Contents July-August 2019
8
10 20 24 28 11 12 17 39 40 14
15 16
Green Report
MG ชูนวัตกรรมรถยนตพลังงานไฟฟา EV พรอมติดตั้งสถานีชารจ แบตเตอรี่ทั่วประเทศ by กองบรรณาธิการ
Green Focus
แนวโนมการใชงาน E-Axle สําหรับรถยนตไฟฟา by ชินวุฒิ ขวัญณัฐพร พลังงานทดแทน รอรัฐมนตรีใหมชุบชีวิต? กองทุนพลังงานปละกวา หมื่นลาน คนไทยไดอะไร? by พิชัย ถิ่นสันติสุข การสงเสริมใหมีการติดตั้งโซลารรูฟกับกาวตอไปของประเทศ by นรินพร มาลาศรี ถานอัดแทง LAMBOOCHAR เพือ่ สิง่ แวดลอมทีด่ แี ละสรางชุมชนเขมแข็ง by กองบรรณาธิการ
Green World
สถานการณรถยนตพลังงานไฟฟา (EV) ในยุโรป by กองบรรณาธิการ
Green Article
“ตุกตุก” รถเครื่องสามลอไทย พัฒนาสูรถตุกตุกไฟฟาดัดแปลงสําหรับ ธุรกิจไทย SME by ผศ. ดร.ชนะ เยี่ยงกมลสิงห Green Technology & Innovation Electric Vehicle Technology by ดร.บุญรอด สัจจกุลนุกิจ ขยะไมมีที่อยู by ศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล ดรามา เรื่อง PM 2.5 ตอน 3 : สถานการณของ กทม. by รศ. ดร.ศิริมา ปญญาเมธีกุล, ศ. กิตติคุณ ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์
30
18 22 23
27
Green Scoop
เชฟรอนฯ หนุนพลังงานสะอาด เปดปมนํ้ามันคาลเท็กซจําหนาย B20 ที่กระบี่ by กองบรรณาธิการ เสวนา “อนาคตพลังงานไทย ใครกําหนด” ผนึกกําลังทุกภาคสวนรวม รักษาทรัพยากรของชาติ by กองบรรณาธิการ
Green Factory
“ฮีโร” ถุงขยะรุนรักษโลก … สินคารักษโลกที่แม็คโคร by กองบรรณาธิการ
Green People
บริษัท เมอรเซเดส-เบนซ แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด ยกระดับรถยนตไฟฟาปลัก๊ อินไฮบริดใชพลังงานจากแบตเตอรีผ่ ลิตในไทย by กองบรรณาธิการ สวทช. มุงพัฒนาตั้งศูนยทดสอบแบตเตอรี่รองรับการผลิตรถยนต พลังงานไฟฟา by กองบรรณาธิการ
Green Industry
การวางแผนดานสิ่งแวดลอม by ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี
Smart City
29 กระทรวงดิจทิ ลั ฯ หนุน Asia IoT Business Platform พัฒนาสูโ ครงการ Smart City by กองบรรณาธิการ
32 Auto Challenge
รถยนต BMW เดินหนาโครงการพัฒนาบุคลากรดานยานยนต ปูรากฐานทักษะวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส by กองบรรณาธิการ
33 Green Biz
by กองบรรณาธิการ
Special Scoop
“ออโตโมทีฟ ซัมมิท 2019” ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมยานยนตรองรับ การผลิตรถยนตไฟฟา EV by กองบรรณาธิการ
นักวิจยั เพาะปะการังโตะแบบพุม จากสเปรม แชเยือกแข็งลดเสีย่ งปะการัง สูญพันธุ by กองบรรณาธิการ
35 36
Green Travel
อพท. ยกระดับทองเที่ยวเชียงคาน จังหวัดเลย เพื่อสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน by กองบรรณาธิการ
Green Building
ศิรพิ ร สิงหรัญ นายกสมาคมธุรกิจรับสรางบาน สาวแกรงแหงลีอารคเี ทค ชูนวัตกรรมบานประหยัดพลังงาน by กองบรรณาธิการ
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ฯพณฯ พลอากาศเอก กําธน สินธวานนท คณะที่ปรึกษา ดร.ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน นินนาท ไชยธีรภิญโญ ดร.อัศวิน จินตกานนท ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย พานิช พงศพิโรดม ประสงค ธาราไชย ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.สุรพล ดํารงกิตติกลุ ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ชาย ชีวะเกตุ รศ. ดร.สิงห อินทรชูโต บรรณาธิการอํานวยการ/บรรณาธิการผูพิมพโฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ นิภา กลิ่นโกสุม กองบรรณาธิการ นริศรา ออนเรียน เลขานุการกองบรรณาธิการ ปฐฐมณฑ อุยพัฒน พิสูจนอักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม ศศิธร มไหสวริยะ ประสานงาน ภัทรกันต กิจสินธพชัย ผูจัดการฝายการตลาด เขมจิรา ปลาทิพย ฝายการตลาด กัลยา ทรัพยภิรมย เลขานุการฝายการตลาด ชุติมันต บัวผัน ฝายวิเทศสัมพันธ ศิรินทิพย โยธาพันธ แยกสี บริษัท คลาสิคสแกน จํากัด โรงพิมพ หจก.รุงเรืองการพิมพ
เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด
471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2354-5333 (ฝายการตลาด Ext. 230) แฟกซ 0-2640-4260 http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com E-Mail : editor@greennetworkthailand.com
สวัสดีครับ ทานสมาชิกและทานผูอานทุกทาน Green Network ฉบับนีก้ ระแสรอนแรงจริงๆ กับวงการอุตสาหกรรมยานยนต พลังงานไฟฟา หรือ Electric Vehicle (EV) ทีผ่ บู ริโภคหันมาใหความสนใจนิยมใชรถยนต พลังงานไฟฟามากขึน้ ทําใหภาคอุตสาหกรรมยานยนตทวั่ โลกเกิดการตืน่ ตัวในการพัฒนา นวัตกรรมรถยนตเพื่อใหเกิดการพึ่งพารถยนตไฟฟามากขึ้น สวนปญหาสถานีชารจ ทีย่ งั มีไมเพียงพอกับความตองการนัน้ ขณะนีห้ นวยงานภาครัฐและภาคเอกชนไดผนึก แนวคิดรวมมือกันเพื่อทยอยติดตั้งสถานีชารจแบตเตอรี่ทั่วประเทศ ในคอลัมน Green World นําเสนอบทความเรือ่ ง สถานการณรถยนตพลังงาน ไฟฟา (EV) ในยุโรป ซึง่ ประเทศในยุโรปเปนทีน่ า จับตามองไปทัว่ โลก เพราะประเทศ ในกลุมนี้มีการใชรถยนตไฟฟาอยางแพรหลาย ปจจุบันประเทศนอรเวยไดชื่อวาเปน ประเทศที่มีอัตราการใชรถยนตไฟฟากับสัดสวนประชากรมากที่สุดในโลก Green Report เปนเรื่องเกี่ยวกับ บริษัท เอสเอไอซี มอเตอร-ซีพี จํากัด และ บริษทั เอ็มจี เซลส (ประเทศไทย) จํากัด ผูผ ลิตและผูจ าํ หนายรถยนตเอ็มจีในประเทศไทย ไดเปดตัวรถยนตพลังงานไฟฟา “NEW MG ZS EV” เปนรถยนตพลังงานไฟฟา 100% รุนแรกของเอ็มจีอยางเปนทางการในประเทศไทย MG รุนนี้มีความโดดเดนในดาน คุณภาพ สมรรถนะ ความอัจฉริยะ โดยมีกระบวนการผลิตออกแบบกระจังหนารถ ที่ทันสมัย พรอมการติดตั้งจุดชารจไฟไวบริเวณหลังกระจังหนาอีกดวย Green People จะเปนเรื่องของคายยักษใหญอยาง เมอรเซเดส-เบนซ แมนูแฟคเจอริง่ ฯ ทีย่ กระดับรถยนตไฟฟาปลัก๊ อินไฮบริดใชพลังงานจากแบตเตอรีผ่ ลิต ในไทย ไดลงนามความรวมมือกับ สวทช. มุง พัฒนาตัง้ ศูนยทดสอบแบตเตอรีร่ องรับ การผลิตรถยนตพลังงานไฟฟา เปนแล็บทดสอบแบตเตอรีย่ านยนตไฟฟาแหงแรกใน ประเทศไทยและในภูมภิ าคอาเซียนทีเ่ ทาเทียมระดับโลก และยังสามารถสงออกไปยัง นานาประเทศเพื่อรองรับการผลิตรถยนตไฟฟาประเภทปลั๊กอินไฮบริด หรือรถยนต ประเภท BEV ในอนาคต ปดทายดวยคอลัมน Green Building ทางกองบรรณาธิการนิตยสาร Green Network ของเราไดรวมพูดคุยกับ ศิริพร สิงหรัญ นายกสมาคมธุรกิจรับสรางบาน สาวแกรงแหงลีอารคเี ทค ชูนวัตกรรมบานประหยัดพลังงาน ซึง่ เปนผูน าํ การออกแบบ บานและอาคารประหยัดพลังงานโดยใสใจปญหาดานสิ่งแวดลอมที่เลือกใชวัสดุ เปนมิตรตอสิง่ แวดลอมเพือ่ การอยูอ าศัยทีจ่ ะชวยใหประหยัดพลังงานในแบบระยะยาว แลวพบกันใหมฉบับหนา สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล
´¼ÈÔ¹° µÑĊķÉijÕÂij¦Â̲£ĊÊ ¦Ê²ÕÂij¦Â̲£ĊÊÕ¾ÈÔķ¼ķʱм Ìķ ijĊʲÅÐĴÂÊà ¼¼ºÔ°£Ö²Ö¾»ÍÂʼ²԰ĺÕ¾ÈijÌķ̰ɾ
Business Solutions
·½ĺķÌ Ê»² Åʣʼ Å̺շۣ ÔºÏŦ°Å¦±Ê²Í Data & Cloud
µÑĊÔ»ÍÜ»º§º¦Ê² ÀĉÊ 6000 ¼Ê» µÑĊķÉijÕÂij¦Â̲£ĊÊ ÀĉÊ 250 Õ³¼²ijč µÑĊ¨ÏÝÅ£²Âˣɩ ÀĉÊ 120 ¼Ê» Ö´¼Õ ¼ºķɳ£ÑĉÔķ¼ķʱм Ìķ ÀĉÊ 800 ²Éijúʻ
Smart Solution & IOT
ķŦ·Ïݲ°ÍÜ ĴŲ²ÍÝ
02-833-5126
Organizer
Show Hosts
Supporters
Startups
Cyber Security
Show Consultant
Strategic Partners
www.cebitasean.com
GREEN
Report กองบรรณาธิการ
MG ชูนวัตกรรมรถยนตพลังงานไฟฟา EV พรอมติดตั้งสถานีชารจแบตเตอรี่ทั่วประเทศ
ปจจุบนั กระแสรถยนตพลังงานไฟฟา หรือ Electric Vehicle (EV) กําลังกลาย เปนทางเลือกที่ผูบริโภคใหความสนใจมากขึ้นในขณะนี้ ทําใหภาคอุตสาหกรรม ยานยนตทวั่ โลกเกิดการตืน่ ตัวในการพัฒนานวัตกรรมรถยนตเพือ่ ใหเกิดการพึง่ พา รถยนตไฮบริด ขณะทีห่ นวยงานภาครัฐและภาคเอกชนผนึกแนวคิดรวมมือผลักดัน ใหประชาชนหันมาใชรถยนตพลังงานไฟฟา พรอมกับทยอยติดตั้งสถานีชารจ แบตเตอรีร่ องรับทัว่ ประเทศ อาทิ การไฟฟาฝายผลิต การไฟฟานครหลวง การไฟฟา สวนภูมภิ าค ตลอดจนบริษทั ปตท. จํากัด (มหาชน) รวมถึงบริษทั พลังงานบริสทุ ธิ์ จํากัด (มหาชน) เมื่อชวงตนเดือนมิถุนายน 2562 ที่ผานมา บริษัท เอสเอไอซี มอเตอร-ซีพี จํากัด และ บริษทั เอ็มจี เซลส (ประเทศไทย) จํากัด ผูผ ลิตและผูจ าํ หนายรถยนต เอ็มจีในประเทศไทย สรางปรากฏการณเปดตัวรถยนตพลังงานไฟฟา “NEW MG ZS EV” เปนรถยนตพลังงานไฟฟา 100% รุนแรกของเอ็มจีอยางเปนทางการ ในประเทศไทย เพื่อยกระดับอุตสาหกรรมยานยนตอีกขั้นหนึ่งของการพัฒนา เทคโนโลยีนวัตกรรมการขับขี่ที่จะชวยยกระดับคุณภาพชีวิตใหแกผูบริโภคและ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เพื่อใหสอดรับกับการสงเสริมใหคนไทยหันมาใชพลังงาน ทดแทนตามนโยบายอุตสาหกรรม 4.0 ของกระทรวงอุตสาหกรรม สําหรับคุณสมบัตกิ ารเปนมิตรตอสิง่ แวดลอมมีความโดดเดนในดานคุณภาพ สมรรถนะ ความอัจฉริยะ โดยมีกระบวนการผลิตออกแบบกระจังหนารถทีท่ นั สมัย พรอมการติดตั้งจุดชารจไฟไวบริเวณหลังกระจังหนา อีกทั้งระบบปรับอากาศเปน แบบดิจทิ ลั ทีม่ าพรอมระบบกรองอากาศสามารถกรองฝุน ละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ได นอกจากนี้ มอเตอรไฟฟาแบบ Permanent Magnet Synchronous Motor ไดรบั
8
การพัฒนาใหสงกําลังที่สามารถชวยในเรื่องของมลพิษทางเสียงรบกวนไดอยาง ดีเยีย่ ม และชวยระบายความรอนไดดยี งิ่ ขึน้ สวนแบตเตอรีเ่ ปนแบบลิเธียมไอออน ความจุ 44.5 kWh ที่ผานการรับรองและทดสอบตามมาตรฐานสากล สามารถขับ ผานระดับนํา้ ทวมสูงไดถงึ กวา 40 เซนติเมตร และระบบการจัดการอุณหภูมอิ จั ฉริยะ ซึ่งมีสวนชวยใหระบบการทํางานตางๆ ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพภายใต สภาวะแวดลอมทีม่ อี ณ ุ หภูมติ าํ่ และสูงทีเ่ ปนไปตามมาตรฐาน NEDC หรือมาตรฐาน การทดสอบความประหยัดนํ้ามัน และมลพิษของยุโรป ในการชารจพลังงานไฟฟาระหวางการขับขีก่ ลับเขาทีแ่ บตเตอรีน่ นั้ สามารถ เลือกระดับการชารจพลังงานกลับไดถงึ 3 ระดับ และมีระบบควบคุมแบบอิเล็กทรอนิกส โดยมีพละกําลังสูงสุด 110 กิโลวัตต (150 แรงมา) แรงบิดสูงสุด 350 นิวตัน-เมตร จึงสามารถเรงจาก 0-50 กิโลเมตร/ชั่วโมง ไดดวยระยะเวลาเพียงแค 3.1 วินาที และใหระยะทางขับเคลื่อนสูงสุด 337 กิโลเมตรตอการชารจไฟฟาเต็ม 1 ครั้ง ซึ่งถือวารองรับการชารจไฟที่งายแกผูขับขี่ โดยมี 2 รูปแบบ คือการชารจไฟแบบ ธรรมดาผาน MG Home Charger หรือการชารจไฟที่บานนี้ จะใชเวลาชารจ แบตเตอรี่จาก 0-100% ในระยะเวลาเพียง 6.5% ชั่วโมง ซึ่งการสั่งการในรูปแบบ MG Home Charger นัน้ จะชวยใหผบู ริโภคประหยัดเงินคาพลังงานไดมากกวารถยนต ทีข่ บั เคลือ่ นดวยนํา้ มันเชือ้ เพลิง เพราะรถยนตพลังงานไฟฟา NEW MG ZS EV เปน ระบบขับเคลื่อนที่มาจากแบตเตอรี่และมอเตอรไฟฟาเปนหลัก จึงทําใหชิ้นสวน อะไหลนอ ยลง แตการดูแลรักษาเปนเรือ่ งทีง่ า ยขึน้ และประหยัดคาใชจา ยในการซอม บํารุงอีกดวย และรูปแบบที่ 2 คือ การชารจไฟแบบเร็วผานสถานีชารจไฟฟาสาธารณะ โดยจะใชเวลาในการชารจแบตเตอรี่จาก 0-80% ในระยะเวลาเพียง 30 นาที
GreenNetwork4.0 July-August 2019
จาง ไหโป
พงษศักดิ์ เลิศฤดีวัฒนวงศ
ศิริรุจ จุลกะรัตน
อมร ทรัพยทวีกุล
อดิศักดิ์ โรหิตะศุน
จาง ไหโป กรรมการผูจ ดั การ บริษทั เอสเอไอซี มอเตอร-ซีพี จํากัด และบริษทั เอ็มจี เซลล (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา “ปจจุบันเอ็มจีเขามาดําเนินธุรกิจในประเทศไทยเปนเวลากวา 5 ป และไดรับการสนับสนุนเปนอยางดีจากภาครัฐและภาคเอกชน ไทย รวมไปถึงกลุม ลูกคาคนไทย ทําใหเอ็มจีเดินหนาพัฒนานวัตกรรมยานยนตเพือ่ สรางการเติบโตใหกบั ภาคอุตสาหกรรมยานยนต ในประเทศไทย โดยเอ็มจีเล็งเห็นความสําคัญดานสิง่ แวดลอม จึงเกิดแนวคิดในการพัฒนารูปแบบรถยนตพลังงานไฟฟา 100% ใน แบบรถยนต SUV ซึง่ เปนระบบการเชือ่ มตออัจฉริยะ เพือ่ ใหเปนไปตามแนวนโยบายของบริษทั ฯ ทีม่ งุ การพัฒนารถยนตซงึ่ ขับเคลือ่ น ดวยพลังงานไฟฟาและเดินหนาพัฒนารถยนตสําหรับตลาดสากลตอไป” ดาน พงษศกั ดิ์ เลิศฤดีวฒ ั นวงศ รองกรรมการผูจ ดั การ บริษทั เอ็มจี เซลส (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา “รถยนตพลังงาน ไฟฟา 100% ของ MG คันนี้ รองรับระบบการชารจดวนในเวลา 30 นาที และสามารถเคลื่อนที่ไดเปนระยะทาง 280 กิโลเมตรตอ การชารจ 1 ครัง้ โดยเอ็มจีมคี วามพรอมทีจ่ ะผนึกกําลังกับทุกภาคสวนในเรือ่ งของการตัง้ เปาขยายสถานีชารจไฟฟาใหครอบคลุม ทุกโชวรูมทั่วประเทศ ซึ่งเปนอีกหนึ่งแนวทางในการสงเสริมใหคนไทยหันมาใชพลังงานทดแทนตามนโยบายภาครัฐเพื่อใหเกิด การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมยานยนตพลังงานทางเลือกที่จะชวยยกระดับคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอมในทุกมิติ ใหเกิดการใช ทรัพยากรที่สามารถใชรวมกันไดในสังคม” ในสวนของหนวยงานภาครัฐอยางกระทรวงอุตสาหกรรมออกนโนบายกําหนดเปนมาตรการผลักดันดานการประหยัด พลังงานในประเทศเพือ่ สงเสริมการลงทุนสําหรับภาคอุตสาหกรรมยานยนต โดยมี ศิรริ จุ จุลกะรัตน รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ซึง่ เปนตัวแทนจากภาครัฐ กลาววา “นโยบายของกระทรวงอุตสาหกรรมไดสนับสนุนการผลิตรถยนตพลังงานไฟฟามาโดยตลอด เนื่องจากเปนสิ่งที่ภาครัฐกําหนดทิศทางและขับเคลื่อนปจจัยที่จะทําใหเกิดอุตสาหกรรมการผลิตรถยนตไฟฟาในประเทศไทย เพื่อทําใหเกิดโครงขายเชื่อมโยงการใชทรัพยากรดานพลังงานใหนอยลง ซึ่งจะชวยในเรื่องของการมีสิ่งแวดลอมที่ดีในประเทศ รวมถึงการผลักดันทําใหเกิดการลงทุนอุตสาหกรรมผลิตชิน้ สวนหรือนวัตกรรมเทคโนโลยีในการรองรับการผลิตรถยนตพลังงาน ไฟฟาอีกทอดหนึ่งดวย ซึ่งจะกอใหเกิดประโยชนตอประชาชนและเปนทางเลือกของประชาชนในฐานะเปนผูบริโภคมากขึ้น และ จะสงผลดีตอภาคเศรษฐกิจโดยรวมในประเทศอีกดวย” นอกจากนี้ เอ็มจียังไดลงนามความรวมมือกับ บริษัท พลังงานบริสุทธิ์ จํากัด (มหาชน) หรือ EA เพื่อติดตั้งสถานีชารจ แบตเตอรี่ หรือ EA Anywhere ใหกับโชวรูมของเอ็มจี ซึ่งปจจุบันมีอยูถึง 107 แหงทั่วประเทศ และกําลังจะขยายเปน 130 แหง ภายในป พ.ศ. 2562 นี้ อีกทัง้ ยังไดลงนามความรวมมือกับการไฟฟานครหลวง (กฟน.) และอยูใ นระหวางการเจรจากับการไฟฟา สวนภูมิภาค (กฟภ.) ในการติดตัง้ สถานีชารจแบตเตอรีเ่ พือ่ ลดขอจํากัดและคลายความกังวลของผูบ ริโภคในการที่จะตัดสินใจใช รถยนตพลังงานไฟฟา อมร ทรัพยทวีกุล รองประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท พลังงานบริสุทธิ์ จํากัด (มหาชน) หนึ่งในตัวแทนจากภาคเอกชน กลาวถึงการเตรียมความพรอมสถานีชารจไฟฟาเพื่อรองรับรถยนตพลังงานไฟฟาวา “บริษัท พลังงานบริสุทธิ์ฯ ของเราไดตั้ง เปาหมายในการติดตัง้ สถานีชารจไฟฟาใหได 500 สถานีทวั่ ประเทศ ซึง่ ขณะนีไ้ ดเริม่ ทยอยติดตัง้ สถานีชารจแบตเตอรีไ่ ปแลวกวา 200 สถานีชารจ โดยราคาคาชารจไฟฟารถยนตพลังงานไฟฟาจะเริ่มคิดคาใชจายในราคาเริ่มตน 50 บาท และขณะเดียวกันทาง บริษทั ฯ ยังไดพฒ ั นาแอพพลิเคชัน่ ขึน้ มาเพือ่ ใชเปนขอมูลใหแกผขู บั ขีส่ ามารถตรวจเช็คขอมูลวามีสถานีชารจแบตเตอรีอ่ ยูใ นพืน้ ที่ บริเวณใดบาง ซึ่งผูขับขี่จะไมมีความกังวลใจเลยหากแบตเตอรี่หมดกลางทาง นอกจากนี้ เรายังไดพัฒนาแอพพลิเคชั่นสําหรับ ผูบริโภคสามารถชําระเงินคาชารจไฟฟาผานบัญชีธนาคารไดอีกทางหนึ่งดวย เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการใชบริการ” อดิศกั ดิ์ โรหิตะศุน ผูท าํ การแทนผูอ าํ นวยการสถาบันยานยนต กลาววา “ปจจุบนั สถานการณแนวโนมการใชรถยนตพลังงาน ไฟฟา หรือ EV ทัว่ โลกมีความตืน่ ตัวมากขึน้ และในภาคสวนอุตสาหกรรมยานยนตกเ็ กิดการเปลีย่ นแปลงไปทัว่ โลก ซึง่ แตละประเทศ ตางปรับตัวรับมือใหทนั กับการเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ทีเ่ ขามามีอทิ ธิพลในการดํารงชีวติ ไมเวนแมแตการขับขีย่ วดยาน พาหนะดวยเชนกัน และเชือ่ วาสถานการณโครงสรางการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตจะเปลีย่ นแปลงไปในชวงป พ.ศ. 2563 ขณะที่ ในป พ.ศ. 2573 มองวาทิศทางของภาคอุตสาหกรรมการผลิตชิน้ สวนรถยนตมแี นวโนมทีผ่ ปู ระกอบการจะมุง เนนพัฒนาเทคโนโลยี ใหเปนดิจิทัลเกือบจะทั้งหมด เพื่อรองรับนวัตกรรมรถยนตพลังงานไฟฟาในอนาคต” อยางไรก็ดี การเปดตัวรถยนตพลังงานไฟฟาของ MG (Morris Garages) เรียกไดวาเปนสวนหนึ่งของผูประกอบการดาน ยานยนตทนี่ บั วาเปนแบรนดสญ ั ชาติองั กฤษทีม่ เี อกลักษณโดดเดนตลอดระยะเวลา 90 ปทผี่ า นมา ซึง่ ใชเทคโนโลยีดา นวิศวกรรม เกีย่ วกับสวนประกอบของรถยนต ตลอดจนการจัดการดานการควบคุมคุณภาพเทคโนโลยีทางเลือกใหมๆ ทีเ่ ขามาแทนทีพ่ ลังงาน นํา้ มัน โดยมีศนู ยกลางทางดานการออกแบบฟงกชนั การใชงานและการออกแบบดานเทคนิคทีเ่ มืองเบอรมงิ แฮม ประเทศอังกฤษ ดังนั้น นวัตกรรมรถยนตพลังงานไฟฟาจะเปลี่ยนแปลงโลกในแงของการรักษาสิ่งแวดลอมและการอนุรักษพลังงานโลกรวมกัน ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงภาคอุตสาหกรรมยานยนตไทยใหเปนผูนําอุตสาหกรรมดานยานยนตและในภูมิภาคเอเชียนี้ดวย 9
GreenNetwork4.0 July-August 2019
GREEN
Focus ชินวุฒิ ขวัญณัฐพร B.ENG (Mechanical), MS (CEM) นักวิชาการดาน วิศวกรรมยานยนต
ในป ค.ศ. 2023 จะมีการใชงาน E-Axle ซึ่งเปนชุด ขับเคลือ่ นทีส่ าํ หรับรถยนตไฮบริดหรือรถยนตไฟฟาแบตเตอรี่ เปนหนึง่ ในหลายๆ แบบทีม่ กี ารพัฒนาขึน้ มาและถูกเลือกใช ในรถยนตไฟฟาในทุกแพลตฟอรม ดวยจํานวนความตองการ ทีเ่ พิม่ ขึน้ อยางมาก โดย 46% จะใชในระบบขับเคลือ่ นลอหลัง และ 35% ใชในระบบขับเคลือ่ นลอหนา เมือ่ เทียบเปนปริมาณ การผลิตตอปจะไดเปนตัวเลขทีส่ งู เลยทีเดียว คาดการณวา จะ เพิ่มขึ้นจาก 750,000 ชุด เปน 1.4 ลานชุด โดยนับจากปนี้ จนถึงป ค.ศ. 2023 ทําไมผูผ ลิตรถยนตหลายรายจึงเลือกใช E-Axle เรามาหาคําตอบกัน
แนวโนมการใชงาน E-Axle
สําหรับรถยนตไฟฟา การออกแบบ
จุดเดนของ E-Axle คือการรวมอุปกรณในระบบขับเคลือ่ นทัง้ ตัวชิน้ สวนทางกลและ เพาเวอรอเิ ล็กทรอนิกส (Power Electronics) เขาเปนชุดเดียว ทําใหนาํ้ หนักเบาขึน้ และ ใชพื้นที่นอย ตนทุนการผลิตตํ่าลง ยิ่งไปกวานั้นคือลดการใชสายไฟ High Voltage และ Connector ตางๆ ลงไปไดมากซึ่งทําใหการสูญเสียทางไฟฟาตํ่าลงเพราะใชสายไฟนอย รวมทั้งลดความยุงยากในการออกแบบระบบระบายความรอนอีกดวย
การประกอบ-ติดตั้งเขากับตัวถังรถยนต
ประเด็นสําคัญอีกอยางหนึ่งที่ทําให E-Axle ไดรับความนิยมคือ ความงายในการประกอบเขากับตัวรถในสายการผลิตรถยนตเพราะ E-Axle ประกอบดวยสวนขับเคลื่อนและชุดควบคุมครบทั้งหมดรวมกันในชุดเดียว ในรูปที่ 2 เปนตัวอยางของ E-Axle ที่ใชมอเตอรไฟฟา 2 ชุดเปนตัวขับเพียง แคประกอบเขากับโครงรถดวยโบลทไมกตี่ วั จากนัน้ ตอสายไฟ DC และขอตอ สารหลอเย็นเทานั้นก็พรอมใชงานไดทันที สามารถลดเวลาในการประกอบ ระบบสงกําลังในสายการผลิตรถยนตไปไดอยางมาก
