ภิกขุปาติโมกข์ปาฬิ ฉบับ จปร. อักษรสยาม ปาฬิภาสา-อักษรสยาม เทียบกับ เสียงอ่าน ตามอักขรวิธเี ขียนพระไตรปิฎกปาฬิ อักษรสยาม ๒๔๓๖
พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช อักษรสยาม ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล ๒๕๕๔
ภิกขุปาติโมกข์ปาฬิ ฉบับ จปร. อักษรสยาม จัดพิมพ์ในวาระ ๑๐๐ ปี วันสวรรคต
พระจุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช และ เผยแผ่เป็นธัมมทานเนื่องในโอกาสที่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้
สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินแทนพระองค์ ในงานพระราชทานเพลิงถวายสรีระ
พระธรรมวิสุทธิมงคล (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน) ณ วัดป่าบ้านตาด อุดรธานี วันที่ ๕ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๕๔
ภิกขุปาติโมกข์ปาฬิ ฉบับ จปร. อักษรสยาม ปาฬิภาสา-อักษรสยาม เทียบกับ เสียงอ่าน ตามอักขรวิธเี ขียนพระไตรปิฎกปาฬิ อักษรสยาม ๒๔๓๖
พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช อักษรสยาม ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล ๒๕๕๔
สนทนาธัมม์นำสุข
กองทุนสนทนาธัมม์นำสุข ท่านผู้หญิง ม.ล. มณีรัตน์ บุนนาค ในพระสังฆราชูปถัมภ์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
คำนำในการจัดพิมพ์ ภิกขุปาติโมกขปาฬิ ฉบับ จปร. อักษรสยาม (ภิกขุปาติโมกขปาฬิ อ่านว่า ภิกขุปาติโมกขะปาฬิ)
ในปี พ.ศ. 2431 เมือ่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 พระเจ้ากรุงสยามทรง โปรดให้จดั พิมพ์พระไตรปิฎก “ปาฬิภาสา” หรือ “ภาษาพระธัมม์” เป็นชุดหนังสือพระไตรปิฎกปาฬิ 39 เล่มนั้น ปัญหาที่สำคัญยิ่งคือ การสร้างระบบอักขรวิธีการเขียน “ปาฬิภาสา” ขึ้นใหม่ที่จะ พิมพ์ด้วย “อักษรสยาม” ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพราะพระไตรปิฎกปาฬิฉบับเก่าแก่ของชาติ ไทยนั้น เป็นฉบับที่เขียนด้วยมือเป็นอักษรขอมโบราณบนใบลานที่ได้สังคายนาไว้ตั้งแต่ พ.ศ. 2331 ในสมัยรัชกาลที่ 1 เหตุผลสำคัญที่ทรงโปรดให้ใช้อักขรวิธีการเขียนปาฬิภาสาด้วยอักษรสยาม ก็เพื่อให้คนไทย ทั่วทั้งประเทศสามารถอ่านปาฬิภาสาด้วยอักษรสยามได้โดยสะดวก แทนอักษรขอมที่ใช้บันทึกปาฬิ อยู่เดิม โดยไม่จำกัดให้รู้อยู่เฉพาะในวงการสงฆ์ หรือผู้ซึ่งคุ้นเคยกับปาฬิภาสาอักษรขอมที่มีจำนวน จำกัด เนื่องจากขอมเป็นอักษรโบราณในพระไตรปิฎกใบลานที่ประชาชนชาวไทยทั่วไปไม่สามารถ อ่านได้แล้ว 5
ในด้านบริบททางประวัติศาสตร์ยุคนั้น มหาอำนาจตะวันตกได้ยึดครองประเทศเพื่อนบ้าน ของสยามไปหมดสิ้นแล้ว การเปลี่ยนการบั น ทึ ก อารยธรรมภู มิปัญ ญาสู ง สุ ด ของสยามในพระ ไตรปิฎกที่สืบทอดมากว่าสองพันปี จากอักษรขอมเป็นอักษรสยาม ซึ่งเป็นการริเริ่มของพระมหา กษัตริยพ์ ุทธมามกะจึงเป็นความคิดที่ก้าวล้ำนำยุคของการอนุรักษ์คำสอนในพระพุทธศาสนาในยุค ใหม่ แม้อักษรขอมเคยเป็นวัฒนธรรมในการจารึกพระคัมภีร์ในดินแดนสุวรรณภูมิเป็นเวลานับพัน ปี และเคยนิยมว่าเป็นอักษรในคัมภีรใ์ บลานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ แต่อกั ษรขอมก็เป็นภาษาในวัฒนธรรมเขมร ซึ่งในขณะนั้นได้ตกเป็นเมืองขึ้นของฝรั่งเศสแล้ว การเปลี่ยนแปลงเป็นอักษรสยามที่ก้าวล้ำนำสมัย เช่นนี้จึงมิใช่เป็นเรื่องง่าย อย่างไรก็ตามการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกอักษรสยามก็สำเร็จลุล่วงทันเวลา มีการประดิษฐ์อักขรวิธีการเขียนปาฬิภาสาพร้อมด้วยการใช้เครื่องหมายกำกับอักษรสยามที่เป็น เอกลักษณ์ของชาติไทย และตรงกับด้านคัมภีีร์สัททนีติที่เก่าแก่และวิชาการด้านสัททศาสตร์สมัย ใหม่ ในการอนุรักษ์เสียงพระธัมม์ในพระไตรปิฎกปาฬิ เป็นทีอ่ ศั จรรย์วา่ ต้องใช้เวลาถึง 6 ปี ในการดำเนินงานต่างๆ ได้แก่ การตรวจทาน การปริวรรต อักษรขอมเป็นอักษรสยาม การจัดทำต้นฉบับ และการจัดพิมพ์เป็นชุดหนังสือที่ทันสมัยเป็นชุดแรก ของโลก 39 เล่ม ซึ่งสำเร็จลงในปี พ.