การประชุมวิชาการ
ครั้งที่
เสนอผลงานวิจัยระดับชาติ 13
ภาคโปสเตอร์
ธรรมาภิบาลกับการศึกษาไทยในยุค Thailand 4.0 โดย ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา
โครงการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 21-22 เมษายน 2561 ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
การประชุมวิชาการ
โครงการบัณฑิตศึกษา มหาวิจ ทยาลั ยราชภัฏบ สุรชาติ ินทร์ เสนอผลงานวิ ัยระดั
ครั้งที่ 13 ภาคโปสเตอร์
ธรรมาภิบาลกับการศึกษาไทย ในยุค Thailand 4.0
โดย ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา
โครงการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 21-22 เมษายน 2561 ณ ตึก 41 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
คณะกรรมการอานวยการ 1. อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 2. รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ 3. ประธานสาขาวิชาระดับบัณฑิตศึกษาทุกสาขา 4. คณบดี ทุกคณะ 5. เลขานุการโครงการบัณฑิตศึกษา 6. อาจารย์ ดร.ตรีคม พรมมาบุญ
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
กองบรรณาธิการ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประชิต อินทะกนก 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สาคร พัวพันธ์ 3. อาจารย์ ดร.ตรีคม พรมมาบุญ 4. อาจารย์ ดร.ศุภธนกฤษ ยอดสละ 5. นายชัยยศ อุไรล้า 6. นางธนินท์ธร ทองแม้น 7. นายชุติพร ไวรวัจนกุล 8. นายทองนพคุณ อินธิเดช 9. นางณัฏฐ์นัน ทุนดี 10. นางสาวสมพร ไชยรัมย์
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ
กองจัดการและพิสจู น์อกั ษร 1. อาจารย์ ดร.ตรีคม พรมมาบุญ 2. อาจารย์ ดร.ศุภธนกฤษ ยอดสละ 3. นางณัฏฐ์นัน ทุนดี 4. นายชุติพร ไวรวัจนกุล 5. นางธนินท์ธร ทองแม้น 6. นายทองนพคุณ อินธิเดช 7. นางสาวสมพร ไชยรัมย์ 8. นางสาวโสภา วงศ์ภักดี 9. นายคงคม สืบสิทธิ์ 10. นายธนาพล แจ้งสว่างศรี 11. นางภัทรารัตน์ ชิดชอบ 12. นางสาวจันทร์ทิพย์ ถนัดเพิ่ม 13. นายชัยยศ อุไรล้า
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
ผู้ประเมินอิสระ บุคคลภายนอก 1. ศาสตราจารย์ ดร.อลงกลด แทนออมทอง 2. ศาสตราจารย์ ดร.สุวิทย์ ธีรศาศวัต 3. รองศาสตราจารย์ ดร.รสรินทร์ พิมลบรรยงค์ 4. รองศาสตราจารย์ ดร.ธนิดา ผาติเสนะ 5. รองศาสตราจารย์ ดร.นิราศ จันทรจิตร 6. รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาท เนืองเฉลิม 7. รองศาสตราจารย์ ดร.ด้ารงฤทธิ์ วิบูลกิจธนากร 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน 9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤตฏ์ ชมภูวิเศษ 10. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนันท์ สีพาย 11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิรันดร คงฤทธิ์ 12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.หฤษฏ์สลักณ์ วิรยิ ะ 13. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วาสนา ภานุรักษ์ 14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สุทธิศกั ดิ์ แก้วแกมจันทร์
SRRU NCR2018
20. ดร.ภูวดล พลศรีประดิษฐ์ 21. ดร.ธรณิศ สายวัฒน์ 22. ดร.ประทีป กาลเขว้า 23. ดร.สุทิน ชนะบุญ 24. ดร.บุญทนากร บุญภักดี 25. ดร.จตุพร ผลเกิด 26. ดร.เกศรา แสนศิริทวีกลุ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มหาวิทยาลัยวงษ์เชาวลิตกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์สุพรรณบุรี ส้านักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร ขอนแก่น วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร ขอนแก่น ส้านักงานควบคุมโรคที่ ๖ จังหวัดขอนแก่น ส้านักงานควบคุมโรคที่ ๑๐ จังหวัดอุบลราชธานี ส้านักงานควบคุมโรคที่ ๑๐ จังหวัดอุบลราชธานี
บุคคลภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประชิต อินทะกนก 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สาคร พัวพันธ์ 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิคม ลนขุนทด 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อ้านวย วัฒนกรสิริ
คณะครุศาสตร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
15. อาจารย์ ดร.ทัศน์ศริ ินทร์ สว่างบุญ 16. อาจารย์ ดร.เพียงแข ภูผายาง 17. อาจารย์ ดร.ธัญญาลักษณ์ ชิดไธสง 18. อาจารย์ ดร.มะลิ โพธิพิมพ์ 19. ดร.เฉลียว เกตุแก้ว
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษณ์ ปิ่นทอง 6. อาจารย์ ดร.ตรีคม พรมมาบุญ 7. อาจารย์ ดร.ศุภธนกฤษ ยอดสละ 8. อาจารย์ ดร.สุรเชษฐ์ วงศ์ชัยประทุม 9. อาจารย์ ดร.สุรสิงห์ อารยางกูร 10. อาจารย์ ดร.กนกกานต์ ลายสนธิ์ 11. อาจารย์ ดร.ภาณุเมศวร์ สุขศรีศิริวัชร
SRRU NCR2018
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะครุศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ปาฐกถาพิเศษ ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา คุณวุฒิ - ปริญญาตรีเกียรตินิยมและปริญญาโท สาขาวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ - ปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมศาสตร์ จาก Imperial College of Science and Technology London University - ครุศาสตร์ดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย - ศึกษาศาสตร์ดุษฏีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตาแหน่งปัจจุบัน ผู้บริหารสูงสุดโรงเรียนสัตยาไส ประวัตกิ ารทางาน - อาจารย์ประจ้าคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - กรรมการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี - ผู้เชี่ยวชาญโครงการจรวดเพื่อใช้ในกิจการฝนเทียม สภาวิจยั แห่งชาติ - ปัจจุบันด้ารงต้าแหน่งผูบ้ ริหารสูงสุดโรงเรียนสัตยาไส จ.ลพบุรี งานด้านการเมือง - สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร 3 สมัย - เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ - รองประธานกรรมาธิการศึกษาสภาผู้แทนราษฎร - สมาชิกวุฒิสภา กรุงเทพมหานคร ผลงาน - ได้รับรางวัลทางวิทยาศาสตร์และศาสนาจากนายกรัฐมนตรีประเทศอังกฤษ - ร่วมโครงการอวกาศไวกิงขององค์การนาซ่า ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยออกแบบและสร้างอุปกรณ์ ควบคุมการร่อนลงของยานอวกาศไวกิง 2 ล้า สู่พืนดาวอังคาร - นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น สาขาสิ่งประดิษฐ์ที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติ ปี พ.ศ.2527 - รับพระราชทานเครื่องราชอิศริยาภรณ์ชันประถมาภรณ์ช้างเผือกและประถมาภรณ์มงกุฎไทย - ครูผู้สอนพระพุทธศาสนาดีเด่น จากส้านักพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2547 - นักปราชญ์ภูมิปัญญาไทย จากมหาวิทยาลัยนเรศวร ปี พ.ศ.2548 - รางวัลคุรุสดุดี วันครูโลก จากครุสภา กระทรวงศึกษาธิการ ปี พ.ศ. 2548 - รางวัลผู้อุทิศตนในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา จากมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ปี พ.ศ.2549 - รางวัลหนังสือวรรณกรรมเยาวชนดีเด่น อายุ 12-18 ปี จากหนังสือแนวทางแห่งความสุขปี พ.ศ.2550
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
- รางวัลรองศาสตราจารย์สังเวียน อินทรวิชัย บุคคลท้าดีเพื่อสังคม ด้านพัฒนาการศึกษา ปี พ.ศ.2552 - รางวัลเพชรสยาม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ปี พ.ศ. 2552 - รางวัล GUSI PEACE PRIZE สาขาสันติภาพ จากประเทศฟิลิปปินส์ ปี พ.ศ. 2554 - ผู้บ้าเพ็ญประโยชน์ในการพัฒนาจิต มอบโดยสภาชาวพุทธ ปี พ.ศ. 2554 - ผู้มีพุทธคุณุปการต่อพระพุทธศาสนา ระดับกาญจนาเกียรติคณ ุ คณะกรรมการศาสนา สภา ผู้แทนราษฎร - ท้าเนียบคนไทยที่มีความคิดสร้างสรรค์ด้านวิทยาศาสตร์และด้านการบริหาร จากส้านักพัฒนา สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข - รางวัล เชิดชูเกียรติ บุคคลผู้ปลุกหัวใจสังคมด้วยหัวใจโพธิสัตว์ โดยสเถียรธรรมสถาน ปี พ.ศ. 2557 - โล่เกียรติคุณ เด็กและเยาวชนดีเด่นแห่งชาติและผู้ท้าคุณประโยชน์ต่อเด็กและเยาวชน มอบโดยหม่อม ศรีรัศมิ์ ปี พ.ศ. 2558 - รับรางวัลครูขวัญศิษย์ ในงานพระราชทานรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี ครังที่ 1 ปี พ.ศ. 2558 - รางวัลบุคคลคุณภาพแห่งปี 2015 โดยมูลนิธสิ ภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558 - รางวัลครูเกียรติคณ ุ โดยสมาคมครุศาสตร์สัมพันธ์และคณะครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์ร่วมกับสถานีโทรทัศน์ ไทยทีวีสีช่อง 3 ปี พ.ศ. 2558 - รางวัลผู้ท้าคุณประโยชน์ให้แก่สา้ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน โดยส้านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน ปี พ.ศ. 2558 - รางวัล คนดีของสังคม โดยมหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ ปี พ.ศ. 2558 - ได้รับคัดเลือกเป็นครูแสนดี มีความตังใจปฏิบัติงาน และเป็นแบบอย่างที่ดี เนื่องในวันครูแห่งชาติ ประจ้าปี 2559 มอบโดย มูลนิธิ ดร.สุข พุคยาภรณ์ วันที่ 10 มกราคม 2559 - รางวัลผู้มีคณูปการต่อการศึกษาชาติ มอบโดยกระทรวงศึกษาธิการ วันที่ 16 มกราคม 2559 งานด้านการศึกษา - ผู้คิดค้นรูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการคุณค่าความเป็นมนุษย์ - คณะกรรมการเสริมสร้างคุณธรรมในระบบการศึกษาไทย ปี พ.ศ. 2549 - คณะอนุกรรมการบริหารโครงการคุณธรรมน้าความรู้ กระทรวงศึกษาธิการ - คณะกรรมการบริหารเครือข่ายการวิจัยทางการศึกษา : กรุงเทพมหานครและภาคกลาง ตอนล่าง - วิทยากร โครงการคุณธรรมน้าความรู้ : แนวทางเสริมสร้างคุณธรรมในระบบการศึกษา โดยอบรมครู ทั่วประเทศกว่า 26,000 คน จัดโดยส้านักเลขาธิการ สภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตังแต่เดือนมีนาคมกรกฎาคม ปี พ.ศ. 2550 - ที่ปรึกษากิตติมาศักดิ์ประจ้าคณะกรรมาธิการ ปี พ.ศ. 2551 - ผู้แต่งหนังสือคุณธรรมน้าความรู้ รูปแบบการเรียนการสอนแบบบูรณาการคุณค่าความเป็นมนุษย์ เพื่อเป็นคู่มือประกอบการอบรม โครงการคุณธรรมน้าความรู้ : แนวทางเสริมสร้าง คุณธรรมในระบบการศึกษา - วิทยากรบรรยายเกี่ยวกับเรื่องคุณธรรมน้าความรู้ให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ทั่วประเทศ - วิทยากรในงานมหกรรมการจัดความรู้แห่งชาติ ครังที่ 3
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
- อาจารย์พิเศษ ประจ้าคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี - กรรมการสอบเค้าโครงวิทยานิพนธ์ให้กับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ - ตัวแทน UN-HABITAT ประชุมกับรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการในประเทศกลุ่มอาเซียน - ผู้อ้านวยการโรงเรียนการศึกษาสัตยาไส ประเทศไทย โดยเป็นวิทยากรอบรมครูทั่วโลกตามรูปแบบการ เรียนการสอนคุณค่าความเป็นมนุษย์ - ผู้อ้านวยการสถาบันวารินทร์ศึกษา โดยได้รับความร่วมมือจากองค์การสหประชาชาติ เพื่ออบรมครูจาก ทั่วโลกเกี่ยวกับคุณธรรมกับน้า เนือ่ งจากวิกฤติเรื่องน้าในโลกทางออก ในการแก้ปัญหานันทุกคนจ้าเป็นที่จะต้องมี คุณธรรม โดยมี SEAMEO ให้การสนับสนุน ซึ่งปัจจุบันเริ่มจัดอบรมครูแล้วจากประเทศดังต่อไปนี จีน, ฟิลิปปินส์, ปีนงั , อินโดนีเซีย, อินเดีย และจะขยายต่อไปอีกในอนาคต - กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน จัดแต่งตังโดยกระทรวงศึกษาธิการตาม ประกาศส้านักนายกรัฐมนตรี ปี พ.ศ.2556 - ประธานกรรมการ โครงการตามรอยเกียรติยศครูผู้มีอุดมการณ์และจิตวิญญาณครู ปี พ.ศ.2557 และ ปี พ.ศ.2558 - อนุกรรมการ การส่งเสริมการศึกษาเอกชน ฝ่ายวิชาการ โรงเรียนประเภทสามัญศึกษา ค้าสั่งแต่งตัง คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ปี พ.ศ. 2558 - กรรมการผู้แทนองค์กรเอกชนและกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการการ ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานความร่วมมือการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ปี พ.ศ. 2558 งานด้านอื่น ๆ - วิทยากรบรรยายให้กับองค์กรต่าง ๆ ทั่วประเทศและทั่วโลก - ผู้ทรงคุณวุฒิในการก้าหนดแผนยุทธศาสตร์สังคมแห่งชาติ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์ - คณะกรรมการจัดท้าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนางานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อการศึกษา - ศิษย์เก่าเกียรติยศ จุลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะครุศาสตร์จุฬา ปี พ.ศ. 2553 - ศิษย์เก่าดีเด่นปี 2555 : VINCENT MARY AWARD โดย สมาคมศิษย์เก่าเซนต์คาเบรียล ปี พ.ศ.2555 - ศิษย์เก่าดีเด่น เซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ปี พ.ศ. 2557
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
~๑~
คำสั่งมหำวิทยำลัยรำชภัฏสุรินทร์ ที่ ๐๒๘๓ / ๒๕๖๑ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานโครงการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ ๑๓ --------------------------------------ด้วยโครงการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ได้จัดโครงการประชุมวิชาการ เสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ ๑๓ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๐ ในวัน ๒๑-๒๒ เมษายน ๒๕๖๑ ณ อาคาร ๔๑ ชั้น ๓ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ เพื่อให้การดาเนินโครงการดังกล่าว เป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพและบรรลุตามวัตถุประสงค์ อ้างถึงคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๒๙/๒๕๕๙ ลงวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๙ และคาสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สกอ.๑๐๔๓/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๖๐ อาศัย อานาจตามความในมาตรา ๓๑ แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. ๒๕๔๗ จึงแต่งตั้ง บุคคลต่อไปนี้เป็นคณะกรรมการดาเนินงานโครงการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ ๑๓ ดังนี้ ๑. คณะกรรมกำรอำนวยกำร ๑.๑ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ประธานกรรมการ ๑.๒ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ กรรมการ ๑.๓ ประธานสาขาวิชาระดับบัณฑิตศึกษาทุกสาขา กรรมการ ๑.๔ คณบดี ทุกคณะ กรรมการ ๑.๕ เลขานุการโครงการบัณฑิตศึกษา กรรมการและเลขานุการ ๑.๖ อาจารย์ ดร.ตรีคม พรมมาบุญ กรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ หน้ำที่ (๑) อานวยการและสนับสนุนการดาเนินงานให้เกิดความเรียบร้อย (๒) วินิจฉัย และตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ๒. คณะกรรมกำรดำเนินงำน ๒.๑ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ประชิต อินทะกนก ๒.๒ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สาคร พัวพันธ์
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
~๒~ ๒.๓ อาจารย์ ดร.ตรีคม พรมมาบุญ กรรมการ ๒.๔ อาจารย์ ดร.ศุภธนกฤษ ยอดสละ กรรมการ ๒.๕ นายชัยยศ อุไรล้า กรรมการ ๒.๖ นางธนินท์ธร ทองแม้น กรรมการ ๒.๗ นายชุติพร ไวรวัจนกุล กรรมการ ๒.๘ นายทองนพคุณ อินธิเดช กรรมการ ๒.๙ นางณัฏฐ์นัน ทุนดี กรรมการ ๒.๑๐ นางสาวสมพร ไชยรัมย์ กรรมการและเลขานุการ หน้ำที่ (๑) เตรียมวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการดาเนินงาน (๒) จัดทาระบบลงทะเบียนออนไลน์รับลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม ประสานงาน ระหว่างการประชุมในโครงการฯ (๓) ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมายจากประธานกรรมการอานวยการ ๓. คณะกรรมกำรฝ่ำยวิชำกำร ๓.๑ ศาสตราจารย์ ดร.อลงกลด แทนออมทอง ๓.๒ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อานวย วัฒนกรสิริ ๓.๓ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษณ์ ปิ่นทอง ๓.๔ ดร.ธรณิศ สายวัฒน์ ๓.๕ ศาสตราจารย์ ดร.สุวิทย์ ธีรศาศวัต ๓.๖ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.จิรายุ ทรัพย์สิน ๓.๗ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีรวัตร์ ภูระธีรานรัชต์ ๓.๘ รองศาสตราจารย์ ดร.ประกอบ คุปรัตน์ ๓.๙ อาจารย์ ดร.ศุภธนกฤษ ยอดสละ ๓.๑๐ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ประชิต อินทะกนก ๓.๑๑ อาจารย์ ดร.ตรีคม พรมมาบุญ ๓.๑๒ อาจารย์ ดร.โกศล สอดส่อง ๓.๑๓ อาจารย์ ดร.ณัฐสุรางค์ ปุคละนันทน์ ๓.๑๔ อาจารย์ ดร.อุบลวรรณ สุวรรณภูสิทธิ์ ๓.๑๕ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อดิศร เนาวนนท์ ๓.๑๖ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนม์ณัฐชา กังวานศุภพันธ์ ๓.๑๗ นางณัฏฐ์นัน ทุนดี หน้ำที่ (๑) ให้ข้อเสนอแนะกรรมการวิจัยประจาห้อง
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
~๓~ (๒) ประสานงานจัดวิทยากรที่จะวิพากษ์เสนอแนะงานวิจัยที่นาเสนอ (๓) เป็นวิทยากรบรรยาย อภิปราย ให้ความรู้และให้คาปรึกษาแนะนาตามที่ กาหนด (๔) ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมายจากประธานกรรมการอานวยการ ๔. คณะกรรมกำรคัดกรองงำนวิจัย ๔.๑ ศาสตราจารย์ ดร.อลงกลด แทนออมทอง ๔.๒ ศาสตราจารย์ ดร.สุวิทย์ ธีรศาศวัต ๔.๓ รองศาสตราจารย์ ดร.รสรินทร์ พิมลบรรยงค์ ๔.๓ รองศาสตราจารย์ ดร.ธนิดา ผาติเสนะ ๔.๔ รองศาสตราจารย์ ดร.นิราศ จันทรจิตร ๔.๖ รองศาสตราจารย์ ดร.ประสาท เนืองเฉลิม ๔.๗ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน ๔.๘ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อานวย วัฒนกรสิริ ๔.๙ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤตฏ์ ชมภูวิเศษ ๔.๑๐ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนันท์ สีพาย ๔.๑๑ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นิรันดร คงฤทธิ์ ๔.๑๒ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.หฤษฏ์สลักณ์ วิริยะ ๔.๑๓ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วาสนา ภานุรักษ์ ๔.๑๔ อาจารย์ ดร.ทัศน์ศิรินทร์ สว่างบุญ ๔.๑๕ อาจารย์ ดร.เพียงแข ภูผายาง ๔.๑๖ อาจารย์ ดร.ธัญญาลักษณ์ ชิดไธสง ๔.๑๗ อาจารย์ ดร.มะลิ โพธิพิมพ์ ๔.๑๘ อาจารย์ ดร.สุรเชษฐ์ วงศ์ชัยประทุม ๔.๑๙ อาจารย์ ดร.กนกกานต์ ลายสนธิ์ ๔.๒๐ อาจารย์ ดร.สุรสิงห์ อารยางกูร ๔.๒๑ อาจารย์ ดร.ภาณุเมศวร์ สุขศรีศิริวัชร ๔.๒๒ ดร.ภูวดล พลศรีประดิษฐ์ ๔.๒๓ ดร.ธรณิศ สายวัฒน์ ๔.๒๔ ดร.ประทีป กาลเขว้า ๔.๒๕ ดร.สุทิน ชนะบุญ ๔.๒๖ ดร.บุญทนากร บุญภักดี
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
~๔~ ๔.๒๗ ดร.จตุพร ผลเกิด ๔.๒๘ ดร.เกศรา แสนศิริทวีกุล ๔.๒๙ ดร.ดารงฤทธิ์ วิบูลกิจธนากร ๔.๓๐ ดร.เฉลียว เกตุแก้ว ๔.๓๑ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ประชิต อินทะกนก ๔.๓๒ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สาคร พัวพันธ์ ๔.๓๓ อาจารย์ ดร.ตรีคม พรมมาบุญ ๔.๓๔ อาจารย์ ดร.ศุภธนกฤษ ยอดสละ หน้ำที่ กลั่นกรองบทความทางวิชาการ และให้ข้อเสนอแนะ
กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๕. คณะกรรมกำรฝ่ำยจัดทำเอกสำรประกอบกำรประชุมพิจำรณำเสนอผลงำนวิจัย ๕.๑ อาจารย์ ดร.ตรีคม พรมมาบุญ ประธานกรรมการ ๕.๒ นางณัฏฐ์นัน ทุนดี กรรมการ ๕.๓ นายชุติพร ไวรวัจนกุล กรรมการ ๕.๔ นางธนินท์ธร ทองแม้น กรรมการ ๕.๕ นายทองนพคุณ อินธิเดช กรรมการ ๕.๖ นางสาวสมพร ไชยรัมย์ กรรมการ ๕.๗ นางสาวโสภา วงศ์ภักดี กรรมการ ๕.๘ นายคงคม สืบสิทธิ์ กรรมการ ๕.๙ นายธนาพล แจ้งสว่างศรี กรรมการ ๕.๑๐ นางภัทรารัตน์ ชิดชอบ กรรมการ ๕.๑๑ นางสาวจันทร์ทิพย์ ถนัดเพิ่ม กรรมการ ๕.๑๒ นายชัยยศ อุไรล้า กรรมการและเลขานุการ หน้ำที่ (๑) พิมพ์และเรียบเรียงเอกสาร Proceeding ให้ผู้เข้าร่วมประชุมในโครงการฯ (๒) รับรายงานตัวและแจกเอกสารการประชุม (๓) ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ที่ได้รับจากประธานกรรมการอานวยการ ๖. คณะกรรมกำรฝ่ำยประสำนงำนและสวัสดิกำร ๖.๑ นางธนินท์ธร ทองแม้น ประธานกรรมการ ๖.๒ นางณัฐฏ์นัน ทุนดี รองประธานกรรมการ ๖.๓ นายทองนพคุณ อินธิเดช กรรมการ ๖.๗ นางสาวสมพร ไชยรัมย์ กรรมการและเลขานุการ หน้ำที่ (๑) จัดอาหารว่างและเครื่องดื่มสาหรับวิทยากรและผู้เข้าร่วมประชุมในโครงการฯ
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
~๕~ (๒) จัดอาหารกลางวันสาหรับวิทยากรและ ผู้เข้าร่วมประชุมในโครงการฯ (๓) ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมายจากประธานกรรมการอานวยการ ๗. คณะกรรมกำรฝ่ำยโสตทัศนูปกรณ์และอำคำรสถำนที่ ๗.๑ อาจารย์ ดร.นุชจรี บุญเกต ประธานกรรมการ ๗.๒ อาจารย์ ดร.ตรีคม พรมมาบุญ รองประธานกรรมการ ๗.๓ อาจารย์ ดร.สมเกียรติ เพ็ชรมาก กรรมการ ๗.๔ นางเพ็ญศรี นวนิล กรรมการ ๗.๕ นางสุจิตร เนียมแก้ว กรรมการ ๗.๖ นายลาดวน อินทร์งาม กรรมการ ๗.๗ นางจีรนันท์ ยิ่งมี กรรมการ ๗.๘ นางลัดดา สุดกล้า กรรมการ ๗.๙ นางพิไลภรณ์ พันธ์วัน กรรมการ ๗.๑๐ นายณัฐพงศ์ อุตส่าห์ดี กรรมการ ๗.๑๑ นายพา จอกทอง กรรมการ ๗.๑๒ นางสุนันทา บุญเหมาะ กรรมการ ๗.๑๓ นายชุติพร ไวรวัจนกุล กรรมการและเลขานุการ ๗.๑๔ นายทองนพคุณ อินธิเดช กรรมการและ ผู้ช่วยเลขานุการ หน้ำที่ (๑) ประสานกับสถานที่จัดงานอบรมและเตรียมสถานที่ในโครงการฯ (๒) จัดเตรียมอุปกรณ์ ถ่ายภาพ และบันทึกวีดีทัศน์ (๓) ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมายจากประธานกรรมการอานวยการ ๘. คณะกรรมกำรฝ่ำยประชำสัมพันธ์และพิธีกำร ๘.๑ อาจารย์ณภัทชา ปานเจริญ ประธานกรรมการ ๘.๒ อาจารย์ศิริพร เกตุสระน้อย กรรมการ ๘.๓ อาจารย์สิริลักษณ์ วนพร กรรมการและเลขานุการ หน้ำที่ (๑) เตรียมการจัดประชาสัมพันธ์การดาเนินงาน โครงการประชุมวิชาการ (๒) จัดทาป้ายประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ (๓) ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมายจากประธานกรรมการอานวยการ ๙. คณะกรรมกำรฝ่ำยกำรเงิน ๙.๑ นางณัฏฐ์นัน ทุนดี
ประธานกรรมการ
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
~๖~ ๙.๒ นายชัยยศ อุไรล้า กรรมการ ๙.๓ นางธนินท์ธร ทองแม้น กรรมการและเลขานุการ หน้ำที่ (๑) ประสานกับคณะกรรมการฝ่ายดาเนินการและฝ่ายต่าง ๆ เพื่อเบิกจ่าย ค่าตอบแทนให้กับอาจารย์และบุคลากรทุกฝ่าย (๒) ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมายจากประธานกรรมการอานวยการ ๑๐. คณะกรรมกำรฝ่ำยประเมินผล ๑๐.๑ อาจารย์ ดร.ตรีคม พรมมาบุญ ประธานกรรมการ ๑๐.๒ นางณัฏฐ์นัน ทุนดี รองประธานกรรมการ ๑๐.๓ นางธนินท์ธร ทองแม้น กรรมการ ๑๐.๔ นางสาวสมพร ไชยรัมย์ กรรมการและเลขานุการ หน้ำที่ (๑) จัดทาแบบประเมินผล และสรุปผลการประเมินผลการจัดโครงการ (๒) ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมายจากประธานกรรมการอานวยการ ให้คณะกรรมการทุกฝ่าย ที่ได้รับแต่งตั้งปฏิบัติงาน ให้มีคุณค่า มีประสิทธิภาพและ เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ทางราชการ โดยเคร่งครัด ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วยความเสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต และเบิกค่าตอบแทนจากงบประมาณโครงการบัณฑิตศึกษา สั่ง ณ วันที่
เมษายน พ.ศ.๒๕61
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์กนก โตสุรัตน์) ปฏิบัติหน้าที่อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
กำหนดกำร โครงกำรประชุมวิชำกำรเสนอผลงำนวิจัยระดับชำติ ครั้งที่ 13 วันที่ 21-22 เมษำยน 2561 ณ อำคำร 41 (คณะครุศำสตร์) ชั้น 3 มหำวิทยำลัยรำชภัฏสุรินทร์ อ.เมือง จ.สุรินทร์ 32000 โทร/โทรสำร 0-4404-1597 วันที่ 21 เมษำยน 2561 เวลำ รำยกำร 08.00-08.30 น. ลงทะเบียนรับเอกสาร หน้าห้อง ณ อาคาร 41 (อาคารคณะครุศาสตร์) ชั้น 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 08.30-09.00 น. เลขานุการโครงการบัณฑิตศึกษา กล่าวต้อนรับและรายงานความ เป็นมาของโครงการ/ พิธีเปิด ประธานกล่าวเปิดงาน โดย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์กนก โตสุรัตน์ ปฏิบัติหน้าที่อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 09.00-10.00 น วิทยากรบรรยายพิเศษ โดย ดร.อาจอง ชุมสาย ณ อยุธยา 10.00-10.20 น. พักรับประทานอาหารว่าง ณ อาคาร 41 (อาคารคณะครุศาสตร์) ชั้น 3 10.20-12.00 น. นาเสนอผลงานวิจัยแยกตามสาขา กลุ่มศึกษาศาสตร์และครุศาสตร์ ห้องช้างเผือก กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และบริหารธุรกิจ ห้องช้างแดง กลุ่มวิทยาศาสตร์ เกษตร สิ่งแวดล้อม สาธารณสุขและเทคโนโลยี ห้องช้างกระ นาเสนอโปสเตอร์ ลานชั้น 1 อาคาร 41 12.00-13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00-14.30 น. นาเสนอผลงานวิจัยแยกตามสาขา (ต่อ) กลุ่มศึกษาศาสตร์และครุศาสตร์ ห้องช้างเผือก กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และบริหารธุรกิจ ห้องช้างแดง กลุ่มวิทยาศาสตร์ เกษตร สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี ห้องช้างกระ นาเสนอโปสเตอร์ ลานชั้น 1 อาคาร 41 14.30-14.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง ณ อาคาร 41 (อาคารคณะครุศาสตร์) 14.45-17.00 น. นาเสนอผลงานวิจัยแยกตามสาขา (ต่อ) นาเสนอโปสเตอร์ อาคาร 41 ชั้น 1
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
วันที่ 21 เมษำยน 2561 (ต่อ) เวลำ รำยกำร 17.30-21.00 น. เลี้ยงอาหารเย็น และพิธีมอบโล่รางวัลผู้นาเสนอผลงานดีเด่น ห้อง ช้างเผือก ชั้น 3 อาคาร 41 วันที่ 22 เมษำยน 2561 เวลำ รำยกำร 08.00-08.30 น. ขึ้นรถ ณ บริเวณอาคารครุศาสตร์ 08.30-12.00 น. เข้าศึกษาดูงาน เยี่ยมชมโครงการในพระราชดาริ ซแรย์อาทิตยา อ.เมือง 12.00-13.00 น. จ.สุรินทร์ 13.00-16.30 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน เดินทางไปจังหวัดบุรีรัมย์ เพื่อทัศนศึกษาเยี่ยมชม I-Mobile และ สนามแข่งรถ Chang International Circuit อ.เมือง จ.บุรีรัมย์
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ภาคโปสเตอร์ กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ลำดับ SCIEPP-01
ชื่อ-สกุล สุธิดา เชื้อบุญ, สุทธิกานต์ ศรีสวัสดิ์ และ ปิยะรัตน์ ศรีสว่าง
SCIEPP-02
วราภรณ์ จันทร์เวียง, จักรี วิชัยระหัด, สุพัตรา บุตรเสรีชัย ณัฐพงศ์ แพทย์สันเทียะ อมรรัตน์ ขจร
SCIEPP-03
SCIEPP-04 SCIEPP-05
วรรณา สายแก้ว และ วุฒิกร สายแก้ว ฐพัชร์ คันศร และ นภาพร เหลืองมงคลชัย
SCIEPP-06
สิทธิ กุหลาบทอง และ ราชิต เพ็งสีแสง
SCIEPP-07
สุชาติ ดุมนิล สุรเชษฐ์ วงศ์ชัยประทุม เที่ยงธรรม สิทธิจันทเสน อัษฎา วรรณกายนต์ และ นิคม ลนขุนทด เที่ยงธรรม สิทธิจันทเสน นิคม ลนขุนทด อัษฎา วรรณกายนต์ สุรเชษฐ์ วงศ์ชัยประทุม และสุชาติ ดุมนิล
SCIEPP-08
เรื่อง ผลการทางานร่วมกันของสาร CAPSAICIN และ RESVERATROL ต่อการเหนี่ยวนาการตายแบบ APOPTOSIS ผ่านขบวนการยับยั้งการสร้างไขมันชนิด DE NOVO ในเซลล์มะเร็งตับ HEPG2 การลดความสูญเปล่าในกระบวนการผลิต
หน้ำ 2
ประสิทธิผลโปรแกรมสุขศึกษาในการประยุกต์ใช้การสร้าง เสริมทักษะชีวิตกับแรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อการป้องกัน การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้นในโรงเรียนแห่งหนึ่งในตาบลบ้านเลื่อม อาเภอ เมือง จังหวัดอุดรธานี ประสิทธิภาพการบาบัดน้าเสียจากร้านอาหารด้วยแกลบ แบบคอลัมน์ ผลของโปรแกรมการคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะ วิกฤติของนิสิตชั้นปีที่1 คณะพยาบาลศาสตร์ บุรีรมั ย์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น การสารวจเบื้องต้นของความหลากหลายของพรรณปลา เศรษฐกิจ และการทาประมงในพืน้ ที่อ่างเก็บน้า ห้วยสังเคียบ อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์
21
ปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วย ARDUIUNO
76
12
33 40
51
60
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
ลำดับ SCIEPP-09
SCIEPP-10 SCIEPP-11
ชื่อ-สกุล ประกายสิทธิ์ เจริญบุญ, จาณียา ขันชะลี และ อรุณ จันทร์คา สมหญิง ฤทธิ์ลือไกร สุรเชษฐ์ วงศ์ชัยประทุม, มานะชัย จันทอก และ แดงน้อย ปูสาเดช
SRRU NCR2018
เรื่อง การศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระ ปริมาณสารประกอบ ฟินอลิกทั้งหมด และการยับยั้ง เอนไซม์ไทโรซิเนสของ สารสกัดจากหนามแดง ปัจจัยที่มีความพันธ์กับความเหงาของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ ตามลาพัง ระบบการใช้งานสื่อสารสนเทศและสังคมออนไลน์ในการ พัฒนางานด้านวิชาการของคณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
หน้ำ 94
103 113
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ภำคโปสเตอร์ กลุ่มมนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ บริหำรธุรกิจ ลำดับ HSBP-01 HSBP-02 HSBP-03
ชื่อ-สกุล กัญทิมา ทองหล่อ นิภาพร อยู่สุ่ม และ พิษณุ บุญนิยม อุดมพงษ์ เกศศรีพงษ์ศา และ ผกามาศ มูลวันดี
HSBP-04
ยุวดี จันทะวงษ์ และ ชุติมา นาคประสิทธิ์
HSBP-05
สุภิญญา เรือนแก้ว
เรื่อง ประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านตะคร้อ พ.ศ. 2469-2559 การบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบล วังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มตี ่อการให้บริการของ องค์การบริหารส่วนตาบลศรีภูมิ อาเภอกระสัง จังหวัด บุรีรัมย์ ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบ ภายในกับประสิทธิผลการตรวจสอบภายในของ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม การใช้คาบุพบท “对” กับ “对于” ของนักศึกษา สาขาวิชาการสอนภาษาจีนคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
หน้ำ 142 133 150
162
171
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ภาคโปสเตอร์ กลุ่มครุศาสตร์และศึกษาศาสตร์ ลำดับ EDUP-01
ชื่อ-สกุล สุพิชญนันทน์ ถือชัย พนา จินดาศรี และพานชัย เกษฎา
EDUP-02
ปวีสุดา ศรีสระคู
EDUP-03
วิภาวรรณ บุญรอด อุดม หอมคา ขจรศักดิ์ สงวนสัตย์ จุฑาทิพย์ ดาทอง ชาตรี เกษโพนทอง อิทธิวัตร ศรีสมบัติ เทิดพงษ์ บุญตน พนา จินดาศรี
EDUP-04
EDUP-05
EDUP-06
ศรินยา ว่องไว
EDUP-07
ชยานันต์ สงวนศรี อิทธิวัตร ศรีสมบัติ วิลาส โพธิสาร
EDUP-08
วิทยา น้อยสุวรรณ เพียงแข ภูผายาง ชุติกาญจน์ ปกติ เพียงแข ภูผายาง
EDUP-09
เรื่อง ผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน กลุ่ม สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับวิธีการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้ แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) ผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม กลุม่ สาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบ เสาะหาความรู้ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
หน้ำ 179
ประสิทธิของผลการเตรียมพร้อมสูป่ ระชาคมอาเซียนโรงเรียน ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ผลการจัดการเรียนรู้ หลักธรรมนาความสุข กลุม่ สาระการ เรียนรูส้ ังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD ผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่ม สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการ เรียนรู้แบบซิปปาโมเดล กระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป ร่วมกับการจัดการ เรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ปัญหาการดาเนินงานด้านการกีฬาขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นในจังหวัดขอนแก่น ประสิทธิผลการบริหารงานโรงเรียนวิถีพุทธในสถานศึกษาสังกัด ของรัฐของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30
224
195
212
234
245
255
269 275
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
ลำดับ EDUP-10
EDUP-11
ชื่อ-สกุล เกวลี เกรัมย์ ธนิก คุณเมธีกุล ธีรศักดิ์ อินทรมาตย์ ฐิติณัฐ ปรุงชัยภูมิ เพียงแข ภูผายาง
EDUP-12
ภาสกร หมื่นสา เพียงแข ภูผายาง
EDUP-13
ศุกลภัทร บุญอยู่ เพียงแข ภูผายาง
EDUP-14
กชกร พินิจมนตรี
EDUP-15
ทรงเดช สอนใจ
EDUP-16
อภิสิทธิ์ ชารัมย์ ดุรงค์ฤทธิ์ เอกวงษา พงศ์ปณต พลแดง สาคร พัวพันธ์ อัษฎา วรรณกายนต์ และคณะ
EDUP-17
EDUP-18
ปรียาภรณ์ อ่อนกัณหา ทรงศักดิ์ สองสนิท
EDUP-19
กนกวรรณ ฝ่ายสิงห์ ศิริลักษณ์ หวังชอบ พิเชษฐ์ ระคนจันทร์ ศิริลักษณ์ หวังชอบ
EDUP-20
SRRU NCR2018
เรื่อง การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสถานศึกษาสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17
หน้ำ 281
ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการกับประสิทธิผลการ ปฏิบัติงานของครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 30 ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับการ ปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครูใน โรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 ปัญหาและข้อเสนอแนะการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานใน การพัฒนาท้องถิ่น (SBMLD) ของโรงเรียนสังกัดองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดชัยภูมิ การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนSTEAM Education เพื่อ พัฒนาทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง วัสดุงานช่างอุตสาหกรรม สาหรับนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา จังหวัดสุรินทร์ ความต้องการศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตร ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ การพัฒนาบทเรียนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน วิชาโปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพ สาหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เรื่อง เรื่องอาหารและ โภชนาการชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน เรื่อง การค้นหา ข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมี คุณธรรมและจริยธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
291
302
313
323
339
352
368
384
396 406
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
ลำดับ EDUP-21
ชื่อ-สกุล ระพี ลุนลาว ดาเกิง โถทอง พานชัย เกษฎา
SRRU NCR2018
เรื่อง การศึกษาสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐาน วิชาชีพครูของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
หน้ำ 416
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
ภาคโปสเตอร์ กลุ่ม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1
SRRU
NCR2018
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
SCIEPP-01 ผลการทางานร่วมกันของสาร CAPSAICIN และ RESVERATROL ต่อการเหนี่ยวนาการตาย แบบAPOPTOSIS ผ่านขบวนการยับยั้งการสร้างไขมันชนิด DE NOVO ในเซลล์มะเร็งตับ HEPG2 COMBINATION OF CAPSAICIN AND RESVERATROL INDUCES APOPTOSIS MEDIATED THROUGH DE NOVO LIPOGENESIS INHIBITION IN HEPATOCELLULAR CARCINOMA CELL LINE สุธิดา เชื้อบุญ1, สุทธิกานต์ ศรีสวัสดิ์2 และปิยะรัตน์ ศรีสว่าง3 1
ภาควิชาสรีรวิทยา คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร piyarats@nu.ac.th คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2
บทคัดย่อ ปัจ จุบั นยาเคมี บาบั ดหลายตั วถู กน ามาใช้ ร่ว มกั นเพื่ อลดผลข้ างเคี ย งของยาในการรัก ษาโรคมะเร็ ง อย่างไรก็ตามก็ยังไม่มีความจาเพาะต่อแค่เซลล์มะเร็งอย่างเดียว สารต้านมะเร็งที่มีความจาเพาะต่อเซลล์มะเร็งจึง ยังคงมีความต้องการอยู่ การเพิ่มขึ้นของกระบวนการสร้างไขมันชนิด de novo lipogenesis (DNL) ถูกพบใน เซลล์มะเร็งหลายชนิดเมือ่ เทียบกับเซลล์ปกติ DNL เป็นกระบวนการที่สาคัญสาหรับการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง สารแคปไซซินและ เรสเวอราทรอล เป็นสารสกัดธรรมชาติ ประเภทสารประกอบสารประกอบฟีนอลิกที่มีงานวิจัย ก่อนหน้าพบมีฤทธิ์ในการเป็นสารต้านมะเร็งที่ไม่พบผลข้างเคียงแกเซลล์อื่นๆของร่างกาย ดังนั้นในงานวิจัยครั้งนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการทางานร่วมกันของสารcapsaicin และ resveratrolต่อการเหนี่ยวนาการตายแบบ apoptosis ผ่านขบวนการยับยั้งการสร้างไขมันชนิด de novo ในเซลล์มะเร็งตับ HepG2 ทาการทดลองโดยการให้ สารcapsaicinร่วมกับ สารresveratrol พบว่าสามารถลดการแบ่งตัวและกระตุ้นการตายแบบapoptosisผ่าน ทางการลดศักย์ไฟฟ้าบนเยื้อหุ้มไมโตคอนเดรีย ในเซลล์มะเร็งตับ HepG2 ซึ่งไม่พบพิษต่อเซลล์ตับปกติ มากไปกว่า นั้นพบว่าสาร capsaicinร่วมกับ สารresveratrol ลดการแสดงออกของเอนไซม์ fatty acid synthesis (FASN) งานวิจัยนี้จึงสรุปได้ว่าผลร่วมกันของสารcapsaicin และ resveratrol สามารถเหนี่ยวนาการตายในเซลล์มะเร็งอย่าง จาเพาะ ผ่านขบวนการยับยั้งการสร้างไขมันชนิด de novo lipogenesis คำสำคัญ : แคปไซซิน; เรสเวอราทรอล; อะพอพโทซิส; de novo lipogenesis (DNL); เซลล์มะเร็งตับ HepG2 Abstract Various combination of chemotherapeutic drugs have been used for treatment of cancers in order to reduce toxicity in non-cancer cells. However, these therapeutic approaches still have nonspecific effect to cancer cell. New anticancer agents with selective to cancer cells have been remarkably considered. Many cancers exhibit overexpressed de novo lipogenesis (DNL) pathway while normal cell shows relatively less expression. DNL pathway exerts an important function for cancer growth and proliferation. Capsaicin and resveratrol, phenolic compounds from
2
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
natural plant extracts, have strong anticarcinoma effects with lack of cytotoxic to normal cell. Therefore, present study aimed to focus on effects of combined capsaicin and resveratrol on promoted DNL inhibition leading to apoptosis in HepG2 cells. Combined treatment increased cell apoptosis via reduction of mitochondrial membrane potential. This cytotoxic effect was undetectable in normal human hepatocytes. Furthermore, combined treatment decreased fatty acid synthase (FASN) expression. We therefore suggest that DNL pathway appears to target for apoptosis induction of combined treatment in HepG2 cells. Taken together, combination of capsaicin and resveratrol exerts a potential and selective effect on cancer therapy though inducing apoptosis mediated via DNL pathway inhibition. Keywords : Capsaicin; Resveratrol; Apoptosis; De novo lipogenesis; HepG2 cells บทนา Hepatocellular carcinoma (HCC) เป็นมะเร็งชนิด primary ที่พบได้บ่อยที่สุดของเซลล์ตับ พัฒนามา จาก โรคalcoholic liver cirrhosis หรือ จากการติดเชื้อไวรัส เช่น ไวรัสตับอักเสบB และ ไวรัสตับอักเสบC (Janevska, Chaloska-Ivanova, & Janevski, 2015) HCC เป็นมะเร็งที่เป็นพบเป็นอันดับที่5 แต่เป็นสาเหตุของ การเสียชีวิตอันดับ 2ของในโรคมะเร็งจากทั่วโลก ยาเคมีบาบัด เช่น doxorubicin ซึ่งเป็นยาที่ใช้รักษาผู้ป่วย โรคมะเร็งHCC อย่างไรก็ตามพบว่ายาเคมีบาบัดนั้นก็ยังส่งผลกระทบโดยการทาลายเซลล์ปกติของร่างกาย(S. Lin, Hoffmann, & Schemmer. 2012) ดังนั้นการศึกษาหาสารต้านมะเร็งใหม่ๆที่มีประสิทธิภาพในรักษาและมี ความจาเพาะต่อเซลล์มะเร็งจึงมีความต้องการอย่างมาก De novo lipogenesis (DNL) เป็นกระบวนการสร้างไขมันที่เริ่มจากcitrateจาก TCA cycle ภายในไม โตคอนเดรียออกสู่ไซโตพลาสซึม จากนั้นcitrate จะถูกเอนไซม์ ACLY เปลี่ยนให้เป็น acetyl-coA acetyl-coA ถูก เปลี่ยนเป็น malonyl-coA ด้วยACC ไขมันที่ได้จากกระบวนการนี้จะได้จากการที่เอนไซม์FASN ทาหน้าที่สร้างจาก malonyl-coA (Santos & Schulze, 2012) ให้เป็นไขมัน16คาร์บอนนั้นคือ palmitate ซึ่ง palmitateนี้จะ สามารถถูกเปลี่ยนไปเป็นโครงสร้างโมเลกุลที่ซับซ้อนขึ้น เช่นการเปลี่ยนเป็น MUFAที่เป็นส่วนประกอบที่สาคัญใน การสร้างผนังเซลล์ (Currie, Schulze, Zechner, Walther, & Farese, 2013) มากไปกว่านั้น palmitate ยังถูก นาไปสร้างพลังงานที่จาเป็นแกเซลล์มะเร็ง โดยผ่าน palmitate ถูกเปลี่ยนเป็น FA-acylCoA ซึ่งจะถูกขนส่งเข้าไม โตคอนเดรียและสลายให้ได้เป็นพลังงานโดยกะบวนการสลายไขมัน B-oxidation (Biswas, Lunec, & Bartlett, 2012; Currie et al., 2013; Peck & Schulze, 2016) งานวิจัยที่ผ่านมาเคยมีการรายงานว่า DNL เป็นเป็น กระบวนการที่จะเป็นเป้าหมายใหม่ของยารักษาโรคมะเร็ง มะเร็งหลายชนิดพบมีไขมัน (long chain saturated fatty acid, LCFA) ถูกสร้างจากกระบวนการนี้มากกว่าเซลล์ปกติจากการมีแสดงออกของเอนไซม์ใน DNL เพิ่มมาก ขึ้น (Santos & Schulze. 2012) LCFA ลดลงได้ในมะเร็งโดยการยับยั้งการทางานของเอนไซม์ ACC และ พบว่ามี ความสัมพันธ์ต่อการลดลงของการแบ่งตัวและการเกิดการตายแบบ apoptosis (Jones et al., 2017) ดังนั้นจะเห็น ได้ว่า DNL มีบทบาทสาคัญต่อการแบ่งตัวของมะเร็ง ซึ่งเป็นเป้าหมายใหม่ที่มีประสิทธิภาพสาหรับการศึกษาค้นคว้า ยารักษาโรคมะเร็งต่อไปในอนาคต
3
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ทั้งสาร Capsaicin และresveratrol เป็นสารที่สกัดมาจากพริกแดงและองุ่นตามลาดับ (Chapa-Oliver & Mejia-Teniente, 2016; Ferraz da Costa, Fialho, & Silva, 2017) พืชทั้ง2เป็นพืชที่พบได้แพร่หลาย Capsaicinเป็ น สารที่ มี ก ารศึ ก ษาว่ า มี ฤ ทธิ์ ใ นการเป็ น สารต้ า นอนุ มู ล อิ ส ระ ต้ า นการอั ก เสบ และลดความอ้ ว น (Chapa-Oliver & Mejia-Teniente. 2016) มากไปกว่านั้นยังเคยมีการศึกษาผลของCapsaicinในการเป็นยารักษา โรคมะเร็ง (Huang et al., 2009; Krizanova, Steliarova, Csaderova, Pastorek, & Hudecova, 2014; Liu et al., 2016) โดยพบว่าสามารถลดอัตราการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็งและกระตุ้นให้เซลล์มะเร็งตายแบบapoptosis ผ่านหลายกลไก เช่น การเพิ่มระดับCa2+ (Moon et al., 2012) การเพิ่มระดับROS (Zhang, Humphreys, Sahu, Shi, & Srivastava, 2008) ในการทดลองหลายเซลล์มะเร็ง และยังพบว่ามีความสัมพันธ์ในการลดการ แสดงออกของDNL ซึ่งนาไปสู่การตายแบบapoptosis ในHCC (Impheng, Pongcharoen, Richert, Pekthong, & Srisawang, 2014) Resveratrol สามารถกระตุ้นการตายแบบapoptosisเช่นกันโดยผ่านกลไกที่ยังไม่ทราบ ชัดเจน ทั้งนี้สารทั้ง2 นั้นไม่พบการรายงานผลกระทบต่อเซลล์ปกติ (Impheng et al., 2014; Y. T. Lin et al., 2017; Vanamala, Radhakrishnan, Reddivari, Bhat, & Ptitsyn, 2011) จึงอาจมีความจาเพาะต่อเซลล์มะเร็ง ดังนั้นจึงต้องการที่จะนา2สารนี้มาศึกษาผลร่วมกันในการเป็นยารักษาโรคมะเร็งที่มีความจาเพาะ วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อ ศึก ษาระดั บภาวะผู้น าแบบประชาธิ ปไตยของโรงเรี ยนประถมศึก ษา สังกัดส านั กงานเขตพื้น ที่ ประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3 วิธีดาเนินการวิจัย 1. เพาะเลี้ยงเซลล์ เซลล์ HepG2 จากบริษัท American Type Culture Collection เพาะเลี้ยงใน Eagle’s Minimum Essential Medium (EMEM) ที่มี10% fetal bovine serum (FBS) และ 1% penicillin-streptomycin ภายใต้ ตู้อบอุณหภูมิ 37°C ภายใต้บรรยากาศ 5% CO2 และความชื้น 95% ทาการเปลี่ยน media ทุกๆ 2 วัน เซลล์ Human Hepatocyte ได้รับมาจาก ศ.ดร. Lysiane Richert ผู้ซึ่งเป็น Scientific Director ของ KaLy-Cell ถูกเลี้ยงใน Human Hepatocyte Maintenance Medium ที่มี 0.1 M DEX, 50 mg/l gentamicin, 4 mg/l insulin, และ 5% fetal calf serum ภายใต้ตู้อบอุณหภูมิ 37°C ภายใต้บรรยากาศ 5% CO2 และความชื้น 95% 2. ตรวจสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ เซลล์ HepG2 และ Human Hepatocyte ถูกเพาะเลี้ยงใน 96-well plates จานวน 3×104 เซลล์/ well เป็นเวลา24 ชั่วโมง ทาการให้สารcapsaicin และ resveratrolร่วมกันในความเข้มข้นต่างๆ หลังจากนั้น 24 ชั่วโมงทาการบ่มด้วย 5 mg/ml ใน 3-(4,5-dimethylthiazol-2-yl)-2,5-diphenyltetrazolium bromide (MTT)(Amresco, USA) ในสารลาย phosphate buffer (PBS) เป็นเวลา4ชั่วโมง โดยเซลล์ที่มีชีวิตจะ เปลี่ยน MTT จากสีเหลือง เป็น ผลึกformazanที่มีสีม่วง เมื่อนามาละลายผลึกสาร formazan ด้วย Dimethyl sulfoxide (DMSO) และนาไปวัดค่าดูดกลืนแสงที่ 595 nm ด้วยเครื่องmicroplate reader (Synergy HT Multi-Mode, BioTek® Instruments, Inc, USA)
4
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
3. ตรวจสอบ apoptosis rate เซลล์HepG2 1×106 เซลล์ ถูกเลี้ยงในจานเพาะเลี้ยงขนาด35 ม.ม.เป็นเวลา24ชั่วโมง จากนั้นให้สาร capsaicin และ resveratrolร่วมกันในความเข้มข้น capsaicin 0.3 mM และ resveratrol 0.1 mM เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นทาการย้อมด้วยสี Alexa Fluor 488 annexin V และ PI (Life Technologies, Invitrogen, NY, USA) เป็นเวลา 15 นาที จากนั้นทาการตรวจวัดอัตราapoptosis ด้วยเครื่อง FACSCalibur flow cytometer และ คานวนด้วย CellQusetPro software (Mac® OS 9, BD Biosciences, USA) 4. ตรวจสอบ mitochondrial membrane potential เซลล์HepG2 3×105 เซลล์ ถูกเลี้ยงในจานเพาะเลี้ยงขนาด24-well plates เป็นเวลา24ชั่วโมง จากนั้น ให้สารcapsaicin และ resveratrolร่วมกันในความเข้มข้น capsaicin 0.3 mM และ resveratrol 0.1 mM เป็น เวลา24ชั่วโมง และทาการเก็บเซลล์ย้อมด้วยสี with 5,5′,6,6′- tetrachloro-1,1′,3,3′- tetraethylbenzimidazolylcarbocyanine iodide (JC-1) (Life Technologies, Thermo Scientific, NY, USA) ) ภายใต้ตู้บ่ม 37°C, 5% CO2 เป็นเวลา45 นาที และวัด ∆ m ของ เซลล์ HepG2 ด้วยเครื่อง FACSCalibur flow cytometer และคานวนด้วย CellQusetPro software 5. วัด BCL2 activity เซลล์HepG2 1×106 เซลล์ ถูกเลี้ยงในจานเพาะเลี้ยงขนาด35 ม.ม.เป็นเวลา24ชั่วโมง จากนั้นให้สาร capsaicin และ resveratrolร่วมกันในความเข้มข้น capsaicin 0.3 mM และ resveratrol 0.1 mM เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นวัดการทางาน Bcl-2 โดยใช้ Muse Bcl-2 activation dual detection kit (MCH200105; EMD Millipore, Germany) 6. วัดการแสดงออกของโปรตีน เซลล์HepG2 2×106 เซลล์ ถูกเลี้ยงในจานเพาะเลี้ยงขนาด 60 ม.ม.เป็น24 ชั่วโมงจากนั้นให้สาร capsaicin และ resveratrolร่วมกันในความเข้มข้น capsaicin 0.3 mM และ resveratrol 0.1 mM เป็นเวลา24 ชั่วโมง ทาการสกัดโปรตีนด้วย Mammalian Protein Extraction Reagent (MPER) (Thermo Scientific, Rock ford, IL, USA) และวัดความเข้มโปรตีนด้วยชุด bicinchoninic acid (BCA) protein assay kit (Thermo Scientific, Rock ford, IL, USA) โปรตีนถูกแยกขนาดโดย8% SDS-PAGE จากนั้นย้ายลงใส่ polyvinylidene difluoride (PVDF) membranes และ block nonspecific ด้วย rapid block solution (AMRESCO, Solon, OH, USA) และทาการบ่มด้วย primary antibody ต่อตัวโปรตีนที่สนใจได้แก่ anti- Acetyl-CoA carboxylase (ACC) (Merck Millipore, Germany), and anti-ATP-citrate lyase (ACLY) (Cell Signaling Technology Inc., USA) ใน 4 °C ทิ้งไว้ข้ามคืน และบ่มต่อด้วย secondary antibody คือ goat anti-Rabbit IgG (Life Technologies, invitrogen, NY, USA) ที่มีเอนไซม์ horseradish peroxidaseติดอยู่เป็นเวลา2 ชั่วโมง และวัดการแสดงออก โปรตีนโดยการเติม substrateของเอนไซม์ horseradish peroxidase ด้วย Novex ECL chemiluminescent substrate reagent kit (Life Technologies, invitrogen, NY, USA) และตรวจสอบแบนโปรตีนด้วย CCD camera (ImageQuant LAS 4000) 7. สถิติที่ใช้ในงานวิจัย ผลการทดลองแสดงในรูปค่าเฉลี่ย ±ค่าคลาดเคลื่อนมาตรฐาน และวิเคราะห์ทางสถิติด้วย one-way analysis of variance (ANOVA)
5
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ผลการวิจัย
ภาพที่ 1 ผลการทางานร่วมกันของ capsaicinและ resveratrol ต่ออัตราการรอดชีวิตของเซลล์ HepG2 cells และnormal human hepatocytes ข้อมูลการรอดชีวิตของเซลล์แสดงออกมาในรูปเปอเซนต์ เปรียบเทียบกับกลุ่ม vehicle ที่ให้ 0.2% DMSO เพียงอย่างเดียว อัตราการการรอดชีวิตของ hepG2 กลุ่มที่ให้ capsaicin (A), อัตราการมีชีวิตของกลุ่มที่ให้ resveratrol(B), อัตราการมีชีวิตของกลุ่มที่ให้สารทั้ง 2 ร่วมกัน (C) และอัตราการการรอดชีวิตของ human hepatocytes ผลการทดลองแสดงด้วยค่า means ± SD, n = 3, *p≤0.05 เทียบกับกลุ่มควบคุม, # p≤0.05 เทียบกับกลุ่มที่ให้สารร่วมความเข็มข้นครึ่ง IC50 ของแต่ละสาร 1. ผลcapsaicin ร่วม resveratrol มีผลต่อการลดลงของการรอดชีวิตของเซลล์ HepG2 แต่ไม่มีผลต่อ human hepatocytes ความเป็นพิษต่อเซลล์ของสาร capsaicin , resveratrol และแบบให้สาร 2 สารร่วมกัน ต่อ เซลล์ HepG2 ถูกตรวจสอบหลังจากให้สารไป 24 ชั่วโมง โดยการบ่มด้วยสาร MTT แสดงในรูปภาพที่ 1 พบว่า Capsaicin, resveratrol มีผลในการยับยั้งอัตราการอยู่รอดของเซลล์ HepG2 ซึ่งมีค่า IC50 ของสารอยู่ที่ capsaicin และ resveratrol 0.4 mM และ 0.2 mM ตามลาดับ พวกเรายังได้ทาการให้สารทั้ง 2 ชนิดร่วมกัน เพื่อลดโดส ของสารที่ให้ ในรูปภาพที่ 1C เราใช้โดสครึ่งหนึ่งของ IC50 ในแต่ละสาร ซึ่งเราคาดหวังว่าผลต่อเซลล์จะทาให้แซลล์ มีอัตราการรอดชีวิตต่ากว่า 50% จากการรวมแปอเซนของ cell death ที่ ครึ่งหนึ่งของ IC50 capsaicin (17.15±0.38%) และ resveratrol (33.19±3.58%) ตามที่คาดไว้ ผลต่อเซลล์ของcapsaicinและ resveratrolที่ให้ ร่วมกันของครึ่งหนึ่งของIC50 พบว่าสามารถมีผลในการทาให้เซลล์ตาย47.00±3.40%. มากกว่านี้เรายังวัดอัตรามี ชีวิตของเซลล์โดยการไล่โดสเพิ่มและลดจากครึ่งหนึง่ ของ IC50ของแต่สาร โดย fix โดสอีกสารหนึง่ ไว้ ผลการทดลอง พบว่าอัตรารอดชีวิตของเซลล์นั้นลดและเพิ่มตามโดสที่ให้ ดังนั้นจึงชี้ให้เห็นว่าทั้งcapsaicin และresveratrol ทั้ง 2 มีบทบาทร่วมกันในการกระตุ้นการตายของเซลล์ hepG2 ผลของ สารcapsaicin, resveratrol และแบบให้สาร 2 สารร่วมกัน ต่อ human hepatocytes พบว่าเมื่อให้สารไป24ชั่วโมง และตรวจสอบการตายของเซลล์ด้วย MTT
6
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
พบดังรูป 1D ว่าผลของ สารcapsaicin , resveratrol และแบบให้สาร 2 สารร่วมกัน ไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์ อย่างมีนัยสาคัญ 2. ผลของการทางานร่วมกันของสาร capsaicin และ resveratrol ต่อกระบวนการ apoptosis ของเซลล์ HepG2
ภาพที่ 2 ผลcapsaicin ร่วม resveratrol มีผลต่อกระตุ้น apoptosis ของ HepG2 หลังให้สารไปเป็น เวลา 24 ชั่วโมง เปรียบเทียบกับกลุ่ม vehicle ที่ให้ 0.2% DMSO เพียงอย่างเดียว Apoptosis ถูกตรวจสอบด้วย เทคนิค flow cytometry แสดงออกในรูป (2A) และคานวนเป็นเปอเซนต์ของเซลล์ทั้งหมดในภาพ 2B, การวัด ∆m โดย flow cytometer และคานวณเป็น percentages แสดงในกราฟ (2C). Bcl-2 activity ถูกวัดด้วย flow cytometry แสดงออกมาในรูปเปอเซนต์ของระดับ Bcl-2 phosphorylation ต่อ total Bcl-2 expression (D) ผล แสดงด้วยค่า means ± SD, n = 3, *p≤0.05 เทียบกับกลุ่มควบคุม 2.1 ผลของการทางานร่วมกันของสารcapsaicinและ resveratrol ต่อ การกระตุ้นapoptosis ของ HepG2 เพื่อวัดผลของสาร capsaicin, resveratrol และแบบให้สาร 2 สารร่วมกัน ต่อการตายผ่าน กระบวนการกระตุ้นapoptosis เซลล์ HepG2 ที่ให้ 0.5 mM Capsaicin, 0.2 mM resveratrol และให้สาร 2 สารร่วมกันในความเข็มข้น 0.3 mM capsaicin ร่วม 0.1 mM resveratrol เป็นเวลา 24 ชั่วโมง และวัด Apoptosis ด้วย flow cytometer และเทียบกับกลุ่มควบคุมที่ให้ 0.2% DMSO ดังแสดงในรูป 2A ซึ่งเซลล์ที่มีชีวิต จะปรากฏใน lower left quadrant ที่ไม่ติดทั้งสี annexinV และ PI เซลล์ที่เริ่มเกิดapoptosis จะย้อมติดสี annexinV สีเดียว ปรากฏในlower right quadrant และเซลล์ที่เกิดapoptosis ในระยะท้ายจะติดทั้ง 2 สีปรากฎ ใน upper right quadrant ในกราฟรูป 2B, capsaicin 0.5 mM และ resveratrol 0.2 mM สามารถลด percentages ของเซลล์ที่มีชีวิตถึง 58.13 % และ 68.81 %ตามลาดับ Capsaicinและ resveratrol เพิ่ม apoptosis ในระยะ early และ late ที่ 46.97 % และ 26.08 %ตามลาดับ เมื่อเทียบกับ control ที่มี 6.29 %. และมากกว่านั้นเราพบว่า การให้ 0.3 mM capsaicin กับ 0.1 mM resveratrolร่วมกัน เพิ่มอัตรา apoptosis อยู่ ที่ 48.58 %
7
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
2.2 ผลของ capsaicin ร่วมกับ resveratrol ในการลด ∆ m ของ HepG2 เพื่อตรวจสอบผลของ capsaicin ร่วมกับ resveratrol ต่อการตายของเซลล์แบบapoptosis ผ่าน ทางการลด ∆ m เมื่อHepG2 ถูกให้ด้วย0.3 mM capsaicin ร่วม0.1 mM resveratrol เป็นเวลา 24 ชั่วโมง และวัด ∆ m โดย flow cytometry โดยเปรียบเทียบกับ control cells ที่ให้ 0.2 % DMSO. แสดงให้เห็นใน ภาพ 2C พบว่า 0.3mM capsaicin และ 0.1 mM resveratrol สามารถลด percentages ของ ∆ m ได้ถึง 49.76 %. 2.3 ผลของ capsaicin ร่วมกับ resveratrol ต่อ Bcl-2 activity ใน HepG2 Bcl-2 คือ anti-apoptotic proteins ที่ พบว่าการลดลงของการทางานของ Bcl-2 สามารถกระตุ้น การตายผ่านapoptosis ผ่านทาง intrinsic apoptotic pathway ในงานนี้เราพบว่า 0.3 mM capsaicin and 0.1 mM resveratrol มีผลในการลดการทางานของ Bcl-2 เหลือ17.66 % ดังนั้น ผลร่วมกันของ 2 สารนี้มีผลในการ กระตุ้น apoptosis ผ่าน intrinsic apoptotic pathway ใน HepG2
ภาพที่ 3 ผลของcapsaicinร่วมกับresveratrol ต่อการแสดงออกของโปรตีน FASN, ACC, and ACLY หลังให้ไป 24ชั่วโมง 3. สาเหตุของการเกิด apoptosis จากการกระตุ้นด้วย capsaicin ร่วมกับ resveratrol ใน HepG2 การยับยั้งDNL โดยการลดการแสดงออกของเอนไซม์ FASN นาไปสู่ การกระตุ้นapoptosis ในหลายเซลล์มะเร็ง ใน งานวิจัยนี้ ต้องการที่จะศึกษาผลที่ capsaicin และ resveratrolต่อการยับยั้งการแสดงออกของเอนไซม์ใน กระบวนการ DNL จากการศึกษานี้พบว่าเมื่อให้ 0.3 mM capsaicin ร่วมกับ 0.1 mM resveratrol เป็นเวลา 24 ชั่วโมง พบว่าการแสดงออกของเอนไซม์ FASN ลดลงอย่างเห็นได้ชัดเจนเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม ดั้งนี้ ผลจึง ชี้ให้เห็นว่าผล capsaicin ร่วมกับ resveratrol มีบทบาทในการยับยั้งกระบวนการDNLซึ่งอาจนาไปสู่การเกิด apoptosis ของ HepG2 ได้ สรุปผลการวิจัย สาร capsaicin และ resveratrol มีบทบาทร่วมกันในการลดระดับการแสดงออกของFASN ซึ่งนาไปสู่ apoptosis ผ่าน ∆ m ที่ลดลง จากระดับ Bcl-2 ที่ลดลง โดยมีความจาเพาะต่อเซลล์มะเร็ง จึงอาจพัฒนาเป็นยา รักษาโรคมะเร็งในอนาคตได้
8
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
วิจารณ์ผลการวิจัย การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ของ สารcapsaicin และ resveratrolที่มีร่วมกันต่อการ เหนี่ยวนาการตายแบบapoptosis ผ่านขบวนการยับยั้งการสร้างไขมันชนิด de novo ในเซลล์มะเร็งตับ HepG2 ซึ่ง เราพบว่าสารcapsaicin ร่วมกับresveratrolนั้นมีผลร่วมกันในการลดเปอร์เซ็นต์ในการรอดชีวิตในเซลล์มะเร็งตับ HepG2 มากกว่านี้ฤทธิ์ของ สารcapsaicin และ resveratrolในงานนี้ไม่พบความเป็นพิษต่อเซลล์ตับปกติ จึง ชี้ให้เห็นว่าสารcapsaicin และ resveratrol นั้นมีความจาเพาะต่อการยับยั้งเซลล์มะเร็งตับ ซึ่งการศึกษายาในรักษาโรคมะเร็งก็คาดหวังว่าจะทาให้เซลล์มะเร็งตายแบบ apoptosis งานวิจัยในครั้ง นี้เราพบฤทธิ์ของ สาร capsaicin และ resveratrol กระตุ้นการตายแบบ apoptosis และพบว่ามี ∆ m ของ เซลล์ลดลง เช่นเดียวกับงานวิจัยก่อนหน้าเคยมีการรายงานว่า สาร [6]-Gingerol มีผลในการยับยั้งการเจริญเติบโต ของเซลล์มะเร็ง โดยผ่านการลด ∆ m ของเซลล์ และเหนี่ยวนาโดยทาให้เซลล์นั้นเกิดกระบวนการ apoptosis ขึ้น (Impheng, Pongcharoen, Richert, Pekthong, & Srisawang, 2015) เรายังพบว่าสารcapsaicin และ resveratrol มีผลในการลดการทางานของโปรตีน Bcl-2 ซึ่งเป็นโปรตีนที่ต้านการเกิด apoptosis (Mikhailov et al., 2001) เมื่อยับยั้งการแสดงออกของ Bcl-2 พบว่าเซลล์นั้นเกิดการตายแบบapoptosisเกิดขึ้น Bcl-2, antiapoptotic จะทาหน้าที่ในการจับกับ bax ที่ทาให้ไม่เกิด oligomerization ของ bax ที่นาไปสู่ apoptosis (Belanger et al., 2005; Paulina J Dlugosz, Matthew G Annis, Zhi Zhang, & Andrews, 2006) การเกิด oligomerization ของโปรตีน bax สามารถทาให้ ที่ทาให้เกิดการปล่อยของcytochomC ซึ่งเกิดการกระตุ้น caspase-3 นาไปสู่apoptosisเกิดขึ้น (Currie et al., 2013) จึงอาจสรุปได้ว่าผลร่วมกันของ สารcapsaicin และ resveratrol มีบทบาทในกระตุ้น apoptosis โดยผ่านลดของระดับ Bcl-2 กลไกที่เป็นสาเหตุของการกระตุ้นการตายแบบapoptosis เคยมีการศึกษาพบว่าเมื่อยับยั้ง FASN ด้วย สารC75ใน HCC มีบทบาทในการลดระดับของการสร้างFatty acid และ ลดการเจริญเติบโตของเซลล์ม ะเร็ง induced apoptosis (Gao & Lin, 2006) เช่นเดียวกับงานวิจัยเราที่พบว่า สารcapsaicin และ resveratrol สามารถลดระดับของ FASN ซึ่ง Fatty acid ที่ลดลง ข้อเสนอแนะ ควรมีการวิจัยต่อไปในสัตว์ทดลอง กิตติกรรมประกาศ ภาควิชาสรีรวิทยา คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร เอกสารอ้างอิง Impheng, H., Pongcharoen, S., Richert, L., Pekthong, D., & Srisawang, P. (2015). [6]-Gingerol inhibits de novo fatty acid synthesis and carnitine palmitoyltransferase-1 activity which triggers apoptosis in HepG2. Am J Cancer Res.. Belanger, S., Cote, M., Lane, D., L'Esperance, S., Rancourt, C., & Piche, A. (2005). Bcl-2 decreases cell proliferation and promotes accumulation of cells in S phase without affecting the rate of apoptosis in human ovarian carcinoma cells. Gynecol Oncol.
9
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
Biswas, S., Lunec, J., & Bartlett, K. (2012). Non-glucose metabolism in cancer cells--is it all in the fat? Cancer Metastasis Rev. Chapa-Oliver, A. M., & Mejia-Teniente, L. (2016). Capsaicin: From Plants to a Cancer-Suppressing Agent. Molecules. Currie, E., Schulze, A., Zechner, R., Walther, T. C., & Farese, R. V., Jr. (2013). Cellular fatty acid metabolism and cancer. Cell Metab. Ferraz da Costa, D. C., Fialho, E., & Silva, J. L. (2017). Cancer Chemoprevention by Resveratrol: The p53 Tumor Suppressor Protein as a Promising Molecular Target. Molecules. Gao, Y., & Lin, L.-P. (2006). Growth arrest induced by C75, A fatty acid synthase inhibitor, Was partially modulated by p38 MAPK but not by p53 in human hepatocellular carcinoma. Cancer Biology & Therapy. Huang, S. P., Chen, J. C., Wu, C. C., Chen, C. T., Tang, N. Y., Ho, Y. T., . . . Lin, J. G. (2009). Capsaicin-induced apoptosis in human hepatoma HepG2 cells. Anticancer Res. Impheng, H., Pongcharoen, S., Richert, L., Pekthong, D., & Srisawang, P. (2014). The selective target of capsaicin on FASN expression and de novo fatty acid synthesis mediated through ROS generation triggers apoptosis in HepG2 cells. PLoS One Janevska, D., Chaloska-Ivanova, V., & Janevski, V. (2015). Hepatocellular Carcinoma: Risk Factors, Diagnosis and Treatment. Open Access Maced J Med Sci. Jones, J. E., Esler, W. P., Patel, R., Lanba, A., Vera, N. B., Pfefferkorn, J. A., & Vernochet, C. (2017). Inhibition of Acetyl-CoA Carboxylase 1 (ACC1) and 2 (ACC2) Reduces Proliferation and De Novo Lipogenesis of EGFRvIII Human Glioblastoma Cells. PLoS One. Krizanova, O., Steliarova, I., Csaderova, L., Pastorek, M., & Hudecova, S. (2014). Capsaicin induces apoptosis in PC12 cells through ER stress. Oncol Rep. Lin, S., Hoffmann, K., & Schemmer, P. (2012). Treatment of hepatocellular carcinoma: a systematic review. Liver Cancer. Lin, Y. T., Wang, H. C., Hsu, Y. C., Cho, C. L., Yang, M. Y., & Chien, C. Y. (2017). Capsaicin Induces Autophagy and Apoptosis in Human Nasopharyngeal Carcinoma Cells by Downregulating the PI3K/AKT/mTOR Pathway. Int J Mol Sci. Liu, T., Wang, G., Tao, H., Yang, Z., Wang, Y., Meng, Z., Zhou, J. (2016). Capsaicin mediates caspases activation and induces apoptosis through P38 and JNK MAPK pathways in human renal carcinoma. BMC Cancer. Mikhailov, V., Mikhailova, M., Pulkrabek, D. J., Dong, Z., Venkatachalam, M. A., & Saikumar, P. (2001). Bcl-2 prevents Bax oligomerization in the mitochondrial outer membrane. J Biol Chem.
10
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
Moon, D.-O., Kang, C.-H., Kang, S.-H., Choi, Y.-H., Hyun, J.-W., Chang, W.-Y., . . . Kim, G.-Y. (2012). Capsaicin sensitizes TRAIL-induced apoptosis through Sp1-mediated DR5 upregulation: Involvement of Ca2+ influx. Toxicology and Applied Pharmacology. Paulina J Dlugosz, L. P. B., Matthew G Annis, W. Z., Zhi Zhang, J. L., Brian Leber, & Andrews, a. D. W. (2006). Bcl-2 changes conformation to inhibit Bax oligomerizationdoi Peck, B., & Schulze, A. (2016). Lipid desaturation - the next step in targeting lipogenesis in cancer? FEBS J. Santos, C. R., & Schulze, A. (2012). Lipid metabolism in cancer. FEBS J. Vanamala, J., Radhakrishnan, S., Reddivari, L., Bhat, V. B., & Ptitsyn, A. (2011). Resveratrol suppresses human colon cancer cell proliferation and induces apoptosis via targeting the pentose phosphate and the talin-FAK signaling pathways-A proteomic approach. Proteome Sci. Zhang, R., Humphreys, I., Sahu, R. P., Shi, Y., & Srivastava, S. K. (2008). In vitro and in vivo induction of apoptosis by capsaicin in pancreatic cancer cells is mediated through ROS generation and mitochondrial death pathway. Apoptosis.
11
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018 SCIEPP-02
การลดความสูญเปล่าในกระบวนการผลิต THE REDUCTION OF WASTE IN PROCESS วราภรณ์ จันทร์เวียง1 จักรี วิชัยระหัด2 สุพัตรา บุตรเสรีชัย3 และณัฐพงศ์ แพทย์สันเทียะ4 1
Jakree Wichairahat สาขาวิศวกรรมการผลิต โครงการจัดตั้งคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ Somtum_521@hotmail.com 2 Waraporn Chanwiang สาขาวิศวกรรมการผลิต โครงการจัดตั้งคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ jakreew@yohoo.co.th 3 Supattra Budsaereechai สาขาวิศวกรรมการผลิต โครงการจัดตั้งคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ supattra.en.cpru@hotmail.com 4 Nattaphong Patsantai สาขาวิศวกรรมการผลิต โครงการจัดตั้งคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
บทคัดย่อ โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตชิ้นงาน ABC มุ่งเน้นการลดความสูญ เปล่าในกระบวนการผลิต เช่น ปัญหาที่ขั้นตอนการตัดไม่สามารถส่งชิ้นงานได้ทัน พนักงานและเครื่องจักร CNC ว่างงาน สาเหตุเกิดจากระบบการวางแผนการจัดการที่ไม่ดี ผู้จัดทาได้วิเคราะห์ปัญหาด้วยแผนผังก้างปลา และหา แนวทางการแก้ไขร่วมกับพนักงานในบริษัทกรณีศึกษา ใช้เครื่องมือ Man Machine Chart ในการวิเคราะห์การ ว่างงานของพนักงาน ปรับเปลี่ยนวิธีการทางานในขั้นตอนการตัดชิ้นงาน และขั้นตอนการใช้เครื่อง CNC ผลจากการปรับปรุงพบว่า สามารถลดขั้นตอนการทางานของพนักงานตัดชิ้นงานลงส่งผลให้พนักงานใน ขั้นตอนถัดไปไม่รอคอยชิ้นงานมาผลิต สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องจักรและพนักงานในขั้นตอนตัดชิ้นงาน, CNC 1 และ CNC 2 โดยขั้นตอนตัดชิ้นงาน สามารถเพิ่มประสิทธิภาพได้ร้อยละ 4.2 และลดเวลาในการทางานต่อ รอบได้ 11.42 นาที ในแผนก CNC 1 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องจักรได้ร้อยละ 28.9 พนักงานได้ร้อยละ 56.43 และสามารถลดเวลาต่อรอบได้ 100 นาที และในแผนก CNC 2 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องจักรได้ ร้อยละ 5.67 พนักงานได้ร้อยละ 33.88 และสามารถลดเวลาต่อรอบได้ 66.67 นาที คำสำคัญ : แผนผังก้างปลา; ประสิทธิภาพ; ลดการรอคอย; แผนผังคนเครื่องจักร; ความสูญเปล่า Abstract This paper introduces the method to enhance the efficiency of ABC spare parts process. Reduction Waste in Process such as problem delivery late of cutting process. Man and Machine are work blank Because don’t haven Management well. When analyzing the cause of the problem by the fishbone diagram, it was found that the assignment of the employees was not equal and the machine did not work efficiently, resulting in the lack of balance in the production line. Therefore, Man Machine Chart tools and ECRS are taken to analyze in cutting Material procedure CNC1 and CNC2. Including complex workflows makes working easier and more
12
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
convenient. The results in Cutting Material process showed that the average Man efficiency increased 4.2 and reduced time 11.42 minute. The results in CNC1 process showed that the average Machine efficiency increased 28.9 and Man efficiency increased 56.43 reduced time 100 minute. The results in CNC2 process showed that the average Machine efficiency increased 5.67 and Man efficiency increased 33.88 reduced time 66.67 minute. Keywords : Fish Bone Diagram; Efficiency; Reduction Waiting; Man Machine Chart; Waste บทนา ปัจจุบันแนวคิดการผลิตแบบลีน (Lean Manufacturing) [1] เป็นเครื่องมือสาหรับการแข่งขันที่สาคัญ โดยมุ่งเป้าหมายเพื่อการปรับปรุง เช่น การลดระยะเวลาการผลิต การลดต้นทุน การเพิ่มความสามารถในการทา กาไรและการปรับปรุงคุณภาพ ดังนั้น การผลิตแบบลีนจึงมุ่งขจัดความสูญเปล่าในทุกพื้นที่ของสายการผลิต ซึ่งใช้ แนวความคิดในเรื่องคุณค่าของกิจกรรมที่ทา โดยผลที่คาดหวัง ก็คือ การลดต้นทุนให้ต่าลง และการที่พนักงานทุกคน มีส่วนร่วม นอกจากนี้แนวคิดการผลิตแบบลีน ยังมุ่งปรับปรุงประสิทธิภาพการดาเนินงานด้วยการสร้างให้เกิดการ ไหลของงานตลอดทั้งกระบวนการอย่างต่อเนื่อง ด้วยแนวคิดระบบการผลิตแบบลีนบริษั ท AA จากัด ผู้ผลิตชิ้นส่วน อุปกรณ์ที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม การผลิตเป็นตามคาสั่งของลูกค้า มีความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ แต่ละแบบ ผลิตน้อยชิ้น ซึ่งต้องปรับตัวเพื่อความยืดหยุ่นของลักษณะสถานประกอบการ โดยมีการส่งเสริมนาระบบการผลิต แบบลีนเข้ามามีบทบาทในการพัฒนา ปรับปรุ งกระบวนการทางาน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับผู้ ประกอบรายอื่นๆ ได้ ผู้จัดทาได้ศึกษาขั้นตอนการผลิตชิ้นส่วน ABC พบปัญหาการว่างงานของพนักงานและ เครื่ อ งจั ก ร ส่ ง ผลให้ ไ ม่ ส ามารถผลิ ต สิ น ค้ า ได้ ทั น ตามเวลา ด้ ว ยแนวคิ ด การลดความสู ญ เปล่ า ที่ ไ ม่ เ กิ ด ขึ้ น ใน กระบวนการ ผู้จัดทาจึงได้เสนอแนวทางการวัดประสิทธิภาพของการทางานระหว่างคนและเครื่องจักร มีการ วิเคราะห์งานของขั้นตอน 3 ขั้นตอนคือ ขั้นตอนการตัดชิ้นงานพบว่าพนักงานทางานเต็มเวลาแต่ไม่สามารถส่ง ชิ้นงานให้กระบวนการถัดไปได้ทัน ขั้นตอน CNC1และ CNC2 พบปัญหาการรอคอยชิ้นงานจากกระบวนการตัด พนักงานและเครื่องจักรว่างงาน ในปัญหาเหล่านี้ผู้จัดทาได้เสนอแนวคิดการใช้ Mam Machine Chart เพื่อ วิเคราะห์ประสิทธิภาพในปัจจุบัน จากนั้นใช้เครื่องมือวิเคราะห์ ECRS ในการปรับเปลี่ยนวิธีการดาเนินงาน ลาดับ ขั้นตอนการดาเนินงาน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพที่ดีขึ้น ดังแสดงรายละเอียดต่อไปนี้ วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อลดความสูญเปล่าในการทางานของชิ้นงาน ABC 2. เพื่อเพิ่มกาลังการผลิตในกระบวนการผลิต 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของพนักงานและเครื่องจักร สมมติฐานการวิจัย 1. สามารถลดความสูญเปล่าจากกระบวนการผลิต 2. สามารถเพิ่มกาลังการผลิตในกระบวนการผลิต 3. สามารถเพิ่มประสิทธิภาพพนักงานและเครื่องจักร
13
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ขอบเขตการวิจัย ศึกษาเฉพาะกระบวนการผลิตชิ้นงาน ABC ในบริษัทกรณีศึกษา วิธีดาเนินการวิจัย 1.ศึกษาข้อมูลทัว่ ไปและปั ญหาที่เกิดขึ้ นในกระบวนการผลิต
5. เสนอแนวทางการแก้ไขปั ญหา
2. ศึกษาทฤษฎีและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
6. ดาเนิ นการแก้ไขปั ญหา
3. เก็บรวบรวมข้อมูล(ตารางบันทึกเวลา) และวิเคราะห์สาเหตุของปั ญหา(แผนผังก้างปลา)
7. เก็บรวบรวมผลหลังการปรับปรุง 8. เปรียบเทียบผลการดาเนิ นงาน
4. วางแผนการใช้เครื่องมือและการวิเคราะห์ผล (7 Waste, เครื่องมือ Man Machine Chart, ECRS)
9. สรุปผลการดาเนิ นงานและข้อเสนอแนะ
ภาพที่ 1 ขั้นตอนการดาเนินงาน ผู้จัดทาได้ดาเนินการตามขั้นตอนการดาเนินงานดังรูปที่ 2 ซึ่งในการแก้ไขปัญหาหรือปรับปรุงการทางาน ต้องได้รับการอนุญาตจากเจ้าของบริษัท ตลอดจนการจัดทาเอกสาร การปรับปรุงขั้นตอนการทางาน โดยการมีส่วน ร่วมของพนักงาน เจ้าหน้าที่ของบริษัทตลอดการจัดทาโครงงาน ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ชิ้นงาน ABC ของบริษัทกรณีศึกษา ซึ่งในขณะปฏิบัติงานที่บริษัทในช่วงเดือนสิงหาคม – ตุลาคม 2559 ชิ้นส่วน ABC มียอดการผลิตสูงสุดจึงนาไปสู่การพิจารณาปรับปรุงประสิทธิภาพการดาเนินงานเพื่อให้สอดคล้องกับ นโยบายการบริหารของบริษัทกรณีศึกษา เครื่องมือวิจัย ผู้จัดทาได้ใช้เครื่องมือเพื่อวิเคราะห์ความสูญเปล่าทั้ง 7 โดยมีหลักการของความสูญเปล่าดังนี้ 1. การผลิตที่มากเกินไป (Overproduction) ความต้องการของลูกค้า 2. การรอคอย (Waiting) รวมทั้งหมดไม่ว่า จะรอคอยวัตถุดิบ ข้อมูลข่าวสาร อุปกรณ์หรือ เครื่องมือต่างๆ ปัญหาของบริษัทกรณีศึกษาพบ การรอคอยชิ้นงาน การทางานไม่เต็มประสิทธิภาพของพนักงานและเครื่องจักร 3.การขนส่ง (Transportation) ในขั้นตอนการผลิต ชิ้นส่วน ABC มีการจัดพนักงานขนส่งที่ไม่เหมาะสมส่งผลให้การทางานของขั้นตอนนั้นล่าช้า 4. กระบวนการที่ทา แล้วไม่เกิดคุณค่า (Non Value Added Processing) 5. สินค้าคงคลังที่มากเกินไป (Excess Inventory) 6. ของ เสีย (Defects) หรือบริการผิดพลาดที่เกิดขึ้น ทาให้เสียแหล่งวัตถุดิบ 7. การเคลื่อนไหวที่มากเกินไป (Excess Motion) [3] Man Machine Chart แสดงในลักษณะของ Bar Chart และตารางสรุปการทางาน วิเคราะห์เวลาการ ทางานแต่ละกระบวนการว่ามีเวลาที่สมดุลกันมากน้อยเพียงใด โดยจะใช้กราฟแท่งระบายสี หรือสัญลักษณ์แทนแต่ ละกิจกรรมแต่ละประเภทดังนี้ กิจกรรมว่างงาน กิจกรรมทางานร่วมกันระหว่างคนและเครื่องจักร กิจกรรมทางานคนเดียว
14
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
หลักการ ECRS [4] มาใช้ ซึ่ง E-Eliminate (การกาจัด) คือ การพิจารณาการทางานปัจจุบันและทาการ กาจัดความสูญเปล่าที่พบในการผลิตออกไป C-Combine (การรวมกัน) ลดการทางานที่ไม่จาเป็นลง สามารถรวม ขั้นตอนการทางานให้ลดลงได้หรือไม่ R-Rearrange การจัดใหม่ [5] คือการจัดขั้นตอนการผลิตใหม่เพื่อให้ลดการ เคลื่อนที่ที่ไม่จาเป็น S-Simplify (การทาให้ง่าย) คือ การปรับปรุงการทางานให้ง่ายและสะดวกขึ้น ผู้จัดทาได้นา หลักการ Rearrange การจัดลาดับงานใหม่ [6] มาใช้ในการแก้ไขปัญหาเพื่อให้การทางานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้จั ด ทาใช้วิ ธี การจับ เวลาการท างานของพนั กงานและเครื่ องจั กรในแต่ ล ะขั้ น ตอนประกอบไปด้ ว ย ขั้นตอนการตัดวัสดุ ขั้นตอน CNC1 ขั้นตอน CNC2 จากนั้นจัดทาเวลามาตรฐานตามแต่ละขั้นตอน นาค่าเวลา มาตรฐานมาวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือ Man Machine Chart ในขั้นตอนที่พบปัญหาในกระบวนการก่อนปรับปรุง สามารถสรุปประสิทธิภาพของพนักงานและเครื่องจักรในขั้นตอนที่เกิดปัญหาการวางงานทั้ง 3 ขั้นตอน ประสิทธิภาพของ ขั้นตอนการตัดวัสดุ ประสิทธิภาพของเครื่องจักรร้อยละ 89 ประสิทธิภาพของพนักงานร้อยละ 100 ดังแสดงในภาพ ที่ 2 ขั้นตอน CNC1 ประสิทธิภาพของเครื่องจักรร้อยละ 91.43 ประสิทธิภาพของพนักงานร้อยละ 35 ดังแสดงใน ภาพที่ 3 แสดงให้เห็นถึงปัญหาการว่างงานของพนักงาน และขั้นตอน CNC2 ประสิทธิภาพของเครื่องจักรร้อยละ 94.33 ประสิทธิภาพของพนักงานร้อยละ 38.30 ดังแสดงในภาพที่ 4 แสดงให้เห็นถึงปัญหาการว่างงานของ พนักงาน
ภาพที่ 2 Man Machine Chart ตัดวัสดุ
ภาพที่ 3 Man Machine Chart CNC1
15
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ภาพที่ 4 Man Machine Chart CNC2 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ ผู้จัดทาได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลด้านเวลาตั้งแต่เดือนสิงหาคม-กันยายน 2559 พบปัญหาชิ้นส่วนไม่ ทันต่อการประกอบ สาเหตุมาจากพนักงานในขั้นตอนการตัดวัสดุทางานส่งให้กระบวนการถัดไปไม่ทัน การว่างงาน ของพนักงานในขั้นตอน CNC1 และ CNC2 ผลกระทบไม่สามารถผลิตชิ้นงานได้ตามความต้องการของลูกค้า ทาง ผู้จัดทาจึงทาการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาโดยใช้ แผนผังก้างปลา วิเคราะห์ร่วมกับพนักงาน ดังแสดงผลการ วิเคราะห์ดังภาพ 5 [8] Machine, Tool
Man พนักงานขาด ความชานาญ
วางไม่เป็ น ระเบียบ
เครื่องขัดข้อง
ปั ญหาสุขภาพ
ชารุด
ว่างงาน ขาดการ วางแผนที่ดี
ไม่มีการวัดมาตร ฐานการทางาน
Method
วัสดุมาไม่ตรงเกรด ไม่ครบตามจานวน
Material
ภาพที่ 5 การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาการว่างงาน จากภาพ 5 สามารถวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต โดยสิ่งที่ผู้จัดทาได้ นาเสนอการปรับปรุงคือ การปรับเปลี่ยนวิธีการดาเนินงาน โดยการวางแผนการจัดลาดับงาน ให้ขั้นตอนการตัดวัสดุ , CNC1 และ CNC2 สรุปผลการวิจัย เมื่อทาการเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา ผู้จัดทาพร้อมด้วยพนักงานมีการประสานงานของทั้งกระบวนการ ส่งผลให้ระบบการทางานมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ในแผนกตัดวัสดุในโรงงานมีพนักงานและเครื่องจักรจานวน 1 คน/ เครื่อง วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นโดยพบว่าเครื่องจักรว่างงานเนื่องจากพนักงานต้องไปขนวัสดุด้วยตนเอง อักทั้งต้อง ส่งวัสดุสาเร็จรูปไปส่งที่แผนก CNC ทาให้สูญเสียเวลาในการตัด เกิดการรอคอยยังแผนกถัดไป ผู้ศึกษาจึงมีแนวคิดใน
16
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
การลดขั้นตอนการขนส่งออกไป โดยให้พนักงานที่คอยซัพพอตยังกระบวนการอื่นที่ว่างงานเข้ามาช่วยในเรื่องการ ขนส่งวัสดุเข้ามา และวัสดุออกไปจาหน่ายยังขั้นตอนอื่น ๆ ส่ง ผลให้พนักงานตัดสามารถตัดชิ้นงานได้มากขึ้น และ ลดเวลาว่างงานของเครื่องจักรในแต่ละวัน ดังจะแสดงในภาพ 6 ขั้นตอน CNC1 และ CNC2 ได้ออกแบบขั้นตอนงานทางานของและพนักงานที่ระหว่างรอเครื่องจักร ทางาน [9] โดยให้ทาการลบครีบ ลบคม ของชิ้นงานที่ผลิตเสร็จก่อนแล้ว อีกทั้งยั งเพิ่มขั้นตอนของแผนก QC คือ การวัดขนาดชิ้นงานหลังจากบลครีบ ลบคม ช่วยในเรื่องการตรวจสอบขนาดของชิ้นงานและสามารถแก้ไขได้ทันที ทาให้กระบวนการเสร็จภายในขั้นตอนของตนเอง ดังแสดงในภาพ 7 และภาพ 8
ภาพที่ 6 Man Machine Chart ตัดวัสดุ
ภาพที่ 7 Man Machine Chart CNC1
17
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ภาพที่ 8 Man Machine Chart CNC2 จากภาพที่ 6, 7 และ 8 การปรับเปลี่ยนวิธีหรือลาดับขั้นตอนในการทางาน ส่งผลให้ระยะเวลาของการ ทางานลดลง พนักงานสามารถผลิตชิ้นงานได้มากขึ้น เมื่อใช้เวลาการทางานเท่าเดิม พนักงานใช้เวลาว่างให้เกิดประ โยน์ มีการตรวจสอบชิ้นงานของตนเองในระหว่างการทางาน เมื่อเกิดของเสียก็สามารถแก้ไขทันที ก่ อนที่จะส่งไปยัง แผนก QC อีกทั้งยังช่วยลดภาระงานของแผนก QC ที่ต้องทาการตรวจสอบโดยละเอียดของทุกกระบวนการ ลด เวลาและการตีกลับชิ้นงานในกรณีที่ต้องแก้ไขชิ้นงาน ผู้จัดจึงได้ทาการสรุปประสิทธิภาพก่อนปรับปรุงและหลัง ปรับปรุง โดยใช้ Man Machine Chart ในการวิเคราะห์ผล ดังแสดงผลประสิทธิภาพได้ดังภาพ 9
ภาพที่ 9 กราฟเปรียบเทียบประสิทธิภาพของพนักงานและเครื่องจักร จากภาพที่ 9 เปรียบเทียบประสิทธิภาพของขั้นตอนตัดวัสดุ พบว่าประสิทธิภาพของเครื่องจักรเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 89 เป็นร้อยละ 93.1 เพิ่มขึ้นร้อยละ 4.1 ประสิทธิภาพของพนักงานเท่าเดิมคือร้อยละ 100 แต่สามารถ ลดระยะเวลาการท างานของพนัก งานลงได้ โดยการแบ่ งหน้ า ที่ก ารท างานที่ไ ม่ จ าเป็ นออกไป ขั้ น ตอน CNC1 ประสิทธิภาพของเครื่องจักรเพิ่มขึ้นร้อยละ 91.43 เป็นร้อยละ 100 เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.57 ประสิทธิภาพของพนักงาน
18
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 35 เป็นร้อยละ 71.1 เพิ่มขึ้นร้อยละ 36.1 ขั้นตอน CNC2 ประสิทธิภาพของเครื่องจักรเพิ่มขึ้น ร้อยละ 94.33 เป็นร้อยละ 100 เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.67 ประสิทธิภาพของพนักงานเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 38.5 เป็น ร้อยละ 72.18 เพิ่มขึ้นร้อยละ 33.68 สรุปผลและวิจารณ์ผลการวิจัย จากการศึกษาการผลิตแบบลีนและทฤษฏีความสูญเปล่า 7 ประการ ใช้ปรับปรุงกระบวนการผลิตให้ดีขนึ้ โดยปรับปรุงในด้านของกระบวนการ ผลิตของพนักงานในกระบวนการผลิตชิ้นงาน ABC โดยผู้จัดทาได้วิเคราะห์หา ปัญหาที่ก่อให้เกิดความสูญเปล่าในกระบวนการผลิต ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ การว่างงานของพนักงานและเครื่องจักร มี สาเหตุจาก การวางแผนการผลิตไม่ดี เครื่องจักรว่างงาน พนักงานว่างงาน การรอคอยงาน โดยทาการออกแบบ วิธีการดาเนินงาน คือปรับปรุงขั้นตอนตั ดวัสดุ โยกย้ายการทางานจากขั้นตอนอื่นมาช่วยขนย้ายวัสดุและจาหน่าย ออกไปยังขั้นตอนอื่น ส่งผลให้พนักงานตัดสามารถทางานที่ทาให้เกดคุณค่าได้เต็มประสิทธิภาพ ลดระยะเวลาการ ทางานต่อรอบได้ถึง 11.42 นาทีต่อรอบการผลิต ขั้นตอน CNC 1 และ CNC 2 ได้ปรับปรุงโดยการให้พนักงานลบ ครีบ ลบคม ในระหว่างที่รอเครื่องจักรทางาน และเพิ่มการวัดขนาดชิ้นงานหลังจากบลครีบ ลบคม ช่วยในเรื่องการ ตรวจสอบขนาดของชิ้นงานและสามารถแก้ไขได้ทันที ทาให้กระบวนการเสร็จภายในขั้นตอนของตนเอง ขั้นตอน CNC1 ลดระยะเวลาการทางานต่อรอบได้ถึง 100 นาทีต่อรอบการผลิตขั้นตอน CNC2 ลดระยะเวลาการทางานต่อ รอบได้ถึง 66.67 นาทีต่อรอบการผลิต ส่งผลให้กาลังการผลิตของบริษัทเพิ่มขึ้น ข้อเสนอแนะ ควรมีการจัดทาทั้งกระบวนการ แต่ในช่วงที่จัดทาระยะเวลาไม่เพียงพอต่อการปรับปรุงทั้งกระบวนการ จึงได้จัดทาเพียง 3 ขั้นตอนเท่านั้น อีกทั้งวัฒนธรรมองค์กรก็มีส่วนสาคัญในการพัฒนา หากผู้บริหาร พนักงานไม่มี ความกระตือรือร้นในการพัฒนา ปรับปรุง ก็จะทาให้งานสาเร็จเพียงน้อยนิดไม่ทั่วถึงทั้งบริษัท กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณ โครงการจัดตั้งคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ และบริษัทกรณีศึกษา ที่มีส่วนส่งเสริมให้โครงงานนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี เอกสารอ้างอิง ขจรศักดิ์ ทองอะไพพงษ์. (2554). การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตยางพาราและลดต้นทุนด้านพลังงาน กรณีศึกษา โรงงานแปรรูปยางพารา. สารนิพนธ์ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการโซ่อุปทาน แบบบูรณาการ วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน, มหาวิทยาลัยศรีปทุม. ขจรศักดิ์ ทองอะไพพงษ์. (2554). การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตยางพาราและลดต้นทุนด้านพลังงาน กรณีศึกษา โรงงานแปรรูปยางพารา. สารนิพนธ์ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการโซ่อุปทาน แบบบูรณาการ วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน, มหาวิทยาลัยศรีปทุม. จิราภรณ์ จันทร์สว่าง (2548) การลดเวลาในการตรวจสอบสายเคเบิลอินฟินิแบนด์ กรณีศึกษา แผนกตรวจสอบ โรงงานผลิตสายเคเบิล หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
19
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
พิทธพนธ์ พิทักษ์. (2552). การศึกษากระบวนการผลิตเพื่อการเพิ่มผลผลิต กรณีศึกษา อุตสาหกรรมล้างลวด วิทยานิพนธ์หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและระบบ คณะวิศกร รมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลาสงขลานครินทร์. พิทธพนธ์ พิทักษ์. (2552). การศึกษากระบวนการผลิตเพื่อการเพิ่มผลผลิต กรณีศึกษา อุตสาหกรรมล้างลวด วิทยานิพนธ์หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการและระบบ คณะวิศกร รมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลาสงขลานครินทร์. มาโนช ทองเจือ,ณิชกุล ไชยศร,บรรหาญ ลิลา. (2555). การปรับปรุงอัตราการผลิตของสายการผลิตชิ้นส่วนตัวถัง รถยนต์ด้วยการ ปรับปรุงการเคลอื่นไหวของหุ่นยนต์.การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสา หการ ประจาปี พ.ศ. 2555, 17-19 ตุลาคม 2555 ชะอา เพชรบุรี, หน้า 305-309 ยอดนภา เกษเมือง, สมจินต์ อักษรธรรม. (2552). การปรับปรุงสายการผลิต ผลิตภัณฑ์ซองพลาสติก, การประชุม วิชาการ “ธนบุรีวิจัย ครั้งที่ 2 วิมลิน เหล่าศิริถาวร. (2552). การจัดการการดาเนินงาน. (ครั้งที่ 1). เชียงใหม่: เอส.ที.ฟิมล์แอนด์เพลท. ภาควิชา วิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สุพัฒตรา เกษราพงศ. (2551). การเพิ่มอัตราการผลิตในสายการผลิตหม้อหุงข้าว โดยประยุกต์ใช้เทคนิคการ ปรับปรุงวิธีการทางานและจัดสมดุลสายการผลิต. การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจาปี พ.ศ.2551 20-22 ตุลาคม 2551, 236-240
20
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
SCIEPP-03 ประสิทธิผลโปรแกรมสุขศึกษาในการประยุกต์ใช้การสร้างเสริมทักษะชีวิตกับแรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อการ ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรในนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนแห่งหนึ่งในตาบล บ้านเลื่อม อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี THE EFFECTIVENESS OF HEALTH EDUCATION PROGRAM BY THE APPLICATION OF LIFE SKILLS EDUCATION AND SOCIAL SUPPORT FOR SEXUAL PREVENTION BEFORE PREMATURE AGE IN JUNIOR HIGH SCHOOL STUDENTS IN BANLUEAM DISTRICT AMPHUR MUANG UDON THANI PROVINCE. อมรรัตน์ ขจร1 1
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านเลื่อม อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี
บทคัดย่อ ปั ญ หาแม่ วั ย รุ่ น ตั้ ง ครรภ์ ไ ม่ พึ งประสงค์ นั บ เป็ น ปั ญ หาส าคั ญ ในสั งคมปั จ จุ บั น ที่ ต้ อ งได้ รั บ การแก้ ไ ข เนื่องจากแม่วัยรุ่นที่มีอายุต่ากว่า 20 ปีของไทย มีจานวนสูงเป็นอันดับที่ 2 ในเอเชีย และผลจากการสารวจพบว่า เยาวชนมีความรู้เรื่องเพศศึกษา การคุมกาเนิด มีการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในระดับที่ต่ามาก มีการรับรู้ เรื่ อ งเพศที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง และพบว่ า มี แ ม่ วั ย รุ่ น อายุ น้ อ ยลงเรื่ อ ย ๆ ซึ่ ง การศึ ก ษาครั้ ง นี้ เ ป็ น การวิ จั ย กึ่ งทดลอง มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลโปรแกรมสุขศึกษาโดยการประยุกต์ใช้การสร้างเสริมทักษะชีวิตกับแรงสนับสนุน ทางสังคมเพื่อป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนแห่งหนึ่ง ใน ตาบลบ้านเลื่อม อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี กลุ่มตัวอย่างมีจานวน 68 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่ม เปรียบเทียบกลุ่มละ 34 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมสุขศึกษาโดยการประยุกต์ทักษะชีวิตกับแรงสนับสนุนทาง สังคม การวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา เปรียบเทียบความแตกต่างด้วยสถิติ Paired Sample t-test และ Independent Sample t-test ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 และหลังการทดลอง พบว่ากลุ่มทดลองมีคะแนนความรู้ เกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศที่เ หมาะสม ความตั้งใจมีพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่เหมาะสมตามวัยสูงกว่าก่อน ทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ความคิดสร้างสรรค์และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ความตระหนักรู้ในตนและความเห็นใจผู้อื่น การจัดการกับอารมณ์และความเครียด การเห็นคุณค่าในตนเ องและ ความรับผิดชอบต่อสังคม การสื่อสารและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล สูงกว่าก่อนทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ(P-value<0.01) การตัดสินใจและการแก้ปัญหาสูงกว่าก่อนทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ(P-value<0.05) คำสำคัญ: การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร, การเสริมสร้างทักษะชีวิต, การสนับสนุนทางสังคม, นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น
21
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
Abstract The problem of adolescent mother unwanted pregnancy. This is a major problem in today's society that needs to be addressed. Thailand's teenage mothers are under the age of 20, the second highest in Asia. And the results of the survey. Young people with knowledge of sex education, contraception, prevention of sexually transmitted diseases at a very low level. There is an incorrect gender perception. It is found that the younger the teenager. This study was a quasi-experimental research. The objectives of this study were to study the effectiveness of the health education program by applying life skills enhancement and social support to prevent premature sexual intercourse among junior high school students in a school. In Ban Lueam Subdistrict, Muang District, Udon Thani. The sample total of 68 students, 34 students into experimental group and 34 students in the compairon group. The experimental group was received the health education program by applying life skills and social support. Data were analysis by descriptive statistics. And comparison statistics were used paired sample t-test and Independent sample t-test. The significant was set at p-value <0.05 and 95% confidence interval. At the end of study, The experimental group had a good knowledge of sexual behavior were higher than before and comparison group significantly difference (P-value <0.001). Creativity thinking and critical thinking. Self awareness and empathy for others, emotion and stress management, self-esteem and social responsibility, Communication and interpersonal relations were higher than before and comparison group significantly (p -value <0.01) Decision and problem solving were higher than before and comparison group significantly (p-value <0.05) Key Words: Pregnancy premature, Life Skills Enhancement, Social support, Junior high school students บทนา สภาพสังคมไทยในปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงการดารงชีวิตในสังคมจากครอบครัวขยายกลายเป็น ครอบครั วเดี่ย ว อี กทั้ งสภาพเศรษฐกิจ ที่เ ปลี่ ยนไป ทาให้ พ่อ แม่ ต้อ งประกอบอาชี พนอกบ้า น ส่งผลให้ สภาพ ครอบครั ว ขาดความอบอุ่ น เยาวชนในครอบครั ว ขาดการดู แ ลและชี้ แ นะในสิ่ ง ที่ เ หมาะสม ประกอบกั บ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัฒน์และวัฒนธรรมข้ามชาติ ทาให้เยาวชนถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้า เช่น สื่อ ลามกในโลกอินเตอร์เน็ต สิ่งเหล่านี้มีผลทาให้เยาวชนเกิดพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม ด้วยการขาดวุฒิภาวะ และทักษะในการควบคุมอารมณ์ ทางเพศของตนเอง เยาวชนจึงมีเพศสัมพันธ์ในเวลาที่ไม่เหมาะสม และขาด ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา จึงส่งผลให้เกิดการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ในวัยรุ่นมากขึ้น โดยเฉพาะประเทศที่กาลัง พัฒนา ปัญหาแม่วัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ นับเป็นปัญหาที่สาคัญในสังคมปัจจุบันที่ต้องได้รับการแก้ไขจาก ข้อมูลที่ผ่านมาของรายงานจากองค์การยูนิเซฟ (UNICEF) เมื่อปี พ.ศ. 2557 พบว่า แม่วัยรุ่นอายุต่ากว่า 20 ปี ของไทย มีจานวนสูงเป็นอันดับ 2 ในเอเชีย และจากผลการสารวจในครั้งนี้ก็พบว่า เยาวชนมีความรู้เรื่อง
22
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
เพศศึกษา การคุมกาเนิด การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในระดับที่ต่ามาก ซึ่งยังมีการรับรู้เรื่องเพศไม่ ถูกต้อง เช่น การนับระยะปลอดภัยหน้า 7 หลัง 7 เพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ เป็นต้น สาหรับอัตราการคลอดบุตร ของแม่วัยรุ่น อายุต่ากว่า 20 ปี อยู่ที่ 54 คนต่อการคลอด 1,000 คน และพบว่ามีแม่วัยรุ่นอายุน้อยลงเรื่อย ๆ เนื่องจากวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อมมีอายุน้อยลงมาก วัยรุ่นเหล่านี้จึงขาดวุฒิภาวะในการจัดการกับ ปัญหาชีวิตที่เกิดขึ้น วัยรุ่นบางคนไม่ทราบว่าตนเองตั้งครรภ์ ทาให้ไม่ได้ดูแลสุขภาพร่างกาย และไม่ได้รับอาหาร เสริม บุตรของแม่วัยรุ่นมักประสบปัญหาสุขภาพไม่สมบูรณ์แ ข็งแรง น้าหนักน้อย บางรายหาทางออกโดยวิธีการ ทาแท้ง ผลจากการทาแท้งที่ไม่ปลอดภัย อาจทาให้เด็กตกเลือด เยื่อบุโพรงมดลูกอักเสบ ช็อกจากการเจ็บป่วย บางรายต้ องเป็ นหมั น ไปตลอดชี วิ ต และบางรายเป็ น อัน ตรายถึ งแก่ ชีวิ ตได้ บางรายก็ต้ อ งออกจากโรงเรี ย น เนื่องจากอับอายส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของแม่วัยรุ่นในอนาคต จากข้อมูลของสานักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี ปี 2560 แสดงให้เห็นว่าการตั้งครรภ์ของหญิงอายุต่ากว่า 20 ปี มีแนวโน้มสูงขึ้น แบ่งช่วงอายุมากที่สุดของกลุ่มนี้ คือ 19 ปี และน้อยที่สุดคือ 15 ปี และกลุ่มนี้ส่วนใหญ่กาลังอยู่ในวัยเรียน และอาศัยอยู่กับบิดามารดา ต้อง หยุดพักการเรียน บางคนต้องเลิกเรียนไปโดยปริยาย แต่เป็นที่น่าสังเกตว่าไม่พบปัญหาการทอดทิ้งบุตร ส่วนหนึ่ง น่าจะมาจากการที่อยู่ในสังคมชนบท บิดามารดาและญาติพี่น้องมีการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน ปีงบประมาณ 2557 มีหญิงหลังคลอดทั้งหมด 102 คน อายุน้อยกว่า 20 ปี คลอดบุตรทั้งหมด จานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 15.99, ปีงบประมาณ 2558 มีหญิงหลังคลอดทั้งหมด 116 คน อายุน้อยกว่า 20 ปี คลอดบุตรทั้งหมด 25 คน คิดเป็นร้อยละ 21.55, ปีงบประมาณ 2559 มีหญิ งหลังคลอดทั้งหมด 125 คน อายุน้อยกว่า 20 ปี คลอดบุตรทั้งหมด 15 คน คิดเป็นร้อยละ 12 และ ปีงบประมาณ 2560 ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2559 – เดือนมกราคม 2560 มีหญิงหลังคลอดทั้งหมด 28 คน อายุน้อยกว่า 20 ปี คลอดบุตร ทั้งหมด 7 คน คิดเป็นร้อยละ 25 ซึ่งเกินเกณฑ์ที่องค์การอนามัยโลกกาหนดไว้ (เกณฑ์ไม่เกิน 50: 1,000 สตรี 1519 ปี, ดัชนีชี้วัดผลงานหรือความสาเร็จของงานคลินิกฝากครรภ์คุณภาพ หน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลอุดรธานี) จากปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจทาการศึกษาประสิทธิผลโปรแกรมสุขศึกษาในการประยุกต์ใช้การ สร้างเสริมทักษะชีวิตกับแรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรในนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนแห่งหนึ่งในตาบลบ้า นเลื่อม อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี เพื่อทราบขนาดปัญหา ของการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์และการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัยของวัยรุ่น และนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการ วางแผนดู แลรัก ษาให้ คาปรึ กษาแก่ก ลุ่ม วัย รุ่น ชั้น มัธ ยมศึกษาตอนต้น ในต าบลอื่ นต่ อไป ซึ่ งข้ อมู ลที่ ได้ จะเป็ น ประโยชน์ต่อหน่วยงานภาครัฐ ในการวางแผนและกาหนดทิศทางการป้องกันและแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างตรงจุด และถูกต้องต่อไป โดยได้รับงบประมาณจากเงินบารุงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านเลื่อม อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการประยุกต์ใช้ในการสร้างเสริมทักษะชีวิตกับแรง สนับสนุนทางสังคม เพื่อการป้องกันการ มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นใน โรงเรียนแห่งหนึ่งในตาบลบ้านเลื่อม อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี
23
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
สมมติฐานการวิจัย ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าก่อนการทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบในด้าน ต่อไปนี้ 1. ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการมีพฤติกรรมทางเพศทีเ่ หมาะสม 2. ความตระหนักรู้ในตนและความเห็นใจผู้อื่น 3. การเห็นคุณค่าในตนเองและความรับผิดชอบต่อสังคม 4. ความคิดสร้างสรรค์และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 5. ทักษะด้านการตัดสินใจและการแก้ปัญหา 6. การสื่อสารและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 7. การจัดการอารมณ์และความเครียด 8. ความตั้งใจส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธ์ที่เหมาะสม ขอบเขตการวิจัย นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นทั้งชายและหญิงในโรงเรียนแห่งหนึ่งในตาบลบ้านเลื่อม อาเภอ เมือง จังหวัดอุดรธานี ปีการศึกษา 2560 วิธีดาเนินการวิจัย ขั้นเตรียมการ - ติดต่อประสานงานกับโรงเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ เพื่อปรึกษาและชี้แจงวัตถุประสงค์ วิธีการ/ขั้นตอนการดาเนินการ และขอความร่วมมือในการดาเนินการวิจัยในพื้นที่ - แจ้งให้กลุ่มเปรียบเทียบทราบว่าหลังจากจบการทดลองจะมีการจัดกิจกรรมให้กับกลุ่มเปรียบเทียบ เหมือนกับกลุ่มทดลองทุกประการ - ดาเนินการทาหนังสือขออนุญาตในการเก็บข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านเลื่อม ถึง ผู้อานวยการสถานศึกษา - ชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวิจัย วิธีการดาเนินการ ระยะเวลาและแผนการดาเนินงานแก่ผอู้ านวยการ โรงเรียน ครู เพื่อขอความร่วมมือจัดกิจกรรมดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล - เตรียมทีมวิจัยเพื่อวางแผนการดาเนินงานทั้งขั้นตอนการทากิจกรรม ตลอดจนเครื่องมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูล - ดาเนินการทดลองโปรแกรม ขั้นดาเนินการ สัปดาห์ที่ 1 ทาการเก็บ รวบรวมข้อ มูลก่ อนการทดลองในกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรี ยบเทียบด้ว ย แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลคุณลักษณะประชากร แบบทดสอบความรู้ทั่วไป ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรม ส่งเสริมอนามัยการเจริญพันธ์ที่เหมาะสม ความตระหนักรู้ในตนและความเห็นใจผู้อื่น การเห็นคุณค่าในตนเองและ ความรับผิดชอบต่อสังคม ความคิดสร้างสรรค์และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การตัดสินใจและการแก้ไขปัญหา การสื่อสารและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การจัดการกับอารมณ์และความเครียดและพฤติกรรมการป้องกันตนเอง เพื่อหลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์
24
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
สัปดาห์ที่ 2 ดาเนินการอบรมตามโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิตร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคม เพื่อควบคุมและป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ในกลุ่มทดลอง จานวน 4 วัน สัปดาห์ที่ 1-10 จะมีการให้แรงสนับสนุนทางสังคม โดยการให้กาลังใจ กระตุ้นเตือนแนะนาและให้ ข้อมูลข่าวสารโดยการแจกแผ่นพับความรู้ โดยผู้วิจัยจะไปพบสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง ครั้งละ 15-20 นาที กลุ่มเปรียบเทียบ นักเรียนจะได้เรียนการสอนเรื่องเพศศึกษาในเรื่องของสรีระ และการทาความ สะอาดอวัยวะสืบพันธ์ ซึ่งจะรวมอยู่ในวิชาสุขศึกษาและพละศึกษาที่ทางโรงเรียนจัดให้ สัปดาห์ที่ 11 ผู้วิจัยทาการเก็บรวมรวมข้อมูล ทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบด้านความรู้และ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ทักษะชีวิตทั้ง 12 องค์ประกอบ และพฤติกรรม ควบคุมและป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ จากนั้นทาการตรวจสอบความถูกต้องและความครบถ้วนของแบบสอบถาม และนาข้อมูลที่ได้เก็บรวบรวมไปวิเคราะห์ผล ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi – Experimental Research) แบบสองกลุ่มวัดสอง ครั้ง ก่อนและหลังการทดลอง ประชากร ที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นทั้งชายและหญิงในโรงเรียนแห่ง หนึ่งในตาบลบ้านเลื่อม อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ปีการศึกษา 2560 กลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นทั้งชายและหญิงในโรงเรียนแห่งหนึ่ง ในตาบลบ้านเลื่อม อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ปีการศึกษา 2560 โดยการสุ่มอย่างง่าย จานวน 68 คน แบ่งเป็น กลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบกลุ่มละ 34 คน เครื่องมือวิจัยและการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามซึ่งมีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 3 ระดับ ได้แก่ เห็นด้วย ไม่ แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ประกอบด้วยคาถามด้านความรู้ ด้านทักษะชีวิต และด้านความตั้งใจ โปรแกรมการสร้ า งเสริ ม ทั ก ษะชี วิ ต ร่ ว มกั บ แรงสนั บ สนุ น ทางสั ง คมเพื่ อ ควบคุ ม และป้ อ งกั น การมี เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร มีกิจกรรมดังนี้ คือ สัปดาห์ที่ 1-10 จะมีการให้แรงสนับสนุนทางสังคม โดยการให้กาลังใจ กระตุ้นเตือน แนะนาจากครู ผู้ปกครองและเพื่อน ให้ข้อมูลข่าวสารโดยการแจกแผ่นพับความรู้ โดยผู้วิจัยจะไปพบสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง ครั้งละ 1520 นาที สัปดาห์ที่ 2 วันที่ 1 กิจกรรม “หนูเป็นสาวแล้ว ผมเป็นหนุ่มแล้ว” การให้ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมส่งเสริมอนามัย เจริญพันธ์ที่เหมาะสมโดยการบรรยายและฐานการเรีย นรู้เรื่องเพศศึกษา ระดมสมอง กิจกรรม “สถานการณ์ ผลกระทบ/ผลเสียจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน” การบรรยายสั้นๆ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ อภิปรายกลุ่มกิจกรรม “คุณค่าในตัวฉัน” โดยการเล่าประสบการณ์ เพื่อสร้างจิตสานึกความรับผิดชอบว่าทุกคนต้องทาหน้าที่ของตนเอง และเกี่ยวข้องกับผู้อื่น อภิปรายกลุ่ม วันที่ 2 กิจกรรม “รู้จักรัก” เพื่อให้นักเรียนรู้จักและเข้าใจวัฒนธรรมเกี่ยวกับเรื่องเพศในสังคมไทยและ ตระหนักถึงความแตกต่างระหว่างชายและหญิง โดยบทบาทสมมติ วิเคราะห์กรณี ศึกษา กิจกรรม “รู้ว่าเสี่ยง เลี่ยง อย่างไร” เพื่อให้นักเรียนสามารถตัดสินใจแก้ไขปัญหา และปฏิเสธได้ โดยการบรรยาย วิเคราะห์สถานการณ์จากข่าว
25
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
การฝึ กปฏิบั ติการปฏิเ สธ กิจกรรม “ใจเขาใจเรา” เพื่ อส่งเสริม การสร้างความสัมพัน ธ์และการสื่อสาร โดยใช้ สถานการณ์จาลองที่กาหนดให้ และอภิปรายกลุ่ม วันที่ 3 กิจกรรม “รู้ไว้...คลายเครียด” เพื่อส่งเสริมทักษะการจัดการอารมณ์และความเครียด ได้แก่ การบรรยาย การระดมสมอง และกิจกรรมฝึกปฏิบัติการผ่อนคลายความเครียดด้วยตนเอง เช่น การหัวเราะ การ ออกกาลังกายด้วยฤาษีดัดตน กิจกรรม “อารมณ์โกรธของแอน” เพื่อให้นักเรียนสามารถจัดการกับอารมณ์ใน สถานการณ์ต่าง ๆ ได้แก่ การบรรยาย วิเคราะห์สถานการณ์ กิจกรรม “คิดสักนิด ก่อนจะรัก” เพื่อให้นักเรียนรู้จัก ป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและทราบถึงผลกระทบของการมีเพศสัมพันธ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจและ สังคม ได้แก่ การวิเคราะห์ข่าวและสถานการณ์ ระดมสมอง การสาธิตและการฝึกปฏิบัติ วันที่ 4 กิจกรรม “ความสาเร็จของชีวิต ” โดยการบรรยาย เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักการวางแผน เป้าหมายในชีวิต และหลีกเลี่ยงจากปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อความสาเร็จของชีวิต การอภิปรายกลุ่ม กิจกรรม “พันธะ สัญญาใจ” เพื่อให้นักเรียนแสดงเจตนารมณ์ในการที่จะหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน และ เขียนสัญญาใจของตนเอง การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ นาแบบทดสอบมาวิ เ คราะห์ น าไปค านวณด้ วยเครื่อ งคอมพิ ว เตอร์ ด้ว ยโปรแกรมวิ เ คราะห์ข้ อ มู ล สาเร็จรูป SPSS version 16.0 โดยกาหนดค่าความเชื่อมั่นทางสถิติที่ระดับ 0.05 เป็นเกณฑ์ในการยอมรับสมมติฐาน 1. การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป ด้วยสถิติพรรณนา(Descriptive) 2. เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยคะแนนภายในกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบก่อนและหลัง ทดลองด้วยสถิติ Paired t-test 3. เปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยคะแนนระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบก่อนและหลัง ทดลองด้วยสถิติ Independent t-test ผลการวิจัย 1. คุณลักษณะทางประชากร อายุ พบว่า กลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 65 รองลงมาเป็นเพศชาย ร้อยละ 35 ส่วนใหญ่มีอายุ 14 ปี สถานภาพครอบครัว พบว่า ในกลุ่มทดลอง ส่วนใหญ่บิดามารดาอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข ร้อยละ 80 รองลงมาคือบิดามารดาแยกกันอยู่หรือหย่าร้างกัน ร้อ ย ละ 20 ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบส่วนใหญ่บิดามารดาอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข ร้อยละ 70 รองลงมาคือบิดามารดา แยกกันอยู่หรือหย่าร้างกัน ร้อยละ 30 ผู้ให้คาปรึกษาเมื่อไม่สบายใจ พบว่าในกลุ่มทดลองส่วนใหญ่เมื่อมีเรื่องราวไม่ สบายใจจะปรึกษาบิดา มารดา ร้อยละ75 รองลงมาคือปรึกษาเพื่อนสนิท ร้อยละ 25 ในกลุ่มเปรียบเทียบส่วนใหญ่ เมื่อมีเรื่องราวไม่สบายใจจะปรึกษาบิดามารดา ร้อยละ 70 รองลงมาคือปรึกษาพี่น้อง ร้อยละ 30 การเที่ยวสถาน บันเทิง พบว่า ในกลุ่มทดลองส่วนใหญ่ไม่เคยเที่ยวสถานบันเทิงหรือเที่ยวงานมหรสพกับเพื่อนต่างเพศในเวลา กลางคืนร้อยละ 75 รองลงมาคือเที่ยวเป็นบางครั้ง ร้อยละ 25 ในกลุ่มเปรียบเทียบเคยเที่ยวเป็นบางครั้งมากที่สุด ร้อยละ 47 รองลงมาคือไม่เคยเที่ยวเลย ร้อยละ 40
26
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ผลการทดลอง ผลการวิจัยพบว่า เมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม พบว่า กลุ่มทดลองมี คะแนนความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม ความตระหนักรู้ในตนและความเห็นใจผู้อื่น การเห็นคุณค่าใน ตนเองและความรับผิดชอบต่อสังคม ความคิดสร้างสรรค์และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การตัดสินใจและการแก้ไข ปัญหา การสื่อสารและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การจั ดการกับอารมณ์และความเครียด ความตั้งใจส่งเสริม พฤติ ก รรมอนามัย เจริ ญ พั น ธ์ ที่ เหมาะสม สู งกว่า ก่ อ นทดลองและกลุ่ ม เปรี ย บเที ย บ อย่ า งมี นัย ส าคั ญ ทางสถิ ติ (P-value<0.05) สรุปผลและวิจารณ์ผลการวิจัย จากผลของโปรแกรมสุขศึกษาในการประยุกต์ใช้การสร้างเสริมทักษะชีวิตกับแรงสนับสนุนทางสังคมเพื่อ การป้องกันมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนแห่งหนึ่งในตาบลบ้านเลื่อม อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี พบว่า โปรแกรมสุขศึกษาที่จัดทาขึ้นทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลงในกลุ่มทดลอง สามารถ อภิปรายผลการวิจัยตามสมมติฐาน ดังนี้ จากสมมติฐานการวิจัยข้อที่ 1 ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยในด้านความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับการมีพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสมสูงกว่าก่อนการทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการมีพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสมสูงกว่า ก่อนการทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ( P-value<0.001) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย ซึ่งการใช้วิธีการให้สุขศึกษาหลาย ๆ วิธีรวมกันจะเป็นผลทาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจและเรียนรู้ได้ดีขึ้น เป็น ผลให้คะแนนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการมีพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสมเพิ่มขึ้น จากสมมติฐานการวิจัยข้อที่ 2 ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความตระหนักรู้ในตน และความเห็นใจผู้อื่น สูงกว่าก่อนการทดลองและกลุ่มเปรีย บเทียบ ผลการวิจัยพบว่าหลังการทดลองกลุ่มทดลองมี คะแนนเฉลี่ยความตระหนักรู้ในตนและความเห็ นใจผู้อื่ น สูงกว่าก่อนการทดลองและกลุ่มเปรี ยบเทีย บอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ(P-value<0.01) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย จากสมมติฐานการวิจัยข้อที่ 3 ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการเห็นคุณค่าในตนเอง และความรับผิดชอบต่อสังคมสูงกว่าก่อนการทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองกลุ่ม ทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการเห็นคุณค่าในตนเองและความรับผิดชอบต่อสังคมสูงกว่ากลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ(P-value<0.01) จากสมมติฐานการวิจัยข้อที่ 4 ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความคิดสร้างสรรค์และ การคิดอย่างมีวิจารณญาณสูงกว่าก่อนทดลองและกลุม่ เปรียบเทียบ ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมี คะแนนเฉลี่ยความคิดสร้างสรรค์และการคิดอย่างมีวิจารณญาณสูงกว่าก่อนทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ(P-value<0.01) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัย จากสมมติฐานการวิจัยข้อที่ 5 ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการตัดสินใจและการ แก้ปัญหา สูงกว่าก่อนการทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ ซึ่งผลการวิจั ยพบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนน เฉลี่ยการตั ดสินใจและการแก้ปัญ หาสูงกว่า ก่อนการทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติ( Pvalue<0.05)
27
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
จากสมมติ ฐ านการวิจัย ข้ อที่ 6 ภายหลั งการทดลอง กลุ่ มทดลองมี ค ะแนนเฉลี่ย การสื่ อสารและ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลสูงกว่ าก่อนการทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองกลุ่ม ทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการสื่อสารและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล สูงกว่าก่อนการทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติ (P-value<0.01) จากสมมติฐานการวิจัยข้อที่ 7 ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการจัดการกับอารมณ์ และความเครียด สูงกว่าก่อนการทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองกลุ่มทดลองมี คะแนนเฉลี่ยการจัดการกับอารมณ์และความเครียดสูงกว่าก่อนการทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติ(P-value<0.01) จากสมมติฐานการวิจัยข้อที่ 8 ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความตั้งใจส่งเสริม พฤติกรรมอนามัยเจริญพันธ์ที่เหมาะสมสูงกว่าก่อนการทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ ผลการวิจัยพบว่าหลังการ ทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความตั้งใจส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธ์ที่เหมาะสมสูงกว่าก่อนการทดลอง และกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ(P-value<0.001) สรุปผลการวิจัย หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม ทักษะชีวิต ความ ตั้งใจมีพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธ์ที่เหมาะสม สูงกว่าก่อนทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ ข้อเสนอแนะ 1. การให้โปรแกรมสุขศึกษาในการประยุกต์ใช้การสร้างเสริมทักษะทักษะชีวิตกับแรงสนับสนุนทาง สังคมเพื่อการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนแห่งหนึ่งใน ตาบลบ้านเลื่อม อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานีนี้ มีประสิทธิผลเพียงพอทาให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การมีพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม ความตระหนักรู้ในตนและความเห็นใจผู้อื่น การเห็นคุณค่าในตนเองและความ รับผิดชอบต่อสังคม ความคิดสร้างสรรค์และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทักษะด้านการตัดสินใจและการแก้ปัญหา การสื่อสารและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การจัดการกับอารมณ์และความเครียด ความตั้งใจส่งเสริมพฤติกรรม อนามัยเจริญพันธ์ที่เหมาะสม 2. การใช้สื่อประกอบการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธ์ ทักษะชีวิต การผ่อนคลายความเครียดด้วย การหัวเราะ ซีดีการออกกาลังกาย โดยวิธีฤาษีดัดตน และมีกิจกรรมที่หลากหลายน่าสนใจ เหมาะสมตามวัยของ ผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนให้ความสนใจอยากเรียนรู้ เกิดการรับรู้และเข้าใจในกิจกรรมได้เป็นอย่างดี 3. การจัดกิจกรรมกลุ่ม ด้วยการอภิปรายกลุ่ม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในแต่ละประเด็นทาให้เกิด การมีส่วนร่วม บทสรุปที่ได้จากการ อภิปรายกลุ่มซึ่งผ่านการแลกเปลี่ยน โต้แย้งโดยใช้เหตุผลและข้อมูลข่าวสารที่ ถูกต้องเพียงพอจะทาให้เกิดการรับรู้ในประเด็นต่างๆ ที่ต้องการได้ 4. การจัดให้มีกิจกรรม การเรียนการสอนเกี่ยวกับอนามัยเจริญพันธ์ ทักษะชีวิตการป้องกันการมี เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ในโรงเรียนอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ทักษะชีวิตหรือพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของนักเรียนยังคง อยู่ ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ตามวาระสาคัญ เช่น วันวาเลนไทน์ วันเอดส์โลก ฯลฯ
28
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณท่านสาธารณสุขอาเภอเมืองอุดรธานี, ผอ.รพ.สต.บ้านเลื่อม และเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้าน เลื่อมทุกท่าน, คณะครูอาจารย์ในโรงเรียนแห่งหนึ่ง ในตาบลบ้านเลื่อม อาเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี และภาคี เครือข่ายในตาบลบ้านเลื่อมทุกท่าน ขอขอบคุณนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนแห่งหนึ่ง ในตาบลบ้านเลื่อม อาเภอเมือง จังหวัด อุดรธานี ที่ให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามและเข้าร่วมในการทาวิจัยครั้งนี้ ขอขอบพระคุณอาจารย์สุทิน ชนะบุญ อาจารย์ภาควิชาสาธารณสุขชุมชน วิทยาลัยการสาธารณสิริธร ขอนแก่น ที่ให้ความช่วยเหลือในด้านความรู้เรื่องระเบียบวิธีการวิ จัย งานวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ โดยโปรแกรม วิเคราะห์ข้อมูลสาเร็จรูป SPSS version 16.0 ตารางที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ ข้อมูลทั่วไป 1. อายุ 11 ปี 12 ปี 13 ปี 14 ปี 2. เพศ ชาย หญิง 3. สถานภาพทางครอบครัว บิดามารดาอยู่ด้วยกันอย่างมีความสุข บิดามารดาอยู่ด้วยกันไม่มีความสุข บิดามารดาแยกกันอยูห่ รือหย่าร้าง บิดาเสียชีวิต 4. ผู้ที่ให้คาปรึกษาเมื่อไม่สบายใจ บิดา มารดา พี่ น้อง ครูที่โรงเรียน เพื่อนสนิท 5. ท่านเที่ยวสถานเริงรมย์หรือเที่ยวงาน มหรสพกับเพื่อนต่างเพศ เที่ยวเป็นประจา เที่ยวเป็นบางครั้ง ไม่เคยเที่ยวเลย
กลุ่มทดลอง(n=34) จานวน ร้อยละ
กลุ่มเปรียบเทียบ(n=34) จานวน ร้อยละ
6 21 1 6
17.65 61.76 2.94 17.65
5 22 2 5
14.70 64.70 5.89 14.71
22 12
64.71 35.29
23 11
67.65 32.35
24 3 5 2
70.59 8.82 14.71 5.88
23 5 2 4
67.65 14.71 5.88 11.76
22 3 1 8
64.71 8.82 2.94 23.53
23 5 3 3
67.65 14.71 8.82 8.82
0 10 24
0 29.41 70.59
3 16 15
8.82 47.06 44.12
29
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ตารางที่ 2 เปรียบเทียบคะแนนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการมีพฤติกรรมทางเพศทีเ่ หมาะสม ทักษะชีวิต ความ ตั้งใจปฏิบัติ ภายในกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง ความรู้ ทักษะชีวิต ความตั้งใจ ปฏิบัติ กลุ่มทดลอง(n=34) ความรู้ ความตระหนักรู้ในตน การเห็นคุณค่าในตนเอง ความคิดสร้างสรรค์ การตัดสินใจ การสื่อสาร การจัดการกับอารมณ์ ความตั้งใจปฏิบัติ กลุ่มเปรียบเทียบ(n=34) ความรู้ ความตระหนักรู้ในตน การเห็นคุณค่าในตนเอง ความคิดสร้างสรรค์ การตัดสินใจ การสื่อสาร การจัดการกับอารมณ์ ความตั้งใจปฏิบัติ
ก่อนทดลอง X SD
หลังทดลอง SD X
Mean Difference
95%CI
t
P-Value
10.91 29.38 27.72 32.88 29.56 26.09 25.09 46.50
3.47 4.76 2.61 6.28 5.89 2.32 2.61 3.98
14.16 32.72 30.59 36.16 36.06 28.59 28.94 50.78
1.27 3.07 2.12 2.17 3.03 1.93 1.63 2.93
3.25 -3.34 2.88 -3.28 6.50 2.50 3.84 4.28
2.08 ถึง 4.42 -5.67 ถึง -1.02 1.65 ถึง 4.10 -5.80 ถึง -0.76 4.28 ถึง 8.80 1.37 ถึง 3.63 2.80 ถึง 4.89 2.45 ถึง 6.11
5.65 -2.93 4.80 -2.65 5.75 4.51 7.47 4.77
<0.001 0.006 <0.001 0.01 0.001 <0.001 <0.001 <0.001
10.34 28.59 27.19 32.34 29.56 25.53 24.13 44.97
3.53 4.84 3.12 6.54 4.79 2.59 2.64 3.68
9.91 28.72 26.16 32.59 29.78 24.97 23.88 44.66
4.26 3.85 3.79 4.99 4.14 1.93 1.93 3.53
-0.44 -0.13 -1.03 -0.25 0.22 0.56 0.25 0.31
-2.45 ถึง 1.57 -0.72 ถึง 0.47 -2.99 ถึง 0.93 -1.03 ถึง -0.53 -0.51ถึง 0.95 -9.11 ถึง 1.22 -0.38 ถึง 0.88 -0.22 ถึง 0.84
-0.44 -0.42 -1.07 -0.65 0.61 1.75 0.81 1.20
0.66 0.67 0.29 0.51 0.54 0.08 0.42 0.23
ตารางที่ 3 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการมีพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม ทักษะชีวิต ความตั้งใจปฏิบัติ ระหว่างกลุม่ ทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ ก่อนการทดลองและหลังการทดลอง ความรู้ทักษะชีวิตความตั้งใจ ปฏิบัติ ก่อนทดลอง ความรู้ ความตระหนักรู้ในตน การเห็นคุณค่าในตนเอง ความคิดสร้างสรรค์ การตัดสินใจ การสื่อสาร การจัดการกับอารมณ์ ความตั้งใจปฏิบัติ หลังทดลอง ความรู้
ก่อนทดลอง (n=34) X SD
หลังทดลอง (n=34) SD X
Mean
95%CI
t
P-Value
Difference
10.91 29.38 27.19 32.88 29.56 26.09 25.09 46.50
3.47 4.76 3.12 6.28 5.89 2.32 2.61 3.98
10.34 28.59 27.72 32.34 29.56 25.53 24.13 44.97
3.53 4.84 2.61 6.54 4.79 2.59 2.64 3.68
-0.56 0.78 -0.53 0.53 0.0 0.56 0.97 1.68
-2.31 ถึง 1.18 -1.62 ถึง 3.18 -1.97 ถึง 0.90 -2.67 ถึง 3.74 -2.68 ถึง 2.68 -0.67 ถึง 1.79 -0.34 ถึง 2.28 -0.38 ถึง 3.44
-0.64 0.65 -0.74 0.33 0.0 0.91 1.47 1.60
0.95 0.79 0.33 0.61 0.17 0.58 0.58 0.78
14.16
1.27
9.91
4.26
4.25
2.68 ถึง 5.82
5.40
0.001
30
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
ความรู้ทักษะชีวิตความตั้งใจ ปฏิบัติ ความตระหนักรู้ในตน การเห็นคุณค่าในตนเอง ความคิดสร้างสรรค์ การตัดสินใจ การสื่อสาร การจัดการกับอารมณ์ ความตั้งใจปฏิบัติ
ก่อนทดลอง (n=34) X SD 33.10 2.73 30.59 2.12 35.83 2.73 36.06 3.03 27.88 2.27 28.15 2.51 49.79 3.22
หลังทดลอง (n=34) SD X 28.88 4.71 26.16 3.79 31.09 5.13 29.78 4.14 23.06 3.35 22.53 3.72 39.47 6.93
Mean Difference 4.23 4.44 4.74 6.28 4.81 5.61 10.68
SRRU
NCR2018
95%CI
t
P-Value
2.89 ถึง 5.89 2.90 ถึง 5.97 2.98 ถึง 6.50 4.47 ถึง 8.09 3.56 ถึง 6.06 4.23 ถึง 7.00 8.04 ถึง 12.61
5.08 5.77 5.3 6.92 7.67 8.07 8.98
0.007 0.001 0.004 0.034 0.012 0.001 <0.001
เอกสารอ้างอิง กาญจนา ปัญญาเพ็ชร์. (2548). ได้ทาการศึกษาการพัฒนาทักษะชีวิตต่อความสัมพันธ์กับเพื่อนต่างเพศ ของ นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5 เขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต.วิทยาศาสตร์(พยาบาล สาธารณสุข).มหาวิทยาลัยมหิดล. จุฬาภรณ์ โสตะ. (2552). แนวคิด ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้เพื่อการพัฒนาสุขภาพ. ขอนแก่น : คณะสาธารณสุข ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เจตนิพิฐ สมมาตย์. (2550). ประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างเสริมทักษะชีวิตร่วมกับกระบวนการป้องกันการมี เพศสัมพันธ์ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนแห่งหนึ่ง อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาสุขศึกษาและส่งเสริมสุขภาพ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ฐิติพร อิงคถาวรวรศ์. (2550). พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นหญิงในโรงเรียนอาชีวศึกษา. สงขลานครินทร์เวช สาร ปีที่ 25 ฉบับที่ 6 พ.ย. – ธ.ค. เดือนแก้ว ลีทองดี. (2551). การประยุกต์ใช้โปรแกรมเสริมสร้างทักษะชีวิตร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมต่อ พฤติกรรมการควบคุมป้องกันการดื่มแอลกอฮอล์ในนักเรียนระดับอาชีวศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญา สาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น. ตั้ม บุญรอด. (2550). พฤติกรรมทางเพศและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีเพศสัมพันธ์วัยรุ่นในสถานศึกษา สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวะศึกษา อาเภอเมือง ของจังหวัดแห่งหนึ่งในภาคใต้. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. เบญจวรรณ กิจควรดี. (2552). ประสิทธิผลของการประยุกต์การสร้างเสริมทักษะชีวิตร่วมกับแรงสนับสนุนทาง สังคมเพื่อป้องกันการสูบบุหรี่ในนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนแห่งหนึ่ง จังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น. พรพิมล ไวทยางกูร. (2548). พัฒนาการวัยรุ่น. กรุงเทพมหานคร: ต้นอ้อการพิมพ์. ลินจง จันทน์เทศ. (2550). ผลการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโรคเอดส์โดยการประยุกต์การพัฒนา ทักษะชีวิตและแรงสนับสนุนทางสังคมนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนราศีไศล อาเภอราศีไศล จังหวัดศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาสุขศึกษาและการส่งเสริม สุขภาพ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
31
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
วัชระพล วิวรรศน์ เถาว์พันธ์. (2552). การประยุกต์ใช้ทักษะชีวิตร่วมกับทฤษฎีความสามารถตนเองเพื่อป้องกัน โรคเอดส์ในนักเรียนชาย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 อาเภอพล จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญา สาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น. อรอานันท์ ใสแสง. (2552). ประสิทธิผลของการประยุกต์ใช้แนวคิดการพัฒนาทักษะชีวิตร่วมกับแรงสนับสนุน ทางสังคมเพื่อป้องกันการติดเกมในนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนขยายโอกาสทาง การศึกษา อาเภอเมือง จังหวัดหนองคาย. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อัญชลี ภูมิจันทึก. (2554). ประสิทธิผลโปรแกรมสุขศึกษาในการประยุกต์ใช้การสร้างเสริมทักษะชีวิตกับแรง สนับสนุนทางสังคมเพื่อการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนแห่งหนึ่ง อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาสุขศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อเนก อารีพรรค. (2548). เพศศาสตร์ในสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ พิมพ์ดีจากัด. WHO. (1994). Life Skills Education in Schools. World Health Organization Division of Mental Health, Geneva.
32
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018 SCIEPP-04
ประสิทธิภาพการบาบัดน้าเสียจากร้านอาหารด้วยแกลบแบบคอลัมน์ TREATMENT EFFICIENCY OF FOOD STALL WASTEWATER WITH RICE HUSK COLUMN วรรณา สายแก้ว1 และวุฒิกร สายแก้ว2 1
Wanna Saikaew สาชาวิชาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี kosanlavitw_0@hotmail.com 2 Wutthikorn Saikaew สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ajkornrmu@hotmail.com
บทคัดย่อ ประสิท ธิภาพในการบ าบั ดน้ าเสี ยจากร้านอาหารด้ว ยแกลบแบบคอลัม น์ใ นครั้งนี้ ใช้ท่ อพีวี ซีข นาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 15.24 เซนติเมตร ความยาว 45 เซนติเมตร บรรจุแกลบ 500 กรัม ความสูง 32.50 เซนติเมตร โดยน้าเสียจะไหลผ่านตะแกรงและเข้าสู่ระบบ จากนั้นเก็บตัวอย่างน้าเข้าและน้าออกจากระบบ เพื่อนาไปวิเคราะห์ ค่าความเป็นกรด-ด่าง ปริมาณน้ามันและไขมัน ค่าบีโอดี และค่าซีโอดี ผลการศึกษาพบว่าน้าเข้าระบบมีค่าค่าความเป็นกรด-ด่าง ปริมาณน้ามันและไขมัน ค่าบีโอดี และค่าซีโอ ดี อยู่ในช่วง 3.96-6.75 125.20-574.05 มิลลิกรัมต่อลิตร 23-1,200 มิลลิกรัมต่อลิตร และ 408-3,093 มิลลิกรัมต่อ ลิตร ตามลาดับ สาหรับน้าออกจากระบบอยู่ในช่วง 3.67-6.62 68.15-369.50 8-520 และ 187-1,792 มิลลิกรัมต่อ ลิตร ตามลาดับ ส่วนประสิทธิภาพในการบาบัดน้ามันและไขมัน บีโอดี และซีโอดี มีค่าอยู่ในช่วงร้อยละ 9.0683.55,-71.74-80.30 และ 3.00-81.00 ตามลาดับ ดังนั้นจะเห็นได้ว่าแกลบที่เป็นวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร สามารถนามาใช้ในการบาบัดน้าเสียได้ คำสำคัญ: ประสิทธิภาพการบาบัด; น้าเสียจากร้านอาหาร; แกลบ Abstract Treatment efficiency of food stall wastewater with rice husk column was studied by using PVC pipe diameter of 15.24 cm, 45 cm in length, 500 grams of rice husk packed 32.50 cm in height. The wastewater flowed through the screen and into the column system. The sample were collected for inlet and outlet water of the system and analyzed for pH, oil and grease, BOD and COD. The results showed the inlet water had pH, oil and grease, BOD and COD in range of 3.96-6.75 125.20-574.05 mg/L, 23-1,200 mg/L and 408-3,093 mg/L, respectively and the quality of outlet water were 3.67-6.62, 68.15-369.50, 8-520 and 187-1,792 mg/L. respectively. For the treatment efficiency of oil and grease, BOD and COD, the results showed in range of 9.06-83.55,-
33
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
71.74-80.30 and 3.00-81.00%, respectively. Therefore, it can be seen that the rice husk, one of the agricultural waste materials, can be used for wastewater treatment. Keywords : Treatment Efficiency; Food Stall Wastewater; Rice Husk บทนา น้าเสียที่เกิดจากการประกอบอาหารจะมีปริมาณสารอินทรีย์สูง รวมไปถึงน้ามันและไขมัน โดยการ ปนเปื้อนของน้ามัน และไขมันในน้าเสียสามารถอยู่ในรูปที่ละลายน้า รูปอิมัลชัน ที่เป็นอนุภาคขนาดเล็กคล้าย คอลลอยด์ และอยู่ในรูปลอยบนผิวน้า (ฟิล์ม) จึงส่งผลกระทบต่อคุณภาพน้าในแหล่ งรองรับน้า เช่น การเกิด แผ่นฟิล์มปิดผิวหน้าของผิวน้า ทาให้ออกซิเจนไม่สามารถละลายลงสู่ผิวน้าด้านล่างได้ ส่งผลให้ปริมาณออกซิเจนที่ ละลายในน้าลดลง และอาจบดบังแสงหรือเคลือบผิวของพืชน้า หรือสาหร่ายในน้า ทาให้พืชน้าเหล่านี้ไม่สามารถ สังเคราะห์แสง เพื่อเพิ่มออกซิเจนให้กับแหล่งน้าได้เช่นกัน นอกจากนี้ยังส่งผลต่อการทางานของระบบบาบัดน้าเสีย โดยทาให้เกิดการอุดตัน หรือเกิดคราบน้ามัน เป็นสาเหตุให้ระบบบาบัดน้าเสียมีประสิทธิภาพต่าลง สูญเสียค่าใช้จ่าย ในการบารุงรักษารวมทั้งการขุดลอกตะกอนที่เกิดขึ้น [1] จึงได้มีการกาหนดมาตรฐานคุ ณภาพน้าทิ้งของอาคารตาม ประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ให้มีปริมาณน้ามันและไขมันไม่เกิน 20 มิลลิกรัมต่อลิตร [2] จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการบาบัดน้ามัน และไขมัน ก่อนปล่อยสู่แหล่งน้าสาธารณะ หรือลงสู่ระบบ บาบัดน้าเสียต่อไป จึงมีนักวิ จัยจานวนไม่น้อยที่ให้ความสนใจในการพัฒนาการบาบัดน้าเสียจากร้านอาหาร ใน รูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะพัฒนาทางด้านราคาค่าใช้จ่าย การบารุงรักษา สะดวกต่อการใช้งาน ขั้นตอนการใช้งานไม่ ยุ่งยาก รวมทั้งประสิทธิภาพในการบาบัด เพื่อนาไปใช้ในครัวเรือน ร้านอาหาร แผงลอย ได้แก่ ถัง ดังไขมันประดิษฐ์ สาหรับในครัวเรือน [3] ถังดักไขมันที่ทาจากวัสดุเหลือใช้ [4] โดยเฉพาะการใช้วัสดุเหลือใช้ที่มีคุณสมบัติในการดูด ซับ โดยวัสดุที่นามาใช้อาจทามาจากเส้นใยสังเคราะห์ หรือเส้นใยพืช ซึ่งอาจจะเป็นวัสดุที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น และ สามารถดูดซับได้ดี สะดวกต่อการใช้งานขั้นตอนการใช้ไม่ยุ่งยาก ไม่เป็นพิษหรือส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม [5] ดังนั้น ผู้วิจัยจึงเล็งเห็นความสาคัญในการบาบัดน้าเสียจากร้านอาหารด้วยแกลบแบบคอลัมน์ ที่จะส่งผล ให้เกิดประสิทธิภาพในการบาบัด ความสะดวกต่อการใช้งาน ง่ายต่อการบารุงรักษา และลดระยะเวลาการกักเก็บ รวมไปถึงการเพิ่มมูลค่าให้กับวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพน้าทิ้งกับมาตรฐานคุณภาพน้าทิ้งจากอาคารประเภท จ ตามประกาศ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อมเรื่องกาหนดมาตรฐานควบคุม การระบายน้าทิ้ งจากอาคารบาง ประเภทและบางขนาด ฉบับที่ 2 (2538) โดยใช้ค่าความเป็นกรดด่าง ปริมาณน้ามันและไขมัน ค่าบีโอดี และค่าซีโอดี เป็นดัชนีชี้วัด 2. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการบาบัดน้าเสียด้วยแกลบแบบคอลัมน์ โดยใช้ปริมาณน้ามันและไขมัน ค่าบีโอดี และค่าซีโอดี เป็นดัชนีชี้วัด
34
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ขอบเขตการวิจัย ประสิท ธิภาพในการบ าบั ดน้ าเสี ยจากร้านอาหารด้ว ยแกลบแบบคอลัม น์ใ นครั้งนี้ ใช้ท่ อพีวี ซีข นาด เส้นผ่าศูนย์กลาง 15.24 เซนติเมตร ความยาว 45 เซนติเมตร บรรจุแกลบ 500 กรัม ความสูง 32.50 เซนติเมตร และกั้นด้วยตะแกรง แล้วนาไปติดตั้งที่ใต้อ่างล้างจานของร้านอาหารตามสั่งในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี โดยน้าเสียจะไหลผ่านตะแกรงเข้าสู่ร ะบบจากนั้นเก็บตัวอย่างน้าเข้าระบบและออกจากระบบในช่วงเช้า เวลา 06.00น. และช่วงบ่ายเวลา 15.00 น. เป็นระยะเวลา 7 วัน จากนั้นนาน้าตัวอย่างไปวิเคราะห์ค่าความเป็นกรด-ด่าง ปริมาณน้ามันและไขมัน ค่าบีโอดี และค่าซีโอดี เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพน้าทิ้งกับมาตรฐานคุณภาพน้าทิ้งจาก อาคารประเภท จ ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเรื่องกาหนดมาตรฐานควบคุม การ ระบายน้าทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด ฉบับที่ 2 (2538) รวมถึงประสิทธิภาพในการบาบัดน้าเสียด้วย แกลบแบบคอลัมน์ วิธีดาเนินการวิจัย การศึกษาประสิทธิภาพในการบาบัดน้าเสียจากร้านอาหารด้วยแกลบแบบคอลัมน์ในครั้งนี้ ได้ดาเนินวิจัย ที่ร้านอาหารตามสั่งในมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี โดยมีรายละเอียดดังนี้ การเตรียมวัสดุดูดซับ นาแกลบที่ได้ล้างด้วยน้าสะอาดตากให้แห้งแล้วนาไปเข้าตู้อบลมร้อนที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 3 ชั่วโมง พักให้เย็นในโถดูดความชื้น 30 นาที เก็บไว้ในถุงพลาสติก เพื่อรอนาไปใช้ใน การทดลองขั้นต่อไป การดาเนินการวิจัย นาระบบบาบัดน้าเสียแบบคอลัมน์ไว้ใต้อ่างล้างจานของร้านอาหารตามสั่ง ที่ใช้ ท่อพีวีซีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 15.24 เซนติเมตร ความยาว 45 เซนติเมตร บรรจุแกลบ 500 กรัม ความสูง 32.50 เซนติเมตร ในถุงผ้าขาวบาง และกั้นด้วยตะแกรง โดยน้าเสียจะไหลจากอ้างล้างจานผ่านท่อระบาย แล้วผ่านตะแกรง ดักเศษอาหาร ก่อนไหลผ่านแกลบที่บรรจุในท่อพีวีซี ทาการเก็บตัวอย่างน้าก่อน และหลังผ่านแกลบ ในช่วงเช้าเวลา 06.00น. และช่วงบ่ายเวลา 15.00 น. เป็นระยะเวลา 7 วัน จากนั้นนาน้าตัวอย่างไปวิเคราะห์ค่าความเป็นกรด-ด่าง ปริมาณน้ามันและไขมัน ค่าบีโอดี และค่าซีโอดี การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในครั้งนี้ ดังแสดงในสมการที่ 1 ประสิทธิภาพ (ร้อยละ) = เมื่อ Cin Cout
(Cin–Cout)*100 (1) Cin = ความเข้มข้นของสารในน้าเสียก่อนเข้าระบบ = ความเข้มข้นของสารในน้าทิ้งหลังออกจากระบบ
ผลการวิจัย ผลการศึกษาคุณภาพน้าและประสิทธิภาพของระบบบาบัดน้าเสียด้วยแกลบแบบคอลัมน์ โดยใช้ค่าความ เป็นกรดด่าง ปริมาณไขมันและน้ามัน ค่าบีโอดี และค่าซีโอดี เป็นดัชนีชี้วัด ดังรายละเอียดต่อไปนี้ คุณภาพน้าเข้า และออกจากระบบ ผลการศึกษาคุณภาพน้าเข้า และน้าออกจากระบบ มีรายละเอียด ดังนี้
35
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
1. ค่าความเป็นกรด่าง ผลการวิเคราะห์ค่าความเป็นกรด-ด่างของน้าเข้าระบบมีค่าอยู่ในช่วง 3.966.75 ค่าเฉลี่ยที่ 5.49 และน้าออกระบบมีค่าอยู่ในช่วง 3.67-6.62 เฉลี่ยที่ 5.25 ดังแสดงในภาพที่ 1
ภาพที่ 1 ความเป็นกรดด่างของน้าเข้าและน้าออกจากระบบบาบัดน้าเสียด้วยแกลบแบบคอลัมน์ จากภาพที่ 1 พบว่าค่าความเป็นกรดด่างของน้าเข้าระบบ และออกจากระบบมีแนวโน้มค่อนข้างแกว่ง ตลอดระยะเวลาการเก็บตัวอย่างน้า และผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ คิดเป็นร้อยละ 57.14 ที่กาหนดให้ค่าความเป็นกรด ด่าง อยู่ในช่วง 5-9 น้ามันและไขมัน ผลการวิเคราะห์ปริมาณน้ามันและไขมันของน้าเข้าระบบมีค่าอยู่ในช่วง 125.2-574.1 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าเฉลี่ยที่ 317.4 มิลลิกรัมต่อลิตร และน้าออกระบบมีค่าอยู่ในช่วง 68.2-369.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าเฉลี่ยที่ 172.52 มิลลิกรัมต่อลิตร ดังแสดงในภาพที่ 2
ภาพที่ 2 ปริมาณน้ามันและไขมันของน้าเข้าและออกจากระบบบาบัดน้าเสียด้วยแกลบแบบคอลัมน์ จากภาพที่ 2 พบว่าปริมาณน้ามันและไขมันของน้าเข้า และออกจากระบบที่บรรจุแกลบระบบคอลัมน์มี แนวโน้มค่อนข้างแกว่งตลอดระยะเวลาการเก็บตัวอย่างน้า และผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ คิดเป็นร้อยละ 21.42 ที่ กาหนดให้ปริมาณไขมันและน้ามันไม่เกิน 100 มิลลิกรัมต่อลิตร
36
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
บีโอดี (BOD) ผลการวิเคราะห์บีโอดีของน้าเข้าระบบมีค่าอยู่ในช่วง 23.0-1,200.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าเฉลี่ยที่ 349.5 มิลลิกรัมต่อลิตร และน้าออกระบบมีค่าอยู่ในช่วง 8.3-520.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าเฉลี่ยที่ 182.4 มิลลิกรัมต่อลิตร ดังแสดงในภาพที่ 3
ภาพที่ 3 ค่าบีโอดีของน้าเข้าและน้าออกจากระบบบาบัดน้าเสียด้วยแกลบแบบคอลัมน์ จากภาพที่ 3 พบว่า ค่า บีโอดีข องน้ าเข้ าระบบและออกจากระบบมีแ นวโน้มค่ อนข้างแกว่งตลอด ระยะเวลาการเก็บตัวอย่างน้า และผ่านเกณฑ์มาตรฐานฯ คิดเป็นร้อยละ 28.57 ที่กาหนดให้ค่าบีโอดีไม่เกิน 200 มิลลิกรัมต่อลิตร ซีโอดี (COD) ผลการวิเคราะห์ซีโอดีของน้าเข้าระบบมีค่าอยู่ในช่วง 408-3,093 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าเฉลี่ยที่ 1,290 มิลลิกรัมต่อลิตร และน้าออกระบบมีค่าอยู่ในช่วง 187–1,792 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่าเฉลี่ยที่ 736 มิลลิกรัมต่อลิตร ดังแสดงในภาพที่ 4 ที่พบว่าค่าซีโอดีของน้าเข้าระบบและออกจากระบบมีแนวโน้มค่อนข้างแกว่ง ตลอดระยะเวลาการเก็บตัวอย่างน้า
ภาพที่ 4 ค่าซีโอดีน้าเข้าและน้าออกจากระบบบาบัดน้าเสียด้วยแกลบแบบคอลัมน์
37
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ประสิทธิภาพในการบาบัดน้าเสียด้วยแกลบแบบคอลัมน์ ประสิทธิภาพการบาบัดน้ามันและไขมัน บีโอ ดี และซีโอดี มีค่าอยู่ในช่วงร้อยละ 9.06-83.55,-71.74-80.30 และ 3.00-81.00 ตามลาดับ ดังแสดงในภาพที่ 5
ภาพที่ 5 ประสิทธิภาพการบาบัดน้ามันและไขมัน บีโอดี และค่าซีโอดีของระบบบาบัดไขมันและน้ามันด้วยแกลบ แบบคอลัมน์ จากภาพที่ 5 ประสิทธิภาพในการบาบัดน้ามันและไขมัน บีโอดี และซีโอดี มีแนวโน้มค่อนข้างแกว่ง ตลอดระยะเวลาการเก็บตัวอย่าง ซึ่งอาจเกิดจากคุณภาพน้าเข้าระบบที่ค่อนข้างแกว่งตลอดระยะเวลาการเก็บ ตัวอย่างเช่นเดียวกัน รวมทั้งอัตราการไหลของน้าที่เข้าสู่ระบบก็มีค่าแตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลาการเก็บตัวอย่าง ซึ่ง ในช่ ว งที่ มี อั ต ราการไหลสู งจะส่ งผลให้ ป ระสิ ท ธิภ าพในการบ าบั ด มี ค่า ต่ า แต่ ถ้ า อั ตราการไหลมีค่ า ต่ าจะท าให้ ประสิทธิภาพในการบาบัดสูงขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากโอกาสในการสัมผัสระหว่างตัวกรองหรือตัวดูดซับกับตัวถูกดูดซับหรือ สารที่ถูกกรองในช่วงอัตราการไหลต่าจะมีโอกาสมากกว่าในช่วงที่มีอัตราการไหลสูง นอกจากนี้ยังพบว่าในช่วงอัตรา การไหลสูงทาให้เกิดการชะสารที่ติดอยู่กับวัสดุดูดซับ จึงทาให้ระบบมีประสิทธิภาพต่าลงได้เช่นเดียวกัน อีกทั้ง คุณภาพน้าที่เข้าสู่ระบบมีคุณภาพน้าที่ดีกว่าน้าออกจากระบบทาให้เกิ ดการชะของสารอีกทางหนึ่งด้วย ส่งผลให้ค่า ประสิทธิภาพในการบาบัดมีค่าติดลบ ดังในกรณีการเก็บตัวอย่างครั้งที่ 4 ค่าบีโอดีก่อนเข้าระบบมีค่ามากกว่าออก จากระบบส่งผลให้ประสิทธิภาพในการบาบัดมีค่าประสิทธิภาพในการบาบัดบีโอดีคิดเป็นร้อยละ -71.73 อย่างไรก็ ตามการบาบัดน้าเสีย ด้วยแกลบแบบคอลัมน์ ในครั้งนี้แ สดงให้เห็น ถึงศักยภาพในการบาบัดน้าเสีย ด้วยแกลบที่ สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการบาบัดเสียจากร้านอาหารได้ต่อไป สรุปผลและวิจารณ์ผลการวิจัย การบาบัดน้าเสียด้วยแกลบแบบคอลัมน์ในครั้งนี้ พบว่าน้าเข้าและออกจากระบบมีแนวโน้มค่อนข้าง แกว่งตลอดระยะการเก็บตัวอย่าง เนื่องจากการดาเนินการติดตั้งระบบที่อ่างล้างจาน ทาให้ลักษณะกิจกรรมที่เกิดขึ้น ในแต่ละช่วงเวลาการเก็บตัวอย่างมีความแตกต่างกัน โดยค่าความเป็นกรดด่าง อาจเกิดการปนเปื้อนจากการปรุง อาหาร เช่น น้าส้มสายชู มะนาว เป็นต้น ทาให้ค่าความเป็นกรดด่างมีค่าต่า สาหรับปริมาณน้ามันและไขมัน อาจเกิด จากการล้างเนื้อสัตว์ เช่น เนื้อหมู เนื้อไก่ ปลาหมึก เป็นต้น หรือเกิดจากการล้างกระทะที่ใช้ในการประกอบอาหาร จึงส่งผลให้ปริมาณไขมันและน้ามันในช่วงการเก็บตัวอย่างนั้นมีค่าสูงเช่นเดียวกัน รวมทั้งบีโอดี และซีโอดี ที่อาจเกิด จากการปนเปื้อนของน้าแป้งจากราดหน้า เศษข้าวเล็กๆ ที่ตะแกรงไม่สามารถดักได้ ส่งผลให้บีโอดีและซีโอดีมีค่าสูง เช่นเดียวกัน นอกจากนี้ยังส่งผลให้ประสิทธิภาพในการบาบัดมีแนวโน้มค่อนข้างแกว่งตลอดระยะเวลาการเก็บ
38
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ตัวอย่าง ซึ่งเกิดจากคุณภาพน้าเข้าระบบที่มีค่าแตกต่างกัน และอัตราการไหลของน้าเข้าสู่ระบบก็มีค่าแตกต่างกันใน แต่ละช่วงเวลาการเก็บตัวอย่าง อย่างไรก็ตามการบาบัดน้าเสียด้วยแกลบแบบคอลัมน์ในครั้งนี้สามารถใช้เป็นข้อมูล ในการพัฒนาระบบบาบัดน้าเสียจากร้านอาหารได้ต่อไป เนื่อ งจากเป็นการใช้วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรให้เกิด ประโยชน์ รวมทั้งเป็นการเพิ่มมูลค่าของวัสดุเหลือใช้ที่จัดว่าเป็นการนาของเสียมาใช้ในการบาบัดของเสียที่จะทาให้ เกิดประโยชน์เป็นทวีคูณ ข้อเสนอแนะ การบาบัดน้าเสียด้วยแกลบแบบคอลัมน์ในครั้งนี้ ควรมีการปรับปรุงระบบ ไม่ ว่าจะเป็นวัสดุดูดซับที่ นามาใช้ รูปแบบของระบบที่เกี่ยวเนื่องกับขนาด หรือลักษณะของระบบ เพื่อนาไปสู่ขีดความสามารถในการรองรับ ของระบบเพิ่มมากขึ้น และรวมไปถึงการผสมผสานระบบอื่นเข้ามาร่วมในการบาบัดได้อีกทางหนึ่งด้วย กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีที่สนับสนุนทุนวิจัยจากงบประมาณรายได้ ประจาปี 2560 ผู้ประกอบการร้านอาหารตามสั่ง โรงอาหาร 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ที่ให้ความอนุเคราะห์ใช้เป็นสถานที่ ทาวิจัย สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ที่ให้ความ อนุเคราะห์ในการใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ เอกสารอ้างอิง กรมควบคุมมลพิษ. (2548). คู่มือการใช้ถังดักไขมัน การติดตั้ง การใช้ประโยชน์และการดูแลรักษา. กรุงเทพ. บุญส่ง ไข่เกษ. (2537). การบาบัดและกาจัดน้าเสียจากบ้านพักอาศัยด้วยระบบติดกับที่. ภาควิชาวิทยาศาสตร์ อนามัยและสิ่งแวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ยุทธพงษ์ วงศ์จงใจหาญ. (2545). การใช้ดอกธูปฤาษีดูดซับน้ามันและนากากที่ได้ไปผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่ง. (วิทยานิพนธ์ วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา)). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี มหานคร. Pollution Control Department. (2556). มาตรฐานคุณภาพน้า. สืบค้นเมื่อ 23 กุมภาพันธ์ 2561, จาก: http:// www.pcd.go.th/info_serv/reg_std_water 05.html#s3. Thawikun, P. (2007). A comparison study of the efficiency of grease traps made from recycled material with ready-made grease. (Master’s thesis). Chiangmai Rajabhat Univeristy.
