Green Network Issue 93

Page 1




Contents May-June 2019 8 Solar Review by กองบรรณาธิการ

“โซลารภาคประชาชน” ประหยัดพลังงาน สงเสริมรายไดใหผลิตไฟฟา จากโซลารเซลล

Green World by กองบรรณาธิการ 9 10 11

Starbucks จับมือ Cypress Creek พัฒนาระบบพลังงานแสงอาทิตย ในรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา Go Green with The Rubens at the Palace, London อาคาร Pusat Tenaga ประเทศมาเลเซีย ติดตั้งระบบแผงโซลารเซลล เพื่อพลังงานเปนศูนย

Green Scoop by กองบรรณาธิการ 12 13

Sun Share Project โซลารรูฟ ผลิตไฟฟาใชเองในบานผานระบบ Blockchain กฟผ. รับซื้อไฟฟาโครงการไซยะบุรี สปป.ลาว

Green Focus 14 by นรินพร มาลาศรี

ความเปนมาของ “โซลารภาคประชาชน” พลังงานแสงอาทิตย 100 เมกะวัตต จากป 2562 สู 10 ป แหงอนาคต 16 by พิชัย ถิ่นสันติสุข เมือ่ กัญชาไมใชยาผีบอก จากภูมปิ ญ  ญาชาวบานสูก ารแพทยเชิงประจักษ

18 Special Scoop by กองบรรณาธิการ

ราชบุรีโฮลดิ้ง เปลี่ยนชื่อเปน “บริษัท ราช กรุป จํากัด (มหาชน)”

19 Green Article by ศ. ดร.สุรพงศ จิระรัตนานนท

การใชพลังงานรังสีอาทิตยทําความเย็นและลดความชื้นในอากาศ

Green People by กองบรรณาธิการ

20 ดร.ทวีพร พูลเกษ เฟรเซอรส พร็อพเพอรตี้ฯ … เดินหนาติดตั้ง 22

โซลารเซลลทุกอาคารใหเปนโรงงานสีเขียว มาริสา สุโกศล หนุนภักดี … โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพ นํารองหองพักรักษโลก (Green Room) เพื่อเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม อยางยั่งยืน

Green Article 24 by รศ. ดร.ศิริมา ปญญาเมธีกุล, ศ.กิตติคุณ ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ ดรามา เรื่อง PM 2.5 ตอน 2 : มาตรฐานที่ตางกัน 26 by ศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล, ดร.กริชชาติ วองไวลิขิต PM 2.5 กับ วิศวฯ จุฬาฯ

27 Smart City by กองบรรณาธิการ

ศูนยกระจายสินคาแบบควบคุมอุณหภูมิ (Cold Chain Warehouse)

28 Green Technology & Innovation by จิม ไวทเฮิรส เทคโนโลยีโอเพนซอรส จะสามารถเพิ่มขีดความสามารถของเราได อยางไร

30 Auto Challenge by กองบรรณาธิการ

การรวมมือของภาคเอกชนเพือ่ สนับสนุนการพัฒนาการใชพลังงานไฟฟา ของไทย

32 Green Biz by กองบรรณาธิการ 34 Green Industry by ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี คําตอบของกิจการที่ยั่งยืน

35 Green Technology & Innovation by กองบรรณาธิการ โปรแกรม AI Accelerator … เทคโนโลยีปญญาประดิษฐ เพื่อพัฒนานวัตกรรมองคกร

36 Green Report by กองบรรณาธิการ

สถาปนิก’62 งานสถาปตยกรรมแหงอาเซียนภายใตแนวคิด “กรีน อยู ดี : Living Green”

38 Energy Saving by กองบรรณาธิการ

“เที่ยวคลีน” แบบคนยุคใหม สนุกได ไมทําลายสิ่งแวดลอม


ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ฯพณฯ พลอากาศเอก กําธน สินธวานนท คณะที่ปรึกษา ดร.ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน นินนาท ไชยธีรภิญโญ ดร.อัศวิน จินตกานนท ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย พานิช พงศพิโรดม ประสงค ธาราไชย ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.สุรพล ดํารงกิตติกลุ ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ชาย ชีวะเกตุ รศ. ดร.สิงห อินทรชูโต บรรณาธิการอํานวยการ/บรรณาธิการผูพิมพโฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ นิภา กลิ่นโกสุม กองบรรณาธิการ นริศรา ออนเรียน เลขานุการกองบรรณาธิการ ปฐฐมณฑ อุยพัฒน พิสูจนอักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม ศศิธร มไหสวริยะ ประสานงาน ภัทรกันต กิจสินธพชัย ผูจัดการฝายการตลาด เขมจิรา ปลาทิพย ฝายการตลาด กัลยา ทรัพยภิรมย เลขานุการฝายการตลาด ชุติมันต บัวผัน ฝายวิเทศสัมพันธ ศิรินทิพย โยธาพันธ แยกสี บริษัท คลาสิคสแกน จํากัด โรงพิมพ หจก.รุงเรืองการพิมพ

เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2354-5333 (ฝายการตลาด Ext. 230) แฟกซ 0-2640-4260 http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com E-Mail : editor@greennetworkthailand.com

สวัสดีครับ ทานสมาชิกและทานผูอานทุกทาน Green Network ฉบับนีเ้ ขาสูก ลางปพทุ ธศักราช 2562 แลว สถานการณของโลก เกิดการเปลีย่ นแปลงไปหลากหลายเรือ่ งราว เชนเดียวกับภาวะโลกรอนทีส่ ง ผลกระทบ เปนวงกวางตอทุกสรรพสิ่งและมวลมนุษย ทําใหเกิดการตระหนักเกิดความรวมมือ รวมใจในการรักษโลกรักษพลังงานตามแนวพัฒนาประเทศสู Thailand 4.0 คอลัมน Solar Review นําเสนอโครงการ “โซลารภาคประชาชน” ประหยัด พลังงาน สงเสริมรายไดใหผลิตไฟฟาจากโซลารเซลล ตามนโยบายของรัฐบาลทีก่ ระทรวง พลังงานออกมาตรการสนับสนุนเพื่อเปดใหภาคประชาชนมีสวนรวมในการติดตั้ง แผงโซลารเซลลผลิตไฟฟาใชเองเพือ่ เชือ่ มเขาเปนสวนหนึง่ ของระบบไฟฟาในประเทศ สอดคลองกับคอลัมน Green Scoop ในสวนของภาคประชาชนขานรับตอบสนอง หนวยงานภาครัฐโดยโครงการ Sun Share Project โซลารรฟู ผลิตไฟฟาใชเองในบาน และซือ้ ขายไฟฟาระหวางกันผาน Blockchain รายแรก เปนอีกทางเลือกหนึง่ ของผูบ ริโภค ที่เปลี่ยนมาใชโซลารรูฟท็อปมากขึ้น คอลัมน Green People พูดคุยกับภาคเอกชน “ดร.ทวีพร พูลเกษ” เฟรเซอรส พร็อพเพอรตฯี้ … เดินหนาติดตัง้ โซลารเซลลทกุ อาคาร ใหเปนโรงงานสีเขียว คอลัมน Green World นัน้ เราขอแนะนําอาคาร Pusat Tenaga ประเทศมาเลเซีย ซึง่ ไดตดิ ตัง้ ระบบแผงโซลารเซลลเพือ่ พลังงานเปนศูนย อาคารสํานักงานแหงนีส้ ามารถ ผลิตไฟฟาใชเองไดทั้งหมด และเปนอาคารพลังงานสุทธิเปนศูนยใหญเปนอันดับ 3 ของโลก และเรือ่ งของราน Starbucks ทีจ่ บั มือ Cypress Creek พัฒนาระบบพลังงาน แสงอาทิตยในรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา คอลัมน Green People เราไดสนทนาภาษา รักษโลกกับ “มาริสา สุโกศล หนุนภักดี” ผูบริหารโรงแรมระดับหาดาวที่ไดนํารอง หองพักรักษโลก (Green Room) เพือ่ เปนมิตรกับสิง่ แวดลอมอยางยัง่ ยืน คอลัมน Green Report งานสถาปนิก’62 สถาปตยกรรมแหงอาเซียนภายใตแนวคิด “กรีน อยู ดี : Living Green” เปนงานแสดงสินคาสถาปตยกรรมทีม่ ผี ปู ระกอบการ 40 ประเทศทัว่ โลก นํานวัตกรรมผลิตภัณฑทเี่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมและการออกแบบตกแตงเพือ่ วิถชี วี ติ ที่ยั่งยืนมากที่สุดในอาเซียนมานําเสนอ ปดทายคอลัมน Auto Challenge เรายินดีนาํ เสนอความรวมมือของภาคเอกชน รายใหญ 2 ราย เจาหนึง่ เปนเจาทางดานรถยนตไฟฟา อีกรายเปนเจาของโซลูชนั่ รายใหญ ระดับโลก รวมมือกันเพือ่ ติดตัง้ เครือ่ งชารจยานยนตไฟฟาทีไ่ ดรบั มาตรฐานสากลเปน การสนับสนุนการพัฒนาการใชพลังงานไฟฟาของไทยอีกทางหนึง่ นับเปนกาวแรกทีส่ าํ คัญ ของประเทศไทยสําหรับการใชรถยนตพลังงานไฟฟาที่จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง วิถีการขับขี่อันเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมผานยานยนตไฟฟานั่นเอง แลวพบกันใหมฉบับหนา สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล


BICYCLE SUPER SALE CM$EECLV;' T+S$EDT; G6ET'T 'ESh*DVg*bM

@<$S<LV;' TG6ET'T@V_JK OT9V +S$EDT;9Z$=ER_B9 ¥Âª¿æèâ ¬ ¿æèâ Ãìï Èæáð ¬ ÏíÞá ¿æèâ ¬ ÊÑ¿ ¬ Åößïæá ¿æèâ ¬ Ãæõâá ÄâÞï ¬ Àöàéì Àïìðð ¬ Ñìòïæëä ¿æèâ ¬ ¿ÊÕ ¬ Àïòæðâï ¿æè⦠ORcMG `GROZ=$E5 _LEVC _LYhO> T`A-Sg;;S$= ; $G O*8 TDBT@ EO*_9 T`GROZ=$E5 LUMES<;S$= ;`GR;S$IVg* >[ =ER$O<$TE9Sh*b;c9D`GR7 T*=ER_9J ●

● ● ● ● ●

June 20-23, 2019 10.00-21.00 hrs. Hall 7-8, Impact Muangthong Thani

_-V E ICL;Z$c=$S< $V+$EECLZ6@V_JK ÍÒÊÍ ÑϾÀÈ ¿¾ÑÑÉ ÉÞáö Ïæáâï Ãòë ÏÞàâ ¿ÞéÞëàâ ¿æèâ Ðòíâï Àïìðð ± ÁÞö ãìï ÐåÞïâ $V+$EEC= ; _@YgO$TE$ZJG ● ● ●



SOLAR

Review กองบรรณาธิการ

“โซลารภาคประชาชน” ประหยัดพลังงาน สงเสริมรายได ใหผลิตไฟฟาจากโซลารเซลล

จากนโยบายของรัฐบาลที่ไดออกมาตรการสนับสนุนใหประชาชน มีสวนรวมในการผลิตไฟฟาเพื่อใชเอง หรือใหผูผลิตแผงโซลารเซลลและ ผูประกอบการติดตั้งใหสามารถเชื่อมเขาเปนสวนหนึ่งของระบบไฟฟาใน ประเทศ เปนการตอบสนองความตองการของผูบ ริโภค ซึง่ จะเปนการสงเสริม ใหระบบเศรษฐกิจของประเทศสามารถเกิดการแขงขันได และที่สําคัญ เปนมิตรกับสิง่ แวดลอมอยางยัง่ ยืนดวยการใชววิ ฒ ั นาการดานเทคโนโลยีตาม แนวพัฒนาประเทศสู Thailand 4.0 เฉกเชนเดียวกัน เมือ่ ตนเดือนพฤษภาคม ที่ผานมา กระทรวงพลังงานเปดตัวโครงการ “โซลารภาคประชาชน” ใน สวนของคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.) ตามทีค่ ณะกรรมการ นโยบายพลังงานแหงชาติ (กพช.) ที่ไดกําหนดหลักการโครงการนํารอง เปดรับจดทะเบียนใหเจาของบานและอาคารที่เปนเจาของมิเตอรประเภท บานอยูอาศัยในขนาดการติดตั้งประมาณ 100 MW (เมกะวัตต) ตอป ซึ่ง กําหนดราคารับซือ้ ไฟฟาสวนเกินในอัตราไมเกิน 1.68 บาทตอหนวย เปนระยะ เวลา 10 ป สวนการประกาศรายชือ่ ผูผานการพิจารณาของการไฟฟา ฝายผลิตนัน้ ไดเริม่ ทยอยประกาศ ในเดือนมิถนุ ายน และกําหนดจาย ไฟฟาเขาระบบเชิงพาณิชยภายใน ป พ.ศ. 2562 นี้ ดร.ศิ ริ จิ ร ะพงษ พั น ธ รัฐมนตรีวา การกระทรวงพลังงาน กลาววา ดร.ศิริ จิระพงษพันธ

8

รัฐบาลไดออกมาตรการสนับสนุนใหผูผลิตแผงโซลารเซลล และผูประกอบการติดตั้งระบบของประเทศมีสวนรวมในธุรกิจการ ติดตั้ง และคาดวาจะมีการติดตั้งประมาณ 10,000-20,000 ระบบ ซึ่งการใชแผงเซลลผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตย (Photo Voltaic Solar Cell) ถือเปนสวนสําคัญของแผนการผลิตไฟฟาใน สัดสวนมากกวา 50% ดวยกําลังผลิตติดตัง้ รวม 12,725 เมกะวัตต นอกจากจะทําใหประชาชนประหยัดคาไฟฟาแลว ยังมีรายไดเสริม จากการขายไฟฟาสวนที่เหลืออีกดวย ทั้งนี้ หากโครงการโซลาร ภาคประชาชนไดรับความสนใจจากประชาชนจํานวนมาก กระทรวง พลั ง งานก็ พ ร อ มพิ จ ารณาว า จะสามารถรั บ ทั้ ง หมดได ห รื อ ไม รวมทัง้ จะไมปด กัน้ ผูท ตี่ ดิ ตัง้ โซลาร รูฟท็อป ทีผ่ า นมาก็สามารถรวม โครงการนี้เพื่อขายไฟฟาไดดวยเชนกัน อยางไรก็ตาม การประกาศรับซือ้ ไฟฟาภายใตโครงการโซลารภาคประชาชนในครัง้ นี้ จะเปนมิตใิ หมของการกํากับดูแลภาคพลังงานใหเปนระบบไฟฟาทันสมัย สามารถรองรับ สัดสวนการผลิตไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนที่เปนไปตามมาตรการอนุรักษพลังงานสูง ถึง 35% ในป พ.ศ. 2580 ของคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน เพราะนอกเหนือจาก การออกระเบียบและหลักเกณฑในการจัดหาไฟฟาและออกประกาศเชิญชวนตามปกติ แลวยังจะอํานวยความสะดวกดานการใหขอ มูลและการสรางความเขาใจใหกบั ประชาชน เพื่อใหประชาชนมีขอมูลครบถวนในการตัดสินใจและไดรับการพิจารณาอยางโปรงใส เปนธรรม

GreenNetwork4.0 M GreenNetwork4.0 May-June ay-June 2019 20119 20 9


ขณะนีห้ ลายประเทศทัว่ โลกใชพลังงานแสงอาทิตยมากขึน้ โดยเฉพาะกลุม ประเทศพัฒนาแลวหันมาใหความสนใจในพลังงาน แสงอาทิตย และเริม่ มีการพัฒนาอยางจริงจังมากขึน้ พบวาการติดตัง้ แผงพลังงานแสงอาทิตยมปี ริมาณเพิม่ ขึน้ ทุกป เนือ่ งจาก พลังงานแสงอาทิตย เปนหนึง่ ในพลังงานทดแทนทีเ่ กิดใหมไดไมสนิ้ สุด หรือเปนพลังงานหมุนเวียนทีม่ ศี กั ยภาพสูงปราศจากมลพิษ อีกทัง้ เปนตนกําเนิดของพลังงานนํา้ ทีต่ กกลับลงมาถูกนําไปผลิตกระแสไฟฟา นอกจากนีย้ งั เปนตนกําเนิดของพลังงานเคมีในอาหาร ซึ่งสามารถใหพลังงานแกมนุษยและสัตวชนิดตางๆ และยังเปนตนกําเนิดของพลังงานลม และเปนตนกําเนิดพลังงานคลื่น

GREEN

World กองบรรณาธิการ

Starbucks Cypress Creek พัฒนาระบบพลังงานแสงอาทิตย ในรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา เมือ่ เร็วๆ นี้ สตารบคั ส (Starbucks) รานกาแฟยักษใหญของโลกแหงประเทศ สหรัฐอเมริกา ลงนามความรวมมือกับ Cypress Creek ผูพัฒนาระบบพลังงาน แสงอาทิตยของสหรัฐอเมริกา ไดมกี ารขยายการลงทุนในโซลารฟารมและโครงการ พลังงานแสงอาทิตยเพือ่ สรางพลังงานใหกบั รานกาแฟสตารบคั ส 360 แหงในรัฐเท็กซัส โดยวัตถุประสงคของสตารบคั สมแี นวคิดตองการลดการใชพลังงานลง และหันไปใช ไฟฟาจากพลังงานหมุนเวียนหรือพลังงานแสงอาทิตยเพิม่ ขึน้ และในโครงการพลังงาน แสงอาทิตยดังกลาวนี้สามารถผลิตไฟฟาได 70 เมกะวัตตจาก 8 โครงการ ทัง้ นี้ ในชวง 2-3 ปทผี่ า นมา สตารบคั สใหความสําคัญเกีย่ วกับการทําความ เขาใจและการพัฒนากลยุทธใหมๆ เพือ่ ลดการใชพลังงานลง เชน โครงการการเริม่ การลงทุนในพลังงานหมุนเวียนเพื่อชดเชยการใชไฟฟาในราน สตารบคั ส ซึง่ มีการดําเนินการในสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ตลอดจนลงทุน เกี่ยวกับการใหแสงไฟแบบใหม และปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบ HVAC หรือ การใหความรอน การระบายอากาศ และการใหความเย็น รวมถึงอุปกรณอนื่ ๆ ดวย Chris Roetheli เจาหนาที่พัฒนาธุรกิจของ US Bancorp Community Development Corporation กลาววา การลงทุนดานพลังงานโซลารฟารมของ สตารบคั สในระดับภูมภิ าคครัง้ นี้ เพือ่ สนับสนุนรานคาเฉพาะกลุม ซึง่ ถือเปนแนวคิด ใหมทมี่ งุ เนนการอนุรกั ษพลังงานเปนแบบอยางใหกบั บริษทั และรานคาอืน่ ๆ ทีก่ าํ ลัง จับตามองแนวคิดดังกลาวนี้ และในอนาคตสตารบคั สกาํ หนดเปาหมายทีจ่ ะพัฒนา ระบบพลังงานแสงอาทิตยเพิม่ ขึน้ อีก สําหรับขอตกลงความรวมมือกับ Cypress Creek ในครัง้ นี้ มีลกั ษณะคลายกับทีส่ ตารบคั สไดลงทุนในดานพลังงานลม ขนาด 14 เมกะวัตต กับกลุมผูคาปลีกไฟฟาในรัฐอิลลินอยสกอนหนานี้ในชวงปลายป พ.ศ. 2561

อยางไรก็ตาม ทัว่ โลกมีแนวโนมเปลีย่ นไปใชพลังงานสะอาดทีป่ ลอยคารบอน ตํา่ ดวยเหตุนเี้ ซลลแสงอาทิตยจงึ เติบโตอยางรวดเร็ว และกําลังการผลิตติดตัง้ ของ เซลลแสงอาทิตยทั่วโลกจะเพิ่มขึ้น คาดการณวาจะเปน 1,721 กิกะวัตตภายในป พ.ศ. 2573 และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเปน 4,670 กิกะวัตตภายในป พ.ศ. 2593 ดังนั้น นวัตกรรมเทคโนโลยีเซลลแสงอาทิตยจึงมีความสําคัญอยางมาก ขณะเดียวกัน ผลิตภัณฑเซลลแสงอาทิตยคุณภาพสูงและมีประสิทธิภาพสูงจะกลายเปนกําลัง หลักในการสงเสริมการเปลี่ยนแปลงดานพลังงานของโลก

ที่มา : x https://www.greentechmedia.com/articles/read/starbucks-and-cypress-creek-pair-on-solar-projects-in-texas x https://www.solarbaba.com/starbucks-to-power-360-stores-with-solar-power/ 9

GreenNetwork4.0 May-June 2019


GREEN

World กองบรรณาธิการ

Go Green with The Rubens at the Palace, London

ทั่ ว โลกประสบป ญ หาด า นสิ่ ง แวดล อ มจากหลากหลายสาเหตุ สวนใหญเกิดจากประชากรแตละประเทศมีความตองการบริโภคทรัพยากรเกิน กวาขัน้ พืน้ ฐานของชีวติ ไมวา จะเปนเรือ่ งอาหาร ทีอ่ ยูอ าศัย และความกาวหนาทางเทคโนโลยี ซึ่งลวนมีความจําเปนในการใชพลังงานเพิ่มมากขึ้น แตกลับไมมีการใชอยางประหยัด จึงสงผลทําให ทรัพยากรขาดแคลน ซึง่ โครงการกอสรางโรงแรมตางๆ ก็เชนเดียวกัน นอกเหนือจากการออกแบบเพือ่ รองรับ ความสะดวกสบายของผูม าใชบริการแลว จะตองคํานึงถึงการบริการทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม และรวมกันอนุรกั ษพลังงาน ดวย ตัวอยางเชน The Rubens at the Palace (โรงแรม รูเบนส แอต เดอะ พาเลซ) เปนโรงแรมระดับ 4 ดาว สไตลบูติกสวยงาม และตั้งอยูใกลกับบริเวณพระราชวัง Buckingham Palace ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ นับวาเปนโรงแรมอีกแหงหนึ่งที่มีอายุเกาแกกวารอยป ที่อนุรักษสิ่งแวดลอมทั่วทั้งโรงแรม สิ่งที่แสดงถึงความรับผิดชอบตอสังคมนั่นคือ การกอสรางและออกแบบโรงแรมใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมมากที่สุด ซึ่งโครงสรางในการออกแบบบริเวณดานนอก โรงแรม ผูอ อกแบบมุง เนนคอนเซ็ปตการอนุรกั ษพลังงานและรักษาสิง่ แวดลอมดวยการดึงธรรมชาติเขามา ทัง้ การเลือกใชพลังงานจากแสงอาทิตยแทนการใชกา ซ เพือ่ ลด การปลอยคารบอนไดออกไซด และการใชวัสดุอุปกรณที่สามารถดูดซับมลพิษทางอากาศ โดยความโดดเดนบริเวณดานนอกซึ่งเปนสวนผนังกําแพงของโรงแรมแหงนี้ เรียกวา “Living Wall” ผูออกแบบตองการใชเปนพื้นที่สีเขียวเพื่อปกปองสิ่งแวดลอม ดวยการปลูกพืชสมุนไพรกวา 10,000 ตน และมีพืชไมดอกหลากหลายพันธุ เชน ตนดอกดาวเรือง ตนหญา และตนสตรอวเบอรรี่ บนเนื้อที่ 350 ตารางเมตร (3,750 ตารางฟุต) เปรียบเสมือนการทําหนาที่เปนฉนวนธรรมชาติบนผนังกําแพง เพื่อฟอกอากาศใหบริสุทธิ์นั่นเอง ขณะเดียวกัน บนผนังกําแพงสีเขียวยังเปนทีอ่ ยูอ าศัยของสัตวนอ ยใหญเขามาจิกหาอาหาร และหลับนอนตาม กิ่งไมของตนพืชไดดวย เมื่อมองจากภายนอกจะเห็นความสดชื่นและความสบายตาจากพันธุพืชสีเขียวทั่วทั้ง ผนังกําแพงของโรงแรม เทากับเปนการชวยใหบรรยากาศโดยรอบๆ รัฐวิคตอเรียในยานกลางกรุงลอนดอน แหงนี้ มีคุณภาพอากาศที่บริสุทธิ์ นอกจากนี้ การนํานวัตกรรมหลอดไฟเขามาประดับตกแตง ทีมผูออกแบบยังเลือกใชหลอดไฟแบบ ประหยัดพลังงาน ขณะเดียวกันผลิตภัณฑที่ใชในหองนํ้า เชน ฝกบัวอาบนํ้า ถูกออกแบบมาเปนพิเศษเพื่อ การประหยัดนํ้า รวมถึงผลิตภัณฑสบู และแชมพูสระผม ทางโรงแรมเลือกใชวัตถุดิบจากธรรมชาติที่นํามา รีไซเคิลใหม อีกหนึง่ มาตรการลดปญหาสิง่ แวดลอมเปนพิษ โรงแรมแหงนีม้ กี ระบวนการกําจัดขยะประเภทพลาสติก ซึ่งใชกรรมวิธีที่สามารถใชครั้งเดียวหรือทําลายยอยสลายในทันที เพื่อไมกอใหเกิดสารตกคางสงผลกระทบ เปนมลพิษทางอากาศ จึงนับเปนแนวคิด Go Green ที่ตองการใหลูกคาหรือผูที่มาเขาพักโรงแรม ไดมีสุขภาพดี เรียกไดวา เปนอีกหนึง่ ตัวอยางโรงแรมสีเขียวในประเทศอังกฤษทีร่ ว มกันรักษามลภาวะทางอากาศ และลดผลกระทบตอ สิ่งแวดลอม อยางไรก็ดี โรงแรม รูเบนส แอต เดอะ พาเลซ ตัง้ อยูห า งจากสถานีรถไฟ สถานีรถไฟใตดนิ และสถานี ขนสง Victoria โดยใชเวลาเดินเพียงครูเดียว เหมาะสําหรับผูที่ตองการเที่ยวชม Victoria Palace Theatre และ Victoria Apollo Theater อีกทั้งยังอยูใกลกับ Westminster, Green Park และ Shaftesbury Avenue ซึ่งขณะนี้ไดขึ้นชื่อวาเปนโรงแรมสีเขียวนํารองในการสงเสริมศักยภาพโรงแรมใหมีการใชทรัพยากรหรือ พลังงานอยางคุม คา มีประสิทธิภาพและมีการจัดการสิง่ แวดลอมทีด่ ี ยกระดับมาตรฐานการบริการใหเปนมิตร กับสิง่ แวดลอมมากขึน้ จึงเปนตัวอยางใหกบั โรงแรมอืน่ ๆ ตอไปในฐานะเปนโรงแรมสีเขียว ทีไ่ ดนาํ ประโยชน จากธรรมชาติเขามารักษาสิ่งแวดลอมใหกับเมืองอยางยั่งยืน ขอบคุณขอมูล : x https://www.travelprofessionalnews.com/go-green-with-the-rubens-at-the-palace-london/ x https://www.rubenshotel.com/about/gallery x https://www.incentivetravel.co.uk/news/hotel/44941-go-green-with-the-rubens-at-the-palace-london ขอบคุณภาพ : x https://th.tripadvisor.com/Hotel_Review-g186338-d199868-Reviews-The_Rubens_at_the_Palace-London_ England.html#photos;aggregationId=101&albumid=101&filter=7&ff=344421827 10

GreenNetwork4.0 May-June 2019


GREEN

World กองบรรณาธิการ

อาคาร Pusat Tenaga ประเทศมาเลเซีย

ติดตั้งระบบแผงโซลาร์เซลล์ เพื่อพลังงานเป็นศูนย์

ด้วยสภาพอากาศของโลกเปลีย่ นแปลงไป ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ที่ถูกปล่อยออกมามากขึ้นเป็นเหตุให้อุณหภูมิในชั้นบรรยากาศและมหาสมุทร สูงขึน้ ตามไปด้วย ปัญหาสิง่ แวดล้อมนับวันจะทวีความรุนแรงขึน้ สร้างผลกระทบต่อ โลกได้ไม่วันใดก็วันหนึ่ง พลังงานหมุนเวียนและพลังงานทางเลือกรูปแบบต่างๆ จึงเข้ามามีบทบาท ส�ำคัญด้วยความตระหนักถึงผลของวิกฤตพลังงานและสภาวะโลกร้อนทีก่ ำ� ลังเกิด ขึ้น ซึ่งปัจจุบันมีการน�ำแผงโซลาร์เซลล์มาใช้งานในหลากหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับ ขนาด เช่น แผงโซลาร์เซลล์ขนาดเล็กบนเครือ่ งคิดเลขหรือเสาไฟริมถนน ไปจนถึง แผงโซลาร์เซลล์ทตี่ ดิ ตัง้ บนหลังคาบ้านหรือกระทัง่ เป็นแหล่งพลังงานส�ำหรับใช้ใน ยานอวกาศ การน�ำแผงโซลาร์เซลล์มาเชื่อมต่อกันจ�ำนวนมากในลักษณะของ โซลาร์ฟาร์มไม่ว่าจะเป็นบนพื้นดิน บนหลังคา หรือบนผิวน�้ำ สามารถน�ำมาผลิต กระแสไฟฟ้าเพื่อใช้ในระดับอุตสาหกรรมได้ด้วย ส�ำหรับ อาคาร Pusat Tenaga ถูกออกแบบมาให้เป็นอีกหนึ่งอาคารใน ประเทศมาเลเซีย เป็นอาคารส�ำนักงานทีม่ พี ลังงานสุทธิเป็นศูนย์ทใี่ หญ่เป็นอันดับ 3 ของโลกในปี พ.ศ. 2555 ภายใต้หลักการออกแบบอาคารทีม่ รี ะบบ ทางกลและระบบไฟฟ้าของตัวอาคาร ระบบกรอบอาคาร ทีม่ ปี ระสิทธิภาพด้วยการเคลือบผนังสองชัน้ และใช้ผนัง และหลังคาทีเ่ ป็นฉนวน ใช้แสงสว่างจากภายนอก และใช้อุปกรณ์ส�ำนักงานที่มีประสิทธิภาพ ที่ ส� ำ คั ญ มี ก ารติ ด ตั้ ง แผงโซลาร์ เ ซลล์ บ น หลังคาของอาคาร ซึง่ ช่วงเวลากลางวันระบบ แผงโซลาร์เซลล์หลังคาจะกลายเป็นแหล่ง 11

