1
สารจากคณบดี.............1
2
เกีย ่ วกับคณะ................5 ประวัติความเป็นมา ◉ ตราสัญลักษณ์ วิสย ั ทัศน์ พันธกิจ ◉
5
หลักสูตร......................28 หลักสูตรระดับปริญญาตรี ◉ หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ◉
3
การด�ำเนินงาน..............9 โครงสร้างการบริหาร ◉ ผู้บริหาร ◉ คณะกรรมการประจ�ำคณะ ◉ งบประมาณ ◉ งานพัฒนาคุณภาพ ◉
6
นักศึกษา......................32 จ�ำนวนนักศึกษา ◉ จ�ำนวนผู้ส�ำเร็จการศึกษา ◉ อัตราการมีงานท�ำ ◉ ทุนการศึกษา ◉ การออกศึกษาภาคสนามในรายวิชา ◉ โครงการอบรมนักศึกษา ◉ กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี ◉ กิจกรรมนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ◉
4
สารบัญ
บุคลากร......................18 สายวิชาการ ◉ สายสนับสนุนวิชาการ ◉
7
Hall of Fame..........50
อาจารย์และนักวิจัย ◉ นักศึกษาปัจจุบัน ◉ ศิษย์เก่า และอดีตอาจารย์ ที่ได้รับการยกย่องเชิดชู ◉
8
การวิจัยและ บริการวิชาการ...........55
การวิจัย ◉ การบริการวิชาการ ◉ วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ◉
10
การสร้างเครือข่าย ความร่วมมือ ทางวิชาการ................93
◉
เครือข่ายความร่วมมือในการผลิตบัณฑิต
9
งานวิเทศสัมพันธ์........87 กิจกรรมนักศึกษา ◉ กิจกรรมบุคลากร ◉ นักวิจัยอาคันตุกะ ◉
11
มองไปข้างหน้า...........94 งานสานสัมพันธ์สังคมวิทยา และมานุษยวิทยา 7 สถาบัน ◉ สัมมนาเครือข่ายนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา ครั้งที่ 17 ◉
◉
The Association for Asian Studies (AAS) 2019
Annual Report 2016/17
ผศ. ดร. อนุสรณ์ อุณโณ ในนิทรรศการภาพถ่าย “คนกับของ” พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
ปี พ.ศ. 2559-พ.ศ. 2560 เป็นรอยต่อหรือช่วงเปลี่ยนผ่านส�ำคัญอีกช่วงของ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา โดยในเชิงบริหาร ผู้บริหารคณะชุดเก่าได้หมดวาระลง ตามคณบดี ในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2559 และได้มกี ารแต่งตัง้ ผูบ้ ริหารชุดใหม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 ธันวาคม 2559 ซึง่ แม้จะมีความสืบเนือ่ งในตัวคณบดี แต่กม็ คี วามเปลีย่ นแปลงในส่วนของ รองคณบดีทั้งในแง่ตัวบุคคล จ�ำนวน และบทบาทหน้าที่ โดยได้มีการควบรวมรองคณบดี ฝ่ายบัณฑิตศึกษาเข้ากับรองคณบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ เนื่องจากลักษณะงาน มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ขณะเดียวกันก็มีการเพิ่มงานด้านสื่อสารองค์กรให้กับรอง คณบดีฝ่ายการนักศึกษา เนื่องจากเป็นงานส�ำคัญที่ยังไม่มีรองคณบดีฝ่ายใดรับผิดชอบ ดูแลเป็นการเฉพาะ และงานด้านฝ่ายการนักศึกษาก็มีความคาบเกี่ยวกับงานด้านนี้ ส่วน รองคณบดีฝ่ายวางแผนและประกันคุณภาพก็ได้มีการปรับเปลี่ยนชื่อใหม่เป็นรองคณบดี ฝ่ายพัฒนาคุณภาพ เพือ่ ให้สอดรับกับการปรับเปลีย่ นจากการประกันคุณภาพเป็นการพัฒนา คุณภาพภายใต้ระบบ EdPEx (Education Criteria for Performance Excellence) ในระดับคณะ รวมทัง้ บทบาทหน้าทีข่ องรองคณบดีดา้ นนีท้ มี่ าช่วยแบ่งเบางานด้านบริหาร บุคคลของคณบดี เนื่องจากไม่มีรองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะผู้บริหารชุดนี้จึงมีจ�ำนวน ลดลงพร้อมไปกับการที่แต่ละคนต่างมีบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ เพื่อสร้างความกระชับและเพิ่มประสิทธิภาพในการท�ำงานเป็นส�ำคัญ
สารจากคณบดี
1. สารจากคณบดี
1
Annual Report 2016/17
"
2
ไม่ว่าความท้าทายข้างหน้า
จะเป็ นอย่างไร...คณะสังคมวิทยา
และมานุษยวิทยาจะยังคง เจริญก้าวหน้าต่อไปอย่างมั่นคง
"
นอกจากนี้ แม้นโยบายและแนวทางการบริหารของผู้บริหารชุดนี้จะ คล้ายคลึงกับชุดก่อนหน้า แต่ก็ ได้มีการปรับขยายให้กว้างขวางขึ้นรวมทั้งมี การตอบสนองต่อโจทย์และความท้าทายใหม่ๆ โดยในด้านของการเป็นผู้น�ำ ทางวิชาการด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะไม่เพียงแต่สนับสนุนการค้นคว้า วิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิชาการของคณาจารย์เพิ่มขึ้นทั้งในเชิงจ�ำนวนและ ประเภท หากแต่ยังได้รื้อฟื้นการประชุมวิชาการระดับชาติด้านสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยาที่ขาดหายไปในช่วงสามสี่ปีที่ผ่านมาและเดิมแยกขาดจากกัน โดยใน ช่วงปลายปี พ.ศ. 2560 ที่ผ่านมาคณะในฐานะเจ้าภาพได้ประสานความร่วมมือ กับสถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเตรียมการจัดประชุมวิชาการ ประจ�ำปีด้านมานุษยวิทยาและสังคมวิทยาครั้งที่ 1 ซึ่งก�ำหนดจะจัดขึ้นในวันที่ 24-25 สิงหาคม 2561 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ภายใต้หัวข้อ “เชื่อม ข้าม เผชิญหน้า ณ จุดตัด” เพื่อให้นักมานุษยวิทยา นักสังคมวิทยา นักวิชาการสาขาอื่น รวมถึงนิสิตนักศึกษาและบุคคลทั่วไป ได้น�ำเสนอและแลกเปลี่ยนความรู้และ ประสบการณ์กัน ส่วนในด้านการมีบทบาทสร้างสรรค์ในสังคมหรือสาธารณะ คณะได้ขยายงาน ด้านนี้ออกไปค่อนข้างมาก มีการขยายความร่วมมือกับสถาบันวิชาการ หน่วยงาน องค์กร กลุ่มต่างๆ ในการจัดเสวนาทางวิชาการและกิจกรรมอื่นๆ ที่เน้นการใช้
Annual Report 2016/17
สารจากคณบดี
ความรู้ความเข้าใจทางด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในการท�ำความเข้าใจและ เปลี่ยนแปลงสังคมให้มีความเสมอภาคและเป็นธรรมยิ่งขึ้น นอกจากนี้ คณะยัง สนับสนุนโครงการวิจยั การจัดท�ำดัชนีชวี้ ดั ความเป็นธรรมทางสังคมมาอย่างต่อเนือ่ ง และในอนาคตจะได้ พั ฒ นาเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของกิ จ กรรมบริ การวิ ช าการภายใต้ ศูนย์สันติประชาธรรม ซึ่งมหาวิทยาลัยก�ำลังด�ำเนินการจัดตั้งขึ้น ส่วนการเข้าสู่ความเป็นนานาชาติ นอกจากการจัดให้มีผู้เชี่ยวชาญ ชาวต่างประเทศมาสอนทั้งระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาและด�ำเนินกิจกรรม ทางวิชาการด้านต่างๆ มาอย่างต่อเนือ่ ง รวมถึงการศึกษาความเป็นไปได้ในการเปิด หลักสูตรนานาชาติ คณะยังเป็นตัวแทนของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยประสาน ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างๆ ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (คณะรัฐศาสตร์ และสถาบันวิจัยสังคม) มหาวิทยาลัยมหิดล (สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรม เอเชีย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม และสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (คณะสังคมศาสตร์) และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (คณะสังคมศาสตร์) ในการเป็นเจ้าภาพเตรียมจัดการประชุมวิชาการนานาชาติ AAS-in-Asia 2019 หัวข้อ “Asia on the Rise/Right?” ซึ่งก�ำหนดจะจัดขึ้นใน วันที่ 1-4 กรกฎาคม 2562 ณ โรงแรมแชงกรีลา กรุงเทพฯ นอกจากนี้ ในช่วงสองปีที่ผ่านมาคณะได้ด�ำเนินการปรับปรุงและพัฒนา อาคารและสถานทีอ่ ย่างต่อเนือ่ ง นับตัง้ แต่ในส่วนของพืน้ ทีด่ า้ นหลังอาคารศูนย์รงั สิต ที่ได้ปรับปรุงเป็น “ลาน 50 ปี” ซึ่งที่ผ่านมาได้มีการใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ อย่าง เต็มประสิทธิภาพ เป็นทั้งสถานที่ท�ำงานและพักผ่อนหย่อนใจของนักศึกษาและเป็น สถานที่ประกอบกิจกรรมสันทนาการของคณะที่ผู้เข้าร่วมมีทั้งนักศึกษา คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ และปัจจุบันคณะก�ำลังด�ำเนินการปรับปรุงอาคารศูนย์รังสิตชั้น 1-3 และ 5 เพื่อให้สามารถรองรับกิจกรรมต่างๆ ได้กว้างขวางและมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น นอกจากนี้ คณะมีแผนที่จะปรับปรุงอาคารที่ท่าพระจันทร์ ทั้งในส่วนของ โครงการบัณฑิตศึกษา โครงการปริญญาเอก และที่ท�ำการศูนย์ศึกษาสังคมและ วัฒนธรรมร่วมสมัย เพื่อให้สอดรับกับการใช้ประโยชน์และท�ำเลของอาคารมากขึ้น
3
4
Annual Report 2016/17
ขณะเดียวกันงานด้านต่างๆ ก็มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง เช่น ด้านวิชาการมีการปรับปรุงหลักสูตรให้สอดรับกับความเปลี่ยนแปลง มากขึ้น โดยเฉพาะในระดับปริญญาตรีภาคปกติ มีการปรับเปลี่ยนจาก เน้นหนักด้านสังคมวิทยา ด้านมานุษยวิทยา และสมดุล เป็นเน้นหนัก ด้านสังคมวิทยา ด้านมานุษยวิทยา และ ด้านพิพิธภัณฑ์และการจัดการ มรดกทางวัฒนธรรม ส่วนด้านฝ่ายการนักศึกษา คณะได้สนับสนุน นักศึกษาในด้านต่างๆ มากขึ้น โดยเฉพาะการเพิ่มจ�ำนวนทุนการศึกษา และประสบการณ์ดา้ นวิชาการ ขณะทีพ่ พิ ธิ ภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ได้มีการเปิดตัวอย่างเป็นทางการอีกครั้งในวันที่ 29 มีนาคม 2560 หลังจากปิดปรับปรุงจากการประสบอุทกภัยในปี พ.ศ. 2554 พร้อมกับ มีการเปิดตัวนิทรรศการ 30 ปีพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ “คน สิ่งของ และการสะสม” และพร้อมกันนี้ที่ผ่านมาก็ได้มีผู้อ�ำนวยการ พิพิธภัณฑ์ท่านใหม่มาสานงานต่อ เช่นเดียวกับศูนย์ศึกษาสังคมและ วัฒนธรรมร่วมสมัยที่มีผู้อ�ำนวยการท่านใหม่มาสานงานต่อ ซึ่งนอกจาก จะจัดกิจกรรมบริการวิชาการ เช่น การเสวนา ก็จะให้ความส�ำคัญกับกลุ่ม (cluster) โครงการวิจยั ทีอ่ ยูภ่ ายใต้ศนู ย์ฯ ได้แก่ การเคลือ่ นย้าย พรมแดน ความสัมพันธ์ ดิจิทัล และดัชนีความเป็นธรรมทางสังคม ช่วงสองปีที่ผ่านมาจึงเป็นอีกช่วงเวลาที่คณะได้รุดหน้าไป ค่อนข้างมากและอย่างต่อเนื่อง ซึ่งแม้จะมีอุปสรรคหรือความยากล�ำบาก อยู่บ้าง แต่คณะก็สามารถด�ำเนินการได้บรรลุเป้าหมายตามที่วางไว้ ทั้งนี้ ก็ด้วยความร่วมแรงร่วมใจของทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นอาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา ศิษย์เก่า หรืออาจารย์เกษียณ ฉะนัน้ ไม่วา่ ความท้าทายข้างหน้า จะเป็นอย่างไร ผมมีความเชื่อมั่นว่าคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา จะยังคงเจริญก้าวหน้าต่อไปอย่างมั่นคง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อนุสรณ์ อุณโณ คณบดีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Annual Report 2016/17
2.1 ประวัติความเป็ นมา
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2508 โดย ศาสตราจารย์ ดร.พลตรี บัญชา มินทรขินทร์ คณบดีคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ในขณะนั้น ในปี พ.ศ. 2520 ได้เปลี่ยนสถานะจากแผนกวิชา สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเป็นแผนกวิชาอิสระสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา และได้ยกฐานะเป็นคณะสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยาในปี พ.ศ. 2527 โดยผูส้ ำ� เร็จการศึกษาจากคณะฯ จะได้ ป ริ ญ ญาบั ต รในสาขาสั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยา เรียกว่า “สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต” ใช้อกั ษรย่อว่า “สม.บ.” ส่วนภาษาอังกฤษใช้ว่า B.A. (Sociology and Anthropology)
เกี่ยวกับคณะ
2. เกีย ่ วกับคณะ
5
6
Annual Report 2016/17
จากความจ�ำเป็นและความต้องการบุคลากรที่มีศักยภาพในระดับสูงใน สาขาวิชาต่างๆ ของประเทศ ท�ำให้ทางคณะฯ ตระหนักถึงความจ�ำเป็นในการผลิต บัณฑิตเพื่อให้เป็นพลังที่มีสมรรถภาพต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม อย่างมีความเหมาะสม ทันท่วงทีกับเวลาและสถานการณ์เป็นส�ำคัญ จึงเปิดการเรียนการสอนในระดับปริญญาโทสาขาสังคมวิทยา ในปี พ.ศ. 2522 และสาขามานุษยวิทยาในปี พ.ศ. 2529 ตามล�ำดับ ต่อมาได้เปิดสอนในระดับ ประกาศนี ย บั ต รบั ณ ฑิ ต การวิ จั ย ทางสั ง คมอี ก หลั ก สู ต รหนึ่ ง ในปี พ.ศ. 2538 ในปี พ.ศ. 2551 คณะฯ ได้เปิดหลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต สาขาการวิจัยทางสังคม เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์ และวิจัยสังคมในฐานะวิชาชีพ และในปีเดียวกันนั้นยังได้เปิดหลักสูตรในระดับ ปริญญาเอกเป็นหลักสูตรแรกของคณะในสาขามานุษยวิทยา โดยเน้นการศึกษา แนวคิด ทฤษฎี การศึกษาข้ามวัฒนธรรม และการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ เพือ่ สร้างบุคลากรทางวิชาการและการวิจยั ให้แก่สงั คม ผูท้ จี่ ะมีสว่ นในการพัฒนาและ เสริมสร้างความเป็นธรรมในสังคมและการพัฒนาที่ยั่งยืน ต่อมาในปี พ.ศ. 2554 ได้เปิดหลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต สาขาการวิจัยทางสังคม เพือ่ มุง่ ผลิตมหาบัณฑิตทีม่ คี วามรูค้ วามเข้าใจในการวางแผนงานวิจยั ทัง้ กระบวนการ มีทักษะในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และแปลความหมายของข้อมูลอย่างมี ระเบียบแบบแผน และสามารถปฏิบตั งิ านวิจยั ทางสังคม สามารถริเริม่ และด�ำเนินการ วิจัยได้อย่างเป็นอิสระด้วยตนเองได้
Annual Report 2016/17
เกี่ยวกับคณะ
คณะฯ ยังมีพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ (ปัจจุบันใช้ชื่อ ภาษาอังกฤษว่า Thammasat Museum of Anthropology) เป็นหน่วยงานที่ให้ บริการวิชาการแก่สังคม ด�ำเนินการเผยแพร่จัดแสดงในด้านโบราณวัตถุและวัตถุ ทางวัฒนธรรมต่างๆ วัตถุประสงค์ส�ำคัญมุ่งท�ำหน้าที่เป็นศูนย์บริการองค์ความรู้ ทางโบราณคดีและวัฒนธรรมพื้นบ้าน ใช้สำ� หรับการเรียนการสอน ฝึกปฏิบัติ และ การค้นคว้าวิจัยในรายวิชาต่าง ๆ นอกจากนี้ยังมีศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรม ร่วมสมัย (Center for Contemporary Social and Cultural Studies หรือ CCSCS) เพือ่ ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย ตลอดจนส่งเสริม และสนับสนุนการด�ำเนินงานของกลุม่ องค์กร และเครือข่ายต่างๆ เพือ่ ร่วมกันแก้ไข ปัญหาด้านสังคมและวัฒนธรรม