ศ. 2436 หรือรัตนโกสินทรศก ร.ศ. 112 ซึ่งเป็นปีที่สยามกำลัง มีวิกฤตร้ายแรงกับฝรั่งเศสที่หวังยึดกรุงสยาม แต่ด้วยอำนาจแห่งปัญญาบารมีของผู้นำประเทศที่ จะรักษาพระธัมมวินัย กรุงสยามจึงสามารถรักษาเอกราชและความเป็นไทมาได้ ทั้งนี้ก็ด้วยความ สุขุมคัมภีรภาพของผู้นำสยาม ที่ใช้วิเทโศบายทางการเมืองและการต่างประเทศอย่างชาญฉลาด ทำให้พระพุทธศาสนาและพระไตรปิฎกยังคงสืบทอดอยู่ในแผ่นดินไทยอย่างบริสุทธิ์บริบูรณ์มา จนถึงทุกวันนี้ ปัจจุบันพระไตรปิฎกปาฬิชุดนี้ ได้รับการขนานนามว่า “พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้า บรมธัมมิกมหาราช อักษรสยาม พ.ศ. 2436” เป็นฉบับสำคัญที่ยอมรับกันทั่วโลกว่าเป็นการจัดพิมพ์ พระไตรปิฎกปาฬิเป็นชุดหนังสือชุดแรกในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา และปัจจุบันพบว่าได้ พระราชทานเป็นพระธัมมทานแก่ 260 สถาบัน ใน 30 ประเทศทั่วโลก ที่ ส ำคั ญ ยิ่ ง อี ก ประการคื อ ได้ มี ร ะบบการเที ย บอั ก ษรระหว่ า ง “อั ก ษรสยาม” กั บ “อักษรโรมัน” พร้อมทั้งมีการแสดงอักขรวิธีการเขียนปาฬิภาสา ด้วยอักษรสยามและอักษรโรมัน เป็นคู่มือในพระไตรปิฎก จปร. เล่มนี้ด้วย ตัวอย่างเหล่านี้แสดงให้เห็นวิสัยทัศน์อันเลิศของไทยที่ ได้สามารถจัดสร้างพระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ชุดนี้ได้สำเร็จเป็นมาตรฐานในระดับนานาชาติ ของยุค การนำเสนออักษรโรมันเพื่อเทียบกับอักษรสยามเป็นครั้งแรกของการจัดพิมพ์พระไตรปิฎก นับเป็นภูมิปัญญาไทยสากลที่ยิ่งใหญ่ และเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของบริบททางสังคมและ ประวัตศิ าสตร์โลกยุคนัน้ นอกจากนีย้ งั เป็นแนวทางในการพัฒนา “อักษรสยาม” ควบคู่ กันต่อไปกับ “อักษรโรมัน” ที่เป็นสากลยิ่งขึ้นในอนาคตด้วย เพราะปัจจุบันก็เป็นที่ประจักษ์ดีแล้วว่าวัฒนธรรม อักษรโรมันมีทั้งศักยภาพที่เป็นสื่อสากลด้านอิเล็คทรอนิกส์ และมีประสิทธิภาพในการเป็นอักษร สัญญลักษณ์นานาชาติ ทีช่ าวโลกรู้จักกันเป็นอย่างดี ในปี พ.ศ. 2552 อันเป็นวาระครบรอบ 10 ปี ของโครงการพระไตรปิฎกสากล กองทุน สนทนาธัมม์นำสุข ท่านผู้หญิง ม.ล. มณีรัตน์ บุนนาค ในพระสังฆราชูปถัมภ์สมเด็จพระญาณ สังวร สมเด็จพระสังฆราช ร่วมกับโครงการเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาส 6
ราชนครินทร์ ได้นอ้ มถวายพระไตรปฎิ กปาฬิ “จลุ จอมเกลา้ บรมธมั มิกมหาราช พ.ศ. 2436 อกั ษร สยาม : ฉบับอ นุรักษ์ดิจิทัล พ.ศ. 2 552” ชุด 4 0 เล่ม แด่สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพ ระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกเนื่องในวาระที่เจ้าประคุณสมเด็จพระสังฆราชฯทรงเจริญพระชนมายุ9 6ปี โดยสมเด็จพระวันรัต วัดบวรนิเวศน์วิหาร เป็นผู้แทนคณะสงฆ์รับพระราชทานพระไตรปิฎก จปร. ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล ชุดน ี้ จากสมเด็จพ ระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ณ วัดพระศรีรัตนศาสดารามใ นพระบรมมหาราชวัง การพิมพ์“ภิกขุปาติโมกขปาฬิฉบับจปร. อักษรสยามพ.ศ.2 554” เป็นการนำอักขรวิธี การเขียนอักษรสยามในพระไตรปิฎก จปร. พ.