รูปที่ 2 ชุด E-Axle ขนาดกะทัดรัดพรอมติดตั้ง จากขอดีตา งๆ ในการออกแบบและการประกอบเขากับตัวรถทีส่ ะดวก รวดเร็ว มาถึงการพิจารณาในสวนของการเซอรวสิ กันบาง ในมุมมองการของ เซอรวิสเครื่องยนตหรือชิ้นสวนรถยนตในแบบเดิมนั้นหากออกแบบไวโดย ใหชิ้นสวนหลายชิ้นประกอบรวมกันเปนชิ้นเดียวมักจะทําใหการซอมบํารุง ทําไดยาก แต E-Axle นัน้ มีชนิ้ สวนภายในทีม่ คี วามจําเปนตองเซอรวสิ นอยมาก เพียงแคการตรวจเช็คสภาพทั่วไปและเปลี่ยนนํ้ามันเกียรตามระยะเทานั้น ขอสังเกตเพิม่ เติมจากผูผ ลิตหลายรายในระยะหลังนีจ้ ะมีการเพิม่ สวน Power Electronics เขาไปใน E-Axle ดวย ปกติการรวมมอเตอรเขากับชุดเกียรนนั้ สามารถทําไดไมยากแตการทีจ่ ะตองเพิม่ Power Electronics เขาเปนชุดเดียวกัน อีกสวนหนึ่งดวยนั้นไมงายเลย เปนความทาทายสําหรับผูผลิตในขณะนี้
รูปที่ 1 ชุด E-Axle แบบตางๆ จากผูผลิตชิ้นสวนรถยนตชั้นนํา แตสาํ หรับการใช E-Axle ในโครงสรางตัวถังรถยนตในกรณีทผี่ ผู ลิตรถยนตตอ งการ วางชุด E-Axle แทนระบบขับเคลือ่ นเดิม ยังอาจจะเปนปญหาอยูบ า งในบางครัง้ ตัวอยาง เชน ตองลดขนาดของถังนํา้ มัน ตองปรับระดับพืน้ หองโดยสารบางจุดเพือ่ หลบชุด E-Axle ถึงจะติดตัง้ ได หรือการออกแบบการติดตัง้ บนโครงสรางตัวถังเดิมไดแตตอ งเปลีย่ นตําแหนง ชุดขับเคลื่อนลอหนาใหเปนขับเคลื่อนลอหลังแทน ซึ่งก็ไมสามารถที่จะทําแบบนั้นได ทุกกรณี บริษัทผูผลิตรถยนตตางๆ ไดรวมออกแบบกับผูผลิต E-Axle เพื่อหารูปแบบที่ เหมาะสมสําหรับรถยนตของตัวเองทั้งการใชงาน E-Axle บนแพลตฟอรมเดิมและการ ออกแบบโครงสรางตัวถังใหมทงั้ หมดเพือ่ รองรับการติดตัง้ E-Axle ในรถยนตรนุ ใหม ผูผ ลิต ชิน้ สวน OEM สวนมากประสบความสําเร็จในการออกแบบเพือ่ ใชงานแลวสําหรับกรณีตดิ ตัง้ บนแพลตฟอรมเดิม แตทเี่ พิม่ เติมขึน้ มาคือในอนาคตเราจะไดเห็น E-Axle สามารถรองรับ ชุดสงกําลังแบบใดก็ไดสาํ หรับรถยนตรนุ ใหมทกุ แบบ ตัง้ แตรถยนตไฮบริดทีย่ งั มีเครือ่ งยนต สันดาปภายในติดตัง้ อยู รถยนตไฮบริดขับเคลือ่ น 4 ลอแบบ All Wheel Drive หรือจะเปน รถยนตไฟฟาแบตเตอรี่ก็ตาม ในสวนระบบควบคุมนั้นตองควบคุมทั้งความเร็วรอบ และทอรคที่สงผานยังเพลา และลอ หาก E-Axle แบบที่ใชมอเตอรขับเคลื่อน 2 ชุด เราตองควบคุมทอรคทั้งสองขาง ใหกระจายออกไปอยางเหมาะสมเพือ่ ประสิทธิภาพ และความปลอดภัยดวย เพราะเราไม ตองการใหลอขับเคลื่อนขางหนึ่งขางใดเปนเหมือนเปนตัวถวงเสมือนวากําลังฉุดลอขับ อีกขางหนึ่งไปดวยในขณะรถวิ่งอยู และสวนที่สําคัญที่สุดในการออกแบบ E-Axle คือ การควบคุมชวงความเร็วที่รองรับไดของตัว E-Axle เอง นักพัฒนาผลิตภัณฑมีตัวเลือก ใหใชไดอยู 3 แบบคือ 1. การตัดกําลังออกจากมอเตอรกรณีที่ความเร็วสูงเกินไป 2. ใชชุดเกียรที่มีอัตราทดคงที่และใชมอเตอรขับตลอดการขับเคลื่อน 3. ใชชุดเกียรสงกําลังในแพ็กเปนแบบ Multi-Speed 10
รูปที่ 3 ภาพชิ้นสวนภายใน E-Axle จากผูผลิตรายหนึ่ง ซึ่งประกอบดวย สวนหลักๆ คือ มอเตอร ชุดเกียร และเพาเวอรอิเล็กทรอนิกส
รูปที่ 4 ตัวอยางระบบระบายความรอนใน E-Axle (Inlet คือชองทางเขาสารหลอเย็น) นวัตกรรมลาสุดผูผ ลิต E-Axle รายใหญจากเยอรมนีรายหนึง่ กําลังทํา ตนแบบ E-Axle ทีล่ าํ้ หนาไปอีกขัน้ หนึง่ โดยกําหนดใหมกี ารทํางาน 2 ความเร็ว และตัดตอกําลังโดยใชคลัตช สวนฝง ผูเ ชีย่ วชาญการผลิตมอเตอรจากญีป่ นุ รายหนึ่งก็เปดตัว E-Axle ที่ออกแบบใหมีกลไกของคลัตชตัดตอกําลังใน ตัวมอเตอรเพิ่มเขาไปจากเดิม ทัง้ หมดทีก่ ลาวมานีเ้ ห็นไดชดั เจน E-Axle เปนตัวเลือกทีส่ าํ คัญสําหรับ รถยนตไฮบริดและรถยนตไฟฟาแบตเตอรี่ ดวยรูปแบบที่ยืดหยุนดานขนาด และตําแหนงของการติดตัง้ รวมถึงความเหมาะสมในเรือ่ งราคาและเวลาใน การประกอบเขาตัวรถ ดังนั้นในอนาคตเราคงไดเห็น E-Axle ในรถยนตอีก หลายรุนอยางแนนอนครับ
GreenNetwork4.0 July-August 2019
GREEN
สถานการณ์รถยนต์พลังงานไฟฟ้า หรือ Electric Vehicle (EV) เป็นอีกหนึ่งของการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ ที่น่าจับตามองไปทั่วโลก โดยเฉพาะกลุ่มประเทศยุโรปที่มีพัฒนาการผลิตรถยนต์พลังงานไฟฟ้าขยายตัวมาอย่างต่อเนื่อง แม้ว่า ประเทศจีนจะเป็นตลาดรถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้าใหญ่ที่สุดในโลกก็ตาม
การสนับสนุนการใช้รถยนต์พลังงานไฟฟ้าในยุโรปมีเป้าหมายเพื่อลดการปล่อยก๊าซพิษ ไอเสียรถยนต์สอู่ ากาศ ซึง่ รัฐบาลแต่ละประเทศมีนโยบายยุทธศาสตร์สนับสนุนให้ผลิตรถยนต์ไฟฟ้า และส่งเสริมพลเมืองให้หนั มาใช้รถยนต์ไฟฟ้ามากขึน้ โดยผูเ้ ชีย่ วชาญด้านยานยนต์ได้วเิ คราะห์ สถานการณ์การใช้รถยนต์พลังงานไฟฟ้าทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในยุโรป คือ ประเทศนอร์เวย์ ว่าเป็นตลาด รถยนต์ไฟฟ้าทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในยุโรป จากข้อมูลหน่วยงานทีด่ แู ลเรือ่ งการจราจรในประเทศนอร์เวย์ เปิดเผยยอดจ�ำหน่ายรถยนต์ในปี พ.ศ. 2561 ที่ผ่านมาว่า ยอดขายรถยนต์ไฟฟ้าแบบไร้มลพิษ มีผู้ซื้อเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 46,143 คัน รวม 31.2% จากยอดขายทั้งหมดในยุโรป แซงหน้าประเทศ เยอรมนีที่สถิติการใช้รถยนต์ไฟฟ้า 36,216 คัน และประเทศฝรั่งเศสสถิติ 31,095 คัน นอร์เวย์ จึงได้รบั สมญานามว่าเป็นเมืองรถยนต์ไฟฟ้าอันดับ 1 ของโลก อีกทัง้ การติดตัง้ ระบบชาร์จไฟอย่าง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพทีเ่ ป็นไปตามเป้าหมายปลอดมลพิษ นับว่าเป็นผลมาจากการส่งเสริม อย่างจริงจังทีไ่ ด้ตงั้ เป้าหมายเอาไว้วา่ รถทุกคันจะต้องเป็นรถยนต์พลังงานไฟฟ้าภายในปี พ.ศ. 2568 ขณะที่ ประเทศเยอรมนี ผูน้ ำ� ในอุตสาหกรรมยานยนต์ระดับโลก รถยนต์ทกุ ประเภทของ เยอรมนีได้รับความนิยมไปทั่วโลกเพราะคุณภาพและเทคโนโลยีวิศวกรรมยานยนต์ขั้นสูงกว่า รถยนต์จากประเทศอืน่ ๆ เดิมทีนนั้ เยอรมนีเป็นประเทศผูน้ ำ� ด้านการใช้รถยนต์พลังงานไฟฟ้ามาก ทีส่ ดุ และทิศทางด้านยานยนต์ของเยอรมนีจะยังคงเดินหน้าออกประกาศตัง้ เป้าผลิตรถยนต์พลังงาน ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นเป็น 1 ล้านคันในปี พ.ศ. 2563 โดยรัฐบาลเยอรมนีจะมีมาตรการด้านภาษีส�ำหรับ รถยนต์ส่วนบุคคลเป็นเวลา 4 ปี อีกทั้งการตั้งเป้าหมายส�ำคัญด้านสิ่งแวดล้อมว่าต้องท�ำให้รถ ทีว่ างจ�ำหน่ายในประเทศเป็นรถทีไ่ ม่มกี ารปล่อยก๊าซเรือนกระจกทัง้ หมดภายในปี พ.ศ. 2573 และ แน่นอนเยอรมนีจะกลับมาเป็นประเทศผูน้ ำ� ด้านรถยนต์พลังงานไฟฟ้ารายใหญ่อนั ดับ 1 ของโลก อีกครั้ง ทางด้าน ประเทศฝรัง่ เศส ถือเป็นอีกหนึง่ ประเทศทีม่ งุ่ เน้นให้ความส�ำคัญด้านสิง่ แวดล้อม โดยรัฐบาลฝรั่งเศสมีการประกาศห้ามขายรถยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิงน�้ำมันเบนซินหรือดีเซลภายใน ปี พ.ศ. 2583 ซึ่งรัฐบาลฝรั่งเศสได้ส่งเสริมพัฒนาเทคโนโลยีรถยนต์พลังงานไฟฟ้าของภาค อุตสาหกรรมยานยนต์ และสนับสนุนให้ประชาชนซือ้ รถยนต์พลังงานไฟฟ้ามากขึน้ ภายใต้โครงการ “กฎหมายว่าด้วยการเปลีย่ นผ่านพลังงานไปสูพ่ ลังงานสีเขียว” ได้สะท้อนถึงการเป็นประเทศผูผ้ ลิต รถยนต์ไฟฟ้ารายใหญ่อีกประเทศหนึ่งในทวีปยุโรป ส�ำหรับ ประเทศอังกฤษ นั้น แนวโนมการใช้รถยนต์พลังงานไฟฟ้า (Electric Car) เพิ่ม สูงขึ้น ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากมาตรการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เข้มงวดขึ้น และราคาน�ำ้ มันทีป่ รับตัวสูงขึน้ อย่างต่อเนือ่ งตามราคาตลาดโลกนัน่ เอง จึงท�ำให้บริษทั ผูน้ ำ� ทาง 11
World กองบรรณาธิการ
ด้านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของอังกฤษมีการประกาศแผนการ ลงทุนและแผนรุกตลาดรถยนต์ไฟฟ้า และแบตเตอรีส่ ำ� หรับรถยนต์ พลังงานไฟฟ้าเช่นกัน ส่วน ประเทศเนเธอร์แลนด์ รัฐบาลก็ได้มนี โยบายเพิม่ จ�ำนวน รถยนต์ไฟฟ้าให้ได้ 200,000 คัน ภายในปี พ.ศ. 2563 แม้สถิตกิ ารใช้ รถยนต์พลังงานไฟฟ้าจะยังมีไม่มากนัก แต่การปลุกกระแสด้าน สิง่ แวดล้อม และลดปริมาณมลพิษคาร์บอนไดออกไซด์ จึงมีการออก เป็ น กฎหมายโดยก� ำ หนดให้ ร ถยนต์ ทุ ก คั น ทุ ก รุ ่ น ที่ จ� ำ หน่ า ยใน ประเทศเนเธอร์แลนด์น้ันจะต้องเป็นรถยนต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้า 1,000,000 คัน ภายในปี พ.ศ. 2568 เรียกได้ว่าเป็นนโยบายและ มาตรการที่คาดว่ารถยนต์ไฟฟ้าก�ำลังได้รับความนิยมส�ำหรับชาว เนเธอร์แลนด์ค่อนข้างสูงขึ้นในอนาคต
นอกจากนี้ ยังมีอีกหลายประเทศในยุโรปที่ก�ำหนดนโยบาย การลดมลพิษจากรถยนต์ โดยส่วนใหญ่มแี ผนส�ำหรับการปรับเปลีย่ น พฤติกรรมของพลเมืองให้หันไปใช้รถยนต์พลังงานไฟฟ้ามากขึ้น อาทิ ประเทศไอซ์แลนด์ ออสเตรีย ลิกเต็นสไตน์ สวิตเซอร์แลนด์ ฯลฯ ต่างตืน่ ตัว และให้ความส�ำคัญกับเทคโนโลยีทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
GreenNetwork4.0 July-August 2019
GREEN
Article ผศ. ดร.ชนะ เยี่ยงกมลสิงห์ อาจารย์ประจ�ำสาขา วิศวกรรมธุรกิจยานยนต์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
“ตุ๊กตุ๊ก” รถเครื่องสามล้อไทย
พัฒนาสู่รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้าดัดแปลงส�ำหรับธุรกิจไทย SME ในปัจจุบนั รัฐบาลไทยมีแนวทางในการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ (S-curve) โดยเฉพาะอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ในประเภทกลุ่มรถยนต์ ไฟฟ้า (EV) รถตุก๊ ตุก๊ เป็นพาหนะโดยสารสาธารณะทีน่ ำ� มาใช้ในประเทศไทยกว่า 50-60 ปี โดยรถตุก๊ ตุก๊ ผลิตจากอุตสาหกรรมขนาด SME ในประเทศไทยทัง้ อะไหล่ กระจังหน้า แชสซี กระบะ และตัวถังทัง้ หมด แต่เครือ่ งยนต์เกียร์และเฟืองท้าย ส่วนใหญ่ใช้ชิ้นส่วนมือสองขนาดเล็กของญี่ปุ่น ก่อให้เกิดมลภาวะทางอากาศ และเสียง ซึง่ อุตสาหกรรมนีด้ ำ� เนินธุรกิจโดยคนไทยและมีกำ� ลังการผลิต 1-5 คัน ต่อเดือน ขึ้นอยู่กับปริมาณคนงาน ความต้องการทางการตลาด โดยศักยภาพ ด้านการตลาดของผลิตภัณฑ์รถตุ๊กตุ๊กมีการใช้งานทั้งในประเทศและส่งออก ไปยังต่างประเทศ การดัดแปลงรถตุก๊ ตุก๊ ทีใ่ ช้เครือ่ งยนต์ให้เป็นรถตุก๊ ตุก๊ ไฟฟ้าในโครงการ ของสมาคมยานยนต์ไฟฟ้าไทย เพื่อเป็นการพัฒนาต่อยอดเชิงธุรกิจส�ำหรับ ผลิตภัณฑ์รถตุก๊ ตุก๊ ไฟฟ้าเพือ่ จ�ำหน่ายในประเทศและต่างประเทศต่อไป รถตุก๊ ตุก๊ ไฟฟ้าดัดแปลงต้นแบบใช้งบประมาณ 350,000 บาท ระยะเวลาพัฒนา 1 ปี อุปสรรค ของการผลิตรถตุก๊ ตุก๊ ใหม่คอื ปริมาณการผลิตยังน้อยมาก เนือ่ งจากข้อจ�ำกัดด้าน กฎหมายยังไม่อนุญาตให้จดทะเบียนเป็นรถตุ๊กตุ๊กส่วนบุคคล และไม่สามารถ จดทะเบียนรถตุก๊ ตุก๊ สาธารณะใหม่เพิม่ และต้นทุนสูงเนือ่ งจากเป็นชิน้ ส่วนน�ำเข้า ส่งผลให้ภาษีสูง ผู้ขับขี่รถตุ๊กตุ๊กส่วนใหญ่รายได้ต�่ำขาดก�ำลังในการซื้อ ผศ. ดร.ชนะ เยีย่ งกมลสิงห์ อาจารย์ประจ�ำสาขาวิศวกรรมธุรกิจยานยนต์ คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวถึงความเป็นมาและ ความส�ำคัญของปัญหา การดั ด แปลงรถตุ ๊ ก ตุ ๊ ก ที่ ใ ช้ เ ครื่ อ งยนต์ ใ ห้ เ ป็ น ตุก๊ ตุก๊ ไฟฟ้าว่า ทางสมาคม ยานยนต์ไฟฟ้าไทยพร้อม ด้ ว ยสมาชิ ก ที่ อ ยู ่ ทั้ ง ใน ภาคอุ ต สาหกรรมและ ไฟฟ้า ได้จัดท�ำต้นแบบ รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้าเพื่อเป็นแนวทางในการดัดแปลงรถตุ๊กตุ๊กเครื่องยนต์ให้เป็น
12
รถตุก๊ ตุก๊ ไฟฟ้า รวมไปถึงแผนธุรกิจทีส่ ามารถต่อยอดไปเชิงพาณิชย์และการสร้าง อาชีพ สนับสนุนเผยแพร่การใช้งานยานยนต์ไฟฟ้าในประเทศไทย และเพื่อ ประชาสัมพันธ์การใช้งานยานยนต์ไฟฟ้าที่ผลิตในประเทศไทย รถตุ๊กตุ๊กเป็นพาหนะโดยสารสาธารณะที่น�ำมาใช้ในประเทศไทยกว่า 50-60 ปี ในช่วงเริ่มต้นรถตุ๊กตุ๊กถูกน�ำเข้าจากประเทศญี่ปุ่น เมื่อมีการใช้งาน ยาวนานเกินกว่า 10 ปี จ�ำเป็นต้องมีการซ่อมเปลีย่ นใหม่ จึงท�ำให้มอี ตุ สาหกรรม ไทยขนาด SME สร้างอะไหล่และสร้างตัวถังทัง้ หมดเพือ่ น�ำไปทดแทนรถตุก๊ ตุก๊ น�ำเข้าทีเ่ ลิกผลิตไป และไม่มอี ะไหล่ในประเทศจนได้เป็นรถตุก๊ ตุก๊ ทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ ของไทยในปัจจุบัน ปัจจุบันชิ้นส่วนเครื่องยนต์เกียร์และเฟืองท้ายส่วนใหญ่ใช้ ชิน้ ส่วนมือสองขนาดเล็กของญีป่ นุ่ โดยเฉพาะ Daihatsu และ Suzuki ส่วนแชสซี และส่วนประกอบอืน่ ๆ ผลิตในประเทศ รถตุก๊ ตุก๊ เดิมใช้เครือ่ งยนต์เบนซินมือสอง จากญี่ปุ่น 2 กระบอกสูบ 2 จังหวะ ขนาด 350 CC และในปัจจุบันพัฒนามาเป็น เครื่องยนต์เบนซินระบบหัวฉีด 3 กระบอกสูบ 4 จังหวะ ขนาด 650 CC
GreenNetwork4.0 July-August 2019
“โดยส่ ว นใหญ่ ใ ช้ เชื้อเพลิง LPG และในบางรุ่น จะใช้เชื้อเพลิง NGV การใช้ เครื่องยนต์มือสองท�ำให้ขาด มาตรฐานทางด้านการควบคุม สิ่งแวดล้อม ในอุตสาหกรรม รถตุ๊กตุ๊กมักจะขาดมาตรฐาน ชิ้ น ส่ ว น การประกอบและ การผลิต เนื่องจากแชสซีจะ เปลี่ยนแปลงตามเครื่องยนต์ เสมอ และอะไหล่ของเครือ่ งยนต์ ส่วนใหญ่เป็นอะไหล่มือสอง รถญี่ปุ่นที่น�ำเข้า และมักจะมี จ�ำนวนและประเภททีแ่ ตกต่าง กัน” ผศ. ดร.ชนะ กล่าว
ผศ. ดร.ชนะ กล่าวต่อไปว่า รถตุก๊ ตุก๊ ไทยเป็นสัญลักษณ์ของประเทศไทย ในด้านการท่องเที่ยวในมุมมองของชาวต่างชาติ ส�ำหรับคนไทยส่วนใหญ่ยัง มองว่ารถตุ๊กตุ๊กเป็นพาหนะรับจ้างที่มีราคาค่าโดยสารสูง และมีควันท่อไอเสีย เสียงดัง ผู้ขับขี่ขับอันตราย แต่ในมุมมองของชาวต่างชาติเป็นพาหนะที่ต้อง ลองนั่งเป็นประสบการณ์ ในปัจจุบันรถตุ๊กตุ๊กไทยมีการส่งออกไปต่างประเทศ จ�ำนวนหนึ่ง การพัฒนารถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้าดัดแปลงส�ำหรับธุรกิจ SME เป็นแนวทางให้ ผูป้ ระกอบการได้เรียนรูว้ ธิ กี ารดัดแปลงรถตุก๊ ตุก๊ ธรรมดาให้เป็นรถตุก๊ ตุก๊ ไฟฟ้า เพือ่ ต่อยอดทางด้านธุรกิจใหม่ เป็นพาหนะทีป่ ล่อยมลภาวะต่อสิง่ แวดล้อมต�ำ่ ไม่มี ควันท่อไอเสีย สามารถน�ำไปใช้เป็นรถส่วนบุคคลในการใช้งานในเมืองได้อกี ด้วย แต่ก็ยังมีจุดด้อยในด้านสมรรถนะการทรงตัว และการใช้งาน รวมถึงการผลิต ยังมีความจ�ำเป็นในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ หากมีการส่งเสริมจากภาครัฐในเรือ่ ง การจดทะเบียนและมาตรฐานอุตสาหกรรม จะช่วยให้ SME พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ เชิงพาณิชย์ต่อไป
ลดต้นทุน ลดภาวะเรือนกระจก ด้วยรถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้า
ปัจจุบันรถตุ๊กตุ๊กไทยส่วนใหญ่ใช้ LPG และ NGV เป็นเชื้อเพลิงส�ำหรับ เครือ่ งยนต์สนั ดาปภายใน 2-3 สูบ ข้อเสียของเครือ่ งยนต์สนั ดาปภายใน (Internal Combustion Engine : ICE) ได้แก่
13
• ประสิทธิภาพโดยรวมต�ำ่ โดยทั่วไปประสิทธิภาพ เครือ่ งยนต์สนั ดาปภายในประมาณ 30-50% • ประสิทธิภาพโดยรวมต�ำ่ และความสูญเสียทางสมรรถนะ เมือ่ เครือ่ งยนต์ ท�ำงานนอกช่วงก�ำลังจ�ำเพาะและความเร็วถูกจ�ำกัดในช่วงก�ำลัง • ความซับซ้อน โดยปกติมีชิ้นส่วนประมาณ 200 ชิ้น • ความจ�ำเป็นในการบ�ำรุงรักษา จ�ำเป็นต้องมีการบ�ำรุงรักษาตามระยะ เวลา • มีมลภาวะ ฝุน่ ขนาดเล็ก และก๊าซเรือนกระจกทีป่ ลดปล่อยมาจากเครือ่ ง สันดาปภายใน • ความปลอดภัย เครือ่ งยนต์สนั ดาปภายในจะร้อนมากระหว่างการท�ำงาน อย่างไรก็ตาม ถึงแม้จะมีการพัฒนาประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ดีเซล มาอย่างต่อเนือ่ ง แต่โลกเรายังประสบปัญหาภาวะโลกร้อน อันเนือ่ งมาจากก๊าซ เรือนกระจก และมีหลายประเทศพยายามยกเลิกการใช้เครื่องยนต์ดีเซล และ หันมาพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าเพิ่มมากขึ้น เช่น เยอรมนี นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ เป็นต้น “ยานยนต์ไฟฟ้า พลังงานแบตเตอรี่เป็น ยานยนต์ไฟฟ้าทีม่ เี ฉพาะ มอเตอร์ไฟฟ้าเป็นต้น ก�ำลังเคลื่อนที่ และใช้ พลังงานไฟฟ้าที่อยู่ใน แบตเตอรี่เท่านั้น ไม่มี เครื่องยนต์อื่นในยานยนต์ ดังนั้น ระยะทางการวิ่งของยานยนต์ข้ึนอยู่กับการ ออกแบบขนาดชนิดของแบตเตอรี่ รวมถึงน�ำ้ หนักบรรทุก ข้อดีของยานยนต์ไฟฟ้า คือ มีคา่ ใช้จา่ ยทีป่ ระหยัดกว่า การบ�ำรุงรักษาทีถ่ กู กว่า ไม่มกี ารปล่อยมลภาวะ สู่ชนั้ บรรยากาศและไม่มเี สียงดัง ยานยนต์ไฟฟ้ามีมาแล้วกว่า 100 ปี ในปี ค.ศ. 1900-1911 เป็นยุคทองของยานยนต์ไฟฟ้า ทีเ่ ริม่ มีการเปลีย่ นแปลงการใช้งาน จากรถม้ามาเป็นรถไฟฟ้า และก็ไม่ได้รับความนิยมเนื่องจากมีการแข่งขันกับ ยานยนต์เครือ่ งยนต์สนั ดาปภายใน จนในช่วงวิกฤตน�ำ้ มันของโลกช่วงปี ค.ศ. 1973 ก็ได้มบี ริษทั ทีน่ ำ� รถไฟฟ้ามาจ�ำหน่ายอีก แต่กไ็ ม่ประสบความส�ำเร็จในท้องตลาด เท่าไรนัก จน Toyota ได้เปิดตัวรุน่ Prius ทีเ่ ป็นเครือ่ งยนต์ไฮบริด และตามด้วย Nissan Leaf และอีกหลายรุ่น” ผศ. ดร.ชนะ กล่าวเพิ่มเติม (อ่านต่อฉบับหน้า เรื่อง เส้นทางกว่า...จะมาเป็นรถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้า)
GreenNetwork4.0 July-August 2019
SPECIAL
Scoop กองบรรณาธิการ
กระแสเทคโนโลยีนวัตกรรมรถยนต์พลังงานไฟฟ้า หรือ Electric Vehicle (EV) ก�ำลังเติบโตอย่างรวดเร็วในอนาคต อันใกล้นี้ จากความก้าวหน้าการวิจยั พัฒนาอุตสาหกรรมกรรมด้านยานยนต์โดยเฉพาะต้นทุนของการผลิตแบตเตอรี่ และ ต้นทุนการผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ที่ลดลงจนผู้บริโภคสามารถเข้าถึงได้ง่ายขึ้น ซึ่งประเทศไทยถือเป็นฐานการผลิตรถยนต์ และชิ้นส่วนรถยนต์ที่ส�ำคัญแห่งหนึ่งของโลก จึงเป็นสิ่งที่ควรเร่งเรียนรู้และปรับตัวที่ต้องก้าวให้ทันนวัตกรรมรถยนต์ พลังงานไฟฟ้า เนื่องจากประมาณการว่ารถยนต์ไฟฟ้าจะได้รับความนิยมไปทั่วโลกในปี พ.ศ. 2563
“ออโตโมทีฟ ซัมมิท 2019” ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมยานยนต์ รองรับการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า EV
จึงท�ำให้ภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทยเกิดการตืน่ ตัวและเตรียม ขับเคลือ่ นแนวทางการผลิตชิน้ ส่วนยานยนต์รองรับการผลิตรถยนต์พลังงานไฟฟ้า (EV) น�ำมาสูก่ ารจัดสัมมนา ออโตโมทีฟ ซัมมิท 2019 ในหัวข้อ Smart Mobility Driving ยานยนต์แห่งอนาคต ทีจ่ ดั ขึน้ โดย สถาบันยานยนต์ ร่วมกับ บริษทั รีด้ เทรดเด็กซ์ จ�ำกัด ซึง่ เป็นเวทีในการแลกเปลีย่ นความคิดเห็น และเป็นแนวทางให้กบั ผูป้ ระกอบการ ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ได้น�ำไปพัฒนาสินค้าเพื่อสอดรับกับนโยบายของภาครัฐ ที่ต้องการรักษาสิ่งแวดล้อม และลดการใช้ทรัพยากรด้านพลังงานลง โดยมี สุทธิศกั ด์ วิลานันท์ รองกรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั รีด้ เทรดเด็กซ์ จ�ำกัด กล่าวต้อนรับและกล่าวรายงานวัตถุประสงค์ของการจัดงานในครัง้ นีว้ า่ “เป็นการร่วม ผลักดันยุทธศาสตร์ของรัฐบาล เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจไปสู่อนาคต เราได้รวม อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อจั ฉริยะ อุตสาหกรรม หุน่ ยนต์ และอุตสาหกรรมดิจทิ ลั ไว้ดว้ ย ซึง่ อุตสาหกรรมเหล่านีล้ ว้ นเป็นอุตสาหกรรม ที่จะเชื่อมโยงจับคู่ธุรกิจระหว่างผู้ประกอบการทั้งไทยและต่างประเทศ” ทัง้ นี้ การสัมมนาดังกล่าวได้รบั เกียรติจากวิทยากรผูท้ รงคุณวุฒิ ประกอบด้วย ดร.พสุ โลหารชุน ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เป็นประธานในพิธเี ปิดพร้อมกล่าว ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “แนวทางการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมยานยนต์ สู่การพัฒนา ระบบสัญจรอัจฉริยะเพือ่ อนาคต” พร้อมด้วย อดิศกั ดิ์ โรหิตะศุน กรรมการสถาบัน ยานยนต์ ผู้ท�ำการแทนผู้อ�ำนวยการสถาบันยานยนต์ ร่วมกล่าวปาฐกถาพิเศษ ในหัวข้อดังกล่าวด้วย ดร.พสุ กล่าวว่า “ทิศทางอุตสาหกรรมยานยนต์ในอนาคตนัน้ หน่วยงานภาค รัฐได้มุ่งเน้นให้ความส�ำคัญกับการขับขี่ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ซึ่งผู้ผลิต ชิ้นส่วนรถยนต์ต่างๆ ตอบรับนโยบายรัฐบาลที่ได้พัฒนาเทคโนโลยีหรือชิ้นส่วน ยานยนต์ทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม รวมถึงระบบเซ็นเซอร์และระบบซอฟต์แวร์ทใี่ ช้ ส�ำหรับการผลิตรถยนต์พลังงานไฟฟ้า หรือ Electric Vehicle (EV) แม้ในประเทศไทย 14
