การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

Page 1

รายงานการวิเคราะห์ “การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น”

จัดทาโดย นางสาวขนิษฐา ทุมมากรณ์ งานข้อมูลท้องถิ่น สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2558


คำนำ รายงานนี้จัดทาขึ้นเพื่อ รายการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการ ให้ บ ริ การสารสนเทศท้องถิ่น มีวัตถุป ระสงค์การด าเนินการเพื่อ พัฒ นาสารสนเทศท้องถิ่นของจังหวั ด อุบลราชธานี และเพื่อประยุกต์ใช้ร ะบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการนาเสนอสารสนเทศท้องถิ่นจังหวัด อุบลราชธานี โดยการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการสารสนเทศและเชื่อมโยงเข้ากับระบบ สารสนเทศภู มิ ศ าสตร์ จั ด ท าเป็ น แผนที่ ส ารสนเทศขึ้ น โดยคาดหวั ง ว่ า รู ป แบบการนาเสนอและเผยแพร่ สารสนเทศท้องถิ่นจะน่าสนใจและมีความหลากหลายยิ่งขึ้น เนื้อหาของรายงานประกอบด้วยความสาคัญและความเป็นมา วัตถุประสงค์ ขอบเขตและรูปแบบ การศึกษา วิธีการดาเนินการศึกษา ผลการวิเคราะห์ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ผู้ จั ด ทาหวั งว่ า รายงานฉบั บ นี้ ค งเกิ ด ประโยชน์ กั บ ผู้ ที่ ส นใจในการนาเทคโนโลยี ม าใช้ พั ฒ นาการ ให้บริการสารสนเทศท้องถิ่นและการประยุกต์ใช้สารสนเทศภูมิศาสตร์ในการจัดทาแผนที่สารสนเทศ หากมี ข้ อ ผิ ด พลาดหรื อ มี ข้ อ เสนอแนะเพิ่ ม เติ ม เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขประการใด ผู้ จั ด ท ายิ น ดี น้ อ มรั บ ด้ ว ยความ ขอบพระคุณยิ่ง

ขนิษฐา ทุมมากรณ์ ผู้จัดทา สิงหาคม 2558


สำรบัญ เรื่อง หน้ำ คานา..............................................................................................................................................................ก สารบัญ …………………………………………………………………………………………………….………………………………….ข สารบัญตาราง................................................................................................................................................ .ค สารบัญภาพ……………………………………………………………………………………………………………………………...…...ง ส่วนที่ 1 ความสาคัญและความเป็นมา ความสาคัญและความเป็นมา……………………………………………………………………………………………….1 วัตถุประสงค์………………………………………………………………………………………………………………..…….1 ประโยชน์……………………………………………………………………………………………………………………..……1 ขอบเขตการทางาน………………………………………………….………………………………………..……….…….…2 รูปแบบของการทางาน......................................................................................................................2 ส่วนที่ 2 กระบวนการวิเคราะห์ บทนา…………………………………………………………………………………..……………………………………………3 การรวบรวมเอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้อง...............................................................................................3 วิธีการดาเนินการศึกษา....................................................................................................................6 ผลการวิเคราะห์……………………………………………………………………………………………………………..….32 ส่วนที่ 3 การสรุป วิพากษ์ และให้ข้อเสนอแนะ การสรุปผล............................................................................................................................. ..........34 การอภิปรายผล............................................................................................................................. ...35 ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………………………………………………36 บรรณานุกรม………………………………………………………………………………………………………………………………….37 ประวัติผู้จัดทา………………………………………………………………………………………………………………………………...38


สำรบัญตำรำง ตำรำงที่

หน้ำ

ตารางที่ 1 รูปแบบตารางข้อมูลสารสนเทศที่จะนาไปสร้างแผนที่ตามกาหนดของโปรแกรม………………..….19 ตารางที่ 2 เกณฑ์การให้คะแนนของแบบประเมิน……………………………………………………………………………...30 ตารางที่ 3 ระดับความพึงพอใจต่อการเข้าใช้งานเว็บไซต์ “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี”.....32


สำรบัญภำพ ภำพที่

หน้ำ

ภำพที่ 1 แสดงขั้นตอนการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น……………………………………………………………………………..7 ภำพที่ 2 แสดงแบบฟอร์มการเก็บข้อมูลวัดในจังหวัดอุบลราชธานี………………………………………………………….8 ภำพที่ 3 แสดง Use case Diagram ระบบการจัดการเว็บไซต์สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี.....9 ภำพที่ 4 แสดง Activity Diagram ขั้นตอนการทางานของการค้นหา...........................................................10 ภำพที่ 5 แสดง Activity Diagram ขั้นตอนการทางานของเจ้าหน้าที่……………………………………………………11 ภำพที่ 6 แสดง Activity Diagram แสดงขั้นตอนการทางานของผู้ดูแลระบบ...............................................12 ภำพที่ 7 แสดงขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ด้วย WordPress…………………………………………………………………13 ภำพที่ 8 หน้าจอหลักของเว็บไซต์ “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี”...........................................14 ภำพที่ 9 แสดงรายละเอียดสารสนเทศในเว็บไซต์ “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี”..................16 ภำพที่ 10 แสดงเว็บไซต์เว็บไซต์ “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี” การแสดงผลแบบ mobile version…………………………………………………………………………………..17 ภำพที่ 11 แสดงขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ระบบโปรแกรม Story map.....................18 ภำพที่ 12 แสดงแผนที่สารสนเทศที่พัฒนาด้วยระบบโปรแกรม Story map ของ Esri…………………………...22 ภำพที่ 13 แสดงแผนที่สารสนเทศที่พัฒนาด้วยระบบโปรแกรม Story map แสดงผลแบบ mobile version………………………………………………………………………………………..23 ภำพที่ 14 แสดงการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี” บนเว็บไซต์ของงานข้อมูลท้องถิ่น.................................................................................................24 ภำพที่ 15 แสดงโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี”...................25 ภำพที่ 16 แสดงโปสการ์ดประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี”……………..26 ภำพที่ 17 แสดงโปสการ์ดประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี” (ต่อ)……....27 ภำพที่ 18 แสดงการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี” ในจุลสารประชาสัมพันธ์งานข้อมูลท้องถิ่น...................................................................................28 ภำพที่ 19 แสดงแบบสอบถามออนไลน์ (http://goo.gl/forms/XehbssrCC0) …………………………………..30