7
Annual Report 2016/17
8
2.2 ตราสัญลักษณ์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ
ตราสัญลักษณ์
ปัจจุบันทางคณะฯ ได้เลือก แก้วหลากสี (polychrome glass) รูปศีรษะบุคคล สมัยประวัตศิ าสตร์ ตอนต้น ซึง่ พบบริเวณปากแม่นำ�้ โขง มาเป็นต้นแบบ ของสัญลักษณ์ประจ�ำคณะฯ ซึง่ นอกจากจะสะท้อน ถึงภูมิภาคเอเชียแล้วยังสะท้อนนัยยะของ “ส�ำนึก ในความเป็นมนุษย์” ซึง่ เป็นสิง่ สากล ข้ามพืน้ ทีแ่ ละ เวลา ไม่ว่าจะเป็น “ตัวเรา” “ตัวเขา” หรือ “ผู้อื่น” หรือจะเป็น “ชนบท” “ชายแดน” หรือ “เมืองใหญ่” เราต่างล้วนเป็น “มนุษย์” ซึ่งนักสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยาถือเอาเป็นภาระหน้าที่ในการเรียนรู้ และท�ำความเข้าใจ อาจไม่ใช่จำ� เพาะเพือ่ ตัวมนุษย์ เอง หากต้องขยายวงกว้างออกไปสู่สิ่งของและ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ รอบตัวเราด้วยเช่นกัน
วิสัยทัศน์
พันธกิจ
เป็นผู้น�ำทางความคิดเพื่อสร้างและเปลี่ยนแปลง สังคมให้อดทนอดกลั้นและยอมรับความแตกต่าง หลากหลายทางวัฒนธรรม
สอน ศึกษาวิจัย ให้บริการวิชาการแก่สังคม เผยแพร่ ความรู้ ความเข้าใจ สร้างความตระหนักในคุณค่าของ ความแตกต่างหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรม
Annual Report 2016/17
การด�ำเนินงาน
3. การด�ำเนินงาน
9
Annual Report 2016/17
10
3.1 โครงสร้างการบริหาร
ในปีการศึกษา 2559 คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีโครงสร้าง การบริ ห ารงานซึ่ ง ผ่ า นความเห็ น ชอบจากที่ ป ระชุ ม อาจารย์ ป ระจ� ำ คณะและ คณะกรรมการประจ�ำคณะ ที่ประกอบด้วย คณบดี รองคณบดี และผู้อ�ำนวยการ ดูแลรับผิดชอบงานต่างๆ ดังต่อไปนี้
❶
คณบดี ดูแลรับผิดชอบงานด้านการบริหาร งานคลัง พัสดุและบุคลากร
❷ รองคณบดี ฝ ่ า ยวิ ช าการ ดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบการจั ด การเรี ย นการสอน ในหลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา)
❸ รองคณบดีฝา่ ยการนักศึกษา ดูแลรับผิดชอบงานด้านกิจกรรมนักศึกษา และงานสื่อสารองค์กร ❸ รองคณบดีฝ่ายบัณฑิตศึกษา วิจัยและบริการวิชาการ ดูแลรับผิดชอบ การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา งานด้านการวิจยั และบริการ วิชาการแก่สังคม และงานด้านวิเทศสัมพันธ์ ❺ รองคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ ดูแลรับผิดชอบงานด้านการวางแผน งบประมาณ และด้านพัฒนาคุณภาพ ❻ ผู้อ�ำนวยการโครงการปริญญาตรี (สาขาวิชาการวิจัยสังคม) ดูแล รับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (การวิจัยทางสังคม) ❼ ผู้อ�ำนวยการศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย ดูแลรับผิดชอบ การด�ำเนินงานของศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย ❽ ผู้อ�ำนวยการพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ดูแลรับผิดชอบ การด�ำเนินงานของพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
Annual Report 2016/17
งานบริหารและธุรการ ประกอบด้วย 6 หน่วยงานย่อย ได้แก่ 1.1) หน่วยวางแผนและงบประมาณ 1.2) หน่วยสารสนเทศ 1.3) หน่วยการเจ้าหน้าที่และพัฒนาบุคลากร 1.4) หน่วยพัฒนาคุณภาพการศึกษา 1.5) หน่วยสารบรรณและประชาสัมพันธ์ 1.6) หน่วยสถานที่และพาหนะ
งานบริการการศึกษา ประกอบด้วย 3 หน่วยงานย่อย ได้แก่ 2.1) หน่วยปริญญาตรี 2.2) หน่วยบัณฑิตศึกษา 2.3) หน่วยกิจการนักศึกษา
งานวิจัยและบริการวิชาการ ประกอบด้วย 2 หน่วยงานย่อย ได้แก่ 3.1) หน่วยวิจัย 3.2) หน่วยบริการวิชาการ
❸
❶
❷
❸
งานคลังและพัสดุ ประกอบด้วย 2 หน่วยงานย่อย ได้แก่ 4.1) หน่วยการเงินและบัญชี 4.2) หน่วยพัสดุและครุภัณฑ์
การด�ำเนินงาน
โดยมีเลขานุการคณะฯ เป็นผูก้ ำ� กับดูแลงานในส�ำนักงานเลขานุการคณะฯ ซึ่งประกอบด้วยงานย่อย 4 หน่วยงานตามการปรับโครงสร้างการบริหารงานของ คณะฯ ประกอบไปด้วย
11
12
Annual Report 2016/17
◦
โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ◦
คณบดี
รองคณบดี
ฝ่ายวิชาการ
ผู้อ�ำนวยการ
รองคณบดี
ฝ่ายการนักศึกษา
โครงการปริญญาตรี (สาขาวิชาการวิจัยสังคม)
คณะกรรมการประจ�ำคณะ
รองคณบดี ฝ่ายบัณฑิตศึกษา วิจยั และบริการวิชาการ
ผู้อ�ำนวยการ
ศูนย์ศึกษาสังคมและ วัฒนธรรมร่วมสมัย
รองคณบดี
ฝ่ายพัฒนาคุณภาพ ผู้อ�ำนวยการ
พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ
เลขานุการคณะฯ
งานบริหารและ ธุรการ
งานบริการการศึกษา
งานวิจัยและ บริการวิชาการ
หน่วยวางแผน และงบประมาณ
หน่วยปริญญาตรี
หน่วยวิจัย
หน่วยสารสนเทศ
หน่วยบัณฑิตศึกษา
หน่วยบริการวิชาการ
หน่วยการเจ้าหน้าที่ และพัฒนาบุคลากร หน่วยพัฒนาคุณภาพ การศึกษา หน่วยสารบรรณ และประชาสัมพันธ์ หน่วยสถานที่ และพาหนะ
หน่วยกิจการนักศึกษา
งานคลังและพัสดุ
หน่วยการเงิน และบัญชี หน่วยพัสดุ และครุภัณฑ์
Annual Report 2016/17
รายชื่อผู้บริหาร ช่วงปีงบประมาณ 25601 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุสรณ์ อุณโณ คณบดีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 2. อาจารย์ ดร.วิลาสินี พนานครทรัพย์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ 3. อาจารย์ อาจินต์ ทองอยู่คง รองคณบดีฝ่ายการนักศึกษา 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร รองคณบดีฝ่ายบัณฑิตศึกษา วิจัยและบริการวิชาการ 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ รองคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐจรี สุวรรณภัฏ ผู้อ�ำนวยการโครงการปริญญาตรี (วิจัยทางสังคม) 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันทนี เจริญศรี ผู้อ�ำนวยการศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย 8. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ ผู้อ�ำนวยการพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ 1
ผูบ้ ริหารชุดดังกล่าว ขึน้ ด�ำรงต�ำแหน่งตัง้ แต่เดือนธันวาคม 2559 ยกเว้นผูอ้ ำ� นวยการศูนย์ศกึ ษาสังคม และวัฒนธรรมร่วมสมัย เริ่มด�ำรงต�ำแหน่งเดือน สิงหาคม 2560
การด�ำเนินงาน
3.2 ผู้บริหาร
13
Annual Report 2016/17
14
3.3 คณะกรรมการประจ�ำคณะ
รายชื่อคณะกรรมการประจ�ำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา2 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุสรณ์ อุณโณ 2. อาจารย์ อาจินต์ ทองอยู่คง 3. อาจารย์ ดร.วิลาสินี พนานครทรัพย์ 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ 6. อาจารย์ ดร.สายพิณ ศุพุทธมงคล 7. อาจารย์ วาทินีย์ วิชัยยา 8. รองศาสตราจารย์ ดร.พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิพงษ์ 9. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ 10. รองศาสตราจารย์ ดร.นิติ ภวัครพันธุ์ 11. นายคณิต ลิมปิพิชัย 12. นางวันเพ็ญ อรรชุนเดชะ 13. นายสรกล อดุลยานนท์ 14. นางศรีไพร นนทรีย์ 15. นายขุนกลาง ขุขันธิน 16. นายนพพล จรัสวิทยา 17. นางสาวพาฝัน ปั้นลาย 18. นายกฤตวัฒน์ โกมลวรวิทยา 2
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒภิ ายนอก กรรมการผูท้ รงคุณวุฒภิ ายนอก กรรมการผูท้ รงคุณวุฒภิ ายนอก กรรมการผูท้ รงคุณวุฒภิ ายนอก กรรมการผูท้ รงคุณวุฒภิ ายนอก กรรมการผูท้ รงคุณวุฒภิ ายนอก กรรมการผูท้ รงคุณวุฒภิ ายนอก กรรมการผูท้ รงคุณวุฒภิ ายนอก เลขานุการกรรมการ ผู้ช่วยเลขานุการกรรมการ ผู้ช่วยเลขานุการกรรมการ
คณะกรรมการประจ�ำคณะฯ ชุดดังกล่าว เริ่มด�ำรงต�ำแหน่งตั้งแต่เดือนมกราคม 2561 จนถึงปัจจุบัน
Annual Report 2016/17
15
3.4 งบประมาณ
19. 4 21. 1.7 1 0.5 7 1.8 8 1.6 5
งบพิเศษ
2.5 2 2.7 1.5 1 1.1 1
งบคลัง
8
17. 8 18. 0 197. 81 22. 33
99 18.
19.
5
32.
19 34. 0
6
46.
89
ล้านบาท
55.
4
61.
59
73.
72
แผนภูมิเปรียบเทียบรายรับจริง-รายจ่ายจริง ระหว่างปีงบประมาณ 2559 และ 2560 จ�ำแนกตามแหล่งงบประมาณ
กองทุน ค่าธรรมเนียมคณะ
กองทุน วิจัยคณะ
โครงการ พิเศษคณะ
รวม
แหล่งงบประมาณ รายรับจริง ปีงบประมาณ 2559
รายรับจริง ปีงบประมาณ 2560
รายจ่ายจริง ปีงบประมาณ 2559
รายจ่ายจริง ปีงบประมาณ 2560
การด�ำเนินงาน
ในปีงบประมาณ 2559 (ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2558 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2559) คณะฯ มีแผนรายรับรวมทั้งสิ้น 69.84 ล้านบาท มีผลรายรับจริงรวมทั้งสิ้น เท่ากับ 73.72 ล้านบาท เป็นผลให้การด�ำเนินงานรับจริงมากกว่าเป้าหมายรวม 3.88 ล้านบาท และมีแผนรายจ่ายรวมทั้งสิ้น 68.47 ล้านบาท มีการใช้จ่ายจริง รวมทั้งสิ้นเท่ากับ 61.59 ล้านบาท คงเหลือรวมทั้งสิ้น 17.37 ล้านบาท ส่วนในปีงบประมาณ 2560 (ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2559 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2560) มีแผนรายรับรวมทัง้ สิน้ 50.34 ล้านบาท มีผลรายรับจริงรวมทัง้ สิน้ เท่ากับ 55.40 ล้านบาท เป็นผลให้การด�ำเนินงานรับจริงมากกว่าเป้าหมายรวม 5.06 ล้านบาท และมีแผนรายจ่ายรวมทั้งสิ้น 53.98 ล้านบาท มีการใช้จ่ายจริง รวมทั้งสิ้นเท่ากับ 46.89 ล้านบาท คงเหลือรวมทั้งสิ้น 8.51 ล้านบาท
Annual Report 2016/17
16
3.5 งานพัฒนาคุณภาพ
3.5.1 การประกันคุณภาพระดับหลักสูตร
หลักสูตรทีเ่ ปิดด�ำเนินการทัง้ 5 หลักสูตร ได้รบั ผลการประเมิน (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) ดังแสดงในภาพ แผนภูมิแสดงผลการประเมินคุณภาพระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2558 และ 2559
3.41
3.65
3.41 3.48
3.25
3.15
3.58
3.49 2.94
คะแนน
3.54
หลักสูตร หลักสูตร สังคมวิทยาและ สังคมวิทยาและ มานุษยวิทยาบัณฑิต มานุษยวิทยาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยา สาขาวิชา และมานุษยวิทยา การวิจัยทางสังคม
หลักสูตร สังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา มหาบัณฑิต สาขาวิชา การวิจัยทางสังคม
หลักสูตร สังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา มหาบัณฑิต สาขาวิชา มานุษยวิทยา
หลักสูตร ปีการศึกษา 2558
ปีการศึกษา 2559
หลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา มานุษยวิทยา
Annual Report 2016/17
3.5.2 การประกันคุณภาพระดับคณะ
ในปีการศึกษา 2558 คณะฯ มีผลคะแนนเฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ 21 ตัวบ่งชี้ 5 องค์ประกอบ เท่ากับ 4.15 คะแนน (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) อยู่ในเกณฑ์คุณภาพ “ดี” และในปีการศึกษา 2559 มีผลคะแนนเฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้ 21 ตัวบ่งชี้ 5 องค์ประกอบ เท่ากับ 4.22 คะแนน (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) อยู่ในเกณฑ์คณุ ภาพ “ดี” แผนภูมิแสดงผลการประเมินคุณภาพระดับคณะ ปีการศึกษา 2558 และ 2559 4.88
5
5
4.62 4
3.99
4
4.15 4.22
คะแนน
3.75
5
5
องค์ประกอบที่ 1 องค์ประกอบที่ 2 องค์ประกอบที่ 3 องค์ประกอบที่ 4 องค์ประกอบที่ 5 คะแนนเฉลี่ย การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ การท�ำนุบำ� รุงศิลปะ การบริหารจัดการ ทุกองค์ประกอบ และวัฒนธรรม
องค์ประกอบ ปีการศึกษา 2558
ปีการศึกษา 2559
การด�ำเนินงาน
17
18
Annual Report 2016/17
4. บุคลากร
Annual Report 2016/17
19
4.1 สายวิชาการ
4.1.1 อาจารย์
บุคลากร
อาจารย์สายสังคมวิทยา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันทนี เจริญศรี อาจารย์จุฬารัต ผดุงชีวิต
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ฐิติรต ั น์ กิตติวิวัฒน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐจรี สุวรรณภัฏ
อาจารย์ ดร.ทรงสิริ พุทธงชัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีระ สินเดชารักษ์
20
Annual Report 2016/17
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นลินี ตันธุวนิตย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปณิธี บราวน์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรทิพย์ เนติภารัตนกุล อาจารย์ ดร.วิลาสินี พนานครทรัพย์
อาจารย์วาทินีย์ วิชัยยา อาจารย์ศิรพ ิ ร ศรีสินธุอ ์ ุไร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อรอุมา เตพละกุล อาจารย์อัครนัย ขวัญอยู่
Annual Report 2016/17
21
บุคลากร
อาจารย์อาจินต์ ทองอยู่คง อาจารย์ ดร.เอกสิทธิ์ หนุนภักดี
อาจารย์สายมานุษยวิทยา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชนิดา ชิตบัณฑิตย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เทียมสูรย์ สิรศ ิ รีศักดิ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ แรงกล้า
22
Annual Report 2016/17
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พจนก กาญจนจันทร รองศาสตราจารย์ พรชัย ตระกูลวรานนท์
อาจารย์พรรณราย โอสถาภิรต ั น์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิเชฐ สายพันธ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร อาจารย์วิภาวี พงษ์ปน ิ่
