ไม้แกะสลักสองฝั่งโขง ไทย - ลาว
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชาย สิกขา
ไม้แกะสลัก สองฝั่งโขง : ไทย - ลาว ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์ชาย สิกขา Email : Sakchaiubu@homail.com. คณะศิลปประยุกต์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ ศักดิ์ชาย สิกขา. 2553. ไม้แกะสลัก สองฝั่งโขง : ไทย-ลาว. อุบลราชธานี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 124 หน้า. 1. ไม้แกะสลัก 2. แม่น้ำโขง จัดพิมพ์ครั้งที่แรก เดือนกันยายน พ.ศ. 2553 จำนวน 500 เล่ม คณะทำงานเก็บรวบรวมข้อมูล ดร.ประทับใจ สิกขา เสกสันต์ ศรีสันต์ ประสิทธิ์ พวงบุตร จารุสิทธิ์ เครือจันทร์ ศุภลักษณ์ มาคูณตน และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะศิลปประยุกต์แลพการออกแบบ จัดทำโดย : โครงการ การศึกษาเปรียบเทียบศิลปะไม้แกะสลัก แถบลุม่ น้ำโขงของไทย และสปป.ลาว กองส่งเสริมการวิจยั บริการวิชาการ และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
เลขที่ 85 ถนนสถลมาร์ค ตำบลเมืองศรีไค อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190
ก
กิตติกรรมประกาศ ในการดำเนินงานตามโครงการ การศึกษา เปรียบเทียบศิลปะไม้แกะสลักแถบลุ่มน้ำโขงของไทย และสปป.ลาว ในครั้งนี้ เป็นโครงการที่ดำเนินการ ตามแผนงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย อุ บ ลราชธานี ประจำปี ง บประมาณ พ.ศ. 2553 การดำเนิ น งานได้ ส ำเร็ จ ลุ ล่ ว งด้ ว ยดี โดยบุ ค คล หลายท่าน และหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนหลาย หน่ ว ยงาน ซึ่ ง ผู้ ด ำเนิ น งาน ต้ อ งขอบขอบคุ ณ ไว้ ณ โอกาสนี้ ดังนี้ ขอบขอบคุณ กองส่งเสริมการวิจัย บริการ วิชาการและทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ขอบขอบคุณ รองศาสตราจารย์ ดร. ธาดา สุทธิธรรม ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองผลงานวิชาการ ในครั้งนี้ ที่ช่วยให้คำแนะนำ ทำให้ผลงานมีความ สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ขอบขอบคุ ณ เจ้ า อาวาสวั ด และทายก วัดต่างๆทั้งในวัดไทย และวัดในสปป.ลาวที่อนุญาต ให้เก็บข้อมูล ให้ความรู้ และให้คำแนะนำต่างๆ ขอบขอบคุ ณ ผู้ ดู แ ลรั บ ผิ ด ชอบพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ และเจ้าของกิจการร้านค้าทั้งในไทย และในสปป.ลาว ที่อนุญาตให้เก็บข้อมูล ให้ความรู้ และให้คำแนะนำ ต่างๆ ขอบขอบคุณ ปราชญ์ชาวบ้าน ช่างพื้นบ้าน และชาวบ้านในท้องถิ่นจำนวนหลายท่านที่ไม่สามารถ เอ่ ย นามได้ ห มด ที่ ใ ห้ ค วามรู้ แ ละให้ ค ำแนะนำ ในครั้งนี้ สุ ด ท้ า ย ขอขอบคุ ณ ที ม งาน และนั ก ศึ ก ษา ปริ ญ ญาโท-เอก สาขาวิ ช าการออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ คณะศิลปประยุกต์และการออกแบบ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ที่ร่วมกิจกรรมจัดเก็บข้อมูลในครั้งนี้
ข
คำนิยม งานแกะสลั ก ไม้ เป็ น ศิ ล ปกรรมชั้ น สู ง ที่ต้องอาศัยทักษะฝีมือ จินตนาการ และความซาบซึ้ง ในเชิงวัฒนธรรมของผู้สร้างสรรค์ ที่บ่งชี้ถึงสภาวะ จิ ต ของช่ า งฝี มื อ ในแถบลุ่ ม น้ ำ โขงของประเทศ ไทยและลาวเป็ น แหล่ ง อารยะธรรมล้ า นช้ าง ซึ่งเป็นพุทธศิลปกรรม ที่เกิดจากศรัทราและความเชื่อ เป็ น สำคั ญ งานไม้ แ กะสลั ก นอกจากจะเป็ น เครื่ อ ง บ่งชี้ของอารยะธรรมแล้ว ยังแสดงถึงภูมิปัญญา และ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญของภูมิภาค ความพยายามอย่างน่าชืน่ ชมของผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศั ก ดิ์ ช าย สิ ก ขา ในการสำรวจข้ อ มู ล เพื่ อ บ่ ง ชี้ แ ละเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล สองฝั่ ง โขง ผ่ า นงานศิ ล ปะ ไม้ แ กะสลั ก ในหมวดหมู่ ที่ ค รบถ้ ว นไม่ ว่ า จะเป็ น งาน แกะสลักไม้ในงานสถาปัตยกรรม เช่น ทวย เชิงชาย หน้าบัน ฯลฯ งานแกะสลักไม้เพื่อเป็นสิ่งของเครื่องใช้ ไม่ว่าจะเป็น ขันหมาก โฮงฮด(ฮางฮด) แสดงให้เห็น ถึงความหลากหลายทางศิลปกรรม ซึ่งต้องประมวล มาจากการศึกษาภาคสนาม เกือบ 300 หมู่บ้าน
ตามลำแม่ น้ ำ โขงในระยะทางหลายพั น กิ โ ลเมตร 7 จังหวัดของประเทศไทย และ 5 แขวงในประเทศลาว ได้ แ สดงถึ ง ความมานะอุ ต สาหะ โดยไม่ ย่ อ ท้ อ ด้วยคุณสมบัติอันเป็นที่น่ายกย่องของนักวิจัย แม้จะ ได้รับงบประมาณสนับสนุนไม่มาก การศึกษาเปรียบเทียบชิน้ งานระหว่างสองฝัง่ โขง ทำให้เราได้ซาบซึ้ง และตระหนักถึงความสำพันธ์ของ ทั้งสองประเทศ อันจะนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่าง ประเทศ แม้ปัจจุบันจะมีแม่น้ำขวางกั้น หนั ง สื อ ที่ ม าจากงานวิ จั ย ชิ้ น นี้ จึ ง ควรค่ า แก่ความสนใจ และการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมของทั้ง สองประเทศ ทีว่ งการวิชาการไทยควรยกย่องเล่มหนึง่
รองศาสตราจารย์ ดร.ธาดา สุทธิธรรม
ค
คำนำ ไม้ เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ที่ มี ทั่ ว ไปในแถบลุ่ ม น้ ำ โขง ผู้คนแถบลุ่มน้ำโขงได้เรียนรู้การนำไม้มาใช้ประโยชน์ ในวิ ถี ชี วิ ต มากมาย นั บ ตั้ ง แต่ ส ร้ า งที่ อ ยู่ อ าศั ย สร้ า งเครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ์ ท ำมาหากิ น สร้ า งสิ่ ง ของ เครื่ อ งใช้ เครื่ อ งดนตรี รวมทั้ ง สิ่ ง ของที่ เ ป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ค วามเชื่ อ ความศรั ท รา ในอดี ต ถื อ ว่ า ไม้ คื อ วั ต ถุ ดิ บ ที่ ส ามารถแปรสภาพได้ ม ากที่ สุ ด ในปั จ จุ บั น ไม้ ไ ด้ ถู ก ทดแทนด้ ว ยวั ส ดุ ที่ ห ลากหลาย เช่น โลหะ ปูน พลาสติก และวัสดุสังเคราะห์ต่างๆ การใช้วัสดุทดแทนเหล่านี้ ถือว่าเป็นการเปลี่ยนแปลง ตามกระแสโลก ซึ่งเป็นเหตุเป็นผลที่ต้องยอมรับ ในมุ ม มองของงานศิ ล ปะ ไม้ ที่ ผู้ ค นในอดี ต เคยสร้ า งสรรค์ ผ ลงานต่ า งๆ ไม่ ไ ด้ มี คุ ณ ค่ า เพี ย ง วัตถุสิ่งของ แต่ไม้ที่ผ่านการสร้างสรรค์ผลงานเป็น อารมณ์ เป็นความรู้สึกของผู้สร้างที่เพียรพยายาม ถ่ า ยทอดความรู้ สึ ก นึ ก คิ ด ในแต่ ล ะช่ ว งอารมณ์ และช่ ว งยุ ค สมั ยผ่านวัตถุ สร้างความเป็นรู ป ธรรม ทีส่ ามารถรับรูไ้ ด้ อาจกล่าวได้วา่ ความคิด ความเชือ่ ในแต่ ล ะยุ ค สมั ย สามารถเรี ย นรู้ ไ ด้ จ ากวั ต ถุ สิ่ ง ของ ที่สร้างขึ้น ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ที่ ถู ก ถ่ า ยทอดผ่ า น งานไม้ โ ดยส่ ว นใหญ่ มั ก สะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง รู ป ทรง ลวดลาย และกลไก ที่ ส ามารถตอบสนองทั้ ง ทาง กายและจิตใจของมนุษย์ ด้วยวิธีการสร้างง่ายๆ เช่น การถาก การขุ ด การเหลา จนกระทั้ ง วิ ธี ย ากๆ
เช่น การแกะ การฉลุ และการขัด และการลงสีผิว ด้วยวิธีการต่างๆ ในการศึ ก ษางานไม้ ใ นครั้ ง นี้ ผู้ เ ขี ย นได้ เล็ ง เห็ น ว่ า ความคิ ด สร้ า งสรรค์ บ นเนื้ อ ไม้ เ หล่ า นี้ คื อ ตำราที่ ผู้ ค นในอดี ต ได้ ฝ ากเอาไว้ ใ ห้ ค นรุ่ น หลั ง ได้ เ รี ย นรู้ และตำรานี้ นั บ วั น จะผุ ก ร่ อ นตามอายุ ขั ย ไม่ ค่ อ ยมี ค นดู แ ลรั ก ษา และปั จ จุ บั น ได้ เ ลิ ก ผลิ ต แบบเดิมแล้ว มีการผลิตแบบใหม่เกิดในหลายแห่ง แม่น้ำโขงถือเป็นแหล่งอารยธรรมแห่งเอเชีย งานศิ ล ปะมากมายมี รู ป ลั ก ษณ์ เ ป็ น ของตนเอง งานไม้แกะสลักเป็นหนึ่งในงานศิลปะ ในอดีตมีการ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะแขนงนีม้ ากมายทัง้ สองฟากฝัง่ การบันทึกศึกษาในครั้งนี้เป็นการสืบสานในเชิงคุณค่า เพือ่ ไม่ให้เกิดการสูญหาย ผู้ เ ขี ย นเชื่ อ ว่ า ความยากลำบากที่ ต้ อ ง เดิ น ทางนั บ พั น กิ โ ลเมตร ในเวลา 3 ปี เพื่ อ เก็ บ รวบรวมข้อมูลในครั้งนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อทุกท่าน ที่เห็นคุณค่า และหวังใจว่า จะมีการศึกษาต่อยอด ต่อไป เพราะยังมีงานไม้แกะสลักอีกจำนวนมากที่ยัง รอคอยการบันทึกศึกษา
ศักดิ์ชาย สิกขา / ผู้เขียน
ง
สารบัญ เรื่อง
หน้า
กิตติกรรมประกาศ คำนิยม คำนำ สารบัญ บทที่ 1 บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญ 1.2 วัตถุประสงค์ 1.3 วิธีการดำเนินงาน 1.4 ข้อตกลงเบื้องต้น 1.5 ขอบเขตในการศึกษาค้นคว้า 1.6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.7 คำศัพท์เฉพาะที่ใช้ บทที่ 2 ไม้แกะสลักในฝั่งไทย 2.1 แหล่งศึกษาข้อมูล 2.2 ไม้แกะสลักที่ใช้ในงานตกแต่งอาคาร สถานที่ 2.3 ไม้แกะสลักในงานพุทธศิลป์ต่างๆ 2.4 ไม้แกะสลักสิ่งของ เครื่องใช้ และของที่ระลึก 2.5 ไม้แกะสลักในความเชื่อต่างๆ 2.6 สรุปผลการสำรวจงานไม้แกะสลักในฝั่งไทย บทที่ 3 ไม้แกะสลักในฝั่งลาว 3.1 แหล่งศึกษาข้อมูล 3.2 ไม้แกะสลักที่ใช้ในงานตกแต่งอาคาร สถานที่
ก ข ค ง 1 1 3 4 4 4 5 6 7 7 10 24 45 49 50 53 53 58
จ
สารบัญ(ต่อ) เรื่อง
หน้า
3.3 ไม้แกะสลักในงานพุทธศิลป์ต่างๆ 3.4 ไม้แกะสลักสิ่งของ เครื่องใช้ และของที่ระลึก 3.5 ไม้แกะสลักในความเชื่อต่างๆ 3.6 สรุปผลการสำรวจงานไม้แกะสลักในฝั่งลาว บทที่ 4 การศึกษาเปรียบเทียบงานไม้แกะสลักสองฝั่งโขง 4.1 การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงเปรียบเทียบ กรณีศึกษาที่ 1 ด้านวัสดุและกระบวนการผลิต กรณีศึกษาที่ 2 ด้านรูปแบบและคุณค่าในงานศิลปะ กรณีศึกษาที่ 3 ด้านการใช้และการอนุรักษ์ งานไม้แกะสลักมรดกทางวัฒนธรรม 4.2 การวิพากย์งานไม้แกะสลักสองฝั่งโขง บทที่ 5 สรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ การสรุปผล การอภิปรายผล ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก ภาคผนวก ก ภาพกิจกรรมการสำรวจข้อมูล ภาคผนวก ข บันทึกการเดินทาง
75 91 92 93 95 96 96 103 112 114 117 117 120 121 125 129 131 141
บทที่ 1
บทนำ 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญ สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว หรื อ สปป.ลาว ถื อ เป็ น ประเทศเพื่ อ นบ้ า นที่ มี วัฒนธรรมใกล้เคียงกับภาคอีสานของไทยมากที่สุด ในอดี ต ประชาชนสองประเทศเคยเดิ น ทางข้ า มฝั่ ง แม่น้ำโขงติดต่อค้าขายฉันท์พี่น้อง ใช้ภาษาสื่อสาร กั น ได้ โดยไม่ ต้ อ งเรี ย นรู้ เ พิ่ ม เติ ม ในแง่ มุ ม ของ ประวัติศาสตร์ประชาชนสองฝั่งโขงเคยอยู่ใต้ร่มเงา อาณาจั ก รเดี ย วกั น ปั จ จุ บั น บ้ า นเมื อ งมี ค วาม เปลี่ยนแปลงไปมาก เกิดพรมแดนในทางปกครอง โดยอาศัยร่องน้ำลึกของแม่น้ำที่เคยข้ามฟากติดต่อกัน เป็ น เส้ น แบ่ ง พรมแดน อย่ า งไรก็ ต าม เส้ น แบ่ ง ใน การปกครองเหล่านี้ ไม่ใช่ปญ ั หาอุปสรรคทีจ่ ะแบ่งเส้น ทางวัฒนธรรมได้ ดังที่ แวง พลังวรรณ (2553 : 160) เคยกล่าวไว้ในหนังสือ เวียงจันทน์ 450 ปี
ว่าเมื่อใดที่คนลาวและคนอีสานพบปะกัน สิ่งแรกที่ เกิ ด ขึ้ น ทุ ก ครั้ ง ก็ คื อ คนทั้ ง สองฝั่ ง โขงจะรั ก กั น เสมือนญาติที่พลัดพรากกันไปแสนนาน ความรู้สึกนี้ เป็ น สิ่ ง ดี ง ามที่ ค นสองฝั่ ง โขงต้ อ งสื บ ต่ อ รั ก ษาไว้ หากมองย้ อ นถึ ง ประวั ติ ศ าสตร์ จ ะพบว่ า ในอดี ต ชุมชนแถบลุ่มน้ำโขงแห่งนี้ เคยมีการอพยพเคลื่อน ย้ายถิ่นฐานในหลายครั้ง ด้วยเหตุผลหลายประการ เช่ น ภั ย ธรรมชาติ การรุ ก รานแย่ ง ชิ ง ดิ น แดน และลั ก ษณะนิ สั ย ที่ รั ก สงบของคนแถบลุ่ ม น้ ำ โขง กอปรกั บ ความถั ด และความเชี่ ย วชาญในงาน เกษตรกรรมมากกว่าที่จะเป็นนักรบ ทำให้ผู้คนมีการ เคลื่ อ นย้ า ยและได้ อ าศั ย สายน้ ำ เป็ น ปั จ จั ย สำคั ญ ใน ก า ร พิ จ า ร ณ า ใ น ก า ร เ ลื อ ก พื้ น ที่ ตั้ ง ถิ่ น ฐ า น
ซึ่งสอดคล้องกับ นิวัฒน์ ร้อยแก้ว (2547 : 13) กลุ่ ม รั ก ษ์ เ ชี ย งของ ที่ เ คยเขี ย นไว้ ใ นบทนำหนั ง สื อ ธรรมยาตรารักษาลำน้ำโขง ว่าการดำเนินชีวิตของ มวลมนุ ษ ย์ ช าติ นั บ ตั้ ง แต่ ค รั้ ง บรรพกาลจนถึ ง ปัจจุบันนี้ มิอาจปฏิเสธการพึ่งพาธรรมชาติได้ แม่น้ำ คือ ปัจจัยหนึง่ ทีใ่ ห้ชวี ติ ความอุดมสมบูรณ์ ความร่มเย็น และความยั่งยืนของเผ่าพันธุ์ ในบรรดาแม่น้ำที่มีอยู่ ในโลก แม่น้ำโขงหรือแม่น้ำของ ถือเป็นแม่น้ำขนาด ใหญ่มากเป็นแม่น้ำนานาชาติที่ไหลผ่านหกประเทศ นับตั้งแต่อดีตเป็นต้นมา มหาอำนาจจักรวรรดินิยม ทั้ ง หลายจึ ง มี ค วามสนใจแม่ น้ ำ โขงเป็ น อย่ า งมาก แนวคิ ด ดั ง กล่ า วสะท้ อ นให้ เ ห็ น อดี ต และปั จ จุ บั น ที่ส่งผลต่อการรุกรานคนในท้องถิ่น ก่อเกิดการย้าย ถิ่นฐานในหลายครั้ง ซึ่งการย้ายถิ่นฐานตามสายน้ำ ไม่เพียงแต่เป็นการย้ายถิ่นที่อยู่ใหม่ หรือย้ายสิ่งของ เท่านั้น แต่ยังเป็นการย้ายวัฒนธรรมและภูมิปัญญาที่ มี ก ารสื บ ทอดมาหลายชั่ ว อายุ ค นตามมาด้ ว ย ภูมิปัญญาของผู้คนแถบลุ่มน้ำโขงส่วนใหญ่เป็นงาน ที่ เ กิ ด จากความจำเป็ น ในการดำรงชี พ ความเชื่ อ ศาสนา ประเพณี ฮีตคอง ก่อเกิดเป็นวัตถุสิ่งของ เครื่ อ งใช้ ที่ ผ่ า นการคิ ด ค้ น สื บ ต่ อ กั น มา ภู มิ ปั ญ ญา ใ น ก า ร ผ ลิ ต ใ น อ ดี ต มั ก เ ป็ น ง า น หั ต ถ ก ร ร ม หรืองานที่ต้องลงมือทำด้วยสองมือ เช่น งานทอผ้า งานจักสาน เครือ่ งปัน้ ดินเผา งานโลหะ และงานไม้ตา่ งๆ ซึ่งไม่ได้ใช้เครื่องจักรอุตสาหกรรมดังเช่นในปัจจุบัน ภูมิปัญญาเหล่านี้ได้เกิดขึ้นตามวิถีความต้องการของ ม นุ ษย์ ที่ มี ค วามต้ อ งการทั้ ง ประโยชน์ ใ ช้ ส อ ย และคุณค่าความงาม
2
ในบรรดาวัตถุดิบที่ผ้คู นแถบลุ่มน้ำโขงเลือกใช้ ก็คอื ไม้ และถือเป็นวัตถุดบิ ทีถ่ กู เลือกมากทีส่ ดุ เพราะ มีอยู่ทั่วไปในแถบลุ่มน้ำโขง ด้วยความอุดมสมบูรณ์ ของผืนแผ่นดินแห่งนี้ ทำให้มีพรรณไม้นานาพันธุ์เกิด ขึ้นตามธรรมชาติมากมาย ชาวบ้านได้ใช้ภูมิปัญญาที่ สืบทอดต่อกันมาจากรุ่นสู่รุ่นเลือกชนิดของไม้มาผลิต เป็นผลงานหัตถกรรมเพื่อสนองตอบประโยชน์ใช้สอย ไม้บางอย่างมีคณ ุ สมบัตทิ างด้านความแข็ง ความเหนียว ไม้บางอย่างมีคณ ุ สมบัตเิ ป็นสมุนไพรให้รสชาติ กลิน่ สี ไม้บางอย่างมีชื่อเป็นมงคล สิ่งเหล่านี้เป็นภูมิปัญญา ชาวบ้ า น เมื่ อ นำมาสร้ า งเป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ วั ต ถุ ดิ บ จากไม้ปา่ ได้ผา่ นกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานก่อเกิด ลวดลายที่ แ ตกต่ า งกั น มี ค่ า ควรแก่ ก ารอนุ รั ก ษ์ ยิ่ ง ปัจจุบันภูมิปัญญางานหัตถกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับไม้ ได้ เ ริ่ ม สู ญ หายไปมาก ปริ ม าณการผลิ ต ลดน้ อ ยลง ช่างฝีมือแกะสลักเริ่มหายากขึ้น งานไม้แกะสลักที่มี คุ ณ ค่ า ในอดี ต เริ่ ม ชำรุ ด ทรุ ด โทรมและขาดการ ผลิ ต ทดแทน หากไม่ มี ก ารศึ ก ษาและรวบรวม ในเชิงเปรียบเทียบให้เห็นคุณค่าทางศิลปะ ผูเ้ ขียนเชือ่ ว่า ความรู้ในศิลปะแขนงนี้อาจเกิดการสูญหายได้ ในการศึ ก ษาครั้ ง นี้ เป็ น การศึ ก ษาต่ อ ยอด จากการศึ ก ษา ศิ ล ปะไม้ แ กะสลั ก ในแถบลุ่ ม น้ ำ โขง ของไทย ทีผ่ เู้ ขียนเคยศึกษารวบรวมไว้ในปี พ.ศ. 2551 ซึ่งประกอบศิลปะไม้แกะสลักในเขตพื้นที่ 7 จังหวัด คือ จังหวัดเชียงราย จังหวัดเลย จังหวัดหนองคาย จังหวัดนครพนม จังหวัดมุกดาหาร จังหวัดอุบลราชธานี โดยในปี พ.ศ. 2553 ได้มีการศึกษาเพิ่มเติมในฝั่ง ของสปป.ลาว จำนวน 5 แขวง คือ นครหลวงเวียงจันทร์
แขวงหลวงพระบาง แขวงไซยะบุรี แขวงสะหวันนะเขด และแขวงจำปาสัก เป็นการเลือกศึกษาในแขวงที่มี วัฒนธรรมโบราณ และมีข้อมูลเบื้องต้นที่เชื่อได้ว่า มีงานไม้แกะสลักที่เก่าแก่และมีความน่าสนใจ เพื่อนำ ข้อมูลมาศึกษาเปรียบเทียบในด้านต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้ เกิดความกระจ่างในความเหมือนหรือความต่างของ งานฝีมือแขนงนี้ การศึกษาเปรียบเทียบในลักษณะนี้ ผูเ้ ขียนเชือ่ ว่าน่าจะเกิดประโยชน์ตอ่ การบันทึกหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ การอนุรักษ์รูปทรงงานโบราณ และเกิดประโยชน์ตอ่ การนำคุณค่าความงามไปประยุกต์ ใช้ในงานออกแบบร่วมสมัยในแขนงวิชาต่างๆ เช่น การออกแบบลายผ้ า การออกแบบเครื่ อ งประดั บ การออกแบบเครือ่ งเรือน การออกแบบสถาปัตยกรรม และอื่ น ๆ ซึ่ ง จะต้องมีการพิจารณาความเหมาะสม ในลำดับต่อไป การเลือกกลุ่มเป้าหมายในการศึกษา ผู้เขียน พิจารณาจากหมู่บ้านชุมชนที่อาศัยอยู่แถบล่มน้ำโขง เป็นหลัก โดยอิงข้อมูลทางเอกสารและการสอบถาม ในพื้ น ที่ จ ริ ง เกณฑ์ ใ นการเลื อ กใช้ วิ ธี พิ จ ารณาจาก ความเก่ า แก่ ข องชุ ม ชนและลั ก ษณะการสื บ ทอด วัฒนธรรมที่มีมายาวนาน จากประสบการณ์ในการ เก็ บ ข้ อ มู ล ที่ ผ่ า นมาทำให้ ท ราบว่ า ศิ ล ปะจากงาน ไม้แกะสลักมักปรากฏหลักฐานให้เห็นโดยส่วนใหญ่ มักอยู่ตามวัด และอาจมีบ้างตามอาคารที่พักอาศัย พิพธิ ภัณฑ์ ร้านขายของเก่า และร้านจำหน่ายของทีร่ ะลึก สำหรับนักท่องเที่ยว ซึ่งสอดคล้องกับข้อคิดเห็นของ น. ณ ปากน้ำ (2550 : 174) ที่เคยกล่าวไว้ว่า ศิ ล ปะโบราณส่ ว นมากย่ อ มอยู่ ที่ วั ด เพราะวั ด เป็ น
แหล่งศูนย์กลางวัฒนธรรมของชุมชนไทยแต่ละท้องถิ่น นั บ ตั้ ง แต่ ยุ ค เริ่ ม นั บ ถื อ ศาสนาพุ ท ธเป็ น ต้ น มา คนไทยถื อ ว่ า วั ด เป็ น จุ ด รวมของศิ ล ปกรรมของตน อย่ า งแท้ จ ริ ง การปั้ น การแกะสลั ก การก่ อ สร้ า ง สถาปัตยกรรม ย่อมมีศูนย์กลางอยู่ที่วัด ซึ่งมักจะไม่ นิยมนำศิลปวัตถุมาประดับตกแต่งอาคารบ้านเรือน ของตนให้ ห รู ห ราดั ง เช่ น ชาวยุ โ รป เพราะโดย ประเพณีถือว่า การสร้างบุญกุศลย่อมเป็นประโยชน์ กว่าการเก็บไว้สำหรับตนเอง จกข้อคิดเห็นดังกล่าว สอดคล้องกับข้อมูลที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งแนวคิดและความ เชื่อนี้ไม่ได้เกิดขึ้นในเฉพาะประเทศไทยแต่ได้เกิดขึ้น กับสปป.ลาว และประเทศอื่นๆในแถบภูมิภาคเดียวกัน ที่นับถือศาสนาพุทธเช่นเดียวกันด้วย ดังนั้นวัดจึงเป็น เป้าหมายหลักของการจัดเก็บข้อมูลในครั้งนี้ 1.2 วัตถุประสงค์ ในการศึ ก ษาครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการ ดำเนินการ 3 ประการ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาและรวบรวมศิลปะไม้แกะสลัก ที่ เ กิ ด จ า ก ง า น หั ต ถ ก ร ร ม ไ ม้ ใ น แ ง่ ข อ ง วั ส ดุ กระบวนการผลิต ประโยชน์ใช้สอย ความเชื่อถือจาก อดีตสู่ปัจจุบัน 2) เพื่ อ ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บลั ก ษณะงาน หั ต ถกรรมจากไม้ ใ นด้ า นของรู ป ทรงและลวดลาย จากผลงานช่ า งฝี มื อ ในเขตพื้ น ที่ แ ถบลุ่ ม น้ ำ โขง ของไทย กับสปป.ลาว 3) เพื่อนำข้อมูลออกเผยแพร่ในเชิงอนุรักษ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านงานแกะสลักไม้
3
1.3 วิธีการดำเนินงาน ในด้านการดำเนินงาน มีการวางขั้นตอนใน การดำเนินงาน 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) สำรวจ ศึกษาข้อมูลจากเอกสาร งานวิจยั และข้ อ มู ล ต่ า งๆที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และเลื อ กพื้ น ที่ กลุ่มเป้า หมายในภาคอี ส านของไทย(ที่ อ าจมี เ พิ่ ม เติ ม ) และฝั่งสปป.ลาว 2) ลงพื้ น ที่ ศึ ก ษาโดยใช้ แ บบสั ม ภาษณ์ บั น ทึ ก ภาพ วาดภาพลายเส้ น และรวบรวมข้ อ มู ล สิ่งของตัวอย่างที่สามารถหาได้ในพื้นที่ 3 ) จั ด ก ร ะ ท ำ ข้ อ มู ล วิ เ ค ร า ะ ห์ ข้ อ มู ล เปรียบเทียบข้อมูลหลักฐาน เพื่อเผยแพร่ในรูปแบบ ของเอกสารสิ่งพิมพ์ 4) สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน 1.4 ข้อตกลงเบื้องต้น เนื่ อ งจากการศึ ก ษาในครั้ ง นี้ เ ป็ น การศึ ก ษา ข้อมูลระหว่าง 2 ประเทศ ซึ่งมีวัฒนธรรมทางภาษา ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียนใกล้เคียงกันมาก ดังนั้น ในการบันทึกข้อมูลโดยใช้ภาษาเขียนของสปป.ลาว ผู้ เ ขี ย นจึ ง ขอยึ ด รากศั พ ท์ เ ดิ ม ของภาษาลาวที่ มี ก าร เขี ย นบั น ทึ ก ไว้ ใ นแหล่ ง ข้ อ มู ล ต่ า งๆ และบางส่ ว นที่ ไม่มีการบันทึกเป็นภาษาเขียนก็ขอใช้การบัดทึกตาม สำเนียงของภาษาพูด ซึ่งเชื่อว่าน่าจะเกิดประโยชน์ ต่อการศึกษาในพื้นที่จริงของผู้ที่เรียนรู้จากเอกสารนี้ อีกทั้งเป็นการให้เกียรติรากศัพท์ของเจ้าของภาษา เช่ น เวี ย งจั น ทร์ เขี ย นเป็ น เวี ย งจั น สุ ว รรณเขต เขี ย นเป็ น สะหวั น นะเขด วั ด จั น ทร์ ท ะสาโร เขียนเป็น จันทน์ทะสาโร วัดโพนไชยชนะสงคราม
4
เขียนเป็น วัดโพนไซซะนะสงคาม เป็นต้น และเมื่อ พิจารณาด้านตัวอักษรบางตัวไม่มีในลาวและไม่ได้ใช้ ในการออกเสียง เช่น ช ช้าง ในภาษาลาวใช้เพียง ตัวเดียว คือ ซ ซ้าง เทียบเคียง ช ช้าง และ ซ โซ่ ที่ใช้ในภาษาไทย เป็นต้น 1.5 ขอบเขตในการศึกษาค้นคว้า การจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ในการศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บ ข้ อ มู ล งานไม้ แ กะสลั ก ในฝั่ ง ประเทศไทยและฝั่ ง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว(สปป.ลาว) หรื อ ฝั่ ง ลาว เป็ น การศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บโดยนำ
เส้นทางจากต้นน้ำสู่ปลายน้ำและสองฝั่งโขงไทย-ลาว ที่มา : จากโปรแกรม Google Earth
ผลการศึ ก ษาในฝั่ ง ไทยเมื่ อ ปี พ.ศ.2551-2552 เ พื่ อ เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ฝั่ ง ล า ว ปีพ.ศ.2553 ซึ่งถือว่าเป็นการศึกษาต่อเนื่อง 3 ปี โดยขอบเขตพื้นที่ในการศึกษา มีดังนี้ การศึกษางานไม้แกะสลักในฝั่งประเทศไทย ประกอบด้ ว ย เขตพื้ น ที่ ชุ ม ชนในชานเมื อ งและ ในตัวเมือง จำนวน 7 จังหวัด ประกอบด้วย เชียงราย เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร และอุบลราชธานี ก า ร ศึ ก ษ า ง า น ไ ม้ แ ก ะ ส ลั ก ใ น ฝั่ ง ส า ธ า ร ณ รั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว(สปป.ลาว) ประกอบด้วย เขตพื้นที่ชุมชนในชานเมืองและในตัวเมือง จำนวน 5 แขวง คือ นครหลวงเวียงจันทร์ หลวงพระบาง ไซยะบุรี สะหวันนะเขด และแขวงจำปาสัก
ซึ่งพื้นที่ศึกษาข้อมูลของสองประเทศ อยู่สอง ฟากฝั่งแม่น้ำโขง ดังแสดงในแผนที่ต่อไปนี้ จากแผนที่ในฝั่งประเทศไทยจะเห็นว่า แม่น้ำ โขงไหลจากต้นน้ำแถบธิเบตและจีนไหล่ผ่านประเทศ ไทยที่จังหวัดเชียงราย และวกเข้าในสปป.ลาว ผ่าน ประเทศไทยอี ก ครั้ ง ที่ จั ง หวั ด เลย จนกระทั้ ง ออกที่ บริเวณอำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อยึด แนวพรมแดนของไทยเป็นหลักก็จะพบว่าในฝังตรง ข้ า มของสปป.ลาว จะเริ่ ม จากแถบแขวงไซยะบุ รี แขวงหลวงพระบาง นครหลวงเวียงจัน เรียบผ่าน อีกหลายแขวง เช่น แขวงสะหวันนะเขด และมาออก ที่แขวงจำปาสัก ที่อยู่ตรงข้ามกับจังหวัดอุบลราชธานี ประเทศไทย 1.6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ การจัดเก็บข้อมูลเพื่อศึกษาเปรียบเทียบข้อมูล งานไม้แกะสลักในฝั่งประเทศไทยและฝั่งสาธารณรัฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว(สปป.ลาว) ในครั้ ง นี้ มีประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3 ประการ ดังนี้ 1) ข้ อ มู ล ทางด้ า นวั ส ดุ กรรมวิ ธี ก ารผลิ ต การใช้สอยผลิตภัณฑ์ ความเชื่อต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ การใช้ไม้เป็นผลิตภัณฑ์ได้รับการศึกษาค้นคว้าอย่าง เป็นระบบเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาเชิงอนุรักษ์และ การศึกษาเพื่อพัฒนาในวิถีสังคมใหม่ 2) หัตถกรรมต่างๆที่ผลิตขึ้นจากไม้ได้รับการ ศึ ก ษาและวิ เ คราะห์ ใ นลั ก ษณะเปรี ย บเที ย บให้ เ ห็ น ความแตกต่ า งและความเป็ น มาของแต่ ล ะชุ ม ชนใน แถบลุ่มน้ำโขง
5
3) ข้อมูลงานศิลปะไม้แกะสลักในอดีตได้รับ การศึกษาและเผยแพร่ให้คนในสังคมวิถีใหม่ได้ศึกษา เรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นและนำไปประยุกต์ใช้ใน สาขาที่เกี่ยวข้องต่อไป 1.7 คำศัพท์เฉพาะที่ใช้ ฝั่ ง ล า ว ห ม า ย ถึ ง บ ริ เ ว ณ เ ข ต พื้ น ที่ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในส่วนที่อยู่ ใกล้เคียงกับชายฝั่งแม่น้ำโขง โดยอาศัยพื้นที่แขวงที่ อยู่ใกล้เคียงที่สุดเป็นตัวกำหนด ฝั่งไทย หมายถึง บริเวณเขตพื้นที่ประเทศ ไทย ในส่วนที่อยู่ใกล้เคียงกับชายฝั่งแม่น้ำโขง โดย อาศัยพื้นที่จังหวัดที่อยู่ใกล้เคียงที่สุดเป็นตัวกำหนด สปป.ลาว หมายถึ ง ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ไม้ แ กะสลั ก หมายถึ ง การทำให้ เ ป็ น ลวดลายบนเนื้อไม้ โดยมีลักษณะของการ แกะ แงะ หรื อ เจาะให้ สิ่ ง ที่ ติ ด กั น อยู่ ห ลุ ด ออกจากกั น โดยใช้ เครื่ อ งมื อ หรื อ อุ ป กรณ์ ช่ ว ยในการกระทำ และมี ความหมายเช่ น เดี ย วกั บ คำว่ า จำหลั ก ที่ มี ค วาม หมายตามพจนานุกรมว่า แกะให้เป็นลวดลาย ลุ่มน้ำโขง หมายถึง เขตพื้นที่บริเวณโดยรอบ หรือใกล้เคียงกับแม่นำ้ โขง(ภาษาถิน่ ภาคอีสานของไทย และลาว เรียกว่า แม่น้ำของ)
6
บทที่ 2
ไม้แกะสลักในฝั่งไทย 2.1 แหล่งศึกษาข้อมูล
จากการรวบรวมข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ งานไม้ แ กะ สลักแถบลุ่มแม่น้ำโขงในฝั่งไทยที่ผ่านมา ผู้เขียนได้ ดำเนิ น การเก็ บ ข้ อ มู ล ในเขตพื้ น ที่ 7 จั ง หวั ด คื อ เชี ย งราย เลย หนองคาย นครพนม มุ ก ดาหาร อำนาจเจริญ อุบลราชธานี พบว่า ส่วนใหญ่งานไม้ แกะสลั ก ที่ พ บมั ก ปรากฎให้ เ ห็ น ในแหล่ ง ข้ อ มู ล ที่ มี ประวั ติ ค วามเป็ น มาทางประวั ติ ศ าสตร์ แหล่ ง เก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ของส่ ว นราชการ และร้ า นค้ า ตาม แหล่งท่องเทีย่ วต่างๆ ซึง่ ประกอบด้วย วัด ศาสนสถาน สถานศึ ก ษา พิพิธภัณฑสถาน ร้านจำหน่า ยสิ น ค้ า แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว บ้ า นเรื อ นในชุ ม ชน บ้ า นพั ก โรงแรม ในการนี้ ผู้เขียนขอจำแนกแหล่งข้อมูลใน พื้นที่ 7 จังหวัด โดยสังเขปดังนี้
1) จั ง หวั ด เชี ย งราย เป็ น จั ง หวั ด เดี ย วใน ภาคเหนือที่มีพรมแดนติดกับแม่น้ำโขง บริเวณพื้นที่ อำเภอเชียงแสน อำเภอเชียงของ และอำเภอเวียง แก่น ในอดีตพื้นที่ของจังหวัดเชียงรายส่วนหนึ่งเคย เป็นอาณาเขตของเมืองเชียงใหม่ และส่วนหนึ่งเคย เป็นอาณาเขตของเมืองน่าน จนกระทัง่ ในปีพ.ศ. 2453 จึ ง ได้ มี ก ารรวมตั ว เรี ย กว่ า จั ง หวั ด พายั พ เหนื อ และเปลี่ ย นเป็ น จั ง หวั ด เชี ย งรายในลำดั บ ต่ อ มา สำหรับในการเก็บข้อมูลในครั้งนี้ ผู้เขียนได้เก็บข้อมูล ในหลายพืน้ ที่ เช่น พิพธิ ภัณฑ์บา้ นฝิน่ อำเภอเชียงแสน วั ด พระธาตุ ผ าเงา บ้ า นสบคำ ตำบลเวี ย ง อำเภอ เชียงแสน วัดไชยสถาน อำเภอเชียงของ เป็นต้น