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ตอนที่ 1 ความสาคัญและความเป็นมา ความสาคัญและความเป็นมา งานข้อมูลท้องถิ่น สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ในการ ดาเนินงานเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน และการวิจัยในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และเพื่อ สร้างฐานข้อมูลท้องถิ่น โดยรวบรวมเอกสารข้อมูลท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องให้อยู่ในแหล่งเดียวกัน และปรับปรุงให้ ทันสมัยอยู่เสมอ รวมถึงเพื่อเป็นศูนย์กลางของการศึกษาค้นคว้าและวิจัย ตลอดจนอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ ที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่สนใจให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ได้รับข้อมูลถูกต้องและสอดคล้อง กับความต้องการมากที่สุด ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทถูกนามาใช้ในการจัดการสารสนเทศเป็นอย่างมาก ด้วยว่าเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นช่วยให้การทางานมีความรวดเร็วขึ้น มีความถูกต้อง สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ มากมาย และทาให้การเผยแพร่สารสนเทศทาได้อย่างกว้างขวาง เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็นเครื่องมือสาคัญที่ จะนามาใช้ในการพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เว็บไซต์นั้นจัดเป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทอิเล็กทรอนิกส์รูปแบบหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่าง แพร่หลายมาก การจัดทาเว็บไซต์เพื่อให้บริการสารสนเทศจะเป็นช่องทางหนึ่งในการเผยแพร่สารสนเทศและ ชี้แนะแหล่งสารสนเทศที่สามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างสะดวก รวดเร็ว สามารถใช้ร่วมกันได้ในเวลาเดียวกัน ไม่ จากัดสถานที่ และเวลา รวมทั้งได้เนื้อหาที่ทันสมัย ครอบคลุมหลากหลายสาขาวิชา จัดเก็บได้ในปริมาณมาก และควบคุมข้อมูลให้มีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกันได้ ด้ ว ยความส าคั ญ ของสารสนเทศและความสามารถของเทคโนโลยี ส ารสนเทศ จึ ง ได้ ท าการ พัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพและมีรูปแบบที่น่าสนใจยิ่งขึ้น โดยงานข้อมูลท้องถิ่น จะได้นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ เข้ามาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการ สารสนเทศเพื่ อ ให้ เ ป็ น แหล่ ง การเรี ย นรู้ แ ละชี้ แ หล่ ง สารสนเทศท้ อ งถิ่ น อี ส าน นอกจากนั้ น ยั ง เป็ น การ ประชาสัมพันธ์ การให้บริการและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาสารสนเทศท้องถิ่นของจังหวัดอุบลราชธานี 2. เพื่อประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการจัดทาแผนที่เพื่อนาเสนอสารสนเทศท้องถิ่น จังหวัดอุบลราชธานี ประโยชน์ 1.ได้ เ ผยแพร่ ส ารสนเทศจั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี และอานวยความสะดวกให้ผู้ใช้บริการหรือผู้ที่ สนใจเข้าถึงข้อมูลได้ โดยไม่จากัดอุปกรณ์ สถานที่ และเวลา 2. แผนที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สามารถนาไปเป็นข้อมูลประกอบการวางแผนและการตัดสินใจ ได้

1


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ขอบเขตของการทางาน 1. พัฒนาสารสนเทศท้องถิ่นของจังหวัดอุบลราชธานี โดยให้สามารถสืบค้นและเผยแพร่ข้อมูลได้ผ่าน ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 2. นาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อนาเสนอสารสนเทศในรูปแบบแผนที่ ให้สามารถ นาข้อมูลไปประกอบการตัดสินใจได้ 3. ประเมินคุณภาพของเว็บไซต์ รูปแบบการทางาน 1. พัฒนาเว็บไซต์สารสนเทศท้องถิ่น โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปที่มีไว้เพื่อสร้างและจัดการเนื้อหาบน อินเตอร์เน็ต WordPress 2. พัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป Story Map ของ Esri

2


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ตอนที่ 2 กระบวนการวิเคราะห์ บทนา งานข้อมูลท้องถิ่น สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ในการ ดาเนินงานเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน และการวิจัยในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี และเพื่อ สร้างฐานข้อมูลท้องถิ่น โดยรวบรวมเอกสารข้อมูลท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องให้อยู่ในแหล่งเดียวกัน และปรับปรุงให้ ทันสมัยอยู่เสมอ รวมถึงเพื่อเป็นศูนย์กลางของการศึกษาค้นคว้าและวิจัย ตลอดจนอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ ที่เกี่ยวข้องหรือผู้ที่สนใจให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ได้รับข้ อมูลถูกต้องและสอดคล้อง กับความต้องการมากที่สุด ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้เข้ามามีบทบาทถูกนามาใช้ในการจัดการสารสนเทศเป็นอย่างมาก ด้วยว่าเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นช่วยให้การทางานมีความรวดเร็วขึ้น มีความถูกต้อง สามารถจัดเก็บข้อมูลได้ มากมาย และทาให้การเผยแพร่สารสนเทศทาได้อย่างกว้างขวาง เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็นเครื่องมือสาคัญที่ จะนามาใช้ในการพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เว็บไซต์นั้นจัดเป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทอิเล็กทรอนิกส์รูปแบบหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่าง แพร่หลายมาก การจัดทาเว็บไซต์เพื่อให้บริการสารสนเทศจะเป็นช่องทางหนึ่งในการเผยแพร่สารสนเทศและ ชี้แนะแหล่งสารสนเทศที่สามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างสะดวก รวดเร็ว สามารถใช้ร่วมกันได้ในเวลาเดียวกัน ไม่ จากัดสถานที่ และเวลา รวมทั้งได้เนื้อหาที่ทันสมัย ครอบคลุมหลากหลายสาขาวิชา จัดเก็บได้ในปริมาณมาก และควบคุมข้อมูลให้มีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกันได้ ด้ ว ยความส าคั ญ ของสารสนเทศและความสามารถของเทคโนโลยี ส ารสนเทศ จึ ง ได้ ท าการ พัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพและมีรูปแบบที่น่าสนใจยิ่งขึ้น โดยงานข้อมูลท้องถิ่น จะได้นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ เข้ามาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการ สารสนเทศเพื่ อ ให้ เ ป็ น แหล่ ง การเรี ย นรู้ แ ละชี้ แ หล่ ง สารสนเทศท้ อ งถิ่ น อี ส าน นอกจากนั้ น ยั ง เป็ น การ ประชาสัมพันธ์ การให้บริการและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น

การรวบรวมเอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การศึกษา เรื่อง การประยุกต์ใช้ร ะบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศ ท้องถิ่น ผู้ศึกษาได้ทาการรวบรวมเอกสาร ค้นคว้าและศึกษาทฤษฎีทเี่ กี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ 1. เทคโนโลยีสารสนเทศ ชุน เทียมทินกฤต วิลาวัณย์ พรพัชรพงศ์ และชมนาด บุญอารีย์ (2551) กล่ าวว่า ปัจจุบันข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ ได้มีบทบาทต่อการดาเนินชีวิตของมนุษย์มากยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานหรือองค์กรใด ๆ จาเป็นต้องมีระบบการจัดการข้อมูลที่ดี เพราะถือว่าสารสนเทศนั้นมีความสาคัญที่จะนาไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ ช่วยทาให้การตัดสินใจทาได้รวดเร็วและถูกต้องมากขึ้น ความสาคัญดังกล่าวจึงทาให้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเข้ามามีบทบาทในการจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง อุปกรณ์เครื่องมือที่นามาใช้จัดการสารสนเทศ ได้แก่ การจัดเก็บ การ ประมวลผล การค้ น คื น และการรั บ -ส่ ง สารสนเทศจากที่ ห นึ่ ง ไปยั ง อี ก ที่ ห นึ่ ง ประโยชน์ ข องเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสาร คือ มีความรวดเร็วในการทางาน ประมวลผลได้ถูกต้อง สามารถเก็บข้อมูลได้ 3