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุภลักษณ์ พรกุลวัฒน์ อาจารย์ ดร.สายพิณ ศุพุทธมงคล
Annual Report 2016/17
23
บุคลากร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ ศาสตราจารย์ ดร.เสมอชัย พูลสุวรรณ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุสรณ์ อุณโณ อาจารย์อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล
4.1.2 นักวิจัยศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย
นางสาวรพีพรรณ เจริญวงศ์
24
Annual Report 2016/17
4.2 สายสนับสนุนวิชาการ งานบริการการศึกษา
นางสาวเกษมศรี ดุริยรัตนทัต นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการ หัวหน้างานบริการการศึกษา หน่วยบัณฑิตศึกษา นายวิชัย แสงดาวฉาย นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการพิเศษ นางศิริน้อย นิภานันท์ นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการ นางสาวศิริภัทร จุ้ยเปี่ยม นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ หน่วยปริญญาตรี นางสาวกนกภรณ์ ขอนทอง นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ นางสาวอัญณิการ์ มหาผลประเสริฐ นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการ นางสาวอารีรัตน์ ปานจับ นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ นางสาวมณฑา สุวรรณรัตน์ นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ นางสาววรรณนิภา ถนอมสวย นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ
Annual Report 2016/17
นายกฤตวัฒน์ โกมลวรวิทยา เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปปฏิบัติการ รักษาการในต�ำแหน่งหัวหน้างานวิจัยและบริการวิชาการ นางสาวอรอุมา ส้มไทย เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ นางสาวอุรฉัตร อุมาร์ นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ นายเดชาภิวัชร์ นพมิตร เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปปฏิบัติการ นางสาวเหมือนพิมพ์ สุวรรณกาศ นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ
บุคลากร
งานวิจัยและบริการวิชาการ
25
26
Annual Report 2016/17
งานบริหารและธุรการ
นางสาวอารีรัตน์ ปานจับ นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ รักษาการในต�ำแหน่งหัวหน้างานบริหารและธุรการ นางสาวอัจฉรา ค้าข้าว นางสาวพาฝัน ปั้นลาย นางสาวดวงหทัย ตั้งมั่นในธรรม นางสาวนิภาพร เหมือนวงศ์ นายกฤตวัฒน์ โกมลวรวิทยา นางฐานิฏฐ์ พูลสวัสดิ์ นายสนธยา เอี่ยมบาง นายจักรพันธ์ ส่งสาย นายวีระพัฒน์ ภูมิจันทร์
บุคลากรปฏิบัติการ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปปฏิบัติการ นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปปฏิบัติการ พนักงานบริการ พนักงานบริการ พนักงานสถานที่ พนักงานขับรถยนต์
Annual Report 2016/17
27
งานคลังและพัสดุ บุคลากร
นายนพพล จรัสวิทยา เลขานุการคณะฯ นางสาวมนธิรา เพ็งจันทร์ นางสาววรัญญา พรหมดี นายอัครชัย แผ่นจันทร์ นายณัฐดนัย อินต๊ะภา นางสาวประไพวรรณ มากระจัน
นักวิชาการเงินและบัญชี นักวิชาการเงินและบัญชี นักวิชาการเงินและบัญชีปฏิบัติการ นักวิชาการพัสดุ นักวิชาการพัสดุ
28
Annual Report 2016/17
5. หลักสูตร
Annual Report 2016/17
29
5.1 หลักสูตรระดับปริญญาตรี
5.1.1 สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) Bachelor of Arts (Sociology and Anthropology)
5.1.2 สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (การวิจัยทางสังคม) Bachelor of Arts (Social Research)
เป็นหลักสูตรปริญญาตรี ประเภทโครงการพิเศษของ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ที่ให้นกั ศึกษาเรียนเน้นหนัก ทางด้านการวิจยั ทางสังคม เน้นด้านทฤษฎีและระเบียบวิธวี จิ ยั เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความช�ำนาญในการวิจัยทางสังคม อย่างถูกต้องตามหลักทฤษฎีและระเบียบวิธี สามารถค้นคว้า และศึกษาข้อมูลภาคสนามได้ในระดับลึก และน�ำมาสร้างเป็น องค์ความรู้ใหม่ของสังคมทั้งในและต่างประเทศ รวมทั้งฝึกให้ เป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในการวิจัย
หลักสูตร
เป็นหลักสูตรที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ ผลิต บัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ วิ พ ากษ์ ป รากฏการณ์ ท างสั ง คม และสามารถศึ ก ษาวิ จั ย ปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมได้อย่างเป็นระบบ เป็นผู้ที่ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม รับผิดชอบต่อสังคม โดยคณะฯ ให้การสนับสนุนความเสมอภาคทางการศึกษา และการพัฒนาองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ
Bachelor's Degree
Annual Report 2016/17
30
5.2 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
5.2.1 สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา) Master of Arts (Anthropology) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2557
เป็นหลักสูตรที่เน้นการเรียนการสอนและสนับสนุนให้นักศึกษาค้นคว้า หาความรู้ในเรื่องที่ตนเองมีความสนใจ ฝึกฝนให้เป็นผู้ที่คิดเป็น สามารถมองเห็น และเชื่อมโยงระหว่างปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ สามารถอธิบายได้อย่าง มีเหตุผล วิพากษ์และเสนอแนวคิดได้อย่างครอบคลุมและชัดเจน มีการเรียนในรายวิชา และท�ำวิทยานิพนธ์ ในปีการศึกษา 2558 มีรายวิชาที่เปิดสอน จ�ำนวนทั้งหมด 14 รายวิชา และในปีการศึกษา 2559 จ�ำนวนทั้งหมด 17 รายวิชา
Master's Degree
Annual Report 2016/17
31
5.2.2 สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (การวิจัยทางสังคม) Master of Arts (Social Research) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559
เป็นหลักสูตรที่ให้ความรูค้ วามเข้าใจในการวางแผนการวิจยั ทัง้ กระบวนการ สร้างทักษะในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และแปลความหมายของข้อมูล อย่างมีระเบียบแบบแผน และฝึกปฏิบัติงานวิจัยทางสังคม โดยสามารถริเริ่มและ ด�ำเนินการวิจยั ได้อย่างเป็นอิสระด้วยตนเอง เน้นการท�ำวิทยานิพนธ์ ในปีการศึกษา 2558 มีรายวิชาที่เปิดสอนจ�ำนวนทั้งหมด 8 รายวิชา และในปีการศึกษา 2559 จ�ำนวน 13 รายวิชา
5.2.3 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (มานุษยวิทยา) Doctor of Philosophy (Anthropology) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2557
เป็นหลักสูตรทีเ่ น้นการสังเคราะห์และประเมินองค์ความรูท้ างมานุษยวิทยา และสามารถวิจยั ในประเด็นทีม่ คี วามส�ำคัญในสังคม สามารถวิจยั และสร้างองค์ความรู้ เพือ่ สนองตอบความต้องการของสังคมได้ ก�ำหนดให้มีการเรียนในรายวิชา สอบวัด คุณสมบัติ และท�ำวิทยานิพนธ์ ในปีการศึกษา 2558 มีรายวิชาที่เปิดสอน จ�ำนวน 4 รายวิชา ในปีการศึกษา 2559 จ�ำนวน 5 รายวิชา
หลักสูตร
Doctor of Philosophy
32
Annual Report 2016/17
6. นักศึกษา 6.1 จ�ำนวนนักศึกษา
หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) รับบุคคลเข้าศึกษา ในปีการศึกษา 2558 รับเข้าศึกษาจ�ำนวน 89 คน และปีการศึกษา 2559 รับเข้าศึกษาจ�ำนวน 101 คน ผ่าน 2 ช่องทาง ได้แก่ 1) การรับเข้าศึกษาระบบ การคัดเลือกกลาง (Admissions) โดยผ่านส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2558 มีผู้สมัครสอบ 528 คน มีผู้ผ่านการคัดเลือก 77 คน ส่วน ปีการศึกษา 2559 มีผู้สมัครสอบ 1,105 คน มีผู้ผ่านการคัดเลือก 97 คน และ 2) การคัดเลือกจากโครงการขยายโอกาสทางการศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วย โครงการเรียนดี โครงการรับเข้านักเรียนจิตอาสา โครงการผู้มี ความสามารถดีเด่นด้านการกีฬา และโครงการส่งเสริมเรียนดีภาคกลาง ปีการศึกษา 2558 รับเข้าศึกษาจ�ำนวน 12 คน และปีการศึกษา 2559 รับเข้าศึกษาจ�ำนวน 4 คน
Annual Report 2016/17
33
ส่วนหลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (การวิจัยทางสังคม) ใช้วธิ กี ารสอบคัดเลือกตรง การสมัครสอบและการคัดเลือกเป็นไปตามประกาศของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งในปีการศึกษา 2558 มีผู้สมัคร 1,173 คน มีผู้ผ่าน การคัดเลือก 107 คน และปีการศึกษา 2559 มีผสู้ มัคร 1,094 คน มีผผู้ า่ นการคัดเลือก 113 คน นอกจากนี้ทางคณะฯ ได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิด โครงการผลิตบัณฑิตร่วมเพือ่ การพัฒนาสังคมอย่างยัง่ ยืน (โควตา อพท.) รับนักเรียน จากโรงเรียนในพืน้ ทีเ่ ขตพิเศษของ อพท. เพือ่ เข้าศึกษาในหลักสูตรฯ ปีการศึกษาละ ไม่เกิน 2 คน ตั้งแต่ปีการศึกษา 2556 จนถึงปีการศึกษา 2559 รวม 4 รุ่น จ�ำนวนนักศึกษาคงอยู่ระดับปริญญาตรี
หลักสูตร หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา)
347
371
หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (การวิจัยทางสังคม)
393
417
ในระดับบัณฑิตศึกษา มีจ�ำนวนการรับนักศึกษา และจ�ำนวนนักศึกษา คงอยู่ดังแสดงในตาราง จ�ำนวนนักศึกษารับเข้าระดับบัณฑิตศึกษา
หลักสูตร
ปีการศึกษา ปีการศึกษา 2558 (คน) 2559 (คน)
หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา)
14
9
หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (การวิจัยทางสังคม)
9
8
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (มานุษยวิทยา)
0
2
นักศึกษา
ปีการศึกษา ปีการศึกษา 2558 (คน) 2559 (คน)
34
Annual Report 2016/17
จ�ำนวนนักศึกษาคงอยู่ระดับบัณฑิตศึกษา
หลักสูตร
ปีการศึกษา 2558 ปีการศึกษา 2559 จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ
ปริญญาโท หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สาขาวิชามานุษยวิทยา
24
2.93
23
2.67
ปริญญาโท หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สาขาวิชาการวิจัยทางสังคม
46
5.62
46
5.34
ปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชามานุษยวิทยา
9
1.10
6
0.7
6.2 จ�ำนวนผู้ส�ำเร็จการศึกษา จ�ำนวนผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี
หลักสูตร
ปีการศึกษา ปีการศึกษา 2558 (คน) 2559 (คน)
หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา)
73
75
หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (การวิจัยทางสังคม)
101
94
จ�ำนวนผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
หลักสูตร
ปีการศึกษา ปีการศึกษา 2558 (คน) 2559 (คน)
หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา)
3
3
หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (การวิจัยทางสังคม)
2
4
หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (มานุษยวิทยา)
4
1
Annual Report 2016/17
35
6.3 อัตราการมีงานท�ำ
ภาวะการมีงานท�ำของบัณฑิต ข้อมูลจากการส�ำรวจ ณ ปีการศึกษา 2558 (เดือนกรกฎาคม 2559) จาก บัณฑิตหลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) ทั้งหมด 72 คน มีผู้ตอบแบบส�ำรวจจ�ำนวน 66 คน คิดเป็นร้อยละ 91.67 และจาก บัณฑิตหลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (การวิจัยทางสังคม) ทั้งหมด 104 คน มีผู้ตอบแบบส�ำรวจจ�ำนวน 91 คน คิดเป็นร้อยละ 87.50 และการส�ำรวจ ณ ปีการศึกษา 2559 (เดือนมิถุนายน 2560) จากบัณฑิตหลักสูตรสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยาบัณฑิต (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) ทั้งหมด 73 คน มีผู้ตอบ แบบส�ำรวจจ�ำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 89.04 และจากบัณฑิตหลักสูตรสังคมวิทยา และมานุษยวิทยาบัณฑิต (การวิจยั ทางสังคม) ทัง้ หมด 101 คน มีผตู้ อบแบบส�ำรวจ จ�ำนวน 86 คน คิดเป็นร้อยละ 85.15
นักศึกษา
จากผลการส�ำรวจบัณฑิตระดับปริญญาตรี โดยกองแผนงาน มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ พบว่า บัณฑิตของหลักสูตรระดับปริญญาตรีทงั้ สองหลักสูตรมีศกั ยภาพ ในการได้งานท�ำในจ�ำนวนที่ค่อนข้างสูง และมีรายได้ต่อเดือนมากกว่าเกณฑ์
36
Annual Report 2016/17
ภาวะการมีงานท�ำของบัณฑิตภายในเวลา 1 ปี
รุ่นปีการศึกษา 2557 สังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา
ข้อมูลพื้นฐาน
รุ่นปีการศึกษา 2558
การวิจัย ทางสังคม
สังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา
การวิจัย ทางสังคม
จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ จ�ำนวน ร้อยละ
จ�ำนวนบัณฑิตทั้งหมด
72
100
104
100
73
100
101
100
จ�ำนวนบัณฑิตที่ตอบแบบส�ำรวจ
66
91.67
91
87.50
65
89.04
86
85.15
จ�ำนวนบัณฑิตที่ได้งานท�ำหลังส�ำเร็จการศึกษา (ไม่นับรวมผู้ประกอบอาชีพอิสระ) - ตรงสาขาที่เรียน - ไม่ตรงตรงสาขาที่เรียน
48
84.21
56
91.80
43
66.15
42
48.84
จ�ำนวนบัณฑิตที่ประกอบอาชีพอิสระ
9
13.64
5
9.50
9
13.85
17
19.77
จ�ำนวนบัณฑิตที่ยังไม่มีงานท�ำ (รวมผู้อุปสมบทและเกณฑ์ทหาร)
3
4.54
15
22.73
2
3.08
7
8.14
จ�ำนวนผู้ส�ำเร็จการศึกษาที่มีงานท�ำก่อนเข้าศึกษา
0
0
0
0
0
0
0
0
จ�ำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อ
6
9.09
15
16.48
11
16.92
19
22.09
47 1
55 1
39 4
35 7
ข้อมูลการมีงานท�ำของผู้ที่ท�ำงานแล้ว
ผลปี 2557
หลักสูตร
เงินเดือน ระบุข้อมูล ได้ ตามเกณฑ์ เงินเดือน 12,850 บ.
