Green Network Issue 95

Page 1


27–28th 11, 2019

THAILAND’S MOST EXCITING ENERGY EVENT

27–28 ǑǗǝƵ˫ƮǦǕnj 2562

˚ Ǧ nj˫NJǖǖǝƮǦǖLJ˝ǦnjǑǙ˘ƴƴǦnjNJ˭nj˚ ˚ LJƯǣƴǎǖǥǨNJǝǬNJǕ Lj˱˚njǨLj˝njNJ˭ǟ˺

IMPACT Convention Center, Bangkok Ǩǔ˱ǣƴNJǣƴNjǦnj˭

ǙǙƴNJǥǨǍ˭ǕnjǨƯ˝Ǧǖ˚ǜǔƴǦnjǬLJ˝ǒǖ˭Ljǣnjnj˭˝

REGISTER FOR FREE NOW: www.terrapinn.com/visitfreeexpo-TH-GNT

Ʈǜ˚Ǧ Ƕǯ Ǐ˼ǟ ˝ nj˘Ǎǟnj˺njǩǙǥǏ˼Ƶ ˝ ˘LJǩǟLJƴƴǦnj | Ʈǜ˚Ǧ ǰDZǯ Ǡ˘ǜƯ˝ǣƮǦǖǟ˘ǔǔnjǦǟ˳ǦǠǖ˘ǍǨƯ˝Ǧǖ˚ǜǔǒǖ˭ | Ʈǜ˚Ǧ DZǯǯǯ Ǐ˼Ǩ˝ Ư˝Ǧǖ˚ǜǔƴǦnj

70+ SPONSORS & EXHIBITORS | 120+ FREE CONFERENCE SESSIONS | 2000+ ATTENDEES

ǖǥǍǍǟ˚ƴǩǙǥƵ˳ǦǠnj˚ǦǕǬǒǒ̋Ǧ Ȳ ʒ% ŧŃĮŸŰĚŃĹŧȳ ʒ ǖǥǍǍǬǒǒ̋ǦǫnjƷnjǍNJ Ȳ ŸŠÒĮ úĮúîŰŠĚîĚƥîÒŰĚŃĹȳ

ǑǙ˘ƴƴǦnjǩǟƴǣǦNJ˫LjǕ˥ǩǙǥƮǦǖƮ˘Ʈ ǨƮ˨ǍǑǙ˘ƴƴǦnj Ȳ ŃĮÒŠ ɪ ŰŃŠÒĎúȳ ʒ ǖǥǍǍǬǤǍǖ˫LJ ȲEƗíŠĚô ŧƗŧŰúķŧȳ

ǖǥǍǍǪƱǖƴƯ˚ǦǕǬǒǒ̋Ǧǣ˘Ƶƶǖ˫Ǖǥ Ȳ ķÒŠŰ ĎŠĚôȳ ʒ ǩǙǥ ǨƱǖ˱ǣƯ˚ǦǕ ǖǥǍǍǬǒǒ̋ǦǕ˚ǣǕ ȲeĚîŠŃĎŠĚôŧȳ

Ʈ˘ƴǠ˘njǙǔȢ Ʈǖǥǎ˺ƮǨǒ˱ ǣƴǨƮ˭Ǖǖ˥Ȣ ǠǣƱǣǕ Ȳ¾ĚĹô ŰŸŠíĚĹúŧȢ ĎúÒŠíŃƖúŧ ʒ ŰŃƑúŠŧȳ

ǫƷ˝ǑǙ˘ƴƴǦnjǩǟƴǣǦNJ˫LjǕ˥ Ȳ ŃĮÒŠ ÒŝŝĮĚÒĹîúŧȳ ȼ ǬǒȢ ǨƱǖ˱˚ǣƴNJ˳ǦƱǜǦǔ ǖ˝ǣnjȢ ǨƱǖ˱˚ǣƴǟ˼Ǎnj˝˳Ǧ

ǑǙ˘ƴƴǦnjLjǦǔǩǍǍ Ȳ ŃĹƐúĹŰĚŃĹÒĮ ŝŃƑúŠȳ ʒ ǖǥǍǍǨƱǖ˱˚ǣƴǟ˳ǦǖǣƴǬǒǒ̋Ǧ Ȳ¥ ŧƗŧŰúķŧȳ

ǩǍLjǨLjǣǖ˭˚ Ȳ ÒŰŰúŠĚúŧȳ

ǨƱǖ˱˚ǣƴǫƷ˝Ǭǒǒ̋ǦǎǖǥǠǕ˘LJǑǙ˘ƴƴǦnj Ȳ+ĹúŠĎƗ účƥîĚúĹŰ ÒŝŝĮĚÒĹîúŧȳ

Ʈ˘ƴǠ˘njǙǔǟ˳ǦǠǖ˘ǍNJ˭˚ǣǕ˼˚ǣǦǝ˘Ǖ Ȳ úŧĚôúĹŰĚÒĮ ƑĚĹôȳ

Jp Ȣ íĮŃîīîĕÒĚĹȢ ôŠŃĹúŧ

Ʈ˘ƴǠ˘njǙǔǫnjNJǥǨǙ ȲpččŧĕŃŠú ¾ĚĹôȳ

ǑǙ˘ƴƴǦnjǩǟƴǣǦNJ˫LjǕ˥ǍnjƷ˘˝njLJǦLJǒ̋Ǧ Ȳ ŃĮÒŠ ŃŃčŰŃŝŧȳ

ǪƱǖƴƮǦǖLJ˝ǦnjƮǦǖǨƴ˫njǩǙǥƮǦǖǙƴNJ˺nj ȲJĹƐúŧŰĚĹĎ ʒ =ĚĹÒĹîĚĹĎ ŝŠŃĨúîŰŧȳ

ǩǏƴǪƸǙ˚ǦǨƸǙǙ˥ Ȳ ŃĮÒŠ ŝÒĹúĮŧȳȢ ǣ˺ǎƮǖdž˥ǕLJ ˯ Lj˫LJ ȲķŃŸĹŰĚĹĎ ʒ ŠÒîīĚĹĎȳ ʒ ǨƱǖ˱˚ǣƴǩǎǙƴƮǖǥǩǟ Ǭǒǒ̋Ǧ ȲĚĹƐúŠŰúŠŧȳ ǣ˺ǎƮǖdž˥NJ˭˚

ǓǦǕǫnjǩǠǙ˚ƴǑ˘ƮǣǦǝ˘Ǖ Ȳ úŧĚôúĹŰĚÒĮ ȳȮ ǨƷ˫ƴǑǦdž˫ƷǕ˥ Ȳ ŃķķúŠîĚÒĮȳ Ȯ ǖǥǍǍ ǟǦNjǦǖdž˼ǎǪǓƱ Ȳ ¥ŰĚĮĚŰƗȺŧîÒĮú ŧƗŧŰúķŧȳ

REGISTER FOR FREE NOW: www.terrapinn.com/visitfreeexpo-TH-GNT



Contents September-October 2019 Green Industry 7

พัฒนาสูความยั่งยืน by ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี

Green Report 8 10

พิธีมอบรางวัลอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry Award) ป 2562 ยกระดับโรงงานไทยที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม by กองบรรณาธิการ โกลบอลกรีนเคมิคอล และ ที.ซี.ฟารมาซูนิคอลฯ 2 บริษทั รางวัลอุตสาหกรรมสีเขียว มุง ผลิตสินคาเปนมิตรตอสิง่ แวดลอม by กองบรรณาธิการ

38

Green Focus

20 โรงไฟฟาชุมชน สวัสดิการแหงรัฐ…รูปแบบใหม 26 35

Green Factory 11

BMW เปดตัวโรงงานประกอบแบตเตอรี่รถยนตปลั๊กอินไฮบริด ในนิคมอุตสาหกรรม จ.ชลบุรี by กองบรรณาธิการ

14

24

ปตท. จับมือ GPSC รวมวิจยั โรงงานแบตเตอรีต่ น แบบ ตอยอดการผลิต เชิงพาณิชย by กองบรรณาธิการ ภาครัฐ-ภาคเอกชนไทย รวมกับ ญี่ปุน จัดงาน Maintenance and Resilience Asia 2019 ยกระดับภาคการผลิตโรงงานในไทยและคมนาคมใหเทียบเทาญี่ปุน by กองบรรณาธิการ “PEA Solar Hero” “One Stop Service” เพื่อการผลิตไฟฟาจาก “Solar Rooftop” by กองบรรณาธิการ

22

การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนดานพลังงาน ครั้งที่ 37 เวทีความรวมมือ ดานพลังงานของอาเซียน by กองบรรณาธิการ

Green World 15

ทั่วโลกผนึกพันธมิตรโรงงานสีเขียวรักษสิ่งแวดลอม by กองบรรณาธิการ

Green Article 16 18 27

การประเมินวัฏจักรชีวิต : เครื่องมือเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจหมุนเวียน ที่ยั่งยืนของอุตสาหกรรม by ผศ. ดร.ธภัทร ศิลาเลิศรักษา JGSEE มจธ. ดรามา เรื่อง PM 2.5 ตอน 4 : รูใหไว ไหวใหทัน by รศ. ดร.ศิริมา ปญญาเมธีกุล, ศ. กิตติคุณ ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ “ตุกตุก” รถเครื่องสามลอไทย พัฒนาสูรถตุกตุกไฟฟาดัดแปลง สําหรับธุรกิจ SME ไทย ตอน : เสนทางกวา…จะมาเปนรถตุกตุกไฟฟา by ผศ. ดร.ชนะ เยี่ยงกมลสิงห

กรมโรงงานอุตสาหกรรม เดินหนาผลักดันใหทุกโรงงานพัฒนา สูการเปนอุตสาหกรรมสีเขียว by กองบรรณาธิการ

Green Building

28 “สินธร ตนสน” อาคารเขียว อนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม by กองบรรณาธิการ

Smart City 30

กระทรวงมหาดไทย จับมือ การอุดมศึกษาฯ นําเทคโนโลยี สวทช. พัฒนาเมืองอัจฉริยะ ชวยบริหารจัดการสิ่งแวดลอมเมือง by กองบรรณาธิการ

Energy Saving 32

Special Scoop 13

by พิชัย ถิ่นสันติสุข วาดวยเรื่องของ “Flexibility Options of Power Systems” by นรินพร มาลาศรี การไฟฟาสวนภูมิภาค จัดงาน Innovation Day 2019 ขับเคลื่อนสู PEA Digital Utility เปนองคกรแหงนวัตกรรม by กองบรรณาธิการ

Green People

Green Scoop 12

ไบโอพลาสติกที่ (อาจ) ไมยอยสลาย by ดร.กริชชาติ วองไวลิขิต, ดร.ณัฐวิญญ ชวเลิศพรศิยา, ศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล

สวทช. รวมกับ สนพ. จัดสัมมนาเสนอผลงานวิจัยดานระบบกักเก็บ พลังงาน by กองบรรณาธิการ

33 Green Biz Green Technology & Innovation 36 2019 Taiwan Trade Mission of Green Technology to Thailand โชวโซลูชั่นเทคโนโลยีลดการใชพลังงาน นวัตกรรมอัจฉริยะ by กองบรรณาธิการ

Green Travel 40 มูลนิธิชัยพัฒนา จับมือ อพท. เปด 6 เสนทางเที่ยวคุงบางกะเจา

41

โครงการ Green Tourism “เทีย่ วอยางไรใหยงั่ ยืน ตามศาสตรพระราชา” อพท. พัฒนาประวัติศาสตรทองเที่ยวจังหวัดเพชรบุรี เปนชุมชนตนแบบ อนุรักษทรัพยากรทองถิ่น by กองบรรณาธิการ สนง.การทองเที่ยวและกีฬาจังหวัดสกลนคร เปดเสนทางทองเที่ยว “3 ธรรม” สรางรายไดใหชุมชนและประเทศ by กองบรรณาธิการ


ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ ฯพณฯ พลอากาศเอก กําธน สินธวานนท คณะที่ปรึกษา ดร.ปยสวัสดิ์ อัมระนันทน นินนาท ไชยธีรภิญโญ ดร.อัศวิน จินตกานนท ศ. ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ ดร.ประเสริฐ ภัทรมัย พานิช พงศพิโรดม ประสงค ธาราไชย ดร.กมล ตรรกบุตร ดร.ประเสริฐ สินสุขประเสริฐ ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี ไกรฤทธิ์ นิลคูหา ดร.สุรพล ดํารงกิตติกลุ ดร.ทวารัฐ สูตะบุตร ชาย ชีวะเกตุ รศ. ดร.สิงห อินทรชูโต บรรณาธิการอํานวยการ/บรรณาธิการผูพิมพโฆษณา กิตติ วิสุทธิรัตนกุล บรรณาธิการ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ นิภา กลิ่นโกสุม กองบรรณาธิการ นริศรา ออนเรียน เลขานุการกองบรรณาธิการ ปฐฐมณฑ อุยพัฒน พิสูจนอักษร ธิดาวดี บุญสุยา ศิลปกรรม ศศิธร มไหสวริยะ ประสานงาน ภัทรกันต กิจสินธพชัย ผูจัดการฝายการตลาด เขมจิรา ปลาทิพย ฝายการตลาด กัลยา ทรัพยภิรมย เลขานุการฝายการตลาด ชุติมันต บัวผัน ฝายวิเทศสัมพันธ ศิรินทิพย โยธาพันธ แยกสี บริษัท คลาสิคสแกน จํากัด โรงพิมพ หจก.รุงเรืองการพิมพ

เจาของ บริษัท เทคโนโลยี มีเดีย จํากัด

471/3-4 อาคารพญาไทเพลส ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0-2354-5333 (ฝายการตลาด Ext. 230) แฟกซ 0-2640-4260 http://www.technologymedia.co.th http://www.greennetworkthailand.com E-Mail : editor@greennetworkthailand.com

สวัสดีครับ ทานสมาชิกและทานผูอานทุกทาน Green Network เลมที่ 95 นี้ กําลังขยับเขาสูไ ตรมาสที่ 4 กอนจะสงทายปหมู กันแลว ภาคสวนโรงงานอุตสาหกรรมตางๆ เตรียมปดยอดผลประกอบการกันยกใหญ แตเหนือสิง่ อืน่ ใดในฐานะผูป ระกอบการไมเพียงแคยอดตัวเลขผลกําไร-ขาดทุนเทานัน้ แตตอ งดําเนินธุรกิจอยูบ นความรับผิดชอบตอสังคมดวย โดยเฉพาะการใสใจตอปญหา สิ่งแวดลอมทั้งภายในและภายนอกบริษัท มาเริม่ ตนกันทีค่ อลัมนซงึ่ เกีย่ วของโดยตรงกับภาคโรงงานอุตสาหกรรม Green Industry ซึง่ ดร.วิฑรู ย สิมะโชคดี ไดนาํ เสนอเรือ่ งราวทีเ่ นนในเรือ่ งของการปรับปรุง องคกรไปสู “อุตสาหกรรมสีเขียว” ถือเปนวิธกี ารหนึง่ ทีจ่ ะนําไปสูค วามยัง่ ยืนได Green Report เปนพิธีมอบรางวัลอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry Award) ป 2562 ใหแกสถานประกอบการที่ไดรับการรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 4 จํานวน 115 ราย และสถานประกอบการทีไ่ ดรบั การรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 5 จํานวน 24 ราย สอดคลองกับ Green People ทางกองบรรณาธิการไดมโี อกาสสัมภาษณพเิ ศษ ทานอธิบดีและรองอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม ไดเดินหนาผลักดันใหทกุ โรงงาน พัฒนาสูก ารเปนอุตสาหกรรมสีเขียวอยางไร และพรอมสงเสริมผูป ระกอบการพัฒนา เขาสูก ารเปนอุตสาหกรรมสีเขียว 5 ระดับ โดยจะผลักดันใหไดรบั ใบรับรองอุตสาหกรรม สีเขียวเพิ่มขึ้นปละ 2,000 ราย Green World นําเสนอเรือ่ ง “ทัว่ โลกผนึกพันธมิตรโรงงานสีเขียวรักษสงิ่ แวดลอม” ผูประกอบการภาคอุตสาหกรรมองคกรระหวางประเทศตางๆ ทั่วโลกใหความสนใจ ดานสิง่ แวดลอมเปนอยางมาก เชน Fuenix Ecogy Group ตัง้ อยูใ นเมืองเวียรต ประเทศ เนเธอรแลนด ไดทาํ ขอตกลงรวมกับ ดาว (NYSE: DOW) ประเทศสหรัฐอเมริกา เพือ่ ใหเปนมาตรฐานสากลวาดวยความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม Green Factory พาไปเยี่ยมชม โรงงานประกอบแบตเตอรี่รถยนตปลั๊กอิน ไฮบริดของ BMW ในนิคมอุตสาหกรรมจังหวัดชลบุรี เปนโรงงานประกอบโมดูลและ ตัวแบตเตอรีแ่ หงแรกและแหงเดียวในภูมภิ าคอาเซียนนี้ และยังไดรบั เกณฑมาตรฐาน โรงงานเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม Green Technology&Innovation ประเทศไตหวัน จัดงาน 2019 Taiwan Trade Mission of Green Technology to Thailand โชว โซลูชนั่ เทคโนโลยีลดการใชพลังงาน นวัตกรรมอัจฉริยะ เปนการพบปะและเจรจาธุรกิจ คูคากับประเทศไทย ซึ่งไตหวันเปนประเทศที่มีการใชพลังงานอยางคุมคา จึงทําให ประชากรลดอัตราการสิ้นเปลืองไฟฟามาอยางยาวนาน ปดทาย Green Focus โดยการไฟฟาสวนภูมิภาค จัดงาน “Innovation Day 2019” เพือ่ สงเสริมการศึกษา การวิจยั การสรางนวัตกรรมและพัฒนางานทีเ่ กีย่ วของ กับธุรกิจพลังงานไฟฟาเพื่อขับเคลื่อนองคกรไปสู PEA Digital Utility แลวพบกันใหมฉบับหนา สวัสดีครับ กิตติ วิสุทธิรัตนกุล



GREEN

Industry ดร.วิฑูรย สิมะโชคดี

พัฒนา

สู ความยั่งยืน ความรั บ ผิ ด ชอบต อ สั ง คม (Corporate Social Responsibility : CSR) มีความสําคัญมากขึน้ ทุกขณะ จนอาจ กลาวไดวา ธุรกิจอุตสาหกรรมไมทําไมไดแลว การปรับปรุง องคกรไปสู “อุตสาหกรรมสีเขียว” เปนวิธกี ารหนึง่ ทีจ่ ะนําไปสู ความยั่งยืน (Sustainable) ได หลักการของ “อุตสาหกรรม สีเขียว” ทีม่ งุ ไปสูก ารพัฒนาอยางยัง่ ยืนนัน้ ความยัง่ ยืนจะเกิด ขึ้นไมไดถาสังคมและชุมชนไมยอมรับ และจะยั่งยืนอยูไมได ถาไมมีกําไรเชนกัน แตเดิมนัน้ ตัวชีว้ ดั ทางธุรกิจทีส่ าํ คัญมีอยู 4 ตัว คือ ตนทุน คุณภาพ การบริการ และความรวดเร็ว ซึ่งผูกติดกับการลด ตนทุนและเพิม่ กําไรเปนสวนใหญ แตวนั นีธ้ รุ กิจอุตสาหกรรม จะไมสามารถคงอยูไดอยางยั่งยืน ถาขาดตัวชี้วัดอีก 2 ตัว ทีส่ าํ คัญ คือ นวัตกรรม (Innovation) และความรับผิดชอบตอ สังคม เหตุผลทีน่ วัตกรรมมีความสําคัญ เพราะมีสนิ คาใหมๆ เกิดขึน้ อยูต ลอดเวลา ซึง่ ทําใหเราตองพยายามพัฒนา และสราง ความแตกตางเพือ่ ใหแขงขันได สวนสาเหตุทคี่ วามรับผิดชอบ ตอสังคมเปนสิ่งจําเปนมากขึ้นสําหรับการทําธุรกิจในสมัยนี้ เพราะถาไมไดรับการยอมรับจากสังคม ธุรกิจก็ไมสามารถ ยั่งยืนอยูได

7

พื้นฐานของการเปนอุตสาหกรรมสีเขียว จะอยูบนแนวความคิดหลัก 3 ประการ คือ

อุตสาหกรรมตองเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เราทําไดโดยการปรับปรุงกระบวนการผลิตและ เทคโนโลยี การประยุกตใชเทคโนโลยี 3R (Reuse Reduce Recycle) การประหยัดทรัพยากรและ ใชทรัพยากรอยางคุม คา (Resource Efficiency) การบริหารจัดการขยะและสิง่ แวดลอมอยางเปนระบบ ครบวงจร โดยอุตสาหกรรมในอนาคตตองเปนอุตสาหกรรมทีพ่ ฒ ั นานําไปสูส งั คมคารบอนตํา่ ซึง่ อาจตอง ตัง้ อยูใ นพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco-Industry) ทีก่ าํ หนดเปนพืน้ ทีเ่ ฉพาะ เพราะนับวันอุตสาหกรรม ที่เปนเอกเทศหรือที่อยูเดี่ยวๆ อาจจะเกิดยากขึ้น การประกอบกิจการโดยมีความรับผิดชอบตอสังคม การประกอบกิจการจะตองไมสรางผลกระทบ และปญหาใหกับสังคมหรือชุมชนโดยรอบ ผูประกอบการตองประกอบกิจการโดยไมเอาเปรียบสังคม ชุมชน และแมแตพนักงานของตนเอง และจะตองประกอบกิจการถูกตองตามกฎหมายดวย การอยูรวมกับชุมชนไดอยางปกติสุข อุตสาหกรรมตองเปนสวนหนึ่งของชุมชนและพื้นที่ที่อยู และทําใหประชาชนมีความผูกพันกับโรงงานอุตสาหกรรมโดยตองเปดโอกาสใหประชาชนเขาถึง และ ตองสื่อสารกันใหเขาใจ สรางความรักและความเขาใจที่ดีตอกัน เพื่อใหประชาชนเกิดความไววางใจ ซึ่งกันและกัน การปรับเปลี่ยนความคิดของผูประกอบการโดยยึดหลักการ 3 ขอขางตน จึงมีความสําคัญตอ การปรับเปลีย่ นพฤติกรรมในการประกอบกิจการและดําเนินธุรกิจ ทีจ่ ะพัฒนาไปสูค วามยัง่ ยืนยาวนานได ทัง้ นี้ ความสําเร็จในการพัฒนาเปนอุตสาหกรรมสีเขียว จะตองอาศัยกลไกตางๆ ของหนวยงาน ภาครัฐ ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม และภาคประชาชน รวมดวยชวยกัน ครับผม!

GreenNetwork4.0 September-October 2019


GREEN

Report กองบรรณาธิการ

พิธีมอบรางวัลอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry Award) ป 2562 ยกระดับโรงงานไทยที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม เมือ่ เร็วๆ นี้ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ไดจดั พิธมี อบ รางวัลรางวัลอุตสาหกรรมสีเขียวและงานสัมมนาแลกเปลี่ยนความรู “Green Industry Forum” โดยมี ทองชัย ชวลิตพิเชฐ อธิบดี กรมโรงงานอุตสาหกรรม เปนประธานในพิธีเปด โครงการสงเสริมและพัฒนาสถานประกอบการ สูอุตสาหกรรมสีเขียว ประจําป 2562 ซึ่งเปนการ ดําเนินโครงการอุตสาหกรรมตามนโยบายสงเสริม ใหโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศไทยยกระดับ เปนอุตสาหกรรมสีเขียวมากขึ้น โดยมีเปาหมาย ในการดําเนินงานตามยุทธศาสตรชาติ 20 ป ดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ทีเ่ ปนมิตร ทองชัย ชวลิตพิเชฐ ตอสิ่งแวดลอม อุตสาหกรรมสีเขียว หรือ Green Industry คือ อุตสาหกรรมทีย่ ดึ มัน่ ในการประกอบกิจการทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม ดวยการ มุง เนนในเรือ่ งของการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการผลิตและการบริหารจัดการ สิง่ แวดลอมทัง้ ภายในภายนอกโรงงานอยางตอเนือ่ ง พรอมกับการดําเนินธุรกิจดวย ความรับผิดชอบตอสังคมซึ่งครอบคลุมไปถึงเศรษฐกิจสีเขียว ในขณะเดียวกัน ภาคอุตสาหกรรมโรงงานตางๆ จะตองประกอบการโดยคํานึงการลดผลกระทบและ ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นจากการบริโภคหรือการผลิตใดๆ ที่สงผลตอสภาพแวดลอม และระบบนิเวศวิทยาเปนไปตามขอกําหนดกระทรวงอุตสาหกรรม โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรมไดสง เสริมและผลักดันใหผปู ระกอบการภาค อุตสาหกรรมมีการพัฒนาและปรับปรุงอยางตอเนือ่ ง เพือ่ เขาสูก ารเปนอุตสาหกรรม สีเขียวไว 5 ระดับ ดังนี้ ระดับที่ 1 ความมุง มัน่ สีเขียว (Green Commitment) คือ การแสดง ความมุงมั่นในรูปแบบของนโยบาย เปาหมายและแผนงานที่จะลดผลกระทบตอ สิ่งแวดลอม และมีการสื่อสารภายในองคกรใหทราบโดยทั่วกัน 8

ระดับที่ 2 ปฏิบตั กิ ารสีเขียว (Green Activity) คือ การดําเนินกิจกรรม ตามนโยบาย เปาหมายและแผนงานทีก่ าํ หนดเพือ่ ลดผลกระทบตอสิง่ แวดลอมอยาง เปนรูปธรรมและสําเร็จตามความมุง มัน่ ทีต่ งั้ ไว โดยองคกรตองกําหนดนโยบายดาน สิ่งแวดลอมซึ่งครอบคลุมถึงความมุงมั่นที่จะดําเนินการใดๆ ที่เกี่ยวของกับการลด ผลกระทบดานสิง่ แวดลอม หรือการปองกันมลพิษการใชทรัพยากรอยางยัง่ ยืน และ สื่อสารนโยบายดานสิ่งแวดลอมใหบุคลากรในองคกรทราบ ระดับที่ 3 ระบบสีเขียว (Green System) คือ การบริหารจัดการสิง่ แวดลอม อยางเปนระบบ มีการติดตาม ประเมินผลและทบทวนเพือ่ การพัฒนาอยางตอเนือ่ ง หรือการไดรบั รางวัลดานสิง่ แวดลอมอันเปนทีย่ อมรับ หรือไดรบั การรับรองมาตรฐาน ที่เกี่ยวของกับการอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอมตางๆ ซึ่งผูบริหารสูงสุดของ องคกรตองกําหนดนโยบายดานสิ่งแวดลอม มีความมุงมั่นที่จะดําเนินการลด ผลกระทบดานสิ่งแวดลอม หรือการปองกันมลพิษการใชทรัพยากรอยางยั่งยืน การลดผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พรอมกันนี้องคกรจัดทํา แผนงานดานสิง่ แวดลอมเพือ่ ลดผลกระทบดานสิง่ แวดลอม หรือการปองกันมลพิษ โดยแผนงานดานสิ่งแวดลอมตองประกอบดวยวัตถุประสงค เปาหมาย ขั้นตอน การปฏิบัติ ผูรับผิดชอบ และกรอบระยะเวลาแลวเสร็จ ระดับที่ 4 วัฒนธรรมสีเขียว (Green Culture) คือ การที่ทุกคนใน องคกรมีจิตสํานึกรวมกันในการสงวนและรักษาไวซึ่งสิ่งแวดลอมที่ดี และใหความ รวมมือรวมใจในทุกดานของการประกอบกิจการใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและ ดําเนินการตางๆ จนกลายเปนสวนหนึง่ ของวัฒนธรรมองคกร ทีม่ รี ะบบการจัดการ ดานสิ่งแวดลอมเปนไปตามเกณฑกําหนด และตองมีการสรางวัฒนธรรมองคกร ดานสิง่ แวดลอมนํามาปฏิบตั ใิ หเกิดประสิทธิผล โดยใหครอบคลุมตามหลักการของ มาตรฐานความรับผิดชอบตอสังคม ISO26000 ซึง่ ดําเนินการตามโครงสรางบริหาร ที่ชวยสงเสริมใหเกิดการปฏิบัติอยางมีจริยธรรมดานสิ่งแวดลอมในองคกร และ องคกรตองผลักดันใหเกิดความเคารพตอการปฏิบัติตามแนวทางของสากล หรือ เคารพตอสิทธิมนุษยชนในดานสิ่งแวดลอมที่ดี และใหการยอมรับความเปนสากล ของสิทธิมนุษยชนในดานสิ่งแวดลอมเพื่อเปดเผยตอสาธารณะ

GreenNetwork4.0 September-October 2019


ระดับที่ 5 เครือขายสีเขียว (Green Network) คือ การขยายขอบเขต ของการเปนอุตสาหกรรมสีเขียวจากภายในองคกรเองออกสูภายนอก ตลอด โซอปุ ทาน (Supply Chain) โดยสนับสนุนใหคคู า และพันธมิตรเปนอุตสาหกรรมสีเขียว ดวย ซึง่ ถือวาเปนเกณฑกาํ หนดอุตสาหกรรมสีเขียวระดับสูงทีส่ ดุ ของการดําเนินการ อุตสาหกรรมสีเขียว โดยองคกรตองมีระบบการจัดการดานสิ่งแวดลอมและมีการ สรางวัฒนธรรมองคกรในการสงเสริม สราง และสานสัมพันธกจิ กรรมดานสิง่ แวดลอม กับผูม สี ว นไดเสียทีค่ รอบคลุมทัง้ ชุมชน ผูบ ริโภค และสังคม ซึง่ จะตองทําใหประสบ ความสําเร็จเปนที่ประจักษ และมีการพัฒนาอยางตอเนื่องเพื่อมุงสูอุตสาหกรรม สีเขียวและนํามาปฏิบัติใหเกิดประสิทธิผล และสงเสริมการพัฒนาหรือมีสวนรวม ของชุมชนในการกระตุน จิตสํานึกเสริมสรางความรูค วามเขาใจตอผูบ ริโภค โดยให ความสําคัญและใสใจตอสิ่งแวดลอม ทั้งนี้ ในการดําเนินโครงการอุตสาหกรรมสีเขียวจะมีหลายหนวยงาน รวมมือกัน ประกอบดวย สํานักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม (สปอ.) กรมโรงงาน อุตสาหกรรม (กรอ.) กรมสงเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐาน และการเหมืองแร (กพร.) สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) สํานักงานรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (กนอ.) และสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (ส.อ.ท.) ซึง่ การดําเนินงานโครงการ ตางๆ สามารถเทียบไดกับระดับของอุตสาหกรรมสีเขียว สําหรับการจัดงานรางวัลอุตสาหกรรมสีเขียวในครั้งนี้ เปนการมอบรางวัล แกสถานประกอบการที่ไดรับการยกระดับเปนอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 4 และ ระดับที่ 5 ในป พ.ศ. 2562 ซึง่ มีจาํ นวน 139 ราย ประกอบดวย สถานประกอบการ ทีไ่ ดรบั การรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับที่ 4 วัฒนธรรมสีเขียว จํานวน 115 ราย และสถานประกอบการทีไ่ ดรบั การรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับที่ 5 เครือขาย สีเขียว จํานวน 24 ราย ในการเปนโรงงานอุตสาหกรรมทีด่ าํ เนินกิจการใหสามารถ อยูร ว มกับชุมชนโดยไดไมกระทบตอสิง่ แวดลอม ไมวา จะเปนการปรับปรุงเทคโนโลยี การผลิต การลดการใชทรัพยากร การลดปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจก การเพิ่มปริมาณการใชพลังงานทดแทนในภาคอุตสาหกรรมและสนับสนุนการมี 9

