วัดหลวง พุทธศาสน์ศึกษาแห่งเมืองอุบลราชธานี

Page 1

 

 





 

  


         

 









     

  







   



 




คำนำ

อุ

บลราชธานี เป็ นจังหวัดด้านตะวันออกสุ ดทางภาคอีสาน มีอายุเก่าแก่กว่า 200 ปี จึงมี ความส าคัญ ด้า นประวัติ ศ าสตร์ ศิ ล ปวัฒ นธรรม การศึ ก ษาแบบมู ล กัจ จายน์ และ การศึ กษายุคใหม่ เป็ นศูนย์กลางด้านการเมื องการปกครองในภูมิภาคนี้ จึ งนับเป็ นดิ นแดนแห่ งภูมิ ปัญญาอีสาน เริ่ มตั้งแต่เจ้าพระประทุมราชวงศา (เจ้าคาผง) เป็ นหัวหน้านาไพร่ พลญาติวงศามาอยูท่ ี่ดง อู่ผ้ ึง และตั้งขึ้ นเป็ นเมื อง ให้นามว่าเมื องอุ บ ล ในปี พุท ธศักราช 2324 โดยเฉพาะด้านการศาสนา อุบลราชธานี เป็ นศูนย์กลางการศึกษาเล่าเรี ยนพระพุทธศาสนา พระธรรมวินยั ของคณะสงฆ์สามเณร ในสมัยเริ่ มต้นของการแผ่ขยายพระพุทธศาสนาและวัดวาอารามของภาคอีสาน ตั้งแต่แรกสร้ างวัด หลวง ปี พ.ศ. 2324 สมัยพระปทุมวรราชสุ ริยวงศ์ (เจ้าคาผง) ถึงสมัยพระพรหมราชวงศา (กุทอง) สมัย รัชกาลที่ 4 โดยเจ้าผูค้ รองเมืองได้ให้ความสาคัญ และทานุ บารุ งพุทธศาสนาให้มีความเจริ ญรุ่ งเรื อง สื บ ต่ อ มา วัดหลวงจึ ง นับ เป็ นวัด แรกของเมื อ งอุ บ ลราชธานี และถื อได้ว่า เป็ นวัดประจ าเจ้า เมื อ ง อุบลราชธานีคนแรก คือพระปทุมวรราชสุ ริยวงศ์ (เจ้าคาผง) ด้วยความสาคัญของวัดหลวงกอปรกับ ความงดงามของสถาปั ตยกรรมแบบล้านช้าง จึงเป็ นที่กล่าวขานและตราตรึ งอยูใ่ นความทรงจาของผู ้ เฒ่าผูแ้ ก่ที่เคยได้พบเห็ น แต่ในปั จจุบนั ความสาคัญและความงดงามของวัดหลวงได้เสื่ อมถอยไปตาม กาลเวลา ดังนั้นเพื่อไม่ให้วดั หลวงถูกลืมเลือนไป รศ. ดร. สมจิตต์ ยอดเศรณี อธิ การบดีคนแรกของ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จึงมีดาริ ให้งานข้อมูลท้องถิ่น สานักวิทยบริ การ ทาการศึกษาและรวบรวม ข้อมูลวัดหลวงเพื่อประโยชน์ในการศึกษา ค้นคว้าของคนรุ่ นหลังและผูท้ ี่สนใจต่อไป ขอขอบคุณ คุณพ่อบาเพ็ญ ณ อุบล ที่เสี ยสละเวลา ให้รายละเอียดเกี่ยวกับวัดหลวงด้วยความ เต็ม ใจยิ่ง คุ ณสุ รชัย ศรี ใ ส ในการวาดภาพประกอบ รวมทั้ง ส านัก วิท ยบริ ก ารและมหาวิท ยาลัย อุบลราชธานี ที่ได้ส่งเสริ มและสนับสนุ นทุนอุดหนุ นการดาเนิ นงานจนการดาเนิ นงานสาเร็ จลุ ล่วง ด้วยดี การศึกษานี้อาจมีส่วนไม่สมบูรณ์อยูบ่ า้ ง ผูจ้ ดั ทาจึงขอน้อมรับความผิดพลาดต่าง ๆ และคา ชี้แนะด้วยความขอบพระคุณยิง่

ผูจ้ ดั ทา 29 กันยายน 2547


สำรบัญ บทนา ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น ความเป็ นมา ความสาคัญ แรกเริ่ มก่อตั้ง ขนาดที่ต้ งั และอาณาเขต ลาดับเจ้าอาวาส รายละเอียดสถาปัตยกรรม รั้ววัด ประตู หอแจก วิหาร สิ ม หอไตร หอคา กุฏิขวางใหญ่ กุฏิขวางเล็ก กุฏิเขียว ธาตุเจ้ามหาราชครู หอโปง หอกลอง หอรถศพ ตอนที่ 2 วัดหลวงยุคกลาง ลาดับเจ้าอาวาส การปฏิสังขรณ์ศาสนสถาน

1

4 5 6 7 9 11 11 12 13 30 30 30 30 30 30 30 31 32 32 33 34 35


ตอนที่ 3 วัดหลวงยุคปัจจุบนั สภาพวัดหลวงในปัจจุบนั

41 42

ตอนที่ 4 ภาคผนวก บทสัมภาษณ์ คุณพ่อบาเพ็ญ ณ อุบล วันที่ 25 เมษายน 2546 บทสัมภาษณ์ คุณพ่อ บาเพ็ญ ณ อุบล วันที่ 15 กรกฎาคม 2547

53 62

บรรณานุกรม ประวัตินายบาเพ็ญ ณ อุบล

76 78


สำรบัญภำพ รู ปที่ 1 อนุสาวรี ยพ์ ระปทุมวรราชสุ ริยวงศ์ (เจ้าคาผง) รู ปที่ 2 เกาะดอนมดแดงหน้าน้ า รู ปที่ 14 ช่อฟ้ า รู ปที่ 24 ภาพวาดพระวิหารด้านข้าง รู ปที่ 25 พระเจ้าใหญ่องค์หลวง รู ปที่ 26 แผนผังภายในวิหาร รู ปที่ 27 โปง รู ปที่ 27 หอกลอง รู ปที่ 28 ตาลปัตรไม้ รู ปที่ 29 หอแจกหลังปัจจุบนั รู ปที่ 30 พระเจ้าใหญ่องค์หลวงหลังจากปฏิสังขรณ์ รู ปที่ 31 วิหารหลังที่สร้างขึ้นใหม่ รู ปที่ 30 ซุม้ ประตูวดั และตึกแถว รู ปที่ 33,34 พ่อออก แม่ออกไปวัด รู ปที่ 35 ประตูทางเข้าหน้าวัด รู ปที่ 36,37 วัดล้อมรอบไปด้วยอาคารพาณิ ชย์ รู ปที่ 38,39 รั้ววัดด้านข้าง รู ปที่ 40,41,42,43 สภาพภายในวัด รู ปที่ 44,45,46 พระวิหารหลังปัจจุบนั รู ปที่ 47 หอระฆัง รู ปที่ 48 หอแจก (ศาลาการเปรี ยญ) รู ปที่ 49 ศาลาการเปรี ยญ รู ปที่ 50 กุฏิอนุสรณ์พระปทุมวรราชสุ ริยวงศ์ (เจ้าคาผง) รู ปที่ 51 กุฏิพระ รู ปที่ 52 ด้านหลังวัด รู ปที่ 53 ด้านหลังวัดติดแม่น้ ามูล

4 6 18 27 28 29 31 32 35 37 38 39 40 41 42 43 44 46 47 48 49 49 50 51 51 52


บทนำ จัง หวัด อุ บ ลราชธานี ต้ งั อยู่บ นที่ ร าบสู ง ทางใต้สุ ด ของภาคอี ส าน มี เ ขตแดนติ ด กับ ประเทศ สาธารณรัฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว โดยมีแม่น้ าโขงเป็ นเส้นพรมแดนทางภูมิศาสตร์ มีแม่น้ ามูลและ แม่น้ าชี ไหลไปออกแม่น้ าโขงที่อาเภอโขงเจียม แผ่นดิ นอีสานได้เป็ นที่อยู่อาศัย ทามาหากินของมนุ ษย์ มาแล้วนับหมื่น ๆ ปี ยาวนานมานับตั้งแต่อาณาจักรฟูนนั และจามปา ชุ มชนอีสานได้รับอิทธิ พลมาจาก วัฒนธรรมเจนละ วัฒนธรรมทวารวดี วัฒนธรรมเขมรสมัย เมื องพระนคร และวัฒนธรรมไทลาว มา ตามลาดับ ปรากฎหลักฐานจากแหล่งโบราณคดี ท้ งั สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ ที่ได้ ศึกษาแล้วกว่า 1,500 แห่ง (แน่งน้อย ปั ญจพรรค์, 2536 : 7) จนกระทัง่ ประมาณปี พ.ศ. 2313-2319 ชาวไทลาวภายใต้การนาของเจ้าพระวอ เจ้าพระตาและ บุตรหลาน ได้อพยพมาตั้งรกรากที่บริ เวณดงอู่ผ้ งึ และตั้งเมืองอุบลราชธานี ข้ ึน เมื่อปี พ.ศ. 2335 มีพระ ปทุมวรราชสุ ริยวงศ์ (คาผง) เป็ นเจ้าเมืองคนแรก และด้วยความเลื่อมใส ศรัทธาในพระพุทธศาสนา ท่าน จึงให้สร้างวัดแห่งแรกของเมืองอุบลราชธานี ข้ ึน ให้ชื่อว่า “วัดหลวง” เพื่อทานุบารุ งพุทธศาสนา และเป็ น ศูนย์กลางในการหล่อหลอมกล่ อมเกลาบุ ตรหลานให้มีวิชาความรู้ และชาวเมืองให้อยู่ในศีลในธรรม ยึดถือปฏิบตั ิตามฮีตบ้าน ครองเมือง วัดหลวงจึงเป็ นศาสนสถานที่สาคัญของเมืองอุบลราชธานี ในยุคนั้น เป็ นศูนย์กลางการศึกษาเล่าเรี ยนพระพุทธศาสนา พระธรรมวินยั ของคณะสงฆ์สามเณร และเป็ นสถานที่ ถือน้ าพิพฒั น์สัตยาของเจ้าเมืองในยุคแรก ๆ ด้วย นอกจากนี้ แล้ววัดหลวงยังมีสถาปั ตยกรรมทางศาสนาที่ งดงาม อ่อนช้อยอย่างศิลปะแบบล้านช้าง โดยเฉพาะพระวิหาร ความงดงามเป็ นที่กล่าวขานและยังตรา ตรึ งอยู่ในความทรงจาของผูท้ ี่ได้พบเห็ น ซึ่ งนายบาเพ็ญ ณ อุ บล เป็ นชาวจังหวัดอุบลราชธานี ผหู ้ นึ่ งที่ มี โอกาสได้ใช้ชีวิตคลุกคลี ใกล้ชิดกับวัดหลวง กล่าวคือ ได้ถือกาเนิ ดที่บา้ นเลขที่ 72 หมู่ 1 ตาบลในเมือง อาเภอเมื อง จัง หวัดอุ บลราชธานี บริ เวณคุ ม้ วัดหลวง อยู่ในความอุ ปการะของคุ ณยายคุ ณตา ซึ่ ง เป็ น ลูกหลานพระปทุมวรราชสุ ริยวงศ์ พออายุประมาณ 7-8 ขวบ คุ ณยายคุ ณตาได้นาไปฝากไว้ให้เรี ยน หนังสื อกับพระอาจารย์สด ผูห้ นู เจ้าอาวาสวัดหลวงในขณะนั้น ร่ าเรี ยนจนจบอ่านออก เขียนได้ บวกเลข ได้ โดยอยูก่ ินที่วดั เป็ นลูกศิษย์วดั ช่วยเหลืองานวัด มีหน้าที่ คือ ในตอนเช้าถวายบาตรพระเวลาที่ท่านจะ ออกบิณฑบาต และเวลากลับจากบิณฑบาตก็คอยรับบาตรจากพระ พอพระฉันเสร็ จ เก็บบาตรไปล้าง ถึง ตอนสายก่อนเวลาเพลไปเอาปิ่ นโตจากชาวบ้านที่ถวายปิ่ นโตเพลมาถวายพระ หรื อเวลาพระรับกิจนิ มนต์ ไปงาน ก็ช่วยอุม้ บาตร สะพายย่ามไปกับท่าน หลังจากเสร็ จภารกิจแล้วตอนกลางวันเรี ยนหนังสื อกับพระ ครั้นตอน


บทนำ

2

หัวค่าก็ลงสวดมนต์ไหว้พระที่วหิ าร แล้วมาต่อหนังสื อเย็น (คือเรี ยนสวดมนต์เป็ นบทโดยวิธีสอนปาก เปล่า ผูเ้ รี ยนก็ใช้การท่องจา ถ้าท่องไม่ได้พระท่านก็ทาโทษ แล้วให้ท่องจนได้ แล้วจึงจะสอนต่อบทต่อไป) เมื่อวัดมีงานบุญพระเวสเทศน์มหาชาติ ได้รับใช้พระถวายน้ าร้อน น้ าชา และรับดอกไม้ ธูปเทียน จากทายก ทายิก าไปจุ ดไหว้พระ ฟั งเทศน์ม หาชาติ แทน ใช้ชีวิตอยู่เช่ นนี้ 3-4 ปี จึ งได้เข้าโรงเรี ย น ประชาบาล (โรงเรี ยนวัดท่าข้องเหล็ก) นายบาเพ็ญจึงมีความผูกพันกับวัดหลวง คุน้ เคยกับพระและพิธีการ ของวัด เข้า-ออกวิหาร ศาลาการเปรี ยญ สิ ม และกุฏิต่าง ๆ ในวัดหลวงอยูเ่ ป็ นประจา และด้วยความสนใจ ในสถาปั ตยกรรมและธรรมเนียมปฏิบตั ิต่าง ๆ จึงได้สังเกตและจดจาสถาปั ตยกรรมและเรื่ องราวของวัดได้ อย่างขึ้นใจ ในการรวบรวมประวัติศาสตร์ จากคาบอกเล่า เรื่ อง “วัดหลวง” นี้ นายบาเพ็ญ ณ อุบล จึงเป็ น บุคคลสาคัญในการถ่ายทอดความทรงจาอันทรงคุณค่านี้ วัดหลวงมีประวัติพฒั นาการแบ่งออกเป็ น 3 ยุค คือ ยุคต้ น เมื่อปี กุน พ.ศ. 2324 เจ้าคาผงได้พาไพล่พลอพยพมาจากดอนมดแดง มาตั้งบ้านเมืองใหม่ ที่ดงอู่ผ้ งึ และตั้งเมืองอุบลราชธานีข้ ึน เมื่อปี พ.ศ. 2335 มีพระปทุมวรราชสุ ริยวงศ์ (คาผง) เป็ นเจ้าเมืองคน แรก จึ ง ได้ใ ห้ ส ร้ า งวัด แห่ ง แรกของเมื อ งอุ บ ลราชธานี ข้ ึ น อย่า งศิ ล ปะแบบล้า นช้ า ง ด้ว ยฝี มื อ ช่ า ง เวียงจันทน์ มีการสร้ างโบสถ์ สร้ างพระเจ้าใหญ่องค์หลวง สร้างกุฏิ สร้างวิหาร สร้างศาลาการเปรี ยญ สร้างหอไตร สร้างหอกลอง สร้างหอโปง สร้างหอระฆัง เมื่อสร้างเสร็ จจึงให้ชื่อวัดว่า “วัดหลวง” และ ถือได้วา่ เป็ นวัดประจาเจ้าเมืองอุบลราชธานีคนแรก มีความสาคัญ 3 ประการ คือ ด้ ำนกำรปกครอง เป็ นสถานที่ถือน้ าพิพฒั น์สัตยาของเจ้าเมือง ขุนนางและกรมการในสมัยแรก ๆ ด้วย ด้ ำนกำรศึกษำ เป็ นศูนย์กลางการศึกษาเล่าเรี ยนพระพุทธศาสนา พระธรรมวินยั ของคณะสงฆ์ สามเณร ในสมัยเริ่ มต้นของการแผ่ขยายพระพุทธศาสนาและวัดวาอารามของภาคอีสาน ตั้งแต่แรกสร้าง วัดหลวง ปี พ.ศ. 2335 สมัย พระปทุ มราชวงศาถึ งสมัยพระพรหมราชวงศา (กุ ทอง) ราวสมัย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 ด้ ำนศำสนำ เป็ นวัดที่เป็ นที่จาวัดอยูข่ องสังฆปาโมกข์ผเู ้ ป็ นประมุขสงฆ์ของเมืองอุบลราชธานี ได้ ปกครองและบริ หารการพระศาสนาแบบคองลาวให้มีความเจริ ญรุ่ งเรื อง จนกระทัง่ ถึ งช่ วงญาท่านเทน เป็ นเจ้าอาวาสองค์ที่ 2 ทางราชการได้จดั ระเบียบการปกครองคณะสงฆ์ข้ ึนมาใหม่ จึงเริ่ มการปกครองสงฆ์ ตามระเบียบใหม่ จึงไม่มีการแต่งตั้งตาแหน่งพระมหาราชครู เจ้าท่านหอมาตั้งแต่บดั นั้น

งำนข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ำยหอสมุด สำนักวิทยบริ กำร


บทนำ

3

ยุคกลำง จนกระทัง่ มีวดั ธรรมยุติสร้างขึ้นในเมืองอุบล และมีพระเถระผูใ้ หญ่ทางธรรมยุติ มาปกครองวัดเหล่านั้น คือ วัดสุ ปัฏนาราม วัดศรี อุบลรัตนาราม ทางชานเมือง ในสมัยที่กรมหลวงสรรพ สิ ทธิ ประสงค์ เสด็จมาเป็ นผูส้ าเร็ จราชการมณฑลลาวกาวหรื อมณฑลตะวันออกเฉี ยงเหนือ จึงได้ยา้ ยพิธี ถือน้ าพิพฒั น์สัตยาไปทาพิธีที่วดั ศรี ทอง (วัดศรี อุบลรัตนาราม) สาเหตุเพราะท่านพระมหาเถระเทวธรรมี (ม้าว) ซึ่ งเป็ นลูกศิษย์ของ รัชกาลที่ 4 เป็ นเจ้าอาวาส ต่อมาเมื่อเสด็จมหาวีระวงศ์ (ติส โสอ้วน) ครั้งที่ยงั เป็ นพระโพธิวงศาจารย์ เป็ นเจ้าอาวาสวัดสุ ปัฏนาราม ทางราชการจึงได้ยา้ ยพิธีถือน้ าพิพฒั สัตยามาที่วดั สุ ปัฏนาราม วัดหลวงจึงลดความสาคัญลงเป็ นวัดราษฎร์ ไม่ได้รับการยกย่องให้เป็ นวัดหลวงเหมือนสมัย โบราณ ต่อมาพระอริ ยวงศา (สุ่ ย) วัดสระเกศ ได้เอาลัทธิ ไทยไปสอน ตั้งสานักศึกษาอยูท่ ี่วดั ป่ าน้อย เมื่อ คนเห็นว่าวัดป่ าน้อยเป็ นใหญ่ข้ ึนมาแล้ว วัดหลวงก็เลยโอนอานาจการปกครองสงฆ์ไปให้วดั ป่ าน้อย ต่อมา เมื่อวัดป่ าน้อยมีนกั เรี ยนมากขึ้นก็ขยายมาสร้ างเป็ นวัดทุ่งศรี เมือง แล้ววัดหลวงก็ไม่ได้เป็ นสานักเรี ยนอีก ต่อไป

ยุคปั จจุบัน ในปั จจุบนั วัดหลวงแทบจะไม่เหลือคุ ณค่าด้านที่เป็ นศูนย์การศึกษาการปกครอง คณะสงฆ์ และศิลปวัฒนธรรมในอดี ตอีกต่อไป เนื่ องจากเมื่อหมดยุคเจ้าเมืองอุบลราชธานี ความสาคัญ ของวัดหลวงจึงลดน้อยลง สิ่ งก่อสร้างต่าง ๆ อาทิ โบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรี ยญ หอไตร ซึ่ งก่อสร้างด้วยไม้ ทรุ ดโทรมไปตามกาลเวลา ถ้าไม่ผพุ งั ไปตามกาลเวลาก็เคลื่อนย้ายสู ญหายไปยังเมืองต่าง ๆ ทางภาคอีสาน จึงมีการรื้ อถอนสร้างใหม่ ด้วยศิลปกรรมแบบไทยยุคใหม่ ความงดงามแบบศิลปะล้านช้างดั้งเดิม จึงสู ญ หายไป เหลือเพียงภาพถ่ายและคาเล่าขานของผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ที่เคยพบเห็น สิ่ งที่ยงั เหลือเป็ นความงามของวัด หลวงคือ พระเจ้าใหญ่องค์หลวง ซึ่ งประดิษฐานอยู่ ณ ศาลาการเปรี ยญวัดหลวงในปั จจุบนั

งำนข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ำยหอสมุด สำนักวิทยบริ กำร


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

4

ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น ความเป็ นมา เมืองอุบลราชธานี ได้ต้ งั ขึ้นตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2324 โดยมีเจ้าพระปทุมราชวงศา (เจ้าคาผง) เป็ นหัวหน้านาไพร่ พลญาติวงศามาอยูท่ ี่ดงอู่ผ้ งึ และตั้งขึ้นเป็ นเมือง ให้นามเมืองว่า เมืองอุบล สมเด็จพระเจ้ากรุ งธนบุรีโปรดเกล้าฯ สถาปนาให้เจ้าคาผงเป็ นเจ้าครองเมือง ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช ขึ้นเสวยราชสมบัติเป็ นพระปฐมบรมราชวงศ์จกั รี ย้ายพระนครมา สร้ างขึ้นทางฝั่ งซ้ายของแม่น้ าเจ้าพระยา ขนานนามพระนครว่ากรุ งเทพมหานครฯ สถาปนาพระบรม ราชวงศ์แล้วได้โปรดเกล้าฯให้พระปทุม ราชวงศา (เจ้าคาผง) เป็ นเจ้าครองเมืองอุบลในฐานะที่เป็ น ข้าหลวงเดิมในพระองค์ เพื่อเป็ นเกียรติยศแก่เจ้าพระปทุมราชวงศา (เจ้าคาผง) จึงพระราชทานนามว่า พระปทุมวรราชสุ ริยวงศ์ (เจ้าคาผง) เจ้าครองเมือง และพระราชทานนามเมืองว่า เมืองอุบลราชธานี ศรี วนาลัยประเทศราช การปกครองบ้านเมืองนั้นเจ้าพระปทุมวรราชสุ ริยวงศ์ (เจ้าคาผง) จัดการปกครอง ตามแบบโบราณของบ้านเมืองในดินแดนอีสาน ซึ่ งยึดถือกันมาหลายร้อยปี แล้ว เรี ยกว่าระบบอัญญาสี่ คือเมือง ๆ หนึ่งมีคณะผูป้ กครองประกอบไปด้วยเจ้านายเดิม อันมีเจ้าครองเมือง เจ้าอุปราช เจ้าราชวงศ์ และเจ้าราชบุ ตร ซึ่ ง เป็ นตาแหน่ งส าหรั บเจ้า นายสื บ เชื้ อวงศ์กนั ไปเป็ นทอด ๆ คื อรั บ มรดกทางการ ปกครองสื บสันติวงศ์

รูปที่ 1 อนุสาวรี ย ์ พระปทุมวรราชสุ ริวงศ์ (เจ้าคาผง)