ผลปี 2558 เงินเดือน หรือรายได้ ต่อเดือน (ค่าเฉลี่ย)
เดือน เงินเดือน หรืเงิอนรายได้ ระบุข้อมูล ได้ เงินเดือน ตามเกณฑ์ เดือน 12,850 บ. (ค่ต่อาเฉลี ย่ )
สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา)
54
49
21,635.19.-
46
42
21,171.00
สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (การวิจัยทางสังคม)
58
54
20,480.76.-
45
42
29,178.00
Annual Report 2016/17
37
6.4 ทุนการศึกษา ในปีการศึกษา 2558 และ 2559 มีการมอบทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษาดังนี ้
ประเภททุน
หลักสูตรสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยาบัณฑิต (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา)
หลักสูตรสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยาบัณฑิต (การวิจัยทางสังคม)
จ�ำนวนทุน ปี 2559
จ�ำนวนทุน ปี 2558
จ�ำนวนทุน ปี 2559
ทุนทั่วไป
13
23
-
-
ทุนบริจาคจากศิษย์เก่า
1
1
-
-
ทุนนักกิจกรรมดีเด่น
1
1
-
-
ทุนมูลนิธินายห้างโรงปูนผู้หนึ่ง
-
1
-
-
ทุนส่งเสริมการเรียนดี ประเภท 1
1
1
1
3
ทุนส่งเสริมการเรียนดี ประเภท 2
1
1
5
5
ทุนอาจารย์วิชาญ กิตติรัตนพันธ์
-
-
1
1
ทุนนักศึกษาสาขาการวิจัยสังคมดีเด่น
-
-
1
-
นักศึกษา
จ�ำนวนทุน ปี 2558
Annual Report 2016/17
38
วิชา ม.347 (ม.421) วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว ณ จ.ศรีสะเกษ จ.นครราชสีมา
6.5 การออกศึกษาภาคสนามในรายวิชา
ระดับปริญญาตรี
ปีการศึกษา 2558 หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) เปิดสอนรายวิชาทัง้ สิน้ จ�ำนวน 51 วิชา และมีวชิ าทีน่ กั ศึกษาออกภาคสนามเพือ่ ส่งเสริม การเรียนรูแ้ ละประสบการณ์นอกห้องเรียน จ�ำนวน 15 ครัง้ 12 วิชา เช่น วิชา ม.418 ชุมชนศึกษา ณ ชุมชนมลายูบ้านปากลัด จ.สมุทรปราการ (3 ตุลาคม 2558) และ วิชา ม.432 วัฒนธรรมชาติพนั ธุ์ในประเทศไทย มีกจิ กรรม 2 ครัง้ ณ ชุมชนบ้านนาวี ต.สงเปลือย อ.เขาวง จ.กาฬสินธุ์ (6-11 พฤษภาคม 2559) และ ศูนย์มานุษยวิทยา สิรินธร ตลิ่งชัน กรุงเทพฯ (16 กุมภาพันธ์ 2559) เป็นต้น หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (การวิจยั ทางสังคม) เปิดสอน รายวิชาทั้งสิ้นจ�ำนวน 58 วิชา และมีวิชาที่นักศึกษาออกภาคสนามเพื่อส่งเสริม การเรียนรู้และประสบการณ์ทางวิชาการและการวิจัย จ�ำนวน 11 ครั้ง 10 วิชา เช่น วิชา ม.241 โบราณคดีเบือ้ งต้น ณ จ.สุพรรณบุรี จ.กาญจนบุรี วิชา ม.433 วัฒนธรรม กลุม่ ชาติพนั ธุ์ในเอเชียแปซิฟคิ ณ จ.ชุมพร (31 ตุลาคม - 1 พฤศจิกายน 2558) และ วิชา ม.347 (ม.421) วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว ณ จ.ศรีสะเกษ จ.นครราชสีมา (22-24 เมษายน 2559) เป็นต้น
Annual Report 2016/17
39
วิชา สว.240 การจัดระเบียบทางสังคม ณ จ.พระนครศรีอยุธยา
นักศึกษา
ปีการศึกษา 2559 หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) เปิดสอนรายวิชาทั้งสิ้นจ�ำนวน 47 วิชา และมีวิชาที่นักศึกษาออกภาคสนามเพื่อ ส่งเสริมการเรียนรู้และประสบการณ์นอกห้องเรียน จ�ำนวน 18 ครั้ง 14 รายวิชา เช่น วิชา ม.324 มานุษยวิทยาการเมือง จ�ำนวน 2 ครั้ง ณ เรือนจ�ำกลางคลองเปรม ถ.งามวงศ์วาน กรุงเทพฯ (27 ตุลาคม 2559) และ ณ สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งชาย ธัญบุรี จ.ปทุมธานี (17 พฤศจิกายน 2559) และวิชา ม.341 โบราณคดีในประเทศไทย ณ จ.นครราชสีมา, จ.ขอนแก่น, จ.อุดรธานี (12-14 พฤษภาคม 2560) เป็นต้น หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (การวิจยั ทางสังคม) เปิดสอน รายวิชาทั้งสิ้นจ�ำนวน 62 วิชา และมีวิชาที่นักศึกษาออกภาคสนามเพื่อส่งเสริม การเรียนรู้และประสบการณ์ทางวิชาการและการวิจัย จ�ำนวน 13 ครั้ง 11 วิชา เช่น วิชา สว.240 การจัดระเบียบทางสังคม ณ จ.พระนครศรีอยุธยา (13 พฤศจิกายน 2559) วิชา มธ.100 พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม ณ อ.วังชิ้น จ.แพร่ (21-23 เมษายน 2560) และวิชา ม.243 มรดกวัฒนธรรมศึกษา ณ พิพธิ ภัณฑ์วงั สวนผักกาด (16 กุมภาพันธ์ 2560) เป็นต้น
40
Annual Report 2016/17
วิชา ม.418 ชุมชนศึกษา ณ ชุมชนมลายูบ้านปากลัด จ.สมุทรปราการ
วิชา ม.243 มรดกวัฒนธรรมศึกษา ณ พิพิธภัณฑ์วังสวนผักกาด
Annual Report 2016/17
41
นักศึกษา
วิชา สม.417 การศึกษาภาคสนาม ในต่างประเทศ ณ ประเทศเวียดนาม
วิชา สม.417 การศึกษาภาคสนามในต่างประเทศ ณ ประเทศอินโดนีเซีย
Annual Report 2016/17
42
ระดับบัณฑิตศึกษา
หลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษา มีการจัดการเรียนการสอนที่เปิดโอกาส ให้นักศึกษาท�ำวิจัย ค้นคว้าด้วยตนเอง และมีการออกภาคสนามบางรายวิชา เช่น วิชา ม.605 โบราณคดีเชิงมานุษยวิทยา ณ จ.สระบุรี จ.นครราชสีมา (28-29 พฤศจิกายน 2558) วิชา ม.632 มรดกวัฒนธรรมเชิงวิพากษ์ ณ จ.กาญจนบุรี (27-28 เมษายน 2559) วิชา ม.605 โบราณคดีเชิงมานุษยวิทยา ณ จ.สระบุรี จ.นครราชสีมา จ.บุรีรัมย์ (5-7 พฤศจิกายน 2559) Faculty of Sociology and Anthropology
FIELDWORK วิชา สม.417 การศึกษาภาคสนามในต่างประเทศ ณ ประเทศจีน
Annual Report 2016/17
43
6.6 โครงการอบรมนักศึกษา
นักศึกษา
ปีการศึกษา 2558 1. โครงการอบรมและสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมทักษะการศึกษาวิจัย รายบุคคล ครั้งที่ 1 วันที่ 16 ตุลาคม 2558 2. โครงการ Soc-Ant Open House 2015 วันที่ 4-5 พฤศจิกายน 2558 3. โครงการวันพบอาจารย์ทปี่ รึกษาประจ�ำภาคเรียนที่ 1 วันที่ 19 - 20 พฤศจิกายน 2558 4. โครงการ“แนวทางในการวางแผนการเรียนและเส้นทางการท�ำงานในอนาคตส�ำหรับ นกั ศึกษาคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (ภาคปกติ)” วันที่ 12 พฤศจิกายน 2558 5. โครงการเสริมสร้างทักษะทางวิชาการของนักศึกษา เรือ่ ง การน�ำเสนอผลงานวิจยั รายบุคลของนักศึกษา: สวนสนาม: (อ)ปรกติ-สังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2559
44
Annual Report 2016/17
6. โครงการเสริมทักษะภาษาอังกฤษ “Open Up Your Senses” เรียนรู้ concepts ทางสังคมวิทยา-มานุษยวิทยา ส�ำหรับนักศึกษาคณะสังคมวิทยาฯ วันที่ 14, 21 และ 28 มีนาคม 2559 7. โครงการสัมมนานักศึกษาเพื่อเสริมสร้างวิชาการและพัฒนาการเรียนการสอน เรือ่ ง “แนะน�ำพืน้ ทีก่ อ่ นออกภาคสนามรายวิชา สม.417 การศึกษาภาคสนามใน ต่างประเทศ” วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 8. โครงการเสริมสร้างทักษะทางวิชาการของนักศึกษา เรื่อง “แนวทางการศึกษา รายวิชา สม.418 ภาคนิพนธ์ 2” วันที่ 24 เมษายน 2558 ปีการศึกษา 2559 1. โครงการมัชมัชฌิมนิเทศ ปีการศึกษา 2559 วันที่ 23 กันยายน 2559 2. โครงการ Soc-Ant Open House 2016 วันที่ 23-24 พฤศจิกายน 2559 3. โครงการเสริมทักษะทางวิชาการของนักศึกษา เรื่อง การน�ำเสนอผลงานวิจัย รายบุคคลของนักศึกษา “สนามหลวง-สนามเรา” วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 4. โครงการเสริมทักษะภาษาอังกฤษ “การเตรียมตัวเพื่อการสมัครงานส�ำหรับ นักศึกษาสังคมวิทยา-มานุษยวิทยา” วันที่ 24 เมษายน 2560 5. สัมมนานักศึกษาเพือ่ เสริมสร้างวิชาการและพัฒนาการเรียนการสอน เรือ่ ง “แนะน�ำ พื้นที่ก่อนออกภาคสนามรายวิชา สม.417 การศึกษาภาคสนามในต่างประเทศ วันที่ 4 มีนาคม 2560 6. โครงการเสริมสร้างทักษะทางวิชาการของนักศึกษา เรื่อง “แนวทางการศึกษา รายวิชา สม.418 การวิจัยรายบุคคล และรายวิชา สม.419 การศึกษาแบบ รายบุคคล วันที่ 23 กันยายน 2559
Annual Report 2016/17
ปีการศึกษา 2558 1. สานสัมพันธ์สงั คมวิทยาและมานุษยวิทยา 7 สถาบัน (Super SOC) มหาวิทยาลัย ศรีนครินทร์วิโรฒ องครักษ์ จ.นครนายก วันที่ 29-31 มกราคม 2559 2. โครงการปันน�ำ้ ใจให้น้องยิ้ม โรงเรียนบ้านแม่ประจัน อ.ปากท่อ จ.ราชบุรี วันที่ 6-7 กุมภาพันธ์ 2559 3. ค่ายจิตอาสาอนุรักษ์วัตถุทางวัฒนธรรม พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดสาขลา จ.สมุทรปราการ วันที่ 13-14 มีนาคม 2559 4. กีฬาสานสัมพันธ์ระหว่างคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาและคณะสังคมสงเคราะห์ ศาสตร์ (2SOC) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต วันที่ 30 มีนาคม 2559 5. ค่ายอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม หาดแสมสาร อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี วันที ่ 2-3 เมษายน 2559 6. โครงการเสวนาสังคมวิทยามานุษยวิทยา “The Hunting Ground : ความรุนแรง ทางเพศและการปกปิดความจริง” ห้องกิจกรรม หอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์ วันที่ 19 เมษายน 2559
นักศึกษา
6.7 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี
45
46
Annual Report 2016/17
7. ทัศนศึกษาภาคเหนือตอนบน “น่าน แพร่ ล�ำปาง: รอบเวียงวัดวา วิถีฅนเมือง” วัด พิพิธภัณฑ์และชุมชนในเขตจังหวัดน่าน แพร่ และล�ำปาง วันที่ 5-8 พฤษภาคม 2559 8. โครงการเสริมสร้างแหล่งเรียนรูท้ างวัฒนธรรม พิพธิ ภัณฑ์โรงเรียนวัดหนองแจง อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี วันที่ 14 กรกฎาคม 2559 9. ค่ายศึกษาและพัฒนาชนบท “สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา...อาสาพัฒนาชนบท” โรงเรียนบ้านห้วยหินลาดใน ต�ำบลเวียง อ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย วันที่ 22-29 กรกฎาคม 2559 10. ทัศนศึกษาเชิงอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและศิลปวัฒนธรรม อ.พระประแดง อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ วันที่ 12 กันยายน 2558 11. ค่ายจิตอาสาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ต.เต่าหลังตุง โครงการอนุรักษ์พันธุ์ เต่าทะเล เกาะมันใน จ.ระยอง วันที่ 18-19 กันยายน 2558 ค่ายศึกษาและพัฒนาชนบท อ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย
Annual Report 2016/17
นักศึกษา
ปีการศึกษา 2559 1. วันแรกพบ วันที่ 10 กรกฎาคม 2559 2. สัมมนานักกิจกรรมคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ไร่กสุ มุ า รีสอร์ท อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี วันที่ 20-22 สิงหาคม 2559 3. ค่ายจิตอาสาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ปั้นโป่งเทียม อุทยานแห่งชาติเอราวัณ จ.กาญจนบุรี วันที่ 16 กันยายน 2559 4. ปันน�้ำใจให้น้องยิ้ม โรงเรียนบ้านต้นล�ำแพน อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม วันที่ 4-5 กุมภาพันธ์ 2560 5. โครงการกีฬาสานสัมพันธ์สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาภายในคณะ วันที่ 14-16 กุมภาพันธ์ 2560 6. ทัศนศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน : ตะลุยอีสาน บุกเมืองพญานาค ปลุกต�ำนานเจ้าแม่นาคี จ.บึงกาฬ จ.หนองคาย จ.อุดรธานี วันที ่ 21-24 กุมภาพันธ์ 2560 7. สานสัมพันธ์สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 7 สถาบัน (Super SOC) อาคารพลศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที่ 31 มีนาคม- 2 เมษายน 2560 8. วันสีขาว สถานสงเคราะห์เด็กชายบ้านปากเกร็ด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี วันที่ 22 เมษายน 2560 9. กีฬาสานสัมพันธ์ระหว่างคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาและ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ (2SOC) วันที่ 26 เมษายน 2560 10. ค่ายอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อ�ำเภอแก่งกระจาน จ.เพชรบุรี วันที่ 11-12 มิถุนายน 2560
47
48
Annual Report 2016/17
6.8 กิจกรรมนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
ปีการศึกษา 2558 1. สัมมนาหัวข้อวิทยานิพนธ์ นักศึกษาระดับปริญญาโท ห้องปริญญาเอก ตึกคณะ สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ชั้น 4 มธ. ท่าพระจันทร์ วันที่ 27-28 พฤศจิกายน 2558 2. สัมมนาความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ นักศึกษาระดับปริญญาโท ห้องปริญญาเอก ตกึ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ชัน้ 4 มธ. ท่าพระจันทร์ วันที่ 18 พฤษภาคม 2559 3. เข้าร่วมสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา ครั้งที่ 15 โรงแรม บีพี สมิหลา บีช คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ ม.ทักษิณ จ.สงขลา วันที่ 28-29 พฤษภาคม 2559
Annual Report 2016/17
49
4. สัมมนาวิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต เรื่อง “มองคนสะท้อนสังคม” ห้องปริญญาเอก ตึกคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ชั้น 4 มธ. ท่าพระจันทร์ วันที่ 23 กันยายน 2559 5. สัมมนาเตรียมหัวข้อวิทยานิพนธ์ นักศึกษาระดับปริญญาโท ห้องปริญญาเอก ตึกคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ชัน้ 4 มธ. ท่าพระจันทร์ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2559
นักศึกษา
ปีการศึกษา 2559 1. สัมมนาหัวข้อวิทยานิพนธ์ นักศึกษาระดับปริญญาโท ห้องปริญญาเอก ตึกคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ชั้น 4 มธ. ท่าพระจันทร์ วันที่ 31 ตุลาคม 2559 2. สัมมนาเตรียมหัวข้อวิทยานิพนธ์ นักศึกษาระดับปริญญาโท ห้องปริญญาเอก ตึกคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ชัน้ 4 มธ. ท่าพระจันทร์ วันที่ 31 พฤษภาคม 2560 3. สัมมนาความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ นักศึกษาระดับปริญญาโท ห้องปริญญาเอก ตึกคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ชัน้ 4 มธ. ท่าพระจันทร์ วันที่ 21 มิถนุ ายน 2560 4. เข้าร่วมสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา ครั้งที่ 16 คณะสังคมศาสตร์ ม.นเรศวร จ.พิษณุโลก วันที่ 28-30 มิถุนายน 2560 5. โครงการสัมมนา ความ(ไม่)ก้าวหน้าวิทยานิพนธ์นักศึกษาปริญญาเอก คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ปีการศึกษา 2559 วันที่ 14 มีนาคม 2560 ณ ห้องบรรยายโครงการปริญญาเอก ชั้น 4 คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์
50
Annual Report 2016/17
7. Hall of Fame
รางวัลผลงานทางวิชาการดีเด่นด้านมนุษศาสตร์ TTF AWARD ประจ�ำปี 2558-2559
7.1 อาจารย์และนักวิจัย ❶ ศาสตราจารย์ ดร.เสมอชัย พูลสุวรรณ
ศาสตราจารย์ ดร.เสมอชัย พูลสุวรรณ ได้รับทุนส่งเสริม กลุม่ วิจยั (เมธีวจิ ยั อาวุโส สกว.) ประจ�ำปี พ.ศ. 2558 จากส�ำนักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) และได้รบั รางวัลผลงานทางวิชาการ ดีเด่นด้านมนุษยศาสตร์ TTF AWARD ประจ�ำปี 2558-2559 จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย จาก หนังสือเรือ่ ง “จิตรกรรมพุทธศาสนาสมัยพุกาม (เล่มที่ 1 ตัวบท และ เล่มที่ 2 ภาพประกอบและค�ำอธิบาย)”
Annual Report 2016/17
51
ได้รับทุนส่งเสริมกลุ่มวิจัย (เมธีวิจัยอาวุโส สกว.) ประจ�ำปี พ.ศ.2558
❷ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันทนี เจริญศรี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จันทนี เจริญศรี ได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์ระดับดี ประจ�ำปี พ.ศ. 2558 จาก สภาวิจัยแห่งชาติ (ประกาศ ณ วันที่ 17 ธันวาคม 2558) จากวิทยานิพนธ์ ปริญญาเอก สาขาสังคมวิทยา มหาวิทยาลัย Essex สหราชอาณาจักร หัวข้อ “การย้าย ถิ่ น ฐานผ่ า นการสมรส: ชาติ พั น ธุ ์ นิ พ นธ์ เชิ ง วิ พ ากษ์ ว ่ า ด้ ว ยชี วิ ต ข้ า มพรมแดน” (Thai Daughters, English Wives: A Critical Ethnography of Transnational Live)
Hall of Fame
Hall of Fame
Annual Report 2016/17
52
7.2 นักศึกษาปั จจุ บัน
ระดับปริญญาตรี
❶
น.ส.ขวัญจิรา พลศรี