ผลิตพลังงานไฟฟ้าส�ำหรับอาคาร และในช่วงเวลากลางคืนหลังคาจะกลาย เป็นหอระบายความร้อนจะถูกเก็บพลังงานไว้เพื่อใช้ในเวลากลางคืน ไม่เพียง เท่านี้ หลังคาอาคารแห่งนี้ยังท�ำงานแบบ Trickling Night Cooling Roof ระบบ ชิลเลอร์ท�ำงานเฉพาะช่วงเวลากลางคืน และความร้อนถูกระบายออกทางหลังคา ที่มีลักษณะเอียงลาดโดยมีน�้ำไหลบนหลังคา นอกจากนี้ ยังเน้นการใช้แสงสว่างจากภายนอก เพือ่ ลดการใช้พลังงานจาก หลอดไฟ และใช้ประโยชน์จากแสงสว่างภายนอกให้เป็นแสงสว่างหลักในอาคาร ขณะทีพ่ นื้ คอนกรีตของตัวอาคารจะมีการเดินท่อระบบความเย็น ซึง่ ความเย็นจะถูก ปล่อยจากพืน้ ขึน้ ไปในห้องทีอ่ ยูด่ า้ นบนและด้านล่างตลอดช่วงเวลากลางวัน อีกทัง้ ยังมีมาตรการอืน่ ๆ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพพลังงาน การปฏิบตั ทิ ดี่ แี ละมาตรการการ ดู แ ลรั ก ษาที่ ดี ส ามารถช่ ว ยลดการใช้ พ ลั ง งาน และเครื่ อ งใช้ ส� ำ นั ก งานที่ มี ประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงานอีกด้วย ที่มา :  http://rosamundwo.com/wp-content/uploads/2009/11/PTMGEO.jpg  http://2e-building.com/article.php?cat=building_en&id=35

GreenNetwork4.0 May-June 2019


GREEN

Scoop กองบรรณาธิการ

การส่งเสริมระบบโซลาร์รูฟ (Solar Roof) กลายเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของผู้บริโภค เพราะท�ำให้ผู้ใช้ไฟฟ้าทั่วไปสามารถ ประหยัดค่าไฟฟ้าทีม่ คี วามคุม้ ทุน และระยะยาว เพราะสามารถผลิตพลังงานแสงอาทิตย์มาเป็นพลังงานไฟฟ้าใช้เองภายในครัวเรือน เป็นการท�ำให้เกิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ขณะทีภ่ าครัฐมีนโยบายสนับสนุนให้ภาคโรงงานอุตสาหกรรม อาคาร และบ้านเรือน เปลี่ยนมาใช้โซลาร์รูฟมากขึ้น ซึ่งในปัจจุบันเริ่มมีโครงการหมู่บ้านจัดสรรหลายแห่งหันมาให้ความสนใจติดตั้ง แผงโซลาร์ในโครงการด้วยเช่นกัน ล่าสุด โครงการ Sun Share Project เป็นความร่วมมือระหว่าง บริษัท เอสซี แอสเสท คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) หรือ SC ASSET บริษัทพัฒนาด้านอสังหาริมทรัพย์ชั้นน�ำของไทยลงนามบันทึกข้อตกลงความเข้าใจกับ บริษัท บีซีพีจี จ�ำกัด (มหาชน) หรือ BCPG บริษัท ผูด้ �ำเนินธุรกิจผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนชัน้ น�ำในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟิก โดยน�ำระบบโซลาร์รูฟ มาผลิตไฟฟ้าเพื่อใช้ในบ้านและซื้อขาย ไฟฟ้าระหว่างกันผ่าน Blockchain (บล็อกเชน) รายแรกทีต่ ดิ ตัง้ บ้านลูกค้า และสปอร์ต คอมเพล็กซ์ (Sport Complex) ในโครงการเนเบอร์ฮดู บางกะดี

Sun Share Project โซลาร์รูฟ ผลิตไฟฟ้าใช้เองในบ้าน ผ่านระบบ Blockchain ด้วยเทคโนโลยีระบบ Blockchain ซึ่งพัฒนาโดย BCPG จะช่วยในเรื่อง การบริหารพลังงานไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ โดยผู้บริโภคสามารถซื้อขาย พลังงานไฟฟ้าผ่านระบบ Blockchain แบบอัตโนมัตเิ พราะไม่มคี า่ ใช้จา่ ยในการติดตัง้ ได้แก่ สามารถประหยัดค่าใช้จา่ ยในการใช้ไฟฟ้าในแต่ละเดือนจากการใช้พลังงาน ไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้เองจากโซลาร์รฟู โดยตรง และสามารถซือ้ พลังงานไฟฟ้าผ่านระบบ Blockchain ได้แบบอัตโนมัติ ซึง่ ราคาต่อหน่วยไฟฟ้าถูกกว่าหน่วยไฟฟ้าของการไฟฟ้า ปกติ และกรณีผบู้ ริโภคไม่ได้ใช้ไฟฟ้าในช่วงเวลากลางวัน หรือไม่อยูบ่ า้ น จะมีรายได้ จากการขายไฟฟ้าส่วนเกินทีผ่ ลิตได้ผา่ นระบบ Blockchain โดยอัตโนมัติ ให้กบั บ้าน และสปอร์ต คอมเพล็กซ์ ที่มีความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าในช่วงเวลากลางวัน บัณฑิต สะเพียรชัย กรรมการผู้จัดการใหญ่ BCPG กล่าวว่า “ในฐานะ หนึ่งในผู้บุกเบิกน�ำนวัตกรรมระดับโลกมาใช้ในธุรกิจพลังงาน มีความภูมิใจที่ได้มี ส่วนร่วมสร้าง Quality Living ให้แก่ลูกค้าของ SC ASSET โดยการน�ำพลังงาน แสงอาทิตย์มาผลิตเป็นไฟฟ้าส�ำหรับใช้ภายในครัวเรือน และสามารถน�ำไฟฟ้าทีผ่ ลิต ได้เกินความต้องการไปท�ำประโยชน์ให้กับสังคมส่วนรวม บริษัทฯ จะเป็น

ผูอ้ อกแบบ ติดตัง้ และดูแลระบบแลกเปลีย่ น ซือ้ ขายไฟฟ้าให้ทงั้ หมด โดยจะเริม่ ต้น ในช่วงไตรมาส 3 ของปี พ.ศ. 2562 นี้ และมีแผนขยายก�ำลังการผลิตเพิ่มเติมเพื่อ รองรับความต้องการพลังงานสะอาดจากโครงการต่างๆ ในอนาคต” ณัฐพงศ์ คุณากรวงศ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร SC ASSET กล่าวว่า “โครงการ Sun Share Project ใน เนเบอร์ฮูด บางกะดี เป็นท�ำเลที่มีศักยภาพต่อ การเติบโตของชุมชนเมืองทีจ่ ะพัฒนาทีอ่ ยูอ่ าศัย ทัง้ บ้านเดีย่ วและทาวน์โฮมทัง้ หมด 7 โครงการ โดยมีตวั เลขสมาชิกประมาณ 1,800 ครัวเรือน ซึง่ ลูกค้าโครงการจะเริม่ ใช้งานได้ประมาณไตรมาสที่ 4 ของปี พ.ศ. 2562 นี้ ส�ำหรับในอนาคต SC ASSET และ BCPG จะร่วมกันพัฒนาเทคโนโลยี Blockchain เพือ่ เชือ่ มต่อกับโครงการอืน่ ๆ เนือ่ งจากไฟฟ้าทุกหน่วยทีผ่ ลิตได้จะน�ำไปใช้หรือแลกเปลีย่ น ซือ้ ขายได้หมด ไม่มไี ฟฟ้า ส่วนเกินหรือเหลือใช้ ไม่กลายเป็นของเสียหรือสูญเปล่า แต่เป็นการสร้างเครือข่าย ผูใ้ ช้พลังงานสะอาดให้มากขึน้ และยังสามารถต่อยอดไปสูก่ ารพัฒนาระบบบริหาร จัดการ และวิเคราะห์ขอ้ มูลการใช้พลังงานของชุมชนใน การเพิ่มขีดความสามารถบริหารจัดการพลังงาน ของพื้นที่สาธารณะ ทั้งส่วนกลาง และสปอร์ต คอมเพล็กซ์ ฯลฯ” อย่างไรก็ดี เรียกได้วา่ เป็นแนวคิด ของการใช้โซลาร์รฟู น�ำร่องในโครงการ บ้านจัดสรร เพราะนอกจากจะช่วย เจ้าของบ้านหรือผูบ้ ริโภคลดค่าใช้จา่ ย ด้ านพลั งงานแล้ ว อี กทางหนึ่ งคื อ การช่ ว ยลดปั ญ หาการจั ด เก็ บ ค่ า บัณฑิต ส่วนกลาง และอุปกรณ์ไฟฟ้าอืน่ ๆ ของ สะเพียรชัย ณัฐพงศ์ ส่วนรวมได้ด้วย จึงท�ำให้เกิดการใช้ คุณากรวงศ์ พลั ง งานของชุ ม ชนที่ มี ค วามคุ ้ ม ค่ า เหมาะสม เพือ่ อนาคตทีย่ งั่ ยืนในสังคม ร่วมกันเป็นอย่างดี

12

GreenNetwork4.0 May-June 2019


กฟผ. รับซื้อไฟฟ้า

โครงการไซยะบุรี

GREEN

Scoop กองบรรณาธิการ

สปป.ลาว กระทรวงพลังงาน และ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) มีภารกิจส�ำคัญในการจัดหาแหล่งผลิตไฟฟ้าโดยมีอัตราค่าไฟฟ้าที่เหมาะสม และมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด เพื่อรองรับความต้องการใช้ไฟฟ้า เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ งทุกๆ ปี และให้เพียงพอต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ของประเทศ อีกทางเลือกหนึง่ ทีส่ ำ� คัญ คือ การรับซือ้ ไฟฟ้าจากประเทศเพือ่ นบ้าน โดยรัฐบาลไทยได้ลงนามบันทึกความเข้าใจกับรัฐบาลประเทศเพือ่ นบ้าน ได้แก่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) สาธารณรัฐแห่งสหภาพ เมียนมา ราชอาณาจักรกัมพูชา และสาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อส่งเสริม การผลิตไฟฟ้าในประเทศเพื่อนบ้านส�ำหรับจ�ำหน่ายให้ประเทศไทย โดยในส่วนของโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ ไซยะบุรี เป็นโรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ แบบฝายน�้ำล้น ตั้งอยู่บนแม่น�้ำโขงในแขวงไซยะบุรี สปป.ลาว มีความยาว ข้ามล�ำน�ำ้ 820 เมตร ก�ำลังการผลิตติดตัง้ รวม 1,285 เมกะวัตต์ สามารถผลิต พลังงานไฟฟ้าได้ประมาณ 7,600 ล้านหน่วยต่อปี โครงการโรงไฟฟ้าแห่งนี้ เริม่ ก่อสร้างในปี พ.ศ. 2555 โดยเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้า 7 เครือ่ ง ซึง่ เครือ่ งแต่ละ เครื่องมีก�ำลังการผลิต 175 เมกะวัตต์ ผลิตไฟฟ้าส่งผ่านระบบส่งไฟฟ้าขนาด 500 กิโลโวลต์ เพือ่ เชือ่ มโยงกับระบบสายส่งของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ และส่งกลับ มายังประเทศไทยที่อ�ำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย จึงเป็นอีกหนึ่งโครงการที่จะผลิต พลังงานไฟฟ้าเพือ่ จ�ำหน่ายให้แก่ประเทศไทยภายใต้บนั ทึกความเข้าใจระหว่าง รัฐบาลไทยกับรัฐบาล สปป.ลาว ทั้งนี้ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตฯ มีเป้าหมายในการรับซื้อไฟฟ้าของโครงการ ผลิตไฟฟ้าพลังน�ำ้ ไซยะบุรจี ากหน่วยแรก 175 เมกะวัตต์ หลังผ่านการทดสอบ ระบบการเดินเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า ที่มี ดร.ศิริ จิระพงษ์พันธ์ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงพลังงาน พร้อมด้วย ค�ำมะนี อินทิลาด รัฐมนตรีกระทรวงพลังงาน และบ่อแร่ สปป.ลาว ได้ร่วมเป็นประธานในพิธีเปิดเดินเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า ดังกล่าว ซึ่งก�ำหนดจะเร่งทยอยการผลิตติดตั้งให้ได้ 1,285 เมกะวัตต์ ภายใน ปี พ.ศ. 2562 นี้

13

ส�ำหรับเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าเครื่องที่ 1 นับเป็น 1 ใน 8 ของเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า ของโครงการโรงไฟฟ้าพลังน�้ำไซยะบุรี ส่วนเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าเครื่องที่ 8 มีก�ำลัง การผลิต 60 เมกะวัตต์ ซึง่ จะผลิตและจ่ายไฟฟ้าเข้าสูร่ ะบบส่งไฟฟ้าขนาด 115 กิโลโวลต์ ใน สปป.ลาว ธนวัฒน์ ตรีวศิ วเวทย์ กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั ซีเค พาวเวอร์ จ�ำกัด (มหาชน) ผูบ้ ริหาร งานในโครงการไฟฟ้าพลังน�้ำไซยะบุรี กล่าวว่า “ขณะนี้ กฟผ.ได้รบั ซือ้ ไฟจากเครือ่ งก�ำเนิดไฟฟ้า เครื่องที่ 1 ของโครงการฯ ภายหลังจากที่ กฟผ. อนุมัติการทดสอบระบบการเดินเครื่องก�ำเนิด ไฟฟ้าในช่วง Unit Operation Period หรือ UOP โดยปัจจุบนั โครงการไฟฟ้าพลังน�ำ้ ไซยะบุรมี คี วาม ก้าวหน้ากว่า 98% และจะทยอยเปิดเดินเครื่อง ธนวัฒน์ ตรีวิศวเวทย์ เพื่อขายไฟจากเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าที่ผ่านการ ทดสอบระบบแล้วให้แก่ กฟผ.ได้ครบทัง้ 8 เครือ่ ง ภายในไตรมาส 4 ของปี พ.ศ. 2562 นี้ และเมื่อโครงการไซยะบุรีก่อสร้างแล้วเสร็จจะส่งพลังไฟฟ้าให้ประเทศไทยจ�ำนวน 1,220 เมกะวัตต์ ที่จุดส่งมอบไฟฟ้าชายแดนไทย-ลาว เป็นระยะเวลา 29 ปี ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นไป คิดเป็นพลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยประมาณปีละ 6,929 ล้านหน่วย ทางโครงการฯ มีอตั ราค่าไฟฟ้าคงทีไ่ ม่เปลีย่ นแปลงตามราคาเชือ้ เพลิงในตลาดโลก และ ยังเป็นอัตราค่าไฟฟ้าที่แข่งขันได้เมื่อเปรียบเทียบกับทางเลือกอื่นๆ” จากภารกิจดังกล่าว นับว่าเป็นการซือ้ ไฟฟ้าจากประเทศเพือ่ นบ้านทีร่ ว่ มส่งเสริม ความสัมพันธ์อนั ดีทางเศรษฐกิจและสังคมของทัง้ สองประเทศ เพือ่ ให้เกิดความมัน่ คงต่อ ระบบการผลิตไฟฟ้า อีกทัง้ ผูพ้ ฒ ั นาโครงการฯ มีระบบการบริหารจัดการทีล่ ดผลกระทบ ต่อสิง่ แวดล้อมเป็นอย่างดี เพราะได้ดำ� เนินการออบแบบโครงการฯ ตามแนวทางปฏิบตั ิ ของคณะกรรมาธิการแม่น�้ำโขงอย่างเคร่งครัดเป็นส�ำคัญในการรักษาสิ่งแวดล้อม

GreenNetwork4.0 May-June 2019


GREEN

Focus นรินพร มาลาศรี ผู้ช�ำนาญการพิเศษ ฝ่ายแผนและก�ำกับ การจัดหาพลังงาน ส�ำนักงาน กกพ.

“โซลาร์ภาคประชาชน”

พลังงานแสงอาทิตย์ 100 เมกะวัตต์ ...จากปี 2562 สู่ 10 ปี แห่งอนาคต

จากมติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ (กพช.) ให้มโี ครงการ พลังงานแสงอาทิตย์โซลาร์ภาคประชาชน ปีละ 100 เมกะวัตต์ เริม่ ปี พ.ศ. 2562 และต่อเนื่องไปเป็นระยะเวลา 10 ปี กรอบแนวคิดดังกล่าว ถูกถ่ายทอด ผ่านมายังคณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) และส่งผ่านมายัง คณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) น�ำไปสู่โครงการโซลาร์ภาค ประชาชน ระยะที่ 1 ที่ก�ำลังเป็นกระแสในปัจจุบัน ผูใ้ ช้พลังงานประเภทครัวเรือนขนาดเล็กภายในประเทศจะกลายเป็น ผูผ้ ลิตไฟฟ้าผ่านเทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตัง้ บนหลังคา (โซลาร์รูฟท็อป) เพื่อใช้เอง (Self-Consumption) ก่อนน�ำส่วน ทีเ่ หลือใช้สง่ ขายการไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่าย (การไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค) ภายใต้กรอบก�ำลังผลิตติดตั้งครัวเรือนละไม่เกิน 10 กิโลวัตต์ (kWp) อัตราราคารับซือ้ ไฟฟ้าที่ 1.68 บาทต่อหน่วย ทีร่ ะยะเวลารับซือ้ ไฟฟ้า รวม 10 ปี โดยมีสาระส�ำคัญโดยสรุปดังนี้

โดยมีกำ� หนดจ่ายไฟฟ้าเข้าระบบเชิงพาณิชย์ ภายในปี พ.ศ. 2562 เงินลงทุนประมาณ 30,000-50,000 บาทต่อ kWp ขนาดพื้นที่เริ่มต้นที่จะติดตั้งไม่น้อยกว่า 7 ตารางเมตร ต่อ kWp ผูส้ นใจยืน่ ข้อเสนอเข้าร่วมโครงการควรศึกษาข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องอย่างละเอียดถีถ่ ว้ น โดยเฉพาะผลประโยชน์ทจี่ ะได้รบั ค�ำนึงถึงความคุม้ ทุนทีจ่ ะเกิดขึน้ ดูจากพฤติกรรมการใช้ ไฟฟ้าในครัวเรือนเป็นหลัก เปรียบเทียบกับปริมาณความต้องการและช่วงเวลาในการใช้ ไฟฟ้าในบ้านของตนเองก่อน เช่น หากมีปริมาณการใช้ไฟฟ้าช่วงกลางวันมาก ระยะเวลา ในการคุม้ ทุน ย่อมเร็วกว่า กล่าวคือ เน้นผลิตเองใช้เอง ก็เหมือนไม่ตอ้ งซือ้ ไฟฟ้าได้ประหยัด ค่าไฟประมาณ 3.80 บาทต่อหน่วย

1.

สาระส�ำคัญของระเบียบและประกาศ

1.1 ผูย้ นื่ ต้องเป็นบุคคลหรือนิตบิ คุ คล ทีร่ ะบุชอื่ ในใบแจ้งค่าใช้ไฟฟ้า ต้องเป็นผูใ้ ช้ไฟฟ้าประเภทที่ 1 ตามประกาศอัตราค่าไฟฟ้าของการไฟฟ้าฝ่าย จ�ำหน่าย ติดตั้งไม่เกิน 10 kWp ต่อครัวเรือน 1.2 จะพิจารณาแบบเรียงล�ำดับก่อนหลังตามความพร้อม (First Come, First Served) 1.3 อัตรารับซือ้ ไฟฟ้าก�ำหนดไว้ไม่เกิน 1.68 บาท/หน่วย ภายใต้อายุ สัญญาซื้อขายไฟฟ้า 10 ปี 1.4 ผูย้ นื่ ต้องมีแบบแผงวงจรไฟฟ้า (Single Line Diagram) รวมทัง้ รายละเอียดอุปกรณ์ติดตั้งตามมาตรฐานที่การไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่ายก�ำหนด โดยมีวิศวกรไฟฟ้าที่มีใบประกอบวิชาชีพลงนามรับรอง 1.5 ผู้ยื่นต้องมีรายการค�ำนวณความแข็งแรงของโครงสร้างหลังคา โดยมีวศิ วกรโยธาทีม่ ใี บประกอบวิชาชีพลงนามรับรอง (*เมือ่ ได้รบั การพิจารณา เข้าร่วมโครงการแล้ว ให้ยื่นรายการค�ำนวณฯ แจ้งส�ำนักงานโยธาธิการ ในแต่ละท้องถิ่นเพื่อทราบ) 1.6 ให้ผู้ยื่นลงทะเบียนโครงการโซลาร์ภาคประชาชนออนไลน์ ผ่าน 2 ช่องทาง MEA : https://spv.mea.or.th, PEA : https://ppim.pea.co.th 1.7 รอการแจ้งผลการพิจารณาตามล�ำดับการยืน่ และความครบถ้วน ของเอกสารจากการไฟฟ้าฝ่ายจ�ำหน่าย ผ่านทาง E-mail และเว็บไซต์ของ การไฟฟ้า ตั้งแต่มิถุนายน 2562 เป็นต้นไป 1.8 เมื่อผ่านการพิจารณา ให้ช�ำระค่าใช้จ่ายและลงนามในสัญญา ซือ้ ขายไฟฟ้า โดยมีคา่ ใช้จา่ ยด้านเครือ่ งวัดหน่วยไฟฟ้าตลอดระยะเวลาสัญญา ซื้อขายไฟฟ้า 10 ปี 1.9 จากนั้นให้ยื่นขอจดแจ้งยกเว้นไม่ต้องขอรับใบอนุญาตการผลิต ไฟฟ้าต่อส�ำนักงาน กกพ. ผ่านระบบออนไลน์

14

2.

สิ่งที่ควรท�ำก่อนเริ่มโครงการการผลิตไฟฟ้า ด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทย

อันดับแรก ควรออกแบบตัวอาคารบ้านพักอาศัยให้ใช้พลังงานน้อย ปรับปรุงอาคาร ให้รบั ความร้อนจากแสงอาทิตย์เข้ามาสูภ่ ายในให้นอ้ ยทีส่ ดุ ทิศทางและปริมาณกระแสลม ที่ไหลผ่านตัวอาคารต้องท�ำหน้าที่ถ่ายเทความร้อนภายในบ้านอย่างเหมาะสม เบื้องต้น สามารถท�ำได้งา่ ยๆ เช่น ติดตัง้ ฟิลม์ กันความร้อนทีก่ ระจก มูล่ ี่ Shading ปรับปรุงภูมทิ ศั น์ โดยการปลูกต้นไม้เพื่อลดอุณหภูมิบริเวณอาคาร และเป็นการช่วยกรองอากาศและฝุ่น อันดับสอง ติดตั้งและปรับปรุงอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าให้มีประสิทธิภาพสูง เช่น หลอดแสงสว่าง LED เครื่องปรับอากาศเบอร์ 5 HIGH EER เมือ่ พิจารณาด�ำเนินการดังรายละเอียดข้างต้นแล้ว จึงมุง่ เน้นไปทีต่ ดิ ตัง้ เทคโนโลยี การผลิตพลังงานด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ใช้ในอาคารบ้านพักอาศัย เพือ่ ช่วยกันประหยัด พลังงานส�ำหรับโลกอนาคต ซึง่ ในต่างประเทศการลงทุนลงเงินเพือ่ ผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน หมุนเวียน พลังงานสะอาด ในกรณีพลังงานจากเซลล์แสงอาทิตย์ สิง่ ส�ำคัญทีต่ อ้ งค�ำนึงถึง อย่างแรก คือการเลือกอุปกรณ์เครือ่ งใช้ไฟฟ้าทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง (High Energy Efficiency) เพือ่ ให้เกิดการบริหารจัดการพลังงานในภาพรวมของประสิทธิภาพพลังงานสูงทีส่ ดุ (DSM) ลดการสูญเสียในระยะยาว

GreenNetwork4.0 May-June 2019


3.

ติดตั้ง Solar PV Rooftop 2-3 kWp ผลิตใช้เอง 100%

ปัจจัยสู่ความส�ำเร็จของโครงการ โซลาร์ภาคประชาชนส�ำหรับผู้ยื่น

ผู้ยื่นต้องผลิตไฟฟ้าเพื่อใช้เองเป็นหลัก  ผูย ้ นื่ ควรมีความรูเ้ บือ้ งต้นในการบ�ำรุงรักษา เพือ่ การใช้ไฟฟ้าทีม่ ปี ระสิทธิภาพ  ผู ้ ยื่ น ต้ อ งมี ค วามเข้ า ใจในลั ก ษณะการผลิ ต กระแสไฟฟ้ า จากพลั ง งาน แสงอาทิตย์ในแต่ละช่วงเวลาทั้งกลางวันและกลางคืน  ผู้ยื่นต้องมีโครงสร้างหลังคาที่แข็งแรงสามารถรองรับน�้ำหนักของแผง และน�้ำหนักจากพนักงานที่ขึ้นไปซ่อมบ�ำรุงได้ 

คืนทุนประมาณ 6 ปี ติดตั้งขนาด kWpพอดีกับการใช้ไฟฟ้าใช้ไฟช่วงเวลาระหว่างวัน

เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้า ใช้งานช่วงเวลาระหว่างวัน

เงินลงทุน ขนาดพื้นที่ที่ต้องการ น�้ำหนักแผง พลังงานไฟฟ้าผลิตได้เฉลี่ยต่อ 1 kWp (CF17%) ขนาดติดตั้ง ใช้พื้นที่ น�้ำหนักแผง ค่าเปลี่ยนดิจิตอลมิเตอร์ เงินลงทุนแผงและระบบ พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ การสนับสนุน อัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ เงินลงทุนรวม ระยะเวลาคืนทุน

30,000 บาท/kWp 7 m2/kWp 83 kg/kWp 1,489 หน่วย/ปี 2-3 kWp 14-21 m2 166-249 kg 7,500 บาท 60,000-90,000 บาท 2,978-4,467 หน่วย/ปี บ้านอยู่อาศัย ผลิตไฟฟ้าใช้เอง 100% 3.8 บาท/kWp 11,316-16,975 บาท/ปี 67,500-97,500 บาท 5.97-5.74 ปี

ติดตั้ง Solar PV Rooftop 8 kWp ผลิตใช้เอง 50% ขายส่วนเกิน 50%

Example

เงินลงทุน ขนาดพื้นที่ที่ต้องการ น�้ำหนักแผง พลังงานไฟฟ้าผลิตได้เฉลี่ยต่อ 1 kWp (CF17%) ขนาดติดตั้ง ใช้พื้นที่ น�้ำหนักแผง ค่าเปลี่ยนดิจิตอลมิเตอร์ เงินลงทุนแผงและระบบ พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ การสนับสนุน

POWER

อัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ อัตรารับซื้อไฟฟ้าส่วนเกิน เงินจากการขายไฟฟ้าส่วนเกิน เงินลงทุนรวม ระยะเวลาคืนทุน

กรณีโหลดการใช้ไฟฟ้าช่วงเวลากลางวันของบ้านอยู่อาศัย ประมาณ 4 กิโลวัตต์

เงินลงทุน ขนาดพื้นที่ที่ต้องการ น�้ำหนักแผง พลังงานไฟฟ้าผลิตได้เฉลี่ยต่อ 1 kWp (CF17%)

30,000 7 83 1,489

บาท/kWp m2/kWp kg/kWp หน่วย/ปี

30,000 บาท/kWp 7 m2/kWp 83 kg/kWp 1,489 หน่วย/ปี 8 kWp 56 m2 664 kg 7,500 บาท 240,000 บาท 11,912 หน่วย/ปี บ้านอยู่อาศัย ผลิตใช้เอง 50% ขายส่วนเกิน 50% 3.8 บาท/kWp 22,633 บาท/ปี 1.68 บาท/kWp 10,006 บาท/ปี 247,500 บาท 7.58 ปี

ติดตั้ง Solar PV Rooftop 8 kWp ไม่มีการใช้ไฟฟ้าช่วงกลางวัน

เงินลงทุน ขนาดพื้นที่ที่ต้องการ น�้ำหนักแผง พลังงานไฟฟ้าผลิตได้เฉลี่ยต่อ 1 kWp (CF17%) ขนาดติดตั้ง ใช้พื้นที่ น�้ำหนักแผง ค่าเปลี่ยนดิจิตอลมิเตอร์ เงินลงทุนแผงและระบบ พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้ การสนับสนุน อัตราค่าไฟฟ้าเฉลี่ย ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ อัตรารับซื้อไฟฟ้าส่วนเกิน เงินจากการขายไฟฟ้าส่วนเกิน เงินลงทุนรวม ระยะเวลาคืนทุน

4.