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

5

ความสาคัญ ด้ านการปกครอง วัดหลวงเป็ นวัดแรกของเมืองอุบลราชธานี และถือได้วา่ เป็ นวัดประจาเจ้า เมืองอุบลราชธานีคนแรก คือ พระปทุมวรราชสุ ริยวงศ์ (เจ้าคาผง) เป็ นสถานที่ถือน้ าพิพฒั น์สัตยาของ เจ้าเมือง ขุนนางและกรมการในสมัยแรก ๆ ด้วย ด้ านการศึกษา เป็ นศูนย์กลางการศึกษาเล่าเรี ยนพระพุทธศาสนา พระธรรมวินยั ของคณะสงฆ์ สามเณร ในสมัยเริ่ มต้นของการแผ่ขยายพระพุทธศาสนาและวัดวาอารามของภาคอีสาน ตั้งแต่แรกสร้าง วัดหลวง ปี พ.ศ. 2335 สมัยพระปทุมวรราชสุ ริยวงศ์ (คาผง) ถึงสมัยพระพรหมราชวงศา (กุทอง) ราว สมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 ด้ า นศาสนา เป็ นวัดที่ เ ป็ นที่ จ าวัด อยู่ข องสั งฆปาโมกข์ผูเ้ ป็ นประมุ ข สงฆ์ของเมื อ ง อุบลราชธานี มีท่านเจ้าหอแก้วเป็ น หลักคา 1 เป็ นเจ้าอาวาสองค์แรกจา พรรษาที่ ว ดั แห่ ง นี้ ในสมัย เริ่ ม ต้น ของการแผ่ข ยายพระพุ ท ธศาสนา และวัดวาอารามของภาคอีสาน ได้ ปกครองและบริ หารการพระศาสนา แบบคองลาวให้มีความเจริ ญรุ่ งเรื อง เป็ นศู น ย์ ก ลางการปกครองและ การศึ กษาเล่าเรี ยนพระพุทธศาสนา พ ร ะ ธ ร ร ม วิ นั ย ข อ ง ค ณ ะ ส ง ฆ์ สามเณร การบวชกุลบุตร บวชพระ บวชเณร เมื่อบวชพระไปแล้วก็สอนหนังสื อ พระที่ไปเรี ยนหนังสื อ ถ้าเรี ยนสวดมนต์ได้ทุกสู ตรแล้วถือว่าเรี ยนสาเร็ จ ได้ชื่อว่าเป็ นสาเร็ จ อาจจะเป็ นสาเร็ จเณร สาเร็ จจัว่ เมื่อ เป็ นสาเร็ จอย่างนี้ก็มีสิทธิ์ ได้รับการสถาปนาเป็ นพระผูใ้ หญ่ เป็ นญาชา เป็ นชา เป็ นครู เป็ นด้าน เป็ นฝ่ าย เป็ นหลักคา เป็ นยอดแก้ว อันนี้คือทาเนียบสมณศักดิ์ตามพื้นเพเดิม

1

พื้นเมืองเรี ยกสมัยนั้น เทียบเจ้าคณะจังหวัดในปั จจุบนั

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

6

แรกเริ่มก่อตั้ง เมื่อปี กุน พ.ศ. 2324 พระปทุมวรราชสุ ริยวงศ์ (เจ้าคาผง) อพยพมาจากดอนมดแดง มาตั้ง บ้านเมื องใหม่ที่ดงอู่ผ้ ึง และเห็ นว่าที่แห่ งนี้ เหมาะที่จะสร้ างบ้านเมือง วัดวาอาราม เพื่อเป็ นศรี สง่าแก่ บ้านเมือง เป็ นที่อยูอ่ าศัยสื บทอดพระพุทธศาสนา พระปทุมวรราชสุ ริยวงศ์ จึงได้เป็ นเจ้าศรัทธาพากรรม การเมือง เสนาเมือง และราษฎรสร้ างขึ้น ให้พระสงฆ์ที่อพยพมาด้วยลงมือก่อสร้าง ให้ช่างที่อพยพมา จากเวีย งจันทน์ พ ร้ อมด้วยท่ านอุ ป ราช ราชบุ ตร ราชวงศ์ ท่ า นท้า วเพี้ ย กรรมการน้อยใหญ่ ร่ วมกัน ก่อสร้างวัดด้วยฝี มือช่างเวียงจันทน์ จึงสาเร็ จสวยงามสมเจตนารมณ์ ในปี พ.ศ. 2334 มีการสร้างวิหาร สร้ างพระเจ้าใหญ่องค์หลวงเป็ นพระประธานโดยช่ างชาวเวียงจันทน์ สร้ างกุฏิ สร้างศาลาการเปรี ยญ สร้ า งหอไตร สร้ า งหอกลอง สร้ า งหอโปง สร้ างหอระฆัง พร้ อมบริ บู รณ์ ทุ ก อย่า ง เป็ นสั ง ฆาวาสที่ สวยงามมาก เมื่อสร้างเสร็ จจึงให้ชื่อวัดชื่ อว่า วัดหลวง ตามชื่ อของท่าน ซึ่ งประชาชนเรี ยกท่านว่า “เจ้า องค์หลวง” หรื อ “อาชญาหลวงเฒ่า” และเพราะวัดนี้ ติดกับคุม้ ของท่านซึ่ งชาวเมืองเรี ยก คุ้มเจ้ าหลวง (คือพื้นที่บริ เวณ ตลาดใหญ่ของเมื องอุบลราชธานี ซึ่ งเรี ยกว่า ตลาดราชพัสดุ ) ก่ อนที่จะได้รับการสถาปนาเป็ นเมือง อุบลราชธานี ในปี พ.ศ. 2335

รู ปที่ 2 เกาะดอนมดแดงหน้าน้ า งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

7

ขนาดทีต่ ้ังและอาณาเขต วัดหลวงที่ผม (บาเพ็ญ ณ อุบล) จาได้น้ นั เป็ นวัดที่สง่างามที่สุดในจังหวัดอุบลเพราะหัน หน้าวัดไปทางทิศเหนื อ หลังวัดติดกับแม่น้ ามูล มีเนื้ อที่ประมาณ 10 ไร่ ในเนื้ อที่ 10 ไร่ น้ นั ส่ วนกลาง ของวัดนับจากหน้าวัดไปถึงท่าน้ านั้น เป็ นพุทธสถานหรื ออาคารที่เกี่ ยวกับพิธีสงฆ์โดยเฉพาะ และพิธี ทาบุญของชาวบ้าน ตั้งอยูท่ ี่ถนนพรหมเทพ ริ มฝั่งแม่น้ ามูลอยู่ติดกับ คุ้มเจ้ าหลวง (คือพื ้นที่บริ เวณ ตลาดใหญ่ในปั จจุบนั ) สมัยแต่ก่อนบ้านผม (บาเพ็ญ ณ อุบล) อยูท่ างตะวันออกของวัด ไปทางตลาดเก่า อยูเ่ ยื้องวัดหลวงไปทางทิศตะวันออกเฉี ยงเหนือ ตรงที่ถนนหลวงตัดกับถนนพรหมราช ทิศเหนือ จรดตลาดใหญ่เมืองอุบลราชธานี ทิศใต้ จรดวัดกลาง วัดใต้เทิงและบ้านเรื อนประชาชน ทิศตะวันออก จรดถนนพรหมราช ทิศตะวันตก จรดริ มแม่น้ ามูล

รู ปที่ 3

ภาพถ่ายจากฝั่งหาดสวนยา วัดหลวงอยูบ่ ริ เวณต้นตาลทางขวา

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

8

รู ปที่ 4 พระวิหารวัดหลวงหลังเดิม สร้าง พ.ศ. 2324 ถูกรื้ อ พ.ศ. 2492

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

9

เจ้ าอาวาส 1. พระมหาราชครู เจ้า หอแก้ว เป็ นเจ้า อาวาสองค์แ รกของวัดหลวง เป็ นผูแ้ ตกฉานใน พระไตรปิ ฎก เป็ นประธานสงฆ์ของวัดหลวง (เจ้าอาวาส) และประธานสงฆ์ในการอานวยการศึกษาของ เมืองอุบล ตามประวัติกล่าวว่าท่านเป็ นหลานชายของพระปทุมราชสุ ริยวงศ์ อุปสมบทที่วดั หลวงและ ได้รับการฮดสรง2 เป็ นพระมหาราชครู เจ้าหอแก้ว เป็ นเจ้าคณะใหญ่ประมุ ขสงฆ์เมื องอุ บลราชธานี บริ หารงานศาสนาตามระเบี ย บการปกครองคณะสงฆ์ค องลาวแบบเวีย งจันทน์ เมื่ อมรณภาพแล้ว ชาวเมืองได้ก่อสร้างเจดียบ์ รรจุอฐั ิของท่านไว้ที่วดั หลวง

ภายในเขตพุทธสถานวัดหลวงประกอบด้ วยพุทธศาสนาคาร ดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

หอแจก (ศาลาการเปรี ยญ) วิหาร สิ ม หอไตร กุฏิหอคา กุฏิขวางใหญ่

7. 8. 9. 10. 11. 12.

กุฏิขวางเล็ก กุฏิเขียว ธาตุเจ้ามหาราชครู หอโปง หอกลอง หอรถศพ

2

การฮดสรง เป็ นพิธีสรงน้ าให้แก่พระภิกษุที่ได้เล่าเรี ยนพระธรรมจนสาเร็ จขั้นหนึ่ ง ๆ เพื่อเป็ นการเลื่อนยศในสมณะ ถ้าภิกษุใดที่ได้รับ สรงน้ าของทายก พระภิกษุรูปนั้นจะได้รับการเปลี่ยนชื่ อจากเจ้าหัว (ชาวอีสานจะเรี ยกพระภิกษุว่า เจ้าหัว) เรี ยกว่าเสด็จหรื อสาเร็ จ พิธีน้ ี เป็ นพิธีแต่งตั้งสมณศักดิ์แบบโบราณของภาคอีสาน ซึ่ งได้ถูกยกเลิกไปเมื่อครั้งสมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสโส) ได้ดารงตาแหน่งเจ้า คณะมณฑลอีสาน ที่จงั หวัดอุบลราชธานี

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

10

รู ปที่ 5

แผนผังวัดหลวงในอดีต

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

11

รายละเอียดสถาปัตยกรรม 1. รั้ววัด ลักษณะของรั้ววัดจะเป็ นเสาไม้แก่น แล้วมีไม้คานพาดเข้าไปวางเรี ยงกัน รั้ววัดเป็ นรั้ว ไม้แผ่นตีประกบ (รั้วไม้ระแนง) และมีช่องประตูไว้ทางตะวันออกประตูหนึ่ ง ทางตะวันตกประตูหนึ่ง เสา ทุกต้นจะถู กเจาะรู แล้วเอาไม้คานพาดสอดเข้าไป ทาเป็ นแนวรั้ วขึ้ นมา ที่หัวเสาจะทาเป็ นรู ปดอกบัวตูม ต่อมาได้มาซ่อมหัวเสาใหม่น้ ี เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2445 2. ประตู ประตูน้ นั ไม่มีบานประตู แต่จะเรี ยกตามภาษาเก่าว่า “ใต้ วดั ” คือมีเสาใหญ่ 2 เสา มีเสา และมีตงหรื อคาน 2 อัน แล้วบากสองข้างเป็ นไม้ง่าม มีไม้กระดานบากเสาค้ าไม้ท่อนเป็ น 3 ท่อนวางพาดอยู่ ไม้ท่อนนี้ สามารถยกออกได้ (วาดภาพประกอบการเล่า) เวลามีงานหรื อขบวนแห่ ที่สูงๆ ถ้าจะชักลากเข้า ไป เขาจะถอดไม้ที่วางพาดที่มีอยู่ 3 ขั้นออก เหมือนเป็ นธรณี ประตู 3 ชั้น ชั้นที่ 1 ติดที่ดิน ชั้นที่ 2 สู งขึ้นมา หน่อย ชั้นที่ 3 ไม่มีบานประตูเปิ ดปิ ด

รู ปที่ 6 รั้วและประตูวดั

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

12

3. หอแจก หรื อ บางท้องถิ่นเรี ยกว่า หัวแจก หรื อ โฮงธรรม เป็ นคาที่ใช้เรี ยกอาคารปฏิบตั ิกิจ กรรมทางศาสนาของวัดในภาคอีสาน ซึ่งมีลกั ษณะคล้ายศาลาการเปรี ยญของภาคกลาง ใช้เป็ นสถานที่ทาศา สนพิธีต่าง ๆ ในวันสาคัญทางพุทธศาสนา รวมทั้งเป็ นสถานที่ บาเพ็ญบุญกุศลอุ ทิศแก่ บรรพบุรุษด้วย ที่ เรี ยกว่า “บุญแจกข้าว” (คือการทาบุญอุทิศแก่ผตู ้ าย เช่น บุญเจ็ดวัน บุญร้อยวัน และบุญเก็บกระดูก) หอแจกของวัดหลวงจะสร้ างฐานด้วยอิฐและโครงสร้ างเครื่ องบนเป็ นไม้ กล่าวคือ ก่ออิฐขึ้นมา ระดับหนึ่ ง แล้วใช้ไม้ระแนงตีเป็ นริ้ วรอบอาคาร โดยไม่มีการเว้นช่องหน้าต่าง อาศัยความสว่างและลมพัด ผ่านช่องไม้ระแนงแทน มีทางขึ้นสองทางคือ มีประตูเข้าด้านละสองประตู ประตูทางเข้าก็ตีดว้ ยไม้ระแนง เช่ นเดี ยวกัน ภายในหอแจกจะมีท้ งั หมด 5 ช่ วงเสา มีธรรมาสน์เทศน์ต้ งั อยู่ตรงกลางทางด้านหน้า เอาไว้ ส าหรั บ พระเทศน์ม หาชาติ ต อนงานบุ ญมหาชาติ จะเป็ นธรรมมาสน์แ บบสู ง การเทศน์ ใ นวันธรรมดา พระสงฆ์มีหน้าที่เปลี่ยนกันเทศน์ให้โยมฟังในตอนเย็น ๆ ประมาณ 3-4 โมงเย็น ท่านใช้หนังสื อคัมภีร์เทศน์ คัมภีร์เทศน์สมัยก่อนเป็ นอักษรธรรม อักษรขอม จะเทศน์ที่ธรรมมาสน์เล็กๆ (แบบเตี้ย) ถัดจากหอแจกไป ทางทิศตะวันตกจะเป็ นโรงครัว ซึ่ งปลูกสร้างติดกับหอแจกใช้เป็ นที่ประกอบอาหารของชาวบ้านก่อนจะนา ขึ้นมาถวายพระสงฆ์ ศาลานี้ถูกรื้ อไปแล้ว

รู ปที่ 7,8 หนังสื อผูกอักษรธรรม งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

13

4. วิหาร ภาษาพื้นเมืองเรี ยกว่า “อา ฮาม” เป็ นอาคารประดิษฐานพระพุทธประธาน (พระเจ้าใหญ่องค์หลวง) ใช้เป็ นที่ ใช้สาหรั บ สวดมนต์ไ หว้พ ระของคฤหัส ถ์ วิห ารนี้ ได้ถู ก เลียนแบบมาจากวิหารของวัดเชียงทอง 3 ที่เมือง หลวงพระบาง ในประเทศสาธารณรัฐประชาชน ลาวในปั จ จุ บ ัน เนื่ อ งด้ว ยพระปทุ ม วรราชสุ ริ ยวงศ์น้ นั เป็ นเชื้ อสายของพระเจ้าสุ ริยวงศาเมือง หลวงพระบาง วิหารนี้ เป็ นวิหารหลังคาทรงไทย 2 ชั้น มีปีกนก โบสถ์จะทึบเป็ นโถง ข้างในมี 3 โถง และสี่ กบั ข้างหลัง ข้างในมีเสาแบบโบราณ เป็ นเสาปูนใหญ่ ข้างในด้านหลังจะเป็ นแท่น สาหรับพระพุทธรู ป ข้างพระพุทธรู ปจะมีบนั ได 3

วัดเชียงทอง ถือเป็ นวัดที่มีชื่อเสี ยงที่ สุดของหลวงพระบาง ลักษณะเด่นของอาคารพุทธสี มาวัดเชี ยงทองนั้น เห็ นได้จากป้ านลมที่อ่อนช้อย ลดหลัน่ กัน หลังคาลด 3 ชั้น มีชายคาปี กนก มีหลังคาแอ่นโค้ง และลาดลงต่ามากจนแลดูค่อนข้างเตี้ย หลังคาที่ลดหลัน่ กันนั้นจะโค้งอ่อนยาวลง มาเกือบจรดฐาน ลักษณะเช่นนี้ ทาให้ผนังด้านข้างของตัวพัทธสี มาต่าเตี้ย ลักษณะแบบนี้ เป็ นแบบอย่างของหลวงพระบางแท้เท่าที่เหลื ออยู่ ส่ วน หน้าบันหรื อสี หน้าต่างตกแต่งด้วยลวดลายปิ ดทองรู ป วงกลมดอกบัว อยูใ่ นโครงสร้ างของขื่อและตุ๊กตาที่ทางล้านนาเรี ยกว่า “ม้าตัง่ ไหม” ใต้ หน้าบันมีโก่งคิว้ ที่แกะสลักอย่างงดงาม นอกจากนั้นจะโดดเด่นเป็ นเอกลักษณ์ทางสถาปั ตยกรรมแล้ว ผนังของตัวพุทธสี มายังโดดเด่นด้วยลาย ปิ ดทองฉลุลายบนพื้นรักสี ดา ทั้งภายในและภายนอกตัวอาคาร ซึ่ งล้วนเป็ นภาพเล่าเรื่ องพุทธประวัติ ทศชาติชาดก ภาพเทวดา และภาพหม้อน้ า มีดอกไม้โผล่ออกมาเรี ยกว่า “ปูรณฆฏะ” พระโพธิ สารราชเจ้า (ปี 1548-71) ทรงสร้ างวัดเชี ยงทองขึ้นในปี 1560 และมีฐานะเป็ นวัดหลวงในพระราชูปถัมภ์เรื่ อยมาจนถึงปี 1975 ภายในพระอุโบสถมีเสาขนาดมหึ มาแปดต้นปิ ดทองล่องชาดอย่างสง่างาม ทาหน้าที่คอยรองรับน้ าหนักหลังคา ลึกเข้าไปคือพระประธานสี ทองสุ กปลัง่ หลังด้านหลังตกแต่งด้วยลวดลายธรรมจักรไล่สูงขึ้นไปจนจรดเพดาน ในขณะที่ดา้ นนอกใช้กระจกสี ประดับเป็ นภาพต้นไม้แห่ ง ชีวิตบนพื้นที่ลงรักเอาไว้จนเป็ นสี แดงเข้ม ติดกับพระอุโบสถมีวิหารเล็ก ๆ หลังหนึ่ ง เรี ยกกันว่าวิหารแดง ภายในประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ที่งามแปลกกว่าที่อื่นใดด้วย สัดส่วน จีวรที่จีบเป็ นริ้ วโค้งออกมาทางด้านนอกตรงเหนื อข้อพระบาท และพระหัตถ์ซ่ ึ งรองรับพระเศียรไว้อย่างสง่างามและอ่อนช้อย พระพุทธรู ปองค์น้ ี เคยถูกนาไปจัดแสดงอยูท่ ี่กรุ งปารี สในปี 1964 ตัววิหารมีการตกแต่งอย่างวิจิตร ผนังทางด้านหลังทาเป็ นภาพประดับกระจกสี แสดงวิถีชีวิตของชาวบ้าน โดยสร้างขึ้นในทศวรรษที่ 1950 เพื่อเฉลิมฉลองโอกาสล่วงเข้าสู่ ก่ ึงพุทธกาล นอกจากนี้ ยงั มีเขตสังฆาวาส สถูป เจดีย ์ และโรงเรื อ ส่ วนโรงเก็บราชรถสาหรับประดิษฐานพระบรมโกศเจ้ามหาชี วิตลาวนั้นตั้งอยูใ่ กล้กบั ประตูดา้ นตะวันออก

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

14

หิ น ประตูสาหรับญาติโยมเข้าด้านหน้า พระสงฆ์เข้าทางประตูดา้ นข้าง วิหารถูกรื้ อไปในปี พ.ศ. 2492 รายละเอียดส่ วนประกอบของวิหาร มีดงั นี้

รู ปที่ 9

วิหารวัดเชียงทองด้านหน้า เมืองหลวงพระบาง

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

15

รู ปที่ 10 วิหารวัดเชียงทองด้านข้าง เมืองหลวงพระบาง

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

16

4.1 หลังคา จะเป็ นหลังคาทรงจัว่ สองชั้น มีป้านลมที่ออ่ นช้อยลดหลัน่ กัน มีชายคาปี กนก ซึ่ งถือ เป็ นลักษณะแบบอย่างของศิลปะล้านช้าง เมืองหลวงพระบาง มุงด้วยกระเบื้องดินขอ คือกระเบื้องที่เผาเอง ขอบปลายมน ทางด้านข้างใช้เป็ นแป้ นมุงไม้หน้าจัว่ ตกแต่งด้วยช่อฟ้ า ใบระกา และหางหงส์ มีนาคสะดุ ง้ และลายองแต่ไม่มีหางนาค ตามแบบของหลวงพระบาง

รู ปที่ 11 หลังคาวิหารหลังเดิม

รู ปที่ 12 ภาพวาดหลังคาวิหาร

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

17

4.2 หน้ าบัน หรื อสี หน้า เป็ นคาที่ใช้เรี ยกแต่เฉพาะอาคารที่สร้างขึ้นสาหรับกษัตริ ย ์ และอาคารทาง ศาสนาเท่านั้น อย่างอาคารสามัญชนเรี ยกหน้าจัว่ ลักษณะของหน้าบันจะอยูใ่ นกรอบรู ปสามเหลี่ยมปิ ดอยูท่ ี่ ด้านตัดของหลังคา มักมีลวดลายประดับ มักจะประกอบกับช่ อฟ้ า ใบระกา หางหงส์ การประดับลวดลาย หน้าบันเข้าใจว่าแรกเริ่ มคงเป็ นแบบหน้าจัว่ บ้านเรื อนโบราณ คือ ตีเป็ นช่อง ๆ แบบที่เรี ยกว่าจัว่ พรหมพักตร์ ต่อมาจึ งประดิ ษฐ์ให้มีลวดลาย ภาพต่าง ๆ เพื่อให้แปลกกว่าบ้านธรรมดา ลวดลายหน้าบันของวิหารวัด หลวงเป็ นหน้ าบันกรุ ไม้ลูกฟัก หน้าพรหมสาหร่ าย เป็ นลายรดน้ าสี ทอง พื้นดา

รู ปที่ 13 หน้าบัน

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

18

4.3 ช่ อฟ้า เป็ นเครื่ องไม้สูงประดับอยูบ่ นอกไก่ตรงบริ เวณที่นาคสารวยมาบรรจบกัน หากเปรี ยบกับ บ้านสามัญชน ก็เรี ยกยอดของปั้ นลม นับเป็ นส่ วนประกอบสาคัญที่ทาให้กรอบของหน้าบัน ที่เรี ยกว่า เครื่ อง ลายอง สมบูรณ์ในตัวเอง ช่อฟ้ าของวัดหลวงจะทาด้วยไม้และปิ ดทอง

รู ปที่ 14 ช่อฟ้ า

รู ปที่ 15 นาคสะดุง้

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

19

4.4 ใบระกา เป็ นตัวไม้ประดับอยูบ่ นนาคสารวยหรื อตัวสารวย ดูราวกับเป็ นเกล็ดนาคบ้างก็วา่ คล้าย ขนปี กของครุ ฑ หรื อเป็ นสายรุ ้ง สายฝน 4.5 หางหงส์ เป็ นส่ วนปลายสุ ดของเครื่ องลายอง ตั้งอยูร่ ะหว่างแปหัวเสากับหัวไม้เชิ งกลอน มีรูป คล้ายหัวนาคเรี ยงซ้อนกัน หรื อมีรูปคล้ายตัวเหงาของกนกสามตัว หรื อหากจะเทียบกับบ้านธรรมดา เทียบ ได้กบั ตัวเหงาของปั้ นลมในบ้านทรงไทย หางหงส์ที่วดั หลวงจะทาเป็ นรู ปนาคสามเศียร