2) จังหวัดเลย เป็นจังหวัดแรกในภาคอีสานที่ มีพรมแดนติดแม่นำ้ โขง ในอดีตเคยอยูใ่ ต้การปกครอง ของอาณาจั ก รล้ า นช้ า ง ในราวต้ น พุ ท ธศตวรรษ ที่ 21 ยุคสมัยพญาฟ้างุ้ม ซึ่งมีการขยายอาณาเขต เข้ามาในดินแดนอีสานถึงแถบลุ่มน้ำชี ต่อมาจนถึง ยุ ค จากนั้ น ในสมั ย พญาสามแสนไทย ถื อ เป็ น ช่ ว งที่ คนลาวเข้ า มาตั้ ง ถิ่ น ฐานในดิ น แดนอี ส านมากขึ้ น ปะปนกับชาวพื้นเมืองเดิมที่มีมาก่อน แต่เดิมเคยมี เมืองเก่าแก่ 3 แห่ง คือ เมืองเชียงคาน เมืองเซไร และเมื อ งด้ า นซ้ า ย ซึ่ ง ต่ อ มาถู ก ยุ บ เป็ น อำเภอ ขึ้นกับเมืองเลยในปี พ.ศ. 2396 ในสมัยรัชกาลที่ 4 และเป็นจังหวัดเลยในปีพ.ศ. 2475 สำหรับในการ เก็บข้อมูลในครั้งนี้ ผู้เขียนได้เก็บข้อมูลในหลายพื้นที่ เช่น พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวิจารณ์สังฆกิจ วัดศรีจันทร์ บ้านนาอ้อ อำเภอเมือง สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฎ เลย อำเภอ วั ด ศรี คุ ณ เมื อ ง อำเภอเชียงคาน วัดโพธิช์ ยั ตำบลนาพึง อำเภอนาแห้ว วั ด มหาธาตุ บ้ า นเชี ย งคาน อำเภอเชี ย งคาน วั ด ศรี ส ะอาด บ้ า นห้ ว ยซวก ตำบลบุ ฮ ม อำเภอ เชียงคาน เป็นต้น 3) จังหวัดหนองคาย เป็นจังหวัดทีม่ พี น้ื ทีต่ ดิ กับจัง หวั ด เลย จากหลักฐาน พบว่าดินแดนแถบนี้ เคยเป็ น เมื อ งโบราณมาก่ อ น เพราะมี โ บราณวั ต ถุ หลายชิ้นที่พบก่อนยุคอาณาจักรล้านช้าง ซึ่งแสดงให้ เ ห็ น ว่ า ดิ น แ ด น แ ถ บ นี้ เ ค ย เ ป็ น ชุ ม ช น ม า ก่ อ น ยุ ค อาณาจั ก รล้ า นช้ า ง จนกระทั้ ง ถึ ง ยุ ค อาณาจั ก ร ล้ า นช้ า งรุ่ ง เรื อ ง และตกเป็ น ประเทศราชของ อาณาจักรสยามในยุคสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี สำหรับ ในการเก็ บ ข้ อ มู ล ในครั้ ง นี้ ผู้ เ ขี ย นได้ เ ก็ บ ข้ อ มู ล
8
ในหลายพื้นที่ เช่นวัดโพธิ์ชัยหรือวัดหลวงพ่อพระใส ร้ า นของเก่ า (502/3 ร้ า นซิ ล เวอร์ แอนด์ คิ ด ) วัดปุรมิ าประดิษฐ์ อำเภอบุง่ คล้า วัดศรีโคตรเจริญธรรม ตำบลหนองเดิ่ น อำเภอบุ่ ง คล้ า วั ด โพธิ์ ธ าราม บ้านท่าไคร้ ตำบลบึงกาฬ อำเภอบึงกาฬ วัดโพธิ์ศรี ตำบลบึ ง กาฬ อำเภอบึ ง กาฬ วั ด บ้ า นหมากผาง ตำบลท่าดอกคำ อำเภอบึงโขงโหลง วัดสว่างศรีสธุ รรม บ้านท่าดอกคำเหนือ อำเภอบึงโขงโหลง วัดสิงหารินธาราม เจดี ย์ ห ลวงปู่ ค ำสิ ง ห์ สุ ภั ท โท อำเภอบึ ง โขงโหลง วัดพระธาตุบงั พวน ตำบลดอนหมู อำเภอเมือง 4) จังหวัดนครพนม เดิมในดินแดนแถบนี้ เคยถูกเรียกว่า อาณาจักรโคตรบูร หรือศรีโคตรบูร เป็นอาณาจักรโบราณ ดังปรากฏหลักฐานในอุรงั คธาตุ (ตำนานพระธาตุพนม) ต่อมาถูกขนานนามใหม่ว่า มรุ ก ขนคร มี ก ษั ต ริ ย์ ป กครองสื บ ต่ อ กั น มาหลาย พระองค์ จนกระทั้งถึงยุคพระบรมราชา(พรหมมา) ราชโอรสเจ้าเวียงจันทน์ ได้นำเครื่องราชบรรณาการ เข้ า เฝ้ า พระบาทสมเด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลกฯ รั ช กาลที่ 1 เพื่ อ ขอเป็ น เมื อ งขึ้ น หลั ง จากนั้ น มี เหตุ ก ารณ์ ต่ า งๆเกิ ด ขึ้ น มากมาย จนกระทั้ ง เป็ น จังหวัดนครพนมในปี พ.ศ. 2457 สำหรับในการ เก็บข้อมูลในครั้งนี้ ผู้เขียนได้เก็บข้อมูลในหลายพื้นที่ เช่ น วั ด โกศลมั ช ฌิ ม าวาส วั ด โพธิ์ ศ รี วั ด กลาง วั ด มหาธาตุ วั ด โอกาส วั ด โพธิ์ ไ ชย ตำบลไชยบุ รี อำเภอท่ า อุ เ ทน พระธาตุ ท่ า อุ เ ทน ตำบลท่ า อุ เ ทน อำเภอท่าอุเทน วัดไตรภูมิ ตำบลท่าอุเทน อำเภอ ท่าอุเทน วัดโพธิ์ไชย ตำบลท่าอุเทน อำเภอท่าอุเทน พระธาตุ พ นม อำเภอธาตุ พ นม วั ด ดอนสวรรค์ บ้านนาทาม ตำบลพระกลางทุ่ง อำเภอธาตุ วัดมรุก
ขนคร อำเภอธาตุพนม วัดศรีสุมังค์ บ้านนาถ่อนท่า ตำบลนาถ่อน อำเภอธาตุพนม วัดธาตุเรณู อำเภอ เรณูนคร วัดสิงห์ทอง อำเภอบ้านแพง เป็นต้น 5) จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร คำว่ า มุ ก ดาหาร เป็ น ชื่ อ เรี ย กขานตามศุ ภ นิ มิ ต ของเจ้ า เมื อ งคนแรก คื อ เจ้ า จั น ทกิ น รี แห่ ง แขวงสะหวั น นะเขด ซึ่ ง นำ ผู้ ค นจากฝั่ ง ซ้ า ยแม่ น้ ำ โขงข้ า มฟากมาตั้ ง บ้ า นเมื อ ง ทางฝั่ ง ขวา เมื่ อ ปี พ .ศ. 2310 ในปลายสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา เคยเป็ น อำเภอขึ้ น กั บ จั ง หวั ด นครพนม และแยกตัวเป็นจังหวัด เมื่อปีพ.ศ. 2525 สำหรับใน การเก็บข้อมูลในครั้งนี้ ผู้เขียนได้เก็บข้อมูลในหลาย พื้ น ที่ เช่ น วั ด ศรี ม งคลใต้ วั ด ศรี สุ มั ง ค์ ว นาราม หอแก้ว วัดมัชฌิมาวาส อำเภอดอนตาล วัดสุรโิ ยวาส บ้ า นสุ ริ โ ย ตำบลร่ ม เกล้ า อำเภอนิ ค มคำสร้ อ ย วัดนรวราราม บ้านหนองโอ ตำบลโนนยาง อำเภอหนองสูง วั ด พิ จิ ต สั ง ฆาราม บ้ า นโนนยาง ตำบลโนนยาง อำเภอหนองสูง วัดไตรภูมิ ตำบลหนองสูง อำเภอ หนองสู ง วั ด ลั ฏ ฐิ ก วั น บ้ า นชะโนด ตำบลชะโนด อำเภอหว้านใหญ่ วัดโพนสว่าง บ้านคำพอก ตำบล โนนยาง อำเภอหนองสู ง วั ด ศรี ม หาโพธิ์ อำเภอ หว้านใหญ่ วัดมโนภิรมย์ บ้านชะโนด ตำบลชะโนด อำเภอหว้านใหญ่ เป็นต้น 6) จังหวัดอำนาจเจริญ เป็นจังหวัดที่เคย อยู่ใต้การดูแลของจังหวัดอุบลราชธานีและแยกเป็น จั ง หวั ด เมื่ อ ปี พ .ศ. 2536 ในอดี ต เคยมี บั น ทึ ก ว่ า ในปีพ.ศ. 2393 ท้าวอุปราชเจ้าเมืองพอนหรือเมือง จำพอน แขวงสะหวันนะเขดได้อพยพผู้คนมาขอพึ่ง พระบรมโพธิสมภารพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้า อยู่หัวฯ รัชกาลที่ 3 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้
ตัง้ บ้านเรือนอยูท่ บ่ี า้ นค้อ ขึน้ กับนครเขมราฐ จนกระทัง้ มี การยกฐานะเป็นเมืองอำนาจ และอำเภออำนาจเจริญ โดยลำดับ สำหรับในการเก็บข้อมูลในครั้งนี้ ผู้เขียน ได้ เ ก็ บ ข้ อ มู ล ในหลายพื้ น ที่ เช่ น วั ด บ้ า นหนองเรื อ ตำบลนาหมอม้า อำเภอเมือง วัดศรีโคตร บ้านนาไร่ใหญ่ อำเภอเสนางคนิคม บ้านคำเดือย ตำบลคำเขื่อนแก้ว อ ำ เ ภ อ ช า นุ ม า น วั ด ศ รี ม ง ค ล บ้ า น ค ำ เ ดื อ ย ตำบลคำเขื่ อ นแก้ ว อำเภอชานุ ม าน วั ด โนนศิ ล า ตำบลโคกก่ง อำเภอชานุมาน เป็นต้น 7) จังหวัดอุบลราชธานี ในทางประวัตศิ าสตร์ ถือว่าดินแดนแถบจังหวัดอุบลราชธานี เป็นดินแดนที่ เคยมี ชุ ม ชนก่ อ นประวั ติ ศ าสตร์ ก ว่ า 3000 ปี จากหลักฐานทีม่ กี ารค้นพบ และตามเอกสารจีนโบราณ เชื่ อ ว่ า เคยเป็ น ศู น ย์ ก ลางของอาณาจั ก รเจนละ ในพุทธศตวรรษที่ 12-13 จนกระทั้งพุทธศตวรรษ ที่ 24 เจ้าพระตาและพระวอได้นำผู้คนอพยพหนีภัย ระแวงของพระเจ้ า สิ ริ บุ ญ สาร เจ้ า นครเวี ย งจั น จากเมื อ งหนองบั ว ลำภู มุ่ ง สู่ พื้ น ที่ อุ บ ลราชธานี ในปั จ จุ บั น ซึ่ ง ระหว่ า งการต่ อ สู้ นั้ น ทำให้ พ ระตาได้ เสียชีวิตลง พระวอจึงได้นำผู้คนอพยพเดินทางมาตั้ง มั่ น อยู่ ริ ม แม่ น้ ำ มู ล ซึ่ ง เรี ย กว่ า ดอนมดแดง และ ในระยะแรกได้ขอขึ้นกับนครจำปาสัก หลังจากนั้น มี เ หตุ ก ารณ์ เ กิ ด ขึ้ น มากมาย จนกระทั้ ง ท้ า วคำผง และบุ ต รหลานของพระตาได้ ม าขอพึ่ง พระบรมโพธิ สมภารพระมหากษัตริย์ไทย และพระบาทสมเด็จพระ พุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ รัชกาลที่ 1 ทรงโปรดเกล้า แต่ ง ตั้ ง ท้ า วคำพงเป็ น พระปทุ ม วรราชสุ ริ ย วงศ์ ดำรงตำแหน่งเจ้าเมือง ครองเมืองอุบลราชธานี ในช่วงปี พ.ศ. 2335 สำหรั บ ในการเก็ บ ข้ อ มู ล ในครั้ ง นี้
9
ผูเ้ ขียนได้เก็บข้อมูลในหลายพืน้ ที่ เช่น วัดโกศรีวนาราม หมู่ 7 บ้านโคกก่อง ตำบลข้าวปุน้ อำเภอกุดข้าวปุน้ วั ด ชั ย ภู มิ ก าราม ตำบลเขมราฐ อำเภอเขมราฐ วัดเหนือ ตำบลเขมราฐ อำเภอเขมราฐ วัดทุ่งศรีวิไล บ้านชีทวน ตำบลชีทวน อำเภอเขื่องใน วัดศรีจุมพล บ้ า น โ น น ใ ห ญ่ ต ำ บ ล ก่ อ เ อ้ อ ำ เ ภ อ เ ขื่ อ ง ใ น วัดศรีนวลแสงสว่างอารมณ์ บ้านชีทวน ตำบลชีทวน อำเภอเขื่ อ งใน วั ด เกษมสำราญ ตำบลเกษม อำเภอตระการพืชผล วัดพนานิวาส บ้านหนองเอาะ ตำบลเกษม อำเภอตระการพืชผล วัดราษฎร์ประดิษฐ์ บ้านนาพิน ตำบลกระเดียน อำเภอตระการพืชผล วั ด ศรี สุ มั ง คลาราม ตำบลกระเดี ย น อำเภอ ตระการพืชผล วัดคัมภีราวาส อำเภอตระการพืชผล วั ด จั น ทนที บ้ า นกุ ด ยาลวน ตำบลกุ ด ยาลวน อำเภอตระการพื ช ผล วั ด สิ ง หาญ บ้ า นเกษม ตำบลเกษม อำเภอตระการพืชผล หอไตรหนองขุหลุ อำเภอตระการพื ช ผล วั ด ธรรมรั ง ษี ตำบลคำไหล อำเภอศรีเมืองใหม่ วัดแจ้ง อำเภอเมือง วิทยาลัย อาชี ว ศึ ก ษาจั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี วั ด ทุ่ ง ศรี เ มื อ ง อำเภอเมือง วัดบ้านนาควาย อำเภอเมือง วัดหลวง อำเภอเมื อ ง วั ด ศรี อุ บ ลรั ต นาราม อำเภอเมื อ ง วัดบูรพาราม อำเภอเมือง วัดสุปัฏนารามวรวิหาร อำเภอเมื อ ง จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี วั ด บ้ า นตำแย อำเภอเมื อ ง วั ด ศรี ตั ส สาราม บ้ า นตากแดด อำเภอตระการพืชผล วัดบ้านคำผักแว่น ตำบลเกษม อำเภอตระการพืชผล วัดใต้และวัดเหนือบ้านยางขี้นก ตำบลยางขีน้ ก อำเภอเขือ่ งใน พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรมมหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี
10
วั ด ศรี ป ระดู่ อำเภอเมื อ ง วั ด บ้ า นหนองมะนาว อำเภอเมือง เป็นต้น หลังการจัดเก็บข้อมูลพบว่า มีแหล่งข้อมูลที่ เก็บในครั้งนี้รวม 103 แห่ง ลักษณะข้อมูลมีความ หลากหลายมาก ซึ่งล้วนแล้วแต่มีคุณค่าต่อการศึกษา ค้นคว้าทั้งสิ้น ดังนั้นเพื่อให้ง่ายต่อการศึกษาต้นคว้า ต่อไป ผู้เขียนจึงได้นำข้อมูลมาจัดกระทำใหม่เพื่อให้ ครอบคลุมข้อมูลที่จัดเก็บทั้งหมด โดยจำแนกลักษณะ ของไม้แกะสลักในแถบลุ่มแม่น้ำโขงออกเป็นประเภท ใหญ่ๆ 4 ประเภท คือ 1)ไม้แกะสลักในงานตกแต่ งอาคารสถานที่ 2)ไม้แกะสลักในงานพุทธศิลป์ต่างๆ 3)ไม้แกะสลักในงานสิง่ ของ เครือ่ งใช้ และของทีร่ ะลึก 4)ไม้ แ กะสลั ก ในความเชื่ อ ต่ า งๆ ซึ่ ง มี ร ายละเอี ย ด ที่น่าสนใจ ดังนี้
2.2 ไม้ แ กะสลั ก ที่ ใ ช้ ใ นงานตกแต่ ง อาคาร สถานที่ ไม้แกะสลักที่ใช้ในศาสนคาร สำหรั บ การศึ ก ษางานศิ ล ปะไม้ แ กะสลั ก ใน แถบลุ่ ม แม่ น้ ำ โขงในเบื้ อ งต้ น พบว่ า ในพุ ท ธสถาน หากเป็ น สิ่ ง ก่ อ สร้ า งมั ก พบงานไม้ แ กะสลั ก ในงาน ตกแต่งสิม(โบสถ์) และหอไตร นอกจากนั้นมีให้พบ บ้ า งเล็ ก น้ อ ยที่ ห อแจก(ศาลาการเปรี ย ญ) กุ ฏิ หอระฆัง ซุ้ม และศาลาต่างๆ ตำแหน่งที่พบมากคือ เครื่ อ งบน หน้ า บั น ฮั ง ผึ้ ง ทวย หน้ า ต่ า ง ประตู และเชิงชาย ซึ่งขออธิบายส่วนประกอบในบางส่วน ดังนี้
ส่วนประกอบที่นิยมใช้งานไม้แกะสลักตกแต่งในศาสนคาร ที่มา : แน่งน้อย ปัญจพรรค์ และสมชาย ณ นครพนม (2536 : 48)
1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.
โหง่หรือช่อฟ้า ลำยอง หรือเกล็ดนาคหรือใบระกา แผงนาคหรือตัวรวย หน้าบันหรือสีหน้า หางหงส์ ขื่อ ไม้ใต้ขื่อ ฮังผึ้งหรือรวงผึ้งหรือโก่งคิ้ว ทวยหรือคันทวย
บน : สิมวัดโพธิ์ชัย ตำบลนาพึง อำเภอนาแห้ว จังหวัดเลย ล่าง : สิมวัดมโนภิรมย์ ตำบลชะโนด อำเภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร
คำว่า สิม มีความหมายเดียวกับโบสถ์ หรือ อุ โ บสถ ของภาคกลาง สิ ม มาจากคำว่ า สี ม า หรือเสมา หมายถึง อาณาเขตขึ้นเพื่อใช้ใช้ในกิจกรรม ของสงฆ์ เรียกว่า พัทธสีมา (สิมที่สงฆ์ยังไม่ได้ทำ พิธีผูก เรียกว่า อพัทธสีมา ถ้ายังไม่ผูกแสดงว่ายังไม่ มั่ น คง ผู้ ใ ห้ อ าจเพิ ก ถอนได้ ก ารผู ก สิ ม จำเป็ น ต้ อ ง มีลูกนิมิต 3-8 ลูก) ถ้าเป็น สิมน้ำ ขอบเขตหรือ พั ท ธสี ม าจะเป็ น อาณาบริ เ วณของน้ ำ ที่ ล้ อ มรอบ ถ้าเป็น สิมบก ขอบเขต คือ ใบเสมาหรือสีมาทีป่ กั อยู่ โดยรอบ
11
ตัวอย่างสิม หอไตร กุฏิ หอแจก ในเขตพืน้ ทีแ่ ถบลุม่ แม่นำ้ โขงภาคอีสานของไทย บนซ้าย : สิมวัดบ้านนาควาย อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี กลางซ้าย : หอไตร วัดบูรพา อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ล่างซ้าย : กุฏเิ ก่า วัดศรีสมุ งั คลาราม ตำบลกระเดียน อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี บนขวา : หอไตร หนองขุหลุ อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี
12
ในการศึ ก ษางานศิ ล ปะไม้ แ กะสลั ก ในครั้ง นี้ ผูเ้ ขียนพบว่า งานไม้แกะสลักทีเ่ กิดขึน้ ในอดีตจำนวนมาก มั ก หลงเหลื อ อยู่ท่ีสิม เก่ า เหตุ ท่ีเ ป็ น เช่ น นั้น อาจสื บ เนือ่ งจากไม้แกะสลักเป็นส่วนประกอบของอาคารทำให้ เกิดความยุ่งยากในการโจรกรรมหรือถูกทำลายทำให้ ต้องคงอยู่คู่อาคาร ดังนั้น การศึกษางานจากสิมที่ เป็ น ศาสนาคารทำให้ พ บงานไม้ แ กะสลั ก ในหลาย ตำแหน่ง นอกจากสิมแล้วยังมีศาสนคารอื่นๆอีก เช่น หอไตร หอแจก และกุฏิ สิ่งเหล่านี้ได้บอกเล่าตำนาน ในแนวคิดและความเชือ่ ของช่างผูส้ ร้างสรรค์ผลงานได้ เป็นอย่างดี วิโรฒ ศรีสุโร (2536:1) ผู้บุกเบิกงาน อนุรกั ษ์ดา้ นนี้ เคยกล่าวไว้วา่ ในด้านการก่อสร้างช่าง พืน้ บ้านได้ถา่ ยทอดภูมปิ ญ ั ญาในเชิงช่างตลอดจนความ เชือ่ ต่างๆ ในการสร้างศาสนาคาร เพือ่ ถวายเป็นพุทธ บูชา นอกจากตัวอาคารอันตอบสนองในทางประโยชน์ ใช้สอยแล้ว องค์ประกอบต่างๆ ซึ่งเป็นส่วนประกอบ ของอาคารนั้ น ๆ นั บ ได้ ว่ า เป็ น งานฝี มื อ ที่ ล ะเอี ย ด ประณีต ควรค่าแก่การศึกษาค้นคว้าไว้เป็นอย่างยิ่ง ซึ่ ง ส่ ว นประกอบของศาสนาคารมี ง านไม้ แ กะสลั ก ปรากฎในส่วนต่างๆ ดังนี้
เครื่องบน (หางหงส์ โหง่ ลำยอง/ใบระกา ฮังผึ้ง และเชิงชาย) เครื่ อ งบนเป็ น การเรี ย กโดยรวมของส่ ว น ประกอบต่างๆ ที่ปรากฏในส่วนบนหรือส่วนหลังคา ของสิม หอไตร กุฏหิ อแจก และอืน่ ๆ ซึง่ เป็นศาสนคาร ในพุทธศาสนา เช่น หางหงส์ คือ ส่วนปลายของ ชายคาทำจากไม้ขนาดใหญ่ ในสมัยก่อนใช้วิธีถากจน มี ข นาดแบนและเป็ น รู ป ทรงสุ ด ท้ า ยจึ ง แกะให้ เ กิ ด ลายกนก หรื อ หั ว พญานาค โหง่ ห รื อ ช่ อ ฟ้ า เป็ น ส่วนที่อยู่บนสุดเหนือจั่ว บางแห่งมีช่อฟ้ากลางด้วย ส่วนใหญ่ใช้เป็นหัวพญานาค เกีย่ วกับการนำส่วนต่างๆ ของพญานาคมาใช้ ใ นงานตกแต่ ง ศาสนคา ร แน่ ง น้ อ ย ปั ญ จพรรค์ และสมชาย ณ นครพนม (2536:48-49) เคยเขียนไว้ว่า เหตุที่ช่างนิยมใช้นาค เคยรับทราบจากช่างชาวอีสานว่า ในพุทธประวัติเคย กล่าวถึงตอนพญาครุฑจับนาค แล้วบินไปในท้องฟ้า เพื่ อ กิ น เป็ น อาหาร ด้ ว ยความตกใจนาคจึ ง เนรมิ ต ร่างกายให้ยาวแล้วใช้หางพันตามต้นไม้ แต่ก็สู้แรง ของพญาครุ ฑ ไม่ ไ ด้ จนกระทั้ ง ผ่ า นมาถึ ง กุ ฏิ พ ระ พุทธเจ้า นาคจึงใช้หางเกี่ยวอกไก่ของกุฏิจนสั่นไหว พระพุ ท ธเจ้ า ทรงสงสารจึ ง แผ่ เ มตตาให้ พ ญาครุ ฑ ปล่ อ ยนาคไป นาคจึ ง ปวารณาตนทดแทนบุ ญ คุ ณ ด้ ว ยการเป็ น ส่ ว นประดั บ ของอาคารในพุ ท ธสถาน
นับแต่นั้นมาช่างจึงได้ใช้นาคหรือรูปลักษณ์ของนาค ในส่วนต่างๆ หน้าบันเป็นส่วนของหน้าจั่ว รูปแบบ ของอี ส านนิ ย มใช้ ล ายตะเว็ น (ลายตะวั น ) นิ ย มใช้ ไม้กระดานตีทับซ้อนหรือตีเรียงแผ่น หลังจากนั้นจึงมี งานแกะสลักตกแต่งเป็นชิน้ ส่วนเพิม่ เติม เครือ่ งลำยอง หรื อ ลำยองเป็ น แผ่ น ไม้ เ รี ย บแบนที่ มี ค วามหนาพอ สมควร นิยมแกะสลักลวดลายตามแผ่นไม้ ส่วนใหญ่ เป็นลำตัวนาค บางครั้งเรียกว่า นาคลำยอง หรือ นาคสะดุ้ง และส่วนที่มีเกล็ดยักๆ แหลมใช้ประดับ เรียกว่า ใบระกา ส่วนฮังผึง้ หรือรวงผึง้ หรือโก่งคิว้ เป็ น แผงไม้ ที่ มี รู ป ทรงเป็ น ครึ่ ง วงกลมคล้ า ยรั ง ผึ้ ง ในแถบภาคอี ส านนิ ย มทำเป็ น รู ป ลายก้ า นขดเถาด อกไม้ใบไม้ หรือรูปสัตว์ต่างๆ แต่ก็มีบางแห่งที่ทำ เป็นรูปในความเชื่อต่างๆ เพื่อเป็นการปกปักรักษา ฮังผึ้งที่พบ โดยทั่วไปมี 2 แบบ คือ แบบหนึ่งช่วงเสา และแบบสามช่วงเสา และสุดท้ายคือ เชิงชาย ถือเป็น ส่วนประกอบสำคัญอีกอย่างหนึ่ง ที่บ่งบอกให้เห็นว่า แม้ว่าจะเป็นส่วนที่อยู่ใต้ชายคาชาวบ้านยังไม่ละเว้น ที่ จ ะแกะสลั ก ให้ มี ค วามงดงาม สำหรั บ ส่ ว นอื่ น ๆ ถือว่าเป็นการคิดค้นสร้างสรรค์ของช่างแต่ละบุคคล ซึ่ ง จ ะ ท ำ ใ ห้ ศ า ส น ส ถ า น มี ค ว า ม ง ด ง า ม ยิ่ ง ขึ้ น จากการจัดเก็บข้อมูลในครั้งนี้ พบงานไม้แกะสลักใน ส่วนของเครื่องบนในศาสนาคาร ดังนี้
13
1
4
2
5
3
6
14
7
ตัวอย่าง หางหงส์ไม้แกะสลัก ทีพ่ บในเขตพืน้ ทีแ่ ถบลุม่ แม่นำ้ โขง 1) วัดพระธาตุผาเงา อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 2) วัดโพธิช์ ยั บ้านด่านซ้าย อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย 3) วัดแจ้ง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 4) วัดนรวราราม อำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร 5) หอไตรหนองขุหลุ อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี 6) วัดศรีอุบลรัตนาราม อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 7) วัดศรีนวลแสงสว่างอารมณ์ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
1
2
3
4
5
6
7
8
ตัวอย่าง โหง่ไม้แกะสลัก ทีพ่ บในเขตพืน้ ทีแ่ ถบลุม่ แม่นำ้ โขงของไทย 1) วัดโพธิ์ชัย ตำบลนาพึง อำเภอนาแห้ว จังหวัดเลย 2) วัดธรรมรังษี อำเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี 3) วัดบ้านตำแย อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
4) วัดราษฎร์ประดิษฐ์ อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี 5) วัดมโนภิรมย์ บ้านชะโนด อำเภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร 6) วัดศรีอุบลรัตนาราม จังหวัดอุบลราชธานี 7) หอไตรหนองขุหลุ จังหวัดอุบลราชธานี 8) วัดศรีตสั สาราม อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราธานี
15
1
4
2
3
16
5
1
2
6 ตัวอย่าง หน้าบัน และฮังผึง้ ไม้แกะสลัก ทีพ่ บในเขตพืน้ ทีแ่ ถบลุม่ แม่นำ้ โขงของไทย 1) วัดศรีคุณเมือง อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย 2) วัดศรีมงคลใต้ อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร 3) วัดแจ้ง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 4) วัดทุง่ ศรีเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 5) วัดศรีนวลแสงสว่างอารมณ์ บ้านชีทวน ตำบลชีทวน อำเภอเขือ่ งใน จังหวัดอุบลราชธานี 6) วัดโพธิไ์ ชย ตำบลท่าอุเทน อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม
3 ตัวอย่าง เชิงชายไม้แกะสลัก ทีพ่ บในเขตพืน้ ทีแ่ ถบลุม่ แม่นำ้ โขงของไทย 1) วัดศรีโคตรเจริญธรรม ตำบลบึงกาฬ อำเภอบึงกาฬ จังหวัดหนองคาย 2) วัดโพธิไ์ ชย ตำบลท่าอุเทน อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม 3) วัดนรวราราม บ้านหนองโอ ตำบลโนนยาง อำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร
17
ผลจากการสำรวจข้ อ มู ล ในครั้ ง นี้ พ บว่ า ไม้ แ กะสลั ก ในส่ ว นของเครื่ อ งบนในศาสนาคาร มีรูปแบบของโหง่ หางหงส์ เป็นรูปแกะสลักนาคที่ งามสง่ า ดู มี พ ลั ง ปัจจุบันโหง่ในหลายวัดได้ ช ำรุ ด ทรุดโทรมลงไปมาก หลายแห่งผุผังไปตามกาลเวลา หลายแห่งร่วงหล่นลงสูพ่ นื้ บางวัดจัดเก็บไว้เป็นอย่างดี บางวัดถูกทิ้งไว้ข้างศาลา ซึ่งน่าเป็นห่วงอย่างยิ่ง โหง่ ที่ทำจากไม้ถือว่าเป็นของโบราณโดยแท้เพราะปัจจุบัน เป็นไม่นิยมทำจากไม้แล้ว สำหรับงานเครื่องบนอื่นๆ ล้วนแล้วแต่เป็นงานทีม่ ากด้วยคุณค่า มีสภาพไม่แตกต่าง จากโหง่และหางหงส์ ยิ่งมีขนาดความยาวมากเมื่อ ตกหล่นหรือชำรุดยิ่งขาดการดูแล ทั้งนี้ อาจมีปัญหา ด้านสถานที่ในการจัดเก็บและการไม่เห็นความสำคัญ ในงานศิลปวัตถุ งานเหล่านี้จำเป็นต้องอาศัยคนที่ เห็นคุณค่ามาช่วยกันดูแลเอาใจใส่อย่างจริงจัง ส่วนของงานไม้แกะสลักที่ใช้ตกแต่งภายใน และภายนอกศาสนาคารอื่นๆ ที่น่าสนใจมีดังนี้ คันทวย ทวยหรือคันทวย เป็นส่วนประกอบและส่วน ตกแต่ ง สถาปั ต ยกรรม ประเภทเครื่ อ งรั บ ชายคา อยู่ภายนอกของตัวอาคาร ระหว่างผนังกับชายคา ปีกนกของสิมหรือโบสถ์ ทวยมีรูปแบบ และลักษณะ ที่แต่งต่างกันตามความนิยมของยุคสมัย ส่วนใหญ่ ทำเป็นไม้แกะสลักรูปต่างๆ เช่น นาค ครุฑ ทวย ช่วยตกแต่งให้เกิดความสวยงาม และช่วยรับน้ำหนัก ของชายคาปี ก นก เกี่ ย วกั บ ความหมายของคำว่ า ทวยหรื อ คั น ทวย วิ โ รฒ ศรี สุ โ ร (2540ก:26)
18
เคยกล่ า วไว้ ว่ า คำว่ า คั น ทวย ไม่ มี ใ นศั พ ท์ ช่างพืน้ ถิน่ อีสาน ช่างนิยมเรียกตามลักษณะการใช้งาน ของมัน คือเรียกว่า ไม้ยนั บ้าง ค้ำยันบ้าง แขนนางบ้าง ซึ่ ง ก็ ส ามารถสื่ อ ให้ เ ข้ า ใจถึ ง องค์ ป ระกอบชิ้ น นี้ ในงานสถาปัตยกรรมได้เป็นอย่างดี เ พื่ อ ใ ห้ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ก า ร ศึ ก ษ า ใ น รายละเอี ย ดต่ า งๆ การศึ ก ษารู ป แบบของทวย อาจแบ่งทวยออกเป็น 3 ส่วนคือ 1)ส่วนที่ติดอยู่เต้า หากมี รู ป แบบเป็ น นาคส่ ว นนี้ มั ก จะเป็ น ส่ ว นของ หางนาค หรือเป็นลายกระนกซ้อนกันโค้งขมวดงอน ออกทางด้านชายคา 2)ส่วนกลาง คือส่วนที่โค้งแอ่น ซึ่ ง จะช่ ว ยทำให้ เ กิ ด ความสวยงาม บางครั้ ง ช่ า งจะ แกะลายประจำยามไว้ตรงกลาง ส่วนความยาวขึ้นอยู่ กับความนิยมในแต่ละยุคสมัย 3)ส่วนที่อยู่ติดกับผนัง หรือเสาเป็นส่วนยันช่วยรับน้ำหนักมักทำเป็นหัวนาค หรือลายกนก สำรับรูปแบบของทวยมีการเรียกชื่อ แตกต่างกัน เช่น ถ้ามีรูปนาคตัวเดียวหรือหลายตัว พั น กั น อยู่ ใ นกรอบสามเหลี่ ย มในภาคเหนื อ เรี ย กว่ า นาคทัณฑ์(นากกะตัน) รูปทรงดูเป็นรูปคล้ายหูช้าง เรี ย กว่ า หู ช้ า ง มี ล ายคล้ า ยก้ อ นเมฆเรี ย กว่ า ลายเมฆไหล นอกจากนั้ น ทวยยั ง มี ล ายอื่ น ๆ อีกหลายรูปแบบ เช่น ลายพรรณพฤกษา และลาย รูปสัตว์ต่างๆ เกี่ยวกับความเป็นมาของการใช้ทวย วิบูลย์ ลี้สุวรรณ (2549:228) กล่าวว่า การใช้ทวย เป็ น ค้ ำ ยั น จะมี ม าแต่ ส มั ย ใดนั้ น ไม่ มี ห ลั ก ฐานแน่ ชั ด อาจวิ วั ฒ นาการมาจากไม้ ค้ ำ ยั น ธรรมดาที่ ไ ม่ มี ลวดลาย เป็ น ไม้ ต รงๆ เปลี่ ย นเป็ น ไม้ ค้ ำ ยั น ที่ มี รู ป ทรงอ่อนช้อย มีลวดลายสลักเสลาอ่อนช้อยกลมกลืน สำหรั บ ทวยที่ พ บแถบลุ่ ม แม่ น้ ำ โขงมั ก เป็ น รู ป นาค
ซึ่งอยู่ในความเชื่อของผู้คนในแถบนี้ รูปแบบของทวย มั ก มี ลั ก ษณะยาวกว่ า ถิ่ น อื่ น การแกะสลั ก มี ค วาม ประณี ต สวยงามสะท้ อ นให้ เ ห็ น ความศรั ท ธาของ ช่ า งผู้ แ กะสลั ก ทวยนอกจากจะมี ค วามประณี ต สวยงามแล้ ว ยั ง บ่ ง บอกถึ ง สกุ ล ช่ า งผู้ ส ร้ า งสรรค์ ผลงานด้วย วิโรฒ ศรีสโุ ร (2536:52) เคยเขียนสรุป เกี่ยวกับรูปแบบส่วนประดับในสถาปัตยกรรมอีสาน ว่า อาจจำแนกออกเป็น 3 ประเภท คือ รูปแบบที่ ได้รบั จากสกุลช่างล้านช้าง รูปแบบทีไ่ ด้รบั อิทธิพลจาก สกุลช่างรัตนโกสินทร์ และรูปแบบทีช่ า่ งพืน้ ถิน่ ประดิษฐ์ ขึน้ เอง ยกตัวอย่าง เช่น งานช่างในจังหวัดอุบลราชธานี จากวิถีชีวิตผู้คนที่ได้รับอิทธิพลมาจากกลุ่มชนในสาย วัฒนธรรมไต-ลาว ส่งผลต่อความนิยมรูปแบบงานช่าง ในสกุ ล ช่ า งล้ า นช้ า งจนถื อ เป็ น แม่ แ บบ แล้ ว ผนวก ความคิดตามปัจเจกของตนผสมลงไป ช่างที่มีทักษะ สูงก็สามารถคิดค้นรูปแบบใหม่ได้อย่างมีรสชาติและ บ่งบอกเอกลักษณ์พน้ื ถิน่ ได้อย่างมีคณ ุ ค่า นอกจากนัน้ วิโรฒ ศรีสโุ ร (2540:27-32) ยังกล่าวถึงรูปแบบทวย
ในสถาปัตยกรรมอีสาน ว่า อีสานมีทวยหลายรูปแบบ เช่น ทวยแผง ทวยนาค ทวยเทพพนม ทวยแขนนาง และทวยอื่นๆ ทวยแผงถือว่ามีรูปลักษณ์ที่เรียกได้ว่า เป็นเอกลักษณ์ของส่วนประกอบสถาปัตยกรรมอีสาน ได้ อ ย่ า งเต็ ม เปี่ ย ม เป็ น ไม้ แ ผ่ น ใหญ่ นิ ย มแกะสลั ก เป็ น ลวดลายไม่ นิ ย มลายพญานาค ส่ ว นทวยนาค แกะสลั ก เป็ น รู ป พญานาคหรื อ งู ใ หญ่ มี ห งอนหรื อ เงือก(ชาวอีสานในท้องถิ่นเรียกว่า นาค) ซึ่งแบ่งเป็น ทวยนาคแบบพื้นบ้านอีสานหรือแบบอีสานบริสุทธ์ไม่ ได้ ล อกเลี ย นจากใคร เช่ น แบบนาคหางพั น แบบนาคหางปล่ อ ย และทวยนาคแบบเลี ย น แบบเมืองหลวง ที่มีตัวนาคค่อนข้างผอม ส่วนหาง เป็นกนกเปลว ออกแบบเต้ารองรับหัวนาคให้ดอู ลังการ ส่วนทวยเทพพนมส่วนใหญ่รับอิทธิพลจากเมืองหลวง ในยุคต้นรัชกาลที่ 4 ของไทย จากข้อมูลดังกล่าว จะเห็นได้ว่า รูปแบบทวย ที่เป็นงานศิลปะพื้นบ้าน มีการเปลี่ยนแปลงตามอิทธิพลทางวัฒนธรรมที่ได้รับ ดังตัวอย่างของทวยที่ได้จากการสำรวจ ดังนี้
ตัวอย่าง ทวยต่างๆ ทีพ่ บในเขตพืน้ ที่ แถบลุม่ แม่นำ้ โขงของไทย
1
2
3
4
1) พระธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม 2) วัดศรีคณ ุ เมือง อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย 3) วัดบ้านตำแย จังหวัดอุบลราชธานี 4) วัดแจ้ง จังหวัดอุบลราชธานี
19
1
2
3
6
20
4
7
5
8
9
10
11
12
ตัวอย่าง ทวยต่างๆ ทีพ่ บในเขตพืน้ ที่ แถบลุม่ แม่นำ้ โขงของไทย 1) วัดมหาธาตุ บ้านเชียงคาน อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย 2) วัดศรีมงคล บ้านคำเดือย อำเภอชานุมาน จังหวัดอำนาจเจริญ 3) วัดใต้บ้านยางขี้นก จังหวัดอุบลราชธานี 4) วัดทุ่งศรีเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 5) วิทยาลัยอาชีวะศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี 6) วัดศรีจันทร์ บ้านนาอ้อ อำเภอเมือง จังหวัดเลย 7) วัดลัฏฐิกวัน บ้านชะโนด ตำบลชะโนด อำเภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร 8) วัดศรีมงคลใต้ อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร 9) หอไตรหนองขุหลุ จังหวัดอุบลราชธานี 10) วัดมโนภิรมย์ อำเภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร 11) วัดบ้านนาควาย จังหวัดอุบลราชธานี 12) วัดคัมภีราวาส จังหวัดอุบลราชธานี