30,000 บาท/kWp 7 m2/kWp 83 kg/kWp 1,489 หน่วย/ปี 8 kWp 56 m2 664 kg 7,500 บาท 240,000 บาท 11,912 หน่วย/ปี บ้านอยู่อาศัย ไม่มีการใช้ไฟฟ้าช่วงกลางวัน 3.8 บาท/kWp 0 บาท/ปี 1.68 บาท/kWp 20,012 บาท/ปี 247,500 บาท 12.37 ปี

การปรับใช้กับประเทศไทย

https://www.khonkaenlink.info/home/news 15

GreenNetwork4.0 May-June 2019

ในประเทศไทยมี ศั ก ยภาพด้ า นพลั ง งาน แสงอาทิตย์ค่อนข้างดี แต่มีความหลากหลายด้าน สภาวะแวดล้อม เช่น บริเวณทีม่ แี สงอาทิตย์อณ ุ หภูมิ สูง บริเวณที่มีความชื้นสูง บริเวณที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัย อยู่หนาแน่น จึงควรเลือกอุปกรณ์ที่มีมาตรฐาน และ ติดตั้งระบบป้องกันการเสื่อมถอยของอุปกรณ์และ การถูกรุกรานจากสิ่งมีชีวิตในบริเวณที่มีความเสี่ยง เพือ่ ป้องกันความเสียหายทีอ่ าจเกิดขึน้ ได้ อีกทัง้ จะเกิด ภาพลักษณ์ที่ไม่ดีต่อการผลิตพลังงานแสงอาทิตย์ ในอนาคตด้วย


GREEN

Focus พิชัย ถิ่นสันติสุข

เมื่อกัญชา ไม่ใช่ยาผีบอก

จากภูมิปัญญาชาวบ้าน สู่การแพทย์เชิงประจักษ์

กัญชา กัญชา เป็นยาวิเศษ...ฮ้า ไฮ้ ฮ้า ไฮ้ กว่า 6 เดือนมาแล้ว ที่เรื่องราว ของกัญชาวิ่งเข้าหาคนไทย ไม่ว่าท่านจะเป็นนักการเมือง แพทย์ นักการศึกษา นักวิจัย วิสาหกิจชุมชน เกษตรกร ฯลฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ป่วยเป็นมะเร็งที่รอวันจากไปหรือ เป็นเบาหวานทีน่ บั วันต้องเพิม่ ยา โรคพาร์กนิ สัน อัลไซเมอร์ ปลอกประสาทอักเสบ รวมทัง้ โรควิตกกังวล (Generalized Anxiety) โรคผิวหนัง เช่น สะเก็ดเงิน โรคหนังเกล็ดปลา ผิวหนังอักเสบ รวมถึงมะเร็งผิวหนัง โรคต่างๆ เหล่านี้ทางกระทรวงสาธารณสุขใช้ค�ำว่า “เป็นโรคทีส่ ารสกัดจากกัญชา น่าจะมีประโยชน์ในการควบคุมอาการของโรค” มาพร้อม ศัพท์ใหม่แทน “ยาผีบอก” ด้วยค�ำว่า “การแพทย์เชิงประจักษ์” (Evidence-Based Medicine) เป็นกระบวนการเวชปฏิบตั โิ ดยอิงการวิจยั ทีเ่ ชือ่ ถือได้ ประสบการณ์ของคลินกิ จากผูเ้ ชีย่ วชาญ รวมทั้งความคาดหวังของผู้ป่วย และคุณค่าที่จะได้รับ

16

กัญชา เป็นพืชดอกล้มลุก สูง 120-150 ซม. ในแถบเอเชียกลาง ใน ตระกูล Cannabaceae ในภาษาอังกฤษเรียกกัญชาว่า Cannabis, Hemp, Marijuana เป็นพืชที่มีต้นตัวผู้และตัวเมียอยู่แยกกันคนละต้น สารทางยา ได้แก่ สารแคนนาบินอยด์ (Cannabinoids) มีมากกว่า 100 ตัวยา ที่ส�ำคัญ คือ เตตร้าไฮโดรแคนนาบินอล (THC : Tetrahydrocannabinol) ซึ่งมีมาก ในยอดดอกกัญชา เป็นสารทีม่ ผี ลกระตุน้ ระบบประสาท จึงควรมีการใช้อย่าง ระมัดระวัง  ท่านทีเ่ ริม ่ จะสนใจเรือ่ งของกัญชาและกัญชง ควรเริม่ จากชือ่ ต่างๆ ซึ่งน่าสับสนทั้งชื่อไทยและชื่อภาษาอังกฤษ เนื่องจากมีสารที่มีประโยชน์ ต่อเนือ่ งกัน กัญชา คนไทยมักเรียกว่า Cannabis ซึง่ เป็นชือ่ เรียกรวมๆ ของ กลุม่ กัญชาทีถ่ กู ต้อง ถ้าหมายถึงกัญชา ควรใช้คำ� ว่า Marijuana (มาริฮวนนา) เนื่องจากมีคุณสมบัติทางยาแตกต่างกัน ส่วนกัญชงนิยมเรียกว่า Hemp (เฮมพ์) จึงเป็นความเหมือนทีแ่ ตกต่าง นอกจากนี้ ยังมีเรือ่ งควรรูว้ า่ ปัจจุบนั กฎหมายไทยได้รวมกัญชาและกัญชงไว้เป็นพืชสมุนไพรควบคุมกลุม่ เดียวกัน หากจะเข้าใจกัญชาแบบง่ายๆ ก็คือ กัญชากับกัญชงเป็นของคู่กัน เหมือนไข่ขาวกับไข่แดง ต่างเอื้อคุณค่าซึ่งกันและกัน กัญชามีสารที่เรียกว่า CBD ต�ำ่ แต่มี THC สูงทีท่ ำ� ให้เกิดอาการเคลิบเคลิม้ (เมา) ส่วนกัญชงมี CBD สูง และมี THC ต�่ำ นอกจากนี้ยังมีส่วนช่วยลดอาการเคลิบเคลิ้มอีกด้วย เรามาดูกนั ว่าในทางการแพทย์แล้ว กัญชาและกัญชง มีประโยชน์ใน เชิงประจักษ์อย่างไร บทความจาก Infographic Thailand สารที่พบในกัญชา คือ สาร Cannabinol, Cannabidiol, Tetrahydrocannabinol (THC) และยังพบน�ำ้ มันระเหย เช่น Cannabichromenic Acid, Linolledie Acid, Lecihin, น�้ำมัน โปรตีน วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 Choline เป็นต้น ยางจากช่อดอกเพศเมียมีสารเสพติดหลายชนิด เช่น Tetrahydrocannabinol กลุ่มนักวิทยาศาสตร์ได้น�ำสาร THC มาศึกษาทดลองทางคลินิก โดยน�ำมาใช้รกั ษาในหลายอาการ เช่น ลดอาการปวด ลดอาการลดเกร็งและ ชักกระตุกของกล้ามเนือ้ อาการของโรคทางกระเพาะปัสสาวะ โรคพาร์กนิ สัน โรคลมชัก โรคอัลไซเมอร์ ซึง่ ผลการตอบสนองของการรักษาเป็นไปในทิศทาง ที่ดี สาร Cannabinol มีฤทธิ์ท�ำให้เคลิ้มฝัน ยับยั้งการจับตัวของ เกล็ดเลือด สารในกลุ่ม Cannabinol มีฤทธิ์ระงับอาการปวด พบว่าผู้ชายที่ สูบกัญชาวันละ 8-20 มวน เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ จ�ำนวนเชื้อของอสุจิจะ ลดลง เมล็ดกัญชาที่สกัดด้วยแอลกอฮอล์ แล้วน�ำมาแยกสารจาก แอลกอฮอล์อกี ที จะได้สารทีม่ ลี กั ษณะเป็นสารเหนียวคล้ายกับนมผึง้ เมือ่ น�ำ มาฉีดเข้าในล�ำไส้เล็กของแมวทีถ่ กู ท�ำให้สลบในปริมาณ 2 กรัมต่อน�ำ้ หนักตัว 

GreenNetwork4.0 May-June 2019


1 กิโลกรัม จะพบว่าหลังจากฉีดยาผ่านไปแล้วครึ่งชั่วโมง ความดันโลหิตจะลดลง ไปครึ่งหนึ่งจากระดับปกติ แต่มีระดับการหายใจปกติ ไม่มีเปลี่ยนแปลง จากการทดลองในห้องแล็บพบว่า Cannabidiol สามารถรักษาแผลใน เซลล์ลำ� ไส้ทเี่ กิดจากอาการอักเสบของโรค Crohn’s Disease ได้ เนือ่ งจากมีคณ ุ สมบัติ เป็นตัวดูดซับอนุมูลอิสระซึ่งเป็นอันตรายต่อเซลล์ Cannabidiol จึงช่วยชะลอการ ท�ำงานของเซลล์ภูมิต้านทาน Microglia ที่อาจจะถูกกระตุ้นจากอนุมูลอิสระมาก เกินไปและท�ำให้เกิดการอักเสบมากขึ้น โดยการทดสอบนี้เกิดขึ้นในสมองและตา จากการทดสอบในตาจึงอาจน�ำไปสู่การใช้ในผู้ป่วยเบาหวานที่ก�ำลังจะสูญเสียตา ได้อีกด้วย จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์จากเมืองมาดริด ประเทศสเปน ได้พบว่าสาร THC สามารถฆ่าเซลล์มะเร็งในสมอง ผิวหนัง และตับอ่อนได้ โดย THC จะท�ำลายกระบวนการเกิดมะเร็ง โดยเนือ้ ร้ายจะสร้างร่างแหเส้นเลือดขึน้ เลีย้ ง ตนเองและป้องกันไม่ให้เซลล์มะเร็งเคลือ่ นย้ายไปทีอ่ นื่ จากนัน้ สาร THC จะเข้าไป จับกับโปรตีนรีเซพเตอร์บนผิวเซลล์มะเร็ง กระตุ้นเซลล์สร้างสารประเภทไขมัน ทีเ่ รียกว่า “Ceramide” แล้วท�ำให้เซลล์ทำ� ลายตัวเอง โดยไม่สง่ ผลต่อเซลล์ดี และ รายงานก่อนหน้านี้ยังแสดงให้เห็นว่า THC สามารถต่อสู้กับมะเร็งเต้านมและโรค ลูคเี มียได้อกี ด้วย นอกจากนีย้ งั มีการทดสอบกัญชากับเบาหวาน โรคอักเสบตามข้อต่อ การอุดตันของเส้นเลือดเลีย้ งสมอง โรคจิตเสือ่ ม และโรคลมบ้าหมูอกี ด้วย สาร THC สามารถช่วยเร่งให้หนูทดลองลืมประสบการณ์ทไี่ ม่ดไี ด้เร็ว ส�ำหรับในคนสาร THC ที่อยู่ในรูปแคปซูลจะท�ำให้นอนหลับดีขึ้น และหยุดฝันร้ายได้

ในทางการแพทย์นั้นได้มีการใช้กัญชาเพื่อบ�ำบัดรักษาอาการเจ็บป่วยได้ หลายอย่าง ในประเทศอเมริกานั้นยังออกกฎหมายให้สามารถน�ำกัญชามาใช้ใน ทางการแพทย์ได้ถึง 14 รัฐ

“ส�ำหรับประเทศไทย กัญชา/กัญชง ได้ก้าวข้ามแพทย์แผนไทยสู่การแพทย์เชิงประจักษ์” กัญชายาวิเศษ ของก�ำนัลจากสวรรค์ให้กับคน เอเชียใต้รวมทัง้ ประเทศไทย ซึง่ เกือบจะตกเป็นสิทธิบตั ร ของชาวตะวันตกทีม่ กี ารพัฒนาด้านการแพทย์กา้ วหน้า กว่าเรา ก็หวังว่ากรมทรัพย์สนิ ทางปัญญา จะพิจารณา การขอสิทธิบัตรอย่างรอบคอบไม่ขัดกฎหมาย และ ทีส่ ำ� คัญไม่ขดั ต่อความรูส้ กึ คนไทย กระทรวงสาธารณสุข ต้องขยายการวิจยั พัฒนาและผลิตให้เพียงพอกับความ ต้องการของคนไทย จึงควรมีการเชือ่ มโยงการวิจยั พัฒนา กับภาคเอกชน เนือ่ งจากปริมาณทีต่ อ้ งผลิตในปัจจุบนั เกินก�ำลังของหน่วยงานเดิมที่ดูแล วันนี้เกจิอาจารย์ที่ เคยใช้กญ ั ชารักษามะเร็งมาช้านานไม่ตอ้ งหลบๆ ซ่อนๆ และยังสามารถพัฒนาต่อยอดสูก่ ารแพทย์เชิงประจักษ์ ตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุขอีกด้วย ความเห็ น เชิ ง ประจั ก ษ์ ผู ้ เ ขี ย นยอมรั บ ว่ า น�้ำมันกัญชา ซึ่งประกอบด้วยกัญชาและกัญชงที่ผลิต ตามภูมิปัญญาชาวบ้านและนักวิชาการมีผลต่อการ ซ่อมแซมส่วนทีส่ กึ หรอ ช่วยบรรเทาโรคไม่ตดิ ต่อหลาย โรคได้ประจักษ์จริงๆ หากเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนร่วม วิจัยพัฒนาและขยายการผลิต คนไทยจะมีผลิตภัณฑ์ ยาจากกัญชา/กัญชงที่คุณภาพดี มีความบริสุทธิ์ และ มีปริมาณ (Dose) ทีแ่ น่นอน ไม่ตา่ งจากผลิตภัณฑ์จาก ต่างประเทศที่สั่งซื้อได้ในขณะนี้

*ต้องขอบคุณเจ้าของข้อมูลทั้งหลายที่ได้คัดลอกมาลง หากข้อมูลคลาดเคลื่อนประการใดขออภัยเป็นอย่างสูง

17

GreenNetwork4.0 May-June 2019


SPECIAL

Scoop กองบรรณาธิการ

ประกาศเปลี่ยนชื่อบริษัท บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ได้เปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น

“บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)”

เพื่อให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์บริษัทฯ เป็นบริษัทชั้นน�ำด้านพลังงานและระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ที่มุ่งเน้นการสร้างมูลค่าในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก มีผลตั้งแต่วันที่ 17 เมษายน 2562 เป็นต้นไป

ราชบุรีโฮลดิ้ง เปลี่ยนชื่อเป็น

“บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)”

มุ่งสู่บริษัทชั้นน�ำด้านพลังงานและระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก บริษทั ผลิตไฟฟ้าราชบุรโี ฮลดิง้ จ�ำกัด (มหาชน) ประกาศเปลีย่ นชือ่ บริษทั เป็น “บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)” (ชื่อภาษาอังกฤษ RATCH Group Public Company Limited) ตามมติทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ เมือ่ วันที่ 12 เมษายน ทีผ่ า่ นมา เพือ่ ให้สอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ทมี่ งุ่ มัน่ สูก่ ารเป็นบริษทั ชัน้ น�ำด้านพลังงานและระบบ สาธารณูปโภคพื้นฐาน ที่มุ่งเน้นการสร้างมูลค่าในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยมีผล ตัง้ แต่วนั ที่ 17 เมษายน 2562 เป็นต้นไป ทัง้ นี้ “RATCH” ยังคงใช้เป็นชือ่ หลักทรัพย์ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดังเดิม กิจจา ศรีพัฑฒางกุระ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ราช กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า การเปลีย่ นชือ่ ใหม่ เป็ น การแสดงให้ เ ห็ น ความชั ด เจน ในเป้ า หมายการเติ บ โตของบริ ษั ท ฯ ที่ ต ้ อ งการขยายฐานธุ ร กิ จ สู ่ ร ะบบ สาธารณูปโภคพืน้ ฐาน และธุรกิจทีเ่ กีย่ ว เนื่องกับพลังงานและไฟฟ้า นอกเหนือ จากธุรกิจผลิตไฟฟ้าซึ่งเป็นธุรกิจหลัก ทั้งนี้ บริษัทฯ มีเป้าหมายสร้างมูลค่า กิจการให้เติบโตถึง 200,000 ล้านบาท กิจจา ศรีพัฑฒางกุระ ในปี พ.ศ. 2566 โดยการลงทุนในโครงการ

ระบบสาธารณูปโภคพืน้ ฐานภายในประเทศและต่างประเทศจะขับเคลือ่ นเป้าหมายนี้ อย่างมีนัยส�ำคัญ “บริษทั ฯ คาดหมายว่า การลงทุนในระบบสาธารณูปโภคพืน้ ฐานจะเติบโตขึน้ และมีสดั ส่วนประมาณ 25% ของการลงทุนรวมทัง้ หมดในปี พ.ศ. 2566 ด้วยชือ่ ใหม่ “ราช กรุป๊ ” ทีจ่ ดจ�ำง่ายขึน้ จะช่วยให้การวางต�ำแหน่งของบริษทั ฯ ในธุรกิจอืน่ นอก ธุรกิจผลิตไฟฟ้ามีความชัดเจนมากยิง่ ขึน้ การเปลีย่ นชือ่ ใหม่ครัง้ นีเ้ ป็นการรีแบรนด์ ครัง้ แรกของบริษทั ฯ นับตัง้ แต่กอ่ ตัง้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2543 โดยมุง่ หวังจะยกระดับความเป็น สากลขององค์กร เพือ่ ตอบสนองเป้าหมายการขยายธุรกิจในต่างประเทศมากขึน้ และ ก้าวสูก่ ารเป็นบริษทั ชัน้ น�ำในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟกิ ทีส่ ามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ ควบคูก่ บั การดูแลรักษาสิง่ แวดล้อม จรรโลงประโยชน์แก่สงั คมและประเทศชาติดว้ ย” กิจจา กล่าว ชื่อ “ราช กรุ๊ป” ได้ยึดค�ำว่า “ราช หรือ RATCH” ซึ่งเป็นชื่อที่ผู้มีส่วนได้เสีย รู้จักและจดจ�ำมาใช้เป็นชื่อใหม่ และยังมีความหมายที่ดี สื่อถึงความยิ่งใหญ่ ความเจริญรุง่ เรือง และการผสานพลังของกลุม่ บริษทั ฯ ส�ำหรับตราสัญลักษณ์ สือ่ ถึง พลังของการเคลือ่ นไหวของ “ราช กรุป๊ ” ทีจ่ ะเติบโตเป็นผูน้ ำ� ในธุรกิจผลิตไฟฟ้า ระบบ สาธารณูปโภคพืน้ ฐาน และธุรกิจเกีย่ วเนือ่ งอืน่ ๆ ด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมและ สิง่ แวดล้อม เพือ่ สร้างสรรค์คณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ี และเพิม่ ความสุขให้กบั ทุกคนในอนาคต

บมจ. ราช กรุ๊ป [เดิมชื่อ บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จ�ำกัด (มหาชน)] ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2543 มีทุนจดทะเบียนจ�ำนวนทั้งสิ้น

14,500 ล้านบาท มีการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยเป็นผูถ้ อื หุน้ ใหญ่สดั ส่วน 45% บริษทั ฯ ด�ำเนินธุรกิจในลักษณะของบริษทั โฮลดิง้ โดยลงทุนถือหุน้ ผ่านบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมทุนทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ การลงทุนมุง่ เน้นธุรกิจผลิตไฟฟ้าเป็นหลัก ต่อมาได้ขยายการลงทุนสูร่ ะบบสาธารณูปโภค พืน้ ฐานและธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับไฟฟ้าและพลังงาน ปัจจุบนั บริษทั ฯ มีการลงทุนโครงการต่างๆ ใน 5 ประเทศ ประกอบด้วย ไทย สปป.ลาว ออสเตรเลีย จีน และอินโดนีเซีย ประเทศไทยถือเป็นฐานประกอบธุรกิจหลัก สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.ratch.co.th 18

GreenNetwork4.0 May-June 2019


GREEN

Article ศ. ดร.สุรพงศ จิระรัตนานนท บัณฑิตวิทยาลัยรวม ดานพลังงานและ สิ่งแวดลอม

การใชพลังงานรังสีอาทิตย

ทําความเย็น และลดความชื้น ในอากาศ

ประเทศไทยตัง้ อยูใ นเขตรอนชืน้ อาคารธุรกิจจึงจําเปนตองใชระบบปรับอากาศ โดยสัดสวนการใชไฟฟาที่ใชปรับอากาศในภาคอาคารอยูที่ 15% ของไฟฟาที่ใชทั้ง ประเทศ และสัดสวนการใชพลังงานไฟฟาทัง้ หมดในอาคาร รอยละ 60 มาจากภาระ การปรับอากาศ โดยภาระของระบบปรับอากาศประกอบไปดวย ภาระจากความรอน สัมผัส (Sensible Load) และ ภาระจากการลดความชืน้ ของอากาศ (Latent Load) ดังนัน้ การปรับอากาศมีผลตอความมัน่ คงดานพลังงานและตอการใชทรัพยากรของ ประเทศ อีกทัง้ ยังเปนปจจัยสําคัญหนึง่ ในการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออกสู บรรยากาศในปริมาณมาก หากสามารถนําระบบทําความเย็นและลดความชืน้ ทีใ่ ช พลังงานรังสีอาทิตยมาใชได การใชไฟฟาในอาคารจะลดลงไดมาก ซึง่ นอกจากชวย ลดการใชเชือ้ เพลิงเพือ่ ผลิตไฟฟา ยังสามารถชวยลดความจําเปนในการลงทุนและ ลดขนาดของทุนที่ตองใชเพื่อสรางโรงไฟฟาเพิ่มขึ้นในอนาคต และยังชวยลดการ ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดดวย ระบบทําความเย็นรังสีอาทิตยเปนระบบที่ใชพลังงานรังสีอาทิตย ซึ่งเปน พลังงานที่สะอาดและไดมาฟรีมาเปนตัวขับเคลื่อนใหกับระบบ ระบบทําความเย็น รังสีอาทิตยที่ใชกันอยูทั่วไปนั้นจะมีแผงรับรังสีอาทิตยเพื่อใชในการผลิตนํ้ารอน ซึ่งในกรณีนี้อาคารธุรกิจและบานอยูอาศัยที่ไมใชโรงงานอุตสาหกรรมหรือไมมี โรงงานอุตสาหกรรมอยูใ กล แตมพี นื้ ทีท่ รี่ บั รังสีอาทิตยไดและติดตัง้ แผงผลิตนํา้ รอน จากรังสีอาทิตยได เชน พืน้ ทีบ่ นหลังคา อาคารเชนนีอ้ าจติดตัง้ แผงผลิตนํา้ รอนจาก รังสีอาทิตยเพือ่ ใชผลิตนํา้ รอนจายใหแกเครือ่ งทําความเย็นแบบดูดกลืน โดยระบบนี้ จะใชสารดูดความชืน้ แบบดูดกลืน (Absorbent) มักมีสภาพเปนสารละลาย และมี โมเลกุลของสารถูกดูดกลืน (Absorbate) แทรกเขาระหวางโมเลกุลของสารดูดกลืน ซึง่ วัฏจักรการทํางานใชสารถูกดูดกลืนเปนสารทําความเย็น (Refrigerant) แตกตาง จากวัฏจักรการอัดไอทีใ่ ชสารไฮโดรคารบอนเปนสารทําความเย็น ระบบทําความเย็น ระบบนีไ้ ดเริม่ พัฒนามานานแลว และมีการใชงานแพรหลายในกรณีทมี่ แี หลงความรอน ทีม่ ตี น ทุนตํา่ เชนทีส่ นามบินสุวรรณภูมทิ ใี่ ชนาํ้ รอนทีผ่ ลิตไดจากแกสทีใ่ ชแลว หรือ ในโรงงานอุตสาหกรรมทีม่ แี หลงความรอนเหลือทิง้ เครือ่ งผลิตนํา้ เย็น (Absorption Chiller) ทีม่ ใี ชกนั แพรหลายใชสารดูดกลืนความชืน้ เปนลิเธียมโบรไมดและใชนาํ้ เปน สารทําความเย็น ในกรณีทมี่ พี นื้ ทีร่ บั รังสีอาทิตยเพียงพอ ระบบนีส้ ามารถใชรว มกับ 19

เครื่องทํานํ้าเย็นที่ใชไฟฟาอยางคุมคา โดยมีมูลคาใชจายรวมตํ่ากวาการใชไฟฟา ทําความเย็นอยางเดียว การลดความชืน้ อากาศในปจจุบนั กระทําโดยการใชระบบอัดไอนํา้ เพือ่ ใชกบั คอยลเย็นสําหรับลดความชืน้ อากาศ โดยการทําใหความชืน้ ในอากาศกลัน่ ตัวเปนนํา้ ระบบนี้ไมไดใชเพื่อควบคุมอุณหภูมิอากาศ แตใชเพื่อลดความชื้นอยางเดียว เชน ความตองการในการควบคุมความชื้นในหองสมุด ทําใหระบบนี้มีความสิ้นเปลือง เพราะมีการลดอุณหภูมอิ ากาศโดยไมจาํ เปน เพือ่ ลดการใชพลังงานในสวนนี้ จึงใช ระบบควบคุมความชืน้ อากาศอิสระมาแทนได โดยระบบนีจ้ ะใชสารทีค่ วามสามารถ ดูดซับความชื้นไดสูงชวยในการลดความชื้นของอากาศ ซึ่งการลดความชื้นโดยใช สารดูดความชืน้ นัน้ ไดรบั ความสนใจมากในปจจุบนั กระบวนการลดความชืน้ นีส้ ามารถ ลดความชื้นไดโดยไมตองมีการควบแนนความชื้นในอากาศเปนหยดนํ้า แตใชสาร ลดความชื้นดูดซับความชื้นจากอากาศชื้นที่มาสัมผัสโดยตรงกับสารลดความชื้น ทีแ่ หง เมือ่ การดูดซับถึงสภาวะอิม่ ตัวจะมีการนําสารดูดความชืน้ ทีใ่ ชแลวมาใชใหม ซึ่งทําไดโดยการใชความรอนจากพลังงานแสงอาทิตยหรือความรอนทิ้งมาทําให สารลดความชื้นแหง ระบบทําความเย็นรังสีแสงอาทิตยสามารถใชรับภาระความรอนสัมผัส ของอากาศไดดี และระบบลดความชืน้ อากาศใชลดภาระความรอนแฝงของอากาศ ไดดี โดยทัง้ สองระบบจะทํางานเปนอิสระจากกัน แตเมือ่ นําทัง้ สองระบบมาประยุกต ใชพรอมกัน สามารถชวยควบคุมอุณหภูมิและความชื้นของอากาศที่เขามาใชใน การปรับอากาศไดดกี วาการใชระบบทําความเย็นแบบทัว่ ไปอยางเดียว ซึง่ ทัง้ สอง ระบบมีการใชพลังงานไฟฟาที่นอยกวา นอกเหนือจากนั้นการใชระบบควบคุม ความชืน้ อากาศอิสระรวมกับระบบควบคุมอุณหภูมใิ นบริเวณทีต่ อ งการปรับอากาศ จะทําใหสามารถควบคุมทั้งความชื้นและอุณหภูมิแยกกันอยางอิสระโดยเด็ดขาด และมีประสิทธิภาพเชิงพลังงานสูงกวาและโดยรวมคุมคากวาระบบที่ใชอยูใน ปจจุบัน

โมเดลบานพลังงานสุทธิเปนศูนย และเครื่องลดความชื้นในอากาศ (D.O.A.S)

GreenNetwork4.0 May-June 2019


GREEN

People กองบรรณาธิการ

ดร.ทวีพร พูลเกษ

เฟรเซอรส พร็อพเพอรตี้ฯ ... เดินหนาติดตั้งโซลารเซลล ทุกอาคารใหเปนโรงงานสีเขียว การใช พ ลั ง งานทดแทนที่ ไ ด ม าจากพลั ง งานแสงอาทิ ต ย กํ า ลั ง ได รั บ ความนิยมอยางแพรหลาย โดยเฉพาะการติดตัง้ แผงโซลารเซลลในบานพักอาศัย อาคารสํานักงาน โรงแรม รีสอรท หรือภาคอุตสาหกรรม เพราะราคาของแผง โซลารเซลลไดปรับตัวลดลงอยางมากในปจจุบัน รวมทั้งพลังงานในสวนที่เหลือ จากการใชงานยังสามารถขายคืนใหแกภาครัฐไดอีกดวย เปนการลงทุนที่คุมคา จุดคุม ทุนทีต่ าํ่ เพราะใชระยะเวลาไมนานในการคืนทุน โดยเฉพาะในสวนของอาคาร โรงงานและอาคารคลังสินคาตางๆ ที่ตองการประหยัดพลังงานไฟฟาในการ ประกอบธุรกิจ

ธุรกิจพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม (Township) เปนกลุมธุรกิจที่ เฟรเซอรส พร็อพเพอรตี้ ประเทศไทย ไดขยายขอบเขตและตอยอดความ เชี่ยวชาญดานพัฒนาอสังหาริมทรัพยเพื่อการอุตสาหกรรม โดยดําเนินการ พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมบนทีด่ นิ ขนาดใหญ 4,300 ไร บริเวณถนนบางนาตราด กม.32 z

บริษทั เฟรเซอรส พร็อพเพอรตี้ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) หรือ FPT (ชือ่ เดิม ไทคอน) บริษทั ขามชาติจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยประเทศสิงคโปร มีแนวทางดําเนิน ธุรกิจอสังหาริมทรัพย ทั้งการเปนผูพัฒนา เจาของ และผูบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย หลากหลายประเภทแบบครบวงจร ภายใตการดําเนินงาน ประกอบดวย 4 ธุรกิจ ดังนี้ z ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยเพื่อการอุตสาหกรรม (Industrial Property) ซึ่งมีความเชี่ยวชาญดานพัฒนาอสังหาริมทรัพยเพื่อการอุตสาหกรรมมาอยางยาวนาน และมีโรงงานและคลังสินคาใหเชาทัง้ รูปแบบพรอมใช (Ready-Built) และพัฒนาตามความ ตองการของลูกคา (Built-to-Suit) โดยปจจุบันมีพื้นที่โรงงานและคลังสินคาภายใตการ บริหารจัดการกวา 2.72 ลานตารางเมตร ตัง้ อยูบ นทําเลยุทธศาสตรกวา 50 แหงทัว่ ประเทศ โดยมีกลุมลูกคาที่เปนบริษัทชั้นนําจากหลากหลายอุตสาหกรรมเขามาเชาพื้นที่โรงงาน และคลังสินคา z ธุรกิจดาตาเซ็นเตอรขนาดใหญ (Data Center) รุกตลาดดาตาเซ็นเตอรใน ประเทศไทย ดวยการพัฒนาดาตาเซ็นเตอรบนพืน้ ทีป่ ระมาณ 60,000 ตารางเมตร บนทําเล ยานถนนรามคําแหง ใจกลางกรุงเทพฯ z ธุรกิจสมารท โซลูชั่น (Smart Solutions) เปนกลุมธุรกิจที่จะมาตอยอดและ ชวยเพิม่ มูลคาใหกบั ลูกคาผานการนําเสนอเทคโนโลยีสมัยใหม อาทิ โคเวิรค กิง้ สเปซ และ โซลูชั่นดานนวัตกรรมหุนยนตและระบบอัตโนมัติ 20

GreenNetwork4.0 May-June 2019


® ³ ¶ นอกจากนี้Ç ยั£²ง เป ¾ |น ผู ºnส«นั ²บ สนุ « ¹น และผู ¿¦± ºnจ ั²ด การกองทรั ³¤ ® ¤²ส«ต qเ¾พื ¸่Æอ® การลงทุ ³¤¦ ¹น ในอสั Á ®«²ง หาริ ¬³¤µม¢ทรั ¤²พ ย£qแ¿ละสิ ¦±«µท ธิ µก ารเช ³¤¾ mา³อสั ®«²ง หาริ ¬³¤µม¢ทรั ¤²พ ย£qเ¾พื ¸่Æอ® อุ®¹ต สาหกรรม «³¬ ¤¤¢ ¾ ¤¾ ®¤q เฟรเซอรส« ¤Å พร็อ®พเพอร ¾ ®¤qต ี้¶Ç หรื ¬¤¸อ® u)75(,7v · “FTREIT” ซึ งÆ่ ¾ | เป น ® ¤² กองทรั«ส qต อุ®¹ต สาหกรรมและโลจิ «³¬ ¤¤¢¿¦±À¦ µส«ติ µก ส«qท ี่ใ¶ÆÁหญ ¬émท ี่ส¶Æ«ุด¹ ในประเทศไทย Á ¤±¾ ©Â £ ป zจ จุ ¹บ ัน² ¾ ¤¾ ®¤q เฟรเซอรส« ¤Å พร็อ®พเพอร ¾ ®¤qต ี้¶Ç ประเทศไทย ¤±¾ ©Â £ £²ยัง คงพั ²ฒ นา ³ ®£mา³ง อาคารเขี ®³ ³¤¾ ¶ย£วในกลุ ¨Á ¦¹mม¢โรงงานอุ À¤ ³ ®¹ต สาหกรรมและอาคารคลั «³¬ ¤¤¢¿¦±®³ ³¤ ¦²ง สิ«µน ค nา³อย mตอ®เนื ¾ ¸อ®่Æ ง ¤n ¢ ²น นี ¶ไ้ÂÇ ด nม¢นี ¶ โยบายติ À£ ³£ µด ตั ²ง้ Ç โซลาร À ¦³¤qเ¾ซลล ¦¦qใÁนหลายโครงการ ¬¦³£À ¤ ³¤ พรอ®มกั ·ซึ งÆ่ «± n ·ง การมี ³¤¢¶ส«ว¨m นร ¤mว¨มในการประหยั ¢Á ³¤ ¤±¬£²ด พลั ¦²ง งาน ³ À £®³ ³¤¾ ¶ สะทอ®นถึ โดยอาคารเขีย£ว¨ ® )37  n ³¤¤²บ รองมาตรฐาน ¤® ¢³ ¤ ³ /((' /HDGHUVKLS LQ (QHUJ\ ของ FPT ไดร¤ับ² การรั LEED (Leadership in Energy DQG (QYLURQPHQWDO 'HVLJQ ³ ¤±¾ ©«¬¤² ®¾¢¤µก า³ «ºสูง สุ«¹ด ใน Á and Environmental Design) จากประเทศสหรัฐ อเมริ ¤± ²บ *ROG ®¶ ³¤¤²บ รองมาตรฐาน ¤® ¢³ ¤ ³ ('*( ([FHOOHQFH ระดั Gold อีก ทั ²้งÇ ยั£²ง ผ mา³นการรั EDGE (Excellence ใน LQ 'HVLJQ IRU *UHDWHU (IILFLHQFLHV ¬¤¸ in Design for Greater Efficiencies) หรื®อ¢³ ¤ ³ ¨³¢¾ | มาตรฐานความเป น¾¦µ เลิ©ศÁ การออกแบบอาคารเพื ³¤®® ¿ ®³ ³¤¾ ¸่อÆ®ประสิ ¤±«µท ธิ µภ¡าพ ³ สํ«Ëา³หรั ¬¤²บ นโยบายการก À£ ³£ ³¤ mอ®สร «¤nา³งอาคารที ®³ ³¤ ¶่เƾป |น มิ¢µต รกั ¤ ²บ สิ«µ่งÆ แวดล ¿¨ ¦nอ®ม¢ ¦²ง งานจากการพั ³ ³ ³¤ ²ฒ นาติ ³ µด ตั ²ง ้Ç โซลาร À ¦³¤qเ¾ซลล ¦¦q และมาตรการดา³นประหยั ¿¦±¢³ ¤ ³¤ n ¤±¬£²ด พลั Á ¦¹ ในกลุm¢ม®³ ³¤À¤ ³ ¿¦± ¦² อาคารโรงงานและคลั ง«µสิ น nค³า ²นัÇ ้น  n ได¤ร² ับ¾ ¶ เกี£ย¤ µ รติ จ³ ¤ ¨¶ าก ดร.ทวี พ¤ ร ºพู¦ล¾ ª ¤® º เกษ รองผู จn ด²ั ³¤ ² การทั¨วÆ่  «³£ ³ ² ไป สายงานพั ฒ ³À ¤ ³¤ Á ³ ± º นาโครงการ ในฐานะผู¾เn ¶ชี£ยÆ่ ¨ ³é วชาญ เฟรเซอร«ส nด³า ³¤ ² นการพั ฒ ³®¹ นาอุ ต«³¬ ¤¤¢®£m สาหกรรมอย³า £² งยัÆ่ ง£¸ยื น ® ของ ¤µ บริªษ²ั ท ¾ ¤¾ ®¤q พร็®อ ¾ ®¤q พเพอร ต ¶Çี้ ¤±¾ ©Â £ Ë (ประเทศไทย) จํ³า ²กั ด ¢¬³  n (มหาชน) ไดÁใ¬nห ข®nอ ¢ºมู¦ล¾ ¶ เกี£Æย่ ¨ ² วกั บ ³¤ การ ¤Å ฒ ³¾ À À¦£¶ นาเทคโนโลยี¾เ ¸พื®อÆ่ ¦µ ผลิ ต ¦² พลั ง ³ «±®³ ¤n งานสะอาด พร®อ¢¿ ¨ ³ ³¤ ¤±¬£² มแนวทางการประหยั ด ²พั พลั ง ³ ² งาน ดั ง ¶นีÇ้ ¦² u ¤µ ³ ¤ ³¤ ¤±¬£²ด พลั ¦²ง งานและลดการใช ³ ¿¦±¦ ³¤Á nท รั¤²พ ยากร £³ ¤ “บริษªท ั² ฯ° ¢¶มีม¢าตรการประหยั ¤¤¢ ³ µ À £Â nพ ัฒ ² นาก ³ mอ®สร «¤nา³งอาคารเขี ®³ ³¤¾ ¶ย£วตลอดระยะเวลา ¨ ¦® ¤±£±¾¨¦³ ธรรมชาติ โดยได 5 ป d การสนั บ« ¹ สนุ น ³ ¬ m จากหน¨ว£ ³ ¡³ ¤² ยงานภาครั ฐÁ ³¤¤µ ในการริ¾เ¤µริÆ¢่ม ¶ทีÆ่ ผm³า ¢³ นมา ¿¦±Â n และได¤ร²ั บ ³¤« ² โครงการติ โซลาร ¤ºรู ฟ Åท็®อ ¾ ¸ ป เพื®อÆ่ ¦µ ผลิ ต i ไฟฟ³าÁ¬n ให ก บ²ั ¤± ³ ® ³ ² ประชาชน นอกจากนั นÇ้ À ¤ ³¤ µ ด ²ตั งÇ้ À ¦³¤q เรายั ได©ศ ก·ึ ª³¿¦± ² ษาและพั ฒ ³ µ นาติ ด ²ตั งÇ้ ¿ À ¦³¤q แผงโซลาร¾เ ¦¦q ซลลÁใ ¦¹ นกลุ¢มm ®³ ³¤À¤ ³ อาคารโรงงาน ¾¤³£²ง  n «³¬ ¤¤¢¿¦± ¦²ง สิ«µน ค nา³ มี¢¶ว¨ั²ต ถุ ¹ป ระสงค ¤±« qม¢ุ¹mง เน ¾ nน ให Á¬nเ¾กิ µด ประโยชน ¤±À£ q อุ®¹ต สาหกรรมและคลั ¢ ²น กั ²บ ทุ ¹ก ภาคส ¡³ «mว¨นในการใช Á ³¤Á nพ ลั¦²ง งานสะอาดที ³ «±®³ ¶่Æจ ะช ± mว¨ยประหยั £ ¤±¬£²ด ร¤mว¨มกั ทรั บทุ ก ¤±¾¡ ² ประเภท ทั งÇ้ ¤±¬£² ประหยั ด ¦² พลั ง ³  i งานไฟฟ³า ¤±¬£² ประหยั ด ¦² พลั ง ³ งาน ¤²พ ยากรเกื £³ ¤¾ ¸®อ ¹ นํ Ë้dzา ³ ¾¤³Â n ทางเราได ท˳ํา ¨³¢¾ n ความเข³าÁ ² ใจกั บ ¦¹ กลุm¢ม¦ºลู ก nค³า ¶ทีƾ่เ mช³า®³ ³¤¢³À £ ¦® อาคารมาโดยตลอด ¢³ mอ®วั¨²น เพราะผูnป ระกอบการจะใช ¾ ¤³± º ¤± ® ³¤ ±Á nพ ลั¦²ง งานไฟฟ ³  iา³ในปริ Á ¤µม¢าณที ³ ¶่Æส«ูºง มากต ใช จ³mา £ ย ¿ m แต¬ห³ ¾¦¸ ากเลื®อ Á n กใช®อ³ ³¤ ¶ าคารที ตÆ่ ดµิ ²ตั งÇ้ À ¦³¤q โซลาร¾เ ¦¦q ซลล ก«Åส็ ³¢³¤ ¦ ¡³¤± m ามารถลดภาระค³าÁ n ในส นนีÂไÇ้ nด¢ม³ ¾ | าก เป น ³¤ m การช¨ว£¦ n ยลดต น ¹ทุ น n ได จ³Ëาํ ¨ ¢¬³©³¦®¶ นวนมหาศาลอี ก ³ ¬ · ทางหนึ Æง่ v ” Á «m¨ว ¶ ดร.ทวี พ¤ ¦m ร กล³า¨ว ¤ ¨¶ 21

สํ«Ë³า¬¤² หรั บ®³ ³¤Á¬n อาคารให¾เ mช³า ® )37 ¿ m ของ FPT แบ ง®® ¾ | ออกเป น ¤±¾¡ ¸ 2 ประเภท คื®อ ¦¹ กลุm¢มÀ¤ ³ โรงงาน ®¹อุ ต«³¬ ¤¤¢¿¦± ¦² สาหกรรมและคลั ง«µสิ น nค³า ·ซึÆ ่งÁ «m ในส¨ว ® ®³ ³¤À¤ ³ ¦º นของอาคารโรงงานลู ก nค³า«mส¨ว Á¬ém นใหญ¾เ |ป น ¦¹ กลุm¢ม ®¹อุ ต«³¬ ¤¤¢£³ £ q สาหกรรมยานยนต อิ®µเ¾ล็¦Åก ทรอนิ ¤® µก ส«qแ¿ละชิ ¦± µน ้Ç ส«mว¨นอิ ®µเ¾ล็¦Åก ทรอนิ ¤® µก ส«q เป ¾ |น ต nน ± ¶ ขณะทีก ่Æ ลุ¦¹ม¢m ¦² คลั ง«µสิ น nค³า ¦ºลู ก nค³า«mส¨ว Á¬ém นใหญ¾เ |ป น ¦¹ กลุm¢ม®¹อุ ต«³¬ ¤¤¢À¦ µ สาหกรรมโลจิ«ส µติ ก«qส ¹ธุ¤ร µกิ จ nค³า ¦¶ ปลี ก ¾ | เป น nต น จะมีส«วm¨นร ·ซึÆ ่ง ¦¹ กลุm¢ม ºผูn ป¤± ® ³¤ ¶ ระกอบการที่ทÆ ํา˳สั«²ญ éญาเช é³¾ mา³อาคาร ®³ ³¤ ±¢¶ ¤mว¨มในการอนุ ¢Á ³¤® ¹ร¤ัก² ษªqพ ลั¦²ง งาน ³ ที ¶่Ƭห²ั น¢³Á n มาใช พ¦²ลั ง ³ «±®³ ®£m งานสะอาดอย³า ¦² งพลั ง ³ ¿« ®³ µ งานแสงอาทิ ต£qย ¾¤¶ เรี£ย  n กได¨วm³า¢¶มี«สm¨ว ¤m นร¨ว¢¢¸ มมื®อ ²กั น ¾ ¸ เพืÆ®่อ ³¤¤² การรั กªqษÀโ¦ Á ¶ ลกใบนีÇ้ «mสว¨นเป ¾ iา³หมายในอนาคตของบริ ¬¢³£Á ® ³ ® ¤µษªท ั² ฯ° ¶ทีว¨่Æ างนโยบายการติ ³ À£ ³£ ³¤ µด ตั ²ง้ Ç แผงโซลาร ¿ À ¦³¤qเ¾ซลล ¦¦q Á¬n ให ค¤ ¹ รบทุ ก®³ ³¤ ² อาคารนั นÇ้ £²ยั ง nต®อ ¢¶ งมี ก³¤ ² ารพั ฒ ³¿¦±©· นาและศึ กª³ n ษาข®อ¢ºมู¦ล®£m อย³า m งต®อ¾ ¸ เนื®Æอ่ À £¨³ ¿ ง โดยวางแผน การดํ³า¾ µ เนิ น ³ ¾ | งานเป น ¾ « ¾ «¿¤ ¤µ 2 เฟส เฟสแรก บริªษ² ัท° ± Ë ฯ จะดํ³า¾ µ เนิ น ³¤ µ การติ ด ²ตัÇ ้ง¿ À ¦³¤q แผงโซลาร¾เ ¦¦q ซลล ³¤ Ë ¨³¢ nอ®งการ ³¤ ¬¤¸ À£ ³£ บนหลัง คาโรงงานหรื หรือ®มี¢¶น โยบาย ¬¦² ³À¤ ³ ¬¤¸อ®คลั ¦²ง สิ«µน ค nา³ในกลุ Á ¦¹ม¢m ลู¦ºก ค nา³ผู ºเ¾n ช mา³ที ¶ม¢่Æ ค ี¶ วามต ® ® qก รด ¤ nา³นการพั ³¤ ²ฒ นาอย ³®£mา³งยั £²ง ่Æ ยื£¸น ที ¶ช ่Æ ด ั² เจน ¾ ·ซึง ่Æ ขณะนี ± ¶อ®้Ç ยู£ºร¤m ะหว ±¬¨mา³งการพิ ³¤ µจ ารณาและ ³¤ ³¿¦± ขององค ารของบริªษ² ัท° ฯ «Ëสํ³า¬¤² หรั บ¾ « ¶ เฟสทีÆ ่ 2 ¤±¾¢µน ความต ¨³¢ nอ®งการของลู ³¤ ® ¦º ก nค³า¡³£Á ¸ ประเมิ ภายในพืÇ้ น ¶ทีÆ ่บ¤µริ ก³¤ ® ¤µ จะขยายการติ ไปยั ง ¦¹ กลุm¢ม¦ºลู ก nค³า¤³£®¸ รายอืÆ ่นÄ ๆ ¾ ¸ เพืÆ®่อÁ¬n ให«ส³¢³¤ ¦µ ามารถผลิ ต ¦² พลั ง ³ «±®³ งานสะอาด ± £³£ ³¤ µ ด ²ตัÇ ้ง £² ¢®¹ต สาหกรรม «³¬ ¤¤¢ ¬¤¸ ®¢¢ºน ิตµ ี้ใ¶ÇÁกล ¦nเ¾คี ¶ย£งได  nอ®ีก¶ ด nว¨ย£ ใช หรือ®ภายในนิ หรือ®คอมมู Á nภ¡ายในอาคาร ³£Á ®³ ³¤ ¬¤¸ ¡³£Á µค มอุ À £ ³ ¨mา³จะเริ ±¾¤µ่มÆ¢ดํ Ëา³เนิ ¾ µน การในอี ³¤Á ®¶ก d โดยคาดว 3 ป “เรืÆ®่อ ® 6RODU (QHUJ\ ¶ u¾¤¸ งของ Solar Energy นีÇ ้ ในอนาคตจะเป Á ® ³ ±¾ |น มาตรฐานใหม ¢³ ¤ ³ Á¬¢mท ี่ท¶Æ ุก¹ หน ¬ mว¨ยงาน £ ³ จะได ±Â nต ระหนั ¤±¬ ²ก และเล็ ¿¦±¾¦Åง เห็ ¾¬Åน ความสํ ¨³¢«Ëา³คั ²ญ éในการมี Á ³¤¢¶ส«วm¨นร ¤mว¨มมื ¢¢¸อ®กั ²น ประหยั ¤±¬£²ด ทรั ¤²พ ยากร £³ ¤ ประหยั ¤±¬£²ด พลั ¦²ง งานที ³ ¶่นÆ ับ² วั¨²น จะเหลื ±¾¬¦¸อ®น nอ®ยลงทุ £¦ ¹ก วั¨²น ¢¢® ¨m ผมมองวา³ ³¤ µ การติด ตั ²้งÇ โซลาร À ¦³¤qเ¾ซลล ¦¦q หรื ¬¤¸อ®โซลาร À ¦³¤qร¤ูฟº ท็ Åอ®ป ¾ | เปน นวั ¨²ต กรรมเทคโนโลยี ¤¤¢¾ À À¦£¶ท ี่น¶Æ าm³ลงทุ ¦ ¹น ¾ ¸ เนื่อÆ®งจากให ³ Á¬nป ระโยชน ¤±À£ qใÁน ชาติ ·ซึÆ ่งÁ «m ในส¨ว ® นของ หลายแง ¬¦³£¿ m¢ม¹ุ¢ม ²ตัÇ้ ง¿ m แต¤ร± ² ะดั บ ¤® ¤² ครอบครั¨ว ¹ชุ¢ม ชน «²สั ง ¢ คม ¿¦±¤± ² และระดั บ ³ µ ผู ºnป ระกอบการ แน น® ¨m อนว³า«³¢³¤ ® À £q สามารถตอบโจทย ท³ ¹ างธุ¤ร µกิ จ nด¨ว£ ³¤ m ยการช¨ว£ ¤±¬£² ยประหยั ด งบ ¤± ® ³¤ ¿ m ¤±¢³  nใÁนภาพระยะยาว ¡³ ¤±£±£³¨ ±¾ ¶ ¨ ²น ในส Á «mว¨นของประชาชนที ® ¤± ³ ¶ต่ Æ ดิ µ ตั ²ง้ Ç บนหลั ¬¦²ง คา ³ ประมาณได ขณะเดีย£วกั ¶่อÆ®ยู£ºอm®าศั ³©²ย£ของตนเองนั ® ¾® ²้นÇ ก็ Åช วm¨ยลดค £¦ mา³ไฟฟ  iา³ลงอย ¦ ®£mา³งเห็ ¾¬Åน ได  nช ัด² เจน” ¾ v บ nา³นที

ทั ²Ç้ ง ¶นีÇ้ ¹จุ ด£¸ยื น¿¦± ³¤¾ µ และการเดิ น¬ n หน³า ²ขั บ¾ ¦¸ เคลืÆ่®อ À£ ³£ n นนโยบายด³า ³¤® ¹ นการอนุ¤ร² ักªqษ พ¦²ลั ง ³ งาน ® ¾ ¤¾ ®¤q ของเฟรเซอร«ส ¤Å พร็®อ ¾ ®¤q พเพอร ต ¶Çี้ ¤±¾ ©Â £ Á ¹ ประเทศไทย ในทุ กÀ ¤¾ q โปรเจกต ¬¤¸ หรื®อ ¹ทุ กÀ ¤ ³¤ m โครงการก®อ«¤n สร³า ง อาคารต ®³ ³¤ mา³ Ä งๆ ± ² จะพั ฒ ³Á¬n นาให¾เ |ป น®³ ³¤¾ ¶ อาคารเขี£ย¨ ว ±¾ ¶ ขณะเดี£ย¨ ² วกั น Åก็ จ± Ë ะดํ³า¾ µ เนิ น ³¤ µ การติ ด ²ตัÇ้ ง รบทุ ก®³ ³¤ · อาคาร จึ ง¾ | เป น แผงโซลาร ¿ À ¦³¤q¾เ ¦¦q ซลล ท ง²Çั้ Á ¦¹ ในกลุ¢mม ®³ ³¤«¤n อาคารสร³า Á¬¢m งใหม¿แ¦±®³ ³¤¾ m ละอาคารเก³าÁ¬n ให ค¤ ¹ ® qก รเอกชนที ¤¾® ¶ม¢่Æ ส«ี¶ ว¨m นร ¤mว¨มในการประหยั ¢Á ³¤ ¤±¬£²ด พลั ¦²ง งานด ³ nว¨ยการลงมื £ ³¤¦ ¢¸อ®ทํ ˳า ²ทั งÇ้ ยั£²ง ให Á¬n อี®¶ก หนึ ¬ ·ง ่Æ องค ¨³¢¤m ความร¨ว¢¢¸ มมื®อ ²กั บ¬ m หน¨ว£ ³ ¡³ ¤² ยงานภาครั ฐ nด¨ว£ ¸ ย ถื®อ¾ | เป น ¤µ บริªษ ท²ั ¾® ¶ เอกชนที Æบ่ ¤µริ ก³¤ n ารด¨ว£¬² ยหั¨วÁ «¶ ใจสี¾เ ¶ขี£ย¨ ว ®£m อย³า ¿ n งแท จ¤µริ ง ·จึ ง¢m ไม¿แ ¦ Á ¶ ปลกใจทีÆ ่ป¤±« ¨³¢«Ë ระสบความสํ³า¾¤Å เร็ จ nด³า ³¤ ² นการพั ฒ ³®£m นาอย³า £² งยัÆ ่ง£¸ยื น พร็®อ ¾ ®¤q พเพอร ต Ƕี้ ¤±¾ ©Â £ · ประเทศไทย จึ ง¾ µ เดิ น¬ n หน³า mต®อ£® ¨² ยอดนวั ต ¤¤¢ กรรม ²ดั ง ²นั นÇ้ ¾ ¤¾ ®¤q เฟรเซอร«ส ¤Å ¦µต พลั ¦²ง งานสะอาด ³ «±®³ สร «¤nา³งบรรทั ¤¤ ²ด ฐานการพั ³ ³¤ ²ฒ นาอย ³®£mา³งยั £²่Æง ยื£¸น ให Á¬nก ลุ¦¹มm¢ธุ ¹ร¤กิ µจ เพืÆ่อ®ผลิ ¾ ¸ ®«²ง หาริ ¬³¤µม¢ทรั ¤²พ ย£qเ¾พื ¸่อÆ®การอุ ³¤®¹ต สาหกรรม «³¬ ¤¤¢ อสั

GreenNetwork4.0 May-June 2019


GREEN

People

มาริสา สุโกศล หนุนภักดี

โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพ

กองบรรณาธิการ

… นํารองหองพักรักษโลก (Green Room) เพื่อเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน Green People ไดมีโอกาสรวมพูดคุยกับ มาริสา สุโกศล หนุนภักดี ถึงแนวคิดริเริ่มในการออกแบบหองพักรักษโลกหรือ Green Room วามี แรงบันดาลใจอยางไร และดําเนินการอยางไรบางเพือ่ ใหไดหอ งพักรักษโลกนี้ “หากจะถามเรือ่ งแรงบันดาลใจ ตองยอนไปเมือ่ ประมาณ 20 ปทแี่ ลว มีโอกาสเดินทางไปทองเทีย่ วทีป่ ระเทศเยอรมนี ไดสมั ผัสกับโรงแรมแหงหนึง่ ซึง่ เปนโรงแรมสไตลอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม ไดเห็นถึงการตระหนักดานการรักษา สิ่งแวดลอมของผูบริหารโรงแรมที่มีมาตรการโรงแรมสีเขียว นอกจากชวย รักษาสิง่ แวดลอมแลวยังสามารถตอบโจทยดา นธุรกิจไดดว ย สิง่ แวดลอมกับ ธุรกิจสามารถเดินไปดวยกันได กอปรกับกลุมโรงแรมในเครือสุโกศลก็ไดมี นโยบายสนับสนุนการอนุรักษพลังงาน การรักษาสิ่งแวดลอมของโรงแรม มาโดยตลอดเชนเดียวกัน จึงเปนการจุดประกายในความคิดทีท่ าํ ใหเกิดไอเดีย อยากทําโรงแรมสีเขียวบาง จึงไดออกแบบหองพักสไตลรกั ษโลกในระยะเริม่ ตน จะมีเพียง 22 หอง เพื่อใหเปนทางเลือกแกลูกคาที่สนใจหองประเภทนี้ และ หากมีแนวโนมที่ดีก็พรอมจะขยายจํานวนหองพักใหมากขึ้น”

การใสใจปญหาดานสิ่งแวดลอมเปนสิ่งที่หลายหนวยงานไดตระหนักและ ใหความสําคัญ รวมไปถึงกลุมธุรกิจผูประกอบการดานโรงแรม ซึ่งกรมสงเสริม คุณภาพสิง่ แวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ไดจดั โครงการ สงเสริมโรงแรมที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมใหผูประกอบการโรงแรมไดมีสวนรวม เพือ่ แสดงถึงความมีศกั ยภาพและมาตรฐานในการสงเสริมและอนุรกั ษอตุ สาหกรรม การทองเทีย่ วและสิง่ แวดลอมของไทยใหยงั่ ยืน เพือ่ การยกระดับโรงแรมสีเขียวของ ไทยสูความเปนผูนําของอาเซียน โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพ เปนโรงแรมระดับหาดาวทีเ่ ปนทีร่ จู กั กันดี ถือเปน หนึ่งในโรงแรมแรกในเขตเมืองที่ไดรับรางวัลดีเดนดานสิ่งแวดลอม ปจจุบันบริหารโดย มาริสา สุโกศล หนุนภักดี รองประธานกรรมการบริหารกลุมโรงแรมในเครือสุโกศล มี 5 โรงแรม คือ โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพ / โรงแรม เดอะ สยาม/ โรงแรม สยามเบยชอร พัทยา / โรงแรม เดอะ เบยววิ พัทยา และโรงแรม เวฟ พัทยา ซึง่ ทีผ่ า นมา โรงแรมในเครือไดดาํ เนินกิจกรรมดานการรักษาสิง่ แวดลอมมาโดยตลอด แตจะเปนกิจกรรม ที่ใหพนักงานมีสวนรวมมากกวา เมื่อเร็วๆ นี้ โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพ ไดเปดตัว หองพักสไตลรกั ษโลก หรือ Green Room เพือ่ เปนมิตรกับสิง่ แวดลอมอยางยัง่ ยืน โดยการ ออกแบบหองพักแตละขั้นตอนจะมีคุณลักษณะในการชวยลดผลกระทบตอทรัพยากร ธรรมชาติ เปนการรักษสงิ่ แวดลอมทีเ่ ปดโอกาสใหผเู ขาพักมีสว นรวมในการรักษโลกของ เราดวย 22