สวนรวมของชุมชนในการแกไขปญหาและตรวจสอบสภาพแวดลอม สําหรับการจัดงานรางวัลอุตสาหกรรมสีเขียว ถือเปนการสรางขวัญและ กําลังใจแกสถานประกอบการตางๆ ทีม่ งุ พัฒนาอุตสาหกรรมทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม เปนองคกรทีม่ ีความรับผิดชอบตอสังคม และเพือ่ ใหโรงงานอุตสาหกรรมสามารถ อยูรวมกับสังคมและชุมชนไดอยางมีความสุขและยั่งยืน รวมทั้งเปนการสราง ภาพลักษณและทัศนคติทดี่ ตี อ ภาคอุตสาหกรรมของไทยอีกทางหนึง่ ดวย ซึง่ ทีผ่ า นมา กรมโรงงานอุตสาหกรรมไดตรวจประเมินสถานประกอบการที่ขอเลื่อนระดับสู อุตสาหกรรมสีเขียวอยางเขมงวด โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ ยกระดับสถานประกอบการ อุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 3 ถึงระดับที่ 5 พรอมทัง้ ไดมอบหมายใหสถาบันรับรอง มาตรฐาน ISO (International Organization for Standardization) เปนทีป่ รึกษา โครงการ และไดรับความสนใจจากสถานประกอบการทั่วประเทศที่จะขอรับการ ตรวจประเมินเพื่อการรับรองอุตสาหกรรมสีเขียว อยางไรก็ตาม กรมโรงงานอุตสาหกรรมไดตั้งเปาหมายที่จะผลักดันให ผูป ระกอบการไดรบั ใบรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวเพิม่ ขึน้ ปละ 2,000 ราย ซึง่ ในปจจุบนั มีโรงงานที่ไดรับการรับรองอุตสาหกรรมสีเขียวแลวจํานวน 37,212 ใบรับรอง แบงเปนระดับที่ 1 จํานวน 20,581 ใบรับรอง ระดับที่ 2 จํานวน 8,737 ใบรับรอง ระดับที่ 3 จํานวน 7,329 ใบรับรอง ระดับที่ 4 จํานวน 493 ใบรับรอง และระดับที่ 5 จํานวน 72 ใบรับรอง แสดงใหเห็นวามีการผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมอยาง ตอเนื่องและเปนโรงงานไดยึดมั่นในการประกอบกิจการดวยความรับผิดชอบตอ สังคมทั้งภายในและภายนอกองคกรตลอดหวงโซอุปทานเพื่อเขาสูการพัฒนา ทั้งหมดทั้งมวลนี้ การจัดทําขอกําหนดอุตสาหกรรมสีเขียวนั้น เพื่อสงเสริม และผลักดันใหอตุ สาหกรรมไดมกี ารพัฒนาและปรับปรุงเขาสูก ารเปนอุตสาหกรรม สีเขียวอยางตอเนื่อง ในขณะเดียวกันภาคสวนโรงงานอุตสาหกรรมตางใหความ สําคัญดานสิ่งแวดลอมและพรอมปรับปรุงเขาเกณฑกําหนดอุตสาหกรรมสีเขียว อยางคึกคัก เพือ่ มุง หวังรวมกันสรางมาตรฐานยกระดับโรงงานไทยใหเติบโตอยาง มั่นคง เคียงคูชุมชนไทยตอไปอยางยั่งยืน

GreenNetwork4.0 September-October 2019


GREEN

Report กองบรรณาธิการ

โกลบอลกรีนเคมิคอล และ ที.ซี.ฟาร์มาซูติคอลฯ 2 บริษัทรางวัลอุตสาหกรรมสีเขียว มุ่งผลิตสินค้าเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ผลประกอบการของโรงงานอุตสาหกรรมที่ได้มีการพัฒนาและปรับปรุง อย่างต่อเนื่องเพื่อเข้าสู่การเป็นอุตสาหกรรมสีเขียวไว้ 5 ระดับ ที่ผา่ นเกณฑ์จาก กรมโรงงานอุตสาหกรรมในแต่ละปีนนั้ ท�ำให้ภาคอุตสาหกรรมต่างๆ ตืน่ ตัวพร้อม ให้ความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ ซึง่ นับว่าเป็นผูป้ ระกอบการทีม่ คี วามรับผิดชอบ ต่อชุมชน สังคม และด�ำเนินธุรกิจให้เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม จนกลายเป็นวัฒนธรรม องค์กรจากภายในสู่ภายนอก บริษทั โกลบอลกรีนเคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GGC เป็นผูป้ ระกอบการ ทีเ่ ข้ารับรางวัลอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) ระดับ 5 ซึง่ เป็นระดับสูงสุด ในงานรับรางวัลอุตสาหกรรมสีเขียว ประจ�ำปี 2562 ทีผ่ า่ นมา โดยบริษทั ฯ ได้รางวัล อุตสาหกรรมดีเด่นในระดับที่ 5 เครือข่ายสีเขียว (Green Network) ต่อเนือ่ งเป็นปี ที่ 2 โดยรางวัลดังกล่าว คือการขยายขอบเขตการเป็นอุตสาหกรรมสีเขียวจากภายใน องค์กรสู่ภายนอก ตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) โดยสนับสนุนให้คู่คา้ และพันธมิตรเป็นอุตสาหกรรมสีเขียวด้วย นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้จดั กิจกรรม CSR ทีจ่ ะมอบหมายให้พนักงานลงพืน้ ที่ ท�ำกิจกรรมการคัดแยกขยะ ร่วมกับชุมชน มูลนิธิ ทีม่ แี นวคิดในการรักษาสิง่ แวดล้อม โดยการเข้าไปเสริมสร้างความรูใ้ ห้กบั ชุมชน เพือ่ ให้เกิดเป็นรัฐวิสาหกิจชุมชนด้าน การแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อมในชุมชน ให้เกิดความเข้มแข็งอย่างยัง่ ยืน ทีส่ ำ� คัญก็ได้ ปลูกฝังเด็กๆ เยาวชนไทย ให้ตระหนักถึงการร่วมกันรักษาสิง่ แวดล้อม ไม่วา่ จะเป็น สิ่งแวดล้อมทางทะเล เพื่อช่วยสัตว์น�้ำไม่ได้ได้รับผลกระทบจากพลาสติกเพื่อลด ปัญหาขยะพลาสติกและสิง่ แวดล้อมในชุมชนต่างๆ โดยเฉพาะพืน้ ทีจ่ งั หวัดทีม่ กี ลุม่ โรงงานอุตสาหกรรมตั้งอยู่ ทางบริษัทฯ ได้มีการเชิญชวนกลุ่มโรงงานที่เป็นคู่คา้ ทีท่ ำ� เกีย่ วกับการรีไซเคิล หรือขยะรีไซเคิล ทีส่ ามารถผลิตเป็นสินค้าอุปโภค-บริโภค ทีใ่ ช้ในชีวติ ประจ�ำวัน และได้ขยายออกไปยังสถานทีอ่ นื่ ๆ เช่น วัด ก็จะผลิตจีวรทีท่ ำ� จากวัตถุดิบธรรมชาติ หรือวัสดุรีไซเคิล นิคม เกษมปุระ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บริษทั โกลบอลกรีนเคมิคอล จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GGC กล่าวว่า “ในฐานะทีเ่ ป็นผูป้ ระกอบการผลิตภัณฑ์ เคมี เ พื่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มของไทยและเป็ น Green Flagship ของกลุม่ GC GGC บริษทั เราจึงมุง่ มัน่ รักษา ความเป็นอุต สาหกรรมสีเขียวตลอด สายการผลิต ตัง้ แต่การเริม่ ต้นออกแบบ โครงสร้ า งโรงงาน แหล่ ง วั ต ถุ ดิ บ กระบวนการผลิต ตลอดจนการน�ำไปใช้ เป็นผลิตภัณฑ์ พร้อมกับปลูกฝังค่านิยมนี้ นิคม เกษมปุระ ให้เกิดขึน้ ในใจพนักงาน และขยายไปยัง คูค่ า้ ให้มงุ่ มัน่ รักษามาตรฐานแห่งคุณภาพนีไ้ ว้เพือ่ สิง่ แวดล้อมและสังคมไทยในอนาคต 10

ดังนัน้ ด้วยแนวทางนโยบายของบริษทั ฯ การดูแลรับผิดชอบด้านสิง่ แวดล้อมถือเป็น หัวใจส�ำคัญของการด�ำเนินธุรกิจ โดยก�ำหนดนโยบายเป็น 2 แนวทาง คือ 1. เริม่ จาก การวางนโยบายองค์กรไปสู่พนักงานให้น�ำไปสู่การปฏิบัติ และพนักงานเองก็เป็น ตัวอย่างที่ดี และจากนั้นพนักงานก็จะชักชวนคนรอบข้างให้ค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อม ด้วยการน�ำหัวใจสีเขียวกลับไปสูค่ รอบครัว ชุมชน และสังคมใหญ่ และ 2. ในระดับ ของบริษัท องค์กร ผู้บริหารก็จะก�ำหนดกลยุทธ์แนวทางส่งเสริมที่มีระบบบริหาร จัดการด้านสิ่งแวดล้อม พร้อมกับเชิญหน่วยงานกลางเข้ามาร่วมตรวจสอบ ซึ่ง กลุ่มโรงงานในเครือของบริษัทฯ มีทั้งหมด 15 โรงงาน ที่เข้าสู่ระบบกระบวนการ อุตสาหกรรมสีเขียว ดังนัน้ GGC จึงได้นำ� นโยบายด้านสิง่ แวดล้อมเป็นกลยุทธ์ของ องค์กรที่เป็นลักษณะของความยั่งยืนเรื่อยมา” ส�ำหรับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมสีเขียว ระดับที่ 4 วัฒนธรรมสีเขียว (Green Culture) คือ การที่ทุกคนในองค์กรมีจิตส�ำนึกร่วมกันในการ สงวนและรักษาไว้ซึ่งสิ่งแวดล้อมที่ดีและให้ความ ร่วมมือร่วมใจในทุกด้านของการประกอบกิจการให้ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและด�ำเนินการ ต่างๆ จนกลายเป็นส่วนหนึง่ ของวัฒนธรรม องค์กร ซึง่ เป็นอีกหนึง่ โรงงานทีไ่ ด้รางวัล ระดับ 4 ในงานรับรางวัลอุตสาหกรรม สีเขียว ประจ�ำปี 2562 ด้วย นั่นก็คือ กัณพงษ์ พงษ์สวัสดิ์ ที.ซี.ฟาร์มาซูติคอลฯ โดย กัณพงษ์ พงษ์สวัสดิ์ รองผู้อ�ำนวยการฝ่ายความปลอดภัยและอาชีวอนามัย บริษัท ที.ซี. ฟาร์มาซูนคิ อล อุตสาหกรรม จ�ำกัด กล่าวว่า “บริษทั ที.ซี.ฟาร์มาซูตคิ อลฯ ยึดมัน่ หัวใจสีเขียวทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม มีแนวนโยบายด้านการรักษาสิง่ แวดล้อม และ จัดกิจกรรม CSR ต่างๆ ที่ตอบโจทย์ให้กับภาคส่วนอื่นๆ และสังคมรวมทั้งชุมชน เพือ่ ให้เกิดการความร่วมมือร่วมใจกันรักษาสิง่ แวดล้อมไปพร้อมๆ กับเรา และสิง่ ที่ บริษทั ฯ ต้องขับเคลือ่ นมุง่ เดินหน้าต่อไปคือการพัฒนาด้านผลิตสินค้าทีเ่ ป็นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อมให้สอดคล้องกับหน่วยงานภาครัฐ ซึง่ กระบวนการผลิตสินค้านัน้ จะไม่ให้ ส่งผลกระทบต่อมลภาวะทางอากาศ รวมไปถึงเรือ่ งของการไม่ปล่อยน�ำ้ เสียลงสูช่ มุ ชน โดยบริษทั ของเราจะมีเทคโนโลยีบำ� บัดน�ำ้ เสียในโรงงานทีส่ ามารถน�ำน�ำ้ กลับมาใช้ ใหม่ ส่วนปัญหาขยะ บริษัทฯ ก็จะร่วมลงนามกับหน่วยงานที่รับก�ำจัดขยะโดยตรง พร้อมกับปฏิบัติตามกฎหมายและการควบคุมด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด” นี่คือโรงงานอุตสาหกรรมสีเขียว เพียง 2 บริษัทที่ยกตัวอย่างมาเพื่อให้เห็น แนวทางการพัฒนาจนสามารถยกระดับเป็นอุตสาหกรรมสีเขียวในระดับสูงสุดของ การผลิตทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมอย่างต่อเนือ่ ง เป็นโรงงานอุตสาหกรรมทีไ่ ด้ยดึ มัน่ ในการประกอบกิจการด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร ตลอดห่วงโซ่อปุ ทาน ซึง่ จะเป็นแบบอย่างทีด่ ใี ห้กบั โรงงานอืน่ ๆ ทีย่ งั คงพัฒนาตัง้ แต่ อุตสาหกรรมสีเขียวระดับ 1 2 และ 3 เพื่อให้ผู้ประกอบการโรงงานต่างๆ เกิด แรงกระตุ้นในการรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อเข้าสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป

GreenNetwork4.0 September-October 2019


GREEN

Factory กองบรรณาธิการ

บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป เป็นหนึ่งในผู้ผลิตรถยนต์และมอเตอร์ไซค์ที่ประสบ ความส�ำเร็จที่สุดในโลก โดยมีเครือข่ายการผลิต 31 แห่งใน 15 ประเทศ อีกทั้ง ยังมีเครือข่ายผู้จ�ำหน่ายและบริการมากกว่า 140 ประเทศทั่วโลก และเมื่อเร็วๆ นี้ บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป ประเทศไทย เปิดตัวโรงงานประกอบแบตเตอรี่แรงดันสูง ในประเทศอย่างเป็นทางการ โดยเป็นความร่วมมือพันธมิตรกับแดร็คเซิลไมเออร์ กรุป๊ ซึง่ เป็นผูน้ ำ� ด้านการผลิตชิน้ ส่วนยานยนต์ระดับโลกให้กบั โรงงานรถยนต์ระดับ พรีเมียมทั่วโลก โรงงานประกอบแบตเตอรี่แรงดันสูงแห่งนี้ของ บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป ตั้งอยู่ ในพื้นทีน่ ิคมอุตสาหกรรมดับบลิวเอชเอ ชลบุรี 2 อ�ำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ถือเป็นโรงงานแบตเตอรี่แห่งแรกและแห่งเดียวของบีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ปในภูมิภาค อาเซียนทีค่ รอบคลุมทัง้ ในส่วนของการประกอบโมดูลแบตเตอรี่ และการประกอบ ตัวแบตเตอรี่ โดยมีตวั แทนจากหน่วยงานภาครัฐของไทย อาทิ กรณ์ภฐั วีญ์ ม่วงน้อย รองอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม พร้อมด้วย อดิศักดิ์ โรหิตะศุน กรรมการ สถาบันยานยนต์ ผู้ท�ำการแทนผู้อ�ำนวยการสถาบันยานยนต์ และผู้เชี่ยวชาญจาก บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป มิวนิค ประเทศเยอรมนี ได้เข้าร่วมวางรากฐานกระบวนการ ประกอบแบตเตอรี่ที่โรงงาน เพื่อให้มั่นใจว่ากระบวนการประกอบในประเทศไทย จะสอดคล้องกับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 โดยมุ่งเน้นให้โรงงานอุตสาหกรรม ประกอบการทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ซึง่ ถือว่าโรงงานประกอบแบตเตอรีด่ งั กล่าว ได้มาตรฐานคุณภาพระดับโลก ส�ำหรับแบตเตอรีแ่ รงดันสูง เป็นอีกหนึง่ องค์ประกอบทีส่ ำ� คัญของรถยนต์ที่ ขับเคลือ่ นด้วยพลังงานไฟฟ้า ไม่วา่ จะเป็นรถยนต์ประเภทปลัก๊ อินไฮบริด หรือรถยนต์ ทีใ่ ช้พลังงานไฟฟ้า (EV) โดยสมบูรณ์ในอนาคต แต่นบั ว่าเป็นชิน้ ส่วนทีม่ คี วามซับซ้อน และต้องใช้ทกั ษะเฉพาะด้านในการผลิตเพือ่ เป็นผูเ้ ชีย่ วชาญการประกอบแบตเตอรี่ แรงดันสูง โดยการปฏิบตั กิ ารของพนักงานยึดหลักแนวทางจากนโยบายของโรงงาน บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป ในเมืองดิงกอลฟิง ประเทศเยอรมนี และโรงงานน�ำร่องการ ผลิตระบบการขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้า เพื่อการประกอบแบตเตอรี่อันเป็น เทคโนโลยีที่มีการผลิตล�้ำสมัย เช่น การเชื่อมด้วยเลเซอร์ การเตรียมพื้นผิววัสดุ ด้วยพลาสม่า วิทยาการหุน่ ยนต์ กระบวนการยึดติด การตรวจสอบคุณภาพชิน้ ส่วน อิเล็กทรอนิกส์อัตโนมัติ (AOI) การตรวจสอบการท�ำงานของระบบไฟฟ้า และ การตรวจสอบคุณภาพเมื่อสิ้นสุดสายการผลิต นอกจากนี้ ภายในโรงงานยังได้มี การน�ำโปรแกรมการอบรมด้านทักษะต่างๆ ในการท�ำงานกับกระบวนการผลิต อัตโนมัติแก่พนักงาน ซึ่งเป็นกระบวนการที่ส�ำคัญในการประกอบโมดูลแบตเตอรี่

11

รวมถึงการตรวจสอบคุณภาพ การออกแบบกระบวนการและเทคโนโลยีการผลิต การปรับปรุงแก้ไขคุณภาพ และการวิเคราะห์กระบวนการผลิต อูเว่ ควาส กรรมการผูจ้ ดั การ บริษทั บีเอ็มดับเบิลยู กรุป๊ แมนูแฟคเจอริง่ ประเทศไทย จ�ำกัด กล่าวว่า “การขับเคลือ่ นสังคมไปสูอ่ นาคตแห่งยนตรกรรมพลังงาน ไฟฟ้า โดยบีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป มุ่งมั่นที่จะบรรลุ เป้าหมายนี้เช่นกัน ด้วยการเดินหน้าสู่อีกก้าวแห่ง ความส�ำเร็จครั้งใหญ่ด้านกลยุทธ์ยานยนต์ไฟฟ้า ซึ่งการเปิดตัวโรงงานประกอบแบตเตอรี่แรงดันสูง ในประเทศนี้จะเป็นส่วนส�ำคัญที่ท�ำให้เราสามารถ ตอบโจทย์ความต้องการในตลาดรถยนต์พลังงาน ไฟฟ้ า ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งในประเทศไทย นอกจากนี้ยังถือเป็นการเสริมความแข็งแกร่งให้แก่ อูเว่ ควาส โรงงานบีเอ็มดับเบิลยูในจังหวัดระยองด้วย ซึ่งเป็น ศูนย์กลางการประกอบรถยนต์ในภูมภิ าคนีใ้ ห้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ จึงเป็นหนึง่ ในวิสัยทัศน์หลักของบีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป” แกร์ฮาร์ด แอร์เนสแบร์เกอร์ ผูอ้ ำ� นวยการโรงงาน แดร็คเซิลไมเออร์ กรุป๊ ประเทศไทย กล่าวว่า “เราเป็นผู้มีประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญในการมอบโซลูชั่นที่ล�้ำสมัย ให้กบั ผูผ้ ลิตยานยนต์ระดับพรีเมียม ไม่วา่ จะเป็นด้าน ระบบไฟฟ้า ระบบอิเล็กทรอนิกส์ การออกแบบภายใน รถยนต์ และระบบแบตเตอรี่ และด้วยความสัมพันธ์ อันยาวนานกับทางบีเอ็มดับเบิลยู กรุป๊ มากว่า 53 ปี จึงมีความยินดีอย่างมากทีไ่ ด้ตอ่ ยอดการเป็นพันธมิตร ทางธุรกิจกับบีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป แมนูแฟคเจอริ่ง แกร์ฮาร์ด ประเทศไทย ซึ่งรู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้รับ แอร์เนสแบร์เกอร์ ความไว้ ว างใจให้ ป ระกอบแบตเตอรี่ แ รงดั น สู ง ส�ำหรับโรงงานบีเอ็มดับเบิลยู เพราะในฐานะผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ที่ได้รับการ ยอมรับจากพันธมิตรนานาชาติทั้งในภูมิภาคและระดับสากล” ทั้งนี้ บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป แมนูแฟคเจอริ่ง ประเทศไทย ได้รับอนุมัติจาก ส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ส�ำหรับการลงทุนประกอบรถยนต์ ปลัก๊ อินไฮบริด ซึง่ ถือเป็นอีกหนึง่ ความส�ำเร็จทีจ่ ะช่วยยกระดับอุตสาหกรรมยานยนต์ ในประเทศไทยขับเคลื่อนไปสู่อนาคตแห่งยนตรกรรมพลังงานไฟฟ้าที่ยั่งยืน

GreenNetwork4.0 September-October 2019


GREEN

Scoop กองบรรณาธิการ

นับว่าเป็นนิมิตหมายอันดีในการต่อยอดและ เพิ่มประสิทธิภาพการแข่งขันด้านธุรกิจแบตเตอรี่ และเทคโนโลยีกักเก็บพลังงานในระยะยาว โดยเป็น ความร่วมมือระหว่าง บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) กับ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด (มหาชน) หรือ GPSC ในโครงการวิจัยและพัฒนา โรงงานผลิตแบตเตอรี่ต้นแบบ (Pilot Plant) ด้วย เทคโนโลยี Semi-Solid เป็นการเดินหน้ามุง่ สูก่ ารผลิต แบตเตอรีใ่ นเชิงพาณิชย์ โดยมีกำ� หนดระยะเวลาศึกษา แล้วเสร็จปี พ.ศ. 2564

ปตท. จับมือ GPSC ร่วมวิจัย

โรงงานแบตเตอรี่ต้นแบบ

ENERGY is POWER

POWER is SECONDARY ENERGY

ต่อยอดการผลิตเชิงพาณิชย์

เมื่อเร็วๆ นี้ ปตท.ได้ลงนามสัญญาร่วมวิจัยกับ GPSC น�ำโดย ชวลิต ทิพพาวนิช ประธานเจ้าหน้าทีบ่ ริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด (มหาชน) พร้อมด้วย วรวัฒน์ พิทยศิริ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่นวัตกรรมและ ดิจทิ ลั บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) ใน “โครงการวิจยั และพัฒนาโรงงานผลิตแบตเตอรี่ ต้นแบบ” โดยมีวตั ถุประสงค์สำ� คัญทีจ่ ะร่วมศึกษา และพิสจู น์ความเป็นไปได้ของเทคโนโลยี ทั้งด้านเทคนิคและเชิงเศรษฐศาสตร์ และการจัดตั้งโรงงานผลิตแบตเตอรี่ต้นแบบ เพื่อที่จะเดินหน้าวิจัยและต่อยอดการผลิตแบตเตอรี่ด้วยเทคโนโลยี Semi-Solid ซึ่งเป็น นวัตกรรมกระบวนการผลิตแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนแบบใหม่ของ 24M Technology ที่ GPSC เข้าไปร่วมลงทุน ทั้งนี้ เทคโนโลยีดังกล่าวจะช่วยลดขั้นตอนการผลิตลงได้กว่า 50% อีกทั้งยังได้รับการออกแบบเซลล์แบตเตอรี่ให้มีความปลอดภัยสูง อันจะช่วยให้มี ประสิทธิภาพที่จะแข่งขันได้ในธุรกิจแบตเตอรี่และเทคโนโลยีการกักเก็บพลังงาน ในระยะยาว รวมถึงเป็นฐานความรู้และความเชี่ยวชาญ เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาศักยภาพ บุคลากรของทั้ง 2 บริษัทในด้านเทคโนโลยีแบตเตอรี่ โดยมีระยะเวลาด�ำเนินโครงการ สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ชวลิต ทิพพาวนิช ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท โกลบอล เพาเวอร์ ซินเนอร์ยี่ จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า “ปตท. ในฐานะ ผู้ประกอบกิจการด้านพลังงานที่มีสถาบันนวัตกรรม เป็นแกนหลักในการวิจัยและพัฒนา ได้จัดตั้งโครงการ Electricity Value Chain นีข้ นึ้ มาเพือ่ สนับสนุนกลยุทธ์ ทางธุรกิจของ ปตท.ที่มุ่งสู่ธุรกิจใหม่ ขณะที่ GPSC ในฐานะแกนน�ำการด�ำเนินธุรกิจไฟฟ้าของกลุม่ ปตท.ได้ ชวลิต ทิพพาวนิช ร่วมลงทุนในบริษัท 24M Technologies ซึ่งได้รับสิทธิ์ ในการใช้ ผลิต และขายแบตเตอรีป่ ระเภท Semi-Solid ซึง่ เป็นเทคโนโลยีเฉพาะของ 24M ในไทยและภูมภิ าคอาเซียน ภายใต้นโยบาย S-curves จึงได้เกิดความร่วมมือขึน้ ดังกล่าว” ทางด้าน ชาญศิลป์ ตรีนชุ กร ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารและกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) กล่าวว่า “ความร่วมมือในครัง้ นีส้ อดคล้องกับ กลยุทธ์ทางด้านพลังงานของกลุม่ ปตท.ทีม่ งุ่ ใช้พลังงาน ไฟฟ้าทีม่ ากขึน้ โดยมีแบตเตอรีเ่ ป็นรากฐานและเป็นตัว ผลั ก ดั น ที่ ส� ำ คั ญ ซึ่ ง ปตท.มี ค วามพร้ อ มและยิ น ดี เป็นอย่างยิง่ กับความร่วมมือระหว่างกลุม่ ปตท.พร้อมจะ สนับสนุนการศึกษา พัฒนา และร่วมกันผลักดันเทคโนโลยี ชาญศิลป์ ตรีนุชกร Semi-Solid ให้มปี ระสิทธิภาพทีแ่ ข่งขันได้ และต่อยอด ไปสู่การผลิตระดับเชิงพาณิชย์” 12

อย่างไรก็ตาม ภายหลังการลงนาม 15 วัน ทั้ง 2 ฝ่ายจะมีการจัดตั้ง คณะกรรมการก�ำกับดูแลโครงการ (Steering Committee) รวม 7 คน โดยมี ประธานเจ้าหน้าทีเ่ ทคโนโลยีและวิศวกรรม ปตท.เป็นประธาน ส่วนกรรมการ อืน่ ๆ จะมาจากผูบ้ ริหารระดับสูงของทัง้ GPSC และ ปตท. เพือ่ ท�ำหน้าทีก่ ำ� กับ ดูแลความก้าวหน้า และติดตามผลการด�ำเนินงานวิจยั แบตเตอรีด่ งั กล่าวอย่าง ใกล้ชิด ซึ่งการด�ำเนินการในระยะแรก คณะกรรมการฯ จะท�ำการแต่งตั้ง คณะท�ำงาน เพื่อด�ำเนินการศึกษาในรายละเอียดหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ แบตเตอรีเ่ ทคโนโลยี Semi-Solid โดยจัดท�ำแผนการก่อสร้าง แผนการควบคุม การผลิตและทดสอบ ก�ำหนดตัวชีว้ ดั และเกณฑ์การพิจารณา เพือ่ เป็นขัน้ ตอน พิสูจน์ความเป็นไปได้ของเทคโนโลยีทั้งทางด้านเทคนิคและเศรษฐศาสตร์ รวมทัง้ จัดท�ำงบประมาณในการด�ำเนินการผลิตแบตเตอรี่ เพือ่ ประกอบการ พิจารณาอนุมัติก่อสร้างโรงงานแบตเตอรี่ต้นแบบ (Pilot Plant) ดังกล่าว นอกจากนั้น ในระยะถัดไปหากทั้ง 2 ฝ่ายตัดสินใจร่วมด�ำเนินการ ลงทุนก่อสร้าง Pilot Plant แล้ว จะมีการก�ำหนดแผนการผลิตและด�ำเนินการ ผลิตแบตเตอรีจ่ ากโรงงานต้นแบบตามตัวชีว้ ดั และเกณฑ์ทกี่ ำ� หนดไว้ พร้อมมี การส่งมอบแบตเตอรี่ที่ผลิตได้ น�ำไปสู่การใช้จริง โดยผ่านการทดสอบจาก กลุม่ ลูกค้า น�ำข้อเสนอแนะจากลูกค้ากลับมาพัฒนาแบตเตอรี่ เพือ่ ให้สามารถ ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้า ได้มากยิ่งขึ้น และร่วมกัน พิจารณาถึงความเป็น ไปได้ ทั้ ง ทางเทคนิ ค และเศรษฐศาสตร์ ในการขยายการผลิต สู ่ ร ะดั บ เชิ ง พาณิ ช ย์ ร่วมกันต่อไป

GreenNetwork4.0 September-October 2019 19


SPECIAL

Scoop กองบรรณาธิการ

การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านพลังงาน ครั้งที่ 37 เวทีความร่วมมือด้านพลังงานของอาเซียน การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนพลังงาน (AMEM) ครั้งที่ 37 ที่ประเทศไทย เป็นเจ้าภาพ ได้เปิดฉากขึ้นอย่างเป็นทางการ โดยมี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานเปิดการประชุม รวมทัง้ งาน ASEAN Energy Business Forum ภายใต้แนวคิดหลัก “Advancing Energy Transition Through Partnership and Innovation” ร่วมมือร่วมใจ เพื่อพัฒนานวัตกรรมพลังงานอาเซียนในยุค เปลีย่ นผ่านด้านพลังงานให้เข้าสูย่ คุ พลังงานทีม่ คี วามยัง่ ยืน โดยมี 10 ประเทศสมาชิก อาเซียน ประกอบด้วย ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม บรูไนดารุส-ซาลาม สปป.ลาว เมียนมา และกัมพูชา นอกจากนีย้ งั มีอกี 8 ประเทศ นอกสมาชิกอาเซียนร่วมสังเกตการณ์ดว้ ย ได้แก่ จีน ญีป่ นุ่ เกาหลีใต้ สหรัฐอเมริกา รัสเซีย อินเดีย นิวซีแลนด์ และออสเตรเลีย ทัง้ นี้ วัตถุประสงค์สำ� คัญของการประชุม เพือ่ ด�ำเนินการร่วมกันในการส่งเสริม ความมั่นคงด้านพลังงานให้ทุกประเทศมีพลังงานใช้อย่างเพียงพอ และสามารถ จัดหาพลังงานได้ในราคาที่เหมาะสมต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ และส่งเสริม คุณภาพชีวติ ของประชาชนอาเซียน พร้อมๆ กับส่งเสริมพลังงานสะอาดทีเ่ ป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม ส�ำหรับความร่วมมืออาเซียนด้านพลังงาน มี 7 สาขา และ 1 เครือข่ายความ ร่วมมือที่ส�ำคัญ ได้แก่ 1) ความเชื่อมโยงโครงข่ายไฟฟ้าอาเซียน 2) การพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานส�ำหรับขนส่งก๊าซธรรมชาติ 3) การส่งเสริมเทคโนโลยีถ่านหิน สะอาด 4) การส่งเสริมพลังงานนิวเคลียร์เพือ่ สันติ 5) การส่งเสริมพลังงานทดแทน 6) การส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและอนุรักษ์พลังงาน และ 7) การจัดท�ำนโยบายและแผนอาเซียนด้านพลังงาน รวมถึงเครือข่ายความร่วมมือ ด้านการก�ำกับกิจการพลังงาน พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวปาฐกถาว่า “การประชุมครัง้ นีจ้ ะช่วยให้อาเซียน เดินหน้าสู่การสร้างยุทธศาสตร์พลังงานของอาเซียน ร่วมกันและสร้างความยั่งยืนด้านพลังงานระหว่างกัน โดยไม่ทิ้งประเทศใดไว้ข้างหลัง โดยขณะนี้อาเซียน ก�ำลัง อยู่ในช่วงเริ่มต้น ของกระแสโลกในยุคแห่ง การเปลี่ยนผ่านด้านพลังงาน และก�ำลังก้าวเข้าสู่ยุค พลังงานแห่งอนาคต ประกอบกับภูมิภาคอาเซียน พล.อ.ประยุทธ์ มีความต้องการพลังงานมากขึ้นจากการเติบโตทาง จันทร์โอชา เศรษฐกิจและสังคมอย่างรวดเร็ว พลังงานสะอาดและ พลังงานทดแทนจะกลายเป็นพลังงานหลักต่อไปในอนาคตอันใกล้ ดังนัน้ การพัฒนา ตลาดและการลงทุนด้านพลังงาน รวมทั้งการพัฒนาเทคโนโลยีด้านพลังงานแห่ง อนาคต จึงเป็นสิง่ ส�ำคัญอย่างยิง่ ต่อการสร้างความมัน่ คงด้านพลังงานให้กบั ภูมภิ าค ในฐานะประธานอาเซียน ประเทศไทยจะผลักดันเป้าหมายของอาเซียนที่วางไว้ให้ เกิดความก้าวหน้ามากขึน้ ทัง้ ความร่วมมือซือ้ ขายไฟฟ้าระหว่าง 3 ประเทศ คือ ไทย 13

