TU Soc-Anth Annual Report 2014-2015

Page 1



2557 -2558


จากอดีตถึงปั จจุ บัน อัตลักษณ์คณะฯ การด�ำเนินงาน คณะกรรมการประจ�ำคณะฯ ผู ้บริหารคณะฯ หลักสูตร ศิ ษย์เก่า

25

35 นั ก ศึ ก ษา

07

บุ ค ลากร

สารจากคณบดี

04

เกี่ ย วกั บ คณะ

2


45 55 59 64

การวิ จั ย และบริ ก ารวิ ช าการ

การท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม

มองไปข้ า งหน้ า

50 ปี คณะสั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยา

3

สารบัญ


4

สารจากคณบดี

ปี  พ.ศ. 2558  เป็นปี มงคลส�ำหรับคณะสังคมวิทยาและ มานุ ษ ยวิ ท ยาเพราะเป็ น ปี ที่ ค ณะก่ อ ตั ้ง มาได้ ค รบ 50 ปี เริ่ ม ต้ น จากการเป็ น แผนกวิ ช าในคณะสั ง คมสงเคราะห์ ศาสตร์ในปี  พ.ศ. 2508  แล้วแยกมาตัง้ เป็นแผนกอิสระ ในปี  พ.ศ. 2520  ก่อนจะสถาปนาเป็นคณะสังคมวิทยา และมานุ ษ ยวิ ท ยาในวั น ที่   17 กุ ม ภาพั น ธ์   2527  ในที่ สุ ด นับเป็นสถาบันการศึ กษาที่เปิ ดสอนวิชาสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยาระดับปริญญาตรีแห่งแรกในประเทศไทย และ เป็นคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาคณะแรกและเพียง คณะเดียวในประเทศไทยมาจนกระทัง่ บัดนี้

นอกจากในแง่สถานภาพ ในกึ่งศตวรรษที่ผ่านมาคณะ สั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยามี ค วามเจริ ญ ก้ า วหน้ า ใน ด้านต่างๆ มาอย่างต่อ เนื่อ ง  นับตั ง้ แต่ในส่วนของการ เรียนการสอน ปั จจุ บันคณะฯเปิ ดสอนทัง้ ระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึ กษา โดยระดับปริญญาตรีเปิ ดสอนหลักสูตร การวิจัยทางสังคมควบคู่ไปกับหลักสูตรปกติ ขณะที่ระดับ บัณฑิตศึ กษาเปิ ดสอนทัง้ ปริญญาโทและปริญญาเอก มี นักศึ กษารวมกันทัง้ สิน้ ประมาณ 800 คน คณาจารย์ 30 คน กับเจ้าหน้าที่อีก 29 คน ขณะที่ในส่วนของการวิจัย และบริการวิชาการ คณะฯ มีพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติและศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วม สมัยท�ำหน้าที่ด้านนีอ้ ย่างเข้มแข็ง ทัง้ ในรูปของการประชุ ม ประจ�ำปี การเสวนาทางวิชาการ การวิจัย รวมถึงการ ท�ำนุบ�ำรุ งศิลปวัฒนธรรมในลักษณะต่างๆ นอกจากนีย้ ังมี ฝ่ ายวิจัยและบริการวิชาการท�ำหน้าที่สนับสนุนทุนวิจัยแก่ บุ คลากรในคณะฯ รวมทัง้ ด�ำเนินกิจกรรมบริการวิชาการ ควบคู่ไปกับพิพิธภัณฑ์ฯ และศูนย์ฯ อย่างประสานเชื่อม โยงกัน ประการส�ำคัญ ในปี  พ.ศ. 2558 คณะฯ ได้จัดกิจกรรม เฉลิมฉลองวาระที่คณะครบรอบ 50 ปี ในหลายลักษณะ โดยนอกจากกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับวันสถาปนาคณะฯ วันที่ 17 - 18 กุมภาพันธ์ 2558 ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของ พิธีกรรม การแสดงปาฐกถา การเสวนาทางวิชาการ การ แสดงนิทรรศการ การเลีย้ งสังสรรค์ รวมถึงการจัดพิมพ์ หนังสือและจัดท�ำของที่ระลึกประเภทต่างๆ ในวันที่ 15-17 กรกฎาคม 2558 ได้เป็นเจ้าภาพในการจัดประชุ มวิชาการ


5

นานาชาติ IUAES Inter-Congress 2015: Re-imagining Anthropological and Sociological Boundaries ซึ่ ง เป็ น การจั ด ประชุ มวิ ช าการนานาชาติ ค รั ้ง แรกนั บ แต่ คณะฯ ก่อตัง้ มา รวมทัง้ เป็นครัง้ แรกที่มีการจัดประชุ ม IUAES Inter-Congress ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ ซึ่งทัง้ กิจกรรมวันสถาปนาคณะและการประชุ มวิชาการ นานาชาติประสบความส�ำเร็จอย่างดียิง่ ได้รับค�ำชมจาก ทุกฝ่ าย และในปี นี้คณะฯ ได้เริ่มด�ำเนินการปรับปรุ งเชิ ง กายภาพครั ้ง ใหญ่ ซ่ึ ง หากแล้ ว เสร็ จ ตามที่ แ ผนที่ ว างไว้ คณะฯ ก็ จ ะเปลี่ ย นโฉมหน้ า ไปอย่ า งมาก  ปี  พ.ศ. 2558 จึงไม่เพียงแต่จะเป็นปี มงคลที่คณะมีอายุ ครบกึ่งศตวรรษ หากแต่ ยั ง เป็ น ปี ที่ ค ณะฯ ได้ ริ เ ริ่ ม ด� ำ เนิ น กิ จ กรรมส� ำ คั ญ อย่างคึกคักกระฉับกระเฉงเป็นอย่างยิง่ ความท้าทายจึงเป็นว่าคณะฯ จะอาศัยรากฐานที่ได้รับการ วางไว้ค่อนข้างจะมั่นคงในกึ่งศตวรรษที่ผ่านมาก้าวเดิน ต่อไปข้างหน้าอย่างไร และจะพัฒนารากฐานดังกล่าวต่อ ไปในลักษณะไหน เช่ น การเรียนการสอนโดยเฉพาะในระดับ บัณฑิตศึ กษาซึ่ งมีทัง้ จุ ดแข็งและข้อท้าทายจะปรับเปลี่ยน อย่างไร จะเพิม่ เติมการวิจัยและบริการวิชาการในส่วนไหน รวมถึ ง จะพั ฒ นาความเป็น นานาชาติ ต่ อ ไปอย่ า งไรโดย เฉพาะจากการที่คณะฯ เริม่ จะมีอาจารย์ชาวต่างประเทศ มาสอน วิจัย และด�ำเนินโครงการตัง้ แต่ภาคการศึ กษา 2/2558 เป็นต้นไป อาจารย์จ�ำนวนหนึ่งที่จะส�ำเร็จการ ศึ กษาระดับปริญญาเอกในอนาคตอันใกล้จะเกือ้ หนุนส่วน นี้ได้ในลักษณะไหน ไม่นับรวมโอกาสและความเสี่ยงจาก การที่คณะฯต้องขึน้ กับ “ภายนอก” มากขึน้ เพราะความ

ที่มหาวิทยาลัย “ออกนอกระบบ” ที่จะต้องร่วมกันขบคิด ต่อไป ฯลฯ กระนัน้ ด้วยความร่วมแรงร่วมใจของทุกฝ่ าย ที่ผ่านมาไม่ว่าจะเป็นอาจารย์ เจ้าหน้าที่ ศิษย์เก่า หรือ อาจารย์เกษียณ ผมมีความเชื่อมัน่ ว่าคณะสังคมวิทยา และมานุษยวิทยาจะยังเจริญก้าวหน้าต่อไปอย่างมั่นคง หลังจากมีอายุ ล่วงมาแล้วกึ่งศตวรรษ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อนุสรณ์ อุณโณ

คณบดีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


6


เกี่ยวกับคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา


8

จากอดีตสู่ปัจจุบัน

คณะสั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยา มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ ได้ก่อตัง้ ขึน้ เมื่อปี พ.ศ.2508 โดย ศาสตราจารย์ ดร.พลตรีบัญชา มินทรขินทร์ คณบดี คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ในขณะนัน้ ต่อมาในปี พ.ศ. 2520 ได้ เ ปลี่ ย นสถานะจากแผนกวิ ช าสั ง คมวิ ท ยา และมานุ ษ ยวิ ท ยาเป็ น แผนกวิ ช าอิ ส ระสั ง คมวิ ท ยาและ มานุษยวิทยา และในปี พ.ศ.2527 ได้ยกฐานะจากแผนก อิ ส ระเป็ น คณะสั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยา โดยผู ้ ส�ำเร็จการศึ กษาจากคณะฯ จะได้ปริญญาบัตรในสาขา สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เรียกว่า “สังคมวิทยาและ มานุษยวิทยาบัณฑิต” ใช้ อักษรย่อว่า “สม.บ.” ส่วนภาษา อังกฤษใช้ ว่า B.A. (Sociology and Anthropology)


9

คณะฯ ตระหนักถึงความจ�ำเป็นและความต้องการของ ประเทศในด้านการผลิตก�ำลังคนในระดับสูงทางสาขาวิชา ต่างๆ เพื่อให้เป็นพลังที่มีสมรรถภาพต่อการพัฒนาทาง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยค�ำนึงถึงความเหมาะ สมที่ทันท่วงทีกับเวลาและสถานการณ์เป็นส�ำคัญ จึงเปิ ด การเรียนการสอนในระดับปริญญาโทสาขาสังคมวิทยา ใน ปี พ.ศ.2522 และสาขามานุษยวิทยาในปี พ.ศ.2529 ตาม ล�ำดับ ต่อมาได้เปิ ดสอนในระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต การวิจัยทางสังคมอีกหลักสูตรหนึ่งในปี พ.ศ.2538 ในปี พ.ศ.2551 คณะฯ ได้เปิ ดหลักสูตรสังคมวิทยาและ มานุ ษ ยวิ ท ยาบั ณ ฑิ ต  สาขาการวิ จั ย ทางสั ง คม เพื่ อ ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และ วิจัยสังคมในฐานะวิชาชี พ และในปี เดียวกันนัน้ ยังได้เปิ ด หลักสูตรในระดับปริญญาเอกเป็นหลักสูตรแรกของคณะ ในสาขามานุษยวิทยา โดยเน้นการศึ กษาแนวคิด ทฤษฎี การศึ กษาข้ามวัฒนธรรม และการวิจัยเพื่อสร้างองค์ ความรู้ ใ หม่ ๆ  เพื่ อ สร้ า งบุ คลากรทางวิ ช าการและการ วิจัยให้แก่สังคม ผู ้ท่จี ะมีส่วนในการพัฒนาและเสริมสร้าง ความเป็นธรรมในสังคมและการพัฒนาที่ยงั่ ยืน ต่อมาใน ปี พ.ศ.2554 ได้เปิ ดหลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาบัณฑิต สาขาการวิจัยทางสังคม เพื่อมุ ่งผลิตมหา บัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในการวางแผนงานวิจัยทัง้ กระบวนการ มีทักษะในการเก็บรวบรวมข้อมู ล วิเคราะห์ และแปลความหมายของข้ อมู ลอย่ า งมี ร ะเบี ยบแบบแผน และสามารถปฏิบัติงานวิจัยทางสังคม สามารถริเริ่มและ ด�ำเนินการวิจัยได้อย่างเป็นอิสระด้วยตนเองได้