รู ปที่ 16 หางหงส์

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

20

4.6 ทวยหรื อคันทวย หมายถึ งตัวค้ ายัน ตามแนวเฉี ยงระหว่างเสาปลายสุ ดของชายคา เพื่อ ประโยชน์ในการรับน้ าหนักชายคาที่ยื่นยาวออกมา ชื่ อที่ใช้เรี ยกแต่เฉพาะอาคารที่สร้างอย่างวัด วัง ส่ วนใน บ้า นเรื อ นไทยสามัญชน มัก จะเรี ย กท้าวแขน หรื อแขนนาง หรื อค้ ายัน ทางเหนื อเรี ยกว่าหู ชา้ ง คันทวยของวัดหลวงจะเป็ นแบบของเมืองอุบล โดยแท้ตรงฐานจะเว้า (วาดภาพ) มารับกัน จะ ไม่มีเอว สัดส่ วนขนาดหน้าตักประมาณ 1 วา ยาวประมาณเกือบ 2 วา ทาด้วยไม้แกะสลักเป็ น รู ปหูช้าง ร่ องไม้จะเจาะเป็ นกลมๆ ให้นูนขึ้น โดยถากแผ่ น ไม้อ อกมาให้ เ ป็ นสั น นู น ขึ้ น มา แกะตรงกลางแล้วเอากระจกสี ขาวมาติ ด เป็ น กระจกแผ่นน้อย ๆ หลาย ๆ อัน มองมาแล้วสี ทองกับกระจกจะวาว ๆ ลายข้างบนเป็ นพื้นแดง แล้วตรงกลางเป็ นกระจกสี ขาว คือกระจกสี ที่เขา ประดับตามโบสถ์ การที่เราใส่ กระจกเป็ นการ เลียนแบบมาจากหลวงพระบาง วัดเชียงทองเขา จะใช้ ก ระ จกตั ด เ ป็ นรู ป กระ จกแบบนั้ น สมัย ก่ อนข้างในจะเคลื อบตะกั่ว ข้า งนอกเป็ น กระจกทาให้เราตัดได้ ดัดได้ แต่สมัยเดี๋ ยวนี้ ไม่ ทราบว่าเป็ นยังไง จะมีเฉพาะตรงกลางที่เป็ น กระจกส่ วนลายข้างนอกเป็ นสี ทอง แผ่นกระจก มีแค่เกสรดอกเท่านั้น เพื่อให้ดูแวววาว จะติดอยู่ ที่เสาทุกต้นด้านนอกของวิหาร

รู ปที่ 17 ภาพวาดคันทวย

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

21

4.7 ประตู มีอยูท่ ี่ดา้ นหน้า 1 ช่อง ด้านหลัง 1 ช่อง และด้านข้าง ๆ ละ 2 ช่อง เป็ นประตูเรี ยบทาสี แดง เป็ นลายดอกประจายาม แต่ตอนที่ผม (บาเพ็ญ ณ อุบล) เป็ นเด็กลายมันเลือนหมดแล้วจนผมไม่รู้วา่ ลาย อะไร ประตูดา้ นหน้าลงรักดามีลายทอง ประตูดา้ นหลังโค้งๆ ใช้ไม้ทา ไม้แล้วก่ออิฐทับๆ ข้างในเป็ นพื้น ขอบประตูเฉยๆ ไม้เป็ นแผ่น เหนื อประตูข้ ึนไปเป็ นดอกประจายามแบบตราพัดยศพระครู สัญญาบัตร คล้าย ๆ ลายกงจักร เป็ นแบบลายมาจากหลวงพระบาง ลักษณะเหมือนกับที่วดั ธาตุหลวงของลาว

รู ปที่ 18 ภาพวาดประตู

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

22

4.8 รวงผึง้ จะอยูใ่ ต้หน้าบันระหว่างช่ วงเสาด้านหน้าของวิหาร ทาด้วยไม้แกะสลักลายโก่งคิ้วหรื อรวงผึ้ง เป็ นแบบพื้นถิ่ นอี สานที่ได้รับ อิทธิ พลมาจากหลวงพระบาง เป็ นศิลปะแบบล้านช้าง รวงผึ้งเป็ นไม้ สวย มาก ตรงส่ วนโค้งจะประดับกระจก สมัยโบราณเขาจะมีน้ ามันหอมมาจาก เมืองจีน ฝาตลับจะเป็ นกระจก ก็เอากระจกนั้นไปประดับเป็ นแถว

รู ปที่ 19 ภาพวาดพระวิหารด้านหน้าและรวงผึ้ง

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

23

4.9 หน้ าต่ าง ทาด้วยไม้ เป็ นช่ องสี่ เหลี่ยม ใช้ไม้ทาเป็ นลูกกรงแก้วประกอบลูกมะหวดเข้าใจว่า น่ าจะเป็ นไม้แคน ลูกกรงจะบากไม้เป็ นเหลี่ยมๆ ขึ้นมา มี 5 ริ้ ว ลูกกรงนี้ จะเป็ นไม้ ไม้เป็ นท่อน (วาด ภาพประกอบ) บานหนึ่งจะมีลูกกรง 5 ซี่ ลูกกรงทั้งหมดทาข้างนอกสี แดง มีดอกประจายามสี ทอง เป็ นลาย รดน้ าดอกพิกุล 5 ดอก อยูต่ รงกลางจะเป็ นลายเต็มดอก ส่ วนที่อยูข่ า้ งบนและล่างจะเป็ นลายประจายามเพียง ครึ่ งดอก ตรงขอบจะไม่มีลวดลายแต่จะนูนเป็ นสันขึ้นมาเป็ นสี่ เหลี่ยม ขอบจะปิ ดทอง เป็ นปูนฉาบด้วยปูน ขาว เอารักแดงทาแล้วเขียนลายทอง แต่ก่อนจะใช้รักแดงไม่ใช้รักดา บานหน้าต่างไม่มีลวดลายเป็ นแผ่นไม้ ทาสี แดง เปิ ดเข้าข้างใน มีเดือยไว้สาหรับลงสลักเวลาปิ ด เวลาผม (บาเพ็ญ ณ อุบล) เป็ นเด็กหน้าต่างจะสู ง เท่าหน้าอกผม ผมจะส่ องหน้าต่างต้องเขย่งเท้าขึ้น ข้างในเวลาปิ ดหน้าต่างจะเป็ นบานไม้ขดั เหมือนประตู

รู ปที่ 20 ภาพวาดหน้าต่างลูกมะหวด

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

24

4.10 เสา ภายในวิหารจะมีเสา ทั้ง หมด 16 ต้น คื อ อยู่ร อบนอก บริ เวณผนัง 4 คู่ และภายในโถง 4 คู่ เป็ นเสาขนาดใหญ่ เป็ นเสาที่ มี 12 เหลี่ยม ขนาด 2 คนโอบ เสาแต่ละต้น ตั้งห่ างกันประมาณ 2 เมตร ปลายเสา มีบวั ปลายเสา มีขื่อมาพาดบนดอกบัว ข้างในอาจจะมีแกนเสาก็ได้ (วาดรู ป) ผม (บาเพ็ญ ณ อุบล) ว่าหาที่ ไหน ไม่ได้ สวยจริ งๆ (วาดรู ป) สมัยนี้ มีอนั เล็ก ๆ ไม่เหมือนวัดหลวง แล้วจะ ประดับกระจกสี ตรงใจกลางดอก ลง รักปิ ดทอง แล้วเสานี้ มนั จะเป็ นเหลี่ยม ลงมา เสาหน้าวิหาร 4 ต้น แต่ละเสา จะมีบวั คลุม ระหว่างตัวเสากับผิวข้าง นอกจะมี คนั ทวยแบบอุ บ ล เป็ นแผ่น ไม้ลงรักปิ ดทอง เป็ นทองทึบ คันทวย จะมีทุกเสา ข้างในจะโล่งไม่มีคนั ทวย ตัวเสาจะลงรั ก ปิ ดทองลวดลายดอก ประจายามไว้อย่างสวยงาม ตั้งแต่หัว ถึงโคนเสา

รู ปที่ 21 เสาหัวบัว

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

25

4.11 ฝ้ าเพดาน ทาด้วยฝาไม้ไผ่สานเป็ นลายคุ บ กรุ ดว้ ยผ้าเขียนลายไทย เขาจะทากรอบเพดานต่อ จากยอดเสาขึ้นไป ตรงข้างนอกไม่มีเพดาน เอาผ้ามาขึงให้เรี ยบตึงแล้วเขียนลวดลาย ประกอบด้วยลาย ประจายามอยูเ่ ป็ นช่วง ๆ ลายเถา ในเถาจะมีรูปนก กระรอก กระแต นกบิน นกจับกิ่งไม้ ตรงกลางเป็ นลาย เครื อ กรอบลายพระบฏ ระหว่างเส้นนี่ จะมีลายกาบอ้อย ลายก้านขดอยูต่ รงนี้ บางทีก็เขียนลายก่อนค่อยไป ติด ที่สนใจเพราะผม (บาเพ็ญ ณ อุบล) ชอบลายมาแต่เด็กๆ ถ้าอยากจะดูกรอบลายให้ไปดูลายพระบฏที่ พิพิธภัณฑ์อุบลราชธานี เพดานนั้นเป็ นลายเครื อ กรอบเหมือนลายพระบฏ ข้างหลังวิหารพระประธาน เป็ น ภาพพระบฏใหญ่ พระบฏคือพระพุทธรู ปที่เขียนไว้ในแผ่นผ้า 4.12 พืน้ วิหาร เป็ นพื้นปูนตลอดทั้งหลัง สี ปูนธรรมดา 4.13 ฐานวิหาร มีฐานเอวขันธ์แบบปากพาน 5 ชั้น มีบนั ไดขึ้นมาทาเป็ นเฉลียง ตัวอาคารและฐาน ถือปูนด้านหลังวิหารเป็ นพื้นเรี ยบ ไม่มีลวดลาย ฐานของวิหารเป็ นบัวคว่าและบัวแก้ว ตัววิหารตั้งบนบัว แก้ว

รู ปที่ 22 ภาพวาดฐานวิหาร

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

26

รู ปที่ 23 ภาพวาดพระวิหารมุมเฉียง

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

27

ภาพวาดพระวิหารด้ านหน้ าและด้ านข้ าง

รู ปที่ 24 ภาพวาดพระวิหารด้านข้าง

ภายในวิหาร จะเป็ นห้องโถงโล่งมีเสากลาง 2 แถว ตั้งแต่หน้าพระประธานจนถึงประตูรุ้ง ภายใน วิหารจะประกอบด้วย - พระพุทธรู ปพระประธานองค์ใหญ่ (พระเจ้าใหญ่องค์หลวง) สร้างแบบก่ออิฐถือปูนและลงรัก ปิ ดทองขนาดใหญ่ พระพัก ตร์ กลมรู ป ไข่ พระเมาลี ทรงสู ง แบบพระลาว เป็ นฝี มื อช่ า งจาก เวียงจันทน์ และเป็ นพระประธานที่ประดิ ษฐานมาอยู่จนถึ งปั จจุบนั ตั้งอยู่บนฐานชุ กชี ที่ไม่มี ลวดลายอะไร

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

28

รู ปที่ 25 พระเจ้าใหญ่องค์หลวง สร้างโดยพระปทุมวรราชสุ ริยวงศ์ (เจ้าคาผง) เมื่อ พ.ศ. 2324 ประดิษฐาน ณ ศาลาการเปรี ยญ วัดหลวง

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

29

- ธรรมาสน์ แบบเชียงใหม่ คือเป็ นธรรมาสน์ทรงสู งย่อเหลี่ยมไม้สิบสอง บันไดขึ้นธรรมาสน์เป็ น รู ปนาคสะดุง้ หัวบันไดตั้งอยูบ่ นขาสิ งห์ - ฮาวใต้ เทียน (ราวเทียน) หรื อเชิ งเทียน ตั้งอยูด่ า้ นหน้าพระประธาน ทามาจากไม้ประดับด้วย กระจกติดทองร่ องชาด ราวเทียนนี้ จะแกะเป็ นรู ปเขาสัตภัณฑ์คีรี จึงมีการเรี ยกราวเทียนว่า สัต ภัณฑ์ - ขันกระหย่อง เป็ นภาชนะจักสานด้วยไม่ไผ่ รู ปร่ างคล้ายพาน ขันกะหย่องใช้ใส่ เครื่ องสักการะ โดยเฉพาะดอกไม้ในงานพิธีสงฆ์ มีท้ งั ขนาดเล็กและขนาดใหญ่

รู ปที่ 26 แผนผังภายในวิหาร

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

30

5. สิ ม เป็ นขอบเขตที่กาหนดขึ้นเพื่อใช้ในกิจกรรมของสงฆ์ ในพระพุทธศาสนาเป็ นสถานที่ทาสังฆ กรรมของพระสงฆ์ เช่ น การบวช การลงปาฏิ โมกข์ คฤหัสถ์ไม่สามารถล่วงล้ าเข้าไปข้างในได้ สิ มที่วดั หลวงเป็ นสิ มบก ฐานก่ออิฐถือปูน โครงสร้างข้างบนเป็ นไม้ รวมถึงหลังคาด้วย มีบนั ไดทางขึ้นด้านหน้า 3 ขั้น มีระเบียง และภายในสิ มจะผนังทึบไม่มีหน้าต่าง มีพระพุทธรู ปตั้งอยูบ่ นฐานชุกชี 6. หอไตร เป็ นส่ วนที่สร้ างขึ้นไว้สาหรับเก็บพระธรรม หอไตรที่วดั หลวง สร้ างด้วยไม้มีรูปทรง คล้ายโถหรื ออูป หลังคาหอไตรมีรูปทรงเป็ นสี่ เหลี่ ยมขนมเปี ยกปูน ครอบกันสองชั้น ใต้ถุนสู ง มีระเบียง หรื อชานซึ่ งยืน่ มาจนติดกับระเบียงของหอคา 7. หอคำ เป็ นที่พานักของเจ้าอาวาส ตั้งแต่เจ้าอาวาสรู ปแรก คือพระมหาราชครู เจ้าหอแก้ว และเก็บ พระพุทธรู ปที่ สาคัญ เช่ น พระแก้ว พระบาง พระพุทธรู ปยืนห้ามญาติ และสิ่ งของสาคัญ เช่ น รางสรงน้ า เก้าอี้พระปทุมวรราชสุ ริยวงศ์ (เจ้าคาผง) หอคาจะสร้างด้วยไม้ ใต้ถุนสู ง มีหลังคาทรงสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน ครอบกัน 3 ชั้น ข้างบนสุ ดของหลังคาเป็ นรู ปนพสู รย์ ซึ่ งเป็ นอาวุธของพระอิศวร อยู่บนเขาพระสุ เมธ ถื อ เป็ นของสู ง อุปมาว่าหอคาเป็ นเขาพระสุ เมธ ฝาผนังจะเป็ นไม้กระดานลงรักปิ ดทองทั้งหลัง ติดกับหอคาคือ หอฉัน เป็ นเรื อนแฝดทรงสู ง หลังคาเป็ นโถ ใช้ระเบียงเดียวกับหอคา 8. กุฏิขวำงใหญ่ เป็ นเรื อนแฝดทรงสู ง มีช่อฟ้ าใบระกา เป็ นที่อยู่ของพระสงฆ์และเก็บหนังสื อ สาคัญ ตอนนี้ไม่มีแล้ว 9. กุฏิขวำงเล็ก เป็ นที่พานักของ พระรองเจ้าอาวาส 10. กุฏิเขียว

เป็ นที่พานักของ พระสงฆ์และสามเณร

11. ธำตุเจ้ ำมหำรำชครู เป็ นที่เก็บอัฐิของเจ้าอาวาสท่านแรกคือ พระมหาราชครู เจ้าหอแก้ว ซึ่ งท่าน เป็ นผูม้ ีความรู้ความสามารถมาก แตกฉานในพระไตรปิ ฎก และเป็ นประธานสงฆ์ในการอานวยการศึกษา ของเมืองอุบลในสมัยก่อน

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

31

12. หอโปง เป็ นอาคารสาหรับแขวนโปง1

รู ปที่ 27 โปง

1

โปง คือเครื่ องตีให้สญ ั ญาณ ทาจากไม้ มีรูปลักษณะกลม ใหญ่เล็กตามความต้องการ โปงที่ใช้ในวัดจะเป็ นโปงขนาด ใหญ่ มีไว้เพื่อให้พระสงฆ์ใช้ในกิจการของวัด และกิจการที่เกี่ยวกับบ้านเมือง เป็ นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งที่จะเตือนให้คนรู ้ สัญญาณ ดีกว่าจะวิง่ ไปป่ าวประกาศ งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 1 วัดหลวงยุคต้น

32

13. หอกลอง เป็ นอาคารสาหรับแขวนกลอง โครงสร้างของหอกลองโดยทัว่ ไปจะมีท้ งั ที่เป็ นไม้และ ก่ออิฐถือปูน หลังคามีหลายแบบ เช่น จัตุรมุข แบบมณฑป ฯลฯ การติดตั้งเครื่ องตีบอกสัญญาณบางแห่ งจะ ทาตามคตินิยมการแขวนดังนี้ ระฆังจะแขวนบนชั้นสู งสุ ด ชั้นถัดลงมาจะแขวนกลอง บางแห่ งนิ ยมสร้ าง สามชั้น จึงนิ ยมแขวงโปงไว้ช้ นั ล่างสุ ด ทั้งนี้ อาจเป็ นเพราะว่า โปงขุดด้วยไม้เนื้ อแข็ง มีน้ าหนักมาก การตี กลองที่วดั หลวงจะมี 1. ตีกลองแลง ตอนเย็นๆ จะตีกลองแลงเพื่อให้ชาวบ้านในละแวกนั้นเตรี ยมตัวออกไป ฟังเทศน์ตอนเย็น กลองแลงจะตีเป็ นชุด ประมาณ 3-4 ชุด ประมาณ 4 โมงเย็น 2. ตีตอน 4 ทุ่ม เรี ยกว่าตีเข้า ครองเพื่อให้พระเข้าจาวัด ให้สัญญาณว่าเข้านอนได้แล้วนะ 3. ตีกลองดึก ตีประมาณตี 4 ตีเพื่อปลุกพระลุก ขึ้นมาสวดมนต์เตรี ยมตัวอาบน้ าอาบท่าไปบิณฑบาตรและเพื่อให้สัญญาณแก่ชาวบ้านให้มานึ่ งข้าวเพื่อใส่ บาตร 4. 6 โมงเช้าก็ตีอีกทีเพื่อไปบิณฑบาตร 14. หอรถศพ เป็ นสถานที่เก็บรถลากศพ

รู ปที่ 28 หอกลอง งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 2 วัดหลวงยุคกลาง

33

ตอนที่ 2 วัดหลวงยุคกลาง

เมื่อสร้างเสร็ จแล้ว วัดหลวงถือว่าเป็ นวัดที่มีความสาคัญอยู่ 3 ประการ คือ ด้ านการปกครอง วัดหลวงเป็ นสถานที่ประกอบพิธีถือน้ าพิพฒั น์สัตยาของเจ้าเมือง ขุนนาง และกรมการในสมัยแรก ๆ จนกระทัง่ มีวดั ธรรมยุติสร้างขึ้นในเมืองอุบลและมีพระเถระผูใ้ หญ่ทาง ธรรมยุติมาปกครองวัดเหล่านั้น วัดสุ ปัฏนาราม วัดศรี อุบลรัตนาราม ทางชานเมือง ในสมัยกรม หลวงสรรพสิ ทธิ ประสงค์ เสด็ จ มาเป็ นผู้ ส าเร็ จราชการมณฑลลาวกาว หรื อมณฑล ตะวันออกเฉียงเหนือ จึงได้ยา้ ยพิธีถือน้ าพิพฒั สัตยาไปทาพิธีที่วดั ศรี ทอง (ศรี อุบลรัตนาราม) สาเหตุ เพราะมีท่านพระมหาเถระเทวธรรมี (ม้าว) ซึ่งเป็ นศิษย์ลูกศิษย์ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้อยู่ หัว รัชกาลที่ 4 เป็ นเจ้าอาวาส ต่อมาเมื่อเสด็จมหาวีระวงศ์ (ติส โสอ้วน) ครั้งที่ยงั เป็ นพระโพธิ วงศาจารย์ เป็ นเจ้าอาวาส วัดสุ ปัฏ นาราม ทางราชการจึ งได้ยา้ ยพิ ธีถื อน้ าพิ พ ฒ ั น์ สั ตยามาที่ วดั สุ ปั ฏ นาราม วัดหลวงจึ ง ลด ความสาคัญลงเป็ นวัดราษฎร์ ไม่ได้รับการยกย่องให้เป็ นวัดหลวงเหมือนสมัยโบราณ ด้ านการศึกษา วัดหลวงมีความสาคัญในการเป็ นศูนย์กลางการปกครองและการศึกษาเล่า เรี ย นพระพุ ท ธศาสนา พระธรรมวิ นัย ของคณะสงฆ์ส ามเณร ในสมัย เริ่ ม ต้น ของการแผ่ข ยาย พระพุทธศาสนาและวัดวาอารามของภาคอีสาน ตั้งแต่แรกสร้างวัดหลวง ปี พ.ศ. 2324 สมัยพระ ปทุมวรราชสุ ริยวงศ์ (คาผง) ถึ งสมัยพระพรหมราชวงศา (กุทอง) ในราวสมัยพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 โดยเรี ยนอักขระดั้งเดิมของท้องถิ่นอีสาน คือ จากหนังสื อผูกใบ ลานอักษรธรรม อักษรไทยน้อย และอักษรขอม ต่อมาวัดหลวงก็แยกสาขาไปที่บา้ นไผ่ใหญ่ อาเภอ ม่วงสามสิ บ วัดสิ งไค และวัดบ้านกวางดา อาเภอเขื่องใน ใครอยากมีหน้ามีตาก็มาบวชวัดหลวง คือ มีพระผูใ้ หญ่ พระที่คงแก่เรี ยนอยู่ ต่อมาบ้านเมืองเจริ ญก็แยกไปบ้านไผ่ใหญ่ บ้านคูเมือง บ้านกลาง ไป บ้านหนองไข่นก ถือว่าวัดหลวงเป็ นวัดของประธานสงฆ์ ประธานสงฆ์ที่เป็ นใหญ่สมัยก่อนคือ พระมหาราชครู เจ้าท่านหอ ต่อมาก็สืบมาหลายองค์ ต่อมาเมื่อรัชกาลที่ 4 พระพรหมราชวงศา (กุ ทอง) เป็ นเจ้าเมือง รัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าฯ ให้มาสร้างวัดสุ ปัฎนารามเป็ นวัดหลวง ให้เงินมา 10 ชัง่ เมื่อลัทธิ ธรรมยุติเข้ามาเมืองอุบล เมื่อก่อนจะนับถือศาสนาพุทธคองลาว ต่อมาพระอริ ยวงศา (สุ่ ย) วัดสระเกศ ได้เอาลัทธิ ไทย (การปฏิรูปการศึกษา สอนหลักสู ตร ภาษาไทย)ไปสอน ตั้งสานักศึกษาอยู่ที่วดั ป่ าน้อย เมื่อคนเห็นว่าวัดป่ าน้อยเป็ นใหญ่ข้ ึนมาแล้ว วัด หลวงก็เลยโอนอานาจการปกครองสงฆ์ไปให้วดั ป่ าน้อย วัดหลวงก็ลดความสาคัญลง แต่เจ้าบ้าน ผ่านเมืองก็ยงั นับถือวัดหลวงอยู่ ต่อมา เมื่อวัดป่ าน้อยมีนกั เรี ยนมากขึ้นก็ขยายมาสร้างเป็ นวัดทุ่งศรี งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 2 วัดหลวงยุคกลาง

