูเ บือ้ งหลังความ สําเร็จ อาทิ ยารักษาโรคมะเร็ง และเปนองคกร กํ า จั ด กากกั ม มั น ตภาพรั ง สี ที่ ถู ก ต อ งตาม กฎหมายแหงเดียวในประเทศไทย ผลไมสง ออก สวนใหญฉายรังสีปองกันแมลงที่ สทน.แหงนี้ และอีกนานัปการ เชน อัญมณี หมอนยางพารา รวมทั้งการกําจัดแมลงวันทอง ศัตรูตัวฉกาจของ ผลไม มาวันนี้ขอแนะนํา ไมโครไคโตซาน (Micro Chitosan) สารอาหารเขมขนชนิดนํา้ สําหรับพืช เปนสาร ไบโอพอลิเมอร (Bio Polymer) ที่สกัดจากเปลือกนอกของ กุงและปู สามารถยอยสลายไดตามธรรมชาติ

เจาะลึกไมโครไคโตซาน สารสกัดจากธรรมชาติ เพื่อสิ่งแวดลอม เรงพืชโตเร็ว ตานทานโรค และแมลง

ไคโตซานฉายรังสีโดย สทน.

ปจจุบนั มีผผู ลิตไคโตซานออกจําหนายเชิงการคามากมายหลายยีห่ อ สทน.ในฐานะทีเ่ ปนองคกร ของรัฐที่มีความรูและความเชี่ยวชาญดานการใชประโยชนจากการฉายรังสี จึงไดประยุกตใชวิธีการ ฉายรังสีเพื่อทําใหโมเลกุลของไคโตซานมีขนาดเล็กลง สงผลใหพืชสามารถดูดซึมและนําสารอาหารไปใช ประโยชนไดมากกวาไคโตซานทั่วไป โดยรังสีจะสูญสลายไปอยางรวดเร็วและไมมีผลตกคาง ไมเปนพิษตอคน และสิง่ แวดลอม ไคโตซานทีผ่ ลิตโดย สทน.มีโมเลกุลทีเ่ ล็ก จึงไดชอื่ เรียกทางการคาวา “ไมโครไคโตซาน” หลังจาก มีการวิจัยและทดสอบในสถานที่จริงกับชาวไรเปนเวลาหลายป จึงมั่นใจที่จะผลิตสูเชิงพาณิชย ทานที่สนใจสามารถ ติดตอสอบถามไดที่ กลุมพัฒนาธุรกิจนิวเคลียร สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ (องคการมหาชน) สํานักงานสาขา จตุจักร กรุงเทพฯ โทรศัพท 0-2401-9889 ตอ 6404, 6405 หรือ ศูนยบริการเบ็ดเสร็จ 0-2401-9885

ไคโตซานมีประโยชนอยางไร

แทที่จริงแลว ไคโตซานมีประโยชนตอมนุษยมากมาย ไมเพียงแตใชกับพืชและสัตว แตยังมีรายงานวา มีการใชไคโตซานใน วงการแพทย โดยเฉพาะอยางยิง่ ดานความงาม นอกจากนีย้ งั มีการใชไคโตซานผสมอาหารสัตวเพือ่ เรงการเจริญเติบโตและสรางภูมคิ มุ กัน ในโครงการ FNCA (Forum for Nuclear Cooperation) ในประเทศเวียดนาม และไดมกี ารใชไคโตซานผสมอาหารเลีย้ งปลา เพือ่ เพิม่ ภูมคิ มุ กัน สวนในประเทศอินโดนีเซีย และประเทศจีน มีการผสมอาหารเพือ่ เลีย้ งไก ผลสรุปจากการใชกบั สัตว คือชวยใหสตั วทเี่ ลีย้ งมีอตั ราการรอดชีวติ มากขึ้น เปนการเพิ่มผลผลิต (Productivity) สทน.หนึ่งในองคการมหาชน ในกํากับของกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ควรมีการเปดตัวใหคนไทยรูจักมากขึ้น โดยไมจําเปนตอง ปรับเปลี่ยนชื่อใหไมมีคําวา “นิวเคลียร” เพียงแตบอกวาวันนี้ สทน.ไดทําอะไรใหคนไทยทั้งประเทศเทานั้นก็พอ 12

GreenNetwork4.0 July-August 2018


Floating Solar โรงไฟฟาเซลลแสงอาทิตย ประเภทลอยนํ้า นวัตกรรมไทยทํา ไทยใช Floating Solar หรือ FPV (Floating Photovoltaic) สวนภาษาไทยนัน้ สุดแทแตจะเรียก แตขอใหเขาใจตรงกันวา คือการติดตัง้ แผงเซลลแสงอาทิตย กับทุนลอยที่ผลิตจากพลาสติก สามารถปรับตัวลอยสูง-ตํ่าไดตามระดับนํ้า และทนตอการถูกกระแสลมแรงปะทะชุดทุน จะถูกยึดอยูก บั ที่ ประโยชนของ โซลารลอยนํา้ ไมใชโรงไฟฟาเคลือ่ นทีต่ ามนํา้ ไปทุกแหงตามใจเรา เพียงแตใช พื้นที่ในนํ้าแทนบนบก ขอมูลจาก Mr.Ranier ofrancesetti ระบุวา ปจจุบัน ทั่วโลกมีการติดตั้งโซลารลอยนํ้าแลว เกือบ 1 GW และคาดวาในปลายป ค.ศ. 2018 นี้ จะมีการติดตัง้ ถึง 750 เมกะวัตต (รวมถึงของประเทศไทยดวย)

เหินฟากลับมายังเมืองไทยที่คอนขางไดเปรียบหลายๆ ประเทศใน อาเซียนดานปโตรเคมี ซึง่ เปนตนกําเนิดของพลาสติกในรูปแบบตางๆ ไปจนถึง เสือ้ ผาทีเ่ ราสวมใส เพือ่ สรางมูลคาเพิม่ ใหเกิดกับเม็ดพลาสติก (โพลิเอทิลนี เกรดพิเศษ) บริษทั เอสซีจี เคมิคอลส จํากัด จึงไดวจิ ยั พัฒนา และออกแบบ ผลิตทุน ลอยเพือ่ ใชกบั แผงเซลลแสงอาทิตย เปนแบบทีส่ ามารถประกอบติดตัง้ ไดอยางรวดเร็วและประหยัดพืน้ ทีไ่ ดถงึ 10% เมือ่ เปรียบเทียบกับทุน ลอยนํา้ แบบทั่วไป มีอายุการใชงานยาวนาน (25-30 ป) ตัวอยางงบประมาณการ ลงทุนสําหรับผูสนใจลงทุนโซลารลอยนํ้าขนาด 1 เมกะวัตต ดังตอไปนี้

13

กําลังการผลิตติดตั้ง กําลังผลิตที่ผลิตไดตอป คาไฟฟาตอหนวย คาตอบแทนโครงการ เงินลงทุน EBITDA เฉลี่ย 10 ป EBITDA/Investment (%) ระยะเวลาคืนทุน อัตราลดการปลอยกาซเรือนกระจก (GHG Reduction)

978.75 kWp 1.4 M kWh ตอป 3.7 บาทตอ kWh 5.2 ลานบาทตอป 44 ลานบาท 4.39 ลานบาท 10.7% 9 ป 10 เดือน 810 ตันคารบอนตอป

จากการไปศึกษาดูงานโซลารลอยนํา้ ที่ กลุม เอสซีจี เคมิคอลส ของคณะกรรมาธิการ การพลังงาน สภานิตบิ ญ ั ญัตแิ หงชาติ (สนช.) เมือ่ วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 ทีผ่ า นมา ทางบริษัทฯ ไดสรุปขอมูลเพิ่มเติมที่นาสนใจ ดังนี้ • ทุนลอยนํ้าที่ออกแบบโดย SCG ไมสงผลเสียตอนํ้าในสระ • ประสิทธิภาพการทํางานของแผงเซลล จะดีกวาการติดตัง้ บนพืน้ ดิน อันเนือ่ งจาก อุณหภูมิดานหลังแผงไมสูงเกินไป • ราคาโซลารเซลลลอยนํ้า กําลังการผลิตติดตั้ง 1 เมกะวัตต ราคาประมาณ 40 ลานบาท พลังงานเซลลแสงอาทิตย นับเปนพลังงานทดแทนที่มีการพัฒนามากที่สุดในชวง 10 ปทผี่ า นมา โดยเฉพาะอยางยิง่ ดานเทคโนโลยีและราคา สําหรับเมืองไทยโซลารเซลล เริม่ ตนทีเ่ มกะวัตตละประมาณ 130 ลานบาทเมือ่ 10 ปทแี่ ลว ดวยประสิทธิภาพทีไ่ มสงู นัก ปจจุบนั เฉพาะอุปกรณราคาไมถงึ 30 ลานบาทตอ 1 เมกะวัตต อีกทัง้ ประสิทธิภาพสูงกวา เมือ่ หลายปกอ น สวนตนทุนการผลิตไฟฟา อยางทีท่ ราบกันดีอยูแ ลววา จะตํา่ กวาราคาเฉลีย่ ของไฟฟาทีผ่ ลิตจากฟอสซิลในปจจุบนั จุดออนของพลังงานเซลลแสงอาทิตยกค็ อื ผลิตไฟฟา ไดเฉพาะเวลากลางวันทีม่ แี สงแดดเพียงพอ และใชพนื้ ทีค่ อ นขางมาก ยิง่ เปนแบบทุน ลอยนํา้ ราคาตอ 1 เมกะวัตตจะสูงขึน้ อีกเกือบ 10 ลานบาท คงตองเปนหนาทีข่ องผูผ ลิตทีจ่ ะตอง คิดวิธลี ดตนทุนใหเหมาะสมถาหากจะมีการสงเสริมใหมกี ารผลิตและใชพลังงานไฟฟาจาก โซลารลอยนํา้ อยางจริงจัง ประเทศไทยยังมีพนื้ ทีผ่ วิ นํา้ วางพออีกประมาณ 9 ลานไร เพือ่ รองรับการขยายตัวของ FPV

GreenNetwork4.0 July-August 2018


GREEN

Report จีรภา รักแกว

สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ (วช.) รวมกับ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) การไฟฟานครหลวง (กฟน.) และสภาอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย (ส.อ.ท.) จัดงาน CEO FORUM : Electricity R&I Challenges in the 21St Century “พลังงานไฟฟากาวไกล วิจัยนําไทยยั่งยืน” การพัฒนาดานพลังงานเปนเรื่องที่รัฐบาลไดใหความสําคัญ โดยกําหนดใหอยูภายใต ยุทธศาสตรดา นการวิจยั และนวัตกรรมเพือ่ สรางความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะอยางยิง่ พลังงานไฟฟา ถือเปนพลังงานที่มีบทบาทสําคัญที่เกี่ยวของกับการดํารงชีวิตประจําวัน และ การพัฒนาประเทศในทุกๆ ดาน ทัง้ ดานเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม เกษตรกรรม แรงงาน ตลอดจน ภาคประชาชน ดังนั้นเพื่อใหยุทธศาสตรดังกลาวบรรลุเปาหมาย จึงจําเปนตองหาแนวทางใน การผลักดันงานวิจัย สิ่งประดิษฐ และนวัตกรรม เพื่อเปนกลไกในการชวยเพิ่มประสิทธิภาพ ในการผลิต การใชพลังงานไฟฟา ตลอดจนการบริหารจัดการพลังงานไฟฟาอยางเปนระบบ และเกิดประโยชนสูงสุดตอเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ศ. นพ.สิรฤิ กษ ทรงศิวไิ ล เลขาธิการคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ กลาววา รัฐบาลไดมีนโยบายในการขับเคลื่อนการ พัฒนาประเทศดวยงานวิจยั สิง่ ประดิษฐ และนวัตกรรม โดยได กําหนดยุทธศาสตรการวิจัยและนวัตกรรมแหงชาติระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560-2579) ซึง่ ครอบคลุมการพัฒนาในดานตางๆ จํานวน 4 ยุทธศาสตร ไดแก ยุทธศาสตรที่ 1: การวิจัยและนวัตกรรม เพื่ อ การสร า งความมั่ ง คั่ ง ทางเศรษฐกิ จ ยุ ท ธศาสตร ที่ 2: การวิจัยและนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม ยุทธศาสตรที่ 3: การวิจยั และนวัตกรรม เพือ่ การสรางองคความรู ศ. นพ.สิริฤกษ ทรงศิวิไล พืน้ ฐานของประเทศ และ ยุทธศาสตรที่ 4: การพัฒนาโครงสราง พื้นฐาน บุคลากร และระบบวิจัยและนวัตกรรม ประเทศไทยอยูในชวงที่จะตองปฏิรูปงานวิจัย จะตอง ผลักดันงานวิจัยลงจากหิ้ง เนื่องจากมีการลุงทนดานงานวิจัยกวา 2 หมื่นลานบาทตอป ทั้งยัง มีบุคลากร นักวิจัยกวา 8-9 หมื่นคน แตขณะเดียวกันงานวิจัยทั้งหลายยังไมสามารถนําไป ใชใหเกิดประโยชนไดอยางเต็มรูปแบบ สิ่งที่นาสนใจก็คือ นักวิจัยกับผูที่จะนํางานวิจัยไปใช ประโยชนไมไดปฏิสัมพันธกันเทาที่ควร ฉะนั้น สิ่งสําคัญในการปฏิรูปงานวิจยั ที่ประเทศไทย กําลังดําเนินการอยูน นั้ คือใหผวู จิ ยั และผูท ตี่ อ งการใชประโยชนจากงานวิจยั มาเจอกัน โดยโจทย การวิจัยตองตั้งมาจากพื้นฐานความตองการของผูใชประโยชนงานวิจัยเปนสําคัญ นอกจากนี้ พลังงานไฟฟาถือวามีความสําคัญทั้งเศรษฐกิจและสังคม ขณะเดียวกัน การไฟฟาแตละแหงเปนองคกรทีม่ ขี นาดใหญ ทีร่ วบรวมทัง้ เทคโนโลยีทที่ นั สมัย รวมไปถึงบุคลากร วิศวกรดานพลังงานไฟฟา ฉะนัน้ วช.ในฐานะรับผิดชอบดานนโยบายและประสานกับหนวยงาน ตางๆ เพื่อรวมกันขับเคลื่อนงานวิจัยและนวัตกรรม ที่จะสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจและ ความยั่งยืนของประเทศ 14

GreenNetwork4.0 July-August 2018


ชัยวัฒน โควาวิสารัช รองประธานสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ประธานสถาบันวิจยั พัฒนาและนวัตกรรมเพือ่ อุตสาหกรรม กลาววา อุตสาหกรรม เปนภาคทีม่ กี ารบริโภคสูงทีส่ ดุ เกือบ 50% ของไฟฟาทีผ่ ลิตไดจะอยูใ นภาคอุตสาหกรรม โดยภาคอุตสาหกรรมเกษตรทีต่ อ ยอดเปนผลิตภัณฑอาหาร จะมีการบริโภคไฟฟาสูง ทีส่ ดุ ในขณะทีโ่ รงงานขนาดใหญ สัดสวนการบริโภคนอย เนือ่ งจากโรงงานขนาดใหญ จะมีโรงไฟฟาภายในโรงงานอยูค อ นขางเยอะ จึงใชไฟฟาจากการไฟฟาคอนขางตํา่ การเปลี่ยนแปลงของระบบไฟฟา จะเห็นไดวาเมื่อ 20-30 ปที่ผานมา การไฟฟาฝายผลิต (กฟผ.) จะเปนผูผ ลิตไฟฟารายเดียวของประเทศ โดยมีการไฟฟา สวนภูมิภาค (กฟภ.) และการไฟฟานครหลวง (กฟน.) เปนผูจายไปยังทุกภูมิภาค รวมถึงกรุงเทพฯ และปริมณฑล ไปยังผูบ ริโภค และเมือ่ เริม่ มี IPP, SPP และ VSPP เกิดขึ้น จะเริ่มมีความซับซอนมากขึ้น มีความปฏิสัมพันธมากขึ้น ถือวาเปนเทรนด ใหมจะเกิดขึ้นในภาคอุตสาหกรรม 3 แนวโนมของการพลิกโฉมระบบพลังงานไฟฟา คือ Digitalization การสื่อสารและการทํางานของระบบอัตโนมัติแบบเรียลไทม Decentralization การกระจายอํานาจ เกิดการมีสว นรวมกันในระบบไฟฟามากขึน้ และ Electrification การลดการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซต แนนอนวาสิ่งที่เห็นไดชัดในขณะนี้ ก็คอื รถไฟฟา แตสาํ หรับประเทศไทยอาจจะเกิดขึน้ คอนขางชา แตในขณะทีจ่ นี ตัง้ เปา ภายในป ค.ศ. 2025 จะเปนผูท ผี่ ลิตแบตเตอรีท่ ใี่ หญทสี่ ดุ ในโลก สวนเรือ่ งโครงการ สรางพื้นฐาน รับรองการชารจรถไฟฟานั้น จะตองเตรียมสถานีชารจรถไฟฟามาก ขึ้น รวมไประบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage) ที่จะเขามารองรับการใชงาน ของระบบไฟฟาที่จะเพิ่มสูงขึ้น เปนเทคโนโลยีที่ภาคอุตสาหกรรมมีการตอยอด เพื่อรองรับการใชงาน ทั้งนี้สิ่งสําคัญที่จะขับเคลื่อนระบบดังกลาวไดนั้น เรื่องของ ไอที โดยเฉพาะเทคโนโลยี AI เทคโนโลยี Blockchain การซือ้ ขายโดยไมตอ งผาน คนกลาง ผูซื้อและผูขายสามารถติดตอกันไดโดยตรง นับเปนการเรงใหเกิดการ กระจายศูนยมากขึ้น วิบูลย ฤกษศิระทัย ผูวาการการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย กลาววา กฟผ.ใหความสําคัญเรื่องของนวัตกรรม เนนปรับปรุงประสิทธิภาพของโรงไฟฟา ระบบสง เพือ่ ใหโรงไฟฟาสามารถจายไฟไดอยางมีประสิทธิภาพ มีสดั สวนของตนทุน ตํา่ ในสวนของระบบก็เชนกัน การนํานวัตกรรมมาใชเพือ่ ใหการสงจายเปนไปอยาง ตอเนื่อง เชน การใชโดรนเขาไปตรวจสอบในโรงไฟฟา ที่จะชวยลดระยะเวลาใน การตรวจสอบ ลดคาใชจาย อยางทีท่ ราบกันดีวา ในชวงหลายปทผี่ า นมา เปนยุคของ EV มองวาในอนาคต คงมาถึงประเทศไทยอยางแนนอน บทบาทของเทคโนโลยียานยนตไฟฟาที่จะ กาวเขามาในอนาคต ดังนัน้ กฟผ.จึงรวมกับ สวทช. สนับสนุนงานวิจยั ในการพัฒนา ตนแบบรถยนตไฟฟาจากการดัดแปลงรถยนตใชแลว โดยแบงเปน 3 ระยะ ซึง่ ความ สําเร็จจากงานวิจยั ในระยะที่ 1 เกิดเปนรถยนตไฟฟาตนแบบจากการดัดแปลงรถยนต ใชแลว แตยังติดขอจํากัดในบางสวน ทําใหดัดแปลงรถไฟฟาตนแบบไดเฉพาะรุน แตก็นับเปนจุดเริ่มตนสําคัญ ในระยะที่ 2 อยูระหวางการดําเนินการ คาดวาป พ.ศ. 2563-2564 จะไดรถตนแบบและพิมพเขียวออกมา สามารถนําไปใชประโยชน ไดจริงในภาคเอกชนและภาคอุตสาหกรรม รวมถึงยังเปนการชวยลดมลภาวะตอ สิ่งแวดลอมอีกดวย “การวิจัยเปนทางออก เริ่มตั้งแตการศึกษาผลงานวิจัย การพัฒนาตอยอด เพื่อใหรถในประเทศไทยสามารถที่จะปรับเปลี่ยนเปนรถไฟฟา (EV) กฟผ.เองก็มี นโยบายและทิศทางที่จะผลักดันใหอุตสาหกรรมรถยนตในประเทศมีการปรับปรุง เพื่อใหเขากันกับนวัตกรรมในอนาคตได” สมพงษ ปรีเปรม รองผูวาการวางแผนและพัฒนาระบบไฟฟา การไฟฟา สวนภูมิภาค กลาววา ผลงานวิจัยของ กฟภ. เนนการตอบโจทยเรื่องของการจาย พลังงานไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพ โดยมองวา 3 Input ที่จะนําไปสูแนวทาง อุตสาหกรรม คือ 1.การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีของโลก เทคโนโลยีพลิกโฉม (Disruptive Technology) เชน พลังงานหมุนเวียน ระบบกักเก็บพลังงาน และ ยานยนตไฟฟา มีผลตอรูปแบบการดําเนินงานของธุรกิจของ กฟภ. 2.การตอบสนอง ความตองการและความพึงพอใจของลูกคา (Customers Needs & Satisfaction) ตอบสนองความตองการของลูกคาดานคุณภาพ พลังงานไฟฟา ความมั่นคงของ ระบบไฟฟา และราคาคาไฟฟา ระบบไฟฟาในอนาคตประชาชนทุกคนนาจะมีสทิ ธิ์ ในการพัฒนาประเทศ และ 3.นโยบายรัฐบาล นโยบายการเปดเสรีพลังงานไฟฟา เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูใชไฟฟา ผูผลิตไฟฟา ซึ่งจะมีผลกระทบตอ การวางระบบการผลิต สง และจําหนายพลังงานไฟฟา ทั้งหมดนี้นําไปสูการวิจัย และพัฒนานวัตกรรมของ กฟภ. 15