ศ. 2436 มาจัดพิมพ์ใหม่ ซึ่งเป็นระบบการเขียนปาฬิ ภาสาที่มปี ระสิทธิภาพสูงและเป็นระบบทปี่ ระชาชนทั่วไปแม้ผู้ที่ไม่คุ้นกับปาฬิภาสาก็สามารถอ่าน ออกเสียงได้เป็นอย่างดี เพราะมีเครื่องหมายต่างๆ ที่ใช้ใ นภาษาไทยอยู่แล้ว การจัดพิมพ์ใหม่ครั้งนี้ จึงเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยสากลที่เป็นเลิศ เพื่อเป็นพระราชศรัทธานุสรณ์ในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2553 ในวาระ 100 ปี แห่งการเสด็จสวรรคตของพระบรมธัมมิก มหาราชพระองค์นั้น ผู้ซึ่งทรงพิมพ์พระไตรปิฎกเป็นชุดแรกของมนุษยชาติ และได้พระราชทานเป็น พระธัมมทานไปในสากลโลก การจัดทำตน้ ฉบับ“ ป าฬิภ าสา-อ กั ษรสยาม”และ ระบบการเทียบกบั “เสียงอ่าน”ห รือ สัททอักษร ดังที่มีคำอธิบายในตอนท้ายของหนังสือน ี้แล้ว ซึ่งจัดทำเพื่อเผยแผ่วิธีเขียนและอ่านอักษรสยามตาม ที่สืบทอดมาในพระพุทธศาสนาเถรวาทให้ได้ตรงที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพื่อความสถิตย์สถาพรของ พระธัมม์คำสอนในพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ในนามของผู้ จั ด ทำต้ น ฉบั บ ขออนุ โ มทนาทุ ก ท่ า นที่ ไ ด้ ร่ ว มกั น จั ด ทำต้ น ฉบั บ นี้ ใ ห้ สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี ตลอดจนขอขอบพระคุณองค์กรต่างๆ ที่มีกุศลเจตนาอย่างแรงกล้าในการ นำต้นฉบับนี้มาจัดพิมพ์เผยแผ่ การศึกษาพระไตรปิฎกให้แพร่หลายต่อไปเป็นพระธัมมทานตาม พระประสงค์ในสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก องค์พระสังฆราชู ปถัมภ์โครงการพระไตรปิฎกสากล
นายสิริ เพ็ชรไชย ป.ธ. 9 ประธานกองทุนสนทนาธัมม์นำสุข ท่านผู้หญิงม.ล.มณีรัตน์บุนนาค ในพระสงั ฆราชูปถัมภ์ สมเด็จพระญาณสงั วรสมเด็จพระสงั ฆราชสกลมหาสังฆปริณายก ผู้ดำเนินการโครงการพระไตรปิฎกสากล พ.ศ. 2542-ปัจจุบัน 5 7
มีนาคม พ.ศ. 2554
พระอาทิตย์สว่างในกลางวัน, พระจันทร์ทอแสงในกลางคืน; กษัตริย์ทรงเกราะงามสง่า, พราหมณ์เจริญฌานสง่างาม; แต่ตลอดกาลทั้งกลางวันและกลางคืน, พระพุทธเจ้ารุ่งเรืองด้วยพระเดช
พระไตรปิฎก ธััมมบท คาถาที่ 387
9
ที่พิเศษ ๒/๒๕๕๔ วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ เรื่อง อนุโมทนาการสนับสนุนข้อมูลพระไตรปิฎกปาฬิ อักษรต่างๆ แก่มลู นิธเิ สียงธรรมเพือ่ ประชาชนฯ เรียน นายสิริ เพ็ชรไชย ป.ธ.๙ ประธานกองทุนสนทนาธัมม์นำสุขท่านผูห้ ญิง ม.ล. มณีรตั น์ บุนนาค ในพระสังฆราชูปถัมภ์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ตามทกี่ องทุนส นทนาธัมม์น ำสขุ ฯในพระสงั ฆราชปู ถ มั ภ์ฯม หี นังสือถ งึ พระธรรมวสิ ทุ ธิม งคล (หลวงตาพระมหาบวั ญ าณสมั ป นั โน)ป ระธานมลู นิธเิ สียงธรรมเพือ่ ป ระชาชนฯล งวนั ท ี่ ๗ ม กราคม ๒๕๕๔ ด้วยมีจิตศรัทธาในการดำเนินงานของมูลนิธิเสียงธรรมเพื่อประชาชนฯ แจ้งกุศลเจตนา สนับสนุนวิธิีการเรียงพิมพ์อักษรโรมันสำหรับปาฬิภาสา ในโครงการเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลใน สมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์พร้อมทั้งไ ด้นิมนต์คณะสงฆ์ก รรมการมูลนิธเิสียงธรรมเพือ่ ประชาชนฯ เข้าร ่วมประชุมเรื่องรายละเอียดของโครงการพระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน ตามรอย พระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม สำหรับมูลนิธิเสียงธรรมเพื่อประชาชนฯ จะได้เผยแผ่ให้แพร่หลาย ต่อไปดังรายละเอียดแจ้งแล้วนั้น มูลนิธิเสียงธรรมเพื่อประชาชนฯ ขออนุโมทนาในกุศลเจตนาดังกล่าว ในเบื้องต้นขอให้ ทางโครงการพระไตรปิฎกสากลได้พิจารณาตรวจสอบข้อมูลป