คณะฯ ยังมีพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ ซึ่ง เป็นหน่วยงานหนึ่งที่ให้บริการวิชาการแก่สังคมและท�ำนุ บ� ำ รุ ง ศิ ล ปะและวั ฒ นธรรม โดยด� ำ เนิ น การเผยแพร่ จั ด แสดงโบราณวัตถุและวัตถุทางวัฒนธรรมต่างๆ เพื่อเป็น ศู น ย์ บ ริ ก ารองค์ ค วามรู้ ท างโบราณคดี แ ละวั ฒ นธรรม พืน้ บ้าน ใช้ ส�ำหรับการเรียนการสอน ฝึ กปฏิบัติ และการ ค้นคว้าวิจัยในรายวิชาต่างๆ นอกจากนีย้ ังมีศูนย์ศึกษา สังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน การศึ กษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย ตลอดจนส่ง เสริมและสนับสนุนการด�ำเนินงานของกลุ่ม องค์กร และ เครือข่ายต่างๆ เพื่อร่วมกันแก้ไขปั ญหาด้านสังคมและ วัฒนธรรม


10

อัตลักษณ์คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

แก้วหลากสี (polychrome glass) รูปศีรษะบุคคล สมัยประวัติศาสตร์ ตอนต้น

ซึ่งพบบริเวณปากแม่น�้ำโขง

ที่ได้น�ำออกจัดแสดงในงานครบรอบ

25 ปี พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ฯ และครบรอบ 47 ปี คณะสังคมวิทยา และมานุษยวิทยา

คือที่มาของสัญลักษณ์ประจ�ำคณะสังคมวิทยาและ

มานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชาวฟินิเชียนโบราณ (Phoenician) แถบมหาสมุทรเมดิเตอร์เรเนียน นิยม ผลิตลูกปัดแก้วที่เป็นรูปศีรษะคนและหัวสัตว์มานานกว่า 2,500 ปี ในดิน แดนของประเทศจีนเอง

ก็ได้ค้นพบรูปศีรษะมนุษย์ที่ท�ำด้วยแก้วในลักษณะ

เดียวกัน น่าสนใจว่า ศิลปหัตถกรรมที่ท�ำจากแก้วหลากสีเช่นนี้ ขุดพบด้วย เช่นกันในบริเวณปากแม่น�้ำโขงของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรายังไม่ทราบแน่ชัดว่าของชิ้นที่ขุดพบได้นี้ ผลิตขึ้นในที่แห่งใด? ในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้? เหตุใดผู้สร้างจึงคิดประดิษฐ์ขึ้นเป็นรูปบุคคล จะเป็นรูป ลักษณ์จ�ำลองของคนพื้นถิ่นเอง

หรือจะหมายถึงบุคคลต่างถิ่นห่างไกลที่เดิน

ทางเข้ามาติดต่อค้าขายกับชุมชนในบริเวณนี้ จะเป็นเครื่องประดับ หรือสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ในพิธีกรรม? แม้ปริศนาดังกล่าว จะรอการคลี่คลายโดยนักโบราณคดีหรือนักวิชาการสาขา อื่นใดในอนาคตข้างหน้า แต่ความส�ำคัญของของชิ้นนี้ที่ปรากฏให้เห็นเด่นชัด ก็คือ “ส�ำนึกในความเป็นมนุษย์” เป็นสิ่งสากล ข้ามพื้นที่และเวลา ไม่ว่าจะ เป็น “ตัวเรา” “ตัวเขา” หรือ “ผู้อื่น” จะเป็นภาพตัวแทนของคนที่อาศัยอยู่ใน “ชนบท” “ชายแดน” หรือ “เมืองใหญ่” เราต่างล้วนเป็น “มนุษย์” ที่ไม่มีเรื่อง ให้ต้องแปลกประหลาดใจ ภาระหน้าที่ของนักสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาก็คือ การเรียนรู้และท�ำความ เข้าใจมนุษย์

ซึ่งอาจไม่ใช่จ�ำเพาะเพื่อตัวมนุษย์เอง

หากต้องขยายวงกว้าง

ออกไปสู่สิ่งของและสิ่งมีชีวิตอื่นๆ รอบตัวเราด้วยเช่นกัน สุดแดน วิสุทธิลักษณ์


11

วิสัยทัศน์ เป็นผู ้น�ำทางความคิด เพื่อสร้างและเปลี่ยนแปลงสังคม ให้อดทนอดกลัน้ และยอมรับความ แตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม ผ่านการเรียนการสอนและการวิจัย สร้างเครือข่ายทางวิชาการและสังคม เพื่อประโยชน์สาธารณะ

สอน ศึ กษาวิจัย ให้บริการวิชาการแก่สังคม เผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจ สร้างความตระหนักในคุณค่า ของความหลากหลาย ทางสังคมและวัฒนธรรม

พันธกิจ

ปรัชญา มนุษย์และสังคม ในหลากหลายมิติ

ความแตกต่างหลากหลาย ทางสังคมและวัฒนธรรม

สังคม ให้มีความเสมอภาค

เข้าใจ

เคารพ

เปลี่ยน แปลง


12

การดำ�เนินงาน

ตารางสรุปการใช้จ่ายเงินงบประมาณ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เปรียบเทียบปี งบประมาณ 2557 และปี งบประมาณ 2558 จ�ำแนกตามแหล่งงบประมาณ

รายรับจริง (ล้านบาท)

รายจ่ายจริง (ล้านบาท)

2557

2558

2557

2558

งบคลัง

19.01

20.96

18.98

20.72

งบพิเศษ

15.47

16.66

12.17

11.82

โครงการพิเศษของคณะฯ

20.87

34.64

14.44

19.85

กองทุนค่าธรรมเนียมคณะฯ

1.97

2.53

0.77

2.89

กองทุนวิจัยระดับคณะ

1.54

1.56

0.76

0.75

58.86

76.35

47.12

56.03

แหล่งงบประมาณ

รวม


การประกันคุณภาพการศึกษา

ในปี การศึ กษา 2557 คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีผลคะแนนเฉลี่ยรวม เท่ากับ 4.10 คะแนน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน อยู ่ในเกณฑ์ คุณภาพ “ดี” ทัง้ นีไ้ ด้มีองค์ประกอบที่อยู ่ในเกณฑ์ดีมาก เท่ากับ 5 คะแนน คือ การวิจัย การบริการวิชาการ การ ท�ำนุบ�ำรุ งศิลปะและวัฒนธรรม และการบริหารจัดการ ผลการประเมินคุณภาพในปี ดังกล่าว ยังเป็นการตอกย�ำ้ ให้เห็นถึงจุ ดแข็งที่ส�ำคัญของคณะฯ อันได้แก่ 1) มีผลงาน วิจัยที่โดดเด่น 2) มีพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติและศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย เป็น หน่วยงานที่เสริมความเข้มแข็งให้แก่พันธกิจด้านบริการ วิชาการและท�ำนุบ�ำรุ งศิลปวัฒนธรรม และ 3) มีการจัด กิจกรรม

องค์ประกอบที่อยู ่ในเกณฑ์ดีมาก

คะแนน

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

5

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

5

องค์ประกอบที่ 4 การท�ำนุบ�ำรุ งศิลปะและวัฒนธรรม

5

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

5

13


14

คณะกรรมการประจำ�คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

ตัวแทนผู้บริหารคณะฯ

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

ผู ้ ช่ วยศาสตราจารย์ ดร.อนุ ส รณ์ อุ ณ โณ

รองศาสตราจารย์ ดร.สถิตย์ นิยมญาติ

คณบดีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

อาจารย์ ดร.ทรงสิ ริ พุ ทธงชั ย รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

ผู ้ ช่ วยศาสตราจารย์ สุ ด แดน วิ สุ ท ธิ ลั ก ษณ์ รองคณบดีฝ่ายการนักศึ กษา

อาจารย์ ดร.รั ต นา โตสกุ ล

รองศาสตราจารย์ สุมิตร ปิ ติพัฒน์ ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นลินี ตันธุวนิตย์ ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พจนก กาญจนจันทร อาจารย์ ดร.สายพิณ ศุพุทธมงคล

รองคณบดีฝ่ายบัณฑิตศึ กษาและวิเทศสัมพันธ์

ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐจรี สุวรรณภัฏ

อาจารย์ ดร.จั น ทนี เจริ ญ ศรี

คุณ สมพงษ์ พัดปุ ย

รองคณบดีฝ่ายวางแผนและประกันคุณภาพการศึ กษา

คุณ คณิต ลิมปิ พิชัย

ผู ้ ช่ วยศาสตราจารย์ ดร.ปณิ ธี บราวน์ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ


ผู้บริหารคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

15

ผู ้ ช่ วยศาสตราจารย์ ดร.อนุ ส รณ์ อุ ณ โณ

ผู ้ ช่ วยศาสตราจารย์ ดร.ณั ฐ จรี สุ ว รรณภั ฏ

คณบดี

ผู ้อ�ำนวยการโครงการปริญญาตรี สาขาวิชาการวิจัยทางสังคม

อาจารย์ ดร.ทรงสิ ริ พุ ทธงชั ย รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

ผู ้ ช่ วยศาสตราจารย์ สุ ด แดน วิ สุ ท ธิ ลั ก ษณ์ รองคณบดีฝ่ายการนักศึ กษา

อาจารย์ ดร.รั ต นา โตสกุ ล รองคณบดีฝ่ายบัณฑิตศึ กษาและวิเทศสัมพันธ์

อาจารย์ ดร.จั น ทนี เจริ ญ ศรี รองคณบดีฝ่ายวางแผนและประกันคุณภาพการศึ กษา

ผู ้ ช่ วยศาสตราจารย์ ดร.ปณิ ธี บราวน์ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ

ผู ้ ช่ วยศาสตราจารย์ ดร.พจนก กาญจนจั น ทร ผู ้อ�ำนวยการพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

อาจารย์ พ รรณราย​ โอสถาภิ รั ต น์ ผู ้อ�ำนวยการศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย


16

โครงสร้างการบริหารงาน

คณบดี

รองคณบดี ฝ่ ายวิชาการ

รองคณบดี ฝ่ ายการนักศึ กษา

รองคณบดี ฝ่ ายบัณฑิตศึ กษา และวิเทศสัมพันธ์

ผู้อำ�นวยการ

ผู้อำ�นวยการ ศูนย์ศึกษาสังคม และวัฒนธรรม ร่วมสมัย

โครงการปริญญาตรี (การวิจัยทางสังคม)

คณะกรรมการประจำ�คณะฯ

รองคณบดี ฝ่ ายวางแผนและ ประกันคุณภาพฯ

รองคณบดี ฝ่ ายวิจัยและ บริการวิชาการ

ผู้อำ�นวยการ พิพิธภัณฑ์ ธรรมศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ

เลขานุการคณะฯ

งานบริหาร และธุรการ

งานบริการ การศึกษา

งานวิจัยและ บริการวิชาการ

งานคลัง และพัสดุ


17

งานบริหาร และธุรการ

งานบริการ การศึกษา

งานวิจัยและ บริการวิชาการ

งานคลัง และพัสดุ

หน่วยวางแผน และงบประมาณ

หน่วยปริญญาตรี

หน่วยวิจัย

หน่วยการเงินและการบัญชี

หน่วยสารสนเทศ

หน่วยบัณฑิตศึ กษา

หน่วยบริการวิชาการ

หน่วยพัสดุและครุ ภัณฑ์

หน่วยการเจ้าหน้าที่ และพัฒนาบุ คลากร

หน่วยกิจการนักศึ กษา

หน่วยสารบรรณ และงานประชุ ม หน่วยสถานที่ และยานพาหนะ หน่วยประกันคุณภาพ การศึ กษา


18

หลักสูตร

คณะสั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยา จัดการเรียนการสอนในระดับปริญญา ตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก โดย ในระดับปริญญาตรี ได้จัดการเรียน การสอนที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศู น ย์ รั ง สิ ต  ส่ ว นระดั บ ปริ ญ ญาโท และปริ ญ ญาเอก ได้ จั ด การเรี ย น การสอนที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ส�ำหรับหลักสูตรและการ จั ด การเรี ย นการสอนในปี การศึ ก ษา 2557 มีดังต่อไปนี้


ปริญญาตรี

19

หลักสูตรสังคมวิทยา และมานุษยวิทยาบัณฑิต

หลักสูตรสังคมวิทยา และมานุษยวิทยาบัณฑิต (การวิจัยทางสังคม)

Bachelor of Arts (Sociology and Anthropology)

Bachelor of Arts (Social Research)

เป็นหลักสูตรที่เปิ ดโอกาสให้นักศึ กษาเลือกเรียนเน้นหนัก ทางด้ า นสั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยา หรื อ เรี ย นแบบ สมดุลตามความถนัดและความสนใจ ในปี การศึ กษา 2557 นี้ มีรายวิชาที่เปิ ดสอนภายในคณะฯ จ�ำนวน 47 รายวิชา และเปิ ดรายวิ ช าเพื่ อ บริ ก ารการสอนให้ กั บ คณะต่ า งๆ ภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จ�ำนวน 5 รายวิชา รวม เป็น 52 รายวิชา

เป็ น หลั ก สู ต รที่ ใ ห้ นั ก ศึ ก ษาเรี ย นเน้ น หนั ก ทางด้ า นการ วิจัยทางสังคม เน้นด้านทฤษฎีและระเบียบวิธีวิจัยสาขา สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ท�ำความเข้าใจสังคมและ วัฒนธรรมทัง้ ในสังคมไทยและต่างประเทศผ่านการเรียน การสอนในห้องเรียนและฝึ กปฏิบัติการนอกห้องเรียน ใน ปี การศึ ก ษา 2557 นี้  มี ร ายวิ ช าที่ ค ณะเปิ ดสอนทั ง้ หมด จ�ำนวน 55 รายวิชา


20

หลักสูตร

หลักสูตรสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยามหาบัณฑิต (การวิจัยทางสังคม) Master of Arts (Social Research)

เป็นหลักสูตรที่ให้ความรู้ความเข้าใจในการวางแผน การวิ จั ย ทั ้ง กระบวนการ สร้ า งทั ก ษะในการเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล วิ เคราะห์ แ ละแปลความหมายของ ข้ อ มู ล อย่ า งมี ร ะเบี ย บแบบแผน และฝึ กปฏิ บั ติ ง าน วิจัยทางสังคม โดยสามารถริเริม่ และด�ำเนินการวิจัย ได้อย่างเป็นอิสระด้วยตนเอง เน้นการท�ำวิทยานิพนธ์ ในปี การศึ ก ษา 2557 มี ร ายวิ ช าที่ เ ปิ ดสอนจ� ำ นวน ทัง้ หมด 9 รายวิชา


บัณฑิตศึกษา

21

หลักสูตรสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา)

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (มานุษยวิทยา)

Master of Arts (Anthropology)

Doctor of Philosophy (Anthropology)

เป็ น หลั ก สู ต รที่ เ น้ น การเรี ย นการสอนและสนั บ สนุ น ให้นักศึ กษาค้นคว้าหาความรู้ในเรื่องที่ตนเองมีความ สนใจ ฝึ กฝนให้เป็นผู ้ท่คี ิดเป็น สามารถมองเห็นและ เชื่ อมโยงระหว่างปั จจัยต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับมนุษย์ สามารถอธิบายได้อย่างมีเหตุผล วิพากษ์ และเสนอ แนวคิดได้อย่างครอบคลุมและชัดเจน มีการเรียนใน รายวิชาและท�ำวิทยานิพนธ์ ใช้ ระยะเวลาการศึ กษาไม่ น้อยกว่า 2.5 ปี ในปี การศึ กษา 2557 มีรายวิชาที่เปิ ด สอน จ�ำนวนทัง้ หมด 13 รายวิชา

เป็ น หลั ก สู ต รที่ เ น้ น การสั ง เคราะห์ แ ละประเมิ น องค์ ความรู้ทางมานุษยวิทยาและสามารถวิจัยในประเด็น ที่มีความส�ำคัญในสังคม สามารถวิจัยและสร้างองค์ ความรู้เพื่อสนองตอบความต้องการของสังคมได้ ก�ำหนดให้มีการเรียนในรายวิชา สอบวัดคุณสมบัติ และท�ำวิทยานิพนธ์ ใช้ ระยะเวลาการศึ กษาไม่น้อย กว่า 3.5 ปี ในปี การศึ กษา 2557 มีรายวิชาที่เปิ ดสอน จ�ำนวน 1 รายวิชา


22

ศิษย์เก่า


23

สมาคมสั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยาธรรมศาสตร์

สมาคมมี วั ต ถุ เ พื่ อ เสริ ม สร้า งความสั ม พั น ธ์ร ะหว่า ง

(ส.ส.ม.ธ.) ก่อตั้งเมื่อ 22 มีนาคม พ.ศ.  2528

ศิษย์เก่า

โดยความริ เ ริ่ ม ของคณะกรรมการฝ่า ยศิ ษ ย์เ ก่า

ของคณะสังคมวิทยาฯ

สัมพันธ์ของคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา โดย

สนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของคณะและนักศึกษา ซึ่ง

มี ผู ้ข อก่อ ตั้ ง  ซึ่ ง เรี ย กตามศั พ ท์ข องส� ำ นั ก งานคณะ

ที่ผ่านมาสมาคมจะจัดงานพบปะสังสรรค์ประจ�ำปีใน

กรรมการวั ฒ นธรรมแห่ง ชาติ ใ นขณะนั้ น ว่า  “ผู ้เ ริ่ ม

ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี

การ” จ�ำนวน 3 คน คือ

กับทางคณะฯ คือ พิธีแสดงมุทิตาจิตต่อคณาจารย์ และกิ จ กรรมการระดมทุ น เข้า กองทุ น  “กึ่ ง ศตวรรษ

3. น.ส. วารุณี ธนวรานิช ศิษย์เก่ารุ่นที่ 7

คณะสั ง คมวิ ท ยาฯ” เพื่ อ ใช้ใ นการปรั บ ปรุ ง และ พั ฒ นาพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ธ รรมศาสตร์เ ฉลิ ม พระเกี ย รติ

สมาชิกของสมาคม ประกอบด้วย 1) สมาชิกสามัญ อันได้แก่ ผู้ที่เคยเป็นนักศึกษาหรือ ได้รั บ ปริ ญ ญา/อนุ ป ริ ญ ญา จากคณะสั ง คมวิ ท ยา มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์  หรื อ ผู ้ที่ ไ ด้รั บ ปริ ญ ญา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา จากมหาวิทยาลัยอื่นๆ ซึ่ง คณะกรรมการสมาคมฯ เห็นชอบ 2) สมาชิกกิตติมศักดิ์ ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือผู้มี อุปการะคุณแก่สมาคม และ ได้แก่

รวมทั้งเผยแพร่ความรู้และ

รอบ 50 ปี ทางสมาคมฯ จึงจัดให้มีกิจกรรมร่วมกัน

2. อ.บุญมา นครอินทร์ ศิษย์เก่ารุ่นที่ 2

สมาชิกวิสามัญ

คณาจารย์และเจ้าหน้าที่

ส�ำหรับในปี 2558 นั้น เป็นปีที่คณะฯ ฉลองครบ

1. อ.สิริชัย วัชโรทน ศิษย์เก่ารุ่นที่ 1

3)

ศิษย์ปัจจุบัน

ข้าราชการ

ผู้ที่ผ่าน

การศึ ก ษาอบรม และผู ้ที่ ก� ำ ลั ง ศึ ก ษาอยู ่ใ นคณะ สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ธรรมศาสตร์

ตลอดจนเพื่ อ สนั บ สนุ น ด้า นทุ น การศึ ก ษาที่ เ รี ย นดี แต่ขาดแคลน


24

hall of fame

เนื่ อ งในโอกาสครบ 50 ปี  แห่ง การสถาปนาคณะสั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยา มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ สมาคมสั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยา ได้คั ด เลื อ กศิ ษ ย์เ ก่า ที่ ป ระสบความส� ำ เร็ จ  ท� ำ ชื่ อ เสี ย งให้แ ก่ค ณะฯ ท� ำ ประโยชน์ให้แก่สังคมส่วนรวม

และมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ยอมรับจากวงการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อมอบรางวัล

ประกาศเกียรติคุณศิษย์เก่า โดยได้คัดเลือกศิษย์เก่าจ�ำนวน 13 คน ตามล�ำดับ ต่อไปนี้

น.ส.ศิริพร โชติชชั วาลย์กุล รุ ่น 11 นักพัฒนาและเกษตรกรตัวอย่าง นายอภิชาติ อภิชาตบุ ตร รุ ่น 14 รองผู ้อ�ำนวยการส�ำนักงานกิจการสตรี และสถาบันครอบครัว กระทรวงพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ นายอมรวัฒน์ กริยาผล รุ ่น 15 ผู ้พิพากษาศาลอุ ทธรณ์ ภาค 1 นายอัครพร บุ นนาค รุ ่น 16 ผู ้อ�ำนวยการส�ำนักงานวิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา ส�ำนักพระราชวัง นายประดิษฐ์ ประสาททอง รุ ่น 17 เลขาธิการมู ลนิธิมะขามป้ อม ผศ.ดร.บุ ญอยู ่ ขอพระประเสริฐ รุ ่น 17 คณบดีคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก นางศุภจี สุธรรมพันธ์ รุ ่น 18 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ไทยคม จ�ำกัด (มหาชน)

นายสรกล อดุลยานนท์ รุ ่น 18 ผู ้อ�ำนวยการ Academy of Business Creativity มหาวิทยาลัยศรีปทุม และนักเขียนนามปากกา “หนุ่มเมืองจันท์” นายสุพจน์ ธีรวัฒนชัย รุ ่น 18 ประธานเจ้าหน้าที่บริหารหลุ่มโรงเบียร์เยอรมันตะวันแดง ดร.สุวจี กู๊ด รุ ่น 19 Program Coordinator องค์การอนามัยโลก นางบุ ษกร วงศ์พัวพันธ์ รุ ่น 26 นักแสดง ผู ้จัดละคร นายพรรษา มีสัตย์ธรรม รุ ่น 30 อดีตผู ้รักษาประตูทีมชาติไทย นายฌอห์น จินดาโชติ รุ ่น 44 นักแสดง นักเขียน


บุคลากร


26

คณาจารย์

สาขาวิชา

วุฒิการศึกษา

14

46.67%

สังคมวิทยา

16 มานุษยวิทยา

53.33%

ปริญญาโท 53.33%

16

14

ปริญญาเอก 46.67%


27

ตำ�แหน่งวิชาการ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รองศาสตราจารย์

8

3.33%

1 1

26.67%

3.33%

ศาสตราจารย์

7 10 33%

อาจารย์

3

10%

ผู้ช่วยศาสตราจารย์

23.33%

อาจารย์ ดร.


28

คณาจารย์สาขาสังคมวิทยา

อาจารย์ ดร.จั น ทนี เจริ ญ ศรี

อาจารย์ ดร.ทรงสิ ริ พุ ทธงชั ย

Ph.D. (Sociology), University of Essex

Ph.D. Arab and Islamic Studies,

ทฤษฎีสังคมวิทยา | การย้ายถิ่นข้ามชาติ | ชนชั้นและเพศสถานะ | ภาพแทนทางวัฒนธรรม

อาจารย์ จุ ฬารั ต ผดุ ง ชี วิ ต M.A. (Sociology, concentration in medical sociology), Indiana University สังคมวิทยาการแพทย์ | สังคมวิทยาสุขภาพและความ เจ็บป่วย | ทฤษฎีสังคมวิทยาร่วมสมัย | สังคมวิทยา สื่อและภาพถ่าย

ผศ.ฐิ ติ รั ต น์ กิ ต ติ วิ วั ฒ น์ สค.ม. (สังคมวิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สังคมวิทยาการพัฒนา | สังคมวิทยาชนบท | ประเด็นเยาวชน

ผศ.ดร.ณั ฐ จรี สุ ว รรณภั ฏ Ph.D. (Sociology), La Trobe University สังคมวิทยาชีวิตประจ�ำวัน | จิตวิทยาสังคมแนว สังคมวิทยา | ชีวิตแต่งงาน ครอบครัว และความ สัมพันธ์ใกล้ชิด

University of Exeter การปฏิสังสรรค์ระหว่าง”กลุ่ม” คนที่มีเอกลักษณ์ ทางสังคมต่างกัน | สังคมวิทยาศาสนา | ทัณฑวิทยา | พหุวัฒนธรรมนิยม

ผศ.ดร.ธี ร ะ สิ น เดชารั ก ษ์ Ph.D. (Demography), Institute for Population and Social Research, Mahidol University ประชากรศาสตร์สังคม | สวัสดิการสังคม | การวิจัย ทางสังคม | ระเบียบวิธีวิจัย | สถิติประยุกต์ส�ำหรับ การวิจัย

ผศ.ดร.นลิ นี ตั น ธุ ว นิ ต ย์ Ph.D. (Sociology) University of Wisconsin, Madison ชุมชนศึกษา | การเคลื่อนไหวทางสังคม | วิถีชีวิตคนเมือง


คณาจารย์สาขาสังคมวิทยา

ผศ.ดร.ปณิ ธี บราวน์

อาจารย์ ดร.วิ ล าสิ นี พนานครทรั พ ย์

Ph.D. (Sociology), Leiden University

Ph.D. (Sociology)

จิตวิทยาสังคม | สังคมวิทยาครอบครัว | สังคมวิทยา ชราภาพ | การย้ายถิ่นและการแต่งงานข้ามวัฒนธรรม

อาจารย์ พ รทิ พ ย์ เนติ ภ ารั ต นกุ ล สม.ม. (สังคมวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สังคมวิทยาสุขภาพ | จิตวิทยาสังคม | สังคมวิทยาผู้สูงอายุ

อาจารย์ ว รพจน์ วงศ์ กิ จ รุ่ ง เรื อ ง MSc (Media and Communications), London School of Economics and Political Science สังคมวิทยาโลกาภิวัตน์ | สื่อ การสื่อสาร และการ เคลื่อนไหวทางสังคม

อาจารย์ ว าทิ นี ย์ วิ ชั ย ยา สม.ม. (สังคมวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมวิทยา | การจัดระเบียบ ทางสังคม | การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น | อาชญาวิทยา | เด็กและเยาวชน

La Trobe University ความรุนแรงในครอบครัว | สังคมวิทยาสตรี | อาชญาวิทยา

อาจารย์ ศิ ริ พ ร ศรี สิ น ธุ์ อุ ไ ร สม.ม. (สังคมวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สังคมวิทยาสิ่งแวดล้อม | พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น | พิพิธภัณฑ์ศึกษา

อาจารย์ อ รอุ ม า เตพละกุ ล M.A. (Environmental Sociology) University of Tennessee สังคมวิทยาสิ่งแวดล้อม | สังคมวิทยาอุตสาหกรรม | การวิจัยเชิงปริมาณ

29


30

คณาจารย์สาขามานุษยวิทยา

อาจารย์ ช นิ ด า ชิ ตบั ณ ฑิ ต ย์

รศ.พรชั ย ตระกู ล วรานนท์

สม.ม. (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

M.Phil ( Social Anthropology)

มานุษยวิทยาสตรีนิยม | การศึกษาผู้หญิงจาก

University of Kent at Canterbury

ประสบการณ์ชีวิต และเรื่องเล่า | การประดิษฐ์/สร้าง

มานุษยวิทยาการเมือง | วัฒนธรรมและสังคมจีน |

ประเพณีวัฒนธรรมร่วมสมัย | วัฒนธรรมการบริโภค

จีนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | การเปลี่ยนแปลงทาง

และการแปรรูปวัฒนธรรมเป็นสินค้า

วัฒนธรรมและสังคม | วัฒนธรรมและการสื่อสาร

อาจารย์ ดร.บุ ญ เลิ ศ วิ เ ศษปรี ช า

สาธารณะ

Ph.D. (Anthropology),

อาจารย์ พ รรณราย​ โอสถาภิ รั ต น์

University of Wisconsin –Madison

M.Phil (Material culture),

มานุษยวิทยาเมือง | คนชายขอบ | การเคลื่อนไหว

University College London

ทางสังคม | ความรุนแรงและความทุกข์ทนทางสังคม

ทฤษฎีและวิธีวิทยาทางมานุษยวิทยา |

(social suffering) | เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ –

วัตถุวัฒนธรรมศึกษา | วัฒนธรรมดิจิทัล

ฟิลิปปินส์ | สังคมวัฒนธรรมญี่ปุ่น

อาจารย์ ดร.ประเสริ ฐ แรงกล้ า

ผศ.ดร.พิ เ ชฐ สายพั น ธ์ Ph.D. (Anthropology), The University of

Ph.D. (Anthropology),

Social Sciences & Humanities,

Australian Nation University

Hanoi (Vietnam National University)

ความเป็นชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |

ชาติพันธุว์ ิทยา | วัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

การลี้ภัย | การย้ายถิ่น และลักษณะข้ามชาติ |

และเอเชียแปซิฟค ิ อเวียดนามศึกษา | ลาวศึกษา |

ศาสนาและความมั่นคงของมนุษย์ | มานุษยวิทยา

ไทศึกษา | เพศสภาวะ | วัฒนธรรมเมือง

เศรษฐกิจและการพัฒนา

ผศ.ดร.พจนก กาญจนจั น ทร Ph.D. (Archaeology), University of Bristol โบราณดี | การจัดการมรดกทางวัฒนธรรม | แนวคิดและประวัติโบราณคดีในประเทศไทย

ผศ.ดร.ยุ ก ติ มุ ก ดาวิ จิ ต ร Ph.D. (Anthropology), University of Wisconsin-Madison คติชนวิทยาแนวมานุษยวิทยา | ภาษาศาสตร์เชิง มานุษยวิทยา | ศาสนา | สังคมและวัฒนธรรม ออนไลน์


คณาจารย์สาขามานุษยวิทยา

อาจารย์ ดร.รั ต นา โตสกุ ล

ศ.ดร.เสมอชั ย พู ลสุ ว รรณ

Ph.D. (Anthropology),

Ph.D. (Physical Anthropology),

University of Washington, Seattle

University of Michigan, Ann Arbor

31

มานุษยวิทยาการพัฒนา | ชุมชนศึกษา |

วิวัฒนาการของมนุษย์ | วัฒนธรรมจารีตและ

วัฒนธรรมข้ามพรมแดน (เช่น ครอบครัว/ แต่งงาน

วัฒนธรรมร่วมสมัยของไทย | ชาติพันธุว์ ิทยาใน

ข้ามพรมแดน)