34

เมือง แล้ววัดหลวงก็ไม่ได้เป็ นสานักเรี ยนอีกต่อไป และในกาลต่อมาได้โอนพิธีถือน้ าพิพฒั สัตยาซึ่ ง เป็ นประเพณี ของเจ้าผูค้ รองเมือง ไปทาพิธีที่วดั สุ ปัฏนาราม และไปวัดศรี ทอง (วัดศรี อุบลรัตนา ราม) ด้ า นศาสนา เป็ นวัดที่ เป็ นที่ จาวัดอยู่ข องสั ง ฆปาโมกข์ผูเ้ ป็ นประมุ ข สงฆ์ข องเมื อง อุ บ ลราชธานี ได้ป กครองและบริ หารการพระศาสนาพุ ทธแบบคองลาวให้มีค วามเจริ ญรุ่ งเรื อง จนกระทัง่ ถึ งช่วงญาท่านเทน เป็ นเจ้าอาวาสองค์ที่ 2 ทางราชการได้จดั ระเบียบการปกครองคณะ สงฆ์ข้ ึนมาใหม่ จึงเริ่ มการปกครองสงฆ์ตามระเบียบใหม่ จึงไม่มีการแต่งตั้งตาแหน่ งพระมหาราช ครู เจ้าท่านหอมาตั้งแต่บดั นั้น กาลต่อมาเมื่อพระปทุ มวรราชสุ ริยวงศาถึ งแก่อสัญกรรมแล้ว ได้ประกอบพิธีศพแบบนก หัสดีลิงค์ที่ทุ่งศรี เมือง เมื่อฌาปณกิจแล้วเก็บอัฐิมาก่อธาตุไว้ที่ทิศตะวันออกเฉี ยงใต้ของทุ่งศรี เมือง (แต่เดิมทุ่งศรี เมืองมีบริ เวณมาถึงจุดที่ต้ งั ของธนาคารออมสิ น สาขาในเมืองปั จจุบนั ) ต่อมาภายหลัง พระพรหมราชวงศาผูน้ ้องถึ ง แก่ อสั ญกรรมจึ งได้นาอัฐิมาก่ อธาตุ ไว้เคี ยงข้าง ต่อมาเข้าใจว่าทาง ราชการจะใช้บริ เวณนั้นเป็ นเรื อนจา จึงได้ร้ื อธาตุของเจ้าเมืองทั้งสองมาก่อธาตุไว้หลังวิหารพระเจ้า ใหญ่องค์หลวง ต่อมาธาตุได้ผุพงั มีตน้ ไม้งอกอยู่ จึงได้ร้ื อแล้วนาอัฐิของเจ้าเมืองทั้งสองเก็บไว้ที่เจ้า อาวาสวัดหลวงองค์ปัจจุบนั

ลาดับเจ้ าอาวาส มีเจ้าอาวาส 11 องค์ ดังต่อไปนี้ 1. พระมหาราชครู เจ้าหอแก้ว เป็ นเจ้าอาวาสองค์แรกของวัดหลวง เป็ นผูแ้ ตกฉานใน พระไตรปิ ฎก เป็ นประธานสงฆ์ของวัดหลวง (เจ้าอาวาส) และประธานสงฆ์ในการอานวยการศึกษา ของเมืองอุบล 2. พระมหาราชครู เจ้าท่านหอเทน เป็ นพระมหาราชครู องค์ที่ 2 ภายหลังเมื่อท่านมรณภาพ แล้วสิ้ นสุ ดการบริ หารคณะสงฆ์แบบเวียงจันทน์ เปลี่ยนเป็ นตาแหน่งเจ้าคณะเมือง 3. ญาท่านกอง 4. ญาท่านหมูน 5. ญาท่านกิ่ง 6. ญาซาหมา 7. ญาครู สด

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 2 วัดหลวงยุคกลาง

35

8. ญาท่านธี ร์ 9. พระครู สังฆรักษ์เส็ง (พระครู ปริ ยตั ยานุวตั ร) 10. พระครู ปลัดสาธุวฒั น์ 11. พระครู วลิ าศกิจจาทร (กฐินานุสรณ์, 2546 : 3)

การปฏิสังขรณ์ ศาสนสถาน พ.ศ. 2454 เมื่อกาลเวลาผ่านมาสิ่ งก่อสร้างต่าง ๆ ซึ่ งส่ วนใหญ่สร้างด้วยไม้ก็เริ่ มเก่าผุ ปูนผุ กร่ อน และเกิดการชารุ ด วัดหลวงจึงได้ทาการปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่โดยซ่ อมสิ่ งก่อสร้างทั้งหลายที่มี อยูใ่ นวัด อาทิ วิหาร กุฏิ ศาลาการเปรี ยญ หอไตร หอกลอง หอโปง หอระฆัง เป็ นต้นในรู ป แบบเดิ ม (ผังเดิ ม) ดังปรากฏจากจารึ กในแผ่นตาลปั ตรไม้ของวัดหลวง ที่บนั ทึกเรื่ องราวการ ปฏิสังขรณ์วดั หลวง

รู ปที่ 28 ตาลปัตรไม้

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 2 วัดหลวงยุคกลาง

36

พ.ศ. 2492 พระวิหารได้เกิดการชารุ ด ผุพงั ทางวัดจึงได้ทาการปฏิสังขรณ์ครั้งที่ 2 โดยรื้ อ พระวิหารหลังเดิมแล้วสร้างเป็ นหอแจกหลังปัจจุบนั แทนที่

ก่อนรื้ อได้ถ่ายภาพไว้เป็ นที่ระลึก

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 2 วัดหลวงยุคกลาง

37

รู ปที่ 29 หอแจกหลังปั จจุบนั

พ.ศ. 2474 -75 มีพอ่ ค้าในเมืองอุบลไปเช่าที่หน้าวัดหลวง สร้างห้องแถวไม้ เจ้าอาวาสก็ยินดี ให้เช่า จึงรื้ อรั้วไม้ออกแล้วสร้างห้องแถวไม้ตลอดแนว เป็ นสาเหตุของการเปลี่ยนจากรั้วมาเป็ นห้อง แถว

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 2 วัดหลวงยุคกลาง

38

พ.ศ. 2486 - 2488 เกิดสงครามอินโดจีน ในระยะนั้นผ้าต่าง ๆ มีราคาแพง คนจึงเอาผ้าห่ อ คัมภีร์พระไตรปิ ฎกไปขาย หนังสื อจึงถูกกองไว้ เกะกะ แตกผูก ภายหลังเห็นว่ารกรุ งรังทางวัดจึง น าบรรจุ ก ระสอบผั ง ดิ น หนั ง สื ออั น เป็ น หลั ก ฐานเป็ นสารตราตั้ ง เจ้ า เมื อ ง ระเบี ย บ ประเพณี ต่าง ๆ ที่จารึ กไว้บนใบลานจึงสู ญสลาย ไป

พ.ศ. 2497 ทาการปฏิสังขรณ์ พระเจ้าใหญ่องค์หลวง เนื่ องจากตอนรื้ อพระวิหาร พระ ประธาน (พระเจ้าใหญ่องค์หลวง) ตั้งอยู่บนฐานชุ กชี ฐานชุ กชี ไม่มีลวดลายเป็ นแท่นเขียงขึ้นไป เฉยๆ แล้วเอาพระพุทธรู ปตั้ง (เหมือนฐานธรรมดา) เมื่อรื้ อหลังคาหมดแล้วเอาสังกะสี มามุงแทน ไม่ มี ฝ าผนัง เวลาฝนตกไอฝน ไอแดดสาดส่ อ งเข้า ไปถู ก พระพุ ท ธรู ป รั ก ที่ ปิ ดพระพุ ท ธรู ป ไว้ก็ แตกระแหง และหลุดลอกออกกระร่ องกระแร่ ง ต่อมาได้นาพระประธานมาซ่ อม จึงขูดผิวนอกออก จนผอมไป 5 นิ้ว จะสังเกตเห็นว่าพระพักตร์ ท่านจะยาวๆ ครั้งเก่ามีพระพักตร์ เป็ นรู ปไข่ พระเมาลี ทรงสู งแบบพระลาว หลังจากซ่อมแซมแล้วจึงไม่สวยเท่าเดิม

รู ปที่ 30 พระเจ้า ใหญ่องค์หลวง หลังจาก ปฏิสังขรณ์

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 2 วัดหลวงยุคกลาง

39

ต่อมา พ.ศ. 2503 เกิดไฟไหม้เมืองอุบลราชธานี ไหม้ตลาดตลอดจนถึงแม่น้ ามูล ลุกลามมา ไหม้กุฏิขวางใหญ่ จึงรื้ อออก และพระครู สงฆรักษ์ (เส็ ง) เจ้าอาวาส เห็นว่าเจดียธ์ าตุเจ้ามหาราชครู ซึ่ งเป็ นที่เก็บอัฐิของเจ้าอาวาสท่านแรก ชารุ ด เหลื อแต่ซากผุพงั เนื่ องจากตากแดด ตากฝน และมี ต้นไม้งอกแซมขึ้น จึงรื้ อออกแล้วสร้างอุโบสถหลังปั จจุบนั แทนที่

รู ปที่ 31 พระอุโบสถหลังที่สร้างขึ้นใหม่

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 2 วัดหลวงยุคกลาง

40

บริ เวณหน้าวัดซึ่ งเป็ นห้องแถวไม้ ถูกอัคคีภยั ไหม้เสี ยหาย เจ้าอาวาสจึงอนุ ญาติ ให้พ่อค้า สร้างตึกแถว 2 ชั้น 25 ห้อง เป็ นตึกคอนกรี ตเสริ มเหล็กแทน และแจ้งไปที่กรมการศาสนา ๆ เป็ นผู้ มาเก็บค่าเช่าจนถึงทั้งทุกวันนี้ และสร้างซุ ม้ ประตูแทนของเก่า เสี ยค่าก่อสร้าง 50,000 บาท เสร็ จเรี ยบร้อยปี พ.ศ. 2506

รู ปที่ 32 ซุม้ ประตูวดั และตึกแถว

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 3 วัดหลวงยุคปั จจุบนั

41

ตอนที่ 3 วัดหลวงยุคปัจจุบัน

วัดหลวงได้เจริ ญมาแต่ปางบรรพ์ เพราะได้อาศัยบรรพ บุ รุษ ของพวกเราช่ วยกัน ท านุ บ ารุ ง ให้ เจริ ญ รุ่ ง เรื องสื บ มา แต่ ปั จจุบนั สิ่ งก่อสร้ างทั้งหลายที่เคยเห็ นได้ถูกรื้ อถอนไปหมดสิ้ น วัดหลวงเป็ นวัดที่มีศิลปะการก่อสร้ างแบบล้านช้าง เมืองหลวง พระบาง และมีสิ่งสาคัญในวัด คือ ตูพ้ ระธรรมสวยงามมาก มี หนังสื อผูกใบลานเป็ นจานวนมากห่ อด้วยผ้าไหมเก็บไว้ในตู ้ ใน ปี พ.ศ. 2486 - 2488 เกิดสงครามอินโดจีน ในระยะนั้นผ้าต่าง ๆ มีราคาแพง คนจึงเอาผ้าห่อคัมภีร์พระไตรปิ ฎกไปขาย หนังสื อจึง ถู กกองไว้เกะกะ แตกผูก ภายหลังเห็ นว่ารกรุ งรั ง ทางวัดจึ งนา บรรจุกระสอบผังดิน หนังสื ออันเป็ นหลักฐานเป็ นสารตราตั้งเจ้า เมือง ระเบี ยบประเพณี ต่าง ๆ ที่ จารึ กไว้บนใบลานจึงสู ญสลาย ไป เป็ นที่น่าเสี ยดายมาก

รู ปที่ 33,34 พ่อออก แม่ออกไปวัด

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 3 วัดหลวงยุคปั จจุบนั

42

ในปั จจุบนั วัดหลวงแทบจะไม่เหลื อคุณค่าด้านที่เป็ นศูนย์กลางการปกครอง การศึกษา และพุทธ ศาสนาการปกครองคณะสงฆ์ และศิ ล ปวัฒ นธรรมในอดี ต อี ก ต่ อ ไป เนื่ อ งจากเมื่ อ หมดยุ ค เจ้า เมื อ ง อุบลราชธานี ความสาคัญของวัดหลวงจึงลดน้อยลง สิ่ งก่อสร้างต่าง ๆ อาทิ โบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรี ยญ หอไตร ซึ่ งก่อสร้างด้วยไม้ทรุ ดโทรมไปตามกาลเวลา ถ้าไม่ผุพงั ก็เคลื่อนย้ายสู ญหายไปยังเมืองต่าง ๆ ทาง ภาคอีสาน จึงมีการรื้ อถอนสร้างใหม่ดว้ ยศิลปกรรมแบบไทยยุคใหม่ ความงดงามแบบศิลปะล้านช้างดั้งเดิม จึงเหลือเพียงภาพถ่ายและคาเล่าขานของผูเ้ ฒ่าผูแ้ ก่ที่เคยพบเห็น สิ่ งที่ยงั เหลือเป็ นความงามของวัดหลวงคือ พระเจ้าใหญ่ ซึ่ งประดิษฐานอยู่ ณ ศาลาการเปรี ยญ เจ้าอาวาสวัดหลวงองค์ปัจจุบนั ได้พฒั นา ปรับปรุ งบริ เวณวัด สร้างกุฏิพระปทุมวรราชสุ ริยวงศ์ข้ ึน ในปี พ.ศ. 2545 บารุ งรักษา และสื บทอดพระพุทธศาสนาให้วดั หลวงเจริ ญรุ่ งเรื องมาจนถึงปั จจุบนั

สภาพวัดหลวงในปัจจุบัน

รู ปที่ 35 ประตูทางเข้าหน้าวัด

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 3 วัดหลวงยุคปั จจุบนั

43

รู ปที่ 36,37 วัดล้อมรอบไปด้วยอาคารพาณิ ชย์ งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 3 วัดหลวงยุคปั จจุบนั

44

รู ปที่ 38,39 รั้ววัดด้านข้าง

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 3 วัดหลวงยุคปั จจุบนั

45

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 3 วัดหลวงยุคปั จจุบนั

46

รู ปที่ 40,41,42,43 สภาพภายในวัด งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 3 วัดหลวงยุคปั จจุบนั

47

รู ปที่ 44,45,46 พระอุโบสถหลังปัจจุบนั

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 3 วัดหลวงยุคปั จจุบนั

48

รู ปที่ 47 หอระฆัง

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 3 วัดหลวงยุคปั จจุบนั

49

รู ปที่ 48 หอแจก (ศาลาการเปรี ยญ)

รู ปที่ 49 ศาลาการเปรี ยญ ภายในประดิษฐานพระเจ้าใหญ่องค์หลวง งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 3 วัดหลวงยุคปั จจุบนั

50

รู ปที่ 50 กุฏิอนุสรณ์พระปทุมวรราชสุ ริยวงศ์ (เจ้าคาผง) สร้างเมื่อ พ.ศ. 2545

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 3 วัดหลวงยุคปั จจุบนั

51

รู ปที่ 51 กุฏิพระ

รู ปที่ 52 ด้านหลังวัด งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 3 วัดหลวงยุคปั จจุบนั

52

รู ปที่ 53 ด้านหลังวัดติดแม่น้ ามูล

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

54

บทสั มภาษณ์ คุณพ่อบาเพ็ญ ณ อุบล เรื่อง “วัดหลวง” วันที่ 25 เมษายน 2546 “เริ่ มแรกจะกล่าวถึงชื่ อก่อน ทําไมจึงมีวดั หลวง ตามธรรมดาบ้านเมืองที่ต้ งั ขึ้นโดยเจ้านาย พื้นเมืองสมัยก่อน เมื่อประมาณ 300 ปี มาแล้ว ถ้า ตั้ง เมื อ งเจ้า เมื อ งจะพา คณะกรรมการเมืองและราษฎรสร้าง วัด วัดที่สร้ างจะมีอยู่ 3 วัด คือ 1.วัดหลวง ซึ่ งเป็ นวัดของเจ้าเมือง 2. วัดกลาง 3. วัดใต้ ถ้าบ้า นเมื องใดที่ ต้ งั อยู่ริม แม่น้ าํ วัด หลวงอยู่กลางเมื องเรี ยกว่าวัดหลวง ถัดเข้าไปวัดกลาง วัดหลวงจะตั้งอยู่ ทางเหนื อของวัดกลาง บางเมืองจะ เพิ่มขึ้นไปอีกเป็ นวัดเหนื อ รวมเป็ น 4 วัด คือประกอบด้วย วัดเหนื อ วัดหลวง วัดกลาง และวัดใต้ สร้างวัดเพื่อให้พระสงฆ์อยูท่ าํ นุบาํ รุ งพุทธศาสนา เพราะพุทธศาสนาเป็ นจิตใจของชาวบ้านชาวเมือง นับถือปลูกนิสัยใจคอปลูกจริ ยธรรม ศีลธรรมและการปกครองมาจากวัดทั้งหมด สําหรับเมืองอุบลนั้น วัดหลวงคือวัดที่พระปทุมวรราชสุ ริยวงศ์เจ้าเมืององค์แรกได้เป็ นเจ้า ศรัทธาพากรรมการเมือง เสนาเมือง และราษฎรสร้างขึ้น ในการสร้างวัดหลวงนั้นให้ชื่อตามชื่ อของ ท่าน ซึ่ งประชาชนเรี ยกท่านว่า “เจ้าหลวง” หรื อ “อาญาหลวง” วัดหลวงนี้ สร้ างขึ้นโดยอาศัย แบบอย่างจากนครหลวงพระบาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัดเชี ยงทอง ทําไมถึ งว่าเอาตัวอย่างมาจากวัด เชี ยงทองเพราะพระประทุมเป็ นเชื้ อสายของพระเจ้าสุ ริยวงศาเมืองหลวงพระบาง วัดหลวงนี้ สร้ าง ขึ้นเมื่อ พ.ศ.2300 บางคนว่า 2334 บางคนว่า 2324 แต่เข้าใจว่าจะเป็ นปี 2334 มากกว่า เพราะในระยะ สร้างเมืองแรกๆพระประทุมไม่ได้วา่ งเว้น ได้ติดตามไปในงานราชสงครามกับเจ้าพระยาจักรี ตลอด วัดหลวงที่ผมจําได้น้ นั เป็ นวัดที่สง่ างามที่สุดในจังหวัดอุ บลเพราะหันหน้าวัดไปทางทิ ศ เหนื อ หลังวัดติดกับแม่น้ าํ มูล มีเนื้ อที่ประมาณ 10 ไร่ ในเนื้ อที่ 10 ไร่ น้ นั ส่ วนกลางของวัดนับจาก หน้าวัดไปถึงท่านํ้านั้น เป็ นพุทธสถานหรื ออาคารที่เกี่ยวกับพิธีสงฆ์โดยเฉพาะ และพิธีทาํ บุญของ ชาวบ้าน รั้ววัดเป็ นรั้วไม้แผ่นตีประกบและมีช่องประตูไว้ทางตะวันออกประตูหนึ่ ง ทางตะวันตก ประตูหนึ่ง ประตูน้ นั ไม่มีบานประตู แต่จะเรี ยกตามภาษาเก่าว่าใต้วดั คือมีไม้กระดานบากเสาคํ้าไม้ งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

55

ท่อนเป็ น 3 ท่อน ไม้ท่อนนี้สามารถยกออกได้เมื่อมีขบวนแห่ เข้ามาในวัด (วาดภาพประกอบการเล่า ว่า) นี่เสาแล้วก็มีตงหรื อคาน 2 อัน แล้วไม้ตีตลอดแนวนี้ นี่ เป็ นรั้ววัด รั้ววัดนี้ เข้าใจว่าซ่ อมทีหลัง แต่ ก่อนใช้เป็ นเสาไม้แก่นเรี ยงกัน เสาไม้แก่นเขาจะเจาะๆอย่างนี้ แล้วมีไม้คานพาดเข้าไป นี่ ก็ไม้แก่น อีกอันหนึ่ ง เขาก็เจาะๆอย่างนี้ ส่ วนมากที่หวั เสารั้ววัดนี้ เขาจะทําเป็ นหัวทรงมันอย่างนี้ ต่อมาได้มา ซ่อมหัวเสาใหม่น้ ี เมื่อประมาณ พ.ศ. 2445 อันนี้พดู ถึงรั้ว ถ้าพูดถึงประตู ประตูเขาทําอย่างนี้ นี่ เสาใหญ่นี่หวั ทรงมันแล้วก็มีเสาอีกอันอยูต่ รงนี้ ก็บาก สองข้างเป็ นไม้ง่าม มองข้างๆจะเป็ นอย่างนี้ นี่สาํ หรับพาดมานี่ มาหาเสาอีกอันหนึ่ง เวลามีการมีงาน หรื อขบวนแห่ ที่มนั สู งๆถ้าจะชักลากเข้าไป เขาจะถอดอันนี้ ออก มันมี 3 ขั้น นี่ พ้ืนดินเราเหยียบตรง นี้ แล้วมาเหยียบตรงนี้ ขึ้นมาเหยียบตรงนี้ ก็ลงไปก็เหยียบคู่กบั ตรงนี้ ทางโน้นแล้วก็ถึงพื้นดิน เวลา เขาจะแห่งานเขาก็ดึงออก เหมือนเป็ นธรณี ประตู 3 ชั้น ชั้นที่ 1 ติดที่ดิน ชั้นที่ 2 สู งขึ้นมาหน่อย ชั้นที่ 3 ก็คู่กบั ตรงนี้ ก็เหยียบพื้นดิน ไม่มีบานประตูเปิ ดปิ ด (คุณอรทัย : เหมือนคอกวัวคอกควายที่ชาวบ้านเขาทํา ) สมัยก่อนมันสะดวกเมื่อมีงานก็ยก ออก ถ้าไม่มีงาน ถ้ามีคนตีกนั วิง่ เข้ามาในวัดมันก็ไม่สามารถยกอันนี้ออกได้ เพราะยกลําบาก “พุทธสถาน” ถ้าเราจะขีดเส้นจากประตูมาถึ งหลังวัด ส่ วนครึ่ งกลางวัดจะใช้เป็ นอาคาร สําหรับประกอบศาสนกิ จ หลังแรกก็คือศาลาการเปรี ยญ รู ปทรงอย่างนี้ คือ มี ประตูเข้าทางนี้ สอง ประตู ทางนี้ สองประตู นี่ โรงครัว และไม่ตอ้ งใช้หน้าต่างใช้ริ้วไม้ โดยก่ออิฐถือปูนขึ้นมาครึ่ งหนึ่ ง แล้วเอาไม้ระแนงตีรอบเลย ประตูน้ ี ก็ใช้ระแนง เปิ ดเข้าไปข้างใน ศาลามีท้ งั หมดจะมี 5 ห้อง ไม่ได้ กั้นเป็ นห้องหรอกแต่มีช่วงเสา 5 ช่วง แล้วก็มีธรรมาสอยูก่ ลาง ไว้สําหรับพระเทศน์มหาชาติไม่ได้ เทศน์ธรรมดานะ เทศน์ธรรมดาจะเทศน์ที่ธรรมมาสเล็กๆ (แบบเตี้ย) ถ้าเทศน์มหาชาติจะเป็ นแบบ สู ง (อรทัย : แล้วศาลานี้ทุกวันนี้ ยงั อยูห่ รื อเปล่าคะ) ไม่อยู่ รื้ อไปแล้วผมจึงได้ทาํ อันนี้ ข้ ึนหลังที่ สองนี่เป็ นวิหารก็ร้ื อไปแล้วเหมือนกัน วิหารนี้เป็ นวิหารหลังคาทรงไทย 2 ชั้น จะมีปีกนก โบสถ์จะ ทึบ ส่ วนนี้มาส่ วนนี้มนั เป็ นส่ วนหน้า เขาจะเว้นไว้ห้องหนึ่ ง เป็ นโถงเลย แล้วข้างในมี 3 โถง และ สี่ กับข้างหลัง ข้างในมีเสาแบบโบราณ เป็ นเสาปูนใหญ่ นี่ ผนังข้างหน้า นี่ หน้าโบสถ์ นี่ บนั ได นี่ ก็เสา ใหญ่ นี่ก็เสาใหญ่ นี่ก็เสาใหญ่ เสานี่มี 1 2 3 4 ข้างในมันก็คู่ตวั นี้ คู่ตวั นี้ ไอ้นี่เป็ นฝาผนังรอบเลย และ เสามันก็เรี ยงตามนี้แหละมาอย่างนี้ ทีน้ ีขา้ งในด้านหลังจะเป็ นแท่นสําหรับพระพุทธรู ป พระพุทธรู ป อยู่นี่ เสาก็อยู่นี่ แล้วข้างพระพุทธรู ปจะมีบนั ไดหิ น บันไดหิ น ตรงนี้ ก็มีบนั ได ประตูสําหรั บญาติ โยมเข้าทางนี้ เวลามี งาน พระสงฆ์เข้านี่ เข้า ก็มานั่งนี่ ผูช้ ายเข้าไปได้ ผูห้ ญิ ง อยู่ที่นี่ หน้าต่า งเป็ น หน้าต่างประกอบลู กมะหวด กรอบหน้าต่างเป็ นอย่างนี้ เขาจะมี ไม้ทาํ เป็ นลูกกรงแก้ว คล้ายของ อยุธยาซึ่ งอันนี้เรามองข้างนอก ถ้ามองข้างในมันก็จะเป็ นอย่างนี้ ลูกมันอยูน่ ี่ ตรงนี้ นี่กรอบมันก็จะมี บานประตู เวลาเปิ ดมันจะออกมาอย่า งนี้ เปิ ดเข้า ข้า งในบานประตู จะทาสี แดงพอปิ ดแล้วเราจะ