“การพัฒนาคุณภาพบริการของ กฟภ. เพิม่ ความมัน่ คงในระบบไฟฟา รองรับ การเปลี่ยนแปลงโครงสรางอุตสาหกรรมไฟฟาในอนาคต พัฒนาอุปกรณในระบบ ไฟฟา เพื่อนําไปสูการใชงานเชิงพาณิชยในระดับภูมิภาค” ตัวอยางงานวิจัยและนวัตกรรมของ กฟภ. ดานการพัฒนาคุณภาพบริการ ไดแก PEA HiVE Platform ระบบบริหารจัดการการใชพลังงานภายในบานพัก อาศัย เปนระบบบการทํางานเพื่อเชื่อมอุปกรณไฟฟาภายในบานและอาคาร และ ชวยในการจัดการพลังงานใหมปี ระสิทธิภาพสูงสุด โดย PEA Hive Platform เปรียบ เสมือนตัวประสานใหผูอยูอาศัย สามารถใชควบคุมอุปกรณไฟฟาภายในบานได สะดวกสบายมากขึ้น ผานแอพพลิเคชั่น Home Connext ซึ่งจะทําใหผูอยูอาศัย สามารถใชงานอุปกรณไฟฟาไดตามความตองการ ชวยประหยัดไฟฟา และลด คาใชจายที่ไมจําเปนได PEA Smart Plus แอพพลิเคชั่นชําระคาไฟฟา และแจงขอใชบริการ กฟภ. ตอบโจทยไลฟสไตลคนรุนใหม พัฒนาแอพพลิเคชั่น PEA Smart Plus เพื่อ ใหประชาชนผูใชไฟฟาของ กฟภ.ซึ่งมีกวา 20 ลานรายทั่วประเทศเขาถึงบริการ ออนไลนครบวงจรในรูปแบบ One Touch Service “จัดใหงา ย ไดทกุ เรือ่ ง” สามารถ ตรวจสอบขอมูลตางๆ ผานสมารทโฟนหรือแท็บเล็ตดวยตนเอง อํานวยความสะดวก ผูใ ชงานดวยความรวดเร็ว โดยมีฟง กชนั ใหบริการทีห่ ลาหลาย อาทิ การชําระคาไฟฟา คํานวณและแจงเตือนคาไฟฟา เมือ่ ใกลถงึ กําหนดชําระ ขอใชไฟฟาใหม แจงไฟฟา ขัดของ ขอติดมิเตอร ติดตามขาวสารประชาสัมพันธ Electric Vehicle & Charging Station การวิจัยดานยานยนตไฟฟาและ สถานีอัดประจุไฟฟา ศึกษาขอมูลและทดลองยานยนตไฟฟา วิเคราะหผลกระทบ ของยานยนตไฟฟา ระบบบริหารจัดการโครงขายสถานีอดั ประจุไฟฟา (PEA VOLTA Platform) เพือ่ รองรับการใหบริการยานยนตไฟฟาในอนาคต รถโดยสารพลังงาน ไฟฟา 2 โครงการวิจัย คืิอ 1.โครงการสาธิตรถโดยสารไรมลพิษสําหรับการไฟฟา สวนภูมิภาค 2.โครงการศึกษาเปรียบเทียบและแนวทางการสงเสริมรถโดยสาร พลังงานไฟฟาเพื่อสังคมคารบอนตํ่าของประเทศไทย PEA Solar Hero แอพพลิเคชั่นสําหรับเจาของบานอยากติดตั้ง Solar Rooftop PV วิเคราะหขอ มูลเบือ้ งตน เพือ่ หาขนาดกําลังการผลิตติดตัง้ ทีเ่ หมาะสม ของระบบผลิตไฟฟาจากโซลารรูฟท็อป เลือกรูปแบบการลงทุนในการติดตัง้ ระบบ โซลารรูฟท็อป ตามความตองการในรูปแบบลงทุนเอง ผอนชําระ พันธมิตรรวม ลงทุน รวบรวมผลิตภัณฑผูผลิตติดตั้งและการบํารุงรักษา รวมถึงระเบียบตางๆ ที่เกี่ยวของใหลูกคาไดเลือกตามความตองการภายใตมาตรฐานรองรับจาก PEA ติดตามขัน้ ตอนการดําเนินการติดตัง้ โซลารรฟู ท็อป พรอมใหคาํ แนะนําและบริการ ในการบริหารจัดการพลังงานใหเกิดประสิทธิภาพ กีรพัฒน เจียมเศรษฐ รองผูวาการวิชาการและบริหารพัสดุ การไฟฟา นครหลวง กลาววา กฟน.มองการวิจยั และพัฒนาเปนเรือ่ งสําคัญ โดยมุง เปาไปใน 5 ประเด็นหลัก คือ 1.Underground ระบบสายใตดิน สนับสนุนระบบสายไฟฟา ใตดนิ 2.Smart Grid/Energy Efficiency ระบบจําหนาย ความมัน่ คง ความเชือ่ ถือ ไดของระบบบไฟฟากับการจายไฟ 3.Innovation/Services การนํานวัตกรรม การใชบริการตางๆ นําเทคโนโลยีมาใช 4.Electric Vehicle เทรนดรถยนตไฟฟา 5. Reliability ความนาเชื่อถือของระบบจายไฟฟา อยางไร การจัดงานครัง้ นี้ นับเปนการสรางโอกาสของผูท เี่ กีย่ วของทัง้ หลาย จะไดชวยกันหาคําตอบใหกับการนํางานวิจัยและนวัตกรรมดานพลังงานไฟฟา ไปตอยอดใชใหเกิดประโยชน ซึ่งอาจไมใชเฉพาะภาคอุตสาหกรรมเทานั้น แตยัง รวมไปถึงภาคประชาชน ซึง่ เปนผูใ ชประโยชนจากพลังงานไฟฟาเปนสวนใหญของ ประเทศอีกดวย

GreenNetwork4.0 July-August 2018


Dr.Surapol Dumronggittigul, Kitti Wisutthiratanakul

SPECIAL

Scoop ดร.สุรพล ดํารงกิตติกุล กิตติ วิสุทธิรัตนกุล

Exploring Taiwan Int’L Lighting Tech Show 2018 to the Smartest Design for Radiant Living

At Taipei World Trade Center Exhibition Hall 1, on April 25-28, 2018, Taiwan International Lighting Show has brightened up smart and innovative lighting design for radiant life style. Sponsored by Bureau of Foreign Trade, TAITRA – Taiwan External Trade Development Council and other related organisations, this exhibition of solid state lighting Taiwan Int’L Lighting Show April 25-28, 2018 with smart LED technology has been advancing at Taipei World Trade Center Exhibition Hall 1 both creatively and commercially where both domestic and international large manufacturers At the opening ceremony of TILS 2018 (Taiwan exhibited among 420 booths, 114 exhibitors. It was International Lighting Show), Vice President Chen considered to be the largest and most influential Chien-jen attended Grand Opening Ceremony with annual lighting and LED industry showcase presenting governmental officials, industrial leaders, and reputable upstream to downstream lighting industries. local and international researchers. He addressed that over 60 years of development, Taiwan’s lighting industry highly achieved export market in its technological innovations to quality industrial products for the era of next generation lighting by adopting LED and OLED as light sources. The government has promulgated various beneficial policies targeting on promotion of energy conservation and carbon reduction and ensuring the industry for the export market securing new growth drives of green trade projects covering smart lighting systems, street and industrial lighting equipment, commercial and residential lighting for the future living environments and incredible ease of use of LED and OLED with the popularity of the IoT-internet of things that been penetrating into lighting market and business opportunities. Launched by ITRI, The Industrial Technology Research Institute, this year, shown FOLED (Flexible Organic LED) as light source was the phenomenal achievement sharpening its overall competitive industry and engineering supply chain. At this show, TechSTAGE and various conference sessions excited the professional buyers and visitors on newest innovations to industrial marketing of new products of lighting including Silver award in iENA (International Trade Fair Ideas) 2017 for a built-in CPU working up with colour spectrum tuning its function to make user-friendly simplicities. During the exhibition, CIE, the International Commission on Illumination Grand Opening Ceremony, came as the first time in Taiwan presenting CIE 2018 Smart Lighting Addressed targeting on Colour Vision and Healthful Lighting. More on trade fair themed by Taiwan “Smart Design, Radiant life” it brought together best results of R&D for Vice President Chen Chien-jen innovative lighting technologies on new products and system engineering 16

GreenNetwork4.0 July-August 2018


Exhibition Show and OLED by ITRI, The Industrial Technology Research Institute Innovation design encompassing smart color LED for infinite opportunities in arts, automotive, horticulture, exterior, and interior fields of application for the better economic-value and smart lifestyles. Covering all finished industrial product package of LED lighting modules, controllers, and energy supply units, the show took substantial thoughts on presenting experiences of integrated multiple technologies achieving high luminous efficacy such as up to 180 lumen per watt compared to existing 90 lumens per watt and as well contributed to actual quality of product that certified to international standards for safety and heat endurance especially the consideration of practical heat dissipation within the LED sets. At the exhibition by the large and small local industries and suppliers, the latest development of solid state lighting : LED, IR/UV LED and OLED works were provided in-depth thorough supply chain of lighting products in Taiwan to connect to the world market and intending to explore tremendous opportunities in this emerging lighting applications. The exhibitors are composed of manufacturers and providers of lighting integration and design services including industrial-residentialcommercial-intelligent-outdoor-indoor-automotive-medical-stage performing-cosmetic and special lightings. Within 110 exhibitors, China Electric MFG., Delta Electronics, Epistar, Golden Way Electronics, MLS Taiwan, Nan Ya Photonics Inc., Panasonic Eco Solutions, Mean Well Enterprises Co., Ltd., Four Winds Corporation, Taiwan Tang Hua and Unity Opto Technology, Taiwan Super Trend Lighting, Industrial Technology Research Institute, etc. were all in the displaying of their related long term research based products. Verification and certification services for

LED lighting products such as Underwriters Laboratories (UL) Taiwan, the renowned globally independent organisation also showed and shared a passion to make the world a safer place for living and working conditions through their professional and standard solutions for all testing and verification of products in the industrial supply chain. In addition to this wide range exhibits, TILS 2018 has offered very valuable lighting technologies and business networking opportunities and substantiate information strengthening the growth chances for renowned Taiwanese lighting industries and suppliers Special thanks to Taiwan External Trade Development Council (TAITRA) https://www.tils.com.tw

Numerous New Products in LED Technology 17

GreenNetwork4.0 July-August 2018


GREEN

Scoop

Singapore Experience the Future

18-20 มิถุนายน 2561

พันธุเทพ คําปตะ

It is always wise to look ahead, but difficult to look further than you can see: มันเปนเรือ่ งฉลาดเสมอทีจ่ ะมองไปขางหนา ทวาเปนเรือ่ งยากทีจ่ ะ มองไกลไปกวาทีค่ ณ ุ เห็น “วินสตัน เชอรชลิ ล นายกรัฐมนตรีแหงสหราชอาณาจักร” คํานีก้ อ งกังวานเมือ่ ผมจะไดมโี อกาสไปเยือนประเทศสิงคโปร อีกหนึง่ ประเทศทีผ่ ม ไดมาเยือนหลายครั้งในรอบหลายๆ ปที่ผานมา ซึ่งในปนี้ผมรูสึกตื่นเตนเปนพิเศษ เพราะครั้งนี้ถือเปนการตามรอยการประชุมครั้งประวัติศาสตรของโลกระหวาง ประธานาธิบดีโดนัลด ทรัมป และ ประธานาธิบดีคมิ จอง อิล เสร็จสิน้ ไปเมือ่ อาทิตย เศษๆ สิ่งที่เห็นเมื่อเยือนในครั้งนี้จึงเห็นถึงความตั้งใจที่จะใหตนเองเปนศูนยกลาง แหงอนาคตหลังจากเวลา 50 ปที่แลวที่ ลี กวน ยู นายกรัฐมนตรีแหงสิงคโปร กาวขามความยากจนสูประเทศที่รํ่ารวยแหงหนึ่งของโลก การมาเยือนประเทศ สิงคโปรครั้งนี้จึงถือเปนการสัมผัสถึงอนาคตทางออกของธุรกิจ ทางออกของ ประเทศ ทีห่ ากผูใ ดสามารถมองมันไดออกคือผูม อี าํ นาจแหงโลกยุคใหมทเี่ ปลีย่ นแปลง ไปอยางรวดเร็ว การมาสิงคโปรในครั้งนี้ของผม ผมมีความตั้งใจที่จะเขารวมงานประชุม และการแสดงเทคโนโลยีครัง้ สําคัญงานหนึง่ ทีค่ นในแวดวงวิศวกรรมยอมรูจ กั งานนี้ เปนอยางดีคือ ConnecTechAsia 2018 แตงานครั้งนี้ถือเปนครั้งพิเศษมากๆ ที่ได รวมงาน 3 งาน BroadcastAsia, CommunicAsia และ NXTAsia ไวดว ยกันทําให สถานที่การจัดงานที่ยิ่งใหญแหงหนึ่งของโลก Marina Bay Sand ไมเพียงพอตอ การจัดจึงตองมีงานสวนหนึง่ ไปจัดที่ ศูนยการแสดงสินคา Suntec แตเนือ่ งจากการ บริหารงานที่ดีของผูจัดงานไดมีการจัดรถบริการเดินทางเชื่อมตอระหวางสถานที่ ตลอดเวลา จึงไมถือเปนอุปสรรคตอการวางแผนชมงานทั้ง 2 สถานที่แตอยางใด โดยในปนี้ตลอด 3 วันไดมีผูเขารวมงานกวา 40,000 คนทั่วโลกจึงทําใหคึกคักเปน อยางมาก ตลอดจนกิจกรรมตางๆ ทําใหการเขาชมงานในครัง้ นีถ้ อื เปนอีกงานทีผ่ ม

18

สามารถเยีย่ มชมและไดพบปะแลกเปลีย่ นความรูก บั ผูบ ริหาร ผูเ ชีย่ วชาญ ไดอยาง ไมรูสึกเบื่อเลย และหลังจากไดเยีย่ มชมงานนีท้ าํ ใหรวู า ทามกลางการเปลีย่ นแปลงทีร่ วดเร็ว ในอุตสาหกรรมดิจทิ ลั นี้ อนาคตคือสิง่ ทีธ่ รุ กิจ ผูค น อยากมีสว นรวมในโลกปจจุบนั ทีห่ ากไมอยูบ นยอดคลืน่ ก็ตอ งพรอมเตรียมหายไปกับคลืน่ ใตนาํ้ ประเทศเรา ธุรกิจเรา ตัวเรา จะใชประโยชนอะไรหรือโดนผลกระทบอะไรจากการเปลีย่ นผานนี้ ยุคทีร่ ฐั บาล ตองปรับเปลี่ยนไปสูยุคใหมที่ตองสรางสภาพแวดลอมใหมๆ ใหเศรษฐกิจของ ประเทศมีการเจริญเติบโตดังนโยบายเศรษฐกิจ Thailand 4.0 รวมถึงการควบคุม การดูแลความปลอดภัยตางๆ จึงหลีกหนีไมไดกบั สิง่ ทีต่ อ งเขาใจเทคโนโลยีใหมๆ เชน การสรางโครงสรางพืน้ ฐาน, Smart Cities ถือเปนโอกาสอันดีทงี่ านนีไ้ ดนาํ เทคโนโลยี ตางๆ ที่กําลังจะใชงานและใชงานแลวมาจัดแสดงบนผืนแผนดินสิงคโปร ประเทศ หนึง่ ทีม่ คี วามโดดเดนดาน Smart Cities และเศรษฐกิจดิจทิ ลั รวมถึงเทคโนโลยี 5G, Big Data, Cloud, การเงิน, รถยนตขับเคลื่อนอัตโนมัติ และ AI สวนงานฝง การใชเทคโนโลยี Broadcasting งานนีถ้ อื เปนการแสดงเทคโนโลยี ดานดิจิทัลเกือบทั้งหมดโดยแสดง Platform ใหมๆ ที่เปนเครื่องมือใหแกผูบริโภค ไดเสพขอมูลขาวสารไดงายสะดวกและเขาถึงเนื้อหาที่ผูบริโภคสนใจ ซึ่งถือเปน ไฮไลตของงาน เชน เทคโนโลยีการถายทอดสดลง Social Media รวมถึงการนํา อุปกรณบนั ทึกวิดโี อตัดตอตางๆ ทีท่ าํ ใหเราสามารถทํา Content ไดอยางสวยงาม และงายดาย การเยีย่ มชมงานในครัง้ นีท้ าํ ใหมองเห็นวาเทคโนโลยีตา งๆ ไดพฒ ั นาถึงขัน้ ที่ เตรียมพรอมจะใชงานได อีกไมกปี่ ข า งหนานีเ้ ราอาจจะไมไดคยุ กันแลววาเทคโนโลยี เหลานี้จะเขามาหรือไม แตอาจตองคุยแลววาเขามาแลว เราและประเทศเราจะมี สวนรวมกับเทคโนโลยีเหลานี้ไดอยางไร

GreenNetwork4.0 July-August 2018


อัคริณ โฮเทล กรุป

GREEN

Hotel

ปลุกปนโครงการรักษโลก

กองบรรณาธิการ

ดันอคีรา ทัส สุขุมวิท ตนแบบที่ไมใชพลาสติกแบบใชครั้งเดียวแลวทิ้ง

ปจจุบันประเทศไทยเปนประเทศที่มีขยะทะเลมากเปนอันดับ 6 ของโลก จาก 192 ประเทศ โดยใน 23 จังหวัดชายทะเลของประเทศไทยมีขยะพลาสติกอยู ประมาณ 340,000 ตัน แลวขยะทะเลมาจากไหน 80% มาจากกิจกรรมทางบก 20% มาจากกิจกรรมทางทะเล สิง่ ทีน่ า ตกใจคือในป พ.ศ. 2560 ปริมาณขยะมูลฝอยทัว่ ประเทศเพิม่ ขึน้ จาก ป พ.ศ. 2559 1.26% หรือคิดเปนปริมาณขยะถึง 27.4 ลานตัน เทากับอัตราการ เกิดขยะมูลฝอยตอคนคิดเปน 1.4 กิโลกรัมตอคนตอวัน กอใหเกิดผลเสียเรือ่ งขยะ ตกคางที่สงผลกระทบตอสุขภาพและสิ่งแวดลอม ทําใหเกิดแหลงเพาะพันธุแมลง ซึง่ เปนพาหะของโรค ปริมาณขยะพลาสติกในประเทศคิดเปน 12% ของขยะทัง้ หมด หรือประมาณ 2 ลานตันตอป ซึง่ ในสวนนัน้ ถูกนําไปใชประโยชนนอ ยเฉลีย่ ปละไมถงึ 500,000 ตัน สวนที่เหลือ 150,000 ตัน ถูกนําไปกําจัดดวยวิธีฝงกลบหรือเตาเผา และบางสวนยังตกคางอยูในสิ่งแวดลอม จากปญหาขยะทีท่ วีคณ ู ขึน้ นัน้ ทําใหประเทศไทยกลายเปนประเทศในอันดับ ตนๆ ของโลกทีป่ ระสบกับปญหาขยะ โดยเฉพาะขยะพลาสติก ฉะนัน้ อัคริณ โฮเทล กรุป (AKARYN Hotel Group) หนึ่งในธุรกิจโรงแรมและรีสอรตลักซูรี่ขนาดเล็ก ในประเทศไทยและในเอเชีย รวมกับ มูลนิธิเพียวบลู (Pure Blue Foundation), โรงแรมอคีรา ทัส สุขุมวิท กรุงเทพฯ โรงแรมใหมลาสุดในเครือฯ และ เดอะแล็บ ฟตเนส (The Lab Fitness) ผลักดันโครงการเลิกใชพลาสติกใชครัง้ เดียว (SingleUse Plastic) โดยมี โรงแรมอคีรา ทัส สุขุมวิท กรุงเทพฯ เปนโรงแรมตนแบบ ที่ไมใชพลาสติกแบบใชครั้งเดียวแลวทิ้ง อีกทั้งจะขยายไปยังโรงแรมอื่นๆ ทั้งหมด ในเครือ มูลนิธิเพียวบลู เปนองคกรการกุศลที่สนับสนุนโครงการอนุรักษทางทะเล หลายดาน เชน การฟน ฟูแนวปะการังและการอนุรกั ษเตาทะเล โดยมูลนิธไิ ดรว มมือ กับชุมชนทองถิน่ และโรงเรียนซึง่ ทําใหคนรุน ตอๆ ไปสามารถเรียนรูถ งึ ความสําคัญ ของการปกปองระบบนิเวศทางทะเลที่บอบบางไดอยางยั่งยืน นอกจากนั้น ยังให ความหวงใยเรือ่ งขยะพลาสติกทีท่ งิ้ ลงสู มูลนิธเิ พียวบลูจงึ มุง มัน่ รณรงคการเลิกใช พลาสติกใชครั้งเดียวแลวทิ้ง โดยเริ่มจากโรงแรมอคีรา ทัส สุขุมวิท กรุงเทพฯ โรงแรมแหงแรกในเอเชียที่ไมใชพลาสติกแบบใชครั้งเดียวแลวทิ้ง