สปป.ลาว และมาเลเซีย ทีเ่ ป็นรูปธรรมทีช่ ดั เจน ของอาเซียน และจะขยายไปสู่ประเทศอื่นๆ ในอาเซียนต่อไป ความร่วมมือดังกล่าวถือเป็น การเสริมสร้างการเชื่อมโยงพลังงานไฟฟ้า อาเซียนให้มากขึ้นในอนาคต

นอกจากนั้น ผลการศึกษาและข้อเสนอแนะต่างๆ อาทิ ข้อเสนอแนะเรื่อง การศึกษาโครงสร้างพืน้ ฐานขนาดเล็กเพือ่ รองรับก๊าซธรรมชาติ แนวทางการส่งเสริม พลังงานหมุนเวียนในโครงข่ายไฟฟ้าอาเซียน จะช่วยก�ำหนดทิศทางและกิจกรรม ที่ควรจะด�ำเนินการในอนาคต เพื่อให้อาเซียนสามารถบรรลุเป้าหมายตามแผน ปฏิบัติการด้านพลังงานอาเซียนในด้านการส่งเสริมให้เกิดการเชื่อมโยงโครงข่าย และตลาดการซือ้ ขายก๊าซธรรมชาติในอาเซียน ในส่วนของอนาคตทางด้านพลังงาน นัน้ อาเซียนจะมุง่ เน้นพลังงานสะอาดและพลังงานหมุนเวียน ซึง่ จะสามารถขับเคลือ่ น โดยระบบพลังงานแบบกระจายศูนย์ การผลิตพลังงานในรูปแบบของพลังงานไฟฟ้า และการใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพือ่ สนับสนุนการพัฒนาด้านพลังงานให้มปี ระสิทธิภาพ และมีความยั่งยืน รวมทั้งยังช่วยลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมด้วย” พล.อ.ประยุทธ์ กล่าว อย่างไรก็ตาม แนวคิดหลักของการประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านพลังงาน ครั้งที่ 37 นี้ เป็นการมุ่งเน้นความร่วมมือของกลุ่มประเทศอาเซียนและประเทศ คูเ่ จรจาในการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านพลังงาน เพือ่ ให้ภมู ภิ าคอาเซียน สามารถก้าวเข้าสู่ยุคเปลี่ยนผ่านด้านพลังงานจากพลังงานที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล ไปสู่พลังงานสะอาดที่มีความยั่งยืนในอนาคต ส�ำหรับความร่วมมือครั้งนี้ ได้แก่ การผลักดันให้ขยายการเชือ่ มโยงไฟฟ้าระหว่างประเทศไทย สปป.ลาว และมาเลเซีย ให้มากขึ้นจาก 100 เมกะวัตต์ เป็น 300 เมกะวัตต์ โดยมีการลงนามระหว่างกัน ในปีนี้ ผลักดันให้อาเซียนมีการใช้พลังงานทดแทนสูงขึ้นสู่เป้าหมาย 23% ของ การใช้พลังงานทั้งหมด ภายในปี พ.ศ. 2568 เนื่องจากอาเซียนตั้งเป้าหมายจะลด ความเข้มข้นการใช้พลังงานให้ได้ 20% ในปี พ.ศ. 2563

GreenNetwork4.0 September-October 2019


ภาครัฐ ภาคเอกชนไทย ร่วมกับ ญี่ปุ่น จัดงาน

GREEN

Scoop

Maintenance and Resilience Asia 2019

กองบรรณาธิการ

ยกระดับภาคการผลิตโรงงานในไทย และคมนาคมให้เทียบเท่าญี่ปุ่น

ภาคอุตสาหกรรม ชั้นน�ำต่างๆ ได้ให้ความ ส�ำคัญในส่วนของภาคการผลิต ซึง่ ครอบคลุมถึงการพัฒนาศักยภาพ ด้านแรงงาน ด้านการส่งเสริมการตลาด ควบคูก่ ารผลิต ด้านการวางแผนงานและระบบ เทคโนโลยีทมี่ ปี ระสิทธิภาพในการจัดการความเสีย่ ง มาใช้ในการผลิตเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงใน ยุคดิจทิ ลั เกิดเป็นการผนึกก�ำลังร่วมกันระหว่างประเทศไทย กับประเทศญีป่ นุ่ โดย กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงคมนาคม ของไทย และ สมาคมการบริหารจัดการประเทศญี่ปุ่น หรือ JMA จัดงาน Maintenance and Resilience Asia 2019 ภายใต้แนวคิด Smart Manufacturing & Smart Infrastructure ซึ่งจะช่วยยกระดับโรงงาน ไทยส�ำหรับภาคการผลิตในภาคอุตสาหกรรม และโครงสร้างพื้นฐานไทยในภาค คมนาคมให้มปี ระสิทธิภาพเทียบเท่าญีป่ นุ่ เพือ่ ให้เกิดการเชือ่ มโยงพัฒนาเศรษฐกิจ ระหว่างไทย-ญี่ปุ่นเติบโตสู่ระดับมหภาค ทัง้ นี้ โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ได้นำ� นวัตกรรมและเทคโนโลยี อาทิ เซ็นเซอร์ ปัญญาประดิษฐ์ ระบบอัตโนมัตแิ ละหุน่ ยนต์ IoT ฯลฯ มาร่วมจัดแสดงนิทรรศการ ในครั้งนี้ โดยในส่วนของกระทรวงอุตสาหกรรม ได้น�ำเทคโนโลยีและนวัตกรรม ปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI มาร่วมแสดงเพื่อให้เห็นถึงการเพิ่มศักยภาพของ ผู้ประกอบการโรงงานไทย ภานุวัฒน์ ตริยางกูรศรี ผู้ตรวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม กล่าวว่า “แนวทางการด�ำเนินงานด้านหนึง่ ทีก่ ระทรวงอุตสาหกรรมให้ความส�ำคัญเป็นอย่าง มากคือ การส่งเสริมภาคการผลิตไปสู่ 4.0 โดยแนวทางดังกล่าวนอกจากจะช่วย ยกระดับอุตสาหกรรมแล้ว ยังเป็นกลไกทีม่ สี ว่ นในการพัฒนาประเทศไทยให้มคี วาม เท่าเทียมกับประเทศอุตสาหกรรมชัน้ น�ำ และส�ำหรับปัจจัยส�ำคัญทีภ่ าคการผลิตต้อง ให้ความส�ำคัญในการด�ำเนินธุรกิจ คือการคิดค้น และน�ำเทคโนโลยีทมี่ ปี ระสิทธิภาพ มาใช้ในการผลิต การติดตามสถานการณ์การค้า และอุตสาหกรรมในระดับประเทศ” ส�ำหรับกระทรวงคมนาคมก็ได้น�ำระบบเทคโนโลยีและดิจิทัลมาใช้ในการ บริหารจัดการ รวมทั้งระบบขนส่งที่ประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และเป็นสิ่งที่หลายๆ ประเทศทั่วโลกก�ำลังด�ำเนินนโยบายดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นการใช้รถยนต์ไฟฟ้า การขนส่งระบบราง การใช้พลังงานสะอาด ที่สอดคล้องกับการใช้ชีวิตให้สะดวก รวดเร็วและง่ายขึ้น วิจิตต์ นิมิตรวานิช นักวิชาการขนส่งทรงคุณวุฒิ ส�ำนักงานนโยบายและ แผนการขนส่งและจราจร กระทรวงคมนาคม กล่าวว่า “ในส่วนของการคมนาคม ในปีถดั ไป จะเป็นอีกหนึง่ ภาคส่วนทีม่ คี วามส�ำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจในฐานะ การเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่มีศักยภาพและความแข็งแกร่งที่มากขึ้น สามารถ เชื่อมโยงทุกภาคส่วนเข้าไว้ด้วยกันโดยเฉพาะในการเชื่อมต่อระบบขนส่งกับ สิ่งอ�ำนวยความสะดวก การแข่งขันด้านโลจิสติกส์ การเดินทาง และการยกระดับ 14

ภานุวัฒน์ ตริยางกูรศรี

วิจิตต์ นิมิตรวานิช

อัตสึชิ เทเรดะ

คุณภาพการใช้ชีวิตให้ดีขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคใหม่ตั้งแต่ในระดับ ภูมิภาค ส่วนกลาง และส่วนท้องถิ่น รวมถึงต้องขับเคลื่อนระบบคมนาคมขนส่งให้ สอดรับกับนโยบายการขับเคลื่อนสมาร์ทซิตี้ของรัฐบาล” ขณะที่ อัตสึชิ เทเรดะ ผู้จัดการอาวุโส สมาคมการบริหารจัดการประเทศ ญี่ปุ่น หรือ JMA กล่าวว่า “ประเทศญี่ปุ่นเล็งเห็นว่าประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่ง ที่มีศักยภาพในด้านอุตสาหกรรม เป็นพันธมิตรและฐานการผลิตให้กับโรงงาน อุตสาหกรรมญีป่ นุ่ เป็นจ�ำนวนมาก รวมทัง้ ยังอยูใ่ นช่วงของการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน ประเภทต่างๆ เพือ่ ขับเคลือ่ นเศรษฐกิจของประเทศให้เติบโตในทิศทางทีด่ ขี นึ้ ทัง้ นี้ ในฐานะพันธมิตรทางการค้าและเศรษฐกิจ จึงได้มีแนวคิดที่จะช่วยขับเคลื่อน ภาคส่วนต่างๆ ของไทยให้มีความทันสมัยและทัดเทียมกับญี่ปุ่น จึงได้ร่วมกับ บริษทั เอ็กซโปซิส จ�ำกัด กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงคมนาคม สภาอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น และภาคเอกชน ในการจัดกิจกรรม “Maintenance and Resilience Asia 2019” เพื่อจะได้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยเติบโตไปพร้อมๆ กับญี่ปุ่น”

อย่างไรก็ตาม การจัดงานดังกล่าวเชื่อมั่นว่าจะท�ำให้ภาคอุตสาหกรรม ภาคคมนาคม และในส่วนของโครงสร้างพื้นฐานของไทยแข็งแกร่งได้เช่นเดียวกับ ญี่ปุ่น ซึ่งถือเป็นหนึ่งในผู้น�ำของโลกในเรื่องความสมบูรณ์แบบของระบบขนส่ง และโครงสร้างพืน้ ฐานสาธารณูปโภค โดยจะช่วยให้รวู้ ธิ กี ารจัดการกับการผลิตทีม่ ี ประสิทธิภาพ ทัง้ ระบบขนส่ง ถนน อุโมงค์ สะพาน รถไฟ ฯลฯ นอกจากนี้ ภายในงาน ยังได้มกี ารประชุมสัมมนาเพือ่ แลกเปลีย่ นความรูเ้ ป็นกรณีศกึ ษาต่างๆ ทีจ่ ะช่วยผลักดัน ให้ทกุ ภาคส่วนปรับตัวให้เข้ากับกระแสการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี เพือ่ ให้ทนั ต่อการแข่งขันในระดับภูมิภาคอาเซียนและระดับโลก

GreenNetwork4.0 September-October 2019


GREEN

World กองบรรณาธิการ

มาตรฐานสากลว่ า ด้ ว ย ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม ภาคอุตสาหกรรมองค์กรระหว่างประเทศต่างๆ ทัว่ โลกให้ความสนใจเป็นอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากภาคส่วน โรงงานอุตสาหกรรมการผลิตส่วนใหญ่ในต่างประเทศ มีจดุ มุง่ หมาย ในการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตและพยายามทีจ่ ะลดต้นทุนทีไ่ ม่จำ� เป็น ขององค์กรลงเพือ่ แสดงความรับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อมเป็นส�ำคัญ ไม่วา่ จะเป็น ต้นทุนการขนส่ง ต้นทุนการจัดเก็บสินค้า ต้นทุนการจัดการค่าสัง่ ซือ้ และการควบคุม คุณภาพของสินค้า เป็นต้น ด้วยเหตุนที้ เี่ มืองมิดแลนด์ รัฐมิชแิ กน ประเทศสหรัฐอเมริกา และเมืองเวียร์ต ประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยบริษัท ดาว (NYSE: DOW) ก่อตั้งขึ้นในรัฐมิชิแกน ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นบริษทั ทีม่ งุ่ มัน่ ในการน�ำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทมี่ ี ความหลากหลายที่สุดในภาคอุตสาหกรรมเข้ากับการบูรณาการด้านการผลิต นวัตกรรมเฉพาะด้าน ด้วยพอร์ตโฟลิโอทั้งในด้านวัสดุประสิทธิภาพ สารตัวกลาง ในอุตสาหกรรมที่ครอบคลุมสินค้าตั้งแต่น�้ำดื่ม อาหาร ยารักษาโรค สีทาอาคาร บรรจุภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์เพือ่ สุขอนามัย เพือ่ ยกระดับวิถชี ีวติ ของมนุษยชาติให้มี ความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง ซึ่งปัจจุบัน ดาว เคมิคอล มีโรงงานผลิตรวมทั้งสิ้น 113 แห่ง ใน 31 ประเทศ มีพนักงานเกือบ 40,000 คนทัว่ โลก และมีผลิตภัณฑ์จาํ นวน 3,300 รายการ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าใน 136 ประเทศทั่วโลก และ บริษทั Fuenix Ecogy Group ตัง้ อยูใ่ นเมืองเวียร์ต ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึง่ Fuenix เป็นบริษทั ด้านนวัตกรรมทีด่ ำ� เนินธุรกิจเปลีย่ นขยะพลาสติกให้กลับไป เป็นวัตถุดบิ ตัง้ ต้น คือ น�ำ้ มัน โดยมีบทบาทในการชุบชีวติ ให้ขยะพลาสติกสามารถ น�ำไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตพลาสติกใหม่ๆ ได้อีกครั้ง โดยกล่มบริษัท Fuenix ได้พัฒนาเทคโนโลยี แบบไฮบริดเพื่อใช้ในการแปรรูปวัสดุประเภทบรรจุภัณฑ์ใช้ แล้วทีห่ มดอายุใช้งาน ให้เป็นวัตถุดบิ หมุนเวียนระดับพรีเมียม และก๊าซปิโตรเลีย่ ม เหลว LPG ให้เป็นพลาสติกไม่ได้โดยปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์เพียงครึง่ เดียวจาก ปริมาณปกติ หรือเป็นบริษทั ทีผ่ ลิตวัตถุดบิ ประเภทน�ำ้ มันไพโรไลซิส (Pyrolysis Oil) ที่ได้จากขยะพลาสติกรีไซเคิลให้กับโรงงานผลิตของดาวในเมืองแทร์นอยเซน ประเทศเนเธอร์แลนด์ เพื่อใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์โพลิเมอร์ใหม่ เมือ่ เร็วๆ นี้ ทัง้ 2 โรงงาน ได้ประกาศการจัดท�ำข้อตกลงร่วมกันในการส่งเสริม ให้เกิดการรีไซเคิลพลาสติกกลับเป็นวัตถุดบิ ใหม่ (Feedstock Recycling) มากขึน้ โดยน�ำเอาขยะพลาสติกหลากประเภทมาผ่านกระบวนการเพือ่ ให้กลับไปเป็นวัตถุดบิ ตั้งต้นส�ำหรับโรงงานผลิตเม็ดพลาสติกใหม่ โดยผลิตภัณฑ์เม็ดพลาสติกที่ผลิต จากน�้ำมันไพโรไลซิสจะเหมือนกับผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากวัตถุดิบดั้งเดิมทุกประการ นอกจากนี้ ข้อตกลงดังกล่าวที่จัดท�ำขึ้นนี้ยังสนับสนุนพันธมิตรของโรงงานดาวที่ มุง่ น�ำพลาสติกรีไซเคิลอย่างน้อย 100,000 ตัน มาใช้ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ ส�ำหรับ จัดจ�ำหน่ายให้กบั ลูกค้าในสหภาพยุโรปภายในปี พ.ศ. 2568 และร่วมมือกับพันธมิตร ในอเมริกาใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เม็กซิโก เพือ่ ลดการใช้วตั ถุดบิ แบบดัง้ เดิม 15

และลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทั่วโลก ขณะที่ในประเทศจีน บริษัท Risen Energy ได้ทำ� พิธีวางศิลาฤกษ์โรงงาน ผลิตโมดูลและเซลล์แสงอาทิตย์เทคโนโลยี Heterojunction ในอ�ำเภอหนิงไห่ เมืองหนิงโป มณฑลเจ้อเจียง ประเทศจีน ซึ่งถือเป็นโรงงานผลิตโมดูลและเซลล์ แสงอาทิตย์ พลังงานสะอาด รวมถึงอุปกรณ์การผลิต และคาดว่าจะมีกำ� ลังการ ผลิต 2.5 กิกะวัตต์ และเซลล์ 2.5 กิกะวัตต์ต่อปี ซึ่งเทคโนโลยี Heterojunction มีจุดเด่นคือ ไม่มีการเสื่อมสภาพจากแสงและมีค่าสัมประสิทธิ์ อุณภูมิต�่ำ เซลล์ Heterojunction ของบริษัท Risen Energy นี้ มีประสิทธิภาพการแปลงพลังงาน สูงกว่า 23% ซึง่ สามารถผลิตไฟฟ้าได้ทงั้ 2 ด้าน จะช่วยให้นกั ลงทุนได้รบั ผลตอบแทน จากการผลิตไฟฟ้ามากขึ้น 10-30% ทั้งนี้ การให้คะแนนการบริหารสภาพแวดล้อมแก่โรงงานอุตสาหกรรม สีเขียวต่างๆ ประเมินจากวิธกี ารทีก่ จิ การบริหารผลด�ำเนินงานทีม่ ตี อ่ สภาพแวดล้อม เช่น นโยบายของกิจการ การจัดโปรแกรมหรือโครงการเฉพาะเจาะจง การก�ำหนด เป้าหมายของกิจการทีใ่ ช้การวัดสิง่ ทีม่ าจากการด�ำเนินงานในระดับโลกของกิจการ ที่เปิดเผยโดยวัดในเชิงปริมาณและอิงตามมาตรฐานกว่า 700 เมทริกซ์ ทั้งผลต่อ สภาวะเรือนกระจก การใช้นำ�้ ของเสียท�ำลายดิน และสารพิษ โดยแยกในส่วนของ การด�ำเนินธุรกิจของกิจการเอง คูส่ ญ ั ญาและซัพพลายเออร์ รวมทัง้ สินค้าและบริการ และยังมีการน�ำดัชนีหลักด้านสิง่ แวดล้อมทีม่ กี ว่า 40 ดัชนีมาประกอบการพิจารณา ด้วย และปัจจุบนั โรงงานอุตสาหกรรมทัว่ โลกส่วนใหญ่กย็ นิ ดีจะเปิดเผยข้อมูลด้าน บริหารจัดการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากขึ้นด้วย

GreenNetwork4.0 September-October tember-October 2019


GREEN

Article ผศ. ดร.ธภัทร ศิลาเลิศรักษา JGSEE มจธ.

การประเมินวัฏจักรชีวิต :

เครื่องมือเพื่อการพัฒนา เศรษฐกิจหมุนเวียน ที่ยั่งยืนของอุตสาหกรรม

ช่วงนีเ้ ราอาจได้ยนิ การพูดถึงกันมากเกีย่ วกับเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ซึง่ ก�ำลังเป็นทีก่ ระแสทีไ่ ด้รบั ความสนใจอย่างกว้างขวาง โดยเชือ่ กันว่า เป็ น แนวทางที่ อุ ต สาหกรรมควรน� ำ มาใช้ เ พื่ อ มาทดแทนระบบเศรษฐกิ จ เก่ า ซึ่งมักเป็นแบบเส้นตรง (Linear Economy) เป็นระบบการผลิตที่มุ่งเน้นการสร้าง ผลประกอบการทางธุรกิจโดยการน�ำทรัพยากรมาใช้เพื่อผลิตสินค้าไปสู่ผู้ใช้งาน และเมือ่ สินค้าหมดอายุกจ็ ะถูกน�ำไปก�ำจัด หรือทีเ่ รียกว่า “Take-Make-Dispose” ส่วนใหญ่มกั จบลงทีก่ ารน�ำไปฝังกลบ แต่เศรษฐกิจหมุนเวียนเป็นกลยุทธ์ทเี่ กิดจาก แรงบันดาลใจว่าเราจะสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ สังคม หรือทางธุรกิจอย่างไร ในขณะที่สามารถลดการใช้ทรัพยากรและผลกระทบสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปด้วย ซึ่งแนวทางอาจไม่จ�ำกัดเฉพาะเรื่องของการลด (Reduce) การน�ำกลับมาใช้ซ�้ำ (Reuse) และการน�ำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) อย่างที่อุตสาหกรรมเคยพยายาม ท�ำอยู่แล้วในอดีต แต่เศรษฐกิจหมุนเวียนในที่นี้จะหมายรวมไปถึงโมเดลธุรกิจแบบอื่นๆ ทั้งเรื่องของ (1) Circular Supply เช่น การใช้วัสดุรีไซเคิล ใช้พลังงานหมุนเวียน หรือทรัพยากรชีวภาพทีย่ อ่ ยสลายและสร้างใหม่ได้ (2) Resource Recovery เช่น การลดการสูญเสียวัตถุดิบและการหาทางน�ำกลับมาใช้ใหม่ (3) Product Life Extension เช่น การยืดอายุผลิตภัณฑ์โดยการซ่อมแซม การปรับปรุงคุณภาพ ไปจนถึงการน�ำกลับไปขายใหม่ (4) การสร้างแพลตฟอร์มของการแบ่งปัน (Sharing Platform) หรือการร่วมมือกันระหว่างผู้ใช้งาน และ (5) Product as a Service เช่น การให้เช่าผลิตภัณฑ์หรือการให้บริการแก่ผทู้ ตี่ อ้ งการใช้เป็นครัง้ ๆ โดยหวังว่า สิ่งที่เกิดขึ้นจากระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนนี้จะน�ำไปสู่การแก้ปัญหาที่กังวล เช่น ทรัพยากรที่มีอยู่จ�ำกัดและอาจไม่เพียงพอส�ำหรับการผลิตเพื่อตอบสนองความ ต้องการที่ก�ำลังเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว จากการเพิ่มขึ้นของประชากรและการ เติบโตของเมืองและเศรษฐกิจ หรือปัญหาสิง่ แวดล้อมโดยเฉพาะการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมิอากาศอันเกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เพิ่มมาก แต่หลายคนเคย 16

ตั้งค�ำถามหรือไม่ว่าอะไรที่จะช่วยบอกว่า เศรษฐกิจหมุนเวียนเราก�ำลังด�ำเนินการหรือจะด�ำเนินการนั้นมันยั่งยืน ต่อสิง่ แวดล้อมและการใช้ทรัพยากรได้อย่างแท้จริง หรือการทีอ่ ตุ สาหกรรมพยายาม น�ำเสนอแนวทางการน�ำผลิตภัณฑ์มาใช้ซำ�้ หรือน�ำกลับมาใช้ใหม่เพือ่ ต้องการปิดลูป (Closing the Loop) ไม่ต้องไปสู่การก�ำจัดโดยวิธีฝังกลบนั้นจะพอเพียงจริงหรือ? หรือจะช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมได้แค่ไหนเมื่อเทียบกับแบบเดิม? ตัวอย่างเช่น หากบริษัทวางกลยุทธ์เศรษฐกิจหมุนเวียนโดยการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีการใช้ วัสดุรไี ซเคิลให้มากทีส่ ดุ แต่ผลทีต่ ามมาก็คอื อาจต้องแลกกับคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ในเชิงอายุการใช้งานต้องลดลง หรือแม้แต่ผลกระทบอืน่ ทีเ่ กิดขึน้ จากการใช้พลังงาน และน�ำ้ ในการรีไซเคิลวัสดุนนั้ เพือ่ น�ำกลับมาใช้ซำ�้ หรือแม้แต่การเก็บรวบรวมและ ขนส่งมากลับมาเพื่อการใช้ซ�้ำ ดังนั้นการปิดลูปอย่างเดียวโดยไม่ได้พิจารณาถึง ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ตามมาอาจไม่เพียงพอและไม่ใช่เครือ่ งการันตีความส�ำเร็จ ด้านสิ่งแวดล้อม ในบทความนี้จึงขอน�ำเสนอถึงเครื่องมือหนึ่งที่เป็นพื้นฐานส�ำคัญ ในการน�ำไปใช้คู่กับการพัฒนาเศรษฐกิจหมุนเวียน รวมไปถึงเพื่อบ่งชี้ความยั่งยืน ด้านสิง่ แวดล้อมของระบบการผลิตของอุตสาหกรรม ก็คอื “การประเมินวัฏจักรชีวติ (Life Cycle Assessment)” หรือที่เรียกกันโดยย่อว่า “LCA”

GreenNetwork4.0 September-October 2019


LCA คือกระบวนการประเมินหาขนาดของผลกระทบสิง่ แวดล้อมทีอ่ าจเกิดขึน้ โดยพิจารณาตลอดวัฏจักรชีวติ ของผลิตภัณฑ์ บริการหรือโมเดลทางธุรกิจ หรือก็คือการพิจารณาตั้งแต่กระบวนการได้มาซึ่งวัตถุดิบ การขนส่ง การแปรรูปวัตถุดิบ การผลิต จนได้เป็นผลิตภัณฑ์ การน�ำผลิตภัณฑ์ไปใช้งาน จนกระทัง่ การก�ำจัดท�ำลายหลังหมดอายุการใช้งาน ซึง่ LCA นีไ้ ม่ใช่เรือ่ งใหม่ เพราะ เป็นเครื่องมือด้านสิ่งแวดล้อมที่ถูกใช้มานานกว่า 20 ปี จนปัจจุบัน LCA ได้ถูกยอมรับอย่างกว้างขวางทั่วโลกและถูกก�ำหนดเป็น มาตรฐานสากล ISO14040/44 Standards (International Organization for Standardization, 2006) ซึ่งอยากจะเน้นย�ำ้ ให้ เห็นถึงความส�ำคัญของ LCA และความจ�ำเป็นที่ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมควรต้องน�ำไปใช้ควบคู่กับการด�ำเนินงานด้านเศรษฐกิจ หมุนเวียน ดังตัวอย่างกรณีศึกษาของอุตสาหกรรมอ้อยและน�ำ้ ตาลทรายของไทย ที่พยายามในการใช้ประโยชน์จากชีวมวลที่เกิดขึ้น ตลอดห่วงโซ่คุณค่าให้มีประสิทธิภาพสูงที่สุด โดยอาศัยแนวคิด “ไบโอรีไฟเนอรี่ (Biorefinery)” กล่าวคือ การแปรรูปชีวมวลจากอ้อย ไปสูผ่ ลิตภัณฑ์ทมี่ มี ลู ค่าสูง เช่น เชือ้ เพลิงชีวภาพ เคมีชวี ภาพ ไฟฟ้า ความร้อน หรือวัสดุ โดยเป็นหลักคิดเดียวกับโรงกลัน่ น�ำ้ มันทีม่ นี ำ�้ มันดิบ เข้ามาเป็นวัตถุดบิ แต่ได้ผลิตภัณฑ์ออกมาเป็นหลายอย่าง ซึง่ กลุม่ วิจยั การประเมินวัฏจักรชีวติ บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิง่ แวดล้อม ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ภายใต้การสนับสนุนงบประมาณจากส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้ทำ� การศึกษาถึงรูปแบบของระบบไบโอรีไฟเนอรี่ของการน�ำใบอ้อยกลับไปใช้ประโยชน์เพื่อการผลิตพลังงาน การน�ำน�้ำกากส่าของโรงเอทานอล ไปใช้งานร่วมกับกากหม้อกรองของโรงงานน�ำ้ ตาลเพือ่ ไปผลิตปุย๋ และกลับไปใช้งานในไร่ออ้ ยอีกครัง้ หนึง่ ซึง่ เหล่านีเ้ ป็นตัวอย่างของการหมุนเวียน ที่เกิดขึ้นแต่ต้องแลกกับการใช้พลังงานส่วนเพิ่มจากกิจกรรม เช่น การตัดอ้อยและเก็บใบอ้อยด้วยเครื่องจักร การขนส่งใบอ้อย การใช้พลังงาน ในช่วงการผลิตปุย๋ และการขนส่งปุย๋ กลับสูไ่ ร่ ดังนัน้ LCA จึงถูกน�ำมาใช้เพือ่ เปรียบเทียบประสิทธิภาพของระบบดังกล่าวกับแบบปกติทไี่ ม่ดำ� เนินการและ มีการเผาใบอ้อยช่วงเก็บเกี่ยวเหมือนเดิม ซึ่งผลการประเมิน LCA ช่วยชี้ให้เห็นอย่างชัดเจนกว่าระบบไบโอรีไฟเนอรี่ดังกล่าวสามารถลดผลกระทบด้าน การปล่อยก๊าซเรือนกระจก ภาวะความเป็นกรด ภาวะการเกิดโฟโตเคมิคอลออกซิเดชั่น และการเกิดฝุ่นละอองลงได้ร้อยละ 40-90 เมื่อเปรียบเทียบกับกรณี ปกติที่ไม่มีการด�ำเนินการ

ดังนัน้ LCA จึงเป็นเครือ่ งมือส�ำคัญทีจ่ ะช่วยให้อตุ สาหกรรมสามารถประเมิน ประสิทธิภาพความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมของโมเดลธุรกิจหมุนเวียนที่ก�ำลังจะ พัฒนาขึ้นใหม่ว่าก่อนที่จะน�ำไปด�ำเนินการจริงว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด หรือจะช่วยท�ำให้อุตสาหกรรมสามารถเลือกใช้กลยุทธ์ได้อย่างเหมาะสม เช่น การรีไซเคิล การใช้ซำ�้ หรือแม้แต่แนวทางการก�ำจัดซาก และด้วยจุดแข็งของ LCA ที่ผลกระทบสิ่งแวดล้อมทั้งหมดที่เกิดขึ้นทุกช่วงของวัฏจักรชีวิตท�ำให้เราสามารถ วิเคราะห์เชิงลึกได้ถึงสาเหตุของปัญหาเพื่อก�ำหนดแนวทางแก้ไขหรือป้องกันได้ อย่างเหมาะสม รวมถึงยังสามารถน�ำผลประเมินไปใช้ในการตัง้ เป้าหมายและติดตาม ผลการปรับปรุงได้อย่างเป็นระบบ นอกจากนี้ ปัจจุบัน LCA ยังเป็นเครื่องมือ ส�ำคัญของการด�ำเนินการด้านสิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรมในเรื่องอื่นๆ เช่น การออกแบบผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต การสนับสนุนการท�ำ ISO14001 การจัดท�ำและการรับรองฉลากสิ่งแวดล้อม เช่น ฉลากคาร์บอนฟุตพรินต์ของผลิตภัณฑ์ขององค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก ฉลากวอเตอร์ฟุตพรินต์ของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นต้น 17

ทั้งหมดนี้ ผู้เขียนหวังว่าผู้อ่านจะได้เห็นถึงความส�ำคัญของ LCA ที่เริ่ม เข้ามามีบทบาทต่ออุตสาหกรรม ซึ่งผู้ประกอบการอุตสาหกรรมจึงควรต้องปรับ กระบวนทัศน์และหาทางน�ำเครือ่ งมือ LCA ไปประยุกต์ใช้กบั โมเดลธุรกิจของตนเอง ต่อไปในอนาคต