จากการศึ ก ษาทวยหรื อ คั น ทวยไม้ แ กะสลั ก แถบลุ่มแม่น้ำโขง พบว่า ทวยที่พบโดยส่วนใหญ่เป็น ทวยนาค เช่น ที่สิมวัดวัดศรีคุณเมือง จังหวัดเลย วั ด ศรี ม หาโพธิ์ จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร วั ด ทุ่ ง ศรี เ มื อ ง วัดบ้านตำแย จังหวัดอุบลราชธานี และอืน่ ๆอีกหลายแห่ง รองลงมา คื อ ทวยแผง เช่ น ที่ วั ด ศรี ม งคลใต้ วั ด มโนภิ ร มย์ จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร วั ด คั ม ภี ร าวาส วัดบ้านนาควาย จังหวัดอุบลราชธานี ทวยแขนนาง เช่ น ที่ สิ ม วั ด ลั ฏ ฐิ ก วั น จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร สิ ม วั ด มหาธาตุ จังหวัดเลย ทวยเทพพนม เช่น ที่สิมวัดใต้ บ้านยางขีน้ ก และวัดทุง่ ศรีเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ส่วนทวยหูช้าง พบไม่มากนัก นอกจากนั้นยังพบว่า รูปแบบของทวยเมื่อศึกษาเปรียบเทียบลักษณะของ ทวยทัง้ สองฝัง่ โขง ทวยมีลกั ษณะรูปทรงทีใ่ กล้เคียงกัน มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นทั้งด้านความอ่อนช้อย นิยมใช้ รูปทรงของนาคประกอบทวยในรูปลักษณ์เดียวกัน ประตู และหน้าต่าง ประตู ถื อ เป็ น ส่ ว นสำคั ญ ของศาสนาคาร เพราะเป็นช่องทางของการเข้า-ออกที่ทุกคนต้องผ่าน ต้ อ งสั ม ผั ส และมองเห็ น ในวั ฒ นธรรมความเชื่ อ ถือว่าประตูเป็นทวารที่นำพาเรื่องราวทั้งดีและร้าย มาสู่ผู้ใช้อาคารสถานที่ สิ่งดีหรือสิ่งร้ายในความเชื่อ มั ก จะอาศั ย ช่ อ งประตู ใ นการเข้ า ออกเช่ น เดี ย วกั บ มนุษย์ ดังนั้นประตูจึงมักถูกออกแบบให้สอดคล้อง กั บ ความเชื่ อ และประโยชน์ ใ ช้ ส อยที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง ศิ ล ปะงานไม้ แ กะสลั ก จึ ง เป็ น งานสำคั ญ ในการ สร้ า งสรรค์ ล วดลาย มี ทั้ ง ลายใบไม้ ลายเครื อ เถา ลายดอกทานตะวัน ลายกระจัง และอื่นๆ รูปภาพ
21
1
2
6
7
9
3
4
8 ตัวอย่าง ประตู และหน้าต่าง ไม้แกะสลัก ในศาสนาคารแถบลุม่ แม่นำ้ โขงของไทย
5
22
1) วัดโพธิ์ชัย จังหวัดหนองคาย 2) วัดโพธิ์ศรี จังหวัดนครพนม 3) วัดศรีคุณเมือง จังหวัดเลย 4) วัดศรีโคตรเจริญธรรม จังหวัดหนองคาย 5) วัดศรีสุมังค์ บ้านนาถ่อนท่า ตำบลนาถ่อน อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม 6) วัดใต้บ้านยางขี้นก อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี 7) วัดศรีอุบลรัตนาราม จังหวัดอุบลราชธานี 8) วัดชัยภูมิการาม อำเภอเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี 9) วัดโพธิไ์ ชย ตำบลท่าอุเทน อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม
นั บ ตั้ ง แต่ เ ทวดา สั ต ว์ ป่ า หิ ม พานต์ เรื่ อ งราว วรรณกรรม ตราสัญลักษณ์ สิ่งต่างๆเหล่านี้เป็นไป ตามความเชื่ อ ความนิ ย มที่ เ กิ ด ขึ้ น ในแต่ ล ะยุ ค สมั ย และการสืบทอดงานฝีมอื ทีส่ บื ต่อกันมา ส่วนหน้าต่าง ไม่ แ ตกต่ า งจากประตู ม ากนั ก บางแห่ ง อาจเสริ ม ความสวยงามให้มีซุ้มหน้าต่างด้านนอกด้วย คอสอง และส่ ว นประกอบต่ า งๆ ที่ ใ ช้ ไ ม้ แกะสลักในการตกแต่งอาคาร คอสองเป็ น ไม้ โ ครงสร้ า งประกอบอาคารที่ ช่วยในการยึดโครงสร้างให้มีความมั่นคง แข็งแรง และช่วยรองรับน้ำหนักขื่อคา ในการก่อสร้างอาคาร ในสมัยโบราณ จะไม่มีการตีฝ้ากันความร้อนดังเช่น ในปัจจุบัน ดังนั้นคอสองจึงเป็นส่วนที่มองเห็นได้ง่าย ความชาญฉลาดของช่างโบราณในการตกแต่งจึงได้ ใช้ประโยชน์จากไม้ที่มองเห็นชัดเจน สร้างศิลปะงาน ไม้แกะสลักให้กับวัตถุที่มีความคงทนถาวร ส่วนใหญ่ จะแกะเป็นลวดลายพรรณพฤกษา ผสมผสานกับลาย ดอกที่ มี ค วามหมายต่ า งๆ นอกจากการแกะสลั ก บริเวณคอสองแล้ว พบว่า ในบางวัดมีการแกะสลัก ตามไม้ที่ใช้ตีประกบตามส่วนต่างๆของอาคาร ซึ่งมี ตัวอย่างดังภาพ 2 ตัวอย่าง คอสอง เสา และไม้ประกบต่างๆ ไม้แกะสลักในศาสนาคารแถบลุม่ แม่นำ้ โขงของไทย
1
1) ไม้ประกบข้างกุฏิ วัดราษฎร์ประดิษฐ์ อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี 2) คอสองในสิม วัดศรีมหาโพธิ์ ตำบลหว้านใหญ่ อำเภอหว้านใหญ่ จังหวัดมุกดาหาร
23
3
4
5
ตัวอย่าง คอสอง เสา และไม้ประกบต่างๆ ไม้แกะสลักในศาสนาคารแถบลุม่ แม่นำ้ โขงของไทย 3) เสาหอแจก วัดนรวนาราม ตำบลโนนยาง อำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร 4) ไม้ประกบมุมศาลา วัดศรีอุบลรัตนาราม อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 5) คอสองและเสาวัดทุ่งศรีเมือง อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
2.3 ไม้แกะสลักในงานพุทธศิลป์ต่างๆ
ธรรมาสน์ ธรรมาสน์ คือ แท่นสำหรับพระสงฆ์นั่งแสดง ธรรมเทศนา เป็ น แท่ น สู ง กว่ า ระดั บ การนั่ ง ของ ฆราวาส ตั้งแต่โบราณอาจเป็นแท่นไม้หรือแท่นหิน ต่ อ มามี ก ารพั ฒ นาให้ มี ค วามเหมาะสมมากขึ้ น ตกแต่งดัดแปลงมากขึ้น ทำให้มีรูปแบบหลากหลาย ส่ ว นใหญ่ ท ำจากไม้ แ ละทำให้ ส วยงามด้ ว ยการแกะ
24
การฉลุ แ ละสลั ก เกิ ด ลวดลายและรู ป ทรงที่ อ ยู่ ใ น ความเชื่อและความศรัทธาของผู้สร้าง ธรรมาสน์ใน อดีตจะมีการออกแบบให้สวยงามแฝงไว้ด้วยภูมิปัญญา ในการใช้ ส อย น ณ ปากน้ ำ (2537: 31-32) เขี ย นไว้ ใ นหนั ง สื อ งานจำหลั ก ไม้ ศิ ล ปะและ สถาปัตยกรรมไทยว่า ใต้ถุนธรรมาสน์โปร่ง ผู้สร้าง มีความประสงค์จะให้ลมที่เข้ามาตามหน้าต่างศาลา ได้ ไ หลวนไปจนทั่ ว มิ ไ ด้ มี อ ะไรมาบั ง ผู้ ค นจะได้ ไม่ ร้ อ น นี่ คื อ การออกแบบที่ วิ เ ศษที่ ค ำนึ ง ถึ ง
สภาพแวดล้ อ มและความสั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ ค นส่ ว นใหญ่ จากศึกษาตามคำบอกเล่าและการศึกษางานทางเอก สารประกอบการสำรวจข้อมูลในพื้นที่ อาจจัดหมวด หมู่ ธ รรมาสน์ ต ามรู ป แบบในการสร้ า งได้ 3 แบบ ดังข้อมูลและภาพประกอบ ต่อไปนี้ ธรรมาสน์แท่น มักมีรปู สีเ่ หลีย่ มขนาดพอเหมาะ สำหรับให้พระสงฆ์นั่งอย่างสบาย เน้นเพียงวัตถุประ สงฆ์ในการใช้สอย เพื่อให้พระสงฆ์ได้นั่งในตำแหน่งที่ สูงกว่า ในสมัยก่อนมีการจัดทำแคร่ไม้ไผ่หรือไม้จริง เพื่ อ ใช้ ง านในรู ป แบบที่ เ รี ย บง่ า ย ไม่ มี ก ารตกแต่ ง อะไรมากนั ก เพี ย งแต่ ต้ อ งการด้ า นระดั บ ความสู ง แต่ต่อมามีการพัฒนาขึ้นจากช่างที่มีฝีมือ จึงมีการ ตกแต่งให้สวยงาม ในปัจจุบันมีการสร้างสรรค์ความ งามหลายรู ป แบบ ให้ มี ร ะดั บ ที่ สู ง ขึ้ น แต่ ห ลั ก การ คือ เปิดโล่งไม่มีสิ่งปิดบัง ธรรมาสน์ตั่ง มีรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่พัฒนาขึ้ นมาอีกระดับหนึ่ง ขาทั้งสี่อาจเป็นเสากลึงยอดทรง โรมัน พนักด้านหลังเป็นสามเหลี่ยมยอดแหลมคล้าย หน้าบัน ขอบด้านหน้าและขอบด้านข้างทั้งสองเตี้ย มักแกะสลักหรือเขียนลายลงรักปิดทองทั้งตัว เช่น ธรรมาสน์ตง่ั วัดโพธิช์ ยั บ้านด่านซ้าย อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ธรรมาสน์ตั่ง พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวิจารณ์ สั ง ฆกิ จ วั ด ศรี จั น ทร์ บ้ า นนาอ้ อ อำเภอเมื อ ง จังหวัดเลย ธรรมาสน์แบบนี้ บางแห่งมีห่วงเหล็กติด อยู่ที่ขาทั้งสี่ เพื่อใช้หามเป็นเสลี่ยงในพิธีแห่พระได้ ธรรมาสน์ทส่ ี วยงาม เช่น วัดศรีคณ ุ เมือง บ้านเชียงคาน ตำบลเชี ย งคาน อำเภอเชี ย งคาน จั ง หวั ด เลย และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอุบลราชธานี
1
2 ตัวอย่าง ธรรมาสน์ตง่ ั ไม้แกะสลักในศาสนาคารแถบลุม่ แม่นำ้ โขงของไทย 1) ธรรมาสน์ตง่ั วัดพระธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม 2) ธรรมาสน์ตง่ั วัดบ้านตำแย อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
25
6 3
ตัวอย่าง ธรรมาสน์ตง่ ั ไม้แกะสลักในศาสนาคารแถบลุม่ แม่นำ้ โขงของไทย 3) ธรรมาสน์ตง่ั วัดศรีอบุ ลรัตนาราม อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 4) ธรรมาสน์ตง่ั พิพธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ จังหวัดอุบลราชธานี 5) ธรรมาสน์ตง่ั วัดศรีประดู่ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 6) ธรรมาสน์ตง่ั วัดศรีอบุ ลรัตนาราม อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 4
5
26
ธรรมาสน์ ตั่ ง ที่ แ ปลกตาอี ก แบบหนึ่ ง คื อ ธรรมาสน์ที่วัดศรีนวลแสงสว่างอารมณ์ บ้านชีทวน ตำบลเขื่องใน อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี ตั ว ธ ร ร ม า ส น์ สู ง เ ห มื อ น โ ต๊ ะ ห รื อ แ ท่ น ข า สิ ง ห์ พนักหลังคล้ายรูปใบเสมา ขอบพนักเป็นรูปนาคสองตัว ขอบด้ า นข้ า งเป็ น นาค มี ห่ ว งที่ ข า ธรรมาสน์ ตั่ ง นี้ มีบางท่านว่าวัตถุประสงค์แรกของการสร้างอาจเพื่อ ใช้เป็นที่ตั้งองค์กฐินแห่เข้าวัด เมื่อไม่ได้ใช้งานแล้ว ทางวัดจึงดัดแปลงเป็นธรรมาสน์
ธรรมาสน์ทรงปราสาท หรือธรรมาสน์ยอด มักทำเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนาดเล็ก มีฐานสูงเป็นเสาสี่ ต้น ด้านข้างมักฉลุโปร่งเป็นลายต่างๆ และเจาะช่อง หน้าต่าง บันไดขึ้นอยู่ด้านหลัง ส่วนยอดเป็นยอด หลังคามีทั้งแบบเป็นปราสาทหลายชั้น และแบบเป็น หลังคาชั้นเดียว การใช้งานมักใช้ในเทศกาลบุญใหญ่ เช่น บุญมหาชาติ มีตัวอย่างให้เห็นตามวัดที่อยู่ใน เขตพื้ น ที่ แ ถบลุ่ ม แม่ น้ ำ โขง เช่ น ธรรมาสน์ ท รง ปราสาท วัดโพธิ์ไชย หมู่ 1 ตำบลท่าอุเทน อำเภอ
1
ท่าอุเทน จังหวัดนครพนม ธรรมาสน์ทรงปราสาท วัดมัชฌิมาวาส อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร ธรรมาสน์ จั ก สาน วั ด ศรี จุ ม พล บ้ า นโนนใหญ่ ตำบลก่ อ เอ้ อำเภอเขื่ อ งใน จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ธรรมาสน์เสาเดียว วัดพิจิตสังฆาราม บ้านโนนยาง ตำบลโนนยาง อำเภอโนนสู ง จั ง หวั ด มุ ก ดาหาร ธรรมาสน์สงิ ห์เทินปราสาทวัดศรีนวลแสงสว่างอารมณ์ บ้ า นชี ท วน ตำบลชี ท วน อำเภอเขื่ อ งใน จั ง หวั ด อุบลราชธานี
2
3
ตัวอย่าง ธรรมาสน์ทรงปราสาท ไม้แกะสลักในศาสนาคารแถบลุม่ แม่นำ้ โขงของไทย 1) ธรรมาสน์ทรงปราสาท วัดมัชฌิมาวาส อำเภอดอนตาล จังหวัดมุกดาหาร 2) ธรรมาสน์ทรงปราสาทจักสาน วัดศรีจมุ พล บ้านโนนใหญ่ ตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี 3) ธรรมาสน์ทรงปราสาท วัดทุ่งศรีวิไล บ้านชีทวน ตำบลชีทวน อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี
27
4
6 ตัวอย่าง ธรรมาสน์ทรงปราสาท ไม้แกะสลักในศาสนาคารแถบลุม่ แม่นำ้ โขงของไทย
5
28
4) ธรรมาสน์ทรงปราสาท วัดศรีมงคล บ้านคำเดือย อำเภอชานุมาน จังหวัดอำนาจเจริญ 5) ธรรมาสน์สงิ ห์เทินปราสาท วัดศรีนวลแสงสว่างอารมณ์ บ้านชีทวน ตำบลชีทวน อำเภอเขือ่ งใน จังหวัดอุบลราชธานี 6) ธรรมาสน์ทรงปราสาทเสาเดียว วัดพิจิตสังฆาราม บ้านโนนยาง ตำบลโนนยาง อำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร
ลั ก ษณะธรรมาสน์ ตั่ ง และธรรมาสน์ ท รง ปราสาท ธรรมาสน์ตั่งที่เป็นของดั้งเดิมส่วนใหญ่ถูก ดูแลรักษาอย่างดีในวัด แต่มีบางส่วนที่ถูกทิ้ง ไม่มี การดู แ ลรั ก ษา วั ด ที่ อ ยู่ ใ นเขตตั ว เมื อ งจะให้ ค วาม สำคั ญ กั บ การดู แ ลของเก่ า ที่ เ ป็ น สมบั ติ ข องวั ด และ ชุ ม ชน ส่ ว นวั ด ที่ อ ยู่ ช านเมื อ งมั ก ไม่ ค่ อ ยเห็ น ความ สำคัญ ซึ่งอาจเกี่ยวโยงกับประชาชนหรือผู้นำชุมชน นั้ น ๆด้ ว ย สำหรั บ ธรรมาสน์ ท รงปราสาทเป็ น ธรรมาสน์ ที่ นิ ย มใช้ เ ฉพาะในงานบุ ญ ที่ ส ำคั ญ หากเป็นธรรมาสน์เก่าโดยแท้มักถูกจัดเก็บให้ผู้สนใจ เข้าชม หากมีงานบุญจะเลือกใช้ธรรมาสน์สมัยใหม่ที่ มีการตกแต่งสวยงามตามยุคสมัย ของเก่าจะถูกจัด เก็บดูแลรักษาอย่างดี อย่างไรก็ตามยังพบว่า ในบาง แห่งที่ทิ้งธรรมาสน์เก่าที่สวยงามตามยถากรรมนั้น หากพิจารณาในด้านความงามและคุณค่าทางประวัติ ศาสน์ ธรรมาสน์ถือเป็นสิ่งบงชี้ให้เห็นยุคสมัยของ การสร้ า งและอิ ท ธิ พ ลที่ ไ ด้ รั บ ได้ เ ป็ น อย่ า งดี แม้ ว่ า ส่ ว นใหญ่ จ ะไม่ มี ก ารบั น ทึ ก ไว้ เ ป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร อาศัยเพียงคำบอกเล่าก็ตาม หากศึกษาเปรียบเทียบ จะพบว่า รูปแบบธรรมาสน์ในรุ่นแรกๆ ส่วนใหญ่ได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลทางด้ า นรู ป แบบจากสกุ ล ช่ า งล้ า นช้ า ง ในสมัยต่อได้รับอิทธิพลจากสกุลช่างรัตนโกสินทร์จึง เกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรมและแนวคิด ทำให้ ลักษณะงานช่างเกิดการผสมผสานด้วยกัน นอกจาก นั้ น ยั ง มี ง านช่ า งอี ก ประเภทหนึ่ ง ที่ ไ ม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อิทธิพลภายนอก คือ งานช่างพื้นบ้านที่คิดค้นขึ้นเอง รู ป แบบไม่ เ หมื อ นใคร มี ค วามงามตามจิ ต นาการ ในความเชื่อและความชอบ ถือว่าเป็นงานที่มีคุณค่ายิ่ง ดั ง นั้ น อาจสรุ ป ได้ ว่ า ธรรมาสน์ เ ป็ น งานพุ ท ธศิ ล ป์
ที่มีคุณค่า มีความงามที่แฝงไว้ด้วยความเชื่อความ ศรัทธาของผูส้ ร้าง รูปแบบของธรรมาสน์ในสองฝัง่ โขง ทีศ่ กึ ษาเปรียบเทียบ พบว่า ในอดีตสร้างจากความเชือ่ ความคิดในการสร้างสรรค์รูปแบบธรรมาสน์มาจาก ต้ น กำเนิ ด เดี ย วกั น คื อ ยุ ค อาณาจั ก รล้ า นช้ า ง ดังหลักฐานที่ปรากฏให้เห็นทั่วไป พระพุทธรูปไม้ ในบรรดางานพุทธศิลป์ทั้งหลาย พระพุทธ รู ป ไม้ ถื อ เป็ น งานที่ ช่ า งจะต้ อ งสร้ า งอย่ า งสุ ด ฝี มื อ เพราะนอกจากจะเป็นงานศิลปะส่วนหนึ่งแล้วยังเป็น รูปเคารพทางศาสนา จึงต้องสร้างสรรค์ทั้งฝีมือและ ใส่จิตวิญญาณแห่งศรัทธาเข้าไปในงานพร้อมๆ กัน พระพุทธรูปไม้ในแถบลุม่ แม่นำ้ โขง อาจจำแนก ออกตามลักษณะของฝีมือเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ กลุ่มพระพุทธรูปแบบเมือง เป็นพระพุทธรูป ที่ ส ร้ า ง อ ย่ า ง มี รู ป แ บ บ ที่ ล ง ตั ว อ ย่ า ง ฝี มื อ ช่ า ง เมืองหลวง พระพุทธรูปกลุ่มนี้สันนิษฐานว่าน่าจะได้ แบบอย่ า งมาจากกลุ่ ม พระพุ ท ธรู ป ภาคกลาง และ บางส่วนอาจได้รูปแบบมาจากพระพุทธรูปลาวฝีมือ ช่างหลวงพระบางราวพุทธศตวรรษที่ 24 ซึ่งนิยม สร้างเป็นพระพุทธรูปยืนปางประทานอภัยและปาง เปิ ด โลกประทั บ บนฐานบั ว สู ง รู ป กลมหรื อ เหลี่ ย ม เช่ น พระพุ ท ธรู ป ที่ วั ด มหาธาตุ อำเภอเชี ย งคาน จังหวัดเลย และที่วัดใต้บ้านยางขี้นก อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี นอกจากนี้ ที่พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ อุบลราชธานี ยังมีพระพุทธรูปที่มีลักษณะ
29
เฉพาะของสกุลช่างอุบลราชธานีจำนวนมาก งานไม้ แกะสลักพระพุทธรูปไม้แบบเมือง ถือเป็นงานศิลปะ ที่งดงามมีคุณค่า ปัจจุบันไม่นิยมผลิตแล้ว อาจเป็น เพราะขาดช่างฝีมือ และมีพระพุทธรูปที่ผลิตจากวัสดุ สังเคราะห์มาก กลุ่มพระพุทธรูปพื้นเมือง เป็นพระพุทธรูป ที่มีฝีมืออย่างชาวบ้าน สร้างขึ้นด้วยความศรัทธาเป็น พื้นฐาน เน้นความเรียบง่ายเป็นเอกลักษณ์และสอด แทรกความคิดอันเป็นอิสระลงบนรายละเอียดดูเผินๆ อาจเห็ น ว่ า สร้ า งอย่างไม่มีฝีมือรูปร่างหน้าตาไม่ ไ ด้ สั ด ส่ ว นเอาเสี ย เลย แต่ ห ากพิ จ ารณาให้ ถ่ อ งแท้ จะเห็ น ว่ า แฝงไปด้ ว ยความงามอย่ า งศิ ล ปะพื้ น บ้ า น โดยมองให้ลึกไปถึงผู้สร้างซึ่งเป็นชาวชนบท มีชีวิตที่ เรียบง่าย สังคมไม่ซบั ซ้อน วัสดุทห่ี าได้งา่ ยตามท้องถิน่ คือ ไม้ เครื่องมือที่ใช้แกะสลักจะเป็นเครื่องมือทำมา หากิน เช่น มีด ขวาน ไม่มีเครื่องมือเฉพาะในการ บรรจงแกะสลั ก ด้ ว ยเหตุ นี้ แม้ จ ะดู แ ข็ ง กระด้ า ง มีรายละเอียดที่ไม่ได้ส่วน เช่น พระพักตร์ไม่กลมกลึง พระหั ต ถ์ แ ละพระบาทใหญ่ นิ้ ว พระหั ต ถ์ แ ละนิ้ ว พระบาทแข็งตรง พระกรรณเป็นแท่งหนาเพื่อไม่ให้ หักชำรุ ด ง่ า ย แต่ ก็สะท้อนให้เห็นถึงความสามารถ ของช่างที่บรรจุสัญลักษณ์ขององค์พระพุทธเจ้าลงบน ท่อนไม้ได้อย่างครบถ้วน จนกลายเป็นวัตถุที่ควรแก่ การเคารพบูชา พระพุทธรูปกลุ่มนี้มีทั้งที่ตกแต่งด้วย การลงรักปิดทอง และทาสี การสร้ า งพระพุ ท ธรู ป ไม้ ทั้ ง สองแบบนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนา และแสดง ถึงความเลื่อมใสศรัทรา
30
2) เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว 3) เพื่อเป็นผลอานิสงส์ผลบุญแก่ตนเอง เช่น ทำให้มีรูปกายงาม ตายแล้วไปเกิดในสวรรค์ 4) เพือ่ สักการะบูชา และเป็นทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจ 5) เพื่ อ สื บ ชะตาต่ อ อายุ ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย ผู้ ไ ด้ รั บ เคราะห์กรรมหรือสะเดาะเคราะห์ให้ตนเอง ด้ ว ยเหตุ นี้ เราจึ ง พบว่ า พระไม้ ส่ ว นใหญ่ ตั้ ง วางอยู่ใกล้องค์พระประธาน แต่ก็สามารถพบได้ตาม ถ้ำหรือเพิงผาหลายแห่ง ซึ่งคนอีสานมีความเชื่อว่า ถ้ำเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เมื่อได้เข้าป่าล่าสัตว์หรือหาของ ป่าอาจจำเป็นต้องอาศัยถ้ำเป็นที่พัก จึงสร้างพระขึ้น เป็นสิ่งคุ้มครองป้องกันภัย พระพุ ท ธรู ป ไม้ ดั้ ง เดิ ม นิ ย มแกะจากไม้ โ พธิ์ เพราะเป็นไม้ในพุทธประวัติ เชื่อว่า ต้นโพธิ์เป็นที่สถิต ของเทพาอารักษ์ ไม้โพธิ์เป็นไม้เนื้ออ่อนและหยาบ แกะสลั ก ง่ า ย นอกจากไม้ โ พธิ์ แ ล้ ว ยั ง แกะจากไม้ มะขาม งิ้ว ขนุน จันทน์หอม ฯลฯ ปัจจุบันการสร้าง พระพุ ท ธรู ป ไม้ ไ ม่ ค่ อ ยมี แ ล้ ว เพราะความนิ ย มที่ เปลีย่ นไป อีกทัง้ พ่อค้ามีความสามารถสร้างพระพุทธรูป ได้ครัง้ ละมากๆ ด้วยโลหะ เร่ซนิ่ ปูนปาสเตอร์และอืน่ ๆ ส่งผลให้ช่างแกะสลักมีจำนวนลดน้อยลง กอปรกับ ผู้คนในปัจจุบันต้องต่อสู้ดิ้นรนกับระบบเศรษฐกิจที่ เปลีย่ นไป มีความลำบากในการทำมาหากินมากขึน้ ส่งผล ให้การใช้เวลาและแนวความคิดจึงแตกต่างจากผู้คน ในอดีตมาก พระพุทธรูปไม้หรือทีเ่ รียกสัน้ ๆ ว่า พระไม้ ที่ผู้เขียนสำรวจพบในแถบลุ่มแม่น้ำโขง โดยส่วนใหญ่ เป็ น การพบในแถบภาคอี ส านของไทยโดยเฉพาะที่ จั ง หวั ด เลย และจั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี สำหรั บ ใน จังหวัดเชียงรายพบพระไม้น้อยมากและที่พบส่วนใหญ่
ในภาพรวมของการจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ในครั้ ง นี้ เป็ น งานฝี มื อ ช่ า งชาวพม่ า ที่ ผ ลิ ต ขึ้ น ใหม่ เพื่ อ ทำ เป็ น ธุ ร กิ จ ส่ ง มาจำหน่ า ยบริ เ วณด่ า นอำเภอแม่ ส าย ผู้เขียนพบ พระไม้เก่าเก็บในหลายแห่งมีหลงเหลือให้ ชื่นชมน้อยมาก หลายแห่งจัดเก็บในที่ที่ไม่ปลอดภัย สามเหลี่ยมทองคำ ดั ง นั้ น จึ ง ควรค่ า แก่ ก ารหาหนทางอนุ รั ก ษ์ ยิ่ ง ซึ่ ง มี ตัวอย่างดังนี้
พระพุทธรูปไม้ จังหวัดอุบลราชธานี
พระพุทธรูปไม้ พิพธิ ภัณฑ์จสั ถานแห่งชาติ จังหวัดอุบลรชธานี ตัวอย่าง พระพุทธรูปไม้ ทีส่ ำรวจพบในเขตพืน้ ทีแ่ ถบลุม่ น้ำโขงของไทย
31
พระพุทธรูปไม้ จังหวัดหนองคาย ตัวอย่าง พระพุทธรูปไม้ ทีส่ ำรวจพบในเขตพืน้ ทีแ่ ถบลุม่ น้ำโขงของไทย
32
เฉพาะตัว สวยแบบซื่อ ปัจจุบันเป็นที่น่าเสียดายว่า การสร้างพระไม้ไม่เป็นที่นิยมผลิตเหมือนดังเช่นใน สมั ย ก่ อ น ซึ่ ง มี ปั จ จั ย มาจากหลายสาเหตุ เช่ น ก า ร ห า เ ลี้ ย ง ชี พ ที่ ต้ อ ง ดิ้ น ร น แ ข่ ง ขั น ม า ก ขึ้ น ไม้ที่ต้องการใช้หายากขึ้น การแทรกแซงจากธุรกิจ ผลิตพระพุทธรูปจากวัสดุต่างๆที่มีรูปแบบหลากหลาย สวยงามกว่ า และหาได้ ง่ า ยตามร้ า นค้ า เมื่ อ โครงสร้างทางสังคมเปลี่ยนย่อมส่งผลต่อค่านิยมและ ส่งผลกระทบต่อวัฒนธรรมที่สืบต่อกันมา ซึ่งจากการ สำรวจข้ อ มู ล ในครั้ ง นี้ ยั ง พบว่ า พระไม้ ที่ เ ก่ า แก่ ใ น หลายแห่งอยู่ในภาวะที่น่าเป็นห่วงมากเพราะมีการ สูญหายไปมาก ขาดการดูแลอย่างจริงจัง ไม่มีการ บันทึกหลักฐานในการจัดเก็บ นอกจากนั้นยังพบว่า พระพุทธรูปไม้ พระพุทธรูปไม้ พระไม้ ยั ง เป็ น ที่ ต้ อ งการของนั ก สะสมของเก่ า จังหวัดเชียงราย จังหวัดเลย หน่วยงานภาครัฐบางแห่งที่ต้องการนำมาจัดเก็บไว้ ในหน่วยงาน และชาวต่างชาติบางรายที่ต้องการนำ ทั้ ง นี้ จากข้ อ มู ล การสำรวจพระไม้ ใ นแถบ ไปใช้ในวัตถุประสงค์ต่างๆ ทำให้เสี่ยงต่อการเคลื่อน ลุ่ ม แม่ น้ ำ โขงของฝั่ ง ไทย อาจสรุ ป ได้ ว่ า พระไม้ ย้ายจากแหล่งเดิม และเกิดการสูญหายยิ่งขึ้น เป็ น งานพุ ท ธศิ ล ป์ ที่ ส่ ว นใหญ่ มั ก เกิ ด จากความเชื่ อ ซุ้มโขง / ซุ้มพระ ความศรั ท ธาในพระพุ ท ธศาสนา ความนิยมในการ คำว่า ซุ้ม ตามสารานุกรมภาษาอีสาน-ไทยผลิ ต พระไม้ ถ วายวั ด ถื อ เป็ น ความเชื่อ ที่มีม านาน เป็ น วั ฒ นธรรมที่ สื บ ต่ อ กั น มาตั้ ง แต่ ส มั ย ล้ า นช้ า ง อังกฤษของปรีชา พิณทอง(2545:304) หมายถึง ชาวไท-อีสานได้เรียนรู้การผลิตพระไม้ตั้งแต่วิธีง่ายๆ ที่พักชั่วคราว ทำด้วยกิ่งไม้ เพื่อป้องกันลมและแดด ด้วยวิธีการถากด้วย ขวาน มีด ที่หยิบฉวยได้ง่าย ส่วนคำว่า โขง ปรีชา พิณทอง(2545:153) หมาย ในครั ว เรื อ น จนกระทั้ ง แสวงหาอุ ป กรณ์ ช่ ว ยสร้ า ง ถึง คด โค้ง งอ สิ่งที่มีลักษณะโค้ง เช่น ประตูโขง ความงามประเภท สิ่ ว กระดาษทราย พระไม้ งาช้างที่มีลักษณะโค้งงอ เรียก งาโขง ดังนั้น คำว่า ของชาวอี ส านในแถบลุ่ ม น้ ำ โขง เป็ น สิ่ ง สะท้ อ นให้ ซุ้มโขง น่าจะหมายถึง สิ่งที่สร้างขึ้นมีลักษณะโค้ง เห็ น วิ ถี ชี วิ ต ที่ เ รี ย บง่ า ยของผู้ ส ร้ า งและเป็ น ความ สำหรับป้องกันลมแดด เช่น สิ่งที่ทำขึ้นเป็นส่วนบน บริ สุ ท ธิ์ ใ นการสร้ า งสรรค์ ง านศิ ล ปะที่ มี ลั ก ษณะ ของประตู หน้ า ต่ า ง ที่ มี รู ป แบบต่ า งๆ เช่ น
33
มี รู ป คล้ า ยหลั ง คาเรี ย กว่ า ซุ้ ม ประตู ซุ้ ม หน้ า ต่ า ง มี ข อบเขตพื้ น ที่ ใ ช้ ส ำหรั บ ปกป้ อ งสิ่ ง ที่ อ ยู่ ด้ า นใน ดังนั้นซุ้มพระหรือซุ้มโขง จึงเป็นสิ่งที่ใช้ปกป้องและ จั ด เก็ บ พระที่ เ ป็ น พระไม้ ห รื อ พระพุ ท ธรู ป ต่ า งๆ ซึ่ ง จากการสำรวจข้ อ มู ล พบว่ า ซุ้ ม โขงหรื อ ซุ้ ม พระ มีอยู่ 2 ลักษณะ คือ ซุ้ ม พระจากไม้ ท่ อ นเดี ย ว โดยทั่ ว ไปมั ก มี ขนาดเล็กใช้ตั้งพระพุทธรูป สันนิษฐานว่า ความคิด ในการทำซุ้มแบบนี้น่าจะพัฒนามาจากแท่นพระหรือตู้ พระบูชาขนาดใหญ่ที่ตั้งพระได้หลายองค์ แต่ซุ้มโขง 1 2 เดิมทำเฉพาะพระพุทธรูปองค์เดียว แต่ต่อมามีการ สร้างให้หลากหลายตามความต้องการ ในการบรรจุ พระจึงมีทั้งแบบจัดเก็บพระหลายองค์ อาจมีการนำ ไปตั้งหน้าหอแจกหรือตั้งประกอบบนซุ้มประตูทางเข้า ของวัด แบบโบราณมักทำจากไม้ท่อนขนาดพอดีกับ พระพุทธรูปองค์เดียว เจาะช่องสี่เหลี่ยมลึกพอเป็นที่ ตั้งพระ บางครั้งแกะลายตามกรอบสี่เหลี่ยม อาจมี บานเปิดปิดคล้ายประตูและมีการแกะสลักลายหรือ รู ป นาคไว้ ด้ า นบน เช่ น ซุ้ ม พระที่ วั ด ศรี คุ ณ เมื อ งมี ยอดทรงหั ว เม็ ด หรื อ ยอดบั ว ซุ้ ม ที่ วั ด ศรี โ พธิ์ ชั ย แกะสลักเป็นรูปเศียรนาค ซุม้ ทีพ่ พิ ธิ ภัณฑ์สถานแห่งชาติ จังหวัดอุบลราชธานีเป็นรูปทรงคล้ายพระนาคปรก 3 4 มี 3 เศียร ซุ้มที่วัดพนานิวาส และวัดคัมภีราวาส ตัวอย่าง ซุม้ พระทีแ่ กะสลักจากไม้ทอ่ นเดียว อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี มีรูปทรง คล้ า ยเสมา ถื อ ว่ า เป็ น ความงามอย่ า งอี ส าน 1) พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จังหวัดอุบลราชธานี 2) วัดคัมภีราวาส อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ดังตัวอย่างต่อไปนี้ 3) วัดศรีคุณเมือง อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย 4) วัดพนานิวาส บ้านหนองเอาะ ตำบลเกษม อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธาน
34
ซุ้มพระเรือนปราสาท หรือเรียกอีกอย่างว่า ซุ้มเรือนแก้ว ในศัพทานุกรมโบราณคดี(2550:175) อธิบายว่า ในงานออกแบบเชิงสัญลักษณ์แทนเรือนที่ ประทั บ ของพระพุ ท ธเจ้ า ให้ ใ ช้ ค ำว่ า ซุ้ ม เรื อ นแก้ ว มี ที่ ม าจาก รั ต นฆระ ที่ ป ระทั บ ของพระพุ ท ธเจ้ า ซึ่งพระอินทร์เนรมิตถวายในสัปดาห์ที่ 4 หลังการ ตรัสรู้ ลักษณะของซุ้มเรือนแก้วมักนิยมสร้างด้วยไม้ หลังคาทรงมณฑป และมีลักษณะเป็นเรือนปราสาท ตามความเชื่ อ เรื่ อ งเขาพระสุ เ มรุ ข องศาสนาฮิ น ดู ทำให้นิยมเรียกว่า ซุ้มพระเรือนปราสาท อีกชื่อหนึ่ง ซุ้ ม พระที่ ส ำรวจพบในแถบลุ่ ม น้ ำ โขงโดยส่ ว นใหญ่ เน้นที่ความสูงสง่า บริเวณฐานเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยม จั ตุ รั ส และมั ก ปรั บ ขนาดตามขนาดพระพุ ท ธรู ป มีความเหมาะสมและพอเหมาะพอดี ดังนั้น ซุ้มใน ลักษณะนี้จึงมักพิจารณาจากขนาดของพระพุทธรูป เป็นสำคัญ พระพุทธรูปที่นำมาประดิษฐานไว้มักเป็น พระพุ ท ธรู ป องค์ ส ำคั ญ บางวั ด จะใช้ ซุ้ ม เฉพาะ เทศกาลสำคั ญ เช่ น การสรงน้ ำ พระในประเพณี วันสงการณ์โดยใช้ร่วมกับโฮงฮด เช่น วัดศรีอุบลรัตนาราม อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี จะนำ พระแก้วบุษราคัม พระคู่บ้านคู่เมืองมาประดิษฐาน ภายในซุ้มและแห่ ให้ประชาชนได้ชื่นชมและสักการะ ก่อนที่จะนำมาประกอบพิธีสรงน้ำพระ สำหรับซุ้มพระ ที่พบมีมากมายหลายแห่ง ซึ่งมีตัวอย่างดังนี้
1
2
3
ตัวอย่าง ซุม้ พระเรือนปราสาท 1) วัดโนนศิลา ตำบลโคกก่ง อำเภอชานุมาน จังหวัดอำนาจเจริญ 2-3) วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
35
จากการศึ ก ษาซุ้ ม โขง/ซุ้ ม พระ ในแถบลุ่ ม แม่น้ำโขง พบว่า ลักษณะงานด้านรูปแบบ รูปทรง และลวดลายในการตกแต่งตลอดจนมีความเชื่อและวิธี การใช้งานที่ไม่แตกต่างกัน รูปทรงซุ้มพระในแบบไม้ ท่อนเดียว สวนใหญ่ที่พบเป็นงานที่ชาวบ้านสร้าง ด้วยความศรัทรา แกะสลักในรูปแบบที่เรียบง่ายไม่ ซับซ้อน ส่วนซุ้มเรือนปราสาทเป็นงานที่มีความวิจิตร ต้องอาศัยช่างที่มีฝีมือ นิยมตกแต่งด้วยวัสดุต่าง ๆ เสริมรวมทั้งมีการติดผ้าม่านโดยรอบเพื่อสร้างความ สวยงาม ราวเทียน เป็นที่ตั้งเทียนจุดบูชาพระพุทธรูปแบบล้านนา ที่เรียกว่า สัตภัณฑ์ ซึ่งคำว่า สัตตะ(มีความหมายถึง เลข 7) เป็ น การวางตำแหน่ ง เที ย น 7 ตำแหน่ ง บนราวเที ย น เมื่ อ ก่ อ นมั ก อยู่ ใ นสิ ม หรื อ วิ ห าร หน้าพระพุทธรูป ปัจจุบันพิธีทำบุญมักทำในหอแจก จึงมีราวเทียนที่นี่ด้วย ราวเทียนในแถบลุ่มแม่น้ำโขงที่พบ มีทั้งแบบ ที่ ท ำจากโลหะ และทำจากไม้ ไ ม่ เ พี ย งแต่ มี ก ารวาง เที ย นเจ็ ด ตำแหน่ ง แต่ มี ทั้ ง สามตำแหน่ ง และอื่ น ๆ มีส่วนฐานสำหรับตั้งพื้น ถัดขึ้นมาเป็นส่วนกลางซึ่ง เป็นส่วนที่แสดงฝีมือการแกะสลัก บางแห่งทำเป็น ลายนาคผสมลายมาตรฐานอื่ น ๆ เช่ น ลายกนก ลายดอกประจำยาม ส่วนตอนบนนั้นเป็นที่ปักเทียน สำหรั บ ราวเที ย นงานไม้ แ กะสลั ก ที่ พ บในแถบ ลุ่มแม่น้ำโขงฝั่งไทย มีตัวอย่างดังภาพแสดง
36
1
2
ตัวอย่าง ราวเทียนทีพ่ บในเขตพืน้ ทีแ่ ถบลุม่ แม่นำ้ โขงของไทย 1) ราวเทียนภายในสิม วัดศรีตัสสาราม อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี 2) ราวเทียนเสาเดี่ยวรูปทรงคล้ายโฮงฮด พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จังหวัดอุบลราชธานี
การศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับราวเทียนที่ผลิตจาก ไม้ ใ นแถบลุ่ ม แม่ น้ ำ โขงในฝั่ ง ไทย พบว่ า มี จ ำนวน น้อยมาก มีการสร้างสรรค์งานที่แตกต่างกัน งานใน ลักษณะนี้มักเป็นงานช่างที่มีฝีมือ สันนิษฐานว่าอาจ เกิดจาก 2 กรณี คือ ความต้องการของผู้ศรัทธา และความต้องการของเจ้าอาวาส รูปแบบของราว เที ย นจึ ง ถู ก สร้ า งตามคติ ค วามเชื่ อ เช่ น การนำ รู ป ทรงของนาคมาเป็ น ส่ ว นประกอบสำคั ญ และ ผนวกกับการคิดสร้างสรรค์เพิ่มเติม ทำให้รูปแบบ ของราวเที ย นที่ พ บไม่ ไ ด้ มี ค วามเหมื อ นทางด้ า น รายละเอียด แต่มีความคล้ายคลึงทางด้านโครงสร้าง
ตู้พระธรรม และหีบพระธรรม มี ทั้ ง ลั ก ษณะเป็ น ตู้ แ ละหี บ ทรงสี่ เ หลี่ ย ม ใช้เก็บคัมภีร์ใบลาน สมุดข่อย ตำราต่างๆ ลักษณะ ส่วนฐานมักเป็นขาสีเ่ หลีย่ ม ขอบฐานมักแกะลายต่างๆ ส่ ว นบานประตู มี ทั้ ง แกะสลั ก และเขี ย นลายรดน้ ำ ปิดทองรวมทั้งฝาด้านข้างด้วย ทั้งตู้พระธรรม และ หีบพระธรรมพบอยู่หลายแห่ง ดังภาพแสดง
5
1
6
2
7 ตูพ้ ระธรรม และหีบพระธรรม จากวัดและหน่วยงานต่างๆ ในเขตพืน้ ทีแ่ ถบลุม่ แม่นำ้ โขงของไทย
3
4
1-2) วัดศรีจันทร์ บ้านนาอ้อ อำเภอเมือง จังหวัดเลย 3) วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี 4) พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จังหวัดอุบลราชธานี 5) วัดมหาธาตุ อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย 6) วัดศรีตัสสาราม บ้านตากแดด อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี 7) วัดทุ่งศรีเมือง จังหวัดอุบลราชธานี
37
จากการศึกษางานไม้แกะสลักจากตู้พระธรรม และหี บ พระธรรมในแถบลุ่ ม แม่ น้ ำ โขง พบว่ า มี ก ารนำงานไม้ แ กะสลั ก มาใช้ ใ นหลายส่ ว น ตู้ พ ระ ธรรมเป็ น ตู้ ท รงสี่ เ หลี่ ย มมี บ านประตู เ ปิ ด 2 ข้ า ง ข น า ด ไ ม่ ใ ห ญ่ โ ต ม า ก นั ก ใ ช้ เ ก็ บ คั ม ภี ร์ ใ บ ล า น สมุดข่อยต่างๆ มีขาตั้งสี่ขา งานไม้แกะสลักถูกนำมา ใช้ เ ป็ น งานตกแต่ ง ตั้ ง แต่ บ ริ เ วณขาตู้ ขอบสี่ ด้ า น มื อ จั บ และขอบคิ้ ว ด้ า นบน มี ก ารสร้ า งสรรค์ ล ายที่ สวยงาม ส่วนหีบพระธรรมที่ส่วนใหญ่เป็นงานลงรัก ปิดทอง มักนิยมใช้งานแกะสลักตกแต่งส่วนฐานเป็น ขารองรับ เป็นงานที่แยกส่วนจากตัวหีบที่มีฝาปิดเปิด ด้านบน ในภาพรวมที่ศึกษาพบว่า ไม่มีความแตก ต่ า งทางด้ า นรู ป แบบและลวดลาย ลวดลายที่ พ บ ประกอบด้ ว ย ลายกระจั ง ลายดอกประจำยาม ลายบัวหงาย ส่วนประตูมกั เขียนเป็นภาพเทพทวารบาล ลายกนกเครื อ เถา ฝี มื อ ช่ า งที่ ท ำตู้ พ ระธรรมและ หีบพระธรรมถือว่าเป็นงานฝีมือขั้นสูง โฮงฮด ใ ช้ ส ำ ห รั บ ร ด ห รื อ ส ร ง น้ ำ พ ร ะ พุ ท ธ รู ป พระสงฆ์ เจ้ า นาย หรื อ ผู้ ใ หญ่ ที่ ผู้ ค นเคารพนั บ ถื อ มี ลั ก ษณะคล้ า ยเรื อ จำลองขนาดเล็ ก ยาว ส่ ว นหั ว นิ ย มทำเป็ น รู ป เศี ย รนาค ส่ ว นท้ อ งค่ อ นไปทางหั ว ซึง่ เจาะรูให้นำ้ ไหลลงสูด่ า้ นล่าง ใช้ในงานประเพณีอย่าง หนึ่งเรียกว่า ประเพณีฮดสรง การใช้โฮงฮดเป็นวัฒนธรรมที่ได้รับอิทธิพล มาจากอาณาจั ก รล้ า นช้ า งที่ เ คยปกครองดิ น แดน ในแถบนี้ คุณพ่อบำเพ็ญ ณ อุบล ปราชญ์เมืองอุบล เล่าให้ฟงั ว่า การใช้โฮงฮดเป็นวิธกี ารปฏิบตั ทิ ส่ี บื ต่อกันมา
38
ในแถบภาคอีสาน เป็นวัฒนธรรมที่ได้รับอิทธิพลมา จากอาณาจักรล้านช้างที่เคยปกครองดินแดนแถบนี้ ในอดีต โฮงฮด นิยมใช้ในพิธีสรงน้ำพระพุทธรูปคู่ บ้านคู่เมือง และสรงน้ำพระสงฆ์ชั้นผู้ใหญ่ ในอดีต ชาวบ้านจะนำผ้าขาวมาล้อมพระสงฆ์ที่ชาวบ้านเลื่อม ใสศรัทธาในวันสงกรานต์ โดยให้ผ้าที่สูงพอสำหรับ ปิดบังพระสงฆ์ที่นั่งอยู่ด้านใน จากนั้นจัดวางโฮงฮด ให้ พ อดี หั น ด้ า นหั ว มาที่ พ ระสงฆ์ ใ ห้ อ ยู่ ร ะดั บ ที่ พ อดี ซึ่งปกติขาตั้งโฮงฮดจะต่างระดับอยู่แล้ว โดยส่วนหัว จะอยู่ระดับที่ต่ำกว่าเพื่อให้น้ำที่รดไหลลงมาที่ส่วนหัว ด้านล่างซึ่งจะเจาะให้น้ำไหลลง พระสงฆ์ก็จะนั่งรอ รับน้ำที่ญาติโยมมารดหรือสรง ถือเป็นวัฒนธรรมที่ ดี แ ละเหมาะสม ไม่ เ หมื อ นในปั จ จุ บั น ที่ ส รงน้ ำ พระ โดยตรง ทัง้ หญิงทัง้ ชายดูไม่งามตา สำหรับประเทศไทย วัฒนธรรมนี้มีเฉพาะแถบภาคอีสานโดยเฉพาะแถบ ลุ่มแม่น้ำโขง บางแห่งมีการเรียกขานอุปกรณ์นี้ว่า ฮางฮด คุณพ่อบำเพ็ญ ณ อุบล แนะนำว่า ควรใช้คำว่า โฮงฮด เพียงอย่างเดียวน่าจะเหมาะสมกว่าไม่ควร เรี ย กว่ า ฮางฮด หรื อ โฮงหด เพราะคำว่ า ฮาง อาจถูกเรียกด้วยลักษณะของรูปร่างที่เป็นราง หรือ ฮางในภาษาอีสานทำให้นึกถึงฮางสำหรับให้อาหาร หมู พระครูเกษมธรรมมานุวัตร เจ้าคณะตำบลเกษม อ ำ เ ภ อ ต ร ะ ก า ร พื ช ผ ล จั ง ห วั ด อุ บ ล ร า ช ธ า นี ได้อธิบายเพิม่ เติมว่า คำว่า โฮง ถือว่าเป็นคำทีถ่ กู เรียก ให้สงู ขึน้ เป็นการยกระดับภาษาให้มคี วามเหมาะสมกับ การใช้งาน นอกจากคำว่า โฮง จะมีการนำมาใช้ใน การเรี ย กโฮงฮด ยั ง ใช้ เ รี ย ก โฮงกระบอง ที่ ใ ช้ จุ ด ขี้ ไ ต้ ใ ห้ แ สงสว่ า งในยามค่ ำ คื น ซึ่ ง โดยสรุ ป แล้ ว คำเรียกขานใดก็ลว้ นเกิดจากมนุษย์เป็นผูก้ ำหนดทัง้ สิน้
ของสิ่ ง เดี ย วกั น อาจผั น แปรความหมายตามการใช้ งานและความเชื่อเฉพาะถิ่น นอกจากนั้ น แน่ ง น้ อ ย ปั ญ จพรรค์ แ ละ สมชาย ณ นครพนม(2536:16) ยั ง เขี ย นไว้ ใ น หนั ง สื อ วิ ญ ญาณไม้ แ กะสลั ก อี ส าน ถึ ง วิ ธี ก ารใช้ โฮงฮดว่า พิธีฮดสรงนี้เป็นพิธีที่มีเครื่องใช้ประกอบ พิธหี ลายอย่าง โดยทัว่ ไปจะนำโฮงฮดไปตัง้ ไว้กลางแจ้ง ปลู ก ศาลเพี ย งตาไว้ ส องข้ า งสำหรั บ ตั้ ง บายศรี ปลู ก ต้ น กล้ ว ยบริ เ วณโรงพิ ธี แ ละยั ง มี อ ย่ า งอื่ น ๆ อีกหลายอย่าง เมื่อพระสงฆ์ผู้ที่จะเข้าพิธีนั่งลงที่ใต้ รางหรื อ โฮงตรงคอนาคที่ มี รู น้ ำ ไหลออกแล้ ว พระสงฆ์ ห รื อ ผู้ อาวุโสของหมู่บ้าน และชาวบ้ า นจะ เทน้ำหอมลงที่โฮง ฝูงชนที่เข้าไปรดน้ำไม่ถึงก็จะเกาะ ชายผ้าแทน ถือว่าบุญได้ผ่านมาถึงตนด้วย ลักษณะของโฮงฮดในเขตพืน้ ทีแ่ ถบลุม่ แม่นำ้ โขง มี ห ลายรู ป แบบ ซึ่ ง เกิ ด จากความชำนาญของช่ า ง แต่ละบุคคล ความแตกต่างหรือความประณีตในฝีมือ สังเกตได้จากหัวนาค บางแห่งแกะด้วยความวิจิตร สวยงาม มีการลงคำ หรือใช้สีที่สวยงาม ส่วนใหญ่ โทนสี ที่ ใ ห้ คื อ สี แ ดง น้ ำ ตาล เขี ย ว และทอง แต่อาจมีการใช้สีเหลือง สีฟ้า เสริมบ้างในบางแห่ง รูปลักษณ์ของหัวนาคบางแห่งพลิว้ สวยอ่อนช้อยดูคล้าย กำลังทะยานขึน้ สูท่ อ้ งฟ้า บางแห่งทำเป็นนาคสามเศียร บางแห่งเรียบง่ายแต่ดนู า่ เกรงขาม ถือว่าเป็นความชำนาญ ของช่ า งที่ มี ห ลากหลายรู ป แบบ หากเป็ น งานฝี มื อ ชาวบ้านจะดูเรียบง่าย ไม่ว่าส่วนหัวนาคจะมีลักษณะ อย่างไร นาคในแถบลุ่มแม่น้ำโขงมักจะมีปีกบริเวณ ช่ ว งคอแต่ พ องาม ซึ่ ง เป็ น ลั ก ษณะที่ เป็นเอกลักษณ์ ทั้งฝั่งไทยและสปป.ลาว และในบางแห่งนิยมทำเป็น
นาคต่ อ ตั ว ซึ่ ง เกิ ด จากตำนานความเชื่ อ ในทาง พุ ท ธศาสนา จากหนั ง สื อ สถาปั ต ยกรรมล้ า นนา : อี ส านเบิ่ ง ล้ า นนา (ธาดา สุ ท ธิ ธ รรม และธนสิ ท ธิ์ จั น ท ะ รี ม , 2 5 3 9 : 7 8 ) ก ล่ า ว ถึ ง ก า ร ต่ อ ตั ว ของนาคที่ ค นแถบลุ่ ม แม่ น้ ำ โขงนิ ย มนำมาใช้ เ ป็ น รู ป แบบในการสร้ า งบั น ไดในศาสนาคาร(โดยทั่ ว ไป เรี ย กว่ า บั น ไดนาค) และส่ ว นอื่ น ๆ ในพระพุ ท ธ ศาสนาว่า นาคเป็นสัตว์ท่ใี ห้การปกป้องและช่วยเหลือ พระพุทธเจ้าในกาลต่างๆ ในกาลหนึง่ นาคได้แผ่พงั พาน ต่ อ กั น เป็ น สะพานข้ า มแม่ น้ ำ คงคาให้ พ ระพุ ท ธองค์ เสด็จข้ามรวมทั้งเหล่าสาวกให้เดินข้าม ดังนั้นการนำ ลั ก ษณะของนาคต่ อ ตั ว มาใช้ จึ ง มี ค วามหมายเช่ น เดียวกันกับสะพานที่แสดงถึงการเชื่อมโยงและความ ศรัทธาในการกระทำ หรือกิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ ในพุทธศาสนา รูปแบบของนาคต่อตัวนอกจากจะถูกนำมาสร้างเป็น บันไดนาค ยังมีการสร้างสรรค์งานศิลปะบนโฮงฮด อีกมากมาย วิโรฒ ศรีสุโร (2540ข:14) เคยกล่าว ไว้ว่า ในกลุ่มชนสายวัฒนธรรมไต-ลาว ตลอดฝั่งซ้าย และฝั่ ง ขวาของแม่ น้ ำ โขงมี ก ารสร้ า งฮางฮดหรื อ โฮงฮด เอาไว้เป็นมรดกทางวัฒนธรรม มีการแกะสลัก ลวดลายอย่างประณีตสวยงามมีการออกแบบให้วิจิตร พิสดารแข่งขันกันอย่างตั้งใจ โดยเฉพาะโฮงฮดของ หลวงพระบางนับเป็นศิลปกรรมสุดยอดทีห่ าดูไม่งา่ ยนัก ช่างพยายามใช้ความยาวของรางไม้แทนสัญลักษณ์ ลำตัวของพญานาค หรือตัวเงือก บ้างก็แทนลำตัว ของเหราคาบนาคอี ก ต่ อ หนึ่ ง ประดั บ ตกแต่ ง ด้ ว ย ลายรดน้ ำ อย่ า งสุ ด ฝี มื อ ในการเก็ บ รวมรวมข้ อ มู ล ในครั้งนี้พบโฮงฮดที่น่าสนใจ และสวยงาม ดังนี้
39
5
1
2
6
3 7
8 4
40
9
10
13
14 ตัวอย่าง โฮงฮด จากวัดและหน่วยงานต่างๆ ในเขตพืน้ ทีแ่ ถบลุม่ แม่นำ้ โขงของไทย
11
12
1) วัดศรีคุณเมือง บ้านเชียงคาน จังหวัดเลย 2) วัดศรีสะอาด บ้านห้วยซวก จังหวัดเลย 3) บบที่ 1 วัดไตรภูมิ อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม 4) แบบที่ 2 วัดไตรภูมิ อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม 5) วัดโพธิ์ไชย หมู่ 1 อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม 6) วัดกลาง อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม 7) วัดไตรภูมิ อำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร 8) วัดทุ่งศรีวิไล อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี 9) วัดศรีนวลแสงสว่างอารมณ์ อำเภอเขือ่ งใน จังหวัดอุบลราชธานี 10) วัดสิงหาษ อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี 11) วิทยาลัยอาชีวะศึกษาอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี 12) วัดศรีอุบลรัตนาราม อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 13) พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จังหวัดอุบลราชธานี 14) พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จังหวัดอุบลราชธานี
41
จากการศึกษาข้อมูลโฮงฮดจากแหล่งข้อมูล ต่างๆในเขตพื้นที่แถบลุ่มแม่น้ำโขง มีโฮงฮดที่พบใน แหล่ ง ข้ อ มู ล ต่ า งๆรวม 42 ชิ้ น ซึ่ ง คาดว่ า ยั ง มี อี ก หลายชิ้ น ในวั ด และพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ต่ า งๆ เนื่ อ งจาก โฮงฮดเป็ น งานพุ ท ธศิ ล ป์ ที่ ใ ช้ ใ นบางเทศกาล โดยเฉพาะประเพณีฮดสรงในเดือน 5 ทำให้การจัด เก็บข้อมูลเป็นไปด้วยความยากลำบาก เพราะช่วงที่มี การนำมาใช้ ง านเป็ น ช่ ว งเวลาที่ สั้ น ไม่ อ าจตามเก็ บ ข้อมูลตลอดลำน้ำโขงได้ในเดือนเดียว ดังนั้นจึงใช้วิธี การสอบถามจากทางวั ด และสอบถามจากแหล่ ง ข้อมูลต่างๆ เนื่องจากในปัจจุบัน โฮงฮดไม่ได้มีใน ทุ ก วั ด หลายวั ด จั ด เก็ บ ไว้ เ ป็ น อย่ า งดี จ นไม่ มี ใ ครรู้ นอกจากผู้ดูแล บางวัดจัดเก็บตามใต้ถุนศาลาไม่ได้ ดูแลเท่าที่ควร บางวัดจัดเก็บอย่างถูกวิธีใช้ผ้าขาวห่อ มี ส ารกั น มอดแมลงป้ อ งกั น แขวนไว้ ใ นที่ สู ง ถอดส่วนหัวท้ายที่ถอดประกอบได้แยกเก็บไว้อย่างดี ซึ่งจะช่วยให้มีอายุในการใช้งานที่ยาวนาน แต่ก็มีบาง วั ด ที่ ส ำรวจพบโดยบั ง เอิ ญ มี ก ารนำโฮงฮดเก่ า ที่ สวยงามแต่อยู่ในสภาพที่ชำรุดมาผ่าเป็นฝืนก่อไฟเป็น ที่น่าเสียดายมาก ทั้งนี้อาจเกิดจากความไม่เข้าใจใน งานอนุ รั ก ษ์ สำหรั บ รู ป แบบของโฮงฮดที่ พ บ อาจจำแนกได้เป็น 4 ลักษณะคือ โฮงฮดแบบนาคตัวเดียว โฮงฮดนาคแบบต่ อ ตั ว โฮงฮดแบบเหราคายนาค และโฮงฮดแบบใช้ รู ป สั ต ว์ อื่ น ๆ เช่ น ช้ า ง เป็ น ต้ น รู ป แบบที่ ถู ก นำมาใช้ ม ากที่ สุ ด คื อ นาค ที่ มี ทั้ ง แบบเศียรเดียว และสามเศียรนิยมใช้เป็นนาคอ้าปาก และมีปีกแสดงถึงความองอาจสง่างาม ส่วนของช่วง กลางมีทั้งแบบตกแต่งด้วยนกหงส์ นกหัสดี สำหรับ ส่วนหางเน้นความอ่อนช้อยที่รับกับส่วนหัวและลำตัว
42
บางแห่งทำเป็นหางเชิดขึ้น บางแห่งวกงอเข้าหาตัว ส่วนที่น่าสนใจอีกจุด คือ บริเวณหน้าอกของนาคที่มี การสร้างสรรค์ด้วยลายต่างๆ ถือเป็นเครื่องประดับ ตกแต่ ง อี ก อย่ า ง สำหรั บ ความยาวที่ ใ ช้ โ ดยทั่ ว ไป ประมาณความยาวตลอดทั้งตัวประมาณ 3 เมตร นิยมจัดวางโฮงฮดบนฐานต่างระดับที่เน้นให้ส่วนหัว เอียงลาดต่ำเพื่อให้น้ำที่สรงไหลได้สะดวก เมื่อเปรียบ เที ย บความเหมื อ นในภาพรวมนั้ น พบว่ า โฮงฮด ในสองฝั่งโขงไม่แตกต่างทั้งด้านความเชื่อ การใช้งาน และรู ป แบบการสร้ า งสรรค์ ง านแม้ ว่ า โฮงฮดจะถู ก สร้างโดยช่างที่มีฝีมือและความสามารถแต่งต่างกัน ถือว่าเป็นความหลากหลายในงานช่างทั้งช่างพื้นบ้าน ช่างที่เป็นชาวบ้านโดยแท้ และช่างชั้นสูง กากะเยีย/ขากะเยีย และขาเขีย กากะเยีย เป็นชัน้ วางคัมภีรใ์ บลาน ทำเป็นชัน้ ๆ คล้ายบันได ภาคเหนือเรียกว่า ชั้นแก้ว ภาคอีสาน เรียกว่า กากะเยีย/ขากะเยีย หรือขาสะเงีย สำหรับ ในภาคอี ส านอาจมี ก ารเรี ย กแตกต่ า งไปบ้ า งตาม ภาษาถิ่ น ถื อ เป็ น สิ่ ง ของที่ พุ ท ธศาสนิ ก ชนสร้ า งขึ้ น เพื่อใช้เป็นชั้นวางสำหรับวางคัมภีร์ใบลานในระหว่าง ที่มีพิธีแสดงพระธรรมเทศนา ในความเชื่อทางพุทธ ศาสนาคัมภีร์ถือว่าเป็นของสูง อันหมาถึงคำสั่งสอน ของพระพุทธเจ้า ส่ ว นขาเขี ย ในบางแห่ ง เรี ย กเหมื อ นกั น ว่ า กากะเยีย ไม่ได้แยกชื่อถือเป็นชั้นวางเช่นเดียวกันเป็น ที่ ตั้ ง คั ม ภี ร์ ใ บลานขณะแสดงพระธรรมเทศนา ส่วนใหญ่มกั ทำเป็นลักษณะไขว้พบั เก็บได้ นิยมแกะสลัก ลายที่ขา และส่วนบน คัมภีร์ใบลานเป็นของที่ทำจาก
วั ส ดุ ธ รรมชาติ ชำรุ ด เสี ย หายได้ ง่ า ย การใช้ ต้ อ ง ระมัดระวัง ดังนั้นขาเขียจึงต้องมีการออกแบบที่พอดี กับระดับการนั่งอ่าน การเปิดอ่าน ขนาดความยาว พอดีกับคัมภีร์ ความกว้างต้องพอดีกับการเปิดใช้งาน การออกแบบรู ป ทรงและการตกแต่ ง ต้ อ งดู แ ล้ ว น่าเลื่อมใสศรัทรา ถือเป็นภูมิปัญญาของช่างพื้นบ้าน ในการศึกษาข้อมูลในครั้งนี้ พบกากะเยียและ ขาเขีย ดังนี้
2
1
3
กากะเยีย และขาเขียทีพ่ บในบริเวณพืน้ ทีแ่ ถบลุม่ แม่นำ้ โขง 1) กากะเยีย วัดเกษมสำราญ ตำบลเกษม อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี 2) กากะเยีย พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จังหวัดอุบลราชธานี 3) ขาเขีย พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ จังหวัดอุบลราชธานี
โปง โปงหรือโปงแลง เป็นอุปกรณ์เสียงที่ต้องใช้ ท่ อ นไม้ ก ระทุ้ ง ด้ า นข้ า งให้ เ กิ ด เสี ย ง เพื่ อ สั ญ ญาณ ในช่วงเย็น ให้ญาติโยมที่นับถือศาสนาพุทธปฏิบัติกิจ ทางศาสนา ส่วนพระสงฆ์จะสวดทำวัตรเย็นเป็นกิจของ สงฆ์เช่นเดียวกัน การใช้โปงในช่วงเย็นจึงทำให้บางครัง้ เรี ย กว่ า โปงแลง(แลง คื อ ช่ ว งเวลาตอนเย็ น ในภาษาอีสาน) โปงทำจากไม้เนือ้ แข็งขนาดใหญ่ทอ่ นเดียว โดยนำมาขุดและแกะเอาเนื้อไม้ด้านในออกให้เป็นรู กลวงด้ า นในขนาดใหญ่ รู ที่ ขุ ด จะมี ค วามลึ ก เกื อ บ ทะลุโดยเฉลี่ยประมาณ 8 ส่วนของความยาวทั้งหมด ด้านข้างจะผ่าเป็นร่องยาวประมาณครึง่ หนึง่ ของความ ลึกส่วนปลายของร่องที่ผ่าจะถูกขยายให้ใหญ่ขึ้นนิยม เจาะเป็ น วงกลมหรื อ รู ป ทรงใบโพธิ์ โปงเป็ น งาน พุทธศิลป์ที่มีการสร้างสรรค์ความงามที่แตกต่างกัน บางแห่งตกแต่งแกะสลักลายโดยรอบบริเวณส่วนหัว ของโปง บางแห่งแกะลายตลอดทั้งตัวโปง ถือว่าเป็น ความงามที่แตกต่าง จากการสำรวจข้อมูลในพุทธ สถานแถบลุ่มน้ำโขงพบว่า โปงเป็นอุปกรณ์ที่ยังมีการ ใช้โดยทั่วไปในวิถีพุทธที่อยู่รอบนอกตัวเมือง สำหรับ ในตัวเมืองหลายแห่งได้เลิกใช้แล้ว แต่ได้ทำโปงขนาด ใหญ่สำหรับการจัดแสดงและตกแต่งไม่สามารถนำมา ใช้งานได้จริง โปงเป็นงานไม้แกะสลักทรงกระบอกกลม ที่มีคุณค่าในด้านวัฒนธรรม จากการสำรวจข้อมูลพบ โปงจำนวนมากในหลายพื้นที่ ซึ่งผู้เขียนขอนำมายก ตัวอย่างดังนี้
43
1
2
3
4
5
รูปแบบของโปงทีพ่ บในบริเวณเขตพืน้ ทีล่ ม่ ุ แม่นำ้ โขงของไทย 1) วัดคัมภีราวาส ตำบลนาพิน อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี 2) วัดจันทนที ตำบลกุดยาลวน อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี 3) วัดพิจพตรสังฆาราม บ้านโนนยาง ตำบลโนนยาง อำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร 4) วัดนรวราราม บ้านโอ ตำบลโนนยาง อำเภอโนนสูง จังหวัดมุกดาหาร 5) หอแก้ว อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร 6) พระธาตุพนม อำเภอธาตุพนม จังหวังนครพนม 7) วัดมหาธาตุ ตำบลเชียงคาน อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย 8) พระธาตุบังพวน ตำบลกุดยาลวน อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี 6
44
7
8
2.4 ไม้แกะสลักสิ่งของ เครื่องใช้ และของที่ระลึก
สิ่งของ เครื่องใช้ในวิถีชุมชนเป็นสิ่งสะท้อน ให้เห็นถึงวิถีชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ไม้ถือเป็น วั ส ดุ ที่ ถู ก นำมาผลิ ต เป็ น สิ่ ง ของ เครื่ อ งใช้ ม ากที่ สุ ด เพราะไม้เป็นวัสดุที่มีมากในทุกพื้นที่ ความสำคัญใน งานไม้ จ ะอยู่ ที่ ก ารเลื อ กชนิ ด ของไม้ การออกแบบ การแปรรู ป การเคลื อ บผิ ว เพื่ อ รั ก ษาเนื้ อ ไม้ แ ละ ความงาม สิ่งของเครื่องใช้ในงานไม้นอกจากจะเน้น ที่ประโยชน์ใช้สอยแล้ว ยังเน้นที่ความงาม ในอดีต สิ่งของ เครื่องใช้ในงานไม้แทบทุกชิ้นจะถูกตกแต่งให้ งามด้วยการแกะสลัก เช่น ขันหมาก อุปกรณ์ทอผ้า หน้าไม้ ด้ามปืน กระต่ายขูดมะพร้าว กระบมและ อื่นๆ ความประณีตสวยงามจะเป็นสิ่งบกบอกฐานะ และรสนิยมของผู้ใช้งาน จากการสำรวจข้อมูลพบว่า งานแกะสลักมัก ถูกนำมาใช้กบั สิง่ ของ เครือ่ งใช้ทตี่ อ้ งใช้บอ่ ยซ้ำๆ สิง่ ของ เครือ่ งใช้ทใี่ ช้เฉพาะบุคคล และสิง่ ของ เครือ่ งใช้ทพี่ กพา ซึ่งมีสิ่งของ เครื่องใช้ที่น่าสนใจ ดังนี้
เชี่ยนหมาก จากการสำรวจข้อมูลพบว่า ขันหมาก มีความงามทีแ่ ตกต่างตามความนิยมของแต่ละท้องถิน่ มีการออกแบบฐานในรูปทรงทีห่ ลากหลาย การแกะลาย นิ ย มใช้ ล ายที่ เ กิ ด จากการผสมผสานของเส้ น ตรง ตัดกันไปมาซึ่งง่ายต่อการแกะ นอกจากการแกะยังใช้ การตอกให้เกิดลวดลาย และลงสีธรรมชาติ ซึง่ ส่วนใหญ่ นิ ย มใช้ โ ทนสี ด ำและอาจตั ด ด้ ว ยสี แ ดง เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความโดดเด่ น สะดุ ด ตา ซึ่ ง ขั น หมากที่ ส ำรวจพบ มีตัวอย่าง ดังนี้
1
ขันหมาก และพานไม้ ขันหมาก เป็นอุปกรณ์ในการจัดเก็บวัสดุใน การเคี้ ย วหมากประกอบด้ ว ย มี ด สะนาก ตะบั น 2 หมาก เต้ า ปู น เคี้ ย วหมาก มี ด ผ่ า หมาก ใบพลู หมาก ยาเส้น เป็นต้น ด้านบนอาจแบ่งเป็นช่องๆ เพื่ อ ความสะดวกในการจั ด เก็ บ ส่ ว นฐานแกะด้ ว ย ขันหมาก ในเขตพืน้ ทีล่ ม่ ุ แม่นำ้ โขงของไทย ลวดลายสวยงาม คำว่า ขันหมาก เป็นคำในภาษา 1-2) ขันหมาก จังหวัดเลย ถิ่ น ของภาคอี ส าน ส่ ว นในภาคกลางนิ ย มเรี ย กว่ า
45
เครื่องดนตรี และการละเล่น เครื่องดนตรีหลายชนิดผลิตจากไม้ ซึ่งความ ส ำ คั ญ ข อ ง เ ค รื่ อ ง ด น ต รี อ ยู่ ที่ ก า ร เ ลื อ ก วั ส ดุ การกำหนดรูปแบบ เพราะเมือ่ ผลิตออกเป็นเครือ่ งดนตรี แล้วจะต้องมีน้ำหนัก ขนาดที่พอดีกับการใช้งานและ การให้เสียงดนตรีที่มีคุณภาพ จากการสำรวจข้อมูล พบว่ า เครื่ อ งดนตรี ที่ นิ ย มแกะสลั ก สร้ า งสรรค์ ความงาม คือ พิณ และรูปแบบที่ถูกนำมาใช้ในการ แกะสลั ก มากที่ สุ ด คื อ พญานาค โดยนำมาเฉพาะ ส่ ว นหั ว และแกะให้ เ กิ ด ลวดลายที่ อ่ อ นช้ อ ยสวยงาม นอกจากการแกะสลั ก ส่ ว นหั ว ของพิ ณ แล้ ว ที่ มี ใ ห้ พบเห็นอีก เช่น ไม้แขวนโปงลาง ซออู้ เป็นต้น
3
4 ขันหมาก ในเขตพืน้ ทีล่ มุ่ แม่นำ้ โขงของไทย 3-4) ขันหมาก จังหวัดอุบลราชธานี
ส่วนพานไม้เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในพิธีกรรมทั้งใน พุทธศาสนา พิธพี ราหมณ์ และพิธกี รรมในความเชือ่ ต่างๆ ถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่งที่ถูกนำมาใช้ในศาสนา และความเชื่ อ มาก จั ด อยู่ ใ นกลุ่ ม สิ่ ง ของสู ง ศั ก ดิ์ ดั ง นั้ น การผลิ ต พานไม้ จึ ง ต้ อ งให้ ค วามสำคั ญ กับความงามที่เหมาะสมกับการวางสิ่งของ นอกจาก การทำให้ ไ ด้ รู ป ทรงของพานด้ ว ยการกลึ ง ให้ ก ลม ยังต้องมีการออกแบบฐานให้งามตาด้วย
46
อาวุธและอุปกรณ์ล่า ดัก จับ ขังสัตว์ การผลิ ต สิ่ ง ของเครื่ อ งใช้ ป ระเภทอาวุ ธ และ อุปกรณ์ที่ใช้ในการล่า ดัก จับ ขัง สัตว์ ตั้งแต่อดีต จนถึ ง ปั จ จุ บั น มั ก จะใช้ ไ ม้ เ ป็ น ส่ ว นประกอบเสมอ เพราะไม้เป็นวัสดุที่มีความหลากหลาย มีทั้งชนิดที่มี ความเหนียวสามารถดัดโค้งงอได้ และชนิดที่แข็งแรง คงทน เมือ่ ไม้ถกู นำมาใช้เป็นสิง่ ของทีต่ อ้ งหอบหิว้ พกพา จึ ง ถู ก คิ ด ค้ น สร้ า งสรรค์ ใ ห้ มี ค วามงาม เพื่ อ บอก รสนิ ย มของคนใช้ ง านและเป็ น เครื่ อ งหมายที่ บ อก ความแตกต่ า งจากบุ ค คลอื่ น สิ่ ง ของที่ ถู ก นำมา แกะสลั ก มากที่ สุ ด ได้ แ ก่ ด้ า มปื น ธนู หน้ า ไม้ ด้ามมีด ด้ามหอก เพนียดดักนก กรงนก และอื่นๆ
ของใช้ในครัวเรือน ของใช้ ใ นครั ว เรื อ นของผู้ ค นในท้ อ งถิ่ น เป็ น ภูมิปัญญาโดยแท้ของชาวบ้านที่พยายามสร้างสรรค์ สิ่งอำนวยความสะดวกในกิจกรรมต่างๆ เช่น ของใช้ ในการประกอบอาหาร ประเภทกระต่ายขูดมะพร้าว กระบมคดข้าวเหนียว กระบวยตักน้ำดืม่ โฮงกระบอง (ใช้ จุ ด เชื้ อ เพลิ ง ให้ แ สงสว่ า ง) ของใช้ ใ นการทอผ้ า ประเภทอัก ไม้คอนอัก กระสวย เปีย ไนพวงสาว ข อ ง ใ ช้ เ กี่ ย ว กั บ สั ต ว์ เ ลี้ ย ง ป ร ะ เ ภ ท ห ม า ก ข อ รวมทั้งของใช้อื่นๆ อีกมากมาย ล้วนแล้วแต่ผลิตจาก ไม้และมีการสร้างสรรค์ความงามด้วยการแกะสลัก ลวดลายหรื อ รู ป ร่ า ง รู ป ทรงของสิ่ ง ที่ ชื่ น ชอบ จากการสำรวจข้อมูลพบว่า ในอดีตผู้คนในท้องถิ่น ให้ความสำคัญกับสิ่งของ เครื่องใช้ที่มีการใช้ในครัว เรื อ นค่ อ นข้ า งมาก ซึ่ ง สั ง เกตได้ จ ากความละเอี ย ด ประณี ต ในการแกะสลัก ลวดลายที่ แกะในส่ ว นต่ า งๆ พญานาคเป็ น สิ่ ง ที่ ถู ก นำมาใช้ ใ นงานแกะมากที่ สุ ด นอกนั้นจะเป็นสัตว์ชนิดอื่น เช่น ช้าง ม้า กระต่าย ตามความเหมาะสมกับชนิดของสิ่งของ เครื่องใช้
1
2
ของใช้และเครือ่ งดนตรี ในเขตพืน้ ทีล่ ม่ ุ แม่นำ้ โขงของไทย 1) อุปกรณ์ทอผ้าพื้นบ้าน : ไม้คอนอัก และอัก 2) เครือ่ งดนตรีพื้นบ้าน : พิณ
เกวียน เกวียนเป็นยานพาหนะที่สร้างจากไม้เนื้อแข็ง เป็นส่วนใหญ่ แต่มีการใช้ไม้เนื้ออ่อนน้ำหนักเบาและ เหนี ย วในบางชิ้ น ส่ ว น เช่ น แอก ในอดี ต มี ก ารใช้ เกวียนแทบทุกครัวเรือนในทุกภูมิภาค เกวียนมีหลาย รูปแบบ ซึ่งไม่แตกต่างจากการใช้รถยนต์ในปัจจุบัน มี รู ป ทรง ชิ้ น ส่ ว นและการใช้ วั ส ดุ ที่ มี คุ ณ ภาพดี แตกต่างกัน บางครั้งเกวียนยังเป็นสิ่งบอกฐานะของ ผู้ใช้งานด้วย จากการสำรวจข้อมูลงานไม้แกะสลักใน ครั้งนี้พบว่า เกวียนมีการใช้งานใน 2 ลักษณะ คือ 1) เกวียนระดับเจ้านาย ใช้ประโยชน์ในการ เ ดิ น ท า ง นิ ย ม เ ลื อ ก ใ ช้ ไ ม้ ป ร ะ ดู่ ไ ม้ พ ยุ ง ที่ มี เนื้ อ แข็ ง คงทน การผลิ ต ทุ ก ชิ้ น ส่ ว นจะต้ อ งมี ค วาม พิ ถี พิ ถั น ใ น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ นิ ย ม แ ก ะ ส ลั ก ล า ย ในส่วนต่างๆ เพื่อสร้างความสวยงาม
47
2) เกวียนของชาวบ้านทั่วไป เป็นเกวียน อเนกประสงค์ ใช้ ใ นการขนย้ า ยพื ช ผลการเกษตร และใช้ เ ป็ น ยานพาหนะในการเดิ น ทางในบางครั้ ง การตกแต่ ง มี น้ อ ยเพราะจะเน้ น ที่ ค วามแข็ ง แรง และประโยชน์ใช้สอยมากกว่า ข้อมูลเกีย่ วกับเกวียนในอดีต สามารถศึกษาได้ จากพิพิธภัณฑ์ต่างๆ เพราะเกวียนในปัจจุบัน ในเขต พื้นที่แถบลุ่มแม่น้ำโขง ซึ่งปัจจุบันเลิกใช้งานในแบบ เดิมแล้ว หากต้องการชมการใช้งานจริงอาจต้องเดินทาง เข้าไปในพื้นที่ลึกของสปป.ลาว ซึ่งยังมีใช้อยู่หลายแห่ง ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวถือเป็นพื้นที่ที่อยู่นอกเขตลุ่มน้ำโขง ของตกแต่งบ้าน และของที่ระลึก ของตกแต่ ง บ้ า นเป็ น สิ่ ง เสริ ม คุ ณ ค่ า และบ่ ง บอกรสนิ ย มของผู้ อ ยู่ อ าศั ย ในอาคาร สถานที่ ห รื อ บ้านเรือน งานไม้แกะสลักนอกจากจะถูกใช้ในงาน ตกแต่ ง สิ่ ง ของ เครื่ อ งใช้ ยั ง ถู ก ผลิ ต ขึ้ น เพื่ อ การ ตกแต่งเป็นการเฉพาะ ของตกแต่งบ้านที่นิยมและมี การผลิตมาก ส่วนใหญ่เป็นประเภทตุก๊ ตารูปสัตว์ตา่ งๆ ทั้งสัตว์ที่เป็นที่รู้จักกันดีในท้องถิ่น เช่น ช้าง ม้า วัว กระต่าย กวาง เป็นต้น และสัตว์ในตำนานความเชื่อ ของคนแถบลุ่มแม่น้ำโขง เช่น พญานาค การผลิต ของตกแต่งบ้านจากไม้แกะสลัก มีทุกขนาด ทั้งแบบ ที่เน้นการตกแต่งและเพิ่มเติมประโยชน์ใช้สอย สำหรั บ ของที่ ร ะลึ ก เป็ น สิ่ ง ของที่ เ น้ น คุ ณ ค่ า ทางจิ ต ใจ ส่ ว นใหญ่ มี ข นาดเล็ ก จุ ด ประสงค์ เ พื่ อ ต้องการให้ผ้รู ับ หรือผู้ซ้อื ระลึกถึงสิ่งที่ผ้ผู ลิตกำหนดไว้ ข อ ง ที่ ร ะ ลึ ก ไ ด้ มี ม า ช้ า น า น ตั้ ง แ ต่ ค รั้ ง โ บ ร า ณ เนื่องจากงานไม้แกะสลักเป็นงานที่ต้องใช้ความเพียร
48
ในการผลิต ลักษณะงานสามารถสื่อความหมายได้ ง่ า ย กล่ า วคื อ สามารถสื่ อ ได้ ใ นทุ ก มิ ติ ทั้ ง มิ ติ ท าง วั ฒ นธรรม มิ ติ ท างอารมณ์ มิ ติ ท างความเชื่ อ ความศรัทธา และมิติทางจินตนาการ
2
1
3
4
ไม้แกะสลักของทีร่ ะลึก และในความเชือ่ ทีพ่ บในเขตพืน้ ทีแ่ ถบลุม่ แม่นำ้ โขงของไทย 1) ไม้แกะสลักของที่ระลึกชาวเขา กระเหรี่ยงคอยาว 2) ไม้แกะสลัก นางมัทรี ในชาดกพระเวสสันดร 3) ไม้แกะสลัก ตามจินตนาการทีเ่ กิดจากความฝันของคนในท้องถิน่ 4) ไม้แกะสลัก บือบ้าน หลักบ้าน หลักเมือง
