ฮูปแตม ศิลปงาม ณ วัดทุงศรีเมือง ! ภาพจิตรกรรมฝาผนังในหอพระบาท วัดทุงศรีเมือง ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี เปนงานจิตรกรรมที่มีคุณคามากแหงหนึ่ง ของเมืองอุบลราชธานี ไมมีผูใดทราบวาใครเปนชางเขียนภาพเหลานี้ แตคาด วาจะเปนสกุลชางพื้นเมืองอุบลที่ไดรับอิทธิพลจากชางหลวงกรุงเทพฯ ! ภาพจิตรกรรมในหอพระพุทธบาทของวัดทุงศรีเมือง ปรากฏอยูบนฝา ผนังภายในทั้งสี่ของตัวอาคาร เหนือสุดขอบผนังเขียนเปนภาพเทพชุมนุมนั่ง ประนมมือหันหนาเขาหาพระประธาน ถัดลงมาเปนลายหนากระดานมีลวดลาย ประจำยามรองรับเหลาเทพชุมนุม จากนั้นจะเปนอาณาบริเวณของงานจิต กรรมไลลงไปจนจรดฐานหนาตาง และรองรับดวยลายหนากระดานซึ่งทำ หนาที่คลายกับกรอบภาพทั้งบนและลางสุด ชางแตมมีความจงใจจะใชผนังทั้งสี่ ดานประดับประดาดวยงานจิตกรรมเพื่อถวายเปนพุทธบูชาแดพุทธศาสนา แมแตเสาหลอกก็ยังมีการตกแตงลวดลายและภาพปริศนาธรรม ตามประวัติ กลาววาภาพเขียนบริเวณเสาหลอกนี้เปนฝมือพระครูวิโรจนรัตโนบล เมื่อครั้ง เปนเจาอาวาสวัดทุงศรีเมือง ! เนื้อหาในงานจิตรกรรมเปนพุทธประวัติ ตอนพระพุทธเจาผจญมาร และปรินิพพานทศชาติชาดกปางอัครกุมารชาดกกับมหาเวสสันดรชาดกกัณฑ ตาง ๆ ตำนานพื้นบานอีสานเรื่องทาวปาจิตและนางอรพิมขามลำน้ำ แต ตำแหนงการวางภาพมิไดเครงอยางงานจิตรกรรมฝาผนังแบบประเพณีนิยม นอกจากนั้นชางแตมยังไดสอดแทรกเนื้อหาเรื่องราวที่ไดแสดงถึงประเพณี วัฒนธรรมดานตาง ๆ รวมทั้งสภาพสังคม วิถีชีวิตทองถิ่น ความเปนอยู ความเจริญของบานเมือง การประกอบอาชีพ การละเลน พิธีกรรม การแตง กาย ภาพอาคารสถาปตยกรรมซึ่งไดรับอิทธิพลจากศิลปะจีนในสมัยรัชกาลที่ 3 ในสมัยรัตนโกสินทร นอกจากนั้นยังมีภาพกิจกรรมของชาวตางชาติทั้งจีน ฝรั่ง แขก อินเดีย และญวน ที่เขามาเจริญสัมพันธไมตรีคาขาย ที่มา : ปยะฉัตร ปตะวรรณ และสุภัต รักเปยม. (2541). สถาปตยกรรมอุบลราชธานี. อุบลราชธานี: ชมรมอนุรักษสิ่งแวดลอมศิลปกรรมทองถิ่น จังหวัดอุบลราชธานี สำนัก ศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี. อนุสรณงานพระราชทานเพลิงศพ พระสิริพัฒนาภรณ ณ เมรุสถานนกหัสดีลิงค วัดทุง ศรีเมือง อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 26 พฤษภาคม 2557