����������.indd 1
6/22/61 BE 9:42 PM
OK�������.indd 1
7/3/61 BE 1:10 PM
โครงการท�ำนุบำ� รุงศิลปวัฒนธรรม ส�ำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
หนังสือ ตูพ้ ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี ผูเ้ ขียน สุรชัย ศรีใส พิมพ์ครัง้ แรก กรกฎาคม ๒๕๖๑ จ�ำนวนพิมพ์ ๑๕ เล่ม ISBN 978-974-523-375-1 สงวนลิขสิทธิ์ ส�ำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จัดพิมพ์โดย ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษา ส�ำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๘๕ ถนนสถลมาร์ค ต�ำบลเมืองศรีไค อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ๓๔๑๙๐ โทรศัพท์ ๐ ๔๕๓๕ ๓๑๔๘ สนับสนุนงบประมาณ ส�ำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ถ่ายภาพ ธวัชชัย พันธ์จำ� ปา พิสจู น์อกั ษร สุรศักดิ์ ไพบูลย์สขุ สิริ พิมพ์ท ี่ เอกอาร์ต ๒๑๗ หมู่ ๑๐ ต�ำบลปทุม อ�ำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ๓๔๐๐๐ โทรศัพท์ ๐๘๙-๘๔๕๓๓๐๒ ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
OK�������.indd 2
สุรชัย ศรีใส. ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี.-- อุบลราชธานี : มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ๒๕๖๑. ๑๘๐ หน้า. ๑. ต้ไู ทยโบราณ. ๒. สถาปัตยกรรมพุทธศาสนา. I. ชือ่ เรือ่ ง. ๒๙๔.๓๑๘๗๒ ISBN 978-974-523-375-1
7/3/61 BE 1:10 PM
ค�ำน�ำ หนังสือ “ตูพ้ ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี” ได้รวบรวมตูพ้ ระธรรมตามสถานทีต่ า่ งๆ เก็บไว้ใน หนังสือเล่มนี้ จังหวัดอุบลราชธานีในทีน่ รี้ วมถึงจังหวัดยโสธรทีเ่ คยเป็นส่วนหนึง่ ของจังหวัดอุบลราชธานี มาก่อน เพือ่ เป็นการอนุรกั ษ์ศลิ ปะแขนงนีไ้ ว้ให้ลกู หลานได้เรียนรูถ้ งึ ความเป็นมาทีบ่ รรพชนได้สร้างสรรค์ ผลงานได้วจิ ติ รบรรจง สอดแทรกเนือ้ หาเรือ่ งราวทางพุทธศาสนา วรรณกรรมท้องถิน่ รวมถึงคติธรรม ค�ำสอนของคนโบราณ เพือ่ ยกระดับจิตใจของผูช้ มให้สงู ขึน้ ตูพ้ ระธรรมทีจ่ ดั เก็บอยูใ่ นสถานทีต่ า่ งๆ นับวันจะช�ำรุดเสือ่ มสลายไปตามกาลเวลา การบันทึกภาพเก็บไว้ในรูปแบบหนังสือ จึงเป็นการอนุรกั ษ์ ศิลปะแขนงนีไ้ ว้อกี ทางหนึง่ ตูพ้ ระธรรมทีร่ วบรวมในหนังสือเล่มนี้ มีเทคนิคการเขียนลายรดน�ำ้ การปิดทองลายฉลุ การปิดทอง ลายขูด การกระแหนะรักปัน้ ลายปิดทอง และปิดทองทึบ ส่วนลวดลายโดยทัว่ ไปเป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิน่ นิยมเขียนเรือ่ งราวเกีย่ วกับพุทธศาสนา และวรรณกรรมท้องถิน่ น่าเสียดายทีบ่ างตูไ้ ม่สามารถน�ำเสนอ ภาพได้ทกุ ด้าน ด้วยข้อจ�ำกัดในเรือ่ งสภาพการช�ำรุด น�ำ้ หนักของตูพ้ ระธรรม และบางวัดบางสถานที่ ก็หา้ มมิให้เคลือ่ นย้ายตูพ้ ระธรรม รวมถึงสถานทีจ่ ดั เก็บไม่เอือ้ ต่อการเคลือ่ นย้าย จึงน�ำเสนอภาพเท่าที่ จะท�ำได้ สุดท้ายขอขอบพระคุณหน่วยงานและวัดต่างๆ ทีใ่ ห้ความอนุเคราะห์ในการบันทึกภาพตูพ้ ระธรรม จนสมุดภาพตูพ้ ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานีสำ� เร็จเสร็จสิน้ ได้ดว้ ยดีมา ณ โอกาสนี้ มีผรู้ กู้ ล่าวว่า ประเทศไทยเมือ่ กล่าวถึงความเจริญในด้านอืน่ ๆ เราเทียบกับประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้วได้ยาก แต่ในด้าน ศิลปวัฒนธรรมเราไม่เป็นสองรองประเทศใดในโลก ฉะนัน้ เราจึงควรภาคภูมใิ จทีไ่ ด้เกิดเป็นคนไทย ร�ำ่ รวย ศิลปวัฒนธรรม และช่วยกันรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามที่สืบทอดมาหลายชั่วอายุคน เพือ่ ให้มรดกทางวัฒนธรรมเหล่านีอ้ ย่คู กู่ บั ประเทศไทยสืบไป
OK�������.indd 3
นายสุรชัย ศรีใส กรกฎาคม ๒๕๖๑
7/3/61 BE 1:10 PM
สารบัญ เรือ่ ง บทน�ำ ส่วนประกอบของตูพ้ ระธรรม ตูพ้ ระธรรมจ�ำแนกตามลักษณะขาตู ้ ตูพ้ ระธรรมจ�ำแนกตามกรรมวิธกี ารเขียน ตูพ้ ระธรรมลายรดน�ำ้ ตูห้ มายเลข ๑ (วัดหลวง) ตูห้ มายเลข ๒ (วัดหลวง) ตูห้ มายเลข ๓ (วัดหลวง) ตูห้ มายเลข ๔ (วัดหลวง) ตูห้ มายเลข ๕ (วัดหลวง) ตูห้ มายเลข ๖ (วัดศรีอบุ ลรัตนาราม) ตูห้ มายเลข ๗ (วัดศรีอบุ ลรัตนาราม) ตูห้ มายเลข ๘ (วัดศรีอบุ ลรัตนาราม) ตูห้ มายเลข ๙ (วัดมณีวนาราม) ตูห้ มายเลข ๑๐ (วัดมณีวนาราม) ตูห้ มายเลข ๑๑ (วัดไชยมงคล) ตูห้ มายเลข ๑๒ (วัดเลียบ) ตูห้ มายเลข ๑๓ (วัดใต้) ตูห้ มายเลข ๑๔ (วัดใต้) ตูห้ มายเลข ๑๕ (วัดใต้) ตูห้ มายเลข ๑๖ (วัดศรีจมุ พล) ตูห้ มายเลข ๑๗ (วัดศรีจมุ พล) ตูห้ มายเลข ๑๘ (วัดบ้านคูขาด) ตูห้ มายเลข ๑๙ (วัดบ้านโพนทราย) ตูห้ มายเลข ๒๐ (วัดสุปฏั นารามวรวิหาร) ตูห้ มายเลข ๒๑ (วัดสุปฏั นารามวรวิหาร) ตูห้ มายเลข ๒๒ (วัดหลวง) ตูห้ มายเลข ๒๓ (วัดหลวง) ตูห้ มายเลข ๒๔ (วัดบ้านโพนงาม)
OK�������.indd 4
หน้า ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๙ ๒๓ ๒๘ ๓๒ ๓๖ ๔๐ ๔๔ ๔๙ ๕๕ ๖๐ ๖๖ ๗๑ ๗๒ ๗๗ ๘๔ ๙๐ ๙๔ ๙๙ ๑๐๒ ๑๐๙ ๑๑๓ ๑๑๗ ๑๒๒ ๑๒๖
7/3/61 BE 1:10 PM
สารบัญ (ต่อ) เรือ่ ง
หน้า
ตูห้ มายเลข ๒๕ (วัดราษฎร์ประดิษฐ์) ๑๒๘ ตูห้ มายเลข ๒๖ (วัดราษฎร์ประดิษฐ์) ๑๓๔ ตูพ้ ระธรรมปิดทองลายฉลุ ตูห้ มายเลข ๒๗ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร) ๑๓๙ ตูห้ มายเลข ๒๘ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร) ๑๔๔ ตูห้ มายเลข ๒๙ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร) ๑๔๙ ต้หู มายเลข ๓๐ (วัดไชยมงคล) ๑๕๒ ตูห้ มายเลข ๓๑ (วัดปทุมมาลัย) ๑๕๕ ตูพ้ ระธรรมปิดทองลายขูด ตูห้ มายเลข ๓๒ (วัดทุง่ ศรีวไิ ล) ๑๕๘ ตูห้ มายเลข ๓๓ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร) ๑๖๑ ตูพ้ ระธรรมปิดทองทึบ ตูห้ มายเลข ๓๔ (วัดศรีอบุ ลรัตนาราม) ๑๖๓ ตูห้ มายเลข ๓๕ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร) ๑๖๔ ตูห้ มายเลข ๓๖ (วัดสุปฏั นารามวรวิหาร) ๑๖๕ ตูพ้ ระธรรมกระแหนะรักปัน้ ลายปิดทอง ตูห้ มายเลข ๓๗ (วัดศรีอบุ ลรัตนาราม) ๑๖๖ ตูห้ มายเลข ๓๘ (วัดศรีอบุ ลรัตนาราม) ๑๖๘ ตูพ้ ระธรรมแบบโปร่ง ตูห้ มายเลข ๓๙ (วัดทุง่ ศรีเมือง) ๑๗๒ หีบพระธรรม หีบพระธรรมหมายเลข ๑ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร) ๑๗๓ หีบพระธรรมหมายเลข ๒ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร) ๑๗๔ หีบพระธรรมหมายเลข ๓ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร) ๑๗๕ หีบพระธรรมหมายเลข ๔ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร) ๑๗๖ หีบพระธรรมหมายเลข ๕ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร) ๑๗๗ หีบพระธรรมหมายเลข ๖ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร) ๑๗๘ หีบพระธรรมหมายเลข ๗ (วัดราษฎร์ประดิษฐ์) ๑๗๙ บรรณานุกรม ๑๘๐
OK�������.indd 5
7/3/61 BE 1:10 PM
บทนำ� ตูพ้ ระธรรมเป็นทีเ่ ก็บพระธรรม คัมภีร์ ทีส่ ำ� คัญทางศาสนาของคนโบราณทีเ่ ก็บไว้ตามวัดวาอาราม ถือว่าเป็นของ ศักดิส์ ทิ ธิม์ คี ณ ุ ค่าทางศาสนา รวมถึงต�ำราต่างๆ ทีพ่ ระสงฆ์ใช้ศกึ ษาร�ำ่ เรียนพระธรรมวินยั สมัยโบราณนิยมเก็บตูพ้ ระธรรม ไว้ทหี่ อไตรของวัด นิยมสร้างไว้กลางสระน�ำ้ เพือ่ ป้องกันปลวกและแมลงมากัดกินใบลาน ซึง่ เป็นวัสดุสำ� คัญทีใ่ ช้จารึก อักษรของคนโบราณ ความชื้นจากน�้ำรอบๆ หอไตรจะช่วยรักษาใบลานไม่ให้กรอบแตกง่าย ลวดลายตู้พระธรรม ส่วนใหญ่นยิ มเขียนด้วย “ลายรดน�ำ้ ” คือ ลักษณะลวดลายเป็นสีทองบนพืน้ สีดำ� ทีท่ ำ� พืน้ ด้วยยางรัก ส่วนสีทองใช้เทคนิค การเช็ดรัก แล้วปิดด้วยทองค�ำเปลว ส่วนตูพ้ ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี ยังพบเทคนิคการปิดทองลายฉลุ เทคนิค การปิดทองลายขูด การปิดทองทึบและการกระแหนะรักปัน้ ลายปิดทอง ส่วนลวดลายทีเ่ ขียนเป็นลายกระหนกเครือเถา สอดแทรกเนื้อหาเรื่องราวทางพุทธศาสนา รามเกียรติ์ และวรรณกรรมท้องถิ่น ตู้พระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี เป็นฝีมอื กลุม่ ช่างพืน้ ถิน่ ทีเ่ กิดจากความศรัทธาในพุทธศาสนา ลักษณะการเขียนลวดลายเรียบง่าย ถึงแม้จะมีรปู แบบ ช่างหลวงผสมผสานกับรูปแบบท้องถิน่ แต่งานก็ยงั คงความเป็นเอกลักษณ์ของช่างพืน้ ถิน่
