ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ประทับใจ สิกขา
ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติ ประทับใจ สิกขา ผาในวิถชี ีวิตไทดำ – อุบลราชธานี : โรงพิมพมหาวิทยาลัยอ ุบลราชธานี, 2552 100 หนา. 1. ผา 2. ไทดำ จำนวน 200 เลม ISBN : 978-974-523-197-9 จัดทำโดย โครงการศึกษาผาเคียนในวิถีชีวิตข องกลุมช าติพันธุไทดำ กองสงเสริมการวิจัย บริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปงบประมาณ พ.ศ. 2551 พิมพที่ โรงพิมพม หาวิทยาลัยอ ุบลราชธานี เลขที่ 85 ถนนสถลมารค ตำบลเมืองศรีไค อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
คุณคาความรู และคุณประโยชนใด ๆ ที่เปนก ุศลอันเกิดจากหนังสือฉบับน ี้ ขอนอมอุทิศแ ดร องศาสตราจารย ดร. วิโรฒ ศรีส ุโร คณบดีผ ูกอตั้งคณะศิลปประยุกตแ ละการออกแบบ มหาวิทยาลัยอ ุบลราชธานี ซึ่งถึงแกกรรมในระหวางที่ดำเนินโครงการ
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
กิตติกรรมประกาศ โครงการศึกษาผาเคียนในวิถีชีวิตกลุมชาติพันธุไทดำนี้สำเร็จลุลวงโดยความรวมมือเปนอยางดียิ่ง จาก ศูนยว ฒ ั นธรรมไทยทรงดำเขายอยตำบลหนองปรง อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี พิพธิ ภัณฑป านถนอม บานหนองจิก หมูท ่ี 1 ตำบลหนองปรง อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี ศูนยวฒ ั นธรรมไทยทรงดำบา นหวั เขาจนี หมู 1 ตำบลหวยยางโทน อำเภอปากทอ จังหวัดราชบุรี ศูนยอนุรักษศิลปวัฒนธรรมไทยทรงดำดอนคลัง ตำบลดอนคลัง อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดร าชบุรี กลุมทอผาไ ทยทรงดำ บานดอนมะเกลือ หมูท ี่ 4 ตำบล ดอนมะเกลือ อำเภออูทอง จังหวัดส ุพรรณบุรี กลุมท อผากี่กระตุกแ ละผลิตภัณฑจ ากผาทอ บานหนองหมู หมูท ี่ 5 ตำบลสระพฒ ั นา อำเภอกำแพงแสน จังหวัดน ครปฐม สำนักศ ลิ ปะและวฒ ั นธรรม มหาวิทยาลัยร าชภัฏ เลย อำเภอเมือง จังหวัดเลย ศูนยว ฒ ั นธรรมไทยทรงดำบ า นนาปา ห นาด หมู 4 ตำบลเขาแกว อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ขอขอบคุณ นางพานี แหงหน นางสาวศิริพร พูลสวัสดิ์ นางจุฑาทิพ อินเนียร และเจาหนาที่ สงเสริมก ารทองเที่ยวประจำศูนยว ัฒนธรรมไทยทรงดำ เทศบาลตำบลเขายอย อาจารยถนอม คงยิ้มล ะมัย เจาของพพิ ธิ ภัณฑป านถนอม อาจารยโ กศล แยมกาญจนวฒ ั น อาจารยโ รงเรียนเตรียมอดุ มศึกษาพฒ ั นาการ ดอนคลัง นายวิชาญ สระทองคุม ผูใหญบาน และนางสไว สระทองคุม ชาวไทดำบานหนองหมู นางออน ทันห า นางหนูจร ไพศนู ย ชาวไทดำบา นนาปา ห นาด ทีใ่ หค วามอนุเคราะหข อ มูล และสาธิตก ารทอผา ขอบคุณ กองสงเสริมการวิจัย บริการวิชาการและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ที่จัดสรร งบประมาณดำเนินโ ครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ปงบประมาณ 2551 และทายที่สุดโ ครงการนี้จะสำเร็จ ไมได หากขาดความรวมมือรวมใจจากเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทุกทาน ที่ใหความรวมมือจนสำเร็จลุลวงดวยดี ตามวัตถุประสงคข องโครงการ
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
คำนำ โครงการศึกษาผาเคียนในวิถีชีวิตกลุมชาติพันธุไทดำน้ี ไดรับแรงบันดาลใจจากแนวคิดของ รองศาสตราจารย ดร. วิโรฒ ศรีส โุ ร คณบดีผ กู อ ตัง้ ค ณะศลิ ปประยุกตแ ละการออกแบบ มหาวิทยาลัยอ บุ ลราชธานี ผูสืบสานงานดานศิลปวัฒนธรรมแถบลุมน้ำโขงและเสียชีวิตในระหวางดำเนินโครงการนี้ ทานตระหนักถึง ความสำคัญข องภูมิปญญาการทอผา มรดกทางวัฒนธรรมจากรุนสรู ุน สืบทอดกันม าอยางยาวนาน ทั้งด าน คติความเชื่อ ประเพณี การแสดงฐานะ การตกแตงร างกายใหสวยงาม หรือเพื่อปกปองรางกาย ที่บงบอกอัต ลักษณของเผาพันธุไดเปนอยางดี เปนงานศิลปะที่ตองใชความพยายาม ขยัน อดทน และความละเอียด ประณีต ในชวงการอพยพยายถิ่นนี้วัฒนธรรมเกี่ยวกับผาของชาวไทดำไดปรับเปลี่ยนไปบางดวยเหตุผลที่ แตกตางกัน จึงเปนการเสาะหาตำนานผาในอดีตท ี่หลายสวนไดสูญหายไปอันเนื่องจากถูกม องขาม กอนที่ผา ในวิถีชีวิตไทดำจะสูญหายไปตามกาลเวลา การลงพื้นทีศ่ ึกษาขอมูลเกี่ยวกับผาเคียนในวิถชี ีวิตไทดำนั้นพบวา “ผาเคียน” ทีช่ าวไทดำใช ไมวาจ ะ เปนการพันรอบศีรษะ การพันรอบเอว การพันตามแขนหรือขา ซึ่งการพันดังกลาวภาษาถิ่นอีสานโดยทั่วไป เรียกวา “เคียน” ในปจจุบันน ั้นพ บนอยมาก อาจมีสาเหตุม าจากวิถีชีวิตของชาวไทดำในประเทศไทยปจจุบัน ไดมีการปรับเปลี่ยนไปตามสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ที่แตกตางไปจากทางตอนเหนือของเวียดนาม และสปป.ลาว ผูเ ขียนในฐานะหวั หนาโครงการจงึ ไดท ำการปรับแ ผนการดำเนินงานในชว งระยะเริม่ ตนโครงการ จากการศึกษาผาเคียนในวิถีชีวิตกลุมชาติพันธุไทดำ เปนการศึกษาผาในวิถีชีวิตไทดำ ทำใหสามารถขยาย ขอบขายการดำเนินงานไดมากขึ้น ในการศึกษารวบรวมขอมูลพ บวา ไทดำ มีว ัฒนธรรมในเรื่องผาท ี่โดดเดน เปนเอกลักษณเฉพาะตน บงบอกกาลเทศะ สถานะของผูสวมใส และมีความหมายชัดเจนทั้งหญิงและชาย การใชผ า ในวถิ ชี วี ติ ไทดำแบงออกเปน 2 กลุม ใหญๆ ไดแก 1) เครือ่ งแตงกาย ซึง่ แ ยกออกเปน เครือ่ งแตงกาย ในชีวิตประจำวันและเครื่องแตงกายในพิธีกรรม และ 2) สิ่งของเครื่องใช ซึ่งท านผูอานจะไดส าระความรูผาน ความเชื่อที่มีที่มาของชาวไทดำ โดยเฉพาะอยางยิ่งผ าท ี่ใชในพิธีกรรม ประทับใจ สิกขา
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
สารบัญ เรื่อง ประวัติศาสตรสิบสองจุไท ไทดำ หรือ ลาวโซง การอพยพของชาวไทดำสปู ระเทศไทย ตัวอักษร ลักษณะบานเรือน ทรงผม ประเพณี พิธีกรรมและความเชื่อ ผาในวิถีชีวิตไทดำ เครื่องแตงกาย สิ่งของเครื่องใชท ี่ทำดวยผา การยอมคราม การทอผา ลวดลายผาไทดำ ลวดลายที่ใชเย็บ การปก (แซว) ผาเปยว เอกสารอางอิง
หนา 1 5 6 9 11 17 19 33 34 58 67 71 79 82 87 97
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ไทดำ
ไทดำ เปนช นชาติไทย ที่เรียกตนเองวา ไต (ไท) หรือ TAI มีชื่อเรียกหลายชื่อ เชน ล าวโซง ไ ทยโซง ลาวซงดำ ผไู ทยดำ ไทยทรงดำ
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ประวัติศาสตรส ิบสองจุไท
ดินแดนแควนสิบสองจุไท หรือสิบสองเจาไต แผนดินบานเกิดเมืองนอนของชนเผาไตหรือไทดำ แผนดินของบรรพชนไทดำแตครั้งบรรพกาล จนกระทั่งปจจุบัน นับตั้งแตชนเผาไทดำไดอพยพเขามา ในประเทศไทยในยคุ ข องการตกเปนอ าณานิคมของอาณาจักรตา ง ๆ ย คุ น นั้ แ ผนดินไตหรือแ ควนส บิ สองจไุ ท เคยตกอยูใ นอารักขาภายใตก ารปกครองของราชอาณาจักรสยาม ใ นรชั สมัยข องพระเจากรุงธนบุรหี รือพ ระเจา ตาก ชนเผาทอี่ ยูในแควนส ิบสองจุไทนั้นมีหลายเผาพันธุ เชน ไทดำ ไทแดง ไทขาว ขา สาห รือมอญ เขมร เปนตน ไทดำนับวาเปนชนเผาที่มีจำนวนมากกวาไทขาวหรือไทแดง และเปนชนชั้นผูปกครองหรือเจาเมือง ปกครองชนหลายเผาม าทุกยุคท ุกสมัย จวบจนกระทั่งเสียเมือง เสียแผนดินใ หแกฝ รัง่ เศส เมือ่ ป พ.ศ. 2432 ก็ยังคงเปนไทดำมาตลอด ไมวาไทดำ ไทแดง ไทขาว พวกเขาจะเรียกขานตัวเองสั้น ๆ วา คนไต แผนดิน สิบสองจไุ ทในอดีตท ผี่ า นมานนั้ เหมือนถกู สาป เพราะตลอดเวลาทผี่ า นมานบั พ นั ป ส บิ สองจไุ ท ต อ งตกอยูภ าย ใตมหาอำนาจในยุคนั้น บางครั้งตกอยูภายใตการปกครองของจีน บางชวงก็ตกอยูภายใตการปกครองของ เวียดนาม แ ละอาณาจักรหลวงพระบาง ใ นชว งทอี่ าณาจักรเหลาน นั้ เรืองอำนาจและไดเขามาครอบครองสบิ สอง จุไทเปนเมืองประเทศราช จึงตองยอมสงสวยเครื่องบรรณาการใหกับอ าณาจักรเหลานั้นต ลอดมา จนกระทั่ง ตกมาถงึ ย คุ ท ลี่ าวหลวงพระบางตกเปนเมืองประเทศราชของสยาม ส บิ สองจไุ ทจงึ ต อ งตกมาเปนเมืองในอารักขา ของสยามโดยปริยาย และนคี่ ือส าเหตุที่บรรพบุรษุ ของไทดำ หรือไ ทยทรงดำไดอพยพเขามาเปนพลเมืองของ ประเทศสยามนับแ ตร ัชสมัยของพระเจากรุงธนบุรี ส บิ สองจไุ ท แ ผนดินบา นเกิดเมืองนอนของชนเผาไต ห รือไทดำ (ไ ทยทรงดำ)ใ นอดีตน นั้ ถ กู เรียกขาน วา เปนดินแดนแหงข ุนเขาหมื่นย อด เพราะพื้นที่ทั้งหมดของแควนส ิบสองจุไทนั้น 90 % เปนภ ูเขานอยใหญ สลับซับซอนสูงเสียดฟา ภูมิประเทศสิบสองจุไททั้งแควนมีพื้นที่ราบเรียบเปนทุงนาขนาดใหญที่พลเมืองใช ทำการเกษตร ทำไร ทำนาไดเต็ม 100 % มีอยูเพียง 4 ทุงนาเทานั้นค ือ 1) ทุงเมืองลอ 2) ทุงเมืองถนน 3) ทุง เมืองเดิก 4) ทุงเมืองแถง ในบรรดาทุงทั้ง 4 นี้ ทุงที่นับวาใหญท ี่สุดคือ ทุงเมืองแถง นอกเหนือจ ากทุงทั้ง 4 นี้ ไมนับวาใหญพอที่จะเรียกวาทุง เพราะเปนพื้นที่ราบตามชองหุบเขาที่พอจะเพาะปลูกไดเทานั้น เพราะ ฉะนั้นที่ดินทำนาจึงเปนสิ่งที่มีคามากที่สุดของชนเผาไทดำ สิบสองจุไท มีการปกครองดวยระบบมูลนาย
1
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ปูจาวทาวนั่งเมืองหรือก ษัตริย ผูปกครองดินแดนสิบสองจุไทคนแรกคือ ทาวลอ เปนลูกชายของทาวสรวงที่ อพยพมาจากนา นเจา ป จ จุบนั ค อื ม ณฑลยนู านของจนี ท า วสรวงอพยพมาถงึ เมืองลอและไดใ หกำเนิดบ ตุ รชาย 1 คน จึงต ั้งชื่อวา ทาวลอ ตามชื่อเมืองที่ปกครองอยู อาณาจักรเมืองลอในสมัยน ั้นถือวาเปนศูนยกลางการ ปกครองของไทดำ ทุกเมืองที่อยูในอารักขาตองขึ้นกับเมืองลอทั้งหมด ทาวลอมีบุตรชาย 7 คน คือ 1) ปูตา ดุก 2) ปูตาเหลา 3) ปูลอบลี่ 4) ปูลับลี่ 5) ปูลางงาง 6) ปูลางกวาง และ 7) ปูลานเจื้อง ลูกท ั้ง 6 คนนั้นมี เมืองที่ทาวลอไดจัดแบงใหปกครอง ยกเวนลานเจื้องคนสุดทองที่ไมมีบานเมืองใหปกครอง ลานเจื้องจึง ขออนุญาตทา วลอผเู ปนพ อ ข อกำลังพ ลและเสบียงอาหารพรอมอาวุธอ อกตระเวนตตี ามหวั เมืองนอ ยใหญเพือ่ ขยายอาณาเขตเมืองลอใหกวางขวางขนึ้ ต ไี ดเมืองไหนถา ยงั ไ มถกู ใ จหรือเล็กไ ป ล า นเจือ้ งกม็ อบใหขนุ ท หารที่ ไววางใจปกครองแทน สวนตัวกต็ ีหัวเมืองไปเรื่อย ๆ เพื่อหาที่ตั้งเมืองใหได จนกระทั่งยกไพรพลมาถึงภ ูฟา ไดยินคนพูดกันไปทั่ววา มีเมืองหนึ่งเปนทุงนากวางขวางสุดลูกห ูลูกตาท มีแมน้ำไ หลผานกลางทุงนาจากเหนือ ไปใต ลานเจื้องไดยินเชนน ั้นจึงสั่งใหท หารลงจากภูฟาม าถึงทุงกวางแหงนั้น ลานเจื้องเห็นแลวพึงพอใจมาก จึงสั่งใหไพรพลสรางบาน สรางเมือง ณ ทุงกวางแหงน ั้น เมื่อส รางเมืองเสร็จลานเจื้องก็ขึ้นป กครองเมืองแหง นัน้ แ ละตงั้ ชือ่ เมืองนนั้ ว า เมืองแถง แ ละประกาศยกเมืองแถงเปนเมืองหลวง ท กุ เมืองทอี่ ยูใ นบริเวณอาณาจักร เมืองแถง ต อ งขนึ้ ต อ เมืองแถง แ ละสง สวย ส ง บ รรณาการใหเมืองแถง น บั แ ตน นั้ ม าเมืองแถงจงึ เปนศ นู ยกลาง การปกครองของแควนส ิบสองจุไท เมืองแถงมีทาวนั่งเมืองติดตอก ัน 7 คน จนถึงยุคสมัยของทาวเถิง คนที่ 8 ชวงนั้นเมืองแถงถูกคุกคามจากอาณาจักรลานชางหรือลาว ทาวเถิงจึงอพยพเมืองลึกเขาไปทางตะวันออก และตั้งเมืองมวยเปนเมืองหลวงขึ้นแทนเมืองแถง นับแตนั้นมาเมืองมวยจึงเปนศูนยกลางการปกครองและ เปนเมืองหลวงของแควนส ิบสองจุไท มที าวนั่งเมืองสืบตอก ันมาเรื่อย ๆ จนกระทั่งถึงทาวนั่งเมืองคนสุดทาย กอนที่แควนสิบสองจุไทจะถูกฝรั่งเศสเขายึดครองเปนอ าณานิคม ชื่อวา ทาวคำฮัก เปนค นที่ 32ของราชวงศ ลอคำ ท า วนงั่ เมืองคนสดุ ทายของแควนส บิ สองจไุ ทสมัยน นั้ เปนรชั สมัยข องพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ของไทย เมื่อป พ.ศ. 2427 สิบสองจุไทถูกพวกฮอเขารุกรานเผาบานเผาเมืองไปทั่ว ทาวคำฮักกลัวพวกฮอ จึงอพยพพลเมืองมาพึ่งพระบรมโพธิสมภารของรัชกาลที่ 5 ลี้ภัยอยูที่กรุงเทพฯ ถึง 3 ป เมื่อฝรั่งเศสเขายึดสิบสองจุไทจากไทยไปแลว ทาวคำฮักจึงขอพระบรมราชานุญาตจากรัชกาลที่ 5 ขอกลับคืนสบู านเกิดเมืองนอนของตน หลังจากทถี่ ูกยึดครองจากฝรั่งเศส สิบสองจุไทจึงไรทาวนั่งเมือง และ ฝรั่งเศสไดจัดตั้งสหพันธรัฐไตขึ้น เรียกวา สิบหกเจาไต และแตงตั้งไทขาว เมืองไล ขึ้นเปนเจาแผนดินชื่อ
2
ผาในวิถีชีวิตไทดำ แดววนั ล อง แ ละในป พ .ศ.2 4 9 7 ข บวนการเวียดมนิ ท น ำโดยโฮจิม นิ ท เขาโ จมตีค า ยทหารกองทัพข องฝรัง่ เศส ทีเ่ มืองแถงแตกพา ยแพย บั เยินจ นฝรัง่ เศสแตกกระเจิงเขาฝ ง ล าว เพราะตอนนนั้ ล าวยงั ต กเปนของฝรัง่ เศสอยู คนไทดำตองหนีภัยสงครามอพยพเขาลาว สวนหนึ่งที่รักอิสระและเกรงกลัวภัยสงครามจึงอพยพเขาสูแขวง เชียงขวางของลาวเปนครั้งแรก เมืองแถงปราการของฝรั่งเศสแตกเพราะการแตกแยกของไทดำเอง โดยแบง เปน 2 ฝาย ฝายหนึ่งอยูฝายฝรั่งเศส อีกฝายอยูเวียดนาม ทางฝรั่งเศสไดวางแผนตั้งสหพันธรัฐไตหรือ สิบห กเจาไตขนึ้ เพือ่ จ งู ใ จใหช าวไทดำ ไ ทขาว ช ว ยกนั ต อ ตานลทั ธิค อมมิวนิสต ซ งึ่ ช ว งเวลานนั้ ล ทั ธิค อมมิวนิสต เปนที่หวาดกลัวของทุกประเทศในโลก โดยเฉพาะในเอเชีย ซึ่งลอแหลมมากตอการถูกคอมมิวนิสตเขา ครอบครอง ผลลัพธออกมาคือ คนไทดำถูกหลอกใชใหรวมรบและฆากันเอง ฝายฝรั่งเศสแพตอโฮจิมินท เวียดนามเปนฝายชนะและขับไลฝรั่งเศสออกจากเวียดนาม แลวผนวกเอาแควนสิบสองจุไททั้งหมดเขากับ แผนดินเวียดนามและไดปูนบำเหน็จแกขุนศึกที่อยูฝายเวียดนามใหไดทำงานกับรัฐบาล ตอมาจนถึงรุนลูก รุน หลานจนถงึ ปจ จุบนั กย็ งั มีอยู สว นไทดำทอี่ พยพออกจากดนิ แดนของตนตา งกแ็ ตกหนีเขาสูลาวในป พ.ศ. 2518 ชนเผาไทดำก็อพยพลี้ภัยอีกครั้ง เมื่อลาวถูกขบวนการประเทศลาวเขายึดอำนาจการปกครองเปลี่ยน การปกครองเปนค อมมิวนิสต ไ ทดำจงึ ต อ งอพยพเขาสูป ระเทศทสี่ าม เชน ฝ รัง่ เศส แ คนาดา อ อสเตรเลีย แ ละ สหรัฐอเมริกา เดียนเบียนฟู แควนสิบสองจุไท หรือสิบสองผูไทย ประกอบดวย เมืองผูไทขาว และเมืองผูไทดำ ผูไทขาว มี 4 เมือง คือ 1) เมืองไล 2) เมืองเจียน 3) เมืองมุน และ 4) เมืองบาง สวนผูไทดำ มี 8 เมือง คือ 1) เมืองแถง 2) เมืองควาย 3) เมืองดุง 4) เมืองมวย 5) เมืองลา 6) เมืองโมะ 7) เมืองหวัด และ 8) เมืองซาง รวมเมือง ของผูไทขาวและผูไทดำ มี 12 เมือง จึงเรียกวา สิบสองผูไทย หรือสิบสองจุไท เมืองแถง ปจจุบันคือ เมือง เดียนเบียนฟู เปนจังหวัดหนึ่งทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือข องเวียดนาม หางจากกรุงฮานอยประมาณ 200 กิโลเมตร ทางทิศตะวันตกหางจากชายแดนประเทศลาวเพียง 35 กิโลเมตร ซึ่งเปน 1 ในสิบสองจุไท อยูใน เขตไลเจา คำวา ไลเจา เปนภ าษาไทยแกว ไทยลานนาเรียกวา เมืองไหล หรือหลายจาว เดิมป ระมุขของเขา เรียกวา จาวแผนคำ คำวา เจาแผนค ำ หรือ จาวแผนคำ หรือ จาวฟา เปนภ าษาไทยเดิม ซึ่งเดิมพ ุทธศาสนา ไปไมถึง ฝายใตมศี าสนาพราหมณและศาสนาพุทธ ไทยฝายใตนิยมยกยองบาลีสันสกฤตวาเปนคำชั้นสูง จึง
3