สําหรับคุณลักษณะของหองพักสไตลรักษโลก หรือ Green Room จะมีความพิเศษและแตกตางจากหองพักทั่วไป เนื่องจากเปนหองพักแบบ Premier Sustainability Room ซึ่งเปนนโยบายและมาตรการของโรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพ โดยภายในหองพักจะเปนมิตรกับสิง่ แวดลอมอยางยัง่ ยืน ทั่วทั้งหอง ตั้งแตกระบวนการคัดแยกขยะออกจากหองดวยการจัดเตรียม ถังแยกขยะเปยกและขยะแหง รวมถึงสิ่งอํานวยความสะดวกที่เปนมิตรกับ สิง่ แวดลอมและปลอดสารพิษและบรรจุภณ ั ฑกระดาษรีไซเคิล ตลอดจนการ เลือกใชผา ปูทนี่ อน และผาเช็ดตัวทัง้ หมดในหอง เปนผาทีไ่ มไดรบั การฟอกขาว เพื่อลดการปลอยสารเคมีที่เปนพิษออกสูสิ่งแวดลอม รวมทั้งติดตั้งกระจก สองชั้นเพื่อปองกันความรอนจากภายนอกเขาสูภายในหองพัก ชวยลด อุณหภูมิภายในหองไดอีกทางหนึ่ง

GreenNetwork4.0 May-June 2019


นอกจากนัน้ ยังใชอปุ กรณอเิ ล็กทรอนิกสทปี่ ระหยัดพลังงานใหมปี ระสิทธิภาพ มากขึ้น อาทิ การควบคุมอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศใหอยูที่ 25 องศาเซลเซียส เลือกใชโทรทัศน LED ตูเย็นเปนระบบ Absorption เครื่องเปาผมพลัง 1,200 วัตต หลอดไฟภายในหองเปนหลอด LED และมีระบบเปด-ปดเครือ่ งใชไฟฟาและแสงสวาง ภายในหองดวยระบบคียการด สําหรับหองนํา้ ไดมกี ารออกแบบใหประหยัดนํา้ เลือกใชผลิตภัณฑหรืออุปกรณ ภายในหองนํ้าอยางพิถีพิถัน เชน อางลางหนา ฝกบัว จะเลือกใชระบบกอกนํ้ารุน ประหยัดนํา้ แบบ Aerator เพือ่ เพิม่ ฟองอากาศใหนาํ้ ออกมาฟูละเอียด สวนผลิตภัณฑ กระดาษชําระภายในหองพักก็จะมีคุณลักษณะพิเศษ เพราะเปนกระดาษรีไซเคิล ทีท่ าํ จากกระดาษสํานักงานหรือกระดาษจากนิตยสาร ซึง่ มีกระบวนการและขัน้ ตอน การอบแลวผานความรอนกวา 200 องศาเซลเซียส ผูใ ชบริการมัน่ ใจในความสะอาด ปลอดภัย อีกทัง้ ยังชวยลดการตัดไมทจี่ ะนํามาทําเยือ่ กระดาษอีกดวย เปนการชวย ลดทรัพยากรปาไมลงไดอยางมหาศาล

ในสวนของนํา้ ดืม่ จะไมใชนาํ้ ดืม่ ทีเ่ ปนขวดพลาสติกแตเลือกใชเปนขวดแกว แทน เพื่อไมตองการใหเกิดปญหาขยะที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมตามมา ขณะเดียวกัน ขนมขบเคี้ยวและผลิตภัณฑที่มีอยูในมินิบารจะเลือกจากสินคาตาม ทองถิ่นและเปนผลไมที่ออกตามฤดูกาลในประเทศไทย “จากนโยบายและจุดประสงคในการทําหองพักแนวอนุรักษสิ่งแวดลอม ทีต่ อ งการลดการใชทรัพยากรลง เพือ่ ชวยแกปญ  หาดานสิง่ แวดลอม ลดปญหาขยะ ลดการใชสารเคมี ลดการใชพลังงานในทุกชนิด ทําใหผลตอบรับจากลูกคาเลือกใช บริการคอนขางมาก เนือ่ งจากกลุม นักทองเทีย่ วหัวใจสีเขียว เชน นักทองเทีย่ วจาก ญีป่ นุ และประเทศแถบยุโรป จะชืน่ ชอบและจองหองพักสไตลรกั ษโลกเขามาเฉลีย่ ประมาณเดือนละ 150 หอง ถือวามีจาํ นวนเพิม่ ขึน้ สวนในอนาคตจะขยายเพิม่ จํานวน หองพักสไตลรกั ษโลกหรือไมนนั้ คงตองประเมินผลตอบรับและความตองการของ ลูกคาไปพรอมๆ กันกอน หากไมเพียงพอตอการบริการ ในอนาคตอาจเตรียมขยาย โครงการออกแบบหองพักรักษโลกเพิ่มเติมตอไป” มาริสา กลาว สิ่งที่โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพ ไดคํานึงถึงการชวยลดผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมนี้ นับเปนโรงแรมนํารองที่มีความรับผิดชอบตอสังคมเพราะทําใหเกิด การมีสวนรวมรักษาสิ่งแวดลอมรวมกันไปในตัว และจะถูกซึมซับเขาไปในหัวใจ 23

นักทองเทีย่ วใหเปนสีเขียวในการรวมมืออนุรกั ษพลังงาน อนุรกั ษทรัพยากรโลก และ รักษาสิ่งแวดลอมรวมกันในระหวางเขาพักหองดังกลาว นอกจากหองพักสไตลรักษโลกแลว โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพ ยังมี หองประชุมสัมมนาสไตลรักษโลก หรือ Green Meeting อีกดวย ซึ่งถือเปนการ ขยายกลุมผูใชบริการระดับชาติและระดับประเทศใหมีสวนรวมในการอนุรักษ สิง่ แวดลอมรวมกัน ไมวา จะเปนหนวยงานจากองคกรตางประเทศ หนวยงานองคกร ภาครัฐและภาคเอกชนของไทย โดยหองประชุมสัมมนาสไตลรกั ษโลก จะใชอปุ กรณ อิเล็กทรอนิกสแบบประหยัดพลังงาน ในสวนของสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ เปนผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมทั้งหมด ขณะเดียวกันในดานโภชนาการ อาหารที่บริการลูกคา จะเลือกใชขาว ผัก ผลไมออรแกนิกปลอดสารพิษที่สั่งตรง จากเกษตรกรไทยในพืน้ ทีจ่ งั หวัดตางๆ เรียกวานอกจากจะชวยรักษโลกแลวยังชวย สนับสนุนผลิตภัณฑจากชาวบานในตางจังหวัดอีกดวย ทัง้ นี้ โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพ เปนอีกโรงแรมหนึง่ ทีไ่ ดรบั ความนิยม ในหมูนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ หรือแมกระทั่งคนไทยเองก็ใชบริการไมนอย ดวยการตกแตงที่ผสมผสานระหวางความเปนไทยกับความเปนสากลไดอยาง กลมกลืน มีสวนเขียวขจีที่สวยงาม เหมาะแกการพักผอนหยอนใจ แตการที่จะ ประสบความสําเร็จไดนนั้ ผูบ ริหารและพนักงานทุกคนจะตองมีเปาหมายการทํางาน ไปในทิศทางเดียวกัน “ธุรกิจโรงแรมเปนอีกหนึ่งอุตสาหกรรมที่ตองมีพนักงานจํานวนมากหลาก หลายและความเปนมืออาชีพ อันดับแรกที่ตองใหความสําคัญคือการเปนผูบริหาร จะตองสรางวัฒนธรรมองคกรดวยยึดหลักความเมตตาและยุตธิ รรม ตองใชหลักของ เหตุและผลประกอบกัน เพราะธุรกิจโรงแรมเปนงานบริการอยางหนึง่ จึงตองใหความ สําคัญกับพนักงานทุกคนดวยการเปดใจเรียนรูแลกเปลี่ยนหรือรับฟงความคิดเห็น ซึง่ กันและกัน นอกจากนัน้ ยังตองมีการอบรมพนักงานใหรว มรักษโลกรักสิง่ แวดลอม รวมกัน ซึง่ ผูบ ริหารจะตองมีหลักธรรมาภิบาลดวย เพือ่ ทําใหพนักงานมีหวั ใจทีบ่ ริการ มาจากใจ และมีความรับผิดชอบตอสังคมรวมกัน” มาริสา กลาวเพิ่มเติม นอกจากการบริหารโรงแรมในเครือสุโกศลแลว มาริสา สุโกศล หนุนภักดี ยังทํางานในฐานะอุปนายกและประธานดานสิง่ แวดลอมสมาคมโรงแรมไทยอีกดวย ซึง่ ทีผ่ า นมารวมมือกับหนวยงานจากภาครัฐและภาคเอกชนเพือ่ ขับเคลือ่ นความรวมมือ ดานการรักษาสิง่ แวดลอม โดยเริม่ โครงการ โรงแรมไทย รวมใจลดพลาสติก ซึง่ ได ดําเนินมาหลายเดือนแลว และมีสมาชิกโรงแรมทัว่ ประเทศกวา 100 โรงแรมเขารวม โครงการ และมีแนวโนมที่จะมีโรงแรมเขารวมกิจกรรมนี้มากขึ้น เพราะเห็นถึง ประโยชนที่เกิดขึ้นที่ไมใชเฉพาะธุรกิจของตนแตเพื่อใหโลกโดยรวมดีขึ้น โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพ ถือเปนอีกหนึง่ ในกลุม ผูป ระกอบการทีด่ าํ เนินการ เกีย่ วกับโรงแรมสีเขียวทีเ่ ห็นไดอยางเปนรูปธรรม มีการดําเนินการดานนีม้ ากวา 28 ป มีรางวัลการันตีหลายรางวัล โรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพ ซึง่ เดิมคือโรงแรมสยามซิตี้ ไดรบั รางวัลอันทรงเกียรติทงั้ จากในประเทศและตางประเทศในดานความเปนเลิศ ในการบริการ โดยประเมินผลจากความพึงพอใจของลูกคา และเปนโรงแรมทีใ่ สใจ ดานสิง่ แวดลอมมาโดยตลอด อาทิ รางวัลดีเดน Award of Outstanding Performance ในงานประกวดผลรางวัลอุตสาหกรรมทองเทีย่ วไทย รางวัล Thailand Energy Award ประจําป 2561 จากกระทรวงพลังงาน รางวัลระดับดีเยี่ยมในโครงการการบริการ ทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ประเภทโรงแรมประจําป 2561 (Green Hotel – Gold หรือ G Green) จากกรมสงเสริมคุณภาพสิง่ แวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอม นอกจากนีย้ งั ไดรบั รางวัลจาก Hotels.com ติดตอกัน 2 ปซอ นกับรางวัล Loved by Guests Award 2561-2562 รางวัล Hotel Standard 5 Stars 2557-2559 จาก Thailand Tourism Standard อีกทั้งยังไดรับเกียรติใหเปนหนึ่งใน “Expedia Insiders Select List” เมื่อป 2553 สําหรับการบริการอันยอดเยี่ยมและทรงคุณคา รวมถึงในป 2557 จาก HolidayCheck.com และ Booking.com ดวย รางวัล Trip Advisor Certificate of Excellent 2557 (Hall of Fame 2558) ที่ไดรับ การจัดอันดับใหเปนโรงแรมยอดเยีย่ มจากผูเ ขารีววิ ในเว็บไซตทอ งเทีย่ วชือ่ ดังอยาง Trip Advisor ดังนัน้ จากแนวคิดทีค่ าํ นึงถึงสิง่ แวดลอมและรางวัลตางๆ เหลานีข้ องโรงแรม เดอะ สุโกศล กรุงเทพ ไดแสดงใหเห็นถึงความมีศกั ยภาพและมาตรฐานในการสงเสริม และอนุรักษอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและสิ่งแวดลอมของไทยใหยั่งยืนอยาง แทจริง

GreenNetwork4.0 May-June 2019


GREEN

Article รศ. ดร.ศิริมา ปญญาเมธีกุล, ศ.กิตติคุณ ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ ภาควิชาวิศวกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ดรามา เรื่อง PM 2.5

มาตรฐานที่ตางกัน สัมผัสฝุน เฉียบพลัน ผิวหนัง ทางเดินหายใจ เยื่อบุตา

อยางทีเ่ กริน่ ไวในตอน 1 วา “แมจะเขียนจัว่ หัวเรือ่ งวาเปนเรือ่ งดรามา อันเนือ่ ง มาจากคุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานครที่เลวมากในชวงปลายมกราคมตอ ตนกุมภาพันธ เมือ่ ตนป พ.ศ. 2561 โดยดูหรือวัดเอาจากคาสารมลพิษอากาศหรือ PM 2.5 แตเมื่อเวลาผานไปสภาพลมฟาดีขึ้น ลมรอนเริ่มมาและพัดแรงขึ้น มลพิษ ทัง้ หลายซึง่ จริงๆ ไมไดมแี คเพียง PM 2.5 ก็ถกู พัดพาใหกระจายออกไป ปญหามลพิษ อากาศจึงนอยลง และดรามาเรือ่ งนีก้ ค็ ลายๆ กับเรือ่ งอืน่ ๆ คือจางหายไปกับสายลม แตในกรณีนี้มันหายไปกับสายลมจริงๆ ไมใชเพียงแคการเปรียบเปรย” แตเรื่องนี้ มันสําคัญตอสุขภาพของเรามากกวาทีจ่ ะทําตัวไมรไู มชแี้ ละปลอยไปตามยถากรรม ตลอดจนตองถือเปนหนาทีข่ องพวกเราทุกคนทีต่ อ งเรียนรูใ นหลายๆ สิง่ โดยเฉพาะ สิ่งที่เขาใจไปผิดๆ เพื่อลดปญหาและขจัดดรามาอันไมพึงประสงค ดังนี้ เรื่องนี้วาดวยความรุนแรงของความเปนพิษของสสาร สสารใดทีแ่ สดงพิษไดอยางเฉียบพลันทันที เชน กาซโอโซน คามาตรฐานคุณภาพ อากาศ ก็ตองเปนแบบบังคับใหเปนเชนนั้นไดตลอดเวลา นั่นหมายถึง เราจะตอง กําหนดมาตรฐานเปนรายเวลาในชวงสัน้ ๆ เชน เปนรายชัว่ โมง และในทุกชัว่ โมงหนึง่ ๆ คุณภาพอากาศควรตองไดรับการจัดการใหไดตามมาตรฐานนั้นตลอดเวลา ถาทํา ไดเชนวานี้ ชาวบานประชาชนคนเดินถนนก็จะปลอดภัย แตถา เปนสสารอืน่ ทีม่ พี ษิ เหมือนกัน แตไมแสดงผลหรือผลกระทบอยางปจจุบนั ทันดวน หากตองสะสมไวใน รางกายนานๆ เปนปหรือหลายป จึงจะเกิดผลเสียตอสุขภาพหรือแสดงอาการปวย อยางเรื้อรัง แบบนี้มาตรฐานเขาก็จะกําหนดเปนตัวเลขในระยะเวลายาวๆ ไดแก 1) เฉลีย่ รายวัน เชน มาตรฐานสําหรับฝุน ละออง หรือ 2) เฉลีย่ รายป เชน มาตรฐาน ของสารอินทรียร ะเหยงาย (Volatile Organic Compounds : VOCs) สวนผลกระทบ ของฝุนจิ๋ว PM 2.5 ที่เรากําลังพูดถึงนี้เปนแบบกึ่งๆ คือ มีผลกระทบไดทั้ง 2 แบบ (ดูรูปที่ 1) 24

เรื้อรัง หัวใจ มะเร็ง ขาดเลือด (เชน PAH)

รูปที่ 1 ผลกระทบจากการสัมผัสฝุนจิ๋ว PM 2.5 ทีม่ า : ขจรศักดิ์ แกวขจร “การพิทกั ษสขุ ภาพประชาชนจากฝุน PM 2.5 : ความรวมมือ ของเครือขาย” ทางออกรวมกันในการลดฝุน ละออง PM 2.5 ใน กทม. กรมควบคุม มลพิษ 23 มีนาคม 2561 มาตรฐานของฝุนจิ๋ว PM 2.5 มีอยู 2 ลักษณะใหญๆ คือ 1) มาตรฐานเฉลี่ยราย 24 ชั่วโมง ซึ่งเปนคาบงชี้อันตรายในลักษณะกึ่งเฉียบพลัน คือโดนปบอันตรายปุบ และกึ่งเรื้อรัง คือตองไดรับไปนานๆ จึงจะเกิดผลเสียตอ สุขภาพ กับ 2) มาตรฐานเฉลีย่ รายป ซึง่ เปนตัวบงชีอ้ นั ตรายในลักษณะทีต่ อ งไดรบั สารติดตอกันเปนเวลานานๆ หลายสิบป จนเกิดเปนโรคเรือ้ รัง มาตรฐานของฝุน จิว๋ PM 2.5 ของแตละประเทศแมจะเปนของสารมลพิษตัวเดียวกันกลับมีคา แตกตางกัน มาก (ดูตารางที่ 1) เชนคามาตรฐานเฉลีย่ 24 ชัว่ โมงของไทย คือ 50 ไมโครกรัมตอ ลูกบาศกเมตร แตของสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลียอยูท ี่ 35 และ 25 ไมโครกรัม ตอลูกบาศกเมตร ตามลําดับ ในขณะที่ของอังกฤษกลับไมไดกําหนดคานี้ไวเลย ในทางตรงขามสวนของอินเดียและบราซิล กําหนดคาไวสูงมาก คือ 60 และ 150 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตรตามลําดับ

GreenNetwork4.0 May-June 2019


ตารางที่ 1 มาตรฐานของ PM 2.5 ในบรรยากาศของแตละประเทศ

1 2 3 4 5 6 7 8 9

10 11 12 13 14 15 16 17

ประเทศ คามาตรฐาน คามาตรฐาน เอกสาร อางอิง ระยะยาว (หนวยงานรับผิดชอบ) ระยะสั้น (คาเฉลี่ย 1 ป) (คาเฉลี่ย ไมโครกรัมตอ 24 ชั่วโมง) ไมโครกรัมตอ ลูกบาศกเมตร ลูกบาศกเมตร ประเทศไทย 50 25 2 (กรมควบคุมมลพิษ) สหภาพยุโรป 25 3 สหรัฐอเมริกา (US EPA) 35 15 4 แคลิฟอรเนีย 12 5 (State Standard) อังกฤษ 25 (Scotland 12) 6 องคการอนามัยโลก 25 10 7 ออสเตรเลีย 25 8 8 อินเดีย 60 40 9 จีน - พื้นที่พิเศษ เชน 35 15 10 สวนสาธารณะแหงชาติ จีน - พื้นที่ทั่วไป 75 35 รวมแหลงอุตสาหกรรม สิงคโปร 37.5 12 11 มาเลเซีย IT-1 2015 75 35 12 มาเลเซีย IT-2 2018 50 25 มาเลเซีย IT-3 2020 35 15 เวียดนาม 50 13 ศรีลังกา 50 25 13 ญี่ปุน 35 15 14 75 35 15 ฟลิปปนส บราซิล 150 50 16 17 เกาหลีใต 50 27

หมายเหตุ : โปรดสังเกตวาไมมีมาตรฐานรายชั่วโมง ซึ่งแสดงวาผลกระทบของ ฝุนจิ๋ว PM 2.5 ไมไดเปนแบบปจจุบันทันดวน ที่มา : ดูเอกสารอางอิง 2-17 คําถามคือทําไมถึงมีคาแตกตางกันไดมากเชนนี้ เปนเพราะปอดคนอินเดีย ซึ่งใชมาตรฐานอะลุมอลวยมาก (60 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร) แข็งแรงและ ทนสารมลพิษไดมากกวาปอดคนไทย (50 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร) หรือ? และ ปอดคนไทยทนสารมลพิษไดดกี วาของคนอเมริกา (35 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร) หรือออสเตรเลีย (25 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร) หรือ? หรือเปนเพราะวาสิทธิ มนุษยชนของคนอเมริกาและคนออสเตรเลียมีมากกวาของคนไทยและคนอินเดีย ถาเปนเรื่องของสิทธิมนุษยชนที่วาเชนนั้นจริง แลวเราจะยอมไดอยางไร เพราะไมวา จะเปนคนอเมริกนั คนไทย คนอินเดีย ตางก็เกิดมาเทากัน มีสทิ ธิพนื้ ฐาน เทากัน แลวทําไมตางรัฐบาลจึงดูแลตางกัน นี่ก็เปนประเด็นที่มีคนเอาเรื่องนี้มา กระทุงเมื่อเกิดเหตุการณดรามาฝุนจิ๋ว PM 2.5 เมื่อตนป พ.ศ. 2561 สิ่งที่ผูเขียนคิดและเชื่อ คือ บริบทของแตละประเทศมันแตกตางกัน สภาพเศรษฐกิจสังคมมันก็ตา งกัน ความพรอมทางเทคโนโลยีและการเงิน รวมทัง้ ลักษณะนิสยั ของคนในประเทศนัน้ ๆ มันก็ตา งกันอีก จึงทําใหแตละประเทศ กําหนด มาตรฐานขึน้ มาทีค่ า แตกตางกัน จะวาประเทศใดผิด ประเทศใดถูก ก็คงจะสรุปหรือ มโนกันไมไดงายๆ ยกตัวอยาง ประเทศอังกฤษ ที่มีทุกอยางเพียบพรอมกวาไทย ยังไมมีแมกระทั่งมาตรฐานเฉลี่ย 24 ชั่วโมง ในขณะที่ไทยมีแลว จะวาไทยลํ้าหนา กวาอังกฤษก็คงไมใช เพราะแมนมาตรฐานฝุนจิ๋ว PM 2.5 ของเราเขมงวดกวาเขา แตคุณภาพอากาศของเรา ก็เลวกวาคามาตรฐานกันมาทุกปๆ เรื่องของเรื่องคือเราเชื่อวามันยังไมมีวิธีคิดวิเคราะหที่เปนมาตรฐานของ โลก ความรูทางวิชาการยังมีไมพอหรือยังลึกไมพอที่ใครจะมาอางไดวาตองเปน 25

วิธนี วี้ ธิ นี นั้ เทานัน้ เมือ่ เปนเชนนีต้ า งคนตางประเทศ จึงพากันคิดกันคนละอยาง เพือ่ ใหเหมาะสมกับบริบทของบานตัวเอง การทีจ่ ะเอาแคเพียงตัวเลขมาเลน มาวิจารณ มาดรามา มันก็ทําใหเ้สังคมสับสน และไมเปนผลดีตอประเทศโดยรวมได เปนเรื่องของความเขาใจผิดในการเอาตัวเลขไปใชเรื่องนี้ ชาวบานบางคนเอาตัวเลข PM 2.5 ไปใชอยางผิดๆ แบบไมเขาใจในหลักการการ กําหนดมาตรฐาน (ดูเรือ่ งแรก) โดยเอาคาเฉลีย่ รายชัว่ โมง (ซึง่ เปนเรือ่ งของความ เปนพิษเฉียบพลัน) ทีว่ ดั ได ซึง่ มีโอกาสไดคา ทัง้ สูงทัง้ ตํา่ ในเวลาตางกัน เชน กลางวัน และกลางคืนหรือชวงมีรถวิ่งในชั่วโมงเรงดวนกับไมมีรถวิ่ง ไปเทียบกับมาตรฐาน เฉลีย่ 24 ชัว่ โมง (หรือเฉลีย่ รายวัน ซึง่ เปนเรือ่ งของความเปนพิษชนิดไมเฉียบพลัน) โอกาสทีจ่ ะมีคา ทีต่ รวจวัดได (ใน 1 ชัว่ โมง) เกินมาตรฐาน (24 ชัว่ โมง) ก็มไี ดมาก แตการเอาไปเปรียบเทียบกันเชนที่วานั้น เปนการดรามาที่สรุปผิดในทางหลักคิด ทางวิทยาศาสตรโดยสิน้ เชิง เพราะมันเปนคนละเรือ่ ง จะเห็นไดวา “เรา” ซึง่ หมายถึง ทัว่ โลกดวย ไมมมี าตรฐานฝุน จิว๋ PM 2.5 เปนรายชัว่ โมง แตถงึ กระนัน้ ก็ตาม เราก็ ยังมีการวัดคาฝุน จิว๋ PM 2.5 นีเ้ ปนรายชัว่ โมงดวยอยูด ี ทีท่ าํ เชนนีก้ เ็ พราะเราจะใช คาทีว่ ดั ไดเฉพาะชัว่ โมงนัน้ ๆ นี้ ไปเฝาระวังเปนพิเศษสําหรับกลุม เสีย่ ง เชน เด็กเล็ก ผูส งู อายุ ผูม ปี ระวัตเิ กีย่ วกับโรคหัวใจหรือทางเดินหายใจ เปนตน แตหา มเอาคาทีว่ ดั ไดรายชั่วโมงนี้ไปเทียบกับมาตรฐานราย 24 ชั่วโมง เพราะนั่นมันคนละเรื่อง ชนิด หางไกลกันคนละโยชน เอกสารอางอิง (1) ขจรศักดิ์ แกวขจร “การพิทกั ษสขุ ภาพประชาชนจากฝุน PM 2.5 : ความรวมมือของเครือขาย” ทางออก รวมกันในการลดฝุนละออง PM 2.5 ใน กทม. กรมควบคุมมลพิษ 23 มีนาคม 2561 (2) กรมควบคุมมลพิษ “มาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศทัว่ ไป” มาตรฐานคุณภาพอากาศและ เสียง http://www.pcd.go.th/info_serv/reg_std_airsnd01.html (สืบคนเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2561) (3) European commission. “Air quality standards” Environment. http://ec.europa.eu/environment/ air/quality/standards.htm (accessed March 2, 2018). (4) United States Environmental Protection Agency: US EPA. “National ambient air quality standards” Criteria air pollutants. https://www.epa.gov/criteria-air-pollutants/naaqs-table (accessed March 2, 2018). (5) California Environmental Protection Agency. “California ambient air quality standards” Ambient air quality standards. https://www.arb.ca.gov/research/aaqs/commonpollutants/ pm/pm.htm (accessed March 2, 2018). (6) Department for Environment Food & Rural affairs. “UK-Air” Air information resources. https://uk-air.defra.gov.uk/ (accessed March 2, 2018). (7) World Health Organization: WHO, 2006. “WHO Air Quality Guidelines for particulate matter, ozone, Nitrogen dioxide and Sulfur dioxide” Global Update 2005. Summary of Risk Assessment. http://whqlibdoc.who.int/hq/2006/WHO_SDE_PHE_OEH_06.02_eng .pdf (accessed March 2, 2018). (8) Australian government: Department of Environment and Energy. “Ambient air quality standards” Air quality standards. http://www.environment.gov.au/protection/airquality/ air-quality-standards (accessed March 2, 2018). (9) International Council on Clean Transportation and DieselNet. “National ambient airquality standards” India: Air quality standards. https://www.transportpolicy.net/standard/ india-air-quality-standards/ (accessed March 2, 2018). (10) International Council on Clean Transportation and DieselNet. “National ambient air quality standards” China: Air quality standards. https://www.transportpolicy.net/standard/ chinaair-quality-standards/ (accessed March 2, 2018). (11) National Environment Agency. “Singapore Ambient Air Quality Targets” Air quality in Singapore. http://www.nea.gov.sg/anti-pollution-radiation-protection/air-pollutioncontrol/ air-quality-and-targets (accessed March 2, 2018). (12) Department of Environment. “New Malaysia Ambient Air Quality Standards” https:// www.doe.gov.my/portalv1/wp-content/uploads/2013/01/Air-Quality-StandardBI.pdf (accessed March 2, 2018). (13) Clean Air Initiative for Asian Cities (CAI-Asia) Center. (2010) “Air Quality in Asia: Status and Trends” http://cleanairasia.org/wp-content/uploads/portal/files/documents/ AQ_in_Asia.pdf (accessed March 2, 2018). (14) International Council on Clean Transportation and DieselNet. “National ambient air quality standards” Japan: Air quality standards. https://www.transportpolicy.net/standard/ japan-air-quality-standards/ (accessed March 2, 2018). (15) Xinhua. “Philippines sets air quality standard on PM 2.5” China.org.cn., April 2, 2013, under “Environment” http://china.org.cn/environment/2013-04/02/content_28424841 .htm (accessed March 2, 2018). (16) International Council on Clean Transportation and DieselNet. “National ambient air quality standards” Brazil: Air quality standards. https://www.transportpolicy.net/ standard/brazilair-quality-standards/ (accessed March 2, 2018). (17) Byeong-Uk Kim, Okgil Kim, Hyun Cheol Kim, and Soontae Kim. “Influence of fossil-fuel power plant emissions on the surface fine particulate matter in the Seoul Capital Area, South Korea” Journal of the Air & Waste Management Association. Volume 66, 2016-Issue 9: A Special Issue of JA&WMA on NOAA’s 7th International Workshop on Air Quality Forecasting Research (IWAQFR) https: //www. tandfonline. com/doi/full/ 10.1080/10962247.2016.1175392 (accessed March 2, 2018).