39
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018 SCIEPP-05
ผลของโปรแกรมการคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะวิกฤติของนิสิตชัน้ ปีที่1 คณะพยาบาลศาสตร์ บุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น THE EFFECT OF POST TRAUMATIC GROWTH ON FIRST YEAR STUDENTS, WESTERN UNIVERSITY WITH FACULTY OF NURSING. ฐพัชร์ คันศร1 และ นภาพร เหลืองมงคลชัย2 1
Thapach Kansorn ภาควิชาจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์บุรีรัมย์มหาวิทยาลัยเวสเทิร์นบุรีรัมย์ Therapist53@hotmail.com Napaporn Luangmongkolchai ภาควิชาจิตเวช คณะพยาบาลศาสตรบุรีรัมย์มหาวิทยาลัยเวสเทิร์นบุรีรัมย์ pu_hid@hotmail.com 2
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental research designs) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อศึกษาผลของการปรึกษากลุ่มเชิงวิภาษวิธีต่อการคืนสภาวะเข้มแข็งของนิสิตชั้นปีที่ 1 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นิสิต คณะพยาบาลศาสตร์บุรีรัมย์ ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น ที่มีคะแนนการคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะ วิกฤติ ในระดับต่า (คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 52.5 ลงมา) จานวน 20 คน สุ่มอย่างง่าย เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 10 คน โดยกลุ่มทดลองจะได้รับการปรึกษากลุ่มเชิงวิภาษวิธี จานวน 12 ครั้งต่อเนื่องกันทุกวัน วันละ 90120 นาที ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการปรึกษาตามวิธีปกติ การทดลองแบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้าประเภท หนึ่งตัวแปรระหว่างกลุ่ม และหนึ่งตัวแปรภายในกลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการทดลองและระยะเวลาการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < .05) นิสิตทีไ่ ด้รับโปรแกรมการปรึกษาเชิงวิภาษวิธี มีคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะวิกฤติ ในระยะหลังการทดลอง สูงกว่า นิสิตกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < .05) นิสิตที่ได้รับโปรแกรมการ ปรึกษาเชิงวิภาษวิธี มีคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิ ญภาวะวิกฤติในระยะติดตามผล สูงกว่านิสิตกลุ่ม ควบคุม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < .05) นิสิตที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษาเชิงวิภาษวิธี มีคะแนนเฉลี่ยการคืน สภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะวิกฤติในระยะหลังการทดลอง สูงกว่าระยะก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < .05) และนิสิตที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษาเชิงวิภาษวิธี มีคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะ วิกฤติในระยะติดตามผล สูงกว่าระยะก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < .05) สรุปได้ว่าการปรึกษากลุ่ม เชิงวิภาษวิธีมีประสิทธิภาพในการช่วยให้การคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะวิกฤติของนิสิตชั้นปีที่ 1 ได้จริง คำสำคัญ : การปรึกษาเชิงวิภาษวิธ;ี การคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะวิกฤติ Abstract This research were Quasi-Experimental research designs. The purposes of this research were to study a development of the dialectical behavior group counseling program on posttraumatic
40
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
growth First Year Students. The sample used in this research were First Year Students, aged 18 years and over, being during the months of December 2017-January 2018, and had low scored of posttraumatic growth (The average score under 52.5) 20 persons were purposive sampling and voluntary, and were assigned by matching score into two groups of ten; experimental group and controlled group. The research tools were PGTI test and the dialectical behavior group counseling program. The experimental group received 12 sessions of counseling daily 90 to 120 minutes while the controlled group did not. The data collection was divided into three phrases; pre-test, post-test and follow up. The research result shown that the posttraumatic growth scores of the First Year Students who received dialectical behavior group counseling program was higher than the control group in post-test and follow up period at .05 significance level. Moreover, the posttraumatic growth scores of the First Year Students who received dialectical behavior group counseling program in post-trial and follow up period was higher than the pre-trial period at .05 significant level. Keywords : dialectical behavior therapy; posttraumatic growth บทนา นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์บุรีรัมย์ มีอายุตั้งแต่ 18 ปี ขึ้น ซึ่งจัดอยู่ในช่วงอายุของวัยรุ่น มีการเปลี่ยนแปลง ทั้งร่างกายและจิตใจ อีกทั้งปัญหาที่มากระทบจิตใจวัยรุ่นมาก เป็นวัยที่มีความเครียดทาให้การใช้ชีวิตผิดปกติขาด ประสิทธิภาพ และถือว่าเป็นวัยที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะวิกฤติ นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์บุรีรัมย์ชั้นปี ที่1ซึ่งเป็นวัยรุ่น ได้รับผลกระทบทางด้านจิตใจ โดยการสัมภาษณ์นิสิตแบบไม่เป็นทางการพบว่า ความพลาดหวังจากการสอบเข้า ศึกษาต่อในสถาบันที่ตนเองตั้งใจ (จานวน 4 คนหรือ 6%) ไม่สามารถปฏิเสธความต้องการของผู้ปกครองในการเลือก อาชีพเอง (จานวน 5คนหรือ 7%) สูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก (ผู้ปกครอง/คนรัก จานวน 2 คนหรือ3%) และปัญหา อื่นๆเช่นการถูกครอบครัวเปรียบเทียบข้อด้อยกับพี่น้อง/เพื่อน (จานวน12คนหรือ17%) เหล่านี้ล้วนเป็นความชอกช้า ด้า นจิ ตใจ (Trauma) และเป็ นภาวะวิก ฤติ (Crisis)ส่งผลให้ เ กิด บาดแผลทางจิต ใจหลังเผชิ ญเผชิ ญภาวะวิก ฤติ (Trauma Event) กระตุ้นความหลากหลายของอารมณ์ที่กาลังรู้สึกหดหู่ [1] นิสิตเหล่านี้ยังขาดทักษะในการ แก้ ปั ญ หา รวมทั้ งปั ญ หาการปรั บ ตั ว กั บ สถานภาพใหม่ ดั งจะพบได้ จ ากสถิ ติ ก ารกระท าผิ ด ระเบี ย บวิ นั ย ของ มหาวิทยาลัย การเที่ยวกลางคืน การแต่งตัวที่ล่อแหลม หรือแม้แต่ผลสัมฤทธิ์จากการเรียนพบว่าอยู่ในระดับต่า หาก ไม่ได้รับการประคับประคองและบาบัดด้านจิตใจ จะส่งผลให้เกิดโรคเครียดภายหลังเผชิญภาวะวิกฤติ ปัญหาเหล่านี้ เกิดขึ้นจากองค์ประกอบหลายมิติ และไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยมิติเดียว หรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง มหาวิทยาลัยมีหน่วยให้การปรึกษาเบื้องต้นแก่นิสิตอยู่แล้ว แต่ไม่สามารถแก้ปัญหาโดยรวมและปัญหา เบื้องลึก ต้นตอของปัญหาได้จริง ดังตัวอย่าง เช่น การปฏิเสธว่าตนเองไม่มีปัญหา การเข้ากลุ่มไม่เกิดประโยชน์ ทา ให้การปรึกษาไม่ประสบความสาเร็จเท่าใดนัก [2] เนื่องจากการพัฒนาความเข้มแข็งต้องอาศัยกระบวนการเปลี่ยน มุมมองและความคิด ของบุคคล การตระหนั กรู้อ ย่างแท้จ ริงด้วยตนเอง การปรึ กษาเชิงวิภาษวิธี ( Dialectical behavior therapy: DBT) เป็นการปรึกษาโดยนาหลักการและปรัชญาตะวันออก เช่น การเพ่งความสนใจ
41
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
(Mindfulness) ผสมผสานกับเทคนิคต่ างๆของทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยมแบบดั้งเดิม เป็นการปรึกษาที่เน้นการ ยอมรับ เข้าใจปัจจัยการเกิดของปัญหาพฤติกรรม และเรียนรู้ทักษะใหม่ในการแก้ปัญหาหรือรู้ทันสถานการณ์ [3] โดยมีแนวโน้มพฤติกรรมทางลบ การทางานด้านสังคมโดยรวมดีขึ้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจพัฒนาความเข้มแข็ งของ นิสิตด้วยโปรแกรมการปรึกษาเชิงวิภาษวิธีต่อนิสิตชั้นปีที่ 1 เพื่อให้สามารถปรับตัวยอมรับความเปลี่ยนแปลง เผชิญ ปัญหาได้อย่างเหมาะสม วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อเปรียบผลของการปรึกษากลุ่มเชิงวิภาษวิธีต่อการปรึกษาวิธีปกติ สมมติฐานการวิจัย 1. มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีทดลองกับระยะเวลาการทดลอง 2. นิสิตชั้นปีที่ 1ที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษาเชิงวิภาษวิธีมีการคืนสภาวะเข้มแข็งในระยะหลังการ ทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม 3. นิสิตชั้นปีที่ 1 ที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษาเชิงวิภาษวิธีมีการคืนสภาวะเข้มแข็งในระยะติดตามผล สูงกว่ากลุ่มควบคุม 4. นิสิตชั้นปีที่ 1 ที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษาเชิงวิภาษวิธีมีการคืนสภาวะเข้มแข็งในระยะหลังการ ทดลองสูงกว่าระยะก่อนทดลอง 5. นิสิตชั้นปีที่ 1 ที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษาเชิงวิภาษวิธีมีการคืนสภาวะเข้มแข็งในระยะติดตามผล สูงกว่าระยะก่อนทดลอง ขอบเขตการวิจัย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนาความเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะวิกฤติของนิสิตชั้นปีที่ 1 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์นบุรีรัมย์ โดยทาการทดลองระหว่างเดือน ธันวาคม2560-มกราคม 2561 วิธีดาเนินการวิจัย เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Research Design) เปรียบเทียบ ข้อมูลก่อนทดลอง หลังทดลอง และติดตามผล ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ได้แก่ นิสิตชั้นปีที่1 คณะพยาบาลศาสตร์ บุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น จานวน 70 คน มี คุณสมบัติดังนี้ 1. อายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย 2. กาลังศึกษาในระดับปริญญาตรี คณะพยาบาลศาสตร์บุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น 3. สมัครใจเข้าร่วมโครงการ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น บุรีรัมย์ ที่มีคะแนนคุณธรรม ใน ระดับต่า (คะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ 52.5ลงมา) จานวน 20 คน สุ่มอย่างง่าย เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 10 คน
42
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
เครื่องมือวิจัย 1. แบบวัดการคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะวิกฤติ 1.1 ผู้วิจัยปรับปรุงใช้แบบวัดการคืนสภาวะเข้มแข็งของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังเผชิญภาวะวิกฤติ จานวน 21 ข้อ จาก ดร.ฐพัชร์ คันศร (2559) โดยได้ปรับการใช้ภาษาให้เหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นนิสิตในครั้ง นี้ 1.2 นาแบบวัดที่ได้ไปทดลองใช้ (Try out) กับนิสิตที่มีคุณสมบัติคล้ายกลุ่มตัวอย่าง 30 คนเพื่อ วิเคราะห์หาอานาจจาแนกรายข้อโดยการหาค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Peason product moment correlation) ของข้อคาถามแต่ละข้อ กับคะแนนรวมทั้งฉบับ (Item-total correlation) โดยข้อคาถาม 21 ข้อ มีค่าอานาจ จาแนกตั้งแต่ 0.32 ถึง 0.70 และวิเคราะห์หาความเที่ยงของเครื่องมือวัด (Reliability of the instrument) ด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach’s alpha method) ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของ ครอนบาค (α-Coefficient) 0.90 2. โปรแกรมการปรึกษาเชิงวิภาษวิธี ที่ได้รับอนุญาตจาก ดร.ฐพัชร์ คันศร แล้ว โดยลักษณะของ โปรแกรมประกอบไปด้วย 12 sessions โดยนิสิตจะได้รับการพัฒนาความเข้มแข็งตามขั้นตอนดังนี้ Session ที่ 1 เป็นการปฐมนิเทศและสร้างสัมพันธภาพ Session ที่ 2-3 ฝึกทักษะการเพ่งความสนใจ Session ที่ 4-6 พัฒนาสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นพัฒนาสัมพันธภาพด้วยเทคนิค DEAR MAN Session 7 เสริมสร้างเป็นการการกากับอารมณ์ - เพิ่มอารมณ์ทางบวก - การลดและป้องกันจากอารมณ์ทางลบ - เพิ่มทักษะความอดทน - ลดอารมณ์ที่รบกวน Session 8-9 ทักษะการกากับอารมณ์ 1. การเพ่งความสนใจ (Mindfulness) 2. ธรรมชาติของอารมณ์ 3. อารมณ์พื้นฐานทั้ง8ประการ 4. การรับรู้อารมณ์และการแสดงออกของพฤติกรรมตามอารมณ์ 5. ความเข้มแข็งและเตรียมพร้อมรับมือกับอารมณ์ต่างๆ 6. การพัฒนาความเข้มแข็งด้วยเทคนิค STRONG Session 10-11ทักษะการเผชิญกับความทุกข์ 1. การเพ่งความสนใจ (Mindfulness) 2. เทคนิค “ใจฉลาดรู้จักการยอมรับ 3. รับรู้ ณ ปัจจุบัน ตามเทคนิค IMPROVE 4. ยอมรับความจริงของชีวิต 5. ยินดีที่จะมี จะเป็น Session 12 ยุติการปรึกษา
43
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
การเก็บรวบรวมข้อมูล โครงการวิจัยผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการวิจัยของมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น ได้เอกสารรับรองเลขที่ WTU 2560-0076. หลังจากนั้นผู้วิจัยได้ชี้แจงวัตถุประสงค์ วิธีการวิจัย ความปลอดภัย อันตราย รวมทั้งประโยชน์ที่ จะได้รับอย่างละเอียด ผู้วิจัยจะเก็บข้อมูลเป็นความลับและนาเสนอรูปของสรุปผลการวิจัยเท่านั้น กลุ่มตัวอย่าง สามารถถอนตัวจากการวิจัยครั้งนี้เมื่อไหร่ก็ได้ โดยไม่มีผลกระทบใดๆ การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองดังนี้ 1. ผู้วิจัยนาเสนอโครงร่างการวิจัยต่อคณะกรรมการจริยธรรมของมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น เมื่อได้รับการ อนุมัติแล้วจึงนัดหมายกลุ่มตัวอย่างเพื่อชี้แนะวัตถุประสงค์ และขอความร่วมมือในการวิจัยก่อนลงลายมือชื่อไว้เป็น หลักฐาน 2. ชี้แจงขั้นตอนการวิจัยและรายละเอียดกิจกรรมให้กลุ่มตัวอย่างฟังและซักถาม 3. ผู้วิจัยนาแบบวัดพัฒนาการคืนสภาวะเข้มแข็งไปวัดกับนิสิตชั้นปีที่ 1 เพื่อเป็นคะแนนก่อนการ ทดลอง (Pretest) โดยเก็บข้อมูลทั้งหมด 70 คน คัดเลือกนิสิตที่มีคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะความเข้มแข็งในระดับ ต่าตั้งแต่ 52.5 ลงมา [4] และสมัครใจเข้าร่วมการทดลองและสามารถเข้าทาการทดลองได้ จานวน 20 คน สุ่มอย่าง ง่าย เป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 10 คน 4. ผู้วิจัยพัฒนาการคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะวิกฤติของนิสิตชั้นปีที่ 1 ในกลุ่มทดลอง โดยใช้ โปรแกรมการปรึกษากลุ่มเชิงวิภาษวิธี จานวน 12 ครั้ง ต่อเนื่องกันทุกวัน วันละ 90-120 นาที โดยกลุ่มควบคุมไม่ได้ เข้ากลุ่มเพื่อรับโปรแกรมการปรึกษาใดๆ เมื่อสิ้นสุดการทดลอง ผู้วิจัยได้วัด การคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะ วิกฤตินิสิตกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม เพื่อเป็นคะแนนภายหลังการทดลอง (Posttest) รวมทั้งในระยะติดตามผล เมื่อสิ้นสุดการทดลอง 2 สัปดาห์ เพื่อเป็นคะแนนในระยะ ติดตามผล (Follow-up) การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้าประเภท หนึ่งตัวแปรระหว่างกลุ่มและหนึ่งตัวแปรภายในกลุ่ม ผลการวิจัย ตอนที่ 1 แสดงข้อมูลและค่าสถิติพื้นฐานของคะแนนการคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะวิกฤติ จากการวิเคราะห์คะแนนการคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะวิกฤติ ของนิสิตในระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผล ในกลุ่มทดลองที่ได้เข้าร่วมการปรึกษากลุ่มเชิงวิภาษวิธีและกลุ่มควบคุม แสดงผลดังตารางที่ 1
44
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ตารางที่ 1 คะแนนการคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะวิกฤติของนิสิตในระยะก่อนการทดลอง ระยะหลังการ ทดลอง และระยะติดตามผลในกลุม่ ทดลองที่ได้เข้าร่วมการปรึกษากลุ่มเชิงวิภาษวิธีและกลุ่มควบคุม กลุ่ม กลุ่มเข้าร่วมการปรึกษา กลุ่มเชิงวิภาษวิธี กลุ่มควบคุม
การทดลอง ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง ติดตามผล ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง ติดตามผล
Min 37 64 68 36 47 43
Max 50 77 82 48 55 61
S 4.33 4.74 5.43 4.50 2.70 5.83
X
40.90 69.00 74.10 43.60 51.20 53.70
N 10 10 10 10 10 10
จากตารางที่ 1 อธิบายได้ว่า นิสิตในกลุ่มทดลองที่ได้เข้าร่วมการปรึกษากลุ่มเชิงวิภาษวิธีมีการคืน สภาวะเข้มแข็งในระยะก่อนการทดลองมีคะแนนระดับคุณธรรมต่าที่สุดเท่ากับ 37 คะแนน และคะแนนสูงสุดเท่ากับ 50 คะแนน และมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 40.90 คะแนน ในระยะหลังทดลองมีคะแนนมีการคืนสภาวะเข้มแข็งที่สุด เท่ากับ 64 คะแนน และคะแนนสูงสุดเท่ากับ 77 คะแนน และมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 69.00 คะแนน และระยะ ติดตาม มีคะแนนระดับคุณธรรมต่าที่สุดเท่ากับ 68 คะแนน และคะแนนสูงสุดเท่ากับ 82 คะแนน และมีคะแนน เฉลี่ยเท่ากับ 74.10 คะแนน ส่วนกลุ่มควบคุม ในระยะก่อนการทดลองมีคะแนนมีการคืนสภาวะเข้มแข็งต่าที่สุด เท่ากับ 36 คะแนน และคะแนนสูงสุดเท่ากับ 48 คะแนน และมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 43.60 คะแนน ในระยะหลัง ทดลองมีคะแนนมีการคืนสภาวะเข้มแข็งต่าที่สุดเท่ากับ 47 คะแนน และคะแนนสูงสุดเท่ากับ 55 คะแนน และมี คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 51.20 คะแนน และระยะติดตาม มีคะแนนมีการคืนสภาวะเข้มแข็งต่าที่สุดเท่ากับ 43 คะแนน และคะแนนสูงสุดเท่ากับ 61 คะแนน และมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 53.70 คะแนน ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ความแปรแปรวนของคะแนนการคืนสภาวะเข้มแข็งของนิสิตระหว่างวิธีการ ทดลองกับระยะเวลาทดลอง ผู้วิจัยทาการวิเคราะห์ความแปรปรวนของคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งของนิสิตระหว่างวิธีการ ทดลองกับระยะเวลาทดลอง Source of variation Between subject Group (G) error Within subjects Interval(I) IxG error Total
df 19 1 18 40 2 2 36 59
SS 2713.25 2100.42 612.83 7523.33 5345.23 1601.03 577.07 10236.58
*p < .05
45
MS
F
p
54126.26 34.05
61.69*
0.000
2672.62 800.52 16.03
166.73* 49.94*
0.000 0.000
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
จากตารางที่ 2 พบว่า ปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการทดลองกับระยะเวลาของการทดลอง(I x G) มีผลต่อ ค่าเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งของนิสิตอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < .05) กล่าวคือ ผลของวิธีการทดลอง 2 วิธี ใน ระยะก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และระยะติดตามผล มีรูปแบบแตกต่างกัน และผลหลักของระยะเวลา (Interval) ซึ่งแสดงถึงค่าเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งของนิสิตในระยะก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และระยะติดตามผล แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < .05) และผลหลักของวิธีการทดลองทั้ง 2 วิธี (G) แตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ (p < .05) ตอนที่ 3 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งของนิสิตระยะหลังทดลอง ระหว่างกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุม ผู้วิจัยทาการศึกษาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งของนิสิตระยะหลังทดลองระหว่าง กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ดังแสดงในตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งของนิสิตระยะหลังทดลองระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุม่ ควบคุม กลุ่ม ควบคุม ทดลอง
n 10 10
S 2.70 4.74
X
51.20 69.00
t 10.32*
p-value 0.00
*p< 0.05 จากตารางที่ 3 พบว่า นิสิตกลุ่มทดลองที่ได้รับการปรึกษากลุ่มเชิงวิภาษวิธีมีคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะ เข้มแข็งระยะหลังทดลองแตกต่างกับนิสิตกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ตอนที่ 4 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งของนิสิตระยะติดตามผลระหว่างกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุม ผู้วิจัยทาการศึกษาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งของนิสิตระยะติดตามผลระหว่างกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุม ดังแสดงในตารางที่ 4 ตารางที่ 4 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งของนิสิตระยะติดตามผลระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุม่ ควบคุม กลุ่ม ควบคุม ทดลอง
n 10 10
S 5.83 5.43
X
53.70 74.10
t 8.10*
p-value 0.00
*p< 0.05 จากตารางที่ 4 พบว่า นิสิตกลุ่มทดลองที่ได้รับการปรึกษากลุ่มเชิงวิภาษวิธีมีคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะ เข้มแข็งระยะติดตามผลแตกต่างกับนิสิตกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ตอนที่ 5 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งของนิสิตกลุ่มทดลองระหว่างระยะหลัง ทดลองและระยะก่อนทดลอง
46
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ผู้วิจัยทาการศึกษาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งของนิสิตกลุ่มทดลองระยะหลั ง ทดลองและระยะก่อนทดลอง ดังแสดงในตารางที่ 5 ตารางที่ 5 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งของนิสิตกลุ่มทดลองระหว่างระยะหลังทดลอง และระยะก่อนการทดลอง ช่วงเวลา ระยะก่อนทดลอง ระยะหลังทดลอง
n 30 30
S 7.67 3.85
X
46.40 68.33
t 16.05*
p-value 0.00
*p< 0.05 จากตารางที่ 5 พบว่า นิสิตกลุ่มทดลองที่ได้รับการปรึกษากลุ่มเชิงวิภาษวิธีมีคะแนนเฉลี่ยการคืน สภาวะเข้มแข็งระยะหลังการทดลองแตกต่างกับระยะก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ตอนที่ 6 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งของนิสิตกลุ่มทดลองระหว่างระยะติดตาม ผลและระยะหลังทดลอง ผู้วิจัยทาการศึกษาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งของนิสิตระยะติดตามผลและระยะ หลังทดลอง ดังแสดงในตารางที่ 6 ตารางที่ 6 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งของนิสิตกลุ่มทดลองระยะติดตามผลและระยะ ก่อนทดลอง ช่วงเวลา ระยะก่อนทดลอง ระยะติดตาม
n 10 10
SD 4.33 5.43
̅ 40.90 74.10
t 17.96*
p-value 0.00
*p< 0.05 จากตารางที่ 6 พบว่า นิสิตกลุ่มทดลองที่ได้รับการปรึกษากลุ่มเชิงวิภาษวิธีมีคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะ เข้มแข็งระยะหลังการทดลองแตกต่างกับระยะติดตามผลอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สรุปผลการวิจัย 1. มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการทดลองและระยะเวลาการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < .05) 2. นิสิตชั้นปีที่ 1 ในกลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ย การคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะวิกฤติ ในระยะ หลังการทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < .05) 3. นิสิตชั้นปีที่ 1 กลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ย การคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะวิกฤติ ในระยะ ติดตามผลสูงกว่านิสิตชั้นปีที่ 1 กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < .05) 4. นิสิตชั้นปีที่ 1 ในกลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ย การคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะวิกฤติ ในระยะ หลังการทดลองสูงกว่าระยะก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < .05)
47
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
5. นิสิตชั้นปีที่ 1 ในกลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะวิกฤติ ในระยะ ติดตามผลสูงกว่าระยะการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < .05) วิจารณ์ผลการวิจัย 1. ผลการทดสอบปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการทดลองกับระยะเวลาการทดลองมีนัยสาคัญทางสถิติ (p < .05) ซึ่งเป็นไปตามสมติฐานข้อที่ 1 กล่าวคือ วิธีการทดลองและระยะเวลาการทดลองส่งผลต่อการคืนสภาวะเข้มแข็ง หลังเผชิญภาวะวิกฤติ ของนิสิตชั้นปีที่ 1 ซึ่งจะเห็นได้จากในระยะ ก่อนการทดลอง นิสิตชั้นปีที่ 1 ทั้งในกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุม มีคะแนนเฉลี่ย การคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะวิกฤติไม่แตกต่างกัน เมื่อระยะเวลา ผ่านไปในช่วงหลังการทดลองและ ระยะติดตามผล นิสิตชั้นปีที่ 1 ในกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษาเชิง วิภาษวิธีและกลุ่มควบคุม มีคะแนนเฉลี่ยการคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะวิกฤติ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติ (p < .05) ซึ่งแสดงให้เห็นว่า นิสิต ที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษากลุ่มเชิงวิภาษวิธีจานวน 12 ครั้ง มีการคืน สภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะวิกฤติได้อย่างมีประสิทธิภาพ เทคนิคและกระบวนการปรึกษาเชิงวิภาษวิธีทาให้นิสิต เกิดการตระหนักคิดถึงเหตุผล เกิดการยอมรับในความคิด ความรู้สึกและพฤติกรรมของตนเอง มีความอดทนต่อสิ่งกดดัน จากสภาวะแวดล้อมต่าง ๆ พัฒนาความสัมพันธ์กับผู้อื่น มองเห็นคุณค่าของตนเอง ซึ่งช่วยให้พัฒนาความเข้มแข็งใน ตนเองเพิ่มมากขึ้น สิ่งเหล่านี้ ทาให้ผู้ป่วยมีความสุขในการใช้ชีวิตมากขึ้น รวมทั้งนาไปสู่การมองเห็นโอกาสต่าง ๆ ที่จะ เกิดขึ้น และมีเป้าหมายของชีวิตที่ชัดเจน สอดคล้องกับการศึกษาของลินสตรอมและคณะ[5] ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง ขนาดใหญ่ในมหาวิทยาลัย Southern United States ซึ่งเป็นนิสิตทั้งหมดได้รายงานด้วยตัวเองว่ามีการคืนสภาวะเข้มแข็ง ทางด้านสังคมและวัฒนธรรมภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมการปรึกษาเชิงวิภาษวิธี 2. นิสิตชั้นปีที่ 1 ที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษาเชิงวิภาษวิธีมีคะแนนการคืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญ ภาวะวิกฤติ ในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผลสูงกว่านิสิตชั้นปีที่ 1 ในกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติ (p < .05) เป็นไปตามสมมติฐานข้อที่ 2 และ 3 โดยแต่ละครั้งที่เข้ารับโปรแกรมการปรึกษา นิสิตจะได้รับความรู้ และการฝึกปฏิบัติการเพ่งความสนใจโดยการตระหนักรู้ต่อตนเองและมีสติอยู่กับปัจจุบัน เรียนรู้การลดช่องว่าง อารมณ์ที่เป็นปัญหา มีการฝึกทักษะการเผชิญกับความทุกข์ด้วยการตระหนักถึงการดารงชีวิตอยู่ในภาวะวิกฤติ ยอมรับ ความทุกข์ต่าง ๆ ผ่านกิจกรรมกลุ่ม ซึ่งมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและการให้กาลังใจกัน จึงพัฒนาความเข้มแข็งใน ตนเองได้มากขึ้น [6] การปรึกษาเชิงวิภาษวิธีในผู้ที่มีความยากต่อการจัดการปัญหา ผู้ที่มีความไวต่อการถูกกระตุ้น มี ค วามก้ า วร้ า ว ในวั ย รุ่ น ชายที่ ถู ก กั ก ขั ง พบว่ า พฤติ ก รรมความก้ า วร้ า วมี นั ย ส าคั ญ ทางสถิ ติ กั บ วิ ธี จั ด การกั บ ความเครียด และมีการรักษาระเบียบวินัยมากขึ้น [7] พบว่าภายหลังจากระยะเวลาของการจัดการกับปัญหาได้ อย่างประสบผลสาเร็จ บุคคลจะสามารถรับมือกับความเศร้าโศกหดหู่นั้ นได้ รวมไปถึงจะมีการพัฒนาเป้าหมายใหม่ และจะให้ความสนใจกับเป้าหมายนั้นเพื่อที่จะยืนยันความเป็นตัวเองและมีความมุ่งมั่นที่จะมุ่งสู่การฟื้นคืนสภาพ (Growth-oriented goal) จากความเศร้าโศกเสียใจ ซึ่งในระยะนี้บุคคลก็จะมีอารมณ์ที่สงบ เยือกเย็นลง มีความพึง พอใจในชีวติ และมีความเข้มแข็งภายในมากขึ้น 3. นิสิตชั้นปีที่ 1 ที่ได้รับโปรแกรมการปรึกษากลุ่ม เชิงวิภาษวิธีมีคะแนนการคืนสภาวะเข้มแข็งหลัง เผชิญภาวะวิกฤติในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผลสูงกว่าระยะก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติ (p < .05) เป็นไปตามสมมติฐานที่ 4 และ 5 ทักษะการเพ่งความสนใจช่วยให้มีการคิดพิจารณารู้ตัวตลอดเวลา มีความใส่ใจในปัจจุบัน ทักษะด้านการกากับอารมณ์ ช่วยให้ควบคุมและกากับอารมณ์ที่เป็นปัญหาและแสดงออกได้ อย่างเหมาะสม และนาความรู้ที่ได้ฝึกฝนไปใช้ในชีวิตประจาวันหลังจากยุติการปรึกษา การปรึกษาเชิงวิภาษวิธีเป็นการ
48
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ปรึกษาที่ตระหนักถึงการคิดใช้เหตุผลซึ่งเป็นเครื่องมือที่มีพลังที่ช่วยให้ผู้รับการปรึกษายอมรับความคิด ความรู้สึกและ พฤติกรรมที่ไม่สุขสบายแทนที่จะต่อต้านและเอาชนะ[8] แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการปรึกษากลุ่ม เชิงวิภาษวิธีช่วยให้ นิสิตชั้นปีที่ 1 คืนสภาวะเข้มแข็งหลังเผชิญภาวะวิกฤติได้อย่างมีประสิทธิภาพ [9] พบว่าการปรึกษาแบบเปลี่ยนแปลง มุมมองและความคิดโดยการตระหนักให้รู้อย่างแท้จริงด้วยตนเอง มีความสัมพันธ์เกี่ยวกับองค์ประกอบหลายอย่าง การปรึกษากลุ่มเชิงวิภาษวิธี เป็นการเปิดใจให้กว้างมองสิ่งต่าง ๆในสภาวะที่เป็นธรรมชาติ ไม่มีเงื่อนไข สังเกตและ หาทางออกและมุมมองจากบุคคลอื่น ปราศจากความขัดแย้งในใจโดยการประเมินสถานการณ์ มองตัวเองและคนอื่น อย่างมีคุณค่าใส่ใจพฤติกรรมและคาพูดของบุคคลอื่น พยายามทาความเข้าใจและไม่ตัดสินใด ๆ เน้นความรู้สึกใน ปัจจุบัน พยายามมองหาสิ่งเติมเต็มเพื่อให้สิ่งที่เกิดขึ้นขณะนั้นดียิ่งขึ้น ข้อเสนอแนะ 1. การปรึกษาเชิงวิภาษวิธีสามารถใช้พัฒนาความเข้มแข็งในนิสิตที่เผชิญภาวะวิกฤติหลากหลาย จึง ควรนาไปใช้กับนิสิตชั้นอื่นๆที่มีภาวะวิกฤติให้พัฒนาความเข้มแข็งมากขึ้น 2. ผู้ที่จะนาโปรแกรมการปรึกษากลุ่มเชิงวิภาษวิธีไปใช้ ควรมีทักษะพื้นฐานการฝึกเพ่งความสนใจ เป็นพื้นฐาน ทักษะการพัฒนาสัมพันธภาพ ทักษะการกากับอารมณ์ ทักษะการอดทนต่อสถานการณ์ปัญหา มีความรู้ พื้นฐานทฤษฎีการปรึกษาเชิงวิภาษวิธีเป็นสาคัญ เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพ เอกสารอ้างอิง บุญชม ศรีสะอาด. (2543) .การวิจัยทางการวัดผลและประเมินผล. กรุงเทพฯ . สุวีริยาสาสน์. ปราโมทย์ เชาว์ศลิ ป์ และรณชัย คงสกนธ์. (2542). กลุ่มจิตบาบัด สาหรับคนไข้ใน (In patient group psychotherapy) (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ. สหประชาพาณิชย์. Herman, J. L. (1997). Trauma and recovery. NY: Basic Books. Herschell, A. D., Lindhiem, O. J., Kogan, J. N., Celedonia, K. L., & Stein, B. D. (2014). Evaluation of an implementation initiative for embedding dialectical behavior therapy in community settings. NY: Routledge. Lindstrom, C. M., Cann, A., Calhoun, L. G., & Tedeschi, R. G. (2013). The relationship of core belief challenge, rumination, disclosure, and sociocultural elements to posttraumat growth. Psychological Trauma: Theory, Research, Practice, and Policy, 5(1), 50-55 Linehan, M. M. (1993). Cognitive-behavioral treatment for borderline personality disorder. NY.Guilford press. Linton, S. J. (2010). Applying dialectical behavior therapy to chronic pain. Scandinavian Journal of pain,1, 50-54. Lynch, T. R., Chapman, A. L., Rosenthal, M. Z., Kuo, J. R., & Linehan, M. M. (2006). Mechanisms of change in dialectical behavior therapy. Journal of Clinical Psychology, 62(4), 459-80.
49
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
Wortman, C. B., & Silver, R. C. (1989). The myths of coping with loss. Journal of Consulting and Clinical Psychology, 57(3), 349-357.
50
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
SCIEPP-06 การสารวจเบื้องต้นของความหลากหลายของพรรณปลาเศรษฐกิจ และการทาประมงในพื้นที่อ่างเก็บน้า ห้วยสังเคียบ อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ PRELIMINARY SURVEY OF SPECIES DIVERSITY OF ECONOMIC FISHES AND FISHERIES STATUS IN HUAI SANG KHEARB RESERVOIR, SOMDEJ DISTRICT, KALASIN PROVINCE สิทธิ กุหลาบทอง1 และราชิต เพ็งสีแสง2 1 2
Save wildlife Thailand อาเภอวังน้อย จังหวัดอยุธยา Kulabtong2011@hotmail.com สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ rraacchhiidd01@gmail.com
บทคัดย่อ สารวจพรรณปลาเศรษฐกิจในพื้นที่อ่างเก็บน้าห้วยสังเคียบ อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ทาการเก็บ ตัวอย่างจากชาวประมง และจากตลาดรับซื้อสัตว์น้าท้องถิ่น พบพรรณปลาในพื้นที่รวมทั้งสิ้น 17 วงศ์ 38 ชนิด มี ปลาในวงศ์ Cyprinidae เป็นวงศ์เด่น รองลงมาเป็นวงศ์ Osphronemiidae พบพรรณปลา 1 ชนิด มีสถานภาพถูก คุกคาม ได้แก่ สถานะใกล้สภาวะคุกคาม คือ ปลาสวาย (Pangasianodon hypophthalmus) และพบพรรณปลา ต่างถิ่น 2 ชนิด ได้แก่ ปลานิล (Oreochromis niloticus) และปลายี่สกเทศ (Labeo rohita) ในด้านการทาประมง พบว่าชาวประมงส่วนใหญ่ทาประมงตลอดทั้งปี เครื่องมือประมงหลัก ได้แก่ มอง เบ็ด และแห ตามลาดับ ในด้าน ทรัพยากรปลาพบว่า ปลากราย (Chitala ornata) เป็นปลาเศรษฐกิจที่มีราคาแพงที่สุด รองลงมาเป็นปลานิล (O. niloticus) ปลาดุกด้าน (Clarius batrachus) ปลาตะเพียนทราย (Puntius brevis) และปลากระสูบจุด (Hampala dispar) ตามลาดับ คำสำคัญ: การทาประมง; ปลาเศรษฐกิจ; อ่างเก็บน้าห้วยสังเคียบ; จังหวัดกาฬสินธุ์ Abstract The species diversity of economic fishes in Huai Sang Khearb Reservoir, Somdej District, Kalasin Province were studied. These studied was collected the specimens from local fishermen and local fish market in same area. The 17 families and 38 species of fishes were found. The family Cyprinidae is a dominance group in term of species number, inferior to family Osphronemiidae. In this study, we found 1 threatened species and 2 alien species namely Pangasianodon hypophthalmus a near threatened fish and Oreochromis niloticus and Labeo rohita are alien species. In fisheries, most fishermen work all year round. The majority of the fishing gears were gill net, hook and fishnet respectively. Chitala ornata, is the highest economic value fish which superior to O. niloticus, Clarius batrachus, Puntius brevis and Hampala dispar, respectively.
51
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
Key words : fisheries, economic fishes, Huai Sang Khearb Reservoir, Kalasin Province บทนา อ่างเก็บน้าห้วยสังเคียบเป็นอ่างเก็บน้าขนาดกลางซึ่งมีพื้นที่ 450 ไร่ หรือ มีความยาวของคันดินรอบอ่าง ยาวถึง 3 กิโลเมตร อยู่ในเขตอาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ อ่างเก็บน้าห้วยสังเคียบสร้างเสร็จเมื่อ ปี พ.ศ. 2540 จัดเป็นแหล่งน้าใกล้ชุมชนที่มีความสาคัญทางด้านการใช้ประโยชน์ทางเกษตรกรรมในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การทานา การเพาะปลูก แหล่งน้าในการปศุสัตว์ และการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า อีกทั้งเป็นแหล่งทาการประมงที่มีความสาคัญ โดย มีการทาประมงในบริเวณดังกล่าวต่อเนื่องตลอดทั้งปี โดยมีชนิดปลาเศรษฐกิจที่สาคัญหลากหลายชนิด อีกทั้งเป็น พื้นที่ชุ่มน้าที่มีความสาคัญทางธรรมชาติ และวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่อีกด้วย ทรัพยากรปลามีความสาคัญ เนื่องจากเป็นแหล่งโปรตีนราคาถูก และเป็นแหล่งสร้างรายได้หลักของ ชาวประมง และเนื่องจากคนไทยมีนิสัยในการรับประทานสัตว์น้าเกือบทุกชนิดที่จับได้ จึงอาจกล่าวได้ว่าสัตว์น้า หลากหลายชนิด มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ (ทศพร, 2553) จากการศึกษาของชวลิตและคณะ (2540) พบว่า ทรัพยากรปลาของแหล่งน้าจืดของประเทศไทยมีความหลากหลายของชนิดพันธุ์สูงโดยพบมากกว่า 500 ชนิด แต่ อย่ า งไรก็ ต ามเมื่ อ สิ่ งแวดล้อ มของแหล่ งน้าและรู ป แบบการใช้ป ระโยชน์ ไ ด้มี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปมากส่งผลให้ ทรัพยากรประมงหลายชนิดอาจเปลี่ยนแปลง ลดน้อยลง หรือสูญหายไปจากแหล่งน้า ดังนั้นการสารวจและจัดทา บันทึกข้อมูลของทรัพยากรสัตว์น้าอย่างต่อเนื่องจึงเป็นสิ่งจาเป็นต่อชุมชน (สาวิกา และสิทธิ, 2556; สาวิกา และ คณะ, 2557ก, 2557ข) ดังนั้นการศึกษาความหลากหลายของพรรณปลาและสถานการณ์การทาประมงในพื้นที่อ่างเก็บน้า ห้วยสังเคียบ อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ในครั้งนี้จะเป็นข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญในด้านความหลากหลายทาง ชีว ภาพของสั ตว์ น้ าเศรษฐกิจ ในระบบนิ เวศแหล่ งน้ านิ่ง อัน จะเป็ นแนวทางไปสู่ก ารประยุ ก ต์ใ ช้ ประโยชน์จ าก ทรัพยากรสัตว์น้าในพื้นที่ อาทิเช่น แหล่งอาศัย รวมทั้งการศึกษาแนวทางการเพาะพันธุ์ปลาเศรษฐกิจที่ปัจจุบันมี ผลผลิตตามธรรมชาติลดน้อยลง แนวทางการอนุรักษ์สัตว์น้า และการทาประมงในพื้นที่ อีกทั้งเป็นแนวทางในการ วางแผนการจัดการอ่างเก็บน้าห้วยสังเคียบอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญในด้านความหลากหลายทางชีวภาพของพรรณปลาเศรษฐกิจ และการ ทาประมงในพื้นที่อ่างเก็บน้าห้วยสังเคียบ อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ได้แก่ ชนิดปลาเศรษฐกิจ วิธีการทาประมง เครื่องมือ ช่วงเวลาการทาประมง ผลผลิต และรายได้จากการทาประมง การดาเนินการวิจัย สารวจเก็บพรรณปลาในพื้นที่อ่างเก็บน้าห้วยสังเคียบ อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ การเก็บตัวอย่าง พรรณปลาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. เก็บรวบรวมตัวอย่างปลาจากชาวประมงในพื้นที่ศึกษา จานวน 20 ราย โดยแบ่งการเก็บตัวอย่าง ออกเป็น 2 ฤดู ในเดือนสิงหาคม 2560 (ตัวแทนฤดูฝน) และเดือนพฤศจิกายน 2560 (ตัวแทนฤดูแล้ง)
52
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
2. เก็บรวบรวมตัวอย่างจากตลาดรับซื้อสัตว์น้าท้องถิ่น บริเวณบ้านเหล่าภูพาน ตาบลแซงบาดาล อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งเป็นตลาดจาหน่าย และรับซื้อปลาเศรษฐกิจต่างๆในพื้นที่ศึกษา ซึ่งสัตว์น้าส่วน ใหญ่มาจากแหล่งน้าธรรมชาติในพื้นที่ศึกษา ในระหว่างเดือนสิงหาคม และเดือนพฤศจิกายน 2560 สัมภาษณ์ชาวประมงในพื้นที่จานวน 20 ราย ในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับสภาวการณ์ทาประมง โดยทาการ สัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth Interview) ในลักษณะการสอบถามและบันทึกข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการอภิปรายผล การศึกษา ทาการเก็บรักษาตัวอย่างปลาทั้งหมดในสารละลายฟอร์มาลีนเข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์ หลังจากนั้นจาแนก ชนิดตัวอย่างตามหลักอนุกรมวิธาน และจัดลาดับทางอนุกรมวิธานโดยใช้เอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ Smith (1945), Kottelat (2001), Robert (1989), Rainboth (1996), Nelson (2006) และเอกสารคาบรรยาย ต้นแบบ (original description) โดยยึดตามลักษณะทางสัญฐานวิทยาเป็นสาคัญ
ภาพที่ 1 พื้นที่อ่างเก็บน้าห้วยสังเคียบ อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ (พิกัด UTM E: 367571, N: 1861985, zone 48) ผลการวิจัย จากการสารวจพรรณปลาเศรษฐกิจในพื้นที่อ่างเก็บน้าห้วยสังเคียบ อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ ใน เดือนสิงหาคม – พฤศจิกายน 2560 พบพรรณปลาทั้งสิ้น 17 วงศ์ 38 ชนิด โดยมีวงศ์ Cyprinidae เป็นวงศ์เด่นที่ จานวนชนิดมากที่สุดคือ 13 ชนิด ได้แก่ แบป (Parachela siamensis) ซิวหนวดยาว (Esomus metallicus) ไส้ตัน (Cyclocheilichthys repasson) ตะเพียนขาว (Barbodes gonionotus) ตะเพียนทราย (Puntius brevis) และสร้อยขาว (Cirrhinus siamensis) เป็นต้น รองลงมาเป็นวงศ์ Osphronemiidae และวงศ์ Channidae ตามลาดับ ส่วนวงศ์อื่นๆพบเพียง 1-2 ชนิดเท่านั้น วงศ์ที่พบ 2 ชนิด ได้แก่ Notopteridae Bagridae และ Mastacembelidae วงศ์ที่พบเพียง 1ชนิด ได้แก่ Clupeidae Siluridae Clariidae Pangasiidae Belonidae Synbranchidae Ambassidae Nandidae Cichlidae Eleotrididae และ Anabantidae
53
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ตารางที่ 1 บัญชีรายชือ่ ชนิดพันธุ์ปลาในพื้นที่ศึกษา วงศ์ / ครอบครัว (Family) Notopteridae Clupeidae Cyprinidae
Bagridae Siluridae Clariidae Pangasiidae Belonidae Synbranchidae Mastacembelidae Ambassidae Nandidae Cichlidae Eleotrididae Anabantidae Osphronemidae
ชื่อวิทยาศาสตร์
ชื่อไทย
ช่วงเวลาการเก็บตัวอย่าง สิงหาคม พฤศจิกายน F/M F M F
Notopterus notopterus Chitala ornata Clupeichthys aesarnensis
สลาด กราย ซิวแก้ว
Parachela siamensis Amblypharyngodon chulabornae Esomus metallicus Rasbora borapetensis R. parviana Cyclocheilichthys repasson Barbodes gonionotus Hampala dispar Puntius brevis Cirrhinus siamensis Labeo rohita Osteochilus vittatus Puntius orphoides Mystus mysticetus Hemibagrus nemurus Ompok krattensis Clarius batrachus Pangasianodon hypophthamus Xenentodon cancila Monopterus albus Macrognathus siamensis Mastacembelus armatus Parambassis siamensis Pristolepis fasciata Oreochromis niloticus Oxyeleotris marmorata Anabas testudineus Trichogaster microlepis T. Pectoralis T. trichopterus Trichopsis schalleri
แปบ ซิวเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์
F
ซิวหนวดยาว ซิวหางแดง ซิวควาย ไส้ตัน ตะเพียนขาว กระสูบจุด ตะเพียนทราย สร้อยขาว ยี่สกเทศ สร้อยนกเขา แก้มช้า แขยงข้างลาย กดเหลือง ชะโอน ดุกด้าน สวาย
F
กระทุงเหว ไหล หลด กระทิง แป้นแก้ว หมอช้างเหยียบ นิล บู่ทราย หมอ ดี่นาง สลิด กระดี่หม้อ กริม
54
F F/M F
F/M F/M M F/M F/M M F F/M
F M F M F
F F/M M F F F F
F F/M F F/M M M F/M
M F F F F F F/M M F F F F
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
วงศ์ / ครอบครัว (Family) Channidae
หมายเหตุ :
ชื่อวิทยาศาสตร์
ชื่อไทย
T. vittata Channa gachua C. striata C. lucius รวม 17 วงศ์ 38 ชนิด
กริมควาย ก้าง ช่อน กระสง
SRRU
NCR2018
ช่วงเวลาการเก็บตัวอย่าง สิงหาคม พฤศจิกายน F F F F/M F/M F
F = ตัวอย่างที่เก็บจากชาวประมง M = ตัวอย่างที่เก็บจากตลาดท้องถิ่น
จากการตรวจสอบสถานภาพของสัตว์น้าในพื้นที่ศึกษากับฐานข้อมูลชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคามในประเทศไทย (Thailand red data) ของ Office of Natural Resouorces and Environmental Policy and Planning (ONEP), Thailand (Vidthayanon, 2005) (ตารางที่ 2) พบว่า มีพรรณปลา 1 ชนิด ที่มีสถานภาพการถูกคุกคาม ได้แก่ ปลาสวาย (Pangasianodon hypophthalmus) ซึ่งมีสถานะใกล้สภาวะคุกคาม (Near threatened) จาก การสัมภาษณ์เก็บข้อมูลพบว่า ปลาสวายเป็นปลาเศรษฐกิจที่หน่วยงานภาครัฐมีการนามาปล่อยเสริมอยู่เป็นระยะ ซึ่งการพบชนิดพรรณปลาที่มีสถานภาพถูกคุกคามดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่าสภาพแวดล้อมในพื้นที่ศึกษายังคง เหมาะสมต่อการดารงชีวิตของชนิดปลากลุ่มนี้ ดังนั้นในอนาคตจึงควรต้องมีมาตรการในการอนุรักษ์แหล่งน้าใน บริเวณนี้เพื่อให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการดารงชีวิตของปลากลุ่มนี้ต่อไป และการสารวจครั้งนี้พบพรรณ ปลาต่างถิ่น 2 ชนิด ได้แก่ ปลานิล (Oreochromis niloticus) และ ปลายี่สกเทศ (Labeo rohita) ตารางที่ 2 สถานภาพของสัตว์น้าที่ถูกคุกคาม และชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในพื้นที่ศึกษา สถานภาพของสัตว์น้า สถานะใกล้สภาวะคุกคาม (Near threatened) ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น (Alien species)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Pangasianodon hypophthalmus Oreochromis niloticus Labeo rohita
ชื่อไทย สวาย นิล ยี่สกเทศ
ทาประมงในพื้นที่ศึกษา จากการสัมภาษณ์เชิงลึกชาวประมงในพื้นที่ศึกษา (ภาพที่ 2 และตารางที่ 3) พบว่า เรือหาปลาในพื้นที่ ศึกษาส่วนใหญ่ (ร้อยละ 75) เป็นเรือพายไม่ติดเครื่องยนต์ และ มีเพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่ใช้เรือหางยาวที่ติด เครื่องยนต์ (ร้อยละ 25) ทั้งนี้เนื่องจากในพื้นที่ศึกษาเป็นแหล่งน้านิ่งที่มีลักษณะเป็นเกาะแก่ง มีสิ่งกีดขวางจากกอ พรรณไม้น้าที่หนาแน่นทาให้การใช้เรือหางยาวติดเครื่องยนต์เคลื่อนที่ค่อนข้างลาบากในหลายพื้นที่อีกทั้งไม่คุ้มค่าต่อ ปริมาณน้ามันที่เสียไป และชาวประมงทั้งหมดที่สัมภาษณ์ (ร้อยละ 100) จะทาการประมงเป็นอาชีพเสริมเท่านั้น โดยจะทาประมงหลังจากว่างเว้นจากการทานา เพาะปลูก การทาเกษตรกรรม หรืองานรับจ้างทั่วไปอื่นๆ การทา ประมงในศึกษาส่วนใหญ่จะนิยมทาในเวลากลางวัน 6.00 - 18.00 น. (ร้อยละ 75) โดยผลผลิตเฉลี่ยของชาวประมง ในพื้นที่ศึกษาส่วนใหญ่ (ร้อยละ 65) อยู่ที่ 6 – 10 กิโลกรัม/วัน
55
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ตารางที่ 3 สภาวการณ์ทาประมงในพื้นที่ศึกษา รูปแบบการทาประมง ประเภทของเรือ เรือไม่ติดเครื่องยนต์ เรือติดเครื่องยนต์ ทาประมงเป็นอาชีพหลัก ทาการประมงเป็นอาชีพเสริม จากการทานา จากการเพาะปลูก จากงานประเภทอื่นๆ ช่วงเวลาทาการประมง 6.00 - 18.00 น. 19.00 – 5.00 น. ผลผลิตเฉลี่ยต่อวัน (กก.) 1 – 5 กก. 6 – 10 กก. เครื่องมือประมงชนิดหลัก มอง หรือ ข่าย แห เบ็ด ลอบ เครื่องมืออื่นๆ การจัดการกับผลผลิต จาหน่ายด้วยตนเองในหมู่บ้าน จาหน่ายด้วยตนเองในตลาด จาหน่ายให้พ่อค้ารับซื้อ บริโภคในครัวเรือน รายได้จากการทาประมง (ต่อเดือน) ไม่เกิน 5,000 บาท 5,000 – 10,000 บาท 10,001 – 15,000 บาท
จานวน (n = 20)
ร้อยละ
15 5 0 20 9 6 5
75 25 0 100 45 30 25
15 5
75 25
7 13
35 65
10 2 4 2 2
50 10 20 10 10
11 1 3 5
55 5 15 25
5 14 1
25 70 5
ชนิดพรรณปลาเศรษฐกิจชนิดหลักที่นิยมทาการประมงในพื้นที่ศึกษา ได้แก่ ปลาสร้อย (Cirrhinus spp.) ปลากราย (Chitala ornata) ปลาดุก (Clarius batrachus) ปลากดเหลือง (Hemibagrus nemurus) ปลา ปลา ช่อน (Channa striata) ปลาสวาย (P. hypophthamus) ปลานิล (O. niloticus) ปลาตะเพียนขาว (Barbodes gonionotus) ปลาหมอช้างเหยียบ (Pristolepis fasciata) ปลากระสูบจุด (Hampala dispar) และปลาหมอ (Anabas testudineus) เป็นต้น
56
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
เครื่องมือประมงที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในพื้นที่ศึกษา ได้แก่ มอง (ข่ายลอย) เบ็ด แห ลอบ และ เครื่องมืออื่นๆ ตามลาดับ โดยเครื่องมือประมงที่นิยมใช้ในช่วงเวลากลางวัน ได้แก่ มอง แห เบ็ด ส่วนเครื่องมือ ประมงที่นิยมใช้ในช่วงเวลาหัวค่าถึงตอนกลางคืน ได้แก่ มอง และลอบ ชาวประมงสามารถทาประมงได้ตลอดทั้งปี พรรณปลา และสัตว์น้าเศรษฐกิจที่จับได้จากพื้นที่ศึกษา ชาวประมงส่วนใหญ่จะนาไปจาหน่ายด้วยตัวเองในหมู่บ้าน (ร้อยละ 55) และหากได้ผลผลิตมากพอก็จะนาไป จาหน่ายด้วยตนเองที่ตลาดในท้องถิ่น (ร้อยละ 5) และมีชาวประมงบางราย (ร้อยละ 15) ที่นาผลผลิตไปขายต่อ ให้กับแม่ค้าที่รับซื้อ ซึ่งมีเพียงบางส่วนที่นาไปใช้บริโภคในครัวเรือน (ร้อยละ 25) พรรณปลาเศรษฐกิจที่มีราคาแพง ที่สุดที่พบในพื้นที่ศึกษาคือ ปลากราย (C. ornata) ราคาที่ชาวประมงจาหน่ายเฉลี่ยอยู่ที่กิโลกรัมละ 80 บาท รองลงมาเป็นปลานิล (O. niloticus) ราคาที่ชาวประมงจาหน่ายเฉลี่ยอยู่ที่กิโลกรัมละ 70 บาท ปลาดุกด้าน (C. batrachus) ราคาที่ชาวประมงจาหน่ายเฉลี่ยอยู่ที่กิโลกรัมละ 50 บาท ปลาตะเพียนทราย (Puntius brevis) ราคา ที่ชาวประมงจาหน่ายเฉลี่ยอยู่ที่กิโลกรัมละ 50 บาท และปลากระสูบจุด (H. dispar) ราคาที่ชาวประมงจาหน่าย เฉลี่ยอยู่ที่กิโลกรัมละ 40 บาท ตามลาดับ และชาวประมงในพื้นที่ศึกษาส่วนใหญ่ (ร้อยละ 70) มีรายได้จากการทา ประมงอยู่ในช่วง 5,000 – 10,000 บาท/เดือน
ภาพที่ 2 การเก็บตัวอย่างปลาในพื้นที่ศึกษา สรุปผลการวิจัย จากการสารวจพรรณปลาเศรษฐกิจในพื้นที่อ่างเก็บน้าห้วยสังเคียบ อาเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์ใน เดือนสิงหาคม และพฤศจิกายน 2560 พบพรรณปลาทั้งสิ้น 17 วงศ์ 38 ชนิด โดยมีปลาในวงศ์ Cyprinidae เป็น วงศ์เด่น รองลงมาเป็นวงศ์ Osphronemiidae ในการศึกษาครั้งนี้พบพรรณปลา 1 ชนิดที่มีสถานภาพถูกคุกคาม ได้แก่ ปลาสวาย (P. hypophthalmus) ซึ่งมีสถานะใกล้สภาวะคุกคาม (Near threatened) และพบพรรณปลาต่าง ถิน่ (Alien species) พบ 2 ชนิด ได้แก่ ปลานิล (O. niloticus) และปลายี่สกเทศ (L. rohita) ในด้านการทาประมง พบว่าชาวประมงส่วนใหญ่ทาประมงตลอดทั้งปี เครื่องมือประมงหลัก ได้แก่ มอง เบ็ด แห และลอบ ตามลาดับ ใน ด้านทรัพยากรปลาพบว่า ปลากราย (C. ornata) เป็นปลาเศรษฐกิจที่มีราคาแพงที่สุด รองลงมาเป็นปลานิล (O.
57
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
niloticus) ปลาดุกด้าน (C. batrachus) ปลาตะเพียนทราย (Puntius brevis) และปลากระสูบจุด (H. dispar) ตามลาดับ ข้อเสนอแนะ สาหรับการศึกษาในอนาคตควรมีการใช้ดัชนีชี้วัดความหลากหลาย เช่น Shannon-WienerDiversity Index เพื่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล และควรเก็บตัวอย่างพรรณปลาในพื้นที่ศึกษาให้ครอบคลุมพื้นที่มากยิ่งขึ้น รวมทั้งพื้นที่แหล่งน้าหลาก และลาน้าสาขาบริเวณใกล้เคียง โดยเฉพาะพื้นที่การทาประมงในป่าบุ่งป่าทาม รวมทั้ง การเก็บข้อมูลทางนิเวศวิทยาของแหล่งน้าในพื้นที่ อีกทั้ง ควรเก็บตัวอย่างให้ครอบคลุมถึงการเปลี่ยนแปลงทาง ฤดูกาลตลอดทั้งปี และควรบันทึกชื่อท้องถิ่นของพรรณปลาด้วย กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุ ณ ชาวประมงในพื้ น ที่ ศึ ก ษาที่ ก รุ ณ าให้ ก ารสนั บ สนุ น ด้ า นการส ารวจเก็ บ ตั ว อย่ า ง ติ ด ต่ อ ประสานงาน และให้ ข้อมูลที่ สาคัญในการศึ กษาครั้ งนี้ และขอขอบคุณนั กศึกษาปริญญาตรีสาขาประมง คณะ วิทยาศาสตร์ประยุกต์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย ที่ให้ความช่วยเหลือด้านการ สารวจพื้นที่ และเก็บข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ เอกสารอ้างอิง ชวลิต วิทยานนท์ จรัลธาดา กรรณสูต และ จารุจินต์ นภีตะภัฏ. (2540). ความหลากชนิดของปลาน้าจืดใน ประเทศไทย. สานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม, กรุงเทพฯ. 2540. ทศพร วงศ์รัตน์. (2553). “เมืองไทยนี้ดีในน้ามีปลา.” ปาฐกถาชุด สิรินธร. ครั้งที่ 24. สหัส ราชเมืองขวาง วิสัย คงแก้ว ทินกร สานัก ธเนศ อินตัน และแระลินทร์ ไกรวิชัย. (2557). “การสารวจเบื้องต้น ของความหลากชนิดของปลาในบริเวณป่าชายเลนคลองกาพวน อาเภอสุขสาราญ จังหวัดระนอง.” การ ประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ครั้งที่ 52, (2557): 173 – 179. สาวิกา กัลปพฤกษ์ และสิทธิ กุหลาบทอง. (2556). “ความหลากหลายของชนิดพันธุ์สัตว์น้าเศรษฐกิจและรูปแบบ การทาประมงในพื้นที่แม่น้าน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.” Veridian e-Journal, Silpakorn University. 5, 3 (2556): 915 – 923. สาวิกา กัลปพฤกษ์ สิทธิ กุหลาบทอง และญาณนันท์ สุนทรกิจ. (2557). “การสารวจเบื้องต้นเกีย่ วกับความหลาก ชนิดของปลาเศรษฐกิจ และภาวการณ์ทาประมง ในแม่น้าสงครามตอนล่าง จังหวัดนครพนม.” Veridian E-Journal Science and Technology Silpakorn University. 1, 5 (2557ก) สาวิกา กัลปพฤกษ์ สิทธิ กุหลาบทอง และญาณนันท์ สุนทรกิจ. (2557). “ความหลากหลายชนิดพันธุ์ของปลา เศรษฐกิจในหนองหาร จังหวัดสกลนคร.” Veridian e-Journal, Silpakorn University. 6, 3 (2557ข) Kottelat, M. (2001). Fishes of Laos. WHT publications (Pte) Ltd., Sri Lanka. 2001 Nelson, J. S. (2006). Fishes of the World. 4thed. New Jersey: John Wiley and Sons Inc., USA. Rainbth, W.J. (1996). Fish of Cambodian Mekong. Department of biology and Microbiology. Unjversity of Wisconsin Oshkosh, Wisconsin.
58
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
Robert, T. R. (1989). “The freshwater fishes of Western Borneo (Kalimantan Barat, Indonesia)”. Calif. Acad. Sci. Mem., 14 (1989) Smith, H. M. The fresh-water fishes of Siam, or Thailand. Bulletin of the United States National _ Museum No. 188, 622 (1945) Vidthayanon, C. (2005). Thailand red data. Fishes. Office of Natural Resources and Environmental Policy and _Planning, Bangkok, Thailand.
59
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018 SCIEPP-07
ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ SOLAR DRYERS VERSATILE สุชาติ ดุมนิล1 สุรเชษฐ์ วงศ์ชัยประทุม2 เที่ยงธรรม สิทธิจันทเสน3 อัษฎา วรรณกายนต์4 และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นิคม ลนขุนทด5 1
Suchat Dumnil สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ linesky007@gmail.com Surachet Vongchaipratoom สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ srcsr_1@hotmail.com 3 Teangtum Sittichantasen สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรนิ ทร์ teangtums@gmail.com 4 Asada Wannakayont สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ asada2518@hotmail.com 5 Asst. Prof. Nikom Lonkuntosh สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ komsurin1@hotmail.com 2
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อออกแบบตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ เพื่อหาประสิทธิภาพ และคุณภาพการออกแบบตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ ตารางบันทึกการ ทดลอง และตารางประเมินคุณภาพ ในการดาเนินการวิจัยคณะผู้วิจัยได้ออกแบบตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ อเนกประสงค์ ตามแบบที่กาหนดไว้ ผลการทดลองหาประสิทธิภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ (เฉพาะแสงแดด) คณะผู้วิจัย ได้ทดลองอบกล้วยจานวน 5 เมตร ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 1 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิประมาณ 45 องศา คิดเป็นร้อยละ 100 ผลการทดลองหาประสิทธิภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ (เฉพาะหลอดไฟ) คณะผู้วิจัย ได้ทดลองอบกล้วยจานวน 5 กิโลกรัม ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 16 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 38 องศา, พริกสด จานวน 5 กิโลกรัม ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 16 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 38 องศา, ใบมะกรูด จานวน 5 กิโลกรัม ใช้เวลาในการอบ ทั้งสิ้น 2 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 38 องศา คิดเป็นร้อยละ 100 ผลการทดลองหาประสิทธิภาพของตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ (แสงแดดและหลอดไฟ) คณะผู้วิจัยได้ทดลองอบกล้วยจานวน 5 กิโลกรัม ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 10 ชั่วโมงที่อุณหภูมิ 60 องศา, พริกสด จานวน 5 กิโลกรัม ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 8 ชั่วโมงที่ อุณหภูมิ 60 องศา, ใบมะกรูด จานวน 5 กิโลกรัมใช้เวลาใน การอบทั้งสิ้น 30 นาทีที่อุณหภูมิ 60 องศา คิดเป็นร้อยละ100 จากผลการทดลองจะเห็ น ได้ ว่ า การอบด้ วยตู้ อ บแห้ งพลังงานแสงอาทิต ย์ อ เนกประสงค์ จ ะช่ ว ยลด ระยะเวลาในการอบได้เร็วยิ่งขึ้น
60
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
จากการประเมินคุณภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ ของผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.20 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.55 แสดงว่าตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ อเนกประสงค์อยู่ในระดับดี กิโลกรัม ความเข้มแสง 418.5 วัตต์/ตารางเมตร ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 12 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 45 องศา , พริกสด จานวน 5 กิโลกรัม ความเข้มแสง 572.6 วัตต์/ตารางเมตร ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 12 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 45 องศา, ใบมะกรูด จานวน 5 กิโลกรัม ความเข้มแสง 502.2 วัตต์/ตาราง คำสำคัญ: ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ : ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ Abstract This study aims to design a solar dryer. Working principle of natural convection solar dryer is, once air in solar dryer is heated by solar energy, the air relative humidity and density will drop and floating up through the drying bed. The project dried 5 kg of fresh banana with air temperature dryers during 10 hrs. with temperature varied in the range of 60 ° C, 5 kg of fresh chilly with air temperature dryers during 8 hrs with temperature varied in the range of 60 ° C and 5 kg of lime leaf with air temperature dryers during 30 minutes. The result show that the dryer is the dried efficiency faster than the sun naturally which can take up to days. If the energy used is calculated, the electricity generated from the power calculation formula (watt X hours / 1000) will be charged at 2.56 Baht / hour (Lamp only). Calculate the electricity charge in the unit of electricity. The value obtained from the formula (watt X hours / 1000) will cost 2.56 baht / hour. Less baked (Sunshine and light bulbs) According to finding efficiency of the dryer with 5 experts, the average is about 4.2 and standard deviation is about 0.55. The final moisture content of the drying yield with has better features than the natural sun light as well. Moreover, the dried product was very good quality. Keywords: Solar Dryers: Solar Dryers versatile บทนา การทาอบแห้งเป็นวิธีหนึ่งของการถนอมอาหาร ซึ่งนิยมทากันทั้งระดับชาวบ้านและอุตสาหกรรมมาช้า นานแล้ว การทาให้แห้งมีหลายวิธี เช่น การอบแห้งด้วยแสงอาทิตย์ การอบแห้งด้วยลมร้อน และการอบแห้งแบบเย็น เยือกแข็งเป็นต้น วิธีอบแห้งด้วยแสงอาทิตย์ จะมีความสะดวกและสิ้นค่าใช้ จ่ายน้อย โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย์เป็น แหล่งกาเนิดความร้อนที่ได้มาโดยไม่ต้องเสีย ค่าใช้จ่าย การอบแห้งโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์แบบดั้งเดิม เช่น การ อบเนื้อ ปลา พืช ผักและผลไม้ จะมีปัญหาเรื่องฝุ่นละออง แมลงวันตอมเป็นพาหะนาเชื้อโรค และทาให้เกิดหนอนขึ้น
61
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ได้ เมื่อฝนตกหรืออากาศเย็น การตากอาจมีปัญหาเรื่องเชื้อรา เป็นเหตุให้เก็บไว้ได้ไม่นาน ทาให้ผู้บริโภคอาจ เจ็บป่วยได้ จึงได้มีการพัฒนาการอบแห้งโดยใช้การอบแห้งจากแหล่งพลังงานจากไฟฟ้า ซึ่งเป็นการสิ้นเปลือ ง พลังงานและค่าใช้จ่ายเป็นอย่างมากทาให้ต้นทุนการผลิตสูง จึงเห็นความสาคั ญของการอบแห้งโดยใช้พลังงาน แสงอาทิ ตย์ ดังนั้ นจึงนามาพัฒนาให้ดียิ่งขึ้ น โดยการนาตั วควบคุม อุณหภูมิแ ละความชื้นมาใช้ในตู้อบพลังงาน แสงอาทิตย์ โดยใช้พัดลมช่วยดูดอากาศภายในตู้อบ ทาให้สามารถถนอมอาหารได้นานยิ่งขึ้น และสามารถลด ระยะเวลาได้เร็วยิ่งขึ้น วัตถุดิบที่ใช้ในการอบแห้งเป็นหลัก คือ กล้วย พริก ใบมะกรูด เป็นต้น จากปัญหาดังกล่าว คณะผู้วิจัยมีความประสงค์ที่จะนาพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ เพื่อเป็นแนวทางการ ออกแบบและสร้างตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์และเรียนรู้เกี่ยวกับพลังงานทดแทนและเป็นสื่อการ เรียนรู้แก่ผู้ทสี่ นใจที่จะศึกษาพลังงานทดแทน วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อออกแบบและสร้างตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ 2. เพื่อหาประสิทธิภาพและคุณภาพองตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ สมมุติฐานของการวิจัย 1. ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์มีประสิทธิภาพจากการทดลองที่ถูกต้องไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 2. ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์มีคุณภาพจากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญอยู่ในเกณฑ์ ระดับดี ขอบเขตของการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ คณะผู้วิจัยได้กาหนดขอบเขตของการวิจัย ดังต่อไปนี้ ด้านโครงสร้างของตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ กว้าง 1 เมตร ยาว 1.5 เมตร และสูง 1.25 เมตร ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ประกอบด้วย ดังนี้ โซล่าเซลล์ 120 W จานวน 1 แผง พัดลมระบายอากาศ 12 V DC จานวน 4 ตัว เครื่องควบคุมอุณหภูมิและความชื้น จานวน 1 เครื่อง หลอดไฟขนาด 60 W จานวน 4 ดวง หลอดไฟขนาด 100 W จานวน 4 ดวง แบตเตอร์รี่ 12 V จานวน 2 ลูก SOLAR CHARGER INVERTER ALL-IN-ONE จานวน 1 เครื่อง
62
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ด้านการใช้งาน ใช้ความร้อนจากแสงอาทิตย์และหลอดไฟในการอบแห้ง เช่น กล้วย พริก ใบมะกรูดเพื่อช่วยในการ ถนอมอาหาร และลดระยะเวลา ขอบเขตด้านตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย 1. ตัวแปรต้น หมายถึง ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ 2. ตัวแปรตาม หมายถึง ประสิทธิภาพและคุณภาพของตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ วิธีดาเนินการวิจัย การออกแบบและสร้างตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ จากการออกแบบและสร้างตู้อบแห้งพลังงานสงอาทิตย์อเนกประสงค์ คณะผู้วิจัยมีวิธีดาเนินการ ออกแบบและสร้างดังต่อไปนี้
ภาพที่ 1 การออกแบบโครงสร้างตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์
ภาพที่ 2 การออกแบบโครงสร้างและระบบตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ ในการออกแบบและสร้างตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์คณะผู้วิจัยได้ออกแบบและติดตั้ง อุปกรณ์และสร้างระบบในการทางานตามหมายเลขดังนี้ หมายเลข 1 แผงโซล่าเซลล์ขนาด 120 W ทาหน้าที่แปลงพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้า หมายเลข 2 SOLAR CHARGER INVERTER ALL-IN-ONE SUS-1000 A 12 V-220 V ทาหน้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่และแปลงกระแสไฟฟ้าในเวลาเดียวกัน
63
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
.
SRRU
NCR2018
หมายเลข 3 แบตเตอรี่ ขนาด 12 V ทาหน้าที่เก็บกระแสไฟฟ้า หมายเลข 4 เบรกเกอร์ ขนาด 20 A ทาหน้าที่ เปิด-ปิด เครื่องควบคุมอุณหภูมิ หมายเลข 5 เครื่องควบคุมอุณหภูมิและความชื้น REX-C100 ทาหน้าที่ในการควบคุมอุณหภูมิภายใน
ตู้อบ หมายเลข 6 หลอดไฟ ขนาด 60 W และ 100 W ทาหน้าที่ในการเพิ่มอุณหภูมิภายในตู้อบ หมายเลข 7 พัดลมระบายอากาศ ขนาด 12 V DC ทาหน้าที่ในการดูดความชื้นภายในตู้อบ
ภาพที่ 3 ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ที่สร้างขึ้น ผลการทดลองหาประสิทธิภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ จากการทดลองของตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ เพื่อหาประสิทธิภาพของตู้อบแห้ ง พลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ คณะผู้วิจัยมีวิธีการทดลองดังนี้ ตารางที่ 1 ผลการทดลองหาประสิทธิภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ (เฉพาะแสงแดด) วัตถุดิบที่ใช้ อบแห้ง/ 5 กิโลกรัม กล้วย พริกสด ใบมะกรูด ค่าร้อยละ
อุณหภูมิที่ใช้ใน การอบ 38° 38° 38°
ความเข้มแสง (W/m2) 1.5 1.5 1.5
ระยะเวลาที่ใช้ ในการอบแห้ง/ชัว่ โมง 220 220 220
ผลจากการประเมินที่ได้รับ ผ่าน ไม่ผ่าน 640 16 640 16 640 2 100%
จากตารางที่ 1 ผลการทดลองหาประสิท ธิภาพตู้อบแห้งพลั งงานแสงอาทิตย์ อเนกประสงค์(เฉพาะ แสงแดด) คณะผู้วิจัยได้ทดลองตากกล้วยจานวน 5 กิโลกรัม ความเข้มแสง 418.5 วัตต์/ตารางเมตร ใช้เวลาในการ อบทั้งสิ้น 12 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 45 องศา พริกสด จานวน 5 กิโลกรัม ความเข้มแสง 572.6 วัตต์/ตารางเมตร ใช้ เวลาในการอบทั้งสิ้น 12 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 45 องศา ใบมะกรูด จานวน 5 กิโลกรัม ความเข้มแสง 502.2 วัตต์/ ตารางเมตร ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 1 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 45 องศา คิดเป็นร้อยละ 100 จากผลการทดลองจะเห็นได้ว่าการอบด้วยตูอ้ บพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์จะช่วยลดระยะเวลาใน การอบน้อยลง
64
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
หมายเหตุ 1 คือ ผ่าน 0 คือ ไม่ผ่าน (ระยะเวลาในการอบทาการอบวันละ 6 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 10.00-15.00 น.และความหนาของกล้วยควร อยู่ที่ประมาณ 5 มิลลิเมตร) ตารางที่ 2 ผลการทดลองหาประสิทธิภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ (เฉพาะหลอดไฟ) วัตถุดิบที่ใช้ อบแห้ง/ 5 กิโลกรัม
อุณหภูมิที่ใช้ใน การอบ
กล้วย พริกสด ใบมะกรูด ค่าร้อยละ
45° 45° 45°
พลังงานที่ใช้ในอบ / ชั่วโมง A
V
W
ระยะเวลาที่ใช้ ในการอบแห้ง/ ชั่วโมง
418.5 572.6 502.2
12 12 1
1 1 1
-
ผลจากการประเมินที่ ได้รับ ผ่าน ไม่ผ่าน กล้วย 45° พริกสด 45° ใบมะกรูด 45° 100%
หมายเหตุ 1 คือ ผ่าน 0 คือ ไม่ผ่าน (ระยะเวลาในการอบทาการอบวันละ 6 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 10.00-15.00 น.และความหนาของกล้วยควร อยู่ที่ประมาณ 5 มิลลิเมตร) จากตารางที่ 2 ผลการทดลองหาประสิท ธิภาพตู้อบแห้งพลั งงานแสงอาทิตย์ อเนกประสงค์(เฉพาะ หลอดไฟ) คณะผู้วิจัยได้ทดลองตากกล้วยจานวน 5 กิโลกรัม ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 16 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 38 องศา พริกสด จานวน 5 กิโลกรัม ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 16 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 38 องศา ใบมะกรูด จานวน 5 กิโลกรัม ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 2 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 38 องศา คิดเป็นร้อยละ 100 ตารางที่ 3 ผลการทดลองหาประสิทธิภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ (แสงแดดและหลอดไฟ) วัตถุดิบที่ใช้อบแห้ง/ 5 อุณหภูมิที่ใช้ พลังงานที่ใช้ในอบ / ชั่วโมง ความเข้มแสง ระยะเวลาที่ใช้ใน ผลจากการประเมินที่ได้รับ กิโลกรัม ในการอบ (W/m2) การอบแห้ง A V W ผ่าน ไม่ผ่าน /ชั่วโมง กล้วย 60° 1.5 220 640 418.5 10 1 พริกสด 60° 1.5 220 640 572.6 8 1 ใบมะกรูด 60° 1.5 220 640 502.2 30 นาที 1 ค่าร้อยละ 100%
หมายเหตุ 1 คือ ผ่าน 0 คือ ไม่ผ่าน (ระยะเวลาในการอบทาการอบวันละ 6 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 10.00-15.00 น.และความหนาของกล้วยควร อยู่ที่ประมาณ 5 มิลลิเมตร)
65
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
จากตารางที่ 3 ผลการทดลองหาประสิทธิภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์(แสงแดดและ หลอดไฟ) คณะผู้วิจัยได้ทดลองอบกล้วยจานวน 5 กิโลกรัม ความเข้มแสง 418.5 วัตต์/ตารางเมตร ใช้เวลาในการอบ ทั้งสิ้น 10 ชั่วโมง ทีอ่ ุณหภูมิ 60 องศา พริกสด จานวน 5 กิโลกรัม ความเข้มแสง 572.6 วัตต์/ตารางเมตร ใช้เวลาใน การอบทั้งสิ้น 8 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 60 องศา ใบมะกรูด จานวน 5 กิโลกรัม ความเข้มแสง 502.2 วัตต์/ตารางเมตร ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 30 นาที ที่อุณหภูมิ 60 องศา คิดเป็นร้อยละ 100 จากผลการทดลองจะเห็นได้ว่าการอบด้วยตูอ้ บพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์จะช่วยลดระยะเวลาใน การอบน้อยลง ตารางที่ 4 การหาประสิทธิภาพการชาร์จแบตเตอรี่และการใช้ไฟฟ้าของตู้อบจากแบตเตอรี่ (วันที่ 23 พฤศจิกายน 2560) เวลา
08.00 09.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.00 15.00 16.00 17.00 รวม ค่าเฉลี่ย
แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จ ชั่วโมง จาก เข้า (hr) แผงโซล่าเซลล์ แบตเตอรี่ (V) (Ah) 1 14.45 3.90 2 16.38 4.40 3 16.46 4.80 4 16.87 5.20 5 17.63 5.60 6 18.00 5.30 7 18.00 4.80 8 17.28 4.30 9 16.23 3.10 10 14.60 0.10 162.9 41.5 16.29 4.15 การหาประสิทธิภาพการชาร์จแบตเตอรี่คิดเป็นร้อยละ 41.5 %
กระแสไฟฟ้าที่ใช้จาก แบตเตอรี่ (Ah) 14.11 14.13 14.12 14.09 14.10 14.08 5.37 4.34 4.15 3.24 101.73 10.173
หมายเหตุ เนื่องจากความเข้มของแสงอาทิตย์ไม่สม่าเสมอ ในการชาร์จเข้าแบตเตอรี่ของแผงโซล่าเซลล์ มีคา่ เฉลีย่ 4 Ah / ต่อวัน จากตารางที่ 4 การใช้ไฟฟ้าของตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์จากแบตเตอรี่และการ ชาร์จของแบตเตอรี่ของชุดตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ ทาการทดลองอบแห้งที่ใช้พลังงานไฟฟ้าจาก แบตเตอรี่ 12 โวลต์ 14.40 Ah โดยเปิดใช้อย่างต่อเนื่อง โดยเริ่มตั้งแต่เวลา 08.00 น. – 17.00 น. โดยเริ่มต้นการ ทดลอง เวลา 08.00 น. (ชั่วโมงที่ 1) หลอดไฟทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ที่ 14.45 V กระแสไฟฟ้าที่ 14.11 Ah เวลา 09.00 น. (ชั่วโมงที่ 2) หลอดไฟทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ที่ 16.38 V กระแสไฟฟ้าที่ 14.13 Ah เวลา 10.00 น. (ชั่วโมงที่ 3 )หลอดไฟทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ที่ 16.46 V กระแสไฟฟ้าที่ 14.12 Ah เวลา 11.00 น. (ชั่วโมงที่ 4) หลอดไฟทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ที่ 16.87 V กระแสไฟฟ้าที่ 14.09 Ah เวลา
66
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
12.00 น. (ชั่วโมงที่ 5) หลอดไฟทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ที่ 17.63 V กระแสไฟฟ้าที่ 14.10 Ah เวลา 13.00 น. (ชั่วโมงที่ 6) หลอดไฟทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ที่ 18.00 V กระแสไฟฟ้าที่ 14.08 Ah และ เวลา 14.00 น. (ชั่วโมงที่ 7) หลอดไฟทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ที่ 18.00 V กระแสไฟฟ้าที่ 5.37 Ah การชาร์จ แบตเตอรี่ เวลา 08.00 น. – 17.00 น. โดยเริ่มต้นการทดลอง เวลา 08.00 น. (ชั่วโมงที่ 1 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้า แบตเตอรี่ 3.90 Ah เวลา 09.00 น. (ชั่วโมงที่ 2 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 4.40 Ah เวลา 10.00 น. (ชั่วโมงที่ 3 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 4.80 Ah เวลา 11.00 น. (ชั่วโมงที่ 4 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้า แบตเตอรี่ 5.20 Ah เวลา 12.00 น. (ชั่วโมงที่ 5 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 3.55 Ah เวลา 13.00 น. (ชั่วโมงที่ 6 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 5.30 Ah เวลา 14.00 น. (ชั่วโมงที่ 7 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้า แบตเตอรี่ 4.80 Ah เวลา 15.00 น. (ชั่วโมงที่ 8 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 4.30 Ah เวลา 16.00 น. (ชั่วโมงที่ 9 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 3.10 Ah เวลา 17.00 น. (ชั่วโมงที่ 10 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้า แบตเตอรี่ 0.10 Ah จากการหาประสิทธิภาพ การใช้ไฟฟ้าของตู้อบจากแบตเตอรี่และการชาร์จแบตเตอรี่ทาการทดลองตู้อบ ที่ใช้พลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ 12 V โดยเปิดใช้อย่างต่อเนื่อง ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ สามารถ ใช้งานได้ 6 ชั่วโมง 26 นาที และในการชาร์จแบตเตอร์รี่ของตู้อบแห้งพลั งงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ ได้เริ่ม ทดลองทาการชาร์จตั้งแต่เวลา 08.00 น. – 17.00 น. รวมเป็นเวลา 10 ชั่วโมง คิดเป็น 41.5 % ของแบตเตอรี่ 90 Ah สถิติที่ใช้ในการวิจัย คณะผู้ วิ จั ย ได้ น าข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากแบบประเมิ น คุ ณ ภาพการออกแบบตู้ อ บแห้ งพลั งงานแสงอาทิ ต ย์ อเนกประสงค์ โดยใช้สูตรดังนี้ 1. ค่าเฉลี่ย โดยผู้วิจัยได้ใช้สูตรในการหาค่าเฉลี่ยดังนี้สูตรหาค่าเฉลี่ย (รวีวรรณ ชินตระกูล. 2542 : 179) ̅ =
∑
เมื่อ ̅ คือ ค่าเฉลี่ยข้อมูล ∑ คือ ผลรวมข้อมูล N คือ จานวนข้อมูล 2. ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้สูตรในการหาค่าเบีย่ งเบนตามมาตรฐาน ดังนี้ (รวีวรรณชินะตระกูล. 2542 : 179) S.D. = X X 2 N 1
เมื่อ S.D. N X ̅
= = = =
ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน จานวนครั้งของประเมิน ค่าคะแนนของการประเมินในแต่ละครั้ง ค่าเฉลี่ยของการประเมินทั้งหมด
67
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
3. ค่าร้อยละ ศรีเชาวน์ วิหคโต (2551) ได้อธิบายว่า ร้อยละ (Percentage) เป็นสถิติที่ใช้กันมากใน งานวิ จัย เพราะคานวณและทาความเข้ าใจได้ง่าย นิ ยมเรี ยกว่า เปอร์เ ซ็น ใช้สั ญลั กษณ์ % การใช้สู ตรในการ คานวณหาค่าร้อยละมีดังนี้
เมื่อ
P = ค่าร้อยละ F = ความถี่ที่ต้องการแปลงให้เป็นร้อยละ N = จานวนความถี่ทั้งหมด คณะผู้วิจัยได้นาข้อมูลการผลิตกระแสไฟฟ้าที่ได้จากเซลล์แสงอาทิตย์ ในการใช้ร่วมกับตู้อบแห้งพลังงาน แสงอาทิตย์อเนกประสงค์ โดยใช้สูตรดังนี้ (ฟิสิกส์ราชมงคล. 2557) 4. พลังงานที่ได้จากแสงอาทิตย์ แสงเป็นพลังงานรูปแบบหนึ่งที่มีแหล่งกาเนิดมาจากดวงอาทิตย์ สามารถหาความเข้มแสงได้จาก l = l คือ ความเข้มแสง ( W/m2 ) P คือ กาลังแสง ( W ) A คือ พื้นที่รับแสง ( m2 ) จากนิยามของกาลัง เมื่อ
P = เมื่อ
W t
P คือ กาลัง ( W ) W คือ พลังงาน ( J ) T คือ เวลา ( s ) พลังงานที่ได้จากแสงอาทิตย์จึงหาได้จาก W = IA/t เมื่อ W คือ พลังงาน ( J ) L คือ ความเข้มแสง ( W/m2 ) A คือ พื้นที่รับแสงของเซลล์แสงอาทิตย์ (m2 ) t คือ เวลา ( S ) 5. พลังงานไฟฟ้า ไฟฟ้าเป็นพลังงานรูปแบบหนึ่งที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในชีวิตประจาวัน กาลังไฟฟ้า สามารถหาได้จาก P = Vi เมื่อ P คือ กาลังไฟฟ้า (W)
68
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
V คือ แรงดันไฟฟ้า (V) I คือ กระแสไฟฟ้า (A) P = เมื่อ
P คือ กาลังไฟฟ้า ( W ) W คือ พลังงาน ( J ) t คือ เวลา ( s ) พลังงานไฟฟ้าจึงหาได้จาก
W t
W = Vit เมื่อ
W V I T
คือ คือ คือ คือ
พลังงาน ( J ) แรงดันไฟฟ้า ( v ) กระแสไฟฟ้า ( A ) เวลา ( s )
ผลการวิจัย ผลการทดลองหาประสิทธิภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ จากการทดลองของตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ เพื่อหาประสิทธิภาพของตู้อบแห้ ง พลังงานแสงงอาทิตย์อเนกประสงค์ คณะผู้วิจัยมีวิธีการทดลองดังนี้ ตารางที่ 1 ผลการทดลองหาประสิทธิภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ (เฉพาะแสงแดด) วัตถุดิบที่ใช้ อบแห้ง/ 5 กิโลกรัม กล้วย พริกสด ใบมะกรูด ค่าร้อยละ
อุณหภูมิที่ใช้ใน การอบ
ความเข้มแสง (W/m2)
ระยะเวลาที่ใช้ ในการอบแห้ง/ชัว่ โมง
45° 45° 45°
418.5 572.6 502.2
12 12 1
ผลจากการประเมินที่ได้รับ ผ่าน ไม่ผ่าน 1 1 1
100%
หมายเหตุ 1 คือ ผ่าน 0 คือ ไม่ผ่าน (ระยะเวลาในการอบทาการอบวันละ 6 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 10.00-15.00 น.และความหนาของกล้วยควร อยู่ที่ประมาณ 5 มิลลิเมตร) จากตารางที่ 1 ผลการทดลองหาประสิทธิภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ (เฉพาะ แสงแดด) คณะผู้วิจัยได้ทดลองตากกล้วยจานวน 5 กิโลกรัม ความเข้มแสง 418.5 วัตต์/ตารางเมตร ใช้เวลาในการ อบทั้งสิ้น 12 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 45 องศา พริกสด จานวน 5 กิโลกรัม ความเข้มแสง 572.6 วัตต์/ตารางเมตร ใช้ เวลาในการอบทั้งสิ้น 12 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 45 องศา ใบมะกรูด จานวน 5 กิโลกรัม ความเข้มแสง 502.2 วัตต์/ ตารางเมตร ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 1 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 45 องศา คิดเป็นร้อยละ 100
69
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
จากผลการทดลองจะเห็นได้ว่าการอบด้วยตูอ้ บพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์จะช่วยลดระยะเวลาใน การอบน้อยลง ตารางที่ 2 ผลการทดลองหาประสิทธิภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ (เฉพาะหลอดไฟ) วัตถุดิบที่ใช้อบแห้ง/ 5 กิโลกรัม กล้วย พริกสด ใบมะกรูด
อุณหภูมิที่ใช้ใน การอบ 38° 38° 38°
พลังงานที่ใช้ในอบ / ชั่วโมง A
V
W
1.5 220 1.5 220 1.5 220 ค่าร้อยละ
640 640 640
ระยะเวลาที่ใช้ ผลจากการประเมินที่ได้รับ ในการอบแห้ง/ชัว่ โมง ผ่าน ไม่ผ่าน 16 16 2
1 1 1
100%
หมายเหตุ 1 คือ ผ่าน 0 คือ ไม่ผ่าน (ระยะเวลาในการอบทาการอบวันละ 6 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 10.00-15.00 น.และความหนาของกล้วยควร อยู่ที่ประมาณ 5 มิลลิเมตร) จากตารางที่ 2 ผลการทดลองหาประสิทธิภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์(เฉพาะหลอดไฟ) คณะผู้วิจัยได้ทดลองตากกล้วยจานวน 5 กิโลกรัม ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 16 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 38 องศา พริกสด จานวน 5 กิโลกรัม ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 16 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 38 องศา ใบมะกรูด จานวน 5 กิโลกรัม ใช้เวลาใน การอบทั้งสิ้น 2 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 38 องศา คิดเป็นร้อยละ 100 ตารางที่ 3 ผลการทดลองหาประสิทธิภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ (แสงแดดและหลอดไฟ) ผลจากการประเมินที่ วัตถุดิบที่ใช้อบแห้ง/ 5 อุณหภูมิที่ใช้ใน พลังงานที่ใช้ในอบ / ชั่วโมง ความเข้มแสง ระยะเวลาที่ใช้ในการ ได้รับ กิโลกรัม การอบ (W/m2) อบแห้ง/ชัว่ โมง A V W ผ่าน ไม่ผ่าน กล้วย พริกสด ใบมะกรูด ค่าร้อยละ
60° 60° 60°
1.5 1.5 1.5
220 220 220
640 640 640
418.5 572.6 502.2
10 8 30 นาที
1 1 1
100%
หมายเหตุ 1 คือ ผ่าน 0 คือ ไม่ผ่าน (ระยะเวลาในการอบทาการอบวันละ 6 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 10.00-15.00 น.และความหนาของกล้วยควร อยู่ที่ประมาณ 5 มิลลิเมตร) จากตารางที่ 3 ผลการทดลองหาประสิทธิภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์(แสงแดด และหลอดไฟ) คณะผู้วิจัยได้ทดลองอบกล้วยจานวน 5 กิโลกรัม ความเข้มแสง 418.5 วัตต์/ตารางเมตร ใช้เวลาใน
70
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
การอบทั้งสิ้น 10 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 60 องศา พริกสด จานวน 5 กิโลกรัม ความเข้มแสง 572.6 วัตต์/ตารางเมตร ใช้ เวลาในการอบทั้งสิ้น 8 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 60 องศา ใบมะกรูด จานวน 5 กิโลกรัม ความเข้มแสง 502.2 วัตต์/ตาราง เมตร ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 30 นาที ที่อุณหภูมิ 60 องศา คิดเป็นร้อยละ 100 จากผลการทดลองจะเห็นได้ว่าการอบด้วยตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์จะช่วยลดระยะเวลาใน การอบน้อยลง ตารางที่ 4 การหาประสิทธิภาพการชาร์จแบตเตอรี่และการใช้ไฟฟ้าของตู้อบจากแบตเตอรี่ (วันที่ 23 พฤศจิกายน 2560) เวลา
ชั่วโมง (hr)
08.00 1 09.00 2 10.00 3 11.00 4 12.00 5 13.00 6 14.00 7 15.00 8 16.00 9 17.00 10 รวม ค่าเฉลี่ย
แรงดันไฟฟ้าจาก กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้า กระแสไฟฟ้าที่ใช้จาก แผงโซล่าเซลล์ แบตเตอรี่ แบตเตอรี่ (V) (Ah) (Ah) 14.45 3.90 14.11 16.38 4.40 14.13 16.46 4.80 14.12 16.87 5.20 14.09 17.63 5.60 14.10 18.00 5.30 14.08 18.00 4.80 5.37 17.28 4.30 4.34 16.23 3.10 4.15 14.60 0.10 3.24 162.9 41.5 101.73 16.29 4.15 10.173 การหาประสิทธิภาพการชาร์จแบตเตอรี่คิดเป็นร้อยละ 41.5 %
หมายเหตุ เนื่องจากความเข้มของแสงอาทิตย์ไม่สม่าเสมอ ในการชาร์จเข้าแบตเตอรี่ของแผงโซล่าเซลล์ มีคา่ เฉลีย่ 4 Ah / ต่อวัน จากตารางที่ 4 การใช้ไฟฟ้าของตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์จากแบตเตอรี่และการชาร์จ ของแบตเตอรี่ของชุดตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ ทาการทดลองอบแห้งที่ใช้พลังงานไฟฟ้าจาก แบตเตอรี่ 12 โวลต์ 14.40 Ah โดยเปิดใช้อย่างต่อเนื่อง โดยเริ่มตั้งแต่เวลา 08.00 น. – 17.00 น. โดยเริ่มต้นการ ทดลอง เวลา 08.00 น. (ชั่วโมงที่ 1) หลอดไฟทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ที่ 14.45 V กระแสไฟฟ้าที่ 14.11 Ah เวลา 09.00 น. (ชั่วโมงที่ 2) หลอดไฟทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ที่ 16.38 V กระแสไฟฟ้าที่ 14.13 Ah เวลา 10.00 น. (ชั่วโมงที่ 3 )หลอดไฟทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ที่ 16.46 V กระแสไฟฟ้าที่ 14.12 Ah เวลา 11.00 น. (ชั่วโมงที่ 4) หลอดไฟทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ที่ 16.87 V กระแสไฟฟ้าที่ 14.09 Ah เวลา 12.00 น. (ชั่วโมงที่ 5) หลอดไฟทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ที่ 17.63 V กระแสไฟฟ้าที่ 14.10 Ah เวลา 13.00 น. (ชั่วโมงที่ 6) หลอดไฟทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ที่ 18.00 V กระแสไฟฟ้าที่ 14.08 Ah และ เวลา 14.00 น. (ชั่วโมงที่ 7) หลอดไฟทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ที่ 18.00 V กระแสไฟฟ้าที่ 5.37 Ah การชาร์จ แบตเตอรี่ เวลา 08.00 น. – 17.00 น. โดยเริ่มต้นการทดลอง เวลา 08.00 น. (ชั่วโมงที่ 1 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้า
71
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
แบตเตอรี่ 3.90 Ah เวลา 09.00 น. (ชั่วโมงที่ 2 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 4.40 Ah เวลา 10.00 น. (ชั่วโมงที่ 3 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 4.80 Ah เวลา 11.00 น. (ชั่วโมงที่ 4 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้า แบตเตอรี่ 5.20 Ah เวลา 12.00 น. (ชั่วโมงที่ 5 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 3.55 Ah เวลา 13.00 น. (ชั่วโมงที่ 6 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 5.30 Ah เวลา 14.00 น. (ชั่วโมงที่ 7 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้า แบตเตอรี่ 4.80 Ah เวลา 15.00 น. (ชั่วโมงที่ 8 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 4.30 Ah เวลา 16.00 น. (ชั่วโมงที่ 9 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 3.10 Ah เวลา 17.00 น. (ชั่วโมงที่ 10 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้า แบตเตอรี่ 0.10 Ah จากการหาประสิทธิภาพ การใช้ไฟฟ้าของตู้อบจากแบตเตอรี่และการชาร์จแบตเตอรี่ทาการทดลองตู้อบ ที่ใช้พลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ 12 V โดยเปิดใช้อย่างต่อเนื่อง ตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ สามารถ ใช้งานได้ 6 ชั่วโมง 26 นาที และในการชาร์จแบตเตอร์รี่ของตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ ได้เริ่มทดลอง ทาการชาร์จตั้งแต่เวลา 08.00 น. – 17.00 น. รวมเป็นเวลา 10 ชั่วโมง คิดเป็น 41.5 % ของแบตเตอรี่ 90 Ah ผลการประเมินคุณภาพของตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ การออกแบบและสร้างตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ คณะผู้วิจัยได้นาแบบประเมินคุณภาพ ของตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ เสนอให้ผู้เชียวชาญ 5 ท่าน ทาการประเมินคุณภาพตู้อบแห้ง พลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ โดยมีผลการประเมินคุณภาพดังต่อไปนี้ ตารางที่ 5 ผลการประเมินคุณภาพของตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์จากผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน ข้อที่
รายการประเมิน
ด้านโครงสร้าง 1 การออกแบบโครงสร้างตู้อบมีความ เหมาะสมตามหลักวิศวกรรม 2 โครงสร้างตู้อบมีความคงทนแข็งแรง 3 มีการลงทุนที่คุ้มค่ากับประโยชน์ที่ได้รับ 4 มีความสะดวกในการเคลื่อนย้าย 5 วัสดุที่ใช้ในการสร้างตู้อบมีมาตรฐาน ค่าเฉลี่ยด้านโครงสร้าง ด้านการใช้งาน 1 ความเหมาะสมในการใช้งาน 2 มีวิธีการใช้งานที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน 3 มีประสิทธิภาพในการใช้งาน 4 มีคู่มือการใช้งานที่เข้าใจง่าย ค่าเฉลี่ยด้านการใช้งาน ด้านความปลอดภัย 1 มีความปลอดภัยในการใช้งาน 2 ง่ายต่อการบารุงรักษา 3 มีความสะดวกในการใช้งาน 4 มีป้ายเตือนจุดที่ควรระวังในตาแหน่งที่
ผู้เชี่ยวชาญ(คนที่)
∑
( ̅)
S.D.
ระดับ
4 5 4 5 5
22 25 22 24 21
4.4 5 4.4 4.8 4.2 4.5
0.55 0 0.55 0.45 0.45 0.4
ดี ดีมาก ดี ดีมาก ดี ดีมาก
4 4 5 2
4 5 3 3
23 23 21 14
4.6 4.6 4.2 2.8 4.0
0.55 0.55 0.84 0.84 0.67
ดีมาก ดีมาก ดี พอใช้ ดี
3 4 3 3
3 4 5 3
16 23 23 16
3.2 4.6 4.6 3.2
0.84 0.45 0.55 0.45
ปานกลาง ดีมาก ดีมาก ปานกลาง
1
2
3
4
5
5 5 4 5 5
5 5 5 5 4
4 5 5 5 4
4 5 4 4 4
5 5 5 4
5 5 4 3
5 4 4 2
4 5 5 4
3 5 5 3
3 5 5 3
72
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
ข้อที่
รายการประเมิน
ผู้เชี่ยวชาญ(คนที่) 1
2
3
4
เหมาะสมชัดเจนแลสังเกตเห็นได้ ค่าเฉลี่ยด้านความปลอดภัย
5
∑
SRRU
NCR2018
( ̅)
S.D.
ระดับ
3.9
0.57
ปานกลาง
จากผลการประเมินคุณภาพตารางที่ 5 การวิเคราะห์แบบประเมินคุณภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ อเนกประสงค์ ของผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน โดยคณะผู้วิจัยได้พิจารณาเป็นรายด้านพบว่าจัดอยู่ในระดับที่ดีทั้ง 3 ด้าน ซึ่งจัดเรียงลาดับจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ มีประสิทธิภาพด้านโครงสร้าง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.56 และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน มีค่าเท่ากับ 0.40 โครงสร้างตู้อบมีความคงทนแข็งแรง ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 5.00 และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน มีค่าเท่ากับ 0 มีความสะดวกในการเคลื่อนย้าย ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.80 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีค่า เท่ากับ 0.45 ด้านการใช้งาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.05 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีค่าเท่ากับ 0.67 ความเหมาะสม ในการใช้งาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.60 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีค่าเท่า กับ 0.55 มีวิธีการใช้งานที่ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน ด้านความปลอดภัย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.90 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีค่าเท่ากับ 0.57 ง่ายต่อการ บารุงรักษา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.60 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีค่าเท่ากับ 0.45 มีความสะดวกในการใช้งาน มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.60 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีค่าเท่ากับ 0.45 ตารางที่ 6 สรุปการประเมินค่าเฉลี่ยรวมทั้ง 3 ด้านจากผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน หัวข้อด้านการประเมิน 1. ด้านโครงสร้าง 2. ด้านการใช้งาน 3. ด้านความปลอดภัย ค่าเฉลี่ยรวม
ค่าเฉลี่ย 4.56 4.05 3.90 4.20
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.40 0.67 0.57 0.55
ระดับ ดีมาก ดี ดี ดี
จากตารางที่ 6 สรุป จากการประเมินคุณภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ ของผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 ท่าน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.20 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.55 แสดงว่าตู้อบแห้ง พลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ อยู่ในระดับดี สรุปผลและวิจารณ์ผลการวิจัย การวิจัยเรื่องตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบ และสร้างตู้อบแห้ง พลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ เพื่อหาคุณภาพและประสิทธิภาพของตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ คณะผู้วิจัยได้ทาการศึกษาค้นคว้าข้อมูลแล้วนาข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าข้างต้นมาทาสร้างตู้อบแห้งพลังงาน แสงอาทิตย์อเนกประสงค์ คณะผู้วิจัยได้ใช้หลักการตามทฤษฎีเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องอีก ทั้งยังผ่านการ ตรวจสอบ และได้รับคาแนะนาในการปรับปรุง และแก้ไขจากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งยังผ่านการประเมินคุณภาพจาก ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 ท่าน ที่มีความรู้และมีประสบการณ์ อีกทั้งได้รับข้อเสนอแนะในการวิจัยในครั้งนี้มาแก้ไขโดย
73
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ตลอด ซึ่งในการวิจัยครั้ งนี้มีเครื่ อ งมือที่ คณะผู้วิจั ยสร้างขึ้ น ประกอบด้วย 1) ตู้อ บแห้งพลั งงานแสงอาทิต ย์ อเนกประสงค์ 2) ตารางบันทึกผลการทดลอง 3) แบบประเมินคุณภาพของผู้เชี่ยวชาญ ดังนี้ ผลการทดลองหาประสิทธิภาพของตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ ผลการทดลองหาประสิทธิภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ (เฉพาะแสงแดด) คณะผู้วิจัยได้ ทดลองตากกล้วยจานวน 5 กิโลกรัม ความเข้มแสง 418.5 วัตต์/ตารางเมตร ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 12 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 45 องศา พริกสด จานวน 5 กิโลกรัม ความเข้มแสง 572.6 วัตต์/ตารางเมตร ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 12 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 45 องศา ใบมะกรูด จานวน 5 กิโลกรั ม ความเข้ มแสง 502.2 วั ตต์/ตารางเมตร ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 1 ชั่ วโมง ที่ อุณหภูมิ 45 องศา ค่าเฉลี่ยผลจากการประเมินที่ได้รับ 1.00 คิดเป็นร้อยละ 100 จากผลการทดลองจะเห็นได้ว่าการอบ ด้วยตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์จะช่วยลดระยะเวลาในการอบได้เร็วยิ่งขึ้น ผลการทดลองหาประสิทธิภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์(เฉพาะหลอดไฟ) คณะผู้วิจัยได้ ทดลองตากกล้วยจานวน 5 กิโลกรัม ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 16 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 38 องศา พริกสด จานวน 5 กิโลกรัม ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 16 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 38 องศา ใบมะกรูด จานวน 5 กิโลกรัม ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 2 ชั่วโมง ที่ อุณหภูมิ 38 องศา ค่าเฉลี่ยผลจากการประเมินที่ได้รับ 1.00 คิดเป็นร้อยละ 100 จากผลการทดลองจะเห็นได้ว่าการ อบด้วยตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์จะช่วยลดระยะเวลาในการอบได้เร็วยิ่งขึ้น ผลการทดลองหาประสิทธิภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์(แสงแดดและหลอดไฟ) คณะผู้วิจัย ได้ทดลองตากกล้วยจานวน 5 กิโลกรัม ความเข้มแสง 418.5 วัตต์/ตารางเมตร ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 10 ชั่วโมง ที่ อุณหภูมิ 60 องศา พริกสด จานวน 5 กิโลกรัม ความเข้มแสง 572.6 วัตต์/ตารางเมตร ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 8 ชั่วโมง ที่ อุณหภูมิ 60 องศา ใบมะกรูด จานวน 5 กิโลกรัม ความเข้มแสง 502.2 วัตต์/ตารางเมตร ใช้เวลาในการอบทั้งสิ้น 30 นาที ที่อุณหภูมิ 60 องศา ค่าเฉลี่ยผลจากการประเมินที่ได้รับ 1.00 คิดเป็นร้อยละ 100 จากผลการทดลองจะเห็นได้ว่าการอบด้วยตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์จะช่วยลดระยะเวลาในการอบ ได้เร็วยิ่งขึ้น และนาค่าพลังงานที่ใช้ไปมาคานวณคิดค่าไฟตามหน่วยของการไฟฟ้าค่าที่ได้จากสูตรหาค่าไฟ( จานวนวัตต์ X ชั่วโมง/1000 ) จะมีค่าไฟเท่ากับ 2.56 บาท/ชั่วโมง จะเห็นได้ว่าค่าไฟเท่าเดิมแต่ระยะเวลาในการอบน้อยลง ผลการประเมินคุณภาพของตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ จากการประเมินคุณภาพตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ ของผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 ท่าน มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.2 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.55 แสดงว่าตู้อบแห้งพลังงานสงอาทิตย์ อเนกประสงค์อยู่ในเกณฑ์ที่ดี วิจารณ์ผลการวิจัย จากการวิจัยครั้งนี้ คณะผู้วิจัยได้ทาการศึกษาข้อมูลค้นคว้าเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องวางแผน ออกแบบ และสร้างตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ โดยได้ทาการปรึกษาภายในกลุ่ม และนาข้อมูลเสนอ ผู้เชี่ยวชาญซึ่งผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อคิ ดและข้อเสนอแนะในการออกแบบและสร้างตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิต ย์ อเนกประสงค์ ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงได้ดาเนินการทดลองตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ ในการดาเนินการ ทดลอง คณะผู้วิจัยได้พบปัญหา ดังนี้ คือการติดตั้งระบบภายในตู้คุมควบใช้งานไม่ได้ ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงได้ทาการ ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ จากนั้นจึงได้ทาการติดตั้งระบบภายในตู้คุมควบและระบบป้องกันเพิ่ม และปัญหาการติดตั้ง อินเวอร์เตอร์ คณะผู้วิจัยจึงได้ทาการปรึกษาผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการติดตั้งอินเวอร์เตอร์และระบบสายกราวด์ ทาการติดตั้งแก้ไขตามคาแนะนาของผู้เชียวชาญทุกขั้นตอน และทดลองหาประสิทธิภาพและประเมินคุณภาพการ
74
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ทางานจนแน่ใจว่าในตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์สามารถใช้งานได้ในระดับดี และคณะผู้วิจัยยังได้ ออกแบบตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ให้สามารถใช้งานได้ง่าย และมีคู่มือประกอบในการใช้งาน เช่น บอกวิธีการใช้งาน และบอกรายละเอียดของอุปกรณ์ต่างๆ และผลการประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญอยู่ในเกณฑ์ ที่ดี ทาให้ผลการทดลองเป็นไปตามวัตถุประสงค์และสมมติฐานของการวิจัย ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ 1. ควรศึกษาคู่มือให้ดีก่อนใช้งานจริง 2. ควรคานึงถึงความปลอดภัยเป็นหลัก และควรวางตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ 3. อเนกประสงค์ให้ห่างจากที่ที่เป็นน้า 4. ควรมีการติดตั้งสายกราวด์(สายดิน)เพื่อป้องกันอันตรายจากไฟรั่ว 5. ควรติดตั้งในบริเวณที่โล่งแจ้ง และมีแสงอาทิตย์ ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป 1. สามารถเพิ่มขนาดของแผงโซล่าเซลล์ให้มีกาลังวัตต์และกระแสไฟฟ้ามากขึ้น เพื่อให้เหมาะสมกับ แบตเตอรี่และหลอดไฟ 2. อาจมีการพัฒนาโดยนาระบบ WIFI มาใช้ในการควบคุมการทางานของตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์ อเนกประสงค์ 3. สามารถนาตู้อบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์อเนกประสงค์ไปพัฒนาในด้านต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น เอกสารอ้างอิง ทัศพร บันเทิงใจ และคณะ. (2557). “ชุดสาธิตระบบไฟฟ้าด้วยแผงโซล่าเซลล์”. ปริญญานิพนธ์หลักสูตร วิทยาศาสตร์บัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. แบตเตอรี.่ (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก. https://solarsmileknowledge.com/battery/ สืบค้น 28 สิงหาคม 2560. ปิยสิทธิ์ วุฒิยาสาร และคณะ. (2553). “การพัฒนาห้องพลังงานแสงอาทิตย์”. ปริญญานิพนธ์ วิทยาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. แผงเซลล์แสงอาทิตย์.(ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก. http://www.leonics.co.th/ สืบค้น 23 สิงหาคม 2560. รวีวรรณ ชินตระกูล. (2542). สถิติในงานวิจัย : พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ภาพพิมพ์, .2553. วัชรี ยงยิ่งประเสริฐ และศิริพร จตุรพฤกษ์. (2539). พลังงานแสงอาทิตย์.กรุงเทพมหานคร.2539. สุมาลี จันทร์ชลอ. (2542). การวัดผลและประเมินผล : สานักพิมพ์พิมพ์ดี หลอดไฟ.(ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก. http://www.praguynakorn.com/ สืบค้น 14 กันยายน 2560. อนิรุทธิ์ ต่ายขาว และสมบัติ ทีฆทรัพย์. (2560). (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก. https://www.tci-thaijo.org สืบค้น 4 กันยายน 2560. อินเวอร์เตอร์.(ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก. http://www.solar-thailand.com สืบค้น 25 สิงหาคม 2560.
75
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018 SCIEPP-08
ปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วย ARDUIUNO ARDUIUNO SOLAR WATER PUMP เที่ยงธรรม สิทธิจันทเสน1, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นิคม ลนขุนทด2, อัษฎา วรรณกายนต์3 สุรเชษฐ์ วงศ์ชัยประทุม4 และสุชาติ ดุมนิล5 1
Teangtum Sittichantasen สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรนิ ทร์ teangtums@gmail.com 2 Asst. Prof. Nikom Lonkuntosh สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ komsurin1@hotmail.com 3 Asada Wannakayont สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ asada2518@hotmail.com 4 Surachet Vongchaipratoom สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ srcsr_1@hotmail.com 5 Suchat Dumnil สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ linesky007@gmail.com
บทคัดย่อ การทาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อออกแบบและสร้างปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคมด้วยบอร์ด Arduiuno เพื่อหาประสิทธิภาพและคุณภาพของปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย ประกอบไปด้วย ปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ ด Arduiuno ตารางบันทึกผลการ ทดลองหาประสิทธิภาพและแบบประเมินหาคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญ และนาผลที่ได้ไปวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ โดย สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการทดลองพบว่ า ปั้ ม น้ าพลั งงานแสงอาทิ ต ย์ ค วบคุ ม ด้ ว ยบอร์ ด Arduiuno ทดลองกั บ บอร์ ด Arduiuno ทดลองแบบกับการ เปิด-ปิด ระยะไกล จานวนการทดลอง 9 ครั้ง โดยเริ่มการทดลองตั้งแต่ระยะ 80 เมตร 3 ครั้ง ค่าเฉลี่ย 100 % ระยะ 90 เมตร 3 ครั้ง ค่าเฉลี่ย 100 % และระยะ 100 เมตร 3 ครั้ง ค่าเฉลี่ย 100 % ในการทดลองได้จาแนกค่าค่าเฉลี่ยในแต่ละส่วน มีค่าเฉลี่ยเท่ากันทั้ง 9 ครั้ง มีค่าเฉลี่ยความถูกต้องเท่ากับ 1 และมี ค่าเฉลี่ยรวม 100 % ผลการทดลองพบว่าการทดลองหาประสิทธิภาพของระบบปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ทดลองกับปั๊มชักประกอบมอเตอร์ DC ขนาด 350W จานวนการทดลอง 9 ครั้ง โดยเริ่มการทดลองตั้งแต่ ระยะ 4 เมตร 3 ครั้ง ค่าเฉลี่ย 100 % ระยะ 8 เมตร 3 ครั้ง ค่าเฉลี่ย 100 % และระยะ 12 เมตร 3 ครั้ง ค่าเฉลี่ย 100 % ในการทดลองได้จาแนกค่าค่าเฉลี่ยในแต่ละส่วน มีค่าเฉลี่ยเท่ากันทั้ง 9 ครั้ง มีค่าเฉลี่ยความถูกต้องเท่ากับ 1 และมีค่าเฉลี่ยรวม 100 % จากการหาประสิทธิภาพ การใช้ไฟฟ้าของปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno จาก แบตเตอรี่และการชาร์จแบตเตอรี่ทาการทดลองปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ที่ใช้ พลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ 24 V 90 Ah โดยเปิดใช้อย่างต่อเนื่อง ปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ สามารถใช้งานได้ 6 ชั่วโมง 26 นาที และในการชาร์จแบตเตอร์รี่ของปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ได้เริ่ม ทดลองทาการชาร์จตั้งแต่เวลา 08.00 น. – 17.00 น. รวมเป็นเวลา 10 ชั่วโมง ได้กระแส 45.10 Ah คิดเป็น 46.11 %
76
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ของแบตเตอรี่ 90 Ah นั่นหมายความว่าการชาร์จแบตเตอรี่มีความเหมาะสม ผลการประเมินการวิจัยพบว่าระบบปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ที่ได้การ ประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.57 และค่าเบี่ยงเบนค่ามาตรฐานรวมมีค่าเท่ากับ 0.23 ใน ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ที่ดีมาก คำสำคัญ : ปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วย Arduiuno Abstract This research has the objective. To design and build a solar water pump with Arduiuno boards for the efficiency and quality of a solar water pump controlled by the Arduiuno board. The research tools include a solar water pump controlled by the Arduiuno board. Find out the efficiency and quality evaluation from experts. The results were analyzed. The statistics used were percentage, mean and standard deviation. Experimental results showed that Arduiuno solar water pump was experimented with Arduiuno board with remote opening and closing. Number of experiments was 9 times. The experiment was 80 m 3 times, mean 100% 90 m 3. 100% average and 100 m three times, 100% average. There were 9 mean, 1 mean, and 100% mean. Experimental results showed that the experiment of Arduiuno solar water pump system was experimented with 350W DC motor pump. Number of experiments were 9 times. The experiment was started from 4 meter 3 times, 100% average distance of 8 meters. 3 times, 100% average and 12m 3 times, 100% average. There were 9 mean, 1 mean, and 100% mean. Finding performance Arduiuno Solar Water Pump Controlled by Battery and Battery Charging. The Arduiuno Solar Water Pump is powered by a 24 V 90 Ah battery powered battery. Solar Water Pump 6 hours 26 minutes and The charging of the Arduiuno solar water pump has begun charging from 08:00 to 17:00 hours for a total of 10 hours, a current of 45.10 Ah, representing 46.11% of the 90 Ah battery. Battery charging is appropriate. The results of the research show that the Arduiuno solar-powered water pump system with expert evaluation has a mean of 4.57 and a standard deviation of 0.23 in the overall picture. Keyword : Arduiuno Solar Water Pump บทนา ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมประชาชนส่วนใหญ่ดารงอยู่ได้โดยมีความเกี่ยวพันธ์กับการเกษตร น้าถือว่าเป็นปัจจัยสาคัญที่สุดในการทาเกษตรกรรม เช่น ใช้ในการเพาะปลูก และเลี้ยงสัตว์ การเอาน้าจากใต้ดินมา ใช้ ช่วยทาให้เกษตรกรมีน้าใช้ในการเกษตรที่เพียงพอต่อความต้องการเพราะน้าผิวดินแห้งเร็วและไม่เพียงพอต่อ ความต้องการจึงต้องใช้น้าจากใต้ดิน การสูบถ่ายน้าโดยใช้ปั๊มน้าไปยังพื้นที่เกษตรกรรมที่อยู่ไกลจากแหล่งจ่าย กาลังไฟฟ้า ระบบไฟฟ้ายังเข้าไม่ถึงหรือเข้าถึงได้ยาก มีความจาเป็นอย่างมาก เพื่อจัดสรรน้าให้เพียงพอต่อความ
77
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ต้องการ ซึ่งปั๊มน้าที่ใช้งานอยู่ทั่วไปส่วนมากเป็นปั๊มน้าแบบใช้เครื่องยนต์ แต่ด้วยภาวะปัจจุบันน้ามันเชื้อเพลิงมีราคา ผันผวน ทาให้มีการประยุกต์นาระบบปั๊มน้าที่ใช้โซล่าเซลล์เป็นแหล่งจ่ายกาลังไฟฟ้ามาใช้งาน เนื่องจากโซล่าเซลล์ทา หน้าที่เปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้า ซึ่งในปัจจุบันมีการนาเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาเป็นส่วนช่วยทาให้ มีความสะดวกสบายยิ่งขึ้น ดังนั้ นคณะผู้ วิ จัย จึ งเล็ งเห็ นว่ า การนาเทคโนโลยีเ ข้ ามาช่ว ยในการหมุ นเวี ยนพลังงานน้ าเพื่ อใช้ ใ น การเกษตร หรือใช้ในบ้านเรือน ในการอุปโภค บริโภค ซึ่งมีน้าไม่เพียงพอ จึงมีแนวคิดในการออกแบบระบบปั๊มน้า พลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ที่ใช้สูบน้าโดยสามารถสูบน้าได้จากสระน้าเพื่อกักเก็บไว้ใช้ ความส าคั ญ ในข้ อ นี้ จึ งได้ คิ ด ท าวิ จั ย เกี่ ย วกั บ การออกแบบระบบปั๊ ม น้ าพลั งงานแสงอาทิ ต ย์ ค วบคุ ม ด้ ว ยบอร์ ด Arduiuno ขึ้นมาเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno สาหรับในการเรียนการสอนในสาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อออกแบบและสร้างปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคมด้วยบอร์ด Arduiuno 2. เพื่อหาประสิทธิภาพและคุณภาพของปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno สมมุติฐานของการวิจัย ปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ให้มีประสิทธิภาพและคุณภาพได้จากเกณฑ์การ ประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญ อยู่ในเกณฑ์ดี ขอบเขตของการวิจัย 1. ด้านอุปกรณ์ของปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ประกอบไปด้วย 1.1 โซล่าเซลล์ขนาด 260 W (37.1 V 8.29 A) 1 แผง 1.2 ปั้มชัก 1x1 นิ้ว 1 ตัว 1.3 มอเตอร์กระแสตรงขนาด 24 V DC กาลังไฟ350 W 1 ตัว 1.4 บอร์ด Arduiuno 1 ตัว 1.5 เบรกเกอร์ ขนาด 20A 1 ตัว 1.6 ชาร์จเจอร์ 30A 1 ตัว 1.7 แบตเตอร์รี่ (Battery) ขนาด 12 v 45 A 2 ก้อน 1.8 รีเลย์ 1 ตัว 1.9 พาวเวอร์ทรานฟอร์เมอร์ 24 A 1 ตัว 2. ด้านโครงสร้างของการออกแบบและติดตั้งระบบปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno 2.1 โครงสร้างชุดตู้ควบคุม ขนาด 9x13 เซนติเมตร 2.2 โครงสร้าง 85x120x95 เซนติเมตร 3. ด้านการใช้งานของปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ดออรูโน 3.1 การควบคุมการ เปิด-ปิด ผ่านแอพพลิเคชั่นด้วยระบบบลูทูธ ระยะ 100 เมตร 3.2 การดูดน้า ลึกไม่เกิน 12 เมตร 4. ตัวแปรต้น หมายถึง ปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ดออรูโน
78
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
5. ตัวแปรตาม หมายถึง ประสิทธิภาพและคุณภาพของระบบปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วย บอร์ด Arduiuno ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคมด้วยบอร์ด Arduiuno เพื่อใช้ในสูบน้าใช้ในพื้นที่เพาะปลูก 2. เป็นต้นแบบในการพัฒนาระบบ และสามารถนามาเป็นแบบอย่าง ให้กับผู้ที่สนใจเกี่ยวกับระบบปั้ม น้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno และสามารถนาไปประกอบอาชีพทางการเกษตรได้อย่างยั่งยืน วิธีดาเนินการวิจัย ในการวิจัยในครั้งนี้ เป็นการวิจัยเพื่อหาประสิทธิภาพและคุณภาพของปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุม ด้วยบอร์ด Arduiuno และปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นจากการทดลอง เพื่อให้มีประสิทธิภาพที่ดีที่สุดตาม สมมุติฐานที่คณะผู้วิจัยได้ตั้งไว้ คณะผู้วิจัยมีวิธีดาเนินการวิจัยดังต่อไปนี้ การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การสร้างปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno มีส่วนประกอบที่สาคัญอยู่หลายส่วน ด้วยกัน เช่น โทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ชุดควบคุมการทางานของปั้มน้า ซึ่งจะต้อง อาศัยทฤษฎีการเรียนรู้และการออกแบบโครงสร้างต่างๆมาดาเนินการสร้าง ซึ่งมีขั้นตอนการสร้างดังต่อไปนี้ 1. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับระบบปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno พร้อมสืบค้น ข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากแหล่งความรู้ต่างๆ และเอกสารที่เกี่ยวข้องในปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ให้เหมาะสมกับการใช้งานจริง โดยคณะผู้วิจัยได้คานึงถึงมาตรฐานในการใช้งาน มีความสะดวกในการ บารุงรักษา อุปกรณ์ ราคาถูก มีความทนทาน มีต้นทุนคุ้มค่ากับประโยชน์ที่ได้รับ 2. กาหนดแนวทางในการทดลองและวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบชุดระบบปั๊มน้า พลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ได้อย่างมีระบบ 3. ออกแบบและทาการสร้างระบบปั๊มน้าน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno 4. นาระบบปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ที่สร้างเสร็จแล้วมาให้อาจารย์ที่ ปรึกษาปริญญานิพนธ์ตรวจสอบ ความถูกต้องและความเหมาะสม 5. นาชุดปั๊มน้าน้าพลั งงานแสงอาทิต ย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ทาการปรับปรุงแก้ไขตาม ข้อเสนอแนะของอาจารย์ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์ 6. ได้ระบบปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno แล้วนาไปทดลองหาประสิทธิภาพ และคุณภาพ ซึ่งคณะผู้วิจัยได้มีขั้นตอนในการสร้างระบบปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ขั้นตอนการสร้าง การสร้างตารางบันทึกผลการทดลองหาประสิทธิภาพและแบบประเมินการหาคุณภาพของระบบปั๊มน้า พลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno คณะผู้วิจัยได้มีการดาเนินการหาประสิทธิภาพและประเมิน คุณภาพ ระบบปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno โดยดาเนินการตามขั้นตอน และให้ผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบความถูกต้อง และความเหมาะสมทางด้านการออกแบบอุปกรณ์และการใช้งาน ซึ่งมีขั้นตอนในการทดลอง หาประสิทธิภาพและประเมินหาคุณภาพ ดังต่อไปนี้
79
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
1. ศึก ษาค้ นคว้า ข้ อมู ลเกี่ ยวกับ รายละเอีย ดในการสร้ างแบบประเมิ น โครงสร้า งของระบบปั๊ม น้ า พลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno 2. ออกแบบตารางบันทึกผลการทดลองหาประสิทธิภาพและแบบประเมินคุณภาพปั๊มน้าพลังงาน แสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ให้มีความเหมาะสมกับการทดลองหาประสิทธิภาพ และประเมินคุณภาพ จากผู้เชี่ยวชาญโดยกาหนดเป็นข้อๆ และเกณฑ์การประเมินระบบปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ ด Arduiuno จัดระดับค่าเฉลี่ยออกเป็น 5 ระดับ 3. นาตารางบันทึกผลการทดลองหาประสิทธิภาพและแบบประเมินคุณภาพระบบปั๊มน้าพลังงาน แสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ที่สร้างเสร็จแล้ว เสนอให้อาจารย์ที่ปรึกษาทาการตรวจสอบความถูกต้อง 4. นาตารางบันทึกผลการทดลองหาประสิ ทธิภาพและแบบประเมินคุณภาพระบบปั๊มน้าพลังงาน แสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno มาปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องตามข้อเสนอแนะของอาจารย์ที่ปรึกษา 5. ได้ตารางบันทึกผลการทดลองหาประสิทธิภาพและแบบประเมินคุณภาพระบบปั๊มน้าพลังงาน แสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno สามารถนาไปทดลองเพื่อบันทึกผลและเสนอให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพ คณะผู้วิจัยได้แสดงขั้นตอนการสร้างตารางบันทึกผลการทดลองหาประสิทธิภาพ และแบบประเมิน คุณภาพระบบปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ดังแสดงในภาพ เริ่มต้น ศึกษาค้นคว้าข้อมูล สร้างแบบทดลองประสิทธิภาพและแบบประเมินคุณภาพของ ปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ปรับปรุง/แก้ไข เสนออาจารย์ที่ปรึกษาและ ผู้เชี่ยวชาญ
ไม่ผา่ น
ผ่าน ได้ตารางบันทึกผลการทดลองและแบประเมินคุณภาพ ปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno จบ ภาพที่ 1 ลาดับขั้นตอนในการสร้างตารางบันทึกผลการทดลองและแบบประเมินคุณภาพระบบปั๊มน้าพลังงาน แสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno
80
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ตารางที่ 1 ตารางบันทึกผลการทดลองควบคุมการเปิด-ปิด เพื่อหาประสิทธิภาพของระบบปั๊มน้าพลังงาน แสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno จานวนครั้ง
1
2
3
ควบคุมการเปิด-ปิด ผ่านทางโทรศัพท์ ระยะทาง(เมตร) 80 80 80 90 90 90 100 100 100
ร้อยละ ความถูกต้อง
ค่าเฉลี่ยรวม (ร้อยละ)
หมายเหตุ
การทางาน
ค่าเฉลี่ย
หมายเหตุ ปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ทางานถูกต้อง = 1 ปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ทางานไม่ถกู ต้อง = 0 ตารางที่ 2 ตารางบันทึกผลการทดลองการดูดน้าลึกเพื่อหาประสิทธิภาพของปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วย บอร์ด Arduiuno จานวนครั้ง
1
2
3
การดูดน้าลึก ความลึก (เมตร) 4 4 4 8 8 8 12 12 12
ร้อยละ ความถูกต้อง
ค่าเฉลี่ยรวม (ร้อยละ)
การทางาน
ค่าเฉลี่ย
หมายเหตุ ปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ทางานถูกต้อง = 1 ปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ทางานไม่ถกู ต้อง = 0
81
หมายเหตุ
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ตารางที่ 3 ตัวอย่างแบบประเมินหาคุณภาพการออกแบบปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno หัวข้อที่นามาประเมิน
ปรับปรง 1
ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ พอใช้ ปานกลาง ดี 2 3 4
ดีมาก 5
1. ด้านโครงสร้าง 1.1 ความเหมาะสมของโครงสร้างและการ ติดตั้งปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ความคุมด้วยบอร์ด Arduiuno 1.2 โครงสร้างและอุปกรณ์ต่างๆ มีความ ทนทานต่อการใช้งานและมีมาตรฐานตามที่ มอก. กาหนด 1.3 ประสิทธิภาพของโครงสร้างมีความคงทน แข็งแรงต่อการใช้งานงาน 2. ด้านอุปกรณ์ 2.1 การติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆในระบบควร คานึงถึงความถูกต้องและความปลอดภัย 2.2 การจัดวางอุปกรณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม กับการใช้งาน 2.3 เลือกใช้อุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสมและมี มาตรฐานตาม มอก.กาหนด 3. ด้านการใช้งาน 3.1 มีความสะดวกในการใช้งาน 3.2 มีบารุงรักษาง่าย 3.3 ความปลอดภัยในการทางาน
ในการสร้างแบบประเมินคุณภาพของปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno โดยใช้ แบบประเมินมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) ในการให้คะแนนดังต่อไปนี้ (สุมาลี จันทร์ชลอ. 2542 : 217 –218) 1. ระดับความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ระดับ 5 มีค่าเท่ากับ เห็นด้วยในระดับที่ดีมาก ระดับ 4 มีค่าเท่ากับ เห็นด้วยในระดับที่มาก ระดับ 3 มีค่าเท่ากับ เห็นด้วยในระดับปานกลาง ระดับ 2 มีค่าเท่ากับ เห็นด้วยในระดับที่พอใช้ ระดับ 1 มีค่าเท่ากับ เห็นด้วยในระดับที่ปรับปรุง 2. เกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพของปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ระดับ 4.51-5.00 มีค่าเท่ากับ ระดับคุณภาพดีมาก ระดับ 3.51-4.50 มีค่าเท่ากับ ระดับคุณภาพดี ระดับ 2.51-3.50 มีค่าเท่ากับ ระดับคุณภาพปานกลาง ระดับ 1.51-2.50 มีค่าเท่ากับ ระดับคุณภาพพอใช้
82
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ระดับ 1.00-1.50 มีค่าเท่ากับ ระดับคุณภาพปรับปรุง การดาเนินการวิจัย 1. การดาเนินการทดลองเพื่อหาประสิทธิภาพด้านการออกแบบปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วย บอร์ด Arduiuno มี 4 ขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1.1 ทดลองการเปิ ด -ปิ ด ปั้ ม น้ าพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ค วบคุ ม ด้ ว ยบอร์ ด Arduiuno ผ่ า น แอพพลิเคชั่นด้วยระบบบลูทูธ ระยะไม่เกิน 100 เมตร 1.2 ทดลองการดูดน้าลึกไม่เกิน 12 เมตร 1.3 ทดลองหาประสิทธิภาพจากพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ 1.4 ทดลองการหาประสิทธิภาพการใช้ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ 1.5 นาผลการทดลองไปตรวจสอบหาประสิทธิภาพร้อยละความถูกต้องของปริมาณน้าเมื่อเทียบ กับเวลา 1.6 นาผลการทดลองที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ 2. การดาเนินการหาคุณภาพระบบปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno มีขั้นตอน ดังนี้ 2.1 การทาเรื่องขอหนังสือแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญ จากคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราช ภัฎสุรินทร์ เพื่อดาเนินการประเมินคุณภาพ ระบบปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno 2.2 นาหนังสือแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญในการประเมินคุณภาพของระบบปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno เสนอผู้เชี่ยวชาญ นัดวันเวลาและสถานที่ที่จะทาในการประเมินคุณภาพ ระบบปั๊ม พลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno 2.3 ผู้เชี่ยวชาญทาการประเมินคุณภาพปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno โดยคณะผู้วิจัยได้ทาการแนะนาและอธิบายข้อมูลการออกแบบ การสร้าง อุปกรณ์ งบประมาณและคู่มือการใช้งาน และพร้อมทั้งตอบข้อคาถามตามที่ผู้เชี่ยวชาญได้ซักถามกับคณะผู้วิจัย 2.4 ผู้ เ ชี่ ย วชาญท าการประเมิ น คุ ณ ภาพระบบปั๊ ม น้ าพลั งงานแสงอาทิ ต ย์ ค วบคุ ม ด้ ว ยบอร์ ด Arduiuno ตามระดับน้าหนักคะแนนความคิดเห็น 2.5 นาผลที่ได้จากการประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญ มาทาการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ สถิติที่ใช้ในการวิจัย การหาประสิทธิภาพและคุณภาพของระบบปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ใน ครั้งคือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการหาค่าร้อยละ
83
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ผลการออกแบบและสร้างปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno
ภาพที่ 2 การออกแบบโครงสร้าง จากภาพที่ 24 ขนาดของโครงสร้างปั้มน้าปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ความ สูง(หน้า) 85 เซนติเมตร ความสูง(หลัง) 95 เซนติเมตร ความกว้าง 90 เซนติเมตร ความยาว 120 เซนติเมตร จุดยึด ปั้มน้ากว้าง 8 เซนติเมตร จุดยึดแบตเตอรี่กว้าง 8 เซนติเมตร ขนาดของที่จับหน้าหลังกว้าง 80 เซนติเมตร จุดยึด แผงโซล่าเซลล์กว้าง 29 เซนติเมตร (รายละเอียดอยู่ในภาคผนวก ค) ผลการทดลองหาประสิทธิภาพปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno จากการทดลองปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno เพื่อหาประสิทธิภาพของปั๊มน้า โดยมีตารางการทดลอง ดังนี้ ตารางที่ 4 ตารางบันทึกผลการทดลองควบคุมการเปิด -ปิด เพื่อหาประสิทธิภาพของปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno จานวนครั้ง
1
ค่าเฉลี่ย
ควบคุมเปิด-ปิด ผ่านทางโทรศัพท์ ระยะทาง การทางาน (เมตร) 80 1 80 1 80 1
ค่าร้อยละ ความ ถูกต้อง
ค่าเฉลี่ยรวม (ร้อยละ)
หมายเหตุ
100 100 100
100 100 100
-
2
90 90 90
1 1 1
100 100 100
100 100 100
-
3
100 100 100
1 1 1
100 100 100
100 100 100
-
9
100%
หมายเหตุ ปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ทางานถูกต้อง = 1 ปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ทางานไม่ถกู ต้อง = 0
84
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
จากตารางที่ 4 เป็นการแสดงผลปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno จานวนการ ทดลอง 9 ครั้ง โดยเริ่มการทดลองตั้งแต่ระยะ 80 เมตร 3 ครั้ง ค่าเฉลี่ย 100% 90 เมตร 3 ครั้ง ค่าเฉลี่ย 100% และ 100 เมตร 3 ครั้ง ค่าเฉลี่ย 100% ในการทดลองได้จาแนกค่าค่าเฉลี่ยในแต่ละส่วน มีค่ าเฉลี่ยเท่ากันทั้ง 9 ครั้ง มีค่าเฉลี่ยความถูกต้องเท่ากับ 1 และมีค่าเฉลี่ยรวม 100 % ตารางที่ 5 ตารางบันทึกผลการทดลองการดูดน้าลึก เพื่อหาประสิทธิภาพของปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุม ด้วยบอร์ด Arduiuno จานวนครั้ง
ค่าเฉลี่ย
การดูดน้าลึก
ค่าร้อยละ ความ
ความลึก(เมตร)
การทางาน
ค่าเฉลี่ยรวม (ร้อยละ) ถูกต้อง
1
4 4 4
1 1 1
100 100 100
100 100 100
-
2
8 8 8
1 1 1
100 100 100
100 100 100
-
3
12 12 12
1 1 1
100 100 100
100 100 100
-
9
หมายเหตุ
100%
หมายเหตุ ปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ทางานถูกต้อง = 1 ปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ทางานไม่ถกู ต้อง = 0 จากตารางที่ 5 เป็นการแสดงผลปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ในการดูดน้า ลึก จานวนการทดลอง 9 ครั้ง โดยเริ่มการทดลองตั้งแต่ระยะ 4 เมตร 3 ครั้ง ค่าเฉลี่ย 100% ระยะ 8 เมตร 3 ครั้ง ค่าเฉลี่ย 100% และระยะ 12 เมตร 3 ค่าเฉลี่ย 100% ครั้ง ในการทดลองได้จาแนกค่าค่าเฉลี่ยในแต่ละส่วน มี ค่าเฉลี่ยเท่ากันทั้ง 9 ครั้ง มีค่าเฉลี่ยความถูกต้องเท่ากับ 1 และมีค่าเฉลี่ยรวม 100 % ผลการศึกษาพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ จากการศึกษาพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ โดยติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์ขนาดพื้นที่รับแสง 0.66 ตารางเมตร ให้ได้รับแสงจากดวงอาทิตย์เป็นเวลา 10 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 08.00 นาฬิกา ถึง 17.00 นาฬิกา วัดค่า ความเข้มแสง แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า แล้วคานวณหาค่าพลังงานที่ได้จากแสงอาทิตย์ที่ตกกระทบเซลล์แสงอาทิตย์ และคานวณหาพลังงานไฟฟ้าที่เซลล์แสงอาทิตย์ผลิตได้ โดยเก็บพลังงานไฟฟ้าที่ได้ไว้ในแบตเตอรี่ ขนาดความจุ 45 x 2 แอมแปร์ชั่วโมง โดยได้ทาการทดลองซ้า 3 วัน ในวันที่ 7 ตุลาคม 2560 วันที่ 8 ตุลาคม 2560 และวันที่ 9 ตุลาคม 2560 ซึ่งผลการทดลองมีแนวโน้มเหมือนกัน คือ กระแสไฟฟ้าที่ได้มีค่าขึ้นอยู่กับความเข้มของแสง ณ เวลาที่ความ
85
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
เข้มแสงมากจะมีค่ากระแสไฟฟ้ามา และมีแรงดันไฟฟ้ามีค่าค่อนข้างคงที่ ในวันที่ 7 ตุลาคม 2560 ผลการทดลองที่ ได้เป็นดังนี้ ตารางที่ 6 ผลการทดลองหาประสิทธิภาพจากพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ (วันที่ 7 ตุลาคม 2560) ช่วงเวลา (Hr)
ความเข้มแสง (W/m2)
8.00 9.00 10.00 11.00 12.00 13.00 14.00 15.00 16.00 17.00
752 807 883 930 1022 1063 896 427 162 0.68
แรงดัน ไฟฟ้า (V) 32 32 32 33 33 33 32 32 32 32
กระแส ไฟฟ้า (A) 4.2 4.4 4.6 4.8 5 5.1 4.6 3.1 1.8 0.1
กาลัง ไฟฟ้า (W) 134.40 140.80 147.20 158.40 165.00 168.30 147.20 99.20 57.60 3.20
พลังงานที่ได้จาก แสงอาทิตย์ (W.hr) 165.44 177.5 194.26 204.60 224.84 233.86 197.12 93.94 35.64 0.14
คิดเป็นร้อยละพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์
พลังงานไฟฟ้า (W.hr) 44.80 46.93 49.06 52.80 55.00 56.10 49.06 33.06 19.20 1.06 26.65 %
ความเข้มแสง (W/m2)
จากตารางที่ 6 ผลการศึกษาพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ในวันที่ 7 ตุลาคม 2560 พบว่า ความ เข้มแสงมีค่ามากที่สุดอยู่ในช่วงเวลา 13.00 นาฬิกา ซึ่งความเข้มแสงมีค่ามากที่สุดเท่ากับ 1063 วัตต์ต่อตารางเมตร สามารถวัดค่าแรงดันไฟฟ้าได้เท่ากับ 33 โวลต์ วัดค่ากระแสไฟฟ้าได้เท่ากับ 5.1 แอมแปร์ วัดค่ากาลังไฟฟ้าได้เท่ากับ 168.30 วัตต์ และสามารถคานวณหาพลังงานที่ได้จากแสงอาทิตย์ เท่ากับ 233.86 วัตต์ชั่วโมง คานวณหาพลังงาน ไฟฟ้าได้เท่ากับ 56.10 วัตต์ชั่วโมง โดยพลังงานที่ได้จากแสงอาทิตย์สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้าคิดเป็นร้อยละ 26.65 % 1500 1000 500 0 8
10
12
14
ช่วงเวลา ภาพที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับความเข้มแสงจากดวงอาทิตย์
86
16
18
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ค่ากระแสไฟฟ้า (A)
จากภาพที่ 22 ความเข้มแสงจากดวงอาทิตย์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนความเข้มสูงสุดมีค่า 1063 วัตต์ต่อตารางเมตร ในเวลา 12.00 นาฬิกา หลังจากนั้นความเข้มแสงมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เวลา 12.30 นาฬิกา ถึง 17.00 นาฬิกา จะมีค่าลดเหลือ 0.68 วัตต์ต่อตารางเมตร 6 4 2 0 8
13
18
ช่วงเวลา
ภาพที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้ากับเวลา จากภาพที่ 23 กระแสไฟฟ้ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จนกระแสไฟฟ้าสูงสุดมีค่า 5.1 แอมแปร์ ใน เวลา 13.00 นาฬิกา หลังจากนั้นกระแสไฟฟ้ามีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เวลา 13.00 นาฬิกา ถึง 17.00 นาฬิกา จากการศึกษาพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ พบว่า กระแสไฟฟ้าที่วัดได้จากเซลล์แสงอาทิตย์แปร ผันตรงกับความเข้มแสง ส่วนแรงดันไฟฟ้ามีค่าค่อนข้างคงที่ ความเข้มแสงในแต่ละวันจะมีค่าไม่เท่ากัน ดังนั้น พลังงานที่ได้จากแสงอาทิตย์จะมีค่าไม่เท่ากัน และพลังงานที่ได้จากเซลล์แสงอาทิตย์ต่อวันจะที่มีค่ามากที่สุดอยู่ใน ช่วงเวลา 13.00 นาฬิกา ซึ่งในช่วงนี้เป็นเวลาที่จะไดพลังงานจากแสงอาทิตย์ที่มากที่สุดมีค่าเท่ากับ 233.86 วัตต์ ชั่วโมง และพลังงานไฟฟ้ามีค่าเท่ากับ 56.10 วัตต์ชั่วโมง โดยพลังงานที่ได้จากแสงอาทิตย์สามารถเปลี่ยนเป็น พลังงานไฟฟ้าคิดเป็นร้อยละ 22.5 % ผลการทดลองหาประสิ ท ธิ ภ าพการใช้ ไ ฟฟ้ า จากแบตเตอรี่ แ ละการชาร์ จ แบตเตอรี่ ปั้ ม น้ าพลั งงาน แสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno การใช้ไฟฟ้าของชุดปั๊มน้าจากแบตเตอรี่และการชาร์จของแบตเตอรี่ของชุดปั๊มน้า ทาการทดลองชุดปั๊ม น้า ที่ใช้พลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ 24 โวลต์ 14.40 แอมป์/ชั่วโมง โดยเปิดใช้อย่างต่อเนื่อง และทาการทดลอง ชาร์จแบตเตอรี่อย่างต่อเนื่อง 10 ชั่วโมง โดยเริ่มตั้งแต่เวลา 08.00 น. – 17.00 น.
87
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ตารางที่ 7 ผลการทดลองหาประสิทธิภาพการชาร์จแบตเตอรี่และการใช้ไฟฟ้าของชุดปั๊มน้าจากแบตเตอรี่(วันที่ 7 ตุลาคม 2560) เวลา
แรงดันไฟฟ้าจาก ชั่วโมง แบตเตอรี่ (hr) (V)
กระแสไฟฟ้าที่ใช้ จากแบตเตอรี่ (Ah)
การลดของ กระแสไฟฟ้าจาก แบตเตอรี่ (Ah)
08.00 1 24.65 14.11 09.00 2 24.59 14.13 10.00 3 24.54 14.12 11.00 4 24.49 14.09 12.00 5 24.42 14.10 13.00 6 23.34 14.08 14.00 7 21.28 5.37 15.00 8 21.21 0.00 16.00 9 21.21 0.00 17.00 10 21.21 0.00 การหาประสิทธิภาพการชาร์จแบตเตอรี่คิดเป็นร้อยละได้ 45.10 %
90.00 75.53 61.76 47.64 33.55 19.45 5.37 0.00 0.00 0.00
กระแสไฟฟ้าที่ ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ (Ah) 3.90 4.40 4.80 5.20 5.60 5.30 4.80 4.30 3.10 0.10
เพิ่มกระแสไฟฟ้า ที่ชาร์จเข้า แบตเตอรี่ (Ah) 3.90 8.30 13.10 18.30 23.90 29.20 34.00 38.30 41.40 41.50
หมายเหตุ เนื่องจากความเข้มของแสงอาทิตย์ไม่สม่าเสมอ ในการชาร์จเข้าแบตเตอรี่ของแผงโซล่าเซลล์ มีค่าเฉลี่ย 4 Ah จากตารางที่ 7 การใช้ไฟฟ้าของชุดปั๊มน้าจากแบตเตอรี่และการชาร์จของแบตเตอรี่ของชุดปั๊มน้า ทาการ ทดลองชุดปั๊มน้า ที่ใช้พลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ 24 โวลต์ 14.40 Ah โดยเปิดใช้อย่างต่อเนื่อง โดยเริ่มตั้งแต่เวลา 08.00 น. – 17.00 น. โดยเริ่มต้นการทดลอง เวลา 08.00 น. (ชั่วโมงที่ 1) ปั๊มน้าทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ ที่ 24.65 V กระแสไฟฟ้าที่ 14.11 Ah เวลา 09.00 น. (ชั่วโมงที่ 2) ปั๊มน้าทางานตามปกติ โดยมี แรงไฟฟ้าอยู่ที่ 24.59 V กระแสไฟฟ้าที่ 14.13 Ah เวลา 10.00 น. (ชั่วโมงที่ 3) ปั๊มน้าทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ที่ 24.54 V กระแสไฟฟ้าที่ 14.12 Ah เวลา 11.00 น. (ชั่วโมงที่ 4) ปั๊มน้าทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ที่ 24.49 V กระแสไฟฟ้าที่ 14.09 Ah เวลา 12.00 น. (ชั่วโมงที่ 5) ปั๊มน้าทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ที่ 24.42 V กระแสไฟฟ้าที่ 14.10 Ah เวลา 13.00 น. (ชั่วโมงที่ 6) ปั๊มน้าทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ที่ 24.34 V กระแสไฟฟ้าที่ 14.08 Ah และ เวลา 14.00 น. (ชั่วโมงที่ 7) ปั๊มน้าทางานตามปกติ โดยมีแรงไฟฟ้าอยู่ที่ 21.28 V กระแสไฟฟ้าที่ 5.37 Ah การชาร์จแบตเตอรี่ เวลา 08.00 น. – 17.00 น. โดยเริ่มต้นการทดลอง เวลา 08.00 น. (ชั่วโมงที่ 1) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 3.90 Ah เวลา 09.00 น. (ชั่วโมงที่ 2) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้า แบตเตอรี่ 4.40 Ah เวลา 10.00 น. (ชั่วโมงที่ 3) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 4.80 Ah เวลา 11.00 น. (ชั่วโมง ที่ 4) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 5.20 Ah เวลา 12.00 น. (ชั่วโมงที่ 5) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 3.55 Ah เวลา 13.00 น. (ชั่วโมงที่ 6) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 5.30 Ah เวลา 14.00 น. (ชั่วโมงที่ 7) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 4.80 Ah เวลา 15.00 น. (ชั่วโมงที่ 8 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 4.30 Ah เวลา 16.00 น. (ชั่วโมงที่ 9 ) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 3.10 Ah เวลา 17.00 น. (ชั่วโมงที่ 10) กระแสไฟฟ้าที่ชาร์จเข้าแบตเตอรี่ 0.10 Ah
88
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
จากการหาประสิทธิภาพ การใช้ไฟฟ้าของปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno จาก แบตเตอรี่และการชาร์จแบตเตอรี่ ทาการทดลองปั๊ม น้าพลังงานแสงอาทิต ย์ควบคุม ด้วยบอร์ ด Arduiuno ที่ใ ช้ พลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ 24 V 90 Ah โดยเปิดใช้อย่างต่อเนื่อง ปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ สามารถใช้งานได้ 6 ชั่วโมง 26 นาที และในการชาร์จแบตเตอร์รี่ของปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ได้เริ่ม ทดลองทาการชาร์จตั้งแต่เวลา 08.00 น. – 17.00 น. รวมเป็นเวลา 10 ชั่วโมง ได้กระแส 45.10 Ah คิดเป็น 45.10% ของแบตเตอรี่ 90 Ah นั่นหมายความว่าการชาร์จแบตเตอรี่มีประสิทธิภาพ ผลการประเมินคุณภาพด้านการออกแบบปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno การพัฒนาหาคุณภาพด้านการออกแบบปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno จากการประเมิน คุณภาพการออกแบบปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ของผู้เชี่ยวชาญ มีผลการประเมิน คุณภาพ 3 ด้านดังนี้ 1. การประเมินคุณภาพด้านโครงสร้าง ผลการประเมิน คุ ณ ภาพด้ า นโครงสร้ า งการออกแบบปั้ มน้ าพลังงานแสงอาทิต ย์ ค วบคุ ม ด้ วยบอร์ ด Arduiuno โดยคณะผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ประเมิน จานวน 5 ท่าน มีดังนี้ ตารางที่ 8 การประเมินจากผูเ้ ชี่ยวชาญด้านโครงสร้างการออกแบบปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ด้านโครงสร้าง 1.1 1.2 1.3 ค่าเฉลี่ยโดยรวม
ค่าเฉลี่ย 4.8 4.4 4.4 4.5
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.45 0.55 0.55 0.45
ระดับ ดีมาก ดี ดี
จากตารางที่ 8 ผลการประเมินคุณภาพด้านโครงสร้างการออกแบบปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุม ด้วยบอร์ด Arduiuno จากผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน โดยคณะผู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยได้ดังต่อไปนี้ จาก ผลการประเมิน 1.1 ความเหมาะสมของโครงสร้างและการติดตั้งปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ความคุมด้วยบอร์ด Arduiuno มีค่าเฉลี่ย 4.8 ผลการประเมิน 1.2 โครงสร้างและอุปกรณ์ต่างๆ มีความทนทานต่อการใช้งานและมี มาตรฐานตามที่ มอก. กาหนด มีค่าเฉลี่ย 4.4 และมีผลการประเมิน 1.3 ประสิทธิภาพของโครงสร้างมีความคงทน แข็งแรงต่อการใช้งาน มีค่าเฉลี่ย 4.4 ดังนั้น ดังนั้น คณะผู้ วิจั ยได้ท าการวิเ คราะห์ ข้อ มูล ผลการประเมิ นผลคุ ณ ภาพการออกแบบปั้ม น้าพลั งงาน แสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ของผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน ซึ่งมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.5 และค่าเบี่ยงเบน มาตรฐานรวมมีค่าเท่ากับ 0.45 แสดงว่าคุณภาพของปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno อยู่ใน เกณฑ์ที่ดี 2. การประเมินคุณภาพด้านอุปกรณ์ ผลการประเมิ น คุ ณ ภาพด้ า นอุ ป กรณ์ ก ารออกแบบปั้ ม น้ าพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ค วบคุ ม ด้ ว ยบอร์ ด Arduiuno โดยคณะผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ประเมิน จานวน 5 ท่าน มีดังนี้
89
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ตารางที่ 9 การประเมินจากผูเ้ ชี่ยวชาญด้านอุปกรณ์การออกแบบปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุม ด้วยบอร์ด Arduiuno ด้านอุปกรณ์ 2.1 2.2 2.3 ค่าเฉลี่ยโดยรวม
ค่าเฉลี่ย 4.2 4.4 4.8 4.6
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.45 0.55 0.45 0.34
ระดับ ดี ดี ดีมาก
จากตารางที่ 9 ผลการประเมินคุณภาพด้านอุปกรณ์การออกแบบปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วย บอร์ด Arduiuno จากผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน โดยคณะผู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยได้ดังต่อไปนี้ จากผล การประเมิน 2.1 การติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆในระบบควรคานึงถึงความถูกต้องและความปลอดภัยมีค่าเฉลี่ย 4.2 ผลการ ประเมิน 2.2 การจัดวางอุปกรณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมกับการใช้งานมี ค่าเฉลี่ย 4.4 และผลการประเมิน 2.3 การ ติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆในระบบควรคานึงถึงความถูกต้องและความปลอดภัยมีค่าเฉลี่ย 4.4 ดังนั้นคณะผู้วิจัยได้ทาการ วิเคราะห์ข้อมูลผลการประเมินผลคุณภาพการออกแบบปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ของ ผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน ซึ่งมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.6 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานรวมมีค่าเท่ากับ 0.34 แสดงว่าคุณภาพ การออกแบบปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno อยู่ในเกณฑ์ที่ดีมาก 3. การประเมินคุณภาพด้านการใช้งาน จากการประเมินคุณภาพด้านการใช้ งานการออกแบบปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ ด Arduiuno โดยคณะผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ประเมิน จานวน 5 ท่าน มีดังนี้ ตารางที่ 10 ผลการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญด้านการใช้งานการออกปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ด้านการใช้งาน 3.1 3.2 3.3 ค่าเฉลี่ยโดยรวม
ค่าเฉลี่ย 4.8 4.6 4.4 4.6
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.45 0.43 0.55 0.2
ระดับ ดีมาก ดีมาก ดี
จากตารางที่ 10 ผลการประเมินคุณภาพด้านการใช้งานการออกแบบปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุม ด้วยบอร์ด Arduiuno จากผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน โดยคณะผู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยได้ดังต่อไปนี้ จาก ผลการประเมิน 3.1 มีความสะดวกในการใช้งานมีค่าเฉลี่ย 4.8 ผลการประเมิน 3.2 มีการบารุงรักษาง่ายมีค่าเฉลี่ย 4.6 และผลการประเมิน 3.2 มีการบารุงรักษาง่ายมีค่าเฉลี่ย 4.4 ดังนั้นคณะผู้วิจัยได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลผลการ ประเมินผลคุณภาพการออกแบบปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ของผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน ซึ่งมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.6 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานรวมมีค่าเท่ากับ 0.2 แสดงว่าคุณภาพการออกแบบปั้มน้า พลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno อยู่ในเกณฑ์ที่ดีมาก
90
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ตารางที่ 11 สรุปผลการประเมินค่าเฉลี่ยรวมทั้ง 3 ด้านจากผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน หัวข้อด้านการประเมิน 1. ด้านโครงสร้าง 2. ด้านคุณภาพ 3. ด้านการใช้งาน ค่าเฉลี่ยรวม
ค่าเฉลี่ย 4.5 4.6 4.6 4.57
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.23 0.34 0.2 0.23
ระดับ ดี ดีมาก ดีมาก ดีมาก
จากตารางที่ 11 ผลการวิจัยพบว่าปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ที่ได้การ ประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.57 และค่าเบี่ยงเบนค่ามาตรฐานรวมมีค่าเท่ากับ 0.23 ใน ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ที่ดีมาก สรุปผลการวิจัย ในการสร้างปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno คณะผู้วิจัยได้ทาการออกแบบปั้มน้า พลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno และได้ศึกษาข้อมูลของระบบปั๊มน้าโซล่าเซลล์ที่มีอยู่ในท้องตลาด แล้วนาข้อมูลจากการค้นคว้าข้างต้นมาประยุกต์ใช้ให้มีประสิทธิภาพเพื่อลดต้นทุน และสามาถนาไปใช้กับการเรียน การสอนหรือสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในบริการสู่ชุมชนได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผลการทดลองหาประสิทธิภาพการออกแบบปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ผลการทดลองพบว่ า ปั้ ม น้ าพลั งงานแสงอาทิ ต ย์ ค วบคุ ม ด้ ว ยบอร์ ด Arduiuno ทดลองกั บ บอร์ ด Arduiuno ทดลองแบบกับการเปิด-ปิด ระยะไกล จานวนการทดลอง 9 ครั้ง โดยเริ่มการทดลองตั้งแต่ระยะ 80 เมตร 3 ครั้ง ค่าเฉลี่ย 100 % ระยะ 90 เมตร 3 ครั้ง ค่าเฉลี่ย 100 % และระยะ 100 เมตร 3 ครั้ง ค่าเฉลี่ย 100 % ในการทดลองได้จาแนกค่าค่าเฉลี่ยในแต่ละส่วน มีค่าเฉลี่ยเท่ากันทั้ง 9 ครั้ง มีค่าเฉลี่ยความถูกต้องเท่ากับ 1 และมี ค่าเฉลี่ยรวม 100 % ผลการทดลองพบว่ าการทดลองหาประสิท ธิภ าพของปั๊ มน้ าพลั งงานแสงอาทิ ตย์ค วบคุม ด้ว ยบอร์ ด Arduiuno ทดลองกับปั๊มชักประกอบมอเตอร์ DC ขนาด 350W จานวนการทดลอง 9 ครั้ง โดยเริ่มการทดลองตั้งแต่ ระยะ 4 เมตร 3 ครั้ง ค่าเฉลี่ย 100 % ระยะ 8 เมตร 3 ครั้ง ค่าเฉลี่ย 100 % และระยะ 12 เมตร 3 ครั้ง ค่าเฉลี่ย 100 % ในการทดลองได้จาแนกค่าค่าเฉลี่ยในแต่ละส่วน มีค่าเฉลี่ยเท่ากันทั้ง 9 ครั้ง มีค่าเฉลี่ยความถูกต้องเท่ากับ 1 และมีค่าเฉลี่ยรวม 100 % ผลจากการทดลองพลังงานไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ในวันที่ วันที่ 7 ตุลาคม 2560 พบว่า ความเข้ม แสงมีค่ามากที่สุดอยู่ในช่วงเวลา 13.00 นาฬิกา ซึ่งความเข้มแสงมีค่ามากที่สุดเท่ากับ 1063 วัตต์ต่อตารางเมตร สามารถวัดค่าแรงดันไฟฟ้าได้เท่ากับ 33 โวลต์ วัดค่ากระแสไฟฟ้าได้เท่ากับ 5.1 แอมแปร์ วัดค่ากาลังไฟฟ้าได้เท่ากับ 168.30 วัตต์ และสามารถคานวณหาพลังงานที่ได้จากแสงอาทิตย์ เท่ากับ 233.86 วัตต์ชั่วโมง คานวณหาพลังงาน ไฟฟ้าได้เท่ากับ 56.10 วัตต์ชั่วโมง โดยพลังงานที่ได้จากแสงอาทิตย์สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้าคิดเป็นร้อยละ 26.65 % ผลจากทดลองการใช้ไฟฟ้าของชุดปั๊มน้าจากแบตเตอรี่และการชาร์จแบตเตอรี่ทาการทดลองชุดปั๊มน้า ที่ ใช้พลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ 24 V 14.40 Ah โดยเปิดใช้อย่างต่อเนื่อง ชุดปั๊มน้าพลั งงานแสงอาทิตย์ สามารถใช้
91
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
งานได้ 6 ชั่วโมง 26 นาที และในการชาร์จแบตเตอร์รี่ของชุดปั๊มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ ได้เริ่มทดลองทาการชาร์จ ตั้งแต่เวลา 08.00 น. – 17.00 น. รวมเป็นเวลา 10 ชั่วโมง ได้กระแส 41.50 Ah คิดเป็น 46.11 % ของแบตเตอรี่ 90 Ah นั่นหมายความว่าการชาร์จแบตเตอรี่ ผลการประเมินคุณภาพการออกแบบปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiunoจากการ ประเมินหาคุณภาพของปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiunoที่คณะวิจัยได้สร้างขึ้นมานั้นได้มีการ ประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน โดยแบ่งออกเป็น 3 ด้านได้แก่ การประเมินคุณภาพด้านโครงสร้าง ค่าเฉลี่ย 4.5 การประเมินคุณภาพด้านอุปกรณ์ ค่าเฉลี่ย 4.6 และด้านการประเมินคุณภาพด้านการใช้งาน ค่าเฉลี่ย 4.6 โดยมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 4.57 และค่าเบี่ยงเบนค่ามาตรฐานรวมมีค่าเท่ากับ 0.23 เป็นไปตามสมมติฐานของการ วิจัย วิจารณ์ผลการวิจัย จากการวิจัย ครั้งนี้ คณะผู้วิจัย ได้ทาการศึ กษาข้ อมูลค้ นคว้า เอกสาร และงานวิจัย ที่เกี่ย วข้อง เพื่ อ วางแผนและออกแบบวิธีการสร้าง ปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno โดยได้ประชุมวางแผน และนาเสนอข้อมูลต่อผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อคิดและข้อเสนอแนะในการสร้างการออกแบบปั้มน้าพลังงาน แสงอาทิ ต ย์ ค วบคุ ม ด้ ว ยบอร์ ด Arduiuno ดั งนั้ น คณะผู้ วิ จั ย จึ งได้ ด าเนิ น การสร้ า ง โดยเริ่ ม จากการออกแบบ โครงสร้างฐานวางแผงโซล่าเซลล์ และการวางชุดปั๊มน้าในรถเข็น และได้ทาการออกแบบให้มีตู้คอนโทรล 2 ตู้ และได้ เดินระบบไฟต่างๆ คณะผู้วิจัยได้คานึงถึงคุณสมบัติความทนทานแข็งแรง ความปลอดภัย และความสะดวกต่อการใช้ งาน จากนั้นจึงทาการทดสอบคุณภาพของอุปกรณ์ก่อนทาการสร้างตามที่ออกแบบไว้ ปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno มีความเหมาะสมอย่างยิ่งสาหรับการ ใช้งานทางการเกษตร สามารถนาไปให้ความรู้แก่ ชุมชน และเป็นต้นแบบในการพัฒนาระบบ และสามารถนามาเป็นแบบอย่างให้กับผู้ที่สนใจเกี่ยวกับการออกแบบปั้ม น้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno และสามารถนาไปประกอบอาชีพทางการเกษตรได้อย่าง เหมาะสม เนื่องจากมีการต่อใช้งานที่ไม่ซั บซ้อน และสามารถเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งมี การใช้งานที่ง่าย และ ระบบปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno มีการติดตั้งกับรถเข็น ทาให้สะดวกสบายต่อการ เคลื่อนย้ายได้ทุกสถานที่ ในการดาเนินการวิจัย การออกแบบโครงสร้างมีความเหมาะสมได้ค่าเฉลี่ยรวม 4.5 เนื่องจากคณะผู้วิจัย ได้ ท าการสร้ า งฐานยึ ด แผงโซล่ า เซลล์ แ ยกออกจากปั้ ม น้ าพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ ค วบคุ ม ด้ ว ยบอร์ ด Arduiuno ผู้เชี่ยวชาญได้แนะนาให้ทาการแก้ไขให้แผงและปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno สามารถ ปรับองศาได้ และผู้เชี่ยวชาญให้ติดตั้งปลั๊ก DC ไว้ข้างๆตู้ควบคุมเพื่อไว้ใช้งานต่างๆ คณะผู้วิจัยจึงได้ทาการปรับปรุง แก้ไขตามผู้เชี่ยวชาญตามคาแนะนา และแก้ไขจนเสร็จสิ้น จนแน่ใจว่าปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นมานั้นสามารถนาไปใช้งานได้จริงและช่วยให้เกษตรกรให้เข้าใจถึงหลักการทางานของปั้ม น้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno และสามารถนามาเป็นแบบอย่างให้กับผู้ที่สนใจ เกี่ยวกับ ปั้ม น้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno มีประสิทธิภาพและมีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ดีเป็นไปตาม สมมุติฐานของผู้วิจัย
92
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัย 1. ควรกาหนดแนวทางในการทดลอง และวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างการออกแบบปั้ม น้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno เพื่อให้การทางานของปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วย บอร์ด Arduiuno นั้นมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2. วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างการออกแบบปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno จะต้องมีความเหมาะสมกับการใช้งาน มีความแข็งแรง และทดทานพร้อมทั้งมีความปลอดภัยในการใช้งานทุก ขั้นตอนของการทางาน 3. ควรมีคู่มือติดไว้ติดๆ ปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno และสร้างปลั้ก DC ออกมาข้างๆตู้ควบคุม ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป 1. สามารถเพิ่มขนาดของแผงโซล่าเซลล์ เพื่อให้มีกาลังวัตต์และกระแสไฟฟ้ามากขึ้น เพื่อใช้ในการ ชาร์จแบตเตอรี่ และมอเตอร์ของปั้มน้าพลังงานแสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno 2. อาจมี ก ารพั ฒ นาโดยการน าระบบ WIFI มาใช้ ใ นการควบคุ ม การท างานของปั้ ม น้ าพลั ง งาน แสงอาทิตย์ควบคุมด้วยบอร์ด Arduiuno 3. สามารถนาระบบตรวจจับความเข้มแสง ในการทางานของโซล่าเซลล์ ให้มีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น เอกสารอ้างอิง รวีรรณ ชินะตระกูล. (2542). ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน. กรุงเทพมหานคร : บุ๊คเซนเตอร์. หน้า 179. วัชรากร ชมชื่นชมวงศ์. (2546). ปั๊มน้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. วิทยา ฟ้าอมรเลิศ และคณะ. (2541). ระบบสูบน้าและพลังงานแสงอาทิตย์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ. วรินทร์ วงษ์มณี. (2545). ระบบการติดตามพลังงานสูงสุดสาหรับระบบสูบน้าที่ใช้กับมอเตอร์. เหนี่ยวนาชนิด 3 เฟส. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี.สูตรที่ใช้ในงานวิจัย. (2557). กาลังไฟฟ้า. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://www.rmuthysics.com. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2560. ศรีเชาวน์ ศีรสะอาด. (2543). (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://www.tci- thaijo.org/index.php/ npuj/ article/viewFile/48439/40243. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2560.