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

56

มองเห็นอันนี้ชดั เขาทําเป็ นลวดลายลงรักปิ ดทอง ลายหน้าต่างจะเป็ นลายรดนํ้าคือเขียนลายแล้วเอา ทองปิ ด (อรทัย : เป็ นบานแผ่นไม้เรี ยบ แล้วมี ล าย) เป็ นลายดอกพิ กุ ล รวมทั้ง ประตูก็เป็ นกรอบลายรดนํ้า (อรทัย : หน้าต่างบานเปิ ดข้างใน เป็ นไม้เนื้ อเรี ยบ และวาดลวดลาย ) บาน หน้าต่างไม่มีลายเป็ นแผ่นทาสี แดง ที่เป็ น ลายนั้นคือด้านหน้าลูกกรง เป็ นลายดอก พิกุล 5 ดอก ประตูก็เหมือนกัน ประตูขา้ ง ในเป็ นกลอนไม้สลัก กลอนไม้ขดั (อรทัย : ตรงที่มนั เป็ นหน้าต่างส่ วนมากจะมีเชิ งที่เป็ นขอบที่เป็ นปูนยกขึ้น) ไม่มีๆ มีแต่ บัลลังก์ฐานชุ กชี มนั มี แต่ผนังมันเรี ยบเขาไม่มีลายไม่มีขอบหน้าต่าง มีเฉพาะที่ลูกกรงที่จะทําเป็ น ลาย (อรทัย : มันจะเหมือนวัดไหนที่มีอยูใ่ นตอนนี้ ไหมค่ะ) ไม่มี ไม่เหมือนเลย มันเป็ นอย่างนี้ นะ หน้าต่างนะ มันเป็ นพื้นผนังโบสถ์ใช่ไหม ตรงหน้าต่างเขาจะเจาะอย่างนี้ แม้ไม่มีลวดลายแต่มนั ก็นูนขึ้นอย่างนี้มีสันขึ้นมา (วนิดา : บานหนึ่ งจะมีลูกกรงกี่ซี่) มี 5 ซี่ ลูกกรงเขาจะบากไม้เป็ นอย่างนี้ เป็ นเหลี่ยมๆขึ้นมา มี 5 ริ้ ว ลูกกรงนี้ จะเป็ นไม้ ไม้เป็ นท่อน (วาดภาพประกอบ) ลูกกรงทั้งหมดจะทาข้างนอกสี แดง จะมีดอก ประจํายามสี ทอง เป็ นลายรดนํ้า ลูกกรงนี้เขาจะเรี ยกลูกแก้ว ตรงขอบนี้จะไม่มีลวดลายแต่จะนูนเป็ น สันขึ้นมาเป็ นสี่ เหลี่ ยม ขอบนี้ จะปิ ดทอง เป็ นปูนฉาบด้วยปูนขาว เอารักแดงทา แล้วเขียนลายทอง แต่ก่อนจะใช้รักแดงไม่ใช้รักดํา หน้าต่างเปิ ดข้างใน เวลาผมเป็ นเด็กหน้าต่างจะสู งเท่าหน้าอกผม ผม จะส่ องหน้าต่างต้องเขย่งเท้าขึ้ น ข้างในเวลาปิ ดหน้าต่างจะเป็ นบานไม้ขดั เหมือนประตู ภายใน วิหารมีตน้ เสาปูน ขนาดคน 2 คนโอบ 12 เหลี่ยม ปลายเสามีบวั ปลายเสา (อรทัย : หลังใหญ่มากไหมคะ) ใหญ่ซิ (เขียนรู ปบัวปลายเสา) เอาขื่อมาพาดบนดอกบัว ข้าง ในอาจจะมีแกนเสาก็ได้ (วาดรู ป) ผมว่าหาที่ไหนไม่ได้ มันสวยจริ งๆ (วาดรู ป) สมัยนี้ มนั มีกระจิด ริ ดขึ้นมาแค่น้ ี มันไม่เหมือนวัดหลวง (วาดรู ป) แล้วจะประดับกระจกสี ตรงใจกลางกลีบ ลงรักปิ ด ทอง แล้วเสานี้มนั จะเป็ นเหลี่ยมลงมา คานมันจะมีเสาตรงนี้ คานจะมาพาดตรงนี้ อันนี้มนั ยันตรงนี้ (อรทัย : หมายถึงว่าเสานี้จะไม่จรดถึงหลังคาใช่ไหม ข้างในมันจะมองเห็นคานไหมคะ) นี่ๆ คุ ณดู นี่บวั ปลายเสา มันจะรั บคานตรงนี้ เลย ขื่ อสําหรั บพาดตรงนี้ มันจะรั บตรงนี้ และในระยะ เหลี่ ยมจะเขียนลายรดนํ้าอย่างนี้ เป็ นดอกประจํายามเหมือนในรู ปจนถึ งโคนเสา โคนเสาตั้งอยู่บน

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

57

พนัก พนักอย่างนี้นะ นี่เป็ นพื้นโบสถ์ พนักจะต่อบันไดขึ้นมาอย่างนี้ ระเบียงจะมีผนัง ข้างหลังนี่ ก็มี ผนังก่ออิฐถือปูนไปจนถึงยอดนี้เลย (อรทัย : เสานี้ มนั อยูห่ ้องข้างนอกใช่ไหมคะ) แต่ละเสาจะมีบวั คลุม ระหว่างตัวเสานี้ กบั ผิว ข้างนอกจะมีคนั ทวย จะเป็ นคันทวยแบบอุบล เป็ นแผ่นไม้ลงรักปิ ดทอง เป็ นทองทึบ คันทวยจะมี ทุกเสา ข้างในจะโล่งไม่มีคนั ทวย (วาดรู ป) ตรงรวงผึ้งก็เป็ นไม้ สวยที่สุดเลย ตรงนี้ มนั เก่ามากลาย รดนํ้ามันหลุ ดแล้ว ที่ ตามโค้งจะประดับกระจก สมัยโบราณเขาจะมีน้ าํ มันหอมมาจากเมืองจีน ฝา ตลับจะเป็ นกระจก ก็เอาอันนั้นแหละไปประดับเป็ นแถวเลย (วาดรู ป) (อรทัย : รวงผึ้งทําด้วยไม้) ข้างในจะเป็ นเพดานทําด้วยฝาลายคุบ กรุ ดว้ ยผ้าเขียนลายไทย เขาจะทํากรอบเพดานต่อจากยอดเสาขึ้นไป ตรงข้างนอกไม่มีเพดาน เพดานเขาใช้ฝาทําลาย ระหว่าง เส้นนี่เขาจะมีลายกาบอ้อย ลายก้านขดอยูต่ รงนี้ ฝาไม้ไผ่ลายคุบ เอาผ้ามาขึงใหัมนั เรี ยบแล้วเขียนลาย บางที ก็ เขี ยนลายก่ อนค่ อยไปตี ติดไอ้นี่ ลักษณะลายจะมี ดอกประจํา ยามอยู่นี่ อยู่นี่ดอกนึ ง อยู่นี่ ดอกนึ ง อยู่นี่ดอกนึ ง ที่ สนใจเพราะผมชอบลายมาแต่ เด็ กๆแล้ว นี่ เป็ นลายเถานะ อันนี้ ก็ แตกกิ่ ง ออกมานี้ มานี่ ในเถานี้ ก็จะมีรูปนก กระรอก กระแต อยูต่ ามนี้ มีนกบิน นกไม่บิน เขาจะทําอย่างนี้ ลายพอดีๆ ถ้าอยากจะดูกรอบลาย ให้ไปดูลายพระบฏที่ พิพิธภัณฑ์อุบล เพดานนั้นเป็ นลายเครื อ กรอบเหมือนลายพระบฏ นี่แหละผมเสี ยดายมากและข้างหลังวิหารพระประธาน เป็ นภาพพระบฏ ใหญ่ พระบฏคือพระพุทธรู ปที่เขียนไว้ในแผ่นผ้า มีพระประธานองค์ใหญ่ก่ออิฐถื อปูน ลงรั กปิ ด ทอง พระพักตร์ กลมรู ปไข่ เป็ นฝี มือช่างเวียงจันท์ เป็ นองค์ปัจจุบนั นี่ แหละ เขารื้ อวิหารพระพุทธรู ป อยู่ตรงนี้ รื้ อหลังคารื้ อหมดแล้ว อันนี้ ก็ ขุดออกๆ อันนี้ ก็ เป็ นแท่ นพระโด่ อยู่ข ้างใน เขาก็เลยเอา สังกะสี มามุ ง เมื่ อมุ งสั งกะสี โดยไม่ตีสัง กะสี รอบเป็ นฝาผนัง เวลาฝนมาไอฝนไอแดดเข้า ไปถู ก พระพุทธรู ป รักที่ปิดพระพุทธรู ปนั้นก็แตกระแหง และหมุนกลายเป็ นพระขี้เรื้ อน เวลาเขาซ่ อมเขาก็ ขูดออกจนผอมไป 5 นิ้ ว คือองค์ปัจจุบนั นี้ ผอมลง 5 นิ้ ว จะสังเกตเห็ นว่าพระพักตร์ ท่านจะยาวๆ หน่อยไม่เหมือนพระพุทธชินราช เพราะแปลงมาจากที่นนั่ อันเก่าจะมีพระพักตร์ ยาวเป็ นรู ปไข่ พระ เมาลี ทรงสู งแบบพระลาว เอาพระลาวมาทําเป็ นแบบพระพุทธชิ นราช ก็สวยอยู่แต่ไม่สวยเท่าเดิ ม พระรู ปเดิมก็รูปนี้ พระพักตร์ รูปนี้ (อรทัย : แก้มจะพองกว่านิ ดนึ ง) ตั้งอยูบ่ นฐานชุ กชี ฐานชุ กชี ไม่มีลวดลายเป็ นแท่นเขียงขึ้น ไปเฉยๆ แล้วเอาพระพุทธรู ปตั้ง (เหมือนฐานธรรมดา) เวลานี้ ได้โบสถ์ใหม่ก็ทาํ แท่นเหมือนโบสถ์ เก่า แต่ไม่เข้าท่าเพราะพระพุทธรู ปองค์เล็กนิดเดียว ทําแท่นเบ้อเร่ อ ไม่สวย ตอนรื้ อวิหารก็น่าจะเก็บ ประตู เก็บประตูโขงนี้ไว้แต่ก็ไม่เก็บทําลายไปหมด เสาข้างในเป็ นเสา 12 เหลี่ ยมแต่ไม่ลงรักปิ ดทอง ไม่เหมือนเสาข้างหน้า เสาคู่แรกที่อยู่ฝา ผนังทั้งสองด้านเป็ นครึ่ งเสา มีจาํ นวนตามช่องหน้าต่าง นี่ ประตูนี่เสา มีท้ งั หมด 5 คู่ในรอบนอก ข้าง ในมี 8 เสาไม่นบั เสาครึ่ งเสาที่ติดผนัง กําแพงฝาผนังมันหนา

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

58

(อรทัย : เสาข้างในเป็ นเสา 12 เหลี่ยม ไม่ลงรักปิ ดทองเหมือนข้างหน้า) ด้านหลังวิหารเป็ น พื้นเรี ยบ จนถึ งจุดข้างบน ไม่มีลวดลาย ฐานของวิหารเป็ นบัวควํ่าและลูกแก้วตั้งบนบัวควํ่า (นี่ บวั ควํ่า นี่บวั แก้ว ตัววิหารตั้งบนบัวแก้ว) ให้ไปดูแบบที่ผมทําที่ราชภัฏนะ พื้นโบสถ์เป็ นพื้นปูนตลอดทั้งหลัง สี ปูนธรรมดานี่ แหละ หลังคาใช้กระเบื้ องดิ นขอ คื อ กระเบื้องดิ นที่เผาเอง ปลายมนทั้งสองชั้น มีนาคสะดุ ง้ และลํายองแต่ไม่มีหางนาค แบบหลวงพระ บาง ช่อฟ้ าหรื อโหง่ นี่ใบระกา นี่ หางหงส์ ทาํ เป็ นนาคสามเศียร ตัวปั้ นลมทําเป็ นรู ปนาคเลื้อยเป็ นไม้ ปิ ดทองประดับกระจก (ที่เห็นในรู ปคือมันหัก) ช่อฟ้ าจะปิ ดทองเขียนลายเป็ นไม้เหมือนกัน (อรทัย : และตัวข้างล่างจะเป็ นนาค เอาหางขึ้น เอาหัวลง) หัวห้อยลง ตัวโบสถ์ตรงนี้ เป็ น พื้นปูนไม่มีลาย แต่ที่ประตูมีตราพัตรพระครู ถ้าอยากดูให้ไปดูที่เจ้าอาวาสวัดหลวงองค์ปัจจุบนั ใน นั้นเขาจะมีจารึ ก ซ่อมวัดซ่อมวิหารครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2454 (อรทัย : ตรานี้ เขาเขียนเอาใช่ไหมคะ) เป็ นไม้สลักลงรักปิ ดทองประดับกระจกเป็ นรู ปพัด ยศพระครู (อรทัย : ตรงประตูดา้ นหน้า) เหนือประตูดา้ นหน้าเป็ น ดอกประจํายามแบบพัดยศพระครู สัญญาบัตร หน้า ต่า งมี ท้ งั หมด 6 บาน ข้างละ 3 บาน ประตู 2 ด้านข้างมีประตู หน้าต่าง 3 บานแล้วมามีประตู ประตูดา้ นหน้า ลงรักดํามีลายทอง ประตูดา้ นหลังมันมีโค้ง เขาใช้ไม้ทาํ อย่างนี้ อันนี้ เป็ นไม้แล้วก่ออิฐทับๆ ข้างในเป็ นพื้น ขอบประตูเฉยๆ ไม้ เป็ นแผ่น นี่ก็ขอบประตูลงไป (อรทัย : ด้านหลังเป็ นประตูแบบนี้ เป็ นประตูธรรมดา) และข้างประตูเป็ นคันทวย เป็ น ประตู 2 บาน นี่เขาเรี ยกอกเราประตู (อรทัย : เป็ นประตูเรี ยบทาสี แดง, แล้วตรงนี้ ขา้ งหน้าเป็ นลวดลายอะไรคะ) อันนี้ มนั ลบ เลือนหมดแล้ว นี่เขาก็มีไม้มา เป็ นลายดอกประจํายามแต่ตอนที่ผมเล็กอยูน่ ี่ ลายมันเลือนหมดแล้วจน ผมไม่รู้วา่ มีลาย (อรทัย : แล้วที่คุณพ่อทําลายในนี้ล่ะ) ก็ทาํ เอาที่จาํ นัน่ แหละ (อรทัย : ไอ้กลมๆนี่ คือลายพัดยศใช่ ไหม) เป็ นลายกงจักร เดี๋ยวเอาลายให้ดู นี่ มนั แบบ เดียวกัน อันนี้อยูเ่ มืองลาวเป็ นเหมือนกัน เขาเอาแบบมาจากหลวงพระบางทั้งนั้น อันนี้ ฉบับเมืองลาว มันไม่ชดั เท่าไหร่ แต่มนั ก็เป็ นแบบเดี ยวกัน เห็ นไหมอันนี้ ก็ไม่มีหางลงมา เพราะพวกนี้ มนั ตระกูล เดียวกัน (อรทัย : แสดงว่าในเมืองลาวมันยังมี โบสถ์พวกนี้ อยู่ใช่ ไหม) มี อยู่ อันนี้ ยงั มี อยู่ นี่ๆวัดธาตุหลวง งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

59

ลายหน้าบรรณประกอบด้วยลายกนกประกอบธรรมจักร เป็ นลายรดนํ้าไม่ใช่ ลายแกะเช่นเดียวกับ ลายหน้าบรรณของวิหารวัดเชียงทองที่หลวงพระบาง เสาก็ปิดทองเช่นเดียวกัน ภายในเป็ นห้องโล่ง มีเสากลาง 2 แถว หน้าพระประธานถึงประตูรุ้ง เนื้ อที่ภายในข้างชุ กชี พระพุทธรู ป มีธรรมมาสแบบ เชียงใหม่อยูห่ ลังหนึ่ง เป็ นธรรมมาสทรงสู งย่อเหลี่ยมไม้สิบสอง บันไดธรรมมาสเป็ นนาคสะดุง้ หัว บันไดตั้งอยู่บนสิ งห์ (สิ งกะโล่) หน้าพระประธานมีสัตพรรณที่สวยงาม (สัตพรรณ คือ ที่ติดราว เทียน) สมัยก่อนการบูชาพระส่ วนมากดอกไม้จะวางไว้ที่ขนั กระหย่อง ส่ วนเทียนเขาจะตัดติดที่ราว ที่เรี ยกว่าราวเทียน ขันกระหย่องจะทําด้วยไม้ไผ่สาน (อรทัย : คื อจะเอาดอกไม้ไปวางไว้จะไม่มีการเอาไปใส่ ในแจกัน) ส่ วนธู ปนั้นนิ ยมใช้ ประทีป คื อไม่มีกระถางธู ป เขาใช้เชื อกผูกประที ป ขาเป็ นไม้แกะสลักลงรักปิ ดทอง ขาตั้งอยู่บน สิ ง ห์ ประที ปเขาจะเอาต้นสามาขูดแล้วเอาไปแช่ น้ าํ จากนั้นนําไปตาก ก็ จะได้กระดาษ แล้วเอา กระดาษสานั้นมาห่ อเครื่ องหอมอีกที เครื่ องหอมก็มีกาํ ยานมีต้ งั ตุ่นมีไม้หอมต่างๆมาขูดเป็ นฝอยๆ เอากระดาษมาห่ อพัน แล้วเอาด้ายแดงพันให้อยู่ เวลาจุดก็เอาด้ายแดงไปผูกไว้ที่ราวแล้วไฟมันจะ ไหม้ลามไปเรื่ อย จนสุ ดท้ายมันก็หมด เรี ยกว่าประทีป ประทีปนี่ จะนิ ยมทํากันก่อนออกพรรษา เขา ถึงเรี ยกว่าไป “ไหว้พระจุดประทีปที่วดั ” แต่ตอนนี้ ไม่มี ช่างทําประทีปก็ไม่มี คือมันสะดวกสบาย ซื้ อธูปเอา วิชาการทําประทีปก็หมดไป นอกจากนั้นยังทําให้การทํากระดาษสาของอุบลหมดไป คน จะไม่รู้วา่ ต้นสามันเป็ นยังไง พระประธานตั้งอยู่บนชุ กชี ไม่มีโต๊ะหมู่บูชาเหมือนทุกวันนี้ หน้าพระประธานก็จะใช้สัต พรรณและขันกระหย่อง ขันกระหย่องมีท้ งั แบบเล็ก แบบใหญ่ สานด้วยไม้ไผ่สําหรั บวางดอกไม้ และในวิหารก็ไม่มีตพู ้ ระธรรมด้วย โล่งไปเลย เพราะพระธรรมก็เอาไปเก็บที่หอไตร วิหาร ภาษาพื้นเมืองเรี ยกว่า “อาฮาม” สิ มนั้นเป็ นอีกแบบ อาฮามคือที่สวดมนต์ไหว้พระ สิ ม คือที่ทาํ สังฆกรรมของสงฆ์ คฤหัสถ์ไม่เกี่ยว แต่วิหารคฤหัสถ์สามารถเข้าไปได้ แต่ถา้ จะทําสังฆ กรรมบวชพระ ลงปาฏิโมกข์ ต้องไปทําในสิ ม (อรทัย: แต่ถา้ ในวัดไม่มีสิม มีแต่วิหารก็เข้าไปทําสังฆกรรมในนั้นได้ใช่ไหม) ถ้าไม่มีสิม เขาก็จะไปบวชวัดที่มีสิม แต่ก่อนนะ (อรทัย : นอกจากอาฮามแล้วที่วดั นี้มีสิมไหม) มิซิ นี่อาฮาม นี่เจดีย ์ หลังเจดียไ์ ปก็เป็ นสิ ม (อรทัย : เจดียอ์ ะไรคะ) เป็ นธาตุ ของมหาราชครู เจ้าท่านหอ และบรรจุ สิ่งของมีค่า สิ่ ง ศักดิ์ สิทธิ์ จากเวียงจันทน์ท้ งั หมด เวลานี้ ร้ื อหมดแล้ว บริ เวณที่เจดี ยอ์ ยู่น้ นั เป็ นโบสถ์ใหม่ สร้างทับ เจดีย ์ ถัดเจดียไ์ ปเป็ นสิ มเล็ก (อรทัย : ทําไมใช้ดว้ ยกันไม่ได้ ต้องไปสร้างสิ มอีก) วิหารเนี่ ยทําเพื่อเป็ นกิจส่ วนรวม แต่ สิ มนั้นเป็ นกิจของสงฆ์โดยเฉพาะ และวิสุงสิ มนั้นเป็ นที่ดินของสงฆ์จริ งๆ ใครจะมายึดก็ไม่ได้ สิ ม มาจากคําว่า “สี มา”

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

60

กุฏิขวางใหญ่ ฝ้ ากระดานแบบฟันปลา ซึ่ งตอนนี้ไม่มี มีหลังนี้ หลังเดียวในเมืองอุบล ตอนนี้ ก็ร้ื อไปแล้ว หอไตรหลังคาทําเป็ นสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน ครอบกันสองชั้นแต่หอคําที่อยูข่ องมหาครู นี่ ทําสี่ เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน ครอบกัน 3 ชั้น ข้างบนเป็ นรู ปนพสู รย์ นพสู รย์อีสานเป็ นอย่างนี้ (วาด รู ป) นพสู รย์เป็ นอาวุธของพระอิศวร กรุ งเทพเขาจะหล่อแต่ที่นี่จะเอาไม้มาทํา (อรทัย : มันหมายถึงอะไร ทําไมต้องเอามาทําอย่างนี้ ) อุปมาได้วา่ นพสู รย์เป็ นอาวุธของ พระอินทร์ ถื อว่าเป็ นของสู ง อยูบ่ นเขาพระสุ เมธ อันนี้ อาจจะแทนเขาพระสุ เมธก็ได้ แต่กุฏิหลังนี้ เป็ นฝากระดานธรรมดาแต่ ริ้ ว กระดานเขาลงรั ก ปิ ดทองทั้ง หมด ของสํ า คัญ ก็ มี พ ระบางอยู่ นี่ พระพุทธรู ปยืนห้ามญาติอยูน่ ี่ รางสรงนํ้าอยูน่ ี่ เก้าอี้พระประทุมอยูน่ ี่ พอรื้ อแล้วพวกนี้ ก็หายไป ข้าง หลังเป็ นแม่น้ าํ มูล ที่ริมฝั่งเขามีบนั ไดท่านํ้า บันไดเขาจะทํากําแพงต่อสองข้าง มีบนั ไดลงมาอย่างนี้ เราก็ไต่ลงไป เวลาผมเป็ นเด็กผมจะลงไปอาบนํ้าที่ท่านี้ ขึ้นมาก็จะเอามือตบกําแพง พอตบมันอยู่ ใกล้กนั มันก็จะดังก้องมาทางนี้ ต่อจากนี่ มนั ก็มีหอกลองซึ่ งไม่สูงเพราะเป็ นกลองใบใหญ่ เป็ นหอ ชั้นเดี ยว การตี กลองที่ วดั หลวงจะมี 1. ตีกลองแลง ตอนเย็นๆจะตีกลองแลงเพื่อให้ชาวบ้านใน ละแวกนั้นเตรี ยมตัวออกไปฟังเทศน์ตอนเย็น (อรทัย : กลองแลงตีกี่ครั้ง) กลองแลงจะตีเป็ นชุด ประมาณ 3-4 ชุด ประมาณ 4 โมงเย็น 2.ตี กลองดึก ตีประมาณตี 4 (อรทัย : ได้ยินที่วดั ผาสุ กตีตอน 4 ทุ่ม) ตีตอนนี้ เรี ยกว่าตีเข้าครองเพื่อให้พระเข้าจําวัด ให้ สัญญาณว่าเข้านอนได้แล้วนะ และตอนเช้าประมาณตี 4 ก็ตีอีกเรี ยกว่าตีกลองดึก คือตีเพื่อปลุกพระ ลุกขึ้นมาสวดมนต์เตรี ยมตัวอาบนํ้าอาบท่าไปบิณฑบาต และเพื่อให้สัญญาณแก่ชาวบ้านให้มานึ่ ง ข้าวเพื่อใส่ บาตร 6 โมงเช้าก็ตีอีกทีเพื่อไปบิณฑบาต เดี๋ยวนี้พระก็ไม่รู้จกั ตีกลอง ตีกลองไม่เป็ น สรุ ป แล้วมีตีกลองแลง ตีเข้าครอง ตีกลองดึก ตีกลองบิณฑบาต และตีกลองเพล ตอนจังหันจะไม่ตี เพราะ ตี ก ลองดึ ก แล้วเขาก็ ไ ม่ ตี อีก มี ตีก ลองอี ก ชนิ ดนึ ง เรี ย กว่า ตี ก ลองท้วง ถ้า มี เหตุ ฉุ ก เฉิ นเกิ ดขึ้ นใน บ้านเมือง วัดจะตีกลองสัญญาณให้ชาวบ้านรู ้ สิ่ งที่ตีประกอบการตีกลองแล้วคือตีระฆัง ระฆังเพราะ ที่ สุ ด คื อ ระฆัง วัด ใต้ เสี ย งมัน ห้ ว นดี ตี ก ลองเสร็ จจึ ง จะตี ระฆัง (อรทัย: แล้วที่บอกว่า มี ธ าตุ ข องเจ้า คํา ผงอยู่ที่ ว ดั นี้ ) เมื่ อ เจ้า คํา ผงเสี ย ชี วิ ต และรั บ พระราชทานเพลิ ง เผาศพแล้ว พวกญาติ พี่ น้ อ งชาวเมื อ ง จึ ง เก็บ อัฐิของพระประทุ มไปก่ อ เจดียไ์ ว้ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือนอกเมือง คือบริ เวณที่เป็ นธนาคารออมสิ นเดี๋ยวนี้ (ถ.เขื่อนธานี ) งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