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

จ านวนมาก มี ค วามคงทนถาวร และท าให้ ก ารเผยแพร่ ส ารสนเทศท าได้ อ ย่ า งกว้ า งขวางและสามารถ แพร่กระจายไปได้ทั่วโลกอย่างไร้พรมแดน 2. WordPress ธันยพัฒน์ วงศ์รัตน์ (2557) กล่าวว่า WordPress หรือ WP เป็นเครื่องมือประเภท Contents Management System: CMS หรือที่เรียกว่า ระบบจัดการเนื้อหาเว็บไซต์แบบออนไลน์ โดย WordPress ถูก พัฒนามาตั้งแต่ปี ค.ศ.2003 โดย Matt Mullenweg และ Mike Little WordPress เป็น Open Source Web Software ซึ่งถูกพัฒนาด้วยภาษา PHP และทางานบนฐานข้อมูล MySQL ที่สามารถจัดการเนื้อหาและ องค์ประกอบต่าง ๆ ของเว็บไซต์ ได้ โดยมีเครื่องมือที่เข้ามาช่วยในการทางานมากกมาย สามารถใส่เนื้อหา เปลี่ยนหน้าตา (theme) ของเว็บไซต์ เหมาะสาหรับผู้สนใจหรือผู้เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์ที่ไม่มีพื้นฐานความรู้การ เขี ย นโปรแกรมการสร้ า งเว็ บ ไซต์ ม ากนั ก สามารถดาวน์ โ หลดระบบไฟล์ ม าติ ด ตั้ ง และใช้ ง านได้ ที่ WordPress.org หรือ th.wordpress.org (เวอร์ชั่นภาษาไทย) ข้อเด่นของ Wordpress ได้แก่ 1. ใช้งานได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายในการพัฒนาเว็บไซต์ 2. ง่ายต่อการสร้างและจัดการเนื้อหา 3. เปลี่ยนหน้าตาเว็บไซต์ได้ด้วยธีม (theme) ที่สามารถเปลี่ยนได้ทันทีเพื่อให้สอดคล้องกับเนื้อหา ของเว็บไซต์ หรือตรงตามความต้องการของผู้ออกแบบพัฒนา 4. สนับสนุนการทางานภาษาไทย ทั้งส่วนหน้าเว็บไซต์ (front-end) และส่วนดูแลเว็บไซต์ (backend) 5. เพิ่มความสามารถด้วยปลั๊กอิน (plug-in) ซึ่งมีให้เลือกมากมาย 6. สามารถแบ่งผู้ใช้ออกเป็นกลุ่มและกาหนดสิทธิ์การเข้าถึงข้อมูลได้ ทาให้สามารถทางานได้พร้อม กันหลายคน 7. สนับสนุนการปรับแต่งสาหรับ Search Engine Optimization (SEO) เพื่อให้เว็บไซต์ที่สร้างขึ้น ติดอันดับต้น ๆ ในหน้าผลการค้นหาของ Search engine ต่าง ๆ 3. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ อภิรดี สรวิสูตร (2558) ให้ความหมายของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ Geographic Information System : GIS คือ กระบวนการทางานเกี่ยวกับข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ กาหนดข้อมูล และสารสนเทศที่มีความสั มพันธ์กับตาแหน่งในเชิงพื้นที่ เช่น ที่อยู่ บ้านเลขที่ สั มพันธ์กับ ตาแหน่งในเชิงแผนที่ ตาแหน่งเส้นรุ้ง เส้นแวง ข้อมูลที่จัดเก็บในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีลักษณะเป็น ข้อมูลเชิงพื้นที่ ภาพ แผนที่ ที่เชื่อมโยงกับข้อมูลเชิงบรรยายหรือฐานข้อมูล การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ข้อมูล เชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยายหรือฐานข้อมูลเข้าด้วยกัน จะทาให้ผู้ใช้สามารถที่จะแสดงข้อมูลทั้งสองประเภท ได้พร้อม ๆ กัน และรูปแบบและความสัมพันธ์ นี้ สามารถนามาวิเคราะห์ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และ ทาให้สื่อความหมายในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับเวลาได้ เช่น การแพร่ขยายของโรคระบาด การ เคลื่อนย้ายถิ่นฐาน การบุกรุกทาลาย การเปลี่ยนแปลงของการใช้พื้นที่ ข้อมูลเหล่านี้ เมื้อปรากฏบนแผนที่ ทา ให้สามารถแปลและสื่อความหมายใช้งานได้ง่าย 4


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีทั้งข้อมูล เชิงพื้นที่และข้อมูล เชิงบรรยาย สามารถอ้างอิงถึง ตาแหน่งที่มีอยู่จริงบนพื้นโลกได้โดยระบบพิกัดทางภูมิศาสตร์ ซึ่งจะสามารถอ้างอิงได้ทั้งทางตรงและทางอ้อ ม ข้อมูล ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ที่จ ะอ้างอิงกับพื้ นผิ ว โลกโดยตรง หมายถึง ข้อมูล ที่มีค่าพิกัด หรือ มี ตาแหน่งจริงบนพื้นโลก หรือในแผนที่ เช่น ตาแหน่งอาคาร ถนน ส่วนข้อมูล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ที่จะ อ้างอิงกับข้อมูลบนพืน้ โลกได้โยทางอ้อม ได้แก่ ข้อมูลของบ้านที่รวมถึงบ้านเลขที่ ซอย เขต แขวง จังหวั ด และ รหัสไปรษณีย์ ข้อมูลเหล่านี้จะไม่ซ้ากัน ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เป็นเพียงเครื่องมือชนิดหนึ่งที่มีประสิทธิผลในการใช้งานขึ้นอยู่กับผู้ใช้เป็น สาคัญ นับรวมตั้งแต่การนาเข้าข้อมูล การตั้งสมมุติฐานในการวิเคราะห์ข้อมูล การกาหนดเงื่อนไข การนาเสนอ ผลลั พ ธ์ ซึ่ ง ระบบสารสนเทศภู มิ ศ าสตร์ ส ามารถช่ ว ยเพิ่ ม ศั ก ยภาพให้ ก ารท างานของผู้ ใ ช้ เ ป็ น ไปอย่ า งมี ประสิทธิภาพ ถูกต้องรวดเร็วมากยิ่งขึ้น รวมถึงลดความผิดพลาดในการตั้งสมมุติฐาน และช่วยสนับสนุนการ ตัดสินใจ สานักส่งเสริมและพัฒนาสารสนเทศภูมิศาสตร์ สานักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร (2558) กล่าวว่า ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อ การจัดเก็บระบบข้อมูลซึ่งมีอยู่มากมายในปัจจุบัน ได้มีการพัฒนาทั้งด้านฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ทาให้ใน ปัจจุบั นได้มีการน าระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ มาใช้งานกันอย่างแพร่หลาย ทั้งหน่วยงานของภาครัฐและ เอกชน การใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่สาคัญ ได้แก่ 1) ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เช่น การกาหนดพื้นที่ป่าไม้ แหล่งน้า ทั้งบนผิวดินและใต้ดิน ธรณีวิทยาหินและแร่ ชายฝั่งทะเลและภูมิอากาศ 2) ด้านการจัดการทรัพยากรเกษตร เช่น การแบ่งชั้นคุณภาพพื้นที่เกษตร ดินเค็มและดินปัญหาอื่น ความเหมาะสมของพืชในแต่ละพื้นที่ การจัดระบบน้าชลประทาน การจัดการด้านธาตุอาหารพืช 3) ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม เช่น การแพร่กระจายของฝุ่นและก๊าซ การกาหนดจุดเก็บตัวอย่างจาก โรงงาน การป้องกันความเสียหายของโบราณสถานหรือสถานที่ท่องเที่ยว การป้องกันไฟไหม้ป่า เป็นต้น 4) ด้านสังคม เช่น ความหนาแน่นของประชากร เพศ อายุ การศึกษา แรงงาน ตาแหน่งของโรงเรียน และการเดินทางของนักเรียน เป็นต้น 5) ด้านเศรษฐกิจ เช่น รายได้ของประชากรของหมู่บ้าน ตาบล สินค้าหลัก ตาแหน่งที่ตั้งของโรงงาน ประเภทต่าง ๆ เป็นต้น จะเห็นได้ว่า ความสามารถของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์นั้น มีประโยชน์อย่างยิ่งที่จะช่วยในการ จัดเก็บข้อมูลในเชิงพื้นที่และข้อมูลในเชิงบรรยาย ความสัมพันธ์และความเชื่อมโยงของข้อมูลสามารถนาไปใช้ ในการวิเคราะห์ วางแผน แก้ปัญหา และประกอบการตัดสินใจได้ หากนามาใช้ในการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ท้องถิ่นอีสาน นอกจากจะเป็นการนาเสนอสารสนเทศในรูปแบบที่น่าสนใจขึ้นแล้ว ความสามารถของระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ก็จะเอื้อประโยชน์ไปยังผู้ใช้บริการอีกด้วย 4. Story Map Story Map เป็น web application ที่พัฒนาโดย Environmental Systems Research Institute (Esri) ที่ช่วยในการสร้างแผนที่เรื่องราวและให้บริการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย Story Map จะเป็นแม่แบบในการ สร้างแผนที่แบบจัดลาดับการเล่าเรื่องของสถานที่ต่าง ๆ ประกอบภาพถ่ายหรือวีดิ ทัศน์ และเชื่อมโยงกับ 5


