สนทนาธัมม์นำสุข กองทุนสนทนาธัมม์นำสุข ท่านผู้หญิง ม.ล. มณีรัตน์ บุนนาค ในพระสังฆราชูปถัมภ์สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
รายละเอียดการจัดทำต้นฉบับ ภิกขุปาติโมกขปาฬิฉบับ จปร.อักษรสยาม
1. เนื้อหาต้นฉบับ ภิกขุปาติโมกขปาฬิเล่มนี้ได้รว บรว มจา กต้นฉบับต่างๆ คือ 1.“พระไตรปิฎก ปาฬิจุลจอมเกล้าบรมธัมม ิกมหาราชอักษรสยาม พ.ศ. 2436” โปรด ให้พิมพ์โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 2. “Mahāsaṅgīti Tipiṭaka Buddhavasse 2500” พระไตรปิฎกฉบับสากล ปาฬิภาสา อักษรโรมัน พ.ศ.2548 (กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขท่านผู้หญิง ม.ล.มณีรัตน์ บุนนาค ในพระสงั ฆราชปู ถัมภส์ มเด็จพระญาณสงั วร สมเด็จพระสงั ฆราชส กลมหาสังฆปรณ ิ า ยก) 3.“ปาติโม กข และ กังขาวิตรณีอรรถกถา” พ.ศ. 2 525 ( มูลน ิธิภูมิพโลภิกขุ) 4. “ภิกฺขุปาฏิโมกฺขปาลิ” ที่ 13/2533( มหามกุฏราชวิทยาลัย ) 2. การจัดพิมพ์ใหม่ พ.ศ.2554 กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ ได้นำเนื้อหาในข้อ 1 มาสรุปเรียงพิมพ์ใ หม่ เป็น “ภิกขปุ าติโมกขปาฬิ ฉบบั จปร. อักษรสยาม” ตามอกั ขรวธิ กี ารเขียน ปาฬภิ าสา-อักษรสยาม ตามแบบฉบบั ทีใ่ ช้พมิ พ์พระไตรปิฎกปาฬิ “จลุ จอมเกล้าบรมธัมม กิ มหาราช พ.ศ. 24 3 6 อักษรสยาม ชุด 39 เล่ม” ซึ่งในปี พ.ศ. 255 2 กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ ได้ทำการ อนรุ กั ษแ์ ละจัดพ มิ พใ์ ห มเ่ ปน็ ฉบับอนุรกั ษ์ดจิ ทิ ลั ชดุ 40 เลม่ (รวม เล่มประมวลเนือ้ หา เล่มที่ 40) เพอ่ื เป็นพระราชศรัทธานุสรณ์ใ นปี พ.ศ. 2553 เนื่องใน 10 0 ปีแห่งวันสวรรคต ปัจจุบันในประเทศไทย ได้ถวายเพื่อเก็บรักษาไว้ ณ หอสมุดมหามกุฏราชวิทยาลัย และมูลนิธิเสียงธรรมเพื่อประชาชน ใน พระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี 111
ปาฬิภาสา-อักษรสยาม เทียบกับ เสียงอ่าน เพื่อช่วยในการอ่านสังวัธยายและเผยแผ่ให้กว้างขวางในการจัดพิมพ์ฉบับ จปร. อักษรสยาม ฉบับใหม่น้จี ึงได้เท ียบเนื้อหาฉบับอักษรสยาม กับ “เสียงอ่าน” ที่เขียนด้วย “สัททอักษรไทยปาฬิ” และที่เขียนด้วย “อักษร โรมัน” จากพระไตรปิฎกสากล อักษรโรมันด้วย(ดูข้อ 4 และ 5) 3.