าฬิภาสาในบททำวัตรเช้า-เย็นเป็น อักษรโรมันเพื่อเผยแพร่ท างสถานีโทรทัศน์เสียงธรรมเพื่อประชาชนฯเป็นต้นแบบก่อนซึ่งต่อไปจะ ได้พัฒนาเป็นข้อมูลสำหรับหนังสือสวดมนต์ประกอบการกระจายเสียงของสถานีวิทยุ ตลอดจนการ จัดพิมพ์พระธัมมวินัยในพระไตรปิฎกสำหรับเผยแผ่ต่อไปด้วย นอกจากการเรียงพิมพ์ด้วยอักษรโรมันแล้ว เนื่องในโอกาสที่จะมีการจัดพิมพ์ต่างๆ ใน งานพระราชทานเพลิงพระสรีระพระธรรมวิสุทธิมงคล (หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน) ขอ ให้ทางโครงการพระไตรปิฎกสากล ได้พิจารณารูปแบบการพิมพ์ปาฬิภาสา โดยเฉพาะการเรียง พิมพ์เป็น “อักษรสยาม” ด้วย ซึ่งเป็นระบบการเขียนปาฬิภาสา ที่มีความสมบูรณ์และทรงคุณค่า ที่สุดระบบหนึ่ง เนื่องจากเป็นฉบับที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดให้จัดพิมพ์ อักษรสยามใว้ในพระไตรปิฎกฉบับจปร.พ.ศ.๒๔๓๖รูปแบบนี้ทำให้การออกเสียงปาฬิมีความถูก ต้องแม่นยำเหมือนครัง้ พ ทุ ธกาลก ารพมิ พ์เผยแพร่เ่ ท่ากับเป็นการฟนื้ ฟูร ปู แ บบอนั ท รงคณ ุ ค่าเหล่าน ี้ ให้ค ืนก ลับม าเป็นการอนุรักษ์แ ละสืบทอดมรดกอันล ้ำค่าข องพระองค์ใ ห้ด ำรงมั่นคงถาวรคชู่ าติไ ทย สืบไป การนำปาฬิภาสา อักษรสยาม มาจัดพ ิมพ์ใหม่ใ ห้แพร่หลายในโอกาสครั้งสำคัญนี้ นอกจาก จะเป็นประวัติศาสตร์ที่ต้องจารึกไว้แล้ว ยังเป็นพุทธบูชาและเป็นธัมมานุสรณ์ในงานพระราชทาน เพลิงพระสรีระองค์หลวงตาฯ ที่ละขันธ์เข้าสู่พระนิพพาน ผู้ซึ่งได้เคร่งครัดปฏิบัติตามคำสอนของ องค์พ ระบรมศาสดาสมั มาสมั พ ทุ ธเจ้าต ามพระไตรปิฎกอย่างงดงามพ ร้อมทงั้ ม คี ณ ุ ปู การแก่ช าติแ ละ ประชาชนอันป ระมาณมิได้ จึงเรียนมาเพื่อโ ปรดทราบ ขอเจริญพรมาพร้อมนี้ พระสุดใจทันตมโน ผู้แทนคณะสงฆ์ศิษยานุศิษย์ฯ กรรมการมูลนิธิเสียงธรรมเพื่อประชาชนในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าล ูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยล ักษณ์อัครราชกุมารี
พ ระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม พ.ศ. 2436 นี้ ใช้เนื้อหาพระไตรปิฎกที่สังคายนาไว้ในสมัยรัชกาล ที่ 1 เป็นต้นฉบับใบลานอักษรขอม ฉบับ จปร. อักษรสยามชุดนี้เป็นฉ บับทตี่ ีพิมพ์เป็นชุด ชุดแรก ในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา ซึ่งนับเป็นพระราชปรีชาญาณอันเป็นเลิศของสถาบันพระมหา กษัตริย์พุทธมามกะที่ได้อนุรักษ์พ ระพุทธพจน์ที่ได้สืบทอดจากการสังคายนาตั้งแต่พ.ศ.1 ใว้อย่าง ประเสริฐ และยังสามารถเผยแผ่พระราชทานเป็นพระธัมมทานแก่สถาบันชั้นนำต่างๆ ในนานา ประเทศทวั่ โลกท สี่ ำคัญก ารบนั ทึกพ ระพุทธพจน์“ ป าฬิภ าสา”ด ว้ ยอกั ขรวิธกี ารเขียนเป็นอ กั ษรสยาม ในครั้งน ั้นเป็นกระบวนการทางภูมิปัญญาอันล้ำเลิศเพราะต้องแปลงพระไตรปิฎกปาฬิจากอักษร ขอมโบราณมาเป็นอ ักษรสยามที่ทันสมัยใ นรัชกาลที่ 5 และต้องจัดเรียงพิมพ์ด้วยอักขรวิธีการเขียน ที่ถ่ายทอดเสียงปาฬิให้แม่นตรงกับต้นฉบับ ซึ่งก็สามารถตีพิมพ์เป็นอักษรสยามได้อย่างยอดเยี่ยม พร้อมทั้งได้มีการเทียบ ปาฬิภาสา-อักษรสยาม กับ ปาฬิภาสา-อักษรโรมัน ด้วย 13
