ผ้ากาบบัวแห่งเมืองดอกบัว

Page 1

¼ผ ŒÒา¡กÒาºบºบÑัÇวáแËห ‹§งàเÁม×ืÍอ§ง´ดÍอ¡กºบÑัÇว ผากาบบัว เปนผาที่ไดรับ การยกยองวาเปนผาเอกลักษณ แหงจังหวัดอุบลราชธานี เปนผา ที่ทอดวยมับไม (ไหมเกลียวหาง กระรอก) สลับทอยกขิดและมัด หมี่ เสนยืนยอมแยกสีอยางเสน ทิว โดยบุคคลที่เปนผูคิดคนและ ออกแบบต น แบบของผ า ทอ กาบบัวคือ นายมีชัย แตสุจริยา ลักษณะและเทคนิคกาทอผา กาบบั ว นั ้ น เป น กระบวนการที ่ สะท อ นฝ ม ื อ เชิ ง ช า งทอผ า ชาว อุบล ผากาบบัวอาจทอดวยฝาย หรือไหม ประกอบดวยเสนยืน ซึ่ง ยอมอยางนอยสองสีเปนริ้วตาม ลักษณะ "ซิ่นทิว" ซึ่งมีความนิยม แพรหลายแถบอุบลราชานี ทอ พุงดวยไหมสีมับไม มัดหมี่ และ ขิด ผากาบบัว (จก) คือผาพื้น ทิว หรือผากาบบัวเพิ่มการจก กลายเป น ลวดลายกระจุ ก ดาว

(บางครั ้ ง เรี ย ก เกาะลายดาว) อาจจะเปนบางสวนหรือกระจาย บนผืนผาเพื่อสืบทอด "ซิ่นหัวจก ดาว" อันเปนเอกลักษณเฉพาะ ของผาซิ่นเมืองอุบล ผากาบบัว (จก) เหมาะใชในพิธีหรือโอกาส สำคัญ ผากาบบัว (คำ) หรือ ผาทอ ยกดวยไหมคำดิ้นทอง อาจสอด แทรกดวยไหมเงินหรือไหมสีตาง ๆ เปนผาที่ตองใชความปราณีตใน การทอสูง ผาไหมกาบบัวที่มีชื่อเสียง ไดแก ที่บานลาดสมดี ต.กุศกร อ.ตระการพืชผล จ.อุบลราชธานี เปนผาไหมที่ไดรับการสืบทอดมา จากบรรพบุรุษ ในอดีตจะเปนการ ทอไว น ุ  ง ห ม ในครั ว เรื อ น ใน พิธีกรรมทางศาสนา และใชเปน เครื่องสมมาในงานแตงงาน สวน ใหญจะใชผาไหมหมี่ขอ หมี่ขั้น ซิ ่ น ทิ ว หรื อ ผ า ไหมมั ด หมี ่ ล าย ดั้งเดิม เชน หมี่ลายตาหนาง

ลายบักจับวง ลายบักจับหวาน ลายสรอยดอกหมาก ลายโคนหา ลายคานเจ็ด ลายปลาซิว ซึ่งถือ เปนลายดั้งเดิมของทองถิ่น ที่มา : มีชัย แตสุจริยา,จุลสาร วิลาวัลย เมืองโคตร.วิทยานิพนธ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี, เรื่องการศึกษา โอกาสทางการตลาดของ ผลิตภัณฑผากาบบัว:กรณีศึกษา จังหวัดอุบล ราชธานี ๒๕๔๘:๓๖


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.