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ทิง้ ค ำวา จ า วแผนค ำ เจาฟา เจาแ ผนดิน เปลีย่ นมาใช “ก ษัตริย” แ ทน เมืองไหลหรือไลเจานี้ บ างทานสนั นิษฐาน วามาจากคำ “หลายเจา” คือ เมืองไลอยูติดกับเขตจีน เขตญวน และเขตลาว สมัยกอนตองสงสวยแกทั้งส าม ประเทศ ค อื เวลาจนี เขามากย็ อมเปนข า จ นี เมือ่ ญ วนขนึ้ ม ากย็ อมขนึ้ แ กญ วน เมือ่ ล าวยกไปกอ็ อ นนอมตอ ล าว เปนเชนนี้เรื่อยมา จึงเรียกวา เมืองหลายเจา ตอมากเ็รียกเปนเมืองไลบาง เมืองไลเจาบาง บางทานวา เมืองไร จาว กลายมาเปนเมืองไลตามภาษาญวน เดียนเบียนฟู มีลักษณะเปนที่ราบลอมรอบดวยภูเขาสูง และเปน สมรภูมิรบอันลือล ั่นในชวงสงครามอินโดจีนค รั้งแรก (พ.ศ. 2489 - 2497) ซึ่งเปนการสูรบระหวางกองทัพ ฝรัง่ เศสกบั ก องทัพฝ า ยตอ ตานการครอบครองของชาวเวียดนาม น ำโดยโฮจิมนิ ห ท เี่ รียกวา ก องทัพเวียดมนิ ห การสูรบครัง้ นีส้ ิ้นสุดด วยการพายแพอ ยางไมน าเชื่อข องกองทัพฝ รั่งเศสทมี่ ีทั้งก ำลังคนและอาวุธทันสมัยก วา และไดรับการสนับสนุนจ ากสหรัฐอเมริกา การรบที่เดียนเบียนฟู เริ่มขึ้นเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2497 เดิมที ฝรั่งเศสไดยึดปอมเดียนเบียนฟูที่อยูกลางหุบเขาไวได ซึ่งนับเปนจุดยุทธศาสตร เพราะมีชัยภูมิที่เปนภูเขา ลอมรอบ ทำใหยากแกการเขาโจมตี โดยฝรั่งเศสตั้งเปาวา ตราบใดที่รักษาเดียนเบียนฟูไว เวียดมินหก็ไม สามารถรุกต อไ ปได และจะกลายเปนข วากหนามทคี่ อยกันไ มใ หเวียดมินหเคลื่อนทหารไดต ามความตองการ แตในขณะที่ฝรั่งเศสมีกำลังมั่นใจในความแข็งแกรงของปอมเดียนเบียนฟูอยูนั้น โฮจิมินหไดอาศัยความ กลาหาญเด็ดเดี่ยวของทหารประชาชน ซึ่งถอดปนใหญออกเปนชิ้นๆ แลวขนลำเลียงขึ้นไปบนยอดเขารอบ เมืองเดียนเบียนฟอู ยางลำบากยากเย็น ค รัน้ ป ระกอบปน ใ หญเสร็จ ท หารเวียดมนิ หท อี่ ยูต ามยอดเขารอบปอ ม เดียนเบียนฟู ก็ระดมยิงปนใหญเขาตีปอมของฝรั่งเศสอยางพรอมเพรียงกัน จนปอมเดียนเบียนฟูแตก ฝรัง่ เศสตอ งยอมพา ยแพแ ละถอนตัวไ ปจากเวียดนามในทสี่ ดุ ก ารรบครัง้ นีถ้ อื วา เปนช ยั ชนะครัง้ ย งิ่ ใ หญทสี่ ดุ ของชาติเอเชียอาคเนยเหนือชาติมหาอำนาจตะวันตก ขณะที่ขอตกลงในการประชุมเจนีวาเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 19 5 4 แบงเวียดนามออกเปนเวียดนามเหนือแ ละเวียดนามใต ดวยเสนขนานที่ 17กอนที่สงคราม อินโดจีนค รัง้ ท ี่ 2 ห รือส งครามเวียดนามจะเกิดต ามมาอกี ใ น 3 ป ถ ดั ม า โ ดยสหรัฐฯเขามามบี ทบาทในการสรู บ และก็พายแพไปในที่สุดเชนก ัน
4
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ไทดำ หรือ ล าวโซง
ไทดำ เปนชนชาติไทย ที่เรียกตนเองวา ไต (ไท) หรือ TAI โดยมีคนเรียกชื่อห ลายชื่อ เชน ลาวโซง ไทยโซง ล าวซงดำ ผ ไู ทยดำ ไ ทยทรงดำ แ ตค ำวา ไ ทดำ จ ะเปนทรี่ จู กั ก นั อยางแพรหลาย เปนกลุม ช าวไทกลุม หนึ่งที่มีถิ่นฐานดั้งเดิมอ ยูในเขตสิบสองจุไทเดิม หรือบริเวณลุมแมน้ำด ำและแมน้ำแ ดงในเวียดนามเหนือ ซึ่ง เปนถิ่นที่อยูด ั้งเดิมของ ชาวไทดำ ชาวไทแดง และชาวไทขาว ในสมัยท ฝี่ รั่งเศสเขามาปกครองเวียดนาม และ ลาว พวกเขาไดเรียกชนเผาที่อยูบ ริเวณลุมแมน้ำด ำวา ไทดำ ที่เรียกวาไทดำ เพราะวากลุมชนเผาไทดังกลาว นิยมสวมเสื้อผาส ีดำอันเปนเอกลักษณ ซึ่งยอมดวยตนฮอมหรือตนคราม แตไทดำมีผิวขาวคลายคนจีน คำ วา ซง หรือ สวง แปลวา กางเกง จึงเรียกคนเหลานีต้ ามเครื่องนุงหมวา ลาวซงด ำ หรือลาวโซง นอกจากนี้ใน หนังสือส ารานุกรมไทย (หนา 6787) กนอกจา ลาวถึง ลาวโซง โดยเติมค ำวา ลาว ไปขางหนาน ั้นส ันนิษฐานไดส องทาง คือ 1.ค งเปนเพราะคนไทยเหลานีไ้ ดอ พยพมาจาก ดินแดนสวนหนึ่งติดตอกับอาณาเขตประเทศลาว และ มีข นบธรรมเนียมประเพณีส ว นใหญค ลายคลึงก บั ค นใน อาณาจักรลาว จึงเรียกวา ลาวโซง 2.ค งเกิดจ ากความนยิ มเรียกชือ่ ค นในสมัยน นั้ มักจะเรียกผูที่จากถิ่นอื่นอพยพเขามาอยูใหมวา ลาว ดังเชน ลาวเวียง ลาวพวน เปนตน ไทยโซง เมื่อได อพยพเขามาอยูท เี่ พชรบุรี จ งึ พ ลอยไดรบั ก ารเรียกชอื่ วา ลาว ไปดวย ปจจุบันพบไทดำในจังหวัดเพชรบุรี ราชบุรี นครปฐม ส พุ รรณบุรี ล พบุรี ส ระบุรี ก าญจนบุรี ส โุ ขทัย พิจิตร พิษณุโลก เลย ชุมพร และสุราษฎร์ธานี ที่มา : มูลนิธิไทยทรงดำ ประเทศไทย, 2548
5
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ชาวไทดำ เชือ่ ก นั ว า ต นสบื เชือ้ สายมาจากบรรพบุรษุ ด งั้ เดิม 2 ต ระกูล ค อื ต ระกูลผ ผี ทู า ว แ ละตระกูล ผีผูนอย ตระกูลผีผูทาว สืบเชื้อสายมาจากชนชั้นเจานาย เปนชนชั้นป กครอง ในสายตระกูลมีซิงเดียว (คลาย แซของชาวจีน) คือ ซิงลอ ผูที่เกิดในตระกูลนี้จะถือผ ีผูทาวเปนผีประจำตระกูล ตระกูลผผี ูนอย สืบเชื้อสาย มาจากชนชั้นสามัญ หรือชั้นเพี้ย ผูที่เกิดใ นสายตระกูลนี้ จะถือผ ีผูนอยเปนผปี ระจำตระกูล ชาวไทดำเชื่อวา ผีผูทาวมีศักดิ์สูงกวาผีผูนอย ผูนอยจะตองใหความเคารพยำเกรงแกผูทาว ความเชื่อนี้จะปรากฏในการ ประกอบพิธีกรรม เชน พิธีเสนเรือน ซึ่งผูนอยจะเขารวมในพิธีเสนเรือนของผูทาวไมได สวนในการดำเนิน ชีวิตนั้นทั้งสองตระกูลอยูรวมกันไดอยางเสมอภาค ไทดำ มีการนับถือผี มีการบวงสรวงผีเปนประจำ เชน ผีเรือน หรือ ผีบรรพบุรุษ ที่มุมห นึ่งในบานจะใชเปนที่บูชาผีบ รรพบุรุษ เรียกวา “กะลอห อง”หากเปนตระกูล ผูนอยจะมีการเซนไหวห รือเลี้ยงผีทุกๆ 10 วัน หากเปนตระกูลผีผทู าวจะเลี้ยงผีท ุกๆ 5 วัน เรียกการเลี้ยงผี ประจำตระกูลน วี้ า “ ป า ดตง”ใ นหนึง่ ป ไ ทดำโซงจ ะมพี ธิ เี ลีย้ งผีค รัง้ ใ หญ เรียกวา พ ธิ เี สนเรือน ซ งึ่ เปนการแสดง ถึงค วามกตัญูต อบรรพบุรุษที่ไดลวงลับไปแลว เชื่อกันว า เมื่อเลี้ยงผีแ ลว ผีก็จะปกปองคุมครองตนใหอยู ดี มีความสุข มีความเจริญก าวหนา น อกจากนีย้ ังมีก ารนับถือ “แ ถน” คือผใู หคุณและโทษ การอพยพของชาวไทดำสูประเทศไทย ในป พ.ศ. 2438 และ ป พ.ศ. 24 39 ไดเกิดก ารอพยพครั้งใหญของชาวผูไทขึ้น สาเหตุม าจากศึก สงครามแยงชิงอำนาจกันระหวางบรรดาหัวหนาของไทดำกลุมตางๆ ในแควนสิบสองจุไท พวกไทดำจึงได อพยพเขามาในประเทศลาวและในภาคอีสานของประเทศไทย ในประเทศลาวนั้น ชาวไทดำสวนมากไดตั้ง ถิ่นฐานใน แขวงหลวงน้ำทา แขวงบอแกว แขวงอุดมไซแขวงหัวพัน และ แขวงซำเหนือ สวนในประเทศไทย นั้นก็อพยพเขามาดวยเชนกัน โดยมาตั้งถิ่นฐานในภาคอีสานตอนบน เชน จังหวัดเลย นครพนม กาฬสินธุ มุกดาหารรอยเอ็ด และ สกลนคร ในชวงระหวาง ป พ.ศ.2496จนถึงป พ.ศ.2497ไดเกิดส งครามในเมือง เดียนเบียนฟู ซ งึ่ เปนหนึง่ ใ นเมืองของแควนส บิ สองจไุ ทเดิม ช าวผไู ทจงึ ไ ดอ พยพหลบหนีก ารเกณฑท หารของ ฝรั่งเศส เขามาในประเทศลาวและในประเทศไทยอกี ระลอก
6
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ใ นสมัยส มเด็จพ ระเจาต ากสนิ มหาราช ค รัน้ พ ระองคท รงไปตกี รุงเวียงจันทน ใ นป พ .ศ.2 3 2 2 พ ระองค ทรงไดกวาดตอนชาวไทดำที่อพยพมาจากสิบสองจุไท สงไปตั้งถ ิ่นฐานที่เมืองเพชรบุรี ตอมาในป พ.ศ. 2335 สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จฬุ าโลก และในป พ.ศ. 2381 สมัยพระบาทสมเด็จพระนง่ั เกลาเจาอยูห วั พระองคก ็ทรงยกทัพไปตีเวียงจันทน และก็ไดก วาดตอนชาวไทดำมาอีก ซึ่งในปจจุบันตั้งถิ่นฐานกระจายกัน อยูใ นพนื้ ท หี่ ลายจงั หวัด เชน ร าชบุรี น ครปฐม ส พุ รรณบุรี พ จิ ติ ร พ ษิ ณุโลก ก าญจนบุรี ล พบุรี ส ระบุรี ช มุ พร และสุร าษฎรธานี ปจจุบันเรียกคนเหลานีว้ า ชาวไทยโซง มีหลักฐานปรากฏในหนังสือป ระวัติผูไทยหรือชาว ผูไทยที่ถูกกวาดตอนมาจากเมืองแถน หรือ เมืองแถง ดังนี้ ครั้งที่ 1 ในสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพ ระเจาตากสินมหาราช ป พ.ศ. 2322 ดังปรากฏหลักฐานในพระ ราชพงศาวดารรัชกาลที่ 1 (ห นา 38- 40 ) ความวา ในจุลศักราช 1141 ปกุน เอกศก (พ.ศ. 2322) พระยาเดโช (แทน)พ ระยาแสนทอ งฟาผ นู อ งอพยพครอบครัวห นีไปอยูเ มืองญวน ก องทัพส มเด็จพระมหากษัตริยศ กึ แ ละ เจาพระยาสุรสีหพิษณุวาธิราชตีเมืองลานชางไดแลว ใหเก็บสิ่งของปนใหญนอยครอบครัวเขามา ณ เมือง พันพ ราว แ ละใหก องทัพห ลวงพระบางไปตเี มืองทนั ต ญ วนเรียกวา เมืองซอื หงี เมืองมว ย ส องเมืองนเี้ ปนลาว ทรงดำ (ผ ูไทดำ) อยูร ิมเขตแดนเมืองญวน ไดครอบครัวลาวทรงดำลงมาเปนอันมาก พาครอบครัวล าวเวียง ลาวทรงดำลงมาถึงกรุงในเดือนยี่ ปกุน เอกศก (พ.ศ. 2322) นั้น ลาวทรงดำนั้นโปรดใหไปตั้งบานเมืองอยู เพชรบุรี นับเปนรุนแ รกที่มาตั้งถิ่นฐานในประเทศไทย ลาวเวียง ลาวหัวเมืองฟากโขงตะวันออกก็โปรดใหไป ตั้งบานเมืองอยูสระบุรี เมืองราชบุรีบาง ตามหัวเมืองตะวันตกบาง อยูเมืองจันทบุรีบางก็มีเชื้อสายมาจน ทุกวันนี้ ครั้งที่ 2 สมัยรัชกาลที่ 1 ในป พ.ศ. 23 35 กองทัพเวียงจันทนต ีหลวงพระบางแตก และจับกษัตริย หลวงพระบางสงกรุงเทพฯ ในป พ.ศ.2335 -2338 กองทัพเวียงจันทนไ ดต ีเมืองแถง และเมืองพวน ซึ่งแข็ง ขอตอเวียงจันทน กวาดตอนชาวผูไทดำ ลาวพวนเปนเชลยสงม ากรุงเทพ ฯ รัชกาลที่ 1 ทรงมีรับสั่งใหชาว ผูไทดำประมาณ 4 ,0 0 0 คนไปตั้งถิ่นฐานที่เพชรบุรีเชนเดียวกับช าวผูไทดำรุนแรก ครัง้ ท ี่ 3 ใ นสมัยพระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลาเจาอ ยูห วั ร ชั กาลที่ 3 เมือ่ ป พ .ศ.2 3 7 9 ม หี ลักฐานปรากฏ ในพงศาวดารเมืองหลวงพระบาง (หนา 253-254) ความวา ครัง้ ศกั ราช 1197 ปมะแม สปั ตศก (พ.ศ. 2378) เจาพระยาธรรมาธิก รณ (ส มบุญ)เปนแ มทพั ค มุ พ ลทหารขนึ้ ไ ปตงั้ อ ยูเ มืองหลวงพระบาง แ ลวแ ตงใ หเจาร าชไภย อุ ป ราชท า วพระยาคุ ม ก องทั พ ขึ้ น ไ ปตี เ มื อ งพวน แ ต ง ใ ห เ จ า อุ น แ ก ว น อ งเ จ า อุ ป ราช เ จ า สั ญ ไ ชย
7
ผาในวิถีชีวิตไทดำ บุตรเจาอุปราชนาคที่ 7 เจาแ กนค ำบุตรเจาหอหนาอ ภัยท ี่ 2 เจาคำปานบุตรเจามงท ี่ 1 ทาวพระยายกกองทัพ ขึ้นตีเมืองแถนจับได ลาวพวน ลาวทรงดำ (ผูไทยดำ) สงลงมา ณ กรุงเทพฯ เจาเมืองธาตุเจาเมืองหลวงพระ บางครองเมืองได 20 ป รวมอายุ 64 ป กถ็ ึงแกก รรม ศักราช 1198 ปวอก อัฐศก (พ.ศ. 2379 ) เจาอุปราช เจาราชวงศมีศุภอักษรแตงใหเจาอุนแกวคุมดอกไมเงินดอกไมทองลงมากรุงเทพฯ พระบาทสมเด็จพระนั่ง เกลาเจาอ ยูห วั ท รงเห็นวา เจาอ ปุ ราชหรือเจาร าชวงศค งจะตงั้ เปนเจาเมืองหลวงพระบางคนหนึง่ จ งึ โ ปรดตงั้ เจา อุนแกวเจานครหลวงพระบางอนุรุธท ี่ 5 เปนเจานองอุปราชราชไภยเปนที่ราชวงศขึ้นไ ปรักษาบานเมือง ครั้น เจาอ ุปราชราชวงศป ลงศพเจาเมืองหลวงพระบางเสร็จแลว พวกเมืองหึม เมืองคอย เมืองควร ตั้งข ัดแข็งต อ เมืองหลวงพระบาง เจาอุปราชเจาราชวงศแตงใหทาวพระยาคุมกองทัพขึ้นไปตีจับไดลาวทรงดำ (ผูไทยดำ) แตงใหพระยาศรีม หานามคุมล งมา ณ ก รุงเทพฯ ครั้งหนึ่ง ครั้งที่ 4 ปพ.ศ. 2381 สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 3 ยกทัพไปปราบ เจาราชวงศ ครั้งที่ 5 ปพ.ศ. 2425-2 42 8 สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ยกทัพไ ป ปราบศกึ ฮอ ไ ดโปรดใหพ ระยาภธู ราภยั ห รือ พ ระยาชมภู เปนแ มทพั ไ ปปราบฮอ แ ละไดอ พยพไทดำจากเมือง แถง และเมืองพวนในแควนส ิบสองจุไท มาในปพ.ศ. 2425 พักอยูท ี่กรุงเทพฯ 3 วัน โดยมีตัวแทนไทดำ 5 คน ไดเขาเฝาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เพื่อขอพระราชทานอาหารและเครื่องนุงหม คือ 1) พอของหยอด สิงลอคำ (อ ายเฒามน ไพศูนย) 2) พอของนายนาค สิงลอ (อายเฒาแ ฝง ดีแอ) 3) พอของ นายโหย สิงลอ (อายโหย ออยนอ) 4) พอ..... 5) ..... ตอมาเมื่อป พ.ศ. 2430 ไดอพยพเขาไปในประเทศลาว อีกครัง้ หนึง่ แ ลวจ งึ อ พยพกลับเขามาตงั้ บ า นเรือนอยูท บี่ า นนาปา ห นาด ตำบลเขาแกว อำเภอเชียงคาน จังหวัด เลย เมื่อป พ.ศ. 246 0 จ นถึงปจจุบัน พระมหามนตรี ขน.ติสาโร เขียนจาวไตดำ หรือจาวไตโซงใ นดินแดนสยาม ไววา จาวไตโซง นับไ ดวา เปนชนกลุมนอยในประเทศไทยที่เขาเรียกกันติดปากวา คนลาว หรือ ผูลาว ในปจจุบันนี้ไดก ระจายแยกยาย กันไปทำมาหากินต ามใจชอบในทองถิ่นตาง ๆ ทั่วประเทศไทย ในจงั หวัดเพชรบุรี ท อี่ ำเภอเขายอย ต ำบลหนองปรง ท บั ค าง ห ว ยทา ชาง ท อี่ ำเภอเมือง ต ำบลวงั ต ะโก ที่อำเภอชะอำ และที่อำเภอบานแหลม ตำบลทาชาง
8
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ในจังหวัดสุพรรณบุรี ที่อำเภออูทอง ตำบลบานดอน สระยายโสม หนองโอง ดอนมะเกลือ ที่อำเภอ สองพี่นอง มีหมูบานหนองงาน หมูบานดอนมะนาว หมูบานลาดมะขาม ตำบลบานโขง ที่อำเภอเมือง ตำบล บางกุง หมูบานบางหมัน แ ละที่อำเภอบางปลามา ในจังหวัดร าชบุรี ที่อำเภอจอมบึง ตำบลจอมบึง หมูบานตลาดควาย ที่อำเภอดำเนินสะดวก ตำบล ดอนคลัง หมูบานบัวงาม ที่อำเภอบางแพ ตำบลดอนคา หมูบ านตากแดด และที่อำเภอปากทอ ในจังหวัดนครปฐม ที่อำเภอสามพราน ตำบลตลาดจินดา ที่อำเภอบางเลน หมูบานเกาะแรต บานดอนขมิ้น บานหัวทราย บานไผห ูชาง บานไผคอกเนื้อ ที่อำเภอกำแพงแสน หมูบานดอนเตาอิฐ บานสระ บานยาง บานดอนทอง บานไผคอย บานไผโทน บานไผแกะ ที่อำเภอดอนตูม หมูบานแหลมกระเจา บานหัวถนน และที่อำเภอเมือง ห มูบานดอนขนาก ในจังหวัดเลย ที่บานนาปาหนาด ตำบลเขาแกว อำเภอเชียงคาน นอกจากนีเ้ขาใจวา มีอยูในจังหวัด อื่น ๆ อีกหลายแหง เชน กาญจนบุรี สระบุรี ลพบุรี นครสวรรค พิจิตร พิษณุโลก สุโขทัย ชุมพร และ สุราษฎรธานี อยางไรก็ดี ไมวาชาวโซงจ ะมาจากถิ่นใ ด มีความเปนมาอยางไร จะเปนคนลาวหรือเปนคนไทย ก็ตาม แตจาวโซงก ็ยังมีภาษาพูด ตัวอักษร วัฒนธรรมประเพณี เครื่องแตงกาย ซึ่งจาวโซงยังคงรักษาไวให อยูค ูแผนดินส ยาม สืบสายภาพลักษณนับจากบรรพบุรุษมาจนถึงทุกวันนี้
ตัวอักษร
ไทยทรงดำ ไทดำ หรือภ าษาถิ่นเรียกวา “ลาวโซง” มีภาษาพูดและภาษาเขียนเปนของตนเอง นับต ั้ง แตตั้งถิ่นฐานอยูที่ดินแดนสิบสองปนนา ภาษาถิ่นของลาวโซงนั้นมีเอกลักษณเฉพาะตนเอง ซึ่งยากตอการ เลียนแบบ
9
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
10
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ลักษณะบานเรือน
บานของชาวไทดำหรือลาวโซง เรียกวา เฮือนลาวหรือเรือนลาว ในอดีตเปนเรือนหลังใ หญ มีลักษณะ เปนบานชั้นเดียวใตถุนสูง ทั้งนีเ้พื่อใ ชบริเวณใตถุนบานเปนที่ประกอบกิจกรรมตางๆ ภายในครัวเรือน เชน การทอผา ปนดาย ตำขาว และเพื่อเปนที่อยูข องสัตวเลี้ยง สรางดวยวัสดุท ี่หาไดงายในทองถิ่น เชน ไมไผ หญาแฝก และไมเนื้อแข็งต างๆสวนของพื้นบานปูดวยฟากไมไผ ใชลิ่มเปนสลัก หรือตัวย ึด และใชหวายผูก แทนการตอกตะปู เสาบานทำดวยไมเนื้อแข็ง สวนหองน้ำหองสวมจะปลูกแยกหางจากตัวเรือน หลังคามุง ดวยหญาคาเปนร ูปโ คงลงมาปกคลุมท ั้งบานเกือบครึ่งหลัง เปรียบเสมือนฝาบานสวนหนึ่ง ใชปองกันล มและ ความหนาวเย็น บริเวณจวั่ บนหลังคามีลกั ษณะทโี่ ดดเดนถอื เปนเอกลักษณของบา นลาวโซง คอื การนำเอาไม มาประดิษฐเปนร ูปโคง 2ชิ้น ประกบไขวกันคลายเขาควายอยูบนยอดจั่ว ลาวโซง เรียกวา “ขอกุด”ซึ่งถ ือวา เปนส ัญลักษณแ หงความดีและความสำเร็จ สวนระเบียงบานทั้งห นาบานและหลังบาน มีบันไดขึ้น-ลง ทั้งห นา และหลัง ระเบียงดานหนาใ ชเปนท ี่รับแขกผูหญิง เรียกวา “กกชาน” สวนระเบียงดานหลัง เรียกวา “กวาน” สำหรับแขกผูชาย สวนในตัวบาน จัดมุมใ ดมุมห นึ่ง ใหเปนห องสำหรับเปนที่อยูข องผบี รรพบุรุษ ซึ่งเรียกวา “กะลอหอง” ในหองผีตองเจาะชองฝาบานไว 1 ชอง เพื่อเวลาทำพิธีเสนเรือนจะตองสงอาหารที่ทำพิธีให บรรพบุรุษทางชองนี้ สวนตัวบานใหจ ัดเปนม ุมนอนมุมหนึ่ง มุมครัวมุมหนึ่ง ที่ครัวจะมีเตาไฟและอุปกรณ การหุงตมดวยหมอดิน เหนือเตาไฟขึ้นไปจะมีหิ้งเพื่อเก็บของใชจำพวกหวายและไมไผ เพื่อรักษาเนื้อไมไผ และหวายไมใหม อดกิน เมื่อเวลาหุงหาอาหารควันไ ฟจะขึ้นไ ปรมของใชบนหิ้ง ซึ่งลาวโซงจะเรียกหิ้งน ี้วา “สา” สวนทางมุมนอน จะเห็นที่นอนและมุง ซึ่งลวนเปนสีดำทั้งสิ้น จะไมมีการเก็บที่นอนและจะกางมุงไวตลอด เพราะถอื วา น นั่ เปนท สี่ ว นตัว ห รือเปนห อ งอกี ห อ งหนึง่ เชนก นั ถัดอ อกไปอกี จ ะมหี งิ้ เก็บสิง่ ของเกีย่ วกับเสือ้ ผา ของใชมีคาใสไวในหีบที่ทำดวยไมไผ ซึ่งชาวโซงใ ชแทนตูเสื้อผา เรียกหีบไมไผน ั้นวา “ขมุก” สวนของหลังคา บานมุงดวยหญาคา ฝาบานขัดแตะดำดวยไมไผ ไมมีชองหนาตาง ในปจจุบันเปลี่ยนมาปลูกบานสมัยใหม เกือบหมดแลว แตป ระเพณีต างๆ ย ังรักษาไวเหมือนเดิมทุกอยาง
11
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
เรือนไทดำ บานโซง จังหวัดส ุพรรณบุรี วาดจากภาพถายของ ศิริชัย นฤมิตรเวชการ ใน กรมยุทธโยธาทหารบก. เรือนไทย. 2515
เรือนทรงกระดองเตา เรือนจั่วทรงจอมแห และเรือนปนหยา ที่บานพระยายโสม อำเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อ พ.ศ. 2513 (วาดจากภาพถายของ อุทัยใจจงรัก)
เรือนไทดำ บานหนองชุมพล อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี
12
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