จะเป็นช่วงเริม่ ต้นของการใช้รถยนต์พลังงานไฟฟ้า แต่ภาครัฐจะสนับสนุนให้เกิดการ ขับเคลื่อนและเปลี่ยนแปลงด้านอุตสาหกรรมยานยนต์ให้เติบโตเพื่อส่งเสริมการ ผลิตรถยนต์ EV โดยขณะนี้กระทรวงอุตสาหกรรมประสานงานร่วมกับกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม และกระทรวงดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจ และสังคม ร่วมมือกันผลักดันอุตสาหกรรมยานยนต์ และสนับสนุนให้ประชาชนหันมา ใส่ใจด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะช่วยท�ำให้เกิดผลดีในแง่เศรษฐกิจระดับชาติได้ทุกมิติ” อดิศกั ดิ์ กล่าวว่า “อุตสาหกรรมยานยนต์กำ� ลังอยูใ่ นยุคเปลีย่ นผ่านจากการใช้ เครื่องยนต์สันดาปไปสู่การใช้เครื่องยนต์ไฮบริดและเครื่องยนต์ไฟฟ้า ซึ่งขณะนี้ ผูป้ ระกอบการไทยต่างมีการปรับตัวด้านเครือ่ งจักรและเทคโนโลยีเพือ่ รองรับการผลิต รถยนต์พลังงานไฟฟ้า อีกทัง้ อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้ายังเป็น 1 ใน 10 อุตสาหกรรม S-curve ที่รัฐบาลให้การสนับสนุน เพื่อสร้างอุตสาหกรรมยานยนต์ และอุปกรณ์ ยานยนต์สมัยใหม่ให้มีมาตรฐานระดับโลก และภาครัฐได้ส่งเสริมให้มีการสร้าง ศูนย์ทดสอบแบตเตอรีย่ านยนต์ไฟฟ้าแห่งแรกของอาเซียนทีค่ าดว่าจะเปิดให้บริการ ในปี พ.ศ. 2563 ดังนั้น ในส่วนของสถาบันยานยนต์ เล็งเห็นถึงความส�ำคัญที่ต้อง ปรับตัวด้านเทคโนโลยี และการออกแบบนวัตกรรมชิน้ ส่วนยานยนต์เพือ่ รองรับการ ผลิตรถยนต์พลังงานไฟฟ้าในอนาคต ที่ผู้บริโภคจะเลือกใช้รถยนต์ไฟฟ้ามากขึ้น” การจัดงานแมนูแฟกเจอริ่ง เอ็กซ์โป 2019 และ ออโตโมทีฟ ซัมมิท 2019 ดังกล่าวนี้ ยังได้มกี ารจัดแสดงสินค้าในส่วนของอุตสาหกรรมด้านการผลิตชิน้ ส่วน พลาสติกและบรรจุภณ ั ฑ์ รวมถึงอุตสาหกรรมด้านการผลิตแม่พมิ พ์และการขึน้ รูป อีกทัง้ ผูป้ ระกอบการด้านเทคโนโลยีระบบอัตโนมัตแิ ละการประกอบ และเทคโนโลยี การเตรียมพืน้ ผิว การชุบ และเคลือบผิวชิน้ ส่วนอุตสาหกรรมมากกว่า 46 ประเทศ ทั่วโลก นับเป็นสัญญาณที่ดีที่จะท�ำให้เกิดเงินสะพัดไม่ต�่ำกว่า 8,000 ล้านบาท ที่น่าจะท�ำให้เศรษฐกิจในประเทศขับเคลื่อนไปในทิศทางที่ดีขึ้น
GreenNetwork4.0 July-August 2019
GREEN
Scoop
จากนโยบายภาครัฐที่ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและรักษา สิง่ แวดล้อม รวมถึงมาตรการให้สงั คมร่วมกันช่วยลดปัญหามลภาวะ ฝุน่ ละออง PM 2.5 ซึง่ ท�ำให้เกิดมลพิษทางอากาศได้สง่ ผลกระทบต่อ ความเป็นอยูข่ องผูค้ นอย่างเป็นวงกว้างในหลายพืน้ ทีข่ องประเทศไทย และรวมไปถึงนโยบายในการแก้ไขปัญหาน�้ำมันปาล์มดิบล้นตลาด ท�ำให้หน่วยงานภาคเอกชนขานรับพร้อมให้ความร่วมมือในทุกๆ ด้าน โดยเมือ่ เร็วๆ นี้ บริษทั เชฟรอน (ไทย) จ�ำกัด เป็นอีกหนึง่ ผูป้ ระกอบการ ทีส่ นับสนุนนโยบายภาครัฐในการจ�ำหน่ายน�ำ้ มันดีเซล B20 ซึง่ มีสว่ นผสม ของไบโอดีเซลจากน�ำ้ มันปาล์มบริสทุ ธิเ์ พือ่ ร่วมรักษาสิง่ แวดล้อมทีด่ ี
กองบรรณาธิการ
เชฟรอนฯ หนุน พลังงานสะอาด
เปิดปั๊มน�้ำมันคาลเท็กซ์ จ�ำหน่าย B20 ที่กระบี่
บริษัท เชฟรอนฯ ด�ำเนินการธุรกิจให้บริการสถานีบริการ น�ำ้ มันทีม่ คี ณ ุ ภาพระดับโลก ภายใต้ชอื่ “คาลเท็กซ์” เป็นหนึง่ ในบริษทั ทีเ่ กีย่ วข้องกับทุกๆ ด้านของอุตสาหกรรมพลังงานทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในโลก ไม่ว่าจะเป็นการส�ำรวจ ผลิต ขนส่งน�้ำมันดิบ และก๊าซธรรมชาติ รวมถึงการผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ผลิตกระแสไฟฟ้า ที่ให้บริการน�้ำมันคาลเท็กซ์แก่ผู้บริโภคทั้งชาวไทยและทั่วโลก ล่าสุดได้เปิดจ�ำหน่ายน�ำ้ มันดีเซล B20 ในสถานีบริการน�ำ้ มันคาลเท็กซ์ กระบี่ บี.พี. 1999 อ�ำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ ซาลมาน ซาดัต ประธาน กรรมการและผู ้ จั ด การใหญ่ บริษัท เชฟรอน (ไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า “บริษทั เชฟรอนฯ เดินหน้า พัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการระดับ คุณภาพเพื่อตอบโจทย์ทุกความ ต้องการของผูใ้ ช้รถอย่างครบวงจร ควบคูไ่ ปกับการช่วยเหลือพัฒนา สังคมไทยอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการ เปิ ด จ� ำ หน่ า ยน�้ ำ มั น คาลเท็ ก ซ์ ดีเซล B20 ทีส่ ถานีบริการในพืน้ ที่ จังหวัดกระบี่นี้ ก็เพื่อต้องการร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ไขปัญหา สถานการณ์นำ�้ มันปาล์มดิบของไทยล้นตลาดมากทีส่ ดุ และได้สง่ ผล กระทบต่อเกษตรกรผูป้ ลูกปาล์มน�ำ้ มันอย่างมาก ทางบริษทั ฯ จึงตอบรับ นโยบายของรัฐบาลในการส่งเสริมการใช้นำ�้ มันดีเซล B20 เพือ่ สร้าง สมดุลให้ราคาปาล์มน�้ำมันมีเสถียรภาพที่ดี ช่วยสร้างคุณภาพชีวิต เกษตรกรให้ดีขึ้นตามไปด้วย นอกจากนี้ ยังเป็นการบรรเทาปัญหา ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 เกินมาตรฐานในหลายพื้นที่ เนื่องจาก น�้ำมันดีเซล B20 เป็นน�้ำมันดีเซลที่มีส่วนผสมของไบโอดีเซล B100 ซึ่งเป็นพลังงานสะอาดที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” 15
ทั้งนี้ คาลเท็กซ์ ได้ตั้งเป้าเปิดจ�ำหน่ายน�้ำมันคาลเท็กซ์ ดีเซล B20 ในสถานีบริการน�้ำมัน คาลเท็กซ์ ให้ได้ 20 แห่งในครึ่งปีแรก ซึ่งมีการประเมินติดตามผลการตอบรับเป็นอย่างดีจาก ผูบ้ ริโภค และผูใ้ ช้รถทีเ่ ข้ามาใช้บริการสถานีนำ�้ มันคาลเท็กซ์ และในอนาคตเชฟรอนฯ เตรียมขยาย พืน้ ทีส่ ถานีจำ� หน่ายน�ำ้ มันคาลเท็กซ์ดเี ซล B20 ตามหัวเมืองในภูมภิ าคอืน่ ๆ ทีม่ กี ารปลูกปาล์ม เช่น จังหวัดเพชรบุรี ชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา ขณะเดียวกัน หน่วยงาน กรมธุรกิจพลังงาน ได้มนี โยบายส่งเสริมด้านพลังงานธรรมชาติ และด�ำเนินการวิเคราะห์ประเภทของรถยนต์ทสี่ ามารถรองรับการใช้นำ�้ มันดีเซล B20 นี้ ประกอบ ไปด้วยรถบรรทุก หรือรถพ่วงขนาดใหญ่เกือบทุกยี่ห้อ รถยนต์ขนาดเล็ก และรถกระบะ ที่ผลิต ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 จนถึงปัจจุบัน เป็นต้น ซึ่งจากการศึกษาวิจัยหากรถยนต์ประเภทดังกล่าวใช้ น�ำ้ มันดีเซล B20 จะไม่สง่ ผลกระทบต่อเครือ่ งยนต์ทที่ ำ� ให้เกิดความเสียหายแต่อย่างใด เนือ่ งจาก การใช้นำ�้ มันดีเซลทีม่ สี ว่ นผสมของไบโอดีเซลเพิม่ สัดส่วนผสมน�ำ้ มันปาล์มบริสทุ ธิ์ ซึง่ มีการศึกษา ทดลองพบว่า การใช้นำ�้ มันดีเซล B20 ท�ำให้ระบบการเผาไหม้ของเครือ่ งยนต์สะอาดยิง่ ขึน้ จึงเป็น การช่วยลดมลภาวะได้เป็นอย่างดี ส�ำหรับทางด้านผู้ประกอบการรถยนต์ประเภทดังกล่าวนั้น ก็ได้ให้ความร่วมมือในการใช้ น�ำ้ มันดีเซล B20 เพือ่ ร่วมกันเป็นส่วนหนึง่ ทีช่ ว่ ยกันรักษาสิง่ แวดล้อม และลดปัญหาฝุน่ ละอองมลพิษ PM 2.5 ทีส่ ง่ ผลกระทบเป็นวงกว้างต่อสุขภาพของคนไทยในหลายพืน้ ที่ โดยเฉพาะปัญหารถควันด�ำ ส่งผลต่อมลพิษทางอากาศ นอกจากนี้ ทางกระทรวงพลังงาน ยังได้ขยายเวลาในการส่งเสริมการใช้น�้ำมันดีเซล B20 ด้วยการปรับราคาจ�ำหน่ายให้ตำ�่ กว่าราคาน�ำ้ มันดีเซลปกติถงึ 5 บาทต่อลิตร เพือ่ ช่วยเหลือภาคส่วน ผูป้ ระกอบการและภาคประชาชนในฐานะผูบ้ ริโภค เรียกได้วา่ เป็นความร่วมมือทีต่ อบสนองความ ต้องการของประชาชนและยังเป็นการแก้ปัญหาเกือบทุกมิติทั้งในด้านพลังงาน ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านการเกษตร และด้านการพาณิชย์ สร้างเศรษฐกิจหมุนเวียนในการใช้ทรัพยากรในประเทศได้ อย่างคุ้มค่า
GreenNetwork4.0 July-August 2019
GREEN
Scoop กองบรรณาธิการ
“อนาคตพลังงานไทย ใครก�ำหนด” ผนึกก�ำลังทุกภาคส่วนร่วมรักษาทรัพยากรของชาติ
ทรัพยากรด้านพลังงานเป็นเรื่องส�ำคัญระดับชาติที่ทุกหน่วยงานต้อง ร่วมมือกันส่งเสริมการผลิตพลังงานไฟฟ้าให้มศี กั ยภาพและเพียงพอ ตลอดจน การใส่ใจต่อสิง่ แวดล้อม และไม่ให้สง่ ผลกระทบต่อประชาชนโดยรวม จึงน�ำมาสู่ การสัมมนา เรือ่ ง “อนาคตพลังงานไทย ใครก�ำหนด” ซึง่ เป็นการรวมตัวครัง้ ใหญ่ ระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ประกอบด้วย กระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม ร่วมกับ สภาสมาคมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย และ สมาคมนิวเคลียร์แห่งประเทศไทย การสัมมนาดังกล่าวได้รับเกียรติ จาก รศ. นพ.สรนิต ศิลธรรม ปลัดกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม เป็นประธานพิธเี ปิดงาน พร้อม กล่าวปาฐกถาว่า “การส่งเสริมและสนับสนุน ให้เกิดการสัมมนาขึ้นในครั้งนี้เพื่อให้ทุก ภาคส่วนได้แลกเปลี่ยนและเสนอความคิด เห็นหลากหลายเกีย่ วกับพลังงานไทย ซึง่ จะ รศ. นพ.สรนิต ศิลธรรม ท�ำให้เกิดประโยชน์มากมายจากข้อมูลของ วิทยากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญด้าน พลังงานทั้งจากภาครัฐและเอกชนที่มาร่วมถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ผู้เข้าร่วม สัมมนาให้สามารถเก็บเกี่ยวความรู้ที่ได้รับฟังแล้วน�ำไปเป็นแนวทางก�ำหนด นโยบายให้กบั แต่ละองค์กรต่อไป เพือ่ ด�ำเนินการด้านพลังงานให้เกิดประโยชน์ ต่อประเทศชาติ ซึ่งในส่วนของกระทรวงฯ ได้ตั้งกองทุนขึ้นเพื่อส่งเสริมทั้งใน และนอกมหาวิทยาลัยส�ำหรับสนับสนุนการท�ำวิจัยระดมสมองในการร่วม ก�ำหนดพลังงานของไทยให้มีทิศทางที่ชัดเจน” ทัง้ นี้ การเสวนาดังกล่าวแบ่งออกเป็น 2 ช่วง โดยในช่วงเช้ามีผเู้ ข้าร่วม เสวนาจากหลากหลายหน่วยงาน ประกอบด้วย ดร.วันทนีย์ จองค�ำ สมาคม นิวเคลียร์แห่งประเทศไทย บรรยายหัวข้อ “การจัดเสวนา 4 ภาค ในปี 2561” ขณะที่ ธวัชชัย ส�ำราญวานิช ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายแผนการผลิตไฟฟ้าและระบบส่ง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศ บรรยายหัวข้อ “พลังงานฐาน” รวมถึง ดร.นุวงศ์ ชลคุป ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ, MTEC ร่วมเสวนาหัวข้อ “พลังงาน ทางเลือก” นอกจากนี้ ดร.วีรพัฒน์ เกียรติเฟื่องฟู ผู้อ�ำนวยการกองนโยบาย ไฟฟ้า กระทรวงพลังงาน กล่าวเสวนาในหัวข้อ “นโยบายด้านพลังงาน” และ มนูญ ศิรวิ รรณ ผูเ้ ชีย่ วชาญด้านพลังงาน ได้รว่ มบรรยายในหัวข้อ “สถานการณ์ ปัจจุบันด้านพลังงานของไทย”
16
ส�ำหรับการเสวนาในช่วงบ่ายได้รับเกียรติ จากผู้ทรงคุณวุฒิ น�ำโดย เจน น�ำชัยศิริ สมาชิก วุฒิสภา และในฐานะกรรมการและผู้จัดการใหญ่ บริษทั เอเชียไฟเบอร์ จ�ำกัด (มหาชน) เสวนาเรือ่ ง “อนาคตพลังงานไทย ใครก�ำหนด” พร้อมกล่าวว่า “สถานการณ์และบทบาทพลังงานของไทยในปัจจุบนั แต่ละชนิดล้วนมีข้อดี-ข้อเสียที่ส่งผลกระทบต่อ ส่วนรวม แต่สงิ่ ทีต่ อ้ งแก้ไขและด�ำเนินการต่อไป คือ เจน น�ำชัยศิริ หน่ ว ยงานหรื อ สถาบั น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งด้ า นพลั ง งาน จะต้องน�ำข้อมูลที่ท�ำให้ประชาชนได้มีส่วนร่วม เข้าถึงได้ และมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของพลังงาน จึงจะสามารถร่วมมือกันด้าน การใช้พลังงานในอนาคตให้เป็นไปในทิศทางที่จะเกิดประโยชน์ต่อประเทศโดยรวม ได้อย่างแท้จริง” ขณะที่ มนูญ ศิรวิ รรณ กล่าวบรรยายในหัวข้อ “สถานการณ์ปจั จุบนั ด้านพลังงาน ของไทย” ว่า “สถานการณ์ด้านพลังงานไทยต้องได้รับการปฏิรูปอย่างเป็นระบบเพื่อ การเสริมสร้างความมัน่ คงทางพลังงานให้กบั ประเทศ รวมไปถึงการใช้พลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพภายใต้ความรับผิดชอบและการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจให้กับ ประเทศ” ดร.วี ร พั ฒ น์ เกี ย รติ เ ฟื ่ อ งฟู กล่ า วว่ า “กระทรวงพลังงานได้ปรับแผนพัฒนาก�ำลังผลิต ไฟฟ้าของประเทศแบบระยะยาว รวมถึงได้ประเมิน วัดค่าพยากรณ์หรือความต้องการการใช้ไฟฟ้าของ ประชาชนในแต่ละภูมิภาคเพื่อการจัดสรรพลังงาน หมุนเวียน ตลอดจนการจัดการตามแผนอนุรักษ์ พลั ง งานที่ ส ามารถท� ำ ให้ ล ดการใช้ ไ ฟฟ้ า ลงได้ โดยค�ำนึงแนวโน้มเทคโนโลยีสกู่ ารพัฒนา การสร้าง ดร.วีรพัฒน์ เกียรติเฟื่องฟู ความสมดุลความมั่นคงของระบบไฟฟ้าเพื่อรองรับ การผลิตพลังงานทดแทน และการรักษาระดับไฟฟ้า ขายปลีกไม่ให้สูงขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายการส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน หมุนเวียน เป็นต้น” ทัง้ นี้ ในการเสวนาดังกล่าวผูร้ ว่ มบรรยายต่างมีความเห็นสอดคล้องกัน ด้วยการ เสนอให้ทุกภาคส่วนร่วมมือกันก�ำหนดทิศทางอนาคตพลังงานไทยให้เกิดความชัดเจน และส่งเสริมการใช้พลังงานบริสทุ ธิ์ พลังงานจากแสงอาทิตย์ พลังงานจากชีวมวล และ พลังงานจากขยะรีไซเคิล เพือ่ ให้เป็นแหล่งพลังงานทางเลือกแก่ประชาชนทัง้ ประเทศ
GreenNetwork4.0 July-August 2019
GREEN
Article
วันนี้ ผมใคร่ขอน�ำเสนอเกี่ยวกับเทคโนโลยี ยานยนต์ไฟฟ้า และระบบกักเก็บพลังงานไฟฟ้า ทีก่ ำ� ลังเป็นทีส่ นใจและเป็นประเด็นถกเถียงกันในสังคม ในหลายประเด็น เช่น จะต้องใช้เวลาอีกนานเพียงไร ยานยนต์ไฟฟ้าจึงมีการใช้กนั อย่างแพร่หลาย และจะมี ผลกระทบกับประเทศและประชาชนทั่วไปอย่างไร และเราควรมีการเตรียมการอย่างไรเพื่อรับมือกับ แนวโน้มดังกล่าว เพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบด้านลบ และก่อให้เกิดผลดีต่อประเทศมากที่สุดในด้านต่างๆ ทัง้ ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม เพือ่ ช่วย ในการท�ำความเข้าใจและพิจารณาประเด็นต่างๆ ข้างต้นได้ดขี นึ้ ผมขอน�ำข้อมูลสถานการณ์การพัฒนา ยานยนต์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในโลก และตัวอย่างที่เกิดใน บางประเทศ มาน�ำเสนอเพือ่ ประกอบความเข้าใจและ สรุปผลกระทบและความเห็นต่อการเตรียมการใน อนาคต
ดร.บุญรอด สัจจกุลนุกิจ บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้าน พลังงานและสิ่งแวดล้อม
Green Technology & Innovation
Electric Vehicle Technology
ข้อมูลจากองค์การพลังงานระหว่างประเทศ รายงานว่า สิน้ ปี ค.ศ. 2018 ทัว่ โลกมีการใช้ยานยนต์ ไฟฟ้าประเภท 2 ล้อแล้ว 260 ล้านคัน และรถบัส 460,000 คัน ในขณะทีร่ ถบรรทุกขนาดเล็กและขนาด กลางยังมีการใช้ไม่มาก ทีน่ า่ สนใจมากกว่าคือ รถยนต์ ที่เราใช้ในการเดินทางไปท�ำงานและประกอบธุรกิจ ต่างๆ ทัว่ ไป เริม่ มีรถยนต์ไฟฟ้าเข้ามาแทนทีบ่ า้ งแล้ว ทัง้ ทีใ่ ช้ มอเตอร์ในการขับเคลือ่ นอย่างเดียว ทีเ่ รียกว่า BEV (Battery Electric Vehicle) และที่ใช้ระบบ ขับเคลือ่ นผสม ทัง้ จากเครือ่ งยนต์สนั ดาปภายในและ มอเตอร์รวมกัน ที่เรียกว่า PHEV (Plug-in Hybrid Electric Vehicle) รวมทั้งรถยนต์ไฟฟ้าที่ใช้เซลล์ เชือ้ เพลิงทีเ่ รียกว่า FCEV (Fuel Cell Electric Vehicle) ซึ่งถึงแม้จะมีการใช้น้อยมาก แต่ก็นับรวมอยู่ด้วย โดยสิน้ ปี ค.ศ. 2018 ทัว่ โลกมีการใช้รถยนต์ไฟฟ้าแล้ว 5.1 ล้านคัน ถึงแม้จะยังไม่มากและมีผลกระทบน้อย เมือ่ เทียบกับปริมาณการใช้รถยนต์รวมทัว่ โลกระดับ พันล้านคัน แต่เมื่อพิจารณาอัตราการเจริญเติบโต จะเห็นได้ว่ารถยนต์ไฟฟ้ามีอัตราการเจริญเติบโตที่ รวดเร็ว โดยปี ค.ศ. 2018 ปริมาณรวมเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 63 จากปีกอ่ นหน้า และเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 57 และร้อยละ 60 ในปี ค.ศ. 2017 และ 2016 ตามล�ำดับ เฉพาะปี ค.ศ. 2018 ปีเดียว มีการผลิตรถยนต์ไฟฟ้าจ�ำหน่ายถึง 2 ล้านคัน จีนเป็นประเทศทีม่ กี ารใช้รถยนต์ไฟฟ้ามาก ที่สุด ร้อยละ 45 ของปริมาณการใช้ทั่วโลก หรือ 2.3 ล้านคัน รองลงมาเป็นประเทศกลุม่ ประชาคมยุโรป และ ประเทศสหรัฐอเมริกา ร้อยละ 24 หรือ 1.2 ล้านคัน และร้อยละ 22 หรือ 1.1 ล้านคัน ตามล�ำดับ ดังแสดง ตามภาพประกอบ ส�ำหรับประเทศที่มีร้อยละของ การใช้รถยนต์ไฟฟ้าเทียบกับปริมาณการใช้รถยนต์ รวมในแต่ละประเทศ ประเทศนอร์เวย์เป็นผู้น�ำ โดยมีปริมาณการใช้รถยนต์ไฟฟ้าถึงร้อยละ 10 เมื่อ เทียบกับปริมาณการใช้รถยนต์ทงั้ ประเทศ รองลงมา เป็นประเทศไอซ์แลนด์ (ร้อยละ 3.3) และประเทศ เนเธอร์แลนด์ (ร้อยละ 1.9)
Passenger Electric Car Stock in Main Markets and the Top-Ten EVI Countries
ที่มา : IEA, Global EV Outlook 2019 ปัญหาอุปสรรคทีม่ ผี ลกระทบกับการขยายตัวของรถยนต์ไฟฟ้าคือ ต้นทุนการผลิตสูง ท�ำให้ราคาขายของ รถยนต์ไฟฟ้าเมือ่ ไม่รวมมาตรการสนับสนุนต่างๆ จากภาครัฐจะสูงกว่ารถยนต์สนั ดาปภายในในประเภทและขนาด เดียวกัน ประมาณร้อยละ 40 ทัง้ นี้ มีสาเหตุหลักมาจากราคาแบตเตอรีย่ งั สูงอยู่ (ต้นทุนการผลิต US$ 215/KWh ในสหรัฐฯ และราคาขาย US$ 260/KWh) แต่หากรวมค่าใช้จ่ายในการใช้รถด้วย ผลตอบแทนในการลงทุนของ รถยนต์ไฟฟ้าจะดีขนึ้ เนือ่ งจากค่าใช้จา่ ยด้านเชือ้ เพลิงจะลดลง แต่จะมากหรือน้อยขึน้ อยูก่ บั ราคาเชือ้ เพลิง (น�ำ้ มัน) และราคาไฟฟ้าในประเทศนัน้ ๆ รวมทัง้ สภาพการใช้งานรถด้วย ส�ำหรับค่าแบตเตอรีค่ ดิ เป็นประมาณร้อยละ 40 ของต้นทุนการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า ดังนัน้ การขยายตัวของการใช้รถยนต์ไฟฟ้าจะขึน้ อยูก่ บั ปัจจัยหลักๆ 2 ประการ คือ การสนับสนุนจากภาครัฐ และราคาแบตเตอรี่ที่ลดลง ส�ำหรับประเทศไทย มีการก�ำหนดเป้าหมายว่าจะมีการใช้ยานยนต์ไฟฟ้า 1.2 ล้านคัน ในปี ค.ศ. 2036 แต่ไม่ชัดเจนว่า เป้าหมายดังกล่าวนับรวมยานยนต์ไฟฟ้าประเภทใดบ้าง และจะไปถึงเป้าหมายได้อย่างไร ด้วย มาตรการสนับสนุนอะไรจากรัฐ ส่วนภาคเอกชนก็มคี วามตืน่ ตัวพอสมควร โดยมีการลงทุนผลิตลิเธียมแบตเตอรี่ ในประเทศไทย การน�ำเข้า BEV จากประเทศจีนมาทดลองจ�ำหน่าย การทดลองตลาดของ Nissan การน�ำ PHEV มาจ�ำหน่ายของแบรนด์ใหญ่ๆ เช่น BMW และ Benz และการตัง้ เป้าหมายการสร้างสถานีประจุแบตเตอรีจ่ ากหลาย หน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชน รวมทัง้ การสาธิตการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าประเภทต่างๆ ในภาคการศึกษาหลายแห่ง ค่อนข้างชัดเจนว่า การใช้ยานยนต์ไฟฟ้าช่วยประหยัดการใช้พลังงาน ลดมลพิษที่ปล่อยสู่สิ่งแวดล้อม ทั้งปริมาณฝุ่น ก๊าซไฮโดรคาร์บอน และก๊าซเรือนกระจก และการเพิ่มขึ้นของการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าย่อมส่งผล กระทบต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์สันดาปภายใน ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ในประเทศไทย ซึง่ หากไม่มกี ารเตรียมการทีด่ พี อในการสร้างความต้องการ การพัฒนาเปลีย่ นผ่านไปสูอ่ ตุ สาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า อย่างมียทุ ธศาสตร์และขัน้ ตอนทีเ่ หมาะสม ก็อาจส่งผลกระทบทีจ่ ากการสูญเสียตลาดของอุตสาหกรรมยานยนต์ ที่มีฐานรากจากเครื่องยนต์สันดาปภายในที่มีมูลค่ามหาศาล 17