19

อัญชลิกา กิจคณากร กลาววา สวนหนึ่งของการสนับสนุนมูลนิธิเพียวบลู อยางตอเนื่องเพื่อใหโรงแรมและรีสอรตในเครือ เปนโรงแรมปลอดพลาสติกแบบ ใชครั้งเดียวทิ้ง ภายในป พ.ศ. 2563 โดยโรงแรมอคีรา ทัส สุขุมวิท กรุงเทพฯ เปนโรงแรมแหงแรกในเอเชียที่เปดตัวโดยไมใชพลาสติกแบบใชครั้งเดียวแลวทิ้ง ในหองพัก รานอาหารและเครือ่ งดืม่ จากนัน้ จะดําเนินการอยางตอเนือ่ งในโรงแรม อคีรา แมเนอร เชียงใหม ตอไป สําหรับลูกคาเมือ่ เขาเช็กอินทีโ่ รงแรมอคีรา ทัส สุขมุ วิท กรุงเทพฯ ผูเ ขาพัก สามารถรวมบริจาคใหกบั มูลธิเพียวบลู เพือ่ รับขวดนํา้ สเตนเลสทีม่ รี ปู ทรงสวยงาม นําไปใชเติมนํา้ ดืม่ ไดตลอดการเขาพัก โดยทางโรงแรมจะมีนาํ้ ดืม่ แบบบริการตนเอง ในทุกชั้น เพิ่มความสะดวกสบาย นอกจากนั้นยังสามารถเติมนํ้าดื่มเพื่อพกพาไป เที่ยวชมเมืองหรือสถานที่ตางๆ ไดอีกดวย “เราสนับสนุนใหคูคาและซัพพลายเออรของเราใชแนวทางธุรกิจที่มีความ สําคัญกับสิง่ แวดลอมมากขึน้ และความรวมมือกับเดอะแล็บ นับเปนกาวแรกในการ ขยายนโยบายพลาสติกเปนศูนยไปสูชุมชนในกรุงเทพฯ ทีก่ วางขึ้น” นับเปนการสงตอแรงบันดาลใจและขยายโครงการดังกลาวไปยังกลุม ธุรกิจ ขางเคียง โดยมี เดอะแล็บ ฟตเนส บริษทั แรกทีร่ ว มมือกับโครงการริเริม่ ปราศจาก พลาสติกกับมูลนิธิเพียวบลู เพื่อประกาศการเลิกใชพลาสติกใชครั้งเดียวแลวทิ้ง ในฟตเนส นอกจากขวดนํ้าสเตนเลสแลวยังมีผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมอื่นๆ ที่นํามาใชในโรงแรมอคีรา ทัส สุขุมวิท กรุงเทพฯ รวมถึงผลิตภัณฑเครื่องใชใน หองนํ้า ไมวาจะเปน นํ้ามันหอมระเหย แชมพู โลชั่นตางๆ ที่นําเสนอมาในภาชนะ เซรามิกที่ผลิตในประเทศรวมทั้งแปรงสีฟนและหวีที่ทําจากแปงขาวโพด ถุงขยะที่ ยอยสลายไดจะวางไวในหองพักและการรับประทานอาหารในหองพักจะถูกแทนที่ ดวยกลองปนโตและเหยือกนํ้าแบบแกว นอกจากนีใ้ นระดับกลุม อัคริณ โฮเทล กรุป ยังไดใชแนวคิดนีก้ บั รายละเอียด ตางๆ ภายในโรงแรม เชน การรวมเปนพันธมิตรกับแบรนดชุดวายนํ้าริซ (Riz) ซึ่ง ผลิตเสือ้ ผาทีท่ าํ จากขวดพลาสติกรีไซเคิล ผลิตภัณฑสดุ หรูทเี่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม

GreenNetwork4.0 July-August 2018


GREEN

Article ดร.บุญรอด สัจจกุลนุกิจ (JGESS)

วันนี้ ผมใครขอแนะนําเทคโนโลยีที่ใชในการ ปรับปรุงคุณภาพเชื้อเพลิงชีวมวล เชน เศษไม ชานออย แกลบ ทะลาย ปาลม และเศษวัสดุคงเหลือทางการเกษตรอืน่ ๆ ใหสามารถใชประโยชนไดทดั เทียม กับเชื้อเพลิงถานหิน ที่เรียกวา “เทคโนโลยีทอรริแฟคชั่น” (Torrefaction Technology) ประเทศไทย มีการใชชีวมวลเปนเชื้อเพลิงมานานแลว เชน การใชแกลบในโรงสีขาว การใช ชานออยในโรงนํา้ ตาล การใชกะลาปาลมและทะลายปาลมเปลาในโรงหีบและกลัน่ นํา้ มันปาลม และการใชไม เปนเชื้อเพลิงสําหรับหมอตมไอนํ้าและเตาเผาในโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ แตชีวมวลดังกลาวสวนใหญมักมี ความชืน้ สูง มีความหนาแนนนอย ทําใหประสิทธิภาพการเผาไหมตาํ่ คาใชจา ยในการขนสงสูง ตองการพืน้ ทีใ่ นการเก็บ สํารองมาก และหากกองทิ้งไวเปนเวลานานๆ จะเกิดการสูญเสียจากการยอยสลายโดยแบคทีเรียและรา เทคโนโลยีทอรริแฟคชั่น คือการนําชีวมวลมาอบในที่ซึ่งไมมีอากาศ ที่อุณหภูมิประมาณ 250-300 องศาเซลเซียส ดวย ระยะเวลาทีเ่ หมาะสม ขึน้ อยูก บั ขนาดและความชืน้ เริม่ ตนของวัตถุดบิ หากเปนวัสดุขนาดเล็กทีผ่ า นการบดยอยขนาดและลดความชืน้ มาแลว จะใชเวลาในการอบประมาณ 30 นาที ผลผลิตทีไ่ ดเรียกวา “ชีวมวลทอรรไิ ฟด” จะมีสนี าํ้ ตาลเขมและมีคณ ุ สมบัตกิ ารเปนเชือ้ เพลิง ทีด่ ขี นึ้ คือมีคา ความรอนสูงขึน้ ประมาณรอยละ 30 มีความชืน้ ตํา่ และไมดดู ความชืน้ ในอากาศกลับ ทําใหเก็บรักษาไดงา ย ไมถกู ยอยสลาย โดยแบคทีเรียและรา ตองการพืน้ ทีใ่ นการเก็บนอยลง คาใชจา ยในการขนสงตอหนวยพลังงานลดลง เมือ่ เผาไหมจะใหอณ ุ หภูมแิ ละประสิทธิภาพ ในการเผาไหมสงู ขึน้ นอกจากนีย้ งั มีคณ ุ สมบัตทิ แี่ ข็งเปราะคลายถานหิน จึงทําใหสามารถใชเปนเชือ้ เพลิงรวมกับถานหินไดโดยการผสมตรง โดย ไมตอ งมีการปรับเปลีย่ นอุปกรณ ดังนัน้ เทคโนโลยีทอรรแิ ฟคชัน่ จึงเปนเทคโนโลยีทางเลือกหนึง่ ทีช่ ว ยเพิม่ ประสิทธิภาพการใชชวี มวลเปนเชือ้ เพลิง นอกจากนีย้ งั ชวยเพิม่ โอกาสในการนําวัสดุคงเหลือทางการเกษตรทีย่ งั มีเหลือมาก แตนาํ มาใชประโยชนไดยาก เชน ฟางขาว ยอดและใบออย ทะลาย ปาลมเปลาและทางปาลม ใหสามารถนํามาใชประโยชนไดมากขึ้น หรือการใชเปนเชื้อเพลิงรวมกับถานหิน ถือเปนทางเลือกที่ทําไดงายและมีตนทุนตํ่า ในการชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจกจากการเผาไหมถานหิน ชีวมวลทอรรไิ ฟด เริม่ มีการผลิตและใชเชิงพาณิชยบา งแลว ในประเทศสหรัฐฯ กลุม ประเทศ ยุโรป และเกาหลี ญี่ปุนในเอเชีย สําหรับประเทศไทย ยังอยูในชวงของการวิจัยและพัฒนา และเนื่องจากเทคโนโลยีทอรริแฟคชั่นเริ่มมีการพัฒนามาไมนานนัก ตลาดยังเปดกวาง ประกอบกับประเทศไทยมีจุดแข็งดานเชื้อเพลิงชีวมวล ดังนั้น เทคโนโลยีทอรริแฟคชั่น จึงเปนเทคโนโลยีสะอาดที่มีศักยภาพในการพัฒนา ทั้งเพื่อการผลิตชีวมวลทอรริไฟด ใชเองในประเทศ รวมถึงการผลิตเพือ่ การสงออกไปยังตลาดในตางประเทศอีกดวย

20

GreenNetwork4.0 July-August 2018


กรุงเทพฯ 8 มิถนุ ายน 2561: การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) มีความยินดี ทีจ่ ะประกาศความรวมมือกับ dmg:events และใหการสนับสนุนงานนิทรรศการและการประชุม ฟวเจอร เอนเนอรยี่ เอเชีย 2018 ในฐานะเจาภาพรวมอยางเปนทางการ

งานนิทรรศการและการประชุมฟวเจอร เอนเนอรยี่ เอเชีย จัดขึ้นทุกๆ ป ณ กรุงเทพมหานคร เพือ่ เปนเวทีนาํ เสนอทางออกดานพลังงานในอนาคต โดยมุง เนนการนํามา ซึง่ ความรวมมือของเครือขายสําคัญและเปนเวทีเพือ่ ขับเคลือ่ นนโยบายพลังงานคารบอนตํา่ ที่คุมคาและปลอดภัยทั่วภูมิภาคเอเชีย งานนิทรรศการและการประชุมฟวเจอร เอนเนอรยี่ เอเชีย 2018 จะจัดขึ้นระหวาง วันที่ 12-14 ธันวาคม 2561 ณ ศูนยนทิ รรศการและการประชุมไบเทค ประเทศไทย งานคาดวา จะดึงดูดผูประกอบการภาคธุรกิจมากกวา 15,000 คน บริษัทรวมออกงานกวา 600 ราย ผูบ รรยาย 300 ทาน และผูเ ขารวมประชุมกวา 4,000 คน ภายใตจดุ มุง หมายในการประสาน ความรวมมือและสงเสริมการเจรจาบนเวทีทางธุรกิจดานพลังงานตลอดระยะ เวลา 3 วัน ของการจัดงาน อุตสาหกรรมดานพลังงานของโลกมีการปรับตัวใหเขากับการเปลี่ยนแปลงของ สภาพตลาดการคาโลก และประเทศไทยเปนอีกหนึ่งประเทศที่มุงหนาในการจัดการลด กฎระเบียบในตลาดกาซธรรมชาติ โดยความมุงมั่นในการเปดอุตสาหกรรมกาซธรรมชาติ ภายในประเทศครัง้ นี้ กฟผ. เปนหนวยงานทีส่ องทีส่ ามารถจัดซือ้ และนําเขากาซแอลเอ็นจี (LNG) กฟผ. ไดรับหนาที่ใหดําเนินการเกี่ยวกับการนําเขาแอลเอ็นจี (LNG) และเปนผูนํา ดานการพัฒนาเกีย่ วกับสาธารณูปโภคเพือ่ รองรับแอลเอ็นจี (LNG) ทีน่ าํ เขามาสําหรับการ ผลิตกระแสไฟฟาในโรงไฟฟาของ กฟผ. ดังนัน้ บทบาทของ กฟผ. คือการดําเนินการอยาง ครบวงจร ไมวา จะเปนขัน้ ตอนขัน้ ตน กลาง และทายกระบวนการ นอกจากนี้ กฟผ. ยังเปน ผูดําเนินโครงการกอสรางสถานีกักเก็บและแปลงสภาพกาซธรรมชาติเหลวแบบลอยนํ้า (FSRU) เพื่อรองรับการนําเขาแอลเอ็นจี (LNG) ปริมาณ 5 ลานตัน เพื่อใชในการผลิต กระแสไฟฟารวมทั้งการรองรับระบบทอสงกาซธรรมชาติอีกดวย งานนิทรรศการและการประชุมฟวเจอร เอนเนอรยี่ เอเชีย เปนเวทีสําหรับ กฟผ. เพื่อเสนอจุดมุงหมายที่หลากหลายดานพลังงานแกผูนําทั้งในประเทศและตางประเทศ ในฐานะที่รวมเปนเจาภาพในการจัดงาน กฟผ. พรอมนําเสนอกิจการขององคกรผาน นิทรรศการและการเขารวมประชุมสัมมนาดานนโยบายและทางเทคนิคของผูแทนจาก องคกร วิบลู ย ฤกษศริ ะทัย ผูว า การการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย จะเขารวมงาน และขึน้ กลาวปาฐกถาในพิธีเปดงานเพือ่ นําเสนอนโยบายระยะยาวและวิสยั ทัศนดา นการ กําหนดสัดสวนพลังงาน (Energy Mix) ของประเทศไทย เราหวังเปนอยางยิ่งวา ในฐานะเจาภาพจัดงานงานนิทรรศการและการประชุม อันทรงเกียรตินี้ เราจะสามารถนําพาบุคลากรและองคกรชั้นนําดานพลังงานจากทั่วโลก มาสูประเทศไทย ไดดวยความรวมมือและแรงสนับสนุนของทาน


แวดวงพลังงาน คงไมมีใครไมรูจัก บริษัท บานปู อินฟเนอรจี จํากัด เปนบริษัทลูกของบริษัท บานปู จํากัด (มหาชน) ผูเชี่ยวชาญดาน การวางระบบและเทคโนโลยีดานพลังงานและใหบริการดาน การวางระบบผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยแบบครบวงจร ที่ผสานเทคโนโลยีหลากหลายรูปแบบและทันสมัย โดยนํา ประสบการณ ใ นการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ด า นพลั ง งานของบ า นปู มากกวา 3 ทศวรรษ ทัง้ ในประเทศและตางประเทศมาชวยผลักดัน ใหเกิดการใชพลังงานทีส่ มดุลอยางยัง่ ยืนและไดประโยชนสงู สุด ดวยโซลูชั่นดานพลังงานที่มีความเสถียร ราคาเหมาะสมและ เปนมิตรตอสิง่ แวดลอม เพือ่ เปลีย่ นผานประเทศไทยสูส มารทซิตี้ อยางเปนรูปธรรม

GREEN

People จีรภา รักแกว

แนวโนมศักยภาพการเติบโตของโซลารเซลล กนกวรรณ จิตตชอบธรรม กรรมการผูจ ดั การ บริษทั บานปู อินฟเนอรจี จํากัด (BPIN) กลาววา ภาพรวมของพลังงานทดแทน ทัว่ โลก มีแนวโนมการเติบโตไปในทิศทางทีด่ ี โดยเฉพาะในมุมของพลังงาน ทดแทน อยางโซลารเซลลทถี่ อื วาเปนพลังงานทดแทนในระดับตนๆ ในชวง 3-4 ป ทีผ่ า นมา การเติบโตคอนขางทีจ่ ะเร็ว ในขณะทีป่ ระเทศไทยเองทิศทางของโซลารเซลล นัน้ ไมตา งกันกับทิศทางโลก ทีผ่ า นมา จากสถิตแิ ละรายงานสัดสวนการใชพลังงาน แสงอาทิตยของกระทรวงพลังงาน พบวาสัดสวนการใชพลังงานแสงอาทิตยใน พ.ศ. 2560 อยูที่ประมาณ 2,600 เมกะวัตต และใน พ.ศ. 2579 มีการประเมินวา สัดสวนการใชพลังงานแสงอาทิตยจะเติบโตอยูท ปี่ ระมาณ 6,000 เมกะวัตต แนวโนม ดังกลาวสอดคลองกับนโยบายภาครัฐที่ตองการสงเสริมใหเกิดการใชพลังงาน ทดแทน นัน่ ก็คอื โซลารเซลลเพิม่ มากขึน้ ซึง่ เปนไปในทิศทางเดียวกันทัว่ โลก อาจ จะตางกันเพียงกฎระเบียบในแตละประเทศเทานัน้ อยางรัฐเเคลิฟอรเนีย ลาสุดเริม่ มี การรางกฎหมายใหม ซึง่ เปนภาคบังคับสําหรับอาคารสรางใหมทกุ อาคารจะตองมี การติดตัง้ โซลารเซลล แตสาํ หรับเมืองไทยเองอาจจะยังไมกา วไปถึงจุดนัน้ เปนเพียง การเริ่มตน ดวยนโยบายของภาครัฐที่ชัดเจนในการสนับสนุนใหทุกคนหันมาใช โซลารเซลลใหมากขึน้ กอปรกับเริม่ มีแนวทางการสงเสริมเรือ่ งโซลารรฟู ท็อปเสรี ที่ถือวาเปนแนวโนมและทิศทางที่ดีของบานเรา นั่นหมายความวาภาครัฐเองคง เตรียมความพรอมไวแลว ในอนาคตคุณไมจาํ เปนตองติดโซลารเซลลเพือ่ ใชงานใน โรงงาน ในบานเรือนอยางเดียว แตอาจจะติดตั้งเพื่อชวยสนับสนุนนโยบายภาค รัฐที่ตองการเพิ่มสัดสวนของพลังงานทดแทนเพื่อสรางความสมดุลดานพลังงาน ในประเทศ “โซลารเซลลมีการเติบโตขึ้นอยางแนนอนและทั่วโลกมองไปในทิศทาง เดียวกัน เพียงแตวาในแตละประเทศอาจจะออกนโยบายที่เหมาะสมของประเทศ นั้นๆ โดยเฉพาะประเทศไทยนโยบาย Thailand 4.0 สําหรับพลังงานทดแทน ที่จะ มุง ไปสู Energy 4.0 ในมุมของโซลารรฟู ท็อปหรือโซลารเซลลภายในปนตี้ อ งเติบโต แบบกาวกระโดดใหได ใหเกิดการใชพลังงานแสงอาทิตยใหเร็วที่สุด” Greener & Smarter ตอบรับเทรนดพลังงานที่ย่งั ยืน กนกวรรณ กลาววา บมจ.บานปู และบริษทั ลูกทุกแหงในเครือ ศึกษามองหา เทคโนโลยีและการลงทุนใหมๆ เพือ่ เพิม่ ศักยภาพใหกบั การดําเนินธุรกิจ ตอบโจทย ความตองการของลูกคา และเตรียมรับเทรนดดานพลังงานในอนาคต สอดคลองกับกลยุทธ Greener & Smarter ของบานปู มุงดําเนินธุรกิจ ทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมมากขึน้ สงเสริมการใชพลังงานสะอาดและ มีประสิทธิภาพดวยเทคโนโลยีดานพลังงานที่ทันสมัย พรอมนําองค ความรูดานนวัตกรรมพลังงานจากการดําเนินธุรกิจในตางประเทศ มาเปนประโยชนตอการพัฒนาประเทศในยุค 4.0 และสําหรับบริษัท บานปู อินฟเนอรจี จํากัด ที่กอตั้งขึ้นมา เพือ่ ใหบริการดานการวางระบบผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย แบบครบวงจร (One Stop Service) ผนวกกับเทคโนโลยีที่ทันสมัย รวมถึงนําเสนอโซลูชนั่ ดานพลังงานอืน่ ๆ เพือ่ มุง ไปสูก ารเปน Smart City หรือเกิดเปน Smart Community ดวยการเริม่ จากโซลารรฟู ท็อป ซึง่ ถือวาเปนพลังงานทดแทนตัวท็อปทีค่ อ นขางจะเกิดขึน้ ไดงา ยทีส่ ดุ ผนวกเขากับประสบการณในการดําเนินธุรกิจดานพลังงานของบานปู 22

GreenNetwork4.0 July-August 2018


ทั้งในประเทศและ ตางประเทศ โดยเฉพาะ การบริหารธุรกิจโซลารฟารม ในประเทศจีนและญี่ปุน มาแลวกวา 300 เมกะวัตต ฉะนั้นจึงนําเอาประสบการณ ตรงนี้มาตอยอดใหเกิดการใชพลังงานแสงอาทิตย ในประเทศใหมากที่สุด จึงเปนจุดเริ่มที่วา ถามองจุดสุดทาย คือการกาวไปสู Smart Community ตองมองกลับมาทีก่ ารใชพลังงาน อยางไรให Smart มากขึน้ นัน่ คือการทีเ่ ราอยากสงเสริมใหคนไทยสามารถ รวมเปนสวนหนึง่ ของการผลิตและการใชพลังงานสะอาดไดงา ยขึน้ โดย ไมตองลงทุนเอง ที่ตองเริ่มตนจากสิ่งที่งายสุด ชักชวนภาคประชาชน ภาคเอกชน ชวยกันผลิตไฟฟาจากโซลารรฟู ท็อปในรูปแบบทีเ่ ปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม ภายใตแนวคิด “Go Green Together” พรอมสนับสนุนผูป ระกอบ การรวมเปนสวนหนึ่งของการผลิตและการใชพลังงานสะอาดไดงาย ยิ่งขึ้น โดยไมตองลงทุนคาติดตั้งหรือคาอุปกรณ (Zero Investment) ประหยัดตนทุนพลังงานไดอีกมาก พัฒนาแอพพลิเคชั่น “INFINERGY” ขานรับโลกดิจิทัล บานปู อินฟเนอรจี มีบริการครอบคลุมครบวงจรตั้งแต การให คําปรึกษา ออกแบบระบบ ติดตัง้ ตรวจสอบ ไปจนถึงซอมบํารุงสําหรับ ลูกคาภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจขนาดใหญ ทั้งยังใหความสําคัญดาน บริการหลังการขาย และเพื่อตอบโจทยกับนโยบาย Thailand 4.0 จึง ไดพัฒนาแอพพลิเคชั่น INFINERGY ที่สามารถตรวจสอบขอมูลดาน พลังงานแบบเรียลไทม ทําใหรูยอดการผลิตไฟฟาจากโซลารเซลลได ตลอดเวลา หรือตรวจสอบขอมูลยอนหลัง ตรวจเช็กคาไฟฟาทีป่ ระหยัด ไดตงั้ แตเริม่ ติดตัง้ หรือแมแตปริมาณการลด Co2 ในอากาศ หากระบบ โซลารเซลลมีปญหา จะมีระบบแจงเตือนผานทางแอพพลิเคชั่นไปยัง ลูกคา รวมไปถึงการใชโดรนบินสํารวจเพื่อตรวจสอบคุณภาพของแผง โซลาร การตรวจสอบการทํางานของระบบโซลารแบบเรียลไทมจากหอง คอนโทรลรูมของบริษทั ฯ และแจงเตือนไปทางทีมงานบานปู อินฟเนอรจี เพื่อใหสามารถแกไขปญหาไดทันทวงที พรอมทีม Call Center ที่ดูแล ลูกคาตลอด 24 ชั่วโมง กนกวรรณ กลาว Smart Community ในแบบฉบับไทยๆ กนกวรรณ กลาววา แนวทางการพัฒนาเพื่อใหประเทศ กาวไปสู Smart City นั้น ในความเปนจริงแลวทั่วโลก หรือแตละเมืองของประเทศนั้นๆไมจําเปนตองมี รูปแบบที่เหมือนกัน ขึ้นอยูกับปญหาและ ขอจํากัดของแตละพื้นที่ จึงทําให ไมมรี ปู แบบทีแ่ นนอนหรือ ตายตัว แตกระนัน้