นางสาวขวัญจิรา พลศรี นักศึกษาสาขาวิชาการวิจัยทางสังคม ได้รับคัดเลือก เป็นหนึ่งในเยาวชนไทยเข้าร่วมโครงการเรือเยาวชนเอเชียอาคเนย์ ประจ�ำปี 2558 และได้รับมอบเข็มเครื่องหมายเยาวชนพระราชทานจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2558
Annual Report 2016/17
ระดับบัณฑิตศึกษา
❶
นายอนุพงษ์ จันทะแจ่ม
นายเวธัส โพธารามิก
นายเวธัส โพธารามิก นักศึกษา ปริญญาโท สาขามานุษยวิทยา ได้รบั รางวัล วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์ ระดับดีมาก ประจ�ำปีการศึกษา 2556 เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2558 ในหัวข้อ “ลิง กับ คน: ไพรเมทวิทยาเชิงชาติพันธุ์ ของลิงแสม (Macaca fascicularis) ณ ต�ำบลท่าหิน อ�ำเภอเมือง จังหวัดลพบุร”ี
Hall of Fame
นายอนุพงษ์ จันทะแจ่ม นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาโท สาขา มานุ ษ ยวิ ท ยา ได้ รั บ รางวั ล ยุวศิลปินไทย จากมูลนิธเิ อสซีจี ประเภทผลงานวิชาการ ประจ�ำปี 2559
❷
53
54
Annual Report 2016/17
7.3 ศิษย์เก่าและอดีตอาจารย์
❶ รองศาสตราจารย์ ดร.พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิพงษ์
รองศาสตราจารย์ ดร.พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิพงษ์ ได้รับเลือกให้เป็นผู้ที่รับ โล่เกียรติยศ ประเภท ผูท้ ำ� ประโยชน์ให้แก่มหาวิทยาลัย เนือ่ งในโอกาสวันครบรอบ 83 ปี แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ❷ นางจันทวิภา อภิสุข
นางจั น ทวิ ภ า อภิ สุ ข ศิษ ย์เก่าคณะสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา ได้รบั พระราชทาน ป ริ ญ ญ า สั ง ค ม วิ ท ย า แ ล ะ มานุ ษ ยวิ ท ยามหาบั ณ ฑิ ต กิตติมศักดิ์ สาขาสังคมวิทยา ประจ�ำปีการศึกษา 2558 จาก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Annual Report 2016/17
55
8. การวิจัย
และบริการวิชาการ
การวิจัยและบริการวิชาการ
Annual Report 2016/17
56
8.1 การวิจัย
8.1.1 โครงการวิจัย
โครงการวิจัย/งานสร้างสรรค์ ที่ได้รบ ั ทุนสนับสนุน ระหว่างปีงบประมาณ 2559 -2560
ล�ำดับที่ ชื่องานวิจัย/งานสร้างสรรค์ ชื่อผู้ท�ำวิจัย/งานสร้างสรรค์ 1
2
3 4
5
6
โครงการการประมาณการและ ปฏิรูปกลไกการบริหารจัดการ ก�ำลังคนในสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมของ ประเทศไทย โครงการประเมินผลกระทบด้าน เศรษฐกิจจากการท่องเที่ยวใน พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน ผลิตผลงานวิชาการระดับ นานาชาติ ส่วนที่ 1
อาจารย์อัครนัย ขวัญอยู่
ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบาย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรมแห่งชาติ
ผศ. ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ ผศ.อรอุมา เตพละกุล
องค์การบริหารการพัฒนา พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)
ผศ. ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ ผศ.อรอุมา เตพละกุล
องค์การบริหารการพัฒนา พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) องค์การบริหารการพัฒนา พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)
โครงการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ผศ.สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ ผศ. ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ ผศ. ดร.พิเชฐ สายพันธ์ ผศ.อรอุมา เตพละกุล โครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนา ผศ. ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ ด้านสถิติและตัวชี้วัดกระบวนการ ผศ.อรอุมา เตพละกุล ยุติธรรมทางอาญาและส�ำรวจ ความเห็นของประชาชนและ นักปฏิบัติเกี่ยวกับคุณค่าของ กระบวนการยุติธรรมทางอาญา” โครงการศึกษามาตรการที่มี ประสิทธิภาพในการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเด็กแว้น : ศึกษา เฉพาะกรณีพื้นที่การกระท�ำผิด ซ�ำ้ ซาก
แหล่งทุน
ผศ. ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ ผศ.อรอุมา เตพละกุล
สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่ง ประเทศไทย (องค์การมหาชน)
ส�ำนักงานกิจการยุติธรรม
Annual Report 2016/17
ล�ำดับที่ ชื่องานวิจัย/งานสร้างสรรค์ ชื่อผู้ท�ำวิจัย/งานสร้างสรรค์ 7 8
9
โครงการวิจยั เรือ่ ง “เสียงจากเหยือ่ ผศ. ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา ของความรุนแรงทางการเมือง พ.ศ. 2551-2558” โครงการวิจยั เรือ่ ง “ศักยภาพของ อาจารย์ ดร.ทรงสิริ พุทธงชัย ละครเล่นใหม่ในการเสริมสร้าง ความสามารถในการแก้ปัญหา และความเข้มแข็งของชีวิตของ กลุ่มผู้ที่มีความเปราะบางทาง สังคม” โครงการวิจัยเรื่อง “Mobile Media ผศ. ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร Practices in Everyday Life: Negotiating Commercial
57
แหล่งทุน คณะสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา มธ. คณะสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา มธ.
ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา และ British Academy
Infrastructures and State Control in Mainland Southeast Asia”
10
11 12
ผศ. ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ องค์การบริหารการพัฒนา อาจารย์ ดร.ปาณิศา วิชุพงษ์ พื้นทีพ่ ิเศษเพื่อการท่องเที่ยว ผศ.อรอุมา เตพละกุล อย่างยัง่ ยืน (องค์การมหาชน) ผศ. ดร.ประเสริฐ แรงกล้า
ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา
ผศ. ดร.ธีระ สินเดชารักษ์
สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่ง ประเทศไทย (องค์การมหาชน)
ผศ. ดร.เทียมสูรย์ สิริศรีศักดิ์
คณะสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา มธ.
การวิจัยและบริการวิชาการ
13
โครงการศึกษาการจ้างงาน และศักยภาพแรงงานบน ห่วงโซ่อุปทานด้านการท่องเที่ยว ในพื้นที่พิเศษ อนาคตและความเป็นไปได้: มุมมองเรื่องเวลาของคนย้ายถิ่น สัญชาติพม่า การออกแบบเครื่องมือและวิธี ในการส�ำรวจความคิดเห็นของ ประชาชนเรื่องความปลอดภัย สาธารณะ การเมืองมรดกวัฒนธรรมใน กระบวนการขอขึ้นทะเบียน มรดกโลกเมืองเก่าเชียงใหม่
Annual Report 2016/17
58
8.1.2 หนังสือและต�ำรา
สังคมวิทยา: ความรู้ฉบับพกพา แปลโดย ผศ. ดร.จันทนี เจริญศรี (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มธ.) แปลจาก "Sociology: A Very Short Introduction" โดย Steve Bruce จัดพิมพ์โดย Openworlds Thailand
Love and Intimacy in Online Cross-Cultural Relationships: The Power of Imagination หนังสือทีต่ พี มิ พ์จากวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาเอกทางสังคมวิทยา ของ อ. ดร.วิลาสินี พนานครทรัพย์ (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มธ.) ที่เสนอให้พิจารณาจินตนาการว่าด้วยความรักและความสัมพันธ์ ข้ามวัฒนธรรม ผ่านสื่อออนไลน์ของหญิงชาวไทย ซึ่งก่อตัวเป็น ส่วนหนึง่ ของประสบการณ์และความคาดหวังเกีย่ วกับความรักและ การมีชีวิตคู่ของพวกเธอ
ผู้สูงอายุในสังคมจีน : การจัดสวัสดิการ ต้นแบบการดูแลและกิจกรรมทางสังคม
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ: บทเรียนจากเพื่อนบ้าน
ผลงานตีพิมพ์จากโครงการวิจัยโดย ผศ. ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ (สังคมวิทยา และมานุษยวิทยา มธ.) ศุทธิดา ชวนวัน ปริญญา สมบุญยิ่ง ทุนสนับสนุนจาก ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
หนังสือรวมบทความแปลในประเด็นเกี่ยวกับ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม (intangible cultural heritage) จัดพิมพ์และเผยแพร่ให้เข้าถึง โดยเสรี โดย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) SAC - Bank of Anthropological Data บรรณาธิการโดย ผศ.สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
Annual Report 2016/17
เกิดมาหนึ่งชาติ ต้องกราบพระธาตุเมืองนคร : คนใต้ ศีลธรรม และการเมือง โดย ผศ. ดร.อนุสรณ์ อุณโณ คณะสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โดย ผศ.สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ ได้รับทุนสนับสนุน การจัดพิมพ์จากองค์การบริหารการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษ เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)
โลกของคนไร้บ้าน (พิมพ์ครั้งที่ 3 ปรับปรุงแก้ไข) โดย ผศ. ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา คณะสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศาสตร์ อศาสตร์ : เข้ามาข้างนอก ออกไปข้างใน บรรณาธิการโดย ผศ. ดร.จันทนี เจริญศรี (สังคมวิทยา และมานุษยวิทยา มธ.) ส่วนหนึ่งของโครงการจัดพิมพ์ หนังสือ เนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปี การก่อตั้ง คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
การวิจัยและบริการวิชาการ
องค์ความรู้ว่าด้วยการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์: คู่มือและแนวทางปฏิบัติ
59
60
Annual Report 2016/17
ศึกษาสิ่งของ เข้าใจผู้คน, 30 ปี พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
นบีไม่กินหมาก พิธีกรรมความเชื่อมลายู ในกระแสการตื่นตัวในศาสนาอิสลาม
เนื่องในวาระครบรอบ 30 ปี พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ ในวันพุธที่ 29 มีนาคม 2560
โดย ผศ. ดร.อนุสรณ์ อุณโณ คณะสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สิงสาราสัตว์: มานุษยวิทยาว่าด้วยสัตว์และสัตว์ศึกษา
หนึ่งทศวรรษมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา กับการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้
โดย ผศ.สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ (บรรณาธิการ) เป็นหนังสือ ในโครงการจัดพิมพ์หนังสือเนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปี การก่อตั้งคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บรรณาธิการโดย ผศ. ดร.อนุสรณ์ อุณโณ
Annual Report 2016/17
61
จิตรกรรมพุทธศาสนาสมัยพุกาม (เล่มที่ 1 ตัวบท และ เล่มที่ 2 ภาพประกอบและค�ำอธิบาย)
บ้านเชียง: ปฐมบทโบราณคดีไทย บรรณาธิการโดย ผศ. ดร.พจนก กาญจนจันทร
ผลงานของ ศ. ดร.เสมอชัย พูลสุวรรณ (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มธ.) ได้รับรางวัล ผลงานวิชาการดีเด่น สาขามนุษยศาสตร์ TTF Award ประจ�ำปี 2558-2559
8.1.3 บทความที่ได้รับการตีพิมพ์
บทความวิจัย/บทความวิชาการ ที่ได้รบ ั การตีพิมพ์เผยแพร่ ระหว่างปีงบประมาณ 2559-2560
ล�ำดับ ที่ 1 2
บทสังเคราะห์ ความยุติธรรมใน วัฒนธรรมและสภาวะขัดแย้งทาง อัตลักษณ์ : กรณีศึกษา ภูมิซรอล ผู้สูงอายุในสังคมจีน : การจัด สวัสดิการ ต้นแบบการดูแล และกิจกรรมทางสังคม คนกลับพม่า: การเคลื่อนย้ายกลับ และทักษะผู้ประกอบการ
ชื่อผู้ท�ำผลงาน
แหล่งเผยแพร่
ผศ. ดร.นลินี ตันธุวนิตย์
วารสารศาสตร์ ปีที่ 8 (พ.ศ. 2558) ฉบับที่ 1 หน้า 30-54
ผศ. ดร.ธีระ สินเดชารักษ์
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 34 (พ.ศ. 2558) ฉบับที่ 2 หน้า 1-32
ผศ. ดร.ประเสริฐ แรงกล้า
วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ปีที่ 34 ฉบับที่ 1 มกราคมมิถุนายน 2558
การวิจัยและบริการวิชาการ
3
ชื่อบทความวิจัย หรืองานสร้างสรรค์
62
Annual Report 2016/17
ล�ำดับ ที่
ชื่อบทความวิจัย หรืองานสร้างสรรค์
ชื่อผู้ท�ำผลงาน
4
ยุวมุสลิมะห์บ้านริมน�้ำ: ใต้เงาฮิญาบ อาจารย์วิภาวี พงษ์ปิ่น กับความท้าทายในโลกสมัยใหม่
5
Book Reviews: Ambiguity of
ผศ. ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร
แหล่งเผยแพร่ วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ปีที่ 34 ฉบับที่ 1 มกราคมมิถุนายน 2558 Journal of Asian Studies
Identity: The Mieu in North Vietnam,
Vol.74 Issue: 4, 2015,
Politics of Ethnic Classification in
pp. 1063-1066
Vietnam
6
Contesting imagined communities:
ผศ. ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร
The politics of Tai cosmopolitanism
Cosmopolitan Asia: Littoral Epistemologies of the Global
)
in upland Vietnam (Book Chapter
South, September 2015, pp. 123-140
7
ชุมชน : จากอุดมคติถึงเครื่องมือ เพื่อการปกครอง
ผศ. ดร.บุญเลิศ วิเศษปรีชา
8
เขตปกครองพิเศษคลองเตย : ความเป็นย่าน ความเป็นชาย และ การสร้างชุมชนใหม่ผ่านการบริโภค ฟุตบอลของแฟนการท่าเรือ เอฟซี ภาคใต้หลังอาณานิคม
อาจารย์ อาจินต์ ทองอยู่คง
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง บัณฑิตที่ประสบความส�ำเร็จ และ การเรียนในคณะพาณิชยศาสตร์และ การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ความเป็นธรรมทางสังคม: ความพยายามชี้วัดและวิเคราะห์ ในเชิงตัวเลข ศาสนาอิสลามกับการต่อรองของ ชาวมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต้ การเมืองเรื่องโครงสร้างพื้นฐาน: ความหมายและนัยส�ำคัญในพม่า
อนุวรรณ ทองหมู ่ อาณัติ ลีมัคเดช ผศ. ดร.ธีระ สินเดชารักษ์
9 10
11 12 13 14
ปัญหาอุปสรรค กลยุทธ์ในการ ประชาสัมพันธ์ไปยังกลุ่มเป้าหมาย ของส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม
ผศ. ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร
วารสารมนุษยศาสตร์สงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 11 พ.ศ. 2559) ฉบับที่ 1 หน้า 9-35 สังคมศาสตร์ : วารสารทางวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ปีที่ 28 (พ.ศ. 2559) ฉบับที่ 1 หน้า 51-84 วารสารรุสมิแล ปีที่ 37 (พ.ศ. 2559) ฉบับที่ 2 หน้า 9-14 วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 35 (พ.ศ. 2559) ฉบับที่ 1 หน้า 143-163
ผศ. ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 35 ผศ.อรอุมา เตพละกุล (พ.ศ. 2559) ฉบับที่ 1 หน้า 164-191 อาจารย์ ดร.จุฑาศินี ธัญปราณีตกุล ผศ. ดร.อนุสรณ์ อุณโณ วารสารธรรมศาสตร์ ปีท่ี 35 (พ.ศ. 2559) ฉบับที่ 2 หน้า 30-57 ผศ. ดร.ประเสริฐ แรงกล้า วารสารสังคมลุ่มน�้ำโขง ปีที่ 12 (พ.ศ. 2559) ฉบับที่ 13 หน้า 83-105 ผศ.ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ วารสารวิชาการโรงเรียนนายร้อย พระจุลจอมเกล้า พ.ศ. 2559
Annual Report 2016/17
ล�ำดับ ที่
ชื่อบทความวิจัย หรืองานสร้างสรรค์
15
ศูนย์วัฒนธรรมชุมชนมุสลิม-มลายู บ้านปากลัด: ส�ำนึกรับรู้อดีตของ คนมุสลิมมลายูในสังคมเมือง
16
รูปแบบทางพื้นที่ของต�ำนานพระเจ้า ผศ.สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ เลียบโลก: บทวิเคราะห์ต�ำนานด้วย ผศ.วัลลภ ทองอ่อน ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
พิ(ศ)พิธภัณฑ์ บทความเลือกสรร จากการประชุมวิชาการ Museum Refocused. กรุงเทพฯ: สถาบัน พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ, 2559 การประชุมวิชาการระดับชาติ "สถาปัตย์กระบวนทัศน์" และ ระดับนานาชาติ "สถาปัตย์ปาฐะ" การประชุมวิชาการวิจยั สร้างสรรค์ : สรรพศาสตร์ทางสถาปัตยกรรม ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) 19-20 ธันวาคม 2559
17
Why i want to be a Future Swedish
Procedia CIRP
ชื่อผู้ท�ำผลงาน อาจารย์วิภาวี พงษ์ปิ่น
Dr.Göran Adamson
Shop-floor Operator
18
A Cloud Service Control Approach for
63
แหล่งเผยแพร่
Volume 41, 2016, pp. 1101-1106 Dr.Göran Adamson
Distributed and Adaptive Equipment
Procedia CIRP Volume 41, 2016, pp. 644-649
Control in Cloud Environments
19
Feature-based control and
Dr.Göran Adamson
information framework for adaptive
Journal of Manufacturing Systems, September 2016