61

ต่ อ มาเมื่ อกรมหลวงสรรพสิ ท ธิ ป ระสงค์ม าเป็ นข้า หลวงต่ า งพระองค์ ก็ มี ก ารสร้ า งเรื อนจํา ขึ้ น เรื อนจําที่ สร้ างใหม่น้ ี อยู่บริ เวณธาตุ พระประทุม ตรงหลังธนาคารออมสิ นเก่า ตรงเทศบาล พอรื้ อ จากตรงนั้นก็เอามาไว้ที่วดั หลวง โดยจะเอามาก่อเจดียไ์ ว้หลังวิหาร (อรทัย : รั้ววัดจากเดิมที่เป็ นไม้ระแนง เป็ นยังไงต่อคะ) ต่อมาเมื่อปี 2474-75 มันมีพ่อค้าใน เมืองอุบลไปเช่ าที่หน้าวัดหลวง สร้ างห้องแถวไม้ เจ้าอาวาสก็ยินดีให้เขาเช่ า ก็เลยรื้ อรั้วสร้ างห้อง แถวตลอดแนวเลย จนปี 2503 เกิดไฟไหม้เมืองอุบล ไหม้ตลาดวัดหลวงหมดจนถึงแม่น้ าํ มูลเลย กุฏิ ก็ไหม้ดว้ ยหลังนึ ง เนี่ ยแหละที่เป็ นสาเหตุของการเปลี่ยนจากรั้วมาเป็ นห้องแถว ต่อมาเมื่อไฟไหม้ แล้วพ่อค้าเขาก็สร้างเป็ นตึกวัดก็ยนิ ยอม และแจ้งไปที่กรมการศาสนาๆก็เป็ นผูม้ าเก็บค่าเช่า จนถึงทั้ง ทุกวันนี้”

ถอดเทปสัมภาษณ์โดย ขนิษฐา ทุมมากรณ์ 17 มิถุนายน 2546

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

62

บทสั มภาษณ์ คุณพ่อ บาเพ็ญ ณ อุบล เรื่อง วัดหลวง 15 กรกฎาคม 2547 …………………………………………………………………………. คุณพ่อบําเพ็ญ : หน้าต่างมันจะมีลวดลายเท่าที่ผมพูดให้ฟังเนี่ยแหละ แล้วข้างในทาสี แดง บานประตู ข้างในจะเป็ นสี แดง สี แดงจะผ่ามาทางนี้เลย อันนี้เป็ นลูกกรงหน้าต่าง ลายลูกมะหวดเหลี่ยม ข้างใน มีแผ่นไม้สลัก หน้าต่างเป็ นจะเป็ น เดือย แล้วก็หมุน ๆ เวลานั้นก็พบั มานี่ อันนี้พบั มานี่ พับมานี่ก็มีร่องสลัก เอา สลักใส่ ให้มนั ตันไว้เลยคุณอรทัย : ลุกกรงนี่ทาํ จากไม้ใช่ไหมคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : ใช่ คุณอรทัย : ไม้อะไรคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : เข้าใจว่าเป็ นไม้แคน ไม้อย่างดี หรื อไม้ตะเคียน คุณอรทัย : ลูกกรงหน้าต่างเป็ น อย่างไรคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : บานหนึ่งมี 4 ตัว 3 ช่อง ทั้งหมดรวม 12 ตัว ลูกกรงแต่ละตัวจะมีลายดอกประจํายาม อยูต่ รงกลาง เต็มดอกอยู่ 3 ดอก ส่ วนข้างบนกับข้างล่างจะมีอยูค่ รึ่ งดอก แบบนี้ อยูท่ ี่วดั พุทไธสวรรค์ อยุธยา ที่โบสถ์เก่าแต่ที่นนั่ ฐานจะแอ่น เป็ นท้องสําเภา แต่ของวัดหลวงนี่จะไม่แอ่น คุณอรทัย : สมัยก่อนเวลามองเข้าไปตรงช่องหน้าต่าง เป็ นยังไง โปร่ งไหม ขนาดของลูกกรงแต่ละ อันห่างกันไหม คุณพ่อบําเพ็ญ : ห่างกันประมาณ 2 นิ้ว มองเข้าไปมันจะโปร่ ง แต่ในวิหารจะมืด มองเห็นแค่สลัวๆ คุณอรทัย : ระหว่างลูกกรงเอามือสอดเข้าไปได้ไหม คุณพ่อบําเพ็ญ : ได้เฉพาะช่วงล่าง ช่วงโป่ ง ๆออกมา แต่ช่วงระหว่างลูกมะหวดจะไม่ได้ คุณอรทัย : ระหว่างลูกมะหวดเนี่ย 2 นิ้วใช่ไหมที่มนั ห่างกัน คุณพ่อบําเพ็ญ : ครับ คุณอรทัย : บานหน้าต่างนี่ จะเป็ นบานไม้ทาสี แดงใช่ไหม แล้วข้างนอกมีลวดลายไหม คุณพ่อบําเพ็ญ : ข้างในเป็ นบานไม้สีแดง ข้างนอกไม่มีลวดลาย จะอาศัยลูกหวดเป็ นลาย งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

63

คุณอรทัย : คันทวยของวัดหลวง ที่เขียนมาให้ดูนี่ใช่ไหม คุณพ่อบําเพ็ญ : ที่เขียนมาให้ดูผดิ นิดหนึ่ง (เขียนลงบนภาพ) ให้มนั โค้งไปอย่างนี้ คุณอรทัย : แล้วรู วงกลมไม่มีเหรอคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : เขาไม่ได้เจาะโปร่ ง เขาทําอย่างนี้ (เขียนภาพ)… ร่ องไม้จะเจาะเป็ นกลมๆ ให้นูนขึ้น คือมีแผ่นไม้มาเขาจะถากแผ่นไม้ออกมาให้เป็ นสันนูนขึ้นมา แกะตรงกลาง แล้วเขาจะเอากระจก ขาวมาติด เป็ นกระจกแผ่นน้อย ๆ หลาย ๆ อัน มองมาแล้วสี ทองกับอันนี้มนั จะวาว ๆ อันนี้ถูกแล้ว ลายก็ถูกแล้ว เพียงแต่มนั ไม่แอ่น ตรงมาจากนี้ ตัวนี้มาเนี่ยเป็ นของหลวงพระบาง ของวัดหลวงจะ ดัดแปลงมาอีก จะแอ่นอย่างนี้ ลายมันจะแอ่นอย่างนี้ รับกับอันนี้ คุณอรทัย : ลายพวกนี้เป็ นสี อะไรคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : ปิ ดทองหมดทั้งแผ่น ทาสี ทอง คุณอรทัย : ตรงนี้ถึงเป็ นแผ่นกระจกสี ขาว คุณพ่อบําเพ็ญ : ถ้าหลวงพระบาทตรงนี้ จะเป็ นดอกกาบ ของเราไม่มีกาบ จะเป็ นทองทึบเลย (ทองคํา แท่ง) คุณอรทัย : ส่ วนลายข้างบนเนี่ยถูกไหม คุณพ่อบําเพ็ญ : ลายข้างบนนี้ก็ถูกแล้ว จะเป็ นพื้นแดง แล้วตรงนี้ เป็ นกระจกสี ขาว คือกระจกสี ที่เขา ประดับตามโบสถ์นะ การที่เราใส่ กระจกเป็ นการเลียนแบบมาจากหลวงพระบาง วัดเชี ยงทองเขาจะ ใช้กระจกตัดเป็ นรู ป กระจกแบบนั้นสมัยก่อนข้างในจะเคลือบตะกัว่ ข้างนอกเป็ นกระจกทําให้เรา ตัดได้ ดัดได้ แต่สมัยเดี๋ยวนี้ไม่รู้ จะมีเฉพาะตรงกลางที่เป็ นกระจกส่ วนลายข้างนอกเป็ นทอง กระจก มีแค่เกสรดอกเท่านั้น เพื่อให้มนั วับ ๆ วาว ๆ บางแห่งเขาจะไม่เจาะไม้ เขาจะเอาสมุก คือ นํ้าเกลี้ยง กับขี้เถ้า ใบตองแห้ง มาผสมกัน เวลาเขาจะทําลายเขาจะฟั่ นเป็ นยาว ๆ แล้วขด แล้วเอากระจกใส่ สมุกจะเป็ นตัวยึดกระจกติดกับไม้ คุณอรทัย : สัดส่ วนของคันทวยเป็ นยังไงคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : ตรงฐานจะเว้า (วาดภาพ) มารับกัน จะไม่มีเอว สัดส่ วนขนาดหน้าตักประมาณ 1 วา ยาวประมาณเกือบ 2 วา เขาเก็บไว้ที่ศูนย์วฒั นธรรม แต่ผมไปหาไม่เจอ ผมเลยเอาคันทวยมาอันหนึ่ง แบบนั้นถูกต้องแล้ว คุณอรทัย : แสดงว่าภาพนี้ให้แก้ไข ส่ วนโค้ง ส่ วนนูน ลูกแก้ว เหลือฐานคัน ทวย…. คุณอรทัย : เสาของวิหาร? คุณพ่อบําเพ็ญ : เป็ นบัวหัวเสา คุณอรทัย : เสาขนาดใหญ่ไหม คนโอบ ได้กี่คนคะ งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

64

คุณพ่อบําเพ็ญ : คนโอบ 2 คน คุณอรทัย : เพราะเป็ น 12 เหลี่ยม มันใหญ่มาก คุณพ่อบําเพ็ญ : อันนี้มนั ต้องเลื่อนมาอย่างนี้นะ คุณอรทัย : เพราะช่วงมันยาวไปใช่ไหมคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : อันนี้ใช้ได้ คุณอรทัย : ตรงส่ วนนี้ เป็ นยังไงคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : ส่ วนนี้เอวใหญ่ไป ต้องทําให้แคบลงมา มารับกันอันนี้เป็ นกระพุม่ ไม่แอ่นนะ คาบ มากับเหลี่ยมเสา อันนี้ เป็ นเหลี่ยม ๆ อันนี้ช่องกว้างเกินไป อันนี้ก็ใหญ่ มันต้อง …(วาดรู ป) อันนี้มนั เป็ นสี่ เหลี่ยมเกินไป มันต้องอย่างนี้ ..(วาดรู ป) อันนี้เอวกว้างไป ให้เอวคอดลงมา มองเห็น แล้วให้เป็ นอย่างนี้ อันนี้มาจากเอวผูห้ ญิง คุณอรทัย : เป็ นลักษณะกลมมนแล้วคอดเข้าไป คุณพ่อบําเพ็ญ : เป็ นการเอาความสวยจากผูห้ ญิง กลีบดอกให้มนั ยาวกว่านี้หน่อย เพราะของลาวเป็ น แบบนี้ สวนยอดมันจะเป็ นแบบนี้ (วาดรู ป) เห็นไหมฐานพระแบบโบราณมันจะเป็ นเขาวัวขึ้นมา แบบนี้ ตัวนี้จะขึ้นมาแบบนี้ ตัวนั้นมัน จะโค้งเข้ามาอย่างนี้ คุณอรทัย : แล้วกลีบดอกตรงนี้ล่ะคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : เหมือนกัน ช่องนี้ให้ มันเสมอกัน คุณอรทัย : เป็ นลักษณะกลีบแบบ แหลม คุณพ่อบําเพ็ญ : อันนี้ เขาก็ใส่ กระจก คุณอรทัย : กระจกสี อะไรคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : สี ขาว ขอบนอกไม่มีจะปิ ดทอง คุณอรทัย : แล้วข้างล่างถูกไหมดอกแบบนี้ คุณพ่อบําเพ็ญ : ให้กา้ นมันยาวกว่านี้ คุณอรทัย : คือดอกเนี่ยถูก แต่ให้มนั ยาวกว่านี้ใช่ไหม คุณพ่อบําเพ็ญ : ให้ช่องมาอยูต่ รงนี้ คุณอรทัย : อ๋ อ…ช่วงมันห่างไป คุณพ่อบําเพ็ญ : ให้ช่วงมันถี่กว่านี้ คุณสุ รชัย : ดอกมันมีกี่เสา มีตามเหลี่ยมเสา ? คุณพ่อบําเพ็ญ : มีตามเหลี่ยมเสา ตรงกลางไม่มี ตรงกลางจะอยูก่ บั พื้น คุณสุ รชัย : แต่วา่ มีอยูใ่ ช่ไหม งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

65

คุณพ่อบําเพ็ญ : ครับ ช่องนี้ มนั มีอยูแ่ ปดเหลี่ยม คุณอรทัย : สรุ ปคือดอกไปตามเสา แต่วา่ ดอกต้องใหญ่กว่านี้มนั จะได้ไม่ห่าง คุณพ่อบําเพ็ญ : ดอกนี้ตอ้ งทําทแยงแบบนี้ ให้ดอกมันเกือบติดกัน ขอบแบบเดียวกับลายหลวงพระ บาง คุณอรทัย : ดอกแบบนี้หรื อว่าแหลมขึ้นไป คุณพ่อบําเพ็ญ : ดอกมันจะเป็ นแบบนี้ (วาดรู ป) คุณอรทัย : ดอกก็จะเหมือนที่อยูท่ ี่คนั ทวย ที่คุณพ่อบอก คุณพ่อบําเพ็ญ : ใช่ ที่นี่มนั จะมีขอบอย่างนี้ คุณอรทัย : ขอบเป็ นเหลี่ยม? คุณพ่อบําเพ็ญ : มันต้องหันเข้าเหลี่ยม เหลี่ยมมันอยูอ่ ย่างนี้ ดอกนี้มนั ก็จะคาบเหลี่ยมเสา ตัวต่อมาก็ วาดเฉี ยงมาอย่างนี้ คุณอรทัย : แต่ละดอกมันห่างกันขนาดไหน คุณพ่อบําเพ็ญ : ระยะห่างก็จะใช้เหลี่ยมเสาเป็ นเกณฑ์ มองแล้วจะเป็ นลายตาทะแยง คุณอรทัย : ฐานวิหาร จะเป็ นฐาน 5 ชั้น ใช่ไหม (ฐานชุกชี ) คุณพ่อบําเพ็ญ : อันนี้ถูกต้อง ตัวบัวควํ่ามันต้องแอ่นออกไปอีก เพราะตัวปลายให้มนั ตกแอ่นพอดี คุณอรทัย : คือยืน่ ฐานตัวนี้ ออกไปหน่อยหนึ่ง แล้วบัวควํ่าทําให้มนั แอ่นขึ้นไปรับกับส่ วนบน คุณพ่อบําเพ็ญ : แต่ปลายตัวนี้ ให้มนั งอนแหลมขึ้นไปหน่อย การงอนมันเป็ นศิลปะของอีสาน ผม เป็ นเด็กจะเอาข้าวสากมาวาง วางตรงนี้ก็ได้ไม่ตก เพราะว่ามันจะงอนมาอย่างนี้ คุณอรทัย : ภาพหน้าบันช่วงบนของวิหาร คุณพ่อบําเพ็ญ : อันนี้มนั มีขอบอีกชั้นหนึ่ง ลายนี้เป็ นลายในเนื้ อ ไม่ได้แกะ แต่ฝังกระจก มองแล้วจะ เป็ นลายดอก แล้วเอากระจกติด แต่ไม่มีเส้นนะ เอากระจกใส่ เลย ตรงกลางกลม ตรงนี้เป็ นดอกจําปี ห่างกันพอสมควร คุณอรทัย : ขอบมันก็ครึ่ งดอก ทางนี้ก็ครึ่ ง ทางนี้ก็ครึ่ ง วางสับหว่างกัน คุณพ่อบําเพ็ญ : ทางนี้ก็ครึ่ ง แล้วเป็ นดอกนี้ไปตลอดสาย คุณอรทัย : กระจกจะติดตรงกลางดอก หรื อทั้งหมด คุณพ่อบําเพ็ญ : กระจกติดทั้งหมด เป็ นดอกสี ขาว ใส่ กระจกขาว ตัวนาคนั้นปิ ดทอง คือข้างในเป็ น กระจกขาว ข้างนอกเป็ นสี ทอง ตรงนี้ก็เหมือนกัน คุณอรทัย : แล้วเกล็ดนาคแบบนี้ถูกไหม คุณพ่อบําเพ็ญ : ถูก ๆ คุณอรทัย : หัวนาคล่ะ คุณพ่อบําเพ็ญ : อันนี้ไม่งอนขึ้นอย่างนี้ (วาดรู ป) คุณอรทัย : แล้วส่ วนข้างใน งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

66

คุณพ่อบําเพ็ญ : ถูกต้องแล้ว ตัวนี้เขาเอากระจกประดับเป็ นกลม ๆๆๆ เหมือนตัวคันทวย เจาะสลัก ลงกลางแล้วติดกระจกลงไป แต่ตวั นาคปิ ดทองไว้…แต่สมัยนี้ทาํ ให้นูนออกมาอย่างนี้ ธรรมเนียม อุบลจะไม่นูน อันนี้ถูกส่ วนแล้ว แล้วตรงนี้ ตอ้ งทําอย่างนี้ มันเป็ นไม้แผ่นหนึ่ง แผ่นนี้ จะยาวตลอด เป็ นรอยต่อระหว่างหลังคาตัวนี้กบั หลังคาตัวนี้ หัวไม้จะทําขึ้นอย่างนี้ (วาดรู ป)…ตัวนี้จะปิ ดหัวไม้ และยันตัวนี้ดว้ ย ตัวน้อย ๆนี้ ตัวนี้ตวั เดียวกัน มันจะตรงกับบัว ตรงนี้มนั จะเป็ นบัวใหญ่ บัวนี้จะเป็ น ลายบัวหงาย สันจะเป็ นลายปู แต่ส่วนนี้ จะไม่เป็ นลายปูจะเป็ นลายกาบอ้อย คุณอรทัย : แล้วลายส่ วนอื่นถูกใช่ไหมคะ แล้วติดกระจกด้วยไหม คุณพ่อบําเพ็ญ : ทั้งหน้าบันทั้งหมดไม่มีกระจกติด เป็ นลายรดนํ้าทั้งหมด สี ทอง พื้นดํา ดอกลาย ธรรมจักร เพราะเป็ นลายรดนํ้านี่แหละเลยทําให้เวลาฝนตกทําให้ลายลบไปหมด มันไม่มีกระจก ประดับ จะมีกระจกเฉพาะตรงกาบเสา คุณอรทัย : โขง คุณพ่อบําเพ็ญ : ตัวแรกมันต้องยาวมาอย่างนี้ คุณอรทัย : ยาวมาจนถึงหัวประตูเหรอ คุณพ่อบําเพ็ญ : มันจะตรงกันกับดาวตัวนี้ ธรรมดาตัวนี้ มนั จะเป็ นอย่างนี้นะ ตัวลายมันประกบกัน เส้นสองเส้น เส้นนี้มนั จะมาอย่างนี้ สองข้างมันจะผ่ามาอย่างนี้…เป็ นอก เป็ นอกตัวนี้ เข้าใจไหม ตัว อกนี้ถา้ มองข้าง ๆ มันจะ….ตัวใหม่มีอกมาอย่างนี้ ตัวใหม่ก็จะออกมาอย่างนี้ แล้วจะค่อย ๆ เล็กลง ๆ ตัวอกก็จะมานี่ ตัวคาบก็จะมานี่ มานี่ มันจะเหลื่อมกัน ประมาณ 3 ชั้น…ยาว ๆ มา ตัดเหลี่ยม… เรามองไม่เห็น หัวตัวนี้มนั จะมาซ้อนตัวนี้อย่างนี้ คุณอรทัย : มันน้อยเลยมองไม่เห็น คุณพ่อบําเพ็ญ : ครับ คุณสุ รชัย : เฉพาะตัวนี้นะที่มองไม่เห็น คุณพ่อบําเพ็ญ : ครับ เฉพาะตัวนี้ ตัวนี้มนั จะขึ้นมาอย่างนี้ แล้วจะมีตวั ที่เหมือนกันตัวใหญ่นี่ มันจะ โผล่มาจากนี่ มาซ้อนตัวนี้ อยู่ ต่อมาตัวนี้ก็ซอ้ นมานี่ พอซ้อนมาแล้วจึงมียอ้ ย ๆ ลงมาให้มนั ยาว ตัวนี้ ก็ผา่ ครึ่ งตรงนี้มาใส่ นี่ อันนี้ก็เหมือนกัน แบบเหมือนกัน แต่เล็กลง ถ้าทําสั้นไปโค้งนี้จะไม่มี ความหมาย จะไม่สวย คุณอรทัย : รังผึ้งอันเล็กก็อยูต่ รงช่วงเสา คุณพ่อบําเพ็ญ : อยูต่ รงช่วงเสา แต่ลดหลัน่ กันมา ขื่อมันอยูน่ ี่ อยูแ่ บบนี้แหละ เราก็เอาตามขื่อลงมา มันก็จะเท่ากัน คุณอรทัย : แล้วโขงล่ะติดกระจกไหมคะหรื อว่าเป็ นดอกสี ทอง คุณพ่อบําเพ็ญ : ตรงโขงนี่จะเป็ นเหมือนตัวนี้ มานี่ก็งอ มานี่ก็งอ พองอเสร็ จ ข้างในงอก็จะประดับ กระจกอย่างนี้ ตรงนี้ เป็ น กระจก ๆๆๆๆ เป็ นกระจังออกมา ประดับกระจก ตรงนี้มีขอบโขง พอติด กระจก อันนี้ก็จะงอ ๆ ให้มนั ได้ส่วน งอๆๆๆๆ มาตรงนี้แหละ ตรงกลางมันจะมีงออย่างนี้ งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