23

แลว ทุกประเทศยอมมีปลายทางที่ออกมา เหมือนกัน นั่นก็คือตองการใหประเทศมีความ อัจฉริยะ ความสะดวกสบาย และยั่งยืน เหมือนในประเทศ ญี่ปุน ที่ตองเผชิญกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ รัฐบาลจึงรวมกับ ภาคสวนตางๆ พัฒนา Smart City เพื่อรับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ มีการเตรียมความพรอมดานพลังงาน ฉะนั้น สิ่งสําคัญที่ตองยอนกลับไปมองคือ เมืองของเรานัน้ มีปญ  หาตรงไหน แลวนําเทคโนโลยีเขาไปเสริม ใหเมืองนัน้ อัจฉริยะ ไดในแบบฉบับของตัวเอง “เมื่อไรก็ตาม หากการเริ่มตนแคการติดโซลารรูฟท็อป ไดรับความรวมมือ ในการติดตั้งกันทั้งประเทศ เสริมดวยเทคโนโลยีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ อยางแบตเตอรี่ซึ่งเปนตัวกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System: ESS) และ ตอยอดไปสูเทคโนโลยี ระบบบริหารจัดการพลังงาน (Energy Management System: EMS) เปนการวางแผนการใชพลังงาน จนครบทัง้ ระบบขางตน ก็จะสามารถ ควบคุมการใชพลังงานโดยรวมของประเทศใหไดประโยชนสูงสุด” แตอยางไรก็ตาม เราไมไดมงุ เนนวาใหเปนแคโซลารรฟู ท็อปเทานัน้ แตอยาก ใหเห็นวาโซลารรูฟท็อปคือหนึ่งในจุดเริ่มตนของการเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย ซึง่ มีอยูท วั่ ไป ใหเปนพลังงานไฟฟา ทัง้ นีย้ งั มีสว นอืน่ ๆ อีกมากมายทีส่ ามารถพัฒนา ใหเกิดการใชพลังงานไดคมุ คาทีส่ ดุ รถยนต (Electric Vehicle: EV) ก็เปนอีกสวนหนึง่ ซึ่งเขามาเสริมไดอีกเชนกัน ทั้งหมดนี้ก็คือ Smart Concept ในสวนพลังงาน แต กระนั้นแลวก็ไมอยากใหมองวา Smart City มีเพียงรูปแบบเดียว ยกตัวอยางเชน หากเราเห็นวาไทยเปนประเทศเกษตรกรรม เราก็สามารถพัฒนาไปสู Smart Agriculture ดวยการนําเทคโนโลยีเขามาเสริมให Smart ในแบบฉบับประเทศไทย ของเรานั่นเอง จับมือพันธมิตรธุรกิจแลกเปลี่ยนประสบการณ ตอยอดพัฒนาเทคโนโลยีที่ไมหยุดนิ่ง บานปู อินฟเนอรจี ใหบริการติดตั้งโซลารรูฟท็อปแบบครบวงจรแกลูกคา ในหลากหลายอุตสาหกรรม เชน ภาคการศึกษา ภาคอุตสาหกรรม แฟชัน่ เอาทเล็ต สถานีบริการนํา้ มัน โรงแรม และโรงพยาบาล และในอนาคตมองไปยังกลุม ตลาด บาน ซึ่งจําเปนตองมีเทคโนโลยีแบตเตอรี่เขามาเสริม และนอกจากนี้แลว บานปู อินฟเนอรจี ยังไมหยุดทีจ่ ะพัฒนาไปขางหนา ใน พ.ศ. 2560 ไดรว มลงทุนกับ บริษทั ซันซีป กรุป ผูน าํ ดานการใหบริการพลังงานสะอาดแบบครบวงจรรายใหญในสิงคโปร เพื่อพัฒนาโซลารรูฟท็อปใหผนวกเขากับเทคโนโลยีอื่นๆ เพื่อใหเกิด Smart Community เปนการแลกเปลีย่ น Know How และประสบการณซงึ่ กันและกัน เพราะ การติดตัง้ โซลารรฟู ท็อปในแบบหลังคาไทยอาจจะแตกตางกับการติดตัง้ บนตึกใน พื้นที่ขนาดเล็กของสิงคโปร “ในขณะทีม่ กี ารพัฒนาโซลารรฟู ท็อปนัน้ แนนอนวาความทาทายทีต่ อ งเจอ ก็คอื เทคโนโลยีไมหยุดนิง่ เราตองมองหาเทคโนโลยีทใี่ ชสาํ หรับประเทศไทย สําหรับ ลูกคาและสําหรับบานปูเอง” ทั้งนี้ บานปู อินฟเนอรจี ไดตั้งเปาผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยใหได รวม 300 เมกะวัตตภาย ใน พ.ศ. 2563 เพือ่ ตอบรับความตองการของลูกคาในอนาคต ปจจุบันติดตั้งไปแลว 123 เมกะวัตต แบงเปนกําลังการ ผลิตจากซันซีป กรุป 110 เมกะวัตต และทีเ่ หลือ จากการดําเนินติดตัง้ เองในประเทศไทย อีก 13 เมกะวัตต และลาสุดได เข า ไปลงทุ น ในธุ ร กิ จ จั ด เก็ บ พลังงานของสิงคโปร คือ บริษัท นิว รีซอสเซส เทคโนโลยี จํากัด ในการเตรียมขยายสูธ รุ กิจจัดเก็บ พลังงานในอนาคตอันใกล

GreenNetwork4.0 July-August 2018


ไทยเบฟเวอเรจ เอ็นเนอรยี่

GREEN

Factory กองบรรณาธิการ

ผลิตกาซชีวภาพ จากนํ้าเสีย ลดโลกรอน

บริษทั ไทยเบฟเวอเรจ เอ็นเนอรยี่ จํากัด สาขาจังหวัดบุรรี มั ย ตัง้ อยูท ตี่ าํ บลนิคม อําเภอสตึก จังหวัดบุรรี มั ย ดําเนินธุรกิจรับบําบัดนํ้าเสียจากโรงงานสุรา บริษัท อธิมาตร จํากัด โดยไดดําเนินโครงการผลิตพลังงานหมุนเวียน จากนํา้ กากสา ดวยระบบบําบัดนํา้ เสียแบบปดทีส่ ามารถผลิตกาซชีวภาพได สงกาซชีวภาพทีผ่ ลิตไดกลับไปใหโรงงาน สุราใชเปนเชือ้ เพลิงในหมอไอนํา้ โดยสามารถใชทดแทนนํา้ มันเตาได 95-100% โดยหมอไอนํา้ 3 ตัว กําลังการผลิต ติดตั้งรวม 25.83 ตัน/ชั่วโมง สวนกาซชีวภาพที่ผลิตไดมากเกินความตองการจะถูกนํามาปรับปรุงคุณภาพแลวใช ผลิตกระแสไฟฟาเพือ่ ใชเองภายในโรงไฟฟาและจําหนายใหการไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) โดยทําสัญญาขายไฟฟา เปนระยะเวลา 20 ป โรงงานแหงนีผ้ ลิตสุราขาวปละ 40 ลานลิตร มีนาํ้ เสียจากกระบวนการผลิตวันละ 500 คิว บริษทั ใชเทคโนโลยี ระบบบําบัดนํ้าเสียแบบปดสามารถผลิตแกสชีวภาพไดวันละ 33,000 คิว บอหมักกาชชีวภาพจากนํ้าเสีย ซึ่งจะมีทั้ง กาซและนํา้ เสียอยู ดังนัน้ เทคโนโลยีทจี่ ะนํามาใชจงึ เปนเทคโนโลยีใหม ทีม่ กี ารลงทุนคอนขางสูง เปนระบบสุญญากาศ โดยในขัน้ ตอนการผลิตกาซชีวภาพนัน้ เริม่ ตนทีห่ อกลัน่ จากโรงงานสุราทีน่ าํ เอาแอลกอฮอลไปผลิตสุรา เกิดเปนนํา้ เสีย หรือกากสาจากโรงงานสุราฯ จึงนํานํา้ เสียสูก ระบวนการสงผานทอ ซึง่ เปนระบบปด จากหอกลัน่ จะสงมายังบอบําบัด หลังจากนั้นจะมีการแปรรูปของเสียหรือนํ้าเสีย เปนพลังงานในรูปของแกสมีเทนหรือกาซชีวภาพนั่นเอง สําหรับระบบผลิตกาซชีวภาพนัน้ ใชเทคโนโลยี Low-rate ADI–BVF System Covered Lagoon ขนาดความจุ บอบําบัด 27,000 ลูกบาศกเมตร นํ้าเสียที่ไดจากระบวนการผลิต 500-600 ลูกบาศกเมตร/วัน และอัตราการผลิต กาซชีวภาพอยูท ี่ 18,000 ลูกบาศกเมตร/วัน สวนระบบผลิตไฟฟา ใชเทคโนโลยี Gas Engine มีกาํ ลังการผลิตติดตัง้ 994 กิโลวัตต อัตรากาซชีวภาพปอนเขา 282 ลูกบาศกเมตร/ชัว่ โมง อัตราการผลิตไฟฟา 4.5 กิโลวัตต/ 1 ลูกบาศกเมตร กาซชีวภาพ ระบบผลิตกาซชีวภาพไดเฉลีย่ 7.05 ลานลูกบาศกเมตร สงไปทดแทนนํา้ มันเตาในหมอไอนํา้ 3.70 ลานบาศกเมตร สามารถทดแทนนํา้ มันเตาได 1.85 ลานลิตร และสงไปใชผลิตไฟฟา 2.26 ลานลูกบาศกเมตร โดยมีกา ซชีวภาพเหลือ จากการใชงานถูกสงไป Flare ทิ้งประมาณ 1.09 ลานลูกบาศกเมตร (ขอมูลเฉลี่ยป 2559-มิ.ย. 2560) ซึ่งเทียบเทา ปริมาณการลดการปลอยกาซเรือนกระจก 25,570 ตันคารบอนไดออกไซตเทียบเทา/ป หรือ 511,404 ตันคารบอน ไดออกไซตเทียบเทาตลอดอายุโครงการ 20 ป ในขณะทีม่ ลู คาการลงทุนรวม 265 ลานบาท แบงเปนเงินลงทุนในโรงงานผลิตกาซชีวภาพ 180 ลานบาท โรงงาน ผลิตไฟฟา 85 ลานบาท โดยบริษัทเปนผูลงทุนเองทั้งหมด ภายใตการสงเสริมการลงทุนจาก BOI และใน พ.ศ. 2560 ทีผ่ า นมาบริษทั ฯ สามารถผลิตกระแสไฟฟาได 4,775,960 kWh สวนหนึง่ นําไปใชประโยชน ภายในโรงงาน สวนหนึ่งจําหนายใหการไฟฟาสวนภูมิภาค สรางรายไดใหบริษัทเพิ่มขึ้น นอกจากนี้บริษัทฯ ยังได รับรางวัลดีเดนของโครงการ Thailand Energy Awards 2018 ดานพลังงานทดแทน ประเภทโครงการผลิตไฟฟา และความรอนรวมอีกดวย อยางไรก็ตาม โครงการผลิตพลังงานหมุนเวียนจากนํา้ กากสา ทีช่ ว ยรักษาสิง่ แวดลอม ดวยกระบวนการบําบัด ของเสียในระบบปด พรอมทั้งผลิตกระแสไฟฟาเพื่อใชเปนพลังงานทดแทน ถือเปนโรงงานอุตสาหกรรมที่สามารถ อยูรวมกับชุมชนไดอยางยั่งยืน

การนํากาซชีวภาพไปใชประโยชน

ปริมาณการขายไฟฟาให PEA โรงงานสาขาจังหวัดบุรีรัมย

สัดสวนการใชงานพลังงานที่ Boiler (กาซชีวภาพ : นํ้ามันเตา) ป 2553-2561) โรงงานสาขาจังหวัดบุรีรัมย

24 24

GreenNetwork4.0 JJuly-August GreenNetwork4.0 uly-August 2018 20118 20 8


นํ้าตาลบุรีรัมย ชูโรงไฟฟาพลังความรอนรวมชีวมวล เสริมความมั่นคงดานพลังงานทดแทน บริษัท นํ้าตาลบุรีรัมย จํากัด (มหาชน) หรือ BRR หนึ่งในผูบุกเบิก อุตสาหกรรมนํ้าตาลของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยูที่ตําบลหินเหล็กไฟ อําเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย ปจจุบันมีกําลังการผลิต 22,000 ตันออยตอวัน เปดหีบออยประมาณ 120 วันตอหนึ่งฤดูหีบออย หรือคิดเปนปริมาณออยประมาณ 2.3 ลานตัน มีกากออย เหลือจากกระบวนการผลิตปละมากกวา 750,000 ตัน จึงใชเงินลงทุนรวมมากกวา 1,000 ลานบาท จัดตัง้ โรงไฟฟาพลังความรอนรวมชีวมวลขึน้ 2 แหง คือ โรงไฟฟา บริษทั บุรรี มั ยพลังงาน จํากัด (BEC) และ โรงไฟฟาบริษทั บุรรี มั ยเพาเวอร จํากัด (BPC) โรงไฟฟาภายในบริเวณเดียวกับโรงงานนํา้ ตาลเพือ่ นํากากออยมาผลิตไอนํา้ และไฟฟา กําลังการผลิตไอนํา้ รวม 185 ตัน/ชัว่ โมง สงไอนํา้ แรงดันสูงไปผลิตไฟฟา กําลังการผลิตรวมทัง้ 2 โรง 19.8 เมกะวัตต จําหนายไฟฟาทีผ่ ลิตได 16 เมกะวัตต ใหการไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) ภายใตสญ ั ญา VSPP แบบ Non-Firm และสงไฟฟา และไอนํ้าบางสวนกลับไปขายใหแกโรงงานนํ้าตาลเพื่อใชในกระบวนการผลิต สําหรับโรงไฟฟา BEC นัน้ มีกาํ ลังการผลิตติดตัง้ 9.9 เมกะวัตต ใชกากออย เปนเชือ้ เพลิงหลัก และยังสามารถใชไมสบั ใบออย และแกลบ เปนวัตถุดบิ ในการผลิต กระแสไฟฟาไดอกี ดวย BEC จําหนายกระแสไฟฟาใหแก กฟภ. จํานวน 8 เมกะวัตต และใชภายในโรงงาน 1.9 เมกะวัตต โรงไฟฟา BEC ตั้งอยูบนพื้นที่ใกลเคียงกับ โรงงานนํา้ ตาลบุรรี มั ย เพือ่ ความสะดวกในการนํากากออยทีไ่ ดจากกระบวนการผลิต นํ้าตาลมาใชเปนเชื้อเพลิง และสะดวกในการจายไฟฟา สวน BPC นั้นเปนโรงไฟฟาแหงที่ 2 ของกลุมบริษัทนํ้าตาลบุรีรัมย มีกําลัง การผลิตติดตั้งจํานวน 9.9 เมกะวัตต และไอนํ้า 100 ตัน/ชั่วโมง ใชกากออยเปน เชือ้ เพลิงหลัก ใชไมสบั และใบออยเปนวัตถุดบิ ในการผลิตกระแสไฟฟาเชนเดียวกับ BEC อีกทั้งโรงไฟฟา BPC ตั้งอยูบริเวณใกลเคียงกับโรงไฟฟา BEC และโรงงาน นํ้าตาล BSF เพื่อความสะดวกในการขนสงกากออยที่ใชเปนเชื้อเพลิงในการผลิต ไฟฟาโดยไฟฟาที่ผลิตไดจะจําหนายใหแก กฟภ. ซึ่ง BPC ไดเขาทําสัญญาซื้อขาย ไฟฟา กับ กฟภ.ในระบบ Feed-in-Tariff (FiT) ที่ปริมาณพลังงานไฟฟาสูงสุด 8 เมกะวัตต ทีร่ ะบบแรงดัน 22,000 โวลต โครงการดังกลาวมีขนาดเนือ้ ที่ รวมทัง้ สิน้ ประมาณ 46.96 ไร โดยสามารถแบงออกเปน 5 สวนหลักๆ

25 25

GREEN

Factory กองบรรณาธิการ

ไดแก พื้นที่โรงไฟฟา พื้นที่บอกักเก็บนํ้าดิบ พื้นที่สีเขียว พื้นที่กอสรางสํานักงาน และอาคารเก็บเชื้อเพลิง อยางไรก็ตาม โรงไฟฟาใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพสูง ออกแบบและบริหารจัดการโดยคํานึงถึงสิ่งแวดลอม สังคม และชุมชนที่อาศัยอยู บริเวณโดยรอบ ดําเนินการผลิตสอดคลองกับรอบการผลิตและการใชพลังงานของ โรงงานนํา้ ตาล โดยใชกากออย 1,200-1,400 ตัน/วัน ในฤดูหบี ออย และใชกากออย ทีเ่ ก็บรวบรวมไว 900-1,050 ตัน/วัน นอกฤดูหบี ออย เปนเชือ้ เพลิงสําหรับหมอไอนํา้ ผลิตไอนํ้าแรงดันสูง 40 Bar อุณหภูมิ 150-500 oC ไฟฟาสวนที่เหลือนําไปใชผลิต ไฟฟาจําหนายใหการไฟฟาสวนภูมภิ าค, ใชเองภายในโรงงานไฟฟา และสงสวนหนึง่ ไปใชงานภายในโรงนํา้ ตาล ซึง่ ไอนํา้ ทีใ่ ชผลิตไฟฟาแลวจะมีความดันตํา่ ลงแตยงั คง มีความรอน จึงสามารถนํากลับไปใชในกระบวนการผลิตของโรงงานนํ้าตาลได ถือเปนการใชพลังงานใหเกิดประโยชนสูงสุด สวนเงินลงทุนรวมสําหรับโรงไฟฟาทั้งสองโรง ประมาณ 1,089 ลานบาท สามารถผลิตไฟฟาไดมากกวาปละ 100,000 MWh และไอนํา้ มากกวา 1.5 ลานตัน คิดเปนมูลคารายไดจากการจําหนายพลังงานมากกวา 70 ลานบาท/ป ทําใหมี ผลตอบแทน (IRR) ประมาณ 22% และมีระยะเวลาคืนทุนประมาณไมเกิน 5 ป โครงการโรงไฟฟาพลังความรอนรวมชีวมวล ของ บริษัท บุรีรัมยพลังงาน (BEC) จํากัด และบริษัท บุรีรัมย เพาเวอร จํากัด (BPC) ไดรับรางวัลดีเดนดาน พลังงานทดแทน ประเภทโครงการพลังงานความรอนรวม (Cogeneration) จาก การประกวด Thailand Energy Awards ประจําป ค.ศ. 2017 และ ค.ศ. 2018 และ ทั้ง 2 โรงยังไดรับคัดเลือกสงเขารวมการประกวด ASEAN Renewable Energy Project Competition ประเภท Cogeneration ดวย โดย BEC เขารวมการประกวด ป ค.ศ. 2017 และไดรับรางวัลชนะเลิศ สวน BPC ไดรับคัดเลือกสงเขารวมการ ประกวดป ค.ศ. 2018 อีกดวย

GreenNetwork4.0 July-August 2018 GreenNetwork4.0 JJuly-August 2018


GREEN

World กองบรรณาธิการ

Sunseap ผูจ ดั หาพลังงานสะอาดดูแล แผงเซลลแสงอาทิตยขนาด 32 เมกะวัตต บนดาดฟาของอาคารตางๆ กวา 800 แหง ในสิงคโปร

ซัพพลายเออรอีก 9 รายของ Apple หันมาใชพลังงาน สะอาดเพื่อการผลิต 100%

ในประเทศจีน ไดติดตั้งแผงเซลลแสงอาทิตย เหนือพืน้ ดินใหสงู พอทีแ่ สงอาทิตยจะสอง ผานเขามาได เพื่อใหทุงหญายังคง เติบโตไดตอ ไป และยังเปนแหลง อาหารของตั ว จามรี ไ ด อี ก ดวย

หนึง่ ในพันธกิจของ Apple คือการตอสูก บั ภาวะโลกรอนและสรางสิง่ แวดลอมทีด่ กี วา เดิม และลาสุด Apple ประกาศวาสถานประกอบการทั่วโลกของ Apple ใชพลังงานสะอาด 100% แลว ทั้งในรานคาปลีก สํานักงาน ศูนยขอมูล และสถานที่ที่ใชรวมกับบริษัทอื่นใน 43 ประเทศ รวมถึงสหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร จีน และอินเดีย นอกจากนี้ บริษัทยัง ประกาศวาพันธมิตรดานการผลิตอีก 9 แหงก็หนั มาใชพลังงานสะอาดในการผลิตผลิตภัณฑ ทัง้ หมดของ Apple 100% แลวเชนกัน ซึง่ ทําใหตอนนีจ้ าํ นวนซัพพลายเออรทใี่ ชพลังงานสะอาด รวมเปน 23 รายแลว “เรามุงมั่นที่จะทําใหโลกใบนี้เปนโลกที่ดีกวาเดิม หลังจากทุมเทใหกับเรื่องนี้มาเปน เวลาหลายป เราภูมิใจอยางยิ่งที่ไดกาวมาสูจุดสําคัญ” Tim Cook CEO ของ Apple กลาว “เราจะกาวขามขีดจํากัดและไมหยุดพัฒนาเรื่องวัสดุที่นํามาใชในผลิตภัณฑ วิธีการ รีไซเคิล อาคารและเครื่องมือเครื่องใช รวมทั้งการทํางานกับซัพพลายเออรเพื่อสรางแหลง พลังงานทดแทนใหมๆ ที่สรางสรรคและลํ้ายุค เพราะเรารูดีวาอนาคตขึ้นอยูกับสิ่งเหลานี้”