เอกสารอ้างอิง Silalertruksa, T., Pongpat, P., Gheewala, S.H., 2017. Life cycle assessment for enhancing environmental sustainability of sugarcane biorefinery in Thailand, Journal of Cleaner Production, Vol. 140, Part 2, pp.906-913 Silalertruksa, T., Gheewala, S.H., 2019. Competitive use of sugarcane for food, fuel, and biochemical through the environmental and economic factors. The International Journal of Life Cycle Assessment. https://doi .org/10.1007/s11367-019-01664-0 

GreenNetwork4.0 September-October 2019


GREEN

Article รศ. ดร.ศิริมา ปัญญาเมธีกุล, ศ.กิตติคุณ ดร.ธงชัย พรรณสวัสดิ์ ภาควิชาวิศวกรรม สิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Working Group : Environmental Management Using Geospatial Information Technology (EnvGIT) FB Page : Thailand Network Center on Air Quality Management (TAQM) E-mail : Sirima.P@Chula.ac.th, www.taqm.org

ดราม่า เรื่อง PM 2.5

รู้ให้ไว ไหวให้ทัน

ขอย�้ำอีกครั้งว่า แม้จะเขียนจั่วหัวเรื่องไว้ในตอนที่ 1 ว่าเป็นเรื่องดราม่า อันเนือ่ งมาจากคุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานครทีเ่ ลวมากในช่วงปลายมกราคม ต่อต้นกุมภาพันธ์เมือ่ ต้นปี พ.ศ. 2561 โดยดูหรือวัดเอาจากค่าสารมลพิษอากาศหรือ PM 2.5 แต่เมื่อเวลาผ่านไปสภาพลมฟ้าดีขึ้น ลมร้อนเริ่มมาและพัดแรงขึ้น มลพิษ ทัง้ หลาย ซึง่ จริงๆ ไม่ได้มแี ค่เพียง PM 2.5 ก็ถกู พัดพาให้กระจายออกไป ปัญหามลพิษ อากาศจึงน้อยลง และดราม่าเรือ่ งนีก้ ค็ ล้ายๆ กับเรือ่ งอืน่ ๆ คือจางหายไปกับสายลม แต่ในกรณีนมี้ นั หายไปกับสายลมจริงๆ ไม่ใช่เพียงแค่การเปรียบเปรย แต่เราจะต้อง มาท�ำตัวแบบ “รู้ให้ไว ไหวให้ทัน” เพื่อจะได้แก้ปัญหาได้ทันท่วงที โดยต้องเรียนรู้ ในรายละเอียดที่จะกล่าวถึงต่อไป ดังนี้ เรือ่ งนีเ้ ป็นเรือ่ งทีซ่ เี รียสมาก ซีเรียสจนต้องรูใ้ ห้ไว ไหวให้ทนั คือ องค์การอนามัยโลก หรือ WHO ทีป่ จั จุบนั ก�ำหนดให้คา่ มาตรฐานเฉลีย่ 24 ชัว่ โมง ของคุณภาพอากาศในรูปฝุน่ จิว๋ PM 2.5 ไว้ที่ 25 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ในขณะที่ มาตรฐานของไทยเราอยู่ที่ 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร รวมถึงค่ามาตรฐาน เฉลีย่ รายปี PM 2.5 ของ WHO ก็อยูท่ เี่ พียง 10 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ในขณะที่ ค่ามาตรฐานเฉลี่ยรายปีของไทยเป็น 25 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่งก็ได้มี เสียงเรียกร้องและสอบถามว่าเหตุใด ไทยเราจึงไม่ลดค่าก�ำหนดนี้ให้ลงมาเท่ากับ ของ WHO กับเพียงแค่มาตรฐานเฉลีย่ 24 ชัว่ โมงปัจจุบนั ที่ 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร เราก็ยังท�ำไม่ได้ในทุกๆ ปี ถ้าลดไปเป็น 25 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ตามองค์กร WHO ก็คงไม่ได้มาตรฐานกันเกือบทุกวันในช่วงเดือนเสีย่ ง (ฤดูลมสงบ) และกรุงเทพมหานครรวมทัง้ อีกหลายเมืองในประเทศไทย ถ้าดูเฉพาะจากตัวเลข ก็จะกลายเป็นเมืองทีม่ อี ากาศหายใจไม่ได้เอาทีเดียว และดราม่าก็จะมาอย่างรุนแรง กว่าเมือ่ ต้นปี พ.ศ. 2561 นีอ้ กี อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ดว้ ย ก็อย่างทีบ่ อกแหละว่าต้อง รูใ้ ห้ไว ไหวให้ทนั และจัดเตรียมนโยบายและแผนงาน รวมทัง้ มาตรการทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาวเอาไว้ส�ำหรับรองรับสิ่งที่จะเกิดขึ้น

18

มาตรการเด็ดขาด ค่าฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 ปกติไม่ได้สูงตลอดปี ค่านี้จะลดลงเมื่อภูมิอากาศมีสภาพลมแรง และสารมลพิษถูกพัดพาให้กระจายตัว ไปได้มากและเร็ว ค่า PM 2.5 จะสูงเป็นบางวันในช่วงเดือนธันวาคมถึงมีนาคม และ เมือ่ มีคา่ สูงในบางวันนัน้ ภาคราชการก็จะออกประกาศเตือนให้ประชาชนอยูใ่ นบ้าน (ไม่นา่ เวิรก์ เพราะคนมันต้องออกจากบ้านไปทําธุรกิจและภารกิจ รวมทัง้ คุณภาพ อากาศในหลายบ้านแย่กว่าอากาศภายนอกเสียอีกด้วยซำ�้ ) ให้ประชาชนใช้หน้ากาก ป้องกันมลพิษแบบ N95 ที่ละเอียดมาก (ไม่เวิร์ก เพราะหายใจไม่สะดวก เรียกว่า ไม่ได้เลยก็คงไม่ผดิ นัก) งดการออกกําลังกายนอกบ้าน (ข้อนีอ้ าจพอได้แต่ไม่ใช่การ แก้ปัญหาจริง) ฯลฯ รวมทัง้ ภาครัฐก็จะขอความร่วมมือไปยังผูก้ อ่ มลพิษอากาศทัง้ หลาย ไม่วา่ จะ เป็นการก่อสร้าง การขับรถยนต์ การเผาเชื้อเพลิงในโรงงาน การเผาในที่โล่ง ซึ่ง ปรากฏว่าทีผ่ า่ นมาหลายปีนนั้ ไม่มผี ใู้ ดให้ความร่วมมือเลย ดังนัน้ การแก้ไขปัญหา ที่รุนแรงนี้ จะมามัวขอแต่ความร่วมมือจากคนอื่นไม่ได้ รัฐนั้นแหละที่ต้องใช้ มาตรการเด็ดขาดมาบังคับสถานเดียว จึงจะเวิร์ก มาตรการระยะสัน้ จากการทีไ่ ด้พดู คุยและรับฟังเจ้าหน้าที่ รัฐ พอจะสรุปได้ว่า มาตรการระยะสั้นที่ภาครัฐวางแผนไว้สําหรับต่อกรเมื่อมีเหตุ ฉุกเฉิน คือค่า PM 2.5 เกินมาตรฐาน มีดังนี้ (1) ในสายวิชาการเราค่อนข้างเชื่อกันแล้วว่า สาเหตุหลักของ PM 2.5 มาจากไอเสียของรถยนต์ดีเซล และควันพิษจากรถยนต์ ไม่ว่าจะประเภทอะไรจะ สูงขึ้นถ้าสปีดหรือความเร็วของรถยนต์ต�่ำลง (ดูรูปที่ 1) ดังนั้น ถ้าต้องการจะลด ปัญหามลพิษอากาศ เราต้องท�ำให้การจราจรคล่องตัวและรถวิ่งได้เร็วขึ้น (2) ห้ามจอดในทีห่ า้ มจอด ตรวจจับรถควันดําอย่างเข้มงวด ห้ามรถควันดํา วิ่งบนท้องถนน รถบรรทุกต้องมีผ้าใบคลุมมิดชิด ฯลฯ (3) ประกาศให้รถทะเบียนเลขคู่ วิ่งได้เฉพาะวันคู่ และรถทะเบียนเลขคี่ วิ่งได้เฉพาะวันคี่

GreenNetwork4.0 September-October 2019


ลดหรือหยุดการผลิต และข้อ (12) ห้ามประชาชนเผาขยะ เพราะติดทีต่ วั บท กฎหมายและอํานาจหน้าทีข่ องทางราชการ ซึง่ ถ้าจะแก้ปญ ั หาให้ได้ทนั ท่วงที ก็จําเป็นต้องมีกฎระเบียบใหม่มารองรับให้เจ้าหน้าที่รัฐมีหลังพิงและ กฎระเบียบ รวมทัง้ ขัน้ ตอนสัง่ การทีเ่ ด่นชัดเหล่านี้ ต้องเตรียมไว้ตงั้ แต่บดั นี้ หากต้องอาศัยอํานาจบริหารของรัฐบาล เช่น จัดเป็นมติ ครม. ฯลฯ ก็ตอ้ งทํา เพราะฉะนัน้ เมือ่ ถึงเวลานัน้ เราก็จะมาพูดถึงมาตรการ 10 กว่าข้อนีก้ นั อีกครัง้ และอีกครัง้ ซึง่ ไม่ได้แก้ปญ ั หาอะไร และปอดคนกรุงเทพฯ ก็ตอ้ งพังกันต่อไป โปรดสังเกตว่า ผู้เขียนไม่ได้เอ่ยถึงกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) เลย ในเรือ่ งมาตรการป้องกันแก้ไขปัญหา เพราะ สธ. ก็เหมือนภาคประชาชน คือ เป็นผูถ้ กู กระทํา ไม่ใช่เป็นผูก้ ระทํา ดังนัน้ หากเราแก้ปญ ั หาโดยให้ผกู้ ระทํา นัน้ รับผิดชอบในการแก้ปญ ั หาจนสําเร็จได้ ผูถ้ กู กระทําก็ไม่มอี ะไรจะต้องทํา อีกต่อไป และเราเชือ่ ในมาตรการป้องกันปัญหาแต่ตน้ เหตุ มากกว่ามาตรการ การป้องกันปัญหา (ส่วนบุคคล) ที่ปลายเหตุ รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างค่าตัวคูณการปลดปล่อยฝุ่นละอองจากยานพาหนะ ที่ใช้เชื้อเพลิงดีเซลกับความเร็วของรถ ที่มา : สุพัฒน์ หวังวงศ์วัฒนา “ฝุ่น PM 2.5 แก้อย่างไรให้ตรงจุด” ทางออกร่วมกัน ในการลดฝุ่นละออง PM 2.5 ใน กทม., กรมควบคุมมลพิษ, 23 มีนาคม 2561 (4) หากคุณภาพอากาศเลวลงไปอีก ให้ประกาศสั่งห้ามรถดีเซลวิ่ง ไม่ว่าจะเป็น รถราชการหรือรถเอกชน 4 เรื่องนี้กองบังคับการตํารวจจราจรต้องเป็นหน่วยงานที่รับ เรื่องไป แต่ 2 เรื่องแรกเป็นเรื่องที่มีระเบียบมีกฎหมายรองรับอยู่แล้ว คงไม่ต้องรอให้มี เหตุการณ์ฉกุ เฉิน PM 2.5 เกินมาตรฐาน ผูค้ นหายใจไม่ออกและดราม่าล้นโซเชียลกระมัง จึงจะมาลงมือทํา มันเป็นเรื่องที่ต้องทําอยู่เป็นปกติอยู่แล้ว ฉะนั้นสิ่งนี้ภาครัฐต้องนําไป ปฏิบตั ทิ นั ที ถ้าไม่ทาํ ก็ขอให้มคี นใจกล้าฟ้องศาลด้วยมาตรา 157 ว่าด้วยการละเลย ไม่ปฏิบตั ิ หน้าที่กันสักทีเถิด ปอดของเราจะได้สะอาดกันเสียที (5) ควบคุมและกํากับดูแลการก่อสร้าง ไม่วา่ จะเป็นอาคารหรือทางรถไฟฟ้า ฯลฯ ในพื้นที่ในเขตกรุงเทพมหานคร มิให้มีการปล่อยฝุ่นออกมาเกินมาตรฐานที่กําหนด เช่น ต้องใช้รวั้ ทึบ ต้องมีผา้ ใบคลุมรถขนวัสดุ ต้องทําความสะอาดบริเวณก่อสร้าง ต้องล้างล้อรถ ขนวัสดุเข้าออก และห้ามก่อสร้างยามวิกาล ฯลฯ (6) ทําความสะอาดถนน (อันนี้ไม่เวิร์กสําหรับ PM 2.5 ได้อธิบายไว้ในเรื่องที่ 3 ตอน 5 (7) เพิ่มพื้นที่สีเขียว (ข้อนี้มันต้องทําอยู่แล้ว ไม่ว่าจะมีปัญหา PM 2.5 หรือไม่มี) (8) รณรงค์ให้ผขู้ ายอาหารปิง้ ย่างใช้เตาลดมลพิษ (ข้อนีค้ งหน่อมแน้มไปเล็กน้อย แต่ก็ดี คือพยายามดูไปทุกมาตรการที่พอจะช่วยกันได้) ข้อ (5)-(8) นี้ กรุงเทพมหานครเป็นผูร้ บั หน้าเสือ่ แต่กอ็ กี นัน่ แหละทุกข้อนีม้ นั ต้อง ทําอยู่แล้วโดยไม่เกี่ยวกับมีหรือไม่มีปัญหา PM 2.5 ส่วนที่น่าจะเสริมเพิ่มจากมาตรการ 4 ข้อหลังนี้ คือมาตรการข้อ (9) ที่เราจะขอนําเสนอเพื่อพิจารณา (9) หากใช้มาตรการอืน่ ๆ แล้วปัญหายังมิได้ลดลง ก็ตอ้ งใช้มาตรการสัง่ หยุดก่อสร้าง ทันที อาจจะเป็นการก่อสร้างในโครงการของรัฐก่อนเป็นอันดับแรก แล้วตามด้วยโครงการ ของเอกชนในลําดับต่อไป (10) ควบคุมกํากับดูแลโรงงานอุตสาหกรรม รวมทัง้ โรงไฟฟ้าทีม่ กี ารเผาเชือ้ เพลิง ฟอสซิล และระบบควบคุมมลพิษ มิให้ปล่อยสารมลพิษเกินมาตรฐาน (11) สั่งลดหรือหยุดการผลิต เมื่อเหตุการณ์รุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ 2 ข้อล่าสุดนี้เป็นส่วนที่กรมโรงงานอุตสาหกรรม ต้องเป็นผู้รับผิดชอบและบังคับ ให้เป็นไปตามกฎหมายทีม่ ี ซึง่ ต้องทําอยูแ่ ล้วเป็นปกติวสิ ยั ไม่จาํ เป็นต้องรอจนเกิดเหตุฉกุ เฉิน (12) ประกาศห้ามประชาชนเผาขยะ สิง่ เหลือใช้หรือของเสียจากการเกษตร ฯลฯ ทั้งในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ข้อนีก้ รุงเทพมหานครและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ (อปท.) ทีเ่ กีย่ วข้อง คือ เทศบาล ปทุมธานี นนทบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร ต้องทําอยู่แล้ว โดยไม่เกี่ยวกับมีหรือไม่มี ปัญหาฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 ในมาตรการต่างๆ เหล่านี้ มีขอ้ สังเกตคือ ส่วนใหญ่มกี ฎหมายรองรับอยูแ่ ล้วและ ต้องปฏิบตั อิ ยูแ่ ล้ว แต่บางข้ออาจมีปญ ั หาทีเ่ จ้าหน้าทีร่ ฐั อาจมิกล้าสัง่ การทันที เช่น ข้อ (3) ให้รถวิง่ วันคูว่ นั คี่ ข้อ (4) ห้ามรถดีเซลวิง่ ข้อ (9) สัง่ หยุดการก่อสร้าง ข้อ (11) สัง่ โรงงาน 19

มาตรการระยะยาว มาตรการพวกนี้เป็นมาตรการ ระดับนโยบาย จึงจะขอเอ่ยถึงไว้เพียงสั้นๆ ในที่นี้ว่ามีอะไรบ้าง ดังนี้ (1) ต้ อ งเปลี่ ย นให้ น�้ ำ มั น รถยนต์ คุ ณ ภาพดี ขึ้ น โดยเปลี่ ย นจาก มาตรฐานยูโร 4 เป็นยูโร 5 และยูโร 6 ในที่สุด ยิ่งถ้าจะเป็นทางลัดโดยปรับ จากยูโร 4 ไปเป็นยูโร 6 เลยก็น่าจะดีต่อประเทศเราเร็วขึ้นเท่านั้น (2) ถ้าเปลี่ยนเป็นมาตรฐานยูโร 6 นั่นหมายถึงผู้ผลิตรถยนต์จะต้อง ปรับข้อกําหนดของเครื่องยนต์ตามมาตรฐาน* เช่นเครื่องยนต์ของรถยนต์ ดีเซล ต้องเป็นเครือ่ งยนต์ดเี ซลสะอาด (Clean Diesel Engine) สามารถปล่อย PM : Particulate Matter (ฝุน่ ละอองทุกขนาดรวมกัน) ได้เพียง 5 มิลลิกรัม ต่อกิโลเมตรจากข้อกําหนดยูโร 4 กําหนดให้ปล่อยได้ที่ 25 มิลลิกรัมต่อ กิโลเมตร(2) และสําหรับเครือ่ งยนต์ของรถยนต์เบนซินจํากัด การปล่อย PM ที่ 4.5 มิลลิกรัมต่อกิโลเมตร (บังคับใช้เฉพาะเครื่องยนต์ Direct Injection) จากข้อกําหนดยูโร 4 เดิมที่ไม่มีการกําหนดค่าของ PM(3) นอกจากนี้ ในมาตรฐานยู โ ร 6 ยั ง เพิ่ ม ข้ อ กํ า หนดของจํ า นวนอนุ ภ าคฝุ ่ น ละออง (PN : Particulate Number) เป็น 6x1011 #/km (อนุภาคต่อกิโลเมตร) สําหรับเครื่องยนต์ทั้งประเภทดีเซลและเบนซิน (3) รับรถขนส่งมวลชนทุกคัน ทัง้ ของรัฐและของเอกชน เป็นรถทีใ่ ช้ พลังงานไฟฟ้า ซึ่งไม่ปล่อยฝุ่นละอองและปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ลดลง (4) จัดให้มีระบบ NMT หรือ Non-Motorized Transportation ที่ เป็นจริง ใช้งานได้ และสะดวกแก่ประชาชนผู้ใช้งาน จนเกิดการเปลี่ยน พฤติกรรม ลดหรือเลิกการใช้รถยนต์สว่ นตัวทีใ่ ช้เครือ่ งยนต์ มาใช้รถทีไ่ ม่ใช้ เครื่องยนต์ โดยเฉพาะระบบขนส่งมวลชน (5) จัดทําผังเมืองทีบ่ รู ณาการ เอาประเด็นลดมลพิษอากาศเข้าไปใน กระบวนการคิดและกระบวนการการทํางานรวมทั้งจัดวางผัง (6) จัดเก็บภาษีมลพิษจากผู้ก่อให้เกิดมลพิษ ซึง่ ถ้าเราทําได้จริงทัง้ หมด ทัง้ มาตรการระยะสัน้ และระยะยาวทีก่ ล่าว มานีอ้ ย่างเด็ดขาดและทันท่วงที เราก็คงจะมีอากาศทีม่ คี ณ ุ ภาพทีเ่ ราสามารถ หายใจกันได้เต็มปอด เหมือนที่เคยทํากันมาได้ในอดีต และเราภาวนาขอให้ เป็นเช่นนั้นได้จริงในเร็ววัน * มาตรฐานไอเสียรถยนต์นงั่ และรถบรรทุกขนาดเล็ก Light Commercial Vehicles ≤1305 kg

เอกสารอ้างอิง

(1) สุพัฒน์ หวังวงศ์วัฒนา “ฝุ่น PM 2.5 แก้อย่างไรให้ตรงจุด” ทางออกร่วมกันในการลด ฝุ่นละออง PM 2.5 ใน กทม., กรมควบคุมมลพิษ, 23 มีนาคม 2561 (2) สํานักงานคุณภาพเชือ้ เพลิง “นำ�้ มันยูโร 4 คืออะไร” กรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน http://www.doeb.go.th/knowledge/data/uro_4.pdf (สืบค้นเมือ่ วันที่ 10 เมษายน 2561) (3) Williams, M. and R. Minjares. “A technical summary of Euro 6/VI vehicle emission standards.” The International Council on Clean Transportation. https://www.theicct.org/sites/default/files/publications/ICCT_Euro6-VI_briefing _jun2016.pdf (accessed April 10, 2018)

GreenNetwork4.0 September-October 2019


GREEN

สิบกวาปมานี้ที่ประเทศไทยไดสนับสนุนให ผลิตไฟฟาจากพลังงานทดแทน โดยใหเหตุผลวา เพื่อเสริมสรางความมั่นคงดานไฟฟาในประเทศ ตลอดระยะเวลาอันยาวนานประเทศไทยก็ไมเคย ขาดแคลนไฟฟาเลย ในทางกลับกันกําลังไฟฟา ที่สํารองไวกลับเกินกวามาตรฐานที่กําหนดไว 15% กวาเทาตัว ดังนัน้ ประโยชนของการสงเสริมพลังงาน ทดแทนอยางมากมาย คงไมไดชวยดานความมั่นคง แต เ ป น การเป ด ประตู สู  ธุ ร กิ จ ใหม ด  า นพลั ง งาน เสริมสรางความมั่นคงดานเศรษฐกิจ ทําใหเกิด มหาเศรษฐีเพิ่มขึ้นในระดับประเทศและระดับโลก หลายทาน อันเนือ่ งมาจากธุรกิจขายไฟฟาใหภาครัฐ แทที่จริงเปนธุรกิจสัมปทาน ซื้อขายลวงหนากันถึง 20 ป และในหลายๆ ชวงเวลาที่ผานมา รัฐก็ขาด ประสบการณ เสียคาโง ซือ้ ไฟฟาแพงเกินความจําเปน มาวันนี้ รัฐอยากจะแบงปนเศษสตางคจาก พลังงานทดแทนใหกบั ชุมชนทีม่ ฐี านะยากจนกระจาย อยูท วั่ ประเทศบาง กลับมีคาํ ถามมากมาย แตไมเคยมี ใครถามวา แทจริงแลวชุมชนตองการอะไร และใคร คือชุมชนเปาหมายที่รัฐสมควรจะแบงปนให

Focus พิชัย ถิ่นสันติสุข

โรงไฟฟาชุมชนคืออะไร? และใคร คือชุมชนคนนั้น!

โรงไฟฟาชุมชน สวัสดิการแหงรัฐ... รูปแบบใหม 20

1. โรงไฟฟาชุมชน ควรเปนโรงไฟฟาขนาด เล็กๆ ไมเกิน 3 เมกะวัตต จะมีการขายไฟฟาใหภาค รัฐหรือใชไฟฟากันเองในชุมชน ขึ้นอยูกับสภาพของ ทองถิน่ นัน้ ๆ สวนเชือ้ เพลิง ควรหาไดในชุมชนนัน้ ๆ หรือ รอบบริเวณนั้น จะเปนเศษเหลือทิ้งหรือวัสดุเหลือใช จากภาคเกษตรหรืออุตสาหกรรมเกษตรในทองถิ่น นัน้ ก็ได รวมถึงการปลูกพืชโตเร็วเพือ่ ใชเปนเชือ้ เพลิง ก็เปนอีกทางเลือกหนึ่ง 2. เทคโนโลยี การนําพลังงานธรรมชาติจาก ดวงอาทิตยที่สะสมไวบนผิวโลกมาใช มี 2 วิธีงายๆ ก็คอื การหมักและการเผา ดังนัน้ ดานเทคโนโลยีจงึ ควร เปดกวางไวรองรับเทคโนโลยีใหมๆ อยาง Disruptive Technology ไมวา จะเปนเทคโนโลยีการหมักกาซ หรือ การเผาตรง หรือเผาแบบควบคุมอากาศ ก็นา จะใชได ดวยกันทั้งหมด แตควรคํานึงถึงดานสิ่งแวดลอมและ งบประมาณที่เหมาะสม สิ่งที่ รัฐตองกําหนด ไวใน เงือ่ นไขครัง้ นีก้ ค็ อื เครือ่ งจักรและอุปกรณตอ งเปนของ ใหม ไมเคยใชงานมากอนเทานัน้ จะไดไมมโี รงไฟฟา เล็กๆ ทีใ่ ชงานไมไดอนั เนือ่ งจากใชเครือ่ งจักรอุปกรณ เกามากๆ กระจายอยูทั่วประเทศเหมือนในขณะนี้ 3. เชือ้ เพลิง ควรเปนแบบหลากหลายเชือ้ เพลิง (Multi-Feedstock) หรือที่ทางกระทรวงพลังงาน มักใชคาํ วาไฮบริด คือใชเชือ้ เพลิงไดหลากหลาย เชน ถาเปนระบบการเผาใหความรอน นอกจากชีวมวล แลว ก็ยังสามารถใชกับ RDF: Refuse Derived Fuel ซึ่งเปนเชื้อเพลิงที่คัดแยกจากบอฝงกลบในชุมชน นัน้ ๆ ในปริมาณทีเ่ หมาะสม หากเปนการหมักอาจใช พืชพลังงาน เชน หญาเนเปยร รวมทัง้ ขยะอินทรียห รือ กากผลไมจากเกษตรอุตสาหกรรม รวมทั้งนํ้าเสีย ชุมชน

GreenNetwork4.0 September-October 2019


นอกจากไฮบริดเชื้อเพลิงแลว ในแตละโรงไฟฟาชุมชน ยังควรเปดโอกาส ใหเปนไฮบริดดานเทคโนโลยีอกี ดวย อาทิ มีการผลิตไฟฟาจากกาซชีวภาพรวมกับ โรงไฟฟาพลังงานความรอน ก็จะชวยใหโรงไฟฟามีประสิทธิภาพดีขึ้น 4. ใครคือชุมชน..สมหลน..คนนั้น! อาจเปนเกษตรกร ชาวไร ชาวนา คนหาเชากินคํา่ ทีร่ วมตัวเปนวิสาหกิจชุมชน หรือองคกรอื่นๆ ตามกฎหมายจะเปนสหกรณ องคกรปกครองสวนทองถิ่นดวย หรือไม ก็ขนึ้ อยูก บั นโยบายรัฐในการกระตุน เศรษฐกิจ เพราะนีค่ อื สวัสดิการแหงรัฐ อีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งเห็นเนื้อเห็นนํ้ามากกวา “บัตรคนจน” อีกทั้งชุมชนที่ขยันก็ยังมี โอกาสเพิ่มรายไดจากการหาเชื้อเพลิงมาจําหนายใหกับโรงไฟฟาอีกดวย 5. แนวทางการรวมลงทุน โรงไฟฟาชุมชนนัน้ ตางจากโรงไฟฟาประชารัฐ คือ ภาครัฐไมตอ งลงทุนดวย งบประมาณใดๆ เนื่องจากภาคเอกชนพรอมลงทุนทั้ง 100% จัดสรรหุนใหชุมชน ที่เขาหลักเกณฑถือหุน 30% โดยไมตองชําระคาหุนใดๆ หนาที่ของภาครัฐ คือ จัดหาสายสงและสัญญาขายไฟฟา (PPA) และอํานวยความสะดวกดานกฎระเบียบ ประโยชนที่ไดจากแนวคิดนี้ คือ รัฐไมตอ งลงทุนดวยงบประมาณเปนกอน ซึง่ อาจมีการใชจา ยไดไมเต็ม ประสิทธิภาพเทากับภาคเอกชน ทําใหเอกชนผูล งทุนตองคํานึงถึงประสิทธิภาพของโรงไฟฟา เนือ่ งจาก ตองนํารายไดจากการขายไฟฟาไปชําระคืนงบลงทุน และใชเปนคาใชจา ย ในการซื้อเชื้อเพลิง รวมทั้งการเดินระบบในโรงไฟฟา (O&M) เปนการลดโอกาสการนําโครงการโรงไฟฟาชุมชนไปขายเปลี่ยนมือ ทํากําไรเปนทอดๆ  

 

 

21

6. อัตรารับซื้อไฟฟา ควรเปนแบบ FIT ระยะเวลาขายไฟฟา 20 ป ราคา รับซื้อไฟฟาไมควรตํ่ากวาอัตราปกติของโรงไฟฟาที่เปดดําเนินการแลว เพื่อให โรงไฟฟาชุมชนไมเสียเปรียบดานตนทุนราคาเชื้อเพลิง ซึ่งในอนาคตอาจมีการ แขงขันดานราคาเชือ้ เพลิงกันมากขึน้ โดยควรกําหนดใหโรงไฟฟาขนาดเล็กไดราคา ขายไฟฟาที่สูงกวา ตัวอยางเชน โรงไฟฟาขนาด 1.5 เมกะวัตต สามารถขายไฟฟา ไดในราคาหนวยละ 5.50 บาท สวนโรงไฟฟาขนาด 3 เมกะวัตต อาจขายไฟฟาได เพียงหนวยละ 4.50 บาท เปนตน 7. การพิจารณาคัดเลือกโครงการ ควรจะเปดโอกาสใหชมุ ชนทีม่ คี วามพรอม มีสวนรวมในการคัดเลือกเอกชนที่สนใจลงทุนดวย แทนที่ชุมชนจะถูกคลุมถุงชน เหมือนในอดีตทีผ่ า นมา และทีส่ าํ คัญ คณะกรรมการคัดเลือกควรมาจากองคกรทีเ่ ปน กลางไมมสี ว นไดเสีย และเปดเผยวิธคี ดั เลือก ไมควรผลักภาระให สกพ. (สํานักงาน คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน) เนื่องจากทาง สกพ.มีบุคลากรนอย จึงอาจ พิจารณาโดยถือความครบถวนของเอกสารเปนสําคัญ แตสาํ หรับโรงไฟฟาชุมชนแลว ควรมุงเนนไปที่โอกาสความสําเร็จของโครงการเปนสําคัญ ไมวาจะเปนเชื้อเพลิง เทคโนโลยี ความพรอมในการลงทุน สําหรับเอกสารควรเปนเพียงสวนประกอบใน การพิจารณา ไมวาโรงไฟฟาชุมชนของคนที่จนกระจายทั่วประเทศ จะไดรับการตัดสินใจ ทางการเมืองใหมหี นาตาออกมาเปนเชนไรก็ตาม ผูเ ขียนในฐานะภาคเอกชนคนหนึง่ ขอเคารพการตัดสินใจนั้น หลังจากที่ไดพยายามสื่อสารทุกชองทางใหผูมีอํานาจ ไดทราบขอมูล ดวยการถอดบทเรียนในอดีตทีล่ ม เหลว…เราคาดหวังใหโครงการดีๆ อยางโรงไฟฟาชุมชน มาชวยปูพนื้ ฐานเศรษฐกิจฐานรากในรูปแบบใหม เปนตนแบบ ของการแบงปน ชวยลดชองวางระหวางคนรวยและคนจน