6 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 6
7/3/61 BE 1:10 PM
ส่วนประกอบของตู้พระธรรม หัวเม็ด ขอบบนตู้ ลายบัวบน บานตูด้ า้ นหน้า ซ้าย-ขวา
ประจ�ำยามรัดอก
เสาขอบตู้ ขอบล่างตู้ ลายบัว ลิน้ ชักตู้ ขอบลวดใต้กรอบลิน้ ชัก เชิงตูห้ ชู า้ ง ขาตู้
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 7
OK�������.indd 7
7/3/61 BE 1:10 PM
ตู้พระธรรมจ�ำแนกตามลักษณะขาตู้
ทีม่ า : สมุดภาพลายรดน�ำ้ เล่ม ๑ หน้า ๑๕๓
ตูพ้ ระธรรมขาสิงห์
ตูพ้ ระธรรมขาคู้
ทีม่ า : สมุดภาพลายรดน�ำ้ เล่ม ๑ หน้า ๑๗
ตูพ้ ระธรรมขาหมู
ตูพ้ ระธรรมฐานสิงห์
8 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 8
7/3/61 BE 1:11 PM
ตู้พระธรรมจ�ำแนกตามกรรมวิธีการเขียน
ความหมายลายรดน�ำ้
๑. ตูพ้ ระธรรมลายรดน�ำ้
สารานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถานได้อธิบายว่า “ลายรดน�ำ้ คืองานจิตรกรรมไทยแขนงหนึง่ ได้รบั ช่วงถ่ายทอด ความรูก้ นั มาตัง้ แต่สมัยโบราณเป็นวิธกี ารทีช่ า่ งเขียนไทยได้คดิ ท�ำไว้ชา้ นานแล้ว ลายรดน�ำ้ ประกอบด้วยการลงรัก เขียนลาย ด้วยน�ำ้ ยาหรดาลและปิดทองรดน�ำ้ ...” (อภิวนั ทน์ อดุลยพิเชฏฐ์. ๒๕๕๕ : ๑๒) พจนานุกรม สถาปัตยกรรมและศิลปะเกีย่ วเนือ่ ง ศาสตราจารย์โชติ กัลยาณมิตร (๒๕๔๘ : ๔๔๑) ลายรดน�ำ้ คือ ชือ่ ทีเ่ รียก งานลงรักปิดทองทุกชนิด ไม่วา่ งานนัน้ จะเป็นงานทีท่ ำ� บนพืน้ ไม้ พืน้ ปูน บนผิวเครือ่ งเขิน ฯลฯ และไม่วา่ จะเป็นลายเขียนใน รูปใด ค�ำว่า “รดน�ำ้ ” หมายถึง การเอาน�ำ้ สะอาดล้างน�ำ้ ยาหรดาลทีเ่ ขียนตัดเส้นปิดบังส่วนทีไ่ ม่ตอ้ งการปิดทองออก ให้เหลือ ตัวภาพปิดทองบนพืน้ รัก การรดน�ำ้ เป็นกรรมวิธขี นั้ สุดท้ายของงานลงรักปิดทอง ลายรดน�ำ้ ทีท่ ำ� โดยทัว่ ไป ได้แก่ ตูพ้ ระธรรม บานประตู หน้าต่างโบสถ์ พานแว่นฟ้า ฯลฯ ฉลอง ฉัตรมงคล (ม.ป.ป. : ๓) ลายรดน�ำ้ หมายถึง การเขียนลวดลายเป็นรูปภาพให้ปรากฏเป็นลายทองด้วยวิธี ปิดทองแล้วเอาน�ำ้ รด จัดเป็นงานประณีตศิลป์ทมี่ คี วามส�ำคัญมากส�ำหรับตกแต่งสิง่ ของ เครือ่ งใช้และเครือ่ งประดับ ของชาวบ้านธรรมดา เครือ่ งใช้ในพระพุทธศาสนา ตลอดไปจนถึงในส่วนทีเ่ กีย่ วกับพระมหากษัตริย์ โดยใช้ตกแต่งตัง้ แต่ สิง่ ของทีม่ ขี นาดเล็ก ขึน้ ไปจนถึงประดับตกแต่งผนังห้องทีม่ ขี นาดใหญ่ อันหมายถึงตกแต่งตัง้ แต่เนือ้ ทีไ่ ม่กตี่ ารางนิว้ ไปจนถึงเนือ้ ทีห่ ลายร้อยตารางฟุตให้วจิ ติ รงดงาม สรุปโดยย่อ ลายรดน�ำ้ ก็ คือ ลายทองทีล่ า้ งด้วยน�ำ ้ ศาสตราจารย์ศลิ ป์ พีระศรี ได้กล่าวถึงลายรดน�ำ้ ในหนังสือ ตูล้ ายรดน�ำ้ ไว้วา่ “บรรดาศิลปประยุกต์ทคี่ นไทยสมัย โบราณสร้างขึน้ ไว้ มีอยูป่ ระเภทหนึง่ (ส่วนมาก) ท�ำลวดลายเป็นภาพปิดด้วยแผ่นทองค�ำเปลวบนพืน้ รักสีดำ� ... งานศิลปะ ประเภทนีส้ ำ� คัญมาก ส�ำหรับตกแต่งสิง่ ของเครือ่ งใช้ในพระศาสนา... งานช่างรักประเภทนี้ เราเรียกกันว่า “ลายรดน�ำ้ ” (หมายถึงการท�ำงานส�ำเร็จครัง้ สุดท้าย ด้วยการเอาน�ำ้ รด...) (สิปปวิชญ์ บุณยพรภวิษย์. ๒๕๕๙ : ๗) น. ณ ปากน�ำ้ ศิลปินแห่งชาติได้กล่าวถึงลายรดน�ำ้ ว่า “ลายรดน�ำ้ ปิดทอง หรือลายไทยของเรา เป็นวิสทุ ธิประเภทหนึง่ ซึง่ ส�ำแดงออกด้วยน�ำ้ หนัก ช่องไฟ และเส้นอันงดงาม แสดงอารมณ์ความรูส้ กึ ต่างๆ แม้จะมีเพียงแต่สที องของตัวลาย กับสีดำ� ” (สิปปวิชญ์ บุณยพรภวิษย์. ๒๕๕๙ : ๗) ฉลอง ฉัตรมงคล (ม.ป.ป. : ๑) ได้กล่าวว่า งานช่างลายรดน�ำ้ เป็นงานประณีตศิลป์ทางด้านตกแต่งอย่างหนึง่ ซึง่ มีรปู แบบและการท�ำสืบเนือ่ งกันมาแต่โบราณ จัดเป็นงานช่างศิลป์ประเภทหนึง่ ซึง่ รวมอยูใ่ นหมูช่ า่ งรักอันเป็นหมูห่ นึง่ ในบรรดาช่างหลวง หรือช่างประจ�ำราชส�ำนัก ซึง่ เรียกกันว่า “ช่างสิบหมู”่ ศิลปะลายรดน�ำ้ เริม่ มีปรากฏมาตัง้ แต่สมัยสุโขทัย โดยสันนิษฐานว่าคงได้รบั อิทธิพลจากจีน เพราะช่างจีนนับว่าเป็น ช่างศิลปกรรมชาติแรก ทีร่ จู้ กั การน�ำยางรักมาใช้ประโยชน์ในงานศิลปกรรม การเขียนลายรดน�ำ้ มีขนั้ ตอน และเทคนิค วิธกี ารทีน่ า่ สนใจ ซึง่ บ่งบอกถึงความชาญฉลาด และภูมปิ ญ ั ญาทีส่ งั่ สมมาหลายชัว่ อายุคน ผ่านกระบวนการคัดสรร กลัน่ กรองแก้ไขปัญหาจนสามารถถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานอันวิจติ ร ในอดีตนิยมประดับตกแต่งตามบานประตู หน้าต่าง ฝาผนัง ตูพ้ ระธรรม หีบพระไตรปิฎก ตามวัดวาอาราม เครือ่ งใช้ของพระผูใ้ หญ่ และเจ้านายชัน้ สูง เช่น ลับแล พาน ตะลุม่ โตก ถาด ฯลฯ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 9
OK�������.indd 9
7/3/61 BE 1:11 PM
ลักษณะทีส่ ำ� คัญของลายรดน�ำ้ คือ เป็นลวดลายสีทองบนพืน้ สีดำ� นิยมท�ำตามวัดวาอาราม และเครือ่ งใช้ของพระสงฆ์ ส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับพระมหากษัตริยใ์ นสมัยโบราณนิยมเขียนลวดลายสีทองบนพืน้ สีแดง ขัน้ ตอนการเขียนลายรดน�ำ้ เมือ่ พูดถึงลายรดน�ำ้ จะมีสกั กีค่ นทีร่ จู้ กั วิธกี ารเขียนลายรดน�ำ้ ทีเ่ ป็นงานประณีตศิลป์แขนงหนึง่ ทีเ่ ป็นศิลปวัฒนธรรม และภูมปิ ญ ั ญาทีน่ า่ ภาคภูมใิ จของคนไทย ช่างทีท่ ำ� งานศิลปะแขนงนีน้ บั วันจะมีนอ้ ยลงทุกวัน เพราะช่างทีท่ ำ� งานด้านนี้ จะต้องมีใจรักในงานเป็นส�ำคัญ ผูเ้ ขียนจึงต้องการน�ำเสนอขัน้ ตอนการเขียนลายรดน�ำ้ เพือ่ เผยแพร่ให้อนุชนรุน่ หลังได้ ทราบถึงกระบวนการ การเขียนลายรดน�ำ้ โดยแบ่งได้ ๓ ขัน้ ตอน ดังต่อไปนี ้ ๑. การเตรียมพืน้ ก่อนจะลงมือเขียนลายรดน�ำ้ จะต้องมีการเตรียมพืน้ วัสดุทเี่ ราจะเขียนก่อน ส่วนใหญ่นยิ มท�ำ บนพืน้ วัสดุทเี่ ป็นไม้ตามขนาดทีเ่ ราต้องการมาขัดพืน้ ด้วยกระดาษทรายให้เรียบ แล้วทาด้วยยางรักทิง้ ไว้ให้แห้ง จาก นัน้ จึงน�ำเอา “รักสมุก” คือ ยางรักผสมกับเถาใบตองแห้ง มาทาอุดร่องพืน้ ไม้ให้เรียบเสมอทัว่ ทัง้ แผ่น ทิง้ ไว้ให้แห้ง ประมาณ ๑ วัน จากนัน้ จึงน�ำมาขัดให้เรียบด้วยกระดาษทรายน�ำ้ เบอร์ศนู ย์ แล้วทาด้วยยางรักอีกครัง้ หนึง่ หากยางรัก ข้นเกินไปให้ผสมด้วยน�้ำมันซักแห้ง (น�้ำมันก๊าด) เพื่อลดความข้นของยางรัก เพราะถ้ายางรักข้นเกินไปจะท�ำให้ทาพืน้ ไม่เรียบและเป็นรอยแปรงบริเวณทีท่ า จากนัน้ น�ำเข้าตูบ้ ม่ บ่มรักให้แห้ง ตูบ้ ม่ รักเป็นตูท้ มี่ ชี นั้ หลายชัน้ เพือ่ วางชิน้ งาน แต่ละชั้นจะมีการเจาะรูจ�ำนวนมาก เพื่อให้ไอน�้ำสามารถระเหยขึ้นไปได้ ทุกชัน้ ส่วนชัน้ ล่างสุดวางผ้าชุบน�ำ้ ให้ไอน�ำ้ ระเหยขึน้ ไปตามชัน้ ต่างๆ ท�ำให้ยาง รักแห้งเร็วขึน้ หลังจากทีย่ างรักแห้งก็นำ� มาท�ำตามขัน้ ตอนเดิมอีก จนกว่าจะได้ พืน้ รักทีเ่ รียบตามทีต่ อ้ งการประมาณ ๕ - ๑๐ ครัง้ แล้วแต่ความช�ำนาญของช่าง แต่ละคน เมือ่ ได้พนื้ งานทีเ่ รียบดีแล้วก็ทายางรักเป็นครัง้ สุดท้าย ก็จะได้ชนิ้ งานที่ พร้อมทีจ่ ะลงมือเขียนลวดลายได้แล้ว ยางรัก คือ ยางจากต้นรักน�้ำเกลี้ยงที่ผ่านการสกัด มีสีด�ำหรือสีน�้ำตาลเข้ม ธรรมชาติของต้นรักน�้ำเกลี้ยงจะ ขึ้นในบริเวณที่มีอากาศไม่ร้อนหรือเย็นมาก และดินไม่เค็ม ยางรักที่มีชื่อทางภาคอีสาน ได้แก่ ยางรักที่อ�ำเภอ ตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ส่วนต้นรักใหญ่มีมากในป่าเบญจพรรณแถบภาคเหนือ การเจาะเก็บยางรัก ช่วงฤดูฝนเรื่อยไปจนถึงฤดูหนาว ช่วงที่ดีที่สุด คือ เดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม จะเลือกต้นรักที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ ๑ ฟุต กรีดเป็นรูปตัววีแล้วเอากระบอกไม้ไผ่เสียบตรงปลายแหลมตัววี ทิ้งไว้ประมาณ ๑๐ วัน จึงจะ เก็บยางรักจากต้นรักที่เจาะไว้ได้ คนที่แพ้ยางรักชนิดนี้จะมีผื่นคันบวมแดงที่ผิวหนัง จึงควรหลีกเลี่ยงการสัมผัส ยางรักโดยตรง วิธีการปิดทองด้วยยางรักจะท�ำบนพื้นผิววัสดุที่มีความเรียบมันเป็นเงา เช่น พื้นรัก แต่ปัจจุบัน นิยมใช้สีน�้ำมันในการท�ำพื้นแทนยางรัก เพราะมีสีให้เลือกหลายสี สะดวก และหาซื้อง่าย วัสดุที่นิยมใช้กัน มากในปัจจุบันอีกชนิดหนึ่ง คือ แผ่นพลาสติกสีต่างๆ มีให้เลือกหลากสีหลายขนาดให้เลือกใช้ให้เหมาะสมกับ ชิน้ งานทีเ่ ราจะท�ำ ๒. การเขียนลายรดน�ำ้ เริม่ จากการผูกลายลงบนกระดาษขนาดเท่าพืน้ วัสดุทเี่ ราเตรียมไว้ ซึง่ เป็นขัน้ ตอนส�ำคัญทีจ่ ะ แสดงฝีมอื และจินตนาการเชิงช่าง ในการผูกลายตามลักษณะต่างๆ ไม่วา่ จะเป็น ลายกระหนกเปลว กระจัง ประจ�ำยาม เครือเถา ผสมกลมกลืนกับตัวภาพในวรรณคดีไทย อาทิ เทวดา นางฟ้า กินรี กินนร ยักษ์ ราชสีห์ คชสีห์ ครุฑ หงส์ พญานาค ฯลฯ เป็นงานศิลปะไทยทีท่ รงคุณค่า ควรค่าแก่การชืน่ ชมในภูมปิ ญ ั ญาของคนไทย ทีร่ งั สรรค์ผลงานศิลปะได้ ไม่แพ้ชนชาติใดในโลก 10 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 10