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ระบบภูมิศาสตร์ เหมาะอย่างยิ่งสาหรับกาหนดเส้นทางสาหรับการทัวร์ไปยังสถานที่ ๆ ตามลาดับที่เรากาหนด ไว้ การจัดทาแผนที่สามารถดาเนินการได้ ง่ายตามรูปแบบที่ระบบโปรแกรมได้กาหนดไว้แล้ว เพียงแค่มีบัญชี ของ ArcGIS Online และโปรแกรมสาหรับการจัดการข้อมูลต่าง ๆ เช่น Web Server โปรแกรมสาหรับการ จัดการรูปภาพ, โปรแกรม Microsoft Excel และ Text editor เป็นต้น ฉะนั้น การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น นี้ จะ เป็นการนาเสนอสารสนเทศท้องถิ่นโดยการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสนับสนุนและพัฒนาให้เป็น แหล่งข้อมูลสารสนเทศท้องถิ่นและสามารถเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ไปได้อย่างกว้างขวางผ่านระบบเครือข่าย อินเตอร์เน็ต ผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงได้โดยไม่สากัดสถานที่และเวลา มีความน่าเชื่ อถือ และทันต่อเหตุการณ์ โดยเทคโนโลยี ที่ น ามาใช้ ใ นการจั ด การสารสนเทศคื อ WordPress นอกจากนั้ น ยั ง จะประยุ ก ต์ ใ ช้ ร ะบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ มาช่ว ยในการน าเสนอข้อมูล สารสนเทศให้ มีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น โดยใช้ระบบ โปรแกรม Story Map ของ Esri นาเข้าข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยายของสารสนเทศต่าง ๆ ตามแบบ แผนที่ระบบโปรแกรมได้กาหนดไว้ ซึ่งระบบโปรแกรมจะช่วยให้สามารถจัดทาแผนที่ ได้ง่ายและสะดวกขึ้น นอกจากนั้นแล้วยั งสามารถเผยแพร่แผนที่ได้โดยผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ที่เข้าถึงได้โดยไม่จากัด สถานที่และเวลา และรองรับการแสดงผลกับทุกอุปกรณ์ (Responsive Website)

วิธีการดาเนินการศึกษา ในการศึกษา เรื่อง การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศ ท้องถิ่น ในครั้ งนี้ สารสนเทศที่ จ ะดาเนิ นการพัฒ นา ได้แก่ วัด ส าคัญ ในจังหวัดอุบลราชธานี มีขั้นตอนการ ดาเนินงานตามภาพที่ 1

6


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ภาพที่ 1 แสดงขั้นตอนการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น 7


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

1. ดาเนินการคัดเลือกวัดที่สาคัญในจังหวัดอุบลราชธานีเพื่อจัดทาสารสนเทศที่ เกี่ยวกับวัดนั้น ๆ โดย วัดทีด่ าเนินการจัดทาสารสนเทศในครั้งนี้มีทั้งหมด 13 วัด ได้แก่ วัดสุปัฏนารามวรวิหาร วัดศรีอุบลรัตนาราม วัดหลวง วัดกลาง วัดมหาวนาราม วัดมณีวนาราม วัดทุ่งศรีเมือง วัดใต้พระเจ้าใหญ่องค์ตื้อ วัดเลียบ วัดบูรพา ราม วัดแจ้ง วัดพระธาตุหนองบัว และวัดปากน้า บุ่งสระพัง 2. ด าเนิ น การรวบรวมข้ อมู ล ที่ เกี่ ยวกับ วัด นั้น ๆ จากการค้ นคว้า จากเอกสารสิ่ งพิ มพ์ ต่า ง ๆ สื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ สัมภาษณ์ผู้รู้ และลงพื้นที่เก็บภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และพิกัดภูมิศาสตร์ของวัดนั้น ๆ โดยมีแบบฟอร์มการเก็บข้อมูลวัดสาคัญในจังหวัดอุบลราชธานี ดังภาพที่ 2 แบบฟอร์มการเก็บข้อมูลวัดสาคัญในจังหวัดอุบลราชธานี ชื่อวัด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….. พิกัดภูมิศาสตร์ ……………………………………………………………………………………………………………………………….... ที่อยู่ที่ติดต่อได้............................................................................................................................. ........................ ............................................................................................................................................................................. ความสาคัญ  พระอารามหลวง  พระพุทธรูป................................................................................................................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….….  โบราณสถาน…………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..  โบราณวัตถุ……………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..  ปูชนียวัตถุ…………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…  ปูชนียบุคคล................................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…  สถาปัตยกรรมท้องถิ่น…………………………………………………………………………………………………………………..… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…  อื่น ๆ ............................................................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… ภาพที่ 2 แสดงแบบฟอร์มการเก็บข้อมูลวัดในจังหวัดอุบลราชธานี 8


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

3. เรีย บเรี ย งเนื้อหาของวัดนั้น ๆ เพื่อสร้างสารสนเทศ โดยการเรียบเรียงเนื้อหาจะเป็นลั กษณะ บรรยายโวหาร เนื้ อหาของแต่ล ะวัดประกอบด้ว ยชื่ อวัด พิกัดภูมิศาสตร์ ที่ตั้ง/ที่อยู่ ประวัติความเป็นมา ความสาคัญ พระพุทธรูปสาคัญ สถาปัตยกรรมศิลปกรรม โบราณสถาน โบราณวัตถุ หรือปูชนียบุคคลที่สาคัญ เป็นต้น 4. พัฒ นาเว็บ ไซต์เพื่อ เผยแพร่ ส ารสนเทศท้องถิ่ น โดยผู้ พัฒ นาได้ทาการวิเ คราะห์ และออกแบบ เว็บไซต์ โดยสามารถเขียนเป็น Use Case Diagram และ Activity Diagram ดังภาพที่ 3-6

/ /

ภาพที่ 3 แสดง Use case Diagram ระบบการจัดการเว็บไซต์สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี

9


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

/

/ /

/ / /

ภาพที่ 4 แสดง Activity Diagram ขั้นตอนการทางานของการค้นหา

10


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

Login

UserName/Password

/

UserName/Password

/

/

/

/

/

Server

ภาพที่ 5 แสดง Activity Diagram ขั้นตอนการทางานของเจ้าหน้าที่

11


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

Login

UserName/Password

/

UserName/Password

/

/

/

/

Server

ภาพที่ 6 แสดง Activity Diagram แสดงขั้นตอนการทางานของผู้ดูแลระบบ 4.1 การพัฒนาเว็บไซต์ ผู้พัฒนาได้เลือกใช้ระบบโปรแกรมสาเร็จรูปเพื่อจัดการเนื้อหาบนอินเตอร์เน็ต คือ WordPress และได้ตั้งชื่อเว็บไซต์ว่า “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี : Isaan information @Ubon Ratchthani” โดยมีขั้นตอนการดาเนินงาน ดังภาพที่ 7

12


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

Theme

WordPress

Theme

Plugins

ภาพที่ 7 แสดงขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ด้วย WordPress เมื่อดาเนินการตามขั้นตอนแล้วทาให้ได้เว็บไซต์สาหรับการจัดการและนาเสนอสารสนเทศท้องถิ่น โดย สามารถเข้าชมได้ที่ www.lib2.ubu.ac.th/isaninfo โดยหน้าจอหลักของเว็บไซต์ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดัง แสดงไว้ในภาพที่ 8

13


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

เมนูสาหรับการ เชื่อมโยงไปยังส่วนต่าง

ชื่อเว็บไซต์

จุดเชื่อมโยงเพื่อดูแผนที่

ส่วนแสดงตัวอย่าง เนื้อหาสารสนเทศ ส่วนแสดงภาพตัวอย่างที่ เกี่ยวข้องกับสารสนเทศนั้น ๆ