93
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
SCIEPP-09 การศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ปริมาณสารประกอบฟินอลิกทั้งหมด และการยับยั้ง เอนไซม์ไทโรซิเนสของสาร สกัดจากหนามแดง STUDY OF FREE RADICAL SCAVENGING, TOTAL PHENOLIC CONTENTS AND TYROSINASE INHIBITION ACTIVITY OF CRUDE EXTRACT FROM CARISSA CARANDAS LINN. ประกายสิทธิ์ เจริญบุญ1, จาณียา ขันชะลี2 และ อรุณ จันทร์คา3 1 2 3
สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000 สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000
บทคัดย่อ การวิจัยนี้ได้ศึกษาฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระ ปริมาณสารประกอบฟินอลิกทั้งหมด และการยับยั้งเอนไซม์ ไทโรซิเนสของสารสกัดจากหนามแดง โดยนาผลหนามแดงมาสกัดด้วยเอทานอล และ70%เอทานอล, ได้ร้อยละ ของสารสกัดหยาบคิดเป็น 6.48% และ3.5% จากการศึกษาพบว่า ปริมาณฟีนอลิกทั้งหมดของสารสกัดหนาม แดงสกัดด้วยเอทานอล และ70%เอทานอล เท่ากับ 0.1458 mg GAE/g, และ 0.1681±0.0001 mg GAE/g เมื่อ ทดสอบความสามารถในการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH ของสารสกัดหนามแดงที่สกัดด้วยเอทานอล และ70% เอทานอล เท่ากัน 86.23+0.03% และ 87.25+0.02% เมื่อทดสอบความสามารถในการเป็นสารต้าน อนุ มู ล อิ ส ระด้ ว ยวิ ธี ABTS ของสารสกั ด หนามแดงที่ ส กั ด ด้ ว ยเอทานอล และ70% เอทานอล เท่ า กั น 28.62+0.166% และ 31.69+0.318% เมื่อทดสอบความสามารถในการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี FRAP ของสารสกัดหนามแดงที่สกัดด้วยเอทานอล และ70% เอทานอล เท่ากับ 1,180.57 Fe2+/g สารสกัด และ 1,303.85Fe2+/g สารสกัด และได้ ทาการทดสอบฤทธิ์ในการยับ ยั้งเอนไซม์ไ ทโรซิเนส โดยใช้วิ ธี Modified dopachrome กับ L-DOPA เป็นสารตั้งต้นพบว่า สารสกัดหนามแดงด้วยเอทานอลและ 70%เอทานอล มี ความสามารถในการยับยั้งการทางานของเอนไซม์ไทโรซิเนส เท่ากับ 74.73%, และ 80.23% จากผลการทดลอง แสดงให้เห็นว่าสารสกัดหนามแดงที่สกัดด้วย 70% เอทานอล มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และต้านเอนไซม์ไทโรซิเนสดี ที่สุด คำสำคัญ : /หนามแดง/ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ/ สารฟีนอลิกทั้งหมด/ ฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส Abstract This study examined the Antioxidant, Total Phenolic Contents and Tyrosinase Inhibition Activity of Crude Extract from Carissa carandas Linn.. The yield of extract Carissa carandas Linn. in ethanol as solvent and in 70%ethanol are 6.48% and 3.5% respectively. The amount of total phenolic content was found in the ethanol extract of Carissa carandas Linn. at concentration of 0.1458 mg GAE/g extract and in 70%ethanol 0.1681±0.0001 mg GAE/g extract. . When study
94
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
Antioxidant activity of the extracts was evaluated using DPPH, ABTS and FRAP assays of Carissa carandas Linn. in ethanol were 86.23+0.03%, 28.62+0.166% and 1,180.57 Fe2+/g respectively, and pink Carissa carandas Linn. in 70%ethanol were 87.25+0.02%, 31.69+0.318% and 1,303.85Fe2+/g respectively. The Tyrosinase inhibitory activity of the extract was assayed by the dopachrome method using L – Dopa as a substrate. The Carissa carandas Linn. extracted in ethanol as 74.73%, and extracted in 70%ethanol as 80.23% The results show that the extract of Carissa carandas Linn. has antioxidant activity and Good Tyrosinase inhibitory activity. Keywords : /Antioxidan/ Total Phenolic Content/ Tyrosinase Inhibition Activity บทนา ผลหนามแดงสุกเป็นผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง มีฤทธิ์ต้านออกซิเดชันที่ดีเนื่องจากมีสารประกอบ ฟีนอล ทั้งหมดถึง 7.8% ของน้าหนักสารสกัดหยาบ มีฤทธิ์ฝาดสมาน มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ นอกจากนั้นยังมีฤทธิ์ต้านทั้ง เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรารวมทั้งไวรัส มีพฤกษเคมีที่เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ เช่น ไอโซเอมิล -แอลกอฮอล์ (isoamyl alcohol), เบนซิล อะซิเตต (benzyl acetate), ลูพีออล (lupeol), กรดออกซาลิก (oxalic acid), กรดทาร์ทาริก (tartaric acid), กรดซิตริก (citric acid), กรดมาลิก (malic acid), กรดมาโลนิก (malonic acid) และ กรดไกลโค ลิก (glycolic acids) ตัวอย่างพฤษเคมีในผลหนามแดงที่ใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสาอาง เช่น กรดไกลโคลิกที่ช่วยขจัด เซลล์ผิวหนังชั้นนอกทีต่ ายแล้ว ให้หลุดลอกออกไป จึงช่วยสนับสนุนให้ร่างกายผลัดเซลล์ผวิ หนังรุ่นใหม่ออกมาได้ง่าย และได้เร็วขึ้นจึงทาให้ริ้วรอยจางลง นอกจากนี้กรดไกลโคลิกยังสามารถจับกับน้าและทาให้มีปริมาณน้าหล่อเลี้ยงใน ผิวหนังได้นานขึ้น รวมถึงช่วยปรับค่าความเป็นกรด–ด่างของผิวหนังให้เหมาะสมมากขึ้น นอกจากนั้น ยังพบว่า ผล หนามแดงสามารถใช้บรรเทาหรือรักษาโรคผิวหนังได้ทุกชนิด ปัจจุบันผู้บริโภคเริ่มรู้จักและต้องการผลหนามแดง มากขึ้น เพราะทางวิชาการระบุว่ามีประโยชน์ต่อร่างกาย เป็นผลไม้ที่อุดมด้วยธาตุเหล็กและมีส่วนผสมของวิตามิน ซีอยู่มาก มีการใช้เป็นอาหารซ่อมเสริมสาหรับผู้ขาดวิตามินซี สามารถต้านอาการหวัดได้ดี วงการแพทย์ได้นาไปใช้ รักษาโรคควบคู่กับยาแผนปัจจุบัน เพราะมีปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระมากตามไปด้วย ดังนั้น ผู้วิจัย จึงสนใจที่จะ นาผลหนามแดงมาศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ หาปริมาณฟีนอลิกทั้งหมด และศึกษาฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส เพื่อพัฒนาเป็นเครื่องสาอางผลิตภัณฑ์ชุมชนต่อไปในอนาคต วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ปริมาณสารประกอบฟินอลิกทั้งหมด และการยับยั้ง เอนไซม์ไทโรซิเนส ของสารสกัดจากหนามแดง วิธีดาเนินการวิจัย 1. การเตรียมตัวอย่างพืชและการสกัดสารสกัด นาผลของหนามแดงล้างด้วยน้าประปา 2 ครั้งให้สะอาด แล้วผึ่งให้สะเด็ดน้า นามาผ่าเอาเมล็ดออก หั่น ให้เป็นชิ้นเล็ก จากนั้นนาตัวอย่างพืชที่เตรียมไว้บรรจุในภาชนะแก้วที่มีฝาปิด แล้วสกัดสารด้วยการเติมตัวทาละลาย ได้แก่ เอทานอล, 70%เอทานอล โดยใช้อัตราส่วนตัวอย่างพืช 1 กรัมต่อตัวทาละลาย 2 มิลลิลิตร (สิริวรรณ,
95
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
2547) แช่ตัวอย่างพืชในตัวทาละลาย 7 วัน หรือจนกระทั่งสารองค์ประกอบในตัวอย่างพืชแพร่ออกมาอยู่ในตัวทา ละลายมากที่สุด โดยพิจารณาจากการเปลี่ยนสีของตัวทาละลายในภาชนะบรรจุ จากนั้นกรองแยกเอากากพืชออก จากสารสกัด กากที่เหลือนามาสกัดซ้าอีก 2 รอบ รวมสารที่สกัดได้แล้วนาไประเหยตัวทาละลายโดยใช้เครื่อง Rotary Evaporator ที่อุณหภูมิ 35-40 องศาเซลเซียส จนกระทั่งสารสกัดพืชมีลักษณะข้น เก็บสารสกัดพืชที่ได้ไว้ที่ อุณหภูมิ 4งองศาเซลเซียส เพื่อใช้ในการทดลองต่อไป 2. การทดสอบการต้านอนุมูลอิสระ 2.1 การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH การหาฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระโดยวิธี DPPH (ดัดแปลงจากวิธีการของจินตหรา ชมพูจันทร์ และ สุนทรี ชมคา 2554) เตรียมสารสกัดผลของหนามแดงเข้มข้น 15,000ppm โดยชั่งสารสกัดหนามแดง 0.375 กรัม ละลายด้วย 10% น้า :เอทานอล 25 มิลลิลิตร กรองสารสกัดที่ได้ จากนั้น ปิเปตต์สารละลายตัวอย่าง 2 มิลลิลิตร ใส่ในหลอดทดลองที่มีสารละลาย DPPH (1.0 มิลลิโมลาร์ต่อลิตร) 2 มิลลิลิตร จากนั้นเก็บในที่มืดที่อุณหภูมิห้องเป็น เวลา 30 นาที แล้วนาไปวัดค่าการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 515 นาโนเมตร โดยเครื่อง Spectronic genesys 5 ใช้ DPPH เป็นสารละลายแบลงค์ (blank) คานวณหาค่าเปอร์เซ็นต์การจับกับอนุมูลอิสระ DPPH โดยเปรียบเทียบ กับละลายมาตรฐานของ Ascorbic acid ที่ระดับความเข้มข้น 6.25, 12.5, 25, 50 100, 150, 200, 250 และ500 mg/L
% DPPH free radical scavenging activity = ( A0 - A1) x 100 A0 A0 = ค่าการดูดกลืนแสงของแบลงค์ (เมทานอล+DPPH) ที่เวลา 30 นาที A1 = ค่าการดูดกลืนแสงของตัวอย่าง (สารสกัด+DPPH) ที่เวลา 30 นาที 2.2 การวัดความสามารถในการรีดิวซ์ของสารต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี FRAP การวัดความสามารถในการรีดิวซ์ของเหล็ก (ดัดแปลงจากวิธีการของจินตหรา ชมพูจันทร์ และ สุนทรี ชมคา 2554 ) ทดสอบโดยปิเปตต์สารละลายตัวอย่างหนามแดงเข้มข้น 5,000ppm และสารละลายมาตรฐาน FeSO4 • 7H2O ปริมาตร 0.03 mL ใส่ในหลอดทดลอง เติม FRAP reagent 0.9 mL และน้ากลั่น 0.09 ml ผสม ให้เข้ากัน บ่มที่อุณหภูมิ ห้องเป็นเวลา 8 นาที นาไปวัดค่าการดูดกลืนคลื่นแสงที่ความยาวคลื่น 539 nm (ใช้ สารละลาย 10%น้า : เอทานอลเป็นสารละลายแบลงค์) นาค่าการดูดกลืนแสงที่ได้ไปเทียบกับกราฟมาตรฐานที่สร้าง จากสารละลาย Iron(II)sulfate ที่ความเข้มข้นระหว่าง 50 – 750 µmol/L (Catherine N. Kunyanga, 2012) 2.3 การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี ABTS การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี ABTS (ดัดแปลงมาจากวิธีการของ Re, Et al., 1999) เตรียมตัวอย่างสารสกัดหนามแดงความเข้มข้น 5,000 mg/L โดยชั่งสารสกัดมา 0.125 g ละลายด้วย10% น้า:เอ ทานอล ปรับปริมาตร 25 mL และปิเปตสารสกัดมาปริมาตร 0.1 mL ใส่ในหลอดทดลอง แล้วเติมสารละลาย ABTS+. ปริมาตร 4 mL ผสมให้เข้ากัน ตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้องนาน 6 นาที ใช้ ABTS+. ผสมกับ10%น้า : เอทานอล เป็น Blank นาไปวัดค่าการดูดกลืนคลื่นแสงที่ความยาวคลื่น 734 nm
96
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ABTS ของสารสกัดที่ใช้ทดสอบคานวณจากสมการ A0 = ค่าการดูดกลืนคลื่นแสงของแบลงค์ (เอทานอลผสมกับ ABTS) ที่เวลา 6 นาที A1 = ค่าการดูดกลืนคลื่นแสงของตัวอย่าง (สารสกัดผสมกับ ABTS) ที่เวลา 6 นาที 3. การทดสอบหาปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมดโดยวิธี Folin ciocalteu phenol test การทดสอบหาปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมดโดยวิธี Folin ciocalteu phenol test (ดัดแปลง มาจากวิธีการของชาลินี และสิริพร. 2554) เตรียมสารตัวอย่างหนามแดงความเข้มข้น 20,000 ppm โดยชั่งสาร ตัวอย่าง 0.5 g ละลายใน 10% น้า:เอทานอล 25 mL กรองสารสกัดที่ได้ จากนั้นปิเปตต์สารสกัด 1.25 mL ใส่ลง ในขวดวัดปริมาตร 25 mL จากนั้นเติมสาร Folin Ciocalteu Reagent 1.25 mL เขย่าให้เข้ากัน ตั้งทิ้งไว้ที่ อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 5 นาที จากนั้นเติมสารละลายโซเดียมคาร์บอเนต (10% w/v) 5 mL เขย่าให้เข้ากัน ปรับ ปริมาตร ด้วยน้ากลั่นทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 10 นาที นาไปวัดค่าการดูดกลืนคลื่นแสงที่ 730 nm (ทา 3 ซ้า) เทียบกับกราฟมาตรฐานของ Gallic acid 4. การทดสอบการยับยั้งเอ็นไซม์ไทโรซิเนสด้วยวิธี Modified Dopachrome การทดสอบการยับยั้งเอ็นไซม์ไทโรซิเนสด้วยวิธี Modified Dopachrome (ดัดแปลงมาจากวิธีการของ บุปผาชาติ และมณีรัตน์. 2549) แสดงในตารางที่ 1. จากนั้นนาสารละลายที่เตรียมไว้ในใน 96 well plate ไป Incubater ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส ประมาณ 10 นาที แล้วเติมสารละลาย L-DOPA 20 µl ลงในทุกช่อง เขย่าให้สารละลายผสมกันดี นาไปวัดการดูดกลืนแสงด้วยเครื่อง Microplate reader ที่ความยาวคลื่น 492 nm เปรียบเทียบกับสารละลายมาตรฐานวิตามินซี แล้วนามาคานวณหา % Tyrosinase inhibition จากสมการ การ คานวณหาค่าร้อยละของการยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส ตารางที่ 1 การเติมสารละลาย A, B, C และ D แยกกันลงใน 96 well plate ชุดทดสอบ A (Control) B (Blank control) C (Test sample) D (Blank sample)
0.2 M Phosphate 10% H2O buffer pH 6.8 : EtOH 140 µl 160 µl 140 µl 160 µl
20 µl 20 µl -
Test sample 20 µl 20 µl
Tyrosinase solution (203.3 units/M) 20 µl 20 µl -
L-DOPA 20 µl 20 µl 20 µl 20 µl
ผลการวิจัย 1. ผลการสกัดหนามแดง จากการนาตัวอย่างหนามแดงมาสกัดและนาไประเหยตัวทาละลายออกได้ผลดังนี้ 1. หนามแดงที่สกัดด้วยเอทานอล ได้สารสกัดหยาบอล ร้อยละผลผลิต เป็น 6.48% 2. หนามแดงที่สกัดด้วย70% เอทานอล ได้สารสกัดหยาบ ร้อยละผลผลิต เป็น 3.50%
97
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
2. ผลการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH การทดสอบความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ DPPH ของสารสกัดหยาบหนามแดง พบว่าสารสกัด หยาบหนามแดงด้วยเอทานอล และ 70% เอทานอล มีความสามารถในการจับอนุมูลอิสระ DPPH เท่ากับ 86.23 + 0.03% และ 87.25 + 0.02% ตามลาดับ ดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 แสดงปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระโดยวิธี DPPH ของสารกัดจากหนามแดง ตัวอย่าง ความเข้มข้น 15,000ppm สารสกัดหนามแดงด้วย เอทานอล สารสกัดหนามแดง ด้วย70%เอทานอล
1 2 3 1 2 3
ค่าการดูดกลืนคลื่น แสงที่ 515nm
% การจับกับอนุมูล อิสระDPPH
0.464 0.463 0.465 0.430 0.430 0.429
86.23 86.26 86.20 87.24 87.24 87.27
ค่าเฉลี่ย±SD
86.23 + 0.03
87.25 + 0.02
3. ผลการวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี ABTS การทดสอบความสามารถในการยับยั้งอนุมูลอิสระ ABTS ของสารสกัดจากหนามแดง พบว่าสารสกัด หยาบหนามแดงด้วยเอทานอลและ 70% เอทานอล มีฤทธิ์ในการยับยั้งอนุมูลอิสระ ABTS+. เท่ากับ 28.62 + 0.166% และ 31.69 + 0.318% ตามลาดับ ดังตารางที่3 แต่เมื่อลดความเข้มข้นของสารสกัดลงพบว่า %Inhibition จะ ลดลงด้วย ซึ่งความสามารถในการยับยั้งอนุมูลอิสระ ABTS+. มีความสัมพันธ์กับสารฟีนอลิก ซึ่งสอดคล้องกับ งานวิจัย Chandra G.(1972) ศึกษาผลหนามแดงสุก มีฤทธิ์ต้านออกซิเดชันที่ดีเนื่องจากมีสารประกอบฟีนอล ทั้งหมด 7.8% ของน้าหนักสารสกัดหยาบ ตารางที่ 3 แสดงปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี ABTS ของสารสกัดหนามแดง ตัวอย่าง ความเข้มข้น 5,000ppm
สารสกัดหนามแดง ด้วยเอทานอล สารสกัดหนามแดง ด้วย70% เอทานอล
1 2 3 1 2 3
ค่าการดูดกลืน คลื่นแสงที่ 734nm
% การจับกับ อนุมูลอิสระ ABTS
0.481 0.480 0.482 0.460 0.458 0.462
28.64 28.78 28.45 31.57 32.05 31.45
98
ค่าเฉลี่ย
28.62 + 0.166
31.69 + 0.318
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
4. ผลการวิเคราะห์ความสามารถในการรีดิวซ์เฟอร์ริกของสารต้านอนุมูลอิสระ ผลการทดสอบความสามารถในการรีดิวซ์เฟอร์ริกของสารสกัดหนามแดง ดังตารางที่ 4 พบว่าสารสกัด หยาบหนามแดงด้วยเอทานอล และ 70%เอทานอล มีความสามารถในการรีดิวซ์เฟอร์ริกเท่ากับ 1,180.57 Fe2+/g สารสกัด และ 1,303.85 Fe2+/g สารสกัด ตามลาดับ ซึ่งพบว่าความสามารถในการรีดิวซ์เฟอร์ริกของสารสกัด หนามแดงจะมีความสัมพันธ์กับปริมาณสาร ฟีนอลิก ตารางที่ 4 ความสามารถในการรีดิวซ์เฟอร์ริกของสารสกัดหนามแดง ตัวอย่างหนามแดง ความเข้มข้น5,000ppm 1 สารสกัดหนามแดง ด้วยเอทานอล 2 3 1 สารสกัดหนามแดง ด้วย70% เอทานอล 2 3
ค่าการดูดกลืนคลื่นแสง ที่539nm 0.330 0.331 0.330 0.364 0.364 0.364
ปริมาณ(Fe2+TPTZ) (mg/g extracted) 1,179.3336 1,183.0368 1,179.3336 1,303.8520 1,303.8520 1,303.8520
ค่าเฉลี่ย 1,180.57
1,303.85
5. ผลการวิเคราะห์ปริมาณสารฟีนอลิกทั้งหมด ผลการวิเคราะห์ปริมาณฟีนอลิกทั้งหมดของสารสกัดหนามแดง ดังตารางที่ 5 พบว่าปริมาณฟีนอลิก ทั้งหมดของหยาบหนามแดงด้วยเอทานอล และ70% เอทานอล เท่ากับ 0.1458 mg GAE/g สารสกัด และ 0.1681±0.0001 mg GAE/g สารสกัด ตามลาดับ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย รุ่งทิวา วงค์ไพศาลฤทธิ์ และ ดวง ทิพย์ ศรีตาแสน (2551) ได้ศึกษาไวน์ลูกหนามแดงและปริ มาณสารประกอบฟีนอลทั้งหมดของน้าหนามแดง จาก การศึกษาปริมาณสารประกอบฟีนอลทั้งหมด ด้วยวิธี Folin-ciocalteu พบว่า มีค่าเท่ากับ 38.439+0.011 mg GAE/g สารสกัด ตารางที่ 5 ปริมาณสารฟีนอลิกทั้งหมดของสารสกัดหนามแดง ตัวอย่าง ความเข้มข้น 20,000ppm สารสกัดหนามแดง ด้วยเอทานอล สารสกัดหนามแดง ด้วย70%เอทานอล
1 2 3 1 2 3
ค่าการดูดกลืนคลื่น แสงที7่ 30nm 1.298 1.297 1.298 1.567 1.566 1.568
ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด mg GAE/g น้าหนักสารสกัดหยาบ 0.1458 0.1458 0.1458 0.1682 0.1680 0.1682
99
ค่าเฉลี่ย 0.1458 + 0.0000 0.1681 + 0.0001
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
6. การทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส เมื่อศึกษาการยับยั้งการทางานของเอนไซม์ไทโรซิเนส (Tyrosinase inhibiter) ด้วยวิธีโดปาโครม พบว่าสารสกัดหนามแดงด้วยเอทานอล และ70%เอทานอล มีฤทธิ์การยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส เท่ากับ 74.73% และ 80.23% ตามลาดับ ดังตารางที่ 6 ตารางที่ 6 ผลการวิเคราะห์การยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสของสารสกัดหนามแดง ตัวอย่างความเข้มข้น 3,000ppm สารสกัดหนาม แดงด้วย เอทานอล สารสกัดหนาม แดงด้วย70% เอทานอล
1 2 3 1 2 3
ค่าการดูดกลืนคลื่นแสงที4่ 92nm A
B
C
D
A-B
C-D
0.125 0.115 0.109 0.236 0.155 0.116
0.040 0.055 0.044 0.050 0.044 0.033
0.105 0.133 0.108 0.117 0.118 0.115
0.092 0.105 0.099 0.086 0.072 0.114
0.085 0.060 0.065 0.186 0.111 0.083
0.013 0.028 0.009 0.031 0.046 0.001
% การยับยั้ง เอ็นไซม์ ไทโรซิเนส 84.71 53.33 86.15 83.33 58.56 98.80
ค่าเฉลี่ย
74.73
80.23
สรุปผลการวิจัย จากการนาหนามแดงมาสกัดด้วยวิธีแช่ในตัวทาละลายต่างๆ พบว่าหนามแดงที่สกัดด้วยเอทานอลได้ ร้อยละของสารสกัดหยาบมากที่สุดเท่ากัน 6.48% การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH พบว่าหนาม แดงสีที่สกัดด้วย 70% เอทานอล มีฤทธิ์ สูงที่สุด คือ 87.25 + 0.02 การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี ABTS พบว่าหนามแดงสีที่สกัดด้วย 70% เอทานอล มีฤทธิ์ สูงที่สุด คือ 31.69 + 0.318% การหาปริมาณฟีนอลิกทั้งหมด ของหยาบหนามแดงด้วย 70% เอทานอล มีปริมาณสูงที่สุดเท่ากับ 0.1681±0.0001 mg GAE/g สารสกัด การทดสอบความสามารถในการรีดิวซ์เฟอร์ริกของสารสกัดหนามแดงด้วย 70%เอทานอล มีความสามารถในการ รีดิวซ์เฟอร์ริกสูงที่สุดเท่ากับ 1,303.85 Fe2+/g สารสกัด และสารสกัดหนามแดงด้วย70% เอทานอล มีฤทธิ์การ ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนส สูงที่สุด เท่ากับ 80.23% จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าสารสกัดหนามแดงที่สกัดด้วย 70%เอทานอล มี ฤ ทธิ์ ต้ า นอนุ มู ล อิ ส ระ และต้ า นเอนไซม์ ไ ทโรซิ เ นสดี ที่ สุ ด เหมาะส าหรั บ น ามาพั ฒ นาเป็ น ผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางในโอกาสต่อไป ข้อเสนอแนะ 1. สารที่ได้ควรนาไปตรวจสอบฤทธิ์ทางชีวภาพด้านอื่นต่อไป เช่น ศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย เป็นต้น 2. ควรมีการแยกองค์ประกอบทางเคมีด้วยตัวทาละลายที่เหมาะสม ซึ่งอาจจะทาให้พบสารบางชนิด ได้และสารที่พบอาจเป็นสารชนิดใหม่ เพื่อนาไปพัฒนาให้เป็นผลิตภัณฑ์ต่อไป 3. ในขั้นตอนการระเหยตัวทาละลายควรใช้อุณหภูมิที่เหมาะสมไม่ควรใช้อุณหภูมิที่สูงเกินไปเพราะ สารบางตัวอาจสลายตัวได้ที่อุณหภูมิสูง แต่ถ้าใช้อุณหภูมิต่าเกินไปตัวทาละลายอาจระเหยออกจากสารสกัดได้ยาก 4. การเก็บตัวอย่างสารสกัดควรเก็บให้พ้นแสงและภายใต้อุณหภูมิต่า เพื่อป้องกันการสลายตัวของ สารสาคัญ
100
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
กิตติกรรมประกาศ ผู้วิจัยขอขอบคุณโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) ที่ให้ทุนสนับสนุนในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ขอขอบคุณคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ที่เอื้อเฟื้ออุปกรณ์ สารเคมี และสถานที่ในการทาวิจัย เอกสารอ้างอิง จินตหรา ชมพูจันทร์ และคณะ. (2555). สารต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากผักหวาน. โครงการวิจัยวิทยา ศาสตรบัณฑิต สาขาเคมี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. ชนานันท์ สุวรรณปิฎกกุล. การวิเคราะห์ปริมาณแอนโทไซยานินรวมและฤทธิ์ต้านอนุมลู อิสระของสารสกัด มะม่วงหาวมะนาวโห่. วิทยานิพนธ์หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณัฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ เครื่องสาอาง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง. ดวงทิพย์ ศรีตาแสน และรุ่งทิวา วงค์ไพศาลฤทธิ.์ (2551). ไวน์ลูกหนามแดง (มะม่วงหาวมะนาวโห่) โครงการวิจัยทุนสนับสนุนงานวิจยั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. ดวงทิพย์ ศรีตาแสน, เบญจมาภรณ์ ภัทรนาวิก และรุ่งทิวา วงศ์ไพศาลฤทธิ์. (2551). น้าลูกหนามแดงพร้อมดื่ม. โครงงานวิจัยทุนสนับสนุนงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. บุปผาชาติ พตด้วง และมณีรัตน์ มีพลอย. “การทดสอบฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซิเนสของเถาสิรินธรวัลลี (สามสิบ สองประดง).” วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง ประเทศไทย. 21, 3 (กรกฎาคม-กันยายน 2549) : 69-78 ระวิวรรณ แก้วอมตวงศ์ และทรงพร จึงมั่นคง. “ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ DPPH และปริมาณสารฟีนอลรวมของ สารสกัดพืชสมุนไพรบางชนิด.” วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 8, 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2549) : 76-88. สิริวรรณ สมิทธิอาภรณ์. (2547). การควบคุมดรงแอนแทรคโนสและโรคขั้วผลเน่าในมะม่วงพันธ์น้าดอกไม้โดย ใช้สารสกัดจากพืช. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. อภัย ราษฎรวิจิตร. “กรดไกลโคลิก.” หาหมอ.com. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2558. Anupama, N., Madhumitha, G. and Rajesh, K. S. (2014). “Role of dried fruits of Carissa carandas as Anti-Inflammatory agents and the analysis of phytochemical constituents by GCMS.” (2014). Chandra, G.. (1972). “Soap, erfumary & Cosmetics.” 45, 6 (1972): 551. Devmurari, V., et al. “ review: Carissa Congesta: Phytochemical constituents, traditional use and pharmacological properties.” Review Article. 3, 6 (2009): 375-377. Kumar, S., Gupta, . & Gupta, K.L, V. “ critical review on Karamarda (Carissa carandas Linn.).” International Journal of Pharmaceutical & Biological Archives. 4,4 (2013): 637–642. Moyo, B., et al. “ olyphenolic content and antio idant propertied of Moriga oleifera leaf extracts and enzymatic activity of liver from goats supplemented with Moriga oleifera leaves/ sunflower seed cake.” Meat Science. 91, :441-447
101
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
Neagu, E., et al. “ ntio idant activity, acetylcholinesterase and tyrosinase inhibitory potential of Pulmonaria officinalis and Centarium umbellatum e tracts.” Saudi Journal of Biological Sciences. (2016). Sarma, ., et al. “ ntio idant activity and nutraceutical property of the fruits of an Ethno-medicinal plant : Carissa carandas L. found in Brahmaputra valley agro- climatic condition.” J. Pharm. Sci. & Res. 7, 2 (2015): 55-57. Zengin, G., et al. “ henolic constituent, antio idative and tyrosinase inhibitory activity of Ornithogalum narbonense L. from Turkey: phytochemical study.” Industrial Crops and Products. 70, (2015): 1–6
102
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018 SCIEPP-10
ปัจจัยที่มีความพันธ์กับความเหงาของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพัง FACTORS ASSOCIATED WITH FEELING OF LONELINESS AMONG ELDERLY LIVING ALONE สมหญิง ฤทธิ์ลือไกร1 1
Somying Ritluekrai อาจารย์ประจาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี
บทคัดย่อ การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านความสามารถในการ ปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ความเมตตากรุณาต่อตนเอง สัมพันธภาพในครอบครัว ความโดดเดี่ยวทางสังคม และความ ผาสุกทางจิตวิญญาณ กลุ่มตัวอย่างครั้งนี้ คือ ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ถึง 85 ปี และอาศัยอยู่ในเขตจังหวัด ชลบุรี จานวน 120 คน สุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ เครื่องมือที่ใช้วิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ข้อมูลพื้นฐาน แบบวัดความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน แบบวัดความเมตตากรุณาต่อตนเอง แบบวัดสัมพันธภาพในครอบครัว แบบวัดความโดดเดี่ยวทางสังคม และแบบวัด ความผาสุกทางจิตวิญญาณ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ความเมตตากรุณาต่อตนเอง สัมพันธภาพในครอบครัว ความโดดเดี่ยวทางสังคม และความผาสุกทางจิตวิญญาณมีความสัมพันธ์กับความเหงาของ ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพัง ( p <.05) จากผลการวิจัยดังกล่าว พยาบาล และบุคลากรในทีมสุขภาพและผู้ดูแล ผู้สูงอายุควรตระหนักถึงความสาคัญในการลดความเหงาของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพัง คำสำคัญ: ความเหงา, ผู้สูงอายุทอี่ าศัยอยู่ตามลาพัง Abstract The purposes of this research was to study the relationships between Activities of Daily Living, Self-Compassion, family relation, Social isolation and spiritual well-being the investigation of the cooperative with feeling of loneliness among elderly living alone from independent variables. A multistage random sampling method was used to recruit 120 samples of elderly aged 60 to 85 years and live in Chonburi province were collected via structured interview using six questionnaires: A questionnaire on demographic data, a questionnaire on Activities of Daily Living (ADL), a questionnaire on Self-Compassion, a questionnaire on family relation, a questionnaire on Social isolation a questionnaire on spiritual well-being and a questionnaire with feeling of loneliness. Data were analyzed by using descriptive statistic, pearson, s product moment correlation coefficients. The results indicated that: Activities of Daily Living, Self-Compassion, family relation, Social isolation and spiritual well-being were significant factors that could cooperatively with
103
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
feeling of loneliness among elderly living alone ( p <.05 ). According to the results of this study, nurses and health team personnel should concern the importance for reduce feeling of loneliness among elderly living alone. KEYWORDS: Feeling of loneliness, Elderly living alone. บทนา ปัจจุบันประชากรในวัยสูงอายุมีแนวโน้มที่จะสูงขึ้นเรื่อยๆอย่างต่อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทาง อายุของประชากรประเทศไทย โดยมีอัตราการเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างรวดเร็วนี้มีปัจจัยหลักในทางประชากร 2 ปัจจัย คือการลดภาวะเจริญพันธุ์ และการลดการตาย การลดการเกิดอย่างรวดเร็วจากระดับที่สูงในอดีตเป็นระดับที่ต่ากว่า ระดับทดแทนในปัจจุบันภายในระยะเวลาอันสั้น 1 คาดกันว่าภายใน 40 ปีข้างหน้าจานวนประชากรผู้สูงอายุไทยจะ เพิ่มเป็นประมาณ 3 เท่าของจานวนประชากรสูงอายุในปัจจุบัน และสัดส่วนของประชากรสูงอายุ ในประเทศไทยจะ เพิ่มเป็น 1 ใน 4 ของประชากรทั้งหมด และในช่วงเดียวกันนั้นคาดว่าจานวนประชากรสูงอายุจะเริ่มมากกว่าจานวน ประชากรวัยเด็ก การที่ประชากรในวัยสูงอายุมีแนวโน้มที่สูงขึ้นนี้น่าจะเป็นผลสืบเนื่องมาจากการพัฒนาระบบด้าน การแพทย์ และสาธารณสุขจึงทาให้ประชาชนมีค วามรู้ความสามารถในการดูแลตนเองด้านสุขภาพได้ดียิ่งขึ้นทาให้ ประชาชนมีอายุยืนยิ่งขึ้น ซึ่งในตอนนี้ทั้งในต่างประเทศ และประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สภาวะที่เรียกว่า “ภาวะ ประชากรสูงอายุ (Population Ageing)” แล้ว การมีจานวนประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นนั้น จึงต้องมีการดูแลและ ให้ความสาคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากวัยสูงอายุเป็นวัยแห่งการเสื่อมถอยที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้าน ร่างกาย ด้านโครงสร้าง และการทาหน้าที่ในทางที่เสื่อมลงทาให้ผู้สูงอายุมีโอกาสเกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ ได้ ง่ายกว่าวัยอื่น ๆ และการเจ็บป่วยนั้นจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคมของผู้สูงอายุ 6 และนอกจากนี้ การมีประชากรสูงอายุที่มีอายุขัยเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นนั้น ย่อมส่งผลกระทบในด้านต่าง ๆมากมายตามมา เช่น ด้านแรงงาน เศรษฐกิจ ที่อยู่อาศัย สุขภาพอนามัย และสวัสดิการอันเป็นผลกระทบต่อสังคมโดยรวม และ ประเทศชาติมากยิ่งขึ้น7 ปัจจุบัน ประเทศต่างๆ ทั่วโลกโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศที่พัฒนาแล้ว และประเทศไทยได้เข้าสู่สังคม ผู้สู งอายุ มี แนวโน้ ม การอยู่ต ามลาพั งสูงขึ้ น การส ารวจขององค์ ก ารสหประชาชาติ พบว่ า ผลจากการมี จานวน ประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น ทั่วโลกนี้ ยังพบว่า ในปี ค.ศ.1945 มีจานวนประชากรผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพัง จานวนร้อยละ 10 และเพิ่มเป็นร้อยละ 20 ในปี ค.ศ. 1960 คาดว่าในปัจจุบันได้เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 28 จะเห็นได้ว่า การเพิ่มของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพังจะเป็นไปตามสัดส่วนของประชากรสู งอายุที่เพิ่มขึ้นทั่วโลก ในประเทศที่ พัฒนา เช่น ประเทศญี่ปุ่นพบว่า ในปี ค.ศ.1999 มีผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพังร้อยละ 18.2 และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการย้ายถิ่นของหนุ่มสาววัยแรงงาน (สานักงานสถิติแห่งชาติ. 2557) สาหรับประเทศไทย และจากการสารวจ สถานภาพการอยูอ่ าศัยของผู้สูงอายุในประเทศไทย พบว่า ในปี พ.ศ. 2539 มีผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพังประมาณ 160,475 คน หรือร้อยละ 4 ของจานวนผู้สูงอายุทั้งหมด และเพิ่มเป็นร้อยละ 5.6 และร้อยละ 6.3 ของจานวน ผู้สูงอายุทั้งหมด ในปี พ.ศ. 2542 และปี พ.ศ. 2545 ตามลาดับ และจากรายงานล่าสุดในปี พ.ศ. 2558 พบว่า ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพังมีจานวนเพิ่มเป็น 494,300 คน หรือร้อยละ 7.4 ของจานวนผู้สูงอายุทั้งหมด (สานักงานสถิติแห่งชาติ. 2559) ในปัจจุบันสังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต จากสังคมภาคเกษตรกรรมไปสู่สังคม ภาคอุตสาหกรรม ความต้องการแรงงานเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะแรงงานวัยหนุ่มสาว ทาให้มีการย้ายถิ่นฐานของ
104
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ประชากรวัยแรงงานไปสู่เมืองใหญ่และพื้นที่อุตสาหกรรมมากขึ้นการย้ายถิ่นของวัยแรงงานส่วนใหญ่เป็นรุ่นหนุ่มสาว ส่งผลให้ลักษณะครอบครัวเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงจากลักษณะครอบครัวขยายไปเป็นครอบครัวที่มีเฉพาะผู้สูงอายุ หรือมีสมาชิกในครอบครัวเพียงรุ่นเดียว คือผู้สูงอายุที่บุตรไปทางานที่อื่น ทั้งนี้เพราะผู้สูงอายุมักเป็นผู้ที่นิยมอยู่ในถิ่น กาเนิดของตนการย้ายถิ่นของบุตรหลานวัยแรงงานเข้าสู่เมืองใหญ่จึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ผู้สูงอายุอาศัยอยู่ตาม ลาพัง (บุญทิพย์, ทรงศรี และ มาลี. (2554) ผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียว และมีปัญหาประมาณ 2 แสนคนนี้ มีปัญหาที่ ระบุชัดได้ 4 อย่างคือ อันดับหนึ่งความเหงา 51.2% อันดับสอง ไม่มีคนดูแลเมื่อเจ็บป่วย 27.5% อันดับสาม ต้อง เลี้ยงชีพด้วยตนเอง/มีปัญหาการเงิน 15.7% อันดับสี่ ไม่มีคนช่วยทางานบ้าน 5.2% และปัญหาอื่นๆ อีก 0.4% 10 ปัญหาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุที่พบได้บ่อย ได้แก่ อาการซึมเศร้า อาการเหงา และว้าเหว่ ซึ่งอาการทาง จิตใจเหล่านี้ มีผลกระทบอย่างมากต่อทั้งด้านร่างกาย และจิตใจของผู้สูงอายุ โดยความเหงาของผู้สูงอายุเป็นตัวแปร ทางด้านจิตใจ ที่อาจเป็นความรู้สึกที่ไม่พอใจที่เกิดขึ้นจากการขาดสัมพันธภาพทางเครือข่ายสังคมของบุคคลไม่ว่าจะ เป็นครอบครัว เพื่อนฝูง ญาติพี่น้อง หรือเพื่อนบ้าน ความเหงาจึงเป็นปัญหาทางด้านจิตใจของผู้สูงอายุที่มีผลต่อ ภาวะสุขภาพ และการเจ็บป่วยเป็นอย่างมาก โดยอาจกล่าวได้ว่า การที่ผู้สูงอายุมีความเหงา และว้าเหว่เป็นเพราะ การขาดปฏิสัมพันธ์กับลูกหลาน ขาดการพบปะพูดคุยกับเพื่อนฝูง ซึ่งอาจเนื่องจากการถดถอยจากสังคมด้วยตัว ผู้สูงอายุเอง หรือลูกหลานไม่มีเวลาเอาใจใส่ดูแล หรือเพื่อนฝูงเริ่มล้มหายตายจากไปทาให้โอกาสที่จะมีความสัมพันธ์ กับสังคม ภายนอกลดน้อยลงไปเรื่อยๆ ซึ่งผู้สูงอายุความเหงานาไปสู่ปัญหาสุขภาพทางจิต สติปัญญาเสื่อม คุณภาพ ชีวิตต่า และคุณภาพการนอนหลับลดลง จากการนอนไม่หลับ(Dong et al., 2012) และความเหงาเป็นการ เปลี่ยนแปลงของจิตใจที่เกิดจากการสูญ เสียสัมพันธภาพที่มีความหมายหรือความสาคัญทาให้ผู้สูงอายุรู้สึกท้อแท้ โดดเดี่ยว ขาดที่พึ่ง รู้สึกว่าตนเองด้อยค่า ไม่มีใครรัก เอาใจใส่ และผู้สูงอายุแยกตนเองออกจากสังคม หากผู้สูงอายุที่ มีความเหงาอย่างรุนแรงอาจก่อให้ผู้สูงอายุเกิดความรู้สึกไร้พลัง ไร้คุณค่า ซึมเศร้า รู้สึกท้อแท้ สิ้นหวัง และอยากตาย (วาสนา ปรากฎวงศ์. 2551) จากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเหงาของผู้สูงอายุของ Christopher M, Masi Hsi-Yuan Chen Louise C, และ Hawkley John T. Cacioppo (2016) พบว่า ความเหงา หรือ ความ ว้าเหว่ (Loneliness) เป็นคาที่มีรากศัพท์ในภาษาอังกฤษเหมือนกันและเป็นคาที่มีความหมายใกล้เคียงกันหรือใช้ ร่วมกันได้ ซึ่งพบว่า ความเหงา หรือ ความว้าเหว่ เป็นคาที่มีคาศัพท์ภาษาอังกฤษที่เหมือนกัน โดยในการวิจัยในครั้ง นี้ผู้วิจัยขอใช้คาว่า ความเหงา ซึ่งจากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวข้องกับความเหงา หรือ ความว้าเหว่ พบว่า ปัจจัย ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านจิตวิญญาณ (Masi CM, Chen HY, Hawkley LC, Cacioppo JT, 2011) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเหงาของผู้สูงอายุ โดยจากการศึกษาของ Perissinotto CM, Stijacic C, I, Covinsky KE (2012) พบว่า ความเหงามีผลกระทบต่อความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวันของผู้สูงอายุ จากการทบทวนวรรณกรรมของ Neff, Rude, และ Kirkpatrick (2007) พบว่า ความเมตตากรุณาต่อตนเองมี ความสัมพันธ์ทางลบอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับความเหงา ว้าเหว่ ความซึมเศร้า ความวิตกกังวล หรือความเครียด หลังเผชิญภาวะวิกฤติ (Post traumatic stress disorders : PTSD) จากการทบทวนวรรณกรรมของ พบว่า สัมพันธภาพในครอบครัวมีความสัมพันธ์กับความว้าเหว่ จากการทบทวนวรรณกรรมของ Erin York Cornwell และ Linda J. Waite (2009) พบว่า ความโดดเดี่ยวทางสังคมมีความสัมพันธ์กับความเหงาของผู้สูงอายุ และ จาก การทบทวนวรรณกรรมของ Judith, F. Mr. (2012) พบว่า ความผาสุกทางจิตวิญญาณมีความสัมพันธ์กับความเหงา ของผูท้ ี่มีภาวะสุขภาพดี และของผู้ป่วย
105
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงต้องการศึกษาถึงตัวแปรด้านความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ความเมตตา กรุณาต่อตนเอง สัมพันธภาพในครอบครัว ความโดดเดี่ยวทางสังคม และความผาสุกทางจิตวิญญาณเพื่อให้ทราบถึง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเหงาในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพังเพื่อให้ได้ผลการวิจัยมาช่วยในการแก้ไขปัญหา ความเหงาในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพังเพื่อให้ผู้สูงอายุเหล่านั้นสามารถดารงชีวิตอยู่ ตามลาพังได้อย่างมีความสุข มีคุณค่าในตนเอง และมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้นต่อไป วิธีดาเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ถึง 85 ปี ที่อาศัยอยู่ในเขตจังหวัดชลบุรี จานวน 120 ราย ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 7 ส่วน ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ 1. แบบสัมภาษณ์ข้อมูลพื้นฐานของผู้สูงอายุ เป็นคาถามแบบเลือกตอบและ ปลายเปิดซึ่งประกอบด้วยข้อคาถามทั้งหมด 8 ข้อ 2. แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน (Modified Barthel - Activities of Daily Index, BAI) ซึ่งผู้วิจัยได้ใช้แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ซึ่งแปล และดัดแปลง โดย จิตะพันธ์กุลและคณะ (jitapankul el al.,1994 : 67-75) ในการทาวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยใช้ BAI ซึ่งสุทธิชัย จิตะ พันธ์กุลและคณะได้ปรับปรุงคะแนนในแต่ละกิจกรรมใหม่ มีคะแนนรวมต่าสุดเท่ากับ 0 สูงสุดเท่ากับ 20 คะแนนโดย กิจกรรมในแต่ละข้อให้คะแนนเป็น 0, 1 หรือ 0, 1, 2, 3 ขึ้นอยู่กับความยากง่ายของกิจกรรม โดยได้ค่า สัมประสิทธิ์ แอลฟาครอนบาค เท่ากับ .90 เกณฑ์การให้คะแนนและแบ่งความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ดังนี้ ต้อง พึ่งพาผู้อื่นทั้งหมด (0-4 คะแนน) ต้องพึ่งพาผู้อื่นระดับสูง (5-8 คะแนน) ต้องพึ่งพาผู้อื่นระดับปานกลาง (9-10 คะแนน) ต้องพึ่งพาผู้อื่นระดับต่า (12-20 คะแนน) 3. แบบวัดความเมตตากรุณาต่อตนเอง ซึ่งผู้วิจัยได้นามาจากแบบวัดความเมตตากรุณาต่อตนเองของ Neff (2003) 17 มาทาการแปล และดัดแปลงเพื่อให้เหมาะสมกับการใช้ในผู้สูงอายุ โดยแบบวัดความเมตตากรุณาต่อ ตนเอง ประกอบไปด้วยข้อคาถาม 26 ข้อ ที่เกี่ยวข้องกับ 3 องค์ประกอบ คือ 1. การมีเมตตาต่อตนเอง (Selfkindness) 2. การรับรู้ว่าความทุกข์ที่ตนเองประสบเป็นประสบการณ์ร่วมที่ผู้อื่นก็ประสบเช่นกัน (Common humanity) 3. การมีสติตระหนักรู้ต่อสิ่งที่เกิดขึ้น (Mindfulness) ซึ่งในข้อคาถาม 26 ข้อ มีลักษณะเป็นแบบวัด แบบอันตรภาค 5 ระดับ (5-point Likert -type scale) ซึ่งข้อคาถามประกอบไปด้วยทั้งข้อกระทงทางบวก เกณฑ์ การให้คะแนน ดังนี้ 1 หมายถึง แทบจะไม่เคย, 2 หมายถึง น้อยครั้ง, 3 หมายถึง ปานกลาง, 4 หมายถึง บ่อยๆ และ 5 หมายถึง แทบจะทุกครั้ง และทางลบ และแบ่งระดับความเหงาเป็น 3 ระดับ ดังนี้ มีความเมตตากรุณาต่อตนเองต่า (0-43 คะแนน) มีความเมตตากรุณาต่อตนเองปานกลาง (44-87 คะแนน) และมีความเมตตากรุณาต่อตนเองสูง (88-130 คะแนน)โดยมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค (Conbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.87 4. แบบวัดสัมพันธภาพในครอบครัว ซึ่งผู้วิจัยได้ใช้แบบแบบวัดสัมพันธภาพในครอบครัวของ รัตนา สินธีรภาพ (2541) ซึ่งสร้างขึ้นโดยปรับปรุงมาจากแบบวัดสัมพันธภาพในครอบครัวของ Morrow and Wilson (1961) โดยแบบวัดสัมพันธภาพในครอบครัวประกอบไปด้วยข้อคาถามปลายปิด จานวน 25 ข้อ โดยเป็นข้อคาถาม ทางบวก 17 ข้อ และคาถามทางลบ 8 ข้อ โดยมีลักษณะเป็นแบบวัดแบบอันตรภาค 3 ระดับ คือ เป็นประจา (2
106
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
คะแนน) บางครั้ง (1 คะแนน) และไม่เคย (0 คะแนน) และในคาถามด้านลบผู้วิจัยกลับคะแนนก่อนรวมคะแนน แบ่ง คะแนนออกเป็น 3 ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน ดังนี้ สัมพันธภาพในครอบครัวอยู่ในระดับต่า ( 0-30 คะแนน) สัมพันธภาพในครอบครัวอยู่ในระดับปานกลาง (31-40 คะแนน) และสัมพันธภาพในครอบครัวอยู่ในระดับสูงมี ความเหงามาก (41-50 คะแนน)โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ แอลฟาครอนบาค (Conbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.86 5. แบบวัดความผาสุกทางจิตวิญญาณ ซึ่งผู้วิจัยได้ใช้พัฒนาแบบวัดความผาสุกทางจิตวิญญาณที่แสง เดือน พรมแก้วงาม และ คณะ (2560) 22 ที่สร้างจากแนวคิดบางประการตามหลักคาสอนของศาสนาพุทธ และ วัฒ นธรรมไทย ผ่ านการตรวจสอบความตรง เชิ งโครงสร้า งโดยการวิ เ คราะห์ องค์ ป ระกอบเชิ งสารวจได้ 3 องค์ประกอบ จานวน 13 ข้อ คือ 1) ด้านความสุขสงบ จานวน 4 ข้อ 2) ความเข้าใจตนเองและธรรมชาติของชีวิต จานวน 4 ข้อ และ 3) การมีความหวังและความรู้สึกถึงการมีสิ่งยึดเหนี่ยว จานวน 5 ข้อ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ แอลฟาครอนบาค (Conbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.88 6. แบบวัดความเหงาเป็นแบบวัดที่วาสนา ปรากฎวงศ์ (2551) 12 ได้ดัดแปลงมาจาก วันเพ็ญ เอี่ยม จ้อย และสุพรรณี เตรียมวิศิษฎ์ ซึ่งแปล และดัดแปลงมาจากแบบวัดความเหงาของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เมือง ลอสเองเจลิส (University of California Los Angeles loneliness scale หรือ UCLA loneliness scale) ของรัสเซลและ คณะ เพื่อให้มีความเหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย โดยภายในแบบวัดความเหงาประกอบไปด้วยข้อ คาถามปลายปิดจานวน 20 ข้อ โดยเป็นข้อคาถามทางบวก 15 ข้อ และคาถามทางลบ 5 ข้อ เกณฑ์การให้คะแนน และแบ่งระดับความเหงาเป็น 4 ระดับ ดังนี้ ไม่มีความเหงา ( 1-37 คะแนน) มีความเหงาน้อย ( 38-62 คะแนน) มีความเหงาปานกลาง (63-87 คะแนน) และมีความเหงามาก (88-100 คะแนน)โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ แอลฟาครอน บาค (Conbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.82 7. แบบวัดความโดดเดี่ยวทางสังคมเป็นแบบวัดที่ผู้วิจัยได้แปลและดัดแปลงมาจากแบบวัดความโดด เดี่ยวทางสังคมของผู้สูงอายุ ของ Erin York Cornwell และ Linda J. Waite 13มหาวิทยาลัยคลอเนล เมือง นิวยอร์ก (University of Cornell) เพื่อให้มีความเหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย โดยภายในแบบวัดความโดดเดี่ยวทาง สังคมประกอบไปด้วยข้อคาถามปลายปิดจานวน 17 ข้อ เกณฑ์การให้คะแนน และแบ่งระดับความโดดเดี่ยวทาง สังคมเป็น 3 ระดับ ดังนี้ ความโดดเดี่ยวทางสังคมน้อย (0-17 คะแนน) ความโดดเดี่ยวทางสังคมปานกลาง (18-34 คะแนน) และความโดดเดี่ยวทางสังคมมาก (35-51 คะแนน) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ แอลฟาครอนบาค (Conbach’s alpha coefficient) เท่ากับ 0.83 การเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บข้อมูลครั้งนี้ใช้วิธีการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างเป็นรายบุคคล โดยผู้วิจัย หรือผู้ช่วยวิจัยเข้าพบ ผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มตัวอย่างที่บ้านแล้วสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างตามแบบสัมภาษณ์ที่ใช้ในการวิจัย ใช้เวลาในการ สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างประมาณ 30-45 นาทีต่อราย โดยทาการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ ในชุมชนในเขตเทศบาลของจังหวัดชลบุรี คือ เทศบาลตาบลแสนสุข เทศบาลตาบลแหลมฉบัง เทศบาลตาบลพาน ทอง เทศบาลตาบล บ่อทอง และชุมชนนอกเขตเทศบาลของจังหวัดชลบุรี คือ ตาบลเหมือง ตาบลบางพระ ตาบล เกาะลอย ตาบลเกษตรสุวรรณ การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรต้นกับตัวแปรตามโดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson, s product moment
107
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
correlation coefficients) ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัย 1. ข้อมูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยครั้งนี้ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุเพศหญิง ร้อยละ 78.00 มีอายุตั้งแต่ 60 – 68 ปี ร้อยละ 85.00 และมีอายุตั้งแต่ 69 – 85 ปี ร้อยละ 15.00 ส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาพุทธ ร้อยละ 99.50 ส่วนใหญ่มีสถานภาพหม้าย ร้อยละ 55.00 โสด ร้อยละ 25.00 และ หย่าร้าง ร้อยละ 20.00 และ มีการศึกษาในระดับประถมศึกษา ร้อยละ 75.00 กลุ่มตัวอย่างมีอาชีพ ร้อยละ 60.00 กลุ่มตัวอย่างส่วน ใหญ่มีโรคประจาตัว ร้อยละ 68.43 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีรายได้ต่ากว่า 5,000 บาทต่อเดือน ร้อยละ 58.00 ซึ่งโรค ประจาตัวที่พบมากที่สุดในกลุ่มตัวอย่าง คือ โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 60. 45 2. กลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้มีความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวันที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นอยู่ในระดับต่า (M = 35.00, SD = 4.83) ความเมตตากรุณาต่อตนเองอยู่ในระดับสูง (M = 68 .63, SD = 5.53) สัมพันธภาพใน ครอบครัวอยู่ในระดับต่า (M = 35.84, SD = 4.28) ความโดดเดี่ยวทางสังคมอยู่ในระดับสูง (M = 74.44, SD = 5.28) ความผาสุกทางจิตวิญญาณอยู่ในระดับปานกลาง (M = 54.52, SD = 5.19) และความเหงาอยู่ในระดับปาน กลาง (M = 48.24, SD = 4. 35) 3. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความเหงาของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพังได้แก่ ความสามารถ ในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ความเมตตากรุณาต่อตนเอง สัมพันธภาพในครอบครัว และความผาสุกทางจิตวิญญาณ (r = -.228, -.435, -.515, -.448, .675 ตามลาดับ p < .05) ดังรายละเอียดแสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม ตัวแปร ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ความเมตตากรุณาต่อตนเอง สัมพันธภาพในครอบครัว ความผาสุกทางจิตวิญญาณ ความโดดเดี่ยวทางสังคม
r -.228** - .435** - .515** - .448** .675**
** มีนัยสาคัญทางสถิติ (p <.05) r ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ สรุปผลการวิจัย สรุปผลการวิจัยครั้งนี้จะเห็นได้ว่า ปัจจัยด้านด้านความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ความ เมตตากรุณาต่อตนเอง สัมพันธภาพในครอบครัว และความผาสุกทางจิตวิญญาณมีความสัมพันธ์กับ ความเหงาใน ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพัง ดังนั้นบุคลากร และบุคคลที่เกี่ยวข้องในการดูแลผู้สูงอายุจึงควรนาปัจจัยทั้งสี่ด้านนี้ไป ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนเพื่อลดความเหงาในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพังต่อไป
108
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
วิจารณ์ผลการวิจัย ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวันเป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางลบอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติกับความเหงาของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพังอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = -.228) ผลการวิจัยครั้งนี่พบว่า กลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้เป็นผู้สูงอายุที่มีความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวันอยู่ใน ระดับสูง อธิบายได้ถึงว่ากลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นอยู่ในระดับต่า คือ กลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้ต้องพึ่งพา ผู้อื่นบางส่วนในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน นั้นหมายถึงผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งพาผู้อื่นระดับต่าในการปฏิบัติกิจวัตร ประจาวันนั้นถือได้ว่าเป็นผู้สูงอายุที่ยังมีสุขภาพที่ดี สามารถดาเนินชีวิตประจาวันได้โดยไม่เป็นภาระหรือต้องพึ่งพา อาศัยผู้อื่น จากผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวันมีความสัมพันธ์กับความเหงาของ ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพัง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ซึ่งแตกต่างกับการศึกษาของ นงเยาว์ พลโทพงศ์ (2547) ที่ พบว่า ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวันไม่มีอิทธิพลต่อความเหงา ความเมตตากรุณาต่อตนเอง ผลการวิจัยพบว่า ความเมตตากรุณาต่อตนเองปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางลบกับความเหงาของผู้สูงอายุที่ อาศัยอยู่ตามลาพังอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = -435) ผลการวิจัยครั้งนี่พบว่า ความเมตตากรุณาต่อ ตนเอง เป็นการรับรู้ต่อประสบการณ์ทางจิตใจอย่างมีสติตระหนักรู้ โดยไม่หลีกเลี่ยง บิดเบือน ปฏิเสธ หรือไม่ตัดสิน ตีความประสบการณ์เหล่านี้ หากแต่เข้าใจว่าอารมณ์ความรู้สึกที่มีและประสบการณ์ต่างๆเป็นส่วนหนึ่งของความเป็น มนุษย์ และเป็นประสบการณ์ที่เกิดขึ้นกับบุคคลโดยทั่วไป การรับรู้ในลักษณะนี้เอื้อให้บุคคลอยู่กับปัจจุบันขณะ และ ปฏิบัติต่อตนเองอย่างอ่อนโยนเมื่อเกิดความทุกข์ขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Neff, Rude, และ Kirkpatrick (2007) 17 พบว่า ความเมตตากรุณาต่อตนเองมีความสัมพันธ์ทางลบอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับความเหงา ว้าเหว่ ความซึมเศร้า ความวิตกกังวล หรือความเครียดหลังผ่านเหตุการณ์ที่กะทันหันหรือรุนแรงในชีวิต สัมพันธภาพในครอบครัว ผลการวิจัยพบว่า สัมพันธภาพในครอบครัวเป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางลบกับความเหงาของผู้สูงอายุ ที่อาศัยอยู่ตามลาพังอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = - 515) ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ นงเยาว์ พลโทพงศ์ (2547) ที่พบว่า สัมพันธภาพในครอบครัวสามารถทานายความว้าเหว่ ของผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรังอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .001 และชุลีกร ปัญญา (2557) ที่พบว่า สัมพันธภาพในครอบครัวปัจจัยทานายความว้าเหว่ของ ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรังในชุมชนได้อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเป็นตัวทานายที่มีความ สัมพันธ์ทาง ลบกับความว้าเหว่ ซึ่งในสังคมปัจจุบันการที่บุตรหลานต้องออกไปทางานนอกบ้านเพื่อหารายได้มาเลี้ยงครอบครัวทา ให้ผู้สูงอายุต้องเฝ้าบ้าน และอยู่กันตามลาพัง ทาให้ขาดการดูแลเอาใจใส่จากบุตรหลานส่งผลให้สัมพันธภาพใน ครอบครัวลดลง ความโดดเดี่ยวทางสังคม ผลการวิ จัย พบว่ า ความโดดเดี่ ย วทางสังคมเป็น ปัจ จัย ที่ มีค วามสั ม พัน ธ์ ท างบวกกับ ความเหงาของ ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพังอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .675) ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Erin York Cornwell และ Linda J. Waite (2009) และ Perissinotto CM, Stijacic C, I, Covinsky KE. . (2012) ที่ พบว่า ความโดดเดี่ยวทางสังคมมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติกับความเหงาที่ระดับ .05 ซึ่งในสังคม ปัจจุบันผู้สูงอายุที่ตามลาพังจะขาดการติดต่อกับสังคมและไม่ค่อยมีกิจกรรมต่างๆ ในสังคมค่อนข้างมากทาให้ ผู้สูงอายุเกิดความโดดเดี่ยวทางสังคมได้มากยิ่งขึ้น
109
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ความผาสุกทางจิตวิญญาณ ผลการศึกษาพบว่า ความผาสุกทางจิตวิญญาณเป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ ทางลบกับความเหงาของ ผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพังอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = - 448) ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Lena, Lim, และ Ee-Heok ที่พบว่า ความผาสุกทางจิตวิญญาณเป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ ทางลบกับความเหงา ของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพังในประเทศสิงคโปร์อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านด้านความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ความเมตตากรุณาต่อ ตนเอง สัมพันธภาพในครอบครัว ความโดดเดี่ยวทางสังคม และความผาสุกทางจิตวิญญาณมีความสัมพันธ์กับ ความ เหงาในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพัง ผู้วิจัยจึงขอเสนอแนะการนาผลการวิจัยครั้งนี้ไปใช้ ดังนี้ 1. ด้านการปฏิบัติการพยาบาล และการส่งเสริมสุขภาพ พยาบาล และบุคลากรในทีมสุขภาพที่เกี่ยวข้องในการดูแลผู้สูงอายุสามารถนาผลการวิจัยครั้งนี้ไปใช้ใน การปฏิบัติการพยาบาล และใช้ในการจัด กิจกรรมการส่ งเสริม โดยการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการปฏิบัติกิจวัต ร ประจาวัน มีความเมตตากรุณาต่อตนเอง มีสัมพันธภาพในครอบครัวที่ดี และมีความผาสุกทางจิตวิญญาณที่ดีเพื่อลด ความเหงาในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพัง และสนับสนุนให้ผู้สูงอายุที่อยู่ตามลาพังมีกิจกรรมทางสังคมให้มากยิ่งขึ้น เพื่อลดความเหงา และความโดดเดี่ยวทางสังคมให้น้อยลง 2. ด้านบริหารการพยาบาล เป็นข้อมูลพื้นฐานในการนาเสนอผู้บริหารการพยาบาล เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้นาผลวิจัยไปใช้ในการจัด กิจกรรมพยาบาล เพื่อลดความเหงาที่เกิดขึ้นในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพัง 3. ด้านการศึกษาพยาบาล เป็นข้อมูลพื้นฐานในการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับการส่งเสริมปัจจัยด้านด้านความสามารถในการ ปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ความเมตตากรุณาต่อตนเอง สัมพันธภาพในครอบครัว และความผาสุกทางจิตวิญญาณเพื่อ ลดความเหงาในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพัง ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป จากการวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะในการทาวิจัยในครั้งต่อไป ดังต่อไปนี้ 1. การวิจัยในครั้งนี้ได้ทาการวิจัยในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในเขตจังหวัดชลบุรีเพียงจังหวัดเดียวจึงอาจทา ให้ไม่เห็นความแตกต่างของความเหงาในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพัง ในการศึกษาครั้งต่อไปควรศึกษาในกลุ่ม ตัวอย่างที่อาศัยอยู่ในเขตจังหวัดอื่นๆ ของประเทศไทย เพื่อให้ได้ข้อมูลของความเหงาในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตาม ลาพังที่มีความแตกต่าง และหลากหลายพื้นที่มากขึ้น 2. ควรนาผลการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ความเมตตากรุณา ต่อตนเอง สัมพันธภาพในครอบครัว ความโดดเดี่ยวทางสังคม และความผาสุกทางจิตวิญญาณไปพัฒนารูปแบบเพื่อ ลดความเหงาในผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ตามลาพัง
110
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณผู้ช่วยวิจัยที่เสียสละเวลาในการช่วยเหลือเป็นอย่างดี และขอขอบพระคุณผู้สูงอายุทุกๆ ท่าน ที่ให้ความร่วมมือในการวิจัยครั้งนีเ้ ป็นอย่างดี เอกสารอ้างอิง จันทนา รณฤทธิวิชัย และวิไลวรรณ ทองเจริญ. (2548). หลักการพยาบาลผู้สูงอายุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บุญศิริ การพิมพ์. ชุลีกร ปัญญา. (2557). ปัจจัยทานายความว้าเหว่ของผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรังในชุมชน. วิทยานิพนธ์พยาบาล ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา. นงเยาว์ พลโทพงศ์. (2548). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความว้าเหว่ในผู้สูงอายุเจ็บป่วยเรื้อรัง.วิทยานิพนธ์พยาบาล ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่, บัณฑิตวิทยาลัย,มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. บุญทิพย์ สิริธรังศรี ทรงศรี สรณสถาภร และมาลี สุรเชษฐ. (2554, กันยายน-ธันวาคม) ความต้องการ และ ผลกระทบของผู้สูงอายุที่ดารงชีวิตอยู่ตามลาพัง. วารสารพฤฒาวิทยาและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ วพสว พ.ศ. 2554 ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม) บุญทิพย์ สิริธรังศรี, ทรงศรี สรณสถาภร และ มาลี สุรเชษฐ. (2555). กลยุทธ์สู่ความสาเร็จในการอยูต่ ามลาพังของ ผู้สูงอายุ. วารสารพฤฒาวิทยา และเวชสาสตร์ผู้สูงอายุ. วพสว. พ.ศ. 2555 ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (มกราคม – เมษายน). 2555. เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม และ พรพันธ์ บุญยรัตนพันธ์. บรรณาธิการ. การสารวจภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชน ไทย โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2546-2547. 2549. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข และ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุขและ สานักพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ 2549. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. รัตนา สินธีรภาพ. (2541). ตัวแปรที่มีผลต่อความพึงพอใจในชีวิตของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุโรงพยาบาล สมุทรปราการ. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต (จิตวิทยาแนะแนว). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วาสนา ปรากฎวงศ์. (2551). ปัจจัยพยากรณ์ความเหงาผู้สูงอายุที่อยู่ตามลาพัง. วิทยานิพนธ์พยาบาล ศาสตร มหาบัณฑิต, สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2551. สถาบันวิจัยประชากร และสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. (2559). การฉายภาพประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2548-2568 มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพฯ: ประชากร และสังคม. สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. (2559). โครงการวิจัยการสารวจและศึกษา ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ 4 ภาค ของไทย 2559. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย. สานักงานสถิติแห่งชาติ. รายงานการสารวจประชากรผูส้ ูงอายุในประเทศไทย 2559. Reporton the 2016 survey of the older persons in Thailand. 2559. กรุงเทพมหานคร : สานักงานสถิติแห่งชาติ. สานักงานสถิติแห่งชาติ. (2557). รายงานผลเบื้องต้นการสารวจประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2557. กรุงเทพฯ: สานักงานสถิติแห่งชาติ.
111
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
สานักงานสถิติแห่งชาติ. สรุปผลทีส่ าคัญการสารวจประชากรผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ: สานักงานสถิติ แห่งชาติ. แสงเดือน พรมแก้วงาม และ อรัญญา นามวงศ์. (2560). ความผาสุกทางจิตวิญญาณของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังใน ชุมชน. วารสารการพยาบาล และการดูแลสุขภาพ; ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 : กรกฎาคม - กันยายน 2560. Christopher M. Masi Hsi-Yuan Chen Louise C. Hawkley John T. Cacioppo. (2016). A Meta-Analysis of Interventions to Reduce Loneliness. Personality and Social Psychology Review, vol. 15, 3: pp. 219-266. Cornwell, E.Y. , & Waite, L.J. (2009). Measuring social isolation among older adults using multiple indicators from the NSHAP study. Journal of Gerontology: Social Sciences.,64B, i38i46. Dong, X. Q, Change, E., Wong, E., & Simon, M. (2012). Perception and negative effect of loneliness in a chicago Chinese population of older adults. Archives of Gerontology and geriatrics, 54, 151-159. Jitapunkul S. Disability: a problem of the elderly. (1994). Chula Med J 1994; 38: 67-75. Judith, F. Mr. (2012). Assessment of loneliness and spiritual well-being in chronically ill and healthy adults. Journal of Professional Nursing. Volume 1, Issue 2 ; P. 67-122 (March– April) Lena, L., Lim., Ee-Heok, Kua. (2011). Living alone, loneliness, and psychological well-being of older persons in singapore. current of Gerontology and geriatrics research., Volume 2011, Issue 7 ; P. 9-19. Masi CM, Chen HY, Hawkley LC, Cacioppo JT. A meta-analysis of interventions to reduce loneliness. Pers Soc Psychol Rev 2011 Aug;15(3):219-66. Miller CA. Nursing for wellness in older adults theory and practice. 5th ed. Williams & Wilkins Lippincott; 2009. Neff, K. D. (2003). The Development and validation of a scale to measure self-compassion. Self and Identity, 2, 223-250. Neff, K. D., Kirkpatrick, K. L., & Rude, S. (2007). Self-compassion and adaptivepsychological functioning. Journal of Research in Personality, 41(1), 139-154. Perissinotto CM, Stijacic C, I, Covinsky KE. . (2012). Loneliness in older persons: a predictor of functional decline and death. Arch Intern Med 2012 Jul 23;172(14):1078-83.
112
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
SCIEPP-11 ระบบการใช้งานสื่อสารสนเทศและสังคมออนไลน์ในการพัฒนางานด้านวิชาการของคณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ THE USE OF ONLINE INFORMATION AND SOCIAL MEDIA IN ACADEMIC DEVELOPMENT OF THE FACULTY OF INDUSTRIAL TECHNOLOGY. SURIN UNIVERSITY สุรเชษฐ์ วงศ์ชัยประทุม1 มานะชัย จันทอก2 และ แดงน้อย ปูสาเดช3 1
Surachet Vongchaipratoom สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ srcsr_1@hotmail.com 2 Manachai Chaithog สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ komsurin1@hotmail.com 3 Dangnoi Pusadach สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ auto2hot@srru.ac.th
บทคัดย่อ การทาวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ออกแบบและสร้างระบบการใช้งาน สื่อสารสารสนเทศและสังคม ออนไลน์ ในการพัฒนางาน ด้านวิชาการ ของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ซึ่งประกอบ ไปด้วย ระบบการติดต่อประสานงานออนไลน์ และระบบการจัดเก็บและบริการข้อมูลออนไลน์ โดยระบบการติดต่อ ประสานงาน ออนไลน์ ผู้วิจัย ได้จัดเป็นกลุ่มพูดคุย Facebook กลุ่มต่างๆ โดยมีบุคลากรในคณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม เป็นสมาชิกในแต่ละกลุ่ม ตามจุดประสงค์การใช้งาน ในส่วนระบบการจัดเก็บ และบริการข้อมูล ออนไลน์ ผู้วิจัย ได้จัดเก็บข้อมูล เกี่ยวกับงานวิชาการ ใน Google Drive นักวิชาการ ที่รับผิดชอบ สามารถทางาน บริหารข้อมูล Cloud Computing ส่วนผู้รับบริการ สามารถเข้าถึงข้อมูล ได้โดยผ่านเว็บไซต์ ของฝ่ายวิชาการ จากการประเมิน หาคุณภาพของงานวิจัย ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นมา นั้น ใช้ผลการประเมินคุณภาพ จาก บุคลากร ในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์จานวน 50 คน โดยแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ระบบการติดต่อประสานงานออนไลน์ มีคุณภาพเฉลี่ย 4.67 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.46 ระดับคุณภาพ ในระดับดี มาก ระบบการจัดเก็บ และบริการข้อมูลออนไลน์ มีคุณภาพเฉลี่ย 4.40 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.61 ระดับ คุณภาพในระดับดี และ ด้านการใช้งาน มีคุณภาพเฉลี่ย 4.09 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.70 ระดับคุณภาพใน ระดับดี ผลรวมการประเมินทั้ง 3 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.09 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.70 อยู่ในเกณฑ์ที่ดี เป็นไป ตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ คำสำคัญ: การพัฒนางาน ด้านวิชาการ; สร้างระบบการใช้งาน สื่อสารสารสนเทศและสังคมออนไลน์ดา้ นวิชาการ Abstract The purpose of this research is to design and create a system of applications. Information and Social Communication In developing the academic work of the Faculty of Industrial Technology, Surin Rajabhat University. Including Online contact liaison The system of online
113
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
communication and collaboration, the researchers organized a group discussion Facebook, with staff in the Faculty of Industrial Technology. Membership in each group For the purpose of use. In the storage system section. And online information services. Academic in Google Drive, responsible academics can work with Cloud Computing. Can access data Through the website. Department of Academic Affairs Based on the assessment. Find the quality of research. The results of the quality assessment of personnel in the Faculty of Industrial Technology were used. There are 50 people in Surin Rajabhat University divided into 3 areas. The average quality was 4.67, standard deviation = 0.46, the quality was very good. And online information services. The average quality was 4.40, standard deviation = 0.61, good quality and usage. The average quality was 4.09. The standard deviation was 0.70. The total of the three assessments was 4.09. The standard deviation was 0.70. Followed by the assumptions set. Keywords : Academic development; Create system Information and Society Online บทนา งานวิชาการเป็นภารกิจหลัก ของสถานศึกษา ที่ พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ. ศ. 2542 และแก้ไข เพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ. ศ. 2545 มุ่งให้กระจายอานาจ ในการบริหารจัดการ ไปให้สถานศึกษา ให้มากที่สุด ด้วย เจตนารมณ์ ที่จะให้ สถานศึกษาดาเนินการได้โดยอิสระ และคล่องตัว รวดเร็ว สอดคล้องกับความต้องการของ ผู้เรียน การศึกษา ชุมชนท้องถิ่น และการมีส่วนร่วมจากผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย ซึ่ง จะเป็นปัจจัยสาคัญทาให้ สถานศึกษามีความเข้มแข็งในการบริหารจัดการ สามารถพัฒนาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ตลอดจนการวัดผล ประเมินผล รวมทั้งวัดปัจจัยเกื้อหนุน การพัฒนาคุณภาพนักเรียนชุมชน ท้องถิ่นได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ จะเห็นว่า งานวิชาการเป็นงานที่ต้องติดต่อประสานงาน กับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก รวมถึง บุคลากร ทางการศึกษาเป็นจานวนมาก ทรัพยากรและระยะเวลาที่เดินทาง ติดต่อสื่อสาร กับหน่วยงานภายในระหว่างอาคาร เช่นการติดต่อกับสานักส่งเสริมวิชาการต้องใช้เวลาไม่น้อยกว่า 20 นาที เช่นการติดต่อกับสานักส่งเสริมวิชาการต้อง ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 20 นาทีต่อ 1 เรื่องจานวนกระดาษ ที่ใช้กรอกแบบฟอร์มคาร้อง สาเนาคาร้อง สาเนาเกรดหรือ เอกสารต่างๆ ใช้จานวนและพื้นที่ จัดเก็บเป็นจานวนมาก ประกอบกับปัจจุบัน แนวความคิดเรื่อง Social Network หรือเครือข่ายสังคมออนไลน์ ปรากฏให้เห็นในลักษณะของการนามาใช้ เพื่อดาเนินการ หรือกิจกรรมต่างๆโดยมีตัว บุคคลหรือหน่วยงานต่างๆ รวมกับเครือข่าย เพื่อให้สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันแลกเปลี่ยนแบ่งปันทรัพยากร ข้อมูล ข่าวสาร และอื่นๆ เมื่อนามาพัฒนาประยุกต์ ใช้ในงานวิชาการ เพื่อแก้ไขปัญหาการดาเนินการ การใช้ และ จัดเก็บ เอกสาร การสืบค้นเอกสารจะมีประสิทธิภาพมากขึ้นจากปัญหาดังกล่าวผู้วิจัยเห็นว่า การใช้สื่อ สารสนเทศ และ สังคมออนไลน์ เพื่อพัฒนางานด้านวิชาการ ของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ จะช่วย แก้ปัญหาดังกล่าวได้ด้วย การพัฒนารูปแบบ โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์เช่น Line Facebook หรือ Application ต่างๆ ของ Google โดยการออกแบบระบบจัดเก็บข้อมูล การสื่อสารข้อมูลการประชาสัมพันธ์ ให้มีความถูกต้องและ น่าเชื่อถือของข้อมูล จากการศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้และนาเสนอผลงานวิจัยต่อผู้บริหารเป็นลาดับต่อไป
114
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อออกแบบ ระบบการใช้งานสื่อสารสนเทศและสั งคมออนไลน์ ในการพัฒนาพัฒนางานด้า น วิชาการของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 2. ศึกษาความพึงพอใจ ต่อ ระบบสารสนเทศและสังคมออนไลน์เพื่อพัฒนางานด้านวิชาการของคณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ สมมติฐานของการวิจัย 1. ระบบสื่อสารสนเทศ และสังคมออนไลน์ที่ผู้วิจัยออกแบบสามารถใช้พัฒนางานด้านวิชาการของ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ให้มีความถูกต้องและลดระยะเวลาในการทางานได้ 2. ระบบสื่อสารสนเทศและสังคมออนไลน์ที่ผู้วิจัยออกแบบมีความพึงพอใจจากผู้ใช้และผู้บริหารใน คณะ ในระดับที่ดีคือมีคะแนนเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 4 จากคะแนนเต็ม 5 ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย ในครั้งนี้เป็นการศึกษาเฉพาะบุคลากรในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ดังนี้ ประชากรกลุ่มตัวอย่าง 1. กลุ่มประชากรคือบุคลากรในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 2. กลุ่มตัวอย่างคือ เจ้าหน้าที่อาจารย์และผู้บริหารในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราช ภัฏสุรินทร์จานวน 40 คน เลือกสุ่มแบบง่าย ตัวแปรที่ศึกษาคือ 1. ตั ว แปรต้ น คื อ ระบบสื่ อ สารสนเทศและสั ง คมออนไลน์ เ พื่ อ พั ฒ นางานด้ า นวิ ช าการของคณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม 2. ตัวแปรตามคือเจ้าหน้าที่อาจารย์และผูบ้ ริหาร ในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ วิธีดาเนินการวิจัย การดาเนินการวิจัยระบบการใช้งานสื่อสารสนเทศและสังคมออนไลน์ในการพัฒนางานด้านวิชาการของ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ ออกแบบและสร้างระบบการใช้งานสื่อสารสนเทศและสังคมออนไลน์ในการพัฒนางานด้านวิชาการของ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ซึ่งประกอบด้วยประกอบที่สาคัญอยู่สองส่วนประกอบด้วย ระบบการติดต่อประสานงานออนไลน์ ระบบการจัดเก็บและบริการข้อมูลออนไลน์ กาหนดกลุ่มประชาการและกลุ่มตัวอย่าง โดย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. กลุ่มประชากร คือ บุคคลากรในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 2. กลุ่มตัวอย่าง คือ เจ้าหน้าที่ อาจารย์และผู้บริหารในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราช ภัฏสุรินทร์ จานวน 40 คน (เลือกสุ่มแบบง่าย)
115
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ตัวแปรที่ศึกษาคือ 1. ตัว แปรต้ น คือ ระบบสื่ อ สารสนเทศและสั งคมออนไลน์ เ พื่ อ พั ฒ นางานด้ า นวิ ชาการของคณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม 2. ตัวแปรตาม คือ เจ้าหน้าที่ อาจารย์และผู้บริหารในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย ราชภัฏสุรินทร์จานวน การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การออกแบบรูปแบบระบบการใช้งานสื่อสารสนเทศและสังคมออนไลน์ในการพัฒนางานด้านวิชาการ ของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ระบบการใช้งานสื่อสารสนเทศและสังคมออนไลน์ใน การพัฒนางานด้านวิชาการของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมีส่วนประกอบที่สาคัญอยู่สองส่วนประกอบด้วยระบบ การติดต่อประสานงานออนไลน์ ระบบการจัดเก็บและบริการข้อมูลออนไลน์ ขั้นตอนการออกแบบอธิบายได้ดังนี้ ระบบการติดต่อประสานงานออนไลน์ การติดต่อประสานงานของฝ่ายวิชาการ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ เป็ น ฝ่ายที่จะต้องติดต่อประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆไม่ว่าจะเป็นนักศึกษา เจ้าหน้าที่อาจารย์หรือหน่วยงานอื่นทั้ง ภายในและภายนอกมหาวิท ยาลัย ดังนั้นเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพของการติดต่อประสานงาน ผู้วิจัยจึงได้ออกแบบ การติดต่อประสานงานออนไลน์ขึ้นเพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารและลดระยะเวลาการทางานโดยการจัดเป็นกลุ่ม Facebook กลุ่มต่างๆตามจุดประสงค์ของการใช้งานดังนี้ 1. กลุ่มนักวิชาการประจาสาขา ใช้เป็นกลุ่มสาหรับติดต่อสื่อสาร รับ ส่ง เอกสารระหว่างฝ่ายวิชาการ และสาขาวิชา 2. กลุ่มบุคลากรสายสนับสนุน ใช้ในการติดต่อประสานงาน รับ ส่ง เอกสารสอบถามปัญหาที่เกิดจาก การปฏิบัติงานภายในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 3. กลุ่มบุคลากรในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ใช้ในการติดต่อสื่อสารประชาสัมพันธ์ ข่าวสารภายใน บุคลากรของคณะฯ 4. กลุ่มวิชาการ ใช้ในการติดต่อสื่อสารเฉพาะงานด้านวิชาการ 5. กลุ่มศิษย์เก่าคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ใช้ในการแจ้งข่าวสาร ประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการ ต่างๆที่สนับสนุนและพัฒนาการประกอบอาชีพของศิษย์เก่า แหล่งงาน เป็นต้น 5.1 ท าการศึ ก ษารู ป แบบและวิ ธี ก ารที่ เ ป็ น ที่ นิ ย มจากสื่ อ ต่ า งๆรวมถึ งงานวิ จั ย และเอกสารที่ เกี่ยวข้องในการออกแบบโครงสร้างระบบการติดต่อประสานงานออนไลน์สาหรับงานสื่อสารสนเทศและสังคม ออนไลน์ในการพัฒนางานด้านวิชาการ 5.2 ร่างรูปแบบโครงสร้างระบบการติดต่อประสานงานออนไลน์ โดยคานึงถึงการสื่อสารที่รวดเร็ว เข้าถึงข้อมูลได้สะดวก หลายช่องทาง และลดความผิดพลาดในการสื่อสาร สามารถสืบค้นย้อนหลังได้สะดวก 5.3 เลือกระบบการสื่อสารออนไลน์ที่ตอบสนองความต้องการตามข้อสอง 5.4 ทบทวนผลการออกแบบระบบการติดต่อประสานงานออนไลน์ที่ออกแบบไว้ข้างต้น 5.5 ทาการสร้างระบบการติดต่อประสานงานออนไลน์ที่ผ่านการทบทวนแล้วก่อนทดลองใช้งาน และสารวจความพึงพอใจ
116
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ระบบการจัดเก็บและบริการข้อมูลออนไลน์ การปฏิบัติงานของฝ่ายวิชาการคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ แบ่งส่วนงาน ออกเป็น 5 ส่วนได้แก่ส่วนที่ 1 งานพัฒนาหลักสูตร ส่วนที่ 2 งานการจัดการเรียนการสอน ส่วนที่ 3 งานวัดผล ประเมินผลและการเทียบโอนผลการเรียน ส่วนที่ 4 งานสารสนเทและโสตทัศนูปกรณ์ และส่วนที่ 5 สาหรับข้อมูล อื่นๆ ในการจัดเก็บและบริการข้อมูลออนไลน์ผู้วิจัยจึงได้แบ่งออกเป็น 5 กลุ่มใหญ่ดังภาพ
ภาพที่ 1 แผนผังการเข้าถึงข้อมูลของฝ่ายวิชาการคณะฯ 1. ทาการศึกษารูปแบบและวิธีการที่เป็นที่นิยมจากสื่อต่างๆรวมถึงงานวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวข้องใน การออกแบบโครงสร้างระบบการจัดเก็บและบริการข้อมูลออนไลน์สาหรับงานสื่อสารสนเทศและสังคมออนไลน์ใน การพัฒนางานด้านวิชาการ 2. ร่างรูปแบบโครงสร้างระบบการจัดเก็บและบริการข้ อมูลออนไลน์โดยคานึงถึงการสื่อสารที่รวดเร็ว เข้าถึงข้อมูลได้สะดวก หลายช่องทาง และลดความผิดพลาดในการสื่อสาร สามารถสืบค้นย้อนหลังได้สะดวก 3. เลือกระบบการจัดเก็บและบริการข้อมูลออนไลน์ที่ตอบสนองความต้องการตามข้อสอง 4. ทบทวนผลการออกแบบระบบการจัดเก็บและบริการข้อมูลออนไลน์ที่ออกแบบไว้ข้างต้น 5. ทาการสร้างระบบการจัดเก็บและบริการข้อมูลออนไลน์ที่ผ่านการทบทวนแล้วก่อนทดลองใช้งาน และสารวจความพึงพอใจ แบบประเมินคุณภาพระบบ การใช้งานสือ่ สารสนเทศและสังคมออนไลน์ในการพัฒนางานด้านวิชาการของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ในการออกแบบตารางแบบประเมินคุณภาพระบบการใช้งานสื่อสารสนเทศและสังคม ออนไลน์ในการพัฒนางานด้านวิชาการของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ผู้วิจัยมี ขั้นตอน การสร้างและนาไปประเมินดังนี้ 1. กาหนดหัวข้อหลักและหัวข้อย่อยในการประเมิน 2. ทบทวนหัวข้อการประเมินให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์
117
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
3. สร้างแบบประเมินที่ผ่านการทบทวนแล้ว 4. กาหนดกลุ่มตัวอย่างในการประเมิน 5. นาผลที่ได้จากการประเมินมาวิเคราะห์ทาง ในการสร้างแบบประเมินคุณภาพของระบบการใช้งานสื่อสารสนเทศและสังคมออนไลน์ในการพัฒนา งานด้านวิชาการของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ใช้แบบประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) ในการให้คะแนนดังต่อไปนี้ (สุมาลี จันทร์ชลอ. 2542 : 217 –218) การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ การหาคุณภาพของระบบการใช้งานสื่อสารสนเทศและสังคมออนไลน์ในการพัฒนางานด้านวิชาการของ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรนิ ทร์ในครั้งนี้ คณะผู้วิจัยได้นาผลการประเมินมาวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติ คือ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย จากการสารวจความพึงพอใจของบุคคลากรในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ผลการสารวจแสดงในตาราง ที่ 1 ตารางที่ 1 ผลการสารวจความพึงพอใจของบุคลากรในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม หัวข้อที่นามาประเมิน
ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐาน
1. ระบบการติดต่อประสานงานออนไลน์ 1.1 ช่วยให้การสื่อสารรวดเร็วขึ้น 1.2 ตรวจสอบได้ว่ามีใครบ้างที่รับทราบข้อมูลแล้ว 1.3 สามารถทบทวนข้อความและแก้ไขข้อมูลได้ง่าย 1.4 ประหยัดทรัพยากรณ์ เช่น กระดาษ น้ามัน ค่าไฟฟ้า เป็นต้น เฉลีย่ รายด้าน 2. ระบบการจัดเก็บและบริการข้อมูลออนไลน์ 2.1 ช่วยให้การจัดเก็บและบริการข้อมูลทาได้ง่ายขึ้น 2.2 ช่วยให้การจัดเก็บและบริการข้อมูลมีความปลอดภัยมาก 2.3 ลดระยะเวลาและประหยัดทรัพยากรณ์ เช่น กระดาษ น้ามัน ค่าไฟฟ้า เป็นต้น เฉลีย่ รายด้าน 3. ด้านการใช้งาน 3.1 มีความสะดวกในการใช้งาน 3.2 รูปแบบไม่ซับซ้อนเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย 3.3 มีคู่มือการใช้งานที่เข้าใจง่าย เฉลีย่ รายด้าน เฉลีย่ รวมทุกด้าน
118
ระดับคุณภาพ
4.68 4.76 4.56 4.68 4.67
0.46 0.42 0.49 0.46 0.46
ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก ดีมาก
4.64 3.96
0.48 0.87
ดีมาก ดี
4.60 4.40
0.48 0.61
ดีมาก ดี
4.44 4.00 3.84 4.09 4.09
0.49 0.74 0.88 0.70 0.70
ดี ดี ดี ดี ดี
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
จากตารางพบว่าในภาพรวมทั้งสามด้านระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับที่ดี ( X = 4.09, S.D. = 0.70) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าในเรื่อง ระบบการติดต่อประสานงานออนไลน์ ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับที่ดี มาก ( X = 4.67, S.D. = 0.46) แสดงว่าบุคคลากรในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีความพึงพอใจในเรื่องระบบการ ติดต่อประสานงานออนไลน์ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นในหัวข้อช่วยให้การสื่อสารรวดเร็วขึ้น สามารถตรวจสอบได้ว่ามีใครบ้าง ที่รับทราบข้อมูลแล้ว สามารถทบทวนข้อความและแก้ไขข้อมูลได้ง่ายและ ประหยัดทรัพยากรณ์ เช่น กระดาษ น้ามัน ค่าไฟฟ้า เป็นต้น โดยระดับคุณภาพทั้งสี่ด้านอยู่ในระดับดีมากในเรื่อง ระบบการจัดเก็บและบริการข้อมูล ออนไลน์ระดับความพึงพอใจอยู่ ในระดับที่ดี ( X = 4.40, S.D. = 0.61) ) แสดงว่าบุคคลากรในคณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม มีความพึงพอใจในเรื่องดังกล่าว ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นในหัวข้อ ช่วยให้การจัดเก็บและบริการข้อมูลทาได้ง่าย ขึ้น และเรื่องการลดระยะเวลาและประหยัดทรัพยากรณ์ เช่น กระดาษ น้ามัน ค่าไฟฟ้า เป็นต้น ระดับคุณภาพทั้ง สองด้านอยู่ในระดับดีมากส่วนเรือ่ งการช่วยให้การจัดเก็บและบริการข้อมูลมีความปลอดภัยมากผู้ประเมินให้คุณภาพ อยู่ในระดับดีใน ด้านการใช้งาน ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับที่ดี ( X = 4.09, S.D. = 0.70 ) โดยทั้งสาม หัวข้อที่ ประเมินซึ่งประกอบด้วย มีความสะดวกในการใช้งาน รูปแบบไม่ซับซ้อนเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย และ มีคู่มือการใช้งานที่ เข้าใจง่าย คุณภาพที่บุคคลากรในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประเมินคุณภาพอยู่ในระดับที่ดีทั้งหมด สรุปผลการวิจัย ในการออกแบบและสร้างระบบการใช้งานสื่อสารสนเทศและสังคมออนไลน์ ในการพัฒ นางานด้า น วิชาการของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์นั้น ผู้วิจัยได้แบ่งการวิจัยออกเป็นระบบการ ติดต่อประสานงานออนไลน์ ระบบการจัดเก็บและบริการข้อมูลออนไลน์จากนั้นทาการสารวจความพึงพอใจจากกลุ่ม ตัวอย่างซึ่งเป็นบุคลากรในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์นั้น ด้านระบบการติดต่อประสานงานออนไลน์ จากการที่ผู้วิจัยจึงได้ออกแบบการติดต่อประสานงานออนไลน์ขึ้นเพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารและลด ระยะเวลาการทางานโดยการจัดเป็นกลุ่ม Facebook กลุ่มต่างๆตามจุดประสงค์ของการใช้งานโดยประกอบด้วย กลุ่มต่างๆ ดังนี้ 1. กลุ่ ม นั ก วิ ช าการประจ าสาขา สมาชิ ก ประกอบด้ ว ย นั ก วิ ช าการประจ าสาขา ฝ่ า ยวิ ช าการ จุดประสงค์การจัดตั้งเพื่อ ติดต่อประสารงานด้านวิชาการ รับ ส่ง ข้อมูลที่เร่งด่วน และข้อมูลที่ไม่จาเป็นต้องทา บันทึกข้อความเป็นหลักฐาน 2. กลุ่มบุคลากรสายสนับสนุน สมาชิกประกอบด้วย เจ้าหน้าที่สายสนับสนุน จุดประสงค์การจัดตั้งเพื่อ สอบถามปัญหาที่เกิดจากการปฏิบัติงานภายในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ติดต่อประสารงานด้านต่างๆ รับ ส่ง ข้อมูลที่เร่งด่วน ประกาศ คาสั่ง และข้อมูลที่ไม่จาเป็นต้องทาบันทึกข้อความเป็นหลักฐาน 3. กลุ่มบุคลากรในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สมาชิกประกอบด้วย บุคลากรของคณะฯ จุดประสงค์ การจัดตั้งเพื่อ ติดต่อประสารงานด้านต่างๆ รับ ส่ง ข้อมูล ประกาศ คาสั่ง และข้อมูลที่ไม่จาเป็นต้องทาบันทึก ข้อความเป็นหลักฐาน กลุ่มวิชาการ สมาชิกประกอบด้วย บุคลากรของและนักศึกษาในคณะคณะฯ จุดประสงค์การ จัดตั้งเพื่อ ติดต่อประสารงานด้านวิชาการ การประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ประกาศ คาสั่ง
119
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
4. กลุ่มศิษย์เก่าคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สมาชิกประกอบด้วย บุคลากรของ นักศึกษาในคณะ คณะฯ และ ศิษย์เก่าคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จุดประสงค์การจัดตั้งเพื่อ ใช้ในการแจ้งข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมโครงการต่างๆ ที่สนับสนุนและพัฒนาการประกอบอาชีพของศิษย์เก่า แหล่งงาน เป็นต้น ระบบการจัดเก็บและบริการข้อมูลออนไลน์ การปฏิบัติงานของฝ่ายวิชาการคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ แบ่งส่วนงาน ออกเป็น 5 ส่วนได้แก่ส่วนที่ 1 งานพัฒนาหลักสูตร ส่วนที่ 2 งานการจัดการเรียนการสอน ส่วนที่ 3 งานวัดผล ประเมินผลและการเทียบโอนผลการเรียน ส่วนที่ 4 งานสารสนเทศและโสตทัศนูปกรณ์ และส่วนที่ 5 สาหรับข้อมูล อื่นๆ ในการจัดเก็บและบริการข้อมูลออนไลน์ผู้วิจัยจึงได้แบ่งออกเป็น 5 กลุ่มใหญ่ ผลการดาเนินการ ทาให้ผู้รับ บริการสามารถ สืบค้นและเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว เนื่องจาก ผู้วิจัยได้จัดทาเป็นหน้าเว็บเฟสเชื่อมโยงกับ Google Drive ซึ่งทาแบบระบบ Cloud Computing นักวิชาการในฝ่ายวิชาการสามารถแก้ไขและอัปเดดข้อมูลให้ ถูกต้องและทันสมัยได้จากทุกที่ ทุกเวลา ทาให้ผู้รับบริการได้ข้อมูลที่ถูกต้อง รวดเร็ว ผลการสารวจความพึงพอใจของบุคคลากรในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จากการสารวจความพึงพอใจของบุคคลากรในคณะฯพบว่าในภาพรวมทั้งสามด้านระดับความพึงพอใจ อยู่ในระดับที่ดี ( = 4.09, S.D. = 0.70) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าในเรื่อง ระบบการติดต่อประสานงาน ออนไลน์ ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับที่ดีมาก ( X = 4.67, S.D. = 0.46) แสดงว่าบุคคลากรในคณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม มีความพึงพอใจในเรื่องระบบการติดต่อประสานงานออนไลน์ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นในหัวข้อช่วยให้การ สื่อสารรวดเร็วขึ้น สามารถตรวจสอบได้ว่ามีใครบ้างที่รับทราบข้อมูลแล้ว สามารถทบทวนข้อความและแก้ไขข้อมูล ได้ง่ายและ ประหยัดทรัพยากร เช่น กระดาษ น้ามัน ค่าไฟฟ้า เป็นต้น โดยระดับคุณภาพทั้งสี่ด้านอยู่ในระดับดีมาก ในเรื่อง ระบบการจัดเก็บและบริการข้อมูลออนไลน์ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับที่ดี ( X = 4.40, S.D. = 0.61) ) แสดงว่าบุคคลากรในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีความพึงพอใจในเรื่องดังกล่าว ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้ น ในหัวข้อ ช่วยให้การจัดเก็บและบริการข้อมูลทาได้ง่ายขึ้น และเรื่องการลดระยะเวลาและประหยัดทรัพยากร เช่น กระดาษ น้ามัน ค่าไฟฟ้า เป็นต้น ระดับคุณภาพทั้งสองด้านอยู่ในระดับดีมาก ส่วนเรื่องการช่วยให้การจัดเก็บและ บริการข้อมูลมีความปลอดภัยมากผู้ประเมินให้คุณภาพอยู่ในระดับดี ในด้านการใช้งาน ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับที่ดี ( X = 4.09, S.D. = 0.70 ) โดยทั้งสามหัวข้อที่ ประเมินซึ่งประกอบด้วย มีความสะดวกในการใช้งาน รูปแบบไม่ซับซ้อนเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย และ มีคู่มือการใช้งานที่ เข้าใจง่าย คุณภาพที่บุคคลากรในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ประเมินคุณภาพอยู่ในระดับที่ดีทั้งหมด วิจารณ์ผลการวิจัย ในการการติดต่อประสานงานของฝ่ายวิชาการ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ กับหน่วยงานอื่นๆไม่ว่าจะเป็นนักศึกษา เจ้าหน้าที่อาจารย์หรือหน่วยงานอื่ นทั้งภายในและภายนอกมหาวิท ยาลัย โดยผ่านกลุ่ม Facebook ที่แยกเป็นกลุ่มๆ มีวัตถุประสงค์ ที่ชัดเจน มีข้อดีคือ สามารถติดต่อสื่อสารกันได้รวดเร็ว ทวนสอบข้อมูลได้รวมถึงการแก้ไขข้อมูลได้ทันที เมื่อเกิดปัญหาความไม่เข้าใจหรือข้อมูลไม่ชัดเจนสามารถสอบถาม ได้ทันที แต่การตั้งกลุ่ม Facebook จะไม่เกิดประโยชน์หากนาไปใช้อย่างผิดวัตถุประสงค์ เช่นการพูดคุย หยอกล้อ โพสต์ข้อความไม่สุภาพ จะส่งผลให้สมาชิกในกลุ่มเบื่อหน่ายและไม่อยากเข้ามาดูได้เช่นกันส่วนการการจัดเก็บและ บริการข้อมูลออนไลน์ผู้วิจัยจึงได้แบ่งออกเป็น 5 กลุ่มใหญ่นั้น ผลการดาเนินการ ทาให้ผู้รับบริการสามารถ สืบค้น
120
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
และเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว เนื่องจาก ผู้วิจัยได้จัดทาเป็นหน้าเว็บเฟสเชื่อมโยงกับ Google Drive ซึ่งทาแบบ ระบบ Cloud Computing นักวิชาการในฝ่ายวิชาการสามารถแก้ไขและอัปเดดข้อมูลให้ถูกต้ องและทันสมัยได้จาก ทุกที่ ทุกเวลา ทาให้ผู้รับบริการได้ข้อมูลที่ถูกต้อง รวดเร็ว จากการสารวจความพึงพอใจของบุคคลากรในคณะฯพบว่าในภาพรวมสามด้านพบว่าในเรื่อง ระบบการ ติดต่อประสานงานออนไลน์ บุคคลากรในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีความพึงพอใจในเรื่องระบบการติดต่อ ประสานงานออนไลน์ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นในหัวข้อช่วยให้การสื่อสารรวดเร็วขึ้น สามารถตรวจสอบได้ว่ามีใครบ้างที่ รับทราบข้อมูลแล้วสามารถทบทวนข้อความและแก้ไขข้อมูลได้ง่ายและ ประหยัดทรัพยากรณ์ เช่น กระดาษ น้ามัน ค่าไฟฟ้า เป็นต้น โดยระดับคุณภาพทั้งสี่ด้านอยู่ในระดับดีมากแต่ ในเรื่อง ระบบการจั ดเก็บและบริการข้อมู ล ออนไลน์บุคคลากรในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ยังไม่มั่นใจในความปลอดภัยของข้อมูลผู้ประเมินจึงประเมินให้มี คุณ ภาพอยู่ ใ นระดั บ ดี ส่ ว นด้ า นการใช้งาน ระดั บ ความพึ งพอใจอยู่ ใ นระดับ ที่ โดยทั้ งสาม หั ว ข้ อ ที่ ป ระเมิ น ซึ่ ง ประกอบด้วย มีความสะดวกในการใช้งาน รูปแบบไม่ซับซ้อนเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย และ มีคู่มือการใช้งานที่เข้าใจง่าย คุณภาพที่บุคคลากรในคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมประเมินคุณภาพอยู่ในระดับที่ดีทั้งหมดเช่นกัน ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้มองเห็นทั้งข้อดีและข้อเสียจึงขอเสนอแนะการใช้งานผลงานวิจัยเพื่อให้เกิด ประโยชน์สูงสุดดังนี้ 1. ในการใช้ งานระบบการติ ด ต่ อ ประสานงานออนไลน์ ไม่ ค วรโพสต์ ข้ อ ความในแง่ ล บ ส่ อ เสี ย ด ข้อความไม่สุภาพ ข้อความที่เป็นเท็จ คานึงถึงจุดประสงค์การตั้งกลุ่ม 2. สมาชิกควรเข้าตรวจสอบโพสต์อย่าสม่าเสมอ 3. ในการใช้ งานระบบการจั ดเก็ บและบริก ารข้ อมูลออนไลน์ ผู้ ที่สามารถแก้ไ ขข้อ มูล ควรแจ้งให้ ผู้ร่วมงานได้ทราบหากมีการแก้ไขข้อมูลเดิมถึงสาเหตุที่ต้องมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลง ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป การจัดทาหน้าเว็บเฟสเชื่อมโยงกับ Google Drive ซึ่งทาแบบระบบ Cloud Computing มีข้อดีหลาย อย่างรวมถึง Google apps for education ยังมีบริการที่หลากหลาย และใช้งานได้ง่าย จึงสามารถ พัฒนางานด้าน ต่างๆได้ดีไม่ใช่แค่งานวิชาการในการทาวิจัยครั้งต่อไปสามารถจัดทาได้อย่างกว้างขวางหลากหลาย เช่นใช้จัดทา เว็บไซต์สาหรับเป็นสื่อการสอน แหล่งศึกษาค้นคว้า การประชาสัมพันธ์กิจกรรม การออกแบบสารวจ เป็นต้น เอกสารอ้างอิง นภาภรณ์ ยอดสิน และคณะ. (มปป). นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครปฐม. ปิยภัทร์ จิรปุณญโชติ. (2559). “การประยุกต์ใช้ Google Apps ในการบริหารสารสนเทศของสถานศึกษา.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://nakhonnayok.dusit.ac.th สืบค้น 3 ตุลาคม 2559. พิบูลย์ ชมสมบัติ. (2559). “คู่มือการใช้งาน Google pps”. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.satrinon.ac.th/ga. สืบค้น 13 ตุลาคม 2559.
121
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU
NCR2018
ไพรัชนพ วิริยวรกุลและดวงกมล โพธิ์นาค.( 2556) “Google apps for education นวัตกรรมทางการศึกษายุคยุค ดิจิทัล”. วารสารวิจัย มสด สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เฟสบุ๊คแฟนเพจ. (2559). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://unimon.co.th/ facebookmarketing.html สืบค้น 3 ตุลาคม 2559. ภิรดี วัชรสินธุ์ และคณะ. (2558). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต สลิตตา สาริบุตร. (2554). “แนวทางการใช้สื่อการเรียนรู้และสื่อสังคมออนไลน์เพื่อการสื่อสารภายใน องค์กร.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.research.rmutt.ac.th/?p=4499. สืบค้น 3 ตุลาคม 2559. สุคนธ์ สินธพานนท์. (2558). การจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่เพื่อพัฒนาทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สุรพล บุญลือ.(2550). การพัฒนารูปแบบการสอนโดยใช้ห้องเรียนเสมือนจริงโดยใช้ปัญหาเป็นหลักใน ระดับอุดมศึกษา.
122
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ภาคโปสเตอร์ กลุ่ม มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บริหารธุรกิจ
123
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018 HSBP-01
ประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านตะคร้อ พ.ศ. 2469-2559 HITSORICAL COMMUNITY OF BAN TA-KRO 1926-2017 กัญทิมา ทองหล่อ1 1
KANTHIMA THONGLOR, ภาควิชาสังคมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ Air15jjj@hotmail.com
บทคัดย่อ การศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านตะคร้อ พ.ศ. 2469–2559 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ตั้ง ถิ่นฐานชุมชนบ้านตะคร้อ พ.ศ. 2469-2559 และเพื่อศึกษาความเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมชุมชนบ้าน ตะคร้อ โดยวิธีทางประวัติศาสตร์ศึกษาจากเอกสารชั้นต้น บันทึกหมู่บ้าน วัด โรงเรียน คาสัมภาษณ์ ภาพถ่าย เอกสารชั้นรอง ตานาน สนทนากลุ่ม สัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้นาชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ทรงคุณวุฒิ และชาวชุมชนรวมทั้งหมดจานวน 28 คน แล้วนาข้อมูลมาเรียบเรียงเชิงพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัย บ้านตะคร้อ ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ตาบลช่างปี่ อาเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ มีครอบครัวปู่นุ่น เผ่าพันธุ์ ครอบครัว ปู่เมา และตานิ่มย้ายจากบ้านตากูกอาเภอเขวาสินรินทร์ มาตั้งถิ่นฐานอยู่บ้านตะคร้อเป็นครอบครัวแรกๆ มีสถานที่ ศักดิ์สิทธิ์ชาวบ้านเรียกเป็นภาษาท้องถิ่นว่า “ตระเปียงทมอ” (หนองหิน) ชื่อบ้านตะคร้อ เนื่องจากบริเวณที่มาก่อตั้ง หมู่บ้านเป็นป่าและมีต้นตะคร้อขึ้นอยู่เป็นจานวนมาก การขยายตัวของชุมชนบ้ านตะคร้อ เกิดจากการอพยพย้ายถิ่นฐานของผู้คนจากพื้นที่อื่นๆ ความเจริญ ของหมู่บ้านตะคร้อเพิ่มขึ้นหลัง พ.ศ. 2450 จากการมีเส้นทางรถไฟ พ.ศ. 2478 สร้างวัดปทุมสว่าง (วัดบ้านตะคร้อ) พ.ศ. 2503 สร้างโรงเรียนบ้านตะคร้อ พ.ศ.2525 มีไฟฟ้า พ.ศ. 2539 ถนนลาดยางสายแรกบ้านพม่า-ช่างปี่จากเศรษฐกิจ ที่กาลังเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว พ.ศ. 2539 อัตราการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจไทยเริ่มชะลอตัว พ.ศ. 2540 วิกฤต เศรษฐกิจฟองสบู่แตก ทาให้มีคนตกงาน ธุรกิจปิดตัวลงจานวนมากพ.ศ. 2541 พ.ศ. 2543 เศรษฐกิจไทยเริ่มฟื้นตัว และมีการนาเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ชาวบ้านตะคร้อสามารถรักษาความเป็น สังคมเกษตรแบบดั้งเดิมในบางด้านเอาไว้โดยเฉพาะในเรื่องของประเพณีการทาบุญ การประกอบพิธีกรรมตามความ เชื่อและการเป็นสังคมเครือญาติในหมู่บ้านเดียวกัน ซึ่งถึงแม้ว่าจะอพยพไปทางานอยู่ในภาคอื่นก็ยังรักษาวัฒนธรรม การกินอยู่แบบอีสานโดยผสมผสานกับวัฒนธรรมของท้องถิ่น ดังนั้น ชุมชนบ้านตะคร้อปัจจุบันเป็นสังคมที่ผสมผสาน ระหว่างความเป็นสมัยใหม่และการเป็นสังคมแบบเดิม คำสำคัญ : บ้านตะคร้อ;ประวัติศาสตร์ชุมชน
124
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
Abstract The purpose of this research are 1) To study the historical community settlement in 1926 - 2016 of Ban Ta kraor. 2) To study the changes of the economy, society and culture of Ban Ta kraor and publicize by using historical method, research literature, fieldwork information, pictures, and previous academic papers. Then use this knowledge, given by 28 people to organize the seminar and descriptive analysis. Research result BanTaKror is located onMoo 10, ChangPi, Sub-district, SriKhoraphoomDistrict, Surin Province and there are some families of PooNoonPaopan, PooMao and Tanimwho moved from BanTakkook, KwaoSinrarinSub-district. There is a holy place called “TraPiangTaMor”in local language. According there are the forest and many TaKrao trees in the villege. The expansion of the community isbecause of people from other places. In 1907 the prosperity of the community increased because the railwaystation was built. In 1935 PatumSaWang temple (BanTaKror temple) was built as well. In 1960 there was a school named BanTaKraor school and electricity was used in 1982. In 1996, there was the first completed road from BanPamar to BanChangPee. In 1997, many people were unemplyed because of the bubble economy. In 2000, Thai economy became better people. Self-Sufficiency Economy was applied to Ban Ta Kror. People preferred to go to the temple and make merit. Even though many people in the village work in other parts of Thailand but they still followEsarn culture therefore, BanTaKror community is mixed between the modern and traditional society. Keywords : Ban Ta-kro;Community History บทนา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่บนแอ่งโคราชและแอ่งสกลนคร มีแม่น้าโขงกั้นประเทศลาวทางทิศเหนือ และตะวันออกของภาค ทางทิศใต้มีเทือกเขาพนมดงรักกั้นประเทศกัมพูชาและภาคตะวันออกของประเทศไทย และ มีเทือกเขาเพชรบูรณ์และเทือกเขาดงพญาเย็นเป็นแนวกั้นทางตะวันตกแยกออกจากภาคกลาง (มหาวิทยาลัยราชภัฎ สกลนคร. 2552) จังหวัดสุรินทร์ ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือ อีสานใต้ มีชื่อเสียงด้านการเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม และข้าวหอมมะลิสุรินทร์ มีผู้คนหลายเผ่าพันธุ์และภาษา เช่น เขมร กูย และลาวหรือไทยอีสาน ชุมชนบ้านตะคร้อ เป็นหมู่ บ้านหนึ่งของตาบลช่างปี่ อาเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ อยู่ในแถบอีสานใต้ และมีที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีประวัติความเป็นมาและพัฒนาการที่น่าสนใจ โดยการก่อตั้งชุมชน แห่งนี้มีวิวัฒนาการมาจากการอพยพการตั้งถิ่นฐานของคนกลุ่มหนึ่ง พัฒนามาสู่ชุมชนที่มีขนาดใหญ่ขึ้น เป็นชุมชนที่ มีเส้นทางรถไฟผ่าน ซึ่งเป็นการเปิดเส้นทางการเดินรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือสายแรกจากกรุงเทพมหานครถึง จังหวัดอุบลราชธานี
125
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่ายังไม่มีการศึกษาให้เห็นถึงพัฒนาการของชุมชนบ้านตะคร้อโดยละเอียด แต่ เป็นการศึกษาเพียงหลัก ฐานบางส่วนและศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านตะคร้อบางช่วงเวลาเท่านั้น โดยการใช้ ข้อมูลจากหลักฐานด้านเอกสารประเภทตานานเป็นสาคัญ ส่วนการศึกษาร่องรอยการตั้งถิ่นฐานของชุมชนและความ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมนั้นยังเป็นพบการศึกษาเบื้องต้น ยังไม่ได้ประมวลให้เห็นถึงพัฒนาการ ของชุมชนบ้านตะคร้อ ดังนั้นผู้ศึกษาจึงมีความสนใจศึกษาพัฒนาการตั้งถิ่นฐานชุมชนบ้านตะคร้อ เพื่อสานึกรักถิ่น ฐานตน จากหลักฐานการศึกษาเอกสาร ผู้เชี่ยวชาญ หลักฐาน วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ตั้งถิ่นฐานชุมชนบ้านตะคร้อ พ.ศ. 2469-2559 2. เพื่อศึกษาความเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมชุมชนบ้านตะคร้อ ขอบเขตการวิจัย 1. ขอบเขตพื้นที่ของผู้ศึกษาเลือกพื้นที่ศึกษาด้วยวิธีการแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Selection) เพื่อเป็นกรณีศึกษาตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา โดยเลือกพื้นที่ชุมชนบ้านตะคร้อ ตาบลช่างปี่ อาเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ 2. ขอบเขตด้านเนื้อหา ผู้ศึกษากาหนดขอบเขตด้านเนื้อหาตามวัตถุประสงค์การวิจัยแต่ละข้อ ดังนี้ 2.1 หลักฐานชั้นต้น 1) บันทึกหมู่บ้าน วัด โรงเรียน 2) คาสัมภาษณ์ 3) ภาพถ่าย 4) ตานาน 2.2 หลักฐานชั้นรอง 1) หนังสือประวัติชุมชนบ้านช่างปี่ 2) ผลงานทางการศึกษาค้นคว้าของนักวิชาการ 3. ขอบเขตด้านระยะเวลา การศึกษาเรื่องประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านตะคร้อ พ.ศ. 2469–2559 ผู้ศึกษา กาหนดขอบเขตช่วงเวลาการศึกษา คือ ชุมชนบ้านตะคร้อ พ.ศ. 2469–2559 วิธีดาเนินการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการศึกษาจากเอกสารหลักฐานต่างๆ การสังเกต การสัมภาษณ์และการสนทนา กลุ่ม ในประเด็นตามวัตถุประสงค์การศึกษาเป็นระยะเวลา 6 เดือน ระหว่าง เดือน มกราคม พ.ศ. 2559–มิถุนายน พ.ศ. 2559 โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการวิจัยด้วยกระบวนการ ดังต่อไปนี้ 1. การรวบรวมเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่ทาการศึกษา 2. การเก็บข้อมูลภาคสนาม (Field Research) 2.1 การสารวจเอกสารและพื้นที่วิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.2 การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง 2.3 การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม
126
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
2.4 การสนทนากลุ่ม 2.5 การวิเคราะห์ข้อมูล ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. พื้นที่ศึกษาผู้ศึกษาเลือกพื้นที่ศึกษาด้วยวิธีการแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Selection) เพื่อ เป็นกรณีศึกษาตามวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์การตั้งถิ่นฐานชุมชนบ้านตะคร้อ พ.ศ. 2469–2559 และ เพื่อศึกษาความเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมชุมชนบ้านตะคร้อ โดยเลือกพื้นที่ชุมชนบ้านตะคร้อ ตาบล ช่างปี่ อาเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ 2. กลุ่มเป้าหมายผู้ศึกษาเลือกกลุ่มเป้าหมายแบบเจาะจง ได้กาหนดผู้ให้ข้อมูลหลัก(Key Informant) ในการเก็บรวบรวมข้อมูลการศึกษาโดยกาหนดคุณลักษณะผู้ให้ข้อมูล ดังนี้ 1) ผู้นาชุมชน จานวน 10 คน 2) ปราชญ์ชาวบ้าน จานวน 5 คน 3) ประชาชน จานวน 10 คน 4) ผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 3 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แบบสารวจเบื้องต้น (Basic Surway) เพื่อบันทึกข้อมูลต่างๆ ทั้งที่เป็นข้อมูลเอกสาร และการสารวจ ภาคสนาม 2. แบบสัมภาษณ์ (Interview) แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง เพื่อรวบรวมข้อมูลเฉพาะ และแบบ สัมภาษณ์ชนิดไม่มีโครงสร้าง เพื่อรวบรวมข้อมูลที่เป็นข้อคิดเห็น 3. แบบสังเกต (Observation) ใช้แบบสังเกตชนิดมีส่วนร่วม เพื่อบันทึกข้อมูลในกิจกรรมที่ผู้วิจัยเข้า ไปมีส่วนร่วม และใช้แบบสังเกตชนิดไม่มีส่วนร่วม เพื่อบันทึกสภาพภูมิทัศน์ สิ่งแวดล้อม และลักษณะทั่วไปของ ชุมชน ในฐานะผู้สังเกตการณ์ การเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ศึกษาทาการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง จากการศึกษาจากเอกสารหลักฐาน ต่างๆ การสังเกต การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม ในประเด็นตามวัตถุประสงค์การศึกษา เป็นระยะเวลา 6 เดือน ระหว่าง เดือน มกราคม พ.ศ. 2559–มิถุนายน พ.ศ. 2559 โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการวิจัยด้วย กระบวนการ ดังต่อไปนี้ 1. การรวบรวมเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่ทาการศึกษา 2. การเก็บข้อมูลภาคสนาม (Field Research) เพื่อให้ได้ข้อมูลตามสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ ทา การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วย การสังเกต สัมภาษณ์ สนทนากลุ่ม และร่วมกิจกรรมกับชาวบ้านเพื่อให้ได้สภาพความเป็น จริงในปัจจุบันของพื้นที่ที่ทาการศึกษา ส่วนข้อมลอื่นๆ ที่อยู่นอกระยะเวลาเก็บข้อมูล ภาคสนาม ใช้วิธีเก็บรวบรวม ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้นาชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน ประชาชน และผู้ทรงคุณวุฒิภายในชุมชนอย่างละเอียดรอบด้าน เพื่อให้ได้ข้อมูลตามสภาพความเป็นจริง ผู้ศึกษาทาการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยอาศัยความมุ่งหมายของการศึกษาเป็น หลักเกณฑ์ โดยใช้วิธีการวิจัยต่างๆ ตามขั้นตอน ดังนี้ 1) การสารวจเอกสาร และพื้นที่วิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง 3) การสงเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม
127
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
4) การสนทนากลุ่ม 5) การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 1. ใช้ข้อมูลจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเป็นแนวทางในการจาแนกข้อมูลที่ได้จาก การศึ กษาเอกสาร การส ารวจเบื้ องต้ น การสั มภาษณ์ การสั งเกต การสนทนากลุ่ ม ออกเป็น หมวดหมู่ โดยยึ ด หลักเกณฑ์ตามความมุ่งหมายของการศึกษาเป็นหลัก 2. การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ที่ได้จากการศึกษา การสารวจเบื้องต้น การ สัมภาษณ์ การสังเกต และการสนทนากลุ่ม แบบสามเส้า (Triangulation) คือ จัดข้อมูลประเภทเดียวกันที่ได้จาก แหล่งข้อมูลต่างกัน พื้นที่ต่างกัน ไว้ในหมวดเดียวกัน เพื่อเปรียบเทียบลักษณะร่วม หรือความแตกต่างขององค์ความรู้ เดียวกันในบริบทที่แตกตางกันอย่างชัดเจน 3. ใช้ ก ารวิ เ คราะห์ แบบอุ ปนั ย ตามวิ ธี วิจั ย เชิงคุ ณ ภาพ อธิ บ ายสิ่ งที่ เป็ น นามธรรม และข้ อ มูล จาก การศึกษา การสารวจเบื้องต้น การสัมภาษณ์ การสังเกต และการสนทนากลุ่ม ตาม ความมุ่งหมายของการศึกษาที่ตั้ง ไว้ในเบื้องต้น โดยแบ่งรายละเอียดออกเป็นหัวข้อย่อย แล้วจึงนามาวิเคราะห์โดยวิธีอุปนัยให้ปรากฏผลเป็นองค์รวม อีกครั้ง 4. ใช้การวิเคราะห์โดยจาแนกข้อมูล เพื่อจัดหมวดหมู่ตามลักษณะข้อมูล สถิติ ข้อมูลใช้สถิติพรรณนา ประกอบด้วยค่าร้อยละ ผลการวิจัย บ้านตะคร้อ ตั้งอยู่หมู่ที่ 3 ตาบลช่างปี่ อาเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ มีครอบครัวปู่นุ่น เผ่าพันธุ์ ครอบครัวปู่เมา และตานิ่มย้ายจากบ้านตากูก อาเภอเขวาสินรินทร์ มาตั้งถิ่นฐานอยู่บ้านตะคร้อเป็นครอบครัวแรกๆ เดิมชุมชนบ้านตะคร้อเป็นชุมชนขนาดเล็ก บ้านเรือนตั้งอยู่ห่างกัน กระจายอยู่เป็นกลุ่มย่อยๆ จะหนาแน่นบริเวณ สระน้ากลางหมู่บ้าน ด้านตะวันตกมีป่าขนาดเล็กชาวบ้านเรียกเป็นภาษาท้องถิ่นว่า “ตระเปียงทมอ” (หนองหิน) จะ มีหนองน้าศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งในหนองน้าจะมีก้อนหินอยู่ แต่ในปัจจุบันหนองน้าตื้นเขิน ชาวบ้านได้เคลื่อนย้ายหินออกมา กองรวมกันและสร้างศาลาครอบไว้ ที่มาของชื่อบ้านตะคร้อ เนื่องจากบริเวณที่มาก่อตั้งหมู่บ้านเป็นป่าและมีต้น ตะคร้ อขึ้น อยู่เป็ นจานวนมาก สมัย ก่อนการตั้ งชื่อหมู่บ้า นจะตั้งตามลัก ษณะเด่นของพื้ นที่ เพื่อให้เข้า ใจได้ง่า ย ปัจจุบันนี้ยังมีต้นตะคร้อตั้งตระหง่านอยู่ที่ใจกลางหมู่บ้านข้างศาลปู่ตาเพียง 1 ต้น เท่านั้น ลักษณะทางภูมิศาสตร์ เป็นพื้นที่ราบ มีลักษณะดินเป็นดินร่ วนปนทราย ราบโล่ง พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้เป็นพื้นที่สาหรับการเกษตร และใช้เป็น พื้นที่ปลูกสร้างที่อยู่อาศัย บ้านตะคร้อตั้งอยู่ห่างจากตาบลช่างปี่ 2 กิโลเมตร ห่างจากอาเภอศีขรภูมิ 12 กิโลเมตร และห่างจากจังหวัดสุรินทร์ 23 กิโลเมตร การขยายตัวของชุมชน สมัยก่อนชุมชนบ้านตะคร้อเป็นชุมชนขนาดเล็กมีจานวนครัวเรือนที่อาศัยอยู่ไม่ มากนัก ต่อมามีการอพยพย้ายถิ่นฐานจากหมู่บ้านใกล้เคียงและจากพื้นที่อื่นๆ ทาให้ชุมชนขยายตัวใหญ่ขึ้น การ พัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐาน เช่น ไฟฟ้า ถนน โรงพยาบาล โทรศัพท์สาธารณะ นามาซึ่งความเจริญ หมู่บ้านตะคร้อ ความเจริญเพิ่มขึ้นหลังจากการมีเส้นทางรถไฟสายกรุงเทพฯ-อุบลราชธานี เป็นทางผ่านเป็นสู่จังหวัดอุบลราชธานี นาไปสู่การขยายตัวของชุมชนออกไปสู่พื้นที่ใกล้เคียง ถนนลาดยางสายแรกเป็นเส้นจากบ้านพม่าผ่านบ้านตะคร้อ และสิ้นสุดที่บ้านช่างปี่ ในทุกวันนี้ทุกเขตทุกซอยในหมู่บ้านก็ มีถนนคอนกรีตสัญจรไปมาอย่างสะดวกสบายมากขึ้น ชาวเดิมเป็นสังคมเศรษฐกิจแบบเกษตรกรรม ชาวบ้านมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน เศรษฐกิจที่กาลังเจริญเติบโตอย่าง
128
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
รวดเร็ว สืบเนื่องจากรัฐบาลเปิดนโยบายเสรีทางการเงิน และในปีเดียวกันอัตราการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจไทยเริม่ ชะลอตัวส่งผลให้ พ.ศ. 2540 วิกฤตเศรษฐกิจฟองสบู่แตก ผลกระทบที่เกิดกับหมู่บ้านตะคร้อ ทาให้รายได้ต่อหัว ลดลง ปริมาณงานลดลงด้วย เกิดภาวะข้าวยากหมากแพง จานวนคนจนมีสูงขึ้น ด้านการเกษตร ได้รับผลกระทบจาก วิกฤตเศรษฐกิจน้อย แต่จะได้ผลกระทบจากภาวะธรรมชาติ ชาวบ้านที่ทางานนอกภาคเกษตรกลับมาทาเกษตรมาก ขึ้น แต่การพัฒนาเกษตรยังมีปัญหาด้านงบประมาณ ราคาปุ๋ยจากต่างประเทศสูงขึ้น หลังจากเกิดวิกฤตฟองสบู่แตก พ.ศ. 2541 ประเทศไทยสร้างแคมเปญ Amazing Thailand โดยมุ่งหวังให้ภาคการท่องเที่ยวมีส่วนร่วมในการ ส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวบริโภคอาหารไทย ข้าวไทย และผลไม้ไทยมากขึ้น เพื่อช่วยกระจายรายได้สู่ภาคเกษตรกรรม และชุมชน องค์การส่งเสริมการท่องเที่ยว (อ.ส.ท.) ได้จัดให้จังหวัดสุรินทร์มีการแสดงคล้องช้างที่อาเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ โดยชาวต่างชาติจะนั่งรถไฟจากกรุงเทพฯ มาลงที่อาเภอศีขรภูมิและนั่งรถต่อไปยังอาเภอท่าตูมเพื่อ ชมการแสดง พ.ศ. 2543 เศรษฐกิจไทยเริ่มฟื้นตัว พ.ศ.2544 รัฐบาลจัดให้มีโครงการ OTOP “หนึ่งตาบล หนึ่ง ผลิตภัณฑ์” เพื่อให้แต่ละชุมชนได้ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการพัฒนาสินค้า ส่งเสริมให้มีการแปรรูปผลผลิต การเกษตรรวมทั้งส่งเสริมงาน OTOP และมีการนาเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ซึ่งบ้านตะคร้อมีการรวมกลุ่ม ของสตรีในชุมชนจัดตั้งกลุ่มสตรีทอผ้าจากเดิมให้มีเข้มแข็งมากขึ้น มีกองทุนปุ๋ยในชุมชน เพื่อช่วยเหลือกลุ่มเกษตรกร ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เข้าร่วมโครงการเศรษฐกิจพอเพียง พ.ศ. 2559 ชุมชนบ้านตะคร้อมีการพัฒนาจากเดิม ไปมาก จากชุมชนขนาดเล็กขยายตัวใหญ่เป็นชุมชนใหญ่ขึ้น มีการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานนามาซึ่งความเจริญ อย่างมาก วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้านมีการเปลี่ยนแปลงไป มีความเป็นสังคมเมืองมากขึ้น มีเทคโนโลยีเข้ามา อานวยความสะดวกสบายในการดาเนินชีวิต แต่สิ่งที่คงความเป็นเอกลักษณ์อยู่คู่กับชุมชนบ้านตะคร้อ คือ วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีที่ยังสืบทอดกันต่อไป
ภาพที่ 1 แสดงพัฒนาการและเหตุการณ์สาคัญที่เกิดขึ้นในชุมชนบ้านตะคร้อ พ.ศ. 2469–2559 วิจารณ์ผลการวิจัย ประวัติความเป็นมาของชุมชนบ้านตะคร้อ มีข้อค้นพบว่าการการกาเนิดชุมชนบ้านตะคร้อเป็นชุมชน ขยายจากหมู่บ้านช่างปี่ ชาวช่างปี่อพยพมาตั้งบ้านเรือนจานวน 10 ครัวเรือน โดยตั้งอยู่ใกล้ๆ สระน้ากลางหมู่บ้าน สมัยก่อนมีลักษณะเป็นป่ารก บ้านช่างปี่และบ้านตะคร้อมีป่าช้าที่ใช้ ร่วมกัน (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งศูนย์การเรียนรู้ช่างปี่ )
129
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
แหล่งน้าบ้านช่างปี่มีอ่างเก็บน้าบ้านช่างปี่ ส่วนบ้านตะคร้อมีสระน้าโบราณอยู่กลางหมู่บ้าน มีน้าใช้ตลอดทั้งปี ถนน สายหลักเดิมจากบ้านตะคร้อไปบ้านพม่า ปัจจุบันเป็นถนนลาดยาง ภายหลังจากถนนเส้นหลักนี้จึงมีเส้นทางรถไฟ และทางหลวงหมายเลข 226 เกิดขึ้น และถูกลดความสาคัญลง การมีกลุ่มชาติพันธุ์เขมร ส่วย ลาว อาศัยอยู่ในพื้นที่ เดียว ทาให้เกิดการผสมผสานระหว่างวัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณี ชาวบ้านนับถือผีบรรพบุรุษ สังเกตได้ จากศาลปู่ตา และประเพณีแซนโฎนตา ตลอดจนลอดคล้องกับ ธงชัย ทองคา (2559) ศึกษาเรื่องประวัติศาสตร์ ชุมชนบ้านสังขะ พบว่าพื้นที่บริเวณชุมชนบ้านสังขะ ในอดีตเคยเป็นที่ตั้งของชุมชนโบราณเมื่อประมาณ 2,000 ปี ก่อน สมัยเขมร (ขอม) เรืองอานาจ ต่อมากลุ่มชนชาติพันธุ์กูยอพยพมาจากเมืองอัตตปือ เมืองแสนปาง เดินทางข้าม แม่น้าโขงมาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านอัจจะปะนึงหรือชุมชนบ้านสังขะ พ.ศ. 2302 สมัยอยุธยาตอนปลาย เชียงฆะ ผู้ปกครองบ้านได้รับความดีความชอบจากการช่วยจับ พระยาช้างเผือกส่งกรุงศรีอยุธยา ได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง เป็นหลวงเพชรและเลื่อนบรรดาศักดิส์ ูงสุดเป็นพระยาสังขะบุรีศรีนครอัจจะ ปกครองเมืองสังขะขึ้นตรงต่อเมืองพิมาย และกรุงเทพฯ ในเวลาต่อมา ระบบการศึกษาในยุคก่อนปฏิรูปการปกครอง จัดการเรียนการสอนที่วัด มีพระเป็นผู้ให้ ความรู้ ด้านความเชื่อคนมีความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์ การทายาสั่ง นับถือผีบรรพบุรุษ ระบบสาธารณสุข ยั งไม่พัฒนา ประชาชนป่วยตายด้วยโรคระบาดจานวนมาก เศรษฐกิจเป็นการผลิตเพื่อยังชีพ มีการเก็บส่วยภาษีจากราษฎร ยุค ปฏิรูปการปกครอง พ.ศ. 2433-2504 เมืองสังขะถูกยุบเป็นอาเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์เมื่อ พ.ศ. 2450 และย้าย ที่ว่าการอาเภอไปตั้งที่แห่งใหม่ ที่ตั้งเมืองสังขะเปลี่ยนแปลงเป็นชุมชนขนาดใหญ่และแยกออกเป็น 2 หมู่บ้านในเวลา ต่อมา ระบบการศึกษามีการจัดตั้งโรงเรียนประถมศึกษาครั้งแรกขึ้นที่อาเภอสังขะเมื่อ พ.ศ. 2460 และรัฐได้จัดตั้ง สถานบริการสุขภาพ “สุขศาลา” ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2478 ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงจากการผลิตเพื่อยังชีพเป็นการ ผลิตเพื่อการค้า เริ่มมีคนจีนเข้ามาค้าขายแลกเปลี่ยนด้วยระบบเงินตรา ยุคพัฒนาประเทศ พ.ศ. 2504-2558 รัฐ ประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านโครงสร้างพื้นฐาน ระบบเศรษฐกิจ เปลี่ยนแปลงเป็นการผลิตเพื่อจาหน่ายผ่านระบบนายทุนเป็น ผู้ กาหนดราคาและปัจจัยการผลิต ชุมชนบ้านสังขะ ตั้งอยู่ใกล้พื้นที่เศรษฐกิจทาให้ผู้คนอพยพเข้ามาอาศัยอยู่จานวนมาก จึงมีการชุมชนแยกออกเป็น 5 หมู่บ้านในเวลา ต่อมา ดังนั้น การศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านสังขะ จึงสะท้อนให้เห็นพัฒนาการเปลี่ยนแปลงและการคงอยู่ของ ชุมชนบ้านสังขะ ในด้านเศรษฐกิจและสังคมวัฒนธรรม โดยเฉพาะวัฒนธรรมชุมชนอันดีงามที่ผ่านการสั่งสมและสืบ ทอดมาจนถึงปัจจุบัน พัฒนาการชุมชนบ้านตะคร้อ เดิมเป็นสังคมเศรษฐกิจแบบเกษตรกรรมมีการพัฒนาอย่างช้าๆ ต่อมามีคน จีนเข้ามาตั้งถิ่นฐานมีความเจริญทางคมนาคมคือ เส้นทางรถไฟและอุตสาหกรรมท่องเที่ยวท้องถิ่น คือ การแสดงช้าง ปราสาทศีขรภูมิ ปราสาทช่างปี่ สถานการณ์ทางการเมืองมีความมั่นคง มีการลงทุนจากต่างประเทศ เศรษฐกิจมีการ เจริญเติบโตแบบก้าวกระโดด ส่งผลให้ พ.ศ. 2525 บ้านตะคร้อมีไฟฟ้าใช้เป็นครั้งแรก และมีอัตราการเจริญเติบโต อย่างมาใน พ.ศ. 2530 จากเศรษฐกิจที่กาลังเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว พ.ศ. 2539 อัตราการเจริญเติบโตของ เศรษฐกิจไทยเริ่มชะลอตัว ความยากจนมีแนวโน้มลดลง แต่การกระจายตัวของรายได้แย่ลง ในส่วนการคมนาคมใน หมู่บ้านเริ่มมีการสร้างถนนลาดยางครั้งแรก เป็นเส้นหลักจากบ้านพม่าผ่านบ้านตะคร้อและสิ้ นสุดที่บ้านช่างปี่ในปีนี้ ด้วย พ.ศ. 2540 วิกฤตเศรษฐกิจฟองสบู่แตก ทาให้มีคนตกงาน ธุรกิจปิดตัวลงจานวนมาก พ.ศ. 2541 ประเทศไทย สร้างแคมเปญ Amazing Thailand มีนักท่องเที่ยวเข้ามาเที่ยวเมืองไทยเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทุกปี และการแสดงช้างเป็น แคมเปญหนึ่งในนั้น โดยชาวต่างชาติจะนั่งรถไฟจากกรุงเทพฯ มาลงที่อาเภอศีขรภูมิและนั่งรถต่อไปยังอาเภอท่าตูม เพื่อชมการแสดง พ.ศ. 2543 เศรษฐกิจไทยเริ่มฟื้นตัว และมีการนาเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ และมีการ กระตุ้นเศรษฐกิจท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องคือ OTOP มีการช่วยเหลือกันในชุมชน เช่น การตั้งกลุ่มทอผ้า กองทุนปุ๋ย เป็น
130
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ต้น พ.ศ. 2559 ชุมชนบ้านตะคร้อมีการพัฒนาจากเดิมไปมาก จากชุมชนขนาดเล็กมีการอพยพจากคนต่างถิ่นเข้ามา สร้า งครอบครัว ประกอบอาชีพ ทาให้ชุมชนขยายตั วใหญ่ขึ้น เมื่อโครงสร้า งพื้ นฐาน เช่น ไฟฟ้า ถนน ประปา โทรศัพท์ เป็นต้น นามาซึ่งความเจริญเข้าสู่หมู่บ้าน วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้านมีการเปลี่ยนแปลงไป นิยม รับประทานอาหารนอกบ้าน นิยมไปโรงพยาบาลแทนการรักษากับหมอชาวบ้าน นิยมประกอบธุรกิจส่วนตัว มีความ เป็นสังคมเมืองมากขึ้น สอดคล้องกับ นภาพร อติวานิชยพงศ์ (2557) พบว่าไม่ว่าจะเป็นในอดีตหรือปั จจุบัน คน อีสานยังคงดิ้นรนทามาหากินในทุกรูปแบบ และ ไปในทุกที่ซึ่งมีงานให้ทา แต่การเติบโตของระบบตลาด วัฒนธรรม และเทคโนโลยี ส มัย ใหม่ ใ นยุ ค ทุ น นิ ยมโลกาภิ วั ต น์ ที่ เ ข้า สู่ ชนบท ท าให้ วิถี ก ารท ามาหากิ นของคนชนบทอี ส าน เปลี่ยนแปลงไปจากอดีต ชาวนาอีสานที่สามารถทานาได้ข้าวมากพอขายเลี้ยงชีพ คือชาวนา ยุคใหม่ที่ต้องพึ่งพา เทคโนโลยีและแรงงานรับจ้าง ในขณะที่การปลูกพืชเศรษฐกิจหลายชนิด ชาวบ้านมีอาชีพหลากหลายขึ้นทั้งการเป็น แรงงานนอก ระบบอยู่ในชุมชน และการผลิตสินค้าที่มาจากอัตลักษณ์ของชุมชน สังคมชนบทอีสานในปัจจุบันเป็น สังคมหลังชาวนา ทีค่ วามเปลี่ยนแปลงในชนบทได้นาไปสู่การแตกสลายของวัฒนธรรมประเพณี ส่งเสริมคุณค่าและ บรรทัดฐานแบบใหม่ในหมู่ชาวบ้านและยังเชื่อมคนชนบทกับโลกภายนอก ในขณะที่สังคมชนบทอีสานในปัจจุบันเป็น ส่วนหนึ่งของสังคมทุนนิยมสมัยใหม่ที่ ไม่สามารถนิยามโดยใช้คาอธิบายแบบคู่ตรงข้ามกับสั งคมเมือง แต่คนชนบท อีสานก็ยังคง รักษาความเป็นสังคมเกษตรแบบดั้งเดิมในบางด้านเอาไว้ โดยเฉพาะในเรื่องของประเพณี การทาบุญ การประกอบพิธีกรรมตามความเชื่อและการเป็นสังคมเครือญาติในหมู่บ้าน เดียวกัน ซึ่งถึงแม้ว่าจะอพยพไปทางาน อยู่ในภาคอื่นก็ยังรักษาวัฒนธรรมการกินอยู่แบบอีสานโดยผสมผสานกับวัฒนธรรมของท้องถิ่น ดังนั้น ชนบทปัจจุบัน เป็น สังคมที่ผสมผสานระหว่างความเป็นสมัยใหม่และการเป็นสังคมแบบเดิม ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะการวิจัยการนาผลการวิจัยไปใช้ 1. นาความรู้ที่ได้จากการศึกษา เรื่องประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านตะคร้อ พ.ศ. 2469–2559 ไปเผยแพร่ และใช้สอนในรายวิชาประวัติศาสตร์ เพื่อให้นักเรียน นักศึกษาได้ทราบเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของตนเอง 2. องค์กรภาครัฐ ได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้งเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตาบล ควร ส่งเสริมเข้ามามีบทบาทในการสนับสนุนการเผยแพร่ข้อมูลการศึกษาแก่ชุมชน เพื่อให้เกิดการอนุรักษ์และฟื้นฟู ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอันดีงามของชุมชนสืบไป ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป 1. ศึกษาศึกษาเพิ่มเติมในประเด็นที่ลึกลงไปในแต่ละด้าน เพื่อสร้างองค์ความใหม่ที่ต่อเนื่องกันกับฐาน การศึกษาที่มีอยู่ 2. ศึกษาเกี่ย วกับภูมิปั ญญาการทอผ้าที่ดารงอยู่ผ่า นการสืบ ทอดรุ่นต่อ รุ่น เพื่อ ได้องค์ค วามรู้ใหม่ นาไปใช้ประโยชน์ต่อไป
131
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
กิตติกรรมประกาศ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยความกรุณาจากประธานกรรมการที่ปรึกษา การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองอาจารย์ ดร.ดาเกิง โถทอง และ ดร.วิลาศ โพธิสาร อาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาค้นคว้า ด้วยตนเองร่วมที่ได้เมตตาให้คาปรึกษา แนะนา ให้กาลังใจ กระตุ้น สนับสนุน ส่งเสริมและตรวจแก้ไขข้อบกพร่อง ต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่อย่างดียิ่งตลอดมา ผู้ทาการศึกษาขอขอบพระคุณในความกรุณาของท่านเป็นอย่างสูงไว้ ณ ที่นี้ ขอขอบพระคุณอาจารย์ ดร.อิทธิวัตร ศรีสมบัติ ประธานกรรมการสอบ รองศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ มีกุศล และอาจารย์ ดร.ชาตรี เกษโพนทอง ผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคม ศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ทุกท่าน ที่กรุณาประเมินและวิเคราะห์ ความสาคัญของเนื้อหาบทเรียนให้คาปรึกษา ชี้แนะแนวทางและแบบอย่างที่ดีของความเป็นครูผู้ให้ความเอื้ ออาทร แก่ศิษย์ ขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญ ที่กรุณาตรวจสอบประสิทธิภาพและความเหมาะสมสาหรับการสร้างและหา คุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ขอขอบคุณชาวชุมชนบ้านตะคร้อ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการให้ข้อมูลทุกท่าน ที่กรุณาให้ความเอ็นดู ผู้ศึกษาในการลงภาคสนามเก็บข้อมู ลในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา ทาให้ผู้ศึกษาได้ค้นพบข้อมูลจานวนมากและเป็น ส่วนที่ทาให้การศึกษาและค้นคว้าด้วยตนเองเล่มนี้มีความสมบูรณ์และถูกต้อง ท้ายสุดนี้ข้าพเจ้าขอขอบคุณสมาชิกในครอบครัวและเพื่อนร่วมงานที่ให้กาลังใจในการทาการศึกษาครั้งนี้ จนสาเร็จได้ด้วยดี เอกสารอ้างอิง นภาพร อติวานิชยพงษ์. (2557). “คนชนบทอีสานกับการทามาหากิน : ความเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย.” วารสาร สังคมวิทยามานุษวิทยา. 33(2),103-128. ธงชัย ทองคา. (2559). ประวัติศาสตร์ชุมชนบ้านสังขะ. (วิทยานิพนธ์).มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. สุรินทร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. (2552). “สภาพทางภูมิศาสตร์และพัฒนาการทางประวัติศาสตร์.” สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2560,จาก http://cultural.snbs.snru.ac.th/components/contents/ view.php?id=2: http://cultural.snbs.snru.ac.th/components/ contents/view.php?id=2
132
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
HSBP-02 การบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร FLOOD MANAGEMENT OF WANG SAI DISTRICT ADMINISTRATIVE ORGANIZATION KHLUNG DISTRICT KHAMPANGPHET นิภาพร อยู่สุ่ม1 พิษณุ บุญนิยม2 1
Nipapron Yoosum, หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ กาแพงเพชร sokmai@hotmail.com 2 Phitsanu Boonniyom, หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ กาแพงเพชร B_Phitsanu@Outlook.com
บทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารจัดการอุทกภัย ความพึงพอใจของประชาชนต่อ การบริหารจัดการอุทกภัย และเพื่อหาแนวทางการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหาร ส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ประชากร ได้แก่ ผู้บริหาร สมาชิกสภาองค์การบริ หารส่วนตาบลวังไทร ผู้นา ท้องถิ่น และพนักงาน/เจ้าหน้าที่ในสังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร จานวน 80 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้มี สิทธิเลือกตั้งผู้บริหารและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร จานวน 367 คน และผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญในการบริหารจั ดการน้า จานวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1. การบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก การบริหารจัดการอุทกภัย คือการรับมือ รองลงมา คือ การเตรียมพร้อม รองลงมา คือ การป้องกัน และการฟื้นฟูเยียวยา ตามลาดับ 2. แนวทางการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร ด้านการป้องกันต้องศึกษา ข้อมูลทางกายภาพและปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ตาบลวังไทร ด้านการเตรียมพร้อม ต้องศึกษาข้อมูลพื้นที่ของตาบลวัง ไทรและมีระบบการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล จัดทาสถิติการเกิดภัยในพื้นที่ ด้านการรับมือ ต้องแต่งตั้ งเจ้าหน้าที่/ชุด ปฏิบัติงานเคลื่อนที่เพื่อลงสารวจ ตรวจสอบพื้นที่ และประเมินสถานการณ์ภัยในพื้นที่ ด้านการฟื้นฟูเยียวยา ต้องตั้ง ศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ให้ผู้ประสบภัยสามารถมาลงทะเบียนแจ้งความเสียหายที่เกิดขึ้น 3. ข้อเสนอแนะการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร จาเป็นต้องดาเนินการ ในรูปแบบการบูรณาการร่วม โดย 1) ต้องทาการประสานความร่วมมือกันของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ต้นน้าปลายน้า 2) สร้างแหล่งกักเก็บน้าบริเวณต้นน้า 3) ทาความสะอาดเส้นทางน้าไม่ให้มีสิ่งกีดขวาง 4) ส่งเสริมและ สนับสนุนให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้เกี่ยวกับอุทกภัย และตระหนักถึงความสาคัญของปัญหา และผลกระทบที่เกิด จากอุทกภัย คำสำคัญ : การบริหารจัดการ, อุทกภัย
133
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
Abstract The purpose of this study was to study the flood management of Wang Sai District Administrative Organization. Satisfaction of the people on the flood management of Wang Sai District Administrative Organization. And to find the management of flood management of the management. Wang Sai District Khlung district Khampangphet This study was designed to study 3 steps. Step 1: To study the flood management of Wang Sai District Administrative Organization. The study population consisted of the administrators of the members of the Wang Sai Sub-District Administrative Organization. Local leader The instrument used to collect data was a questionnaire used for data analysis: frequency, percentage, mean, and standard deviation. Satisfaction of the people on the flood management of Wang Sai District Administrative Organization. The study population consisted of 367 people in the sample of the electorate, the executive and the members of the Tambon Administrative Organization Council. The data collection instruments were questionnaires, statistics used for data analysis, frequency, percentage, Average and standard deviation And step 3, study the flood management guidelines of Wang Sai District Administration Organization. Key informants include 17 experienced water management experts. The tools used to collect data were interviews, content analysis, and frequency of interviews. The study indicated that 1. Flood Management of Wang Sai District Administration Organization Khlung district Kamphaengphet Province is 4 levels. When considering each aspect. It was found that the flood management of the Wang Sai Sub-district Administrative Organization, which had the highest level of flood management, was followed by the preparedness followed by prevention and low level of flood management. Remedies, respectively. 2. The flood management guidelines of Wang Sai District Administration Organization Khlung district Khampangphet Protection must be based on physical data. And problems in the area of Wang Sai. The database will be used to prepare a strategic plan. And the action plan for the prevention and mitigation of disaster of Wang Sai District Administration Organization. Preparation The area of Wang Sai Keywords : [Development Guidelines 1]; [Flood Management 2] บทนา กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (Department of Disaster Prevention and Mitigation) เป็น หน่วยงานใหม่ซึ่งเกิดขึ้นตามแนวทางการปฏิรูประบบราชการจัดอยู่ในกลุ่มภารกิจด้านสาธารณภัยและพัฒนาเมือง สังกัดกระทรวงมหาดไทย ก่อตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 บุคลากรที่ถ่ายโอนมาจาก 5 หน่วยงาน คือ กรมการ เร่งรัดพัฒนาชนบท, กองป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน กรมการปกครอง, สานักงานคณะกรรมการป้องกันอุบัติภัย
134
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี , กองสงเคราะห์ผู้ประสบภัย กรมประชาสงเคราะห์ และศูนย์ช่วยเหลือทาง วิชาการพัฒนาชุมชน เขต 1-9 กรมการพัฒนาชุมชน โครงสร้างกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในระยะแรก มี เฉพาะหน่วยงานส่วนกลางที่เข้าไปปฏิบัติงานในระดับกลุ่มจังหวัด คือศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ทาให้ ประสบปัญหาการบริหารจัดการระบบราชการและการปฏิบัติภารกิจในด้านสาธารณภัย หากเกิดภัยพิบัติ หรือ สาธารณภัยในพื้นที่ของจังหวัด และมีความจาเป็นเร่งด่วนในการดาเนินการให้ความช่วยเหลือและสงเคราะห์ผู้ประสบภัย จะกระทาได้ล่าช้า และไม่คล่องตัว (กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. 2546 : 3-4) กระทรวง มหาดไทยจึงเสนอ ให้กาหนดโครงสร้างการบริหารราชการส่วนภูมิภาคให้แก่กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และได้ออกกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2551 โดยอาศัยอานาจตามความใน มาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2543 จัดตั้งสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดทั้ง 75 จังหวัด เพื่อให้การปฏิบัติงานของกรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย เป็นไปด้วยความมีประสิทธิภาพ ทันต่อเหตุการณ์ และสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในจังหวัด (กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. 2546 : 4) สาธารณภัย ไม่ว่าจะเป็นภัยที่เกิดจากธรรมชาติหรือภัยที่มีผู้ทาให้เกิดขึ้นล้วนเป็นภัยที่ก่อให้เกิดอันตราย และเกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนโดยส่วนรวม (มาตรฐานงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. 2549 : 1) ทั้งนี้ เนื่องจากน้ามีแหล่งที่มาที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางธรรมชาติซึ่งมีความไม่แน่นอนคาดการณ์ได้ ยาก นอกจากนี้ ความต้องการน้ายังแปรเปลี่ยนไปตามปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ (เอกสิทธิ์และคณะ. 2550) ตาบล วังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร เป็นพื้นที่หนึ่งที่มีลักษณะของพื้นที่เป็นที่ ราบลุ่ม น้าท่วมถึง ในช่วงฤดูแล้ง ก็จะมีปัญหาในเรื่องของการขาดแคลนน้า ทั้งในด้านของการอุปโภค-บริโภค และการเกษตรกรรมในพื้นที่ เนื่องจาก ประชาชนส่วนใหญ่ในพื้นที่มีอาชีพเกษตรกรรมทานาข้าว และไร่มันสาปะหลัง (องค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร. 2555-2557 : 11) จากข้อมูลการเกิดอุทกภัยในพื้นที่ตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุ ง ระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ถึง ปีงบประมาณ พ.ศ.2555 จะเห็นได้ว่าตาบลวังไทร เป็นพื้นที่ประสบกับปัญหาอุทกภัยซ้าซาก ทาให้ประชาชนใน พื้นที่ตาบลวังไทรได้รับความเดือนร้อนอย่างต่อเนื่อง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐที่อยู่ ใกล้ชิดกับประชาชน จึงเป็นองค์กรหลักที่สาคัญในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยที่เกิดขึ้นจากน้า(อุทกภัย)ใน พื้นที่ จึงจาเป็นต้องเตรียมความพร้อมอยู่เสมอเพื่อช่วยเหลือและบรรเทาความเดือนร้อนให้แก่ประชาชน ด้วยเหตุผลดังกล่าวผู้ศึกษาจึงสนใจที่จะศึกษาวิจัยในเรื่องการบริหารจัดการอุทกภัย โดยกาหนดพื้นที่ ค้นคว้าอิสระในเขตพื้นที่ตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร เนื่องจากตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร เป็นพื้นที่ประสบปัญหาอุทกภัยซ้าซาก อีกทั้งประชาชนในพื้นที่ประสบกับปัญหา และได้รับ ความเดือนร้อนจากเหตุอุทกภัยในพื้นที่มาอย่างต่อเนื่อง ยาวนาน เพื่อนาผลจากการศึกษาวิจัยที่ได้มาเป็นแนวทาง ในการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และเพื่อใช้เป็น แนวทางในการแก้ไขปัญหาอุทกภัยที่เกิดขึ้นในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร เพื่อให้ประชาชนในพื้ นที่ ตาบลวังไทรได้รับประโยชน์สูงสุดในการบริหารจัดการอุทกภัยจากการศึกษาในครั้งนี้ วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอ คลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร
135
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบล วังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร 3. เพื่อหาแนวทางพัฒ นาการบริหารจัดการอุท กภัยขององค์ การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอ คลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตด้านเนื้อหา ศึกษาสภาพ ปัญหา ความพึงพอใจของประชาชน และแนวทางพัฒนาการบริหารจัดการอุทกภัยของ องค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร โดยจะศึกษาเกี่ยวกับการป้องกัน การเตรียมพร้อม การรับมือ และการฟื้นฟูเยียวยา ในการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัด กาแพงเพชร โดยใช้หลักการศึกษาการบริหารจัดการน้าและอุทกภัย ปี 2555 ซึ่งรัฐบาลได้น้อมนาแนว พระราชดาริการบริหารจัดการน้ามาเป็นแนวทางการบริหารจัดการน้าและอุทกภัย ปี 2555 โดยกาหนดเป็น 4 ขั้นตอน คือ 2P2R ประกอบด้วย (สานักงานนโยบายและบริหารจัดการน้าและอุทกภัยแห่งชาติ. 2554) 1. P : Prevention คือ การป้องกัน 2. P : Preparation คือ การเตรียมพร้อม 3. R : Response คือ การรับมือ 4. R : Recovery คือ การฟื้นฟูเยียวยา ขอบเขตด้านตัวแปร สภาพการบริ ห ารจั ด การอุ ท กภั ย ขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลวั งไทร อ าเภอคลองขลุ ง จั ง หวั ด กาแพงเพชร ในประเด็นดังต่อไปนี้ ปั ญ หาการบริ ห ารจั ด การอุ ท กภั ย ขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลวั งไทร อ าเภอคลองขลุ ง จั งหวั ด กาแพงเพชร ในประเด็นดังต่อไปนี้ ความพึงพอใจการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัด กาแพงเพชร ในประเด็นดังต่อไปนี้ แนวทางพัฒนาการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัด กาแพงเพชร ในประเด็นดังต่อไปนี้ ขอบเขตด้านประชากร และกลุ่มตัวอย่าง ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหาร สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วน ตาบลวังไทร ผู้นาท้องถิ่น และพนักงาน/เจ้าหน้าที่ ในสังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร จานวน 80 คน ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งผู้บริหาร และ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร จานวน 7,849 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครซี่และมอร์แกน (Krejcie Morgan) ได้กลุ่มตัวอย่างจานวน 367 คน ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 ผู้ให้ข้อมูลในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหาร สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบล วังไทร ผู้นาท้องถิ่น พนักงาน/เจ้าหน้าที่ในสังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร และตัวแทนของหน่วยงานที่
136
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาอุทกภัยในเขตพื้นที่ตาบลวังไทร เช่น ปลัดอาเภอผู้ประสานงานประจาตาบลวังไทร และ เจ้าหน้าที่สานักงานชลประทานผู้ดูแลชลประทานในเขตพื้นที่ตาบลวังไทรจานวน 17คน วิธีดาเนินการวิจัย ขั้นตอนที่ 1 เป็นการศึกษาการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอ คลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ขั้นตอนที่ 2 เป็นการศึกษาศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การ บริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ขั้นตอนที่ 3 เป็นการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหาร สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร ผู้นา ท้องถิ่น และพนักงาน/เจ้าหน้าที่ในสังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร จานวน 80 คน ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การ บริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ประชากรผู้มีสิทธิเลือกตั้งผู้บริหาร และสมาชิกสภาองค์การ บริหารส่วนตาบลวังไทร จานวน 7,575 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ประชากรผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ผู้บริหาร และสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร จานวน 7,575 คน โดยผู้ศึกษากาหนดขนาดของกลุ่ม ตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครซี่และมอร์แกน (Krejcie Morgan) ได้กลุ่มตัวอย่างจานวน 360 คนและใช้วิธีการสุ่ม แบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling) ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอ คลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหาร/ปลัด/ผอ.กองช่าง และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานป้อ งกัน และบรรเทาสาธารณภัย องค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร ผู้กากับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอาเภอ คลองขลุง และหัวหน้าส่วนราชการ หรือผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการอุทกภัย เช่นโครงการ ชลประทานจังหวัดกาแพงเพชร สานักงานชลประทานที่ 4 (กาแพงเพชร) สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดกาแพงเพชร และผู้แทนจากคณะทางานลุ่มน้าปิงจังหวัดกาแพงเพชร จานวน 17 คน เครื่องมือวิจัย แบบสอบถามที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งแบ่งเป็น 3 ตอน มีรายละเอียดดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ อาชีพ ตาแหน่ง เพศ อายุ รายได้ การศึกษา ซึ่งเป็น แบบตรวจสอบรายการ (Check-list) สารวจแยกตามรายการของข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 การบริหารงานจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัด กาแพงเพชร ประกอบด้วยปัจจัยในการบริหารจัดการ 4 ด้าน คือ การป้องกัน การเตรียมพร้อม การรับมือ และการ ฟื้นฟูเยียวยา โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนและแปลความหมายออกเป็น 5 ระดับ
137
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วน ตาบลวังไทร อาเภอ คลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร วิเคราะห์โดยวิธีหาความเรียง และสรุปผล แบบสอบถามที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งแบ่งเป็น 2 ตอน มีรายละเอียดดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ อาชีพ ตาแหน่ง เพศ อายุ รายได้ การศึกษา ซึ่งเป็น แบบตรวจสอบรายการ (Check-list) สารวจแยกตามรายการของข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความพึงพอใจของประชาชนในการบริหารงานจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวัง ไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ประกอบด้วยปัจจัยในการบริหารจัดการ 4 ด้าน คือ การป้องกัน การ เตรียมพร้อม การรับมือ และการฟื้นฟูเยียวยา โดยมีเกณฑ์การให้คะแนนและแปลความหมายออกเป็น 5 ระดับ แบบสัมภาษณ์ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยนาผลสรุปจากการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จาก แบบสอบถามตามขั้นตอนที่ 1 และ 2 โดยกาหนดแบบสัมภาษณ์ ออกเป็น 2 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ ตอนที่ 2 แนวทางการบริหารจัดการน้าขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร การเก็บรวบรวมข้อมูล ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร 1. ขอหนังสือแนะนาตัว และขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ราชภัฎกาแพงเพชร ถึงนายกองค์การบริหารส่วนตาบลวังไทรเพื่อขอความอนุเคราะห์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 2. ติดต่อประสานงานกับองค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร เพื่อขอความร่วมมือในการเก็บข้อมูล 3. จัดเตรียมแบบสอบถามให้เพียงพอกับจานวนกลุ่มตัวอย่าง 4. นาแบบสอบถามที่ได้รับคืนมาตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของการตอบคาถาม 5. นาแบบสอบถามที่ตรวจสอบแล้วไปวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การ บริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ผู้ศึกษาดาเนินการเก็บข้อมูล ตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ขอหนังสือแนะนาตัว และขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ราชภัฎกาแพงเพชร ถึงผู้ใหญ่บ้านในเขตพื้นที่ตาบลวังไทรเพื่อขอความอนุเคราะห์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 2. ติดต่อประสานงานกับผู้ใหญ่บ้านในเขตพื้นที่ตาบลวังไทร เพื่อขอความร่วมมือในการเก็บข้อมูล 3. จัดเตรียมแบบสอบถามให้เพียงพอกับจานวนกลุ่มตัวอย่าง 4. นาแบบสอบถามที่ได้รับคืนมาตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของการตอบคาถาม 5. นาแบบสอบถามที่ตรวจสอบแล้วไปวิเคราะห์ข้อมูล ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอ คลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ผู้ศึกษาขอหนังสือแนะนาตัวจากบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎกาแพงเพชร ถึงผู้ให้ข้อมูล แต่ละ ท่าน เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์และขอความร่วมมือในการจัดเก็บข้อมูล สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้วยตนเองตามแบบ สัมภาษณ์
138
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร 1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์โดยวิธีแจกแจงความถี่ และร้อยละ 2. ข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร วิเคราะห์โดยวิธีการคานวณหาค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การ บริหาร ส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร 1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์โดยวิธีแจกแจงความถี่ และร้อยละ 2. ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วน ตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร วิเคราะห์โดยวิธีการคานวณหาค่าเฉลี่ย ( X ) และค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอ คลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ผู้ศึกษาดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการนาข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับ การหา แนวทางการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร มา วิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) แล้วแจกแจงความถี่สรุปเป็นแนวทางการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การ บริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ผลการวิจัย ขั้นตอนที่ 1 เป็นการศึกษาการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอ คลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร การบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ตารางที่ 1 แสดงค่าความถี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วน ตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร โดยรวม 4 ด้าน ด้าน 1 2 3 4
การบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วน ตาบล วังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร การป้องกัน การเตรียมพร้อม การรับมือ การฟื้นฟูเยียวยา รวม
ค่าเฉลี่ย (µ) 3.54 3.63 3.76 3.49 3.61
ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (σ) .83 .73 .73 .81 .72
ระดับการบริหาร จัดการอุทกภัย มาก มาก มาก ปานกลาง มาก
จากตารางที่ 1 พบว่าการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก (µ = 3.61) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าการบริหาร จัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทรที่มีระดับการบริหารจัดการอุทกภัยสูงสุด คือการรับมือ (µ =
139
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
3.76) รองลงมา คือ การเตรียมพร้อม (µ = 3.63) รองลงมา คือ การป้องกัน (µ = 3.54) และมีระดับการบริหาร จัดการอุทกภัยในระดับต่าสุด คือ การฟื้นฟูเยียวยา (µ = 3.49) ตามลาดับ ขั้นตอนที่ 2 เป็นการศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การ บริหารส่วนตาบล วังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ซึ่ ตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอ คลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ตารางที่ 2 แสดงค่าความถี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการอุทกภัยของ องค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร โดยรวม 4 ด้าน
ด้าน
ความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการอุทกภัย ขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร
1 2 3 4
การป้องกัน การเตรียมพร้อม การรับมือ การฟื้นฟูเยียวยา
ค่าเฉลี่ย (
)
3.17 3.25 3.21 3.22 3.21
รวม
ส่วน เบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) .94 .96 .97 .96 .91
ระดับการบริหาร จัดการอุทกภัย ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง
จากตารางที่ 2 พบว่าความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบล วังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.21) เมื่อพิจารณาเป็น รายด้าน พบว่าความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทรที่มีระดับการบริหาร จัดการอุทกภัยสูงสุด คือ การเตรียมพร้อม ( = 3.25) รองลงมา คือ การฟื้นฟูเยียวยา ( = 3.22) รองลงมา คือ การรับมือ ( = 3.21) และมีระดับความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การ บริหารส่วนตาบลวังไทรในระดับต่าสุด คือ การป้องกัน ( = 3.17) ขั้นตอนที่ 3 เป็นการศึกษาหาแนวทางพัฒนาการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วน ตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ผู้วิจัยได้นาผลการศึกษาการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร และการศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วน ตาบลวังไทร ที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด และที่มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยต่าสุด อีก 2 ลาดับมาเป็นกรอบในการกาหนด โครงสร้างของแบบสัมภาษณ์ ผู้วิจัยทาการวิเคราะห์โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ตามโครงสร้าง ของแบบสัมภาษณ์ และแจกแจงความถี่ของประเด็นที่ได้จากการสัมภาษณ์ ดังนี้
140
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ตารางที่ 3 แนวทางพัฒนาการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัด กาแพงเพชร ด้านการป้องกัน ลาดับ 1 2
3 4 5 6 7 8
ด้านการป้องกัน ต้องศึกษาข้อมูลทางกายภาพ และปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ตาบลวังไทร เพื่อเป็นฐานข้อมูลที่จะนาไปจัดทา แผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.วังไทร จัดทาแผนปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ต้องกาหนดมาตรการในการป้องกันการเกิด อุทกภัย และกาหนดจุดเสี่ยงภัยตามสภาพพื้นที่ และกาหนดแผน/มาตรการการดาเนินงานตามสภาพของ พื้นที่ภัย จัดให้มีกิจกรรมทบทวนแผนปฏิบัติเกิดเพื่อความพร้อมและคล่องตัวในการปฏิบตั ิงานเมื่อเกิดภัยขึ้น จัดทาสื่อหรือกิจกรรมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับอุทกภัย ให้ประชาชนในพื้นที่มี ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภัย และการปฏิบัติตนอย่างถูกต้องเมื่อเกิดภัย การสร้างความตระหนักของประชาชนถึงภัยที่เกิดเกิดขึ้น เพื่อมิให้ประชาชนลุกล้าเข้าไปในพื้นที่ป่า และ น้าซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดอุทกภัย ขุดลอกลาคลองมิให้ลาคลองตื้นเขิน และมีวัชพืชปกคลุมกีดขวางเส้นทางเดินของน้า เพื่อให้น้าสามารถ ระบายได้สะดวก สร้างอ่างเก็บน้า เหนือพื้นที่ตาบลวังไทร เพื่อรองรับน้าที่จะไหลเข้าพื้นที่ตาบลวังไทร เพื่อชะลอความ รุนแรงของน้าที่จะเข้าท่วมในพื้นที่ สร้างฝายชะลอน้า เพื่อลดความรุนแรงของอุทกภัยที่จะเกิดในพื้นที่
ความถี่ 17
15 14 13 12 10 10 10
จากตารางที่ 3 พบว่า แนวทางแนวทางพัฒนาการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบล วังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ด้านการป้องกัน ความถี่สูงสุด คือ อบต.วังไทร ต้องศึกษาข้อมูลทาง กายภาพ และปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ตาบลวังไทร เพื่อเป็นฐานข้อมูลที่จะนาไปจัดทาแผนยุทธศาสตร์ และแผน ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.วังไทร (f=17) รองลงมา คือ จัดทาแผนปฏิบัติงานด้าน การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ต้องกาหนดมาตรการในการป้องกันการเกิดอุทกภัย และกาหนดจุดเสี่ยงภัยตาม สภาพพื้นที่ และกาหนดแผน/มาตรการการดาเนินงานตามสภาพของพื้นที่ภัย (f=15) รองลงมา คือ จัดให้มีกิจกรรม ทบทวนแผนปฏิบัติเกิดเพื่อความพร้อมและคล่องตัวในการปฏิบัติงานเมื่อเกิดภัยขึ้น (f=14) รองลงมา คือ จัดทาสื่อ หรือกิจกรรมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับอุทกภัย ให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับภัย และการปฏิบัติตนอย่างถูกต้องเมื่อเกิดภัย (f=13) รองลงมา คือ การสร้างความตระหนักของประชาชน ถึงภัยที่เกิดเกิดขึ้น เพื่อมิให้ประชาชนลุกล้าเข้าไปในพื้นที่ป่า และน้าซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดอุทกภัย (f=12) และ การขุดลอกลาคลองมิให้ลาคลองตื้นเขิน และมีวัชพืชปกคลุมกีดขวางเส้นทางเดินของน้า เพื่อให้น้าสามารถระบายได้ สะดวก (f=10) และการสร้างอ่างเก็บน้า เหนือพื้นที่ตาบลวังไทร เพื่อรองรับน้าที่จะไหลเข้าพื้นที่ตาบลวังไทร เพื่อ ชะลอความรุนแรงของน้าที่จะเข้าท่วมในพื้นที่ (f=10) และ และการสร้างฝายชะลอน้า เพื่อลดความรุนแรงของ อุทกภัยที่จะเกิดในพื้นที่ (f=10) ตามลาดับ
141
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ตารางที่ 4 แนวทางพัฒนาการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัด กาแพงเพชร ด้านการเตรียมพร้อม ลาดับ 1 2 3
4 5 6 7 8
ด้านการเตรียมพร้อม ศึกษาข้อมูลพื้นทีข่ องตาบลวังไทร และมีระบบการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล จัดทาสถิติการเกิดภัยในพื้นที่ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการประเมินสถานการณ์การเกิดอุทกภัยในพื้นที่ตาบลวังไทร กาหนดกรอบอัตรากาลังในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้เพียงพอ มอบหมาย และแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการศึกษา และเก็บรวบรวมสถิตขิ ้อมูล เฝ้าติดตาม วิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์การเกิดภัยเพือ่ วางแผน หรือเตรียมการในการรับมือจากอุทกภัยที่จะ เกิดขึ้นในพื้นที่ได้ทันท่วงที วางตาแหน่งบุคลากรในการปฏิบัติงาน รวมถึงมอบหมาย และแต่งตั้งเจ้าหน้าทีผ่ ู้รับผิดชอบงานเพื่อให้ ทราบขอบเขต กรอบ แนวทางในการปฏิบัติงาน สนับสนุน และส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการฝึกอบรม และเพิ่มเติมความรู้ เพือ่ ให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่มีความรู้ ตรงกับความต้องการในการปฏิบัติงาน เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังในการบริหารจัดการน้า โดยการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อทราบ ข้อมูลล่วงหน้า และสามารถประเมินสถานการณ์การเกิดภัยได้อย่างทันท่วงที จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ให้เพียงพอกับการใช้งาน ติดตั้งระบบการแจ้งเตือนภัยในพื้นที่เพือ่ ประชาสัมพันธ์แจ้งเตือนสถานการณ์ภยั ให้ประชาชนในพื้นที่ สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างทั่วถึง และทันท่วงที
ความถี่ 17 16
14 13 13 12 12 11
จากตารางที่ 4 พบว่า แนวทางพัฒนาการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบล วังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ด้านการเตรียมพร้อม ความถี่สูงสุด คือ อบต.วังไทร ต้องศึกษาข้อมูลพื้นที่ของ ตาบลวังไทร และมีระบบการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล จัดทาสถิติการเกิดภัยในพื้นที่ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการประเมิน สถานการณ์การเกิดอุทกภัยในพื้นที่ตาบลวังไทร (f=17) รองลงมา คือ กาหนดกรอบอัตรากาลังในการปฏิบัติงาน ด้านการป้องกั นและบรรเทาสาธารณภัยให้เพียงพอ (f=16) รองลงมา คือ มอบหมาย และแต่ งตั้งเจ้าหน้า ที่ ผู้รับผิดชอบในการศึกษา และเก็บรวบรวมสถิติข้อมูล เฝ้าติดตาม วิเคราะห์ และประเมินสถานการณ์การเกิดภัยเพื่อ วางแผน หรือเตรียมการในการรับมือจากอุทกภัยที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ได้ทันท่วงที (f=14) รองลงมา คือ วางตาแหน่ง บุคลากรในการปฏิบัติงาน รวมถึงมอบหมาย และแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานเพื่อให้ทราบขอบเขต กรอบ แนวทางในการปฏิบัติงาน (f=13) และ สนับสนุน และส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการฝึกอบรม และเพิ่มเติมความรู้ เพื่ อ ให้ ผู้ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ มี ค วามรู้ ต รงกั บ ความต้ อ งการในการปฏิ บั ติ งาน เพื่ อ ให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ไ ด้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ (f=13) รองลงมา คือ สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังในการบริหารจัดการน้า โดยการบูรณาการร่วมกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อทราบข้อมูลล่วงหน้า และสามารถประเมินสถานการณ์การเกิดภัยได้อย่างทันท่วงที (f=12) รองลงมา คือ จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ให้เพียงพอกับการใช้งาน (f=12) และติดตั้งระบบการแจ้งเตือนภัย ในพื้นที่เพื่อประชาสัมพันธ์แจ้งเตือนสถานการณ์ภัยให้ประชาชนในพื้นที่สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างทั่วถึง และทันท่วงที (f=11) ตามลาดับ
142
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ตารางที่ 5 แนวทางพัฒนาการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัด กาแพงเพชร ด้านการรับมือ ลาดับ 1
2 3
4 5 6
ด้านการรับมือ แต่งตั้งเจ้าหน้าที่/ชุดปฏิบัติงานเคลื่อนทีเ่ พื่อลงสารวจ ตรวจสอบพื้นที่ และประเมินสถานการณ์ภยั ในพื้นที่ รวมถึงการเข้าช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพื้นที่ในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย และทรัพย์สินเพื่อมิให้เกิดความ เสียหายที่รุนแรงมากขึ้น ติดตามสถานการณ์ภยั อย่างใกล้ชิด และประชาสัมพันธ์แจ้งเตือนประชาชนทราบความเคลื่อนไหวของ สถานการณ์ที่เกิดขึ้นเพื่อเฝ้าระวังและเตรียมรับมือกับสถานการณ์ภยั ที่เกิดขึ้น ประสานเครือข่ายที่เกีย่ วข้อง เพื่อทราบข้อมูล และประเมินสถานการณ์ และเพือ่ ขอความร่วมมือจาก หน่วยงานที่เกีย่ วข้องในการดาเนินการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยในด้านต่าง ๆ รวมถึงการรายงาน สถานการณ์ภยั ให้ผู้กากับดูแลทราบอย่างต่อเนื่อง จัดหาเครื่องอุปโภค –บริโภค และสิ่งของจาเป็นเพื่อมอบให้กบั ผู้ประสบภัย จัดหาสถานที่ และทีพ่ ักชั่วคราวสาหรับผู้ประสบภัยที่ต้องเคลื่อนย้ายออกจากพืน้ ที่ รวมถึงการเคลื่อนย้าย สัตว์เลี้ยงด้วย จัดให้มีบริการด้านสาธารณสุขเพื่อปฏิบตั ิงานในพื้นที่ และตรวจสุขภาพ ร่างกายให้กับผู้ประสบภัย
ความถี่
17 16
15 13 12 11
จากตารางที่ 5 พบว่า แนวทางพัฒนาการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ด้านการรับมือ ความถี่สูงสุด คือ อบต.วังไทร ต้องแต่งตั้งเจ้าหน้าที่/ชุดปฏิบัติงาน เคลื่อนที่เพื่อลงสารวจ ตรวจสอบพื้นที่ และประเมินสถานการณ์ภัยในพื้นที่ รวมถึ งการเข้าช่วยเหลือผู้ประสบภัยใน พื้นที่ในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย และทรัพย์สินเพื่อมิให้เกิดความเสียหายที่รุนแรงมากขึ้น (f=17) รองลงมา คือ ติดตาม สถานการณ์ภัยอย่างใกล้ชิด และประชาสัมพันธ์แจ้งเตือนประชาชนทราบความเคลื่อนไหวของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อเฝ้าระวังและเตรียมรับมือกับสถานการณ์ภัยที่เกิดขึ้น (f=16) รองลงมา คือ ประสานเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อ ทราบข้อมูล และประเมินสถานการณ์ และเพื่อขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดาเนินการให้ความ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในด้านต่าง ๆ รวมถึงการรายงานสถานการณ์ภัยให้ผู้กากับดูแลทราบอย่างต่อเนื่อง (f=15) รองลงมา คือ จัดหาเครื่องอุปโภค –บริโภค และสิ่งของจาเป็นเพื่อมอบให้กับผู้ประสบภัย (f=13) รองลงมา คือ จัดหาสถานที่ และที่พักชั่วคราวสาหรับผู้ประสบภัยที่ต้องเคลื่อนย้ายออกจากพื้นที่ รวมถึงการเคลื่อนย้ายสัตว์เลี้ยง ด้วย (f=12) และจัดให้มีบริการด้านสาธารณสุขเพื่อปฏิบัติงานในพื้นที่ และตรวจสุขภาพ ร่างกายให้กับผู้ประสบภัย (f=11) ตามลาดับ ตารางที่ 6 แนวทางพัฒนาการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัด กาแพงเพชร ด้านการฟื้นฟูเยียวยา ลาดับ 1 2 3 4 5
ด้านการฟื้นฟูเยียวยา ตั้งศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ให้ผู้ประสบภัยสามารถมาลงทะเบียนแจ้งความเสียหายที่เกิดขึ้น แต่งตั้ง/มอบหมายเจ้าหน้าที่ ลงพื้นที่สารวจ ตรวจสอบพื้นที่ประสบภัย เพื่อประเมินความเสียหายที่เกิดขึ้น จัดสรรงบประมาณเพื่อบูรณะสภาพความเสียหายที่เกิดขึ้นให้กลับสู่สภาพที่สามารถใช้งานได้ตามเดิม จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพ และกิจกรรมฟื้นฟูสภาพจิตใจให้กบั ประชาชน เพื่อ มิให้เกิดภาวะความเครียด สะสม ที่จะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อเข้าดาเนินการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ กรณีที่เกินความสามารถ ให้ หน่วยงานที่มีศักยภาพที่สูงกว่าเข้ามาดาเนินการ
143
ความถี่ 17 16 14 12 10
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
จากตารางที่ 6 พบว่า แนวทางพัฒนาการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ด้านการฟื้นฟูเยียวยา ความถี่สูงสุด คือ อบต.วังไทร ต้องตั้งศูนย์รับเรื่องราว ร้องทุกข์ให้ผู้ประสบภัยสามารถมาลงทะเบียนแจ้งความเสียหายที่เกิดขึ้น (f = 17) รองลงมา คือ แต่งตั้ง/มอบหมาย เจ้าหน้าที่ ลงพื้นที่สารวจ ตรวจสอบพื้นที่ประสบภัย เพื่อประเมิ นความเสียหายที่เกิดขึ้น (f = 16) รองลงมา คือ จัดสรรงบประมาณเพื่อบูรณะสภาพความเสียหายที่เกิดขึ้นให้กลับสู่สภาพที่สามารถใช้งานได้ตามเดิม (f = 14) รองลงมา คือ จั ด กิ จ กรรมส่ งเสริ ม อาชี พ และกิจ กรรมฟื้ น ฟู สภาพจิ ต ใจให้ กั บ ประชาชน เพื่ อ มิใ ห้ เ กิ ด ภาวะ ความเครียดสะสม ที่จะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน (f = 12) และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อเข้า ดาเนินการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ กรณีที่เกินความสามารถ ให้หน่วยงานที่มีศักยภาพที่สูงกว่าเข้ามาดาเนินการ (f = 10) ตามลาดับ สรุปผลการวิจัย การศึกษาการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลอง ขลุง จังหวัด กาแพงเพชร สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. การบริ ห ารจั ด การอุ ท กภั ย ขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลวั ง ไทร อ าเภอคลองขลุ ง จั ง หวั ด กาแพงเพชร โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้ าน พบว่าการบริหารจัดการอุทกภัยของ องค์การบริหารส่วนตาบลวังไทรที่มีระดับการบริหารจัดการอุทกภัยสูงสุด คือการรับมือ การเตรียมพร้อม การป้องกัน การบริหารจัดการอุทกภัย และการฟื้นฟูเยียวยา ตามลาดับ 2. ความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวัง ไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหาร ส่วนตาบลวังไทร ที่มีระดับการบริหารจัดการ อุทกภัยสูงสุด คือ การเตรียมพร้อม การฟื้นฟูเยียวยา การรับมือ และการป้องกัน ตามลาดับ 3. แนวทางการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัด กาแพงเพชร ผลการวิจัยพบว่า 3.1 ด้านการป้องกัน ความถี่สูงสุด คือ ต้องศึกษาข้อมูลทางกายภาพ และปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ตาบลวังไทร เพื่อเป็นฐานข้อมูลที่จะนาไปจัดทาแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัยของ อบต.วังไทร 3.2 ด้านการเตรียมพร้อม ความถี่สูงสุด คือ ศึกษาข้อมูลพื้นที่ของตาบลวังไทร และมีระบบการ จัดเก็บรวบรวมข้อมูล จัดทาสถิติการเกิดภัยในพื้นที่ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการประเมินสถานการณ์การเกิดอุทกภัยใน พื้นที่ตาบลวังไทร 3.3 ด้า นการรั บ มื อ ความถี่สู งสุ ด คื อ แต่งตั้ งเจ้า หน้ า ที่ /ชุ ด ปฏิ บัติ งานเคลื่ อ นที่เ พื่ อ ลงส ารวจ ตรวจสอบพื้นที่ และประเมินสถานการณ์ภัยในพื้นที่ รวมถึงการเข้าช่วยเหลือผู้ประสบภัย ในพื้นที่ในการเคลื่อนย้าย ผู้ป่วย และทรัพย์สินเพื่อมิให้เกิดความเสียหายที่รุนแรงมากขึ้น 3.4 ด้านการฟื้นฟูเยียวยา ความถี่สูงสุด คือ ตั้งศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ให้ผู้ประสบภัยสามารถมา ลงทะเบียนแจ้งความเสียหายที่องค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร
144
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
วิจารณ์ผลการวิจัย การศึกษาเรื่องการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัด กาแพงเพชร ผู้ศึกษาค้นพบประเด็นที่ควรนามาวิจารณ์ผลการวิจัยได้ดังต่อไปนี้ ผลการศึกษาการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัด กาแพงเพชร โดยรวมอยู่ในระดับมาก แต่เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การ บริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ด้านการฟื้นฟูเยียวยามีระดับการบริหารจัดการอยู่ใน ระดับต่าสุด ทั้งนี้วิจารณ์ผลได้ว่า การบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ในด้านการฟื้นฟูเยียวยา ยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ทั้งนี้เพราะองค์การบริหารส่วนตาบลวัง ไทร ไม่ได้จัดให้มีการศึกษาผลกระทบจากอุทกภัยและดินโคลนถล่มที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินของ ประชาชนผู้ประสบภัยถึงผลที่เกิดกับประชาชนในพื้นที่ อีกทั้งไม่มีการแต่งตั้งมอบหมายผู้ปฏิบัติงานเพื่อดาเนินการ สารวจและประเมินความเสียหายภายหลังการเกิดอุทกภัยไว้อย่างชัดเจน ซึ่งผลการวิจัยมีความสอดคล้องกับแนวคิด เกี่ยวกับยุทธศาสตร์การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ซึ่งได้กาหนด ยุทธศาสตร์เชิงรุกในการบริหารจัดการภัยพิบัติทุกขั้นตอน ตั้งแต่ระยะก่อนเกิดภัย ระหว่างเกิดภัย และภายหลังเกิด ภัย ตลอด 24 ชั่วโมง โดยครอบคลุมสาธารณภัยทุกประเภท ซึ่งกาหนดให้มีศึกษาและจัดทาข้อมูลพื้นที่เสี่ยงภัย (วิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย, 2548, หน้า 3-4) และหลักการป้องกันและบรรเทาอุทกภัยและดินโคลน ถล่ม ซึ่งได้กาหนดแนวทางการจัดการหลังเกิดภัย ให้ศูนย์อานวยการเฉพาะกิจฯในเขตพื้นที่รับผิดชอบดาเนินการ ประเมินความเสียหายและความต้องการเบื้องต้น โดยจัดทาบัญชีรายชื่อผู้ประสบภัยและทรัพย์สินที่เสี ยหายไว้เป็น หลักฐานพร้อมทั้งออกหนังสือรับรองให้ผู้ประสบภัยไว้เป็นหลักฐานในการรับการสงเคราะห์และฟื้นฟู และจัดให้มี การศึกษาผลกระทบจากอุทกภัยและดินโคลนถล่มที่มีต่อชีวิตทรัพย์สินของประชาชน เพื่อนาไปเป็นข้อมูลในการ บริหารจัดการภัยจากอุทกภัยและดินโคลนถล่มในอนาคต (คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ , 2552 : 112-116) ซึ่งสอดคล้องกับที่แนวคิดของกระบวนการบริหารจัดการ คือ หน้าที่ของการบริหารจัดการที่ สาคัญ กล่าวคือ กระบวนการบริหารจัดการของ แฮร์โรลด์ คูนตซ์ ได้กาหนดกระบวนการจัดการไว้ 5 ขั้นตอน คือ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าทางาน การอานวยการ และการควบคุมการทางาน และกระบวนการของ อองรี ฟาโย ซึ่งเป็นผู้วิเคราะห์ถึงองค์ประกอบมูลฐานของการบริหารจัดการว่ามี 5 ประการ ได้แก่ 1)การวางแผน 2) การจัดองค์การ 3) การจัดคนเข้าทางาน 4) การอานวยการ และ 5) การควบคุมการทางาน ซึ่งการวางแผนคือ การศึกษาข้อมูลในปัจจุบันและคาดการณ์ในอนาคตแล้ววางเป้าหมายและแนวทางปฏิบัติไว้ (พจมาน เตียวัฒนารัฐติการ. 2544 : 8-9)และสอดคล้องกับหลักการบริหารจัดการน้าและอุทกภัย ปี 2555 โดยกาหนดเป็น 4 ขั้นตอน ด้วยหลัก 2P2R ประกอบด้วย 1) การป้องกัน 2) การเตรียมพร้อม 3) การรับมือ และ 4) การฟื้นฟูเยียวยา (สานักงาน นโยบายและบริหารจัดการน้าและอุทกภัยแห่งชาติ. 2554) ความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอ คลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าความพึงพอใจของ ประชาชนต่อการบริหารจัดการอุทกภัยด้านการป้องกันมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับต่าสุด จากผลการศึกษา พบว่ากาลังคนผู้ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมีไม่เพียงพอประกอบกับองค์การบริหารส่วน ตาบลวังไทรไม่ได้จัดให้มีการเสริมสร้างความรู้ความตระหนักในเรื่องการป้องกันและการปฏิบัติตนที่ถูกต้องเมื่อเกิด อุทกภัยให้ประชาชนในพื้นที่ทราบ และยังขาดการมีส่วนร่วมในการฝึกซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้าน อุทกภัย ส่งผลให้ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการอุทกภัยด้านการป้องกันอยู่ในระดับต่า สุด ซึ่ง
145
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
สอดคล้องกับกรอบแนวคิดขององค์กรประกอบการดาเนินงานองค์การที่นาไปสู่ผลที่มีประสิทธิภาพ 1) องค์ประกอบ ด้านปัจจัย (Input) ประกอบด้วยปัจจัยมนุษย์ และปัจจัยนอกจากมนุษย์ Smith. 1982 อ้างในสมใจ ลักษณะ (2546 : 7-10) และจากการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการอุทกภัยขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร พบว่ามีแนวทางการบริหารจัดการอุทกภัยของตาบลวังไทร อาเภอคลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร ซึ่ง แยกรายด้านได้ ดังนี้ ด้านการป้องกัน ต้องศึกษาข้อมูลทางกายภาพ และปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ตาบลวังไทร เพื่อเป็น ฐานข้อมูลที่จะนาไปจัดทาแผนยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของ อบต.วัง ไทร และในการจัดทาแผนปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ต้องกาหนดมาตรการในการป้องกัน การเกิดอุทกภัย และกาหนดจุดเสี่ยงภัยตามสภาพพื้นที่ และกาหนดแผน/มาตรการการดาเนินงานตามสภาพของ พื้นที่ภัย และควรจัดให้มีกิจกรรมทบทวนแผนปฏิบตั ิเกิดเพื่อความพร้อมและคล่องตัวในการปฏิบัติงานเมือ่ เกิดภัยขึ้น และควรจัดทาสื่อหรือกิจกรรมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับอุทกภัย ให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภัย และการปฏิบัติตนอย่างถูกต้องเมื่อเกิดภัย และสร้างความตระหนักของประชาชนถึงภัยที่เกิด เกิดขึ้น เพื่อมิให้ประชาชนลุกล้าเข้าไปในพื้นที่ป่า และน้าซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดอุทกภัย อีกทั้งควรจัดให้มีการขุด ลอกลาคลองมิให้ลาคลองตื้นเขิน และมีวัชพืชปกคลุมกีดขวางเส้นทางเดินของน้า เพื่อให้น้าสามารถระบายได้สะดวก หรืออาจการสร้างอ่างเก็บน้า เหนือพื้นที่ตาบลวังไทร เพื่อรองรับน้าที่จะไหลเข้าพื้นที่ตาบลวังไทร เพื่อชะลอความ รุนแรงของน้าที่จะเข้าท่วมในพื้นที่ หรือสร้างฝายชะลอน้า เพื่อลดความรุนแรงของอุทกภัยที่จะเกิดในพื้นที่ ด้านการเตรียมพร้อม ต้องศึกษาข้อมูลพื้นที่ของตาบลวังไทร และมีระบบการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล จัดทาสถิติการเกิดภัยในพื้นที่ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการประเมินสถานการณ์การเกิดอุทกภั ยในพื้นที่ตาบลวังไทร และ กาหนดกรอบอัตรากาลังในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้เพียงพอ และมีการมอบหมาย และแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการศึกษา และเก็บรวบรวมสถิติข้อมูล เฝ้าติดตาม วิเคราะห์ และประเมิน สถานการณ์การเกิดภัยเพื่อวางแผน หรือเตรียมการในการรับมือจากอุทกภัยที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ได้ทันท่วงที ซึ่งควร วางตาแหน่งบุคลากรในการปฏิบัติงาน รวมถึงมอบหมาย และแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานเพื่อให้ทราบขอบเขต กรอบ แนวทางในการปฏิบัติงาน และสนับสนุน และส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการฝึกอบรม และเพิ่ มเติมความรู้ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่มีความรู้ตรงกับความต้องการในการปฏิบัติงาน เพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควรจัดให้มีการสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังในการบริหารจัดการน้า โดยการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อ ทราบข้อมูลล่วงหน้า และสามารถประเมินสถานการณ์การเกิดภัยได้อย่างทันท่วงที จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ที่จาเป็นต้อง ใช้ให้เพียงพอกับการใช้งาน และติดตั้งระบบการแจ้งเตือนภัยในพื้นที่เพื่อประชาสัมพันธ์แจ้งเตือนสถานการณ์ภัยให้ ประชาชนในพื้นที่สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างทั่วถึง และทันท่วงที ด้านการรับมือ ต้องแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ /ชุดปฏิบัติงานเคลื่อนที่เพื่อลงสารวจ ตรวจสอบพื้นที่ และ ประเมินสถานการณ์ภัยในพื้นที่ รวมถึงการเข้าช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพื้นที่ในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย และทรัพย์สิน เพื่อมิให้เกิดความเสียหายที่รุนแรงมากขึ้น และต้อ งติดตามสถานการณ์ภัยอย่างใกล้ชิด และประชาสัมพันธ์แจ้ง เตือนประชาชนทราบความเคลื่อนไหวของสถานการณ์ที่เกิดขึ้นเพื่อเฝ้าระวังและเตรียมรับมือกับสถานการณ์ภัยที่ เกิดขึ้น และต้องประสานเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อทราบข้อมูล และประเมินสถานการณ์ และเพื่อขอความร่วมมือ จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดาเนินการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยในด้านต่าง ๆ รวมถึงการรายงานสถานการณ์ ภัยให้ผู้กากับดูแลทราบอย่างต่อเนื่อง และจัดหาเครื่องอุปโภค –บริโภค และสิ่งของจาเป็นเพื่อมอบให้กับผู้ประสบภัย
146
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
และจัดหาสถานที่ และที่พักชั่วคราวสาหรับผู้ประสบภัยที่ต้องเคลื่อนย้ายออกจากพื้นที่ รวมถึงการเคลื่อนย้ายสัตว์ เลี้ยงด้วย และจัดให้มีบริการด้านสาธารณสุขเพื่อปฏิบัติงานในพื้นที่ และตรวจสุขภาพ ร่างกายให้กับผู้ประสบภัย ด้านการฟื้นฟูเยียวยา ต้องตั้งศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ให้ผู้ประสบภัยสามารถมาลงทะเบียนแจ้ง ความเสียหายที่เกิดขึ้น และแต่งตั้ง /มอบหมายเจ้าหน้าที่ ลงพื้นที่สารวจ ตรวจสอบพื้นที่ประสบภัย เพื่อประเมิน ความเสียหาย จัดสรรงบประมาณเพื่อบูรณะสภาพความเสียหายที่เกิดขึ้นให้กลับสู่สภาพที่สามารถใช้งานได้ตามเดิม และจัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพ และกิจกรรมฟื้นฟูสภาพจิตใจให้กับประชาชน เพื่อ มิให้เกิดภาวะความเครียดสะสม ที่จะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน และประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อเข้าดาเนินการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ กรณีที่เกินความสามารถ ให้หน่วยงานที่มีศักยภาพที่สูงกว่าเข้ามาดาเนินการ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของสมเจต โป้พันที (2554 : 392-400) ซึ่งได้ศึกษาเรื่องแนวทางการเพิ่ม ประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาอุทกภัยในตาบลแสนตอ อาเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกาแพงเพชร ผลการวิจัยพบว่า การเกิดอุทกภัยในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตาบลแสนตอ เนื่องจากสาพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มแอ่งกระทะไม่ มีทางระบาย น้า ประชาชนและผู้ประกอบการก่อสร้างอาคาร บ้านเรือนลุกล้าเข้าไปในลาคลอง ท่อระบายน้าตัน ประตูน้าชารุด การแก้ไขปัญหาโดยการขุดลอกคลอง กาจัดวัชพืช ขุดลอกท่อระบายน้า ปรับปรุงซ่อมแซมประตูระบายน้า และ ร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใกล้เคียงว่างแผนแก้ไขปัญหาและจัดทาโครงการแก้มลิง และพบแนวทางการ เพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาน้าท่วมในตาบลแสนตอ อาเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกาแพงเพชร ดังนี้ 1) ระยะ สั้น คือประชุมหารือถึงปัญหาและแนวทางการแก้ไขร่วมกัน ชี้แจงให้ประชาชนเข้าใจ ขุดลอกคลอง กาจัดวัชพืชและ สิ่งกีดขวางทางน้า สารวจพื้นที่ที่ชารุดเสียหาย จัดให้มีเจ้าหน้าที่ประจาสาหรับรับแจ้งเมื่อประชาชนต้องการความ ช่วยเหลือ 2)ระยะยาว คือ บูรณาการร่วมกันของพื้นที่ข้างเคียงเพื่อแก้ไขปัญหา ขุดลอกคลองทุกสายให้มีขนาดใหญ่ และลึก กาจัดสิ่งกีดขวางทางน้า สารวจทางน้าก่อนก่อสร้างถนนและอาคาร ก่อสร้างอ่างกักเก็บน้าหรือแก้มลิง ควรมี เจ้าหน้าที่ประจาสาหรับประกาศสถานการณ์ สอดคล้องกับงานวิจัยของศิริเชษฐ์ ภาโนสิต (2554 : 828-833) ได้ ศึกษาการจัดการทรัพยากรน้าแบบบูรณาการ อาเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น พบว่าการจัดการทรัพยากรน้าที่มี ประสิทธิภาพควรดาเนินการดังนี้ 1) ส่งเสริมให้ความรู้ ทักษะและประสบการณ์แก่ผู้ใช้น้าทุกภาคส่วนและข้อมูล ข่าวสารที่จาเป็นในการเฝ้าระวังและเตือนภัย 2)จัดตั้งและเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มองค์กรให้เป็นเอกภาพ และบูรณาการการบริหารจัดการทรัพยากรน้าอย่างรวดเร็ว ทั่วถึง และเป็นธรรม 3)องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรมี บทบาทในการวางแผนและดาเนินการฟื้นฟูแฟล่งน้า 4)การบูรณาการแหล่งน้าต่าง ๆ โดยต้องคานึงถึงประโยชน์ที่ เกิดขึ้นจากการใช้สูงสุด ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของเอกสิทธิ์ โฆสิตสกุลชัย และคณะ (2552) ได้ศึกษาเรื่องการ พัฒนาข้อเสนอโครงการเรื่ องการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการน้าตามแนวทางวิจัยเพื่อท้องถิ่นในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงคราม พบว่าข้อมูลด้านการวางแผนจัดการน้าในระดับจังหวัดยังค่อนข้างจากัด แต่ระบบวางแผน จัดการน้าระดับจังหวัดที่จะพัฒนาขึ้นในการดาเนินงานขั้นต่อไปยังจาเป็นต้องให้สารสนเทศด้า นสภาพขาดแคลนน้า และด้านระบบสาธารณูปโภคเพิ่มเติม ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของชูโชค อายุพงศ์ ได้ศึกษาแผนการบริการจัดการ ทรัพยากรน้าโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ในจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีวิสัยทัศน์ของแผนและกรอบกลยุทธ์ที่ มุ่งเน้นให้จังหวัดเชียงใหม่มีการบริหารทรัพยากรน้าที่ ยั่งยืน มีการยึดชุมชนเป็นศูนย์กลาง มีส่วนร่วมให้ข้อมู ล วางแผน และแก้ไขปัญหา พร้อมทั้งมีการบูรณาการข้อมูล มีความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ภายใต้การสนับสนุนองค์ ความรู้ผ่านระบบฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ของจังหวัดเชียงใหม่ สอดคล้องกับงานวิจัยของเสรี ศุภราทิตย์ ได้ ศึกษาเรื่องการบริหารจัดการอุทกภัยในอนาคตพบว่าอุทกภัยเป็นภัยที่รุนแรงที่สุด ดังนั้นการบริหารจัดการอุทกภัย จึงเป็น เรื่อ งส าคั ญ และจ าเป็ นส าหรับ โลกและประเทศไทย รวมทั้ งแนวคิ ดและการบริ ห ารจั ด การ เพื่ อ ให้ ก าร
147
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ดาเนินการงานเป็นไปตามเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืนตามกรอบของ IFM (Integrated Flood Management) คือ การบริการจัดการอุทกภัยเชิงองค์รวม จึงมีความสาคัญเร่งด่วนและจาเป็นที่ชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัยต้องนามา ประยุกต์ใช้โดยมีองค์ประกอบที่ควรพิจารณา 5 ประการ คือ 1)การจัดการวัฏจักรน้าทั้งระบบ 2)การจัดการแบบองค์ รวมของดินและน้า 3)การผสมผสานมาตรการต่าง ๆ 4)การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ 5)การวิเคราะห์ ความเสี่ยงและความอ่อนแอของชุมชน ซึ่งการนากลยุทธ์แต่ละด้านไปปฏิบัติงานจริงต้องได้รับการสนับสนุนจากทุก ภาคส่วนเริ่มจาก นโยบายด้านการเมืองหรือรัฐบาล ไปสู่หน่วยปฏิบัติตั้ งแต่กระทรวง ทบวง กรม ไปจนถึงชุมชน รวมทั้งภาคเอกชน หรือ NGO ต่าง ๆ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะสาหรับการนาผลการวิจัยไปใช้ 1. ด้านการป้องกัน องค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร ควรจัดทาสรุปผลและสถิติข้อมูลของการเกิด อุทกภัยเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านอุทกภัยในพื้นที่ 2. ด้านการเตรียมพร้อ ม องค์การบริ หารส่ วนต าบลวั งไทร ควรจัด เตรี ยมกาลังคนเพีย งพอและมี ความสามารถพร้อมปฏิบัติงานในพื้นที่เมื่อเกิดอุทกภัย 3. ด้านการรับมือ องค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร ควรจัดตั้งศูนย์รับบริจาค และประสานหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องในการกาหนดสถานที่เก็บรักษา และพิจารณาให้ความช่วยเหลือ ด้วยความรวดเร็ว ทั่วถึง และเป็นธรรม 4. ด้านการฟื้นฟูเยียวยา องค์การบริหารส่วนตาบลวังไทรควรจัดให้มีการศึกษาผลกระทบจากอุทกภัย และดินโคลนถล่มที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป ควรศึกษาการบริหารจัดการอุทกภัยแบบบูรณาการร่วมขององค์การบริหารส่วนตาบลวังไทร อาเภอ คลองขลุง จังหวัดกาแพงเพชร กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบริ หารจัดการอุทกภัยครอบคลุมพื้นที่ตั้งแต่ต้นน้า จนถึงปลายน้า โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เอกสารอ้างอิง กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. (2546). คู่มือการปฏิบัติงานกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. กระทรวงมหาดไทย. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. (2550). พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. กระทรวงมหาดไทย. คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ. (2552). แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553-2557. คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ. (2552). หลักการป้องกันและบรรเทาอุทกภัยและดินโคลน ถล่ม. ชูโชค อายุพงศ์. การบริการจัดการทรัพยากรน้าโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ในจังหวัดเชียงใหม่. ธงชัย สัติวงศ์. (2533). กลยุทธ์การจัดการ. กรุงเทพมหานคร : รุ่งแสงการพิมพ์. __________. การบริหารเชิงกลยุทธ์. (2533). กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช. __________. องค์การและการบริหาร. (2537). กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.
148
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
นิรมล กิตติกุล. (2549). องค์การและการจัดการ. (พิมพ์ครั้งที่ 11) กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พจมาน เตียวัฒนารัฐติการ. (2544). แนวคิดของกระบวนการบริหารจัดการของแฮร์โรลด์ คูนตซ์ และอองรี ฟาโย. สมเจต โป้พันที. (2554). แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาอุทกภัยในตาบลแสนตอ อาเภอขาณุวร ลักษบุรี จังหวัดกาแพงเพชร. เสรี ศุภราทิตย์. การบริหารจัดการอุทกภัยในอนาคต. สานักงานนโยบายและบริหารจัดการน้าและอุทกภัยแห่งชาติ. (2554). แนวทางการบริหารจัดการน้าและ อุทกภัย ปี 2555. สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดกาแพงเพชร. (2553-2555). รายละเอียดการเกิดอุทกภัยในพื้นที่ จังหวัดกาแพงเพชร. ศิริเชษฐ์ ภาโนสิต. (2554). การจัดการทรัพยากรน้าแบบบูรณาการ อาเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น. เอกสิทธิ์ โฆสิตสกุลชัย และคณะ. (2552). การพัฒนาข้อเสนอโครงการเรื่องการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการ จัดการน้าตามแนวทางวิจัยเพื่อท้องถิ่นในพื้นทีจ่ ังหวัดสมุทรสงคราม. Smith. (1982). อ้างในสมใจ ลักษณะ. (2546). องค์กรประกอบการดาเนินงานองค์การที่นาไปสู่ผลที่มี ประสิทธิภาพ.