a ā i ī u ū
4. เสียงอ ่าน
“สัททอักษรไทยปาฬิ” (Thai Phonetic alphabet Pāḷi) เป็นอักขรวิธีการเขียนด้วยอักษร ไทย คือ ระบบการเขียนเสียงอ่าน ที่ไม่คำนึงถึงเสียงสูงต่ำของอักษรที่กำหนดไว้ในภาษาไทย ซึง่ เปน็ ชุด สัทท อักษรปาฬทิ ไี่ ด้กำ หนดขนึ้ ใหม่แ ทนเสียงปาฬิภาสา ซ งึ่ คณะสงฆเ์ ถรวาทนานาชาติถอื กนั ว่าเปน็ เสยี งทีส่ บื ทอดมา ตัง้ แ ต ป่ ฐมมหาสัง คายนา เมอ่ื พ.ศ. 1 และยงั ได้ม คี ำอธิบา ยระบบการออกเสียง ปาฬิภาสานี้อยู่ในคัมภีร์สัททนีติ พ.ศ.1456 อีกด้วย ระบบการเขียนเสียงอ่าน หรือสัททอักษรไทย ปาฬิชดุ นี้ ได้นำ เสนอในเชงิ สัททศาสตร์แล้วแก่สำนกั ศิลปกรรม ราชบณ ั ฑติ ยสถาน ตง้ั แต่พ.ศ. 2551 เป็นต้นมา และโครงการพระไตรปิฎกได้ยึดถือเป็นแนวทางในการนำเสนอการเขียนเสียงอ่าน 5. พระไตรปิฎกสากล
ฉบับอักษรโรมัน เนื้อหาที่พิมพ์ด้วยอักษรโรมันที่ได้นำ มาเทียบกับอักษรสยามนั้น เป็นผลงานของ กองทุนสนทนา ธัมม์นำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ ร่วมกับโครงการเผยแผ่พระไตรปิฎกสากล ในสมเด็จ กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทั้งนี้สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรม หลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ได้น้อมเกล้าฯ ถวายพระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน ที่ได้ตรวจทาน และจัดพิมพ์ใหม่นี้แล้วแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตั้งแต่ พ.ศ. 2549 และในปี พ.ศ. 2551 โครงการเผยแผ่พระไตรปิฎกสากลได้นำความกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เรื่อง การดำเนินงานตามพระนโยบายในกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ซึ่งความทราบฝ่าละอองธุลี พระบาทแล้วตามรายละเอียดหนัง สือจากราชเลขาธิกา ร ที่รล0001.4/26269ลงวันที่13ธันวาคม 2549และ ที่รล0 003.3/11063 ลงว ันที่1 0 มิถุนายน2551 พระไตรปิฎกจปร. ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ ได้ร่วมกับโครงการพระไตรปิฎกสากล ในสมเด็จกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ประกอบด้วยราชบัณฑิต ภาคีสมาชิก ผู้เชี่ยวชาญด้าน ภาษาศาสตร์ และพระพุทธศาสนาจากราชบัณฑิตยสถานและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมด้วย กระทรวงกลาโหม ได้จัดพิธีสมโภชและน้อมถวายพระไตรปิฎก “สากลอักษรโรมัน” และ “จุล จอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช พ.ศ. 24 3 6 : ฉบับอนุรักษ์ดิจิทัล พ.ศ. 2552 อักษรสยาม” แด่สมเด็จ พระสังฆราช โดยสมเด็จพระวันรัต วัด บวรนิเวศน์วิหาร เป็นผู้รับพระราชทานจากสมเด็จพระเจ้า ลูก เธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์อัครราชกุมารีซึ่งเสด็จทรงเป็นประธานในพิธีปัจจุบันพระไตรปิฎก ทัง้ 2 ฉบบั สมเดจ็ พระวันรัตได้มอบให้หอ้ งสมุดมหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั เป็นผูเ้กบ็ รกั ษา 6.
112
e o k kh g gh ṅ
อ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ก์ ข์ ค์ ฆ์ ง
จ์ ch ฉ์ j ช์ jh ฌ์ ñ ์ c
ฏ์ ṭh ์ ḍ ฑ์ ḍh ฒ์ ṇ ณ์ ṭ
ต์ th ถ์ d ท์ dh ธ์ n น์ t
p ป์ ph
ผ์
bh
ภ์ ม์
b พ์ m
ย๎ r ร ๎ l ล ๎ v ว ๎ s ส ๎ h ห ๎ ḷ ฬ ๎ aṃ อํ iṃ อิ ํ uṃ อุํ y
a ā i ī u ū e o k kh g gh ṅ c ch j jh ñ ṭ ṭh ḍ ḍh ṇ t th d dh n p ph b bh m y r l v s h ḷ aṃ iṃ uṃ
writing
Writing
& Reading System of Pāḷi