ช่องสาหรับการค้นหา

หมวดหมู่สารสนเทศ

ส่วนการเข้าสู่ระบบ

ภาพที่ 8 หน้าจอหลักของเว็บไซต์ “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี” 14


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

15


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ภาพที่ 9 แสดงรายละเอียดสารสนเทศในเว็บไซต์ “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี”

16


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ภาพที่ 10 แสดงเว็บไซต์ “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี” การแสดงผลแบบ mobile version 5. การนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) มาประยุกต์ใช้เพื่อนาเสนอสารสนเทศในรูปแบบแผนที่ ประกอบภาพนิ่งหรือวีดิทัศน์ โดยนาระบบโปรแกรม Story map ของ Esri ซึ่งสามารถเข้าไปใช้งานได้ที่ http://storymaps.arcgis มาประยุกต์ใช้ ซึ่งระบบโปรแกรมนี้สามารถเผยแพร่บนระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ได้ โดยมีขั้นตอนการดาเนินงาน ดังภาพที่ 11

17


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

www.arcgis.com

Map Tour http://storymaps.arcgis.com

/ /

ภาพที่ 11 แสดงขั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ระบบโปรแกรม Story map

18


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

การเตรียมข้อมูลเพื่อนาเข้าไปสู่ระบบโปรแกรมนั้น ได้มีข้อกาหนดว่าต้องเป็นรูปแบบไฟล์ *.csv และ ให้ใส่รายละเอียดในตาราง ดังต่อไปนี้ Name = ชื่อจุดหรือพิกัดที่ต้องการให้แสดง เช่น ชื่อวัด Description = คาอธิบายรายละเอียด ความยาวไม่เกิน 350 ตัวอักษร icon_color = สีของพิกัดที่จะแสดงในแผนที่ เช่น R หมายถึง สีแดง G หมายถึง สีเขียว log = พิกัดลองติจูด lat = พิกัดละติจูด pic_url = ที่อยู่หรือ url สาหรับจัดเก็บภาพที่จะแสดงขนาดใหญ่ thumb_url = ที่อยู่หรือ url สาหรับจัดเก็บภาพที่จะแสดงขนาดเล็ก is_video = มีเนื้อหาในรูปแบบวีดิทัศน์จาก Youtube หรือไม่ ถ้ามีให้ใส่ว่า “TRUE” ถ้าไม่มีให้ว่างไว้ ตารางที่ 1 รูปแบบตารางข้อมูลสารสนเทศที่จะนาไปสร้างแผนที่ตามกาหนดของโปรแกรม name

description

วัดสุปัฏนา รามวรวิหาร

ธรรมยุตินิกายแห่งแรก ในอุบลและอีสาน อุโบสถตระการงาน สถาปัตยกรรมสามชาติ นมัสการพระแก้วขาว เพชรน้าค้าง พิพิธภัณฑ์ มูนมังล้าค่า พระพุทธ สัพพัญญูเจ้าประธาน เขตอภัยทานริมน้ามูล พระอุโบสถงามตา ไหว้ พระแก้วบุษราคัม ศิลป์ สถาปัตยกรรมอีสาน พิพิธภัณฑ์หอแจก

วัดศรีอุบล รัตนาราม

icon_ color R

long

lat

104.8534

15.22538

http://www.lib2. http://www.lib2. ubu.ac.th/isaninf ubu.ac.th/isaninf o/?p=21 o/wpcontent/upload s/2015/05/DSC_ 0017.jpg

R

104.8563

15.22778

http://www.lib2. http://www.lib2. ubu.ac.th/isaninf ubu.ac.th/isaninf o/?p=24 o/wpcontent/upload s/2015/05/DSC_ 0071.jpg http://www.lib2. http://www.lib2. ubu.ac.th/isaninf ubu.ac.th/isaninf o/?p=31 o/wpcontent/upload s/2015/05/DSC_ 0143e143073508792 4.jpg http://www.lib2. http://www.lib2. ubu.ac.th/isaninf ubu.ac.th/isaninf o/?p=28 o/wpcontent/upload s/2015/05/DSC_ 0192.jpg

วัดหลวง

เจ้าคาผงสร้างคู่บ้าน ริม ฝั่งน้าแม่มูล พระแก้ว ไพฑูรย์สีเหลือง พระเจ้า ใหญ่องค์หลวงคู่เมือง

R

104.8604

15.22491

วัดกลาง

พระบทม์งามงด อุโบสถสวยเรียบเด่น เน้นอนุรักษ์พรรณไม้

R

104.8633

15.22549

pic_url

thumb_url

is_video TRUE

19


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น วัดมหาวนา ราม

วัดป่าใหญ่อารามหลวง ศูนย์รวมใจพระเจ้าใหญ่ อินทร์แปง แหล่ง เสริมสร้างขวัญและ กาลังใจ

R

104.8637

15.23492

วัดมณีวนา ราม

พระแก้วโกเมนงาม แหล่งเริ่มการศึกษา พระอริยวงศาจารย์ ศิลปกรรมกุฏิแดง

R

104.8617

15.23168

วัดทุ่งศรีเมือง

หอไตรกลางน้า งาม ศิลป์สถาปัตย์พื้นถิ่น จินตนาจิตรกรรมฝา ผนัง ครูช่างพระวิโรจน์ รัตโนบล ยลรอยพระ บาท นมัสการพระเจ้า ใหญ่องค์เงิน หนึ่งในพระเจ้าใหญ่องค์ ตื้อศักดิ์สิทธิ์ ยลพิศหิน ทรายหลักศิลา พญานาคมีตานาน ตระการมณฑปเพชร เจ็ดแสง

R

104.8611

15.22997

R

104.8669

15.22688

กาเนิดสายกรรมฐาน วิปัสสนา หลวงปู่เสาร์ กันตสีโล หลวงปู่มั่น ภู ริทัตโตร่วมสร้าง อนุสรณ์สถานเชิดชู หลวงปู่ พระพุทธจอม เมืองประธาน เสาพระ เจ้าอโศกประกาศความ ดี หอไตรไม้เคียงคู่ ห้า บูรพาจารย์ เรียนรู้งาน ศิลป์สถาปัตยกรรมสิม เก่า เล่าลือเทียนพรรษา ติดพิมพ์งาม

R

104.8662

15.22867

R

104.8743

15.23139

สิมไม้หลังงาม ศิลปกรรมพื้นถิ่น ยล ศิลป์เทียนพรรษาติด พิมพ์

R

104.8601

15.23606

วัดใต้พระเจ้า ใหญ่องค์ตื้อ

วัดเลียบ

วัดบูรพาราม

วัดแจ้ง

http://www.lib2. http://www.lib2. ubu.ac.th/isaninf ubu.ac.th/isaninf o/?p=179 o/wpcontent/upload s/2015/05/prain-pang.jpg http://www.lib2. http://www.lib2. ubu.ac.th/isaninf ubu.ac.th/isaninf o/?p=212 o/wpcontent/upload s/2015/05/DSC_ 0189.jpg http://www.lib2. http://www.lib2. ubu.ac.th/isaninf ubu.ac.th/isaninf o/?p=250 o/wpcontent/upload s/2015/05/printi ng1.jpg http://www.lib2. http://www.lib2. ubu.ac.th/isaninf ubu.ac.th/isaninf o/?p=325 o/wpcontent/upload s/2015/05/cover 2.jpg http://www.lib2. http://www.lib2. ubu.ac.th/isaninf ubu.ac.th/isaninf o/?p=346 o/wpcontent/upload s/2015/05/jd1.jp g

http://www.lib2. http://www.lib2. ubu.ac.th/isaninf ubu.ac.th/isaninf o/?p=380 o/wpcontent/upload s/2015/05/cover 3.jpg http://www.lib2. http://www.lib2. ubu.ac.th/isaninf ubu.ac.th/isaninf o/?p=415 o/wpcontent/upload s/2015/05/cover 4.jpg