and distributed manufacturing in cyber physical systems
20
The iconography and symbolism
ศ. ดร.เสมอชัย พูลสุวรรณ
of the Pacceka Buddhas in the art
Artibus Asiae, Volume 76, Issue 1, 2016, pp. 37-57
of Pagan
21
Creative Tourism Achievement in Thailand: Evaluated by Experts and Tourists
“Rao Rak Nay Luang”: Crafting
Thammasat Review, 2016,
ผศ. ดร.อนุสรณ์ อุณโณ
Thammasat Review, 2016,
Malay Muslims’ Subjectivity through
19 (1): 75-87
19 (2): 42-62
the Sovereign Thai Monarch
23
Feature-based adaptive manufacturing
Dr.Göran Adamson
ASME 2016 11th International
equipment control for cloud
Manufacturing Science and
environments
Engineering Conference, MSEC 2016, Vol. 2, 2016
การวิจัยและบริการวิชาการ
22
ผศ.สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ ผศ. ดร.พิเชฐ สายพันธ์ ผศ.อรอุมา เตพละกุล ผศ. ดร.ธีระ สินเดชารักษ์
64
Annual Report 2016/17
ล�ำดับ ที่ 24
ชื่อบทความวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ “Nama Kampung Kita: The Politics
ชื่อผู้ท�ำผลงาน ผศ. ดร.อนุสรณ์ อุณโณ
แหล่งเผยแพร่ Language, Power and Identity
of Village Names in Southernmost
in Asia: Creating and Crossing
Thailand”
Language Boundaries, National Museum of Antiquities in Leiden, Netherlands, 14-16 March 2016
25
"Low Carbon Tourism in Thailand: Perception and Attitude of Tourists
26
The Asian Symposium on Sustainable Tourism for
Who Stay in the Hotel that Corporate
Development – AST4D 2016,
with Designated Area for Sustainable
KKR Hotel, Hiroshima, Japan
Tourism Thailand"
28-30 April 2016
"Economic Impact of Tourism within the Designated Area for Sustainable
27
ผศ.อรอุมา เตพละกุล ผศ. ดร.ธีระ สินเดชารักษ์
ผศ.อรอุมา เตพละกุล ผศ. ดร.ธีระ สินเดชารักษ์
the 14th APacCHRIE Conference (Crisis Management and Business
Tourism in Thailand Case Study in
Continuity in the Tourism Industry),
Designated Area of Thailand"
Bangkok, 11-13 May 2016
"Return Mobility, New Entrepreneurs
ผศ. ดร.ประเสริฐ แรงกล้า
14th European Association of
and Politics of Searching a Good Life
Social Anthropology (EASA)
in Myanmar's Reform Era"
Biennial Conference, Department of Human Science for Education 'Riccardo Massa' and Department of Sociology and Social Research at University of Milano-Bicocca, Milan, 20-23 July 2016
28 29
Cross-border Mobilities and Bordering
ผศ. ดร.ประเสริฐ แรงกล้า
ASEASUK Conference 2016
Practices on the Thailand-Myanmar
SOAS, University of London,
Frontier
16-18 September 2016
Negotiating 'Modern' and 'Traditional'
ผศ. ดร.ณัฐจรี สุวรรณภัฏ
values in Thai Newlywed Marriages
Thailand in Comparative Perspective An International Symposium, University of Sydney, Sydney, 26-28 September 2016
30
Correspondence and Discontinuity
อาจารย์ ดร.ทรงสิริ พุทธงชัย
Thailand in Comparative Perspective An International Symposium, Eastern Ave Auditorium, University of Sydney, Sydney, 26-28 September 2016
Annual Report 2016/17
ล�ำดับ ที่ 31
ชื่อบทความวิจัย หรืองานสร้างสรรค์ Decolonization of 'Violence against
ชื่อผู้ท�ำผลงาน ผศ.ชนิดา ชิตบัณฑิตย์
Wonen' in Thailand
65
แหล่งเผยแพร่ The National Women's studies Association Annual Conference 2016 Montrea, Canada 10-13 November 2016
32
นักฟุตบอลไทยเซเล็บ: สถานะทาง อาจารย์อาจินต์ ทองอยู่คง สังคมแบบใหม่ของแรงงานกีฬา กับความโหยหาวีรบุรษุ ของสังคมไทย
33
The Buddha's Biography: Its
ศ. ดร.เสมอชัย พูลสุวรรณ
วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฎล�ำปาง ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2560) หน้า 88-108 Journal of the Royal Asiatic
Development in the Pagan Murals vs.
Society Volume 27, Issue 2,
the Later Vernacular Literature, in
1 April 2017, pp. 255-294
the Theravādin Buddhist Context of Southeast Asia
34
From Love Story to Class
ผศ. ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร
Consciousness: Subjection
AAS 2017 Annual Conference, Ontario, 16-19 March 2017
of Ethnic Tai in Vietnam
35
Employment Issues in the Supply
ผศ. ดร.ธีระ สินเดชารักษ์
International Conference on
Chain of Thailand's Tourism Sector:
Sustainable Development (ICSD
A DASTA Case Study
2017), Galle Face Hotel, Colombo, 25 August 2017
36
Neighbor Studies: regional approaches to ASEAN
ผศ. ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร
International Conference "ASEAN: 50 Years of Integration and Development" Hanoi, 22 September 2017
การวิจัยและบริการวิชาการ
Annual Report 2016/17
66
8.2 การบริการวิชาการ
8.2.1 พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
❶
โครงการสัมมนาวิชาการเรื่อง “บ้านเชียง: ปฐมบทโบราณคดีไทย” วันที่ 27 มกราคม 2559 ณ ห้อง 107-108 (ริมน�ำ้ ) คณะศิลปศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์
Annual Report 2016/17
67
❷
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น “เรียนรู้ไปด้วยกัน ณ พิพิธภัณฑ์ พื้นบ้านสาขลา ต.นาเกลือ อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ” วันที่ 2 ธันวาคม 2558 วันที่ 13-14 มีนาคม 2559 และวันที่ 17 พฤษภาคม 2559 ณ พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านสาขลา ต.นาเกลือ อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ ❸ โครงการบริการวิชาการ พิพิธภัณฑ์โรงเรียนวัดหนองแจง วันที่ 14 กรกฎาคม 2559
ณ พิพิธภัณฑ์โรงเรียนวัดหนองแจง ต.ไร่รถ อ.ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี
โครงการประชุมวิชาการด้านพิพิธภัณฑ์ Museum Forum 2016: Museum Without Walls วันที่ 2-3 สิงหาคม 2559 ณ ห้องออดิทอเรียม ชั้น 5 หอศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร
การวิจัยและบริการวิชาการ
❹
68
Annual Report 2016/17
❺
โครงการเสวนาวิชาการ เรื่อง “ICOMSIAM Heritage Museum ทางเลือกใหม่ของพิพิธภัณฑ์ และมรดกวัฒนธรรมแห่งชาติ ?” วันที่ 5 สิงหาคม 2559 ณ ห้องประชุม ประกอบ หุตะสิงห์ ชั้น 3 อาคารอเนกประสงค์ 1 มธ. ท่าพระจันทร์
❻ โครงการนิทรรศการเคลื่อนที่: วัฒนธรรม “รัก” ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในงาน
สัมมนาวิชาการ “Digital Education ก้าวใหม่ของการศึกษาไทย” วันที่ 1-2 กันยายน 2559 ณ ห้องประชุม Convention Hall A และ B ชัน้ 1 โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ กรุงเทพฯ
❼
โครงการพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ สั ญ จร: One Day at the Museums วันที่ 10 กันยายน 2559 ณ พิพิธภัณฑ์ จังหวัดนนทบุรี และ Tooney Venue (Toy Museum)
Annual Report 2016/17
69
❽
โครงการนิทรรศการ “พิศ” รัก วันที่ 29 กันยายน30 ธันวาคม 2559 ณ พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ
❾
โครงการสัมมนาวิชาการ “30 ปี พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ...เชื่อมของ ต่อคน ค้นพบพิพิธภัณฑ์” วันที่ 29 มีนาคม 2560 ณ ห้องออดิทอเรียม 1 อาคาร พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
นิทรรศการ 30 ปี พิพธิ ภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ (2530-2560) คน สิ่งของและการสะสม: Personpossession-Collection วันที ่ 29 มีนาคม ถึง 29 ธันวาคม 2560 ณ พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
การวิจัยและบริการวิชาการ
❿
Annual Report 2016/17
70
8.2.2 ศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย
❶
โครงการเสวนาสาธารณะ “รัฐธรรมนูญของปวงชน จากหลากหลายมิติ” วันที่ 9 ตุลาคม 2558 ณ ห้องประชุมประกอบ หุตะสิงห์ ชั้น 3 อาคารอเนกประสงค์ 1 มธ. ท่าพระจันทร์
❷
โครงการเสวนาวิชาการ "The Plain of Jars of Laos: Colonial Archaeology or the birth of French Prehistoric Research ?" วันที่ 21 ตุลาคม 2558 ณ ห้องบรรยายโครงการ ปริญญาเอก ชั้น 4 คณะสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์ ❸ โครงการเสวนาสาธารณะ “ความจ�ำกัดค�ำ: ค�ำจ�ำกัดความ” ครั้งที่ 3 - 5
วันที่ 31 ตุลาคม 2558 , 28 พฤศจิกายน 2558 และ 19 ธันวาคม 2558 ณ ห้องสมุดเดอะ รีดดิ้งรูม กรุงเทพฯ
Annual Report 2016/17
71
❹
โครงการเสวนาสัมผัสมลายูผ่านหนังสือ “มลายูที่รู้สึก” วันที่ 6 พฤศจิกายน 2558 ณ ร้านหนังสือเดินทาง กรุงเทพฯ
❺
โครงการเสวนาวิชาการ “บทบาท กสทช. ในการปฏิรูปคลื่นความถี่ในกิจการกระจายเสียง: 4 ปีแห่งความส�ำเร็จ หรือล้มเหลว?” วันที่ 25 มกราคม 2559 ณ ห้องบรรยาย โครงการปริญญาเอก ชั้น 4 คณะสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์
อดีตร่วมสมัย และ ตลาดน้อยในความทรงจ�ำ” วันที่ 29 มกราคม -1 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ห้องบรรยายโครงการปริญญาเอก ชั้น 4 คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และพื้นที่ปฏิบัติการย่านตลาดน้อย กรุงเทพฯ
การวิจัยและบริการวิชาการ
❻ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การถ่ายภาพเชิงชาติพันธุ์นิพนธ์ “ย่านเก่า เล่าใหม่:
72
Annual Report 2016/17
❼
โครงการเสวนา เรื่องราว เรื่องลาว: ประสบการณ์ นักวิจัยไทยในลาวบนเส้นทางสู่ปี 2020 วันที่ 1 มีนาคม 2559 ณ ห้องบรรยายโครงการปริญญาเอก ชั้น 4 คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา อาคาร คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์ ❽ โครงการเสวนาสาธารณะ “รัฐธรรมนูญ (มีไว้ท�ำไม?)” วันที่ 11 มีนาคม 2559
ณ ห้องประชุมประกอบ หุตะสิงห์ ชั้น 3 อาคารอเนกประสงค์ 1 มธ. ท่าพระจันทร์
❾
โครงการเสวนา Publicness, Ritual and Outdoor Cinema in Thailand ความเป็นสาธารณะ พิธีกรรม และหนังกลางแปลงในประเทศไทย วันที่ 3 พฤษภาคม 2559 ณ ห้องบรรยาย โครงการปริญญาเอก ชั้น 4 คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์
Annual Report 2016/17
73
❿
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการวิจัยเชิงปริมาณ ทางสังคมศาสตร์ หลักสูตร “การใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูป ทางสถิติส�ำหรับการวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) และ การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)” วันที่ 23 พฤษภาคม 2559 ณ ห้องส่งเสริมการเรียนรู้ สารสนเทศ (IL2) หอสมุดปรีดี พนมยงค์ มธ. ท่าพระจันทร์
⓫
โครงการ “ความ(ไม่)แปลกแยก: บทสนทนาว่าด้วย ความ(ไม่)เป็นอื่นในปฏิบัติการทางศิลปะและชาติพันธุ์ วรรณา” วันที่ 3 กันยายน 2559 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ
โครงการสัมมนาวิชาการประจ�ำปี พ.ศ. 2559 ศูนย์ศกึ ษา สังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย “35 | 53 หนุ่มสาว ในห้วงของการเปลี่ยนผ่าน” วันที่ 25 กันยายน 2559 ณ ห้องประชุมริมน�ำ ้ คณะศิลปศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์
การวิจัยและบริการวิชาการ
⓬
74
Annual Report 2016/17
⓭
โครงการเสวนาสาธารณะ “Right Here, Right Now” (ครั้งที่ 1-4) วันที่ 22 ตุลาคม 2559, 19 พฤศจิกายน 2559, 17 ธันวาคม 2559 และ 25 กุมภาพันธ์ 2560 ห้องสมุดเดอะ รีดดิ้งรูม กรุงเทพฯ ⓮ โครงการเสวนาทางวิชาการ “ชะตากรรมคนจนใต้เงา คสช.” วันที่ 27 พฤศจิกายน
2559 ณ ห้องประชุมประกอบ หุตะสิงห์ ชัน้ 3 อาคารอเนกประสงค์ 1 มธ. ท่าพระจันทร์ ⓯ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร์ หลักสูตร
“การใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูปทางสถิติส�ำหรับการวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) และ การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis)” ครัง้ ที่ 2 วันที่ 5 เมษายน 2560 ณ ห้องส่งเสริมการรู้สารสนเทศ (IL2) หอสมุดปรีดี พนมยงค์ มธ. ท่าพระจันทร์ ⓰
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ telling stories | เล่าภาพเป็นเรื่อง: วิธีวิทยาว่าด้วยการเล่าเรื่อง จากภาพ วันที่ 21-23 เมษายน 2560 ณ ห้องบรรยาย โครงการปริญญาเอก ชั้น 4 คณะสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ.ท่าพระจันทร์ และร้าน ไดอะล็อก คอฟฟี่ แอนด์ แกลเลอรี่ กรุงเทพฯ
Annual Report 2016/17
⓱
โครงการ “สัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารว่าด้วยมโนทัศน์ cultural intimacy” วันที่ 29 เมษายน 2560 ณ ห้องบรรยายโครงการปริญญาเอก ชั้น 4 คณะสั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยา อาคาร คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์
75
⓲
โครงการเสวนาวิชาการเนือ่ งในวันพิพธิ ภัณฑ์ สากล “เรื่องที่พิพิธภัณฑ์(อาจ)ไม่ได้เล่า?” วันที่ 26 พฤษภาคม 2560 ณ ห้องประชุม คึกฤทธิ์ ปราโมช สถาบันไทยคดีศึกษา ชั้น 9 อาคารอเนกประสงค์ 1 มธ. ท่าพระจันทร์
⓳ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการว่าด้วยประเด็น Transnational Intimacy and
Migration Process วันที่ 25 กันยายน 2560 ณ ห้องบรรยายโครงการปริญญาเอก ชั้น 4 คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์
⓴ การวิจัยและบริการวิชาการ
โครงการสัมมนาวิชาการประจ�ำปี พ.ศ. 2560 ศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย “5 ปี ศูนย์ศกึ ษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย” วันที่ 28 กันยายน 2560 ณ ห้องประชุมริมน�ำ ้ คณะศิลปศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์
Annual Report 2016/17
76
8.2.3 ฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ ❶
โครงการเปิดตัวหนังสือ “อ่านวิพากษ์มิเชล ฟูโกต์” ในชุดโครงการต�ำรา “อ่านวิพากษ์” จากกลุ่มศึกษาทฤษฎี คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ 4 ธันวาคม 2558 ณ ห้องประชุมริมน�ำ ้ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ❷ โครงการ
“มื้อกลางวัน ปันวิจัย” ครั้งที่ 1 “นโยบายการจัดการมรดกวัฒนธรรมของจีน กรณีศึกษา แหล่งมรดกโลกถ�ำ้ หลงเหมิน เมืองลั่วหยาง และแหล่งโบราณคดีจินชา เมืองเฉินตู” วันที่ 29 มกราคม 2559 ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 2 คณะสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา มธ. ศูนย์รังสิต
❸ โครงการสัมมนาปฏิบตั กิ าร: การใช้ละครในการเรียนการสอนและการวิจยั ทางสังคมวิทยา
วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ห้องอเนกประสงค์ ชัน้ 1 คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มธ. ศูนย์รังสิต ❹ โครงการ
“มื้อกลางวัน ปันวิจัย” ครั้งที่ 2 “ความสุขของคนไร้บ้าน: หัวข้อต้องห้าม?” วันที่ 4 มีนาคม 2559 ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 2 คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มธ. ศูนย์รังสิต ❺ โครงการสัมมนาวิชาการ
“ธรรมาภิบาลเพื่อการจัดการขยะอย่างยั่งยืน”: กรณี “ศูนย์ก�ำจัดขยะและโรงไฟฟ้าเชียงรากใหญ่” วันที่ 29 มีนาคม 2559 ณ ห้องประชุม 201 อาคาร The Grand ศูนย์ประชุมธรรมศาสตร์รังสิต ❻ โครงการ “มื้อกลางวัน ปันวิจัย” ครั้งที่ 3 “When groups (only) are allowed to shine.