GreenNetwork4.0 July-August 2019
“ฮี โ ร่ ” ถุงขยะรุ่นรักษ์โลก
GREEN
Factory กองบรรณาธิการ
สินค้ารักษ์โลก
ที่แม็คโคร
ล
ไ
บริษัท สยามแม็คโคร จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมกับ บริษัท คิงส์เอ็นเนอร์จี แอนด์ เวซท์ โซลูชั่นส์ จ�ำกัด ผูผ้ ลิตถุงขยะจากขยะพลาสติกรีไซเคิล 100% เจ้าแรกและเจ้าเดียวในประเทศไทย น�ำผลิตภัณฑ์ ถุงขยะรุน่ รักษ์โลก ที่ผลิตจากเศษขยะพลาสติกรีไซเคิลที่ได้มาจากบ่อขยะในประเทศ ภายใต้แบรนด์ฮีโร่ มาจ�ำหน่ายและเปิดตัว ที่แม็คโครเป็นแห่งแรก เพื่อสร้างทางเลือกใหม่ให้ผู้ประกอบการ ทั้งในกลุ่มร้านค้า โรงแรม ร้านอาหาร ธุรกิจ จัดเลี้ยง ตลอดจนลูกค้าสมาชิกได้หันมาใช้ผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้นในราคาที่ผู้บริโภคเอื้อมถึง ซึ่งเริ่ม จ�ำหน่ายทีแ่ ม็คโคร ทุกสาขาทัว่ ประเทศ ตัง้ แต่เดือนมิถนุ ายนเป็นต้นไป ลดราคาเหลือ 75 บาท มีให้เลือก 3 ขนาด สนมชนม์ จินานนท์ รองผู้อ�ำนวยการ ฝ่ายบริหารสินค้าอุปโภค บริษัท สยามแม็คโคร จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า การน�ำถุงขยะรุ่นรักษ์โลกมาจ�ำหน่ายเป็นการต่อยอดโครงการ Say Hi to Bio Say No to Foam ของสยามแม็คโคร เพื่อเดินหน้าสู่ธุรกิจค้าส่งเพื่อสิ่งแวดล้อมรับ วันสิ่งแวดล้อมโลก และวันทะเลโลก ถุงขยะรุ่นรักษ์โลกผลิตจากถุงขยะรีไซเคิลจาก เศษขยะพลาสติกจากบ่อขยะในไทย ลดปัญหาการจัดการขยะแบบครบวงจร ช่วยลด ปริมาณขยะพลาสติกในประเทศ หนุนส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียน เพือ่ การบริโภคอย่าง สนม ์ ยัง่ ยืน (Circular Economy) ตอกย�ำ้ การเป็นแหล่งรวมผลิตภัณฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อมในราคา ชนม์ จินานนท ขายส่ง “แม็คโครมีเจตนารมณ์อันแน่วแน่ในการเปิดโครงการ Say Hi to Bio Say No to Foam ซึ่งเป็นโครงการ ทีป่ ระกาศนโยบายหยุดจ�ำหน่ายโฟมบรรจุอาหาร ใน 12 สาขาทีอ่ ยูใ่ นแหล่งท่องเทีย่ วชายทะเลเป็นโครงการน�ำร่อง เป็นรายแรกในประเทศไทย รวมถึงการสรรหาบรรจุภณ ั ฑ์ยอ่ ยสลายได้รปู แบบใหม่ ๆ อย่างต่อเนือ่ ง จนกลายเป็น แหล่งรวมผลิตภัณฑ์บรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อมทีใ่ หญ่ทสี่ ดุ ในประเทศ ทัง้ นี้ การน�ำถุงขยะรุน่ รักษ์โลก แบรนด์ฮโี ร่ เข้ามาจ�ำหน่ายในครัง้ นีจ้ ะเป็นอีกทางเลือกหนึง่ ให้กบั ลูกค้าเนือ่ งในวันสิง่ แวดล้อมโลก 5 มิถนุ ายน และวันทะเลโลก 8 มิถนุ ายน ซึง่ จะเป็นการเพิม่ สัดส่วนบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ สิง่ แวดล้อมของแม็คโครจาก 20% เป็น 40% ภายในปี พ.ศ. 2562 นี้” สนมชนม์ กล่าว ด้าน ไพบูลย์ จุลศักดิ์ศรีสกุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท คิงส์เอ็นเนอร์จี แอนด์ เวซท์ โซลูชั่นส์ จ�ำกัด กล่าวว่า บริษัทเริ่มสนใจผลิตบรรจุภัณฑ์เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมมานาน ได้ศึกษาเทคโนโลยี การผลิตจากประเทศต่างๆ จนได้ข้อสรุปว่า ด้วยปัญหาขยะพลาสติกที่ในประเทศไทย มีจำ� นวนเพิม่ มากขึน้ จนกลายเป็นปัญหาระดับนานาชาติทที่ กุ ประเทศต่างพากันตืน่ ตัว และพยายามแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงเริม่ ผลิตถุงขยะรุน่ รักษ์โลกจากเศษขยะพลาสติก ทีไ่ ด้มาจากบ่อขยะ โดยผ่านกระบวนการคัดแยกทีห่ น้าบ่อขยะ จากนัน้ น�ำมาเข้าโรงงาน พบ ลู ย์ จุล ดศิ์ รีสกุ เพือ่ เข้าสูก่ ระบวนการรีไซเคิล ตัง้ แต่ลา้ งท�ำความสะอาดโดยเครือ่ งจักรทีท่ นั สมัยเพือ่ ให้ ศัก ขยะสะอาด และเข้าสูก่ ระบวนการหลอมเป็นเม็ดพลาสติก ก่อนเข้าสูก่ ารขึน้ รูปเป็นถุงขยะ ที่ปราศจากกลิ่น บาง เหนียว ซึ่งจะช่วยลดปริมาณขยะพลาสติกจากบ่อขยะในประเทศได้ถึง 20,000 ตันต่อปี “ทีผ่ า่ นมาบริษทั ส่งถุงขยะรักษ์โลกไปจ�ำหน่ายยังต่างประเทศเท่านัน้ เพราะราคาค่อนข้างสูง แต่ผมก็เชือ่ มาตลอดว่าคนไทยเรามีจิตส�ำนึกด้านสิ่งแวดล้อม อยากใช้ผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แต่ด้วยราคาท�ำให้หลายคนเข้าไม่ถึง แต่เมื่อแม็คโครมีเจตนารมณ์อันแน่วแน่ในการลดผลกระทบทางด้าน สิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกับบริษัทของเรา จึงได้น�ำสินค้าตัวนี้จ�ำหน่ายในประเทศเพื่อเป็นอีกทางเลือกของผู้บริโภค ที่จะได้ใช้สินค้าในราคาที่ถูกลงและได้รักษ์โลกเราไปพร้อมกัน” ไพบูลย์ กล่าว สุดท้าย ไพบูลย์ กล่าวว่า โรงงานผลิตถุงขยะของบริษัท คิงส์เอ็นเนอร์จี แอนด์ เวซท์ โซลูชั่นส์ จ�ำกัด ตั้งอยู่ที่อ�ำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี ขั้นตอนการผลิตถุงขยะรักษ์โลกจะเพิ่มจากการผลิตถุงทั่วไป ท�ำให้ต้นทุน สูงขึน้ แต่เพือ่ ช่วยลดมลภาวะทางสิง่ แวดล้อม ในอนาคตบริษทั มีนโยบายจะไปเปิดโรงงานเช่นนีต้ ามจังหวัดใหญ่ๆ ในภูมิภาคต่างๆ ที่มีปัญหาขยะล้นเมือง โดยหวังว่าจะช่วยบรรเทาปัญหาขยะได้อีกทางหนึ่ง แต่การด�ำเนินการ ต้องได้รับความเห็นชอบจากท้องถิ่นด้วย คาดว่าจะมีความคืบหน้าอีกไม่นานจากนี้ 18
GreenNetwork4.0 July-August 2019
• แม็คโครตั้งมั่นอยู่บนพันธกิจในการเป็น “คู่คิด ธุรกิจคุณ” โดยด�ำเนินธุรกิจควบคู่ไปกับการให้ ความส�ำคัญต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม รวมถึงการปลูกฝังจิตส�ำนึกเรือ่ ง การรักษาสิ่งแวดล้อมให้กับลูกค้า พนักงานและ ชุมชน • 1 ใน 6 เป้าหมายการด�ำเนินธุรกิจที่ส�ำคัญของ แม็คโคร คือ การลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (Sustainability) ตระหนักถึงคุณค่าความส�ำคัญ ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงมุ่ง ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมทัง้ ด�ำเนินการให้ทกุ ระบบเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม
โครงการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่ผ่านมา
1. นโยบายการไม่ให้บริการถุงพลาสติก เป็นสิง่ ทีย่ ดึ ปฏิบตั มิ าตัง้ แต่เริม่ ด�ำเนินธุรกิจ เพือ่ ลดผลกระทบ จากการทิง้ ขยะพลาสติกสูส่ งิ่ แวดล้อม โดยแม็คโคร ลดการสร้างขยะที่เกิดจากถุงพลาสติกไปได้ถึง 16.5 ล้านถุง/เดือน หรือประมาณ 198 ล้านถุง/ปี 2. การประกาศนโยบายหยุดจ�ำหน่ายโฟมบรรจุ อาหารเป็นรายแรก โดยมีเป้าหมายด�ำเนินการหยุด จ�ำหน่ายในทุกสาขาภายในปี พ.ศ. 2564 ผ่านโครงการ Say Hi to Bio Say No to Foam 3. ด้ ว ยเจตนารมณ์ อั น แน่ ว แน่ ใ นการเปิ ด โครงการ Say Hi to Bio Say No to Foam ท�ำให้ ปัจจุบันแม็คโครสรรหาและเพิ่มสัดส่วนผลิตภัณฑ์ เพือ่ สิง่ แวดล้อมมากขึน้ จนกลายเป็นแหล่งจ�ำหน่าย บรรจุภัณฑ์ย่อยสลายได้ในราคาค้าส่งแหล่งใหญ่ ที่สุดในประเทศ
27–28th 11, 2019
THAILAND’S MOST EXCITING ENERGY EVENT
27–28 ǑǗǝƵ˫ƮǦǕnj 2562
˚ Ǧ nj˫NJǖǖǝƮǦǖLJ˝ǦnjǑǙ˘ƴƴǦnjNJ˭nj˚ ˚ LJƯǣƴǎǖǥǨNJǝǬNJǕ Lj˱˚njǨLj˝njNJ˭ǟ˺
IMPACT Convention Center, Bangkok Ǩǔ˱ǣƴNJǣƴNjǦnj˭
ǙǙƴNJǥǨǍ˭ǕnjǨƯ˝Ǧǖ˚ǜǔƴǦnjǬLJ˝ǒǖ˭Ljǣnjnj˭˝
REGISTER FOR FREE NOW: www.terrapinn.com/visitfreeexpo-TH-GNT
Ʈǜ˚Ǧ Ƕǯ Ǐ˼ǟ ˝ nj˘Ǎǟnj˺njǩǙǥǏ˼Ƶ ˝ ˘LJǩǟLJƴƴǦnj | Ʈǜ˚Ǧ ǰDZǯ Ǡ˘ǜƯ˝ǣƮǦǖǟ˘ǔǔnjǦǟ˳ǦǠǖ˘ǍǨƯ˝Ǧǖ˚ǜǔǒǖ˭ | Ʈǜ˚Ǧ DZǯǯǯ Ǐ˼Ǩ˝ Ư˝Ǧǖ˚ǜǔƴǦnj
70+ SPONSORS & EXHIBITORS | 120+ FREE CONFERENCE SESSIONS | 2000+ ATTENDEES
ǩǏƴǪƸǙ˚ǦǨƸǙǙ˥ Ȳ ŃĮÒŠ ŝÒĹúĮŧȳȢ ǣ˺ǎƮǖdž˥ǕLJ ˯ Lj˫LJ ȲķŃŸĹŰĚĹĎ ʒ ŠÒîīĚĹĎȳ ʒ ǨƱǖ˱˚ǣƴǩǎǙƴƮǖǥǩǟ Ǭǒǒ̋Ǧ ȲĚĹƐúŠŰúŠŧȳ ǣ˺ǎƮǖdž˥NJ˭˚
ǫƷ˝ǑǙ˘ƴƴǦnjǩǟƴǣǦNJ˫LjǕ˥ Ȳ ŃĮÒŠ ÒŝŝĮĚÒĹîúŧȳ ȼ ǬǒȢ ǨƱǖ˱˚ǣƴNJ˳ǦƱǜǦǔ ǖ˝ǣnjȢ ǨƱǖ˱˚ǣƴǟ˼Ǎnj˝˳Ǧ ǑǙ˘ƴƴǦnjǩǟƴǣǦNJ˫LjǕ˥ǍnjƷ˘˝njLJǦLJǒ̋Ǧ Ȳ ŃĮÒŠ ŃŃčŰŃŝŧȳ
ǖǥǍǍǟ˚ƴǩǙǥƵ˳ǦǠnj˚ǦǕǬǒǒ̋Ǧ Ȳ ʒ% ŧŃĮŸŰĚŃĹŧȳ ʒ ǖǥǍǍǬǒǒ̋ǦǫnjƷnjǍNJ Ȳ ŸŠÒĮ úĮúîŰŠĚîĚƥîÒŰĚŃĹȳ ǑǙ˘ƴƴǦnjLjǦǔǩǍǍ Ȳ ŃĹƐúĹŰĚŃĹÒĮ ŝŃƑúŠȳ ʒ ǖǥǍǍǨƱǖ˱˚ǣƴǟ˳ǦǖǣƴǬǒǒ̋Ǧ Ȳ¥ ŧƗŧŰúķŧȳ ǪƱǖƴƮǦǖLJ˝ǦnjƮǦǖǨƴ˫njǩǙǥƮǦǖǙƴNJ˺nj ȲJĹƐúŧŰĚĹĎ ʒ =ĚĹÒĹîĚĹĎ ŝŠŃĨúîŰŧȳ
ǑǙ˘ƴƴǦnjǩǟƴǣǦNJ˫LjǕ˥ǩǙǥƮǦǖƮ˘Ʈ ǨƮ˨ǍǑǙ˘ƴƴǦnj Ȳ ŃĮÒŠ ɪ ŰŃŠÒĎúȳ ʒ ǖǥǍǍǬǤǍǖ˫LJ ȲEƗíŠĚô ŧƗŧŰúķŧȳ ǩǍLjǨLjǣǖ˭˚ Ȳ ÒŰŰúŠĚúŧȳ
ǓǦǕǫnjǩǠǙ˚ƴǑ˘ƮǣǦǝ˘Ǖ Ȳ úŧĚôúĹŰĚÒĮ ȳȮ ǨƷ˫ƴǑǦdž˫ƷǕ˥ Ȳ ŃķķúŠîĚÒĮȳ Ȯ ǖǥǍǍ ǟǦNjǦǖdž˼ǎǪǓƱ Ȳ ¥ŰĚĮĚŰƗȺŧîÒĮú ŧƗŧŰúķŧȳ
ǖǥǍǍǪƱǖƴƯ˚ǦǕǬǒǒ̋Ǧǣ˘Ƶƶǖ˫Ǖǥ Ȳ ķÒŠŰ ĎŠĚôȳ ʒ ǩǙǥ ǨƱǖ˱ǣƯ˚ǦǕ ǖǥǍǍǬǒǒ̋ǦǕ˚ǣǕ ȲeĚîŠŃĎŠĚôŧȳ
Ʈ˘ƴǠ˘njǙǔȢ Ʈǖǥǎ˺ƮǨǒ˱ ǣƴǨƮ˭Ǖǖ˥Ȣ ǠǣƱǣǕ Ȳ¾ĚĹô ŰŸŠíĚĹúŧȢ ĎúÒŠíŃƖúŧ ʒ ŰŃƑúŠŧȳ
Jp Ȣ íĮŃîīîĕÒĚĹȢ ôŠŃĹúŧ
Ʈ˘ƴǠ˘njǙǔǫnjNJǥǨǙ ȲpččŧĕŃŠú ¾ĚĹôȳ
ǨƱǖ˱˚ǣƴǫƷ˝Ǭǒǒ̋ǦǎǖǥǠǕ˘LJǑǙ˘ƴƴǦnj Ȳ+ĹúŠĎƗ účƥîĚúĹŰ ÒŝŝĮĚÒĹîúŧȳ
Ʈ˘ƴǠ˘njǙǔǟ˳ǦǠǖ˘ǍNJ˭˚ǣǕ˼˚ǣǦǝ˘Ǖ Ȳ úŧĚôúĹŰĚÒĮ ƑĚĹôȳ
REGISTER FOR FREE NOW: www.terrapinn.com/visitfreeexpo-TH-GNT
GREEN
Focus พิชัย ถิ่นสันติสุข
พลังงานทดแทน รอรัฐมนตรีใหมชุบชีวิต?
กองทุนพลังงานปละกวาหมื่นลาน
คนไทยไดอะไร?
หากมีใครถามวาพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) เมืองไทยมีอะไร ใหลงทุนไหม? คงมีคําตอบมากมายหลายคําตอบ รวมทั้งคําตอบวา “รอนโยบาย รัฐมนตรีใหม” และหากมีใครถามวา กองทุนมากมายปละนับหมืน่ ลานของกระทรวงพลังงาน ทําไมเขาถึงยาก ประเทศไทยไดประโยชนอะไร เปนเบีย้ หัวแตก หรือ ตํานํา้ พริกละลาย แมนํ้าหรือเปลา คําตอบเดิมคือ “รอนโยบายรัฐมนตรีใหม” ขอเริ่มตนดวยแผนพัฒนาพลังงานหมุนเวียน/ทดแทน ที่ทางสองกรมใหญ สนพ. และ พพ. ชวยกันบรรจงรางใหตรงเปาหมายทีท่ า นนายกรัฐมนตรีไดประกาศไว คือ 30% ฟงดูคอนขางมาก แตทําไมธุรกิจพลังงานทดแทนรูสึกวา ถดถอย ไมมี การรับซื้อไฟฟาเพิ่มเทาที่ควร จึงอยากใหทานผูอานลองศึกษาวา 30% ของการใช พลังงานขัน้ สุดทายทีป่ ระกาศไวนนั้ เปนการรับซือ้ ไฟฟาเพียง 7.05% เชือ้ เพลิงชีวภาพ (เอทานอลและไบโอดีเซล) 4.24% และอีก 18.86% เปนเรือ่ งของการผลิตความรอน ซึง่ ตรวจวัดไดยาก แตมกี ารใชอยูแ ลวในภาคอุตสาหกรรมโดยไมตอ งมีการอุดหนุน ใดๆ จากภาครัฐ
đðŜćĀöć÷×ĂÜĒñî “öĊÿĆéÿŠüîÖćøĔßšóúĆÜÜćîìéĒìî đðŨîøšĂ÷úą ×ĂÜÖćøĔßšóúĆÜÜćî×ĆĚîÿčéìšć÷ĔîðŘ 2580” ÿĆéÿŠüîÖćøĔßšóúĆÜÜćîìéĒìîêŠĂÖćøĔßšóúĆÜÜćî×ĆĚîÿčéìšć÷ øć÷Öćø ñúĉêĕôôŜć ñúĉêÙüćöøšĂî đßČĚĂđóúĉÜßĊüõćó øüö
đðŜć AEDP2015
đðŜć AEDP2018
4.27% 19.15% 6.65% 30.07%
7.05% 18.86% 4.24% 30.15%
20
30
Ēñî AEDP2015 đðŜć ñĎÖóĆîĒúšü ÙÜđĀúČĂ óúĆÜÜćîĒÿÜĂćìĉê÷Ť 6,000.00 3,250.00 2,750.00 ßĊüöüú 5,570.00 4,001.00 1,569.00 óúĆÜÜćîúö 3,002.00 1,517.00 1,485.00 óúĆÜîĚĞć×îćéĔĀ⊠(Öôñ.) 2,906.40 2,918.00 ÖŢćàßĊüõćó 1,280.00 500.00 780.00 ×÷ąßčößî 500.00 500.00 óúĆÜîĚĞć×îćéđúĘÖ 376.00 188.00 188.00 ×÷ąĂčêÿćĀÖøøö 50.00 37.00 13.00 ÙüćöøšĂîĔêšóĉõó ĒúąĂČęîė 0.30 øüö (MW) 19,684.40 12,911.30 6,785.00 ñúĉêĕôôŜćĕéš (GWh) 65,581.97 45,170.50 22,533.26 ÙüćöêšĂÜÖćøĕôôŜć (GWh) 326,119.00 326,119.00 326,119.00 ñúĉêĕôôŜćÝćÖóúĆÜÜćîĀöčîđüĊ÷î : AE (%) 20.11% 13.85% 6.91% AE/FEC õćÙÖćøñúĉêĕôôŜć (%) 4.27% 2.94% 1.47% óúĆÜÜćîĀöčîđüĊ÷îđóČęĂñúĉêĕôôŜć
óúĆÜÜćîĀöčîđüĊ÷îđóČęĂñúĉêÙüćöøšĂî ßĊüöüú ÖŢćàßĊüõćó ×÷ą óúĆÜÜćîĒÿÜĂćìĉê÷Ť ĒúąóúĆÜÜćîĀöčîđüĊ÷î ĂČęîė øüö (ktoe) ÙüćöêšĂÜÖćøĔßšÙüćöøšĂî (ktoe) ñúĉêÙüćöøšĂîÝćÖóúĆÜÜćîĀöčîđüĊ÷î : AE (%) AE/FEC õćÙÖćøñúĉêÙüćöøšĂî (%) đßČĚĂđóúĉÜßĊüõćóĔîõćÙ×îÿŠÜ đĂìćîĂú (úšćîúĉêø/üĆî) ĕïēĂéĊđàú (úšćîúĉêø/üĆî) ĕïēĂöĊđìîĂĆé (êĆî/üĆî) đßČĚĂđóúĉÜìéĒìî ĂČęîė (ktoe) øüö ÙüćöêšĂÜÖćøđßČĚĂđóúĉÜìĆĚÜĀöé (ktoe) ĔßšđßČĚĂđóúĉÜÝćÖóúĆÜÜćîĀöčîđüĊ÷î (%) AE/FEC ÖćøĔßšđßČĚĂđóúĉÜĔîõćÙ×îÿŠÜ (%)
GreenNetwork4.0 July-August 2019
Ēñî AEDP2018 PDP2018 Ēñî óó. øüö 12,725.00 336.10 13,061.10 4,370.00 4,370.00 1,485.00 1,485.00 780.00 780.00 570.00 570.00 142.00 142.00 63.00 63.00 19.70 19.70 19,993.00 497.80 20,490.80 58,778.29 981.80 59,760.09 301,484.92 301,484.92 301,484.92 19.50% 0.33% 19.82% 3.95% 0.07% 4.01%
Ѱяь AEDP2015
AEDP2015 ðŘ 2018 22,100.00 6,958.00 1,283.00 634.00 495.00 110.00 1,210.00 10.00 25,088.00 7,712.00 68,413.51 68,413.51 36.67% 11.27% 19.15% 5.89%
Ѱяь AEDP2018
ÙÜđĀúČĂ 15,142.00 649.00 385.00 1,200.00 17,376.00 68,413.51 25.40% 13.26%
đðŜć øüö (ÿąÿö) 15,142.00 22,100.00 649.00 1,283.00 385.00 495.00 40.00 50.00 16,216.00 23,928.00 66,456.51 66,456.51 24.40% 36.01% 12.78% 18.86%
ÙÜđĀúČĂ 7.16 9.78 4,785.00 10.04 6,608.60 34,797.89 18.99% 5.04%
đðŜć øüö (ÿąÿö) 2.86 7.00 2.28 6.50 4,785.00 4,800.00 10.00 10.00 3,276.79 5,381.92 34,720.52 34,720.52 9.44% 15.50% 2.58% 4.24%
Ѱяь AEDP2015
AEDP2015 ðŘ 2018 11.30 4.14 14.00 4.22 4,800.00 15.00 10.04 8,713.74 2,105.14 34,797.89 34,797.89 25.04% 6.05% 6.65% 1.61%
øüö (ÿąÿö) 16,311.10 8,371.00 3,002.00 2,918.00 1,280.00 1,070.00 330.00 100.00 20.00 33,402.10 104,930.59 301,484.92 34.80% 7.05%
Ѱяь AEDP2018
ในขณะนีม้ กี ารขายไฟไมถงึ 7% ของโรงไฟฟาจากพลังงานทดแทน ยังสราง ความรํา่ รวยจนเกิดมหาเศรษฐีในเมืองไทยขึน้ หลายราย คงตองมีการศึกษาวิจยั วา พลังงานทดแทนมีผลในการกระจายรายไดสชู มุ ชนมากนอยเพียงใด เมืองไทยจะได พนจากคําวา “รวยกระจุกจนกระจาย” เสียที เรื่องของพลังงาน มีความหมายสมบูรณในตัว ไมใชแคปจจัยที่ 5 พลังงาน เปนทัง้ สาธารณูปโภค โครงสรางพืน้ ฐาน เปนธุรกิจ เปนการลงทุน เปนเทคโนโลยี เปนสัมปทาน เปนชนวนใหเกิดสงคราม และเปนพลังอํานาจในตัวเอง ประเทศไทย ก็เชนกัน กระทรวงพลังงานกวาจะไดเสนาบดี ก็ตองเสียเวลากันเปนเดือนทีเดียว คนสวนใหญถาพูดถึงพลังงานหมุนเวียน พลังงานทดแทน หรือพลังงานทางเลือก มักจะคิดวาคือไฟฟา แททจี่ ริงแลวแผนพลังงานทดแทน มีสดั สวนทีเ่ ปนพลังงานไฟฟา เพียง 7.05% จากเปาหมายพลังงานทดแทนรวมของประเทศ 30% โดยใหความสําคัญ ดานการผลิตความรอนมากทีส่ ดุ ถึง 18.86% และดานเชือ้ เพลิงชีวภาพ เอทานอลไบโอดีเซลอีก 4.24% จะเหมาะสมหรือไมประการใด คงตองฟงความรอบดาน แตทแี่ นๆ ปจจุบนั นีป้ ริมาณไฟฟาสํารองของประเทศไทย เกินกวาความจําเปนมาก แลว และที่แปลกแตจริงก็คือ รัฐบาลยังคงรับซื้อไฟฟาจากฟอสซิลที่ราคาแพงกวา ชีวมวลอยางตอเนือ่ ง ทัง้ ๆ ทีโ่ รงไฟฟาชีวมวลปจจุบนั ก็ขายไฟแบบ Firm เชนเดียว กับโรงไฟฟาฟอสซิล อะไรจะถูก อะไรจะผิด คงตองเก็บไวเปนการบานทานรัฐมนตรี ยุคมี ประชาธิปไตย (อาจถูกวิพากษวจิ ารณได) ขอเพิม่ เติมเรือ่ งทีน่ า สนใจทีช่ าวพลังงาน และชาวบานถูกเก็บภาษี อันเนือ่ งมาจากขายไฟฟา ผลิตไฟฟา และใชนาํ้ มันเชือ้ เพลิง นั่นก็คืองบประมาณของกองทุนอนุรักษพลังงาน และกองทุนพัฒนาไฟฟา สําหรับ กองทุนพัฒนาไฟฟา ทั้งที่จัดเก็บจากผูผลิตไฟฟาและผูจําหนายไฟฟา ไดถูกใช ประโยชนอยางมีประสิทธิภาพตามสมควร เจาหนาทีส่ ว นใหญของกองทุนพัฒนาไฟฟา มีจติ สํานึกวา นีเ่ งินประชาชน ไมใชของ กกพ. อํานวยความสะดวกอยางดี เขาถึงงาย แมจะเขมงวด ความครบถวนและความสมบูรณของเอกสารมากเกินไป โดยขาด การคํานึงถึง Output – Outcome ตามแนวทางของสํานักงบประมาณ แตถา มอง ภาพรวมก็สอบผาน สําหรับกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน ปละกวาหมื่นลานบาท คงตองหาผูบริหารมืออาชีพมาชวย เนื่องจากผูเสียภาษีเขากองทุนบนกันมาก (จากองคกรภาครัฐ) เริม่ ตัง้ แตการลงทะเบียนทีแ่ สนยาก หลายๆ องคกรตองวาจาง ทีป่ รึกษามาชวย แตกย็ งั ไมไดงานโดยไมทราบเหตุผล การติดตอก็แสนยากลําบาก นอกจากนีก้ ย็ งั มีขา ววา 3 จังหวัดภาคใต หลอดไฟลนแลว ขอเปนอุปกรณอนื่ ๆ บาง เรือ่ งดีๆ ของกองทุนหมืน่ ลานก็มี เชน โครงการสูบนํา้ ดวยพลังงานเซลลแสงอาทิตย ชาวบานฝากขอบคุณกระทรวงพลังงานมา ณ ที่นี้ดวย
21
เรียนทานรัฐมนตรีฯ พลังงานจากฟอสซิล อาจสรางความรํ่ารวยใหภาค เอกชนไมกี่กลุม และสรางความเขมแข็งใหกับองคกรที่ภาครัฐถือหุนเพื่อชวย เสริมความมั่นคงดานพลังงานของชาติ แตสําหรับพลังงานทดแทนหรือพลังงาน หมุนเวียนแลว ควรมีนโยบายกระจายผูล งทุนไปสูท อ งถิน่ ชุมชนหรือผูน าํ ในแตละ จังหวัด เพือ่ เสริมแกรงใหกบั ชุมชน ไมกระจุกตัวอยูแ คบริษทั ใหญ ๆ อีกทัง้ ควรมี นโยบายไมใหภาครัฐเขามาแขงขันกับภาคเอกชนดานพลังงานทดแทน ... วันนีภ้ าค เอกชน เทคโนโลยีพรอม เงินทุนพรอม รัฐจึงควรมีหนาทีส่ ง เสริม สนับสนุนและกํากับ ในบางกรณี ... เทานั้น พลังงานไทยจะกาวไกล ... มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
GreenNetwork4.0 July-August 2019
GREEN
People กองบรรณาธิการ
ยกระดับรถยนตไฟฟาปลั๊กอินไฮบริด ใชพลังงานจากแบตเตอรี่ผลิตในไทย
กระแสการใช ร ถยนต พ ลั ง งานไฟฟ า ประเภทรถไฮบริด หรือรถยนตพลังงานไฟฟาปลัก๊ อินไฮบริด (Plug-In Hybrid) ซึง่ เปนประเภทหนึง่ ของรถไฟฟาที่ผสานเครื่องยนตเบนซิน/ดีเซล กับแบตเตอรี่ขนาดใหญที่ชารจไดโดยการเสียบ ปลัก๊ ไฟฟา หรือสถานีชารจไฟ ถือเปนนวัตกรรม เพื่อสิ่งแวดลอม สงผลใหผูประกอบการผลิต รถยนตทั่วโลกเกิดความตื่นตัวและปรับเปลี่ยน การผลิตรถยนตใหเปนรถยนตพลังงานไฟฟา แทนรถยนตที่ใชนํ้ามันในการขับขี่ เพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภคที่นิยม เพิ่มมากขึ้น จึงทําให บริษัท เมอรเซเดส-เบนซ แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด มุงเดินหนาผลิตรถยนตปลั๊กอินไฮบริดที่ใชพลังงานไฟฟาจากแบตเตอรี่เพียงอยาง เดียว (Battery Electric Vehicle : BEV) เปนการพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมเพื่อ สิง่ แวดลอมตัง้ แตการปรับเปลีย่ นการใชเครือ่ งยนตสนั ดาปภายในมาเปนมอเตอรไฟฟา รวมถึงเทคโนโลยีอนื่ ๆ มาอยางตอเนือ่ ง และสําหรับในประเทศไทย เมอรเซเดส-เบนซ ไดมกี ารเดินสายการผลิตรถยนตปลัก๊ อินไฮบริด (EQ Power) มาตัง้ แตป พ.ศ. 2558 โดยปจจุบนั การผลิตรถยนตปลัก๊ อินไฮบริดรวม 6 รุน ทัง้ C-Class E-Class และ S-Class เปนการตอบรับตอการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตของประเทศไทยใหกาวไปสู การพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนตทใี่ ชพลังงานไฟฟา ซึง่ เมอรเซเดส-เบนซจากประเทศ เยอรมนี จึงไดเล็งเห็นความสําคัญของประเทศไทยในการเปนฐานการผลิตทีส่ าํ คัญ ในภูมิภาค อันเดรอัส เลทเนอร ประธานบริหาร บริษทั เมอรเซเดส-เบนซ แมนูแฟคเจอริง่ (ประเทศไทย) จํากัด กลาววา “เมอรเซเดสเบนซตอ งการยกระดับการผลิตรถยนตทไี่ มปลอยไอเสีย เลย เพื่อตอบสนองนโยบายภาครัฐที่สงเสริมดาน ยานยนตไฟฟาในประเทศไทย และเปนการเตรียม ความพรอมสูรูปแบบการสัญจรที่เปนมิตรตอ สิง่ แวดลอมในอนาคต เพือ่ รองรับความตองการ รถยนตไฟฟาที่กําลังเพิ่มสูงขึ้นในภูมิภาคนี้ อีกทั้งเล็งเห็นวาโรงงานอุตสาหกรรมใน ประเทศไทยจะมี เ ทคโนโลยี ร ถยนต ที่ มี ระบบขับเคลือ่ นดวยไฟฟา และรถยนตทใี่ ช พลังงานไฟฟาจากแบตเตอรี่เพียงอยางเดียว อันเดรอัส เลทเนอร ขณะเดียวกันในป พ.ศ. 2565 บริษัทฯ จะผสาน ระบบขับเคลื่อนดวยไฟฟาเขากับรถยนตของ เมอรเซเดส-เบนซอยางทั่วถึง เพื่อใหผูบริโภคมี 22