โครงการพลังงานทดแทน

Apple และพันธมิตรของ Apple กําลังสรางโครงการพลังงานทดแทนใหมๆ ทั่วโลก เพือ่ มอบพลังงานทางเลือกทีด่ กี วาใหกบั ชุมชนในทองถิน่ รัฐ หรือแมแตทวั่ ทัง้ ประเทศ Apple สรางสรรคและพัฒนาโครงการพลังงานทดแทนระดับภูมภิ าคดานสาธารณูปโภค ซึง่ จะเกิด ขึน้ ไมไดเลยหากไมมพี ลังงานเหลานี้ โครงการดังกลาวประกอบดวยแหลงพลังงานทางเลือก มากมาย ไมวา จะเปนแสงอาทิตย ฟารมกังหันลม และเทคโนโลยีใหมๆ ทีก่ าํ ลังมีการพัฒนา เชน เซลลเชือ้ เพลิงชีวภาพ ระบบผลิตไฟฟาพลังนํา้ ขนาดเล็ก และเทคโนโลยีการเก็บพลังงาน 26

GreenNetwork4.0 July-August 2018


สํ า นั ก งานใหญ แหงใหมของ Apple ในคูเปอรตโิ น ใชพลังงาน หมุนเวียน 100% โดยสวนหนึง่ มาจากแผงเซลลแสงอาทิตยขนาด 17 เมกะวัตตบนหลังคา ปจจุบนั นี้ Apple มีโครงการพลังงานทดแทน ทีด่ าํ เนินการอยู 25 โครงการทัว่ โลก ซึง่ ผลิตพลังงาน ไดรวมกันถึง 626 เมกะวัตต และผลิตเซลลแสงอาทิตย ได 286 เมกะวัตต ใน ค.ศ. 2017 นับเปนปริมาณที่มากที่สุด ทีเ่ คยผลิตไดใน 1 ป นอกจากนีย้ งั มีอกี 15 โครงการทีก่ าํ ลังกอสราง อยู ซึง่ เมือ่ สรางเสร็จแลว จะผลิตพลังงานสะอาดหมุนเวียนไดกวา 1.4 กิกะวัตตใน 11 ประเทศ ตัง้ แต ค.ศ. 2014 ศูนยขอ มูลทัง้ หมดของ Apple ลวนใชพลังงานหมุนเวียน 100% และตั้งแต ค.ศ. 2011 เปนตนมา โครงการพลังงานหมุนเวียนของ Apple ทัง้ หมดไดลดการปลอยกาซคารบอน (CO2e) จากสถานประกอบการทัว่ โลกถึง 54% และยับยั้งไมให CO2e เขาสูชั้นบรรยากาศไดมากกวา 2.1 ลานเมตริกตัน

โครงการพลังงานหมุนเวียนของ Apple ประกอบดวย

• Apple Park อาคารสํานักงานใหมของ Apple ในคูเปอรตโิ น เปนอาคาร สํานักงานที่ใหญที่สุดในอเมริกาเหนือที่ผานการรับรอง LEED Platinum อาคาร แหงนีใ้ ชพลังงานหมุนเวียน 100% จากหลายแหลง ทัง้ การติดตัง้ แผงเซลลแสงอาทิตย ขนาด 17 เมกะวัตตบนหลังคา และเซลลเชื้อเพลิงกาซชีวภาพขนาด 4 เมกะวัตต รวมทัง้ การควบคุมดวยการจัดเก็บแบตเตอรีร่ ะบบไมโครกริด นอกจากนีใ้ นชวงทีม่ ี การใชงานตํา่ ยังสามารถจายพลังงานสะอาดไปยังระบบจายกระแสไฟฟาสาธารณะ ไดอีกดวย • Apple ไดติดตั้งโครงการพลังงานลมและพลังงานแสงอาทิตยไปแลว 485 เมกะวัตตใน 6 จังหวัดของประเทศจีนเพื่อจัดการกับการปลอยมลภาวะชวง ตนนํ้า • และเร็วๆ นี้ Apple ไดประกาศแผนที่จะสรางศูนยขอมูลลํ้าสมัยขนาด 400,000 ตารางฟุต ในวอคี ไอโอวา ซึง่ จะใชพลังงานหมุนเวียนทัง้ หมดทัว่ ทัง้ อาคาร ตั้งแตวันแรก • ในไพรนวิลล โอเรกอน บริษัทไดเซ็นสัญญาซื้อพลังงาน 200 เมกะวัตต จากโครงการ Montague Wind Power ฟารมกังหันลมแหงหนึ่งในโอเรกอน ซึ่ง จะพรอมใชงานไดภายในปลาย ค.ศ. 2019 • ในเรโน เนวาดา Apple ไดรวมมือกับ NV Energy บริษัทสาธารณูปโภค ในทองถิ่น และ 4 ปใหหลัง ไดพัฒนาโครงการใหมรวมกัน 4 โครงการซึ่งผลิต พลังงานแสงอาทิตยไปแลวถึง 320 เมกะวัตต • ในญีป่ นุ Apple กําลังรวมมือกับ Denryoku บริษทั ผลิตพลังงานแสงอาทิตย ของทองถิ่นในการติดตั้งแผงเซลลแสงอาทิตย 300 แผงบนดาดฟา ซึ่งจะสามารถ ผลิตพลังงานสะอาดได 18,000 เมกะวัตต-ชัว่ โมง ในแตละป เพียงพอสําหรับใชงาน ในบาน 3,000 หลังในญี่ปุน • ศูนยขอ มูลของ Apple ในเมเดน นอรทแคโรไลนา ใชพลังงานหมุนเวียน จากโครงการหนึ่งของ Apple ซึ่งผลิตพลังงานได 244 ลานกิโลวัตต-ชั่วโมงตอป เทียบเทากับพลังงานที่ใชในบาน 17,906 หลังในนอรทแคโรไลนา • ในสิงคโปร ซึง่ เปนประเทศทีม่ พี นื้ ทีจ่ าํ กัด Apple ไดปรับโครงการใหเขา กับพื้นที่และผลิตพลังงานหมุนเวียนบนดาดฟา 800 แหงแทน • ขณะนี้ Apple กําลังกอสรางศูนยขอ มูลใหม 2 แหงในเดนมารก ซึง่ จะใช พลังงานหมุนเวียน 100% ตั้งแตวันแรกที่เปดใชงาน 27

Ibiden ซัพพลายเออรดานสวนประกอบที่ตั้งอยูนอกเมืองนาโกยา ใชแผงเซลล แสงอาทิตยแบบลอยนํ้าซึ่งผลิตพลังงานหมุนเวียนสําหรับใชในการผลิต 100%

ความรวมมือของซัพพลายเออร

การที่ Ibiden สามารถใชพลังงานหมุนเวียนสําหรับอาคารและเครื่องมือ เครื่องใชตางๆ ของบริษัทได 100% เต็ม เปนการสรางแบบอยางที่ดีใหกับที่อื่นๆ นอกจากนี้ Apple ยังประกาศวาตอนนีม้ ซี พั พลายเออร 23 รายซึง่ รวมซัพพลายเออร ใหม 9 ราย ที่ใชพลังงานหมุนเวียน 100% ในการดําเนินงาน พลังงานสะอาดจาก โครงการของซัพพลายเออรรวมกันแลวชวยลดการปลอยกาซเรือนกระจกใน ค.ศ. 2017 ได 1.5 ลานเมตริกตัน เทียบไดกบั การลดปริมาณรถยนต 300,000 คัน บนทองถนน นอกจากนี้ ซัพพลายเออรกวา 85 รายไดลงทะเบียนใน Clean Energy Portal ของ Apple ซึ่งเปนแพลตฟอรมออนไลนที่ Apple พัฒนาขึ้นเพื่อชวยให ซัพพลายเออรสามารถระบุโซลูชนั่ สําหรับพลังงานทางเลือกในภูมภิ าคตางๆ ทัว่ โลก ที่มีโอกาสนํามาพัฒนาตอไดและนาจะเปนประโยชนในอนาคต

ซัพพลายเออรรายใหมที่ใหความรวมมือกับ Apple ไดแก

• Arkema ผูอ อกแบบพอลิเมอรประสิทธิภาพสูงจากวัตถุดบิ ชีวมวล ซึง่ เปน ผูผลิตสําหรับ Apple ที่มีอาคารผลิตอยูในฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา และจีน • DSM Engineering Plastics ผูผ ลิตพอลิเมอรและสวนประกอบตางๆ ใน เนเธอรแลนด ไตหวัน และจีน ซึ่งใชในผลิตภัณฑของ Apple มากมาย เชน ขั้วตอ และสาย • ECCO Leather ซัพพลายเออรสินคาประเภทเนื้อนิ่มรายแรกที่หันมาใช พลังงานหมุนเวียน 100% สําหรับการผลิตภัณฑของ Apple หนังที่ ECCO ผลิตให กับ Apple มีตน กําเนิดจากยุโรป และนํามาผานกระบวนการฟอกและตัดแตงทีอ่ าคาร ผลิตในเนเธอรแลนดและจีน • Finisar ผูผ ลิตชิน้ สวนการสงสัญญาณผานสายเสนใยนําแสงและเลเซอร VCSEL (Vertical-Cavity Surface-Emitting Laser) ซึ่งเปนขุมพลังงานใหกับ คุณสมบัติยอดนิยมของ Apple อยาง Face ID เซลฟโหมดภาพถายบุคคล และ Animoji • Luxshare-ICT ซัพพลายเออรดา นอุปกรณเสริมสําหรับผลิตภัณฑ Apple ฝายการผลิตของ Luxshare-ICT สําหรับ Apple สวนใหญตั้งอยูในประเทศจีนฝง ตะวันออก • Pegatron ซัพพลายเออรผูประกอบผลิตภัณฑหลายอยางของ Apple รวมถึง iPhone ซึ่งมีโรงงานสองแหงอยูในเซี่ยงไฮ และคุนซาน ประเทศจีน • Quadrant ซัพพลายเออรดา นแมเหล็กและสวนทีเ่ ปนแมเหล็กใหผลิตภัณฑ ของ Apple จํานวนมาก • Quanta Computer ซัพพลายเออรของ Mac รายแรกทีห่ นั มาใชพลังงาน หมุนเวียน 100% สําหรับการผลิตภัณฑของ Apple • Taiyo Ink Mfg. Co ซึ่งเปนผูเคลือบ Solder Mask บนแผงวงจรพิมพ หรือ Printed Circuit Board ที่ตั้งอยูในประเทศญี่ปุน ที่มา : www.apple.com

GreenNetwork4.0 July-August 2018


ระบบกักเก็บพลังงาน

RE

(Energy Storage System)

Update กองบรรณาธิการ

ประเทศไทยมีการใชพลังงานอยางมหาศาลโดย ใชพลังงานฟอสซิสในการผลิตไฟฟา ไดแก ถานหิน และกาซธรรมชาติ โดยการผลิตไฟฟาจากพลังงาน ฟอสซิลนี้ กอใหเกิดสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง ไป หรือภาวะโลกรอน อีกทั้งยังตองมีการนําเขา พลังงานจากตางประเทศ จนเกิดความผันผวนของ ราคา ทําใหทุกภาคสวนรวมมือกันเพื่อแกไขปญหา ที่เกิดขึ้นนี้ โดยการประดิษฐคิดคนนวัตกรรมเพื่อนํา มาใชแทนพลังงานหลัก เราเรียกวาพลังงานทดแทน ในประเทศไทยไดมีการสนับสนุนใหใชพลังงานทดแทน เปนเชือ้ เพลิงในการผลิตไฟฟามาเปนระยะเวลานาน โดยมีการใช พลังงานหลายรูปแบบ อาทิ พลังงานลม พลังงานนํ้า พลังงาน แสงอาทิตย ชีวมวล กาซชีวภาพ และการนําขยะ หรือวัสดุเหลือ ทิง้ จากภาคการเกษตรมาใช โดยตัง้ เปาหมายใหพลังงานทดแทน นั้นมีการเพิ่มสัดสวนในการนํามาใชผลิตไฟฟาเพิ่มขึ้นทุกป ตามนโยบายของกระทรวงพลังงานที่ตองการลดการ พึง่ พาโรงไฟฟาถานหิน ทําใหมกี ารสนับสนุน และกําหนดบทบาท ของพลังงานทดแทนใหชัดเจนยิ่งขึ้น และเพิ่มสัดสวนของการใช พลังงานหมุนเวียนใหมากกวา 30% อีกทัง้ ยังมีการบริหารจัดการ จํากัดการใชไฟฟาในชวงพีค โดยการใชเทคโนโลยีกกั เก็บพลังงาน 28

https://www.deltaww.com/Products/CategoryListT1aspx?CID= 1805&PID=3396&hl=en-US&Name=Container+20ft%2f40ft ระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) เปนอุปกรณที่ใชสําหรับกักเก็บพลังงาน สวนเกินไว โดยเปลีย่ นแปลงพลังงานไฟฟาเปนพลังงานรูปแบบอืน่ ๆ เพือ่ เก็บไวใชงานในเวลาทีจ่ าํ เปน เมื่อถึงเวลาที่จะนําออกมาใช ระบบจะเปลี่ยนแปลงกลับมาเปนพลังงานไฟฟาอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งระบบ กักเก็บพลังงานนีม้ ขี อ จํากัดทางดานราคาและระยะเวลาในการจัดเก็บพลังงานทีม่ รี ะยะเวลาสัน้ จึงยัง ไมมีการนํามาใชกันอยางแพรหลาย แตยังคงมีการพัฒนามาอยางตอเนื่อง นอกจากนีก้ ารกักเก็บพลังงานในรูปแบบของระบบกักเก็บพลังงานนัน้ จะชวยสรางความสมดุล ดานอุปสงคและอุปทานในการใชพลังงานของประชาชนได ซึง่ ระบบกักเก็บสะสมพลังงานเชิงพาณิชย นัน้ สามารถแบงออกเชิงกวาง ไดแก แบบกลไก แบบไฟฟา แบบชีวภาพ แบบไฟฟาเคมี แบบอุณหภูมิ และแบบเคมี

GreenNetwork4.0 July-August 2018


ประโยชนของเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน คือ รักษาสมดุลของระบบไฟฟาโดยเฉพาะใน ระบบทีม่ พี ลังงานหมุนเวียนทีม่ คี วามไมแนนอนสูง รวมถึงการรักษาเสถียรภาพและคุณภาพของระบบ โครงขายไฟฟา เชน การกักเก็บไฟฟาจากระบบพลังงานแสงอาทิตย ซึ่งพลังงานแสงอาทิตยจะถูก ผลิตขึน้ ตัง้ แตเชาจนกระทัง่ พระอาทิตยตกในชวงเย็น โดยในชวงกลางวันจะเปนชวงทีก่ าํ ลังการผลิต ไฟฟามีมากทีส่ ดุ เมือ่ ไฟฟาทีผ่ ลิตไดนนั้ มีความตองมากกวาการใชไฟฟา ไฟฟาสวนเกินจะถูกนําไปเก็บ ไวในแบตเตอรี่ เมือ่ ถึงชวงเย็นเมือ่ มีความตองการใชไฟฟา ระบบกักเก็บพลังงานจะทําหนาทีจ่ า ยไฟ เพื่อการใชงาน เปนการรักษาคุณภาพไฟฟาและรักษาเสถียรภาพของระบบไฟฟา

https://www.electrochem.org/redcat-blog/ new-options-grid-energy-storage/

รูปแสดงบทบาทของระบบกักเก็บพลังงานในสวนตางๆ ของระบบไฟฟา ที่มา: https://www.thai-smartgrid.com ดังนั้นจะเห็นไดวาประโยชนของระบบกักเก็บพลังงานทดแทนสามารถชวยใหเครื่องใชไฟฟา ทํางานไดปกติตอเนื่องแมวาระบบไฟฟาพลังงานแสงอาทิตยจะไมทํางานแลวก็ตาม “ปจจุบันเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage System) ในประเทศไทยไดถูก นํามาใชเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และสัดสวนของการใชพลังงานทดแทนใหเปนไปตามเปาหมายของ แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก (AEDP 2015)” อีกทัง้ ยังไดมกี ารพัฒนาระบบกักเก็บพลังงานใหมขี นาดเล็ก เบาลง โดยไมไดเพียงแคนาํ มาใช กับพลังงานลม หรือพลังงานแสงอาทิตย ซึง่ เปนพลังงานจากธรรมชาติทมี่ คี วามผันผวน ไมมนั่ คงนัก แตยังสามารถนําไปใชกับอาคารบานเรือน โรงงานอุตสาหกรรม โรงพยาบาล สถานีไฟฟา ระบบ ไมโครกริด และโรงไฟฟาพลังงานทดแทน รวมถึงการนําไปใชกับรถยนตไฟฟา (EV) เปนตน ทัง้ นีร้ ะบบกักเก็บพลังงานในแตละสวนนัน้ มีจดุ ประสงคในการใชทแี่ ตกตางกันไป โดยสามารถ แบงไดตามลักษณะการใชงานดังนี้ 1. สวนเชื้อเพลิง (Fuel) ระบบกักเก็บพลังงานจะถูกนํามาใชกับเชื้อเพลิงเพื่อลดความเสี่ยง ในการเกิดการขาดแคลนของเชือ้ เพลิง เพือ่ ใหเชือ้ เพลิงมีความเพียงพอตอการใชงาน จึงจําเปนทีจ่ ะ ตองมีการสรางระบบกักเก็บเชื้อเพลิงขึ้น เพื่อไมใชการจายเชื้อเพลิงนั้นหยุดชะงัก 2. สวนการผลิต (Generation) ระบบกักเก็บพลังงานจะถูกนํามาใชในการกักเก็บพลังงานไฟฟา เพื่อแกไขปญหาความเสถียรของไฟฟาที่ไมคงที่ และเก็บพลังงานไฟฟาสวนเกินเพื่อไมใหสูญเสีย พลังงานไปโดยเปลาประโยชน 3. สวนการสง (Transmission) เนื่องจากในชวงกลางวัน บางครั้งมีการใชไฟฟามาก ทําให เกิดการดึงกระแสไฟฟามากจนอาจทําใหเกิดภาวะคอขวด จนไมสามารถดึงไฟฟามาเพิม่ ไดอกี หรือ บางวันกลับมีการดึงกระแสไฟฟานอย ทําใหการดึงกระแสไฟฟาจากสายสงไปยังจุดจําหนายมีความ ไมแนนอน ระบบกักเก็บพลังงานจึงถูกนํามาใชเพื่อปองกันการแออัดในระบบสายสง 4. การจําหนาย (Distribution) เนื่องจากระบบไฟฟาในพื้นที่ตางๆ มักมีปญหาเรื่องความ มั่นคง และความเสถียร อาจพบปญหาไฟฟาติดๆ ดับๆ ซึ่งระบบกักเก็บพลังงานนี้จะถูกนําไปใชเพื่อ ใหระบบไฟฟานัน้ มีความเสถียรมากยิง่ ขึน้ เพือ่ รองรับการใชไฟฟาจากปลายทางไดอยางมีเสถียรภาพ 5. การใชงาน (Services) การใชไฟฟาในภาคสวนตางๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค ครัวเรือน มักพบปญหาในการจายไฟ เปนความผิดปกติของระบบไฟฟาที่ใชอยู เรียกวา กําลังไฟ ไมราบเรียบ ซึง่ อาจเกิดจากปญหาหลายสาเหตุดว ยกัน เชน เกิดจากการกระชากไฟของมอเตอร หรือ เกิดจากสัญญาณรบกวนในสายไฟฟา ดังนัน้ ระบบกักเก็บพลังงานจะถูกนํามาใชเพือ่ ชวยปรับปรุงใน ดานคุณภาพของระบบไฟฟาที่ใช และลดความไมราบเรียบของกระแสไฟฟาไดอยางมาก 29

ในสวนของกระทรวงพลังงาน โดยสํานักงานนโยบาย และแผนพลังงาน (สนพ.) รวมกับสํานักพัฒนาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี (สวทช.) ไดรว มมือกันจัดตัง้ โครงการสนับสนุนการศึกษา วิจยั พัฒนาเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน ปงบประมาณ 2559 เพื่อสนับสนุน และชวยเหลือ สวนราชการ รัฐวิสาหกิจ สถาบัน การศึกษา และองคกรเอกชน ในการศึกษาคนควาและวิจัยเพื่อ ใหเกิดประสิทธิภาพ โดยใหเกิดตนแบบประยุกตใชเทคโนโลยี ระบบกักเก็บพลังงานในดานตางๆ ใหเหมาะสมกับบริบทการ ใชงานของประเทศ เพื่อลดการนําเขาพลังงานจากตางประเทศ โดยมีเปาหมายทีส่ าํ คัญทางดานความมัน่ คง และการใชพลังงาน ทดแทนในพื้นที่หางไกล สรางโอกาสดานการตลาด เพื่อกระตุน การลงทุนของอุตสาหกรรมการผลิตเทคโนโลยีระบบกักเก็บ พลังงานของประเทศ และสงเสริมการผลิตใหมขี ดี ความสามารถ ในการแขงขันเพิม่ ขึน้ และสรางโอกาสทางการลงทุนดวยนวัตกรรม ใหม ที่ดีกวา หรือเทียบเทากับตางประเทศได ซึง่ มีการสนับสนุนไปแลวจํานวน 31 โครงการ ในงบประมาณ 312,646,510 ลานบาท ซึง่ แบงเปน 2 กลุม คือ งานวิจยั ทีเ่ นนการ ประยุกตใชไดจริง และงานวิจัยที่เนนทางดานการพัฒนาวัสดุ อีกทัง้ กระทรวงพลังงานไดมนี โยบายการรับซือ้ ไฟฟาจาก SPP Hybrid Firm จํานวน 300 เมกะวัตต ซึ่งผูที่จะมาเสนอขาย นัน้ จะตองผลิตไฟฟาโดยการเสนอใชพลังงานหมุนเวียนมากกวา หนึ่งประเภท และหามใชพลังงานฟอสซิลในการผลิตไฟฟา และ จะตองมีเสถียรในการผลิตไฟฟาตามเกณฑที่กระทรวงพลังงาน กําหนด ซึ่งการผลิตไฟฟาในสวนนี้ก็มีความจําเปนที่จะตองใช เทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานเขารวมดวย นอกจากโครงการ SPP Hybrid Firm กระทรวงพลังงาน ยังมีนโยบายในการสงเสริมการผลิตไฟฟา Solar Rooftop แบบ เสรี โดยจะรับซื้อไฟฟาสวนเกินเขาระบบสายสงไฟฟา ซึ่งจําเปน ที่ตองใชเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในการกักเก็บพลังงานดวย และเป น โอกาสที่ ดี ใ นการส ง เสริ ม การใช พ ลั ง งาน หมุนเวียน ประชาชนจะมีไฟฟาใชในราคาที่เหมาะสม ลดการ นําเขาพลังงานจากตางประเทศ และสรางความมั่นคงในระบบ ไฟฟาของประเทศไทย