7/3/61 BE 1:11 PM
เมื่อเขียนลายเสร็จเรียบร้อยแล้ว น�ำกระดาษไขมาเขียนลอกตามลายที่เราเขียนไว้ทั้งหมดอีกครั้ง หลังจากนั้น น�ำ “เข็มปรุลาย” ซึง่ เป็นเข็มทีผ่ กู ติดกับปลายไม้ดา้ นใดด้านหนึง่ ของพูก่ นั ทีม่ ขี นาดเหมาะมือ ใช้สำ� หรับปรุลายทีเ่ รา ลอกลงบนกระดาษไข วิธกี ารปรุกใ็ ห้พลิกกระดาษไขด้านหน้าของลายคว�ำ่ หน้าลง ใช้เข็มปรุลายจากด้านหลังของลาย โดยมีกระดาษรองหลายๆ ชั้นหรือแผ่นโฟมรองไว้ด้านล่าง เมื่อเวลาโรยลายดินสอพองจากลูกประคบจะลงไปตาม ร่องเข็มทีป่ รุ ท�ำให้มองเห็นลายชัดยิง่ ขึน้ หลังจากขัน้ ตอนการปรุลาย ต่อมาเป็นการลงมือเขียนลายด้วย “น�ำ้ ยาหรดาล” ทีม่ สี ว่ นผสมดังต่อไปนี ้ หรดาล เป็นแร่ชนิดหนึง่ ประเภท Felspar มีสเี หลือง เนือ้ แข็ง เป็นส่วนผสมของก�ำมะถัน กับ สารหนู หาซื้อได้ตามร้านขายสมุนไพรจีน น�ำมา ฝนหรือป่นจนเป็นผงละเอียด ถ้าจะให้ดคี วรเอาผง หรดาลแช่นำ�้ ไว้ แล้วคอยเปลีย่ นน�ำ้ อยูเ่ รือ่ ยๆ เพือ่ ลดความเป็นกรด หรือด่างของหินหรดาล ให้เหลือ น้อยทีส่ ดุ กาวกระถิน เป็นกาวเม็ดสีสม้ ออกเหลือง น�ำกาวกระถินทีเ่ ป็นเม็ดมาทุบให้ละเอียดใส่ลงในภาชนะ แล้วเติมน�ำ้ ต้มเดือดใหม่ๆ ลงไปพอท่วมกาวกระถิน ทิง้ ไว้สกั ระยะ กาวกระถินจะค่อยๆ ละลายผสมกับน�ำ้ ร้อน จากนัน้ น�ำไปกรอง ด้วยผ้าขาวบางจนได้นำ�้ กาวกระถินทีใ่ สสะอาดและบรรจุลงในภาชนะทีม่ ฝี าปิด มีบางคนถามว่าท�ำไมไม่เอากาวกระถิน ลงไปต้มในน�ำ้ เดือดจะได้ละลายเร็วขึน้ ตอบว่าไม่ได้ เพราะกาวกระถินมีคณ ุ สมบัตกิ ารคืนตัว เมือ่ เย็นลงจากการต้มกาว กระถิน บางส่วนจะคืนตัว จับกันเป็นก้อนใหม่ ดังนัน้ การละลายกาวกระถินทีด่ ที สี่ ดุ คือชงกับน�ำ้ ร้อน หรือ แช่ในน�ำ้ เปล่า ให้ละลายเอง แต่ตอ้ งใช้เวลานานกว่ากาวกระถินจะละลาย
ฝักส้มป่อย ชือ่ วิทยาศาสตร์ Acacia rugata Meit แม่ฮอ่ งสอน เรียก ส้มขอน แพร่เรียกเอกราช สรรพคุณ ใบใช้ ขับเสมหะ แก้บดิ แก้โรคตา ฝัก มีสรรพคุณแก้ไอ แก้โรคผิวหนัง มีคติความเชือ่ ว่า ส้มป่อยเป็นไม้มงคล บางคติ ปลูกเพือ่ ขับไล่ภตู ผีปศี าจ และสิง่ เลวร้ายมิให้มารบกวน หาซือ้ ได้ตามร้านขายเครือ่ งสมุนไพรจีน วิธใี ช้ น�ำฝักส้มป่อยทีต่ ากแห้งแล้วไปย่างไฟ อ่อนๆ ให้นำ�้ ยางในฝักส้มป่อยทีม่ รี สเปรีย้ วออกมาอยูท่ เี่ ปลือก แล้วน�ำไปต้มกับน�ำ้ จนได้ทแี่ ล้วกรองด้วยผ้าขาวบางให้สะอาด จากนัน้ บรรจุลงในภาชนะทีม่ ฝี าปิดสนิท เพือ่ ป้องกันฝุน่ ละออง ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 11
OK�������.indd 11
7/3/61 BE 1:11 PM
การผสมน�ำ้ ยาหรดาล
น�ำผงหรดาลทีเ่ ตรียมไว้ใส่ลงในโกร่งบดยา เติมกาวกระถิน และน�ำ้ ฝักส้มป่อยลงไป บดให้เข้ากัน จากนัน้ ทดสอบโดยการเขียน น�ำ้ ยาหรดาลลงบนพืน้ กระดาน ปล่อยให้แห้ง แล้วใช้มอื หรือผ้า ถูไปมาหลายๆ ครัง้ ถ้าน�ำ้ ยาหรดาลไม่หลุดออก ก็แสดงว่าน�ำ้ ยา ได้ทแี่ ล้ว แต่ถา้ หลุดก็ให้เติมกาวกระถินลงไป และท�ำการทดสอบ อีก จนน�ำ้ ยาหรดาลไม่หลุดจากพืน้ ขณะทีเ่ ขียนลวดลายด้วยน�ำ้ ยา หรดาล ช่างเขียนก็จะบดน�ำ้ ยาหรดาลเป็นระยะไปเรือ่ ยๆ มิฉะนัน้ ผงหรดาลจะนอนอยูท่ กี่ น้ โกร่ง ท�ำให้นำ�้ ยาหรดาลไม่เข้าเป็นเนือ้ เดียวกัน หรือถ้าเขียนไปนานๆ น�ำ้ ยาหรดาลเกิดแห้ง ให้ เติมน�ำ้ ฝักส้มป่อยเพือ่ ไม่ให้นำ�้ ยาหรดาลข้นเกินไป เพราะเวลาเขียนจะเป็นก้อนข้น ท�ำให้นำ�้ ยาหรดาลหลุดออกง่ายเวลา เช็ดรัก เมือ่ ผสมน�ำ้ ยาหรดาลได้ทแี่ ล้ว ก่อนจะลงมือเขียนให้นำ� ดินสอพองละลายน�ำ้ ขัดพืน้ กระดานทีเ่ ตรียมไว้ให้ทว่ั แล้ว ล้างออก เพือ่ ก�ำจัดคราบไขมันบนพืน้ กระดานออก ป้องกันปัญหาการเขียนน�ำ้ ยาหรดาลไม่จบั กับพืน้ เหมือนน�ำ้ กลิง้ บน ใบบอน ท�ำให้เส้นขาดๆ หายๆ ไม่คมชัด จากนัน้ เอากระดาษไขทีป่ รุลายเรียบร้อยแล้วมาวางลงบนพืน้ รักทีเ่ ตรียมไว้ แล้วใช้ “ลูกประคบ” (ผ้าขาวบางห่อ ด้วยดินสอพองทีไ่ ล่ความชืน้ โดยการคัว่ และบดละเอียดแล้ว) มาประคบโรยลายบนกระดาษไขให้ทวั่ แล้วยกกระดาษ ไขออก ก็จะได้จดุ ลายสีขาวทีเ่ ป็นผงดินสอพองผ่านร่องเข็มปรุลงบนพืน้ รัก จนสามารถเขียนน�ำ้ ยาหรดาลตามลายนัน้ ได้ดว้ ยพูก่ นั เบอร์ศนู ย์พเิ ศษ หรือพูก่ นั ทีช่ า่ งโบราณเรียกว่า “พูก่ นั หนวดหนู” ซึง่ เรียกตามขนาดของขนปลายพูก่ นั ที่ มีขนาดเล็กและยาวกว่าพูก่ นั เบอร์ศนู ย์ธรรมดา เขียนลายด้วยน�ำ้ ยาหรดาลและถมพืน้ ในส่วนทีไ่ ม่ตอ้ งการให้ทองติด โดยห้ามไม่ให้มอื ไปสัมผัสกับพืน้ รัก เพราะมือมีเหงือ่ หรือคราบไขมัน ให้ใช้ “สะพานรองมือ” ช่วยขณะเขียนลาย และ ป้องกันไม่ให้มอื ไปถูกลายทีโ่ รยไว้ดว้ ย
เข็มปรุลาย
สะพานรองมือ
12 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 12
7/3/61 BE 1:11 PM
การโรยลายด้วยลูกประคบดินสอพอง
พูก่ นั เบอร์ศนู ย์พเิ ศษ
๓. การปิดทอง หลังจากทีเ่ ขียนลายด้วยน�ำ้ ยาหรดาลเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็มาถึงขัน้ ตอนการปิดทอง ถือเป็นขัน้ ตอน ทีส่ ำ� คัญอีกขัน้ ตอนหนึง่ ผลงานทีใ่ ช้เวลาเขียนมาเป็นแรมเดือนจะส�ำเร็จหรือไม่กข็ นึ้ อยูก่ บั ขัน้ ตอนนี้ ประสบการณ์และ ความช�ำนาญของช่างมีสว่ นส�ำคัญมากทีจ่ ะท�ำให้ผลงานส�ำเร็จลุลว่ งไปได้ดว้ ยดี ทองค�ำเปลวทีใ่ ช้ในการปิดทองแบ่งเป็น ๒ ประเภทดังนี้ (สนัน่ รัตนะ. ๒๕๔๙ : ๗๙) ทองคัด เป็นทองค�ำเปลวทีผ่ า่ นการตีจนได้มาตรฐานแล้วตัดให้ได้ขนาดเป็นแผ่นตามต้องการ ในแผ่นทองนีจ้ ะไม่มี ร่องรอยฉีกขาด หรือรูพรุน มีสเี รียบสม�ำ่ เสมอกัน นิยมน�ำไปใช้ในการปิดทองวัสดุสงิ่ ของทีม่ ผี วิ เรียบ และต้องการความ เงางาม เช่น พระพุทธรูป ตัวหนังสือ ป้ายร้านค้าต่างๆ ทองต่อ คือ ทองค�ำเปลวทีเ่ หลือจากการตัดเป็นทองคัดแล้วน�ำมาตัดให้ได้ขนาดตามมาตรฐาน จะมีรอ่ งรอยฉีกขาด รูพรุน สีของเนือ้ ทองไม่สม�ำ่ เสมอกัน ใช้ปดิ ส่วนงานทีเ่ ป็นลวดลายต่างๆ ทีม่ ชี อ่ งไฟของภาพ เช่น ลายปูนปัน้ ลายรดน�ำ้ หรืองานปิดทองในจิตรกรรมไทย ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 13
OK�������.indd 13
7/3/61 BE 1:11 PM
เริม่ โดยการใช้สำ� ลีจมุ่ “รักเช็ด” (ยางรักทีผ่ า่ นการเคีย่ วจนได้ท)ี่ เช็ดให้ทวั่ ทัง้ พืน้ ทีท่ ตี่ อ้ งการจะปิดทอง จากนัน้ ใช้สำ� ลีเปล่าเช็ดรักครัง้ แรกออกไม่ให้เยิม้ เกินไป ภาษาช่างเรียกว่า “ถอนรัก” และน�ำแผ่นทองค�ำเปลวร้อยเปอร์เซ็นต์ มาปิดเรียงต่อกันให้ทบั เหลือ่ มกันทุกแผ่น แล้วใช้นวิ้ มือกระทุง้ แผ่นทองให้แนบติดกับพืน้ ให้ทวั่ ทัง้ แผ่น เน้นย�ำ้ ต้องให้ ทัว่ ทัง้ แผ่น มิฉะนัน้ เวลารดน�ำ้ ส่วนทีไ่ ม่ได้กระทุง้ ให้แผ่นทองติดกับพืน้ จะหลุดออก ต้องเสียเวลามาเขียนซ่อมส่วนนัน้ ต่อมาก็เป็นขัน้ ตอนการรดน�ำ้ ให้นำ�้ ยาหรดาลพองหลุดออกจากพืน้ ช่างนิยมใช้กระดาษทองทีป่ ดิ แล้วมาชุบน�ำ้ มาวาง เรียงต่อกันทัง้ แผ่น ทิง้ ไว้ประมาณ ๓-๕ นาที น�ำ้ ยาหรดาลก็จะค่อยๆ พองหลุดออก ใช้สำ� ลีชบุ น�ำ้ เช็ดเศษทองทีป่ นกับ น�ำ้ ยาหรดาล ทีห่ ลุดออกมาพร้อมกระดาษทองจนสะอาด ก็จะได้ผลงานลวดลายทีเ่ ป็นสีทองสุกเปล่งประกายสวยงาม คุม้ ค่าแก่การรอคอย เช็ดรัก
๑. เช็ดรักด้วยรักเช็ดให้ทวั่ แล้วเช็ดด้วยส�ำลี อีกรอบ เรียกว่า “ถอนรัก”
๒. ปิดทองค�ำเปลวทีละแผ่นเรียงให้เกยกันเล็กน้อย
๓. กระทุง้ แผ่นทองค�ำเปลวให้ตดิ แน่นกับพืน้
๔. รดน�ำ้
14 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 14
7/3/61 BE 1:11 PM
๕. งานส�ำเร็จ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 15
OK�������.indd 15
7/3/61 BE 1:11 PM
การซ่อมลาย