20


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น วัดพระธาตุ หนองบัว

วัดปากน้า บุ่ง สะพัง

ครบรอบพุทธศาสนา 2500 ปี สร้างเจดีย์ศรี มหาโพธิ์ใหญ่ ไหว้พระ บรมสารีริกธาตุ อุโบสถ เลียนแบบปรินิพพาน วิหาร ชมงานศิลป์เทียน พรรษาแกะสลัก ไหว้หลวงพ่อเงินอายุ 700 ปี หลวงพ่อนาค ปรกเป็นศรี อุโบสถ มิตรภาพไทย-อเมริกัน พระบรมสารีริกธาตุ

R

104.8397

15.26318

R

104.9718

15.28494

http://www.lib2. http://www.lib2. ubu.ac.th/isaninf ubu.ac.th/isaninf o/?p=432 o/wpcontent/upload s/2015/05/cover 5.jpg http://www.lib2. http://www.lib2. ubu.ac.th/isaninf ubu.ac.th/isaninf o/?p=462 o/wpcontent/upload s/2015/06/cover .jpg

หมายเหตุ: เนื่องจากลงทะเบียนใช้งานระบบแบบไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งไม่สามารถจัดเก็บภาพไว้ที่ Server ของ Esri ได้ จึงได้ทา การจัดเก็บภาพไว้ที่ Server ของสานักวิทยบริการ ซึ่งเป็น Server เดียวกันกับการจัดเก็บข้อมูลของเว็บไซต์ “สารสนเทศ ท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี”

เมื่อนาเข้าข้อมูลแล้ว ตรวจสอบความถูกต้องของพิกัดบนแผนที่ แก้ไขรายละเอียดแผนที่ เลือกแผนที่ ฐานที่เหมาะสม เช่น แผนที่พื้นหลังสีเทาจะดูเรียบง่ายกว่าภาพถ่ายดาวเทียม กาหนดสัญลักษณ์หรือการแสดง ความเป็นเจ้าของ เสร็จสิ้นแล้วจะได้แผนที่ทัวร์ โดยสามารถเข้าไปใช้งานได้ที่ http://arcg.is/1T8Pcek โดยมี หน้าจอสาหรับการแสดงผล ดังภาพที่ 12

21


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ชื่อแผนที่

ภาพตัวอย่าง ขนาดเล็ก เรียงลาดับตรง

จุดพิกัดตาแหน่งแหล่ง สารสนเทศบนแผนที่

ชื่อผู้จัดทา

ภาพตัวอย่างขนาดใหญ่ พร้อมรายละเอียดข้อมูล สารสนเทศ เรียงลาดับ ตรงกับจุดพิกัดตาแหน่ง

ภาพที่ 12 แสดงแผนที่สารสนเทศที่พัฒนาด้วยระบบโปรแกรม Story map ของ Esri

22


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ภาพที่ 13 แสดงแผนที่สารสนเทศที่พัฒนาด้วยระบบโปรแกรม Story map แสดงผลแบบ mobile version 6.เผยแพร่และประชาสัมพันธ์เว็บไซต์สารสนเทศท้องถิ่น ณ จังหวัดอุบลราชธานี ออกสู่สาธารณะชน โดยผ่านช่องทางต่าง ๆ ได้แก่ เว็บไซต์ของงานข้อมูลท้องถิ่น โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ ณ บริเวณพื้นที่ให้บริการ ของสานักวิทยบริการ และแจ้งเพื่อทราบในที่ประชุมคณะทางานข้อมูลท้องถิ่น ข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัย ส่วนภูมิภาค (PULINET)

23


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ภาพที่ 14 แสดงการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี” บนเว็บไซต์ของงานข้อมูลท้องถิ่น (www.lib.ubu.ac.th/localinformation)

24


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ภาพที่ 15 แสดงโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี”

25


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ภาพที่ 16 แสดงโปสการ์ดประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี”

26


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ภาพที่ 17 แสดงโปสการ์ดประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี” (ต่อ)

27


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ภาพที่ 18 แสดงการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี” ในจุลสารประชาสัมพันธ์งานข้อมูลท้องถิ่น

28


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

7.ดาเนิ น การประเมิน เว็บไซต์ ส ารสนเทศท้องถิ่นอีส าน ณ อุบลราชธานี (Isaan Information @UbonRatchathani) เพื่อประเมินคุณภาพของเว็บไซต์ว่ามีความเหมาะสมสาหรับการเผยแพร่สารสนเทศ ท้องถิ่น ตรงตามความต้องการของผู้ใช้บริการ หรือมีประสิทธิภาพในการใช้งานมากน้อยเพียงใด โดยได้จัดทา แบบประเมินออนไลน์ขึ้น (http://goo.gl/forms/XehbssrCC0) กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ใช้บริการในมหาวิทยาลัย อุบลราชธานี เป็นการเลือกเป็นแบบสุ่ม แบบประเมินออนไลน์ที่จัดทาขึ้น ดังแสดงไว้ในภาพที่ 19

29


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ภาพที่ 19 แสดงแบบสอบถามออนไลน์ (http://goo.gl/forms/XehbssrCC0) แบบประเมินเว็บไซต์ได้กาหนดเกณฑ์เชิงคุณภาพ (rating scale) ชนิด 5 ระดับ และเกณฑ์เชิง ปริมาณ 5 ระดับ ดังนี้ ตารางที่ 2 เกณฑ์การให้คะแนนของแบบประเมิน ระดับเกณฑ์ เชิงคุณภาพ เชิงประมาณ ดีมาก 4.51-5.00 ดี 3.51-4.50 พอใช้ 2.51-3.50 น้อย 1.51-2.50 น้อยมาก 1.00-1.50

ความหมาย เว็บไซต์มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการใช้งานได้ระดับ ดีมาก เว็บไซต์มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการใช้งานได้ระดับ ดี เว็บไซต์มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการใช้งานได้ระดับ พอใช้ เว็บไซต์มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการใช้งานได้ระดับ น้อย เว็บไซต์มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการใช้งานได้ระดับ น้อยมาก

ผลที่ได้จากการทาแบบประเมินนามาสรุปผลเพื่อประเมินว่าระบบที่ได้พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ ด้านต่างๆ อยู่ในระดับใด สถิติที่ใช้ในการประเมินคือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ชูศรี วงศ์รัตนะ (2544) ได้ให้ความหมายของ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) ไว้คือ ค่าที่ได้จากการ นาข้อมูลทั้งหมดมารวมกัน แล้วหารด้วยจานวนข้อมูลทั้งหมด เขียนเป็นสูตรได้ดังนี้ n

X

=

 Xi i 1

N

--------------------- (1)

เมื่อกาหนดให้ X แทน ค่าเฉลี่ยเลขคณิต แทน ผลรวมของข้อมูลทั้งหมด  Xi  แทน จานวนข้อมูลทั้งหมด

30


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) คือ ค่าเฉลี่ยที่แสดงถึงการกระจายของข้อมูลแต่ ละตัวที่เบี่ยงเบนไปจากค่าเฉลี่ยเลขคณิต ซึ่งทาให้ทราบว่าโดยเฉลี่ยข้อมูลแต่ละตัวเบี่ยงเบนไปจากค่าเฉลี่ยเลข คณิตเท่าใด คานวณได้จากสูตร SD = --------------------- (2) เมื่อกาหนดให้ SD แทน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน ค่าเฉลี่ยเลขคณิต Xi แทน ค่าของข้อมูล  แทน จานวนข้อมูลทั้งหมด ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน แสดงความแตกต่างระหว่างข้อมูลในกลุ่ม ถ้าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่า มาก แสดงว่าข้อมูลนั้นมีค่าแตกต่างกันมาก คือมีทั้งค่าต่า และค่าสูง ถ้าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าน้อย แสดง ว่าข้อมูลมีค่าใกล้เคียงกันเป็นส่วนมาก และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าเป็นศูนย์แสดงว่าข้อมูลทุกตัวมีค่า เท่ากัน

31


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ผลการวิเคราะห์ ผลการประเมินเว็บไซต์ “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี ” โดยได้จัดทาแบบประเมินออนไลน์ (http://goo.gl/forms/XehbssrCC0) มีจานวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 202 คน พบว่ามีค่าเฉลี่ยความ พึงพอใจเท่ากับ 4.46 อยู่ในระดับมาก โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 1. เพศ ชาย ร้อยละ 34 หญิง ร้อยละ 66 2. ระดับการศึกษา ระดับปริญญาตรี ร้อยละ 95 ระดับปริญญาโท ร้อยละ 5 ตารางที่ 3 ระดับความพึงพอใจต่อการเข้าใช้งานเว็บไซต์ “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี” ความพึงพอใจ

ร้อยละของผู้ตอบ แบบสอบถาม มาก มาก ปาน ที่สุด กลาง 39 57 3

ค่าเฉลี่ย

S.D.