อารัมภกถา* ศุภมัสดุพระพุทธสาสนา2 431 ...แต่ก่อนมาประเทศที่นับถือพระพุทธสาสนา ยังมีอำนาจปกครองบ้านเมืองโดยลำพังต ัว พระเจ้าแ ผ่นด ินเป็นผู้นับถือพระพุทธสาสนา ได้ทำนุบำรุงอ ุดหนุนการสาสนาอยู่หลายประเทศด้วย กันคือกรุงสยามเมืองลังกาเมืองพม่าเมืองลาวเมืองเขมรเมื่อเกิดวิบัติอันตรายพระไตรปิฎกขาด สูญบกพร่องไปในเมืองใด ก็ได้อาศัยห ยิบยืมกันมาลอกคัดคงฉบับบริบูรณ์ ถ่ายกันไปถ่ายกันมาได้ แต่ใ นกาลปัจจุบัน ประเทศลังกาแลพม่า ตกอยู่ในอำนาจอังกฤษ ผู้ปกครองบ้านเมืองไม่ได้นับถือ พระพุทธสาสนาก็ทำนุบำรุงแ ต่อ าณาประชาราษฎรไพร่บ้านพลเมือง หาได้อุดหนุนการพระพุทธ สาสนาเหมือนอย่างพระเจ้าแ ผ่นดิน ซึ่งนับถือพระพุทธสาสนาแต่ก่อนไม่ พระสงฆ์ซ ึ่งป ฎิบัติตาม พระพุทธสาสนา ก็ต่างคนต่างประพฤติต ามลำพังตน คนที่ชั่วม ากกว่าดีอยู่เป็นธรรมดา ก็ชักพาให้ พระปริยัติธัมม์คำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า วิปริตผิดเพี้ยนไปตามอัธย าศัย ส่วนเมืองเขมร นั้นเล่า ก็ตกอยูใ่ นอำนาจฝรั่งเศส ไม่มีกำลังท ี่จะอุดหนุนพระพุทธสาสนาให้เป็นการมั่นคงถาวร ไปได้ ส่วนเมืองลาวที่อยู่ในพระราชอาณาเขตสยาม เจ้านายแลไพร่บ้านพลเมืองก็นับถือพระพุทธ สาสนาวิปริตแปรปรวนไปด้วยเจือปนฝีสางเทวดาจะหาเอาเป็นหลักฐานมั่นคงก็ไม่ได้... ...ก ารพระพุทธสาสนายังเจริญม ั่นคงถาวรอยู่แต่ในประเทศสยามนี้ประเทศเดียว จึงเป็น เวลาสมควรที่จะสอบสวนพระไตรปิฎก ให้ถูกต้องบริบูรณ์แล้วส ร้างขึ้นไว้ให้มากฉบับแพร่หลาย จะ ได้เป็นห ลักฐานเชื้อส ายของสาสนธัมม์คำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าสืบไปภายหน้าก็ธัมมะ อันใ ดที่พระผู้มพี ระภาคเจ้าไ ด้ตรัสสั่งส อน ย่อมเป็นธัมมะวิเศษเที่ยงแท้ ย่อมจะนำสัตว์พ้นจากทุกข์ ภัยได้โดยจริงเป็นธัมมะวิเศษอุดมยิ่ง ซึ่งจ ะเป็นที่ปรารถนาของผู้ซึ่งม ีปัญญา ได้เล่าเรียนตริตรอง แล้วปฏิบัติตามได้รับผลมากน้อยตามประสงค์... ...พระบาทสมเด็จพ ระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชดำริเห็นการเช่นกล่าวมาแล้วข ้างต้นน ี้ พระราชประสงค์ที่จะให้ตรวจสอบพระไตรปิฎกให้ถูกถ้วนแล้วแ ลตีพิมพ์ด้วยอักษรสยาม...
จึงมี
*เรียงพิมพ์ใหม่ตามรูปศัพท์ภ าษาปาฬิเช่นสาสนาปริยัติธัมม์ธัมมะเป็นต้นตามที่พิมพ์ในพระไตรปิฎกปาฬิอักษรสยามและโปรดดูอักขรวิธีใน ต้นฉบับท ี่ได้ทำการอนุรักษ์ไว้ท ี่h all.worldtipitaka.info
14
อารัม์ภกถา (ถอ้ ยคำทกี่ ล่าวนำ)เป็นข อ้ั ค วามภาษาไทยทเี่ รียงพมิ พ์ด ว้ ยอกั ษรสยามป ระกาศพระราชประสงค์ข องพระบาท สมเด็จพ ระจุลจอมเกล้าเจ้าอ ยูห่ ัวทจี่ ะพิมพ์พ ระไตรปิฎกปาฬิอักษรสยามแก่ค ณะสงฆ์แ ละข้าราชการณวัด พระศรีรัตนศาสดารามเมื่อร.ศ.112 (2436)
15
การปริวรรตอักษรสยามกับอักษรโรมัน (Transliteration of Siam-script to Roman-script) ซึ่งจัดพิมพ์ ไว้ตอนต้นก่อนเนื้อหาปาฬิของแต่ละคัมภีร์ ด้วยหลักการปริวรรตอักษรสยามดังกล่าว นักวิชาการชาวต่าง ประเทศจึงสามารถอ่านเนื้อหาปาฬิในพระไตรปิฎกได้ แม้ว่าจะเขียนปาฬิภาสา ด้วยอักษรสยาม สังเกตเครื่องหมายกำกับอักษรสยามปาฬิ : “ไม้วัชฌะการ” ( ์ ) บนพยัญชนะวรรคต่างๆ (ยกเว้น ง) เพื่อแสดงการห้ามเสียง สระ-อะ และเครื่องหมาย “ไม้ยามักการ” ( ๎ ) บนพยัญชนะอวรรค เพื่อแสดงเสียงควบกล้ำ 16
ตาราง การปริวรรต “อักษร” ไทย
16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43
[ɦ]
ก [ก]
kh
จ [จ]
ch
มุทธชะ 1 ṭ ที่ปลายลิ้นมวน
ฏ [ฏ]
ṭh
ทันตชะ 1 ที่ฟนบน
ต [ต]
th
ป [ป]
ph
Velar
ตาลุชะ 1 ที่เพดานแข็ง Palatal
Retroflex
Dental
โอฏฐชะ 1 ที่ริมฝปาก Bilabial
k [k] c [c]
[ʈ] t [t̪ ] p [p]
[kʰ] [cʰ] [ʈʰ] [ t̪ʰ] [pʰ]
ข [ข] ฉ [ฉ] ฐ [ฐ] ถ [ถ] ผ [ผ]
g [ɡ] j [ɟ] ḍ [ɖ] d [d̪ ] b [b]
ทันโตฏฐชะ 1 ทีร่ มิ ฝปากกับฟน สระปาิ
Pāḷi Vowels
สูง
high
กลาง
mid
หนา / fr ont
i อิ ī อี [i][อิ] [iː][อี]
1 2
[ɡʱ]
ช [ช]
jh
ฑ [ฑ]
ḍh
ท [ด]
dh
[ɟʱ ]
[ɖʱ]
[d̪ʱ ]
พ [บ]
bh [bʱ]
ฆ [ฆ] ฌ [ฌ] ฒ [ฒ] ธ [ธ] ภ [ภ]
ṅ [ŋ] ñ [ɲ] ṇ [ɳ] n [n̪] m [m]
.