เอเชียอาคเนย์ | Iconography and symbolism

อาจารย์ วิ ภ าวี พงษ​์ป่ิ น สม.ม. (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชุมชนศึกษา | เพศสภาพ | ผู้หญิงมุสลิม

ผศ.ศุ ภ ลั ก ษณ์ พรกุ ล วั ฒ น์ สม.ม. (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย | ชุมชนศึกษา | มานุษยวิทยาเศรษฐกิจ

อาจารย์ ดร.สายพิ ณ ศุ พุ ทธมงคล Ph.D. (Anthropology), Harvard University มานุษยวิทยาการแพทย์ | มานุษยวิทยาศาสนา

of the Buddhist arts (Thai & Burmese) | Cultural history and ethnicity of ethnic groups in Southern China and Upper Southeast Asia Population genetics and evolution

ผศ.ดร.อนุ ส รณ์ อุ ณ โณ Ph.D. (Anthropology), University of Washington, Seattle อ�ำนาจ อัตลักษณ์ ตัวตน | ศักยภาพกระท�ำการ | การเมืองในชีวิตประจ�ำวัน | การเคลื่อนไหวทางสังคม | มลายูมุสลิม | ชายแดนภาคใต้ | วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศึกษา

และความเชื่อ | ความมีอารยะ/ สังคมอารยะ |

อาจารย์ อุ ด มลั ก ษณ์ ฮุ ่ น ตระกู ล

นิเวศวิทยาเมืองและชนบท

ศศ.ม. (การพัฒนาสังคม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผศ.สุ ด แดน วิ สุ ท ธิ ลั ก ษณ์

พิพิธภัณฑ์วิทยา | โบราณคดีในเอเชีย

DEA (Ethnologie),

ตะวันออกเฉียงใต้ | มรดกทางวัฒนธรรม |

Universite Paris 10 (Nanterre)

การเมืองว่าด้วยอดีต | มานุษยวิทยาอาหาร

ชาติพันธุ์ / ชาติพันธุ์นิพนธ์ | มนุษย์กับการเดินทาง/ วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว | พิพิธภัณฑ์ศึกษา


บุคลากรฝ่ายสนับสนุนวิชาการ

นางวินิจดา สีเหลือง พนักงานสถานที่ น.ส.พาฝั น ปั ้นลาย เจ้าหน้าที่บริหารงานทัว่ ไปปฏิบัติการ น.ส.อัจฉรา ค้าข้าว รักษาการในต�ำแหน่งหัวหน้างานบริหารและธุ รการ บุ คลากรปฏิบัติการ น.ส.ดวงหทัย ตัง้ มัน่ ในธรรม นักวิชาการศึ กษาปฏิบัติการ

งานบริ ก ารการศึ ก ษา

งานบริ ห ารและธุ ร การ

32

น.ส.อารีรัตน์ ปานจับ นักวิชาการศึ กษาปฏิบัติการ น.ส.อัญณิการ์ มหาผลประเสริฐ นักวิชาการศึ กษาช�ำนาญการ น.ส.มณฑา สุวรรณรัตน์ นักวิชาการศึ กษา น.ส.วรรณนิภา ถนอมสวย นักวิชาการศึ กษา

น.ส.นิภาพร เหมือนวงศ์ นักวิชาการคอมพิวเตอร์

นายวิชยั แสงดาวฉาย นักวิชาการศึ กษาช�ำนาญการพิเศษ

นางฐานิฏฐ์ พู ลสวัสดิ์ พนักงานบริการ

นางศิริน้อย นิภานันท์ นักวิชาการศึ กษาช�ำนาญการ

นายจักรพันธ์ ส่งสาย พนักงานสถานที่ นายกฤตวัฒน์ โกมลวรวิทยา เจ้าหน้าที่บริหารงานทัว่ ไปปฏิบัติการ

น.ส.เกษมศรี ดุริยรัตนทัต หัวหน้างานบริการการศึ กษา นักวิชาการศึ กษาช�ำนาญการ

นายวีระพัฒน์ ภูมิจันทร์ พนักงานขับรถยนต์

น.ส.กนกภรณ์ ชาวบางงาม นักวิชาการศึ กษาปฏิบัติการ

นายสนธยา เอี่ยมบาง พนักงานบริการ

น.ส.ศิริภัทร จุ ้ยเปี่ ยม นักวิชาการศึ กษาปฏิบัติการ


น.ส.รพีพรรณ เจริญวงศ์ นักวิจัยปฏิบัติการ น.ส.อัญณิการ์ มหาผลประเสริฐ รักษาการหัวหน้างานวิจัยและบริการวิชาการ / นักวิชาการศึ กษาช�ำนาญการ น.ส.อุ รฉัตร อุ มาร์ นักวิชาการศึ กษาปฏิบัติการ นายเดชาภิวัชร์ นพมิตร เจ้าหน้าที่บริหารงานทัว่ ไปปฏิบัติการ น.ส.เหมือนพิมพ์ สุวรรณกาศ นักวิชาการศึ กษาปฏิบัติการ น.ส.อรอุ มา ส้มไทย เจ้าหน้าที่บริหารงานทัว่ ไป

งานคลั ง และพั ส ดุ

งานวิ จั ย และบริ ก ารวิ ช าการ

33

นายนพพล จรัสวิทยา เลขานุการคณะฯ รักษาการหัวหน้างานคลังและพัสดุ น.ส.วรัญญา พรหมดี นักวิชาการเงินและบัญชี น.ส.ประไพวรรณ มากระจัน นักวิชาการพัสดุ นายณัฐดนัย อินต๊ะภา นักวิชาการพัสดุ น.ส.มนธิรา เพ็งจันทร์ นักวิชาการเงินและบัญชี


34

hall of fame

ผศ.ดร.ณั ฐ จรี สุ ว รรณภั ฏ ได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่นด้านครอบครัว ประจ�ำปี 2558 จากส�ำนักงานกิจการสตรีและสถาบัน ครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คง ของมนุษย์ วันที่ 11 มิ.ย. 2558

ผศ.ดร.ปณิ ธี บราวน์ ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่นด้านครอบครัว ประจ�ำปี 2558 ส�ำนักงานกิจการสตรีและสถาบัน ครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คง ของมนุษย์ วันที่ 11 มิ.ย. 2558

ผศ.ดร.ธี ร ะ สิ น เดชารั ก ษ์ ได้รับการยกย่องเป็นอาจารย์ยอดเยี่ยมแห่งปี (Great Teacher of The Year 2014) จากสภาอาจารย์ร่วมกับสภานักศึ กษา องค์การนักศึ กษา คณะกรรมการนักศึ กษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


นักศึกษา


36

นักศึกษาคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ปีการศึกษา 2557

ปรัชญาดุษฎีบณ ั ฑิต (มานุษยวิทยา) 1.21% สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา)

23 40

3.09%

9

5.37%

สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาบัณฑิต (การวิจย ั ทางสังคม)

สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต 46.85%

349

324

43.49%

สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (การวิจย ั ทางสังคม)


37

ผู้สำ�เร็จการศึกษา และ ภาวะการมีงานทำ�ของบัณฑิต ในปี การศึ กษา 2557 มีผู้ส�ำเร็จการศึ กษาทัง้ สิน้ 181 คน หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต 73 คน หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (การวิจัยทางสังคม) 104 คน หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (การวิจัยทางสังคม) 1 คน หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา) 3 คน หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (มานุษยวิทยา) ยังไม่มีผู้ส�ำเร็จการศึ กษา จากการส� ำ รวจภาวะการมี ง านท� ำ ของบั ณ ฑิ ต  ปี การ ศึ กษา 2556 โดยกองแผนงาน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยบัณฑิตคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ผู ้จบการ ศึ กษา จ�ำนวน 179 คน ให้ความร่วมมือตอบแบบสอบถาม 161 คน พบว่ามีบัณฑิตที่มีงานท�ำแล้ว จ�ำนวน 128 คน คิดเป็นร้อยละ 92.97 และร้อยละ 97.20 ของผู ้ตอบ แบบสอบถามที่ให้ข้อมู ลเกี่ยวกับเงินเดือน ได้รับเงินเดือน เท่ า กั บ หรื อ สู ง กว่ า เกณฑ์ ขัน้ ต�่ำ  คิ ด เป็ น รายได้ เ ฉลี่ย ต่ อ เดือนประมาณ 20,281 บาท

ทุนการศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ได้จัดสรรทุนการศึ กษา เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี แยกตามหลักสูตรดังนี้ หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต ทุนเรียนดีแต่ขาดแคลน (1 ทุน) ทุนส่งเสริมการเรียนดี (1 ทุน) ทุนนักกิจกรรมดีเด่น (1 ทุน) ทุน “โรงเบียร์เยอรมันตะวันแดง” โดยคุณสุพจน์ ธีระวัฒนชัย ศิษย์เก่าคณะฯ รุ ่นที่ 18 ได้จัดตัง้ กองทุนการศึ กษาแก่นักศึ กษา ที่ขาดแคลน และมีความประพฤติดี (1 ทุน) หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาบัณฑิต (การวิจัยทางสังคม) ทุนนักศึ กษาสาขาการวิจัยทางสังคมดีเด่น (1 ทุน) ทุนเรียนดีแต่ขาดแคลน (1 ทุน) ทุนส่งเสริมการเรียนดี (5 ทุน) ทุนโครงการผลิตบัณฑิตร่วมเพื่อการท่องเที่ยวอย่าง ยัง่ ยืน ได้รับการสนับสนุนจากองค์การบริหารการ พัฒนาพืน้ ที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน (อพท.) คัดเลือกนักเรียนชัน้ มัธยมศึ กษาตอนปลาย เข้าศึ กษาต่อในระดับปริญญาตรี คณะสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา สาขาวิชาการวิจัยทางสังคม (2 ทุน)