GreenNetwork4.0 July-August 2018

ที่มา : วารสารนโยบายพลังงาน


SMART

City

กองบรรณาธิการ

ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร

ก.พลังงานปนตนแบบ

ไมโครกริดชุมชน จ.ลําพูน เสริมสรางความมั่นคงของระบบไฟฟา

กระทรวงพลังงาน จับมือสมาคมพลังงานทดแทนเพื่อความยั่งยืน (สพย.) จัดทําตนแบบไมโครกริดชุมชน ผลิตไฟฟา จากโซลารเซลล พรอมระบบกักเก็บพลังงานประสิทธิภาพสูง วางโครงขายไฟฟาของชุมชน และระบบสูบนํา้ ในพืน้ ที่ จ.ลําพูน ใหมีไฟฟาใชและมีความเปนอยูดีขึ้น เริ่มจายไฟเดือนมิถุนายนที่ผานมา ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ผูอํานวยการสํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน กลาววา ปจจุบันมี ชุมชนทีอ่ าศัยอยูใ นพืน้ ทีภ่ เู ขาทางภาคเหนือของประเทศ ซึง่ หางไกลและเปนถิน่ ทุรกันดาร การคมนาคมไมสะดวก เปนพืน้ ทีท่ ยี่ าก ตอการวางระบบสาธารณูปโภค โดยปจจุบัน 99.72% มีระบบไฟฟาใช สวนที่เหลืออีกประมาณ 7,000 ครัวเรือนยังไมมีไฟฟาใช ซึง่ อยูใ นพืน้ ทีท่ กี่ ารไฟฟาเขาไปไมได ดวยกฎระเบียบ ขอจํากัดตางๆ และจากการสํารวจพบวามีประชาชนจํานวน 365 ครัวเรือน ใน 3 ชุมชน อ.แมทา ไดแก ชุมชนบานปงผาง ชุมชนบานผาดาน ชุมชนบานแมสะแงะ เปนชุมชนที่ไมมีไฟฟาใช และขาดแคลน ระบบนํ้าเพื่อการอุปโภค-บริโภค และการเกษตร ดังนั้น เพื่อเปนการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นใหกับชุมชนในพื้นที่ดังกลาว ใหมีไฟฟาและนํ้าใชอยางทั่วถึง เทาเทียมและเพียงพอ กระทรวงพลังงานโดยการสนับสนุนจากกองทุนเพือ่ สงเสริมการอนุรกั ษพลังงาน มีความตัง้ ใจในการทีจ่ ะ พัฒนารูปแบบไมโครกริดเพือ่ จายไฟใหกบั พืน้ ทีท่ ยี่ งั ไมมไี ฟฟาใช โดยคาดหวังใหประเทศไทยมีไฟฟาใช 100% เพือ่ ใหเปนไปตาม เปาหมายการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนขององคการสหประชาชาติ (Sustainable Development Goals - SDGs) เปาหมายที่ 7 คือ พลังงาน สะอาดทีท่ กุ คนเขาถึงได ฉะนัน้ จึงไดมอบหมายให สมาคมพลังงานทดแทนเพือ่ ความยัง่ ยืน (สพย.) ดําเนินโครงการพัฒนาคุณภาพ ชีวติ ชุมชนทุรกันดาร ขยายผลตามแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง ดวยการติดตัง้ ระบบตนแบบไมโครกริดและวางระบบสายสง ไฟฟาชุมชนตามศักยภาพการใชงานในแตละพืน้ ที่ โดยใหชมุ ชนมีสว นรวม ทัง้ นีไ้ ดนาํ เทคโนโลยีระบบผลิตไฟฟาเซลลแสงอาทิตย รวมกับระบบกักเก็บพลังงานประสิทธิภาพสูง พรอมทัง้ ติดตัง้ ระบบสูบนํา้ พลังงานแสงอาทิตยเพือ่ ใชเพือ่ การอุปโภค-บริโภค และ สําหรับการเกษตร เปนการชวยลดภาระคาใชจายใหเกษตรกรและเสริมสรางคุณภาพชีวิตที่ดีใหกับชุมชน โดยนํารองในพืน้ ที่ 3 ชุมชน ไดแก ชุมชนบานผาดาน ชุมชนบานแมสะแงะ และชุมชนบานปงผาง ซึง่ เปนชุมชนทีข่ าดแคลน ระบบไฟฟาและประปา ในแตละชุมชนทางโครงการฯ ทําการติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตย แบบ Grid Interactive ขนาดกําลังติดตัง้ 102 กิโลวัตต พรอมระบบกักเก็บพลังงาน (Energy Storage Systems) ขนาดความจุ 307.20 กิโลวัตต-ชัว่ โมง และเสริมดวยเครื่องกําเนิดไฟฟาจากนํ้ามันดีเซล 40 กิโลวัตต พรอมวางโครงขายไฟฟาชุมชน โคมไฟถนน และระบบสูบนํ้า ในแตละชุมชน ซึง่ ชวยใหชมุ ชนจํานวน 365 ครัวเรือน มีไฟฟาและนํา้ เพียงพอตอความตองการ นอกจากนัน้ ยังรวมกับชุมชนวาง ระบบบริหารจัดการรายไดเพือ่ นํามาใชดแู ลบํารุงรักษาระบบในระยะยาวเพือ่ ใหเกิดความยัง่ ยืน โดยทัง้ 3 ชุมชนดังกลาวสามารถ

30

GreenNetwork4.0 July-August 2018


ผลิตกระแสไฟฟาได ปละประมาณ 420,000 หนวย ใชเงินลงทุนทัง้ สิน้ 90 ลานบาท โครงการดังกลาว เริม่ ดําเนินงานตัง้ แตเดือนตุลาคม 2560 ปจจุบนั ไดตดิ ตัง้ ระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตย พรอมระบบกักเก็บพลังงานประสิทธิภาพสูง ถือเปนตนแบบการนําแบตเตอรีล่ เิ ทียม (Lithium Battery) มาใชงานรวมกับแบตเตอรี่ เหลว (Flow Battery) และเสริมสรางความมัน่ คงของระบบไฟฟาดวยเครือ่ งกําเนิด ไฟฟาแหงแรกของประเทศ อันจะนําไปสูก ารเปนตนแบบไมโครกริดชุมชนทีม่ คี วาม เสถียรภาพและสามารถพึง่ พาตนเองไดอยางยัง่ ยืน และจะเริม่ จายไฟฟาไดในเดือน มิถนุ ายน 2561 นี้ โดยชุมชนจะมีสว นรวมในการดึงไฟฟาจากโครงขายไฟฟาชุมชน เขาสูครัวเรือนแตละหลังผานมิเตอรไฟฟา ซึ่งแตละครัวเรือนจะใชไฟฟาไดไมเกิน 500 วัตต ซึง่ เพียงพอตอความตองการใชงาน และเกิดการเปลีย่ นแปลงวิถชี วี ติ ของ ชุมชนดั้งเดิมนอยที่สุด ดร.ทวารัฐ กลาว สําหรับ 7,000 ครัวเรือนทีย่ งั ไมมไี ฟฟาใชนนั้ ทางกองทุนฯจะขยายผลไปยัง ครัวเรือนเหลานั้น ซึ่งจะอยูใน 4 จังหวัด โดยเฉพาะทางภาคเหนือ ในบริเวณพื้นที่ ภูเขาสูง และพืน้ ทีเ่ ขตอนุรกั ษพนั ธุส ตั วปา ซึง่ เปนทีอ่ ยูอ าศัยของชุมชนอยูแ ลว เพียง แตระบบไฟฟาของการไฟฟาไมสามารถเขาถึงได ขณะที่ ดํารงค จินะกาศ นายกเทศมนตรี ตําบลทากาศเหนือ อําเภอแมทา จังหวัดลําพูน กลาววา ชุมชนบานผาดาน ชุมชนบานแมสะแงะ และชุมชนบานปงผาง จํานวน 365 ครัวเรือน มีปญ  หาขาดแคลนระบบไฟฟา เนือ่ งจากพืน้ ทีด่ งั กลาวตัง้ อยู ในพื้นที่เขตอนุรักษพันธุสัตวปา ทําใหไมสามารถดําเนินการติดตั้งเสาไฟฟาได ชาวบานจึงตองจุดเทียนและจุดตะเกียงเพือ่ ใหแสงสวางยามคํา่ คืน การสัญจรคอนขาง ลําบาก เพราะไมมีไฟถนน ดังนั้นการที่กองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน เขามาชวยดําเนินการติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตยและระบบกักเก็บ พลังงานประสิทธิภาพสูงให จะชวยใหชาวชุมชนมีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ เพิม่ ระยะเวลา ในการทํางาน มีรายไดเพิม่ ขึน้ จากการทอผาในชวงกลางคืน จากเดิมทีท่ อผาไดใน ชวงเวลากลางวัน เปนตน และสวนการคิดอัตราคาไฟฟานัน้ มติทปี่ ระชุมทัง้ 3 ชุมชน ใหคิดคาไฟฟาอยูในอัตราที่ 6 บาทตอหนวย ทั้งนี้ในแตละครัวเรือนจะสามารถใช หลอดไฟ 2 หลอด พัดลม 1 ตัว และทีวี 1 เครื่อง ตอครัวเรือน

ปจจุบนั เทคโนโลยีการผลิตไฟฟาไดถกู พัฒนากาวหนาจนมีขนาดของระบบ ที่เล็กลง รวมถึงราคาของระบบก็ลดลงตํ่ากวาในอดีต สงผลใหแหลงผลิตไฟฟา มีลักษณะกระจายตัวมากขึ้น (Distributed Generation: DG) และทําใหสามารถ เลือกใชเชือ้ เพลิงไดหลากหลายมากขึน้ ในการผลิตไฟฟา ซึง่ รวมถึงการใชพลังงาน หมุนเวียนขนาดเล็กดวย ระบบไมโครกริดทําใหมผี ใู ชไฟฟามีอสิ ระทีจ่ ะเลือกตําแหนง การติดตั้งระบบผลิตไฟฟาใหใกลกับความตองการใชพลังงานความรอน ทําให สามารถนําความรอนเหลือทิง้ จากระบบผลิตไฟฟาขนาดเล็กนีไ้ ปใชงานไดโดยตรง (Combined Heat and Power: CHP) สงผลใหสามารถใชพลังงานจากแหลง เชือ้ เพลิงไดอยางมีประสิทธิภาพ คือ ใชทงั้ ผลิตไฟฟาและนําความรอนเหลือทิง้ กลับ มาใชประโยชนไดดว ย นอกจากนี้ ความกาวหนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร ทําใหระบบไมโครกริดแบบดั้งเดิมสามารถพัฒนาไปเปนระบบไมโครกริด ในสมัยใหม (Advanced Microgrid) ซึง่ จะมาความทันสมัยและซับซอนขึน้ เนือ่ งจาก มีทรัพยากรทางพลังงานที่ตองบริหารจัดการมากขึ้น ระบบไมโครกริดตามแนวคิดสมัยใหม หรือระบบสมารทไมโครกริด (Smart Microgrid) หมายถึง ระบบไฟฟากําลังขนาดเล็กที่ประกอบดวยกลุมของ โหลดชนิดตางๆ ระบบผลิตไฟฟาขนาดเล็กแบบกระจายตัว ระบบกักเก็บพลังงาน โดยสวนประกอบทั้งหมดทํางานรวมกันผานระบบการบริหารจัดการพลังงาน ระบบควบคุม ซึ่งรวมไปถึงอุปกรณปองกันและซอฟตแวรตางๆ ที่เกี่ยวของดวย สวนประกอบสําคัญทีเ่ กีย่ วของในไมโครกริด เชน อุปกรณควบคุมการไหลกําลังไฟฟา (Power Flow Controller) อุปกรณควบคุมแรงดันไฟฟา (Voltage Regulator) อุปกรณรีเลยปองกันและเซอรกิตเบรกเกอรตางๆ เปนตน ประโยชนทสี่ าํ คัญของระบบไมโครกริดคือการเพิม่ ความเชือ่ ถือไดของระบบ ไฟฟา โดยระบบไมโครกริดนัน้ ประกอบดวยระบบผลิตไฟฟาภายในซึง่ ในกรณีทเี่ กิด ปญหาขัดของกับระบบโครงขายไฟฟาหลัก ระบบไมโครกริดสามารถปลดตัวเองออก มาเปนอิสระ และยังคงการจายไฟฟาใหกบั โหลดทีม่ คี วามสําคัญภายในไดบางสวน โดยอาศัยแหลงผลิตไฟฟาภายในระบบไมโครกริด และ/หรือ ระบบกักเก็บพลังงาน ผูใ ชไฟฟาในระบบไมโครกริดสามารถกําหนดคุณภาพไฟฟา ความมัน่ คงของไฟฟา

ระบบไมโครกริด (Microgrid) คือ ระบบไฟฟาแรงดันตํ่า (Low Voltage) หรือแรงดันระดับกลาง (Medium Voltage) ที่มีขนาดเล็ก ซึ่งไดมีการรวมระบบ ผลิตไฟฟาขนาดเล็ก โหลดไฟฟา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ระบบ กักเก็บพลังงาน และระบบควบคุมอัตโนมัติเขาไวดวยกัน โดยสวนประกอบตางๆ สามารถทํางานสอดประสานกันเปรียบเสมือนเปนระบบเดียวที่เชื่อมตอกับระบบ โครงขายไฟฟาหลัก (Maingrid) ระบบไมโครกริดสามารถแยกตัวเปนอิสระ (Islanding) จากระบบหลักไดในสภาวะฉุกเฉิน โดยหลักการสําคัญของการผลิตไฟฟาดวย ไมโครกริดคือการพยายามสรางความสมดุลระหวางการผลิตพลังงานใหพอดีกับ ความตองการใชพลังงานภายในไมโครกริด และใชระบบโครงขายไฟฟาหลักเพื่อ เสริมความมั่นคงเทานั้น

และความเชื่อถือไดของไฟฟาที่ตองการได อยางไรก็ตาม ระบบไมโครกริด ถือวาเปนโครงขายไฟฟาขนาดเล็กในอนาคต ทีถ่ กู พัฒนาขึน้ ตามศักยภาพของพืน้ ที่ เชน แสงอาทิตย ลม นํา้ และแหลงพลังงาน ในรูปแบบอื่นๆ ซึ่งจะทําใหพื้นที่เหลานั้นมีความมั่นคงทางพลังงาน ชุมชนสามารถ พึง่ พาตนเองได โดยปจจุบนั การไฟฟาสวนภูมภิ าค หรือ PEA ไดเปดใชงานตนแบบ สมารทไมโครกริดแหงแรกของประเทศไทย (The First Smart Microgrid Site of Thailand) ณ บานขุนแปะ อ.จอมทอง จ.เชียงใหม เมื่อปลายป พ.ศ. 2560 ทีผ่ า นมา ถือเปนระบบบริหารจัดการแหลงผลิตไฟฟาจากพลังนํา้ และพลังงานแสง อาทิตย ทีม่ รี ะบบกักเก็บพลังงานประสิทธิภาพสูงไวใชยามจําเปน เพิม่ ความมัน่ คง ดานพลังงานไฟฟาใหชมุ ชนบานขุนแปะและพืน้ ทีใ่ กลเคียงจํานวน 483 ครัวเรือน

31

GreenNetwork4.0 July-August 2018


ENERGY

Saving Mr.Save

การไฟฟานครหลวง การไฟฟาสวน ภู มิ ภ าค และการไฟฟ า ฝ า ยผลิ ต แห ง ประเทศไทย รวมเปดตัวการดําเนิน มาตรการอนุรักษพลังงานสําหรับ ผู  ผ ลิ ต และจํ า หน า ยพลั ง งาน (Energy Efficiency Resources Standards: EERS) ตามกลยุทธ ในแผนอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน พ.ศ. 2558-2579 (Energy Efficiency Plan: EEP 2015) เพื่อศึกษาถึง ผลการลดการใชไฟฟา กอนนํามา กําหนดเปนแนวทางการดําเนินงาน มาตรการภาคบังคับใน พ.ศ. 25662579 ตัง้ เปาการประหยัดไฟฟาในชวง นํารอง 5 ป ไดถึง 206 ลานหนวย ป จ จุ บั น ประเทศไทยใช พ ลั ง งาน เปนจํานวนมาก ตามจํานวนประชากรที่เพิ่มขึ้น จากการคาดการณสภาวะเศรษฐกิจใน พ.ศ. 2561 โดย สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) พบวา GDP จะขยายตัว 4.2-4.7% ซึง่ สะทอนถึงภาพรวมของการ ใชพลังงานทีเ่ ติบโตตามไปดวย นํา้ มันดิบตองนําเขา 74% กาซธรรมชาติจะหมดไป ในอีก 15 ป พลังงานถานหินจะหมดไปในอีก 60 ป ดังนั้นเพื่อรองรับสภาวการณ ดังกลาว กระทรวงพลังงานไดกําหนดแผนการอนุรักษพลังงาน พ.ศ. 2558-2579 ตัง้ เปาหมายในการอนุรกั ษพลังงาน ในภาพรวมของประเทศ จํานวน 89,672 ลาน หนวย โดยกําหนดใหมีมาตรการบังคับใชเกณฑมาตรฐานการอนุรักษพลังงาน สําหรับผูผลิตและผูจําหนาย หรือ EERS เปนหนึ่งในแนวทางเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ

การใชพลังงานไฟฟาใหกับผูใชไฟฟา ซึ่งนับ เปนแนวคิดใหมสําหรับประเทศไทย จากการศึกษาพบวา มาตรการ EERS เปนมาตรการที่เกี่ยวของกับ หลายฝาย ในสวนผูก าํ กับดูแล ไดแก สํานักนโยบายและแผนพลังงาน สํานักงานคณะกรรมการกํากับ กิจการพลังงาน สํานักงานนโยบาย รัฐวิสาหกิจ ในสวนผูใหบริการ ไฟฟ า ทั้ งการไฟฟ านครหลวง การไฟฟาสวนภูมิภาค การไฟฟา ฝายผลิตแหงประเทศไทย และ ผู  ใ ช บ ริ ก ารไฟฟ า ในภาคอาคาร อุตสาหกรรมขนาดใหญ จนถึงบานเรือน ที่อยูอาศัย และเพื่อเปนการดําเนินการ วางแผนมาตรการ EERS ที่จะเพิ่มมาตรการ บังคับใน พ.ศ. 2561 ไดอยางมีประสิทธิภาพ 3 การไฟฟาจึงไดดําเนินโครงการนํารอง สาธิต ตาม มาตรการ EERS ในชวง พ.ศ. 2561-2565 ธรรมยศ ศรีชว ย ปลัดกระทรวงพลังงาน กลาววา กระทรวงพลังงาน มีแผนบูรณาการยกระดับและพัฒนาการใชพลังงานใหมปี ระสิทธิภาพและมีคณ ุ คา มากขึ้น โดยผสมผสานการใชพลังงานสะอาดและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดย ไดนํามาตรการ EERS ซึ่งเปนมาตรการใหมของประเทศไทยที่กําหนดไวในแผน พลังงานของคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) โดยมอบหมายให 3 การไฟฟาไปดําเนินการตอเพราะเปนผูร บั ผิดชอบโดยตรง นับเปนมาตรการสําคัญ ที่จะชวยใหแผนอนุรักษพลังงานของประเทศ บรรลุเปาหมายอยางมีประสิทธิผล

3ผนึการไฟฟ า กกําลัง เปดตัว

มาตรการ อนุรักษพลังงาน สําหรับผูผลิต และจําหนาย

32

GreenNetwork4.0 July-August 2018


โดยนําองคความรูการจัดการดานการใชไฟฟาของแตละหนวยงานมาพัฒนาและ ตอยอดใหกบั ผูใ ชบริการไฟฟาในทุกภาคสวนอยางมีประสิทธิภาพและเปนรูปธรรม ตั้งเปาวาภายในป 2579 ตองลดการใชพลังงานทุกรูปแบบใหได 30% จากการใช พลังงานทั้งหมด สวนพลังงานไฟฟา คาดวาอีก 20 ปขางหนาจะมีการใชไฟฟา ประมาณ 360,000 ลานหนวยตอป ปจจุบนั มีการใชเกือบ 200,000 ลานหนวยตอป อนาคตตั้งเปาวาจะตองลดการใชพลังงานไฟฟาลงใหได 50,000 ลานหนวย สําหรับมาตรการ EERS เปนกลยุทธในแผนอนุรกั ษพลังงาน พ.ศ. 2558-2579 (EEP 2015) โดยกําหนดให 3 การไฟฟา ดําเนินโครงการนํารองเพื่อศึกษาถึงผล การลดการใชไฟฟา กอนนํามากําหนดเปนแนวทางการดําเนินงานมาตรการภาค บังคับ พ.ศ. 2566-2579 อยางมีประสิทธิภาพตอไป ทัง้ นี้ แบงมาตรการดําเนินงาน เปน 3 ประเภท ไดแก มาตรการใหคําปรึกษา โดยใหคําแนะนําเกี่ยวกับการเพิ่ม ประสิทธิภาพการใชพลังงานไฟฟาในกลุมผูใชไฟฟาที่มีศักยภาพทุกภาคสวน มาตรการใชแรงจูงใจทางการเงิน สนับสนุนการเงินแกกลุมเปาหมายที่มีความ ตองการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงาน และ มาตรการลักษณะภาพรวม (Mass) เพือ่ สงเสริมการประหยัดพลังงานในภาพรวม เชน การจัดการพลังงานใน