เรือนทรงกระดองเตา มีข อกุดคลายเขาควายประกอบยอดจั่ว วาดจากภาพถายใน น. ณ ปากน้ำ, แบบแผนเรือนในสยาม. (พิมพครั้งท ี่ 2) กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ, 2535
เรือนทรงกระดองเตาแหงบ านแมประจันต ทายาง จังหวัดเพชรบุรี
13
เรือนไทดำ เมืองโบราณ จังหวัดสมุทรปราการ
บานเรือนไทดำ จังหวัดเพชรบุรี เมื่อ พ.ศ. 2410 (วาดจากภาพถายของ ฟรันซิส จิต ใน : พิพัฒน พงศรพีพ ร. สมุดภาพรัชกาลที่ 4.กรุงเทพฯ : พิพิทธภัณฑภาพมุมกวาง กรุงเทพมหานคร, 2547)
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ศูนยวัฒนธรรมไทยทรงดำเขายอยตำบลหนองปรง อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี
ศูนยวัฒนธรรมไทยทรงดำบานหัวเขาจีน ห มู 1 ตำบลหวยยางโทน อ ำเภอปากทอ จังหวัดราชบุรี
14
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
บานนาปาหนาด หมู 4 ตำบลเขาแกว อ ำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
การแบงพื้นที่ภายในบาน
15
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
กะลอหอง ห องสำหรับเปนที่อยูของผีบรรพบุรุษ
มุมนอน
มุมครัว
ระเบียงดานหนา ห รือ กกชาน
“ ขึ้นไดเฮือน จ ะผิดผีบาน ข ึ้นไดกวาน จะผิดผีเฮือน” จะขึ้นบันไดตองใหเจาบานเชิญ มฉิ ะนั้นผ ีเรือนจะติเตียน ทำใหเจ็บไข หนาบานใชรับแ ขกผูใหญที่คุนเคยนับถือ หลังบานหนุมสาวคุยก ัน ไมใหเขาบ าน
16
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ทรงผม
ทรงผมของชาวไทดำหรือล าวโซงม ลี กั ษณะแตกตางกวาช าติอ นื่ ๆท เี่ ปนเอกลักษณเฉพาะกลุม เรียกวา ปนเกลา โดยทรงผมสามารถบงบอกถึงสถานะของผูหญิงลาวโซงไ ดวา เปนคนโสด แตงงานแลว หรือเปน หมาย เชน ทรงผม ผูสาวปลอยผม/ไวทายทอย แตงงานแลวมวยผมไวจอมกะหมอม หากสามีตายเปน แมหมายเอาไวทายทอย (ดอยลง) หรือห ากแบงต ามวัยต างๆ จะสามารถแบงไดด ังนี้ ในสมัยกอนเด็กหญิง และชายจะถูกกรอนผม พอเริ่มเปนหนุมสาว ผูชายจะตัดผมทรงดอกกระทุม หรือทรงสูง สวนผูหญิงไวผ ม ทรงเอื้อมไหลหรือเอื้อมไร เปนท รงผมของเด็กหญิงล าวโซงท ี่ผมยังสั้นอ ยูระหวางอายุ 13-14 ป
ทรงสับปลิ้น เมื่อผ มเริ่มยาวจะพับปลายผมมวนขึ้น ใชหวีส ับไวตรงทายทอย สำหรับห ญิงสาวชวงอายุ 1 5 ป
17
ทรงจุกตบ เปนผมที่ขมวดเปนกระบังอยูขางหลัง ถักเปนเปย สำหรับหญิงสาวชวงอายุ 16 ป
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ท รงขอดกระตอก เปนผ มที่ยาวผูกเปนปม ปลอยชายลงขางหนา สำหรับห ญิงสาวชวงอายุ 1 7 ป ,
ท รงปนเกลาซอย ห รือขอดซอย เปนการเกลาผมที่ผูกเปนเงื่อนตาย เอาชายไวขางซายเปนโบวคลาย หูกระตาย ปลอยชายผมขางขวา สำหรับหญิงสาวชวงอายุ 18- 19 ป เปนทรงสุดทายของสาวรุน
ท รงปนเ กลาตว ง เกลาตลบไวก ลางศีรษะ มวนชายขดเขาขางใน ใชไมกลัดขัดไว ไมใ หหลุด ด านหนาโยกเปนลอนใหส วยงาม ส ำหรับห ญิงสาว ชวงอายุ 2 0 ป ทรงนี้สามารถแตงงานได และเกลาต ลอดอายุ ยกเวนเปนหมายหรือชวงไวทุกข
ทรงปนเกลาตก หรือทรงแมหมาย เมื่อสามีเสียชีวิต จะปลอยผมสยายในระหวางไวทุกข จะปนเกลาตกอยูกลางศีรษะคอนไปทางทายทอย มีกลุมผมอยูขางหลัง
18
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ประเพณี พิธีกรรมและความเชื่อ
ชาวไทดำหรือลาวโซงมีลักษณะทางวัฒนธรรมที่เปนเอกลักษณของตนเอง เชน ภาษาพูดและ ภาษาเขียน การแตงกาย ขนบธรรมเนียม ประเพณี พิธีกรรม และความเชื่อด ั้งเดิมอยูเปนอันมาก ลักษณะ ทางสังคมของลาวโซงย ังคงรักษาขนบธรรมเนียมจารีตประเพณีและพิธีกรรมไวอยางเครงครัด ซึ่งเปนปจจัย สำคัญในความเปนป กแผนแ ละการดำรงเอกลักษณข องกลุมช าติพันธุ พิธีกรรมหลัก เชน พิธีเสน พิธีงานศพ พิธีขึ้นบานใหม ฯลฯ
ประเพณีขึ้นเฮือนใหม
เมื่อปลูกเรือนใหม การทำพิธีขึ้นบานใหม มักทำในชวงเวลาบาย หลังจาก 15.00 น. ลวงไปแลว ถือเปนพิธีชั้นกลาง หมอพิธีจะมาขมขวง คือ ขมสิ่งเลวราย ผีรายออกจากไมไปอยูที่อื่น จากนั้นข นอุปกรณ ที่จำเปนในการดำรงชีวิตข ึ้นบ าน ของใชในพิธีมี ขมุก ไหเอือด (ไหพริก) ไหเกลือ ไหนึ่งขาว ที่นอน หมอน มุง เสื่อ สาด ฯลฯ แลวจึง “เลาผีเฮือน” คือ การบอกเลา หรือ เชิญผีเรือนมาอยูบนบานใหม ทำพิธี “จี่ไฟไหขาว” (นึง่ ข า วกอ ไ ฟบนเตาทใี่ ชก อ นหนิ 3 กอน เรียกวา กอนเสา) เลีย้ งอาหารค่ำแ ลวเสร็จพ ธิ ี คนบา นใกลเรือนเคียง ไมมีการใหของขวัญ มีแ ตค ำอวยพรใหอยูด ีมีสุข อายุมั่นข วัญยืน
พิธีขึ้นเฮือนใหม ที่มา : พิพิธภัณฑป านถนอม บานหนองจิก หมู 1 ตำบลหนองปรง อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี
19
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ประเพณีเกี่ยวกับค วามรัก
การลงขวง เปนประเพณีท่เี ปดโอกาสใหชายหนุม และหญิงสาวไดพบปะสนทนาเพือ่ เรียนรูนสิ ยั ใจคอ เปรียบเสมือนเปนประเพณีการหาคูน น่ั เอง โดยฝา ยหญิงป ระมาณ 4-5 คน จะรวมกลุม กันทำงานบาน งานฝม อื อยูกับบาน เชน ปนดาย เย็บปกถ ักรอย จักสาน ตำขาว เปนตน ที่ขวงหรือลานขวง (เปนลานในบริเวณบาน หรือของหมูบ า น) ในตอนกลางคืน ประมาณทมุ ห รือส องทมุ การมาทำงานเชนนีเ้ รียกวา “อยูข ว ง” ความหมาย ก็ค อื มาทำงานในบริเวณลานบานในตอนกลางคืนน นั่ เอง โดยปกติก น็ งั่ ก นั เปนกลุม ว งกลม จุดไ ฟไวต รงกลาง ใหสวางพอเห็น ความสำคัญของการอยูขวงคือ การเปดโอกาสใหชายหนุมไ ดมาเที่ยวหาพูดคุย เรียกวา “แอปส าว” (รูจ กั คนุ เคยกับหญิงสาว) เพือ่ ไดรจู กั สนทนากัน บางครัง้ หมูบ า นหนึ่งๆ มีห ลายขวง ชายหนุม ก เ็ลือกเทีย่ วชม ไดสบาย เรื่องที่สนทนากันก ็จะถามชื่อที่อยูก ารทำมาหากิน ถาคุนเคยก็กลาวหยอกลอก ันไ ป แตผลสุดทายก็ ไมพนเรื่องรักๆ ใครๆ ศึกษาอุปนิสัยใ จคอซึ่งกันและกัน หากพึงพอใจตอกันก ็จะสานสัมพันธต อไป การอยู ขวงทำงานบานเชนนี้ทำไดต ลอดป ไมเลือกฤดูกาลอยางการอิ้นกอน กติกาในการเที่ยวขวง คือ ความเปน ประชาธิปไตยและน้ำใจนักกีฬา หนุมคนใดหรือกลุมใดคุยอยูกับสาว หากมีหนุมกลุมอื่น ใหโอกาสกลุม มาทีหลัง ตอจากนัน้ ก จ็ ะกลับเขาไปอกี แสดงใหร วู า เขาสนใจอยูก อ นแลวอ ยางจริงจัง กลุม อ นื่ ไ มค วรมาสนใจ แตทั้งนี้กลุมหนุมจ ะมไี มตรีตอกันไมผ ิดใจกัน จึงเปนความงดงามทางวัฒนธรรมที่ควรประกาศคุณคา
การทำหนาหมอนและกรอดาย เป น ลั ก ษณะข องส าวที่ ล งขว ง เพื่ อ ร อ ชายหนุมมาพูดคุย ทีม่ า : ศูนยว ฒ ั นธรรมไทยทรงดำ เขายอย ตำบลหนองปรง อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี
20
ผาในวิถีชีวิตไทดำ การลวงสาว การที่สาวไมไดนั่งลงขวง หากหนุมใดอยากจะคุยต องหาวิธีที่จะใหสาวรูตัว นั่นคือ พิธี ลวงสาว หรือจกสาว โดยหนุมตองมีไมลวง ซึ่งม ีลักษณะคลายไมตะพดขนาดยาวหนึ่งศ อกเศษ และใชสวน ที่แหลมของไมลวงสาวแทงไปบนที่นอนใหส าวรูตัว สาวก็จะขยับตัว ซึ่งหนุมม ักจะรูได เพราะสมัยกอนนอน บนฟาก หากนอนกระดานกไ็ มต อ งตอกตะปู หากใครไมมไี มล ว งสาวประจำกายกจ็ ะใชด นิ เหนียวผกู ต ดิ ป ลาย เชือกกลวย และนำเชือกผูกป ลายไมชิ้นเล็กๆ พอที่จะลอดชองได และสงกอนดินเหนียวไวใหถูกต ัวสาว สาว รูตัวก็จะดึงดินเหนียวหรือเอาเล็บจิกดินเหนียวไวเปนการบอกใหหนุมรูตัววาตนเองรูตัวแลว สาวก็จะจุด ตะเกียงงอยเพียงงอยเดียว (ขณะทตี่ ะเกียงงอยมี 3 ไส) เพียงเพือ่ ใหเกิดแ สงสวางและแจงใ หผ ปู กครองทราบ วา ตนไปคุยกับหนุม ไมไดเปนการลักลอบ และเปนเครื่องเตือนใจไมใ หผิดป ระเพณี
การลวงสาว เปนการเรียกสาวลงมาพูดคุย ที่มา : พิพิธภัณฑป านถนอม บานหนองจิก หมูท ี่ 1 ตำบลหนองปรง อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี
21
ผาในวิถีชีวิตไทดำ การเลนคอน หรือ อิน้ กอน เปนประเพณีที่จัดในเดือน 5 หรือเดือน 6 เพื่อสมานสามัคคี เปดโอกาส ใหชายหญิงไดพบปะ ฟอนรำ รองเพลงเกี้ยวกัน รูนิสัยใจคอ และมีการเลนโยนลูกชวง หรือเรียกอีกอยาง หนึ่งวา “ทอดมะกอน” มีห ญิง-ชาย ชาวไทดำหลายคูไดพบรักและแตงงานกันเพราะการเลนคอน “อนิ้ ” แปลวา เลน กอน คือ “ลูกชวง” เปนผ า ส เี่ หลีย่ มยดั ด ว ยเมล็ดฝ า ย ดีทสี่ ดุ ค อื เมล็ดน นุ รองลงมา เมล็ดมะขาม เอาไวโยนแกลงใหเจ็บ มีพหู อย 5 มุม มีสายสำหรับจับโยน ยาวประมาณ 1 ชวงแขน หนุมท ี่จะ เลนล ูกชวง ตองมีอายุต ั้งแต 15 ปขึ้นไป มีห ัวหนาฝูงกอน คือ คนที่มีครอบครัวแลว หรือหนุมส ูงอายุท ี่คอย ควบคุมด แู ลพฤติกรรมตา งๆ ในกลุม ซึง่ เรียกวา ฝูง กอน มีจ ำนวน 15-20 คนขนึ้ ไ ป ในจำนวนนจี้ ะมหี มอแคน เปนคนที่ไดรับมอบความเคารพนับถือ ไมจ ำเปนต องเปนหัวหนาฝูงกอน
ลูกชวง
ชายหนุมจะขอเลนลูกชวง กับหญิงสาว ตองใชเสื้อฮีพ ันแคนเขามาเจรจา
การเลนลูกชวงสมัยกอนจะมีทั้งป ทั้งแคน ปจจุบัน มีแคน และมีกลองเขามาเสริม จิตใจจะหาวกวามีแตเสียงแคน
ที่มา : ศูนยวัฒนธรรมไทยทรงดำเขายอย ตำบลหนองปรง อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี
22
ผาในวิถีชีวิตไทดำ วิธีการอิ้นกอน จะมี 3 แบบ คือ 1. อิ้นกอนคาง หนุมจะไปตั้งแตตอนสาย ปรบมือใหสาวในหมูบานรูจักวามีฝูงกอนจะมาขอเลน ลูกชวงแลวมารวมที่ขวง รับหนุมไ ปคางบานตนหรือไปชวยงานในบานตนหรือบานที่เปนหัวหนาขวง หนุมจะ ไปชวยตักน้ำ ตำขาว แลวแตสาวบานใดมีงาน ตกเย็นทำอาหารเลี้ยงกัน หนุมก็จะเขาไปชวยสาวทำอาหาร ศึกษาและสังเกตพฤติกรรมของสาว หัวค่ำสาวจะใสเสื้อฮีลงมาตอ ดกอน (โยนลูกชวง) หนุมนอยก็ใสเสื้อฮี เสร็จแ ลวกินแลง (รับประทานอาหารเย็น) ตอจากนั้นจ ึงจะมีการฟอนรำ ฟอนรำเสร็จ วานสาว คือ การจอง เปนคูคุยกันในคืนนั้น หลังจากนั้นห นุมจะคางที่บานสาว หรือนอนที่ขวงแลวแตค วามสมัครใจ 2. อิ้นกอนสูแลง หนุมม าตอนหัวค่ำ มากินแลง (รับประทานอาหารเย็น) ดวยกัน และรองรำวานสาว แลวกลับบาน โดยไมไดคางคืน วิธีการเลนลูกชวงเหมือนกับอิ้นกอนคาง ตางกันตรงฝูงกอนไมไดคางคืน เทานั้น 3. อิ้นกอนเตียว (กลับ) หนุมม าตอนมืด ประมาณ 20.00 น. คือก ินแลง (รับประทานอาหารเย็น) มากอนแลว จึงมาปรบมือข อเลนล ูกชวง ปรบมือ เปาแคน เริ่มรองรำ หลังจากนั้นจ ึงตอดกอน (โยนลูกชวง) และวานสาว เสร็จแลวกลับบานตนเอง
ประเพณีการแตงงาน
การแตงงาน หรือเรียกวา “งานกินดอง” หรือ “งานกินหลอง” หมายความวา งานเลี้ยงเพื่อความ เกีย่ วดองเปนญ าติก นั ชายหนุม หญิงสาว เมือ่ ม คี วามรกั ใครช อบพอกันถ งึ ขัน้ แ ตงงานกนั ฝายชายจะสง ผ ใู หญ มาสูขอหญิงสาวจากพอแมฝ ายหญิง เรียกวา “ไปโอโลม” สิ่งของที่เตรียมไปมีหอหมาก พลู บุหรี่ 4 ชุด เหลา 1 เท (32 ขวด) ขนม 8 ถาด หมู ไก พรอม หญิงสาว 2 คน มักห าหญิงสาวจากครอบครัวท ี่ดี คือ มีพรอมทั้งบิดามารดา และมปี ระวัติการแตงงาน มิใช หนีตามกัน สำหรับถ ือห มาก พลู อันเปนมงคล ทั้งเถาแกแ ละหญิงสาว ตองสวม “เสื้อฮี” ใหเรียบรอยถูกตอง ตามประเพณี ถาเจรจาตกลงกันไ ดก็จะนัดหมายทำการหมั้น หรือจะนัดหมายแตงงานกันเลยก็ได
23
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ขั้นตอนในพิธีแตงงาน แบงออกเปน 4 ขั้น คือ 1. สอง หรือ การหมัน้ เมือ่ ทำพิธเี สร็จแลว ฝายชายจะไปเยีย่ มหญิงเปนครัง้ แรก หรือจะไปๆ มาๆ ก็ได เรียกวา “ไปหยามหอ มะป”ู คือ ไปเยีย่ มเยือนหอ หมากพลูของหมัน้ ของฝากทบ่ี า นหญิง คือ วิธกี ารไปพบคนรกั 2. สู คือ การที่ฝายชายไปมาหาสู 3. สา คือ ฝายชายไปทำงานรบั ใชอ ยูบ า นฝา ยหญิง เปนเวลา 1-5 ป กรณีทพี่ อ แมฝ า ยหญิงจ ะไมเรียก สินสอดทองหมั้น ฝายชายจึงตองอาสาทำงานเพื่อร ับใชพอแมฝายหญิงเปนการทดแทน 4. สง คือ พิธสี งตัวเจาสาวใหแกเจาบาวในวันแตงงาน
ชุดเจาบาว ใสเสื้อฮี สวมหมวกงอบ สะพายยามและมีด
ขบวนเจาบาว ตองมีที่นอน 1 คู เหลา 1 หาบ
พิธีเสนเรือน หรือเสนเฮือน
พิธีเสนเรือน คือ พิธีเซนไหว ผีเรือนที่รักษาบานเรือนของแตละตระกูล ไทดำ นับถือผีบรรพบุรุษ อยางเครงครัดแ ละถือป ฏิบัติสืบต อกันม า โดยเฉพาะพอ แม ปู ยา ตา ยาย ผูแ ตงงานไปเขาผีต ามคูสมรส ของตน ซึ่งเปนบรรพบุรุษที่เสียชีวิตไปแลว บานไทดำทุกบ านจะมีผีเฮือน (ผีเรือน) ลูกๆ จะจดชื่อใสไวใ นบัญชีผ ี ประจำบาน เรียกวา “ปบผีเรือน” ลูกหลานจะมีการอัญเชิญด วงวิญญาณขึ้นม าเปนผปี ระจำบาน ซึ่งต องเปนผี ดีที่ตายในบานนั้นห รือเจ็บปวยหรือแ กชราตาย แตผีที่ตายจากการเกิดอ ุบัติเหตุ หรือผีตายโหง เรียกวา เปน ผีไมดี วิญญาณจะไมถูกเชิญใหขึ้นเรือน เพราะถือวาต ายไมดี โดยจัดใหอยู ณ มุมหองๆ หนึ่ง ในหองที่จัด
24
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ไวเฉพาะ เรียกวา “กะลอหอง” พิธีนี้จะทำเปนประจำทุกปห รือ 2-4 ป ครั้งก็ได แลวแตฐ านะ แลวแตค วาม พรอมที่จะทำบุญใหกับญาติที่เสียชีวิต การเสนจะยกเวนค ือ เดือนเกาและเดือนสิบ เพราะการเสน 2 เดือนนี้ เชื่อกันวา ผีไปเฝาแถน ไทดำเชื่อกันว า เมื่อเซนไหวผ ีเรือนแลว ผีจะคุมครองรักษาตนและครอบครัวใหอยู เย็นเปนสุขม คี วามเจริญก า วหนา คนในตระกูเดียวกัน นามสกุลเดียวกัน จะมผี เี รือนเดียวกันเปนผ ขี องตระกูล นัน้ เรียกวา “ซิง หมายถึง แซ หรือน ามสกุล” ของตระกูลน นั้ ๆ ลักษณะของพธิ เี สนเรือน เปนพ ธิ ขี องครอบครัว หัวหนาค รอบครัวม หี นาทีร่ บั ผิดชอบทจี่ ะทำเสนเรือนเปนประจำ ซึง่ ก ารเซนไ มมกี ฎเกณฑต ายตัวว า ทำเมือ่ ไหร หากบานใดไมจัดทำพิธีเสนเรือน มีความเชื่อวา จะเกิดสิ่งอ ัปมงคลแกครอบครัว เกิดก ารเจ็บปวย หรือตาย ดวยเหตุอันไมควร และจะถูกสังคมตราหนาวาเปนคนไมรูจักบุญคุณ วันเสนตองไมตรงกับวันเวนตง วันเวนตงของแตละบานจะนับเอาวันทีเ่ชิญวิญญาณผีตนตระกูลขึ้นบานโดยมีหมอผี หรือที่เรียกวา หมอเสน เปนผ ดู ำเนินพ ธิ กี รรม โดยการทอ งบทกลาวเชือ้ เชิญว ญ ิ ญาณผทู ลี่ ว งลับไ ปแลวม ารบั เครือ่ งเซนใ น“กะลอ ห อ ง” ซึง่ เปนส ถานทีเ่ คารพยำเกรง ใครเขากะลอ ห อ งโดยไมมเี หตุผลอนั ค วรไมได แขกแปลกหนาม าขนึ้ บ า นตอ งนำ หมากพลูไ ปบอกผีบานผีเรือนในกะลอหอง หากดื่มเหลาต องนำเหลาไ ปบากขวด (เหลาท ี่รินครั้งแรก) ไปเซน กอน มิฉะนัน้ ผ เี รือนจะทำรายดว ยการบดิ ไส (ทำใหป วดทอง) เครือ่ งเซนต า งๆ จะถกู จ ดั เตรียมใส “ปานเผือน” (ภาชนะสำหรับใสอาหาร ทำดวยไมไผ) ในความเชื่อของไทดำ เชื่อวา ผีเรือน มีความสำคัญมาก จึงมกี ารสืบสกุลข องตระกูลดวยการสืบผี โดยยึดเพศชายเปนหลัก เริ่มน ับจากพอบานเปนผูสืบสกุลจ ากบรรพบุรุษ หากตองหาผูสืบสกุลค นตอไปตอง เลือกจากลูกชายหรือเพศชายคนใดคนหนึ่งเทานั้น หามเปนเพศหญิงโ ดยเด็ดขาด หากไมมีลูกชายจะเลือก หลานชาย หรือผูที่อาศัยอยูในบานที่เปนเพศชายแทนก็ไดเปนผูสืบทอดทำพิธีตอไป พิธีเสนเรือน เชน เสนเรียกขวัญ (เสนโต) เปนพ ิธีกรรมที่ทำเพื่อเรียกขวัญ เปนการตออายุ ตอเงาหัว เรียกขวัญก ลับค ืนใหแก เจาของขวัญที่เกิดไมสบาย เสนตั่งบั้ง (เสนกินปาง) เปนพิธีกรรมเซนไหวผีเรือนที่เปนผีพอ ปู ตา หรือ บรรพบุรุษที่มีวิชาอาคม เวทมนตค าถา ในการรักษาโรคไขเจ็บปวย ถอนพิษแมลงสัตวกัดตอยได หรือแก ไสยศาสตรได เรียกวา เปนหมอมนตมากอน ลูกหลานจะอัญเชิญใหอยูบนหิ้งตางหากอีก 1 หิ้ง ในหอง กะลอห อง นอกจากนี้ยังมี เสนรับมด (เสนฮับมด) เสนฆาเกือด เสนเต็ง (เสนนอยจอย) เสนสะเดาะเคราะห เสนแผวเฮือน เสนกวั๊ดกวาย เสนแกเคราะหเฮือน เสนเอาผขี ึ้นเรือน
25
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ประเพณีการเสนเรือนแบงออก เปน 2 ประเภท ขึน้ อยูก บั ก ารสบื ทอดสาย ตระกูล คือ ผูนอย และผตู าว (ทาว) เสนผูนอย สำหรับตระกูลที่เปน สามัญชน จะเสนหมู เสนไก เพื่อน ำมาใช ในพิธีและนำมาปรุงอาหารเลี้ยงแขก เสนผตู า ว สำหรับช นชัน้ ป กครอง หรือต ระกูลท มี่ ชี าติกำเนิดส งู เปนผ มู สี กุล สูง จะเสนสัตวใหญ 1 ครั้ง ใน 1 ชวงชีวิต ซึ่งใชควายเปนเครื่องเซน
ปานเผือน (พาน) ภาชนะสำหรับใสเครื่องเซนในพิธีเสนเรือนที่ไทดำตองปฏิบัติ ที่มา : พิพิธภัณฑปานถนอม บานหนองจิก หมู 1 ตำบลหนองปรง อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี
หมอเสนผนู อ ย คลองเสือ้ ฮี ถือพ ดั ขนนก เปนผ ทู ำพิธเี สนเรือนในหอ งทจ่ี ดั ไวโดยเฉพาะ เรียกวา “กะลอ หอ ง”
26
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ปานเผือนผูนอย มีตะเกียบ 7 คู ปกร อบๆ
คนยกปานเผือน คือ กลุมผีเรือนเดียวกัน คนเปนสะใภตองใสเสื้อฮี ครั้งแรกยกเสมอเขา ครั้งส องยกเสมอบา ครั้งสามยกสูงเหนือศีรษะ แลวมอบใหหมอผีเรือน
27
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ประเพณีปาดตง พิธีปาดตง คือ การเซนไหวบ รรพบุรุษของชาวไทดำ วันปาดตงจะถูกก ำหนดขึ้นม าโดยเฉพาะแตละ ครอบครัว ซึง่ จะตรงกบั วนั ทีเ่ รียกผตี น ตระกูลขน้ึ เฮือน (เรือน) การปาดตงสำหรับผนู อ ยจะทำทกุ 10 วัน สวนผี ผูตาว (ทาว) ทำทุก 5 วัน เครื่องเซนไหวจะนำไปวางไวท ี่กะลอหอง ปาดตงจะทำตลอดป แตค รั้งสำคัญที่สุด คือ ปาดตงขาวใหม มีก ารเรียกเพื่อนมากินงายตง ซึ่งเปนอาหารมื้อเชา มื้อเย็นไ มนิยมเชิญมากินกัน เปนการ แจงตอผีเรือนวา ลูกหลานอุดมสมบูรณด วยขาวปลาอาหาร ซึ่งเครื่องเซนจ ะมีลักษณะเฉพาะ คือ ขาวเมา คือ การนำขาวเปลือกขาวเหนียวที่ยังไมแกจัดม าคั่ว และนำมาตำ หลังจากนั้นน ำขาวเมามา คลุกกับมะพราวออน โรยดวยน้ำตาลและเกลือ ขาวฮาง ขาวที่นึ่งทั้งเปลือกและนำไปผึ่งแดดใหแหง นำมาตำหรือสีเอาเปลือกออก แลวจึงนำไปนึ่ง อีกครั้ง บางบานปลูกขาวพิเศษไวเพื่อป าดตง คือ ขาวเหนียวดำ เรียกวา “ขาวเหล็กหลำ” ขาวตะหลาย คือ ขาวเหนียวใหม ปลาปงงบ คือ ปลาที่นำมาผสมกับเครื่องแกง หอด วยใบตองและนำไปนึ่ง กบฝอ หรือก บโอ คือ กบยัดไสดวยเครื่องผสมพริกแกงนำไปนึ่ง แลวน ำไปปงห รือยางอีกครั้งหนึ่ง นอกจากนั้นยังมีปลายาง กุง หอย ปู รวมทั้งข องหวานและผลไมช นิดตางๆ
ขับมด
เปนจารีตในการรักษาโรคภัยไ ขเจ็บข องไทดำ กลาวคือ เมื่อม ีคนเจ็บปวยเรื้อรังในครอบครัว รักษา ดวยหมอพื้นเมืองแลวไมหาย สามีภรรยาหรือญาติผ ูปวยจะไปหา “หมอเหยา” มาเสกเปาเยียวยาแกไข ถายัง ไมห ายก็จะไปเชิญหมอมดมาทำพิธรี ักษา หมอมดจะรักษาดวยการขับมด และเสี่ยงทาย เพื่อใหทราบสาเหตุ ของการเจ็บปวย ถาหากถูกผีทำก็จะทำพิธีเลี้ยงผีแกไขอาการเจ็บปวย เดิมการรักษาของหมอมดมีคาคาย (ขึ้นครู) 2 บี้ แตปจจุบันใชเงิน 1,000 กีบ เทียน 8 คู ไข 2 ฟอง กระเทียม 2-3 หัว ฝาย 1 มัด เกลือ 1 หอ ขาวสารใสก ะละมัง หวี และปอยผม 1 ปอย เพื่อถวายใหผมี ด การรักษาเริ่มดวยการใหผูชวยหมอมด 2 คน ชวยกันเปาป หมอมดจะทำการขบั ม ดเพือ่ เชิญผ มี ดใหม าชว ยในการวนิ ฉิ ยั ส าเหตุข องการเจ็บปวย โดยสมุ ถ าม ผีม ดวา ถูกผอี ะไรทำ เชน ถามวาถูกผีเรือนทำใชไหม แลวเสี่ยงทายหาคำตอบดวยการสาดขาวสารลงบนพื้น 3 ครั้ง ใหไดจำนวนคู-คี่ สลับกัน กลาวคือ ถาครั้งแรกไดจำนวนคู ครั้งที่สองตองไดจำนวนคี่ และครั้งที่สาม
28
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ตองไดจำนวนคู แสดงวาผดิ ผเี รือน ถาเสีย่ งทายไมไดจำนวนดงั กลาวกจ็ ะเปาปข บั มดตอ ไปอกี จนจบคำขบั มด แลวเสีย่ งทายอกี เชนนี้ จนกระทัง่ ไ ดจ ำนวนคสู ลับค ตี่ ามทีต่ อ งการ ดังนัน้ ก ารขบั ม ดจงึ ใ ชเวลานาน อาจใชเวลา ตัง้ แตต อนบายจนกระทัง่ ถึงก ลางคืน เมือ่ ท ราบสาเหตุข องการเจ็บปวยวา ถ กู ผ ใี ดทำ หมดมดกจ็ ะใหญ าติผ ปู ว ย จัดเตรียมเหลา อาหาร และสิ่งของสำหรับเซนเลี้ยง เพื่อใหเลิกทำแกผูเจ็บปวย การรักษาของหมอมดไมมี ขอหามในการรักษารวมกับแ พทยแ ผนปจจุบัน แมวาคนปวยจะนอนอยูโรงพยาบาล หมอมดก็ทำพิธรี ักษาที่ บานไปดวยได ผูรวมพิธีขับมดไดแก ญาติพี่นองใกลชิด เพื่อนบานใกลเคียง รวมทั้งค นในหมูบานจะมารวม โดยไมตองบอกกลาว ขับมด เปนการรักษาทางดานจิตใจ การเชิญหมอมดมารักษา แสดงวา ลูกผ ัวฮักแ พง รวมทั้งมีญาติ และเพื่อนบานมาเยี่ยมเยือน ทำใหผ ูปวยมีขวัญและกำลังใจดีขึ้น ซึ่งอาจทำใหห ายจากการเจ็บปวย
ประเพณีแปงขวัญ
ไทดำมีความเชื่อในเรื่อง “ขวัญ” ซึ่งขวัญ เปนสิ่งท ี่ไมมีตัวตน เปนเงาหรือแววของชีวิต เปนสิ่งติดตัว มาแตกำเนิด และเชื่อว า คนเราจะไดดมี ีสุข มีทุกขโศกเคราะหรายหรือเจ็บปวยไข ก็เพราะ “ขวัญ” ที่อยูในตัว ของตนเปนสาเหตุ ถาขวัญอ ยูกับต ัวกเ็ปนศิริมงคล อยูเย็นเปนสุข จิตใจมั่นคง เมื่อใดตกใจ เสียขวัญ ขวัญ ออกจากตัวไป หรือม ัวไ ปหลงทางอยูที่ใด ซึ่งเรียกวา ขวัญหาย ขวัญหนี ฯลฯ ก็อาจจะทำใหเกิดเจ็บปวยไข หรือเคราะหรายได การแปงขวัญ หรือ การเรียกขวัญ หรือ การสอนขวัญ คือ การเรียกขวัญใ หกลับคืนม า โดยการจัดทำพิธอี อนวอน ซึ่งจะมีเทพประจำขวัญ ภาษาถิ่นเรียกวา “ผีขวัญ” คือ ผูดูแลขวัญทั้ง 32 เทพ ประจำขวัญมี 12 เทพ เปนเพศชาย เพียงหนึ่ง ไดแก พอ แม น้ำ ไฟ ไก ปลา กลวย หูกท อผา เปล ผาหลา (ผาสะพายลูก) แถนผูกำหนดชะตาชีวิต เทพทั้ง 12 มีหนาที่ดูแลอวัยวะตางๆ เวลารางกายเจ็บปวยก็ตอง ออนวอนเทพประจำขวัญต างๆ การแปงขวัญ แบงออกเปน 3 ประเภท คือ 1) การแปงขวัญเด็ก 2) การแปง ขวัญผ ใู หญ และ 3) การแปงขวัญผ สู งู อายุ สาเหตุท ตี่ อ งมกี ารแปงขวัญ อาจมสี าเหตุม าจาก การหายจากเจ็บไข หรือคลุกคลีกับสิ่งที่ไมเปนมงคล เชน แปงขวัญใ หเขยผูจัดงานศพ ใหขวัญเขยอยูกับตัวอ ยาต ามคนตายไป หรือ แปงขวัญเพื่อเสริมกำลังใจสำหรับผูสูงอายุ เปนตน
29
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
พิธีเรียกขวัญ สำหรับค นไมสบายใหห ายดี หรือคนสบายดีแตตองการเสริมขวัญใหเปนสิริมงคลกจ็ ัดได ที่มา : ศูนยวัฒนธรรมไทยทรงดำเขายอย ตำบลหนองปรง อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี
ประเพณีการทำศพ
ชาวไทดำ ถือวา การตายเปนเรื่องสำคัญมาก เมื่อมีการตาย ญาติพี่นองผีเดียวกันจะหยุดทำงาน ทุกอยาง เพือ่ เปนการไวทกุ ข และชว ยกันจ ดั การเกีย่ วกับป ระเพณี งานศพนนั้ เรียกวา “กำบา น กำเมือง” และ ถือเปนความโศกเศราจนกวาจะนำศพไปเผาแลว จึงจ ะมกี ารทำงานตามปกติไ ด พิธศี พเปนพ ธิ ที ยี่ ดึ ถือก นั จ น เปนธรรมเนียมปฏิบัติอยางเปนขั้นตอนหลายอยาง และจำเปนตองมีผูรูคอยแนะนำปฏิบัติ ซึ่งเปนผ ูสูงอายุ ในพิธีศพที่ยังถือป ฏิบัตกิ ันอยูใ นปจจุบันนั้น เมื่อม ีผเูสียชีวิตจ ะเริ่มจากการ “หรอย” “หรอย” เปนการจัดต กแตงศพกอนที่จะบรรจุลงหีบศพ โดยเริ่มจากการอาบน้ำศพ พรอมทั้งแตงตัว ใสเสื้อผาใหเรียบรอย
30
ผาในวิถีชีวิตไทดำ “เอ็ดแฮว” เปนการเตรียมการเครื่องใชในการประกอบพิธีศพ สิ่งที่ตองเตรียมไดแก การทำเสาหลวง ปรี เซียน นกหงส ใบไม หอแกว ลำธงกาว และเครื่องใชประกอบเล็กๆ นอยๆ ที่เปนขาวของเครื่องใชสำหรับ สงม อบใหกับผูตาย “หอแกว” เปนเรือนจำลอง สรางดวยไมลักษณะคลายศาลาการเปรียญขนาดเล็ก ลอมรอบดวยเสา เรียกวา เสาหลักเมือง ประดับด วยปุย ทำจากดายสีแดง เหลือง รอบเสาหลักเมือง และเรือนหอแกว หอแกว นี้สรางเปนเกียรติส ำหรับผ ูตายอายุ 80 ปข ึ้นไป “เซียน” เปนเสมือนรมกันแดดเปนแกนกลางประดับโดยรอบดวยลายผาเหลือง ดำ แดง ประกบกัน แลวต ัดควานตรงกลางผาใหหอยลงมา เซียนจะอยูบ นปรี หรือนกหงส บนยอดเสาหลวง “ปร”ี เชือ่ ก นั ว า เปนพ าหนะทจี่ ะนำดวงวิญญาณของผตู ายกลับไ ปยังเมืองแถน ทำจากไมเนือ้ ออน เหลา กลึงใหกลม สวนบนมีปก ขางละ 3 อัน เพื่อใชในการบิน ปรีจะอยูส วนบนยอดเสาหลวง ใชเฉพาะผูตายที่ เปนหญิง “นกหงส” เชื่อกันวาเปนพาหนะที่จะนำดวงวิญญาณของผูตายที่เปนชาย บินกลับไปยังเมืองแถน ทำจากไมเนื้อออนเปนรูปน ก มีปกข างละ 3 อัน นกหงสจ ะอยูบนยอดเสาหลวง “เสาหลวง” เปรียบเสมือนตนไมใหญ ทำจากไมทั้งต น ยาวประมาณ 3 เมตร ประดับโดยรอบดวย ใบไมที่ทำจากผาข าวและผาแดง ขนาด 30x30 เซนติเมตร ติดไวกับปลายไม ถาผ ูตายเปนชาย จะใชใบไม ประดับเปนแ ผงติดกับเสาหลวง ถาผ ูตายเปนห ญิง จะใชใบไมประดับเปนว งกลมรอบเสาหลวง สวนยอดของ เสาหลวงมนี กหงส หรือปรี ประดับอ ยู โดยมเี ซียนเปนรม เสียบอยูส ว นบนสุด จำนวนใบไมทงั้ 2 สี จะใชอ ยาง ละ 20 หรือ 40 ผืน แลวแตฐ านะของผูตาย “ลำธงกาว” เปนธ งทบี่ ง บอกถึงผ ตู ายวา เปนพ อ บานพอ เรือน หรือผ นู ำครอบครัว ธงกาวนยี้ งิ่ ย าวเทาใด ยิ่งบงบอกฐานะของผูตาย บอกถึงความมั่งมีร่ำรวยของผูตาย การกำหนดวันเผาศพคนไทดำ ตองไมตรงกับมื้อเวนตง (วันเลี้ยงผีป ระจำตระกูล) ซึ่งแ ตละตระกูล จะมีมื้อเวนตงแตกตางกันอ อกไป ไทดำถือก ำหนดใน 1 สัปดาห มี 10 วัน คือ 1) มื้อกัด 6) มื้อกาบ
2) มื้อข ด 7) มื้อฮ ับ
3) มื้อฮวง 8) มื้อฮาย
31
4) มื้อเตา 9) มื้อเมิง
5) มื้อกา 10) มื้อเปก
ผาในวิถีชีวิตไทดำ เมื่อกำหนดวันเผาไดแลว พิธีในวันนั้นจะเริ่มจากการกินข าวปานตก (การรับประทานอาหารรวมกัน ของญาติพ นี่ อ ง) แลวจึงเริม่ พ ธิ กี ารบอกทางใหด วงวิญญาณของผตู ายเดินทางตามเสนทางจากบา นไปยังป า ชา โดยมี “เขย” (บุตรเขยของผูตาย) เปนผูทำพิธี หลังจากพิธีการบอกทางแลวจะเปนการ “ซอนขวัญ” เปนพิธี เรียกเอาขวัญข องญาติพี่นองใหยังอยูกับบ านกับเรือน ไมใหหลงไปกับดวงวิญญาณของผูตาย โดยมีหมอพิธี เปนผูทำการซอนขวัญ ถาหมอพิธีเปนหญิงจ ะเรียกวา “แมมด” ถาหมอพิธีเปนชายจะเรียกวา “เขย” แลวจึง นำศพไปยังปาชา เมื่อขบวนเคลื่อนศพออกจากบานจะมี “ธงเจาอวน” ซึ่งถือโดยบุตรชายของผูตายถือเดิน นำหนาขบวน เพื่อเปนการเบิกทางใหกับด วงวิญญาณ เมื่อถ ึงกองฟอน นำศพวนรอบกองฟอน 3 รอบ วาง ศพลงบนกองฟอน เปดหบี ศพลา งหนาศพดว ยนำ้ ม ะพราว นำหอ เสือ้ ผาแ ละเครือ่ งใชม าโยนขา มหบี ศพ 3 ครัง้ เรียกวา “โยนผาหนาไฟ” เพื่อส งสิ่งของเหลานั้นใ หกับผูตาย แลวท ำการเผาศพ วันรุงขึ้นญ าติพี่นองจะรวมกันเก็บก ระดูกใสลงในไหกระดูกที่เตรียมไว จากนั้นทำพิธี “ตั้งเฮือนปา” เพือ่ ส ง ส งิ่ ของเครือ่ งใชใ หก บั ผ ตู าย ขัน้ ต อนนีเ้ ขยจะทำพิธบี อกทางอกี ครัง้ เปนการบอกเสนทางใหด วงวิญญาณ เดินทางไปเมืองแถน และบอกดวงวิญญาณของผูตายกลับมาอีกครั้งเมื่อถึงวัน “มื้อเวนตง” ของตระกูล เพื่อ มารับเครื่องเซนที่ญาติพี่นองนำมาเซนไหว เสร็จพิธีเขยจะใชปลายมีดขีดที่พื้นดิน เพื่อเปนการตัดขาดซึ่ง กันและกัน ทุกคนเดินหนั หลังไมเหลียวกลับมามองเฮือนปา อกี เพือ่ ทด่ี วงวิญญาณจะไดไมหว งผทู ย่ี งั มีชวี ติ อยู บุตรของผูตายจะตองนำหอข าว ปลาอาหาร ซึ่งห อดวยใบตองมาสงท ี่เฮือนปาอีก 3 วัน เฉพาะตอนเชา สง เสร็จแ ลวใ ชมีดขีดที่พื้นดิน แลวหันหลังก ลับ ในการสงห อขาว 3 วันนี้ ผูที่สงอ าหารจะตองสวม “เสื้อตกป ก หัวข าว” ไปดวย การเอาผขี นึ้ เรือน จะกำหนดวนั โ ดยผตู า วเอาผขี นึ้ เรือนตรงกบั ว นั “มือ้ เวนตง” ของตระกูล สวนผนู อ ย นัน้ จ ะเอาผขี นึ้ เรือนไมตรงกบั “มือ้ เวนตง” ของตระกูล โดยมหี มอพธิ ี เรียกวา หมอเสน เปนผ ทู ำพิธี เมือ่ เสร็จ พิธีนแี้ ลวจะทำการไลหมอพิธีใหลงไปจากบาน ลางทำความสะอาดบานเพื่อไมใหงานเชนนี้เกิดขึ้นใ นบานหลัง นี้อีกตอไป เปนที่นาสังเกตวา พิธีกรรมของไทดำกับคนเชื้อสายจีนจะมีพิธีหลักโดยรวมที่คลายคลึงกัน แตกตางกนั ทีข่ นั้ ตอนในการปฏิบตั ิ เชน การเสนเรือนกบั ก ารไหวต รุษจีน พิธบี อกทางกบั พ ธิ กี งเตก การนงุ ช ดุ เสื้อผาไ วทุกขที่คลายกัน คงจะเนื่องมาจากถิ่นฐานเดิมของไทดำนั้นอยูท างตอนใตข องประเทศจีน จึงมีความ คลายคลึงก ัน
32
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ไทดำ หรือล าวโซงเปนเผาพันธุเดียวในโลกที่มีลักษณะการแตงกายบงบอกสถานะและมีความหมาย ชัดเจนทั้งชายและหญิง แบงออกเปน 2 ประเภท คือ เสื้อผาส ำหรับใชในชีวิตประจำวัน และเสื้อผาสำหรับใส ในพิธีกรรม งานประเพณี หรือง านรื่นเริงตางๆซึ่งสวนใหญมักน ิยมตัดเย็บเสื้อผาใสเอง โดยใชผาฝายทอมือ ยอมสีที่ไดจากธรรมชาติ สีของเสื้อผาที่สวมใสมักเปนสีดำ สีคราม ปจจุบันหันมานิยมใชดายโทเรแทน เนื่องจากเห็นวา เสนเรียบและสะดวกในการนำไปทอ สีที่ใชเปนหลัก มี 5 สี คือ ดำ ขาว เขียว แดงเลือดหมู และแสด การใชผาในวิถีชีวิตไทดำ เครื่องแตงกาย ในชีวิตประจำวัน - เสื้อไต (ช) - เสื้อหงเหง (ช) - สวงกอม (ช-ญ) - เสื้อกอม (ญ) - ผาซิ่นลายแตงโม (ญ) - ผาเปยว (ญ) - ผาสไบ (ญ) - ผาซีโปว (ช) - ผาขันลาว (ญ) - เสื้อนอย (ญ) - เสื้อกระโปรง (ญ) - สวงซอน (ญ)
สิ่งของเครื่องใช - สายเอว (ช-ญ) - ผาหลา หรือผาอ ุมเด็ก - มู (เด็ก-พอมด-แมมด) - หลวม (ช) - ถุงยาม (ช-ญ-หมอพิธี) - เสื่อฟูก - หมอน - หมอนตาวเสื่อนั่ง - หยั่น - ลูกชวง - พัด
ในพิธีกรรม - เสื้อฮี (ช-ญ) - สวงฮี (ช) - เสื้อจาง (หมอพิธี) - เสื้อตก (ช-ญ) - ผาซิ่นตาหมี่ (ญ) - ผาซิ่นนางหาญ (ญ) - ผาเปยว (ญ) - ผาซีโปว (ช) - ผาขันลาว
33
ผาในวิถีชีวิตไทดำ เครื่องแตงกาย
คนโซงเชื่อวา ห ากไมแตงตัวแบบโซง เมื่อตายไป เจอพอแมแลว พอแมจำไมได
ซิ่นตาหมี่
ซิ่นลายแตงโม
ชุดปกติทั่วไป ใสอยูบ าน ใสไดทุกโอกาส
34
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ชุดพอมด-แมมด
ช ุดเสื้อฮี ใสในงานพิธีกรรม ที่มา : ศูนยวัฒนธรรมไทยทรงดำเขายอย ตำบลหนองปรง อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี
35
ผาในวิถีชีวิตไทดำ เครื่องแตงกายในชีวิตประจำวัน
เครื่องแตงกายในชีวิตป ระจำวันของชาวไทดำ หรือลาวโซง ไดแก เสื้อไต เสื้อหงเหง สวงกอม ผาซิ่น ลายแตงโม ผาเปยว ผาสไบ ผาชีโปว ผาขันลาว เสื้อน อย เสื้อก ระโปรง สวงซอน เปนตน เสื้อไตหรือเสื้อไท หมายถึง เปนของผูชายสวมใสเมื่อไปงานตางๆ ใสไปเที่ยว เกี้ยวสาวหรือไปหา ญาติพี่นอง เมื่อต องการความสุภาพเรียบรอยในโอกาสที่คอนขางเปนทางการ หรือสวมเมื่ออากาศหนาวเย็น ตัดเย็บด ว ยผา ฝ า ยทอมอื ย อ มสดี ำหรือ ส คี รามเขม ล กั ษณะเปนเสือ้ ค อตัง้ แ ขนยาวทรงกระบอก ผ า ห นาต ลอด ติดกระดุมเงินทรงดอกบัวตูม เรียงกันป ระมาณ 11 – 19 เม็ด แลวแตฐ านะของผูสวมใส ตัวเสื้อสั้นต่ำกวา เอวลงไปเล็กนอย มีกระเปาทั้งสองขางบริเวณดานลางของตัวเสื้อ เสื่อหงเหง ออกสำเนียงไทยวา “เสื้อฮงเฮง” เปนเสื้อแขนยาวคอตั้ง ติดกระดุม 5 เม็ด ชายเสื้อดาน ขางแหวกไวทั้งสองชาย มีสาบเสื้อ กระเปาด านขางทั้งสองดาน หรือดานเดียวแลวแ ตแมบานจะเย็บให ใชใ ส ทำงาน ไมตองติดกระดุมเพื่อความสะดวกรวดเร็ว ใชใสไปไร ไปนา เกี่ยวหญา ตัดฟน เย็บดวยผาฝายสีดำ หากเย็บดวยผาไหมสีแดง หรือแ พรสีแดงจะเปนเสื้อข องหมอพิธีผูตาว เรียกวา “เสื้อจาง” ใชใสประกอบพิธี งานเสน หรือ พิธีศพ หากใชในพิธีศพ จะโพกศีรษะดวยแพรสีแดง ในปจจุบันหากใชผาเย็บเปนเสนแลวผ ูก แทนติดกระดุมจะเรียกวา เสื้อหนวดปลาหมึก
เสื้อไตหรือเสื้อไท
เสื้อหงเหง
36
ผาในวิถีชีวิตไทดำ สวงกอม (กางเกงขาสั้น) เปนกางเกงที่มีความยาวเสมอหัวเขา บริเวณเอวเปนสวนที่กวางที่สุด เวลา นุงตองทบผาไวดานหนา แลวคาดทับด วยสายกดเอว (เข็มขัด) ลักษณะคลายกับกางเกงขากวย แตต างกัน ตรงทกี่ ารตอ ป ระกอบผา แ ตละชนิ้ โ ดยเฉพาะบริเวณเปาก างเกงดา นหนาแ ละดา นหลังต อ งใชผ า แ ทรก แ ลวน ำ ผาที่ทบกันมาเย็บพันเปนตะเข็บกลมทั้งหมด ตัดเย็บดวยผาฝายสีดำหรือสีครามเขม ใชสำหรับนุงทำงาน ทั่วไป หรือทำงานหนัก เชน ก ารทำนา เปนตน เสื้อกอม เปนเสื้อผ าฝายทอมือยอมคราม ตัวส ั้นตัดเย็บด วยมือเขารูปพองาม ลักษณะเปนเสื้อสีดำ หรือสีครามเขม คอตั้งแ บบจีนไมมปี ก ผาหนาต ลอด ติดกระดุมเงินถ ี่มาก ประมาณ 9 , 11 , 13 , 15 เม็ด ทรงดอกบัวตูม กระดุมรูปผีเสื้อหรือแมงกะบี้ชิดติดกันตั้งแตคอถึงเอว แขนยาวจรดขอมือทรงกระบอก เสือ้ กอ มเปนเสือ้ ทใี่ ชคกู บั ผา ซิน่ เปนชดุ ลำลองหรือชดุ ประจำเผาของไทดำหญิง ใชสวมไปทกุ แหง ใสไปไร ไป นา กินเสน หรือไปงานพิธี ถาไปวัดก็พาดผาเปยว หรือผาสไบอีก 1ผืน ถาไ ปตลาดก็สะพายกะเหล็บ ซึ่งสาน ดวยไมไผละเอียดยิบ ใ ชแทนกระเปา ห รือถ าเขาปาก็สะพายยาม ใ ชผาเปยวโพกศีรษะแทนหมวก
เสื้อกอม
37
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
กระดุมเงินทรงดอกบัวตูม
กระดุมเงินธรรมดา สำหรับผูนอย/บุคคลทั่วไป