2.5 ไม้แกะสลักในความเชื่อต่างๆ บือบ้าน บื อ บ้ า นหรื อ หลั ก บ้ า น เป็ น เสาหลั ก ของ หมู่บ้านเช่นเดียวกับเสาหลักเมือง นิยมปักไว้กลาง หมู่ บ้ า นให้ ค นเคารพบู ช า รู ป ร่ า งคล้ า ยหลั ก เส เป็นเสาไม้หลักเดียวมีหัวเสาเป็นยอดแหลม บางแห่ง ทำแบบเรียบง่ายไม่มีลวดลาย บางแห่งแกะสลักให้ มี ล วดลายสวยงามเป็ น ศิ ล ปะพื้ น บ้ า นที่ มี คุ ณ ค่ า บ่ ง บอกถึ ง ความเป็ น มา การสื บ สานวั ฒ นธรรม ความเชื่อที่มีมาอย่างยาวนานและเป็นองค์ประกอบ ของการวางผังหมู่บ้าน บางแห่งเรียกว่า มเหศักดิ์ หลั ก บ้ า น เป็ น การเรี ย กขานถึ ง เจ้ า ปู่ ม เหศั ก ดิ์ ผู้เป็นเจ้าที่ หรือจิตวิญญาณของผู้มีอำนาจที่มีศักดิ์ ศรี สู ง ส่ ง กว่ า ภู ต ผี ทั้ ง ปวง ถื อ ว่ า เป็ น สิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ มี ฤทธิ์อำนาจดลบันดาลสิ่งต่างๆได้ สามารถอำนวย ความสุ ข แก่ ผู้ ค นที่ ม าอยู่ อ าศั ย ในหมู่ บ้ า น การตั้ ง บือบ้านต้องมีพิธีกรรม และมีการเลือกทำเลที่ตั้งที่ เหมาะสมส่วนใหญ่จะเป็นพื้นที่เนิน มีพิธีกรรมเข้ามา เกี่ยวข้องตั้งแต่การตั้งเสาหลักบ้าน การบวงสรวง ประจำปี โดยอาศัยจ้ำ หรือพ่อหมอที่ชาวบ้านเลือก เป็ น ผู้ น ำในการประกอบพิ ธี ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ จ ะเป็ น ผู้ อ าวุ โ สในหมู่ บ้ า นที่ ช าวบ้ า นให้ ค วามเคารพนั บ ถื อ จากการสำรวจข้อมูลพบว่า ในปัจจุบันบือบ้านและ พิ ธี ก รรมบวงสรวงมี ห ลงเหลื อ ให้ เ ห็ น น้ อ ยมาก เนื่ อ งจากเกิ ด การสู ญ หายเพราะความชำรุ ด ของไม้ และการถูกเบียดเบียนไปเป็นสถานที่ราชการ ส่วนที่ ยังสามารถพบเห็นได้ คือ บือบ้านที่อยู่ในเขตพื้นที่
วัดในชุมชนที่มีความเชื่อ ความศรัทธาเหนียวแน่น บางแห่งสร้างศาลากันแดดกันฝนไว้อย่างสวยงาม วัตถุ สิ่งของในความเชื่ออื่นๆ การที่มนุษย์รู้จักการสร้างสรรค์วัตถุสิ่งของ ให้ มี มิ ติ ตื้ น ลึ ก หนา บาง สู ง ต่ ำ เพื่ อ ผลิ ต เป็ น สิ่งของต่างๆนั้น มนุษย์ไม่ได้ละเลยที่จะสร้างตัวแทน ของสิง่ ทีต่ นเองเคารพบูชา หรือจินตนาการในความเชือ่ หากย้ อ นอดี ต ตั้ ง แต่ ค รั้ ง โบราณจะพบว่ า มนุ ษ ย์ ไ ม่ นิ ย มชมชอบความโดดเดี่ ย ว หวาดกลั ว ความ เงียบเหงาในจิตใจ มีความกลัวปะปนกับความเสี่ยงที่ เกิดขึ้นในแต่ละวัน ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความกลัว ที่แฝงอยู่ในจิตใจของมนุษย์นี่เองที่ทำให้เกิดความเชื่อ ในสิ่งต่างๆ การสร้างสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจจึงเป็นวิธี การหนึ่งที่ช่วยคลายความกลัวในใจ ช่วยเสริมพลังใจ ให้เข้มแข็ง และด้วยเหตุที่ความเชื่อของมนุษย์จึงมี
ไม้แกะสลักรูปคนพนมมือในหอแจก โดยจงใจแกะสลัก ให้มือมีขาดยาวและใหญ่ผิดปกติ เป็นความเชื่อ ที่พบในเขตพื้นที่อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
49
ความหลากหลาย มีการสืบทอดวัฒนธรรมความเชื่อ ที่ แ ตกต่ า งกั น ทำให้ ม นุ ษ ย์ ป ระดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น วั ต ถุ สิ่งของในความเชื่อต่างกัน ไม้เป็นวัสดุทางธรรมชาติ ที่สามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่น ไม้มีหลายชนิดและ มีคุณค่าในความหมายที่ต่างกัน ไม้จึงถูกเลือกสรรใน การสร้ า งงานศิ ล ปะในความเชื่ อ จากการสำรวจ ข้ อ มู ล พบว่ า ในปั จ จุ บั น มี ก ารนำวั ส ดุ สั ง เคราะห์ ประเภทเร่ ซิ่ น มาผลิตเป็ นวัตถุ สิ่งของในความเชื่ อ เป็นจำนวนมาก นอกเหนือจากงานหล่อโลหะต่างๆ ที่มีการผลิตมานาน อย่างไรก็ตาม หากมองในแง่ คุณค่าแล้วไม้ยังได้รับการยอมรับว่าเป็นวัสดุที่มาก ด้วยคุณค่า เนื่องจากการผลิตนั้นต้องใช้ความเพียร ไม้แต่ละชนิดมีความหมายและมีคุณค่าที่แฝงไว้ด้วย ความเชื่ อ เช่ น ไม้ งิ้ ว ดำเป็ น ไม้ ม งคลที่ ห ายาก ไม้ พ ยุ ง เป็ น ไม้ เ นื้ อ แข็ ง คุ ณ ภาพดี มี ชื่ อ เป็ น มงคล ไม้ โ พธิ์ เ ป็ น ไม้ ที่ มี ค วามเกี่ ย วเนื่ อ งกั บ พุ ท ธศาสนา เป็นต้น
2.6 สรุปผลการสำรวจงานไม้แกะสลัก ในฝั่งไทย
จากผลการสำรวจข้ อ มู ล งานไม้ แ กะสลั ก ใน แถบลุ่มแม่น้ำโขงในพื้นที่ 7 จังหวัด คือ เชียงราย เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี ซึง่ ส่วนใหญ่เป็นจังหวัดในภาคอีสาน นอกจากจังหวัดเชียงรายที่อยู่ในเขตพื้นที่ภาคเหนือ หากมองในแง่ของการได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรม 6 จั ง หวั ด ในภาคอี ส าน จะได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลทาง วัฒนธรรมจากล้านช้าง งานแกะสลักดั้งเดิมจึงมีทั้ง
50
รูปแบบการใช้งานและลวดลายในแบบของล้านช้าง เช่น การใช้โฮงฮดรดน้ำพระสงฆ์ ซึ่งเป็นแบบทาง วัฒนธรรมของล้านช้างโดยแท้ เพราะภาคกลางของ ไทยไม่มีวัฒนธรรมการใช้โฮงฮด และเมื่อพิจารณา รูปแบบของนาคที่นำมาใช้ทำเป็นรูปทรงโฮงฮดแล้ว พบว่ า นาคจะมี ส่ ว นที่ เ รี ย กว่ า ปี ก อยู่ ส องข้ า ง ซึง่ หลายเรือ่ งราวทีพ่ บบ่งบอกถึงความเป็นมาในเรือ่ งราว แม้ว่าต่อมาในช่วงหลังจะได้รับอิทธิพลจากช่างจาก เมืองหลวง รูปแบบเกิดการผสมผสานทางวัฒนธรรม รวมทั้งในบางท้องถิ่นมีช่างญวนที่เราเรียกว่า แกว ซึ่งเป็นชาวเวียดนามในประเทศไทย ทำให้มีการผสม ผสานแนวคิ ด ในการสร้ า งสรรค์ ผ ลงานด้ ว ย เช่ น ธรรมาสน์ สิ ง ห์ เ ทิ น ปราสาท วั ด ศรี น วลแสง สว่ า งอารมณ์ บ้ า นชี ท วน อำเภอเขื่ อ งใน จั ง หวั ด อุบลราชธานี ส่วนจังหวัดเชียงรายได้รับอิทธิพลทาง วัฒนธรรมจากล้านนา งานไม้แกะสลักจึงมีรูปแบบ ของล้านนา ซึง่ ในภาพรวมอาจสรุปได้วา่ งานไม้แกะสลัก ในอดี ต เป็ น งานที่ ม ากด้ ว ยคุ ณ ค่ า แหล่ ง ข้ อ มู ล ที่ สามารถค้ น หาได้ ง่ า ยที่ สุ ด ในยุ ค ปั จ จุ บั น ก็ คื อ วั ด และพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ทั้ ง นี้ อ าจพอมี อ ยู่ บ้ า งตามร้ า นขาย ของเก่า และนักสะสมต่างๆ ปั จ จุ บั น ส ภ า พ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม เปลี่ ย นแปลงไปจากเดิ ม มาก ด้ ว ยเหตุ ผ ลหลาย ประการ เช่ น ความเจริ ญ ด้ า นวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยี การรุ ก รานจากวั ฒ นธรรมต่ า งชาติ การสื่อสารไร้พรหมแดน ผลกระทบจากสิ่งแวดล้อม ทางธรรมชาติ ถู ก ทำลาย การละทิ้ ง ถิ่ น ฐานและ การละทิ้ ง อาชี พ เกษตรกรรมไปเป็ น ลู ก จ้ า ง ทำให้ ค ว า ม รั ก แ ล ะ ค ว า ม ผู ก พั น ข อ ง ค น ใ น ท้ อ ง ถิ่ น
1
2
3
ลักษณะรูปทรงและลวดลายงานไม้แกะสลัก แถบลุม่ น้ำโขงเขตพืน้ ทีภ่ าคอีสาน 1) โฮงฮด ฝีมือช่างพื้นบ้าน เป็นนาคมีปีกในรูปแบบที่เรียบง่าย 2) โปง ฝีมอื ช่างพื้นบ้าน นิยมแกะลายไว้หัวโปง 3) ทวยนาคพืน้ บ้านที่ได้รับอิทธิพลจากเมืองหลวง เป็นนาคหางปล่อยกนกเปลว
เริ่มลดน้อยลง ส่งผลให้งานศิลปะพื้นบ้านในแขนง ต่างๆขาดการสืบสาน หาช่างผู้ชำนาญงานพื้นถิ่นได้ ยากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะช่างไม้แกะสลักถือว่าหาได้ยาก เต็มที บานประตู หน้าต่างที่เป็นไม้แกะสลักส่วนใหญ่ ไม่ใช่งานฝีมือช่างในท้องถิ่น แต่ได้จากช่างต่างถิ่น หรือเป็นสิง่ ของ เครือ่ งใช้สำเร็จรูปทีข่ ายตามท้องตลาด ส่ ว นใหญ่ ผ ลิ ต จากอำเภอแม่ ส อด จั ง หวั ด ตาก จากบ้านถวาย อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ และ จากอำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ ทำให้ลวดลายแกะสลัก ไม่ใช่ลายในท้องถิ่น ดังที่เคยสืบทอดกันมาแต่อดีต ปัจจุบนั กระทัง่ งานแกะสลักจากไม้ฉำฉายังหาได้ยากขึน้
ไม้ ฉ ำฉาในภาคอี ส านส่ ว นใหญ่ ถู ก ส่ ง ไปขายที่ ภ าค เหนือ เพื่อนำไปแกะสลักเป็นรูปช้างแล้วส่งกลับมา ขายที่ ภ าคอี ส าน เมื่ อ คนในท้ อ งถิ่ น ขาดช่ ว งการ พัฒนา จึงทำให้งานไม้แกะสลักในภาคอีสานที่มีช่าง หลงเหลื อ อยู่ ไ ม่ กี่ ร าย ผลิ ต ผลงานที่ ข าดความ ประณีต สวยงามไม่เป็นดังเช่นที่ผ่านมา ผลงานไม่ ได้รับความสนใจเทียบเท่างานภาคเหนือที่ครองตลาด มาเป็ น เวลานาน สุ ด ท้ า ยงานไม้ แ กะสลั ก แถบลุ่ ม แม่ น้ ำ โขงของไทยก็ จ ะนั บ วั น ซบเซาลงตามลำดั บ ในปั จ จุ บั น พอมี ง านตั ว อย่ า งให้ ชื่ น ชมได้ จ ากการ จั ด แสดงในวั ด เก่ า และพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ผู้ เ ขี ย นเห็ น ว่ า
51
งานไม้แกะสลักที่ยังหลงเหลืออยู่ เป็นงานที่มีคุณค่า ทั้งแนวคิด ความเป็นมา วัฒนธรรมความเชื่อที่สืบ ต่อกันมาจนก่อเกิดเป็นผลงานทางศิลปกรรม ถือเป็น มรดกทางวั ฒ นธรรม อนุ ช นรุ น หลั ง ควรให้ ค วาม สำคัญกับการอนุรักษ์ เป็นการอนุรักษ์ที่ไม่ใช่แต่เพียง ป้ อ งกั น ขโมย แต่ เ ป็ น การอนุ รั ก ษ์ ใ ห้ ค งอยู่ ส มบู ร ณ์ หาวิธียืดอายุ ลดการผุกร่อนตามเงื่อนไขของเวลา สิ่ ง เหล่ า นี้ ผู้ ที่ น่ า จะมี บ ทบาทเป็ น ด่ า นแรก ก็ คื อ ชุมชน ผู้เป็นเจ้าของสถานที่และเป็นเจ้าของมรดก ทางวัฒนธรรมนี้ สำหรับในแง่ที่เป็นประโยชน์ต่อวิถี สังคมใหม่หรือสังคมปัจจุบัน งานไม้แกะสลักไม่ควร เป็นแต่เพียงแหล่งศึกษาของนักประวัติศาสตร์เท่านั้น แต่ ค วรเป็ น แหล่ ง ที่ นั ก วิ ช าการในแขนงวิ ช าต่ า งๆ จะได้เรียนรู้จากภูมิปัญญานี้ด้วย เช่น นักออกแบบ สถาปนิ ก ศิ ล ปิ น นั ก มานุ ษ ยวิ ท ยา เป็ น ต้ น ซึ่งชุมชนน่าจะเป็นผู้ที่มีบทบาทในการดูแลมรดกทาง วั ฒ นธรรมนี้ ทั้ ง ในแง่ ข องการบำรุ ง รั ก ษาและ การให้ความรู้
52
บทที่ 3
ไม้แกะสลักในฝั่งลาว 3.1 แหล่งศึกษาข้อมูล
จากการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับศิลปะไม้แกะ สลั ก ในวิ ถี ชี วิ ต ชุ ม ชนแถบลุ่ ม น้ ำ โขง สปป.ลาว ในช่วงปี พ.ศ. 2553 ที่ผ่านมา ผู้เขียนได้เลือกพื้นที่ ศึกษาในเขตพื้นที่ 5 แขวง คือ นครหลวงเวียงจัน แขวงหลวงพระบาง ไชยะบุรี สะหวันนะเขด และจำปาสัก ซึ่งเป็นการสำรวจข้อมูลในเขตภาคเหนือ ภาคกลาง และใต้ตลอดลำน้ำโขงของ สปป.ลาว ทีอ่ ยูต่ ดิ กับฝัง่ ไทย จากการศึกษาหนังสือ ราชอาณาจักรลาว ที่เขียนโดย บุญช่วย ศรีสวัสดิ์ (2547:10) มีตอนหนึ่งได้บันทึก ไว้ ว่ า พงศาวดารลาวที่ เ ล่ า สื บ ต่ อ กั น มาเล่ า ว่ า ในสมั ย อ้ า ยขุ น ลอ ซึ่ ง เป็ น ราชโอรสองค์ ใ หญ่ ข อง
ขุนบรม(บางแห่งเรียก ขุนบูลม) ได้มาสร้างอาณาจักร เมืองลาวเป็นครั้งแรก ณ บริเวณฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง บริเวณที่เคยถูกเรียกว่าเมืองชะวา แต่เดิมให้นามว่า เมืองเชียงดงเชียงทอง ต่อมาในปีพ.ศ.1299 ได้นำ พระบางที่ผู้คนเคารพศรัทธามาประดิษฐาน และได้ เปลี่ยนชื่อเมืองเป็นเมืองหลวงพระบาง เป็นราชธานี ของลาว ครั้นพลเมืองหนาแน่นไม่มีที่ทำมาหากินจึง เคลือ่ นย้ายไปทางใต้แถบเวียงจัน สะหวันนะเขด จำปาสัก และบางพวกข้ ามแม่ข อง(แม่ น้ำ โขง) มาตั้ง ถิ่น ฐาน ในบริเวณภาคอีสาน และถูกชนชาติเพื่อนบ้านเรียกว่า ลาว ปั จ จุ บั น สปป.ลาว แบ่ ง การปกครองออกเป็ น 9 แขวงกั บ อี ก 1 เขตปกครอง ดิ น แดนแถบนี้
มี ช่ ว งเวลาทางประวั ติ ศ าสตร์ ค่ อ นข้ า งยาวนาน การศึกษาข้อมูลในครั้งนี้ ผู้เขียนได้เลือกศึกษาเฉพาะ เมื อ งเก่ า และสถานที่ ส ำคั ญ ทางประวั ติ ศ าสตร์ ข อง สปป.ลาว ซึ่งประกอบด้วย วัด ร้านจำหน่ายสินค้า แหล่งท่องเที่ยว บ้านเรือนในชุมชน การค้นคว้าหา แหล่งข้อมูลในครัง้ นีไ้ ด้รบั ข้อมูลทางเอกสาร การสอบถาม ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งในท้ อ งถิ่ น ตลอดจนการสุ่ ม สำรวจ สำหรับการเรียกขานชือ่ วัตถุ สิง่ ของทีพ่ บในการสำรวจ ข้อมูล ผูเ้ ขียนขอใช้คำเรียกขานตามฝัง่ ลาว โดยเทียบกับ การเรียกขานในฝัง่ ไทย เช่น จังหวัด เรียก แขวง อำเภอ เรียก เมือง ตำบล เรียก ตาแสง หมู่ เรียก หน่วย สำหรับแหล่งสำคัญในแต่ละแขวงทั้ง 5 แขวง มีดังนี้ นครหลวงเวียงจัน เป็นเมืองหลวงของสปป. ลาว ตัง้ อยูบ่ ริเวณแม่นำ้ โขงฝัง่ ตรงข้ามกับจังหวัดหนองคาย ของไทย มีด่านเข้าออกสะดวก สามารถเดินทางได้ ทั้ ง รถยนต์ รถไฟ และเครื่ อ งบิ น ด้ ว ยเหตุ ที่ เ ป็ น เมื อ งเก่ า ทำให้ มี วั ด เก่ า อยู่ ห ลายแห่ ง แม้ ว่ า ในอดี ต วั ด เก่ า ต่ า งๆ จะถู ก ทำลายไปมากจากภั ย สงคราม แต่ยังมีส่วนที่พอหลงเหลือ บางส่วนถูกสร้างขึ้นใหม่ ในช่ ว งหลั ง ด้ ว ยฝี มื อ ช่ า งญวนและช่ า งในท้ อ งถิ่ น จากการตรวจสอบข้อมูลทางประวัติศาสตร์ พบว่า นั บ ตั้ง แต่ ส มั ย รั ช กาลพระเจ้าไชยองค์เว้ ช่วงปีพ.ศ. 2243-2273 มาจนถึงรั ช กาลพระเจ้ า สิ ริ บุ ญ สาร ช่วงปี พ.ศ. 2278-2324 ไม่ค่อยปรากฏหลักฐาน การสร้ า งพุ ท ธสถานมากนั ก จนกระทั่งถึงรัชกาล พระเจ้าอนุวงศ์ ช่วงปี พ.ศ. 2345-2371 จึงมีการฟื้นฟู พุ ท ธศาสนาทำให้ บ้ า นเมื อ งมี ค วามเจริ ญ ก้ า วหน้ า สำหรั บ วั ด ต่ า งๆที่ ผู้ เ ขี ย นสำรวจข้ อ มู ล ในครั้ ง นี้
54
ประกอบด้วย พระธาตุหลวง วัดพระแก้ว วัดองค์ตื้อ (สร้างสมัยพระเจ้าไซยะเสดถาหรือไชยเชษฐาธิราช) วัดสีสะเกด (สร้างสมัยพระเจ้าอนุวงศ์ ปีพ.ศ. 2367) และวัดเก้ายอด เป็นต้น แขวงหลวงพระบาง เคยเป็นเมืองหลวงเก่าที่ มี ค วามเจริ ญ รุ่ ง เรื อ ง ในยุ ค พระเจ้ า ฟ้ า งุ้ ม มหาราช อาณาจักรล้านช้างถือได้วา่ บ้านเมืองมีความเป็นปึกแผ่น เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เมื่อสิ้นรัชกาลของพระเจ้า สุรยิ วงสาธรรมมิราช ทำให้เกิดรอยร้าวแตกแยกเป็นแต่ ละแคว้นเป็นอิสระไม่ขนึ้ แก่กนั อาจเรียกว่าแบ่งออกเป็น 3 รั ฐ คื อ หลวงพระบาง มี พ ระเจ้ า กิ่ ง กิ ส ราช ขึ้ น ครองราชย์ เมื่ อ ปี พ .ศ. 2250 เวี ย งจั น มี พระเจ้ า ชั ย องค์ เ ว้ หรื อ พระเจ้ า ไชยเชษฐาธิ ร าชขึ้ น ครองราชย์ เมื่อปีพ.ศ. 2243 จำปาสักมีพระเจ้า สร้ อ ยสี ส มุ ท พุ ท ธางกุ ล ขึ้ น ครองราชย์ เมื่ อ ปี พ .ศ. 2257 แม้ ว่ า บ้ า นเมื อ งจะเคยแตกแยกหลายครั้ ง พระพุทธศสานายังคงเป็นแกนกลางในการปกครอง ในปั จ จุ บั น หลวงพระบางเป็ น ที่ ตั้ ง ของพระราชวั ง และวั ด ที่ มี ค วามสำคั ญ ทางประวั ติ ศ าสตร์ ม ากมาย ปั จ จุ บั น ได้ รั บ การขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น เมื อ งมรดกโลก การเดินทางไปแขวงหลวงพระบางควรเดินทางผ่าน นครหลวงเวียงจันเพราะเป็นเส้นทางที่สะดวกที่สุด ในปัจจุบัน แม้ว่าอาจจะสามารถเข้าทางด่านจังหวัด เลยได้แต่เส้นทางไม่สะดวก โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน หากเดิ น ทางในเส้ น ทางนครหลวงเวี ย งจั น ไปแขวง หลวงพระบางจะมี ร ะยะทาง ประมาณเกื อ บ 500 กิ โ ลเมตร แต่ เ นื่ อ งจากเส้ น ทางต้ อ งวิ่ ง ขึ้ น ลงและวนตามภูเขาตลอดเส้นทางการวัดระยะหรือ
คำนวณเวลาเดินทางค่อนข้างลำบาก โดยทัว่ ไปใช้เวลา 1 วั น การเดิ น ทางช้ า หรื อ เร็ ว ขึ้ น กั บ สภาพรถ และคนขั บ สำหรั บ แหล่ ง สำรวจไม้ แ กะสลั ก มี ม าก ซึ่ ง ขอยกตั ว อย่ า งพื้ น ที่ ใ นการสำรวจที่ ส ำคั ญ เช่ น วัดเซียงทอง หรือวัดเชียงทอง (สร้างสมัยพระเจ้า ไซยะเสดถาหรือไชยเชษฐาธิราช) วัดพระมหาธาตุ วัดธาตุหลวง วัดป่าฝาง วัดคกปาบ วัดเซียงแมนไซยะ เสดถาราม วัดล่องคูน วัดหาดเสี้ยว วัดแสนสุขาราม วัดสบสิกขาราม วัดสิริมงคลไซยาราม วัดสุวันนะคีรี วัดโพนไซซะนะสงคาม นอกจากนัน้ ยังมีแหล่งสำรวจอืน่ ๆ นอกเหนือจากวัด เช่น ตลาดแลง(ถนนคนเดินหน้าพูส)ี แหล่งจำหน่ายสินค้าบ้านผานม และร้านค้าของเก่า ของที่ระลึกในหลวงพระบาง เป็นต้น แขวงไซยะบุรี เป็นเมืองโบราณอีกแห่งหนึ่ง ในอดี ต เคยถู ก เรี ย กว่ า จั ง หวั ด ล้ า นช้ า งของไทย (ก่อนจะเสียให้ฝรัง่ เศสในปี พ.ศ. 2446) แขวงไซยะบุรี เป็ น แขวงที่ อ ยู่ ติ ด ต่ อ กั บ ประเทศไทยหลายจั ง หวั ด เช่น เชียงราย น่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก และเลย แขวงไซยะบุ รี แ บ่ ง การปกครองออกเป็ น 3 เมื อ ง คื อ เมื อ งไซยะบุ รี เมื อ งปากลาย และเมื อ งหงษา ตั้ ง อยู่ ห่างจากแขวงหลวงพระบาง ระยะทาง 140 กิโลเมตร การเดินทางค่อนข้างกันดารมาก หากฤดูฝนไม่ สมควรเดินทางเพราะเป็นเส้นทางที่ค่อนข้างอันตราย จากถนนที่เป็นโคลนตมเหนียวและขึ้นลงภูเขาตลอด การเดิ น ทางต้ อ งนำรถยนต์ ข้ นึ แพข้ า มฝากแม่ น้ำ โขง (คนในท้องถิ่นเรียกว่า น้ำของ) ที่บ้านท่าเดื่อ ซึ่งตาม ความเป็นจริงแขวงไซยะบุรี อาจเดินทางจากประเทศไทย ได้จากด่านจังหวัดเลยแต่เส้นทางลำบากมากในช่วง
เส้นทางในการสำรวจข้อมูลใน สปป.ลาว บน : เส้นทางผ่านชุมชนและภูเขา นครหลวงเวียงจัน-แขวงหลวงพระบาง ล่าง : เส้นทางที่ต้องผ่านดินโคลนและหุบเขา แขวงหลวงพระบาง- แขวงไซยะบุรี
55
ฤดูฝนไม่สามารถเดินทางได้ การสำรวจและจัดเก็บ ข้อมูลผู้เขียนเริ่มจัดเก็บจากแหล่งข้อมูลตามรายทาง โดยสอบถามคนในท้องถิน่ เกีย่ วกับแหล่งทีเ่ ป็นเมืองเก่า วัดเก่า ซึง่ พบแหล่งทีม่ ขี อ้ มูลหลายแหล่ง ตามรายทาง เช่น วัดบ้านป่งดง เมืองนาน วัดบ้านผาหนีบ เมืองนาน วั ด แสนตอดอนใจแก้ ว กว้ า งหรื อ วั ด บ้ า นนาหลง วัดดอนใจหรือวัดบ้านนาท่อม แขวงไซยะบุรี เมื่อเข้า เขตพื้นที่แขวงไซยะบุรี มีวัดสำคัญที่ควรศึกษาและ เก็บข้อมูล 2 วัด คือ วัดสีสะหว่างวงส์ เป็นวัดที่ เจ้ า มหาชี วิ ต สี ส ะหว่ า งวงส์ ส ร้ า งและบู ร ณะให้ เ ป็ น กุศลบุญแก่เจ้าสักรินทร์ผเู้ ป็นพ่อ ภายในมีงานพุทธศิลป์ และงานสถาปัตยกรรมที่สวยงาม และวัดอีกแห่งหนึ่ง คือ วัดสีบุนเรือง แต่ชาวบ้านนิยมเรียกติดปากว่า วัดใหญ่ ถือเป็นวัดเก่าแก่ที่สุดและใหญ่โตมากที่สุดใน แขวงไซยะบุรี มีทั้งหลักฐานที่เก่าแก่และสิ่งก่อสร้าง ขึน้ มาใหม่ ซึง่ ทีน่ ไ้ ี ด้ ลุงคำผา ปันยาทอง (อายุ 66 ปี) อาศัยอยู่ที่บ้านเลขที่ 60 หน่วย 6 บ้านใหญ่ และ ได้ลุงเสียงผา บูนบุรี(อายุ 67 ปี) อาศัยอยู่ที่บ้าน เลขที่ 3 หน่ ว ย 1 บ้ า นใหญ่ เป็ น ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล แขวงไซยะบุรีถือเป็นเมืองที่สงบ ชาวบ้านมีวิถีชีวิตที่ เรียบง่าย รักษาวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาได้อย่าง เหนียวแน่น การทำมาหากินอาศัยพึ่งพิงธรรมชาติที่ อุดมสมบูรณ์ แขวงสะหวันนะเขด เป็นเมืองเก่าอีกแห่งที่ อยู่ฝั่งแม่น้ำโขงตรงข้ามกับจังหวัดมุกดาหาร มีด่าน และสะพานข้ า มฟากที่ ส ะดวกสบาย ปั จ จุ บั น ความ เจริ ญ ต่ า งๆได้ ห ลั่ ง ไหลเข้ า สู่ แ ขวงสะหวั น นะเขด วัดที่ผู้เขียนตรวจสอบข้อมูลพบมี 3 แห่งที่น่าสนใจ
56
และถือเป็นวัดที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็น ที่ เ ชื่ อ ได้ ว่ า มี ง านไม้ แ กะสลั ก ที่ ส ำคั ญ อยู่ ห ลายชิ้ น ประกอบด้วย วัดพระทาดอิงฮัง ตั้งอยู่ใกล้บริเวณ แขวงสะหวันนะเขด วัดพระทาดอิงฮังมีพระธาตุเก่าแก่ มีงานปูนปั้นตกแต่งสวยงาม มีคนเคารพกราบไหว้ สักการะทุกวัน วัดพระทาดอิงฮังนี้ มีเรือ่ งราวปรากฏ อยูใ่ นคัมภีรอ์ รุ งั คนิทาน(ตานานพระธาตุพนม)บันทึกไว้ ว่าสร้างภายหลังพระพุทธเจ้าปรินิพานแล้วประมาณ 400 ปี คำว่า อิงฮัง เชือ่ ว่า มาจาก คำว่า อิงกกฮัง (ต้ น รั ง ) ในสมั ย พระยาสุ มิ ต รธรรม เมื่ อ ครั้ ง เสวย ราชสมบัติในมรุกขนคร(สันนิษฐานว่าเป็นเมืองเก่า ในเมืองท่าแขกปัจจุบัน) พื้นที่บริเวณพระทาดอิงฮัง มีสมิ เก่าตกแต่งไม้แกะสลักสวยงาม ด้านหลังมีหอแจก ไม้ จั ด เก็ บ พระไม้ แ ละธรรมาสน์ ท รงปราสาทเก่ า แก่ และในบริ เ วณเดี ย วกั น มี กุ ฏิ ไ ม้ โ บราณมุ ง ด้ ว ย
เส้นทางถนนลูกรังไปบ้านหนองลำจัน เมืองจำพอน แขวงสะหวันนะเขด น-แขวงหลวงพระบาง
แป้นเกล็ด วัดแห่งทีส่ องคือ วัดโพนสะหว่างคันทะนาราม บ้านโพนสิม เมืองไกสอนพมวิหาน(เดิมชือ่ เมืองขันทะบุรี ต่ อ มาเปลี่ ย นชื่ อ เมื อ งเพื่ อ เป็ น เกี ย รติ แ ก่ บ้ า นเกิ ด ของท้าวไกสอนพมวิหานบุคคลสำคัญของประเทศ) มี ร ะยะทางห่ า งจากวั ด พระทาดอิ ง ฮั ง ประมาณ 5 กิโลเมตร วัดแห่งนี้ มีหอแจกเก่า โฮงฮด ราวเทียนไม้ แ ก ะ ส ลั ก แ ล ะ ธรรมมาสน์ โ บราณ ที่ ส วยงาม ส่ ว นวั ด สุ ด ท้ า ยที่น่า สนใจ คื อ วั ด จั น ทน์ ท ะสาโร บ้านหนองลำจันทน์ เมืองจำพอน ระยะทางห่างจาก แขวงสะหวั น นะเขด ประมาณ 50 กิ โ ลเมตร เส้ น ทางกั น ดารมาก ต้ อ งใช้ เ วลาเดิ น ทางยาวนาน ที่ วั ด แห่ ง นี้ เ ป็ น วั ด เก่ า มี คุ ณ ค่ า ทางประวั ติ ศ าสตร์ มี ห อ ไ ต ร ก ล า ง น้ ำ แ ก ะ ส ลั ก ห า ง ห ง ส์ ส ว ย ง า ม มี ห อแจกโบราณ มีธรรมาสน์ทรงปราสาทที่สวยดู มั่นคงแข็งแรง นอกจากนั้ น ยั ง มี โ ฮงฮดที่ ใ ช้ ผ้ า ขาว หอเก็บไว้บนขื่อคาอย่างดี แขวงจำปาสัก ถือเป็นเมืองที่เก่าแก่ในเขต ลาวตอนใต้ มีประวัติศาสตร์ยาวนาน ครั้งหนึ่งใน ปี พ.ศ. 2257 เคยแยกตัวเป็นอิสระจากนครหลวง เวี ย งจั น ภายหลั ง ที่ พ ระเจ้ า สุ ริ ย วงสาธรรมิ ร าช สวรรณคต เพี ย งสองทศตวรรษ และในช่ ว งนั้ น พระยาเมื อ งจั น ท์ ไ ด้ ท ำการแย่ ง ชิ ง ราชสมบั ติ พระนางสุมัคละมเหสีได้หลบหนีขณะมีครรภ์ ไปอยู่ กั บ ญาติ โ ยมพระครู ย อดแก้ ว และพระครู ย อดแก้ ว ได้ พ ายาติ โ ยมหลบหนี ร าชภั ย ลงใต้ ต่ อ มาได้ มี การสร้างบ้านแปงเมือง ชาวเมืองพร้อมใจกันยกเมือง ให้พระครูยอดแก้ว แต่ท่านตระหนักดีว่าอยู่ในสมณ เพศไม่เหมาะสมจึงมอบบ้านเมืองให้ เจ้าหน่อกษัตริย์
โอรสเจ้ า นางวสุ มัง คละเป็ น กษั ต ริ ย์ ผู้ค รองนคร จำปาสักองค์แรกคือ พระเจ้าสร้อยสีสมุทพุทธางกูร ถือว่าเป็นผูส้ บื เชือ้ สายมาจากพระเจ้าสุรยิ วงสาธรรมิราช (สงวน รอดบุ ญ , 2545:115) ในอดี ต จำปาสั ก ได้ เ คยขึ้ น กั บ ไทยใน พ.ศ. 2321 มี เ จ้ า ปกครอง สืบมาจนรัชกาลพระเจ้ายุติธรรมสุนทร(เจ้าคำใหญ่) จึ ง ตกเป็ น อาณานิ ค มของฝรั่ ง เศส สำหรั บ แหล่ ง ข้ อ มู ล ที่ จั ด เก็ บ ในครั้ ง นี้ เช่ น วั ด ทาดฝุ่ น สั น ติ ทั ม วั ด โพนแพง วั ด บ้ า น วั ด โพไซ วั ด ทั ม มะกะสิ ก า วัดบ้านท่าหลวง วัดทัมมะรังสี บ้านท่าหิน เมืองปากเซ และบ้ า นหนองบึ ง (เผ่ า ตะโอย) เมื อ งปะทุ ม พอน เป็นต้น หลังการจัดเก็บข้อมูลพบว่า ข้อมูลที่ได้รับมี ความหลากหลายมาก ล้วนแล้วแต่มีคุณค่าต่อการ ศึกษาค้นคว้า ดังนั้นเพื่อให้ง่ายต่อการศึกษาต้นคว้า ต่อไป จึงนำข้อมูลมาจัดกระทำข้อมูลให้เป็นแนวทาง เช่นเดียวกันกับทีจ่ ดั เก็บข้อมูลไม้แกะสลักในประเทศไทย โดยจำแนกลักษณะของไม้แกะสลักในแถบลุ่มน้ำโขง ของฝั่ ง ลาวออกเป็ น ประเภทใหญ่ ๆ 4 ประเภท คื อ 1)ไม้ แ กะสลั ก ในงานตกแต่ ง อาคารสถานที่ 2)ไม้แกะสลักในงานพุทธศิลป์ต่างๆ 3)ไม้แกะสลักใน งานสิ่งของ เครื่องใช้ และของที่ระลึก 4)ไม้แกะสลัก ในความเชือ่ ต่างๆ ซึง่ มีรายละเอียดทีน่ าสนใจ ดังนี้
57
3.2 ไม้แกะสลักทีใ่ ช้ในงานตกแต่งอาคาร สถานที่
ได้ เ ปลี่ ย นมาใช้ ง านปู น ปั้ น จำนวนมากแล้ ว เพราะมี ความมั่ น ใจว่ า คงทนมากกว่ า หาช่ า งและหาวั ส ดุ ได้งา่ ยกว่า ซึง่ ในทีน่ ี้ ผูเ้ ขียนขอยกตัวอย่าง วัดทีส่ ามารถ ไม้แกะสลักที่ใช้ในศาสนาคาร การศึ ก ษางานไม้ แ กะสลั ก ในแถบลุ่ ม น้ ำ โขง หาชมไม้แกะสลักได้ในปัจจุบัน ดังนี้ ของลาว พบว่า งานไม้แกะสลักที่สามารถค้นหาได้ ส่ ว นใหญ่ มั ก ปรากฎในวั ด ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น ศู น ย์ ร วม ความเชื่ อ ความศรั ท ราที่ เ ป็ น สมบั ติ ข องส่ ว นรวม ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันวัดจะเป็นสถานที่ที่รวบรวม ของมีค่าและงานศิลปะต่างๆของชุมชน งานฝีมือส่วน ใหญ่ มั ก เกิ ด จากความศรั ท ราที่ ผู้ ส ร้ า งต้ อ งใช้ ค วาม เพี ย รในการสร้ า งสรรค์ ผ ลงานอย่ า งวิ จิ ต รบรรจง 1 ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่า ทุกส่วนที่เกิดขึ้นในวัดหรือ พุทธสถานต้องผ่านการคัดสรรจากผู้สร้าง ในส่วน ของงานตกแต่ ง ที่ ส ำรวจพบในพุ ท ธสถานของลาว พบว่า มีการนำไม้แกะสลักมาใช้ในงานตกแต่งสิม(โบสถ์) และหอไตร มากที่สุดนอกจากนั้นมีให้พบบ้างเล็กน้อย เช่น หอแจก(ศาลาการเปรียญ) กุฏิ หอระฆัง ซุ้ม และศาลาต่ า งๆ ตำแหน่ ง ที่ พ บมากคื อ เครื่ อ งบน หน้าบัน ฮังผึ้ง ทวย หน้าต่าง ประตู และเชิงชาย 2 เช่นเดียวกับในฝั่งไทย ในอดีตไม้ถือเป็นวัสดุที่หาง่าย และมีคุณภาพแตกต่างกัน ทุกชุมชนในแถบลุ่มน้ำโขง ทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ์ดา้ นพันธุไ์ ม้จงึ นิยมใช้ไม้ประดิษฐ์ เป็นสิ่งของเครื่องใช้และนิยมใช้ในงานตกแต่งต่างๆ วัดเป็นแหล่งศูนย์รวมจิตใจจึงมีการใช้ไม้ในงานตกแต่ง จำนวนมาก แต่ด้วยเหตุที่ไม้มีข้อจำกัดด้านอายุการ ใช้งาน ทำให้ไม้ที่ใช้ในงานตกแต่งภายนอกที่ตากแดด ลมฝนต้องชำรุดตามกาลเวลา บางชิ้นส่วนทางวัด ได้จัดเก็บไว้เป็นอนุสรณ์ บางส่วนทางวัดไม่เห็นคุณค่า 3 ก็จะถูกทำลายไป ปัจจุบนั ส่วนทีเ่ คยใช้ไม้ในงานตกแต่ง
58
4
5
8
7
9
6
1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9)
สิม หอไตร ในเขตพื้นที่แถบลุ่มน้ำโขงของลาว วัดบ้านใหญ่ แขวงไซยะบุรี สิมวัดสีสะหว่างวง แขวงไซยะบุรี วัดเซียงทอง แขวงหลวงพระบาง สิมวัดหาดเสี้ยว แขวงหลวงพระบาง สิมวัดจอมเพ็ด แขวงหลวงพระบาง สิมวัดคกปาบ แขวงหลวงพระบาง สิมวัดเซียงแมนไวยะเสดถาราม แขวงหลวงพระบาง สิมวัดล่องคุณ แขวงหลวงพระบาง วัดโพนไซซะนะสงคาม แขวงหลวงพระบาง
59
สิม หอไตร ในเขตพื้นที่แถบลุ่มน้ำโขงของลาว 10) วัดองค์ตื้อ นครหลวงเวียงจัน 11) วัดเก้ายอด นครหลวงเวียงจัน
60
10
11
12
13
14
15 12) หอไตรกลางน้ำ วัดจันทะสาโร แขวงสะหวันนะเขด 13) วัดพระแก้ว นครหลวงเวียงจัน 14) วัดพระทาดอิงฮัง เมืองไกสอน พมวิหาน แขวงสะหวันนะเขด 15) วัดโพนแพง แขวงจำปาสัก
ในการศึกษาด้านศิลปะในงานไม้แกะสลักของ ลาวเฉพาะส่วนที่นำมาใช้ในงานตกแต่งอาคารสถานที่ หรือศาสนาคาร สามารถสรุปประเด็นได้ดังนี้ 1) ส่ ว นของเครื่ อ งบน ประกอบด้ ว ย หางหงส์ โหง่ ลำยอง/ใบระกา ฮังผึ้ง และเชิงชาย ที่ยังคงหลงเหลือให้เห็นมากคือ ฮังผึ้ง ถือเป็นส่วนที่ ตากแดด ตากฝนน้ อ ยที่ สุ ด ส่ ว นโหง่ ห รื อ ช่ อ ฟ้ า หางหงส์ ลำยอง เชิงชาย ส่วนใหญ่ชำรุดไปมากแล้ว การปรับเปลี่ยนกระทำได้ยากเมื่อมีการซ่อมแซมใหม่ มักถูกเปลีย่ นเป็นงานปูนปัน้ ด้วยเหตุผลทีท่ ำได้งา่ ยกว่า คงทนกว่า และสร้างสรรค์ความงามง่าย
ลักษณะ โหง่ แบบต่างๆของลาว ที่มา : สงวน รอดบุญ(2545:75)
ลักษณะโหง่ วัดสีสะเกด
2) ส่วนของคุณค่า ความงามในงานศิลปะ พบว่ า ในส่ ว นของเครื่ อ งบนการใช้ ศิ ล ปะจากส่ ว น ต่ า งๆของนาค ยั ง ไม่ มี วั น เสื่ อ มคลายแม้ ว่ า จะมี การคลี่คลายหรือสร้างสรรค์ใหม่ตามความนิยมของ ยุคสมัยก็ตาม อิทธิพลที่ส่งผลต่อรูปแบบงานศิลปะ มักมาจากความผันแปรทางการเมือง เมื่อมีชนชาติ ใดเข้ า มามี บ ทบาททางการเมื อ งมั ก จะนำงานฝี มื อ เชิงช่างเข้ามามีบทบาทด้วย ดังนั้นรูปแบบของงาน ศิ ล ปะที่ ใ ช้ ใ นการตกแต่ ง มั ก เกิ ด การผสมผสานตาม ยุคสมัย นอกจากนั้นยังพบว่า ในส่วนของหน้าบัน และฮังผึ้ง ซึ่งเป็นการสร้างสรรค์ความงามในส่วน หน้ า ของสิ ม รู ป แบบที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มมากที่ สุ ด คื อ เทพพนม ตามความเชื่ อ เกี่ ย วกั บ เทพยดา หรื อ เทวดาที่ ช่ ว ยในการดู แ ลปกปั ก รั ก ษาคุ้ ม ครอง รองลงมาคือลายเถา และลายดอกต่างๆ ในที่นี้ ผู้เขียนขอยกตัวอย่างส่วนประกอบของ ศาสนาคารทีม่ งี านไม้แกะสลักปรากฎในส่วนต่างๆ ดังนี้
