พระอุโบสถหรือสิมอีสาน เปนอาคารขนาดเล็ก มีสัดสวน ทรวดทรง การตกแตงภายนอก ภายในเพื่อความสวยงาม การเลือกใชวัสดุที่มีในทองถิ่น ตลอดจนใชโครงสราง มีลักษณะที่คอน ขางลงตัว คือ ทุกอยางดูพอดี พอเหมาะ ไมเล็ก ไมใหญเกินไป เปนลักษณะของสถาปตยกรรม พื้นบานอีสานที่มีรูปแบบเรียบงาย หนักแนน มีพลัง มีความสมถะ สอคุณลักษณะแหงความ จริงใจ อันเปนคุณสมบัติเดนของชาวอีสาน สิมในภาคอีสานนั้นพบเห็นได ๒ ชนิด ไดแก สิมบก หรือคามสีมา และสิมน้ำ หรือ อุทกกะเขปะสีมา สิมบกหรือคามสีมา คือ สิมที่สรางไวบนบก มีขนาดไมใหญโตนัก มีผังแปลนรูสี่เหลี่ยมผืนผา สิมโปร่ง วัดบูรพาราม สิมวัดบ้านนาควาย สิมวัดแจ้ง ยาวต่ำสุด ๓ ชวงเสา และกวาง ๑ ชวงเสา นิยมทำประตูเขาเฉพาะดานหนาดานเดียว หลังคา อ.เมื อง จ.อุบลราชธานี อ.เมือง จ.อุบลราชธานี อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ทรงจั่ว มักมีปกนกคลุมดานขาง สิมบกบางหลังแกะสลักลวดลายเปนฮังผึ้ง (รวงผึ้ง) ประดับดาน มุขหนาทางเขา และบางหลังมีฮูปแตม (จิตรกรรมฝาผนัง) เขียนไวดานนอกมากกวาดานใน สิม หงส และคันทวยแลว มักประดับดวยฮังผึ้ง ที่ประดิษฐลวดลายสวยงามเปนพิเศษ บกนั้นมี 2 แบบ ไดแก สิมโปรง คือ สิมที่ไมทำผนังปดมิดชิด นิยมปดทึบเฉพาะดานหลังพระ สวนฐานแอวขันนั้นใชอิฐกอฉาบปูนแบบพื้นบาน มักกอเปนโบกคว่ำ (บัวคว่ำ) และ ประธาน และสิมทึบ คือ สิมที่ทำผนังปดทึบทั้ง ๔ ดาน ยกเวนชองประตูและหนาตางจะเปนผนัง โบกหงาย (บัวหงาย) สิมน้ำหรืออุทกกะเขปะสีมา ในอีสานมีนอยมาก สรางขึ้นเพราะความจำเปน ไมหรือกออิฐ สิมทึบจะมีองคประกอบตกแตงมากกวาสิมโปรง กลาวคือ นอกจากโหง ชอฟา หาง เรงดวนในการประกอบสังฆกรรมซึ่งไมมีวัดหรือมีเพียงสำนักสงฆที่ยังขาดสิม อันได ผูกพัทธสีมาถูกตองตามพระวินัย รากฐานของสิมน้ำในระยะแรกมักใชเรือหรือแพ ผูกมัดเขาหากัน แลวปูพื้นกระดานทำเปนโรงเรือนแบบงาย ๆ มิไดคำนึงถึงรูป แบบทางสถาปตยกรรมเพื่อความสวยงามแตประการใด สิมน้ำนิยมทำแพรหลาย ในชวงเผยแพรพุทธศาสนาธรรมยุตติกนิกาย ในสมัยของทานพระอาจารยมั่น ภูริ ทัตโต ทานพระอาจารยเสาร กันตสีโล และทานพระอาจารยสิงห ขัตยาคโม
อุโบสถ สิมอีสาน
ที่มา : สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคอีสาน เล่ม ๑๓
ฮูปแต้มบนสิมวัดใต้ยางขี้นก อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี
คันทวยสิมวัดใต้ยางขี้นก อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี
บันไดขึ้นสิมวัดแจ้ง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี
หน้าบันสิมวัดแจ้ง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี
สิมวัดบ้านตําแย อ.เมือง จ.อุบลราชธานี