ทางเลือกทีเ่ ปนรถยนตขบั เคลือ่ นดวยไฟฟาอยางนอย 1 รุน ในทุกกลุม ผลิตภัณฑ ตั้งแตรถยนตจากแบรนดสมารทไปจนถึงรถยนตอเนกประสงคขนาดใหญ นอกจากนี้ยังเปนโอกาสสําคัญสําหรับพนักงานของเราที่จะไดรับการฝกอบรม เกีย่ วกับหนาทีค่ วามรับผิดชอบใหมๆ ทีต่ อ งใชทกั ษะความรูข นั้ สูง และมุง มัน่ ทีจ่ ะ เพิม่ บทบาทสานตอความรวมมือกับพันธมิตรของเราในประเทศไทยใหแข็งแกรง ยิ่งขึ้นตอไปใหประสบความสําเร็จ” การเดินหนากาวเขาสูก ารเปนแบรนดรถยนตเพือ่ สิง่ แวดลอมของเมอรเซเดสเบนซ เปนอีกขัน้ สําหรับการตอกยํา้ ถึงแนวทางการดําเนินงานทีช่ ดั เจนของบริษทั ฯ แตอยางไรก็ดี นอกเหนือจากการผลิตรถยนตปลัก๊ อินไฮบริดแลว เมอรเซเดส-เบนซ ยังไดรวมมือกับธนบุรีประกอบรถยนตลงทุนสรางโรงงานแบตเตอรี่ในจังหวัด สมุทรปราการ ซึง่ นับเปนแหงที่ 6 ของโลก โดยลาสุดไดรว มลงนามความรวมมือ กับสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) เพื่อการวิจัย พัฒนาเทคโนโลยียานยนตไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส พรอมการทดสอบแบตเตอรี่ ลิเธียมเปนแหงแรกในประเทศไทยและในภูมภิ าคอาเซียน เปนการยกระดับความ สามารถของคนไทย และสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชนิ้ สวนรถยนตใน ประเทศไทยใหกาวหนายิ่งขึ้นตอไปในอนาคต
GreenNetwork4.0 July-August 2019
สวทช. มุงพัฒนา
ตั้งศูนยทดสอบแบตเตอรี่ รองรับการผลิตรถยนตพลังงานไฟฟา สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) เปนหนวยงาน ราชการสังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม มุงสราง เสริมการวิจยั พัฒนา ออกแบบ พรอมสงเสริมดานการพัฒนากําลังคนและโครงสราง พื้นฐาน เพื่อสรางขีดความสามารถในการแขงขัน และพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน และสนับสนุนการดําเนินงานทุกสวนสูสังคมฐานความรูดวยวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี ปจจุบนั ผูอ าํ นวยการสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ คือ ดร.ณรงค ศิรเิ ลิศวรกุล ซึง่ เปนผูน าํ ระบบบริหารคุณภาพ อีกทัง้ ยังมีความรูแ ละ ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับระบบคุณภาพอื่นๆ นอกจากนี้ยังเปนหนึ่งในคณะทํางาน จัดตัง้ รางวัลคุณภาพแหงชาติ เปนอนุกรรมการในคณะอนุกรรมการเทคนิครางวัล คุณภาพแหงชาติ และผูตรวจประเมินรางวัลคุณภาพแหงชาติ ตั้งแตป พ.ศ. 2547 จนถึงปจจุบนั ไดขบั เคลือ่ นการดําเนินงานของ สวทช.ใหเดินหนาพัฒนาเพือ่ ประโยชน แกประเทศชาติ ดร.ณรงค ศิรเิ ลิศวรกุล จบการศึกษาระดับปริญญาตรี วิศวกรรมอุตสาหการ (เกียรตินยิ มอันดับ 1) จากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ไดรบั รางวัลเหรียญทอง เรียนดีจากวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย และทุนรัฐบาลไทยเพือ่ ศึกษาตอจนจบ ปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมการผลิต จากมหาวิทยาลัยเบอรมงิ แฮม ประเทศอังกฤษ โดยไดเริม่ งานครัง้ แรกป พ.ศ. 2536 ในตําแหนงนักวิจยั ของศูนยเทคโนโลยีโลหะและ วัสดุแหงชาติ (เอ็มเทค) ตอมาในป พ.ศ. 2540 ไดรบั การแตงตัง้ ใหเปนผูอ าํ นวยการ โครงการระบบคุณภาพสําหรับอุตสาหกรรมยานยนต ซึง่ รับผิดชอบใหคาํ ปรึกษาใน การพัฒนาระบบคุณภาพแกผปู ระกอบการผลิตชิน้ สวนยานยนต และในป พ.ศ. 2543 ยายมาปฏิบัติงานดานบริหารในตําแหนงผูชวยผูอํานวยการสํานักงานพัฒนา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) โดยดูแลงานในสายสนับสนุนตางๆ ตั้งแตงานบริหารบุคลากร งานพัฒนาองคกร งานการเงินและบัญชี และงานพัสดุ เปนตน หลังจากนัน้ ป พ.ศ. 2547 ไดรบั การแตงตัง้ ใหเปนรองผูอ าํ นวยการ สวทช. และตอมาป พ.ศ. 2559 ดํารงตําแหนงผูอํานวยการ สวทช. จนถึงปจจุบัน ดร.ณรงค ไดรเิ ริม่ โครงการตางๆ ใน สวทช. อีกมากมายพรอมปรับภาพลักษณ องคกร สวทช. โดยลาสุดเมื่อเร็วๆ นี้ไดผลักดัน สวทช. ลงนามความรวมมือกับ บริษทั เมอรเซเดส-เบนซ แมนูแฟคเจอริง่ (ประเทศไทย) จํากัด โดยมอบใหศนู ย ทดสอบผลิตภัณฑไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส (PTEC) เปนแล็บทดสอบแบตเตอรีย่ านยนต ไฟฟาแหงแรกในประเทศไทยและในภูมิภาคอาเซียน เปนหองปฏิบัติการทดสอบ แบตเตอรี่ และหองปฏิบตั กิ ารทดสอบยานยนตอตั โนมัติ โดยตัง้ เปาใหเกิดการใชงาน หองปฏิบตั กิ ารทดสอบแบตเตอรีใ่ นประเทศไทย และพัฒนาทักษะองคความรูข อง สอบแบตเตอรยานยนตไฟฟา ผูป ฏิบตั งิ านทดสอบในประเทศ ซึง่ จะเปนศูนยทดสอบแบตเตอรี ย่ านยนตไฟฟา ฮบริด และรถยนตประเภท ทีผ่ ลิตในประเทศไทยสําหรับรถยนตปลัก๊ อินไฮบริ BEV เพื่อใหเกิดการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยี และสนับสนุนการทดสอบ แบตเตอรีใ่ นยานยนตไฟฟาทีค่ รอบคลุม รองรับอุ บอุตสาหกรรมยานยนตทใี่ ช
People กองบรรณาธิการ
พลังงานไฟฟาในอนาคต เพื่อรองรับการมาถึงของรถยนตกลุมนี้ในอนาคต ดร.ณรงค กลาวถึงแนวคิดการจุดประกายสําหรับความรวมมือดังกลาววา “จุดเริม่ ตนเนือ่ งมาจากทางเมอรเซเดส-เบนซ มีความตัง้ ใจจะผลิตแบตเตอรีร่ ถยนต ไฟฟาในประเทศไทย ซึง่ สวทช.ในฐานะเปนหนวยงานภาครัฐ เราไดศกึ ษาคนควา วิจัย และแลกเปลี่ยนองคความรูรวมกัน จึงเล็งเห็นวานาจะทําใหเกิดการลงทุนใน ภาคอุตสาหกรรมชิน้ สวนยานยนตในไทยขึน้ ได จึงตัดสินใจรวมกันจัดตัง้ ศูนยทดสอบ แบตเตอรี่สําหรับชารจไฟเพื่อใหเปนการผลิตแบตเตอรี่และปฏิบัติการทดสอบ เทาเทียมระดับโลก และยังสามารถสงออกไปยังนานาประเทศไดอกี ดวย ซึง่ จะเปน ประโยชนตอประเทศชาติในทุกๆ ดาน” สําหรับคุณสมบัติของแบตเตอรี่ลิเธียมนี้ เปนนวัตกรรมที่สามารถเก็บกัก พลังงานไดดี นํ้าหนักเบา และสามารถชารจซํ้าๆ ไดหลายครั้ง ซึ่งจากการทดสอบ แบตเตอรี่รถยนตไฟฟาไฮบริดสําหรับรถเบนซสามารถวิ่งไดระยะทางไกล 500 กิโลเมตร หรือวิง่ ระยะทางไกลทีส่ ดุ ตอการชารจไฟ 1 ครัง้ และกรณีหากผูข บั ขีต่ อ ง ขับอยูในถนนที่มีนํ้าทวมสูง การทํางานของแบตเตอรี่ลิเธียมที่มีมาตรฐานความ ปลอดภัยสูงที่สุดจึงสรางความปลอดภัยใหกับผูขับขี่ไดตลอดการเดินทาง ทั้งนี้ เนื่องจากลิเธียมเปนสวนประกอบหลักของแบตเตอรี่ เปนสารที่ทําปฏิกิริยากับ ออกซิเจนงายและอาจเกิดการติดไฟขึ้นได จึงตองมีการควบคุมกระบวนการผลิต การใชงานอยางมีประสิทธิภาพ การดูแลรักษาและการซอมบํารุงที่ถูกตอง “PTEC จัดตัง้ หองปฏิบตั กิ ารทดสอบแบตเตอรีท่ งั้ ในระดับเซลล โมดูล และ แบตเตอรีแ่ พ็ก และการจัดตัง้ หองปฏิบตั กิ ารทดสอบยานยนตไรคนขับแหงอนาคต แบบครบวงจรแหงแรกในประเทศไทย เชน การทดสอบประสิทธิภาพการชารจดิสชารจเพื่อประมาณอายุการใชงาน และการรับประกันอายุแบตเตอรี่ที่ยาวนาน การทดสอบความปลอดภัยของแบตเตอรีเ่ มือ่ เกิดการจมนํา้ จากสถานการณนาํ้ ทวม ถนนและการตกลงในนํ้า การทดสอบความปลอดภัยของแบตเตอรี่เมื่อขับบน ถนนทางลูกรัง ถนนดิน ซึง่ มีฝนุ มากของประเทศไทย รวมทัง้ การทดสอบสภาวะการ ทํางานของแบตเตอรีภ่ ายใตการเปลีย่ นแปลงอุณหภูมแิ บบทันทีทนั ใดจากรอนสูเ ย็น เพือ่ สงแบตเตอรีไ่ ปจําหนายตางประเทศ และการทดสอบการทํางานของแบตเตอรี่ ดวยการจําลองสภาวะการสัน่ สะเทือนการกระแทก เมือ่ ขับบนถนนขรุขระ การตกหลุม บอบนถนน ตกไหลทาง และกระแทกคอสะพาน เปนตน” ดร.ณรงค กลาว ดังนั้น PTEC สวทช. จึงเปนหองแล็บสําหรับปฏิบัติการทดสอบแบตเตอรี่ที่ จะชวยผลักดันใหเกิดอุตสาหกรรมพลังงานใหมในประเทศไทย โดยหองปฏิบตั กิ าร ที่ ไ ด ม าตรฐานสากลจะทํ า ให อุ ต สาหกรรมในประเทศประหยั ด ค า ทดสอบ คคาขนสง าขนสง สามารถแกไขปญหาผลิตภัณฑแบตเตอรีท่ ไี่ มเปนไปตามทีอ่ อกแบบ และเพื่อสนองนโยบายการสนับสนุนอุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม และ พัฒนาฐ นาฐานการผลิตแบตเตอรี่ใหเกิดในประเทศไทยอยางมีคุณภาพตาม มาตรฐ มาตรฐานสากล
ดร.ณรงค ศิริเลิศวรกุล 23
GREEN
GreenNetwork4.0 JJuly GreenNetwork4.0 July-August uly-Au 2019
GREEN
Focus นรินพร มาลาศรี ผูชํานาญการพิเศษ ฝายแผนและกํากับ การจัดหาพลังงาน สํานักงาน กกพ.
การสงเสริมใหมี
การติดตั้งโซลารรูฟ กับกาวตอไปของประเทศ
แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2561-2580 (เออีดพี ี 2018) ภายใตแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย (พีดพี ี 2018) มีการสงเสริมพลังงาน ทดแทน โดยสัดสวนการใชพลังงานทดแทนตอการใชพลังงานขั้นสุดทาย ในปลายแผน พ.ศ. 2580 ไมนอ ยกวารอยละ 30 ตามแผนพีดพี ี 2018 ซึง่ เปนการปรับเพิม่ สัดสวนการใช พลังงานทดแทนในภาคการผลิตไฟฟา และภาคการผลิตความรอน โดยมีโรงไฟฟาตาม แผนเออีดพี ี 2018 สําหรับพลังงานแสงอาทิตย (On-Grid) กําลังผลิตตามสัญญา 10,000 เมกะวัตต และโรงไฟฟาแสงอาทิตยแบบทุน ลอย 2,725 เมกะวัตต ทําใหแผนการผลิตไฟฟา จากพลังงานแสงอาทิตยทจี่ ะดําเนินการระหวางป พ.ศ. 2560-2580 ทีก่ าํ ลังผลิตตามสัญญา (Contract Capacity) 12,725 เมกะวัตต
1.
ภาพการผลิตไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตย ในประเทศไทย
ซึ่งขอมูลที่มิเตอรไฟฟาจัดเก็บจะใชในการติดตาม ตรวจสอบ บันทึกขอมูล ไฟฟาทีไ่ หลเขาและออก เพือ่ การจัดการบัญชีการจายเงินระหวางการไฟฟา และลูกคา นอกจากนี้ ขอมูลที่บันทึกไวยังสามารถนํามาวิเคราะหและใชในการ บริหารจัดการพลังงานไดอกี ดวย จากรูปแบบมาตรการสนับสนุนทีแ่ ตกตาง กัน อาทิ Net Metering, Net Billing, Self-Consumption Support Schemes มาตรการสนับสนุนการผลิตเองใชเอง เปนตน จึงมีรปู แบบการติดตัง้ มิเตอร ไฟฟากับระบบผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยทแี่ ตกตางกันตามลักษณะ รูปแบบมาตรการสนับสนุน รายละเอียดสามารถสรุปได ดังนี้ Single Phase Grid-Tied PV System - 2 Meters (1)
การสงเสริมผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตย (โซลารเซลล) ในสัดสวนมากทีส่ ดุ หรือเพิม่ ขึน้ อยูท ี่ 12,725 เมกะวัตต แบงเปนโครงการโซลารรฟู ท็อปภาคประชาชนทีเ่ ปด รับซื้อปละ 100 เมกะวัตต ตอเนื่อง 10 ป รวม 1,000 เมกะวัตต โครงการโซลารฟารม แบบทุน ลอยนํา้ รวมกับพลังนํา้ ของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) อยูท ี่ 2,725 เมกะวัตต สวนทีเ่ หลืออีก 9,000 เมกะวัตต ภายใตโครงการโซลาร (On Grid) จะเปดกวาง สําหรับโซลารเซลลในหลายรูปแบบ ซึ่งขึ้นอยูกับนโยบายและพัฒนาการของเทคโนโลยี ในอนาคตดวย
2.
ตัวแปรสําคัญที่นํามาใชกับโครงการการผลิตไฟฟา ดวยพลังงานแสงอาทิตยในประเทศไทยในระยะเวลา 10 ป
วันนี้ หากจะพูดถึงการผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยสําหรับบานอยูอาศัย ก็หนีไมพน ทีต่ อ งคุยกันเรือ่ งของมิเตอรไฟฟาหรือเครือ่ งวัดหนวยไฟฟาทีจ่ ะทําหนาทีบ่ นั ทึก ขอมูลไฟฟาที่เครื่องแปลงกระแสไฟฟาจายกําลังไฟฟาที่ผลิตไดออกมาเปน kWh ซึ่งจะ ทําใหเราทราบวาใน 1 วัน หรือ 1 เดือน สามารถผลิตไฟฟารวมไดเทาไร มิเตอรไฟฟานี้ จะติดตั้งไวที่กลองแสดงสภาวะของระบบ มิเตอรไฟฟาจะทําหนาที่บันทึกขอมูลที่ไดจาก ปริมาณการใชไฟฟาทีเ่ หลือใชภายในบาน และทีส่ ง ขายผานระบบจําหนายของการไฟฟา
24 24
รูปแบบที่ 1 มิเตอรหมายเลข 1 จะบันทึกหนวยไฟฟา (kWh) ที่รับ จากกริดหรือระบบการไฟฟา และมิเตอรหมายเลข 2 จะบันทึกหนวยไฟฟาที่ จายเขาสูร ะบบการไฟฟา ซึง่ ปริมาณไฟฟาทีส่ ามารถผลิตไฟฟาจากพลังงาน แสงอาทิตยทั้งหมดจะจายเขาสูระบบการไฟฟา โดยนําไปใชกับอัตรารับซื้อ ไฟฟา (Feed-in-Tariff : FiT)
GreenNetwork4.0 JJuly-August GreenNetwork4.0 uly-August 2019 220 019 1
Single Phase Grid-Tied PV System - Single Meter
3.
ปจจัยสูความสําเร็จ
รูปแบบที่ 2 เปนลักษณะของ Net Metering โดยมิเตอรสามารถเก็บ ขอมูลหนวยไฟฟาที่จายเขาสูระบบการไฟฟา และรับจากระบบการไฟฟา (Import-Export (Bi-Directional) Meter) โดยหักลบกลบหนวยไฟฟาภายใน หรือขามรอบบิล Single Phase Grid-Tied PV System - 2 Meters (2)
รูปแบบที่ 3 คลายกับรูปแบบที่ 2 เปนลักษณะของ Net Metering โดยมิเตอรหมายเลข 2 สามารถเก็บขอมูลหนวยไฟฟาที่ผลิตจากพลังงาน แสงอาทิตย และมิเตอรหมายเลข 1 เก็บขอมูลหนวยไฟฟาที่จายเขาสูระบบ การไฟฟาและรับจากระบบการไฟฟา (Import-Export Meter) Single Phase Grid-Tied PV Configuration for Large Systems
ดวยนโยบายรัฐบาลสนับสนุนใหประชาชนเขามามีบทบาทและรวมใน การผลิตไฟฟาใชเองและหากมีสว นเกินสามารถจําหนายใหกบั การไฟฟา ในรูปแบบ ของการผลิตไฟฟาดวยเซลลแสงอาทิตยที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) ซึง่ เชือ่ มตอกับระบบไฟฟาของการไฟฟาฝายจําหนาย ในระบบจําหนายดานแรงตํา่ 380/220 โวลต ผลจากการเชือ่ มตอระบบไฟฟาดวยเซลลพลังงานแสงอาทิตยเขา กับระบบจําหนายของการไฟฟาฝายจําหนายมีสวนทําใหอุปกรณในระบบจําหนาย และคุณภาพไฟฟากําลัง (Power Quality) ในระบบมีแนวโนมทีจ่ ะเปลีย่ นแปลงไป ทั้งในทิศทางที่ดีขึ้นหรือแยลงกวาเดิม หากการไฟฟามีการปรับปรุง พัฒนา หรือ นําเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาใชรวมกับการวางแผนพัฒนาระบบไฟฟาของตนเอง เพือ่ ลดผลกระทบทางเทคนิคตอระบบไฟฟาและทางการเงิน (รายได) ของการไฟฟา อยางไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงดังกลาวเปนสิ่งที่ภาคนโยบายควรนําไปบริหาร จัดการทัง้ ทางเทคนิคและการกําหนดโครงสรางคาไฟฟาทีเ่ หมาะสม ตามบริบทของ การเปลีย่ นแปลงอุตสาหกรรมพลังงานทีป่ ระเทศตางๆ ทัว่ โลกก็ตอ งรับมือกับการ เปลี่ยนแปลงนี้เชนกัน ดังนัน้ ระบบขอมูล Data Monitoring System จากมิเตอรไฟฟาหรือเครือ่ งวัด หนวยไฟฟาจะเปนกลไกสําคัญที่จะชวยเก็บขอมูลการผลิตไฟฟาจากพลังงาน แสงอาทิตยจากทุกระบบทีเ่ ชือ่ มตอกับการไฟฟา ควบคูไ ปกับการออกนโยบายสงเสริม เพือ่ ให กฟน. และ กฟภ. สามารถวางแผนปรับปรุงระบบจําหนาย และเพือ่ ให สนพ. และ กฟผ. สามารถคาดการณความตองการใชไฟฟาและบริหารจัดการ System Load Curve ซึ่งจะนําไปสูการวางแผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟา (Power Development Plan) ของประเทศไทย และการพัฒนาระบบโครงขายไฟฟาอัจฉริยะ (Smart Grid) ทีเ่ หมาะสมตอไปในอนาคตได โดยสามารถบูรณาการระหวางการสงเสริมพลังงาน หมุนเวียนและการลงทุนปรับปรุงระบบไฟฟา จะทําใหการเพิม่ ขึน้ ของโซลารรฟู ท็อป ไมเปนภาระตอระบบไฟฟาทัง้ ในดานทรัพยากรบุคคลและเงินลงทุน และเปนโครงขาย ไฟฟาที่ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารมาบริหารจัดการควบคุม การผลิต สง และจายพลังงานไฟฟา สามารถรองรับการเชื่อมตอระบบผลิตไฟฟาจากแหลง พลังงานทางเลือกสะอาด ที่กระจายอยูทั่วไปและระบบบริหารการใชสินทรัพยให เกิดประโยชนสูงสุด
รูปแบบที่ 4 เปนลักษณะของ Metering สําหรับ 3 เฟส มิเตอร หมายเลข 1 จะบันทึกหนวยไฟฟา (kWh) ทีร่ บั จากกริดหรือระบบการไฟฟา และมิเตอรหมายเลข 2 จะบันทึกหนวยไฟฟาทีจ่ า ยเขาสูร ะบบการไฟฟา โดย นําไปใชกับอัตรารับซื้อไฟฟา (Feed-in-Tariff : FiT) 25 25
GreeenNettwork4 GreenNetwork4.0 4.0 0 JJuly-August uly-A August 2019 2 19 20
เรือ่ งของการบริหารจัดการสิง่ แวดล้อมและความปลอดภัย “อย่างได้ผลนัน้ ” นอกจากจะต้องมี “นโยบาย” ทีช่ ดั เจนเป็น ลายลักษณ์อักษรแล้วเรายังจะต้องมีการวางแผนเพื่อจะได้น�ำไปสู่การปฏิบัติให้ได้ผลด้วย การวางแผนส�ำหรับระบบการบริหารจัดการสิง่ แวดล้อม (และความปลอดภัย) เพือ่ แก้ไขปัญหาด้านมลพิษ และเพือ่ การอนุรกั ษ์ สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน จึงควรมุ่งเน้นใน “หลักการป้องกัน” มากกว่าการแก้ไขที่ปลายเหตุ
GREEN
Industry ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี
การวางแผน
ด้านสิ่งแวดล้อม
การป้องกันไม่ให้เกิดปัญหามลพิษ จึงต้องเริม่ ต้นทีต่ น้ เหตุทจี่ ะท�ำให้ เกิดมลพิษด้านต่างๆ มีขั้นตอนในการระบุหรือชี้บ่งประเด็นด้านมลพิษ สิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดจากกิจกรรมต่างๆ กระบวนการผลิต รวมทัง้ ตัวผลิตภัณฑ์ และบริการและประเมินหาประเด็นทีท่ ำ� ให้เกิดผลกระทบต่างๆ เช่น วัตถุดบิ ที่ใช้ กระบวนการผลิตสินค้า ปริมาณน�้ำที่ใช้ จ�ำนวนสารเคมีที่ใช้ จ�ำนวน เศษซากที่เหลือ ขยะ น�้ำเสีย กลิ่น เป็นต้น เราจะต้องจัดท�ำขั้นตอนในการท�ำความเข้าใจกับกฎหมายและ ข้อก�ำหนดต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับปัญหาด้านสิง่ แวดล้อมทัง้ หมด โดยควรจัดท�ำ ทะเบียนกฎหมายและข้อก�ำหนดทีเ่ กีย่ วข้อง และมีการสือ่ สารให้หน่วยงานที่ เกีย่ วข้องสามารถน�ำไปปฏิบตั ไิ ด้ นอกจากนีย้ งั ต้องมีวธิ กี ารติดตามกฎหมาย และข้อก�ำหนดอืน่ ๆ ทีอ่ อกใหม่ หรือมีการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กีย่ วข้องกับประเด็น ด้านสิ่งแวดล้อมขององค์กรเรา
27
ในการก�ำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายให้สอดคล้องกับนโยบาย กฎหมาย และ ประเด็นด้านสิง่ แวดล้อม ทีม่ นี ยั ส�ำคัญก็ตอ้ งจัดท�ำเป็นลายลักษณ์อกั ษร โดยวัตถุประสงค์ ดังกล่าวควรมีความเฉพาะเจาะจงและชัดเจนทีส่ ดุ ส่วนเป้าหมายควรจัดท�ำเป็นเป้าหมาย รวม และมีการกระจายเป็นเป้าหมายย่อยในแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป้าหมายทีด่ คี วรจะยึดหลัก “SMART” ซึง่ จะต้องมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้ เป้าหมาย นัน้ จะต้องมีความ เฉพาะเจาะจง (Specific) วัดผลได้ (Measurable) บรรลุได้ (Achievable) สัมพันธ์กับนโยบาย (Relevant) และมีก�ำหนดเวลาแล้วเสร็จ (Time) เมื่อมีการวางแผนและท�ำการก�ำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ชัดเจนแล้ว ก็จะต้องมีการน�ำแผนงานด้านสิ่งแวดล้อมไปปฏิบัติให้เกิดประสิทธิผลตามเป้าหมาย โดยมีการกระจายเป้าหมายและชี้แจงท�ำความเข้าใจให้ผู้เกี่ยวข้องทุกคนรับทราบและ มีความเข้าใจตรงกัน เพื่อจะได้ร่วมกันด�ำเนินการตามแผนงานที่ก�ำหนดไว้ เราต้องก�ำหนดวิธกี ารเฝ้าติดตามผลการด�ำเนินงาน และการบันทึกผลการด�ำเนินงาน ตามแผนงานด้านสิง่ แวดล้อม โดยก�ำหนดการตรวจติดตามความคืบหน้าแผนงาน และสรุป ความคืบหน้าของผลการด�ำเนินงานเทียบกับแผนงาน ผูบ้ ริหารระดับสูงจะต้องท�ำการทบทวนและปรับปรุงวัตถุประสงค์ เป้าหมายและแผนงานด้านสิง่ แวดล้อมอย่างสม�ำ่ เสมอ เพือ่ ให้เหมาะสม กับสภาพสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงด้วย หากปรากฏว่าผลการด�ำเนินงานไม่เป็นไปตามแผนงาน เช่น ล่าช้า ผลทีไ่ ด้ไม่เป็นไปตามทีก่ ำ� หนด ไม่มกี ารด�ำเนินงานตาม แผน ก็จะต้องมีการวิเคราะห์หาสาเหตุแล้วก�ำหนดมาตรการ หรือวิธีการแก้ไข น�ำมาทบทวนและปรับปรุงแผนงาน เพือ่ จะได้ดำ� เนินการอย่างได้ผลและบรรลุเป้าหมายต่อไป ในอนาคตหากมีการพัฒนา หรือเปลีย่ นแปลงกิจกรรม กระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์ หรือบริการใหม่ เราก็จะต้องทบทวนแผนงานด้าน สิ่งแวดล้อมให้สอดคล้องตามเหตุการณ์ที่เปลี่ยนไปอยู่เสมอ ทัง้ หมดทัง้ ปวงนี้ ก็หนี “วงจรแห่งการปรับปรุงของเดมมิง่ ” (Deming Circle) ไม่พน้ ก็คอื วางแผน (Plan) ลงมือท�ำ (Do) ตรวจสอบผล (Check) และปรับปรุงให้ได้ตามแผน (Action) หรือ “วงจร” PDCA ครับผม!
