“»ปÅลÒาáแ´ด¡ก »ปÅลÒาÃร ŒÒา” Best
2547) . ธรรมทัศน์ 5,1 (มีนาคม-มิถุนายน ปกรณ์ คุณารักษ์. วัฒนธรรมปลาแดก dforbrain/52879.html http://variety.teenee.com/foo http://www.isangate.com
คำวา "ปลาแดก" ในภาษาอีสาน ตรงกับคำวา "ปลารา" ในภาษาไทยกลาง เปนอาหารทองถิ่นภาคอีสานของไทย และลาว รวมถึงบางสวนของเวียดนาม สวนประกอบของปลาราที่เปนหลักมี ๓ อยางคือ ๑.ปลา ที่นำมาทำปลาราจะเปนปลาสดหรือปลาที่ ไมสดจนเกือบจะเนาก็ได ๒.รำขาว การทำปลาราแบบดั้งเดิมจะเปนรำขาวซอมมือ ๓.เกลือ นิยมใชเกลือสินเธาวที่ไดจากการตมใน ทองถิ่น ขั้นตอนการทำ คือ เอาปลามาคลุกเคลากับรำขาวและเกลือในปริมาณที่เหมาะสม เก็บไวในไหที่มีฝาปดมิดชิด เพื่อไมให แมลงวันเขาไปไขใสปลารา สำหรับปลาที่นำมาทำปลารานั้น หากมีตัวโต ๆ หรือคอนขางโตจะตองสับใหเปนชิ้น ๆ เพื่อใหความเค็ม แทรกซึมเขาไปไดอยางทั่วถึง ระยะเวลาในการหมักปลาราประมาณ ๗-๘ เดือน ก็สามารถนำออกมารับประทานหรือปรุงอาหารได หากเร็วเกินไปปลาราก็จะมีกลิ่นคาว หากหมักไดระยะเวลานาน ปลาราจะออกสีแดง ๆ สงกลิ่นหอม แตหากใสเกลือไมพอ กลิ่นของ ปลาราก็จะแปลกออกไปอีกแบบหนึ่ง เรียกปลาราชนิดนี้วา ปลาแดกตวง เหมาะสำหรับนำไปปรุงสมตำ แตไมเหมาะสำหรับนำไปรับ ประทานหรือปรุงอาหารอยางอื่น ) จากหลักฐานทางโบราณคดีพบวาปลารา เปนอาหารของวัฒนธรรมอีสานมานานกวา ๔๐๐๐ ปแลว โดยพบวัสดุที่คลายกับ ไหหมักปลารา ปจจุบัน การทำปลาราไดพัฒนาขึ้นไปสูระดับสากลมากขึ้น มีปลาราพาสเจอรไรซ เพื่อฆาเชื้อโรคกอนดวย หรือ ปลาราอนามัย แตสวนใหญ ปลาราก็ยังนิยมทำแบบเดิม โดยตักขายเปนน้ำหนักตามตลาดสดตาง ๆ