A few notes on the hidden iron collectivism of Multiculturalism” วันที่ 1 เมษายน 2559 ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 2 คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มธ. ศูนย์รังสิต
Annual Report 2016/17
77
❼
โครงการแข่งขันละครสะท้อนความคิดชีวิตวัยเรียน มิถุนายน-พฤศจิกายน 2559 ณ โรงเรียนคณะราษฎร์บ�ำรุง ปทุมธานี โรงเรียนสวนกุหลาบรังสิต โรงเรียนธรรมศาสตร์ คลองหลวงวิทยาคม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ❽
โครงการประชุมวิชาการกลุ่มคณะสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจ�ำปี 2559 100 ปี ชาตกาล ศาสตราจารย์ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ “พาสังคมไทยไปให้ถึง: ปฏิทินแห่งความหวัง จากครรภ์ มารดาถึงเชิงตะกอน” วันที่ 28 กรกฎาคม 2559 ณ ห้องจีด๊ เศรษฐบุตร (LT.1) คณะนิตศิ าสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์
โครงการเสวนา “ย้อนรอยสังคมวิทยา: เส้นทางศาสตร์ ว่าด้วยสังคม” วันที่ 28 สิงหาคม 2559 ณ ร้าน B2S สาขาเซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพมหานคร
การวิจัยและบริการวิชาการ
❾
78
Annual Report 2016/17
❿
โครงการสัมมนาวิชาการเนื่องในโอกาสครบรอบ 40 ปี 6 ตุลาคม 2519 “ความขัดแย้ง และวัฒนธรรมการลอยนวลพ้นผิด (Impunity) ในสังคมไทย” วันที่ 8 ตุลาคม 2559 ณ ห้องประชุมริมน�้ำ คณะศิลปศาสตร์ มธ.ท่าพระจันทร์
⓫
โครงการเสวนา Contemporary Right-Wing Extremism in Europe and the US ขบวนการขวาจัดร่วมสมัยในยุโรปและ อเมริกา วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 ณ ห้องบรรยายโครงการ ปริญญาเอก ชั้น 4 คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา อาคาร คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์
⓬
โครงการ “การอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารว่าด้วยทฤษฎี Structuration” (Structuration Workshop) วันที่ 9 พฤศจิกายน 2559 ณ ห้องบรรยายโครงการปริญญาเอก ชั้น 4 คณะสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์
Annual Report 2016/17
79
⓭
โครงการ กิจกรรมวิชาการ “สู่สังคมพหุวัฒนธรรมที่เป็นธรรม” (Toward a Just Multicultural Society) วันที่ 10-11 ธันวาคม 2559 ณ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
⓮
โครงการเสวนาวิชาการ “ประเทศไทย หลัง พรบ. คอมพิวเตอร์ฯ 2559” วันที่ 25 ธันวาคม 2559 ณ ห้องประชุมริมน�้ำ คณะศิลปศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการว่าด้วย “Actor-Network Theory (ANT)” (ANT Workshop) วันที่ 21 มกราคม 2560 ณ ห้องบรรยายโครงการปริญญาเอก ชั้น 4 คณะสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์
การวิจัยและบริการวิชาการ
⓯
80
Annual Report 2016/17
⓰
โครงการปาฐกถาพิเศษและนิทรรศการภาพถ่าย “จากสนามสู่ข้อค้นพบใหม่: ถอดบทเรียนจาก การศึกษาจิตรกรรมพม่าสมัยพุกาม” วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 ณ พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มธ. ศูนย์รังสิต
⓱
โครงการประชุมสัมมนาวิชาการ "นโยบายทรัมป์ กับสันติภาพโลก?" วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2560 ณ.ห้องประชุมริมน�้ำ (LA 108) คณะศิลปศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์
⓲
โครงการเสวนาสาธารณะ ครั้งที่ 1 ชวนถกหนังสือ “นบีไม่กินหมาก” ของ ผศ. ดร.อนุสรณ์ อุณโณ วันที่ 10 มีนาคม 2560 ณ ห้องสมุดวิลเลี่ยม วอร์เรน (บ้านจิม ทอมป์สัน) กรุงเทพฯ
Annual Report 2016/17
81
⓳
โครงการเสวนาวิชาการ “ค�ำพิพากศาล” วันที่ 19 มีนาคม 2560 ณ ห้องประชุมประกอบ หุตะสิงห์ ชั้น 3 อาคารอเนกประสงค์ 1 มธ. ท่าพระจันทร์
⓴
โครงการสาธิตละครเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ครั้งที่ 1 บ้านบางแค วันที่ 26 เมษายน 2560 ณ ห้อง auditorium 2 อาคารพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มธ. ศูนย์รังสิต
การวิจัยและบริการวิชาการ
โครงการเวทีเสวนาอีสานกลางกรุง ครั้งที่ 2 “แถลงผลกระทบ 3 ปี ของประชาชน” วันที่ 22 กรกฎาคม 2560 ณ ห้องประชุม บุญชู โรจนเสถียร อาคารอเนกประสงค์ 1 มธ. ท่าพระจันทร์
82
Annual Report 2016/17
โครงการการจัดการความรู้ (Knowledge management) ด้านการวิจยั “เทคนิคการตีพมิ พ์
และเผยแพร่บทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติและในที่ประชุมระดับนานาชาติ” และ “การเตรียมความพร้อมในการขอทุนวิจัยของคณะ” วันที่ 26 กรกฎาคม 2560 ณ ห้องประชุม 2 คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มธ. ศูนย์รังสิต
โครงการเวทีนานาชาติเพือ่ การพัฒนาชนบทในวาระ 100 ปี อาจารย์ปว๋ ย เรือ่ ง “การพัฒนา ชนบทเพื่อขจัดความยากจนในเอเซีย” วันที่ 1-4 สิงหาคม 2560 ณ โรงแรมเซ็นทารา และคอนเวนชันเซ็นเตอร์ จังหวัดอุดรธานี
Annual Report 2016/17
83
8.2.4 โครงการบัณฑิตศึกษา
❶ โครงการเสวนาวิชาการ “behind the scene” ครั้งที่ 1 เรื่อง “หัวข้อนี้ท่านได้ แต่ใดมา:
สั ง เขปแนวทางในการเริ่ ม ต้ น ท� ำ วิ ท ยานิ พ นธ์ ” วั น ที่ 8 ธั น วาคม 2558 ณ ห้องบรรยาย โครงการปริญญาเอก คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา อาคาร คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ชั้น 4 มธ. ท่าพระจันทร์ ❷
โครงการเสวนาวิชาการ “behind the scene” ครั้งที่ 2 เรื่อง “How to Explore Multiple Field sites: Ethnography and Politics วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2559 ณ ห้องบรรยายโครงการปริญญาเอก คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา อาคาร คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ชั้น 4 มธ. ท่าพระจันทร์ ❸
โครงการเสวนาวิชาการ “behind the scenes” ครั้งที่ 3 เรื่อง “From headlines to a dissertation proposal: A geographer considers events at the Khuan Nong Hong Intersection in 2013” โดย Mr. Will Shattuck วันที่ 25 มีนาคม 2559 ณ ห้องบรรยายโครงการปริญญาเอก คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ชั้น 4 มธ. ท่าพระจันทร์
❹
โครงการเสวนาวิชาการ “behind the scenes” ครั้งที่ 4 เรื่อง “โครงการวิจัยที่เสนอ ต้องเป็นโครงการที่คนอื่นสนใจ: เรื่องเล่าเกี่ยวกับสิ่งที่ดิฉันเรียนในการเขียนโครงการ วิจัย” วันที่ 29 เมษายน 2559 ณ ห้องบรรยายโครงการปริญญาเอก คณะสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ชั้น 4 มธ. ท่าพระจันทร์ ❺ เสวนาวิชาการ “รัฐธรรมนูญกับประชามติทเี่ ลือกได้” (คณะฯ จัดร่วมกับคณะรัฐศาสตร์
❻
เสวนาวิชาการ “Painful Intercessions: An Ethnography of Passion Rituals in the Roman Catholic Philippines” โดย Associate Professor Julius Bautista (Center for Southeast Asian Studies, Kyoto University, Japan) ห้องปริญญาเอก ตึกคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ชั้น 4 มธ. ท่าพระจันทร์ วันที่ 17 มกราคม 2560
การวิจัยและบริการวิชาการ
จุฬาฯ สมาคมรัฐศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์ และสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา ม.มหิดล) โดยวิทยากร 9 คน จาก 4 หน่วยงาน ห้องอเนกประสงค์ ชั้น 1 คณะศิลปศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์ วันที่ 21 พฤษภาคม 2559
Annual Report 2016/17
84
8.2.5 โครงการบริการวิชาการระดับสถาบัน
“โครงการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์” เป็นโครงการวิจัยที่คณะสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ด�ำเนินการร่วมกับองค์การบริหาร การพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. ภายใต้ขอ้ ตกลงความร่วมมือระหว่างกันตัง้ แต่ปงี บประมาณ 2555-2562 ซึง่ โครงการ ดังกล่าวได้รับทุนสนับสนุนจาก อพท. และด�ำเนินการร่วมกันอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ ปีงบประมาณ 2555-2560 นอกจากนี้ ยังเป็นโครงการบริการวิชาการแก่สงั คมระดับ สถาบันของคณะฯ ที่บูรณาการการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการ เข้าไว้ด้วยกัน
Annual Report 2016/17
85
งานแถลงข่าว “กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ รุ่นที่ 2” เพื่อเปิดตัว 11 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ที่ผ่านการคัดเลือก และการประเมินตามเกณฑ์ที่กำ� หนด วันที่ 15 มิถุนายน 2559 ณ โรงแรม Grand Mercure Bangkok Fortune กรุงเทพมหานคร
◉
งานประชาสัมพันธ์เครือข่ายการท่องเทีย่ วเชิงสร้างสรรค์ รุน่ ที ่ 3 โครงการท่องเทีย่ ว เชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism Thailand) วันที่ 5-6 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 ณ โรงแรม อมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพมหานคร และท�ำพิธีมอบรางวัล “กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์รุ่นที่ 3” เพื่อเปิดตัว 15 กิจกรรมการท่องเที่ยว เชิงสร้างสรรค์ ที่ผ่านการคัดเลือก และการประเมินตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด ในงาน Community-based Tourism Forum: ตอน รวมพลค้นต�ำตอบ “เทีย่ วนี... ้ ...เพือ่ ใคร” ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร
◉
การวิจัยและบริการวิชาการ
86
Annual Report 2016/17
8.3 วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา
วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559) ฉบับเถรวาทในเอเชียอาคเนย์ บรรณาธิการ เสมอชัย พูลสุวรรณ
วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2559) ฉบับพรมแดนของวิธีวิทยา วิธีวิทยาที่พรมแดน บรรณาธิการ จักรกริช สังขมณี
วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ปีที่ 34 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2558) ฉบับเราทั้งหมดล้วนเป็นคนอื่น” บรรณาธิการ นลินี ตันธุวนิตย์
Annual Report 2016/17
87
9. งานวิเทศสัมพันธ์
งานวิเทศสัมพันธ์
โครงการศึกษาดูงานต้นแบบการจัดการฐานข้อมูลดิจิตอล งานการอนุรักษ์ และกิจกรรมด้านการศึกษา ณ National Palace Museum (Southern Branch) เมืองเจียอี้ สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน)
88
Annual Report 2016/17
นักศึกษาจาก Kookmin University สาธารณรัฐเกาหลี
9.1 กิจกรรมแลกเปลีย ่ นนักศึกษา
❶ โครงการบรรยายวิชาการและกิจกรรมนักศึกษาระหว่างนักศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยากับ นักศึกษาจาก Kookmin University สาธารณรัฐ เกาหลี ระหว่างวันที่ 18-20 สิงหาคม 2559 ❷ โครงการบรรยายวิชาการและกิจกรรมนักศึกษาระหว่างนักศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยากับ นักศึกษาจาก Chuo University ประเทศญี่ปุ่น วันที่ 12 กันยายน 2560 นักศึกษาจาก Chuo University ประเทศญี่ปุ่น
Annual Report 2016/17
89
9.2 กิจกรรมบุคลากร
❶ โครงการแลกเปลีย่ นทางวิชาการระหว่างคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา และ Kookmin University ณ สาธารณรัฐเกาหลี ระหว่างวันที่ 20-23 มิถนุ ายน 2559 ❷ โครงการศึกษาดูงานต้นแบบการจัดการฐานข้อมูลดิจติ อล งานการอนุรกั ษ์ และกิจกรรมด้านการศึกษา ระหว่างวันที่ 3-8 ตุลาคม 2559 ณ National Palace Museum สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) ❸ โครงการศึกษาแลกเปลีย่ นและสร้างความร่วมมือการจัดการพิพธิ ภัณฑ์ (การอนุรักษ์-จัดเก็บวัตถุพิพิธภัณฑ์ และนิทรรศการ-การจัดแสดงวัตถุพิพิธภัณฑ์) ระหว่างวันที่ 14-17 กันยายน 2560 ณ National Museum of the Philippines (National Museum of Anthropology) กรุงมะนิลา สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
งานวิเทศสัมพันธ์
โครงการศึกษาดูงานต้นแบบการจัดการฐานข้อมูลดิจิตอล งานการอนุรักษ์ และกิจกรรมด้านการศึกษา ณ National Palace Museum กรุงไทเป สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน)
90
Annual Report 2016/17
โครงการศึกษาแลกเปลี่ยนและสร้างความร่วมมือการจัดการพิพิธภัณฑ์ ณ National Museum of the Philippines สาธารณรัฐฟิลิปปินส์
Annual Report 2016/17
91
9.3 นักวิจัยอาคันตุกะ ❶ Mr.Jordan Baskerville
นักศึกษาปริญญาเอก จาก University of Wisconsin, Madison ท�ำวิจัยหัวข้อ Dhammic Pluralism: A Transnational History of Thai Socially Engaged Buddhism มาเยือนในช่วงระหว่าง 10 ก.ย. 2558-9 ส.ค. 2559 ❷ Miss Browyn Issac
นักศึกษาปริญญาเอก จาก Harvard University ท�ำวิจัยหัวข้อ Creative Labour in Advertising Production, Bangkok มาเยือนในช่วงระหว่าง 27 ธ.ค. 2558-1 ก.ย. 2560 ❸ Dr.Chivion Peou