GreenNetwork4.0 July-August 2019
ถ่านอัดแท่ง
GREEN
LAMBOOCHAR
Focus กองบรรณาธิการ
เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีและ สร้างชุมชนเข้มแข็ง
“ไผ่” พืชทีใ่ ห้ประโยชน์ในทุกๆ ส่วน และเป็นพืชทีไ่ ด้รบั การส่งเสริมให้ปลูก เพือ่ แก้ไขปัญหาการบุกรุกพืน้ ทีป่ า่ ของชาวบ้าน รวมทัง้ คืนผืนป่าให้แก่ธรรมชาติดว้ ย วิโรจน์ ธีรวัฒน์วาที กรรมการผู้จัดการ บริษัท สหโคเจน (ชลบุรี) จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า จากการทีบ่ ริษทั ให้การสนับสนุน “โครงการประชารัฐ ปลูกไผ่ คืนผืนป่า สร้างอาชีพ” มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 สืบเนื่องจากพื้นที่ป่าทั่วประเทศ ถูกบุกรุกพืน้ ทีป่ า่ ลดลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในเขตภาคเหนือจังหวัดล�ำปางและ น่าน แต่การจะน�ำประชาชนออกจากพื้นที่ป่าก็จะประสบปัญหามากมาย ดังนั้น การด�ำเนินโครงการจึงต้องรักษาสมดุลระหว่างการน�ำประชาชนออกจากพื้นที่ป่า และสร้างรายได้ให้แก่ผู้ที่ออกจากพื้นที่ป่า โดยการสนับสนุนให้ปลูกไผ่ซึ่งเป็นพืช ที่โตได้เร็วและสามารถน�ำมาท�ำประโยชน์ได้ “ชาวบ้านได้นำ� ไผ่ไปท�ำประโยชน์หลายอย่าง แต่ปญ ั หาคือข้อไผ่ซงึ่ เป็นส่วน ที่ไม่สามารถน�ำไปท�ำประโยชน์ได้ ต้องเผาทิ้ง หากเผามากๆ ก็สร้างมลพิษให้กับ สิง่ แวดล้อม ชาวบ้านมาปรึกษากับบริษทั ว่าจะท�ำอย่างไร ผมจึงน�ำโจทย์นไี้ ปปรึกษากับ ทางศูนย์เชือ้ เพลิงและพลังงานจากชีวมวล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทางอาจารย์ก็ท�ำการทดลองทดสอบจนได้ถ่านอัดแท่ง LAMBOOCHAR เป็นถ่าน เชือ้ เพลิงคุณภาพสูง ปลอดภัยต่อสุขภาพ และเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม มีคณ ุ สมบัติ ทีเ่ ผาไหม้ได้นานกว่า 2 ชัว่ โมง ให้ความร้อนสม�ำ่ เสมอด้วยปลอดควันและมีเถ้าน้อย” จากคุณสมบัติดังกล่าว ถ่านอัดแท่ง LAMBOOCHAR จึงเหมาะส�ำหรับ การประกอบอาหารในครัวเรือน ร้านอาหาร ภัตตาคาร โรงแรม และการเผาไหม้ เพือ่ ให้ความร้อนทัว่ ไป นอกจากนัน้ เพือ่ ต่อยอดถ่านอัดแท่งให้เกิดประโยชน์สงู สุด และสร้างอาชีพให้แก่เกษตรอย่างยัง่ ยืน ได้มกี ารน�ำถ่านไปแปรรูปเป็นผงบ้าง เป็น แท่งในขนาดพอเหมาะบ้าง แล้วบรรจุลงในบรรจุภณ ั ฑ์ทสี่ วยงามให้เป็นของทีร่ ะลึก หรือของฝากได้ และสามารถดูดซับกลิ่นได้ดี การ ต่อยอดเช่นนี้นอกจากสร้าง มูลค่าเพิ่มให้ข้อไผ่แล้ว ยังเป็นการสร้างงาน ให้แก่ชุมชนอีกด้วย
“เวลานี้บริษัทได้ร่วมกับทางคณะวิทยาศาสตร์จุฬาฯ วิจัยค้นคว้าเพิ่มเติม เพื่อสร้างมูลค่าโดยท�ำเป็นถ่านกัมมันต์ที่สามารถน�ำไปใช้กับภาคอุตสาหกรรม ได้ด้วย รวมทั้งมีการปรับปรุงประสิทธิภาพเตาเผาให้เป็นเตาประสิทธิภาพสูง เผาได้คราวละมากๆ และต้องไม่มคี วันส่วนเกินทีเ่ กิดจากการเผา เพือ่ ให้เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง” วิโรจน์ กล่าวเพิ่มเติม อนึ่ง ถ่านอัดแท่ง LAMBOOCHAR ได้รับรางวัลรองชนะเลิศการประกวด ผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ประจ�ำปี 2562 (Thailand Green Design Award 2019) ประเภทการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ กลุม่ ผูป้ ระกอบการ และบริษทั เอกชน จัดโดยสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตร และอุตสาหกรรม เกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิโรจน์ ธีรวัฒน์วาที ส่วนบรรจุภณ ั ฑ์ถา่ นข้อไม้ไผ่ดดู กลิน่ (LAMBOO CHAR) ทีอ่ อกแบบโดยเลียนแบบต้นไผ่ทงั้ แบบและสี ได้รบั รางวัลชนะเลิศ อันดับ 1 จากการประกวด ThaiStar Award 2019 ประเภท ต้นแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการจัดจ�ำหน่าย ส�ำหรับสินค้าทั่วไป 28
GreenNetwork4.0 July-August 2019
กระทรวงดิจิทัลฯ หนุน
Asia IoT Business Platform พัฒนาสู่โครงการ
SMART
City
กองบรรณาธิการ
Smart City
การพัฒนาโครงการเมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City ของไทย ภายใต้โครงการพัฒนาระเบียง เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ได้รบั การรับรองจากกระทรวงเศรษฐกิจ ดิจทิ ลั และสังคมแห่งประเทศไทย และส�ำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั สนับสนุน การจัดงาน Asia IoT Business Platform ครั้งที่ 25 โดยมุ่งเน้นด้าน Smart City ตามนโยบาย Thailand 4.0 Initiatives ที่เกี่ยวกับ Internet of Things (IoT) ของ องค์กรท้องถิ่น และหน่วยงานบริการสาธารณะ เมือ่ เร็วๆ นี้ ได้มพี ธิ เี ปิดงาน Asia IoT Business Platform โดยมี อัจฉรินทร์ พัฒนพันธ์ชยั ปลัดกระทรวง ดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสังคม กล่าวปาฐกถาว่า “ภาครัฐ ประเทศไทยมีความพร้อมส�ำหรับยุคใหม่ของดิจิทัล และให้ความส�ำคัญกับการสร้างรากฐานดิจิทัลใน อุตสาหกรรมเกือบทุกประเภท ซึง่ ทางส�ำนักงานส่งเสริม อัจฉรินทร์ เศรษฐกิจดิจิทัล หรือ DEPA ได้มีโครงการต่างๆ เพื่อ พัฒนพันธ์ชัย สนับสนุนให้ภาคอุตสาหกรรมน�ำกลยุทธ์ดิจิทัลมาใช้ โดยเดินหน้าในจังหวัดเมืองท่องเทีย่ วทัง้ 4 ภาค เช่น เชียงใหม่ ขอนแก่น ชลบุรี และ ภูเก็ต เพือ่ เป็นแพลตฟอร์มการศึกษาทีส่ ร้างขึน้ โดยอุตสาหกรรมเพือ่ อุตสาหกรรม ทีจ่ ะช่วยให้องค์กรต่างๆ เข้าใจ และเรียนรูเ้ กีย่ วกับการน�ำเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใช้กบั ธุรกิจของตน และเพือ่ น�ำเทคโนโลยี IoT มาใช้ในการแก้ไขปัญหาสังคมเมืองให้เป็น เมืองอัจฉริยะด้วยโปรแกรมดิจิทัลด้วย” ทั้งนี้ งาน Asia IoT Business Platform เป็นการรวมตัวที่ใหญ่ที่สุดใน อุตสาหกรรมดิจิทัล ซึ่งได้จัดแสดงเทคโนโลยีนวัตกรรมดิจิทัลจากบริษัทชั้นน�ำ ทัว่ โลก รวมไปถึงหน่วยงานราชการ บริษทั โทรคมนาคม และผูใ้ ห้บริการเทคโนโลยี Internet of Things (IoT) เพื่อให้องค์กรหรือหน่วยงานต่างๆ ในประเทศไทย น�ำเทคโนโลยีดิจิทัลใช้เป็นข้อมูลที่สามารถตอบโจทย์แบบวิเคราะห์ระดับเชิงลึก และการใช้อปุ กรณ์ดจิ ทิ ลั เพือ่ การพัฒนากระบวนการท�ำงาน/การผลิต และการน�ำ เครือ่ งจักรมาใช้ ซึง่ ข้อมูลเหล่านีจ้ ะช่วยให้หน่วยงานในประเทศไทยอยูใ่ นการตลาด การแข่งขัน และด�ำเนินการให้สอดคล้องเป็นไปตามการขับเคลื่อนเศรษฐกิจกับ ยุทธศาสตร์ชาติ Thailand 4.0 ดร.ศุภกร สิทธิไชย ผู้อ�ำนวยการฝ่ายส่งเสริมเมืองอัจฉริยะ ส�ำนักงาน ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจทิ ลั กล่าวว่า “หนึง่ ในภารกิจของเราคือการส่งเสริมและสนับสนุน 29
องค์ ก รท้ อ งถิ่ น ใน อุตสาหกรรมต่างๆ เพือ่ ช่วย ให้เกิดการพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ซึง่ ทีผ่ า่ นมา ผูป้ ระกอบการไทยในท้องถิน่ ได้รบั โอกาสในการแบ่งปัน โครงการที่ด�ำเนินการอยู่ และเปิดตัวเองให้รู้จักกับ กลยุทธ์ดจิ ทิ ลั เป็นการเพิม่ การมีสว่ นร่วมกับระบบดิจทิ ลั ดร.ศุภกร สิทธิไชย ของเศรษฐกิจในประเทศไทย โดย DEPA ของเราจะเป็น ศูนย์กลางในการบริการดิจิทัลเพื่อการเชื่อมโยงพื้นที่ที่ได้รับการส่งเสริมจาก EEC รวมถึงการเชือ่ มโยงส่งเสริมพัฒนาคน พันธมิตร ร่วมกับมหาวิทยาลัย ไม่วา่ จะเป็น กลุม่ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคอุตสาหกรรม ภาคการศึกษา ทีต่ อ้ งเกิดความร่วมมือ กันพัฒนาเมืองให้เป็น Smart City ซึง่ จะเป็นข้อมูลแบบอัจฉริยะ และรวมถึงบริหาร จัดการขยะของเมืองเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมของเมืองให้น่าอยู่” อิลซ่า สุพบั โต ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร Asia IoT Business Platform ซึ่งเป็นผู้น�ำด้านการพัฒนา โปรแกรมธุรกิจชัน้ น�ำของเอเชีย กล่าวว่า “ผลการส�ำรวจ จากผู้เชี่ยวชาญด้านธุรกิจและเทคโนโลยีของคน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เชื่อว่า ในอุตสาหกรรมการ ผลิตได้ใช้เครื่องมือดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ 80% อิลซ่า สุพับโต ในขณะที่อุตสาหกรรมค้าปลีกมีการน�ำเทคโนโลยี มาใช้เพียง 68.2% ดังนัน้ การจัดงานในครัง้ นีจ้ ะท�ำให้ องค์กรต่างๆ เชือ่ มต่อกันด้วยระบบอัตโนมัติ การวิเคราะห์ขอ้ มูลขัน้ สูง และเครือ่ งมือ ดิจทิ ลั อืน่ ๆ เป็นการน�ำเทคโนโลยีมาใช้เพือ่ ความแตกต่างกันไปตามแต่ละอุตสาหกรรม ซึง่ เล็งเห็นว่าประชากรคนไทยเป็นหนึง่ ในประเทศภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่มีความก้าวหน้าที่สุดในด้านการเข้าถึงและความเร็วของอินเทอร์เน็ต โดยอยู่ใน อันดับสองรองจากประเทศสิงคโปร์” อย่างไรก็ดี Big Data และ AI ถือว่าเป็นสุดยอดเทคโนโลยีที่จะเป็นตัวช่วย ด�ำเนินธุรกิจ และน�ำไปสูก่ ารเปลีย่ นแปลงครัง้ ใหญ่ของการปฏิรปู ระบบดิจทิ ลั ภายใน องค์กร และในส่วนของภาครัฐยังได้ลงทุนโครงสร้างพื้นฐานทั้งโปรแกรมและ เครือ่ งมือให้ความส�ำคัญกับการสร้างรากฐานดิจทิ ลั ในอุตสาหกรรม ซึง่ ทัง้ เป้าหมาย ระยะสัน้ ด้วยการส่งเสริมการรวมระบบดิจทิ ลั ในระดับชาติ และให้โอกาสทีเ่ ท่าเทียม กันส�ำหรับคนไทยตามแผนการพัฒนาระยะยาว 20 ปีอีกด้วย
GreenNetwork4.0 July-August 2019
GREEN
Scoop กองบรรณาธิการ
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ศูนย์บริการวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ โครงการ อนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และ หน่วยบัญชาการ สงครามพิเศษทางเรือ กองทัพเรือ ได้รว่ มมือกันด�ำเนินโครงการ โครงการการเพาะขยายพันธุป์ ะการังแบบอาศัยเพศแบบผสมเทียม และการเก็บสเปิร์มโดยการแช่เยือกแข็ง ซึ่งการด�ำเนินการได้ประสบผลส�ำเร็จอย่างดียิ่ง เมื่อเร็ว ๆ นี้ทางคณะท�ำงานได้แถลงข่าว เรือ่ ง “ครัง้ แรกของโลก...นักวิทย์ไทยเพาะปะการังชนิดโต๊ะแบบพุม่ ด้วยสเปิรม์ แช่เยือกแข็ง” โดยมี รศ.ผุสตี ปริยานนท์ ทีป่ รึกษา จากโครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ รองผูบ้ ญ ั ชาการหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ กองเรือ ยุทธการ กองทัพเรือ ศ. ดร.พลกฤษณ์ แสงวณิช คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ รศ. ดร.ทวีวงศ์ ศรีบรุ ี กรรมการผูอ้ ำ� นวยการ ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาฯ รศ. ดร.วรณพ วิยกาญจน์ หัวหน้าภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ และ รศ. ดร.สุชนา ชวนิชย์ รองกรรมการผูอ้ ำ� นวยการศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาฯ และอาจารย์ประจ�ำภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ เข้าร่วมแถลงข่าวในครั้งนี้ด้วย
นักวิจัยเพาะปะการังโต๊ะแบบพุ่ม จากสเปิร์มแช่เยือกแข็ง ลดเสี่ยงปะการังสูญพันธุ์ โครงการการเพาะขยายพันธุ์ปะการังแบบอาศัยเพศแบบผสมเทียมและ การเก็บสเปิร์มโดยการแช่เยือกแข็ง ของกลุ่มการวิจัยชีววิทยาแนวปะการัง มี รศ. ดร.วรณพ วิยกาญจน์ หัวหน้าภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ และ รศ. ดร.สุชนา ชวนิชย์ เป็นผูร้ บั ผิดชอบและด�ำเนินการโครงการ โดย ได้รับความร่วมมือและการสนับสนุนจาก หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ กองเรือยุทธการ กองทัพเรือ ภายใต้โครงการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมพืชอันเนือ่ งมาจาก พระราชด�ำริกรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สนองพระราชด�ำริ โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จนถึงปัจจุบัน โครงการได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการด�ำเนินการ จากหลายฝ่าย ทัง้ ภาคเอกชน ภาครัฐ รวมถึงจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และทีส่ ำ� คัญ โครงการสามารถประสบความส�ำเร็จด้วยความร่วมมือร่วมใจของนิสิตและผู้ช่วย วิจยั ทุกคนจากกลุม่ การวิจยั ชีววิทยาแนวปะการัง ทัง้ ทีส่ ำ� เร็จการศึกษาแล้ว รวมถึง ผูท้ อี่ ยูร่ ะหว่างการศึกษาทุกระดับ ทัง้ ปริญญาตรี โท เอก ร่วม 50 ชีวติ และปัจจุบนั กลุม่ การวิจยั ฯ ได้ให้ความร่วมมือกับกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ในการน�ำ วิธีการเพาะขยายพันธุ์ปะการังแบบอาศัยเพศเป็นอีกวิธีการหนึ่งในการฟื้นฟู แนวปะการังในประเทศไทย
30
การวิจยั ชีววิทยาแนวปะการัง ประสบความส�ำเร็จเป็นครัง้ แรกของประเทศ ในปี พ.ศ. 2549 ในการเพาะขยายพันธุป์ ะการังทีม่ าจากการสืบพันธุแ์ บบอาศัยเพศ โดยน�ำไข่และสเปิร์มของปะการังมาผสมในระบบเพาะฟัก (การผสมเทียม) กลุ่ม การวิจยั ฯ ได้เฝ้าติดตามผลการน�ำตัวอ่อนปะการังทีผ่ ลิตได้จากการเพาะขยายพันธุ์ ด้วยวิธีดังกล่าวในแต่ละปี มาศึกษาระยะเวลาที่เหมาะสมที่สุดในการอนุบาล ตัวอ่อนปะการังภายในระบบเลี้ยงก่อนที่จะน�ำกลับคืนถิ่นสู่ทะเล โดยมุ่งหวังให้ ตัวอ่อนปะการังเหล่านัน้ มีการเติบโตและอัตรารอดสูงสุด และได้มกี ารท�ำวิจยั อย่าง ต่อเนื่องเพื่อพัฒนาเทคนิคการเพาะพันธุ์ปะการังแบบอาศัยเพศ เพื่อหาแนวทาง ในการอนุรักษ์และฟื้นฟูปะการังที่เสื่อมโทรมภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาวะ แวดล้อมของโลก ซึง่ ในปีทแี่ ล้วกลุม่ การวิจยั ฯ ประสบความส�ำเร็จในการน�ำสเปิรม์ ของปะการังโต๊ะแบบพุ่ม Acropora Humilis มาผ่านกรรมวิธีการแช่เยือกแข็งใน ไนโตรเจนเหลว และน�ำกลับมาผสมใหม่กบั ไข่ปะการัง ซึง่ เป็นการท�ำส�ำเร็จครัง้ แรก ของโลกของปะการังโต๊ะชนิดนี้ และได้มกี ารตีพมิ พ์ลงในวารสารวิจยั ระดับนานาชาติ แล้ว ทัง้ นีง้ านวิจยั ดังกล่าวเป็นการท�ำวิจยั ร่วมกับนักวิจยั ชาวไต้หวันด้วย ความส�ำเร็จ ของการน�ำสเปิร์มของปะการังมาผ่านกรรมวิธีการแช่เยือกแข็งนั้น จะช่วยท�ำให้ สามารถเก็บรักษาสเปิร์มได้นานขึ้น และสามารถน�ำมาผสมกับไข่ปะการังได้ใน ช่วงเวลาและฤดูกาลที่ต้องการและเหมาะสมต่อไป
GreenNetwork4.0 July-August 2019
รศ. ดร.สุชนา ชวนิชย์ รองกรรมการ ผู ้ อ� ำ นวยการ ศู น ย์ บ ริ ก ารวิ ช าการแห่ ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และอาจารย์ ประจ� ำ ภาควิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ ท างทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า ปะการังโดยทั่วไปมีการผสมพันธุ์ แบบอาศัยเพศเพียงปีละครั้ง โดยส่วนใหญ่ เป็นการปล่อยเซลล์สบื พันธุ์ (ไข่และสเปิรม์ ) รศ. ดร.สุชนา ชวนิชย์ ออกมาผสมกันในมวลน�้ำ ซึ่งกลุ่มการวิจัยฯ ได้น�ำหลักการดังกล่าวมาใช้ในการเพาะ ขยายพันธุป์ ะการังแบบอาศัยเพศ โดยเก็บเซลล์สบื พันธุป์ ะการังทีถ่ กู ปล่อยออกมา ตามธรรมชาติ แล้วน�ำไปปฏิสนธิโดยการผสมเทียมเพื่อเพาะฟักในระบบเพาะฟัก ปะการัง ซึ่งการน�ำเทคนิคใหม่มาใช้โดยการเก็บสเปิร์มโดยการแช่เยือกแข็งนั้น จะท�ำให้สามารถผสมพันธุป์ ะการังได้ปลี ะหลายครัง้ เพิม่ ขึน้ รวมทัง้ เป็นการป้องกัน การสูญพันธุข์ องปะการังอีกด้วย เนือ่ งจากในปัจจุบนั อุณหภูมขิ องโลกได้สงู ขึน้ ท�ำให้ ปะการังหลายชนิดไม่สามารถปล่อยเซลล์สบื พันธุแ์ ละผสมกันตามธรรมชาติเองได้ ดังนัน้ การผสมเทียม รวมทัง้ การน�ำเทคนิคการเก็บสเปิรม์ โดยการแช่เยือกแข็งมา ใช้จะสามารถแก้ไขปัญหานีไ้ ด้ โดยปกติอตั รารอดของปะการังทีม่ าจากการสืบพันธุ์ แบบอาศัยเพศตามธรรมชาติมคี า่ ประมาณร้อยละ 0.01 หรือต�ำ่ กว่า ขณะทีใ่ นการ เพาะขยายพันธุ์ปะการังแบบอาศัยเพศด้วยวิธีการผสมเทียมดังกล่าว มีอัตราการ ปฏิสนธิของปะการังสูงกว่าร้อยละ 98 และมีอตั รารอดขณะท�ำการอนุบาลในระบบ เลี้ยงจนมีอายุประมาณ 2 ปี ที่ร้อยละ 40-50 ด้าน ดร.วิรัลดา ภูตะคาม นักวิจัย อาวุโส ศูนย์โอมิกส์แห่งชาติ ส�ำนักงาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยศูนย์พนั ธุวศิ วกรรมและเทคโนโลยีชวี ภาพ แห่งชาติ (ไบโอเทค) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ได้รว่ มกับ ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาทรัพยากรทาง ทะเลและชายฝั่งทะเล กรมทรัพยากรทาง ดร.วิรัลดา ภูตะคาม ทะเลและชายฝั่ง ศึกษาวิจัย “กระบวนการ ตอบสนองของปะการังต่อการเพิ่มอุณหภูมิ ของน�้ำทะเลและการประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของปะการังใน น่านน�้ำไทยเพื่อการอนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศใต้ท้องทะเลลอย่างยั่งยืน” ดร.วิรัลดา และคณะวิจัย มุ่งเน้นการน�ำเทคโนโลยีทางจีโนมิกส์และ ทรานสคิปโตมิกส์เข้ามาช่วยตอบโจทย์แนวปะการังฟอกขาวในอ่าวไทยและ ท้องทะเลอันดามัน อันเนือ่ งมาจากการเพิม่ อุณหภูมขิ องน�ำ้ ทะเล โดยใช้เทคโนโลยี Pacific Biosciences (PacBio) Sequencing ซึ่งอ่านล�ำดับเบสได้ยาวและถูกต้อง แม่นย�ำ ในการค้นหาข้อมูลล�ำดับเบส 16S rRNA และ Internal Transcribed Spacer Sequence (Bacteria) วิธนี ดี้ กี ว่าการประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมแบบ ดั้งเดิม ซึ่งเป็นวิธีที่ช้า ให้ผลไม่ค่อยแม่นย�ำ และซ�้ำได้ยากอีกด้วย โดยเป็นกลุม่ นักวิจยั แรกๆ ของโลกทีเ่ ริม่ ศึกษาบทบาทของจุลนิ ทรียท์ อี่ าศัย ร่วมกับปะการังต่อการอยู่รอดของปะการังในช่วงที่อุณหภูมิของน�้ำทะเลสูงขึ้น ข้อมูลความหลากหลายทางพันธุกรรมของปะการังและสิง่ มีชวี ติ ทีอ่ าศัยอยูก่ บั ปะการัง สามารถใช้ประเมินโอกาสการอยูร่ อดของปะการังแต่ละสปีชสี ไ์ ด้เมือ่ สภาวะแวดล้อม เกิดการแปรปรวนในอนาคต นอกจากนีย้ งั ได้ศกึ ษาการเปลีย่ นแปลงการแสดงออก ของยีนในปะการังเมื่ออุณหภูมิน�้ำทะเลสูงขึ้น เฟ้นค้นหาเครื่องหมายโมเลกุลแบบ สนิปส�ำหรับใช้ในการคัดเลือกปะการังโคโลนีทที่ นต่อการเพิม่ อุณหภูมขิ องน�ำ้ ทะเล ซึ่งกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งสามารถน�ำไปใช้คัดเลือกปะการังโคโลนีที่ ทนร้อน (ไม่แสดงอาการฟอกขาวหรือฟอกขาวน้อย) เพือ่ ท�ำการขยายกิง่ พันธุป์ ะการัง ก่อนท�ำการย้ายปลูกกลับทะเล ภายใต้โครงการอนุรกั ษ์และฟืน้ ฟูแนวปะการังของ กรมทรัพยากรและทะเลชายฝั่ง 31
ดร.ซี มาร์ก เอกิน ศูนย์วิจัยการ ประยุกต์ใช้ดาวเทียมในการส�ำรวจสถานภาพ แนวปะการัง องค์การบริหารมหาสมุทรและ ชัน้ บรรยากาศแห่งชาติ (National Oceanic and Atmospheric Administration : NOAA) ได้กล่าวถึงสถานการณ์ปะการังว่า แนวปะการัง เป็นพื้นที่ท่ีมีความหลากหลายทางชีวภาพ สูงมาก ถึงแม้ปะการังจะครอบคลุมพื้นที่ ดร.ซี มาร์ก เอกิน ใต้ทะเลแค่ประมาณ 1% ของพื้นที่ใต้ทะเล ทั้งหมด แต่สิ่งมีชีวิตในทะเลมากกว่า 25% ใช้ประโยชน์จากปะการัง จากการศึกษาระหว่างปี พ.ศ. 2557-2558 พบว่า เกิดปะการังฟอกขาวเป็นจ�ำนวนมาก สาเหตุเกิดจากอุณหภูมิของน�้ำทะเลที่สูงขึ้น อันเนื่องมาจากภาวะโลกร้อน อีกทั้งอุณหภูมิโลกที่สูงขึ้นยังเป็นสาเหตุของการ เกิดโรคระบาดในปะการัง มีผลท�ำให้มปี ะการังตายเพิม่ ขึน้ และท�ำให้เกิดปะการัง ฟอกขาวถี่ขึ้นด้วย
ปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว คือภาวะทีป่ ะการังมีสซี ดี ขาวจางจนมองเห็น เป็นสีขาว ซึ่งเป็นผลมาจากการสูญเสียสาหร่าย Symbiodinium ซึ่งปะการังกับ สาหร่ายจะอยูร่ ว่ มแบบพึง่ พากัน ปะการังจะเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยทีป่ ลอดภัยของสาหร่าย ขณะเดียวกันสาหร่ายจะช่วยสังเคราะห์แสงสร้างอาหารและคาร์บอนให้แก่ปะการัง รวมทั้งสร้างสีสันที่สวยงามให้ปะการังด้วย เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น สาหร่ายจะผลิต ออกซิเจนในปริมาณมาก ซึง่ เป็นพิษต่อเนือ้ เยือ่ ของปะการัง ปะการังจึงขับสาหร่าย ออกจากเนือ้ เยือ่ เพือ่ ลดปริมาณออกซิเจน ปะการังจึงเหลือเพียงสีขาวของโครงสร้าง หินปูนที่อยู่ภายใน จึงเป็นที่มาของ “ปะการังฟอกขาว” นั่นเอง จากการก�ำกับดูแลโปรแกรม Coral Reef Watch ซึ่งเป็นโปรแกรมการ ติดตามระบบนิเวศของแนวปะการังผ่านดาวเทียม NOAA และการสังเกตการณ์ อุณหภูมนิ ำ�้ ทะเล พบว่า ปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวมีแนวโน้มรุนแรงขึน้ เกิดถี่ มากขึน้ โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2559 เกิดปะการังฟอกขาวครัง้ ใหญ่ที่ Great Barrier Reef แนวปะการังที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีปะการังตายถึง 29% “ส�ำหรับประเทศไทยในปี พ.ศ. 2562 พบว่า มีปะการังฟอกขาวที่เกาะเต่า แต่โดยรวมอาจจะไม่รุนแรงเท่าปี พ.ศ. 2559 กอปรกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ ความใส่ใจเรื่องเฝ้าระวังและการรักษ์สิ่งแวดล้อมในระดับดี เมื่อมีแนวโน้มจะเกิด ปะการังฟอกขาว หน่วยงานที่รับผิดชอบจะสั่งปิดอ่าวทันที ซึ่งเป็นสิ่งที่ถูกต้อง” ดร.เอกิน กล่าวเสริม อย่างไรก็ตาม การป้องกันเพือ่ ลดการฟอกขาวและคุม้ ครองแนวปะการังอย่าง จริงจังคือ 1. ลดภาวะโลกร้อน ลดปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ 2. ลดกิจกรรม ทีไ่ ปรบกวนแนวปะการัง เช่น การเปิดพืน้ ทีด่ ำ� น�ำ้ ดูปะการังเพือ่ ช่วยให้ปะการังฟืน้ ฟู ตัวเอง 3. กระตุ้นจิตส�ำนึกในการอนุรักษ์อย่างเข้มแข็งและจริงจัง
GreenNetwork4.0 July-August 2019
Challenge กองบรรณาธิการ
รถยนต์ BMW เดินหน้าโครงการ
พัฒนาบุคลากรด้านยานยนต์
ปูรากฐานทักษะวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์
ด
32
(Automated Guided Vehicle : AGV) กับนักศึกษาวิชาชีพชาวเยอรมัน รวมถึง ได้ร่วมทัวร์โรงงานของบีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป ในเมืองเบอร์ลินอีกด้วย ถือเป็นการ สนับสนุนให้นักศึกษาได้เรียนรู้เชิงลึกทางเทคนิคผ่านประสบการณ์ในการสัมผัส นวัตกรรมระดับโลก ทางด้าน รศ. ดร.คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ รักษาการอธิการบดี สถาบัน เทคโนโลยีจติ รลดา กล่าวว่า “สถาบันเทคโนโลยีจติ รลดามุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนาบุคลากร ทีม่ คี ณ ุ ภาพออกสูส่ งั คม และเล็งเห็นว่าการให้การอบรมแก่ นักศึกษาผ่านศูนย์ฝึกอบรมและโอกาสร่วมปฏิบัติงาน จริงกับช่างเทคนิคผู้เชี่ยวชาญจากบริษัทยานยนต์ ชั้นน�ำระดับโลกเป็นสิ่งส�ำคัญที่จะช่วยให้นักศึกษา ทีจ่ บหลักสูตรด้านยานยนต์สามารถประกอบอาชีพ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เสริมด้วยประสบการณ์ ร.ค ห ร ภาคปฏิบัติที่น�ำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างรอบด้าน ต้อง ุ หญ ณ ฑา พ ง ิ ณ สุ ม ขอขอบคุณบีเอ็มดับเบิลยู กรุป๊ แมนูแฟคเจอริง่ ประเทศไทย ที่เห็นความส�ำคัญและให้การสนับสนุนการศึกษาที่เน้นการพัฒนาความสามารถ ของอาชีวศึกษาไทยอย่างยั่งยืน” ทัง้ นี้ โรงเรียนจิตรลดาวิชาชีพ สถาบันเทคโนโลยีจติ รลดา เปิดสอนในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ในสาขาต่างๆ เช่น สาขาวิชาไฟฟ้าก�ำลัง อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องมือกล ยานยนต์ เมคคาทรอนิกส์ เทคโนโลยีระบบสมองกลฝังตัว โดยเน้นฝึกฝนทักษะและความ สามารถที่สอดคล้องกับภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งปลูกฝังให้นักศึกษามีคุณธรรม ในวิชาชีพ เพื่อปูทางส�ำหรับการท�ำงานต่อไปในอนาคต นอกจากนี้ ส�ำหรับโครงการการศึกษาระบบทวิภาคีทมี่ งุ่ เน้นการสร้างเสริม ความรู้ความสามารถในด้านวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ ภายใต้ความร่วมมือกับ สถาบันเทคโนโลยีจติ รลดานัน้ ริเริม่ มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2558 มีนกั ศึกษาจากโรงเรียน จิตรลดาวิชาชีพ สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดาเข้าร่วมโครงการทั้งสิ้น 24 คน ซึง่ ได้รบั ประสบการณ์จากการฝึกปฏิบตั งิ านจริงกับช่างเทคนิคผูเ้ ชีย่ วชาญ เมือ่ ผ่าน การทดลองปฏิบตั งิ านในระหว่างทีร่ ว่ มโครงการ พวกเขาจะได้รบั โอกาสในการเข้า ท�ำงานกับบีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป แมนูแฟคเจอริ่ง ประเทศไทย รวมถึงผู้จ�ำหน่าย บีเอ็มดับเบิลยูอย่างเป็นทางการ โครงการนี้จึงเป็นการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ทีส่ ำ� คัญต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ของไทย และเสริมศักยภาพของประเทศในฐานะ ศูนย์กลางการผลิตยานยนต์ของภูมิภาคอาเซียนต่อไป
รศ.