149
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018 HSBP-03
ความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตาบลศรีภูมิ อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ THE SATISFACTION OF THE CLIENT TO THE SERVICES OF SRIPHUM SUBDISTRICT ADMINISTRATIVE ORGANIZATION, KRASANG DISTRICT, BURIRAM PROVINCE อุดมพงษ์ เกศศรีพงษ์ศา1, ผกามาศ มูลวันดี2 1
Udompong Ketsripongsa สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ Udompong.jo@gmail.com 2 Pakamat Moonwundeeสาขาวิชาการบัญชี คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ mon-noi@hotmail.com
บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริหาร ส่วนตาบลศรีภูมิ อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงสารวจ ซึ่งใช้การศึกษาเอกสารและสารวจ โดยใช้แบบสอบถามจากประชากรที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบจานวน 400 คน ซึ่งเป็นการสารวจความพึงพอใจตาม โครงการหรือภารกิจของงานการให้บริการทั้ง 4 งาน ได้แก่ งานด้านการศึกษา งานด้านรายได้หรือภาษี งานด้าน พัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม และงานด้านสาธารณสุข สถิติที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ การแจกแจง ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศ ชาย อายุอยู่ระหว่าง 41 - 50 ปี มีสถานภาพสมรส มีระดับการศึกษาประถมศึกษา ทาอาชีพเกษตรกรรม, ประมง รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001 - 15,000 บาท และจานวนครั้งที่ไปรับบริการโดยเฉลี่ยต่อปี 3 - 5 ครั้งต่อปี ส่วน ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อคุณภาพการให้บริการตามภาระงานหลังทั้ง 4 งาน โดย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.47) คิดเป็นร้อยละของความพึงพอใจ 89.40 สามารถสรุปผลได้ ดังนี้ 1) งานด้าน การศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.47) 2) งานด้านรายได้หรือภาษี โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.42) 3) งานด้านพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.38) และ 4) งานด้านสาธารณสุข โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.29) คำสำคัญ : ความพึงพอใจ; ผู้รับบริการ; การให้บริการ; องค์การบริหารส่วนตาบล Abstract This research aims to survey the satisfaction of the client to the services of Sriphum Subdistrict Administrative Organization, Krasang district, Buriram province. This research is a survey research, this study used questionnaires to survey and documents the population in the territory of 400. This is a satisfaction survey on a project or mission of serving all four, including Work on Education side, Work on Income or Tax side, Work on Community Development or Social Welfare side and Public Health side. The statistics used to collect information, including frequency, percentage, average and standard deviation of the results showed that the majority of
150
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
respondents were male, aged between 41-50 years, marital status, primary education level, and Career of agriculture, fisheries, Revenue per month from 10,001 to 15,000 baht and the number of times to get an average annual 3-5 times per year. The respondents were satisfied with the service on the quality of service to the workload after the four workers overall level ( X = 4.47) as a percentage of satisfaction 89.40 can. The results were as follows 1) Work on Education side at a high level ( X = 4.47) 2) Work on Income or Tax side at a high level ( X = 4.42) 3) Work on Community Development or Social Welfare side at a high level ( X = 4.38), and 4) Public Health side at a high level ( X = 4.29). Keywords : Satisfaction; Client; Service; Subdistrict Administrative Organization บทนา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้กาหนดให้มีการกระจายอานาจ การปกครอง ส่วนท้องถิ่น เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตย รับผิดชอบดูแลและ พัฒนาท้องถิ่นของตนเองให้เจริญก้าวหน้าและตรงตามความ ต้องการของสมาชิกในท้องถิ่น ซึ่งจะส่งผลให้การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยมีการพัฒนามาก ยิ่งขึ้น โครงสร้างการจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินจึงกาหนดอานาจ หน้าที่ และการกากับดูแล ท้องถิ่นให้อยู่ในการบริหารราชการส่วนท้ องถิ่น ขณะเดียวกันการบริหารราชการส่วน ท้องถิ่น หมายถึง การแบ่งแยกหน่วยการปกครองออกจากส่วนกลาง โดยให้องค์กรที่จัดขึ้นในท้องถิ่นหรือ องค์กร ปกครองท้องถิ่นมีอิสระในการดาเนินกิจการภายในท้องถิ่นของตนได้ เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการ ปกครองตนเอง รวมทัง้ แบ่งเบาภาระของรัฐบาลในการบริหารและบริการ ประชาชน (รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 14 การปกครองส่วนท้องถิ่น) เพื่อนาไปสู่ความเจริญก้าวหน้าโดยอาศัยสร้างมิติใหม่ กับราชการไทย องค์การบริหารส่วนตาบลเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจั ดการขึ้นต่อกระทรวง มหาดไทย โดยมีนายกองค์การบริหารส่วนตาบลเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติคอยควบคุมตรวจสอบ การทางาน พิจารณาให้ความเห็นชอบข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตาบลออกมาบังคับใช้ภายในเขตองค์การ บริหารส่วนตาบล รวมทั้งตั้งกระทู้ถามฝ่ายบริหารในเรื่อ งต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการดาเนินงานบริหารราชการของ องค์การบริหารส่วนตาบล ตลอดจนการบริหาร หรือดูแลในด้านความเป็นอยู่ของประชาชนให้กินดีอยู่ดีและสร้าง คุณภาพชีวิต ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตาบลจึงมีภาระหน้าที่ต่อประชาชนโดยตรงในการบริหารทุก ๆ ด้านเพื่อให้ เกิดประโยชน์สูงสุดให้กับประชาชนและประเทศชาติ การปกครองส่วนท้องถิ่น หรือการปกครองท้องถิ่นเป็นรูปแบบ การปกครองที่จาเป็นและมีความสาคัญในทางการเมืองการปกครองของชุมชนต่าง ๆ เฉพาะอย่างยิ่งชุมชนที่มีการ ปกครองระบบประชาธิปไตย จากแนวความคิดในการปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อสนับสนุนวั ตถุประสงค์ทางการ ปกครองของรัฐบาลในอันที่จะรักษาความมั่นคงและความผาสุกของประชาชน ยึดหลักการกระจายอานาจปกครอง และเพื่อให้สอดคล้องกับหลักการประชาธิปไตย โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองตนเอง ความสาคัญของการ ปกครองท้องถิ่นสามารถสรุปได้ดังนี้ (ชูวงศ์ ฉายะบุตร. 2539 : 28) การปกครองท้องถิ่นเป็นการแบ่งเบาภาระของ รัฐบาล ซึ่งเป็นหลักสาคัญของการกระจายอานาจ เนื่องจากภารกิจของรัฐบาลมีอยู่อย่างกว้างขวาง นับวันจะขยาย เพิ่มขึ้น ขณะที่แต่ละท้องถิ่นย่อมมีปัญหาและความต้องการที่แตกต่างกัน ประชาชนจึงเป็นผู้มีความเหมาะสมที่จะ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นนั้นมากที่สุด และกิจการบางอย่างเป็นเรื่องเฉพาะท้องถิ่น ไม่เกี่ยวกับท้องถิ่นอื่น ๆ
151
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
และไม่มีส่วนได้ส่วนเสียต่อประเทศโดยส่วนรวม จึงเป็นการสมควรที่จะให้ประชาชนท้องถิ่นดาเนินการดังกล่าวเอง ทั้งนี้ การแบ่งเบาภาระดังกล่าวทาให้รัฐบาลมีเ วลาที่จะดาเนินการในเรื่องที่สาคัญ ๆ หรือกิจการใหญ่ ๆ ระดับชาติ อันเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติโดยส่วนรวม และมีความคล่องตัวในการดาเนินงานของรัฐบาลจะมีมากขึ้น การ ปกครองท้องถิ่นสามารถสนองตอบความต้องการของท้องถิ่นตรงเป้าหมายและมีประสิทธิภาพ เนื่องจากท้องถิ่นมี ความแตกต่างกันไม่ว่าทางสภาพภูมิศาสตร์ ทรัพยากร ประชาชน ความต้องการ และปัญหาย่อมต่างกันออกไป ผู้ที่ ให้บริการหรือแก้ไขปัญหาให้ถูกจุดและสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนได้เป็นอย่างดีก็คือ หน่วยการ ปกครองท้องถิ่นนั้นเอง การปกครองท้องถิ่นจะเป็นแหล่งสร้างผู้นาทางการเมืองและการบริหารของประเทศใน อนาคต ผู้นาหน่วยการปกครองท้องถิ่ นย่อมเรียนรู้ประสบการณ์ทางการเมือง การเลือกตั้ง การสนับสนุนจาก ประชาชนในท้องถิ่นย่อมเป็นพื้นฐานที่ดีต่ออนาคตทางการเมืองของตน และยังฝึกฝนทักษะทางการบริหารงานใน ท้องถิ่นอีกด้วย การปกครองท้องถิ่นโดยยึดหลักการกระจายอานาจทาให้เกิดการพัฒนาชนบทแบบพึ่งตนเองทั้งทาง การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม จากเหตุผลข้างต้น ผู้วิจัยได้เห็นถึงความสาคัญของการให้บริการขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีต่อ ประชาชน จึงต้องการที่จะสารวจเพื่อให้ทราบถึงระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการในงานด้าน การศึกษา งานด้านรายได้หรือภาษี งานด้านพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม และงานด้านสาธารณสุข นอกจากนี้ ต้องการทราบถึงปัญหาและข้อเสนอแนะในการให้บริการ ทั้งนี้เพื่อที่นาผลการศึกษาใช้เป็นแนวทางในการวางแผน พัฒนาการให้บริการให้มีประสิทธิภาพและสร้างความพึงพอใจให้เกิดแก่ผู้มาใช้บริการต่อไป วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อสารวจระดับความพึงพอใจในการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตาบลศรีภูมิ อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ 2. เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วน ตาบลศรีภูมิ อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ ขอบเขตการวิจัย 1. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการสารวจครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผู้มารับบริการโดยตรง เจ้าหน้าที่ของรัฐ หรือ หน่ว ยงานทั้งภาครัฐ และเอกชนที่ มารับ บริ การ โดยใช้ เทคนิค วิธี การสุ่ มกลุ่ มตั วอย่า งแบบเจาะจง (Purposive Sample) โดยพิจารณาว่าเป็นตัวแทนประชากรที่ดี จานวน 400 คน 2. ความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตาบลศรีภูมิ อาเภอ กระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ ประจาปีงบประมาณ 2559 ในงานบริการ 4 ด้าน ได้แก่ 1. งานด้านการศึกษา 2. งานด้าน รายได้หรือภาษี (ภาษีที่องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นจัดเก็บเอง) 3. งานด้านพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม (แจก เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยเอดส์ ) และ 4. งานด้านสาธารณสุข ครอบคลุมไปถึง มิติด้านการให้บริการ ดังนี้ 1) ด้านขั้นตอนการให้บริการ 2) ด้านช่องทางการให้บริการ3) ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ และ 4) ด้านสิ่งอานวย ความสะดวก
152
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
วิธีดาเนินการวิจัย การสารวจครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) การสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ ที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตาบลศรีภูมิ อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ ประจาปีงบประมาณ 2559 คณะผู้สารวจได้ดาเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากร (Population) ที่ใช้ในการสารวจครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผู้มารับบริการโดยตรง เจ้าหน้าที่ ของรัฐ หรือหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่มารับบริการ 2. กลุ่มตัวอย่าง (Sample) ที่ใช้ในการสารวจครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผู้มารับบริการโดยตรง เจ้าหน้าที่ ของรัฐ หรือหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่มารับบริการ โดยพิจารณาขนาดตัวอย่างแต่ละส่วนอย่างอิสระต่อกัน โดยได้นาปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ ขนาดของประชากร (Population Size) ตามพื้นที่ที่องค์การบริหารส่วนตาบลศรีภูมิ อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ โดยใช้เทคนิควิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sample) โดยพิจารณา ว่าเป็นตัวแทนประชากรที่ดี จานวน 400 คน ตารางที่ 1 แสดงจานวนกลุ่มตัวอย่างของผู้รับบริการขององค์การบริหารส่วนตาบลศรีภูมิ อาเภอกระสัง จังหวัด บุรีรัมย์ ชื่อหมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านศรีภูมิ หมู่ที่ 2 บ้านไทรปวน หมู่ที่ 3 บ้านโคกสูง หมู่ที่ 4 บ้านตะแบก หมู่ที่ 5 บ้านตาฮ้อ หมู่ที่ 6 บ้านกาเปร หมู่ที่ 7 บ้านติม หมู่ที่ 8 บ้านขาม หมู่ที่ 9 บ้านโคกสูงใต้ รวม
จานวนกลุ่มตัวอย่าง 48 46 45 43 47 46 42 44 39 400
คิดเป็นร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง 12.00 11.50 11.25 10.75 11.75 11.50 10.50 11.00 9.75 100.00
ตัวแปรที่ใช้ในงานวิจัย 1. ตัวแปรอิสระ ได้แก่ การให้บริการแก่ประชาชนหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการให้บริการขององค์การ บริหารส่วนตาบลศรีภูมิ อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ ประจาปีงบประมาณ 2559 2. ตัวแปรตาม ได้แก่ ความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตาบล ศรีภูมิ อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ ประจาปีงบประมาณ 2559 ในงานบริการ4 ด้าน ได้แก่ 1) งานด้านการศึกษา 2) งานด้านรายได้หรือภาษี (ภาษีที่องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นจัดเก็บเอง) 3) งานด้านพัฒนาชุมชนและสวัสดิการ สังคม (แจกเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยเอดส์ ) 4) งานด้านสาธารณสุข ครอบคลุมไปถึง มิติด้านการ ให้บริการ คือ ด้านขั้นตอนการให้บริการ ด้านช่องทางการให้บริการ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ และด้านสิ่งอานวย ความสะดวก
153
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
เครื่องมือวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) ค่าอานาจจาแนกรายข้อ และค่า ความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม = 0.8509 ซึ่งได้สร้างตามวัตถุประสงค์เกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อ การให้บริการขององค์การบริหารส่วนตาบลศรีภูมิ อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ โดยแบ่งออกเป็นดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้รับบริการที่ตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) จานวน 7 ข้อ ประกอบด้วย เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และ จานวนครั้งที่ไปรับบริการโดยเฉลี่ยต่อปี ตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการให้บริการในโครงการหรืองานบริการขององค์การบริหารส่วนตาบล ศรีภูมิ อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับ (บุญชม ศรีสะอาด. 2554 : 121) ระดับความพึงพอใจมากที่สุด กาหนดให้เป็น 5 คะแนน ระดับความพึงพอใจมาก กาหนดให้เป็น 4 คะแนน ระดับความพึงพอใจปานกลาง กาหนดให้เป็น 3 คะแนน ระดับความพึงพอใจน้อย กาหนดให้เป็น 2 คะแนน ระดับความพึงพอใจน้อยที่สุด กาหนดให้เป็น 1 คะแนน จานวน 4 งาน ได้แก่ 1) งานด้านการศึกษา จานวน 20 ข้อ 2) งานด้านรายได้หรือภาษี (ภาษีที่องค์การ ปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บเอง) จานวน 20 ข้อ 3) งานด้านพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม (แจกเบี้ยยังชีพ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยเอดส์) จานวน 20 ข้อ และ 4) งานด้านสาธารณสุข จานวน 20 ข้อ ตามตัวชี้วัดที่ 1 มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ ซึ่งมีประกอบด้วยประเด็นสาคัญ ดังนี้ 1. ด้านขั้นตอนการให้บริการ 2. ด้านช่องทางการให้บริการ 3. ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ 4. ด้านสิ่งอานวยความสะดวก และ ตอนที่ 3 ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ มีลักษณะเป็นแบบปลายเปิด Open-ended Form) การสร้างและพัฒนาเครื่องมือ ในการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คณะผู้สารวจได้ดาเนินการตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. การศึกษาแนวคิดทฤษฎี เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และขอคาแนะนาจากผู้มีประสบการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจที่มีต่อการให้บริการด้านต่าง ๆ เพื่อเป็นแนวทางการกาหนดประเด็นการสร้างเครื่องมือ 2. จัดทาแบบสอบถามตามตามตัวชี้วัดที่ 1 มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ 4 ด้าน ประกอบด้วย ความพึงพอใจต่อขั้นตอนการให้บริการ ความพึงพอใจต่อช่องทางการให้บริการ ความพึงพอใจต่อ เจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการและความพึงพอใจต่อสิ่งอานวยความสะดวก 3. การตรวจสอบหาคุณภาพของเครื่องมือ ดังนี้ 3.1 ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือโดยใช้วิธีหาความเที่ยงตรง (Validity) ด้วยการนา แบบสอบถามฉบับร่างไปหาความเที่ยงตรงด้านเนื้อหาและโครงสร้าง (IOC) โดยเสนอต่อที่ผู้ทรงคุณวุฒิหรือ ผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูล เพื่อตรวจสอบหาความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) และความเหมาะสมถูกต้อง ด้านภาษา เพื่อนาข้อเสนอแนะไปปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถาม
154
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
3.2 นาแบบสอบถามที่ได้ไปทดลองใช้ (Try-Out) กับประชากรที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่ าง จานวน 30 คน เพื่อคุณภาพของเครื่องมือ โดยการวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม (Reliability) โดยใช้ค่า สัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ตามวิธีของครอนบาค (Cronbach) ซึ่งความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มี ต่อการให้บริการมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาเท่ากับ 0.8509 (ตารางค่าอานาจจาแนกรายข้อ และค่าความเชื่อมั่นของ แบบสอบถาม) 3.3 การหาค่าอานาจจาแนกแบบสอบถามเป็นรายข้อ (Discriminant Power) โดยใช้เทคนิค Item - total Correlation ซึ่งความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการมีค่าอานาจจาแนก (r) ระหว่าง 0.8331 - 0.8627 (ตารางค่าอานาจจาแนกรายข้อ และค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม) 4. จัดทาแบบสอบถามฉบับสมบูรณ์เพื่อนาไปใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างต่อไป การเก็บรวบรวมข้อมูล การดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยนาแบบสอบถามส่งไปยังผู้มีส่วนได้เสียที่ เป็นกลุ่มตัวอย่างด้วยตนเอง เพื่อความรวดเร็วและป้องกันการสูญหาย โดยแจกแบบสอบถามไปยังกลุ่มตัวอย่าง จานวน 400 ชุด และได้รับแบบสอบถามคืนกลับมา จานวน 400 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100.00 ของกลุ่มตัวอย่าง การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ การวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมได้จากแบบสอบถาม ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป โดยแบ่งการ วิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้รับบริการที่ตอบแบบสอบถาม โดยใช้วิธีการประมวลผล ตามหลักสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency) และร้อยละ (Percentage) ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วน ตาบลศรีภู มิ อ าเภอกระสัง จั งหวั ด บุรี รั มย์ โดยใช้ วิธี ก ารประมวลผลทางหลัก สถิติ เ ชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การนาเสนอข้อมูลในรูปแบบตารางควบคู่กับบรรยายและสรุปผลการวิจัย มีทั้งหมด 5 ระดับ แล้วนาคะแนนไปหา ค่าเฉลี่ย โดยใช้เกณฑ์ในการแปลความหมายค่าเฉลี่ย (บุญชม ศรีสะอาด. 2554 : 121) ค่าเฉลี่ย 4.51 - 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.51 - 4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 2.51 - 3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.51 - 2.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อยที่สุด การคานวณร้อยละของความพึงพอใจของผู้รับบริการ สามารถคานวณค่าได้ ดังนี้ ค่าร้อยละความพึงพอใจ =
ค่าเฉลี่ยในแต่ละข้อ 5
X 100
ตอนที่ 3 ข้อมูลที่ได้จากคาถามปลายเปิด ได้ทาการรวบรวมข้อมูลทั้งหมด และดาเนินการวิเคราะห์ ด้วยการจาแนกประเภทข้อความที่มีลักษณะเหมือนกันหรือคล้ายคลึงกันให้อยู่ในประเภทเดียวกัน จากนั้นวิเคราะห์ เนื้อหาของข้อมูลและนาเสนอในรูปของความเรียง
155
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ผลการวิจัย ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้รับบริการที่ตอบแบบสอบถาม ในตอนที่ 1 พบว่าข้อมูลทั่วไปของ ผู้รับบริการที่ตอบแบบสอบถาม จาแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และ จานวนครั้งที่ไปรับบริการโดยเฉลี่ยต่อปี จากจานวนผู้ตอบแบบสอบถาม 400 คน ได้ผลการวิเคราะห์ตามตารางที่ 1 ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้รับบริการทีต่ อบแบบสอบถาม n = 400
ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
จานวน
ร้อยละ
รวม
204 196 400
51.00 49.00 100.00
รวม
45 92 197 66 400
11.25 23.00 49.25 16.50 100.00
รวม
83 245 72 400
20.75 61.25 18.00 100.00
รวม
138 111 74 28 36 13 400
34.50 27.75 18.50 7.00 9.00 3.25 100.00
206 83 40 28 31 12 400
51.50 20.75 10.00 7.00 7.75 3.00 100.00
43
10.75
1. เพศ ชาย หญิง 2. อายุ ต่ากว่า 30 ปี 30 - 40 ปี 41 - 50 ปี 50 ปีขึ้นไป 3. สถานภาพ โสด สมรส หม้าย/หย่า/แยกกันอยู่ 4. ระดับการศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย อนุปริญญา/ปวท./ปวส. ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี 5. อาชีพ เกษตรกรรม/ประมง รับจ้างทั่วไป รับราชการ/รัฐวิสาหกิจ ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว/เจ้าของกิจการ พนักงานบริษัท อื่น ๆ เช่น อาชีพอิสระ ตันแทนขาย และลูกจ้างของรัฐ รวม 6. รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ต่ากว่า 5,000 บาท
156
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
n = 400
ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 5,000 - 10,000 บาท 10,001 - 15,000 บาท 15,001 - 20,000 บาท 20,001 - 25,000 บาท 25,000 บาทขึ้นไป รวม 7. จานวนครั้งที่ไปรับบริการโดยเฉลี่ยต่อปี น้อยกว่า 3 ครั้ง/ปี 3 - 5 ครั้ง/ปี มากกว่า 5 ครั้ง/ปี รวม
จานวน 117 140 59 31 10 400
ร้อยละ 29.25 35.00 14.75 7.75 2.50 100.00
131 187 82 400
32.75 46.75 20.50 100.00
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลตอนที่ 1 พบว่า ผู้รับบริการที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จานวน 204 คน คิดเป็นร้อยละ 51.00 เป็นเพศหญิง จานวน 196 คน คิดเป็นร้อยละ 49.00 อายุส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 41 50 ปี จานวน 196 คน คิดเป็นร้อยละ 49.25 สถานภาพส่วนใหญ่สมรส จานวน 245 คน คิดเป็นร้อยละ 61.25 ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ประถมศึกษา จานวน 138 คน คิดเป็นร้อยละ 34.50 อาชีพส่วนใหญ่เกษตรกรรม, ประมง จานวน 206 คน คิดเป็นร้อยละ 51.50 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนส่วนใหญ่ 10,001 - 15,000 บาท จานวน 140 คน คิด เป็นร้อยละ35.00 จานวนครั้งที่ไปรับบริการโดยเฉลี่ยต่อปีส่วนใหญ่ 3 - 5 ครั้งต่อปี จานวน 187 คน คิดเป็นร้อยละ 46.75 ในส่วน ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการให้บริการในโครงการหรืองานบริการ ขององค์การบริหารส่วนตาบลศรีภูมิ อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ จานวน 4 งาน ได้แก่ 1) งานด้านการศึกษา 2) งานด้านรายได้หรือภาษี (ภาษีที่องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บเอง) 3) งานด้านพัฒนาชุมชนและสวัสดิการ สังคม (แจกเบี้ยยังชีพผูส้ ูงอายุ ผู้พกิ าร และผู้ป่วยเอดส์) และ 4) งานด้านสาธารณสุข มีระดับความพึงพอใจต่อ คุณภาพการให้บริการจาแนกตามงานที่ให้บริการ ดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ความพึงพอใจต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตาบลศรีภูมิ อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ โดย ภาพรวมแต่ละงาน ความพึงพอใจต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตาบลศรีภูมิ 1. งานด้านการศึกษา 2. งานด้านรายได้หรือภาษี 3. งานด้านพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม 4. งานด้านสาธารณสุข โดยรวม
X
4.47 4.42 4.38 4.29 4.47
S.D. ร้อยละความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ 0.52 89.40 มาก 0.51 88.40 มาก 0.51 87.60 มาก 0.52 85.80 มาก 0.50 89.40 มาก
วิจารณ์ผลการวิจัย จากการสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตาบลศรีภูมิ อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ ประจาปีงบประมาณ 2559 สามารถวิจารณ์ผลการสารวจได้ ดังนี้
157
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
1. งานด้านการศึกษา ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วน ตาบลศรีภูมิ โดยรวมอยู่ในระดับมาก และรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด 1 ด้าน ได้แก่ ด้านสิ่งอานวยความสะดวก และอยู่ในระดับมาก 3 ด้าน ได้แก่ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ด้านขั้นตอนการให้บริการ และด้านช่ องทางการ ให้บริการ เนื่องจากการให้บริการขององค์การบริการส่วนตาบลเจ้าหน้าที่แต่ละส่วนงานมีความชัดเจนในการอธิบาย การชี้แจง และแนะนาขั้นตอนในการให้บริการเป็นอย่างดี และมีความสุภาพ กิริยามารยาทที่เรียบร้อยเหมาะสมกับ การเป็นผู้ให้บริการ นอกจากนั้นยังมีการอานวยความสะดวกในการขอรับบริการตามช่องทางต่าง ๆ เช่น โทรศัพท์ แฟกซ์ ไปรษณีย์ เว็บบอร์ด เว็บไซต์ Facebook และ E-mail พร้อมทั้งมีความครบถ้วนของสิ่งอานวยความสะดวก ในการติดต่อประสานงาน สอดคล้องกับงานวิจัยของวรรณี เดียวอิศเรศ (2548 : ง) พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ มากกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อบริการของหน่วยงานต่าง ๆ ของเทศบาลเมืองศรีราชา ยกเว้นความพึงพอใจ ต่อบริการกองการศึกษา พบว่า มีประชาชนเพียงร้อยละ 79.10 เท่านั้น ที่พึงพอใจต่อบริการและ ส่วนด้านความพึง พอใจต่อสภาพภูมิทัศน์ของสถานที่ให้บริการหน่วยงานต่าง ๆ ของเทศบาลเมือง ศรี ราชา พบว่า แต่ละหน่วยงาน ประชาชนส่วนใหญ่มากกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อสภาพภูมิทัศน์ของสถานที่ให้บริการ และการอานวยความ สะดวกเมื่อพิจารณาสัดส่วนของประชาชนที่มี ความพึงพอใจต่อบริการระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ พบว่า กองช่าง สุขาภิบาล กองช่างและกองวิชาการ และแผนมีสัดส่วนของประชาชนที่มีความพึงพอใจต่อบริการในสัดส่วนที่สูงกว่า หน่วยงานอื่น ๆ คือ ร้อยละ 98.20 ร้อยละ 96 และร้อยละ 95.20 ตามลาดับ นอกจากนี้ยังพบว่ามีประชาชนถึง ร้อยละ 98.20 และ 92.50 ตามลาดับ ที่มีความพึงพอใจต่อสภาพภูมิทัศน์ของสถานที่ที่ให้บริการของกองช่าง สุขาภิบาลและสานักการช่าง ซึ่งเป็นในสัดส่วนที่สูงกว่าหน่วยงานอื่นเช่นกัน และสอดคล้องกับงานวิจัยของกิตติพัฒน์ อินทรนิโลดม (2544 : บทคัดย่อ) พบว่า ลักษณะทั่วไปของประชาชนที่มารับบริการงานด้านทะเบียนราษฎร และ บัตรประจาตัวประชาชน เป็นประชาชนกลุ่มตัวอย่างที่มีความพึงพอใจในการให้บริการของ เจ้าหน้าที่ในระดับความ พึงพอใจมาก ความพึงพอใจของประชาชนกลุ่มตัวอย่างเพศชายพึงพอใจใน การให้บริการของเจ้าหน้าที่ด้านมนุษย์ สัมพันธ์ในระดับความพึงพอใจมากเช่นเดียวกับกลุ่มตัวอย่าง เพศหญิง ประชาชนกลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ 20-30 ปี และ กลุ่มที่มอี ายุ 40 ปีขึ้นไปมีความพึงพอใจใน การให้บริการของเจ้าหน้าที่สูงสุดในทุกด้านโดยเฉพาะด้านมนุษย์สัมพันธ์ ส่วนกลุ่มที่มีอายุที่ต่ากว่า 20 ปี และ 31-40 ปี มีความพึงพอใจในระดับปานกลางในด้านการรับความรู้ในการมา ติดต่อราชการ ประชาชนที่จบการศึกษาระดับ ป.1-ป.6 (ป.7) มีความพึงพอใจในด้านการให้บริการของเจ้าหน้าที่ และด้านมนุษย์สัมพันธ์สูงสุด กลุ่มประชาชนที่มีการศึกษาระดับ ปวส. อนุปริญญา มีความพึงพอใจในการให้บริการ และด้านมนุษย์สัมพันธ์ต่ากว่ากลุ่มอื่น ๆ ประชาชนกลุ่มที่มีรายได้ต่างกันส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการให้บริการ ของเจ้าหน้าที่สูงทุกด้าน ยกเว้นกลุ่มที่มีรายได้ต่ากว่า 6,000 บาท และกลุ่มที่มีรายได้ 12,001-18,000 บาท จะมี ความพึงพอใจในด้านการได้รับความรู้จากเจ้าหน้าที่ในระดับปานกลาง ประชาชนกลุ่มอาชีพพนักงานบริษัท อาชีพ ธุรกิจส่วนตัว ค้าขายมีความพึงพอใจในระดับความพึงพอใจมาก ด้านการได้รับบริการจากเจ้าหน้าที่ และด้านการ ได้รับความรู้ ประชาชนกลุ่มอาชีพรับราชการ, รัฐวิสาหกิจมีความพึงพอใจในระดับความพึงพอใจมาก ด้านมนุษย์ สัมพันธ์ ปัญหาอุปสรรคในการติดต่อขอรับบริการจากเจ้าหน้าที่ด้านทะเบียนราษฎร และบัตรประจาตัวประชาชน ฝ่ายทะเบียน สานักงานเขตคลองเตย ได้แก่ การขาดการประชาสัมพันธ์ ขั้นตอนการติดต่อราชการมีขั้นตอนการ ให้บริการแต่ละเรื่องหลายขั้นตอนและยุ่งยากใช้เวลานาน เจ้าหน้าผู้ปฏิบัติงานไม่เพียงพอและควรอบรมเจ้าหน้าที่ให้ ความรู้เพิ่มมากขึ้นและขาดวัสดุอุปกรณ์ที่ ใช้ในการให้บริการ เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องคอมพิวเตอร์ 2. งานด้านรายได้หรือภาษี ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการให้บริการขององค์การบริหาร ส่วนตาบลศรีภูมิ โดยรวมและรายด้าน ได้แก่ ด้านขั้นตอนการให้บริการ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ด้านสิ่งอานวย
158
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ความสะดวก และด้านช่องทางการให้บริการ อยู่ในระดับมาก เนื่องจาก การดาเนินงานขององค์การบริหารส่วน ตาบลนั้นในแต่ละส่ วนงานหน่วยงานได้มีการกาหนดขั้น ตอนในการให้บริ การที่ไม่ยุ่งยาก ซั บซ้อน และมีความ คล่องตัว มีช่องการให้บริการมีความสะดวกและเพียงพอต่อการขอรับบริการ มีการจัดพื้นที่สาหรับกรอกแบบฟอร์ม ต่าง ๆ และในการให้บริการนั้น เจ้าหน้าที่แต่ละส่วนงานมีการแต่งกาย บุคลิกและลักษณะท่าทางที่เหมาะสมและ เต็มใจให้บริการ มีการให้บริการที่ยิ้มแย้มแจ่มใสและเป็นมิตรกับผู้มารับบริการ สอดคล้องกับงานวิจัยของสุรชัย รัชต ประทาน (2546) พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับมาก ทั้งในด้านการปฏิบัติงาน การปฏิบัติตน การพูดจา มารยาท และการให้คาแนะนาปรึกษาของเจ้าหน้าที่ ความสะดวกในการติดต่อ เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถให้บริการด้วยความเต็มใจและเป็นมิตร แนะนา ให้ข้อมูล ให้ความรู้อย่างชัดเจน ให้บริการตามลาดับ ก่อนหลังและ มีความรวดเร็วในการให้บริการ เจ้าหน้าที่กระตือรือร้น ตั้งใจทางาน บริการได้ถูกต้องครบถ้วน ไม่ ผิดพลาด สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนได้อย่างรวดเร็ว การทางาน มีความยุติธรรมน่าเชื่อถือ เป็นไปด้วยความโปร่งใส สุจริต สามารถตรวจสอบได้ และการขยายเวลาการบริการเป็น เวลา 08.00-18.00 น. ส่วน ด้านที่ประชาชนมีความพึงพอใจมากที่สุดคือ สถานที่และบริเวณโดยรอบมีความสะดวกสบาย ขั้นตอนในการรับ บริการ ระยะเวลาในการรับบริการ กฎระเบียบที่ใช้ ค่าธรรมเนียมที่ชาระ ในขณะที่ด้านอัตรากาลังเจ้าหน้าที่ และ การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชน ประชาชนมีความพึงพอใจในระดับปานกลาง นอกจากนี้ผลการศึกษามี ข้อเสนอแนะ คือ ควรนาระบบเทคโนโลยีสมัยใหม่มาช่วยในการบริการประชาชน จัดระเบียบการทางาน ให้มีความ ถูก ต้ องชั ดเจน ตลอดจนพั ฒ นาเจ้า หน้า ที่ ทุก ฝ่ า ยให้ สามารถทางานทดแทนกัน ได้ ปรับ ปรุ ง ระบบการบริ ก าร ประชาชนให้เกิด ความสะดวก รวดเร็ว ยุติธรรมมากขึ้น แก้ไขระเบียบ กฎหมาย ขั้นตอนต่าง ๆ ที่มีความล้าสมัย ซ้าซ้อน พัฒนาความรู้ความสามารถ และทักษะต่าง ๆ แก่เจ้าหน้าที่ ในด้านการให้บริการแก่ประชาชน และปลูก จิตสานึกของการเป็นผู้ให้บริการ มีการประเมินและติดตามผลงานของบุคลากรอย่างสม่าเสมอ สร้างขวัญ กาลังใจ และทัศนคติของเจ้าหน้าที่ เพื่อให้ประชาชนเกิดความพึงพอใจเมื่อมารับบริการ และสอดคล้องกับงานวิจัยของทิวา ประสุวรรณ (2547 : บทคัดย่อ) พบว่า ผู้รับบริการส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุน้อยกว่า 40 ปี มีการศึกษาระดับ ประถมศึกษาและประกอบอาชีพเกษตรกรรม มีรายได้อยู่ระหว่าง 2,500-5,000 บาทต่อเดือน ส่วนใหญ่เป็นสมาชิก กลุ่มชมรมผู้สูงอายุและเป็นสมาชิกกลุ่ม ปรับปรุงคุณภาพ ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการให้บริการขององค์การ บริหารส่วนตาบลบ้านแลงในด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้ บริการอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก มีความพึงพอใจในด้านระบบ การให้บริการอยู่ระดับปานกลาง และมีความพึงพอใจในด้านสิ่งอานวยความสะดวกอยู่ในระดับมาก และซับซ้อน และมีความคล่องตัว มีช่องการให้บริการมีความสะดวกและเพียงพอต่อการขอรับบริการ มีการจัดพื้นที่สาหรับกรอก แบบฟอร์มต่าง ๆ และในการให้บริการนั้น เจ้าหน้าที่แต่ละส่วนงานมีการแต่งกาย บุคลิกและลักษณะท่าทางที่ เหมาะสมและเต็มใจให้บริการ มีการให้บริการที่ยิ้มแย้มแจ่มใสและเป็นมิตรกับผู้มารับบริการ สอดคล้องกับงานวิจัย ของสุรชัย รัชตประทาน (2546) พบว่า ประชาชนส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในระดับมาก ทั้งในด้านการปฏิบัติงาน การปฏิบัติตน การพูดจา มารยาท และการให้คาแนะนาปรึกษาของเจ้าหน้าที่ความสะดวกในการติดต่อ เจ้าหน้าที่มี ความรู้ความสามารถให้บริการด้วยความเต็มใจและเป็นมิตร แนะนา ให้ข้อมูล ให้ความรู้อย่างชัดเจนให้บริการ ตามลาดับก่อนหลังและ มี ความรวดเร็วในการให้บริการ เจ้าหน้าที่กระตือรือร้น ตั้งใจทางาน บริการได้ถูกต้อง ครบถ้วน ไม่ผิดพลาด สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนได้อย่างรวดเร็ว การทางาน มีความยุติธรรม น่าเชื่อถือ เป็นไปด้วยความโปร่งใส สุจริต สามารถตรวจสอบได้ และการขยายเวลาการบริการ เป็นเวลา 08.0018.00 น. ส่วนด้านที่ประชาชนมีความพึงพอใจมากที่สุดคือ สถานที่และบริเวณโดยรอบมีความสะดวกสบาย ขั้นตอน ในการรับบริการ ระยะเวลาในการรับบริการ กฎระเบียบที่ใช้ ค่าธรรมเนียมที่ชาระ ในขณะที่ด้านอัตรากาลังเจ้าหน้าที่
159
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
และการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชน ประชาชนมีความพึงพอใจในระดับปานกลาง นอกจากนี้ผลการศึกษา มีข้อเสนอแนะ คือ ควรนาระบบเทคโนโลยีสมัยใหม่มาช่วยในการบริการประชาชน จัดระเบียบการทางาน ให้มีความ ถูกต้องชัดเจน ตลอดจนพัฒนาเจ้าหน้าที่ทุกฝ่ายให้สามารถทางานทดแทนกันได้ ปรับปรุง ระบบการบริการประชาชนให้ เกิดความสะดวก รวดเร็ว ยุติธรรมมากขึ้น 3. งานด้านพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการให้บริการ ขององค์การบริหารส่วนตาบลศรีภูมิ โดยรวมและรายด้าน ได้แก่ ด้านสิ่งอานวยความสะดวก ด้านขั้นตอนการ ให้บริการ ด้านช่องทางการให้บริการ และด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการอยู่ในระดับมาก เนื่องจาก การให้บริการของ องค์การบริการส่วนตาบลมีความรวดเร็วในการให้บริการ และความชัดเจนในการอธิบาย ชี้แจง และแนะนาขั้นตอน ในการให้บริการมีช่องทางการให้บริการที่หลากหลาย และการจัดพื้นที่สาหรับกรอกแบบฟอร์มต่าง ๆ อย่างเพียงพอ สอดคล้องกับงานวิจัยของไพวัลย์ ชลาลัย (2550 : บทคัดย่อ) พบว่า โดยภาพรวมระดับความพึงพอใจในการ ให้บริการของพนักงานเทศบาลตาบลคลองใหญ่ อยู่ในระดับมาก เมื่อจาแนกรายด้านตามความสาคัญของการใช้ บริการได้ ดังนี้ 1) สามารถนาระบบคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานและสามารถบริการประชาชนได้ รวดเร็วและมี ประสิทธิภาพโดยประชาชนมีระดับความพึงพอใจต่อความสามารถนาระบบ คอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในงานและ สามารถบริการประชาชนได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ อยู่ในระดับมากและให้ความสาคัญเป็นอันดับที่ 1 และ 2) ศึกษาองค์ความรู้ใหม่ ๆ เพื่อปฏิบัติงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยประชาชนมีระดับ ความพึงพอใจต่อการศึกษา องค์ความรู้ใหม่ ๆ เพื่อปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ในระดับ มากและให้ความสาคัญเป็นอันดับที่ 2 และ สอดคล้องกับงานวิจัยของสุวัฒน์ บุญเรือง (2545 : บทคัดย่อ) พบว่า ในภาพรวมประชาชนมีความพึงพอใจบริการ ด้านกระบวนการให้บริการในภาพรวมอยู่ระดับปานกลาง โดยมีความพึงพอใจมากรายข้อในเรื่องบริเวณภายในสา นักงานสะอาด สวยงาม บริเวณภายในสานักงานมีแสงสว่างเพียงพอ และความเพียงพอของที่นั่งสาหรับผู้มารับ บริการ ส่วนด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการในภาพรวมอยู่ในระดับพึงพอใจปานกลางโดยมีความพึงพอใจมากรายข้อใน เรื่องเจ้าหน้าที่พูดจากับผู้มารับบริการอย่างสุภาพ นิ่มนวล เจ้าหน้าที่มีความซื่อสัตย์ต่อการปฏิบัติงาน 4. งานด้านสาธารณสุข ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วน ตาบลศรีภูมิ โดยรวมและรายด้าน ได้แก่ ด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ ด้านสิ่งอานวยความสะดวก ด้านช่องทางการ ให้บริการ และด้านขั้นตอนการให้บริการอยู่ในระดับมาก เนื่องจาก การให้บริการขององค์การบริการส่วนตาบล เจ้าหน้าที่ที่ให้บริการมีการให้บริการที่รวดเร็ว มีความคล่องตัว และความชัดเจนในการอธิบาย ชี้แจง และแนะนา ขั้นตอนในการให้บริการ เจ้าหน้ามีความเอาใจใส่ กระตือรือร้น และความพร้อมในการให้บริการ และสามารอธิบาย และตอบข้ อ สงสั ย ได้ ต รงประเด็ น มี ช่อ งการให้ บ ริ ก ารสามารถเข้ า ถึ งได้ ง่ า ย และมี ก ารจั ด พื้ น ที่ ส าหรั บ กรอก แบบฟอร์มต่าง ๆ อย่างเพียงพอ สอดคล้องกับงานวิจัยของบุญเลิศ บูรณุปกรณ์ (2546) พบว่า ประชาชนมีความพึง พอใจต่อผู้บริหารเทศบาลนครเชียงใหม่ในแต่ละด้านคือ คุณสมบัติของผู้บริหารในระดับมาก พึงพอใจด้านการปฏิบัติ ตามนโยบาย และด้านผลงานของผู้บริหารในระดับปานกลาง ทั้งนี้ยัง พบว่า ปัจจัยส่วนตัวของประชาชน ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา และภูมิลาเนา มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจผู้บริหาร และประชาชนได้ให้ข้อเสนอแนะคือ เทศบาล ควรสร้างกิจกรรมการให้ความรู้ กิจกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองให้แก่ประชาชนให้เหมาะสมกับปัจจัยส่วนบุคคล และสอดคล้องกับงานวิจัยของวรนุช บวรนันทเดช (2546, บทคัดย่อ) พบว่า ประชาชนมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ใน ระดับปานกลาง ในด้านบริการหลักการให้คาปรึกษาและบริการก่อนกลับบ้าน ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับ ความพึงพอใจต่อบริการ ได้แก่ ระดับการศึกษา รายได้ และเขต ที่อยู่อาศัยของประชาชนที่มารับบริการและได้ให้
160
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม คือ หน่วยงานควรกาหนด มาตรฐานบริการให้เหมาะสมกับพื้นที่มีการนิเทศติดตามประเมินผล การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เน้นบริการเชิงรุกเข้าสู่ชุมชน ด้านการส่งต่อ เยี่ยมบ้าน และด้านกิจกรรมในชุมชน ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการสารวจโดยการสัมภาษณ์แบบเชิงลึก การสอบถามเป็นรายบุคคลที่เกี่ยวกับการรับบริการ ในแต่ละส่วนงาน เพื่อทาให้ทราบถึงความต้องการที่แท้จิรงของประชาชน และทาให้ทราบถึงปัญหาต่าง ๆ ของ ประชาชน ซึ่งจะทาให้องค์การบริหารส่วนตาบลสามารถนามาใช้เป็นแนวทางในการดาเนินโครงการ หรือแนวทางใน การพัฒนาการบริหารงานในปีงบประมาณถัดไป 2. ควรมีการสารวจความสัมพันธ์ระหว่างสภาพการปฏิบัติงานกับผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติงานของ องค์การบริหารส่วนตาบล 3. ควรมีการสารวจความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ในองค์การบริหารส่วน ตาบล เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนางานให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณสมาชิกองค์การบริหารส่วนตาบล หัวหน้าส่วน และเจ้าหน้าที่พนักงานองค์การบริหาร ส่วนตาบลศรีภูมิ อาเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ ตลอดจนประชาชนในเขตพื้นที่ทุกท่าน ที่ได้ให้ข้อมูลและความ คิดเห็นในการเก็บรวบรวมข้อมูล ตลอดจนผู้ตอบแบบสอบถามทุกท่าน ที่ได้มีส่วนช่วยให้งานวิจัยดังกล่าวนี้สาเร็จลง ได้ด้วยดี เอกสารอ้างอิง กิติพัฒน์ อินทรนิโลดม. (2544). การศึกษาความพึงพอใจของประชาชนที่ทีต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ ปฏิบัติงานด้านทะเบียนราษฎรและบัตรประจาตัวประชาชน : ศึกษาเฉพาะกรณีสานักงานเขต คลองเตย. (รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารทั่วไป)).มหาวิทยาลัยบูรพา. ชลบุร.ี ชนะดา วีระพันธ์. (2555). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตาบลบ้านเก่า อาเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี. (รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการภาครัฐและภาคเอกชน)). มหาวิทยาลัยบูรพา. ชลบุรี. ทิวา ประสุวรรณ. (2547). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการของพนักงานส่วนตาบล : ศึกษา เฉพาะกรณีที่ทาการองค์การบริหารส่วนตาบลบ้านแลง. (รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (การ บริการทั่วไป). มหาวิทยาลัยบูรพา. ชลบุรี. บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น. บุญเลิศ บูรณุปกรณ์. (2546). ความพึงพอใจของประชาชนในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ต่อผู้บริหารเทศบาลนคร เชียงใหม่. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต (การเมืองการปกครอง). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่. วันชัย แก้วศิริโกมล. (2550). ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการให้บริการของสานักงานเขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร. (รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารทั่วไป)).มหาวิทยาลัยบูรพา. ชลบุรี. วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน. (2553). รายงานวิจัยโครงการสารวจและประเมินความพึงพอใจของประชาชนต่อ บริการขององค์การบริหารส่วนตาบลปางมะผ้า ประจาปี 2553. วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน. แม่ฮ่องสอน.
161
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
HSBP-04 ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายในกับประสิทธิผลการตรวจสอบภายใน ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม THE RELATIONSHIP BETWEEN INTERNAL AUDITOR INDEPENDENCE AND INTERNAL AUDIT EFFECTIVENESS OF MINISTRY OF SCIENCE AND TECHNOLOGY AND MINISTRY OF DIGITAL ECONOMY AND SOCIETY ยุวดี จันทะวงษ์1 ชุติมา นาคประสิทธิ์2 1 2
นักศึกษาปริญญาโท หลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา อาจารย์ประจาหลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายในกับ ประสิทธิผลการตรวจสอบภายในของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้ตรวจสอบภายในของหน่วยงานดังกล่าว จานวน 205 คน โดยใช้แบบสอบถามเพื่อเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้รับแบบสอบถามตอบกลับ จานวน 200 ฉบับ คิดเป็น อัตราการตอบกลั บร้ อยละ 97.56 ใช้ การวิเคราะห์สหสั มพั นธ์แบบพหุคู ณ และการวิ เคราะห์ ถดถอยเชิงพหุ คู ณ ผลการวิจัย พบว่า ความเป็นอิสระด้านกระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน การเข้าถึงทรัพย์สิน สมุดบัญชี เอกสารต่าง ๆ และบุคคลที่เกี่ยวข้อง การเปิดเผยเหตุบั่นทอนความเป็นอิสระ และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลใน องค์กร มีความสัมพันธ์เชิงบวกกั บประสิทธิผลการตรวจสอบภายในตามลาดับ ผู้ที่เกี่ยวข้องควรให้ความสาคัญกับ ความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายในเพื่อให้เกิดประสิทธิผลการตรวจสอบภายในซึ่งจะนาไปสู่การเพิ่มมูลค่าให้ เกิดขึ้นแก่องค์กรและผู้มีส่วนได้เสียทุกคน คำสำคัญ : การตรวจสอบภายใน ความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายใน ประสิทธิผลการตรวจสอบภายใน Abstract The purpose of this study aimed to test the relationship between internal auditor independence and internal audit effectiveness of Ministry of Science and Technology and Ministry of Digital Economy and Society. Data were collected from 205 of the internal auditor of Ministry of Science and Technology and Ministry of Digital Economy and Society by using questionnaire. The 200 questionnaires replied by respondents were returned representative 97.56% response rate. Statistics used in data analyzed were multiple correlation analysis and multiple regression analysis. The results found that independent internal auditor had statistically significant positive
162
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
relationship with internal audit effectiveness. Such relationship resulting from following aspects of independent internal auditor; internal audit process, accessing to property, books, documents and related persons, discloser of independence and relationship between co-worker. Therefore, related parties should pay attention on independent of internal auditors in order to produce internal audit effectiveness leading to enhance organization values and stakeholders. Keywords : Internal Audit, Internal Auditor Independence, Internal Audit Effectiveness บทนา รายได้เงินงบประมาณที่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจและองค์การมหาชนได้รับจากรัฐบาลนั้น ล้วนแล้วแต่มา จากเงินภาษีของประชาชนทุกคนในชาติ ดังนั้น เพื่อให้การใช้จ่ายเงินเป็นไปอย่างถูกต้องเหมาะสม คุ้มค่า และเกิด ประโยชน์สูงสุดแก่ประเทศชาติและประชาชน ในหน่วยงานจึงต้องมีผู้ต รวจสอบภายในที่เป็นอิสระคอยทาหน้าที่ ตรวจสอบด้านบัญชีและการเงิน บริการให้ความเชื่อมั่นและบริการให้คาปรึกษาอย่างเที่ยงธรรมและเป็นอิสระ (ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย. 2548 : 4-5) ซึ่งทาจะให้เกิดการ กากับดูแลที่ดีและการตรวจสอบภายในมีประสิทธิผล(อัจฉรารัตน์ สิทธิ. 2553) (สุฏิกา รักประสูติ. 2558) ได้มีผู้ ศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายในกับประสิทธิผลการตรวจสอบภายในหลาย ราย เช่น ภิญญดา เปรมนันทกุล. (2553) อัจฉรารัตน์ สิทธิ. (2553) อุไรวรรณ ศรีหานาม. (2558) และ Dickins, Denise; O’Reilly, Dennis. (2009) ซึ่งพบว่าความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายในนั้นมีความสาคัญทา ให้การตรวจสอบภายในมีประสิทธิผล และจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555–2559 รัฐบาลได้ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม และการวิจัยพัฒนา ในการพัฒนาประเทศ และในปัจจุบันรัฐบาลก็ได้ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (หรือเรียกว่าเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อให้ทันยุค สมัย) เป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อนการปฏิรูปกระบวนการผลิต การดาเนินธุรกิจ การค้า การบริการการศึกษา การสาธารณสุข การบริหารราชการแผ่นดิน รวมทั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมอื่น ๆ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาทาง เศรษฐกิจ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในสังคมและการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น ผลักดันทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศก้าวเข้าสู่โมเดลประเทศไทย 4.0 ซึ่งเกี่ยวข้องกับกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบ ภายในกับประสิทธิผลการตรวจสอบภายในของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ผลลัพธ์ที่ได้จากการวิจัยจะทาให้ตระหนักถึงความสาคัญของความเป็นอิสระ ในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของผู้ตรวจสอบภายใน ซึ่งทาจะให้เกิดการกากับดูแลที่ดีและการตรวจสอบภายใน มีประสิทธิผล วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายในกับประสิทธิผลการตรวจสอบภายใน ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีและกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
163
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ความเป็นอิสระ (Independence) หมายถึง การเป็นอิสระจากสภาวะที่เป็นอุปสรรคต่อความสามารถ ในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในเพื่อให้การตรวจสอบภายในบรรลุวัตถุประสงค์ ความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายในวัดได้จากเสรีภาพในการปฏิบัติงานตรวจสอบ ตามมาตรฐานการ ประกอบวิชาชีพตรวจสอบภายใน (ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. 2541 : 13) ซึ่งผู้ตรวจสอบภายในไม่ควรมี อานาจสั่งการหรือมีอานาจบริหารงานในสายงานที่ตรวจสอบ และต้องมีความเป็นอิสระในกิจกรรมที่ตนตรวจสอบ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างอิสระทั้งในการปฏิบัติงานและทัศนคติของผู้ตรวจสอบภายใน (กรมบัญชีกลาง. 2546 : 4) ผู้ตรวจสอบภายในควรปฏิบัติงานในหน้าที่ด้วยความเที่ยงธรรม (Objectivity) มีทัศนคติที่เป็นกลาง ไม่ ลาเอียง ปราศจากอคติและหลีกเลี่ยงในเรื่องความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (Conflicts of Interest) (ตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสมาคม ผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย. 2548 : 421–422) ซึ่งสามารถสรุป ความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายในได้เป็น 5 ด้าน ดังนี้ ด้านโครงสร้างของหน่วยตรวจสอบภายใน (Internal Audit Unit Structure) หมายถึง โครงสร้างของ หน่วยงานตรวจสอบภายในที่มีสายการบังคับบัญชาและมีการรายงานผลการตรวจสอบตรงต่อหัวหน้าส่วนราชการ หรือคณะกรรมการตรวจสอบ (แล้วแต่กรณี) โดยปราศจากการแทรกแซงจากบุคคลอื่น มีการกาหนดเรื่องโครงสร้าง ของหน่วยตรวจสอบภายในและความเป็นอิสระของหน่วยตรวจสอบภายในไว้อย่างชัดเจนในกฎบัตรการตรวจสอบ ภายใน ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์กร (Relationship between Co-worker) หมายถึง การที่ ผู้ตรวจสอบภายในสามารถปฏิบัติงานด้วยความไม่เอนเอียง และเป็นกลาง โดยมีการสอบทานรายงานผลการ ตรวจสอบเพื่อให้แน่ใจว่างานตรวจสอบภายในนั้นมีความเป็นอิสระ เที่ยงธรรม ปราศจากอคติ ไม่มีความสัมพันธ์ส่วน บุคคลที่อาจทาให้ผู้ตรวจสอบภายในมีความเอนเอียง ไม่เป็นกลางในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ด้านกระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน (Internal Audit Process) หมายถึง การกาหนดขอบเขต การตรวจสอบ การปฏิบัติงานตรวจสอบ และการรายงานผลการตรวจสอบ โดยไม่มีการแทรกแซงจากฝ่ายบริหาร และหัวหน้าส่วนราชการให้เลือกสุ่มตรวจรายการที่ไม่มีข้อบกพร่องหรือมีข้อบกพร่องน้อยที่สุด และรายงานผลการ ตรวจสอบเป็นไปตามความจริง โดยไม่มีการสั่งการด้วยวาจาเพื่อให้แก้ไขรายการตรวจสอบที่เป็นสาระสาคัญ รวมถึง มีการทบทวน และการปรับเปลี่ยนแผนงานตรวจสอบเพื่อให้ทันกับเหตุการณ์สาคัญในปัจจุบันเสมอ และปฏิบัติงาน ตรวจสอบเป็นไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในที่เกี่ยวข้อง ด้านการเข้าถึงทรัพย์สิน สมุดบัญชี เอกสารต่าง ๆ และบุคคลที่เกี่ยวข้อง (Access to Property, Books, Documents and Related Persons) หมายถึง การกาหนดสิทธิในการเข้าถึงข้อมูลและบุคคลไว้ในกฎบัตร การตรวจสอบภายใน ระเบียบหรือข้อบังคับขององค์กร ทาให้สามารถเข้าถึงทรัพย์สิน สมุดบัญชี เอกสารต่าง ๆ และ บุคคลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ทาการตรวจสอบ โดยไม่มีการขัดขวางหรือแทรกแซงจากฝ่ายบริหารหรือหัวหน้าส่วน ราชการ และไม่ถูกจากัดขอบเขตการตรวจสอบ ซึ่งการมีหลักฐานที่เกี่ยวข้องอย่างเพียงพอทาให้การตรวจสอบ ภายในมีประสิทธิผล ด้านการเปิดเผยเหตุบั่นทอนความเป็นอิสระ (Discloser of Independence) หมายถึง การเปิดเผยเหตุ บั่นทอนความเป็นอิ สระให้ผู้ อานวยการสานักงานตรวจสอบภายในและผู้ ที่เกี่ยวข้อ งทราบทุ กครั้งก่อ นการเข้ า ตรวจสอบ เมื่อผู้ตรวจสอบภายในรู้สึกว่าตนไม่มีความเป็นอิสระในการตรวจสอบงานนั้น
164
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ประสิทธิผลการตรวจสอบภายใน (Internal Audit Effectiveness) หมายถึง ผลที่เกิดจากกระบวนการ ปฏิบัติงานและการตรวจสอบภายในโดยการพิจารณาจากเป้าหมายหรือตัวชี้วัดว่าได้ผลตามที่ตั้งไว้หรือไม่ ซึ่ง สามารถสรุปได้ 5 ด้าน ดังนี้ ด้านกระบวนการกากับดูแลที่ดี (Good Governance) หมายถึง การมีกระบวนการบริหารจัดการต่าง ๆ ที่มีความโปร่งใส มีการปฏิบัติงานเป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง ระบบการ ควบคุมภายในมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทาให้รายงานทางการเงินมีความน่าเชื่อถือและได้มาตรฐานอันเป็นที่ ยอมรับซึ่งเกิดจากการมีกระบวนการกากับดูแลที่ดีนั่นเอง ด้านการบันทึกบัญชีและรายงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบ (Accountability and Responsibility) หมายถึง การบันทึกบัญชีอย่างถูกต้อง โปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ เนื่องจากมีหลักฐานประกอบการบันทึก บัญชีที่ถูกต้องให้ตรวจสอบ ทาให้องค์กรได้ข้อมูลและมีการรายงานผลการปฏิบัติงานตามความเป็นจริง มีการสอบ ทานความถูกต้องของข้อมูลที่นาเสนอต่อผู้บริหารจากผู้ตรวจสอบภายในแล้ว ด้า นประสิ ท ธิภ าพและประสิ ท ธิผ ลของการปฏิ บั ติงาน (Efficiency and Effectiveness of Performance) หมายถึง การประเมิน วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลทุกด้านในการปฏิบัติงาน มีการปรับปรุ ง ระบบงานให้สะดวก ลดขั้นตอน ลดเวลาและค่าใช้จ่าย เป็นสื่อกลางระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในการประสาน และลดปัญหาความไม่เข้าใจในนโยบาย และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กร ด้านมาตรการถ่วงดุลแห่งอานาจ (Check and Balance) หมายถึง การถ่วงดุลอานาจและการตรวจสอบ ซึ่งกันและกันระหว่างหัวหน้าส่วนราชการและฝ่ายบริหาร การใช้ดุลพินิจและตัดสินใจในการบริหารงานเป็ นไปตาม ความต้องการขององค์กร และมีการใช้ทรัพยากรขององค์กรให้เป็นไปอย่างเหมาะสมตามลาดับความสาคัญในทางที่ เป็นประโยชน์สูงสุดและเพิ่มมูลค่าให้แก่องค์กร วิธีดาเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ ผู้ตรวจสอบภายในของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม จานวน 356 คน (จานวนอาจมีการคลาดเคลื่อน) ผู้วิจัยใช้วิธีการคานวณ กลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตรของเครซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) ได้ผลลัพธ์จานวน 185 คน แต่เพื่อให้ จานวนกลุ่มตัวอย่างที่ถูกสุ่มได้ค่าความเชื่อมั่นที่เพิ่มมากขึ้น ผู้วิจัยจึงแจกแบบสอบถามทั้งหมด 205 ชุด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล ตอนที่ 2 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายใน ตอนที่ 3 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิผลการตรวจสอบภายใน ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะอื่น ๆ ผู้วิจัยได้นาแบบสอบถามไปทดสอบความเที่ยงตรง (Validity) โดยให้อาจารย์ที่ปรึกษา และผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 3 ท่าน ตรวจสอบความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) และได้นาแบบสอบถามไปทาการทดสอบ (Pre-Test) จานวน 30 ชุด เพื่อหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) โดยใช้สูตรสัมประสิทธิแอลฟาของครอนบาค (Cronbach’ s Alpha Coefficient) โดยใช้เกณฑ์ยอมรับที่ค่ามากกว่า 0.700 (สรายุทธ กันหลง. 2560 : เว็บไซต์)
165
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
โดยความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายในมีค่าแอลฟาโดยรวม 0.917 ส่วนประสิทธิผลการตรวจสอบภายในมีค่า แอลฟาโดยรวม 0.932 การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้ดาเนินการแจกแบบสอบถามจานวน 205 ฉบับด้วยตนเองและส่งไปรษณีย์ไปยังกลุ่มตัวอย่าง โดยได้รับแบบสอบถามกลับมา จ านวน 200 ฉบับ ซึ่งคิด เป็นอัตราการตอบกลั บร้อยละ 97.56จากนั้นจึงน า แบบสอบถามที่ได้รับกลับมาวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผล สถิติที่ใช้ในการวิจัย ผู้ วิ จั ย ใช้ ส ถิ ติ เ ชิ ง พรรณนาในการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปของผู้ ต อบแบบสอบถาม ใช้ ก ารวิ เ คราะห์ สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ (Multiple Correlation Analysis) และการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายในกับประสิทธิผลการ ตรวจสอบภายในของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ สังคม ซึ่งเขียนเป็นสมการได้ดังนี้ สมการ IAE =
โดยที่ IAE OS RE IAP ACC
= = = = =
ประสิทธิผลการตรวจสอบภายใน ความเป็นอิสระด้านโครงสร้างของหน่วยตรวจสอบภายใน ความเป็นอิสระด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์กร ความเป็นอิสระด้านกระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ความเป็นอิสระด้านการเข้าถึงทรัพย์สิน สมุดบัญชี เอกสารต่าง ๆ และบุคคลที่เกี่ยวข้อง DIS = ความเป็นอิสระด้านการเปิดเผยเหตุบั่นทอนความเป็นอิสระ = ความคลาดเคลื่อนสัมพัทธ์
166
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ผลการวิจัย ตารางที่ 1 แสดงการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ของความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายในกับ ประสิทธิผลการตรวจสอบภายในของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม ตัวแปร
OS 4.57 0.53
X
S.D. OS RE IAP ACC DIS
RE 4.50 0.64 0.588**
IAP 4.45 0.55 0.654** 0.730**
ACC 4.22 0.63 0.631** 0.594** 0.723**
DIS 4.12 0.92 0.448** 0.499** 0.507** 0.532**
VIF
1.998 2.327 3.137 2.446 1.520
**มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 จากตารางที่ 1 พบว่า ความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายในมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสาคัญ (p<0.01) เมื่อแยกเป็นด้านพบว่า ความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายในที่มีความสัมพันธ์กันในระดับสูง มี 2 คู่ ได้แก่ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์กร (RE) สัมพันธ์กับด้านกระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน (IAP) (r=0.730) และด้านกระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน (IAP) สัมพันธ์กับด้านการเข้าถึงทรัพย์สิน สมุดบัญชี เอกสารต่าง ๆ และบุคคลที่เกี่ยวข้อง (ACC) (r=0.723) ส่วนความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายในด้ านอื่นมี ความสัมพันธ์กันในระดับปานกลาง และเพื่อเป็นการป้องกันความสัมพันธ์กันเองของตัวแปรอิสระที่มากเกินไปจน เกิดปัญหา Multicollinearity ผู้วิจัยจึงได้ทาการตรวจสอบ Multicollinearity โดยใช้ค่า VIF (Variance Inflation Factor) พบว่าค่า VIF ของตัวแปรอิสระ ความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายใน มีค่าตั้งแต่ 1.520 – 3.137 ซึ่งมีค่า น้อยกว่า 10 แสดงให้เห็นว่าตัวแปรอิสระไม่มีความสัมพันธ์กันเองที่มากเกินไปจนเกิดปัญหา Multicollinearity (Black, 2006: 585) ตารางที่ 2 ค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยของความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบของหน่วยงานในสังกัด กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ความเป็นอิสระ ค่าคงที่ ด้านโครงสร้างของหน่วยตรวจสอบภายใน (OS) ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์กร (RE) ด้านกระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน (IAP) ด้านการเข้าถึงทรัพย์สิน สมุดบัญชีเอกสาร ต่าง ๆ และบุคคลที่เกี่ยวข้อง (ACC) ด้านการเปิดเผยเหตุบั่นทอนความเป็นอิสระ (DIS) F = 69.614 p = 0.000
Unstandardized Coefficients B Std. Error 1.109 0.208 -0.063 0.059 0.142 0.053 0.323 0.072 0.260 0.092
= 0.633
**p<0.01, *p<0.05
167
0.056 0.030
Standardized Coefficients Beta
t
p-value
-0.065 0.174 0.341
5.329 -1.065 2.661 4.476
0.000 0.288 0.008* 0.000**
0.314 0.162
4.672 3.052
0.000** 0.003*
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
จากตารางที่ 2 พบว่าความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายในที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการตรวจสอบ ภายในอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติเรียงตามลาดับความสัมพันธ์มีดังนี้ 1) ความเป็นอิสระด้านกระบวนการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายใน (IAP) มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิผลการตรวจสอบภายใน (IAE) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (β = 0.341, Sig = 0.000) 2) ความเป็นอิสระด้านการเข้าถึงทรัพย์สิน สมุดบัญชี เอกสารต่าง ๆ และบุคคลที่ เกี่ยวข้อง (ACC) มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิผลการตรวจสอบภายใน (IAE) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (β = 0.314, Sig = 0.000) 3) ความเป็นอิสระด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์กร (RE) มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับ ประสิทธิผลการตรวจสอบภายใน (IAE) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (β = 0.174, Sig = 0.008) และ 4) ความเป็น อิสระด้านการเปิดเผยเหตุบั่นทอนความเป็นอิสระ (DIS) มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิผลการตรวจสอบภายใน (IAE) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (β = 0.162, Sig = 0.003) ส่วนความเป็นอิสระด้านโครงสร้างของหน่วยตรวจสอบ ภายใน (OS) นั้น ไม่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการตรวจสอบภายใน (IAE) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ สรุปผลการวิจัย ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายในกับประสิทธิผลการตรวจสอบ ภายในของหน่วยงานในสังกั ดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พบว่า ความเป็นอิสระด้านกระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิผลการ ตรวจสอบภายใน (IAE) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (β = 0.341) อาจเนื่องจากผู้ตรวจสอบภายในต้องมีความเป็น อิสระในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน ทั้งการกาหนดขอบเขต การปฏิบัติงาน การรายงานผลและการสื่อสารผล การตรวจสอบ จึงจะทาให้การตรวจสอบภายในมีประสิทธิผล ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ภิญญดา เปรมนันทกุล . (2553) พบว่า การที่ผู้ตรวจสอบภายในเป็นอิสระจากกระบวนการควบคุมภายใน เช่น การจัดทาแผนงานตรวจสอบ การทบทวน และการปรับเปลี่ยนแผนงาน เป็นปัจจัยที่ช่วยเพิ่มความเป็นอิสระได้ ซึ่งจะทาให้การตรวจสอบภายในมี ประสิทธิผล ความเป็นอิสระด้านการเข้าถึงทรัพย์สิน สมุดบัญชี เอกสารต่าง ๆ และบุคคลที่เกี่ ยวข้องมีความสัมพันธ์ เชิงบวกกับประสิทธิผลการตรวจสอบภายในอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (β = 0.314) อาจเนื่องจากการที่ผู้ตรวจสอบ ภายในสามารถเข้าถึงทรัพย์สิน สมุดบัญชี เอกสารต่าง ๆ และบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบได้อย่างอิสระนั้น ก็ จะทาให้ผู้ตรวจสอบภายในมีหลักฐานที่เกี่ยวข้องอย่างเพียงพอที่จะทาให้สามารถให้ความเห็นเกี่ยวกับการตรวจสอบ ได้อย่างอิสระและเที่ยงธรรมได้เช่นกัน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ศรัญญา สังกะสินสู่ . (2558) พบว่า ผู้ ตรวจสอบภายในจะสามารถปฏิบัติงานตรวจสอบอย่างมีประสิทธิผลได้นั้น ต้องมีสิทธิที่จะเข้าถึงและเสรีภาพในการ ตรวจสอบข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่าง ๆ ที่เพียงพอ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อเท็จจริงสาหรับผลการตรวจสอบ ความเป็นอิสระด้านการเปิดเผยเหตุบั่นทอนความเป็นอิสระมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิผลการ ตรวจสอบภายในอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (β = 0.162) อาจเนื่องจากผู้ตรวจสอบภายในควรเปิดเผยรายละเอียด ของเหตุบั่นทอนความเป็นอิสระต่อผู้ที่เกี่ยวข้องตามความเหมาะสมก่อนการรับงานตรวจสอบ เพื่อให้การตรวจสอบ ภายในนั้นมีความเป็นอิสระและจะส่งผลต่อประสิทธิผลการตรวจสอบภายใน สอดคล้องกับงานวิจัยของ อุไรวรรณ ศรี หานาม. (2558) พบว่า ความเป็นอิสระด้านการเปิดเผยการถูกบั่นทอนความเป็นอิสระมีความสัมพันธ์และ ผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิผลการตรวจสอบภายใน เนื่องจากผู้ตรวจสอบภายในอาจสูญเสียความเป็นอิสระใน การตรวจสอบ จึงควรเปิดเผยรายละเอียดให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ
168
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ความเป็นอิสระด้านความสัมพันธ์ระหว่า งบุคคลในองค์กรมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิผลการ ตรวจสอบภายในอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (β = 0.174) อาจเนื่องจากอาจมีความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับส่วนได้ส่วน เสีย บางประการทาให้ผู้ ตรวจสอบภายในขาดความเป็ นอิส ระในการตรวจสอบและแสดงความเห็น ทาให้ การ ตรวจสอบภายในไม่มีประสิทธิผล ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ศรัญญา สังกะสินสู่ . (2558) ความเป็นอิสระในการ ตรวจสอบภายในด้านการมีส่วนได้ส่วนเสียมีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับคุณภาพการตรวจสอบภายใน เนื่องจากการมีส่วนได้ส่วนเสียในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในจะทาให้ผู้ตรวจสอบภายในขาดความเป็นอิสระได้ ทั้งด้านการบริหารงานและการดาเนินงาน ความเป็นอิสระด้านโครงสร้างของหน่วยตรวจสอบภายในไม่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการตรวจสอบ ภายในอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (β = -1.065) สอดคล้องกับงานวิจัยของ ธรรมรัตน์ มีธรรม. (2558) ซึ่งพบว่า ปัจ จั ย ด้ า นความเป็ นอิ ส ระในการปฏิ บั ติงานของผู้ต รวจสอบภายในไม่ มี ค วามสัม พั น ธ์ ต่ อประสิ ท ธิ ผลของงาน ตรวจสอบภายใน อาจเนื่องมาจากโครงสร้างการบริหาร ซึ่งหน่วยตรวจสอบภายในจะขึ้นตรงกับผู้บริหารระดับสูง หรือคณะกรรมการตรวจสอบ แต่หน่วยตรวจสอบภายในยังคงเป็นหน่วยงานหนึ่งที่อยู่ในองค์กร ฝ่ายบริหารจึงยังมี อิทธิพลต่อหน่วยตรวจสอบภายใน วิจารณ์ผลการวิจัย ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายในกับประสิทธิผลการตรวจสอบ ภายในของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม สามารถวิจารณ์ผลการวิจัยได้ว่า ความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายในมีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการตรวจสอบ ภายในของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ใน ประเด็น 1) การที่ผู้ตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระด้านกระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในนั้น เพราะผู้ ตรวจสอบภายในสามารถที่จะกาหนดขอบเขตการตรวจสอบ การปฏิบัติงานตรวจสอบ และการรายงานผลการ ตรวจสอบได้ โดยไม่ มีก ารแทรกแซงจากฝ่า ยบริ หารและหัวหน้าส่ วนราชการ จึงทาให้ก ารตรวจสอบภายในมี ประสิทธิผล 2) การที่ผู้ตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระด้านการเข้าถึงทรัพย์สิน สมุดบัญชี เอกสารต่าง ๆ และ บุคคลที่เกี่ยวข้ อง นั้น เพราะการมีหลักฐานหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องอย่างเพียงพอ จะทาให้ผู้ตรวจสอบภายใน สามารถปฏิบัติงานตรวจสอบภายในได้อย่างมีประสิทธิผล 3) การที่ผู้ตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระด้าน ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในองค์กรนั้น อาจเนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างผู้ตรวจสอบภายในและผู้รับตรวจอาจมี ผลต่อการปฏิบัติงานและการรายงานผลการตรวจสอบภายใน ซึ่งจะทาให้ประสิทธิผลการตรวจสอบภายในลดลง และ 4) การที่ผู้ตรวจสอบภายในมีความเป็นอิสระด้านการเปิดเผยเหตุบั่นทอนความเป็นอิสระ ทั้งนี้อาจเนื่องจากผู้ ตรวจสอบภายในสามารถที่จะเปิดเผยเหตุบั่นทอนความเป็นอิสระก่อนการรับงานต่อผู้ที่เกี่ยวข้องได้ จึงทาให้การ ตรวจสอบภายในนั้นมีความเป็นอิสระมากยิ่งขึ้น ข้อเสนอแนะ 1. หัวหน้าส่วนราชการหรือผู้ บริหาร ควรให้ความสาคัญกับผลการตรวจสอบภายใน โดยการนาไป พิจารณาเพื่อปรับแผน และวางแผนการปฏิบัติงาน เพื่อเป็นการป้องกันการทุจริตและลดความผิดพลาดที่อาจจะ เกิดขึ้น รวมถึงการส่งเสริมความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายใน ซึ่งจะทาให้ผลการตรวจสอบภายในเกิดประโยชน์ สูงสุดต่อองค์กรอย่างแท้จริง
169
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
2. ควรมีเครื่องมือหรือเทคโนโลยีที่สามารถนามาช่วยในการตรวจสอบภายในให้มีความเชื่อถือหรือ เชื่อมั่นเพิ่มมากขึ้น รวมทั้งการพัฒนาความรู้ในด้านต่าง ๆ ให้ทันกับเหตุการณ์ปัจจุบัน รวมทั้งจานวนบุคลากรที่ เพียงพอในการทางานเพื่อองค์กร 3. สาหรับงานวิจัยในอนาคต ควรเพิ่มวิธีในการประเมินความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายในมากกว่า การตอบแบบสอบถามเพื่อให้สามารถเข้าถึงความเป็นอิสระที่แท้จริงได้ เอกสารอ้างอิง กรมบัญชีกลาง. (2560). แนวปฏิบัติการตรวจสอบภายใน. กรุงเทพฯ. สืบค้นจาก www.cgd.go.th ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2541). แนวทางการปฏิบัติการตรวจสอบภายใน ฉบับปรับปรุงใหม่. (พิมพ์ ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ. บริษัท บุญศิริการพิมพ์ จากัด. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย. (2548). แนวทางการ ตรวจสอบภายใน. กรุงเทพฯ. บริษัท ดูมายเบส จากัด. ธรรมรัตน์ มีธรรม. (2558). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อประสิทธิผลของงานตรวจสอบภายใน: กรณีศึกษา องค์การ มหาชน. วิทยานิพนธ์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. ภิญญดา เปรมนันทกุล. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อความเป็นอิสระในการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายใน : กรณีศึกษาผู้ตรวจสอบภายในของธนาคารพาณิชย์ 3 แห่งในประเทศไทย. การศึกษาค้นคว้าอิสระ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ศรัญญา สังกะสินสู.่ (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นอิสระในการตรวจสอบภายในกับคุณภาพการ ตรวจสอบภายในของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สุฏิกา รักประสูต.ิ (2558). บทบาทของผู้ตรวจสอบภายในต่อการจัดการความเสี่ยงองค์กร : ปัจจัยสาเหตุและ ผลลัพธ์. วารสารสุทธิปริทัศน์ ปีที่ 29 ฉบับที่ 92 ตุลาคม – ธันวาคม 2558. มหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย์. อัจฉรารัตน์ สิทธิ. (2553). ทัศนคติของปัจจัยทีม่ ีผลต่อประสิทธิผลและประสิทธิผลของการตรวจสอบภายในใน มุมมองของผู้รับการตรวจของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. การศึกษา ค้นคว้าอิสระ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อุไรวรรณ ศรีหานาม. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นอิสระในการตรวจสอบภายในกับประสิทธิผล การตรวจสอบภายในของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ คณะการบัญชี และการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. Dickins, Denise; O’Reilly, Dennis. (2009). The Qualifications and Independence of Internal Auditors. Internal Auditing; Mar/Jun 2009; 24, 3, ABI/INFORM Collection
170
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018 HSBP-05
การใช้คาบุพบท “对” กับ “对于” ของนักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาจีน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ COMPARES THE USING OF “对” AND “对于” IN CHINESE GRAMMAR FOR STUDENTS WHOES MAJOR IS CHINESE EDUCATION AT SCHOOL OF HUMANITIES IN SISAKET RAJABHAT UNIVERSITY สุภิญญา เรือนแก้ว1 1
Supinya reankaew คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ning112231@gmail.com
บทคัดย่อ การใช้ ค าบุ พ บท“对”กั บ “对于”ของนั ก ศึ ก ษาสาขาวิ ช าการสอนภาษาจี น คณะครุ ศ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ การดาเนินการจัดทารายงานผลการวิจัยการเรียนรู้การใช้คาบุพบท“对”กับ “对 于”ของนักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาจีนชั้นปีที่ 3 คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ ปีการศึกษา 2560 ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้คาบุพบท“对”กับ “对于” ของนักศึกษาสาขาวิชาการสอน ภาษาจีน ชั้นปีที่ 3 หากยังสามารถเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน“对”กับ“对于 ”ของนักศึกษาสาขาวิชาการสอน จากการศึกษาวิจัยในนักศึกษา 44 คน ได้คะแนนเฉลี่ยจากการทาแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน เท่ากับ 45.34 หลังเรียนเท่ากับ 82.39 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของของคะแนน ก่อนเรียนเท่ากับ 3.08 หลังเรียนเท่ากับ 1.62 เมื่อทดสอบความแตกต่างแล้วหาค่าเฉลี่ยพบว่า หลังการใช้แบบฝึก ทักษะการใช้คาบุพบท“对”กั บ “对于”ของนักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาจีน ชั้นปีที่ 3 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ นักศึกษามีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน คำสำคัญ : ภาษาจีน; ไวยากรณ์จีน; คาเชื่อมภาษาจีน Abstract This paper compares the using of “对” and “对于” in Chinese grammar for students whoes major is Chinese education at school of humanities in Sisaket Rajabhat University.The purpose is to test their using situation “对” and “对于”. The paper compares the researching results "before and after". And also know more about their situation of preview ing and after learning to see if there is any improvement after learning . The paper is to make a further understanding in the teaching Problems and Solutions. This study of 44 student samples found that the student's learning efficiency was 45.34 and the learning efficiency was 82.39. The
171
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
standard deviation before the study was 3.08 and the standard deviation after the study was 1.62. The study concluded that they were more efficient to use after learning. Key words : chinese language, chinese grammar , chinese Conjunction บทนา สาหรับการศึกษาภาษาต่างประเทศปัจจุบันในประเทศไทยนั้นจะเห็นได้ว่าภาษาจีนกลางได้รับความนิยม เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมาอันเนื่องมาจากการที่ภาษาจีนกลางได้เข้ามามีบทบาทต่อตลาดแรงงาน ของไทยในทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของธุรกิ จอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การติดต่อทาธุรกิจค้าขาย หรือการ ร่วมทุนกับนักธุรกิจชาวจีนทั้งจากแผ่นดินใหญ่ ไต้หวัน ฮ่องกง หรือ สิงคโปร์ที่มีอัตราส่วนทางการทาธุรกิจเพิ่มมาก ขึ้นเรื่อยๆทาให้มีความต้องการบุคลากรที่มีความรู้ในการใช้ภาษาจีนกลางเพิ่มมาก (ENNศูนย์ข่าวการศึกษาไทย) ประเทศไทยและประเทศจีนสองประเทศมีความร่วมมือทั้งในด้านเศรษฐกิจ การเมือง การศึกษา และวัฒนธรรมกัน มาอย่างช้านาน อีกทั้งประชากรไทยจีนยังมีความสัมพันธ์อันแนบแน่นต่อกัน สังคมไทยในปัจจุบันนี้ภาษาจีนได้รับ ความนิยมเป็นอย่างมากในปี1992เนื่องจากการเรียนการสอนภาษาจีนได้รับอนุญาตให้ดาเนินการได้อย่างเสรีเหมือน ภาษาต่างประเทศอื่นๆหลังจากภาษาจีนเข้ามาแทรกซึมการเรียนในระดับอุดมศึกษาสาเร็จแล้ว รัฐบาลเริ่มให้ระดับ ประถมศึกษาโดยมีโรงเรียนรัฐบาลนาร่องเริ่มเรียนภาษาจีนตั้งแต่ประถม4-6และมัธยมศึกษาตอนต้นเรียนวิชา ภาษาจีนเป็นวิชาพิเศษและเปิดกลุ่มวิชเฉพาะสาหรับมัธยมศึกษาตอนปลาย(ศิลป์-ภาษาจีน) (วาระสารวิชาการ มหาวิทยาลัยปทุมธานี 195 ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 ) เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2013 นาย จาตุรงค์ ฉายแสง รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาที่การ เป็นประธานการเปิดประชุมคณะกรรมการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ (ภาษาจีน) โดยมีแผนพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนคือกาหนดให้ระดับประถมศึกษามีการเรียนการสอนภาษาจีน ไม่ต่ากว่า 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไม่ต่ากว่า 4ชั่วโมง/สัปดาห์และมัธยมศึกษาตอนปลายไม่ตา กว่า 6 ชั่วโมง/สัปดาห์ (ข่าวสานักงานรัฐมนตรี. 439/2556) ภาษาจีนหลายคาเมื่อแปลเป็นภาษาไทยในบางกรณีอาจจะใช้ในการสร้างประโยคบางบริบทไม่ได้เมื่อ ผู้ใช้ภาษาจีนเผชิญกับความแตกต่างทางด้านภาษาเหล่านี้ง่ายมากที่จะก่อให้เกิดความผิดพลาดในการเรียนและการ ใช้อย่างถูกต้อง อุปสรรคมีหลายปัจจัยเช่นความเคยชินในการใช้ภาษาแม่ สภาพแวดล้อม เป็นต้น ดังนั้นจึงมีผู้วิจัย หลายท่านในต่างประเทศให้ความสนใจศึกษาการใช้ภาษาจีนของเด็กต่างชาติกันอย่างแพร่หลายทั้งศึกษาเกี่ยวกับ ไวยากรณ์จีนในส่วนของการใช้คาเชื่อมประโยคที่ผิดพลาดของนักศึกษาชาวต่างชาติ วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาการใช้คาบุพบท “对” กับ “对于” ของนักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาจีน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ วิธีดาเนินการวิจัย 1. กาหนดประชากรและกลุ่ม ตัวอย่าง ประชากรในการวิ จัยครั้งนี้ ได้แ ก่นัก ศึกษาชั้น ปีที่ 3 ปี การศึกษา 2560 สาขาวิชาการสอนภาษาจีน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ จานวนนักศึกษา ทั้งสิ้น 44 คน
172
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
2. สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย สร้างแบบฝึกทักษะการเรียนรูก้ ารใช้คาบุพบทและแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางด้านการใช้คาบุพบท“对”กับ “对于”ของนักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาจีน 3. หาคุณภาพเครื่องมือนารูปแบบการเรียนรู้พร้อมแบบประเมินที่สร้างขึ้น เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของแบบฝึกและนาแบบฝึกทักษะไปทดลองใช้กับนักศึกษาที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาสาขาวิชาการภาษาจีน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ ชั้นปีที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จานวน 15 คน ผลการวิจัย 1. ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการใช้คาบุพบท“对”กับ “对于”ของนักศึกษา สาขาวิชาการสอนภาษาจีน ชั้นปีที่ 3 ตามเกณฑ์ 80/80 ซึ่งผู้วิจัยได้ทดลองกับนักศึกษาจานวน 44 คน โดยทาการ ทดสอบก่อนเรียน โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน จานวน 20 ข้อ โดยการสอนในเนื้อหาที่ทาการวิจัย และทาแบบฝึกทักษะที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ตรวจให้คะแนนแบบฝึกทักษะแต่ละชุด แล้วนามาหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานและร้อยละ จากนั้นทาการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคะแนนเฉลีย่ คิดเป็นร้อยละ ของการทาแบบฝึกทักษะการใช้คา บุพบท“对”กับ “对于” แบบฝึกทักษะ แบบฝึกทักษะชุดที่ 1 แบบฝึกทักษะชุดที่ 2 แบบฝึกทักษะชุดที่ 3 รวมเฉลี่ย
คะแนน คะแนนเต็ม 10 10 10 30
X
8.55 8.70 8.20 25.45
(S.D.) 1.47 1.41 1.44 0.03
ค่าเฉลี่ยร้อยละ 85.45 87.05 82.05 84.51
จากตารางที่ 1 พบว่า หลักจากนักศึกษาผ่านกระบวนการเรียนรู้ และใช้แบบฝึกทักษะการใช้คาบุพบท“ 对”กับ “对于”ของนักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาจีน ชั้นปีที่ 3 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะ เกษ จานวน 3 ชุด คะแนนจากการทากิจกรรมในแบบฝึกทักษะทุกชุด เฉลี่ยรวม 25.45 คะแนน จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.03 ค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละเท่ากับ 84.51 2. ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ การทาแบบฝึกทักษะการ ใช้คาบุพบท“对”กับ “对于”ของนักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาจีน ชั้นปีที่ 3 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏศรีสะเกษ ผู้วิจัยได้ทาการทดสอบหลังเรียนกับนักศึกษาจานวน 44 คน หลักจากการใช้แบบฝึกทักษะการใช้ คาบุพบท“对”กับ “对于”ดังปรากฏในตารางที่ 2
173
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ตารางที่ 2 คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน และคะแนนเฉลีย่ คิดเป็นร้อยละ จากการทาแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะทักษะการใช้คาบุพบท“对”กับ “对于” รหัส 5813765001 5813765002 5813765003 5813765005 5813765007 5813765010 5813765012 5813765013 5813765014 5813765015 5813765016 5813765017 5813765018 5813765020 5813765021 5813765022 5813765023 5813765024 5813765026 5813765027 5813765028 5813765032 5813765033 5813765034 5813765035 5813765036 5813765037 5813765038 5813765039 5813765040 5813765041 5813765043 5813765044 5813765046 5813765048 5813765049
คะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ ก่อนเรียน (20คะแนน) หลังเรียน (20คะแนน) 11 17 9 12 5 10 6 15 7 14 10 18 14 18 13 17 4 12 11 16 10 16 11 17 13 19 8 15 10 18 6 13 9 14 6 14 8 11 10 18 4 12 11 13 14 20 3 11 12 16 5 14 7 15 10 15 9 14 10 14 6 12 12 16 12 17 7 14 8 14 3 10
174
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
รหัส 5813765050 5813765051 5813765053 5813765054 5813765057 5813765058 5813765059 5813765060
X
SRRU NCR2018
คะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ ก่อนเรียน (20คะแนน) หลังเรียน (20คะแนน) 9 15 13 19 10 14 6 12 15 20 11 17 10 15 11 18 399 725 9.07 3.08 45.34
X
S.D. ค่าเฉลี่ยร้อยละของคะแนนเต็ม
16.48 1.62 82.39
จากตารางที่ 2 พบว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คะแนนเต็ม 20 คะแนน ก่อนเรียน นักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาจีนชั้นปีที่ 3 ได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 9.07 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 45.34 ของ คะแนนเต็มเท่ากับ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.08 และหลังเรียน ได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 16.48 และเมื่อ เปรียบเทียบเป็นร้อยละของคะแนนเต็มเท่ากับ 82.39 3. การวิเคราะห์ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ การใช้ ค าบุ พ บท“对”กั บ “对于”ของนั ก ศึ ก ษาสาขาวิ ช าการสอนภาษาจี น ชั้ น ปี ที่ 3 คณะครุ ศ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ จากคะแนนทากิจกรรมในแบบฝึกทักษะ กับคะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน แล้วนามาคิดเป็นค่าร้อยละ ดังปรากฏในตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยแสดงประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะการใช้คาบุพบท“对”กับ “对于” คะแนน คะแนนเฉลี่ยจากการทาแบบฝึกทักษะ คะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบหลังเรียน
คะแนนเต็ม
X
S.D.
30 20
25.45 16.48
0.03 1.62
คะแนนเฉลี่ยคิดเป็น ร้อยละ 84.51 82.39
จากตารางที่ 3 พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาจากการทาแบบฝึกทักษะการใช้คาบุพบท“ 对”กับ “对于”ของนักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาจีน ชั้นปีที่ 3 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ จานวน 3 ชุด มีคะแนนเฉลี่ยรวม 25.45 คะแนน จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 84.51 และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียน จากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีคะแนนเฉลี่ย 16.48 คะแนน จาก คะแนนเต็ม 20 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 82.39 ดังนั้นแบบฝึกทักษะการใช้คาบุพบท“对”กับ “对于”ของ นักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาจีน ชั้นปีที่ 3 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ จานวน 3 ชุด มี ประสิทธิภาพเท่ากับ 84.51/82.39 สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 ที่กาหนดไว้
175
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
วิเคราะห์หาความแตกต่างระหว่างคะแนนแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาก่อนและหลังเรียนหลัง การใช้แบบฝึกทักษะการใช้คาบุพบท“对”กับ “对于”ของนักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาจีน ชั้นปีที่ 3 คณะ ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ผู้วิจัยได้คะแนนสอบก่อนเรียน หลังเรียน ของนักศึกษาทั้ง 44 คน มา เปรียบเทียบผลต่างของคะแนน แล้วคิดเป็นร้อยละ โดยใช้ผลการวิเคราะห์ t-test ดังปรากฏในตารางที่ 5 ตารางที่ 4 แสดงการวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน คะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ก่อนเรียน หลังเรียน
N (คน) 44 44
N (คะแนน) 20 20
S.D.
X
(ค่าเฉลี่ยคะแนน) 9.07 16.48
3.08 1.62
ค่าเฉลี่ย (ร้อยละ) 45.34 82.39
จากตารางที่ 4 พบว่านักศึกษา 44 คน ได้คะแนนเฉลี่ยจากการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน เท่ากับ 45.34 หลังเรียนเท่ากับ 82.39 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของของคะแนนก่อนเรียนเท่ากับ 3.08 หลังเรียนเท่ากับ 1.62 เมื่อทดสอบความแตกต่างแล้วหาค่าเฉลี่ยพบว่า หลังการใช้แบบฝึกทักษะการใช้คาบุพบท “ 对”กับ “对于”ของนักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาจีน ชั้นปีที่ 3 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ นักศึกษามีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของของนักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาจีน ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาจีน ชั้นปีที่ 3 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏศรีสะเกษที่มีต่อแบบฝึกทักษะการใช้คาบุพบท“对”กับ “对于”หลังจากการเรียนและใช้แบบฝึกทักษะ ผู้วิจัยได้นาแบบสอบถามวัดความพึงพอใจต่อฝึกทักษะการใช้คาบุพบท“对”กับ “对于”ซึ่งเป็นแบบประมาณค่า จากนั้นนาคะแนนที่ได้มาหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดังปรากฏในตารางที่ 6 ตารางที่ 5 แสดงผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาจีน รายการ
X
รายละเอียดของเนื้อหาที่เรียน ความแปลกใหม่ของเนื้อหาที่เรียน ความเหาะสมของเนื้อหากับวัยของผู้เรียน ความน่าสนใจของเนื้อหา ความยาก-ง่ายของเนื้อหาที่เรียน ความยาวของเนื้อหาที่เรียน เนื้อหาที่เรียนส่งเสริมความเข้าใจในวิชาภาษาจีน เนื้อหาที่เรียนพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางการเรียน เนื้อหาที่เรียนสามารถนาไปใช้ในชีวิติประจาวัน ความต้องการในการจัดเนื้อหาที่เรียนในลักษณะนี้อีก
4.36 4.36 4.46 4.61 4.25 4.07 4.46 4.18 4.39 4.25 4.33
ค่าเฉลี่ย( X )
176
S.D. 0.56 0.62 0.58 0.57 0.52 0.54 0.58 0.55 0.57 0.52 1.83
ระดับความพึงพอใจ มาก มาก มาก มากที่สุด มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
จากตารางที่ 5 พบว่านักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาจีน ชั้นปีที่ 3 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช ภัฏศรีสะเกษที่มีต่อแบบฝึกทักษะการใช้คาบุพบท““对”กับ “对于”ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ เมื่อพิจารณารายข้อพบว่า ข้อที่ 4 ความน่าสนใจของเนื้อหา มีคะแนนเฉลี่ย สูงสุด นักศึกษามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด( X =4.61, S.D.= 0.57 ) รองลงมาคือ ข้อที่ 3 ความเหาะสมของ เนื้อหากับวัยของผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( X =4.46, S.D.= 0.58 ) และข้อที่ 7 เนื้อหาที่เรียนส่งเสริม ความเข้าใจในวิชาภาษาจีน ( X =4.46 , S.D.= 0.58) ส่วนข้อที่ 6 ความยาวของเนื้อหาที่เรียน มีคะแนนเฉลี่ยน้อย ที่สุด ( X =4.07 , S.D.= 0.54 ) สรุปผลการวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถใช้คาบุพบท“对”กับ “对于”ของนักศึกษา สาขาวิชาการสอนภาษาจีน ชั้นปีที่ 3 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษมีประสิทธิภาพ 84.51/82.39 ซึ่งมากกว่าที่กาหนดไว้ คือ 80/80 กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุ ณ ชาวประมงในพื้ น ที่ ศึ ก ษาที่ ก รุ ณ าให้ ก ารสนั บ สนุ น ด้ า นการส ารวจเก็ บ ตั ว อย่ า ง ติ ด ต่ อ ประสานงาน และให้ข้อมูลที่สาคัญในการศึกษาครั้งนี้ และขอขอบคุณบุคลากร และนิสิตปริญญาตรีสาขาประมง คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย ที่ให้ความช่วยเหลือ ด้านการสารวจพื้นที่ และเก็บข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ เอกสารอ้างอิง ธูปทอง ปราบพล. (2549). ทฤษฏีการสร้างแบบฝึกการสอน. กรุงเทพฯ : อมรินการพิมพ์. บุญชม ศรีสะอาด. (2552). วิธีสร้างสถิติสาหรับการวิจัย. มหาสารคาม. พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2550). การสร้างและพัฒนาแบบทดสอบและวัดผลสัมฤทธิ์. กรุงเทพฯ. สานักทดสอบทาง การศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ประสานมิตร,2550. วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2552). การพัฒนาการเรียนการสอน. มหาสารคาม: ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. เสี่ยว อาน ต้า. (2004). ไวยากรณ์จีน. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ทฤษฏี. 林柱. 日本留学生使用介词"对"的有关偏误分析.暨南大学文学院学报, 2008. 王红厂,禹润敬.韩国留学生使用“关于”和“对于”的偏误分析.南开大 学汉语言问好学院, 2011. 丁茹菲. 泰国学生使用介词“对”、“对于”和“关于”的偏误分析.广西民 族大学, 2011.
177
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
萨然. 蒙古国学生学习汉语介词“对”和“对于”的偏误分析及教学策略. 东北师范大学, 2013. 邢健.“对”“对于”“关于”的语义类别及来华留学生偏误分析.云南大学, 2015. 刘敏. 韩国学习者汉语介词“对、对于、关于”的偏误分析和教学策略. 重庆师范大学, 2015. 唐冰冰 . 现代汉语的“对”、“对于”、“关于”和泰语的句法语. 广西民族 大学, 2016. 安德. 印尼学生汉语介词“对、对于、关于”习得研究.福建师范大学, 2014. 赵立新. 基于HSK动态语料库介词“对、对于、关于”的偏误分析.辽宁师 范大学, 2012. 元清云. 越南学生学习“对”、“对于”和“关于”等介词的偏误分析.吉林 大学, 2014.
178
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
ภาคโปสเตอร์ กลุ่ม ครุศาสตร์และศึกษาศาสตร์
178
SRRU NCR2018
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
EDUP-01 ผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน กลุม่ สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับวิธีการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค กลุ่มแข่งขัน (TGT) สุพิชญนันทน์ ถือชัย1, พนา จินดาศรี2 และพานชัย เกษฎา3 1
SUPITCHAYANUN THUECHAI1สาขาสังคมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ SUPITCHA0428@HOTMAIL.COM 2 PANA JINDASRI สาขาวัดผลและประเมินผลการศึกษา คณะครุศาสตร์ 3 PANCHAI KASSADA3สาขาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน คณะครุศาสตร์
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อศึกษากระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายที่ใช้ใน ชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้ชุดการเรียน ร่วมกับวิธีการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) (2) เพื่อศึกษาผลการจัดการ เรี ย นรู้ เรื่ อ ง กฎหมายที่ ใ ช้ ใ นชี วิ ต ประจ าวั น กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ สั งคมศึ ก ษา ศาสนา และวั ฒ นธรรม ชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับวิธีการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิคกลุ่ม แข่งขัน (TGT) (3) เพื่อศึกษาพัฒนาการผลการจัดการเรีย นรู้ เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระการ เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับวิธีการสอนด้วย กระบวนการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นประถมศึก ษาปีที่ 6 โรงเรียนกลาโหมราชเสนา 2 อาเภอ บัวเชด จังหวัดสุรินทร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จานวน 1 ห้องเรียน จานวนนักเรียน 32 คน ได้กลุ่มตัวอย่างมาโดยใช้วิธีเลือกแบบยกกลุ่ม การทดลองแบบ One Group Pretest – Posttest Design เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) ชุดการเรียน เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน จานวน 4 ชุด 2) แผนการจัดการเรียนรู้จานวน 4 แผน 3) แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 30 ข้อ และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับวิธีการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิคการแข่งขัน (TGT) เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน เป็นมาตราส่วนประมาณ 4 ระดับ จานวน 20 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจัยที่ทาให้กระบวนการเรียนโดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับวิธีการสอนแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิคกลุ่ม แข่งขัน (TGT) ประสบความสาเร็จคือการเล่นเกมแข่งขันตอบคาถามในชุดการเรียนเกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียน ผลคะแนนของทีม และรางวัล 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01
179
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียน โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดมีค่าเท่ากับ 4.69 มีความ พึงพอใจในระดับมากขึ้นไปอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. ผลพัฒนาการของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน หลังการจัดการ เรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งแต่ละคนมีคะแนนพัฒนาการเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 60.87 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ พัฒนาการระดับสูง Abstract This research aims to: (1) To study the learning process about the law in daily life, learning social studies, religion,and culture at the six grade by using a series of lessons with cooperative learning process by the team-game tournament (TGT) (2) To study the results of learning management about the law in daily life, learning social studies, religion,and culture at the six grade by using a series of lessons with cooperative learning process by the team-game tournament (TGT) (3) To study the development of learning outcomes about the law in daily life, learning social studies, religion,and culture at the six grade by using a series of lessons with cooperative learning process by the team-game tournament (TGT) Research samples is Prathomsuksa 6 students at Kalahomrajchasena 2 school, Bua Ched District, Surin Province, Surin Primary Educational Service Area Office 3, in 2nd semester of academic year 2560, 1 classrooms, 32 students. The samples were taken by means of group selection. Experimental model by One Group Pretest – Posttest Design. Research tools include : 1) A series of lessons about the law in daily life 4 sets 2) Learning Management Plan 4 sets 3) Achievement test 30 items and 4) Questionnaire on student satisfaction on learning activities about the law in daily life it is a 4 level scale 20 items. Statistics used in data analysis is the mean, standard deviation And test hypothesis using test statistic (t-test). The research found that : 1. Factor cause the learning process using a series of lessons with cooperative learning process by the team-game tournament (TGT) to succeed is playing a quiz game in the classroom Interaction between students, team Score and reward. 2. The achievement of Prathomsuksa 6 students post-test mean scores were higher than pre-test, mean scores with the significant difference at .01 level. 3. Student satisfaction with learning. The average level is the highest 4.69 to be more satisfied level of satisfaction at .01 level. 4. Development of learning achievement To study the learning process about the law in daily life post-test mean scores were higher than pre-test. Each has an average improvement score 60.87 percent highly developed.
180
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
บทนา สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของไทยปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นผลมาจาก ความเจริญก้าวหน้าของวิทยาการต่างๆ ซึ่งจะเห็นได้จากความต้องการการศึกษาที่เพิ่มมากขึ้น โดยเร่งพัฒนาคนให้ เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ ก่อให้เกิดสภาวะแข่งขันทางการศึกษาสูงขึ้น จึงส่งผลกระทบต่อการจัดการเรียนรู้ที่ มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมากกกว่าการคานึงถึงการอยู่ร่วมในสังคมอย่างมีความสุข การพัฒนาผู้เรียนให้พร้อม ที่จะดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมในอนาคต จึงต้องพัฒนาบุคคลที่มีคุณภาพ เป็นผู้ที่มีความรู้ ทักษะ และความสามารถ โดยสามารถนาความรู้ ทักษะ และความสามารถเหล่านี้ไปใช้แก้ปัญหาและตัดสินใจอย่างมีเหตุผลตลอดจนสามารถ ท างานและแก้ ปั ญ หาร่ ว มกั บ ผู้ อื่ น ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพพร้ อ มรั บ การเปลี่ ย นแปลงในอนาคตและน าทั ก ษะ ความสามารถนั้นมาพัฒนาประเทศให้มีศักยภาพในการแข่งขันกับประเทศอื่น ๆ ได้ ตลอดจนคนในสังคมสามารถนา ข้อมูลที่มีอยู่แปลงให้เป็นความรู้ ซึ่งเป็นการพัฒนา สู่สังคมแห่งเรียนรู้ ดังปรากฏในเป้าหมายการพัฒนาคนสู่สังคม แห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ที่มุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพทุน มนุษย์ของประเทศ โดยพัฒนาคนให้เหมาะสมตามช่วงวัย เพื่อให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ การหล่อหลอมให้คนไทยมี ค่านิยมตามบรรทัดฐานที่ดีทางสังคม เป็นคนดี มีสุขภาวะที่ดีมีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย และมีจิตสานึกที่ดี ต่อ สั งคมส่ ว นรวม การพัฒ นาทัก ษะที่ส อดคล้ อ งกับ ความต้ อ งการในตลาดแรงงานและทั กษะที่ จาเป็ นต่ อ การ ดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ของคนในแต่ละช่วงวัยตามความเหมาะสม ตลอดจนการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ ความเป็นเลิศ การสร้างเสริมให้คนมีสุขภาพดีที่เน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพและการลดปัจจัยเสี่ยงด้าน สภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อสุขภาพ (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2560 : 4) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เป็นวิชาที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ กับสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วยเรื่อง ราวเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม การดาเนินชีวิตในสังคม รวมถึงศาสนา ศีลธรรม และจริยธรรม จึงมีส่วนช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจว่ามนุษย์ ดารงชีวิตอย่างไร และเข้าใจถึงการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย ตามกาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทาให้เกิด ความเข้าใจในตนเองและเข้าใจผู้อื่น ยอมรับในความแตกต่าง มีคุณธรรม มีความอดทน อดกลั้น สามารถนาความรู้ ไปปรับใช้ ในการดาเนินชีวิต มีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่ในสังคมอย่างเป็นสุข เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคม โลก อันเป็นเป้าหมายที่แท้จริงของการเรียนวิชาสังคมศึกษา (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. 2551 : 3) เพราะทาให้ได้รู้จักความเป็นของสังคม รู้จักประเทศอื่นๆ ในสาระภูมิศาสตร์ รู้จักรากเหง้าของตนเองและผู้อื่น เกิดการเข้าใจในความแตกต่างของเพื่อร่วมโลก ในสาระประวัติศาสตร์ รู้ถึงการดารงชีพและกระบวนการต่างๆ ใน ระบบเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของคนเรา ในสาระเศรษฐศาสตร์ รู้ถึงระเบียบ กฎเกณฑ์ทางสังคม และการ ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมและประเทศ ในสาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม รวมไปถึง สามารถปฏิบัติตนเป็นคนดี มีคุณภาพตามหลักธรรมทางศาสนาที่นับถือ และเกิดความเข้าใจในความ แตกต่างทางความเชื่อและการปฏิบั ติตนของผู้อื่น ทาให้รู้จักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ในสาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม (สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. 2551 : 6) การศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมจากเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์พบปัญหาหลายประการส่วนใหญ่เชื่อมโยงกับคุณภาพครู ครูผู้สอนจานวน ไม่น้อยขาดความรู้ความเข้าใจวิธีการทางสังคมศึกษา และความลึกซึ้งทั้งด้านเนื้อหา การออกแบบการเรียนรู้ การจัด กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ และการวัดผลประเมินผล (มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์. 2560 : 120 อ้าง ถึงใน วิทยา นนท์นภา. 2558) ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ พรสมบัติ คาตรง (2543 : 3) ที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับสิ่งที่มี
181
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีสาเหตุ คือ 1) ความ แตกต่างระหว่างระหว่างบุคคลในการเรียนรู้ข องนักเรียน ได้แก่ ความแตกต่างด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม เพศ อายุ และสติปัญญา โดยเฉพาะความแตกต่างด้านสติปัญญาจะเป็นปัจจัยที่ส่งต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 2) วิธีการสอนของครู ได้แก่ ครูผู้สอนจานวนไม่น้อยที่ยึดตนเองเป็นศูนย์กลางผูกขาดการถ่ายทอดความรู้ เน้นด้าน การศึกษาท่องจา การให้ข้อมูล ไม่ค่อยสอนให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์ในห้องเรียนที่เห็นคุ้นเคยกันมานานคือภาพที่ ครูยืนอยู่หน้าชั้นเรียนเขียนกระดานดา และถ่ายโอนความรู้ประสบการณ์สู่นักเรียน ลักษณะเช่นนี้เป็นการเรียนการ สอนที่มีครูเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ นักเรียนเป็นเพียงผู้รับฟังและทาความเข้าใจคาอธิบาย จดจาคาบอกเล่าให้มาก ที่สุด เพื่อตอบคาถามในข้อสอบ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของสิริวรรณ ศรีพหล (2540 : 54) ได้กล่าวถึง ปัญหาที่เกี่ยวกับการเรียนการสอนไว้ว่า ผู้สอนยังคงยึดการสอนแบบบรรยายมากกว่าการใช้ วิธีการสอนแบบอื่นๆ มักบรรยายเนื้อหาสาระตามหนังสือ ผู้สอนยังขาดเทคนิคหรือวิธีการสอนใหม่ๆ นักเรียนที่เรียนวิชาสังคมศึกษาส่วน ใหญ่ยังไม่ค่อยมีโอกาสแสดงความคิดเห็น หรือฝึกฝนวิธีการแก้ปัญหาระหว่างการเรียนการสอน รวมทั้งไม่ค่อยมี ส่วนร่วมในการกิจกรรมการเรียนอย่ างทั่วถึง ผู้เรียนยังไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ เนื้อหาที่ เรียน น่าเบื่อหน่าย เพราะประสบการณ์และเนื้อหาสาระที่ได้เรียนไปนั้นยังมีความแตกต่างกันกับประสบการณ์ สังคมที่เกิดขึ้นจริง นอกจากนั้นเนื้อหาวิชาในแต่ละระดับยังมีความซ้าซ้อนกันมาก ซึ่งเป้าหมายยุทธศาสตร์ ของการ ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552 – 2561) ประการหนึ่งคือ คนไทยใฝ่ดี มีคุณธรรมพื้นฐาน มีจิตสานึก และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม มีจิตสาธารณะ มีวัฒนธรรมประชาธิปไตย โดยผู้เรียนทุกระดับ การศึกษาไม่ต่ากว่าร้อยละ 75 มีคุณธรรมจริยธรรมและความเป็นพลเมือง จากเหตุผลดังกล่าวครูผสู้ อนกลุ่มสาระการเรียนรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จึงจาเป็นที่จะต้อง เปลี่ยนบทบาทของตนเองจากผู้ที่ถ่ายทุกสิ่งทุกอย่างแก่ผู้เรียน เป็นที่ปรึกษาและผู้อานวยความสะดวก กระตุ้นให้ ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นที่จะเรียน สร้างขวัญกาลังใจ และเป็นผู้ร่วมคิด สร้างบรรยากาศที่มีลักษณะอบอุ่น เป็นมิตร ทั้งนี้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งหลายควรมุ่งเน้นให้ผู้เรียนปฏิบัติเป็นสาคัญ นั่นคือการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (กุหลาบ หงส์ทอง. 2546 : 4-5) ซึ่งในปัจจุบันเทคนิควิธีการ จัดการเรียนรู้นั้นมีอยู่หลากหลายรูปแบบ เช่นการจัดการเรียนรู้โดยใช้การเรียนแบบ CIRC การจัดการเรียนรู้โดย ใช้การเรียนแบบ STAD การจัดการเรียนรู้โดยการเรียนแบบร่วมมือ การจัดการเรียนรู้โดยใช้การเรียนแบบ TAI การจัดการเรียนรู้โดยใช้การเรียนแบบต่อภาพ (Jigsaw) การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคกลุ่มแข่งขัน (Team Games – Tournament : TGT) เป็นต้น (ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. 2553 : 40 - 43) นอกจากนั้นอาจจัดทาในรูปของ สื่อประกอบการเรียนการสอน เช่น บทเรียนสาเร็จรูป ใบงาน ใบความรู้ หรือชุดการเรียน เป็นต้น ชุ ด การเรี ย นรู้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ช่ว ยให้ ค รู ด าเนิ น การสอนไปตามขั้ น ตอน สามารถถ่ า ยทอดเนื้ อ หา ประสบการณ์ที่เป็นนามธรรมได้ ช่วยให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนและเป็นเครื่องมือสื่อสาร ระหว่างนักเรียนกับครูให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนร่วมกัน และเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน เป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม โดยที่ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลางทาให้นักเรียนได้รู้จักการวางแผนในการแก้ปัญหา รู้จัก ช่วยเหลือซึ่งกันและ ทาให้เกิดปฏิสัมพันธ์กันระหว่างนักเรียนกับครู และนักเรียนกับนักเรียน ชุดการเรียนเป็นชุด อุปกรณ์สื่อประสม ที่นาสื่อหลายอย่างมาสัมพันธ์กันเพื่อถ่ายทอดเนื้อหา ซึ่งสอดคล้องกับ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ และ คณะ (2551 : 60) ที่ได้กล่าวไว้ว่า ถ้านาสื่อการเรียนการสอนตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปที่เลือกสรรแล้วว่าเหมาะสมกับ เนื้อหานั้นๆ มาใช้ประกอบเข้าด้วยกันจะช่วยให้ผู้ที่มีความสามารถในการเรียนรู้ช้า สามารถเรียนรู้ได้เร็วขึ้น และ ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้นกว่าการใช้สื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเพียงอย่างเดียว และ จากการวิจัยของ อาภรณ์ ใจ
182
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
เที่ยง (2550) พบว่า การเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) ผู้เรียนมีความรับผิดชอบตัวเองผู้เรียนได้ฝึก และเรียนรู้ทักษะทางสังคมโดยตรง และที่สาคัญผู้เรียนมีความตื่นเต้นสนุกสนานกับการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้โดย ใช้แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) เป็นเทคนิคที่จะช่วยให้เกิดประสิทธิผลหากใช้กับกิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่ง พัฒนาผู้เรียนด้านการแก้ปัญหา การคิดแบบหลากหลาย การปฏิบัติภารกิจที่ซับซ้อน การเน้นคุณธรรม จริยธรรม การสร้างนิสัยความรับผิดชอบร่วมกัน และความร่วมมือภายในกลุ่ม วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2551) ได้กล่าวถึงข้อดี ของการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) เป็นเทคนิคที่ทาให้ผู้เรียนมีความเอาใจใส่รับผิดชอบ ตัวเองและกลุ่มร่วมกับสมาชิกอื่นส่งเสริมให้ผู้เรียนที่มีความสามารถต่างกันได้เรียนรู้ร่วมกัน ส่งเสริมให้ผู้เรียน ผลัดเปลี่ยนกันเป็นผู้นาได้ฝึกและเรียนรู้ทักษะทางสังคมโดยตรง ผู้เรียนมีความตื่นเต้นสนุกสนานกับการเรียนรู้ จากการศึกษางานวิจัยของนักวิจัยที่นาเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) มาใช้กับกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระหว่างปี 2549 - 2559 จานวน 10 เรื่อง พบว่า สาระที่ผู้วิจัยเลือกใช้มากที่สุด คือ สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ ร้อยละ 50 สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคมร้อยละ 30 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ร้อยละ 10 และสาระที่ 3เศรษฐศาสตร์ร้อยละ 10 ตามลาดับ โดยจัดเป็นการศึกษา เกี่ยวกับการการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ร้อยละ 50 รองลงมาเป็นการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 40 และการพัฒนาผลการเรียน ร้อยละ 10 นอกจากนี้ยังมีผู้วิจัยที่ทาการศึกษาเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน เช่น (สุพัชยา ปาทา. 2554 : 83-89 ; อรัญญา แวงดีสอน. 2554 : 85-86 ; สารสิน เล็กเจริญ. 2554 : 6872 ; รตาพร เทียนทรัพย์. 2550 : 59-61) ซึ่งได้ศึกษาผลการใช้ชุดการเรียนร่วมกั บกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ โดยใช้เทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) สามารถสรุปการศึกษาได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุด การเรียนร่วมกับเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) ส่งผลทาให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น นักเรียนได้ใช้กระบวนการ ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองเกิดการเรียนรู้และสามารถนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ และ วิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) ทาให้เกิดการแข่งขันมีประสิทธิภาพและสามารถนามาใช้จัดการ เรียนการสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และพฤติกรรมในการทางานร่วมกันของนักเรียนสูงขึ้นได้ ผู้วิจัยจึง ต้องการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน ในลักษณะที่ทาให้นักเรียนเกิดความสนุกสนาน ตื่นเต้ นและ ทาให้เนื้อหาที่นักเรียนรู้สึกว่าเข้าใจยาก เป็นเนื้อหาที่ท้าท้ายความสามารถของนักเรียน ดังนั้น ผู้วิจัยจึงได้ใช้ชุดการ เรียนร่วมกับวิธีการสอนแบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) โรงเรียนกลาโหมราชเสนา 2 อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ ผู้วิจัยเป็นครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่าการจัดการเรียนการ สอนของครู ผู้ สอนใช้ วิ ธี ก ารสอนแบบบรรยายตามเนื้ อ หาที่ มี อ ยู่ ใ นหนังสื อ การเรีย นการสอนยังยึ ด ตั ว ครู เ ป็ น ศูนย์กลางและขาดการใช้สื่อที่เหมาะสม ยังใช้ วิธีสอนที่เน้นการสอนให้นักเรียนท่องจามากกว่าการพัฒนาให้ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ผู้สอนยังขาดเทคนิคหรือวิธีการสอนใหม่ๆ นักเรียนยังไม่ค่อยมีโอกาสแสดงความ คิดเห็น หรือฝึกฝนวิธีการแก้ปัญหาระหว่างการเรียนการสอน รวมทั้งไม่ค่อยมีส่วนร่วมในการกิจกรรมการเรียน อย่างทั่วถึง ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับต่า เห็นได้จากจากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน (Ordinary National Educational Test: O-NET) ในระดับประเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมของนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 6 ในปีการศึกษา 2557 2558 และ2559 พบว่านักเรียน มีคะแนนเฉลี่ยวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่า คือร้อยละ 50 โดยนักเรียนยังมี คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 47.52 49.70 และ 47.75 ตามลาดับ (โรงเรียนกลาโหมราชเสนา 2. 2559) นอกจากการ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนแล้วอีกสิ่งหนึ่งที่ครูผู้สอนต้องเล็งเห็นถึงความสาคัญ คือ การส่งเสริมให้
183
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
นักเรียนสามารถนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน เห็นได้จากปัจจุบันนักเรียนยังขาดความรู้ความเข้าใจ ในการปฏิบัติตามกฎระเบียบ กติกาของสังคม ทั้งในครอบครัว ห้ องเรียน ชุมชน การปฏิบัติตนตามกฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก โดยเฉพาะการปฏิบัติตามกฎจราจรที่เป็นความรู้ที่ นั ก เรี ย นจ าเป็ น ต้ อ งใช้ ใ นการด าเนิ น ชี วิ ต ประจ าวั น ซึ่ งจากการศึ ก ษาข้ อ มู ล สถิ ติ ก ารกระท าความผิ ด เกี่ ย วกั บ พระราชบัญญัติจราจรทางบกในเขตอาเภอบัวเชดของเยาวชน ที่มีอายุต่ากว่า 18 ปี ในปี 2558 2559 และ 2560 โดยแบ่งเป็นข้อหาไม่สวมหมวกนิรภัย ร้อยละ 32.62 35.18 40.44 ข้อหาขับรถไม่มีใบอนุญาตขับรถ ร้อยละ 27.26 21.79 31.10 ข้อหาเปลี่ยนแปลงตัวรถ ร้อยละ 22.73 19.23 13.42 ข้อหาเมาแล้วขับ ร้อยละ 10.72 13.89 และ 9.02 ข้อหาไม่เสียภาษีประจาปี ร้อยละ 4.25 7.03 2.76 ข้อหารถไม่มีทะเบียน ร้อยละ 2.42 2.88 3.26 (สถานีตารวจอาเภอบัวเชด. 2560) จากเหตุ ผ ลดั งกล่ าวข้า งต้น ผู้ วิจั ย ในฐานะครูผู้ ส อนกลุ่ มสาระการเรี ยนรู้ สังคมศึก ษา ศาสนา และ วั ฒ นธรรม จึ ง ได้ ศึ ก ษาแนวทางการแก้ ปั ญ หาการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน โดยมี เ ป้ า หมายเพื่ อ ศึ ก ษา กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย ในการศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ เรื่ อง กฎหมายที่ใช้ใน ชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้ชุดการเรียน ร่วมกับวิธีการสอนแบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้าใจในเนื้อหาอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น พร้อมทั้งเป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนมาประยุกต์ใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อผู้เรียนต่อไป วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนกลาโหมราชเสนา 2 โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับ วิธีการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) 2. เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนกลาโหมราชเสนา 2 โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับวิธีการ สอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) 3. เพื่อศึกษาพัฒนาการผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวันกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนกลาโหมราชเสนา 2 โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับ วิธีการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) สมมติฐานการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังจากใช้ชุดการเรียน ร่วมกับวิธีการสอนแบบร่วมมือเทคนิคกลุ่ม แข่งขัน (TGT) สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการเรียน เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับวิธีการสอนด้วย กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) อยู่ในระดับมากขึ้นไป
184
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตตาบลจรัส และ ตาบลอาโพน กลุ่มเครือข่ายการจัดการศึกษาไตรคีรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 จานวน 6 โรงเรียน ประกอบด้วย โรงเรียนกลาโหมราชเสนา 2 โรงเรียนบ้านจรัส โรงเรียนบ้านโชค โรงเรียนบ้าน โอทะลัน โรงเรียนบ้านสะแร และโรงเรียนบ้ านอาโพน ซึ่งมีจานวนนักเรียน 185 คน ซึ่งเป็นโรงเรียนที่มีบริบท เดียวกันและจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนกลาโหมราชเสนา 2 ตาบลจรัส อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุรินทร์ เขต 3 จานวน 32 คน 2. ขอบเขตด้านระยะเวลา การทดลองครั้งนี้ใช้เวลาในการทดลอง 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง ในเดือนพฤศจิกายน 2560 ถึง เดือนมกราคม 2561 รวมเวลาในการทดลองทั้งสิ้น 8 ชั่วโมง 3. ขอบเขตด้านเนื้อหา เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นเนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา 4 เรื่อง (สานักวิชาการ และมาตรฐานการศึกษา. 2551 : 49) ดังนี้ 3.1 กฎหมายจราจร 3.1.1 สัญญาณจราจร 3.1.2 การปฏิบัตติ ามกฎจราจรของคนเดินเท้า 3.1.3 การปฏิบัตติ ามกฎจราจรของผู้ขับขี่รถจักรยาน 3.1.4 ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตามกฎหมายจราจร 3.2 กฎหมายทะเบียนราษฎร 3.2.1 การแจ้งเกิด 3.2.2 การแจ้งตาย 3.2.3 การย้ายที่อยู่ 3.2.4 ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตามกฎหมายทะเบียนราษฎร 3.3 กฎหมายยาเสพติดให้โทษ 3.3.1 ประเภทของยาเสพติดให้โทษ 3.3.2 ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ 3.3.3 ตัวอย่างโทษของผู้ที่กระทาความผิด 3.3.4 อันตรายของยาเสพติดให้โทษ 3.3.5 ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตามกฎหมายยาเสพติด 3.4 เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติ อบต. อบจ. 3.4.1 เทศบัญญัติ 3.4.2 ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.)
185
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
3.4.3 ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) 3.4.4 ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตามกฎหมายส่วนท้องถิ่น 4. ขอบเขตด้านตัวแปรที่มุ่งศึกษา 4.1 ตัวจัดกระทา ได้แก่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ชุดการเรียน ร่วมกับวิธีการสอนแบบ ร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) 4.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ชุดการเรียน ร่วมกับวิธีการสอน แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) ซึ่งประกอบด้วย 4.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4.2.2 ความพึงพอใจในการเรียน 4.2.3 พัฒนาการในการเรียน วิธีดาเนินการวิจัย การศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับวิธีการสอนแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิคกลุ่ม การแข่งขัน (Team - Games – Tournament : TGT) มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับวิธีการสอนแบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มกลุ่มแข่งขัน (TGT) 2) เพื่อศึกษาผลการเรียน เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 ก่อนเรียนด้วยชุดการเรียน ร่วมกับวิธีการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) และหลังเรียนด้วยชุดการเรียน ร่วมกับวิธีการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) และ3) เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับวิธีการสอนแบบร่วมมือเทคนิคกลุ่ม แข่งขัน (TGT) ผู้วิจัยได้ดาเนินการตามลาดับดังนี้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตตาบลจรัส และตาบลอาโพน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 จานวน 6 โรงเรียน ประกอบด้วย โรงเรียนกลาโหมราช เสนา 2 โรงเรียนบ้านจรัส โรงเรียนบ้านโอทะลัน โรงเรียนบ้านโชค โรงเรียนบ้านสะแร และโรงเรียนบ้านอาโพน ซึ่ง มีนักเรียนทั้งหมด 185 คน ซึ่งเป็นโรงเรียนที่มีบริบทเดียวกันและจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีลักษณะประชากรดังกล่าวถูกจัดไว้เป็นกลุ่มอย่างชัดเจน คือกลุ่มคะแนน ปานกลางและกลุ่ ม คะแนนต่ า โดยพิ จ ารณาจากผลการสอบระดั บ ชาติ ขั้ น พื้ น ฐาน (Ordinary National Educational Test : O-NET) ปีการศึกษา 2559 พบว่าคะแนนเฉลี่ยในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึก ษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีความใกล้เคียงกันภายในกลุ่ม โดยคะแนนของทั้ง 6 โรงเรียนมีดังนี้ โรงเรียนบ้านโชค ได้คะแนน เฉลี่ย 52.73 โรงเรียนบ้านสะแร ได้คะแนนเฉลี่ย 51.22 โรงเรียนกลาโหมราชเสนา 2 ได้คะแนนเฉลี่ย 47.75 โรงเรียนบ้านอาโพน ได้คะแนนเฉลี่ย 42.34 โรงเรียนบ้าน โอทะลันได้คะแนนเฉลี่ย 39.75 และ โรงเรียนบ้านจรัสได้ คะแนนเฉลี่ย 36.73 โรงเรียนที่จัดอยู่ในกลุ่มคะแนนปานกลาง ได้แก่ โรงเรียนบ้านโชค โรงเรียนบ้านสะแร โรงเรียน
186
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
กลาโหมราชเสนา 2 และโรงเรียนบ้านอาโพน ส่วนโรงเรียนที่จัดอยู่ในกลุ่มคะแนนต่าได้แก่ โรงเรียนบ้านโอทะลัน และโรงเรียนบ้านจรัส (แผนพัฒนาเครือข่ายการจัดการศึกษาไตรคีรี. 2559 : 23) กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนกลาโหม ราชเสนา 2 ตาบลจรัส อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 จานวน 32 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) แต่ทั้งนี้ผลการวิจัยจากกลุ่มตัวอย่าง สามารถสรุปอ้างอิงไปสู่ประชากรได้ เนื่องจากความเท่าเทียมกันของประชากรดังที่กล่าวไว้ในหัวข้อการกาหนด ประชากรข้างต้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระการเรียนรู้ที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม มีทั้งหมด จานวน 4 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง ชุดการเรีย น เรื่ อง กฎหมายที่ใช้ ในชีวิ ตประจ าวัน กลุ่มสาระการเรีย นรู้สั งคมศึ กษา ศาสนา และ วัฒนธรรม สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใช้หนังสือ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีจานวนทั้ง สิ้น 4 เรื่อง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (ก่อนเรียน–หลัง เรียน) เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน เป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ ชนิด 4 ตัวเลือก เป็นแบบทดสอบที่วัด ความรู้ ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินค่า มีทั้งสิ้น จานวน 30 ข้อ โดย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนนั้น โจทย์เหมือนกันแต่สลับตัวเลือก ซึ่งกาหนดเรื่อง ละ 4 ข้อ ตามเรื่อง ซึ่งการประเมินด้วยข้อสอบยังเป็นวิธีการประเมินที่มีความจาเป็นในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน โดยเฉพาะในเรื่องความรู้และพัฒนาการความรู้ เพราะเป็นวิธีที่สามารถประเมินสัมฤทธิ์ได้ดี และเป็นวิธีที่ ผู้สอนใช้เป็นส่วนใหญ่ (จตุภูมิ เขตจัตุรัส. 2560 : 24) แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้ชุดการเรียนร่วมกับ วิธีการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน สาระ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จานวน 20 ข้อ โดยแบ่งเป็นด้าน ครูผู้สอน 5 ข้อ ด้านเนื้อหา 4 ข้อด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 7 ข้อ ด้านการวัดและการประเมินผล 4 ข้อ แบบสังเกตการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน เพื่อที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของผู้สอน ซึ่งในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ชุดการเรียน ร่วมกับการสอนเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) มีหลายขั้นตอน ในแต่ละขั้นตอนครูผู้สอนจะให้ผู้เรียนได้ศึกษาและลงมือ ปฏิบัติเอง ครูมีหน้าที่ให้คาแนะนา คอยสังเกต และบันทึกกระบวนการหาความรู้ และพฤติกรรมของผู้เรียนในขณะ ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอน การเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ดาเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ระหว่าง วันที่ 1 เดือน พฤศจิกายน 2560 ถึงวันที่ 29 เดือนธันวาคม 2560 ดังนี้
187
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล ในการศึกษาการพัฒนาชุดการเรียนร่วมกับวิธีการสอนแบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนกลาโหมราชเสนา 2 อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ ผู้ศึกษาได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามวิธีการและ ขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ขั้นก่อนการศึกษา เป็นขั้นตอนที่ผู้วิจัยได้เตรียมความพร้อมด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.1 เตรียมการวางแผนเพื่อนาเครื่องมือที่ผ่านการหาประสิทธิภาพแล้วที่ใช้ในการวิจัย 1.2 ชี้แจง ทาความเข้าใจกับนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้เพื่อชี้แจงจุดประสงค์ วิธีการเรียนโดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับกระบวนการร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) 1.3 ก่อนการเรียนโดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับกระบวนการกลุ่มร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน (Pre-test) จานวน 1 ฉบับ ซึ่งประกอบด้วย แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ 30 คะแนน 2. ขั้นดาเนินการศึกษา เป็นขั้นที่ผู้วิจัยได้ดาเนินการศึกษาโดยนาเครื่องมือที่ผ่านการหาประสิทธิ ภาพ แล้วไปใช้ในการทดลอง การดาเนินการทดลองใช้เวลา 10 คาบโดยทาการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน 1 คาบเรียน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ละ 2 คาบ ทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน 1 คาบเรียน ใน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 2.1 ดาเนินการทดลอง โดยใช้ชุ ดการเรียนร่วมกับวิ ธีการสอนแบบร่ วมมือเทคนิคกลุ่ มแข่งขั น (TGT) เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ทั้งหมด กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง 2.2 จากนั้นครูเข้าสู่กิจกรรมการเรียนโดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับวิธีการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) โดยจัดผู้เรียนเข้ากลุ่มคละความสามารถ (เก่ง กลาง อ่อน) กลุ่มละ 4 คน และเรียกกลุ่มนี้ว่า กลุ่มบ้านของเรา (Home Group) สมาชิกในกลุ่มบ้านของเรา ได้รับเนื้อหาสาระ และศึกษา เนื้อหาสาระร่วมกัน จากนั้นสมาชิกในกลุ่มบ้านของเรา แยกย้ายกันเป็นตัวแทนกลุ่มไปแข่งขันกับกลุ่มอื่น โดยจัด กลุ่มแข่งขันตามความสามารถ คือ คนเก่งในกลุ่มบ้านของเราแต่ละกลุ่มไปรวมกัน คนอ่อนก็ไปรวมกับคนอ่อนของ กลุ่มอื่น กลุ่มใหม่ที่รวมกันนี้เรียกว่ากลุ่มแข่งขัน กาหนดให้มีสมาชิกกลุ่มละ 4 คน เมื่อได้สมาชิกในกลุ่มแข่งขัน เรียบร้อย เริ่มการแข่งขันดังนี้ 1. แข่งขันกันตอบคาถาม 10 คาถาม 2. สมาชิกคนแรกจับคาถามขึ้นมา 1 คาถาม และอ่านคาถามให้กลุ่มฟัง 3. ให้สมาชิกที่อยู่ซ้ายมือของผู้อ่านคาถามคนแรกตอบคาถามก่อน ต่อไปจึงให้คนถัดไป ตอบจนครบ 4. ผู้อ่านคาถามเปิดคาตอบ แล้วอ่านเฉลยคาตอบที่ถูกให้กลุ่มฟัง 5. ให้คะแนนคาตอบ โดย ผู้ตอบถูก คนแรกให้ 2 คะแนน ผู้ตอบถูกคนถัดไปให้ 1 คะแนน และ ผู้ตอบผิดให้ 0 คะแนน ตามลาดับ ซึ่งสมาชิกกลุ่มที่สอง จับคาถามที่ 2 และเริ่มเล่นตามขั้นตอน เมื่อทุกกลุ่มตอบคาถามครบทั้ง 10 ข้อ ทุกคนรวมคะแนนของตนเอง ผู้ได้ คะแนนสูงสุดอันดับ 1 ได้โบนัส 10 คะแนนผู้ได้คะแนนสูงสุดอันดับ 2 ได้โบนัส 8 คะแนน ผู้ได้คะแนนสูงสุดอันดับ 3 ได้โบนัส 5 คะแนน และ ผู้ได้คะแนนสูงสุดอันดับ 4 ได้โบนัส 4 คะแนน ตามลาดับ เมื่อแข่งขันเสร็จแล้ว สมาชิก กลุ่มกลับไปกลุ่มบ้านของเรา แล้วนาคะแนนที่แต่ละคนได้ รวมเป็นคะแนนของกลุ่ม 3. เมื่อนักเรียนศึกษาชุดการเรียน เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ทั้ง 4 ชุดการเรียนแล้ว ให้ นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน (post – test) โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
188
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ทางการเรียนชุดเดียวกันกับแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน (pre - test) แต่สลับข้อและตัวเลือก จานวน 30 ข้อ คะแนนเต็ม 30 คะแนน การสลับข้อและตัวเลือก เพื่อป้องกันการจาข้อสอบได้ของนักเรียน 4. นาแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้ชุดการเรียนร่วมกับวิธีการสอนแบบร่วมมือเทคนิคกลุ่ม แข่งขัน (TGT) เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 6 ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างประเมินเพื่อหาค่าความพึงพอใจที่มีต่อการใช้ โดยใช้แบบสอบถามความ พึงพอใจที่สร้างขึ้น จานวน 15 ข้อ ภายหลังสิ้นสุดการเรียนครบทั้ง 4 บท 5. ผู้ศึ กษาได้ วางแผนการด าเนิน การเก็ บ ข้อ มูล และดาเนิ น การทดสอบระหว่ าง วัน ที่ 1 เดื อ น พฤศจิกายน 2560 ถึงวันที่ เดือน 29 เดือนธันวาคม 2560 ซึ่งมีรายละเอียดการดาเนินการ การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ วิเคราะห์เปรียบเทียบผลการจัดการเรียนรู้ โดยหา ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ ของคะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและคะแนนสอบหลังเรียน วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนกลาโหมราชเสนา 2 ผลการวิจัย จากการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับวิธีการสอนแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิคกลุ่มการแข่งขัน (Team - Games – Tournament : TGT) เป็นกระบวนการเรียนที่เป็นการนาเสนอเนื้อหาหรือบทเรียนใหม่ รูปแบบการนาเสนอมีลักษณะเป็นการบรรยาย อภิปราย อาจจะ มีสื่อการเรียนรู้อื่นๆ ประกอบด้วยก็ได้ เทคนิค กลุ่มแข่งขัน (TGT) จะแตกต่างจากเทคนิคอื่นๆ ตรงที่ผู้สอนต้องเน้นให้ผู้เรียนทราบว่าผู้เรียนนั้นจะต้องให้ความ สนใจมากในเนื้อหาสาระ เพราะจะช่วยให้ทีมประสบความสาเร็จในการแข่งขัน วิธีนี้เหมาะสมกับการเรียนรู้ในวิชา พื้นฐานที่สามารถถามตอบที่มีคาตอบที่แน่นนอนตายตัว แต่ไม่เหมาะกับบางวิชา และเทคนิคการจัดกิจกรรม เทคนิค การแข่งขัน (TGT) ยังเป็นเทคนิครูปแบบหนึ่งในการสอนแบบร่วมมือและมีลักษณะของกิจกรรมคล้ายกันกับ STAD แต่เพิ่มเกมและการแข่งขันเข้ามาด้วย เหมาะสาหรับการจัดการเรียนการสอนในจุดประสงค์ที่มีคาตอบถูกต้องเพียง คาตอบเดียว กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยโดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคเทคนิค กลุ่มแข่งขัน (TGT) จากการศึกษา พบว่า นักเรียนมีการเตรียมความพร้อมสาหรับการแข่งขันอย่างดี โดยการหา ข้อมูลก่อนเข้าชั้นเรียนในชั่วโมงนั้น ๆ การเรียนโดยการใช้เทคนิคการแข่งขันจึงเป็นอีกกระบวนการจัดการเรียนการ สอนที่ทาให้นักเรียนตื่นเต้น เพราะนักเรียนต้องการแข่งขันอยู่ตลอดเวลา นอกจากนี้ ยังช่วยให้นักเรียนที่อ่อนขยับ ขึ้นมาอยู่ระดับกลาง และนักเรียนที่อยู่ในระดับกลาง สามารถขยับขึ้นมาอยู่ในนักเรียนกลุ่มเก่งได้ จะกระบวนการ กลุ่มร่วมมือ เพราะนักเรียนที่อยู่ในทีมเดียวกันจะช่วยเหลือกันเพื่อให้ได้คะแนนการแข่งขันสูงที่สุด นอกจากนี้ยัง พบว่า นักเรียนมีความต้องการให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือกับวิชาอื่น ๆ ผลการวิเคราะห์ผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ผู้วิจัยได้ดาเนินการวัดการจัดการเรียนรู้ทางการเรียน เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน จานวน 30 ข้อ ในกลุ่มตัวอย่าง 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 เป็นการทดสอบก่อนเรียน และในครั้งที่ 2 ดาเนินการทดสอบ หลังเรียน ผล ปรากฏค่าสถิติพื้นฐาน และการทดสอบสมมติฐาน พบว่า นักเรียนทาการทดสอบก่อนเรียนได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ
189
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
13.78 คิดเป็นร้อยละ 45.94 ของคะแนนทั้งหมด และเมื่อทดสอบภายหลังเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบ ร่วมมือเทคนิคการแข่งขัน TGT เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 23.41 คิดเป็นร้อยละ 78.02 ของคะแนนทั้งหมด และพบว่าผลต่างจากคะแนนที่ได้จากการทดสอบทั้งสองครั้งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 9.63 คิดเป็นร้อยละ 32.08 ของคะแนนทั้งหมด ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับกระบวนการ เรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) ผู้วิจัยได้ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ชุดการเรียน เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน โดยใช้แบบสอบถามวัดความพึงพอใจของนักเรียนผลปรากฏค่าสถิติพื้นฐาน และการ ทดสอบสมมติฐาน พบว่า โดยภาพรวมนักเรียนทีความพึงพอใจต่อการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ชุดการเรียน ร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคการแข่งขัน TGT เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ในระดับมากที่สุด ( = 4.69) เมื่อพิจารณารายข้อนักเรียนมีระดับค่าเฉลี่ยความพึงพอใจสูงในระดับมากที่สุด ได้แก่ ข้อ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 9, 10, 11, 12, 13, 14, 15, 16, 18, 19, 20 รองลงมา คือ ข้อ 8, 17 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่านักเรียนมีระดับค่าเฉลี่ยความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมากทีส่ ุดทั้ง 4 ด้าน จัด เรียงลาดับได้ดังนี้ ลาดับที่ 1 ด้านครูผู้สอนมีค่าเฉลีย่ เท่ากับ 4.77 ลาดับที่ 2 ด้านกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.70 ลาดับที่ 3 ด้านการวัดและประเมินผล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.66 ลาดับที่ 4 ด้านเนื้อหา มีคา่ เฉลีย่ เท่ากับ 4.60 ผลการวิเคราะห์หาค่าพัฒนาการผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวันหลังการจัด กิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) จากการวิเคราะห์พัฒนาการผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิต ประจ าวัน ผู้วิจัยได้ใ ช้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้คะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน ผลปรากฏดังตาราง พบว่า เมื่อ พิจารณาตามวิธีการวัดพัฒนาการ วัดความแตกต่างระหว่างคะแนน ก่อนเรียน และ หลังเรียน เป็นรายบุคคล พบว่า นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) มีคะแนนพัฒนาการของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน หลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่า ก่อนการจัดการเรียนรู้ จากคะแนนพัฒนาการดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และเข้าใจในเนื้อหา บทเรียนมากขึ้น คะแนนพัฒนาการที่เพิ่มขึ้นอาจจะไม่ยุติธรรมสาหรับบางคนที่ได้คะแนนสอบก่อนเรียนสูง แต่เมื่อ พิจารณาคะแนนสัมพัทธ์แล้วทาให้รู้ว่านักเรียนแต่ละคนมีคะแนนพัฒนาการเพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 60.87 ซึ่งอยู่ใน เกณฑ์พัฒนาการระดับสูง นักเรียนทุกคนมีพัฒนาการเพิ่มขึ้นมากน้อยแตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความสนใจในการ เรียนและความถนัดของนักเรียนแต่ละบุคคล สรุปผลการวิจัย จากการนาชุดการเรียน เพื่อใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนกลาโหมราชเสนา 2 สามารถสรุปผลได้ ดังนี้ 1. กระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับวิธีการ สอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) ประสบความสาเร็จคือ การเรียนรู้ด้วยชุดการ
190
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
เรียน เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจ และกระบวนการการทางานกลุ่มที่มุ่งให้ผู้เรียนเรียนรู้เนื้อหาสาระต่างๆ ด้วยตนเองด้วยความร่วมมือและความช่วยเหลือกันภายในกลุ่มนาพาซึ่งความความสาเร็จ เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ แสดงความคิดเห็นช่วยเหลือซึ่งกันและกัน นักเรียนที่เก่งช่วยเหลือสมาชิกที่เรียนอ่อนกว่า ได้ฝึกการพัฒนาทักษะ ทางสังคม เช่น ทักษะการสื่อสาร ทักษะการทางานร่วมกับผู้อื่น ทักษะการสร้างความสัมพันธ์ เพื่อเป็นการให้การ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะแสวงหาความรู้ ทักษะการคิดและแก้ปัญหาร่วมกัน นักเรียนแต่ละกลุ่มจะได้ฝึกฝนทักษะ จากชุดการเรียนโดยศึกษาเนื้อหา การทาใบงาน การทาแบบทดสอบ และนักเรียนสรุปผลงานการทางานของ ตนเอง ว่ามีจุดเด่น จุดด้อย จุดบกพร่องหรือข้อควรปรับปรุง เพื่อหาแนวทางแก้ไขครั้งต่อไป ทาให้นักเรียนเห็นถึง ความก้าวหน้าของตนเองและกลุ่มอย่างชัดเจนรวดเร็ว และเสริมแรงโดยการให้คาชมเชยและกาลังใจกับนักเรียน ด้วย 2. ผลการวิเคราะห์คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนก่อนเรียนเท่ากับค่าเฉลี่ย คะแนนก่อนเรียนเท่ากับ 13.78 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 45.94 ค่าเฉลี่ยคะแนนหลังเรียนเท่ากับ 23.41 คิดเป็น ร้อยละ 78.02 โดยมีค่าเฉลี่ยของผลต่างเท่ากับ 9.63 คิดเป็นร้อยละ 32.08 ของคะแนนทั้งหมด และเมื่อทดสอบ สมมติฐานพบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ชุดการเรียน พบว่า ใน ระดับความพึงพอใจมากที่สุด ( = 4.69) ซึ่งนักเรียนมีระดับความพึงพอใจของผู้เรียนอยู่ในระดับมากขึ้นไป อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 4. ผลการวิเคราะห์พัฒนาการผลการจัดการเรียนรูจ้ ากการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับการ เรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคการแข่งขัน TGT นักเรียนมีคะแนนพัฒนาการทางการเรียน จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ก่อนเรียน และหลังเรียน พบว่า นักเรียนจานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 68.75 ของนักเรียนทั้งหมด มี พัฒนาการสูง นักเรียนจานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 18.75 ของนักเรียนทั้งหมด มีพัฒนาการปานกลาง และนักเรียน จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 12.50 ของนักเรียนทั้งหมด มีพัฒนาการสูงมาก แสดงว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการ เรียนรู้โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคการแข่งขัน TGT มีคะแนนพัฒนาการเพิ่มขึ้นอยู่ใน ระดับสูง วิจารณ์ผลการวิจัย จากผลการศึกษา ผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับ วิธีการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนกลาโหมราชเสนา 2 มีประเด็นในการอภิปรายผล ดังต่อไปนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน จากผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน โดยใช้ชุดการ เรียนร่วมกับวิธีการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคกลุ่มแข่งขัน (TGT) ซึ่งระหว่างก่อนเรียนและ ภายหลังเรียนโดยใช้ชุดการเรียน พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภายหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน เมื่อ เปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนโดยใช้สถิติทดสอบที (T-test for Dependent) วิเคราะห์ข้อมูล ผลปรากฏว่า คะแนนแบบทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนมีนัยสาคัญสถิติที่ระดับ .01 2. ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับกระบวนการเรียนรูแ้ บบร่วมมือเทคนิค การแข่งขัน TGT ผลการวิจัยพบว่านักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบ
191
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ร่วมมือเทคนิคการแข่งขัน TGT เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีความพึงพอใจใน ระดับมากที่สุด ( X = 4.69) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ผลการวิเคราะห์พัฒนาการผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจาวันหลังการจัด กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคการแข่งขัน TGT ผลการวิเคราะห์พัฒนาการผลการจัดการเรียนรู้จากการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับการ เรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคการแข่งขัน TGT นักเรียนมีคะแนนพัฒนาการทางการเรียน จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ก่อนเรียน และหลังเรียน พบว่า นักเรียนจานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 68.75 ของนักเรียนทั้งหมด มี พัฒนาการสูง นักเรียนจานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 18.75 ของนักเรียนทั้งหมด มีพัฒนาการปานกลาง และนักเรียน จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 12.50 ของนักเรียนทั้งหมด มีพัฒนาการสูงมาก แสดงว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการ เรียนรู้โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิคการแข่งขัน TGT มีคะแนนพัฒนาการเพิ่มขึ้นอยู่ใน ระดับสูง ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะเพื่อนาผลการศึกษาไปใช้ 1. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ควรมีการ แลกเปลี่ยนระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน เช่น ควรให้ผู้เรียนได้ตั้งประเด็นคาถามและนาไปถามเพื่อน เป็นการฝึกให้ นักเรียนรู้จักแสดงความคิดเห็น กระตุ้นกระบวนการคิดโดยฝึกให้นักเรียนรู้จักตั้งคาถามและหาคาตอบอย่างมีเหตุผล 2. การแบ่งนักเรียนแบบคละความสามารถ ซึ่งครูผู้สอนต้องใช้ข้อมูลผลการเรียนรู้ในอดีตของนักเรียน แต่ละคนมาใช้ในการจัดกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มมีทั้ งนักเรียนที่เรียนเก่ง เรียนปานกลาง และเรียนอ่อน ในปริมาณที่ ใกล้เคียงกันให้มากที่สุด ในระหว่างการเรียนรู้ครูผู้สอนต้องคอยกากับ ให้คาแนะนา ดูแลอย่างใกล้ชิดในการทา กิจกรรม และคอยกระตุ้นให้ผู้เรียนกล้าแสดงออก ส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของนักเรียนขณะทางานกลุ่ม และขณะทางานรายบุคคล 3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในขั้นตอนการเรียนรู้ นักเรียนอาจใช้เวลานานกว่าที่กาหนด ดังนั้น ครูอาจยืดหยุ่นเวลาได้ตามความเหมาะสม ข้อเสนอแนะเพื่อการศึกษาต่อไป 1. ควรใช้กิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบอื่นนอกเหนือจากแบบเทคนิคการแข่ งขัน TGT เพื่อให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้อย่างหลากหลาย 2. ควรมีการเปรียบเทียบการเรียนโดยใช้ชุดการเรียนรู้ กับสื่อนวัตกรรมอื่น เช่น ผู้สอนอาจจะนาสื่อ CAI มากระตุ้นความสนใจแก่นักเรียน 3. ควรใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือกับสื่อการเรียนรู้ที่สื่อประสมมีภาพประกอบคาบรรยาย หรือรูปภาพ หุ่นจาลอง ตัวการ์ตูนที่เคลื่อนไหวได้ จะกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจ เกิดแรงจูงใจในการเรียน มากยิ่งขึ้น กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ลุล่วงไปด้วยความกรุณาให้คาปรึกษา แนะนา ปรับปรุง และช่วยแก้ไขข้อบกพร่อง ต่าง ๆ อย่างดียิ่งจากอาจารย์ ดร.พานชัย เกษฎา ประธานกรรมการที่ปรึกษา และอาจารย์ ดร.พนา จินดาศรี
192
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
กรรมการที่ปรึกษา ขอบพระคุณที่ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมอันเป็นประโยชน์ต่อการทาวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ให้มีความ สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ผู้วิจัยมีความซาบซึ้งในความเมตตากรุณาของอาจารย์อย่างยิ่ง ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่าง สูงไว้ ณ โอกาสนี้ ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์ ดร.พนิต ศรีประเสริฐ อาจารย์พิเศษและผู้ชานาญการด้านเทคโนโลยี โปรแกรมเทคโนโลยี แ ละสื่ อ สารการศึ ก ษาคณะครุ ศ าสตร์ ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สุ ริ น ทร์ นายประยู ร ใจซื่ อ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านสะแร นางเอมอร วรมากุล ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านสะแร อาเภอ บัวเชด จังหวัดสุรินทร์ที่ได้ให้คาแนะนา ตรวจสอบ และให้ข้อเสนอแนะ แก้ไขข้อบกพร่องต่างๆในการพัฒนา เครื่องมือให้มีความสมบูรณ์ ถูกต้อง นาไปใช้ได้ด้วยดี ทาให้วิทยานิพนธ์เล่มนี้มีความสมบูรณ์และมีคุณค่า ผู้วิจัย ขอกราบขอบพระคุณทุกท่านด้วยความเคารพอย่างยิ่ง ขอขอบพระคุณนายวันชัย พลหาญ ครู คศ.1 และนักเรียนโรงเรียนกลาโหมราชเสนา 2 ตาบลจรัส อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ ที่อานวยความสะดวกในการเก็บข้อมูล และให้ความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทาให้วิทยานิพนธ์เล่มนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี คุณงามความดี และประโยชน์อันพึงมีที่เกิดจากวิทยานิพนธ์เล่มนี้ ผู้วิจัยขอมอบเป็นเครื่องบูชาคุณบิดา มารดา ผู้เป็นบุพการี ครู อาจารย์ให้การอบรมสั่งสอน ตลอดจน ผู้มีพระคุณทุกท่านด้วยความเคารพอย่างสูง เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรมวิชาการ. (2543). สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.). กรรณิการ์ หุ่นทอง. (2551). การพัฒนาชุดการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวในจังหวัด นครสวรรค์ กลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. กุหลาบ หงส์ทอง. (2546). การพัฒนาชุดการเรียนรู้เรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชุมชนสาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3. สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ. มหาวิทยาลัยศิลปากร. เครือข่ายการจัดการศึกษาไตรคีร.ี (2559). แผนพัฒนาเครือข่ายการจัดการศึกษาไตรคีรี. สุรินทร์ : เครือข่ายการ จัดการศึกษา ไตรคีรี (สาเนา). จิตตินันท์ นันทไพบูลย์. (2551). จิตวิทยาการบริการ. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น. จตุภูมิ เขตจัตุรสั . (2560). วิธีและเครื่องมือประเมินการเรียนรู้ของผู้เรียน. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2553). การจัดการเรียนรู้ตามสภาพจริง. นนทบุรี : บริษัทสหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับ ลิสซิ่ง จากัด. ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ . (2552). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ. กรุงเทพฯ : บริษัท แด เน็กซ์ อินเตอร์ คอร์ปปอเรชั่น ทิศนา แขมมณี. (2547). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
193
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
รตาพร เทียนทรัพย์. (2550). การพัฒนารูปแบบการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้วิธีการเรียนแบบ ร่วมมือด้วยเทคนิค TGT. ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. โรงเรียนกลาโหมราชเสนา 2. (2559). แผนปฏิบัติการประจาปี 2559 โรงเรียนกลาโหมราชเสนา 2. สุรินทร์ : โรงเรียนกลาโหมราชเสนา 2 (สาเนา). สิริวรรณ ศรีพหล. (2540). เอกสารการสอนชุดวิทยาการการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 15. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สุพัชยา ปาทา. (2554). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการวิเคราะห์ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เทคนิค TGT และการ จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ . ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการมัธยมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อรัญญา แวงดีสอน. (2554). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในการ เรียนกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ เรื่อง การคานวณเกี่ยวกับปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมี ระหว่างการสอน โดยใช้กลุ่มร่วมมือด้วยเทคนิคการเรียนรู้แบบ TGT และแบบ STAD. สาขาหลักสูตรและนวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม. อรพินท์ ทองเอี่ยม. (2552). การพัฒนาชุดการเรียน เรื่องนนทบุรีเมืองน่าอยู่กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษานนทบุรี เขต 1. ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2550). หลักการสอน (ฉบับปรับปรุง). พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์
194
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
EDUP-02 ผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ปวีสุดา ศรีสระคู1 1
PAWEESUDA SREESRACU สาขาสังคมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ SREESRACU@GMAIL.COM
บทคัดย่อ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ คื อ (1) เพื่ อ ศึ ก ษากระบวนการจั ด การเรี ย นรู้ เรื่ อ ง มนุ ษ ย์ กั บ สภาพแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้โดยใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับวิธีการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (2) เพื่อศึกษาผลการ จัด การเรีย นรู้ เรื่อ ง มนุษ ย์กั บสภาพแวดล้อ ม กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ สังคมศึก ษา ศาสนา และวัฒ นธรรม ชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับวิธีการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (3) เพื่อศึกษาพัฒนาการผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวั ฒ นธรรม ชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 4 โดยใช้ โ ดยใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอนร่ ว มกั บ วิ ธี ก ารสอนด้ ว ย กระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านจรัส อาเภอบัวเชด จังหวัด สุรินทร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จานวน 1 ห้องเรียน จานวนนักเรียน 45 คน ได้กลุ่มตัวอย่างมาโดยใช้วิธีเลือกแบบยกกลุ่ม การทดลองแบบ One Group Pretest – Posttest Design เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง มนุษย์กับ สภาพแวดล้อม 2) แผนการจัดการเรียนรู้จานวน 5 แผน 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 30 ข้อ และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธีการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม เป็นมาตราส่วน ประมาณ 4 ระดับ จานวน 20 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจัยที่ทาให้กระบวนการเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับวิธีการสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้ ประสบความสาเร็จคือ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียน ผลคะแนนระหว่างเรียน 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 หลังเรี ยนสูงกว่าก่อ นเรียนอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียน โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุดมีค่าเท่ากับ 4.66 มี ความพึงพอใจในระดับมากขึ้นไปอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4. ผลพัฒนาการของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม หลังการจัดการเรียนรู้สูง กว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งแต่ละคนมีคะแนนพัฒนาการเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 63.35ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการ ระดับสูง
195
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
Abstract The purpose of this research were 1) to study learning process of Human and Environment lesson belonged to Learning area of Social Studies, Religion and Culture for Prathomsueksa four students though Computer-Assisted Instruction and Inquiry Method. 2) To study learning achievement of Human and Environment lesson belonged to Learning area of Social Studies, Religion and Culture for Prathomsueksa four students though Computer-Assisted Instruction and Inquiry Method. 3) to study the development of learning achievement of Human and Environment lesson belonged to Learning area of Social Studies, Religion and Culture for Prathomsueksa four students though Computer-Assisted Instruction and Inquiry Method. The sample group was 45 prathomsueksa four students in the second semester, academic year 2017, Ban Charat school, Bua Ched District, Surin Province. The simple random sampling method was applied for One Group Pretest-Posttest Design. The instruments used in the study were 1) Computer-Assisted Instruction on Human and Environment lesson. 2) Five lesson plans. 3) Thirty items of achievement test. 4) Students satisfaction questionnaire of learning activities through Computer-Assisted Instruction and Inquiry Method. The percentage, mean, and standard deviation were the parameters used for statistical analysis. The result of this study were 1) Computer-Assisted Instruction and Inquiry Method enhance students’ leaning effectively by the scores during their learning. 2) The students’ learning achievement on the post-test was higher than the one on pre-test. The difference was statistically significant at .01 3) The average score of students’ satisfaction on learning was high at 4.66 and the difference was statistically significant at .01. 4) The development of student’s leaning achievement of Human and Environment Through Computer-Assisted Instruction and Inquiry Method had been increased highly at 63.35 บทนา การศึกษาเป็นรากฐานสาคัญยิ่งที่จะช่วยพัฒนาประเทศชาติให้มีความเจริญรุ่งเรืองและ ก้าวทันนานา ประเทศ ซึ่งเป็นผลมาจากการพัฒนาผู้เรียนตั้งแต่วัยเด็กจนเติบใหญ่ตามวัยและพัฒนาการของแต่ละคนให้เป็นมนุษย์ ที่มีความรู้ ความสามารถ และทันต่อการเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัตน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคมที่มีความเชื่อมสัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจว่า มนุษย์ดารงชีวิตอย่างไร ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคล และ การอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด (สานักงาน
196
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2551 : 132) ตามที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่ แก้ไขเพิ่ม เติม (ฉบั บที่ 2) พ.ศ.2545 ได้ก าหนดให้แ นวทาง จั ดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เ รียนทุ กคนมี ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริม ให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2545 : 13) สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) เน้น การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ลดความเหลื่อมล้าในโอกาสทางการศึกษาด้วยความเสมอ ภาคและเท่าเทียมกัน เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการหน่วยงานภาครัฐตามหลักธรรมาภิบาลด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ (สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. 2559 : 54) จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กล่าวถึง การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ มีสมรรถนะสาคัญ 5 ประการที่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ที่ กาหนดให้ ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถ ในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็ นความสามารถใน การเลือก และใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ใน ด้ า นการเรี ย นรู้ การสื่ อ สาร การท างาน การแก้ ปั ญ หาอย่ า งสร้ า งสรรค์ ถู ก ต้ อ ง เหมาะสม และมี คุ ณ ธรรม (กระทรวงศึกษาธิการ. 2552 : 6) และสาระการเรียนรู้ประกอบด้วยองค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งกาหนดไว้ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพละศึกษา กลุ่มสาระการ เรียนรู้ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ซึ่งกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมนั้น ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจการดารงชีวิตของมนุษย์ทั้งในฐานะปัจเจกบุคคลและการอยู่ร่วมกันในสังคม การ ปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด เข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับ ใช้ในการดาเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก (กระทรวงศึกษาธิการ. 2552 : 114) กระทรวงศึกษาธิการได้แบ่งกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ออกเป็น 5 สาระ คือ สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม (ยกเว้นพระพุท ธศาสนา) สาระหน้าที่พลเมือง วั ฒ นธรรม และการด าเนิ น ชี วิ ต ในสั ง คม สาระเศรษฐศาสตร์ สาระประวั ติ ศ าสตร์ และสาระภู มิ ศ าสตร์ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2546 : 1) ในสาระภูมิศาสตร์นั้น มุ่งให้มีความเข้าใจในเรื่อง มิติสัมพันธ์ทางภูมิศาสตร์กับ สภาพแวดล้อมต่างๆที่ปรากฏอยู่ในโลก ความสัมพันธ์ต่อกันและกัน และต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ ในการเรียนรู้ จึงต้องให้ผู้เรียนได้รู้จักตนเอง แสวงหาความรู้และประสบการณ์ในการศึกษาความสัมพันธ์ต่อมนุษย์กับสิงแวดล้อม ทั้งในส่วนของประเทศไทยและโลกที่เราอาศัยอยู่(กระทรวงศึกษาธิการ. 2546 : 6) จากสภาพการจัดการเรียนการสอนของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมของ โรงเรียน พบว่าวิชาในกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเป็นวิชาที่มีเนื้อหาค่อนข้างมาก ครูส่วนใหญ่ยัง จัดกิจกรรมการเรียนการสอน แบบบรรยาย การอภิปราย ซักถาม โดยยึดครูเป็นศูนย์กลาง โดยใช้การบรรยายสอน ให้จบในเนื้อหาสอน นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนน้อย กิจกรรมการเรียนรู้ไม่หลากหลาย ไม่ น่าสนใจ นักเรียนได้รับความรู้โดยการฟัง การอ่านจากหนังสือเรียนและการทาแบบฝึกหัด เป็นการสอนที่เน้นเรียน เนื้อหามากกว่ากระบวนการ ผลสัมฤทธิ์ท างการเรียนออกมาค่อนข้างต่า ไม่ใช้เทคนิคหรือวิธีการแบบใหม่ๆ ขาด
197
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
แคลนสื่ อ หรื อ ไม่ใ ช้ สื่ อ รวมทั้ งขาดสื่ อ ที่ ส ร้ า งสรรค์ ที่ จ ะก่ อ ให้ เกิ ด องค์ ค วามรู้ เพื่ อ ที่ จ ะกระตุ้ น ให้ เ ด็ ก เกิ ด ความ กระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้ (สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. 2540 ก : 10) กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมมีความสาคัญต่อการอบรมสั่งสอนและพัฒนาให้นักเรียน เยาวชนไทยเป็นพลเมืองที่ดีของสังคมไทย สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขครูสอนวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมจึงมีบทบาทมากในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเฉพาะการจัด การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (อรชนก คุ้มรักษ์. 2553 : 2) ซึ่งในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้นั้นมีวิธีหลากหลายที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จะไม่ยึดติดกับวิธีใดวิธีหนึ่งเท่านั้น ผู้สอนต้องหาวิธีการ หลายๆรูปแบบมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน พยายามให้ผู้เรียนรู้จักคิด รู้จักทา รู้จักการนาไปใช้(นิยวรรณ จันทร์ แก้ว. 2551 : 3 ) รูปแบบการเรียนรู้ที่น่าสนใจ และใช้สื่อการสอนในรูปแบบต่างๆที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมใน การทากิจกรรมด้วยตนเอง โดยเฉพาะสื่อการเรียน และเทคนิควิธีการสอนที่เป็นสิ่งเร้าทาให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ และสนุกกับการเรียนการสอน ซึ่งในปัจจุบันเทคนิควิธีการจัดการเรียนรู้นั้นมีอยู่หลากหลายรูปแบบ เช่นการจัดการ เรียนรู้โดยใช้การเรียนแบบ CIRC การจัดการเรียนรู้โดยใช้การเรียนแบบ STAD การจัดการเรียนรู้โดยการเรียน แบบร่วมมือ การจัดการเรียนรู้โดยใช้การเรียนแบบ TAI การจัดการเรียนรู้โดยใช้การเรียนแบบต่อภาพ (Jigsaw) เป็นต้น การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. 2553 : 40 - 43) เป็นต้น ในส่วนของสื่อ การเรียนการสอน ผู้เรียนสามารถที่จะเรียนรู้ได้จากสื่อการสอนต่างๆ เช่น บทเรียนสาเร็จรูป ชุดฝึกอบรม ชุดการ เรียนและคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นต้น การจัดการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ เป็นวิธีการหนึ่งที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ศึกษาหา ความรู้ และค้นพบความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงช่วยพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาด้วยการฝึกให้ผู้เรียนได้ ศึกษาหาความรู้ โดยผู้สอนใช้ปัญหากระตุ้นให้ผู้เรียนใช้กระบวนการคิดหาเหตุผล จนค้นพบความรู้หรือแนวทางใน การแก้ไขปัญหาที่ถูกต้องด้วยตนเอง สรุปเป็นหลักการ กฎเกณฑ์ หรือวิธีการในการแก้ปัญหา และสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการควบคุมปรับปรุงเปลี่ยนแปลง หรือสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมในสภาพการณ์ต่างๆได้อย่าง กว้างขวาง (สุวิทย์ มูลคา และอรทัย มูลคา. 2545 : 136) ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มาตรา 24 ว่า การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้เข้ามาใช้เพื่อป้องกันและ แก้ไขปัญหา และจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รั ก อ่าน และเกิดการใฝ่รู้ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่อง สื่อการสอนเป็นทรัพยากรที่เรามีความคุ้นเคยกันดี สื่อเข้ามาเป็นตัวกลางในการถ่ายทอดช่วยให้การ สื่อสารระหว่างผู้สอนกับผูเ้ รียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดการเรียนรู้ด้านต่างๆ เช่น เพิ่มประสิทธิภาพการ สอน ช่วยแก้ปัญหาพื้นฐานของผู้เรียนและช่วยให้โอกาสการเรียนเท่าเทียมกัน สื่อการสอนแต่ละชนิดมีคุณค่าและ สามารถเอื้อประโยชน์ต่อการเรียนรู้ได้ทั้งสิ้น หากแต่มีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันออกไปตามลักษณะและคุณสมบัติ เฉพาะตัว จึงเป็นหน้าที่ของผู้สอนที่ต้องพิจารณาเลือกใช้สื่อที่เหมาะสม (วริสา ทนันไชย. 2552 : 2) คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) เป็นการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการ นาเสนอเนื้อหาในลักษณะเชื่อมประสม (multimedia) ได้แก่ รูปกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว และเสียง เพื่อทาการ ถ่ายทอดความรู้ในลักษณะใกล้เคียงกับการสอน ในห้ องเรียน ผู้เรียนเรียนด้วยตัวเอง ตามความสามารถของแต่ละ บุคคล บทเรียนจะนาเสนอเนื้อหาทีละน้อย จากง่ายไปหายาก เมื่อเรียนจบในเนื้อหานั้นๆ จะมีแบบฝึกหัดหรือแบบ ฝึกปฏิบัติ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ จากการปฏิสัมพันธ์กับคอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งได้รับข้อมูลป้อนกลับ เป็นการ
198
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
เสริมแรงทันที (ชมพูนาฏ ชมพูพันธ์. 2549 : 2) คอมพิวเตอร์ช่วยสอน จึงเป็นสื่อการเรียนการสอนที่ครอบคลุม เนื้อหา และกิจกรรม เสนอเนื้อหาได้รวดเร็ว ฉับไว ได้จานวนมาก และสามารถเสนอแนวคิด (Concept) ที่ สลับซับซ้อน สามารถช่วยเพิ่มแรงจูงใจแก่ผู้เรียนได้ ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนอย่างแท้จริง สามารถบันทึก และประเมินผลการเรียนได้ด้วยตนเอง โดยการออกแบบโปรแกรมให้มีภาพและเสียง (ไชยยศ เรืองสุวรรณ. 2542 : 25-27) ในปัจจุบันนิยมนาคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมาใช้เป็นสื่อการสอนอย่างแพร่หลาย เพราะเป็นวิธีที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียน ได้เรียนตามความสามารถแต่ละบุคคล ในการฝึกฝน ท่องจา ทบทวน ทาแบบฝึกหัดทดสอบ และเล่น เกมเสริมการเรียน เป็นต้น การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนจึงเป็นกระบวนการสอนอย่างหนึ่งสามารถตอบสนองการ เรียนเป็น ซึ่งผู้เรียนสามารถศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง ความสามารถ ความสนใจและความพร้อมของตนเอง นับว่าเป็นสื่อการสอนที่ดีมากในปัจจุบัน (พเยาว์ เจริญฉาย. 2532 : 22) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นสื่อในการนาเสนอสื่อประสมในรูปแบบต่างๆ เพื่อการถ่ายทอด เนื้อหาบทเรียนให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น (เกียรติสุดา บุญส่ง. 2549 : 40) จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว ทาให้ผู้วิจัยมีความสนใจ และเลือกที่จะสร้างคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ โดยหวังเป็นอย่ายิ่งว่าคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ ผลิตขึ้นนี้ จะช่วยแก้ปัญหาการเรียนการสอน ตอบสนองความต้องการและความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน เร้าและกระตุ้น ให้ผู้ เรียนมีความชอบ มี ความสนใจในเนื้อหาวิชาเกิด ความก้าวหน้าทางการเรี ยนที่ ดี ส่งผลต่ อ กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ดีขึ้นต่อไป ผู้วิจัยจึงดาเนินการสร้างและศึกษาผลของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ที่มีผลต่อการจัดการเรียนรู้ของการเรียน นักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านจรัส วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษากระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้ 2. เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 3. เพื่อศึกษาพัฒนาการผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบ เสาะหาความรู้ สมมติฐานการวิจัย 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ หลังจาก การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
199
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
2. ความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม กลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธี สอนแบบสืบเสาะหาความรู้อยู่ในระดับมากขึ้นไป ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร คื อ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 4 ในเขตต าบลจรั ส กลุ่ ม เครื อ ข่ า ยการจั ด การศึกษาไตรคีรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 จานวน 4 โรงเรียน ประกอบด้วย โรงเรียนบ้านจรัส โรงเรียนกลาโหมราชเสนา 2 โรงเรียนบ้านโชค และโรงเรียนบ้านโอทะลัน ซึ่งมีจานวนนักเรียน ทั้งสิ้น 118 คน 1.2 กลุ่ม ตัวอย่าง คื อนัก เรีย นชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 ปี การศึก ษา 2560 โรงเรียนบ้านจรั ส อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 จานวน 45 คน ซึ่ง ได้มาจากการสุ่มแบบยกกลุ่ม 2. ขอบเขตด้านระยะเวลา ในการทดลองครั้งนี้ ผู้วิจัยได้กาหนดเวลาในการศึกษากระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง มนุษย์กั บ สภาพแวดล้อม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับวิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ระหว่างเดือนธันวาคม 2560 ถึง เดือนมกราคม 2561 สัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง จานวน 5 สัปดาห์ รวมระยะเวลา 10 ชั่วโมง 3. ขอบเขตด้านเนื้อหา เนื้อหาที่นามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ส 14101 : เรื่อง มนุษย์กับ สภาพแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา 5 เรื่อง ดังนี้ 3.1 สภาพแวดล้อมทางกายภาพกับการประกอบอาชีพ 3.2 สภาพแวดล้อมทางกายภาพกับลักษณะที่อยู่อาศัย 3.3 สภาพแวดล้อมทางกายภาพกับการบริโภค 3.4 การเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อม 4. ขอบเขตตัวแปรที่ศึกษา 4.1 ตัวจัดกระทา ได้แก่ การจัดการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบ เสาะหาความรู้ 4.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธี สอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ซึ่งประกอบด้วย 4.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4.2.2 ความพึงพอใจในการเรียน 4.2.3 พัฒนาการในการเรียน
200
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
วิธีดาเนินการวิจัย การศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 โดยใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ในประเด็นตามวัตถุประสงค์การศึกษาเป็นระยะเวลา ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ในการดาเนินการศึกษาผลการจักการเรียนรู้ เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ผู้วิจัยได้กาหนดขอบเขตประชากรและกลุ่ม ตัวอย่าง ดังนี้ 1. ประชากร ได้ แ ก่ นั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 4 ในเขตต าบลจรั ส กลุ่ ม เครื อ ข่ า ยไตรคี รี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 จานวน 4 โรงเรียน ประกอบด้วย โรงเรียนบ้านจรัส โรงเรียนกลาโหมราชเสนา 2 โรงเรียนบ้านโชค และโรงเรียนบ้านโอทะลัน ซึ่งมีจานวนนักเรียนทั้งสิ้น 118 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนบ้านจรัส อาเภอ บัวเชด จังหวัดสุรินทร์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 จานวน 45 คน ซึ่งได้มาจาก การสุ่มแบบยกกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระการเรียนรู้ ที่ 5 ภูมิศาสตร์ มีทั้งหมด จานวน 5 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง 1.1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สภาพแวดล้อมทางกายภาพกับการประกอบอาชีพ 1.2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สภาพแวดล้อมทางกายภาพกับลักษณะที่อยู่อาศัย 1.3 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สภาพแวดล้อมทางกายภาพกับการบริโภค 1.4 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อมในจังหวัด 1.5 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใน 2. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม มีจานวนทั้งสิน้ 5 เรื่อง ดังนี้ 2.1 สภาพแวดล้อมทางกายภาพกับการประกอบอาชีพ 2.2 สภาพแวดล้อมทางกายภาพกับการประกอบอาชีพ 2.3 การเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อมในจังหวัด 2.4 การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในจังหวัด 2.5 การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในจังหวัด 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม เป็นแบบทดสอบ แบบ เลือกตอบ ชนิด 4 ตัวเลือก เป็นแบบทดสอบที่วัดความรู้ ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินค่า มีทั้งสิ้น จานวน 30 ข้อ 4. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับวิธีสอนแบบสืบ เสาะหาความรู้จานวน 20 ข้อ เป็นมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ การเก็บรวบรวมข้อมูล ในการศึกษาการพัฒนาคอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง มนุษย์กับ สภาพแวดล้อม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านจรัส อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ ผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บ รวบรวมข้อมูลตามวิธีการและขั้นตอนดังต่อไปนี้
201
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
1. ก่อนการทดลองใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง มนุษย์กับ สภาพแวดล้อม นักเรียนทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน (pre-test) จานวน 1 ฉบับ ประกอบด้วย แบบทดสอบชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ คะแนนเต็ม 30 คะแนน 2. ดาเนินการทดลอง โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง มนุษย์ กับสภาพแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ทั้งหมด กับ นักเรียนกลุ่มตัวอย่าง 3. นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน (post – test) ไปทดสอบกับนักเรียนกลุ่ม ตัวอย่าง หลังการทดลองใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จานวน 1 ฉบับ โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชุดเดียวกันกับแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน (pre - test) แต่สลับข้อและตัวเลือก จานวน 30 ข้อ คะแนนเต็ม 30 คะแนน การสลับข้อและตัวเลือก เพื่อป้องกันการจาข้อสอบได้ของนักเรียน 4. นาแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้ เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างประเมินเพื่อหาค่าความพึงพอใจที่มีต่อการใช้ โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจที่ สร้างขึ้น จานวน 20 ข้อ ภายหลังสิ้นสุดการเรียนครบทั้ง 5 บท 5. ผู้วิจัยได้วางแผนการดาเนินการเก็บข้อมูลและดาเนินการทดสอบระหว่างเดือนธันวาคม 2560 ถึง เดือนมกราคม 2561 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 1. หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละของคะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อน เรียนและคะแนนสอบหลังเรียน 2. วิเคราะห์หาผลการหาประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ที่พัฒนาขึ้น 3. วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนรู้ โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ผลการวิจัย การศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ผู้วิจัยได้ ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ผลตามจุดประสงค์ของการศึกษาปรากฏผลตามลาดับดังนี้ 1. ผลการวิเคราะห์กระบวนการจัดการเรียนรู้และประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จากการจัดกระบวนการเรียนรู้ เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ เป็น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่นักเรียนได้ทาการศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมีครูเป็นผู้ให้คาปรึกษา รูปแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เป็นการบรรยาย อภิปราย และมีสื่อการรเรียนรู้อื่นเขามาร่วมด้วย การจัดกิจกรรม การเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้นั้น เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยตนเอง โดย
202
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติ โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นเครื่องมือ ในขณะที่จัดกิจกรรมการเรียนการสอน นักเรียนให้ความสนในนักเรียนช่วยกันคิดและช่วยตอบคาถาม และทุกคนเข้าใจในที่มาของคาตอบ โดยให้นักเรียน ขอความช่วยเหลือจากเพื่อน มีการประเมินและการเสริมแรง ด้วยคาชมเชย ซึ่งเป็นการกระตุ้นให้นักเรียนเกิด ความกระตือรือร้นในการเรียนมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ผู้สอนควรคานึงถึงจุดประสงค์ของกิจกรรม เวลาที่ใช้ความยาก ง่ายของเนื้อหาสาระด้วย 2. ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม ผู้วิจัยได้ดาเนินการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม จานวน 30 ข้อ ในกลุ่ม ตัวอย่าง 2 ครั้ง คือ ครั้งที่ 1 เป็นการทดสอบก่อนเรียน และในครั้งที่ 2 คือการทดสอบหลังเรียน ผลปรากฏค่าสถิติ พื้นฐาน และการทดสอบสมมติฐาน ดังต่อไปนี้ จากการดาเนินการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม ทั้งก่อนเรียนและ หลังเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านจรัส พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนก่อนเรียนเท่ากับ 15.69 คิด เป็นร้อยละ 52.30 ของคะแนนทั้งหมด และเมื่อทดสอบภายหลังเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง มนุษย์กับ สภาพแวดล้อม ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ได้คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 24.67 คิดเป็นร้อยละ 82.52 ของ คะแนนทั้งหมด และพบว่าผลต่างจากคะแนนที่ได้จากการทดสอบทั้งสองครั้งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 9.07 คิดเป็นร้อยละ 30.22 ขอคะแนนทั้งหมด จากสมมติฐานทางการศึกษาคะแนนเฉลี่ยภายหลังการเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธีสอน แบบสืบเสาะหาความรู้ สูงกว่าก่อนเรียน เมื่อทดสอบโดยใช้สถิติทดสอบ ที (One-sample T-test) สาหรับ 2 กลุ่ม ที่มีความสัมพันธ์พบว่า เมื่อกาหนดค่าน่าจะเป็นในการปฏิเสธสมมติฐานหลัก เมื่อสมมติฐานหลักเป็นจริง (α) เท่ากับ 0.01 ค่าวิกฤตในการแจกแจง ที ที่ความเป็นอิสระ 44 จากการเปิดตารางเท่ากับ 1.680 แต่ค่า ที ที่ได้จาก การคานวณมีค่าเท่ากับ 16.7117 ซึ่งมีค่าสูงกว่าค่าวิกฤตที่เปิดจากตาราง แสดงว่า การทดสอบมีคะแนนร่วมเฉลี่ย ของการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของการสอบก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผลการวิเคราะห์ระดับพัฒนาสัมพัทธ์จากแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียนของนักเรี ยน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนด้วยคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ จากการดาเนินการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม ทั้งก่อนเรียนและ หลังเรียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านจรัส พบว่า พบว่า นักเรียนทาการทดสอบก่อนเรียนได้ คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 15.69 ของคะแนนทั้งหมด และเมื่อทดสอบภายหลังเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ จากคะแนนพัฒนาการดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และเข้าใจในเนื้อหาบทเรียนมากขึ้นได้สังเกตจากคะแนนของพัฒนาการเพิ่มขึ้นเฉลี่ย ร้อยละ 63.35 ของระดับพัฒนาการทั้งหมด และพัฒนาการเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง 3. ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ผู้วิจัยได้ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ โดยแบบสอบถามวัดความพึงพอใจของ นักเรียน ผลปรากฏว่าค่าสถิติพื้นฐาน และการทดสอบสมมติฐาน ดังต่อไปนี้ จากการดาเนินการวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
203
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
พบว่า โดยภาพรวมนักเรียนที่ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย= 4.66) เมื่อพิจารณา รายด้านพบว่านักเรียนมีระดับค่าเฉลี่ยความพึงพอใจสูงในระดับมากที่สุดทั้ง 4 ด้าน จัดเรียงลาดับได้ดังนี้ ลาดับที่ 1 ด้านเนื้อหา มีค่าเฉลีย่ = 4.69 ลาดับที่ 2 ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มีค่าเฉลี่ย = 4.68 ลาดับที่ 3 ด้านการวัดและการประเมินผล มีค่าเฉลี่ย = 4.67 ลาดับที่ 4 ด้านครูผู้สอน มีค่าเฉลีย่ = 4.66 จากการวิเคราะห์ผลสมมติฐานการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนมีระดับความพึงพอใจ ต่อการจัด กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้ โดยใช้สถิติทดสอบ ที (One-sample T-test) เดียว โดยทดสอบกับค่าเฉลี่ยการคิดวิเคราะห์ (µ) ใน ระดับมากขึ้น (ระดับ 3.5) เมื่อกาหนดค่าความน่าจะเป็นในการปฏิเสธสมมติฐานหลัก เมื่อสมมติฐานหลักเป็นจริง (α) เท่ากับ 0.01 ค่าวิกฤตในการแจกแจง ที ที่ความเป็นอิสระ 44 จากการเปิดตารางเท่ากับ 1.680 แต่ค่า ที ที่ได้ จากการคานวณมีค่าเท่ากับ 212.043 ซึ่งมีค่าสูงกว่าค่าวิกฤตที่เปิดจากตาราง แสดงว่า คะแนนเฉลี่ยระดับความพึง พอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านจรัส มีระดับความพึงพอใจในระดับมากขึ้นไป อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สรุปผลการวิจัย จากการน าคอมพิ ว เตอร์ ช่ว ยสอน ร่ ว มกั บ วิ ธี ก ารสอนแบบสื บ เสาะหาความรู้ และหลั งเรี ย นด้ ว ย คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 โรงเรียนโรงเรียนบ้านจรัส สามารถสรุปผลได้ ดังนี้ 1. กระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประสบ ความสาเร็จคือ การเรียนรู้ด้วยคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจ และกระบวนการการ ทางานที่มุ่งให้ผู้เรียนเรียนรู้เนื้อหาสาระต่างๆด้วยตนเอง และความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ แสดงความคิดเห็นช่วยเหลือซึ่งกันและกัน นักเรียนที่เก่งช่วยเหลือสมาชิกที่เรียนอ่อนกว่า ได้ฝึกการพัฒนาทักษะ ทางสังคม เช่น ทักษะการสื่อสาร ทักษะการทางานร่วมกับผู้อื่น ทักษะการสร้างความสัมพันธ์ เพื่อเป็นการให้การ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะแสวงหาความรู้ ทักษะการคิดและแก้ปัญหาร่วมกัน นักเรียนแต่ละกลุ่มจะได้ฝึกฝนทักษะ จากชุดการเรียนโดยศึกษาเนื้อหา การทาใบงาน การทาแบบทดสอบ ทาให้นักเรียนเห็นถึงความก้าวหน้าของ ตนเองได้อย่างชัดเจนและรวดเร็ว เสริมแรงโดยการให้คาชมเชย กาลังใจกับนักเรียนด้วย 2. ผลการวิเคราะห์คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนก่อนเรียนเท่ากับ 15.69 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 52.30 ค่าเฉลี่ยคะแนนหลังเรียนเท่ากับ 24.76 คิดเป็นร้อยละ 82.52 โดยมีค่าเฉลี่ยของ ผลต่างเท่ากับ 9.07 คิด เป็นร้อ ยละ 30.22 ของคะแนนทั้ งหมด และเมื่อทดสอบสมมติฐานพบว่าผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนเฉลี่ยหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ผลการวิเคราะห์ระดับพัฒนาสัมพัทธ์พบว่านักเรียนมีผลต่างจากการรทดสอบก่อนเรียนและหลัง เรียนเฉลี่ยเท่ากับ 9.07 ของคะแนนทั้งหมด ซึ่งมีระดับพัฒนาการเฉลี่ยเท่ากับ 63.35 ของระดับพัฒนาการ และ พัฒนาการเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง
204
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
4. ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน พบว่า ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย= 4.66) ซึ่งนักเรียนมีระดับความพึงพอใจของผู้เรีย นอยู่ในระดับ มากขึ้นไป อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 วิจารณ์ผลการวิจัย จากผลการศึกษา ผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้ มีประเด็นในการอภิปรายผล ดังต่อไปนี้ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม จากผลการเปรี ย บเที ย บผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น เรื่ อ ง มนุ ษ ย์ กั บ สภาพแวดล้ อ ม โดยใช้ โ ดยใช้ คอมพิ ว เตอร์ ช่ว ยสอน ร่ ว มกั บ วิ ธี ส อนแบบสื บ เสาะหาความรู้ พบว่ า ระหว่ า งก่ อ นเรี ย นและหลั งเรี ย นโดยใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน พบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภายหลังการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ สูงกว่าก่อนเรียน เมื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนโดยใช้สถิติทดสอบ ที (T-test for Dependent) วิเคราะห์ข้อมูล ผลปรากฏว่าคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนมีนัยสาคัญ สถิติที่ระดับ .01 และมีคะแนนพัฒนารอยู่ในระดับสูง ซึ่งเป็นผลมาจากการเรียนด้วยคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับ วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ เป็นการจัดการเรียนรู้ที่มีการทางาน เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนโดยครูเป็นผู้ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการคิดและเกิดการเรียนรู้ อีกทั้งยังเป็นการให้ผู้เรียนสรร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองโดยผ่าน วิธีการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน (5E) ดังนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นการสร้างความสนใจ (Engage) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนแรก ของกระบวนการเรียนรู้ที่จะนาเข้าสู่บทเรียน จุดประสงค์ที่สาคัญของขั้นตอนนี้ คือ ทาให้ผู้เรียนสนใจ ใคร่รู้ใน กิจกรรมที่จะนาเข้าสู่บทเรียน ควรจะเชื่อมโยงประสบการณ์การเรียนรู้เดิมกับปัจจุบัน และควรเป็นกิจกรรมที่คาดว่า กาลังจะเกิ ดขึ้น ซึ่งท าให้ผู้ เรีย นสนใจจดจ่อที่จ ะศึกษาความคิ ด รวบยอด กระบวนการ หรือทัก ษะ และเริ่มคิ ด เชื่อมโยงความคิดรวบยอด กระบวนการ หรือทักษะกับประสบการณ์เดิม โดยใช้คาถามกระตุ้นความสนใจแล้วตั้ง ประเด็นคาถามให้นักเรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็นในประเด็นคาถามนั้น ขั้นที่ 2 การสารวจและค้นหา (Explore) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ทาให้นักเรียนมีประสบการณ์ร่วมกันในการสร้างและพัฒนาความคิดรวบยอด กระบวนการ และทักษะ โดยครูผู้สอนให้นักเรียนศึกษาด้วยคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม และเพื่อ ทบทวนความรู้ เดิ ม ว่า นั ก เรี ย นมี ค วามรู้ มากน้อ ยเพีย งใด โดยให้นั ก เรี ย นทาแบบทดสอบก่อ นเรี ย น ซึ่ งมีอ ยู่ ใ น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแล้ว การให้เวลาและโอกาสแก่นักเรียนในการสารวจและค้นหาสิ่งที่นักเรียนต้องการเรียนรูต้ าม ความคิดเห็นนักเรียนแต่ละคน หลังจากนั้นนักเรียนแต่ละคนได้อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการคิดรวบ ยอด กระบวนการ และทักษะในระหว่างที่นักเรียนทากิจกรรมสารวจและค้นหา เป็นโอกาสที่นักเรียนจะได้ตรวจสอบ หรือเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความคิดรวบยอดของนักเรียนที่ยังไม่ถูกต้องและยังไม่สมบูรณ์ ครูควรระลึกอยู่เสมอ เกี่ ยวกับ ความสามารถของนั กเรีย นตามประเด็ นปั ญหา จากการสั งเกตพฤติ กรรมขั้น สารวจและค้น หาพบว่ า นักเรียนมีความกระตือรือร้นและสนใจในคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความสนุกสนานการกับการเรียน ซึ่งสอดคล้องกับ แนวคิดของบรูเนอร์ (Brunner, 1963, pp. 1-54 อ้างถึงใน ทิศนา แขมณี, 2555, หน้า 66) ที่กล่าวว่า มนุษย์เลือกที่ จะรับรู้ในสิ่งที่ตนเองสนใจและการเรียนรู้เกิดจากกระบวนการค้นพบด้วยตัวเอง ขั้นที่ 3 ขั้นการอธิบาย (Explain) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ให้นักเรียนได้พัฒนาความ สามารถในการอธิบายความคิดรวบยอดที่ได้จากการสารวจและ ค้นหา โดยครูให้นักเรียนแต่ละคนทาใบงานประจาแผนการเรียนรู้ นักเรียนทาใบงานอย่างตั้งใจ จากการสังเกต
205
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
พฤติกรรมนักเรียน พบว่า นักเรียนบางคนมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน นักเรียนกลุ่มเก่งค่อนข้าง ทางานเร็วกว่านักเรียนกลุ่มปานกลาง และกลุ่มอ่อน นักเรียนบางคนคอยซักถามเพื่อนอยู่ตลอดเวลา นักเรียนบาง คนวิ่งเล่ นและไม่สนใจคอยลอกเพื่อนที่ท าเสร็จ ก่อน จนกระทั่งครูต้องเดินเข้า ไปบอกให้ทาใบงานพร้ อมกับให้ ข้อเสนอแนะและเสริมแรงด้วยการให้กาลังใจเป็นระยะๆ ระหว่างการทาใบงาน นักเรียนเกิดความพยายามในการ ทางานมากขึ้น ครูให้ความช่วยเหลือและคาแนะนาในข้อที่นักเรียนทาไม่ได้ ในขั้นนี้บทบาทของครูเพียงแต่ชี้แนะ ผ่านทางกิจกรรม เพื่อให้นักเรียนมีโอกาสอย่างเต็มที่ในการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในความคิดรวบยอดให้ชัดเจน ขั้นที่ 4 ขั้นการขยายความรู้ (Elaborate) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ให้นักเรียนได้ยืนยันและขยายหรือเพิ่มเติมความรู้ ความเข้าใจในความคิดรวบยอดให้กว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น และยังเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ฝึกทักษะและปฏิบัติ ตามที่ นั ก เรี ย นต้อ งการ ซึ่ งในขั้น ตอนนี้ ค รู ผู้ ส อนให้ นั ก เรี ย นแสดงความคิ ด เห็น หรื อ ออกมาอภิป ราย เกี่ ย วกั บ ความสัมพันธ์ต่างๆของสภาพแวดล้อมที่ได้ศึกษาจากคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรียนมีความมั่นใจในการตอบคาถาม มากขึ้น และขั้นที่ 5 ขั้นการประเมินผล (Evaluate) ขั้นตอนนี้นักเรียนจะได้รับข้อมูลย้อนกลับเกี่ยวกับการอธิบาย ความรู้ความเข้าใจของตนเอง ในระหว่ างการเรียนการสอน ครูตรวจสอบผลการเขียนอธิบาย การนาเสอนผลงาน ของนักเรียน โดยการประเมินจากความสมบูรณ์ของข้อมูล และสังเกตจากการนาเสนองาน นักเรียนที่เรียนเก่งทา แบบทดสอบได้คะแนนค่อนข้างสูง ส่วนนักเรียนที่เรียนอ่อนทาคะแนนค่อนข้างต่า การกล่าวคาชมเชยกับนักเรียนที่ ได้คะแนนสูงสุด และให้กาลังใจกับนักเรียนที่ได้คะแนนน้อย เพื่อที่จะได้พัฒนาตนเองและพยายามทาคะแนนให้ สูงขึ้นกว่าเดิม จากการสังเกตพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้โดยภาพรวมแล้วพบว่านักเรียนมีความพึงพอใจกับคะแนน ที่ได้รับ สังเกตได้จากการแสดงความดีใจโดยการโห่ร้องยินดีปรบมือทุกครั้งที่ทราบผลคะแนน การเสริมแรงเป็นอีก ส่วนหนึ่งที่กระตุ้นให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นมีความสนใจที่จะเรียน และทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ด้วย ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ อัจฉราภรณ์ ร่มแก้ว (2553) ได้ทาวิจัยเรื่อง การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบ กลุ่มร่วมมือ เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพและ การป้องกันโรค กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลการศึกษา ปรากฏดังนี้ 1) ประสิทธิภาพของการจัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีค่าเท่ากับ 87.72/86.85 2) ดัชนี ประสิทธิผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค กลุ่ม สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีค่าเท่ากับ 0.7442 3) นักเรียนที่เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ เรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพและการ ป้องกันโรค โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 4) นักเรียนเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่ม ร่วมมือเรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยรวมอยู่ในระดับ มาก และงานวิจัยของ ปิยนุช นุตตะรังค์ (2557) ศึกษาการสร้างบทเรียนการสอนคณิตศาสตร์เรื่องความน่าจะ เป็นโดยวิธีสืบเสาะหาความรู้และกิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ผลการศึกษา พบว่า 1) บทเรียนการสอนคณิตศาสตร์ เรื่องความน่าจะเป็นโดยวิธีสื บเสาะหาความรู้และกิจกรรมโครงงาน คณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีประสิทธิภาพของกระบวนการต่อประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E1 / E2) เท่ากับ 81.21/75.10 2) บทเรียนการสอนคณิตศาสตร์เรื่องความน่าจะเป็นโดยวิธีสืบเสาะหาความรู้และ กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.6234 3) นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการสอนคณิตศาสตร์ เรื่องความน่าจะเป็น โดยวิธีการสืบเสาะหาความรู้และกิจกรรม
206
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
โครงงานคณิตศาสตร์มีพฤติกรรมการเรียน อยู่ในเกณฑ์ดี 4) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการสอน คณิตศาสตร์ เรื่องความน่าจะเป็น โดยวิธีการสืบเสาะหาความรู้และกิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์มีความพึงพอใจ ต่อบทเรียน อยู่ในระดับพอใจมาก และสอดคล้องกับงานวิจัยของ สายชล ยอดสมเพ็ชร (2557) จากการศึกษาการ เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างวิธีการเรียนแบบสืบ เสาะหาความรู้ ตามแนว 5E กั บตามแนววงจรการ เรีย นรู้พบว่าวิ ธีเรีย นทั้งสองวิ ธีเป็น การเรียนที่เน้น ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ส่งผลทาให้ นักเรียนมีคะแนนวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้น เมื่ อ เปรี ย บเที ย บวิ ธีก ารเรีย นแบบ สื บ เสาะหาความรู้ ตามแนว 5E กั บ ตามแนววงจรการเรี ย นรู้ พบว่า ทั ก ษะ กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์หลังการเรียนด้วยวิธีการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนววงจรการเรียนรู่สูงกว่า ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หลังการเรียนด้วยวิธีการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนว 5E นักเรียนมี ความพึงพอใจต่อการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้อยู่ในระดับมาก จากเหตุผลดังกล่าวแสดงให้เห็ นนัก เรียนที่เรี ยนด้ว ยคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ร่วมกั บวิธี สอนแบบสื บ เสาะหาความรู้ เป็นวิธีที่ทาให้ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนสูงขึ้น มีประสิทธิภาพ การจัดการเรียนรู้เน้นการเรียนรู้ด้วย ตนเองโดยทาให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ ทาให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนและส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงขึ้น การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ในแต่ละหน่วยการเรียนนั้นแต่ละคนจะได้ฝึกทักษะเพื่อให้ เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ด้วยการทาใบงาน และทาแบบทดสอบ ทาให้นักเรียนเห็นความก้าวหน้าของตนเองได้ ชัดเจนรวดเร็วขึ้น และการให้กาลังใจกล่าวคาชมเชย จะส่งผลให้นักเรียนที่ได้รับคะแนนสูงมีความขยันเอาใจใส่การ เรียนมากยิ่งขึ้น เพื่อรักษาระดับคะแนนของตน และนักเรียนที่ได้คะแนนต่าก็จะตั้งใจเรี ยนและพยายามทาคะแนน ให้สูงกว่าเดิม ครูควรเสริมแรงให้กาลังใจกล่าวคาชมเชยเด็กเป็นระยะๆ การเสริมแรงจะเป็นการสื่อให้เด็กทราบว่า สิ่งที่ตนแสดงออกไปนั้นถูกต้องหรือไม่ เด็กจะเกิดความภาคภูมิใจและพยายามทากิจกรรมต่างๆ ให้ดียิ่งขึ้น ดังที่ พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (2544 : 56) กล่าวว่า การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ เป็นการจัดการเรียนการสอน โดยวิธีให้ นักเรียนเป็นผู้ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง หรือสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ครูเป็นผู้ อานวยความสะดวก เพื่อให้นักเรียนบรรลุเป้าหมาย วิธีสืบเสาะหาความรู้จะเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของการเรียน 2. ผลการศึกษาพบว่านักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนร่วมกับกระบวนการ เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ผลการศึกษาพบว่านักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับ กระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง มนุษย์กับสภาพแวดล้อม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีความพึงพอใจ ในระดับมากที่สุด (Mean= 4.66) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สอดคล้องกับงานวิจัยของ ทิศนา แขม มณี (2545 : 141) กล่าวว่า การจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ คือ การดาเนินการเรียนการสอน โดย ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดคาถาม เกิดความคิดและลงมือ แสวงหาความรู้ เพื่อนามาประมวลหาคาตอบหรือข้อสรุป ด้วยตนเอง โดยที่ผู้สอนช่วยอานวยความสะดวกในการเรียนรู้ในด้านต่างๆ ให้แก่ผู้เรียนเช่นในด้านการสืบค้นหา แหล่งความรู้การศึกษาข้อมูล การวิเคราะห์ การสรุปข้อมูล การอภิปรายโต้แย้งทางวิชาการ และการทางานร่วมกับ ผู้อื่น เป็นต้น แบบสืบเสาะหาความรู้ คือ กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาด้วย วิธีการฝึกให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาหาความรู้ โดยผู้สอนตั้งคาถามกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้กระบวนการ และสอดคล้องกับ งานวิจัยของ กิริยา ทิพมาตย์ (2546) ได้ทาวิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ คอมพิ ว เตอร์ เรื่ อง การใช้ อิ น เตอร์เ น็ ต อย่ า งถู ก วิ ธี ส าหรั บ นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 4 ตามหลั ก สู ต ร มัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533) ผลวิจัยพบว่า ได้บทเรียนคอมพิวเตอร์วิชา
207
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์เรื่อง การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างถูกวิธีสาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามเกณฑ์ 80/80 มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสามารถนาไปใช้ในการเรียนการสอนได้ จากเหตุผลดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับกระบวนการ เรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยผู้สอนกระตุ้นให้ ผู้เรียนเกิดคาถาม เกิดความคิดและลงมือแสวงหาความรู้ เพื่อนามาสู่คาตอบหรือข้อสรุปด้วยตนเอง โดยที่ผู้สอนช่วย อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ในด้านต่างๆ ให้แก่ผู้เรียนเช่นในด้านการสืบค้นหาแหล่งความรู้การศึกษาข้อมูล การวิเคราะห์ การสรุปข้อมูล การอภิปรายโต้แย้ง และการทางานร่วมกับผู้อื่น เป็นต้น แบบสืบเสาะหาความรู้ เป็น กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาด้วยวิธีการฝึกให้ผู้เรียนรู้จักศึกษาหาความรู้ โดย ผู้สอนตั้งคาถามกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้กระบวนการ จากเหตุผลข้างต้นทาให้นักเรียนที่เรียนด้วยคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะเพื่อนาผลการศึกษาไปใช้ 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหา ความรู้เน้นการใช้คาถามเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการคิดวิเคราะห์สถานการณ์หรือโจทย์ปัญหา ดังนั้นครูผู้สอนควร มี ทั ก ษะในการใช้ ค าถามที่ ดี คื อ สามารถตั้ ง ค าถามที่ น่ า สนใจและกระตุ้ น ให้ นั ก เรี ย นได้ คิ ด ร่ ว มอภิ ป รายและ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน เพ่อให้นักเรียนมองเห็นแนวทางในหาคาตอบ 2. ครูผู้สอนต้องศึกษาบทบาทหน้าที่ของตนเองในทุกขั้นตอนให้ชานาญ เพื่อให้การจัดการเรียนรู้ เป็นไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพ อีกทั้งครูผู้สอนควรอธิบายวัตถประสงค์และขั้นตอนการทากิจกรรมให้ชัดเจน เพื่อให้นักเรียนทุกคนเข้าใจตรงกันทุกครั้งก่อนดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้ 3. ครูผู้สอนควรมีการวางแผนในการจัดกิจกรรม เพื่อให้นักเรียนได้เนื้อหาสาระที่ครบถ้วน เนื่องจาก การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ร่วมกับคอมพิ วเตอร์ช่วยสอน ใช้เวลาในการหาคาตอบมากน้อย แตกต่างกันไป ข้อเสนอแนะเพื่อการศึกษาต่อไป 1. ควรใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ร่วมกับกิจกรรมการเรียนรู้แบบอื่นนอกเหนือจากแบบสืบเสาะหา ความรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย 2. ควรมีการเปรียบเทียบการเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน กับสื่อนวัตกรรมอื่น 3. ควรใช้ กิจ กรรมการเรี ยนรู้แ บบสืบ เสาะหาความรู้ ร่ว มกั บสาระการเรีย นรู้ อื่น หรือ วิชาอื่ นที่ มี ธรรมชาติของวิชาใกล้เคียงกัน กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จ ลุล่วงไปด้วยความกรุณาให้คาปรึกษา แนะนา ปรับปรุง และช่วยแก้ไข ข้อบกพร่องต่างๆ อย่างดียิ่งจากอาจารย์ ดร.อิทธิวัตร ศรีสมบัติ ประธานกรรมการที่ปรึกษา และอาจารย์ ดร. พนา จินดาศรี กรรมการที่ปรึกษา ขอบพระคุณที่ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมอันเป็นประโยชน์ต่อการทาสารนิพนธ์ ฉบับนี้ให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ผู้วิจัยมี ความซาบซึ้งในความเมตตากรุณาของอาจารย์อย่างยิ่ง ผู้วิจัยขอกราบ ขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้
208
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย์ ดร.พนิต ศรีประเสริฐ อาจารย์พิเศษและผู้ชานาญการด้านเทคโนโลยี โปรแกรมเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาคณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ นางวรุณี พลแสน ครูวิทย ฐานะชานาญการพิเศษ สาขาสังคมศึกษา โรงเรียนบ้านดมวิทยาคาร อาเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์ ผู้เชี่ยวชาญด้าน การสอนสังคมศึกษา นางเอมอร วรมากุล ครูวิทยฐานะชานาญการพิเศษ สาขาวัดผลและประเมินผล โรงเรียนบ้านสะแร อาเภอบัวเชด จังหวัด สุรินทร์ ผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดผลและประเมินผล ที่ได้ให้คาแนะนา ตรวจสอบ และให้ข้อเสนอแนะ แก้ไข ข้อบกพร่องต่างๆในการพัฒนาเครื่องมือให้มีความสมบูรณ์ ถูกต้อง นาไปใช้ได้ด้วยดี ทาให้วิทยานิพนธ์เล่มนี้มี ความสมบูรณ์และมีคุณค่า ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณทุกท่านด้วยความเคารพอย่างยิ่ง ขอขอบพระคุณคณะครูทุกท่าน นักเรียนโรงเรียนบ้านจรัส ตาบลจรัส อาเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ ที่ให้ความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ทาให้วิทยานิพนธ์เล่มนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี คุณงามความดี และประโยชน์อันพึงมีที่เกิดจากวิทยานิพนธ์เล่มนี้ ผู้วิจัยขอมอบเป็นเครื่องบูชาคุณบิกา มารดา ผู้เป็นบุพการี ครู อาจารย์ให้การอบรมสั่งสอน ตลอดจนผู้มีพระคุณทุกท่านด้วยความเคารพอย่างสูง เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรมวิชาการ. (2546). การจัดสาระการเรียนรูก้ ลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐานพุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. กรรณิกา นาคคา. (2547). การพัฒนาบทเรียนสาเร็จรูปประกอบภาพการ์ตูน เรื่องโครงสร้างและหน้าที่ของ เซลล์พืชสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. การศึกษาค้นคว้าอิสระการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. กิดานันท์ มลิทอง. (2543). เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ : ภาควิชาโสตทัศนศึกษา คณะครุ ศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย. กิริยา ทิพมาตย์. (2546). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์เรื่อง การ ใช้อินเตอร์เน็ตอย่างถูกวิธี สาหรับนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามหลักสูตรมัธยมศึกษา ตอนปลาย พุทธศักราช 2524 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533). การศึกษาค้นคว้าอิสระการศึกษา มหาบัณฑิต เทคโนโลยีการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. เกียรติสุดา บุญส่ง. (2549). การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อฝึกทักษะการฟังจับใจความสาหรับ นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1. การค้นคว้าแบบอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี ทางการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. จรีพรรณ ศรีม้า. (2553). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง เซตสาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค์. จรูญ จงกลกลาง. (2554). พัฒนาบทเรียนออนไลน์วิชาฮาร์ดแวร์และยูทีลิตี้เบื้องต้น. โครงการมหาวิทยาลัยไซ เบอร์ไทย สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. จุฑามาศ จันทา. (2552). การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
209
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ชวลิต ชูกาแพง. (2550). การประเมินการเรียนรู้. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2549). เทคโนโลยีทางการศึกษา : ทฤษฎีและการวิจัย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ไชยยศ เรืองสุวรรณ และวชิระ อินทร์อุดม. (2542). คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน. เอกสารคาสอน ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น . ไชยยัณห์ ชาญปรีชารัตน์. (2543). ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มผี ลต่อการวัดการเรียนการสอนของโรงเรียน เทคโนโลยีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแก่น. รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระการศึกษา มหาบัณฑิต. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฐะปะนีย์ พิทักษ์วงศ์. (2546). บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. วารสารวิทยบริการ. ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2546. ถนอมพร (ตันพิพัฒน์) เลาหจรัสแสง. (2541). Designing e-learning : หลักการออกแบบและการสร้างเว็บเพื่อ การเรียนการสอน. กรุงเทพ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ทักษิณา สวนานนท์. (2530). คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา. ทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตร์การสอน. องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บุญเกื้อ ควรหาเวช. (2542). นวัตกรรมการศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2542). เทคนิคการสร้างเครื่องมือรวบรวมข้อมูลสาหรับการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : เจริญดีการพิมพ์. บุญส่ง จันทร. (2549). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องพันธะเคมีสาหรับนักเรียน ชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ 4. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ประณต พลอาษา. (2543). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาทฤษฎีดนตรีสากล เรื่องบันไดเสียง. กรุงเทพมหานคร : สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. ประทวน เลิศเดชะ. (2550). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาสังคมศึกษาและความสามารถใน การคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการสอนแบบสืบเสาะหา ความรู้กับการสอนปกติ. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. พเยาว์ เจริญฉาย. (2532). “บทบาทของ CAI ในวิชาภาษาศาสตร์.” วารสารภาษาศาสตร์, 7(2). พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์. (2544 ). การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ : แนวคิด วิธีและเทคนิคการสอน 1. กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอร์กรุป๊ แมเนจเม้นท์. ไพโรจน์ ตีรณธนากุล ไพบูลย์ เกียรติโกมล และเสกสรร แย้มพินิจ. (2546). การออกแบบและการผลิตบทเรียน คอมพิวเตอร์การสอนสาหรับ e-Learning. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ. ภพ เลาหไพบูลย์. (2542). แนวการสอนวิทยาศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 3) กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณิช. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2537). ประมวลสาระชุดวิชาสัมมนาการประถมศึกษา หน่วยที่9-11. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เยาวดี วิบูลย์ศรี. (2538). การประเมินโครงการ: แนวคิดและแนวปฏิบัต.ิ กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
210
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2538). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 4).กรุงเทพฯ : สุวีริยา สาส์น. วัฒนาพร ระงับทุกข์. (2542). การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ : เลิฟแอนด์เลิฟ เพรส. วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2545). การพัฒนาการเรียนการสอนภาควิชาหลักสูตรและการสอนมหาสารคาม : คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ศิริชัย กาญจนวาสี. (2544). ทฤษฏีการทดสอบแบบดั้งเดิม. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2540 ก). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ : การศาสนา สุวิทย์ มูลคา และอรทัย มูลคา. (2545). 21 วิธีจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาระบบความคิด. กรุงเทพฯ : ภาพ พิมพ์. เสาวนีย์ สิกขาบัณฑิต. (2528). การผลิตวัสดุเทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกล้าพระนครเหนือ อดิสรณ์ มนต์วิเศษ. (2553). การส่งเสริมผลการเรียนรู้ของนักเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาโดยใช้ วิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้และการลงมือปฏิบัตกิ าร เรื่อง ความหลากหลายของปลากด ไทย. ปร.ด. (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล. อภิญญา ประวัตรวโรดม. (2551). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง โปรแกรมประมวลผลคากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. การศึกษาค้นคว้าอิสระการศึกษามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและ การสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
211
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018 EDUP-03
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ วิภาวรรณ บุญรอด 1 อุดม หอมคา2 และ ขจรศักดิ์ สงวนสัตย์3 1
นักศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรครุศาตรมหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรนิ ทร์ 2 อาจารย์ ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 3 อาจารย์ ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสารวจ โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการยอมรับการเรียนด้วย เอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ และ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับการเรียนด้วย เอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏสุรินทร์ ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ จานวน 386 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม ซึ่งได้ค่าความเชื่อ มั่น ทั้งฉบับ เท่ากับ 0.83 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ระดับปัจจัยของการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษาในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย= 3.98) เมื่อพิจารณารายด้าน จากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านที่เป็นปัจจัยมากที่สุด ได้แก่ ด้านความคุ้มค่า ทางการเงินและด้านคุณลักษณะที่เข้ากันได้ (ค่าเฉลี่ย = 4.04) หมายความว่า นักศึกษาเห็นว่าเอ็มเลิร์นนิ่งช่วยลด อัตราการใช้กระดาษ ช่วยลดอัตราค่าใช้จ่ายในการเดินทางเพื่อมาเรียน และเอ็มเลิร์นนิ่งมีความทันสมัยเข้ากับ ยุค ปัจจุบันของสังคมในปัจจุบัน ส่วนด้านที่เป็นปัจจัยน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านประโยชน์เชิงเปรียบเทียบ (ค่าเฉลี่ย= 3.86) หมายความว่า นักศึกษาเห็นว่าการเรียนในชั้นเรียนแบบปกติสามารถโต้ตอบและแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ดีกว่าการเรียน ด้วยเอ็มเลิร์นนิ่ง ผลการศึกษาระดับการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ในภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย= 3.93) เมื่อพิจารณาเป็นรายขั้นของระดับ การยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่ง จากมากไปหาน้อย พบว่า ขั้นการยอมรับที่เป็นปัจจัยมากที่สุด ได้แก่ ขั้นความรู้ (ค่าเฉลี่ย= 3.98) หมายความว่า นักศึกษารู้จักสมาร์ท โฟนและทราบว่าสมาร์ทโฟนสามารถนามาใช้เป็นสื่อหรือเครื่องมือในการเรียนได้ ส่วนขั้นการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งที่ เป็นปัจจัยน้อยที่สุด ได้แก่ ขั้นนาไปใช้ (ค่าเฉลี่ย= 3.89) หมายความว่า นักศึกษามิได้มีการใช้ สมาร์ทโฟนเพื่อเป็น เครื่องมือในการเรียนด้วยเอ็มเลิร์นนิ่งอย่างเป็นประจาต่อเนื่องเพื่อเติมเต็มความรู้หรือร่วมกันอภิปรายกับเพื่อน หลังจากการเรียนในชั้นเรียน คำสำคัญ : ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับ, เอ็มเลิร์นนิ่ง, M-Learning (Mobile Learning) Abstract This research is a Survey research. 1) to study the acceptance level of learning by the M-Learning of students in Surindra Rajabhat University. 2) to study the factors that affect the acceptance of learning by the M-Learning of students in Surindra Rajabhat University. The
212
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
research sample consisted of 386 students from Surindra Rajabhat University. The instruments used in the study were questionnaires with 0.83 confidence level and in-depth interviews. Statistics used in data analysis were percentage, mean, standard deviation. The research found that acceptance level of learning by the M-Learning of students were at a high level. When considering each side, found that. The most influencing factors for Financial value / Compatible features. Because M-Learning will reduce paper usage, reduce travel expenses and modern. The least factor is the comparative advantage. Because classroom learning can interact and share information better than learning with the M-Learning. The results of the study on the acceptance level by the M-Learning of students were at a high level. When considering each side, found that. The most factor is the level of knowledge. Because Students recognize that a smart phone. And recognize that smart phones can be used as a communication tool in the classroom. The least important factor is the use. Because Students do not use smart phones as a tool to learn with regular M-Learning continuity to complete knowledge or to discuss with friends after class. Keywords : Factors Affecting , M-Learning or mobile learning บทนา ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้เข้ามามีบทบาทต่อการจัดการศึกษาของ ประเทศไทย ทั้งในทางบวกและทางลบ ซึ่งจาเป็นอย่างยิ่งจะต้องเตรียมการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงนี้ เพื่อให้ คุณภาพการจัดการเรียนการสอนมีความก้าวหน้าได้รับการพัฒนาทันต่อการเปลี่ยนแปลง ปัจจุบันเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology หรือ ICT) ได้มีการพัฒนาและ นามาประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวาง ทั้งด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม การบริการสังคม สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม และ การศึกษา ซึ่งการนา ICT มาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละด้านนั้น ได้มีการใช้งานผ่านช่องทางการ สื่อสารในระบบเครือข่าย เช่น สัญญาณระบบ Wi-Fi, 3G, 4G และอุปกรณ์ต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต สมาร์ทโฟน เป็นต้น อันจะทาให้ผู้ส่งสารสามารถส่งข้อมูลข่าวสาร ถึงผู้รับสารได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย จะพบว่า ปัจ จุบั น โทรศั พท์ มีส มบัติ ที่ห ลากหลาย ทั้ งใช้เ พื่ อการสื่อ สารและสนทนา การบั นทึ กภาพ เคลื่อนไหว การถ่ายภาพ การฟังเพลง การใช้งานอินเตอร์เน็ต การส่งจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ (e Mail) การอ่าน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (eBooks) การเล่นเกมส์ การดูหนัง รวมทั้งการใช้เป็นระบบนาทาง (GPS Compass) เป็น ต้น ประกอบกับประเทศไทยมีการจัดสรรคลื่นความถี่ในมีการใช้งานแบบ High Speed Internet จึงมีการพัฒนาให้ โทรศัพท์ มีความสามารถพิเศษ (Smart Phone) รองรับระบบ ปฏิบัติการต่าง ๆ เมื่อโทรศัพท์เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของคนในสังคม ทาให้มีการนาโทรศัพท์มาใช้ในการศึกษา มากขึ้น (Mobile Learning or M-learning) ซึ่งมีผู้ให้ความหมายของ M-learning ว่าคือการใช้โทรศัพท์และ อุปกรณ์ต่อพ่วงในการสอนและการเรียนรู้ นอกจากนี้ยังสามารถเข้าดึงข้อมูลและเรียนรู้เครื่องมือต่าง ๆ ให้เกิดการ เรียนรู้ทุกที่ทุกเวลา ช่วยอานวยความสะดวกในการทางานทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
213
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
การจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยี M-Learning เป็นลักษณะที่เครื่องมีการเชื่อมต่อ (Online) กับ เครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือ ไม่เชื่อมต่อกับเครือข่ายใด ๆ (Off-line) ก็ได้ เพื่อรองรับการจัดเรียนการสอนในหลักสูตร ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน อย่างไรก็ดีระบบ M-Learning ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์นั้นยังไม่ได้ ดาเนินการเป็น รูปธรรม มีเพียงความสาเร็จของระบบ E-learning เท่านั้น แต่ก็มีการใช้งานที่ไม่ครอบคลุม เนื่องจากมีปัจจัยที่ เกี่ยวข้องจานวนมากแต่สิ่งที่สาคัญที่สุด ก็คือ อาจารย์ผู้สอน หากว่าผู้สอนไม่ให้ การยอมรับหรือไม่เห็นความสาคัญ แล้ว การจะพัฒนาระบบการเรียนการสอนแบบ M-learning ของสถาบันนั้นๆ ก็ยากที่จะประสบผลสาเร็จ ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะทาวิจัย เรื่อง “ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์” เพื่อศึกษาระดับปัจจัยและระดับการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาระดับปัจจัยของการยอมรับการเรียนด้วยเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ 2. เพื่อศึกษาระดับการยอมรับการเรียนด้วยเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ วิธีดาเนินการวิจัย งานวิจัยเรื่องนี้เป็นวิจัยเชิงสารวจ มีวิธีการวิจัย ดังนี้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ระดับปริญญาตรี ภาคปกติ จานวน 10,386 คน ภาค กศ.บป. จานวน 727 คน รวม จานวน 11,113 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ระดับปริญญาตรี จานวน 368 คน กาหนด ขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใชสูตรของทาโร ยามาเน (Taro Yamane. 1967 อ้างถึงใน ธานินทร์ ศิลป์จารุ . 2549 : 47) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% โดยใช้ ความคลาดเคลื่อนในการสุ่ม 5% โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการเลือกแบบ โควตา (Quota Sampling) ตามสัดส่วนของประชากรในสังกัดคณะต่างๆ จานวน 6 คณะ ได้แก่ คณะ ครุ ศาสตร์ คณะมนุ ษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ คณะวิท ยาการจั ด การ คณะวิท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม และคณะเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรแล้วดาเนินการสุ่มแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสอบถาม ซึ่งสอบถามเกี่ยวกับ 1) ข้อมูล ทั่วไปของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ และข้อมูลการใช้งานอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายไร้สาย 2) ระดับปัจจัยที่ส่งผลต่อการ ยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 3) ระดับการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ โดยมีขั้นตอนการพัฒนาแบบสอบถามดังนี้ 1. ศึก ษาเอกสาร ตารา และงานวิ จัย ที่ เกี่ ย วข้ องกั บปั จ จัย ที่ ส่งผลต่ อ การยอมรั บ นวั ต กรรม เทคโนโลยีสารสนเทศการเรียนการสอนด้วยเอ็มเลิร์นนิ่ง ร่วมกับสัมภาษณ์นักศึกษาเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับการใช้เอ็ม เลิร์นนิ่งเพื่อเป็นแนวทางในการยกร่างแบบสอบถามในการวิจัย 2. นาแบบสอบถามที่ยกร่างเสนออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์เพื่อพิจารณา ตรวจสอบ แก้ไข ข้อบกพร่องด้านเนื้อหา และสานวนภาษา
214
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
3. นาส่งร่างแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญ จานวน 5 ท่าน ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและสื่อสารการศึกษา และผู้เชี่ยวชาญด้านสถิติการวิจัย เพื่อตรวจหาความตรงเชิงเนื้อหา โดยการ พิจารณาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามกับวัตถุประสงค์ (Index of Item Objective Congruence : IOC) พบว่า มีค่า IOC ของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.88 การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยเก็ บรวบรวมแบบสอบถามด้วยตนเอง โดยทาหนังสือ ขออนุญ าตเข้า เก็บข้อ มูลจากนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ การวิเคราะห์ข้อมูล 1. วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลการใช้งานอินเตอร์เน็ตและเครือข่าย ไร้สายของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ โดยการหาจานวนและร้อยละ 2. วิเคราะห์ระดับปัจจัยของการยอมรับการเรียนด้วยเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราช ภัฏสุรินทร์ โดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแปลผลค่าเฉลี่ย ดังนี้ 4.50-5.00 หมายถึง ปัจจัยส่งผลต่อการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราช ภัฏสุรินทร์อยู่ในระดับมากที่สุด 3.50-4.49 หมายถึง ปัจจัยส่งผลต่อการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราช ภัฏสุรินทร์อยู่ในระดับมาก 2.50-3.49 หมายถึง ปัจจัยส่งผลต่อการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราช ภัฏสุรินทร์อยู่ในระดับปานกลาง 1.50-2.49 หมายถึง ปัจจัยส่งผลต่อการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราช ภัฏสุรินทร์อยู่ในระดับน้อย 1.00-1.49 หมายถึง ปัจจัยส่งผลต่อการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราช ภัฏสุรินทร์อยู่ในระดับน้อยที่สุด 3. วิเคราะห์ระดับการยอมรับการเรียนด้วยเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ โดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแปลผลค่าเฉลี่ย ดังนี้ 4.50-5.00 หมายถึง การยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัย ราชภัฏสุรินทร์อยู่ ในระดับมากที่สุด 3.50-4.49 หมายถึง การยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์อยู่ ในระดับมาก 2.50-3.49 หมายถึง การยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์อยู่ ในระดับปานกลาง 1.50-2.49 หมายถึง การยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์อยู่ ในระดับน้อย 1.00-1.49 หมายถึง การยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์อยู่ ในระดับน้อยที่สุด
215
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ผลการวิจัย ผลการวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปและข้ อ มู ล การใช้ งานอิ น เตอร์ เ น็ ต และเครื อ ข่ า ยไร้ ส ายของนั ก ศึ ก ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ โดยเรียงลาดับจากมากที่สุดไปน้อยที่สุด ซึ่งผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป พบว่า กลุ่ม ตัวอย่างส่วนใหญ่ที่เป็นเพศหญิง จานวน 243 คน (ร้อยละ 62.69) เพศชาย จานวน 144 คน (ร้อยละ 37.31) มี สถานภาพการศึกษา เป็นนักศึกษาภาคปกติ จานวน 367 คน (ร้อยละ 95.08) นักศึกษาภาค กศ.บป. จานวน 19 คน (ร้อยละ 4.92) อยู่ระหว่างการศึกษา ระดับชั้นปี 3 จานวน 103 คน (ร้อยละ 26.68) รองลงมาได้แก่ ชั้นปี 2 จานวน 93 คน (ร้อยละ 24.09) ชั้นปี 4 จานวน 71 คน (ร้อยละ 18.39) ชั้นปี 5 จานวน 62 คน (ร้อยละ 16.06) และชั้นปี 1 จานวน 57 คน (ร้อยละ 14.77) ตามลาดับ เป็นนักศึกษาในสังกัดคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จานวน 127 คน (ร้อยละ 32.90) รองลงมาได้แก่ คณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จานวน 112 คน (ร้อยละ 29.02) คณะ ครุศาสตร์ จานวน 50 คน (ร้อยละ 12.95) คณะวิทยาการจัดการ จานวน 43 คน (ร้อยละ 11.14) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม จานวน 36 คน (ร้อยละ 9.33) และ คณะเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร จานวน 18 คน (ร้อยละ 4.66) ตามลาดับ เป็นนักศึกษาหลักสูตร ค.บ. จานวน 147 คน (ร้อยละ 38.08) รองลงมาได้แก่ หลักสูตร วท.บ. จานวน 87 คน (ร้อยละ 22.54) หลักสูตร รป.บ. จานวน 83 คน (ร้อยละ 21.50) หลักสูตร บช.บ. จานวน 26 คน (ร้อยละ 6.74) หลักสูตร ทล.บ. จานวน 23 คน (ร้อยละ 5.96) หลักสูตร บธ.บ. จานวน 17 คน (ร้อยละ 4.40) และหลักสูตร ศศ.บ. จานวน 3 คน (ร้อยละ 0.78) ตามลาดับ รายได้ของครอบครัวต่อเดือน (นับ รวมกัน) มีรายได้ระหว่าง 5,000-10,000 บาทต่อเดือน จานวน 107 คน (ร้อยละ 27.72) รองลงมา มีรายได้ระหว่าง 15,001-20,000 บาทต่อเดือน จานวน 90 คน (ร้อยละ 23.32) มีรายได้ระหว่าง 10,001-15,000 บาทต่อเดือน จานวน 83 คน (ร้อยละ 21.50) มีรายได้ต่อเดือน 20,001 บาทขึ้นไป จานวน 75 คน (ร้อยละ 19.43) และมี รายได้ต่อเดือน ต่ากว่า 5,000 บาท จานวน 31 คน (ร้อยละ 8.03) ตามลาดับ แหล่งที่มาของรายได้ที่นักศึกษา ได้รับ ส่วนใหญ่ได้รับรายได้จากพ่อ/แม่/ญาติ พี่น้อง หรือ ผู้ปกครอง (ร้อยละ 63.93) รองลงมา ได้รับเงินรายได้ จากกองทุนเงินให้กู้ยืม เพื่อการศึกษา (กยส.) (ร้อยละ 17.50) ได้รับเงินรายได้จากการทาอาชีพเสริมระหว่างเรียน (ร้อยละ 12.32) และได้รับเงินรายได้จากกองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาที่ผูกกับรายได้ ในอนาคต (กรอ.) (ร้อย ละ 6.25) ตามลาดับ จานวนเงินรายได้ที่ได้รับต่อเดือนของนักศึกษา ได้รับ 1,000-2,000 บาทต่อเดือน จานวน 124 คน (ร้อยละ 32.12) รองลงมา ได้รับ 3,001-4,000 บาทต่อเดือน จานวน 94 คน (ร้อยละ 25.13) ได้รับ 2,001-3,000 บาทต่อเดือน จานวน 91 คน (ร้อยละ 23.58) ได้รับต่อเดือน 4,001 บาท ขึ้นไป จานวน 44 คน (ร้อย ละ 11.40) และได้รับต่อเดือน ต่ากว่า 1,000 บาท จานวน 30 คน (ร้อยละ 7.77) ตามลาดับ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการใช้งานอินเตอร์เน็ตและเครือข่ายไร้สายของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ โดยเรียงลาดับจากมากที่สุดไปน้อยที่สุด พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นว่ามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์มี การให้บริการเครือข่ายอินเตอร์เน็ตและความเร็วอินเตอร์เน็ตแบบไร้สาย(Wi-Fi) มีไม่เพียงพอ จานวน 316 คน (ร้อย ละ 81.87) และเห็นว่ามีเพียงพอ จานวน 70 คน (ร้อยละ 18.13) ตามลาดับ การซื้อแพ็คเกจอินเตอร์เน็ตเสริมเพื่อ ใช้งาน ส่วนใหญ่ซื้อแพ็คเกจอินเตอร์เน็ตเสริมเพื่อใช้งานเอง จานวน 293 คน (ร้อยละ 75.91) และไม่ซื้อ จานวน 93 คน (ร้อยละ 24.09) ตามลาดับ จานวนของผู้ใช้อุปกรณ์สื่อสารแบบเคลื่อนที่หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพา จานวน 356 คน (ร้อยละ 92.23) และผู้ที่ไม่ใช้ จานวน 30 คน (ร้อยละ 7.77) ตามลาดับ ประสบการณ์ในการใช้ อุปกรณ์สื่อสารแบบเคลื่อนที่ของกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ 5 ปี ขึ้นไป จานวน 160 คน (ร้อยละ 41.45) รองลงมามีประสบการณ์ 1-2 ปี จานวน 96 คน (ร้อยละ 24.87) มีประสบการณ์ 3-4 ปี จานวน 78 คน (ร้อยละ 20.21) ไม่ตอบ จานวน 30 คน (ร้อยละ 7.77) และมีประสบการณ์ ต่ากว่า 1 ปี จานวน 22 คน (ร้อยละ 5.70)
216
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ตามลาดับ ความถี่หรือระยะเวลาการใช้อุปกรณ์สื่อสารแบบเคลื่อนที่(ต่อวัน) ของกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ใช้งานไม่ต่า กว่า 4-6 ชั่วโมง จานวน 104 คน (ร้อยละ 26.94) รองลงมา ไม่ต่ากว่า 1-3 ชั่วโมง จานวน 86 คน (ร้อยละ 22.28) ไม่ต่ากว่า 7-9 ชั่วโมง จานวน 66 คน (ร้อยละ 17.10) มากกว่า 10 แต่ไม่เกิน 24 ชั่วโมง จานวน 60 คน (ร้อยละ 15.54) ไม่ตอบ จานวน 30 คน (ร้อยละ 7.77) ตลอดเวลา หรือ 24 ชั่วโมง จานวน 25 คน (ร้อยละ 6.48) และไม่ เคยเชื่อมต่อสัญญาณอินเตอร์เน็ต จานวน 15 คน (ร้อยละ 3.89) ตามลาดับ วัตถุประสงค์ ในการใช้งานอุปกรณ์ สื่อสารแบบเคลื่อนที่ของกลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่ ใช้เพื่อการสนทนา (ร้อยละ 22.84) รองลงมา คือ เพื่อประโยชน์ ทางวิชาการ/การศึกษา (ร้อยละ 19.95) ใช้เพื่อการติดต่อสื่อสาร (ร้อยละ 19.35) ใช้เพื่อความบันเทิง (ร้อยละ 18.76) ใช้เพื่อสร้างเครือข่ายทางสังคม (ร้อยละ 10.36) และ ใช้เพื่อการทางานหรือการประกอบอาชีพเสริม (ร้อยละ 8.74) ตามลาดับ ผลการศึกษาปัจจัยการยอมรับการเรียนด้วยเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภั ฏสุรินทร์ ปรากฏดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของปัจจัยการยอมรับ เอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ในภาพรวม (n = 386) ปัจจัยการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่ง
Mean
S.D.