การเขียนลายรดน�ำ้ จะมีบางส่วนของลายทีห่ ลังจากการปิดทองแล้วไม่สมบูรณ์ ซึง่ เกิดจากหลายสาเหตุ และมีวธิ ี การแก้ไขดังต่อไปนี ้ ๑. ลวดลายบางส่วนขาดหายไป อาจเป็นเพราะข้อผิดพลาดบางประการ เช่น การเช็ดรักไม่ทวั่ ชิน้ งาน หรือมีบางส่วน ไม่ถกู นิว้ กระทุง้ แผ่นทองให้ตดิ กับพืน้ กระดาน หรือบางจุดถอนรักไม่ดที ำ� ให้รกั เช็ดเยิม้ เกินไป ท�ำให้การปิดทองในส่วนนัน้ ช�ำ้ ไม่สวยงาม แก้ไขโดยการเขียนซ่อมลายใหม่ โดยการใช้นำ�้ ยาหรดาลเขียนต่อลายเดิม ในส่วนทีข่ าดหายไปให้สมบูรณ์ และกัน้ ขอบส่วนทีไ่ ม่ตอ้ งการให้ตดิ ทอง จากนัน้ ท�ำการเช็ดรัก ปิดทอง รดน�ำ้ ตามขัน้ ตอนเดิมทุกประการ ๒. เส้นน�ำ้ ยาหรดาลบางส่วนไม่หลุดออก เพราะผสมกาวกระถินในน�ำ้ ยาหรดาลมากเกินไป วิธแี ก้โดยการใช้พกู่ นั จุม่ ยางรักเขียนทับส่วนทีเ่ ส้นลายไม่หลุดออก
ข้อควรระวัง
๑. ห้ามปิดทองเวลาทีอ่ ากาศชืน้ หรือฝนตก เพราะน�ำ้ ยาหรดาลจะชืน้ และหลุดง่ายเมือ่ เช็ดรัก จึงเป็นข้อควรระวัง ส�ำหรับมือใหม่ทขี่ าดประสบการณ์ ๒. ห้ามน�ำรักเช็ดมาทาพืน้ รักเช็ดทีใ่ ช้เป็นตัวเชือ่ มก่อนการปิดทองนัน้ ห้ามน�ำมาใช้ทาพืน้ ในขัน้ ตอนการเตรียมพืน้ รัก อย่างเด็ดขาด เพราะรักเช็ดเป็นรักทีผ่ า่ นการเคีย่ วจนได้ที่ คุณสมบัตขิ องรักเช็ดคือเหนียวและแห้งช้า ถ้าใช้รกั เช็ดทาพืน้ ปล่อยทิง้ ไว้เป็นเดือนก็ยงั ไม่แห้ง เพราะฉะนัน้ จึงควรใช้ยางรักให้ถกู ต้องตามหน้าทีข่ องยางรักแต่ละประเภท ๓. ห้ามน�ำลวดลายทีเ่ ขียนด้วยน�ำ้ ยาหรดาลมาผึง่ แดด ควรปล่อยให้นำ�้ ยาหรดาลแห้งเองในทีร่ ม่ ไม่ควรน�ำไปผึง่ แดด เพราะการแห้งและหดตัวเร็วเกินไป ท�ำให้นำ�้ ยาหรดาลกรอบจนแตกระแหงเป็นลายงา เวลาเช็ดรักน�ำ้ ยาหรดาลทีแ่ ห้ง แตกร้าวก็จะหลุดออกหรือหากไม่หลุดออกก็จะมีลายปิดทองทีเ่ ป็นลายงาเพิม่ ขึน้ จากลวดลายทีม่ อี ยูเ่ ดิม ทีก่ ล่าวมาทัง้ หมดเป็นวิธกี ารเขียนลายรดน�ำ้ ทีต่ อ้ งใช้ความเพียรพยายามเขียนลายถึง ๔ ครัง้ จึงจะได้ผลงานหนึง่ ชิน้ ขัน้ ตอนต่างๆ สามารถน�ำไปปฏิบตั ไิ ด้จริง แต่นนั้ เป็นเพียงส่วนหนึง่ ของการเริม่ ต้นศึกษาการเขียนลายรดน�ำ้ เท่านัน้ สิง่ ส�ำคัญของการเขียนลายรดน�ำ้ คือ ฝีมอื หรือทักษะของช่างในการสร้างสรรค์ผลงานตามจินตนาการทีไ่ ม่ใช่วา่ ใครๆ ก็สามารถท�ำได้ ต้องมีใจรักในงาน ฝึกฝนท�ำอยูเ่ ป็นประจ�ำ ต้องใช้ความเพียร พยายาม ทักษะ และความช�ำนาญในการ สร้างสรรค์งานจิตรกรรมไทยอันทรงคุณค่า มีเอกลักษณ์ และงดงามตามอุดมคติแบบไทยๆ
๒. ตูพ้ ระธรรมปิดทองลายฉลุ
การปิดทองลายฉลุนยิ มประดับตกแต่งภายในโบราณสถาน ตามขือ่ คาน เพดาน เสา ผนัง ส่วนโบราณวัตถุ เช่น ตูพ้ ระธรรม หีบพระธรรม การปิดทองลายฉลุทสี่ วยงาม ได้แก่ เสาศาลาการเปรียญ และเสาภายในพระอุโบสถวัดใหญ่ สุวรรณาราม จังหวัดเพชรบุรี ฝีมอื ช่างสมัยอยุธยาต้นปลาย จังหวัดอุบลราชธานีกม็ กี ารปิดทองลายฉลุทผี่ นังตัวเรือน เป็นลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ และประตูทางเข้าเป็นภาพทวารบาล ด้านในหอไตรวัดทุง่ ศรีเมือง ลักษณะทัว่ ไปของการปิดทอง ลายฉลุ ตัวลายจะมีขนาดใหญ่ไม่ละเอียด โดยการตัดเจาะให้ลวดลายทะลุหลุดออกจากพืน้ หลังสามารถสังเกตลวดลาย จะเป็นลักษณะลวดลายแบบติด คือ ตัวลายทัง้ หมดจะเชือ่ มโยงต่อเนือ่ งกันโดยตลอด (นฤทธิ์ วัฒนภู. ๒๕๕๔ : ๑๘)
16 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 16
7/3/61 BE 1:11 PM
ทีม่ า : สมุดภาพลายเส้นวัดใหญ่สวุ รรณาราม หน้า ๑๙
ขัน้ ตอนการปิดทองลายฉลุ
๑. ร่างแบบลายบนแม่พมิ พ์บนกระดาษ แผ่นพลาสติก แต่ถา้ เป็นแม่พมิ พ์ทตี่ อ้ งใช้ซำ้� หลายครัง้ หรือใช้ปดิ ทองลาย ฉลุทงั้ ผนัง ก็จะใช้แผ่นหนังสัตว์ทมี่ คี วามเหนียว เช่น หนังทีใ่ ช้ทำ� หนังตะลุง ๒. เจาะลวดลายทีอ่ อกแบบไว้บนแม่พมิ พ์ ลวดลายส่วนไหนต้องการให้เป็นสีทองก็เจาะทะลุ ด้วยเครือ่ งมือทีใ่ ช้ใน การฉลุ ได้แก่ มีดปลายแหลม ตุด๊ ตู่ สิว่ ๓. ปิดทอง น�ำแม่พมิ พ์ลายฉลุมาวางบนพืน้ วัสดุทเี่ ตรียมไว้ พืน้ กระดาษรัก เสา ผนังอาคารทีเ่ ตรียมพืน้ เรียบดีแล้ว ใช้รกั เช็ด คือ ยางรักทีเ่ คีย่ วจนเหนียวแล้ว ทาในส่วนทีเ่ ป็นลวดลายทีเ่ จาะทะลุนนั้ แล้วปิดทองค�ำเปลวตามช่องลายทีเ่ จาะทะลุ ให้ทวั่ ใช้นวิ้ มือกระทุง้ แผ่นทองให้แนบติดพืน้ เอาแผ่นแม่พมิ พ์ลายนัน้ ออก ก็จะปรากฏเฉพาะตัวลวดลายทีเ่ จาะทะลุ เป็นลายสีทองสวยงาม ส่วนภาคเหนือก็นิยมประดับตกแต่งด้วยการ ปิดทองลายฉลุเช่นกัน เรียกว่า “การท�ำลายค�ำ” โดยใช้ แม่พมิ พ์กระดาษสา เป็นลวดลายพันธุพ์ ฤกษา เทวดา สัตว์ หิมพานต์ และหม้อปูรณฆฎะ (สมเจตน์ วิมลเกษม, สราวุธ รูปนิ . ๒๕๕๑ : ๕๕)
ทีม่ า : กรรมวิธดี งั้ เดิมิ ในการผลิตงานช่างพุทธศิลป์นา่ น หน้า ๕๒ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 17
OK�������.indd 17
7/3/61 BE 1:11 PM
๓. ตูพ้ ระธรรมปิดทองลายขูด
การปิดทองลายขูด พบมากในภาคอีสานและภาคเหนือ ขั้นตอนเหมือนการปิดทองลายฉลุ เพียงแต่มีการใส่ รายละเอียดเพิม่ เติมด้วยการใช้เหล็กแหลมขูดท�ำเป็นเส้นแลภายในตัวลายทอง ไม่ให้เส้นลึกเกินไปจนยางรักกะเทาะ หรือเบาเกินไปจนมองไม่เห็นเส้นลาย เช่น บานประตูดา้ นหน้าทางเข้าหอไตรวัดทุง่ ศรีเมือง จังหวัดอุบลราชธานี หรือ ตูพ้ ระธรรมด้านหน้า วัดทุง่ ศรีวไิ ล อ�ำเภอเขือ่ งใน จังหวัดอุบลราชธานี ส่วนในภาคเหนือเรียกว่า “การท�ำลายค�ำแบบขูดลาย หรือ การฮายลาย” คล้ายกับการท�ำเครือ่ งเขินของบ้านวัวลาย อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ในอดีต (สมเจตน์ วิมลเกษม, สราวุธ รูปนิ . ๒๕๕๑ : ๕๗)
ที่ ม า : กรรมวิ ธี ดั้ ง เดิ ม ในการผลิ ต งานช่ า ง พุทธศิลป์นา่ น หน้า ๕๗
18 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 18
7/3/61 BE 1:11 PM
ตู้พระธรรมลายรดน�้ำ ตู้หมายเลข ๑ (วัดหลวง)
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 19
19
7/3/61 BE 1:11 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๘๖Xหนา ๗๘Xสูง ๑๙๑ ซม. ภาพยักษ์ประกอบลายกระหนกเครือเถา ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ พุทธศตวรรษที่ ๒๔-๒๕ เก็บรักษาทีห่ อศิลป์วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี 20 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 20
7/3/61 BE 1:12 PM
ด้านซ้ายตู้ ภาพพระพุทธเจ้าประทับนัง่ บนบัลลังก์ ประกอบลายพุม่ ข้าวบิณฑ์หน้าขบ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 21
OK�������.indd 21
7/3/61 BE 1:12 PM
ด้านขวาตู้ ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์หน้าขบ 22 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 22
7/3/61 BE 1:12 PM
ตู้หมายเลข ๒ (วัดหลวง)
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 23
23
7/3/61 BE 1:12 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๗๙Xหนา ๗๖X สูง ๑๔๖ ซม. ภาพรามเกียรติ์ ตอนหนุมานรบไมยราพ หนุมานถล่มเมืองบาดาล ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ พุทธศตวรรษที่ ๒๔-๒๕ เก็บรักษาที่ หอศิลป์วทิ ยาลัย อาชีวศึกษาอุบลราชธานี 24 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 24
7/3/61 BE 1:12 PM
ทีม่ า : หนังสือลายรดน�ำ้ กับพัฒนาการ หน้า ๒๘๘ ด้านขวาตู้ เรือ่ งรามเกียรติ์ ตอน อินทรชิตแปลงเป็นพระอินทร์ หนุมานหักคอช้างเอราวัณ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 25
OK�������.indd 25
7/3/61 BE 1:12 PM
ทีม่ า : หนังสือลายรดน�ำ้ กับพัฒนาการ หน้า ๒๙๐ ด้านซ้ายตู้ ด้านบน เรือ่ ง “วิธรุ ชาดก” ตอน ปุณณกะยักษ์จบั วิธรุ บัณฑิตโยนลงไปในเหว ด้านล่าง เรือ่ ง “มโหสถชาดก” ตอน มโหสถหยิบดาบทีซ่ อ่ นไว้ ท�ำทีวา่ จะตัดพระเศียรพระเจ้าจุลนี 26 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 26
7/3/61 BE 1:12 PM
ทีม่ า : หนังสือลายรดน�ำ้ กับพัฒนาการ หน้า ๒๙๒ ด้านหลัง ภาพต้นไม้ และสัตว์นานาชนิด ทีแ่ สดงถึงความอุดมสมบูรณ์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 27
OK�������.indd 27
7/3/61 BE 1:12 PM
ตู้หมายเลข ๓ (วัดหลวง)
28 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 28