67

คุณอรทัย : ต่อไปจะเป็ นหลังคาของวิหาร คุณพ่อบําเพ็ญ : ตรงนี้ อย่าให้มนั แอ่นขนาดนี้ อาศัยความอ่อนช้อย คุณอรทัย : อันนี้มนั ใหญ่ไปนะ แล้วปากอย่างนี้ถูกไหมคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : ครับ คุณอรทัย : ตรงนี้ก็เป็ นกระจก? ที่เราวาดเมื่อตะกี้ คุณพ่อบําเพ็ญ : กระจกมันจะฝังนี้ กระจกนี้เป็ นเพชรเป็ นเกล็ดของตัวนี้ ตัวนี้ จะต้องแก้ใหม่ ไม่ สี่ เหลี่ยม คุณอรทัย : ตรงไหนคะ ตรงส่ วนหลังคาโบสถ์เหรอ คุณพ่อบําเพ็ญ : ใช่ มันจะเป็ นปี กเกีย จะโค้งมาอย่างนี้ ไม่หยัก เป็ นโค้งไป คุณอรทัย : ตัวไม้แป้ น เป็ นกระเบื้องหรื อเป็ นแป้ นนะคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : เป็ นกระเบื้อง กระเบื้องขอปลายมน อันนี้ ถูกแล้ว คุณอรทัย : ใบระกา? คุณพ่อบําเพ็ญ : ใบระกา เราดูแล้ว…พระประธานอันนี้ไม่ห่าง คุณอรทัย : จะไม่ติดเสาเลยใช่ไหมคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : ครับ พระประธานติดเสา อันนี้ก็เป็ นเหลี่ยมหมด เหลี่ยม ๆๆๆๆ…อันนี้ ขา้ งนอกไม่ โผล่ คุณอรทัย : เสาข้างหน้าเป็ นอย่างนี้ไหม กินออกมาไหมหรื อว่าอยูใ่ นผนัง คุณพ่อบําเพ็ญ : เสาข้างหน้าอยูใ่ นผนังเลย คุณสุ รชัย : แสดงว่าผนังหนา คุณพ่อบําเพ็ญ : หนา เสามันจะตั้งอยูอ่ ย่างนี้ เต็มนี้เลย เว้นตรงนี้ประมาณ 50 ซม. นี่เสามันตั้งอยูน่ ี่ ตรงนี้ เป็ นฐานเสา อันนี้ไม่มีรูปเสา เสามันจะอยูใ่ นนี้ ….นี่ก็บนั ประตู คุณอรทัย : หน้าต่างมี 3 ช่อง 1 2 3 และ บันไดข้าง คุณพ่อบําเพ็ญ : หน้าต่างเป็ นสี่ เหลี่ยมธรรมดา ไม่มีหน้าบัน คุณอรทัย : แล้วบันไดข้าง 2 ข้าง ถูกไหมคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : ครับ คุณอรทัย : ตรงสัดส่ วนนี่ จะยาว กว้าง ซัก เท่าไหร่ คะ คุณพ่อบําเพ็ญ : เสานี้อว้ น คุณอรทัย : แล้วพื้นที่ตรงนี้ล่ะ เป็ นทรงอย่างนี้ใช่ไหม โบสถ์หน่ะ? คุณพ่อบําเพ็ญ : เป็ นทรงอย่างนี้ล่ะ งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

68

คุณอรทัย : เข้าไปนี่มนั กว้างมากไหมคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : ไม่ เสาแต่ละต้นห่างกันประมาณ 2 เมตร คุณอรทัย : ข้างในนอกจากพระประธานแล้ววางอะไรไว้อีกไหมคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : ข้างหน้ามีสัตพัน วางเต็มเลย คุณอรทัย : สัตพันคืออะไร? คุณพ่อบําเพ็ญ : ที่ติดเทียน แล้วตรงนี้มีปลามังกรที่เอาปากลง เอาหางขึ้น ถัดไปเป็ นหม้อนํ้ามนต์ …สัตพันมันจะเป็ นอย่างนี้ ตรงนี้พ้นื โบสถ์ แล้วสัตพันก็จะตั้งอยูอ่ ย่างนี่ ..(วาดรู ป)…. คุณอรทัย : อันนี้คือ..? คุณพ่อบําเพ็ญ : สัตพันตั้งอยูห่ น้าพระเจ้าใหญ่ ทางอีสานนั้นเวลาไหว้พระเจ้าใหญ่ เขาจะเอาเทียน ไปจุดเทียนเวียนหัวไปบูชา เมื่อเอาเทียนให้พระแล้ว พระท่านก็จะเอาเทียนมาติดอย่างนี้ คุณอรทัย : อันนี้คือราวเทียน คุณพ่อบําเพ็ญ : ราวเทียนนี้เป็ นเหล็ก เหล็กจะถูกขึงไปที่ตวั ไม้ กอดเหล็กแล้วฝังไว้ แล้วติดเทียน เป็ นไม้ๆหมด ประดับกระจก ติดทองร่ องชาด คุณอรทัย : ข้างในเอาพระตั้งไว้ใช่ไหมคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : ไม่ถูก ๆ มันต้องแอ่น ๆอย่างนี้ คุณอรทัย : แสดงว่าสู งใหญ่มากใช่ไหมคะ เหมือนร้านที่ต้ งั พระ คุณพ่อบําเพ็ญ : ถ้าจะเอาจริ ง ๆ ผมถ่ายมาอยู่ แต่ไม่ชดั ถ้าจะเอาแบบจริ ง ๆให้ไปเอาแบบที่วดั สวน ตาล บ้านชีทวน นัน่ แหละแบบเดียวกันกับที่ต้ งั ไว้ที่หน้าพระเจ้าใหญ่…. คุณอรทัย : หนูสงสัยตรงนี้ใส่ อะไรไว้ คุณพ่อบําเพ็ญ : ไม่ได้ใส่ อะไรไว้ ตรงกลางจะเป็ นห้อง ไม้ฐานมันจะหนาแค่ศอก ตรงกลางเขาจะ เอาไม้สลักเป็ นรู ปเรื อน มันต้องแอ่นอย่างนี้ถึงจะถูก แต่ถา้ สัตพันเชียงใหม่จะยาวแค่น้ ี เองนะ แล้วก็ ตั้งเสาดี ๆ ไปอย่างนี้ แล้วติดเทียนตรงกลางเท่านี้ เอง คุณอรทัย : แล้วอยูว่ ดั อะไรนะคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : วัดสวนตาล บ้านชีทวน อยูบ่ นหอแจก ตอนนี้ไม่ต้ งั ไว้หน้าพระแล้ว เขากลัวจะบัง พระ คุณอรทัย : แสดงว่าพื้นนี้จะถูกยกพื้นขึ้นมาอีกใช่ไหมคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : พื้นนี้ไม่ได้ยกขึ้น เรี ยบไปหมดเลย นี่ ๆ เสาข้างใน ผูห้ ญิงจะเข้าไปไม่ได้ นี่ พระพุทธรู ปอยูน่ ี่ คุณอรทัย : สัตพันนี่การใช้ประโยชน์คือ คุณพ่อบําเพ็ญ : เพื่อติดเทียน คุณอรทัย : แล้วทําไมต้องทําใหญ่โตขนาดนี้ ถ้าจะทําเพื่อติดเทียนเฉย ๆ

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

69

คุณพ่อบําเพ็ญ : ทําเพื่อประดับสวยงาม เป็ นศิลปะอย่างหนึ่งใช้เพื่อบูชาพระในวิหาร ถ้าในโบสถ์ติด ใส่ เขียงเลย ให้ไปดูที่ศาลาการเปรี ยญวัดสวนตาล คุณอรทัย : รั้ววัด ประตูวดั ล่ะ คุณพ่อบําเพ็ญ : เป็ นแบบนี้ แหละ คุณอรทัย : คือเอาไม้มาทํา หลักจะเป็ นเสา เป็ นไม้ท่อนเลย คุณพ่อบําเพ็ญ : ไม้ท่อนท่อนกลางจะปั กอยูน่ ี่ ตรงนี้เขาจะทําอย่างนี้ข้ ึนมา เขาจะบากตรงกลาง ไม้ ท่อนหนึ่งนะเนี่ย ตรงนี้ก็จะผ่าอย่างนี้ หัวเสาจะผ่าอย่างนี้ อันนี้ เป็ นไม้ท่อนที่จะทําเป็ นบันได บาง ท่อนจะทําเป็ นเดือยอย่างนี้ เขาจะเอาเดือยสวมใส่ ตวั นี้ ไม้อีกท่อนสวมใส่ นี่ เป็ นชั้นที่ 1 คุณอรทัย : ทําเป็ นประตูข้ นั ใช่ไหมคะ เป็ นไม้ข้ นั ? คุณพ่อบําเพ็ญ : ไม้ฝัง มีอีกต้นต่างหาก นี่ก็ท่อนหนึ่งต่างหาก นี่ก็ท่อนหนึ่งต่างหาก จะมีอยู่ 3 ท่อน ถ้าดูดา้ นข้าง อันนี้ก็จะอยูข่ า้ งหน้าอันนี้ อันนี้ก็จะอยูด่ า้ นข้างอันนั้น คุณสุ รชัย : ถ้ามองไปด้านหน้าอย่างนี้ ท่อนไม้สองท่อนจะวางพาดมาข้างในไหม คุณพ่อบําเพ็ญ : ก็จะอยูอ่ ย่างนี้แหละ นี่ประตูวดั นะ นี่มนั จะเป็ นอย่างนี้ แล้วเขาจะเอาไม้แผ่นนี้มา สอดลงร่ องนี้ แล้วมันจะมองไม่เห็นร่ อง มันก็จะมาอย่างนี้ ตัวนี้ก็เหมือนกัน ชั้นที่สอง ทําท่อนอันนี้ ให้สูงกว่าเดิม ไม้ท่อนนี้ก็มาสวมลงไปอย่างนี้ ส่ วนที่ 3 จะทําเหมือนเดิมอีก คุณอรทัย : เวลาที่ปิดมันจะชิ ดกันอย่างนี้ไหม จะเว้นช่วงหรื อเปล่า คุณพ่อบําเพ็ญ : มันจะไม่ติดกันจะเป็ นช่องแบบนี้ ไม้มนั คนละท่อน คุณสุ รชัย : ช่องใหญ่ไหม คุณพ่อบําเพ็ญ : ไม่ใหญ่ มันจะเป็ นช่องตรงไปอย่างนี้ ไม้ท่อนนี้ใช่ไหม ต่อมามันก็จะเป็ นท่อนนี้ ต่อมาก็จะเป็ นท่อนนี้ ปลายท่อนก็จะมีเสาขึ้นไป รับกับอันนี้ ตัวนั้นก็มาจะมาเนี่ย เป็ นท่อนของใคร ของมันอย่างนี้ ช่วงกลางก็มาสวมอย่างนี้ เป็ น 3 ขั้น เวลามีงานใหญ่อนั ทางนี้ก็จะมีอีกอันหนึ่ง ถ้า สามขั้น อันนี้ก็ไม่ตอ้ ง เอาขั้นนี้กบั ขั้นนี้ แล้วก็อีกขั้นหนึ่งนี่ คุณอรทัย : เวลามองเข้าไปเสาจะเรี ยงสามเสาแบบนี้หรื อหันด้านข้าง คุณพ่อบําเพ็ญ : หันด้านข้าง นี่ประตูวดั เข้ามานี่ เสาต้นนี้ มนั จะอยูอ่ ย่างนี้ แล้วตัวใหญ่จะอยูก่ ลาง ตัวน้อยจะอยูเ่ สมอตัวนี้ ตัวใหญ่จะบังอยู่ พอบังแล้วจึงมีไม้เป็ นรั้ว เป็ นริ้ ว ๆ มาแบบนี้ คุณอรทัย : รั้วเป็ นช่องแบบนี้ถูกไหมคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : ถูก ไม้จะมี 3 ท่อน เวลามีงานใหญ่ คือชักลาก แห่ชา้ งแห่มา้ เวลาเข้าไปเขาจะยกไม้ สองท่อนมาวางไว้ดา้ นนี้ ตรงนี้ก็จะเป็ นพื้นวัดโล่งเข้าไปเลย งานเสร็ จเขาถึงจะหาไม้มาประกบมา ใส่ ร่องไว้เหมือนเดิม คุณอรทัย : แล้วหัวเสา เป็ นแบบนี้ถูกไม้ คุณพ่อบําเพ็ญ : หัวเสาเป็ นหัวเม็ด หัวเม็ดอีสานมันจะเป็ นอย่างนี้ คุณอรทัย : ข้างล่างจะมีหยักไหม งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

70

คุณพ่อบําเพ็ญ : มี ๆ คุณอรทัย : หัวเป็ นรู ปดอกบัวตูมนะ คุณพ่อบําเพ็ญ : เขาเรี ยกใต้ ใต้วดั อันนี้ เป็ นใต้ อันนี้ เป็ นรั้ว ถ้าเป็ นประตูวดั มันก็จะเปิ ดเข้าเปิ ด ออกแบบนี้ เหมือนวัดทุกวันนี้ใช้ประตูเหล็ก แต่ก่อนไม่ได้ใช้ประตูเหล็กยาก ใช้ไม้ 3 ขั้นกั้น ถ้า ตกใจตํารวจไล่จบั มันมาสะดุดเหลี่ยมนี้ ล้มใส่ เหลี่ยมหัวแตก คุณอรทัย : ผังรวมของวัดทั้งหมด (ภาพทางอากาศ)ตั้งแต่เข้าประตู อันนี้แม่น้ าํ มูล คุณพ่อบําเพ็ญ : แม่น้ าํ มูลต้องหันอย่างนี้ ใต้มนั อยูน่ ี่ ใต้มีสองใต้ นี่ประตูที่เราเข้าใจกัน คุณอรทัย : ประตูนี่ออกไปไหน คุณพ่อบําเพ็ญ : ประตูเข้า นี่ถนนพรหมเทพ นี่เข้าไปนี้เป็ นใต้ หอแจก วิหาร ธาตุ คุณอรทัย : ธาตุอะไรของใคร คุณพ่อบําเพ็ญ : ธาตุมหาราชครู เจ้าท่านหอ เป็ นเจ้าอาวาสองค์แรกของวัดหลวง เป็ นผูแ้ ตกฉานใน พระไตรปิ ฎก เป็ นประธานสงฆ์ของวัดหลวง (เจ้าอาวาส) และประธานสงฆ์ในการอํานวยการศึกษา ของเมืองอุบล แยกสาขาไปบ้านไผ่ใหญ่ อ.ม่วง บ้านสิ งไค หรื อศรี ไค แถว ม.อุบลฯ คุณอรทัย : อันนี้ธาตุ สิ ม สิ มเฉย ๆ ไม่ตอ้ งใส่ โบสถ์นะ คุณพ่อบําเพ็ญ : สิ มนี้มีบนั ไดขึ้น 3 ขั้น นี่ เป็ นระเบียง นี่พอก้าวได้ ฐานชุกชีพระอยูน่ ี่ คุณอรทัย : สิ มนี่เป็ นไม้ คุณพ่อบําเพ็ญ : เป็ นครึ่ งไม่ครึ่ งปูน หลังคาจะเป็ นไม้ เป็ นฝาผนังมานี่ มานี่ พอได้หนึ่งห้องก็ยกชั้น มาอีก ไม่มีหน้าต่าง คุณอรทัย : สิ มนี่สร้างตอนไหน คุณพ่อบําเพ็ญ : สร้างปี เดียวกับโบสถ์ คุณอรทัย : หอแจกเนี่ยเป็ นหอแจกไม้? คุณพ่อบําเพ็ญ : หอแจกเป็ นปูนกับไม้ ฐานเป็ นปูน ตอนนี้ไม่มีแล้ว ผมทําไว้ที่ราชภัฎ คุณอรทัย : อันนี้จะไม่วาดรู ปหรอก จะบอกไว้เฉย ๆ ว่าเป็ นครึ่ งปูนครึ่ งไม้ พอมาทางนี้เป็ นหอคํา คุณพ่อบําเพ็ญ : ต้นโพธิ์ อยูน่ ี่ เป็ นต้นโพธิ์ ใหญ่ แล้วตรงนี้อีกต้น ตอนนี้ไม่มีหรอกเป็ นตึกแถวไป หมดแล้ว ตรงนี้ เป็ นโรงรถ คุณอรทัย : สมัยก่อนมีโรงรถด้วยเหรอ คุณพ่อบําเพ็ญ : รถลากศพ คุณอรทัย : อยูต่ รงไหน ติดรั้วเลยเหรอ คุณพ่อบําเพ็ญ : อยูใ่ นรั้ว คุณอรทัย : อันนี้กุฏิเขียว หอกลอง หอไตร หอไตรเป็ นอาคารธรรมดาเหรอ สวยไหม คุณพ่อบําเพ็ญ : หอไตรหัวบันได ชานนี้ จะติดกับชานนี้ (ชานหอคํา) เลื่อนมาติดกันเลย คุณอรทัย : หอไตรทรงเป็ นยังไง งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

71

คุณพ่อบําเพ็ญ : ทรงอูปทรงโถมีฝาปิ ด คุณอรทัย : จะเป็ นฐานใต้ถุนสู ง คุณพ่อบําเพ็ญ : ตัวอาคารสอบลงข้างล่าง คล้ายโกฎ อันนี้ ก็เหมือนกันทรงโถ คุณอรทัย : เป็ นไม้ไหมคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : ไม้หมดเลย ไม่มีปูน เป็ นอาคารยกพื้นสู งมีใต้ถุน อันนี้ (หอคํา) ก็มีใต้ถุน คุณอรทัย : หอคํามีไว้ทาํ อะไร คุณพ่อบําเพ็ญ : เป็ นที่เก็บของสําคัญ แต่ก่อนเป็ นที่เก็บพระแก้ว พระพุทธรู ปสําคัญจะเก็บไว้ที่นี่ เป็ นที่พาํ นักของมหาราชครู นอกจากนี้ก็มีหอเทน หอกิ่ง ก็คือเจ้าอาวาสจะพักอยูท่ ี่หอคํา อันนี้ หอ ฉัน คุณอรทัย : จะเป็ นคนละอาคารแต่อยูช่ านเดียวกัน? แยกเป็ นคนละหลังเหมือนเรื อนไทยสมัยก่อน หอฉัน? คุณพ่อบําเพ็ญ : หอฉันเป็ นทรงสู ง ทรงเรื อนแฝด นี่มนั หลังคาโถ หลังคาโถ อันนี้หลังคาโถ อันนี้ หลังคาจัว่ คุณอรทัย : ตอนนี้ไม่มีแล้ว หอคําก็ไม่มี หอไตรก็ไม่มี คุณพ่อบําเพ็ญ : ไม่มี หอกลองเอามาไว้นี่ โบสถ์ก็ไม่มี เอานี่เป็ นวิหารเลย พระเจ้าใหญ่วหิ ารนี่ทาํ เป็ นศาลาการเปรี ยญ ศาลาการเปรี ยญเดี๋ยวนี้ไม่มี หอแจกเอามานี่ พังวิหารอย่างนั้นลงมาทําเป็ นหอ แจก พระเจ้าใหญ่องค์น้ นั ก็อยูน่ ี่ สิ มนี้ก็พงั ลง ธาตุน้ ีก็พงั ลง แล้วมาสร้างใหม่ทบั ตรงนี้เลย เป็ นโบสถ์ มีโบสถ์มีหอแจก แต่สิมไม่มี กุฏิขวางน้อยก็ไม่มีซ่ ึ งแต่ก่อนเป็ นกุฏิไม้หลังคาทรงสู ง มีสรด มี ระเบียง คุณอรทัย : อันนี้ไว้สาํ หรับพระ? คุณพ่อบําเพ็ญ : พระรองเจ้าอาวาสอยูน่ ี่ และกุฏิขวางใหญ่เป็ นเรื อนแฝดทรงสู ง มีช่อฟ้ าใบระกา เป็ น ที่อยูข่ องพระสงฆ์และเก็บหนังสื อสําคัญ ตอนนี้ไม่มีแล้ว คุณอรทัย : คือพระสงฆ์ เณรอยูท่ ี่ตึกขวางใหญ่ดว้ ยกัน มาถึงบันไดเป็ นอิฐลงท่าแม่น้ าํ มูล แล้วต้อง ลงไปไกลไหม คุณพ่อบําเพ็ญ : ลงต่อไปซิ จากบันไดก็เดินริ มท่าไปอีก บ่อนํ้าจะอยูน่ ี่ คุณอรทัย : เขาขุดเป็ น? คุณพ่อบําเพ็ญ : เป็ นบ่อดิน กรุ ดว้ ยไม้เนื้ อแข็ง นํ้าจะซึ มออกเรื่ อย ๆ เรี ยกว่านํ้าสร้างถ่อ ไม่ค่อยลึก หรอก มีอยู่ 2 อัน (บ่อ) ตรงนี้ อีกอัน อันนี้ไม่มี มีบนั ไดเดียวอันนี้ไม่มี ตรงนี้ก็จะเป็ นส้วม เป็ นส้วม พระ คุณอรทัย : บ่อนี้ชาวบ้านเขาใช้ใช่ไหม คุณพ่อบําเพ็ญ : ใช้หมด บ่อนี้ ก็เดินทานี่ บ่อนี้ก็เป็ นบ่อผูช้ ายห้ามหญิงใช้ แล้วนี่ก็บ่อผูห้ ญิง ให้ ผูห้ ญิงใช้อย่างเดียว งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

72

คุณอรทัย : แสดงว่าพระเนี่ยเวลาอาบนํ้าก็มาอาบนี่ คุณพ่อบําเพ็ญ : นอกจากพระผูใ้ หญ่ ถ้าไม่อยากอาบนํ้าบ่อก็จะให้เด็กตักนํ้ามาใส่ ในห้องนํ้า ซึ่ งอยูท่ ี่ กุฏิเขียว ในนั้นจะมีห้องนํ้าอยู่ คุณอรทัย : แล้วลงไปที่ท่าไปทําอะไร ไปขึ้นเรื อ? คุณพ่อบําเพ็ญ : เรื อไม่จอด ก็เป็ นท่าวัดลงไปนํ้าเฉยๆ แต่เวลานี้เขาถมบ่อนี้ บ่อนี้แล้ว แต่ก่อนข้างบ่อ จะมีสวนผักบุง้ ที่ริมท่า พวกอยูใ่ กล้วดั นัน่ แหละไปอาศัยปลูก เขาเรี ยกว่าทําแพตะกร้าผักบุง้ ปลูกอยู่ นี่น้ าํ ซึ มนํ้าซับ ตอนนี้ไม่มีแล้วถมหมด วัดหลวงเป็ นวัดของของเจ้าเมืองคือพระปทุมวรราชสุ ริย วงศ์สร้าง เป็ นศูนย์กลางของการศึกษาพระธรรมวินยั พอวัดหลวงตั้งการศึกษาเล่าเรี ยนของ พระพุทธศาสนาก็มาศึกษาที่วดั หลวง คุณอรทัย : วัดหลวงนี่เป็ นวัดแรกของ จ.อุบลไหมคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : เป็ นวัดแรก มาศึกษาที่วดั หลวง ต่อมาวัดหลวงก็แยกสาขาไปที่บา้ นไผ่ใหญ่ อ.ม่วง แล้ววัดสิ งไค แล้วก็บา้ นกวงดํา อ.เขื่องใน ใครอยากมีหน้ามีตาก็มาบวชวัดหลวง คือมีพระผูใ้ หญ่อยู่ พระที่คงแก่เรี ยนอยู่ ต่อมาบ้านเมืองเจริ ญก็แยกไปบ้านไผ่ใหญ่ บ้านสิ งไค บ้านคูเมือง บ้านกลาง ไป บ้านกวางดํา อ.เขื่อง บ้านหนองไข่นก ถือว่าวัดหลวงเป็ นวัดของประธานสงฆ์ ประธานสงฆ์ที่เป็ น ใหญ่สมัยก่อนคือ พระมหาราชครู เจ้าท่านหอ ต่อมาก็สืบมาหลายองค์ ต่อมาเมื่อ ร.4 พระพรหมราช วงศา (กุทอง) เป็ นเจ้าเมือง ร.4 ก็เลยให้มาสร้างวัดสุ ปัฎเป็ นวัดหลวง ให้เงินมา 10 ชัง่ เมื่อลัทธิ ธรรม ยุติเข้ามาเมืองอุบล แต่ก่อนจะนับถือศาสนาพุทธ คองลาว ต่อมาพระอริ ยวงศา (สุ่ ย) วัดสระเกศ ได้ เอาลัทธิ ไทยไปสอน ตั้งสํานักศึกษาอยูท่ ี่วดั ป่ าน้อย เมื่อคนเห็นว่าวัดป่ าน้อยเป็ นใหญ่มาแล้ว วัด หลวงก็เลยโอนอํานาจการปกครองสงฆ์ไปให้วดั ป่ าน้อย วัดหลวงก็เป็ นวัดธรรมดา แต่เจ้าบ้าน สะพานเมืองก็ยงั นับถือวัดหลวงอยู่ ต่อมาสํานักการศึกษาก็ไปอยูท่ ี่วดั ป่ าน้อย เมื่อวัดป่ าน้อยมี นักเรี ยนมากขึ้นก็ขยายมาสร้างเป็ นวัดทุ่ง แล้ววัดหลวงก็ไม่ได้เป็ นสํานักเรี ยนต่อไป สมัยต่อมาก็ได้สร้างวัดสุ ปัฏ ธรรมยุติเข้ามาเมืองอุบล ก็เลยโอนพิธีถือนํ้าพิพฒั สัตยาซึ่ งเป็ น ประเพณี ของเจ้าเมืองลาว พอธรรมยุติเข้ามาเขาก็เอาพิธีน้ ีไปไว้ที่วดั สุ ปัฏ แล้วไปวัดศรี ทอง (วัดศรี อุบล) กลายจากวัดหลวงจริ งเป็ นวัดหลวงราษฎร์ๆ คุณอรทัย : สมัยก่อนที่วา่ เป็ นศูนย์กลางการศึกษา คือเด็กผูช้ ายต้องมาบวชเรี ยน คุณพ่อบําเพ็ญ : แต่ก่อนโรงเรี ยนไม่มี คือโรงเรี ยนอยูใ่ นวัด เด็กๆ ผูช้ ายเมื่ออายุ 13-14 ปี พ่อแม่ก็ให้ บวชเป็ นเณร ศึกษาพระธรรมวินยั ศึกษาระเบียบมารยาทการสังคม ศึกษาแบบบ้านแบบเมืองต่าง ๆ เกี่ยวกับสังคมจะอยูใ่ นวัดทั้งนั้นแหละ คุณอรทัย : ก็คือ ต้องเข้าไปบวช บวชแล้วเรี ยนไปด้วยถ้าไม่ได้บวชก็ไม่มีที่เรี ยนที่สอน แล้ว สมัยก่อนคนในชุมชนมีความผูกพันกับวัดมากไหม คุณพ่อบําเพ็ญ : ก็มีอย่างมากเลย เขานับถือวัดหลวง ถ้าบุญผะเหวด (มหาชาติ)ประจําปี นี่ตอ้ งวัด หลวงเอาก่อนเพื่อน วัดอื่นถึงเอาได้ เขายกย่องกันอย่างนั้น แม้กระทัง่ วัดป่ าน้อยก็ตามทีที่เป็ นวัด งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