ระดับ

4.36

0.549

มาก

40

6

4.49

0.601

มาก

41

5

4.49

0.600

มาก

58

4

4.35

0.545

มาก

43

10

4.36

0.664

มาก

41 39

2 0

4.54 4.60

0.547 มากที่สุด 0.500 มากทีส่ ุด

47

7

4.39

0.622

38

1

4.59 4.46

0.522 มากที่สุด 0.572 มาก

3.เนื้ อ หาในเว็ บ ไซต์ มี ค วามชั ด เจน ถู ก ต้ อ ง น่าเชื่อถือ 4.รูปแบบการแสดงผลของเว็บไซต์ เช่น รูปภาพ 54 ตั ว อั ก ษร สี ง่ า ยต่ อ การอ่ า น สวยงาม และ น่าสนใจ 5.มีการจัดหมวดหมู่ให้ง่ายต่อการค้นหาและทา 54 ความเข้าใจ 6.ข้อความในเว็บไซต์ถูกต้องตามหลักภาษา และ 38 ไวยากรณ์ 7.ความเร็ ว ในการแสดงภาพ ตั ว อั ก ษร และ 46 ข้อมูลต่าง ๆ 8. ความถูกต้องในการเชื่อมโยงภายในเว็บไซต์ 57 9.เนื้ อ หามี ป ระโยชน์ ต่ อ ผู้ ใ ช้ ง าน เป็ น แหล่ ง 61 ความรู้ได้ 10.การประยุ ก ต์ ใ ช้ แ ผนที่ ภู มิ ศ าสตร์ มี ค วาม 46 เหมาะสม น่าสนใจและมีประโยชน์ 11.ความพึงพอใจโดยรวมในการเข้าใช้เว็บไซต์ 61 ค่าเฉลี่ยระดับความพึงพอใจทั้งหมด

ระดับความพึงพอใจ

มาก

ข้อเสนอแนะ 1. การจัดการยังไม่เป็นระบบ ดูแล้วหายาก ผู้ใช้เวลาเข้าค้นหาลาบาก ควรปรับปรุง (1 ความ คิดเห็น) 2. การแสดงผลแผนที่ใช้เวลานาน แต่น่าสนใจดี (1 ความคิดเห็น) 3. ข้อมูลยังน้อย ควรเพิ่มข้อมูลด้านอื่น ๆ ด้วย (1 ความคิดเห็น) 4. เว็บไซต์มีความสวยงาม น่าสนใจ (1 ความคิดเห็น) 32


รายงานการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

จากการประเมินการเข้าใช้งานเว็บไซต์ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจมากที่สุดในด้านเนื้อหามี ประโยชน์ต่อผู้ใช้งาน เป็นแหล่งความรู้ได้ (ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 4.60) รองลงมา คือ ความพึงพอใจโดยรวมในการ เข้าใช้เว็บ ไซต์ (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.59 ) ด้านความถูกต้องในการเชื่อมโยงภายในเว็บไซต์ (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.54) ตามลาดับ และผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจน้อยที่สุดในด้านข้อความในเว็บไซต์ถูกต้องตามหลัก ภาษา และไวยากรณ์ (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.35) ด้านความเร็วในการแสดงภาพ ตัวอักษร และข้อมูลต่าง ๆ (ค่าเฉลี่ ยเท่ากับ 4.36) ด้านเนื้อหาในเว็บ ไซต์มีความชัดเจน ถูกต้อง น่าเชื่อถือ (ค่าเฉลี่ ยเท่ากับ 4.36) ตามลาดับ

33


รายการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ตอนที่ 3 การสรุป วิพากษ์ และให้ข้อเสนอแนะ การสรุปผล การศึกษาการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น ได้ ดาเนินการจั ดทาสารสนเทศเกี่ย วกับวัดสาคัญของจังหวัดอุบลราชธานีทั้งหมด 13 วัด ดาเนินการพัฒนา เว็บไซต์โดยใช้ระบบโปรแกรม WordPress และให้ชื่อเว็บไซต์ว่า “สารสนเทศท้องถิ่นอีสาน ณ อุบลราชธานี : Isaan Information” (www.lib2.ubu.ac.th/isaninfo) เพื่อเผยแพร่สารสนเทศของวัดนั้น ๆ และได้ ดาเนินการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อจัดทาแผนที่วัดขึ้น โดยใช้ระบบโปรแกรม Story Map ของ Esri ซึ่งสามารถเข้าไปใช้งานได้ที่ http://arcg.is/1T8Pcek ซึง่ สารสนเทศทั้งสองส่วนสามารถเชื่อมโยงหา กันได้ ทั้งนี้เพื่อเป็นการอานวยความสะดวกให้ผู้ใช้งานที่สามารถเข้าถึงสารสนเทศและมองเห็นภาพต่าง ๆ ได้ ชัดเจนยิ่งขึ้น การประเมินความพึงพอใจในการเข้าใช้งานเว็บไซต์ เพื่อประเมินว่าเว็บไซต์มีความเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพในการใช้งานเพียงใด พบว่ามีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามเท่ากับ 4.46 อยู่ใน ระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจในด้านต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1) เนื้อหาในเว็บไซต์มีความชัดเจน ถูกต้อง น่าเชื่อถือ มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ 4.36 อยู่ในระดับ มาก 2) รูปแบบการแสดงผลของเว็บไซต์ เช่น รูปภาพ ตัวอักษร สี ง่ายต่อการอ่าน สวยงาม และน่าสนใจ มี ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ 4.49 อยู่ในระดับมาก 3) มีการจัดหมวดหมู่ให้ง่ายต่อการค้นหาและทาความเข้าใจ มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ 4.49 อยู่ใน ระดับมาก 4) ข้อความในเว็บไซต์ถูกต้องตามหลักภาษา และไวยากรณ์ มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ 4.35 อยู่ใน ระดับมาก 5) ความเร็วในการแสดงภาพ ตัวอักษร และข้อมูลต่าง ๆ มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ 4.36 อยู่ใน ระดับมาก 6) ความถูกต้องในการเชื่อมโยงภายในเว็บไซต์ มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ 4.54 อยู่ในระดับมากที่สุด 7) เนื้อหามีประโยชน์ต่อผู้ใช้งาน เป็นแหล่งความรู้ได้ มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ 4.60 อยู่ในระดับ มากที่สุด 8) การประยุกต์ใช้แผนที่ภูมิศาสตร์มีความเหมาะสม น่าสนใจและมีประโยชน์ มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจ เท่ากับ 4.39 อยู่ในระดับมาก 9) ความพึงพอใจโดยรวมในการเข้าใช้เว็บไซต์ มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ 4.59 อยู่ในระดับมากที่สุด