อาจารย์ จาก Royal University of Phanom Penh ท�ำวิจัยหัวข้อ Negotiating aspirations and mobility: Khmer migrant workers in Cambodia and Thailand มาเยือนในช่วงระหว่าง 17-31 ตุลาคม 2558 ❹ Dr.Bo Kyeong Seo
อาจารย์ จาก Freie Universität Berlin ท�ำวิจัยหัวข้อ Dialysis as an Assemblage of Care: Health, Technology, and Forms of Life มาเยือนในช่วงระหว่าง 29 ต.ค. 2558-13 พ.ย. 2558 นักศึกษาปริญญาเอก จาก Department of Social Anthropology, Tokyo Metropolitan University ประเทศญี่ปุ่น ท�ำวิจัยหัวข้อ An Anthropological Study of Social Relations and Spirit Worship of Khon Muang in Northern Thailand มาเยือนในช่วงระหว่าง 1 ม.ค. 2560-31 ธ.ค. 2561
งานวิเทศสัมพันธ์
❺ Mr. Shunsuke Saito
92
Annual Report 2016/17
❻ Mr.Hisashi Shimojo
Research fellow จาก Center for Southeast Asian Studies, Kyoto University ท�ำวิจยั หัวข้อ Survival strategies in political disorder : A History of the River Basin and Seashore in Mainland Southeast Asia since the 20th Century มาเยือนในช่วงระหว่าง 1 เม.ย. 2560-10 ก.ค. 2560 ❼ Mr.Bisma Puta Sampurna
นักศึกษาระดับปริญญาโท หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมศาสตร์ แขนงการศึกษาการพัฒนา (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ท�ำวิจัยหัวข้อ Chiang Rai United Football Club and The Articulation of Modern Local Identity in Northern Thailand มาเยือนในช่วงระหว่าง 1-30 เม.ย. 2560 ❽ Mr.Nicholas Ryan Zeller
นักศึกษาปริญญาเอก จาก History Department, East Asia Section, University of Wisconsin, Madison ท�ำวิจัยหัวข้อ National Liberation, Global Revolution: China, Thailand, and the Formation of Asian Marxism มาเยือนในช่วงระหว่าง 16 ก.ค. 2560-15 ส.ค. 2560 ❾ Dr. Haoqun Gong
Associate Professor of the Institute of Global Ethnology and Anthropology, Minzu University of China ท�ำวิจัยหัวข้อ Body Techniques and Religious Individualization: Buddhist Meditation Practice in Urban Thailand มาเยือนในช่วงระหว่าง 1-30 ก.ค. 2560
Annual Report 2016/17
93
10. การสร้างเครือข่าย
ความร่วมมือทางวิชาการ
◉ เครือข่ายความร่วมมือในการผลิตบัณฑิต
องค์การบริหารการพัฒนาพืน้ ทีพ่ เิ ศษเพือ่ การท่องเทีย่ วอย่างยัง่ ยืน (องค์การมหาชน) โครงการผลิตบัณฑิตร่วมเพื่อการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน โครงการผลิตบัณฑิตร่วมเพื่อการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน เป็นโครงการความร่วมมือทางวิชาการและการวิจัยระหว่างองค์การ บริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (อพท.) และคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือระหว่างกันตั้งแต่ปีงบประมาณ 25552562 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีพื้นฐานการมีจิตอาสา สามารถน�ำความรู้มาประยุกต์สร้างมูลค่าของวัฒนธรรมชุมชนผ่าน กระบวนการท่องเทีย่ ว และผลิตบัณฑิตทีม่ คี วามรู้ ความสามารถและ เต็มใจท�ำงานพัฒนาชุมชนของตนเอง
การสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ
โครงการดังกล่าวจะรับนักเรียนในเขตพืน้ ทีพ่ เิ ศษของ อพท. เข้าศึกษาในคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา หลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชาการวิจยั ทางสังคม ปีการศึกษาละไม่เกิน 2 ทีน่ งั่ รวมทัง้ สิน้ 4 รุ่น เริ่มตั้งแต่ปีการศึกษา 2556-2559 และ อพท.เป็นผู้สนับสนุน งบประมาณการศึกษาของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการนี้ ซึ่งปัจจุบัน มีนักศึกษาของโครงการที่ก�ำลังศึกษาอยู่ รวมทั้งสิ้น 6 คน
94
Annual Report 2016/17
11. มองไปข้างหน้า 11.1 งานสานสัมพันธ์สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 7 สถาบัน (Super-Soc 2018)
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้รบั เกียรติ เป็นเจ้าภาพจัดงานสานสัมพันธ์สงั คมวิทยาและมานุษยวิทยา 7 สถาบัน (Super SOC) ครั้งที่ 10 ซึ่งประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระหว่างวันที่ 30 มีนาคม 1 เมษายน 2561 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รงั สิต ทัง้ นี้ เพือ่ ให้นสิ ติ นักศึกษา ทั้ง 7 สถาบันได้มีโอกาสท�ำความรู้จัก สร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน อันก่อให้เกิด ความสามัคคีระหว่างสถาบัน และรู้จักการท�ำงานร่วมกันเป็นหมู่คณะ ผ่านกิจกรรม สัมมนาวิชาการ การแข่งขันกีฬา กิจกรรมจิตอาสา และกิจกรรมกลุม่ สัมพันธ์ เพือ่ พัฒนา เครือข่ายความร่วมมือระหว่างนิสิตนักศึกษาทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาให้ เข้มแข็งมากขึ้น
Annual Report 2016/17
95
11.2 การประชุมวิชาการด้านมานุษยวิทยาและสังคมวิทยาครัง้ ที่ 1 “เชื่อม ข้าม เผชิญหน้า ณ จุ ดตัด”
มองไปข้างหน้า
ด้วยความทีก่ ารประชุมวิชาการระดับชาติดา้ นสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ได้วา่ งเว้นมาระยะหนึง่ ประกอบกับความเปลีย่ นแปลงทางสังคมและโดยเฉพาะอย่างยิง่ คือวิกฤติการเมืองในช่วงทศวรรษเศษทีผ่ า่ นมาได้สง่ ผลกระทบต่อวิถชี วี ติ คติความเชือ่ ระบบคุณค่า และความสัมพันธ์ของคนในสังคม ไม่วา่ จะเป็นในครอบครัว เครือญาติ สถานทีท่ ำ� งาน สถานศึกษา เพือ่ นฝูง ฯลฯ อย่างลึกซึง้ กว้างขวาง แต่ความรูค้ วามเข้าใจ ในประเด็นดังกล่าวซึ่งเป็นประเด็นศึกษาของวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา โดยตรงมีคอ่ นข้างจ�ำกัด คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาจึงได้ประสานความร่วมมือ กับสถาบันการศึกษาและหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในการรือ้ ฟืน้ และผนวกรวมการประชุม ด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเข้าด้วยกัน รวมถึงตอบค�ำถามเกี่ยวกับสังคม วัฒนธรรมรวมถึงการเมืองไทยร่วมสมัยดังกล่าว
96
Annual Report 2016/17
โดยในวันที่ 12 ธันวาคม 2560 ที่ผ่านมา คณะได้เชิญตัวแทนจากสถาบัน การศึกษาที่มีการเรียนการสอนด้านสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องมาหารือ ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร และที่ประชุมมีมติร่วมกันในการจัด ประชุมวิชาการด้านมานุษยวิทยาและสังคมวิทยาครัง้ ที่ 1 ภายใต้หวั ข้อ “เชือ่ ม ข้าม เผชิญหน้า ณ จุดตัด” ซึ่งก�ำหนดจะจัดขึ้นในวันที่ 24-25 สิงหาคม 2561 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร โดยหัวข้อย่อยประกอบด้วย สังคมเสี่ยง วิกฤตการเมือง ร่วมสมัย ความยากจน คนชายขอบ คนเบี้ยล่าง ความยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน รัฐข้ามคน/คนข้ามรัฐ การเคลือ่ นย้าย ชาติพนั ธุ์ ครอบครัวยุคใหม่ สังคมสูงวัย กีฬา สื่อ ศิลปะ สังคมดิจิทัล ระบบนิเวศ สัตว์ แรงงานอารมณ์ ศาสนา ฯลฯ กิจกรรม ในงานประกอบด้วยปาฐกถาน�ำและปาฐกถาปิด เวทีนำ� เสนอผลงานวิชาการ เสวนา โต๊ะกลม นิทรรศการ ร้านหนังสือ การเปิดตัวหนังสือ และการฉายภาพยนตร์ทาง มานุษยวิทยาและสังคมวิทยา เป็นต้น การจัดการประชุมวิชาการด้านมานุษยวิทยาและสังคมวิทยาครั้งที่ 1 นี้ มีวัตถุประสงค์ ให้นักมานุษยวิทยา นักสังคมวิทยา นักวิชาการสาขาอื่น รวมถึง นิสิตนักศึกษาและบุคคลทั่วไป ได้มีโอกาสน�ำเสนอและแลกเปลี่ยนความรู้และ ประสบการณ์ดา้ นสังคม วัฒนธรรม การเมือง รวมถึงด้านอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจน เป็นจุดเริ่มต้นหรือเป็นการวางรากฐานให้กับการประชุมดังกล่าวนี้ในปีต่อๆ ไป
Annual Report 2016/17
97
11.3 การประชุมวิชาการนานาชาติ AAS-in-Asia 2019 “Asia on the Rise/Right?”
มองไปข้างหน้า
Association for Asian Studies (AAS) เป็นสมาคมด้านเอเชียศึกษา ก่อตัง้ ขึ้นในปี ค.ศ. 1941 และเป็นองค์กรด้านวิชาการที่มีขนาดใหญ่สุด ปัจจุบันมีสมาชิก จากสาขาวิชาต่างๆ จ�ำนวนกว่า 7,000 คนทั่วโลก โดยสมาคมด�ำเนินกิจกรรมหลาย ลักษณะ ที่สำ� คัญได้แก่วารสาร Journal of Asian Studies และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือการประชุมประจ�ำปี (Annual Conferences) ซึ่งจัดในประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นหลัก ส่งผลให้นกั วิชาการในเอเชียจ�ำนวนมากไม่สามารถเข้าร่วมได้ AAS จึงริเริม่ การจัดประชุมประจ�ำปีในเอเชีย (AAS-in-Asia) ขึ้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 2014 เป็นต้นมา โดยในปีดังกล่าวจัดขึ้นที่ National University of Singapore ต่อมาในปี ค.ศ. 2015 จัดที่ Academia Sinica ประเทศไต้หวัน ในปี ค.ศ. 2016 จัดที่ Doshisha University ประเทศญี่ปุ่น ปี ค.ศ. 2017 จัดที่ Korea University ส่วนปี ค.ศ. 2018 จะจัดที่ Ashoka University ประเทศอินเดีย ส่ ว นในปี ค.ศ. 2019 คณะสั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยา ในนาม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จะเป็นเจ้าภาพในการจัดงาน AAS-in-Asia โดยในช่วง ปลายปีที่ผ่านมา คณะได้ประสานความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างๆ ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (คณะรัฐศาสตร์ และสถาบันวิจัยสังคม) มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ (คณะสังคมศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (คณะสังคมศาสตร์) และ มหาวิทยาลัยมหิดล (สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย สถาบันวิจัยประชากร และสังคม และสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศกึ ษา) ในการจัดท�ำข้อเสนอโครงการ เพื่อให้คณะกรรมการ AAS พิจารณาเปรียบเทียบกับสถาบันการศึกษาประเทศอื่น
98
Annual Report 2016/17
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ยื่นข้อเสนอในการจัดประชุมเช่นกัน และต่อมา คณะกรรมการได้มมี ติคดั เลือกข้อเสนอทีค่ ณะเสนอไป โดยจะจัดภายใต้หวั ข้อ “Asia on the Rise/Right ?” ในวันที่ 1-4 กรกฎาคม 2562 ณ โรงแรมแชงกรีลา กรุงเทพฯ สาเหตุที่การประชุม AAS-in-Asia 2019 ให้ความส�ำคัญกับหัวข้อดังกล่าว เป็นเพราะว่าในด้านหนึ่งเอเชียก�ำลังถูกมองว่าอยู่ ในช่วงขาขึ้น ก�ำลังจะเป็น จุดศูนย์กลางของโลกแทนสหรัฐอเมริกาและยุโรปโดยมีจีนรวมถึงอินเดียเป็น หัวขบวน ทว่าขณะเดียวกันล�ำพังเฉพาะการเติบโตทางเศรษฐกิจที่มีความผันผวน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งคือการพัฒนาด้านเศรษฐกิจโดยละเลยหรือละเมิดสิทธิ เสรีภาพและผลกระทบด้านต่างๆ เช่น สิ่งแวดล้อม เป็นการทะยานขึ้นอย่างถูก ทิศทางหรือพึงประสงค์เช่นนัน้ หรือ ขณะที่ในอีกด้านประเทศในเอเชียจ�ำนวนหนึง่ ที่ เคยเป็นตัวอย่างของการพัฒนาประชาธิปไตยเช่นประเทศไทยปัจจุบันก็ตกอยู่ ภายใต้ระบอบเผด็จการทหารและอ�ำนาจนิยม หรืออีกนัยหนึง่ คือเป็นการทะยานขึน้ ของฝ่ายขวาหรืออนุรกั ษ์นยิ มเช่นเดียวกับในยุโรปและอเมริกา ซึง่ ซ�ำ้ เติมปัญหาเดิม เช่น สิทธิมนุษยชน ผู้ลี้ภัย ความขัดแย้งทางศาสนาและชาติพันธุ์ ความมั่นคงทาง อาหาร ฯลฯ ให้ทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น แม้จะมีโอกาสและความเป็นไปได้ใหม่ เช่น สื่อทางสังคม และคนรุ่นใหม่ ที่จะเผชิญปัญหาเหล่านี้ก็ตาม AAS-in-Asia 2019 “Asia on the Rise/Right ?” จึงมีวัตถุประสงค์ให้ นักวิชาการ ผูเ้ กีย่ วข้อง รวมถึงผูส้ นใจได้มโี อกาสน�ำเสนอและแลกเปลีย่ นความรูแ้ ละ ประสบการณ์เกีย่ วกับการทะยานขึน้ และการหันขวาของเอเชีย พร้อมกับกระชับและ ขยายความร่วมมือทางวิชาการระหว่างสถาบันการศึกษาทั้งในเอเชียด้วยกันและ กับภูมภิ าคอืน่ โดยกิจกรรมในงานนอกจากประกอบด้วยการแสดงปาฐกถา เวทีเสนอ ผลงานวิชาการ รวมถึงเสวนาโต๊ะกลม ยังประกอบด้วยกิจกรรมประกอบ เช่น การฉายภาพยนตร์ นิทรรศการ ร้านหนังสือ เป็นต้น นอกจากนี้ ในวันสุดท้าย จะมีกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในสามเส้นทาง ได้แก่ กาญจนบุรี (โดยรถไฟ) บางปะอิน (โดยรถยนต์) และย่านเมืองเก่ากรุงเทพฯ (จักรยาน) คาดว่าจะมีผเู้ ข้าร่วมงาน ประมาณ 1,200 คนจากประเทศต่างๆ ทั่วโลก
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
รายงานประจ�ำปีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา 2559-2560
คณะท�ำงานจัดท�ำรายงานประจ�ำปีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุสรณ์ อุณโณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เทียมสูรย์ สิริศรีศักดิ์ อาจารย์วิภาวี พงษ์ปิ่น นายนพพล จรัสวิทยา นางสาวเกษมศรี ดุริยรัตนทัต นายกฤตวัฒน์ โกมลวรวิทยา นางสาวอารีรัตน์ ปานจับ
ออกแบบจัดท�ำรูปเล่ม ดุษฎีพร ชาติบุตร
พิมพ์ที่ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