หอไตรวัดบูรพาราม สิมวัดแจง
สิมวัดบูรพาราม
ศิลปกรรมอีสานในศาสนาคารเมืองอุบลราชธานี ! จากประวัติศาสตรการกอรางสรางเมืองมายาวนานนั้น พบวาลักษณะของศิลปกรรมและสถาปตยกรรมของจังหวัดอุบลราชธานีจะมี อิทธิพลของลานชาง เชียงรุง และหลวงพระบางปะปนอยู ดังจะเห็นไดจากอาคารที่พักอาศัย อาคารพาณิชย และศาสนาคารหรืออาคารที่ เกี่ยวกับศาสนา ! ศาสนาคารที่อยููภายในวัดมีหลายชนิด เชน สิม (อุโบสถ) วิหาร สถูปเจดีย หอแจก(ศาลาการเปรียญ) หอกลอง หอระฆัง หอโปง กุฏิ สงฆ หรือแมแตที่บรรจุอัฐิธาตุ ! เอกลักษณที่แสดงใหเห็นถึงความเปนศิลปกรรมแบบอีสาน ที่ปรากฏในศาสนาคารตาง ๆ ที่อยูในจังหวัดอุบลราชธานี จะเห็นไดชัดเจน จาก “สิมหรืออุโบสถ” ซึ่งเปนอาคารขนาดเล็ก มีสัดสวนทรวดทรง การตกแตงภายนอกภายในเพื่อความสวยงาม การเลือกใชวัสดุที่มีในทอง ถิ่น ตลอดจนใชโครงสรางมีลักษณะที่คอนขางลงตัว คือ ทุกอยางดูพอดีพอเหมาะ ไมเล็กไมใหญเกินไป เปนลักษณะของสถาปตยกรรมพื้น บานอีสานที่มีรูปแบบเรียบงาย หนักแนน มีพลัง มีความสมถะ สอคุณลักษณะแหงความจริงใจอันเปนคุณสมบัติเดนของชาวอีสาน นอกจากนี้ ยังเห็นไดจากสวนประกอบอื่น ๆ เชน ! สวนของชอฟาหรือโหง และหางหงส จะใชไมแกะสลักเปนรูปนาคที่มีหงอนสบัดปลายไสวเรียงรายหลายหงอน ซึ่งแตกตางจากทางภาค กลางคือ มีหงอนเดียว ราวบันไดทางขึ้นดานหนาของสิมหรืออุโบสถนิยมปนเปนรูปจระเขหมอบ เอาหัวหอยลงมาทางตีนบันไดและสวนหางชี้ ขึ้นบน หนาตางของอาคารเรือนไมนิยมแกะสลักเปนลวดลายเทาสิงหรองรับกรอบหนาตางหรือหยองหนาตาง คันทวยมีลักษณะออนชอย ชาง จะนิยมแกะสลักไมเปนรูปพญานาคบาง รูปหูบาง เปนตน ที่มา : สุทธิ์ ภิญโญวาณิชกะ. สิม : สถาปตยกรรมพื้นบานอีสาน, วันที่ 27 มีนาคม 2558. http://www.wisut.net/bureerum-article/สถาปตยกรรมพื้นบา/ ปยะฉัตร ปตะวรรณ และสุภัต รักเปยม. (2541). สถาปตยกรรมอุบลราชธานี. อุบลราชธานี: ชมรมอนุรักษสิ่งแวดลอมศิลปกรรมทองถิ่น จังหวัดอุบลราชธานี สำนักศิลปวัฒนธรรม สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี.
บันไดขึ้นหอพระบาท วัดทุงศรีเมือง
หยองหนาตางลวดลายเทาสิงห หอแจกวัดศรีอุบลรัตนาราม
ขอมูลทองถิ่น สำนักวิทยบริการ lib.ubu.ac.th/localinformation
คันทวยสิมวัดแจง