GreenNetwork4.0 May-June 2019


PM 2.5 กับ วิศวฯ จุฬาฯ

GREEN

Article ศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล, ดร.กริชชาติ วองไวลิขิต

ปญหาฝุน PM 2.5 ในชวงปลายป พ.ศ. 2561 จนถึงตนป พ.ศ. 2562 นับวาเปนวิกฤตการณครั้งสําคัญของคนไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งในเขตกรุงเทพมหานครและพื้นที่ภาคเหนือที่เผชิญกับปญหาฝุน PM 2.5 มีปริมาณสูงเกินกวามาตรฐานเปน เวลาหลายสัปดาห ซึง่ สงผลกระทบโดยตรงตอสุขภาพโดยเฉพาะอยางยิง่ ระบบหายใจและระบบหมุนเวียนเลือด โดยจากฐานขอมูล ของ Google นับเปนครัง้ แรกทีค่ นไทยตองตืน่ ตัวจากมลพิษทางอากาศชนิดนีอ้ ยางเดนชัดและเปนผลใหมกี ารคนหาผานเว็บไซต ตางๆ อยางมากมายในชวงเวลาดังกลาว บริเวณรอบโรงงานอุตสาหกรรม ตลอดจนพื้นที่ภาคเหนือที่เปนเขตพื้นที่หลัก ที่ประสบปญหามลพิษทางอากาศอยางตอเนื่อง โดยทางคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มีเปาหมายทีด่ าํ เนินการโครงการนีใ้ หแลวเสร็จภายในเวลา 1 ป เพือ่ นํา ขอมูลอันเปนประโยชนตา งๆ เผยแพรสปู ระชาชนเพือ่ เพิม่ ความรู ความเขาใจของ ภาคประชาชน และรักษาคุณภาพอากาศในประเทศไทยใหดีขึ้นและยั่งยืน

การคนหาดวยคําสําคัญ “PM 2.5” ตลอดชวงระยะเวลา 5 ปยอนหลัง (https://trends.google.com/) ในชวงเวลาของวิกฤตการณ มีหนวยงานและองคกรมากมายรวมกัน หาแนวทางแกปญ  หามลพิษดังกลาว ทัง้ ในดานวิชาการ การใหความรู การรณรงค การชวยเหลืออุปกรณทเี่ กีย่ วของ โดยในคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย นับเปนหนึง่ ในองคกรทีน่ อกจากจะออกมาเคลือ่ นไหวในการใหความรูก บั ประชาชน  หาและการปองกันตนเองจากมลพิษทางอากาศแลวนัน้ ทัง้ ในดานการวิเคราะหปญ ยังมีกิจกรรมอีกสวนหนึ่งที่เริ่มตนดําเนินการเพื่อสนับสนุนภาครัฐและชวยเหลือ ภาคประชาชนในระยะยาวอยางกิจกรรม “PM 2.5 Sensor for All” ที่เริ่มตนโดย การจัดเวิรคช็อปสําหรับผูที่สนใจโดยเฉพาะอยางยิ่งในเขตพื้นที่รอบจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย เขารวมการอบรมการจัดทําเครื่องวัดมลพิษทางอากาศที่สามารถ วัดไดทั้งฝุนขนาด PM 2.5 และ PM 10 โดยผูเขารวมกิจกรรมจะทําการประกอบ องคประกอบหลักของเครื่องวัดมลพิษดวยตนเอง หลังจากกิจกรรมเวิรค ช็อปแลวเสร็จ ทางคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ไดดําเนินการติดตั้งเครื่องวัด PM 2.5 ดังกลาวตามพื้นที่ตางๆ โดย เริ่มตนจากบริเวณจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อาทิ คณะสถาปตยกรรมศาสตร โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อาคารจามจุรสี แควร เปนตน โดยมีเปาหมาย ทีจ่ ะเพิม่ จุดวัด PM 2.5 ใหมากขึน้ ตามพืน้ ทีต่ า งๆ ทีเ่ หมาะสม โดยขอมูลความเขมขน ของมลพิษตามจุดทีต่ ดิ ตัง้ แลวเสร็จไดแสดงผลอยูท เี่ ว็บไซต https://cusense.net/ ซึ่งสามารถเขาถึงและตรวจสอบคุณภาพอากาศไดตลอดเวลา ไมเพียงเทานี้ คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ยังมีแผนที่ จะตอยอดขอมูลมลพิษทางอากาศที่วัดไดควบคูกับขอมูลอุตุนิยมวิทยา ขอมูล การจราจร ขอมูลโรงงานอุตสาหกรรม และขอมูลอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ เพือ่ ทําการสราง แบบจําลองทางมลพิษอากาศแบบเรียลไทม โดยผลจากการสรางแบบจําลองและ การวิเคราะหขอมูลแบบเชิงลึกจะทําใหสามารถคนหาสาเหตุของการเกิดมลพิษ รวมไปถึงสามารถคาดการณมลพิษทีจ่ ะเกิดขึน้ ได โดยขอมูลดังกลาวจะมีประโยชน อยางมากในการตอยอดแกไขปญหามลพิษอากาศ รวมไปถึงออกนโยบายทีเ่ กีย่ วของ เพือ่ ปองกัน แกไข และเยียวยาปญหามลพิษทางอากาศทัง้ ในเขตกรุงเทพมหานคร

นอกเหนือจากการสนับสนุนดานขอมูล และเทคโนโลยีแลวนัน้ คณะวิศวกรรมศาสตร จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย ยั ง ได ร  ว มกั บ คณะจัดทํายุทธศาสตรชาติดานการสราง การเติ บ โตบนคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ เ ป น มิ ต รต อ สิง่ แวดลอม เพือ่ มีสว นรวมในการขับเคลือ่ น ยุ ท ธศาสตร ช าติ แ ละปฏิ รู ป ประเทศด า น การจัดการมลพิษทางอากาศ PM 2.5 ทัง้ ระบบ โดยในวันศุกรที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2562 ที่ผานมา ไดมีการจัดเวิรคช็อปเพื่อระดม ตัวอยางแผนที่อากาศ ความคิดจากผูท เี่ กีย่ วของในการเสนอนโยบาย แสดงความเขมขนฝุน PM 2.5 “การบริหารจัดการเชิงรุกฝุน PM 2.5 อยาง ในสวนหนึ่งของเขตพื้นที่ ยั่งยืน” โดยใชหลักการ Design Thinking กรุงเทพมหานคร ที่ใหผูเขารวมแบงเปนกลุมยอยแลวรวมกัน ระดมความคิดโดยใชบอรดขนาดใหญเปนสื่อกลางในการชวยผสานความคิดของ ผูเ ขารวมใหเปนเครือขาย โดยภายในงานมีนโยบายทีเ่ กีย่ วของกับ PM 2.5 เบือ้ งตน ออกมาถึง 3 นโยบาย ซึ่งเปนนโยบายเกี่ยวกับการจัดการการเผาทางการเกษตร นโยบายการจัดการฝุนจากประเทศเพื่อนบาน รวมไปถึงนโยบายการจัดการฝุนที่ เกิดจากควันรถยนต โดยนโยบายเหลานีเ้ ปนจุดเริม่ ตนในการตอยอดความคิดของ ผูเขารวมเพื่อนําเสนอตอกรรมการยุทธศาสตรชาติในดานสิ่งแวดลอมเพื่อทําการ พัฒนาและอาจนําไปสูการประยุกตใชจริงไดในอนาคต

ภาพกิจกรรมเวิรคช็​็อป PM 2.5 Sensor for All

ภาพกิจกรรมเวิรคช็​็อปการบริหารจัดการเชิงรุกฝุน PM 2.5 อยางยั่งยืน

26

ขอมูลความเขมขนฝุน PM 2.5 และ PM 10 รอบพื้นที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย (แสดงผลผานเว็บไซต https://cusense.net/)

GreenNetwork4.0 May-June 2019


SMART

City

กองบรรณาธิการ

ศูนย์กระจายสินค้า แบบควบคุมอุณหภูมิ (Cold Chain Warehouse)

ในปีนี้ภาคอุตสาหกรรมต่างๆ ซึ่งรวมถึงอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม โดยเฉพาะกลุ่มอาหารสดที่ต้องมีการขนส่งไปยังผู้บริโภคในทุกวันมีการขยายตัว อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอุตสาหกรรมให้เช่า มีแนวโน้มเติบโตขึ้นตามไปด้วย “เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ บีเอฟทีแซด” บริษัทย่อยของบริษัท เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) หรือ “FPT” ซึ่งมีความเชี่ยวชาญใน การพัฒนาอาคารเฉพาะทางด้าน Cold Storage ได้กอ่ สร้างศูนย์กระจายสินค้าแบบ ควบคุมอุณหภูมิ (Cold Chain Warehouse) เพื่อรองรับความต้องการของกลุ่ม อุตสาหกรรมอาหารและเครือ่ งดืม่ เพิม่ ศักยภาพด้านการด�ำเนินงานและลดค่าใช้จา่ ย ด้านซัพพลายเชนของธุรกิจอาหารและเครือ่ งดืม่ โดยน�ำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาผสาน กับความเชีย่ วชาญด้านการพัฒนาโรงงานและคลังสินค้าคุณภาพสูง เป็นการสร้าง ตามความต้องการ หรือ Built-to-Suit ของลูกค้า ซึง่ ศูนย์กระจายสินค้าแห่งใหม่นปี้ ระกอบไปด้วยพืน้ ทีก่ ารจัดเก็บสินค้าหลาก หลายอุณหภูมิ ได้แก่ แบบอุณหภูมปิ กติ (Ambient Storage) แบบควบคุมอุณหภูมิ (Temperature Controlled Storage) แบบห้องเย็น (Cold Storage) และ แบบแช่แข็ง (Frozen Storage) เพื่อให้เหมาะส�ำหรับจัดเก็บอาหารแต่ละประเภท ให้มั่นใจว่า อาหารที่จัดเก็บอยู่ในอาคารจะมีคุณภาพที่ดีและคงความสดใหม่อยู่เสมอ ในการนี้ โสภณ ราชรักษา ผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ บริษทั เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า อาคารแบบ Built-toSuit มีฟงั ก์ชนั การใช้งานทีอ่ อกแบบตามมาตรฐาน ระดั บ สากลเพื่ อ รองรั บ การด� ำ เนิ น งานด้ า น โลจิสติกส์ของ HAVI โดยเฉพาะ จึงนับเป็นอีก หนึ่งโครงการที่สะท้อนให้เห็นถึงหัวใจส�ำคัญ ในการด�ำเนินงานของ FPT ที่ยึดความต้องการ ของลูกค้าเป็นศูนย์กลาง (Customer Centric โสภณ ราชรักษา Solution) ท�ำให้ให้บริษัทฯ สามารถน�ำเสนอ อาคารและโซลูชั่นที่ตอบโจทย์การด�ำเนินงานของ HAVI ได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ โครงการนี้ยังมีจุดเด่นด้านท�ำเลที่ตั้งในพื้นที่บางพลี บนถนนบางนา-ตราด กม.19 ซึง่ เป็นยุทธศาสตร์ทสี่ ำ� คัญของผูป้ ระกอบการด้านโลจิสติกส์และการกระจายสินค้า เนือ่ งจากอยูใ่ กล้ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม จึงสะดวกต่อการขนส่งและการกระจาย สินค้าไปยังพื้นที่ต่างๆ ของประเทศ อีกทั้งยังช่วยให้สามารถควบคุมต้นทุนด้าน โลจิสติกส์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เราทราบดีว่า HAVI เป็นผู้น�ำด้านการจัดการซัพพลายเชนระดับโลก ที่มี ประสบการณ์ดา้ นระบบโลจิสติกส์ ทีม่ กี ารควบคุมอุณหภูมิ และการบริหารจัดการ ซัพพลายเชนเพือ่ ตอบความต้องการของธุรกิจร้านอาหาร ร้านสะดวกซือ้ และค้าปลีก มายาวนานกว่า 40 ปี ด้วยเทคโนโลยีควบคุมอุณหภูมิ (Cold Chain) ส�ำหรับอาหาร และเครื่องดื่มบริษัทฯ มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญด้านโลจิสติกส์ รวมถึง 27

ความช�ำนาญในการบริหารจัดการซัพพลายเชน จึงท�ำให้สามารถด�ำเนินงาน มอบบริการให้แก่ลกู ค้าได้อย่างครอบคลุมและครบวงจร HAVI ได้ให้บริการ บริษัทชั้นน�ำด้านอาหารและเครื่องดื่มของประเทศไทยเป็นจ�ำนวนมาก อาทิ ยัม (YUM) เคเอฟซี (KFC) ซับเวย์ (Subway) โออิชิ (OISHI) เซน (ZEN) ปัจจุบนั HAVI มีการจัดส่งสินค้ามากกว่า 3 ล้านครัง้ ไปยังจุดหมายปลายทาง กว่า 20,000 แห่ง ใน 47 ประเทศทั่วยุโรปและเอเชีย ทั้ ง นี้ จ ากการเติ บ โตของตลาดโลจิ ส ติ ก ส์ แ บบควบคุ ม อุ ณ หภู มิ (Cold Chain Logistics) บริษทั ฯ เล็งเห็นถึงความต้องการพืน้ ทีค่ ลังสินค้าเพือ่ การจัดเก็บอาหารและเครือ่ งดืม่ ทีเ่ พิม่ สูงขึน้ เพราะการจัดการซัพพลายเชน และการขนส่งมีความส�ำคัญต่อธุรกิจอาหารและเครือ่ งดืม่ หากไม่ได้จดั เก็บ สินค้าภายในคลังทีม่ กี ารควบคุมอุณหภูมอิ ย่างเหมาะสม อาจส่งผลต่อการรักษา อายุอาหาร การป้องกันสารปนเปือ้ น รวมถึงคุณภาพอาหารซึง่ จะท�ำให้ผบู้ ริโภค ได้รบั กระทบ จึงต้องบริหารจัดการให้มคี วามปลอดภัยตามมาตรฐานทีก่ ำ� หนด ไว้อย่างเข้มงวด ฐิตมิ า บัณฑราภิวฒ ั น์ กรรมการ ผู ้ จั ด การ บริ ษั ท ฮาวี ลอจิ ส ติ ก ส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (HAVI) กล่าว เพิ่มเติมว่า บริษัทฯ ร่วมกับ เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ ประเทศไทย พัฒนาศูนย์ กระจายสินค้าควบคุมอุณหภูมแิ ห่งใหม่นี้ โดยจะแบ่งการพัฒนาออกเป็น 2 เฟส เมือ่ แล้วเสร็จจะมีพนื้ ทีค่ ลังสินค้ารวมกว่า 70,000 ตารางเมตร โดยในเฟสแรกจะมี ฐิติมา บัณฑราภิวัฒน์ พืน้ ทีอ่ าคารรวมกว่า 30,000 ตารางเมตร ภายในยังแบ่งพัฒนาพืน้ ทีข่ นาด 3,400 ตารางเมตร ส�ำหรับวางชัน้ วางสินค้า ทันสมัยทีม่ คี วามสูงถึงประมาณ 34 เมตร คาดว่าโครงการในเฟสแรกจะแล้วเสร็จ และเปิดด�ำเนินการในไตรมาสแรกของปี พ.ศ. 2563

GreenNetwork4.0 May-June 2019


GREEN

Technology &Innovation จิม ไวท์เฮิร์ส ประธานและซีอีโอ เรดแฮท อิงค์

เทคโนโลยี

โอเพ่จะสามารถ นซอร์ส

เพิ่มขีดความสามารถ ของเราได้อย่างไร ช่างเป็นสิ่งที่น่าอัศจรรย์มากที่เราได้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของโลกอย่าง ต่อเนื่องรอบๆ ตัวเรา ซึ่งดูเหมือนว่าการเปลี่ยนแปลงนั้นเป็นไปอย่างรวดเร็วกว่า ในอดีต เมือ่ มองย้อนกลับไปถึงภาพรวมต่างๆ ท�ำให้ผมได้ตระหนักว่าเราได้ตดิ ตาม วิวฒ ั นาการของการท�ำงานของผูค้ นมาโดยตลอด เช่น เมือ่ สามปีกอ่ น ผมได้ให้ความ ส�ำคัญกับพลังแห่งความร่วมมือ (Power of Participation) ทีผ่ คู้ นสามารถท�ำงาน ร่วมกันในวิธีเปิดเผย โปร่งใส ที่ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแก้ไขปัญหาได้ดี ยิ่งขึ้น และสองปีก่อน ผมได้เน้นว่าผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อบุคคล (Impact of the Individual) ที่การท�ำงานร่วมกันในรูปแบบโอเพ่นซอร์สนั้นเปรียบเสมือนกีฬาที่ ผู้เล่นทุกคนต้องมีความกระตือรือร้นและสามารถเป็นผู้เริ่มเกมได้ และล่าสุดใน ปีทผี่ า่ นมาเรดแฮทได้เผยผลส�ำรวจถึงความจ�ำเป็นทีพ่ วกเราทุกคนต้องปรับมุมมอง ในการท�ำงานใหม่ให้เท่าทันต่อยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจสูง จากจุดที่ผมยืนในวันนี้ ท�ำให้ผมได้ตระหนักว่าเราก�ำลังก้าวเข้าสู่อีกขั้น ของการเปลีย่ นแปลง หรืออาจเรียกได้วา่ เป็น “แรงขับเคลือ่ นทางการเปลีย่ นแปลง ครัง้ ใหญ่” ทีจ่ ะสามารถขยายขอบเขตความเป็นไปได้ในสังคม เพือ่ การเติบโตและ ความก้าวหน้าในอนาคต แต่ก่อนที่เราจะไปถึงจุดนั้นได้อย่างเต็มภาคภูมิ เราอาจ ต้องมองย้อนกลับไปเพื่อให้เห็นอย่างชัดเจนว่าผู้คนในยุคที่ผ่านมาต่างมีวิถีในการ ด�ำเนินงานและใช้ชวี ติ แตกต่างจากเราในยุคนีเ้ ป็นอย่างมาก และนีไ่ ม่ใช่ครัง้ แรกที่ 28

พื้นฐานในการเปลี่ยนกรอบความคิดและการด�ำเนินงานจะสามารถส่งผลกระทบ ต่อการพัฒนาครั้งใหญ่ในสังคม

ปรับเปลี่ยนทัศนคติต่อข้อจ�ำกัดต่างๆ

เมือ่ 500 ปีกอ่ น ก่อนทีเ่ ราจะเชือ่ ในเรือ่ งวิทยาศาสตร์ ความเป็นเหตุเป็นผล กระบวนการ และวิวฒ ั นาการทางวิทยาศาสตร์ เราไม่สามารถตัง้ ค�ำถามหรือถกเถียง ถึงความเป็นไปในโลกนี้ได้ ต่อมาการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ก็ท�ำให้เราได้รับข้อมูลและความรู้เกี่ยวกับ โลกใบนี้มากขึ้น วิธีการทางวิทยาศาสตร์ได้ถือก�ำเนิดขึ้นโดยบุคคลที่หมั่นใฝ่หา ความรูอ้ ย่างไร้ขอบเขต กาลิเลโอ ผูร้ เิ ริม่ ทีก่ ล้าหาญ ได้ตงั้ ข้อกังขาในสิง่ ทีเ่ ขาได้รบั การพร�่ำสอนเกี่ยวกับสรรพสิ่งบนโลกใบนี้ แม้ว่าข้อสงสัยและค�ำถามเหล่านั้นจะ ท�ำให้เขาต้องถูกกักขังหรือจบชีวิตลงก็ตาม ยิ่งผู้คนตั้งค�ำถามเกี่ยวกับสิ่งพี่พวกเขาเห็นมากเท่าใด ค�ำถามเหล่านั้นก็จะ ยิง่ ลึกซึง้ ยิง่ ขึน้ ผลลัพธ์คอื เราจะสามารถเปลีย่ นจากโลกทีเ่ ราเคยเชือ่ ในค�ำบอกกล่าว ของผู้มีคุณวุฒิสูงกว่า ไปยังโลกของค�ำตอบที่อยู่บนพื้นฐานของการส�ำรวจและ ทดลอง ดังเช่นค�ำกล่าวของ เซอร์ฟรานซิส เบคอน ผูท้ ไี่ ด้รบั การขนานนามว่าเป็น บิดาแห่งวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ทวี่ า่ “ผูใ้ ดทีต่ งั้ ต้นด้วยความมัน่ ใจและตัง้ มัน่ ผูน้ นั้ มักจบลงด้วยความสงสัย แต่หากผู้ใดแน่วแน่ที่จะเริ่มต้นด้วยค�ำถามหรือข้อสงสัย ผู้นั้นจะได้รับค�ำตอบที่แท้จริงและแน่นอนกลับคืน” หัวใจหลักของวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ คือ ความสงสัยในความเป็นไปของโลก อย่างไม่มที สี่ นิ้ สุด ซึง่ ก็คอื การตัง้ ค�ำถามว่าเหตุใดสิง่ ต่างๆ ถึงเป็นเช่นนัน้ และเรียนรู้ จากประสบการณ์ผา่ นการทดลองและข้อผิดพลาดต่างๆ สิง่ เหล่านีค้ อื การเปลีย่ นแปลง จากการใช้เหตุผลแบบนิรนัยมาสู่การใช้เหตุผลแบบอุปนัย จากการเรียนรู้แบบบน สู่ล่างมาเป็นการเรียนรู้จากล่างขึ้นบน ซึ่งจะขยายขอบเขตอิสรภาพทางความคิด และความเป็นไปได้ และอยู่เหนือขีดจ�ำกัดที่ผู้มีคุณวุฒิสูงกว่าจะสามารถก�ำหนด กฎเกณฑ์ได้

GreenNetwork4.0 May-June 2019


ผลกระทบต่อสิ่งต่างๆ รอบตัวเรา

การน�ำวิธีการทางการทดลองดังกล่าวมาใช้ จะสามารถเปลี่ยนแปลงความเข้าใจของเรา ต่อแทบทุกสิง่ ทีเ่ รากระท�ำและมองเห็นอยู่ รวมไปถึงวิธกี ารคิดทีจ่ ะสามารถส่งผลต่อการเปลีย่ นแปลง ทางนวัตกรรมและความก้าวหน้าล�้ำสมัยของโลก หากย้อนไปเมือ่ ครัง้ ทีเ่ ราตระหนักรูว้ า่ โลกไม่ใช่จดุ ศูนย์กลางของจักรวาล เหตุการณ์ครัง้ นัน้ ท�ำให้เราก้าวเข้าสูย่ คุ เรืองปัญญา (Age of Enlightenment) ซึง่ ก่อให้เกิดพลังทางความคิดรูปแบบ ใหม่ เช่น เสรีภาพส่วนบุคคล การปกครองรูปแบบรัฐธรรมนูญ และการยอมรับความแตกต่างทาง ศาสนา นอกจากนี้ การแก้ไขปัญหารูปแบบใหม่ของนักประดิษฐ์ทางเทคโนโลยีสำ� คัญ เช่น เครือ่ งจักร ไอน�ำ้ โทรเลข และกระบวนการ Bessemer ในการผลิตเหล็ก น�ำเราเข้าสูก่ ารปฏิวตั ทิ างอุตสาหกรรม (The Industrial Revolution) รวมถึงการเรียนรู้ทฤษฎีกายวิภาค ตั้งแต่ทฤษฎีเล็กๆ ด้านเชื้อโรค ไปจนถึงการผ่าตัดขัน้ สูง ทีข่ บั เคลือ่ นการปฏิวตั ทิ างการแพทย์ (Medical Revolution) และสามารถ พลิกโฉมความเข้าใจพื้นฐานแบบเดิมของโรคภัยและร่างกายมนุษย์ได้ การพัฒนาและความก้าวหน้าเหล่านี้เป็นผลมาจากการเรียนรู้และต่อยอดจากผู้บุกเบิก โดยไม่หยุดที่จะคอยหมั่นตั้งค�ำถามและแสวงหาค�ำตอบใหม่ๆ ศาสตร์แห่งการค้นพบยังคงด�ำเนินต่อมาจนถึงวันนี้ รวมไปถึงโลกแห่งเทคโนโลยีซอฟต์แวร์ โอเพ่นซอร์ส ทัง้ ความใฝ่รู้ ความร่วมมือ คุณธรรม และอิสรภาพต่างก็เป็นหัวใจหลักของการเรียนรู้ จากประสบการณ์และวิถีแบบโอเพ่นซอร์ส เรดแฮทตระหนักถึงสิ่งเหล่านี้เป็นอย่างดี เพราะเรา ยึดหลักการเดียวกันนี้ภายในวัฒนธรรมองค์กรของเราเช่นเดียวกัน และนี่คือเหตุผลที่ท�ำไมเราถึง สามารถพัฒนาสถาปัตยกรรมที่ล�้ำสมัย และสามารถปลดล็อกศักยภาพของนักพัฒนาและองค์กร ต่างๆ ให้อยู่เหนือกฏเกณฑ์ทางการเปลี่ยนแปลงของโลกได้ ดังเช่นที่ ฟรานซิส เบคอน และผู้บุกเบิกทั้งหลายได้กล่าวไว้ เราไม่ได้เดินบนเส้นทางนี้ เพียงล�ำพัง ผู้บุกเบิกและชุมชนของโอเพ่นซอร์สนับพันได้ส่งเสริมและผลักดันโอเพ่นซอร์สไปสู่อีก ระดับเหนือขีดจ�ำกัด โอเพ่นซอร์สเป็นมากกว่าแค่วธิ กี ารในการสร้างซอฟต์แวร์ แต่ยงั สามารถขยาย ขอบเขตทางปรัชญาและความเชื่อได้ เทคโนโลยีโอเพ่นซอร์สและวิถีแห่งโอเพ่นซอร์สได้ร่วมกัน ต่อยอดทางความคิดอย่างไร้ขีดจ�ำกัด และเปิดโลกทัศน์ใหม่สู่ความเป็นไปได้ที่ไร้ขอบเขต

ผู้ใดที่ตั้งต้นด้วยความมั่นใจ และตัง้ มัน่ ผูน้ นั้ มักจบลงด้วยความ สงสัย แต่หากผูใ้ ดแน่วแน่ทจี่ ะเริม่ ต้น ด้ ว ยค� ำ ถามหรื อ ข้ อ สงสั ย ผู ้ นั้ น จะได้รับค�ำตอบที่แท้จริงและแน่นอน กลับคืน เซอร์ฟรานซิส เบคอน

ปรากฏการณ์ทางการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่

ด้วยการด�ำเนินงานแบบวิถีแห่งโอเพ่นซอร์ส ชุมชนของเราได้สร้างความเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยีมากมาย เช่น Linux ที่ช่วยเสริมสร้างคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ชุมชนของเรายังได้พลิกโฉม วิธกี ารทีเ่ รามีปฏิสมั พันธ์ สือ่ สาร และแก้ไขปัญหาร่วมกัน โอเพ่นซอร์สได้กลายเป็นคลืน่ ลูกใหม่ของ การคิดค้นนวัตกรรมที่สามารถสร้างผลกระทบได้อย่างแท้จริง ปัจจุบนั ผูค้ นมากมายต่างรับรูถ้ งึ ศักยภาพของโอเพ่นซอร์สในการช่วยให้การด�ำเนินงานดีขนึ้ รวมไปถึงโอเพ่นซอร์สในแง่ของการพลิกโฉมการมีปฏิสมั พันธ์ การสือ่ สารและการแก้ปญ ั หาร่วมกัน ก็กำ� ลังได้รบั ความนิยมเป็นอย่างมาก ทัง้ ธุรกิจ ภาครัฐ และองค์กรไม่แสวงผลก�ำไรทัว่ โลกต่างก็นำ� เทคโนโลยีโอเพ่นซอร์สมาปรับใช้ ผมเชื่อว่าโอเพ่นซอร์สได้ก้าวเข้าสู่ยุคใหม่และก�ำลังจะกลายเป็น ปรากฏการณ์ทางการ เปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญ่ ดังจะเห็นได้จากค�ำถามมากมายในปัจจุบนั เช่น เราสามารถคิดค้นและสร้าง ศักยภาพด้วยเทคโนโลยีให้เป็นจริงได้อย่างไร เราจะสร้างสรรค์และด�ำเนินการสิง่ เหล่านีไ้ ด้อย่างไร ทั้งในรายบุคคล เป็นทีมในองค์กร และที่ส�ำคัญ ในสังคมวงกว้าง 29

แม้ว่าในวันนี้ เราอาจจะยังไม่ทราบค�ำตอบที่แน่ชัด ของค�ำถามเหล่านี้ แต่ด้วยความมุ่งมั่นในการทดลองและ ความร่วมมือกันของทุกภาคส่วน เราจะยังคงผลักดันการ ด�ำเนินงานเพื่อให้ได้มาซึ่งค�ำตอบที่เรามุ่งหวัง และด้วย ความหมั่นใฝ่รู้และต่อยอดค�ำถาม เราจะสามารถขยาย ขอบเขตความเป็นไปได้ให้กว้างมากยิ่งขึ้นเพื่อวันนี้และ อนาคต ในนามของเรดแฮท ผมขอเรียนเชิญทุกท่านร่วม เจตนารมณ์อนั ยิง่ ใหญ่ไปกับเรา มาร่วมสร้างค�ำถามไปด้วย กันว่า “เราจะสามารถท�ำอะไรต่อไป เพือ่ อนาคตของเราได้ บ้าง”