38

การพัฒนาศักยภาพวิชาการของนักศึกษา

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มีกิจกรรมอบรม และสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เป็นโครงการจ�ำนวน 5 ครั้ง คือ โครงการอบรมและสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง จริยธรรมในการเขียนงานวิจัยส�ำหรับนักศึกษา, โครงการอบรมและสั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร เรื่ อ ง แนวทางการเขี ย นทบทวนวรรณกรรม, โครงการ อบรมและสั ม มนาเชิ ง ปฏิ บั ติ ก าร เรื่ อ ง แนวทาง การเขี ย นทบทวนวรรณกรรม: ภาคแบบฝึก หั ด , โครงการอบรมและสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การ จัดการและการวิเคราะห์ข้อมูล และ โครงการอบรม และสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การเขียนงานครั้ง แรกส่งอาจารย์ ควรท�ำอย่างไร?” นอกจากนี้ยังมีโครงการเสริมสร้างทักษะทางวิชาการ ของนักศึกษา จ�ำนวน 2 โครงการ ได้แก่ โครงการ เสริ ม สร้า งทั ก ษะทางวิ ช าการของนั ก ศึ ก ษา เรื่ อ ง “การน� ำ เสนอผลงานวิ จั ย รายบุ ค คล ประจ� ำ ปีก าร ศึกษา 2556” และ โครงการเสริมสร้างทักษะทาง วิชาการของนักศึกษา เรื่อง “เสวนาวิชาการสนาม เพลาะส�ำหรับรายวิชาการศึกษาแบบรายบุคคล โครงการมัชฌิมนิเทศ เรื่อง “แนวทางในการวางแผน การเรี ย น ส� ำ หรั บ นั ก ศึ ก ษาคณะสั ง คมวิ ท ยาและ มานุ ษ ยวิ ท ยา ส� ำ หรั บ นั ก ศึ ก ษาภาคปกติ ”  และ โครงการมัชฌิมนิเทศ เรื่อง “แนวทางในการวางแผน การเรี ย น ส� ำ หรั บ นั ก ศึ ก ษาคณะสั ง คมวิ ท ยาและ มานุษยวิทยา ส�ำหรับนักศึกษาภาควิจัย”

ในระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษามี ก ารจั ด โครงการพั ฒ นา ศั ก ยภาพวิ ช าการให้แ ก่นั ก ศึ ก ษา ได้แ ก่  โครงการ สัมมนาหัวข้อวิทยานิพนธ์

“Begin Again: งาน

น� ำ เสนอหั ว ข้อ วิ ท ยานิ พ นธ์นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาโทและ เสนอผลงานวิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต

สกว.”

และ

โครงการสัมมนาความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ จ�ำนวน 3 ครั้ ง  แบ่ง เป็น โครงการสั ม มนาความก้า วหน้า วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทและเอก จ�ำนวน 2 ครั้ง และ ระดับปริญญาเอก สาขามานุษยวิทยา จ�ำนวน 1 ครั้ง


การศึกษาภาคสนามภายในประเทศและต่างประเทศ

การศึ กษาภาคสนามภายในประเทศ ระดับปริญญาตรี ม.241 โบราณคดีเบือ้ งต้น (ปกติ) : อ.อู ่ทอง,อ.ด่านช้ าง จ.สุพรรณบุ รี และ อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุ รี

39

การศึ กษาภาคสนามต่างประเทศ ระดับปริญญาตรี สม.417 ภาคนิพนธ์ 1 : ณ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

ม.421 มานุษยวิทยาการท่องเที่ยว : ชุ มชนบ้านน�ำ้ เชี่ยว อ.แหลมงอบ จ.ตราด และ ชุ มชนริมแม่น�ำ้ จันทรบู ร อ.เมือง จ.จันทบุ รี ม.333 วัฒนธรรมและสังคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : เมืองปากเซ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และ อ.โขงเจียม จ.อุ บลราชธานี สว.456 สังคมวิทยาการพัฒนา : ต.ห้วยสามพาด อ.ประจักษ์ศิลปาคม จ.อุ ดรธานี การศึ กษาภาคสนามภายในประเทศ ระดับปริญญาโท

สม.417 ภาคนิพนธ์ 1 : สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (กลุ่มเวียดนามกลาง)

ม.604 การวิจัยทางมานุษยวิทยา: หมู ่บ้านคลองโยง ต.คลองโยง อ.นครชัยศรี จ.นครปฐม ม.693 สัมมนาปั ญหาเฉพาทางมานุษยวิทยา 3 (มานุษยวิทยาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) : อุ ทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จ.เพชรบุ รี ม.641 การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม : จังหวัดแพร่-น่าน ม.651 วัฒนธรรมข้ามพรมแดนและโลกาภิวัตน์ จังหวัดระนอง

สม.417 ภาคนิพนธ์ 1 : สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (กลุ่มเวียดนามเหนือ)


40

กิจกรรมนักศึกษา

ส่วนหนึ่งของกิจกรรม นักศึ กษาในด้านต่างๆ ที่ได้รับความสนับสนุน จากคณะฯ ตลอดปี การศึ กษา ที่ผ่านมา

บำ�เพ็ญ ประโยชน์


41

ศิลปวัฒนธรรม กีฬา


42

hall of fame

นายวรพจน์ คชรัตน์ และ น.ส.ขวัญจิรา พลศรี เป็นตัวแทนของมหาวิทยาลัย เข้าร่วมการประชุ ม 4th University Scholars Leadership Symposium ณ สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ เมื่อวันที่ 1-7 สิงหาคม 2557

นายวรกันต์ วงพันธุ ์ลักษณ์ นักศึ กษา ชัน้ ปี ท่ี 4 คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สาขาวิชาการวิจัยทางสังคม ได้รับเลือกให้เป็นฑูตกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ ประจ�ำงานฟุ ตบอลประเพณี จุ ฬา-ธรรมศาสตร์ ครัง้ ที่ 70


43

นางสาวดวงดาว ไชยา นักศึ กษาปริญญาโท สาขาวิชาการวิจัยทางสังคม ได้รับรางวัลผลงานวิทยานิพนธ์ด้านครอบครัว ปริญญาโท ระดับชมเชย หัวข้อวิทยานิพนธ์: ครอบครัวสมัยใหม่กับ ผู ้เปลี่ยนไปนับถือศาสนาคริสต์ในพืน้ ที่ กรุ งเทพมหานครและปริมณฑล อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นลินี ตันธุ วนิตย์


44


งานวิจัยและบริการวิชาการ


46

สิ่งพิมพ์วิชาการ

หนังสือ

ตำ�รา

วัฒนธรรม รัก ในเอเชี ยตะวันออกเฉียงใต้ ผศ.ดร.พิเชฐ สายพันธ์ (บรรณาธิการ) กรุ งเทพฯ: พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ กันยายน 2557 สถิติประยุ กต์: ปฐมบทแห่งการวิจัยทางสังคม ผศ.ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ ปทุมธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์, 2558


47

ตำ�รา

วารสาร

อ่านวิพากษ์: มิเชล ฟู โกต์ ผศ.ดร.อนุสรณ์ อุ ณโณ, อ.ดร.จันทนี เจริญศรี, อ.สลิสา ยุ กตะนันทน์ (บรรณาธิการ) กรุ งเทพฯ: สยามปริทัศน์, 2558

วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา วารสารวิชาการของ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


บทความนำ�เสนอและตีพิมพ์

48

ผศ.ดร.พจนก กาญจนจั น ทร “Land

Use,

Water

ผศ.ดร.ปณิ ธี บราวน์ and

“ความหลากหลายทางเพศกับพหุวัฒนธรรมในสังคม

Religious Beliefs in the Urban Landscape

ไทย: การส�ำรวจองค์ความรู้”. วารสารสังคมศาสตร์

of

44: 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2557), 51-70.

Historic

Management

West-Central

Thailand

(ca. 11th-14th Centuries AD)” ,

paper

presented at EurASEAA 2015 Universite of Paris Quest Nanterre, Paris, France

ผศ.ดร.ยุ ก ติ มุ ก ดาวิ จิ ต ร “Marginal

Negotiation

and

State

Vietnames State”, paper presented at the 2015 AAS-in-ASIA Conference Academia Sinica , Taipei , Taiwan

2014), 1-27.

ผศ.ดร.พจนก กาญจนจั น ทร “Tracing

post-dvaravati

space:

Applying in

culture

remote

west-central

from

sensing Thailand”.

Asian Perspectives. 53: 1 (1 April 2015), 29-52. of

“Creative

Tourism”: Lesson Learned from Thailand”, paper presented at the 2015 APacCHRIE/ APF ConferenceAuckland University of Technology , Auckland, New Zealand

ผศ.ดร.อนุ ส รณ์ อุ ณ โณ “It’s Better , But It’s Also Tough Though.”: Making a Living Across the Thai-Malasian Border”, paper presented at The 4th Conference of the Asian Borderlands Research Network City University of Hong Kong , Hong Kong

Tai Dam Political Space in Vietnam“.

technique

ผศ.สุ ด แดน วิ สุ ท ธิ ลั ก ษณ์ ผศ.ดร.พิ เ ชฐ สายพั น ธ์ Criteria

“The Langchuang Epic and Pre-Modern Thammasat Review. 17: 2 (July-December

Formation: Ethnic Tai and Post-colonial

“Assessment

ผศ.ดร.ยุ ก ติ มุ ก ดาวิ จิ ต ร

ศ.ดร.เสมอชั ย พู ลสุ ว รรณ “Buddhist

Murals

Illustrating

Unusual

Features in Temple 36 at Sale and Their Cultural Implications”. Journal of Burma Studies, 19: 1 (June 2015), 145-197.


โครงการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ผศ.สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ , ผศ.ดร.ธีระ สินเดชารักษ์, ผศ.ดร.พิเชฐ สายพันธ์ , อาจารย์อรอุมา เตพละกุล โครงการการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ในเขตพื้นที่พิเศษ 4 เพื่อเชื่อมโยงเครือข่าย ในระดับชาติสู่ระดับนานาชาติ ผศ.สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ , ผศ.ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ , ผศ.ดร.พิเชฐ สายพันธ์ , อาจารย์อรอุมา เตพละกุล โครงการพัฒนาเครือข่ายการท่องเที่ยวเชิง สร้างสรรค์รุ่นที่ 1 และขยายพื้นที่กิจกรรมการท่อง เที่ยวเชิงสร้างสรรค์รุ่นที่ 2 ในเขตพื้นที่พิเศษ 4 ผศ.สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ , ผศ.ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ , ผศ.ดร.พิเชฐ สายพันธ์ , อาจารย์อรอุมา เตพละกุล โครงการส�ำรวจความพึงพอใจ ความต้องการ ความคาดหวัง ความภักดีของผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholders) ต่อการด�ำเนินงานของนิคม อุตสาหกรรม ประจ�ำปี 2557 รศ.พรชัย ตระกูลวรานนท์ , ผศ.ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ การประเมินผลผลิต ผลลัพธ์และผลกระทบของ ชุดโครงการมังกรหลากสี: การขยายดินแดนกับ พันธกิจการสร้างอารยธรรมในอุษาคเนย์ รศ.พรชัย ตระกูลวรานนท์ Transnational Anthropology of Thailand: An Anthropological Review อาจารย์ ดร.รัตนา โตสกุล “จิตรกรรมพระพุทธศาสนากลุ่ม “ลักษณะพิเศษ” และกลุ่ม “หัวเมือง”ในตอนปลายสมัยพุกาม” ศ.ดร.เสมอชัย พูลสุวรรณ

โครงการวิ จั ย ที่ อ ยู ่ ใ นระหว่ า งด� ำ เนิ น การ

โครงการวิ จั ย ที่ แ ล้ ว เสร็ จ

โครงการวิจัย

การค้าเบ็ดเตล็ดข้ามแดนระยะไกล ผศ.ดร.นลินี ตันธุวนิตย์ “ออเญ่อ” วิถีชาติพันธุ์กลุ่มวัฒนธรรมภาษาตระกูล ทิเบต/พม่า ในประเทศไทย ผศ.ดร.พิเชฐ สายพันธ์ “การศึกษาเงา” (Shadow education): การกวดวิชาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ใน จ.เชียงใหม่ อ.วาทินีย์ วิชัยยา โครงการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ผศ.สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ , ผศ.ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ , ผศ.ดร.พิเชฐ สายพันธ์ , อาจารย์อรอุมา เตพละกุล โครงการส�ำรวจความพึงพอใจของชุมชน โดยรอบนิคมอุตสาหกรรมและท่าเรืออุตสาหกรรม ประจ�ำปี 2558 รศ.พรชัย ตระกูลวรานนท์ ผศ.ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ การย้ายถิ่นของแรงงานทักษะสูงในไทย: บทส�ำรวจเบื้องต้น อ.ดร.จันทนี เจริญศรี ผศ.ดร. ณัฐจรี สุวรรณภัฏ มรดกทางวัฒนธรรม: การสร้างตัวตนคนมอญสามโคก จังหวัดปทุมธานี นางสาวเหมือนพิมพ์ สุวรรณกาศ

49


50

ศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย

คณะสั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยา มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ มีพันธกรณีต่อการศึ กษาปรากฏการณ์ ทางสังคมและวัฒนธรรมโดยตรง โดยนอกจากการ จั ด ให้ มี ห ลั ก สู ต รการเรี ย นการสอนทั ้ง ในระดั บ ปริ ญ ญา บั ณ ฑิ ต และบั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาครอบคลุ ม ประเด็ น ปั ญ หาดั ง กล่าว คณะฯ ได้สนับสนุนให้นักศึ กษาในระดับบัณฑิต ศึ กษาได้ท�ำวิทยานิพนธ์ในหัวข้อที่เกี่ยวข้อง อย่างไรก็ดี ด้วยความที่ปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรมร่วม สมัย มีความสลับซับซ้ อนเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่ง ผลให้ต้องมีการพัฒนาความรู้ทัง้ ในเชิ งทฤษฎีและในระดับ ปรากฏการณ์ควบคู่ไปด้วย คณะฯ จึงเห็นควรให้จัดตัง้ “ศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย” (Center for Contemporary Social and Cultural Studies, CCSCS) ขึน้ เพื่อด�ำเนินการศึ กษาวิจัย เผยแพร่ และสนับสนุน กิจกรรมด้านสังคมและวัฒนธรรมในลักษณะต่างๆ ทัง้ แก่ คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึ กษา รวมทัง้ บุ คคลและหน่วย งานภายนอก


51

สัมมนาประจำ�ปี

เสวนาวิชาการ

สัมมนาวิชาการประจ�ำปี 2557

“หนึ่งทศวรรษมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา กับการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้”

“Slow Anthropology: Negotiating Difference in Southeast Asia” “ความเป็นธรรมทางสังคม: วิธีวิทยาในการพัฒนาตัวชีว้ ัด” “พลเมืองที่รัฐปรารถนา: ข้อพินิจการสร้างพลเมืองของชาติ ในพิพิธภัณฑ์สิงคโปร์” “บทบาท กสทช. ภายใต้เศรษฐกิจ-สังคมดิจิทัล ร่างกฎหมายดิจิทัลฯ ตอบโจทย์หรือไม่?” “สังวาลย์มรดกโลก ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพืน้ ทวีป”

ในช่ วงปี 2557 - 2558

กิจกรรม

“Beyond the Continental Straitjacket: Flows and Spaces in Asian Studies” “เรื่องเล่าเมืองไต: พลวัตของเมืองชายแดนไทย-พม่า”


52

กิจกรรมบริการวิชาการ

เสวนาวิชาการ

“การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์: ทิศทางใหม่ของการท่องเที่ยวไทย?” “การจัดการอารมณ์ในชีวิตแต่งงาน (Emotion Work in Marriage)” “ภารกิจคนจนในการฟื้ นฟู ประชาธิปไตย” “ความรู้-ทักษะ: ทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สามารถน�ำไปใช้ ในการท�ำงานสาธารณะอย่างไร”

สัมมนาวิชาการนานาชาติ

“สังคมช่ วงเปลี่ยนผ่าน: ข้อท้าทาย ความรู้ และปฏิบัติการ” เนื่องในโอกาสครบรอบ 80 ปี แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ “Thai and Korean Cultures in Modern Era”


53

สัมมนาเชิงปฏิบัติการ

บรรยายสาธารณะ

โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ Sociological Play: การแสดงละครสะท้ อนปั ญหาทางสั งคม และเผย แพร่วิธีวิทยาเพื่อการศึ กษาสังคม โดยปฏิบัติการ ในมหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ กั บ โรงเรี ย นโดยรอบ และกลุ่มศึ กษาในประเทศออสเตรเลีย โดย อาจารย์ ดร.ทรงสิริ พุ ทธงชัย ร่วมกับ Professor Gary Fry, Australian National University “Delta Ontologies: Infrastructural Transformations in Southeast Asia” “Multiculturalism and Gender” “นัยทางสังคมและการเมืองของมหาอุ ทกภัย 2554” “Peace Studies and Conflict Transformation”


54

โครงการบริการวิชาการแก่สังคม

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มี โครงการบริการวิชาการแก่สังคมระดับ สถาบั น  ที่ ไ ด้ รั บ การอนุ มั ติ จ ากสภา มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์   จ� ำ นวน 1 โครงการ คือ “โครงการท่องเที่ยว สร้ า งสรรค์ ”  ภายใต้ ค วามร่ ว มมื อ กั บ องค์ ก ารบริ ห ารการพั ฒ นาพื ้น ที่ พิ เ ศษเพื่ อ การท่ อ งเที่ ย วอย่ า งยั่ง ยื น (องค์การมหาชน) หรือ อพท. โดย ท�ำงานร่วมกับกลุ่มคนในชุ มชนในพืน้ ที่ พิเศษ

พืน้ ที่พิเศษหมู ่เกาะช้ างและพืน้ ที่เชื่อมโยง (อพท.1) กิจกรรมวิถีชีวิตประมงป่ าชายเลน เกาะช้ าง -กิจกรรมวิถีชีวิตมุ สลิมจาม ชุ มชนบ้านน�ำ้ เชี่ยว

พืน้ ที่พิเศษเมืองพัทยาและพืน้ ที่เชื่อมโยง (อพท.3) กิจกรรมวิถีชีวิตประมงชายฝั่ ง บ้านบางละมุ ง

พืน้ ที่พิเศษเลย (อพท.5) กิจกรรมการท�ำอาหารพืน้ บ้าน ด่านซ้ าย กิจกรรมการท�ำผ้าห่มนวมฝ้ าย เชียงคาน

พืน้ ที่พิเศษเมืองเก่าน่าน (อพท.6) กิจกรรมการท�ำตุง วัดพระเกิด

พืน้ ที่พิเศษเมืองโบราณอู ่ทอง (อพท.7) กิจกรรมเรียนรู้การท�ำลูกปั ดแบบโบราณ


การทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม


56


พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ

พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ เป็นโครงการ ซึ่งริเริ่มโดย คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ตั้งแต่ ปี  พ.ศ. 2529  สื บ เนื่ อ งจากได้รั บ โบราณวั ต ถุ จ าก โครงการขุดค้นวัฒนธรรมบ้านเชียงที่บ้านอ้อมแก้วและ บ้านธาตุ จังหวัดอุดรธานี โดย รองศาสตราจารย์สุมิตร ปิติพัฒน์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 - 2517 ต่อมา ในปี พ.ศ. 2530 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้รับบริจาควัตถุทาง วัฒนธรรมจ�ำนวนมาก จาก ดร.วินิจ วินิจนัยภาค จึง ได้ด� ำ เนิ น การก่อ สร้า งอาคารพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ธ รรมศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ มีวัตถุประสงค์ให้เป็นศูนย์บริการองค์ ความรู้ทางโบราณคดีและวัฒนธรรมพื้นบ้าน ใช้ส�ำหรับ การเรียนการสอน ฝึกปฏิบัติ และการค้นคว้าวิจัย ใน รายวิชาต่างๆ

ของคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

ตลอดจนบริ ก ารวิ ช าการและความรู ้ที่ เ กี่ ย วข้อ งแก่ สาธารณะที่ติดต่อเข้ามาเรียนรู้เป็นกรณีพิเศษ

โครงการประชุ มสัมมนาวิชาการระดับชาติ “การวิจัยเกี่ยวกับเครื่องปั ้นดินเผา ที่เป็นสินค้าออกที่ค้นพบในประเทศไทย ในสามทศวรรษที่ผ่านมา” โครงการสัมมนาวิชาการ นิทรรศการ และจัดพิมพ์หนังสือ เรื่อง “วัฒนธรรม ‘รัก’ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” โครงการสัมมนาร่วมสร้างนโยบายและแผนงาน เพื่อพัฒนาพิพิธภัณฑ์ฯ (Museum Policy)

ในช่ วงปี 2557 - 2558

กิจกรรม

โครงการนิทรรศการหมุ นเวียน “หลงรัก” โดยความร่วมมือระหว่างคณะฯ กับ สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.)