ติดตั้งอุปกรณประหยัด พลังงาน เพือ่ ใหเกิดการ อนุรักษพลังงานอยาง เป น รู ป ธรรม ผ า น โครงการตางๆ เชน โ ค ร ง ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร เ พื่ อ ก า ร ประหยั ด พลั ง งานใน อาคารภาครั ฐ : กฟภ. ดําเนินการสํารวจ ตรวจวัด กํ า หนดมาตรฐานการอนุ รั ก ษ พลั ง งาน พร อ มทั้ ง จั ด หาและติ ด ตั้ ง อุปกรณประหยัดพลังงานใหแกหนวยงานภาครัฐ ทีเ่ ขารวมโครงการไมนอ ยกวา 13 หนวยงาน อาทิ มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล สามารถ ลดการใชพลังงานไฟฟาลงไดประมาณ 25.65 GWh ตอป, โครงการใหบริการ

ธรรมยศ ศรีชวย รูปแบบ ESCO Matching การจัดทํามาตรฐานประหยัดพลังงานทีส่ งู กวามาตรฐาน ฉลากประหยัดไฟฟาเบอร 5 รวมถึงจัดกิจกรรมเพื่อสงเสริมใหเกิดการอนุรักษ พลังงาน ชัยยงค พัวพงศกร ผูว า การการไฟฟานครหลวง (กฟน.) กลาววา นอกจาก ดําเนินภารกิจหลักในการจําหนายไฟฟาใหเพียงพอตอความตองการดวยความ มั่นคงและเชื่อถือไดแลว กฟน.ยังสนับสนุนการใชไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพผาน โครงการตางๆ มาโดยตลอด เชน โครงการ กฟน.ลางแอรลดโลกรอน, โครงการ Energy Mind Award, โครงการสงเสริมการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชพลังงาน ในอาคาร (MEA Energy Saving Building) รวมไปถึงโครงการใหบริการดาน ธุรกิจพลังงานแกภาครัฐและเอกชน ซึ่งนับเปนความสําเร็จรวมกันของทุกฝายที่ เกี่ยวของอยางแทจริง สําหรับการดําเนินมาตรการ EERS ในชวงโครงการนํารอง พ.ศ. 2561-2565 กฟน.กําหนดแนวทางเพื่อรองรับมาตรการ EERS ไดแก การให คําปรึกษา ตรวจวัดการใชพลังงาน นําเสนอแนวทางการประหยัดพลังงาน และ ใหการสนับสนุนทางดานการเงินแกกลุมเปาหมายที่มีความตองการปรับปรุง ประสิทธิภาพการใชพลังงาน ตลอดจนดําเนินโครงการ Energy Alert โดยพัฒนา แอพพลิเคชั่นบนสมารทโฟนใหสามารถแจงเตือนขอมูลการใชไฟฟาไดแบบตาม เวลาจริง (Real-time) ทําใหผูใชไฟฟาตรวจสอบสถิติการใชไฟฟายอนหลังและ ตระหนักถึงการใชไฟฟาของตนเองได เสริมสกุล คลายแกว ผูว า การการไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) กลาววา กฟภ. จําหนายไฟฟากวา 74 จังหวัด มีลกู คา 19.6 ลานคน ในปนคี้ าดวาจะสูงถึง 20 ลานคน เนือ่ งจาก กฟภ.ใหความสําคัญตอการอนุรกั ษพลังงานมาอยางตอเนือ่ ง และพรอม สนับสนุนนโยบายของภาครัฐ เพื่อใหผูใชไฟฟาทุกภาคสวนไดใชพลังงานไฟฟา อยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งมีแนวทางสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ไดแก การสราง ความตระหนักรูใ นการใชพลังงาน การปรับปรุงกระบวนการและเพิม่ ประสิทธิภาพ การใชอุปกรณไฟฟา การเลือกใชอุปกรณไฟฟาที่มีประสิทธิภาพสูง รวมถึงการ จัดการพลังงานในรูปแบบการอนุรกั ษพลังงาน (ESCO) โดยมีการสํารวจ ตรวจสอบ วิเคราะห และประเมินศักยภาพการใชพลังงานไฟฟา พรอมทัง้ ดําเนินการจัดหาและ 33

ทีป่ รึกษาดานการจัดการพลังงานสําหรับลูกคาภาครัฐและเอกชน : กฟภ. ใหบริการ เปนที่ปรึกษาดานจัดการพลังงานแลวไมนอยกวา 50 ราย ดวยมาตรการปรับปรุง และเพิ่มประสิทธิภาพในระบบไฟฟาแสงสวาง ระบบปรับอากาศ รวมถึงระบบ อัดอากาศ สามารถลดการใชพลังงานไฟฟาไดไมนอยกวา 20 GWh และ การจัดสัมมนาเพื่อเผยแพรและประชาสัมพันธดานการอนุรักษพลังงาน : มุงเนน กิจกรรมในลักษณะ ESCO Matching สรางความเชื่อมั่นใหเจาของกิจการหรือ ผูบ ริหารของหนวยงานตางๆ ในการเพิม่ ประสิทธิภาพการใชพลังงาน ซึง่ มีเปาหมาย ลดการใชพลังงานไดจริง สําหรับในระยะแรกไมนอยกวาปละ 10 ลานหนวย วิบูลย ฤกษศิระทัย ผูวาการการไฟฟาฝายผลิต (กฟผ.) กลาววา กฟผ. มีมาตรการอนุรกั ษพลังงานอยางตอเนือ่ ง มีการจัดการดานการใชไฟฟา (Demand Side Management: DSM) มาตั้งแตป 2536 และยังมีกลยุทธ 3 อ. ประกอบดวย อุปกรณประหยัดพลังงาน อาคารประหยัดพลังงาน และ อุปนิสัยลดใชพลังงาน เพื่อสงเสริมใหทุกภาคสวนใชไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพ ตอบสนองนโยบายของ ภาครัฐ ซึง่ ทีผ่ า นมาสามารถลดพลังงานไฟฟาได 27,120 ลานหนวย และลดปริมาณ การปลอยกาซคารบอนไดออกไซดสูบรรยากาศลงกวา 15.4 ลานตัน สําหรับ มาตรการ EERS กฟผ. ไดนํางาน DSM มาพัฒนาตอยอดเปนโครงการนํารอง ประกอบดวย งานที่ปรึกษาในรูปแบบ ESCO และตรวจวัดการใชพลังงานใหกับ ผูป ระกอบการภาคธุรกิจ ภาคอุตสาหกรรม โครงการสนับสนุนการปรับปรุงและเพิม่ ประสิทธิภาพการใชพลังงานในโรงเรียนและภาคครัวเรือนดวยการเปลี่ยนหลอด LED และเปลีย่ นเครือ่ งปรับอากาศ และโครงการฉลากประหยัดไฟฟาประสิทธิภาพ สูง โดยจัดทํามาตรฐานการประหยัดพลังงานทีส่ งู กวาเดิม และแบงเกณฑประสิทธิภาพ ฉลากประหยัดไฟฟาเบอร 5 ใหสะทอนผลการประหยัดพลังงานที่ละเอียดมากขึ้น โดยกําหนดใชงานฉลากประหยัดไฟฟาเบอร 5 รูปแบบใหมขึ้นในวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2562 ทั้งนี้ คาดวาภายหลังจากการดําเนินโครงการนํารองในมาตรการ EERS จะ สามารถลดการใชไฟฟาไดกวา 206 ลานหนวย รวมถึงผลสําเร็จทีเ่ กิดขึน้ พัฒนาไป สูเกณฑมาตรฐานการเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงานตอไป

GreenNetwork4.0 July-August 2018


GREEN

Industry วิฑูรย สิมะโชคดี

ตอง บูรณาการ เทานั้น

ปจจุบนั แนวคิดเรือ่ งการพัฒนาอยางยัง่ ยืน ไดเขามามีสว นสําคัญในทุกองคกร ครอบคลุมทุกระดับ ตั้งแตการกําหนดนโยบายและยุทธศาสตร การจัดทําแผน แมบทและแผนปฏิบัติการ รวมทั้งเปนกรอบแนวคิดสําคัญสําหรับการดําเนิน โครงการและกิจกรรมตางๆ เพื่อมุงมั่นเขาสูการพัฒนาที่ยั่งยืนของทุกภาคสวน การมุงสูผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาอยางยั่งยืนดังกลาว จึงตองอาศัย แนวความคิดแบบรอบคอบ สมบูรณและครบวงจร (ซึ่งภาษาอังกฤษใชคําวา Life Cycle Thinking) ทุกวันนี้ “Life Cycle Thinking” ไดกลายเปนหัวใจสําคัญของการผลิตและ การบริโภคอยางยั่งยืนดวย (Sustainable Consumption and Production) โดย สอดแทรกเขาไปทัง้ ในเรือ่ งของการจัดทํานโยบาย ยุทธศาสตร และการดําเนินธุรกิจ การนําแนวความคิดนี้ไปประยุกตใชกับระดับนโยบายและยุทธศาสตรจะ เรียกเครือ่ งมือนีว้ า “Strategic Life Cycle Assessment” ซึง่ เปนการนําแนวความ คิดการมองแบบครบวงจร มาวางแผนการบริหารจัดการในแตละสวน ที่เกี่ยวของ กับการผลิตสินคา หรือบริการ ครอบคลุมตั้งแต การจัดหาหรือจัดเตรียมวัตถุดิบ (Raw Materials) การผลิตสินคาหรือบริการ (Production) การบรรจุหบี หอ (Packaging) การสงมอบหรือกระจายสินคา (Distribution) การใชผลิตภัณฑหรือสินคาจากภาค การผลิต (Use) และการกําจัดซากสินคาหรือผลิตภัณฑ (End of Use)

34

แนวความคิดในเชิงกลยุทธ (Strategic Thinking) นี้ มักจะเกีย่ วกับแผนการ ดําเนินการในอนาคต สําหรับการนําแนวความคิดแบบครบวงจรไปประยุกตใชกบั การดําเนินธุรกิจ โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมการผลิต จะเรียกเครือ่ งมือนีว้ า “Life Cycle Assessment” ซึ่งเครื่องมือดังกลาว ใชสําหรับการประเมินเชิงปริมาณของสารขาเขา (Input) ที่ ประกอบดวย วัตถุดบิ ชนิดตางๆ และพลังงานแตละชนิด และสารขาออก (Output) ทีป่ ระกอบดวย มลพิษ ของเสีย และพลังงานทีเ่ หลือทิง้ จากกระบวนการผลิตสินคา หรือบริการตางๆ โดยในปจจุบันเครื่องมือชนิดนี้ไดรับการยอมรับอยางแพรหลาย ทั่วโลก วาเปนเครื่องมือที่สําคัญในการมุงสูการผลิตและการบริโภคอยางยั่งยืน นอกจากนี้ เพื่อให Life Cycle Thinking มีมุมมองที่ครอบคลุมมิติของการ พัฒนาอยางยัง่ ยืนครบทุกดาน แนวความคิดดังกลาวจึงไดถกู พัฒนาอยางตอเนือ่ ง ปจจุบันจึงเกิดเครื่องมือใหมๆ ที่เรียกวา “Life Cycle Sustainable Assessment” ขึน้ มา โดยประกอบดวย เทคนิคการประเมินความยัง่ ยืนของกระบวนการผลิตสินคา หรือการบริการแบบครบทั้ง 3 มิติ ไดแก (1) Life Cycle Assessment สําหรับการประเมินความยั่งยืนในมิติ สิ่งแวดลอมที่มีอยูเดิม (2) Life Cycle Costing สําหรับการประเมินตนทุน คาใชจายตางๆ และ ความยั่งยืนที่เกี่ยวของกับมิติทางเศรษฐศาสตร (3) Social Life Cycle Assessment สําหรับการประเมินความยั่งยืนใน มิติทางสังคม ปจจุบนั ไดมนี กั คิดและนักวิจยั ตางๆ ชวยกันพัฒนาเครือ่ งมือสําหรับประเมิน ความยั่งยืนกันอยางตอเนื่อง ดังนั้น คงถึงเวลาแลวที่ประเทศไทยจะตองใหความ สําคัญกับ Life Cycle Thinking ในภาคอุตสาหกรรมการผลิตกันอยางจริงจังใน ทุกภาคสวน โดยภาครัฐควรนําแนวคิดแบบครบวงจรดังกลาวไปเปนกรอบในการ กําหนดนโยบายและยุทธศาสตร การจัดทําแผนแมบทและแผนปฏิบตั กิ าร ในขณะที่ ภาคอุตสาหกรรมการผลิตจําเปนตองใหความสําคัญกับการนําเครือ่ งมือใหมๆ เชน Life Cycle Sustainable Assessment ไปใชเพื่อชวยเรงใหเกิดการผลิตและการ บริโภคอยางยั่งยืนในประเทศไทย การคิดแบบ Life Cycle Thinking ทําใหเราตองทํางานแบบบูรณาการกันกับ ทุกภาคสวน คือ การใหทกุ ภาคสวนหรือทุกผูค นทีเ่ กีย่ วของไดมสี ว นรวมคิด รวมทํา อยางครบวงจรตั้งแตตนจนจบ ครับผม!

GreenNetwork4.0 July-August 2018


จากภาวะการขาดแคลนพลังงานจึงเปนแรงผลักดันใหเกิดการพัฒนา สินคาที่เปนทางเลือกหนึ่งของการอนุรักษพลังงานภายใตแนวคิดนวัตกรรมเพื่อ สิง่ แวดลอมและพลังงานทดแทน ทีม่ ชี อื่ วา “ลูกหมุนระบายอากาศผลิตกระแสไฟฟา” หรือ New Energy Ventilators: NEV ลูกหมุนระบายอากาศผลิตกระแสไฟฟา พัฒนามาจาก ลูกหมุนระบายอากาศที่เห็นกันทั่วไป นอกจากชวยในเรื่อง การระบายอากาศแลวยังสามารถใชพลังงานลม ซึ่งเปน พลังงานสะอาดมาผลิตกระแสไฟฟา เพือ่ ลดการพึง่ พา กระแสไฟฟาจากสายสงหลัก ในกรณีทไี่ ฟฟาจาก สายสงไมสามารถจายได นวัตกรรมลูกหมุนระบายอากาศ มีหนาที่หลักในการระบายอากาศ ระบายความร อ น ติ ด ตั้ ง บน หลั ง คาของอาคาร หรื อ สิ่ ง กอสรางตางๆ เนือ่ งจากความรอน ทีเ่ กิดภายในอาคารโดยธรรมชาติแลว จะลอยตัวขึน้ ทีส่ งู นัน่ ก็คอื บนหลังคา หาก ไมมกี ารระบายความรอนออก จะทําใหอาคาร เกิดความรอนอบอาว เนื่องจากความรอนแผรังสี ลงมา จึงมีการติดตัง้ ตัวลูกหมุนไวบนหลังคา โดยลูกหมุน ในแบบดั้งเดิม หากมีลดพัดผานมา ลูกหมุนจะทําหนาที่ดูด อากาศเขาสูศ นู ยกลาง แลวระบายอากาศรอนออก อากาศเย็นไหล เขามาแทนที่ เปนการระบายอากาศโดยไมตองใชพลังงาน แตสําหรับเวอรชั่นใหม นอกจากติดตั้งเพื่อระบายอากาศ แลว ยังมีพัฒนาเรื่องของการผลิตพลังงานกลับเขามาได คือ เมือ่ ติดตัง้ บนหลังคาแลวมีลมจากภายนอกเขามาทําใหตวั ลูกหมุน นั้นหมุน พลังงานจะถูกสงมายัง Control Box เพื่อทําการชารจแลว เก็บพลังงานไวในรูปแบตเตอรี่ ซึ่งเปนพลังงานสะอาด สามารถใชกับ ไฟสองสวางประจําวันได หรือจะใชเปนไฟฉุกเฉิน ซึ่งหากพลังงานเปนของ ตัวเองจะชวยลดภาระคาไฟฟา และยังเปนระบบไฟฟาแบบอิสระ (Independent) ที่ไมเกี่ยวของกับระบบสายสงของการไฟฟา ระพี บุญบุตร ผูบริหาร หางหุนสวนจํากัด อาทิตย เวนติเลเตอร กลาววา ลูกหมุนจะทํางานไดตามปกติแมในสภาวะความเร็วลมตํ่า และเมื่อมีความเร็วลม มากขึ้น ลูกหมุนจึงจะเก็บพลังงานมากขึ้นตามหลักการของ PWM (Pulse Width Modulated) แบตเตอรี่จะถูกชารจดวยกระแสที่สูงเปนจังหวะที่ความถี่สูงขึ้นเปน การเพิ่มประสิทธิภาพการชารจและดวยการควบคุมอยางชาญฉลาดของ MCU (Micro Controller) ใหเกิดการจัดการพลังงาน นําพลังงานไฟฟาจากแบตเตอรี่ ยอนกลับสูลูกหมุนในเวลาที่ไมมีแรงลมจากภายนอกก็ตาม ทั้งยังผลิต กระแสไฟฟารวมกับแผงโซลารเซลลเพื่อเก็บพลังงานสํารองไวใน แบตเตอรี่ “บางครัง้ พลังงานจากกระแสสงหลักดับ เชน จาก เหตุการณอทุ กภัย วาตภัย หรือเหตุขดั ของทางระบบ สายสง พลังงานพวกนี้สามารถที่จะชวยในการ เปนพลังงานฉุกเฉิน เชน แสงสวางใน ยามคํ่าคืน หรือพลังงานในการชารจ แบตเตอรี่ โทรศัพทมือถือ หรือ วิทยุสื่อสารตางๆ ได ซึ่งจะมี ความสําคัญมากขึน้ ถาอยู ในสภาวฉุกเฉิน”

GREEN กองบรรณาธิการ

ระพี บุญบุตร

ลูกหมุน ระบายอากาศ ผลิตกระแสไฟฟา

35

นวัตกรรมเพื่อการ อนุรักษพลังงาน

ในขณะที่ ม าตรฐาน ผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมเปนเรือ่ ง ทีน่ า สนใจ เนือ่ งจากนวัตกรรมดังกลาว จะเปนสินคาทีใ่ หม ทีม่ นั ยังไมมกี ารกําหนด มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม ทีจ่ ะบงบอก วาผลิตไฟไดจริง หรือระบายอากาศไดจริง ยังตองอิงมาตรฐานตางประเทศนั้น สภาวิจยั แหงชาติ (วช.) สนับสนุนงบประมาณในการรับรองมาตรฐานจากตางประเทศ สวนการผลิตกระแสไฟฟาไดรับความรวมมือจากมหาวิทยาลัยพระจอมเกลา พระนครเหนือ ในการทดสอบการหมุน และการเกิดกระแสไฟฟาตามจริง ฉะนั้น ลูกหมุนระบายอากาศผลิตกระแสไฟฟา จึงผานทั้งสองผานมาตรฐาน นั่นคือ การ ระบายอากาศและการผลิตกระแสไฟฟา ลูกหมุนระบายอากาศผลิตกระแสไฟฟานี้ไดรับรางวัล ผลงานประดิษฐ คิดคนระดับดี ในสาขาวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรมวิจยั ประจําป 2556 จาก สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) นอกจากนี้แลวยังไดรับรางวัล จาก งานนิทรรศการสิ่งประดิษฐนานาชาติเจนีวา ครั้งที่ 41 (The 41st International Exhibition of Inventions Geneva) ประเทศสวิตเซอรแลนด และรางวัล Thailand Energy Awards 2018 สาขาพลังงานสรางสรรค จากกระทรวงพลังงาน และทีผ่ า น ยังไดมีการจําหนายในเชิงพาณิชยอีกดวย การวิจยั และพัฒนาเปนสิง่ สําคัญของระบบเศรษฐกิจ เพราะสามารถนําเอา ความรูม าสรางรายได สรางงาน สามารถยืนไดดว ยตนเอง มีฐานความรูท จี่ ะพัฒนา และสงเสริมตอยอดได เกิดเปนระบบเศรษฐกิจที่ยั่งยืน มีความมั่นคงกวาการนํา เขาเทคโนโลยีจากตางประเทศ และหากการวิจัยและพัฒนาความรูตางๆ คอยๆ สะสม จะสามารถพัฒนาตอไปไดมากยิ่งขึ้น

GreenNetwork4.0 July-August 2018


GREEN

Article รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล* รัฐพล เจียวิริยบุญญา*

ตอนจบ

ความเดิ ม ตอนที่ แ ล ว ผูเขียนไดกลาวถึงเทคโนโลยีเมมเบรน ในยุคที่ 3 เซรามิกเมมเบรน ที่สามารถทนความ รอนและการกัดกรอนสูงได เมมเบรนจึงเขาไปมีบทบาท ในดานการบําบัดนํา้ เสียเพิม่ มากขึน้ อยางไรก็ตาม เทคโนโลยี เมมเบรนยั ง คงถู ก พั ฒ นาอย า งต อ เนื่ อ งจนเข า สู  ยุ ค ที่ 4 (ยุคปจจุบนั ) ทีม่ กี ารผสมผสานเทคโนโลยีทนั สมัยตางๆ รวมเขา กับเมมเบรนเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถนําไปประยุกต ใชงานในดานตางๆ ไดหลากหลายมากขึ้น แตกอนจะเขาสู ยุคที่ 4 ผูเ ขียนขอนําเสนอกระบวนการผลิตเมมเบรนใน ปจจุบนั เพือ่ ใหผอู า นเขาใจถึงผลิตภัณฑเมมเบรน ที่มอี ยูในทองตลาดกันใหมากขึ้น ดังนี้

กระบวนการผลิตเมมเบรน

เมมเบรนในยุคเริ่มแรกที่ผลิตออกมานั้นจะมีลักษณะ เปนเยือ่ แผนบางๆ นํามาใชงานในลักษณะแผนกรอง แตในปจจุบนั เมมเบรนไดมกี ารพัฒนารูปแบบใหหลากหลายมากขึน้ เชน ลักษณะ เปนแทงกลวง (นํา้ เขาตรงกลางและกระจายออกดานขาง) หรือเปน ลักษณะของเสนใยกรอง (เสมือนวัสดุกรองทีบ่ รรจุอยูใ นถังกรอง) ผูเขียนจึงขอนําเสนอวิธีการผลิตเมมเบรนในลักษณะใยกรอง ซึ่งมีใชกันอยางแพรหลายตามบานเรือนตางๆ ในปจจุบัน ดังนี้