7/3/61 BE 1:12 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๘๕Xหนา ๘๑X สูง ๑๙๗ ซม. ภาพลายกระหนกเครือเถา ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ พุทธศตวรรษที่ ๒๔-๒๕ เก็บรักษาที่ หอศิลป์วทิ ยาลัย อาชีวศึกษาอุบลราชธานี ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 29
OK�������.indd 29
7/3/61 BE 1:12 PM
ด้านขวาตู้ เรือ่ ง รามเกียรติ์ หนุมานรบไมยราพ ประกอบกระหนกเครือเถา 30 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 30
7/3/61 BE 1:12 PM
ด้านซ้ายตู้ ลายกระหนกเครือเถา ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 31
OK�������.indd 31
7/3/61 BE 1:12 PM
ตู้หมายเลข ๔ (วัดหลวง)
32 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 32
7/3/61 BE 1:12 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๙๐ X หนา ๘๒ X สูง ๑๘๙ ซม. ภาพลายกระหนกเครือเถา ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ พุทธศตวรรษที่ ๒๔-๒๕ เก็บรักษาทีห่ อศิลป์วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 33
OK�������.indd 33
7/3/61 BE 1:12 PM
ด้านขวาตู้ ภาพพระพุทธเจ้าประทับนัง่ บนโพธิบลั ลังก์ ด้านล่างเป็นภาพคชสีหส์ องตัว ประกอบลายกระหนกเครือเถา 34 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 34
7/3/61 BE 1:12 PM
ด้านซ้ายตู้ เรือ่ งรามเกียรติ์ ตอนพระรามเดินดง ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 35
OK�������.indd 35
7/3/61 BE 1:12 PM
ตู้หมายเลข ๕ (วัดหลวง)
36 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 36
7/3/61 BE 1:12 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๗๙ X หนา ๗๗ X สูง ๑๘๖ ซม. เรือ่ งนิทานพืน้ บ้านสังข์ศลิ ป์ชยั ตอนศิลป์ชยั ยิงธนูไปตกถึงหน้า พญาครุฑในนครฉิมพลี พญาครุฑจึงน�ำไพรพลทัง้ หลายมาถวาย เครือ่ งบรรณาการพร้อมให้การอารักขา ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ พุทธศตวรรษที่ ๒๔-๒๕ เก็บรักษาทีห่ อศิลป์วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 37
OK�������.indd 37
7/3/61 BE 1:13 PM
ด้านซ้ายตู้ ภาพด้านบนเรือ่ งนิทานพืน้ บ้านสังข์ศลิ ป์ชยั ด้านล่างเป็นเรือ่ งพระเวสสันดร ตอนชูชกจับกัณหาชาลี มัดมือพาเดินกลับบ้าน 38 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 38
7/3/61 BE 1:13 PM
ด้านขวาตู้ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 39
OK�������.indd 39
7/3/61 BE 1:13 PM
ตู้หมายเลข ๖ (วัดศรีอุบลรัตนาราม)
40 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 40
7/3/61 BE 1:13 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๗๖ X หนา ๗๖ X สูง ๑๖๕ ซม. ภาพยักษ์ ๒ ตน ประกอบลายประจ�ำยาม ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ตอนต้น ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 41
OK�������.indd 41
7/3/61 BE 1:13 PM
ด้านขวาและซ้ายตู้ ปิดทองทึบ 42 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 42
7/3/61 BE 1:13 PM
ด้านหลัง ภาพต้นไม้ประดิษฐ์ ประกอบภาพนกและลิง ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 43
OK�������.indd 43
7/3/61 BE 1:13 PM
ตู้หมายเลข ๗ (วัดศรีอุบลรัตนาราม)
44 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 44
7/3/61 BE 1:13 PM
ตูพ้ ระธรรมขาสิงห์ ขนาด กว้าง ๘๐ X หนา ๕๔ X สูง ๑๗๔ ซม. ด้านหน้าเป็นบานกระจก ๖ ช่อง ขอบตูล้ ายไม้ แกะสลัก ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ตอนต้น สร้างวันพุธขึน้ ๑๕ ค�ำ่ ปีฉลู จุลศักราช ๑๒๕๑ (พ.ศ. ๒๔๓๒) ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 45
OK�������.indd 45
7/3/61 BE 1:13 PM
ทีม่ า : หนังสือลายรดน�ำ้ กับพัฒนาการ หน้า ๓๑๔ ด้านซ้ายตู้ เรือ่ ง รามเกียรติ์ ด้านบน พระลักษณ์รบกับอินทรชิต ด้านล่างตอนหนุมาน สุครีพ และไพร่พลลิงเข้าต่อดีกบั อสูรวายุภกั ษ์ 46 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 46
7/3/61 BE 1:13 PM
ทีม่ า : หนังสือลายรดน�ำ้ กับพัฒนาการ หน้า ๓๑๒ ด้านขวาตู้ เรือ่ ง รามเกียรติ์ ตอนพระรามเดินดง ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 47
OK�������.indd 47
7/3/61 BE 1:13 PM
ด้านหลังตู้ ภาพปราสาท เขียนอักษรจารึกวัน เดือน ปีทสี่ ร้าง 48 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 48
7/3/61 BE 1:13 PM
ตู้หมายเลข ๘ (วัดศรีอุบลรัตนาราม)
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 49
49
7/3/61 BE 1:13 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๘๙ X หนา ๘๐ X สูง ๒๐๓ ซม. เรือ่ ง รามเกียรติ์ ตอนหนุมาน รบ ไมยราพทีเ่ มืองบาดาล ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ตอนต้น จารึกในตูห้ นังสืออ่านไทย พระครูวมิ ลอุปลารักษ์ (ชุตปิ ญโญ สมบัต)ิ รองเจ้าอาวาส “พระพุทธสัตราชล่วงแล้ว ๒ พัน ๔ ร้อย ๖ พระวัสสาเจ้าอุปราดมีสทั ธาสร้างตูห้ น่วยนีไ้ ว้กบั พระศาสนา แผ่นส�ำเร็จการเขียนใน เดือน ๓ ขึน้ ๑๒ ปีกรุเบญลัก” 50 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 50
7/3/61 BE 1:13 PM
ด้านขวาตู้ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 51
OK�������.indd 51
7/3/61 BE 1:13 PM
ด้านซ้ายตู้ 52 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 52
7/3/61 BE 1:14 PM
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 53
OK�������.indd 53
7/3/61 BE 1:14 PM
ด้านหลัง ภาพรามสูร 54 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 54
7/3/61 BE 1:14 PM
ตู้หมายเลข ๙ (วัดมณีวนาราม)
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 55
55
7/3/61 BE 1:14 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๘๖ X หนา ๘๖ X สูง ๑๘๓ ซม. ลายกระหนกเครือเถา ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓ 56 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 56
7/3/61 BE 1:14 PM
ด้านขวาตู้ ลายกระหนกเครือเถา ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 57
OK�������.indd 57
7/3/61 BE 1:14 PM
ด้านซ้ายตู้ ลายกระหนกเครือเถา 58 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 58
7/3/61 BE 1:14 PM
ด้านหลังตู้ เรือ่ ง ปาจิต อรพิม ตอนนางอรพิมใช้มดี ฟันคอนายพราน ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 59
OK�������.indd 59
7/3/61 BE 1:14 PM
ตู้หมายเลข ๑๐ (วัดมณีวนาราม)
60 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 60
7/3/61 BE 1:14 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๗๘ X หนา ๗๘ X สูง ๑๘๕ ซม. เรือ่ งนิทานพืน้ บ้านสังข์ศลิ ป์ชยั ประกอบลายกระหนกเครือเถา ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๓ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 61
OK�������.indd 61
7/3/61 BE 1:14 PM
62 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 62
7/3/61 BE 1:14 PM
ด้านขวาตู้ เรือ่ งนิทานพืน้ บ้านสังข์ศลิ ป์ชยั ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 63
OK�������.indd 63
7/3/61 BE 1:14 PM
ด้านซ้ายตู้ เรือ่ ง “วิธรุ ชาดก” ตอนพระวิธรุ บัณฑิตเกาะหางม้ามโนมัยสินธพ ของปุณณกยักษ์ไปนาคพิภพ 64 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 64
7/3/61 BE 1:15 PM
ด้านหลังตู้ ภาพเจ้าชายสิทธัตถะตัดเมาลี และภาพพระแม่ธรณีบบี มวยผม ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 65
OK�������.indd 65
7/3/61 BE 1:15 PM
ตู้หมายเลข ๑๑ (วัดไชยมงคล)
66 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 66
7/3/61 BE 1:15 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๗๖ X หนา ๗๖ X สูง ๑๗๘ ซม. ภาพพระพุทธเจ้าประทับนัง่ บนโพธิบลั ลังก์ประกอบ ลายกระหนกเครือเถา ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 67