57


58


มองไปข้างหน้า


60

การพัฒนาเชิงกายภาพ

จากเหตุมหาอุ ทกภัยเมื่อปลายปี พ.ศ. 2554 พิพิธภัณฑ์ฯ ได้รับความเสียหายอย่างมาก จึงได้มีการวางแผนฟื้ นฟู ปรับปรุ ง โครงสร้างทางกายภาพทัง้ หมด พร้อมกับแผน พัฒนาพิพิธภัณฑ์ฯ ให้มีการใช้ งานร่วมสมัยมากขึน้ และ คาดว่าอาคารพิพิธภัณฑ์ฯ จะสามารถเปิ ดให้เข้าชมได้ อีกครัง้ ในต้นปี พ.ศ. 2559

พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ


61

ลานกิจกรรมนักศึกษา

จากเหตุมหาอุ ทกภัยเมื่อปลายปี พ.ศ.  2554 พืน้ ที่ลาน กิจกรรมเกิดความเสียหายอย่างหนัก คณะสังคมวิทยา และมานุ ษ ยวิ ท ยา มี ค วามประสงค์ ท่ี จ ะปรั บ ปรุ งลาน กิจกรรม เพื่อให้เป็นพืน้ ที่ในการท�ำกิจกรรมต่างๆ ของ นักศึ กษา ทัง้ การพักผ่อน การจัดกิจกรรมนอกหลักสูตร ต่างๆ และการอ่านหนังสือ โดยร่วมกับศูนย์นวัตกรรม การออกแบบและวิจัย  คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์และ การผังเมือง ให้ค�ำปรึกษาและออกแบบปรับปรุ งพืน้ ที่ลาน กิจกรรมดังกล่าว


62

การสร้างเครือข่ายทางวิชาการ

MOU 1. สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู ้แห่งชาติ ส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู ้ (องค์การมหาชน) เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

ในปี การศึ กษานี้ คณะสังคมวิทยา และมานุ ษ ยวิ ท ยา ได้ ท� ำ ข้ อ ตกลง ความร่วมมือ (MOU) กับองค์กร และมหาวิทยาลัยต่างๆ ทัง้ ภายใน ประเทศและต่ า งประเทศ และได้ ใ ห้ การต้ อ นรั บ  visiting scholar/ researcher มาท�ำวิจัยในประเทศ ไทย ภายใต้ความดูแลของคณะฯ ดังนี้

2. มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยศิลปากร และ University of Copenhagen (ความร่วมมือ 4 สถาบัน) เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 3. Altitude 850, Garry Fry and Louise Rose เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2558


63

visiting scholars/researchers 1. Ms.Claire Tan

4. Dr. Bo Kyeong Seo

นักศึ กษาปริญญาตรี Harvard University

Postdoctoral Fellow, Freie University, Berlin

หัวข้อวิจัย “การส�ำรวจความคิดเรื่องประชาธิปไตย

หัวข้อวิจัย “Dialysis as an Assemblage of Care: Health,

ของนักศึ กษาไทย” (สิงหาคม – กันยายน 2557)

Technology, and Forms of Life in Contemporary Thailand”

2. Dr.Johanna O. Zulueta Assistant Professor in Sociology,

(29 ตุลาคม – 13 พฤศจิกายน 2558 และ 4 มกราคม – 29 กุมภาพันธ์ 2559)

Faculty of International Liberal Arts, Soka University

5. Mr. Jordan Baskerville

หัวข้อวิจัย “Capital Flows and Okinawan “Soft Power” in

Ph.D. Student, University of Wisconsin-Madison

Southeast Asia: Examing the Thai Case”

หัวข้อวิจัย “Dhammic Pluralism: A Transnational History of

(10 สิงหาคม-31 สิงหาคม 2558)

Thai Socially Engaged Buddhism”

3. Dr.Chivion Peou

(10 กันยายน 2558 - 9 สิงหาคม 2559)

Lecturer, Department of International Studies,

6. Ms. Bronwyn Isaacs

Royal University of Phnom Penh

Ph.D. Student, Department of Anthropology,

หัวข้อวิจัย “Negotiating aspirations and mobility: Khmer migrant workers in Cambodia and Thailand” (17 สิงหาคม-31 ตุลาคม 2558)

Harvard University หัวข้อวิจัย “Creative Labour in Advertising Production, Bangkok” (28 ธันวาคม 2558- 1 กันยายน 2560)


64

ปี 2558 เป็นปีที่คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ มีอายุครบ 50 ปี นับตั้งแต่เริ่มเป็นแผนกอิสระใน คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์มาตั้งแต่ปี 2508 ในวาระ 50 ปีนี้ คณะฯ เห็นว่า แทนที่เราจะร�ำลึกย้อนหลัง สู้ เราลองคิดกันไปข้างหน้าไม่ดีกว่าหรือ เราจะลองคิดไปข้างหน้าดู ว่า ในอีก 50 ปีข้างหน้า ทิศทางของคณะฯ น่าจะไปทางไหน แต่ กระนั้นก็ตาม เราก็ต้องคิดไปข้างหน้าบนต้นทุนทางความรู้และ ต้นทุนทางเครือข่ายสังคมที่เรามีอยู่ สุ ด ท้า ยเราก็ จึ ง ตกผลึ ก กั น มาที่ ก ารวางกรอบข้อ เสนอต่อ วงการ สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาไทยและสากลว่า สาขาวิชาทั้งสอง นี้ควรจะคิดถึงเรื่องอะไรต่อไปในอนาคต อันเป็นที่มาของชื่องาน ว่า “ออกมาข้างใน เข้าไปข้างนอก” ซึ่งเป็นการพยายามก้าวข้าม จากความจ�ำเจคุ้นเคยของความรู้ในหลายๆ มิติ ได้แก่ หนึ่ง ก้าว ข้ามศาสตร์ สอง ก้าวข้ามพื้นที่ สาม ก้าวสู่อมนุษย์ และ สี่ ก้าวสู่ สาธารณะ โดยจะได้น�ำเสนอผ่านกิจกรรมต่างๆ  ตลอดปี 2558 เริ่ ม จากกิ จ กรรมทั้ ง ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร์ท ่า พระจั น ทร์ และรังสิต ในวันที่ 16-17 กุมภาพันธ์ 2558 จากนั้น ในวันที่ 15-17 กรกฎาคม 2558 มีการจัดประชุมวิชาการนานาชาติ ร่วมกับ

International

Union

of

Anthropological

and Ethnological Sciences (IUAES) ในหัวข้อ “Reimagining

Anthropological

and

Sociological

Boundaries” นอกจากนี้ยังมีการจัดพิมพ์หนังสือ สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ที่รู้สึก เพื่อมอบเป็นที่ระลึกส�ำหรับกัลยาณมิตรของคณะฯ และ ยั ง มี โ ครงการจั ด พิ ม พ์ห นั ง สื อ วิ ช าการร่ว มกั บ โครงการจั ด พิ ม พ์ คบไฟอีกด้วย


50 ปี คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา


66

16-17 กุมภาพันธ์ 2558 งานสัมมนาวิชาการในหัวข้อ

“ออกมาข้างใน เข้าไปข้างนอก” ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ และ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต เพื่อเปิ ดประเด็นและมุ มมองใหม่ ของการศึ กษาทางคณะสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยาในทศวรรษหน้า


67

งานเลีย้ งอาหารค�ำ่ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เพื่อพบปะสังสรรค์ส�ำหรับคณาจารย์ ศิษย์เก่า และ ศิษย์ปัจจุ บันในรอบ 50 ปี และเพื่อระดมทุน จัดตัง้ กองทุน

“กึ่งศตวรรษคณะสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์” เพื่อใช้ ในกิจกรรมต่างๆ ของคณะ


68

Saskia Sassen

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ The International Union of Anthropological and Ethnological Sciences (IUAES) จัดงานประชุ มวิชาการนานาชาติ (Inter Congress) ในหัวข้อ “Re-Imagining Anthropological and

Sociological Boundaries”

ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการเฉลิมฉลองวาระครบรอบ 50 ปี ของการสถาปนาคณะฯ โดยได้รับเกียรติจากนักวิชาการทางสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยาระดับโลกมาเป็นองค์ปาฐก

15-17 กรกฎาคม 2558


69

Goh Beng Lan

Engseng Ho โดยการประชุ มครัง้ นีม้ ีผู้ส่งผลงาน จากทัว่ โลกเพื่อน�ำเสนอ จ�ำนวน 262 คน ผู ้เข้าร่วมประชุ มทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติ ตลอดจน นักศึ กษา และบุ คคลทัว่ ไปที่สนใจ จ�ำนวนกว่า 700 คน


70

หนังสือที่ระลึก

สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาทีร่ ู ้สึก สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ บรรณาธิการ

หนังสือรวบรวมความทรงจ�ำและความรู้สึกเพื่อ ร่ว มแสวงหาและค้น พบวั น เวลาที่ ล ว่ งเลยไป ร่วมกัน

เพื่อก่อสร้างสถาปัตยกรรมแห่งความ

ทรงจ� ำ และความรู ้สึ ก ของคณะสั ง คมวิ ท ยาและ มานุษยวิทยาในรอบ 50 ปี


โครงการจัดพิมพ์หนังสือวิชาการ

ศาสตร์ – อศาสตร์ เข้ามาข้างนอก ออกไปข้างใน จันทนี เจริญศรี ทรงสิริ พุ ทธงชัย บรรณาธิการ

ไม่ใช่ เรือ่ ง ‘หมูหมากาไก่’ สายพิณ ศุพุทธมงคล บรรณาธิการ

รอยต่อ – รอยตัดสังคมศาสตร์ไทย นลินี ตันธุ วนิตย์ ณัฐจรี สุวรรณภัฏ พรทิพย์ เนติภารัตนกุล บรรณาธิการ

บทจร บทอ่านมานุษยวิทยาไทย ประเสริฐ แรงกล้า รัตนา โตสกุล ชนิดา ชิตบัณฑิตย์ บรรณาธิการ

71


คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร๋ socanth.tu.ac.th ที่ปรึกษา ผศ.ดร. อนุสรณ์ อุ ณโณ

บรรณาธิการ ผศ.ดร. พิเชฐ สายพันธ์

คณะบรรณาธิการ อาจารย์พรรณราย โอสถาภิรัตน์ อาจารย์วิภาวี พงษ์ ปิ่น นายกฤตวัฒน์ โกมลวรวิทยา น.ส. อารีรัตน์ ปานจับ น.ส. นิภาพร เหมือนวงศ์ น.ส. ดวงหทัย ตัง้ มัน่ ในธรรม

ปกและรู ปเล่ม วัฒนสินธุ ์ สุวรัตนานนท์

จัดพิมพ์ บริษัท โอ.เอส. พริน้ ติง้ เฮ้ าส์ จ�ำกัด โทร. 0-2434-6850




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.