Hollow-Fibre Membrane

การผลิต Hollow-Fibre Membrane เริม่ ตนดวยพอลิเมอร จะถู ก ละลายในตั ว ทํ า ละลายและสู บ เขา สู  เ ครื่ อ งบี บ อั ด ใหมี ลักษณะเปนเสนยาวมีรูกลวงตรงกลาง โดยการที่จะทําใหเกิด รูกลวงตรงกลางไดนั้นจะตองใชนํ้าหลอแทรกไวในแกนกลาง (แสดงดังรูปที่ 1) เพื่อปองกันพอลิเมอรเกิดการยุบตัวเขาหากัน จากนัน้ พอลิเมอรจะถูกปน เขาสูอ า งทีบ่ รรจุตวั ไมทาํ ละลาย ซึง่ ใน กระบวนการนี้ตัวทําละลายจะถูกชะออกและแทนที่ดวยตัวไม ทําลาย สงผลใหสารพอลิเมอรเกิดการแข็งตัวขึน้ อีกครัง้ และเกิด เปนเสนใยเมมเบรนในกระบวนการนี้ หลังจากเกิดการแข็งตัว เมมเบรนจะตองผานกระบวนการอีกหลายขั้นตอนทั้งขั้นตอน กอนการสกัดและขั้นตอนการตกแตง ตอจากนั้นเมมเบรนจะถูก บรรจุลงในกระดาษฟอยลและจัดเก็บไวรวมกัน ทั้งนี้จากหลาย กระบวนการของการสกัดสงผลใหตัวทําละลายที่ตกคางจะถูก กําจัดออกไป ทําใหไดเมมเบรนทีแ่ หงสนิทพรอมทีจ่ ะบรรจุเมมเบรน ลงบรรจุภัณฑและนําสงขายตอไป

รูปที่ 1 กระบวนการผลิต Hollow-Fibre Membrane จากขอมูลขางตนทําใหเราไดรจู กั กระบวนการผลิต ลักษณะของผลิตภัณฑรวมถึงการใชงาน ของเมมเบรนกันไปแลว อยางไรก็ตาม เมมเบรนยังคงถูกพัฒนาตอไปโดยการเลียนแบบกลไลทาง ธรรมชาติเพือ่ ตอยอดใหเกิดประสิทธิภาพการทํางานสูงสุด โดยการพัฒนาไดเขาสูย คุ ปจจุบนั (ยุคที่ 4) คือ

Nanotube Membrane

การรวมนาโนเทคโนโลยีเขากับเมมเบรนคือความกาวหนาไปอีกขั้น โดยแนวคิดของการนํา นาโนเทคโนโลยีมาใชงานนัน้ เริม่ มาจากการเลียนแบบการทํางานของเมมเบรนในสิง่ มีชวี ติ กลาวคือ เมมเบรนของสิง่ มีชวี ติ จะมีแทงโปรตีนชนิดหนึง่ ทีถ่ กู เสียบไวทเี่ ยือ่ เมมเบรน โดยทีแ่ ทงโปรตีนดังกลาว มีความสามารถในการนําพานํา้ ผานเยือ่ เมมเบรนไดอยางรวดเร็ว (ชวยเสริมการทํางานของกระบวนการ ออสโมซิส) โดยแนวคิดดังกลาวถูกทําใหเกิดขึน้ จริงโดยการใชทอ Nanotube เสียบไวทเี่ ยือ่ เมมเบรน เพื่อทําหนาที่เชนเดียวกับแทงโปรตีนของสิ่งมีชีวิต โดยที่ทอ Nanotube จะมีลักษณะไมชอบนํ้า (คลายใบบัว) เมื่อมีการกรองนํ้าผาน Nanotube Membraneโมเลกุลนํ้าจึงเกิดแรงผลักตอๆ กันไป ภายในทอ Nanotube (ที่ไมชอบนํ้า) นํ้าจึงไหลผาน Nanotube membrane ไปไดอยางรวดเร็ว ซึ่งสงผลใหเราสามารถแยกสารตางๆ ออกจากนํ้าไดรวดเร็วยิ่งขึ้น แสดงดังรูปที่ 2 และ 3

*ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จ�ฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Pisut.p@chula.ac.th 36

GreenNetwork4.0 July-August 2018


รูปที่ 2 Nanotube membrane

a b c รูปที่ 3 Barriers to Superfast Water Transport in Carbon Nanotube Membrane Nanotube Membrane นัน้ เริม่ เปนทีร่ จู กั กันในชวงประมาณ พ.ศ. 2543 โดยประเทศสิงคโปร เปนประเทศแรกที่เริ่มผลิตใชงาน อยางไรก็ตาม Nanotube Membrane ยังคงถูกจํากัดการใชงาน อยูในหนวยการทํางานขนาดเล็ก เนื่องจากการจัดเรียงทอ Nanotube ยังทําไดยาก แตในอนาคต หากปญหาดังกลาวสามารถแกไขปรับปรุงใหเหมาะกับการนําไปประยุกตใชงานในดานตางๆ ไดแลว เราคงจะไดเห็น Nanotube Membrane ในงานดานการบําบัดนํ้าเสีย นํ้าประปา หรือแมกระทั่งใน เครื่องกรองนํ้าภายในบานในโอกาสตอๆ ไป นอกจากความกาวหนาของเมมเบรนเทคโนโลยีแลว สิ่งที่สําคัญไมแพกันนั่นก็คือ กระบวนการออกแบบระบบการทํางานของ Nanotube Membrane ใหใชงานไดจริงและเกิดประโยชนสูงสุด ซึ่งในปจจุบันนานาประเทศไดใหความสําคัญกับเมมเบรน เทคโนโลยีกันมากขึ้น นํามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงการแขงขันในดานตางๆ โดยมีแนวทางที่จะเกิดขึ้น ในอนาคตดังนี้

เทคโนโลยีเมมเบรนในอนาคต

ผูเขียนคาดวา เทคโนโลยีเมมเบรนจะเขามามีบทบาทในงานดานการผลิตนํ้าสะอาดและ การบําบัดนํ้าเสียมากขึ้น วิศวกรและนักวิจัยทั่วโลกรวมถึงในประเทศไทยสามารถที่จะศึกษาวิจัย เพื่อพัฒนาเครื่องมืออุปกรณ ระบบการทํางานตางๆ ไดอยางทัดเทียมกัน เนื่องจากตัวเมมเบรนนั้น มีการผลิตและสงขายกันทัว่ โลก อีกทัง้ ยังมีราคาถูกและคุณภาพไมแตกตางกัน ดังนัน้ จึงเปนโอกาส ที่ดีสําหรับ…

• วิศวกรและนักวิจัยที่จะออกแบบพัฒนาเพื่อตอยอด ผลิตภัณฑเมมเบรนในรูปแบบตางๆ เพือ่ สงออกขายในระดับโลก ตอไป • การนํานํา้ เสียกลับมาใชใหม โดยในอนาคตทัว่ โลกจะให ความสําคัญกับเรื่องสิ่งแวดลอมกันมากขึ้น นํ้าเสียที่เกิดขึ้นจะ ตองไดรบั การบําบัดอยางจริงจัง คุณภาพนํา้ ทิง้ จะตองมีมาตรฐาน ที่สูงขึ้น (ควบคูไปกับเทคโนโลยีที่มีอยูในชวงนั้น) • ระบบบําบัดนํ้าเสียจะมีเทคโนโลยีเมมเบรนเขาไปเปน สวนประกอบมากขึน้ เชน ถังตกตะกอนขนาดใหญในระบบบําบัด นํา้ เสียแบบตะกอนเรง (Activated Sludge) ทีถ่ กู แทนทีด่ ว ยระบบ กรองเมมเบรนจึงชวยลดพื้นที่และคากอสรางลงไปไดอยางมาก อีกทั้งนํ้าที่ผานระบบกรองเมมเบรนยังมีคุณภาพที่ดีกวาการใช ถังตกตะกอนแบบเดิมอีกดวย • การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยเมมเบรนจะกระจาย สูวงกวางมากขึ้น บริษัทชั้นนําระดับโลก สถาบันการศึกษาตางๆ มุ  ง เน น ที่ จ ะพั ฒ นาเมมเบรนกั น อย า งจริ ง จั ง เพื่ อ ให เ กิ ด การ ใชงานไดจริง ไมจาํ กัดอยูเ พียงในหองปฏิบตั กิ ารหรือในหนวยการ ทํางานขนาดเล็กเทานั้น • นวัตกรรมในการกรองนํ้าจะถูกพัฒนาโดยพื้นฐานของ เทคโนโลยีเมมเบรน เนื่องจากมีประสิทธิภาพสูงพรอมทั้งไดรับ การพัฒนาแกปญหาขอจํากัดตางๆ ไดอยางตอเนื่อง (อัตราการ กรอง ความสะดวกในการใชงาน หาซื้องายราคาถูกลง) ขอมูลตางๆ ทีผ่ เู ขียนไดกลาวถึงคงทําใหผอู า นไดเขาใจถึง ความสําคัญและความกาวของเทคโนโลยีเมมเบรนที่มีใชอยูใน ปจจุบันและที่จะเกิดขึ้นในอนาคต รวมถึงสามารถเลือกใชงาน เทคโนโลยีเมมเบรนทีม่ ใี ชงานอยูภ ายในบานเรือนไดอยางเหมาะสม ตอไป ปจจุบันสถาบันการศึกษาของไทยก็ไดมีงานวิจัยเกี่ยวกับ เมมเบรนออกมาอยางตอเนือ่ ง หากนักวิจยั ไทยไดรบั การสนับสนุน อยางตอเนื่องแลวก็มีความเปนไปไดที่จะเห็นนวัตกรรมของ คนไทยไปสูระดับโลกไดอยางแนนอน

ทีม่ า : http://www.membrana.com/technology/manufacturing/sips http://www.scienceandtechnologyresearchnews.com/carbon-nanotube-biomedical-device-potential-improve-genetic-engineering-processes/ 37

GreenNetwork4.0 July-August 2018


GREEN

BIZ

CEO FORUM: Electricity R&I Challenges in the st 21 Century “พลังงานไฟฟากาวไกล วิจัยนําไทยยั่งยืน” สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ (วช.) รวมกับ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) การไฟฟานครหลวง (กฟน.) และ สภาอุตสาหกรรม แหงประเทศไทย (ส.อ.ท.) จัดงาน CEO FORUM: Electricity R&I Challenges in the 21st Century “พลังงานไฟฟากาวไกล วิจัยนําไทยยั่งยืน” โดยมี พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี เปนประธานในพิธีเปดงานและแถลงนโยบายเปาหมายดานการวิจัยและ นวัตกรรมเพื่อพลังงานไฟฟา และเปนประธานในพิธีลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือการ สงเสริมการวิจัยและนวัตกรรมดานพลังงานไฟฟาเพื่อการพัฒนาประเทศ ระหวาง สํานักงาน คณะกรรมการวิจยั แหงชาติ (วช.) การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) การไฟฟาสวน ภูมภิ าค (กฟภ.) การไฟฟานครหลวง (กฟน.) และ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (ส.อ.ท.) งานในครัง้ นี้ เปนการสรางโอกาสใหผทู เี่ กีย่ วของเพือ่ ชวยกันหาคําตอบใหกบั การทําการ วิจยั และนวัตกรรมดานพลังงานไฟฟา เพือ่ นําไปตอยอดใหเกิดประโยชนในทุกภาคสวน ทัง้ ภาค อุตสาหกรรมและภาคประชาชน ซึง่ จะเปนการตอบโจทยในการเสริมสรางความมัน่ คงทางดาน พลังงานใหกับประเทศตอไป จัดขึ้น ณ หองเวิลดบอลรูม ชั้น 23 โรงแรมเซ็นทาราแกรนดและ บางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร เซ็นทรัลเวิลด กรุงเทพมหานคร ที่ผานมา

1

2

3

4

5

1. พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี 2. ศ. นพ.สิริฤกษ ทรงศิวิไล เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ 3.-4. MOU การสงเสริมการวิจัยและนวัตกรรมดานพลังงานไฟฟาเพื่อการพัฒนาประเทศ 5.-6. ภายในงาน 7. ถายภาพรวมกัน

6

7

วสท. ชูแนวคิด “Engineering for Society” เตรียมจัดงานยักษวิศวกรรมแหงชาติ 2561

1

2

3

4

5

38

เมือ่ เร็วๆ วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) แถลงขาวเตรียม ความพรอมจัดงานวิศวกรรมแหงชาติ 2561 (National Engineering 2018) งานสัมมนาวิชาการ และแสดงผลิตภัณฑเทคโนโลยีนวัตกรรรมวิศวกรรมที่ยิ่งใหญที่สุดในไทย ที่จัดตอเนื่องกันมา เปนปที่ 13 แลว ชูแนวคิด “Engineering for Society; Smart Engineering, Smart Life, Smart Nation” ขานรับนโยบายรัฐบาลปฎิรปู ประเทศยุคใหมขบั เคลือ่ นดวยปญญาเพือ่ ยกระดับ สังคมสูสมารทไลฟ สมารทเนชั่น อยางยั่งยืน โดยมี ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถาน แหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) และ ดร.ทศพร ศรีเอี่ยม ประธานการจัดงาน วิศวกรรมแหงชาติ 2561 เปนประธานในการแถลงขาวประกาศความพรอมการจัดงานฯ โดยงาน แถลงขาวไดจัดขึ้น ณ หองแกรนดบอลรูม 1 โรงแรมเอส 31 ถนนสุขุมวิท สําหรับงานวิศวกรรมแหงชาติ 2561 จัดขึ้นเพื่อเปนศูนยกลางอัพเดทเทรนดนวัตกรรม วิศวกรรม แลกเปลีย่ น ทบทวนและพัฒนามาตรฐานวิศวกรรม อีกทัง้ ยังเปนพืน้ ทีจ่ ดั แสดงเทคโนโลยี วิศวกรรมจากหนวยงานตางๆทั้งภาครัฐและเอกชน ตลอดจนเปนเวทีเสวนาระดับนานาชาติ (International Forum) ในการแลกเปลีย่ นองคความรู อัพเดทเทรนดวศิ วกรรมจากผูเ ชีย่ วชาญ และวิศวกรทั่วโลกมารวมไวในงานเดียว ซึ่งมีกําหนดจัดงานในระหวางวันที่ 1-3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 ณ อิมแพ็คฟอรั่ม ฮอลล 9 เมืองทองธานี 1. ดร.ธเนศ วีระศิริ นายกวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ (วสท.) 2. ดร.ทศพร ศรีเอี่ยม ประธานการจัดงานวิศวกรรมแหงชาติ 2561 3. แถลงขาวเตรียมความพรอมจัดงานวิศวกรรมแหงชาติ 2561 4.-5. ถายภาพรวมกัน

GreenNetwork4.0 July-August 2018


Magazine to Save The World

เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) ฉลองครบรอบ 30 ป ดวยความมุงมั่น เพื่ออนาคตที่ยั่งยืน เมื่อเร็วๆ นี้ เซีย เชน เยน ประธานและกรรมการบริหาร บริษทั เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) พรอมดวย เคอรติส คู ผูอํานวยการฝายพัฒนาธุรกิจระดับภูมิภาค, บุญศักดิ์ เจียมปรีชา กรรมการอิสระ และ ช็อง ไค คก ผูอ าํ นวยการฝายกลยุทธ การตลาด รวมจัดงานฉลองครบรอบ 30 ป เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) “Delta Electronics 30th Anniversary: Towards a Better Tomorrow” เพื่อการกาวเขาสูทศวรรษที่ 4 ของ เดลตา ประเทศไทย ซึง่ ยังคงมุง มัน่ สรางการเติบโตทางธุรกิจทีเ่ ปนมิตร กับสิ่งแวดลอมและตั้งอยูบนพื้นฐานแหงการพัฒนาอยางยั่งยืน นับตั้งแตป พ.ศ. 2560 เปนตนมา เดลตา ประเทศไทย ไดปรับ โครงสรางธุรกิจเปนสามดานดวยกัน ไดแก พาวเวอรอเิ ล็กทรอนิกส ระบบ อัตโนมัติ และโครงสรางพืน้ ฐาน โดยงานดังกลาวจัดขึน้ ณ โรงแรมพูลแมน กรุงเทพ แกรนด สุขุมวิท

1

2

3

4

1. เซีย เชน เยน ประธานและกรรมการบริหาร

บริษัท เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) 2.-3. งานฉลองครบรอบ 30 ป เดลตา อีเลคโทรนิคส (ประเทศไทย) 4.-6. ถายภาพรวมกัน

5

6

“Promptcharge - พรอมชารจ” รุกตลาด ทุม 10 ลานบาท แจกเครื่องชารจรถยนตไฟฟา BEV และ Plug-in Hybrid ใหลองใชที่บานฟรี 100 เครื่อง 1

2

3

4

5

6

7

39

“Promptcharge - พรอมชารจ” ผูนําเขาและจัดจําหนายเครื่องชารจรถยนตไฟฟา หลากหลายรุนที่ไดมาตรฐานสากล ทั้งสําหรับบาน คอนโดฯ สํานักงาน หาง โรงแรม ดวย บริการแบบครบวงจร ตัง้ แตเครือ่ งชารจ สายชารจ และอุปกรณเสริม พรอมทัง้ บริการติดตัง้ เครื่องชารจและสถานีชารจโดยวิศวกรไฟฟา ซึ่ง “พรอมชารจ” ทุม 10 ลานบาท เปดตัว เครื่องชารจรถยนตไฟฟาระดับพรีเมียม “EO Charging” สัญชาติอังกฤษรุนติดตั้งที่บาน (Home EV Charger) ครัง้ แรกในประเทศไทยบุกตลาดรถยนตไฟฟาทีโ่ ตอยางรวดเร็วทัง้ รถ Plug-in Hybrid (PHEV) อยาง Mercedes-Benz หรือ BMW ไฟฟาและรถยนตไฟฟาแบตเตอรี่ (BEV) อยาง Tesla หรือ Nissan Leaf โดยการออกแคมเปญแรง “แจกเครื่องชารจใหลอง ฟรี 100 เครื่อง” พรอมบริการติดตั้งถึงบานฟรี ซึ่งเปดใหบริการ พรอมชารจไฟฟรี โดยมี ภัทร การุณกรสกุล ประธานกรรมการ บริษัท พรอมชารจ จํากัด พรอมดวย วชิรญาณ การุณกรสกุล ผูอ าํ นวยการฝายการตลาด บริษทั พรอมชารจ จํากัด และ สามารถ บุญธราทิพย ประธานกรรมการ บริษัท โปลิเคม กรุป จํากัด รวมแถลงขาว โดยประเดิม “โปลิ-เคม” ศูนยดูแลรถยนตชั้นนําในหางฯ เล็งติดตั้งทุกสาขาภายใน พ.ศ. 2562 เพื่อยกระดับจับกลุมลูกคา High-End เปดใหชารจไฟแลวที่สาขาเมกา บางนา 1. ภัทร การุณกรสกุล ประธานกรรมการ บริษัท พรอมชารจ จํากัด 2.-3. เปดตัวเครื่องชารจรถยนตไฟฟา 4.-5. สถานีชารจรถไฟฟา โปลิ-เคม สาขาเมกา บางนา 6.-7. ถายภาพรวมกัน

GreenNetwork4.0 July-August 2018




ENDORSED BY:

ASIA’S INTEGRATED OIL, GAS & ENERGY TRANSFORMATION FULL ENERGY VALUE CHAIN WILL INCLUDE: E: Government Leaders

Intergrated Energy rgy gy Companies Technology Providers

National Oil Companies

Power Generation

International Oil Companies

Gas & LNG Companies

SPEAKERS

DELEGATES

Thousands of energy professionals to learn from ground-breaking & extra-ordinary content.

BOOK A STAND AT THAILAND’S LARGEST OIL, GAS AND POWER GENERATION EXHIBITION AND CONFERENCE EXHIBIT WITH US, CALL +66 2 559 0603 OR EMAIL SALES@FUTUREENERGYASIA.COM CO-ORGANISED BY:

50+ 300

Energy companies to build new partnerships and be part of the future energy mix.

SUPPORTING INDUSTRY ASSOCIATIONS:

15,000+

Mobility

Technology providers and entrepreneurs to showcase products, services and solutions.

SILVER SPONSOR:

VISITORS

COUNTRIES

Policy makers to meet, discuss and debate future energy scenarios.

GOLD SPONSOR:

600+

Transmission & Distribution

THE REGION’S MEETING POINT FOR:

OFFICIALLY SUPPORTED BY:

EXHIBITORS

ORGANISED BY:

2,000


THE 73RD INDONESIA NATIONAL ELECTRICITY DAY – POWER-GEN ASIA

18-20 SEPTEMBER 2018 ICE I BSD CITY I JAKARTA I INDONESIA

BE PART OF ASIA’S PREMIER POWER GENERATION EVENT POWER-GEN PPO OWE W RR-GEN Asia is delighted to announce annooun that this year it is partnering with MKI M I (Masyarakat MK (M Mas a yarakat Ketenagalistrikann IIndonesia), the Indonesian Electrical PPo owe w r So S ciety. Power Society.

INTERESTED IN EXHIBITING OR SPONSORING? OPPORTUNITIES ARE STILL AVAILABLE

Through TThhrrooug u h this exciting partnership, partnerrsh POWER-GEN Asia and the highlyrre respected essppec e te ted Indonesia Nation National nal Electricity Day will come together to create ccrreeaate t a unique joint event evennt that th provides all international attendees with w wi tthh thee best opportunities opportunitties to engage with Indonesia’s key power industry stakeholders. inndust indu s ryy stakeholders s.

FFIND IND OUT MORE MOR AND REGISTER AT

WWW.POWERGENASIA.COM WWW.PO OW

INTERESTED IN ATTENDING THE CONFERENCE?

8,500+

Attendees

50+

200+

Conference Sessions

International Speakers

200+

Multiple Networking Opportunities

REGISTER TODAY & SAVE UP TO 20%

Multiplee Conference Coonferencce TTracks racks

Leading Exhibitors

ASIA’S TRANSITIONING LANDSCAPE EENERGY N

In Partnership:

Under the Patronage of:

Utility Partner:



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.