61
1
5
2
6 3 หางหงส์ไม้แกะสลัก ที่พบในเขตพื้นที่แถบลุ่มน้ำโขงของลาว
4
62
1) 2) 3) 4) 5) 6)
วัดพระทาดอิงฮัง เมืองไกสอนพมวิหาน แขวงสะหวันนะเขด วัดบ้านดอนใจ แขวงไซยะบุรี วัดบ้านป่งดง เมืองนาน แขวงไซยะบุรี หอไตร วัดจันทน์ทะสาโร เมืองจำพอน แขวงสะหวันนะเขด วัดสีสะเกด นครหลวงเวียงจัน หอแจก วัดจันทน์ทะสาโร เมืองจำพอน แขวงสะหวันนะเขด
1
2
3
5
6
4
7 โหง่ไม้แกะสลัก ที่พบในเขตพื้นที่แถบลุ่มน้ำโขงของลาว
8
1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8)
วัดพระทาดอิงฮัง เมืองไกสอนพมวิหาน แขวงสะหวันนะเขด วัดจันที แขวงหลวงพระบาง วัดโพนแพง แขวงหลวงพระบาง พระธาตุหลวง นครหลวงเวียงจัน วัดบ้านป่งดง เมืองนาน แขวงไซยะบุรี หอแจก วัดจันทน์สาโร แขวงสะหวันนะเขด วัดใหญ่ แขวงไซยะบุรี หอไตร วัดจันทน์สาโร แขวงสะหวันนะเขด
63
4 1
5
2 6
3
64
1) 2) 3) 4) 5) 6)
หน้าบัน ฮังผึ้งไม้ หน้าจั่วไม้แกะสลัก ที่พบในเขตพื้นที่แถบลุ่มน้ำโขงของลาว หน้าจั่วกุฏิ วัดพระทาดอิงฮัง แขวงสะหวันนะเขด หน้าบัน วัดล่องคูน แขวงหลวงพระบาง หน้าบัน วัดบ้านดอนใจ แขวงไซยะบุรี หน้าบัน วัดสีสะหว่างวงส์ แขวงไซยะบุรี หน้าจั่วศาลา วัดใหญ่ แขวงไซยะบุรี หน้าบัน วัดเซียงแมนไซยะเสดถาราม แขวงหลวงพระบาง
10
7
11 8
12
9
หน้าบัน ฮังผึ้งไม้ หน้าจั่วไม้แกะสลัก ที่พบในเขตพื้นที่แถบลุ่มน้ำโขงของลาว 7) หน้าจั่วหอแจก วัดจันทน์สาโร แขวงสะหวันนะเขด 8) ฮังผึ้งไม้ วัดบ้านดอนใจ แขวงไซยะบุรี 9) ฮังผึ้งไม้ วัดองค์ตื้อ นครหลวงเวียงจัน 10) ฮังผึ้งไม้ วัดล่องคูน แขวงหลวงพระบาง 11) หน้าบันสิม วัดสีสะเกด นครหลวงเวียงจัน 12) ฮังผึ้งไม้ วัดจอมเพ็ด แขวงหลวงพระบาง
65
15
13
16 หน้าบัน ฮังผึ้งไม้ หน้าจั่วไม้แกะสลัก ที่พบในเขตพื้นที่แถบลุ่มน้ำโขงของลาว 13) ฮังผึ้งไม้ วัดสุวันนะคีรี แขวงหลวงพระบาง 14) ฮังผึ้งไม้ วัดสีสะหว่างวงส์ แขวงไซยะบุรี 15) ฮังผึ้งไม้ วัดเซียงแมนไซยะเสดถาราม แขวงหลวงพระบาง 16) ฮังผึ้งไม้ วัดจันทน์สาโร แขวงสะหวันนะเขด 14
66
3) ส่ ว นของงานไม้ แ กะสลั ก ที่ ใ ช้ ต กแต่ ง ภายใน และภายนอกศาสนาคารอื่นๆ นอกจากงานไม้แกะสลักในส่วนของเครื่องบน ที่ใช้ในงานตกแต่งศาสนาคารเพื่อให้มีความสวยงาม แล้วยังมีส่วนประกอบอื่นๆทั้งที่อยู่โดยรอบ เช่น ทวย ประตู หน้าต่าง ซุ้มประตู ซุ้มหน้าต่าง ส่วนภายใน ตั ว อาคารบางแห่ ง นิ ย มใช้ ไ ม้ แ กะสลั ก ตกแต่ ง ตาม ส่วนต่างๆ เช่น คอสอง เสา ขือ่ คา และอืน่ ๆ ซึง่ มีประโยชน์ ทั้งในแง่ของการใช้สอยและการสร้างสรรค์ความงาม ซึ่งขอยกตัวอย่าง ดังนี้ ทวย หรือคันทวย โดยทั่วไปคำว่า ทวยหรือคันทวย ชาวบ้าน ในสปป.ลาว นิยมเรียกว่า แขนนาง หรือ ไม้ค้ำยัน การเรี ย กทวยหรื อ คั น ทวยอาจสร้ า งความแปลกใจ ให้ กั บ คนในพื้ น ที่ จากการลงพื้ น ที่ เ ก็ บ ข้ อ มู ล ใน สปป.ลาว แถบลุ่ ม น้ ำ โขง เมื่ อ ถามถึ ง คั น ทวย มักไม่เป็นทีร่ จู้ กั แต่ในทีน่ ี้ เพือ่ ให้เกิดความเข้าใจร่วมกัน ในการศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บทั้ ง ฝั่ ง ไทยและฝั่ ง ลาว ผู้ เ ขี ย นขอใช้ ค ำว่ า ทวยหรื อ คั น ทวย ซึ่ ง หมายถึ ง ส่ ว นประกอบและส่ ว นตกแต่ ง สถาปั ต ยกรรม ประเภทเครื่องรับชายคา อยู่ภายนอกของตัวอาคาร ระหว่ า งผนั ง กั บ ชายคาปี ก นกของสิ ม หรื อ โบสถ์ จากการสำรวจข้อมูลในปัจจุบนั พบว่า ทวยส่วนใหญ่ที่ สร้างในยุคหลังไม่นยิ มใช้ไม้แกะสลักแล้ว งานปูนปัน้ ทีใ่ ช้
แม่พิมพ์ได้เข้ามามีบทบาทมากเพราะสามารถสร้าง ให้ ไ ด้ รู ป ทรงและขนาดที่ เ หมื อ นกั น ได้ ต้ น ทุ น ก็ ต่ ำ กว่ า มาก ดั ง นั้ น การค้ น พบจึ ง มั ก หาทวยไม้ แกะสลักในวัดที่เก่าแก่และมีการดูแลรักษาดี ส่วนวัด ที่ ข าดการดู แ ลทวยไม้ แ กะสลั ก มั ก จะโดนปลวกกั ด แทะทำลายหมด การดูแลรักษาที่ดีทางวัดต้องมั่นดู สีทีทาว่าหลุดลอกหรือยัง ได้เวลาซ่อมแซมหรือยัง หากมีปลวกควรจะกำจัดอย่างไร หากศึกษาเปรียบ เที ย บในเชิ ง คุ ณ ค่ า แล้ ว จะพบว่ า ทวยที่ เ ป็ น งานไม้ แกะสลั ก มี ค่ า ในความรู้ สึ ก กว่ า ทวยปู น มาก เพราะ งานไม้ แ กะสลั ก ไม่ อ าจทำพิ ม พ์ ไ ด้ ช่ า งผู้ แ กะสลั ก ต้องมีความตั้งใจในงานที่ทำ ผลงานที่แกะแต่ละชิ้น ต้ อ งผ่ า นกระบวนการคิ ด กระบวนการคั ด เลื อ กไม้ และต้ อ งแกะอย่ า งประณี ต สวยงาม เพราะเป็ น ผลงานที่ทำให้วัด ซึ่งวัดทุกแห่งจะมีผู้คนเข้าออกมาก งานแกะสลักย่อมถูกวิพากษ์วิจารณ์มากเช่นเดียวกัน เสน่ห์ของงานไม้แกะสลักทวยไม่เพียงแต่ความเป็นไม้ แต่มีเสน่ห์ที่ความต่าง ทวยที่ผลิตจำนวนมากชิ้นที่จะ นำมาติดตัง้ โดยรอบอาคารทีม่ จี ำนวนหลายชิน้ ไม่อาจ ทำให้เหมือนกันทุกประการทุกชิ้นได้ คุณค่าจึงอยู่ที่ ความต่าง ที่มาจากช่างหลายคน หรือช่างคนเดียวกัน ที่ทำในแต่ละช่วงเวลา สำหรับทวยในสปป.ลาว พบว่า ยังมีให้ชมใน หลายแห่ง ซึ่งผู้เขียนขอนำมายกตัวอย่าง ดังนี้
67
1
2
3
4
5
6
หน้าบัน ฮังผึ้งไม้ หน้าจั่วไม้แกะสลัก ที่พบในเขตพื้นที่แถบลุ่มน้ำโขงของลาว 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 7
68
8
9
พระธาตุหลวง นครหลวงเวียงจัน วัดล่องคูน แขวงหลวงพระบาง วัดสีบุนเรือง แขวงหลวงพระบาง วัดสุวันนาคีรี แขวงหลวงพระบาง วัดแสนสุขาราม หลวงพระบาง วัดแสนสุขาราม หลวงพระบาง วัดจันที นครหลวงเวียงจัน วัดสีสะเกด นครหลวงเวียงจัน วัดพระแก้ว นครหลวงเวียงจัน
10 11
12
13
14
หน้าบัน ฮังผึ้งไม้ หน้าจั่วไม้แกะสลัก ที่พบในเขตพื้นที่แถบลุ่มน้ำโขงของลาว 10) 11) 12) 13) 14) 15) 16) 17)
15
16
วัดสีสะเกด นครหลวงเวียงจัน วัดป่าฝาง แขวงหลวงพระบาง วัดเชียงทอง แขวงหลวงพระบาง วัดเซียงแมนไซยะเสดถาราม แขวงหลวงพระบาง วัดโพนไซซะนะสงคาม แขวงหลวงพระบาง วัดดอนใจ แขวงหลวงพระบาง วัดสบสิกขาราม แขวงหลวงพระบาง วัดสิริมงคลไซยาราม แขวงหลวงพระบาง
17
69
18
19
20
21
22
หน้าบัน ฮังผึ้งไม้ หน้าจั่วไม้แกะสลัก ที่พบในเขตพื้นที่แถบลุ่มน้ำโขงของลาว 18) 19) 20) 21) 22) 23) 24)
23
70
24
วัดสีสะหว่างวงส์ แขวงแขวงหลวงพระบาง วัดสุวันนาคีรี แขวงหลวงพระบาง วัดแสนตอ/วัดบ้านนาหลง แขวงไซยะบุรี วัดองค์ตื้อ นครหลวงเวียงจัน วัดใหญ่ แขวงไซยะบุรี วัดองค์ตื้อ นครหลวงเวียงจัน วัดเก้ายอด นครหลวงเวียงจัน
25
26
27
28
หน้าบัน ฮังผึ้งไม้ หน้าจั่วไม้แกะสลัก ที่พบในเขตพื้นที่แถบลุ่มน้ำโขงของลาว 25) วัดสิริมงคลไซยาราม แขวงหลวงพระบาง 26) วัดสุวันนาคีรี แขวงหลวงพระบาง
27) วัดเชียงทอง แขวงหลวงพระบาง 28) วัดป่าฝาง แขวงหลวงพระบาง
จากการศึ ก ษาทวยหรื อ คั น ทวยไม้ แ กะสลั ก แถบลุ่ ม น้ ำ โขงในฝั่ ง ลาว พบว่ า ทวยที่ พ บโดย ส่ว นใหญ่ เ ป็ น ทวยนาค รองลงมา ทวยแขนนาง ทวยเทพพนม ทวยหูช้าง ส่วนที่พบจำนวนน้อย คือ ทวยแผง สำหรั บ ทวยนาคที่ พ บส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ทวยแบบนาคหางปล่ อ ย ซึ่ ง ไม่ พ บทวยแบบนาค หางพัน ดังเช่นในฝั่งไทย ที่พบในสิมวัดบ้านชุมช้าง สิมวัดบ้านโพนบก อำเภอโพนพิสยั จังหวัดหนองคาย และสิมวัดบุณฑริกาวาส อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัด กาฬสินธุ์
ประตู และหน้าต่าง ประตู ถื อ เป็ น ส่ ว นสำคั ญ ของศาสนาคาร เพราะเป็นช่องทางของการเข้า-ออกที่ทุกคนต้องผ่าน ต้องสัมผัส และมองเห็น ในวัฒนธรรมความเชื่อถือ ในสปป.ลาว ถือว่าประตูเป็นทวารที่นำพาเรื่องราว ทั้งดีและร้ายมาสู่ผู้ใช้อาคารสถานที่ สิ่งดีหรือสิ่งร้าย ในความเชื่ อ มั ก จะอาศั ย ช่ อ งประตู ใ นการเข้ า ออก เช่นเดียวกับมนุษย์ ซึ่งเป็นความเชื่อเช่นเดียวกับในฝั่ง ประเทศไทย ดั ง นั้ น ประตู จึ ง มั ก ถู ก ออกแบบให้ สอดคล้องกับความเชือ่ และประโยชน์ใช้สอยทีเ่ กิดขึน้ จริง
71
ประตูที่สำรวจในครั้งนี้ ส่วนใหญ่แล้วเป็นการสำรวจ ในพุทธสถาน หรือวัด ซึ่งมักมีความวิจิตรบรรจงใน การแกะสลักและมีเรื่องราวน่าศึกษา ส่วนหน้าต่าง ไม่แตกต่างจากประตูมากนักบางแห่ง นอกจากบาน ประตูและหน้าต่างแล้ว งานไม้แกะสลักยังมักถูกนำ มาใช้ในการทำซุ้มประตู ซุ้มหน้าต่าง ทำให้ดูมีความ งามที่ตระการตายิ่งขึ้น นมอกเลา เป็นอีกส่วนหนึ่งที่ ใช้ แ กะสลั ก บริ เ วณกึ่ ง กลางของบานประตู ห น้ า ต่ า ง มีการสร้างสรรค์ลายช่อดอกสวยงาม ในที่นี้ ขอยก ตัวอย่าง งานแกะสลักบนประตู หน้าต่าง นมอกเลา ซุ้ม ที่พบ ดังนี้
5
6
2 7 ประตู และหน้าต่าง ไม้แกะสลัก ในศาสนาคารแถบลุ่มน้ำโขงของลาว 3
1
72
4
1) 2) 3) 4) 5) 6) 7)
ประตูสมิ วัดเซียงแมนไซยะเสดถาราม แขวงหลวงพระบาง “นมอกเลา” บานประตู วัดล่องคูน แขวงหลวงพระบาง “นมอกเลา” ประตู วัดหาดเสี้ยว แขวงหลวงพระบาง “นมอกเลา” บานประตู วัดสีสะเกด นครหลวงเวียงจัน ประตูทางเข้าโรงราชรถ วัดเซียงทอง แขวงหลวงพระบาง ประตู วัดองค์ตื้อ นครหลวงเวียงจัน หน้าต่างเข้าโรงราชรถ วัดเซียงทอง แขวงหลวงพระบาง
8
9
10
14
11 ประตู และหน้าต่าง ไม้แกะสลัก ในศาสนาคารแถบลุ่มน้ำโขงของลาว
12
13
8) ประตูสิม วัดแสนสุขาราม แขวงหลวงพระบาง 9) หน้าต่าง วัดสุวันนะคีรี แขวงหลวงพระบาง 10) ประตู วัดพระแก้ว นครหลวงเวียงจัน 11) ประตูสิม วัดสีสะหว่างวงส์ แขวงไซยะบุรี 12) หน้าต่างสิม วัดจันทน์สาโร แขวงสะหวันนะเขด 13) หน้าต่างสิม วัดพระทาดอิงฮัง แขวงสะหวันนะเขด 14) ประตูสิม วัดโพนไซซะนะสงคาม แขวงหลวงพระบาง
73
15
16 17
18
4) ส่วนประกอบอื่นๆ ที่ใช้ไม้แกะสลักใน การตกแต่งอาคารสถานที่ จากการสำรวจข้อมูล พบว่า ในการก่อสร้าง อาคารในบางพื้นที่หรือบางสถานที่ได้มีการสร้างสรรค์ ความงามในทุ ก ส่ ว นที่ ใ ช้ ไ ม้ ด้ ว ยวั ต ถุ ป ระสงค์ ท่ ี ต้องการความโดดเด่นไม่เหมือนใคร ต้ อ งการเสริ ม คุณค่าให้กับทุกส่วนที่สามารถกระทำได้ และบางส่วน ื ต่อกันมา สิง่ ทีป่ รากฏให้ 19 20 เกิดจากการลอกเลียนแบบทีส่ บ เห็ น ในการตกแต่ ง อาคารนอกเหนื อ ที่ ก ล่ า วมาแล้ว ประตู และหน้าต่าง ไม้แกะสลัก ในศาสนาคารแถบลุ่มน้ำโขงของลาว ข้างต้น เช่น ต้นเสาที่สร้างเสริมขึ้นจากเสาที่ใช้จริง หน้าต่างสิม วัดใหญ่ แขวงไซยะบุรี โดยจั ด วางในตำแหน่ ง ที่ โ ดดเด่ น มองเห็ น ชั ด เจน หน้าต่างสิม วัดใหญ่ แขวงไซยะบุรี บั น ไดที่ เ จ้ า ของสถานที่ อ อกแบบเองตามความเชื่อ ประตูสิม วัดจันทน์สาโร แขวงสะหวันนะเขด และความงาม และส่วนอื่นๆ ซึ่งขอแสดงดั ง ตั ว อย่ า ง วัดบ้านป่งดง เมืองนาน แขวงไซยะบุรี ต่อไปนี้ ประตูสมิ วัดโพนสะหว่างคันทะนาราม แขวงสะหวันนะเขด
15) 16) 17) 18) 19) 20) ประตูสิม วัดพระทาดอิงฮัง แขวงสะหวันนะเขด
74
3.3 ไม้แกะสลักใช้ในงานพุทธศิลป์ตา่ งๆ
1
2
3 เสา บันได ไม้แกะสลัก ในศาสนาคารและอาคารสถานที่แถบลุ่มน้ำโขงของลาว 1) เสาเก่าที่วัดพระแก้ว นครหลวงเวียงจัน 2) เสากุฏิ วัดพระทาดอิงฮัง เมืองไกสอนพมวิหาน แขวงสะหวันนะเขด 3) บันไดไม้แกะสลัก บ้านซ่างค้อง แขวงหลวงพระบาง
ธรรมาสน์ ธรรมาสน์ เป็นแท่นสำหรับพระสงฆ์นั่งแสดง ธรรมเทศนา โดยแท่นต้องวางในตำแหน่งที่สูงกว่า ระดับการนั่งของฆราวาส การวางตำแหน่งการนั่ง แสดงธรรมหรื อ ในพิ ธี ก รรมต่ า งๆของพระสงฆ์ เ ป็ น วั ฒ นธรรมที่ ยึ ด ถื อ สื บ ต่ อ กั น มาช้ า นานตั้ ง แต่ ค รั้ ง พุทธกาล ทั้งนี้ยึดความเหมาะสมและปรับแต่งตาม สถานที่ หากเป็นในป่า หรือภูเขาอาจจัดให้นั่งตาม โขดหินที่มีตำแหน่งสูงดูพอเหมาะ แต่หากเป็นตาม หมู่บ้านอาจจัดหาแคร่ไม้ไผ่ แต่หากเป็นในหอแจก ที่พระสงฆ์ต้องใช้ในกิจต่างๆเป็นประจำ ต้องจัดหา แท่ น ที่ ดู เ หมาะสมและมี ค วามถาวร แท่ น ที่ ใ ช้ นั่ ง เพื่ อ แสดงธรรมเทศนาเป็ น ประจำนี้ จึ ง ถู ก เรี ย กว่ า ธรรมาสน์ ในอดีตขนาดและรูปร่างของธรรมมาสน์ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ที่ บ่ ง บอกถึ ง ศรั ท ราและฝี มื อ เชิ ง ช่ า ง ของชุมชนที่วัดนั้นตั้งอยู่ บางแห่งอาจจัดสร้างด้วย งานจักสาน บางแห่งเป็นงานไม้แกะสลัก บางแห่ง เป็นแบบผสมผสาน การก่อสร้างเป็นไปตามจิตศรัทรา ของญาติ โ ยม แต่ อ ย่ า งไรก็ ต ามการจั ด สร้ า ง ธรรมาสน์นี้ ไม่อาจมองข้ามแต่เพียงว่าเป็นงานฝีมือ ชาวบ้าน แต่ควรมองลึกถึงความเชื่อและค่านิยมที่ เกิดขึ้นในยุคสมัยนั้นด้วย เพราะคงไม่อาจปฏิเสธได้ว่า การกระทำหรือสร้างสิ่งประดิษฐ์ใดๆของมนุษย์ล้วน แฝงไว้ด้วยความงามที่มาจากจิตใต้สำนึกของความ เป็นมนุษย์ ซึ่งเป็นความแตกต่างของมนุษย์กับสิ่งมี ชี วิ ต อื่ น ๆในโลก ในสปป.ลาว ธรรมาสน์ มี ค วาม หลากหลายมาก ผู้เขียนได้จัดเก็บข้อมูลไว้บางส่วน
75
ซึ่ ง อาจจั ด หมวดหมู่ ธ รรมาสน์ ต ามรู ป แบบในการ สร้างได้ 3 แบบ ดังข้อมูลและภาพประกอบ ต่อไปนี้ ธรรมาสน์ แ ท่ น มั ก มี รู ป สี่ เ หลี่ ย มขนาด พอเหมาะ สำหรั บ ให้ พ ระสงฆ์ นั่ ง อย่ า งสบาย เน้ น ระดั บ ความสู ง ในตำแหน่ ง ที่ พ อดี กั บ การนั่ ง ในสมั ย ก่ อ นอาจทำเป็ น แคร่ แ บบง่ า ย ปั จ จุ บั น มี การนำมาพั ฒ นาให้ มี ร ะดั บ ต่ า งๆ บางแห่ ง มี บั น ได ขึ้นด้วย โดยลักษณะทั่วไปคือเปิดโล่งต้องการเพียง ระดั บ ความสู ง และมี พื้ น ที่ ส ำหรั บ การวางขวดน้ ำ แก้วน้ำ กระโถน และอื่นๆ ซึ่งเป็นของใช้จำเป็นที่ ญาติโยมถวายพระขณะขึ้นนั่งแสดงพระธรรมเทศนา ธรรมาสน์ ตั่ ง มี รู ป สี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส ทรงเตี้ ย มีขาสี่ขา มีทั้งแบบวางไว้นั่งแสดงธรรมอย่างเดียว และแบบที่ ติ ด อุ ป กรณ์ ย กหามเพื่ อ แห่ พ ระสงฆ์ ในเทศกาลต่ า งๆ ธรรมาสน์ ตั่ ง ที่ พ บในสปป.ลาว มีคุณค่าความงามที่หลากหลาย วัดที่อยู่ในหมู่บ้าน มักนิยมสร้างแบบเรียบง่ายเน้นความแข็งแรงคงทน ใช้ไม้เนื้อแข็งประเภทพยุง ประดู่ ส่วนวัดในตัวเมือง เน้ น ความหรู ห ราสวยงาม มี ก ารใช้ สี ใช้ ล ายให้ ดูงดงาม
2
3
ธรรมาสน์ตั่ง ไม้แกะสลัก ในศาสนาคารแถบลุ่มน้ำโขงของลาว 1) ธรรมาสน์ตั่ง วัดเซียงทอง แขวงหลวงพระบาง 2) ธรรมาสน์ตั่ง วัดป่าฝาง แขวงหลวงพระบาง 3) ธรรมาสน์ตั่ง วัดโพนสะหว่างคันทะนาราม แขวงสะหวันนะเขด
1
76
ธรรมาสน์ ท รงปราสาท เป็ น ธรรมาสน์ ที่ เ น้ น ความคงทน ถาวร มี ย อดเป็ น ทรงปราสาท ทั้ ง แบบเป็ น ปราสาทหลายชั้ น และแบบเป็ น หลั ง คา ด้ า นข้ า งนิ ย มทำเป็ น ช่ อ งหน้ า ต่ า งบางแห่ ง ฉลุ เ ป็ น ลายโปร่งต่างๆ บางแห่งใช้วิธีเขียนรูปภาพ และบาง แห่งใช้วิธีลงรักมีบันไดขึ้นด้านหลัง มักนิยมทำเป็น รู ป สี่ เ หลี่ ย มขนาดเล็ ก พอพระนั่ ง ด้ า นในได้ ส ะดวก สบาย มีฐานสูงแต่ 1 เมตรขึ้นไป การใช้ตัวนาค ตกแต่งในส่วนต่างๆถือเป็นวัฒนธรรมที่สืบต่อกันมา ธรรมมาสน์ทรงปราสาทโดยทั่วไปนิยมวางไว้กลาง ห้องโถงในหอแจกเพื่อให้ญาติโยมนั่งฟังธรรมเทศนา ได้ อ ย่ า งใกล้ ชิ ด ทั้งนี้ อาจเป็นไปได้ว่า ในอดี ต ยั ง ไม่ มี เ ครื่ อ งขยายเสี ย ง ซึ่ ง ในการสำรวจข้ อ มู ล ใน สปป.ลาว ในครั้งนี้ ผู้เขียนขอยกตัวอย่างธรรมมาสน์ ทรงปราสาท ดังนี้
3
ธรรมาสน์ทรงปราสาทไม้แกะสลัก ในศาสนาคารแถบลุ่มน้ำโขงของลาว 1) วัดบ้านท่าหลวง เมืองปากเซ แขวงจำปาสัก 2) วัดโพนสะหว่างคันทะนาราม แขวงสะหวันนะเขด 3) วัดพระทาดอิงฮัง เมืองไกสอนพมวิหาน แขวงสะหวันนะเขด
1
2
77
4 ธรรมาสน์ทรงปราสาทไม้แกะสลัก ในศาสนาคารแถบลุ่มน้ำโขงของลาว 4) วัดผาหนีบ เมืองนาน แขวงไซยะบุรี 5) วัดจันทน์สาโร เมืองจำพอน แขวงสะหวันนะเขด 6) วัดทัมมะรังสียาราม บ้านท่าหิน แขวงจำปาสัก
78
6
โดยสรุปอาจกล่าวได้วา่ ลักษณะธรรมาสน์แท่น ธรรมาสน์ตง่ั และธรรมาสน์ทรงปราสาท ในสปป.ลาว ตามชายฝั่งแถบลุ่มน้ำโขง มีธรรมาสน์ตั่งที่เป็นของ ดั้ ง เดิ ม อยู่ ทุ ก วั ด ส่ ว นใหญ่ จ ะถู ก ดู แ ลรั ก ษาอย่ า งดี ในวัด จะถูกนำออกมาเมื่อถึงเวลาใช้งาน เป็นงาน พุ ท ธศิ ล ป์ ที่ มี คุ ณ ค่ า มี ค วามงามที่ แ ฝงไว้ ด้ ว ย ความเชื่ อ ความศรั ท ธาของผู้ ส ร้ า งและส่ ว นใหญ่ เป็ น งานฝี มื อ ช่ า งในท้ อ งถิ่ น มี รู ป ที่ แ ตกต่ า งกั น ส่วนธรรมาสน์ทรงปราสาท ในอดีตสร้างจากความเชือ่ ความศรัทรา โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ รู ป ทรง หากพิ จ ารณาตามความเป็ น มาถื อ ว่ า ยุคอาณาจักรล้านช้างเป็นยุคแรกของการสร้างสรรค์ ผ ล ง า น พุ ท ธ ศิ ล ป์ ใ น ส่ ว น ที่ เ ป็ น ธ ร ร ม ม า ส น์ ดังหลักฐานที่ปรากฏให้เห็นโดยทั่วไป
5
พระพุทธรูปไม้ ในบรรดางานพุทธศิลป์ทงั้ หลาย พระพุทธรูปไม้ หรื อ ที่ นิ ย มเรี ย กกั น ติ ด ปากว่ า พระไม้ ถื อ เป็ น งานชิ้ น สำคั ญ ที่ ผู้ ส ร้ า งจะต้ อ งสร้ า งอย่ า งสุ ด ฝี มื อ แม้ ว่ า จะมี ค วามชำนาญในงานไม้ ห รื อ ไม่ ก็ ต าม พระพุทธรูปไม้เป็นงานพุทธศิลป์ทีมีความหลากหลาย ทางด้ า นฝี มื อ เพราะโดยเจตนารมณ์ ข องผู้ ส ร้ า ง ในอดีตมีวัตถุประสงค์ในการสร้างเพื่อเป็นพุทธบูชา บนความเชือ่ ในสิง่ ทีป่ รารถนาทีเ่ หมือนกันบ้างต่างกันบ้าง แต่ โ ดยส่ ว นใหญ่ คื อ เกิ ด จากความเชื่ อ ความศรั ท รา ในพระพุทธศาสนาที่ยึดถือรูปเหมือนที่เป็นสัญลักษณ์ 1 2 หรือตัวแทนองค์สัมมาสัมพุทธเจ้า ดังนั้นจะเห็นได้ว่า การสร้างพระไม้ในอดีตมีทั้งแบบฝีมือชาวบ้าน และ ฝีมือช่างอาชีพ โดยฝีมือชาวบ้านจะมีรูปแบบที่เรียบ ง่ายสวย ซื่อ ส่วนฝีมือช่างอาชีพสร้างแบบอิงหลัก วิชาเน้นความงาม สัดส่วนที่ลงตัว การแสดงออกถึง อากัปกิริยาที่งดงามทั้งนี้เป็นไปตามแบบสมัยนิยมใน แต่ละยุค ในสปป.ลาวถือว่ามีพระไม้ที่มากมายอาจ เรียกว่ามากกว่าทุกประเทศในแถบเอเชีย แม้ว่าใน ปัจจุบันพระไม้จะถูกกระแสความเจริญของโลกเข้ามา เปลี่ ย นแปลง พระไม้ ที่ เ คยทำขึ้ น เองเพื่ อ แสดงถึ ง ความศรั ท ราถู ก เปลี่ ย นค่ า นิ ย มเป็ น การซื้ อ ขาย ทั้ ง แบบพระไม้ ที่ ช่ า งทำขาย และพระจากวั ส ดุ 3 4 สั ง เคราะห์ ต่ า งๆ พระไม้ ที่ เ คยมี ม าแต่ อ ดี ต ยั ง คงมี คุ ณ ค่ า และความหมายอยู่ เ ช่ น เดิ ม ซึ่ ง ในกาสำรวจ งานพระพุทธรูปไม้ ที่สำรวจพบในเขตพื้นที่แถบลุ่มน้ำโขงของลาว ข้ อ มู ล ในครั้ ง นี้ พบพระไม้ ใ นฝั่ ง ลาวจำนวนมาก อาจกล่าวได้ว่ามีทุกวัด บางวัดมีนับร้อยนับพัน ทั้งนี้ 1-4) วัดทาดอิฮัง เมืองไกสอนพมวิหาน แขวงสะหวันนะเขต ผู้เขียนขอนำเสนอในบางส่วน ดังนี้
79
5
9
80
6
10
7
8
11
12
13
14
งานพระพุทธรูปไม้ ที่สำรวจพบในเขตพื้นที่แถบลุ่มน้ำโขงของลาว 5-6) วัดโพนสะหว่างคันทะนาราม เมืองไกสอนพมวิหาน แขวงสะหวันนะเขต 7-8) วัดสีสะหว่างวงส์ แขวงไซยะบุรี 9) วัดเซียงแมนไซยะเสดถาราม แขวงหลวงพระบาง 10) วัดแสนตอ/วัดบ้านนาหลงแขวงไซยะบุรี 11) วัดสุวันนะคีรี แขวงหลวงพระบาง 12-13) วัดใหญ่ แขวงไซยะบุรี 14) ร้านค้าหน้าวัดภู แขวงหลวงพระบาง 15) ร้านค้าบ้านผานม แขวงหลวงพระบาง 16) วัดสุวันนะคีรี แขวงหลวงพระบาง
15
16
จากข้อมูลการสำรวจพระไม้ในแถบลุม่ แม่นำ้ โขง สรุปได้ว่า พระไม้เป็นงานพุทธศิลป์ที่ส่วนใหญ่มักเกิด จากความเชื่ อ ความศรั ท ธาในพระพุ ท ธศาสนา ความนิยมในการผลิตพระไม้ถวายวัดนี้เป็นความเชื่อ ที่ มี ม านานในสปป.ลาว ไม้ ที่ น ำมาใช้ ใ นการสร้ า ง พระไม้ เป็ น ไม้ ม งคลนาม เช่ น ไม้ พ ยุ ง ไม้ คู น ไม้ขาม(มะขาม) ไม้หมากยม(มะยม) เป็นต้น
81
ซุ้มพระ ซุม้ พระ บางแห่งเรียกว่า ซุม้ โขง เป็นสิง่ ก่อสร้าง ในพุ ท ธศาสนาโดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ที่ ใ ช้ ป กป้ อ ง และจัดเก็บพระพุทธรูป อาจเป็นพระไม้หรือพระพุทธรูป ที่สร้างจากวัสดุต่างๆ ในปัจจุบันการสร้างซุ้มพระที่ สวยงามจัดจำหน่ายและการใช้ซุ้มพระยังได้รับความ นิ ย มอย่ า งต่ อ เนื่ อ งถื อ เป็ น วั ฒ นธรรมความเชื่ อ ที่ สืบต่อกันมาแต่โบราณ ในการสำรวจข้อมูลในครั้งนี้ ผู้ เ ขี ย นเน้ น การสำรวจซุ้ ม พระที่ เ คยมี ม าแต่ อ ดี ต เพื่อการอนุรักษ์ ซึ่งจากการสำรวจข้อมูลพบว่า ซุ้ม พระมี อ ยู่ 2 ลั ก ษณะ คื อ 1)ซุ้ ม พระแบบเรื อ น ปราสาท 2)ซุ้ม พระแบบกรอบไม้ ทั้ง สองลั ก ษณะ มีตวั อย่างดังนี้
1
2
ซุ้มพระแบบเรือนปราสาท ที่พบในเขตพื้นที่แถบลุ่มแม่น้ำโขงของลาว 1-2) วัดเชียงทอง แขวงหลวงพระบาง 3) วัดสีสะหว่างวงส์ แขวงไซยะบุรี
82
3
5 4) วัดสุวันนะคีรี แขวงหลวงพระบาง 5) วัดเชียงม่วน แขวงหลวงพระบาง 6) วัดสีบุนเรือง แขวงหลวงพระบาง
4
6
ซุ้ ม พระแบบเรื อ นปราสาท โดยทั่ ว ไปนิ ย ม ใช้ จั ด วางพระพุ ท ธรู ป สำคั ญ อาจเป็ น พระพุ ท ธรู ป ที่ ผู้ ค นเคารพเลื่ อ มใสศรั ท ราหรื อ เป็ น พระที่ ท าง วัดพิจารณาแล้วว่ามีความงดงามพิเศษ ซุ้มพระแบบ เรื อ นปราสาท มี ห ลายขนาดตั้ ง แต่ ข นาดเล็ ก วาง บนแท่นและขนาดใหญ่ที่ใช้ร่วมกับโฮงฮด ในพิธีสรง น้ ำ พระ ทั้ ง นี้ ขึ้ น กั บ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการสร้ า งและ ขนาดของพระพุทธรูป
1
2
ซุ้มพระแบบกรอบไม้ ซุ้ ม พระแบบกรอบ เป็ น งานสร้ า งสรรค์ ที่ถือเป็นงานพุทธศิลป์ที่สำคัญอีกชิ้นหนึ่ง ซึ่งมีความ แตกต่ า งจากกรอบรู ป ที่ มี ใ ช้ กั น ตามบ้ า นทั่ ว ไป ซุ้มพระแบบกรอบไม้ ที่พบในแถบลุ่มน้ำโขงฝั่งลาว ส่ ว นใหญ่ ไ ด้ รั บ การตกแต่ ง ด้ ว ยลวดลายสวยงาม 3 4 ตัวซุ้มด้านบน มักประดิษฐ์เป็นลายเถามีทั้งแบบแกะ สลั ก และแบบฉลุ ด้ า นข้ า งตกแต่ ง ด้ ว ยลายต่ า งๆ มี ฐ านตั้ ง ที่ มั่ น คงแข็ ง แรง สำหรั บ รู ป พระพุ ท ธรู ป ที่ บ รรจุ มี ทั้ ง แบบแกะสลั ก เป็ น แผ่ น และแบบปะติ ด แยกส่วน ในปัจจุบันร้านค้าหลายแห่งได้สั่งผลิตใหม่ เพื่อการจำหน่าย จากการศึกษา ซุ้มพระ ในแถบลุ่มแม่น้ำโขง ของลาว พบว่ า ลั ก ษณะ รู ป แบบ รู ป ทรง และ 6 5 ลวดลายในการตกแต่งที่แตกต่างกันในรายละเอียด กรอบพระที่พบในเขตพื้นที่แถบลุ่มแม่น้ำโขงของลาว โดยยึ ด โครงสร้ า งรู ป ทรงภายนอกที่ ใ กล้ เ คี ย งกั น ซุ้ ม พระถื อ เป็ น งานพุ ท ธศิ ล ป์ ที่ ส ำคั ญ ที่ มี อ ยู่ เ กื อ บ 1-2) วัดเซียงแมนไวยะเสดถาราม แขวงหลวงพระบาง 3) วัดล่องคูน แขวงหลวงพระบาง ทุกวัดในสปป.ลาว 4-5) วัดเซียงทอง แขวงหลวงพระบาง 6) วัดล่องคูน แขวงหลวงพระบาง
83
ราวเทียน เป็ น อุ ป กรณ์ ส ำหรั บ ตั้ ง เที ย นที่ ใ ช้ จุ ด บู ช า พระพุทธรูป โดยทั่วไปมักจัดวางไว้ภายในสิม และ หอแจก บริเวณหน้าพระพุทธรูป หรือพระประธาน ในปั จ จุ บั น มั ก นิ ย มใช้ ร าวเที ย นแบบทองเหลื อ ง ที่โรงงานผลิตจำหน่าย ซึ่งดูแลรักษาง่ายและมีความ คงทน แต่ ห ากย้ อ นไปในยุ ค โบราณที่ ง านโลหะ ยังไม่ได้เข้ามามีบทบาทมากดังเช่นในปัจจุบัน งานไม้ จึงเป็นงานที่โดดเด่นในการผลิตงานต่างๆ รวมทั้ง ราวเที ย น ซึ่ ง เป็ น อุ ป กรณ์ ที่ ใ ช้ ร่ ว มกั บ ไฟ แต่ ด้ ว ย ความชาญฉลาดของคนในยุคก่อน ได้มีการประยุกต์
1
2
ราวเทียนที่พบในเขตพื้นที่แถบลุ่มแม่น้ำโขงของลาว 1) ราวเทียนวัดองค์ตื้อ นครหลวงเวียงจัน 2) ราวเทียนวัดเซียงม่วน แขวงหลวงพระบาง 3) วัดโพนสะหว่างคันทะนาราม เมืองไกสอนพมวิหาน แขวงสะหวันนะเขต
84
ดัดแปลงให้มีความเหมาะสมกับการใช้งาน บางแห่ง แกะลักรูปเหราคายนาคไว้ด้านบนสองข้าง มีฐานฉลุ ทรงสู ง ต่ อ เติ ม เหล็ ก สำหรั บ วางเที ย นออกมา ด้านนอก บางแห่งแกะสลักรูปนาคในลักษณะเดียว กั บ โฮงฮดแต่ ท ำแบบย่ อ ส่ ว นเทดิ น ไว้ ด้ า นในราง สามารถเสี ย บเที ย นได้ ง่ า ยและไม่ เ กิ ด การไหม้ เมื่ อ เที ย นหมด ภู มิ ปั ญ ญาเหล่ า นี้ ถื อ เป็ น งาน สร้ า งสรรค์ ที่ น่ า สนใจยิ่ ง จากการสำรวจข้ อ มู ล ในปัจจุบัน ราวเทียนที่เป็นงานไม้แกะสลักมีจำนวน เหลื อ น้ อ ยมาก ส่ ว นที่ ยั ง เหลื อ อยู่ ใ นวั ด ถู ก จั ด อยู่ ในหมวดของมี ค่ า ประจำวั ด วั ด หลายแห่ ง ได้ แ ยก จัดเก็บไว้ต่างหาก ซึ่งมีตัวอย่างที่สำรวจพบ ดังนี้
3
สรุปผลการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับราวเทียนที่ ผลิตจากไม้ในแถบลุ่มแม่น้ำโขงฝั่งลาว สามารถสรุป ได้ ว่ า ราวเที ย นเป็ น งานพุ ท ธศิ ล ป์ ที่ มี ค งเหลื อ อยู่ น้ อ ยมาก การสร้ า งในแต่ ล ะแห่ ง มี รู ป แบบ ที่แตกต่างกัน แต่มีความนิยมในการใช้นาคมาเป็น ส่วนประกอบเช่นเดียวกัน
ตู้พระธรรม และหีบพระธรรม การจัดเก็บคัมภีรใ์ บลานในอดีต ของสปป.ลาว มี ทั้ ง ลั ก ษณะที่ เ ป็ น ตู้ แ ละหี บ ทรงสี่ เ หลี่ ย ม เพื่ อ ใช้ ประโยชน์ในการเก็บคัมภีร์ใบลาน สมุดข่อย ตำรา ต่างๆ ลักษณะทั่วไปของตู้พระธรรม ส่วนฐานมักเป็น ขาสีเ่ หลีย่ ม ขอบฐานมักแกะลายต่างๆ ส่วนบานประตู มี ทั้ ง แกะสลั ก และเขี ย นลายรดน้ ำ ปิ ด ทองรวมทั้ ง ฝาด้านข้างด้วย ส่วนหีบพระธรรมเป็นลักษณะกล่อง สี่เหลี่ยมปากบาน เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บและ ใช้ มื อ ล้ ว งหยิ บ เข้ า -ออก โดยทั่ ว ไปใบลานต่ า งๆ มักห่อด้วยผ้าไหมที่ญาติโยมนำมาถวาย ถือเป็นผ้า เนื้ อ ดี ไ ม่ ท ำให้ ใ บลานมี ค วามชื้ น การสำรวจข้ อ มู ล ในครั้ ง นี้ พบว่ า วั ด ในสปป.ลาว โดยส่ ว นใหญ่ ถื อ เป็นสิ่งของสำคัญมีการจัดเก็บอย่างดีไม่ได้เปิดให้ชม โดยทั่ ว ไป ต้ อ งขออนุ ญ าตในการขอชมจากทาง กรรมการวัดหรือเจ้าอาวาส ซึง่ ขอยกตัวอย่างหีบพระธรรม และตู้พระธรรมที่พบดังนี้
1
2
3
ตู้พระธรรม และหีบพระธรรม จากวัดในเขตพื้นที่แถบลุ่มแม่น้ำโขงของลาว 1) วัดจอมเพ็ด แขวงหลวงพระบาง 2) วัดพระแก้ว นครหลวงเวียงจัน 3) วัดทาดอิฮัง แขวงสะหวันนะเขต
จากการศึกษางานไม้แกะสลักจากตู้พระธรรม และหี บ พระธรรมในแถบลุ่ ม แม่ น้ ำ โขง พบว่ า มีการนำงานไม้แกะสลักมาใช้ในหลายส่วนนับตั้งแต่ ฐานวาง และส่วนตกแต่งต่างๆ โฮงฮด คำว่า โฮงฮด หรือฮางฮด ยังเป็นข้อถกเถียง ของแต่ ล ะพื้ น ที่ ซึ่ ง ผู้ เ ขี ย นเคยสั ม ภาษณ์ อ าจารย์ สังข์ทอง สุวรรณรังสี อายุ 62 ปี ทำงานประจำ หอพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ วั ด สะตะสะหั ส สารามสี ส ะเกด หรื อ ที่ เรี ย กติ ด ปากว่ า วั ด สี ส ะเกด ได้ เ ล่ า ให้ ฟั ง ว่ า สปป.ลาว ในอดี ต นิ ย มใช้ โ ฮงฮดในการสรงน้ ำ
85
