สืบหูก ผูกตะกอ !
ตะกอ เปนสวนประกอบของกี่ทอผา สวนใหญจะใชเสนเชือกจัด กลุมดายเสนยืนเพื่อเปดชองดายยืน โดยมีไมสอดเปนโครง 2 อันเรียก วา “เขาหูก” เวลาสอดดายตองสอดสลับกันไปเสนหนึ่งเวนเสนหนึ่ง และมีเชือกผูกเขาหูกแขวนไวกับโครงของกี่ดานบน สามารถเลื่อนไปมา ได สวนดานลางผูกเชือกติดกับคานเหยียบ เมื่อตองการดึงดายใหเปน ชองจะใชเทาเหยียบที่คานเหยียบทำใหเขาหูกเลื่อนขึ้น-ลง เกิดเปนชอง สำหรับใสดายพุง หากตองการทอผาเปนลวดลายที่งดงาม จะตองใช ตะกอและคานเหยียบจำนวนหลายอัน กี่ทอผาที่ฟมมี 2 เขา (ตะกอ) จะ เรียกกันวา ฟมสองเขาหรือสองตะกอ ถาฟมมี 3 เขา (ตะกอ) จะเรียก กันวา ฟมสามเขาหรือสามตะกอ ! ตะกอจะเปนอุปกรณที่ใชสำหรับแยกดายเสนยืนใหขึ้นลงสลับกัน เชน ในผาลายขัด เสนยืนที่ 1 ขึ้น เสนยืนที่ 2 ลง เสนยืนที่ 3 ขึ้น เสน ยืนที่ 4 ลง สลับกันไปจนหมดจำนวนเสนยืน โดยการเหยียบไมเหยียบ หูกขึ้น-ลงในขณะทอ ซึ่งในขณะที่เสนยืนแยกจากกันจะพุงกระสวยผาน ตลอดแนวเกิดเปนผาลายขัดขึ้น วิธีการเก็บตะกอหรือเก็บเขาจะแตก ตางกันไปตามลักษณะของผาและลวดลายของผาที่จะทำการทอ ! การสืบหูก คือ การตอเสนดายที่คนและตัดปลายแลวเขากับไส หูกที่ติดอยูกับเขาหูกและฟมที่คนทอผาผืนที่แลว เหลือคางไวกับฟม และเขาหูก โดยผูกปลายเสนดายจากไสหูกอันใหมเขากับปลายฝายจาก ไสหูกเดิมที่ติดอยูกับเขาหูกทีละคู เรียงลำดับกอนหลังของเสนดายให ถูกตอง โดยสังเกตลำดับจากการขัดกันของเสนดายที่ทำไวที่ขาไจ ผูกที ละคูไปเรื่อย ๆ จนหมด หากผูกขามเสนจะมีเสนดายเหลืออยู หากผูก ผิดลำดับ เวลาทอจะพุงกระสวยไมได ที่มา : สารานุกรมภูมิปญญาทองถิ่นไทย - ภูมิปญญาผาไทย