OK�������.indd 67
7/3/61 BE 1:15 PM
ด้านขวาตู้ ภาพพระพุทธเจ้าประทับนัง่ บนโพธิบลั ลังก์ ประกอบลายกระหนกเครือเถา 68 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 68
7/3/61 BE 1:15 PM
ด้านซ้ายตู้ ภาพพระพุทธเจ้าประทับนัง่ บนโพธิบลั ลังก์ ประกอบลายกระหนกเครือเถา ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 69
OK�������.indd 69
7/3/61 BE 1:15 PM
ด้านหลังตู้ พระมาลัยสนทนาธรรมกับพระอินทร์ และพระศรีอารยเมตไตรยเทวบุตร ณ พระจุฬามณีเจดีย์ สวรรค์ชนั้ ดาวดึงส์ 70 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 70
7/3/61 BE 1:15 PM
ตู้หมายเลข ๑๒ (วัดเลียบ)
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 71
71
7/3/61 BE 1:15 PM
ตู้หมายเลข ๑๓ (วัดใต้)
72 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 72
7/3/61 BE 1:15 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๘๕ X หนา ๗๗ X สูง ๑๗๓ ซม. เรือ่ งรามเกียรติ์ ตอนหนุมานรบไมยราพ หนุมานถล่มเมืองบาดาลประกอบลายกระหนกเครือเถา ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 73
OK�������.indd 73
7/3/61 BE 1:15 PM
74 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 74
7/3/61 BE 1:15 PM
ด้านขวาตู้ ด้านบน เรือ่ งพุทธประวัติ ด้านล่าง เรือ่ งมโหสถชาดก ภาพเกวัฏพราหมณ์กม้ ลงเก็บแก้วมณีดว้ ยความโลภ มโหสถจึงกดคอเกวัฏพราหมณ์ไว้ ผลักให้กระเด็นไป แล้วให้ทหารร้องประกาศว่า เกวัฏพราหมณ์กม้ ลงไหว้มโหสถ แล้วถูกผลักไปด้วยความรังเกียจ บรรดาทหารมองเห็นแต่ภาพ พากันกลัว ถอยหนีไปไม่เป็นกระบวน กองทัพก็แตกพ่ายไป ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 75
OK�������.indd 75
7/3/61 BE 1:15 PM
ด้านซ้ายตู้ เรือ่ ง วิธรุ ชาดก ผูบ้ ำ� เพ็ญสัจบารมี ด้านบนวิธรุ บัณฑิตแสดงธรรมโปรดปุณณกะยักษ์ ด้านล่าง ตอน ปุณณกะยักษ์จบั วิธรุ บัณฑิตโยนลงเหว 76 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 76
7/3/61 BE 1:15 PM
ตู้หมายเลข ๑๔ (วัดใต้)
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 77
77
7/3/61 BE 1:15 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๘๕ X หนา ๗๙ X สูง ๑๗๕ ซม. เรือ่ ง พุทธประวัติ ตอนเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์ ประกอบลายกระหนกเครือเถาฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ 78 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 78
7/3/61 BE 1:15 PM
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 79
OK�������.indd 79
7/3/61 BE 1:15 PM
ด้านขวาตู้ 80 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 80
7/3/61 BE 1:15 PM
ด้านซ้ายตู้ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 81
OK�������.indd 81
7/3/61 BE 1:16 PM
ด้านหลังตู้ ภาพต้นไม้ประกอบฝูงสัตว์ตา่ งๆ และนักสิทธ์ วิทยาธร 82 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 82
7/3/61 BE 1:16 PM
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 83
OK�������.indd 83
7/3/61 BE 1:16 PM
ตู้หมายเลข ๑๕ (วัดใต้)
84 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 84
7/3/61 BE 1:16 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๘๕ X หนา ๗๗ X สูง ๑๗๓ ซม. เรือ่ ง สังข์ศลิ ป์ชยั ประกอบลายกระหนกเครือเถา ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 85
OK�������.indd 85
7/3/61 BE 1:16 PM
ด้านขวาตู้ เรือ่ ง มโหสถชาดก ตอน เกวัฏพราหมณ์กม้ ลงเก็บแก้วมณี ด้วยความโลภ มโหสถจึงกดคอเกวัฏไว้ ผลักให้กระเด็นไป แล้วให้ทหารร้องประกาศว่า เกวัฏพราหมณ์กม้ ลงไหว้มโหสถแล้วถูกผลักไปด้วยความรังเกียจ บรรดาทหารมองเห็นแต่ภาพเกวัฏพราหมณ์กม้ ลงแทบเท้า แต่ไม่ทราบว่าก้มลงด้วยเหตุใด ก็เชือ่ ตามทีป่ า่ วประกาศ พากันกลัวถอยหนีไปไม่เป็นกระบวน กองทัพก็แตกพ่ายไป 86 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 86
7/3/61 BE 1:16 PM
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 87
OK�������.indd 87
7/3/61 BE 1:16 PM
ด้านซ้ายตู้ ลายกระหนกเครือเถา 88 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 88
7/3/61 BE 1:16 PM
ด้านหลังตู้ เรือ่ งพระมาลัยสนทนาธรรมกับพระอินทร์ และพระศรีอารยเมตไตรยเทวบุตร ทีพ่ ระจุฬามณีเจดีย์ สวรรค์ชนั้ ดาวดึงส์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 89
OK�������.indd 89
7/3/61 BE 1:16 PM
ตู้หมายเลข ๑๖ (วัดศรีจุมพล)
90 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 90
7/3/61 BE 1:16 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๘๓ X หนา ๘๓ X สูง ๑๘๗ ซม. เรือ่ งนิทานพืน้ บ้านสังข์ศลิ ป์ชยั ประกอบลายกระหนกเครือเถา ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 91
OK�������.indd 91
7/3/61 BE 1:16 PM
ด้านซ้ายตู้ ด้านล่างภาพกินรี ประกอบลายกระหนกเครือเถา 92 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 92
7/3/61 BE 1:16 PM
ด้านหลัง เรือ่ งนิทานพืน้ บ้าน สังข์ศลิ ป์ชยั ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 93
OK�������.indd 93
7/3/61 BE 1:16 PM
ตู้หมายเลข ๑๗ (วัดศรีจุมพล)
94 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 94
7/3/61 BE 1:16 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๙๐ X หนา ๘๙ X สูง ๒๐๓ ซม. นิทานพืน้ บ้าน สังข์ศลิ ป์ชยั ประกอบลายกระหนกเครือเถา ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 95
OK�������.indd 95
7/3/61 BE 1:17 PM
96 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 96
7/3/61 BE 1:17 PM
ด้านขวาตู้ ลายกระหนกเครือเถา ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 97
OK�������.indd 97
7/3/61 BE 1:17 PM
ด้านหลัง ลายกระหนกเครือเถา 98 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 98
7/3/61 BE 1:17 PM
ตู้หมายเลข ๑๘ (วัดบ้านคูขาด)
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 99
99
7/3/61 BE 1:17 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมูยอดหลังคาทรงจัว่ ขนาด กว้าง ๑๐๗ X หนา ๘๔ X สูง ๒๓๘ ซม. ทัง้ สีด่ า้ นของตูป้ ดิ ทองลายฉลุรปู ดอกไม้ คนขีม่ า้ คนขีช่ า้ ง นก นกยูง และกวาง ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ 100 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 100
7/3/61 BE 1:17 PM
ด้านขวาและด้านซ้ายตู้ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 101
OK�������.indd 101
7/3/61 BE 1:17 PM
ตู้หมายเลข ๑๙ (วัดบ้านโพนทราย)
102 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 102
7/3/61 BE 1:17 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๗๕ X หนา ๖๔ X สูง ๑๙๑ ซม. ภาพกินรีและราชสีหบ์ นลายกระหนกเครือเถา ประกอบภาพสัตว์ ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 103
OK�������.indd 103
7/3/61 BE 1:17 PM
104 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 104
7/3/61 BE 1:17 PM
ด้านขวาตู้ เรือ่ งสังข์ศลิ ป์ชยั
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 105
OK�������.indd 105
7/3/61 BE 1:17 PM
ด้านซ้ายตู้ เรือ่ งสังข์ศลิ ป์ชยั
106 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 106
7/3/61 BE 1:17 PM
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 107
OK�������.indd 107
7/3/61 BE 1:17 PM
ด้านหลังตู้
108 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 108
7/3/61 BE 1:17 PM
ตู้หมายเลข ๒๐ (วัดสุปัฏนารามวรวิหาร)
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 109
109
7/3/61 BE 1:17 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ลายกระหนกเครือเถา ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ 110 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 110