34


รายการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

การอภิปรายผล 1. การพัฒนาการให้บริการข้อมูลท้องถิ่น โดยการจัดทาสารสนเทศท้องถิ่นบนเว็บไซต์ นั้นเป็นการนา เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยในการสื่อสารและเผยแพร่สารสนเทศท้องถิ่นให้แพร่หลายออกไปอย่างกว้างขวาง โดยผู้ใช้บริการสามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยไม่จากัดสถานที่ และเวลา นอกจากนั้นแล้วยังรองรับการใช้งานกับ อุปกรณ์ ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการในโลกแห่งการสื่อสารที่ไร้พรมแดนให้สามารถใช้สารสนเทศได้ อย่างมีประสิทธิภาพ การประยุ กต์ใช้ร ะบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อ จัดทาแผนที่ โดยการศึ กษาครั้งนี้ได้ ประยุกต์ใ ห้ เชื่อมโยงกันระหว่างเว็บไซต์และแผนที่สารสนเทศ ผู้ที่เข้าถึงข้อมูลสารสนเทศนั้น จะทราบรายละเอียดของ สารสนเทศจากเว็บไซต์และทราบจุดที่ตั้ง หรือแหล่งสารสนเทศจากแผนที่ ทาให้สารสนเทศมีความชัดเจนและ น่าเชื่อถือยิ่งขึ้น ข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์พื้นฐานของแต่ละตาแหน่งนั้นนอกจากจะทาให้ทราบที่ตั้งที่ชัดเจน แล้ว ยังทาให้ทราบถึงระยะทาง สถานที่สาคัญ จุดใกล้เคียง ความหนาแน่น เส้นทางถนน สภาพพื้นที่ และอื่น ๆ ซึ่งรายละเอียดเหล่านี้จะเป็นข้อมูลที่จ ะช่วยชี้แหล่งสารสนเทศและช่วยในการวางแผนและสนับสนุนการ ตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง นอกจากนั้นแล้วการนาเทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาใช้ในการนาเสนอ สารสนเทศยังทาให้สารสนเทศนั้น ๆ มีความน่าสนใจยิ่งขึ้นอีกด้วย ผลการประเมิน ความพึงพอใจในการเข้าใช้งานเว็บไซต์ พบว่ามี ค่าเฉลี่ ยความพึงพอใจของผู้ตอบ แบบสอบถามเท่ากับ 4.46 แสดงว่าเว็บไซต์มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการใช้งานอยู่ในระดับมาก 2. การพัฒนาเว็บไซต์สารสนเทศท้องถิ่นด้วยระบบจัดการเนื้อหาเว็บไซต์แบบออนไลน์ (CMS) โดย เลือกใช้ WordPress เป็นเครื่องมือในการพัฒนา WordPress ได้ช่วยอานวยความสะดวกให้แก่ผู้พัฒนาให้ สามารถทางานได้รวดเร็วขึ้น โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ด้วยระบบที่ง่ายต่อการสร้างและจัดการเนื้อหา สามารถ เลือกธีมให้สอดคล้องกับเนื้อหาได้หลากหลายรูปแบบและมีความสวยงาม ทันสมัย สามารถแสดงผลที่รองรับได้ ทุกอุปกรณ์ (responsive website) สนับสนุนการทางานภาษาไทย มีปลั๊กอินที่ช่วยเพิ่มความสามารถให้ เว็บไซต์ และที่สาคัญคือสนับสนุนการปรับแต่ง SEO เพื่อให้เว็บไซต์ที่สร้างขึ้นติดอันดับต้น ๆ ในหน้าผลการ ค้นหา โดยใช้หลักการวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์มาใช้ในการจัดการสารสนเทศด้วย ไม่ว่าจะ เป็นการใส่ชื่อเรื่อง คาอธิบายรายละเอียดหน้า คาสาคัญ รวมทั้งการจัดหมวดหมู่ให้สารสนเทศที่มีเนื้อหา เดียวกันรวมอยู่ด้วยกันและการติดป้ายกากับ สิ่งเหล่ านี้ เป็นส่วนที่จาเป็นที่จะทาให้ เว็บไซต์เป็นที่รู้จักและ เผยแพร่ออกสู่สาธารณะในวงกว้างขึ้น นับว่า WordPress นี้เป็นเครื่องมือที่ดีและเหมาะสมที่จะช่วยพัฒนา และเผยแพร่สารสนเทศท้องถิ่นให้แพร่หลายต่อไป 3.การจัดทาแผนที่สารสนเทศโดยใช้ระบบโปรแกรม Story Map ของ Esri นั้น ระบบโปรแกรมนี้ได้ อานวยความสะดวกให้ผู้พัฒนาสามารถเข้าใช้งานและทาแผนที่ได้ง่ายขึ้น โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย การเตรียมข้อมูล สาหรับการจัดทาแผนที่มีความเรียบง่ายไม่ซับซ้อน สามารถให้รายละเอียดได้ทั้งจุดพิกัดที่ตั้ง ภาพหรือวีดีทัศน์ และคาบรรยายแบบย่อ มีการแสดงผลอย่างสวยงามและน่าสนใจยิ่งขึ้น และที่สาคัญยังสามารถเผยแพร่และ เข้าใช้งานได้ง่ายผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต รวมทั้งยังรองรับการใช้งานได้ทุกอุปกรณ์อีกด้วย

35


รายการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ข้อเสนอแนะ 1.จากการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า เว็บไซต์และการประยุกต์ใช้ระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์ ที่จั ดทาขึ้น มีความเหมาะสมและสามารถใช้งานได้ อย่างมีประสิ ทธิภ าพ กล่ าวคือ มี เหมาะสมในการนาเสนอเนื้อหาและการแสดงผลที่ชัดเจน เหมาะสม น่าสนใจ สารสนเทศมีความถูกต้องและ น่าเชื่อถือ อยู่ในระดับมาก และสารสนเทศและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ที่พัฒนาขึ้นมีประโยชน์และสามารถ ใช้เป็นแหล่งข้อมูลและสารสนเทศได้ ฉะนั้น ควรมีการเพิ่มสารสนเทศท้องถิ่นอื่น ๆ ให้มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็น สารสนเทศที่เกี่ยวกับพิพิธภัณฑ์ แหล่งโบราณคดี โบราณสถาน โบราณวัตถุ บุคคลภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่ง ชุมชน แหล่งท่องเที่ยว เป็นต้น เพื่อสร้างแผนที่แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นให้เห็นภาพที่กว้างขวางและมีความ หลากหลายมากขึ้น

36


รายการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

เอกสารอ้างอิง ชุน เทียมทินกฤต วิลาวัณย์ พรพัชรพงศ์ และชมนาด บุญอารีย์. (2550). เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร. ใน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต (พิมพ์ครั้งที่ 8). มหาสารคาม: คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2544). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: เทพเนรมิตการพิมพ์. ธันยพัฒน์ วงศ์รัตน์. (2557). คู่มือเรียนและการใช้งาน Wordpress. กรุงเทพฯ: สวัสดีไอที. สานักส่งเสริมและพัฒนาสารสนเทศภูมิศาสตร์ สานักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2558). ประโยชน์ของ GIS. สืบค้น 18สิงหาคม 2558, จาก http://www.gi.mict.go.th/art_advantage.htm. อภิรดี สรวิสูตร. (2558). มารู้จักระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์. สืบค้น 18 สิงหาคม 2558, จาก http://www.gi.mict.go.th/art_GisMis.htm. Rupert Essinger. (2015, 18 April) . Make a Map Tour Story Map. Retrieved from http://www.esri.com/esri-news/arcwatch/0513/make-a-map-tour-story-map.

37


รายการวิเคราะห์การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนาการให้บริการสารสนเทศท้องถิ่น

ประวัติผู้จัดทา ชื่อ ประวัติการศึกษา ประวัติการทางาน ตาแหน่งและสถานที่ทางานปัจจุบัน

นางสาวขนิษฐา ทุมมากรณ์ พ.ศ. 2551 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนยีสารสนเทศการเกษตร และพัฒนาชนบท, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. 2541 - ปัจจุบัน สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี นักเอกสารสนเทศ ชานาญการพิเศษ สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 85 ตาบลเมืองศรีไค อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190

38


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.