แปลผล
1. ด้านความสามารถในการเรียนผ่านเอ็มเลิร์นนิ่ง
3.96
0.81
มาก
2. ด้านประโยชน์ในการใช้งาน
3.97
0.78
มาก
3. ด้านประโยชน์เชิงเปรียบเทียบ
3.86
0.84
มาก
4. ด้านคุณลักษณะที่เข้ากันได้
4.04
0.75
มาก
5. ด้านความคุ้มค่าทางการเงิน
4.04
0.81
มาก
6. ด้านความเชื่อมั่นในการเรียนออนไลน์
4.00
0.77
มาก
7. ด้านทัศนคติที่มีต่อเอ็มเลิร์นนิ่ง
4.03
0.78
มาก
8. ด้านความง่ายต่อการใช้งาน
4.02
0.78
มาก
9. ด้านอิทธิพลทางด้านสังคม
3.95
0.77
มาก
10. ด้านสภาพของสิ่งอานวยความสะดวก
3.88
0.84
มาก
3.98
0.79
มาก
รวม
จากตารางที่ 1 ปัจจัยการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ในภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก (Mean = 3.98) เมื่อพิจารณารายด้าน จากมาก ไปหาน้อย พบว่า ด้านที่เป็นปัจจัยมาก ที่สุด ได้แก่ ด้านคุณลักษณะที่เข้ากันได้และด้านความคุ้มค่าทางการเงิน (Mean = 4.04) รองลงมา ได้แก่ ด้าน ทัศนคติที่มีต่อเอ็มเลิร์นนิ่ง (Mean = 4.03) ด้านความง่ายต่อการใช้งาน (Mean = 4.02) ด้านความเชื่อมั่นในการ เรียนออนไลน์ (Mean = 4.00) ด้านประโยชน์ในการใช้งาน (Mean = 3.97) ด้านความสามารถในการเรียนผ่านเอ็ม เลิร์นนิ่ง (Mean = 3.96) ด้านอิทธิพลทางด้านสังคม (Mean = 3.95) ด้านประโยชน์เชิงเปรียบเทียบ และด้าน สภาพของสิ่งอานวยความสะดวก (Mean = 3.88) ส่วนด้านที่เป็นปัจจัยน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านประโยชน์เชิง เปรียบเทียบ (Mean = 3.86)
217
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ผลการศึกษาปัจจัยการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ที่เป็นปัจจัยด้าน ความสามารถในการใช้งานและทัศนคติในการตัดสินใจเลือกใช้เอ็มเลิร์นนิ่ง ในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งประกอบ ไปด้วยด้านความสามารถในการเรียนผ่าน เอ็มเลิร์นนิ่ง ด้านประโยชน์ในการใช้งาน ด้านประโยชน์เชิงเปรียบเทียบ ด้านคุณลักษณะที่เข้ากันได้ ด้านความคุ้มค่าทางการเงิน ด้านความเชื่อมั่นในการเรียนออนไลน์ ด้านทัศนคติที่มีต่อ เอ็มเลิร์นนิ่ง ด้านความง่ายต่อการใช้งาน ด้านอิทธิพลทางด้านสังคม และด้านสภาพของสิ่งอานวยความสะดวก มา ดาเนินการหาค่าเฉลี่ย (Mean ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ปรากฏดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของปัจจัยการยอมรับ เอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (n = 386) ปัจจัยการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่ง ปัจจัยด้านความสามารถในการเรียนผ่านเอ็มเลิร์นนิ่ง
Mean
S.D.
แปลผล
1. นักศึกษาสามารถใช้แอพพลิเคชั่นเพื่อการเรียนออนไลน์ เช่น ระบบห้องเรียน ออนไลน์อีเลิร์นนิ่ง, Moodle Edmodo ด้วยสมาร์ทโฟนได้ 2. นักศึกษาสามารถใช้ E-mail, Facebook, Line เพื่อติดต่อสื่อสารระหว่าง เพื่อนและอาจารย์ผู้สอนได้ 3. นักศึกษาสามารถเข้าเรียนออนไลน์ผ่านโปรแกรม บริหารจัดการเรียนรู้(LMS) เช่น Moodle Edmodo โดยใช้สมาร์ทโฟนได้ 4. นักศึกษาสามารถส่งงานในการเรียนออนไลน์ด้วยสมาร์ทโฟน ได้
3.99
0.77
มาก
4.11
0.79
มาก
3.81
0.81
มาก
4.07
0.82
มาก
5. นักศึกษามีความรู้พื้นฐานในการเรียนรู้ด้วยเอ็มเลิร์นนิ่ง
3.82
0.85
มาก
3.96
0.81
มาก
4.04
0.75
มาก
3.92
0.82
มาก
4.02
0.76
มาก
3.97
0.78
มาก
5. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่งช่วยให้นักศึกษาบันทึกข้อมูลการส่งงานได้อย่างดี รวม
3.90 3.97
0.80 0.78
มาก มาก
ปัจจัยด้านประโยชน์เชิงเปรียบเทียบ 1. นักศึกษาคิดว่าการเรียนด้วยเอ็มเลิร์นนิ่งดีกว่าการเรียนในชั้นเรียน
3.80
0.92
มาก
3.89
0.79
มาก
3.74
0.87
มาก
4.01
0.79
มาก
รวม ปัจจัยด้านประโยชน์ในการใช้งาน 1. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่งช่วยให้นักศึกษาเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา และ ตลอดเวลา 2. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่งช่วยให้นักศึกษาแบ่งปัน ความรู้ระหว่างเพื่อนและ อาจารย์ผู้สอนแบบทันที (Real Time) 3. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่งช่วยให้นักศึกษาสามารถส่งงานได้สะดวกรวดเร็ว ยิ่งขึ้น 4. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่งช่วยให้นักศึกษาบันทึกข้อมูลการส่งงานได้อย่างดี
2. นักศึกษาคิดว่าการเรียนด้วยเอ็มเลิร์นนิ่ง ทันสมัยและเป็นที่นิยมมากกว่าการ เรียนในชั้นเรียน 3. นักศึกษาคิดว่าการเรียนด้วยเอ็มเลิร์นนิ่ง สามารถโต้ตอบและแลกเปลีย่ นข้อมูล ได้ดีกว่าการเรียนในชั้นเรียน 4. นักศึกษาคิดว่าการเรียนด้วยเอ็มเลิร์นนิ่ง สามารถช่วยจัดเก็บร่องรอยหลักฐาน
218
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
Mean
S.D.
แปลผล
3.86
0.84
มาก
ปัจจัยด้านคุณลักษณะที่เข้ากันได้ 1. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่ง มีความทันสมัยเข้ากับยุคปัจจุบันของสังคม
4.12
0.71
มาก
2. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่ง มีความสอดคล้องกับค่านิยมของคนรุ่นใหม่
4.03
0.72
มาก
3. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่ง เข้ากันได้กับวิถกี ารดาเนินชีวิตประจาวันของผู้เรียน ในยุคปัจจุบัน 4. นักศึกษาใช้สมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ตอยู่แล้ว จึงสามารถเรียนผ่านเอ็มเลิร์นนิ่งได้ อย่างสะดวก รวม
4.02
0.74
มาก
3.99
0.82
มาก
4.04
0.75
1. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่ง ช่วยลดการใช้กระดาษ
4.18
0.80
มาก
2. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่ง ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
4.12
0.77
มาก
3. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่ง ช่วยลดค่าใช้จ่ายในชั้นเรียน
3.99
0.84
มาก
4. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่ง ช่วยลดค่าใช้จ่ายและลดค่าโทรศัพท์ในการ ติดต่อสื่อสารกัน รวม
3.85
0.85
มาก
4.04
0.81
มาก
3.98
0.75
มาก
Mean 4.02
S.D. 0.78
แปลผล
4.01
0.79
มาก
4.00
0.77
มาก
4.00
0.77
มาก
4.11
0.77
มาก
3.95
0.77
มาก
3. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่งช่วยให้ การเรียนรู้เป็นไปอย่างกว้างขวางไร้ขีดจากัด
4.01
0.74
มาก
4. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่งช่วยให้ การติดต่อ สื่อสาร ระหว่าง อาจารย์ผู้สอน และเพื่อนเป็นไปได้อย่างกว้างขวาง 5. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่งช่วยให้ การเรียนการสอนมีความทันสมัยก้าวทันยุค ดิจิตอล รวม
4.09
0.79
มาก
4.02
0.83
มาก
4.03
0.78
มาก
ปัจจัยการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่ง และข้อมูลการส่งงานได้ดีกว่าการเรียนในชั้นเรียน รวม
ปัจจัยด้านความคุ้มค่าทางการเงิน
ปัจจัยด้านความเชื่อมั่นในการเรียนออนไลน์ 1. นักศึกษาคิดว่าการเรียนผ่านเอ็มเลิรน์ นิ่ง ทาให้สามารถดูคะแนนที่ตรงกับ ความก้าวหน้าของตนเองได้ทันที ปัจจัยการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่ง 2. นักศึกษาคิดว่าการเรียนผ่านเอ็มเลิรน์ นิ่ง เมื่อผู้เรียนส่งงานแล้ว จะมีการบันทึก เวลาการส่งงานที่ชัดเจน 3. นักศึกษาคิดว่าการเรียนผ่านเอ็มเลิรน์ นิ่ง มีร่องรอยการปฏิบัติงานและการส่ง งานกับอาจารย์ที่ชัดเจน 4. นักศึกษาคิดว่าการเรียนผ่านเอ็มเลิรน์ นิ่ง มีระบบการป้องกันเอกสารสูญหายได้ รวม ปัจจัยด้านทัศนคติที่มีต่อเอ็มเลิร์นนิ่ง 1. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่งช่วยให้ การเรียนการสอนและการทางานร่วมกับ เพื่อนมีความสะดวกสบายยิ่งขึ้น 2. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่งช่วยให้ ประหยัดเวลาในการศึกษาหาความรู้
219
มาก
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ปัจจัยการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่ง ปัจจัยด้านความง่ายต่อการใช้งาน 1. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่ง ง่ายต่อการใช้งาน
Mean
S.D.
แปลผล
4.10
0.75
มาก
2. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่ง ง่ายต่อการศึกษาเรียนรู้
4.04
0.75
มาก
3. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่ง ง่ายต่อการส่งงาน
4.01
0.77
มาก
4. นักศึกษาคิดว่าเอ็มเลิร์นนิ่ง ง่ายต่อการสืบค้นงาน 5. นักศึกษาคิดว่าตนเองจะกลายเป็นผู้ชานาญในการเรียนผ่านเอ็มเลิร์นนิ่งเป็น อย่างดี รวม
4.04 3.91
0.80 0.84
มาก มาก
4.02
0.78
มาก
ปัจจัยด้านอิทธิพลทางด้านสังคม 1. เพื่อน มีความสาคัญต่อนักศึกษา ในการเริ่มใช้เอ็มเลิร์นนิ่ง
3.98
0.77
มาก
2. ผู้สอน มีอิทธิพลต่อนักศึกษา ในการเริ่มใช้เอ็มเลิร์นนิ่ง
3.98
0.77
มาก
3. นโยบายการจัดการเรียนการสอนของอธิการบดีหรือคณบดี มีอิทธิพลต่อ นักศึกษาในการเริ่มใช้เอ็มเลิร์นนิ่ง 4. เพื่อน จะให้ความช่วยเหลือในการใช้เอ็มเลิร์นนิ่ง
3.94
0.76
มาก
3.90
0.79
มาก
5. ผู้สอน จะให้ความช่วยเหลือในการใช้เอ็มเลิร์นนิ่ง
3.96
0.78
มาก
3.95
0.77
มาก
ปัจจัยด้านสภาพของสิ่งอานวยความสะดวก 1. นักศึกษามีทรัพยากรทีจ่ าเป็นสาหรับการใช้เอ็มเลิร์นนิ่งในการเรียน
4.05
0.74
มาก
2. มหาวิทยาลัย มีสัญญาณ WiFi ที่อานวยความสะดวกต่อการใช้เอ็มเลิร์นนิ่ง
3.78
0.96
มาก
3. นักศึกษามีประสบการณ์การเรียนออนไลน์ด้วยระบบอีเลิร์นนิ่ง
3.86
0.79
มาก
4. นักศึกษามีประสบการณ์การเรียนออนไลน์ด้วยระบบอีเลิร์นนิ่ง โดยใช้เอ็มเลิร์ นนิ่งเป็นสื่อหรือเครื่องมือในการเรียน 5. มหาวิทยาลัย มีเจ้าหน้าที่หรือบุคลากรที่เชี่ยวชาญมีสามารถในการให้ความ ช่วยเหลือและให้คาปรึกษาแก่นักศึกษา หากการใช้เอ็มเลิร์นนิ่งเกิดปัญหา รวม
3.87
0.85
มาก
3.87
0.83
มาก
3.88
0.84
มาก
รวม
จากตารางที่ 2 กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยกับปัจจัยการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ เมื่อพิจารณารายข้อจากมากไปหาน้อย พบว่า ข้อที่เห็นด้วยมากที่สุด ได้แก่ กลุ่มตัวอย่างเห็นว่าเอ็มเลิร์นนิ่ง ช่วยลดการใช้กระดาษ ซึ่งเป็นปัจจัยด้านความคุ้มค่าทางการเงิน (Mean = 4.18) รองลงมา 3 ลาดับ ได้แก่ กลุ่ม ตัวอย่างเห็นว่าเอ็มเลิร์นนิ่ง มีความทันสมัยเข้ากับยุคปัจจุบันของสังคม ซึ่งเป็นปัจจัยด้านคุณลักษณะที่เข้ากันได้ และ เอ็มเลิร์นนิ่งช่วยลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ซึ่งเป็นปัจจัยด้านความคุ้มค่าทางการเงิน (Mean = 4.12), กลุ่ม ตัวอย่างสามารถใช้ E-mail, Facebook, Line เพื่อติดต่อสื่อสารระหว่างเพื่อนและอาจารย์ผู้สอนได้ ซึ่งเป็นปัจจัย ด้านความสามารถในการเรียนผ่านเอ็มเลิร์นนิ่ง และกลุ่มตัวอย่างเห็นว่าเอ็มเลิร์นนิ่งช่วยให้การเรียนการสอนและการ ทางานร่วมกับเพื่อนมีความสะดวกสบายยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นปัจจัยด้านทัศนคติที่มีต่อเอ็มเลิร์ นนิ่ง (Mean = 4.11) และ กลุ่มตัวอย่างเห็นว่าเอ็มเลิร์นนิ่งง่ายต่อการใช้งาน ซึ่งเป็นปัจจัยด้านความง่ายต่อการใช้งาน (Mean = 4.10) ส่วนข้อ ที่เห็นด้วยน้อยที่สุด 3 ลาดับ ได้แก่ กลุ่มตัวอย่างเห็นว่าการเรียนด้วยเอ็มเลิร์นนิ่งดีกว่าการเรียนในชั้นเรียน ซึ่งเป็น
220
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ปัจจัยด้านประโยชน์เชิงเปรียบเทียบ (Mean = 3.80), กลุ่มตัวอย่างเห็นว่ามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์มีสัญญาณ WiFi ที่อานวยความสะดวกต่อการใช้เอ็มเลิร์นนิ่ง ซึ่งเป็นปัจจัยด้านสภาพของสิ่งอานวยความสะดวก (Mean = 3.78) และกลุ่มตัวอย่างเห็นว่าการเรียนด้วยเอ็มเลิร์นนิ่ง สามารถโต้ตอบและแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ดีกว่าการเรียนใน ชั้นเรียน ซึ่งเป็นปัจจัยด้านประโยชน์เชิงเปรียบเทียบ (Mean = 3.74) ตามลาดับ การศึกษาระดับการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ซึ่งมี 5 ระดับขั้น คือ ขั้นความรู้(ขั้นรับรู้) ขั้นจูงใจ ขั้นตัดสินใจ ขั้นนาไปใช้ และ ขั้นยืนยัน มาดาเนินการหาค่าเฉลี่ย (Mean ) และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ในภาพรวมแยกเป็นรายด้าน ปรากฏดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ย (Mean ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ในภาพรวม (n = 386) การยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่ง 1. ขั้นความรู้
Mean 3.98
S.D. 0.74
2. ขั้นจูงใจ
3.93
0.78
3. ขั้นตัดสินใจ
3.96
0.74
4. ขั้นนาไปใช้
3.89
0.77
5. ขั้นยืนยัน
3.91
0.79
รวม
3.93
0.76
จากตารางที่ 3 ระดับการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ในภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก (Mean = 3.93) เมื่อพิจารณาเป็นรายขั้นของระดับการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่ง จากมากไปหา น้อย พบว่า ขั้นการยอมรับที่เป็นปัจจัยมากที่สุด ได้แก่ ขั้นความรู้ (Mean = 3.98) รองลงมา ได้แก่ ขั้นตัดสินใจ (Mean = 3.96) ขั้นจูงใจ (Mean = 3.93) ขั้นยืนยัน (Mean = 3.91) ส่วนขั้นการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งที่เป็น ปัจจัยน้อยที่สุด ได้แก่ขั้นนาไปใช้ (Mean = 3.89) สรุปผลการวิจัย ผลการศึกษาปัจจัยของการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ในภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก (Mean = 3.98) เมื่อพิจารณารายด้านจากมาก ไปหาน้อย พบว่า ด้านที่เป็นปัจจัยมาก ที่สุด ได้แก่ ด้านคุณลักษณะที่เข้ากันได้และด้านความคุ้มค่าทางการเงิน (Mean = 4.04) รองลงมา ได้แก่ ด้าน ทัศนคติที่มีต่อเอ็มเลิร์นนิ่ง (Mean = 4.03) ด้านความง่ายต่อการใช้งาน (Mean = 4.02) ด้านความเชื่อมั่นในการ เรียนออนไลน์ (Mean = 4.00) ด้านประโยชน์ในการใช้งาน (Mean = 3.97) ด้านความสามารถในการเรียนผ่านเอ็ม เลิร์นนิ่ง (Mean = 3.96) ด้านอิทธิพลทางด้านสังคม (Mean = 3.95) ด้านประโยชน์เชิงเปรียบเทียบ และด้าน สภาพของสิ่งอานวยความสะดวก (Mean = 3.88) ส่วนด้านที่เป็นปัจจัยน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านประโยชน์เชิง เปรียบเทียบ (Mean = 3.86) ผลการศึกษาระดับการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ในภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก (Mean = 3.93) เมื่อพิจารณาเป็นรายขั้นของระดับการยอมรับเอ็มเลิร์น นิ่ง จากมากไปหาน้อย
221
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
พบว่า ขั้นการยอมรับที่เป็นปัจจัยมากที่สุด ได้แก่ ขั้นความรู้ (Mean = 3.98) รองลงมา ได้แก่ ขั้นตัดสินใจ (Mean = 3.96) ขั้นจูงใจ (Mean = 3.93) ขั้นยืนยัน (Mean = 3.91) ส่วนขั้นการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งที่เป็นปัจจัยน้อยที่สุด ได้แก่ ขั้นนาไปใช้ (Mean = 3.89) วิจารณ์ผลการวิจัย จากผลการวิจับ พบว่า ปัจจัยของการยอมรับที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ด้านคุณลักษณะที่ เข้ากันได้ ด้านความคุ้มค่าทางการเงิน ด้านทัศนคติที่มีต่อเอ็มเลิร์นนิ่งสะท้อนให้เห็นว่า นักศึกษามองว่าเอ็มเลิร์นนิ่ง มีความทันสมัยเข้ากับยุคปัจจุบันของสังคม ช่วยลดการใช้กระดาษ ช่วยให้การเรียนการสอนและการทางานร่วมกับ เพื่อนมีความสะดวกสบายยิ่งขึ้น กล่าวคือ นักศึกษายอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งในการเรียน ซึ่งสอดคล้องกับ (จักรพงษ์ วารี. 2553) ได้ศึกษาแนวทางการเรียนการสอนด้วยเอ็มเลิร์นนิ่งสาหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ พบว่า นักศึกษา อาจารย์ผู้สอน ผู้บริหาร และผู้ดูแลระบบ ยอมรับการเรียนการสอนด้วยเอ็มเลิร์นนิ่ง เพราะเห็นว่ามี ประโยชน์ สามารถเรี ย นได้ใ นทุก เวลาและสถานที่ เป็ นการเรี ยนรู้ ตามอัธ ยาศั ย และเป็ นการขยายโอกาสทาง การศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลระดับการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งที่ผู้วิจัยศึกษา อยู่ในระดับมากด้วยเช่นกัน ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ในภาพรวมอยู่ใน ระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่ส่งผลต่อการยอมรับ เอ็มเลิร์นนิ่งมากที่สุด ได้แก่ ด้านคุณลักษณะที่เข้า กันได้และด้านความคุ้มค่าทางการเงิน ด้านที่ส่งผลต่อการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่ งน้อยที่สุด ได้แก่ ด้านประโยชน์เชิง เปรียบเทียบส่วนการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ พบว่า ระดับการยอมรับเอ็มเลิร์ นนิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ซึ่งมี 5 ระดับขั้น คือขั้นความรู้หรือขั้นรับรู้ ขั้นจูงใจ ขั้นตัดสินใจ ขั้นนาไปใช้ และขั้นยืนยัน นักศึกษาส่วนใหญ่ มีการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งอยู่ในระดับขั้นความรู้หรือขั้นรับรู้ คือ รู้จัก โทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ทโฟน รู้ว่าสมาร์ทโฟนสามารถนามาใช้เป็นสื่อหรือเครื่องมือในการเรียน มีความต้องการ ที่จะทดลองใช้เอ็มเลิร์นนิ่งเป็นสื่อหรือเครื่องมือในการเรียน และสามารถพิจารณาเปรียบเทียบความเหมาะสมของ การใช้เอ็มเลิร์นนิ่งเพื่อเป็นสื่อหรือเครื่องมือในการเรียนกับการเรียนในรูปแบบอื่นๆ และคาดว่าจะมีความตั้งใจเรียน มากยิ่งขึ้นเมื่อผู้สอนนาเอ็มเลิร์นนิ่งมาใช้เป็นสื่อในการสอน ส่วนประเด็นที่ได้จ ากข้อซักถามเพิ่มเติม พบว่า 1) แอพพลิเคชั่นที่นักศึกษานามาใช้เพื่อการติดต่อสื่อสารในการเรียนการสอนระหว่างตัวนักศึกษากับเพื่อนและอาจารย์ คือ Facebook, Line, Edmodo และ Mail ตามลาดับ 2) นักศึกษาส่วนใหญ่เห็นว่าการเรียนแบบออนไลน์โดยใช้ เอ็มเลิร์นนิ่งเป็นเครื่องมือในการเรียน มีประโยชน์ เพราะ มีความสะดวกรวดเร็ว ช่วยลดค่าใช้จ่ายและลดการใช้ กระดาษ 3) นักศึกษาส่วนใหญ่เห็นว่าการเรียนในห้องเรียนแบบปกติดีกว่าการเรียนแบบออนไลน์ เพราะ การเรียน แบบปกติทาให้นักศึกษารับรู้ เข้าใจเนื้อหาสาระของบทเรียนได้โดยตรงจากผู้สอน สามารถซักถามประเด็นที่เกิดข้อ สงสัยได้ทันที และสามารถแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้สอนและเพื่อนได้ทันที 4) ถ้านักศึกษาต้องจ่ายเงินซื้อแพ็คเกจ อินเตอร์เน็ตด้วยตนเอง เพื่อใช้ในการศึกษาเรียนรู้ นักศึกษาส่วนใหญ่มองว่าคุ้มค่า เพราะ ปัจจุบันราคาแพ็คเกจ อินเตอร์เน็ตไม่สูงมาก การซื้อแพ็คเกจอินเตอร์เน็ตเพื่อใช้งานด้วยตนเองจึงมีความสะดวกสบาย ไม่ต้องรอหรือไม่ ต้องค้นหาสัญญาณอินเตอร์เน็ตของมหาวิทยาลัย 5) ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมจากนักศึกษาที่มีต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ ด้านสิ่งอานวยความสะดวกของระบบสารสนเทศ คือ มีความต้องการให้มหาวิทยาลัยพัฒนาระบบการปล่อย กระจายสัญญาณ WiFi เนื่องจากปัจจุบัน การปล่อยกระจายสัญญาณ WiFi ไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่และมีความ ต้องการให้จัดหาห้องคอมพิวเตอร์เพื่อบริการสืบค้นงานสาหรับนักศึกษา
222
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ข้อเสนอแนะ จากผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยของการการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่ง ที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ได้แก่ 1) ด้าน ประโยชน์เชิงเปรียบเทียบ กล่าวคือ นักศึกษามองว่าเอ็มเลิร์นนิ่งมีประโยชน์ ไม่แตกต่างจากวิธีการเรียนการสอน แบบอื่นๆ แต่มองว่าควรจะนาเอาเอ็มเลิร์นนิ่งมาช่วยเสริมในการเรียนแบบปกติ เพราะ เอ็มเลิร์นนิ่งมีประโยชน์ใน ด้านช่วยลดค่าใช้จ่าย และอีกด้านหนึ่งคือ ด้านสภาพของสิ่งแวดล้อม นักศึกษาเห็นว่าสิ่งอานวยความสะดวกด้าน ระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์มีไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่ของการจัดการเรียนการสอนแบบเอ็มเลิร์นนิ่ง ในส่วนของระดับการยอมเอ็มเลิรน์ นิ่งของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ในภาพรวม อยู่ในระดับ มาก เมื่อพิจารณาเป็นรายขั้น พบว่าส่วนมาอยู่ในขั้นความรู้ ซึ่งถือเป็นขั้นเริ่มต้น ดังนั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ควรมีมาตรการเพื่อให้นักศึกษามีระดับขั้นการยอมรับเอ็มเลิร์นนิ่งในระดับขั้นที่สูงขึ้น กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สาเร็จได้ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่งสาหรับความกรุณาเอาใจใส่อย่างยิ่งจาก ประธานที่ปรึกษาวิ ทยานิพนธ์ คือ อาจารย์ ดร.อุดม หอมคา และคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ คื อ อาจารย์ ดร.ขจรศักดิ์ สงวนสัตย์ และ คณะอาจารย์ผู้สอน คือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประชิต อินทะกนก อาจารย์ ดร.นุชจรี บุญเกต และอาจารย์ทุกท่านที่กรุณาถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ดี รวมถึงอาจารย์และผู้ทรงคุณวุฒิที่กรุณา ตรวจสอบแบบสอบถามและงานวิจัย ขอขอบคณบดีทุกคณะและนักศึกษาในสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ที่กรุณาอานวยความสะดวก และให้ความกรุณาตอบแบบสอบถาม ขอขอบพระคุณบิดา มารดา ญาติพี่น้อง และเพื่อนร่วมงาน ที่ให้การสนับสนุน ให้ความช่วยเหลือ ให้ คาปรึกษา และเป็นกาลังใจในการศึกษาของผู้วิจัยอย่างดียิ่ง ขอขอบคุณทุกท่านที่มีรายชื่อและไม่มีรายชื่อใน บรรณานุกรม ที่ได้มีส่วนเกี่ยวข้องในการทาวิทยานิพนธ์ในครั้งนี้ ประโยชน์และคุณค่าอันพึงเกิดขึ้นจากวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ผู้วิจัยขอมอบเป็นเครื่องบูชาพระคุณแด่บิดา มารดา บูรพาจารย์ คณาจารย์และผู้มีพระคุณทุกท่าน เอกสารอ้างอิง จักรพงษ์ วารี. (2553). การนาเสนอแนวทางการเรียนการสอนด้วย m-Learning สาหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. บุญโต นาดี. (2555). การศึกษาการยอมรับแท็บเล็ตที่ใช้ในการเรียนการสอนของครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึก ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์. วัชรพล คงเจริญ. (2557). ปัจจัยการยอมรับนวัตกรรมที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจ ของผู้ใช้ปริการธนาคารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. อุดม หอมคา. (2555). การศึกษาการใช้เทคโนโลยี Mobile ของนักศึกษาและบุคลากร ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
223
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018 EDUP-04
ประสิทธิของผลการเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนโรงเรียน ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 THE EFFECTIVENESS OF THE PREPARATIONS FOR THE ASEAN COMMUNITY OF SCHOOLS UNDER SURIN PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE 1 จุฑาทิพย์ ดาทอง1 ชาตรี เกษโพนทอง2 อิทธิวัตร ศรีสมบัติ3 1
นักศึกษาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 3 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 2
บทคัดย่อ การศึกษา เรื่องประสิทธิผลการเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลการเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ปั ญ หาแนวทางในการเตรี ย มพร้ อ มเข้ า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย นโรงเรี ย นในสั ง กั ด ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ผู้ศึกษาใช้กลุ่มตัวอย่าง ผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 169 คน ครูผู้สอน จานวน 338 คน และนั กเรีย น จานวน 338 คน รวมทั้งสิ้น จานวน845 คน ตั วแปรที่ศึ กษาประกอบด้ วยตัว แปรต้ น การ เตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนโรงเรียนและตัวแปรตามประสิทธิผลการเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนโรงเรียนใน สังกัดส านั กงานเขตพื้ นที่ การศึกษาประถมศึ กษาสุริ นทร์ เขต 1 เครื่ อ งมื อ ที่ใ ช้ใ นการเก็ บรวบรวมข้อ มู ล คื อ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 มีประสิทธิผลการ เตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.98 โดยเรียงลาดับได้ดังนี้ ด้าน คุณภาพผู้บริหาร ด้านคุณภาพครู และด้านคุณภาพนักเรียน 2. เพื่อศึกษาปัญหาและแนวทางในการเตรียมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 พบว่า ควรสนับสนุนส่งเสริมให้เรียนรู้ภาษาต่างประเทศมากขึ้นฝึกฝนให้ พร้อมที่จะเรียนรู้และยอมรับความแตกต่างส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ส่งเสริมทักษะการปรับตัวเพื่อเอาตัวรอด อยู่ในสังคมได้ฝึกนิสัยตรงต่อเวลา การแสดงความคิดเห็น ทางานเป็นทีมใช้สื่อ/เทคโนโลยีสมัยใหม่ให้เป็นประโยชน์ และฝึกฝนทักษะเฉพาะด้านที่ตนเองมีความสามารถโดดเด่นเพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญ คำสำคัญ : ประสิทธิผล, การเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน Abstract The objectives of this research were: 1) to study the effectiveness of the preparations for the ASEAN community of schools under Surin Primary Education Service Area Office 1; and 2) to study
224
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
problems and guidelines related to the preparations for the ASEAN community of schools under Surin Primary Education Service Area Office 1. There were 845 participants in total participated the study including 169 school administrators, 338 teachers, and 338 students. The variables included the preparations for the ASEAN community as an independent variable and the effectiveness of the preparations as a dependent variable. Data were collected through a questionnaire and the collected data were analyzed for percentage, mean, and standard deviation. The study found that: 1. The overall level of the effectiveness of the preparations for the ASEAN community of schools under Surin Primary Education Service Area Office 1 is at a high level ( X = 3.98). Further, when each aspect was considered separately, the study showed that the effectiveness of the preparations for the ASEAN community of each aspect is also at a high level which could be ranked respectively as followings: administrator quality, teacher quality, and student quality. 2. According to problems and guidelines related to the preparations for the ASEAN community of schools under Surin Primary Education Service Area Office 1, the study presented that students should encourage to learn more foreign languages, prepare to learn and accept the differences, improve thinking and adaptive skills, punctuality, giving opinions, working as a team, using modern media or technology to benefit, and practicing the specific skills to be an expert. Keyword : effectiveness, the preparations for the ASEAN. บทนา ในยุคโลกาภิวัตน์ที่มีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว และก้าวกระโดด ทั้งด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การสื่อสาร การคมนาคม การรับส่งข้อมูลข่าวสารและวิทยาการต่าง ๆ การแพร่ขยายทางวัฒนธรรมของชาติต่าง ๆ ในยุคข้อมูลข่าวสารที่ไร้พรมแดนเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว การแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจการค้าเป็นไปอย่างรุนแรงทั้งใน ระดับประเทศ ระดับภูมิภาคและในระดับโลก ล้วนส่งผล ทาให้เกิดวิกฤติการณ์ขึ้น หลายประเทศทั่วโลกต้องเผชิญ กับความหลากหลายทั้งด้านสังคมและระบบเศรษฐกิจซึ่งมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตเป็นอย่างมาก ทาให้หลายประเทศต้อง เร่งเตรียมพร้อมโดยการสร้างกลไกและพัฒนาคนให้มีศักยภาพสูงขึ้น ให้สามารถปรับตัวและรู้เท่าทันกระแสการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เพื่อให้ประเทศชาติก้าวไปข้างหน้าได้อย่างมั่นคงและเท่าเทียมประเทศ แต่ละประเทศจึงมี การเรียนรู้เพื่อปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา และเตรียมพร้อมที่จะเผชิญกับความท้าทาย จากกระแสโลก โดยปัจจัยสาคัญที่จะช่วยทาให้ประเทศต่าง ๆ สามารถเผชิญกับ การเปลี่ยนแปลงและความท้า ทายดังกล่าวคือคุณภาพของมนุษย์ (พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. 2553 : 1) คุณภาพของมนุษย์เป็นสิ่งที่มีบทบาทต่อ ความเจริญก้าวหน้าของประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศที่มีทรัพยากรอันจากัด หากแต่มีพลเมืองที่มีคุณภาพ ประเทศนั้นย่อมจะเจริญก้าวหน้าได้อย่างรวดเร็ว ทั้งนี้คุณภาพของมนุษย์ย่อมขึ้นอยู่กับประสิทธิภาพในการจัด การศึกษา เนื่องจากการศึกษาเป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งโลกแห่งยุคโลกาภิวัตน์ในปัจจุบัน มีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว แต่ละประเทศมีการปรับกลยุทธ์
225
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
เพื่ อ พั ฒนาให้ ทั น กั บ ความเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น อยู่ ต ลอดเวลา และเตรี ย มพร้ อ มที่ จ ะเผชิ ญ กั บ ความท้ า ทาย การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนให้มีคุณภาพทาให้ศักยภาพที่มีในตัวบุคคลนั้นได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่รู้จักคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และสามารถที่ จะปรับตัวให้ทันกับการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว พึ่งตนเอง มีคุณธรรมจริยธรรม และสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข จึงเป็นสิ่งจาเป็นอย่างยิ่ง (กระทรวงศึกษาธิการ. 2542 : 3) สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เริ่มก่อตั้งเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 ริเริ่มโดย ประเทศไทย ก่อตั้งขึ้นที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 การเริ่มจัดตั้งประชาคมอาเซียน ไม่ได้เกิดขึ้น ภายใต้การเจรจาครั้งเดียวระหว่าง 10 ชาติสมาชิก แต่แท้ที่จริงแล้วในตอนแรกเกิดจากการความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศก่อน อันได้แก่ ไทย อินโดนิเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ และฟิลิปปินส์ จากนั้นชาติอื่นจึงได้เข้าร่วมในภายหลัง ร่วมกันจัดตั้งสมาคมอาสา (Association of South East Asia) ขึ้น เพื่อให้เกิดความร่วมมือกันทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้จึงได้มีการแสวงหาลู่ทางการจัดตั้งองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจขึ้นในภูมิภาค “สมาคมประชาชาติแห่งเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างกันใน ภูมิภาค ธารงไว้ซึ่งสันติภาพ เสถียรภาพ และความมั่นคงทางการเมือง สร้างสรรค์ ความเจริญด้านเศรษฐกิจ การ พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม การกินดีอยู่ดีบนพื้นฐานความเสมอภาค และผลประโยชน์ร่วมกันของสมาชิก ในการ ประชุมสุดยอดผู้นาอาเซียนครั้งที่ 12 ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2550 ที่เซบู สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ผู้นาอาเซียนได้ตก ลงให้มีการจัดตั้งประชาคมอาเซียนให้แล้วเสร็จเร็วขึ้น เป็นภายใน ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) รวมทั้งจัดโครงสร้าง องค์กรของอาเซียนเพื่อรองรับภารกิจและพันธกิจ ซึ่งเป็นที่มาของการนาหลักการนี้ไปร่างเป็น “กฎบัตรอาเซียน” ซึ่งทาหน้าที่เป็น “ธรรมนูญ” การบริหารปกครองกลุ่มประเทศอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ซึ่งผนึกกาลังเป็นหนึ่ง เดียวกัน ดังปรากฏตามสโลแกนที่ว่า “สิบชาติ หนึ่งอาเซียน” (สานักความสัมพันธ์ต่างประเทศ. 2553 : 2 - 4) ความร่วมมือของอาเซียนด้านการศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของความร่วมมือเฉพาะด้านของอาเซียน โดยเริ่ม ดาเนินการมาตั้งแต่ทศวรรษแรกของการก่อตั้งอาเซียน เมื่อมีการจัดการประชุมด้านการศึกษาของคณะกรรมการ อาเซียนด้านการส่งเสริมกิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Permanent Committee on SocioCultural Activities) ครั้งแรกช่วงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2518 ต่อมาเมื่ออาเซียนมีการปรับตัวในเชิงโครงสร้าง เพื่อให้ ความร่วมมือในด้านต่าง ๆ ของอาเซียนเข้มแข็งขึ้น มีการจัดตั้งคณะกรรมการอาเซียนด้านการศึกษา (ASEAN Committee on Education : ASCOE) เป็นกลไกการบริหารความร่วมมืออาเซียนด้านการศึกษา โดยให้ ความสาคัญของการศึกษาในการขับเคลื่อนประชาคมอาเซียนปรากฏรูปธรรมอย่างชัดเจนในปฏิญญาว่าด้วยแผนงาน สาหรับประชาคมอาเซียนที่ได้เน้นย้าความสาคัญของการศึกษา ซึ่งเป็นกลไกสาคัญในการนาอาเซียนบรรลุวิสัยทัศน์ อาเซียน ที่ได้กล่าวถึงความสาคัญของการพัฒนามนุษย์ ในการพัฒนาด้านต่าง ๆ อาทิ การศึกษา การเรียนรู้ ตลอดชีวิต รวมถึงการเข้าถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ การวิจัย ด้วยการจัดการศึกษาอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพ การ ปรับปรุงคุณภาพทางการศึกษา ความร่วมมือในการเปิดเสรีด้านการศึกษา และการยกระดับคุณภาพการศึกษา เพื่อก้าวสู่การเป็นประชาคมที่มีความมั่นคง ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองต่อไปในอนาคต (สานักความสัมพันธ์ ต่างประเทศ. 2553 : 7 - 10) ทั้งนี้ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งในสมาชิกอาเซียนจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่ จะต้ อ งปฏิ รู ป สั งคมทุ ก ด้ า นให้ มี ค วามเข้ ม แข็ งขึ้ น สั งคมไทยต้ อ งสร้ า งจิ ต ใจสาธารณะสนใจในเรื่ อ งส่ ว นรวม เปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมไปสู่สงั คมแห่งการร่วมคิด ร่วมทาจึงจะพ้นวิกฤติ การปฏิรูปการศึกษาเป็นวาระแห่งชาติ อีกประการหนึ่งที่คนไทยควรเข้าร่วมกันคิด ร่วมกันทา เพื่อนาไปสู่การปฏิรูปสังคม เศรษฐกิจอย่างก้าวกระโดด เพื่อให้สังคมไทยสามารถฝ่าวิกฤตไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ทั้งนี้ทางสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
226
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
(2554 : 5) ได้กาหนดตัวชี้วัดความสาเร็จของการพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กไทยสู่ประชาคมอาเซียนไว้ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณภาพนักเรียน ด้านคุณภาพครู และด้านคุณภาพผู้บริหาร ทั้งนี้เพื่อเป็นเครื่องหมายกากับคุณภาพของการ ดาเนินการพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กไทยในการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนที่แท้จริง จังหวัดสุรินทร์ยังเป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง หรือ “อีสานใต้” มีชื่อเสียงด้าน การเลี้ยงช้าง การทอผ้าไหม ข้าวหอมมะลิ ประกอบด้วยหลากหลายกลุ่มชาติพันธุ์และหลายภาษา เช่น ไทยอีสาน หรือลาว เขมร ส่วยหรือ กูย มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 11 มีพื้นที่กว้างเป็นอันดับที่ 24 และมีอาณาเขตด้านทิศใต้ ติดต่อกับประเทศกัมพูชา ทั้งนี้จังหวัดสุรินทร์ถือเป็นประตูการค้าชายแดนไทย-กัมพูชาของด่านช่องจอม ถือเป็น อันดับ 2 รองจากด่านอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ทาให้จังหวัดสุรินทร์มีความหวังมานานแล้วในการที่จะพัฒนา เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน โดยเฉพาะหลังการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน จังหวัดสุรินทร์มีพื้นที่ชายแดน ติดต่อกับกัมพูชา จึงมีโอกาสที่จะเชื่อมโยงความสัมพันธ์อันดีกับภาคธุรกิจของกัมพูชา ทั้งในด้านการค้า การลงทุน การแพทย์ ข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีอื่น ๆ ซึ่งจากการสารวจข้อมูลเบื้องต้น พบว่า ชาวต่างชาติที่เข้ามา ประกอบอาชีพ ศึกษาเล่าเรียน และติดต่อกิจธุระต่าง ๆ ในจังหวัดสุรินทร์ มิใช่เพียงชาวกัมพูชาเท่านั้น ยังคงพบ ชาวเมียนมาร์ ชาวลาว และชาวเวียดนาม เป็นต้น จังหวัดสุรินทร์ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสาคัญดังกล่าวจึงได้ เตรี ยมความพร้ อมด้ว ยสร้า งความตื่น ตัว กระจายข้ อมู ล และอานวยความสะดวกในการเข้ าถึ งข้ อมู ลอาเซีย น (ASEAN) ซึ่งจะเป็นการส่งเสริมให้มีการใช้ และขยายการใช้สิทธิประโยชน์จากอาเซียน (ASEAN) รวมทั้งประสาน ความร่วมมือกับหน่วยงาน/องค์กร ทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารอาเซียน (ASEAN) ทั้งนีซ้ ึ่งกลยุทธ์การพัฒนาที่สาคัญ คือ การศึกษาที่มีศักยภาพและทั่วถึง จังหวัดสุรินทร์เป็น 1 ใน 35 จังหวัด และ 1 ใน 40 เขต ที่ได้รับการมอบหมายให้คัดเลือกโรงเรียนเพื่อ เข้าร่วมโครงการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน : Spirit of ASEAN ทั้งนี้จังหวัดสุรินทร์มีแนวทางการบริหารจัดการสู่ ประชาคมอาเซียนให้บรรลุเป้าหมายในการพัฒนาเด็กไทยให้มีศักยภาพและคุณลักษณะที่จะดารงชีวิตในประชาคม อาเซียนได้อย่างมีความสุข ดังนั้นหน่วยงานด้านการศึกษาทุกระดับ ตลอดจนทุกภาคส่วนในสังคมจะต้องร่วมมือกัน ในการเตรียมพร้อมนักเรียนให้มีศักยภาพที่ดีพร้อมสู่การแข่งขัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสภาวะแห่ งยุคทุนนิยมที่ เศรษฐกิจเป็นตัวขับเคลื่อนและผลักดันให้ประเทศต่าง ๆ ก้าวรุดไปข้างหน้าอย่างรวดเร็ว ประกอบกับประเทศต่าง ๆ อยู่รวมกันเป็นสังคมโลก ไม่สามารถอยู่โดดเดี่ยวได้ จึงต้องมีการรวมตัวกันของประเทศในแต่ละภูมิภาค เพื่อเพิ่ม อานาจในการต่อรองและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระหว่างประเทศ เพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์ร่วม และพัฒนาประเทศในภูมิภาคไปพร้อม ๆ กัน ด้วยเหตุนี้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน จึงได้มี ข้อตกลงให้อาเซียนรวมตัวเป็นชุมชนหรือประชาคมเดียวกันให้สาเร็จภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) และเมื่อมีการ รวมตัวเป็นประชาคมขึ้นมาย่อมหมายรวมถึงการรวมความหลากหลายด้านต่าง ๆ มาด้วย ดังนั้นหากประชาคม อาเซียนประกอบด้วยทรัพยากรมนุษย์ที่มีศักยภาพย่อมสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน จากความเป็นมาและความสาคัญของปัญหาจะเห็นได้ว่าประชาคมอาเซียนมีความสาคัญและจาเป็นจึง ทาให้ผู้ศึกษาในฐานะนักศึกษาสาขาวิชาสังคมศึกษา หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ สนใจศึกษาเรื่องประสิทธิผลของการเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 โดยมุ่งประสิทธิผลตามตัวชี้วัดความสาเร็จของการพัฒนาการเรียนรู้ของ เด็กไทยสู่ประชาคมอาเซียนที่ทางสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนดไว้ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณภาพ นักเรียน ด้านคุณภาพครู และด้านคุณภาพผู้บริหาร ทั้งนี้ข้อมูลในลาดับต่อไปจะเป็นแนวทางในการพัฒนา
227
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ทรัพยากรมนุษย์และพัฒนาประเทศให้ก้าวทันอารยประเทศ พร้อมเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกาภิวัตน์ ต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 2. เพื่อศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขในการเตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนในสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตด้านพื้นที่ ในการวิจัยครั้งนี้ได้กาหนดขอบเขตด้านพื้นที่ คือ โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ขอบเขตด้านเนื้อหา ผู้ ศึ ก ษาก าหนดขอบเขตด้ า นเนื้ อ หาเกี่ ย วกั บ แนวทางการเตรี ย มพร้ อ มสู่ ป ระชาคมอาเซี ย น ของ สถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดสุรินทร์ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณภาพนักเรียน ด้านคุณภาพครู และด้านคุณภาพ ผู้บริหาร ตัวแปรที่ศึกษา 1. ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ (Independent Variables) คือ การเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 2. ตัวแปรตาม (Dependent Variables) คือ ประสิทธิผลของการเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ครอบคลุม 3 ด้าน ประกอบด้วย ด้านคุณภาพนักเรียน ด้านคุณภาพครู และด้านคุณภาพผู้บริหาร วิธีดาเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง คือ ผูบ้ ริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และนักเรียนของโรงเรียนในสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 จานวน 845 คน จากจานวนโรงเรียนทั้งสิน้ 169 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม เรื่อง “ประสิทธิผลของการเตรียมพร้อมสู่ประชาคม อาเซียนของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1” ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น จานวน 1 ฉบับ แบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังนี้ 1. ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 2. ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามข้อมูลความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิผลของการ เตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ตาม
228
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ตัว ชี้ วัด ความสาเร็จ ของการพั ฒนาการเรี ย นรู้ ข องเด็ก ไทยสู่ ประชาคมอาเซี ย นที่ ท างส านั ก งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนดไว้ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณภาพนักเรียน ด้านคุณภาพครู และด้านคุณภาพผู้บริหาร 3. ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามข้อมูลความคิดเห็นเพิ่มเติมเกีย่ วกับข้อเสนอแนะในการเพิม่ ประสิทธิผล ของการเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 1 การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ประสานขอหนังสือราชการจากโปรแกรมวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ เพื่อขอความ อนุเคราะห์ในการออกหนังสือราชการไปยังสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 1 เพื่อขออนุญาต เก็บข้อมูลในการทาวิทยานิพนธ์ 2. นาหนังสือขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ ถึงผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 และขอหนังสือจากสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ให้ผู้ศึกษาได้เก็บข้อมูลจากโรงเรียนตามรายชื่อที่จับฉลากได้ 3. การส่งแบบสอบถาม ผู้ศึกษานาแบบสอบถามส่งให้โรงเรียนตามรายชื่อที่จับฉลากได้ดังกล่าว โดย แต่ละโรงเรียนผู้ศึกษาได้ดาเนินการจัดส่งให้แบบสอบถามจานวนทั้งสิ้น 5 ฉบับ เพื่อให้กับกลุ่มผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มครูผู้สอน และกลุ่มนักเรียนที่เป็นกลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถาม และรวบรวมแบบสอบถามที่สถานศึกษา ส่งกลับด้วยตนเอง 4. ผู้ศึกษาดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยนาแบบสอบถามไปส่งไว้ที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 และนาเก็บแบบสอบถามด้วยตนเอง และในกรณีที่ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมาไม่ ครบตามจ านวนที่ ต้ อ งการ ผู้ ศึ ก ษาจะได้ ป ระสานเพื่ อ ขอความร่ ว มมื อ จากผู้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นที่ เ ป็ น โรงเรี ย น กลุ่มเป้าหมายเพื่อดาเนินการเก็บข้อมูลอีกครั้ง ซึ่งในครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยมีตัวเองและ ผู้ช่วยนักวิจัยเป็นผู้รอรับแบบสอบถามกลับคืนมาในวันเดียวกันจนครบตามจานวนที่ต้องการ 5. นาแบบสอบถามที่ได้ตรวจความสมบูรณ์และนาแบบสอบถามที่สมบูรณ์ นาไปวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ ผู้ศึกษานามาตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถาม คัดเลือกแบบสอบถามที่ สมบูรณ์เพื่อนาไปวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสังคมศาสตร์ มีรายละเอียดต่อไปนี้ 1. วิเคราะห์ข้อ มูลเกี่ย วกับ ข้อมู ลทั่ว ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม คือ ขนาดโรงเรียนและตาแหน่ ง ปัจจุบัน โดยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ และแปลผลเสนอเป็นความเรียงประกอบตาราง 2. วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิผลของการเตรียมพร้อมสู่ ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ซึ่งมีลักษณะ คาถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์โดยหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแปลผลเป็น ความเรียงประกอบตาราง จาแนกโดยรวม รายด้านและรายข้อ 3. วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้อเสนอแนะในการเพิ่มประสิทธิผลของการ เตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ซึ่งมีลักษณะคาถามเป็นปลายเปิด โดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา แล้วนามาแจกแจงความถี่และหาค่าร้อยละ
229
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ผลการวิจัย ตารางที่ 1 ค่าเฉลี่ย ( x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ประสิทธิผลของการเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 1 โดยรวมและรายด้าน ประสิทธิผลของการเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 1. ด้านคุณภาพนักเรียน 2. ด้านคุณภาพครู 3. ด้านคุณภาพผู้บริหาร รวม
x
3.92 3.97 4.05 3.98
S.D. 0.65 0.68 0.70 0.68
ความหมาย มาก มาก มาก มาก
อันดับ 3 2 1
จากตารางที่ 1 พบว่า โดยภาพรวมโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 มีประสิทธิผลของการเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนอยู่ในระดับมาก ( x = 3.98) และเมื่อพิจารณาเป็น รายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้ าน โดยสามารถเรีย งลาดับ จากค่า เฉลี่ยมากไปหาน้อยดั งนี้ ด้า นคุณภาพ ผู้บริหาร ( x = 4.05) ด้านคุณภาพครู ( x = 3.97) และด้านคุณภาพนักเรียน ( x = 3.92) นอกจากนี้ในประเด็นปัญหาและแนวทางในการเตรียมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนโรงเรียนในสังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 พบว่า ควรสนับสนุนส่งเสริมให้เรียนรู้ภาษาต่างประเทศมากขึ้น ฝึกฝนให้พร้อมที่จะเรียนรู้และยอมรับความแตกต่างส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ส่งเสริมทักษะการปรับตัวเพื่อเอา ตัวรอดอยู่ในสังคมได้ฝึกนิสัยตรงต่อเวลา การแสดงความคิดเห็น ทางานเป็นทีมใช้สื่อ/เทคโนโลยีสมัยใหม่ให้เป็น ประโยชน์ และฝึกฝนทักษะเฉพาะด้านที่ตนเองมีความสามารถโดดเด่นเพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญ วิจารย์ผลการวิจัย 1. ประสิ ทธิ ผลของการเตรียมพร้ อมสู่ ประชาคมอาเซี ย นของโรงเรี ย นในสั งกั ด ส านั กงานเขตพื้ น ที่ การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 พบว่า เมื่อพิจารณาทั้งโดยภาพรวม จาแนกตามขนาดโรงเรียน (ขนาดเล็ก และขนาดใหญ่) และจ าแนกตามต าแหน่งปั จจุ บัน (ผู้บ ริหาร ครู และนักเรีย น) พบว่ า มี ประสิท ธิผลของการ เตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากประเทศไทยในฐานะผู้นาในการก่อตั้งสมาคม อาเซียน ตระหนักในความสาคัญของการเตรียมพร้อมด้านการศึกษาเพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียนเป็นอย่างยิ่ง เพราะการศึกษานั้นจัดอยู่ในประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งจะมีบทบาทสาคัญที่จะส่งเสริมให้ประชาคมด้านอื่นๆ มีความเข้มแข็ง เนื่องจากการศึกษาเป็นรากฐานของการพัฒนาในทุกๆ ด้าน การเตรียมความพร้อมของการศึกษา ไทย มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) การสร้างประชาคมอาเซียนด้วยการศึกษา ให้ประเทศไทยเป็น Education Hub มี การเตรียมความพร้อมในด้านกรอบความคิด คือ แผนการศึกษาแห่งชาติ ที่จะมุ่งสร้างความตระหนักรู้ของคนไทยใน การจัดการศึกษาเพื่อสร้างคนไทยให้ เป็นคนของประชาคมอาเซียน พัฒนาสมรรถนะให้พร้อมจะอยู่ร่วมกันและ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศด้าน การศึกษา โดยให้มีการร่วมมือกันใน 3 ด้านคือ ด้านพัฒนาคุณภาพ การศึกษา การขยายโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริการและจัดการศึกษา และ 2) ขับเคลื่อน ประชาคมอาเซียนด้วยการศึกษาด้วยการสร้างความเข้าใจในเรื่องเกี่ยวกับเพื่อนบ้านในกลุ่มประเทศอาเซียน ความ แตกต่างทางด้านชาติพันธุ์ หลักสิทธิมนุษยชน การส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศเพื่อพัฒนาการ ติดต่อสื่อสารระหว่าง กันในประชาคมอาเซียน มีการเพิ่มครูที่ จบการศึกษาด้านภาษาอังกฤษเข้าไปในทุกระดับชั้น
230
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
การศึก ษา เพื่อ ให้ นัก เรี ยนไทยสามารถสื่ อสารภาษาอังกฤษได้ อย่ างสร้ างสรรค์ นอกจากนี้ ยังมีก ารร่ว มมื อกั บ ภาคเอกชนในการรับอาสาสมัครเข้ามาสอนภาษาต่าง ประเทศ รวมถึงวัฒนธรรมของประเทศต่างๆเพื่อการอยู่ ร่วมกันด้วยความเข้าใจกันของประเทศในประชาคม ส่วนด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษานั้น จะพัฒนาตามหลัก 3N ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา NLCศูนย์ เรียนรู้แห่งชาติ เพื่อให้ผู้เรียนได้มีการเรียนรู้ด้วยตนเองได้แก่ Ned Net โครงข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ NEIS ศูนย์กลางรวบรวม จัดเก็บ และเชื่อมโยงตลอดเวลา มีการพัฒนาผู้เรียนสู่การ เป็นพลเมืองอาเซียน การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ความเอื้ออาทร โดยใช้การศึกษาเป็นกลไกในการสร้างวัฒนธรรม ใหม่ นักศึกษาที่จบจากอาชีวศึกษาจะต้องเป็นแรงงานที่มีคุณภาพ มีทักษะการทางานร่วมกันในประชาคมอาเซียน (อ้างถึงใน ภาณุ วงษ์ถาวรเรืองและนงศิลินี โมสิกะ. 2553: ออนไลน์) ซึ่งการเตรียมความพร้อมทางการศึกษาของ ไทย รวมทั้งจังหวัดสุรินทร์ เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนนั้นยังคานึงถึงองค์ประกอบความพร้อมที่สาคัญ ดังที่ดาวนิ่ง และแธคเครย์ (Downing and Thackrey. 1971 : 14-16) ได้แบ่งองค์ประกอบความพร้อมไว้ 4 ด้าน ได้แก่ 1) องค์ประกอบทางกายภาพ (Physical Factors) ได้แก่ ความพร้อมทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม 2) องค์ประกอบทางด้านสติปัญญา (Intellectual Factors) ได้แก่ ความพร้อมทางสติปัญญา และความสามารถใน การรับรู้ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการแยกแยะการเห็น การฟัง และความสามารถในการตัดสินใจและคิด แก้ปัญหา 3) องค์ประกอบด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Factors) ได้แก่ สภาพทางเศรษฐกิจ ความพอเพียง โอกาสในการหาประสบการณ์ทางสังคม และ 4) องค์ประกอบด้านอารมณ์ แรงจูงใจและบุคลิกภาพ (Emotional Factor, Motivation and Personality Factors) ได้แก่ ความมั่นคงทางอารมณ์ จิตใจ และความต้องการที่จะ เรียนรู้ จึงส่งผลทาให้ประสิทธิผลของการเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 พบว่า เมื่อพิจารณาทั้งโดยภาพรวม จาแนกตามขนาดโรงเรียน (ขนาด เล็กและขนาดใหญ่) และจาแนกตามตาแหน่งปัจจุบัน (ผู้บริหาร ครู และนักเรียน) พบว่า มีประสิทธิผลของการ เตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนอยู่ในระดับมาก 2. การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ยังคงประสบปัญหา เช่น การขาดแคลนบุคลากร (ครูผู้สอน) ที่มีความรู้ ความสามารถทางด้านภาษา นักเรียน ครูผู้สอนและบุคลากรที่เกี่ยวข้องยังมีลักษณะจิตใจแคบ ไม่เรียนรู้และยอมรับ ในความแตกต่างและหลากหลายของคนในสังคมเพื่อนบ้าน คิดวิเคราะห์ไม่เป็น ปรับตัวให้อยู่รอดในสังคมได้ยาก ขาดความกระตือรือร้น ใฝ่เรียนรู้ ความรับผิดชอบและตรงต่อเวลา รวมทั้งการแสวงหาประโยชน์จากการใช้สื่อที่ผิด และขาดความเชี่ยวชาญในองค์ความรู้เฉพาะด้าน แนวทางในการพัฒนาเตรียมความพร้อมในเรื่องต่าง ๆ ทั้งเรื่อง เรียน ความคิด และพฤติกรรม ดังนี้ 1) กระตุ้นให้เรียนรู้ภาษาให้มากขึ้น 2) เปิดใจกว้าง พร้อมที่จะเรียนรู้และ ยอมรับความแตกต่าง 3) ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ 4) ส่งเสริมทักษะการปรับตัวเพื่อเอาตัวรอดอยู่ในสังคมได้ 5) ฝึกนิสัยให้เหมาะสม อาทิเช่น เรื่องไม่ตรงต่อเวลา เรื่องไม่แสดงความคิดเห็น ไม่ชอบการทางานเป็นทีม 6) การ รู้จักใช้สื่อ/เทคโนโลยีสมัยใหม่ให้เป็นประโยชน์ และ 7) ฝึกฝนเพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญ สอดคล้องกับผลงานวิจัย ของสรศักดิ์ บัวแย้ม (2556 : 54 - 57) ได้ศึกษาวิจัย เรื่อง การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของ โรงเรียนมัธยมศึกษาสหวิทยาเขตระยอง 2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 โดยเสนอแนะ ด้านงานบุคคล โรงเรียนควรจัดกิจกรรมส่งเสริมครูให้ มีทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีเกี่ยวกับอาเซียน และมี การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูต่างชาติกับครูไทย โดยการศึกษาดูงานในต่างประเทศ และมีการจัดกิจกรรมส่งเสริม พัฒนาครูให้มีทักษะด้านการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาอาเซียน
231
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษา 1. ด้านคุณภาพนักเรียน ควรส่งเสริมให้นักเรียนมีวิถีชีวิตประชาธิปไตย ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล สันติวิธี/สันติธรรม 2. ด้านคุณภาพครู ควรส่งเสริมให้ครูใช้หนังสือ ตาราเรียนและสื่อที่เป็นภาษาต่างประเทศในการ จัดการเรียนรู้ 3. ด้านคุณภาพผู้บริหาร ควรส่งเสริมให้ผู้บริหารมีศักยภาพในการนิเทศติดตามผลการดาเนินงาน ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป 1. ควรศึกษาเรื่องความพร้อมและแนวทางการจัดการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนชายขอบ 2. ควรศึกษาเรื่องการพัฒนาบุคลากรด้านการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน 3. ควรศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ของการจัดการศึกษาและประสิทธิผลของการเตรียมความพร้อมสู่ ประชาคมอาเซียน 4. ควรศึกษาเรื่องแนวทางการเตรียมความพร้อมสู่ความสาเร็จในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 5. ควรศึ ก ษาเรื่ อ งการเปิ ด รั บ ข่ า วสาร ความรู้ แ ละทั ศ นคติ ที่ ส่ ง ผลต่ อ การเตรี ย ม ความพ ร้ อ มสู่ ประชาคมอาเซียน กิตติกรรมประกาศ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เรื่อง ประสิทธิผลของการเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนใน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี โดยได้รับความกรุณาอย่างยิ่ง จาก อาจารย์ ดร.ชาตรี เกษโพนทอง และอาจารย์ ดร.อิทธิวัตร ศรีสมบัติ ที่ได้กรุณาให้คาปรึกษา แนะนาและชี้แนะ แนวทางในการทางานวิจัย รวมทั้งคณาจารย์ทุกท่านที่ ได้กรุณาประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ให้แก่ผู้ศึกษาตลอด ระยะเวลาของการศึกษา ขอขอบคุณผู้อานวยสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ครูผู้สอน และนักเรียนทุกคน ซึ่งเป็นผู้ร่วมตอบแบบสอบถาม และผู้ให้ข้อมูล รวมถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ให้ความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การศึ กษาในครั้ งนี้ รวมทั้งเพื่ อน ๆ สาขาวิชาสั งคมศึ กษา มหาวิ ทยาลั ยราชภั ฏสุ ริ นทร์ ทุ กท่ าน และผู้ ที่ ให้ ความ ช่วยเหลือและให้ข้อมูลในด้านต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการวิจัย และให้กาลังใจในระหว่างที่ศึกษาและจัดทาการวิจัย ฉบับนี้ จนกระทั่งสาเร็จลุล่วงด้วยดี ขอขอบคุณครอบครัวที่เสียสละความสุขส่วนตัวของครอบครัวให้ผู้ศึกษาได้ทาให้การศึกษานี้จนสาเร็จลุล่วงไป ด้วยดี คุณประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยขอมอบบูชาพระคุณบิดา มารดา ตลอดจนบูรพาจารย์ที่ท่าน ได้อบรมสั่งสอนประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ให้แก่ผู้ศึกษา
232
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : คุรุสภา. . (2555). “การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี 2558 ของกระทรวงศึกษาธิการ.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จากhttp://www.school.net.th/schoolnet/news/news_ read.php?news_id=2992 สืบค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์. (2553). การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน : พื้นฐานการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาณุ วงษ์ถาวรเรือง และนงศิลินี โมสิกะ. (2553). “การเตรียมพร้อมด้านการศึกษาของไทย เพื่อก้าวสู่ประชาคม อาเซียน.” [ออนไลน์]. http://www.chinnaworn.com/index.php?lay=show&ac= article&Id=539155790&Ntype=1 สืบค้นเมื่อ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 สรศักดิ์ บัวแย้ม. (2556). การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนมัธยมศึกษา สหวิทยา เขตระยอง 2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18. วิทยานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา. สานักความสัมพันธ์ต่างประเทศ. (2553). การศึกษา : รากฐานประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ : สกสค. ลาดพร้าว. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2554). แนวทางการบริหารจัดการเรียนรู้สู่ ประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. Downing. J., & Thackrey, D. (1971). Reading readiness. London : University of London Press.
233
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018 EDUP-05
ผลการจัดการเรียนรู้ หลักธรรมนาความสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD THOEDPONG BUNTON: EFFECTS OF LEARNING ACTIVITY THROUGH THE APPLICATION OFEXERCISES AND COOPERATIVE LEARNING WITH THE STUDENT TEAM ACHIEVEMENT DIVISION TECHNIQUE FOR PRATHOMSUKSA 3 STUDENTS ON THE TOPIC OF “THE DHARMA PRECEPTS FOR HAPPINESS” IN THE SOCIAL STUDY, RELIGION, AND CULTURE STRAND เทิดพงษ์ บุญตน1,พนา จินดาศรี2 1 2
นักศึกษาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ อาจารย์คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
บทคัดย่อ การศึกษา เรื่อง ผลการจัดการเรียนรู้ เรื่องหลักธรรมนาความสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD ในครั้งนี้กาหนดวัตถุประสงค์ของการศึกษาไว้ 2 ประการ ได้แก่ 1) เพื่อศึกษากระบวนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ แบบฝึกทักษะร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 2) เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้แก่ 2.1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒ นธรรม ชั้น ประถมศึก ษาปีที่ 3 ระหว่า งก่อ นเรีย นและหลังเรีย น หลัก ธรรมนาความสุข 2.2) เพื่อ ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หลั กธรรมนาความสุข โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยตัวแปรที่ศึกษาประกอบด้วย ตัวจัดกระทา คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD และตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือ 1) แบบฝึกทักษะ เรื่องหลักธรรมนาความสุข 2) แผนการจัดการเรียนรู้ 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน 4) แบบประเมินความพึงพอใจ และสถิติที่ใช้ใ น การศึกษา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. กระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่องหลักธรรมนาความสุข โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ เทคนิค STAD ร่วมกับกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประสบ ความสาเร็จ คือ การเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะเปิดโอกาสให้นักเรียนเรียนมีปฏิสัมพันธ์กันในกลุ่มด้วยการทาแบบฝึก ทักษะ และซักถามถึงประเด็นคาถามให้มากอย่างมีอิสระ เป็นการเรียนรู้เพื่อกลุ่มและส่วนรวม โดยการช่วยเหลือ ซึ่งกันละกัน เห็นคุณค่าของความแตกต่างระหว่างบุคคลหรือรางวัล และกาลังใจให้กับนักเรียนด้วย
234
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หลักธรรม นาความสุข โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ .05 3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หลักธรรมนา ความสุข โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากขึ้นไป ABSTRACT The objectives of this study were to: 1) study a learning management process through the application of exercises and cooperative learning with the STAD technique for Prathomsuksa 3 students in the Social Study, Religion, and Culture Strand; and 2) study the effects of learning activity by (2.1) comparing a learning achievement before and after the application of exercises and cooperative learning with the STAD technique for Prathomsuksa 3 students on the topic of “Dharma for Happiness”, and (2.2) studying students’ satisfaction on the application of exercises and cooperative learning with the STAD technic on the topic of “Dharma for Happiness”. According to the study, the manipulate variable was a learning activity through the application of exercises and cooperative learning with the STAD technique while the dependent variables were the learning achievement and the satisfaction on the application of exercises and cooperative learning with the STAD technique. Research tools were: 1) exercises on the topic of “Dharma for Happiness; 2) learning management plans; 3) pre- and post- achievement tests; and 4) a satisfactory questionnaire. The collected data were analyzed for percentage, mean, and standard deviation. The study found that: According to the study, the learning activity through the application of exercises and cooperative learning with the STAD technique for Prathomsuksa 3 students on the topic of “Dharma for Happiness” was arranged successfully. Learning through the application of exercises allows students to interact with others in a group through doing exercises and can ask questions as much as possible. It is considered as a collective learning and made students to accept differences among members. The learning achievement of Prathomsuksa 3 students on the topic of “Dharma for Happiness” after the application of exercises and cooperative learning with the STAD technique was significantly higher than before the application of exercises and cooperative learning with the STAD technique at .05 of statistical level. The overall satisfaction of Prathomsuksa 3 students on the learning activity through the application of exercises and cooperative learning with the STAD technique was at a high level.
235
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
บทนา พระพุทธศาสนา เป็นวิชาที่ มีความสาคัญในการพัฒนาคนเพื่อเป็นพื้นฐานของการอยู่ร่วมกัน มีความ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ประนีประนอม พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน มีคุณธรรม จริยธรรม แต่ปัจจุบันสภาพสังคมและ เศรษฐกิจไทยได้เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วตามกระแสในยุคโลกาภิวัตน์ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาหลายประการ อาทิ ปัญหา การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม สาเหตุสาคัญประการหนึ่งที่ทาให้ปัญหาเหล่านี้เพิ่มมากขึ้น ได้แก่ คุณธรรม จริยธรรม ของคนลดน้อยลง ซึ่งสังเกตได้จากข่าวประจาวันจากหนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ หรืออินเตอร์เน็ต พบว่ามีข่าวเกี่ยวกับ อาชญากรรม ยาเสพติด ล่วงละเมิดทางเพศและความรุนแรง จานวนเพิ่มขึ้นกว่าในอดีต จัดเป็นปัญหาสังคมที่สาคัญ ของชาติและส่งผลกระทบให้เกิดปัญหาด้านอื่นๆ ตามมา แนวทางหนึ่งที่จะลดปัญหา ได้แก่ การจัดการศึกษา จ าเป็ น ต้ อ งมี ก ารพั ฒ นาให้ เ หมาะสม ทั น กั บ การเปลี่ ย นแปลงดั งกล่ า วการศึ ก ษาเป็ น การสร้ า งคนให้ มี ค วามรู้ ความสามารถ มีทักษะพื้นฐานที่จาเป็นในการประกอบอาชีพ การตัดสินใจในการกระทาสิ่งที่ถูกต้อง ไม่ผิดศีลธรรม วัฒนธรรม และประเพณีอันดีงามของสังคม รวมถึงกฎหมายหลักปฏิบัติของสังคมนั้นๆ ใช้ปัญญาของตนเองในการ แก้ปัญหาและพัฒนาตนเองให้มีความสุข มีคุณธรรมที่ดีไม่ตกเป็นทาสอบายมุ ขหรือยาเสพติดทุกประเภท เมื่อ ประชาชนในชาติมีลักษณะนิสัยที่ดีงามและได้รับการศึกษาจะช่วยให้ทุกคนมีชีวิตที่ดี มีความสุขพร้อมที่จะต่อสู้เพื่อ ตนเองและสังคม ประเทศชาติจะเจริญรุ่งเรืองได้นั้นไม่ได้หมายถึงความเจริญด้านเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว ความ เจริญของชาติดูได้จากความสงบสุขร่มเย็นในชีวิตของคนทั้งชาติ ดังหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 ที่ มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึก ในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง เป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จาเป็นต่อการศึกษา ต่อการประกอบอาชีพและการศึกษา ตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตาม ศักยภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 : 3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพมนุษย์สู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 - 2564 (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2560 : 15) มุ่งให้คน ไทยมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีสุขภาวะดีขึ้น มีคุณธรรมจริยธรรม และสถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็งมากขึ้น เพราะการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วที่ผ่านกระแสโลกา- ภิวัตน์และโลกไซเบอร์ ทาให้คนไทยมุ่งแสวงหาความสุข และสร้างอัตลักษณ์ส่วนตัวผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ เกิดเป็นวัฒนธรรมย่อยร่วมสมัยที่หลากหลายในรูปแบบการ รวมกลุ่มของบุคคลที่สนใจเรื่องเดียวกัน ขณะเดียวกันมีการคานึงถึงประโยชน์ส่วนตนและพวกพ้องมากกว่าส่วนรวม ทั้งนี้จากการจัดอันดับคะแนนดัชนีชี้วัดภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นทั่วโลกบ่งชี้ถึงความไม่สมดุลของธรรมาภิบาลการ ปกครอง และปัญหาแนวโน้มความอ่อนแอของคนในสังคมซึ่งขาดความไว้เนื้อเชื่อใจและขาดการมีส่วนร่วมทางสังคม วิกฤตปัญหาด้านคุณธรรมจริยธรรมเป็นความเสี่ยงที่จะส่งผลให้ประชาชนอยู่ร่วมกันยากลาบาก มีความถี่ในการใช้ ความรุนแรงแก้ไขปัญหามากขึ้น ทั้งปัญหาในระดับครอบครัวและปัญหาความคิดเห็นแตกต่างทางการเมือง ประกอบ กับกระบวนการยุติธรรมแก้ไขปัญหาได้ไม่เต็มที่ทาให้ขาดความไว้เนื้อเชื่อใจกัน นอกจากนี้ กระแสวัฒนธรรมเสมือน จริ ง ที่ แ พร่ เ ข้ า มาผ่ า นโลกไซเบอร์ ท าให้ มี ก ารสร้ า งเครื อ ข่ า ยทางสั ง คมมากขึ้ น มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ พฤติ ก รรมและ วิจารณญาณในการเลือกรับ-ปรับ-ใช้วัฒนธรรม ส่งผลให้ค่านิยมไทยมีการปรับเปลี่ยนไปตามวัฒนธรรมที่รับมา เด็ก และเยาวชนที่ยังไม่มีภูมิคุ้มกันที่ดพี อหรือขาดการใช้วิจารณญาณกลั่นกรอง จะเสี่ยงต่อการรับวัฒนธรรมที่ไม่ดงี ามมา ใช้โ ดยง่า ย นอกจากนี้ ยั งมีก ารใช้ ประโยชน์ จากวั ฒนธรรมเสมื อนจริง ในเชิงของการสร้า งปั ญหามากกว่า เชิ ง สร้างสรรค์ทาให้ความสัมพันธ์กับคนรอบข้างลดลง ขณะที่ภาคส่วนต่างๆได้มกี ารส่งเสริมให้มีการรวมกลุ่มทากิจกรรม
236
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ต่างๆ แต่การมีส่วนร่วมในการทากิจกรรมเพื่อประโยชน์ส่วนรวมยังอยู่ในระดับต่า นอกจากนี้ความสัมพันธ์แบบเครือ ญาติที่มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือเกื้อกูลกันเริ่มหมดไป พฤติกรรมการอยู่ร่วมกันของสมาชิกในครอบครัวเป็น แบบต่างคนต่างอยู่สัมพันธภาพระหว่างสมาชิกในครอบครัวมีความเปราะบาง จนนาไปสู่ปัญหาทางสังคมเพิ่มขึ้น กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยประกอบด้วย 5 สาระได้แก่ สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิต สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์และสาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2552 :132) สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติความสาคัญศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ต นนับถือและ ศาสนาอื่นมีศรัทธาที่ถูกต้องยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข มุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียน ทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ให้มีโอกาสเรียนรู้การอยู่ร่วมกันบนโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ตลอดเวลา การเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบ มีความสามารถทางสังคม มีความรู้ ทักษะ คุณธรรมและค่านิยมที่ เหมาะสม ผู้เรียนต้องเกิดความรู้ ทักษะการคิด ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการเรียนรู้ และทักษะกระบวนการกลุ่ม (กรมวิชาการ. 2545 : 1) การสอนวิชาสังคมศึกษาต้องปรับปรุงและพัฒนาเพื่อให้เยาวชนเป็นคนที่ ดี เก่งและมี ความสุข คือ เป็นคนที่มีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ สังคม รู้วิธีที่จะแสวงหาความรู้และนา ความรู้ไปใช้ในการจัดการและแก้ไขสถานการณ์ ปัญหาขัดแย้ง รู้จักตนเองปรับเปลี่ยนให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้ ผู้เรียนต้องมีความรู้ความเข้าใจในความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ผู้เรียนได้ศึกษาปัญหาต่างๆ ทั้งใกล้ตัว และไกลตัวออกไปแล้ว ยังปลูกฝังให้เกิดความรับผิดชอบ ความรักชาติ ตระหนังถึงภาระและหน้าที่ของตน มีความ หวงแหนและรู้จักเสียสละเพื่อส่วนรวม จะเห็นได้ว่าแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 - 2559 มีจุดเน้นในการสร้าง คนและสังคมคุณธรรม ต้องการปลูกฝังให้เป็นคนดีและคนเก่ง มิใช่เป็นเพียงคนเก่งเพียงอย่างเดียวเหมือนสมัยก่อน (สุวิมล ว่องวาณิช และคนอื่นๆ. 2552 : 11) การจัดการเรียนรู้โดยสร้างแบบฝึกทักษะเป็นการนาทฤษฏีมาใช้ประโยชน์ในการฝึกทักษะการอ่านอย่าง สูงสุด เพราะแบบฝึกทักษะนั้นสามารถฝึกทักษะได้ทั้งสี่ด้าน คือ ฟัง พูด อ่าน และเขียน (วัญญา วิศาลาภรณ์. 2554 : 23) ซึ่งประทีป แสงเปี่ยมสุข (2554 : 53) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของแบบฝึกทักษะไว้ว่า แบบฝึกทักษะช่วยให้ นักเรียนได้ฝึกฝนทักษะการเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่นอกเหนือจากที่เรียนในบทเรียนเด็กสามารถทบทวนได้ด้วยตนเอง และช่วยส่งเสริมทักษะทางด้านภาษาพร้อมเป็นเครื่องมือวัดผลการเรียนหลังจากเรียน ทาให้ครูสามารถมองเห็น ปัญหาต่างๆ ของนักเรียนได้อย่างชัดเจนอีกทั้งช่วยให้ผู้เรียนได้เห็นความก้าวหน้าของตนเอง และมีทัศนะคติที่ดีต่อ การเรียน นอกจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องหลักธรรมนาความสุข โดยใช้แบบฝึกทักษะแล้ว การเพิ่ม ประสิทธิภาพการเรียนรู้ที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในการร่วมกิจกรรมมากยิ่งขึ้น คือการใช้กิจกรรมการทางาน เป็นกลุ่มของผู้เรียน เพราะผู้เรียนจะได้มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กันและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้ซึ่งกันและกัน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2554 : 51) ได้กล่าวถึง การเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ เทคนิค STAD ว่าเป็นวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน ให้แก่ผู้เรียนได้ เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มเล็กๆ แต่ละกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกที่มีความรู้ความสามารถแตกต่างกัน โดยที่แต่ละคนมี ส่วนร่วมอย่างแท้จริง ในการเรียนรู้ และในความสาเร็จของกลุ่ม ทั้งโดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นการแบ่งปัน ทรัพยากรการเรียนรู้ รวมทั้งการเป็นกาลังใจแก่กัน คนที่เรียนเก่งจะช่วยเหลือคนที่เรียนอ่อนกว่า สมาชิกในกลุ่มไม่ เพียงแต่มีความรับผิดชอบต่อการเรียนของตนเท่านั้น หากแต่จะต้องร่วมรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของเพื่อนสมาชิก ทุกคนในกลุ่ม ความสาเร็จของแต่ละบุคคลคือความสาเร็จของกลุ่ม ซึ่งสอดคล้องกับ สุวิทย์ มูลคา และอรทัย มูลคา
237
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
(2551 : 175) ที่ได้กล่าวถึงข้อดีของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของแบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ว่าทาให้ผู้เรียนมี ความเอาใจใส่ รับผิดชอบตัวเองและกลุ่มร่วมกับสมาชิกอื่น และส่งเสริมให้ผู้เรียนที่มีความสามารถต่างกันได้เรียนรู้ ร่วมกัน ทาให้ผู้เรียนได้ฝึกและเรียนรู้ทักษะทางสังคมโดยตรงและสนุกสนานกับการเรียนรู้ จากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของนักเรียนโรงเรียนบ้านโคกรัมย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ปัญหาที่พบ คือ ผลการทดสอบความสามารถพื้นของผู้เรียนระดับชาติ (International Test:NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีกาศึกษา 2559 เฉลี่ย 40.25 ผู้เรียนมีปัญหาในเรื่องทักษะการอ่านมาก ที่สุดกล่าวคือ ผู้เรียนอ่านแล้วไม่เข้าใจในสาระสาคัญของเรื่องที่เรียน และไม่สามารถสรุปความจากเรื่องที่เรียนได้ ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม อยู่ในระดับที่ไม่น่าพอใจ (โรงเรียนบ้านโคกรัมย์. 2558 : 15) โดยเฉพาะนักเรียนช่วงชั้นที่ 1 ระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 3 โรงเรียนบ้านโคก รัมย์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ปัญหาที่พบ คือ นักเรียนสามารถอ่านออกเขียนได้ และนักเรียนไม่สามารถที่จะตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านหรือจับประเด็นเนื้อหาจากเรื่องที่เรียนได้ ผู้ศึกษาจึงเห็นว่า ถ้าได้นาวิธีสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบกิจกรรมการเรี ยนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ผลการเรียนน่าจะดีขึ้น เพราะการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะเป็นวิธีการสอนหนึ่งที่จะช่วยแก้ปัญหาการอ่านจับใจความได้ดี โดยมีการจัด กิจกรรมที่หลากหลาย ซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้คิด วิเคราะห์ ตีความ วิจารณ์ จากเรื่องที่อ่านได้ช่วยให้ผู้เรี ยนได้รับ ประสบการณ์กว้างขวาง และยังจะส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนสูงขึ้นด้วย ผู้ศึกษาค้นคว้าในฐานะเป็นครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ได้ศึกษาเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในงานวิจัยตามหลักการ ทฤษฏีและเหตุผลดังกล่าว จึงมีความ สนใจที่จะพัฒนาความสามารถด้านการจัดการเรียนรู้เรื่อง หลักธรรมนาความสุข โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับการ เรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาด้านการอ่านให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษากระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง หลักธรรมนาความสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD 2. เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง หลักธรรมนาความสุ ข กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD
238
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
วิธีดาเนินการวิจัย การดาเนินการศึกษาครั้งนี้ เป็นการทดลอง (Experimental Research) โดยใช้แผนการศึกษาแบบ One Group Pre-test Post-test Design (พวงรัตน์ ทวีรัตน์. 2555 : 60-61) กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึ ก ษา 2559 โรงเรี ย นบ้ า นโคกรั ม ย์ ต าบลกระเที ย ม อ าเภอสั ง ขะ สั ง กั ด ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 จานวน 16 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วย 1. แบบฝึกทักษะ เรื่องหลักธรรมนาความสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านโคกรัมย์ อาเภอสังขะ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น จานวน 8 แบบฝึก ดังนี้ แบบฝึกทักษะที่ 1 เรื่อง พระรัตนตรัย แบบฝึกทักษะที่ 2 เรื่อง เบญจศีล เบญจธรรม และสติสัมปชัญญะ แบบฝึกทักษะที่ 3 เรื่อง สังคหวัตถุ 4 แบบฝึกทักษะที่ 4 เรื่อง ฆราวาสธรรม 4 แบบฝึกทักษะที่ 5 เรื่อง อัตถะ 3 แบบฝึกทักษะที่ 6 เรื่อง กตัญญูกตเวทีต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม แบบฝึกทักษะที่ 7 เรื่อง มงคล 38 และการทาจิตใจให้ผ่องใสบริสุทธิ์ แบบฝึกทักษะที่ 8 เรื่อง พระไตรปิฎก และพุทธศาสนสุภาษิต 2. แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องหลักธรรมนาความสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีทั้งหมด 8 แผน ดังนี้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง พระรัตนตรัย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เบญจศีล เบญจธรรม และสติสัมปชัญญะ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สังคหวัตถุ 4 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง ฆราวาสธรรม 4 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง อัตถะ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง กตัญญูกตเวทีต่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง มงคล 38 และการทาจิตใจให้ผ่องใสบริสุทธิ์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 เรื่อง พระไตรปิฎก และพุทธศาสนสุภาษิต 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งเป็นแบบทดสอบแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ 4. แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะประกอบการ เรียนรู้แบบร่วมมือ เรื่องหลักธรรมนาความสุข สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งเป็นแบบมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating Scale)
239
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
5. แบบสังเกตการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง หลักธรรมนาความสุข กลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับการเรียนรู้แบบ ร่วมมือเทคนิค STAD การเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ดาเนินการทดลอง ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 ระหว่างเดือน มิถุนายน ถึงเดือนกรกฎาคม ดังนี้ ซึ่งมีขั้นตอนและวิธีการดาเนินการดังนี้ 1. ขั้นก่อนการศึกษา เป็นขั้นตอนที่ผู้ศึกษาค้นคว้าได้เตรียมความพร้อมด้านต่างๆดังต่อไปนี้ 1.1 เตรียมนักเรียน โดยการปฐมนิเทศชี้แจงและให้คาแนะนาลักษณะการเรียนการสอนและ บทบาทหน้าที่ของนักเรียนต่อรูปแบบการเรียนการสอนตามแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ ประกอบการเรียนรู้แบบร่วมมือ มีรายละเอียดดังนี้ 1.2 ครูอธิบายวิธีการเรียนแบบกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ ให้นักเรียนเข้าใจ 1.3 แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อย โดยคละเพศ คละความสามารถเป็นจานวน 4 กลุ่ม กลุ่ม ละ 4 คน 1.4 ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน (Pre-test) โดยใช้แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่องหลักธรรมนาความสุข จานวน 1 ฉบับ ซึ่งประกอบไป ด้วย แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 3 ตัวเลือกจานวน 30 ข้อ คะแนนเต็ม 30 คะแนน 2. ขั้นดาเนินการศึกษา เป็นขั้นที่ศึกษาค้นคว้าได้ดาเนินการศึกษาโดยนาเครื่องมือที่ผ่านการหา ประสิทธิภาพแล้วไปใช้ในการทดลอง การดาเนินการทดลองใช้เวลา 8 คาบเรียน ทั้งนี้ไม่รวมการทดสอบ ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยทาการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน 1 คาบเรียน การจัดการ เรียนรู้ 8 คาบเรียน ทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน 1 คาบเรียน คาบละ 60 นาที ในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2559 2.1 เนื้อหาที่ทดลองสอนคือเนื้อหาสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง หลักธรรมนาความสุข ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านโคกรัมย์ 2.2 การดาเนินงานทดลองสอนผู้ศึกษาค้นคว้าดาเนินการสอนเองทั้ง 8 คาบเรียน โดยดาเนินการ ทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบปรนัย จานวน 30 ข้อ บันทึก ผลการทดสอบที่ได้เป็นคะแนนก่อนเรียน 2.3 จากนั้นครูเข้าสู่กิจกรรมการเรียนโดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับวิธีการสอนด้วยกระบวนการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD โดยดาเนินการสอนตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การสอนแบบร่วมมือ เรื่อง หลักธรรมนาความสุข ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น ให้ครบทั้ง 8 แผน มีขั้นตอนดังนี้ 2.3.1 ขั้น การทบทวนความรู้ เดิ ม เป็ นการดึงความรู้ เดิ มของผู้ เรี ยนในเรื่อ งที่ จะเรี ย น เพื่อให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม 2.3.2 ขั้นการแสวงหาความรู้ใหม่ ขั้นนี้เป็นการแสวงหาข้อมูลโดยผู้สอนจัดเตรียมข้อมูล มาให้หรือบอกแหล่งข้อมูลต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนไปแสวงหาได้ 2.3.3 ขั้นการศึกษาทาความเข้าใจ/ความรู้ใหม่และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม 2.3.4 ขั้นแลกเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจกับกลุ่ม เป็นผู้เรียนที่อาศัยกลุ่มเป็นเครื่องมือใน การตรวจสอบความรู้ ความเข้าใจของผู้อื่นไปพร้อมๆกัน
240
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
2.3.5 ขั้นสรุปและจัดระเบียบความรู้ เป็นขั้นของการสรุปความรู้ที่ได้รับทั้งหมด 2.3.6 ขั้นการแสดงผลงาน เป็นขั้นที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงผลงานการสร้างความรู้ ของตนเองให้ผู้อื่นรับรู้ เป็นการช่วยให้ผู้เรียนได้ตอกย้าหรือตรวจสอบความเข้าใจของตนเอง และช่วยส่งเสริมให้ ผู้เรียนมีความคิดสร้างสรรค์ 2.3.7 การประยุกต์ใช้ความรู้ ขั้นนี้เป็นขั้นของการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการนาความรู้ ความเข้าใจไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆที่หลากหลาย 2.3.7 เมื่อนักเรียนเรียนจบทุกบทเรียนทั้ง 8 บทเรียนแล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน (Post-test) จานวน 1 ฉบับ จานวน 30 ข้อ คะแนนเต็ม 30 คะแนนโดยใช้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชุดเดียวกันกับแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน 2.3.8 วัดความพึงพอใจในการเรีย นรู้ของผู้เรี ยนที่เ รียนโดยใช้ ชุดการเรีย นร่วมกับการ เรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น จานวน 20 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูล 1. วิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยหา ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละของคะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน และคะแนนสอบหลังเรียน 2. วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ เรื่อง หลักธรรมนาความสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านโคกรัมย์ สรุปผลการวิจัย ผลการใช้ชุดการเรียนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง หลักธรรมนาความสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปรากฏผลดังนี้ 1. กระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง หลักธรรมนาความสุข โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับกระบวนการ เรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ประสบความสาเร็จคือ การเรียนรู้ด้วยชุดการเรียน เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนมีความ สนใจ และกระบวนการการทางานกลุ่มที่มงุ่ ให้ผู้เรียนเรียนรู้เนื้อหาสาระต่างๆด้วยตนเองด้วยความร่วมมือและความ ช่วยเหลือกันภายในกลุ่มนาพาซึ่งความความสาเร็จ เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นช่วยเหลือซึ่งกันและ กัน นักเรียนที่เก่งช่วยเหลือสมาชิกที่เรียนอ่อนกว่า ได้ฝึกการพัฒนาทักษะทางสังคม เช่น ทักษะการสื่อสาร ทักษะ การทางานร่วมกับผู้อื่น ทักษะการสร้างความสัมพันธ์ เพื่อเป็นการให้การส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะแสวงหาความรู้ ทักษะการคิดและแก้ปัญหาร่วมกัน นักเรียนแต่ละกลุ่มจะได้ฝึกฝนทักษะจากชุดการเรียนโดยศึกษาเนื้อหา การทา ใบงาน การทาแบบทดสอบ และนักเรียนสรุปผลงานการทางานของตนเอง ว่ามีจุดเด่น จุดด้อย จุดบกพร่องหรือ ข้อควรปรับปรุง เพื่อหาแนวทางแก้ไขครั้งต่อไป ทาให้นักเรียนเห็นถึงความก้าวหน้าของตนเองและกลุ่มอย่าง ชัดเจนรวดเร็ว และเสริมแรงโดยการให้คาชมเชยและกาลังใจกับนักเรียนด้วย 2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อ นเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการ เรียนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD เรื่อง หลักธรรมนาความสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พบว่า คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียนหลังเรียนได้คะแนนเฉลี่ย 23.31 คิดเป็นร้อยละ 77.70 ก่อนเรียนได้คะแนนเฉลี่ย 14.44 คิดเป็นร้อยละ 48.13 ได้ค่าความแตกต่างเฉลี่ยเท่ากับ 8.87 คิดเป็นร้อยละ 29.56 และผลการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน
241
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
หลังเรียน ที่ได้รับการสอนโดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD มีคะแนนสูงกว่า ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับกระบวนการ เรี ยนรู้ แบบร่ว มมือ เทคนิ ค STAD เรื่ อ ง หลัก ธรรมนาความสุ ข กลุ่ มสาระการเรีย นรู้สั งคมศึ กษา ศาสนา และ วัฒนธรรมชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.69 อยู่ในระดับมากที่สุด วิจารณ์ผลการวิจัย จากการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาพบว่า มีประเด็นที่น่าสนใจและนามาอภิปรายผล ดังนี้ 1. ผลการเปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนโดย ใช้ชุดการเรียนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง หลักธรรมนาความสุข กลุ่มสาระการ เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 โดยนักเรียนที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่องหลักธรรมนาความสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ที่เป็นเช่นนี้ อาจเนื่องมาจากการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะร่วมกับ กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เป็นการจัดการเรียนรู้ที่มีการทางานเป็นกลุ่มสมาชิกมีความสามารถ แตกต่างกัน คือ เก่ง ปานกลาง และอ่อน นักเรียนที่มีความสามารถเก่งช่วยเหลือนักเรียนที่มีความสามารถใน การเรียนที่อ่อนกว่า ในขณะที่ทางานนักเรียนต้องช่วยกันคิดและช่วยกันตอบคาถาม เมื่อนักเรียนทาแต่ละข้อหรือ แต่ละส่วนเสร็จแล้ว ให้นักเรียนหมุนเวียนเปลี่ยนหน้าที่กันในการทาข้อถัดไปทุกครั้งจนเสร็จกิจกรรมทั้งหมด พยายามทาให้สมาชิก ทุกคนมีส่ วนร่ วมและทุ กคนเข้า ใจที่ มาของค าตอบ ทาให้สมาชิก ในกลุ่มรู้ สึกว่ าตนเองมี ความส าคั ญที่ มีบทบาทหน้า ที่รั บผิด ชอบเท่า เที ยมกั นมุ่ งหวังให้ส มาชิก ในกลุ่ มมีผ ลสั มฤทธิ์ ทางการเรีย นสู งขึ้ น ประกอบกับการเรียนรู้ เพื่อเพิ่มความเข้าใจและจดจาเนื้อหาอย่างมีประสิทธิภาพ มีขั้นตอนการเรียนที่ชัดเจนจึงทา ให้นักเรียนมีความสนใจสนุกสนาน และมีความสุขในการเรียนรู้ ตลอดจนนักเรียนได้มีโอกาสฝึกปฏิบัติกิจกรรมที่ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ส่งผลให้นักเรียนมีการเรียนรู้อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน เรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงขึ้น ซึ่ง สอดคล้องกับงานวิจัยของอุทุมพร ชีวานุตระ (2553 : 76-79) ได้ศึกษา ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง คายากชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบกลุ่มร่วมมือแบบ STAD โดยมีความมุ่งหมายเพื่อ หาประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง คายาก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้แบบฝึก ทักษะประกอบกลุ่มร่วมมือแบบ STAD ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 หาดัชนีประสิทธิผลของแผนจัด กิจกรรมการเรียนรู้ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างก่อนเรียนและ หลังเรียน และศึกษาความคงทนในการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ผลการศึกษาพบว่า แผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง คายาก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบกลุ่มร่วมมือแบบ STAD มีประสิทธิภาพเท่ากับ 87.22/86.27 แผนการกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง คายาก ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบกลุ่มร่วมมือแบบ STAD มีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.7000 นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเพิ่มขึ้นจากก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีคะแนนเฉลี่ยความคงทนในการเรียนรู้จากการทดสอบหลังเรียนเวลาผ่านไป 2 สัปดาห์ และคะแนนเฉลี่ย หลังเรียนไม่แตกต่างกัน และได้สรุปว่า แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง คายาก ชั้นประถมศึกษาปี
242
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ที่ 5 โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบกลุ่มร่วมมือแบบ STAD มีประสิทธิภาพเหมาะสม ช่วยให้นักเรียนมีทักษะการ เรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ และทักษะด้านการอ่านและเขียนเพิ่มขึ้น จึงขอสนับสนุนให้ครูภาษาไทยนาการจัดกิจกรรม แบบนี้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนสามารถนาความรูท้ ี่ได้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และปราณี 2. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้ชุดการเรียนร่วมกับกระบวนการ เรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง หลักธรรมนาความสุขกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรมชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในครั้งนี้ ทาให้นักเรียนมี ความสนใจ และมีความกระตือรือร้นในบทเรียนมากยิ่งขึ้น และการใช้แผนการจัดการเรียนรู้มีลักษณะเน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ โดยการนารูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การ เรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เป็นวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มที่ง่าย ไม่ยุ่งยาก เหมาะกับนักเรียนในระดับ ประถมศึกษา ขั้นตอนการเรียนจะเน้นการกาหนดสถานการณ์และรูปแบบไว้ชัดเจน ผู้เรียนทางานเป็นกลุ่ม การ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันภายในกลุ่ม มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในขณะที่ทางานนักเรียนต้องช่วยกันคิดและ ช่วยกันตอบคาถาม หาคาตอบร่วมกันสมาชิกทุกคนมีส่วนร่วม เพื่อความสาเร็จของกลุ่มซึ่งเท่ากับความสาเร็จของ ตนเองด้วย จากคะแนนความก้าวหน้า มีการให้ดาวและครูพูดให้กาลังใจเป็นการเสริมแรง จึงทาทาให้นักเรียนมี ความกระตือรือร้น และตั้งใจเรียนและทาให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหามากยิ่งขึ้น นักเรียนมีความพึงพอใจในระดับมาก ที่สุดซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของเจริญ ผาลาศาสตร์ (2554 : บทคัดย่อ) ได้พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ หนังสืออ่านเพิ่มเติมประกอบการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การปลูกพืชผักสวนครัว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ผลการวิจัย สรุปว่า คะแนนเฉลี่ยระดับความพึงพอใจของ นักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้โดยใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติมประกอบการเรียนรู้แบบเทคนิค STAD เรื่อง การปลูกพืชผัก สวนครัว มีคะแนนระดับความพึงพอใจเฉลี่ยเท่ากับ 4.52 อยู่ในระดับมากที่สุด ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะเพื่อนาผลการศึกษาไปใช้ 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกทักษะร่วมกับกระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ครูผู้สอนควรอธิบายขั้นตอนในการเรียนรู้ และบทบาทของนักเรียนในการเรียนรู้ ให้นักเรียนเข้าใจและ สามารถปฏิ บั ติ ต ามขั้ น ตอนได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง จะท าให้ ก ารจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ เ ป็ นไปอย่ า งราบรื่ น และมี ประสิ ท ธิ ภ าพมากยิ่ ง ขึ้ น เนื่ อ งจากการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ดั งกล่ า วเป็ น วิ ธี ก ารสอนที่ นั ก เรี ย นยั งไม่ เ คยมี ประสบการณ์ในการเรียนรู้มาก่อน 2. การแบ่งนักเรียนแบบคละความสามารถ ซึ่งครูผู้สอนต้องใช้ข้อมูลผลการเรียนรู้ในอดีตของนักเรียน แต่ละคนมาใช้ในการจัดกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มมีทั้งนักเรียนที่เรียนเก่ง เรียนปานกลาง และเรียนอ่อน ในปริมาณที่ ใกล้เคียงกันให้มากที่สุด ในระหว่างการเรียนรู้ครูผู้สอนต้องคอยกากับ ให้คาแนะนา ดูแลอย่างใกล้ชิดในการทา กิจกรรม และคอยกระตุ้นให้ผู้เรียนกล้าแสดงออก ส่งเสริมพฤติ กรรมที่พึงประสงค์ของนักเรียนขณะทางานกลุ่ม และขณะทางานรายบุคคล 3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในขั้นตอนการเรียนรู้ นักเรียนอาจใช้เวลานานกว่าที่กาหนด ดังนั้น ครูอาจยืดหยุ่นเวลาได้ตามความเหมาะสม
243
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ข้อเสนอแนะเพื่อการศึกษาต่อไป 1. ควรใช้กิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบอื่นนอกเหนือจากแบบเทคนิค STAD เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ อย่างหลากหลายควรมีการเปรียบเทียบการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ กับสื่อนวัตกรรมอื่น 2. ควรใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือกับสื่อการเรียนรู้ที่สื่อประสมมีภาพประกอคาบรรยาย หรือรูปภาพ หุ่นจาลอง ตัวการ์ตูนที่เคลื่อนไหวได้ จะกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจ เกิดแรงจูงใจในการเรียน มากยิ่งขึ้น เอกสารอ้างอิง กรมวิชาการ. (2545). สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542(ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม) 2545). กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิชสาราญราษฎร์. _______. (2551). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542(ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม 2545). กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิชสาราญราษฎร์. _______. (2552). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542(ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม 2545). กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิชสาราญราษฎร์. วรัญญา วิศาลาภรณ. (2537). การสรางแบบทดสอบ. กรุงเทพฯ : ทิพยวิสุทธิ์การพิมพ. วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2551). การพัฒนาการเรียนการสอนภาควิชาหลักสูตรและการสอน. มหาสารคาม : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2551). นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้.(พิมพ์ครั้งที่ 2). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม. สุวิมล ว่องวาณิชและคณะ. (2552). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2551). ความมั่นคงทางสังคมและ หลักประกันทางสังคม ปีพ.ศ. 2553. สืบค้นเมื่อ 6 มีนาคม 2559 จาก http://social.nesdb.go.th/SocialStat/StatSubDefault_Final.aspx?catid=8 สุวิทย์ มูลคา และคณะ. (2551). การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่ เน้นการคิด. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจากัดภาพพิมพ์ อุทุมพร ชีวานุตระ. (2553). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทยเรื่องคายากชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 โดยใช้แบบฝีกทักษะประกอบกลุ่มร่วมมือแบบ STAD. มหาวิทยาลัย มหาสารคาม.
244
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
EDUP-06 ผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบซิปปาโมเดล EFFECTS OF LEARNING ACTIVITY THROUGH THE APPLICATION OF LEARNING WITH CIPPA LEARNING MANAGEMENT ON THE TOPIC ENTITLED “ LAW IN DAILY LIFE” IN SOCIAL STUDY, RELIGION, AND CULTURE STRANDS FOR MATTHAYOMSUKSA 4 STUDENTS. ศรินยา ว่องไว1 1
ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
บทนา การศึ กษาเป็น กระบวนการที่ ช่วยพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ตของคน ให้ เป็ น ไปตามแนวทางที่ พึ งประสงค์ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 รวมทั้งนโยบาย ด้านการศึกษาของรัฐบาล จึงต่างมีอุดมการณ์ และมีหลักในการจัดการศึกษาเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยให้ ความสาคัญกับนักเรียนเป็นหลัก นักเรียนต้องได้รับการพัฒนาให้เต็มตามศักยภาพ สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองและ แสวงหาความรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต นอกจากนั้นยังต้องเน้นให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความ สนใจ และความถนัดของนักเรีย น มีการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมแก่นักเรียน เพื่อให้เป็นคนดี คนเก่ง และคนมี ความสุข โดยคนดีคือคนที่ดาเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีจิตใจที่งดงาม มีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ทั้งด้านจิตใจ และพฤติกรรมที่แสดงออก เช่น มีวินัย มีความเอื้อเฟื้อเกื้อกูล รู้ห น้าที่และซื่อสัตย์ คนเก่งคือ คนที่มีความรู้ความสามารถและมีสมรรถภาพในการดาเนินชีวิต เช่น มีทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ มีทักษะ ด้านเทคโนโลยีและรู้จักแก้ปัญหา ส่วนคนมีความสุขคือ คนมีสุขภาพดีทั้งทางกายและจิตใจ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีความสุข (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2545 : 2 - 6) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนานักเรียน ซึ่งเป็น กาลังของประเทศ ให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งทางด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรมจริยธรรม มีจิตสานึกในความ เป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข มีความรู้ มีทักษะพื้นฐาน และมีเจตคติที่จาเป็นต่อการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น หรือต่อการประกอบอาชีพใน อนาคต โดยมุ่งเน้นนักเรียนเป็นสาคัญ บนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้เต็มตาม ศักยภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2552 : 1 ) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ซึ่งเป็น 1 ใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้หลักของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่นักเรียนต้องเรียนตลอด 12 ปีการศึกษา โดยมุ่งหวังให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง สามารถปรับตนเองเข้ากับบริบทสภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ มีทักษะ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสมโดยเนื้อหาวิชาของ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ประกอบด้วย 5 สาระได้แก่ สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม
245
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
จริยธรรม สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิต สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ และสาระที่ 5 ภูมิศาสตร์ ( กระทรวงศึกษาธิการ. 2552 :132 ) สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิ ตในสังคม มีแนวคิดสาคัญในการปลูกฝังให้ นักเรียนปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม มีส่วนร่วมและปฏิบัติตนตามกฎระเบียบกติกา ของสังคม ปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติและสังคมโลก ซึ่งประเทศไทย มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รูปแบบการปกครองเป็นไปตามบท รัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุดที่ใช้ในการปกครองประเทศ แต่การอยู่ร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยประชาชนทุก คนจะต้องรู้จักบทบาทหน้าที่ทั้งต่อตนเอง ต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ รู้จักการทางานร่วมกัน มี ส่ ว นร่ ว มและรั บ ผิ ด ชอบในกิ จ กรรมทางสั งคมดู แ ลรั ก ษาสาธารณประโยชน์ และสิ่ ง แวดล้ อ มของชุ ม ชนและ ประเทศชาติ อย่างไรก็ตามการอยู่ร่วมกันในสังคมหมู่มาก ที่มีความแตกต่างกัน จาเป็นต้องมีกฎเกณฑ์ กฎระเบียบ ข้อบังคับ ที่ให้สมาชิกของสังคมปฏิบัติตามเพื่อสร้างความสุขให้เกิดกับสังคม นั่นก็คือ กฎหมาย กฎหมายที่ประเทศ บังคับใช้ในประเทศไทยมีอยู่มากมาย ในที่นี้จะกล่าวถึงกฎหมายในชีวิตประจาวันที่เกี่ยวกับ ครอบครัว ชุมชน และ ประเทศชาติ (กมล ทองธรรมชาติ และคนอื่นๆ. 2553 : 213-214) การนากฎเกณฑ์ กติกา หรือมาตรฐานที่ใช้เป็นแนวทางในการอยู่ร่วมกันในสังคมเพื่อให้สมาชิกปฏิบัติ ตามโดยไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากบุคคลอื่น หรือไม่ไปละเมิดสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น โดยเฉพาะเรื่องกฎหมายใน ชีวิตประจาวัน มาให้นักเรียนศึกษา ซึ่งอยู่ในสาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลก อย่างสันติสุข (กระทรวงศึกษาธิการ. 2552 : 146-149) การจัดการเรียนรู้เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน ที่ผ่านมายังเป็นการสอนแบบปกติ คือ ครูผู้สอนเป็น ผู้นาเสนอแต่เพียงผู้เดียว เป็นวิธีสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดโดย การพูด เล่า อธิบาย สิ่งที่ต้องการสอนให้แก่นักเรียน โดยที่นักเรียนจะมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน การสอนน้อยเพียงแต่ฟัง จดบันทึกหรือซักถามบางครั้ง แล้วประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนด้วยวิธีใด วิธีหนึ่ง สรุปได้ว่าส่วนหนึ่งมีสาเหตุมา จากการที่ครูจัดการเรียนรู้โดยวิธีแบบบรรยาย และอธิบายเนื้อหาตามบทเรียน มากกว่าจะสอนให้นักเรียนรู้จักคิด แก้ปัญหา ทาให้นักเรียนไม่ได้พัฒนาทักษะสาคัญ ผู้ วิจัยเองที่รับผิดชอบในการจัดการเรียนรู้ ได้ค้นพบว่า การได้ เรียนรู้ด้วยตนเอง จากสื่อที่ตอบสนองความสามารถของนักเรียนแต่ละคน ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่น นักเรียน ค้นพบความรู้ด้วยตนเอง จะสามารถให้นักเรียนเรียนรู้ได้ดี มีความคงทนในการเรียนรู้ ผู้ศึกษาได้ทาการค้นคว้าหาสื่อ ประกอบการจัดการเรียนรู้หลายประเภท พบว่า บทเรียนสาเร็จรูปเป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนรู้ที่สามารถ ส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ โดยเปิดโอกาสผู้เรียนศึกษา และปฏิบัติ กิจกรรมจากบทเรียนสาเร็จรูปด้วยตนเอง ผู้เรียนจะมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามความสามารถของแต่ ละบุคคล การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา เป็นรูปแบบการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งมี แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนแบบประสาน 5 แนวคิดหลัก คือ แนวคิดการสร้างความรู้ (Constructivism) แนวคิดกระบวนการกลุ่มและการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Group Process and Co-operative Learning) แนวคิด เกี่ยวกับความพร้อมในการเรียนรู้ (Learning Readiness) แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ (Process Learning) และแนวคิดเกี่ยวกับการถ่ายโอนความรู้ (Transfer of Learning) (ทิศนา แขมณี. 2551 : 85) การจัดการเรียนการ
246
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
สอนแบบซิปปาจึงมีความสาคัญกับผู้เรียนเป็นอย่างยิ่ง เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ การ จัดกิจกรรมการเรียนที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกาย เพื่อช่วยให้ประสาทการรับรู้ของผู้เรียน ตื่นตัว พร้อมที่จะรับรู้ข้อมูลและการเรียนรู้ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น ช่วยให้ผู้เรียนมีความจดจ่อในการสนุกที่จะคิด มุ่งเน้นให้ ผู้เรียนค้นพบความรู้และสร้างความรู้ด้วยตนเองทาให้เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อตนเอง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ มีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอน เพื่อน แหล่งความรู้ สื่อการเรียนรู้หรือสิ่งแวดล้อมรอบตัวส่งผลต่ออารมณ์ความรู้สึกของ ผู้เรียน และเน้นการมีส่วนร่วมทางสังคมเพื่อฝึกฝนทักษะทางสังคมแก่ผู้เรียน การปฏิบัติจริง การใช้กระบวนการ เรียนรู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาทักษะที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตของผู้เรียน เช่น กระบวนการคิดวิเคราะห์ การใช้วิจารณญาณ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการแสวงหาความรู้ การนาความรู้ ที่เกิดจากการเรียนรู้ไป ประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ เป็นการเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้สู่การปฏิบัติที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตของ ผู้เรียนแต่ละคน จากความเป็นมาและความสาคัญของปัญหาดังกล่าว ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจในการศึกษาการจัดการ เรียนรู้ เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้ซิปปาโมเดล เพื่อใช้ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ให้นักเรียนได้รับประโยชน์ยิ่งขึ้น เป็น แนวทางในการสร้างสรรค์และพัฒนาการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวันกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้ซิปปาโมเดล 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียน เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนาและวั ฒนธรรม ชั้นมัธยมศึ กษาปี ที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้สั งคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้ น มัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้ซิปปาโมเดล ขอบเขตการวิจัย 1. ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง 1.1 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเมืองลีงวิทยา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จานวน 2 ห้องเรียน มีจานวนนักเรียน 52 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่าง ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนเมืองลีงวิทยา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จานวน 1 ห้องเรียน จานวน 31 คน ได้มาโดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) 2. ตัวแปรในการศึกษา 2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ การเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา
247
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ 2.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนเรียนและหลังเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนสาเร็จรูป ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา 2.2.2 ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเมืองลีงวิทยา ที่เรียน เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา 3. ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ ดาเนินการในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ใช้เวลาจานวน 5 สัปดาห์ วันที่ 21 สิงหาคม 2560 - 22 กันยายน 2560 จานวน 10 ชั่วโมง รวมเวลาที่ใช้ในการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 4. เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษา เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นเนื้อหาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน จานวน 4 เล่ม วิธีดาเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเมืองลีงวิทยา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จานวน 2 ห้องเรียน มีจานวนนักเรียน 52 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนเมืองลีงวิทยา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จานวน 1 ห้องเรียน จานวน 31 คน ได้มาโดยการสุม่ กลุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย 1. บทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 4 เล่ม 2. แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อประกอบบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวันนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 4 แผน 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นแบบทดสอบที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นเพื่อวัดความสามารถใน การเรียนด้วยบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียน ด้วยบทเรียน สาเร็จรูป จานวน 4 เล่ม ซึ่งเป็นแบบชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. เก็บรวบรวมข้อมูลคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน จานวน 40 ข้อ 40 คะแนน 2. เก็บรวบรวมข้อมูลคะแนนการปฏิบัติกิจกรรมในการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา 3. เก็บรวบรวมข้อมูลคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน (ฉบับเดียวกับการทดสอบก่อนเรียน จานวน 40 ข้อ 40 คะแนน 4. เก็บรวบรวมข้อมูลคะแนนความพึงพอใจของนักเรียน
248
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
การวิเคราะห์ข้อมูล 1. วิเคราะห์ผลการสร้างและพัฒนาบทเรียนสาเร็จรูปให้มีคุณภาพตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ 80/80 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายใน ชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบซิปปา สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถิติการทดสอบค่าที (t-test) 3. ดั ชนีป ระสิท ธิผลของบทเรี ยนสาเร็จ รูป เรื่อง กฎหมายในชี วิตประจาวัน กลุ่มสาระสั งคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบซิปปา สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 4. วิ เ คราะห์ ค วามพึ ง พอใจของนั ก เรี ย นจากการเรี ย นด้ ว ยบทเรี ย นส าเร็ จ รู ป เรื่ อ ง กฎหมายใน ชีวติ ประจาวัน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบซิปปา สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ผลการวิจัย 1. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิเคราะห์หาประสิทธิภาพ ของบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบซิปปา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามเกณฑ์ 80/80 ตาราง 1 แสดงคะแนนเฉลี่ยกิจกรรมระหว่างเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายใน ชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบซิปปา ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 คะแนนกิจกรรมระหว่างเรียน (40 คะแนน) 30 31 32 33 34 35 36 รวม คะแนนเฉลี่ย ประสิทธิภาพระหว่างเรียน ( E1 )
จานวนนักเรียน (คน) 1 2 8 7 5 6 2 31
คะแนนรวม 30 62 256 231 170 210 72 1,031 33.258
ร้อยละ 0.855 1.766 7.293 6.581 4.843 5.983 2.051
83.145
จากตาราง 1 ผลการทากิจกรรมระหว่างเรียนของนักเรียน จะเห็นว่าระหว่างเรียนนักเรียน จานวน 31 คน สามารถทาคะแนนรวมทั้งหมด 1,031 คะแนน คะแนนเฉลี่ยได้ 33.258 จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 83.145
249
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ตาราง 2 แสดงคะแนนเฉลี่ยการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วย บทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้การจัดการ เรียนรู้แบบซิปปา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 คะแนนทดสอบหลังเรียน (40 คะแนน) 30 31 32 33 34 35 36 รวม คะแนนเฉลี่ย
จานวนนักเรียน(คน) 3 3 8 3 3 7 4 31
ประสิทธิภาพของแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ( E 2 )
คะแนนรวม 90 93 256 99 102 245 144 1029 33.194
ร้อยละ 7.258 7.500 20.645 7.984 8.226 19.758 11.613
82.984
จากตาราง 2 ผลการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียน จะเห็นว่าระหว่างเรียนนักเรียน จานวน 31 คน สามารถทาคะแนนรวมทั้งหมด 1029 คะแนน คะแนนเฉลี่ยได้ 33.194 จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 82.984 ตาราง 3 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทีย บคะแนนระหว่ างเรียนและหลังเรียนเพื่อ หาประสิทธิภาพของบทเรีย น สาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบซิปปา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตามเกณฑ์ 80/80 จานวน นักเรียน
31
คะแนนกิจกรรมระหว่างเรียน (40 คะแนน) ค่าเฉลี่ยคะแนน ร้อยละ 33.258
83.145
คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน (40 คะแนน) ค่าเฉลี่ยคะแนน ร้อยละ 33.194
ประสิทธิภาพ E1 / E 2 83.145/82.984
82.984
จากตาราง 3 ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบซิปปา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เท่ากับ 83.145/82.984 แสดงว่าบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบซิปปา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ คือ 80/80 2. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบซิปปา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
250
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ตาราง 4 แสดงผลค่าเฉลี่ยของการวัดระดับความพึงพอใจของนักเรียนจากแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อ บทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้การจัดการ เรียนรู้แบบซิปปา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ข้อความ X
ด้านเนื้อหา 1. เนื้อหาสามารถเข้าเรียนรู้เรื่องใดก่อน ก็ได้ 2. เนื้อที่นามาเป็นบทเรียนเข้าใจง่าย 3. เนื้อหาก่อให้เกิดแรงจูงใจในการเรียน 4. นักเรียนสามารถเรียนและทาความเข้าใจในเนื้อหาได้ด้วยตนเอง 5. ความรู้ที่ได้รับนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ด้านกระบวนการเรียนรู้ 6. บทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน ทาให้นกั เรียนมีความเข้าใจ เนื้อหามากขึ้นกว่าเดิม 7. นักเรียนมีความพึงพอใจกับบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน เพราะช่วยให้เข้าใจ เนื้อหาได้ง่ายและชัดเจน 8. ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาจากบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายใน ชีวิตประจาวัน สะดวกและรวดเร็ว 9. บทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน ทาให้การเรียนเหนื่อยน้อยกว่า การเรียนจากสื่อประเภทอื่น ๆ 10 บทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน ทาให้ผู้เรียนเอาใจใส่ต่อการ เรียนมากขึ้น ด้านสื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ 11. ผู้เรียนสามารถเข้าสู่เนื้อหาได้ง่าย 12. รูปภาพ ที่ใช้ประกอบในบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวันมี ความสอดคล้องกับเนื้อหา 13. ขนาดและสีของตัวอักษร ที่ใช้ในบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายใน ชีวิตประจาวันอ่านง่ายสบายตา 14. ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว ในบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน ทาให้นักเรียนสนุกและเกิดความสนใจบทเรียน 15. นักเรียนสามารถใช้งานบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวันได้เป็น อย่างดี ด้านวัดผลประเมินผล 16. นักเรียนชอบรูปเล่มความสวยงามของบทเรียนสาเร็จรูป 17. นักเรียนชอบเมื่อทาแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียนแล้วได้รู้ผลคะแนนทันที 18. แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียนมีจานวนข้อที่เหมาะสม 19. ข้อสอบระหว่างเรียนในแต่ละหน่วยมีความเหมาะสม 20. สะดวกในการบันทึกผลการเรียนรู้
รวมเฉลีย่
251
ระดับความคิดเห็น S.D. ระดับความ พึงพอใจ
4.52 4.06 3.94 3.97 4.52
0.51 0.63 0.73 0.71 0.57
มากที่สุด มาก มาก มาก มากที่สุด
4.10
0.94
มาก
4.42
0.56
มาก
4.45
0.57
มาก
4.23
0.88
มาก
4.45
0.57
มาก
4.13 4.42
0.92 0.50
มาก มาก
4.00
0.68
มาก
4.16
0.69
มาก
4.26
0.77
มาก
4.48 4.45
0.51 0.57
มาก มาก
4.42 4.15 4.26 4.27
0.62 0.76 0.93 0.68
มาก มาก มาก มาก
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
จากตาราง 4 ผลการวั ดความพึ งพอใจของนั ก เรี ย นที่ มี ต่ อ การเรี ย นด้ วยบทเรี ยนส าเร็ จรู ป เรื่ อ ง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบซิปปา ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานรวมเฉลีย่ เป็น 0.68 และคะแนนการทาแบบวัดความพึงพอใจมีคะแนน รวมเฉลี่ยเท่ากับ 4.27 หมายความว่า นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก วิจารณ์ผลการวิจัย 1. การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่ม สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบซิปปา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ผู้รายงาน ค้นคว้าพัฒนาขึ้นมีคะแนนเฉลี่ยจากการประเมินความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทั้ ง 3 ท่าน เท่ากับ 4.80 ซึ่ง หมายความว่าแผนการจัดการเรียนรู้มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ทั้งนี้จากการทาแบบฝึก ทั้ง 4 เล่มนั้น พบว่า นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 33.258 จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 83.145 ผลการประเมิน บทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้การจัดการ เรียนรู้แบบซิปปา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ประสิทธิภาพของบทเรียนสาเร็จรูปเท่ากับ 83.145/82.984 ซึ่งสูง กว่าเกณฑ์ที่กาหนด คือ 80/80 แสดงว่าบทเรียนสาเร็จรูปมีประสิทธิภาพใช้ได้ผลตามจุดมุ่งหมาย ซึ่งสอดคล้องกับ วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2545 : 131) ที่กล่าวถึงลักษณะของบทเรียนสาเร็จรูปที่ดีควรเหมาะสมกับระดับวัยหรือ ความสามารถของนักเรียน ใช้สานวนภาษาที่เข้าใจง่าย ปลุกความสนใจ หรือเร้าใจผู้เรียน และสามารถศึกษาด้วย ตนเองได้ 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพบว่า ได้คะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน เรียนเฉลี่ย 15.065 คะแนน จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 37.663 และคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบ หลังเรียน 33.194 คะแนน จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 82.984 เมื่อวิเคราะห์ผลโดยใช้ค่า ttest พบว่า ค่า t ที่คานวณได้คือ 64.494 เมื่อนามาเปรียบเทียบกับค่าวิกฤติของ t คือ 1.6973 ค่า t ที่ คานวณได้ มีค่ามากกว่าค่าวิกฤติของ t ในตาราง แสดงว่า ผลสัมฤทธิ์การเรียนที่ได้จากการเรียนโดยใช้บทเรียน สาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบซิปปา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ .05 นั่นหมายความว่าหลังใช้บทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบซิปปา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสูงกว่าก่อนการใช้บทเรียนสาเร็จรูปอย่างมีนั ยสาคัญทางสถิติที่ .05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานการค้นคว้า ที่ตั้งไว้ และผลการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้สอดคล้องกับงานวิจัยของ ปราณี มูเก็ม (2557 : บทคัดย่อ) ศึกษา รายงาน การพัฒนาชุดการสอน เรื่องอาเซียนประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบซิปปา กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า 1) ประสิทธิภาพของชุดการสอนเรื่องอาเซียน กลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านคลองขุด มีประสิทธิภาพ เท่ากับ 89.55 / 87.68 สูงกว่าเกณฑ์ 80/80 2)ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องอาเซียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านคลองขุด หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ .01
252
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
3. ค่าดัชนีประสิทธิผลของบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบซิปปา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4เท่ากับ 0.7270 ซึ่งแสดงว่า นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบซิปปา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ทาให้นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 72.70 ซึ่งสอดคล้องกับรายงานการวิจัยของรมณีย์ บุตรจันทรา (2559 : บทคัดย่อ) การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ CIPPA เรื่อง เศรษฐศาสตร์ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 มีค่าเท่ากับ 0.7276 หรือเมื่อนักเรียนได้เรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ CIPPA เรื่อง เศรษฐศาสตร์ กลุ่มสาระสังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 72.76 4. ผลการวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายใน ชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระสั งคมศึ กษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยใช้การจัดการเรียนรู้ แบบซิ ปปา นักเรี ยนชั้ น มัธยมศึกษาปีที่ 4 มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานรวมเฉลีย่ เป็น 0.68 และคะแนนการทาแบบวัดความพึงพอใจมีคะแนน รวมเฉลี่ยเท่ากับ 4.27 หมายความว่า นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ซึ่งสอดคล้องกับรมณีย์ บุตรจันทรา (2559 : บทคัดย่อ) การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ CIPPA เรื่อง เศรษฐศาสตร์ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 พบว่า นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 มีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ด้วย รูปแบบ CIPPA เรื่อง เศรษฐศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โดยรวม มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.53 อยู่ในระดับมากที่สุด และสอดคล้องกับรายงานการวิจัยของปราณี มูเก็ม (2557 : บทคัดย่อ) ผลการ ประเมินความพึงพอใจต่อการเรียนรู้โดยใช้ชุดการสอนเรื่องอาเซียนประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบซิปปา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยภาพรวมมีความพึงพอใจใน ระดับมากที่สุด คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.88 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.85 ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ 1. การจัดการเรียนรู้โดยนารูปแบบการวิจัยเชิงทดลองไปใช้ ครูผู้สอนควรศึกษารูปแบบขั้นตอน กระบวนการวิจัยให้ละเอียดและเข้าใจ 2. ก่อนการจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอน ผู้ร่วมศึกษาค้นคว้า นักเรียน จะต้องเตรียมความพร้อมโดย ครูผู้สอนจะต้องชี้แจงบทบาทหน้าที่ของแต่ละฝ่ายให้เข้าใจว่าใครมีหน้าที่อะไรเพื่อให้การดาเนินการเป็นไปด้วยดี และสอดคล้องกัน ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไป 1. ควรมีการศึกษาการใช้บทเรียนสาเร็จรูปเพื่อพัฒนาพฤติกรรมด้านอื่น ๆ สาหรับนักเรียนที่มีปัญหา ทางการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างเต็มศักยภาพ 2. ควรนารูปแบบการวิจัยเชิงทดลองไปใช้ในการวิจัยเนื้อหา และกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และใน ระดับชั้นอื่นต่อไป
253
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
กิตติกรรมประกาศ รายงานการพัฒนาบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง กฎหมายในชีวิตประจาวัน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบซิปปา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเมืองลีงวิทยา สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ที่สาเร็จเรียบร้อยสมบูรณ์นั้น ได้รับความร่วมมือจากบุคลากรหลายฝ่าย ผู้ ศึกษาขอขอบพระคุณคณะผู้เชี่ยวชาญทุกท่าน ซึ่งประกอบด้วย นายสุชาติ ขอร่ม ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียน บ้านจักจรูก สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึ กษาสุรินทร์ เขต 1 ดร.สมัชชา เจียรณัย ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านบิง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 2 นางสุพัตรา ใจกล้า ครูชานาญการ พิเศษโรงเรียนบ้านหนองเหล็กประชาพัฒน์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ที่ท่านได้ กรุณาตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ตลอดจนเสนอแนะ ปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้เอกสารมีความเรียบร้อย สมบูรณ์ ขอขอบพระคุณ ดร. ชาตรี เกษโพนทอง ดร. พนา จินดาศรี ที่ให้คาปรึกษา ตลอดจนดูแลให้การศึกษา ครั้งนี้ประสพความสาเร็จด้วยดี ขอขอบพระคุณผู้อานวยการโรงเรียน และคณะครูโรงเรียนเมืองลีงวิทยา ที่ได้ให้ความช่วยเหลือ ดูแลใน การศึกษาด้วยดีตลอดมา และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้เป็นกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าเป็น อย่างดี เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. ทิศนา แขมมณี. (2542). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. ______. (2551). รูปแบบการเรียนการสอน : ทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปราณี มูลเก็ม. (2557). การพัฒนาชุดการสอนเรื่องอาเซียนประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบซิปปา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. สตูล : โรงเรียนบ้าน คลองขุด รมณีย์ บุตรจันทรา. (2559). การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ CIPPA เรื่อง เศรษฐศาสตร์ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. ศรีสะเกษ : โรงเรียนบ้านสิริขุนหาญ วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2551). นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้. มหาสารคาม : ภาควิชาหลักและการสอน คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม . (2553). นวัตกรรมตามแนวคิดแบบ Backward Design.มหาสารคาม : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
254
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018 EDUP-07
กระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ชยานันต์ สงวนศรี1 อิทธิวัตร ศรีสมบัติ2 และ วิลาส โพธิสาร3 1
นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ อาจารย์ทปี่ รึกษาวิทยานิพนธ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 3 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 2
บทคัดย่อ การศึกษาในครั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียน สาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์กระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนท่าสว่างวิทยา ตาบลท่าสว่าง อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จานวน 28 คน จานวน 28 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย บทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จานวน 3 ชุด แผนการจัดการเรียนรู้จานวน 3 แผน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 40 ข้อ และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป เรื่ อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นมาตราส่วนประมาณ 5 ระดับ จานวน 15 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบ สมมุติฐานโดยใช้ค่าที (t-test) ผลการศึกษาพบว่า 1. กระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับ การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ประสบความสาเร็จ คือ การเรียนรู้ด้วยบทเรียนสาเร็จรูป เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนมีความส นใจ และ กระบวนการการทางานกลุ่มที่มุ่งให้ผู้เรียนเรียนรู้เนื้อหาสาระต่างๆ ด้วยตนเองด้วยความร่วมมือและความช่วยเหลือ กันภายในกลุ่มนามาซึ่งความสาเร็จ นักเรียนแต่ละกลุ่มจะได้ฝึกฝนทักษะจากบทเรียนสาเร็จรูปโดยศึกษาเนื้อหา การตอบคาถามประจากรอบ การทาแบบทดสอบและนักเรียนสรุปผลงานการทางานของตนเองว่ามีจุดเด่น จุด ด้อย จุดบกพร่องหรือข้อควรปรับปรุง เพื่อหาแนวทางแก้ไขครั้งต่อไป ทาให้นักเรียนเห็นถึงความก้าวหน้าของ ตนเองและกลุ่มอย่างชัดเจนรวดเร็วและเสริมแรงโดยการให้คาชมเชยและกาลังใจกับนักเรียนด้วย
255
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
2. ผลวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์กระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป ร่วมกับการจัดการ เรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD การทดสอบมีคะแนนรวมเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของ การสอบก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนท่าสว่างวิทยา มีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 อยู่ในระดับมาก มีค่าเท่ากับ 4.08 ซึ่งนักเรียนมีระดับความพึงพอใจของผู้เรียนอยู่ในระดับมากขึ้นไป อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คำสำคัญ : บทเรียนสาเร็จรูป การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ บทนา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 มาตรา 22 ได้กล่าวถึงหลักการสาคัญในการจัดการศึกษา ที่เน้นให้ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ทั้งนี้ โดยมีจุดมุ่งหมายสาคัญ คือ การปฏิรูป การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพของคนไทยให้ก้าวสู่สังคมของการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาตนเองได้ในทุกเวลาทุก สถานที่ โดยมีทักษะการเรียนรู้ที่จาเป็นต้องได้รับการฝึกฝน เพื่อเป็นเครื่องมือสาคัญการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอด ชีวิต ได้แก่ ความสามารถในการอ่าน การคิด การวิเคราะห์ การเขียน และการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ขณะเดียวกันกระบวนการเรียนรู้ที่จัด จาเป็นต้องสอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดและความแตกต่างของผู้เรียน ให้ผู้เรียนเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ คิดเป็ น ทาเป็น รักการอ่าน และเกิดการเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่อง ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกัน จากสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายโดยมีพ่อแม่ ผู้ปกครอง และชุมชนร่วมกันจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ อุดมการณ์สาคัญของการจัดการศึกษาแห่งชาติ คือ การจัด ให้ มีการศึกษาตลอดชีวิต และการสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ให้การจัดการศึกษาเป็นการสร้าง คุณภาพชีวิตสร้างสังคมบูรณาการอย่างสมดุลระหว่างปัญญาธรรม คุณธรรมและวัฒนธรรม เป็นการศึกษาตลอด ชีวิตเพื่อคนไทยทั้งปวง มุ่งสร้างพื้นฐานที่ดีตั้งแต่วัยเด็ก ปลู กฝังความเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม พัฒนาความรู้ ความสามารถเพื่อการทางานที่มีคุณภาพ (สานักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. 2549 : 5-6) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็น กาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็น พลเมืองโลก ยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จาเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งนักเรียนเป็นสาคัญ บนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ และจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษา ต่อและประกอบอาชีพ และเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง ปฏิบัติตาม หลักธรรมของศาสนา มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์ มีความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน รักการ อ่าน รั กการเขียนและรักการค้นคว้ า มีความรู้อั นเป็นสากล รู้เท่าทันการเปลี่ ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้าทาง วิทยาการ มีทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในการดารงชีวิต รักการออกกาลังกาย ดูแลตนเองให้มี
256
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
สุขภาพและบุคลิกภาพที่ดี มีค่านิยมเป็นผู้ผลิตมากกว่าเป็นผู้บริโภค ภูมิใจในความเป็นไทย และยึดมั่นในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ภาษาศิลปวัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีความรักประเทศชาติและท้องถิ่น มุ่งทา ประโยชน์และสิ่งที่ดีงามให้สังคม (สานักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. 2549 : 1-2) สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้หนึ่งที่หลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กาหนดให้สถานศึกษาให้เป็นหลักเพื่อสร้างพื้นฐานการคิด การเรียนรู้ และการแก้ปัญหา (กระทรวงศึกษาธิการ. 2545 : 8) โดยมุ่งให้เยาวชนนาความรู้จากอดีตมาสร้างความเข้าใจในมรดกทางวัฒนธรรม ของประเทศ เพื่ อ การตั ด สิ น ใจในการเป็ น พลเมื อ งดี น าความรู้ เ กี่ ย วกั บ โลกของเรามาสร้ า งความเข้ า ใจใน กระบวนการ ก่อให้เกิดสภาพแวดล้อมของมนุษย์ เพื่อการตัดสินใจในการดารงชีวิตในสังคม นาความรู้เรื่องการเมือง การปกครองมาตัดสินใจเกี่ยวกับการปกครอง ชุมชน ท้องถิ่น และประเทศชาติของตน นาความรู้เรื่องการผลิต การแจกจ่าย การบริโภคสินค้า และการบริการมาตัดสินใจในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด เพื่อการดารงชีวิต เพื่อการประกอบอาชีพ และการอยู่ในสังคม นาความรู้เกี่ยวกับคุณค่าของจริยธรรม ศาสนา มาตั ดสินใจในการ ประพฤติปฏิบัติตนและการอยู่ร่วมกับผู้อื่น นาวิธีการทางสังคมศาสตร์มาค้นหาคาตอบเกี่ยวกับประเด็นปัญหาใน สังคม และกาหนดแนวทางประพฤติปฏิบัติที่สร้างสรรค์ต่อส่วนรวม (กรมวิชาการ. 2547 : 7) นอกจากนี้ กลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ยั งเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ต้องเรียนตลอด 12 ปีการศึกษา ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (กรมวิชาการ. 2545 : 3) ทั้งนี้ สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม เป็ นกลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่ป ระกอบมาจากหลายแขนงวิ ชา จึงมีลักษณะเป็นสหวิทยาการ โดยน า วิ ท ยาการจากแขนงวิ ชาต่ างๆ ในสาขาสั งคมศาสตร์ มาหลอมรวมเข้ าด้ วยกั น ได้ แก่ ภู มิ ศาสตร์ ประวั ติ ศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ จริยธรรม ประชากรศึกษา สิ่งแวดล้อมศึกษา รัฐศาสตร์ สังคมวิทยา ปรัชญาและศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จึงเป็นกลุ่ มสาระการเรียนรู้ที่ออกแบบมาเพื่อส่งเสริม ศักยภาพเป็นพลเมืองดีให้แก่ผู้เรียน โดยมีเป้าหมายของการพัฒนาความเป็นพลเมืองดี ซึ่งถือเป็นความรับผิดชอบ ของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2545 : 3) ซึ่งสาระเศรษฐศาสตร์ เป็นสาระที่ 3 ในกลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ประกอบด้วยมาตรฐาน 2 ข้อ คือ มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและ สามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ และคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่า งมีดุลยภาพ และมาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ของระบบเศรษฐกิจและความจาเป็นของการร่วมมือกัน ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก (หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 2551 : 10) และมีหัวข้อหลักประกอบด้วย เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น ระบบเศรษฐกิจ การบริหารจัดการทรัพยากร ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การเงิน การคลัง การธนาคาร ปัญหาการพัฒนาและการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ มุ่งให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้และประสบการณ์ที่ เกี่ยวข้องกับการผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในระดับปร ะเทศ และระดับโลก ตลอดจนบทบาทของเทคโนโลยีซึ่งมีต่อการตัดสินใจทางเศรษฐกิจ มีความสามารถที่จะฉลาดเลือก ประเมิน คิดพิจารณา ผลที่เกิดจากทางเลือกและตัดสินใจอย่างมีวิจารณญาณ (กรมวิชาการ. 2545 : 17) ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาในการดารงชีวิตที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวทรงมีพระราช ดารัส ชี้แนะแก่พสกนิกรชาวไทย มาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี ด้วยสายพระเนตรที่ยาวไกลและลึกซึ้งยิ่งกว่า นักพัฒนาหรือนักวิชาการใดๆ จะมีสติปัญญาเสมอเหมือนได้ดังพระบรมราโชวาท และพระราชดารัสที่ทรงเน้นย้า แนวทางการแก้ปัญหาต่างๆ เพื่อให้รอดพ้นวิกฤตและแนวทางการพัฒนาให้ก้าวหน้าไปอย่างเป็นขั้นตอนบนหลักคิด
257
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
พึ่งตนเอง มีคุณธรรมกากับความรู้ เพื่อให้คนส่วนใหญ่ พออยู่ พอกิน พอมี พอใช้ และทาให้สังคม เจริญก้าวหน้าไปอย่างสมดุล ภายใต้กระแส โลกาภิวัตน์ที่มากับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ หลังจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ 2540 ประเทศไทยได้รับบทเรียนที่มีผลมาจากการพัฒนาที่ไม่สมดุลและ ขาดเสถียรภาพ ขาดความใส่ใจในการพัฒนาคนในทุกระดับอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จนสภาวะวิกฤตส่งผลกระทบ ต่อความเป็นอยู่ของประชาชนในวงกว้าง และจากบทเรียนในครั้งนั้ น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 จึงได้กาหนดให้รัฐบาลต้องบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจและ ความมั่นคงของประเทศอย่างยั่งยืน โดยต้องส่งเสริมการดาเนินงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงและคานึงถึง ผลประโยชน์ของประเทศชาติในภาพรวมเป็นสาคัญ (มาตรา 78 วรรค 1) รวมถึงรัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มี การดาเนินการตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (มาตรา 83) (จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยาและปิยานุช พิบูลสราวุธ, 2552 : 5-6) ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุก ระดับให้ดาเนินไปในทางสายกลาง เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ซึ่งปัจจุบันหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและ เอกชนได้น้อมนาหลักคิดของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็ นแนวทางแก้ไขปัญหาและปรากฏความสาเร็จเป็นรูปธรรม มากขึ้น บทเรียนสาเร็จรูป เป็นสื่อการเรียนการสอนอย่างหนึ่งที่มาช่วยแก้ปัญหาการจัดการเรียนการสอน องค์ ความรู้ที่เกิดจากการปฏิบัติจริงสามารถนามาพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนได้ (จตุพจน์ มะลิงาม. 2548) บทเรียน สาเร็จรูปเป็นเทคโนโลยีทางการศึกษามุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสามารถของแต่ละบุคคล เพราะมี การกาหนดเนื้อหาออกเป็นหลายๆ กรอบเรียงลาดับจากง่ายไปหายาก ในแต่ละกรอบมีคาถามและมีคาตอบใน กรอบถัดไปทาให้ผู้เรียนสามารถศึกษาค้นคว้าและประเมินผลการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง เป็นสื่อที่สามารถตอบสนอง ความแตกต่างระหว่างบุคคล ทาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามศักยภาพของตนเองและยังสอดคล้องกับการจัดการเรียนการ สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญตามพระราชบัญญัติ พ.ศ.2542 (รุณณี รุ่งระวีวิลาศ. 2548) การจัดการเรียนการสอน ด้ว ยบทเรี ยนส าเร็ จรู ปเป็ น เทคนิ ควิ ธี ที่เ หมาะสมสาหรับ การจัด การเรี ย นการสอนให้ผู้ เ รีย นได้ เรี ย นรู้ อย่ า ง มี กระบวนการ สามารถคิดสืบเสาะหาความรู้แก้ปัญหาและสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง (ชัชวาล เจริญบุญ. 2548) การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปจึงเป็นสื่อการสอนที่มีประสิทธิภาพและสามารถนาไปใช้ใน การพัฒนาผู้เรียนได้เป็นอย่างดี แต่ควรคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นสาคัญ (จิราพันธ์ คงเพชร. 2548) กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือเป็นการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้ร่วมมือ และช่วยเหลือกันในการ เรียนรู้ (สุวิทย์ มูลคา และอรทัย มูลคา. 2544 : 134) การเรียนรู้แบบร่วมมือมีวิธีการที่หลากหลายสามารถปรับใช้ให้ เหมาะสมกับเนื้อหาสาระที่ไห้เด็กได้เรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือเป็นการเตรียมนักเรียนให้สามารถ ดารงชีวิตอยู่ในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความสุข (จันทรา ตันติพงศานุรักษ์. 2543 : 37) สอดคล้องกับการศึกษาของสมบัติ กาญจนารักษ์พงษ์ (2544 : 8) กิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือสามารถส่งเสริมให้ ผู้เรียนได้ฝึกกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างความรู้ด้วยกันเป็นกลุ่มตามสาระการเรียนรู้และวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย จนประสบผลสาเร็ จตามจุดประสงค์ในการเรียน และสอดคล้องกับผลการศึกษาของสุพัตรา ศิริรักษ์ (2540 : บทคัดย่อ) ผู้วิจัยได้ศึกษาหลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน จึงสนใจรูปแบบการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนโดยใช้แบบกระบวนการกลุ่ม (Group Process) เพราะสอดคล้องกับสภาพปั ญหาปัจจุบัน เนื่องจากรูปแบบการสอนกระบวนการกลุ่ม เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้รับความรู้จากการลงมือร่วมกัน
258
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ปฏิบัติเป็นกลุ่ม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะการทางานร่วมกัน และทักษะทางสังคม ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ค้นพบ ความรู้และสร้างสรรค์ความรู้ด้วยตนเอง (สุวิทย์ มูลคา และอรทัย มูลคา. 2550 : 124–127) เป็นการจัด ประสบการณ์ที่มุ่งให้ผู้เรียนเกิดความรู้โดยการคิดค้น สร้างสรรค์และสรุปองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง สามารถทางาน ร่วมกับผู้อื่น รวมทั้งประยุกต์ นาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ให้สูงขึ้น นอกจากนี้ยังพัฒนาครูให้รู้จักแสวงหาความรู้และพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนตลอดเวลา จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยในฐานะครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ได้เห็น ความสาคัญของวิธีการจัดกิจกรรมและสื่อการเรี ยนการสอนที่มีผลต่อการเรียนของนักเรียน จึงได้ดาเนินการวิจัย กระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD มาใช้ในการเรียนการสอน เพื่อเป็นแนวทางในการพั ฒนาการ จัดกิจกรรรมการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข มีความรู้ มีประสบการณ์ สามารถนาความรู้และ ประสบการณ์ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวันได้ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษากระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบ ร่วมมือเทคนิค STAD 2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์กระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการ เรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ขอบเขตการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้กาหนดขอบเขตการศึกษาไว้ ดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มโรงเรียนในสหวิทยา เขต 2 สิรินธร สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จานวน 6 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียน โชคเพชรพิทยา โรงเรียนสุรินทร์ภักดี โรงเรียนพญารามวิทยา โรงเรียนมหิธรวิทยา โรงเรียนตั้งใจวิทยาคม และ โรงเรียนท่าสว่างวิทยา ซึ่งมีจานวนนักเรียน 206 คน (ข้อมูล DMC ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2561. กลุ่ม นโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33) ซึ่งเป็นโรงเรียนขนาดเล็กที่มีบริบทเดียวกัน จานวนนักเรียนต่างกันไม่มาก และจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 1.2 กลุ่ มตั วอย่ าง คื อ นั กเรี ยนชั้น มั ธยมศึ กษาปีที่ 2 ในภาคเรีย นที่ 2 ปี การศึก ษา 2560 โรงเรียนท่าสว่างวิทยา ตาบลท่าสว่าง อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุ รินทร์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 33 จานวน 28 คน
259
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
2. ขอบเขตด้านระยะเวลา การทดลองครั้งนี้ ใช้เวลาในการทดลอง 3 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง ในเดือนพฤศจิกายน 2560 ถึงเดือนธันวาคม 2560 รวมเวลาในการทดลองทั้งสิ้น 6 ชั่วโมง 3. ขอบเขตด้านเนื้อหา เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นเนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา 3 เรื่อง ดังนี้ 3.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง 3.2 เศรษฐกิจพอเพียงกับการดารงชีวิต 3.3 การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการดาเนินชีวิต วิธีดาเนินการวิจัย การศึกษาการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) แบบ One Group Pretest Posttest Design กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนท่าสว่างวิทยา ตาบลท่าสว่าง อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จานวน 28 คน ซึ่ง ผู้วิจัยสุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยการคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) สาเหตุที่เลือกโรงเรียนท่าสว่างวิทยา เป็นกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย เพราะเป็นโรงเรียนที่มีขนาดเล็ก กิจกรรมการเรียนการสอนยังไม่หลากหลาย อีกทั้ง เป็นโรงเรียนที่ผู้วิจัยสะดวกในการเก็บข้อมูลการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย กระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการ เรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ในครั้งนี้ประกอบด้วย 1. แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD จานวน 3 แผน ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงกับการดารงชีวิต แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการดาเนินชีวิต 2. ชุดบทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จานวน 3 ชุดบทเรียน ประกอบด้วย 2.1 ชุดที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง 2.2 ชุดที่ 2 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงกับการดารงชีวิต 2.3 ชุดที่ 3 เรื่อง การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการดาเนินชีวิต 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (ก่อนเรียน–หลังเรียน) เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เป็นแบบทดสอบ แบบ
260
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ปรนั ย ชนิ ด 4 ตั ว เลื อ ก เป็ น แบบทดสอบที่ วั ด ความรู้ ความจ า ความเข้ าใจ การน าไปใช้ การวิ เคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินค่า มีทั้งสิ้นจานวน 40 ข้อ โดยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและ หลังเรียนนั้น โจทย์เหมือนกันแต่สลับตัวเลือก 4. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกระบวนการจัดการเรีย นรู้ เรื่อง ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียน สาเร็จรูป ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD จานวน 20 ข้อ เป็นมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ ระดับ 5 หมายถึง นักเรียนมีพึงพอใจในระดับมากที่สุด ระดับ 4 หมายถึง นักเรียนมีพึงพอใจในระดับมาก ระดับ 3 หมายถึง นักเรียนมีพึงพอใจในระดับปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง นักเรียนมีพึงพอใจในระดับน้อย ระดับ 1 หมายถึง นักเรียนมีพึงพอใจในระดับน้อยที่สุด การเก็บรวบรวมข้อมูล ในการวิจั ยการพัฒ นาบทเรีย นสาเร็จ รูป ร่ว มกับ การจัดการเรี ยนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อ ง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนท่าสว่างวิทยา อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามวิธีการและขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ก่อนการทดลองใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นักเรียนทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน (pre-test) จานวน 1 ฉบับ ประกอบด้วย แบบทดสอบชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ 30 คะแนน 2. ดาเนินการทดลอง โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรีย นรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ทั้งหมด กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง 3. นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน (post – test) ไปทดสอบกับนักเรียนกลุ่ม ตัวอย่าง หลังการทดลองใช้บทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จานวน 1 ฉบับ โดยใช้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชุดเดียวกันกับ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน (pre - test) แต่สลับข้อและตัวเลือก จานวน 40 ข้อ คะแนนเต็ม 40 คะแนน การสลับข้อและตัวเลือก เพื่อป้องกันการจาข้อสอบได้ของนักเรียน 4. นาแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างประเมินเพื่อหาค่าความ พึงพอใจที่มีต่อการใช้ โดยใช้แบบสอบถาม ความพึงพอใจที่สร้างขึ้น จานวน 15 ข้อ ภายหลังสิ้นสุดการเรียนครบทั้ง 3 ชุด 5. ผู้ศึกษาได้วางแผนการดาเนินการเก็บข้อมูลและดาเนินการทดสอบของนักเรียนระหว่าง วันที่ 6 เดือนพฤศจิกายน 2560 ถึงวันที่ 6 เดือนธันวาคม 2560 การวิเคราะห์ข้อมูล 1. วิเคราะห์กระบวนการจัดการเรียนรู้และประสิทธิภาพของชุดการเรียน 2. วิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า ร้อยละของคะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและคะแนนสอบหลังเรียน
261
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
3. วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดกิจกรรมการ เรีย นรู้ เรื่ อง ปรั ชญาของเศรษฐกิจ พอเพีย ง กลุ่ม สาระการเรียนรู้สั งคมศึ กษา ศาสนาและวัฒ นธรรม ชั้ น มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนท่าสว่างวิทยา ผลการวิจัย ผลการวิเคราะห์ ข้ อมู ลผลการวิเคราะห์ กระบวนการจั ดการเรี ยนรู้ และประสิ ทธิ ภาพของบทเรี ยน สาเร็จรูป จากการจัดกระบวนการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค STAD นับว่าเป็นการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยใช้กระบวนการกลุ่มให้ผู้เรียนได้มีโอกาส ทางานร่วมกันเพื่อผลประโยชน์และเกิดความสาเร็จร่วมกันของกลุ่ม ซึ่งการเรียนแบบร่วมมือมิใช่เป็นเพียงจัดให้ผู้เรียน ทางานเป็นกลุ่ม เช่น ทารายงาน ทากิจกรรมประดิษฐ์หรือสร้างชิ้นงาน อภิปราย ตลอดจนปฏิบัติการทดลองแล้ว ผู้สอนทาหน้าที่สรุปความรู้ด้วยตนเองเท่านั้น แต่ผู้สอนจะต้องพยายามใช้กลยุทธ์วิธีให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการประมวล สิ่งที่มาจากการทากิจกรรมต่างๆ จัดระบบความรู้สรุปเป็นองค์ความรู้ด้วยตนเองเป็นหลักการสาคัญ ดังนั้น การจัดการ เรียนรู้แบบร่วมมือผู้สอนได้เลือกเทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบเทคนิค STAD ซึ่งเป็นเทคนิคการจัดการเรียนที่ เหมาะสมกับผู้เรียน โดยผู้เรียนจะต้องมีความพร้อมที่จะร่วมกันทากิจกรรม รับผิดชอบงานของกลุ่มร่วมกัน โดยที่กลุ่ม จะประสบความสาเร็จได้ เมื่อสมาชิกทุกคนได้เรียนรู้บรรลุตามจุดมุ่งหมายเดียวกัน นั่นคือ การเรียนเป็นกลุ่มหรือเป็น ทีมอย่างมีประสิทธิภาพนั่นเอง กระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบ ร่วมมือเทคนิค STAD ได้จัดการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน ซึ่งสามารถวิเคราะห์ผลได้ ดังนี้ 1. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ในขั้นนี้ผู้ศึกษามุ่งให้นักเรียนรู้ว่ากาลังเรียนเรื่องอะไร โดยใช้วิธีการตอบคาถาม จากรูปภาพ คือ ผู้ศึกษาจะชูรูปภาพ แล้วให้นักเรียนตอบคาถามว่าภาพนั้นคือภาพอะไร โดยให้นักเรียนทั้งห้องระดม ความคิดช่วยกันตอบคาถาม 5 คาถาม เมื่อนักเรียนตอบคาถามถูกว่าเป็นภาพอะไร ครูก็มีการอธิบายภาพเหล่านั้น เพิ่มเติม ในการตอบคาถามนักเรียนมีการแย้งกันตอบคาถามกันโดยไม่คิดไตร่ตรองก่อน ซึ่งพอคาตอบของครูเป็นคาว่า ไม่ถูกต้อง จนไปถึงคาถามที่ 3,4 และ 5 นักเรียนก็จะระวังในการตอบมากขึ้น จะเห็นภาพนักเรี ยนบางคนก็ตอบไม่ทัน และนักเรียนบางคนอยากตอบแต่ไม่กล้าตอบเพราะกลัวเพื่อนตาหนิ เมื่อให้นักเรียนตอบคาถามจากรูปภาพซ้าอีกรอบ ผู้ ศึกษาสังเกตพฤติกรรมในแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2,3,4 และ 5 ก็มีลักษณะคล้ายกันกับแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แต่ จะมีความแตกต่างในเรื่องของคาถาม และในขั้นนาสู่บทเรียนเป็นขั้นที่ดึงดูดความสนใจของนักเรียนมาอยู่ที่การสอนของ ครู และเป็นการเตรียมนักเรียนให้มีสมาธิในการฟังเรื่องที่ครูจะสอน เป็นการทาให้นักเรียนเข้าใจความหมายของ บทเรียนชัดเจนยิ่งขึ้น นักเรียนรู้ว่าต่อไปจะเรียนเรื่องอะไร และสามารถนาเอาความรู้และเทคนิคที่นักเรียนมีอยู่เดิมมา สัมพันธ์กับบทเรียนที่ครูจะสอนต่อไป 2. ขั้นสอน ในขั้นนี้ผู้ศึกษามุ่งให้นักเรียนเกิดความใส่ใจในเนื้อหาที่จะเรียน และเพื่อทบทวนความรู้เดิม ว่านักเรียนมีพื้นฐานในเรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมากน้อยเพียงใด ผู้วิจัยจึงได้ใช้คาถามเป็นหลักประกอบกับ สื่อการเรียนรู้ที่ใช้ คือ รูปภาพเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงในขั้นตอนต่างๆ และเมื่อทดลองใช้ตามแผนที่ 1 ผู้วิจัยใช้ คาถามดังนี้ คือ เศรษฐกิจพอเพียงมีความสาคัญอย่างไร เป็นต้น จากนั้นครูขออาสาสมัครผู้กล้าในชั้นเรียนออกมาตอบ คาถามที่ ครู ได้ถาม แล้วถามเพื่ อนๆ ว่ ามี ใครมี ค าตอบนอกเหนื อจากที่ เพื่อนออกมาตอบนี้ บ้ าง จากการสังเกต พฤติ กรรมขั้นเข้าสู่ บทเรี ยนพบว่านั กเรี ยนมี ความกระตื อรือร้ นและสนใจและกล้าที่ จะแสดงออกบ่ งบอกถึ งความ
262
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
สนุกสนาน โดยมีการชูมือขอตอบคาถาม สาหรับในแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 และ 3 ก็มีลักษณะคล้ายกันกับ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แต่จะแตกต่างในเรื่องของประเด็นคาถาม จากการสังเกตพฤติกรรมการใช้สื่อและประเด็น คาถามนักเรียนมีความสนใจและตั้งใจฟังมากขึ้น 3. ขั้นทากิจกรรมกลุ่ม ในขั้นนี้แบ่งนักเรียนออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 7 คน โดยจัดผู้เรียนเข้ากลุ่ม คละความสามารถ โดยแยกเป็น เก่ง ปานกลาง และอ่อน อยู่ด้วยกัน ผู้เรียนร่วมมือกันทางานตามบทบาทหน้าที่ที่ ได้รับ โดยสมาชิกคนที่ 1 : อ่านคาสั่งหรือขั้นตอนในการดาเนินงาน สมาชิกคนที่ 2 ฟังขั้นตอนและจดบันทึก สมาชิก คนที่ 3 : อ่านคาถามประกรอบแต่ละกรอบ และหาคาตอบ สมาชิกคนที่ 4 : ตรวจคาตอบ เพื่อจะช่วยและร่วมมือกัน เรียนรู้ เพราะผลงานของกลุ่มได้เท่าไหร่สมาชิกทุกคนจะได้คะแนนนั้นเท่ากันทุกคน เมื่อได้สมาชิกแล้วให้ตั้งชื่อกลุ่ม เลือกประธาน เลขานุการกลุ่ม จากนั้นหัวหน้ากลุ่มรับบทเรียนสาเร็จรูปเรื่องที่ 1 จะใช้กับแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องที่ 2 จะใช้กับแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องที่ 2 จะใช้กับแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องที่ 3 จะใช้กับ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แต่ละกลุ่มศึกษาเนื้อหาจากบทเรียนสาเร็จรูป ในขณะที่นักเรียนศึกษาเนื้อหาทุกคนร่วม รับผิดชอบ ร่วมคิด ร่วมแสดงความคิดเห็น การจัดกิจกรรในขั้นนี้ ผู้ศึกษาใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือที่ น่าสนใจและเหมาะสมกับผู้เรียน เช่น การเล่าเรื่องรอบวง มุมสนทนา คู่ตรวจสอบ คู่คิด ฯลฯ ผู้วิจัยสังเกตการ ทางานของกลุ่ม คอยเป็นผู้อานวยความสะดวก ให้ความกระจ่างในกรณีที่ผู้เรียนสงสัยต้องการความช่วยเหลือ เมื่อ ทางานที่ได้รับมอบหมายเรียบร้อยแล้ว สมาชิกนาผลงานมารวมกันเป็นงานกลุ่ม อาจมีการอ่านทบทวนและปรับแต่ง ภาษาให้ผลงานกลุ่มที่ทาร่วมกันมีความสละสลวยต่อเนื่อง เตรียมผู้ที่จะนาเสนอผลงานกลุ่ม ผลงานกลุ่มเสนอต่อหน้า ชั้นเรียน ทุกกลุ่มช่วยกันประเมินผลโดยประเมินทั้งกระบวนการทางานกลุ่มและผลงานกลุ่ม การตอบแบบสอบถาม แสดงให้เห็นว่าถึงแม้ว่านักเรียนทุกกลุ่มจะชอบได้รับคะแนนพิเศษ ห้องเรียนที่มีคะแนนที่เกิดจากความร่วมมือของกลุ่ม จะไม่ชอบทางานในการเรียนรู้เป็นกลุ่ม นักเรียนส่วนใหญ่ในห้องเรียนไม่ชอบการจับกลุ่มให้หรือการมีสมาชิกที่ถาวร นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน บางคนมีความรู้สึกต่อระบบการให้รางวัลว่า รางวัลควรจะเป็นพื้นฐานในการพัฒนา เป็นรายบุคคล นักเรียนให้เรียนเดียวกันแสดงความเห็นว่า ระบบการให้รางวัลเป็นกลุ่มจะกระตุ้นให้สมาชิกในกลุ่มมี ความพยายามส่งเสริมให้พวกเขาช่วยเหลือซึ่งกันและกัน นักเรียนในห้องที่มีการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือที่ได้รับรางวัล เป็นรายบุคคลส่วนใหญ่แสดงความรู้ที่ดีเกี่ยวกับกลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือ เรียนกลุ่มนี้หลายคนบอกว่าสามารถเรียนรู้ เนื้อหาได้ดี ก็เพราะกลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือ เมื่อถามนักเรียนว่าจะเปลี่ยนแปลงอะไรเกี่ยวกับโครงสร้างการเรียนรู้ แบบร่ วมมือ นั กเรียนในห้องมากว่ า 1/3 คน ซึ่ งได้รั บการให้รางวั ลเป็นรายบุ คคล รู้สึ กว่าไม่มีความจาเป็ นต้อง เปลี่ยนแปลง ในขณะที่นักเรียนส่วนน้อยแสดงความต้องกการที่จะเปลี่ยนสมาชิกในกลุ่มบ่อยขึ้น นักเรียนยอมรับว่า กลุ่มการเรียนแบบร่วมมือมีผลดีต่อทักษะการสื่อสารเกี่ยวกับการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ในแผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 2 และ 3 ก็จะมีลักษณะที่คล้ายกันแต่จะแตกต่างที่เนื้อหาของบทเรียนและกิจกรรม จากการสังเกตพฤติกรรม กลุ่มพบว่าการเรียนด้วยวิธีแบบกลุ่มร่วมมือดาเนินไปด้วยดี บรรลุตามเป้าหมาย การใช้กระบวนการกลุ่มแบบนี้จะช่วย ลดภาระการฝึกฝนของครู นักเรียนมีโอกาสฝึกฝนกันเอง ช่วยเหลือกัน ส่งผลให้คนเรียนอ่อนและคนเรียนปานกลาง เรียนดีขนึ้ มีความร่วมมือของกลุ่มดีขึ้นนักเรียนเรียนรู้กันอย่างมีความสุข 4. ขั้นตรวจสอบผลงานและทดสอบ ในขั้นนี้ผู้ศึกษาให้ผู้เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนที่อยู่ท้ายเล่มของ บทเรียนสาเร็จรูป แบบทดสอบท้ายเล่มของบทเรียนสาเร็จรูปจะมีทุกชุด โดยทาแบบรายบุคคล ซึ่งแต่ละคนทาด้ วย ความสามารถของตนเองโดยไม่มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกันหรือปรึกษากัน การจัดกิจกรรมการสอนด้วยวิธีการจัดการ เรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ในแต่ละบทเรียนนั้น นักเรียนแต่ละกลุ่มจะได้ฝึกฝนทักษะเพื่อให้เกิดความเข้าใจ อย่างถ่องแท้ด้วยการตอบคาถามประจากรอบแต่ละกรอบ ทาให้นักเรียนเห็นความก้าวหน้าของตนเองและกลุ่มชัดเจน
263
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
รวดเร็วขึ้น และการให้กาลังใจกล่าวคาชมเชย จะส่งผลให้นักเรียนที่ได้รับคะแนนสูงมีความขยันเอาใจใส่การเรียนมาก ยิ่งขึ้น เพื่อรักษาระดับคะแนนของตน และนักเรียนที่ได้คะแนนต่าก็จะตั้งใจเรียนและพยายามทาคะแนนให้สูงกว่าเดิม ครูควรมีเสริมแรงให้กาลังใจกล่าวคาชมเชยเด็กเป็นระยะๆ การเสริมแรงจะเป็นการสื่อให้เด็กทราบว่าสิ่งที่ตนแสดง ออกไปนั้นถูกต้องหรือไม่ เด็กก็จะเกิดความภาคภูมิใจและพยายามทากิจกรรมต่างๆ ให้ดียิ่งขึ้น การใช้ทักษะระหว่าง บุคคลและทักษะการทางานกลุ่มย่อย นักเรียนควรได้รับการฝึกฝนทักษะเหล่านี้เสียก่อน เพราะเป็นทักษะสาคัญที่จะ ช่วยให้การทางานกลุ่มประสบผลสาเร็จ นักเรียนควรได้รับการฝึกฝนทักษะการสื่อสาร การเป็นผู้นา การไว้วางใจผู้อื่น การตัดสินใจ การแก้ปัญหา ครูควรจัดสถานการณ์ที่จะส่งเสริมให้นักเรียน เพื่อให้นักเรียนสามารถทางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ จากการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนในขั้นนี้ พบว่านักเรียนที่เรียนเก่งทาแบบทดสอบได้คะแนนค่อนข้างสูง ส่วนนักเรียนที่เรียนอ่อนบางคนยังลอกเพื่อน และมักชอบถามเพื่อน ครูก็ว่ากล่าวตักเตือนและชี้แนวทางให้เข้าใจมาก ขึ้น นาคะแนนที่แต่ละคนทาแบบทดสอบท้ายบทเรียน แบบประเมินการทางานกลุ่ม กรอบคาถามประจากรอบมารวม เป็นคะแนนกลุ่ม นาคะแนนของสมาชิกแต่ละคนในกลุ่มมาคานวณเป็นคะแนนเฉลี่ยของกลุ่ม ผู้ศึกษาสรุปคะแนน พร้อมกล่าวคาชมเชยกลุ่มที่ได้คะแนนสูงสุด และให้กาลังใจกลุ่มที่ได้คะแนนน้อยเพื่อที่จะได้พัฒนาตนเองและพยายาม ทาคะแนนให้สูงขึ้นกว่าเดิม จากการสังเกตพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้โดยภาพรวมแล้วพบว่านักเรียนมีความพึงพอใจ กับคะแนนที่ได้รับ สังเกตได้จากการแสดงความดีใจโดยการโห่ร้องยินดีปรบมือทุกครั้งที่ทราบผลคะแนน การเสริมแรง เป็นอีกส่วนหนึ่งที่กระตุ้นให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นมีความสนใจที่จะเรียน และทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ด้วย 5. ขั้นสรุปบทเรียนและประเมินผลการทางานกลุ่ม ในขั้นนี้ให้ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปและประเมินผล การทางานกลุ่ม ความรู้จากบทเรียนสาเร็จรูป พิจารณาถึงจุดเด่น จุดด้อย จุดบกพร่องหรือข้อควรปรับปรุง เพื่อหา แนวทางแก้ไขครั้งต่อไป ผู้ศึกษาและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ความสาคัญที่ได้จากการเรียน เรื่อง ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ในแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 และ 3 ก็มีลักษณะคล้ายคลึงกันจากการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน เกิดความสนุกสนานทุกครั้งที่สรุปเนื้อหา ได้แสดงความเห็นถึงความรู้ที่นักเรียนได้จากการศึกษาในบทเรียนสาเร็จรูป ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จากการดาเนินการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทั้งก่อน เรียนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนท่าสว่างวิทยา พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนก่อนเรียน เท่ากับ 17.29 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 43.22 ค่าเฉลี่ยคะแนนหลังเรียนเท่ากับ 23.43 คิดเป็นร้อยละ 58.57 จากสมมติฐานทางการศึกษา ผลวิ เคราะห์ ผลสั มฤทธิ์ กระบวนการจั ดการเรี ยนรู้ เรื่ อง ปรั ชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียน สาเร็จรูป ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD การทดสอบมีคะแนนรวมเฉลี่ยของการทดสอบหลัง เรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยของการสอบก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการ จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD จากการดาเนินการวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของ นักเรียนอยู่ในระดับมาก ( X = 4.08)
264
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
จากการวิเคราะห์ ผลสมมติ ฐานการศึ กษาความพึ งพอใจของนั กเรี ยนมีระดับความพึ งพอใจต่ อการจั ด กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD โดยใช้สถิติทดสอบ ที (One-sample T-test) พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจในระดับมากขึ้นไป อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 วิจารณ์ผลการวิจัย จากผลการวิจัยพบว่า กระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการ เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD สามารถอภิปรายผลได้ดังนี้ 1. ผลการวิจัยกระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบ ร่วมมือเทคนิค STAD พบว่าผู้เรียนเกิดความรู้โดยการคิดค้น สร้างสรรค์และสรุป องค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ รวมทั้งประยุกต์นาความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม และพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้สูงขึ้น 2. ผลการวิ เคราะห์ ผลสั มฤทธิ์ท างการเรี ยนก่ อนเรี ยนและหลังเรีย นของนัก เรีย นโดยใช้ บทเรี ยน สาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการ เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ผู้วิจัยสร้างบทเรียนสาเร็จรูปโดยการ ยึดความแตกต่างระหว่างบุคคล ทาให้นักเรียนสามารถศึกษาได้ตามความถนัด ความสนใจ ส่งผลให้นักเรียนเรียนดี ทาให้ผลการเรียนมีแนวโน้มที่ดีขึ้น ในบทเรียนสาเร็จรูปแต่ละชุดย่อยจะมีแบบฝึกหัดและมีเฉลยอยู่ท้ายเล่ม เมื่อ นักเรียนทาแบบฝึกหัดเสร็จ สามารถตรวจคาตอบและทราบคะแนนได้ทันที ทาให้นักเรียนที่ได้คะแนนสูงมีแรงจูงใจ ในการเรียนครั้งต่อไป ส่วนนักเรียนที่ได้คะแนนต่าก็จะทาให้ท ราบข้อบกพร่องของตนเอง และนาข้อบกพร่องไป แก้ไขต่อไป ทั้งนี้การเรียนด้วยบทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD เป็นการสร้าง ปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่างนักเรียนกับนักเรียน นักเรียนกับครู คือนักเรียนในกลุ่มช่วยเหลือแลกเปลี่ยนและให้ ความร่วมมือซึ่งกันและกัน กล้าที่จะถามข้อสงสัยที่ตนเองสงสัยจากเพื่อนในกลุ่มและกล้าที่จะถามครูเมื่อเจอ ประเด็นที่ไม่เข้าใจทาให้การเรียนการสอนเกิดประสิทธิภาพมากขึ้น จะเห็นได้ว่า นักเรียนมีความสนใจเรียน กระตื อ รื อ ร้ น ในการเรี ย น โดยเฉพาะนั ก เรี ย นที่ เ รี ย นอ่ อ น จะใ ห้ ค วามสนใจและพยายามเรี ย นรู้ ให้ได้มากเป็นพิเศษ และด้วยความกลัวว่าตัวเองจะทาให้คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตกต่าลง จึงเป็นการสร้างความ รับผิดชอบเนื้อหาที่ได้รับมอบหมาย เป็นผลทาให้มีความสนใจมากขึ้น และนาไปสู่การมีผลการเรียนรู้ที่เพิ่มขึ้น ซึ่ง จะเห็นได้จากคะแนนการทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียน ซึ่งสามารถทาคะแนนได้ดีกว่าการทดสอบก่อน เรียนผลการเรียนรู้หลังเรียนมีค่าเฉลีย่ สูงขึ้นอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งสอดคล้องกับประทีป แสงบุญ ส่ง (2553 : บทคัดย่อ) เพื่อเปรียบเทียบความรู้และทักษะกระบวนการทางาน เรื่องการขยายพันธุ์พืช ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบทักษะกระบวนการ 9 ขั้น กับกลุ่มที่ได้รับการ จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนลาดบัวหลวงไพโรจน์วิทยา อาเภอลาดบัวหลวง สังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 2 จานวน 2 ห้องเรียน จานวนนักเรียน 76 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย โดยวิธีการจับฉลากเป็นกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบทัก ษะกระบวนการ 9 ขั้น 1 ห้องเรียน จานวน 38 คน
265
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
และกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่ม 1 ห้องเรียน จานวน 38 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบทักษะกระบวนการ 9 ขั้น แผนการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่ม แบบทดสอบวัด ความรู้ และแบบสังเกตทักษะกระบวนการทางาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป หาค่าเฉลี่ย ค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบค่าที และสอดคล้องกับงานวิจัยของ สุภวรรณ ชลมาก (2553 : 105 - 107) ได้ ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความซื่อสัตย์ สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างวิธีสอนโดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์กับวิธีสอนตามปกติ ผลการศึกษาพบว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมช่วยให้นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีทักษะในการทางานกลุ่ม มีความ รับผิดชอบต่อตนเองและกลุ่ม และมีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ 75.86 cและมีนักเรียนผ่านเกณฑ์รอบรู้ที่กาหนดร้อยละ 80.76 นักเรียนมีค่าคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการ ปฏิบัติตนต่อสิ่งแวดล้อมก่อนเรียนร้อยละ 42.82 และหลังเรียนร้อยละ 55.64 จากผลการวิจัยดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าการเรียนด้วยบทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับ การจัดการเรียนรู้แบบ ร่วมมือเทคนิค STAD สามารถทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนมีความแตกต่างจากก่อนเรียน เนื่องจาก บทเรียนสาเร็จรูปมีเนื้อหาที่มีความยาก ง่าย ตามความเหมาะสม ทาให้ผู้เรี ยนได้ศึกษาตามความสามารถ ความ ถนัดและความสนใจของตนเอง นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีเป้าหมายร่วมกัน คือความสาเร็จของกลุ่ม ทาให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นและในการศึกษาความรู้ให้ได้มากที่สุด และทาคะแนนให้ ได้มากที่สุดเพื่อจะได้รับรางวัล จึงเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความพยายามในการเรียนรู้และมีผลการเรียนรู้ที่ดีขึ้น 3. ผลการวิจัยพบว่านักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้ โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูป ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบ ร่วมมือเทคนิค STAD เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึ กษาปีที่ 2 มี ค วามพึ งพอใจในระดับ มากที่สุ ด ( X = 4.64) อย่ า งมี นัย ส าคั ญทางสถิ ติที่ ระดั บ .01 สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551ประกอบด้ วย นักเรียนมีความสามารถใน การสื่อสาร นักเรียนมี ความสามารถในการคิด นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหา นักเรียนมีความสามารถ ในการใช้ทักษะชีวิต นักเรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติตนเป็นสาคัญบน พื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มี ปัญญา มีความสุข จากการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการ เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่ วมกับการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD สามารถทาให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาสมรรถนะด้านการเรียนดียิ่งขึ้น ทาให้นักเรียนมี ความรู้จากการเรียนและเรียนรู้มีทักษะในการเรียนมีความกระตือรือร้นที่จะเรียนมีความมั่นใจที่ได้แสดงออกใน กิจกรรมการเรียนสามารถร่วมปฏิบัติกิจกรรมการเรียนมีความกระตือรือร้นในกิจกรรมการเรียนให้บรรลุเป้าหมายใน กิจกรรม ข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาในครั้งนี้ผู้ศึกษามีข้อเสนอแนะดังนี้ ข้อเสนอแนะเพื่อนาผลการศึกษาไปใช้ 1. ครูผู้สอนสามารถจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือเทคนิค STAD นี้ไปใช้สอนในชั้นเรียน เพราะเป็นแผนการเรียนรู้ที่ได้ผ่านการทดลองหาประสิทธิภาพ
266
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
แล้วและสามารถนาไปใช้สอนได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ จะทาให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาการเรียนรู้ของ ผู้เรียน ตามแนวปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 2. ครูที่จะใช้แผนการสอนโดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้บทเรียนสาเร็จรูปร่วมกับการ จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ให้มากขึ้น โดยเพิ่มเวลาและแบบฝึกเพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจในเนื้อหาที่ ดีมากยิ่งขึ้นและสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม ข้อเสนอแนะเพื่อการศึกษาต่อไป 1. การวิจัยเกี่ยวกับแผนการเรียนรู้ ควรสร้างแผนการเรียนรู้เรื่องอื่นๆ และชั้นอื่นๆ เพื่อนาไปใช้ใน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2. ควรสร้างด้วยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD ในเนื้อหาวิชาและชั้นอื่นๆ เพื่อนาไป ทดลองหาประสิทธิภาพ 3. ควรใช้กิจกรรมกลุ่มร่วมมือแบบอื่นนอกเหนือจากแบบเทคนิค STAD เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ อย่างหลากหลายควรมีการเปรียบเทียบการเรียนโดยใช้ชุดการเรียนรู้กับสื่อนวัตกรรมอื่น 4. ควรใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือกับสื่อการเรียนรู้ที่สื่อประสมมีภาพประกอบคาบรรยาย หรือรูปภาพ หุ่นจาลอง ตัวการ์ตูนที่เคลื่อนไหวได้ จะกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจเกิดแรงจูงใจในการเรียน มากยิ่งขึ้น เอกสารอ้างอิง กรมวิชาการ. (2545).เอกสารประกอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 คู่มือการ จัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.). -------------.(2552). เอกสารประกอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 คู่มือ การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.). กระทรวงศึกษาธิการ.(2552).กลุ่มสาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ, 2552. -------------. หนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : พิมพ์ที่โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิชย์, 2552. --------------. คู่มือการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพทางการเรียน. กรุงเทพฯ : โรง พิมพ์การศาสนา. 2543. --------------. การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ. กรุงเทพฯ : ศูนย์พัฒนาหลักสูตร กระทรวงศึกษาธิการ. 2544 ก. สุวิทย์ มูลคา, สุนันทา สุนทรประเสริฐ. (2550). การพัฒนาผลงานทางวิชาการสู่การเลื่อนวิทยฐานะ ชานาญ การพิเศษ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ. กรุงเทพฯ : พิมพ์ห้างหุ้นส่วนจากัดภาพ
267
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
พิมพ์, มิถุนายน. สุวิทย์ มูลคา, สุนันทา สุนทรประเสริฐ. (2554). การพัฒนาผลงานทางวิชาการสู่การเลื่อน วิทยฐานะชานาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ. กรุงเทพฯ : พิมพ์ห้างหุ้นส่วน จากัดภาพพิมพ์, มิถุนายน.