7/3/61 BE 1:17 PM
ด้านขวาตู้ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 111
OK�������.indd 111
7/3/61 BE 1:17 PM
ด้านซ้ายตู้ เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกผนวช พร้อมม้ากัณฐกะ และตัดเมาลี 112 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 112
7/3/61 BE 1:17 PM
ตู้หมายเลข ๒๑ (วัดสุปัฏนารามวรวิหาร)
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 113
113
7/3/61 BE 1:17 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ด้านหน้าเป็นช่องกระจก ๔ ช่อง ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ 114 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 114
7/3/61 BE 1:18 PM
ด้านขวาตู้ ด้านบน ลายกระหนกเครือเถา ๒ ช่อง ด้านล่าง ลายลูกฟักก้ามปูแนวนอน ๑ ช่อง ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 115
OK�������.indd 115
7/3/61 BE 1:18 PM
ด้านซ้ายตู้ ด้านบน ลายลูกฟักก้ามปูแนวตัง้ ๒ ช่อง ด้านล่าง ลายลูกฟักก้ามปูแนวนอน ๑ ช่อง 116 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 116
7/3/61 BE 1:18 PM
ตู้หมายเลข ๒๒ (วัดหลวง)
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 117
117
7/3/61 BE 1:18 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๘๖ X หนา ๗๘ X สูง ๑๘๘ ซม. เรือ่ ง ต�ำนานฟ้าร้อง ฟ้าแลบ ภาพจับรามสูรรบกับอรชุน เทพอรชุนเสียที ถูกรามสูรจับฟาดกับภูเขาตาย ประกอบลายกระหนกเครือเถา ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ เก็บรักษาทีพ่ พิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี 118 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 118
7/3/61 BE 1:18 PM
ด้านขวาตู้ เรือ่ งพุทธประวัติ ตอนเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์ ตัดเมาลี และรับบาตรจากพระพรหม ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 119
OK�������.indd 119
7/3/61 BE 1:18 PM
ด้านซ้ายตู้ เรือ่ งพุทธประวัติ ตอน มารพจญ และพระแม่ธรณีบบี มวยผม 120 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 120
7/3/61 BE 1:18 PM
ด้านหลังตู้ ภาพต้นไม้ประกอบภาพสัตว์นานาชนิด ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 121
OK�������.indd 121
7/3/61 BE 1:18 PM
ตู้หมายเลข ๒๓ (วัดหลวง)
122 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 122
7/3/61 BE 1:18 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๘๓ X หนา ๗๔ X สูง ๑๗๖ ซม. ภาพเทวดาในท่านัง่ บนลายกระหนกเครือเถา ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ เก็บรักษาทีพ่ พิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติอบุ ลราชธานี ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 123
OK�������.indd 123
7/3/61 BE 1:18 PM
ด้านขวาตู้ ลายกระหนกเครือเถา 124 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 124
7/3/61 BE 1:18 PM
ด้านซ้ายตู้ ลายกระหนกเครือเถา ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 125
OK�������.indd 125
7/3/61 BE 1:18 PM
ตู้หมายเลข ๒๔ (วัดบ้านโพนงาม)
ทีม่ า : ลายรดน�ำ้ กับพัฒนาการ หน้า ๓๐๘ ด้านซ้ายตู้ 126 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 126
7/3/61 BE 1:18 PM
ทีม่ า : ลายรดน�ำ้ กับพัฒนาการ หน้า ๓๐๔ ด้านขวาตู้ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 127
OK�������.indd 127
7/3/61 BE 1:18 PM
ตู้หมายเลข ๒๕ (วัดราษฎร์ประดิษฐ์)
128 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 128
7/3/61 BE 1:18 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๗๕ X หนา ๗๕ X สูง ๒๐๑ ซม. เรือ่ ง พุทธประวัติ ภาพพระพุทธเจ้าประทับนัง่ บนบัลลังก์ ประกอบลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 129
OK�������.indd 129
7/3/61 BE 1:18 PM
ด้านขวาตู้ 130 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 130
7/3/61 BE 1:18 PM
ด้านซ้ายตู้ ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 131
OK�������.indd 131
7/3/61 BE 1:18 PM
ด้านหลังตู้ เรือ่ ง พุทธประวัติ ตอน ยมกปาฏิหาริย์ 132 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 132
7/3/61 BE 1:18 PM
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 133
OK�������.indd 133
7/3/61 BE 1:18 PM
ตู้หมายเลข ๒๖ (วัดราษฎร์ประดิษฐ์)
134 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 134
7/3/61 BE 1:19 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๗๖ X หนา ๗๖ X สูง ๑๙๘ ซม. ลายกระหนกเครือเถา ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 135
OK�������.indd 135
7/3/61 BE 1:19 PM
ด้านขวาตู้ ลายกระหนกเครือเถา 136 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 136
7/3/61 BE 1:19 PM
ด้านซ้ายตู้ ลายกระหนกเครือเถา ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 137
OK�������.indd 137
7/3/61 BE 1:19 PM
ด้านหลังตู้ ต้นมักกะลีผล 138 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 138
7/3/61 BE 1:19 PM
ตู้พระธรรมปิดทองลายฉลุ
ตู้หมายเลข ๒๗ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร)
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 139
139
7/3/61 BE 1:19 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๘๕ X หนา ๘๔ X สูง ๑๖๗ ซม. ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ 140 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 140
7/3/61 BE 1:19 PM
ด้านขวาตู้ ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ทม่ี นี กประกอบลาย ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 141
OK�������.indd 141
7/3/61 BE 1:19 PM
ด้านซ้ายตู้ ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ทม่ี นี กประกอบลาย 142 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 142
7/3/61 BE 1:19 PM
ด้านหลังตู้ ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ทม่ี นี กประกอบลาย ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 143
OK�������.indd 143
7/3/61 BE 1:19 PM
ตู้หมายเลข ๒๘ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร)
144 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 144
7/3/61 BE 1:19 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๘๕ X หนา ๘๕ X สูง ๑๙๖ ซม. ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ภายใน รูปทรงยอดจัว่ ปราสาท ด้านบนซ้าย และขวา เป็นลายพันธุพ์ ฤกษา ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 145
OK�������.indd 145
7/3/61 BE 1:19 PM
ด้านขวาตู้ ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ 146 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 146
7/3/61 BE 1:19 PM
ด้านซ้ายตู้ ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 147
OK�������.indd 147
7/3/61 BE 1:19 PM
ด้านหลัง ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ 148 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 148
7/3/61 BE 1:19 PM
ตู้หมายเลข ๒๙ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร)
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 149
149
7/3/61 BE 1:19 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๗๑ X หนา ๗๓ X สูง ๑๕๗ ซม. ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ 150 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 150
7/3/61 BE 1:19 PM
ด้านซ้ายตู้ ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 151
OK�������.indd 151
7/3/61 BE 1:19 PM