GreenNetwork4.0 September-October 2019


GREEN

การพัฒนา 5 ระดับสูอ ตุ สาหกรรมสีเขียว

People กองบรรณาธิการ

นโยบายแนวทางการพัฒนาภาคธุรกิจอุตสาหกรรมใหมคี วามสอดคลองกับศักยภาพ และ ความเปนไปไดของระบบนิเวศ รวมทั้งความผาสุกของสังคม เนื่องจากภาคอุตสาหกรรมมีการ แขงขันกันสูงมาก ทั้งในดานกระบวนการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑใหมีความแตกตางและ มีประสิทธิภาพมากขึน้ อาจสงผลกระทบตอมลภาวะและสิง่ แวดลอมเปนพิษได ดังนัน้ เพือ่ พัฒนา ใหการประกอบกิจการเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมากยิ่งขึ้น หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของจะตอง เขาไปสงเสริมและสนับสนุนสถานประกอบการสูอุตสาหกรรมสีเขียว หรือ Green Industry ตามยุทธศาสตร Thailand 4.0 อยางยั่งยืน เฉกเชนนี้ แนวทางในการขับเคลื่อนนโยบายอุตสาหกรรมสีเขียวจะตองเกิดจากแนวคิด ของผูน าํ หรือผูบ ริหารหนวยงานทีม่ หี วั ใจสีเขียวเปนสําคัญดวย จึงจะสามารถผลักดันโครงการตางๆ ใหเดินหนาและประสบผลสําเร็จบรรลุตามเปาหมายไดอยางเปนรูปธรรมและยัง่ ยืนอยางวงกวาง ตอประเทศชาติ โดยเฉพาะหนวยงานทีเ่ กีย่ วของโดยตรงเกีย่ วกับการดําเนินโครงการอุตสาหกรรม สีเขียว คือ กรมโรงงานอุตสาหกรรม สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งมีผูบริหารหนวยงานหลัก ทานนีค้ ลุกคลีในแวดวงสายสิง่ แวดลอมมาอยางยาวนาน และเปนผูน าํ หัวใจสีเขียว นัน่ ก็คอื ทองชัย ชวลิตพิเชฐ อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม ทองชัย ชวลิตพิเชฐ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย เชียงใหม ประกาศนียบัตรนักบริหารระดับสูง สถาบันพัฒนาขาราชการพลเรือน วิทยาลัยปองกัน ราชอาณาจักร เปนผูครํ่าหวอดในกระทรวงอุตสาหกรรม จากประสบการณเคยดํารงตําแหนง รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ผูต รวจราชการกระทรวงอุตสาหกรรม รวมถึงผูอ าํ นวยการระดับสูง อุตสาหกรรมจังหวัดสมุทรปราการและจังหวัดเชียงราย ซึง่ ตําแหนงโดยกอนหนานีด้ าํ รงตําแหนง รองเลขาธิการ สํานักงานคณะกรรมการออยและนํ้าตาลทราย นอกจากนั้นยังเคยดํารงตําแหนง รองประธานกรรมการ บริษัท บริหารและพัฒนาเพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอม จํากัด (มหาชน) ซึ่งเปนบริษัทที่บริการกําจัดของเสียในภาคอุตสาหกรรมโรงงานตางๆ รวมถึงเปนกรรมการโดย ตําแหนง สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียรแหงชาติ ทองชัย ถือเปนผูบริหารหัวใจสีเขียวที่มีแนวคิดดําเนินการตามนโยบายในฐานะภาครัฐ ในดานการพัฒนาและสงเสริมและพัฒนาบูรณาการระหวางมิติทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอม ซึ่งตรงกับแนวคิดเรื่องประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ โดยเปนหนึ่งในนโยบายของกรมโรงงาน 22 22

GreenNetwork4.0 September-October 2019 Green


อุตสาหกรรม ที่ตองการใหการเติบโตทางเศรษฐกิจของภาคธุรกิจอุตสาหกรรมมีความ สอดคลองกับศักยภาพ และความเปนไปไดของระบบนิเวศ เกิดความสมดุล สรางความ ผาสุกของสังคมดวยอุตสาหกรรมสีเขียวเพือ่ เปนการพัฒนาอยางสมดุลและยัง่ ยืน และลาสุด เมื่อเร็วๆ นี้ กรมโรงงานอุตสาหกรรมไดจัดโครงการตรวจประเมินสถานประกอบการ ทีข่ อเทียบระดับหรือเลือ่ นระดับสูอ ตุ สาหกรรมสีเขียวใหแกสถานประกอบการ 139 โรงงาน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อยกระดับสถานประกอบการอุตสาหกรรมสีเขียวระดับที่ 3 ถึง ระดับที่ 5 ซึ่งโครงการดังกลาวเปนโครงการตอเนื่องมาตั้งแตป พ.ศ. 2559 ทองชัย กลาววา “สําหรับโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศไทยทีไ่ ดพฒ ั นาจนสามารถ ยกระดับเปนอุตสาหกรรมสีเขียว ก็จะแสดงใหเห็นถึงประเทศไทยมีการผลิตที่เปนมิตร ตอสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง สําหรับการจัดงานรับรางวัลอุตสาหกรรมสีเขียวถือเปน การสรางขวัญและกําลังใจแกสถานประกอบการที่มุงพัฒนาอุตสาหกรรมที่เปนมิตร ตอสิ่งแวดลอม มีความรับผิดชอบตอสังคม และเพื่อใหโรงงานอุตสาหกรรมสามารถอยู รวมกับสังคมและชุมชนไดอยางมีความสุขและยัง่ ยืน รวมทัง้ เปนการสรางภาพลักษณและ ทัศนคติทดี่ ตี อ ภาคอุตสาหกรรมของไทยอีกดวย ทีส่ าํ คัญการพยายามทีจ่ ะทําใหผบู ริโภค ไดรับผลประโยชนจากผลิตภัณฑสินคาและการบริการโดยสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และทรัพยากรธรรมชาตินอยที่สุด รวมถึงคํานึงการใหผูบริโภคลดการบริโภคทรัพยากร พลังงาน นํา้ และทีด่ นิ หรือสงเสริมใหใชผลิตภัณฑซาํ้ ใหม เปนอีกทางหนึง่ ทีจ่ ะชวยลดการ ปลอยของเสีย ขยะ และสารพิษออกสูส งิ่ แวดลอม เพือ่ ใหเกิดคุณภาพความเปนอยูท ดี่ ขี นึ้ ทั้งสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชน อันจะสงผลระยะยาวตอสิ่งแวดลอมในอนาคต ของประเทศและของโลกไดดวย” ทางดาน กรณภฐั วีญ มวงนอย รองอธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรม จบการศึกษา ระดับปริญญาตรี อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีขนถายวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ และเปนศิษยเกาดีเดน ประจําป พ.ศ. 2559 เปนอีกบุคคลหนึง่ ในฐานะผูบ ริหารองคกรทีม่ เี กียรติประวัตแิ ละผลงานสรางชือ่ เสียงมากมาย ใหกบั กระทรวงอุตสาหกรรม ในดานโรงงานอุตสาหกรรมทีเ่ ปนผูผ ลักดันใหโรงงานจังหวัด ตางๆ รวมกันรักษาสิง่ แวดลอม โดยเริม่ ตัง้ แตป พ.ศ. 2526 รับราชการครัง้ แรกทีส่ าํ นักงาน อุตสาหกรรมจังหวัดพิษณุโลก ตอมาในป พ.ศ. 2552-2559 ดํารงตําแหนงหัวหนาฝาย โรงงานอุตสาหกรรม สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดตางๆ ทั่วภูมิภาคของประเทศ กรณภัฐวีญ กลาววา “เนื่องจากกระแสของโลกมีการพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียว อยางตอเนื่อง ทางกรมโรงงานอุตสาหกรรมจึงตองปรับเปลี่ยนใหสอดรับกับนโยบาย ไทยแลนด 4.0 และจะวางรูปแบบของการพัฒนาทีส่ นองความตองการของคนในรุน ปจจุบนั จึงอยากแนะนําไปยังโรงงานตางๆ ใหความรวมมือและปรับเปลีย่ นนําเทคโนโลยีเขามาใช ในกระบวนการผลิต เขาสูกระบวนการอุตสาหกรรมสีเขียวเพื่อการดําเนินธุรกิจอยาง ยั่งยืนยาวนานใหเปนไปตามมาตรฐานผานการรับรองจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม ซึง่ แผนนโยบายขับเคลือ่ นตอไปของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ไดวางเปาหมายในแตละป รวมกับอุตสาหกรรมจังหวัด โดยมีนโยบายมาตรการใหโรงงานทีเ่ ปดกิจการแลว แจงประสงค ยืน่ เอกสารเขาสูก ารพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียว ซึง่ กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีคณะกรรมการ ที่ไดรับการแตงตั้งจากกระทรวงอุตสาหกรรมใหทําหนาที่กําหนดกรอบแผนการดําเนิน ธุรกิจ และคณะอนุกรรมการเปนผูก าํ หนดหลักเกณฑและประเมินระดับอุตสาหกรรมสีเขียว อีกทัง้ ยังไดจดั สรรงบประจําปในการสนับสนุนพัฒนาโครงการอุตสาหกรรมสีเขียว เพือ่ ให ผูเ กิดแรงกระตุน การรักษาสิง่ แวดลอม และสามารถอยูร ว มกับชุมชนและสิง่ แวดลอมได” อยางไรก็ดี อุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) นับวาเปนโครงการทีก่ รมโรงงาน อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ไดดาํ เนินการสงเสริม สนับสนุนใหโรงงานอุตสาหกรรม ตางๆ ทุกระดับทั่วประเทศไดมุงสูอุตสาหกรรมสีเขียวใหทั่วโลกยอมรับ มุงเนนใหความ ชวยเหลือและกระตุนใหมีการพัฒนาและยกระดับการบริหารจัดการดานสิ่งแวดลอม ความปลอดภัย และประหยัดพลังงาน โดยมีหลายองคกรสถานประกอบการชัน้ นําไดมกี าร รายงานผลการดําเนินงานผานตัวเลข หรือคาประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจขององคกร สูสาธารณะ ใหเกิดความสามารถในการแขงขันดานธุรกิจเพิ่มมากขึ้น ซึ่งนําไปสูผลลัพธ ของการพัฒนาดานเศรษฐกิจของภาคธุรกิจนัน้ ๆ ใหเกิดการเพิม่ มูลคาของผลิตภัณฑและ การบริการ และทําใหผบู ริโภคไดรบั ประโยชนจากผลิตภัณฑสนิ คาและการบริการทีเ่ ปนมิตร ตอสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน 23

GreenNetwork4.0 September-October 2019


GREEN

Scoop กองบรรณาธิการ

การผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยในภาคครัวเรือน เปนหนึ่งในเทรนดพลังงานสะอาดที่กําลังไดรับความนิยมเพิ่มขึ้น อยางตอเนื่อง เพราะใหความคุมคาในการลงทุนและชวยประหยัด คาใชจายในระยะยาว การไฟฟาสวนภูมิภาค หรือ กฟภ. (PEA) ภายใตการนําของ “สมพงษ ปรีเปรม” ผูว า การการไฟฟาสวนภูมภิ าค ไดมวี สิ ยั ทัศนทจี่ ะสงเสริม การผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยจากครัวเรือน หรือ Solar Rooftop จึงไดมกี ารจัดทําแอพพลิเคชัน่ “PEA Solar Hero Application” ซึง่ เปนการนํา Digital Platform มาใชใหบริการประชาชน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของ PEA ในการตอบสนองความตองการของผูสนใจติดตั้ง Solar Rooftop ให สะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย มั่นคง และยั่งยืน

“One Stop Service” สําหรับผูตองการติดตั้ง “Solar Rooftop”

สมพงษ กลาววา การผลิตไฟฟาจากพลังแสงอาทิตยดว ยระบบ Solar Rooftop ไดรบั ความนิยมมากขึน้ เนือ่ งจากราคาคาไฟฟาทีผ่ ลิตไดจากพลังงาน แสงอาทิตยใกลเคียงกับราคาไฟฟาที่ซื้อจากสายสงมาใชงาน ซึ่งหากลงทุน ติดตั้งระบบผลิตไฟฟาพลังแสงอาทิตยประมาณ 300,000-400,000 บาท ก็จะคุม ทุนในระยะเวลา 6-8 ป จากนัน้ ก็ใชไฟเกือบฟรี ฉะนัน้ เรียกไดวา ตนทุน อาจจะถูกกวาคาไฟฟาฐาน จึงไมแปลกทีผ่ บู ริโภคจะหันมาผลิตไฟเองในอนาคต “สิ่งที่ PEA ทําคือการสรางธุรกิจจากแนวโนมนี้ นั่นคือการอํานวย ความสะดวกใหกบั ผูท ตี่ อ งการติดตัง้ Solar Rooftop โดยพัฒนาแอพพลิเคชัน่ PEA Solar Hero ซึง่ แอพพลิเคชัน่ จะเชือ่ มขอมูลกับระบบแผนทีท่ าํ ใหผใู ชงาน สามารถวิเคราะหบา นของตัวเองไดเลยวา หลังคาบานมีพนื้ ทีเ่ พียงพอในการ ติดตัง้ หรือไม ติดตัง้ แลวสามารถผลิตไฟฟาไดปริมาณเทาไร ใชเงินลงทุนเทาไร จะเลือกอุปกรณประเภทใดบาง จะหาแหลงทุนจากไหน แอพพลิเคชัน่ นีท้ าํ ได หมด” ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค กลาว สมพงษ กลาวอีกวา รายไดของ PEA จากการใหบริการแอพพลิเคชัน่ นี้ ก็คอื คาธรรมเนียมในการใชบริการ เชน เรามีผใู หบริการติดตัง้ และผลิตภัณฑ Solar Rooftop อยูใ นเครือขายของ PEA เมือ่ ไปติดตัง้ ใหกบั ลูกคา ก็จะคิดคา ธรรมเนียมจากผูประกอบการ นอกจากนี้ แอพพลิเคชั่นยังเชื่อมโยงกับ ธนาคารดวยเพือ่ ใหบริการในการขอสินเชือ่ ของลูกคาเพือ่ ลงทุนติดตัง้ Solar Rooftop “หลังจากดําเนินโครงการ PEA Solar Hero Application ไปก็ได ผลตอบรับที่ดี เปนที่สนใจจากประชาชน ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนสิ่งที่ PEA พัฒนา ขึน้ เพือ่ ตอบสนองความตองการของลูกคา เรียกวาเปน ’One Stop Service’ สําหรับผูที่ตองการติดตั้ง Solar Rooftop” 24

นํารอง 4 จังหวัด และเดินหนาขยายไปทั่วประเทศ ปจจุบันโครงการ PEA Solar Hero Application ไดเริ่มดําเนินการในพื้นที่นํารอง แลว 4 จังหวัด ไดแก จังหวัดระยอง เชียงใหม ภูเก็ต และนครราชสีมา โดยมียอดดาวนโหลด แอพพลิเคชั่นและลงทะเบียน 5,000 ราย และมีลูกคาขอเขารวมโครงการ 3,000 จุด ทัว่ ประเทศ โดยอยูร ะหวางดําเนินการดานการจัดทําสัญญา 1,000 จุดทัว่ ประเทศ จุดละ 2 kW รวม 2,000 kW ซึ่งเปนรานคาขนาดยอม PEA มีเปาหมายในการผลิตพลังงานจาก Solar Rooftop ภายใน พ.ศ. 2562-2563 จํานวน 26 MW ทั่วประเทศ โดยมีการสงเสริมการลงทุนใน 3 รูปแบบ คือ 1) ลงทุนเอง : เจาของเปนผูล งทุนในระบบ Solar Rooftop และไดรบั ผลประหยัดเอง 2) ผอนชําระ : เจาของเปนผูผอนชําระกับธนาคาร (ดอกเบี้ยตํ่า) และไดรับผล ประหยัดเอง 3) ลงทุนรวมกับพันธมิตร : หาผูลงทุนใหแลวแบงผลประหยัดโดยจะเปดตัว โครงการใหญทั่วประเทศในวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2562

GreenNetwork4.0 September-October 2019


...PEA Solar Hero กอใหเกิดประโยชนตอทุก ภาคสวน โดยในภาคประชาชนจะไดรับความสะดวก และรวดเร็วในการติดตั้ง Solar Rooftop และลดคาใชจายการใชพลังงานภายในครัวเรือน...

สรางประโยชนใหกับทุกภาคสวน ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค กลาววา แอพพลิเคชั่น PEA Solar Hero กอใหเกิดประโยชนตอ ทุกภาคสวน โดยในภาคประชาชนจะไดรบั ความสะดวกและ รวดเร็วในการติดตัง้ Solar Rooftop และลดคาใชจา ยการใชพลังงานภายในครัวเรือน โดยปจจุบนั คาติดตัง้ เริม่ ตนที่ kW ละ 40,000 บาท ใชเวลาคืนทุนประมาณ 6-7 ป ขณะทีภ่ าคสังคม ชุมชน และประเทศ จะไดใชพลังงานสะอาด ลดการนําเขา เชือ้ เพลิงฟอสซิล สวน PEA และภาครัฐ ก็จะสามารถบริหารจัดการพลังงานไดงา ย ขึ้น เนื่องจากสามารถมอนิเตอรติดตามกําลังการผลิตจากแหลงพลังงานสะอาด ทัง้ นี้ PEA มีโครงการภายใตแผนปฏิบตั กิ ารดานระบบไฟฟา การไฟฟาสวน ภูมิภาค พ.ศ. 2561-2580 ทีร่ องรับการเขาสูย คุ ดิจทิ ลั โดยมีโครงการที่เกีย่ วเนือ่ ง กับดานพลังงานทดแทนหลายโครงการ อาทิ โครงการพัฒนาระบบกักเก็บพลังงาน เพื่อรองรับการบริหารความตองการไฟฟา และพลังงานหมุนเวียน ระยะที่ 1 และ ระยะที่ 2 โครงการกิจการไฟฟาเพื่อสังคม สําหรับพื้นที่ไมมีไฟฟา ระยะที่ 1 และ ระยะที่ 2 โดยมีระบบผลิตจากชีวมวล แสงอาทิตย และระบบกักเก็บพลังงานไฟฟา

ปูพรมติด Charging Station 62 สถานีทั่วประเทศ ดัน “EV CAR”

สมพงษ ยังกลาวถึงแนวโนมการใชรถพลังงานไฟฟา (EV CAR) ซึง่ เปนหนึง่ ในเรื่องที่ PEA ตองการผลักดันวาในอนาคตสิ่งที่จะเกิดขึ้นแนนอนคือเรื่องของ รถพลังงานไฟฟา เพราะราคาเริ่มใกลเคียงกับรถยนตที่ใชนํ้ามันเปนเชื้อเพลิงแลว และมีแนวโนมทีจ่ ะเติบโตเร็ว ซึง่ ถือเปนโอกาสทางธุรกิจสําหรับ PEA ทีจ่ ะชวยเพิม่ รายไดในอนาคต เพราะ EV CAR จําเปนตองใชพลังงานไฟฟามาก “ปจจุบนั EV CAR ชารจ 1 ครัง้ จะวิง่ ไดประมาณ 200-300 กิโลเมตร ถาวิง่ ระยะทางเกินกวานั้นจะตองมีสถานีชารจไฟ หรือ Charging Station ที่เปนแบบ Quick Charge คือชารจประมาณครึง่ ชัว่ โมงเสร็จ และสถานีชารจเหลานีจ้ ะตองอยู ระหวางเมือง ซึง่ เปนสิง่ ที่ PEA ตองการสงเสริมใหเกิดขึน้ เพือ่ ใหคนเกิดความมัน่ ใจ

ในการหันมาใชรถพลังงานไฟฟา “PEA ไดลงนามเอ็มโอยูรว มกับบริษทั บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากัด ในการติดตัง้ Charging Station ทีเ่ ปนแบบ Quick Charge ทุก 100 กิโลเมตร ทัง้ ขาขึน้ ขาลอง ทุกทิศทาง ภาคเหนือ อีสาน กลาง ใต ประมาณ 62 สถานีจะติดตัง้ เสร็จสิน้ ภายใน 2 ป เราลงทุนเกือบ 300 ลานบาท ซึง่ ระบบนีส้ ามารถจองลวงหนาผานแอพพลิชนั่ ได เชน จองสถานีชารจลวงหนาวาจะเขาไปชารจในชวงกีโ่ มง และชําระคาชารจไฟผาน แอพพลิเคชั่น สิ่งเหลานี้เราตองทําเพื่อใหคนเกิดความมั่นใจ” ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค กลาววา ขณะนี้โครงการไดเริ่มไปแลว โดย อยูร ะหวางการดําเนินการติดตัง้ Charging Station ภายในสถานีบริการนํา้ มันของ บางจาก ซึ่ง Charging Station ที่เปนแบบ Quick Charge นั้น PEA เปนผูเดียวที่ ลงทุนเพราะใชเงินลงทุนสูง ขณะทีส่ ถานีชารจทีเ่ ห็นโดยทัว่ ไปจะเปนแบบสถานีชารจ ธรรมดา กอนหนานี้ PEA ก็ไดทดลองติดตั้ง Charging Station ที่เปนแบบ Quick Charge ไปบางแลว โดยใหผใู ช EV CAR ชารจฟรี ซึง่ เสนทางภาคเหนือไปถึงอยุธยา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไปถึงปากชอง ภาคตะวันออกไปถึงชลบุรี ภาคใตไปถึงหัวหิน และภาคตะวันตกไปถึงนครปฐม

ชู 2 นวัตกรรมในงาน Thailand Lighting Fair 2019 และ Thailand Building Fair 2019

ในปนี้ PEA เปนเจาภาพในการจัดงาน Thailand Lighting Fair 2019 ซึ่ง จะจัดขึน้ พรอมกับงาน Thailand Building Fair 2019 ระหวางวันที่ 28-31 ตุลาคม พ.ศ. 2562 โดยสิ่งที่ PEA จะนําไปจัดแสดงภายในงานนั้น นอกจากแอพพลิเคชั่น PEA Solar Hero ทีช่ ว ยอํานวยความสะดวกใหกบั ประชาชนทีม่ คี วามประสงคจะติดตัง้ Solar Rooftop แลว ยังมีผลิตภัณฑ “PEA IHAPM” (Intelligent Home Appliances Power Monitoring) เปนเครื่องตรวจจับและควบคุมการใชพลังงานไฟฟาภายใน ที่พักอาศัย และอาคารสํานักงานทั่วไป รวมทั้งยังสามารถแจงเตือน เมื่อมีการใช ไฟฟาที่ผิดปกติหรือกระแสไฟฟาดับผานทางสมารทโฟนดวย แอพพลิเคชัน่ IHAPM นีส้ ามารถใชรว มกับอุปกรณไฟฟาทีเ่ ปนระบบเดิมและ อุปกรณไฟฟาทีร่ องรับระบบ IoT โดยภายในบูธของ PEA จะมีการจําลองหองนัง่ เลน ภายในบาน โดยแบงเปน 2 รูปแบบ คือ หองนัง่ เลนรูปแบบเกา ทีม่ อี ปุ กรณเครือ่ งใช ไฟฟาเปนระบบปกติทวั่ ไป และหองนัง่ เลนรูปแบบใหม ทีม่ อี ุปกรณเครือ่ งใชไฟฟา รองรับระบบ IoT โดยหองทั้ง 2 รูปแบบ จะแสดงการควบคุมเครื่องใชไฟฟาผาน Application IHAPM ผูว า การการไฟฟาสวนภูมภิ าค กลาววา PEA หวังวางาน Thailand Lighting Fair ซึ่งจัดรวมกับ Thailand Building Fair จะเติบโตขึ้นอยางตอเนื่องเพื่อที่จะ ตอกยํ้าจุดยืนในการเปนเวทีสงเสริมศักยภาพของประเทศไทยใหเปนศูนยกลาง การจัดงานแสดงนวัตกรรมไฟฟา แสงสวาง เทคโนโลยีอาคารอัจฉริยะ และการบริหาร จัดการพลังงานแหงภูมภิ าคอาเซียน เพือ่ เปนประโยชนตอ ภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ ที่เกี่ยวของใหสามารถเติบโตและแขงขันในตลาดโลกได อันจะนําไปสูความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ทางเศรษฐกิจของประเทศไทย

พบกับนวัตกรรมจากการไฟฟาสวนภูมิภาค ในงาน Thailand Lighting Fair, Thailand Building Fair และ Secutech Thailand 2019 ซึ่งจะจัดขึ้นพรอมงาน Digital Thailand Big Bang ภายใตแนวคิดรวม Smart City Solutions Week 2019 ระหวางวันที่ 28-31 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ณ ฮอลล 104-105 ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา 25

GreenNetwork4.0 September-October 2019


การไฟฟาสวนภูมิภาค จัดงาน

Innovation Day 2019

GREEN

ขับเคลื่อนสู PEA Digital Utility เปนองคกรแหงนวัตกรรม

Focus กองบรรณาธิการ

การไฟฟาสวนภูมภิ าค (กฟภ.) จัดงาน PEA Innovation Day 2019 โดยมี วัตถุประสงคเพื่อสงเสริมการศึกษา การวิจัย การสรางนวัตกรรมและพัฒนางาน ที่เกี่ยวของกับธุรกิจพลังงานไฟฟาเพื่อขับเคลื่อนองคกรไปสู PEA Digital Utility มุงสูการเปนองคกรแหงนวัตกรรม สงเสริมการจัดการความรูอยางตอเนื่อง เปดโอกาสในการแลกเปลีย่ นความรูร ะหวางนักวิชาการ นักวิจยั นักประดิษฐ และ นวัตกรรมของ PEA เพื่อนําไปตอยอดประยุกตใชงานตอไป ทัง้ นี้ ไดรบั เกียรติจาก เทวัญ ลิปตพัลลภ รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี เปนประธานในพิธมี อบโลและตรารับรองมาตรฐานการใหบริการของศูนยราชการ สะดวก ประจําป 2562 โดยการไฟฟาสวนภูมภิ าค เปนหนวยงานทีผ่ า นการรับรอง สูงสุด 149 แหง จากหนวยงานภาครัฐทั่วประเทศ 340 แหง ขณะที่ สมพงษ ปรีเปรม ผูว า การการไฟฟาสวนภูมภิ าค เปนประธานในพิธี เปดงาน PEA Innovation Day 2019 พรอมมอบรางวัล โดยมีผูบริหาร พนักงาน PEA และนักศึกษาจากสถาบันชั้นนํารวมพิธี 35

บริเวณภายในการจัดงาน ซึ่งจัดขึ้นที่ศูนยประชุมวายุภักษ ศูนยราชการ เฉลิมพระเกียรติ ถนนแจงวัฒนะ แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร ไดแสดงผลงานเทคโนโลยีนวัตกรรมและดิจทิ ลั ของหนวยงาน กฟภ. แตละภาค โดยมี ทัง้ การจัดการความรูแ ละกลุม ผลงานคุณภาพ รวม 158 ผลงาน จากหนวยงานตางๆ ทัง้ ในสํานักงานใหญ และการไฟฟาสวนภูมภิ าค 12 เขตทัว่ ประเทศ รวมทัง้ ผลงาน จากทีม Innovation Hub และชิน้ งานของนักเรียนชางการไฟฟาสวนภูมภิ าค และ นวัตกรรมที่เกี่ยวของกับธุรกิจพลังงานไฟฟา ดังนั้น ในการจัดงานดังกลาว นับวาเปนการรวมมือของ กฟภ. กับสถาบัน การศึกษาชัน้ นําในประเทศและหนวยงานวิจยั ทัง้ ภาครัฐและเอกชน พรอมเปนกําลัง สําคัญในการสงเสริมการศึกษาและงานวิจัยดานการพัฒนาธุรกิจพลังงานไฟฟา เพือ่ สรางนวัตกรรมทีเ่ กีย่ วของ และเปนเวทีแลกเปลีย่ นความรู เพือ่ นํามาประยุกตใช กับการพัฒนาดานธุรกิจพลังงานไฟฟาในอนาคตตอไป

GreenNetwork4.0 September-October 2019


ว่าด้วยเรื่องของ

GREEN

Focus นรินพร มาลาศรี รองกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ สายบริหาร บริษัท เอสพีซีจี จ�ำกัด (มหาชน)

“Flexibility Options of Power Systems”

Connecting VRE Smoothening effect over large distances  

Absorb electricity for later use Different scales and locations in the value chain 

“ความยืดหยุ่นของระบบโครงข่ายไฟฟ้า”

การส่งเสริมระบบไฟฟ้าให้มีเสถียรภาพสามารถรองรับการผลิตไฟฟ้าจาก แสงอาทิตย์และลมได้มากที่สุดและมีประสิทธิภาพสูงสุด ซึ่งในปัจจุบันพลังงานลม และพลังงานแสงอาทิตย์ก�ำลังเปลี่ยนสัดส่วนพลังงานทั่วโลกอย่างรวดเร็ว ดังนั้น จึงต้องการความยืดหยุ่นของระบบเพื่อที่จะบูรณาการในแบบที่ปลอดภัยและคุ้มค่า ต่อราคา รวมทั้งเพื่อมุ่งเน้นการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เป็นสาเหตุของ ปัญหาโลกร้อน การน�ำ 2 ประเด็นหลักมาบูรณาการกันจึงถือว่าเป็นการเปลีย่ นจาก “ความท้าทาย” มาเป็น “โอกาส” การไฟฟ้าทัง้ 3 แห่งมีบทบาทส�ำคัญอย่างยิง่ ต่อการพัฒนาและสร้างความยืดหยุน่ ให้สามารถตอบสนองได้รวดเร็ว เพื่อรองรับการเข้ามาของพลังงานหมุนเวียนกับ เชือ้ เพลิงหลัก เพือ่ เสริมความมัน่ คงให้กบั ระบบไฟฟ้า ซึง่ ระบบไฟฟ้าไทยในปัจจุบนั เป็น ระบบแบบรวมศูนย์ แต่ในอนาคตจะมีกระจายแหล่งผลิตไฟฟ้าและศูนย์ควบคุมระบบ ไฟฟ้าไปสูช่ มุ ชน รวมถึงมีสดั ส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) เพิม่ มากขึน้ ด้วย ดังนัน้ การเดินหน้าของอุตสาหกรรมไฟฟ้าในยุคเทคโนโลยี เปลี่ยนโลกต้องรองรับการเข้ามาของพลังงานหมุนเวียน คือการสร้างความยืดหยุ่น ของระบบไฟฟ้า โดยโรงไฟฟ้าต้องมีความยืดหยุ่นสามารถเริ่มเดินเครื่องได้รวดเร็ว ส่วนในระบบส่งและจ�ำหน่ายไฟฟ้าจะต้องพัฒนาสู่ระบบสมาร์ทกริด ท�ำงานผ่าน รีโมตมอนิเตอร์สามารถเรียกดูขอ้ มูลและสัง่ การจากศูนย์ควบคุม และพยากรณ์ความ ต้องการใช้ไฟฟ้าในอนาคตได้ ส่วนพลังงานหมุนเวียนทีย่ งั มีขอ้ จ�ำกัดเรือ่ งความไม่เสถียร ควรถูกพัฒนาในรูปแบบของการผสมผสานระหว่างพลังงานหมุนเวียนกับเชื้อเพลิง หลัก (RE Hybrid Firm) เพือ่ ลดความผันผวน สามารถผลิตไฟฟ้าได้อย่างมีเสถียรภาพ มากขึน้ เช่น โซลาร์เซลล์กบั โรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ พลังงานลมกับเซลล์เชือ้ เพลิง เชือ้ เพลิง ชีวมวลกับโซลาร์เซลล์ ซึ่งจะกลายเป็นทางเลือกส�ำคัญส�ำหรับการพัฒนาพลังงาน หมุนเวียนในอนาคต ควบคู่กับการพัฒนาระบบกักเก็บพลังงานเพื่อช่วยให้การจ่าย ไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนมีเสถียรภาพ VRE Share Globally

Shift in time or Interruption of power consump Adjustment of setpoints 

Refers to conventional generation hydro/ thermal Dominant flexibility source today 