268
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018 EDUP-08
ปัญหาการดาเนินงานด้านการกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดขอนแก่น THE PROBLEMS OF SPORTS OPERATIONS OF LOCAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATIONS IN KHON KAEN วิทยา น้อยสุวรรณ1 เพียงแข ภูผายาง2 1
นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ อาจารย์รับผิดชอบหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
2
บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ 1) ศึกษาปัญหาการดาเนินงานด้านการกีฬา 2) ศึกษา เปรียบเทียบระดับปัญหาการดาเนินงานด้านการกีฬา 3) เศึกษาหาข้อเสนอแนะการดาเนินงานด้านการกีฬาของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดขอนแก่น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จานวน 325 คน ขอบเขตการวิจัยและ ดาเนินงานด้านการกีฬา จานวน 9 ด้าน คือ ด้านการวางแผน ด้านการจัดองค์กร ด้านการจัดบุคลากร ด้านการ อานวยการ ด้านการประสานงาน ด้านการรายงานผล ด้านการจัดงบประมาณ ด้านสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ และสิ่ง อานวยความสะดวก ด้านการสนับสนุน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ได้กาหนดไว้ ในปีการศึกษา 2560 เครื่องมือที่ใช้ใน วิจัยและเก็บข้อมูลได้แก่ แบบสอบถาม และการสนทนากลุ่ม มีค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม เท่ากับ .825 สถิตที่ใช้ในการวิจัย คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ F-test ผลการวิจัยพบว่า 1. บุคลากรมีความคิดเห็นต่อปัญหาและข้อเสนอแนะการดาเนินงานด้านการกีฬาขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในจังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง 2. ความคิดเห็นของบุคลากรต่อปัญหาการดาเนินงานด้านการกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน จังหวัดขอนแก่น จาแนกตามหน่วยงาน โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ .05 ข้อเสนอแนะ ควรมีวิธีการจัดหางบประมาณสนับสนุนส่งเสริมด้านการกีฬาขององค์การบริหารส่วน จังหวัดจากภาคส่วนต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ควรมีการปรับระบบโครงสร้างการบริหารให้ยืดหยุ่นและมีความ เหมาะสมกับจานวน ความรู้ความสามารถของบุคลากรและส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาบุคลากรด้านกีฬาอย่าง ต่อเนื่อง ทั้งในด้านการศึกษาต่อการฝึกอบรม และศึกษาดูงาน คำสำคัญ : ปัญหาการดาเนินงานด้านการกีฬา Abstract This research is aimed at research 1) study the problems of sports operations. 2) To compare the level of problems in sports activities. 3) Finding the suggestions for sports activities of local administrative organizations in Khon Kaen 325 samples were used. The scope of research and operation in the field of sports 9 is Planning Organization Human Resources Director Coordination Reporting Budgeting Location, materials and facilities. Support To achieve the goals
269
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
set in the academic year 2017 The tools used in research and data collection were questionnaires and group discussions. The reliability of the questionnaire was .825. Percentage mean, standard deviation F-test The research found that 1. Personnel Opinions on Problems and Suggestions for Sports Operations of Local Administrative Organizations in Khon Kaen Province The overall picture was moderate. 2. The opinions of personnel on the problem of sport operation of local administrative organizations in Khon Kaen Classified by department There was no statistically significant difference at .05 level. Suggestions should include how to fund the organization's sports promotion budget. Management of the province from various sectors. Efficiently The structure of the management structure should be flexible and appropriate to the number. Knowledge of personnel and promotion. Support for continuous sports human resource development. Both in education and training and study visit. Keywords : problems of sports operations บทนา กีฬาเป็นสิ่งมีประโยชน์อย่างยิ่งต่อชีวิตมนุษย์ กีฬาจึงเป็นที่นิยมเล่นและแข่งกันทั่วโลกตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบัน ยิ่งโลกมีความเจริญและสังคมมีความสลับซับซ้อนมาก กีฬาก็ยิ่งมีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตมากขึ้น ทั้งนี้ เพราะการเล่นกีฬา นอกจากจะทาให้ร่างกายมีความสนุ กสนานเพลิดเพลิน แล้วยังสามารถขจัดความเครียดที่เกิด จากการทางาน ประกอบอาชีพของบุคคลได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังทาให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ดังพระราช ดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ที่ว่า “ในหลักการ การกีฬาเป็นสิ่งที่มีจุดประสงค์พื้นฐาน เพือ่ ที่จะส่งเสริมให้ร่างกายแข็งแรงและสามารถที่จะแสดงฝีมือในเชิงกีฬาเพื่อความสามัคคี และเพื่อให้คุณภาพของ มนุษย์ดีขึ้น มาเวลานี้การกีฬาก็นับว่ามีความสาคัญในทางอื่นด้วย คือในทางสังคมทาให้คนในประเทศชาติได้หันมา ปฏิบัติสิ่งที่เป็นประโยชน์ในทางสุขภาพของร่างกายและของจิตใจทาให้สามารถที่จะอยู่เป็นสังคมอย่างอยู่เย็นเป็นสุข ทั้งเป็นสิ่งที่ก่อให้เกิด ความเจริญของบ้านเมืองและโดยเฉพาะในการกีฬาระหว่างประเทศก็ได้ เพิ่มความสาคัญกับ มนุษย์อื่นซึ่งอยู่ในประเทศอื่นฉะนั้นกีฬามีความสาคัญอย่างยิ่งสาหรับชีวิตของแต่ละคนและชีวิตของบ้านเมือง ถ้า ปฏิ บั ติ กี ฬ าอย่ า งที่ ถู ก ต้ อ ง หมายถึ ง ว่ า อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี ค วามสามารถ ก็ จ ะน าชื่ อ เสี ย งแก่ ต นและแก่ ประเทศชาติ ถ้าปฏิบัติกีฬาด้วยความเรียบร้อย ด้วยความสุภาพ ก็ทาให้มีชื่อเสียงเหมือนกัน และจะส่งเสริมความ สามัคคี ในประเทศชาติ” (พระราชดารัสพระราชทาน พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน อ้างถึงใน อนุสารอุดมศึกษา. 2550) การพัฒนาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้า และมีศักยภาพได้นั้น สิ่งที่สาคัญที่เป็นพื้นฐานในการพัฒนา คือ การมีทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา และการที่จะมีทรัพยากร บุคคลที่มีคุณภาพ ส่วนหนึ่งต้องอาศัยการกีฬาหรือการออกกาลังกายเข้ามามีบทบาทในการพัฒนา การกีฬาเป็นส่วน หนึ่งของการดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ปัจจัยสาคัญในการพัฒนาประเทศ คือ การพัฒนาคนในชาติให้
270
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
มีความสามัคคี มีระเบียบวินัยรู้จักรับผิดชอบต่อหน้าที่ และมีสุขภาพทั้งทางกายและจิตใจที่แข็งแรงสมบูรณ์ วิธีที่จะ ทาให้เกิดสิ่งต่างๆ ได้นั้นต้องอาศัยหลักการต่างๆ ของการกีฬาเข้าช่วยการเล่นกีฬาหรือการออกกาลังกายจึงเป็น สิ่งจาเป็นสาหรับประชาชนทุกคน รัฐบาลได้นาการกีฬามาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาคน เพราะกีฬาเป็นสิ่งมีประโยชน์อย่างยิ่งต่อชีวิต มนุษย์ กีฬาเป็นที่นิยมเล่นและแข่งขันกันทั่วโลกตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ยิ่งโลกมีความเจริญและสังคมมีความ สลับซับซ้อนมาก กีฬาก็ยิ่งมีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพราะการเล่นกีฬานอกจากจะทาให้ ร่างกายแข็งแรงยังทาให้ผู้ ที่เล่ นกีฬ าสนุ กสนานเพลิ ดเพลิน สามารถขจั ดความเครี ยดที่ เกิด จากการทางานเพื่ อ ประกอบอาชีพของบุคคลได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังทาให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ รัฐบาลจึงได้ให้ความสาคัญใน การพัฒนากีฬาของชาติ โดยได้ดาเนินงานอย่างต่อเนื่องตามแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 25312539) แผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2540-2544) และแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2545 - 2549) (สานักวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา, 2549) ซึ่งแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 3 เป็นแผนที่ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ในการพัฒนาศักยภาพของคนในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 -2549) โดยแผนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2545-2549) ได้กาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาไว้ 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์การพัฒนาการกีฬาขั้นพื้นฐาน ยุทธศาสตร์การพัฒนาการกีฬาเพื่อมวลชน ยุทธศาสตร์ การพั ฒ นาการกี ฬ าเพื่ อ ความเป็ น เลิ ศ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาการกี ฬ าเพื่ อ การอาชี พ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการกีฬา และยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารการกีฬา (การกีฬาแห่งประเทศไทย, 2544) จากหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่นในดาเนินงานด้านกีฬาและความสาคัญของการบริหารแบบ POSDCoRB ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะการดาเนินการด้านกีฬาขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดขอนแก่น ในการบริหารงาน ทั้งนี้ข้อมูลการวิจัยจะได้เป็นการพัฒนาการบริหารงานขององค์การปกครอง ส่วนท้องถิ่นในจังหวัดขอนแก่น ผู้วิจัยมีความตระหนัก และเห็นความสาคัญของการออกกาลังกาย การเล่นกีฬาเพื่อ พัฒนาคุณภาพของประชาชนให้เป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศ โดยการส่งเสริมในระดับท้องถิ่น ผู้วิจัยมีความ สนใจที่จ ะศึ กษาปั ญหา และข้ อเสนอแนะการด าเนิน การด้า นกี ฬาขององค์ การปกครองส่ วนท้อ งถิ่ นในจั งหวั ด ขอนแก่น เพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปรับปรุงการจัดดาเนินงานด้านการกีฬาขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่นใน จังหวัดขอนแก่นให้เกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและประสิทธิผลที่ดีต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาปัญหาการดาเนินงานด้านการกีฬา 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับปัญหาการดาเนินงานด้านการกีฬา 3. เพื่อศึกษาหาข้อเสนอแนะการดาเนินงานด้านการกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัด ขอนแก่น วิธีดาเนินการวิจัย 1. กลุ่ ม ตั วอย่ า งที่ใ ช้ ใ นการวิ จัย เป็น ตั ว แทนจากองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่น ในจั งหวั ด ขอนแก่ น จานวน 65 องค์กร จานวน 325 คน โดยใช้เกณฑ์คานวณร้อยละ 30 ของแต่ละอาเภอโดยกรณีที่จานวนประชากร
271
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ไม่เกินหลักร้อยใช้วิธีการสุ่มกลุม่ ตัวอย่างโดยการจับฉลากเพื่อให้ได้รายชื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละอาเภอใน จังหวัดขอนแก่นตามจานวนที่ต้องการ 2. ขอบเขตการวิจัยและดาเนินงานด้านการกีฬาจานวน 9 ด้าน คือ ด้านการวางแผน ด้านการจัด องค์กร ด้านการจัดบุคลากร ด้านการอานวยการ ด้านการประสานงาน ด้านการรายงานผล ด้านการจัดงบประมาณ ด้านสถานที่ วัสดุอุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก และด้านการสนับสนุน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ได้กาหนดไว้ 3. เครื่องมือที่ใช้ในวิจัยและเก็บข้อมูลได้แก่ แบบสอบถาม และการสนทนากลุ่ม 4. สถิตที่ใช้ในการวิจัย คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบ F-test (One way Anova) ผลการวิจัย พบว่า บุคลากรมีความคิดเห็นต่อปัญหาการดาเนินงานด้านการกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน จังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( X =3.25, S.D.=0.41) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มี ค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการอานวยการ ( X =3.36, S.D. =0.40) รองลงมาได้แก่ ด้านการประสานงาน ( X =3.34, S.D.=0.40) และด้านการจัดงบประมาณ ( X =3.29, S.D.=0.26) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านการวางแผน ( X =3.12, S.D.=0.37) ตามลาดับ และผลการวิเคราะห์ได้ค่าสถิติ F = 3.619 และค่า P = .730 แสดงให้เห็นว่า ระดับความคิดเห็นของบุคลากรต่อปัญหาการดาเนินงานด้านการกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัด ขอนแก่น จาแนกตามหน่วยงาน โดยภาพรวมและรายด้าน มีความไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปผลการวิจัย 1. ปัญหาการดาเนินงานด้านการกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง ทั้งนี้เนื่องมาจาก องค์การบริหารส่วนตาบลขนาดใหญ่มีจานวนประชากรที่ มากกว่าองค์ การ บริหารส่วนตาบลขนาดกลาง และเล็กจึงทาให้บุคลากรด้านกีฬาจากหน่วยงานของรัฐไมสามารถดูแลประชาชนใน องค์การบริหารส่วนตาบลขนาดใหญ่ทางด้านกิจกรรมกีฬาและการออกกาลังกายได้อย่างทั่วถึงรวมทั้งอุปกรณ์และ สถานที่ด้านกีฬาจึงไมเพียงพอ สอดคล้องกับ ทองจริง ศิริไพบูลย์ (2549) ได้ทาการศึกษาเรื่อง ปัญหาการ ดาเนินงานด้านกีฬาขององค์ การบริหารส่วนตาบลในจังหวัดจันทบุรีตามความคิ ดเห็นของผู้บริหาร ผลการวิจัย ปัญหาการดาเนินงานด้านกีฬาขององค์ การบริหารส่วนตาบลในจังหวัดจันทบุรีตาม ความคิดเห็นของผู้บริหาร โดยรวมอยู่ในระดับ ปานกลาง และพันธุปรี ดาบเงิน (2539) ศึกษาสภาพและปัญหาในการดาเนินงานของสมาคม กี ฬ าจั งหวั ด และเปรี ย บเที ย บสภาพและปั ญ หาในการด าเนิ น งานของสมาคมกี ฬ าจั ง หวั ด ตามการรั บ รู้ ข อง คณะกรรมการบริหารสมาคมกีฬาจังหวัด ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการดาเนินงานโดยรวมของสมาคมกีฬาจังหวัด มีการดาเนินงานอยู่ในระดับดี และสภาพการดาเนินงานในแต่ละด้าน ซึ่งประกอบด้วย 8 ด้าน คือ ด้านการวางแผน ด้านการจัดองค์การ ด้านการจัดบุคลากร ด้านการงบประมาณ ด้านสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ ด้านการอานวยการ ด้าน การประสานงาน และด้านการรายงานผล มีการดาเนินงานอยู่ในระดับดีทุกด้านเช่นเดียวกัน 2. ระดับความคิดเห็นของบุคลากรต่อปัญหาการดาเนินงานด้านการกีฬาขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นในจังหวัดขอนแก่น จาแนกตามหน่วยงาน โดยภาพรวมและรายด้าน มีความไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ
272
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก การวางแผน ด้านการจัดการองค์กร ด้านการจัดบุ คลากร ด้านการ อานวยการ ด้านการประสานงาน ด้านการรายงานผล ด้านงบประมาณ และด้านสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ และอานวย ความสะดวก สรุปได้ว่า เทศบาลมีสภาพการดาเนินงานด้านกีฬาอยู่ในเกณฑ์ดีและมีปัญหาการดาเนินงานด้านกีฬา ของเทศบาลอยู่ในระดับน้อย แต่อย่างไรก็ตามก็ยังมีปัญหาในด้ านสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ และสิ่งอานวยความสะดวก ด้านกีฬาและการออกกาลังกาย ที่เทศบาลจะต้องปรับปรุงและพัฒนา สอดคล้องกับ จักรพันธ์ ชุบไธสง (2552) ได้ ศึกษาสภาพและปัญหาการดาเนินงานด้านกีฬาของเทศบาลในประเทศไทย และเปรียบเทียบปัญหาการดาเนินงาน ด้านกีฬาของเทศบาลในประเทศ ผลการศึกษาพบว่า 1. สภาพการดาเนินงานด้านกีฬาของเทศบาลโดยรวมอยู่ใน เกณฑ์ดีและปัญหาการดาเนินงานด้านกีฬาของเทศบาลโดยรวมอยู่ในระดับน้อย 2. เทศบาลนคร เทศบาลเมืองและ เทศบาลตาบลมีปัญหาในการดาเนินงานด้านกีฬาทุกด้าน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในทุก ด้าน ได้แก่ด้านการวางแผน ด้านการจัดการองค์กร ด้านการจัดบุคลากร ด้านการอานวยการ ด้านการประสานงาน ด้านการรายงานผล ด้านงบประมาณ และด้านสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ และอานวยความสะดวก สรุปได้ว่า เทศบาลมี สภาพการดาเนินงานด้านกีฬาอยู่ในเกณฑ์ดีและมีปัญหาการดาเนินงานด้ านกีฬาของเทศบาลอยู่ในระดับน้อย แต่ อย่างไรก็ตามก็ยังมีปัญหาในด้านสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ และสิ่งอานวยความสะดวกด้านกีฬาและการออกกาลังกาย ที่ เทศบาลจะต้องปรับปรุงและพัฒนาต่อไป วิจารณ์ผลการวิจัย 1. งานวิ จัย นี้ ค วรเพิ่ มการศึก ษาดูงาน เพื่ อ จะได้ ใช้ เ ป็ นแนวทางให้กั บ กลุ่ม ตั ว อย่ า งในการพั ฒ นา ยุทธศาสตร์และการรูปแบบการดาเนินงานด้านการกีฬาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2. การใช้สถิติการวิจัยควรเพิ่มการหาความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานที่รับผิดชอบในองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น เพื่อจะใช้เป็นข้อมูลในการนาเสนอเนื่องจากความแตกต่างของขนาดหน่วยงาน ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับยุทธศาสตรการบริหารจัดการกีฬาขององคการบริหารสวนจังหวัด 2. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบการพัฒนาภาวะผูนาของผูบริหารดานกีฬาขององคการบริหารสวน จังหวัด 3. องค์กรควรศึกษารูปแบบการบริหารงานด้านอานวยความสะดวก และด้านการประสานงานหรือ พัฒนารูปแบบการดาเนินงานให้สามารถพัฒนาเป็นรูปแบบที่ใช้ได้จริงกับทุกองค์กรที่เกี่ยวข้อง กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จลงด้วยการช่วยเหลือแนะนาอย่างดียิ่งจาก ดร.เพียงแข ภูผายาง อาจารย์ที่ ปรึกษาหลั ก ดร.สุ รินทร์ ภูสิงห์ ดร.ปณิธาน วรรณวัลย์ กรรมการสอบวิ ทยานิพนธ์ และคณะกรรมการสอบ วิทยานิพนธ์ทุกท่านที่ได้กรุณาให้คาปรึกษา ช่วยเหลือแนะนาตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆด้วยความเอาใจใส่มา โดยตลอด ผู้วิจัยขอขอบพระคุณไว้เป็นอย่างสูง ณ ที่นี้ขอขอบพระคุณ ผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่ได้กรุณาให้คาแนะนา ตรวจสอบ และปรับปรุงเครื่องมือในการวิจัย
273
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่กรุณาให้สัมภาษณ์และเข้าร่วมการสนทนากลุ่มให้ข้อมูลสาหรั บการ วิจัยในครั้งนี้ประโยชน์และคุณค่าอันพึงมีของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ผู้วิจัยขอมอบเป็นเครื่องกตัญญูกตเวที แด่บิดา มารดา ญาติพี่น้องตลอดจนครู อาจารย์และผู้มีพระคุณทุกท่าน เอกสารอ้างอิง การกีฬาห่งประเทศไทย. (2542). เอกสารประกอบการเข้าสู่ตาแน่งการปฏิบัติงาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. จักรพันธ์ ชุบไธสง. (2552). การศึกษาสภาพและปัญหาการดาเนินงานด้านกีฬาของเทศบาล ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ทองจริง ศิริไพบูลย์. (2549). การจัดการความรู้สู่การจัดการทางสังคม. กรุงเทพฯ : วิทยาลัย การจัดการทางสังคม. พันธุปรี ดาบเงิน. (2539). การศึกษาสภาพและปัญหาในการดาเนินงานของสมาคมกีฬาจังหวัด. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อนุสารอุดมศึกษา ปีที่ 33 ฉบับที่ 351 กันยายน . (2550). การจัดทาแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2550-2564). กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
274
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018 EDUP-09
ประสิทธิผลการบริหารงานโรงเรียนวิถีพุทธในสถานศึกษาสังกัดของรัฐ ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 THE EFFECTIVENESS OF THE MANAGEMENT OF BUDDHIST SCHOOLS IN THE SCHOOLS UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 30 ชุติกาญจน์ ปกติ 1 เพียงแข ภูผายาง2 1 2
นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ดร อาจารย์รับผิดชอบหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มี วัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาประสิทธิผลการบริหารงานโรงเรียนวิถีพุทธ และ 2) เพื่อ ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะการบริหารงานโรงเรียนวิถีพุทธ กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอน จานวน 234 คน กาหนด ขนาดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตารางสาเร็จรูปและสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม มีค่าอานาจ จาแนกอยู่ระหว่าง .354 - .710 และมีค่าความเชื่อมั่น .913 และแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ โดยการวิเคราะห์เนื้อหา นาเสนอในรูปของพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า 1. ระดับประสิทธิผลการบริหารงานโรงเรียนวิถีพุทธ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น รายด้าน พบว่ามีค่าเฉลี่ยคือ ด้านกิจกรรมพื้นฐานวิถีชีวิต ด้านกายภาพ ด้านการเรียนการสอน และด้านบรรยากาศ และปฏิสัมพันธ์ ด้านการบริหารจัดการ ตามลาดับ 2. ข้อเสนอแนะสาหรับการพัฒนาประสิทธิผลการบริหารงานโรงเรียนวิถีพุทธ คือ ควรมีแผนพัฒนา ด้ า นกายภาพตามแนวทางโรงเรี ย นวิ ถี พุ ท ธ จั ด กิ จ กรรมให้ นั ก เรี ย นไปศึ ก ษาเรี ย นรู้ ปฏิ บั ติ ธ รรมที่ วั ด ให้ มี สื่ อ หลากหลายในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของเด็ก จัดกิจกรรมสอดคล้องและต่อเนื่อง และประเมินผลกิจกรรม ครู ควรศึกษาหลักสูตร ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสอน เพื่อให้เด็กเรียนรู้อย่างมีความสุข ควรสนับสนุนงบประมาณ ดาเนินงานเป็นกรณีพิเศษ ให้กาหนดเป็นแผนปฏิบัติงานประจาปี การปฏิบัติแนววิถีพุทธต้องร่วมมือ บ้าน วัด โรงเรียน ควรจัดอุปกรณ์การเรียนการสอน เพื่อกระตุ้นให้ทาความดี ละความชั่ว ให้ครูศึกษาดูงานโรงเรียนวิถีพุทธ เพื่อนาเป็นแนวปฏิบัติ ให้ครูทุกคนในโรงเรียนมีส่วนร่วมดาเนินงานวิถีพุทธยังให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น และควรนา แนวคิดวิถีพุทธสู่ชุมชน คำสำคัญ : การบริหารงานโรงเรียนวิถีพุทธ Abstract This research aims to: 1) To study the effectiveness of the management of Buddhist schools in the schools 2) To study the problems and suggestions of the administration of Buddhist schools. The samples were 234 teachers in the schools. Determine the sample size
275
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
using the tables provided. The tool used was the questionnaire constructed by the researcher. Have confidence and structured interviews. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation analysis of interview data. Then presented in descriptive form. The study indicated that 1. Level of Effectiveness of Buddhist School Management in the schools. The overall level is very high. When considering each side, it was found that. The most important aspects were the basic activities of life. The next is physical. Teaching and the atmosphere and interaction. The lowest average level was management’s Respectively. 2. Suggestions for Developing the Effectiveness of Buddhist School Management In schools under the jurisdiction of the Office of Education Region 30 Should have a physical development plan in accordance with the Buddhist path. Organize activities for students to learn. Meditation is a measure of diversity in the moral development of children. Organize activities consistently and continuously. And evaluation activities teachers should study the curriculum. Modify teaching behavior. For children to learn happily. Practical Buddhist Way to cooperate with temple houses. Should equip teaching equipment. To encourage good and evil teachers to study the Buddhist school. To lead a practice. Have all teachers in the school participate. The Buddhist way is also more concrete and should bring Buddhist ideas to the community. Keywords : Management in Buddhist Schools บทนา โรงเรียนวิถีพุทธ เป็นหนึ่งในโรงเรียนรูปแบบใหม่ ที่จะช่วยผลักดันให้เด็กและเยาวชนไทยสามารถพัฒนา ตามศักยภาพเป็นคนดีคนเก่งของสังคม และสามารถดารงชีวิตได้อย่างมีความสุข ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการ ปรารถนา ให้เป็นจุดสาคัญของการนาคุณค่ามหาศาลของพระพุทธธรรมมาสู่สังคมไทย โดยผ่านการจัดสภาพและการเรียนรู้ ของโรงเรียน ที่มีความชัดเจนขององค์ความรู้ในพุทธธรรมและระบบไตรสิกขามาประยุกต์ จัดกับระบบการเรียนการ สอนในสถานศึกษา นอกจากนี้โครงการเรียนวิถีพุทธนั้นต้องอาศัยการจัดสภาพและการเรียนรู้ของโรงเรียนให้มีความ ชัดเจนประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านกายภาพ คือ อาคารสถานที่ห้องเรียนแหล่งเรียนรู้สภาพแวดล้อมเป็นต้น 2) ด้านกิจกรรมพื้นฐานวิถีชีวิต คือ กิจกรรมประจาวันกิจกรรมวันสาคัญกิจกรรมนักเรียนต่างๆ 3) ด้านการเรียนการ สอน เริ่มตั้งแต่การกาหนดหลักสูตรสถานศึกษาการจัดหน่วยการเรียนรู้ แผนจัดการเรียนรู้ จนถึงกระบวนการการ เรียนการสอน 4) ด้านบรรยากาศและปฏิสัมพันธ์ คือ การปฏิบัติต่อกันระหว่างครูกับนักเรียน นักเรียนกับนักเรียน หรือครูกับครู และ 5) ด้านการบริหารจัดการ คือ การกาหนดวิสัยทัศน์จุดเน้นการกาหนดแผนปฏิบัติการการ สนับสนุนติดตามประเมินผลโครงการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการจั ดสภาพในแต่ละด้านจะมุ่งเพื่อให้การพัฒนานักเรียน ดาเนินไปอย่างชัดเจนและมีประสิทธิภาพนั่นเอง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2547: 9–22) ดังเช่น การจัดด้านกายภาพ ควรเป็นธรรมชาติ สภาพแวดล้อมที่ชวนให้มีจิตใจสงบ ส่งเสริมปัญญา กระตุ้นการพัฒนาและศีลธรรม กิจกรรม พื้นฐานชีวิต กระตุ้นให้การกินอยู่ ดู ฟัง ดาเนินไปด้วยสติสัมปชัญญะ เป็นไปตามคุณค่าแท้ ด้านการเรียนการสอน
276
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
บูรณาการพุทธธรรมในการจัดการเรียนการสอน ด้านบรรยากาศปฏิสัมพันธ์ เอื้ออาทร เป็นกัลยาณมิตรต่อกัน ส่งเสริมทั้งวัฒนธรรมเมตตาและวัฒนธรรมแสวงปัญญา(สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2546: 4-5) การดาเนินการโรงเรียนวิถีพุทธมุ่งแก้ปัญหาทั้ง 3 ประการ คือ 1) เด็กเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา เรา ต้องไม่พัฒนาเด็กแบบแยกส่วนโรงเรียนต้องพัฒนาเด็กให้รอบด้านทั้งทางกาย ทางสังคม ทางจิตใจและทางปัญญา นั่นคือ โรงเรียนไม่เพียงแต่สอนหนังสือแต่อบรมศีลธรรมที่นั่นด้วยแท้ที่จริงโรงเรียนวิถีพุทธต้องพยายามยกวัดมาไว้ที่ โรงเรียน คือโรงเรียนเป็นทั้งแหล่งเรียนรูท้ างวิชาการและเบ้าหลอมทางศีลธรรมไปพร้อมๆ 2) เพื่อจะทาหน้าที่บริการ ณ จุดเดียวได้ โรงเรียนต้องได้รับความร่วมมือจากพ่อแม่ผู้ปกครองและจากพระสงฆ์ในวัด โรงเรียนทาข้อตกลงกับวัด ว่าจะพาเด็กไปเรียนกับพระสงฆ์ที่วัดหรือนิมนต์พระสงฆ์มาสอนในโรงเรียน 3) องค์ประกอบสาคัญของโรงเรียนวิถี พุทธ ก็คือวัด คณะสงฆ์ต้องมีความพร้อมในเรื่องนี้ ทั้งด้านนโยบายที่ชัดเจนและการพัฒนาความรู้ความสามรถของ พระสงฆ์ซึ่งสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 หมวดที่ 5 มาตรา 81 กาหนดให้รัฐจัด การศึกษาอบรมให้เกิดความรู้คู่คุณธรรม นอกจากนั้นกฎหมายเกี่ยวกับการศึกษาคือพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 6 กาหนดให้รัฐต้องจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา คนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและคุณธรรมในการ ดารงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข จากความสาคัญข้างต้น ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะศึกษาการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนวิถี พุทธ ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 ทั้งนี้เพื่อทาให้ทราบถึงปัญหา ประสิทธิผลการบริหารงานและข้อเสนอแนะโรงเรียนวิถีพุทธ ด้านกายภาพ ด้านกิจกรรมพื้นฐานวิถีชีวิต ด้านการ เรียนการสอน ด้านบรรยากาศและปฏิสัมพันธ์ และด้านการบริหารจัดการในสถานศึกษา สังกัดสานักงานพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 ว่ามีมีปัญหาอยู่ในระดับใด มีข้อเสนอแนะในด้านใดบ้าง เพื่อนาผลการวิจัยดังกล่าวไป เป็นแนวทางในการพัฒนาส่งเสริมและปรับปรุงแก้ไขการบริหารงานโรงเรียนวิถีพุทธให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาประสิทธิผลการบริหารงานโรงเรียนวิถีพุทธ 2. เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะการบริหารงานโรงเรียนวิถีพุทธ วิธีดาเนินการวิจัย ขอบเขตของเนื้อหา การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาประสิทธิผลการบริหารงานโรงเรียนวิถีพุทธ ของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 ตามแนวทางการดาเนินงานโรงเรียนวิถี พุทธของ กระทรวงศึกษาธิการ มี 5 ด้าน (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551: 15-16) ดังนี้ 1) ด้านกายภาพ 2) ด้านกิจกรรมพื้นฐานวิถีชีวิต 3) ด้านการเรียนการสอน 4) ด้านบรรยากาศปฏิสัมพันธ์ 5) ด้านการบริหารจัดการ
277
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ ครูผู้สอน ในโรงเรียนวิถีพุทธ ในสถานศึกษาของรัฐ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึก ษา เขต 30 ปีการศึกษา 2557 ทั้งหมด 14 แห่ ง จานวน 539 คน (สานัก งานเขตพื้นที่ก ารศึกษา มัธยมศึกษา เขต 30, 2557) กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอน ในโรงเรียนวิถีพุทธ ในสถานศึกษาของรัฐ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 30 ปีการศึกษา 2557 จานวน 234 คน กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสาเร็จรูปของ Krejcie & Morgan (บุญชม ศรีสะอาด, 2554: 43)แล้วทาการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multiple–stage sampling) ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรที่ศึกษา คือ ประสิทธิผลการบริหารงานโรงเรียนวิถีพุทธ ของสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 ประกอบด้วย 5 ด้าน ประกอบด้วย (1) ด้านกายภาพ (2) ด้านกิจกรรมพื้นฐานวิถี ชีวิต (3) ด้านการเรียนการสอน (4) ด้านบรรยากาศปฏิสัมพันธ์ (5) ด้านการบริหารจัดการ การวิเคราะห์ข้อมูล 1. การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับขนาดของโรงเรียน วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าความถี่ (Frequency) และ หาค่าร้อยละ (Percentage) แล้วนาเสนอเป็นตารางประกอบความเรียง 2. การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ความคิ ดเห็ น เกี่ ย วกั บ ระดั บ ประสิ ท ธิ ผ ลการบริ ห ารงานโรงเรี ย นวิ ถี พุ ท ธใน สถานศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 โดยการหาค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) และหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) แล้วแปลความหมายตามเกณฑ์ของ บุญชม ศรีสะอาด (2554: 103) 3. การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามปลายเปิดเพื่อนามาประกอบการอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ผลการวิจัย 1. ระดับประสิทธิผลการบริหารงานโรงเรียนวิถีพุทธ ในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 30 โดยภาพรวมมีการดาเนินการอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ย สูงสุด คือ ด้านบรรยากาศและปฏิสัมพันธ์ รองลงมาคือ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการเรียนการสอน และด้าน กายภาพ ตามลาดับ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด ได้แก่ ด้านกิจกรรมพื้นฐานวิถีชีวิต 2. ข้อเสนอแนะสาหรับการพัฒนาประสิ ทธิผลการบริหารงานโรงเรียนวิถีพุทธ คือ ควรมีแผนพัฒนา ด้ า นกายภาพตามแนวทางโรงเรี ย นวิ ถี พุ ท ธ จั ด กิ จ กรรมให้ นั ก เรี ย นไปศึ ก ษาเรี ย นรู้ ปฏิ บั ติ ธ รรมที่ วั ด ให้ มี สื่ อ หลากหลายในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของเด็ก จัดกิจกรรมสอดคล้องและต่อเนื่องและประเมินผลกิจกรรม ครู ควรศึกษาหลักสูตรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสอน เพื่อให้เด็กเรียนรู้อย่างมีความสุข ควรสนับสนุนงบประมาณ ดาเนินงานเป็นกรณีพิเศษ ให้กาหนดเป็นแผนปฏิบัติงานประจาปี การปฏิบัติแนววิถีพุทธต้องร่วมมือ บ้าน วัด โรงเรียน ควรจัดอุปกรณ์การเรียนการสอนเพื่อกระตุ้นให้ทาความดี ละความชั่ว ให้ ครูศึกษาดูงานโรงเรียนวิถีพุทธ เพื่อนาเป็นแนวปฏิบัติ ให้ครูทุกคนในโรงเรียนมีส่วนร่วมดาเนินงานวิถีพุทธยังให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น และควรนา แนวคิดวิถีพุทธสู่ชุมชน สรุปผลการวิจัย เป็นการสรุปประเด็นสาคัญที่เกิดจากการทาวิจัย
278
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
1. ระดับประสิทธิผลการบริหารงานโรงเรียนวิถีพุทธ ในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 30 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ โรงเรียนวิถีพุทธ ได้มีการเตรียมการ ทั้ง บุคลากรผู้เกี่ยวข้อง แผนงาน ทรัพยากร ที่มุ่งเน้นสร้างศรัทธาและฉันทะในการพัฒนา จัดสภาพและองค์ประกอบ ต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมให้เกิดความเจริญงอกงาม หรือปัญญา วุฒิธรรม ในการพัฒนาผู้เรียน การดาเนินการทั้งผู้เรียน และบุคลากร ตามระบบไตรสิกขาอย่างต่อเนื่อง มีการดูแลสนับสนุนใกล้ชิดด้วยท่าทีที่เป็นกัลยาณมิตรต่อกันที่จะทา ให้การพัฒนานักเรียนและงานอื่นๆ ดาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงส่งผลให้การดาเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธมี ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ซึ่ง สอดคล้องกับงานวิจัยของ วุฒิชัย วีระวัฒน์ (2549: 62) ได้ศึกษาการดาเนินงานโรงเรียน วิถีพุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดชลบุรี ผลการวิจัย พบว่า สภาพการดาเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐานในจังหวัดชลบุรี ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 2. ข้อเสนอแนะสาหรับการพัฒนาประสิทธิผลการบริหารงานโรงเรียนวิถี พุทธ คือ ควรมีแผนพัฒนา ด้ า นกายภาพตามแนวทางโรงเรี ย นวิ ถี พุ ท ธ จั ด กิ จ กรรมให้ นั ก เรี ย นไปศึ ก ษาเรี ย นรู้ ปฏิ บั ติ ธ รรมที่ วั ด ให้ มี สื่ อ หลากหลายในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของเด็ก จัดกิจกรรมสอดคล้องและต่อเนื่องและประเมินผลกิจกรรม ครู ควรศึกษาหลักสูตร ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสอน เพื่อให้เด็กเรียนรู้อย่างมีความสุข ควรสนับสนุนงบประมาณ ดาเนินงานเป็นกรณีพิเศษ ให้กาหนดเป็นแผนปฏิบัติงานประจาปี การปฏิบัติแนววิถีพุทธต้องร่วมมือ บ้าน วัด โรงเรียน ควรจัดอุปกรณ์การเรียนการสอนเพื่อกระตุ้นให้ทาความดี ละความชั่ว ให้ครูศึกษาดูงานโรงเรียนวิถีพุ ทธ เพื่อนาเป็นแนวปฏิบัติ ให้ครูทุกคนในโรงเรียนมีส่วนร่วมดาเนินงานวิถีพุทธยังให้เป็นรูปธรรมมากขึ้น และควรนา แนวคิดวิถีพุทธสู่ชุมชน สอดคล้องกับ กระทรวงศึกษาธิการ (2547: 24) ที่กล่าวว่า สถานศึกษาโดยบุคลากรใน สถานศึกษาร่วมผู้ปกครองและชุมชนสร้างความตระหนักและศรัทธา รวมทั้งเสริมสร้างปัญญาเข้าใจในหลักการและ วิธีดาเนินการโรงเรียนวิถีพุทธร่วมกัน ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายโดยเฉพาะอย่างยิ่งครูและผู้บริหารควรเพียรพยายาม สนับสนุนทุกวิถีทาง และควรปฏิบัติตนเองให้เป็นตัวอย่างในการพัฒนาผู้เรียนตามวิถีชาวพุทธ ทั้งนี้เป็นเพราะ โรงเรียนจัดกิจกรรมวิถีชีวิตประจาวัน ประจาสัปดาห์หรือในโอกาสต่างๆ อันเป็นภาพรวมของสถานศึกษา ที่เป็นการ ปฏิ บั ติ บู ร ณาการทั้ ง ศี ล สมาธิ และปั ญ ญา โดยเน้ น การมี วิ ถี ชีวิ ต หรื อ วั ฒ นธรรมของการกิ น อยู่ ดู ฟั ง ด้ ว ย สติสัมปชัญญะ เพื่อเป็นไปตามคุณค่าแท้ของการดาเนินชีวิต ดังเช่น กิจกรรมให้นักเรียนสวดมนต์ไหว้พระหน้าเสาธง ทุกเช้าก่อนเข้าห้องเรียนและก่อนเลิกเรียนทุกวัน มีกิจกรรมในวันสาคัญทางพุทธศาสนา วิจารณ์ผลการวิจัย 1. งานวิจัยนี้ควรหาความคิดเห็นระหว่างครูกับผู้บริหาร หรือคณะกรรมการสถานศึกษา ในการบริหาร จัดการและดาเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ 2. ผลการศึกษาวิจัยข้างต้นเป็นเสมือนการนาเสนอสะท้อนฉายภาพการดาเนินการจัดโครงการใน โรงเรียน เนื่องมาจากบทบาทของครู ทาให้ครูมีความรู้ความเข้าใจตรงกัน สามารถทางานเกี่ยวกับโรงเรียนวิถีพุทธ อย่างมีส่วนร่วม และเป็นผลทาให้ครูมีความเข้าใจมากยิ่งขึ้น ข้อเสนอแนะ 1. ควรศึกษาปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อการดาเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ 2. ควรศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการดาเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
279
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
3. ควรศึ ก ษาความพึ งพอใจของนั ก เรี ย น ผู้ ป กครอง และคณะกรรมการสถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน เกี่ยวกับการดาเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ 4. ควรวิจัยและพัฒนาการจัดสภาพการดาเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จลงด้วยการช่วยเหลือแนะนาอย่างดียิ่งจาก ดร.เพียงแข ภูผายาง อาจารย์ที่ ปรึกษาหลั ก ดร.สุ รินทร์ ภูสิงห์ ดร.ปณิธาน วรรณวัลย์ กรรมการสอบวิ ทยานิพนธ์ และคณะกรรมการสอบ วิทยานิพนธ์ทุกท่านที่ได้กรุณาให้คาปรึกษา ช่วยเหลือแนะนาตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆด้วยความเอาใจใส่มา โดยตลอด ผู้วิจัยขอขอบพระคุณไว้เป็นอย่างสูง ณ ที่นี้ขอขอบพระคุณ ผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่ได้กรุณาให้คาแนะนา ตรวจสอบ และปรับปรุงเครื่องมือในการวิจัย สาหรับการวิจัยในครั้งนี้ประโยชน์และคุณค่าอันพึงมีของวิทยานิพนธ์ ฉบับนี้ ผู้วิจัยขอมอบเป็นเครื่องกตัญญูกตเวที แด่บิดา มารดา ญาติพี่น้องตลอดจนครู อาจารย์และผู้มีพระคุณทุก ท่าน เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2547). โรงเรียนวิถีพุทธ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย. บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน์. มณกาญจน์ ทองใย. (2549). การพัฒนารูปแบบการบริหารโครงการโรงเรียนวิถีพุทธของ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. ปรัชญานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร ก การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. วุฒิชัย วีระวัฒน์. (2549). การดาเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในจังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. สุวรรณ วิลารักษ์. (2551). การดาเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ฉะเชิงเทรา เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริห ารการศึกษา บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์. อัมพร บารุงผล. (2549). การบริหารโรงเรียนวิถีพุทธของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาชลบุรี เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
280
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
EDUP-10 การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 SCHOOL – BASED MANAGEMENT IN PUBLIC SCHOOLS UNDER THE JURISDICTION OF SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 17 เกวลี เกรัมย์1 ดร.ธนิก คุณเมธีกลุ 2 รองศาสตราจารย์ธีรศักดิ์ อินทรมาตย์3 1
เกวลี เกรัมย์ ครู คศ.2 โรงเรียนเทศบาลชุมชนวิมลวิทยา อาเภอเมือง จังหวัดตราด อาจารย์ ดร.ธนิก คุณ เมธีกุ ล ประธานที่ป รึก ษาวิท ยานิพ นธ์ หลัก สูต รครุศ าสตรมหาบั ณฑิ ต สาขาวิช าการบริ ห ารการศึก ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี 3 รองศาสตราจารย์ธีรศักดิ์ อินทรมาตย์ กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ข้าราชการบาบาญ. มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี 2
บทคัดย่อ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษาและเปรี ย บเที ย บการบริ ห ารโดยใช้ โ รงเรี ย นเป็ น ฐานใน สถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 จาแนกตามระดับการศึกษา ประสบการณ์การ ทางาน และขนาดของสถานศึ กษา กลุ่ม ตัวอย่างที่ ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครู ผู้สอนสังกั ดสานักงานเขตพื้น ที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 รวมทั้งสิ้น 280 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.87 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิ จั ย พบว่ า 1) การบริ ห ารโดยใช้ โ รงเรี ย นเป็ น ฐานในสถานศึ ก ษาสั งกั ด ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานใน สถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 17 จาแนกตามระดับการศึกษาและประสบการณ์การ ทางานโดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ 3) การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสถานศึกษาสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 จาแนกตามขนาดของสถานศึกษาโดยรวมแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คำสำคัญ: การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน, สถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 17, ครูผสู้ อน Abstract The purposes of this research were to study and compare school-based management in public schools under the jurisdiction of secondary educational service area office 17 classified by level of education, working experience and school size. The sample drawn by stratified random sampling included 280 permanent teachers under the jurisdiction of secondary educational service area office 17. The instrument for data collection was a set of five-rating scale questionnaire, with its reliability of .87. The data were analyzed using percentage, arithmetic mean, standard deviation, t-test and one-way analysis of variance.
281
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
The research findings were as follows : 1) The school-based management in public schools under the jurisdiction of secondary educational service area office 17 in both overall and specific perspectives was reached at the high level. 2) These were no significances statistically in terms of overall school-based management classified by level of education and working experience. 3) The overall school-based management classified by school size was different at .01 significant level statistically. Keyword: School – Based Management , Public Schools under The Jurisdiction of Secondary Educational Service Area Office 17, teachers บทนา กระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกในยุคโลกาภิวัตน์ (Globalization) ได้ส่งผลกระทบให้ประเทศไทย จาเป็นต้องเร่งพัฒนา ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงระบบการจัดการศึกษาของประเทศเพื่อพัฒนาคนให้มีคุณภาพ และ ศักยภาพอย่างต่อเนื่องเหมาะสมต่อการดารงชีวิตอยู่ได้ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม โดยต้องการให้ประชากรของประเทศสามารถร่วมมือและแข่งขันกับประชาคมโลกอื่นๆ ได้อย่างยั่งยืน ดังนั้น จึงได้มี การออกพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ซึ่ง เป็นกฎหมายหลักในการปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบโดยมุ่ง กระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาจากส่วนกลางไปยังสถานศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ ชุมชน ที่มุ่งหวังจะให้เกิดประสิทธิผลในการจัดการศึกษา และตอบสนองความต้องการของชุมชนดังปรากฏอยู่ใน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 39 ระบุว่า “ให้กระทรวงศึกษาธิการกระจายอานาจการ บริหารและการจัดการศึกษา ทั้งทางด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารงานทั่วไป ไปยัง คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง.” และในมาตรา 40 ระบุว่า “ให้มี คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ากว่ากว่าปริญญา ของแต่ละสถานศึกษา เพื่อทาหน้าที่กากับและส่งเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษา ประกอบด้วยผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผู้ แทน องค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนศิษย์เก่าของสถานศึกษา และผู้ทรงคุณวุฒิโดยให้ผู้บริหาร สถานศึกษาเป็นกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการสถานศึกษา.” (วีระยุทธ ชาตะกาญจน์. 2555 : 58 – 59) สถานศึก ษาขั้นพื้ นฐานเป็นหน่ว ยงานที่ รับผิ ดชอบด้ านการจั ดการศึ กษาโดยตรงซึ่ งมีห น้า ที่กาหนด นโยบาย วางแผน และดาเนินการจัดการศึกษาและพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้สอดคล้องกับนโยบายและมาตรฐาน การศึกษาของชาติรวมทั้งความต้องการของท้องถิ่น ซึ่งในปัจจุบันกระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดให้สถานศึกษาขั้น พื้นฐานของรัฐมีฐานะเป็นนิติบุคคล ตามมาตรา 36 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 (กระทรวงศึกษาธิการ. 2553 ข : 3) ในการบริหารและจัดการศึกษาให้เหมาะสมกับบริบทของ สถานศึกษารวมทั้งได้มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการบริหารจัดการศึกษาเพื่อให้เกิดคุณภาพและประสิทธิภาพ มุ่งเน้น ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากกระบวนการบริหารจัดการศึกษาที่มีคุณภาพมีความพร้อมและสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมที่ เปลี่ยนแปลงได้ ฉะนั้น บุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องซึ่งมีหน้าที่ในการร่วมกันรับผิดชอบดาเนินการจัดการศึกษาขั้น พื้นฐานจึงต้อ งศึ กษา ทาความเข้า ใจบทบาทหน้ าที่ และการปฏิ บัติ งานของตนเป็น อย่ างดี โดยเฉพาะผู้ บริ หาร สถานศึกษาเป็นผู้ที่มีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งในฐานะผู้นาการเปลี่ยนแปลงควรสนับสนุน ส่งเสริมการบริหารงานต่างๆ
282
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ซึ่งจะทาให้การดาเนินงานจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานประสบผลสาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพตามเจตนารมณ์ ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และการปฏิรูปการศึกษา จากเหตุ ผ ลข้ า งต้น ผู้ วิจั ย สนใจที่จ ะศึ กษาการบริ หารโดยใช้โ รงเรี ย นเป็ น ฐานในสถานศึ ก ษาสั งกั ด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 เพื่อให้ผู้บริหารระดับสูงและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัด การศึกษาสามารถนาผลการวิจัยไปใช้เป็นสารสนเทศในการดาเนินการวางแผน และพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาให้ สอดคล้องกับบริบทของสังคมต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึ กษาผลการบริ หารโดยใช้โรงเรีย นเป็ นฐานในสถานศึกษาสังกั ดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 17 วิธีดาเนินการวิจัย การกาหนดประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูผสู้ อนในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 ปีการศึกษา 2561 รวมทัง้ สิ้น 1,017 คน (สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17. 2560 : 9 -17) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูผู้สอนในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 17 ปีการศึกษา 2561 กาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างใช้ตารางของเครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie and Morgan. 1970 : 608 – 610) ได้กลุ่มตัวอย่างจานวน 280 คน การสุ่มตัวอย่างใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) โดยใช้ขนาดของสถานศึกษาเป็นเกณฑ์ ประกอบด้วย ครูผู้สอนโรงเรียนขนาดเล็ก จานวน 55 คน ขนาดกลาง 177 คน และโรงเรียนขนาดใหญ่ จานวน 48 คน รวมทั้งหมด 280 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็น ฐานในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 ซึ่งกาหนดความหมายของคะแนนแต่ละข้อดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 72) 5 หมายถึง การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานอยู่ในระดับมากที่สดุ 4 หมายถึง การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานอยู่ในระดับมาก 3 หมายถึง การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานอยู่ในระดับปานกลาง 2. หมายถึง การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานอยู่ในระดับน้อย 1. หมายถึง การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานอยู่ในระดับน้อยมา การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยดาเนินการรวบรวมข้อมูลตามลาดับขั้นตอน ดังนี้ 1. ผู้วิจัยขอหนังสือจากมหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณีถึงผู้อานวยการโรงเรียนเพื่อขอความร่วมมือใน การทาเก็บรวบรวมข้อมูล
283
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
2. ผู้วิจัยนาหนังสือส่งถึงผู้อานวยกาโรงเรียน และขอความร่วมมือจากกลุ่มตัวอย่างในการตอบ แบบสอบถาม 3. ผู้วิจัยกาหนดวันในการเก็บข้อมูลและดาเนิน การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 1. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามแต่ละฉบับ 2. วิเคราะห์ข้อมูลเกีย่ วกับสถานภาพของกลุ่มตัวอย่าง 3. วิเคราะห์ข้อมูล การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 17 โดยการหาค่า เฉลี่ย เป็น รายด้า นและรายข้อ แล้วนาค่าเฉลี่ยไปเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยที่ กาหนด ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 103) 4.51 – 5.00 หมายถึง การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานอยู่ในระดับมากที่สดุ 3.51 – 4.50 หมายถึง การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานอยู่ในระดับมาก 2.51 – 3.50 หมายถึง การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานอยู่ในระดับปานกลาง 1.51 – 2.50 หมายถึง การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานอยู่ในระดับน้อย 1.00 – 1.50 หมายถึง การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานอยู่ในระดับน้อยที่สุด 4. วิเคราะห์เปรียบเทียบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 จาแนกตามระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการทางานโดยใช้การทดสอบค่าที (t-test) 5. วิเคราะห์เปรียบเทียบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 จาแนกตามขนาดของสถานศึกษาโดยวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – Way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ผู้วิจัยจะตรวจสอบความแตกต่างเป็นรายคู่โดยใช้ วิธีการตรวจสอบความแตกต่างของเชฟเฟ่ (Scheffe ’s method) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพเครื่องมือ 1. ค่าความตรงเชิงเนื้อหาของแบบสอบถามโดยการหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามและ วัตถุประสงค์ (Index of Item - Objective Congruence : IOC) 2. ค่าอานาจจาแนกระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวมของแบบสอบถามโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน 3. ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม โดยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (-Coefficient) ตามวิธี ของครอนบาค (Cronbach) สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐาน 1. การทดสอบค่ า ที (t-test) เพื่ อ วิ เ คราะห์ เ ปรี ย บเที ย บการบริ ห ารโดยใช้ โ รงเรี ย นเป็ น ฐานใน สถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 จาแนกตามระดับการศึกษา และประสบการณ์
284
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ในการทางานของครูผู้สอน 2. การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – Way ANOVA) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐานการบริ หารสังกัด สานั กงานเขตพื้นที่ก ารศึ กษามั ธยมศึกษา เขต 17 จ าแนกตามขนาดของ สถานศึกษา ผลการวิจัย ผลการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 ผลการวิจัยได้ดังนี้ การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็ นฐานในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 17 โดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยจาแนกตามระดับการศึกษา ประสบการณ์การทางาน พบว่า โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ และจาแนกตามขนาดของสถานศึกษา พบว่า โดยรวม และรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สรุปผลการวิจัย จากการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 สรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ 1. การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 17 โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2. การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 17 จาแนกตามระดับการศึกษา พบว่า โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ 3. การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 17 จาแนกตามประสบการณ์การทางาน พบว่า โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ 4. การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 17 จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา พบว่า โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 วิจารณ์ผลการวิจัย จากผลการศึกษาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 17 มีประเด็นสาคัญที่สมควรนามาอภิปราย ดังนี้ 1. การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 โดยรวมอยู่ในระดั บมาก ทั้งนี้เนื่องจากว่าในปัจจุบันสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 17 ได้นาแนวคิด และหลักการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานมาบริหารและจัดการศึกษา ส่งเสริม และพัฒนาศักยภาพของผู้บริหารสถานศึกษา คณะครูให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็น ฐานมากยิ่ งขึ้ น รวมทั้งได้ เปิ ดโอกาสให้ชุมชน และผู้ที่ มีส่ วนได้ ส่วนเสี ยเข้า มามีส่ ว นร่ วมใน การจัด การศึ กษา สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 (กระทรวงศึกษาธิการ. 2546 ก : 3) ที่กาหนดให้ชุมชนและ ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียมีบทบาท และ หน้าที่สนับสนุนทรัพยากรสาหรับจั ดการศึกษาให้คาปรึกษา เสนอแนะ ร่วมแก้ไขปัญหาของสถานศึกษา รวมถึง ความร่วมมือในการจัดการศึกษาและบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานซึ่งสอดคล้องกับ อิทธิพล ศรีรัตนะ (2550 :
285
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจัยเกี่ยวกับการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานกับบรรยากาศองค์การในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ผลการวิจัยพบว่า การบริหารงานโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในโรงเรียนคาทอลิก สังกัด อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เช่นเดียวกับงานวิจัยของดาวเรือง กินาวงศ์ (2552 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเรื่องการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็น ฐานของโรงเรียนบ้านฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ผลการวิจัยพบว่า การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนบ้านฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ได้ปฏิบัติทุกกิจกรรมใน เรื่องการกระจายอานาจการมีส่วนร่วม การบริหารตนเอง การคืนอานาจจัดการศึกษาให้ประชาชน การตรวจสอบ และการถ่วงดุล อยู่ในระดับมาก มีโครงสร้างการบริหารงานที่ปฏิบัติได้ ส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ เน้นเป็นสาคัญจัดกิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย แต่ละฝ่ายงานมีส่วนร่วมในการนาเสนองานและโครงการ นักเรียนมี ส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของโรงเรียน ส่งเสริมบุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมของชุ มชนทานองเดียวกับงานวิจัยของ วัฒนา โรจน์เจริญชัย (2553 : บทคัดย่อ )ได้ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของ สถานศึกษาในกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาเบญจมิตร อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ผลการวิจัยพบว่า การบริหารหลักสูตรมีการปฏิบัติและเป็นจริงในระดับมาก คือการทาแผนงานบริหารหลักสูตร โดยชุมชนมีส่วนร่วมมี การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลง และสนองตอบความต้องการของท้องถิ่น สาหรับการ จัดการเรียนการสอน พบว่า มีการปฏิบัติและเป็นจริงระดับมาก คือ มีแผนงานการจัดการเรียนการสอนที่มาจากการ มีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีนวัตกรรมที่ทันสมัยประกอบการสอน มีเอกสารหลักฐาน ร่องรอยการปฏิบัติและเป็นจริงระดับมาก คือ มีแผนงานโครงงานในการวัดและประเมินผลการศึกษา มีระเบียบการ วัดและประเมินผลที่มาจากการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการหลายฝ่าย 2. การเปรี ย บเที ย บการบริ ห ารโดยใช้ โ รงเรี ย นเป็ น ฐานในสถานศึ ก ษาสั ง กั ด ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 จาแนกตามระดับการศึกษา พบว่า โดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญ ทางสถิติ ที่เป็นเช่นนี้อาจเป็นเพราะครูที่มีระดับการศึกษาระดับปริญญาตรี และครูที่มีระดับการศึกษาสูงกว่าระดับปริญญาตรี ต่างมี ความคิดเห็นต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 ไม่แตกต่างกัน ทั้งนี้เนื่องจากการบริหารโดยใช้โรงเรียน เป็นฐานเป็นการกระจายอานาจการจัดการศึกษาจาก ส่วนกลางไปยังสถานศึกษาโดยตรงภายใต้ความเชื่อที่ว่าโรงเรียนมีความสาคัญอย่างมากต่อการเปลี่ยนแปลงและ พัฒนาการศึกษาของเด็กโดยเปิดโอกาสให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องและผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหาร และตัดสินใจไม่ว่าจะเป็นครู ผู้ปกครอง ตัวแทนศิษย์เก่า ตัวแทนนักเรียน ซึ่ งจะก่อให้เกิดความรู้สึกในการเป็น เจ้าของ และรับผิดชอบในการจัดการศึกษามากยิ่งขึ้นอย่างไรก็ดีการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานจะประสบ ผลสาเร็จหรือ ไม่นั้นขึ้นอยู่กับครูเป็นสาคัญเพราะครูเป็นผู้ใกล้ชิดกับนักเรียนมากที่สุด ย่อมรู้ปัญหาได้ดีกว่าและ สามารถแก้ปัญหาได้ตรงประเด็น หากครูมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารโดยใช้โรงเรียนทั้งในด้านนโยบาย วิชาการ งบประมาณ บุคลากร รวมทั้งบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของตนเองว่ามีมากน้อยเพียงใดก็จะทาให้ ครูมีความกระตือรือร้นในการจัดทาโครงการและดาเนินการเปลี่ยนแปลงระหว่างการจัดการเรียนรู้ การหาแหล่ง เรียนรู้ การวัดและ การประเมินผล การเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เต็มตามศักยภาพ ประกอบกับ ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปัจจุบันส่งผลให้มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารอย่างรวดเร็วครู มี การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารสนเทศได้อย่างทั่วถึง อีกทั้งมีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ใน การแสวงหาความรู้ได้เท่าเทียมกัน ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ครูมีความคิดเห็นต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 17 ในระดับใกล้เคียงกัน แม้ว่าครูผู้สอนจะมีระดับการศึกษาที่ แตกต่างกันก็ตามซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของก้องภัค กุลสุทธิเสถียร (2550 : 79-80) ได้ศึกษาการบริหารโดยใช้
286
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนนวมินทราชูทิศพายัพอาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ผลการวิจัยพบว่า ตามขอบข่าย การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานทั้ง 5 ด้าน การบริหารงานแบบการกระจายอานาจ การบริหารแบบการมีส่วนร่วม และการบริหารแบบการคืนอานาจการจัดการศึกษาให้ประชาชน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนการบริหาร ตนเอง และการตรวจสอบและการถ่วงดุลอยู่ใน ระดับมาก จาแนกตามระดับการศึกษาของคณะกรรมการโรงเรี ยน และครูใน การฝึกอบรมไม่แตกต่าง เช่นเดียวกับงานวิจัยของธงทอง ล้วนเหล่าอังกูร. (2554 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษา การบริห ารโดยใช้โ รงเรี ย นเป็ น ฐานของโรงเรี ย นในสั งกัด ส านัก งานคณะกรรมการศึ กษาขั้ นพื้ น ฐาน เขตพื้ น ที่ การศึกษานครสวรรค์ เขต 1 ในภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า การบริหาร โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานจาแนกตามระดับการศึกษาไม่แตกต่างกันในทานองเดียวกันกับงานวิจัยของอาพัน สัจกุลชัย เลิศ (2555: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุล วิทยาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 พบว่า การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน จาแนกตาม ระดับการศึกษาโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 3. การเปรียบเทียบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสถานสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 17 จาแนกตามประสบการณ์การทางาน พบว่า โดยรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ เนื่องจากในปัจจุบันสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 ได้ส่งเสริมและพัฒนา ศักยภาพของผู้บริหารสถานศึกษา และคณะครูให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน มากยิ่งขึ้นซึ่งสอดคล้องกับเจตนารมณ์ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ที่ระบุว่าข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีสิทธิเสรีภาพและ ได้รับการพัฒนาอย่างเสมอภาคเท่าเทียมกันโดยเปิดโอกาสให้ครูได้เข้าร่วมกิจกรรมและดาเนินการตามที่สถานศึกษา จัดขึ้นเพื่อให้ครูทุกคนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการดาเนินงานไปสู่เป้าหมายด้วยตนเอง ครูและบุคลากร ทางการศึกษา ที่ปฏิบัติงานประจาสามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสถานศึกษาตามนโยบายการปฏิรูป การศึกษาและการกระจายอานาจการจัดการศึกษาทาให้ครูมีขวัญกาลังใจและมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานมากขึ้น ด้วยเหตุนี้ ครูที่ มีประสบการณ์มากน้อยแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานไม่แตกต่าง กัน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ วชิราภรณ์ วงค์ธิ (2556 บทคัดย่อ) ได้วิจัยการศึกษาและเปรียบเทียบศึกษาการ ดาเนินงานในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 22 พบว่า ครูและผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 22 ที่มีประสบการณ์แตกต่างกันมีความคิดเห็นว่า การดาเนินงานในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็น ฐานโดยรวมไม่แตกต่างกัน จึงสอดคล้องกับงานของ ก้องภัค กุลสุทธิเสถียร (2550 : บทคัดย่อ)ได้ศึกษาการบริหาร โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนนวมินทราชูทิศพายัพอาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ตามขอบข่ายการบริหารโดย ใช้โรงเรียนเป็นฐานทั้ง 5 ด้านการบริหารงานแบบการกระจายอานาจ การบริหารแบบการมีส่วนร่วม และการ บริหารแบบการคืนอานาจการจัดการศึกษาให้ประชาชน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลางส่วนการบริหารตนเอง และ การตรวจสอบและการถ่วงดุลอยู่ในระดับมาก จาแนกตามประสบการณ์ พบว่า ครูมีประสบการณ์การฝึกอบรมไม่ แตกต่างสอดคล้องกับงานของอัซรีดา ยูโซะ (2555 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเปรียบเทียบระดับการปฏิบัติตามแนวทาง การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานต่อทัศนะของครูในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส พบว่า การปฏิบัติตามแนวทางโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐานตามทัศนะของครูในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นราธิวาส คือ ครูที่มีประสบการณ์ในการทางานแตกต่างกันมีทัศนะต่อการปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐานแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ
287
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
4. การเปรียบเทียบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสถานสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 17 จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา พบว่า โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ .01 ทั้งนี้อาจสืบเนื่องจากสถานศึกษาขนาดเล็กมีข้อจากัดด้านทรัพยากรบุคคล อาคารสถานที่ อุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียน การสอน และสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ งบประมาณที่ใช้ในการบริหารจัดการจึงทาให้สถานศึกษาขนาดเล็กขาด ความพร้อมในการรองรับการกระจายอานาจ ทั้งทางด้านวิชาการ งบประมาณ บริหารงานบุคคล และงานบริหาร ทั่วไปซึ่งแตกต่างจากสถานศึกษาขนาดกลางและขนาดใหญ่ที่ มีทรัพยากรในการบริหารจัดการมากมีโครงสร้างการ บริหารงานที่เด่นชัดการบริหารงานเป็นไปตามสาย การบังคับบัญชา มีบุคลากรจานวนมากการมอบหมายงานตรงกับ คุณวุฒิและความสามารถของบุคคล ประกอบกับสภาพเศรษฐกิจของผู้ปกครองและชุมชนส่วนใหญ่มีรายได้สูง ผู้ปกครองให้ความสาคัญและตระหนักถึงประโยชน์ของการศึกษาที่มีต่อบุตรหลานของตน และมีส่วนร่วมในการ ระดมทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการศึกษา จึงเป็นเหตุผลที่ทาให้การมีส่วนร่วมในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน แตกต่างกันซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของยุพิน ทักษิณ (2556 : บทคัดย่อ) ได้วิจัยการศึกษาและเปรี ยบเทียบการ ดาเนินการตามหลักการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนในอาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม พบว่า การ ดาเนินการตามหลักการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนในอาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม จาแนกตาม ขนาดโรงเรียนโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการกระจาย อานาจ ด้าน การบริหารตนเอง ด้านการบริหารแบบมีส่วนร่วม และด้านความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้แตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยผู้บริหารและครูในโรงเรียนขนาดใหญ่มีการดาเนินการตามหลักการบริหาร โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานมากกว่าผู้บริหารและครูในโรงเรียนขนาดกลางและโรงเรียนขนาดเล็ก ทานองเดียวกับงานวิจัย ของสาเริง กุจิรพันธุ์ (2554 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเรื่องการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 จาแนกตามขนาดของสถานศึกษา พบว่าโรงเรียนขนาด เล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่มีการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตที่ระดับ .05 ข้อเสนอแนะ ในการศึกษาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 17 มีข้อเสนอแนะดังนี้ ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ 1. ด้านการตรวจสอบและถ่วงดุล มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ดังนั้น สถานศึกษาจึงควรเปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษาตรวจสอบ การดาเนินของ งานสถานศึกษาอย่างใกล้ชิด ตลอดจนจัดให้มีการรายงานผลการปฏิบัติงานต่อสาธารณชนและผู้ที่เกี่ยวข้องกับการ จัดการศึกษาได้ทราบถึงความสาเร็จ ปัญหาและอุปสรรค์ที่เกิดขึ้น ซึ่งจะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นไป ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ 2. ผู้บริหารระดับภูมิภาคและเขตพื้นที่ควรกระจายอานาจการตัดสินใจ และการบริหารงานให้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาทุกฝ่ายเพื่อสะดวกคล่องตัวในการดาเนินงาน รับฟังความคิดเห็นของคณะครูและผู้ที่มีส่วนได้ ส่วนเสีย ทุกฝ่าย สร้างบรรยากาศการปฏิบัติงานแบบกัลยาณมิตรเพื่อให้การทางานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 3. ผู้บริหารสถานศึกษาควรส่งเสริมความรู้และชี้แจงบทบาทหน้าที่ของผู้ปกครองและชุมชนใน การ ร่วมมือสารวจภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง คุ้มค่าสูงสุด
288
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นเลิศในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 2. ควรมีการศึกษาการเสริมพลังอานาจของครูผู้สอนในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานสู่ การ พัฒนาคุณภาพการศึกษาในศตวรรษที่ 21 3. ควรศึกษาเปรียบเทียบการมีสว่ นร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานระหว่าง โรงเรียนประถมศึกษาและโรงเรียนมัธยมศึกษา 4. ควรศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารงานโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานตามขนาดของโรงเรียน กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์เล่มนี้ได้รับความอนุเคราะห์และช่วยเหลือเป็นอย่างดียิ่งจากดร.ธนิก คุณเมธีกุล ประธานที่ ปรึกษา ประธานที่ปรึกษา และรองศาสตราจารย์ธีรศักดิ์ อินทรมาตย์ กรรมการที่ปรึกษา ที่ได้ให้คาปรึกษาแนะนา และตรวจแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ผู้วิจัยมีความรู้สึกซาบซึ้งในความกรุณาอย่างมาก จึงขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ตรวจแบบสอบถามให้ข้อเสนอแนะที่เป็น ประโยชน์ในการจัดทาเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล และขอขอบพระคุณผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สานักงานเขตพื้น ที่การศึก ษามัธยมศึกษา เขต 17 ที่ กรุณาให้ความร่วมมือ ตอบแบบสอบถามเป็นอย่า งดี และ ขอขอบพระคุณสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 ที่ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับคุณภาพผู้เรียนรวมทั้งบุคคล อื่นๆ ที่ได้ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือให้วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จได้ด้วยดี เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2546 ก).พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 พร้อมกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้อง และพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : กระทรวงฯ. .................... (2553ข). พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช 2553. กรุงเทพฯ: กระทรวงฯ. ก้องภัค กุลสุทธิเสถียร. (2550). การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนนวมินทราชูทิศพายัพอาเภอ แม่ริม จังหวัดเชียงใหม่.วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา). เชียงใหม่: : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ดาวเรือง กินาวงศ์. (2552). การบริหารโรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนบ้านฝาง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม.(การบริหารการศึกษา). เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ธงทอง ล้วนเหล่าอังกูร.(2554 ).การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนในสังกัดสานักงาน คณะกรรมการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เขตพื้นที่การศึกษานครสวรรค์ เขต 1. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา). นครปฐม : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. บุญชม ศรีสะอาด. (2545).การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7 . กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
289
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ยุพิน ทักษิณ. (2556). การดาเนินการตามหลักการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนในอาเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์ค.ม.(การบริหารการศึกษา) .นครพนม :บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย นครพนม วชิราภรณ์ วงค์ธิ. (2556).การดาเนินงานในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ตามความคิดเห็นของครู และผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษา ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22 .วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา).นครพนม : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม วัฒนา โรจน์เจริญชัย. (2553). การบริหารงานวิชาการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษาในกลุ่มเครือข่าย พัฒนาคุณภาพการศึกษาเบญจมิตร อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่.วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. (การบริหาร การศึกษา). เชียงใหม่ :บัณฑิตวิทยาลัย.มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วีระยุทธ ชาตะกาญจน์. (2555). เทคนิคการบริหารสาหรับนักบริหารการศึกษามืออาชีพ.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สาเริง กุจริ พันธุ์ (2554). การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1. นครปฐม:สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และ บุคลากรทางการศึกษา. อัซรีดา ยูโซะ.(2555 ). การปฏิบัติตามแนวทางการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานต่อทัศนะของครูในสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การบริหารการศึกษา). ยะลา: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. อาพัน สัจกุลชัยเลิศ. (2555).การศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนบ้านฉาง กาญจนกุลวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (การ บริหารการศึกษา). ชลบุรี : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. อิทธิพล ศรีรัตนะ. (2550). การบริหารโดยใช้โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานกับบรรยากาศองค์กรในโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพ. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา). นครปฐม : บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. Krejcie,R.V. Morgan, D. W. (1970). “Determining Sample size for Research”Leadership, Vol.46 (8) pp 608 – 610.
290
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018 EDUP-11
ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 THE RELATIONSHIP BETWEEN ACADEMIC LEADERSHIP AND EFFECTIVENESS OF TEACHERS’ PERFORMANCE UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 30 ฐิติณัฐ ปรุงชัยภูม1ิ ดร.เพียงแข ภูผายาง2 1 2
ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ อาจารย์ที่ปรึกษาหลักวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาระดับภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ตาม ความเห็นของผู้บริหารและครู 2) เปรียบเทียบระดับภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา จาแนกตาม สถานภาพและขนาดของสถานศึกษา 3) ศึกษาระดับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา ตาม ความเห็นของผู้บริหารและครู 4) เปรียบเทียบระดับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา จาแนกตาม สถานภาพและขนาดของสถานศึกษา และ 5) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการกับประสิทธิผลการ ปฏิบัติงานของครูสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 ผลการวิจัย พบว่า 1. ระดับภาวะผู้นาทาง วิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความเห็นของผู้บริหารและครู โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณา เป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของสถานศึกษา รองลงมา คือ การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน และมีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ การนิเทศและประเมินผลการศึกษา 2. การเปรียบเทียบระดับภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา จาแนกตามสถานภาพ พบว่า ความคิดเห็น ระหว่างผู้บริหารสถานศึกษาและครู โดยภาพรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ เมื่อ จาแนกตามขนาดสถานศึ กษา พบว่า ความคิ ดเห็นระหว่า งผู้ บริ หารสถานศึ กษาและครูที่ ปฏิ บัติ งานอยู่ใ น สถานศึกษาที่มีขนาดต่างกัน โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 3. ระดับประสิทธิผลในการปฏิ บัติงานของครู ในสถานศึกษา ตามความเห็นของผู้บริหารและครู โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ คุณธรรม จริยธรรม รองลงมา คือ จรรยาบรรณวิชาชีพ และมี ค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ ผลการปฏิบัติงาน 4. การเปรียบเทียบระดับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา จาแนกตามสถานภาพ พบว่า ความคิดเห็นระหว่างผู้บริหารสถานศึกษาและครู โดยภาพรวมและรายด้านแตกต่าง กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเมื่อจาแนกตามขนาดสถานศึกษา พบว่า ความคิดเห็นระหว่างผู้บริหาร สถานศึกษาและครูที่ปฏิบัติงานอยู่ในสถานศึกษาที่มีขนาดต่างกัน โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน 5. ความสัมพันธ์ ระหว่ างภาวะผู้ น าทางวิ ชาการกั บประสิ ทธิ ผลการปฏิ บั ติ งานของครู ผลการวิ เ คราะห์ ส ถิ ติ เ ปรี ย บเที ย บระดั บ ความสัมพันธ์ โดยภาพรวมและรายด้านมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คำสำคัญ : ภาวะผู้นาทางวิชาการ / ประสิทธิผลการปฏิบตั ิงานของครู / สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 30
291
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
Abstract The research purposes were: 1) to study the level of the academic leadership of the school administrators under the Secondary Educational Service Area Office 30 (SEAO 30) based on the opinions of the school administrators and the teachers, 2) to compare the academic leadership of the school administrators under SEAO 30 classified by status and school-sized, 3) to study the level of the effectiveness of the teachers’ performance under SEAO 30, 4) to compare the level of the effectiveness of the teachers’ performance under SEAO 30 classified by status and school-sized, and 5) to study the relationship between the academic leadership and the effectiveness of the performance of 376 teachers under SEAO 30 in the academic year 2017. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table, and the samples were obtained by using Stratified Random Sampling. The research instruments were a set of 5rating scale questionnaire with the discrimination between .329 - .879 and the reliability of .980. The statistics used for analyzing the data were frequency, percentage, mean, standard deviation. The hypothesis was tested by t-test (Independent), F-test (One- Way ANOVA) and Pearson Product Moment Correlation: rxy. The research results revealed that: 1. The level of the academic leadership of the school administrators under SAEO 30 toward the opinions of the school administrators and teachers in overall was at a high level. When considering each aspect, it was found that the highest mean scores were vision, mission, and goal. It was followed by the curriculum development, the instructional management and the lowest mean scores were the supervision and the education evaluation. 2. The comparison of the academic leadership of the administrators under SEAO 30 classified by the status found that the opinion of the administrators and teachers in overall and each aspect was a significant difference at .05 levels. And when considering the school-sized that were small-size, medium-sized, large-sized, it was found that the opinion of the school administrators and teachers in different school-sized were not different. 3. The effectiveness on the teachers’ performance under SEAO 30 toward the school administrators overall was at a high level. And when considering each aspect, it was found the highest mean scores were moral and ethics. It was followed by the professional code of ethics and the lowest mean scores was the performance. 4. The comparison of the effectiveness level of the teachers’ performance under SEAO 30 classified by the status found that the opinion between the school administrators and teachers in overall and each aspect was a significant difference at .05 levels. When considering the school-sized, it was found that the opinions of the school administrators and teachers in the different school-sized were not different.
292
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
5. The relationship between the academic leadership and the effectiveness of the performance of the teachers under SEAO 30 found that the analysis of the relationship level in overall and each aspect had a positive correlation at a high level at a significant difference at .01 levels. Keywords : Academic Leadership / Effectiveness of Teachers / Secondary Educational Service Area Office 30 บทนา กระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกมีผลกระทบมาสู่สังคมไทยอย่างมาก จึงจาเป็นที่จะต้อง จัดการศึกษา ในประเทศให้มีคุณภาพ โดยเร่งการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพื่อพัฒนาคนไทยให้มีศักยภาพในการดารงชีวิตอย่างมี คุณภาพ และร่วมแข่งขันกับนานาอารยประเทศได้อย่างทัดเทียมเหมาะสม ทั้งยังสามารถดารงวิถีชีวิตความเป็นไทย ในสังคมโลกได้ดีและมีความสุข ตามที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 หมวด 5 ที่ว่าด้วยการบริหารและการจัดการศึกษา ได้กล่าวถึงการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาไว้ ในหลายมาตราโดยเฉพาะอย่างยิ่งมาตรา 39 กาหนดให้กระทรวงศึกษาธิการกระจายอานาจการบริหาร และการจัด การศึกษา ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป ไปยังคณะกรรมการสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ดังนั้นแนวนโยบายในการดาเนินงานจึงจาเป็นที่สถานศึกษาต้องใช้เป็นหลักใน การดาเนินงานในส่วนที่รับผิดชอบ ทาให้การดาเนินงานของสถานศึกษา สามารถสนองนโยบายและนานโยบายไปสู่ การปฏิบัติจนบรรลุวัตถุประสงค์ ปัจจุบันสถานศึกษาเป็นหน่วยงานหลักในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้บรรลุตามความมุ่งหมาย ของการปฏิรูปการศึกษาตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2545 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับ ที่ 2) พ.ศ. 2545 และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้การดาเนินงานให้ประสบความสาเร็จนั้นสถานศึกษามีบทบาทหน้าที่ จัดทานโยบาย แผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนของกระทรวงศึกษาธิการ พั ฒ นาหลั ก สู ต รสถานศึ ก ษา ให้ ส อดคล้ อ งกั บ หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน จั ด การเรี ย นการสอน สภาพแวดล้อม บรรยากาศการเรียนการสอนที่เหมาะสม ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ กากับ ติ ด ตาม ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านตามแผนงาน โครงการและกิ จ กรรมต่ า งๆ ของสถานศึ ก ษา (ส านั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2547) สถานศึกษาเป็นสถาบันทางสังคมที่มีหน้าที่ให้การศึกษาแก่ประชาชน ผู้ที่มีส่วนช่วยในการพัฒนาคนให้มี คุณภาพ รวมเรียกว่าบุคลากรทางการศึกษา บุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษาจะต้องปฏิบัติงาน ต่างๆ เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสถานศึกษา ทั้งนี้ในการทางาน เป็นธรรมดาที่สถานศึกษาย่อมต้องการความสามารถ กาลังกายและกาลังใจจากผู้ปฏิบัติงาน แต่ในการทาเช่นนั้นก็ อาจจะขัดกับความต้องการและความสุขส่วนบุคคล คือ ผู้ปฏิบัติงานมักจะไม่ปฏิบัติงานให้เต็มความสามารถ เพราะ การปฏิบัติงานให้เต็มความสามารถ ผู้ปฏิบัติงานจะต้อ งเหน็ดเหนื่อยทั้งกายและใจขณะเดียวกันสถานศึกษาก็ ต้องการให้ผู้ปฏิบัติงานทางานอย่างเต็มที่และมีความสุขในการทางานเพื่อสร้างงานให้บรรลุวัตถุประสงค์หรือเกิด ประสิทธิผลตามที่ตั้งไว้ (พนัส หันนาคินทร์ , 2526 อ้างถึงใน ธีระยุทธ สิงห์ศิลป์, 2550) ในความต้องการบรรลุ วัตถุประสงค์ขององค์กรไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชนหรือรัฐวิสาหกิจ สิ่งหนึ่งที่เป็นองค์ประกอบ คือ การพัฒนา
293
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ตัวชี้วัดประสิทธิผลองค์กรซึ่งให้ความสาคัญกับการบรรลุเป้าหมาย โดยมีการวางแผนอย่างเป็นระบบสาหรับอนาคต รวมทั้งองค์กรมีการกาหนดเป้าหมายอย่างจริงจังตลอดจนความเห็นพ้องต้องกันของสมาชิกเพื่อยึดมั่นในเป้ าหมาย ร่วมกัน เมื่อสมาชิกมีการยอมรับในเป้าหมายว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้องเหมาะสมจะทาให้สมาชิกในองค์กรมีความขัดแย้ง ภายในน้อย เกิดความไว้วางใจซึ่งกันและกันสูง มีความสามัคคีเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกันมีบทบาท ความรับผิดชอบที่ ชัดเจน มีการสื่อสารและระบบการสั่งงานที่ดี ยอมรับในผู้นา รวมทั้งมีการจัดสรรทรัพยากรที่เป็นธรรม (พิทยา บวร วัฒนา, 2541) จะเห็นได้ว่า ประสิทธิผลมีความสาคัญต่อองค์กร ประกอบด้วย ช่วยตรวจสอบวัตถุประสงค์กับการ จัดตั้งองค์กร การจัดตั้งองค์กรย่อมกาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายไว้อย่างชัดเจนเพื่อดาเนินงานให้เป็นไปตาม ความต้องการหรือไม่ถ้าผลของงานบรรลุผลตามวัตถุประสงค์แสดงว่าองค์กรมีประสิทธิผล (ภารดี อนันต์นาวี, 2551) อีกทั้งประสิทธิผลในการทากิจกรรมขององค์กรสามารถสร้างผลงานไห้สอดรับกับเป้าหมายที่กาหนดไว้ทั้งในส่วนของ ผลผลิตและผลลัพธ์ ซึ่งเป็นกระบวนการเปรียบเทียบผลงานจริงกับเป้าหมายที่กาหนดไว้ก่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ที่ ตรงตามความคาดหวังที่กาหนดล่วงหน้าไว้ (สุพจน์ ทรายแก้ว, 2545) การบริ หารวิ ชาการเป็น งานที่ส าคัญส าหรับ ผู้บริห ารสถานศึกษา เนื่ องจากการบริหารงานวิ ชาการ เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทุกชนิดในสถานศึกษา โดยเฉพาะเกี่ยวกับการปรั บปรุงคุณภาพการเรียนการสอนซึ่งเป็น จุดมุ่งหมายหลักของสถานศึกษา เป็นเครื่องชี้ความสาเร็จและความสามารถของผู้บริหาร การบริหารวิชาการถ้ามอง ในด้านกระบวนการดาเนินงานแล้วเป็นกระบวนการบริหารกิจกรรมทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงการเรียนการ สอนให้ดีขึ้น ตั้งแต่การกาหนดนโยบายการวางแผน การปรับปรุงการเรียนการสอน และประเมินผลการสอน เพื่อให้ เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร และจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียน (ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์, 2543) การเป็นผู้นาที่มีคุณภาพ ต้องมีความรู้ ความสามารถด้ านวิสัยทัศน์ มีความมุ่งมั่น ในการทางาน มีความสัมพันธ์กับบุคลากรทั้งภายในและภายนอกองค์กร รวมถึงการใช้เทคโนโลยี นวัตกรรมข้อมูล ทางสถิติมาช่วยในการวิเคราะห์ ตัดสินใจ ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถในการ สื่อสาร ความสาคัญของผู้บริหารสถานศึกษาในฐานะผูน้ าที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผูบ้ ังคับบัญชาดูแลและควบคุมการ บริหารงานในโรงเรียนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรการจัดการศึกษาสามารถใช้ศิลปะ หรือกระบวนการ ในการมี อิ ท ธิ พ ลเหนื อ ผู้ ป ฏิ บั ติ ค นอื่ น ๆ ในโรงเรี ย น สามารถท าให้ ผู้ ป ฏิ บั ติ งานท างานได้ ส าเร็ จ ตาม เป้ า หมาย (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, 2543) ผู้นาจะเป็นผู้ที่มีความสามารถพิเศษสูง เน้นความมีประสิทธิผล ขององค์การมุ่งการเปลี่ยนแปลงเชิงนวัตกรรม มีวิสัยทัศน์ที่ยาวไกล และการพัฒนาในความก้าวหน้า หากผู้บริหาร โรงเรียนมีคุณลักษณะของผู้นาดังกล่าว จะทาให้เป็นผู้บริหารที่มีศักยภาพที่สมบูรณ์ (วิโรจน์ สารรัตนะ, 2542) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 มาตรา 79 และมาตรา 80 ระบุว่า ให้ผู้บังคับบัญชาปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา รวมทั้งมีหน้าที่พัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาให้มี ความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพที่เหมาะสม เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่เกิด ประสิทธิภาพและความก้าวหน้า อีกทั้งได้กาหนดให้มีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้ง ให้ดารงตาแหน่งบางตาแหน่งและ บางวิทยฐานะ เพื่อเพิ่มพูน ความรู้ ทักษะ เจตคติที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรมและ จรรยาบรรณที่เหมาะสม ในอันที่จะทาให้การปฏิบัติหน้าที่ราชการเกิดประสิทธิภาพและความก้าวหน้า ทั้งนี้ตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากาหนด และตามมาตรา 42 การ ประเมินวิทยฐานะ ให้คานึงถึงความประพฤติด้านวินัย คุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ประสบการณ์ คุณภาพการปฏิบัติงาน ความชานาญ ความเชี่ยวชาญ ซึ่งเป็นผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในด้านการเรียนการ สอน ดังนั้นสานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จึงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ
294
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
คัดเลือกข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และการประเมินข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีวิทย ฐานะและเลื่อน วิทยฐานะ โดยกาหนดให้มีการประเมินสมรรถนะหลักทางการบริหารดังนี้ คือ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ การบริการที่ดี การพัฒนาตนเอง การทางานเป็นทีม และสมรรถนะประจาสายงานประกอบด้วย การวิเคราะห์และ สังเคราะห์ การสื่อสารและการจูงใจ การพัฒนาศักยภาพบุคลากร และการมีวิสัยทัศน์ (พระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547) ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครูเป็นความสามารถของครูเพื่อให้ได้รับความสาเร็จหรือเกิดประสิทธิผล ตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ได้อย่างดีและส่งผลให้ครูสามารถปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจและเกิดประโยชน์สูงสุดด้วย องค์ประกอบของประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย1) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ เป็นความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน ในหน้าที่ให้มีคุณภาพถูกต้องครบถ้วนสมบูรณ์มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และมีการพัฒนาผลงานอย่างต่อเนื่อง 2) การบริการที่ดี มีความตั้งใจในการปรับปรุงระบบบริการให้มีประสิทธิภาพเพื่อสนองความต้องการของผู้บริหาร 3) การพัฒนาตนเองมีการศึกษา ค้นคว้า หาความรู้ ติดตามองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ในวงวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนาตนเองและพัฒนางาน 4) การทางานเป็นทีม การให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือสนับสนุน เสริมแรง ให้ กาลังใจเพื่อนร่วมงาน การปรับตัวเข้ากับบุคคลอื่นหรือแสดงบทบาทผู้นาผู้ตามได้อย่างเหมาะสม (สุวิทย์ มูลคา, 2550) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึ กษา เขต 30 สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งขึ้นตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการกาหนดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ลง วันที่ 17 สิงหาคม 2553 รับผิดชอบจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย มีโรงเรียนทั้งหมด 37 โรงเรียน มีครูจานวน 1,641 คน ผู้บริหารโรงเรียนจานวน 75 คน ซึ่งผลการทดสอบระดับชาติ ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 30 จากรายงานผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน ( O-NET) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2557-2558 (เฉลี่ย 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้) ระดับประเทศคะแนนเฉลี่ย รวมปี 2558 คือ ร้อยละ 37.91 คะแนนเฉลี่ยระดับเขต คือ ร้อยละ 36.98 และรายงานผลการทดสอบระดับชาติขั้น พื้น ฐาน (O-NET) นั ก เรี ย นชั้ น มั ธยมศึ ก ษาปี ที่ 6 ปี ก ารศึ ก ษา 2557-2558 (เฉลี่ ย 5 กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ ) ระดับประเทศคะแนนเฉลี่ยรวมปี 2558 คือ ร้อยละ 34.81 คะแนนเฉลี่ยระดับเขต คือ ร้อยละ 32.16 (สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30, 2559) จากรายงานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพบว่าคะแนนเฉลี่ยทั้ง มัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของนักเรียนต่ากว่าเกณฑ์ระดับชาติ เมื่อนาคะแนนที่สอบไปเทียบกับเกณฑ์ คะแนนตามระเบียบการวัดและประเมินผลตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จะเห็น ได้ว่าคะแนนที่ได้นั้นต่ากว่าเกณฑ์ของระดับชาติ ด้วยเหตุนี้เพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้นตาม เกณฑ์การวัดและประเมินผลการศึกษา และเป็นไปตามความมุ่งหมายและหลักการของพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ ผู้บริหารสถานศึกษาจึงจาเป็นต้องมีภาวะผู้นาทางวิชาการ เพื่อเป็นผู้นาและสร้างพลังความร่วมมือกับทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้องในสถานศึกษา ทั้งครูวิชาการครูผู้สอนและบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ซึ่งจะนาไปสู่การ ปฏิรูปการศึกษา จากสภาพความเป็นมาและความสาคัญดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ภาวะผู้นาทางวิชาการกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาการศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 เพื่อนาผลการศึกษาเป็นข้อมูลและแนวทางในการพัฒนากระบวนการบริหารจัดการโรงเรียนของผู้บริหาร สถานศึกษา ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาโดยตรง และคุณภาพนักเรียนในอนาคตที่จะเป็น กาลังในการพัฒนาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้า โดยมุ่งหวังให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้นาทางวิชาการที่มีศักยภาพ
295
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ในการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียน เพื่อให้คุณภาพการศึกษาเป็นไปตามวิสัยทัศน์ หลักการ จุดมุ่งหมายของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. ศึกษาระดับภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความเห็นของผู้บริหารและครู 2. เปรียบเทียบระดับภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา จาแนกตามสถานภาพและขนาด ของสถานศึกษา 3. ศึกษาระดับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา ตามความเห็นของผู้บริหารและครู 4. เปรียบเทียบระดับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา จาแนกตามสถานภาพและ ขนาดของสถานศึกษา 5. ศึกษาความสั มพัน ธ์ระหว่า งภาวะผู้ นาทางวิ ชาการกั บประสิท ธิผลการปฏิบั ติงานของครู สังกั ด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 วิธีดาเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 จานวน 1,716 คน จากจานวนสถานศึกษาทั้งหมด 37 แห่ง ประกอบด้วย 1. ครู จานวน 1,641 คน 2. ผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 75 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 จานวน 376 คน ได้แก่ ครู จานวน 313 คนและผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 63 คน ได้มาโดยใช้ตาราง สาเร็จรูปของ Krejcie & Morgan และทาการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ แบ่งสถานศึกษาเป็น 3 ขนาด คือ ขนาดเล็ก ขนาด กลาง และขนาดใหญ่ แล้วนามาเทียบบัญญัติไตรยางศ์ และทาการสุ่มอย่างง่ายจนได้จานวนครบ 376 คน โดยวิธีจับ สลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลมีลักษณะเป็นแบบสอบถาม จานวน 1 ฉบับ แบ่งเป็น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ ตอนที่ 2 ความคิดเห็นที่มีต่อภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 30 มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า มี 5 ระดับ ตอนที่ 3 ความคิดเห็นที่มีต่อประสิทธิผลการปฏิ บัติงานของครู มีลักษณะของเป็ นแบบมาตราส่ว น ประมาณค่า 5 ระดับ การวิเคราะห์ข้อมูล 1. การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพและขนาดของสถานศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์ ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ (Frequency) และหาค่าร้อยละ (Percentage) แล้วนาเสนอเป็นตารางประกอบความ เรียง
296
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
2. การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับระดับภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหาร เป็นแบบมาตราส่วนประมาณ ค่า (Rating Scale) 5 ระดับวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย และหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วแปล ความหมายตามเกณฑ์ 3. การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับระดับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครู เป็นแบบมาตราส่วนประมาณ ค่า (Rating Scale) 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย และหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วแปล ความหมายตามเกณฑ์ 4. เปรียบเทียบความคิดเห็นระหว่างผู้บริหารสถานศึกษาและครูต่อระดับภาวะผู้นาทางวิชาการกับ ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครูโดยใช้ค่าที (t–test แบบ Independent Samples) 5. เปรียบเทียบความคิดเห็นระหว่างผู้บริหารสถานศึกษาและครูต่อระดับ ภาวะผู้นาทางวิชาการกับ ประสิทธิผลการปฏิบัตงิ านของครูจาแนกตามขนาดสถานศึกษาโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – way ANOVA)โดยใช้สถิติการหาค่าเอฟ (F-test แบบ One – way ANOVA) 6. การวิเคราะห์หาระดับความสัมพันธ์ของภาวะผู้นาทางวิชาการกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครู ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ เพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) โดยแปลความหมายค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพของเครื่องมือ ได้แก่ 1. สถิติที่ใช้ในการหาค่าความเที่ ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ของแบบสอบถาม โดย พิจารณาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Congruence : IOC) 2. สถิติในการหาความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถาม โดยวิธีหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (α = Coefficient ) ตามวิธีของ Cronbach 3. ค่าอานาจจาแนกรายข้อค่าสหสัมพันธ์ (Item Total Correlation) สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบ เพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation) สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.) สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ 1. ค่า t – test แบบ Independent Samplesเพื่อทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับความแตกต่าง ระหว่างค่าเฉลี่ย 2 กลุ่ม 2. การวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance) ANOVA หรือ F-test โดยวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) เพื่อทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย 3 กลุ่มขึ้น ไป เมื่ อพบความแตกต่ างอย่างมีนัย สาคั ญทางสถิติใ ห้ทาการทดสอบความแตกต่า งเป็ นรายคู่ โดยวิธี การของ Scheffe 3. ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation : rxy) เพื่อ ทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัว
297
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ผลการวิจัย 1. ระดั บ ภาวะผู้ น าทางวิ ช าการของผู้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา สั ง กั ด ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา มัธยมศึกษา เขต 30 ตามความเห็นของผู้บริหารและครู โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของสถานศึกษา รองลงมา คือ การ พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน และมีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ การนิเทศและประเมินผลการศึกษา 2. การเปรียบเทียบระดับภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 จาแนกตามสถานภาพ พบว่า ความคิดเห็นระหว่างผู้บริหารสถานศึกษาและครู โดย ภาพรวมและรายด้านแตกต่างกัน และเมื่อจาแนกตามขนาดสถานศึกษา พบว่า ความคิดเห็นระหว่างผู้บริห าร สถานศึกษาและครูที่ปฏิบัติงานอยู่ในสถานศึกษาที่มีขนาดต่างกัน โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 3. ระดั บประสิทธิ ผลในการปฏิ บัติ งานของครูในสถานศึกษา สังกัดส านั กงานเขตพื้น ที่การศึ กษา มัธยมศึกษา เขต 30 ตามความเห็นของผู้บริหารและครู โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ คุณธรรม จริยธรรม รองลงมา คือ จรรยาบรรณวิชาชีพ และมีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ ผลการปฏิบัติงาน 4. การเปรียบเทียบระดับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 จาแนกตามสถานภาพ พบว่า ความคิดเห็นระหว่างผู้บริหารสถานศึกษาและครู โดย ภาพรวมและรายด้านแตกต่างกัน และเมื่อจาแนกตามขนาดสถานศึกษา พบว่า ความคิดเห็นระหว่างผู้บริหาร สถานศึกษาและครูที่ปฏิบัติงานอยู่ในสถานศึกษาที่มีขนาดต่างกัน โดยภาพรวมไม่แตกต่างกัน 5. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครูสังกัดสานักงานเขต พื้นทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 ผลการวิเคราะห์สถิติเปรียบเทียบระดับความสัมพันธ์ โดยภาพรวมและรายด้านมี ความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สรุปผลการวิจัย ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาทางวิชาการกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครูสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 ผลการวิเคราะห์สถิติเปรียบเทียบระดับความสัมพันธ์ โดยภาพรวมและรายด้านมี ความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติทรี่ ะดับ .01 วิจารณ์ผลการวิจัย 1. ระดั บ ความคิ ด เห็ น ของครู แ ละผู้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาต่ อ ภาวะผู้ น าทางวิ ช าการของผู้ บ ริ ห าร สถานศึ ก ษา สั งกั ด ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษามั ธ ยมศึ ก ษา เขต 30 พบว่ า ความคิ ด เห็ น ระหว่ า งผู้ บ ริ ห าร สถานศึกษาและครู โดยภาพรวมและรายด้านแตกต่างกัน ทั้งนี้อาจเนื่องจากด้านความคิดความเข้าใจในระดับสูงของ ผู้บริหารสถานศึกษาในการแบ่งการบริหารโรงเรียนออกเป็น หลายระบบ และมีห ลายระดับการทางานในการ จัดลาดับความสาคัญมาพิจารณาเพื่อกาหนดแนวทางในการทางาน ด้านการนาปัจจัยต่างๆ มากาหนดแนวทาง โดย นาโอกาสหรือสภาพการณ์ภายนอกโรงเรียนทั้งปัจจุบัน และอนาคตที่เอื้อต่อการดาเนินงานของสถานศึกษามา พิจารณา เพื่อกาหนดแนวทางในการทางานด้านความคาดหวังและสร้างโอกาสสาหรับอนาคต ในการคานึงถึงความ เสี่ยงในการปฏิบัติ ตามแผนงาน และมีความเหมาะสมกับเวลา ด้านความคิดเชิงปฏิวัติ โดยใช้ความคิดเชิงรุก ใช้ เทคนิคเสริมแรงให้ครูเกิดกาลังใจในการทางาน มีพฤติกรรมการบริหารที่ทันสมัยรู้เท่าทันนวัตกรรมและเทคโนโลยี
298
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
และด้านการกาหนดวิสัยทัศน์ในการกาหนดวิสัยทัศน์โดยคานึงถึงปัจจัยภายนอกที่มี ผลกระทบต่อสถานศึกษา เช่น นโยบายรัฐบาล คู่แข่งทางการศึกษา รวมถึงกาหนดวิสัยทัศน์ได้ สอดคล้องกับความต้องการและการเปลี่ยนแปลง ของสังคม ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ฉัตรชัย ไชยมงค์ (2552) ได้ศึกษาเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นา ทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของการบริหารงานวิชาการของผู้บริหาร โรงเรียนที่เปิดสอน ในช่วงชั้นที่ 3-4 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม เขต 2 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียน และ ครูผู้สอน ผลการวิจัยพบว่า ระดับภาวะผู้นาทางวิชาการและระดับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของผู้บริหาร โรงเรียน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียน และ ครูผู้สอนโดยรวมแตกต่างกัน ภาวะผู้นาทางวิชาการของผู้บริหาร ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร โรงเรียนและ ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานแตกต่างกันโดยรวมไม่แตกต่างกัน ประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการ ของผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอน ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนโดยรวมไม่แตกต่างกัน ประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอน ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนและ ครูผู้สอนที่ มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานแตกต่างกันโดยรวมไม่แตกต่างกัน ภาวะผู้นาทางด้านวิชาการของ ผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการโรงเรียน มีความสัมพันธ์กันทางบวก 2. ระดั บประสิทธิ ผลในการปฏิ บัติ งานของครูในสถานศึกษา สังกัดส านั กงานเขตพื้น ที่การศึ กษา มัธยมศึกษา เขต 30 พบว่า ความคิดเห็นระหว่างผู้บริหารสถานศึกษาและครู โดยภาพรวมและรายด้านแตกต่างกัน ทั้งนี้อาจเนื่องจากงานแต่ละงานที่ครูได้รับมอบหมายนั้นมีความแตกต่างกันเนื่องจากโครงสร้างการบริหารงานของ แต่ละสถานศึกษามีความแตกต่างกัน อาจมีการแบ่งการบริหารจัดการสถานศึกษาออกเป็นหลายระบบ หลายด้าน และหลายระดั บการท างาน ซึ่งสอดคล้องกั บผลการวิจัย ของ ชั ยณรงค์ คาภูมิ หา (2556) ศึกษาสมรรถนะของ ผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัตงิ านของครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 ผลการวิจัยพบว่า 1) สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการพัฒนาตนเอง สาหรับ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ การวิเคราะห์และสังเคราะห์ 2) ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครู สังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความผูกพันต่อองค์การ สาหรับด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ คุณภาพผู้เรียน 3) ความสัมพันธ์ระหว่าง สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครูมีความสัมพันธ์ในทางบวก อย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.01 4) สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา ที่เป็นตัวพยากรณ์ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครูมี 4 ด้านคือ ด้านการมีวิสัยทัศน์ ด้านการสื่อสารและการจูงใจ ด้านการพัฒนาศักยภาพบุคลากร และด้านการบริการ ที่ดี 3. ภาวะผู้ น าทางวิ ชาการของผู้ บ ริห ารสถานศึ กษามีค วามสั มพั น ธ์กั น ในทางบวกในระดับ สู ง กั บ ประสิทธิผลของการปฏิบัติงานของครูสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก ผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 มีความรู้ และประสบการณ์ในการบริหาร สถานศึกษามายาวนาน และได้รับการการพัฒนาอย่างต่อเนื่องตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด ครูและบุคลากร ทางการศึกษาได้รับการสนับสนุนให้เพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ ด้วยการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นในสัดส่วนและ ปริมาณที่เพิ่มมากขึ้น รวมทั้งส่งเสริมให้มีการจัดอบรมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ตามกรอบของ การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ในด้านการพัฒนาศักยภาพครู นอกจากนี้ พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ยังกาหนดให้มีการตรวจสอบ ประสิทธิผลการ
299
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
บริหารสถานศึกษาด้วยการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายในโดยสถานศึกษาเอง และการประกันคุณภาพการศึกษา ภายนอก จากองค์ การมหาชน ซึ่ งสอดคล้องกั บงานวิ จัยของ จิร ณัฐ สกลุชัยสิ ทฐิ (2556) ศึก ษาประสิท ธิผ ลการ ปฏิบัติงานของครู และบุคลากรทางการศึกษาที่นานโยบายเทคโนโลยีทางการศึกษา NOE Plaza ไปปฏิบัติ ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิผลของการปฏิบัตงิ านของครู และบุคลากรทางการศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับปาน กลาง และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านความต่อเนื่องของวิธีการและเครื่องมือที่จะนามาใช้ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมา คือ ด้านการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการสอน และด้านเนื้อหาการสอน 2. ปัจจัยด้านพื้นฐานส่วนบุคคล ด้าน อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทางานมีประสิทธิผลของการทางาน ไม่แตกต่างกัน ยกเว้ น ด้านเพศ 3. ผลการศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการบริหารจัดการกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครู และ บุคลากรทางการศึกษา พบว่าการประสานงาน และการจั ดหน่วยงานที่รับ ผิดชอบ มีความสั มพันธ์เชิ งบวกกั บ ประสิทธิผลของการทางาน ข้อเสนอแนะ 1. ผู้บริหารสถานศึกษาควรส่งเสริมและพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ ด้านการนิเทศและประเมินผล การศึกษา เนื่องจากตามความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามมีผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยต่าสุด 2. ผู้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาควรส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาประสิ ท ธิ ผ ลการปฏิ บั ติ งานของครู ด้ า นผลการ ปฏิบัติงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิ บัติงานของครูให้ดีขึ้น และเป็นที่ยอมรับของผู้บริหารและบุคคลทั่วไป ตลอดจนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกๆ ฝ่ายให้มากขึ้น เหมาะสมกับสถานการณ์ 3. ควรนาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการจัดทาหลักสูตรการอบรมเพื่อพัฒนาผู้บริหาร สถานศึกษาในด้านภาวะผู้นาทางวิชาการโดยเฉพาะด้านการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายของสถานศึกษา การพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน การนิเทศและประเมินผลการศึกษา การพัฒนาวิชาชีพครู และการ สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดขึ้นกับผู้บริหารสถานศึกษาและนาไปใช้ให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อการบริหาร สถานศึกษา 4. ควรศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บภาวะผู้ น าทางวิ ชาการกั บ ภาวะผู้ น าอื่ น ๆ ที่ ส่ งผลต่ อ ประสิ ท ธิ ผ ลการ ปฏิ บัติ งานของครู เพื่ อพั ฒนาภาวะผู้ น าของผู้บ ริห ารสถานศึก ษาที่เ หมาะสมต่ อการบริ หารสถานศึ กษาอย่า งมี ประสิทธิผล กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จลงด้วยการช่วยเหลือแนะนาอย่างดียิ่งจาก ดร.เพียงแข ภูผายาง ซึ่งเป็นอาจารย์ที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ์ครั้งนี้ และคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ที่ได้กรุณา ให้ความคิดเห็น เสนอแนะช่วยเหลือและ ตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่มาโดยตลอด ผู้วิจัยขอขอบพระคุณไว้เป็นอย่างสูง ณ ที่นี้ ขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญทุกท่านซึ่งประกอบด้วย นายวีรยุทธ ปรุงชัยภูมิ นายธวัชชัย เกิ้นโนนกอก นายธีรยุทธ สีเสน นายสุริยะ ป้องขันธ์ และดร.สุนันท์ สีพาย ที่ได้กรุณาตรวจสอบแนะนาและปรับปรุงเครื่องมือในการวิจัย ตลอดจนคณาจารย์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราช ภัฏชัยภูมิ ที่ให้ความคิดเห็น เสนอแนะแนวทางการทาวิจัยครั้งนี้ ขอขอบพระคุณผู้บริหารสถานศึกษาและครู สัง กัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 ที่ กรุณาให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามอย่างสมบูรณ์ครบถ้วนด้วยดีที่มีส่วนช่วยเหลือในการเก็บรวบรวม
300
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
แบบสอบถามประโยชน์และคุณค่าอันพึงมีของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ผู้วิจัยขอมอบเป็นเครื่องกตัญญูกตเวที แด่บิดา มารดา ญาติพนี่ ้อง ตลอดจนครู อาจารย์และผู้มีพระคุณทุกท่าน เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3 พุทธศักราช 2553). กรุงเทพฯ : คุรุสภา. จิรณัฐ สกลุชัยสิทฐิ. (2556). ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครู และบุคลากรทางการศึกษาที่นานโยบาย เทคโนโลยีทางการศึกษา NOE Plaza ไปปฏิบัติ. การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ฉัตรชัย ไชยมงค์. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผูน้ าทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผล ของการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนที่เปิดสอนในช่วงชั้นที่ 3-4 สังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษานครพนม เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต : มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร. ชัยณรงค์ คาภูมิหา. (2556). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ธีระยุทธ สิงห์ศลิ ป์. (2550). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างขวัญกาลังใจกับคุณภาพในการปฏิบัติงานของ ครูผู้สอนในสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย. วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. บุญชม ศรีสะอาด. (2554). หลักการวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น. บดินทร์ สามหมอ. (2551). การศึกษาขวัญกาลังใจในการปฏิบัติงานของครู ในโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาชัยภูมิ เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา สถานบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2543). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ. พระราชบัญญัตริ ะเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547. (2547, 23 ธันวาคม). ราชกิจจา นุเบกษา. เล่ม 121 ตอนพิเศษ 79 ก. หน้า 50-52. พิทยา บวรวัฒนา. (2541). ทฤษฎีองค์การสาธารณะ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ศักดิโสภาการพิมพ์. วิโรจน์ สารรัตนะ. (2542) .การบริหาร หลักการ ทฤษฎีและประเด็นการศึกษา. กรุงเทพฯ : อักษราพิพัฒน์. สุพจน์ ทรายแก้ว. (2545). การวัดผลการปฏิบัติงาน. เอกสารประกอบการสัมมนาเชิงปฏิบัติการจัดทาแผนกลยุทธ์ และการบริหารงานมุ่งผลงาน. เชียงราย: สถาบันราชภัฎเชียงราย. สุวิทย์ มูลคา. (2550). ก้าวเข้าสู่การเลื่อนวิทยะฐานะครู (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30. (2558). แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี 2559-2562. ชัยภูมิ : สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2547). คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ: คุรุสภา. สมจิต สงสาร. (2552). การพัฒนาตัวแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของปัจจัยทีม่ ีอิทธิพลต่อ
301
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
EDUP-12 ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา ของครูในโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 THE RELATIONSHIP BETWEEN ADMINISTRATORS’ COMPETENCIES AND PROFESSIONAL EDUCATION STANDARDS OF TEACHERS UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 30 ภาสกร หมื่นสา1 ดร.เพียงแข ภูผายาง2 1 2
ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ อาจารย์ที่ปรึกษาหลักวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
บทคัดย่อ การวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาตามความเห็นของผู้บริหาร สถานศึ ก ษาและครู 2. เพื่ อ เปรี ย บเที ย บระดั บ สมรรถนะของผู้ บ ริ ห าร จ าแนกตามสถานภาพและขนาดของ สถานศึกษา 3. เพื่อศึ กษาระดับ การปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครู ตามความเห็ นของ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู 4. เพื่อเปรียบเทียบระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครู จาแนกตามสถานภาพและขนาดของสถานศึ กษา 5. เพื่ อ ศึ ก ษาความสั มพั น ธ์ ร ะหว่ า งสมรรถนะของผู้ บ ริ ห าร สถานศึกษากับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครู ผลการวิจัย พบว่า 1. ระดับสมรรถนะของ ผู้บริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก คือ การมีวิสัยทัศน์ 2. การเปรียบเทียบระดับสมรรถนะของ ผู้บริหารสถานศึกษา จาแนกตามสถานภาพ พบว่า ความคิดเห็นระหว่างผู้บริหารสถานศึกษาและครู โดยภาพรวม และรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และการเปรียบเทียบระดับสมรรถนะของผู้บริหาร สถานศึกษาจาแนกตามขนาดสถานศึกษา โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ระดับ การปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครูในสถานศึกษาตามความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและ ครู โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 4. การเปรียบเทียบระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครู จาแนกตามสถานภาพ พบว่า ความคิดเห็นระหว่างผู้บริหารสถานศึกษาและครูโดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และการเปรียบเทียบระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครู จาแนกตามขนาดสถานศึกษา พบว่า โดยภาพรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 5. ระดับ ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครู โดยภาพรวมและรายด้านมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คำสำคัญ : สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา / การปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครู / สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 30
302
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
Abstract The purposes of this research were: 1) to study the competencies level of the school administrators under the Secondary Educational Service Area Office 30 (SEAO 30) toward the school administrators’ and teachers' opinions 2) to compare the competencies level of the school administrators under SEAO 30, 3) to study the level of the performances toward the professional education standards of the teachers under SEAO 30, 4) to compare the level of the performances toward professional education standards of the teachers under SEAO 30 classified by the status and school-sized, and 5) to study the relationship between the competencies of the school administrators and the performance of the teachers toward professional education standards of 376 teachers under SEAO 30 in the academic year 2017. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table, and the samples were obtained by using Stratified Random Sampling. The research instruments were a set of 5-rating scale questionnaire with the discrimination between .315 - .907 and the reliability of .986. The statistics used for analyzing the data were frequency, percentage, mean, standard deviation. The hypothesis was tested by t-test (Independent), F-test (One-Way ANOVA) and Pearson Product Moment Correlation. The research results indicated that: 1. The competencies level of the school administrators under SEAO 30 toward the opinions of the school administrators and teachers overall was at a high level. When considering each aspect, the highest mean scores were a vision, followed by the achievement-oriented teaching and the lowest mean scores was good service. 2. The comparison of the level of the competencies of the school administrators under SEAO 30 classified by the status that were teachers’ position, the school administrator’s position. It was found that the overall and each aspect were a significant difference at .05 levels. When considering the school-sized that were small-sized, medium-sized, and large-sized schools, in overall it was a significant difference at .05 levels. 3. The level of the performance toward professional education standards of the teachers under SEAO 30 classified by status that were the teacher’s and the school administrators’ position in overall was at a high level. When considering each aspect, the highest mean scores was the performance on a good role model. It was followed by cooperating creatively with others in the schools and the lowest mean scores were the performance on the academic activities based on the teacher professional development. 4. The comparison of the performance toward professional education standards of the teachers under SEAO 30 classified by the status that were the teachers’ and the school administrators’ position, found that in overall was a significant differences at .05 levels. And the comparison of the level of the performances toward the professional education standards of the
303
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
teachers under SEAO 30 classified by the school-sized; small-sized, medium-sized, and large-sized schools, found that in overall it was a significant difference at .05 levels. 5. The level of the relationship between the competencies of the school administrators toward the professional education standards of the teachers under SEAO 30 in overall and each aspect had a positive correlation at a high level at a significant difference at .01 levels. Keywords : Administrators’ Competencies / and Professional Education Standards / Secondary Educational Service Area Office 30 บทนา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 หมวด 5 มาตรา 54 วรรค 4 ให้ไว้ว่าการศึกษา ทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตน และมีความ รับผิด ชอบต่อครอบครัว ชุม ชน สังคม และประเทศชาติ (รัฐ ธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย , 2560อ)และ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 หมวด 1 บททั่วไปความมุ่ง หมายและหลักการมาตรา 6 กล่าวว่า การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น ได้อย่างมีความสุขสอดคล้องกับการที่จะพัฒนาประเทศไทยไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ให้เกิดขึ้นในอนาคตนั้น จะต้องให้ความสาคัญกับการเสริมสร้างทุนของประเทศที่มีอยู่ใ ห้เข้มแข็ง และมีพลังเพียงพอในการขับเคลื่อ น กระบวนการการพัฒนาทั้งในระยะกลางและระยะยาว โดยเฉพาะ “การพัฒนาคน” ให้มีการเตรียมความพร้อมรับ การเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่งมีสิ่งที่สาคัญที่สุดคือทักษะการเรียนรู้ และการเสริมสร้างปัจจัยแวดล้อม ที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพของคน โดยการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มาประยุกต์ใช้ ทั้งในเชิงระบบและโครงสร้างของสังคมไทยให้มีภูมิคุ้มกันต่อการ เปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น(กระทรวงศึกษาธิการ, 2559 :10 ) สมรรถนะหรือพฤติกรรม เป็นสิ่งที่องค์กรต้ องการจากผู้ปฏิบัติงาน เพราะเชื่อว่าหากผู้ปฏิบัติงานมี พฤติกรรมการทางานในแบบที่องค์กรกาหนดแล้ว จะส่งผลให้ผู้นั้นมีผลการปฏิบัติงานดี และส่งผลให้องค์กรบรรลุ เป้าหมายที่ ต้องการ สมรรถนะจึ งมีความสั มพันธ์กับผลงานของบุ คคลและสมรรถนะถูก นามาใช้ในการบริหาร ทรัพยากรบุคคลเพราะเชื่อว่าจะทาให้การบริหารทรัพยากรบุคคลมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เช่น ในการคัดเลือกสรรหา แต่เดิมเน้นเพียงการวัดความรู้เฉพาะงาน และความถนัดในงานยังไม่เน้นส่วนที่อยู่ใต้ภูเขาน้าแข็ง ซึ่งเป็นสิ่งที่ติดตัว มาและเปลี่ยนแปลงยาก ได้แก่ ความคิด ความรู้สึก ค่านิยม เจตคติ ทัศนคติ บุคลิกภาพ อุปนิสัย (traits) แรงจูงใจ หรือแรงผลักดันเบื้องลึก (Motives) และภาพลักษณ์ภายใน (Self-Image) สิ่งเหล่านี้ต้องนามาประกอบการพิจารณา ด้วย เพราะเชื่อว่าจะส่งผลให้พฤติกรรมการทางานของบุคคลเป็นไปในลักษณะที่องค์กรต้องการได้ ในด้านการ พัฒนาและฝึกอบรม แต่เดิมจะเน้นเพียงความรู้และทักษะ ก็ต้องหันมาให้ความสาคัญกับพฤติกรรมในการทางาน เพิ่มขึ้น ต้องหาวิธีการฝึกอบรมให้ผู้ปฏิบัติงานมีพฤติกรรมในการทางานอย่างที่องค์กรต้องการ ส่วนการบริหาร ผลงาน (Performance Management) ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการประเมินผลการปฏิ บัติงาน (Performance Appraisal) และการจ่ายค่าตอบแทนแต่เดิมเน้นเพียงผลงานที่บุคคลสามารถผลิตได้ ก็ต้องหันมาให้ความสาคัญกับ
304
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
พฤติกรรมการทางานที่พึงประสงค์ ซึ่งจะส่งเสริมให้ปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ได้ดียิ่งขึ้นการประเมินสมรรถนะจึงมิใช่ เป็นการวัดความรู้ความสามารถหรือวัดความรู้เรื่องสมรรถนะ แต่เป็นการวัดว่าบุคคลมีพฤติกรรมที่แสดงสมรรถนะ หรือไม่ และมีมากน้อยเพียงใดโดยใช้ความรู้ คือข้อมูลหรือสิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษา อบรม สัมมนา ดูงาน การ สนทนาแลกเปลี่ยน และทักษะ คือสิ่งที่ได้พัฒนาและฝึกฝนจนชานาญ บวกกับคุณลักษณะส่วนบุคคล ขับเคลื่อน พฤติกรรมที่พึงประสงค์ เพื่อให้ได้ผลงานตามความคาดหวังขององค์กร การวัดพฤติกรรมหรือการประเมินสมรรถนะ จึงต้องมีการสังเกตพฤติกรรมของการทางานของบุคคล จดบันทึกไว้และทาการประเมิน (องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้, 2559) ผู้บริหารในฐานะผู้นาองค์การย่อมเป็นผู้ที่สาคัญที่สุดในการขับเคลื่อนนโยบายต่าง ๆ เพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษาให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมายที่ทุกฝ่ายต้องการให้เกิดขึ้น ดังนั้นสมรรถนะการบริหารจึงเป็นส่วนหนึ่ง ของพฤติก รรม การบริหารที่มีความส าคัญยิ่งในการบริ หารเพราะเป็นเครื่องชี้วัด คุณภาพของการบริ หารได้ว่ า ผู้บริหารมีความสามารถหรือมีสมรรถนะในการบริหารมากน้อยเพียงใด การบริหารงานของสถานศึกษาจะเกิด ประสิทธิผลหรือไม่ย่อมขึ้นอยู่กับสมรรถนะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาเป็นสาคัญ (สานักงานคณะกรรมการ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา, 2547) ซึ่งสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ด้านที่ 3 ว่าด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน เพื่อพัฒนาคนและสังคมไทยให้เป็นรากฐานที่ แข็งแกร่งของประเทศมีความพร้อมทางกาย ใจ สติปัญญา มีความเป็นสากล มีทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย มีคุณธรรมจริยธรรม รู้คุณค่าความเป็นไทย มีครอบครัวที่มั่นคง กรอบแนวทางที่ต้อง ให้ความสาคัญ อาทิ (1) การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิตให้สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศ(2) การ ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียม และทั่วถึง (3) การปลูกฝังระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรมค่านิยมที่พึงประสงค์(4) การสร้างเสริมให้คนมีสุขภาวะที่ดี (5) การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย เสริมสร้างบทบาทของสถาบันครอบครัวในการบ่มเพาะจิตใจให้เข้มแข็ง(กระทรวงศึกษาธิการ, 2559) และยัง เกี่ยวข้องกับสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาของสานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา พ.ศ. 2548 ซึ่งได้กาหนดไว้ ซึ่งประกอบด้วย 8 สมรรถนะ คือ 1) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2) การบริการที่ดี 3) การ พัฒนาตนเอง 4) การทางานเป็นทีม 5) การวิเคราะห์และสังเคราะห์ 6) การสื่อสารและการจูงใจ 7) การพัฒนา ศักยภาพบุคลากร 8) การมีวิสัยทัศน์ พระราชบัญ ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ ไขเพิ่ มเติม (ฉบั บที่ 3) พ.ศ. 2553 หมวด 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา มาตรา 6 มาตรา 52 วรรค 1 กล่าวว่า ให้กระทรวงส่งเสริมให้มีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการ เป็นวิชาชีพชั้นสูง โดยการกากับและประสานให้สถาบันที่ทาหน้าที่ผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์ รวมทั้งบุคลากร ทางการศึกษาให้มีความพร้อมและมีความเข้มแข็งในการเตรียมบุคลากรใหม่และการพัฒนาบุคลากรประจาการอย่าง ต่อเนื่อง และมาตรา 53 ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา มีฐานะเป็นองค์กรอิสระ ภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพ ในกากับของกระทรวง มีอานาจหน้าที่กาหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอน ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ กากับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนา วิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา ให้ครู ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และบุคลากร ทางการศึกษาอื่น ทั้งของรัฐและเอกชนต้องมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพตามที่กฎหมายกาหนด ซึ่งมาตรฐานการ ปฏิบัติงานผู้ประกอบวิชาชีพครูตามกรอบของข้อบังคั บคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (2556) กาหนดให้ครูต้องมี 12 มาตรฐาน ดังต่อไปนี้ 1)ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเพื่อพัฒนาวิชาชีพครูให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ 2) ตัดสินใจปฏิบัติ
305
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
กิจกรรมต่างๆ โดยคานึงถึงผลที่จะเกิดแก่ผู้เรียน 3) มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้เติบโตเต็มตามศักยภาพ 4) พัฒนา แผนการสอนให้สามารถปฏิบัติได้จริงในชั้นเรียน 5) พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ 6) จัด กิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์โดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผู้เรียน 7) รายงานผล การพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้อย่างมีระบบ 8) ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน 9) ร่วมมือกับผู้อื่นใน สถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ 10) ร่วมมือกับผู้อื่นในชุมชนอย่างสร้างสรรค์ 11) แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการ พัฒนา 12) สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกสถานการณ์ ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษามั ธ ยมศึ ก ษา เขต 30 มี ห น้ า ที่ จั ด การศึ ก ษาตามรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 โดยดาเนินการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสาหรับเด็กทุกคนที่อยู่ในเขตพื้นที่ การศึ ก ษามั ธ ยมศึ ก ษาเขต 30 และยึ ด นโยบายของส านั ก งานคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐา น กระทรวงศึกษาธิการและสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 โดยมุ่งเน้นเรื่องการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ส่งเสริมการปฏิรูปการศึกษา เพื่อนานโยบายไปสู่การ ปฏิบัติ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 ได้กาหนด กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากร ทางการศึกษา ในส่วนเป้าประสงค์ที่ 3 ครูและบุคลากรทางการศึกษามีทักษะที่เหมาะสมและมีวัฒนธรรม การ ทางานที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ และส่วนจุดเน้น ส่วนที่ 2 ได้แก่ ด้านครูและบุคลากรทางการศึกษา คือครูได้รับการ พัฒนาองค์ความรู้ และทักษะในการสื่อสารมีสมรรถนะในการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและผู้บริหารสถานศึกษา มี ความสามารถในการบริหารงานทุกด้านให้มี ประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล ดังนั้นผู้วิจัยในฐานะนักศึกษาสาขาการบริหารการศึกษาและทาหน้าที่เกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาใน โรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 30 จึงมีความสนใจที่จะศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาครูในโรงเรียนสังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 30 ว่าผู้บริหารสถานศึกษาจะมีสมรรถนะที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติตาม มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครูเป็นอย่างไร เพื่อนาผลการศึกษาที่ได้เป็นข้อมูลแก่ผู้เกี่ยวข้องในการปรับปรุง พัฒนาสมรรถนะในการบริหารงานให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลเพื่อการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู ให้ มากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาตามความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครู 2. เพื่อเปรียบเทียบระดับสมรรถนะของผู้บริหาร จาแนกตามสถานภาพและขนาดของสถานศึกษา 3. เพื่อศึกษาระดับการปฏิบัติ งานตามมาตรฐานวิชาชี พทางการศึกษาของครู ตามความเห็นของ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู 4. เพื่ อเปรีย บเที ย บระดับ การปฏิบั ติงานตามมาตรฐานวิ ชาชี พทางการศึ กษาของครู จ าแนกตาม สถานภาพและขนาดของสถานศึกษา 5. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน วิชาชีพทางการศึกษาของครู
306
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
วิธีดาเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ได้ แ ก่ ครู แ ละผู้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษา ในสถานศึก ษา สังกั ด ส านัก งานเขตพื้ น ที่ การศึ ก ษา มัธยมศึกษา เขต 30 ปีการศึกษา 2560 กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสาเร็จรูปของ Krejcie & Morgan (บุญชม ศรีสะอาด, 2554) จาแนกเป็นครู จานวน 313 คน และผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 63 คน รวมกลุ่ม ตัวอย่างจานวนทั้งสิ้น 376 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลมีลักษณะเป็นแบบสอบถาม จานวน 1 ฉบับ แบ่งเป็น 3 ตอน ดั งนี้ ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย ครูและผู้ บริหาร สถานศึกษา และขนาดสถานศึกษา ประกอบด้วย สถานศึกษาขนาดเล็ก สถานศึกษาขนาดกลาง และสถานศึกษา ขนาดใหญ่ มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ตอนที่ 2 ความคิดเห็นที่มีต่อสมรรถนะของผู้บริหาร สถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 30 มีลักษณะเป็นแบบมาตรา ส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดับ ตามวิธีของ Likert (บุญชม ศรีสะอาด, 2554) ตามกรอบแนวคิดของ สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาของสานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2548 ใน 8 ด้าน ประกอบด้วย 1) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2) การบริการที่ดี 3) การพัฒนาตนเอง 4) การทางานเป็นทีม 5) การ วิเคราะห์และสังเคราะห์ 6) การสื่อสารและการจูงใจ 7) การพัฒนาศักยภาพบุคลากร และ 8) การมีวิสัยทัศน์ ตอน ที่ 3 ความคิดเห็นที่มีต่อการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครู มีลักษณะของแบบสอบถามเป็นแบบ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ ตามวิธีของ Likert (บุญชม ศรีสะอาด, 2554) ตามกรอบของ ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (2556) ใน 12 ด้าน ประกอบด้วย 1) ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเพื่อ พัฒนาวิชาชีพครูให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ 2) ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ โดยคานึงถึงผลที่จะเกิดแก่ผู้เรียน 3) มุ่งมั่น พัฒนาผู้เรียนให้เติบโตเต็มตามศักยภาพ 4) พัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบัติได้จริงในชั้นเรียน 5) พัฒนาสื่อการ เรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ 6) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ โดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผู้เรียน 7) รายงานผลการพัฒนาคุ ณภาพของผู้เรียนได้อย่างมีระบบ 8) ปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน 9) ร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ 10) ร่วมมือกับผู้อื่นในชุมชนอย่าง สร้างสรรค์ 11) แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา และ 12) สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุก สถานการณ์ การวิเคราะห์ข้อมูล 1. การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพและขนาดของสถานศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าความถี่ (Frequency) และหาค่าร้อยละ (Percentage) แล้วนาเสนอเป็นตารางประกอบความเรียง 2. การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับระดับสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา เป็นแบบมาตราส่วนประมาณ ค่า (Rating Scale) 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3. การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับระดับการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครู เป็นแบบ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย และหาค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน แล้วแปลความหมายตามเกณฑ์ 4. เปรียบเทียบความคิดเห็นระหว่างผู้บริหารสถานศึกษาและครูต่อระดับสมรรถนะของผู้บริหาร สถานศึกษาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครูโดยใช้ค่าที
307
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
5. เปรียบเทียบความคิดเห็นระหว่างผู้บริหารสถานศึกษาและครูต่อระดับสมรรถนะของผู้บริหาร สถานศึกษาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครูจาแนกตามขนาดสถานศึกษาโดยใช้การ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One – way ANOVA)โดยใช้สถิติการหาค่าเอฟ 6. การวิเคราะห์หาระดับความสัมพันธ์ของสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่กับการปฏิบัติตาม มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครูในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 วิเคราะห์ข้อมูลโดย การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สั น (Pearson Product Moment Correlation Coefficient)โดยแปล ความหมายค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. สถิติที่ใช้ในการหาค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ของแบบสอบถาม โดย พิจารณาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence : IOC) 2. สถิติในการหาความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถาม โดยวิธีหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (α= Coefficient ) ตามวิธีของ Cronbach 3. ค่าอานาจจาแนกรายข้อค่าสหสัมพันธ์ (Item Total Correlation) สัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์แบบ เพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation) สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้ อยละ (Percentage) ค่ าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.) สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ 1. ค่า t – test แบบ Independent Samplesเพื่อทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับความแตกต่าง ระหว่างค่าเฉลี่ย 2 กลุ่ม 2. การวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance) ANOVA หรือ F-test โดยวิเคราะห์ความ แปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) เพื่อทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย 3 กลุ่มขึ้น ไป เมื่ อพบความแตกต่ างอย่างมีนัย สาคั ญทางสถิติใ ห้ทาการทดสอบความแตกต่า งเป็ นรายคู่ โดยวิธี การของ Scheffe 3. ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation : rxy) เพื่อ ทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัว ผลการวิจัย 1. ระดับความคิดเห็นของครูผู้สอนและผู้บริหารสถานศึกษาต่อสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาใน โรงเรียนสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 30 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากและเมื่อพิจารณาเป็น รายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การมีวิสัยทัศน์ 2. การเปรี ยบเที ย บระดับ สมรรถนะของผู้บ ริหารสถานศึก ษาสั งกั ดสานัก งานเขตพื้น ที่ก ารศึ กษา มัธยมศึกษาเขต 30 จาแนกตามตาแหน่งการทางาน โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และเมื่อจาแนกตามขนาดสถานศึกษา พบว่า โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครูในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 ตามความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครู โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือด้านปฏิบัติเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน รองลงมา คือ
308
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ด้านร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ และมีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ ด้านการปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการ เกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูเสมอ 4. การเปรียบเทียบระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครูในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 จาแนกตามสถานภาพ ได้แก่ ตาแหน่งครู และตาแหน่ง ผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และการเปรียบเทียบ ระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครูในสถานศึกษาสังกั ดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 30 จาแนกตามขนาดสถานศึกษา ได้แก่ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ พบว่า โดยภาพรวม แตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. ระดับความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ ทางการศึกษาของครูในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 30 โดยภาพรวมและรายด้านมี ความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สรุปผลการวิจัย ความสั ม พั นธ์ ร ะหว่ า งสมรรถนะของผู้ บ ริ หารสถานศึ กษากั บ การปฏิ บั ติ ต ามมาตรฐานวิ ชาชี พ ทาง การศึ ก ษาของครู ใ นโรงเรี ย น สั ง กั ด ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษามั ธ ยมศึ ก ษาเขต 30 ผลการวิ เ คราะห์ ส ถิ ติ เปรียบเทียบระดับความสัมพันธ์ โดยภาพรวมและรายด้านมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง อย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติที่ระดับ .01 วิจารณ์ผลการวิจัย 1. ระดับสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 พบว่า ความคิดเห็นระหว่างผู้บริหารสถานศึกษาและครู โดยภาพรวมและรายด้านแตกต่างกัน ทั้งนี้อาจเนื่องจาก สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาเป็นสิ่งจาเป็นของผู้บริหารสถานศึกษาที่จาเป็นต้องมีเพื่อการปฏิบัติงานได้อย่าง ประสบความสาเร็จมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผล ซึ่งเกิดจากการสะสมความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ของ ผู้บริหารสถานศึกษาที่ได้พบเจอมาในสถานการณ์ต่าง ๆ และถูกสร้างเป็นพลังแฝงที่ซ่ อนในตัวของบุคคลนั้นโดยไม่ รู้ตัวแต่จะแสดงออกมาได้ในเหตุการณ์สาคัญและใช้ในการบริหารจัดการโรงเรียนให้บรรลุผลเป้าหมายอย่างมี ประสิทธิผลสูงสุดและคุ้มค่ามากกว่าบุคคลอื่น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ พรพิศ อินทะสุระ (2551) ได้ทาการวิจัย เรื่อง สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 5 ผลการศึกษาพบว่า1) ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีความ คิดเห็นต่อสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มี สมรรถนะอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 2) ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีตาแหน่งหน้าที่ต่างกัน มีความ คิดเห็นต่อสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา จาแนกตามตาแหน่งหน้าที่โดยภาพรวม พบว่า มีความคิดเห็นแตกต่าง กันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 3) ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่โรงเรียนที่มีขนาดต่างกันมี ความคิดเห็นต่อสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05
309
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
2. ระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครูในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 พบว่า ความคิดเห็นระหว่างผู้บริหารสถานศึกษาและครู โดยภาพรวมแตกต่าง กัน ทั้งนี้อาจเนื่องจาก มาตรฐานวิชาชีพทางการศึก ษาเป็นสิ่งที่สามารถยืนยันถึงความเป็นมาตรฐานที่จะต้องยึดถึง ร่วมกันในกลุ่มของผู้ประกอบวิชาชีพ ซึ่งจะทาให้เกิดความเชื่อถือและยอมรับของผู้รับบริการและสังคม และผู้ที่จะมี มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาจะต้องเป็นผู้ที่ผ่านการฝึกฝนอบรมจนเกิดความรู้ความชานาญจึงจะสามารถประกอบ วิชาชีพได้ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ พินิจ แสนวัง (2555) ได้ทาการวิจัยศึกษาเรื่อง สมรรถนะของผู้บริหารกับ การปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครูในโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต 2 ผลการวิจัยพบว่า1) สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 2 อยู่ในระดับมาก 2) การปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครูในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 2 อยู่ในระดับมาก 3) สมรรถนะของผู้บริหารกับการ ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ ทางการศึกษาของครูในโรงเรียนสั งกัดสานั กงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต 2 มีความสัมพันธ์กันสูงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์กันในทางบวกในระดับสูงกับการปฏิบัติงานตาม มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครูสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 ทั้งนี้อาจเนื่องจาก ผู้บริหารสถานศึกษาจาเป็นต้องมีสมรรถนะของผู้บริหาร เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษา รวมถึงการปฏิบัติงานของครูนั้นจาเป็นต้องมีมาตรฐานในการปฏิบัติงานตามาตรฐานวิชาชีพเพื่อเป็น สิ่งที่สามารถยืนยันถึงความเป็นมาตรฐานที่จะต้องยึดถึงร่วมกันในกลุ่มของผู้ประกอบวิชาชีพ ซึ่งจะทาให้เกิดความ เชื่อถือและยอมรับของผู้รับบริการและสังคม และผู้ที่จะมีมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาจะต้องเป็นผู้ที่ผ่านการ ฝึกฝนอบรมจนเกิดความรู้ความชานาญจึงจะสามารถประกอบวิชาชีพ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ พินิจ แสนวัง (2555) ได้ทาการวิจัยศึกษาเรื่อง สมรรถนะของผู้บริหารกับการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครูใน โรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 2 ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะของ ผู้บริหารกับการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครูในโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 2 มีความสัมพันธ์กันสูงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ข้อเสนอแนะ 1. ควรส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 30 ด้านการบริการที่ดีเนื่องจากความคิดเห็นของผู้ตอบมีผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยต่าสุด 2. ควรส่งเสริมและพัฒนาการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครูสังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 ด้านการปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูเสมอ ซึ่งมี ผลการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยต่าสุด เพื่อเพิ่มมาตรฐานทางวิชาชีพของครูให้ดีขึ้ น และเป็นที่ยอมรับของผู้บริหารและ บุคคลทั่วไป ตลอดจนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกๆ ฝ่ายให้มากขึ้น เหมาะสมกับสถานการณ์ 3. ควรนาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการจัดทาหลักสูตรการอบรมเพื่อฝึกอบรมพัฒนา ผู้บริหารสถานศึกษาในด้านสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา โดยเฉพาะผู้บริหารสถานศึกษารุ่นใหม่ ทั้งสมรรถนะ ของผู้บริหารสถานศึกษาด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์ ด้านการบริการที่ดี ด้านการพัฒนาตนเอง ด้านการทางานเป็นทีม ด้านการวิเคราะห์และสังเคราะห์ ด้านการสื่อสารและการจูงใจ ด้านการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้านการมีวิสัยทัศน์ เพื่อให้เกิดขึน้ กับผู้บริหารสถานศึกษาและนาไปใช้ให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อการบริหารสถานศึกษา
310
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
4. ควรมีการวิจัยเชิงคุณภาพเกี่ยวกับสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาเพื่ออธิบายสมรรถนะของ ผู้บริหารสถานศึกษาได้ชัดเจนยิ่งขึ้น 5. ควรศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อพัฒนาสมรรถนะของผู้บริหาร สถานศึกษาต่อไป 6. ควรศึกษาเปรียบเทียบสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของ ครูเพื่อพัฒนาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่เหมาะสมต่อการบริหารสถานศึกษาอย่างมีประสิทธิผล กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จลงด้วยการช่วยเหลือแนะนาอย่างดียิ่งจาก ดร.เพียงแข ภูผายาง ซึ่งเป็นอาจารย์ที่ ปรึกษาวิทยานิพนธ์ครั้งนี้ และคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ที่ได้กรุณาให้ความคิดเห็น เสนอแนะช่วยเหลือและ ตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่มาโดยตลอด ผู้วิจัยขอขอบพระคุณไว้เป็นอย่างสูง ณ ที่นี้ ขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญทุกท่านซึ่งประกอบด้วย นายวีรยุทธ ปรุงชัยภูมิ นายธวัชชัย เกิ้นโนนกอก นายธีรยุทธ สีเสน นายสุริยะ ป้องขันธ์ และดร.สุนันท์ สีพาย ที่ได้กรุณาตรวจสอบแนะนาและปรับปรุงเครื่องมือในการวิจัย ตลอดจนคณาจารย์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราช ภัฏชัยภูมิ ที่ให้ความคิดเห็น เสนอแนะแนวทางการทาวิจัยครั้งนี้ ขอขอบพระคุณผู้บริหารสถานศึกษาและครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30 ที่ กรุณาให้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามอย่างสมบูรณ์ครบถ้วนด้วยดีที่มีส่วนช่วยเหลือในการเก็บรวบรวม แบบสอบถามประโยชน์และคุณค่าอันพึงมีของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ผู้วิจัยขอมอบเป็นเครื่องกตัญญูกตเวที แด่บิดา มารดา ญาติพี่น้อง ตลอดจนครู อาจารย์และผู้มีพระคุณทุกท่าน เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3 พุทธศักราช 2553). กรุงเทพฯ : คุรุสภา. กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). แผนปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2560ของกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556. (2556). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 130 ตอนพิเศษ 130 ง. หน้า 65-71. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 (2560). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก. หน้า 14 สานักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. (2547). พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรสุ ภาลาดพร้าว. องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้. คู่มือการประเมินสมรรถนะ สาหรับผู้ปฏิบัติงานองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้. [ออนไลน์]. 2559. แหล่งที่มา: http://www.fio.co.th/institution/human/590927Manual2559-2 [15 มีนาคม 2560] บุญชม ศรีสะอาด. (2554). หลักการวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
311
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
พินิจ แสนวัง. (2555). สมรรถนะของผู้บริหารกับการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครูใน โรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. พรพิศ อินทะสุระ. (2551). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา ตามความคิดเห็นของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่นเขต 5. การศึกษาค้นคว้าอิสระ ปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30. (2558). แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี 2559-2562. ชัยภูมิ : สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 30.