ให้เจ้ามหาชีวิตและเชื้อพระวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ แต่หากนำ โฮงฮดมาใช้ ส รงน้ ำ ให้ บุ ค คลอื่ น ที่ เ ป็ น พระสงฆ์ หรื อ สามั ญ ชนให้ ใ ช้ ค ำว่ า ฮางฮด จากหลั ก ฐานที่ วั ด สี ส ะเกดพบการจั ด แสดงโฮงฮดที่ ง ดงาม ซึ่ ง มี ตั ว อั ก ษรภาษาลาวกำกั บ อ่ า นว่ า ฮางฮด ต่ อ มา ผู้เขียนได้มีโอกาสขอความรู้จากเจ้าอาวาสวัดคกปาบ แขวงหลวงพระบาง ซึ่งวัดคกปาบแห่งนี้เป็นวัดที่อยู่ ตรงขามกั บ ฝั่ ง ของแขวงหลวงพระบางมี แ ม่ น้ ำ โขง ขวางกั้น เป็นวัดเก่าแก่ถูกทิ้งร้างมาประมาณ 50 ปี เจ้าอาวาสปัจจุบนั ได้มาบูรณะขึน้ ใหม่ประมาณ 4-5 ปี ยั ง ไม่ แ ล้ ว เสร็ จ จากการขอความรู้ เ กี่ ย วกั บ โฮงฮด เจ้าอาวาสอธิบายว่า คำว่า โฮง เป็นภาษาลาวโบราณ หมายถึง สะพัง เป็นสิ่งที่ต้องมีการสร้างให้สวยงาม อาจมีการตกแต่งในลักษณะของปราสาท เจ้าอาวาส ไม่นิยมเรียกโฮงฮด แต่เรียกว่า ฮางสง ซึ่งความ แตกต่ า งในการเรี ยกขานนี้ถือเป็นเรื่องปกติ ซึ่ ง ไม่ ควรหาข้อสรุป ถือว่าเป็นความนิยมในการเรียกขาน เฉพาะถิน่ และเฉพาะบุคคล ดังนัน้ ในข้อเขียนในครัง้ นี้ ผู้เขียนขอใช้คำว่า โฮงฮด เพื่อให้สอดคล้องกับการ เรียกขานในไทย และจะได้ไม่สับสนสำหรับการอ่าน ลักษณะการใช้โฮงฮดในสปป.ลาว มีการใช้ ในแทบทุกพื้นที่ที่มีวัด เทศกาลที่นิยมนำโฮงฮดมาใช้ คื อ เทศกาลเนา หรื อ สงกรานต์ เดื อ นเมษายน โดยใช้สำหรับรดหรือสรงน้ำพระพุทธรูป พระสงฆ์ เจ้านาย หรือผู้ใหญ่ที่ผู้คนเคารพนับถือ ลักษณะของ โฮงฮดในสปป.ลาว มีลักษณะเป็นรูปคล้ายเรือจำลอง ขนาดเล็กยาว ส่วนหัวส่วนใหญ่ทำเป็นรูปเศียรนาค และมีบางแห่งแกะสลักเป็นรูป เหรา งูหรือตัวเงือก มังกร ช้าง เป็นต้น บางแห่งสร้างเป็นเหราคายนาค
86
ส่ ว นท้ อ งค่ อ นไปทางหั ว ซึ่ ง เจาะรู ใ ห้ น้ ำ ไหลลง สู่ด้านล่าง การใช้ โ ฮงฮดถื อ เป็ น วั ฒ นธรรมที่ สื บ ต่ อ มา ตั้งแต่ยุคอาณาจักรล้านช้างรุ่งเรือง วัฒนธรรมนี้ได้ ส่งผลถึงพืน้ ทีแ่ ถบลุม่ น้ำโขง ภาคอีสานของประเทศไทย ทีเ่ คยปกครองดินแดนแถบนีม้ าก่อน ในการเก็บรวบรวม ข้ อ มู ล ในครั้ ง นี้ พ บโฮงฮดที่ น่ า สนใจ และสวยงาม ดังนี้
1
2
7 3
4 8 5
6
โฮงฮด จากวัดและหน่วยงานต่างๆ ในเขตพื้นที่แถบลุ่มแม่น้ำโขงของลาว 1-2) วัดสีสะเกด นครหลวงเวียงจัน 3) วัดองค์ตื้อ นครหลวงเวียงจัน 4) วัดธาตุหลวง แขวงหลวงพระบาง 5) วัดคกปาบ แขวงหลวงพระบาง 6) วัดโพนสะหว่างคันทะนาราม เมืองไกสอนพมวิหาน แขวงสะหวันนะเขต 7) วัดจันทน์ทะสาโร เมืองจำพอน แขวงสะหวันนะเขต 8) วัดเซียงแมนไซยะเสดถาราม แขวงหลวงพระบาง
87
9
12 10
11
88
13
14 โฮงฮด จากวัดและหน่วยงานต่างๆ ในเขตพื้นที่แถบลุ่มแม่น้ำโขงของลาว 9) วัดสีบุนเรือง แขวงหลวงพระบาง 10) วัดสีสะหว่างวงส์ แขวงไซยะบุรี 11) วัดบ้านท่าหลวง เมืองปากเซ แขวงจำปาสัก 12) วัดใหญ่ แขวงไซยะบุรี 13) วัดทัมมะรังสี บ้านท่าหิน แขวงจำปาสัก 14) วัดสุวันนะคีรี แขวงหลวงพระบาง
จากการศึกษาข้อมูลโฮงฮดจากแหล่งข้อมูล ต่ า งๆในเขตพื้ น ที่ แ ถบลุ่ ม แม่ น้ ำ โขงในฝั่ ง ลาว อาจจำแนกรู ป แบบของโฮงฮดที่ พ บออกเป็ น 3 ลั ก ษณะ คื อ โฮงฮดแบบนาคตั ว เดี ย ว โฮงฮด เหราคายนาค และโฮงฮดแบบรูปสัตว์อื่นๆ เช่น ช้าง มกร เป็นต้น โดยสรุปรูปแบบสัตว์ที่ถูกนำมาใช้มาก ที่สุดคือ นาค รูปแบบที่นิยมนาคอ้าปาก ส่วนของ ช่ ว งกลางส่ ว นใหญ่ นิ ย มตกแต่ ง ด้ ว ยรู ป นกหั ส ดี ส ำ ห รั บ ส่ ว น ห า ง เ น้ น ค ว า ม อ่ อ น ช้ อ ย ที่ รั บ กั บ ส่วนหัวและลำตัว นิยมทำหางเชิดขึ้น บางแห่งวกงอ เข้าหาตัว ส่วนที่น่าสนใจอีกจุด คือ บริเวณหน้าอก ของนาคที่ มี ก ารสร้ า งสรรค์ ด้ ว ยลายต่ า งๆ ถื อ เป็ น เครื่องประดับตกแต่งอีกอย่าง สำหรับความยาวที่ใช้ โดยทั่ ว ไปประมาณความยาวตลอดทั้ ง ตั ว ประมาณ 3-5 เมตร นิ ย มจั ด วางโฮงฮดบนฐานต่ า งระดั บ ที่ เ น้ น ให้ ส่ ว นหั ว เอี ย งลาดต่ ำ เพื่ อ ให้ น้ ำ ที่ ส รงไหล ได้สะดวก โปง โ ป ง ห รื อ โ ป ง แ ล ง เ ป็ น อุ ป ก ร ณ์ ที่ ใ ช้ ส่ ง สั ญ ญาณเสี ย งเพื่ อ บอกสั ญ ญาณในช่ ว งเย็ น ให้ญาติโยมที่นับถือศาสนาพุทธปฏิบัติกิจทางศาสนา ส่ ว นพระสงฆ์ จ ะสวดทำวั ต รเย็ น เป็ น กิ จ ของสงฆ์ เช่ น เดี ย วกั น การใช้ โ ปงในช่ ว งเย็ น ทำให้ บ างครั้ ง เรี ย กว่ า โปงแลง เพราะคำวาแลง ในภาษาลาว หมายถึง เวลาเย็น วิธีใช้ง่ายๆโดยการกระทุ้งด้วยไม้ ท่ อ นยาวด้ า นข้ า งให้ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด เสี ย งดั ง กั ง วาน ซึ่งโปงแลงที่สำรวจพบมีตัวอย่าง ดังนี้
89
1
5
2
6
รูปแบบของโปง ที่พบในบริเวณเขตพื้นที่ลุ่มแม่น้ำโขงของลาว 1) วัดคกปาบ แขวงหลวงพระบาง 2) วัดเซียงแมนไซยะเสดถาราม แขวงหลวงพระบาง
90
3
7 3) วัดบ้านป่งดง เมืองนาน แขวงไซยะบุรี 4) วัดบ้านผาหนีบ เมืองนาน แขวงไซยะบุรี 5) วัดบ้านป่าพูปัง เมืองนาน แขวงไซยะบุรี 6-8) วัดใหญ่ แขวงไซยะบุรี
4
8
3.4 ไม้แกะสลักในสิ่งของ เครื่องใช้ หมากคะรก (ไม้พายเรือสมัยโบราณ ทำจากไม้แคน ไม้ค)ู กระต่ายขูดมะพร้าว (ทำจาก ไม้เสาะ) กระบมใช้คด และของที่ระลึก
สิ่งของ เครื่องใช้ในวิถีชุมชนเป็นสิ่งสะท้อน ให้เห็นถึงสภาพชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ไม้เป็น วั ส ดุ ที่ ถู ก นำมาผลิ ต เป็ น สิ่ ง ของ เครื่ อ งใช้ ม ากที่ สุ ด เพราะไม้เป็นวัสดุที่มีมากในทุกพื้นที่ ความสำคัญใน งานไม้ จ ะอยู่ ที่ ก ารเลื อ กชนิ ด ของไม้ การออกแบบ การแปรรูป การเคลือบผิวเพือ่ รักษาเนือ้ ไม้และความงาม จากการศึกษาข้อมูลการใช้ไม้แกะสลักเพื่อผลิตเป็น สิ่งของเครื่องใช้ในสปป.ลาว พบว่า มีการผลิตงาน ไม้ ใ ช้ ง านในลั ก ษณะต่ า งๆจำนวนมาก นอกจากจะ เน้ น ที่ ป ระโยชน์ ใ ช้ ส อยแล้ ว ยั ง เน้ น ที่ ค วามงาม ในอดีตสิ่งของ เครื่องใช้ในงานไม้แทบทุกชิ้นจะถูก ตกแต่ ง ให้ ง ามด้ ว ยการแกะสลั ก เช่ น โต๊ ะ เก้ า อี้ เตียงนอน เตียงนั่งเล่น ตู้เก็บของต่างๆ ขันหมาก อุปกรณ์ทอผ้า หน้าไม้ ด้ามปืน กระต่ายขูดมะพร้าว กระบม และอื่ น ๆ ความประณี ต สวยงามจะเป็ น สิ่ ง บ่ ง บอกฐานะและรสนิ ย มของผู้ ใ ช้ ง าน จากการ สั ม ภาษณ์ ข้ อ มู ล ที่ ร้ า นพ่ อ ลุ พั น บ้ า นวั ด หนอง แขวงหลวงพระบาง ซึ่งเป็นร้านขายของเก่าประเภท งานไม้แกะสลัก ตั้งอยู่บริเวณท่าน้ำข้ามฝากแม่น้ำโขง แขวงหลวงพระบาง เล่าให้ฟังว่า งานไม้ที่นำมาผลิต สิ่งของเครื่องใช้มีมากมาย ส่วนใหญ่มีการแกะสลัก สร้างความสวยงามแทบทุกชนิดปัจจุบันมีหลายอย่าง ที่เลิกใช้แล้ว หลายอย่างยังคงมีใช้อยู่ในปัจจุบันเมื่อ เก่าแล้วนำมาขายให้นักท่องเที่ยวที่นิยมของเก่า และ หลายอย่างทำขึน้ ใหม่โดยเลียนแบบของเก่าถูกทำให้เก่า ด้วยวิธีการต่างๆ ไม้ แ กะสลั ก ของเก่ า ที่ ข ายดี เช่ น
ข้าวเหนียว กระสวยทอผ้า รูปสัตว์ในความเชื่อต่างๆ เช่น เต่า จระเข้ เป็นต้น สำหรั บ ของที่ ร ะลึ ก เป็ น สิ่ ง ของที่ เ น้ น คุ ณ ค่ า ทางจิ ต ใจ ส่ ว นใหญ่ มี ข นาดเล็ ก จุ ด ประสงค์ เ พื่ อ ต้ อ งการให้ ผู้ รั บ หรื อ ผู้ ซื้ อ ระลึ ก ถึ ง สิ่ ง ที่ ผู้ ผ ลิ ต กำหนดไว้ ของที่ ร ะลึ ก ได้ มี ม าช้ า นานตั้ ง แต่ ค รั้ ง โบราณ เนื่องจากงานไม้แกะสลักเป็นงานที่ต้องใช้ ความเพียรในการผลิต ลักษณะงานสามารถสื่อความ หมายได้ง่าย กล่าวคือสามารถสื่อได้ในทุกมิติ ทั้งมิติ ทางวัฒนธรรม มิติทางอารมณ์ มิติทางความเชื่อ ความศรัทธา และมิตทิ างจินตนาการ จากการจัดเก็บ ข้ อ มู ล ในตลาดแลง แขวงหลวงพระบาง พบว่ า งานไม้ แ กะสลั ก ประเภทของที่ ร ะลึ ก มี จ ำนวนมาก ซึ่งส่วนใหญ่ผลิตจากบ้านผานม สินค้ายอดนิยม เช่น คันทวยจำลองแบต่างๆ ไม้แขวนผ้าผืน ที่แขวนผ้า เช็ดมือ กรอบรูปแกะสลัก งานแกะสลักสิมที่สำคัญ งานแกะสลั ก พระพุ ท ธรู ป และอื่ น ๆ ซึ่ ง มี ตั ว อย่ า ง ดังนี้
ร้านขายของตลาดแลงหน้าพูสี
91
1
2
3.5 ไม้แกะสลักที่ใช้ในความเชื่อต่างๆ
4 ไม้แกะสลักในสิ่งของ เครื่องใช้ และของที่ระลึก ที่พบในแขวงหลวงพระบาง 1) 2) 3) 4)
ร้านขายของเก่าริมน้ำ ประตูไม้แกะสลัที่บ้านผานม ที่แขวนผ้าผืน บ้านผานม ร้านขายของตลาดแลงหน้าพูสี
92
3
การที่มนุษย์รู้จักการสร้างสรรค์วัตถุสิ่งของ ให้ มี มิ ติ ตื้ น ลึ ก หนา บาง สู ง ต่ ำ เพื่ อ ผลิ ต เป็ น สิ่งของต่างๆนั้น มนุษย์ไม่ได้ละเลยที่จะสร้างตัวแทน ของสิง่ ทีต่ นเองเคารพบูชา หรือจินตนาการในความเชือ่ หากย้ อ นอดี ต ตั้ ง แต่ ค รั้ ง โบราณจะพบว่ า มนุ ษ ย์ ไ ม่ นิ ย ม ช ม ช อ บ ค ว า ม โ ด ด เ ดี่ ย ว ห ว า ด ก ลั ว ความเงียบเหงาในจิตใจ มีความกลัวปะปนกับความเสีย่ ง ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า ความกลัว ที่ แ ฝงอยู่ ใ นจิ ต ใจของมนุ ษ ย์ นี่ เ องที่ ท ำให้ เ กิ ด ความ เชือ่ ในสิง่ ต่างๆ การสร้างสิง่ ยึดเหนีย่ วทางจิตใจจึงเป็น วิธกี ารหนึง่ ทีช่ ว่ ยคลายความกลัวในใจ ช่วยเสริมพลังใจ ให้เข้มแข็ง และด้วยเหตุที่ความเชื่อของมนุษย์จึงมี
ความหลากหลาย มีการสืบทอดวัฒนธรรมความเชื่อ ที่ แ ตกต่ า งกั น ทำให้ ม นุ ษ ย์ ป ระดิ ษ ฐ์ คิ ด ค้ น วั ต ถุ สิ่งของในความเชื่อต่างกัน ไม้เป็นวัสดุทางธรรมชาติ ที่สามารถหาได้ง่ายในท้องถิ่น ไม้มีหลายชนิดและ มีคุณค่าในความหมายที่ต่างกัน ที่ผ่านมาไม้หลาย ชนิ ด จึ ง ถู ก เลื อ กเป็นอันดับต้นๆ ในการสร้ า งสรรค์ งานศิลปะในความเชื่อ จากการสำรวจข้อมูลพบว่า ในปัจจุบันมีการนำวัสดุสังเคราะห์ประเภทเรซิ่นมา ผลิ ต เป็ น วั ต ถุ สิ่ ง ของในความเชื่ อ เป็ น จำนวนมาก นอกเหนื อ จากงานหล่ อ โลหะต่ า งๆ ที่ มี ก ารผลิ ต มานาน อย่ า งไรก็ ต าม หากมองในแง่ คุ ณ ค่ า แล้ ว ไม้ยังได้รับการยอมรับว่าเป็นวัสดุที่มากด้วยคุณค่า เนื่ อ งจากการผลิ ต นั้ น ต้ อ งใช้ ค วามเพี ย ร ไม้ แ ต่ ล ะ ช นิ ด มี ค ว า ม ห ม า ย แ ล ะ มี คุ ณ ค่ า ที่ แ ฝ ง ไ ว้ ด้ ว ย ความเชื่ อ จากการจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ในฝั่ ง สปป.ลาว
พบว่ า มี ก ารนำมาไม้ ม าแกะสลั ก วั ต ถุ สิ่ ง ของใน ความเชื่ อ หลากหลายรู ป แบบ เช่ น รู ป สั ต ว์ ใ น ความเชื่อเกี่ยวกับการเสริมโชคชะตา เช่น เตา มังกร รูปมือเกี่ยวกับการขอพึ่งบุญบารมี และอื่นๆ
3.6 สรุปผลการสำรวจไม้แกะสลักในฝั่งลาว
ในภาพรวมจากการศึ ก ษารวบรวมข้ อ มู ล ไม้ แ กะสลั ก ในฝั่ ง ลาว สามารถสรุ ป ได้ ว่ า งานไม้ ได้ เ ข้ า มามี บ ทบาทในวิ ถีชีวิต คนลาวในหลากหลาย รูปแบบ นับตั้งแต่การใช้ในงานก่อสร้าง งานตกแต่ง อาคารสถานที่ ใ นพุ ท ธสถาน การสร้ า งสรรค์ งานพุทธศิลป์ต่างๆ การผลิตเป็นสิ่งของ เครื่องใช้ การผลิ ต เป็ น ของที่ ร ะลึ ก เพื่ อ สร้ า งรายได้ และการ น ำ ม า ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ เป็ น สิ่ ง ของในความเชื่ อ ต่ า งๆ หากย้อนถึงการใช้งานไม้ในอดีตพบว่า งานไม้ ถือเป็น งานที่ ถู ก นำมาใช้ ม ากที่ สุ ด ด้ ว ยเหตุ ที่ ส ปป.ลาว มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์ ท างธรรมชาติ มี พั น ธุ์ ไ ม้ หลากหลายให้ เ ลื อ ก และการนำไม้ ม าแกะสลั ก สร้ า งสรรค์ ค วามงามสปป.ลาว ถื อ เป็ น ต้ น ตำหรั บ ขอ งรู ป แบบ และ ลวดล ายที่ ห ลา กห ลาย เช่ น รูปแบบการสร้างโฮงฮด ทวย รูปแบบของการแกะสลัก หน้าบัน ฮังผึ้ง พระพุทธรูปไม้ เป็นต้น
การแกะสลักมือยาวถวายพระ พบในวัดจอมเพ็ด แขวงหลวงพระบาง
93
บทที่ 4
การศึกษาเปรียบเทียบ งานไม้แกะสลักสองฝั่งโขง งานไม้ แ กะสลั ก เป็ น หนึ่ ง ในหลายสิ่ ง ที่ สะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ข องมนุ ษ ย์ ซึ่ ง เกิ ด ขึ้ น ในยุ ค ที่ ม นุ ษ ย์ เ ริ่ ม มองเห็ น ความศิ วิ ไ ล มองเห็นคุณค่าของสิ่งต่างๆที่อยู่รอบข้างว่า ไม่น่าจะ มุ่งแต่ประโยชน์ใช้สอยเพียงอย่างเดียว แต่ควรเติม คุ ณ ค่ า ความงามลงไปด้ ว ย ไม้ ถื อ วั ส ดุ ที่ ถู ก นำมา ประดิษฐ์เป็นสิ่งของ เครื่องใช้ในยุคต้นๆ ด้วยเหตุที่ ไม้ มี ใ นทุ ก พื้ น ที่ ที่ ม นุ ษ ย์ อ าศั ย อยู่ แม้ ว่ า ในทาง ประวัตศิ าสตร์ไม้ทนี่ ำมาประดิษฐ์เป็นสิง่ ของ เครือ่ งใช้ จะไม่ ถู ก กล่ า วถึ ง มากนั ก ดั ง เช่ น ยุ ค หิ น ยุ ค โลหะ เพราะไม้ ไ ม่ ค่ อ ยมี ห ลั ก ฐานปรากฏดั ง เช่ น สิ่ ง ของ เครื่ อ งใช้ ช นิ ด อื่ น ที่ มี ค วามคงทนและมี อ ายุ ยื น ยาว
การศึ ก ษาค้ น คว้ า ในครั้ ง นี้ เป็ น การบั น ทึ ก ศึ ก ษา รวบรวมแหล่งข้อมูลด้วยภาพถ่าย ภาพวาดลายเส้น และข้ อ เขี ย น โดยนำงานไม้ แ กะสลั ก มาวิ เ คราะห์ หาจุ ด เชื่ อ มโยงกั บ วิ ถี ชุ ม ชนในแถบลุ่ ม น้ ำ โขง บนความเชื่ อ ที่ ว่ า การสร้ า งสรรค์ ผ ลงานใดๆ ของมนุ ษ ย์ ย่ อ มมี ค วามเชื่ อ มโยงกั บ วั ฒ นธรรมและ ความเชื่อเฉพาะถิ่น และรูปแบบ รูปทรง วิธีการผลิต และวัสดุสามารถเปลีย่ นแปลงได้ตามยุคสมัย ซึง่ ผูเ้ ขียน ขอนำผลการศึ ก ษาเชิ ง เปรี ย บเที ย บและผลการ วิเคราะห์ไม้แกะสลักของสองฝั่งโขงไทย-ลาว ดังนี้
4.1 การศึ ก ษาและวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ในเชิ ง เปรียบเทียบ
จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า ศิ ล ป ะ ไ ม้ แ ก ะ ส ลั ก แ ถ บ ลุ่มแม่น้ำโขงเชิงเปรียบเทียบเพื่อค้นหาความเหมือน และความต่างในการสร้างสรรค์ผลงานไม้แกะสลัก จากอดี ต สู่ ปั จ จุ บั น ของผู้ ค นในเขตพื้ น ที่ ส องฝั่ ง โขง ระหว่ า งไทยกั บ สปป.ลาว ซึ่ ง มี ป ระเด็ น ที่ น่ า สนใจ มากมาย ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด ความเข้ า ใจที่ ง่ า ยต่ อ การ ศึกษาค้นคว้าและครอบคลุมเนื้อหาที่ศึกษา ผู้เขียน จึงขอจำแนกผลการศึกษาออกเป็น 3 กรณีศึกษา ซึ่งมีข้อสรุปโดยสังเขป ดังนี้ กรณีศกึ ษาที่ 1 ด้านวัสดุและกระบวนการผลิต ด้านการเลือกวัสดุหรือเลือกไม้ในการแกะ สลักของช่างสองฝั่งโขง ด้านวัสดุในการแกะสลัก พบว่า ไม้ที่นำมา ใช้ในงานแกะสลักในฝัง่ ไทยและฝัง่ ลาวช่างผูส้ ร้างสรรค์ ผลงานไม้แกะสลักมีข้อพิจาณาในการคัดเลือกไม้ที่ไม่ แตกต่างกัน ซึ่งมีสาเหตุมาจากสภาพทางธรรมชาติ ไม่แตกต่างกัน รูปแบบสิ่งของเครื่องใช้ในวิถีชีวิตที่ ไม่แตกต่างกัน ซึ่งมีข้อสรุปเกี่ยวกับเกณฑ์พิจารณาใน การคัดเลือกไม้ ดังนี้ 1) คุณภาพของไม้ที่เหมาะสมกับลักษณะ การใช้ ง าน เช่ น ไม้ แ กะสลั ก ที่ มี ค วามจำเป็ น ต้ อ ง ตากแดด ตากฝน นิยมใช้ไม้เนื้อแข็งที่คงทนแข็งแรง เช่น ไม้ประดู่ ไม้พยุง ไม้มะค่า ไม้แกะสลักที่ใช้งาน ในร่มไม่รับน้ำหนักนิยมใช้ไม้มะม่วง งิ้ว บก ขนุน
96
อาคาร และบันไดไม้แกะสลักรูปช้างนอนหงาย พิพิธภัณฑ์ ร้านอติซังดุยแม่ของบ้านซ่างค้อง แขวงหลวงพระบาง ที่มา : ประสิทธิ์ พวงบุตร, 20 สิงหาคม 2553
2) ความเชื่ อ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ ง ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ มักได้รับอิทธิพลจากคำบอกเล่า ตำนาน และความ เกี่ยวโยงกับศาสนา เช่น ชื่อไม้มงคลต่างๆ ไม้พยุง เชื่อว่า ช่วยพยุงชีวิตให้ดีขึ้นเป็นไม้ชั้นสูงไม่ควรนำมา ทำแม่บันไดที่ใช้เท้าเยียบย่ำทุกวัน ไม้ขนุน เชื่อว่า ช่วยหนุนส่งชีวิตให้สูงขึ้น ไม้คูน เชื่อว่าทำให้ชีวิตพบ แต่สิ่งดีๆหรือค้ำคูน ไม้โพธิ์ เชื่อว่าเป็นต้นไม้มงคลที่ พระพุทธเจ้าเคยนั่งอาศัยร่มเงาในการบำเพ็ญเพียร ไม้ยม เชื่อว่าจะทำให้เป็นที่นิยมชมชอบของคนทั่วไป ไม้ ข าม เชื่ อ ว่ า จะทำให้ เ ป็ น ที่ เ กรงขามแก่ ค นทั่ ว ไป ด้ ว ยความเชื่ อ ต่ า งๆเหล่ า นี้ ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ค่ า นิ ย มใน
การนำไม้ ม าแกะสลั ก สิ่ ง ของ เครื่ อ งใช้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เช่น การแกะสลักพระไม้ การแกะสลักรูปเคารพบูชา ต่างๆ เช่น ไม้งิ้วดำ ไม้จากต้นไม้ที่โดนฟ้าผ่าถือเป็น ของหายาก จะนิยมนำมาแกะสลักของมีค่า มีราคา และเชื่ อ ว่ า มี อ าถรรพ์ ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ช่ ว ยด้ า นไสยศาสตร์ เช่น มีดหมอ ปลัดขิก และอื่นๆ จากตัวอย่างข้างต้น แสดงให้เห็นว่า ในวิถีชุมชนกับความเชื่อในเรื่องราว ต่ า งๆ ถื อ เป็ น สิ่ ง ที่ ค งอยู่ คู่ กั น มานาน รวมทั้ ง ใน วิถีชีวิตผู้คนแถบลุ่มแม่น้ำโขงทั้งสองฝากฝั่ง
หมากคะรกหรือไม้พายเรือโบราณ ทำจากไม้คู ที่แข็งและเหนียว(ซ้าย) กระต่ายขูดมะพร้าว ทำจากไม้ขนุน ที่มีน้ำหนักเบา คงทน(กลาง) พระไม้ทำจากไม้มงคลต่างๆ ตามความเชื่อ(ขวา) ที่มา : ประสิทธิ์ พวงบุตร, 20-21 สิงหาคม 2553
97
3) ประโยชน์ ใ ช้ ส อย ถื อ เป็ น ข้ อ พิ จ ารณา ทีม่ คี วามสำคัญต่อการคัดเลือกชนิดของไม้ และมีความ สัมพันธ์โดยตรง เช่น หากต้องการใช้ในงานที่ต้อง ทนกับสภาพดินฟ้าอากาศ เพื่อสร้างส่วนเครื่องบน หรื อ ส่ ว นหลั ง คาของสิ ม หอไตร การเลื อ กไม้ มั ก พิจารณาจากไม้เนื้อแข็งที่มีความเหนียวไม่แตกร้าว เมื่ อ ตาแดดเพราะมี ไ ม้ ห ลายชนิ ด ที่ เ ป็ น ไม้ เ นื้ อ แข็ ง แต่ไ ม่ เ หมาะที่ จ ะตากแดดตากฝน แต่ หากต้ อ งการ แกะสลักหน้ากากเพื่อใช้ในการละเล่นในงานประเพณี เช่น การแห่ผีขนน้ำที่จังหวัดเลย การทำหน้ากากปู่ เยอย่ า เยอที่ ห ลวงพระบางควรเลื อ กใช้ ไ ม้ ที่ มี น้ำหนักเบา ประเภทไม้งิ้ว ไม้ต้นตีนเป็ด นอกจากจะ น้ำหนักเบาแล้วยังสามารถลงสีได้งา่ ยด้วย แต่หากต้อง การผลิตสิ่งของที่ต้องการความแข็งแรง ความเหนียว น้ำหนักไม่มากประเภทไม้เท้า หรือสิง่ ของเครือ่ งใช้ตา่ งๆ ควรใช้ไม้มะเดื่อ ไม้ยอป่า เป็นต้น 4) ความยากง่ า ยในการผลิ ต และการหา ในการตัดสินใจเลือกไม้โดยส่วนใหญ่มักมาจากสภาพ แวดล้อมทางธรรมชาติที่อยู่รอบตัว แม้ว่าบางครั้ง ช่ า งจะรู้ ว่ า ไม้ ช นิ ด ใดดี ที่ สุ ด เหมาะสมที่ สุ ด หรื อ แกะสลักง่ายที่สุด แต่ด้วยข้อจำกัดที่ไม่มีไม้ชนิดนั้น ในท้ อ งถิ่ น ส่ ง ผลให้ จ ำเป็ น ต้ อ งตั ด สิ น ใจเลื อ กไม้ ที่ พอใช้ ไ ด้ แ ละสามารถหาในท้ อ งถิ่ น ดั ง นั้ น ลั ก ษณะ งานจึงมีลักษณะของไม้และความยากง่ายในการแกะ สลักตามวัสดุที่มีในท้องถิ่น ดังเช่นงานแกะสลักของ ตกแต่ ง บ้ า นต่ า งๆ ในแถบลุ่ ม น้ ำ โขงในฝั่ ง ไทย ส่วนใหญ่ใช้ไม้ประดู่ ไม้แดง ไม้มันปลา ไม้มะม่วง ไม้ฉำฉาหรือก้ามปู ส่วนในฝั่งโขงแถบแขวงหลวงพระ บางส่วนใหญ่ใช้ไม้มะค่า ไม้ซ้อ ไม้พยุง ไม้เหล่านี้
98
แกะสลั ก ค่ อ นข้ า งยากแต่ มี ค วามคงทนแข็ ง แรง ซึ่งแตกต่างจากภาคเหนือของไทยที่มีไม้สักจำนวนมาก สะดวกต่อการแกะสลักและผิวมีความสวยงาม ด้านกระบวนการผลิตไม้แกะสลักสองฝัง่ โขง สำหรับขัน้ ตอนวิธกี ารในการทำงานแกะสลักนัน้ ผู้ เ ขี ย นพบว่ า ในกระบวนการแกะสลั ก ไม้ ทั่ ว ไปมี 7 ขั้นตอน คือ 1) การร่างแบบแนวคิด 2) การ ออกแบบ 3) การเขียนแบบ 4) การจำลองต้นแบบ 5) การเตรียมวัสดุ 6) การเตรียมเครื่องมือ และ 7) การแกะสลัก ซึ่งทั้ง 7 ขั้นตอนนี้ ถือเป็นหลัก การที่ช่างแกะสลักในไทยหลายแห่งยึดถือปฏิบัติสืบ ต่ อ กั น มา ดั ง นั้ น เพื่ อ เป็ น การตรวจสอบข้ อ มู ล กระบวนการผลิ ต ในพื้ น ที่ จ ริ ง ผู้ เ ขี ย นได้ สื บ ค้ น หา ช่างแกะสลักทั้งในฝั่งไทยและฝั่งลาว พบว่า ช่างไม้ แกะสลักในเขตพื้นที่ฝั่งแม่น้ำโขงของไทย 7 จังหวัด ประกอบด้วย เชียงราย เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อำนาจเจริญและอุบลราชธานี ในปัจจุบัน ไม่ พ บช่ า งฝี มื อ ด้ า นแกะสลั ก ไม้ แม้ ว่ า จะมี ง านแกะ สลั ก ใหม่ ๆ ปรากฏให้ เ ห็ น ตามร้ า นค้ า หรื อ ศู น ย์ จำหน่ายสินค้า OTOP แต่ส่วนใหญ่เป็นงานที่รับมา จากเขตพื้นที่อื่น เช่น แม่สอด จังหวัดตาก อำเภอ เด่ น ชั ย จั ง หวั ด แพร่ และอำเภอหางดง จั ง หวั ด เชียงใหม่ นอกจากนั้นจะเป็นงานแกะสลักประเภท ของที่ ร ะลึ ก หรื อ ของตกแต่ ง ที่ ผ ลิ ต อย่ า งง่ า ยๆ ในแบบชาวบ้านที่ผลิตไม่ต่อเนื่อง และยังขาดทักษะ ฝีมือ สำหรับในพื้นที่ภาคอีสาน พบว่า มีงานไม้แกะ สลักนอกเขตพืน้ ทีล่ ม่ ุ น้ำโขง ทีบ่ า้ นาสะไมย์ อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร ทีม่ กี ารผลิตต่อเนือ่ ง จำนวนหลายราย
ซึ่งเป็นที่ยอมรับและรู้จักทั่วไป งานส่วนใหญ่ที่ผลิต เป็นงานด้านพุทธศิลป์ประเภท พระไม้ โหง่ ทวย และอื่นๆ นอกจากนั้นยังรับงานตามใบสั่งประเภท แกะสลั ก ประตู หน้ า ต่ า ง เฟอร์ นิ เ จอร์ เป็ น ต้ น ถือเป็นงานฝีมือที่สืบต่อกันมา ไม้ที่ใช้ส่วนใหญ่เป็น ไม้ ที่ ห าได้ ใ นท้ อ งถิ่ น เช่ น ไม้ แ ดง ไม้ ป ระดู่ ไม้ มั น ปลาหรื อ กันเกลา และอื่นๆ ส่วนการสำรวจ ข้อมูลในแถบลุ่มน้ำโขงฝั่งลาวพบว่า มีช่างแกะสลัก กระจายอยู่ทั่วไปในหลายพื้นที่ อีกทั้งมีการส่งเสริม จากหน่ ว ยงานภาครั ฐ เปิ ด การเรี ย นการสอนทั ก ษะ เกี่ยวกับทักษะวิชาชีพที่สอดคล้องกับสภาพในท้องถิ่น ซึ่งจากการสัมภาษณ์ ช่างไม้แกะสลักโดยส่วนใหญ่ มั ก ได้ รั บ การศึ ก ษาเพิ่ ม เติ ม จากโรงเรี ย นวิ จิ ต กรรม ที่เปิดสอนหลักสูตรวิจิตกรรมระยะสั้น ที่นครหลวง เวียงจัน ส่งผลให้ผลงานที่ผลิตจำหน่ายสอดรับกับ กระแสตลาดที่ต้องการผลงานแกะสลักที่มีเอกลักษณ์ เฉพาะถิ่ น ดั ง นั้ น เมื่ อ ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บอาจกล่ า ว ได้ว่า ช่างฝีมือด้านงานไม้แกะสลักแถบลุ่มน้ำโขงใน ฝั่ ง ลาวยั ง คงมี ก ารสื บ ทอดอย่ า งเป็ น ระบบ และมี โอกาสที่จะพัฒนาได้อย่างต่อเนื่องและมีปัจจัยเกีย่ ว ข้องหลายประการ เช่น วัสดุประเภทไม้ยังมีอีกมาก ภาครั ฐ ให้ ก ารสนั บ สนุ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง มี แ หล่ ง ท่องเที่ยวที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวได้อีกยาวนาน มีศิลปวัฒนธรรมเฉพาะและชัดเจน ปัจจัยเหล่านี้จะ ส่งผลต่องานฝีมือในงานไม้แกะสลักอีกนาน ส่วนงาน ไม้แกะสลักแถบลุ่มน้ำโขงในฝั่งไทย อาจกล่าวได้ว่า ช่ า งพื้ น บ้ า นที่ ท ำอย่ า งต่ อ เนื่ อ งไม่ มี แ ล้ ว จึ ง เป็ น เรื่องยากที่จะเสาะแสวงหา ส่วนใหญ่หากต้องการ ใช้งานไม้แกะสลักมักซื้อสำเร็จจากร้านค้า หรือแหล่ง
ผลผลิตอื่น หรือจ้างช่างในท้องถิ่นอื่น ดังนั้นในการ ศึกษากระบวนการผลิตไม้แกะสลักในแถบลุ่มน้ำโขงใน ครั้งนี้ ผู้เขียนจึงขอนำเสนอเฉพาะตัวอย่างจากช่างใน แขวงหลวงพระบาง 2 รายที่ใช้ขั้นตอนการผลิตแบบ เดียวกัน ซึ่งมีรายระเอียด ดังนี้ ช่ า งคนที่ 1 ชื่ อ ช่ า ง คำแสน จิ ต ตะวง อายุ 45 ปี อาศั ย อยู่ บ้ า นเลขที่ 05 หน่ ว ย 1 บ้านผานม แขวงหลวงพระบาง ตั้งอยู่บริเวณศูนย์ จำหน่ายสินค้าบ้านผานม ภรรยาชื่อ จันสี จิตตะวง อายุ 43 ปี จำหน่ า ยสิ น ค้ า ที่ ต ลาดแลง หน้ า พู สี แขวงหลวงพระบาง ทุกวัน ประสบการณ์เคยทำงาน ไม้แกะสลักมานานและเคยเรียนงานฝีมือการแกะสลัก ไม้เพิ่มเติมจากโรงเรียนวิจิตกรรม ซึ่งจบเมื่อปี ค.ศ. 1987 รวมทำงานไม้ แ กะสลั ก มากว่ า 30 ปี ลั ก ษณะของผลงานเป็ น ประเภทประตู หน้ า ต่ า ง ของที่ ร ะลึ ก ต่ า งๆ เช่ น ทวยย่ อ ส่ ว นจากวั ด ต่ า งๆ ในหลวงพระบาง พระพุทธรูป กรอบรูป และอื่นๆ
คำแสน จิตตะวง ช่างแกะสลักที่บ้านผานม แขวงหลวงพระบาง(ซ้าย) และแหล่งผลิตและจำหน่าย(ขวา)
99
ช่างคนที่ 2 ชื่อช่าง เซียงสุข กัมมะทิ อายุ 47 ปี อาศัยอยู่บ้านเลขที่ 46 หน่วย 4 บ้านซาด แขวงหลวงพระบาง ปั จ จุ บั น เช่ า ห้ อ งแถวเปิ ด ร้ า น จำหน่ า ยและแกะสลั ก หน้ า ร้ า น อยู่ บ้ า นซ่ า งค้ อ ง แขวงหลวงพระบาง ซึ่ ง เป็ น หมู่ บ้ า นท่ อ งเที่ ย วผลิ ต กระดาษสาและผ้ า ทอมื อ เก็ บ ขิ ต เริ่ ม เปิ ด กิ จ การ แกะสลั ก มาตั้ ง แต่ ปี ค.ศ. 2091 ประสบการณ์ ในการทำงานไม้ แ กะสลั ก 19 ปี ลั ก ษณะของ ผลงานเป็นประเภทของทีร่ ะลึกต่างๆ เช่น พระพุทธรูป เศียรพระพิฆเนศ ช้าง มือและรูปในความเชื่อต่างๆ
เซียงสุข กัมมะทิ ช่างแกะสลักที่บ้านซ่าค้อง แขวงหลวงพระบาง(ซ้าย) และแหล่งผลิตและจำหน่าย(ขวา)
จากการสัมภาษณ์ช่างผู้ผลิตงานไม้แกะสลัก ในแขวงหลวงพระบางทั้ ง 2 ราย สามารถสรุ ป เป็นขั้นตอนในการทำงานได้ 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การร่างแบบและออกแบบ เป็นการร่าง แนวคิดในส่วนที่จะแกะสลักเพราะงานโดยทั่วไปจะมี ใน 2 ลักษณะ คือ (1) การคิดค้นรูปแบบขึ้นเอง
100
โดยพิจารณาจากกระแสความต้องการทางการตลาด โดยอาศั ย ประสบการณ์ ก ารขายและการสอบถาม ลูกค้าที่ผ่านมา ซึ่งบางครั้งร่างแบบลงบนกระดาษ ก่อน บางครั้งร่างบนแผ่นไม้ที่จะแกะสลักทั้งนี้ขึ้นกับ ความยากง่ายของงาน (2) การร่างแบบตามความ ต้องการของลูกค้า บางครั้งใช้วิธีการคุยไปเขียนไป บางครั้งนำมาคิดมาเขียนแบบร่างภายหลัง บางครั้ง ลู ก ค้ า มี แ บบหรื อ มี ข องตั ว อย่ า งที่ ใ กล้ เ คี ย งมาให้ ดู เพื่อปรับปรุงแก้ไข หลังจากนั้นจึงพิจารณาแล้วแต่ กรณี ว่ า ควรลงรายละเอี ย ดที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ ความ สะดวกในการผลิตหรือให้ลูกค้าดูก่อนหรือไม่ ทั้งนี้ใน ขั้นนี้ผู้ออกแบบจะต้องพิจารณาว่า ไม้ที่จะนำมาแกะ สลักนั้นเป็นไม้อะไร มีลักษณะหรือคุณภาพอย่างไร ขนาดเท่าไร คุณค่าความงามที่จะสะท้อนออกมาอยู่ ที่ ไ หน ส่ ว นใดคื อ ส่ ว นที่ จ ะต้ อ งให้ ค วามสำคั ญ เป็ น พิเศษ หลังจากนั้นต้องพยายามนึกถึงวันเวลาแล้ว เสร็จด้วยว่าเมื่อไรจึงจะเสร็จสมบูรณ์ สิ่งเหล่านี้ไม่ใช่ มีผลแต่เพียงการผลิตแต่มีผลต่อราคาจำหน่ายและผล กำไรด้วย เพราะถ้าเวลาจำกัดแต่ช่างออกแบบยาก ย่อมทำให้งานไม่แล้วเสร็จได้ สิ่งต่างๆเหล่านี้จะเป็น ตัวกำหนดในเบื้องต้น 2) การเตรียมวัสดุและเครื่องมือ ต้องคิด คำนึ ง เสมอว่ า จะสร้ า งรู ป อะไร และใช้ ไ ม้ อ ะไร ไม้ แ ต่ ล ะชนิ ด ย่ อ มมี ธ รรมชาติ ที่ แ ตกต่ า งกั น เช่ น ความแข็ง ความเหนียว ความเปราะ ความหดตัว เมื่ อ เจอสภาวะอากาศ การแตกร้ า วเมื่ อ เจอแดด การอมน้ำ การทดต่อแมลงกัดแทะ สิ่งต่างๆเหล่านี้มี ส่วนมาจากอายุของไม้ และชนิดของไม้ จากการสัมภาษณ์
ช่างเซียงสุข กัมมะทิ บอกว่า ไม้ทใี่ ช้มากทีส่ ดุ ในปัจจุบนั คือ ไม้กำพี้ ไม้มะค่า ไม้ขะยัง ไม้พยุง ไม้จันหอม ไม้ ม ะยมหอม (เป็ น ชื่ อ ไม้ เ ฉพาะถิ่ น บางชื่ อ ใช้ ชื่ อ เดี ย วกั บ ฝั่ ง ไทยบางชื่ อ เรี ย กขานแตกต่ า งกั น ) โ ด ย บ อ ก ว่ า ไ ม้ เ ห ล่ า นี้ ช า ว ต่ า ง ช า ติ นิ ย ม ม า ก ส่วนช่างคำแสน จิตตะวง นิยมใช้ไม้ประดู่ ไม้มะค่า ไม้สัก ไม้ซ้อ ไม้พยุง ซึ่งพิจารณาจากลักษณะงาน ที่ ผ ลิ ต ซึ่ ง มี ค วามหลาหลายทั้ ง แบบที่ ต้ อ งลงสี ด ำ สีย้อมไม้ แลคเกอร์ และแบบธรรมชาติ เมื่อตัดสิน ใจเลือกชนิดของไม้ได้แล้ว จึงพิจารณาเครื่องมือใน การผลิตที่มีอยู่เดิม เครื่องมือที่เหมาะกับการใช้งาน หรือเพียงพอต่อการใช้งานย่อมมีความสำคัญต่อการ ปฏิบัติงานอย่างยิ่ง โดยช่างแต่ละคนจะมีความถนัด และความพอใจในเครื่องมือต่างกัน โดยเฉพาะสิ่วที่มี จำนวนมาก มี ห ลากหลายขนาด มี ห ลากหลาย รูปแบบ