ญ [ญ] ณ [ณ]
y [j] r [ɻ ]
ก อักษรไทยปาิ
Thai Alphabet Pāḷi
[ก]
ย [ย] ร [ร ]
ḷ [ɭ ]
น [น]
l [l̪ ]
ฬ [ฬ ] ล [ล]
s [s̪ ]
ส [ส]
ม [ม]
iṃ อิํ [ĩ][อิง]ํ
.
ห [ห ]
ง [ง]
[ʋ]
a อะ [a][อะ]
low
อักษรโรมันปาิ
gh
e เอ [eː][เอ]
ต่ำ
Roman Alphabet Pāḷi
ค [ค]
v
Labio-dental
k
Fricative
Lateral
h
Glottal
กัณฐชะ 1 ที่เพดานออน
เสียงเสียดแทรก
เสียงขางลิ้น
Non-lateral
กัณฐชะ 1 ที่ชองเสนเสียง
ว [ว]
.
uṃ อุํ [ũ][ อุง]ํ
พยัญชนะ นาสิกัฎฐานชัง 1 เสียงขึน้ จมูก Nasalised
aṃ อํ [ã][ อัง]ํ
สัททอักษรไทยปาิ
.
.
Thai Phonetic Alphabet Pāḷi
[k]
หลัง / ba ck
u อุ ū อู [u][อุ] [uː][อู] o โอ [oː][โอ] ā อา [aː][อา]
2554
15
วิจินตน ภาณุพงศ โครงการพระไตรปฎกสากล กองทุนสนทนาธัมมนำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภฯ
14
ไมใชเสียงขางลิ้น
13
Nasal
12
Voiced
สกัฎฐานนาสิกฏั ฐานชัง1 เสียงนาสิก
11
Voiceless
Aspirated
10
โฆสะ 1 เสียงกอง ธนิต 1 มีลม
9
อโฆสะ 1 เสียงไมกอง Unaspirated
8
Approximant
สิถิล 1 ไมมีลม
7
Stops
Aspirated
6
อัฑฒสระพยัญชนะ 1 เสียงเปด
เสียงกัก
ธนิต 1 มีลม
5
Unaspirated
4
[ ก]
k
Manner of Articulation : Pāḷi Consonant
สิถิล 1 ไมมีลม
3
ก) และการถายถอด “เสียง” ปาิ
ลักษณะการเปลงเสียง : พยัญชนะ ปาิ
Place of Articulation : Pāḷi Consonant
2
อ2 a2 อา ā อิ i อี ī อุ u อู ū เอ e โอ o ก k ข kh ค g ฆ gh ง ṅ จ c ฉ ch ช j ฌ jh ñ ฏ ṭ ṭh ฑ ḍ ฒ ḍh ณ ṇ ต t ถ th ท d ธ dh น n ป p ผ ph พ b ภ bh ม m ย๎ y ร๎ r ล๎ l ว๎ v ส๎ s ห๎ h ฬ๎ ḷ อํ aṃ อิ ํ iṃ อุํ uṃ
ฐานที่เกิดเสียง : พยัญชนะปาิ
1
โรมัน (k
สัททอักษรสากลปาิ IPA Pāḷi
เปนคำที่ใชในคัมภีรสัททนีติ พ.ศ. 1456 ซึ่งไดพิมพเปรียบเทียบไวกับคำศัพททางสัททศาสตรในปจจุบัน อักษรสยามกับอักษรโรมัน จากการปริวรรตในพระไตรปฎก จปร. พ.ศ. 2436 พระไตรปฎกปาิฉบับพิมพชุดแรก
ระบบการเขียนเสียงอ่าน (Phonetic Writting) หรือ อักขรวิธกี ารเขียนด้วยอักษรไทย คือ ระบบการเขียนเสียงอ่าน ที่ไม่คำนึงถึงเสียงสูงต่ำของอักษรที่กำหนดไว้ในภาษาไทย นอกจากนี้ยังได้กำหนดชุดสัททอักษรไทยปาฬิ (Thai Phonetic Alphabet Pāḷi) ขึ้นใหม่ แทนเสียงปาฬิภาสา ซึ่งถือกันว่าเป็นเสียงที่สืบทอดมาเมื่อสังคายนา พ.ศ.๑ และยังได้มีคำอธิบายระบบการออกเสียงปาฬิภาสาไว้ในคัมภีร์สัททนีติ พ.ศ. 1456 อีกด้วย 17
ตัวอย่างปาฬิภาสา หรือ ภาษาพระธัมม์ ที่ได้ปริวรรตเป็นอักษรสยามและอักษรโรมัน อักขระวิธีเขียนด้วยอักษรสยามและอักษรโรมันนี้ทำให้คนทั่วโลกสามารถอ่านออกเสียงสังวัธยาย “ปาฬิ” ใน พระไตรปิฎกปาฬิได้ถูกต้องตรงกัน เพราะอักษรโรมันเป็นอักษรสากล ดูรายละเอียดเรือ่ ง “ปาฬิ กับ สัททอักษรสากล” จัดพิมพ์อยูใ่ นพระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช ฉบับประมวลเนื้อหา เล่มที่ 40 ของชุดนี้ 18
การเขียนเสียงอ่าน ปาฬิภาสา : [ สัททอักษรไทยปาฬิ ] เทียบกับปาฬิภาสา อักษรโรมันปาฬิ [ บุดโธ สุสุดโธ กะรุณามะหัณณะโว ] Buddho Susuddho karunāmahaṇṇavo [ โยจจันตะสุดธับบะระญาณะโลจะโน ] Yoccantasuddhabbarañāṇalocano [ โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก ] Lokassa pāpūpakilesaghātako [ วันดามิ บุดธัง อะหะมาดะเรนะ Vandāmi Buddhaṃ ahamādarena [ ธัมโม Dhammo