[ะ] [า] [ ิ ] Writing System of Pāḷi Language in Siam Script and Roman Script 1893 [ ีิ ] (ระบบการเขียน ปาฬิภาสา ด้วยอักษรสยาม และอักษรโรมัน 2436) [ ุ] [ ู] 1. Siam Alphabet Pāḷi (อักษรสยามปาฬิ) Roman Alphabet Pāḷi (อักษรโรมันปาฬิ) [เ] Chulachomklao of Siam Tipiṭaka 1893 (พระไตรปิฎกปาฬิ จุลจอมเกล้าบรมธัมมิกมหาราช 2436) [โ] [ก ] [ข ] [ค ] [ฆ ] [ง] [ จ] [ฉ] [ช] [ฌ] [ ญ]
ฉบับ จปร. 2436 อนุรักษ์ดิจิทัลโดยโครงการพระไตรปิฎกสากล กองทุนสนทนาธัมม์นำสุขฯ ในพระสังฆราชูปถัมภ์ฯ 2553
[ฏ ] 2. Roman Alphabet Pāḷi, (อักษรโรมันปาฬิ) [ฐ ] The World Tipiṭaka Edition in Roman Script (พระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน 2553) [ฑ] [ฒ] Vandāmi Dhammaṃ ahamādarena taṃ [ณ] Saṅgho sukhettābhy ‿atikhettasaññito Yo diṭṭhasanto sugatānubodhako [ต ] [ถ ] [ด ] [ธ ] [น ] Reading Stanzas in Phonetic Alphabets
reading
[ป ] [ผ ] [บ ] [ภ ] [ม ] [ย ] [ร ] [ล ] [ว ] [ส ] [ห] [ฬ] [อังํ] [อิงํ] [อุงํ]
(ระบบการเขียนเสียงอ่าน
ปาฬิภาสา ด้วยสัททอักษรปาฬิ ประเภทต่างๆ) 3. Siam Phonetic Alphabet Pāḷi [ สัททอักษรสยามปาฬิ ] [ วัน์ทามิ ธัม์มัง อะหะมาทะเรนะ ตัง ] [ สังโฆ สุเขต์ตาภ ย๎ ะติเขต์ตะสัิโต ] [ โย ทิฎ์ะสัน์โต สุคะตานุโพธะโก ]
4. Thai Phonetic Alphabet Pāḷi [ สัททอักษรไทยปาฬิ ] [ วันดามิ ธัมมัง อะหะมาดะเรนะ ตัง ] [ สังโฆ สุเขตตาภ ย๎ ะติเขตตะสัญญิโต ] [ โย ดิฎฐะสันโต สุคะตานุโบธะโก ] 5. International Phonetic Alphabet Pāḷi [ สัททอักษรสากลปาฬิ ] [ ʋan̪d̪aːmi d̪ʱammã aɦamaːd̪areːn̪a t̪ã ] [ s̪aŋɡʱoː s̪ukʰeːt̪t̪aːbʱj‿at̪ikʰeːt̪t̪as̪aɲɲit̪oː ] [ joː d̪iʈʈʰas̪an̪toː s̪uɡat̪aːn̪uboːd̪ʱakoː ] 113
มูลเหตุของการเผยแผ่เป็นธัม มทานใน พ.ศ. 2554 ในเดือ นกุมภาพนั ธ์ 2554 คณะสงฆก์ รรมการมูลน ธิ เิสยี งธรรมเพอ่ื ประชาชน ในพระอุปถมั ภ์สมเด็จ พระเจา้ ลกู เธอ เจ า้ ฟา้ จฬุ าภรณวลัย ลักษณ์ อ คั รราชกมุ ารี ไดป้ ร ารภให ก้ องทนุ สนทนาธมั ม์นำสขุ ฯ ใน พระสังฆ ราชูป ถัมภฯ์ พจิ ารณ าเรยี งพิมพ์ภ กิ ข ปุ าติโม กขปาฬิ จากเนอื้ ห าต้นฉบบั เดิมต่างๆ ด งั นน้ั ก อง ทุนสนทนาธมั ม์นำสขุ ฯในพระสงั ฆ ราชปู ถัมภ์ฯจงึ ได้มอ บให้ผ เู้ชย่ี วชาญในสถาบ นั ต่าง ๆ ร่วมกันพจิ ารณา ด้ว ยได้แก่ อาจารย์สิริเพ็ชรไชยป.ธ.9 โครงการพระไตรปิฎกสากล,อาจารย์สังคม พวงราช ป.ธ. 9 มูลนิธิภูมิพ โลภิกขุ, และ ศาสตราจารย์กิตติคุณดร.วิจินตน์ ภาณุพงศ์ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาศาสตร์์ จาก จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาว ิท ยาลั ย แ ล ะรา ชบัณ ฑิ ต ยสถาน เป็ น ต้น และไ ด้ ก ราบ นมัส การเรี ย น สมเด็จพระวันรัต อ ุปนายกมหามกุฏราชวิทยาลัยเพื่อรับทราบอีกด้วย 8. ปาฬิและ ปาติโมกขปาฬิ ในการพิจารณาเรียงพิมพ์อักขรวิธีการเขียนใหม่ โครงการพระไตรปิฎกสากลฯ ได้เขียนทับศัพท์ ว่า “ปาฬิ” และ “ปาฬิภาสา” ตามรูปศัพท์เดิม ที่ได้เขียนไว้ในพระไตรปิฎกปาฬิจปร.อักษรสยาม พ.ศ. 2436 และปัจจุบันราชบัณฑิตยสถานได้้เขียนว่า “ปาฬิ” เป็นรูปศ ัพท์ได้อีก รูปหนึ่งด้วย ดังน ั้นจึง เรียกต้นฉบับนี้ตามอักขรวิธีการเขียนปาฬิภาสาเป็นอักษรสยามว่า “ภิก์ขุปาติโมก์ขปาฬิ” ซึ่งเขียน เสียงอ่านเป็นสัททอักษรว่า [ภิกขุปาติโมกขะปาฬิ] โดยใช้พยัญชนะ ต แทน ฏ ตามที่เขียนไว้ ในคัมภีร์ปาติโมก ข์และกังขาวิตรณีอรรถกถาและตามพจนานุกรมราชบัณฑิตยถาน 7.