นับเป็นความร่วมมือของการยกระดับความสามารถบุคลากรด้านยานยนต์ ไปสู่ระดับสากล โดยเมื่อเร็วๆ นี้ ได้มีพิธีร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ภายใต้ “โครงการพัฒนาบุคลากรด้านยานยนต์ BMW Dual Excellence Program” ระหว่าง บริษทั บีเอ็มดับเบิลยูแมนูแฟคเจอริง่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ร่วมกับ สถาบัน เทคโนโลยีจิตรลดา การเดินหน้าโครงการ BMW Dual Excellence Program นี้ จะน�ำไปสู่การ ปูรากฐานทักษะทางด้านวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ (Mechatronics) ซึ่งเป็น สหวิทยาการเชิงประยุกต์ เป็นบูรณาการวิชาพืน้ ฐานหลักอย่างวิศวกรรมเครือ่ งกล วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ วิศวกรรมการควบคุมอัตโนมัติ วิทยาการคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าด้วยกัน มุง่ สานต่อการพัฒนาศักยภาพอาชีวศึกษาไทย ทัง้ เชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบตั ใิ ห้แข็งแกร่ง ด้วยระบบการศึกษาทวิภาคีเยอรมัน-ไทย มุ่งพัฒนาศักยภาพเพื่อยกระดับอาชีวศึกษาไทยสู่ระดับสากล อูเว่ ควาส กรรมการผู้จัดการ บริษัท บีเอ็มดับเบิลยูแมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าวว่า “บีเอ็มดับเบิลยู กรุป๊ แมนูแฟคเจอริง่ ประเทศไทย ยินดีเป็นอย่างยิ่งที่ได้สานต่อความร่วมมือกับสถาบัน เทคโนโลยีจติ รลดา เพือ่ พัฒนาการศึกษาด้านยานยนต์ ในระบบทวิ ภ าคี ภ ายใต้ โ ครงการ BMW Dual Excellence Program ด้วยเจตนารมณ์ร่วมกันใน การมุ่งส่งเสริมศักยภาพของนักศึกษาให้มีความรู้ และทักษะด้านวิชาชีพทีจ่ ำ� เป็นในสาขาเมคคาทรอนิกส์ พร้อมเปิดโอกาสให้เรียนรูจ้ ริง ณ โรงงานบีเอ็มดับเบิลยู อูเว่ ควาส กรุป๊ แมนูแฟคเจอริง่ ประเทศไทย จังหวัดระยอง โดยภายใน ปี พ.ศ. 2562 นี้ เราจะมีนักศึกษาจากโรงเรียนจิตรลดาวิชาชีพ สถาบันเทคโนโลยี จิตรลดา ทีจ่ บหลักสูตรระบบทวิภาคี (จิตรลดา-บีเอ็มดับเบิลยู กรุป๊ แมนูแฟคเจอริง่ ประเทศไทย) และเข้าท�ำงานในโรงงานของบีเอ็มดับเบิลยู 6 คน ถือเป็นอีกหนึ่ง ความส�ำเร็จที่เป็นรูปธรรม และจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับ อุตสาหกรรมยานยนต์ในประเทศไทยในอนาคต” ขณะที่โครงการ BMW Dual Excellence Program ก่อนหน้านี้ได้คัดเลือก ตัวแทนนักศึกษาจากโรงเรียนจิตรลดาวิชาชีพ สถาบันเทคโนโลยีจติ รลดา และวิทยาลัย เทคนิคสัตหีบ รวม 2 คน เข้าร่วมทัศนศึกษายังถิน่ ก�ำเนิดของรถยนต์บเี อ็มดับเบิลยู ในประเทศเยอรมนี โดยตลอดระยะเวลาหนึง่ สัปดาห์ นักศึกษาทุกคนได้รว่ มพูดคุย และแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีการขนส่ง เช่น รถล�ำเลียงสินค้าอัตโนมัติ
มบญ ุ
AUTO
GreenNetwork4.0 July-August 2019
Magazine to Save The World
เต็ดตรา แพ้ค ลงนามความร่วมมือขยายโครงการ “หลังคาเขียวเพื่อมูลนิธิเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก”
บริษทั เต็ดตรา แพ้ค (ประเทศไทย) จ�ำกัด เป็นบริษทั ผูน้ ำ� ของโลกในด้านกระบวนการผลิตและบรรจุอาหารด้วยนวัตกรรมทีท่ นั สมัยในการผลิตสินค้า ที่ปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม น�ำโดย เบิร์ท ยาน โพสท์ กรรมการผู้จัดการ ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับองค์กรพันธมิตรขยายโครงการ “หลังคาเขียวเพื่อมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก” ต่อเนื่องอีก 3 ปี โดยโครงการนี้ก่อตั้งขึ้นเพื่อรณรงค์ให้เกิดการจัดเก็บ และรีไซเคิลกล่องเครื่องดื่ม ทีใ่ ช้แล้วด้วยการน�ำไปรีไซเคิลเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น แผ่นหลังคาเพือ่ น�ำไปใช้ในการสร้างบ้าน และทีพ่ กั อาศัยให้กบั ผูป้ ระสบภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ และชุมชน ที่ขาดแคลนอื่นๆ ทั่วประเทศ ซึ่งแนวความคิดริเริ่มดังกล่าวตอกย�้ำความมุ่งมั่นของบริษัทเต็ดตราฯ ในการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน โดยส่งเสริมความ ร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชนเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น และความส�ำคัญของการรีไซเคิลในประเทศไทย
กระทรวงการท่องเที่ยวฯ ผนึก สวทช. ยกระดับนวัตกรรมท่องเที่ยวเชิงสิ่งแวดล้อม
วว. จัดเสวนา “สิ่งแวดล้อมวิกฤต ทุกชีวิตต้องช่วยกัน” เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลก
เมื่อเร็ว ๆ นี้ โชติ ตราชู ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เปิ ด งานพิ ธี ล งนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ด้ า นการท่ อ งเที่ ย ว ระหว่างกระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา และส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยมี ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล ผู้อ�ำนวยการ สวทช. ซึ่งบันทึกข้อตกลงฯ ดังกล่าวเป็นการแสดงถึงความร่วมมือทั้งในการ ประยุกต์ใช้วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพือ่ การผลักดันและ ส่งเสริมการท่องเทีย่ วด้านสิง่ แวดล้อมในเขตพัฒนาการท่องเทีย่ วทีส่ ำ� คัญ และมีการจัดท�ำกรอบการวิจัยด้านทรัพยากรชีวภาพและการพัฒนา ทีย่ งั่ ยืนในเรือ่ งขีดความสามารถรองรับแหล่งท่องเทีย่ ว 3 แบบ ได้แก่ ภูเขา ทะเล และวัฒนธรรม รวมทั้งน�ำร่องระบบรับรองมาตรฐานท่องเที่ยวที่ ต่อยอดการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสิ่งแวดล้อม
33
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ ภาค เอกชน จัดเสวนาเรื่อง Environment Crisis : สิ่งแวดล้อมวิกฤต ทุกชีวิตต้องช่วยกัน เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลกประจ�ำปี พ.ศ. 2562 ซึ่งการเสวนาดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอข้อแนะน�ำเพื่อเป็นแนวทางเตรียมรับมือการ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศของโลก โดยจะเดินหน้าผลักดันวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ให้เกิดการกระตุ้นสังคมร่วมกันปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสร้างจิตส�ำนึก คนไทยในการแก้วกิ ฤตสิง่ แวดล้อม และปัญหาขยะพลาสติกในมหาสมุทร เพือ่ ช่วยกัน ลดโลกร้อน
GreenNetwork4.0 July-August 2019
Magazine to Save The World
AEC จดทะเบียนตลาดหลักทรัพย์สงิ คโปร์ รองรับการเติบโต ธุรกิจพลังงานสะอาดในอนาคต
บริษัท อัลเทอร์เนทีฟ เอ็นเนอร์จี้ คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด หรือ AEC กลุ่มบริษัท ผู้เชี่ยวชาญด้านธุรกิจพลังงานสะอาด น�ำโดย ดร.จิตราภรณ์ เตชาชาญ ประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร AEC ได้ท�ำพิธีร่วมลงนามสัญญาเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ สิงคโปร์ (SGX) เพื่อขยายการระดมทุน และสร้างโอกาสในการจัดหาพันธมิตรระดับ นานาชาติทางธุรกิจด้านพลังงานทดแทนหรือพลังงานสะอาดหลายประเภททีค่ รอบคลุม ตั้งแต่พลังงานไฟฟ้าจากขยะชุมชน พลังงานไฟฟ้าจากเขื่อนกักเก็บน�้ำ พลังงานไฟฟ้า จากแสงอาทิตย์ ซึง่ นอกจากจะเป็นพลังงานทีส่ ะอาดแล้ว ยังช่วยด้านสิง่ แวดล้อมท�ำให้ คุณภาพชีวิตของคนไทยดีขึ้นในระดับสากลต่อไป
หอการค้าฝรั่งเศส-ไทย จับมือหอการค้านานาประเทศ จัดสัมมนา “พลังงานยั่งยืน สีเขียว”
หอการค้าฝรั่งเศส-ไทย น�ำโดย อองรี เดอเรอบุล ประธานคณะท�ำงานร่วม ระหว่างหอการค้าต่างประเทศด้านความ ยัง่ ยืน เป็นเจ้าภาพในการผนึกก�ำลังจับมือร่วมกับหอการค้านานาประเทศ ซึง่ ประกอบด้วย หอการค้าเนเธอร์แลนด์-ไทย รวมทัง้ หอการค้าต่างประเทศในประเทศไทย โดย ได้รับการสนับสนุนจากส�ำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือ สสปน. จัดสัมมนาเรื่อง “พลังงานยั่งยืนสีเขียว” หรือ Multi-Chamber Sustainability for Business Forum 2019 เป็นปีที่ 3 ทัง้ นี้ อองรี เดอเรอบุล กล่าวว่า การจัดสัมมนาในครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ รับรูแ้ ละแลกเปลีย่ นข้อมูลด้านนวัตกรรม กลยุทธ์ทางธุรกิจ ได้แก่ พลังงานสีเขียว มลพิษ และของเสีย การศึกษาในที่ท�ำงาน สุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี และการท�ำการตลาดจากการจัดงานอย่างยั่งยืน ซึ่งภายในงานมีผู้สนใจเข้าร่วมงานกว่า 200 คนจากภาค ธุรกิจ บริษัทต่างชาติ และบริษัทในประเทศ ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อม และนักปฏิบัติด้านการพัฒนาเพื่อความยั่งยืนเข้าร่วมงานอย่างคับคั่ง
“โครงการพีที รวมพลัง รวมใจ สร้างสุขแก่ชุมชน” จัดการขยะทะเลป่าชายเลนสมุทรสงคราม
บริษทั พีทจี ี เอ็นเนอยี จ�ำกัด (มหาชน) หรือ PTG น�ำโดย พิทกั ษ์ รัชกิจประการ ประธาน เจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ จัดกิจกรรม CSR “โครงการพีที รวมพลัง รวมใจ สร้างสุขแก่ชุมชน ครั้งที่ 1” ณ โรงเรียนบ้านฉู่ฉี่ ต.บางจะเกร็ง อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม โดยกิจกรรมในครัง้ นีร้ ว่ มกับหน่วยงานจังหวัด ซึง่ มี ยงยุทธ สิงห์ธวัช รองผูว้ า่ ราชการจังหวัด สมุทรสงคราม เป็นประธานเปิดงาน พร้อมด้วย พรเทพ ทองดี ผู้อ�ำนวยการส่วนส่งเสริม การมีสว่ นร่วม ส�ำนักงานบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ที่ 3 (สบทช.ที่ 3) และ ส�ำนักงานเทศบาลต�ำบลบางจะเกร็ง ส�ำหรับวัตถุประสงค์ของกิจกรรมเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในชุมชนให้ตระหนักถึง การอนุรกั ษ์ทรัพยากรทางทะเล และขยะทางทะเลในพืน้ ทีป่ า่ ชายเลนให้มสี งิ่ แวดล้อมทีด่ ี และ เพื่อพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม ให้ชุมชนเติบโตอย่างยั่งยืน
คิมเบอร์ลี่ย์-คล๊าค ชวนคู่ค้าธุรกิจปลุกจิตส�ำนึกรักษ์โลก รักสิ่งแวดล้อม
บริษัท คิมเบอร์ลี่ย์-คล๊าค ประเทศไทย จ�ำกัด ผู้น�ำผลิตภัณฑ์กระดาษทิชชู่ รายแรกของประเทศไทยที่ได้การรับรองมาตรฐานระดับสากลจากสภาพิทักษ์ป่า Forest Stewardship Council หรือมาตรฐาน FSC น�ำโดย ชมัยพร เอื้อไพโรจน์กิจ ผู้อ�ำนวยการประจ�ำประเทศไทยและผู้จัดการทั่วไป ภูมิภาคอาเซียน กลุ่มธุรกิจ คิมเบอร์ลยี่ -์ คล๊าค โปรเฟสชันแนล (ที่ 3 จากซ้าย) แถลงข่าวเดินหน้าโครงการภายใต้ แนวคิด “โลกยัง่ ยืน ธุรกิจยัง่ ยืน” ซึง่ เป็นการจับมือชวนคูค่ า้ ธุรกิจทุกภาคส่วนร่วมแสดง ความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมด้วยการจัดการทรัพยากรป่าไม้อย่างยัง่ ยืน โดยสนับสนุน เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทมี่ ตี รามาตรฐาน FSC พร้อมกัน กอบรัตน์ สวัสดิวร ผูป้ ระสานงาน โครงการ FSC ในลุ่มน�้ำโขง (ที่ 3 จากขวา) ได้เข้าร่วมการแถลงข่าวในครั้งนี้ด้วย 34
GreenNetwork4.0 July-August 2019
GREEN
Travel กองบรรณาธิการ
องคการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน (องคการมหาชน) หรือ อพท. เปนองคการมหาชนที่สังกัดกระทรวงการ ทองเทีย่ วและกีฬา จัดตัง้ ขึน้ ตามพระราชกฤษฎีกาจัดตัง้ องคการบริหารการ พัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษ เพือ่ การทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน (องคการมหาชน) พ.ศ. 2546 เปนอีกหนึ่งหนวยงานรัฐบาลที่มีบทบาทในการประสานงานการบริหาร จัดการการทองเทีย่ วระหวางสวนราชการ รัฐวิสาหกิจ องคกรปกครอง หรือ หนวยงานอืน่ ๆ ไมวา ในระดับชาติ ระดับภูมภิ าคหรือระดับทองถิน่ ซึง่ มีอาํ นาจ หนาทีเ่ กีย่ วกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ชุมชน ผังเมือง และรักษาสิง่ แวดลอม เพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน เมือ่ เร็วๆ นี้ ธรรมนูญ ภาคธูป ผูจ ดั การสํานักงานพืน้ ทีพ่ เิ ศษเลย หรือ อพท. 5 ไดจดั กิจกรรมนํารองยกระดับทองเทีย่ วเชียงคาน จังหวัดเลย ใหเปน แหลงทองเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม และเชิงนิเวศทีค่ าํ นึงถึงสิง่ แวดลอมอยางยัง่ ยืน โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ สงเสริมและสนับสนุนใหประชาชนและชุมชนเขามามี สวนรวมในการอนุรักษ และพัฒนาแหลงทองเที่ยวในพื้นที่ชุมชนทองถิ่น ของตนเพือ่ ใหเกิดการจางงานและยกระดับคุณภาพชีวติ และความเปนอยูใ น ทองถิ่นใหดีขึ้น ทัง้ นี้ อพท. มุง เนนการพัฒนาทองเทีย่ วใหเปนไปตามเกณฑการพัฒนา ทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืนโลก หรือ Global Sustainable Tourism Council (GSTC) โดยกําหนดทิศทางใน 4 มิตคิ อื การบริหารจัดการ การกระจายรายไดลดความ เหลือ่ มลํา้ การสงเสริมวัฒนธรรมใหคงอยู และการรักษาสิง่ แวดลอม ดังนัน้ จึงพัฒนาพื้นที่ดวยการเปดใหประชาชนในพื้นที่มีสวนรวม สงผลใหปจจุบัน อําเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ไดพฒ ั นาสถานทีท่ อ งเทีย่ วโดยชุมชนใน 14-15 ชุมชนเปนตนแบบ รวมถึงการบริหารจัดการพืน้ ทีใ่ นการมุง เนนความปลอดภัย ทั้งดานการจราจรและสุขภาพ และยังมองการเชื่อมโยงการทองเที่ยวกับ สปป.ลาว ทีจ่ ะเจาะกลุม นักทองเทีย่ วเขามาเทีย่ วในประเทศไทยโดยทางรถยนต ทีเ่ ชือ่ มโยง 4 จังหวัดไทย กับ 4 แขวง สปป.ลาว ดวยการจัดทํา “แอพพลิเคชัน่ ลานชาง” เพือ่ แนะนําแหลงทองเทีย่ ว โรงแรม อาหาร ฯลฯ ซึง่ คาดวาจะพัฒนา แลวเสร็จในป พ.ศ. 2563
35
าคธ ปู นอกจากนี้ อพท. ยังไดพฒ ั นากิจกรรมอืน่ ๆ ทีเ่ ชือ่ มโยงการทองเทีย่ ว ในเชียงคาน อาทิ กิจกรรมถนนศิลปะ (Street Art) ริมแมนํ้าโขง กิจกรรม การเก็บวัสดุเหลือใชในทองถิ่นนํากลับมารีไซเคิลใหมใหเปนวัสดุธรรมชาติ แบบยอยสลายได เพือ่ ลดปญหาขยะ เชน ลอจักรยานเกา เครือ่ งมือทางการ เกษตรที่เสื่อมสภาพ และกิจกรรมดึงดูดนักทองเที่ยวที่มีความเชื่อในเรื่อง การปลดปลอยความทุกขโดยใชพิธี “ลอยผาสาดลอยเคราะห” ที่ชาวบาน จะเลือกใชอปุ กรณเครือ่ งมือวัสดุจากธรรมชาติเพือ่ รวมกันรักษาสิง่ แวดลอม และใหเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศอีกแหงที่มีการเชื่อมโยงการทองเที่ยว กับชุมชนคือ “ศูนยเรียนรูประมงพื้นบานเชียงคาน” ซึ่งเปนชุมชนดั้งเดิม ที่ประกอบอาชีพประมงเปนอาชีพหลักและยังคงรักษาวิถีของชุมชนไวและ การอนุรกั ษพนั ธุป ลานํา้ จืด รวมถึงการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอมริมแมนาํ้ โขงอีกดวย ธรรมนูญ กลาววา “ป พ.ศ. 2562 นี้ ในสวนของพืน้ ทีท่ อ งเทีย่ วจังหวัด เลย ตัง้ เปาคาดการณตวั เลขนักทองเทีย่ วสูงถึง 3 ลานคน แตหลังจากประเมิน ยอดนักทองเที่ยวที่เขามามีจํานวนวันพักเฉลี่ยอยูที่เพียง 1.5 วัน ดังนั้น ทาง อพท. จึงรวมบูรณาการกับทุกภาคสวนทีเ่ กีย่ วของในชุมชนทีต่ อ งจัดกิจกรรม ใหมๆ เพือ่ กระตุน การทองเทีย่ วใหเกิดขึน้ ในทุกชวงฤดูกาล โดยยึดแนวทาง การพัฒนาใหเปนแหลงทองเทีย่ วเชิงวัฒนธรรมและแหลงทองเทีย่ วเชิงนิเวศ ที่คํานึงถึงความยั่งยืนที่มุงกระจายรายไดทองเที่ยวสูชุมชนใหมากที่สุด เพื่อ ยกระดับการเขาพักของนักทองเที่ยวใหเปน 3.5 วันในป พ.ศ. 2565 ใหได” อยางไรก็ดี แผนการพัฒนาทองเทีย่ วไทยในระยะยาวของ อพท. ทีไ่ ด อาศัยโครงสรางระบบพืน้ ฐานทีร่ ฐั บาลไดลงทุนในโครงการรถไฟฟาความเร็ว สูงเชื่อม 3 สนามบินของไทยใหสามารถรองรับนักทองเที่ยวที่เพิ่มมากขึ้น ทั้งใน สปป.ลาว จีน และยุโรป รวมทั้งไดรวมดําเนินการกับการทองเที่ยว ทาง สปป.ลาว ในการสรางเสนทางทองเที่ยวเชื่อมโยงสี่เหลี่ยมวัฒนธรรม ลานชาง ซึง่ ครอบคลุมพืน้ ทีป่ ระกอบดวย ไซยะบุรี เวียงจันทร หลวงพระบาง เปนตน เพือ่ ทําใหเกิดศักยภาพเชือ่ มโยงระหวางพืน้ ทีข่ องไทย และสปป.ลาว ไปยังประเทศจีนซึ่งเปนจุดดึงดูดนักทองเที่ยวมากขึ้น จึงถือวาเปนอีกหนึ่ง ความพรอมเพือ่ สรางการตลาดทองเทีย่ วไทยเพือ่ ความยัง่ ยืนใหกบั ประเทศ อยางแทจริง
GreenNetwork4.0 July-August 2019
ภ
เพื่อสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน
ธรรมนูญ
ทองเที่ยวเชียงคาน จังหวัดเลย
GREEN
Building กองบรรณาธิการ
ศิริพร สิงหรัญ
นายกสมาคมธุรกิจรับสรางบาน สาวแกรงแหงลีอารคีเทค ชูนวัตกรรมบานประหยัดพลังงาน
สภาพแวดลอมในปจจุบันทําใหโลกรอนขึ้นทุกป อาคารหรือบานอยูอาศัยสวนใหญ ยังคงถูกสรางโดยไมไดคํานึงถึงสภาพอากาศ การกอสรางมีการเลือกใชวัสดุที่ไมเหมาะสม ทําใหตัวบานเกิดการสะสมความรอน อากาศภายในบานไมถายเท ทําใหผูอยูอาศัยรูสึก รอนอบอาว ดังนั้น บานประหยัดพลังงานซึ่งเปนนวัตกรรมที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม จึงเปน ทางเลือกใหมสําหรับผูบริโภคในปจจุบันที่ตางหาวิธีทําใหบานอยูอาศัยมีความเย็นสบายขึ้น เพือ่ แกปญ หาการสิน้ เปลืองพลังงานในบาน และชวยลดคาใชจา ย เพือ่ ใหสามารถอยูอ าศัยได โดยมีการใชพลังงานนอยที่สุด ดวยแนวคิดดังกลาว บริษัท ลีอารคีเทค จํากัด ซึ่งประกอบธุรกิจรับสรางบานและ เปนผูนําการออกแบบบาน และอาคารประหยัดพลังงาน แตขณะเดียวกันก็ใสใจปญหาดาน สิ่งแวดลอม จึงไดนําแนวคิดการสรางบานประหยัดพลังงาน ตั้งแตเริ่มการออกแบบ และ การเลือกใชวสั ดุทเี่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ภายใตการบริหารงานของสาวแกรงสาวเกงทีย่ งั คง สวมหมวกอีกหนึง่ ใบในฐานะเปนนายกสมาคมธุรกิจรับสรางบานดวย นัน่ คือ ศิรพิ ร สิงหรัญ กรรมการผูจัดการ บริษัท ลีอารคีเทค จํากัด
36
ศิรพิ ร จบการศึกษาจากคณะสถาปตยกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ปการศึกษา 2526 จากนัน้ เขาทํางานในสายงานการออกแบบ และกอสรางเรื่อยมา จนสั่งสมประสบการณในสายวิชาชีพ มากกวา 10 ป จึงตัดสินใจกอตั้ง บริษัท ลีอารคีเทค จํากัด ขึน้ เมือ่ ป พ.ศ. 2538 เพือ่ ดําเนินธุรกิจดานงานออกแบบและ งานกอสรางอาคารทัว่ ไป ตอมาในป พ.ศ. 2540 เพือ่ ใหการ ทํางานมีความสมบูรณและตอเนื่อง จึงไดเพิ่มบริการงาน ออกแบบและตกแตงภายในพรอมจัดทํา และติดตั้งดวย ชางเฟอรนเิ จอรฝม อื ดีจากทางบริษทั ฯ เพือ่ ความสะดวกของ ลูกคา และถือเปนการบริการที่ครบวงจร เมื่อมีความพรอมในทุกๆ ดาน บริษัทฯ จึงกาวเขาสู ธุรกิจรับสรางบานอยางเต็มตัวในป พ.ศ. 2551 และไดเขารวม เปนสมาชิกสมาคมธุรกิจรับสรางบานดวยการทํางานทีจ่ ริงจัง ทุม เท และซือ่ ตรงตอลูกคา สรางความพึงพอใจใหกบั ผูบ ริโภค ทัง้ ในผลงานการออกแบบ การกอสราง งานตกแตงภายใน และสวนสําคัญที่ขาดไมไดคือ การเปนผูนําการสรางบาน คุณภาพดวยรูปแบบบานทีท่ นั สมัย โดดเดน และการบริการ ที่สรางความประทับใจภายใตความพึงพอใจของลูกคามาก ที่สุด ด ว ยกระแสที่ ผู บ ริ โ ภคให ค วามสนใจด า นการ ประหยัดพลังงานมากขึน้ โดยเฉพาะในบานพักอาศัย บริษทั ฯ จึงมุง เนนโครงการรักษโลก โดย ศิรพิ ร ถือไดวา เปนผูผ ลักดัน สําคัญดานนโยบายและมาตรการดานการประหยัดพลังงาน ในป พ.ศ. 2558 จึงไดรบั รางวัลบานอนุรกั ษพลังงานดีเดน โดย อาคารสํานักงานของบริษทั ลีอารคเี ทค จํากัด “LEE HOUSE” ไดรบั รางวัลบานจัดสรรอนุรกั ษพลังงานดีเดน จากกรมพัฒนา พลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ขณะเดียวกัน ศิริพร ยังไดรับเกียรติเปนหนึ่งในคณะกรรมการประกวด การออกแบบบานเหล็กดวยนวัตกรรมเขียว ประจําป 2555 หรือรางวัล Thailand Steel House Contest 2012 และ ในวาระป พ.ศ. 2557-2558 ศิรพิ ร ไดทาํ หนาทีด่ าํ รงตําแหนง เปนอุปนายกฝายกิจกรรมพิเศษในสมาคมธุรกิจรับสรางบาน เปนผูมีบทบาทสําคัญในการขับเคลื่อนและใหความรวมมือ กับวิทยาลัยเทคนิคดุสติ ในการจัดการอาชีวศึกษา ศึกษาระบบ ทวิภาคีดวย สําหรับแนวความคิดในการออกแบบบาน และอาคาร ประหยัดพลังงานของบริษัท ลีอารคีเทค จํากัด นั้น ศิริพร กลาววา “ดวยวิชาชีพในการสรางที่อยูอาศัยใหกับผูบริโภค จํานวนมาก บริษัท ลีอารคีเทคฯ ดําเนินธุรกิจกอสรางบาน ทีย่ ดึ แนวคิดการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอมและรับผิดชอบตอสังคม ใหยงั่ ยืน อีกทัง้ มองวาอากาศโลกของเรารอนรุนแรงขึน้ ทุกป จึงควรหาวิธกี ารออกแบบบานและอาคารทีไ่ มเพียงแคความ สวยงามของโครงสรางเพียงอยางเดียว แตเราคํานึงการอยู อาศัยที่มีความสุข และประหยัดคาใชจาย จึงเริ่มสรางบาน