ปะทีโป
padīpo
วิยะ
viya
ตัสสะ
tassa
ตัง]
taṃ
สัตถุโน ]
satthuno
[ โย มัคคะปากามะตะเภดะภินนะโก ] Yo maggapākāmatabhedabhinnako [ โลกุตตะโร โย จะ ตะดัตถะดีปะโน ] Lokuttaro yo ca tadatthadīpano [ วันดามิ ธัมมัง อะหะมาดะเรนะ Vandāmi Dhammaṃ ahamādarena
ตัง ]
taṃ
[ สังโฆ สุเขตตาภ ย๎ ะติเขตตะสัญญิโต ] Saṅgho sukhettābhy ‿atikhettasaññito [ โย ดิฏฐะสันโต สุคะตานุโบธะโก ] Yo diṭṭhasanto sugatānubodhako Phonetic writing of Pāḷi sounds : [ Thai Phonetic Alphabet Pāḷi ] and Roman Script Pāḷi
ในทีน่ ี้ คำว่า สังโฆ (Saṅgho) เขียนตามรูปศัพท์ ง สะกด ตามความนิยมของคนไทยทัว่ ไป แต่ในพระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช พ.ศ. 2436 อักษรสยาม เขียนศัพท์ปาฬิที่เกี่ยวกับพระสงฆ์ ด้วยเสียงนิคหิต ด้วยเครื่องหมายพินทุโปร่ง ( ํ ) ทุกครั้ง เช่น สํโฆ สํทิเสสัส์ส และ สํวัต์ถา เป็นต้น ซึ่งต่อมาในการประชุม สังคายนาสากลนานาชาติ พ.ศ. 2500 ที่ประชุม ก็ได้มีมติให้เขียนรูปศัพท์เสียงนิคหิตที่เกี่ยวกับพระสงฆ์ เช่นเดัยวกับฉบับอักษรสยาม ดังนัน้ ในหนังสือนีจ้ งึ เขียนคำทีเ่ กีย่ วกับ พระสงฆ์ในรูปเสียงนิคหิต ว่า สํฆ.. ทัง้ หมด เช่น สํโฆ ซึ่งเขียนเป็นอักษรโรมันว่า Saṃgho 19
วิธีอ่านเครื่องหมายกำกับอักษรสยาม 4 ประเภท จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช อักษรสยาม พ.ศ. 2436 ไม้หันอากาศ ( ั ) ไม้หันอากาศ ( ั ) แสดง “เสียง สระ-อะ ( ะ ) ลดรูปเป็น ( ั )” ซึ่งในปาฬิภาสาใช้เขียน อยู่เหนือพยัญชนะที่ตามด้วยตัวสะกด ซึ่งจะกำกับด้วย ไม้วัชฌการ ( ์ ) เสมอ เช่น อัส์โสสิ พยัญชนะเสียง อะ ที่ไม่มีตัวสะกดตามในปาฬิภาสา เช่น น (นะ) คือให้อ่านเสมือนประวิสรรชนีย์ (ใส่เครื่องหมาย ะ ) เช่น เตน สมเยน... อ่านว่า (เต-นะ สะ-มะ-เย-นะ...) แต่ในทางกลับกัน พยัญชนะเสียง อะ ทีม่ ตี วั สะกดตาม ก็จะต้องประวิสรรชนีย์ ( ะ ) ทีเ่ ป็นแบบลดรูปด้วย คือใส่ไม้หันอากาศ ( ั ) เช่น อ (อะ) ตามด้วย ส เป็นตัวสะกด จะเขียนไม้วัชฌการ ( ์ ) บนพยัญชนะตัวสะกด คือ ส์ แสดงเสียงสะกดที่ตามมาด้วย เป็น อัส์โสสิ (ดูข้อ 2)
1.
ไม้วัชฌการ ( ์ ) ไม้วัชฌการ ( ์ ) ใช้แสดง “เสียงสะกด” ในปาฬิภาสา โดยเขียน อยู่เหนือพยัญชนะ ตัวสะกด เช่น เวรั์โช หมายถึงเสียง (ระ) + ตัวสะกด เมื่อเขียนเครื่องหมายวัชฌการ ( ์ ) บนตัวสะกด เป็น เวรั์โช เป็นต้น วัชฌการ มาจากศัพท์ว่า วัชฌ (อ่านว่า วัขฌะ แปลว่า ฆ่า) + การ (อ่านว่า การะ แปลว่า การกระทำ) จึงหมายถึงการฆ่าเสียง อะ ทีป่ ระกอบกับพยัญชนะ ส ในปาฬิภาสา (ดูขอ้ 1) ไม้วัชฌการที่ใช้ในปาฬิภาสานี้มีหน้าที่ต่างจากเครื่องหมายที่ใช้ ในภาษาไทย ซึ่งเรียกว่า ทัณฑฆาต ซึง่ ใช้กำกับพยัญชนะ หรือ สระ เพือ่ ไม่ให้ออกเสียง เช่น จันทร์ (ไม่ออกเสียงพยัญชนะ ทร ทัง้ สองตัว), องค์ (ไม่ออกเสียงพยัญชนะ ค), และ สิทธิ์ (ไม่ออกเสียงทั้งพยัญชนะ ธ และ สระ )ิ เป็นต้น
2.