2. สาระส�ำคัญของการประชุม 37th SOME (ASEAN Senior Officials Meeting on Energy Meeting) และนโยบายรัฐบาล 2.1 “โครงการซือ้ ขายไฟฟ้า สปป.ลาว-ไทย-มาเลเซีย (LTM on Power Integration Project)” 300 เมกะวัตต์ เนื่องจากประเทศมาเลเซียมีความต้องการไฟฟ้า จาก สปป.ลาว มากขึ้น โดยไทยจะเป็นจุดเชื่อมต่อการซื้อขายไฟฟ้าระหว่าง 2 ประเทศ 2.2 การเพิ่มการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพของอาเซียนเพิ่มขึ้นให้ถึง 30% ในปี พ.ศ. 2573 2.3 การเชื่อมโยงไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนระหว่างประเทศอาเซียนให้เกิด ประโยชน์สูงสุด ด้วยการเชื่อมโยงไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนให้เกิดการใช้ อย่างมีประสิทธิภาพและการซื้อขายไฟฟ้าระหว่างกันมากขึ้นในอนาคต 2.4 มติ กพช. เห็นชอบนโยบายพลังงานเพื่อเศรษฐกิจฐานราก สนับสนุนให้เกิด การจัดตั้งโรงไฟฟ้าชุมชนทั่วประเทศในพื้นที่ที่มีศักยภาพด้านพืชพลังงาน และพลังงานหมุนเวียนจากแสงอาทิตย์ โดยโครงการดังกล่าวทีเ่ ป็นผลจากการประชุม SOME และนโยบายของรัฐบาล จะเป็นสิ่งที่ช่วยส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความยืดหยุ่นของระบบโครงข่ายไฟฟ้า รวมถึงท�ำให้นโยบายการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนเกิดได้เร็วขึ้นและ มากขึน้ จากเดิมทีม่ นี โยบายหยุดรับซือ้ ไฟฟ้าเนือ่ งจากปริมาณการผลิตไฟฟ้ามีเพิม่ ขึน้ ในอัตรามากกว่าความต้องการใช้ไฟฟ้า ท�ำให้สถานการณ์ไฟฟ้าในปัจจุบนั อยูใ่ นภาวะ Oversupply โดยมีปริมาณส�ำรองไฟฟ้าอยูส่ งู กว่า 30% (เทียบกับระดับปกติ 15%) แต่ จะค่อยๆ ลดลงมาอยู่ที่ 15% ซึ่งเป็นระดับปกติภายหลังปี พ.ศ. 2569 เป็นต้นไป 3. โรงไฟฟ้าชุมชนของไทย โครงสร้างการจัดตั้งโรงไฟฟ้าชุมชนจะมาจากความร่วมมือทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน และชุมชน ตั้งบนพื้นที่ที่มีศักยภาพพลังงานหมุนเวียน ระบบไฟฟ้า รองรับได้ ได้รบั งบประมาณสนับสนุนจากกองทุนเพือ่ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงานและ กองทุนพัฒนาไฟฟ้า โดยราคารับซือ้ ไฟฟ้าจะกระทบต่อราคาค่าไฟฟ้าน้อยทีส่ ดุ ก่อให้ เกิดการหมุนเวียนของเศรษฐกิจในชุมชน ซึ่งจะมีรูปแบบใกล้เคียงกับ Feldheim : Germany's Renewable Village จะแตกต่างกันที่ค่าไฟฟ้าของที่นั่นจะเกิดขึ้นจาก การตกลงร่วมกันระหว่างผูใ้ ช้พลังงานในท้องถิน่ เทศบาล และผูใ้ ห้บริการสาธารณูปโภค ท้องถิ่น Demand-Side Integration - DSI

Phases of VRE Integration According to IEA

1. หลักการ 4 ด้าน เพื่อความยืดหยุ่นของระบบโครงข่ายไฟฟ้า 1.1 การเชือ่ มโยงไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน (Grid) เพือ่ ให้เกิดความมัน่ คงและ เสถียรภาพ 1.2 ด้านประสิทธิภาพและการอนุรกั ษ์พลังงาน (Demand Side Integration) เช่น การปรับพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้า การบริหารจัดการการใช้ไฟฟ้า การเปลี่ยน มาใช้อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง 1.3 ระบบกักเก็บพลังงาน (Storage) เช่น แบตเตอรี่กักเก็บพลังงาน 1.4 การสัง่ เดินเครือ่ งโรงไฟฟ้า (Dispatchable Generation) การสร้างสมดุลของ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล โรงไฟฟ้าพลังน�ำ้ 26

4. ปัจจัยสู่ความส�ำเร็จของการสร้างความยืดหยุ่น ของระบบโครงข่ายไฟฟ้า ความชัดเจนของนโยบายรัฐบาลทีจ่ ะส่งเสริมให้เกิดการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน หมุนเวียนที่กระจายแหล่งผลิตไฟฟ้าและศูนย์ควบคุมระบบไฟฟ้าไปสู่ชุมชน ท�ำให้ การบริหารจัดการระบบไฟฟ้าและการจัดวางระบบโครงสร้างไฟฟ้าทีส่ ามารถบริหาร จัดการตามพื้นที่แบบแบ่งเป็น NODE ที่จะพัฒนาระบบโครงข่ายไฟฟ้าไปสู่ระบบ ไมโครกริดและระบบสมาร์ทกริดของประเทศไทยต่อไป

GreenNetwork4.0 September-October 2019


“ตุ๊กตุ๊ก” รถเครื่องสามล้อไทย

พัฒนาสู่รถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้าดัดแปลงส�ำหรับธุรกิจ SME ไทย

ตอน : เส้นทางกว่า...จะมาเป็นรถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้า

GREEN

Article ผศ. ดร.ชนะ เยี่ยงกมลสิงห์ อาจารย์ประจ�ำสาขา วิศวกรรมธุรกิจยานยนต์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

ขั้นตอนในการด�ำเนินงานกว่าจะมาเป็นรถตุ๊กตุ๊กไฟฟ้าหนึ่งคัน รถตุ๊กตุ๊กหรือรถสามล้อเครื่องที่หลายคนเห็นกันจนชินตา และเป็นซิกเนเจอร์รถรับจ้างของ เมืองไทยทีช่ าวต่างชาติตอ้ งเรียกใช้บริการนัน้ กว่าจะมาเป็นรถตุก๊ ตุก๊ ไฟฟ้าได้หนึง่ คันนัน้ มีรายละเอียด ในการดัดแปลง ดังนี้ 1. ศึกษาข้อมูลและข้อก�ำหนดทีเ่ กีย่ วข้อง เริม่ ท�ำการศึกษากฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง และสัมภาษณ์ ผู้ใช้งานรถตุ๊กตุ๊กที่บริการในกรุงเทพฯ และปริมณฑล กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ตามประกาศกรม การขนส่งทางบก เรื่อง กําหนดกําลังของมอเตอร์ไฟฟ้าที่ใช้ขับเคลื่อนรถตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ พ.ศ. 2560 [14] โดยมีรายละเอียดได้แก่ “รถยนต์รบั จ้างสามล้อและรถยนต์สามล้อส่วนบุคคลทีข่ บั เคลือ่ น ด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า จะต้องมีกาํ ลังพิกดั (Rated Power) ของมอเตอร์ไฟฟ้าไม่นอ้ ยกว่า 4 กิโลวัตต์ และ สามารถขับเคลือ่ นรถให้มคี วามเร็วสูงสุดได้ไม่นอ้ ยกว่า 45 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง” ปัจจุบนั รถตุก๊ ตุก๊ มีให้ บริการเพียงขนส่งสาธารณะที่จ�ำนวนรถไม่เพิ่มขึ้น หรือนิติบุคคลที่ให้บริการโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ การขนส่งเฉพาะ [15] 2. จัดหารถตุ๊กตุ๊กเพื่อท�ำต้นแบบ รถตุ๊กตุ๊กต้องมีสภาพดีเพื่อสามารถท�ำการดัดแปลงได้ง่าย

การท� ำ รถตุ ๊ ก ตุ ๊ ก ไฟฟ้ า ต้ น แบบของสมาคมฯ มีรายละเอียดขัน้ ตอนการด�ำเนินงานตัง้ แต่เริม่ ต้นจนสิน้ สุด โครงการ ดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาข้อมูลและข้อก�ำหนดทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น กฎหมาย คุณลักษณะ และการใช้งานของรถตุก๊ ตุก๊ รวมถึงต้นทุนและ ราคาขาย หากมีศกั ยภาพในการตลาดด�ำเนินการในขัน้ ตอน ต่อไป 2. จัดหารถตุ๊กตุ๊กเพื่อท�ำต้นแบบ โดยน�ำมาศึกษา โครงสร้าง ระบบขับเคลื่อน ระบบเบรค ฯลฯ 3. ตรวจสอบสภาพเพือ่ หาจุดปรับปรุงแก้ไขเพือ่ ให้มี สภาพที่ดี และปลอดภัยในการใช้งาน 4. ปรั บ ปรุ ง สภาพรถตุ ๊ ก ตุ ๊ ก แชสซี และตั ว ถั ง ให้รถตุ๊กตุ๊กอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์และปลอดภัย 5. ออกแบบ ติดตั้ง มอเตอร์ ชุดควบคุม แบตเตอรี่ และระบบไฟฟ้ากับโครงสร้างรถตุ๊กตุ๊กเดิม 6. เลื อ กมอเตอร์ และชุ ด ควบคุ ม แบตเตอรี่ ให้เหมาะสมกับงบประมาณ และความต้องการใช้งาน 7. ติดตัง้ และทดสอบอุปกรณ์มอเตอร์ และชุดควบคุม แบตเตอรี่กับรถตุ๊กตุ๊ก 8. เดินสายไฟรวมทัง้ หมด เก็บรายละเอียด และสายไฟ ทั้งหมด 9. ท�ำสี และเก็บรายละเอียดงานโครงสร้าง งานเหล็ก หลังคา สี ติดตั้งส่วนประกอบต่างๆ เช่น เบาะ กระจก ฯลฯ 10. ทดสอบใช้งานและเก็บข้อมูลการทดสอบใช้งาน ตรวจสอบรายละเอียด พิจารณาต้นทุนรวมทั้งหมด ข้อมูล เชิงเปรียบเทียบการลงทุนใหม่กบั การดัดแปลง ความคุม้ ค่า เชิงพาณิชย์ 11. ค�ำนวณต้นทุนในการด�ำเนินการ และตรวจสอบ เปรียบเทียบกับต้นทุนเบือ้ งต้นในขัน้ ตอนที่ 3 แล้วด�ำเนินการ จดทะเบียนกับกรมขนส่งทางบก และส่งมอบให้กับลูกค้า

27

3. ตรวจสอบสภาพ ตรวจสอบสภาพอย่างละเอียดเพือ่ ประเมินชิน้ ส่วนทีจ่ ะต้องเปลีย่ น รวมถึง ต้นทุนในการเปลี่ยนชิ้นส่วน จากการตรวจสอบสภาพรถตุ๊กตุ๊กต้นแบบมีสภาพเก่ามาก ชิ้นส่วนเหล็ก กระจังหน้าและกระบะผุมาก สูญเสียความมัน่ คงแข็งแรง จ�ำเป็นต้องเปลีย่ นชิน้ ส่วนเหล่านี้ เพือ่ การใช้งาน ที่ปลอดภัย ประเมินราคาเบื้องต้น เพื่อให้เห็นต้นทุนก่อนการดัดแปลง และจัดท�ำแผนการด�ำเนินการ ตามระยะเวลา เพื่อควบคุมค่าใช้จ่ายและต้นทุนต่างๆ 4. ปรับปรุงสภาพรถตุ๊กตุ๊ก ถอดชิ้นส่วนที่เสียหายออก ท�ำความสะอาดแชสซีและเตรียมสีพื้น กันสนิม และติดตั้งกระบะและกระจังหน้าของรถตุ๊กตุ๊ก แล้วจึงท�ำสีพื้นเพื่อกันสนิม 5. เลือกมอเตอร์ และชุดควบคุม แบตเตอรี่ ให้เหมาะสม เลือกมอเตอร์กระแสสลับขนาด 5kW 72V ตามข้อก�ำหนดของประกาศกรมการขนส่งทางบก ค�ำนวณหาความเร็ว เลือกมอเตอร์ และชุดควบคุม ตามตัวอย่างทีใ่ ช้ ซึง่ มีความเร็วรอบ 3,000-6,000 Rpm แรงบิดสูงสุด 15.9 Nm อัตราทดเฟืองท้าย 1:6.4 รัศมีล้อ 25 ซม. ความเร็วในกรณีไม่มีโหลดจะเป็น 44-73 กม./ชม. หากประสิทธิภาพการถ่ายทอด ก�ำลังเป็น 95% แรงขับเคลื่อน (6.4x15.9x.9/.25) 366 N 6. ออกแบบ ติดตั้ง มอเตอร์ ชุดควบคุม แบตเตอรี่ และระบบไฟฟ้า ในขั้นตอนนี้จะเป็นการ ออกแบบ และทดสอบติดตั้งระบบไฟฟ้า มอเตอร์ ชุดควบคุม และแบตเตอรี่ LiFePo4 แบตเตอรี่ มีจ�ำนวน 2 ลูก ลูกที่ 1 ติดตั้งในบริเวณกลางแซสซีรถตุ๊กตุ๊ก ลูกที่ 2 เนื่องจากมีขนาดพื้นที่จำ� กัด หากวางแบตเตอรี่ที่พื้นที่วางเท้าคนขับจะท�ำให้มีพื้นที่วางเท้าเหลือน้อยมาก จึงต้องน�ำแบตเตอรี่ใส่ไว้ ในกรอบเหล็กบริเวณทีน่ งั่ คนขับ และติดตัง้ ชุดควบคุมในบริเวณแบตเตอรีท่ ใี่ ต้ทนี่ งั่ คนขับเพือ่ ความง่าย ในการดูแลรักษา 7. ติดตั้ง และทดสอบอุปกรณ์มอเตอร์ และชุดควบคุม แบตเตอรี่ กับรถตุ๊กตุ๊ก ระบบไฟฟ้า ทีน่ ำ� มาใช้เป็นระบบไฟฟ้าขนาด 72V ส�ำหรับระบบขับเคลือ่ น และผ่านอินเวอร์เตอร์เพือ่ เปลีย่ นให้เป็น 12V ส�ำหรับระบบไฟฟ้าแรงดันต�ำ่ เพือ่ ใช้ในรถตุก๊ ตุก๊ ทดสอบการท�ำงานเพือ่ สังเกตการท�ำงานร่วมกัน ของระบบทั้งหมด ทั้งมอเตอร์ ชุดควบคุมมอเตอร์ ล้อ ระบบเบรค ระบบไฟฟ้า 8. เก็บรายละเอียดงานระบบไฟฟ้ารวมทั้งหมด เมื่อติดตั้งงานระบบไฟฟ้ารวม ทั้งระบบไฟฟ้า หลักเพือ่ การขับเคลือ่ น และระบบไฟฟ้าแรงดันต�ำ่ จ�ำเป็นต้องมีการปรับแต่งความยาวของสายไฟทัง้ หมด เพือ่ ให้เข้ากับโครงสร้างของรถตุก๊ ตุก๊ รวมไปถึงการติดตัง้ ระบบสวิทช์ หลอดไฟ ซึง่ จ�ำเป็นต้องจัดสายไฟ ใหม่ พร้อมทั้งการทดสอบการท�ำงานของระบบขับเคลื่อน 9. ท�ำสี และเก็บรายละเอียดงานโครงสร้าง ถอดชิ้นส่วนต่างๆ ออกมาเพื่อท�ำสี โดยเริ่มจาก ขัดสนิม ขัดสีพนื้ เตรียมสีพนื้ พ่นสีจริง และประกอบชิน้ ส่วนต่างๆ กลับเข้าต�ำแหน่งเดิม พร้อมทดสอบ ระบบไฟฟ้าขับเคลื่อน และระบบไฟฟ้าแรงดันต�ำ่ ว่าท�ำงานตามการออกแบบหรือไม่ ตรวจสอบการ ท�ำงานของระบบเบรค เบรคมือ และการท�ำงานในขณะใช้งาน (อ่านต่อฉบับหน้า เรื่อง ทดสอบใช้งาน และเก็บข้อมูลการทดสอบใช้งาน)

GreenNetwork4.0 September-October 2019


GREEN

Building

“สินธร ต้นสน”

กองบรรณาธิการ

อาคารเขียว

อนุรักษ์พลังงาน และสิ่งแวดล้อม

ในยุคปัจจุบนั อาคารเขียว หรือ Green Building เป็นอีกหนึง่ นวัตกรรม รักษ์โลกทีไ่ ม่เพียงแต่ใส่ใจต่อสิง่ แวดล้อม ทัง้ ในเรือ่ งการใช้พลังงาน น�ำ้ ทีด่ นิ วัสดุกอ่ สร้างอย่างมีประสิทธิภาพแล้ว ยังรวมถึงการลดของเสียและมลภาวะ ต่างๆ ที่เกิดจากอาคารเพื่อค�ำนึงถึงสังคม หรือสุขภาพและความสุขสบาย ของผู้ใช้อาคารเป็นส�ำคัญ มาตรฐานสากลในการประเมิน Green Building ทีไ่ ด้รบั การยอมรับ ทั่วโลก หรือมาตรฐานอาคาร Leadership in Energy and Environmental Design (LEED) เป็นเกณฑ์การพิจารณาหลักๆ โดยจะเน้นในเรื่องของท�ำเล ทีต่ งั้ อาคาร การประหยัดพลังงาน การประหยัดน�ำ้ ระบบระบายอากาศ และ การเติมอากาศบริสุทธิ์ รวมไปถึงการรีไซเคิลและการเลือกใช้วัสดุที่ไม่มี สารระเหยที่เป็นพิษตกค้าง เป็นต้น โครงการสินธร วิลเลจ ได้รบั การพัฒนาภายใต้แนวคิด Green Building เป็นโครงการทีพ่ กั อาศัยโครงการแรกในประเทศไทยทีท่ กุ อาคารในโครงการ ได้รับการรับรองตามมาตรฐานอาคาร LEED ทั้งหมด ซึ่งโครงสร้างการ ออกแบบอาคารตั้งแต่การออกแบบอาคารและวัสดุที่ใช้จะเน้นอนุรักษ์ พลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะท�ำให้ผู้อยู่อาศัยหรือใช้อาคาร มีคุณภาพการอยู่อาศัยที่ดีขึ้น อีกทั้งยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายต่างๆ ได้เป็น อย่างดี บริษัท สยามสินธร จ�ำกัด ร่วมกับ SCG Green Building Solution ที่ปรึกษาด้านอาคารเขียว ในการพัฒนากลุ่มอาคารภายใต้โครงการสินธร วิลเลจ โครงการมิกซ์ยสู พืน้ ทีก่ ว่า 56 ไร่ ตัง้ อยูบ่ นถนนวิทยุ (ย่านหลังสวน) แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร เพื่อให้สอดรับกับวิสัยทัศน์ใน การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ล่าสุดอาคาร “สินธร ต้นสน” เป็นอาคารประเภททีพ่ กั อาศัย ได้ผา่ นการรับรองมาตรฐาน LEED ด้วยคุณสมบัติ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น กระจกแบบ 3 ชั้นที่ถูกออกแบบมาเป็นพิเศษ เพื่อลดอุณหภูมิ ป้องกันอันตรายจากรังสียูวี และเสียงรบกวนจากภายนอก 28

ท�ำให้บรรยากาศน่าอยู่ และประหยัดพลังงานมากยิ่งขึ้น อีกทั้งใส่ใจเรื่องคุณภาพอากาศ เป็นพิเศษ ด้วยการทดสอบคุณภาพอากาศของทุกห้องพักด้วยเครือ่ งมือทางวิทยาศาสตร์ ให้เป็นไปตาม WELL Standard ซึ่งจะท�ำให้มีคา่ PM 10, Formaldehyde, Total VOCs และ Carbon Monoxide ไม่เกินค่ามาตรฐาน รวมถึงการเติมอากาศบริสทุ ธิภ์ ายนอกเข้าไป ในอาคารตามมาตรฐาน ASHRAE 62.1-2007 มากกว่าถึง 30% เพือ่ ให้แน่ใจได้วา่ ทุกห้อง มีอากาศที่บริสุทธิ์เหมาะกับการอยู่อาศัย จึงท�ำให้โครงการสินธร ต้นสน เป็นโครงการ Multi-Family Residential โครงการแรกทีไ่ ด้รบั การรับรอง LEED Silver ในประเทศไทย วชิระชัย คูน�ำวัฒนา Head of Living Solution Business พร้อมด้วย สิทธิชัย เนี๋ยมเจริญ Innovation Management and Incubation Director บริษัท เอสซีจี ซิเมนต์-ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง จ�ำกัด เป็นตัวแทนมอบ LEED Certificate ในฐานะ LEED ั น์กลุ กรรมการบริหาร และ อภิชยั สิรดิ ำ� รงพันธุ์ Consultant ให้กบั ปราโมทย์ เตชะสุพฒ ผูอ้ ำ� นวยการพัฒนาโครงการ บริษทั สยามสินธร จ�ำกัด ได้จบั มือร่วมกันพัฒนากลุม่ อาคาร สินธร วิลเลจ เป็นอาคารเขียวประหยัดพลังงานเพื่อโลกที่น่าอยู่

GreenNetwork4.0 September-October 2019


วชิระชัย คูนำ� วัฒนา Head of Living Solution Business บริษัท เอสซีจี ซิเมนต์-ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง จ�ำกัด กล่าวว่า “ทีมผู้เชี่ยวชาญที่พร้อมให้ค�ำปรึกษาด้านอาคารเขียวแบบครบวงจร และรู้สึกเป็นเกียรติอย่างยิ่งที่ได้รับความไว้วางใจจากสยามสินธร ให้ร่วม พัฒนากลุ่มอาคารภายใต้โครงการสินธร วิลเลจ ให้มีประสิทธิภาพตามเนื้อหา การประเมินอาคารเขียวของสหรัฐอเมริกา หรือ Leadership in Energy & Environmental Design (LEED)” โดยส�ำหรับอาคารแรกทีท่ าง SCG Green Building Solution ได้ให้คำ� ปรึกษาจนได้รบั การรับรองมาตรฐาน LEED ในระดับ Silver คือ คอนโดฯ สินธร ต้นสน ซึ่งเป็นอาคารที่ออกแบบเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและการ ค�ำนึงถึงผูใ้ ช้อาคารอย่างแท้จริง เนือ่ งจากสามารถประหยัดพลังงานตามมาตรฐาน ASHRAE 90.1 ได้มากถึงกว่า 23% และประหยัดน�ำ้ ได้ 30%” ทางด้าน ปราโมทย์ เตชะสุพัฒน์กุล กรรมการบริหาร บริษัท สยามสินธร จ�ำกัด กล่าวว่า “ในฐานะองค์กรทีม่ วี สิ ยั ทัศน์ในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ทเี่ ป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อม ใส่ใจเรือ่ งความยัง่ ยืน และคุณภาพชีวติ ของผูใ้ ช้งาน จึงมุง่ มัน่ อย่าง เต็มที่ในการผลักดันให้กลุ่มอาคารภายใต้โครงการสินธร วิลเลจ ที่ประกอบด้วย อาคารประเภทที่พักอาศัย และอาคารส�ำนักงานให้เช่า ให้เป็นอาคารเขียวอย่าง เต็มรูปแบบ และด้วยความเชี่ยวชาญของทีมที่ปรึกษาอาคารเขียว SCG Green

29

Building Solution เราก็มีความมั่นใจว่า นอกจากโครงการสินธร ต้นสนแล้ว สยามสินธร จะสามารถพัฒนาโครงการในรูปแบบ LEED Campus ซึ่งประกอบด้วย โครงการสินธร ลุมพินี, สินธร มิดทาวน์ และกลุ่มสินธร วิลเลจ ให้เป็นกลุ่มโครงการโรงแรมและที่พักอาศัยกลุ่มแรกในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานการเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” ทัง้ นี้ อาคารเขียว คือกระบวนการของการออกแบบ ก่อสร้าง และดูแลอาคาร ทีส่ ง่ เสริมสุขภาพและประสิทธิภาพการท�ำงานของผูใ้ ช้งานให้สงู สุด โดยลดการใช้ ทรัพยากร การสร้างขยะ และผลกระทบทางลบต่อสิ่งแวดล้อมให้ต�่ำที่สุด รวมถึง ลดต้นทุนตลอดวัฏจักรชีวิตของอาคาร (Life Cycle Cost) โดยสามารถท�ำได้ด้วย การวางแผนทีด่ ตี งั้ แต่เริม่ ต้นสร้างอาคาร คุณภาพของอาคารสามารถส่งผลกระทบ โดยตรงต่อสุขภาพและคุณภาพการอยูอ่ าศัยของผูใ้ ช้งาน การสร้างสมดุลระหว่าง ความยั่งยืนและความสะดวกสบายในการใช้งานของอาคาร จึงท�ำให้โครงการ ประเภททีพ่ กั อาศัยเป็นกลุม่ ทีม่ คี วามท้าทายในการด�ำเนินการเป็นล�ำดับต้นๆ ของ โครงการที่สามารถขอการรับรองทั้งหมด อย่างไรก็ตาม อาคารเขียวภายใต้โครงการสินธร วิลเลจ จะเป็นอีกหนึ่ง ต้นแบบอาคารเขียวอนุรกั ษ์พลังงานในประเทศไทยทีจ่ ะท�ำให้เกิดอาคารเขียวอืน่ ๆ อีกมากมาย เป็นบรรทัดฐานการอยูร่ ว่ มกันในสังคม เพือ่ ให้เกิดการอนุรกั ษ์ พลังงานและสิ่งแวดล้อมโลกให้นา่ อยู่อย่างยั่งยืนยิ่งขึ้น

GreenNetwork4.0 September-October 2019


SMART

City

กองบรรณาธิการ

กระทรวงมหาดไทย จับมือ การอุดมศึกษาฯ

น�ำเทคโนโลยี สวทช. พัฒนาเมืองอัจฉริยะ

ช่วยบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมเมือง

นับเป็นความร่วมมือกันทางด้านบริหารจัดการเมืองแบบอัจฉริยะ หรือ Smart City ของประเทศไทย โดยเป็นการจับมือกันระหว่าง 2 กระทรวง คือ กระทรวงมหาดไทย (มท.) และ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (อว.) ได้ลงนามความร่วมมือใน “โครงการน�ำเทคโนโลยี สารสนเทศมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเมืองและบริการ ประชาชน” เพื่อประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของเนคเทคภายใต้ส�ำนักงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) พัฒนาขึน้ มาใช้ในการ พัฒนาเมือง เป็นการขับเคลือ่ นการพัฒนาสูเ่ มืองอัจฉริยะ โดยน�ำเทคโนโลยี Big Data ด้านการบริหารจัดการสิง่ แวดล้อมของเมืองและชุมชนมาส่งเสริม และสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) น�ำไปใช้ประโยชน์ โดยความร่วมมือดังกล่าวน�ำร่องด้วยแอพพลิเคชั่น Traffy Fondue ให้ประชาชนใช้แจ้งปัญหาและข้อร้องเรียนด้านสิ่งแวดล้อมของเมืองและ ชุมชน และระบบ Traffy Waste เครือ่ งมือบริหารจัดการการเก็บขยะ ช่วยให้ บริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมของเมืองและชุมชนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่เป็นระบบมากขึ้น ทั้งนี้ แอพพลิเคชั่น Traffy Fondue และระบบ Traffy Waste เป็นเทคโนโลยีที่อยู่ในกลุ่ม Traffy City Platform หรือแพลตฟอร์มการบริหารจัดการเมืองด้วย เทคโนโลยีและข้อมูล ซึ่งพัฒนาขึ้นโดยนักวิจัยเนคเทค สวทช. น�ำโดย ดร.วสันต์ ภัทรอธิคม หัวหน้าทีมวิจยั ระบบ ขนส่งและจราจรอัจฉริยะ ซึง่ จุดเด่นของเทคโนโลยีอยูท่ ี่ การเพิม่ ความเป็นอัจฉริยะหรือความสมาร์ทให้กบั เมือง โดยเชือ่ มสิง่ ทีป่ ระชาชนพบเห็นว่าเป็นสิง่ ทีค่ วรปรับปรุง น�ำส่งไปให้ถงึ ผูบ้ ริหารและเจ้าหน้าที่ เพือ่ ให้สามารถเข้าใจ ความต้องการและแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากขึน้ รวมถึงเป็นการพัฒนาเมืองด้วยความช่วยเหลือ 30

จากหลายฝ่ายที่เข้าถึงง่ายไม่ซับซ้อน ตอบสนองจุดที่เป็นปัญหาและสร้างความยุ่งยาก (Pain Point) ของประชาชนผู้อยู่อาศัย พนักงานผู้ดูแล และผู้บริหารได้เป็นอย่างดี

ขณะที่ Traffy Fondue แพลตฟอร์มแจ้งซ่อมและบริหารจัดการปัญหาเมือง เป็นแอพพลิเคชั่นรับเรื่องแจ้งซ่อมและบริหารจัดการปัญหา ที่ช่วยลดระยะเวลา ขั้นตอน และค่าใช้จา่ ยในการแก้ปญ ั หา ท�ำให้ผบู้ ริหารเมืองเข้าถึงใจของประชาชน โดยเพิม่ ช่องทาง แจ้งปัญหาเมืองจากประชาชนถึงเจ้าหน้าที่โดยตรง โดยหลังแจ้งปัญหาแล้วประชาชนยัง สามารถติดตามสถานะการด�ำเนินการแก้ไขได้ผา่ น LINE@ และแอพพลิเคชัน่ ซึง่ หน่วยงาน ภาครัฐจะได้ข้อมูลที่เพียงพอส�ำหรับบริหารจัดการปัญหาของประชาชน เช่น ภาพถ่าย ต�ำแหน่งบนแผนที่ มีผลให้เจ้าหน้าที่สามารถแก้ปัญหาได้สะดวกรวดเร็วขึ้น เนื่องจาก ผู้บริหารมีภาพรวมและข้อมูลในการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะส�ำหรับ น�ำไปใช้ในอาคาร ส�ำนักงาน คอนโดฯ หมู่บ้าน โรงงาน โรงเรียน และโรงพยาบาล โดยแพลตฟอร์มการสือ่ สารดังกล่าว สามารถใช้งานได้โดยการแจ้งปัญหาผ่านแอพพลิเคชัน่ หรือผ่าน Line Chat ถ่ายรูปปัญหา ต�ำแหน่งที่เกิดปัญหา พร้อมการแจ้งเตือน รวมถึง รับทราบความก้าวหน้าของการแก้ไข ซึง่ ข้อมูลทีไ่ ด้จากระบบสามารถน�ำมาเป็นบทวิเคราะห์ ทางสถิติที่ช่วยรวบรวบข้อมูลปัญหาและการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อเป็นข้อมูลส�ำหรับ การตัดสินใจในการลงทุนเพื่อแก้ปัญหาได้

GreenNetwork4.0 September-October 2019


ส่วน Traffy Waste ระบบจัดการการเก็บขยะอัจฉริยะ เป็นแพลตฟอร์มบริหารงาน และวางแผนจัดเก็บขยะ ด้วยเทคโนโลยี AI วิเคราะห์ข้อมูลจากการติดตามต�ำแหน่ง รถเก็บขยะด้วย Multi-GNSS บันทึกเส้นทางและประวัตกิ ารเก็บขยะ วิเคราะห์พฤติกรรม และเพิ่มประสิทธิภาพการเก็บขยะ ประชาชนและเจ้าหน้าที่สามารถรับการแจ้งเตือน จุดเก็บขยะที่สนใจได้ สามารถท�ำงานร่วมกับระบบ Traffy Fondue โดยแจ้งปัญหาขยะ ล้นถังและขยะเกลื่อนกลาด ผ่าน LINE@ และแอพพลิเคชั่นได้ ท�ำให้ประชาชนค้นหา จุดทิ้งขยะใกล้บ้านพร้อมเวลาจัดเก็บประจ�ำ ตรวจสอบประวัติและสถิติการเก็บขยะ รับแจ้งเตือนการเก็บขยะผ่าน LINE และช่วยรายงานขยะล้นถัง ขยะเกลื่อนกลาด ผ่าน Traffy Fondue ได้ โดยทางเทศบาล อบต. และนิคมอุตสาหกรรม จะมีข้อมูลภาพรวม การจัดเก็บขยะและประสิทธิภาพการท�ำงาน ท�ำให้ทราบพฤติกรรมท�ำงานของรถเก็บขยะ รวมถึงรับรูจ้ ดุ แจ้งเตือนเก็บขยะส�ำคัญทีไ่ ม่ถกู จัดเก็บ พร้อมยังสามารถบันทึกประวัตกิ าร จัดเก็บและสถิตเิ ก็บขยะ พร้อมแนะน�ำเส้นทางทีป่ ระหยัดเชือ้ เพลิงได้ดว้ ย ซึง่ แพลตฟอร์ม ดังกล่าวถือเป็นเครือ่ งมือส�ำหรับผูใ้ ห้บริการจัดเก็บขยะทัง้ ทีเ่ ป็นส่วนภาครัฐ (การปกครอง ส่วนท้องถิน่ นิคมอุตสาหกรรม) และภาคเอกชน (ผูใ้ ห้บริการจัดเก็บขยะ ผูใ้ ห้เช่ารถขยะ ส�ำหรับใช้บริหารและติดตามการใช้งานทรัพยากร เช่น คน และรถขยะ) สามารถน�ำผล มาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการท�ำงาน และลดต้นทุนค่าน�้ำมันได้ บุญธรรม เลิศสุขีเกษม รองปลัดกระทรวงมหาดไทย กล่าวว่า “เป็นโอกาสอันดี ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือ อปท. จะได้ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางด้าน Big Data มาช่วยในการบริหารจัดการเมืองและชุมชน ทีส่ ำ� คัญคือประชาชนจะได้รบั ความ สะดวกในการร้องเรียนปัญหาขยะ ปัญหาด้านสิง่ แวดล้อม รวมถึงปัญหาด้านสาธารณูปโภค และการแจ้งซ่อมต่างๆ โดยกระทรวงมหาดไทยจะส่งเสริมให้มกี ารน�ำแอพพลิเคชัน่ ระบบ Traffy Fondue และ Traffy Waste ไปใช้อย่างแพร่หลายต่อไป” ปฐม สวรรค์ปญ ั ญาเลิศ รองปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และ นวัตกรรม กล่าวว่า “กระทรวงการอุดมศึกษาฯ โดย สวทช. จะสนับสนุนข้อมูลทางวิชาการ บุคลากรในการอบรมและสัมมนาให้ความรู้เกี่ยวกับระบบแจ้งปัญหาและข้อร้องเรียน ผ่านแอพพลิเคชั่น Traffy Fondue และระบบบริหารจัดการการจัดเก็บขยะอัจฉริยะผ่าน แอพพลิเคชัน่ Traffy Waste ซึง่ จะช่วยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ มีเครือ่ งมือทีท่ นั สมัย สะดวกสบายให้กบั ประชาชนในพืน้ ทีบ่ ริการของเมืองและชุมชน และองค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ เองจะมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทีม่ ปี ระสิทธิภาพในวิเคราะห์ขอ้ มูลขนาดใหญ่ หรือ Big Data ในการวางแผน การแก้ไขปัญหา การบริหารจัดการเมืองและชุมชน” 31