GreenNetwork4.0 July-August 2019
ประหยัดพลังงาน โดยจะใหความสําคัญตั้งแตการเริ่มออกแบบ การดูทิศทางลม แสงแดด ทีจ่ ะเขามากระทบภายในอาคารใหนอ ยทีส่ ดุ ขณะเดียวกันเราเลือกใชวสั ดุกอ สรางทีเ่ ปนมิตร ตอสิ่งแวดลอมและสามารถปองกันความรอนสูตัวอาคาร เพราะสภาพแวดลอมการอยูอาศัย ในพืน้ ทีก่ รุงเทพฯ จะแตกตางกับพืน้ ทีต่ า งจังหวัด ซึง่ บานของลูกคาสวนใหญของเราจะตัง้ อยู ในเมืองหลวงทีม่ บี า นเกา และเปนอาคารทรุดโทรม ตองทุบทิง้ แลวสรางใหม ดังนัน้ การวางผัง โครงสรางอาคารจะคํานึงถึงการกอสรางโดยไมใหสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและมลภาวะ ภายนอกดวย” จากแนวคิดทีด่ าํ เนินธุรกิจรับสรางบานบนทีด่ นิ ของผูบ ริโภค บริษทั ลีอารคเี ทค จํากัด ถือวามีสว นรวมในการอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม และรับผิดชอบตอสังคมเพือ่ การพัฒนาคุณภาพชีวติ อยางยัง่ ยืนใหสอดคลองกับนโยบายภาครัฐ ตามยุทธศาสตรขอ ที่ 5 คือ “การเติบโตบนคุณภาพ ชีวติ ทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม” เพือ่ การปองกันและลดมลภาวะตางๆ ในระหวางการกอสราง อาคาร ปองกันฝุน ละอองกระจายไปรอบๆ พืน้ ทีข่ า งเคียง รวมไปถึงการทําความสะอาดลอรถ ทีอ่ อกจากหนวยงานเพือ่ ลดดิน ทราย เศษปูนติดลอรถไปนอกพืน้ ที่ และการคัดแยกขยะสวน ที่ทิ้งกับสวนที่นําไปใชรีไซเคิลได เพื่อลดปญหาปริมาณขยะ สําหรับคุณสมบัติอาคารและบานประหยัดพลังงานที่มีความโดดเดนและความพิเศษ ตัง้ แตงานออกแบบอาคารและตกแตงภายใน อาทิ การออกแบบผนังอาคารใหทบึ เปนบางสวน เพือ่ ปองกันแดดและความรอนเขาสูต วั อาคาร ขณะทีท่ าํ ชองระบายอากาศรอนใตหลังคาและ ฉีดฉนวนโฟมเสริม รวมถึงออกแบบอุโมงคลมเพื่อดึงลมเขาสูอาคารบริเวณสวนชั้นบนสุด นอกจากนี้ เลือกใชวสั ดุแผงระแนงโปรง-เลือ่ นเปดบังสายตาเพือ่ กรองแสงและออกแบบทําสวน ของอาคารชั้นบนยื่นบังแดดใหสวนชั้นลาง ในสวนของวัสดุกระจกแบบประหยัดพลังงานนั้น จะเลือกใชกระจก 2 ชัน้ (Insulated Glass) ใหเปนหนาตางชองแสงดานทีร่ บั แดด และจัดสวน ไมดอกไมประดับเปนแนวตนไมใหญเพือ่ ชวยบังแสงแดด และเพิม่ ทัศนียภาพภายนอก เปนตน นอกจากนั้น บริษัท ลีอารคีเทค จํากัด ยังมีผลงานประเภทงานออกแบบอาคารและ ตกแตงภายใน (Design & Interior) ตางๆ มากมาย เชน งานบานพักอาศัย บานเดีย่ ว โฮมออฟฟศ สํานักงาน อพารทเมนต โรงแรม โครงการจัดสรร อาคารพาณิชย ทาวนเฮาส อาคารโรงงาน โกดังและคลังสินคา ขณะที่ประเภทของงานกอสราง (Type of Building) เปนทั้งในสวนของ อาคารทั่วไป โครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โครงสรางเหล็กความสูงไมเกิน 5 ชั้น ซึ่งการ ออกแบบบานและอาคารจะเปนไปตามนโยบายของบริษัทที่มุงเนนการออกแบบประหยัด พลังงาน และใชวัสดุที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมเปนสําคัญ “หัวใจสําคัญของการสรางบานประหยัดพลังงานเปนปจจัยพื้นฐานที่ตองควบคูกับ การดําเนินธุรกิจ การใชวสั ดุประหยัดพลังงานอาจทําใหบา นมีราคาแพงกวา และเปนหนาทีใ่ น ดานการบริการของเราที่จะตองทําความเขาใจและใหคําแนะนําแกผูบริโภควาการเลือกซื้อ 37
บานหรืออาคารประหยัดพลังงานนี้ จะสามารถชวยประหยัดคาใชจาย ไดในระยะยาวตลอดอายุในการอยูอ าศัย ซึง่ งานบริการถือเปนมาตรฐาน เบื้ อ งต น ในการแข ง ขั น การใส ใ จให ค วามสํ า คั ญ กั บ คุ ณ ภาพและ ประสิทธิภาพในการทํางานเปนเรือ่ งทีท่ างบริษทั ฯ มุง มัน่ พัฒนาใหเกิดขึน้ เพือ่ สรางความพึงพอใจใหกบั ทุกฝายทีเ่ กีย่ วของ ทัง้ ในดานของลูกคาและ ของพนักงาน ทําใหดฉิ นั เองในฐานะผูบ ริหารองคกรจะใหความสําคัญใน การจัดการองคกรใหมรี ะเบียบวินยั เพือ่ มุง มัน่ พัฒนาบุคลากรใหมแี นวคิด แบบ Positive Thinking เพือ่ ทําใหพนักงานตระหนักถึงความสําคัญของ การพัฒนาศักยภาพของตน ใหทีมงานทุกคนของเรามีความสุขในการ ทํางาน ทํางานกันดวยใจทีม่ คี วามฝน และชวยกันรวมมือสานฝนทีจ่ ะนํา ธุรกิจกาวไปสูอ นาคตไดอยางยัง่ ยืนดวยกัน ทีมงานเราจะทําหนาทีอ่ อกแบบ รางฝนตามโจทยทไี่ ดรบั และสรางบานใหสาํ เร็จ งดงามบนรอยยิม้ อันเปน ความสุขทั้งของลูกคาและของเรา” ศิริพร กลาว ขณะเดียวกันในฐานะเปนนายกสมาคมธุรกิจรับสรางบาน ศิรพิ ร พยายามผลักดันและรณรงคใหสมาชิกสมาคมฯ ไดตระหนัก รวมมือ และ เขาใจปญหาของมลภาวะสิง่ แวดลอม ฝุน ละออง และปญหาขยะทีเ่ กิดขึน้ จากการกอสราง ซึง่ สามารถแกไขไดถา มีการดําเนินการอยางจริงจัง และ ไดรบั ความรวมมือจากทุกหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ ซึง่ ทีผ่ า นมาผูป ระกอบการ หรือสมาชิกสมาคมฯ เองตางตระหนักและใหความสําคัญ รวมมือในการ ออกแบบการสรางบานหรืออาคารประหยัดพลังงานทีไ่ มทาํ ลายทรัพยากร ธรรมชาติมากขึ้น สนับสนุนการสรางแนวความคิด “สรางบาน สราง สิง่ แวดลอม” รวมกันอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม และรับผิดชอบตอสังคมรวมกัน
ศิรพิ ร สิงหรัญ ถือเปนอีกหญิงแกรงแหงวงการธุรกิจรับสรางบาน การประสบผลสําเร็จที่ผานมานั้นก็เพราะการวางแผนการทํางานที่ดี การปรับตัวใหเทาทันการเปลีย่ นแปลงของสถานการณตา งๆ และมีกลยุทธ สําคัญ คือมีความสามารถในการรองรับงานออกแบบไดหลายประเภท และหลากสไตล สรางสรรคงานออกแบบทุกชิ้นใหมีความแตกตางเปน เอกลักษณ เนนการทํางานที่รวดเร็วทั้งในการนําเสนองานออกแบบ รางฝน และกอสรางใหผูบริโภคไดรับสิ่งที่ดีและคุมคาที่สุด ซึ่งกลยุทธ ตางๆ ก็ไดนาํ มาปรับใชเปนแนวทางใหกบั สมาคมธุรกิจรับสรางบานดวย เพื่อใหสมาชิกสมาคมฯ เติบโตกาวหนาไปพรอมๆ กันนั่นเอง
GreenNetwork4.0 July-August 2019
การขนสงขยะเพื่อกําจัดในตางประเทศ
ขยะไมมีที่อยู
GREEN
Article รศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล, ดร.กริชชาติ วองไวลิขิต
ในทุกวันนี้ที่เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี พัฒนาไปเปนอยางมาก ปฏิเสธไมไดเลยวาชีวิต ความเปนอยูข องมนุษยมพี ฒ ั นาการอยางกาวกระโดด โดยจะเห็นไดจากจํานวนประชากรทีม่ ากยิง่ ขึน้ รวมไปถึง คุณภาพชีวิตที่สูงขึ้นเรื่อยๆ ในแตละพื้นที่รอบโลก แตอยางไรก็ตาม การกาวกระโดดอยางรวดเร็วนีก้ ลับ ทิง้ หลายสิง่ หลายอยางไวในรูปของ “ขยะ” โดยเฉพาะ อยางยิ่งในประเทศที่พัฒนาแลวอยางสหรัฐอเมริกา ทีม่ คี า เฉลีย่ การผลิตขยะตอคนสูงทีส่ ดุ ในโลก ซึง่ สราง ปริมาณขยะเปน 12% ของปริมาณขยะทัว่ โลก ทัง้ ๆ ที่ อเมริกามีประชากรเพียง 4% ของจํานวนประชากรโลก ทัง้ หมด โดยนอกจากอเมริกาแลวยังมีประเทศพัฒนา
แลวอื่นๆ เชน เนเธอรแลนด แคนาดา และออสเตรีย ที่สรางปริมาณขยะมากไมแพกัน ซึ่งถึงแมวาประเทศไทย จะอยูอันดับที่ 61 ของโลก แตประเทศไทยกลับเปนประเทศหนึ่งที่มีปริมาณขยะทะเลมากที่สุดเปนอันดับที่ 6 ของโลก โดยมีปริมาณมากถึง 1.55 ลานตันในป พ.ศ. 2560 และยังมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในทุกๆ ป ในชวงเวลาทีผ่ า นมา วิธกี ารกําจัดขยะรูปแบบหนึง่ ของประเทศทีพ่ ฒ ั นาแลว คือการขนสงขยะไปสูป ระเทศ แถบเอเชีย โดยเฉพาะอยางยิ่งประเทศจีน เวียดนาม อินเดีย ปากีสถาน ฟลิปปนส หรือแมแตประเทศไทย ซึ่งการขนสงขยะระหวางประเทศนี้กอใหเกิดปญหาระหวางประเทศหลายครั้ง ทั้งปญหาการสงขยะผิดประเภท การสงขยะทีไ่ มใชขยะทีส่ ามารถนํามา Recycle ได และการขนสงขยะเกินปริมาณ โดยในชวงเวลา 5-6 ปทผี่ า น มานี้ มีความขัดแยงและเกิดการสงขยะจากประเทศแถบเอเชียกลับสูป ระเทศตัง้ ตนอยางตอเนือ่ ง ซึง่ ทําใหหลาย ประเทศในเอเชียมีนโยบายทีห่ า มการนําเขาขยะจากตางประเทศ โดยประเทศไทยเองก็มแี ผนทีจ่ ะหามการนําเขา ขยะพลาสติกจากตางประเทศอยางสมบูรณภายในป พ.ศ. 2564
เมือ่ การขนสงขยะไปตางประเทศเปนเรือ่ งทีย่ ากขึน้ ประเทศทีพ่ ฒ ั นา แลวหลายประเทศจึงตองมีมาตรการในการจัดการขยะทีเ่ ขมงวด โดยเฉพาะ อยางยิ่งในประเทศสหรัฐอเมริกาที่ปจจุบันเริ่มหันมาพัฒนาการจัดการขยะ ทัง้ ในดานของนโยบายและเทคโนโลยีมากขึน้ เพราะปญหาเรือ่ งการจัดการ ขยะเริม่ สงผลโดยตรงและรุนแรงมากยิง่ ขึน้ กับหลากหลายธุรกิจโดยเฉพาะ อยางยิง่ บริษทั ทีเ่ กีย่ วของกับการผลิตและสินคาอุปโภค-บริโภคทีจ่ าํ เปนตอง จัดการกับขยะที่ตนเองสรางขึ้นดวยตัวเอง ดวยสาเหตุนเี้ อง จึงทําใหหลากหลายบริษทั เริม่ มีการลงทุนในการพัฒนา ระบบการ Recycle ขยะมากยิง่ ขึน้ ในประเทศสหรัฐอเมริกา ทัง้ ผูป ระกอบการ ที่เปนผูจัดการขยะโดยตรงอยางบริษัท Alpine Waste & Recycling ที่ได ลงทุนกวา 2.5 ลานเหรียญสหรัฐ ในการขยายและพัฒนาระบบการจัดการ ขยะใหดียิ่งขึ้น รวมไปถึงธุรกิจคาปลีกอื่นๆ เชน Amazon ที่กําลังลงทุนใน การทําระบบการจัดการขยะเชนเดียวกัน โดยการลงทุนดังกลาวสงผลให ในชวงเวลานีม้ กี ารขยายตัวของตลาดการจัดการขยะเปนอยางมาก โดยมีสนิ คา หลากหลายประเภทซึง่ ผลิตจากขยะจากทะเลทีเ่ ขาสูท อ งตลาด ทัง้ แกวนํา้ และ ภาชนะรูปแบบตางๆ ซึ่งเมื่อประกอบกับเทคโนโลยีการคนหาขยะทะเลจาก ระบบดาวเทียมทีก่ าํ ลังถูกพัฒนาขึน้ ตลาดของการจัดการขยะจึงมีแนวโนม ในการเติบโตขึ้นอยางรวดเร็ว
ปญหาการขนสงขยะขามประเทศในฟลิปปนส
ผลิตภัณฑจากการแปรรูปขยะทะเล
จังหวะนี้จึงนับเปนจังหวะหนึ่งที่ดีของประเทศไทยในการหันมาจัดการกับขยะ อยางเปนระบบมากยิง่ ขึน้ โดยในปจจุบนั เริม่ เห็นหลากหลายบริษทั เกีย่ วกับการคาปลีก เริม่ ทําการลดปริมาณขยะพลาสติกโดยการลดการแจกถุงพลาสติก ซึง่ นับเปนกาวของ การจัดการขยะที่และสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ 20 ป ในการพัฒนาระบบจัดการ ขยะมูลฝอย การจัดระเบียบการนําเขาขยะ การจัดการกับขยะทะเล รวมไปถึงการอนุรกั ษ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ใหบรรลุเปาหมายการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนที่ 14 (SGD14) ทีเ่ ปน เปาหมายของสหประชาชาติ (UN) ในการอนุรักษทรัพยากรทางทะเล
ระบบคนหาขยะทะเลจากดาวเทียม 39
GreenNetwork4.0 July-August 2019
GREEN
Working Group : Environmental Management Using Geospatial Information Technology (EnvGIT) FB Page : Thailand Network Center on Air Quality Management (TAQM) E-mail : Sirima.P@Chula.ac.th, www.taqm.org
Article รศ. ดร.ศิริมา ปญญาเมธีกุล, ศ.กิตติคุณ ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ ภาควิชาวิศวกรรม สิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ดรามา เรื่อง PM 2.5
สถานการณของ กทม.
โดยปกติแลวฝุนโดยเฉพาะฝุนขนาดใหญ เดิมไมคอยไดรับความสนใจจากนักวิทยาศาสตรและ เจาหนาทีร่ ฐั เทากับสารมลพิษอากาศตัวอืน่ ๆ แตเมือ่ เวลาผานไปวิทยาการกาวหนามากขึน้ ทําใหเราเริม่ มี ความเขาใจมากขึน้ วาฝุน หากมีขนาดเล็กมากๆ ก็สามารถมีอันตรายไมนอ ยกวาสารมลพิษอากาศตัวอืน่ ๆ จนถึงขนาดองคการอนามัยโลกตองเขามามีบทบาทชี้นําในระดับนานาชาติ เรือ่ ง PM 2.5 นีอ้ งคการอนามัยโลก หรือ WHO ใหความสนใจมากมาตลอด เพราะ มันเกี่ยวกับสุขภาพของคนและสัตวโดยตรงและอยางมาก เพราะปญหามันไมใชเพียงแคฝุนจิ๋วนี้ที่เขาไป ในปอดได แตเปนเพราะมันสามารถทําตัวเปนศูนยกลางใหสารพิษอืน่ ๆ เชน สารกอมะเร็ง สารโลหะหนัก ฯลฯ มาเคลือบหรือเกาะอยูบ นผิวของมัน และจากนัน้ มันก็จะเปนตัวพาเอาสารพิษตางๆ เหลานัน้ ทีป่ กติจะ ลองลอยอยูในอากาศ เขาไปในสวนลึกของรางกายของเราได อันตัวฝุนนั้นถาจะวาไปไมมีอันตรายรุนแรงเปนแบบเฉียบพลัน เราตองรับฝุนเขาไปสะสมใน รางกายนับเปนสิบๆ ป จึงจะมีอาการเจ็บปวยเกิดขึน้ แตมสี ารมลพิษอากาศอืน่ ๆ อีก เชน โอโซน (O3) หรือ คารบอนมอนอกไซด (CO) ทีเ่ ปนอันตรายแบบเฉียบพลันไดทนั ที และอันตรายกวาฝุน หลายสิบหลายรอยเทา และเนื่องจากฝุนสามารถเปนตัวพาเอาสารพิษอื่นๆ พวกนั้นติดตัวมันเขามาในรางกายเราได ฝุน PM 2.5 จึงเปนสารมลพิษอากาศที่กลาวไดวาจะเฉียบพลันก็ไมใช จะเรื้อรังก็ไมเชิง คามาตรฐานของ PM 2.5 ใน อากาศจึงเปนคาทีอ่ ยูก ลางๆ คือ ไมใชคา เฉลีย่ รายชัว่ โมง (ทีเ่ ปนตัวชีว้ ดั ของอันตรายแบบเฉียบพลัน) แต เปนคาเฉลี่ยรายวันหรือคาเฉลี่ย 24 ชั่วโมง โดยมีคาเฉลี่ยรายป (ซึ่งเปนผลกระทบแบบเรื้อรังนานมาก) เพิ่มแถมขึ้นมาอีกในหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทย สาเหตุทอี่ งคการอนามัยโลกสนใจตัวฝุน จิว๋ PM 2.5 นีเ้ ปนพิเศษ เพราะเอกสารทางการแพทยบง ชีว้ า มันสามารถทําใหเสนเลือดหดตัว ความดันโลหิตสูงขึ้น ชีพจรเตนเร็วขึ้น ไปจนถึงปญหาดานหลอดเลือด หัวใจ และหัวใจขาดเลือด ซึ่งทําใหกลุมเสี่ยงหรือคนที่เปนโรคหัวใจอยูแลวถึงกับเสียชีวิตได (ดังรูปที่ 1) ตรงนี้จึงไมใชดรามา แตเปนเรื่องจริง
สัมผัสฝุน เฉียบพลัน
เรื้อรัง
ผิวหนัง ทางเดินหายใจ เยื่อบุตา
หัวใจ มะเร็ง ขาดเลือด (เชน PAH)
ตนกําเนิดของ PM 2.5 ในกรุงเทพ มหานครมาจากไหน ตนเหตุหลักๆ ของ PM 2.5 คือ (1) ไอเสีย จากรถยนตหรือจากการจราจร (2) อากาศพิษจากปลอง โรงงานอุตสาหกรรมและโรงไฟฟาทีม่ กี ารเผาไหมเชือ้ เพลิง ฟอสซิลโดยเฉพาะถานหิน หรือเชื้อเพลิงที่ไมเปนมิตรตอ สิง่ แวดลอม และ (3) การเผาในทีโ่ ลงและในทีไ่ มโลง ซึง่ มา ไดจากทัง้ ในเขตกรุงเทพมหานครเองและจากพืน้ ทีโ่ ดยรอบ หากทิศทางลมมันพัดพามาสูเมือง และจากงานวิจัยลาสุด เราเชือ่ วาสาเหตุทสี่ าํ คัญทีส่ ดุ ของฝุน จิว๋ PM 2.5 ในกรุงเทพ มหานครมาจากนํ้ามันดีเซล ซึ่งมาจากการจราจรที่ติดขัด นั่นเอง ปญหาฝุนจิ๋ว PM 2.5 ไมใชเพิ่งมี และไมใชเพิง่ จะมาเกินมาตรฐานเอาในชวงป พ.ศ. 2561 นี้ แตเคยมีมากอนหนานี้แลวทุกป เชนในป พ.ศ. 2556 พื้นที่ ริมถนนดินแดง มีคา PM 2.5 สูงถึง 112 ไมโครกรัมตอ ลูกบาศกเมตร (โปรดสังเกตวามีหนวยวัดเปนไมโครกรัม ตอลูกบาศกเมตรดวย ไวจะกลับมาอธิบายในตอนที่ 6 ตอไปวาทําไมตองสังเกตเรือ่ งหนวยวัดตรงจุดนีไ้ ว) ดูรปู ที่ 2 (http://www.pcd.go.th/public/publications/print_ report.cfm?task=report2556) ในขณะที่ในเหตุการณ ดรามาเมื่อเร็วๆ นี้หรือตนป พ.ศ. 2561 มีคา PM 2.5 อยูที่ 69-94 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร ซึ่งทั้งสองเหตุการณ เกินมาตรฐาน (เฉลีย่ รายวัน) ของบานเราทีอ่ ยูท ี่ 50 ไมโครกรัม ตอลูกบาศกเมตรทั้งคู แตจะดวยเหตุใดก็ไมรูที่เมื่อป พ.ศ. 2556 และปอนื่ ๆ ทีม่ คี า เกินมาตรฐานนัน้ ไมมเี หตุการณ ดรามาขึ้นในโซเชียลไทย แตที่สังเกตไดชัดเจน คือในป พ.ศ. 2561 นีม้ อี ากาศหนาวในเดือนมกราคมเกิดขึน้ หลายครัง้ และยาวนาน ทําใหอากาศนิ่งอยูเปนสัปดาห ผลกระทบจึง มองเห็นดวยตาไดชัดกวาปที่ผานๆ มา
รูปที่ 1 ผลกระทบจากการสัมผัสฝุนจิ๋ว PM 2.5 ทีม่ า : ขจรศักดิ์ แกวขจร “การพิทกั ษสขุ ภาพประชาชนจากฝุน PM 2.5 : ความรวมมือของเครือขาย” ทางออก รวมกันในการลดฝุนละออง PM 2.5 ใน กทม. กรมควบคุมมลพิษ, 23 มีนาคม 2561
40
GreenNetwork4.0 July-August 2019
รูปที่ 2 ความเขมขนของฝุนละออง PM 2.5 เฉลี่ย 24 ชั่วโมงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ป 2554-2561 ที่มา : สุพัฒน หวังวงศวัฒนา “ฝุน PM 2.5 แกอยางไรใหตรงจุด” ทางออกรวมกันในการลดฝุนละออง PM 2.5 ใน กทม. กรมควบคุมมลพิษ, 23 มีนาคม 2561 การวัด PM 2.5 ในอากาศในไทย โดยเฉพาะใน กรุงเทพมหานคร เพิง่ ทํากันเมือ่ ประมาณ 6-7 ป ทีผ่ า นมานีเ้ อง ถามวาทําไม กอนหนานีไ้ มวดั ทีไ่ มวดั ก็เพราะไมมเี ครือ่ งมืออุปกรณในการวัด ถามวาทําไม ไมซอื้ มาวัดกอนหนานีน้ านๆ ละ ติดปญหาอะไร…ก็ตดิ ปญหาทีไ่ มมงี บประมาณ จัดซือ้ ถามรุกตอวา ทําไมไมตงั้ งบประมาณ อันนีไ้ มขอตอบก็แลวกัน เพราะ บางคนหากคุนชินกับระบบราชการที่อุยอายอยูบาง ก็คงรูคําตอบนี้ไดดวย ตนเอง และขอปลอยใหกรมควบคุมมลพิษมาตอบคําถามนีเ้ องนาจะชัดเจนกวา ถาไมไดวัดมากอนหนานี้ แลวจะรูไดอยางไรวาแต กอนนี้มีหรือไมมีปญหา PM 2.5 คําตอบนี้ดูไดจากเรื่องที่ 3 และรูปที่ 2 คือ แมจะไมไดวดั มากอนหนานีก้ ต็ าม แตในระยะเวลา 5-6 ปนกี้ ม็ คี า เกินอยูท กุ ป อยูแ ลว และหากมองสภาพปญหาจราจรซึง่ เปนสาเหตุหลักทีก่ อ ใหเกิดปญหา PM 2.5 ทีไ่ มไดดขี นึ้ เลยใน 10 ปทผี่ า นมาก็คงอนุมานไดวา ปญหานีม้ มี านาน แลว เพียงแตเราไมรู ไมมีขอมูล จึงไมมีเรื่องรองเรียน และไมมีดรามา
41
อันนี้ก็ยังเปนเรื่องของความเขาใจผิด คือเมื่อเราพูดถึงพื้นที่ กรุงเทพมหานคร มันกวางใหญไพศาลถึง 1,569 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 40x40 กิโลเมตร แตเรามีสถานีตรวจวัดฝุน จิว๋ PM 2.5 ทีเ่ ปนทางการของกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) อยูเพียง 6 สถานี คือ พญาไท บางนา วังทองหลาง ริมถนนพระราม 4 ริมถนนลาดพราว และริมถนนอินทรพิทกั ษ ดังนัน้ การทีบ่ อกวาคุณภาพอากาศใน 6 สถานีนนั้ ไดมาตรฐาน ไมไดหมายความวาคุณภาพอากาศของทัว่ กรุงเทพมหานครไดมาตรฐาน ในทางตรงขาม การที่บอกวาตัวเลขสารมลพิษอากาศใน 6 พื้นที่เกินมาตรฐาน ก็ไมไดหมายความวา คุณภาพอากาศเลวไปทัว่ กรุงเทพมหานคร และดรามาอาจเกิดขึน้ ไดจากความเขาใจผิดนี้ ในทั้งสองกรณี แลวทําไมไมติดตั้งเครื่องมือวัดคุณภาพอากาศใหทั่วๆ คําตอบคือราคามันไมถูก คพ.จึงเลือกที่จะติดตั้งเครื่องมือไวในจุดที่เสี่ยงอันตรายกวาที่อื่น โดยมีสมมุติฐานวา ถาพืน้ ทีน่ โี้ อเค พืน้ ทีอ่ นื่ ก็จะโอเคไปดวย แตหากเราตองการไดขอ มูลทีเ่ ปนตัวแทนจริงของ ทัง้ กรุงเทพมหานคร พวกเราคงตองชวยกันเรียกรองภาครัฐและรัฐบาลดวยเสียงทีด่ งั กวานี้ เพื่อใหรัฐบาลจัดหางบประมาณให คพ.และ กทม.ใหมากพอ และเมือ่ นัน้ เราจึงจะไดขอ มูลทีเ่ ปนจริงและจํานวนมากพอทีจ่ ะมาสรุปเพือ่ หาทาง ทําใหอากาศที่เราหายใจกันอยูทุกวันนี้สะอาดขึ้น
GreenNetwork4.0 July-August 2019