ไม้ยามักการ ( ๎ ) ไม้ยามักการ ( ๎ ) เป็นเครื่องหมายกำกับ “เสียงควบกล้ำ” ในอักขรวิธีการเขียนปาฬิภาสา อักษรสยาม มาจากรากศัพท์ว่า ยมก (อ่านว่า ยะมะกะ แปลว่า สอง) + การ (อ่านว่า การะ แปลว่ า การกระทำ ) ในภาษาไทย ไม้ยามั ก การจึ ง หมายถึ ง การกระทำให้ เ ป็ น สอง คื อ แสดง เสียงควบกล้ำสองเสียงเป็นคู่กัน เช่น สพ๎ยั์ชนํ ไม้ยามักการแสดงเสียงควบกล้ำ สัก๎ยปุต์โต ไม้ยามักการแสดงเสียงสะกดควบกล้ำต่อเนื่องกันไป สพ๎รห๎มกํ ไม้ยามักการแสดงเสียงควบกล้ำทั้งสองคู่ ในกรณีที่แสดงการออกเสียงสะกดควบกล้ำ เช่น ในคำว่า สัก๎ยปุต์โต จะออกเสียง ก เป็นตัวสะกดของพยางค์แรก และออกเสียงต่อเนื่องไปเป็น พยัญชนะควบกล้ำ ก๎ย ในพยางค์ตอ่ ไป ไม่ออกเสียงว่า (สัก-กะ-ยะ..) แต่ตอ้ งออกเสียงว่า (สัก-ก๎ยะ..) 4. พินทุโปร่ง ( ํ ) เครื่องหมาย “พินทุโปร่ง” ( ํ ) แสดงเสียงนิคหิต คือเสียงขึ้นจมูก ปรากฏหลังสระสั้น 3 เสียง ซึ่งออกเสียงต่างจาก ง ที่เกิดจากเพดานอ่อน แล้วเสียงขึ้นจมูกด้วย เช่น ภัง ใน มหาวิภัง ไม่เขียนว่า วิภํ ซึ่งเป็นเสียง นิคหิตขึ้นจมูกอย่างเดียว เป็นต้น เสียงนิคหิตนี้ เมื่อเขียนเป็นเสียงอ่าน หรือ สัททอักษร ในหนังสือนี้ จะเขียนพินทุโปร่งไว้บนพยัญขนะ ง เป็น งํ เพือ่ ให้แตกต่างจากเสียง ง เช่น เสียง อํ เขียนในปาฬิภาสาว่า สํโฆ เขียนเสียงอ่านว่า [สังํโฆ] อิํ เขียนในปาฬิภาสาว่า ตัส์มํิ เขียนเสียงอ่านว่า [ตัสมิิงํ] อํ เขียนในปาฬิภาสาว่า อภิภุํ เขียนเสียงอ่านว่า [อภิภุงํ]
3.
20
ตัวอย่างจากพระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช อักษรสยาม พ.ศ. 2436
พยัญชนะเสียง อะ ที่ไม่มีตัวสะกดตามในปาฬิภาสา เช่น น (นะ) คือให้อ่านเสมือนประวิสรรชนีย์ (ใส่เครื่องหมาย ะ ) เช่น เตน สมเยน... อ่านว่า (เต-นะ สะ-มะ-เย-นะ...) เหนือพยัญชนะที่ตามด้วยตัวสะกด ซึ่งจะกำกับด้วย ไม้วัชฌการ ( ์ ) เสมอ เช่น อัส์โสสิ
สพ๎ยั์ชนํ ไม้ยามักการแสดงเสียงควบกล้ำ สัก๎ยปุต์โต ไม้ยามักการแสดงเสียงสะกดควบกล้ำต่อเนื่องกันไป สพ๎รห๎มกํ ไม้ยามักการแสดงเสียงควบกล้ำทั้งสองคู่ เช่น ในคำว่า สัก๎ยปุต์โต จะออกเสียง ก เป็นตัวสะกดของพยางค์แรก และออกเสียงต่อเนื่องไปเป็น พยัญชนะควบกล้ำ ก๎ย ในพยางค์ต่อไป ไม่ออกเสียงว่า (สัก-กะ-ยะ..) แต่ต้องออกเสียงว่า (สัก-ก๎ยะ..)
“สํโฆ” เรียงพิมพ์อักขรวิธีการเขียนตามต้นฉบับ จปร. อักษรสยาม 21
พ.ศ. 2436 เล่มที่ 1 หน้า 15
“ภิกขุปาติโมกขปาฬิ” เรียงพิมพ์อกั ขรวิธกี ารเขียนตามต้นฉบับ จปร. อักษรสยาม พ.ศ. 2436 ตัวอย่าง เล่มที่ 25 หน้า 33 ตามคำว่า “ปาติโมก์เข”
“ปาฬิ” เรียงพิมพ์อักขรวิธีการเขียนตามต้นฉบับ จปร. อักษรสยาม พ.ศ. 2436 ตัวอย่าง เล่มที่ 19 หน้า 290 มีคำ ปาฬิ 2 คำ
22