เสื้อกอม บานนาปาห นาด หมู 4 ตำบลเขาแกว อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย กระดุมเงินร ูปผ ีเสื้อหรือแมงกะบี้ (สำหรับผ ูตาว/ผูมีฐานะ) ผีเสื้อ แทนผูชาย ตามหาหญิงที่รักกัน เมื่อลมหายตายจากจะกลายเปนผีเสื้อ บินม าเกาะที่หนาอก เสื้อท ุกตัวจะใสก ระดุมเปนเลขคี่ เชน 9 หรือ 11 เม็ด ขึ้นอยูกับค วามสูงต่ำของผใูส (คี่อยู คูหนี)
38
ผาในวิถีชีวิตไทดำ การแตงกายของชาวไทดำบานนาปาหนาด ผูชายสวมเสื้อที่ทอดวยผาสีดำหรือสีครามเขม แขน กระบอก ผาหนาอก ติดกระดุมเงิน 11 เม็ด ลักษณะกระดุมเปนรูปผักบุง ตามความเชื่อของผูหญิงไทดำที่ เปรียบผูชายเปนเม็ดแ กนผ ักบุง เพราะผูชายเจาชู ผูหญิงไ มเชื่อใจอยูแ ลว เปนแกนผักบุงห วานไปทั่ว ตกอยู ที่ใดก็เด็ดมาทำกินใ หหมด ตัวเสื้อผ ูชายยาวกวาเสื้อผูหญิง มีกระเปาตรงชายลางดานหนาทั้งสองขาง กางเกง ขายาว คลายกางเกงจีน ใชผาส ีดำเขม ผูหญิงจ ะใสเสื้อส ีดำคอกลม ผาหนา แขนกระบอก ติดกระดุมเปนรูป ผีเสือ้ น งุ ผา ซิน่ ล ายแตงโม น ยิ มโพกศีรษะดว ยผา ท ที่ อดว ยฝา ยยอ มมสี ดี ำ ก วางประมาณ 4 0 เซนติเมตร ย าว ประมาณ 12 0 เซนติเมตร ชายผาป กด วยดายสเีปนล วดลายตาง ๆเรียกวา ผาเปยว รองเทา ทั้งชายและหญิง ใชรองเทาไมยกพื้นสูง แบบคีบ ปจจุบันชาวไทดำบานนาปาหนาดจะแตงกายตามสมัยนิยมซึ่งแพรหลายใน ปจจุบัน เพราะหาไดง ายมีขายทั่วไป โดยเฉพาะการแตงกายของวัยรุนผ ูหญิงจ ะไมนิยมนุงผาซิ่นเพราะเห็นวา ลาสมัยและไมชินกับการนุงผาซิ่น ชาวไทดำจะแตงกายตามประเพณีเฉพาะในเทศกาลสำคัญประจำหมูบาน เทานั้น ในวันปกติจะไมพ ิถีพิถันการแตงกายใหสวยงามแตอยางใด เปนตนวา ผูชายสวมกางเกงขายาว หรือ ขาสั้น หรือนุงผาขาวมาโดยไมส วมเสื้อ แตจะเอาใจใสพ ิเศษในงานประเพณีและพิธีกรรมเทานั้น ชาวไทดำบานนาปาห นาด ต ำบลเขาแกว อ ำเภอเชียงคาน จ ังหวัดเลย มีการแตงกาย 2 ลักษณะคือ 1. การแตงกายแบบดั้งเดิม เปนการแตงกายที่มเีอกลักษณเฉพาะทั้งชายและหญิง การแตงกายของผูชายชาวไทดำแบบดั้งเดิมนั้นจะสวมหมวก ซึ่งจะสวมในงานพิธีกรรมบางอยาง ไมสวมในวันปกติ ลักษณะคลายหมวกของชาวมุสลิมแ ตทรงสูงกวา กระชับศรีษะ มีสีดำหรือสีเขมสเีดียวทั้ง ใบ ไ มตกแตงลวดลายใด ๆ ส ว นเสือ้ จ ะสวมเสือ้ ว า ด ซ งึ่ เปนเสือ้ ส ดี ำหรือส คี รามเขมท บึ ทงั้ ตัว ค อเสือ้ เปนแ บบ จีนไ มมปี ก ผ า ห นาต ลอดตงั้ แ ตค อถงึ ช ายเสือ้ ห รือผ า เยือ้ งไปทางดา นซาย ต ดิ กระดุมเงินเรียงชดิ ต ดิ ก นั ต งั้ แ ต คอลงไปจนถึงเอว ปลอยชายเสื้อไวนอกกางเกง ชายเสื้อดานหลังยาวกวาดานหนา ที่เอวมีผาคาดเรียกวา “กะเหลบ” จะใชหรือไมใชก็ได กางเกงที่นุงจะเปนกางเกงขายาวจรดขอเทาปลายขาแคบมีสีดำเรียกวา “ซง ห วั โ ลง”ร องเทาท สี่ วมจะเปนร องเทาท ที่ ำจากหนังค วายหรือไ ม ล กั ษณะคลายรองเทาแ ตะฟองน้ำแ บบสอด สายไวท ี่งามนิ้วเทา (พ ัน ไพศูนย. 25 40 : สัมภาษณ. อางอิงจ ากทวี พรมมา. 2541) สวนการแตงกายของ ผูหญิงชาวไทดำ จะไวผ มยาวเกลาผมมวย ถาย ังเปนส าวหรือยังไ มมีสามี เกลาผ มมวยต่ำลงไปทางทายทอย หรือเอียงไปทางดานขางก็ไดเรียกวา “ขอดผม” ถามีสามีแลวเกลามวยสูงบนศรีษะและมีผาคลุมผมหรือผา โพกศรีษะ เรียกวา “ผา เปยวเบาะ”เสือ้ ทใี่ ชจะมเี สือ้ แลงเอิก๊ และเสือ้ ฮีหรือเสือ้ ขบั อานนี การนงุ ซนิ่ ใชวธิ พี บั ทบ
39
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ดานหนาทั้งซายและขวาเขาหากัน ใหตีนซิ่นสูงประมาณครึ่งนอง รองเทาที่สวมจะเปนรองเทาที่ทำจากหนัง ควายหรือไ ม ม ลี กั ษณะคลายรองเทาแ ตะฟองน้ำแ บบสอดสายไวท งี่ า มนวิ้ เทา ส ว นเครือ่ งประดับประกอบดวย ปนปกผม ตางพวง (ต ุมหู) เปาะกอ (ป ลอกคอ) เปาะแขน (กำไลขอมือ) และเปาะแกง (กำไลขอเทา) เปน เครื่องประดับที่ทำดวยเงินท ั้งสิ้น (ผิน ท ันห า. 2540 : สัมภาษณ. อางอิงจากทวี พรมมา. 2541 ) 2. การแตงกายแบบปจจุบัน ม ีรูปแ บบการแตงกายใน 3 ลักษณะ ดังนี้ ชุดทำงาน ผูชายนิยมนุงก างเกงขาสั้นหรือขายาวสีเขม สวนเสื้อจ ะเปนเสื้อแขนสั้นห รือแขนยาวสีเขม เชน ดำ น้ำเงิน น้ำตาล ซึ่งเปนผาฝายหรือผ าโทเร มีผาขาวมาไ วสำหรับโพกศรีษะ หรือคาดเอวเมื่อออกไป ทำงานนอกบาน ผหู ญิงนยิ มนงุ ผา ถุงสดี ำหรือสเี ขม เสือ้ แขนยาวสเี ขม มีผา ขาวมาหรือผา ขนาดผา ขาวมาคลุม ศรีษะและใบหนา เพื่อไ มใหแดดเลียผิวในขณะทำงานกลางทุง ช ดุ อ ยูก บั บ า น ผ ชู ายจะนงุ ผ า ขาวมาหรือน งุ ก างเกง ส วมเสือ้ เหมือนชดุ ท ำงาน บ างครัง้ ก จ็ ะไมสวมเสือ้ สวนผา ขาวมาจ ะใชพ าดบาห รือค าดเอว แ ละจะนยิ มใชเปนช ดุ นอนประจำวันไ ปในตวั ด ว ย ผ หู ญิงจ ะนยิ มใสเสือ้ หมากกะแลงและเสื้อแขนสั้น สวนผาถุงจะเปนสีหรือลวดลายใดก็ได จะเปนผากลางเกากลางใหมแลวแต ฐานะ ชุดท ี่ใชในงานประเพณีและพิธีกรรม ผูชายจะสวมเสื้อม ด ซึ่งเปนเสื้อสำหรับหมอมด เปนเสื้อส ีขาว แถบแดงและมีหมวกสีแดง เมื่อผูเปนหมอมดสิ้นชีวิตลงญาติจะเอาเสื้อมดนี้ไปฝงดวย ปจจุบันนี้ชาวไทดำ บานนาปา ห นาดไมมหี มอมด เสือ้ ม ดจงึ ไ มไดน ำมาสวมใสอ กี แ ละไดเลือนหายไปจากความทรงจำของลกู หลาน ชาวไทดำรุนใหมแลว (หลา ไพศูนย.2540 :สัมภาษณ.อางอิงจ ากทวี พรมมา.2541)ผูหญิงจ ะสวมเสื้อฮี หรือเสื้อขับอานนี ซึ่งเปนเสื้อส ีดำทั้งตัว คอเสื้อเปนแบบตัวว ี ยาวเกือบถึงข อเทา แขนทรงกระบอกยาวเกือบ จรดขอมือ ตกแตงดวยแถบผาสีที่ปลายแขน ชายเสื้อดานลางและที่อกทั้งสองขางจากไหลลงมาถึงระดับ ปลายนิ้วของผูสวมใส ปจจุบันเมื่อชาวไทดำบานนาปาหนาดไดฟนฟูพิธีแซปางขึ้น เสื้อฮีจึงถูกนำมาใชงาน อีกครั้ง ซ ึ่งแตเดิมน ั้นเมื่อเจาของเสื้อเสียชีวิตลง ญ าติจะนำเสื้อฮีน ี้ไปฝงในหลุมศพดวย
40
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ผาซิน่ (ผา ถุง) ลายแตงโม (ลายชะโด) เนือ่ งจากเปนชนกลุม นอ ยทถ่ี กู ก วาดตอ นเขามาในประเทศไทย ดวยเหตุผลเกี่ยวกับสงครามผานลงบนลายผาซิ่นลายแตงโม ถือไดวา เปนลายผาเอกลักษณของไทดำ นางพาณี แหงหน ไทดำเขายอย จังหวัดเพชรบุรี เลาวา เสนค ูติด หมายความวา อพยพมาพรอมกัน เสนคู แยกจากกนั เสนเล็ก กลุม ชนกลุม เล็กท ยี่ งั ร กั ใครไปมาหาสูก นั ต ลอด นอกจากนีย้ งั ห มายถงึ ความพลัดพราก ระหวางพี่นองไทดำในเวียดนาม และลาว กับไทยทรงดำในประเทศไทย หรือหมายถึง ความเปนพี่นองของ ไทย ลาว และเวียดนาม เสนเล็กเสนเดียว เรียกวา ตาเดีย่ ว เปนล ายทสี่ ะทอนใหเห็นถ งึ ก ารถกู แ ยกหรือต ดั ขาด จากสว นหนึง่ ส ว นใด ซงึ่ เปรียบเสมือนกบั ค วามเดียวดายของชาวไทดำทตี่ อ งพลัดพรากจากบา นเกิดเมืองนอน สวนเสนหนาหางกัน 2 เสน เรียกวา ตาหมู หรือ ตาคู ชาวไทดำเชื่อวา เปนลายที่สะทอนใหเห็นถึงการถูกแ ยก หรือทำใหเกิดคูขนาน ซึ่งไมมีโอกาสจะมาบรรจบกันได (ดำ มั่นเหมาะ, 2544) นอกจากนี้ นางออน ทันห า และนางหนูจร ไพศูนย ชาวไทดำ บานนาปาห นาด เลาวา แตเดิมมาไมมีอะไรมา (มีแตซิ่นนางหาญ และ ผาเปียวเบาะ) มาทำไรขาว ไรแตงโม เห็นล ายแตงโม เลยนำมาคั่น (ลายแทรก) จึงเรียกวา ซิ่นลายแตงโม : ผาซิ่น ตองตอหัวตอตีน ถาไมมีเขาวา เปนคนหัวกุดหัวขาด มีองคประกอบเชนเดียวกับผาซิ่นของกลุม ชาติพันธุไทกลุมอื่น นั่นก ็คือ ประกอบดวย 3 สวน คือ 1) หัวซ ิ่น จะเปนสีครามไมมีลวดลายกวางประมาณ 12 นิ้ว 2) ตัวซิ่น จะเปนลายโดยใชเทคนิคก ารทอขัด แตพ ิเศษที่วาเปนฝายแกมไหม คือ ใชไหมสแี ดงเปน เสนย ืน ทอเสนพ ุงดวยฝายสีครามสลับสีผ าออนเปนทางเล็ก ๆ คลายลายบนผลแตงโม เวลาทอเสร็จจะมอง ไมเห็นไหมสีแดงเลย และ 3) ตีนซิ่น มีลวดลายสีขาวสองสามริ้ว เย็บติดเปนตีนซิ่น ถาสามีตายตองเลาะ ตีนซิ่นนี้ออก เพื่อไ วทุกข
ผาซิ่นลายแตงโม
41
ผาในวิถีชีวิตไทดำ หัวซิ่น ใ ชผาพื้นทอดวยฝายปนมือสีดำหรือสีกรมทา ตัวซิ่น มีลวดลายทางตั้งสีฟาขนาดเล็ก เกิดขึ้นเปนระยะบนพื้นสีดำหรือกรมทาเหลือบแดง ซึ่งเกิด จากการทอดวยเสนยืนสีแดง (พบทั้งฝายและไหม) เสนพุงใชฝายสีดำหรือสีกรมทาที่ตองการใหเปนริ้ว ขนาดเล็กจะเปลี่ยนมาใชเสนพุงสีฟา ต นี ซ นิ่ ท อเปนแ ถบกวางประมาณ 1 น วิ้ เศษ ส ดี ำหรือส กี รมทาแ ซมดว ยสฟี า ซ นิ่ ล ายแตงโม ท อดว ย ผาฝายหรือไหมสีแดง ยอมสีครามเขม มลี ายสีฟาขาวสลับเปนท างเล็ก ๆคลายลายบนผลแตงโม ในซิ่นหนึ่ง ผืนจะประกอบดวยลายเสนหนา 2เสน อยูแ นบชิดก ัน หมายถึง ความเปนพี่นองของไทย ลาว และเวียดนาม ลายเสนเดี่ยว มขี นาดเล็ก หมายถึง ความเดียวดายที่ตองจากบานเกิดเมืองนอน และลายเสนห นา 2เสน มี ระยะหางกัน หมายถึง ความพลัดพรากจากกัน การนงุ ซ นิ่ ล ายแตงโม จ ะตอ งจบั ข อบบนของผา นุง ท งั้ ซ า ยและขวามาทบเกยกนั ต รงกลาง แ ละพบั ข อบ ผาลงมาโดยไมตองคาดเข็มขัดห รือผ ูกเชือก ผากไ็ มหลุด ใชนุงทั้งใ นชีวิตประจำวันและในโอกาสพิเศษ หรือ พิธีการตาง ๆ ตำนานผา ซิน่ ล ายแตงโม เปนคำบอกเลาสบื ตอก นั มา ก ารทผี่ า ซิน่ ล ายแตงโมใชเสนยนื ส แี ดงเปนหลัก เสนพ ุงเปนสีดำหรือค รามเขมเกือบดำนั้น เรื่องราวกม็ ีอยูวา เปนธรรมเนียมมาตั้งแ ตโบราณกาล ผูชายที่เปน สามีเปนผูนำของครอบครัวม ีหนาท อี่ อกจากบานไปเขาปาหักรางถางพง เปนแ หลงทำมาหากินทำไร ไถนา หา เผือก ห ามนั ป ลอยใหภ รรยาอยูก บั เหยาเฝาเรือน จ นกวาสามีจ ะกลับบ า น ส าวเจาจะนงั่ ท อผาไ ป ใ จกป็ ระหวัด นึกถึงสามีท ี่เขาปาหลายวัน อันความรักความคิดถึงย อมจะมีอยูใ นตัวของทุกคน มันวิ่งแ ลนอ ยูทุกล มหายใจ ยิง่ กวาก ระสวยทพี่ งุ ผานเปนเสนข ดั ใ หเปนผ นื ผ า ใ นกที่ อผาท กี่ ำลังทออยสู าวเจาจ งึ ใ ชส แี ดงยอ มเสนย นื ซ งึ่ เปน สีท ใี่ ชแ ทนหวั ใ จทโี่ หยหาอาวรณใ นคนรกั ท จี่ ากกนั ส ว นเสนพ งุ ใ ชส คี รามเขมเกือบดำแทนตวั เอง ใ ชทอทบั เปน เสนขัดใหเกิดเปนเนื้อผา โดยซอนเสนยืนสีแดงเอาไว เมื่อเวลานุงผาซิ่นลายแตงโมคอยสามี ตองแสงแดด แวววับของเหลือบสีแดงสะทอนออกมา เสมือนหนึ่งเปนส ื่อส ัญญาณแหงค วามรักที่มีตอกัน แมจ ะเห็นเพียง ราง ๆ ก็ตาม ที่เปนเชนนีก้ ็เพื่อป กปดความอายที่เปนค ุณสมบัตขิ องหญิงสาวชาวไโทดำ ดยแท
42
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ผาซิ่นลายแตงโม บานเขาหัวจีน หมู 1 ตำบลหวยยางโทน อำเภอปากทอ จังหวัดราชบุรี
ผาเ ปยว เปนผ าฝายทอมือส ีดำหรือส ีกรมทา มกี ารปกลวดลายดวยไหมบริเวณชายผาท เี่ปนล ักษณะ เฉพาะของชาวไทดำ ล ายมาตรฐานทำเปนขด เรียกวา ข อกุด ล ายดอกผกั แ วน (ต รงกลางเปนดอกแปด ร อบๆ เปนขอกุด รวมกันเรียกวา ดอกผักแ วน) ช ายละ 2 ดอก โดยทั่วไปมักใ ชดาย 4 สี ค ือ สแี ดง สีสม (เหลือง) สีเขียว แ ละสขี าว ม ขี นาดความกวางประมาณ 4 5 เซนติเมตร ท อดว ยฟมข นาดเล็กห รือฟมห นาแ คบ ป ระมาณ 1 ศอกเศษ เรียกวา ฟม 7 ความยาว 2 เมตร ใชโพกศีรษะ หรือพันอก (คาดอก หรือ เคียน ไทยทรงดำ เพชรบุรี เรียกวา ฮางนม)เปนผาแถบในชีวิตประจำวันสำหรับผูหญิงใ สอยูกับบ าน บางครั้งใ ชกะเตงลูกไ ปนา หรือเปนผ า สไบ ค ลองคอเพือ่ ค วามสวยงาม แ มแ ตต อนเสียชีวติ ก ต็ อ งมผี า เปยวหม โ ดยมคี วามเชือ่ ว า ล วดลาย ผาเปยวเปนสัญลักษณประจำตระกูล เมื่อเสียชีวิตล งญาติที่ลวงลับไ ปกอนแลวจ ะเดินทางมารับเพื่อไปอยูใน ดินแดนเดียวกัน
43
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ผาเปยว บานหนองหมู หมู 5 ตำบลสระพัฒนา อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
ผาเปยว บานหนองจิก หมู 1 ตำบลหนองปรง อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี
44
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ผาเปยว บานนาปาห นาด หมู 4 ตำบลเขาแกว อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
ผาเปยว บานหัวเขาจีน หมู 1 ตำบลหวยยางโทน อำเภอปากทอ จังหวัดราชบุรี
45
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ลักษณะผาเปยว เปนผาที่ทอจากฟมขนาดเล็กเรียกวา “ฟมเจ็ด” มีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ความยาวของผาเปยวขึ้นอยูก ับสัดสวนของแตละบุคคล ผาเปยวมีวิธีการเคียนผา 3 แบบ คือ แบบที่ 1 นำกลางเปยวมาใสหนาผากแลวเคียนไวที่ขางหลัง แบบที่ 2 พันไวหลายรอบบนศีรษะ โดยเอาปลายดานหนึ่งเหน็บไวที่ฝงขวา ปลายดานหนึ่งทาบลงไปปกดานหลังเพื่อใหเห็นลาย แบบที่ 3 พันไวขางบนแลวใหปลายปกลงมาขางหนา
แบบที่ 1
แบบที่ 2
46
แบบที่ 3
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ผาโพกหัว (ผาเตียวเบาะ) ใชลายขอนอย โพกเวลาทำกิน เพราะวา เวลาทำกินเกรงวาเสนผมจะ รวงหลนใ สอาหาร โพกเวลาไปไร ทำนา กันแดด ผมจะไดดำไมแหงแ ดงแตกปลาย ใชพันขา กันห นาว เปน ผาฝายธรรมดาสีดำ ผาสไบ หมายถึง ผาหมของผูหญิง ซึ่งนิยมหมสะพายเฉียงเพื่อไปทำบุญที่วัด จึงเปนผาท ี่ผูสูงอายุ ชาวไทดำบันทึกเรื่องราวการอพยพ ชีวิตความเปนอ ยู สภาพแวดลอม ตลอดจนเรื่องเลาตางๆ ผานผืนผ าน ี้ เปนผาหนาแคบโดยมีดานยาวตั้งแ ต 1 – 3 เมตร ตัดเย็บด วยผาฝาย ตกแตงล วดลายดวยวิธีขิด บริเวณหัว และทายผา ลายผาสไบไดแก ลายแมงมุม มีความเชื่อถึงการระลึกถึงบุญคุณ ลายผีเสื้อ มีความเชื่อถึง บรรพบุรุษที่คอยชวยเหลือเมื่อประสบภัยพิบัติ ลายมา มีความเชื่อถึงค วามอุตสาหะพยายาม ลายแมงปอง มีความเชื่อถึงการขมขวัญศ ัตรู ลายชาง มีความเชื่อถ ึงความผูกพันกับพุทธศาสนา ลายสิงโต มีความเชื่อถึง ความกลาหาญและความแข็งแกรง ลายงเู หลือม มีความเชือ่ ถ งึ ความพรอมทจี่ ะแตงงานได ลายปู มคี วามเชือ่ ถึงการเตือนสติใหคิดรอบคอบ ลายขาวหลามตัด มีความเชื่อถึงการเซนไหว ลายโบสถ และลายธรรมาสน มีความเชื่อถึงบุญกุศล ผาซีโปว หรือผาขาวมา หมายถึง ผาที่ใชสำหรับผลัดอ าบน้ำห รือพันรอบพุง แตช าวไทดำสวนมากใช ผาซีโปวใ นพิธีกรรมตางๆ เชน พิธีเกี่ยวกับผี โดยการมัดไวท ี่เอวของผูชายเพื่อเปนการรั้งขวัญไ มใหติดตาม ผูตายไป ถาเปนพิธีเกี่ยวกับการเรียกขวัญจะใชรวมกับเครื่องเซนตางๆ โดยเปนเครื่องหมายแสดงตัวเจา ของขวัญ สำหรับใ นพิธีแตงงานจะใชเปนข องกำนัลแ กญ าติผใู หญ (ชม บุญแ กว,2544) ผาซีโปวต ัดเย็บด วย ผาไหมหรือผาฝาย เปนรูปเหลี่ยมผืนผาโ ดยการมัดยอม หรือ ขิด มีลวดลายที่เกิดจ ากการมัดยอม ไดแก ลายงา มีความเชื่อถึงความสามัคคีแ ละความเจริญกาวหนา ลายตัวลิง มีความเชื่อถ ึงการระลึกถึง ลายกบ มี ความเชื่อถึงก ารเกิด หรือการเริ่มตน การขิด ไดแก ลายแมงมุม มีความเชื่อถึงบ ุญคุณแ ละคุณงามความดี ลายผเี สือ้ ม คี วามเชือ่ ถ งึ ก ารไดรบั ค วามดแู ลจากบรรพบุรษุ ล ายมา ม คี วามเชือ่ ถ งึ ค วามเร็วแ ละความอตุ สาหะ ลายปลา ม ีความเชื่อถึงความมานะพยายาม และลายชาง มีความเชื่อถึงความผูกพันก ับพ ระพุทธศาสนา ผาขันลาว หรือผาเช็ดหนา หมายถึง ผาที่มีไวสำหรับเช็ดหนา หอเครื่องประดับ และหอเสนไหม ผาข นั ล าวมกี ารใชท แี่ ตกตางกนั ค อื ผ า ข นั ล าวของหญิงสาวจะมพี หู อ ยไวห วั ท า ย ถ า เปนของผสู งู อายุจ ะมพี ผู กู ทีม่ มุ ผ า เพือ่ ไ วส ำหรับห อ เสนไหมในการรกั ษาสใี หค งทน แ ตถ า เปนของคนตายจะมสี ขี าว โ ดยนำไปคลุมส ำรับ กับขาวเพื่อแสดงวาเปนอ าหารของผูตาย (ทองยอย มีนอย, 2544) ผาขันลาวตัดเย็บด วยผาฝายรูปสี่เหลี่ยม
47
ผาในวิถีชีวิตไทดำ จัตุรัสโดยมีชองกลางเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดเล็กวางอยูดานใน ลวดลายเกิดจากการปะ การปก หรือ การขิด เชน ลายดอกจัน มีความเชื่อถ ึง ความมั่นคง ลายดอกผักแวน มีความเชื่อถึง ความเจริญงอกงาม ลายตานกแกว มีความเชื่อถึง ความซื่อสัตยแ ละความสามัคคี ลายแมงมุม มีความเชื่อถึงบ ุญคุณ ลายผีเสื้อ มีความเชื่อถึง การไดรับความดูแลจากแถน ลายงูเหลือม มีความเชื่อถึงความพรอมที่จะแตงงานได ลาย ขาวหลามตัด มีความเชื่อถึง เครื่องเซนไหว ลายใบเสมา มีความเชื่อถึง บุญกุศล สวนการใชสี มีการใชสเีชน เดียวกับเสื้อฮีผ ูชาย แตถ าใชในพิธีศพ จะใชผาขันลาวสีขาว โดยมลี วดลายแบบหยาบๆ ซึ่งม ีความเชื่อวา ผา ขันลาวสีขาวหมายถึง วิญญาณของผูตาย (ชม บุญแกว, 2544) นอกจากนีย้ ังมีเสื้อนอย เสื้อกระโปรง (เสื้อ ชั้นในของผูหญิง) และสวงซอน (ก างเกงใน)