73

สํานักเรี ยน แต่เมื่อเวลาเอาบุญผะเหวด ต้องมาเทศน์เอาบุญที่วดั หลวงก่อน วัดอื่นค่อยทําทีหลัง แต่ เดียวนี้วดั ไหนก็ทาํ ของใครของมันได้ คุณอรทัย : ก็คือจะเป็ นไปตามฮีต คุณพ่อบําเพ็ญ : ครับ ๆ คือฮีตผะเหวด วัดหลวงต้องทําก่อน มีฮีตเหมือนปั จจุบนั นี่แหละแต่พิธีการ มันเปลี่ยนไปคือแต่ก่อนประชาชนถือเคร่ งในพุทธศาสนา ในวันพระ 8 คํ่า 15 คํ่า ชาวบ้านต้องไป ทําบุญที่วดั คือวัดหลวง คุณอรทัย : เวลามาก็คือมาที่วหิ ารนี่ เหรอ คุณพ่อบําเพ็ญ : ไม่ ไปที่ศาลาการเปรี ยญ เป็ นที่รวม ถ้าฟังเทศน์วนั พระวันศีล ฟังที่หอแจก แต่วนั ธรรมดาฟังที่วิหารในตอนเย็น คุณอรทัย : คือจะมีสวดมีเทศน์ทุกเย็น คุณพ่อบําเพ็ญ : ครับ การเทศน์ก็จะเทศน์นิทานเป็ นตอน ๆ ไป คุณอรทัย : สมัยแต่ก่อนบ้านคุณพ่ออยูท่ างไหน คุณพ่อบําเพ็ญ : ทางตะวันออกของวัด ไปทางตลาดเก่า อยูเ่ ยื้องวัดหลวงไปทางทิศ ตะวันออกเฉี ยงเหนือ ตรงที่ถนนหลวงตัดกับถนนพรหมราช ถนนพรหมเทพ นัน่ แหละเป็ นตลาด หลวง ตลาดนี้สร้างสมัยกรมสรรพสิ ทธิ์ ต่อมาเขาก็มารื้ อตลาดนี้มาสร้างที่จวนข้างหลวง เขาเรี ยกว่า วังใหม่ เดี๋ยวนี้ เป็ นตลาดวังใหม่ คุณอรทัย : แสดงว่าวัดนี้เป็ นวัดหลักเลยของ จ. อุบล คุณพ่อบําเพ็ญ : เป็ นวัดที่สาํ คัญมาก่อนวัดสุ ปัฎ และวัดศรี อุบลรัตน์ เพราะสองวัดนี้สร้างทีหลัง วัด หลวงนั้นสร้างสมัยพระเจ้ากรุ งธน ส่ วนสองวัดนั้น สร้างสมัย ร.4 คุณอรทัย : กิจกรรมที่วดั มีบทบาทต่อคนสมัยก่อน คือเรื่ องการศึกษา คุณพ่อบําเพ็ญ : การศึกษา การบวชกุลบุตร บวชพระ บวชเณร เมื่อบวชพระไปแล้วก็สอนหนังสื อ พระที่ไปเรี ยนหนังสื อ ถ้าเรี ยนสวดมนต์ได้ทุกสู ตรแล้วถือว่าเรี ยนสําเร็ จ ได้ชื่อว่าเป็ นสําเร็ จอาจจะ เป็ นสําเร็ จเณร สําเร็ จจัว่ เมื่อเป็ นสําเร็ จอย่างนี้ก็มีสิทธิ์ ได้รับการสถาปนาเป็ นพระผูใ้ หญ่ เป็ นญาชา เป็ นชา เป็ นครู เป็ นด้าน เป็ นฝ่ าย เป็ นหลักคํา เป็ นยอดแก้ว อันนี้คือทําเนียบสมณศักดิ์ตามพื้นเดิม คุณอรทัย : นอกจากนี้ก็มีเทศน์สงั่ สอนทุกวันตอนเย็น ตามฮีตตามคอง คุณพ่อบําเพ็ญ : แล้วมีงานประจําปี ทําบุญตามประเพณี ฮีตสิ บสอง คองสิ บสี่ คุณอรทัย : จะมารวมกันทําที่วดั หลวง แล้วบุญสงกรานต์ตอนคุณพ่อยังเด็กอยูเ่ ป็ นยังไงคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : งานสงกรานต์ก็จะมีชาวบ้านมาทําบุญกันที่ศาลาหอแจก ทําบุญเลี้ยงพระ บังสกุลอัฐิ กระดูกของพ่อแม่ปู่ย่าตายาย และสรงนํ้าพระ คุณอรทัย : ไม่ได้ก่อกองทรายหรื อขนทรายเข้าวัดเหรอคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : ก่อกองทรายก็ทาํ เหมือนกัน คุณอรทัย : มีงานรื่ นเริ ง มีหมอลําไหม งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

74

คุณพ่อบําเพ็ญ : ไม่มี ทําบุญเสร็ จก็ต่างคนต่างกลับ คุณอรทัย : แล้วเขาไม่ได้เล่นนํ้า คุณพ่อบําเพ็ญ : เล่นก็เล่นตอนบ่าย เขามาสรงนํ้าที่วดั แต่ละวัดก็จะเอา พระพุทธรู ปลงที่หอสรง ซัก ประมาณบ่าย 3-4 โมง ชาวบ้านก็จะ แห่ขบวนเป็ นขบวนนํ้า แห่มามา สรงนํ้าที่วดั แล้วก็รดนํ้ากัน เป็ นที่ สนุกสนาน แล้วก็เลิกกันไป ต่อมา วันที่จะเอาพระขึ้น คือวันที่ 15 คํ่า เดือน 6 ก็จะมีเลี้ยงพระ ถวายสังฆทานพระ แล้วสรงนํ้าพระ บายศรี สู่ขวัญพระ แล้วจึงเชิญ พระพุทธรู ปที่อญั เชิ ญลงมารดสรงนํ้าขึ้นประทับบนแท่นตามเดิม เป็ นอันเสร็ จ นี่ เฉพาะทําบุญที่วดั นอกจากนั้นก็จะมีการไปปิ คนิคกินข้าวป่ า เขาก็จะชักชวนกันไปเป็ นกลุ่ม ไปใครไปมัน ใครอยาก ไปไหนพากันไปตามใจ เล่นสะบ้ากัน คุณอรทัย : เขาไม่ได้เล่นในวัดเหรอ คุณพ่อบําเพ็ญ : ไม่ เล่นที่นอกวัด คุณอรทัย : สมัยนั้นในวัดมีพระเณรจําพรรษาอยูม่ ากขนาดไหน คุณพ่อบําเพ็ญ : ไม่ต่าํ กว่า 10-15 รู ป บางทีก็เยอะกว่านั้นไม่เกิน 30 รู ป วัดบางวัดก็มีมาก บางวัดก็มี น้อย….หมดสภาพเป็ นสํานักการศึกษาแล้ว นักเรี ยนก็ไปเรี ยนวัดทุ่ง คุณอรทัย : หลายปี ไหมคะที่ได้เป็ นศูนย์กลางการศึกษาที่สาํ คัญของจังหวัด คุณพ่อบําเพ็ญ : ก็จนถึงสมัย ร.4 ตั้งแต่สร้างปี 2324 สมัยพระปทุมราชวงศาถึงสมัยพระพรหมราช วงศา(กุทอง) คุณอรทัย : ถ้าเทียบกับราชวงศ์จกั รี คือสมัยรัชกาลที่ 4 จึงเริ่ มเปลี่ยน คุณพ่อบําเพ็ญ : ใช่ เปลี่ยนมาเป็ นสํานักที่วดั สุ ปัฏ ตอนนั้นธรรมยุติเผยแพร่ มาถึงวัดสุ ปัฏ วัดสุ ปัฏ เลยเป็ นสํานักศึกษา พระที่บวชเป็ นพระเป็ นเณร ถ้าจะเรี ยนบาลีก็จะไปเรี ยนที่วดั สุ ปัฏ คุณอรทัย : พระในสมัยก่อนวัตรปฏิบตั ิเป็ นยังไงคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : สมัยก่อนพระปฏิบตั ิเคร่ งตามระเบียบของพระธรรมวินยั ไม่พยายามที่จะให้ผดิ พระ วินยั อย่างจะออกนอกวัดก็ตอ้ งครองผ้า ห่มผ้าอย่างดี ไปบิณฑบาตก็ตอ้ งไปตามลําดับ พระผูใ้ หญ่ ออกก่อนและพระผูน้ อ้ ยตามหลังเป็ นแถว ไม่ได้แตกแถวเหมือนทุกวันนี้ เดี๋ยวนี้ใครอยากออกวัดก็ ออกไปเลย ไม่ตอ้ งคํานึงว่าจะรอพระผูใ้ หญ่ การปฏิบตั ิกิจของสงฆ์ไม่ละเมิด 5 สิ กขา แต่ทุกวันนี้ไม่ ค่อยสํารวมเท่าไหร่ คุณอรทัย : คุณพ่อเคยมาบวชที่วดั นี้ไหมคะ งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

75

คุณพ่อบําเพ็ญ : เคยเป็ นเด็กอยูท่ ี่วดั แต่ไม่เคยบวช คุณอรทัย : แต่ละวันกิจของพระท่านทําอะไรบ้าง คุณพ่อบําเพ็ญ : ตามระเบียบของสงฆ์ นับแต่ย่าํ รุ่ ง ยํ่ารุ่ งตื่นตี 4 ทําธุ ระส่ วนตัวเสร็ จ เตรี ยมตัวออก บิณฑบาต เสร็ จแล้วฉันข้าว แล้วก็ลงสวดมนต์ไหว้พระในตอนเช้า ตอนเพลก็ฉนั เพล กิจของสงฆ์ ในตอนเช้าก็ทาํ วัตรเช้าที่วหิ าร ตอนเย็นก็ทาํ วัตรเย็นที่วหิ าร แล้วรับการอบรมจากเจ้าอาวาสเรื่ องการ ประพฤติปฏิบตั ิตามพระธรรมวินยั นอกจากนั้นแล้วในวันธรรมดาพระสงฆ์มีหน้าที่เปลี่ยนกันเทศน์ ให้โยมฟังในตอนเย็น ๆ ประมาณ 3-4 โมงเย็น คุณอรทัย : ท่านใช้หนังสื อธรรมเทศน์ไหมคะ คุณพ่อบําเพ็ญ : ท่านใช้หนังสื อคัมภีร์เทศน์ คัมภีร์เทศน์สมัยก่อนเป็ นอักษรธรรม อักษรขอม ก็เอา อันนั้นแหละมาเทศน์ ปั จจุบนั เอาอักษรไทยเทศน์ เพราะพระสมัยนี้ไม่ได้เรี ยนหนังสื อธรรมหรื อ ไทยน้อย ที่ไม่ได้เรี ยนเพราะการศึกษาอักษรปั จจุบนั นี้ เพิ่งเข้ามาเมื่อสมัย กรมหลวงสรรพสิ ทธิ ประสงค์ คุณอรทัย : แล้วในวัดมีหนังสื อใบลานเยอะไหม คุณพ่อบําเพ็ญ : มีเยอะแยะ ทุกวันนี้ที่วดั หลวงก็ไม่เหลือ วัดทุ่งก็ไม่เหลือ หนังสื อเก่ามันสู ญสลายปี มีที่วดั ศรี ทองก็ยงั มีอยูท่ ี่ตพู ้ ระธรรม คุณอรทัย : อันนี้มีเป็ นหอเลย แสดงว่ามีเยอะพอๆกับวัดทุ่งเลย คุณพ่อบําเพ็ญ : พอๆกัน อาจจะเยอะกว่าวัดทุ่งด้วยซํ้า………. ถอดเทปโดย ขนิษฐา ทุมมากรณ์ กรกฎาคม 2547

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

76

บรรณานุกรม

กฐินานุสรณ์. 2546. อุบลราชธานี : อุบลกิจออฟเซท. กรมศิลปากร. 2542. งานช่างศิลปกรรมในท้องถิ่น. กรุ งเทพฯ : ประชาชน. กรรมาธิการสถาปนิกอีสาน. 2530. สถาปัตยกรรมอีสาน. สัมมนาเอกลักษณ์สถาปัตยกรรม อีสาน งานนิทรรศการวัสดุก่อสร้างและผลงาน สถาปั ตยกรรมอีสาน สถาปั ตยกรรม อีสานสัญจร วันที่ 29 ต.ค. – 1 พ.ย. 2530 ณ โรงแรมโฆษะ จ.ขอนแก่น. ชํานาญ เล็กบรรจง. 2540. รายงานการวิจยั เรื่ องการศึกษาลักษณะและรู ปร่ างแบบลวดลาย ประดับสถาปัตยกรรมทางศาสนาในภาคอีสาน. มหาสารคาม : ภาควิชาทัศนศิลป์ และ ศิลปะการแสดง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. เติม วิภาคย์พจนกิจ. 2542. ประวัติศาสตร์อีสาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . นงค์นุช ไพรพิบูลยกิจ. 2541. ลายศิลป์ ไทย. กรุ งเทพฯ : เอส. ที. พี. เวิลด์ มีเดีย. แน่งน้อย ปั ญจพรรค์ และ สมชาย ณ นคร. 2535. ศิลปะไม้แกะสลัก สุ โขทัย อยุธยา รัตน โกสิ นทร์ . กรุ งเทพฯ : เริ งรมย์. พวงนิล คําปังส์, ผูแ้ ปล. 2544. ลาวและกัมพูชา. กรุ งเทพฯ : หน้าต่างสู่ โลกกว้าง. พิทกั ษ์ น้อยวังคลัง. 2540. ศิลปกรรมท้องถิ่น. มหาสารคาม : ภาควิชาทัศน์ศิลป์ และศิลปะการ แสดง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ภราดร รัตนกุล. 2537. ศิลปแห่งลุ่มแม่น้ าํ โขง. กรุ งเทพฯ : ธี รกิจ (ประเทศไทย). มูลนิธิสารานุกรมไทย ธนาคารไทยพาณิ ชย์. 2542. สารานุกรมไทยภาคอีสาน เล่มที่ 2 กรุ งเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมไทย ธนาคารไทยพาณิ ชย์. มูลนิธิสารานุกรมไทย ธนาคารไทยพาณิ ชย์. 2542. สารานุกรมไทยภาคอีสาน เล่มที่ 5 กรุ งเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมไทย ธนาคารไทยพาณิ ชย์. มูลนิธิสารานุกรมไทย ธนาคารไทยพาณิ ชย์. 2542. สารานุกรมไทยภาคอีสาน เล่มที่ 8 กรุ งเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมไทย ธนาคารไทยพาณิ ชย์. มูลนิธิสารานุกรมไทย ธนาคารไทยพาณิ ชย์. 2542. สารานุกรมไทยภาคอีสาน เล่มที่ 11. กรุ งเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมไทย ธนาคารไทยพาณิ ชย์. มูลนิธิสารานุกรมไทย ธนาคารไทยพาณิ ชย์. 2542. สารานุกรมไทยภาคอีสาน เล่มที่ 12 กรุ งเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมไทย ธนาคารไทยพาณิ ชย์.

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


ตอนที่ 4 ภาคผนวก

77

มูลนิธิสารานุกรมไทย ธนาคารไทยพาณิ ชย์. 2542. สารานุกรมไทยภาคอีสาน เล่มที่ 13 กรุ งเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมไทย ธนาคารไทยพาณิ ชย์. มูลนิธิสารานุกรมไทย ธนาคารไทยพาณิ ชย์. 2542. สารานุกรมไทยภาคอีสาน เล่มที่ 14 กรุ งเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมไทย ธนาคารไทยพาณิ ชย์. มูลนิธิสารานุกรมไทย ธนาคารไทยพาณิ ชย์. 2542. สารานุกรมไทยภาคอีสาน เล่มที่ 15 กรุ งเทพฯ : มูลนิธิสารานุกรมไทย ธนาคารไทยพาณิ ชย์. วิโรฒ ศรี สุโร. 2536. สิ มอีสาน. กรุ งเทพฯ : เมฆาเพลส. สงวน รอดบุญ. ม.ป.ป. พุทธศิลปลาว. กรุ งเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา. สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. 2540. รายงานฉบับสมบูรณ์โครง การ ศึกษาจัดทําแผนแม่บทเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองหลวงพระบางสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว. กรุ งเทพฯ : สถาบันวิจนั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย. สมใจ นิ่มเล็ก. 2539. เครื่ องบนและงานประดับของสถาปัตยกรรมไทย. กรุ งเทพฯ : อมริ นทร์ พริ้ นติ้ง. สุ ภทั รดิศ ดิศกุล, ม.จ. 2545. ประวัติศาสตร์ศิลปะประเทศใกล้เคียง : อินเดีย, ลังกา, ชวา, จาม, ขอม, พม่า, ลาว. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุ งเทพฯ : มติชน. สุ รสวัสดิ์ สุ ขสวัสดิ์, ม.ล. 2535. จากหลวงพระบางถึงเวียงจันทน์. กรุ งเทพฯ : เมืองโบราณ. เสรี ตันศรี สวัสดิ์ และอรุ ณี แน่นหนา. 2544. สะบายดีหลวงพระบาง : คู่มือนักเดินทาง “ฉบับ ไม่มีหลง.” นนทบุรี : ธารบัวแก้ว. Derepas, M. and P.Gay. 2000. Treasures of Luang Prabang. Simgapore : The National Committee of Lao.

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สํานักวิทยบริ การ


วัดหลวง พุทธศาสน์ศึกษาแห่งเมืองอุบลราชธานี : ประวัติศาสตร์จากคาบอกเล่า

78

ประวัตนิ ายบาเพ็ญ ณ อุบล (ท้ าวดอกหมาก) ประวัติและผลงาน นายบาเพ็ญ ณ อุบล เป็ นบุตรของนายปราง ณ อุบล (ท้าวบุญมุง ณ อุบล) และนางพริ ก ณ อุบล (ทองพิทกั ษ์) ท่านทั้งสองเป็ นผูส้ ื บสกุลจากเจ้านายเมืองอุบลแต่นานมา เกิดวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2469 ที่ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี สมรสกับนางรัตนา มีบุตรด้วยกัน 4 คน ที่อยูป่ ั จจุบนั บ้านเลขที่ 364 ถนนอุทยั รามฤทธ์ ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จังหวัดยโสธร ท่านเป็ นผูร้ ิ เริ่ มให้ชาวอุบลราชธานีร่วมกันสร้างอนุสาวรี ยพ์ ระปทุมวรราชสุ ริยวงศ์ (คาผง) เจ้าคุณพระอุบาลี เจ้าคุณสมเด็จพระมหาวีระวงศ์ ตลอดจนมีส่วนร่ วมในการฟื้ นฟูงานบุญบั้งไฟ จังหวัดยโสธร ให้เป็ นงานประจาจังหวัด ระดับชาติ นอกจากนี้ยงั เป็ นนักอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม มีความรู ้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมอีสานเป็ นอย่างดี โดยเฉพาะประวัติและเรื่ องราว จังหวัดอุบลราชธานี

การศึกษา พ.ศ. 2485 สาเร็ จการศึกษาจากโรงเรี ยนเบ็ญจะมะมหาราช จังหวัดอุบลราชธานี โรงเรี ยนเตรี ยมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองจังหวัดอุบลราชธานี (รุ่ น เฉพาะกิจที่ยา้ ยมาทาการเรี ยนการสอนที่จงั หวัดอุบลราชธานี เนื่ องจากเกิด สงครามโลก ครั้งที่ 2) คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2506 สานักอบรมกฎหมายเนติบณั ฑิต กระทรวงยุติธรรม รุ่ นที่ 15

การทางาน พ.ศ. 2507 รับราชการตาแหน่งอัยการ กรมอัยการ และเกษียณอายุราชการที่จงั หวัดขอนแก่น ในตาแหน่งอัยการขั้นฎีกา เขต 4

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


วัดหลวง พุทธศาสน์ศึกษาแห่งเมืองอุบลราชธานี : ประวัติศาสตร์จากคาบอกเล่า

79

เกียรติคุณ พ.ศ. 2522 พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2535

พ.ศ. 2536

พ.ศ. 2537 พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2541 พ.ศ. 2545

ได้รับโล่ห์และเข็มพระนามในฐานะนักอนุรักษ์มรดกไทยดีเด่น จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดา ได้รับประกาศเกียรติคุณผูบ้ ริ จาคโบราณวัตถุให้แก่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ จังหวัดอุบลราชธานี ได้รับโล่ห์เกียรติยศ จากสถาบันวิจยั ศิลปวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัย ศรี นคริ นทรวิโรฒ มหาสารคาม ในฐานะเป็ นบุคคลที่มีผลงานดีเด่นทาง วัฒนธรรมพื้นบ้าน สาขาประเพณี ได้รับพระราชทานโล่ห์เกียรติยศ ในฐานะผูอ้ นุรักษ์ผา้ โบราณดีเด่น จากพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรม แห่งชาติ ได้รับโล่ห์เกียรติยศจากผูว้ า่ ราชการจังหวัดยโสธร ในฐานะเป็ นคนดีศรี เมืองยศ ได้รับเลือกเป็ นประธานสภาวัฒนธรรมจังหวัดยโสธร ได้รับโล่ห์ จากรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงสาธารณสุ ข ในฐานะแต่งกายพื้นเมืองดีเด่น ได้รับโล่ห์เกียรติยศ จากสถาบันราชภัฏอุบลราชธานี ในฐานะพ่อตัวอย่างประจาปี ได้รับเลือกเป็ นครู ภูมิปัญญาไทย (สาขาวัฒนธรรมประเพณี ) จากสภาการศึกษาแห่งชาติ สานักเลขาธิ การนายกรัฐมนตรี

งานข้อมูลท้องถิ่น ฝ่ ายหอสมุด สานักวิทยบริ การ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.