9.เครื่องหมายกำกับ อักษรสยาม
ในการเขยี นปาฬิภาสา ไ ด้ใชห้ ลกั การอักขรวธิ กี ารเขีย น ของเครอ่ื งหมาย 4 ประเภท ทีใ่ ช ใ้ นกา ร จัด พิมพ์พร ะไตร ปิฎกจ ปร.อ ักษรสยาม พ.ศ.2436คือ 1. ไม้หันอากาศ ( ั ) แสดงเสียง “สระ-อะ” เช่น ธัม์มา (dhammā อ่านว่า ธัม-มา เขียนเสียงอ่านเป็นสัททอักษรว่า [ธัมมา] ) ซึง่ จะต้องเขียนเครือ่ งหมายวัชฌการ บนพยัญชนะตัวสะกด (ม์ ) ด้วย 2. ไม้วัชฌการ ( ์ ) แสดง “เสียงสะกด” เช่น พุท์โธ (Buddho อ่านว่า บุท-โธ เขียน เสียงอ่านเป็นสัททอักษรว่า [บุดโธ] ) 3. ไม้ยามักก าร ( ๎ ) แสดง “เสียงควบกล้ำ” เช่น พ๎ย- ในคำ พ๎ยั์ชนํ (b‿yañjanaṃ) โปรดสังเกต ( ‿ ) แสดงเสียงควบกล้ำในอักษรโรมัน หรือ “เสียงสะกดควบกล้ำ” เช่น เสียง kyaputto) เมื่อ ก๎- ทำหน้าที่ตัวสะกดจะต่อ เนื่องไปเป็นเสียงควบ - ักย๎ - ในคำ สัก๎ยปุตตโต ( sa‿ กล้ำก๎ย- ด้วย 4. พินทุโปร่ง( ํ ) แสดง“เสียงนิค หิต” เช่น เช่น dhammaṃอ่านว่า ธัม-มังแต่เขียนเสียง อ่านตามหลักวิชาสัทศาสตร์ด้วยสัททอักษรว่า [ธัมมังํ] โดยใช้เครื่องหมายพินทุโปร่งแสดงเสียงนิค หิตเหนือง เพื่อให้ต่า งจากเสียง[อัง] ใน[สังกัปปัง] ที่สะกดด้วย ง 114
10.คำที่เขียนต่างกัน
ต้นฉบับ “ภิกขุปาติโมกข” ฉบับเดิม เมื่อเทียบกับเนื้อหาสิกขาบทต่างๆ ในพระไตรปิฎกสากล อักษรโรมัน พบว่ามีคำท ี่เขียนต่างกัน (variantreadings) ซึ่งส ่วนใหญ่คำที่เขียนต่างกันนั้น ในพระ ไตรปฎิ กอัก ษรสยามมกั เปน็ การใช้เสยี งสระยาว เช่น ฉบับสากลเขียนวา่ attupanāyikaṃ (อัตต์ ปุ นายิก)ํ ฉบับอักษรสยามเดิมเป็น อัตตูปนายิกํ attūpanāyikaṃ ในกรณีนี้อธิบายได้ว่าไทยได้สืบทอดเสียง ปาฬ ิภาสาตามหลักสนธิกัน คือ เมื่อสนธิแล้วก็คงจะนิยมเปลยี่ นเป็นเสียงสระยาว เพื่อให้อ้ อกเสียง สังวัธยายได้ง่าย ขึ้น ความต่างนี้ส่วนใหญ่จึงมิใช่เป็นคำต่างที่เขียนผิดความหมายแต่เรียกว่าเป็นการ เขียนตามหลักที่สังวัธยายสืบทอดมาในกรุงสยามเท่านั้น ดังนั้นจากการตรวจทานในฉบับใหม่นี้จึง ยังคงพิมพ์ตามรูปศ ัพท์เดิม สำหรับคำต่างดังกล่าวได้ระบุข้อเชิงอัถถ์ไวเ้ฉพาะในฉบับอักษรโรมัน เสียง“นิคหิต” หรือ“เสียงขึ้นจมูก” ในการตรวจทานใน พ.