ผาขันลาว
เครื่องแตงกายในพิธีกรรม ชุดสำหรับงานพิธีกรรมสำคัญ คือ สวมเสื้อฮี จะจัดทำขึ้นเปนพิเศษและประณีตสีดำตกแตงดวย ผาไหมชนิ้ เล็ก ๆ ส ว นใหญม เี ครือ่ งประดับเปนเงิน ผ หู ญิงม ี “ ผ า เปยว”ค ลองคอ ส ว นเด็ก ๆ จ ะมหี มวกคลาย ถุงผาปกไหมหรือด ายสวยงาม เรียกวา “มู” สวงฮี (กางเกงขายาว) ซิ่นตาหมี่ ซิ่นนางหาญ เสื้อจาง (เสื้อผูทำ หนาที่แนะนำพิธีกรรม) เสื้อฮี เปนเสื้อที่ใชสวมใสใ นในพิธีกรรม ชาวไทดำทุกคนตองมีเสื้อฮีป ระจำตัว ฮี แปลวา ยาว เปน เสื้อท ี่ใชสวมใสทั้งที่เปนงานมงคลและอวมงคล เชน แตงงาน เซนผีเรือน ทำขวัญงานศพ และงานรื่นเริง หาก เปนงานมงคล ล ายจะอยูด า นใน เปนความเชือ่ ท มี่ มี าแตโบราณวา ค นอนื่ เห็นล ายจะนำไปทำเลียนแบบจงึ เก็บ ลายไวด านใน หากเปนงานอวมงคล จะกลับดานใหล ายอยูด านนอก เมื่อเจาของเสื้อเสียชีวิต ญาติจ ะนำเสื้อฮี
48
ผาในวิถีชีวิตไทดำ สวมใสให เพื่อเปนเครื่องแสดงถึงเอกลักษณของเผาพันธุ ดวยมีความเชื่อวา เมื่อวิญญาณบรรพบุรุษแลเห็น ผูใดสวมเสื้อด ังกลาวก็จะจำไดว าเปนลูกหลานของตน และตกลงรับใหเขามาอยูรวมกันไ ด (มีลาย – ตาย , ไมมีลาย –แตง)เสื้อฮีของผูชายและเสื้อฮีข องผูหญิงม ีลักษณะแตกตางกัน ตัดเย็บต กแตงอ ยางสวยงาม ใน งานมงคลสมรสเจาบาวเจาสาวตองสวมเสื้อฮีในพิธีไหวผีเรือน ผีบรรพบุรุษ และในงานศพ คนที่ใสเสื้อฮีจะ บงบอกฐานะของผูสวมใสวาเปนเขยหรือสะใภ เสือ้ ฮีผ ชู าย ต ดั เย็บด ว ยผา ฝายยอ มคราม เปนเสือ้ ต วั ย าวคลุมส ะโพก ค อกลม ก นุ ร อบคอดว ยผา ไหม สีแดง แลวเดินดวยเสนทับดวยผาไหมสีอื่น ตรงคอดานขางติดกระดุมแบบคลอง 1 เม็ด ผาตลอดตั้งแต กระดุมปายทบมาทางดานขาง (ป ายขาง)จุดท ี่สวยงามที่สุดคือ ดานขาง (ใตรักแร)นิยมใชผาไหมปะเปนลาย ดอกแปด ห รือล ายขาบวั ด า นขา งของตวั เสือ้ ท งั้ สองดา นปะดว ยลายดอกมะลิ ล ายดอกพรม โ ดยมลี ายผกั กูด อยูดานลาง และที่ตีนเสื้อดานลางมกี ารปะดวยลายดอกแปด มีความเชื่อถึง การทดแทนบุญคุณ การขอขมา การไดรบั ก ารดแู ลจากแถน แ ขนเสือ้ เปนแขนกระบอกยาวปลายแคบ ช ายเสือ้ จ ะปก ด ว ยผา ไหมสตี า งๆพ รอม ติดก ระจกชิ้นเล็ก ๆดานขางผาต ั้งแตป ลายเสื้อจ นถึงเอว ปกต กแตงอยางงดงาม มี 2ดาน ลวดลายดานหนึ่ง ตกแตงเต็มที่ อีกดานหนึ่งตกแตงลวดลายประดับเพียงแตนอย ดานที่ตกแตงล วดลายเพียงแตนอยใชสวม ในพิธีมงคลทั้งหลาย สวนดานที่ตกแตงลวดลายอยางเต็มที่ใชสวมในพิธีอวมงคล ห รือสวมใหแกคนตาย
เสื้อฮี (ผูชาย) บานหนองหมู หมู 5 ตำบลสระพัฒนา อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
49
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
เสื้อฮี (ผูชาย) ดานขางลายขอกุด ลายดอกแปด ศูนยวัฒนธรรมเขายอย หมู 5 อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี
เสือ้ ฮีผ หู ญิง เสือ้ ส ำหรับใ ชใ นพธิ กี รรม เย็บด ว ยผา ดำหลวมๆไ มร ดั รูป ป ลายแขนตกแตงด ว ยผา ไหม สีต า งๆบ า ห นาท งั้ สองตกแตงด ว ยลายดอกแปด เปนเสือ้ ต วั ย าวตดั เย็บด ว ยผา ฝายทอมอื ส ดี ำหรือส คี รามเขม ตกแตงส ว นคอ ช ายเสือ้ ห รือแ ขน ด ว ยการปก ลวดลายและเย็บช นิ้ ผ า ส แี ดง ส ม ข าว แ ละเขียว ร ปู ส ามเหลีย่ มปะ ติดเขาไปประกอบเปนลวดลาย บางครั้งตกแตงเพิ่มเติมดวยการประดับกระจก ตัวเสื้อเย็บต ิดกันใ ชวิธีสวม เขาท างศีรษะ ล วดลายดา นหนึง่ ต กแตงเต็มท ี่ อ กี ด า นหนึง่ ต กแตงประดับล วดลายเพียงแตนอ ย ด า นทตี่ กแตง ลวดลายเพียงแตนอยใชสวมในพิธีมงคล สวนดานที่ตกแตงลวดลายอยางเต็มที่ใชสวมในพิธีอวมงคลหรือ สวมใหแกคนตาย ลายที่นิยมนำมาปกไดแก ลายดอกแกว ลายดอกผักแวน ลายดอกพิกุล ลายตานกแกว ลายหมาย่ำ ลายผีเสื้อ และลายหนาเสื้อ ซึ่งมคี วามเชื่อถึงค วามอดทน ความเอื้อเฟอ ความกลมเกลียว ความ ซือ่ สัตย ค วามผกู พันแ ละความจงรักภักดี อ ายุยนื ค วามมนี ำ้ ใ จและความดี ล ายปะ ไ ดแ ก ล ายดอกพรม ล าย
50
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ขาบัว ลายดอกแปด และลายดอกมะลิ ซึ่งม ีความเชื่อเกี่ยวกับ คุณคาของความเปนลูกผูหญิง การขอขมา และการไดรับการดแู ลจากแถน
ใสในงานมงคล
ใสในงานอวมงคลหรือสวมใหแกค นตาย
เสื้อฮี (ผูหญิง) บานหนองหมู หมูที่ 5 ตำบลสระพัฒนา อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
51
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
เสื้อฮี (ผูหญิง) ลายขอแปด ลายปกแซว ขวางนาบ เจาของ : นางพาณี แหงหน อายุ 70 ป บานเลขที่ 46 หมูที่ 5 ตำบลเขายอย อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี
เสื้อฮี (ผูหญิง) บานเขาหัวจีน หมู 1 ตำบลหวยยางโทน อำเภอปากทอ จังหวัดราชบุรี
52
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
เสื้อฮี (ผูหญิง) บานนาปาหนาด หมู 4 ตำบลเขาแกว อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
เมื่อเจาของเสื้อเสียชีวิตล ง ญาติจะนำเสื้อฮีคลุมบนโลงศพ
ส ว งฮี ห มายถงึ ก างเกงขายาวทต่ี ดั เย็บดว ยผา ฝายสดี ำหรือส คี รามเขม ใ ชส วมใสใ นงานทเ่ี ปนพธิ กี าร เชน พิธสี บื ผ หี รือผสู บื สกุลของผชู ายทเ่ี ปนพ อ บาน พ ธิ แี ตงงาน ช ายหนุม ต อ งสวมใสส ว งฮีเพือ่ เขารวมพธิ ี ใ นกรณีท ต่ี อ ง ไปรว มงานศพญาติพน่ี อ งของตน ซง่ึ เปนญาติจากตระกูลเดียวกนั เรียกวา “ผเี ดียวกนั ” จะตอ งนงุ สว งฮี และ สวมเสือ้ ฮีดว ย สว งฮีม ลี กั ษณะคลายกางเกงชาวประมง บริเวณเอวตดั เย็บดว ยผา ยาวทอ นเดียวไมมกี ารตอ ข อบ เอว มคี วามยาวของกางเกงเสมอขอ เทา แตปลายขากางเกงแคบเล็กนอย (ชม บญ ุ แกว,2544)
53
ผาในวิถีชีวิตไทดำ เสื้อจาง (เสื้อผูทำหนาที่แนะนำพิธีกรรม) เปนเสื้อ ผาไหมสีแดง หรือแพรสีแดง แขนยาวคอตั้ง ติดกระดุม 5 เสื้อจาง : เม็ด ชายเสื้อดานขางแหวกไวทั้งสองชาย เย็บดวยผาไหมสี พิพิธภัณฑปานถนอม แดง หรือแพรสีแดง เปนเสื้อของหมอพิธีผูตาว เย็บดวย บานหนองจิก หมูที่ 1 ผาไหมสแี ดง ห รือแ พรสแี ดง ใ ชใ สป ระกอบพิธงี านเสน ห รือ ตำบลหนองปรง พิธีศพ หากใชในพิธีศพ จะโพกศีรษะดวยแพรสแี ดง เปน อำเภอเขายอย เสือ้ แ ขนยาวคอตัง้ ต ดิ กระดุม 5 เม็ด ช ายเสือ้ ด า นขา งแหวก จังหวัดเพชรบุรี ไวทั้งสองชาย มีสาบเสื้อ กระเปาดานขางทั้งสองดาน หรือ ดานเดียวแลวแตแมบานจะเย็บใ ห ใชใสท ำงาน ไมตองติดกระดุมเพื่อความสะดวกรวดเร็ว เสื้อตก คือ เสื้อที่ใสไวทุกข สำหรับลูกหลานหรือญาติที่ใกลชิด ใสเมื่อพอแมหรือญาติผูใหญตาย เปนเสือ้ ทตี่ ดั เย็บอยางไมประณีตจากผา ฝายดบิ สขี าว เนือ่ งจากใชในงานศพชวั่ คราว แสดงสญ ั ลักษณถงึ บา น ที่มีคนเสียชีวิต คำวา “ตก” หมายถึง ตกใจ หรือใจหาย เสื้อตก จึงเปนเสื้อที่ใชสวมใสเฉพาะงานศพ ผทู ี่จะ สวมเสือ้ ตกไ ดค อื ญ าติท างสายโลหิตเดียวกนั ล กั ษณะของเสือ้ ตก เปนเสือ้ ค อวี ไ มมแี ขน ท งั้ ผ ชู ายและผหู ญิง ตัดเย็บแบบเดียวกัน ซิ่นตาหมี่ ซิ่นนางหาญ สัมภาษณน างออน ทันหา อายุ 72ป บานเลขที่ 26 /3หมู 4บานนาปาหนาด ผาซิน่ น างหาญ (ไ ทดำ)เอามา ถ า อ พยพไปทใี่ ด ไ มมนี างหาญไมได เพราะใชใ นพธิ กี รรม น างหาญ ห มายความวา ผูใ ดจะทอลายผา ลายอะไร จ ะตอ งมชี อื่ ม า เชน ลายหมี่ผสาท (ปราสาท), ลายหมี่นาคนอย, ลายมั ด ตุ ม , มั ด จั บ ห มี่ น าคน อ ย+ห มี่ ปลองออย, มะจั๊บ (ห มากจับ), มะตุม 5 ลำ 3 ลำ (ต มุ โ ฮม),ห มีต่ น ป ราสาท ก ลาหาญทำ ก ลา ตอบ ต อ งตอบได (ก อ นจะเปนผ า น างหาญ)ใ ช ถวายเจาแ ผนไทดำ ผ า น างหาญสดี งั้ เดิมเปนส ี แดง ล ายนาคคู (ผ วั -เมีย)ต วั เมียข ายาว ก วาง ตัวผูขาสั้น แคบ
54
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ลายนาค ชาวไทดำมคี วามเชื่อว า น าคเปนเจาแ หงงทู งั้ หลาย ทนี่ ำความอุดมสมบูรณม าใหชาวโลก คือ นาคเปนผ กู ำหนดฝนใหต กตอ งตามฤดูกาล ฉะนนั้ ถ า ใครจะสามารถทำลวดลายเปนร ปู พ ญานาคได คนนนั้ จ ะ ไดรับการยกยองวาเปนตัวแทนของความอุดมสมบูรณ และจากการสังเกตพบวา มีแตคนที่สูงอายุเทานั้นที่ สามารถทำลายนี้ได เพราะวาคนที่สูงอายุเปนตัวแทนของชาวบานและเปนที่ไดรับการยกยองเคารพยำเกรง ของคนทั่วไปซึ่งเปรียบเสมือนพญานาค (ย ศ สอยอยู, 2544)
ลายนาค
ผาซิ่นมัดหมี่ลายเกี่ยงเอี้ยะวง มีลักษณะคลายฟนหวี (ไทดำ) ขนาดสูง 93 เซนติเมตร กวาง 89 เซนติเมตร ผลิตจากเสนใยฝาย ยอมสีเคมี
55
ชางทอ : นางหนูจร ไพศูนย (ชัยปญญา) อายุ 62 ป (พ .ศ. 248 9) บานเลขที่ 26/2 หมูที่ 4 บานนาปาหนาด ตำบลเขาแกว อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย เรียนรูก ารทอผาจ ากพี่สาว คือ นางออน ทันหา เปนผ ูสอนให สวนใหญจะทอผาสำหรับใชในครัวเรือน เชน ผาซิ่น ผาพื้นส ำหรับตัดเสื้อ เมื่อมคี วามชำนาญมากขึ้น จึงเริ่มมัดหมีเ่ปนลวดลายตาง ๆ เชน ลายตุม ลายนาคนอย และลายหมากจับ เปนตน แตลายที่ผูหญิงไทดำอยากทำใหเปนเพื่อแสดงถึงฝมือในการทอผาคือ “ผาน างหาญ” ซึ่งท ำยาก กวาจะได ตองใชเวลา
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ผาซิ่นมัดหมี่ลายขอ และลายกุญแจ (ไทดำ) ขนาดสูง 94 เซนติเมตร กวาง 83 เซนติเมตร ผลิตจากเสนใยสังเคราะห ยอมสีเคมี ชางทอ : นางเหวย ทันหา อายุ 86 ป (พ.ศ. 2465) บานเลขที่ 24 หมูท ี่ 4 บานนาปาห นาด ตำบลเขาแกว อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
ผ าซิ่นมัดหมี่ผา (สอดพลอง) ลายนาคหัวส รอย+ลายกาบขอ โดยการนำเอา 2 ลายมาซอนกัน (ไทดำ) ขนาดสูง 94 เซนติเมตร กวาง 92 เซนติเมตร ผลิตจากเสนใยฝาย ยอมสีเคมี ชางทอ : นางออน ทันหา อายุ 71 ป (พ.ศ. 2480) บานเลขที่ 26/3 หมูที่ 4 บานนาปาหนาด ตำบลเขาแกว อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
56
ผาในวิถีชีวิตไทดำ การมัดหมีเ่ปนลวดลายตางๆ เชน ลายตุม ลายนาคนอย ลายนาคคู ลายหมากจับ ลายปราสาท ลาย ปลองออย ลายตมุ โฮม แตล ายทผี่ หู ญิงช าวไทดำทกุ คนอยากจะทำใหเปน เพราะถอื เปนการแสดงฝม อื ท างการ ทอผา นั่นก็คือ “ผานางหาญ” ซึ่งทำยาก กวาจะได ตองใชเวลา ผาซิ่นนางหาญมี 2 ลายคือ ลายนาคคู และ ลายเกาะขาง (เลี้ยงลูกออน) มตี ำนานผาน างหาญเลากันวา ในสมัยกอนนั้นไมมีผใูดจะสามารถทอผาผืนน ี้ได สำเร็จ ตองมีอันเปนไปกอนทุกราย ทำใหผูเฒาผ ูแกในหมูบานเตือนใหเลิกทอ กระทั่งมีผูหญิงคนหนึ่งอ าสา ทอผาผืนนี้ โดยกอนทอไดบ นบานตอผบี านผีเรือนวา หากทอผาผ ืนนี้สำเร็จจะนำผาผ ืนดังกลาวมาเซนไหวผี บานผีเรือน แลวก็สามารถทอไดสำเร็จ จึงเรียกผาผืนน ี้วา “ผาซิ่นนางหาญ”
ผาซิ่นมัดหมี่คั่นนางหาญ (เปนผาที่ใชในพิธีกรรมของ ชาวไทดำ) ลายสรอย ลายปราสาทนอย ลายนาคคู และลายนาค เดี่ยว ขนาดสูง 99 เซนติเมตร กวาง 77 เซนติเมตร ผลิตจากเสน ใยฝาย ยอมสีเคมี ชางทอ : นางสำลาน กรมทอง อายุ 50 ป (พ.ศ. 2501) บานเลขที่ 57/2 หมูที่ 4 บานนาปาหนาด ตำบลเขาแกว อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
57
ผาในวิถีชีวิตไทดำ สิ่งของเครื่องใชที่ทำดวยผา
เชน สายแอว (เชือกผูกเอว) ผาหลา (ผาอุมเด็ก) มู (หมวก) หลวม (กระเปาคาดเอว) ถุงยาม เสื่อ ฟูก (ที่นอน) หมอนและหมอนตาวเสื่อนั่ง ห ยั่น (มุง) เปนตน ส ายแอว (เ ชือกผกู เ อว)ช าวไทดำมีความเชือ่ ว า ส ายแอว ห มายถงึ ค วามผกู พันแ ละความกลมเกลียว ที่เกิดขึ้นภายในกลุมชน ทำจากเชือกฝายถักเปนลายคลายขอเกี่ยว ใชไดทั้งผ ูชายและผูหญิง โดยผูกไวกับ ผาซิ่น สวงกอม และสวงฮี กรณีเปนผูชายซึ่งมีหนาท ี่ทำพิธีกรรมตางๆ มักห อยเครื่องรางของขลังไ วกับส าย แอว เชน เขากวาง เขี้ยวหมูตัน รูปปลัดขิก นิยมผูกไวท ี่ดานขวาของเอวเพื่อป องกันไ มใหผแี ละสิ่งไมดีเขามา ขัดขวางการทำพิธี ผาหลา หรือผ าอ ุมเ ด็ก เปนผ าท ใี่ ชส ะพายลูก เพื่ออ ำนวยความสะดวกใหแ กแ มท จี่ ะตองทำงานตางๆ ไดอยางถนัดโดยไมตองอุม เด็กอาจจะหลับหรือนั่งอยูในนั้นไดอยางสบาย เปนภูมิปญญาที่ชวยใหเด็กได ผูกพันและใกลชิดกับแ มต ลอดเวลา ผาหลาเปนผ าฝายสีครามเขม บริเวณชายผาป กลวดลายดวยเสนไหมสี ตางๆ แลวจึงเย็บหรือผูกท ั้ง 2 ดานใหติดก ันดวยดายสีตางๆ เปนระยะๆ ริมผาดานยาวตกแตงด วยตุมไหม สีตางๆแลวร วบชายผาใหเปนก ลีบไวพองาม ตกแตงท ี่ปมผูกด วย “มะหงันห งอ” ซึ่งท ำดวยฝกห มามุยไมเกิน 5ตัว มีลักษณะคลายพญานาคหอยหัวอยู มีความเชื่อว า นาคทั้ง 5ตัว คือแถนเบา ซึ่งม ีหนาที่ดแู ลเด็กท ี่เกิด ใหมท กุ คนใหม สี ขุ ภาพแข็งแ รง น อกจากนนั้ ผ เู ปนแ มย งั ท ำถงุ ยามเล็กๆแ ขวนไวด ว ย ใ นถงุ ยามนนั้ ม สี ายสะดือ ของเด็ก เงิน 1สลึง ดินจ อมปลวก เปลือกใบเพกา หรือลิ้นฟ า โดยมคี วามเชื่อว า เงินเปนค าตัวเด็ก เพื่อป อง กันไมใหแมเดิมน ำตัวก ลับไป สวนหมามุยจ ะชวยปองกันไ มใหผีรายเขามารังแ กเด็ก เพราะขนของหมามุยจะ มีอาการคันอยางรุนแรง นอกจากนีย้ ังมีความเชื่อเกี่ยวกับด ินจอมปลวกและใบเพกาวา มีสรรพคุณเมื่อนำมา ผสมกับน้ำปูนแดงสามารถใชทาแกปวดทองใหกับเด็กได (ชม บุญแ กว, 2544) มู หมายถึง หมวกที่สวมใหเด็กปองกันแดด หรือใหแมมดสวม เพื่อปองกันขวัญออกจากรางกาย ในขณะทำพิธีกรรม ตัดเย็บดวยผาฝายสีครามเขม รูปสี่เหลี่ยมคางหมูตกแตงดวยวิธีปะ หรือปก บริเวณ หนามูด า นบนมพี มู ัดต ดิ ไ ว ลักษณะมูของเด็กผ ชู ายจะมผี า คลุมส ั้นก วาผหู ญิง นอกจากนีย้ ังมีมสู ำหรับแมมด ซึ่งเปนผูทำพิธีกรรมตางๆ ลักษณะของมูจ ะแตกตางกับมูข องเด็ก คือ เปนร ูปสี่เหลี่ยมผืนผ า ดานบนไมมีผา ปด ดานขางซายและขวาใชเศษผาไหมหลากสีประดับดวยวิธีปะผามากกวาก ารปก (ทองยอย มีนอย, 2544) ลวดลายที่นิยมปะหรือปกมูสวนมากจะเปนลายพันธุพฤกษาไดแก ลายดอกทม และลายดอกมะลิ มีความ
58
ผาในวิถีชีวิตไทดำ เชื่อถึงคุณคาของความเปนล ูกผูหญิง ลายขาบัว มีความเชื่อถ ึงความสำนึกผิด ลายดอกพิกุล มีความเชื่อถึง ความอดทน และลายดาวลอย ม ีความเชื่อถึงความอุดมสมบูรณ
มู (หมวกเด็กผูหญิง)
มู (ห มวกเด็กผูชาย)
บานดอนมะเกลือ หมู 4 ตำบลดอนมะเกลือ อำเภออูทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
มู (หมวกเด็กผูหญิง) บานหนองหมู หมู 5 ตำบลสระพัฒนา อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
59
ผาในวิถีชีวิตไทดำ หลวม ทำเปนกระเปามีสายสำหรับคาดเอว ตัดเย็บดวยผาฝายสีดำหรือสีครามเขม ตกแตงดวย วิธกี ารปะและปก ลวดลาย เย็บช นิ้ ผ า ส แี ดง ส ม ข าว แ ละเขียว ร ปู ส ามเหลีย่ มปะตดิ เขาไปประกอบเปนล วดลาย บริเวณฝาเปดป ด ท เี่ นนใ หเห็นถ งึ ศ ลิ ปะในการประดิษฐใ หม รี ปู ล กั ษณะทแี่ ปลกตา แ สดงถงึ ก ารใชจ นิ ตนาการ จากธรรมชาติใกลตัวนำมาประดิษฐของใชที่จำเปนส ำหรับผูชาย ใชสำหรับใ สสิ่งของจำเปนพ กพาติดตัว เชน เงิน หมาก พลู และยาสูบ มีลักษณะคลายรังผึ้งห รือครึ่งว งกลม ภายในเย็บเปนชอง 2 ชั้น มีฝาเปดปดได ชายทั้งสองขางมวนกลมปลายเรียว เย็บพ ับด วยผาไหมหลากสีโดยมัดร วมกันเปนพู สวนที่อยูปลายสุดข อง ชายทั้ง 2 ขาง มลี ักษณะคลายหางหมู มีหูขางซายและขวาผูกก รอบเอาไว ซึ่งม ีความเชื่อวา หางหมูม ีลักษณะ คลายหางเสือเรือที่คอยชวยประคับประคองใหผสู วมใสไมประพฤติปฏิบัติผิดศ ีลธรรม (หัน คงสนิท, 2544)
หลวม หรือ กระเปาคาดเอว (ผ ูชาย) บานหนองหมู หมู 5 ตำบลสระพัฒนา อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
60
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
หลวม หรือ กระเปาคาดเอว เจาของ : นางพาณี แหงหน อายุ 70 ป บานเลขที่ 46 หมูที่ 5 ตำบลเขายอย อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี
ถุงยาม หมายถึง ถุงผาฝายมสี ายสะพายในตัวไ วใสส ิ่งของเล็กๆนอยๆ เชน มีด หมาก พลู เมื่อไป ทำนา ท ำสวน แ ละทำไร ส ว นหมอผทู ำพิธจี ะไวใ สต ำรา ข องขลังแ ละอปุ กรณท จี่ ำเปนใ นการประกอบพธิ กี รรม เปนถุงตัดเย็บดวยผาฝายสีขาวและสีแดง มีขนาดแตกตางกันแลวแตการนำไปใชประโยชน ชาวไทดำมีวิธี รักษาสีของถุงยาม โดยการดนในซึ่งไมมีลวดลายกลับดานแลวพ ับเก็บไ ว จะทำใหสขี องถุงยามมีสีสดตลอด เวลา (แปง เพชรพลาย,25 44)สำหรับลวดลายของถุงยาม นิยมวางลวดลายเปนแนวตั้ง โดยใชสแี ดง สีเขียว สีเหลือง และสีขาว มีความหมายเชนเดียวกับผาซิ่นลายแตงโม
61
ผาในวิถีชีวิตไทดำ เสื่อฟูก (ที่นอน) ใชสำหรับใชปูนอน และสามารถพับเก็บไ ด ผาฝายสีดำหรือสีครามเขม ยัดน ุนเย็บ เปนลูกฟูกใหเปนแ นวขวาง สามารถมวนเก็บได ตกแตงล วดลายดานขางทั้ง 4ดาน ดวยการปะตอก ันโดยใช ผาสแี ดง สีเหลือง สีขาว และสีเขียว ในพิธีแตงงาน เสื่อฟูก ตองมวนใหกลมแลวใ สสาแหรกหาบไปในขบวน เจาบาวดวย
หมอน เปนห มอนรปู ส เี่ หลีย่ มผนื ผ า ม ลี กั ษณะคลายทอ นไม ม ชี อื่ เรียกวา “ ห มอนหนาอิฐ”เย็บแ ตละ ทอนตอกันเปนทรงกระบอก ทั้งนี้ขึ้นอยูกับผูผลิตวาตองการจะเย็บตอกันกี่ทอน โดยมีชื่อเรียกแตกตางกัน คือ เย็บตอกัน 2 ทอน เรียกวา “หมอนหนาไ ข” เย็บต อกันต ั้งแต 3 ทอนขึ้นไ ปเรียกวา “หมอนหนา 3 หนา 4 หรือหนา 5” เปนตน แลวจึงยัดดวยนุน ตัวหมอนตัดเย็บดวยผาฝายทอมือสีดำหรือสีครามเขม สวนหนา หมอนตกแตงดวยการปะ การปก ลวดลาย โดยการตัดชิ้นผาสีแดง สม ขาว และเขียว เปนทรงเรขาคณิต เชน รูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมจัตุรัส สี่เหลี่ยมผืนผา เย็บติดป ระกอบกันเปนลวดลาย ลายที่ทำเปนพ ื้นฐานคือ ลายดอกพรม นอกจากนั้นยังมี ลายดอกขาแกว ลายดอกงา ลายหัวแ มงดา ลายดอกแปด ลายกลีบม ะเฟอง ลายมะลิซ อน บางครั้งตกแตงลวดลายดวยการประดับกระจก
ลวดลายหน้าหมอน
62
ผาในวิถีชีวิตไทดำ หมอนตาวเสื่อนั่ง เปนหมอนสามเหลี่ยมแบบหมอนหนาอิฐ หรือหมอนหก ตัวหมอนตัดเย็บดวย ผาฝายทอมือสีขาว สีดำ หรือส ีครามเขม สวนหนาห มอนตกแตงด วยการปกลวดลาย และเย็บชิ้นผ าสแี ดง สม ขาว และเขียว รปู สามเหลี่ยมปะตดิ เขาไปประกอบเปนลวดลาย บางครัง้ ตกแตงลวดลายดว ยการประดับ กระจก มี 2 แบบ ค ือแบบตอเบาะ (ม ีฟูกเย็บติดกับต ัวห มอน) และแบบไมต อเบาะ
หมอนตาวเสื่อนั่ง
หยั่น (มุง) ทำจากผาฝายชนิดหนาสีครามเขมใชแทนฝาผนังกั้นห องและกันยุง มีสีดำเพื่อความเปน สวนตัวยามค่ำคืน เนื่องจากภายในบานของชาวไทดำไมนิยมกั้นห อง การนอนของทุกคนจึงตองกางหยั่นเพื่อ เปนการแบงใ หเปนสัดสวน หยั่นม ีลักษณะเปนร ูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ า ขอบหยั่นด านบนทั้ง 4 ดาน ตกแตง ลวดลายโดยวิธีการปะหรือป กด วยผาชิ้นหลากสี เชน สีแดง สม ขาว และเขียว รูปสามเหลี่ยมปะติดเขาไป ประกอบเปนลวดลาย เชน ลายดอกพรม และลายดอกมะลิ มีความเชื่อถึง คุณคาข องความเปนลูกผูหญิง ลายขาบัว มีความเชื่อถึง ความสำนึกผิด ลายดอกแปด มีความเชื่อถึงการไดรับการดูแลจากแถน ลาย ดอกพิกุล มคี วามเชื่อถ ึง ความอดทน และลายดาวลอย มคี วามเชื่อถึงค วามอุดมสมบูรณ กอนเย็บหูหยั่น ชาวไทดำจะนำเงิน และขาวเปลือก ใสไวทั้ง 4 ดาน โดยมีความเชื่อวา จะทำใหผใู ชหย ั่นมีความเจริญรุงเรือง เหมือนกับการงอกเงยของตนขาว พรอมกับม ีเงินทองมากมายเหมือนรวงขาวสีทองเต็มผืนน า (ผล มีมาก, 2 544) บริเวณหูหยั่นมีเชือกดายดิบหลากสีผูกเปนหวงยื่นออกมาจากมุมแตละดาน เพื่อใชหวงหรือเชือกตอ ออกไปใหย าว ห รือใ ชต ะขอเกีย่ วไวก บั ต น เสา ห รือฝ าบา นได ก ารตดั เย็บหยนั่ ข องชาวไทดำนนั้ แ ตกตา งกับม งุ ทั่วไป บริเวณตีนหยั่นจะไมเสมอเปนแ นวเดียวกัน โดยมีลักษณะคลายยังต ัดไ มเสร็จ แตความจริงเปนเคล็ด ของชาวไทดำทเี่ ชือ่ ว า ถ า ตดั เย็บใ หต นี หยนั่ เสมอกนั แลว จ ะเหมือนกับก ารครอบศพ ซ งึ่ เรียกวา “ เรือนแส”จ งึ ไมน ิยมทำกัน (ธ ิดา ช มพูนิช, 25 3 9)
63
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
หยั่น (ม ุง) เสื่อฟ ูก (ที่นอน) และหมอน
มุงลายดอกแปด มีแปดแฉก เปนงานประดิษฐหนาหมอน
พัดพ อมด
พัดหมอเสนผูนอย
64
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ดอกไมไทดำ ไทดำนับถือผ ีบรรพบุรุษ ผีมด ตัดเปนตัดตายได เสี่ยงทายได ไทดำบานนาปาหนาด จึงมีพิธีแซปาวของพอหมอมด เรียกวา ดอกไมไทดำ (เปนสัญลักษณไทดำบานนาปาหนาด จ. เลย ที่ จ. เพชรบุรี ไมมี)
ดอกไมไทดำ
- รมโพธิ์รมไ ทร มีความหมายวา อ ยูเย็นเปนสุข - ตุมหนู ม ีความหมายวา ส อดแนมผูราย ถาผูรายจะมาทำลายสิ่งของ หนูจ ะไปทำลายเขากอน - ตาแหลว มีความหมายวา เงินทองไมมีออก - ตุมนก มีความหมายวา ส ืบข าว ส ื่อสาร คาบขาว ท ั้งดี-ราย - เรือแพ ม ีความหมายวา ข ามน้ำ - เครื่องบิน (ยนตหงส) มีความหมายวา ไปทางไกล
65
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
66
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
การยอมคราม
นำตนค ราม (ใบสด) ไปแชน้ำพ อทวมใบประมาณ 1 คืน เพื่อใหเนา การแชใบครามสดในน้ำไ มใช แชใหสีครามละลายน้ำดังเชนการตมเปลือกไม แตแชใหสารในใบครามสดทำปฏิกิริยากันเกิดเปนสีครามที่ ละลายน้ำได ใชปูนแ ดงผสมกับน้ำแชตนคราม แกวงใหฟองแตก นำมากรอง เนื้อครามที่กรองแลว จะเปนเชื้อ กอหมอครามตามสูตร เอาแมนิลม าใส เอาดาง แปงข าวหมากมาผสม จะไดน้ำครามที่พรอมสำหรับยอม นำฝายที่เข็นมายอมกับน้ำคราม แลวยอม หรือนำผาขาวมาแชน้ำใหเปยกบิด-ขยำดวยน้ำคราม (ประมาณ 4ครั้ง)ซักน้ำสะอาดใหใส ตากใหแหง เรียกวา แดดหนึ่ง ทำเชนเดียวกันแ บบนี้ไปเรื่อยๆโดยการ บิด-ขยำ ดว ยน้ำคราม แลวซักน้ำ บดิ ใ หแหง ตากยอ มไปเรือ่ ยๆจนกวาจะดำ โดยทวั่ ไปแลวจะยอ มประมาณ 4 แดด (1 6 ครั้ง) นิยมตากฝาย/ผาที่ยอมครามแลวใ นที่รม วิธีการปองกันไมใหสีตก โดยการนำเปลือกประดูม าตมกับน ้ำดาง พอเดือด (น้ำขี้เถา ซึ่งไดจากขี้เถาเตาไฟ นำมาใสตะแกรง รอนใหละเอียด ผสมน้ำ ก รองเอาน้ำใส) จากนั้นเอาน้ำเปลือกประดูเทใสกาละมัง รอใหเย็นกอนจึงเอาผาที่ยอมครามแลวล งแช (ไมนาน) บิด ใหแหง นำไปตาก พอแหงแ ลวนำมาซักใ หสะอาด ใชไมตีจนกวาน้ำจะใส เพื่อป องกันส ีตก
67
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ตนคราม
แชน้ำพอทวมใบประมาณ 1 คืน
68
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ใชปูนแดงผสมกับน้ำแชต นคราม แกวงใหฟ องแตก นำมากรอง
69
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
เนื้อครามที่กรองแลว จะเปนเชื้อ
กอหมอครามตามสูตร จะไดน้ำครามที่พรอมสำหรับยอม
70
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
การทอผา
แตเดิมชาวไทดำจะผลิตผาฝายและผาไหมเพื่อใชเองในครอบครัว เปนการผลิตแบบครบวงจรซึ่ง ผลิตควบคูกับการประกอบอาชีพห ลัก คือ การทำนา ชาวไทดำมีความรูเรื่องการผลิตผาฝายและผาไหมจาก การถายทอดสืบตอกันมาตั้งแตบรรพบุรุษจนกระทั่งปจจุบัน เมื่อสภาพเศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนแปลง ไปจากเดิม ซึ่งเคยเปนส ังคมแบบพึ่งพาตนเองเปลี่ยนเปนส ังคมแบบซื้อขาย การแสวงหาและการผลิตเสื้อผา เครือ่ งแตงกาย แ ละเครือ่ งนงุ หมก เ็ ปลีย่ นแปลงไปดว ย ว ตั ถุดบิ ท ใี่ ชใ นการทอผาก ซ็ อื้ ห าไดจ ากตลาด ป จ จุบนั จึงไมนิยมผลิตเสนใยเอง แตจะใชเสนใยสังเคราะหที่เรียกวา “ดายโทเร” มาทอเปนผาแทน ทั้งนี้อาจเนื่อง มาจากการนำเสนใยไหมหรือเสนใยฝายมาทอผานนั้ ม กี ระบวนการทยี่ งุ ยากซบั ซอนไมเหมาะกับการดำรงชีวติ ในปจจุบัน ซึ่งตองทุมเทเวลาในแตละวันก ับการทำไรนาของตนเอง หากจำเปนตองใชผาไหม ชาวไทดำจะซื้อ จากแหลงอื่น เชน ต ลาด หรือผ าไหมที่ขายตามเทศกาลงานตางๆ ชาวไทดำเมื่อวางจากการทำไรนาและเริ่มจะเขาสูฤดูหนาวจะนิยมทอผาห มดวยผาฝาย โดยซื้อฝาย สำเร็จรูปจากตลาดเพื่อนำมาทอเปนผาหมและจะนิยมทอดวยฝายสีเขมดวยเห็นวา สีเขมเก็บความรอนได ดีกวาผ า หมส อี นื่ ๆเมือ่ ทอเสร็จจ ะนำมาเย็บเปนผ นื ห นาใหญใ สน วมหนาบางตามตอ งการ น อกจากนนั้ จ ะทอผา ซิ่น ผาเปยวเบาะไวใชในครอบครัว ลวดลายที่ใชในการทอผา เชน ลายดอกผักแ วน ลายนาค ลายแตงโม เปนตน
71
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
การทอผาของชาวไทดำ ผูทอ : นางหนูจร ไพศูนย อายุ 62 ป บานเลขที่ 26 /2 หมู 4 บานนาปาหนาด ตำบลเขาแกว อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
ขั้นตอนการทอ
1.เสนฝ า ย เอามาลงแปงก อ น ส มัยกอนลงดว ยนำ้ ข า วเจา ไ มไดลงแปงข าว (แ ปงมนั สำปะหลัง)น วด พอประมาณ แลวนำไปตาก เสนฝายไดจากการปลูกฝ ายเอง ปลูกท ั้งฝ าย ท ั้งคราม 2. เอาเสนฝ ายที่ยอมดวยหมอฮอม ห มอนิล มาใสกง ไทดำเรียกวา ก งกวาง 3. เผี่ยน (แกวง) ใ สหลอด 4. จวงเข็นหูก ค นหูก 5. สืบหูก ต อใสฟม 6. นำไปต่ำ (ทอ) เปนผืน
72
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
เสนไหม ใยฝาย ดายโทเร
กงกวาง
เอาเสนไหมใยฝายหรือดายโทเรมาใสกง ไทดำเรียกวา กงกวาง นำมาปนดวยจวงเผี่ยน (อ ุปกรณปนดายเขาหลอด)
จวงเผี่ยน
73
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
การจูงดาย เพื่อใหไดความยาวของดายตามตองการ เอาหลอดดายไปเข็นดวยจวงเข็น โดยเอาหลอดดายใสจำนวน 8 หลอด แลวเอาไมมาผูกใสเสา เอาปลายเสนดายรวมกัน 8 เสน คลองใสเสาขางละ 5 วา มหี ลัก 2 หลักสำหรับไวไขว
74
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
นำดายมาผูกใสก ี่ ใสแ ปรงกี่รูละ 8 เสน 1 หลบ มี 10 รู ๆ ละ 8 เสน มที ั้งหมด 10 หลบ (1 00 รู)
แชเสนดายเพื่อไมใหเสนดายแข็ง หากเสนดายแข็งจ ะทอไมแนน จากนั้นขอดหัวห ูก เพื่อใหเสนดายตึง
75
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
แหยด ายอีกดานหนึ่งใสเขาหูกทั้ง 2 เขา (เขาบน-เขาลาง) สลับกัน (บน-ลาง) เหยียบโดยใชตีนยัน แปรงหูก เขาบน-เขาลาง ฟม กระสวย ตีนยัน
76
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
สืบหูก ตอใสฟม
ทอดวยกี่กระตุก
ทอดวยกี่พื้นเมือง
77
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
78
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ลวดลายผาไทดำ
ลวดลายผาของชาวไทดำมีการประดิษฐดวยวิธีการทอ เย็บ ปก (แซว) และขิด มีชื่อและลักษณะ รูปรางที่สื่อความหมายสัมพันธกับวิถชี ีวิตแ ละความเชื่อ อาทิ ลายพันธุไม ลายสัตว ลายเครื่องมือเครื่องใช ลายสิ่งของสถานที่ และลายเบ็ดเตล็ด ลวดลายตาง ๆ บนผืนผาเปนเอกลักษณที่สะทอนใหเห็นถึงวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อแ ตละกลุมชน การจัดรูปแบบเปนลายเรขาคณิตลวนๆ โดยมีลายขอกุด ซึง่ ถ อื วาเปนล ายทนี่ ยิ มใชม ากทสี่ ดุ ข องชาวไทดำ ปก ด ว ยไหมเสนเล็ก ๆ บนผนื ผ า โดยทำลวดลายเปนว งกลม คลายลายดอกไม ดานหนาและดานหลังของผาจะมีลายเหมือนกัน โดยไมสามารถหาจุดเริ่มตนหรือจุดจบ ของลายได จึงทำใหลายนี้ถือเปนจ ุดเดนข องไทดำ นอกนั้นเปนลายที่ใชปกเสื้อฮี ที่นิยมปกกันม ากคือ ลาย แปดขอ ลายเอื้อข อ ลายขอกุด และลายดอกบัว
79
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
80
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
การเย็บ
81
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ลวดลายที่ใชเย็บ
ลายขาบวั (ด อกบัว) บวั เปนพ นั ธุไ มน ำ้ ช นิดห นึง่ มเี หงาห รือห วั อ ยูใ นเลนตม ใบและดอกบางชนิดล อย อยูเสมอน้ำ บางชนิดช ูใบและดอกสูงกวาน้ำ ดอกบัวช ูดอกและออกใบในยามน้ำเปยมฝง กลีบเริ่มบานแยม ในยามฟาสาง และหุบกลีบในยามค่ำ การแยมบานและหุบกลับของบัวเกิดขึ้นพรอมกับเวลาขึ้นและตกของ ดวงอาทิตย ดว ยเหตุนชี้ าวไทดำเชือ่ ว า ดอกบัวเปนส ญ ั ลักษณเวลาเชาเย็น นอกจากนีด้ อกบัวย งั ต รงกบั ค วาม เชื่ออีกดานหนึ่งที่เปรียบดอกบัวไววา เกิดจากตมอันสกปรกและตะกอนในทองน้ำ แตบัวก็พยายามยื่นกาน ใหย าวออก จนกระทัง่ ส ามารถโผลใบและดอกขนึ้ ม าเหนือผ วิ น้ำ กำเนิดข องบวั จ งึ เปนส งิ่ เปรียบเทียบเรือ่ งการ ประพฤติผ ดิ พลาดแมจ ะประพฤติผ ดิ เพียงใด แตก ย็ งั มีโอกาสทจี่ ะเปนค นดีไดท กุ คน ถา ผ นู นั้ ม คี วามตงั้ ใจจริง จึงนำลายขาบัวหรือดอกบัวต ามจินตนาการนี้ มาเปนการขอขมา หรือถวายพระ เพื่อเปนการแสดงถึงความ สำนึกในความผิดเพื่อเริ่มตนก ลับเปนคนดี (สุก พูนนาม, 2544)
ลายดอกบัว
ลายดอกบัวข าเขียด หรือลายขาบัว
82
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ลายดอกพรม ตน พ รมเปนไมพมุ มหี นามทกี่ งิ่ ก า น ดอกชอ อ อกทปี่ ลายกงิ่ กลีบด อกเชือ่ มตดิ ก นั เปน หลอดสขี าวมกี ลิน่ ห อม การปะผา ข องชาวไทดำนยิ มใชว ธิ ปี ระดิษฐล ายดอกพรมเปนส ว นมาก เนือ่ งจากผหู ญิง ชาวไทดำเมือ่ ไปทำนา เลีย้ งววั เลีย้ งควาย จะพบเห็นด อกพรมอยูเ คียงคูก บั ท งุ นาเสมอ เมื่อว า งจากการทำงาน ก็มักจะนำผาขึ้นมาประดิษฐ โดยใชลายดอกพรมเปนตนแบบเนื่องจากเปนลายที่งายและไมซับซอน โดยมี ความเชือ่ เกีย่ วกับด อกพรมวา “ถ งึ แ มจ ะมกี ลิน่ ห อม แตก ห็ นามแหลมคมรอบตัว” คนสมัยกอนจงึ ส อนหญิงสาว โดยเปรียบเทียบกับด อกพรมไวว า ความสวยความงามนั้นไมคงทน แตการเปนแมบานแมเรือนจะทำใหชีวิต การครองคูมีความสุขและยั่งยืนได (ช ม บุญแกว, 2544)
ลายดอกพรม
ลายดอกมะลิ มะลิม ลี ักษณะตนเปนไมพุม ไมเลื้อย และไมรอเลื้อย ดอกมีสีขาว มีทั้งช ั้นเดียวและ หลายชั้น กลีบดอกมี 4 – 9 กลีบ โดยปกติจะเริ่มบานในเวลาบายและรวงในวันรุงขึ้น ชาวไทดำเชื่อวา ดวย ลักษณะของดอกมะลิ เปรียบเหมือนผูหญิง 4 วัย คือ วัยเด็ก วัยรุน วัยผ ใูหญ และวัยชรา ดอกตูมของมะลิ เปรียบเหมือนวยั เด็กท ยี่ งั อ ยูใ นกรอบของครอบครัว ดอกแรกแยม เปรียบเหมือนวยั รุน ซงึ่ เปนว ยั ท เี่ ริม่ มีก าร เปลี่ยนแปลงสิ่งตาง ๆ ในรางกาย เมื่อดอกมะลิบ านเต็มท ี่จะเริ่มสงกลิ่นห อมเปรียบไดกับวัยผ ใูหญที่พรอม จะแตงงานมีครอบครัว เมื่อด อกเริ่มรวง เปรียบไดกับว ัยชรา ซึ่งจ ะไมเห็นร องรอยของดอกตูมแ ละกลิ่นหอม แตจะเห็นเพียงดอกมะลิท ี่แหงรวงลงสูพื้นดินเทานั้น ดอกมะลิจ ึงเปนเครื่องเตือนใจชาวไทดำใหตระหนักถึง คุณคาของความเปนล ูกผูหญิง ที่จะไมประพฤติปฏิบัตนิ อกลูนอกทาง เพราะเมื่อวัยรวงเลยไป ทุกสิ่งก ็ยอม โรยลาตามกาลเวลาดวย (ชม บุญแ กว, 254 4 )
83
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ลายดอกมะลิ
ลายดอกจัน ตนจันเปนไมยืนตนส ูงไดถึง 20 เมตร ดอกตัวผูเปนชอกลีบเชื่อมติดก ันเปนรูปคนโทสี ขาวนวล ดอกตัวเมียเปนด อกเดี่ยวลักษณะคลายดอกตัวผูแ ตมขี นาดใหญกวา ชาวไทดำเชื่อวา ดอกจันเปน ตำนานรกั อ มตะของชาวไทดำในเวียดนาม เนือ่ งจากเกิดจ ากความรกั ข องหนุม สาว คหู นึง่ ซ งึ่ ร กั ก นั ม าก แตแ ม ของผหู ญิงไมชอบใจชายหนุม จงึ บ งั คับใหล กู สาวแตงงานกบั เศรษฐี หนุม สาวคนู จี้ งึ พ ากนั ฆ า ตัวตายในปา แ หง หนึ่งในคืนวันพระจันทรเต็มดวง เมื่อหนุมสาวตายลงก็กลายเปนดอกจันบานสะพรั่งอยู ณ ที่นั้น เมื่อถึงวัน พระจันทรเต็มดวงกลิน่ ห อมของดอกจันจ ะสง กลิน่ ไปทวั่ บ ริเวณปา ทำใหช าวไทดำสงสัยว า เปนด อกอะไร เมือ่ เขาป า จ งึ พ บวา เปนด อกจัน จงึ ย กยองใหส ขี าวของดอกจันน แี้ ทนความรกั อ นั บ ริสทุ ธิม์ นั่ คง ชาวไทดำในประเทศ ไทยจึงนิยมประดิษฐลายนเี้พื่อมอบใหแกเจาบาวและเจาสาว หรือผูอาวุโสในหมูบาน (ชม บุญแ กว, 25 44)
ลายดอกจัน
84
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ลายดอกแกว ตนแกวเปนไมพุมข นาดเล็ก ดอกมกี ลิ่นห อม ผูหญิงช าวไทดำที่เริ่มเรียนรูการขิด และ ปก ตองผานลายนเี้ปนลำดับแ รก เนื่องจากมีความเชื่อวา ดอกแกวเปนดอกไมท ี่มีกลิ่นห อมเยือกเย็นในยาม ค่ำคืน ผใู ดจะขิดหรือปก จะตอ งมคี วามอดทนและเยือกเย็นจงึ จะสามารถทำลายนไ้ี ดสำเร็จ (กำ รา เริง, 2544)