ทั้งนี้ Smart City ถือเป็นโครงการที่หลายๆ เมืองทั่วโลกพยายาม พัฒนาให้เข้ากับยุค 4.0 โดยการเอาเทคโนโลยีมาผสานกับการใช้ชีวิตของ ประชาชนแต่ละเมือง ไม่วา่ จะทัง้ ด้านการขนส่ง การใช้พลังงาน หรือโครงสร้าง พื้นฐาน ที่จะท�ำให้เมืองมีความสะดวกสบาย ที่ส�ำคัญยังท�ำให้ประชาชน ที่อาศัยอยู่ดีมีสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นด้วย ถึงแม้ประเทศไทยจะยังไม่มี Smart City ทีส่ มบูรณ์เป็นรูปเป็นร่างมากนัก แต่สงิ่ ทีภ่ าครัฐก�ำลังขับเคลือ่ น และผลักดันให้หลายๆ จังหวัด หรือมหาวิทยาลัยด�ำเนินการในขั้นตอนการ พัฒนาอยู่ ซึง่ หัวใจส�ำคัญในการพัฒนา Smart City ของเมือง คือการสร้าง Data Hub หรือศูนย์รวมข้อมูลทีท่ นั สมัยทีร่ วมข้อมูลทัง้ พลังงาน การบริโภค น�้ำ การขนส่งมวลชน สังคม เศรษฐกิจ เพื่อการพัฒนาทรัพยากรเมือง และ ประชาชนให้เข้าถึงเชื่อมโยงในหลายๆ ด้านได้ด้วย

GreenNetwork4.0 September-October 2019


ENERGY

Saving กองบรรณาธิการ

การสนับสนุนให้เกิดการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีระบบ กักเก็บพลังงานในด้านต่างๆ เช่น ความมั่นคงและภัยพิบัติ พลังงานทดแทน และยานยนต์ไฟฟ้านัน้ ในส่วนงานภาครัฐอย่าง ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ภายใต้กำ� กับการดูแลของ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม (อว.) ได้รบั มอบหมายจาก กองทุนเพือ่ ส่งเสริม การอนุรักษ์พลังงาน โดยส�ำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.) กระทรวงพลังงาน ท�ำหน้าที่บริหารจัดการทุนวิจัยใน “โครงการสนับสนุนการศึกษา วิจยั พัฒนาเทคโนโลยีพลังงาน ทดแทน ปีงบประมาณ 2559 (Energy Storage)” มีระยะเวลา ด�ำเนินโครงการ 3 ปี ตลอดการด�ำเนินงานมีโครงการวิจัยภายใต้โครงการฯ เพือ่ เผยแพร่ขอ้ มูลความก้าวหน้างานวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยี ระบบกักเก็บพลังงานของประเทศ และเป็นช่องทางแลกเปลีย่ น เรียนรู้ร่วมกันระหว่างนักวิจัย ทั้งนี้ ได้น�ำร่องใช้ในงานด้าน ความมั่นคงและภัยพิบัติด้านอุตสาหกรรม และยานยนต์ไฟฟ้า เพือ่ สร้างฐานพัฒนาเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานให้เข้มแข็ง และแข่งขันได้ในระยะยาว มีระยะเวลาด�ำเนินโครงการ 3 ปี ตั้งแต่วันที่ 13 กันยายน 2559-12 กันยายน 2562 โดยคณะ ท�ำงานก�ำกับงานวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน อนุมตั กิ ารสนับสนุนโครงการและมีโครงการด�ำเนินการเสร็จสิน้ แล้ว จ�ำนวน 27 โครงการ จาก 12 หน่วยงาน สวทช. เนือ่ งจาก ระบบกักเก็บพลังงานเป็นส่วนประกอบหลักที่จะท�ำให้เกิด การเก็บพลังงานไฟฟ้าไว้ให้ใช้ได้นาน ท�ำให้เกิดเสถียรภาพ ในระบบผลิตไฟฟ้าและพลังงานจากแหล่งพลังงานทดแทน ยานพาหนะไฟฟ้าใช้งานได้นานขึ้น รวมถึงบุคลากรที่มีความรู้ เรือ่ งนีย้ งั มีนอ้ ย ประเทศไทยจึงจ�ำเป็นต้องสร้างขีดความสามารถ ด้านนี้ด้วยการพัฒนาขึ้นมาเอง พร้อมศึกษาจากต่างประเทศ แล้วพัฒนาต่อยอดในอนาคต ศ. นพ.ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์ รองผู้อ�ำนวยการ สวทช. กล่าวว่า “สืบเนือ่ งจากคณะกรรมการกองทุนเพือ่ ส่งเสริม การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน เล็ ง เห็ น ความจ�ำเป็นในการใช้เทคโนโลยี ระบบกักเก็บพลังงาน หรือ Energy Storage ทีม่ ปี ระสิทธิภาพส�ำหรับ ประยุกต์ใช้รว่ มกับระบบผลิตไฟฟ้า และพลังงานจากแหล่งพลังงาน ทดแทน เพื่อเพิ่มเสถียรภาพการ ศ. นพ.ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์ ผลิตและใช้พลังงานของประเทศ จึงมีมติเห็นชอบให้สำ� นักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวง พลังงาน จัดสรรเงินกองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน แผนพลังงานทดแทน กลุม่ งานค้นคว้าวิจยั ศึกษาเพือ่ การพัฒนา และส่งเสริมโครงการสนับสนุนการศึกษา วิจยั พัฒนาเทคโนโลยี พลังงานทดแทน ปีงบประมาณ 2559 ให้ สวทช. เพื่อด�ำเนิน โครงการดังกล่าวในเรื่องเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน โดยท�ำหน้าทีบ่ ริหารจัดการทุนวิจยั เพือ่ สร้างความเข้มแข็งด้าน

32

การวิจยั และพัฒนาตลอดห่วงโซ่คณ ุ ค่า พร้อมสนับสนุนให้เกิดการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีกกั เก็บพลังงาน ในด้านต่างๆ” โครงการฯ มีกรอบงานวิจยั 3 กลุม่ ได้แก่ กลุม่ ที่ 1 การจัดท�ำยุทธศาสตร์การพัฒนาเทคโนโลยี ระบบกักเก็บพลังงานของประเทศไทย ระยะ 20 ปี กลุ่มที่ 2 การสนับสนุนงานวิจัยเชิงประยุกต์ที่เน้น การพัฒนาเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานเพื่อใช้งานด้านต่างๆ ประกอบด้วย 3 กรอบวิจัย ได้แก่ กรอบการพัฒนาเพือ่ ใช้งานด้านความมัน่ คงและภัยพิบตั ิ กรอบการพัฒนาเพือ่ ใช้งานกับนิคมอุตสาหกรรม พลังงานทดแทน และพืน้ ทีห่ า่ งไกล และกรอบการพัฒนาเพือ่ ใช้งานในยานยนต์ และกลุม่ ที่ 3 การสนับสนุน งานวิจัยพื้นฐานที่เน้นการพัฒนาเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานตลอดห่วงโซ่คุณค่า ประกอบด้วย 2 กรอบวิจัย ได้แก่ กรอบงานด้านวัสดุ ระบบการกักเก็บและการศึกษาการใช้เซลล์เชื้อเพลิงส�ำหรับ การใช้งานเป็นระบบกักเก็บพลังงาน และกรอบงานด้านการควบคุมการท�ำงาน การน�ำระบบกักเก็บ พลังงานไปใช้งานร่วมกับระบบการใช้และผลิตพลังงานอื่นๆ

Lithium Sulphur Battery

นอกจากนี้ ในการจัดงานดังกล่าวมีนกั วิจยั ในโครงการ Energy Storage บางส่วนได้รว่ มบรรยาย ถ่ายทอดผลงานวิจัย ประกอบด้วย รศ. ดร.ฐปนีย์ สารครศรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ รศ. ดร.วรวัฒน์ มีวาสนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี จังหวัดนครราชสีมา รศ. ดร.ภัทรพงษ์ ผาสุขกิจ ั น์ มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และ ดร.ปัญญา บุญญาภิวฒ ราชภัฏพระนคร ซึง่ ได้นำ� เสนอข้อมูลเชิงวิชาการเกีย่ วกับการส่งเสริมพัฒนาทางด้าน Energy Storage ที่จะท�ำให้ยกระดับความก้าวหน้าเสริมสร้างอุตสาหกรรมภายในประเทศและท�ำให้ผลิตระบบกักเก็บ พลังงานภายในประเทศได้ และรวมถึงการให้ข้อมูลทางด้านการจัดท�ำแบบจ�ำลองเพื่อวิเคราะห์และ คาดการณ์ความต้องการทีจ่ ะกักเก็บพลังงานทีเ่ หลือใช้จากการผลิต และน�ำไปใช้เพือ่ สร้างเสถียรภาพ พลังงานในประเทศไทย อย่างไรก็ตาม งานสัมมนาครัง้ นีจ้ ะท�ำให้หน่วยงานภาคส่วนอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องน�ำข้อมูลความก้าวหน้า งานวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานของประเทศ ซึง่ จะเป็นช่องทางในการแลกเปลีย่ น และเรียนรูเ้ ทคโนโลยีรว่ มกันระหว่างนักวิจยั นักวิชาการ ผูป้ ระกอบการ และผูเ้ กีย่ วข้องในเชิงนโยบาย และสร้ า งโอกาสการต่ อ ยอดนวั ต กรรมระบบกั ก เก็ บ พลั ง งานสู ่ ก ารใช้ ป ระโยชน์ ต ามนโยบาย Energy 4.0

GreenNetwork4.0 September-October 2019


Magazine to Save The World

มูลนิธิแอสเสท เวิรด์ ร่วมกับ กรุงเทพฯ ภาครัฐ-เอกชน จัดโครงการ “GIVE GREEN CBD : SYNERGY POWER 2019”

มูลนิธิแอสเสท เวิรด์ เพื่อการกุศล ภายใต้ แอสเสท เวิรด์ คอร์ปอเรชั่น ร่วมมือกับ กรุงเทพมหานคร กลุม่ ผูป้ ระกอบการย่านสาทรและพันธมิตรทางธุรกิจ ร่วมกันจัดงานโครงการ “GIVE GREEN CBD : SYNERGY POWER 2019” น�ำโดย วัลลภา ไตรโสรัส ประธานเจ้าหน้าที่ บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่มแอสเสท เวิรด์ คอร์ปอเรชั่น ซึ่งรวมพลังร่วมกับ กรุงเทพมหานคร และจากหน่วยงานทุกภาคส่วนทัง้ ภาครัฐและเอกชน เพือ่ พัฒนาชุมชนในย่าน สาทรให้มีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น ตลอดจนคืนกลับสิ่งดีๆ สู่สังคมและสิ่งแวดล้อมอย่างมุ่งมั่น และตัง้ ใจ โดยผ่าน 4 กิจกรรมหลัก ทีเ่ ริม่ ด�ำเนินการไปถึงมกราคม 2563 ประกอบด้วยกิจกรรม ตลาดนัดการกุศล AWC Charity Market Around และกิจกรรมวิ่งอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พร้อมลดขยะ Empire Tower We Run 2019 with Virgin Active

มูลนิธิไอวีแอล จับมือ GEPP ร่วมโครงการจัดเก็บขยะรีไซเคิล เพื่อความยั่งยืน

มูลนิธิไอวีแอล น�ำโดย สุจิตรา โลเฮีย ประธานมูลนิธิไอวีแอล จับมือองค์กร GEPP ทีม่ ี มยุรี อรุณวรานนท์ ซีอโี อและผูร้ ว่ มก่อตัง้ องค์กร GEPP ร่วมกันแถลงข่าวลงนามบันทึก ความร่วมมือใน “โครงการจัดเก็บขยะรีไซเคิลเพื่อความยั่งยืน” เพื่อน�ำขวดพลาสติก PET มาเข้าสู่กระบวนการรีไซเคิล ด้วยแนวคิดระบบเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) ในโอกาสเดียวกันนี้ มูลนิธิไอวีแอลได้มอบถังขยะรีไซเคิลกว่า 70 ใบ แก่สถานทูตประจ�ำ ประเทศไทย 5 แห่ง ได้แก่ สถานทูตโปรตุเกส สถานทูตเนเธอร์แลนด์ สถานทูตอินโดนีเซีย สถานทูตอินเดีย และสถานทูตมาเลเซีย ซึ่งมีเอกอัครราชทูตโปรตุเกส ประจ�ำประเทศไทย และผู้แทนจาสถานทูตทั้ง 5 แห่งเข้าร่วมด้วย โดยทุกฝ่ายคาดหวังจะสร้างความร่วมมือใน การจัดเก็บและคัดแยกขยะเพื่อน�ำมารีไซเคิลอย่างยั่งยืนต่อไป

กระทรวงการท่องเที่ยวฯ และ ททท. จัดงาน Experiencing ASEAN POP Culture การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย น�ำโดย กฤษฎา รัตนพฤกษ์ ผูอ้ ำ� นวยการภูมภิ าค อาเซียน เอเชียใต้และแปซิฟกิ ใต้ พร้อมด้วย นภินทร ศรีสรรพางค์ ผูช้ ว่ ยรัฐมนตรีประจ�ำ กระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา และ อรุณรุง่ ศรีวฒ ั นประภา ผูช้ ว่ ยประธานเจ้าหน้าที่ ฝ่ายการเงิน กลุ่มบริษัท คิงเพาเวอร์ และผู้ประกอบการโรงแรม ร่วมกันจัดงานภายใต้ โครงการ “Experiencing ASEAN POP Culture” ส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองรอง เพื่อ เชือ่ มโยงท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรมไทย-อาเซียน โดยมีเหล่าศิลปินและสถาปนิกทัง้ ไทยและ อาเซียนร่วมเสวนาในหัวข้อ “อิทธิพลของศิลปะสมัยนิยมทีม่ ตี อ่ อุตสาหกรรมการท่องเทีย่ ว” ซึง่ น�ำร่องเปิดเส้นทางผ่านงานศิลปะ อาทิ สถานทีท่ อ่ งเทีย่ วในอ�ำเภอแหลมงอบ จังหวัด ตราด สถานที่ท่องเที่ยวอ�ำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย เป็นต้น

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดงาน “TSE Engineering and Beyond” ในโอกาสครบรอบ 30 ปี

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ น�ำโดย รศ. ดร.ธีร เจียศิรพิ งษ์กลุ คณะบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดงานครบรอบ 30 ปี ในงาน “TSE Engineering and Beyond” โดยภายในงานได้จัดเสวนาซึ่งมีอาจารย์รุ่นใหม่ไฟแรง ศิษย์เก่าทีม่ ชี อื่ เสียง และนักศึกษา ร่วมเสวนาแลกเปลีย่ นประสบการณ์บนเส้นทาง “เป็นมากกว่า วิศวกร” นอกจากนี้ ในงานดังกล่าว คณะอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญต่างๆ ได้โชว์นวัตกรรมรางวัล ระดับโลก อาทิ นวัตกรรมทีเ่ ปลีย่ นพลาสติกสูค่ อนกรีตรักษ์โลก ทางออกปัญหาขยะพลาสติก ล้นเมือง รวมทัง้ งานวิจยั เกีย่ วกับกรีนโปรดักส์ยอ่ ยสลายง่าย ใช้ตน้ ทุนต�ำ่ วัสดุทางเลือกใหม่ จากยางพาราและมันส�ำปะหลัง รวมถึงเทคโนโลยีไบโอพลาสติกเพิม่ มูลค่าสินค้าเกษตรไทย นวัตกรรมเทคโนโลยีเครือ่ งนับไข่เอไออัตโนมัตนิ ำ� ร่องเทคโนโลยีสมาร์ทฟาร์ม และทางเลือก ใหม่เกีย่ วกับแบบจ�ำลองส�ำหรับการรักษามะเร็งตับโดยใช้คลืน่ ไมโครเวฟครัง้ แรกของโลก

33

GreenNetwork4.0 September-October 2019


Magazine to Save The World

กรมโรงงานอุตสาหกรรม มอบรางวัล CSR-DIW Continuous Award โรงงานกลุ่มไอวีแอล 9 แห่ง

บริษัท อินโดรามา เวนเจอร์ส จ�ำกัด (มหาชน) หรือ ไอวีแอล น�ำโดยผู้บริหารจาก 9 โรงงานในกลุม่ บริษทั ไอวีแอล เข้ารับรางวัล CSR-DIW Continuous Award ประจ�ำปี 2562 จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 9 สะท้อนให้เห็นถึงความ ส�ำเร็จของไอวีแอลในการด�ำเนินงานด้านความยัง่ ยืน มุง่ เน้นการสร้างประโยชน์ให้กบั พนักงาน ชุมชน และผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่ายในสังคมอย่างต่อเนือ่ ง อาทิ การส่งเสริมด้านสุขภาพและความ ปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ พนักงาน และผู้รับเหมา การจ้างงานพนักงานในชุมชนเพื่อส่งเสริม ความเติบโตทางเศรษฐกิจของชุมชน การใช้ทรัพยากรและพลังงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ตลอดจนให้การสนับสนุนและให้ความรู้ในการรีไซเคิลแก่ชุมชนโดยรอบ

บริษัท เดลต้าฯ ส�ำนักงานใหญ่ รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภทอาคารเขียว

เซีย เชน เยน ประธานบริหาร บริษัท เดลต้า ประเทศไทย พร้อมด้วย ปิติสุข จิตเกษม ผู้อ�ำนวยการบริหารโรงงานเดลต้า รับรางวัลในพิธีมอบรางวัล ASEAN Energy Awards 2019 โดยบริษทั เดลต้าฯ ส�ำนักงานใหญ่ จังหวัดสมุทรปราการ ได้รบั รองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภทอาคารเขียว (Green Building) ทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ในฐานะผูน้ ำ� ทีป่ ระสบความส�ำเร็จเป็นอย่างยิง่ ในเรือ่ งอาคารเขียว ซึง่ ได้มงุ่ เน้นในเรือ่ ง การออกแบบอาคารและการเลือกใช้วสั ดุฉนวนเพือ่ ประหยัดพลังงาน โซลูชนั่ พลังงาน แสงอาทิตย์บนชั้นดาดฟ้าเพื่อสร้างพลังงานทดแทน อุปกรณ์อ�ำนวยความสะดวกใน ห้องน�ำ้ อุปกรณ์ HVAC และ LED ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ วัสดุกอ่ สร้างทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม รวมถึงการจัดการของเสีย การควบคุมมลพิษ และการขนส่งพนักงาน และคุณภาพ อากาศภายในอาคารและระบบนิเวศสีเขียว

เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ฯ ผนึก เซ็นทรัล รีเทล สร้างอาคารอนุรักษ์พลังงานติดตั้งแผงโซลาร์เซลล์เต็มหลังคา บริษทั เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ อินดัสเตรียล (ประเทศไทย) จ�ำกัด น�ำโดย โสภณ ราชรักษา ผูอ้ ำ� นวยการใหญ่ บริษทั เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ อินดัสเตรียล (ประเทศไทย) จ�ำกัด ในฐานะผูน้ ำ� การให้บริการอสังหาริมทรัพย์เพือ่ อุตสาหกรรม ระดับโลก พร้อมด้วย ดร.ปิยะพงษ์ ธัญญศรีสังข์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายปฏิบตั กิ าร บริษทั สรรพสินค้าเซ็นทรัล จ�ำกัด ผูน้ ำ� ธุรกิจค้าปลีกไทยเพือ่ พัฒนา ศูนย์กระจายสินค้า ร่วมลงนามในสัญญาเช่าอาคารระยะยาว 15 ปี โดยโครงการ โลจิสติกส์แคมปัสระดับเวิลด์คลาส เป็นอาคารอนุรกั ษ์พลังงาน ด้วยการติดตัง้ แผง โซลาร์เซลล์เต็มพืน้ ทีบ่ นหลังคาโครงการ และเป็นอาคารทีเ่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ผ่านการรับรองมาตรฐานอาคารเขียว หรือ LEED ซึง่ ตัง้ อยูใ่ นโครงการเฟรเซอร์ส เซ็นเตอร์โลจิสติกส์เซ็นเตอร์ อ�ำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ

สผ. ร่วมกับ องค์กร GIZ ประเทศเยอรมนี จัดกิจกรรม “เปลี่ยนเรา เปลี่ยนโลกร้อน”

ดร.รวีวรรณ ภูริเดช เลขาธิการส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (สผ.) พร้อมด้วย ดร.พิรณ ุ สัยยะสิทธิพ์ านิช รองเลขาธิการ ส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และ ทิม มาเลอร์ ผู้อ�ำนวยการองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของเยอรมัน (GIZ) ร่วมกัน จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์และเผยแพร่การด�ำเนินงานด้านการเปลีย่ นแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศของไทย “เปลีย่ นเรา เปลีย่ นโลกร้อน” (Climate Change, WE Change) โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ เสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจทีถ่ กู ต้องเกีย่ วกับการด�ำเนินงาน ของไทยด้านการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศภายใต้กรอบอนุสญ ั ญาสหประชาชาติ ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและกรอบอาเซียนให้แก่ภาคส่วนต่างๆ โดยมี ติ๊ก-เจษฎาภรณ์ ผลดี ดารานักแสดงและพิธีกรชื่อดัง ร่วมเสวนาในงาน ดังกล่าวด้วย 34

GreenNetwork4.0 September-October 2019


GREEN

Technology &Innovation กองบรรณาธิการ

ประเทศไตหวัน ถือเปนประเทศทีม่ กี ารใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ มีระบบบริหารจัดการทีด่ ี มีความ ปลอดภัย เปนอีกประเทศหนึง่ ทีม่ กี ารใชทรัพยากรและพลังงานอยางคุม คา ทําใหประชากรของประเทศไตหวัน ลดอัตราการสิ้นเปลืองไฟฟา และพลังงานมาอยางยาวนาน นํามาซึ่งการจัดงาน “2019 Taiwan Trade Mission of Green Technology to Thailand” โดยมี สํานักงานโครงการการคาสีเขียว กรมการคาตางประเทศ กระทรวงเศรษฐกิจไตหวัน รวมกับ สภาสงเสริมการคา และการสงออกไตหวัน จัดงานพบปะและเจรจาธุรกิจ ซึง่ มีคณะผูผ ลิตอุปกรณและพัฒนาโซลูชนั่ ดานพลังงานและ แสงสวางชั้นนําจากประเทศไตหวันไดนํานวัตกรรมเทคโนโลยีที่เต็มไปดวยโซลูชั่นไดรับรางวัลความเปนเลิศ จากไตหวัน อีกทัง้ เปนเทคโนโลยีทมี่ คี วามทันสมัยและบุคลากรมีความเชีย่ วชาญเปนพิเศษในการพัฒนาอุปกรณ อิเล็กทรอนิกส สามารถตอบสนองความตองการใชพลังงานที่มีเสถียรภาพและประสิทธิภาพจากภาคครัวเรือน พาณิชยกรรม และอุตสาหกรรม เขามาแสดงใหผเู ขารวมงานไดนาํ ไปเปนกรณีศกึ ษาเกีย่ วกับผลิตภัณฑเทคโนโลยี สีเขียวดานพลังงาน และแสงสวางมากกวา 20 รายการครอบคลุมในหมวดแสงสวาง การควบคุม การจัดการ พลังงาน และการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนเทคโนโลยีสําหรับจัดการอาคาร อาทิ Da Da Da จะนําเสนอโซลูชั่นแพลตฟอรมอัจฉริยะดานการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ เชน ระบบการจัดการพลังงาน อัจฉริยะ (EMS) การวิเคราะหอยางชาญฉลาด อุปกรณ เชน Smart Meter IoT Gateway และ CT เปนตน โดยโซลูชั่นจาก Da Da Da ไดถูกนําไปใชกับอาคารในองคกรตางๆ ของรัฐบาลไตหวันหลายราย ดวยระบบ Robust AI Cloud Service หรือ Team Young Corp. ไดพัฒนา EZCon เพื่อเชื่อมตอชีวิตของผูใชอาคารดวย รีโมทคอนโทรล ระบบ EZCon สามารถติดตัง้ ระบบไดงา ย ควบคุมพลังงานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยไมตอ ง เชือ่ มตออินเทอรเน็ต ประหยัดพลังงาน และลดการปลอยคารบอน และมีระบบปองกันกระแสไฟฟาเกิน (Smart OCP) เพื่อหลีกเลี่ยงไฟฟาลัดวงจร ลดการใชพลังงานสํารอง ไดรับการรับรองดวยสิทธิบัตรนวัตกรรม ซึง่ ในสวนของแสงสวาง OMA-Lighting ไดนาํ เสนอโซลูชนั่ แสงสวางคุณภาพสูงในการจัดหาแสงไฟในพืน้ ที่ สาธารณะ ปจจุบนั เปนซัพพลายเออรหลักในตลาด ไดแสดงวิสยั ทัศนวา แสงสวางเปนมากกวาความเปนเลิศทาง เทคนิค ประสิทธิภาพ สุนทรียภาพ แตยังเปนหัวใจหลักเมืองอัจฉริยะที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ทําใหผูอยูอาศัย ไดรบั ประโยชนสงู สุดจากการทีม่ จี ดุ เชือ่ มตอโดยคํานึงผูใ ชงานเปนสําคัญ สําหรับ Neotroni Lighting เปนบริษทั ชัน้ นําทางดานแสงไฟสําหรับอุตสาหกรรมไฟฟากําลัง ไฟ LED และผูใ หบริการโซลูชนั่ ระบบอัจฉริยะ ดวยประสบการณ จาก 18 ประเทศทัว่ ทุกมุมโลก ครอบคลุมการใชบนทองถนน โรงงาน ทาเรือ สนามกีฬา เครือ่ งจักรกลหนัก และ ความตองการพิเศษอืน่ ๆ และยังมีระบบ IoT และอุปกรณควบคุมแสงไฟอัจฉริยะและระบบสําหรับการใชทงั้ ภายใน และภายนอกอาคาร นอกจากนีย้ งั เปนผูผ ลิตไฟ LED และระบบอัจฉริยะทีใ่ หญทสี่ ดุ แหงหนึง่ ในไตหวัน ทางดาน LixControls International มานําเสนอเทคโนโลยีใหมระบบการควบคุมแสงสวางอยางชาญฉลาด ไฟสองสวาง 36

GreenNetwork4.0 September-October 2019


สําหรับงานเชิงพาณิชย สํานักงาน ครัวเรือน ทีผ่ สมผสานเทคโนโลยี IoT กับแสงไฟ อัจฉริยะ โดยไดมีการรวมมือกับกระทรวงพลังงานไตหวันในการพัฒนาระบบ สองสวางในอาคารวาการทองถิ่น จํานวน 30 อาคาร ใหเปนระบบอัจฉริยะ ในทิศทางเดียวกันยังมีผลิตภัณฑโคมไฟและหลอดไฟจาก Radiant Star ผูผ ลิตไฟฝง ไฟ LED อะลูมเิ นียมอุตสาหกรรม ไฟติดฝา โคมไฟหอยเพดาน โคมไฟ LED Panel แบบฝงฝา ดาวนไลท ไฟอุตสาหกรรมอื่นๆ และไฟภายนอกอาคาร โดยไดรับความไวใจจากภาคอุตสาหกรรมในไตหวันรวมไปถึงสําหรับอาคาร Taipei 101 และแบรนดระดับโลกอื่นๆ และ Lih Yang Electric Machinery ที่ โดดเดนดานหลอดไฟ LED สําหรับตลาดตางๆ กัน Reecos Technology กับ ผลิตภัณฑแสงไฟอุตสาหกรรมแบบประหยัดพลังงานที่สามารถเปลี่ยนได เชน หลอด E27 Low Bay, E40 High Bay และไฟถนน การเปลี่ยนแบบนี้สามารถลด ตนทุนคาใชจา ยการบํารุงลงอยางมากหลังจากหมดระยะเวลาประกัน และโดยเปน ผูต ดิ ตัง้ ระบบไฟใหกบั โรงงาน Coca Cola และ Toyota ในญีป่ นุ Volvo ในสวีเดน และบริษทั มหาชนตางๆ ทัง้ นีย้ งั มีระบบไฟทีต่ รวจจับความเคลือ่ นไหว โดยใชโมดูล เซ็นเซอรทมี่ นี าํ้ หนักเพียง 5.8 G และมีความแมนยําสูง ชวยประหยัดคาไฟไดถงึ 90%

ชาวฮุย หลิน รองผูอํานวยการบริหาร สภาพัฒนาการคาภายนอก ไตหวัน (TAITRA) กลาววา “ภายในงานไดนาํ ผูป ระกอบการไตหวัน ชั้นนําใหเกิดการพบปะกับผูประกอบการภาค เอกชนไทย รวมไปถึงในสวนของโรงพยาบาล ไทยประมาณ 9 โรงพยาบาล และมหาวิทยาลัย หรือสถานศึกษาตางๆ ในประเทศไทย เพื่อให คนไทยไดนาํ ไปเปนกรณีศกึ ษาเกีย่ วกับนวัตกรรม ซึ่งการจัดงานในครั้งนี้มีผูประกอบการไทย จํานวนมากสนใจและใหความสําคัญเขารวมงาน เพือ่ เพิม่ โอกาสทางธุรกิจตอกันผานการนําเสนอ และเจรจาธุรกิจกับทั้ง 9 ผูประกอบการจากไตหวันนี้ใหตรงตามวัตถุประสงค การจัดงานที่ตองการผลักดันนวัตกรรมไตหวันจากการคิดคน พัฒนาและวิจัย การออกแบบและพัฒนาคุณภาพ ผานธุรกิจนํามาสูการสานความสัมพันธทาง เศรษฐกิจและการคาของไทยและไตหวันอยางตอเนื่อง”