GreenNetwork4.0 May-June 2019


การร่วมมือของภาคเอกชน เพื่อสนับสนุนการพัฒนา

AUTO

Challenge กองบรรณาธิการ

การใช้พลังงานไฟฟ้าของไทย

เมื่อเร็วๆ นี้ ได้มีความร่วมมือครั้งส�ำคัญระหว่างผู้ผลิตรถยนต์ไฟฟ้า และ ผูใ้ ห้บริการด้านโซลูชนั่ พลังงานสะอาด เพือ่ สนับสนุนแผนงานพัฒนาการใช้พลังงาน ไฟฟ้าของไทย เป็นความร่วมมือระหว่าง บริษทั นิสสัน (ประเทศไทย) จ�ำกัด ทีไ่ ด้ ประกาศแต่งตั้ง บริษัท เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) ในฐานะเป็นผู้ให้บริการหลักเครื่องชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าอย่างเป็นทางการ ความร่วมมือดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนา การใช้พลังงานไฟฟ้าของประเทศไทย ซึง่ ต้องการให้มกี ารใช้ยานยนต์ไฟฟ้า จ�ำนวน 1.2 ล้านคัน บนท้องถนนภายในปี พ.ศ. 2579 นอกจากนัน้ การร่วมมือนีก้ เ็ พือ่ ส่งมอบ เครือ่ งชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าทีไ่ ด้รบั มาตรฐานสากลพร้อมการบริการทีไ่ ด้มาตรฐาน จากเดลต้า ซึง่ ได้รบั การรับรองโดยนิสสันให้แก่เจ้าของรถยนต์นสิ สัน ลีฟ (Nissan LEAF) ในประเทศไทยด้วย จากผลการศึกษาของ ฟรอสต์ แอนด์ ซัลลิแวน (Frost & Sullivan) พบว่า หนึง่ ในสามปัจจัยทีท่ ำ� ให้ผบู้ ริโภคคนไทยตัดสินใจใช้รถยนต์ไฟฟ้านัน้ คือ ความสะดวก และยืดหยุ่นในการชาร์จรถยนต์นั่นเอง ซึ่งจากผลการศึกษานี้จึงเป็นอีกที่มาของ ความร่วมมือนี้ เพราะจะท�ำให้ผบู้ ริโภคสามารถเข้าถึงโซลูชนั่ สถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า ได้อย่างสะดวกง่ายดาย อีกทั้งยังได้รับบริการด้านการจัดการสถานที่ติดตั้งจาก เดลต้า ประเทศไทย ในมาตรฐานเดียวกับผู้ขับขี่รถยนต์ไฟฟ้าทั้งในสหรัฐอเมริกา ยุโรป เอเชีย และออสเตรเลียได้รับ ดังนัน้ ข้อตกลงครัง้ นีถ้ อื เป็นการบุกเบิกการคมนาคมสีเขียวในประเทศไทย โดยตรงด้วยการมอบทางเลือกใหม่ๆ ทีช่ ว่ ยให้ผบู้ ริโภคเปิดรับการใช้งานยานยนต์ ไฟฟ้าได้ง่ายขึ้นนั่นเอง

30

ส�ำหรับการชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าที่บ้านและที่ส�ำนักงาน จะเป็นการติดตั้ง เครือ่ งชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าแบบธรรมดากระแสสลับของเดลต้า ขนาด 7.36 กิโลวัตต์ ส่วนสถานีบริการชาร์จไฟฟ้าสาธารณะเป็นเครื่องชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าแบบเร็ว กระแสตรงของเดลต้า ขนาด 50 กิโลวัตต์ นอกจากนีน้ สิ สันยังได้ตดิ ตัง้ เครือ่ งชาร์จ รถยนต์ไฟฟ้าทั้งแบบเร็วกระแสตรงและแบบธรรมดากระแสสลับที่โชว์รูมตัวแทน จ�ำหน่าย 32 แห่งทัว่ ประเทศ โดยเดลต้า ประเทศไทย จะเป็นผูใ้ ห้บริการส�ำรวจพืน้ ที่ ติดตั้ง และบริการหลังการขาย นิสสัน มีนโยบายหลักที่จะน�ำเสนอนวัตกรรมที่สร้างความตื่นเต้นเร้าใจ ให้กบั ลูกค้า (Innovation that Excites) และได้ประกาศเป้าหมายในการมีสว่ นร่วม ลดค่ามลพิษให้เป็นศูนย์ และลดการสูญเสียบนท้องถนนให้เป็นศูนย์ จึงมุ่งพัฒนา เทคโนโลยีการขับเคลื่อนที่อัจฉริยะ โดยมีแผนที่จะแนะน�ำระบบขับขี่อัตโนมัติใน รถยนต์รนุ่ หลักในภูมภิ าคต่างๆ เพือ่ เพิม่ ความปลอดภัยบนท้องถนนไปพร้อมๆ กับ การสร้างความสุขให้กับผู้ขับขี่ ส�ำหรับประเทศไทยนิสสันเริ่มด�ำเนินธุรกิจตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2495 มีผลิตภัณฑ์รถยนต์ตอบสนองลูกค้าทุกเซกเมนต์รวม 10 รุน่ ไม่วา่ จะ เป็นรถยนต์อีโคคาร์ รถยนต์อเนกประสงค์ รถยนต์พรีเมียมซีดาน และรถกระบะ

GreenNetwork4.0 May-June 2019


ราเมช นาราสิมัน

เซีย เชน เยน

ราเมช นาราสิมัน ประธาน บริษัท นิสสัน มอเตอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า การลงนามครั้งนี้ถือเป็นก้าวส�ำคัญอีกครั้งหนึ่ง ซึ่ง เดลต้า ประเทศไทย จะเป็นผู้ให้บริการเครื่องชาร์จรถยนต์พลังงานไฟฟ้าอย่างเป็นทางการและบริการ ชาร์จไฟฟ้าแบบเร็วส�ำหรับนิสสัน ลีฟ ใหม่ ทางเดลต้าน�ำเสนอโซลูชั่นการชาร์จ รถยนต์พลังงานไฟฟ้าและการจัดการพืน้ ทีท่ มี่ ปี ระสิทธิภาพ และง่ายต่อการใช้งาน ด้วยประสบการณ์ในสหรัฐอเมริกา ยุโรป เอเชีย และออสเตรเลีย ลูกค้ารถยนต์ไฟฟ้า ของนิสสันจะได้รบั สิทธิประโยชน์เช่นเดียวกับลูกค้าของเดลต้า รวมถึงข้อเสนอพิเศษ ส�ำหรับเครื่องชาร์จรถยนต์พลังงานไฟฟ้า บริการระดับมาตรฐานอย่างดีเยี่ยม และตัวเลือกในการชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าที่ตัวแทนจ�ำหน่ายของนิสสัน ซึ่งมีตัวแทน จ�ำหน่ายรถยนต์ไฟฟ้าทีไ่ ด้รบั การรับรองของนิสสันทัง้ หมด 32 แห่งจากทัว่ ประเทศ โดยในแต่ละแห่งจะให้บริการสถานีชาร์จไฟฟ้าของเดลต้าทีม่ าพร้อมกับเครือ่ งชาร์จ มาตรฐานและเครื่องชาร์จแบบเร็ว นอกจากนัน้ การร่วมมือกันครัง้ นีค้ รอบคลุมไปถึงการจัดฝึกอบรมผูใ้ ห้บริการ ในประเทศโดยใช้คู่มือการให้ความช่วยเหลือบนท้องถนนของนิสสัน ลีฟ ใหม่ เพื่อ ให้ลูกค้ามั่นใจว่ารถยนต์ของพวกเขาจะได้รับการดูแลเป็นพิเศษตามที่คาดหวังไว้ “ข้อตกลง EMO ร่วมกับเดลต้าในวันนี้ จะช่วยพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานของ ประเทศไทยโดยการให้ทางเลือกการชาร์จส�ำหรับลูกค้าของเราและตอกย�้ำความ มุง่ มัน่ ของเราเพือ่ ให้มนั่ ใจว่าเจ้าของนิสสัน ลีฟ ใหม่ ในประเทศไทยสามารถเข้าถึง สถานีชาร์จที่มีประสิทธิภาพพลังงานสูงได้ทุกที่ ไม่ว่าจะเป็นที่บ้าน ที่ท�ำงาน หรือ บนเส้นทางระหว่างเดินทาง” ราเมช กล่าว ส่วน เดลต้า เป็นหนึง่ ในผูผ้ ลิตชัน้ น�ำของโลกด้านโซลูชนั่ พลังงานสะอาดและ ระบบจัดการความร้อน นอกจากนี้ เดลต้ายังเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ในระดับภูมิภาค หลากหลายกลุ่มผลิตภัณฑ์ อาทิ ระบบอัตโนมัติส�ำหรับงานอุตสาหกรรม ระบบ แสดงผลครบวงจร และระบบเครือข่าย โดยพันธกิจของบริษทั ฯ คือมุง่ มัน่ สร้างสรรค์ นวัตกรรมการใช้พลังงานสะอาดและเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานเพือ่ อนาคต ที่ดีกว่า สะท้อนให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของบริษัทฯ ในการพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน ในฐานะทีเ่ ป็นผูใ้ ห้บริการโซลูชนั่ การประหยัดพลังงานทางด้านพาวเวอร์อเิ ล็กทรอนิกส์ และด้วยนวัตกรรมการวิจยั และพัฒนาทีท่ นั สมัย ธุรกิจหลักของบริษทั ฯ แบ่งได้ดงั นี้ พาวเวอร์อิเล็กทรอนิกส์ ออโตเมชั่น และระบบโครงสร้างพื้นฐาน

31

เซีย เชน เยน ประธานบริหาร บริษทั เดลต้า อีเลคโทรนิคส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า เดลต้าได้ลงทุนในอุตสาหกรรมแห่งอนาคต โดยขยาย ธุรกิจโซลูชั่นด้านพาวเวอร์อิเล็กทรอนิกส์ (EV Powertrain) รวมถึงเครื่องแปลง กระแสไฟฟ้า (On-Board Chargers) ส�ำหรับผู้ผลิตยานยนต์ไฟฟ้าชั้นน�ำของโลก มากมายทั้งในสหรัฐอเมริกาและยุโรป เดลต้า พร้อมให้บริการเครื่องชาร์จแบบ ธรรมดากระแสสลับแก่เจ้าของรถยนต์นสิ สัน ลีฟ ทีด่ ลี เลอร์ของนิสสันทัว่ ประเทศ ทีมวิศวกรของเดลต้าพร้อมให้บริการส�ำรวจพืน้ ที่ ติดตัง้ และให้บริการหลังการขาย แก่ลูกค้าถึงที่บ้าน นอกจากเครื่องชาร์จแบบธรรมดากระแสสลับแล้ว เดลต้ายังมี เครื่องชาร์จแบบเร็วกระแสตรงที่แนะน�ำโดยนิสสันพร้อมให้บริการที่สถานีชาร์จ อีกด้วย โดยทีมวิศวกรของเดลต้าก�ำลังทยอยติดตัง้ เครือ่ งชาร์จส�ำหรับยานยนต์ไฟฟ้า ทั้งแบบธรรมดาและแบบเร็วตามดีลเลอร์ของนิสสันทั่วประเทศ “เดลต้ามีความพร้อมที่จะช่วยให้การใช้งานยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย อย่างแพร่หลายเป็นจริง ในฐานะผู้ผลิตโซลูชั่นด้านพลังงานชั้นน�ำของโลก เดลต้า น�ำศักยภาพหลักของเราด้านการแปลงพลังงานและจัดการพลังงานสะอาดมาใช้ เพื่อพัฒนาและติดตั้งโซลูชั่นสถานีชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าระดับโลกให้แก่ผู้ใช้งาน ยานยนต์ไฟฟ้าทั่วโลก รวมถึงในประเทศไทย นับจากนี้เป็นต้นไปเจ้าของรถยนต์ นิสสัน ลีฟ ในประเทศไทย สามารถขับขีไ่ ด้อย่างมัน่ ใจด้วยโซลูชนั่ การชาร์จทีป่ ลอดภัย และมีประสิทธิภาพ รวมทั้งบริการที่เหมาะสม” เซีย เชน เยน กล่าว ทัง้ นี้ เดลต้าเป็นหนึง่ ในบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ชนั้ น�ำของไทย และสนับสนุนโครงการยานยนต์สมัยใหม่ หรือ Next-Generation Mobility ซึง่ เป็น ส่วนหนึง่ ของนโยบายไทยแลนด์ 4.0 โดยเดลต้าได้ทำ� งานอย่างใกล้ชดิ กับหน่วยงาน ด้านไฟฟ้าและยานยนต์เพื่อพัฒนาโซลูชั่นการชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย “เทคโนโลยีการชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าของเดลต้า ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งของ นโยบายเปลีย่ นผ่านสูก่ ารคมนาคมสีเขียวของประเทศนอร์เวย์ ซึง่ เป็นประเทศแรกๆ ของโลกทีร่ เิ ริม่ แนวคิดด้านนี้ ในปีทผี่ า่ นมา เดลต้าได้เปิดตัวสถานีชาร์จยานยนต์ไฟฟ้า แห่งแรกของมุมไบ เครือ่ งชาร์จทัง้ แบบธรรมดากระแสสลับและแบบเร็วกระแสตรง ของเดลต้า ใช้งานและติดตั้งง่าย รวมถึงวิธีการบริหารจัดการพื้นที่ของเรา ท�ำให้ โซลูชนั่ ของเดลต้าเหมาะกับทัง้ ส�ำหรับลานจอดรถเชิงพาณิชย์ อาคารส�ำนักงาน และ ที่อยู่อาศัยทั่วประเทศ” เซีย เชน เยน กล่าวเพิ่มเติม เครือ่ งชาร์จไฟฟ้าของเดลต้ามาพร้อมกับการรับประกันนานถึง 3 ปี บริการ สนับสนุนด้านเทคนิคทั่วประเทศ และการเปลี่ยนเครื่องชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าฟรี ภายใต้การรับประกัน

GreenNetwork4.0 May-June 2019


แอนด์เท็กซ์ 2019

งานแสดงสินค้าและการประชุมด้านนอนวูฟเวน และเทคโนโลยี สุ ข อนามั ย ประเภทใช้ แ ล้ ว ทิ้ ง ที่ ใ หญ่ ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จัดขึ้นเป็นครั้งแรกใน ประเทศไทย เพือ่ ช่วยยกระดับอุตสาหกรรมนอนวูฟเวน ไทยสูก่ ารเป็นฮับในระดับภูมภิ าค ได้ทำ� พิธเี ปิดอย่างเป็น ทางการโดยได้รับเกียรติจาก อภิจิณ โชติกเสถียร รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นประธานในพิธเี ปิดงาน ภายใต้แนวคิด “การส่งเสริมอุตสาหกรรมนอนวูฟเวน สูก่ ารเป็นศูนย์กลางในระดับภูมภิ าค” ซึง่ งานแอนด์เท็กซ์ 2019 นีไ้ ด้รบั ความสนใจจากผูจ้ ดั แสดงสินค้ากว่า 200 ราย จาก 14 ประเทศทัง้ โลก ประกอบไปด้วยอินเตอร์เนชัน่ แนล พาวิลเลี่ยนจากประเทศญี่ปุ่น จีน อินโดนีเซีย ไต้หวัน และฮ่องกง มาร่วมจัดแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรม ด้านนอนวูฟเวนและสุขอนามัยใช้แล้วทิง้ ทัง้ วัสดุอปุ กรณ์ ผลิตภัณฑ์ เครือ่ งจักร รวมไปถึงการจัดสัมมนาให้ความรู้ ถึง 2 วันเต็มในเรื่องยุทธศาสตร์และเทคนิคต่างๆ เพื่อ ช่วยยกระดับอุตสาหกรรมนอนวูฟเวนฯ แอนด์เท็กซ์ 2019 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 15-17 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 นี้ ณ ฮอลล์ EH100 ศูนย์นทิ รรศการ และการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ

ผู้ชนะผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม Thailand Green Design Awards 2019

ภิรัชบุรตี ิดตั้งโซลาร์รูฟท็อปในโครงการซัมเมอร์ ลาซาล บุกเบิก แนวคิดออฟฟิศยั่งยืน

ดร.มะลิวัลย์ หฤทัยธนาสันติ์ ผู้อ�ำนวยการสถาบันค้นคว้า และพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร (KAPI) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดพิธีมอบโล่รางวัลให้แก่ผู้ชนะใน การประกวดผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมจากงาน Thailand Green Design Awards 2019 ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งเน้นให้ องค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ เล็งเห็นถึงการผลิตสินค้าทีเ่ ป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ งาน Thailand Green Design Awards ได้จัด ต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 โดยในการมอบรางวั ล ให้ แ ก่ ผู ้ ช นะ ได้ รั บ เกี ย รติ จ าก ดร.จงรัก วัชรินทร์รัตน์ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ให้เกียรติมอบโล่รางวัล ประกาศเกียรติบัตร และ เงินรางวัลแก่ผู้ชนะ ซึ่งในปีนี้มีผู้ที่ผ่านเกณฑ์ได้รับรางวัลทั้งสิ้น 27 ผลงาน

ปิติภัทร บุรี กรรมการผู้จัดการ บริษัท ภิรัชแมนเนจเม้นท์ จ�ำกัด ภายใต้ กลุ่มบริษัท ภิรชั บุรี สโรชา บุรี รองประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร สายการเงิน กลุม่ บริษทั ภิรชั บุรี พร้อมด้วย กนกวรรณ จิตต์ชอบธรรม กรรมการผู้จัดการ และกัญขจี มี้เจริญ ผู้จัดการฝ่ายกลยุทธ์ แบรนด์และการสือ่ สาร บริษทั บ้านปู อินฟิเนอร์จี จ�ำกัด ภายใต้บริษทั บ้านปู จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมลงนามเซ็นสัญญาความร่วมมือ ติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์บนอาคาร ส�ำนักงานโครงการซัมเมอร์ ลาซาล อาคารส�ำนักงานออฟฟิศแคมปัสแห่งแรกในย่านสุขมุ วิทบางนา เบือ้ งต้นจ�ำนวน 4 อาคาร ตัง้ เป้าบุกเบิกแนวคิดตึกออฟฟิศประหยัดพลังงานไฟฟ้า โดย มุ่งใช้พลังงานแสงอาทิตย์ที่ถือเป็นพลังงานสะอาดและยั่งยืน โครงการซัมเมอร์ ลาซาล จะติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ หรือ โซลาร์รฟู ท็อปแบบครบวงจร ด้วยเทคโนโลยีการติดตัง้ และอุปกรณ์ทที่ นั สมัยได้มาตรฐานสากล ทีแ่ ปลงพลังงานแสงอาทิตย์ไปเป็นพลังงานไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ โดยมีกำ� ลัง การผลิตกระแสไฟฟ้ากว่า 460,000 กิโลวัตต์ชั่วโมง ซึ่งเมื่อติดตั้งทั้งโครงการคาดว่าจะช่วย ประหยัดพลังงานให้กับโครงการฯ ปีละกว่า 1.8 ล้านบาท

32

GreenNetwork4.0 May-June 2019


Magazine to Save The World

กรมควบคุมมลพิษ สรุปแผนมาตรการลดและคัดแยก ขยะมูลฝอยในหน่วยงานภาครัฐ

กรมควบคุมมลพิษ สรุปผลโครงการ “ท�ำความดีด้วยหัวใจ ลดภัย สิง่ แวดล้อม” ซึง่ เป็นโครงการทีห่ น่วยงานภาครัฐน�ำร่องโดยเล็งเห็นความส�ำคัญ และตระหนักถึงปัญหามลพิษในสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากขยะพลาสติก หลังได้จัด กิจกรรมหลัก 5 กิจกรรม ประกอบด้วย 1.ลดและคัดแยกขยะมูลฝอยในหน่วยงาน ภาครัฐ 2.ลดรับ ลดให้ ลดใช้ถงุ พลาสติกในห้างสรรพสินค้า ร้านสะดวกซือ้ และ ตลาดสด 3.ลดใช้ถุงพลาสติกหูหิ้วและงดใช้โฟมบรรจุอาหารในพื้นที่อุทยาน แห่งชาติทวั่ ประเทศ 4.ลดใช้ถงุ พลาสติกหูหวิ้ และงดใช้โฟมบรรจุอาหารในพืน้ ที่ สวนสัตว์ และ 5.จัดการขยะบกสู่ขยะทะเลในพื้นที่ 24 จังหวัดชายทะเล ทั้งนี้ การประเมินกิจกรรมลดและคัดแยกขยะมูลฝอยในหน่วยงานภาค รัฐ เป็นตัวชีว้ ดั ประสิทธิภาพผูบ้ ริหารองค์กร ของหน่วยงานระดับกรม 152 แห่ง และผู้ว่าราชการจังหวัด 76 จังหวัด ก�ำหนดให้อาคารส�ำนักงานของหน่วยงาน ภาครัฐ ร้อยละ 100 มีการด�ำเนินกิจกรรมทีส่ ง่ เสริมสนับสนุนการลดและคัดแยก ขยะมูลฝอยในหน่วยงานที่มีปริมาณขยะมูลฝอยของหน่วยงานภาครัฐลดลง ร้อยละ 5 หรือ 11,225 ตันต่อปี เพือ่ รักษาสิง่ แวดล้อมจากมาตรการลดปริมาณ การใช้พลาสติกหูหิ้ว ลดการใช้โฟมบรรจุอาหาร ลดการใช้แก้วพลาสติกแบบ ใช้ครั้งเดียว ซึ่งผลการประเมินในรอบแรกถือว่าประสบผลส�ำเร็จเป็นรูปธรรม ตามแผนงาน สามารถช่วยแก้ปญ ั หามลพิษในสิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดจากขยะพลาสติก ได้ และจะมีการผลักดันเร่งรัดให้เดินหน้าอย่างเป็นรูปธรรมต่อไป

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมภาคีเครือข่ายจัดงานปลูกต้นไม้รักษาธรรมชาติ ที่ชัยภูมิ

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ร่วมกับ มูลนิธปิ ลูกต้นไม้ น�ำโดย พระไพศาล วิสาโล ประธานมูลนิธปิ ลูกต้นไม้ ปลูกธรรมะ ร่วมกับ วิจารย์ สิมาฉายา ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และ ณรงค์ วุน้ ซิว้ ผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิ พร้อมทั้งผู้บริหารและผู้ตรวจราชการกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ผูช้ ว่ ยปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม กรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธุพ์ ชื กรมทรัพยากร ทางทะเลและชายฝัง่ และเทศบาลเมืองชัยภูมิ จัดงาน “ปลูกต้นไม้ ปลูกธรรมะ วิสาขบูชา 2562” ซึ่งมีวัตถุประสงค์เชิญชวนประชาชนร่วมกันรณรงค์รักษา ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมด้วยการปลูกต้นไม้และสร้างป่า เพือ่ เป็นการเพิม่ พืน้ ที่ สีเขียวให้กับประเทศ อีกทั้งส่งเสริมธรรมะและรักษาธรรมชาติในพื้นที่จังหวัด ชัยภูมิ พร้อมด้วยภาคีเครือข่ายจากภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน ยังได้รว่ มกัน จัดงานดังกล่าวพร้อมกันอีกกว่า 100 แห่งทั่วประเทศ นอกจากนี้ บรรยากาศภายในงานได้แจกกล้าไม้จ�ำนวน 35,000 ต้น ให้กบั ประชาชนผูม้ าร่วมงาน เพือ่ ร่วมกันท�ำบุญด้วยการปลูกต้นไม้ในวันวิสาขบูชา ซึ่งเป็นวันต้นไม้ประจ�ำปีของชาติ รวมถึงร่วมปลูกต้นศรีมหาโพธิ์จากประเทศ อินเดีย และต้นสาละอินเดีย จากประเทศเนปาล และต้นอื่นๆ อีกมากมาย

งาน KMITL Engineering Project Day 2019

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้จัดโครงการผลงานด้านวิศวกรรม ประจ�ำปี 2562 หรือ “KMITL Engineering Project Day 2019” งานแสดงผลงานวิจัยและนวัตกรรม สิง่ ประดิษฐ์จากฝีมอื นักศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์ ใน 20 สาขาวิชา กว่า 400 ผลงาน พร้อมไฮไลท์สดุ ยอดผลงานด้านนวัตกรรมด้านสิง่ แวดล้อม และนวัตกรรมอัจฉริยะ สายสุขภาพ อาทิ การลดการไหลของน�้ำในดินเพื่อการปรับปรุงดินอย่างยั่งยืน เครือ่ งตรวจระดับน�ำ้ ตาลในเลือดแบบไม่สมั ผัสร่างกาย ตะเกียบรับประทานได้ ระบบ การจัดการวันเก็บเกีย่ วทุเรียนบนสมาร์ทโฟน ขาเทียมควบคุมด้วยคลืน่ ไฟฟ้ากล้ามเนือ้ รศ. ดร.คมสัน มาลีสี คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กล่าวว่า สจล. มีแนวคิดในการบ่มเพาะบัณฑิต ให้สร้างสรรค์นวัตกรรมในโลกดิจิทัล ด้วยส�ำนึกความรับผิดชอบต่อสังคมและ สิง่ แวดล้อม กระตุน้ การเรียนรูใ้ นรูปแบบแอคทีฟ เลิรน์ นิง่ ของนักศึกษา เพือ่ สร้าง วิศวกรทีม่ คี วามรูค้ วบคูท่ กั ษะการปฏิบตั งิ านจริง น�ำไปสูก่ ารพัฒนาเศรษฐกิจทัง้ ภาค อุตสาหกรรมหลักและอุตสาหกรรมดิจิทัล สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีทรี่ วดเร็ว ทัง้ นี้ สจล. ได้จดั งานแสดงผลงานในโครงการผลงานด้านวิศวกรรม ประจ�ำปี 2562 เมือ่ เร็วๆ นี้ ณ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

33

GreenNetwork4.0 May-June 2019


GREEN

Industry ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี

ค�ำตอบ ของกิจการที่ยั่งยืน

เมื่อครั้งที่ บิล เกตส์ (Bill Gates) ก่อตั้งมูลนิธิบิลและเมลินดา เกตส์ ขึ้น เขาได้กล่าวสุนทรพจน์เปิดงานอย่างน่าฟังดังนี้ “...ธรรมชาติของมนุษย์มีพลังที่ยิ่งใหญ่อยู่สองพลัง คือพลังของประโยชน์ ส่วนตัวและพลังของความห่วงใยผู้อื่น ระบบทุนนิยมในปัจจุบันจะใช้ประโยชน์ ส่วนตัวเพื่อท�ำงานในทางที่เป็นประโยชน์และยั่งยืนส�ำหรับคนที่มีก�ำลังซื้อเท่านั้น ในขณะทีก่ ารกุศลและโครงการช่วยเหลือของภาครัฐจะเป็นช่องทางให้เราสามารถ แสดงความห่วงใยต่อผูท้ มี่ กี ำ� ลังซือ้ น้อยแต่ทรัพยากรต่างๆ ของภาครัฐก็มนี อ้ ยและ ไม่เพียงพอทีจ่ ะตอบสนองความต้องการของคนในสังคมได้ ดังนัน้ การปรับปรุงชีวติ ความเป็นอยู่ของคนจนให้ได้ผลรวดเร็วขึ้นจึงหมายความว่าเราจะต้องมีระบบที่ ดีกว่า ทีส่ ามารถดึงดูดทัง้ นักคิด นักปฏิบตั ิ และนักธุรกิจอุตสาหกรรมให้รว่ มมือกัน ได้ดีกว่าระบบหรือสิ่งที่เรามีอยู่ในทุกวันนี้ “...ความท้าทายจึงอยู่ที่การออกแบบระบบที่เป็นแรงจูงใจทางการตลาด ซึ่งหมายรวมถึงผลก�ำไรและการเป็นที่ยอมรับเพื่อผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ผมอยากเรียกระบบใหม่นวี้ า่ Creative Capitalism คือ ระบบทีร่ ฐั บาล ภาคราชการ ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม และภาคที่ไม่แสวงหาผลก�ำไร (NGO) ท�ำงานร่วมกันเพื่อ ขยับขยายพลังของตลาดออกไปให้คนจ�ำนวนมากขึน้ ได้กำ� ไร และท�ำให้องค์กรเป็น ที่ยอมรับตลอดจนสามารถท�ำงานเพื่อช่วยบรรเทาความเหลื่อมล�้ำในโลกนี้ด้วย” จากวันนั้นถึงวันนี้ ความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจอุตสาหกรรม (Corporate Social Responsibility หรือ CSR) จึงเพิม่ ขึน้ ในอัตราก้าวหน้า เพราะ องค์กรต่างๆ ให้ความส�ำคัญมากขึ้นทุกที

34

นอกจากค�ำว่า CSR แล้ว เราจึงได้ยนิ ได้ฟงั ค�ำว่า ความเป็นสีเขียว (Green) การประกอบกิจการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมความยั่งยืน (Sustainability) หรือ การคืนก�ำไรในรูปของเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม และค�ำใหม่อนื่ ๆ อีกมากมาย เพื่อให้องค์กรได้รับการยอมรับจากสังคมมากขึ้น ดังนัน้ ความเข้าใจทีถ่ กู ต้องจึงมีความส�ำคัญอย่างยิง่ โดยเฉพาะความเข้าใจ ในเรื่องของ “ความเป็นสีเขียว” (Green) ในวันนีเ้ ราจึงไม่ควรสือ่ ความหมายของค�ำว่า “Green” ไปเชือ่ มโยงกับเรือ่ งของ “สิง่ แวดล้อม” เท่านัน้ แต่ควรยึดโยงไปถึง “ความยัง่ ยืน” ทีเ่ กิดจากเรือ่ งอืน่ ๆ ด้วย โดยเน้นให้เห็นอย่างชัดเจนว่า เป้าหมายของการประกอบกิจการธุรกิจอุตสาหกรรม ไม่ใช่ทำ� เพือ่ “ก�ำไร” (สูงสุด) แต่เพียงอย่างเดียว แต่ตอ้ งเป็นเป้าหมายทีท่ ำ� ให้เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ทั้ง 3 ด้านมีความสมดุลและสามารถพัฒนาหรือเติบโตไป พร้อมๆ กันได้ โดยท�ำให้ “คุณภาพชีวิต” (Quality of Life) ของผู้คนในสังคมดีขึ้น ด้วย ดังนัน้ “ความเป็นสีเขียว” หรือ “Green” แม้จะมีความส�ำคัญต่อทุกองค์กร อย่างมากในปัจจุบนั แต่กไ็ ม่ใช่คำ� ตอบทัง้ หมดของความส�ำเร็จของธุรกิจอุตสาหกรรม ทุกองค์กรยังจะต้องผลิตสินค้าหรือให้บริการทีม่ คี ณ ุ ภาพ ทุกองค์กรจะต้อง มีปฎิบัติการที่ถูกต้องตั้งแต่เริ่มต้น และมีความสัมพันธ์กับลูกค้าอย่างเหนียวแน่น รวมตลอดถึงปัจจัยแห่งความส�ำเร็จอื่นๆ ด้วย ทุกวันนี้ “ความส�ำเร็จ” และ “ประโยชน์ตอ่ สังคม” จึงต้องไปด้วยกันเพือ่ ให้ องค์กรมีความยั่งยืน ครับผม!