ลายดอกแกว
ลายดอกแปด เปนลายที่เกิดจ ากจินตนาการของชาวไทดำโดยอัญเชิญแ ถนทั้ง 8 องค มาประดิษฐ เปนลายผา ซึ่งประกอบดวย แถนหลวง เปนหัวหนาข องแถนทั้งปวง มีหนาท ี่ตัดสินข อพิพาทตาง ๆ ใหเกิด ความยุติธรรม แถนสิง เปนแถนประจำตระกูล มีหนาที่รักษาสมาชิกท ุกคนที่อยูในวงศวานใหอยูเย็นเปนสุข แถนแนน มีหนาที่ควบคุมไมใหขวัญข องคนหลุดหายไป แถนชาต มีหนาที่กำหนดชะตาชีวิตและสงมนุษยมา เกิดในโลก แถนแมนาง มหี นาท บี่ นั ดาลใหแ มม นี ำ้ นมไวเลีย้ งทารก แถนปวกาล าว ี มหี นาท ดี่ แู ลทกุ ขสขุ ความ อุดมสมบูรณข องมนุษย และควบคุมด ินฟ าอากาศทำใหฝนตกตองตามฤดูกาล แถนนุงขาว มีหนาท ี่บันดาล ใหคนมีความสวยงาม และแถนบุญ มีหนาที่บันดาลความมั่งคั่งและความอุดมสมบูรณใหเกิดแกมนุษย (นิพนธ เสนาพิทักษ 2521 ,2 1) แถนทั้ง 8 องคน ี้ ชาวไทดำเชื่อวา ถาผ ูใดใชเสื้อผาและเครื่องนุงหมล ายนี้ จะ ไดรับการดูแลจากแถน เมื่อเสียชีวิตลงวิญญาณของผูตายจะไดรับความคุมครองจากแถนชาด เพราะสวม เครื่องแตงกายที่เปนลายนี้ โดยเฉพาะเสื้อฮีที่สวมและคลุมโลงศพสวนมากจะใชลายนี้ทอ ทำใหชาวไทดำ นิยม ปะผาลายดอกแปดบนผาและเครื่องนุงหม เพื่อไวใชในงานพิธีกรรมเปนสวนใหญ (ดำ มั่นเหมาะ, 2544)
85
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ลายดอกแปด
ลายบานจาย
ลายบานสุม
86
ผาในวิถีชีวิตไทดำ การปก (แซว) ผาเปยว การทำลวดลายผาเปยว หญิงสาวชาวไทดำทุกคนตองหัดทำ ลวดลายพนื้ ฐานของผา เปยว ซงึ่ เริม่ จากการปก บ ริเวณชายผาเรียกวา “ส อย ฝกแค” ใหเกิดความชำนาญเสียกอน จึงจะเริ่มทำลวดลายตางๆ ได ผาเปยวลวดลายดั้งเดิม มีอยู 4 แบบ คือ 1. ลายขอกูดหวาย ผาเปยวลายขอกูดหวายเปนการปกบริเวณมุมผาทั้งสี่ดานใหเปน รูปสี่เหลี่ยมแลวใชไหมสีขาวหรือสีแดงปกทแยงเพื่อแบงรูปสี่เหลี่ยมออก ใหเปนรูปสามเหลี่ยมสองรูป ภายในและภายนอกปกลายผาเปนรูปขอกูด หวายใหแ ตกกิง่ ก า นออกไปดว ยการใชไหมสลับสีใหแ ตกตางกนั แลวเย็บพ ไู หมหลากสหี อ ยบริเวณรมิ ผาต ลอด ผืน มีความเชื่อถ ึง การรำลึกถึงบุญคุณ 2. ลายดอกเตา (เบาะเตา) ลายดอกเตาใชวิธีปกเปนแนวเสนตรงใหเกิดเปนรูปสี่เหลี่ยมคางหมู แลวใชไหมสีขาวและสีแดงปก ตามแนวตั้งและแนวนอน เพื่อกำหนดขอบเขตของลายดอกเตาใหยาวติดตอกันตลอดผืน แลวเย็บพูไหมสี แดงหอยบริเวณริมผาตลอดผืน มีความเชื่อถึง การใหกำเนิดเพื่อขยายเผาพันธุ 3. ลายขาบัว หรือข าปว คำวา “ปว” หมายถึง พยุงหรือร ับใช วิธีปกบ ริเวณชายผาโดยเริ่มที่มุมผ าใหเปนสวนๆ แลวจ ึงทำเปน ดอกเลื่อนชั้นขึ้นไปเปนรูปส ามเหลี่ยมจนเกิดลวดลายตางๆ โดยใชดายไหมสแี ดง สีเขียว สเีหลือง และสีขาว มีความเชื่อถึง ความสำนึกในความผิด 4. ลายสายรุง ลายสายรุงใชวิธีปกช ี้ขึ้นดานบนชายผาใหเปนสายตรงๆ หลายๆ เสน โดยปกแบบจัดคูตรงขามใหมี ขนาดเทาก นั แลวจ งึ น ำเม็ดผ า ซ งึ่ เกิดจ ากการปก ค ลายลายดอกแปดเย็บต ดิ ห วั ท า ยดา นละ 8 ลกู ดา นขา งดา น ละ 4 ลูก การใสเม็ดผาไวเพื่อถ วงน้ำหนักไมใหชายผาปลิวเมื่อลมพัดผาน โดยมีความเชื่อวา เปนสะพานที่ แถนทั้ง 8 องค สงมนุษยม าเกิดบนโลก และรับคนที่เสียชีวิตก ลับไปอยูเมืองแถน (ชม บุญแ กว, 2545)
87
ผาในวิถีชีวิตไทดำ นางจุฑาทิพ อินเนียร อายุ 50 ป เปนค นกรุงเทพฯ สามีเปนคนไทดำ เลาว า ผาเปยวที่เขายอยใน ปจจุบันนิยมทำ มี 2 แบบคือ ผาเปยวลายดอกผักแวน และผาเปยวปว ะ (ลายดอกแปด+ลายดอกพิกุล คั่น เสนล ูกโซคูเปนกรอบสี่เหลี่ยม) ใชคาดอกและสาธิตว ิธีการปก (แซว) ผาเปยว ดังนี้
รางแบบ > พันช าย (คลาย ๆ กับการสอยผา) โดยใชลายสันป ลาชอน ดวยเสนไหมสีแดงเขม > สีเขียว > สีแดงเขม > สีขาว > สแี ดงเขม > สีสม (4 สหี ลัก)
วัดระยะจากชายผาเปยว (เนาวดวยเสนดายสีขาวเปนร ูปกากบาท)
88
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
จากจุดต ัดกันข องรูปก ากบาทประมาณ 4 ชองเสนฝ ายแลวป กห มุดไว จากนั้นนับช องเสนฝ ายไปอีก 12 ชอง นับขึ้นไปอีก 12 ชอง จนครบสมี่ ุม ใชขี้ผึ้งรูดเสนไหมใหเรียบ รวมเปนเสนต ิดกัน เสนไหมจะไดไมกระจาย โดยปกติจะนิยมทำเสนไหมสีแดงเขม (สีหลักท ี่มมี ากที่สุด) ใหเสร็จกอน จากนั้นจึงทำสอี ื่นตาม
89
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
การปก (แ ซว) ตองยกสองกับแ สงสวาง เพื่อใหสามารถนับชองเนื้อผาได
90
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ลายแซวขอ
ลายตาแหลวฮอ
ลายแซวต ะวัน
91
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ลายตานกแกว นกแกวเปนสัตวที่มีความสามารถพิเศษคือ สามารถเลียนเสียงพูดภาษาคนได ตลอดจนเปนนกที่มีความซื่อสัตยตอผูเลี้ยงเปนอยางมาก สามารถเปนยามคอยเฝาระวังบุคคลแปลกหนา เพือ่ ร ายงานใหผ เู ลีย้ งไดท ราบ นอกจากนีย้ งั อ ยูร วมกนั เปนฝ งู ทำใหช าวไทดำเชือ่ ว า นกแกวเปนส ตั ว ทมี่ คี วาม ซื่อสัตยและมีความสามัคคี สมควรนำมาเปนแบบอยาง จึงไดคิดประดิษฐลายหนาหมอนเพื่อไวใชในพิธี แตงงาน (เสา ยืนเยี่ยม, 2544)
ลายแซวข อตานกแกว
ลายแซวแ กนแตง
92
ผาในวิถีชีวิตไทดำ
ล ายขอกูด ผกั กูดม ลี กั ษณะเปนเกล็ดห ยักค ลายซฟี่ น มขี อบดำขนึ้ ห นาแนนต ามชายปาท แี่ ดดสอ งถงึ ตามบริเวณลำธาร หรือบ ริเวณคันน้ำ ผักกูดม ียอดงอรสชาติอรอย ผักกูดม ีความเกี่ยวพันก ับวิถชี ีวิตของคน ไทดำคอนขางมาก ไมวาจ ะเปนดินแดนในเวียดนาม หรือแมแตชาวไทดำที่อพยพเขามาตั้งถิ่นฐานในประเทศ ไทย โดยมีเรื่องเลาเกี่ยวกับต ำนานผักกูดไววา ชาวไทดำในเวียดนามมีอาชีพท ำนา ทำไร และปลูกผ ักกูดไวที่ ปลายไร เปนธ รรมเนียมของลกู ห รือห ลานสาวจะมหี นาท ไี่ ปเก็บผ กั กูดใหพ อ แ ม ปยู า ตายาย นำมาเปนอ าหาร มาวันหนึ่งลูกสาวก็ออกไปหาผักกูดเพื่อจะนำมาใหพอแมกินหาไปจนทั่วทั้งปาก็ไมพบสักตนเดียว จึงเสียใจ เปนอ ยางมาก เนือ่ งจากเกรงวา พ อ แ มจ ะไมมอี าหารกนิ จงึ น งั่ ร อ งไหอ ยูใ นปา น นั้ ฝา ยผกั กูดเมือ่ เห็นน างรองไห จนน้ำตาตกลงสูพื้นด ิน จึงเห็นใจในความกตัญูของนางยิ่งนัก ตางพากันแ ขงย อดขึ้นมามากมายใหนางได เก็บไปใหพ อ แ ม เมือ่ น างกลับม าถงึ บ า น นางกร็ ำลึกถ งึ บ ญ ุ คุณข องผกั กูด จงึ น ำรปู ลักษณข องผกั กูดม าทอเปน ลาย “ผักกูด” หรือ “ลายขอกูด” ขึ้นบนผืนผาทุกช ิ้นของตน (บาน เขื่อนเพชร, 2544)
ลายขอกูด
93
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ลายดอกผักแวน ผักแวนเปนผักพ ื้นบานประเภทไมลมลุกจ ำพวกเฟรน ลำตนเปนเหงาเรียงยาว ใบ หนาแนนช ว งฤดูฝน เปนพ ชื ท อี่ ยูต ามชายฝง ข องลำน้ำ หว ย หนอง คลอง บงึ ใชเปนผ กั จ มิ้ ก บั น ำ้ พริก ลกั ษณะ ของดอกผักแวนเปนดอกเล็กๆ สวยงามเกิดเปนกลุมและโตเร็วชาวไทยทรงดำมีความเชื่อวารูปรางของดอก ทีม่ ขี นาดเล็กเกิดเปนกลุม แ ละโตเร็วน ี้ ถา ใครสามารถปก ล ายผกั แ วนไดก จ็ ะแสดงถงึ ค วามอดทน ความเอือ้ เฟอ ประณีตล ะเอียดออน เจริญง อกงามและสรางความกลมเกลียวใหค รอบครัวเปนป ก แ ผนได ดงั น นั้ ผ า ลายดอก ผักแวนจึงนิยมมอบใหแกคูบาวสาวในวันแ ตงงาน หรือผูใหญท ี่นับถือ (ใหญ ทองอราม, 2544)
ลายดอกผักแวน (ขอกูด+ดอกแปด)
ลายขอกุด+ดอกแปด+ดอกบัวขาเขียด
94
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ลายดอกเตา (ดอกน้ำเตา) น้ำเตาเปนพ ืชประเภทไมเลื้อยที่ขึ้นไดอยูท ั่วไป ลำตนมีลักษณะเปนเครือ ยาวออกไปอยางไมรจู กั จ บสิน้ และออกผลไมรจู กั ห มด ชาวไทดำจงึ เปรียบเทียบความไมรจู กั จ บสิน้ ข องนำ้ เตา กับตนตระกูลของพวกตนที่ไมมีวันสูญสิ้นลงได ซึ่งมีความเชื่อตามตำนานไทดำ ไดกลาวไววาพวกตนเกิด มาจากการอธิษฐานจิตของเทวดาชายหญิง 10 องค ที่จุติไปเปนตนก ำเนิดของมนุษย จึงไดอ ธิษฐานจิตสราง น้ำเตาและเขาไปอยูในน้ำเตา เมื่อน้ำเตาล อยไปตกบนเขาแลวแ ตกออก คนชาติพันธุต าง ๆ ออกมาตามลำดับ คือ ขา ไทดำ ลาวพุงขาว ฮอ และแกว น้ำเตาม ีลักษณะในเชิงส ัญลักษณค ลายอวัยวะเพศหญิง ลายดอกเตา จึงน ยิ มนำมาประดิษฐผ า ท ใี่ ชในวนั แ ตงงาน เพราะเชือ่ ว า การแตงงานเปนจ ดุ เริม่ ตนข องการใหกำเนิดเพือ่ ข ยาย เผาพันธุ (หวาน อิ่มแ กว, 25 44 ) ลายงา งาเปนพืชลมลุก ชาวบานปลูกไวรับประทานเมล็ดและมีความเชื่อตามรูปรางวา เมล็ดงามี ขนาดเล็ก แตร วมกนั อ ยูเ ปนกลุม ก อ น เกิดค วามงอกงามไดร วดเร็ว ถา น ำเอามาทำเปนล ายบนเสือ้ ผา จะแสดง ถึงความสามัคคี และมคี วามเจริญกาวหนา (แพร บุญแกว, 2544) ลายดอกพิกุล ดอกพิกุลเปนไมยืนตนขนาดกลาง ดอกเล็กมี 8 กลีบ ออกเปนชอ ๆ ละ 2 – 6 ดอก กลีบดอกสีขาวนวล กลีบรองดอกสีน้ำตาล มีขนนุม กลิ่นหอม ลายดอกพิกุลนิยมปกไวบนหนาหมอน สาบเสื้อฮี และเชิงเสื้อฮี เนื่องจากมีความเชื่อว า ผใูดสามารถปกล ายดอกพิกุลได จะแสดงถึง ความอดทน และการหลุดพน เพราะวาเปนล ายทมี่ คี วามละเอียด ตอ งใชเวลาในการปก ค อ นขางนาน หญิงสาวผใู ดสามารถ ปกลายพิกุลได จะบงบอกใหทราบถึงคุณสมบัตพิ รอมที่จะออกเรือนได (ชม บุญแ กว, 2544) ลายหมาย่ำ เปนลายที่มาจากความเชื่อดั้งเดิมข องบรรพบุรุษ มีเรื่องเลาไวว าเมื่อครั้งหนึ่งท ีมนุษยย ัง ไมมีพันธุขาวไวปลูกกิน หมากับคนเปนเพื่อนที่รักกัน เมื่อหมาเห็นค วามอดอยากของคนจึงอยากชวยเพื่อน โดยอาสาคนเดินขึ้นไปถามแถนผูเปนใหญในเมืองฟาวา ทำไมคนจึงไมมีพันธุขาวมาปลูกกิน แถนจึงเห็นใจ ในความพยายามของหมาทตี่ อ งเดินทางไกลจากโลกมนุษยม าตามตนถงึ บ นฟา จงึ แ บงพ นั ธุข า วมาปลูกให นบั แตนั้นมาบนโลกมนุษยจึงมีขาวกินม าจนถึงทุกวันนี้ ดวยความสำนึกในบุญคุณข องหมาชาวไทดำจึงพากันน ำ รอยเทาท หี่ ม ายำ่ ไปหาแถนมาทอไวบ นผนื ผ า ช นิดต า งๆ ยังมีค วามเชือ่ ในวถิ ชี วี ติ ข องชาวไทดำ ในขณะทผี่ หู ญิง นั่งทอผาอยูใตถุนบาน หมาก็จะมานอนอยูขางๆ กที่ อผา ในลักษณะของการนอนเฝาระวังและปกปองดูแล ดังนั้นชาวไทดำจึงประดิษฐลายหมาย่ำขึ้นมาบนผืนผาโดยมีความหมายถึงความผูกพันและความจงรักภักดี ระหวางหมากับคน (ชม บุญแ กว, 254 4 )
95
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ก ารทอผาเปนง านศิลปะทตี่ อ งใชค วามพยายาม ขยัน อดทน และความละเอียดประณีต มกี ารถา ยทอด กรรมวิธกี ารทอใหแ กส มาชิกท เี่ปนเพศหญิง สั่งสมภูมิปญญาการทอผาเปนม รดกทางวัฒนธรรม จากรุนส รู นุ โดยทั่วไปตั้งแตโบราณกาล ภูมิปญญาดานการทอผาในแตละกลุมชนสวนใหญมีความคลายคลึงก ัน แตอาจ แตกตางกันบางในรายละเอียดปลีกยอย ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาพของแตละพื้นที่ จากการลงพื้นที่ศึกษาขอมูล ไทดำทจี่ งั หวัดเลย เพชรบุร ี ราชบุร ี อา งทอง สพุ รรณบุร ี ราชบุร ี พบวา ปจ จัยพ นื้ ฐานในชวี ติ ไทดำเชน บา นเรือน ทีอ่ ยูอาศัย การแตงกาย สิ่งของเครื่องใชต างๆ ปจจุบันส วนใหญไดเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพสังคมสมัยใหม อาทิ การใชผาในวิถชี ีวิตไทดำ ซึ่งเกี่ยวของกับภูมิปญญาทองถิ่นด านการทอผาของชาวไทดำ ในอดีตใชกรรม วิธีการยอมสีผาดวยวัสดุธรรมชาติ เชน การยอมคราม การทอผาดวยมือตามแบบดั้งเดิมก็เหลือใหเห็น นอยมาก มีการนำสีเคมีมาใชในการยอมสีผา มีการนำดายโทเรมาใชแทนเสนไหม ใยฝาย ที่ปลูกห รือเลี้ยง ไหมเอง มีการนำกี่กระตุกเขามาใชแทนกี่แบบดั้งเดิม เพื่อเพิ่มปริมาณและความรวดเร็ว ดวยเห็นวาเปนสิ่ง ใหม ราคาถูกแ ละหาซอื้ ไดง า ยตามทอ งตลาด การนำไปใชก ม็ คี วามสะดวกไมต อ งเสียเวลาและแรงงานมากมาย ไปในการจัดหาวัสดุจากธรรมชาติ ทำใหการทำงานมีความรวดเร็วมากยิ่งขึ้น สงผลใหภูมิปญญาทองถิ่นที่มี มาแตโบราณของชาวไทดำกำลังสูญหายไปอยางนาเสียดาย นอกจากนี้ยังพบวา แมบานชาวไทดำในหลาย จังหวัดไดมีการรวมตัวก ันเปนกลุม ทอผาท ี่มีอัตลักษณ (ลักษณะเฉพาะที่สะทอนความเปนตัวตนของชาวไท ดำ) ที่อาจสะทอนใหเห็นไดจากลวดลาย รูปทรง รูปแบบ วัสดุ กรรมวิธีการผลิต หรือ โทนสี เปนอาชีพเสริม และนำออกขาย เพือ่ ส รางรายไดใหก บั ค รอบครัว ซงึ่ น บั ไดว า เปนจ ดุ เดน แตก ารนำสนิ คาท มี่ อี ตั ล กั ษณเฉพาะ ออกจำหนายกม็ ขี อ ค วรคำนึงเชนก นั อาทิ การบอกเลาเรือ่ งราว วฒ ั นธรรม ความเชือ่ ด งั้ เดิม ความสอดคลองกับ กระแสนิยม วัสดุ กระบวนการผลิต ที่สำคัญ ควรมีความเหมาะสมตอการนำไปใชงานในวิถสี ังคมปจจุบัน ตลอดจนคุณภาพของผาทอ อันเนื่องมาจากการเลือกใชวัสดุ และการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต หาก เปนไปไดควรสงเสริมใหมีการฟนฟูภูมิปญญาดั้งเดิมทั้งเสนไหม ใยฝาย แทนการนำดายโทเร มาใชในการ ทอผา รวมถึงการยอมดวยสีธรรมชาติ แทนการใชสเีคมี เพื่อสนองตอบกระแสความนิยมในปจจุบัน ในเรื่อง ของการลดสารเคมีท ี่อาจกอใหเกิดอ ันตรายตอสุขภาพ และลดภาวะโลกรอน ดวยแลว จักเปนการเพิ่มมูลคา สินคาไดมากยิ่งกวาการขายอัตล ักษณเพียงอยางเดียว อีกท ั้งยังเปนการอนุรักษ และฟนฟูภูมิปญญาทองถิ่น ไมใหสูญหายไดอีกทางหนึ่ง
96
ผาในวิถีชีวิตไทดำ เอกสารอางอิง
โกศล แยมกาญจนวัฒน. (ไมปรากฏปที่พิมพ) ลาวโซงก ับความเชื่อในพิธีศพ. โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พัฒนาการดอนคลัง ตำบลดอนคลัง อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี. ดารารัตน เมตตาริกานนท และสมศักดิ์ ศรีสันติสุข. (2549) รายงานการวิจัยเรื่อง การเปลี่ยนแปลงทาง ดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม ในหมูบานอีสาน : ศึกษากรณีหมูบาน นาปาหนาด. ขอนแกน : คณะมนุษยศาสตรแ ละสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยข อนแกน. สำรวจภาคสนามวันที่ 19 ธันวาคม 2549 ทวี พรมมา. (25 41 ) เรือนไทดำบานนาปาห นาด ตำบลเขาแกว อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยม หาสารคาม, วิทยานิพนธ. นครปฐม, องคการบริหารสวนตำบลดอนตูม. (2550) หนังสือที่ระลึกก ารจัดงานอนุรักษวัฒนธรรม ประเพณีไทยทรงดำ. องคการบริหารสวนจังหวัดนครปฐม. บุญเสริม ตินตะสุวรรณ. (2 54 5) ศึกษาผาและเครื่องนุงหมข องชาวไทยทรงดำ ตำบลหนองปรง อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยร ามคำแหง, วิทยานิพนธ. เพชรบุรี, เทศบาลตำบลเขายอย. (ไมปรากฏปที่พิมพ) ดินแ ดนไทยทรงดำ. ตำบลเขายอย อำเภอเขายอย จังหวัดเพชรบุรี. เพ็ญน ิภา อินทรตระกูล. (2 5 35 ) การนับถือผขี องชาวไทยดำบานนาปาหนาด ตำบลเขาแกว อำเภอ เชียงคาน จังหวัดเลย. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยศ รีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, ปริญญา นิพนธ. มูลนิธิไทยทรงดำ. (2548) มูลนิธิไทยทรงดำประเทศไทย.ที่ระลึกเนื่องในโอกาสกอตั้งและเปดปาย มูลนิธิไทยทรงดำประเทศไทย “งานวันอนุรักษว ัฒนธรรมประเพณีไทยทรงดำ” นครปฐม : บานเกาะแรต ตำบลบางปลา อำเภอบางเลน.
97
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ส น สีมาตรัง และคณะ. (2 5 48 ) ชางทอ รอยใจ เทิดไท 72 พรรษา. วุฒิสภาจัดพิมพเพื่อเฉลิม พระเกียรติสมเด็จพระนางเจาส ิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสพระราชพิธี มหามงคลเฉลิมพ ระชนมพรรษา 6 รอบ. กรุงเทพฯ : บริษัท สยามทองกิจ จำกัด. http://www.google.co.th /SADO OD T A.COM http ://www.google.c o.th/W ik ipedia
98
ผาในวิถีชีวิตไทดำ ที่ปรึกษาโครงการ รองศาสตราจารย วิโรฒ ศรีสุโร
หัวหนาโครงการ ประทับใจ สิกขา
ผูรวมโครงการ
ศ ักดิช์ าย สิกขา เสกสันต ศรีสันต ศุภลักษณ มาคูณต น สมโชค หอมจันทร ปริญดา ฝางมาลา ภวนพ อุนไธสง
ผูใหขอมูล
พ านี แหงหน ศิริพร พูลสวัสดิ์ จุฑาทิพ อินเนียร ถนอม คงยิ้มล ะมัย โกศล แยมกาญจนวัฒน ออน ทันหา หนูจร ไพศูนย วิชาญ - ไสว สระทองคุม
99
กองสงเสริมก ารวิจัย บริการวิชาการ และทำนุบำรุงศ ิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยอ ุบลราชธานี