ศ. 2554 พบว่า ฉบับ จปร. อักษรสยาม พ.ศ. 2436 ใช้เครื่องหมายพินทุ โปรง่ ( ํ ) เขยี นเสียงนิคหิต เช่น สํโฆ (หมายถงึ สงฆ์ และรูปศัพท์อ่นื ๆ ท่ีมคี วามหมายเกีย่ วกับ สงฆ์) แต่หลัง พ.ศ. 2470 ในการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกในประเทศไทย ได้เปล่ียนอักขรวิธีการ เขียนเป็นเสียง ง คือ เสียงพยัญชนะที่เกิดที่เพดานอ่อนแล้วขึ้นจมูกด้วย เขียนเป็นรูปศัพท์ว่า สงฺโฆ (saṅgho อ่านว่า สังโฆ และเขียนสัททอักษรไทยปาฬิว่า [สังโฆ]) เป็นต้น ดังนั้นในการ จัดพิมพ์ครั้งนี้จึงได้ใช้รูปศัพท์เสียงนิคหิต สํโฆ ตามต้นฉบับ จปร. อักษรสยาม ซ่งึ เป็นรูปศัพท์ที่ ตรงกับฉบับสากล อักษรโรมัน ตามมติของการประชุุมสังคายนานาชาติ พ.ศ. 2500 ที่ได้รับ รองแล้วคือ คำว่า saṃghoและเขียนเป็นสัททอักษรไทยปาฬิว่า [สังํโฆ] 11.
รูปแบบในการเผยแผ่ ในการจัดพิมพ์ใหม่นี้ ได้จัดทำเป็นฐานข้อมูลอิเล็คทรอนิกส์ด้วย ซึ่งสามารถที่จะเผยแผ่ต่อไป อย่างสะดวก และมีประสิทธิภาพในการเรียงพิมพ์ในรูปแบบต่างๆ เพื่อเผยแผ่เป็นธัมมทานด้วย
12.
นายสิริ เพ็ชรไชย ป.ธ. 9 ประธานกองทุนสนทนาธัมม์นำสุข ท่านผู้หญิงม .ล.มณีรัตน์บุนนาค ในพระสงั ฆราชูปถัมภ์ สมเด็จพระญาณสงั วรสมเด็จพระสงั ฆราชสกลมหาสังฆปริณายก ผู้ดำเนินการโครงการพระไตรปิฎกสากล พ.ศ. 2542-ปัจจุบัน 5
มีนาคม พ.ศ. 2554
ภิกขุปาติโมกขปาฬิ รวบรวมเนือ้ หาจากพระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม เล่ม 1 และ 2 จากฉบับอนุรกั ษ์ดจิ ทิ ลั ชุด 40 เล่ม พ.ศ. 2554
ถวายพระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม แด่สมเด็จพระสังฆราช พ.ศ. 2552
ประดิษฐานพระไตรปิฎก จปร. อักษรสยาม ณ วัดป่าบ้านตาด พ.ศ. 2554
สนทนาธัมม์นำสุข จัดทำต้นฉบับโดย กองทุนส นทนาธัมม์น ำสุขท่านผู้หญิงม.ล.มณีรัตน์บ ุนนาค ในพระสังฆราชูปถัมภ์ สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก http://society.worldtipitaka.info worldtipitaka@dhammasociety.org
กองทุนสยามสามไตร จัดพิมพ์ครั้งที่ 1 เพื่อเผยแผ่เป็นธัมมทาน www.siamsaamtri.ac.th siamsaamtri_fund@hotmail.com ISBN 978-974-496-723-7