GreenNetwork4.0 May-June 2019


โปรแกรม

GREEN

Accelerator…

เทคโนโลยีปญญาประดิษฐเพื่อพัฒนานวัตกรรมองคกร

Technology &Innovation กองบรรณาธิการ

ขณะนี้ อุตสาหกรรมของ เทคโนโลยีปญ  ญาประดิษฐ หรือ Artificial ณัฐภัทร ธเนศวรกุล Head of Ventures ของ RISE Intelligence (AI) กําลังเติบโตและมีผลกระทบอยางมากตอทัง้ ธุรกิจและ กลาววา เทคโนโลยีปญญาประดิษฐจะเปนตัวขับเคลื่อน สังคม ซึง่ การเพิม่ ขึน้ ของการใช AI กอใหเกิดการปรับเปลีย่ นและพัฒนา หลักที่ชวยกระตุนการเติบโตของจีดีพีโดยรวมของ มากมายในอุตสาหกรรมตางๆ ทําใหองคกรเปลีย่ นแนวทางการดําเนิน ประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ธุรกิจ ปฏิรปู วิธกี าร เปลีย่ นแปลงสภาพแวดลอม เพือ่ ใหองคกรสามารถ ซึ่ ง การจั ด ตั้ ง วั ฒ นธรรมที่ ขั บ เคลื่ อ นด ว ยข อ มู ล ใน ทําธุรกิจของตนเองและแขงขันในเศรษฐกิจโลกได ดังนัน้ ธุรกิจตางๆ องคกรธุรกิจ จะชวยใหองคกรระดับภูมภิ าคตางๆ สามารถ ปรับกลยุทธทางธุรกิจใหเหมาะสม และยกระดับผลิตภัณฑ จึงจําเปนตองนําเทคโนโลยีใหมมาใชในการรับมือกับการเปลีย่ นแปลงทาง และบริการตางๆ เพือ่ นําไปสูก ารเติบโตทางเศรษฐกิจทีย่ งั่ ยืน เทคโนโลยีอยางรวดเร็วและสรางโอกาสทางธุรกิจใหมๆ เพือ่ ชวยเสริมสราง ณัฐภัทร ธเนศวรกุล “การนํา AI มาใชนนั้ ตองใชเวลานานและมีคา ใชจา ยสูง ความสามารถในการแขงขันและเพิ่มรายไดใหสูงขึ้น ทัง้ นี้ จากขอมูลวิจยั ของ McKinsey ไดระบุวา การปรับใช AI จะสงผล บริษทั สวนใหญในเอเชียตะวันออกเฉียงใต กําลังเผชิญหนากับ ปญหาทรัพยากรไมเพียงพอในการพัฒนาเทคโนโลยี AI ภายในองคกร และยังไม ทําใหกาํ ไรของธุรกิจตางๆ ในทุกภาคธุรกิจเพิม่ ขึน้ อยางมากในป พ.ศ. 2578 โดยเฉพาะ สามารถเขาถึงนักพัฒนา AI ทั่วโลกไดอีกดวย สภาพแวดลอมเหลานี้คือเหตุผลวา อยางยิง่ ดานการศึกษา การใหบริการทีพ่ กั และอาหาร และการกอสราง ซึง่ คาดวา ทําไมโปรแกรม RISE.AI จึงถูกออกแบบใหเชือ่ มโยงกับองคกรตางๆ และนักพัฒนา จะเพิ่มสูงขึ้นมากกวา 70% นอกจากนี้ มีการคาดวาการใช AI ในธุรกิจคาสงและ คาปลีก การเกษตร ปาไม การประมง และการดูแลสุขภาพ จะทําใหผลกําไรเพิม่ ขึน้ AI ทั่วโลกที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเขาไวดวยกัน เพื่อรวมกันทํางานที่มีศักยภาพ และรักษาความสามารถในการแขงขันในเศรษฐกิจโลกทีก่ าํ ลังมีการเปลีย่ นแปลง” มากกวา 50% ณัฐภัทร กลาว รวมทั้งเมื่อพิจารณาถึงความไดเปรียบจากการนํา AI มาใชในตลาดกอน นอกจากนัน้ ดวยโปรแกรมการประเมินเชิงกลยุทธและการใหคาํ ปรึกษาจาก คูแ ขงขัน ในขณะนีธ้ รุ กิจตางๆ มีความกระตือรือรนทีจ่ ะพัฒนาขีดความสามารถดาน AI ของตนเองเพื่อสรางความไดเปรียบในการแขงขันดังกลาว พันธมิตรผูเ ชีย่ วชาญของ RISE.AI จะทําให RISE.AI เปนแพลตฟอรมทีม่ แี นวโนม Regional Corporate Innovation Accelerator หรือ สถาบันเรงสปด ในการพัฒนา AI ขององคกรในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใตไดสาํ เร็จ ซึง่ โปรแกรม ดังกลาวไดเปดตัวอยางเปนทางการแลวในเดือนเมษายน พ.ศ. 2562 โดยมีแผนที่ นวัตกรรมองคกรระดับภูมิภาคที่ใหญที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดเปดตัว จะจัดงานโรดโชวในเมืองใหญ 10 แหง ทัว่ เอเชีย ไดแก กรุงเทพฯ สิงคโปร โตเกียว โปรแกรม AI Accelerator เปนครัง้ แรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ซึง่ เปนโปรแกรม โฮจิมินห ปกกิ่ง หางโจว เซินเจิ้น ฮองกง โซล และไทเป เรงสปดการนํา AI มาใชในองคกร มุง เนนใหเกิดผลลัพธทางธุรกิจทีจ่ บั ตองได และ สามารถตอบโจทยขององคกรชัน้ นําในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดย RISE มีนา ซาลิบ ผูอํานวยการโครงการจาก New York University Tandon ทํางานรวมกับเครือขายพารทเนอรทคี่ รอบคลุมทัง้ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต Future Labs ซึง่ เปนหนึง่ ในพันธมิตรทางกลยุทธ ของ RISE.AI กลาววา “โปรแกรม RISE.AI เปนโอกาสทีด่ สี าํ หรับสตารทอัพ ทีต่ อ งการการขยายตัวและการเติบโตของ และทัว่ โลก โดยใชความเชีย่ วชาญของ RISE ในการนํา AI มาใชเพือ่ พัฒนานวัตกรรม ธุรกิจในเอเชียตะวันออกเฉียงใต เพราะองคกรธุรกิจในภูมิภาคนี้ทุมการลงทุนใน องคกร เพือ่ มุง เนนใหเกิดผลลัพธทเี่ ปนรูปธรรมและนําไปใชไดจริง ดวยการเชือ่ มตอ แนวคิดเชิงนวัตกรรมเขากับแนวทางปฏิบัติที่ประยุกตใชไดในการเรงสปดการ เทคโนโลยี AI เปนอยางมาก ขอสนับสนุนใหสตารทอัพ AI จากทั่วโลกเขารวมกับ พัฒนาเทคโนโลยี AI RISE.AI ซึง่ ถือเปน Corporate AI Accelerator ครัง้ แรกในภูมภิ าคเอเชียตะวันออก เฉียงใต” โปรแกรม RISE.AI นี้ มีจดุ มุง หมายเพือ่ รวบรวมสตารทอัพทีม่ นี วัตกรรม AI ทีด่ ที สี่ ดุ จากทัว่ โลก และผูเ ชีย่ วชาญดานเทคโนโลยี AI มารวมกันพัฒนาโครงการ สําหรับสตารทอัพที่สนใจ สามารถสงใบสมัครออนไลนไดที่ นํารองตางๆ กับบริษัทชั้นนําในภาคธุรกิจตางๆ เชน การเงินและการธนาคาร www.riseaccel.com/ai ประกันภัย พลังงานและเทคโนโลยีสะอาด เปนตน องคกรชั้นนําในประเทศไทย ทีเ่ ขารวมโปรแกรมนี้ ไดแก บริษทั ปตท.สํารวจและผลิตปโตรเลียม จํากัด (มหาชน) (ปตท.สผ.) บริษทั เอไอ แอนด โรโบติกส เวนเจอรส จํากัด ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) และสํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) โดยโปรแกรมนี้ จะจัดขึ้นในชวงเดือนเมษายน-กันยายน พ.ศ. 2562

RISE เปนสถาบันเรงสปดนวัตกรรมองคกรระดับภูมิภาคที่ใหญที่สุดใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต บริษัทมีสวนรวมในการสงเสริมสภาพแวดลอม นวัตกรรมใหกับองคกรธุรกิจในประเทศไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยมี วัตถุประสงคเพื่อสรางศูนยกลางระดับโลกสําหรับนวัตกรรมองคกรในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต 35

GreenNetwork4.0 May-June 2019


GREEN

Report กองบรรณาธิการ

สถาปนิก’62 งานสถาปตยกรรม แหงอาเซียน ภายใตแนวคิด

“กรีน อยู ดี : Living Green” ปจจุบันโลกกําลังเผชิญกับภาวะโลกรอน อีกทั้งปญหาสิ่งแวดลอมจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพอากาศ รวมถึงปญหาขยะที่สงผลกระทบโดยตรงตอความเปนอยู เกีย่ วกับคุณภาพชีวติ ของผูค น และแหลงพลังงานทีม่ ที รัพยากรอันจํากัด นํามาซึง่ ผลกระทบ ในสังคมและทางดานเศรษฐกิจดวย ทําใหทุกฝายใหความสําคัญ ตระหนัก และใสใจใน เรื่องของการรักษโลก ซึ่งทําใหทั่วโลกสนใจและเขาใจความหมายของคําวา “Green” มากขึ้น แมในประเทศไทยตางหันมาใหความสําคัญกับสิ่งแวดลอมเชนเดียวกัน สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ จึงไดจัดงานสถาปนิก’62 ภายใต แนวคิด “กรีน อยู ดี : Living Green” เปนงานแสดงสินคาเนนการสรางสรรคสถาปตยกรรม อยางยิง่ ใหญ ซึง่ รวมนวัตกรรม เทคโนโลยี และวัสดุในธุรกิจกอสรางทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม และการออกแบบตกแตงเพื่อวิถีชีวิตที่ยั่งยืนมากที่สุดในอาเซียน โดยในสวนพื้นที่จัด นิทรรศการตางๆ นั้นไดจดั แสดงนิทรรศการ “Green Building Showcase” รวมถึงการ ออกแบบอาคารสีเขียวจากนักออกแบบชัน้ นําของเอเชีย ตลอดจนนิทรรศการ “Go Zero

Waste ชีวิตใหมไรขยะ” และนิทรรศการ “Innovation Green Product” เพื่อผสมผสานเทคโนโลยีสีเขียว และจัดแสดงกิจกรรม เชน Smart Cities เปนนวัตกรรม การออกแบบสําหรับนักวางผังเมืองตามแนวคิดการออกแบบสีเขียวในดานสิ่งแวดลอมตอชุมชนเมืองใหนาอยู ภายในงานมีผูประกอบการผลิตภัณฑชั้นนําจาก 40 ประเทศทั่วโลก อาทิ สหรัฐอเมริกา เยอรมนี อิตาลี อังกฤษ ตุรกี ออสเตรเลีย จีน ญี่ปุน เกาหลี ฮองกง ไตหวัน เวียดนาม อินเดีย อินโดนีเซีย มาเลเซีย และสิงคโปร นํานวัตกรรมผลิตภัณฑสนิ คาในธุรกิจวงการกอสรางทีม่ งุ เนนการใชวสั ดุทเี่ ปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม ตลอดจนคํานึงถึงการนํากลับมาใชใหม การบริหารจัดการพลังงาน การออกแบบแสงสวางและการออกแบบเพื่อความยั่งยืน

36 36

GreenNetwork4.0 May-June GreenNetwork4.0 May-June 2019 220 019 9


ขณะที่ สภาสงเสริมการคาและการสงออกแหงไตหวัน ประจําประเทศไทย รวมกับ ฝายพัฒนาอุตสาหกรรม สภาสงเสริมการคาและการสงออกแหงไตหวัน ไดนาํ ผูผ ลิตนวัตกรรมชัน้ นํา 5 ราย จากประเทศไตหวัน มาจัดแสดงเทคโนโลยีและ สินคาวัสดุกอ สรางสีเขียวเพือ่ สิง่ แวดลอมทีจ่ ะพัฒนาการกอสรางและการออกแบบ อาคารสีเขียวในไทยทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม จัดแสดงในสวนของโซน Taiwan Green Building Pavilion ประกอบดวย บริษทั เซอรโค แอพพลายด แมททีเรียลส จํากัด ไดจดั แสดงนวัตกรรมกระจกประหยัดพลังงาน Uplus ฟลม เซลลแสงอาทิตย (Solar Film) และกระจกลามิเนตเคลือบฉนวนทีม่ คี วามโปรงแสงสูง มองเห็นไดชดั เจนและ มีความสามารถในการปองกันความรอนสูง ไดรบั ใบรับรองวัสดุกอ สรางสีเขียวของ ไตหวันในป 2559 ดวย ขณะที่ บริษทั กรีน คัม ทรู คอรป และ บริษทั โมเซีย กรีน โฮม คอรป จํากัด ซึ่งไดรับเครื่องหมายรับรองวัสดุกอสรางสีเขียวดานระบบนิเวศ และวัสดุกอ สรางสีเขียวทีถ่ กู สุขลักษณะสําหรับพืน้ ไม สวน บริษทั ควีน เซรามิก เปน ผูบ กุ เบิกการสรางอาคารโดยใชหนิ ควอตซและวัสดุตา งๆ ทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม และความปลอดภัยตอสุขภาพ นอกจากนี้ บริษทั อะเบอรดนี ส แอดสโตน จํากัด ได จัดแสดงผลิตภัณฑสเี สมือนหินทีใ่ ชนาํ้ ธรรมชาติและเทคโนโลยีระดับสูงในการผลิต และมีปริมาณสารประกอบอินทรียร ะเหยงาย (VOC) ตํา่ จึงเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม

37

อัชชพล ดุสติ นานนท นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ กลาววา “งานสถาปนิกเปนงานจัดแสดงสถาปตยกรรมและเทคโนโลยีกอสรางที่ ริเริม่ โดยสมาคมสถาปนิกสยามฯ จัดขึน้ ครัง้ เมือ่ ป พ.ศ. 2529 และครัง้ นีเ้ ปนครัง้ ที่ 33 โดยวัตถุประสงคเพือ่ แสดงศักยภาพและนําเสนอผลงานความกาวหนาทางวิชาชีพ สถาปตยกรรมทีจ่ ะเชือ่ มโยงระหวางสถาปนิกกับประชาชน ซึง่ มีความมุง หวังทีส่ ราง ประโยชนใหกับสมาชิกและคนในสังคม ซึ่งความสําคัญของวิชาชีพสถาปนิกไมได มีบทบาทเพียงการออกแบบอาคารเทานั้น แตยังตองสรางความเปนอยูที่ดีดวย ใหสอดคลองกับวิถชี วี ติ และสภาพแวดลอมทีค่ าํ นึงถึงปญหาสภาวะโลกรอน เพือ่ ให เกิดการออกแบบทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอมสงผลดีตอ สุขภาวะทีด่ ขี นึ้ การอยูส บาย ขึ้น และการประหยัดพลังงานมากขึ้น” ดาน ดร.อัจฉราวรรณ จุฑารัตน ประธานจัดงานสถาปนิก’62 กลาววา “คณะกรรมการจัดงานสถาปนิกปนี้กําหนดให การจัดแสดงนิทรรศการในครั้งนี้นําเสนอ การสร า งสรรค ส ถาป ต ยกรรมและ การออกแบบประสบการณสเี ขียวผาน การออกแบบดวยการเชื่อมโยงหลาย ศาสตรเขาไวดวยกัน อันจะกอใหเกิด ประโยชน ต  อ ส ว นรวมในด า นบวก ทัง้ ตอสิง่ แวดลอม ชุมชน และเมืองใหญ โดยเปนการรวมตัวของสถาปนิก ผูเ ชีย่ วชาญ ดานอาคารเขียว วงการออกแบบกอสราง และนักออกแบบผังเมืองไดแลกเปลี่ยน ดร.อัจฉราวรรณ จุฑารัตน เรียนรูแนวคิดนวัตกรรมใหมๆ ดานการใชวัสดุกอสรางและการออกแบบรวมกัน ซึง่ จะสามารถบรรเทาปญหาสิง่ แวดลอมทีโ่ ลกกําลังเผชิญอยูแ ละปญหาสังคมใหมี สิ่งแวดลอมที่ดีได” ขณะที่ รศ. ดร.อรรจน เศรษฐบุตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย และรองประธานสถาบันอาคารเขียวไทย กลาววา “แนวคิดสถาปตยกรรม สีเขียว (Green Architecture) เปนผลผลิตจากกระแสความคิดใหมในการออกแบบ สถาปตยกรรมที่มีรากฐานมาจากแนวคิดความยั่งยืนในการออกแบบอาคารให นาสบายดวยวิธีธรรมชาติของสถาปตยกรรมสีเขียวซึ่งเกิดขึ้นใหมอีกครั้งอยาง เขมแข็งเพือ่ ตอบรับกับสภาพแวดลอม การลดการใชพลังงาน และการใชประโยชน จากพลังงานธรรมชาติทสี่ ะอาด เปนงานสถาปตยกรรมสีเขียวทีม่ งุ เนนใหเกิดความ สอดคลองกับภูมอิ ากาศภูมปิ ระเทศในยุคปจจุบนั รวมถึงการออกแบบใหเกิดความ นาอยูนาสบายในเชิงอุณหภาพ แสงสวาง เสียง และคุณภาพอากาศภายในอาคาร หรือทีอ่ ยูอ าศัยใหอยูใ นเกณฑมาตรฐานเปนทีย่ อมรับของสากล และการสงเสริมใช พลังงานจากธรรมชาติ เชน พลังงานแสงอาทิตย พืชพันธุ มูลสัตว ซึ่งเปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม ประหยัดพลังงานแบบระยะยาว” อยางไรก็ดี งานสถาปนิกป 2562 ในครัง้ นีเ้ ปนการยกระดับของการจัดงาน ไปสูร ะดับสากลทีเ่ กิดจากพลังรักษโลกรอน จึงเปนการตอยอดภูมปิ ญ  ญาทางดาน ความคิดสรางสรรคทที่ าํ ใหวงการสถาปตยกรรมและวงการกอสรางจากทัว่ ภูมภิ าค อาเซียนไดเกิดแรงบันดาลใจทีด่ ี เกิดจิตสํานึกและพัฒนาผลงานในเชิงสถาปตยกรรม และการออกแบบสีเขียวเพือ่ ใหเกิดประโยชนแกสงั คมตอๆไป เรียกไดวา เปนโอกาส สําคัญทีไ่ ดใหความรูแ กเยาวชนและเปนตัวอยางแกทงั้ ประชาชนและสถาปนิกทีจ่ ะ รวมกันขับเคลือ่ นเปลีย่ นการออกแบบเปนการสรางสิง่ แวดลอมทีด่ แี ละความเปนอยู ที่ดีในอนาคต

GreenNetwork4.0 May-June 2019


ENERGY

Saving กองบรรณาธิการ

“เที่ยวคลีน” แบบคนยุคใหม

สนุกได ไมทําลาย สิ่งแวดลอม ประเทศไทยเปนประเทศจุดหมายปลายทางของนักทองเที่ยว จากทัว่ โลก รวมทัง้ คนไทยก็มนี สิ ยั ชอบทองเทีย่ ว สงผลใหแหลงทองเทีย่ ว แทบทุกทีเ่ ต็มไปดวยนักทองเทีย่ ว สิง่ ทีต่ ามมากับนักทองเทีย่ วคือขยะ ในแตละปนักทองเที่ยวไดทิ้งขยะไวตามแหลงทองเที่ยวปริมาณ มหาศาล และเมือ่ รวมกับขยะทีเ่ กิดจากชุมชนพืน้ ทีแ่ ลวสงผลใหแหลง ทองเทีย่ วสูญเสียความเปนธรรมชาติไปโดยปริยาย ดังนัน้ จะดีแคไหน ถาการทองเทีย่ วคราวตอไปของเราจะมีความหมายไดมากขึน้ กวาเดิม ไดทงั้ ความสนุก และความสุขทางใจจากการมีสว นรวมในการอนุรกั ษ ธรรมชาติไปพรอมๆ กัน วันนี้เรามีเทรนดทองเที่ยวสุดอินเทรนดอยาง “เที่ยวคลีน” มาแนะนําใหรูจัก…มาเที่ยวแบบคลีนดวยกันเถอะ!!!

ทองเที่ยวแบบไรขยะ...ความรวมมือเพื่อสิ่งแวดลอม ที่ไรขยะ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ ชื กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอม รวมกับ มูลนิธโิ คคา-โคลา ประเทศไทย ไดรว มกันปลูกกระแส “เที่ยวคลีน” ซึ่งเปนการทองเที่ยวแบบใหม ตองการปลูกจิตสํานึกในการ ทองเทีย่ วแบบไรขยะ ลดภาระแกสงิ่ แวดลอม ซึง่ สอดคลองกับโครงการ “ทําดี ดวยหัวใจ ลดภัยสิ่งแวดลอม” ของกรมอุทยานแหงชาติฯ 38

GreenNetwork4.0 May-June 2019


เกาะไข อุทยานแหงชาติตะรุเตา จังหวัดสตูล

การเทีย่ วคลีนนัน้ ทําไดงา ยๆ โดยการรวมมือกันไมนาํ บรรจุภณ ั ฑใชครัง้ เดียว ทิ้งในรูปแบบพลาสติกเขาไปในเขตอุทยานแหงชาติหรือเขตทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ไมวา จะเปนถุงพลาสติก กลองพลาสติก โฟมบรรจุอาหาร จานพลาสติก แกวพลาสติก หลอด และชอนสอมพลาสติก ทัง้ หมดนีเ้ ปนขยะทีส่ รางมลภาวะใหแกอทุ ยานแหงชาติ ของเรามานาน กรมอุทยานแหงชาติฯ ไดพยายามแกไขแตยังไมประสบผลสําเร็จ

เที่ยวทั้งที เตรียมอุปกรณที่จําเปนใหพรอม เพื่อสิ่งแวดลอมของพวกเรา

ควรนําออกมาทิง้ ใหถกู ถังและถูกที่ เพือ่ ทีบ่ รรจุภณ ั ฑเหลานัน้ จะไดถกู นําไปรีไซเคิล เปนผลิตภัณฑใหมตางๆ ไดอยางยั่งยืน เมื่อไดรูจักเทรนด “เที่ยวคลีน” แลว ก็ถึงเวลาเตรียมตัวเดินทาง เริ่มจาก การเลือกสถานที่ทองเที่ยวที่เหมาะกับฤดูกาล อยางอุทยานแหงชาติหมูเกาะชาง จังหวัดตราด ที่มีความสวยงามตามธรรมชาติครบทั้งทะเล ปาเขา นํ้าตก อุทยาน แหงชาติเขาแหลมหญา หมูเ กาะเสม็ด ทีม่ หี าดทรายบนเกาะขาวเนียนละเอียด หรือ สําหรับสายดํานํ้า ลองรวมกลุมกับเพื่อนๆ ไปเที่ยวอุทยานแหงชาติหมูเกาะสิมิลัน จังหวัดพังงา ที่มีจุดดํานํ้าที่สวยงามโดดเดน เมือ่ เลือกสถานทีไ่ ดแลว ก็ไดเวลาเตรียมตัวรับมืออากาศรอน ใหไดเทีย่ วอยาง มีความสุขไดเลย ไมวา จะเปนการเตรียมเสือ้ ผาใหเหมาะกับสภาพอากาศ นอกจาก จะสีสันสดใสแลวตองสวมใสสบาย ระบายความรอนไดดี เตรียมอุปกรณกันแดด อยางแวนกันแดด หรือหมวกปกกวางไปเพือ่ กันอันตรายจากแสงแดด เตรียมอุปกรณ คลายรอนอยางพัดลมมือถือ แปงเย็น หรือทิชชูเปยกไปใชระหวางวันเพื่อบรรเทา ความรอน และอยาลืมทาครีมกันแดดเพือ่ สรางเกราะปองกันผิวจากรังสี UV อันตราย จะไดเที่ยวกลางอากาศรอนจัดไดอยางไรกังวล เตรียมตัวพรอมแลว ก็ไป “เทีย่ วคลีน” กันใหสนุกได อยาลืมเก็บภาพความ ประทับใจจากทริป “เทีย่ วคลีน” ทีอ่ ทุ ยานแหงชาติทวั่ ประเทศ และนํามาแบงปนเปน แรงบันดาลใจกับคนอื่นตอไป ดวยการใส #เที่ยวคลีน ในรูปที่อัพโหลดกันดวยละ แคนี้ก็ไดทั้งความสนุกและความสุขทางใจ ที่ไดรวมทองเที่ยวแบบไรขยะ ลดภาระ แกธรรมชาติแลว

มูลนิธิโคคา-โคลา ประเทศไทย

แลวเที่ยวอยางไรจึงจะเรียกวา “เที่ยวคลีน” เราเตรียมตัวกอนเทีย่ วไดงา ยๆ คือ เตรียมอุปกรณทจี่ าํ เปนตองใชใหพรอม เพือ่ ลดการใชบรรจุภณ ั ฑพลาสติกแบบใชครัง้ เดียวทิง้ ใหลองพกกลองอาหารหรือ ปน โตนารักๆ ไปใช พกหลอดสเตนเลสสุดฮิตใสกระเปาไปดวย เตรียมเซตชอนสอม ตะเกียบ ทีน่ าํ กลับมาใชใหมไดตดิ ตัวไปใชแทนภาชนะพลาสติกแบบใชครัง้ เดียวทิง้ หรือจะหยิบถุงผาสีสันสดใสที่นอกจากจะชวยลดปริมาณถุงพลาสติกแลว ยังเปน พร็อพถายรูปทีเ่ กไกไมแพใครอีกดวย รวมทัง้ พวกเครือ่ งดืม่ ทีพ่ กไปก็ควรเลือกแบบ ที่ไมมีพลาสติกหุมฝาขวด ที่สําคัญ เมื่อนําเขาไปในบริเวณอุทยานแหงชาติแลว 39

อุทยานแหงชาติเขาแหลมหญา-หมูเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง

กอตั้งเมื่อป พ.ศ. 2546 โดย บริษัทโคคา-โคลา (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท ไทยนํ้าทิพย จํากัด และบริษัท หาดทิพย จํากัด (มหาชน) โดยรวมมือกับผูมีสวนเกี่ยวของทั้งในระดับทองถิ่น ระดับภูมิภาค และระดับประเทศดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการ บริหารจัดการทรัพยากรนํา้ การปกปองสิง่ แวดลอม ตลอดจน การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย เพือ่ ยกระดับคุณภาพชีวติ ความเปนอยูของคนไทยใหมีความยั่งยืน

GreenNetwork4.0 May-June 2019


Register to visit Scan Here !!






Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.