และยังมาพรอมกับ 1-10V Dimming Series ไดถกู นําไปใชในมอเตอรไซค Scooter แบรนด Sanyo Taiwan โดยทางบริษัทยังผลิต DOB, Driver and Light Board ไดเอง และ Delta Electronics ไดนําเสนอระบบ Smart PASS ในการจัดการ อาคารภาคสนาม ใหการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศดวย 3 ฟเจอรอจั ฉริยะ ไดแก การจัดการพืน้ ทีจ่ อดรถ การควบคุมการเขาอาคารอัจฉริยะ และโซลูชนั่ ระบบ การตรวจตรา ดวยความเปนเลิศทางดานความปลอดภัย สําหรับโซลูชนั่ การจัดการ ทีจ่ อดรถโดยอัตโนมัตขิ อง Delta นัน้ ผสมผสานการจดจําปายทะเบียนรถมุมกวาง พิเศษกับเทคโนโลยี RFID และใชคุณสมบัติการเรียนรูของเครื่อง เพื่อระบุตัวตน ที่แมนยําแมองศาเอียงของทางเขา-ออก ซึ่งโซลูชั่นลานจอดรถไดมีการปรับปรุง ประสิทธิภาพการควบคุมทั้งทางเขา-ออกเพื่อใหไดการจดจําปายทะเบียนรถที่มี ประสิทธิภาพสูงสุด เจสัน ซู ตัวแทนจากสํานักงานเศรษฐกิจ และวั ฒ นธรรมไทเป ประจํ า ประเทศไทย กลาววา “แนวโนมความตองการใชพลังงานที่ มากขึน้ และสามารถควบคุมตนทุนคาไฟฟาได ทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว และลดการปลอย กาซเรือนกระจกนั้น ดังที่รัฐบาลไทยกําลัง ปรับใชนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรม 4.0 โดยมีความมุงหมายในการสรางสมดุลทั้งทาง ดานเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดลอม ภายใต กรอบแนวคิดของการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน และมีการ พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศอยางเปน รูปธรรม สอดคลองกับแผนพัฒนาอุตสาหกรรมดานเทคโนโลยีพลังงานและเศรษฐกิจ หมุนเวียนของไตหวัน ซึง่ เปนการพัฒนาการสงเสริมอุตสาหกรรมสีเขียวในไตหวัน อันมีรากฐานแข็งแกรง ดวยโซลูชั่นที่ทันสมัยและความเชี่ยวชาญเปนพิเศษในการ พัฒนาอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ทําใหสามารถตอบสนองความตองการใชพลังงาน ที่มีเสถียรภาพ”

ถง เจิน้ หยวน ตัวแทนจากสํานักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเป ประจํา ประเทศไทย กลาววา “รัฐบาลไทยกําลังอยูในชวงพัฒนาตามแผนระยะยาว 10 ป ในการขับเคลื่อนใหประเทศไทยขึ้นแทนเปนศูนยกลางทางการแพทยในเอเชีย จึงนํามาสูการนําสินคาและบริการดานสุขภาพอัจฉริยะที่สามารถตอบโจทยดาน สุขภาพและดานการแพทยเขามาในประเทศเปนจํานวนมาก ซึง่ ตรงกับแผนพัฒนา อุตสาหกรรมดานเทคโนโลยีของไตหวันทีท่ นั สมัยเพือ่ ใหคนไทยมีชวี ติ ทีด่ ขี นึ้ ตลอด ชวงระยะเวลาทีผ่ า นมา ในขณะทีป่ ระเทศไตหวันก็มคี วามเชีย่ วชาญเปนพิเศษในการ ผลิตนวัตกรรมทางการแพทยตา งๆ จึงเกิดความรวมมือกันระหวางไทยและไตหวัน” นอกจากนี้ ภายในงานยังไดมกี ารจัดเสวนาเพือ่ การนําเสนอขอมูลนวัตกรรม เทคโนโลยีของแตละผูประกอบการที่มารวมแสดงผลิตภัณฑ อาทิ วัชรพงศ สุขกําเนิด ผูจัดการฝายขายประจําประเทศไทย ธุรกิจ Intelligent Healthcare Advantech Corporation (Thailand) Co., Ltd. นําเสนอหัวขอ การบริหารโรงพยาบาล อัจฉริยะ ไซรัส ตง ผูช ว ยผูจ ดั การทัว่ ไป จาก Hiwin Technologies Corp. นําเสนอ หัวขอ การผาตัดดวยกลองสองระบบหุนยนตอัจฉริยะ เดวิด ฮัง Supervisor, IEI Integration Corp. นําเสนอหัวขอ IEI Smart Healthcare-Nursing Solution สําหรับตัวแทนขายประจําภูมิภาค Mediland Enterprise Corporation บรรยาย โดย เรย หยาง นําเสนอหัวขอ ระบบเชื้อโรคที่ทันสมัยดวยหุนยนตฆาเชื้อโรค คูณซี ไฉ ผูจัดการทั่วไป จาก IMEDIPLUS Inc. นําเสนอหัวขอ Technology Medicalization - กุญแจสู Smart Medicine แหงอนาคต อดัม ฮวง ตัวแทน จาก Fasion Systems นําเสนอหัวขอ Medical Digitalization & Telemedical Application อยางไรก็ตาม การจัดงานในครั้งนี้ จะเปนการผลักดันนวัตกรรมไตหวัน ดวยการคิดคน พัฒนาและวิจยั การออกแบบและพัฒนาคุณภาพผานธุรกิจ นํามาสู การสานความสัมพันธทางเศรษฐกิจและการคาของไทยและไตหวันอยางตอเนื่อง ซึ่งนวัตกรรมจะสามารถสรางความแตกตางใหกับชีวิตผูคน ตลอดจนระบบทาง การแพทยทนี่ าํ เทคโนโลยีมาชวยใหมสี ขุ ภาพดี และมีระบบขนสงอัจฉริยะเคลือ่ นที่ และเทคโนโลยีเครือ่ งจักรทางธุรกิจทีช่ ว ยใหมคี วามคิดแนวทางทีช่ ว ยดานการผลิต ใหงายขึ้นโดยนวัตกรรมเชื่อมตอกันในการทําใหโลกนาอยูยิ่งขึ้น

37

GreenNetwork4.0 September-October 2019


GREEN

ไบโอพลาสติก

Article ดร.กริชชาติ วองไวลิขิต, ดร.ณัฐวิญญ ชวเลิศพรศิยา, ศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล

ที่ (อาจ) ไมยอยสลาย “ขยะพลาสติก” เปนเรือ่ งทีถ่ กู หยิบยกขึน้ มาพูดถึงเปนอยางมากโดยเฉพาะ ในชวง 2-3 ปทผี่ า นมา เนือ่ งจากกระแสดานสิง่ แวดลอมกําลังถูกยกใหเปนประเด็น สําคัญในการดํารงชีวติ ของมนุษย ปญหาขยะพลาสติกในปจจุบนั เกิดจากพฤติกรรม ทีก่ อ ใหเกิดการใชพลาสติกในปริมาณมากขึน้ อีกทัง้ พลาสติกสวนมากมักเปนรูปแบบ ของพลาสติกแบบใชครั้งเดียวทิ้ง (Single-Used Plastic) จึงเปนสาเหตุใหเกิด ขยะพลาสติกปริมาณมหาศาล และจากการทีพ่ ลาสติกสามารถเก็บรวบรวมไดยาก เนือ่ งจากมีนํ้าหนักเบา สามารถถูกลมพัดปลิวและกระจายไปยังพื้นทีต่ า งๆ ไดงาย จึงทําใหเปนปญหาโดยเฉพาะอยางยิง่ ตอทรัพยากรนํา้ ทีม่ กั เปนแหลงรองรับสุดทาย ของขยะพลาสติกเหลานี้

ปริมาณการผลิตพลาสติกและสัดสวนของพลาสติกที่สามารถยอยสลายได

“การยอยสลายตัวชา” เปนความเขาใจทีเ่ กีย่ วกับปญหาพลาสติกเนือ่ งจาก ตองใชเวลามากกวารอยปพันปในการยอยสลาย จึงทําใหพลาสติกเหลานี้ตกคาง อยูใ นสิง่ แวดลอม โดยเวลาการยอยสลายยาวนานนีเ้ กิดจากโครงสรางทางเคมีของ พลาสติกทีท่ าํ ใหมคี วามทนทาน ไมสามารถยอยสลายไดในระยะเวลาอันสัน้ เหมือน ใบไมใบหญา หรือชีวมวลอืน่ ๆ ดวยสาเหตุนเี้ อง จึงไดมกี ารพัฒนาพลาสติกชีวภาพ หรือไบโอพลาสติก (Bioplastic) ขึ้นมาโดยใชชีวมวลตางๆ โดยมุงเปาวาจะเปน พลาสติกที่ใชเวลาในการยอยสลายนอยกวาพลาสติกทั่วไป ซึ่งเห็นไดอยางชัดเจน เปนอยางยิ่งในป ค.ศ. 2017 และ 2018 ที่มีการผลิตไบโอพลาสติกในปริมาณที่ มากขึน้ กวาปกอ นเกือบเทาตัว ไบโอพลาสติกจึงเริม่ เขามาทดแทนการใชงานพลาสติก มากขึน้ โดยในปจจุบนั มีการใชไบโอพลาสติกทดแทนพลาสติกประเภทใชครัง้ เดียวทิง้ โดยเฉพาะอยางยิง่ บรรจุภณ ั ฑทเี่ กีย่ วของกับอาหาร เชน ถุงชา ถุงเก็บอาหาร หรือ ฟลมที่ใชในการหออาหาร นอกจากนี้ยังนํามาใชเปนสวนประกอบในผาออมเด็ก ถุงขยะ หรือสวนผสมในยางรถยนตอีกดวย 38

GreenNetwork4.0 September-October 22019


แนวทางการใชงานและการจัดการไบโอพลาสติกอยางถูกวิธี ผลิตภัณฑจากไบโอพลาสติก PLA ถุงชาและผาออมเด็ก

อยางไรก็ตาม สิ่งหนึ่งที่ตองเขาใจใหถูกตองก็คือไบโอพลาสติกที่ใชกันอยาง แพรหลายในปจจุบันยังไมสามารถยอยสลายไดตามธรรมชาติเหมือนการฝงเศษตนไม ใบหญาลงดิน เนือ่ งดวยกระบวนการผลิตของไบโอพลาสติกมีกระบวนการทีท่ าํ ใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงโครงสรางภายในของวัสดุชีวมวลตางๆ ที่นํามาใชเปนวัตถุดิบไมวาจะเปน กระบวนการที่ใชอุณหภูมิหรือความดันสูง จึงสงผลใหไบโอพลาสติกมีความทนทานและ สามารถใชงานทดแทนพลาสติกได ดวยสาเหตุนเี้ อง ไบโอพลาสติกสวนมากจึงไมสามารถ ยอยสลายไดโดยงายเหมือนกับวัสดุทางธรรมชาติ และใชเวลาหลายรอยถึงหลายพันป เชนเดียวกันกับการยอยสลายพลาสติกทัว่ ไป นอกจากไบโอพลาสติกบางประเภทเทานัน้ ทีม่ รี ะยะเวลาในการยอยสลายสัน้ จนกลาวไดวา สามารถยอยสลายได เชน พลาสติกจําพวก PHA (Polyhydroxyalkanoates) หรือ PLA (Polylactic Acid) ซึง่ คิดเปนเพียงรอยละ 17 ของปริมาณไบโอพลาสติกที่ถูกผลิตขึ้นมาในป ค.ศ. 2018 เทานั้น ทัง้ นีท้ งั้ นัน้ คําวา “การยอยสลายได” ของพลาสติกเปนคําทีต่ อ งระวังเปนอยางมาก เนือ่ งจาก “ไบโอพลาสติก” ทีย่ อ ยสลายไดทอี่ อกสูท อ งตลาดในปจจุบนั ยังเปนไบโอพลาสติก ที่ “ยอยสลายไดภายใตสภาวะควบคุม” กลาวคือ ไบโอพลาสติกจะตองถูกจัดการโดย โรงงานที่รับจัดการขยะเฉพาะทางที่มีกระบวนการที่สามารถจัดการกับไบโอพลาสติก เหลานี้ไดเทานั้น จึงจะทําใหไบโอพลาสติกสามารถยอยสลายได ถานําไปฝงดินโดยตรง หรือกําจัดในหลุมฝงกลบดวยวิธีการปกติ ไบโอพลาสติกก็จะใชเวลาในการยอยสลาย ยาวนานเหมือนกับพลาสติกอืน่ ๆ ดังนัน้ เสนทางทีค่ วรจะเปนของไบโอพลาสติกควรจะตอง เริม่ ตนจากการผลิตไบโอพลาสติกทีส่ ามารถยอยสลายได และเมือ่ มีการใชงานไบโอพลาสติก ควรจะตองมีการ แยกขยะไบโอพลาสติก ออกมาจากขยะอืน่ ๆ อยางชัดเจน ซึง่ ในปจจุบนั สามารถสังเกตการแยกไบโอพลาสติกจากพลาสติกประเภทอื่นๆ ไดดวย “สัญลักษณ พลาสติกรีไซเคิลหมายเลข 7” แลวจึงเก็บรวบรวมและจัดการใหเกิดการยอยสลายของ ไบโอพลาสติกในสภาวะทีเ่ หมาะสมภายในโรงงาน กอนทีจ่ ะนําสวนทีย่ อ ยสลายแลวมาใช ในการผลิตไบโอพลาสติกตอไปในรูปแบบวัตถุดิบหรือปุยสําหรับปลูกพืช

ดังนัน้ จึงจะเห็นไดวา แมจะมีการผลิตไบโอพลาสติกทีส่ ามารถยอยสลาย ขึน้ มาไดแลวในปจจุบนั มนุษยเราก็ยงั คงเปนตัวแปรสําคัญทีต่ อ งรวมมือกัน จัดการปญหาขยะพลาสติกที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งการแยกขยะใหอยู ในจุดที่มีการรองรับอยางถูกวิธีเพื่อปองกันไมใหขยะไปปนเปอนกับแหลง นํ้าหรือดิน อีกทั้งยังตองมีการแยกขยะพลาสติกออกจากขยะประเภทอื่นๆ เพื่อใหสามารถนําพลาสติกทุกชนิดรวมไปถึงไบโอพลาสติกกลับไปใชงาน ไดอยางเต็มประสิทธิภาพ เราทุกคนจึงควรรวมมือกันดูแลโลกของเราไป พรอมๆ กัน ซึง่ หากทุกคนรวมกันจัดการและแยกขยะอยางถูกตอง โดยเริม่ ตน จากจุดเล็กๆ อยางในครอบครัว ปญหาของขยะในประเทศไทยที่ปจจุบัน เปน 5 อันดับตนของโลกดานขยะทะเลจะลดลง และประเทศไทยจะกลับมา มีสิ่งแวดลอมที่สวยงามและเหมาะสมกับการใชชีวิตของลูกหลานของพวก เราในอนาคต

Reference

39

ASTM D6400-19, Standard Specification for Labeling of Plastics Designed to be Aerobically Composted in Municipal or Industrial Facilities, ASTM International, West Conshohocken, PA, 2019. Ammala, Anne (2011). “An overview of degradable and biodegradable polyolefins”. Progress in Polymer Science. 36 (8): 1015-1043. doi:10.1016/j.progpolymsci.2010.12.002. Chen, Guo-Qiang; Patel, Martin K. (2012-04-11). “Plastics Derived from Biological Sources: Present and Future: A Technical and Environmental Review”. Chemical Reviews. 112 (4): 2082-2099. doi:10.1021/cr200162d Bioplastics Market Report: “Industry Analysis, 2023”. www.ceresana .com. Philip, S.; Keshavarz, T.; Roy, I. (March 2007). “Polyhydroxyalkanoates: biodegradable polymers with a range of applications”. Journal of Chemical Technology & Biotechnology. 82 (3): 233-247. doi: 10.1002/jctb.1667. Tokiwa, Yutaka; Calabia, Buenaventurada; Ugwu, Charles; Aiba, Seiichi (2009-08-26). “Biodegradability of Plastics”. International Journal of Molecular Sciences. 10 (9): 3722-3742. doi:10.3390/ ijms10093722.



GreenNetwork4.0 September-October 2019


GREEN

Travel กองบรรณาธิการ

มูลนิธิชัยพัฒนา จับมือ อพท.

เปด 6 เสนทางเที่ยวคุงบางกะเจา

โครงการ Green Tourism

“เที่ยวอยางไรใหยั่งยืน ตามศาสตรพระราชา”

บางกะเจา ไดรับการขนานนามวา “ปอดสีเขียว” ตั้งอยูในอําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ เปนสถานทีท่ อ งเทีย่ วเชิงนิเวศและอนุรกั ษสงิ่ แวดลอม ซึง่ ครอบคลุม พื้นที่ 6 ตําบล คือ ทรงคนอง บางกระสอบ บางนํ้าผึ้ง บางยอ บางกะเจา และบางกอบัว ไดรับการยกยองใหบางกะเจาเปนปอดกลางเมืองที่ดีที่สุดในเอเชีย ผูคนที่มาบางกะเจา มักมาสัมผัสธรรมชาติและปนจักรยานชมวิว มูลนิธชิ ยั พัฒนา และ องคการบริหารการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษเพือ่ การทองเทีย่ วอยาง ยั่งยืน (องคการมหาชน) หรือ อพท. รวมมือจัดกิจกรรมเปดเสนทางนําเที่ยว 6 เสนทาง “คุงบางกะเจา” สัมผัสวิถีชีวิต วัฒนธรรมประเพณี และธรรมชาติ พรอมกิจกรรมการ ทองเทีย่ วโดยชุมชน ภายใตโครงการ “เทีย่ วอยางไรใหยงั่ ยืน ตามศาสตรพระราชา” เพือ่ ติดตามความกาวหนาการพัฒนาแหลงทองเทีย่ วชุมชนทัง้ 6 ตําบลในคุง บางกะเจาเปนไป ตามนโยบายการขับเคลือ่ นการทองเทีย่ วทีเ่ ปนมิตรตอสิง่ แวดลอม หรือ Green Tourism ไดพัฒนาพื้นที่แหงนี้ใหเปนแหลงทองเที่ยวที่ยั่งยืนอยางไรบาง

ดร.เตชพล ฐิตยารักษ รองเลขาธิการมูลนิธิ ชัยพัฒนา กลาววา “จากจุดเริม่ การพัฒนาไดนอ มนํา พระราชดํารัสในหลวง รัชกาลที่ 9 ในการมุง พัฒนา เพือ่ สรางความเขมแข็งใหคนและครอบครัวในชุมชน เสียกอน แลวจึงคอยออกมาสูส งั คมภายนอก ในสวนของ คณะทํางานดานการทองเทีย่ วอยางยัง่ ยืน มีเปาหมายเพือ่ พัฒนาการทองเทีย่ ว ดานธรรมชาติ วัฒนธรรม วิถชี วี ติ ชุมชน และแหลงทองเทีย่ วดานนันทนาการ ใหมีความยั่งยืนที่จะชวยกระจายรายไดใหกับชุมชน และรวมกันฟนฟู ทรัพยากรธรรมชาติใหคงอยูคูกับชุมชนอนุรักษวิถีชีวิต ภูมิปญญาทองถิ่น เพือ่ สรางภูมคิ มุ กันใหชมุ ชนคุง บางกะเจาสามารถรักษาความสมดุลของชีวติ ไมวาจะเปนดานสังคม สิ่งแวดลอม และเศรษฐกิจ” ทวีพงษ วิชัยดิษฐ ผูอํานวยการ อพท. กลาววา “จากภารกิจที่ อพท.ไดรบั มอบหมายพืน้ ทีค่ งุ บางกะเจา เปนพื้นที่พิเศษเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน และ นําองคความรูดานการจัดการการทองเที่ยวอยาง ยัง่ ยืนไปพัฒนาใหกบั 6 ตําบล โดยเนนการทํางานอยาง บูรณาการความรวมมือกับทุกหนวยงาน การเปดโอกาสใหชมุ ชนเจาของพืน้ ที่ ไดเขามามีสวนรวมตั้งแตกระบวนการวางแผนไปถึงการรวมรับรายได” อยางไรก็ดี การเปด 6 เสนทางทองเที่ยวโดยชุมชนทั้ง 6 ตําบล ในคุงบางกระเจานี้ พรอมแลวที่จะเปดบาน เปดชุมชนตอนรับนักทองเที่ยว ควบคูไปกับการรักษาอัตลักษณทองถิ่น สืบสานประเพณีและวัฒนธรรม ใหเกิดความยัง่ ยืนสืบไป รวมทัง้ ยังไดทอ งเทีย่ วพืน้ ทีท่ มี่ กี ารอนุรกั ษใหเปนพืน้ ที่ สีเขียวเพื่อสงตอใหคนรุนตอๆ ไปไดมุงเนนใหเกิดการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติรวมกัน

อพท. พัฒนาประวัติศาสตรทองเที่ยวจังหวัดเพชรบุรี เปนชุมชนตนแบบอนุรักษทรัพยากรทองถิ่น

องค ก ารบริ ห ารการพั ฒ นาพื้ น ที่ พิ เ ศษเพื่ อ การท อ งเที่ ย วอย า งยั่ ง ยื น (องคการมหาชน) หรือ อพท. ไดดําเนินการจัดกิจกรรมสงเสริมการทองเที่ยว เพื่อเพิ่มศักยภาพชุมชนในดานการใหบริการตามมาตรฐานสากลที่เนนประโยชน ของชุมชน ซึง่ ทําใหเกิดการเชือ่ มโยงความรวมมือการทองเทีย่ วระหวางหนวยงาน ทองถิน่ ชุมชน และผูป ระกอบการไดรว มมือกันสรางพืน้ ทีท่ อ งเทีย่ วทองถิน่ ใหเกิด ความเขมแข็งและอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ใหยงั่ ยืน โดยมี สุจนิ ต มีประดิษฐ ผูอ าํ นวยการฝายปฏิบตั กิ าร อพท. 8 ไดพัฒนากิจกรรมใหนักทองเที่ยวไดเรียนรูและ มีสว นรวมในการลงมือทํา เพือ่ สรางประสบการณทปี่ ระทับใจ ใหกบั นักทองเทีย่ วกลุม ตางๆ อาทิ กลุม นักทองเทีย่ วเชิงนิเวศ กลุมครอบครัว กลุมศึกษาดูงาน ฯลฯ เปนการกระจาย สุจินต มีประดิษฐ นักทองเที่ยวใหทั่วถึงทั้งจังหวัด แนวทางการพัฒนาทองเทีย่ วจังหวัดเพชรบุรี ภายใต “เปดเสนทางทองเทีย่ ว เมืองเพชร เที่ยวถํ้ารงคแหลงตาลโตนด-สัมผัสวิถีชุมชนเการิมนํ้ากลางเมือง” เปนการดําเนินงานรวมกับสํานักทองเทีย่ วโดยชุมชน เพือ่ พัฒนาศักยภาพการบริหาร จัดการการทองเที่ยวใหเปนชุมชนตนแบบของจังหวัดเพชรบุรีที่มีความเขมแข็ง มีสว นรวมของชุมชนทัง้ 6 หมูบ า น ทีม่ งุ เนนใหทอ งเทีย่ วเชิงนิเวศเพือ่ รักษาสิง่ แวดลอม และเปนศูนยการเรียนรูตอยอดพัฒนาไปสูเยาวชนที่ผานการฝกอบรมของ อพท. ไมวา จะเปนการถายทอดเรือ่ งราวในทองถิน่ ใหมคี วามนาสนใจ สงผลใหในปจจุบนั มีนักทองเที่ยวทั้งชาวไทยและตางชาติเขารวมกิจกรรมตางๆ จํานวนมาก เชน “ชุมชนบานถํา้ รงค” อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี เชิญกราบสักการะหลวงพอดําและ หลวงพอขาวศักดิส์ ทิ ธิแ์ หงวัดถํา้ รงค ซึง่ อพท. สงเสริมและเขาไปพัฒนายกระดับ 40

การทองเที่ยวเชิงนิเวศใหเปนพื้นที่ สีเขียวที่สามารถเชื่อมโยงกับพื้นที่ ท องเที่ยวอื่นๆ ทั้ งวัฒนธรรมทาง ศาสนา การใชวสั ดุจากธรรมชาติ และ การรีไซเคิลอุปกรณที่ใชแลวใหเปนศิลปะธรรมชาติ อาทิ วัดพลับพลาชัย ชุมชน หนองกระแชง สวนตาลลุงถนอม กลุม จักสานใบตาล บานยีโตนด บานทําขนมตาล (ยีตาล) และตลาดเลียบแมนํ้าเพชรบุรี สุจินต กลาววา “การทองเที่ยวสําหรับชุมชนเกาเมืองเพชรบุรีนี้ ถือวาเปน แหลงทองเทีย่ วทางเศรษฐกิจ ผสมผสานกับเสนทางศิลปวัฒนธรรมทีส่ าํ คัญของไทย ชมประวัติศาสตรวิถีชุมชน และชุมชนถํ้ารงค อพท. 8 จะพัฒนาเปนชุมชนตนแบบ ดานการอนุรักษทรัพยากรทองถิ่น และชุมชนเมืองเกาเพชรจะพัฒนาเปนชุมชน ตนแบบดานศิลปะและวัฒนธรรม โดยใชทรัพยากรทีม่ อี ยูใ นชุมชนเปนฐานการเรียนรู ที่สําคัญ” ทัง้ นี้ อพท. ในฐานะเปนหนวยงานภาครัฐทีต่ อ งสงเสริมอุตสาหกรรมการทองเทีย่ ว ใหเปนไปตามนโยบายไทยแลนด 4.0 โดยเฉพาะการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ซึ่งในสวนพื้นที่ของ อพท. 8 การพัฒนาเสนทางการทองเที่ยว เชื่อมโยงเขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันตกที่ดูแลรับผิดชอบ 4 จังหวัด ประกอบดวย จังหวัดเพชรบุรี ประจวบคีรขี นั ธ ชุมพร และระนอง เพือ่ เพิม่ ศักยภาพ ชุมชนในดานการใหบริการตามมาตรฐานสากล GSTC ใหเกิดความเขมแข็ง

GreenNetwork4.0 September-October 2019


GREEN

Travel กองบรรณาธิการ

สนง.การทองเที่ยวและกีฬาจังหวัดสกลนคร เปดเสนทางทองเที่ยว

“3 ธรรม”

สรางรายไดใหชุมชนและประเทศ

สกลนคร หรือนักทองเทีย่ วมักจะเรียกอีกชือ่ หนึง่ วา “เมืองหนองหารหลวง” เปนจังหวัดหนึง่ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ทีม่ แี หลงทองเทีย่ วตางๆ ตัง้ แต สมัยกอนประวัตศิ าสตรสบื เนือ่ งจวบจนปจจุบนั ทัง้ ยังเปนอีกหนึง่ จังหวัดภาคอีสาน ที่เปนเมืองเกาแกมีความสําคัญและหลากหลายในดานตางๆ โดยเฉพาะทองเที่ยว ดานสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม โดย สํานักงาน การทองเที่ยวและกีฬาจังหวัดสกลนคร เล็งเห็นศักยภาพของจังหวัดสกลนครวา เปนชุมชนทองเที่ยวนวัตวิถี ที่สามารถสรางรายไดใหกับคนในชุมชน จังหวัด และ ระดับประเทศ จึงไดจดั กิจกรรมสือ่ มวลชนสัญจร ประจําป 2562 เพือ่ ประชาสัมพันธ ใหกับนักทองเที่ยวเขามาสัมผัสวิถีชีวิตอันเปนเอกลักษณและอัตลักษณของชุมชน ตลอดจนแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ สถานที่สําคัญทางพุทธศาสนา รวมถึง การสนับสนุนผลิตภัณฑสนิ คา OTOP อันเปนภูมปิ ญ  ญาของชุมชน เพือ่ สรางรายได ใหกับชุมชน นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมงาน “ไทยสกลรวมเผา รากเหงาเดียวกัน โฮมเหงาไทยสกล ยลถิน่ วัฒนธรรม” เพือ่ เรียนรูถ งึ วิถชี วี ติ ของ 6 ชนเผาตางๆ ใน จังหวัดสกลนคร ใหเปนที่รูจักของนักทองเที่ยวมากขึ้น ชนมบันลือ วรรธนพันธุ ผูอํานวยการทองเที่ยวและกีฬาจังหวัดสกลนคร สํานักงานการทองเทีย่ วและกีฬาจังหวัดสกลนคร กลาววา สําหรับกิจกรรมดังกลาว ไดเปดเสนทางทองเทีย่ ว “3 ธรรม” ไดแก 1. เสนทางทองเทีย่ ว “ธรรมะ” ซึง่ เปนแหลง ทองเที่ยวทางพุทธศาสนาที่มีปูชนียสถานสําคัญคูบานคูเมืองมาแตโบราณ นั่นคือ วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร เปนที่ประดิษฐานหลวงพอองคแสน พระคูบานคูเมือง

41

จังหวัดสกลนคร วัดปาสุทธาวาส เปนสถานที่ในการละสังขารของพระอาจารย มัน่ ภูรโิ ต ภายในอาคารจึงมีอฐั ธิ าตุและหุน ขีผ้ งึ้ ของพระอาจารยเพือ่ ใหพทุ ธศาสนิกชน ไดเขามากราบไหวสักการะ วัดถํ้าผาแดน ตั้งอยูบนภูเขาสูง ทามกลางธรรมชาติ ที่รมรื่น มีความสวยงามดวยงานแกะสลักบนหนาผาหินที่มีเอกลักษณวิจิตรศิลป ถายทอดเรื่องราวพุทธประวัติ โดยมีการจัดพื้นที่ใหนักทองเที่ยวชมทิวทัศนและ ถายรูปบริเวณศาลาผาแดง เพราะสามารถมองเห็นตัวเมืองสกลนครและทะเลสาบ หนองหารไดแบบ 180 องศา และยังมี องคพญาศรีสตั ตนาคราช พญาศรีสตั ตนาคราช หลอดวยโลหะทองเหลืองทัง้ ตัว สูง 9 ม. กวาง 6 ม. ตัง้ ประดิษฐานบนแทนความสูง 5 ม. ลักษณะขององคพญานาคจะขดตัวและชูเศียร 7 เศียร พนนํ้าไปทางทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือลงสูแ มนาํ้ โขง ผูม จี ติ ศรัทธาเดินทางมาเคารพกราบไหวขอพร อยางคับคั่ง 2. เสนทางทองเทีย่ ว “ธรรมชาติ” เปนแหลงทองเทีย่ วทางธรรมชาติทะเลสาบ หนองหารขนาดใหญที่สุดของภาคอีสานและใหญเปนอันดับ 2 ของประเทศ นอกจากนี้ ทีห่ นองหารยังมีเกาะตางๆ กวา 20 เกาะ เชน เกาะดอนสวรรค ซึง่ เปน เกาะทีใ่ หญทสี่ ดุ บนเกาะมีวัดรางและพระพุทธรูปเกาแกซงึ่ เปนสิ่งศักดิส์ ทิ ธิค์ บู าน คูเ มือง อุทยานบัวเฉลิมพระเกียรติและพญานาคเผือก เปนแหลงรวบรวมบัวพันธุ ตางๆ อีกทัง้ ยังเปนทีต่ งั้ ของรูปปน พญานาคเผือกขนาดใหญสขี าว โดยชาวสกลนคร และนักทองเที่ยวที่มีความเชื่อและใหความเคารพสักการะกราบไหวมาตั้งแต บรรพบุรษุ และ 3. เสนทางทองเทีย่ วทาง “วัฒนธรรม” เปนแหลงทองเทีย่ วในชุมชน ตางๆ อาทิ ชุมชนคาทอลิกทาแร ซึง่ เปนหมูบ า นทีม่ ปี ระชากรนับถือศาสนาคริสตมาก ทีส่ ดุ ในประเทศไทย และเปนชุมชนทีเ่ กาแกมอี ายุกวา 100 ป จะเห็นถึงสถาปตยกรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม ทัง้ นี้ จังหวัดสกลนคร ถือเปนแหลงทองเทีย่ วทีม่ ศี กั ยภาพแหงหนึง่ ของประเทศ นักทองเทีย่ วสามารถเทีย่ วไดตลอดทัง้ ป นอกจากนีย้ งั มีเทศกาล งานประเพณีแห ปราสาทผึ้งและงานประเพณีแหดาว ซึ่งจัดเปนประจําทุกป โดยในปนี้จะจัดขึ้นใน วันที่ 22-25 ธันวาคม พ.ศ. 2562

GreenNetwork4.0 September-October 2019





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.