312
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018 EDUP-13
ปัญหาและข้อเสนอแนะการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น (SBMLD) ของโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ PROBLEMS AND SUGGESTIONS ON THE SCHOOL BASE MANAGEMENT LOCAL DEVELOPMENT OF SCHOOL UNDER CHAIYAPHUM PROVINCIAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION ศุกลภัทร บุญอยู่ 1 เพียงแข ภูผายาง2 1 2
ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ อาจารย์ที่ปรึกษาหลักวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับปัญหาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนา ท้องถิ่นของโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ 2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของข้าราชการครูที่มีต่อ ปัญหาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นของโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ จาแนกตามประสบการณ์ทางานและขนาดโรงเรียนและ 3) ศึกษาข้อเสนอแนะสาหรับพัฒนาการดาเนินงานการ บริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นของโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ ปีการศึกษา 2560 จานวน 260 คน กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie & Morgan) แล้วใช้ วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น แล้วดาเนินการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มี 2 ประเภท ประเภทที่ 1 คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอานาจจาแนก ระหว่าง .376 - .869 และค่าความเชื่อมั่นที่ ระดับ .972 และแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ส่วนสถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน ใช้การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว โดยใช้สถิติ F-test แบบ One Way ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับปัญหาในบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นของโรงเรียน สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมีปัญหาปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านความเป็นเลิศตามอัจฉริยภาพของผู้เรียน แต่ละคนจนสามารถนาไปประกอบอาชีพ ในท้องถิ่นจนเกิดเป็นวิสาหกิจชุมชน รองลงมาได้แก่ ด้านความพึงพอใจต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการ พัฒนาท้องถิ่นของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้านคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และด้านกระบวนการบริหารการ จัดการศึกษาตลอดชีวิต ตามลาดับ 2. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดเห็นของข้าราชการครูที่มีประสบการณ์ ทางานต่างกัน พบว่า ความคิดเห็นของผู้บริหารและข้าราชการครูที่มีต่อระดับปัญหาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็น ฐานในการพัฒนาท้องถิ่นจาแนกตามประสบการณ์ทางานต่างกัน ในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน และผล การวิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดเห็นของข้าราชการครูที่มีขนาดโรงเรียนต่างกัน พบว่า ความคิดเห็นของผู้บริหาร และข้าราชการครูที่มีต่อระดับปัญหาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นจาแนกตามขนาด โรงเรียน ในภาพรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะและความ คิดเห็นอื่นๆ สาหรับพัฒนาการดาเนินงานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นของโรงเรียนสังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิด้วยวิธีจัดหมวดหมู่ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ ตามกรอบแนวคิดของการวิจัยที่ กาหนด ประกอบด้วย 4 ด้าน คือด้านคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้านกระบวนการบริหารการจัด
313
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
การศึกษาตลอดชีวิต ด้านความเป็นเลิศตามอัจฉริยภาพของผู้เรียน แต่ละคนจนสามารถนาไปประกอบอาชีพใน ท้องถิ่นจนเกิดเป็นวิสาหกิจชุมชน และด้านความพึงพอใจต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนา ท้องถิ่นของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง คำสำคัญ : การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น / สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ Abstract The purposes of this study were 1) to examine the level of The School Base Management Local Development of School Under Chaiyaphum Provincial Administrative Organization. 2) to compare opinion of teachers on Problems and Suggestions on The School Base Management Local Development Of School Under Chaiyaphum Provincial Administrative Organization by work experience and 3) to examine suggestion to develop The School Base Management Local Development Of School Under Chaiyaphum Provincial Administrative Organization. The samples consisted of 260 teachers obtained by Simple Random Sampling Method (Krejcie & Morgan) and Stratified Random Sampling. The instrument were five-rating-scale questionnaire that had a discriminate on index of between .376 and .869 , the reliability was 0.97 and structured interview. The statistical analysis data in this research were Mean, Standard deviation and One-way Anova Research findings as follow : 1. The level of Problems of The School Base Management Local Development of School Under Chaiyaphum Provincial Administrative Organization was high 2. The result of comparison of opinion of teachers by work experience was found that opinion of teachers on Problems the School Base Management Local Development of School Under Chaiyaphum Provincial Administrative Organization was different, compared by overall and aspects was not different. The result of comparison of opinion of teachers by school size was found that opinion of teachers on Problems the School Base Management Local Development Of School Under Chaiyaphum Provincial Administrative Organization was statistical significant at .05. 3. The suggestion to develop The School Base Management Local Development of School Under Chaiyaphum Provincial Administrative Organization by interviewing was 4 factors: Office of The Basic Education Commission, Administration of Lifelong Education, Intelligence of learners and satisfaction on The School Base Management. Keywords : The School Base Management Local Development / Chaiyaphum Provincial Administrative Organization
314
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
บทนา ประเทศไทยมีความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่จะส่งผลต่อคุณภาพชีวิต ศักยภาพ ทางเศรษฐกิจและสภาพทางสังคมในด้านต่างๆ โครงสร้างประชากรไทยได้เปลี่ยนแปลงเข้าสู่สังคมสูงวัยมากขึ้น ตามลาดับและจะเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์เมื่อสิ้นสุดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ส่งผล ให้เกิดการขาดแคลนแรงงานในภาวะที่ผลิตภาพแรงงานไทยยังต่า เนื่องจากปัญหาคุณภาพแรงงาน ความล่าช้าใน การพัฒนาเทคโนโลยีและปัญหาการบริหารจัดการ จึงเป็นข้อจากัดในการเพิ่มขี ดความสามารถในการแข่งขันและ ศักยภาพการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งการสร้างรายได้และการยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชนด้วย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ, 2555 : 11-15) ได้กาหนดแนวทางในการเตรียมพร้อมด้านกาลังคนและการเสริมสร้างศักยภาพของ ประชากรในทุกช่วงวัย โดยการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศในทุกระดับและยกระดับ การเรียนรู้โดย เน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก ปรับระบบการจัดการเรียนการ สอนและการพัฒนาคุณภาพครูทั้งระบบ รวมทั้งการยกระดับคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศในสาขาวิชาที่มีความ เชี่ยวชาญเฉพาะด้านและพัฒนาระบบทวิภาคีหรือ สหกิจศึกษาให้เอื้อต่อการเตรียมคนที่มีทักษะให้พร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงาน นอกจากนี้ต้องให้ความสาคัญ กั บ การสร้ า งปั จ จั ย แวดล้ อ มที่ เ อื้ อ ต่ อ การเรี ย นรู้ ต ลอดชี วิ ต ทั้ ง สื่ อ การเรี ย นรู้ แ ละแหล่ ง เรี ย นรู้ ที่ ห ลากหลาย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 มาตรา 6 มาตรา 15 และมาตรา 16 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546: 5-6) การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคน ไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการ ดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สนับสนุนให้ประชาชนได้ศึกษาเรียนรู้ทุกระบบ ได้แก่ การศึกษาในระบบซึ่งแบ่งเป็น การศึกษาภาคบังคับเป็นความรู้พื้นฐานในการสร้างความเป็นคนและมีคุณธรรมใน การดารงชีวิตอยู่ในสังคมและการศึกษาระดับอุดมศึกษาเป็นการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นสร้างความรู้เฉพาะทางและ คุณธรรมในการประกอบอาชีพตามความถนัดของแต่ละคน ตลอดจนการสร้างองค์ความรู้ แนวคิด นวัตกรรมและ ทฤษฎีใหม่ด้วยการค้นคว้าทดลองและวิจัย การศึกษานอกระบบสาหรับผู้ที่ไม่พร้อมเรียนในระบบโรงเรียน โดย จัดเป็นการศึกษาที่ควบคู่กับการทางานและการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นการศึกษาพิเศษที่สอนความรู้ต่างๆ ตามความ สนใจและความถนัดของผู้เรียนเพื่อนาไปประกอบอาชีพและการดาเนินชีวิตให้มีคุณภาพที่ดียิ่งขึ้น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 มาตรา 250 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่ และอานาจดูแลและจัดทาบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตาม หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุ นการจัดการศึกษาให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น ประกอบกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา ส่วนที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา 41 กาหนดให้ “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิจัดการศึกษาในระดับใดระดับหนึ่งหรือทุกระดับตามความ พร้อมความเหมาะสมและความต้องการภายในท้องถิ่น” และ มาตรา 42 “ให้กระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ ประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และมีหน้าที่ใ นการประสานและส่งเสริม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้สามารถจัดการศึกษาสอดคล้องกับนโยบายและได้มาตรฐานการศึกษารวมทั้งการ เสนอแนะการจัดสรรงบประมาณอุดหนุนการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ” ปัจจุบันนี้นอกจากองค์ ปกครองส่วนท้องถิ่นจะมีบทบาทในการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดโดยมีมาตรฐานการศึกษาที่สอดคล้องกับ
315
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
บริบทของท้องถิ่นและชุมชนแล้ว ยังมีบทบาทและส่วนร่วมในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาในระดับต่างๆ ในท้องถิ่น มีการระดมทรัพยากรทางการศึกษา จัดตั้งและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ มีส่วนร่วมในการเป็นคณะกรรมการ สถานศึกษา การพัฒนาอาชีพของประชาชนและเยาวชนในท้องถิ่น ซึ่งถือว่าเป็นจุดเด่นขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นที่สามารถกาหนดรูปแบบที่เหมาะสมในการจัดการศึกษาในท้องถิ่น อีกทั้งยังถือเป็นพันธะทางสังคมใน ท้องถิ่นนั้นๆ การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น ถือเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาใหม่ในท้องถิ่น ที่เกิดจากการกาหนดรูปแบบการศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่อการจัด การศึกษา โดยการกาหนดวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ และเป้าหมายในการจัดการศึกษา เพื่อให้สามารถพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชน เยาวชนในท้องถิ่นได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต และมุ่งสู่ความเป็นเลิศตามอัจฉริยภาพของแต่ละ บุคคล (กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, 2558 : 1) แนวคิดในการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management : SBM) หรือเป็น ศูนย์กลางการบริหารจัดการโรงเรียนโดยตรง โดยให้สถานศึกษามีอิสระ มีความคล่องตัวในการบริหารงานด้าน วิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารบุคคลและด้านการบริหารทั่วไป เปิดโอกาสให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจและให้มีการบริหารในรูปคณะกรรมการโรงเรียน ซึ่งประกอบด้วยผู้บริหารโรงเรียน ตัวแทนครู ผู้แทนชุมชน โดยมีความเชื่อที่ว่าการตัดสินใจที่ดีที่สุด เกิดจากการตัดสินใจของคณะบุคคลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ที่ อยู่ใกล้ ชิดและมีส่วนเกี่ยวข้ องกับ นักเรีย นมากที่สุด โวทส์เ ทสท์เทอร์ (Wohlstetter, 1995 อ้า งถึงใน อุทั ย บุญประเสริฐ, 2545 : 12) ซึ่งในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 มาตรา 40 ได้กาหนดให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษา ระดับอุดมศึกษาระดับต่ากว่าปริ ญญาและสถานศึกษาอาชีวศึกษาของแต่ละสถานศึกษาเพื่อทาหน้าที่กากับและ ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมของสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนศิษย์เก่าของสถานศึกษา ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์และหรือผู้แทนองค์กรศาสนาอื่นใน พื้นที่และผู้ทรงคุณวุฒิโดยให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการสถานศึกษา การจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นสู่ความเป็นเลิศทางด้านวิชาการแต่เพียงอย่างเดียวยังเป็นการจัดการศึกษาที่ ตอบสนองตอบความต้องการเฉพาะกลุ่มผู้เรียนที่มีศักยภาพหรืออั จฉริยภาพด้านวิชาการแต่เพียงกลุ่มเดียวเท่านั้น โดยไม่ให้ความสาคัญต่อการจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มผู้เรียนที่มีศักยภาพหรืออัจฉริยภาพ ด้านอื่นๆ ทาให้ผู้เรียนกลุ่มนี้ไม่ได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและถูกบังคับให้เรียนรู้เพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศด้ าน วิชาการ ซึ่งเป็นสิ่งที่เป็นไปได้ยาก หรืออาจเป็นไปไม่ได้เลย เท่ากับเป็นการทาร้ายกลุ่มผู้เรียนที่มีศักยภาพหรือ อัจฉริยภาพด้านอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ด้านวิชาการ เพราะกลุ่มผู้เรียนเหล่านี้จะไม่มีความเป็นเลิศในด้านใดทั้งสิ้นเลย เมื่อจบ การศึกษาขั้นพื้นฐานไปแล้วและไม่มโี อกาสได้เรียนต่อก็จะไม่มคี วามรู้ที่จะนาไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ กลายเป็น แรงงานไร้ฝีมือ ประกอบกับผู้เรียนของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนใหญ่มีฐานะยากจน มักไม่มี โอกาสได้เรียนต่อ ดังนั้น การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องสามารถ ตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนทุกคน เพื่อให้ผู้เรียนได้ค้นพบศักยภาพหรืออัจฉริยภาพของตนเอง เพื่อที่จะได้ ทาการพัฒนาให้มีความเป็นเลิศตามศักยภาพหรืออัจฉริยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคลสู่ความเป็นเลิศต่อไป ด้วยเหตุ นี้ กรมส่ งเสริ มการปกครองท้ องถิ่ น จึ งได้ ก าหนดให้ ก ารบริ ห ารโดยใช้ โ รงเรีย นเป็ น ฐานในการพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น (School-based Management for Local Development - SBMLD) เป็นนโยบายในการพัฒนาสถานศึกษาให้
316
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
สามารถพัฒนาเยาวชนและประชาชนในท้องถิ่นได้เรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิตและมุ่งสู่ความเป็นเลิศตามอัจฉริ ยภาพ ของแต่ละบุคคล (กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, 2558 : 1) องค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิเป็นหน่วยราชการปกครองท้องถิ่นรูปแบบหนึ่งที่มีอานาจหน้าที่พัฒนา จังหวัด ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา สาธารณสุข การอาชีพ สาธารณูปโภคต่างๆ โดยในปีการศึกษา 2560 มี สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในสังกัด 26 โรงเรียน และข้าราชการครูในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ จานวน 768 คน โดยมีกองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษาสังกัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ ส่งเสริมพัฒนาหลักสูตรการศึ กษาขั้นพื้นฐานและกระบวนการเรียนรู้พัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา การส่งเสริมพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาให้เป็นไปตามความ ต้องการของท้องถิ่น และหลักเกณฑ์มาตรฐานที่รัฐกาหนด โดยรับผิดชอบการวางแผนการศึกษา กาหนดนโยบาย และแผนโครงการให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนของจังหวัดและกระทรวงที่เกี่ยวข้อง (รังสันต์ โยศรีคุณ, 2556 : 20) จากการศึกษาข้อมูลที่ผ่านมา พบว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัดชั ยภูมิได้นานโยบายการบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นมาเป็นนโยบายในการพัฒนาการศึกษาของโรงเรียนทั้ง 26 โรงเรียนในสังกัด องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั งหวั ด ชั ย ภู มิ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรม ในปี ก ารศึ ก ษา 2559 เนื่ อ งจากต้ อ งการส่ งเสริ ม ให้ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานมีความเข้มแข็งจนสามารถเข้ามามีบทบาทในการจัดการศึกษาของโรงเรียน เพื่อโรงเรียนสามารถจัดการศึกษาสอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ตลอดจนสนับสนุนให้ โรงเรียนจัดการเรียนการสอนทาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีและได้รับการพัฒนาหรือส่งเสริมให้มีความ เป็นเลิศตามอัจฉริยภาพของผู้เรียนแต่ละคน เพื่อนาไปสู่การประกอบอาชีพได้ รวมทั้งโรงเรียนจัดการฝึกอบรมตาม ความต้องการของเด็ก เยาวชนและประชาชนในท้องถิ่นให้มีความรู้มีทักษะ หรือมีอาชีพที่สามารถดารงชีวิตอยู่ใน ท้องถิ่นได้ หรือมุ่งสู่การสร้างวิสาหกิจชุมชน และโรงเรียนจัดหา ให้บริการแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายตามความ ต้องการและตามศักยภาพของเด็ก เยาวชน และประชาชนในท้องถิ่น ให้มีความรู้ มีทั กษะหรือมีอาชีพที่สามารถ ดารงชีวิตอยู่ในท้องถิ่นได้ จากความสาคัญดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาปัญหาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการ พัฒนาท้องถิ่น (SBMLD) ซึ่งองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิมีนโยบายให้สถานศึกษาในสังกัดจัดการบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น (SBMLD) มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ตั้งแต่ปีการศึกษา 2559 แต่การดาเนินการในบางโรงเรียนยังอยู่ในระยะเริ่มต้น โรงเรียนแต่ละโรงเรียนมีรายละเอียดและแนวทางการ ดาเนินการที่แตกต่างกันไป เนื่องจากไม่มีการกาหนดรูปแบบและแนวปฏิบัติที่ชัดเจน จึงทาให้ผลการดาเนินการไม่ ประสบผลสาเร็จตามเป้าหมาย ที่วางไว้ ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะทาการวิจัยเพื่อศึกษาปัญหาการบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น (SBMLD) ที่ผ่านมาว่ามีปัญหามากน้อยเพียงใด เพื่อนาผลการวิจัยตลอดจน ข้อเสนอแนะสาหรับพัฒนาการดาเนินงานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นของสถานศึกษา สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ ให้มีคุณภาพต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. ศึกษาระดั บปัญหาการบริหารโดยใช้โ รงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น ของโรงเรียนสังกั ด องค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ
317
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
2. เปรียบเทียบความคิดเห็นของข้าราชการครูที่มีต่อปัญหาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการ พัฒนาท้องถิ่นของโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชั ยภูมิ จาแนกตามประสบการณ์ทางานและขนาด โรงเรียนและ 3. ศึกษาข้อเสนอแนะสาหรับพัฒนาการดาเนินงานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนา ท้องถิ่นของโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ วิธีดาเนินการวิจัย กลุ่ มตั ว อย่ า งในการศึ ก ษาครั้งนี้ ได้แ ก่ ข้ าราชการครู สังกั ดองค์ ก ารบริห ารส่ วนจั งหวั ดชั ย ภูมิ ปี การศึกษา 2560 กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง (Sample size) โดยการใช้ตารางสาเร็จรูปของ Krejcie และ Morgan (บุญชม ศรีสะอาด, 2554 : 43) ได้จานวนกลุ่มตัวอย่าง 260 คน แล้วทาการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) จากประชากร โดยใช้สถานศึกษาเป็นชั้นในการแบ่ง (strata) เทียบจานวน สัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างจากประชากรในแต่ละชั้นภูมิ ให้ได้กลุ่มตัวอย่างตามจานวนที่กาหนดไว้ กลุ่มตัวอย่างแต่ละ โรงเรียน สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ ทาการสุ่มอย่างง่าย (Simple Sampling) โดยใช้โรงเรียนเป็นหน่วย ในการสุ่ม จาแนกเป็นผู้บริหารจานวน 98 คน และครูผู้สอนจานวน 162 คน รวมกลุ่มตัวอย่างจานวนทั้งสิ้น 260 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล มี 2 ประเภท คือ 1. แบบสอบถาม แบ่งเป็น 3 ตอน ดั งนี้ ตอนที่ 1 ข้ อ มูล ทั่ วไปของผู้ ตอบแบบสอบถามมี ลัก ษณะเป็น แบบตรวจสอบรายการ ( Checklist) ประสบการณ์ทางาน ประกอบด้วย ประสบการณ์ทางานและขนาดโรงเรียนประสบการณ์ทางาน ประกอบด้วย ประสบการณ์ทางานไม่เกิน 10 ปี ประสบการณ์ทางานตั้งแต่ 10 – 20 ปี และประสบการณ์ทางานตั้งแต่ 20 ปีขึ้น ไป ขนาดโรงเรียน ประกอบด้วย โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดใหญ่ ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของข้าราชการครูที่มีต่อปัญหาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นของโรงเรียน สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ มีลักษณะเป็นแบบมาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ซึ่งมี 5 ระดับ ตามวิธีของลิเคิร์ท (Likert) (บุญชม ศรีสะอาด, 2554 : 82-83) ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ 1) ด้านคณะกรรมการ สถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน 2) ด้ า นกระบวนการบริ ห ารการจั ด การศึ ก ษาตลอดชี วิ ต 3)ด้ า นความเป็ น เลิ ศ ตาม อัจฉริยภาพของผู้เรียน แต่ละคนจนสามารถนาไปประกอบอาชีพในท้องถิ่นจนเกิดเป็นวิสาหกิจชุมชน 4) ด้านความ พึงพอใจต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ และความคิดเห็นอื่นๆ สาหรับพัฒนาการดาเนินงานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นของ โรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ มีลักษณะเป็นแบบปลายเปิด (Open Ended) แบบสัมภาษณ์แบบ มีโครงสร้าง (Structure Interviewed) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะ สาหรับพัฒนาการดาเนินงานการบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นของโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ ใน 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) ด้านกระบวนการบริหารการจัดการศึกษาตลอดชีวิต 3) ด้าน ความเป็นเลิศตามอัจฉริยภาพของผู้เรียน แต่ละคนจนสามารถนาไปประกอบอาชีพในท้องถิ่นจนเกิดเป็นวิสาหกิจ ชุมชน 4) ด้านความพึงพอใจต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
318
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ผลการวิจัย 1. ระดับปัญหาในบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นของโรงเรียนสังกัดองค์การ บริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมีปัญหาปานกลาง เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ย สูงที่สุด คือ ด้านความเป็นเลิศตามอัจฉริยภาพของผู้เรียน แต่ละคนจนสามารถนาไปประกอบอาชีพในท้องถิ่นจน เกิดเป็นวิสาหกิจชุมชน รองลงมาได้แก่ ด้านความพึงพอใจต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น ของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้านคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และด้านกระบวนการบริหารการจัดการศึกษา ตลอดชีวิต 2. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดเห็นของข้าราชการครูที่มีประสบการณ์ทางานต่างกัน พบว่า ความคิดเห็นของผู้บริหารและข้าราชการครูที่มีต่อระดับปัญหาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนา ท้องถิ่นจาแนกตามประสบการณ์ทางานต่างกัน ในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน และผลการวิเค ราะห์ เปรี ยบเที ยบความคิ ดเห็ นของข้าราชการครู ที่มี ขนาดโรงเรี ยนต่ างกัน พบว่ า ความคิด เห็น ของผู้ บริห ารและ ข้าราชการครูที่มีต่อระดับปัญหาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นจาแนกตามขนาดโรงเรียน ในภาพรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นอื่นๆ สาหรับพัฒนาการดาเนินงานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ในการพัฒนาท้องถิ่นของโรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิด้วยวิธีจัดหมวดหมู่ข้อมูลที่ได้จากการ สัมภาษณ์ ตามกรอบแนวคิดของการวิจัยที่กาหนด ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ ด้านคณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน ด้านกระบวนการบริหารการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ด้านความเป็นเลิศตามอัจฉริยภาพของผู้เรียน แต่ละ คนจนสามารถนาไปประกอบอาชีพในท้องถิ่นจนเกิดเป็นวิสาหกิจชุมชน และด้านความพึงพอใจต่อการบริหารโดย ใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องดังนี้ 1. ด้านคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่องที่มีปัญหามากที่สุดคือ ชุมชนมีส่วนร่วมตัดสินใจในการบริหารจัดการโรงเรียน แนวทางการพัฒนาคือ เชิญชุมชน ให้เข้ามามีส่วนร่วมตัดสินใจในการบริหารจัดการโรงเรียน มีการประชุมกรรมการสถานศึกษา ประชุมผู้ปกครอง นักเรียน เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาและบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ด้านกระบวนการบริหารการจัด การศึกษาตลอดชีวิต เรื่องที่มีปัญหามากที่สุดคือ ชุมชนขาดการมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร การจัดแหล่งเรียนรู้ และการวัดผลประเมินผล แนวทางการพัฒนาคือ ให้ความรู้ สร้างความตระหนัก และเน้นการมีส่วนร่วมกับบุคคลใน ชุม ชน โดยเฉพาะผู้ ที่ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งในการพั ฒ นาหลั ก สู ต ร ใช้ วิ ธี ก ารวั ดและประเมิ น ผลการจั ด การเรี ย นรู้ ที่ หลากหลาย และมีการจัดแหล่งเรียนรู้ รวมถึงนานักเรียนไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน 3. ด้านความ เป็นเลิศตามอัจฉริยภาพของผู้เรียน แต่ละคนจนสามารถนาไปประกอบอาชีพในท้องถิ่นจนเกิดเป็นวิสาหกิจชุมชน เรื่องที่มีปัญหามากที่สุดคือ โรงเรียนมีการเลือกใช้แบบเรียนและหนังสือประกอบอื่น ๆ ไม่ได้ตรงกับความต้องการ และความเหมาะสม แนวทางการพัฒนาคือ ให้ครูผู้สอนเป็นผู้เลือกแบบเรียนและหนังสือประกอบอื่น ๆ เอง และ หน่วยงานต้นสังกัดควรจัดสรรงบประมาณในการจัดซื้อให้ครบในครั้งเดียว 4. ด้านความพึงพอใจต่อการบริหารโดย ใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เรื่องที่มีปัญหามากที่สุดคือ โรงเรียนได้รับครูและ บุคลากรที่มีความรู้และความถนัดไม่ตรงกับความต้องการของโรงเรียน แนวทางการพัฒนาคือ ควรให้โรงเรียนมี ระบบการสรรหาครูและบุคลากรตรงตามความต้องการและเป็นที่ยอมรับ ตลอดจนต้องการให้โรงเรียนเป็นหน่วยงาน ในการสรรหาครูและบุคลากรเอง
319
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
สรุปผลการวิจัย ปัญหาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นจาแนกตามประสบการณ์ทางานต่างกัน ในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน และผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดเห็นของข้าราชการครูที่มีขนาด โรงเรียนต่างกัน พบว่า ความคิดเห็นของผู้บริหารและข้าราชการครูที่มีต่อระดับ ปัญหาการบริหารโดยใช้โรงเรียน เป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นจาแนกตามขนาดโรงเรียน ในภาพรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 วิจารณ์ผลการวิจัย 1. ด้านคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานพบว่ามีปัญหาอยู่ในระดับน้อย สอดคล้องกับ พิสิฐธวัฒน์ กลิ่นไธสงค์ (2552 : 29) ซึ่งได้ให้ความหมายของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็น ฐาน หมายถึง กลยุทธ์ในการปรับปรุงการศึกษาโดยเปลี่ยนอานาจหน้าที่ในการตัดสินใจจากส่วนกลางไปยังแต่ละ สถานศึกษาโดยให้คณะกรรมการสถานศึกษา (School Council หรือ School Board) ซึ่งประกอบด้วย ผู้ปกครอง ครู สมาชิกในชุมชน ผู้ทรงคุณวุฒิ ศิษย์เก่า และผู้บริหารสถานศึกษา ได้มีอานาจในการบริหารจัด การศึกษาในสถานศึกษา มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับงบประมาณ บุคลากร วิชาการ และการบริหารทั่วไป โดยให้เป็นไปตามความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน 2. ด้า นกระบวนการบริ หารการจัด การศึ กษาตลอดชี วิต พบว่า มีปั ญหาอยู่ใ นระดั บน้ อย ดั งที่ กรม ส่งเสริม การปกครองท้อ งถิ่ น (2558) ได้ กาหนดให้ การบริห ารโดยใช้ โรงเรีย นเป็ นฐาน ในการพั ฒนาท้ องถิ่ น (School-based Management for Local Development - SBMLD) เป็นนโยบายในการพัฒนาสถานศึกษาให้ สามารถพัฒนาเยาวชนและประชาชนในท้องถิ่นได้เรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต และมุ่งสู่ความเป็นเลิศตามอัจฉริยภาพ ของแต่ละบุคคล โดยมีการจัดทาคู่มือการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้ องถิ่นเพื่อให้โรงเรียนสังกัด องค์ ก รปกครองท้ อ งถิ่ น ใช้ เ ป็ น แนวทางในการบริห ารงาน และประเมิ น สถานศึ ก ษา เพื่ อ ให้ ส ถานศึ ก ษามี ก าร พัฒนาการบริหารจัดการศึกษาอย่างต่อเนื่องภายในแนวคิดพื้นฐาน และตามที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งมี อานาจหน้าที่ในการจัดการศึกษาให้แก่ เด็ก เยาวชน และประชาชนในท้องถิ่นในระดับใด ระดับหนึ่ง หรือทุกระดับ ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการภายในท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 41 จึงควรใช้โรงเรียนในสังกัดเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นด้วยการจัดการศึกษาตลอดชีวิตให้ เด็ก เยาวชนและประชาชนในท้องถิ่นได้เรียนรู้เต็มตามศักยภาพตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 8(1) โดยการจัดการศึกษาทั้งการศึกษาในระบบ (Formal Education) การศึกษานอกระบบ (Nonformal Education) และการศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) อันจะส่งผลให้ประชาชนในท้องถิ่นเป็น คนดี มีอาชีพสุจริตสามารถดารงชีวิตอยู่ในท้องถิ่นได้อย่างมีความสุข โดยไม่ต้องอพยพย้ายถิ่นฐานไปทางานในเมือง ใหญ่หรือเมืองอุตสาหกรรม ไม่ต้องทิ้งให้เด็กและคนชราอยู่ในท้องถิ่นตามลาพัง ครอบครัวขาดความอบอุ่น ชุมชน ท้องถิ่นขาดความเข้มแข็ง ไม่มีพลังในการขับเคลื่อนการพัฒนาท้องถิ่นให้เจริญก้าวหน้าได้ 3. ด้านความเป็นเลิศตามอัจฉริยภาพของผู้เรียน แต่ละคนจนสามารถนาไปประกอบอาชีพในท้องถิ่น จนเกิดเป็นวิสาหกิจชุมชนปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง ตามข้อสรุปการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนา ท้องถิ่น หมายถึง นโยบายการจัดการศึกษาที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีนโยบายให้โรงเรียนในสังกัดองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น จัดการศึกษาที่ส่งเสริมความต้องการของผู้เรียนตามความถนัดและศักยภาพที่แตกต่างกัน และ ส่งเสริมอาชีพในท้องถิ่น เพื่อให้สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข โดยให้มีคณะกรรมการสถานศึกษา
320
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ขั้นพื้นฐานเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา มีกระบวนการจัดการศึกษาที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเป็นเลิศตาม อัจฉริยภาพของแต่ละคนจนนาไปสู่การสร้างวิสาหกิจชุมชนที่เกิดจากการรวมตัวกันของประชาชนในท้องถิ่นได้ 4. ด้ า นความพึ งพอใจต่ อ การบริ ห ารโดยใช้ โ รงเรี ย นเป็ น ฐานในการพั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ของผู้ ที่ มี ส่ ว น เกี่ ย วข้ อ งปั ญ หาอยู่ ใ นระดั บ ปานกลาง ตามแนวคิ ด เรื่ อ งการบริ ห ารโดยใช้ โ รงเรี ย นเป็ น ฐาน ( School-Based Management : SBM) นั้นได้รับอิทธิพลจากวงการธุรกิจและอุตสาหกรรมที่ประสบผลสาเร็จจากหลักการ วิธีก าร และกลยุทธ์ในการทาให้องค์กรมีประสิทธิภาพในการทางาน ทาให้ผลการปฏิบัติงานมีคุณภาพสร้างกาไร และสร้าง ความพึงพอใจต่อลูกค้าและผู้เกี่ยวข้องมากขึ้น ในระหว่างปี ค.ศ.1960-1979 ในวงการศึกษาของสหรัฐอเมริกา และประเทศต่างๆ ได้แสวงหานวัตกรรมมาใช้ในการปรับปรุงหลั กสูตรและวิธีจัดการเรียนการสอนแบบใหม่ๆ แต่ ผลที่ได้ยังไม่เป็นที่น่าพอใจนัก จนกระทั่งปี ค.ศ.1980 เป็นต้นมามีการศึกษาพบว่าการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ ดีขึ้นนั้น ต้องปรับปรุงกระบวนการและวิธีการจัดการศึกษาที่เคยเน้นแต่เรื่องการจัดการเรียนการสอน ไปสู่การ ปรับปรุงและพัฒนาระบบบริหารโรงเรียนโดยมุ่งการปรับระบบโครงสร้างการบริหารเสียใหม่ มีการกระจายอานาจ การบริหารและจัดการศึกษาไปยังโรงเรียนให้มากขึ้น ข้อเสนอแนะ 1. ส่วนกลางควรจัดการอบรมถึงภาระหน้าที่ของโรงเรียนให้กับบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนที่ บางส่วนยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการกระจายอานาจที่แท้จริง ไม่รู้ถึงขอบข่ายภาระงานการดาเนินงาน ของโรงเรียนตามหลักการกระจายอานาจ 2. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรมีการกระจายอานาจการตัดสินใจในบางเรื่องมายังโรงเรียนอย่าง เต็มที่ 3. โรงเรียนควรจัดทาแผนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามสภาพปัญหามีการพัฒนาและปรับปรุงการ ทางานให้มีประสิทธิภาพ มีการรายงานต่อสาธารณชนโดยตลอดเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง 4. บุคลากรโรงเรียนทุกคนควรเปิดใจกว้างในการตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความโปร่งใส ในการทางานซึ่ง จะทาให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างโรงเรียนและชุมชน 5. ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาควรมี ก ารกระจายอ านาจมายั ง โรงเรี ย นที่ ชั ด เจน และมี ก าร ประสานงานที่มีคุณภาพ 6. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรมีการจัดสรรงบประมาณเพิ่มเติม ให้แก่โรงเรียนที่ขาดแคลน กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จลงด้วยการช่วยเหลือแนะนาอย่างดียิ่งจาก ดร.เพียงแข ภูผายาง ซึ่งเป็นอาจารย์ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ครั้งนี้ และคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ที่ได้กรุณา ให้ความคิดเห็น เสนอแนะช่วยเหลือ และตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่มาโดยตลอด ผู้วิจัยขอขอบพระคุณไว้เป็นอย่างสูง ณ ที่นี้ ขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญทุกท่านซึ่งประกอบด้วย นายเกียรติ ปะหุสี นายศุภชัย บุราณ นายสุริยะ ป้องขันธ์ นายวีร ยุทธ ปรุงชัยภูมิ และดร.สุนันท์ สีพาย ที่ได้กรุณาตรวจสอบแนะนาและปรับปรุงเครื่องมือในการวิจัย ตลอดจน คณาจารย์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ที่ให้ความคิดเห็น เสนอแนะแนวทางการทาวิจัยครั้งนี้
321
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ขอขอบพระคุณผู้บริหารสถานศึกษาและข้าราชการครู สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ ที่กรุณา ให้ ค วามร่ ว มมื อ ในการตอบแบบสอบถามอย่ า งสมบู ร ณ์ ค รบถ้ ว นด้ ว ยดี ที่ มี ส่ ว นช่ ว ยเหลื อ ในการเก็ บ รวบรวม แบบสอบถามประโยชน์และคุณค่าอันพึงมีของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ผู้วิจัยขอมอบเป็นเครื่องกตัญญูกตเวที แด่บิดา มารดา ญาติพี่น้อง ตลอดจนครู อาจารย์และผู้มีพระคุณทุกท่าน เอกสารอ้างอิง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2558). คู่มือประเมินการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น (School-based Management for Local Development- SBMLD). กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค. เจริญศักดิ์ เจริญยง. (2551). ได้ศึกษาการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของโรงเรียนในศูนย์เครือข่าย การศึกษาที่ 13 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 2. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษา ศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา) ขอนแก่น : บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยบัณฑิตธุรกิจ. บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น. พิสิฐธวัฒน์ กลิ่นไธสงค์. (2552). ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหาร โดยใช้ โรงเรียนเป็นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยภูมิ เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญา ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2544). แนวทางการปฏิรูปการศึกษาระดับอุดมศึกษาตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุลาดพร้าว. _________. (2546). รายงานผลการดาเนินงานโครงการนาร่อง ระดับชาติ เรื่อง การบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐาน : วิธีและวิธีไทย. กรุงเทพมหานคร: สานักงานคณะกรรมการ การศึกษา แห่งชาติ. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ.2560-2564. เข้าถึงเมื่อ 30 พฤษภาคม 2560 เข้าถึงได้จาก https://www.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/ viewFile/32324/30167 อุทัย บุญเจริญ. (2545). การบริหารจัดการสถานศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
322
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
EDUP-14 การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อพัฒนาทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 THE DEVELOPMENT OF INSTRUCTIONAL MODEL STEAM EDUCATION FOR THE ENHANCEMENT OF21st CENTURY LIVING SKILLS FOR MATHAYOMSUKSA 1 กชกร พินิจมนตรี1 1
Kochakorn Pinijmontree*ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านผักตบประชานุกูล อาเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี สพป.อุดรธานี เขต 3
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) พัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2) เปรียบเทียบ ทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะด้านชีวิตและอาชีพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลังเรียน และ 3)เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จานวน 23 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนบ้านผักตบประชานุกูล เครื่องมีที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย รูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แผนการ จัดการเรี ยนรู้ แบบประเมินทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะชีวิตและอาชีพ แบบทดสอบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินทักษะการปฏิบัติงานและแบบสอบถามความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมีชื่อเรียนว่า “ILSACE Model” โดยมีองค์ประกอบดังนี้ หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการเรียนการสอน สาระความรู้และทักษะชีวิตและอาชีพ สิ่งที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ระบบสังคม หลักการตอบสนอง และสิ่งสนับสนุน รูปแบบการเรี ยนการสอนที่พัฒนาขึ้นมีกระบวนการเรียนการ สอน 6 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นสร้างแรงบันดาลใจและเตรียมความพร้อมในการเรียน (Inspiration: I) 2) ขั้นเรียนรู้ STEAM Education (Learning STEAM Education :L) 3) ขั้นจัดระบบระเบียบความรู้และทักษะ (System and Organizing :S) 4) ขั้นประยุกต์ใช้ทักษะชีวิตและอาชีพ (Applying Life and Career Skills :A) 5) ขั้นสรุป (Conclusion : C) และ 6) ขั้นประเมินผล (Evaluation : E) ค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 82.03/81.31 เมื่อเทียบกับ เกณฑ์80/80 ปรากฏว่ามีค่าประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์เป้าหมายที่กาหนดไว้ 2. ทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะชีวิตและอาชีพ ของนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 หลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยสูงก่อนเรียน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 คะแนนเฉลี่ย หลังเรียนเพิ่มสูงขึ้นกว่าก่อนเรียน
323
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อรูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่านักเรียน มีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยนักเรียนมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจด้านกิจกรรมการเรียนการสอน สูงที่สุด เพราะนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง มีปฏิสัมพันธ์อยู่และแสวงหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย และมีความภาคภูมิใจที่สามารถผลิตผลงานขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้ คำสำคัญ : รูปแบบการเรียนการสอน, สะตีมศึกษา, ทักษะชีวิตและอาชีพ Abstract The purposes of this research were to : 1) develop and verify the efficiency of Instructional Model STEAM Education for The Enhancement of 21st Century Living and Skills for Mathayomsuksa 1 2) compare 21st Century Living and Skills in life skills and career aspect and Learning Achievement of Mathayomsuksa 1 before and after being tough by Instructional model STEAM Education for The Enhancement of 21st Century Living and Skills and 3) investigate satisfaction of Mathayomsuksa 1 toward the Instructional Model. The target group were students of Mathayomsuksa 1 at Banphaktobprachanukul school in 1st semester of academic year 2017. The instrument employed were ILSACE Instructional Model, lesson plans, achievement test, life skills and career test, performance test and questionnaire. The data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation and content analysis. The results of the study were as follows : 1. The instructional model was called ILSACE Model. The Model consisted of principle, objective, syntax (Instructional Procedures), strand of knowledge and life skills and career, nurturant effects, social system, principle of reaction and support system. There were 6 steps of syntax as follows : 1) Inspiration: I 2) Learning STEAM Education : L 3) System and Organizing : S 4) Applying Life and Career Skills : A 5) Conclusion : C and 6) Evaluation : E. The efficiency of instructional STEAM Education Model for the Enhancement of 21st Century Living and Skills for Mathayomsuksa 1achieved the criterion of 82.03/81.31, which was higher than the required standard criterion of 80/80. 2. 21st Century Living and Skills in life skills and career aspect and Learning Achievement of Mathayomsuksa 1 after being taught by the instrument model was higher than before. 3. The satisfaction of the Mathayomsuksa 1 toward the ILSACE model for the enhancement of 21st century living and skills was at the highest level of satisfaction, because the students interacted, performed by self and searched information from variety of sources and proud to be productive to use.
324
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
Keywords : Instructional Model, STEAM Education, life skills and career บทนา ในปัจจุบันโลกของการศึกษามีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมากในการจัดการศึกษาของประเทศต่าง ๆ มี เป้าหมายเพื่อมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ซึ่งทักษะที่จาเป็นเพื่อการดารงชีวิตใน ศตวรรษที่ 21 มีจุดเริ่มต้นมาจากการประชุมร่วมกันของนักวิชาการจากหลากหลายสาขาในสหรัฐอเมริกามาประชุม ร่วมกันโดยรัฐบาลต้องการพัฒนาคุณภาพของประชากรประเทศเพื่อยกระดับขีดความสามารถของประเทศกับ นานาชาติ และต้ องการให้ประชากรนั้ นมีคุ ณภาพและศัก ยภาพในสังคมสามารถดารงชีวิ ตอยู่ในสังคมที่ มี การ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งนี้องค์ประกอบในด้านต่าง ๆ ที่ควรเกิดขึ้นในผู้เรียนจากการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญสี่ประการ ได้แก่ ความรู้ในวิชาหลักและเนื้อหาประเด็นที่สาคัญสาหรับ ศตวรรษที่ 21(Core Subjects and 21st Century Themes) ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) ทักษะด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี (Information, Media and Technology Skills) และ ทักษะชีวิตและการทางาน (Life and Career Skills) (The Partnership for 21st Century Skills, 2009 : 2) ความคาดหวังสาหรับการเรียนการสอนในอนาคตผู้เรียนควรมีความรู้ ทักษะ ความคิดและความเชี่ยวชาญที่จะทา ให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จในการทางานที่เรียกว่า ทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills, 2009) ซึ่งประกอบด้วย 1) สาระวิชาหลัก (Core Subjects) สาระความรู้เชิงสหวิทยาการ เป็น สาระวิชาที่บุคคลแห่งศตวรรษที่ 21 จะต้องเรียนรู้มี 2 กลุ่มคือ กลุ่มที่ 1 วิชาแกนหลัก โดยวิชาแกนหลักนี้จะนามาสู่ การก าหนดเป็ น กรอบแนวคิ ด และยุ ท ธศาสตร์ ส าคั ญ ต่ อ การจั ด การเรี ย นรู้ ใ นเนื้ อ หาเชิ ง สหวิ ท ยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวข้อสาหรับศตวรรษที่ 21 กลุ่มที่ 2 สาระความรู้เชิงสหวิทยาการ 2) ทักษะด้านการ เรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) 3) ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (Information, Medea and Technology Skills) และ 4) ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ (Life and Career Skills) ในการดารงชีวิตและทางานในยุคปัจจุบันให้ประสบความสาเร็จต้องการทั้งความสามารถทางด้านวิชาการและทักษะ ด้านอาชีพ ต้องการความสามารถในการประเมินชี้นาแนวทางในการพัฒนาทักษะการดารงชีวิตและการทางาน โดย ทักษะที่จาเป็นสาหรับผู้เรียนได้แก่ มีความยืดหยุ่นและการปรับตัวได้ง่าย มีความคิดริเริ่มและนาพาชีวิตให้ประสบ ความ สาเร็จได้ มีทักษะทางสังคมและอยู่ร่วมกับคนจากต่างวัฒนธรรมได้ มีความมุ่งมั่นในการทางาน มีความเป็น ผู้นาและความรับผิดชอบ การพัฒนาทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะด้านชีวิตและอาชีพนั้นมีความ สาคัญอย่างยิ่ง สาหรับการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 วิจารณ์ พานิช (2555 : 48-58) ให้ทัศนะว่า ทักษะอาชีพและทักษะชีวิต นั้นต้องเรียนตั้งแต่ชั้นประถม (หรืออุบาล) ไปจนถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และมหาวิทยาลัย โดยเรียนตามพัฒนาการ ของสมอง ครูจะต้องเรียนรู้วิธีการออกแบบการเรียนรู้แบบ BBL ให้แก่ศิษย์แต่ละกลุ่มอายุและตามพัฒนาการของ สมองของเด็กแต่ละคน เพราะทักษะกลุ่มนี้สอนไม่ได้ เด็กต้องเรียนเอง และครูยิ่งต้องทางานหนักขึ้นในการคิดค้นหา วิธีการออกแบบการเรียนรู้ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว (Flexibility and Adaptability) คือความสามารถของ ผู้เรียนในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงตามบทบาทหน้าที่ การริเริ่มและการกากับดูแลตนเองได้ (Initiative and Self-Direction) คือความสามารถของผู้เรียนในการจัดเป้าหมายและเวลา มีทักษะทางสังคมและทักษะข้าม วัฒนธรรม (Social and Cross-Cultural Skills) มีความฉลาดทางสังคม (social intelligence) และความฉลาด ทางด้านอารมณ์ (emotional intelligence)
325
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ดังนั้น การจั ดการเรียนรู้ในสถานศึก ษาต้องเปลี่ ยนไปจากเดิ ม ครูต้องเปลี่ยนบทบาทจากครูผู้สอน (Teacher) มาเป็น ครูฝึก (Coach) หรือครูผู้อานวยความสะดวกในการเรียน (Learning Facilitator) STEM Education คือแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่มีความเหมาะสมและมีการนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนอย่าง แพร่หลายทั่วโลก STEM Education คือการสอนแบบบูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ (Interdisciplinary Integration) ระหว่างศาสตร์สาขาต่าง ๆ ได้แก่วิทยาศาสตร์ (Science: S) เทคโนโลยี (Technology: T) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineer: E) และคณิตศาสตร์ (Mathematics: M) ซึ่งอาศัยการจัดการเรียนรู้ที่ครูผู้สอนหลาย สาขาร่วมมือกันเพราะในการทางานจริงหรือในชีวิตประจาวันนั้นต้องใช้ความรู้หลายด้านในการทางานทั้งสิ้น STEM Education จึงเป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เป็นการส่งเสริมการพัฒนาทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 (พรทิพย์ ศิริภัทราชัย, 2556 : 49–56) การศึกษาแบบ STEM ไม่เพียงแต่เป็นการสอนแบบบูรณาการวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีวิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์แต่การศึกษาแบบ STEM ยังสามารถนามาบูรณาการวิชาศิลปะสาหรับเด็กอีกด้วย โดยเพิ่มคาว่า A-Art เข้าไปในคาว่า STEM เป็น STEAM เพราะศิลปะเป็นการช่วยให้เด็กได้แสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์และ เกิดจินตนาการที่สามารถนาไปสู่การแสดงออกในรูปแบบต่างๆ เช่น การประดิษฐ์ การเต้น ดนตรีและการสื่อสาร (Sharapan : 2012 : 36-37 อ้างถึงใน วศิณีส์ อิสระเสนา ณ อยุธยา : ออนไลน์) ซึ่งศิลปะนับว่ามีความสาคัญและ เป็นหนึ่งในแปดกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่กาหนดให้ ผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานต้องเรียนรู้นั้นเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มี จินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ กลุ่มสาระการ เรียนรู้ศิลปะมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซึ้งในคุณค่าของศิลปะ เปิ ด โอกาสให้ ผู้ เ รี ย นแสดงออกอย่า งอิ ส ระในศิ ล ปะแขนงต่ า ง ๆ การรวมศิ ล ปะ (Art) รวมเข้ า ไปใน STEM Education เป็น STEAM จึงเป็นแนวทางการศึกษาที่บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม ศิลปะและ คณิตศาสตร์ เพื่อจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดทักษะการสืบเสาะหาความรู้ ทักษะการอภิปรายถกเถียง และทักษะการ คิดอย่างมีวิจารณญาณ ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้คือนักเรียนที่มีทักษะการคิด มีส่วนร่วมในประสบการณ์การเรียนรู้ ตลอดจน การแก้ปัญหา การทางานร่วมกันและการใช้กระบวนการคิดสร้างสรรค์ในการทางาน ซึ่งคุณลักษณะเหล่านี้จะปรากฏ อยู่ในนักประดิษฐ์สร้างสรรค์นวัตกรรม นักการศึกษา ผู้นาและผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (What is steam?, 2015 : Online) ในปัจจุบันองค์ความรู้ด้านการศึกษา มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงก้าวหน้าอยู่เสมอ ผู้วิจัยจึงมีแนวความคิด ในการที่จะพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะ เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการจัดการเรียนการสอน STEM Education ในระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ซึ่งผู้วิจัยมีแนวคิดในการนากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (ART : A) เพิ่มเข้าไป เป็น STEAM Education โดย ประการแรก ต้องการพัฒนาความรู้ความสามารถของตนเองในด้านการจัดการเรียนรู้ ประการที่สอง ต้องการพัฒนา ผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะทักษะชีวิตและอาชีพ (Life and Career Skills) และ ประการที่สามเพื่อจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม แห่งชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ.2555-2564) กลยุทธ์ที่ 4.1 การบูรณาการการพัฒนาและผลิตกาลังคนด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีของประเทศ (สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.), 2555 : 6)
326
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
จากความเป็นมาและความสาคัญของ STEM Education ในบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบที่ผู้วิจัย เป็นครูผู้สอนในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา คือ โรงเรียนบ้านผักตบประชานุกูล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอุดรธานี เขต 3 ได้เล็งเห็นความสาคัญของการพัฒนาผู้เรียน ให้มีทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะชีวิตและอาชีพ เพื่อเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นที่ต้องการศึกษาต่อในระดับที่ สูงขึ้น หรือต้องการเข้าสู่โลกของอาชีพ โดยเฉพาะอาชีพที่มีอยู่ในท้องถิ่น เช่น ช่างตัดเย็บรองเท้าหนัง การประกอบ อาหารและการทาขนม และอาชีพอื่น ๆ จึงมีความสนใจที่จะทาการวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 1 และ นารูปแบบดังกล่าวไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างและพั ฒนานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มี ทักษะชีวิตและอาชีพ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์เป็นตัวของตัวเอง และการเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability) นอกจากนี้ผู้วิจัยคาดหวังว่ารูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สามารถนาไป ขยายผลให้กับสถานศึกษาที่มีหน้าที่ในการจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เพื่อให้เกิดประโยชน์ในวงกว้าง ต่อไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้าง ทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2. เพื่ อเปรีย บเที ยบทัก ษะการด ารงชีวิ ตในศตวรรษที่ 21 ด้ านทัก ษะด้ า นชี วิต และอาชี พ และ ผลสัม ฤทธิ์ท างการเรี ยนของนักเรียนชั้นมัธ ยมศึก ษาปีที่ 1ที่เ รียนด้ วยรูป แบบการเรียนการสอน STEAM Educationเพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ก่อนเรียนและ หลังเรียน 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึ กษาปีที่ 1 ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนด้วย รูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สมมติฐานของการวิจัย 1. รูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อพัฒนาทักษะการดารงชีวิต ในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์เป้าหมาย 80/80 2. ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยผลการประเมินทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21ด้านทักษะด้านชีวิต และอาชีพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อ เสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียน
327
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ตัวแปรและนิยามตัวแปร 1. ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ได้แก่ รูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อพัฒนาทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2. ตัวแปรตาม (Dependent Variables) ได้แก่ ทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 และความ พึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนด้วยรูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education วิธีดาเนินการวิจัย (Research Methodology) ในการดาเนินการวิจัย เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะ การดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้วิจัยแบ่งการดาเนินการพัฒนารูปแบบการ เรียนการสอนเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การวิจัย (Research : R1) เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน (Analysis : A) การศึกษาข้อมูลพื้นฐานสาหรับการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานสาหรับการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนา (Development : D1) การออกแบบและพัฒนา (Design and Development : (D and D) : การพัฒนาและหาประสิทธิภาพรูปแบบการเรียนการสอน วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อ เสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ขั้นตอนที่ 3 การวิจัย(Research : R2) การนารูปแบบการเรียนการสอนไปทดลองใช้ (Implementation : I) เป็นการนารูปแบบการเรียนการสอนสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการ การดารงชีวติ ในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วัตถุประสงค์ เพื่อทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอนสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะ การ การดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ขั้นตอนที่ 4 การพัฒนา (Development : D2) การประเมินผล (Evaluation : E) และปรับปรุง รูปแบบการเรียนการสอน วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินผลรูปแบบการเรียนการสอนสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะ การ การดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และนาผลการประเมินมาใช้ในการปรับปรุง พัฒนา กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย (ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง) กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ คือนักเรียนชั้นมั ธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านผักตบประชานุกูล ปี การศึกษา 2560 จานวน 23 คน เครื่องมือวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการ ดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1มีดังนี้
328
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
1. ร่างรูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2. เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน แบบประเมิน ทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะชีวิตและอาชีพ (ความยืดหยุ่นและการปรับตัว การริเริ่มและกากับ ดูแลตนเอง และทักษะชีวิตและอาชีพ) และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สถิติที่ใช้ในการวิจัย 1. ร้อยละ 2. คะแนนเฉลีย่ 3. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ผู้วิจัยนารูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อพัฒนาทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษ ที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ไปใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เป็นนักเรียนกลุม่ เป้าหมาย จานวน 23 คน โดยผู้วิจัยเป็นผู้จดั การเรียนการสอนเอง 2. แจ้งนักเรียนกลุม่ เป้าหมายให้ทราบถึงการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อพัฒนาทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3. นาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินทักษะชีวิตและ ที่สร้างขึ้นไปทดสอบก่อ น เรียนกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย 4. ดาเนินการทดลองใช้รูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education ใช้เวลาในการสอนจานวน 5 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 4 ชั่วโมง รวมเป็น 20 ชั่วโมง (ไม่นับรวมวันที่ทาการทดสอบ) 5. หลังจากดาเนินการทดลองสิ้นสุดลง ผู้วิจัยทดสอบหลังเรียนโดยใช้แบบทดสอบและแบบประเมิน ชุดเดิมกับก่อนเรียน แล้วสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการเรียนการสอน การวิเคราะห์ข้อมูล 1. วิเคราะห์คะแนนระหว่างเรียนทั้งหมดและคะแนนผลการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลัง เรียน โดยวิธีการคานวณค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยหาค่าประสิทธิภาพ (E1/E2) ของรูปแบบการเรียนการสอน 2. เปรียบเทียบผลสสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนการทดลอง (Pretest) และหลังดาเนินการทดลองเสร็จ สิ้นแล้ว (Posttest) โดยใช้ผลต่างของค่าคะแนนเฉลี่ย (μ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) 3. เปรี ย บเที ย บคะแนนทั ก ษะชี วิ ต และอาชี พ โดยภาพรวมก่ อ นการทดลอง (Pretest)และหลั ง ดาเนินการทดลองเสร็จสิ้นแล้ว (Posttest) โดยใช้ผลต่างของค่าเฉลี่ย (μ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) 4. ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อรูปแบบการเรียนการสอนสอน STEAM Education เพื่อ เสริมสร้างทักษะการ การดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1โดยใช้ค่า ค่าเฉลี่ย (μ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) และการวิเคราะห์เนื้อหา
329
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ผลการวิจัย ตอนที่ 1 ผลการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการ ดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 1. รูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ดาเนินการพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพ มีชื่อเรียกว่า “ISSACE Model”มีรายละเอียดขององค์ประกอบของรูปแบบการเรียนการสอนดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 หลักการของรูปแบบการเรียนการสอน คือ 1) พัฒนาทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะชีวิตและอาชีพ ไปพร้อมกับพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเนื้อหาสาระทักษะชีวิตและงานอาชีพ 2) นักเรียนมีการเรียนรูฝ้ ึกฝน ปฏิบัตดิ ้วยตนเอง มีการกากับตนเอง การมีปฏิสัมพันธ์จากการร่วมมือกันเรียนรู้ ด้วยการ คิดบูรณาการ STEAM Education อันได้แก่ สาระความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ (Science : S) เทคโนโลยี (Technology : T) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineer : E) ศิลปศาสตร์ (Art : A) และคณิตศาสตร์ (Mathematics : M) องค์ประกอบที่ 2 วัตถุประสงค์ของรูปแบบการเรียนการสอน คือ เพือ่ ให้นักเรียนพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน มีทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะชีวิตและอาชีพ และความพึงพอใจที่มีต่อการสอน ด้วยรูปแบบการเรียนการสอน องค์ประกอบที่ 3 กระบวนการเรียนการสอน ILSACE Model มีส่วนประกอบดังนี้ 1. ขั้นสร้างแรงบันดาลใจและเตรียมความพร้อมในการเรียน (Inspiration: I) เป็นขั้นที่ผู้สอนสร้างแรง บันดาลใจและเตรียมความพร้อมให้กับนักเรียนโดยใช้การกระตุ้น จูงใจในการเรียน เช่น แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ การนาเสนอกรณีตัวอย่างที่ดีในการเรียนรู้ และการประกอบอาชีพที่ประสบความสาเร็จ ทบทวนตรวจสอบความ มุ่งมั่นตั้งใจในการเรียนรู้ให้บรรลุจุดประสงค์ 2. ขั้นเรียนรู้ STEAM Education (Learning STEAM Education: L) เป็นขั้นที่ครูกระตุ้นให้นักเรียน ฝึกการคิดแบบบูรณาการ STEAM Education คิดแบบเชื่อมโยง และแปลงความคิดนั้นในการพัฒนาทักษะชีวิตและ ทักษะงานอาชีพ โดยการร่วมมือกันเรียนรู้และปฏิบัตเิ ป็นกลุ่ม ส่วนครูผสู้ อนเป็นผู้ชี้แนะ และให้คาปรึกษา 3. ขั้นจัดระบบระเบียบความรู้และทักษะ (System and Organizing : S) เป็นขั้นที่ครูและนักเรียน ช่วยกันสรุปความรู้และทักษะตามเนื่อหาสาระของทักษะชีวิตและงานอาชีพในแต่ละอาชีพ และทบทวนกระบวนการ ปฏิบัติโดยครูกระตุ้น ส่งเสริม เติมต่อ จนกระทั้งนักเรียนเข้าใจกระบวนการ ขั้นตอน และวิธีการของทักษะชีวิตและ อาชีพ 4. ขั้นประยุกต์ใช้ทักษะชีวิตและอาชีพ (Applying Life and Career Skills : A) เป็นขั้นที่นักเรียนนา ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะชีวิตและอาชีพไปประยุต์ใช้ โดยฝึกปฏิบัติงานอาชีพต่าง ๆ 5. ขัน้ สรุป (Conclusion : C) เป็นขัน้ ที่นักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษ ที่ 21 ด้านทักษะชีวิตและงานอาชีพ 6. ขั้นประเมินผล (Evaluation : E) เป็นขั้นที่นักเรียนร่วมประเมินผลงานการฝึกปฏิบัติทักษะชีวิตและ งานอาชีพ องค์ประกอบที่ 4 สาระหลักเป็นส่วนประกอบที่จัดให้กับนักเรียนได้แก่ ทักษะชีวิตและงานอาชีพ องค์ประกอบที่ 5 ระบบสังคม เป็นการอธิบายบทบาทของครูและบทบาทของนักเรียน องค์ประกอบที่ 6 หลักการตอบสนอง เป็นวิธีการที่ครูจะตอบสนองหรือการให้ข้อมูลป้อนกลับต่อสิ่ง ที่นักเรียนลงมือปฏิบัติ
330
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
องค์ประกอบที่ 7 สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนของรูปแบบหรือระบบสนับสนุนเป็นสิ่งจาเป็นใน การที่จะทาให้การนารูปแบบการเรียนการสอนไปใช้ให้เกิดผลกับนักเรียนตามที่คาดหวังไว้ องค์ประกอบที่ 8 เงื่อนไขในการนารูปแบบการเรียนการสอนไปใช้ 2. กระบวนการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการ ดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ขั้นตอนที่ 1 การวิจัย (Research : R1) เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน (Analysis : A) ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนา (Development : D1) เป็นการออกแบบและพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน (Design and Development) ขั้นตอนที่ 3 การวิจัย (research : R2) นารูปแบบการเรียนการสอนไปใช้ (Implement : I) ขั้นตอนที่ 4 การพัฒนา (Development : D2) (การประเมินผล Evaluation :E) ตอนที่ 2 ผลการประเมินทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะชีวิตและอาชีพ 1. ผลการประเมินทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะชีวิตและอาชีพของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลังเรียน ปรากฏดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 เปรียบเทียบคะแนนทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะชีวิตและอาชีพของนั กเรียน กลุ่มเป้าหมายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (จานวน 23 คน) รายการประเมินทักษะชีวิตและ อาชีพ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว 1. การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพัฒนา ตนเอง(3 คะแนน) 2. การเปิดใจกว้างรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น (3 คะแนน) 3. การปรับตัวให้สามารถ ปฏิบัติงาน ได้อย่างเหมาะสมกับ การเปลี่ยนแปลง (3 คะแนน) รวมคะแนน(9คะแนน) การริเริ่มและกากับดูแลตัวเอง 1.การแสดงพฤติกรรมการควบคุม ความคิดความรู้สึกและการ กระทาของตนเอง(3 คะแนน) 2.การสังเกตตนเอง การตัดสิน ตนเอง และการแสดงปฏิกิริยาต่อ ตนเอง(3 คะแนน) 3.การแสดงความคิดที่แปลกใหม่ (3 คะแนน)
คะแนน เฉลี่ย
ก่อนเรียน ร้อยละ ระดับ เฉลี่ย
หลังเรียน คะแนน ร้อยละ ระดับ เฉลี่ย เฉลี่ย
ผลต่าง คะ ร้อยละ แนน
1.17
39.13
ปรับปรุง
2.74
91.30
ดี
+1.57
52.17
1.13
37.68
ปรับปรุง
2.65
88.41
ดี
+1.52
50.73
1.04 3.35
34.78 37.20
ปรับปรุง ปรับปรุง
2.87 8.26
95.65 91.79
ดี ดี
+1.83 +4.91
60.87 54.59
1.09
36.23
ปรับปรุง
2.74
91.30
ดี
+1.65
55.07
109
36.23
ปรับปรุง
2.4
82.61
ดี
+1.39
46.38
1.22
40.58
ปรับปรุง
2.43
81.16
ดี
+1.21
40.58
331
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
รายการประเมินทักษะชีวิตและ อาชีพ 4.การประยุกต์ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์สิ่งใหม่(3 คะแนน) รวมคะแนน(12คะแนน) ทักษะในการปฏิบัติงานอาชีพ 1. การวิเคราะห์งานอาชีพ(3 คะแนน) 2. การวางแผนหรือการหาวิธีการ แก้ ปัญหางานอาชีพ(3 คะแนน) 3. การปฏิบัติงานอาชีพ(3 คะแนน) รวมคะแนน (9 คะแนน) ภาพรวม (30 คะแนน)
SRRU NCR2018
ก่อนเรียน ร้อยละ ระดับ เฉลี่ย
หลังเรียน คะแนน ร้อยละ ระดับ เฉลี่ย เฉลี่ย
ผลต่าง คะ ร้อยละ แนน
1.13 4.52
37.68 37.68
ปรับปรุง ปรับปรุง
2.61 10.26
86.96 85.51
ดี ดี
+1.48 +5.74
49.28 47.83
1.00
33.33
ปรับปรุง
2.83
94.20
ดี
+1.83
60.87
1.17 1.35 3.52 11.39
39.13 44.39 39.13 38.00
ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง ปรับปรุง
2.65 2.91 8.39 26.91
88.41 97.10 93.24 90.18
ดี ดี ดี ดี
+1.48 +1.56 +4.87 +15.52
49.28 52.17 54.11 52.18
คะแนน เฉลี่ย
จากตารางที่ 1 การเปรียบเทียบทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะชีวิตและอาชีพ ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมาย พบว่า ภาพรวมการเปรียบทียบทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษ ที่ 21 ด้านทักษะชีวิตและการทางานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 11.39 คิด เป็นร้อยละ 38.00 อยู่ในระดับปรับปรุง หลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 26.91 คิดเป็นร้อยละ 90.18 อยู่ใน ระดับดี โดยคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเพิ่มขึ้นจากกก่อนเรียนเท่ากับ 15.52 คะแนน เพิ่มขึ้นร้อยละ 52.18 2. ผลการผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปรากฏดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ผลการประเมินทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะชีวิตและอาชีพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลังเรียน คะแนน ก่อนเรียน หลังเรียน
คะแนนเต็ม 30 30 ผลต่าง
คะแนนเฉลี่ย 11.70 24.70 +13.00
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.77 1.52 0.25
ร้อยละ 38.99 82.32 +43.33
จากตารางที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่า คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน เท่ากับ 11.70 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.77 คิดเป็นร้อยละ 38.99 คะแนน เฉลี่ยหลังเรียน เท่ากับ 24.70 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.52 คิดเป็นร้อยละ 82.32 แสดงให้เห็นว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีผลต่างของคะแนนเฉลี่ยและร้อยละเพิ่มขึ้น เท่ากับ + 13.00, +43.33 ตามลาดับ
332
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ตอนที่ 3 ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อรูปแบบการเรียน การสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ปรากฏผลดังนี้ ในภาพรวมนั กเรียนชั้นมั ธยมศึก ษาปี ที่ 1 มีค วามพึงพอใจต่อ รู ปแบบการเรีย นการสอน STEAM Educationเพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 อยู่ในระดับมากที่สุด (μ =4.63, σ =0.39) เมื่อ พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าทุกด้านมีความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อรูปแบบการเรียนการ สอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 อยู่ในระดับมากที่สุด เรียงลาดับ ค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน (μ =4.72, σ =0.07)รองลงมาได้แก่ด้าน ครูผู้สอน(μ =4.65, σ =0.49)ด้านเนื้อหาสาระการเรียนรู้ (μ =4.63, σ =0.49) และด้านการวัดและประเมินผล (μ =4.53, σ =0.50) สรุปผลการวิจัย การวิจัยเรื่องรูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตใน ศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สรุปผลการวิจัยได้ดังนี้ 1. รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมีชื่อเรียนว่า “ILSACE Model” โดยมีองค์ประกอบดังนี้ หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการเรียนการสอน สาระความรู้และทักษะชีวิตและอาชีพสิ่งที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ระบบสังคม หลักการตอบสนอง และสิ่งสนับสนุน รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมีกระบวนการเรียนการ สอน 6 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นสร้างแรงบันดาลใจและเตรียมความพร้อมในการเรียน (Inspiration: I) 2) ขั้นเรียนรู้ STEAM Education (Learning STEAM Education : L) 3) ขั้นจัดระบบระเบียบความรู้และทักษะ (System and Organizing : S) 4) ขั้นประยุกต์ใช้ทักษะชีวิตและอาชีพ (Applying Life and Career Skills : A) 5) ขั้นสรุป (Conclusion : C) และ 6) ขั้นประเมินผล (Evaluation : E) ประสิทธิภาพ (E1/ E2) ของรูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่า ประสิทธิภาพเท่ากับ 82.03/81.31 เมื่อเทียบกับเกณฑ์ 80/80 ปรากฏว่ามีค่าประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์เป้าหมายที่ กาหนดไว้ 2. ทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะชีวิตและอาชีพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education หลังเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 26.91 คิดเป็นร้อย ละ 90.18 เพิ่มขึ้นจากก่อนเรียนซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 11.39 คิดเป็นร้อยละ 38.00 โดยคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน เพิ่มขึ้น เท่ากับ 15.52 คะแนน และเพิ่มขึ้นร้อยละ 52.18 คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เท่ากับ 24.70 คิดเป็นร้อยละ 82.32 คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน เท่ากับ 11.70 คิดเป็นร้อยละ 38.99 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนเพิ่มสูงขึ้นกว่าก่อนเรียน เท่ากับ + 13.00 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 43.33 3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อรูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education ในภาพรวมมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อแยกเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากที่สุด
333
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
วิจารณ์ผลการวิจัย การวิจัยเรื่องรูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตใน ศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สามารถอภิปรายผลการวิจัยได้ดังนี้ 1. รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมีชื่อเรียกว่า “ILSACE Model” โดยมีองค์ประกอบดังนี้ หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการเรียนการสอน สาระความรู้และทักษะชีวิตและอาชีพ สิ่งที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ระบบสังคม หลักการตอบสนอง และสิ่งสนับสนุน รูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมีกระบวนการเรียนการ สอน 6 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นสร้างแรงบันดาลใจและเตรียมความพร้อมในการเรียน (Inspiration: I) 2) ขั้นเรียนรู้ STEAM Education (STEAM Education Learning : S) 3) ขั้นจัดระบบระเบียบความรู้และทักษะ (System and Organizing : S) 4) ขั้นประยุกต์ใช้ทักษะชีวิตและอาชีพ (Applying Life and Career Skills : A) 5) ขั้นสรุป (Conclusion : C) และ 6) ขั้นประเมินผล (Evaluation : E) ผลการตรวจสอบความสอดคล้องและผลการประเมิน ความเหมาะสมของรูปแบบโดยผู้เชี่ยวชาญตามเกณฑ์ที่กาหนด (0.90, 4.68) และมีค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 82.03/81.31 ทั้งนี้ เนื่องมากจากว่า รูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education ได้พัฒนาขึ้นอย่างเป็นระบบ โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน ยึดหลักการ แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน อย่างครอบคลุม นอกจากนี้ยังวิเคราะห์แนวคิดการออกแบบรูปแบบการเรียนการสอนเชิงระบบ หลักการและ แนวคิด ADDIE Model ของ Kevin Kruse (2008 : 1) ประยุกต์ร่วมกับกรอบการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) และดาเนินการตามแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอนของ Joyce and Weil (1992) ที่ได้กาหนด องค์ประกอบเป็น 3 ส่วน ส่วนที่ 1 รูปแบบการเรียนการสอน (The Model of Teaching) ส่วนที่ 2 การนารูปแบบ การจัดการเรียนการสอนไปใช้ (Application) และส่วนที่ 3 สาระหลักและสิง่ ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ (Instruction and Nurturant Effects) และ สอดคล้องกับงานวิจัยของ อารยา ช่ออังชัญ (2553 : 158-186) ที่พัฒนารูปแบบการ เรียนการสอนที่เรียกว่า“PLOASE Model” 6 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นเตรียมความพร้อมและกระตุ้นจูงใจในการเรียน (Preparing and Motivating step) ขั้นเรียนรู้กระบวนการคิดโดยฝึกปฏิบัติ (Learning Thinking by Practice step) ขั้นจัดระเบียบความรู้ (Organizing Knowledge step) ขั้นประยุกต์ใช้กระบวนการคิด (Applying Thinking Process step) ขั้นสรุป (Summarizing step) และ ขั้นประเมินผล (Evaluating step) มุ่งพัฒนาทักษะการคิด แก้ ปั ญ หาอย่ า งมี วิ จ ารณญาณ กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ วิ ท ยาศาสตร์ ข องนั ก เรี ย นชั้ น ประถมศึ ก ษาปี ที่ 5 2. ทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะชีวิตและอาชีพของนักรียนชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education แตกต่างกัน โดยคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน ทั้งนี้เนื่องมาจากรูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมุ่งเน้นเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตใน ศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะด้านทักษะชีวิตและอาชีพ โดยจัดกระบวนการเรียนการสอน 6 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นสร้างแรง บันดาลใจและเตรียมความพร้อมในการเรียน (Inspiration: I) 2) ขั้นเรียนรู้ STEAM Education (STEAM Education Learning : S) 3) ขั้นจัดระบบระเบียบความรู้และทักษะ (System and Organizing : S) 4) ขั้น ประยุกต์ใช้ทักษะชีวิตและอาชีพ (Applying Life and Career Skills : A) 5) ขั้นสรุป (Conclusion : C) และ 6) ขั้นประเมินผล (Evaluation : E) ทุกขั้นตอนได้รับการออกแบบให้นักเรียนได้เรียนรู้กระบวนการด้านทักษะชีวิตและ ทักษะงานอาชีพในหลายๆ อาชีพโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ขั้นตอนที่ 2 นักเรียนได้เรียนรู้หลักการและแนวคิดที่เป็นการบูร ณาการ STEAM Education ซึ่งเป็นการบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้และศาสตร์การเรียนรู้ต่าง ๆ ในการ เสริมสร้างทักษะชีวิตและทักษะด้านงานอาชีพ ได้แก่ กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ วิ ท ยาศาสตร์ (Science: S) กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี (Technology: T) วิศวกรรมศาสตร์ (Engineer : E) กลุ่ ม สาระ
334
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
การเรี ย นรู้ ศิลปะ (Art : A) และกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ คณิตศาสตร์ (Match : M) ทาให้นักเรียนสามารถบูรณาการ เชื่อมโยงความรู้และทักษะในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้ในการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 และสามารถ ฝึกปฏิบัติงานอาชีพต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของว่าที่ร้อยตรีมีนกาญจน์ แจ่มพงษ์ (2558 : 72-76) ที่ได้ทาการวิจัยพัฒนาชุดฝึกทักษะแบบสตีมเพื่อการสร้างสรรค์ชิ้นงาน เรื่อง พลังงาน รอบตัวเรา และพบว่า ความสามารถในการสร้างชิ้นงานหลังจากที่ได้เรียนโดยใช้แบบประเมินตามสภาพจริงอยู่ใน ระดับดีและสอดคล้องกับแนวคิดด้านทักษะชีวิตของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2552 : 4-7) กรมสุขภาพจิต (2543 :8) และ กระทรวงสาธารณสุข (2541: 1) ที่เสนอองค์ประกอบของทักษะชีวิตไว้สอดคล้องกัน ได้แก่ ความคิดวิเคราะห์วิจารณ์ (critical thinking) ความคิดสร้างสรรค์ (creative thinking) ความตระหนักรู้ในตน (self awareness) ความเห็นใจผู้อื่น (Empathy) ความภูมิใจในตนเอง (self esteem) ความรับผิดชอบต่อสังคม (social responsibility) การสร้างสัมพันธภาพ (interpersonal communication) การตัดสินใจและการ แก้ปัญหา (decision making and problem solving) และการจัดการกับอารมณ์และความเครียด (coping with Emotion and Stress) 3. ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลังเรียนรูปแบบการ เรียนการสอน STEAM Education แตกต่างกัน คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากว่ารูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น ได้กาหนดหลักการไว้ว่า พัฒนาทักษะการดารงชีวิตใน ศตวรรษที่ 21 ด้านทักษะชีวิตและอาชีพในเนื้อหาสาระเกี่ยวกับทักษะชีวิต และงานอาชีพต่าง ๆ ในท้องถิ่น กระบวนการเรียนรู้ของนักเรียนมุ่งเน้นที่การลงมือปฏิบัติ ในลักษณะของการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) กระบวนการจัดการเรียนรู้ ที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทาและได้ใช้กระบวนการคิดเกี่ยวกับสิ่งที่เขาได้กระทาลงไป โดย ผู้เรียนจะถูกเปลี่ยนบทบาทจากผู้รับความรู้(receive) ไปสู่การมีส่วนร่วมในการสร้างความรู้ (co-creators)เป็นการ เรียนการสอนที่มุ่งให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ นักเรียนมีภาระหน้าที่เกี่ยวข้องและมีส่วนร่วมอยู่กับสิ่ง ต่าง ๆ ในการเรียน โดยการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับนักเรียนระกว่างนักเรียนกับนักเรียนด้วยกันเอง ใช้ทักษะ ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการตอบคาถาม การแก้ปัญหา การพูดการสื่อสาร การสะท้อนคิด การเรียนการอ่านการคิด ดังที่ Yager (1991 : 55 – 56) ได้กล่าวถึงการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดสรรคนิยม โดยการจัดกิจกรรมที่ ให้นักเรียนมีการใช้คาถามและความคิดของผู้เรียน มีการยอมรับและสนับสนุนความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของผู้เรียน จัดให้มีการทางานร่วมกัน การจัดกระทาข้อมูลข่าวสาร และลงมือทาตามผลที่เกิดจากการเรียนรู้ อาจากล่าวได้ว่า กิจกรรมการเรียนการสอนเป็นส่วนสาคัญที่ผู้สอนจะต้องออกแบบให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย ซึ่งสอด คล้องกับแนวคิดของ Kemp (1985: 18) ที่กล่าวว่าการแกแบบกิจกรรมการสอนผู้สอนควรจะคานึงถึงแบบแผน สาคัญ 3 อย่าง คือ การเสนอกิจกรรมในชั้นเรียนควรเป็นรูปแบบใด วิธีการเรียนของผู้เรียนควรเป็นอย่างไร และ ผลการวิจัยยังสอดคล้องกับ บุญธง วสุริย์ (2546 144-163) พบว่า เส้นทางการแก้ปัญหาของนักศึกษามีรูปแบบที่ แตกต่างกัน เมื่อจาแนกตามระดับของความรู้พื้นฐาน ความถนัดทางช่าง และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อรูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้างทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีความพึงพอใจต่อรูปแบบการเรียนการสอน STEAM Educationเพื่อเสริมสร้าง ทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนความพึงพอใจรายด้านด้านกิจกรรมการเรียนการ สอนมีคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด ทั้งนี้การเรียนการสอนตามรูปแบบการเรียนการสอน STEAM Education เพื่อเสริมสร้าง ทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นให้นักเรียนทุกคนได้พัฒนาทักษะชีวิตและอาชีพหลายๆ ด้าน ไม่ว่าจะ
335
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
เป็นการฝึกปฏิบัติ การทางนกลุ่ม กล้าแสดงออก การสื่อสารและการสาเสนอ กรเรียนรู้ด้วยตนเอง การสร้างสรรค์ ผลงานที่นาไปใช้ประโยชน์ได้ จึงทาให้นักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด รวมทั้งจากการสังเกตพฤติกรรม การเรียนของผู้สอนเองที่สามารถทาให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนตลอดเวลา โดยผู้สอนเป็นผู้ แนะนาช่วยเหลือ อานวยความสะดวกในการเรียน และร่วมเรียนรู้ไปพร้อมๆ กับนักเรียน รวมทั้งปรับเวลาในการ เรียนการสอนให้ยืดหยุ่นตามความเหมาะสม นักเรียนสนุกสนานในการเรียน ไม่เครียด ซึ่งสอดคล้องกับ สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2558 : 4-12) ซึ่งได้กาหนดแนวทางการจัดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ด้านการจัดระบบสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Environment) 4 ประการ คือ 1) สร้างสรรค์แนวปฏิบัติทางการเรียนการรับการสนับสนุนจากบุคลากรและสภาพแวดล้อมทาง กายภาพที่เกื้อหนุนเพื่อช่วยให้การเรียนการสอนบรรลุผล 2) สนับสนุนทางวิชาชีพแก่ชุมชนทั้งในด้านการให้ การศึกษาการมีส่วนร่วมการแบ่งปันสิ่งปฏิบัติที่เป็นเลิศระหว่างกันรวมทั้งการบูรณาการหลอมรวมทักษะหลากหลาย สู่การปฏิบัติในชั้นเรียน3) สร้างผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากสิ่งที่ปฏิบัติจริงตามบริบทโดยเฉพาะการเรียนแบบโครงงาน และ 4) สร้างโอกาสในการเข้าถึงสื่อเทคโนโลยีเครื่องมือหรือแหล่งการเรียนรู้ที่มีคุณภาพและ วิจารณ์ พานิช (2554 : 15-58) กล่าววว่าการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 จะต้องฝึกฝนให้ผู้ดรียนได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติให้มากเรียนรู้ เป็นกลุ่ม โดยครูจะต้องสอนน้อยลงแต่นักเรียนเรียนมากขึ้น โดยมีเปาหมายเพื่อให้ผูเรียนเกิดคุณลักษณะในศตวรรษ ที่ 21 หรือเกิดทักษะในการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 อันได้แก่การเรียนรูในศตวรรษที่ 21 โดยผูเรียนจะใชความรูใน สาระหลักไปบูรณาการสั่งสมประสบการณกับทักษะ 3 ทักษะ เพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 คือ ทักษะดานการ เรียนรูและนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี และทักษะชีวิตและอาชีพ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ 1. ครูควรทาความเข้าใจในแนวทางการนารูปแบบการเรียนการสอนไปใช้ที่ปรากฎอยู่ในคู่มือ และ ดาเนินการตามองค์ประกอบของรูปแบบการเรี ยนการสอนอย่างถูกต้อง โดยเน้นการจัดการเรียนการสอนที่ให้ นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ ได้ทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม เรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน 2. สถานศึกษาควรนารูปแบบการเรียนการสอนนี้ไปใช้เพื่อฝึกให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติงานอาชีพ อย่างจริงจัง ครูควรกระตุ้นให้นักเรียนได้รู้จักควบคุมตนเอง สังเกตตนเองและกากับตนเองในการเรียนรู้ เพื่อให้เกิด ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และมีทักษะในการตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนที่พัฒนาทักษะการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนใน ด้านอื่น ๆ เช่น ด้านทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม และทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี ในระดับชั้นอื่น ๆ 2. ควรมีการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนที่บูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือศาสตร์แขนงอื่น ๆ เพื่อพัฒนาทักษะ หรือคุณลักษณะของนักเรียนในด้านอื่น ๆ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถ มีทักษะและ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรหรือตามยุคสมัยที่เปลี่ยนไป
336
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรง พิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. ______. (2551).ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. บุญธง วสุริย์. (2546). การพัฒนารูปแบบการสอนเพื่อการถ่ายโยงทักษะปฏิบัติสาหรับอาชีวอุตสาหกรรม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์ดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาอาชีวศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ทิศนา แขมมณี. (2550). ศาสตร์การสอน. พิมพ์ครั้งที6่ . กรุงเทพมหานคร: ด้านสุทธาการพิมพ์. พรทิพย์ ศิริภัทราชัย. (2556). STEM Education กับการพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21.นักบริหาร, 33(2), 49 – 56. พวงรัตน์ ทวีรัตน์.(2543). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 8.กรุงเทพฯ : สานัก ทดสอบทางการศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. มาเรียม นิลพันธ์. (2553). วิธีวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 5. นครปฐม: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. วิจารณ์ พานิช. (2554). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ตถาตาพลับลิเคชัน่ จากัด. วศิณีส์ อิสระเสนา ณ อยุธยา. (ออนไลน์). การศึกษาแบบ STEM เพื่อจัดการเรียนการสอน.สืบค้นเมือ่ วันที่ 12 สิงหาคม 2558. จาก https://www.preschool.or.th/. ว่าที่ร้อยตรีมีนกาญจน์ แจ่มพงษ์. (2558). การพัฒนาชุดฝึกทักษะแบบสตีมเพื่อการสร้างสรรค์ชิ้นงาน เรื่อง พลังงานรอบตัวเรา. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ตถาตาพลับลิเคชัน่ จากัด. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2558). แนวทางการจัดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่เน้น สมรรถนะทางสาขาวิชาชีพ.กรุงเทพฯ : สานักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. อารยา ช่ออัญชัญ. (2552). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิด แก้ปัญหา อย่างมีวิจารณญาณกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ของชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ปริญญาปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. Creswell, W. J. (2003). Research Design. 2nd ed. Thousand Oaks, CA : Sage. Dejarnette. (2012). America’s children: providing early exposure to STEM (science, technology, engineering and math) initiatives. Education, 133(1), 77–84. Dewey, John. (1959). Experience and Education. New York : Macmillan Publishing Company. Dick, W., Carey L. and Carey, J.O. (2001).The systematic Design of Instruction. 5th ed. New York: Addison-Wesley, Longman. Driscoll, M.P, (1994). Psychology of learning for Instruction. Boston: Allyn and Bacon. Joyce, B. R. and Weil M. (2000). Model of Teaching. 6th ed. Massachusetts: Allyn & Bacon. Kemp, J. E. (1985). The instructional design process.New York: Harper &Row.
337
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
Kevin , K. Introduction to Instructional Design and the ADDIE Model. [Online]. Accessed 30 December 2008. Available from http://www.e-learningfuru.com/articles/art2_1.html. Partnership for 21 st Century Skills.( 2009). Framework for 21 st Century Learning. Available from form http://www.p21.org/storage/documents/P21_Framework_Definitions.pdf, 15 March 2016. Yakman, G. (2010). What is the Point of STEAM?A Brief Overview. Available from [Online]. www.steamedu.com, 25 April 2016.
338
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
EDUP-15 ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 EDUCATIONAL ADMINISTRATION STRATEGIES FOR ENHANCING LEARNING ACHIEVEMENT (O-NET) SCHOOLS UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 20 ทรงเดช สอนใจ1 1
Songdet Sonjai* อาจารย์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
บทคัดย่อ บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักในการ กาหนดยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกั ดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 เป็นการ ศึกษาวิจัยโดยใช้หลักการวิจัยและพัฒนา แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบันและ ปัญหา ขั้นตอนที่ 2 การกาหนดยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษา และขั้นตอนที่ 3 การประเมินยุทธศาสตร์การ บริหารจัดการศึกษา ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันและปัญหาของการบริหารจัดการศึกษา พบว่า โรงเรียนมีการ กาหนดนโยบายในการบริหารจัดการศึกษาสอดคล้องกับ กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 20 แต่การดาเนินการนานโยบายสู่การปฏิบัติมีปัญหา ในเรื่อง งบประมาณไม่เพียงพอ บุคลากรขาดความชัดเจนในนโยบาย ระยะในการดาเนินการน้อย ไม่เป็นไปตาม แผน ขาดการกากับติดตาม ครูจานวนมากเป็นครูที่มีอายุมาก ในขณะที่ผู้เรียนเป็นคนรุ่นใหม่ ครูมีภาระงานมาก มีการอบรมบ่อยครั้ง ระบบการวัดผลและประเมินผลขาดประสิทธิภาพ มีการประเมินการศึกษาที่ซ้าซ้อน การเรียน การสอนไม่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด ไม่ใช้สื่อในการจัดการเรียนรู้ ไม่เขี ยนแผนการจัดการ เรียนรู้ ผู้เรียนขาดความฉลาดในการเลือกใช้เทคโนโลยี คุณธรรม จริยธรรมถดถอย โรงเรียนมัธยมศึกษามีความ พร้อมด้านบริบทและอาคารสถานที่ โรงเรียนยอดนิยมมีจานวนนักเรียนเพิ่มมากขึ้นเกินกาหนด ทาให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนต่าลง การใช้จ่ายงบประมาณที่ไม่เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาผูเ้ รียน 2) ผลการกาหนดยุทธศาสตร์การ บริหารจัดการศึกษา ประกอบด้วย 8 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 2.1 การสร้างศักยภาพการอ่าน คิด เขียน สื่อสาร 2.2 การจัดการเรียนรู้ตามแนวหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.3 การพัฒนาครู และผู้บริหารสู่มืออาชีพ 2.4 การ พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2.5 การประสานความร่วมมือภาคีเครือข่าย 2.6 การประยุกต์ใช้ ICT เพื่อการจัดการเรียนรู้ 2.7 การมุ่งสู่วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ และ 2.8 การนิเทศ กากับ ติดตามให้เกิดความยั่งยืน 3) ผลการประเมินยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาเพื่อตรวจสอบยืนยันในสถานการณ์จริง โดยผู้ปฏิบัติ ตาม เกณฑ์มาตรฐาน 3 ด้าน พบว่า มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากและมีประโยชน์อยู่ในระดับมาก ที่สุด คำสำคัญ : ยุทธศาสตร์, การบริหารจัดการศึกษา
339
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
Abstract objective of this research is to figure out educational administration strategies to enhance learning achievements (O-NET) in school attached to the Secondary Educational Service Area Office 20. Research is based on research and development. There are 3 steps as follows : Step 1: Current situation and problems research. Step 2: Strategic educational administration formulation.. And the third step is to Evaluate the educational administration formulation Findings from the study were as follows : 1) The current situations and problems concerning educational administration in terms of policy, the school has a policy to manage education in accordance with the Ministry of Education, Office of the Basic Education Commission and Secondary Educational Service Area Office 20. But to implement the policy faces such problems as insufficient budget, personnel lacking of knowledge of clear policy, short operation period, not correspondent with the operation plan, lack of directing and following-up, many teachers are old while students are in the “new generation.” Teacher has a lot of workload, Have frequent training An inefficient measurement and evaluation system, have redundant educational evaluation,teaching methods not correspondent with learning standards and key indicators, fail to use teaching aids, and Do not write a lesson plans, Students lack the intelligence to opt for technology, ethics and moral have dropped, schools are very well prepared and equipped in terms of context and building large popular schools are well prepared and the number of students keeps rising more than the number required, thus affecting lowering learning achievement, the budget has been spent not beneficial to students development. 2) Educational administration strategies feature 8 strategies, namely, 2.1 promote reading, thinking, writing and communicating capabilities, 2.2 provide education in line with the sufficiency philosophy, 2.3 develop teachers and educational administrators to a professional level, 2.4 develop educational institutions according to the quality assurance system, 2.5 promote collaboration with networking alliances, 2.6 apply ICT in teaching, 2.7 commit to operational excellence, and 2.8 Supervise, direct and follow up to ensure sustainability. 3) Results of the evaluation of the educational administration strategies on three evaluation standards . The evaluation shows that appropriate and feasibility are at a high level and highest benefits. Key word : Strategic, Educational Administration บทนา การจัดการศึกษาในปัจจุบันต้องเร่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาของผู้เรียน โดยเน้นการยกระดับคุณภาพ การศึกษาของผู้เรียนให้ได้มาตรฐานสากล ปฏิรูปหลักสูตรการศึกษาทุกระดับให้รองรับการเปลี่ยนแปลงของโลกและ มีความเป็นสากล เพิ่มผลสัมฤทธิ์ของการศึกษาทุกระดับชั้นโดยวัดผลจากการผ่านการทดสอบมาตรฐานในระดับชาติ และนานาชาติ ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง มุ่งกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียมทั้งในเมืองและชนบท
340
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
พร้อมจัดการศึกษาที่มีคุณภาพสาหรับทุกคน การบริหารจัดการศึกษาจึงมุ่งให้ความสาคัญที่การพัฒนาผู้เรียนให้ สามารถคิด วิเคราะห์ เรียนรู้ได้ด้วยตนเองมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และทักษะที่จาเป็นสาหรับศตวรรษที่ 21 ทั้งนี้ ภายในปี พ.ศ.2558 ผลการทดสอบ PISA ของไทยจะต้อง เร่งรัดปฏิรูปการเรียนรู้ทั้งระบบให้เชื่อมโยงสัมพันธ์กันทั้ง หลักสูตรและการเรียนการสอน ให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงและสอดคล้องกับการเรียนรู้ยุคใหม่ การพัฒนาครู และ การพัฒนาระบบการทดสอบ การวัดและประเมินผลที่ได้มาตรฐานและเชื่อมโยงกับหลักสูตรและการเรียนการสอน และการพัฒนาผู้เรียน(กระทรวงศึกษาธิการ.2556) ดังนั้น สานักงานคณะ กรรมการการศึกษาจึงได้กาหนดกลยุทธ์ ในการจัดการศึกษาให้บรรลุนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ในปี 2556 โดยกาหนดกลยุทธ์ด้านพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาทุกระดับเป็นกลยุทธ์ที่สาคัญเร่งด่วน(ธีระพงษ์ สมเขาใหญ่.2555) ในส่วนของการจัดการศึกษามัธยมศึกษานั้น กระทรวงศึกษาธิการได้มีประกาศ เรื่อง การกาหนดเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ณ วันที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2553 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553) กาหนดให้มีเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา จานวนทั้งหมด 42 เขต รับผิดชอบในการบริหารและจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับ มัธยมศึกษาซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาจานวนทั้งหมด 2,372 โรงเรียน (นงลักษณ์ เรือนทอง.2550) และ มี อานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 37 และมาตรา 38 ซึ่งบัญญัติใ ห้ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา กากับดูแล อีกทั้งยุบรวม หรือยกเลิก สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้สามารถจัดการศึกษา สอดคล้องกับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา ส่งเสริม สนับสนุน ให้โรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัด ได้บริหารจัด การศึกษาให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ และทิศทางการพัฒนาคุณภาพการมัธยมศึกษายุค ใหม่ (พ.ศ. 2553 – 2561) ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถและมีคุณภาพได้มาตรฐานระดับสากลโดยผู้เรียน จะต้ องมีผ ลสั มฤทธิ์ ทางการเรีย นในวิ ชาหลัก จากการทดสอบระดับ ชาติมี คะแนนเฉลี่ย ไม่ ต่ากว่ าร้ อยละ 50 ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาด้านคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์และการอ่านไม่ต่ากว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติ (ผลการทดสอบ PISA)(สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.2556) จากผลการดาเนินงาน 9 ปี ของการปฏิรูปการศึกษา (พ.ศ. 2542 – 2551) ที่ผ่านมาการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ลดลงอย่างต่อเนื่องทุกวิชาในช่วง 5 ปี นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในวิชาภาษาไทย สังคมศึกษา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับต่ากว่าร้อยละ 50 ทุกวิชา โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลการ ประเมินการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับชาติ (O-NET) ปีการศึกษา 2553 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคะแนนเฉลี่ยทุกกลุ่ม สาระการเรียนรู้เท่ากับ 37.59 ซึ่งต่ากว่าร้อยละ 50 และต่ากว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ เมื่อพิจารณาผลการทดสอบ ภาษาอังกฤษ และวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับต่ากว่าร้อยละ 50 ทุกวิชา โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลการ ประเมินการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับชาติ (O-NET) ปีการศึกษา 2553 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคะแนนเฉลี่ยทุกกลุ่ม สาระการเรียนรู้เท่ากับ 37.59 ซึ่งต่ากว่าร้อยละ 50 และต่ากว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ เมื่อพิจารณาผลการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ในภาพรวมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ในปีการศึกษา 2556 ของโรงเรียน มัธยมศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 พบว่า ระดับชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 3 คิดเป็นร้อย ละ 42.03 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คิดเป็นร้อยละ 36.14 ซึ่งต่ากว่าร้อยละ 50 ต่ากว่าค่าเฉลี่ยระดับสังกัดและต่า กว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.2557)
341
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
สภาพปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพการศึกษาโดยเฉพาะผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชาติ (O-NET) ดังกล่าว เป็นที่ประจักษ์และก่อให้เกิดความวิตกกังวลต่อบุคคล องค์การ และหน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบต่อการศึกษาของ ประเทศว่า จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการกาหนดยุทธศาสตร์ในการแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาซึ่งเป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เยาวชนทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามเกณฑ์และมาตรฐานที่กาหนด ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาขององค์การ ทางการศึกษาต่าง ๆ ทีมีหน้าที่ด้านการจัดศึกษาจะต้องกาหนดให้มีการ พัฒนาใน 4 ด้านหลัก ได้แก่ 1) การพัฒนาคุณภาพคนไทยยุคใหม่ 2) การพัฒนาครูยุคใหม่ 3) การพัฒนาคุณภาพ สถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ และ 4) การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่ )(สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน.2554) กระบวนการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ หรือกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ ( strategic management process) เป็นกระบวนการบริหารแบบหนึ่งที่นิยมใช้ในวงการธุรกิจ ต่อมาได้แพร่หลายเข้ามาใน วงการบริหารจัดการภาครัฐรวมทั้งการศึกษา ประกอบด้วยขั้นตอน 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ เชิงกลยุทธ์ (strategic analysis) ขั้นตอนที่ 2 การกาหนดทางเลือกเชิงกลยุทธ์ (strategic choice) และขั้นตอนที่ 3 การนาแผนกลยุทธ์ไปปฏิบัติ(strategic implementation)(สานักงานบริหารงานมัธยมศึกษาตอนปลาย.2554) การใช้กระบวนการบริหาร เชิงยุทธศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการบริหาร จัดการศึกษานั้น ธีระพงษ์ สมเขาใหญ่ (2555) ได้ทาการวิจัยเพื่อกาหนดยุทธศาสตร์การบริหารจัด การศึ ก ษาสถานศึ ก ษาที่ มี คุ ณ ภาพขององค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยยุ ท ธศาสตร์ ที่ ส าคั ญ 5 ยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการ ยุทธศาสตร์การบริหารโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน ยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้บริหารครูและบุคลากรทางการศึกษา ยุทธศาสตร์การสนับสนุนทรัพยากรทางการศึกษา และยุทธศาสตร์การประกันคุณภาพการศึกษา จะเห็นได้ว่าในปัจจุบันเทคนิคการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์หรือการ วางแผนกลยุทธ์ไม่เพียงแต่จะถูกนามาใช้ในวงการธุรกิจเท่านั้น ในองค์การภาครัฐและหน่วยงานทางการศึกษายัง สามารถนามาใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 เป็นกลุ่มงานหนึ่งที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการนิเทศ กากับ ติดตามเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาซึ่ง เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดนอกจากนั้นยังทาหน้าที่ในการศึกษา วิเคราะห์ และวิจัย เพื่อพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคนิควิธีการในการพัฒนาการศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัดจานวนทั้งสิ้น 63 แห่ง ครอบคลุมทั้ง 20 อาเภอ ในจังหวัดอุดรธานี มีจานวนนักเรียนทั้งสิ้น 56,108 คน ครูและบุคลากรทางการศึกษา จานวนทั้งหมด 3,244 คน ทั้งนี้ จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) ปีการศึกษา 2556 ที่ตกต่าดังกล่าว เป็นปัญหาที่ผู้วิจัยให้ความสาคัญ สูงสุดและได้นาเสนอเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อกาหนดเป็นนโยบายสาคัญอันดับแรกที่จะต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วน โดย จะต้องดาเนินการกาหนดเป็นยุทธศาสตร์เฉพาะกิจ ด้วยเหตุนี้ ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นหัวหน้ากลุ่มงานนิเทศติดตามการ บริหารจัดการศึกษาและการพัฒนาการเรียนรู้ มีหน้าที่ในการวิเคราะห์ วิจัย เพื่อพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อการ บริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้และคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด จึงมีแนวความ คิดที่จะใช้ วิธีการกาหนดยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 โดยมีเป้าหมายหลักในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (ONET) ของนักเรียนให้สูงขึ้น เพื่อที่จะให้บรรลุผลตามเป้าหมายของทิศทางการพัฒนาคุณภาพการมัธยมศึกษายุคใหม่ (พ.ศ. 2553 – 2561) ที่กาหนดเป็นนโยบายไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
342
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
วัตถุประสงค์ในการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาการบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 2. เพื่อกาหนดยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20ฃ 3. เพื่อประเมินยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 ในสถานการณ์จริง ขอบเขตการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ กาหนดขอบเขต การวิจัยไว้ดังนี้ 1. ขอบเขตของยุทธศาสตร์บริหารจัด การศึกษา ผู้วิจัยได้กาหนดขอบเขตเพื่อการศึกษาในเรื่อง ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 เป็นการดาเนินการจัดทายุทธศาสตร์เฉพาะ ในส่วนของการยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน (O-NET) 2. ขอบเขตของเนื้ อ หา ผู้ วิ จั ย ได้ ก าหนดขอบเขตของเนื้ อ หาตามกรอบนโยบายของกระทรวง ศึกษาธิการ กลยุทธ์ในการจัดการศึกษาของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทิศทางการพัฒนา คุณภาพการมัธยมศึกษายุคใหม่ (พ.ศ. 2553 – 2561) กฎหมาย และหลักวิชา ที่กาหนดไว้ในระเบียบ แนวปฏิบัติ และกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งแนวทางการปฏิบัติ และหลักสูตรการศึกษา 3. ขอบเขตพื้นที่การวิจัย พื้นที่ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยเฉพาะโรงเรียนในสังกัด สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 4. ผู้ให้ข้อมูล ในการวิจัยสภาพปัญหาของการบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 ใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง ได้แก่ รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผล การจั ด การศึ ก ษา ศึ ก ษานิเ ทศก์ ผู้ อ านวยการสถานศึ ก ษา รองผู้อ านวยการสถานศึ ก ษาฝ่า ยพั ฒ นาวิ ชาการ ครูผู้สอน และผู้เชี่ยวชาญที่ร่วมประชุมกลุ่มสนทนา (Focus Group Discussion) จานวน 9 คน 5. ผู้ประเมินร่างยุทธศาสตร์ การบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดั บผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 คือผู้ทรงคุณวุฒิประเมินความสอดคล้อง จานวน 5 คน และผู้ทรงคุณวุฒิประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้และประโยชน์ของยุทธศาสตร์ จานวน 9 คน 6. ขอบเขตด้านระยะเวลา ผู้วิจัยนายุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 ไปใช้กับโรงเรียน มัธยมศึกษาในสังกัด โดยกาหนดเป็นนโยบายเฉพาะกิจ ในปีการศึกษา 2557 วิธีดาเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาวิจัยโดยใช้หลักการวิจัยและพัฒนา ใช้วิธีการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ วิธีการดาเนินการวิจัย แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่
343
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาการบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 โดยทาการศึกษา 3 ส่วน คือศึกษาแนวคิด ทฤษฎีระเบียบ กฎหมาย นโยบาย ยุทธศาสตร์ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และศึกษาสภาพและ ปัญหาการดาเนินการบริหารจัดการศึกษา ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 โดยใช้วิธีการ ประชุมกลุ่มสนทนา (Focus Group Discussion) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา จานวน 9 คน ขั้นตอนที่ 2 การกาหนดยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 การร่าง ยุทธศาสตร์ ขั้นที่ 2 การประเมินยุทธศาสตร์ และขั้นที่ 3 การนายุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ ขั้นตอนที่ 3 การประเมินยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม ศึกษา เขต 20 ในสถานการณ์จริง มุ่งประเมินโดยยึด เกณฑ์ 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานด้านความเหมาะสม มาตรฐานด้านความเป็นไปได้ และมาตรฐานด้านความ เป็นประโยชน์ ผลการวิจัย การวิจัยยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนใน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 ปรากฏผลการวิจัยดังนี้ 1. สภาพปัจจุบันและปัญหาในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยม ศึกษา เขต 20 ผู้วิจัยได้ศึกษาจากรายงานการประเมินตนเองของโรงเรียน (SAR) และประชุมกลุ่ม สนทนา (Focus Group Discussion) เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ณ ห้องประชุมศรีบุรินทร์ ผู้เข้าร่วมจานวน ทั้งหมด 9 คน ซึ่งประกอบด้วย รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 จานวน 1 คน ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศติดตามและประเมิน ผลการจัดการศึกษา จานวน 1 คน ศึกษานิเทศก์ จานวน 1 คน ผู้อานวยการโรงเรียน จานวน 1 คน ครูผู้สอน 1 คน และผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี จานวน 1 คน ผลการวิเคราะห์มีดังนี้ สภาพการดาเนินการด้านนโยบาย พบว่า สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 มีนโยบายที่ สอดคล้องกับกระทรวงศึกษาธิการและ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่กาหนดเป็นแผนยุทธศาสตร์ และมีกลยุทธ์ทั้งหมด 6 กลยุทธ์ และในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนปรากฏในกลยุทธ์ที่ 1 “พัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการจัดการศึกษามัธยมศึกษาตามหลักสูตร และส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือใน การเรียนรู้สู่มาตรฐานสากล” และโรงเรียนได้นามากาหนดเป็นกลยุทธ์สาคัญระดับโรงเรียน การยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนยังคงเป็นจุดเน้นสาคัญที่ทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหา ในส่วนของโครงสร้างการบริหารจัด การศึกษา พบว่า โรงเรียนไม่เป็นปัญหาและอุปสรรคใด ๆ โรงเรียนบางแห่งอาจมีการกาหนดโครงสร้างการบริหารที่ แตกต่างออกไป โดยไม่ขอความเห็นชอบจากเขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งทาให้เกิดปัญหาในการรายงานผลการจัด การศึกษาและการละเลยต่อเป้าหมายหลักในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สภาพการดาเนินงานด้านบุคลากร พบว่า หลังจากกาหนดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษายมศึกษา ขึ้นมาใหม่ ปรากฏว่า ครูได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและเหมาะสมกับระดับมัธยมศึกษามากขึ้น ผู้ให้การนิเทศ อบรม มีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับระดับพื้นฐานความรู้ความสามารถของครู นอกจากนี้ครูจานวนมากเป็นครู “รุ่นเก่า” เป็นครู “อนาลอก” ในขณะที่ผู้เรียนเป็น “นักเรียนดิจิตอล” ด้านการนิเทศการศึกษา มีศึกษานิเทศก์ที่มี
344
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ความรู้ความสามารถและให้การนิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนของครูอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ปัญหาที่ พบ คื อ ครู มีภ าระงานนอกเหนื อจากการสอนมากขึ้ น มีก ารอบรมบ่อ ยครั้งมากเกิน ความจาเป็ น หน่ วยงานที่ เกี่ ย วข้ อ งไม่ มี ก ารวางแผนร่ ว มกั น ในการพั ฒ นาครู ส่ ง ผลกระทบต่ อ การเรี ย นการสอนอย่ า งหลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ ขณะเดียวกันครูจานวนมาก ขาดจิตวิญญาณของความเป็นครู ไม่เสียสละ ทุ่มเท ในการอบรมสั่งสอนศิษย์ สภาพด้านระบบการจัดการศึกษา พบว่า ระบบการศึกษาในโรงเรียนขาดความยืดหยุ่น มีการกาหนด นโยบายที่สวยหรูและกาหนดมาตรการให้โรงเรียนดาเนินการแบบ “เหมาโหล” ขาดการวิเคราะห์วิจัยและติดตามผล การดาเนินการและการปรับปรุงแก้ไขที่เหมาะสม ดาเนินการเหมือน “ไฟไหม้ฟาง” หลักสูตรมีกฏเกณฑ์และแนว ปฏิบัติที่ยุ่งยากซับซ้อน ระบบการวัดผลและประเมินผลมีแนวคิดและหลักการที่ดี แต่ส่งผลให้ผู้เรียนขาดความ ตระหนักและไม่เอาใจใส่ต่อการเรียน มีการประเมินผลศึกษาซ้าซ้อน ปีละหลายครั้ง แต่ไม่นาผลการประเมินไปใช้ ประโยชน์ ระบบสารสนเทศทางการศึกษามีความทันสมัยแต่มีข้อจากัดในการเชื่อมโยงและการเข้าถึง ด้านการจัดการเรียนการสอน ครูจัดการเรียนการสอนไม่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด ครูจานวนมากสอนโดยยึดตาราเพียงเล่มเดียว ขาดการวิเคราะห์และสังเคราะห์เนื้อหาสาระที่สอดคล้องกับตัวชี้วัด ไม่พัฒนาและจัดหาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ ขาดการบูรณาการ ICT เพื่อการจัดการเรียนรู้ ขาดการวิเคราะห์ผู้เรียน ไม่ใช้วิธีการเรียนการสอนที่หลากหลาย การจัดการเรียนรู้ขาดการบูรณาการ ไม่เขียน แผนการจัดการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผลไม่สอดคล้องกับตัวชี้วัด และไม่ใช้วิธีการที่หลากหลาย ด้านผู้เรียน พบว่า ผู้เรียนในยุคโลกาภิวัตน์ สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้อย่างไร้ขีดจากัด แต่ขาด ความเฉลียวฉลาดในการใช้เทคโนโลยี ใช้ระบบและเครื่องมือสื่อสารในยุค “ดิจิตอล” ที่ไม่เอื้อต่อการเรียนรู้ของ ตนเอง ขาดความฉลาดในการพินิ จพิเคราะห์ กลั่นกรองข้อมูลที่มีอยู่อย่างหลากหลายให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและสังคมโดยรวม ไม่มีความสนใจในการเรียน คุณธรรม จริยธรรมถดถอย เห่อเหิมตามกระแสแฟชั่นที่ถา โถมเข้ามาผ่านช่องทางการรับรู้ที่ไร้ขีดจากัด ในขณะที่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตกต่าลง ด้านบริบทและอาคารสถานที่ พบว่า โรงเรียนมัธยมศึกษามีความพร้อมด้านบริบทและอาคารสถานที่ที่มี ความพร้อมในระดับมาก การขาดแคลนอยู่ในระดับน้อย สอดรับกับจานวนผู้เรียนที่ลดลงทุกระดับอันเนื่องมาจาก อัตราการเกิดลดลง โรงเรียนขนาดเล็กถูกยุบเลิกและรวมเป็นศูนย์ จานวนมาก แต่ ปัญหาที่สาคัญประการหนึ่งคือ โรงเรียนขาดใหญ่ โรงเรียนยอดนิยม และโรงเรียนที่มีความพร้อมมีจานวนนักเรียนเพิ่มขึ้นจนล้น ถึงแม้จะกาหนด มาตรการ แนวทางในการรั บนั กเรีย น แต่ม าตรการเหล่ านั้ น ก็ไ ม่มี ผ ลในทางปฏิ บั ติ ผลกระทบที่เ กิด ขึ้น อย่ า ง หลีกเลี่ยงไม่ได้คือคุณภาพและประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนที่ต่าลง ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่าลง ตามที่ปรากฏในผลการประเมินทางการศึกษาระดับชาติ ด้านงบประมาณ พบว่า รัฐบาลได้จัดสรรงบประมาณค่าใช้จ่ายรายหัวนักเรียนแต่ถูกนาไปใช้ในกิจกรรม หรือโครงการที่ไม่เกิดประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอน โรงเรียนมีภาระและค่าใช้จ่ายในด้านอื่น ๆ เช่นค่า สาธารณูปโภค ค่าภาษีสังคม ค่าใช้จ่ายที่ไม่ปรากฏอยู่ในแผนการใช้จ่ายงบประมาณ แต่มีความจาเป็นต้องดาเนินการ อีกเป็นจานวนมากซึ่งที่งบประมาณที่ได้รับไม่เพียงพอ จึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องนาค่าใช้จ่ายรายหัวไปสนับสนุน จึง ทาให้ประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนลดลง 2. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนใน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 ผู้วิจัยได้นาผลจากการศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาการบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์
345
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ทางการเรียน (O-NET) รวมทั้งการศึกษานโยบาย ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์และจุดเน้นของหน่วยงานทางการศึกษา ระดับสูง และการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มากาหนดเป็นยุทธศาสตร์ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาเพื่อ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 มี องค์ประกอบดังนี้ วิสัยทัศน์ พัฒนาการบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) ของผู้เรียนให้สูงขึ้นไม่ต่ากว่าร้อยละ 5 และอยู่ในสิบอันดับแรกของเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา พันธกิจ 1. จัดและส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษามัธยมศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 20 ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ 2. พัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความสามารถตามมาตรฐานการศึกษาชาติ และมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 เพิ่มขึ้น 3. พัฒนาครูและผู้บริหารสถานศึกษาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่สอดคล้องกับมีสมรรถนะตามมาตรฐาน วิชาชีพ 4. จัดระบบการนิเทศ กากับ ติดตาม เพื่อสนั บสนุนการบริหารจัดการศึ กษาของโรงเรีย นอย่างมี คุณภาพ เป้าหมาย 1. โรงเรียนมีความเข้มแข็งในการบริหารและจัดการศึกษา 2. ผู้ เ รี ย นทุ ก คนมี คุ ณ ภาพตามมาตรฐานการศึ ก ษาชาติ และผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น ( O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 3. ครูและบุคลากรทางการศึกษามี สมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชี พ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 4. มีความเข้มแข็งเป็นกลไกขับเคลื่อนการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสู่ประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตร์ 1. ยุทธศาสตร์การสร้างศักยภาพการอ่าน คิด เขียน สื่อสาร มาตรการ 1. กระตุ้น เร่งรัด ส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาให้นาตัวชี้วัดไปสู่การปฏิบัติ 2. สถานศึกษาจัดทาฐานข้อมูลนักเรียนที่มีปัญหาด้านการอ่านการเขียน และการสื่อสาร 3. สถานศึกษากาหนดผู้รับผิดชอบในการสร้างศักยภาพการอ่าน คิด เขียน สื่อสาร 4. สถานศึกษาจัดทาแผนการสร้างศักยภาพการอ่าน คิด เขียน สื่อสาร 5. สถานศึกษาพัฒนานวัตกรรมเพื่อการสร้างศักยภาพการอ่าน คิด เขียน สื่อสาร 2. ยุทธศาสตร์การจัดการเรียนรู้ตามแนวหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาตรการ 1. พัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ ที่ประยุกต์ใช้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น สถานศึ ก ษา สู่ ก ารสร้ า งสรรค์ ปรั บ กระบวนทั ศ น์ สอดแทรกคุ ณ ธรรม จริยธรรมนาความรู้สู่ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
346
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
3. พัฒนาสถานศึกษาต้นแบบด้านคุณธรรมนาความรู้ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4. สร้างเครือข่ายคุณธรรม บ้าน วัด สถานศึกษา ชุมชนท้องถิ่น ให้เกิดความร่วมมือ ร่วมคิด ร่วมทา ด้วยความสมานฉันท์ 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาครูและผู้บริหารสู่มืออาชีพ มาตรการ 1. สร้างความตระหนักแก่ครูในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ (O-NET) ให้สูงขึ้น 2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษาสร้างระบบการนิเทศภายในสถานศึกษา 3. พัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากรในสถานศึกษาโดยยึดสถานศึกษาเป็นฐานในการพัฒนาแบบมีส่วน ร่วมของครูตามความสมัครใจและ ให้ชุมชนมีส่วนร่วม 4. เขตพื้นที่การศึกษาจัดระบบการนิเทศ กากับติดตามและประเมินผลการศึกษา 4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาสถานศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรการ 1. เขตพื้นที่การศึกษา ร่วมกันสร้างความตระหนักให้แก่ผู้บริหารและคณะครูเพื่อร่วมมือกันยกระดับ และพัฒนามาตรฐานคุณภาพการศึกษา 2. ให้สถานศึกษานาผลการประเมินภายนอกมาวิเคราะห์และวางแผนพัฒนา 3. ให้การนิเทศสถานศึกษาในการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาในมาตรฐานและตัวบ่งชี้ที่ต่ากว่า เกณฑ์ เพื่อยกระดับและพัฒนามาตรฐานคุณภาพของสถานศึกษา 4. สถานศึกษาทุกแห่ง ได้รับการนิเทศกากับ ติดตามให้สามารถดาเนินการพัฒนาระบบประกัน คุณภาพการศึกษา และพร้อมรับการประเมินภายนอกจากสมศ. 5. จัดให้มีเวทีเพื่อส่งเสริมให้มีการเทียบเคียง (Benchmarking) และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอัน จะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างยั่งยืน 5. ยุทธศาสตร์การประสานความร่วมมือภาคีเครือข่าย มาตรการ 1. พัฒนาเครือข่ายการบริหารคุณภาพการศึกษาโดยใช้รูปแบบสหวิทยาเขต 2. ส่งเสริมให้ระบบเครือข่ายทางการศึกษาต่าง ๆ เป็นกลไกสาคัญในการช่วยเหลือให้ความร่วมมือกัน เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย กลยุทธ์และจุดเน้นในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 4. จัดเวทีการประชุมเป็นระยะ ๆ เพือ่ ขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5. พัฒนาครูและผู้บริหารโดยใช้สหวิทยาเขตเป็นฐาน 6. สร้างเวทีนักเรียน ครู และผู้บริหาร เพื่อการเรียนรูร้ ่วมกันในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เพื่อสร้างพลังร่วมกันของนักเรียนครูและผู้บริหารในภาพของเขตพื้นที่การศึกษา 6. ยุทธศาสตร์การประยุกต์ใช้ ICT เพื่อการจัดการเรียนรู้ มาตรการ 1. สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาตามมาตรฐาน/ท้องถิ่น/จุดเน้นพัฒนาผู้เรียนตามแนว ทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552 - 2561) 2. สถานศึกษาเร่งรัดพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้อิงมาตรฐานที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและบูรณา การกับสภาพชีวิตจริง และมีกระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนตามสภาพจริง
347
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
3. ส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษาจัดหาและพัฒนาสื่อ และจัดให้มีแหล่งเรียนรู้ทั้งในสถานศึกษาและ นอกสถานศึกษา และเน้นการประยุกต์ ICT ในการเรียนรู้ 4. สถานศึกษาจัดให้มีระเบียบและแนวทางการวัดและประเมินผลและกาหนดมาตรการให้ครู พัฒนา ระบบการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงโดยใช้วิธีการที่หลากหลาย 5. สถานศึกษาลดจานวนนักเรียนที่ได้รับผลการเรียนต่ากว่าระดับ 2 และเพิ่มจานวนนักเรียนที่ได้รับ ผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไปในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และไม่มีนักเรียนที่ ติด 0 ร มส. 7. ยุทธศาสตร์การมุ่งสู่วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ มาตรการ 1. กาหนดมาตรการเร่งรัด พัฒนา นิเทศ กากับ ติดตามและประเมินผล การยกระดับคุณภาพ การศึกษา ตามเป้าหมายและตัวชีค้ วามสาเร็จที่กาหนด 2. สถานศึกษาจัดทาแผนงาน โครงการ กิจกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา 3. สถานศึกษากาหนดแนวทางให้ครูยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแก่ผู้เรียน 4. ส่งเสริม สนับสนุน ให้ศึกษานิเทศก์ ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิจัย รูปแบบการนิเทศเพื่อยกระดับ คุณภาพการศึกษา 8. ยุทธศาสตร์การนิเทศ กากับ ติดตามให้เกิดความยั่งยืน มาตรการ 1. สนับสนุนส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดให้มีการนิเทศภายในจากผู้บริหารและเพื่อนร่วมงาน อย่างเป็น ระบบ อย่างน้อย 2 ครั้งในหนึ่งภาคเรียน ทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ 2. เขตพื้นที่การศึกษาให้นิเทศกากับ ติดตาม การบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียน อย่างน้อย 2 ครั้งในหนึ่งภาคเรียน 3. สถานศึกษาดาเนินการสรุปรายงานบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) และรายงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกปีการศึกษา 4. เขตพื้นที่ฯ จัดให้มีเวทีเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการทุกปีการศึกษา ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 มีค่าดัชนีความสอดคล้องจากการประเมินของผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 5 ท่าน ในภาพรวมเท่ากับ .60 และมีค่าเฉลี่ยเกินกว่า .50 ในแต่ละประเด็ นยุทธศาสตร์ และมีค่าเฉลี่ยจากการ ประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และประโยชน์ของยุทธศาสตร์โดยผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 9 ท่าน เท่ากับ 4.42, 4.24 และ 4.58 ตามลาดับ 3. การประเมิ นความเหมาะสม ความเป็น ไปได้ และประโยชน์ ของยุ ทธศาสตร์ การบริห ารจั ด การศึกษาเพื่อยกระดั บผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 20 เป็นการประเมินเพื่อตรวจสอบยืนยันยุทธศาสตร์ตามสถานการณ์จริง ซึ่งใช้เกณฑ์การประเมินใน 3 มาตรฐาน คือ มาตรฐานด้านความเหมาะสม มาตรฐานด้านความเป็นไปได้ และมาตรฐานด้านความเป็นประโยชน์ กลุ่มตัวอย่างคือผู้ปฏิบัติหน้าที่ในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 จานวน 123 คน ซึ่งได้จากการสุมตัวอย่างจากประชากร 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) ผู้อานวยการสถานศึกษา จานวน 41 คน 2) หัวหน้าฝ่ายวิชาการ จานวน 41 คน และ 3) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 41
348
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
คน ผลการประเมินพบว่า พบว่า ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 ที่สร้างขึ้น มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้ อยู่ในระดับมากและมีประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด วิจารณ์ผลการวิจัย ผลจากวิจัยมีข้อค้นพบที่น่าสนใจสมควรนามาอภิปรายดังนี้ 1. ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยม ศึกษา เขต 20 จากการศึก ษาเอกสาร นโยบายและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องพบว่าสภาพ ปัจจุบันและปัญหาในการบริหารจัดการศึกษามีทั้งหมด 7 ด้าน ได้แก่ ด้านนโยบาย ด้านบุคลากร ด้านระบบการ จัดการศึกษา ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านผู้เรียน ด้านบริบทและอาคารสถานที่ และด้านงบประมาณ แต่ละ ด้านมีสภาพปัจจุบันและปัญหาที่เป็นปัญหาและอุปสรรคในการบริหารจัดการศึกษาที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพ การศึกษาโดยเฉพาะผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สอดคล้องกับผลการศึกษาของ นงลักษณ์ เรือนทอง(2550) ที่ศึกษา พบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารโรงเรียนที่มีประสิทธิผลจะต้องประกอบด้วยการเน้นการเรียนการสอนของครู ครู ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและมีความคาดหวังสูงต่อนักเรียน การมีนโยบายและแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ ชัดเจน มีผู้เรียนที่ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีงบประมาณสนับสนุนอย่างเพียงพอ และมีบริบทอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมที่ เอื้อต่อการเรียนรู้ 2. ผลการกาหนดยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 ประกอบด้วย ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ ส่วน นา (วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย) และส่วนที่เป็นยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน (O-NET) ประกอบด้วย 8 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1) การสร้างศักยภาพการอ่าน คิด เขียน สื่อสาร 2) การจัดการเรียนรู้ตามแนวหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3) การพัฒนาครู และผู้บริหารสู่มืออาชี พ 4) การ พัฒนาสถานศึกษาตามระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 5) การประสานความร่วมมือภาคีเครือข่าย 6) การ ประยุกต์ใช้ ICT เพื่อการจัดการเรียนรู้ 7) การมุ่งสู่วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ และ 8) การนิเทศ กากับ ติดตามให้เกิด ความยั่งยืน ทั้งนี้ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์จะประกอบไปด้วย มาตรการ ตัวชี้วัดความ และเกณฑ์ความสาเร็จ ที่ จะทาให้เกิดความชัดเจนในการนายุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติและสามารถประเมิ นผลยุทธศาสตร์ได้อย่างเป็ น รูปธรรม ผู้วิจัยมีความเห็นว่ายุทธศาสตร์ที่มีความเหมาะสม ชัดเจน ครอบคลุมการบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับ คุณภาพการศึกษาของโรเรียนมัธยมศึกษาโดยเฉพาะด้าน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) ที่ต้องเร่งรัดพัฒนาอย่าง เร่งด่วน ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาดังกล่าว สอดคล้องกับ อุทิศ ขาวเธียร (2549) กล่าวถึงการวางแผน ยุทธศาสตร์มีองค์ประกอบหลัก 3 ส่วนใหญ่ ๆ ได้แก่ ส่วนเป้าประสงค์ร่วม” ซึ่งประกอบด้วยวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ วัตถุประสงค์หลัก จะทาหน้าที่เสริมการประสานงานแก่องค์การ และ/หรือ เป็นส่วนชี้นาให้เห็นทิศทางการพัฒนา ส่วนทางเลือกการดาเนินการ ซึ่งได้แก่ ยุทธศาสตร์/ยุทธวิธี กาหนดอย่างชัดเจนขึ้นเป็นกรอบความคิดที่ชี้นาทางแก่ การปฏิบัติการหลักของแผนว่า แนวทางที่เหมาะสม เพื่อบรรลุวัตถุ และส่วนเครื่องมือ-กลไกเร่งรัดการพัฒนา เพื่อ สามารถชี้แนะแนวทางการเร่งรัดกระบวนการดาเนินงานขององค์การ นอกจากนี้ยุทธศาสตร์ดังกล่าวยังสอดคล้องกับ กลยุทธ์และจุดเน้นของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้ นฐาน ที่ได้กาหนดกลยุทธ์ในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา ประกอบด้วยกลยุทธ์ด้าน พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ด้านการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา
349
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ด้านพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบด้านการขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงครอบคลุม ผู้เรียน ให้ ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ 3. ผลการประเมิน ความเหมาะสม ความเป็น ไปได้ และประโยชน์ของยุ ทธศาสตร์ก ารบริหารจั ด การศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 เป็นการประเมินเพื่อตรวจสอบยืนยันการนายุทธศาสตร์ไปใช้ตามสถานการณ์จริงในโรงเรียน ยึดรูปแบบ การประเมินของ The Joint Committee on Standards of Education (Maduas, Scriven,& Stufflebeam. 1983) แบ่งเกณฑ์การประเมินงออกเป็น 3 มาตรฐานดังนี้ มาตรฐานด้านความเหมาะสม (Propriety Standard) มาตรฐานด้านความเป็นไปได้ (Feasibility Standard) และมาตรฐานด้านความเป็นประโยชน์ (Utility Standard) ผลการประเมินพบว่า พบว่า ยุทธศาสตร์ มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้ อยู่ในระดับมากและมี ประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด สอดคล้องกับผลการศึกษาของ Price (2001) พบว่า การนาแผนยุทธศาสตร์ไปสู่ การปฏิบัติของโรงเรียน ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้บริหารโรงเรียนมีความตระหนักและมีความเห็นสอดคล้องกันในการ ปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ และโรงเรียนส่วนใหญ่มีการนาแผนยุทธศาสตร์นาไปใช้ในการปฏิบัติจริง โดยสรุป ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (O-NET) โรงเรียนใน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20 มีองค์ประกอบที่สาคัญและมีการขับเคลื่อยุทธศาสตร์อย่าง เป็นกระบวนการ ซึ่ งได้แก่ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม การกาหนดทิศทางขององค์การ การกาหนดยุทธศาสตร์ การนายุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัตแิ ละการประเมินติดตามผลการนายุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ ตามแนวความคิดของ Certo and Peter (1991) ที่นาเสนอกระบวนการจัดการเชิงยุทธศาสตร์ (strategy process) มี 5 ขั้นตอน คือ 1) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมขององค์การ 2) การกาหนดทิศทางขององค์การ 3) การกาหนดยุทธศาสตร์ 4) การ ปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ และ 5) การควบคุมยุทธศาสตร์ ข้อเสนอแนะ 1. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรทบทวนนโยบายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการกาหนดเป้าหมายให้ครอบคุลมคุณภาพที่ต้องการให้เกิดกับผูเ้ รียนในองค์รวม (Holistic) และกาหนด องค์ประกอบ ตัวชี้วัดความสาเร็จ และวิธีการในการประเมินเพื่อให้ไดสารสนเทศทีส่ ะท้อนคุณภาพที่แท้จริง คงไม่ใช่ เพียงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพียงด้านเดียว เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2556). 8 นโยบายการศึกษาของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ. สานักนโยบาย และแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. ธีระพงษ์ สมเขาใหญ่. (2555). ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษาทีม่ ีคุณภาพขององค์การบริหาร ส่วนจังหวัด. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล. นงลักษณ์ เรือนทอง. (2550). รูปแบบการบริหารโรงเรียนที่มีประสิทธิผล. กรุงเทพฯ : ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎี บัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2556).นโยบายและจุดเน้นการบริหารการศึกษาปีงบประมาณ 2556. กรุงเทพฯ: สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
350
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
_________. (2557). นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ. 2557. กรุงเทพฯ : สานักนโยบายและแผน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. _________. แนวทางการบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นในหลักสูตรสถานศึกษา.(ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ วันที่ 28 กันยายน 2554. จาก http://panchalee.wordpress.com/2009/04/10/local_curriculum. สานักบริหารงานมัธยมศึกษาตอนปลาย. (2554). ข้อมูลสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร.สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2557, จาก http://210.246.188.154/obec_scd/ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20. (2554). สรุปรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชาติ (O-NET) ปีการศึกษา 2553. (เอกสารอัดสาเนา). สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552 – 2561). กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิก จากัด. สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์. (2546). การบริหารเชิงกลยุทธ์. (พิมพ์ครัง้ ที่ 11). กรุงเทพฯ : บริษัทอมร พริ้นติ้งแอนด์ พับลิสชิ่งมหาชน. อุทิศ ขาวเธียร. (2549). การวางแผนกลยุทธ์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Maduas, Scriven,& Stufflebeam. (1983) Evaluation Models. Viewpoints on Educational and Human Services Evaluation. INBUNDEN, Engelska, 1983-07-01. Price, M. (2001). Strategic Planning and the Link to Implementation in Selected Illinois School Districts. Dissertation Abstracts International. 62, 07 A. Certo, Samuel C. and Peter, J Paul. (1991).Strategic Management: Concept and Applications. New York: McGraw-Hill.
351
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
EDUP-16 การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่องวัสดุงานช่างอุตสาหกรรมสาหรับนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1)โรงเรียนพนมดงรักวิทยา จังหวัดสุรินทร์ THE DEVELOPMENT OF RESULT BY WORKBOOK OF THE INDUSTRIAL SUPPLIES SUBJECT, FOR VOCATIONAL CERTIFICATE STUDENTS 1 IN PRANOMDONGRAKWIDTHAYA SCHOOL, SURIN PROVINCE. อภิสิทธิ์ ชารัมย์1 ดุรงค์ฤทธิ์ เอกวงษา2 พงศ์ปณต พลแดง3 สาคร พัวพันธ์4 1
นักศึกษาสาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. อาจารย์สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 3 อาจารย์สาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยีเครื่องกล คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรนิ ทร์ 2
บทคัดย่อ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่องวัสดุงานช่างอุตสาหกรรมสาหรับนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา จังหวัดสุรินทร์ ในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) หาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2) เปรียบเทียบความแตกต่าง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ และ 3) หาดัชนีประสิทธิผลของการใช้แบบฝึก ทักษะ ประชากร ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1/1 ปวช.1/2 และ ปวช.1/3) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนพนมดงรักวิทยา อาเภอพนม ดงรัก จังหวัดสุรินทร์ จานวน 66 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1/2) จานวน 21 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 12 แผน แบบฝึกทักษะจานวน 12 ชุด และแบบดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน จานวน 120 ข้อ สถิติที่ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ ค่าที (t - test) และค่าดัชนีประสิทธิผล ผลการวิจัยพบว่า 1. การพัฒนาแบบฝึกทักษะ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา เรื่อง วัสดุงานช่างอุตสาหกรรม ทั้ง 4 หน่วยการเรียนรู้ คือหน่วยการเรียนรู้โลหะเหล็ก โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก อโลหะ และวัสดุ เชื้อเพลิงและหล่อลื่น มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้ 80/80 2. การเปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน จากการใช้แบบ ฝึกทักษะทั้ง 4 หน่วยการเรียนรู้มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระดับ .05 3. ผลการวิเคราะห์ดัชนีประสิทธิผล อภิปรายผลจากการใช้แบบฝึกทักษะทั้ง 4 หน่วยการเรียนรู้ นักเรียนมีพัฒนาการเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 70 คำสำคัญ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, แบบฝึกทักษะ
352
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
Abstract This research aims to (1) find out the efficiency of the workbook of the Industrial Supplies Subject with 80/80 criterion for the students studying in Vocational Certificate One of Panomdongrakwidthaya School, Surin Province, (2) compare and contrast the achievement of the pre-test with the post-test of the said workbook done by the students and, (3) find out the proficient index of the said workbook. The populations of this study are the 66 students studying in the Vocational Certificate One and Two of Panomdongrakwidthaya School, Amphur Panomdongrak, Surin Province. The samples, the purposive sampling one, of this study are the 21 students selected from the said population. The tools used in this research are 12 lesson plans, 12 workbooks, and the 120 items of the achievement in education test with five multiple choices. The statistics used in this research are mean, percentage, standard deviation, t-test, and proficiency index. It was found that; 1. the development of the workbook of the industrial supplies in all four units; steel metal, non-steel metal, non-metal, and fuel and lubrication, has the efficiency higher than the set efficiency criterion 80/80. 2. the achievement in education of the sample students after learning by using the workbook the industrial supplies in all four units; steel metal, non-steel metal, non-metal, and fuel and lubrication is higher at the level of statistic significance .05. 3. from the analysis of the proficiency index, it indicates that the students, after using the said four units of the workbook, have increased the development more than 70%. Keywords: achievement in education, workbook. บทนา ปัจจุบันมีความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว จาเป็นที่แต่ละประเทศต้องเรียนรู้และปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและเตรียมพร้อมที่จะเผชิญกับความ ท้าทายจากกระแสโลก โดยปัจจัยที่จะเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและความท้าทายดังกล่าว ได้แก่คุณภาพของคนเป็น สาคัญดังที่พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2545และ(ฉบับที่3) พ.ศ. 2553 ได้บัญญัติแนวทางการจัดการศึกษาโดยยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ได้ และถือว่าผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ หรือผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด การจัดการศึกษาไม่ว่าจะเป็นระบบ หรือรูปแบบใด ต้องเน้นความสาคัญทั้งความรู้ คุณธรรม และกระบวนการเรียนรู้ และมาตรา 4 ของพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ ได้ให้คาจากัดความของการศึกษาหมายความว่า กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของ บุค คลและสั งคม โดยถ่ า ยทอดความรู้ การฝึ ก การอบรม การสื บ สานทางวั ฒ นธรรม การสร้ า งสรรค์ จ รรโลง ความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม การเรียนรู้และปัจจัย เกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าการจัดการศึกษาเป็นพื้นฐานที่สาคัญอย่างยิ่งต่อ การพัฒนาคนและประเทศชาติ เพราะการศึกษาเป็นกระบวนการที่มุ่งพัฒนาคนให้เจริญงอกงามโดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียน
353
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ได้รับการพัฒนาความรู้ความคิด สามารถวิเคราะห์ปัญหาตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติในการดารงชีวิตที่สอดคล้อง กับความต้องการของตนเองและสังคม จากความสาคัญและแนวทางของการจัดการศึกษา เพื่อให้การจัดกิจกรรม การเรียนการสอนดังกล่าวบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพจึงต้องมีการเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนใหม่โดยผู้สอนจะต้องเปลี่ยนแปลงบทบาทจากการเป็นผู้ชี้ให้มาเป็นผู้ช่วยเหลือส่งเสริมสนับสนุนให้ ผู้ เ รี ย นแสวงหาความรู้ จ ากสื่ อ และแหล่ งเรี ย นรู้ ต่ า งๆและให้ ข้ อ มู ล ที่ ถู ก ต้ อ งแก่ ผู้ เ รี ย นเพื่ อ น าไปประยุ ก ต์ แ ละ สร้างสรรค์ความรู้ของตนเอง ซึ่งกรมวิชาการเสนอว่า ปรัชญาการศึกษาแบบใหม่ที่เชื่อว่าการศึกษาคื อการเรียนรู้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้จึงยึดผู้เรียนเป็นสาคัญโดยครูจะเป็นผู้จัดกิจกรรมหรือสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นให้ ผู้เรียนแสดงออกซึ่งศักยภาพหรือความรู้ความสามารถของตนด้วยการเรียนรู้จากการปฏิบัติของตนเองและนาไป ประยุกต์ใช้ เพื่อให้มีทักษะสารสนเทศและทักษะชีวิตในโลกศตวรรษที่ 21 และประเทศไทย 4.0 แบบฝึกทักษะจึงเป็นเครื่องมืออีกทางหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาทักษะในการเรียนเรื่องที่เรียนรู้ให้มากขึ้น โดย อาศัยการฝึกฝนหรือปฏิบัติด้วยตนเองของผู้เรียน ลักษณะปัญหาในแบบฝึกทักษะจะเป็นปัญหาที่เสริมทักษะพื้นฐาน โดยกาหนดขึ้นให้ผู้เรียนตอบเรียงลาดับจากง่ายไปยาก ปริมาณของปัญหาต้องเพียงพอที่สามารถตรวจสอบและ พัฒนาทักษะ กระบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ที่เรียนไปแล้ว เพื่อนาไปใช้ในการแก้ปัญหา รวมทั้งใน แบบฝึกทักษะจะทาให้ผู้เรียนสามารถตรวจสอบความเข้าใจบทเรียนด้วยตนเองได้ เพื่ อให้เกิดทักษะ เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความชานาญในเนื้อหา ที่ผู้เรียนได้เรียนไปในเรื่องนั้น ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ จากสภาพปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น ทาให้คณะผู้วิจัยจึงคิดหาวิธีในการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ที่ดีขึ้นจากการเรียนเรื่อง วัสดุงานช่ างอุตสาหกรรม โดยการใช้แบบฝึกทักษะมาช่วยในการจัดการเรียนการ สอน โดยนามาใช้กับนักเรียนโรงเรียนพนมดงรักวิทยา ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) จานวนนักเรียน 21 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 เพื่อให้นักเรียนมีการเรียนรู้ที่ดีขึ้นและมีผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้นด้ วยตามลาดับจาก การนาชุดฝึกทักษะเรื่อง วัสดุงานช่างอุตสาหกรรมมาใช้ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ เรื่องวัสดุงานช่างอุตสาหกรรม สาหรับนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้แบบฝึก ทักษะเรื่องวัสดุงานช่างอุตสาหกรรม สาหรับนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.1) 3. เพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลของการใช้แบบฝึกทักษะเรื่อง วัสดุงานช่างอุตสาหกรรม สาหรับนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) สมมติฐานของการวิจัย 1. ประสิ ท ธิ ภ าพของแบบฝึ ก ทั ก ษะ เรื่ อ งวั ส ดุ ง านช่ า งอุ ต สาหกรรม ส าหรั บ นั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2. ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นหลั ง เรี ย นสู งกว่ า ก่ อ นเรี ย น โดยใช้ แ บบฝึ ก ทั ก ษะเรื่ อ ง วั ส ดุ ง านช่ า ง อุตสาหกรรม สาหรับนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) 3. ค่าดั ชนี ประสิ ทธิ ผลของการใช้ แบบฝึ กทั กษะเรื่อง วั สดุ งานช่ างอุต สาหกรรม สาหรั บนั กเรีย น ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) มีผลการเรียนรู้ที่เพิ่มขึ้น
354
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากร 1.1 ประชากร ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1/1 ปวช. 1/2 และปวช.1/3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนพนมดงรักวิทยา ตาบลจีกแดก อาเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จานวน 66 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1/2) ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2560 โรงเรียนพนมดงรักวิทยา อาเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ จานวน 21 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบ เจาะจง (Purposive Sampling) 2. สถานที่ในการทาวิจัย ห้องเรียนอุตสาหกรรม 1 โรงเรียนพนมดงรักวิทยา อาเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ 3. ตัวแปรที่มุ่งศึกษา 3.1 ตัวแปรอิสระ การใช้แบบฝึกทักษะ เรื่องวัสดุงานช่างอุตสาหกรรม สาหรับนักเรียนระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) จานวน 4 หน่วยการเรียนรู้ 3.2 ตัวแปรตาม ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ ความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน เรียนและหลังเรียน และค่าดัชนีประสิทธิผลของการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่องวัสดุงานช่างอุตสาหกรรม จานวน 4 หน่วยการเรียนรู้ 4. เนื้อหาที่ใช้ในการทดลอง เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นสาระเนื้อหาที่ใช้ประกอบการเรียนรายวิชาวัสดุงานช่างอุตสาหกรรม โดยใช้แบบฝึกทักษะ ประกอบด้วย 4 หน่วยการเรียนรู้ คือหน่วยการเรียนรู้โลหะเหล็ก โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก อโลหะ และวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น 5. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย ในการวิจัยใช้เวลาในการวิจัย ตั้งแต่วัน ที่ 15 พฤษภาคม 2560 ถึง 15 กันยายน 2560 วิธีดาเนินงานวิจัย การวิ จั ย ครั้ ง นี้ เป็ น การพั ฒ นาผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย นโดยใช้ แ บบฝึ ก ทั ก ษะ เรื่ อ ง วั ส ดุ ง านช่ า ง อุตสาหกรรม สาหรับนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียน พนมดงรักวิทยา อาเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ ได้ดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากร ได้แก่ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.1/2 ปวช.1/2 และปวช.1/3 ภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนพนมดงรักวิทยา จานวน 66 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1/2) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนพนมดงรักวิทยา จานวน 21 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1. แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มประกาศนียบัตรวิชาชีพ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. 1) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จานวน 4 หน่วยการเรียนรู้ มีจานวน 12 แผนการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย
355
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โลหะเหล็ก จานวน 3 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก จานวน 2 แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อโลหะ จานวน 2 แผนการจัดการเรียนรู้ และหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วัสดุ เชื้อเพลิงและหล่อลื่น จานวน 5 แผนการจัดการเรียนรู้ 2. นวัตกรรมในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบฝึกทักษะ เรื่อ ง วัสดุงานช่างอุตสาหกรรม ประกอบด้วย 4 หน่วยการเรียนรู้ จานวนแบบฝึกทักษะ 12 ชุด ประกอบด้วย หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โลหะเหล็ก จานวน 3 ชุดหน่วย การเรียนรู้ที่ 2 โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก จานวน 2 ชุด หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อโลหะ จานวน 2 ชุด และหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จานวน 5 ชุด 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนการเรียนและหลังการเรียน ประกอบด้วย หน่วยการ เรียนรู้ที่ 1 โลหะเหล็ก จานวน 30 ข้อ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก จานวน 30 ข้อ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อโลหะ จานวน 30 ข้อ และหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น จานวน 30 ข้อ รวมแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ก่อนการเรียนและหลังการเรียนจาก 4 หน่วยการเรียนรู้ จานวน 120 ข้อ วิธีการสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1. แผนการจัดการเรียนรู้ประกอบการการพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง วัสดุงานช่างอุตสาหกรรม ใน การเรียนกลุ่มประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาหรับนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2560 โรงเรียนพนมดงรักวิทยา จานวน 12 แผน มีลาดับขั้นตอนดังนี้ 1.1 ศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชาชีพ พุทธศักราช 2556 เพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับ จุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา คาอธิบายรายวิชา การจัดการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้และการวัดประเมินผล การเรียนรู้ (สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, 2556: 1) 1.2 ศึ ก ษาเอกสารประกอบหลั ก สู ต รสถานศึ ก ษา กลุ่ ม ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ ระดั บ ชั้ น ประกาศนี ย บัต รวิชาชี พ (ปวช.1) โรงเรี ย นพนมดงรัก วิท ยา ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ก ารศึ ก ษามัธ ยมศึ ก ษาเขต 33 (โรงเรียนพนมดงรักวิทยา, 2560: 1) เพื่อศึกษาคาอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ และเนื้อหาใน แต่ละหน่วยการเรียนรู้ มาเป็นกรอบในการจัดทาแผนการเรียนรู้ 1.3 ศึกษาวิธีเขียนแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ได้แนวทางวิธีการและขั้นตอนการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ (สาคร พัวพันธ์ และดุรงค์ฤทธิ์ เอกวงษา, 2558: 1-5) 1.4 ยกร่างแผนการจัดการเรียนรู้โดยมีองค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ จานวน 12 แผน ดังนี้ ชื่อเรื่อง สาระสาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ สื่ออุปกรณ์และแหล่ง เรียนรู้ การวัดและประเมินผลและบันทึกหลังการสอน 1.5 นาแผนการจักการเรียนรู้ที่จัดทาขึ้น เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญประกอบด้วยผู้เชียวชาญ ด้านเนื้อหา และหลักสูตร จานวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของรูปแบบการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ความสัมพันธ์ ระหว่างจุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ สื่อ อุปกรณ์และแหล่งเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล เครื่องมือที่ ใช้วัดและการประเมินผล เพื่อตรวจสอบและข้อเสนอแนะ ในส่วนที่บกพร่อง เพื่อนามาปรับปรุงแก้ไข 1.6 น าแผนการจั ด การเรี ย นรู้ ที่ ไ ด้ รั บ การเสนอแนะจากผู้ เ ชี่ ย วชาญ มาปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขตาม ผู้เชี่ยวชาญดังนี้ 1.6.1 พิจารณา ตรวจสอบการจัดพิมพ์ ให้ถูกต้องไม่มีคาผิด 1.6.2 ตรวจสอบจุดประสงค์การเรียนรู้ให้มีองค์ประกอบครบ 3 ส่วน คือ สถานการณ์/ เงื่อนไข พฤติกรรมที่คาดหวังและเกณฑ์
356
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
1.6.3 ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ และขั้นตอนต่าง ๆ ให้สัมพันธ์กับการใช้สื่อ 1.6.4 ได้ พิ จ ารณา ตรวจสอบความสอดคล้ อ งขององค์ ป ระกอบแต่ ล ะแผนให้ มี ค วาม สอดคล้องกันอย่างรอบคอบตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ 1.7 นาแผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ปรับปรุงแก้ไขแล้ว เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญชุดเดิมจานวน 3 คน อีกครั้ง หนึ่ง เพื่อทาการประเมินความสอดคล้องและความเหมาะสมของการจัดการเรียนรู้ 1.8 นาแบบประเมิ นแผนการจัดการเรียนรู้ของผู้เชี่ยวชาญทั้ง 3 ท่าน มาหาค่าเฉลี่ยแล้วนาไป เปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ โดยใช้เกณฑ์การแปลความซึ่งมี 5 ระดับ คือ ระดับความเหมาะสมมากที่สุด มาก ปาน กลาง น้อย และน้อยที่สุด เกณฑ์การตัดสินที่มีความเหมาะสม ค่าเฉลี่ย 3.15 ขึ้นไป จึงจะถือว่าเป็นแผนการจัดการ เรียนรู้ที่เหมาะสม นาไปใช้ทดลองได้ ผลจากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญประเมินทั้ง 3 คน ได้ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.72 อยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด 2. การพัฒนาแบบฝึกทักษะเรื่อง วัสดุงานช่างอุตสาหกรรม กลุ่มประกาศนียบัตรวิชาชีพ ของนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ประกอบด้วย 4 หน่วยการเรียนรู้ คือ โลหะ เหล็ก โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก อโลหะ และวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น มีลาดับขั้นตอนดังนี้ 2.1 ศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 เพื่อทาความเข้า คุณลักษณะ จุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา คาอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรู้ และการจัดการเรียนรู้ (สานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา, 2556) 2.2 ศึกษาเอกสารประกอบหลักสูตร ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช2556 กลุ่ม ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ระดับชั้นประกาศนียบั ตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา เพื่อศึกษาคาอธิบาย รายวิชาโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้และเนื้อหาในแต่ละหน่วยการเรียนรู้(โรงเรียนพนมดงรักวิทยา, 2560: 1) 2.3 วิเคราะห์เนื้อหาแบ่งเป็นเนื้อหาย่อย 2.4 วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระสาคัญ สาระการเรียนรู้และจุดประสงค์การเรียนรู้ ในทุก เนื้อหาย่อย 2.5 ศึกษาวิธีการพัฒนาแบบฝึกทักษะ จากเอกสารเรื่อง การสร้างแบบฝึก, แบบฝึกทักษะ 2.6 สร้างแบบฝึกทักษะจานวน 12 ชุด ตามเนื้อหาย่อยที่แบ่งได้ โดยแบบฝึกทักษะแต่ละชุดจะ ประกอบด้วย แบบฝึกหัด แบบทดสอบ คู่มือ ให้นักเรียนปฏิบัติตามเพื่อให้นักเรียนได้สร้างองค์ความรู้หลังจากได้ ศึกษาจากแบบฝึกทักษะ 2.7 นาแบบฝึกทักษะ จานวน 12 ชุด เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญชุดเดียวกับที่ประเมินแผนการจัดการ เรียนรู้ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของจุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา ลักษณะการใช้ภาษา รูป แบบและการวัด ประเมินผล 2.8 ปรับปรุงแก้ไขแบบฝึกทักษะ ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญในเรื่องของภาพประกอบ 2.9 นาแบบฝึกทักษะ จานวน 12 ชุด ที่ปรับปรุงแก้ไขแล้ว เสนอผู้เชี่ยวชาญอีกครั้งหนึ่งเพื่อ ประเมินความถูกต้องของจุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาลักษณะการใช้ภาษา รูปแบบการวัดและการประเมินผล จาก แบบประเมิน แบบฝึกทักษะที่คณะผู้วิจัยจัดสร้างได้ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับเหมาะสมมาก 2.10 นาแบบฝึกทักษะ จานวน 12 ชุด ที่ได้รับการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญมาพิจารณาปรับปรุง แก้ไข ข้อบกพร่องแล้วนาไปทดลองดังนี้
357
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
2.10.1 ทดลองใช้ (Try Out) เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะกับนักเรียน ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1/1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา โดยวิธีเลือกแบบเจาะจง จานวน 3 คน เป็นนักเรียน เก่ง ปานกลาง และอ่อน ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนแต่ละหน่วยการเรียนรู้ แล้วทาแบบฝึกทักษะ ในหน่วย การเรียนรู้นั้น เมื่อเรียนแต่ละหน่วยแล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน ดาเนินตามลาดับจนครบทั้ง 4 หน่วย การเรียนรู้นาผลการเรียนแต่ละหน่วยการเรียนรู้มาวิเคราะห์หาประสิทธิภาพ พบว่า หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โลหะ เหล็ก แบบฝึกทักษะมีประสิทธิภาพเท่ากับ 77.25/79.10 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก แบบฝึกทักษะมี ประสิ ท ธิ ภ าพเท่ า กั บ 77.11/78.12 หน่ ว ยการเรี ย นรู้ ที่ 3 อโลหะ แบบฝึ ก ทั ก ษะมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเท่ า กั บ 70.50/70.59 และหน่ ว ยการเรี ย นรู้ ที่ 4 วั ส ดุ เ ชื้ อ เพลิ งและหล่ อ ลื่ น แบบฝึ ก ทั ก ษะมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเท่ า กั บ 79.11/79.24 จากการทาแบบฝึกทักษะทั้ง 4 หน่วยการเรียนรู้ของนักเรียนรายบุคคล พบว่า เนื้อหามากเกินไป นักเรียนอ่านแล้วเข้าใจยาก นักเรียนทาข้อสอบไม่ทันเวลา นักเรียนที่เรียนอ่อนทาเสร็จช้า เนื่องจากอ่านหนังสือไม่ คล่อง จึงได้ปรับปรุงให้ดีขึ้น 2.10.2 ทดลองใช้ (Try Out) เพื่อหาประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะ ครั้งที่ 2 กับนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1/1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา โดยเลือกแบบเจาะจง จานวน 9 คน เป็น นักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน แบ่งเป็นนักเรียนเก่ง 3 คน ปานกลาง 3 คน และอ่อน 3 คน ให้นักเรียนทา แบบทดสอบก่อนเรียนแต่ละหน่วยการเรียนรู้แล้วเรียนเนื้อหาแล้วทาแบบฝึกทักษะ ในหน่วยการเรียนรู้นั้น เมื่อเรียน จบแต่ละหน่วยแล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน ดาเนินตามลาดับจนครบทั้ง 4 หน่วยการเรียนรู้ นาผลการ เรียนรู้แต่ละหน่วยมาวิเคราะห์ประสิทธิภาพ พบว่า หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โลหะเหล็ก แบบฝึกทักษะมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 80.22/80.50 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก แบบฝึกทักษะมีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.05/81.56 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อโลหะ แบบฝึกทักษะมีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.23/81.60 และหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วัสดุ เชื้อเพลิงและหล่อลื่น แบบฝึกทักษะมีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.12/81.03 ปัญหาที่พบเป็นด้านเนื้อหา ผู้วิจัยจึงได้ ปรับปรุงให้ดีขึ้น 2.10.3 ทดลองใช้ (Try Out) เพื่อหาประสิทธิภาพแบบฝึกทักษะ ครั้งที่ 3 กับนักเรียน ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1/3) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนพนมดงรักวิทยา จานวน 23 คน ที่มีระดับความสามารถเก่งจานวน 6 คน ปานกลางจานวน 11 คน และอ่อนจานวน 6 คน ในสภาพห้องเรียน จริง ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน แต่ละหน่วยการเรียนรู้แล้วเรียนเนื้อหาทาแบบฝึกทักษะในหน่วยการ เรียนรู้นั้น เมื่อเรียนจบแต่ละหน่วยแล้วให้นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน ดาเนินการตามลาดับจนครบทั้ง 4 หน่วยการเรียนรู้ นาผลการเรียนรู้แต่ละหน่วยการเรียนรู้มาหาประสิทธิภาพ พบว่า หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โลหะเหล็ก แบบฝึกทักษะมีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.33/84.56 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก แบบฝึกทักษะมี ประสิ ท ธิ ภ าพเท่ า กั บ 82.34/83.56 หน่ ว ยการเรี ย นรู้ ที่ 3 อโลหะ แบบฝึ ก ทั ก ษะมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเท่ า กั บ 81.33/82.90 และหน่ ว ยการเรี ย นรู้ ที่ 4 วั ส ดุ เ ชื้ อ เพลิ งและหล่ อ ลื่ น แบบฝึ ก ทั ก ษะมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเท่ า กั บ 81.33/82.46 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้ ไม่พบปัญหา นักเรียนทาได้ตามเวลาที่กาหนดและมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงขึ้น 2.11 นาบทเรียนแบบฝึกทักษะมาจัดพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์เพื่อนาไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่างจริง ต่อไป 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน เป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนจากแบบฝึกทักษะ โดยมีวิธีการสร้างและหาคุณภาพดังนี้
358
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
3.1 ศึก ษาทฤษฎี ก ารสร้ างแบบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ยนจากเอกสาร และวิ ธี ส ร้ า ง แบบทดสอบที่ดี (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) เพื่อนามาใช้เป็นแนวทางในการสร้างแบบทดสอบ 3.2 สร้างแบบทดสอบให้สอดคล้องกับจุดระสงค์การเรียนรู้ซึ่งลักษณะเป็นแบบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จานวน 150 ข้อ เพื่อคัดไว้ใช้จานวน 120 ข้อ กาหนดการให้คะแนนข้อตอบถูกได้ 1 คะแนน และข้อตอบ ผิดได้ 0 คะแนน 3.3 นาแบบทดสอบที่สร้างขึ้นเรียบร้อยแล้วให้ผู้เชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน ผู้เชี่ยวชาญชุดเดียวกับที่ ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ความชัดเจน ความถูกต้อง ความเหมาะสม ของภาษาที่ใช้ ความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยหาค่า IOC ที่ถือว่าเหมาะสม คือ 0.60 ขึ้นไป ค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.60-1.00 3.4 นาแบบทดสอบวัด ผลสัม ฤทธิ์ท างการเรี ยนก่อนเรี ยนและหลังเรีย นที่ ได้ รับการตรวจจาก ผู้เชี่ยวชาญแก้ไขปรับปรุง นาไปทดลองกับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.2) ที่เคยเรียนเรื่องวัสดุงาน ช่างอุตสาหกรรมมาแล้ว จานวน 30 คน แล้วนากระดาษคาตอบของนักเรียนที่ผ่านการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะที่ สอบเสร็จแล้วมาตรวจให้คะแนนโดยให้คะแนนตามเกณฑ์ คือ ให้ข้อที่ถูก 1 คะแนน และข้อที่ตอบผิด หรือไม่ตอบ หรือตอบเกิน 1 ตัวเลือกได้ 0 คะแนน นากระดาษคาตอบของนักเรียนมาวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบ ดังนี้ 3.4.1 วิเคราะห์หาค่าความยากง่าย (p) และค่าอานาจจาแนก (r) รายข้อ โดยใช้ค่าความ ยากง่ายตั้งแต่ 0.20-0.80 และค่าอานาจจาแนกตั้งแต่ 0.20-1.00 ปรากฏค่า หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โลหะเหล็ก ผล การวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย(p) อยู่ระหว่าง 0.20- 0.77 และค่าอานาจจาแนก (r) อยู่ระหว่าง 0.20 - 0.51 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก ผลการวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย(p) อยู่ระหว่าง 0.20 - 0.76 และค่า อานาจจาแนก (r) อยู่ระหว่าง 0.20 - 0.47 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อโลหะ ผลการวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย(p) อยู่ ระหว่าง 0.20 - 0.70 และค่าอานาจจาแนก (r) อยู่ระหว่าง 0.20 - 0.40 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วัสดุเชื้อเพลิงและ หล่อลื่น ผลการวิเคราะห์หาค่าความยากง่าย(p) อยู่ระหว่าง 0.20 - 0.62 และค่าอานาจจาแนก (r) อยู่ระหว่าง 0.20 - 0.60 3.4.2 นาแบบทดสอบที่ผ่านการคัดเลือกตามแต่ละหน่วยการเรียนรู้แล้วไปหาค่าความ เชื่อมั่นของแบบทดสอบ โดยใช้สูตร KR20 ของคูเดอร์ ริชาร์ดสัน ปรากฏว่าได้ค่าความเชื่อมั่นแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ดังนี้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โลหะเหล็ก ค่าความเชื่อมั่น 0.73 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก ค่าความเชื่อมั่น 0.64 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อโลหะ ค่าความเชื่อมั่น 0.80 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น ค่าความ เชื่อมั่น 0.92 3.5 จัดพิมพ์แบบทดสอบที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแล้วจานวน 120 ข้อ โดยแยกออกเป็น 4 หน่วยการเรียนรู้ ตามที่กาหนดไว้ เพื่อนาไปใช้ในการศึกษาวิจัยต่อไป การดาเนินการทดลองและการเก็บรวบรวมข้อมูล 1. แบบแผนการทดลองในการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลอง ผู้วิจัยได้ใช้แบบแผนการทดลอง One Group Pre-test Post – test Design (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538 : 249) 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล ดาเนินตามลาดับขั้นตอน ดังนี้ 2.1 ผู้รายงานเตรียมจัดสภาพห้องเรียนและนักเรียนให้เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนการสอน 2.2 ก่อนทาการทดลองในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ได้ทาการทดสอบก่อนเรียนกับกลุ่มตัวอย่างด้วย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน
359
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
2.3 ดาเนินการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของแต่ละหน่วยการเรียนรู้ 2.4 เมื่อสิ้นสุดการใช้แบบฝึกทักษะในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ได้ทาการทดสอบหลังเรียนด้วย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ จะมีแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียนและหลังเรียน จะเป็นแบบทดสอบชุดเดียวกันแต่สลับข้อและสลับตัวเลือก 2.5 นาผลการทดลองในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ไปวิเคราะห์ข้อมูล สรุป รวบรวมข้อมูล รายงานผล ระยะเวลาที่ทาการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้นาข้อมูลมาวิเคราะห์ตามลาดับดังนี้ 1. วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ ระดับชั้นประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.1) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2. วิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ในแต่ละ หน่วยการเรียนรู้ ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 3. วิ เ คราะห์ ห าค่ า ดั ช นี ป ระสิ ท ธิ ผ ลของแบบฝึ ก ทั ก ษะในแต่ ล ะหน่ ว ยการเรี ย นรู้ ระดั บ ชั้ น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 สรุปผลการวิจัย จากการวิจัยเรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่องวัสดุงานช่างอุตสาหกรรม สาหรับนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา จังหวัดสุรินทร์ สามารถสรุป ผลการวิจัยได้ดังนี้ ตารางที่ 8 ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1)โรงเรียนพนมดง รักวิทยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โลหะเหล็ก (แบบฝึกทักษะชุดที่ 1-3) คะแนน ผลการปฏิบัติกิจกรรม (E1) ผลการทดสอบหลังเรียน (E2)
คะแนนเต็ม 90 30
S.D. 4.09 2.39
X
76.61 25.33
ร้อยละ 85.13 84.44
E1/E2 85.13/84.44
จากตารางที่ 8 พบว่า นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โลหะเหล็ก โดยใช้แบบฝึกทักษะที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.13/84.44 ซึ่งสูงกว่า เกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้ 80/80
360
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ตารางที่ 9 ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดง รักวิทยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก (แบบฝึกทักษะชุดที่ 4-5) คะแนน ผลการปฏิบัติกิจกรรม (E1) ผลการทดสอบหลังเรียน (E2)
คะแนนเต็ม 60 30
X
50.81 24.14
S.D. 2.11 7.45
ร้อยละ 84.68 80.47
E1/E2 84.68/80.47
จากตารางที่ 9 พบว่า นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา หน่วย การเรียนรู้ที่ 2 โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก โดยใช้แบบฝึกทักษะที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 84.68/80.47 ซึ่งสูงกว่า เกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้ 80/80 ตารางที่ 10 ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดง รักวิทยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อโลหะ (แบบฝึกทักษะชุดที่ 6-7) คะแนน ผลการปฏิบัติกิจกรรม (E1) ผลการทดสอบหลังเรียน (E2)
คะแนนเต็ม 60 30
X
51.14 25.48
S.D. 4.09 1.75
ร้อยละ 85.24 84.92
E1/E2 85.24/84.92
จากตารางที่ 9 พบว่า นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อโลหะ โดยใช้แบบฝึกทักษะที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.24/84.92 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ มาตรฐานที่ตั้งไว้ 80/80 ตารางที่ 11 ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดง รักวิทยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น (แบบฝึกทักษะชุดที่ 8-12) คะแนน ผลการปฏิบัติกิจกรรม (E1) ผลการทดสอบหลังเรียน (E2)
คะแนนเต็ม 150 30
125.38 24.71
X S.D.
7 2.28
ร้อยละ 83.59 82.38
E1/E2 83.59/82.38
จากตารางที่ 9 พบว่า นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น โดยใช้แบบฝึกทักษะที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.59/82.38 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้ 80/80 จากผลการทดลองตารางที่ 8-11 การหาประสิทธิภาพจากการใช้แบบฝึกทักษะทั้ง 4 หน่วยการเรียนรู้มี ประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้ 80/80
361
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ตารางที่ 12 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน จากการใช้แบบ ฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โลหะเหล็ก (แบบฝึกทักษะที่ 1-3) ผลสัมฤทธิ์
N
X
S.D.
D
( D) 2
t*
ก่อนเรียน หลังเรียน
21 21
11.9 25.33
2.15
297
88209
30.12
*ค่า t มีนัยสาคัญที่ระดับ .05 (ค่าวิกฤตของ t ที่ระดับ .05 df 20 = 1.724) จากตารางที่ 12 พบว่า นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โลหะเหล็ก โดยใช้แบบฝึกทักษะชุดที่ 1 – 3 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 ตารางที่ 13 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน จากการใช้แบบ ฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก (แบบฝึกทักษะที่ 4-5) ผลสัมฤทธิ์
N
X
S.D.
D
( D) 2
t*
ก่อนเรียน หลังเรียน
21 21
10.05 24.14
2.12
295
87025
20.73
*ค่า t มีนัยสาคัญที่ระดับ .05 (ค่าวิกฤตของ t ที่ระดับ .05 df 20 = 1.724) จากตารางที่ 13 พบว่า นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก โดยใช้แบบฝึกทักษะชุดที่ 4 – 5 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ตารางที่ 14 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน จากการใช้แบบ ฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อโลหะ (แบบฝึกทักษะที่6-7) ผลสัมฤทธิ์
N
X
S.D.
D
( D) 2
t*
ก่อนเรียน หลังเรียน
21 21
10.48 25.48
2.32
315
99225
29.58
*ค่า t มีนัยสาคัญที่ระดับ .05 (ค่าวิกฤตของ t ที่ระดับ .05 df 20 = 1.724)
362
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
จากตารางที่ 14 พบว่า นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อโลหะ โดยใช้แบบฝึกทักษะชุดที่ 6 – 7 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 ตารางที่ 15 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน จากการใช้แบบ ฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วัสดุ เชื้อเพลิงและหล่อลื่น (แบบฝึกทักษะที่ 8-12) ผลสัมฤทธิ์
N
X
S.D.
D
( D) 2
t*
ก่อนเรียน หลังเรียน
21 21
11.33 24.71
2.32
280
78400
20.11
*ค่า t มีนัยสาคัญที่ระดับ .05 (ค่าวิกฤตของ t ที่ระดับ .05 df 20 = 1.724) จากตารางที่ 15 พบว่า นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น โดยใช้แบบฝึกทักษะชุดที่ 8 – 12 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตาราง 13-15 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน จากการใช้แบบฝึกทักษะทั้ง 4 หน่วยการเรียนรู้ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ตารางที่ 16 ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียน พนมดงรักวิทยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โลหะเหล็ก (แบบฝึกทักษะชุดที่ 1-3) การทดสอบ ก่อนเรียน หลังเรียน
คะแนนเต็ม 30 30
N 21 21
ผลรวมคะแนน 235 532
E.I. 0.7063
จากตางที่ 16 พบว่าดัชนีประสิทธิผลของการใช้แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 1-3 กลุ่มประกาศนียบัตรวิชาชีพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โลหะเหล็ก นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา มีค่า เท่ากับ 0.7063 ซึ่งหมายความว่า นักเรียนมีพัฒนาการเพิ่มขึ้นร้อยละ 70.63 ตารางที่ 17 ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียน พนมดงรักวิทยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก (แบบฝึกทักษะชุดที่ 4-5) การทดสอบ ก่อนเรียน หลังเรียน
คะแนนเต็ม 30 30
N 21 21
363
ผลรวมคะแนน 211 507
E.I. 0.7064
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
จากตางที่ 17 พบว่าดัชนีประสิทธิผลของการใช้แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 4-5 กลุ่มประกาศนียบัตรวิชาชีพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา มีค่าเท่ากับ 0.7064 ซึ่งหมายความว่า นักเรียนมีพัฒนาการเพิ่มขึ้นร้อยละ 70.64 ตารางที่ 18 ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียน พนมดงรักวิทยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อโลหะ (แบบฝึกทักษะชุดที่ 6-7) การทดสอบ ก่อนเรียน หลังเรียน
คะแนนเต็ม 30 30
N 21 21
ผลรวมคะแนน 220 535
E.I. 0.7682
จากตางที่ 18 พบว่าดัชนีประสิทธิผลของการใช้แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 6-7 กลุ่มประกาศนียบัตรวิชาชีพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อโลหะ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ 1 โรงเรียนพนมดงรักวิทยา มีค่าเท่ากับ 0.7682 ซึ่งหมายความว่า นักเรียนมีพัฒนาการเพิ่มขึ้นร้อยละ 76.82 ตารางที่ 19 ดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียน พนมดงรักวิทยา หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น (แบบฝึกทักษะชุดที่ 8-12) การทดสอบ ก่อนเรียน หลังเรียน
คะแนนเต็ม 30 30
N 21 21
ผลรวมคะแนน 239 519
E.I. 0.8777
จากตางที่ 19 พบว่าดัชนีประสิทธิผลของการใช้แบบฝึกทักษะ ชุดที่ 8-12 กลุ่มประกาศนียบัตรวิชาชีพ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1)โรงเรียนพนมดง รักวิทยา มีค่าเท่ากับ 0.8777 ซึ่งหมายความว่า นักเรียนมีพัฒนาการเพิ่มขึ้นร้อยละ 87.77 จากตารางที่ 16-19 เป็นการวิเคราะห์ดัชนีประสิทธิผล จากการใช้แบบฝึกทักษะทั้ง 4 หน่วยการเรียนรู้ พบว่านักเรียนมีพัฒนาการเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 70 วิจารณ์ผลการวิจัย 1. คณะผู้ วิจั ย ได้ด าเนิน การศึ ก ษาค้ น คว้า การพั ฒ นาการใช้ แ บบฝึ ก ทั กษะของนั ก เรี ย นระดั บ ชั้ น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา ทั้ง 4 หน่วยการเรียนรู้ คือ หน่วยการเรียนรู้โลหะเหล็ก หน่ ว ยการเรี ย นรู้ โ ลหะที่ ไ ม่ ใ ช่ เ หล็ ก หน่ ว ยการเรี ย นรู้ อ โลหะ หน่ ว ยการเรี ย นรู้ วั ส ดุ เ ชื้ อ เพลิ ง และหล่ อ ลื่ น มี ประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้ 80/80 เนื่องจากผู้วิจัยได้สร้างแบบฝึกทักษะ อย่างเป็นระบบและมี ขั้นตอน ได้ศึกษาวิธีการสร้างแบบฝึกทักษะ จากเอกสารการสร้างแบบฝึกทักษะของ ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2556 : 135-143) ได้เสนอหลักการสร้างแบบฝึกทักษะ ที่ต้องมีบทเรียนหลัก มีจุดประสงค์การเรียนรู้แล้วจัดเนื้อหาให้ สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาต้องเหมาะสมกับวัยและความสามารถของผู้เรียน ดังนั้นการสร้างแบบฝึก ทักษะ ผู้วิจัยจึงได้คานึงถึงความแตกต่างระหว่างผู้เรียน สามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรียนได้และการสร้าง
364
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
แบบฝึกทักษะ เมื่อสร้างเสร็จแล้วนาไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบประเมินหาความสอดคล้องของสื่อและนามาปรับปรุง แก้ไข นามาหาประสิทธิภาพสอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของออซูเบล (Ausubel , David 1963) เชื่อว่าการเรียนรู้ อย่างมีความหมายจะเกิดขึ้นได้หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีมาก่อนดังนั้นการใช้กรอบ ความคิดแก่ผู้เรียนก่อนการสอนเนื้อหาสาระใด ๆ จะช่วยเป็นสะพานหรือโครงสร้างที่ผู้เรียนสามารถนาเนื้อหา/สิ่งที่ เรียนใหม่ไปเชื่อมโยงยึดเกาะได้ทาให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างมีความหมาย และสอดคล้องกับงานวิจัยของ สมจิตร ศุภ ษร (2551:บทคัดย่อ) การพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเยาวเรศศึกษา อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา อุบลราชธานี เขต 1 จานวน 30 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ กลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 85.05/80.33 ซึ่ง เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่ตั้งไว้ 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านอย่างมีวิจารณญาณหลังใช้แบบฝึกทักษะการ อ่านอย่างมีวิจารณญาณ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าก่อนใช้อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. การเปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนจากการใช้แบบ ฝึกทักษะ ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) โรงเรียนพนมดงรักวิทยา ที่เรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ หลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เนื่องมาจากคณะผู้วิจัยได้สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอน โดยใช้แบบฝึกทักษะ ได้จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ กิจกรรมการเรียนการสอน นักเรียนมีส่วนร่วม ในการปฏิบัติกิจกรรม นักเรียนได้เรียนทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติ บรรยากาศการเรียนได้สอนให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างเพื่อน ระหว่างครูดูแลช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด จึงทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ซึ่ง สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของจอนห์น ดิวอี้ (John Dewey, 1859-1952) เชื่อว่าการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ ตัดสินใจด้วยตนเอง ผู้สอนมีหน้าที่ช่วยเหลือ ให้คาปรึกษา “การเรียนรู้เกิดจากการกระทา (Learning by doing)” จะทาให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ดขี ึ้นเพราะได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรงและยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ สุพินญา คาขจร (2550:บทคัดย่อ) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลการเรียนด้วย CIPPA ที่จัดกลุ่มแบบ TAI ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ความสามารถการคิดวิเคราะห์ ความพึงพอใจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ผลการวิจัย พบว่า การเปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนโดยนักเรียนที่เรียนเรื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืชโดยใช้ CIPPA จัดกลุ่มแบบ TAI มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 3. วิเคราะห์หาค่าดัชนีประสิทธิผลของแบบฝึกทักษะ ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.1) ทั้ง 4 หน่วยการเรียนรู้ นักเรีย นมีพัฒนาการเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 70 แสดงว่านักเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกทักษะมี ประสิทธิภาพที่น่าพอใจ เนื่องจากการสร้างชุดแบบฝึกทักษะมีกระบวนการสร้างหลายขั้นตอน เมื่อสร้างแล้วต้องผ่าน ผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบประเมินหาความสอดคล้อง นาไปทดลองใช้เพื่อหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะนั้น และ จากนั้นเปรียบเทียบความแตกต่างของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ก็พบว่า หลังเรียนเพิ่มสูงขึ้น กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทุกหน่วยการเรียนรู้ จึงมีผลต่อดัชนีประสิทธิผล สรุปได้ว่า นั ก เรี ย นมี พั ฒ นาเพิ่ ม ขึ้ น ซึ่ งสอดคล้ อ งกั บ แนวคิ ด ทฤษฏี ข องบลู ม (Bloom, 1982) ได้ อ ธิ บ ายพฤติ ก รรมที่ เปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากการเรียนรู้มี 3 ประการคือ การเปลี่ยนแปลงด้านการรู้คิด (พุทธิพิสัย) การเปลี่ยนแปลงด้าน เจตคติ (เจตพิสัย) และการเปลี่ยนแปลงด้านทักษะ (ทักษะพิสัย) และยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ รุจิโรจน์ ดวง กลาง (2551:บทคัดย่อ) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบทักษะกระบวนการ เรื่องการประกอบ
365
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
วงจรอิเล็กทรอนิกส์ วิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 1 ผลการวิจัย พบว่ า ดั ช นี ป ระสิ ท ธิ ผ ลของแผนการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ แ บบทั ก ษะกระบวนการเรื่ อ งการประกอบวงจร อิเล็กทรอนิกส์ วิชางานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น เท่ากับ 0.6867 แสดงวานักเรียนมีความกาวหนาในการ เรียนร้อยละ 68.67 ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการดาเนินอย่างต่อเนื่องเพราะจะได้เพิ่มประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะและควรหาวิธีทา แบบฝึกทักษะให้ทันสมัย 2. ก่อนที่นักเรียนจะทาแบบฝึกทักษะครูควรอธิบายให้นักเรียนเข้าใจและให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจาก จาชี้แจงสาหรับนักเรียน หลังจากที่นักเรียนทาแบบฝึกหัดแล้วควรตรวจแบบฝึกหัดนักเรียนและแจ้งให้นักเรียนทราบ ทันที 3. ในการสร้ า งและพั ฒ นาแบบฝึ ก ทัก ษะ ควรสร้ า งให้ มี ค วามครอบคลุ ม ในเนื้ อ หา และตรงตาม จุดประสงค์การเรียนรู้ด้วย 4. ควรมีการสร้างแบบฝึกทักษะในทุกรายวิชาของกลุ่มประกาศนียบัตรวิ ชาชีพ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี กาเรียนรู้ที่ดีขึ้นต่อไป 5. แบบฝึกทักษะชุดนี้สามารถเป็นตัวอย่างของแบบฝึกทักษะในเรื่องอื่น ๆ หรือรายวิชาอื่นได้ และยัง สามารถเป็นเครื่องมือในการสอนของครู และช่วยเพิ่มพัฒนาการในการเรียนรู้ของนักเรียนให้ดีขึ้น เอกสารอ้างอิง ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย , หน้า 5(1), 7-19. บุญชม ศรีสะอาด. (2543). การวิจัยทางการวัดผลและประเมินผล. กรุงเทพมหานคร สุวีริยาสาสน์ . (2545). การ วิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพมหานคร สุวีริยาสาส์น. เผชิญ กิจระการ. (2544). การหาค่าดัชนีประสิทธิผล. มหาสารคาม ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี. (2552 ). การวัดผลและการสร้างแบบสอบผลสัมฤทธิ์. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพมหานคร โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. รุจิโรจน์ ดวงกลาง. (2551). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แ บบทักษะกระบวนการ เรื่องการประกอบวงจร อิเล็กทรอนิกส์ วิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 1. ปริ ญ ญาการศึ ก ษามหาบั ณ ฑิ ต สาขาหลั ก สู ต รและการสอน คณะศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม. โรงเรียนพนมดงรักวิทยา.(2560). เอกสารหลักสูตรสถานศึกษา. งานทะเบียนและวัดผล ฝ่ายวิชาการ สุรินทร์. ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ. ( 2543 ). เทคนิคการวัดผลการเรียนรู้. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร สุวีริ ยาสาส์น.
366
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
สมจิตร ศุภษร. (2551). การพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การพัฒนาหลักสูตรและการ เรียนการสอน) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. สมนึก ภัททิยธนี. (2546). การวัดผลการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กาฬสินธุ์ ประสานการพิมพ์. สาคร พัวพันธ์ และ ดุรงค์ฤทธิ์ เอกวงษา. (2558). การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ . เอกสารประกอบการสอน รายวิชาพฤติกรรมการสอนสาหรับครูช่างอุตสาหกรรมศิลป์และเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. สุพินญา คาขจร. (2550). การเปรียบเทียบผลการเรียนด้วย CIPPA กับ CIPP ที่จัดกลุ่มแบบ TAI ที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ความสามารถการคิดวิเคราะห์และความพึ งพอใจของ นักเรีย นระดั บ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต ( หลักสูตร และการสอน) มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2556). หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556. สานัก มาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ กระทรวงศึกษาธิการ.
367
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018 EDUP-17
ความต้องการศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ THE NEEDS TO PURSUE A DOTOR OF PHILOSOPHY DEGREE AND A MASTER DEGREE IN INDUSTRIAL TECHNOLOGY AT FACULTY OF INDUSTRIAL TECHNOLOGY, SURINDRA RAJABHAT UNIVERSITY อัษฎา วรรณกายนต์1 นิคม ลนขุนทด2 เที่ยงธรรม สิทธิจันทเสน3 สุรเชษฐ์ วงศ์ชัยประทุม4 สุชาติ ดุมนิล5 ภัทรารัตน์ ชิดชอบ6 ณัฐธิณี วรรณกายนต์7 และอนุสรณ์ ครุฑขุนทด8 1
Asada Wannakayont, คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ asada2518@hotmail.com Asst. Prof. Nikom Lonkuntosh ผู้ช่วยศาสตราจารย์ komsurin1@hotmail.com 3 Teangtum Sittichantasen teangtums@gmail.com 4 Surachet Vongchaipratoom srcsr_1@hotmail.com 5 Suchat Dumnil linesky007@gmail.com 6 Pattrarut Chidchob คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรนิ ทร์ jookchid@gmail.com 7 Nuttinee Wannakayont คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ nut_nee1@hotmail.com 8 Anusorn Khrutkunthod คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ Chay2hot@gmail.com 2
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการศึกษาต่อ และศึกษาปัจจัยที่มีผลในการตัดสินใจ เข้าศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ กลุ่มที่คาดหวังว่ามีความ ต้องการศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ได้แก่ กลุ่มนักศึกษาที่กาลังศึกษาในระดับปริญญาตรี กลุ่ม นักศึกษาที่กาลังศึกษาในระดับปริญญาโท กลุ่มผู้ที่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี และกลุ่มผู้ที่จบการศึกษาใน ระดั บปริ ญญาโท สาขาทางวิ ทยาศาสตร์ หรือ สาขาทางเทคโนโลยี อุตสาหกรรม หรือ สาขาอื่ นๆ ที่เ กี่ยวข้อ ง มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์และมหาวิทยาลัยในสังกัดคณะกรรมการการอุดมศึกษา จานวน 300 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ความต้องการศึกษาต่อ หลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุต สาหกรรม คณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่างด้วยตนเอง ทางไปรษณีย์ ทางโทรศัพท์ และทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น เฟสบุ๊คแฟนเพจ เฟสบุ๊ค และ ไลน์ ส่วนตัวและกลุ่ม เป็นต้น และ เก็บรวบรวมข้อมูลในงานพิธีซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ประจาปี การศึกษา 2558-2559 ในการขอความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม จากนั้นคณะผู้วิจัยได้นาข้อมูลที่ได้มาทาการ วิเคราะห์ข้อมูลและใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบไปด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน
368
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มี จานวน 264 คน คิ ดเป็ น ร้อ ยละ 88 มี อ ายุ อ ยู่ ในช่ ว ง 30-40 ปี มี จ านวน 126 คน คิด เป็ นร้ อ ยละ 42 จบ การศึกษาในระดับปริญญาตรี มีจานวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 40 มีอาชีพเป็นนักศึกษา มีจานวน 120 คน คิด เป็นร้อยละ 40 ทางานหรือศึกษาอยู่ในสถาบันอุดมศึกษา มีจานวน 164 คน คิดเป็นร้อยละ 54.67 คน และมีรายได้ อยู่ต่ากว่า 10,000 บาท มีจานวน 106 คน คิดเป็นร้อยละ 35.33 2. ความต้ องการศึ กษาต่ อ ของผู้ ต อบแบบสอบถาม พบว่ า ผู้ต อบแบบสอบถามส่ ว นใหญ่ มี ค วาม ต้องการศึกษาต่อเป็นจานวน 174 คน คิดเป็นร้อยละ 58 ต้องการเรียนต่อในระดับปริญญาโท มีจานวน 122 คน คิดเป็นร้อยละ 70.11 และในระดับปริญญาเอก มีจานวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 29.89 เหตุผลของผู้ที่ต้องการ เรียนต่อ คือ เพือ่ ความก้าวหน้าในอาชีพ มีจานวน 102 คน คิดเป็น ร้อยละ 58.62ได้ทราบข้อมูลการเปิดหลักสูตร ทางอินเทอร์เน็ต มีจานวน 126 คน คิดเป็นร้อยละ 72.4 มีพร้อมในการชาระค่าเล่าเรียนตลอดหลักสูตรได้ในราคา น้อยกว่า 500,000 บาท มีจานวน 162 คน คิดเป็นร้อยละ 93.1 และสามารถมาเรียนได้ในช่วงเวลาวันเสาร์ อาทิตย์ มีจานวน 168 คน คิดเป็นร้อยละ 96.55 3. ปัจจัยที่มีผลในการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ปัจจัยในเรื่องค่าใช้จ่าย มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.32 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.63 รองลงมาคือ มาตรฐานของหลักสูตร มี ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.04 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.68 มาตรฐานของผู้สอน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.78 และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.02 ความมีชื่อเสียงของสถาบัน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.73 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.00 ที่ตั้งของสถาบัน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.44 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.86 และมีเพื่อน/ญาติ เรียนอยู่ในสถาบันเดียวกัน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.44 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.12 ตามลาดับ คำสำคัญ: ความต้องการ ; การศึกษาต่อ ; หลักสูตรปริญญาโท; หลักสูตรปริญญาเอก Abstract The objectives of this research were: 1) to study the needs to pursue a doctor of philosophy degree and a master degree in industrial technology at the Faculty of Industrial Technology, Surindra Rajabhat University; and 2) to study factors influencing a decision to pursue a doctor of philosophy degree and a master degree in industrial technology at the Faculty of Industrial Technology, Surindra Rajabhat University. The samples were the expected group that desired to pursue a doctor of philosophy degree and a master degree in industrial technology at the Faculty of Industrial Technology, Surindra Rajabhat University. There were 300 participants participated this study including students who are studying at bachelor and master levels and graduates in bachelor and master levels in science, industrial technology, or other related fields of Surindra Rajabhat University and other universities under the Higher Education Commission. Research tools consisted of a printed questionnaire and an electronic questionnaire asking about the needs to pursue a doctor of philosophy degree and a master degree in industrial technology at the Faculty of Industrial Technology, Surindra Rajabhat University. Data were collected by
369
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
researchers themselves, mail, phone call, and the internet (e.g. Facebook, a group line application, a personal line application, and etc.). Data were collected during the Commencement Rehearsal of Surindra Rajabhat University, Academic Year 2015-2016 by asking for a participation to complete a questionnaire. The collected data were analyzed for frequency, percentage, mean, and standard deviation. The study found that: 1. According to an individual factor, the majority of the respondents were male (264 respondents or 88 %) and they are during 30-40 years old (126 respondents or 42 %). Most of them graduated at a bachelor level (120 respondents or 40 %) and the majority of them are a student (120 respondents or 40 %). Further, most of the respondents are working or studying at a higher education institution (164 respondents or 54.67 %) with the average income lower than 10,000 baht (106 respondents or 35.33 %). 2. Owing to the needs to pursue a higher degree, the study showed that most of the respondents need to pursue a higher degree (174 respondents or 58 %) where 122 respondents (70.11 %) need to pursue a master degree and 52 respondents (29.89 %) need to pursue a doctoral degree. Further, the majority of the respondents revealed that the reason for pursuing a higher degree is for career advancement (102 respondents or 58.62 %). According to the information about the curricula, most of them get the information from the internet (126 respondents or 72.4 %). In addition, 162 respondents (93.1 %) showed that they are able to pay for a course fee which is lower than 500,000 baht and 168 respondents (96.55 %) are able to study on Saturday and Sunday. 3. According to factors influencing a decision to pursue a higher degree of the respondents, an educational expense is the most important factor influencing a decision to pursue a higher degree (= 4.32, SD = 0.63) followed by a curriculum standard (= 4.04, SD = 0.68), a lecturer standard (= 3.78, SD = 1.02), an institution reputation (= 3.73, SD = 1.00), an institution location (= 3.44, SD = 0.86), and having friends/relatives studying in the same institution (= 3.44, SD = 1.12), respectively. Keywords: need, further study, master curriculum, doctoral curriculum บทนา การศึกษามีความสาคัญมากต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และพัฒนาประเทศไปสู่สังคม เศรษฐกิจ ภูมิปัญญาแห่งการเรียนรู้ การพัฒนาการศึกษาของประเทศ จะประสบความสาเร็จได้ในสภาพที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว จาเป็นต้องมีการดาเนินการพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัย เพื่อนามาจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ สภาพการณ์ที่เปลี่ยนแปลง และหลีกเลี่ยงปัญหาและอุปสรรคที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต แนวทางในการพัฒนา คุณภาพหลักสูตร สถาบันอุดมศึกษาจาเป็นต้องพัฒนาหลักสูตรให้มีความทันสมั ย และให้ตรงกับสภาพความ ต้องการของตลาดแรงงานในปัจจุบันและในอนาคต สร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งภายในสถาบัน ภายนอกสถาบัน
370
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
และหน่วยงานอื่นๆ เพื่อเสริมสร้างจุดแข็ง แก้ไขจุดอ่อน แลกเปลี่ยนบุคลากร ทรัพยากรและองค์ความรู้ใหม่ๆ เพื่อ สร้ างความสามารถในการแข่งขั น พั ฒนาการเรี ย นการสอนอย่า งต่อ เนื่อ ง รวมไปถึ งการพัฒ นาให้ ทัน ต่ อการ เปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบันที่เกิดขึ้นตลอดเวลา การศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรปริญญาโท และหลักสูตรปริญญาเอกสาขาวิชาเทคโนโลยี อุตสาหกรรมเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาบุคลากรทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ เป็นกาลังที่สาคัญในการวิจัย และพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้สอดคล้องกับการพัฒนาอุตสาหกรรมในระดับท้องถิ่น รวมไปถึ งการพัฒ นาอุตสาหกรรมในระดั บอื่น ๆ อัน จะเป็น พื้นฐานในการพั ฒนากาลั งคนทางด้า นเทคโนโลยี อุตสาหกรรมของประเทศอีกทางหนึ่ง มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สุ ริ น ทร์ เป็ น สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาท้ อ งถิ่ น ซึ่ ง ตั้ ง อยู่ ใ นภาค ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ตอนล่ า ง (อี ส านใต้ ) เป็น แหล่ งเรี ย นรู้ ชาติ พั น ธุ์ วิ ท ยา ชาติ พั น ธุ์ ว รรณา ดนตรี นาฏศิ ล ป์ ศิล ปวั ฒ นธรรม วิ ถีชีวิ ต ประเพณี การท่ อ งเที่ ย ว และภู มิ ปั ญญาท้ อ งถิ่น รั บ ผิ ดชอบพั ฒ นาบุ ค ลากรทางด้ า น การศึกษา สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เกษตรศาสตร์ และเทคโนโลยี มีอุตสาหกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับทางภาค เกษตรกรรม และอุต สาหกรรมเป็ นจานวนมาก ประกอบกั บมี ชายแดนติด กับ ประเทศกั มพูชา และอยู่ ใกล้กั บ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึ่งเป็นประตูในการทาธุรกิจทางด้านการค้า และการบริการ ไปยังประเทศ ต่างๆ เหล่านี้ ซึ่งจะก่อให้เกิดความต้องการผู้เชี่ยวชาญที่มีทักษะทางวิชาการ และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เพื่อพัฒนา ท้องถิ่น ของตน และขยายอุ ตสาหกรรมสู่ป ระเทศข้ างเคีย ง ดั งนั้ น ที่ตั้ งมหาวิท ยาลัย ราชัฏ สุริ นทร์ จึงมีค วาม เหมาะสมที่จะจัดให้มีการเรียนการสอนในหลักสูตรปริญญาโท และปริญญาเอกทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรม โดย สามารถใช้เขตพื้นที่เป็นพื้นที่ในการศึกษาวิจัย ในการเรียนการสอนของหลักสูตร และการศึกษาดูงานจากประเทศ ข้างเคียงตามสภาพความเป็นจริงของพื้นที่ และเชิญผู้มีประสบการณ์ทางด้านเทคโนโลยี วิศวกรรม และอุตสาหกรรม มาเป็นวิทยากรได้อีกด้วย ยิ่งกว่านั้นมหาวิทยาลัยราชัฏสุรินทร์แห่งนี้ก็จัดตั้งขึ้นเพื่อผลิตกาลังคนสนองความต้องการ ของทางภาครัฐที่ต้องการจะพัฒนาบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญชั้นสูงทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมในภูมิภาคที่ มหาลัยตั้งอยู่ด้วย ในการจัดการเรียนการสอน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ได้เปิดการเรียน การสอนหลักสูตรในระดับปริญญาโท และหลักสูตรในระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมาใน ระยะหนึ่ งแล้ ว และได้ มี ป ระกาศกระทรวงการศึ ก ษาธิ ก าร เรื่ อ ง เกณฑ์ ม าตรฐานการศึ ก ษาหลั ก สู ต รระดั บ บัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 ได้ประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 13 พฤศจิกายน 2558 (สานักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี. 2558) จึงมีความจาเป็นต้องมีการปรับปรุงหลักสูตรเพื่อให้หลักสูตรมีความทันสมัย สอดคล้องกับ พลวัตของโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว เพื่อรองรับการบริหารจัดการหลักสูตรให้ได้คุณภาพตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) และตามจุดเน้นของแต่ละสาขาวิชา เพื่อให้มีความสอดคล้องกับ การพัฒนาประเทศ ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต การประกันคุณภาพการศึกษา และสอดคล้องกับแนวทางพัฒนา คุณภาพการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ คณะผู้วิจัยในฐานะผู้รับผิดชอบหลักสูตรและคณะกรรมการบริหาร หลักสูตร จึงมีความต้องการที่จะศึกษาความต้องการศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญา เอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ เพื่อใช้เป็นข้อมูล ในการดาเนินการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร และช่วยในการเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสมต่อไป
371
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่ อ ศึ ก ษาความต้ อ งการศึ ก ษาต่ อหลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาโท และหลัก สู ต รระดั บปริ ญ ญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลในการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับ ปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ สมมติฐานการวิจัย ผลการศึ กษาความต้ องการศึ กษาต่ อ และปั จจั ย ที่มี ผลในการตั ดสิ นใจเข้า ศึก ษาต่อ หลั กสู ตรระดั บ ปริ ญ ญาโท และหลั กสู ต รระดั บ ปริ ญญาเอก สาขาวิ ชาเทคโนโลยี อุ ตสาหกรรม คณะเทคโนโลยี อุ ต สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ สามารถนาไปใช้ในการกาหนดทิศทาง รูปแบบการบริ หาร การจัดการเรียนการสอน การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามความต้องการของผู้เรียน ขอบเขตการวิจัย ในการดาเนินการวิจัยในครั้งนี้ คณะผู้วิจัยใช้รูปแบบวิธีการวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) โดยใช้ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสารวจความต้องการศึกษาต่อและปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการศึกษาต่อหลักสูตร ระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ เพื่อเป็นใช้เป็นข้อมูลในการดาเนินการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรต่อไป โดยผู้วิจัยได้ กาหนดขอบเขตของการวิจัย ดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ กลุ่มที่คาดหวังว่ามีความต้องการศึกษาต่อหลักสูตรระดับ ปริญ ญาโท และหลั กสู ตรระดั บปริ ญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุต สาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุ ตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ได้แก่ กลุ่มนักศึกษาที่กาลังศึกษาในระดับปริญญาตรี กลุ่มนักศึกษาที่กาลังศึกษาใน ระดับปริญญาโท กลุ่มผู้ที่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี และกลุ่มผู้ที่จบการศึกษาในระดับปริญญาโท สาขาทาง วิทยาศาสตร์ หรือ สาขาทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม หรือสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์หรือ มหาวิทยาลัยในสังกัดคณะกรรมการการอุดมศึกษา 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ กลุ่มที่คาดหวังว่ามีความต้องการศึกษาต่อหลั กสูตรระดับ ปริญ ญาโท และหลั กสู ตรระดั บปริ ญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุต สาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุ ตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ได้แก่ กลุ่มนักศึกษาที่กาลังศึกษาในระดับปริญญาตรี กลุ่มนักศึกษาที่กาลังศึกษาใน ระดับปริญญาโท กลุ่มผู้ที่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี และกลุ่มผู้ที่จบการศึกษาในระดับปริญญาโท สาขาทาง วิทยาศาสตร์ หรือ สาขาทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรม หรือสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์หรือ มหาวิทยาลัยในสังกัดคณะกรรมการการอุดมศึกษา จานวน 300 คน ซึ่งได้จากการกาหนดโดยไม่ทราบจานวน ประชากรภายใต้ความเชื่อมั่น 95% ยอมให้ความคลาดเคลื่อน ±5% (Yamane. 1973) มีวิธีได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ 1) เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบมีวัตถุประสงค์ โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างที่กาลังศึกษาในระดับปริญญาตรี นักศึกษาที่กาลังศึกษาในระดับปริญญาโทผู้ที่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี และผู้ที่จบการศึกษาในระดับปริญญา
372
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
โท สาขาทางวิทยาศาสตร์ หรือ สาขาทางเทคโนโลยีอุตสาหกรรมหรือสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์หรือมหาวิทยาลัยในสังกัดคณะกรรมการการอุดมศึกษา 2) เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยเลือกกลุ่มตัวอย่าง โดยจาแนก ตามกลุ่มที่คาดหวังว่ามีความต้องการศึกษาต่อ ดังนี้ (1) ครูอาจารย์ หน่วยงานหรือสถาบันการศึกษาใกล้เคียงที่สนใจ (2) ไลน์หรือเฟสบุ๊ค ส่วนตัวหรือกลุ่ม เพื่อน ศิษย์ปัจจุบัน ศิษย์เก่า อาจารย์บุคลากรใน สถาบันการศึกษา และอาจารย์ในสถาบันการศึกษาที่ทางสาขาวิชาได้ไปแนะแนวไว้ (3) เฟสบุ๊คแฟนเพจ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 3) เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) โดยเลือกกลุ่มตัวอย่าง โดยจาแนก ตามกลุ่มที่คาดหวังว่ามีความต้องการศึกษาต่อ ดังนี้ (1) นักศึกษาที่กาลังศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขาทางวิชาวิทยาศาสตร์ หรือ สาขาทาง เทคโนโลยีอุตสาหกรรม หรือสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (2) บัณฑิตและมหาบัณฑิตในงานพิธีซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ ประจาปีการศึกษา 2558-2559 3. ขอบเขตด้านตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย 3.1 ตัวแปรต้นหรือตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคลที่มีผลต่อความ ต้องการเข้าศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 1) เพศ 2) อายุ 3) ระดับการศึกษา 4) อาชีพ 5) สถานที่ทางาน 6) รายได้ต่อเดือน 3.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variables) ได้แก่ 1) ความต้ อ งการศึ ก ษาต่ อ หลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาโท และหลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 2) ปัจจัยที่มีผลในการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับ ปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 3.3 ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ คณะผู้วิจัยได้ใช้ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัยทั้งสิ้น 4 เดือน เริ่มตั้งแต่ ธันวาคม พ.ศ. 2560 จนถึง มีนาคม พ.ศ. 2561
373
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
วิธีดาเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ คือ กลุ่มที่คาดหวังว่ามีความต้องการศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตร ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ได้แก่ กลุ่มนักศึกษาที่กาลังศึกษาในระดับปริญญาตรี กลุ่มนักศึกษาที่กาลังศึกษาในระดับปริญญาโท กลุ่มผู้ที่จบ การศึกษาในระดับปริญญาตรี และกลุ่มผู้ที่จบการศึกษาในระดับปริญญาโท สาขาทางวิทยาศาสตร์ หรือ สาขาทาง เทคโนโลยีอุ ต สาหกรรม หรื อ สาขาอื่ น ๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ ง มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏสุ ริ น ทร์ ห รื อมหาวิ ท ยาลั ย ในสั งกั ด คณะกรรมการการอุดมศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มที่คาดหวังว่ามีความต้องการศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตร ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ได้แก่ กลุ่มนักศึกษาที่กาลังศึกษาในระดับปริญญาตรี กลุ่มนักศึกษาที่กาลังศึกษาในระดับ ปริญญาโท กลุ่มผู้ที่จบ การศึกษาในระดับปริญญาตรี และกลุ่มผู้ที่จบการศึกษาในระดับปริญญาโท สาขาทางวิทยาศาสตร์ หรือ สาขาทาง เทคโนโลยีอุ ต สาหกรรม หรื อ สาขาอื่ น ๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ ง มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏสุ ริ น ทร์ ห รื อมหาวิ ท ยาลั ย ในสั งกั ด คณะกรรมการการอุดมศึกษา จานวน 300 คน ซึ่งได้จากการกาหนดโดยไม่ทราบจานวนประชากรภายใต้ความ เชื่อมั่น 95% ยอมให้ความคลาดเคลื่อน ±5% (Yamane. 1973) มีวิธีได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบสอบถาม และแบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ ใช้ในการสอบถามความต้องการศึกษาต่อหลักสูตรระดับ ปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ ประกอบไปด้วย 3 ตอน ได้แก่ 1. ตอนที่ 1 สถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม 2. ตอนที่ 2 ความต้ อ งการศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ ปริ ญ ญาโทและระดั บ ปริ ญ ญาเอกสาขาเทคโนโลยี อุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 3. ตอนที่ 3 ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลในการตั ด สิ น ใจเข้ า ศึ ก ษาต่ อ และข้ อ เสนอแนะเพิ่ ม เติ ม ของผู้ ต อบ แบบสอบถาม การเก็บรวบรวมข้อมูล ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คณะผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลความต้องการศึกษาต่อ และปัจจัย ที่มีผลในการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยี อุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ซึ่งมีรายละเอียดของการเก็บรวบรวมข้อมูล ตามลาดับขั้นตอน สามารถสรุปได้ดังนี้ 1. ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มที่ตัวอย่างใช้ในการวิจัยด้วยตนเอง ทางโทรศัพท์ และทาง เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อขอความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามความต้องการศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญา โท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราช ภัฏสุรินทร์ 1) กลุ่มตัวอย่างที่กาลังศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี สาขาทางวิชาวิทยาศาสตร์ หรือ สาขาทาง เทคโนโลยีอุตสาหกรรม หรือสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
374
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
(1) ดาเนินเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยเริ่มจากการแนะนาตนเอง ชี้แจงถึงวัตถุประสงค์ จุดมุ่งหมายของการมาสอบถามในครั้งนี้ โดยขอความร่วมมือกับผู้ให้ตอบแบบสอบถามตอบคาถามให้ตรงกับความ เป็นจริงที่สุด ตามประเด็นที่คณะผู้วิจัยได้จัดทาไว้ โดยการสอบถาม อีเมล์ หรือ ไอดีไลน์ หรือ ชื่อ เฟสบุ๊ค เพื่อส่ง แบบสอบถามแบบอิเล็กทรอนิกส์ ให้กับกลุ่มตัวอย่างในการตอบแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถาม และเมื่อตอบแบบสอบถามเสร็จแล้ว คณะผู้วิจัยจึงได้กล่าวคาขอบคุณที่สละเวลาในการให้ตอบแบบสอบถามที่เป็น ประโยชน์ต่อการวิจัย (2) ดาเนินเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มตัวอย่างผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น ไลน์ และ เฟสบุ๊ค ส่วนตัวและกลุ่ม ศิษย์ปัจจุบัน โดยการประสานงานและขอความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม โดยการ ส่งแบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ผ่านทางไลน์ และ เฟสบุ๊ค ส่วนตัวและกลุ่ม จากนั้นกลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถาม และกล่าวคาขอบคุณที่สละเวลาในการให้ตอบแบบสอบถามที่เป็นประโยชน์ต่อการวิจัย 2) กลุ่มตัวอย่างที่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขาทางวิชาวิทยาศาสตร์ หรือ สาขาทาง เทคโนโลยีอุ ตสาหกรรม หรือ สาขาอื่น ๆ ที่เ กี่ย วข้ อง มหาวิท ยาลัย ราชภั ฏสุ ริน ทร์ หรือ มหาวิ ทยาลั ย ในสั งกั ด คณะกรรมการการอุดมศึกษา ดาเนินเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองและทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (1) ดาเนินเก็บรวบรวมข้อมูลในงานพิธีซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยราช ภัฏสุรินทร์ ประจาปีการศึกษา 2558-2559 โดยเริ่มจากการแนะนาตนเอง ชี้แจงถึงวัตถุประสงค์จุดมุ่งหมายของ การมาสอบถามในครั้งนี้ โดยขอความร่วมมือกับผู้ให้ตอบแบบสอบถามตอบคาถามให้ตรงกับความเป็นจริงที่สุด ตามประเด็นที่คณะผู้วิจัยได้จัดทาไว้ โดยการสอบถาม อีเมล์ หรือ ไอดีไลน์ หรือ ชื่อ เฟสบุ๊ค เพื่อส่งแบบสอบถาม อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ใ ห้ กั บ กลุ่ ม ตั ว อย่ า งในการตอบแบบสอบถาม กลุ่ ม ตั ว อย่ า งตอบแบบสอบถาม และเมื่ อ ตอบ แบบสอบถามเสร็จแล้วจึงได้กล่าวคาขอบคุณที่สละเวลาในการให้ตอบแบบสอบถามที่เป็นประโยชน์ต่อการวิจัย (2) ดาเนินเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างทางโทรศัพท์ และทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น ไลน์ และ เฟสบุ๊ค ส่วนตัวและกลุ่มเพื่อน ศิษย์เก่า และอาจารย์สถาบันการศึกษาที่จบการศึกษาในระดับ ปริญญาตรี โดยประสานงานและขอความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม โดยการส่งแบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านทางไลน์ และ เฟสบุ๊ค ส่วนตัวและกลุ่ม จากนั้นกลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถาม และเมื่อตอบแบบสอบถามเสร็จ แล้วจึงได้กล่าวคาขอบคุณที่สละเวลาในการให้ตอบแบบสอบถามที่เป็นประโยชน์ต่อการวิจัย 3) กลุ่มตัวอย่างที่กาลังศึกษาต่อในระดับปริญญาโท ดาเนินเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ทางโทรศัพท์ และทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น ไลน์ และ เฟสบุ๊ค ส่วนตัวและกลุ่ ม ศิษย์เก่า เพื่อน อาจารย์ สถาบันการศึกษา ที่กาลังศึกษาต่อในระดับปริญญาโท และกลุ่มอาจารย์ที่สนใจที่จะศึกษาหลักสูตรในระดับปริญญา โทที่ทางสาขาวิชาได้ไปแนะแนวไว้ โดยการประสานงานและขอความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม โดยการส่ง แบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านทางไลน์แ ละ เฟสบุ๊ค ส่วนตัวและกลุ่ม จากนั้นกลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถาม และกล่าวคาขอบคุณที่สละเวลาในการให้ตอบแบบสอบถามที่เป็นประโยชน์ต่อการวิจัย 4) กลุ่มตัวอย่างที่จบการศึกษาในระดับปริญญาโท (1) ดาเนินเก็บรวบรวมข้อมูลในงานพิธีซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลั ย ราชภัฏสุรินทร์ ประจาปีการศึกษา 2558-2559 โดยเริ่มจากการแนะนาตนเอง ชี้แจงถึงวัตถุประสงค์จุดมุ่งหมาย ของการมาสอบถามในครั้งนี้ โดยขอความร่วมมือกับผู้ให้ตอบแบบสอบถามตอบคาถามให้ตรงกับความเป็นจริงที่สุด ตามประเด็นที่คณะผู้วิจัยได้จัดทาไว้ โดยการสอบถาม อีเมล์ หรือ ไอดีไลน์ หรือ ชื่อ เฟสบุ๊ค เพื่อส่งแบบสอบถาม
375
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ใ ห้ กั บ กลุ่ ม ตั ว อย่ า งในการตอบแบบสอบถาม กลุ่ ม ตั ว อย่ า งตอบแบบสอบถาม และเมื่ อ ตอบ แบบสอบถามเสร็จแล้วจึงได้กล่าวคาขอบคุณที่สละเวลาในการให้ตอบแบบสอบถามที่เป็นประโยชน์ต่อการวิจัย (2) ดาเนินเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างทางโทรศัพท์ และทางอินเทอร์เน็ต เช่น ไลน์ และ เฟสบุ๊ค ส่วนตัวและกลุ่ม ศิษย์เก่า เพื่อน อาจารย์สถาบันการศึกษา ที่จบการศึกษาในระดับปริญญาโท และ กลุ่มอาจารย์ที่สนใจที่จะศึกษาหลักสูตรในระดับปริญญาเอกที่ทางสาขาวิชาได้ไปแนะแนวไว้ โดยการประสานงาน และขอความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม โดยการส่งแบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านทางไลน์ และ เฟสบุ๊ค ส่ ว นตั ว และกลุ่ ม จากนั้ น กลุ่ ม ตั ว อย่ า งตอบแบบสอบถาม และกล่ า วค าขอบคุ ณ ที่ ส ละเวลาในการให้ ต อบ แบบสอบถามที่เป็นประโยชน์ต่อการวิจัย 2. ขอความอนุเคราะห์ไปยัง หน่วยงานหรือสถาบันการศึกษาใกล้เคียงที่คาดหวังว่ามีความต้องการ ศึกษาต่อฯ ในการตอบแบบสอบถามความต้องการศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญา เอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ โดยสามารถตอบ แบบสอบถามในรูปแบบเอกสาร และตอบแบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ ดังเอกสารที่แนบไปด้วย พร้อมกับ URL ของ แบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ไปในแบบสอบถามดังกล่าว 3. โพสต์แบบสอบถามความต้องการศึกษาต่อในหลักสูตรระดับปริญญาโทและหลักสูตรระดับปริญญา เอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์อิเล็กทรอนิกส์ลงใน เฟสบุ๊คแฟนเพจ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ เพื่อขอความอนุเคราะห์ กลุ่มที่คาดหวังและกลุ่มที่มีความสนใจต้องการศึกษาต่อฯ ใน การตอบแบบสอบถามความต้องการศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชา เทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 4. นาข้อมูลที่ได้จากดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามความต้องการศึกษาต่อ หลักสูตร ระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ที่เก็บข้อมูลที่ได้มาจากแบบสอบถามที่เป็นเอกกสารและแบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ มาทาการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ การประเมินความต้องการศึกษาต่อและประเมินปัจจัยที่มีผลในการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อหลักสูตรระดับ ปริ ญ ญาโท และหลั กสู ต รระดั บ ปริ ญญาเอก สาขาวิ ชาเทคโนโลยี อุ ตสาหกรรม คณะเทคโนโลยี อุ ต สาหกรรม มหาวิท ยาลั ย ราชภัฏ สุ ริน ทร์ คณะผู้ วิจั ย ได้ ด าเนิ นการใช้ สถิ ติ ในการวิ เคราะห์ ข้อ มู ล ได้ แ ก่ การหาค่ า ความถี่ (Frequency) การหาค่าร้อยละ (Percentage) การหาค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) และการหาค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการวิจัย 1. ผลการศึกษาความต้องการศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ความต้องการศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยี อุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ มีผลการวิจัยตามรายละเอียดดังนี้
376
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ลักษณะการจาแนกข้อมูล 1.เพศ 2.อายุ
3.วุฒิการศึกษา
4.อาชีพ
5.สถานที่ทางาน
6.รายได้ต่อเดือน
ประเภท ชาย หญิง ต่ากว่า 30 ปี 30-40 ปี 45-50 ปี 51-60 ปี กาลังศึกษาในระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาตรี กาลังศึกษาในระดับปริญญาโท ระดับปริญญาโท นักศึกษา ข้าราชการ พนักงานของรัฐ เจ้าหน้าที่รัฐวิสาหกิจ ลูกจ้างบริษัทเอกขน ประกอบธุรกิจส่วนตัว โรงเรียน วิทยาลัย สถาบันอุดมศึกษา บริษัทเอกชน สถานประกอบการของรัฐ อื่นๆ ต่ากว่า 10,000 บาท 10,000-19,999 บาท 20,000-29,999 บาท 30,000 บาทขึ้นไป
จานวน 264 36 114 126 48 12
ร้อยละ 88.00 22.00 38.00 42.00 16.00 4 .00
100 120 30 50 120 40 36 32 44 28 12 16 164 48 28 32 106 104 66 24
33.33 40.00 10.00 16.67 40.00 13.33 12.00 10.67 14.67 9.33 4.00 5.33 54.67 16.00 9.33 10.67 35.33 34.67 22.00 8.00
จากตารางที่ 1 พบว่าจากผู้ตอบแบบสอบถาม ทั้งหมดมีจานวน 300 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มี จานวน 264 คน คิดเป็นร้อยละ 88 ในขณะที่เพศหญิง มีจานวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 22 ด้านอายุ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 30-40 ปี มีจานวน 126 คน คิดเป็นร้อย ละ 42 รองลงมาคือ ช่วงต่ากว่า 30 ปี มีจานวน 114 คน คิดเป็นร้อยละ 38 รองลงมาคือ ช่วงอายุ 45-50 ปี มี จานวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 16 และอายุน้อยที่สุดคือ ช่วงอายุ 61 ปี ขึ้นไปมีจานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.00 ด้านวุฒิการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีจานวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 40 รองลงมาคือ กาลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี มีจานวน100 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 และน้อยที่สุดคือ กาลังศึกษาในระดับปริญญาโท มีจานวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 10
377
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ด้านอาชีพ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีอาชีพเป็นนักศึกษา มีจานวน 120 คน คิดเป็นร้อย ละ 40 รองลงมาคือ มีอาชีพเป็นลูกจ้างบริษัทเอกขน มีจานวน 88 คน คิดเป็นร้อยละ 14.67 และน้อยสุดคือ มี อาชีพประกอบธุรกิจส่วนตัว มีจานวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 9.33 ด้านสถานที่ทางาน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ทางานหรือศึกษาอยู่ในสถาบันอุดมศึกษา มี จานวน 164 คน คิดเป็นร้อยละ 54.67 คน รองลงมาคือ ทางานในบริษัทเอกชน มีจานวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 16 และน้อยที่สุด คือ ทางานในโรงเรียน มีจานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 4 ด้านรายได้ต่อเดือน พบว่า ผู้แบบสอบถามส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือนมากที่สุด คือ อยู่ต่ากว่า 10,000 บาท มีจานวน 106 คน คิดเป็นร้อยละ 35.33 รองลงคือ มีรายได้ต่อเดือน คือ 10,000-19,999 บาท มีจานวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ 34.67 และน้อยที่สุดคือ มีรายได้ 30,000 บาทขึ้นไปมีจานวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 8 2. ความต้องการศึกษาต่อในระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอกสาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ตารางที่ 2 ความต้องการศึกษาต่อในระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก สาขาเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมคณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ รายการ 1.ท่านต้องการศึกษาต่อในระดับปริญญาโทและระดับ ปริญญาเอกหรือไม่ 2.ถ้าท่านไม่ต้องการศึกษาต่อ
รายละเอียด
ไม่ต้องการ สนใจศึกษาต่อ อายุมาก ไม่พร้อมเรื่องค่าใช้จ่าย ความจาเป็นส่วนตัว เหตุผลอื่นๆ 3.ท่านต้องการศึกษาต่อในระดับใด ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก 4.ท่านต้องการศึกษาต่อเพือ่ ความก้าวหน้าในอาชีพ ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม เหตุผลอื่นๆ 5. ท่านทราบว่าคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แผ่นพับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ เปิดหลักสูตร ในระดับ อินเทอร์เน็ต ปริญญาโทและระดับปริญญาเอกทางช่องทางใด มีคนบอกต่อ อื่นๆ 6.ท่านมีความพร้อมในการชาระค่าเล่าเรียนตลอด น้อยกว่า 500,000 บาท หลักสูตรได้ในราคา 500,000 บาท มากกว่า 500,000 บาท 7.ท่านสามารถมาเรียนได้ในช่วงเวลาใด เสาร์-อาทิตย์ วันจันทร์-วันศุกร์
จานวน 126 174 40 50 16 20 122 52 102 54 18 6 126 20 22 162 12 0 168 6
ร้อยละ 42.00 58.00 31.8 39.6 12.7 15.9 70.11 29.89 58.62 31.03 10.35 3.5 72.4 11.5 12.6 93.10 6.90 0.00 96.55 3.45
จากตารางที่ 2 จากการสารวจความต้องการศึกษาต่อในระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก สาขา เทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์พบว่าผู้แบบสอบถามส่วนใหญ่มี
378
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ความต้องการศึกษาต่อเป็นจานวน 174 คน คิดเป็นร้อยละ 58 และไม่ต้องการเรียนต่อ มีจานวน 126 คน คิดเป็น ร้อยละ 42 ผู้ตอบถามที่ไม่ต้องการเรียนต่อ มีเหตุผลแตกต่างกันออกไป เหตุผลส่วนใหญ่ที่ไม่อยากศึกษาต่อ คื อ ความพร้อมในเรื่องค่าใช้จ่าย มีจานวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 39.6 รองลงมาคือ อายุมาก มีจานวน 40 คน คิดเป็น ร้อยละ 31.8 รองลงมาคือ เหตุผลและความจาเป็นอื่นๆ มีจานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 15.9 และมีความจาเป็น ส่วนตัว จานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 12.7 ผู้ตอบแบบสอบถามที่ต้องการเรียนต่อ ต้องการเรียนต่อในระดับปริญญาโท มีจานวน 122 คน คิดเป็น ร้อยละ 70.11 และในระดับปริญญาเอก มีจานวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 29.89 ในส่วนของเหตุผลของผู้ที่ต้องการ เรียนต่อนั้น ส่วนใหญ่แล้วผู้ตอบแบบสอบจะศึกษาต่อ เพื่อความก้าวหน้าในอาชีพ มีจานวน 102 คน คิดเป็นร้อยละ 58.62 รองลงมา คือ ศึกษาเพื่อหาความรู้เพิ่มเติม มีจานวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 31.03 และเหตุผลอื่นๆ เป็น เหตุผลน้อยที่สุดที่ต้องการศึกษาต่อ มีจานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 10.35 เหตุผลอื่นๆ ที่ระบุมานี้ อาทิ ความ ต้องการในด้านสังคม ต้องการมีเพื่อนในหลายๆ กลุ่มเพื่อการสานต่องานทางด้านธุรกิจที่กาลังดาเนินอยู่ ในส่วนของ ช่องทางที่ผู้ตอบแบบสอบถามได้ทราบว่าคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ เปิดหลักสูตรใน ระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอกนั้น ส่วนใหญ่ได้ทราบข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต เช่น เฟสบุ๊คแฟนเพจ กลุ่ม เฟสบุ๊ค หรือกลุ่มไลน์ เพื่อนศิษย์ปัจจุบัน ศิษย์เก่า เป็นต้น มีจานวน 126 คน คิดเป็นร้อยละ 72.4 รองลงมาคือ ทางช่องทางอื่นๆ จานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 12.6 รองลงมาคือ การได้รู้จากมีคนบอกต่อ จานวน 20 คน คิด เป็นร้อยละ 11.5 และ น้อยที่สุดจากแผ่นพับของหลักสูตร ที่ได้ออกประชาสัมพันธ์หลักสูตร มีจานวน 6 คน คิด เป็นร้อยละ 3.5 ในเรื่องของการชาระค่าเล่าเรียนตลอดหลักสูตร ผู้ตอบแบบสอบถาม มีความพร้อมในการชาระค่า เล่าเรียนตลอดหลักสูตรได้ในราคาน้อยกว่า 500,000 บาท มีจานวน 162 คน คิดเป็นร้อยละ 93.1 รองลงมาคือ 500,000 บาท มีจานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 6.9 และมีความพร้อมในการชาระค่าเล่าเรียนตลอดหลักสูตรได้ใน ราคามากกว่า 500,000 บาท จานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 และในการศึกษาผู้ตอบแบบสอบถามสามารถมา เรียนได้ในช่วงเวลาวันเสาร์-อาทิตย์ มีจานวน 168 คน คิดเป็นร้อยละ 96.55 และเรียนได้ในช่วงเวลาวันจันทร์ -วัน ศุกร์ มีจานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 3.45 3. ผลการศึกษาปัจจัยทีม่ ีผลในการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตร ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ปัจจัยที่มีผลในการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ มีผลการวิจัยตาม รายละเอียดดังนี้
379
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ตารางที่ 3 ปัจจัยที่มีผลในการตัดสินใจ เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยี อุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรนิ ทร์ ปัจจัยที่มีผลต่อกรตัดสินใจเข้าศึกษาต่อ 1. ค่าใช้จ่าย 2. ที่ตั้งของสถาบัน 3. มาตรฐานของหลักสูตร 4. มาตรฐานของผู้สอน 5. มีเพื่อน/ญาติเรียนอยู่ในสถาบันเดียวกัน 6. ความมีชื่อเสียงของสถาบัน
X
4.32 3.44 4.04 3.78 3.44 3.73 3.79
S.D.