ตู้หมายเลข ๓๐ (วัดไชยมงคล)
152 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 152
7/3/61 BE 1:20 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๘๓ X หนา ๗๗ X สูง ๒๐๒ ซม. ด้านหน้าเป็นบานกระจก ๖ ช่อง ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 153
OK�������.indd 153
7/3/61 BE 1:20 PM
ด้านซ้ายและขวาตู้ ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์หน้าขบ 154 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 154
7/3/61 BE 1:20 PM
ตู้หมายเลข ๓๑ (วัดปทุมมาลัย)
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 155
155
7/3/61 BE 1:20 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๗๗ X หนา ๗๗ X สูง ๑๙๕ ซม. ภาพพระพุทธเจ้าประทับนัง่ ประกอบลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ 156 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 156
7/3/61 BE 1:20 PM
ด้านขวา ด้านซ้าย และด้านหลังตู้ ลายลักษณะเดียวกัน ภาพพระพุทธเจ้า ประทับนัง่ ประกอบลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 157
OK�������.indd 157
7/3/61 BE 1:20 PM
ตู้พระธรรมปิดทองลายขูด ตู้หมายเลข ๓๒ (วัดทุ่งศรีวิไล)
158 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 158
7/3/61 BE 1:20 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาดกว้าง ๗๘ X หนา ๗๘ X สูง ๑๗๖ ซม. ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ เส้นแลภายในกลีบดอก ใช้การขูดลายเป็นเส้นเฉพาะบานด้านหน้า ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 159
OK�������.indd 159
7/3/61 BE 1:20 PM
ด้านขวาและซ้ายตู้ ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ 160 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 160
7/3/61 BE 1:20 PM
ตู้หมายเลข ๓๓ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร)
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 161
161
7/3/61 BE 1:20 PM
ตูพ้ ระธรรมยอดมณฑป ขนาด กว้าง ๙๖ X หนา ๙๓ X สูง ๒๐๖ ซม. ภาพทวารบาลทัง้ ๔ ด้าน ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ 162 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 162
7/3/61 BE 1:20 PM
ตู้พระธรรมปิดทองทึบ
ตู้หมายเลข ๓๔ (วัดศรีอุบลรัตนาราม)
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๗๑ X หนา ๗๔ X สูง ๑๗๘ ซม. ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 163
163
7/3/61 BE 1:20 PM
ตู้หมายเลข ๓๕ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร)
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๘๙ X หนา ๘๙ X สูง ๒๐๐ ซม. ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ 164 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 164
7/3/61 BE 1:20 PM
ตู้หมายเลข ๓๖ (วัดสุปัฏนารามวรวิหาร)
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 165
165
7/3/61 BE 1:20 PM
ตู้พระธรรมกระแหนะรักปั้นลายปิดทอง ตู้หมายเลข ๓๗ (วัดศรีอุบลรัตนาราม)
166 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 166
7/3/61 BE 1:20 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๗๔ X หนา ๗๑ X สูง ๑๗๘ ซม. ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ ปิดทองบนพืน้ สีแดง ด้านขวาและซ้ายปิดทองทึบ ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 167
OK�������.indd 167
7/3/61 BE 1:20 PM
ตู้หมายเลข ๓๘ (วัดศรีอุบลรัตนาราม)
168 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 168
7/3/61 BE 1:20 PM
ตูพ้ ระธรรมขาหมู ขนาด กว้าง ๗๑ X หนา ๗๖ X สูง ๑๘๑ ซม. ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ ปิดทองบนพืน้ สีเขียว ฝีมอื ช่างพืน้ ถิน่ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 169
OK�������.indd 169
7/3/61 BE 1:20 PM
ด้านขวาและซ้ายตู้ ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์ปดิ ทอง บนพืน้ สีเขียว 170 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 170
7/3/61 BE 1:20 PM
ด้านหลังตู้ ปิดทองลายฉลุ ลายพุม่ ข้าวบิณฑ์หน้าขบ ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี 171
OK�������.indd 171
7/3/61 BE 1:20 PM
ตู้พระธรรมแบบโปร่ง
ตู้หมายเลข ๓๙ (วัดทุ่งศรีเมือง)
172 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 172
7/3/61 BE 1:20 PM
หีบพระธรรม
หีบพระธรรมหมายเลข ๑ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร)
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 173
173
7/3/61 BE 1:20 PM
หีบพระธรรมหมายเลข ๒ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร)
174 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 174
7/3/61 BE 1:21 PM
หีบพระธรรมหมายเลข ๓ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร)
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 175
175
7/3/61 BE 1:21 PM
หีบพระธรรมหมายเลข ๔ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร)
176 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 176
7/3/61 BE 1:21 PM
หีบพระธรรมหมายเลข ๕ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร)
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 177
177
7/3/61 BE 1:21 PM
หีบพระธรรมหมายเลข ๖ (วัดมหาธาตุ จังหวัดยโสธร)
178 ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 178
7/3/61 BE 1:21 PM
หีบพระธรรมหมายเลข ๗ (วัดราษฎร์ประดิษฐ์)
ต้พู ระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
OK�������.indd 179
179
7/3/61 BE 1:21 PM
บรรณานุกรม กรมศิลปากร. (๒๕๒๕). ศิลปวัตถุกรุงรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : พิฆเณศ. ฉลอง ฉัตรมงคล. (ม.ป.ป.). ลายรดน�ำ้ . (ม.ป.ท.). โชติ กัลยาณมิตร. (๒๕๔๘). พจนานุกรมสถาปัตยกรรม และศิลปะเกีย่ วเนือ่ ง. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์. น. ณ ปากน�ำ้ . (๒๕๓๓). ศิลปะลายรดน�ำ้ . กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์. นฤทธิ์ วัฒนภู. (๒๕๕๒). ลายรดน�ำ้ . กรุงเทพฯ : วาดศิลป์ นฤทธิ์ วัฒนภู. (๒๕๕๔). ลวดลายฉลุ. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์ แน่งน้อย ปัญจพรรค์, สมชาย ณ นครพนม. (๒๕๓๕). ศิลปะไม้แกะสลัก สุโขทัย อยุธยา รัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์เริงรมย์. พระสิรธิ รรมวงศาจารย์. (๒๕๒๙). ทะเบียนจารึกในประเทศไทย อักษรธรรม และ อักษรไทย พุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๔ ศิลาจารึก-ไม้สกั ทอง-วัดใต้เทิง ต.ในเมือง อ.เมือง อุบลราชธานี จ.อุบลราชธานี. อุบลราชธานี : แดงการพิมพ์. วิทยาลัยช่างศิลป สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม. (๒๕๔๘). ลายรดน�ำ้ กับ พัฒนาการ. กรุงเทพฯ : รุง่ ศิลป์การพิมพ์. เศรษฐมนตร์ กาญจนกุล. (๒๕๕๐). ศิลปะการปิดทอง. กรุงเทพฯ : วีพริน้ ท์ (๑๙๙๑). สนัน่ รัตนะ. (๒๕๔๙). ศิลปะลายก�ำมะลอ. กรุงเทพฯ : สิปประภา. สิปปวิทชญ์ บุณยพรภวิษย์. (๒๕๔๙). สมุดภาพลายรดน�ำ้ เล่ม ๑. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริน้ ติง้ เฮ้าส์. สมเจตน์ วิมงเกษม, สราวุธ รูปนิ . (๒๕๕๑). กรรมวิธดี งั้ เดิมในการผลิตงานช่างพุทธศิลป์นา่ น. เชียงใหม่ : สันติ ภาพแพ็คพรินท์. อภิวนั ทน์ อดุลยพิเชฏฐ์. (๒๕๕๕). ลายรดน�ำ้ . กรุงเทพฯ : ทวีวฒ ั น์การพิมพ์.
OK�������.indd 180
7/3/61 BE 1:21 PM
ตู้พระธรรมในจังหวัดอุบลราชธานี
ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษา ส�ำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ๘๕ ถนนสถลมาร์ค ต�ำบลเมืองศรีไค อ�ำเภอวารินช�ำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ๓๔๑๙๐ โทรศัพท์ ๐ ๔๕๓๕ ๓๑๔๘
����������.indd 2
6/22/61 BE 9:43 PM