ระดับความคิดเห็น
0.63 0.86 0.68 1.02 1.12 1.00 0.90
ดี ปานกลาง ดี ดี ปานกลาง ดี ดี
จากตารางที่ 3 พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ เข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโทและระดับปริญญา เอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย ราชภัฏสุรินทร์ ระดับความ คิดเห็นในภาพรวมอยู่ในระดับที่ดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.79 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.90 เมื่อพิจารณา เป็นรายด้านสามารถสรุปแยกเป็นปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อกรตัดสินใจเข้าศึกษาต่อ มีระดับความคิดเห็นจากมากไปหา น้อย ดังนี้ ระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับดี มี 4 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยในเรื่องค่าใช้จ่าย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.32 และ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.63 รองลงมาคือ มาตรฐานของหลักสูตร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.04 และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน เท่ากับ 0.68 มาตรฐานของผู้สอน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.78 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.02 และความมีชื่อเสียงของสถาบัน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.73และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.00 ตามลาดับ และ ระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง มี 2 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยในเรื่องของที่ตั้งของสถาบัน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.44 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.86 และ มีเพื่อน/ญาติเรียนอยู่ในสถาบันเดียวกัน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.44 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.12 ตามลาดับ จากการวิจัยที่ผู้ตอบสอบถามได้ให้ข้อเสนอแนะจากการตอบแบบสอบถาม มีดังนี้ อยากให้มีการเรียน การสอนโดยใช้เทคโนโลยีผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเข้ามาช่วยในการจัดการเรียนการสอน ควรมีการจัดอบรม ให้ความรู้ระยะสั้นในด้านต่างๆ เช่น การเขียนบทความทางวิชาการ การเสนอหัวข้อ การทาวิจัยให้สาเร็จ หรือการ อบรมภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การสื่ อ สารหรื อ เพื่ อ การน าเสนอ เพื่ อ เพิ่ ม ความรู้ และทั ก ษะในด้ า นต่ า งๆ เป็ น ต้ น นอกจากนี้แล้ว ควรจัดมีระบบการกากับติดตามงานวิจัย เพื่อช่วยนักศึกษาจบการศึกษาได้ทันตามเวลาที่กาหนด วิจารณ์ผลการวิจัย จากผลการวิจัยเรื่อง ความต้องการศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ สามารถอภิปราย ผลการวิจัย ได้ดังนี้ จากผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยที่ตอบแบบสอบส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง เมื่อพิจารณากลุ่มตัวอย่างทั้งหมดพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นนักศึกษา เนื่องจากเพศชายส่วนใหญ่จะนิยม ศึกษาหลักสูตรทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมากกว่าเพศหญิง
380
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความต้องการศึกษาต่อหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญา เอกมากกว่าไม่ต้องการเรียนต่อ นั่นแสดงให้เห็นว่าหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ มีผู้สนใจศึกษาต่อ เนื่องมาจากหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เป็น หลักสูตรที่เปิดการเรียนการสอนสาขาทางด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมาในระยะหนึ่งแล้ว ผลิตมหาบัณฑิตและ ดุษฎีบัณฑิตออกมารับใช้สังคมและประเทศ ทั้งใน สายงานทางด้านวิชาการ สายงานทางด้านธุรกิจ และสายงาน ทางด้านอื่นๆ สอดคล้องกับงานวิจัยของ (อานันท์ นิรมลและคณะ. 2559) พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม มีความ ต้องการศึกษาต่อปริญญาเอก จานวน 333 คน คิดเป็นร้อยละ 78.17 ทั้งนี้ในส่วนของเหตุผลของกลุ่มตั วอย่างส่วน ใหญ่ที่ต้องการศึกษาต่อนั้น ส่วนใหญ่แล้วกลุ่มตัวอย่างจะศึกษาต่อเพื่อความก้าวหน้าในอาชีพ สอดคล้องกับงานวิจัย (ฉัตรชัย อินทสังข์ และคณะ. 2552). พบว่า สาเหตุที่กลุ่มตัวอย่างนักศึกษาส่วนใหญ่ต้องการศึกษาต่อในระดับ บัณฑิตศึกษา คือ เพื่อเพิ่มความก้าวหน้าในอาชีพการงาน จานวน 127 คน คิดเป็นร้อยละ 51.91 และเป็นไปตาม ทฤษฎีของมาสโลว์ ที่บุคคลต้องการความสาเร็จ พยายามแสวงหาสิ่งใหม่ๆ ที่จะนาพาชีวิตให้ก้าวหน้า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่สาเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี ซึ่งอาจจะเป็นเพราะกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นศิษย์เก่าที่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี และอายุส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 30-40 ปี ซึ่งสามารถนาความรู้ที่ได้จาก การศึกษาต่อไปพัฒนาตนเอง พัฒนางาน เพื่อความก้าวหน้าในอาชีพได้ นอกจากนี้การมีวุฒิการศึกษาที่สูงขึ้น จะ ทาให้ได้รับเงินเดือนในอัตราที่เพิ่มขึ้นอีกด้วย การที่กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ทราบข่าวการเปิดหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ เนื่องจากหลักสูตรได้มี การแนะแนวการศึกษาต่อในสถาบันการศึกษาต่างๆ อีกทั้งยังมีการติดต่อสื่อสารและมีการประชาสัมพันธ์การเปิด หลักสูตรผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น เฟสบุ๊ค แฟนเพจ เฟสบุ๊ค ไลน์ ส่วนตัวและกลุ่ม เป็นต้น จึงทาให้ กลุ่มตัวอย่างทราบข่าวการเปิดหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สอดคล้องกับ ( กรม ประชาสัมพันธ์. 2554) ที่ได้กล่าวไว้ว่า การสื่อสารโดยใช้อุปกรณ์สื่อสาร หรือ Mobile Media เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือTablet รวมถึงเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Media) เช่น Facebook Twitter Youtube เป็นต้น สื่อ ใหม่เหล่านี้ได้กลายเป็น “สื่อมวลชนยุคใหม่” ซึ่งมีผู้ใช้เพิ่มมากขึ้น ทาให้บริษัท หน่วยงาน สื่อประชาสัมพันธ์ผ่าน ช่องทาง New Media เพื่อให้เข้าถึงเฉพาะตัวบุคคลมากขึ้น นอกจากนี้การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อใหม่นี้ยังเป็นการ หลอมรวมสื่อมัลติมีเดียทั้งหลาย ทาให้ข้อมูลมีความน่าสนใจ สาหรับค่าเล่าเรียนตลอดหลักสูตร กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ มีความเห็นในการชาระค่าเล่าเรียนตลอด หลักสูตรได้ในราคาน้อยกว่า 500,000 บาท สอดคล้องกับงานวิจัยของ (พงษ์จันทร์ ภูษานิชย์ และพิมพ์ชนก เครือ สุคนธ์. 2558). ได้ทาการศึกษาความต้องการศึกษาต่อปริญญาเอก สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ต้องการศึกษามีความต้องการงบประมาณในการศึกษาต่อหลักสูตร 300,000-400,000 บาท จานวนมากที่สุด ร้อยละ 80 และ สอดคล้องกับการดาเนินการที่มหาวิทยาลัยจัดเก็บค่าเล่า เรียนในระดับปริญญาโท ส่วนค่าเล่าเรียนในหลักสูตรระดับปริญญาเอกการชาระค่าเล่าเรียนตลอดหลักสูตรจะมี ค่าใช้จ่ายมากว่าการศึกษาในระดับปริญญาโท เนื่องจากค่าหน่วยกิตการศึกษาในระดับปริญญาเอกสูงกว่าค่าหน่วย กิตการศึกษาในระดับปริญญาโท และสอดคล้องกับการดาเนินการที่มหาวิทยาลัยจัดเก็บค่า เล่าเรียน ส่วนการ จัดการเรียน ในช่วงเวลา เสาร์-อาทิตย์นั้น ทั้งนี้สอดคล้องกับงานวิจัยของ (สุมิตร สุวรรณโรจน์ และจันทิมา จานง นารถ. 2554) พบว่า ผู้ตอบแบบสารวจต้องการให้มีการจัดการศึกษานอกเวลาราชการ (เสาร์ -อาทิตย์) และงานวิจัย
381
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ของ [6] พบว่า เวลาเรียนที่นักศึกษาส่วนในใหญ่สนใจศึกษาต่อระดับบัณฑิต คือ ภาคพิเศษ (เสาร์-อาทิตย์) และทาง มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ได้ทาการเปิดการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษาตามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง ในวันเสาร์-อาทิตย์อยู่แล้ว ปัจจัยที่กลุ่มตัวอย่างจะตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก ที่มี ค่าเฉลี่ยมากที่สุด ได้แก่ ปัจจัยในเรื่อง ค่าใช้จ่าย ซึ่งสอดคล้องกับการเก็บค่าเล่าเรียนของทางมหาวิทยาลัย ซึ่งมีการ กาหนดค่าใช้จ่ายอย่างเหมาะสมตลอดหลักสูตร เข่น ค่าหน่วยกิต ค่าธรรมเนียมต่างๆ ในการศึกษา เป็นต้น รองลงมา ได้แก่ ปั จจั ยในเรื่ อง มาตรฐานของหลั กสู ตร ซึ่งสอดคล้องกับ งานวิ จัยของ [6] พบว่า กลุ่ มตั วอย่า ง นักศึกษาทุกแนวโน้มของการศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษาหลังจบการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีระดับความ คิดเห็นที่มีต่อปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจศึ กษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ด้าน หลักสูตร มีระดับคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.49 และอันดับที่ 3 ได้แก่ ปัจจัยในเรื่อง มาตรฐานของผู้สอน โดยหลักสูตรใน ระดับปริญญาโท และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ได้มีการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงการศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานการศึกษาหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 ซึ่งได้กาหนดจานวน คุณวุฒิและคุณสมบัติ ของอาจารย์ ทั้งอาจารย์ผู้ สอนในระดั บปริ ญญาโท และหลัก สูตรระดับ ปริญญาเอก รวมทั้ง อาจารย์ที่ป รึกษา วิทยานิพนธ์ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์[1] ทาให้อาจารย์ผู้สอนมีมาตรฐานตาม เกณฑ์มาตรฐานการศึกษาหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 สามารถบริหารจัดการหลักสูตรให้ได้คุณภาพตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) และ ตามจุดเน้นของสาขาวิชา ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ ผู้บริหารหลักสูตรควนนาข้อค้นพบจากการวิจัยที่ได้ ไปเป็นแนวทางในการวางแผนการศึกษา เช่น การ เปิดหลักสูตร การเปิดรับนักศึกษาเข้าศึกษาต่อ การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร การเตรียมทรัพยากรทางการศึกษา ให้มีความพร้อม มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการเพื่อพัฒนาการศึกษาอย่างมีคุณภาพต่อไป ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรมีการศึกษาความต้องการศึกษาต่อ แยกกันระหว่างหลักสูตรระดับปริญญาโท และหลักสูตร ระดับปริญญาเอก เพื่อที่จะได้เห็นรายละเอียดความต้องการของผู้ที่ต้องการศึกษาต่อในระดับต่างๆ ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น 2. ควรทาการศึกษาในด้านรูปแบบโครงสร้างของหลักสูตร และการบริหารการจัดการด้านหลักสูตร รวมไปถึงการวิเคราะห์ถึงระดับของความสัมพันธ์ระหว่างปั จจัยต่างๆ ที่มีผลต่อการตัดสินใจในการศึกษาต่อ และ ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความต้องการศึกษาให้ครอบคลุมทั่วพื้นที่ เพื่อเป็นข้อมูลในการจัดการศึกษาให้ตรงกับความ ต้องการของผู้เรียน 3. ควรมีการประชาสัมพันธ์หลักสูตร ให้มีรายละเอียดในเรื่องค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร การศึกษาดู งาน การให้ทุนต่างๆ ข้อมูลค่าใช้จ่ายอื่นๆ ในการศึกษา เป็นต้น และควรมีการปรับปรุงช่องทางการประชาสัมพันธ์ ให้มีความหลากหลาย ซึ่งจะทาให้บุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวกและเข้าชมได้ง่าย 4. ควรศึ ก ษาหลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาโท และหลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาเอก สาขาวิ ช าเทคโนโลยี อุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ที่ได้พัฒนาขึ้นมาว่ามีความสอดคล้องหรือ ตรงตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายหรือผู้เรียนอย่างแท้จริงหรือไม่
382
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
เอกสารอ้างอิง สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2558). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 132 ตอนพิเศษ 295 ง กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา. Yamane, T. (1973). Statistic An Introductory Analysis. 3 rd. New York. Harper and Row. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). หนังสือรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 1ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2549). การวิจัยและวิเคราะห์ทางสถิตดิ ้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร : วี.อินเตอร์ พริ้นท์ อานันท์ นิรมล ชัชวาล ชุมรักษา และขรรค์ชัย แซ่แต้ (2559). รายงานการวิจัย ความต้องการศึกษาต่อ หลักสูตร ปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. สาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. ฉัตรชัย อินทสังข์ ณพรรณ สินธุศิริ ดุษฎี เทียมเทศ และบุญมาสูงทรง ปุริม หนุนนัด. (2552). ความต้องการ ศึกษาต่อ และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิตของนักศึกษา จังหวัดนครราชสีมา. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. กรมประชาสัมพันธ์. (2554). คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง บริหารจัดการข้อมูลข่าวสารของกรมประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ ใหม่ (New Media). ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศการประชาสัมพันธ์ กรมประชาสัมพันธ์. พงษ์จันทร์ ภูษานิชย์ และพิมพ์ชนก เครือสุคนธ์. (2558). รายงานการวิจัย ความต้องการศึกษาต่อปริญญาเอก สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภาคจิตวิทยา คณะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สุมิตร สุวรรณโรจน์ และจันทิมา จานงนารถ. (2554). ความต้องการในการศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษาของ คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาในพื้นที่ภาคตะวันตก คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์. นครปฐม : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
383
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018 EDUP-18
การพัฒนาบทเรียนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน วิชาโปรแกรมสาเร็จรูป ในงานอาชีพ สาหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง DEVELOPMENT OF WEB-BASED INSTRUCTION LEARNING WITH SCRAFFOLDING TO SUPPORT HIGH VOCATIONAL CERTIFICATE STUDENTS IN SUBJECT COMPUTER PACKAGE AT WORK ปรียาภรณ์ อ่อนกัณหา1 และ ผศ.ดร.ทรงศักดิ์ สองสนิท2 1 2
คอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม คอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ (1) เพื่อพัฒนาบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน วิ ช าโปรแกรมส าเร็ จ รู ป ในงานอาชี พ ของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ ชั้ น สู ง (2) เพื่ อ ทดสอบหา ประสิ ทธิ ภ าพบทเรีย นบนเว็ บ ที่มี ก ารช่ว ยเสริ ม ศั กยภาพทางการเรีย นที่ พั ฒ นาขึ้ นตามเกณฑ์ 80/80 (3) เพื่ อ เปรียบเทียบคะแนนสอบก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียนที่ พัฒนาขึ้น (4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน ที่ พั ฒ นาขึ้ น กลุ่ ม ตั ว อย่ า งที่ ใ ช้ ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ ผู้ วิ จั ย ใช้ วิ ธี ก ารเลื อ กสุ่ ม แบบเจาะจง เป็ น นั ก ศึ ก ษาระดั บ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยสารพัดช่างบุรีรัมย์ ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาโปรแกรมสาเร็จรูป ในงานอาชีพในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจั ย คือ บทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริม ศักยภาพทางการเรียน แบบประเมินคุณภาพบทเรียนบนเว็บสาหรับผู้เชี่ยวชาญ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน สถิติที่ใช้ คือ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ t-test ผลการวิจัย พบว่า (1) ประสิทธิภาพของบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน วิชา โปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพ สาหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง มีค่าประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 84.74/81.67 สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ (80/80) (2) ผลการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลัง เรียน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อ การเรียนโดยใช้บทเรียนบนเว็บที่พัฒนาขึ้น โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.57, S.D. = 0.24) คาสาคัญ: บทเรียนบนเว็บ การช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน Abstract The purpose of this research is (1) to develop web-based instruction learning with Scraffolding to Support High Vocational Certificate Students In Subject Computer Package at Work (2) to investigate efficiency of the cooperative of the web-based instruction by using E1/E2 formula, criterion was 80/80 (3) to compare the pre-test and post-test scores with assisted webbased instruction of Support High Vocational Certificate Students In Subject Computer Package at
384
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
Work (4) to survey satisfaction to Support High Vocational Certificate Students In Subject Computer Package at Work. The purpose of this research is (1) to develop web-based instruction that enhance learning potential. Professional program in the field. (2) to test the effectiveness of the web-based instruction with 80/80 (3) to compare the pre-test and post-test scores with assisted web-based tutorials. Empowering Learning The programmed vocational education (4) to study the satisfaction of students. Learning with Web Lessons that enhance the learning potential. The sample used in this study The researcher selected a specific random sampling method. High school diploma student, Buriram Polytechnic College The students who are enrolled in the Computer Package at Work in the first semester of academic year 2557. The research tools are web-based lessons that enhance the learning potential. Webinar Quality Assurance for Experts Achievement test The satisfaction of the web-based learning curriculum on learning achievement was statistically significant: percentage, standard deviation and t-test. The research found as follows : (1) Professional program in the field. For high school diploma students E1/E2 was 84.74/81.67 higher than the standard (80/80). (2) Comparison of pretest and post-test scores. There were statistically significant differences at .05. (3) The results of the evaluation of learners' satisfaction toward learning using the developed web-based lessons. The average level was highest ( ̅ = 4.57, S.D. = 0.24) Keywords: Web-base Instruction ; scaffolding บทนา ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้เข้ามามีบทบาทกับการจัดการศึกษาของประเทศไทย เป็นอย่างมาก โดยจะเห็นได้จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ซึ่งเป็นหัวใจหลักของการปฏิรูปการศึกษา กาหนดให้มีการนาเทคโนโลยีและการสื่อสารมาใช้กับการศึกษา เช่น ใน หมวด 9 เรื่องเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ส่งผลต่อการจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งแต่ประถมศึกษาถึง มัธยมศึกษาและระดับอุดมศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะในการใช้เทคโนโลยี เพื่อการศึกษาหาความรู้ด้วย ตนเองได้ตลอดชีวิต และในหมวด 4 เรื่องแนวทางการจัดการศึกษา มาตรา 22 ว่าด้วยเรื่องการจัดการศึกษาต้องยึด หลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการ ศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ นอกจากนั้นมาตรา 24 ยังกาหนด สาระสาคัญของกระบวนการเรียนรู้ว่า สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ต้องจั ดเนื้อหาสาระและกิจกรรมการ สอนอย่างหลากหลายให้สอดคล้องกับความสนใจความถนัดและความแตกต่างของผู้เรียน ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่องโดยผสมผสานสาระ ความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน และส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอานวยความสะดวก เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรูโ้ ดยจัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกที่และทุกเวลา (คณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติ, 2545 : 13)
385
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การเรี ย นการสอนผ่ า นเว็ บ ( Web–Based Instruction) จึงเป็นการเรียนการสอนที่ประยุกต์ใช้โปรแกรมสื่อหลายมิติที่อาศัยประโยชน์จากคุณลักษณะของ อินเทอร์เน็ตโดยนาทรัพยากรที่มีอยู่ใน เวิลด์ ไวด์ เว็บ (World Wide Web) มาออกแบบเป็นเว็บเพื่อการเรียนการ สอนสนับสนุน และส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ ที่มีประสิทธิภาพ เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายที่สามารถ เรียนได้ทุกที่ทุกเวลา โดยที่ผู้สอนและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กันผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เชื่อมโยงซึ่งกันและกัน (สรรรัชต์ ห่อไพศาล. 2544 : 94) การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ทาให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาทางความคิดมากกว่า การฟังการบรรยายในห้องเรียนเนื่องจากเป็นการสื่อสารแบบสองทางและมีรูปแบบของการเรียนรู้ที่หลากหลาย การศึกษาทางไกล (Distance Learning) ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์จะกระตุ้นและเอื้อให้เกิดการวิพากษ์อย่างมีเหตุผล (Critical Reasoning) มากกว่าการศึกษาในห้องเรียนแบบเดิม เพราะมีการปฏิสัมพันธ์ทางความคิดระหว่างผู้เรียน ด้วยกันเอง การเรียนการสอนบนเครือข่าย จึงเป็นการเสริมสร้างสภาพแวดล้อ มแห่งการเรียนในมิติที่ไม่มีขอบเขต จากัดด้วยระยะทางและเวลาที่แตกต่างกัน การใช้คุณสมบัติของไฮเปอร์มีเดียนั้นจะช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ด้วย ตนเองตามลาพัง (One Alone) โดยผู้เรียนสามารถเลือกเนื้อหาบทเรียนที่นาเสนอในรูปแบบไฮเปอร์มีเดีย ซึ่งเป็น เทคนิคเชื่อมโยงเนื้อหาหลักด้วยเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง รูปแบบ การเชื่อมโยงนี้เป็นได้ทั้งการเชื่อมโยงข้อความไปสู่เนื้อหา ที่มีความเกี่ยวข้องหรือสื่อภาพและเสียง การเชื่อมโยงดังกล่าวจึงเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการ เรียนด้วยตนเอง ในส่วนของคุณสมบัติของเครือข่ายเวิลด์ ไวด์ เว็บ (World Wide Web) จึงเป็นการเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนสามารถปฏิสัมพันธ์กับผู้สอน หรือผู้เรียนเพื่อการเรียนรู้โดยไม่จาเป็นต้องอยู่ในเวลาเดียวกัน หรือ ณ สถานที่ เดียวกัน (ไชยยศ เรืองสุวรรณ. 2546 : 13) ในการดารงชีวิตให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ในปัจจุบัน สื่อทั้งหลายที่นามาใช้ในการ จัดกิจกรรมการสอน จึงต้องจัดอย่างมีระบบและมีหลายชนิดหลายวิธีในปัจจุบัน พบว่า สื่อคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เป็นสื่อที่น่าสนใจที่สุดสื่อหนึ่ง กล่าวคือเป็นการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเรียนการสอน การทบทวน การทา แบบฝึ กหัด และการวัดผลประเมิน ผล มี ปฏิสั มพันธ์ กันระหว่ างผู้เ รียนกับคอมพิว เตอร์ตลอดเวลา ซึ่ งอาจเป็ น ตัวหนังสือ ภาพกราฟิก เสียง ผู้เรียนเรียนได้ตามอัตราความเร็วของตนเองเรียนที่ไหนเมื่อใดก็ได้ อีกทั้งยังสามารถ ทราบผลการเรียนรู้ของตนเองได้ทันที ดังนั้นจึงสามารถแก้ปัญหาและเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอน ทาให้ การเรียนรู้ของผู้เรียน มีประสิทธิภาพและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีขึ้น (บุญรัตน์ คึมยะราช,2556:100) การช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน (Scaffolding) เป็นกระบวนการที่ให้การสนับสนุนหรือช่วยเหลือ ผู้เรียนให้สามารถดาเนินการแก้ปัญหาหรือช่วยให้บรรลุเป้าหมายที่อยู่เหนือความพยายามของผู้เรียนที่จะทาได้ด้วย ตนเอง แต่จะทาได้เมื่อได้รับความช่วยเหลือสนับสนุน (Wood, Bruner and Ross, 1976: 90) เมื่อผู้เรียนต้อง เรียนรู้สิ่งใหม่หรือสิ่งที่ยาก ผู้เรียนอาจต้องการความช่วยเหลือมากขึ้น เมื่อผู้เรียนเริ่มจะทางานนั้ นได้สาเร็จ การ ช่วยเหลือสนับสนุนนั้นจะค่อยๆ ลดลง จนกระทั่งผู้เรียนสามารถทางานนั้นได้ด้วยตนเอง (Larkin, 2000 อ้างถึงใน กมล, 2547: 78 วิ ท ยาลั ย สารพั ด ช่ า งบุ รี รั ม ย์ ไ ด้ ด าเนิ น ตามแนวปฏิ บั ติ ข องหลั ก สู ต รประกาศนี ย บั ต รวิ ชาชี พ ชั้ น สู ง พุทธศักราช 2546 ประเภทวิชาบริหารธุรกิจ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตและพัฒนาแรงงาน ระดับผู้ชานาญการเฉพาะสาขาอาชีพ สอดคล้องกับตลาดแรงงาน สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม สามารถเป็นหัวหน้างานหรือเป็นผู้ประกอบการ ได้มีจุดประสงค์ให้นักศึกษามีความรู้ทางวิ ชาการมี ทักษะในการปฏิบัติงานด้านคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวิเคราะห์ วางแผนการปฏิบัติงานและ แก้ปัญหาด้วยหลัก การและเหตุผล (กระทรวงศึก ษาธิการ. 2546 : 2) การจัด การเรีย นการสอนวิชาโปรแกรม
386
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
สาเร็จรูปในงานอาชีพ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้กาหนด คาอธิบายรายวิชาไว้ดังนี้ ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูปในงานอาชีพ การ จัดการเอกสาร การจัดการฐานข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การนาเสนอผลงานด้วยคอมพิวเตอร์ สื่อผสมและการใช้ คอมพิวเตอร์เพื่อการผลิตสื่อประเภทต่าง ๆ การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศเพื่อพัฒนาอาชีพด้วยคอมพิวเตอร์ จะเห็นได้ ว่านักศึกษาที่จะผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ตามคาอธิบายรายวิชาต้องศึกษาและปฏิบัติโปรแกรมสาเร็จต่าง ๆ ได้แก่ โปรแกรมที่ใช้ในการจัดการด้านเอกสาร (Microsoft Word) โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล (Microsoft Access) โปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูล (Microsoft Excel) โปรแกรมนาเสนอผลงาน (Microsoft PowerPoint) และการ สืบค้นข้อมูลเพื่องานอาชีพ คือ การใช้เว็บบราวเซอร์ (Internet Explorer) ในการสืบค้นข้อมูล และจากการเก็บ รวบรวมข้อมูลการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชานี้ พบว่า หน่วยการเรียนรู้เรื่องการใช้โปรแกรม การวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยโปรแกรม Microsoft Excel 2007 ผู้เรียนมีคะแนนต่าในหน่วยนี้ ซึ่ง ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาต่าไปด้วย ปัญหาที่ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนลดต่าลงในด้านความรูค้ วาม เข้าใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูล เช่น การจัดรูปแบบ การใช้สูตรในการคานวณ และการใช้ฟังก์ชั่นใน การคานวณที่ซับซ้อนและมีเงื่อนไข สาเหตุเกิดจากศักยภาพการเรียนรู้ของนักศึกษาแตกต่างกัน ทั้งในด้านสติปัญญา ความถนัดและความสนใจ นักศึกษาคนที่เก่งต่างก็ทางานของตนเอง ในขณะที่นักศึกษาที่เรียนอ่อนก็จะหยุดและไม่ ทางาน นักศึกษาบางคนเรียนช้าเรียนไม่ทันเพื่อน ทาให้มีปัญหาในการเรียนรู้ นักศึกษาบางคนเรียนเก่งรับรู้ได้อย่าง รวดเร็ว ก็จะเรียนได้เร็วกว่าคนเรียนอ่อน และจากการสรุปผลการนิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพประจาปี การศึกษา 2556 พบว่า นักศึกษาขาดทักษะในการใช้งานโปรแกรมสาเร็จรูปทางด้านการวิเคราะห์ข้อมูลหรือการใช้ โปรแกรมตารางงานมากที่ สุ ด รองลงมาได้ แ ก่ การใช้งานโปรแกรมน าเสนอข้ อ มู ล และการใช้ งานโปรแกรม ประมวลผลคาตามลาดับ ส่วนปัญหาของการจัดการเรียนการสอนที่ผ่านมา ครูผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้ให้มากเกินไป ทาให้นักศึกษาขาดโอกาสในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทาให้การพัฒนาการเรียนการสอนในเรื่องดังกล่าวเป็นไปได้ช้า และยากมากขึ้น สาเหตุที่สาคัญอีกประการของการจัดการเรียนรู้รายวิชานี้ คือ ผู้สอนจะได้พบกับนักศึกษาเพียงสัปดาห์ ละ 1 ครั้ง ๆ ละ 4 ชั่วโมง จานวน 18 สัปดาห์รวมชั่วโมงทั้งสิ้น 72 ชั่วโมง ด้วยข้อจากัดของจานวนห้องปฏิบัติการที่ จะสามารถจัดเวลาลงได้เพียงสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ไม่สามารถแบ่งเป็น 2 ครั้ง ๆ ละ 2 ชั่วโมงได้ ผลที่ตามมาคือ นักศึกษาจะลืมบทเรียนที่ได้ศึกษาไปแล้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภาคปฏิบัตินักศึกษาจะลืมวิธีการใช้งานโปรแกรม เนื่องจากไม่มีโอกาสได้ทบทวนบทเรียนหรือโปรแกรมสาเร็จรูปที่ได้เรียนไปแล้ว อีกประการหนึ่งที่เป็นปัญหาสาคัญ ของรายวิชานี้คือ เวลาเรียนจานวน 72 ชั่วโมงต่อภาคเรียน ไม่สอดคล้องกับเนื้อหารายวิชาและมาตรฐานรายวิ ชาที่ นักศึกษาต้องผ่านทั้งสิ้นจานวน 5 โปรแกรม ได้แก่ โปรแกรมด้านการจัดการเอกสาร โปรแกรมในการจัดการ ฐานข้อมูลเบื้องต้น โปรแกรมการวิเคราะห์ข้อมูล โปรแกรมเพื่อการผลิตสื่อและการนาเสนอผลงาน และการใช้ คอมพิวเตอร์เพื่อสืบค้นข้อมูลในงานอาชีพ (การสืบค้นทางอินเทอร์เน็ต) และด้วยชั่วโมงสอนที่มากกว่า 34 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ของผู้สอน ทาให้ไม่มีเวลาในการทบทวนบทเรียนหรือสอนเสริมให้กับนักศึกษาได้โดยตรง ซึ่งสอดคล้องกับ ความต้องการของครูผู้สอนในรายวิชานี้ที่ต้องการพัฒนาบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียนเรื่อง การใช้โปรแกรมตารางงาน วิชาโปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพมากที่สุด จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนาบทเรียนบนเว็บซึ่งเป็นรูปแบบการเรียนผ่าน เครือข่ายในการจัดสภาพแวดล้อมให้ผู้เรียนได้รับการช่วยเหลือเมื่อผู้เรียนประสบปัญหาในการเรียนรู้ ด้วยการเสริม ศักยภาพการเรียน (Scaffolding) เป็นการช่วยเหลือแก่ผู้เรียนในรูปแบบต่าง ๆ โดยมุ่งให้ผู้เรียนสามารถแก้ปัญหา
387
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
หรือปฏิบัติงานที่ผู้เรียนไม่สามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง นาไปสู่ความสามารถในการปฏิบัติงานนั้นให้สาเร็จได้ด้วย ตนเองอย่างอิสระ (Eggen and Kauchack, 1997 : 56) และจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการเรียนรู้ ช่วยให้ ผู้เรียนสนใจบทเรียนมากขึ้น เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้ความสามารถตามความต้องการของตน เน้นให้ผู้เรียน เรียนรู้ ด้วยตนเอง และปฏิบัติด้วยตนเอง และจะช่วยเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชา มากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน วิชาโปรแกรมสาเร็จรูปในงาน อาชีพ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง 2. เพื่อทดสอบหาประสิทธิภาพบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียนที่พัฒนาขึ้นตาม เกณฑ์ 80/80 3. เพื่อเปรียบเทียบคะแนนสอบก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพ ทางการเรียนที่พัฒนาขึ้น 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่เรี ยนด้วยบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการ เรียนที่พัฒนาขึ้น วิธีดาเนินการวิจัย ผู้วิจัยได้ดาเนินการตามลาดับขั้นตอนดังต่อไปนี้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปี 1 วิทยาลัยสารพัดช่างบุรีรัม ย์ จานวน 4 ห้องเรียน ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาโปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพ รหัสวิชา 3000-0201 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 กลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยสารพัดช่างบุรีรัมย์ ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาโปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพใน รหัสวิชา 3000-0201 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จานวน 1 ห้องเรียน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1. บทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียนที่พัฒนาขึ้น 2. แบบประเมินคุณภาพบทเรียนบนเว็บ 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4. แบบสอบถามความพึงพอใจ การเก็บรวบรวมข้อมูล เมื่อผู้วิจัยได้สร้างและปรับปรุงเครื่องมือตามข้อเสนอแนะของอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญแล้ว ได้ นาเครื่องมือไปดาเนินการทดลองตามขั้นตอนดังนี้ 1. ชี้แจงให้นักศึกษาทราบถึงกระบวนการเรียนการสอน โดยใช้บทเรียนบนเว็บที่พัฒนาขึ้น 2. เริ่มทาการทดลองตามเวลาที่กาหนด สัปดาห์ละ 4 ชั่วโมง รวมเวลา 16 ชั่วโมง
388
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
3. นักศึกษาทาการทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4. นักศึกษาเข้าเรียนรู้ตามขั้นตอนของบทเรียนบนเว็บที่พัฒนาขึ้น 5. หลังจากเรียนครบทุกหน่วยการเรียน จึงทาการทดสอบหลังเรียน (Post-test) โดยใช้แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชุดเดิม 6. ให้นักศึกษาที่เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บที่พัฒนาขึ้นทาแบบวัดความพึงพอใจ 7. เก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการทดลองนาไปวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป การวิเคราะห์ข้อมูล เมื่อผู้วิจัยได้ดาเนินการตามกาหนดระยะเวลาแล้ว ผู้วิจัยนาข้อมูลที่จัดเก็บและรวบรวมได้มาวิเคราะห์ ดังนี้ 1. วิเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน ผู้วิจัยนาแบบประเมินคุณภาพบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน ที่ได้จาก ผู้เชี่ยวชาญวิเคราะห์ระดับความเหมาะสมโดยใช้สถิติ ค่าเฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยในการวิเคราะห์จะใช้ ค่าเฉลี่ยเทียบกับเกณฑ์การประเมินดังนี้ (พิสุทธา อารีราษฎร์. 2551 : 143-151) ผู้วิจัยได้กาหนดกรอบที่จะประเมิน โดยแบ่งเป็น 3 ด้าน ในการวิจัยได้กาหนดการประเมินแบบมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale) ตาม วิธีของลิเคิร์ท 2. วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน ผู้วิจัยได้นาคะแนนรวมจากการทาแบบทดสอบภารกิจหลังเรียนจากบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วย เสริมศักยภาพทางการเรียน แต่ละหน่วย จานวน 2 หน่วยการเรียนรู้ และคะแนนจากการนาแบบทดสอบทักษะการ คิดวิเคราะห์หลังเรียน มาคานวณหาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/E2 ใช้การเปรียบเทียบกับเกณฑ์โดยยอมรับความ คลาดเคลื่อน +2.5 ทั้งนี้ผู้วิจัยได้ตั้งเกณฑ์ของประสิทธิภาพในงานวิจัยครั้งนี้เท่ากับ 80/80 (ชัยยงค์ พรหมวงศ์และ คณะ.2521:136) 3. วิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เรียน ผู้วิจัยนาแบบประเมินความพึงพอใจที่ได้จากผู้เรียน มาวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจ โดยใช้สถิติ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูล โดยเลือกใช้สถิติ ดังนี้ 1. สถิติพื้นฐาน ได้แก่ 1) ค่าเฉลี่ย (Mean) 2) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 2. สถิติที่ใช้คานวณหาคุณภาพของเครื่องมือ 1) หาค่าความเที่ยงตรง ของแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้สูตรดัชนีความ สอดคล้องระหว่างข้อสอบกับจุดประสงค์ โดยใช้สูตรดัชนีค่าความสอดคล้อง IOC (มนต์ชัย เทียนทอง. 2548 : 118) 2) การหาค่าความยากง่ายของแบบทดสอบ (Difficulty) 3) การหาค่าอานาจจาแนกของแบบทดสอบ 3. สถิติที่ใช้ในการหาประสิทธิภาพของการเรียนด้วยบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพ ทางการเรียน
389
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
การหาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนบนเครือข่าย โดยใช้สูตร (E1/E2) ตาม เกณฑ์มาตรฐานกาหนด 80/80 (ชัยยงค์ พรมวงศ์, 2543) 4. สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ทดสอบความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลัง เรียน โดยการทดสอบค่า t สาหรับกลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน แบบจับคู่ (t-test แบบ Dependent Sample) ผลการวิจัย 1. ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน วิชา โปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง มีรายละเอียดดังนี้ ตารางที่ 1 ประสิทธิภาพของบทเรียนบนเว็บทีม่ ีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน วิชาโปรแกรมสาเร็จรูปในงาน อาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง จานวนนักเรียน 20
ระหว่างเรียน คะแนนเต็ม คะแนนเฉลี่ย 30 27.4
หลังเรียน คะแนนเต็ม คะแนนเฉลี่ย 30 24.5
E1/E2 84.74/81.67
จากตารางที่ 1 พบว่า ประสิทธิภาพของบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน วิชา โปรแกรมส าเร็ จ รู ป ในงานอาชี พ ระดั บ ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ ชั้ น สู ง มี ค่ า ประสิ ท ธิ ภ าพ E1/E2 เท่ า กั บ 84.74/81.67 เมื่อเทียบกับเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80 แสดงว่า บทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน วิชา โปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วย เสริมศักยภาพทางการเรียน วิชาโปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปรากฏผลดัง ตารางที่ 2 ตารางที่ 2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียน หลังเรียน
คะแนนเต็ม 30 30
̅ 9.45 24.5
S.D. 3.17 2.72
df
t
19
.000*
* ค่า t มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตารางที่ 2 พบว่า ผลการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนบนเว็บ ที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน วิชาโปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พบว่า นักศึกษามีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบก่อนเรียนเท่ากับ 9.45 คะแนน เมื่อทดสอบหลังเรียนพบว่ามีคะแนน เฉลี่ย 24.5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 30 คะแนน ค่า t ที่ได้จากการคานวณน้อยกว่า ค่าวิกฤตของ t จากตาราง คะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงว่าหลังเรียน ด้ ว ยบทเรี ย นบนเว็ บ ที่ มี ก ารช่ ว ยเสริ ม ศั ก ยภาพทางการเรี ย น วิ ช าโปแกรมส าเร็ จ รู ป ในงานอาชี พ ระดั บ
390
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง นักศึกษามีคะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 3.3 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้บทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริม ศักยภาพทางการเรียน วิชาโปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนโดยใช้บทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริม ศักยภาพทางการเรียน วิชาโปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง รายการประเมิน
X
1. ด้านเนื้อหา 2. ด้านการออกแบบ 3. ด้านการวัดผลและประเมินผล 4. ด้านการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน รวม
4.55 4.60 4.62 4.53 4.57
S.D. 0.32 0.28 0.24 0.47 0.24
ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด
จากตารางที่ 3 ผลการประเมิ นความพึ งพอใจของนั ก ศึ ก ษาที่ มี ต่ อ การเรี ย นโดยใช้ บ ทเรี ย นบนเว็ บ ที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน วิชาโปแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ใน ภาพรวมยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.57, S.D. = 0.24) สรุปผลการวิจัย 1. ผลการประเมินประสิทธิภาพของบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน วิชา โปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพ สาหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง มีค่าประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 84.74/81.67 เมื่อเทียบกับเกณฑ์ที่ตั้งใจ 80/80 แสดงว่า บทเรียนบนนเว็บที่ มีการช่วยเสริมศักยภาพ ทางการเรี ย น วิ ช าโปรแกรมส าเร็ จ รู ป ในงานอาชี พ ส าหรั บ นั ก ศึ ก ษาระดั บ ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ ชั้ น สู ง มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ 2. ผลการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริม ศักยภาพทางการเรียน วิชาโปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพ สาหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พบว่า คะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงว่าหลัง เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน วิชาโปรแกรมสาเร็จรูปในงานอ าชีพ สาหรับ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความพึงพอใจของผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บ ที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน วิชา โปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพ สาหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.57, S.D. = 0.24) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจด้านการวัดและ ประเมินผลมีความพึงพอใจมากที่สุด ( ̅ = 4.62, S.D. = 0.24) รองลงมา ได้แก่ ด้านการออกแบบ ( ̅ = 4.60, S.D. = 0.28) ด้านเนื้อหา ( ̅ = 4.55, S.D. = 0.32) และด้านการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน ( ̅ = 4.53, S.D. = 0.47) ตามลาดับ
391
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
วิจารณ์ผลการวิจัย 1. ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน วิชา โปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพ สาหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง มีค่าประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 84.74/81.67 เมื่อเทียบกับเกณฑ์ที่ตั้งใจ 80/80 แสดงว่า บทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการ เรียน วิชาโปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพ สาหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง มีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ที่กาหนดไว้ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก บทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียนที่พัฒนาขึ้น มีการ นาเสนอในรูปแบบที่ชัดเจน มีความทันสมัยและแปลกใหม่ มีการนาภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว ทาให้มีความ น่ า สนใจ อี ก ทั้ ง เนื้ อ หาที่ น าเสนอในบทเรี ย นมี ค วามเหมาะสมกั บ ผู้ เ รี ย น และสามารถน าไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น ชีวิตประจาวันได้ สอดคล้องกับงานวิจัยของ ภัคจิรา รอดพ้น (2553 : 1,96) ได้ทาการวิจัยเรื่องการพัฒนาบทเรียนอี เลิร์นนิงฐานความช่วยเหลือทางการเรียน เรื่องประวัติศาสตร์สุโขทัย สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่า ผล การประเมินตามสภาพจริงของนักเรียน หลังเรียนโดยใช้บทเรียนอีเลิร์น เรื่องประวัติศาสตร์สุโขทัย ทั้ง 6 หน่วยการ เรียนรู้ จากการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนพบว่านักเรียนมีความสนใจในการเรียน เมื่อนักเรียนสงสัย หรือชอบ บทเรียนส่วนใดส่วนหนึ่งของนักเรียนสามารถเข้าไปเรียนซ้าด้วย และเมื่อนักเรียนสงสัย มีข้อสงสัย ที่สามารถหา คาตอบได้ผู้เรียนยังสามารถฝากคาถามไว้ในข้อความได้ และประสิทธิภาพของบทเรียนอีเลิร์นนิ งที่มีฐานความ ช่วยเหลือทางการเรียน มีประสิทธิภาพเท่ากับ 80.87/80.99 เป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด 80/80 2. ผลการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริม ศักยภาพทางการเรียน วิชาโปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพ สาหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พบว่า คะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงว่าหลัง เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน วิชาโปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพ สาหรับ นักศึกษาระดับประกาศนี ยบัตรวิ ชาชีพชั้ น สูง นัก เรียนมี คะแนนผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สอดคล้องกับงานวิจัยของ สุจิตรา เขียวศรี (2550: 64) ได้ทาการวิจัย เรื่อง การ พัฒนารูปแบบการสอนแบบสืบสอบบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์โดยใช้การช่วยเสริมศักยภาพเพื่อพัฒนาทักษะกา ร แก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อพัฒนารูปแบบการสอนแบบสืบสอบบน เว็บวิชาวิทยาศาสตร์โดยใช้การช่วยเสริมศักยภาพเพื่อพัฒนาทักษาการแก้ปัญหาของนักเรียน เพื่อศึกษาผลของการ ใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบสืบสอบบนเว็บที่พัฒนาขึ้น และเพื่อนาเสนอรูปแบบการเรียนการสอนแบบสืบสอบ บนเว็ บ วิ ชา วิ ท ยาศาสตร์ ผลการวิ จั ย พบว่ า รู ป แบบการเรี ย นการสอนที่ พั ฒ นาขึ้ น ประกอบด้ ว ย หน้ า หลั ก วัตถุประสงค์ กระบวนการเรียนการสอน และการวัดและประเมิน หลักการของรูปแบบเน้นการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิด การสงสัยกระบวนการสืบสวนช่วยเสริมศักยภาพ ผลการใช้รูปแบบการสอนที่พัฒนาขึ้น พบว่า นักเรียนมีทักษะการ แก้ปัญหาหลังการทดลองสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 6 ท่าน มี ความเห็นว่า รูปแบบที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมและสามารถนาไปใช้กับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นได้ 3. ความพึงพอใจของผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนบนเว็บ ที่มีการช่วยเสริมศักยภาพทางการเรียน วิชา โปรแกรมสาเร็จรูปในงานอาชีพ สาหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.57, S.D. = 0.24) เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจด้านการวัดและ ประเมิ นผลมี ความพึงพอใจมากที่สุ ด รองลงมาได้ แก่ ด้ านการออกแบบ ด้ านเนื้ อหา และด้า นการช่ว ยพั ฒนา ศักยภาพทางการเรียน ตามลาดับ เนื่องจากบทเรียนบนเว็บที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นสามารถตอบสนองความต้องการของ ผู้เรีย นได้ด้ ว ยการเรีย นรู้อย่ างอิส ระ ผู้ เรียนสามารถเรียนรู้ ได้ทุก สถานที่ ทุก เวลา ศึกษาเรีย นรู้ตามความถนั ด
392
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ความสามารถของตนเอง และตามศักยภาพของตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีความต้องการตามลาดับขั้นตอนของ Maslow (1970) ที่กล่าวว่า ความต้องการทั้ง 5 ขั้น ของมนุษย์มีความสาคัญไม่เท่ากัน การจูงใจตามทฤษฎีนี้จะต้อง พยายามตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ซึ่งมีความต้องการที่แตกต่างกันออกไป และความต้องการในแต่ละขั้น จะมีความสาคัญแก่บุคคลมากน้อยเพียงใดนั้นย่อมขึ้นอยู่กับความพึงพอใจที่ได้รับจากการตอบสนองความต้องการใน ลาดับนั้น ๆ ในขณะที่ อร่ามศรี ไทยแสน (2554) กล่าวว่า ถ้าหากบุคคลมีความพึงพอใจในกิจกรรมหรืองานใด การ ท ากิ จ กรรมหรื อ งานนั้ น ก็ ย่ อ มจะบรรลุ ต ามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องงานนั้ น ได้ อ ย่ า งดี จึ ง ถื อ ว่ า ความพึ ง พอใจเป็ น องค์ประกอบสาคัญในการทากิจกรรมต่าง ๆ และประสาท อิศรปรีดา (2547) ได้กล่าวถึงทฤษฎีของมาสโลว์เกี่ ยวกับ ความต้องการรู้และเข้าใจ เป็นความต้องการผลสัมฤทธิ์ผลทางปัญหา หมายถึง ความปรารถนาที่จะรู้ หรืออยากจะรู้ และเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ด้วยความสนใจอย่างแท้จริง ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ 1.1 ต้องสร้างลักษณะนิสัยใฝ่รู้ให้กับผู้เรียน 1.2 ต้องสร้างความตระหนัก ความรู้ความเข้าใจและการนาไปใช้ของโปรแกรมตารางงาน 1.3 ควรให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติงานใบงานที่หลากหลาย และให้ผู้เรียนสร้างชิ้นงานด้วยการศึกษา ค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ 1.4 ควรส่งเสริมให้ผู้เรียนนาโปรแกรมตารางงานไปบูรณาการใช้ในชีวิติประจาวัน 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการศึกษาประยุกต์ใช้บทเรียนบนเว็บที่มีการช่วยเสริมสร้างศักยภาพ ที่สามารถพัฒนา ทักษะการคิดที่สอดคล้องกับทิศทางการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 2.2 ควรมีการกาหนดคุณลักษณะของสื่อประกอบบทเรียนที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่ างผู้สอนกับผู้เรียน และเป็นผู้เรียนกับสื่อได้รวดเร็วและเข้าถึงบทเรียนได้สะดวก กิตติกรรมประกาศ วิ ท ยานิ พ นธ์ ฉ บั บ นี้ ส าเร็ จ สมบู ร ณ์ ไ ด้ ด้ ว ยความกรุ ณ าและความช่ ว ยเหลื อ อย่ า งสู ง ยิ่ ง จาก ผู้ ช่ ว ย ศาสตราจารย์ ดร.ทรงศักดิ์ สองสนิท และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประวิทย์ สิมมาทัน อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สนิท ตี เมืองซ้ าย ประธานกรรมการสอบ ขอขอบพระคุณ นายสมชาย อินทร์ ปรางค์ นางสาวอรุณ ปะกลาง และนายรังสรรค์ ทบวอ ผู้เชี่ยวชาญที่ได้ให้ความกรุณาตรวจสอบความถูกต้องและชี้แนะ แนวทางในการปรับปรุงเครื่องมือในการทาวิทยานิพนธ์ในครั้งนี้ ขอขอบพระคุณ ผู้อานวยการวิทยาลัยสารพัดช่างบุรีรัมย์ รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ หัวหน้าแผนก วิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ และครูในแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจทุกท่าน ตลอดจนนักเรียนสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์ให้การช่วยเหลือและให้การสนับสนุนสถานที่เพื่อใช้ในการทดลองกลุ่มตัวอย่างและเก็บข้อมูล ในครั้งนี้ ขอขอบพระคุณ บิดา มารดา บูรพาจารย์ทุกท่านที่กรุณาประสิทธิ์ประสาทความรู้วิทยาการต่าง ๆ และ ครอบครัวที่สนับสนุนและให้กาลังใจตลอดมา ทาให้ผู้วิจัยสามารถบรรลุผลในการทาวิทยานิพนธ์ครั้งนี้สาเร็จได้ด้วยดี
393
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา. ชัยยงค์ พรหมวงศ์และคณะ.(2521). ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ชัยยงค์ พรมวงศ์. (2543). เทคโนโลยีและสื่อสาร การสอน เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีการศึกษา หน่วย ที่ 1-4. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ไชยยศ เรืองสุวรรณ. การออกแบบและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์. มหาสารคาม : ภาควิชา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยามหาสารคาม, 2547. เชิดชัย รักษาอินทร์. (2553). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดวิเคราะห์ ด้วยบทเรียนออนไลน์แบบเว็บเควสท์ เรื่อง การสร้างเว็บเพจระหว่างนักเรียนที่เรียนแบบอิสระและ เรียนแบบร่วมมือ. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. นรีรัตน์ สร้อยศรี. (2553). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมกันด้วยเว็บเควสท์เชิงสมรรถนะ (Competency-based Webquest) เพื่อพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สาหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขา เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. นวลนดา สงวนวงษ์ทอง. (2547). “WebQuest,” วารสารการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร์. 32(129) : 40-43 ; มีนาคม-เมษายน. บุญรัตน์ คึมยะราช และคณะ. (2556). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมัลติมิเดีย วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ลาดับและอนุกรม สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 3(1), 100-107. เพชร รองพล และสุรชัย ประเสริฐสรวย. (2553 ). “การพัฒนาบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ เรื่องการเปลี่ยนแปลงของ เปลือกโลก สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2.” วารสาร ศึกษาศาสตร์. ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2553). ภัคจิรา รอดพ้น. (2553). การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิงที่มฐี านความช่วยเหลือทางการเรียน เรื่องประวัติศาสตร์ สุโขทัย สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร. มนต์ชัย เทียนทอง. (2548). การออกแบบและพัฒนาชอฟแวร์สาหรับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. วสันต์ อติศัพท์. (2546). WebQuest : การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางบน World Wide Web. วารสารวิทย บริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 14(2) : 52-61; พฤษภาคม-สิงหาคม. ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2546). หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ. สรรรัชต์ ห่อไพศาล. (2544). การพัฒนาระบบการเรียนการสอนผ่านเว็บวิชาศึกษาทั่วไปเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน. วิทยานิพนธ์ ปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิต. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
394
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
สุจิตรา เขียวศรี. (2550). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบสืบสอบบนเว็บวิชาวิทยาศาสตร์ โดยใช้การ ช่วยเสริมศักยภาพเพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น. (วิทยานิพนธ์ ปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิต). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อร่ามศรี ไทยเสน. (2554). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์แบบโครงงานที่ส่งเสริมกระบวนการคิดเชิงสร้างสรรค์ วิชาแอนิเมชัน่ 2 สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. โอภาส เกาไศยาภรณ์ และคณะ. (2549). “การพัฒนาบทเรียนการแสวงรู้บนเว็บ เรื่อง การจัดพิพิธภัณฑ์ใน สถานศึกษา.” วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 12(3) : 365-378. ฉัตรนภา ติละกุล. (2555). การศึกษาบคุลิกภาพของพนักงานกล่มุเจนเนอเรชั่นวายที่มีผลต่อความต้องการ คุณลั กษณะงาน: ศึ กษาเฉพาะกรณีบ ริ ษั ทเอกชนแห่ง หนึ่ง . (วิ ท ยานิ พนธ์ บริ ห ารธุ รกิ จ มหาบั ณฑิ ต ). มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. กรุงเทพมหานคร. ธัญวิทย์ ศรีจันทร์ และคณะ. (2559). การวิเคราะห์องค์ประกอบคุณลักษณะภาวะผู้นาในศตวรรษที่ 21 ของ กรรมการองค์กรนิสิตนักศึกษา. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 29(2), 139-156. ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2538). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช. ศักดิ์พิสุทธิ์ อัครสิริธีรกุล. (2544). ความคาดหวังของวัยรุ่นที่มีต่อการเป็นแบบอย่างที่ดีของพ่อแม่ . (วิทยานิพนธ์ สังคมศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพมหานคร.
395
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
EDUP-19 การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เรื่องอาหารและโภชนาการชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 DEVELOPMENT OF COMPUTER ASSISTED INSTRUCTION IN TITLE OF FOOD AND NUTRITION FOR PRIMARY 5 STUDENTS กนกวรรณ ฝ่ายสิงห์ 1 และ ศิริลกั ษณ์ หวังชอบ 2 1 2
นักศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ อาจารย์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
บทคัดย่อ การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหาร และโภชนาการสาหรับนักเรียน 2) เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและ โภชนาการ 3) เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหาร และโภชนาการ 4) เพื่อหาความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลปราสาท ศึกษาคาร จานวน 42 คน ได้มาโดยการสุ่มวิธีการสุ่มแบบยกกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ใน การศึกษาประกอบด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบ หลั งเรี ย น และแบบฝึ ก หั ด และแบบประเมิ น ความพึ งพอใจของนั ก เรี ย น สถิ ติ ที่ ใ ช้ ใ นการวิ เ คราะห์ ผ ล ได้ แ ก่ ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) t-test ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) ได้การบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ 2) บทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 90.00/82.86 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 80/80 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 4.29 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 8.29 4) ความพึงพอใจของ นักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอยู่ในระดับพึงพอใจมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.26 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.63 ข้อเสนอแนะ 1) ควรนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนในกลุ่ม สาระอื่น 2) ควรมีการออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในรายวิชาอื่นๆ เพื่อให้มีความหลากหลายในการ เรียนการสอน คำสำคัญ : บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน; การพัฒนา; อาหารและโภชนาการ Abstract The purposes of this research were to study and develop the computer assisted instruction in title of food and nutrition for students, to validate the efficiency of the instruction in title of food and nutrition, to study the academic achievement of students after learning the
396
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
instruction and to study satisfaction of students to the instruction. The sample were the primary 5 students who studying in Anubanprasatsuksakham school. There were forty-two students who collected by random group sampling. the computer - assisted instruction in title of food and nutrition, pre-test, post-test, examination forms, achievement test, satisfaction questionnaire. The statistics tests including the instruction efficiency of process (E1), the instruction efficiency of result (E2), t-test, means, percentage, and standard deviation. The result showed that there was the computer - assisted instruction lesson in title of food and nutrition. Moreover, the efficiency of the instruction was 82.86 / 90.00 which higher than the 80/80 criterion. The learning achievement of the students presented that the post-test higher than the pre-test at the statistical significance level of 0.5. Because of the pre-test means score was 4.29and the post-test means score was 8.29. Furthermore, the satisfaction of students to the instruction found that in total was good. The means score was 4.26and standard deviation was 0.63. In suggestions, the computer assisted instruction should apply to different subjects and compare with different learning instruction. Keywords : Computer assisted instruction; development; food and nutrition. บทนา ปัจจุบันเทคโนโลยีและการสื่อสารนับว่าเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาการศึกษาการ วางแผนจัดการศึกษาและคุณภาพการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทุกระดับความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีรวมการนาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ทันสมัยมาใช้ในการถ่ายทอดความรู้จากผู้สอนไปสู่ นักเรียนเป็นการสนับสนุนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและเกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ดี จากประสบการณ์ใน การเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องอาหารและโภชนาการ ระดับประถมศึกษาปีที่ ผู้ 5 ศึกษาซึ่งเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ หลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ เคยได้รับการ เรียนการสอนและสังเกตการสอนในรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องอาหารและโภชนาการ ครูผู้สอนใช้ วิธีการเรียนการสอนแบบบรรยายและสาธิต ตามเอกสารประกอบการสอน ทาให้ผู้ศึกษาพบว่าการจัดการเรียนการ สอนแบบดังกล่าว ทาให้นักเรียนขาดความสนใจในการเรียน เกิดความเบื่อหน่าย ไม่สนุกกับการเรียน ไม่เอาใจใส่ต่อ การเรียน ส่งผลให้เกิดความรู้สึกที่ไม่ดีต่อการเรียนการงานอาชีพและเทคโนโลยีประกอบ เรื่องอาหารและโภชนาการ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนลดลง พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ ศ. 2542.แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)มาตรา ได้กล่าวว่า รัฐต้อง 64 ะพัฒนาแบบเรียน ตารา หนังสือ ทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์และส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตแล เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น โดยเร่งรัดพัฒนาขีดความสามารถในการผลิต จัดให้มีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการให้ แรงจูงใจแก่ผู้ผลิตและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งนี้ โดยเปิดให้มีการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรมและ มาตราที่ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ได้กล่าวว่า ผู้เรียนมีสิทธิที่จะได้รับการพัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อ 66 การศึกษาและจะต้องรู้จักข้อมูลและแหล่งข้อมูล เพื่อมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานอาชีพและ เทคโนโลยี มีทักษะการทางาน ทักษะการจัดการ สามารถนาเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้ในการ
397
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ทางานอย่างถูกต้อง เหมาะสม คุ้มค่าและมีคุณธรรม เพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นสื่อการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่งซึ่ งใช้ความสามารถของ คอมพิวเตอร์ในการนาเสนอสื่อผสมอันได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง กราฟิก แผนภูมิ กราฟ ภาพเคลื่อนไหว วีดีทัศน์และ เสียง เพื่อถ่ายทอดเนื้อหาบทเรียนหรือองค์ความรู้ในลักษณะที่ใกล้เคียงกับการสอนจริงในห้องเรียนมากที่สุด โดย คอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะนาเสนอเนื้อหาที่ ละหน้าจอภาพโดยเนื้อหาความรู้ในคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะได้รับการ ถ่ายทอดในลักษณะที่แตกต่างกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับธรรมชาติและโครงสร้างของเนื้อหาโดยมีเป้าหมายสาคัญก็คือการ ได้มาซึ่งบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียน และกระตุ้นผู้เรียนให้เกิดความต้องการ ที่จะเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นตัวอย่าง ที่ดีของการสื่อสารการศึกษาในลักษณะตัวต่อตัว ซึ่งเกิดการเรียนรู้จาก การมีปฏิสัมพันธ์หรือการโต้ตอบพร้อมทั้งการได้รับผลป้อนกลับ )Feedback) อย่างสม่าเสมอกับเนื้อหาและกิจกรรม ต่างๆ กษาจึงสนใจที่จะศึกษาการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกลุ่มสาระ จากความสาคัญดังกล่าวผู้ศึ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มาเป็นสื่อการเรียนการสอนเพื่อช่วยให้น ักเรียนได้เรียนตามความสามารถ และเต็มศักยภาพของนักเรียนและเรียนรู้ได้ด้วยตนเองทั้งสามารถทาความเข้าใจในบทเรียนนั้น ๆ โดยไม่จา กัด ระยะเวลา โดยผู้ศึกษาได้กาหนดประเด็นในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ประการ ประการแรกเพื่อศึกษาและพัฒนา 4 บทเรีย นคอมพิว เตอร์ ช่ว ยสอน เรื่ อง อาหารและโภชนาการ ประการที่ สองเพื่อ หาประสิท ธิภ าพของบทเรีย น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ ประการที่สามเพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ และประการสุดท้ายเพื่อหาความพึงพอใจในการ เรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องอาหารและโภชนาการ ทาให้นักเรียนเกิดความพึง พอใจในการเรียนดังกล่าวหรือไม่ ซึ่งข้อมูลคาตอบประเด็นเหล่านี้จะเป็นแนวทางสาคัญในการพัฒนานักเรียนให้มี ความสนใจมีสนุกสนาน ต่อการเรียนในรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อาหารและโภชนาการมากขึ้น วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการสาหรับนักเรียน 2. เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ 3. เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหาร และโภชนาการ 4. เพื่อหาความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ วิธีดาเนินการวิจัย ในการด าเนิ น งานศึ ก ษาพั ฒ นาบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอน เรื่ อ ง อาหารและโภชนาการ ชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 5 ผู้ศึกษาได้ดาเนินการศึกษาโดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีการศึกษา ดังนี้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลปราสาทศึกษาคาร ตาบลกังแอน อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ จานวน 6 ห้องเรียน มีนักเรียนทั้งหมด 250 คน
398
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/3 โรงเรียนอนุบาลปราสาทศึกษาคาร ตาบลกังแอน อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ จานวน 42 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือการวิจัย 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ 2. แบบทดสอบเพื่อวัดประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ 3. แบบทดสอบเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ 4. แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. ศึกษาเนื้อหาเพื่อเรียบเรียงเนื้อหาในการพัฒนาบทเรียน เรื่อง อาหารและโภชนาการ จากหลักสูตร กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี หนังสือ ตารา เอกสารที่เกี่ยวข้อง โดยจัดลาดับความสาคัญของเนื้อหาให้ สอดคล้องกับจุดประสงค์ 2. ศึกษาการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ 3. ศึกษาเครื่องมือสาหรับพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ 4. ศึกษาวิธีการการประเมินผลบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ ในการวิจัย ได้แก่ การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลั งเรียน ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และการประเมินความพึงพอใจต่อนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอน 5. เลือกกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/3 โรงเรียนอนุบาลปราสาทศึกษาคาร ตาบลกังแอน อาเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ จานวน 42 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบยกกลุ่ม (Cluster Random Sampling) 6. วิเคราะห์เนื้อหาและออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพื่อเรียบเรียงเนื้อหาในการพัฒนา บทเรียน เรื่อง อาหารและโภชนาการ 7. พัฒนาและวิเคราะห์บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ 8. ปรับปรุงแก้ไขบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนตามคาแนะนาจากผู้เชี่ยวชาญ 9. ติดต่อประสานงานกับทางโรงเรียนเพื่อขอความอนุเคราะห์ในการดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล และติดต่อประสานงานกับครูประจาชั้นเพื่อขอนัดหมายเวลาที่จะทาการเก็บรวบรวมข้อมูล 10. นาบทเรียนที่ได้ทาการพัฒนาแล้วไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง 11. ชี้แจงทาความเข้าใจกับนักเรียน เกี่ยวกับการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหาร และโภชนาการ 12. วิเคราะห์ ข้อมู ลทางสถิ ตินาข้ อมูล ที่เก็ บรวบรวมได้วิ เคราะห์ เพื่อ หาประสิท ธิภาพของบทเรีย น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน และความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 13. สรุปอภิปรายผล 14. จัดทารายงานการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 1. สถิ ติ ที่ ใ ช้ ใ นการวิ เ คราะห์ ก ารหาประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอน ได้ แ ก่ ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2)
399
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
2. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์การหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ได้แก่ t-test ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 3. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์การหาความพึงพอใจ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย 1. ประสิทธิภาพของบทเรียน การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ ผู้ศึกษาได้นาเสนอ ผลการวิเคราะห์เป็นประสิทธิภาพของกระบวนการและประสิทธิภาพของผลลัพธ์ปรากฏผลการวิเคราะห์ ดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงผลประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน จานวน คะแนน เกณฑ์ รายการ คะแนนเต็ม ร้อยละ นักเรียน เฉลี่ย ร้อยละ 42 5 4.50 90.00 80 ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E ) 42 10 8.29 82.86 80 ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E ) จากตารางที่ 1 พบว่า การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ นั้นประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้นนั้นมีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 90.00/82.86 โดย ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.50 คิดเป็นร้อยละ 90.00 และประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.29 คิดเป็นร้อยละ 82.86 ซึ่งมีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน อาหารและโภชนาการนั้น ผู้ ศึกษาได้นาเสนอผลการวิเคราะห์ โดยใช้สถิติ คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test ปรากฏผลการ วิเคราะห์ ดังนี้ ตารางที่ 2 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน การทดสอบ คะแนนทดสอบก่อนเรียน คะแนนทดสอบหลังเรียน
จานวน นักเรียน 42 42
คะแนน เต็ม 10 10
̅
Df(n-1)
t-คานวณ
t-ตาราง
4.29 8.29
41
29.03
1.69*
* นัยสาคัญทางสถิติ 0.05 จากตารางที่ 2 พบว่า ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้นมีคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 4.29 คะแนน เฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 8.29 และได้ค่า t-คานวณเท่ากับ 29.03 t-ตาราง เท่ากับ 1.69 เมื่อเปรียบเทียบค่า t-คานวณ กับ t-ตาราง ปรากฏว่า t-คานวณ มากกว่า t-ตาราง ซึ่งแสดงให้เห็นว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ นั้นทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05
400
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
3. ความพึงพอใจ ผลการวิ เ คราะห์ ความพึ งพอใจของนั ก เรี ยนที่ มีต่ อบทเรี ยนคอมพิว เตอร์ช่วยสอน โดยการหา ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปรากฏผลการวิเคราะห์ ดังนี้ ตารางที่ 3 แสดงผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทุกด้าน คะแนน เฉลี่ย 4.39 4.24 4.07 4.20 4.38 4.38
รายการ 1. ด้านเนื้อหา 2. ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3. ด้านสื่อการเรียนการสอน 4. ด้านการวัดผลประเมินผล 5. ด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนการสอน รวม
ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 0.56 0.60 0.72 0.67 0.62 0.62
ระดับความพึง พอใจ มาก มาก มาก มาก มาก มาก
จากตารางที่ 3 พบว่า ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและ โภชนาการ ด้านเนื้อหามีความพึงพอใจอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.39 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 0.56 ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.24 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.60 ด้านสื่อการเรียนการสอน โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.07 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 0.72 ด้านการวัดผลประเมินผล โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.20 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.67 ด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนการสอน โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.38 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.62 โดยสรุ ป แล้ ว ความพึ ง พอใจของนั ก เรี ย นที่ มี ต่ อ บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอน เรื่ อ ง อาหารและ โภชนาการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับความพึงพอใจมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.38 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.62 สรุปผลการวิจัย 1. ผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผู้ศึกษาได้ศึกษาเนื้อหาหลักสูตร กระบวนการจัดการ เรียนการสอน การพัฒ นาสื่อและนวัตกรรม เพื่อเรียบเรียงเนื้อหาในการพัฒนาบทเรีย นคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กาหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมศึกษาหลักการออกแบบบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และศึกษาการพัฒนา บทเรีย นคอมพิวเตอร์ช่ว ยสอน ผลที่ ได้คือ ได้บ ทเรีย นคอมพิวเตอร์ช่ว ยสอน เรื่อ ง อาหารและโภชนาการ ชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 5 ตามที่ออกแบบไว้ นาไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/3 ปี การศึกษา 2/2560 จานวน 42 คน มาจัดการเรียนการสอนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น ซึ่งผู้ ศึกษาเป็นผู้ดาเนินการสอนและให้คาแนะนา 2. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องอาหารและโภชนาการ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เท่ากับ 90.00/82.86 โดย ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.50 คิดเป็นร้อยละ 90.00 ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.29 คิดเป็นร้อยละ 82.86 ซึ่ง เป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ คือ 80/80
401
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและ โภชนาการสาหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มี คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดย คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 4.29 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 8.29 ค่า t - คานวณ เท่ากับ 29.03 และได้ค่า t - ตาราง เท่ากับ 1.69 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องอาหารและโภชนาการ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการเรียนสูงขึ้นอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ 4. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.26 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.63 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับพึงพอใจ มาก วิจารณ์ผลการวิจัย การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในครั้งนี้ ผู้ศึกษาสามารถพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ตามความสัมพันธ์ของเนื้อหาไว้อย่างง่าย ส่งผลให้การเรียนรู้ ของนักเรียนเป็นไปตามกระบวนการเรียนรู้ ดังผลการศึกษาที่นามาอภิปราย ดังนี้ 1. ผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผู้ศึกษาได้ศึกษาเนื้อหาหลักสูตร กระบวนการจัดการ เรียนการสอน การพัฒ นาสื่อและนวัตกรรม เพื่อเรียบเรียงเนื้อหาในการพัฒนาบทเรีย นคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กาหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมศึกษาหลักการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และศึกษาการพัฒนา บทเรีย นคอมพิวเตอร์ช่ว ยสอน ผลที่ ได้คือ ได้บ ทเรีย นคอมพิวเตอร์ช่ว ยสอน เรื่อ ง อาหารและโภชนาการ ชั้ น ประถมศึกษาปีที่ 5 ตามที่ออกแบบไว้ นาไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/3 ปี การศึกษา 2/2560 จานวน 42 คน มาจัดการเรียนการสอนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น ซึ่งผู้ ศึกษาเป็นผู้ดาเนินการสอนและให้คาแนะนา 2. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องอาหารและโภชนาการ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เท่ากับ 90.00/82.86 โดย ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 4.50 คิดเป็นร้อยละ 90.00 ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 8.29 คิดเป็นร้อยละ 82.86 ซึ่ง สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ คือ 80/80 ซึ่งผลการศึกษาสอดคล้องกับงานวิจัยของ เนตรนภา จัยวัฒน์ (2552) ได้จัดทาวิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่าผลโดยรวมมีประสิทธิภาพ 86.23/82.68 สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้ 80/80 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและ โภชนาการสาหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มี คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดย คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 4.29 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 8.29 ค่า t - คานวณ เท่ากับ 29.03 และได้ค่า t - ตาราง เท่ากับ 1.69 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องอาหารและโภชนาการ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ทาให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการเรียนสูงขึ้นอย่าง มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ซึ่งผลการศึกษาสอดคล้องกับงานวิจัยของ นายณัฐพล ปานสวาง (2552) ได้จัดทาวิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง การถนอมอาหาร สาหรับนักเรียน มัธยมศึกษาชั้นปที่ 5 โรงเรียนเทพศิรินทร ผลคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนของผูเรียนดวยบทเรียน
402
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
คอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง การถนอมอาหาร สาหรับนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปที่ 5 โรงเรียนเทพศิรินทร สูงกวาผล การทาแบบทดสอบกอนเรียน อยางมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.26 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.63 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับพึงพอใจ มาก ซึ่งผลการศึกษาสอดคล้องกับ รัตนาพร สารโภคา (2553) การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน กลุ่มสาระ การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้ทารายงานการวิจัย พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอยู่ในระดับมาก ข้อเสนอแนะ 1. ควรนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระอื่น 2. ควรมีการออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในรายวิชาอื่นๆ เพื่อให้มีความหลากหลายใน การเรียนการสอน กิตติกรรมประกาศ การศึกษาในครั้งนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยความช่วยเหลือและความกรุณาเป็นอย่างดียิ่งจาก อาจารย์ไพรเวช งามสอาด ประธานกรรมการสอบวิจัย ที่ได้ให้คาแนะนา และข้อคิดเห็นต่างๆ ในการดาเนินการศึกษานี้มาโดยตลอด ผู้ศึกษาขอขอบพระคุณในความกรุณาเป็นอย่างสูง มา ณ โอกาสนี้ด้วย ขอขอบพระคุ ณ อาจารย์ ศิ ริ ลั ก ษณ์ หวั ง ชอบ อาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาวิ จั ย ซึ่ งได้ ก รุ ณ าให้ ค าแนะน า และ ข้อคิดเห็นต่างๆ ตลอดจนให้ความเอาใจใส่ในการตรวจแก้ไขปรับปรุงข้อบกพร่องต่างๆ ของเครื่องมือ และเอกสาร ฉบับนี้ ขอขอบพระคุณ คณาจารย์ทุกท่านในหลักสูตรสาขาคอมพิวเตอร์ ที่ได้ให้ความช่วยเหลือและให้ข้อเสนอแนะ ตลอดการศึกษา และกาลังใจที่มีให้ตลอดมา ขอขอบพระคุณผู้บริหารโรงเรียน ท่านรองผู้อานวยการนางสาวยศยา ใจเย็น รับผิดชอบ คุณครูทวีป ศรีตะวัน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลปราสาทศึกษาคาร ที่ได้เสียสละเวลามาเป็นกลุ่ม ตัวอย่างในการดาเนินการศึกษา สุ ด ท้ า ยผู้ ศึ ก ษาขอกราบขอบพระคุ ณ บิ ด ามารดา ผู้ ใ ห้ ก ารสนั บ สนุ น และก าลั งใจตลอดระยะเวลา จนกระทั่งเสร็จสิ้น เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กาญจนา อรุณสุขรุจ.ี (2546). ความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ต่อการดาเนินงานของสหกรณ์การเกษตรไชย ปราการจากัดอาเภอชัยปราการ จังหวัดเชียงใหม่. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. กิดานันท มลิทอง. (2536). เทคโนโลยีการศึกษารวมสมัย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร. กิติมา ปรีดดี ิลก. (2529). ทฤษฎีบริหารองค์การ. กรุงเทพฯ : ชนะการพิมพ์ เกื้อ กระแสโสม. (2557). เอกสารประกอบการเรียนรู้วิชาหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1042104. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
403
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
คุณากร บัวโฮม. (2550). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกลุม่ สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง อาหารเพื่อสุขภาพ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลพรเจริญ สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาหนองคาย เชต 3 สืบค้น 9 กรกฎาคม 2560, เข้าถึงได้จาก http://202.28.199.106/tdc/. จันทรา แสวงดี. (2551). การสร้างและผลการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องคอมพิวเตอร์น่ารู้. กรุงเทพมหานคร: อักษรพิพัฒน์. จรูญ ทองถาวร. (2536). มนุษยสัมพันธ. กรุงเทพฯ: ภาควิชสจิตวิทยาและการแนะแนววิทยาลัยครู ธนบุรี. หางหุนสวนจากัดอักษราพิพัฒนจากัด โรงพิมพทิพยวิสุทธิ์. ชวาล แพรัตกุล. (2518). เทคนิคการวัดผล. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: วัฒนาพานิช ชัยยงค์ พรหมวงษ์ และคณะ. (2521). การพัฒนาบทเรียนบนเว็บวิชาคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนสอน. กรุงเทพมหานคร: จุฬาการพิมพ์. ชูเกียรติ โพธิ์มั่น. (2541). เทคโนโลยีการศึกษา. มปท: สถาบันราชภัฏเทพสตรี. ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2533). เทคโนโลยีการศึกษาทฤษฎีและวิจยั . กรุงเทพฯ: โอเดียสโตร์. ณัฐพล ปานสวาง. (2552). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง การถนอมอาหาร สาหรับนักเรียน มัธยมศึกษาชั้นปที่ 5 โรงเรียนเทพศิรินทร. สืบค้น 8 กันยายน 2560, เข้าถึงได้จาก http://202.28.199.106/tdc/. ดวงพร ภู่ทอง. (2554). “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง การถนอมอาหาร กลุ่มสาระการเรียนรู้การ งานอาชีพและเทคโนโลยี สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนชุมทางตลิ่งชัน สังกัด กรุงเทพมหานคร.” สืบค้น 8 กันยายน 2560, เข้าถึงได้จาก http://202.28.199.106/tdc/. ดิเรก ฤกษ์สาหร่าย. (2552). ทฤษฎีความพึงพอใจ. เข้าถึงได้จาก http//www.research.doae.go.th/ Textboo. สืบค้นเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2560 ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2541). คอมพิวเตอร์ช่วยสอน. กรุงเทพมหานคร: สุริยาการพิมพ์ ทักษิณา วิไลลักษณ์. (2551). ออกแบบบทเรียน. ปทุมธานี: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราช ภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปภัมภ์. ทิศนา แขมมณีและคณะ. (2541). เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการเทคนิคการสอนเพื่อพัฒนา กระบวนการคิดและการสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ: ไอเดียสแควร์. นฤมล มีชัย. (2535). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครู. สังกัดสานักงานการประถมศึกษาจังหวัด พระนครศรีอยุธยา. ชลบุรี: ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา. เนตรนภา จัยวัฒน์. (2552). “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อาหารและโภชนาการ กลุ่มสาระ การเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.” สืบค้น 8 กรกฎาคม 2560, เข้าถึงได้จาก http://202.28.199.106/tdc/ บุญทวี อิ่มบุญตา. (2558). การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้. คณะครุศาสตร์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. ประวิต เอราวรรณ์. (2542). วิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้าวิชาการ. ไพศาล หวังพานิช. (2526). การวักผลการศึกษา. กรุงเทพฯ : สานักงานพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. ภัทรา นิคมานนท์. (2543). การประเมินผลการเรียน. กรุงเทพมหานคร : ทิพยวิสุทธิ์.
404
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
มนต์ชัย เทียนทอง. (2554). การออกแบบและพัฒนาคอร์สแวร์. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ผลิตตาราเรียนสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. รัตนาพร สารโภคา. (2553). “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพล ศึกษาเรื่องอาหารเพื่อสุขภาพ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6.” สืบค้น 8 กรกฎาคม 2560, เข้าถึงได้จาก http://202.28.199.106/tdc/ ราชบัณฑิตยสถาน.(2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส พับลิเคชั่น ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2538). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น. วัญญา วิศาลาภรณ์. (2533). การสร้างแบบทดสอบเพื่อการวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ทิพย์วิสุทธิ์ วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม. (2541). พจนานุกรมอังกฤษ-ไทย. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น. วิรุฬ พรรณเทวี. (2542). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการของหน่วยงาน กระทรวงมหาดไทยใน อาเภอเมืองจังหวัดแม่ฮ่องสอน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษา บัณฑิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วุฒิชัย ประสารสอย. (2543). บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นวัตกรรมเพื่อการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : วีเจพริ้นติ้ง. สมบุญ ภู่นวล. (2525). การประเมินผลและการสร้างแบบทดสอบ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์. สมพงศ์ เกษมสิน. (2518). การบริการบุคคลแผนใหม่. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. สุรชัย ขวัญเมือง . (2522). วิธีสอนและการวัดผลวิชาคณิตศาสตร์ในชั้นประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : หน่วย ศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครู. อรพันธุ์ ประสิทธิ์. (2534). คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร. อรพิน กกไธสง. (2553). “การพัฒนาชุดฝึกทักษะกระบวนการคิด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อาหารและโภชนาการสาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6” สืบค้น 9 กรกฎาคม 2560, เข้าถึง ได้จาก http://202.28.199.106/tdc/ อัมราวัลย์ จันทร์หอม. (2551). “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ุขศึกษาและ พลศึกษา เรื่อง อาหารและโภชนาการ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3.” สืบค้น 8 กรกฎาคม 2560, เข้าถึงได้จาก http://202.28.199.106/tdc/ อานวย เลิศชัยศรี. (2553). การทดสอบและการวัดผลทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : อานวยการพิมพ์.
405
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
EDUP-20 การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 DEVELOPMENT OF COMPUTER – ASSISTED INSTRUCTION LESSON IN TITLE OF SEARCHING AND COMMUNICATING THROUGH COMPUTER NETWORK WITH MORAL AND ETHICAL FOR MATHAYOM SUKSA TWO STUDENTS พิเชษฐ์ ระคนจันทร์ 1 และศิริลักษณ์ หวังชอบ 2 1 2
นักศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ อาจารย์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
บทคัดย่อ การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2) เพื่อหา ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3) เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 4) เพื่อหาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรีย นคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 โรงเรียนเบิดพิทยาสรรค์ บ้านเบิด ตาบลเบิด อาเภอรัตนบุรี จังหวัด สุรินทร์ จานวน 32 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบยกกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกหัด และแบบ ประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ผล ได้แก่ 1) ค่าเฉลี่ย 2) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3) ค่าประสิทธิภาพ ของบทเรียน (E1/E2) 4) การทดสอบค่า (t - test) ผลการศึกษาพบว่า 1) ได้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง การค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม 2) บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 82.81/84.38 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 80/80 3) ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนก่อนการเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 6.47 และหลังการเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 12.66 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการเรียนสูงกว่าก่อนการเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน อยู่ในระดับพึงพอใจมาก คิดเป็นค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.37 ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 0.58 คำสำคัญ : บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน, การพัฒนา, การค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม Abstract This research aimed to study and develop the computer - assisted instruction, to validate the efficiency of the instruction, to study the student achievement after using the instruction, and to study the satisfaction of students. The sample included twenty-five students who studying in Berdphittayasan school in Berd village, Berd sub-district, Rattanaburi District, Surin
406
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
province. They were studying in the Mathayom suksa two and section two and collected by using cluster random sampling. The research instruments consisted of the computer - assisted instruction, pre-test, post-test, examination forms, achievement test, satisfaction questionnaire. The statistics test including means, standard deviation, the efficiency of instructions (E1/E2), and t-test. The results found that there was the computer - assisted instruction lesson in title of searching and communicating through computer network with moral and ethical. Moreover, the efficiency of the instruction was 82.81/84.38 which according to the 80/80 criterion. The pre-test means score was 6.47 and the post-test means score was 12.66. It presented that the post-test higher than the pre-test at the statistical significance level of 0.5. Furthermore, the satisfaction of students to the instruction found that in total was good. The means score was 4.53 and standard deviation was 0.58. In suggestions, the computer - assisted instruction should apply to different subjects and compare with different learning instruction. Keywords: computer - assisted instruction; development; searching and communicating through computer network with moral and ethical บทนา การเรียนการสอนในปัจจุบัน ได้มีการนาเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาช่วยสนับสนุนทางด้านการศึกษา ซึ่งได้เริ่มมีบทบาทและเพิ่มมากขึ้น การที่นาเอาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการจัดการศึกษาและใช้กระบวนการเรียนการ สอน ทาให้เกิดสื่อการเรียนการสอนชนิดหนึ่งที่เรียกว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) หรือ CAI ซึ่งมีวิธีการเรียนโดยการจัดโปรแกรมเพื่อการเรียนการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อช่วย ถ่ายโยงเนื้อหาความรู้ไ ปสู่ผู้เรียน (วุฒิชัย ประสารสอย 2543 : 10) ใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อในการนาเสนอเนื้อหา เรื่องราว เพื่อการสอน หรือทบทวน การทาแบบฝึกหัด เกมการศึกษา สถานการณ์จาลอง การสาธิต และการทดสอบ วัดผล เป็นต้น ซึ่งการเรียนนั้นมีการโต้ตอบกันตลอดเวลา ระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นการสื่อสาร แบบ 2 ทาง สามารถที่จะแสดงผลลัพธ์บางประการให้ผู้เรียนดูได้ ผู้เรียนจะรู้สึกว่าตื่นเต้นเร้าใจ อยากรู้ ทาให้เกิด การเรียนรู้อย่างสนุกสนานได้ (ยืน ภู่วรวรรณ. 2530 : 4) คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI : Computer Assisted Instruction) หมายถึง การประยุกต์นาคอมพิวเตอร์มา ช่วยในการเรียนการสอน โดยมีการพัฒนาโปรแกรมขึ้นเพื่อเสนอเนื้อหาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การเสนอแบบติวเตอร์ (Tutorial) แบบจาลองสถานการณ์ (Simulations) หรือแบบการแก้ไขปัญหา (Problem Solving) เป็นต้น การ เสนอเนื้อหาดังกล่าวเป็นการเสนอโดยตรงไปยั งผู้เรียนผ่านทางจอภาพหรือแป้นพิมพ์ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มี ส่วนร่วม วัสดุทางการสอนคือโปรแกรมหรือ Courseware ซึ่งปกติจะถูกจัดเก็บไว้ในแผ่นดิสก์หรือหน่วยความจา ของเครื่องพร้อมที่จะเรียกใช้ได้ตลอดเวลา การเรียนในลักษณะนี้ ในบางครั้งผู้เรียนจะต้องโต้ตอบ หรือ ตอบคาถาม เครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยการพิมพ์ การตอบคาถามจะถูกประเมินโดยคอมพิวเตอร์ และจะเสนอแนะขั้นตอนหรือระดับ ในการเรียนขั้นต่อ ๆ ไป กระบวนการเหล่านี้เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ (ศิริชัย สงวนแก้ว . 2534 : 17)
407
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
จากความสาคัญข้างต้น ผู้ศึกษาจึงสนใจที่จะพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง การค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและ จริยธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เพราะบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นสื่อการเรียนการสอนที่มีทั้งระบบภาพ เสี ยง ตั ว อัก ษร นอกจากนั้ นแล้ว บทเรี ยนคอมพิว เตอร์ยั งสามารถท าให้นั กเรี ยนเรี ย นได้อ ย่า งอิส ระ สามารถ ตอบสนองนักเรียนได้อย่างรวดเร็วและเที่ยงตรงเพื่อนักเรียนสามารถที่จะเรียนรู้บทเรียนได้ด้วยตนเองสามารถเพิ่ม แรงจูงใจให้แก่นักเรียนได้เป็นอย่างมาด้ วยการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วย ตนเองตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ ที่สาคัญคือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในการพัฒนาคุณภาพ ของการเรียนรู้ มุ่งเน้นการศึกษาด้วยตนเองให้บรรลุวัตถุประสงค์ทางการเรียน และเป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้นัก เรียน สนใจการเรียนมากขึ้น วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2. เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3. เพื่อหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 4. เพื่อหาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิธีดาเนินการวิจัย ในการดาเนินการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้ศึกษาได้ออกแบบขั้นตอนในการดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเบิดพิทยาสรรค์ ตาบลเบิด อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ จานวน 4 ห้องเรียน มีนักเรียนทั้งหมด 105 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 โรงเรียนเบิดพิทยาสรรค์ ตาบลเบิด อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ จานวน 32 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบยกกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือการวิจัย 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การค้นหาข้อมูลและติ ดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม 2. แบบทดสอบเพื่อวัดประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การค้นหาข้อมูลและ ติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม 3. แบบทดสอบเพื่อ วัด ผลสัม ฤทธิ์ข องบทเรี ยนคอมพิ วเตอร์ช่วยสอน เรื่ อง การค้น หาข้อ มูล และ ติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม 4. แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน การเก็บรวบรวมข้อมูล ในการดาเนินการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้ศึกษาได้ออกแบบขั้นตอนในการดาเนินงาน ดังต่อไปนี้
408
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
1. ศึกษาและเก็บรวบรวม ผู้ศึกษาได้ศึกษาเกี่ยวกับหลักสูตรแผนการสอนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและสถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 2. การเลือกกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 โรงเรียนเบิดพิทยาสรรค์ อาเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์ จานวน 32 คน 3. วิเคราะห์และออกแบบ ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์เนื้อหา สาระการเรียนรู้ของบทเรียนและออกแบบบท ดาเนินเรื่องของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบทดสอบ แบบฝึกหัด และแบบประเมินความพึงพอใจ 4. การสร้างและการพัฒนาเครื่องมือ ผู้ศึกษาได้สร้างและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และนาบทเรียนที่พัฒนาขึ้ น ให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินเพื่อหาคุณภาพของบทเรียน นาแบบทดสอบให้ผู้เชี่ยวชาญ ประเมินหาค่าความสอดคล้อง แล้วนาไปใช้กับกลุ่มทดลองเพื่อหาค่าความยากง่าย นาแบบฝึกหัดที่พัฒนาขึ้นให้ ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความเหมาะสม และนาแบบประเมินความพึงพอใจให้ผู้เชี่ยวชาญประเมินเพื่อตรวจสอบความ เรียบร้อยของข้อมูลที่สอบถามด้วยเช่นกัน 5. หาคุณภาพเครื่องมือ ผู้ศึกษานาผลการประเมินของผู้เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์หาคุณภาพของบทเรียน เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขบทเรี ย น น าผลการสอบมาวิ เ คราะห์ ห าค่ า ความยากง่ า ยและอ านาจจ าแนกเพื่ อ คั ด เลื อ ก แบบทดสอบ และนาผลประเมินของผู้เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์หาคุณภาพของแบบประเมินความพึงพอใจ 6. ปรับปรุงแก้ไข ผู้ศึกษาปรับปรุงแก้ไขบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ เพื่อให้ได้บทเรียนที่มีคุณภาพ คัดเลือกข้อสอบที่มีค่าความยากง่ายและอานาจจาแนกตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ปรับปรุง แก้ไขแบบประเมินความพึงพอใจตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้ได้แบบประเมินที่มีคุณภาพ 7. นาไปใช้ ผู้ศึกษานาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน แบบทดสอบ แบบฝึกหัด และแบบประเมินความ พึงพอใจ เรื่อง การค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม ชั้นมัธยม ศึกษาปีที่ 2 ไปใช้กับกลุ่มตัว อย่าง เริ่มจากการให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรีย น แล้วให้นักเรียนเรียนด้ว ย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแล้วทาแบบฝึกหัด ทาแบบทดสอบหลังเรียน จากนั้นให้นักเรียนทาแบบประเมินความ พึงพอใจที่มีต่อการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 8. การประเมินผล นาข้อมูลที่ได้จากกลุ่มเป้าหมายมาวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียน ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและความพึงพอใจของนักเรียน 9. สรุปและอภิปรายผล นาผลการประเมินที่ได้มาอภิปรายผลว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งหรือไม่ สอดคล้องกับงานวิจัยของผู้ใด 10. จัดทาเอกสาร เมื่ออภิปรายผลเสร็จสิ้นนาผลของกระบวนการศึกษามาสรุปเป็นเอกสารและเผยแพร่ ผลงานต่อไป การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ 1. สถิ ติ ที่ ใ ช้ ใ นการวิ เ คราะห์ ก ารหาประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอน ได้ แ ก่ ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) 2. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์การหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ได้แก่ t-test ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 3. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์การหาความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
409
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ผลการวิจัย 1. ประสิทธิภาพของบทเรียน การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้ศึกษาได้นาเสนอ ผลการวิเคราะห์เป็นประสิทธิภาพของกระบวนการและประสิทธิภาพของผลลัพธ์ปรากฏผลการวิเคราะห์ ดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงผลประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายการ ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E ) ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E )
จานวน นักเรียน 32 32
คะแนนเต็ม
คะแนนเฉลี่ย
ร้อยละ
30 15
24.84 12.66
82.81 84.38
เกณฑ์ ร้อยละ 80.00 80.00
จากตารางที่ 1 พบว่า ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 82.81/84.38 โดยประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) คิดเป็นร้อยละ 82.81 มีคะแนนเฉลี่ย 24.84 ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) คิดเป็นร้อยละ 84.38 มีคะแนนเฉลี่ย 12.66 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและ จริยธรรม นั้นผู้ศึกษาได้นาเสนอผลการวิเคราะห์ โดยใช้สถิติ คือ ค่าเฉลี่ย ส่ว นเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test ปรากฏผลการวิเคราะห์ ดังนี้ ตารางที่ 2 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน การทดสอบ คะแนนทดสอบก่อนเรียน คะแนนทดสอบหลังเรียน
จานวน นักเรียน 32 32
คะแนน เต็ม 15 15
̅
Df(n-1)
6.47 12.66
31
t-คานวณ
t-ตาราง
22.82
1.69*
* นัยสาคัญทางสถิติ 0.05 จากตารางที่ 2 พบว่า คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนการเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 6.47 และหลังการ เรียนมีคะแนนเฉลี่ย 12.66 จากการทดสอบด้วยสถิติ t - test (Dependent) ได้ค่า t - คานวณ เท่ากับ 22.82 และ ได้ค่า t - ตาราง เท่ากับ 1.69 แสดงว่า เมื่อเปรียบเทียบค่า t – คานวณ และค่า t - ตารางแล้ว ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนหลังการเรียนสูงกว่าก่อนการเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ 3. ความพึงพอใจ ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่ มีต่อบทเรียนคอมพิว เตอร์ ช่วยสอน เรื่ อง การพัฒนา บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรม
410
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
และจริยธรรม โดยการหาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ปรากฏผลการวิเคราะห์ ดังนี้ ตารางที่ 3 แสดงสรุปผล ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทุกด้าน คะแนน เฉลี่ย 4.41 4.32 4.29 4.38 4.52 4.37
รายการ 1. ด้านเนื้อหา 2. ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3. ด้านสื่อการเรียนการสอน 4. ด้านการวัดผลประเมินผล 5. ด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนการสอน รวม
ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 0.78 0.79 0.81 0.80 0.71 0.58
ระดับความพึงพอใจ พึงพอใจมาก พึงพอใจมาก พึงพอใจมาก พึงพอใจมาก พึงพอใจมากที่สุด พึงพอใจมาก
จากตารางที่ 3 พบว่า พบว่า ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การ ค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม 1) ด้านเนื้อหา มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.41 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ .078 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก 2) ด้านการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.32 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.79 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก 3) ด้านสื่อ การเรียนการสอน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.29 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.81 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก 4) ด้านการวัดผลประเมินผล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.38 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.80 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก 5) ประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนการสอน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.52 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.71 มีความ พึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด โดยสรุปแล้วความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอ่ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การ ค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.37ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.58 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับพึงพอใจมาก สรุปผลการวิจัย ในการสรุปผลการดาเนินงาน สรุปตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา ดังนี้ 1. ผู้ศึ กษาได้พั ฒนาบทเรีย นคอมพิว เตอร์ ช่ว ยสอน เรื่อ ง การค้ นหาข้ อมู ลและติด ต่อ สื่อ สารผ่ า น เครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งนาไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 จานวน 32 คน มาจัดการเรียนเสริมด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรมระหว่างเรียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ การเรียนหลังเรียน แบบสอบถามความพึงพอใจ และทาการเก็บข้อมูลต่าง ๆ มาวิเคราะห์ โดยวิเคราะห์ประสิทธิภาพ ของบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ว ยสอน ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น และความพึ ง พอใจของนั ก เรี ย นที่ มี ต่ อ บทเรี ย น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่า น เครือข่า ยคอมพิ วเตอร์อ ย่ างมีคุ ณธรรมและจริย ธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ที่ พัฒนาขึ้ น ปรากฏว่านัก เรียนท า กิจกรรมระหว่างเรียน คิดเป็นร้อยละ 82.81 และทาแบบทดสอบหลังเรียน คิดเป็นร้อยละ 84.38 ซึ่งมีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 80/80 ที่กาหนดไว้
411
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
3. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของก่อนการเรี ยนมีคะแนนเฉลี่ย 6.47 และหลังการ เรียนมีคะแนนเฉลี่ย 12.66 จากการทดสอบด้วยสถิติ t - test (Dependent) ได้ค่า t - คานวณ เท่ากับ 22.82 และ ได้ค่า t - ตาราง เท่ากับ 1.69 แสดงว่า เมื่อเปรียบเทียบค่า t – คานวณ และค่า t - ตารางแล้ว ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนหลังการเรียนสูงกว่าก่อนการเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. การหาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การค้นหาข้อมูลและ ติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 นักเรียนมีความพึงพอใจ ในการใช้ บทเรีย นคอมพิ วเตอร์ช่วยสอน ในระดับ ความพึงพอใจมาก โดยค่ าเฉลี่ย เท่ ากั บ 4.37 ส่ วนเบี่ ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 0.58 วิจารณ์ผลการวิจัย การพั ฒ นาบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ว ยสอน เรื่ อ ง การค้ น หาข้ อ มู ล และติ ด ต่ อ สื่ อ สารผ่ า นเครื อ ข่ า ย คอมพิ ว เตอร์ อ ย่ า งมี คุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรม ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 ในครั้ งนี้ ผู้ ศึ ก ษาสามารถพั ฒ นาบทเรี ย น คอมพิ ว เตอร์ ช่ว ยสอน ตามความสั ม พัน ธ์ ข องเนื้ อ หาไว้ อย่ า งง่ า ย ส่ งผลให้ ก ารเรี ย นรู้ ข องนัก เรี ย นเป็ น ไปตาม กระบวนการเรียนรู้ ดังผลการศึกษาที่นามาอภิปราย ดังนี้ 1. ผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผู้ศึกษาได้ศึกษาเนื้อหาหลักสูตรรายวิชาคอมพิวเตอร์ เพื่อเรียบเรียงเนื้อหาในการสร้างและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กาหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ศึกษา หลักการออกแบบ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน และศึกษาการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลที่ได้คือ ได้ บทเรียนตามที่ออกแบบไว้ จากนั้น นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมาทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2/2 จานวน 32 คน มาจัดการเรียนการสอนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พัฒนาขึ้น ซึ่งผู้ ศึกษาเป็นผู้ดาเนินการสอนและให้คาแนะนาด้วยตนเอง 2. ด้านการทดสอบประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพตาม เกณฑ์ที่กาหนดไว้ กล่าวคือ ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสาร ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 กลุ่มตัวอย่างจานวน 32 คน ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) คิดเป็นร้อยละ 82.81 และประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) คิดเป็นร้อยละ 84.38 ดังนั้น บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่าง มีคุณธรรมและจริยธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (E1/E2) เท่ากับ 82.40/84.27 ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ 80/80 กาหนดไว้ ซึ่งผลการศึ กษาสอดคล้องกับงานวิจั ย อุ เทน พุ่มจั นทร์ (2550) ได้ท าวิจั ย เรื่อง การพัฒนา บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผลจากการวิจัยในครั้งนี้ พบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีป ระสิทธิภาพเท่ากับ 81.46/84.69 โดยสูงกว่า เกณฑ์ที่กาหนด คือ 80/80 3. ด้านการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนการเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 6.47 และหลังการเรียนมีคะแนนเฉลี่ย 12.66 จากการ ทดสอบด้วยสถิติ t - test (Dependent) ได้ค่า t - คานวณ เท่ากับ 22.82 และได้ค่า t - ตาราง เท่ากับ 1.69 แสดงว่า เมื่อเปรียบเทียบค่า t - คานวณ และค่า t - ตารางแล้ว ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการเรียนสูงกว่าก่อน การเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งผลการศึกษาสอดคล้องกับงานวิจัยของ รุ่งโรจนฤทธิ์ จันนุ่ม (2551) ได้ทาวิจัยเรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ฮาร์ดแวร์และเทคโนโลยีสอื่ สารข้อมูล สาหรับ
412
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยเรื่อง การพั ฒ นาบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอน เรื่ อ ง ฮาร์ ด แวร์ แ ละเทคโนโลยี สื่ อ สารข้ อ มู ล ส าหรั บ นั ก เรี ย นชั้ น มัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านตลุกข่อยน้าอาเภอแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและ หลังเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบ มีเกมวิชาคอมพิวเตอร์เบื้องต้น เรื่อง ฮาร์ดแวร์และเทคโนโลยีสื่อสารข้อมูล สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4. การหาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การค้นหาข้อมูลและ ติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 นักเรียนมีความพึงพอใจ ในการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในระดับความพึงพอใจมาก โดยความพึงพอใจเฉลี่ยเท่ากับ 4.37 ค่าความ เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.58 ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ ขวัญชนก บัวทรัพย์ (2558) ได้ทาการเรื่อง การพัฒนา บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การใช้โปรแกรมการพิมพ์ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน เทศบาล 2 วัดเสนหา (สมัครพลผดุง)นักเรียนมีความพึงพอใจต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอยู่ในระดับมาก โดย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.24 และค่าส่วนเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.43 ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการวิจัยติดตามผลประเมินการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้นอย่างต่อเนื่องต่อไป 2. ควรมีการศึกษาวิจัยเปรียบเทียบการสอน โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกับวิธีสอนแบบ อื่น ๆ กิตติกรรมประกาศ การศึกษาในครั้งนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยความช่วยเหลือจาก อาจารย์ปรียา งามสอาด ประธานกรรมการ สอบ อาจารย์ศิริลักษณ์ หวังชอบ อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์วรวุฒิ แอกทอง กรรมการสอบ และคณาจารย์ทุกท่ าน ในหลักสูตรสาขาคอมพิวเตอร์ ที่ได้ให้คาแนะนาและข้อคิดเห็นต่าง ๆ ในการดาเนินการศึกษานี้มาโดยตลอด ผู้ศึกษา ขอขอบพระคุณในความกรุณาเป็นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ด้วย ขอขอบคุณครู และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเบิดพิทยาสรรค์ ที่ได้เสียสละเวลามาเป็นกลุ่ม ตัวอย่างในการดาเนินการศึกษา สุดท้ายผู้ศึกษาขอขอบพระคุณบิดามารดา และสมาชิกในครอบครัว รวมไปถึงญาติ พี่น้องของผู้ศึกษาทุกท่าน ที่ได้ให้การสนับสนุนทั้งด้านทุนทรัพย์และกาลังใจ ตลอดระยะเวลาจนกระทั่งสาเร็จลุล่วง ไปด้วยดี เอกสารอ้างอิง กาญจนา อรุณสุขรุจ.ี (2546). ความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ต่อการดาเนินงานของสหกรณ์การเกษตรไชย ปราการจากัด อาเภอชัยปราการ จังหวัดเชียงใหม่. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. กาญจนา วัฒายุ. (2548). การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ธนพรการพิมพ์. กิดานันท์ มลิทอง. (2536). ลักษณะโครงสร้างของบทเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : เอดิสันเพรสโพรดักส์. หน้า 41.
413
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
เกื้อ กระแสโสม. (2557). วัดผลและประเมินผลการศึกษา. สุรนิ ทร์ : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์. กรมวิชาการ. (2554). การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. กรุงเทพมหานคร. หน้า 47. กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์. (2546). ประสิทธิภาพของบทเรียน. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ. หน้า 99-108. ขวัญชนก บัวทรัพย์. (2558). “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การใช้โปรแกรมการพิมพ์สาหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท3ี่ โรงเรียนเทศบาล 2 วัดเสนหา (สมัครพลผดุง).” 13 ตุลาคม 2559. file:///C:/Users/NooDaa/Downloads/28892-82382-1PB%20(2).pdf. จารุวรรณ จันทร์ทรัพย์. (2556). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง ส่วนประกอบหลักและการใช้งาน คอมพิวเตอร์สาหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 1 ประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนประถมสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ บ้านสมเด็จเจ้าพระยา. พิมพ์ครั้งที่ 3. ปทุมธานี : วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทมุธานี. ชนินทร์ ฐิติเพชรกุล. (2550). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย การสร้างเว็บไซต์ สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านไร่พิทยาคม. สุโขทัย : โรงพิมพ์วิทยาสุโขทัย. ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2548). เทคโนโลยีการศึกษาทฤษฎีและการวิจัย. กรุงเทพมหานคร : โอเอสพริ้นติ้งเฮ้าส์. ชวาล แพรัตกุล. (2516). เทคนิคการวัดผล. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2545). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาการสอน. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนา พานิช. ทิศนา แขมมณี. (2551). รูปแบบการเรียนการสอน ทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถนอมพร เลาจรัสแสง. (2541). คอมพิวเตอร์ช่วยสอน. กรุงเทพมหานคร : สุริยาการพิมพ์. ธนียา ปัญญาแก้ว. (2541). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในงานของข้าราชการ ครูในจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมืองและการปกครอง เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. บุญทวี อิ่มบุญตา. (2558). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 1042104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (Measurement and Learning Evaluation). สุรินทร์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. ไพศาล หวังพานิช. (2526). การวัดผลการศึกษา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. ภนิดา ชัยปัญญา. (2542). ความพึงพอใจของเกษตรกรต่อกิจกรรมไร่นาสวนผสมภายใต้โครงการปรับ โครงสร้างและระบบการผลิตการเกษตรของจังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. เชียงใหม่ : คณะเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ภัทรา นิคมานนท์. (2543). การประเมินผลการเรียน. กรุงเทพมหานคร : ทิพยวิสุทธิ.์ มณี โพธิเสน (2543). ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนต่อการจัดการศึกษาของ โรงเรียนโพธิเสนวิทยา อาเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย. การศึกษาค้นคว้าอิสระการศึกษามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. หน้า 12. มนต์ชัย เทียนทอง. (2554). การออกแบบและพัฒนาคอร์สแวร์. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ผลิตตาราเรียนสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
414
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ยืน ภู่วรวรรณ. (2531). ความหมายของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาเทคโนโลยี ทางการศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. หน้า 121. เยาวดี วิบูลย์ศรี. (2549). การวัดผลและสร้างแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญ ทัศน์. รุ่งโรจนฤทธิ์ จันนุ่ม. (2551). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ฮาร์ดแวร์และเทคโนโลยีสื่อสาร ข้อมูล สาหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์. วิมลสิทธิ์ หรยางกูร. (2526). พฤติกรรมมนุษยกับสภาพแวดลอม: มูลฐานทางพฤติกรรมเพื่อการออกแบบและ วางแผน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม. (2541). พจนานุกรมอังกฤษ-ไทย. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น. วุฒิชัย ประสารสอย. (2543). บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน นวัตกรรมเพื่อการศึกษา. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : หางหุนสวน วี เจ พริ้นติ้ง. _______. (2547). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหิดล. สายรุ้ง เมืองวงษ์และคณะ. (2552). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้ทฤษฏีพหุปัญญาเพื่อ ส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความฉลาดทางอารมณ์ เรื่องอาหารและสารเสพติด สาหรับ นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2. พิษณุโลก :มหาวิทยาลัยนเรศวร. สุรชัย ขวัญเมือง. (2522). วิธีสอนและการวัดผลวิชาคณิตศาสตร์ในชั้นประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : หน่วย ศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครู. สมบุญ ภู่นวล. (2525). การประเมินผลและการสร้างแบบทดสอบ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์. หทัยรัตน์ ประทุมสูตร. (2542). ความพึงพอใจการปฏิบัติงานพยาบาลในโรงเรียนพยาบาลของรัฐและเอกชนใน จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ กศ.ม.พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร. อุเทน พุ่มจันทร์. (2550). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศและ คอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อักษรเจริญทัศน์. อัจฉรีย์ พิมพิมูล. (2550). คอมพิวเตอร์ช่วยสอน. พิมพ์ครั้งที่ 3. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม : มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี. อานวย เลิศชัยศรี. (2533). การทดสอบและการวัดผลทางการศึกษา. กรุงเทพฯ :อานวยการพิมพ์. Kotler, P., & Armstrong, G. (2002). Principles of marketing. (9th ed.) New Jersey : Prentice-Hall.
415
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
EDUP-21 การศึกษาสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูของนักศึกษาฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ A STUDY OF CAPABILITY OF PRACTICE BASED ON STANDARDS OF WORK PERFORMANCE OF STUDENT TEACHER SURINDRA RAJABHAT UNIVERSITY ระพี ลุนลาว1 ดาเกิง โถทอง2 พานชัย เกษฎา3 1
นักศึกษา ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ อาจารย์ ดร. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 3 อาจารย์ ดร. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 2
บทคัดย่อ วัต ถุป ระสงค์ ข องการศึก ษาสมรรถนะการปฏิบั ติงานตามเกณฑ์ม าตรฐานวิชาชี พ ของนั ก ศึก ษาฝึ ก ประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรนิ ทร์ เพื่อศึกษาสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ และนาเสนอแนวทางการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพของนักศึกษาหลักสูตรครุ ศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 5 ที่ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาสังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1, 2, 3 และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์เขต 33 ในปีการศึกษา 2560 เลือกกลุ่ม ตัวอย่างแบบเจาะจง จาแนกเป็น ผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 314 คน และครูพี่เลี้ยง จานวน 314 คน เครื่องมือ ในการวิจัยคือ แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพจากผู้บริหาร สถานศึกษาและครูพี่เลี้ยงและบันทึกข้อมูลจากการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานและบรรยายสรุปแบบพรรณนาความ ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับ สมรรถนะการปฏิ บัติงานตามเกณฑ์ มาตรฐานวิชาชีพครู ของนั กศึก ษาฝึ กประสบการณ์ วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.49 ) 2. แนวทางการพั ฒ นาสมรรถนะการปฏิ บั ติ งานตามเกณฑ์ ม าตรฐานวิ ชาชี พ ครู ข องนั ก ศึ ก ษาฝึ ก ประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ได้แก่ การอบรมสื่อความรู้เรื่อง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญโดยให้ผู้เรียนปฏิบัติจริงมากขึ้นและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยผู้เรียนค้นหาความรู้ได้ และสรุปความคิดรวบยอดเอง สร้างผลงานและชิ้นงานได้เองตามคาแนะนา คำสำคัญ : สมรรถนะ การปฏิบัตงิ าน เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ Abstract The purposes of the study the capability of practice based on standards of work capability of student teachers Surindra Rajabhat University were to study the capability of practice based on standards of work performance and to present the guidelines the capability
416
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
practice development based on standards work performance of fifth year student teachers which practiced teaching in schools under Surindra Primary Educational Service Area Office 1,2,3 and Surindra Secondary Educational Service Area Office 33 in academic year 2016. Selected the sample by purposive sampling .There were 314 administrators and 314 mentor teachers. A questionnaire was used to assess the capability of the professional standards of the school administrators and mentor teachers and to record data from the group discussions. Data were analyzed by means of percentage, mean, standard deviation, and descriptive descriptive. The research found that : 1. The performance level in accordance with the teacher professional standards of students practicing professional experience Surindra Rajabhat University The overall level was very high ( x = 4.49). 2. Guidelines for the development of capability standards for professional teachers Surindra Rajabhat University. A student-centered learning-based learning plan was provided to enable learners to practice more effectively and to organize learning activities. Keywords : capability of practice, Performance, standards of work performance, Professional Teacher Training. บทนา การศึกษาเป็นรากฐานสาคัญในการพัฒนาคนให้มี ความรู้ ความสามารถเพื่อพัฒนาประเทศชาติใ ห้ เจริญรุ่งเรือง และช่วยแก้ปัญหาของสังคม โดยเน้นการจัดการศึกษาเป็นกระบวนการที่ทาให้ผู้เรียนรู้จักเรียนรู้และ แสวงหาความรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ภายใต้การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ด้วยกิจกรรมใน รูปแบบที่หลากหลายซึ่งผู้ที่จะดาเนินงานภารกิจนี้ให้สาเร็จได้ก็คือครูนั่นเอง สานักงานปฏิรูปการศึกษาได้กล่าวยก ย่องครูว่า เป็นเสมือนเส้นเลือดใหญ่ที่หล่อเลี้ยงสังคมให้เจริญงอกงามมาหลายชั่วอายุคน ครูเป็นบุคลากรอาชีพหนึ่งที่ สามารถจะแสดงบทบาท และศักยภาพของตนในงานการพัฒนาเพื่อร่วมฝ่าฟันวิกฤตที่รุนแรงได้อย่างเหมาะสม (วิโรจน์ สารรัตนะ. 2541) สังคมจึงเห็นว่าครูเท่านั้นที่จะเป็นผู้นาการปฏิรูปการศึกษาไปสู่ความสาเร็จได้ ดังนั้น การ ปฏิรูปครูจึงถือว่าเป็นภารกิจที่มีความสาคัญระดับต้นๆ ของการปฏิรูปการศึกษา และจากประสบการณ์ของประเทศ ที่ผ่านการปฏิรูปการศึกษามาแล้วไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย สิงคโปร์ สาธารณรัฐ ประชาชนจีน หรือ อังกฤษ ล้วนยอมรับว่า “ครู” เป็นปัจจัยของความสาเร็จ หรือ ความล้มเหลวในการปฏิรูป การศึกษาทั้งสิ้น (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2543) แนวทางการจัดการศึกษาตามแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ตั้งแต่อดีตจนถึง ปัจจุบันบทสรุปของปัญหา หลักที่สะท้อนใน ก็คือ ปัญหาคุณภาพทางการศึกษา ซึ่งผลผลิตคือ ผู้เรียนและประชาชนขาดคุณภาพทักษะด้านการ คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น ขาดทักษะการปฏิบัติวิชาชีพ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และทรัพยากร ตลอดจนการย่อ หย่อนในด้านระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม ซึ่งคุณลักษณะเหล่านี้จะเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศในยุค เทคโนโลยีสารสนเทศ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ . 2546) ซึ่งปัญหาคุณภาพผู้เรียนมีสาเหตุหลาย
417
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ประการ แต่สาเหตุหลักมาจากปัญหาคุณภาพของ “ครู” ซึ่งเป็นปัญหาที่สั่งสมมายาวนานจนเกิดภาวะวิกฤตใน ปัจจุบัน ปัญหาดังกล่าวมีทั้งปัญหาด้านการผลิต การพัฒนามาตรฐาน จรรยาบรรณวิชาชีพ และปัญหาด้านการ บริหารงานบุคคล (ประมุข กอปรสิริพัฒน์. 2548.: 2) โดยเฉพาะปัญหาด้านการผลิตครูซึ่ง มนตรี จุฬาวัฒนฑล (2543 : 5-6) กล่าวว่าปัญหาวิชาชีพครูทั่วโลกมีลักษณะคล้ายคลึงกัน กล่าวคือ ผู้เข้ามาเรียนวิชาชีพครูส่วนใหญ่มีผล การเรียนทางวิชาการต่า หน่วยงานที่ผลิตครูขาดโอกาสในการคัดเลือก คนดี คนเก่ง มาเรียนครู ระบบการผลิตครู ขาดการประสานงานระหว่างองค์กรวิชาชีพครู ผู้ผลิต และผู้ใช้ อีกทั้งการเรียนการสอนวิชาชีพครูเน้นภาคทฤษฎี และให้ความสาคัญการฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษาครูน้อยเกินไป จากปัญหาด้านการผลิตครูที่ผ่านมาสะท้อนให้เห็นว่ากระบวนการผลิต การพัฒนา การควบคุม การ ประกอบวิชาชีพ และการบริหารบุคคลในปัจจุบัน ไม่สามารถช่วยแก้ปัญหาพื้นฐานของครูที่ขาดความรู้และทักษะใน การปฏิบัติงาน ความรู้จากัดแต่ในบทเรียน ไม่ใช้เทคโนโลยีในการสอน นักศึกษาครูไม่ได้ผ่านการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครูที่เพียงพอ กระบวนการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา คุณธรรมครูยังบกพร่อง ขาดความรักความศรัทธาในอาชีพ ดังนั้นปัญหาวิกฤตของครูทุกด้านที่กล่าวมาแล้วจึงส่งผลกระทบรุนแรงต่อคุณภาพของเด็ก เยาวชน และประชาชน (ประมุข กอปรสิริพัฒน์. 2548.: 4) การปฏิรูประบบการผลิตและสถาบันการผลิตครู จึงนับเป็นปัจจัยหลักที่สาคัญอีก ประการหนึ่งในการพัฒนาและยกระดับมาตรฐานวิชาชีพครูให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง เนื่องจากการผลิตครูที่ดี มีคุณธรรม มีความรู้และความสามารถ ย่อมเป็นผลมาจากการได้รับการหล่อหลอมที่ดี ตั้งแต่ช่วงเวลาที่ศึกษา และได้รับการ อบรมจากสถาบันผลิตครู ก่อนเข้าสู่วิชาชีพครู หรือก่อนการเป็นครูประจาการ ซึ่งแนวทางที่จะบรรลุถึงคุณลักษณะ ดังกล่าวสามารถดาเนินการได้โดยการออกแบบหลักสูตร และการเรียนการสอนในวิชาชีพครูที่มีประสิทธิภาพขึ้น เสียก่อน จึงจะสามารถผลิตครูวิชาชีพขึ้นมาได้ ดังนั้นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรสาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการศึกษา จึงได้ขยาย เวลาเพิ่มจากเดิมคือ จากหลักสูตร 4 ปี เป็น 5 ปี เพื่อให้นักศึกษาครูได้เรียนเพิ่มจากเดิม 3 ปีครึ่ง เป็น 4 ปี และ ขยายเวลาในการฝึกประสบการณ์การสอนจากเดิมซึ่งใช้เวลา 1 ภาคเรียน ขยายเป็น 2 ภาคเรียน หรือ 1 ปี การศึกษา เพื่อเป็นการเสริมสร้างทักษะและประสบการณ์การเป็นครู ให้กับนักศึกษาครู ซึ่งนับว่าเป็นมิติใหม่ในการ ผลิตครูโดยเฉพาะอย่างยิ่งการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูเป็นปัจจัยในการผลิตบุคลากรในวิชาชีพครูและเป็นการให้ ประสบการณ์ที่มีคุณค่าต่อนักศึกษาครู โดยการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูเป็นการเชื่อมโยงระหว่างทฤษฎีการศึกษา และการนาไปปฏิบัติการสอน (Theory-Practice Interconnections) (Siegel. 1990 อ้างถึงใน วรรณจรีย์ มังสิงห์, 2541) ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสาคัญส่วนหนึ่งของหลักสูตรการผลิตครู ที่จาเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสม เพื่อ รองรับหลักสูตรการปฏิรูปการฝึกหัดครู ซึ่งสานักงานปฏิรูปการศึกษาได้เสนอกรอบรายละเอียด ระบบการผลิตครู และบุคลากรทางการศึกษา ต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาดาเนินการตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3 ) พ.ศ. 2553 เพื่อให้ได้ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการ ศึกษาที่มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพครู สามารถจัดการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างทั่วถึงและส่งผลต่อการพัฒนาที่ ยั่งยืนของประเทศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ(1) การผลิตครูและบุคลากรทางการศึกษา รุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ มาตรฐานวิชาชีพครูชั้นสูงและมีปริมาณสอดคล้องกับความต้ องการ (2) การสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาของสังคมต่อ วิชาชีพครู (3) การพัฒนาสถาบันผลิตครู และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้มีความพร้อม มีความเข้มแข็งในการ ผลิตครู และบุคลากรทางการศึกษารุ่นใหม่ และพัฒนาครูบุคลากรประจาการอย่างต่อเนื่อง ดั ง นั้ น การฝึ ก ประสบการณ์ วิ ชาชี พ ครู จึ ง ต้ อ งมี แ นวคิ ด และมี ค วามเข้ า ใจเบื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ การฝึ ก ประสบการณ์วิชาชีพครู ในด้านการดาเนินการวางแผนปฏิบัติงาน ด้านการจัดการของฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
418
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ครู ซึ่งการที่จะทาให้จุดมุ่งหมายของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูบรรลุผลสาเร็จ และมีประสิทธิภาพ จาเป็นต้อ ง อาศั ย ความร่ ว มมื อ จากหน่ ว ยงานและบุ ค ลากรหลายฝ่ า ย การวางแผนการด าเนิ น งาน และการจั ด การฝึ ก ประสบการณ์วิชาชีพครูที่ดีจะต้องได้รับความร่วมมืออย่างจริงจังไม่ว่าจะเป็นฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อาจารย์ นิเทศก์ของสถาบัน หรือฝ่ายผู้บริหารสถานศึกษา และครูพี่เลี้ยงของโรงเรี ยนที่นักศึกษาไปทาการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู เพราะโรงเรียนเป็นองค์ประกอบที่สาคัญที่จะทาให้การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูประสบผลสาเร็จ ช่วย ให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ในการเป็นครูที่ดี ผู้บริหารสถานศึกษาและครูพี่เลี้ยงจะช่วยส่งเสริมสมรรถภาพในการ เป็นครูที่ดีแก่นักศึกษา โรงเรียนเป็นแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูที่จะเอื้ออานวยประสบการณ์ต่างๆ ให้นักศึกษา ที่เป็นประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพอย่างแท้จริง (สุดธิดา จันทร์มณี. 2540 : 1-3) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ซึ่งดาเนินการจัดการศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต (ค.บ. 5 ปี) ตั้งแต่ปีการศึกษา 2547 และเป็นสถาบันการผลิตครูที่ดาเนินการจัดประสบการณ์วิชาชีพครู โดยฝ่ายฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ได้จดั ส่งนักศึกษาออกไปตามโรงเรียนต่างๆ เพือ่ ทาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู โดยนักศึกษาเป็นผู้เลือกโรงเรียนตามที่กาหนดมีการวางแผนการปฏิบัติการสอน ตามวิชาเอกที่ได้เรียนมา สัปดาห์ละ 10 -12 ชั่วโมง ภายใต้การนิเทศของครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศก์ มีการ ประชุมสัมมนาระหว่างการฝึกปฏิบัติการสอน เพื่ออภิปรายและวิเคราะห์ปัญหาร่วมกันระหว่างนักศึกษาเอง และ สัมมนาผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศก์ เพื่อสรุปผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของนักศึกษา ภายหลังการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูเรียบร้อยแล้วอีกครั้งหนึ่ง คุรุ ส ภาซึ่ งเป็ น หน่ว ยงานที่ กาหนดมาตรฐานวิ ชาชีพ ทางการศึ ก ษาได้ ประกาศก าหนดสาระความรู้ สมรรถนะและมาตรฐานการปฏิ บั ติ งานของผู้ป ระกอบวิ ชาชี พ ครู เป็ น เกณฑ์ ม าตรฐานวิ ชาชี พ ครู จ านวน 11 มาตรฐานดังนี้ (1) ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยู่เสมอ (2) ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรม ต่างๆ โดยคานึงถึงผลที่จะเกิดกับผู้เรียน (3)มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ (4) พัฒนาแผนการสอนให้ สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง (5) พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ (6) จัดกิจกรรมการเรียนการ สอนโดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผู้เรียน (7) รายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างมีระบบ (8) ปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน (9) ร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ (10) ร่วมมือกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ใน ชุมชน (11) แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา (12) สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกสถานการณ์ (www.ksp.or.th) ซึ่งเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู เป็นข้อกาหนดที่เกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภาพที่พึงประสงค์ที่ ต้องการให้เกิดขึ้นในการประกอบอาชีพครู และใช้เป็นเกณฑ์ในการปฏิบัติงานเพื่อเป็นหลักประกันได้ว่าผู้เรียนจะ ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการปฏิบัติหน้าที่ทางด้านการสอน และทาให้ผู้เรียน ผู้ปกครองและสังคมมีความเชื่อมั่นต่อ การประกอบอาชีพครู ว่าผู้เรียนจะได้รับการตามมาตรฐานการเรียนการสอนอย่างมีมาตราฐานและคุณภาพ ซึ่งเป็น ความจาเป็นที่จะต้องศึกษาข้อมูลดังกล่าวเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการปรับปรุงแนวทาง การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ครูในอนาคต การฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครูมีความสาคัญยิ่งในการเตรียมนักศึกษาไปสู่อาชีพครู และการฝึ ก ประสบการณ์วิชาชีพครู ควรได้รับความร่วมมือจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ผู้วิจัยซึ่งทาหน้าที่ปฏิบัติงานในฐานะ นักวิชาการฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูทาหน้าที่ในการประสานงานการศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ จึงมีความเห็นว่าควรจะศึกษาสภาพของการปฏิบัติจริง และสมรรถนะการปฏิบัติงานของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูสาหรับนักศึกษาที่จะออกไปเป็นครู เพื่อนาผล การศึ ก ษามาวิ เ คราะห์ แ ละเป็ น แนวทางในการพั ฒ นาการฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ครู ของคณะครุ ศ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป
419
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา และครูพี่เลี้ยง 2. เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู ของนักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ขอบเขตของการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วยผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยงในสถานศึกษา สังกัด สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1, 2, 3 และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ที่ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต ชั้นปีที่ 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ในปี การศึกษา 2560 ซึ่งเป็นผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 314 คน และ ครูพี่เลี้ยง จานวน 1,326 คน ขอบเขตด้านเนื้อหา เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู จานวน 12 มาตรฐานมีดังนี้ (1) ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการ พัฒนาวิชาชีพครูอยู่เสมอ (2) ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ โดยคานึงถึงผลที่จะเกิดกับผู้เรียน(3) มุ่งมั่นพัฒนา ผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ (4) พัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบัติได้เกิดผลจริง (5) พัฒนาสื่อการเรียนการสอน ให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ (6) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผลถาวรที่เกิดแก่ผู้เรียน (7) รายงานผลการ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างมีระบบ (8) ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน (9) ร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษา อย่างสร้างสรรค์ (10) ร่วมมือกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ในชุมชน (11) แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา (12) สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกสถานการณ์ ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ได้แก่ ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง ที่มีต่อ สมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ได้แก่ แนวทางการพัฒนา สมรรถนะการปฏิบัติการงานใน สถานศึกษาของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ระยะเวลา ปีการศึกษา 2560 วิธีดาเนินการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วยผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยงในสถานศึกษา สังกัด สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1, 2, 3 และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ที่ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต ชั้นปีที่ 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ในปี การศึกษา 2560 ซึ่งเป็นผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 314 คน และครูพี่เลี้ยง จานวน 1,326 คน กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ได้ แก่ผู้บริหารสถานศึกษา และครู พี่เลี้ยงในสถานศึกษาที่มีนักศึกษา หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
420
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
สุรินทร์ เขต 1, 2, 3 และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 จังหวัดสุรินทร์ ได้มาโดยการเลือกแบบ เจาะจง (purposive sampling) ได้แก่ผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 314 คน และครูพี่เลี้ยง จานวน 314 คน การวิ จั ย ในครั้ ง นี้ ศึ ก ษาสมรรถนะการปฏิ บั ติ งานตามเกณฑ์ ม าตรฐานวิ ช าชี พ ครู ข องนั ก ศึ ก ษาฝึ ก ประสบการณ์วิชาชีพครู : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ซึ่งผู้วิจัยได้ดาเนินการตามลาดับขั้นตอน ดังนี้ 1. การสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อสมรรถนะด้านการปฏิบัติงานของนักศึกษาฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในขั้นตอนนี้ คือ แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อสมรรถนะด้านการปฏิบัติงาน ตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูในสถานศึกษาของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ผู้วิจัยดาเนินการดังนี้ 1. ศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์การผลิตและพัฒนาครูในแผนการพัฒนา การศึกษาแห่งชาติ ระยะที่ 9-10 มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาและจรรยาบรรณของวิชาชีพรูปแบบการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครูสมรรถนะ การปฏิบัติงานในสถานศึกษา 2. ศึกษาการสร้างแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) ตามวิธีของ ลิเคิร์ท 3. สร้างแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อสมรรถนะด้านการปฏิบัติงานในสถานศึกษาของนักศึกษาฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครูโดยแบ่งเป็น 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ความคิดเห็นที่มีต่อสมรรถนะด้านการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู 4. นาแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อสมรรถนะด้านการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูใน สถานศึกษาของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผล จานวน 3 คน ทาการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง และความสอดคล้องของเนื้อหา หลังจากนั้นนาผลการตรวจสอบมาหา ค่าดัชนีความสอดคล้อง โดยใช้สูตรของ พรรณี ลีกิจวัฒนะ (2550 : 106) การเก็บรวบรวมข้อมูล การดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยดาเนินการดังนี้ 1. สอบถามความคิ ด เห็ น ของผู้ บ ริ ห ารโรงเรี ย นฝึ ก ประสบการณ์ วิ ชาชี พ ครู ที่ มี ต่ อ สมรรถนะการ ปฏิบัติงานของนักศึกษา จานวน คน 2. สอบถามความคิดเห็นของครูพี่เลี้ยงในโรงเรียนฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูที่มีต่อสมรรถนะการ ปฏิบัติงานของนักศึกษา จานวน คน การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ ผู้วิจัยนาข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์ โดยสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ (พิสณุ ฟองศรี. 2553 :154-157) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) 2. การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) วัตถุประสงค์ของการดาเนินการสนทนากลุม่ เพื่อศึกษาข้อมูลด้านความคิดเห็น ความรู้สึก และทัศนคติที่ มีต่อแนวทางการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู จากผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้อง โดยมีผู้ร่วมสนทนากลุ่มและเหตุผลในการคัดเลือกผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่ม ดังนี้ 1. ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู โดยผู้วิจัยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จานวน 3 คน เหตุผลในการคัดเลือก คือ เป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
421
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ในฐานะเป็นเจ้าของสถานที่ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู โดยตรง ซึ่งจะสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวข้องกับการ ปฏิบัติงานการสอน และการปฏิบัติงานของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในสถานศึกษา และการให้ข้อคิด พิจารณาในแนวทางการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติตนของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูได้เป็น อย่างดี 2. ครูพี่เลี้ยง ในโรงเรียนฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู โดยผู้วิจัยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จานวน 3 คน เหตุผลใน การคัดเลือก คือ เป็นผู้ที่เกี่ยวข้องในการดูแลแนะแนวทางในการปฏิบัติการสอนและ การปฏิบัติงาน ในหน้าที่ครู ตามระเบียบปฏิบัติของทางราชการที่ใกล้ชิดกับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มาก ที่สุด ซึ่งจะสามารถให้ข้อมูลเกี่ยวข้องกับความรู้ ความสามารถในการออกแบบและพัฒนาการเรียนรู้สาหรับนักเรียน การ ปฏิบัติงานในหน้าที่ครู บุคลิกภาพและการปฏิบัติงานในฐานะครูผู้สอนของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ได้เป็น อย่างดี 3. อาจารย์นิเทศสาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ โดยผู้วิจัยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จานวน 3 คน เหตุผลในการคัดเลือก คือ อาจารย์นิเทศก์ในสาขาวิชาสังคมศึกษา เป็นผู้ทา หน้าที่สอนนิเทศติดตามให้คาแนะนา ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง แก้ไข การจัดการเรียนรู้และประเมินผลการ ปฏิบัติงานของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูและเป็นผู้ประสานงานกับบุคลากรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครู ระหว่างโรงเรียน ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูและมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 4. นักวิชาการศึกษา ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ โดยผู้วิจัยใช้วิธีการ เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จานวน 3 คน ซึ่งนักวิชาการศึกษาดังกล่าวมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานที่ เกี่ยวข้องกับการให้ความรู้ความเข้าใจการปฏิบัติงานนักศึกษาในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในสถานศึกษา รวมจานวนผู้สนทนากลุ่มทั้งสิ้น 12 คน กาหนดระยะเวลาในการสนทนากลุ่ม ๆ 3 ชั่วโมง ซึ่งผู้วิจัยได้กาหนด ประเด็นการสนทนากลุ่ม ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้ ตอนที่ 1 สภาพและข้อมูลทั่วไปของผู้ร่วมสนทนากลุ่ม ได้แก่ ชื่อ – สกุล เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตาแหน่ง และประสบการณ์ในการมีส่วนร่วมกับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู โดยผู้ร่วมสนทนากลุ่ม จะเป็นผู้กรอก ข้อมูล ตอนที่ 2 ประเด็นที่ใช้ในการสนทนากลุ่มเกี่ยวกับสภาพการดาเนินการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ได้แก่ 1) แนวทางการเตรียมความพร้อมการปฏิบัติงานในสถานศึกษาของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูที่เกี่ยวข้องกับ วิชาชีพครูและการปฏิบัติงานในหน้าที่ครู 2) การสร้างความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และ 3) การเตรียมความพร้อมสาหรับนักศึกษาครูก่อนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ครู ตอนที่ 3 ประเด็นที่ใช้ในการสนทนากลุ่มเกี่ยวกับแนวทางในการดาเนินการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ครู ได้แก่ แนวทางในการมีส่วนร่วมของบุคลากรผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ตอนที่ 4 ประเด็นที่ใช้ในการสนทนากลุ่มเกี่ยวกับสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์ตามมาตรฐาน วิชาชีพทางการศึกษาของนักศึกษาฝึกประสบการวิชาชีพครู ตอนที่ 5 ประเด็นที่ใช้ในการสนทนากลุ่มเกี่ยวกับข้อเสนอแนะอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา แนนทางการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
422
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
การสร้างประเด็นการสนทนากลุ่ม การสร้างประเด็นการสนทนากลุ่ม เพื่อใช้ประกอบการดาเนินการวิจัย มีลาดับขั้นตอน การดาเนินการ ดังนี้ 1. ศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎีจากหนังสือ เอกสาร ตารา คู่มือ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา นักศึกษาครู การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มาตรฐานวิชาชีพครู 2. นาข้อมูลที่ได้จากการศึกษามาประมวลเพื่อกาหนดโครงร่างและขอบเขตของเนื้อหาในประเด็นการ สนทนากลุ่ม โดยขอคาแนะนา จากผู้เชี่ยวชาญด้านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 3. สร้างประเด็นสนทนากลุ่มตามขอบเขตของเนื้อหาที่กาหนด จากนั้นนาประเด็น การสนทนากลุ่ มที่ สร้างเสร็จ เสนอต่อผู้เชี่ยวชาญด้านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และผู้เชี่ยวชาญด้านการวัดและประเมินผล ตรวจสอบเพื่อให้ข้อเสนอแนะ แล้วนามาปรับปรุงแก้ไขในด้านของภาษาที่ใช้และปรับแก้คาผิด 4. นาประเด็นการสนทนากลุ่มเสนอผูเ้ ชี่ยวชาญด้านภาษา ด้านเนื้อหา และด้านการวัดและประเมินผล จานวน 3 คนเพื่อตรวจสอบคุณภาพของประเด็นสนทนากลุ่ม โดยใช้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคาถามของ แบบสนทนากลุ่มกับลักษณะเฉพาะของกลุ่ม (IOC : Index of Item Objective Congruence) เพื่อนามาปรับปรุง แก้ไข ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.5 – 1.00 แสดงว่า ข้อคาถามของแบบสนทนากลุ่ม กับลักษณะเฉพาะ ของกลุ่มมีความสอดคล้องกัน 5. นาประเด็นการสนทนากลุ่มที่ผ่านการตรวจสอบหาค่าดัชนีความคล้อง (IOC) จากผู้เชี่ยวชาญ มา ปรับปรุงแก้ไข เพื่อความสมบูรณ์ของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 6. นาประเด็นการสนทนากลุ่มไปใช้ ขั้นตอนการสนทนากลุ่ม ในการดาเนินการสนทนากลุ่ม ผู้วิจัยได้ดาเนินการตามลาดับ ดังต่อไปนี้ 1. กาหนดประเด็นการสนทนากลุ่มเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันในการดาเนินการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู แนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติตนของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบตั ิการ สอนที่สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา 2. กาหนดผู้ ร่วมสนทนากลุ่มที่ มีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่ว นเกี่ยวข้ องกับประสบการณ์ในการ ดาเนินการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู โดยผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่มในครั้งนี้ประกอบด้วย 1) ผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 2) ครูพี่เลี้ยง ในโรงเรียนฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 3) อาจารย์นิเทศก์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ และ 4) นักวิชาการศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู รวม จานวน 12 คน 3. ผู้วิจัย ทาหน้าที่เป็นผู้ดาเนินการสนทนากลุ่ม (Moderator) กาหนดประเด็นการสนทนา โดยมีผู้วิจัย และผู้ช่วยวิจัยทาหน้าที่ในการจดบันทึกการสนทนากลุ่ม (Note taker) ผู้ร่วมสนทนากลุ่ม (Discussant) จานวน 12 คน และมีเจ้าหน้าที่คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ทาหน้าที่บันทึกภาพ บันทึกเสียง บันทึกวีดีทัศน์ และ อานวยความสะดวกให้กับผู้ร่วมสนทนากลุ่ม จานวน 2 คน 4. ผู้ดาเนินการสนทนากลุ่ม (Moderator) เริ่มการสนทนากลุ่ม โดยการแนะนาผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่ม และคณะผู้วิจัย โดยสร้างบรรยากาศความเป็นกันเอง จากนั้นชี้แจงวัตถุประสงค์ของการสนทนากลุ่มในครั้งนี้ และ กล่าวถึงความสาคัญของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 5. เริ่มการสนทนาตามประเด็นการสนทนากลุ่ม โดยผู้ดาเนินการสนทนากลุ่ม (Moderator) เป็นผู้นา เสนอประเด็นคาถามในการสนทนากลุ่ม ให้ผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่มทุกคนได้แสดงความคิดเห็นในแต่ละประเด็น แล้ว
423
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ผู้วิจัยสรุปแต่ละประเด็นของข้อคาถามอีกครั้ง เพื่อสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน และควบคุมระยะเวลาในการสนทนา กลุ่มให้เป็นไปตามเวลาที่กาหนด 6. เมื่อผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่มแสดงความคิดเห็นครบทุกประเด็นคาถาม ผู้วิจัยกล่าวขอบคุณ และปิด การสนทนากลุ่ม 7. จัดเตรียมข้อมูลที่ได้ในการสนทนากลุ่ม เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาต่อไป เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ ประเด็นคาถามในการสนทนากลุ่ม จานวน 5 ตอน การบันทึก การสนทนา การบันทึกวีดีทัศน์ และสมุดบันทึกข้อมูลสาหรับผู้จดสนทนา (Note taker) การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลสาหรับการสนทนากลุ่มในครั้งนี้ ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) จากประเด็น คาถามในการสนทนากลุ่ม จานวน 5 ตอน โดยการวิเคราะห์สถานภาพและข้อมูลทั่วไปในตอนที่ 1 โดยใช้การ วิเคราะห์เนื้อหา จากนั้นนาเสนอในรูปแบบตารางประกอบคาบรรยาย และการวิเคราะห์ความคิดเห็นในตอนที่ 2 3 4 และ 5 โดยการวิเคราะห์เนื้อหาและนาเสนอแบบเขียนพรรณนาความ ผลการวิจัย รายงานผลการวิจยั เรื่องการศึกษาสมรรถนะการปฏิบตั ิงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูของนักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 1. สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพจากแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและ ครูพี่เลี้ยงที่มีต่อสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 60.89 เพศหญิง คิด เป็นร้อยละ 39.11 อายุระหว่าง 21-30 ปีคิดเป็นร้อยละ 7.78 อายุระหว่าง 31-40 ปี คิดเป็นร้อยละ 30.44 อายุ ระหว่าง 41-50 ปี คิดเป็นร้อยละ 38.33 อายุระหว่าง 51-60 ปี คิดเป็นร้อยละ 23.44 การศึกษาระดับต่ากว่า ปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 0.56 ระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 37.78 ระดับปริญญาโท คิดเป็นร้อยละ 44 และ ระดับปริญญาเอก คิดเป็นร้อยละ 17.67 เมื่อพิจารณาจาแนกตามตาแหน่ง ผู้บริหารสถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ 46.44 ครูพี่เลี้ยง คิดเป็นร้อยละ 53.56 2. สรุปผลการวิเคราะห์ระดับสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู ของนักศึกษาฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ พบว่าความคิดเห็นที่มีต่อสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์ มาตรฐานวิชาชีพครูโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 4.49 ) โดยผู้บริหารสถานศึกษามีความเห็นต่อสมรรถนะ การปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูอยู่ในระดับมาก ( X =4.45 ) ในขณะที่ครูพี่เลี้ยงมีความคิดเห็นต่อ สมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูในระดับมากที่สุด ( X =4.52 )เมื่อพิจารณาเป็นรายมาตรฐาน ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นต่อสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู มาตรฐานที่ 1 ปฏิบัติ กิจกรรมทางวิชาการหรือพัฒนาวิชาชีพครูให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ มีค่าเฉลี่ยในระดับ มากที่สุดและมาตรฐานที่ 12 สร้าง โอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทุกสถานการณ์ มีค่าเฉลี่ยระดับ ต่าที่สุด ( X = 4.36 ) เมื่อพิจารณาเป็นรายสมรรถนะการ ปฏิ บั ติ งานตามเกณฑ์ ม าตรฐานวิ ชาชี พครู พบว่า การศึก ษาเอกสาร ต าราและสื่ อสารสนเทศด้ ว ยตนเองเพื่ อ พัฒนาการสอนอย่างสม่าเสมอมีค่าเฉลี่ยในระดับมากที่สุด ( X =4.65 ) ในขณะที่สมรรถนะการปฏิบัติงานตาม
424
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูที่มีค่าเฉลี่ยในระดับต่าที่สุด ได้แก่ จัดแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนรู้ผลกระทบจากการกระทาของตนประเมินตนเองได้ ( X = 4.35 ) 3. สรุปผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูตามความ คิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูพี่เลี้ยง พบว่าสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูของ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์โดยภาพรวมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อพิจารณาเป็นรายมาตรฐานพบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาและครูพี่เลีย้ งมีความคิดเห็นแตกต่าง กันในมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ 2 3 4 5 6 7 8 9 และ 11 ในขณะที่มาตรฐานการปฏิบัติงานที่ 1 10 และ 12 ผู้บริหารสถานศึกษาและครูพี่เลี้ยงมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน 4. สรุปผลการวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ พบว่า สมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูที่มีลักษณะเด่นคือ การศึกษาเอกสาร ตาราและสื่อสารสนเทศด้วยตนเองเพื่อพั ฒนาการสอนอย่างสม่าเสมอและเข้าร่วมวางแผนและ แบ่งหน้าที่ในการทางานตามที่ได้รับมอบหมายกับเพื่อนร่วมงานและแนวทางการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานตาม เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ได้แก่ การอบรมสื่อ ความรู้เรื่อง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยให้ผู้เรียนปฏิบัติจริงมากขึ้นและการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนโดยผู้เรียนค้นหาความรู้ได้และสรุปความคิดรวบยอดเอง สร้างผลงานและชิ้นงานได้เองตามคาแนะนา แนวทางการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูในสถานศึกษาของนักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ จากการสนทนากลุ่มพบว่า 1. การดาเนินการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ควรกาหนดปฏิทินการ ปฏิบัติกิจกรรมเพื่อให้บุคลากรผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งในระดับมหาวิทยาลัยและในสถานศึก ษาที่นักศึกษาปฏิบัติงานใน สถานศึกษาได้มีความเข้าใจชัดเจนและปฏิบัติกิจกรรมตามที่กาหนดไว้ในปฏิทิน 2. การดาเนินการกิจกรรมเสริมความเป็นครูวิชาชีพ ให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานใน หน้าที่ครูในระยะเวลาที่เหมาะสม การพัฒนาความสามารถในการจัดทาเอกสารทางวิช าการ เช่น แผนการจัดการ เรียนรู้ โครงการทางวิชาการ การพัฒนาความสามารถในการผลิตสื่อและนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ให้หลากหลาย และการออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้และธรรมชาติของวิชา 3. การดาเนินกิจกรรมเสริมความเป็นครู วิชาชีพ ในด้านงานสนับสนุนการสอนทั้งในสถานศึกษาและ นอกสถานศึกษา ซึ่งสามารถจัดประสบการณ์ให้กับนักศึกษาได้ทั้งในมหาวิทยาลัยและในสถานศึกษาจริง เพื่อ เสริมสร้างประสบการณ์ในการปฏิบัติงานในหน้าที่ครูให้กับนักศึกษาเพิ่มเติม 4. การดาเนินการประสานงานกับเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อศึกษาข้อมูลของโรงเรียนที่จัดการศึกษาเป็น เลิศ และข้อมูล บุคลากรทางการศึก ษาที่ มีความเชี่ ยวชาญในการจัดการเรี ยนรู้เ พื่อใช้เป็น ข้อมู ลพื้นฐานในการ พิจารณาส่งนักศึกษาไปฝึกปฏิบัติงานในสถานศึกษา 5. การดาเนินการจัดทาโครงการความร่วมมือพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้ องกับการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู ให้มีความรู้ความเข้าใจในทิศทางการผลิตนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูซึ่งจะประกอบวิชาชีพครูใน อนาคต 6. การดาเนินการจัดทาโครงการความร่วมมือในการจัดการเรียนรู้จากครูต้นแบบในสาขาวิชาต่างๆ ร่วมกับ อาจารย์ผู้สอนวิชาชีพครูในมหาวิทยาลัย
425
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
7. การดาเนินการพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศในการประสานความร่วมมือการนิเทศติดตาม การปฏิบัติงานของนักศึกษาในสถานศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 8. การด าเนิ น การสร้ า งความรู้ ค วามเข้ า ใจและตระหนั ก ในความส าคั ญ ของการปฏิ บั ติ ต นตาม จรรยาบรรณของวิชาชีพครูแกนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ก่อนที่จะไปปฏิบัติงานในสถานศึกษา วิจารณ์ผลการวิจัย ข้อค้นพบจากการวิจัยเรื่อง การศึกษาสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูของนักศึกษาฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ สามารถอภิปรายผลได้ดังนี้ 1. จากผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูของนักศึกษาฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูพี่เลี้ยงโดย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งเมื่อพิจารณาจาแนกตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาที่มีต่อสมรรถนะการ ปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู อยู่ในระดับมาก และความ คิดเห็นของครูพี่เลี้ยงที่มีต่อสมรรถนะการปฎิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู อยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูพี่เลี้ยงในการสนทนา กลุ่มที่ได้กล่าวถึงความสามารถในการปฏิบัติงานในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ถึงแม้ว่าจะต้องเรียนรู้ต้องทาในสิ่งใหม่ๆ ที่มีประสบการณ์น้อย แต่ก็สามารถปรับเปลี่ยนและปฏิบัติงานซึ่งแสดงถึงการใฝ่หาความรู้ได้ตลอดเวลา สามารถ ปฎิบัติงานได้สาเร็จตามเป้าหมายและเมื่อพิจารณาสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูเป็นราย ด้าน สามารถปฏิบัติงานในมาตรฐานที่ 1ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเพื่อพัฒนาวิชาชีพครูให้ก้าวหน้าอยู่เสมอ มี ค่าเฉลี่ยในระดับมากที่สุด สอดคล้องกับงานวิจัยของ กานนท์ อินทปัญญา (2549 : 83) เรื่องการปฏิบัติงานตาม เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู โรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมาก 5 ด้าน ได้แก่(1) การปฏิบัติงานเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน (2) ร่วมมือกับผู้อื่นในสถานศึกษาอย่าง สร้างสรรค์ (3) ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่างๆโดยคานึงผลที่จะเกิดกับผู้เรียน (4) พัฒนาแผนการสอนให้สามารถ ปฏิบัติให้เกิดผลจริง (5) แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนาและงานวิจัยของ วาทิณี มามุ้ย (2554 : 79) เรื่อง การศึกษาการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพของข้าราชการครูเครือข่ายโรงเรียนที่ 22 สานักงานเขต บางกะปิ กรุงเทพมหานครพบว่า สภาพปัญหาและความต้องการของครูในการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ ครู ด้านการพัฒนาผู้เรียนให้เต็มศักยภาพ ข้าราชการครูต้องการให้มีการจัดอบรมเกี่ยวกับวิธี การพัฒนาผู้เรียนที่ หลากหลายและต้องการให้จัดกลุ่มผู้เรียนตามศักยภาพ ด้านการพัฒนาแผนการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ หลากหลายและทันสมัย ด้านการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน จัดการอบรมการผลิตและการใช้สื่อที่ทันสมัย ด้านการ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน ข้าราชการครูต้องการให้มีการจัดการอบรมเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพ 2. แนวทางการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูในสถานศึกษาของ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสนทนากลุ่ม มี สาระสาคัญนามาอภิปรายผลได้ดังนี้ 2.1 การกาหนดปฏิทินการดาเนินการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูให้มีความชัดเจน เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในแนวทางการพัฒนานักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ให้กับบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏ สุรินทร์ ซึ่งประกอบด้วย อาจารย์นิเทศก์ของนักศึกษาในสาขาวิ ชาการต่างๆ และนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ครู และบุคลากรภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ซึ่งประกอบด้วย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
426
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
จังหวัดสุรินทร์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา จังหวัดสุรินทร์ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยงในโรงเรียนที่ นักศึกษาไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา แม้ว่านักวิชาการศึกษา ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราช ภัฏสุรินทร์ จะได้ดาเนินการจัดทาปฏิทิน ดังกล่าว และประชาสัมพันธ์ให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องได้ทราบแล้วก็ตาม แต่ก็ พบว่ายังประสบปัญหาในการดาเนินการทั้งนี้อาจเนื่องมาจากความไม่ชัดเจนของการมอบหมายความรับผิดชอบใน การดาเนินการประสานงาน และปฏิบัติงานในบทบาทหน้าที่ของการบริหารจัดการดาเนินการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ การพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างอาจารย์นิเทศก์ในสาขาวิชาต่างๆ ที่ สังกัดอยู่ในหลายๆคณะ และผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยงในโรงเรียนฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู รวมถึงความรู้ ความเข้าใจที่ชัดเจนเกี่ยวกับ หลักเกณฑ์และแนวทางการผลิตนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตที่สานักงาน เลขาธิการคุรุสภากาหนด ที่ทาให้เกิดผลกระทบต่อประสิทธิภาพการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติ งานตามเกณฑ์ มาตรฐานวิชาชีพครูในสถานศึกษาของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ 2.2 การดาเนินการจัดกิจกรรมเสริมความเป็นครูวิชาชีพ ให้นักศึกษาสามารถจัดทา เอกสารทาง วิชาการ เช่น โครงการพัฒนาวิชาการ แผนการจัดการเรียน สื่อการเรียนรู้ และเครื่องมือวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ ซึ่งเป็นสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู ในมาตรฐานที่ 2 การตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ โดยคานึงถึงผลที่จะเกิดกับผู้เรียน มาตรฐานที่ 3 มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้เติบโตเต็มศักยภาพ มาตรฐานที่ 4 พัฒนา แผนการสอนให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ใ ห้ เ กิ ด ผลได้ จ ริ ง ในชั้ น เรี ย น มาตรฐานที่ 5 พั ฒ นาสื่ อ การเรี ย นการสอนให้ มี ประสิทธิภาพอยู่เสมอและ มาตรฐานที่ 7 รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้อย่างมีระบบ ซึ่งในแนว ทางการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูในสถานศึกษา ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู นั้น ควรมีความรู้ความเข้าใจในการศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล สามารถจัดกลุ่มนักเรียน เก่ง -อ่อน ก่อน สอน การออกแบบหลักสูตรให้เหมาะสมกับสภาพจริงของนักเรียน ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ ให้ปฏิบัติและเรียนรู้ตามสภาพจริงที่สอดคล้องกับชีวิตประจาวัน วัดและประเมินผลตามสภาพจริงที่นักเรียนรู้ หรือปฏิบัติได้ ข้อบกพร่องใดสามารถนามาวิเคราะห์จัดทาโครงการสอนซ่อมเสริม ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ที่ได้กาหนดแนวทางการจัดการศึกษาที่สนองความแตกต่างระหว่างบุคคลไว้ใน มาตรา 22 ว่าการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่า เป็นความสาคัญที่สุดแม้ว่านักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูจะได้เรียนทฤษฎี หรือแนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบ และพัฒนาการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรมการเรียนรู้ รวมถึงการวัดและประเมินผลทางการศึกษา แต่ยังมีนักศึกษาบาง สาขาวิชาเช่น นักศึกษาสาขาพลศึกษายังขาดประสบการณ์ในการจัดทาเอกสารทางวิชาการ และแผนการจัดการ เรียนรู้ จึงควรให้หน่วยงานในมหาวิทยาลัยที่มีบทบาทหน้าที่เกี่ยวข้องได้จัดอบรมการเขียนรูปแบบแผนการจัดการ เรียนรู้ที่ถูกต้องครบถ้วนตามมาตรฐาน การประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ โดยบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในการ ตรวจสอบคุ ณ ภาพของแผนการจั ดการเรี ยนรู้ ที่นั ก ศึก ษาจัด ท าล่ ว งหน้ าด้ ว ยตนเอง ก่อ นไปปฏิบั ติ การสอนใน สถานศึกษา ทั้งนี้แผนการจัดการเรียนรู้ในเครื่องมือที่จะทาให้นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิ ชาชีพครู จัดกิจกรรมให้ นักเรียนได้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนด สอดคล้องกับ คันนิงแฮม Cunningham. อ้างอิงใน กานนท์ อินทปัญญา 2559 : 90) ที่ได้ศึกษา การพัฒนาการสอนคณิตศาสตร์ของครูประถมศึกษาพบว่า ความสาคัญในการเรียนและความ เข้าใจในการแก้ไขปัญหาทางคณิตศาสตร์ของผู้เรียน ครูเป็นผู้นา และมีบทบาทสาคัญในการเตรียมความพร้อมก่อน การจัดการเรียนการสอน ในการพัฒนาปรับปรุงเทคนิควิธีสอน การใช้สื่อการสอน และเปลี่ยนแปลงกิจกรรมการ เรียนการสอนอยู่เสมอ นอกจากการอบรมเรื่องการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้แล้ว การจัดประสบการณ์ให้นักเรียน ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูได้ผลิตสื่อ หลังการใช้สื่อ และผลการใช้สื่อและนวัตกรรมการเรียนรู้ที่ประสบผลสาเร็จ
427
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
เพื่อนนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ได้ทราบและทดลองนาไปใช้ ซึ่งสอดคล้องกับกระทรวงศึกษาธิการ ได้ สนับสนุนให้ครูผู้สอนหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจัดทาและพัฒนาแผนแม่ บทและมาตรฐานการใช้สื่อและเทคโนโลยีเพื่อ การเรียนการสอน ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการจัดหา ผลิต พัฒนา และเผยแพร่ตามมาตรฐานที่กาหนด จัดหาและ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้เพียงพอและทันสมัย และสอดคล้องกับ เรย์ไนลด์ (Raynelel อ้างถึงใน กานนท์ อินทปัญญา. 2549 : 91) ได้ศึกษาวิจัยองค์ความรู้สาคัญในการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ พบว่า ครูควรใช้สื่อการ สอนที่หลากหลาย ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ สอนโดยยึดหลักความแตกต่างระหว่างบุคคล การวัดและ ประเมินผล ให้ประเมินจากสภาพจริงประเมินอย่างหลากหลายทั้งประเมินตนเอง เพื่อนครู และผู้ปกครอง 2.3 การดาเนินการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์การปฏิบัติงานในหน้าที่ครูด้านการสนับสนุนการ สอนทางในมหาวิทยาลัยและในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งสามารถสร้างความร่วมมือกับโรงเรียนใน เครือข่ายร่วมพัฒนาวิชาชีพครู ในการฝึกประสบการณ์ในเวลาเรียนปกติ เพื่อเรียนรู้การวิเคราะห์คน วิเคราะห์งาน ฝึกการบริหารจัดการที่เหมาะสม ส่งเสริมให้นักศึกษาเรียนรู้การเป็นผู้นาที่มีประสิทธิภาพและเป็นระบบสามารถ ทางานร่วมกับบุคลากรในสถานศึกษา สร้างจิตสานึกในการรับผิดชอบ ความมุ่งมั่นต่อการปฏิบัติงานในสถานศึกษา อย่างจริงจังร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ 2.4 การประสานงานกับเขตพื้นที่การศึกษาซึ่งมีสถานศึกษาในสังกัดและมีข้อมูลเกี่ยวกับโรงเรียนที่ ประสบความสาเร็จในการบริหารสู่ความเป็นเลิศ และข้อมูลเกี่ยวกับบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ ซึ่งเป็นข้อมูลสาคัญในการกาหนดเกณฑ์มาตรฐานและความมั่นใจในการส่งนักศึกษาไปฝึกปฏิบัติสอนใน สถานศึกษา ซึ่งแม้ว่าในปัจจุบันฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู จะดาเนินการจัดทาหลักฐานข้อมูลโรงเรียนฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครูที่มีความประสงค์ต้องการนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และการดาเนินการใช้ข้อมูล สารสนเทศดังกล่าวยังไม่ได้ดาเนินการอย่างเป็นระบบและการร่วมมือในการตรวจสอบความสมบูรณ์และถูกต้องของ ข้อมูลที่สามารถนาไปใช้เป็นฐานข้อมูลในการพัฒนาคุณภาพนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราช ภัฏสุรินทร์ 2.5 การดาเนินการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์และโรงเรียน ที่เป็ นสถานศึ กษาร่วมพัฒนานัก ศึกษาครู ซึ่งควรจะดาเนิน การให้เ ป็นรู ปธรรมเพราะเป็ นความร่ วมมื อระหว่า ง มหาวิทยาลัยซึ่งเป็นหน่วยผลิตนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และโรงเรียนซึ่งเป็นหน่วยงานร่วมพัฒนาและ เป็นผู้ใช้บัณฑิตครูในอนาคต รวมถึงการใช้เครือข่ายสารสนเทศร่วมกันในการนิเทศติดตามการพัฒนานักศึกษาฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครูในสถานศึกษา 2.6 การดาเนินการสร้างความรู้ความเข้าใจและตระหนักในความสาคัญของการปฏิบัติตนตาม จรรยาบรรณวิชาชีพ ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ก่อนจะไปปฏิบัติงานใน สถานศึกษา เพราะอาชีพครูเป็นอาชีพที่มีจรรยาบรรณ การปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีและได้รับการยอมรับจาก นักเรียน เข้าเรียนในหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตในมหาวิทยาลัย โดยฝึกฝนให้ยึดเป็นแนวปฏิบัติ และกร ะตุ้นให้ นักศึกษาเกิดความตระหนักในการแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับอาชีพครูในอนาคต ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ รังสิมา พานประเสริฐ อ้างอิงใน กานนท์ อินทปัญญา (2549 : 92) ศึกษาวิจัยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม ของผู้บริหารโรงเรียนตามเกณฑ์มาตรฐานผู้บริหารการศึก ษากับพฤติกรรมของครูตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู โรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดกาญจนบุรี
428
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
ข้อเสนอแนะ จากข้อค้นพบของการวิจัย ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะดังนี้ ข้อเสนอแนะทั่วไป 1. การปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูในสถานศึกษาของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์โดยรวมอยู่ในระดับมากแต่พบว่ามาตรฐานด้านการพัฒนาแผนการสอนให้สามารถ ปฏิบัติให้เกิดผลได้จริงในชั้นเรียนและมาตรฐานด้านการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ จึง ควรส่งเสริมให้มีการจัดกิจกรรมเสริมไม่ว่าด้วยวิธีการอบรม สัมมนาการประชุมเชิงปฏิบัติการหรือการจัดหาเอกสาร ให้คาแนะนาปรึกษาเพิ่มเติมก่อนการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2. สภาพการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูในสถานศึกษา ขอนักศึกษาฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ แสดงให้เห็นว่า สมรรถนะที่ควรตรวจสอบและพัฒนาความพร้อมให้มาก ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ผู้เรียน การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนาไปปฏิบัติได้จริง การจัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายและทันสมัย การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ และการออกแบบ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 1. จากการวิ จัย ครั้ งนี้ เป็ นการศึก ษาสมรรถนะการปฏิบั ติงานตามเกณฑ์ มาตรฐานวิ ชาชีพ ครู ของ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์เท่านั้น ดังนั้น ควรมีการศึกษาในด้านมาตรฐาน ความรู้และประสบการณ์วิชาชีพครูและมาตรฐานการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู 2. การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาสมรรถนะการปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูของนักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์เท่านั้น ควรศึกษากลุ่มประชากรในสถาบันการศึกษาที่ผลิต นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตอื่นๆ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพของนักศึกษาที่จะเป็นครูต่อไปใน อนาคต 3. ควรศึกษาสมรรถนะการปฏิบัติตนตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูโดยใช้วิธีการวิจัยในรูปแบบอื่นๆ เช่น การหาความสัมพันธ์หรือการศึกษาในรายกรณี เอกสารอ้างอิง กานนท์ อินทปัญญา .(2549).การปฏิบัติงานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูของครูโรงเรียนกรรณสูตศึกษาลัย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ระดับ ปริญญาโท.ปริญญาศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต,สาขาวิชาบริหารการศึกษา,บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร. ประมุข กอปร์สิริพัฒน์. (2548). การพัฒนาหลักสูตรการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูตามหลักสูตรการปฏิรูปการ ฝึกหัดครู. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต , สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. พิสณุ ฟองศรี. (2553). วิธีทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ด่านสุทธาการพิมพ์. พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2550). วิธีการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะ ครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. มนตรี จุฬาวัฒนทล. (2543). นโยบายการผลิตและการพัฒนาครู. กรุงเทพมหานคร : สานักงานปฏิรูปวิชาชีพครู สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี.
429
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
SRRU NCR2018
วาทิณีมามุย้. (2554).การปฏิบัติงานตามเกณฑม์าตรฐานวชิาชีพของข้ าราชการ ครู เครือข่ายโรงเรียนที่ 22 สานักงานเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร.ปริญญา นิพนธ์การศึกษามหาบั ณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา บณัฑิตวิทยาลยั มหาวทิยาลยัศรีนครินทรวโรฒ. วรรณจรีย์ มังสิงห์. (2541). อีกมุมหนึ่งของการพัฒนาวิชาชีพครูในการพัฒนาความก้าวหน้าในวิชาชีพครู . ขอนแก่น : พระธรรมขันต์. วิ โ รจน์ สารรั ต นะ. (2541). “ครู กั บ การพั ฒ นา : บทบาทที่ เ สริ ม สร้ า งคุ ณค่ า วิช าชี พ ”. ในการพั ฒนา ความก้าวหน้าในวิชาชีพครู. ขอนแก่น : พระธรรมขันต์. สุดธิดา จันทร์มณี. (2540). การจัดการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ในสถาบันราชภัฏเชียงราย . วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยแม่โจ้. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ . (2543). รายงานการวิจัยเอกสาร เรื่องนโยบายการผลิตและการ พัฒนาครู. กรุงเทพมหานคร : วี.ที. ซี.คอมมิวนิเคชั่น. _______. (2546). 3 ปีของสานักงานปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ดี. www.ksp.or.th /ksp 2013 /content /view.php สืบค้นเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2561
430
การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ครั้งที่ 13 21 – 22 เมษายน 2561
431
SRRU NCR2018
186 อาคารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรนิ ทร์ ตาบลนอกเมือง อาเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ 32000