2
3
4
1 อุปกรณ์ในการแกะสลักไม้ 1) สิ่วขนาดต่างๆ 2) เหล็กตอก
3) การจัดเก็บ 4) ไม้ตอกสิว่
101
3) การแกะสลั ก การลงมื อ ทำจะมี ร าย ละเอียดมากนับแต่การวางตำแหน่งไม้ที่จะใช้แกะสลัก การยึดติดหรือการหมุนตัวไม้ การวาดเส้นบนเนื้อไม้ การวางตำแหน่งเครื่องมือที่สะดวกต่อการหยิบใช้งาน การกะสเกลหรือสัดส่วน และอื่นๆ ช่างแต่ละคนจะมี วิธีการจัดวางตำแหน่งตามความถนัดของตนเป็นหลัก ซึ่งในขั้นนี้ถือกันว่าเป็นขั้นสำคัญของคุณภาพงาน 4) การตกแต่งชิน้ งาน หลังการแกะสลักทุกครัง้ ช่างแกะสลักจะต้องยอมเสียเวลาจำนวนมากกับการ ขัดผิวด้วยกระดาษทรายตั้งแต่กระดาษทรายหยาบ จนกระทั้งใช้กระดาษทรายละเอียด ช่างหลายคนมัก มองข้ามความสำคัญนี้ไป ซึ่งตามความเป็นจริงแล้ว ผู้ เ ขี ย นเห็ น ด้ ว ยกั บ ช่ า งในหลวงพระบางที่ ไ ม่ ล ะเลย ข้อนี้ เพราะงานที่ผ่านการขัดผิวเรียบร้อยย่อมส่งผล ต่อยอดจำหน่ายที่สูงขึ้นทำให้ผลงานดูมีระดับสูงขึ้น หลังการขัดผิวช่างจะมีทางเลือก 2 ทาง คือ การลง สี ทึ บ ไม่ ใ ห้ เ ห็ น ผิ ว ไม้ ที่ แ ท้ จ ริ ง และการโชว์ ล ายไม้ ตามธรรมชาติ ทั้งนี้อาจทาน้ำยาเคลือบผิวแบบใสมัน หรือ แบบผิ ว ด้ า น หรือไม่ทาเลยก็ได้ เกณฑ์ในการ พิ จ ารณานี้ ไ ม่ มี ก ฎตายตั ว แต่ ขึ้ น อยู่ กั บ กระแสความ ต้ อ งการของลู ก ค้ า การตั ด สิ น ใจผิ ด ย่ อ มส่ ง ผลต่ อ ยอดจำหน่ายเช่นเดียวกัน เมือ่ ทำผิวเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงนำสินค้าออกจำหน่าย ซึง่ เป็นทีน่ า่ เสียดายทีผ่ ลิตภัณฑ์ ประเภทนี้ ในปีทมี่ กี ารสำรวจข้อมูลยังไม่มกี ารทำฉลาก สินค้า หรือบรรจุภัณฑ์ใดๆ ทำให้ลูกค้าไม่สามารถ ติดต่อสั่งซื้อได้ในภายหลัง
102
ผลงานคำแสน จิตตะวง ช่างแกะสลักที่บ้านผานม
ผลงาน เซียงสุข กัมมะทิ ช่างแกะสลักที่บ้านซ่าค้อง
เครื่องมือที่ใช้ในงานแกะสลักไม้ จากการศึกษากระบวนการในการผลิตงานไม้ แกะสลั ก ข้ า งต้ น อาจจำแนกเครื่ อ งมื อ ใช้ ใ นงาน แกะสลักไม้ออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้ ส่ ว นที่ 1 เครื่ อ งมื อ ที่ ติ ด ตั้ ง ใช้ ง านใน สถานที่ เครื่ อ งมื อ ชนิ ด นี้ เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ของช่ า งที่ จำเป็ น ต้ อ งใช้ ง านทั่ ว ๆ ไปในการปฏิ บั ติ ง าน ส่ ว น ใหญ่จะประจำอยู่กับสถานที่ปฏิบัติงาน เช่น รอกยก น้ ำ หนั ก แม่ แ รงยกน้ ำ หนั ก เลื่ อ ยผ่ า ท่ อ นไม้ ซุ ง สว่านแท่น ซึ่งถือว่าเป็นเครื่องมือหนัก และช่างแกะ สลักจำเป็นจะต้องใช้เครื่องมือเหล่านี้ในบางโอกาส บางครั้งหากมีความจำเป็นเครื่องมือเหล่านี้ก็อาจถูก นำมาใช้งานนอกสถานที่ได้เช่นกัน ส่วนที่ 2 เครื่องมือที่ใช้ช่วยงานแกะสลัก เครื่องมือเหล่านี้เป็นเครื่องมือเสริมจากเครื่องมือหนัก ขนาดเครื่องมือจะเล็กกว่าเครื่องมือทั่วไป เช่น เลื่อย สำหรับซอยไม้ คานงัด แม่แรงยกย้ายปรับมุมหรือ พลิ ก ซี ก เครื่ อ งมื อ วั ด ระยะความห่ า ง วั ด ความลึ ก วัดความตื้นและอื่นๆ ส่วนที่ 3 เครื่องมือช่างแกะสลัก เครื่องมือ หรื อ อุ ป กรณ์ ใ นการปฏิ บั ติ ง านของช่ า งแกะสลั ก ซึง่ ช่างแต่ละคนจะมีเครือ่ งมือหรืออุปกรณ์ประจำตัวตาม ที่ตนชอบและถนัด เครื่องมือเหล่านี้มักเป็นเครื่องมือ ที่เคลื่อนย้ายนำติดตัวไปได้ ซึ่งมีหลายรูปแบบ เช่น สิ่ว ในหมวดของสิ่วจะมีขนาดต่างๆ กัน เช่น สิ่วแบน สิ่วเล็บมือ และในสิ่วแต่ละอย่างก็มีความแตกต่างกัน ออกไปอี ก เช่ น สิ่ ว แบนหน้ า เรี ย บ หน้ า โค้ ง มน หน้าเว้า เป็นต้น
กรณี ศึ ก ษาที่ 2 ด้ า นรู ป แบบและคุ ณ ค่ า ในงานศิลปะ การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบและคุณค่าใน งานศิลปะของงานไม้แกะสลักสองฝั่งโขง ในเขตพื้นที่ ชายแดนประเทศไทย และสปป.ลาว อาจแยกพิจารณา ความเหมือน ความแตกต่าง และความสัมพันธ์ที่มี ความเกี่ยวเนื่องกัน ได้ดังนี้ การศึกษาในฝั่งประเทศไทย พบว่า ในเขต พื้ น ที่ ฝั่ ง ประเทศไทยมี จั ง หวั ด ที่ อ ยู่ ติ ด แม่ น้ ำ โขง จำนวน 7 จังหวัด คือ เชียงราย เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี แหล่งที่มีการใช้งานไม้แกะสลักในพุทธสถานมากที่สุด คื อ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี รองลงมามี ร ะดั บ ที่ ใ กล้ เคียงกัน คือ เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร และทีพ่ บในระดับน้อย คือ เชียงราย และอำนาจเจริญ ซึ่งพบว่าศิลปะงานไม้แกะสลักส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพล เชิงช่างจากอาณาจักรล้านช้าง และได้รับอิทธิพลเชิง ช่ า งจากศิ ล ปรั ต นโกสิ น ทร์ ใ นช่ ว งหลั ง ในอดี ต มี การถ่ายทอดงานฝีมือผ่านความเชื่อ ความศรัทธาใน พุ ท ธศาสนาออกมาเป็ น งานศิ ล ปะในรู ป แบบต่ า งๆ เช่น งานตกแต่งเครื่องบนของศาสนาคาร คันทวย ธรรมาสน์ พระไม้ และอื่นๆ ซึ่งแตกต่างจากงานใน พุ ท ธสถานของเชี ย งรายที่ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น งานปู น ปั้ น และงานโลหะ มี พ ระพุ ท ธรู ป สั ม ฤทธิ์ จ ำนวนมาก โดยรู ป แบบงานส่ ว นใหญ่ ไ ด้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากล้ า นนา และบางส่วนจากยุคสมัยขอม แต่หากพิจารณางาน ศิ ล ปะไม้ แ กะสลั ก ประเภทของตกแต่ ง บ้ า น ของใช้ และของที่ระลึก พบว่า จังหวัดที่มีงานไม้แกะสลัก
103
ประเภทนี้มากที่สุด คือ เชียงราย โดยเฉพาะที่หอฝิ่น และด่ า นแม่ ส ายชายแดนไทย-พม่ า สำหรั บ การ สืบทอดฝีมือช่างแกะสลัก พบว่า งานช่างแกะสลักใน แถบลุ่มแม่น้ำโขงในปัจจุบันขาดการสืบทอด ช่างที่ พบในพื้ น ที่ ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น การเรี ย นรู้ ง านแกะสลั ก จากช่างในภาคเหนือ และมีเพียงจำนวนน้อยที่ยังคง ผลิ ต เป็ น งานฝี มื อ ชาวบ้ า น ซึ่ ง ไม่ ส ามารถผลิ ต ใน เชิงธุรกิจได้ กรณี ศึ ก ษาในฝั่ ง สปป.ลาว ในเขตพื้ น ที่ ฝั่ ง สปป.ลาว ที่ อ ยู่ ติ ด แม่ น้ ำ โขงซึ่ ง มี อ ยู่ ห ลายแขวง ผูเ้ ขียนได้เลือกสำรวจใน 4 แขวง คือ นครหลวงเวียงจัน แขวงหลวงพระบาง แขวงไซยะบุรี และสะหวันนะเขต พบว่าไม้แกะสลักในสปป.ลาว ถือเป็นงานต้นแบบ ล้านช้าง ที่มีลักษณะเดียวกับงานไม้แกะสลักในอีสาน ยุคต้น ซึง่ พบว่า มีขอ้ สังเกตในความเหมือนทีพ่ อเทียบเ คียงได้ในหลายประเด็น เช่น ลักษณะของการใช้โฮงฮด ลักษณะของพญานาค ลักษณะของคันทวย และลักษณะ การใช้ลวดลายต่างๆ การศึกษาเปรียบเทียบงานพุทธศิลป์สองฝัง่ โขง ในแง่ของรูปแบทางศิลปะ จากผลการศึ ก ษางานพุ ท ธศิ ล ป์ ส องฝั่ ง โขง ไทย-ลาว พบว่า งานพุทธศิลป์ที่สำรวจมีจำมวนมาก ทั้งด้านรูปแบบ และจำนวนชิ้น ผู้เขียนจึงขอหยิบยก เพื่ อ การศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บเฉพาะงานที่ โ ดดเด่ น และสามารถสะท้อนให้เห็นการสืบทอทางวัฒนธรรม ดังนี้
ทวย หรือคันทวย ทวย เป็ น งานพุ ท ธศิ ล ป์ ที่ ใ ช้ ใ นงานตกแต่ ง ศาสนาคารสองฝั่งโขง ไทย-ลาว พบว่า ทวยในฝั่ ง ลาว ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ทวยนาค รองลงมา ทวยแขนนาง ทวยเทพพนม ทวยหูช้าง ส่วนทีพ่ บจำนวนน้อย คือ ทวยแผง สำหรับทวยนาค ที่พบส่วนใหญ่เป็น ทวยแบบนาคหางปล่อย ซึ่งไม่ พบทวยแบบนาคหางพัน ทวยในฝั่ ง ไทย ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ทวยนาค แบบนาคหางปล่ อ ย รองลงมา คื อ ทวยแผง ทวยแขนนาง ทวยเทพพนม ส่วนทวยหูช้าง พบไม่ มากนัก
ทวยนาคในฝั่งประเทศไทย
104
ทวยนาคในฝั่งสปป. ลาว
ทวยต่างๆในฝั่งประเทศไทย
เมื่ อ ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บลั ก ษณะของทวยทั้ ง สองฝั่ ง โขง สามารถสรุ ป ได้ ว่ า ทวยทั้ ง สองฝั่ ง โขง มีลักษณะรูปทรงที่ใกล้เคียงกัน มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น ทัง้ ด้านความอ่อนช้อย นิยมใช้รปู ทรงของนาคประกอบ ทวยในรูปลักษณ์เดียวกัน ซึ่งเป็นแบบของกลุ่มช่าง ล้านช้างแถบหลวงพระบาง และเวียงจัน หากพิจารณาในแง่ของความนิยมแล้วจะพบว่า ทวยที่ได้รับความนิยมทั้งสองฝั่งโขง คือ ทวยนาค ทวยนาคถื อ ว่ า เป็ น งานพุ ท ธศิ ล ป์ ที่ มี ค วามงดงาม ในอดี ต ใช้ เ พื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการค้ ำ ยั น เป็ น วัตถุประสงค์หลัก จากนั้นจึงนำมาสร้างสรรค์ความ งาม โดยเลือกไม้เนื้อแข็งที่มีความคงทน ไม่แตกร้าว และอาจคงทนต่อแมลงกัดแทะต่างๆ ส่วนในช่วงหลัง ไม่ ค่ อ ยนิ ย มใช้ ไ ม้ แ ต่ นิ ย มใช้ ปู น เมื่ อ ดู วั ต ถุ ป ระสงค์ การใช้ที่แท้จริงจะเห็นว่า เน้นที่ความสวยงามตาม แบบอย่ า งโบราณ วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการค้ ำ ยั น เพื่ อ เสริมความแข็งแรงเป็นความสำคัญอันดับรองลงมา ทวยนาค มีรูปแบบที่แตกต่างกันไปบ้าง ตามความ คิดสร้างสรรค์ของช่างและคำแนะนำของเจ้าอาวาส รวมทั้งทายกวัด เช่น บางแห่งเป็นรูปทรงนาคหาง ปล่อยวกมาด้านเดียวกับหัวนาค บางแห่งหางวกกลับ หลัง บางแห่งเป็นนาคหางพัน บางแห่งมีฐานรอง สวนหั ว สวยงาม บางแห่ ง ใช้ ไ ม้ ร องรั บ ส่ ว นหั ว นาค แบบง่ายๆไม่ตกแต่ง แต่มีสิ่งหนึ่งทีมีลักษณะเหมือน กันทั้งสองฟากฝั่งก็คือ เป็นนาคแบบมีปีก แม้ว่าจะ มี บ างแห่ ง แกะสลั ก แบบแนบกั บ ตั ว นาค บางแห่ ง กางปีกดูน่าเกรงขามก็ตาม
ทวยต่างๆในฝั่งสปป. ลาว
105
แม้ ว่ า การพิ จ ารณาในรายละเอี ย ดของทวย ที่ใช้ในสองฝั่งโขงจะมีความแตกต่างกันบ้างก็ถือว่า เป็ น การสร้ า งสรรค์ ง านเพิ่ ม เติ ม ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ตาม ความนิ ย มเฉพาะถิ่ น ตามความคิ ด สร้ า งสรรค์ ของช่ า ง และอาจเกิ ด จากการตามอย่ า งอิ ท ธิ พ ล ทีไ่ ด้รบั ซึง่ น่าจะถือว่าเป็นเสน่หข์ องงานศิลปะพืน้ บ้าน ปั จ จุ บั น ทวยไม้ ทั้ ง สองฝั่ ง โขงถื อ เป็ น งานที่ ห าชมได้ ยากแล้ว ด้วยความนิยมในการใช้งานปูนมีมากขึน้ ซึง่ เชือ่ ว่า ในอนาคตอาจหาดูได้เฉพาะตามพิพิธภัณฑ์เท่านั้น ทวยนาค ในฝัง่ ไทย ทีม่ า : วิโรฒ ศรีสโุ ร, 2540ก : 38
ทวยนาค ในฝัง่ ลาว (ซ้าย) ทีม่ า : ปีดา สะหวัดวง, 1988 : 24 (ขวา) ทีม่ า : ปีดา สะหวัดวง, 1988 : 101
106
โฮงฮด โฮงฮดเป็ น งานพุ ท ธศิ ล ป์ อี ก ประเภทหนึ่ ง ที่ น่ า สนใจ ซึ่ ง ผลการสำรวจสามารถนำมาศึ ก ษา เปรียบเทียบโดยแยกศึกษาออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้ การใช้โฮงฮด ที่พบในสองฝั่งโขง ไทย-ลาว โฮงฮดในฝั่งไทย พบว่า การใช้โฮงฮดมีใน หลายพื้นที่ โดยเฉพาะวัดที่มีอายุเก่าแก่ กระจายอยู่ ทั่ ว ไปไม่ เ ฉพาะในแถบลุ่ ม น้ ำ โขงแต่ มี ทั่ ว ไปในภาค อีสาน ส่วนในภูมิภาคอื่นของไทยไม่มีการใช้ โฮงฮดในฝั่ ง ลาว พบว่ า การใช้ โ ฮงฮดใน สปป.ลาว มีการใช้ในแทบทุกพื้นที่ที่มีวัด เทศกาลที่ นิยมนำโฮงฮดมาใช้คือ เทศกาลเนา หรือสงกรานต์ เดื อ นเมษายน โดยใช้ ส ำหรั บ รดหรื อ สรงน้ ำ พระพุทธรูป พระสงฆ์ เจ้านาย หรือผู้ใหญ่ที่ผู้คน เคารพนั บ ถื อ ลั ก ษณะของโฮงฮดในสปป.ลาว มีลักษณะเป็นรูปคล้ายเรือจำลองขนาดเล็กยาว
รูปแบบของโฮงฮด แยกศึกษาเปรียบเทียบ ออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนหัวของโฮงฮดในฝัง่ ไทย อาจจำแนกได้เป็น 4 ลักษณะคือ โฮงฮดแบบนาคตัวเดียว โฮงฮดนาค แบบต่อตัว โฮงฮดเหราคายนาค/งู/เงือก และโฮงฮด หั ว สั ต ว์ อื่ น ๆ เช่ น ช้ า ง เป็ น ต้ น รู ป แบบที่ ถู ก นำ มาใช้มากที่สุดคือ นาค ที่มีทั้งแบบเศียรเดียว และ สามเศี ย รนิ ย มใช้ เ ป็ น นาคอ้ า ปากและมี ปี ก แสดงถึ ง ความองอาจสง่างาม ส่ ว นหั ว ของโฮงฮดในฝั่ ง ลาว และฝั่ ง ไทย พบว่ า มี ลั ก ษณะใกล้ เ คี ย งกั น ทางด้ า นรู ป แบบ ส่วนรูปทรงที่อ่อนช้อย พลิ้วไหว และความสง่างาม อาจมี ค วามแตกต่ า งตามอิ ท ธิ พ ลที่ ไ ด้ รั บ ในแต่ ล ะ ท้องถิ่น เช่น นาคในฝั่งไทยจะมีการออกแบบให้มีปีก ที่ ชั ด เจน โดดเด่ น จนเป็ น เอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะถิ่ น และส่วนหัวจะนิยมสร้างให้ยาวและอ่อนช้อย ให้เห็น ความสง่ า งาม หากจำแนกรู ป แบบที่ เ หมื อ นกั น อาจจำแนกได้เป็น 4 ลักษณะคือ โฮงฮดแบบนาค ตั ว เดี ย ว โฮงฮดนาคแบบต่ อ ตั ว โฮงฮดเหราคาย นาค/งู / เงื อ ก และโฮงฮดหั ว สั ต ว์ อื่ น ๆ เช่ น ช้ า ง มั ง กร หรื อ มกร ส่ ว นโฮงฮดที่ พ บมากที่ สุ ด คื อ โฮงฮดแบบนาคตัวเดียว รองลงมาคือ เหราคายนาค (บน) โฮงฮดนาค ในฝัง่ ไทย (กลาง) โฮงฮดมกร ในฝัง่ ลาว (ล่าง) โฮงฮดเหรา ในฝัง่ ลาว รูปแบบโฮงฮดไม้แกะสลักสองฝัง่ โขง ไทย-ลาว ทีม่ า : เสกสันต์ ศรีสนั ต์, 2 สิงหาคม 2553.
107
โฮงฮดในฝั่งประเทศไทย
โฮงฮดในฝั่งสปป. ลาว
โฮงฮดเหราคายนาค และเหราคายเงือก(งู) ในฝั่งสปป. ลาว
ส่วนกลางและหางของโฮงฮดในฝั่งลาว และ ฝั่งไทย พบว่า ส่วนของช่วงกลางมีทั้งแบบตกแต่งด้วย นกหงส์ นกหัสดี และส่วนหางที่เน้นความอ่อนช้อย ที่รับกับส่วนหัวและลำตัว บางแห่งทำเป็นหางเชิดขึ้น บางแห่งวกงอเข้าหาตัว ถือเป็นส่วนที่น่าสนใจ และ มีอัตลักษณ์เฉพาะถิ่น
นกหัสดี ส่วนกลางโฮงฮดในฝั่งประเทศไทย
โฮงฮดเหราคายนาคในฝั่งประเทศไทย
108
นกหัสดี ส่วนกลางและหางโฮงฮด ในฝั่งสปป. ลาว
ทั้ ง นี้ อ า จ ส รุ ป ไ ด้ ว่ า ก า ร ใ ช้ โ ฮ ง ฮ ด เป็ น วั ฒ นธรรมที่ สื บ ต่ อ กั น มาตั้ ง แต่ ยุ ค อาณาจั ก ร ล้านช้าง เจริญรุ่งเรืองทางด้านพุทธศาสนา การใช้ โฮงฮดเป็ น สิ่ ง สะท้ อ นให้ เ ห็ น ความเชื่ อ มโยงของ สองฝั่ ง โขงที่ มี ก ารสื บ ทอดงานในลั ก ษณะเดี ย วกั น ถือเป็นวัฒนธรรมร่วมของผู้คนที่คนในพื้นที่อื่นไม่มี หากมองในแง่ของการสร้างสรรค์ผลงานในเชิงศิลปะ จะพบว่ามีสัตว์ตามตำนานความเชื่อ หรือที่นิยมเรียก กันทั่วไปว่า สัตว์ป่าหิมพานต์มาใช้ในการสร้างสรรค์ ผลงานหลายชนิด นอกจากนาค ที่ถือว่าเป็นสัตว์ใน ตำนานทีอ่ ยูใ่ นความเชือ่ ทางพุทธศาสนาแล้ว ยังพบว่า มีการนำ เหรา และนกหัสดีหรือหัสดีลิงค์ มาใช้มาก โดยเฉพาะในฝั่งลาว พบการใช้รูปแบบเหราคายนาค เป็ น จำนวนมาก ซึ่ ง ผู้ เ ขี ย นขอนำเสนอข้ อ มู ล สั ต ว์ หิมพานต์ที่ได้จากการศึกษาโดยสังเขป ดังนี้
ข้ อ มู ล : เหรา เป็ น สั ต ว์ ใ นนิ ย ายมี ข้ อ มู ล ที่กล่าวถึง 2 แหล่งคือ 1) ในหนังสือนารายณ์สิบปาง บันทึกไว้ว่า พระอุมาเป็นผู้สร้าง โดยบันดาลให้บังเกิดเป็นนาค และจระเข้ เป็นสัตว์มีอำนาจ จึงมีการตีความว่าเป็น สัตว์ครึ่งนาคครึ่งจระเข้ 2) ในบทดอกสร้ อ ยโบราณ เขี ย นไว้ ต อน หนึ่งว่า เหรานั้น บิดาเป็นนาคา มารดาเป็นมังกร เป็นทั้งนาคและมังกร อ้างอิงจาก : ส. พลายน้อย (2552 : 226)
นกหัสดีหรือหัสดีลิงค์ ที่มา : สมคิด หงส์สุวรรณ (2547 : 137) ส. พลายน้อย (2552 : 226)
เหรา ที่มา : สมคิด หงส์สุวรรณ (2547 : 137) ส. พลายน้อย (2552 : 226)
ข้อมูล : นกหัสดีลิงค์ หากแปลความหมาย ตามชื่อน่าจะมาจากคำว่า หัสดิน แปลว่า นกช้าง เป็นสัตว์หิมพานต์ในตำนานที่มีหัวแบบคชสีห์ มีงวง มีงาแบบช้าง มีปีกและหางแบบนก มีตำนานหลายเล่มที่เขียนถึงนกหัสดีลิงค์ เช่น ในตำนานมูลศาสนา ทีม่ อี ายุมากว่า 500 ปี เคยกล่าว ถึงนกหัสดีลิงค์ ว่าอาศัยอยู่บนดอยจิกมาหรือจิกผา เป็นนกทีค่ อยปรนนิบตั ชิ ว่ ยเหลืออนุสสิ สฤาษี เป็นต้น อ้างอิงจาก : ส. พลายน้อย (2552 : 51)
109
ส่ ว นด้ า นรู ป แบบของโฮงฮดที่ มี ก ารพั ฒ นา ในส่วนต่างๆ ช่างได้มีการสร้างสรรค์ผลงานที่สวยง ามให้กับโฮงฮดและมีความหลากหลาย ทั้งนี้เป็นไป ตามอิ ท ธิ พ ลที่ ไ ด้ รั บ ในแต่ ล ะช่ ว งหรื อ แต่ ล ะยุ ค สมั ย เช่น ความเปลี่ยนแปลงทางด้านรูปทรงที่เกิดขึ้นใน ฝั่งไทย หากพิจาณาจะเห็นว่า มีทั้งแบบยุคแรกดั้งเดิม ทีถ่ อดแบบจากรูปแบบของอาณาจักรล้านช้าง ยุคสอง เป็ น ยุ ค ที่ ไ ด้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจากยุ ค รั ต นโกสิ น ทร์ และ ยุคปัจจุบันเป็นยุคที่มีการสร้างสรรค์งานโดยอิสระ มีการใช้ศลิ ปกรรมไทยมากขึน้ ส่วนในฝัง่ ลาว มีการปรับ เปลี่ยนไปตายุคสมัยเช่นเดียวกัน บางแห่งมีการผสม ผสานกับมังกรในความเชื่อของช่างญวน แต่อย่างไร ก็ ต ามโฮงฮด ยั ง คงไว้ ซึ่ ง รู ป แบบการใช้ ง านที่ ไ ม่ แตกต่างกัน ด้านศิลปะในการแกะสลัก พบว่า งานแกะสลัก ในแถบลุ่ ม แม่ น้ ำ โขง หากจำแนกตามฝี มื อ ช่ า ง อาจจำแนกงานออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 งานแกะสลักจากช่างอาชีพที่มี ความเชี่ยวชาญเฉพาะ ช่างแกะสลักกลุ่มนี้จะเป็นที่ รู้จักโดยทั่วไป เช่น ช่างหลวงเป็นช่างที่รับราชการ อยู่ในวังหลวงมีหน้าที่สนองพระราชประสงค์ของพระ มหากษั ต ริ ย์ หรื อ เจ้ า มหาชี วิ ต ช่ า งญวนเป็ น ช่ า ง ชาวเวียดนามที่มีฝีมือเชิงช่าง และช่างที่รับจ้างทั่วไป ในอดีตในไทย เรียกว่า ช่างเชลยศักดิ์ ซึ่งลักษณะ งานสามารถสังเกตได้จากความประณีตและรูปแบบ งานที่มีเอกลักษณ์ สะท้อนแนวคิดและความเป็นมา ของช่าง
110
กลุ่มที่ 2 งานแกะสลักจากช่างพื้นบ้านที่ ได้รับการสืบทอดฝีมือเชิงช่าง เป็นช่างพื้นบ้านใน แ ต่ ล ะ พื้ น ที่ มี ลั ก ษ ณ ะ ง า น ที่ เ ห็ น ชั ด เ จ น คื อ ความประณีตสวยงามและความแตกต่างในรูปแบบที่ ไม่ซ้ำใคร แม้ว่าจะเป็นการสร้างสรรค์งานในคราว เดี ย วกั น ก็ ต าม ซึ่ ง บ่ ง บอกถึ ง ความคิ ด ที่ เ ป็ น อิ ส ระ ดังจะเห็นได้จาก ผลงานการแกะสลักคันทวยประดับ ตกแต่งสิม หากสังเกตจะเห็นว่า คันทวยในบางวัด ที่มีจำนวนหลายชิ้นมีคันทวยคล้ายกันแต่ไม่เหมือนกัน ซึ่ ง เกิ ด จากช่ า งหลายคนที่ ต กลงกั น สร้ า งคั น ทวย โดยตกลงกันเพียงสัดส่วนอย่างหยาบแต่ไม่ลงลึกใน รายละเอียด การทำงานเป็นอิสระในการสร้างสรรค์ โฮงฮดที่ มี ใ ช้ ต ามวั ด ทั่ ว ไป ซึ่ ง ยากที่ ค นทั่ ว ไปที่ ไ ม่ มี ฝีมือช่างจะสามารถสร้างได้ กลุ่มที่ 3 งานแกะสลักจากชาวบ้านทั่วไป เป็นช่างจำเป็นที่ไม่ได้ทำเป็นงานประจำแต่เกิดจาก แรงศรัทราของคนทำ งานส่วนใหญ่อาจดูไม่วิจิตร เหมื อ นงานช่ า งทั่ ว ไป แต่ มี เ อกลั ก ษณ์ ใ นรู ป แบบ ของงานพืน้ ถิน่ ปัจจุบนั งานประเภทนีถ้ อื เป็นงานมีคณ ุ ค่า มากเพราะผลิตจากชาวบ้านที่แท้จริง เช่น งานแกะ สลักส่วนประกอบของธรรมาสน์ งานแกะสลักพระไม้ งานแกะสลั ก ด้ า มกระบวย การแกะสลั ก หั ว ไม้ เ ท้ า เป็นต้น
ลักษณะงานและแนวคิดในการออกแบบ โฮงฮดของช่างพื้นบ้าน (บนซ้าย) วัดจันทนที บ้านกุดยาลวน ตำบลกุดยาลวน อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี (บนขวา) วัดบ้านคำผักแว่น ตำบลเกษม อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี (ล่างซ้าย) วัดสิงหาษ ตำบลเกษม อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี (ล่างขวา) วัดไตรภูมิ ตำบลท่าอุเทน อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม
111
เปรียบเทียบลักษณะงานและแนวคิดในการออกแบบธรรมาสน์ของช่างที่มีที่มาต่างกัน (ซ้าย) ธรรมาสน์สิงห์เทินปราสาทหรือสิงห์เทินมณฑปของไทย (งานฝีมือช่างญวน) (กลาง) ธรรมาสน์ไม้ของลาว (งานฝีมือช่างพื้นบ้าน) (ขวา) ธรรมาสน์จักสานของไทย (งานฝีมือชาวบ้าน)
กรณี ศึ ก ษาที่ 3 ด้ า นการใช้ แ ละการ อนุรักษ์งานไม้แกะสลักมรดกทางวัฒนธรรม ด้านการใช้งานไม้แกะสลัก จากการศึกษา งานไม้ แ กะสลั ก สองฝั่ ง โขง ไทย-ลาว พบว่ า งาน ไม้ แ กะสลั ก ในอดี ต ถู ก นำมาใช้ ง านมากที่ สุ ด ในวั ด โดยเฉพาะงานตกแต่งศาสนาคาร และงานพุทธศิลป์ ต่างๆ นั บ ตั้ ง แต่ พระไม้ โฮงฮด ธรรมาสน์ และ สิ่ ง ของเครื่ อ งใช้ ใ นความเชื่ อ ต่ า งๆ รองลงมา คื อ สิ่งของเครื่องใช้ในครัวเรือนต่างๆ ทั้งของใช้ส่วนตัว และของใช้ ส่ ว นรวมในครอบครั ว เช่ น ขั น หมาก กระบวย กระบม กระต่ายขูดมะพร้าว ด้ามมีดต่างๆ ด้ า มปื น หน้ า ไม้ และสุ ด ท้ า ย คื อ ของใช้ ใ นการ
112
ประกอบอาชีพต่างๆ เช่น เกวียนในการขนย้ายพืช ผลทางการเกษตรหรือใช้ในการเดินทาง ในอดีตการ ใช้สิ่งของจากไม้ที่ผ่านการแกะสลักตกแต่งถือว่าเป็น สิ่งสำคัญและเป็นส่วนหนึ่งที่บ่งบอกถึงรสนิยม และ ฐานะของผู้ใช้งาน จากการสำรวจการใช้งานไม้แกะ สลั ก ในปั จ จุ บั น พบว่ า ปั จ จุ บั น สองฝั่ ง โขงมี ก าร สร้างสรรค์งานไม้แกะสลักที่แตกต่างกัน ไม้แกะสลัก ในฝั่งลาวในช่วงที่ผ่านมาได้มีช่างไม้แกะสลักเกิดขึ้น จำนวนมาก ส่งผลให้ของใช้ ของตกแต่งบ้าน ของที่ ระลึกจากงานไม้แกะสลักมีจำหน่ายให้เห็นโดยทั่วไป ในทุกแขวง ทั้งนี้อาจสืบเนื่องมาจากในฝั่งลาวมีการ ส่งเสริมและพัฒนางานฝีมือด้านการแกะสลักไม้อย่าง
ต่อเนื่อง ช่างมีฝีมือดีขึ้นมาก ด้วยวัตถุดิบประเภทไม้ ยั ง มี อี ก มาก จึ ง เป็ น ที่ เ ชื่ อ ได้ ว่ า งานไม้ แ กะสลั ก จะ สามารถสร้างงานสร้างรายได้ให้กับประชาชนในลาว ได้ อี ก นานหลายปี ส่ ว นในฝั่ ง ไทย พบว่ า ประสบ ปั ญ หาด้ า นวั ต ถุ ดิ บ ที่ เ กิ ด จากการใช้ ไ ม้ อ ย่ า งไม่ ระมัดระวัง ทำให้ไม้ที่เหมาะกับงานแกะสลักหายาก และยังมีปัญหาด้านข้อกฎหมายต่างๆที่ไม่สนับสนุนให้
นำไม้ ใ นป่ า มาใช้ ใ นงานหั ต ถกรรม จึ ง ทำให้ ก าร พัฒนางานไม้ไม่สามารถดำเนินการได้ และเป็นผล สื บ เนื่ อ งให้ ช่ า งไม้ แ กะสลั ก ในฝั่ ง ไทยลดน้ อ ยลงและ ค่ อ ยๆสู ญ หายไป ซึ่ ง แตกต่ า งจากงานไม้ แ กะสลั ก ใ น ภ า ค เ ห นื อ ข อ ง ไ ท ย ที่ ยั ง ค ง สื บ ส า น ต่ อ ไ ด้ โดยเปลี่ยนแปลงรูปแบบมาใช้เศษไม้ รากไม้ แทน
สิ่งของ เครื่องใช้ ในวิถีชุมชนที่นำงานศิลปะไม้แกะสลักมาใช้สร้างความสวยงาม (ซ้าย) กระต่ายขูดมะพร้าวของไทยในอดีตที่เริ่มหายาก (กลาง) กระบวยตักน้ำของไทยที่ยังมีการใช้งาน (ขวา) อัก (ใช้ร่วมกับไม้คอนอักในการทอผ้า) ของไทยที่ยังมีการใช้งาน
ด้านการอนุรักษ์งานไม้แกะสลักมรดกทาง วั ฒ นธรรม จากการสำรวจข้ อ มู ล งานไม้ แ กะสลั ก สองฝั่ ง โขง ไทย-ลาว พบว่ า ศิ ล ปะในงานไม้ แ กะ สลักทั้งสองฟากฝั่งเป็นงานที่มีคุณค่าทางด้านความ ง า ม แ ล ะ มี รู ป แ บ บ ที่ ส ะ ท้ อ น ค ว า ม เ ป็ น ตั ว ต น ซึ่ ง ปั จ จุ บั น รู ป แบบของงานไม้ แ กะสลั ก แบบดั้ ง เดิ ม ไม่ได้นำกลับมาผลิตอีกแล้ว เมื่อมีการศึกษาเปรียบ เทียบงานไม้แกะสลักที่ช่างไม้แต่ละท้องถิ่นสร้างสรรค์ ผลงานจะสามารถบ่ ง ชี้ ถึ ง ยุ ค สมั ย และความเป็ น มา ของสิง่ ก่อสร้างต่างๆได้ ดังนัน้ อาจกล่าวได้วา่ งานไม้ แกะสลั ก เป็ น งานที่ มี คุ ณ ค่ า ทางประวั ติ ศ าสตร์
แต่เป็นที่น่าเสียดายว่า ในปัจจุบันงานไม้แกะสลักเก่า แก่ในหลายแห่งอยู่ในสภาพที่ขาดการดูแลรักษาอย่าง จริ ง จั ง โดยเฉพาะงานไม้ แ กะสลั ก ในศาสนาคาร หลายแห่ ง อยู่ ใ นสภาพชำรุ ด เมื่ อ ชำรุ ด ตกหล่ น หรือหลุดร่วงจากตำแหน่งเดิมมักจะถูกทำลายด้วยวิธี การต่างๆ เช่น ทำฟืน แปรสภาพเป็นของใช้อย่าง อื่น ส่วนงานไม้แกะสลักที่มีขนาดเล็ก เช่น พระไม้ ซุ้มพระ มักขาดการรักษาในที่ปลอดภัย ถูกลักขโมย จำหน่ า ยให้ นั ก สะสมของเก่ า ทั้ ง ในประเทศและต่ า ง ประเทศ สภาพดังกล่าวได้เกิดขึ้นทั้งสองฝั่งโขง
113
จากข้ อ สรุ ป ทั้ ง 3 กรณี จะเห็ น ได้ ว่ า งานไม้แกะสลักในแถบลุ่มแม่น้ำโขงที่มีอยู่จำนวนมาก ในวัด พิพิธภัณฑ์ และร้านขายของเก่า ปัจจุบันไม่มี การผลิ ต ในวั ต ถุ ป ระสงค์ เ ดิ ม แล้ ว ด้ ว ยเหตุ แ ละ ปั จ จั ย ที่ เ กี่ ย วข้ อ งหลายประการ การสื บ ค้ น ข้ อ มู ล เพื่ อ บั น ทึ ก ศึ ก ษา และเปรี ย บเที ย บข้ อ มู ล จึ ง จำเป็ น ต้องรวบรวบจากวัด พิพิธภัณฑ์ และร้านค้า ชิ้นงาน ที่พบเหล่านี้ถือเป็นงานที่มีคุณค่า เป็นงานที่สะท้อน ถึ ง ท้ อ งถิ่ น และมี คุ ณ ค่ า ทางประวั ต ศาสตร์ ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ ศิ ล ปะในงานไม้ แ กะสลั ก คงอยู่ เ ป็ น มรดก ทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าต่ออนุชนรุ่นหลัง ผู้ที่มีส่วน เกี่ ย วข้ อ งต่ า งๆ นั บ ตั้ ง แต่ เจ้ า อาวาส ผู้ น ำชุ ม ชน และประชาชนผู้เป็นเจ้าของควรให้ความสำคัญในงาน อนุรักษ์นี้ เพราะบ่อยครั้งที่นักท่องเที่ยวเดินทางเข้า ประเทศมั ก มุ่ ง ตรงที่ จ ะชมของเก่ า ของโบราณที่ มี เฉพาะถิ่นทั้งสิ้น ไม่ได้มีความต้องการที่จะเยี่ยมชมสิ่ง ก่อสร้าง หรือวัตถุสิ่งของที่เกิดขึ้นใหม่
4.2 การวิพากย์งานไม้แกะสลักสองฝั่งโขง
ไม้แกะสลักสองฝั่งโขง ไทย-ลาว ที่เกิดขึ้นใน อดี ต ถื อ เป็ น หลั ก ฐานทางประวั ติ ศ าสตร์ คุ ณ ค่ า ที่ เกิดขึ้นเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของคนยุคใหม่ใน หลายสาขาวิชา เช่น สาขาวิ ช าประวั ติ ศ าสตร์ งานไม้ แ กะสลั ก สามารถบอกยุคสมัยได้จากลวดลายในการแกะรูปทรง ที่เกิดขึ้นในแต่ละยุคสมัย รวมทั้งรูปแบบของการนำ มาใช้งานทีเ่ กิดขึน้ ตามเจริญทางด้านวัฒนธรรมความเชือ่
114
สาขาวิชาสถาปัตยกรรม งานไม้แกะสลักคือ ส่วนตกแต่งทั้งภายในและภายนอก เป็นกรณีศึกษาที่ ต้องเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ผลงาน สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ งานไม้แกะสลัก ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย พื้ น ผิ ว ล ว ด ล า ย รู ป ท ร ง วั ส ดุ กระบวนการผลิ ต ที่ ส ามารถสร้ า งแรงบั น ดาลใจ และแนวคิดในงานออกแบบ สาขาวิ ช ามนุ ษ ยวิ ท ยา งานไม้ แ กะสลั ก คื อ พัฒนาการทางความคิดของมนุษย์ในแต่ละยุคสมัย ที่ ส ะท้ อ นออกมาเป็ น ผลงาน มี ก ารสื บ ต่ อ มี ก าร ถ่ายทอดความรู้ และมีการเชื่อมโยงทางวัฒนธรรม สาขาวิ ช าศิ ล ปกรรม งานไม้ แ กะสลั ก คื อ ผลงานสร้างสรรค์ทางด้านความงามที่มีจิตวิญญาณ บอกเล่ า เรื่ อ งราวที่ ผ สมผสานระหว่ า งความเชื่ อ และความงาม งานไม้แกะสลักในฝั่งลาว ถือเป็นแม่แบบที่ดี ในการเรี ย นรู้ ก ารนำไม้ ม าใช้ ง านได้ อ ย่ า งมี คุ ณ ค่ า ไม้หลายชนิดที่ผู้คนชาวลาวนำมาใช้งานส่วนใหญ่แล้ว มักให้ความสำคัญกับความคงทนแข็งแรง ไม้ที่นำมา ใช้ในการแกะสลักจึงเป็นไม้เนื้อแข็ง ความยุ่งยากใน การแกะสลักจึงมีมากกว่า ซึ่งแตกต่างจากในหลาย ชนชาติ ที่ มี ง านไม้ แ กะสลั ก โดดเด่ น เช่ น เดี ย วกั น ถึ ง แม้ ว่ า ไม้ ยุ่ ง ยากในการอกะสลั ก เพี ย งใด ไม่ ไ ด้ ทำให้ชา่ งชาวลาวลดระดับการสร้างสรรค์ความงามลง ซึ่งหากพิจารณางานตกแต่งจากไม้ในพุทธสถานต่างๆ รวมทั้ ง งานแกะสลั ก ที่ ถู ก วางจำหน่ า ยในที่ ต่ า งๆจะ เห็นว่า ฝีมอื และความประณีตไม่ได้แพ้ชนชาติใดเลย
ลายเส้นงานไม้แกะสลัก ที่แสดงให้เห็นคุณค่าความงามที่แตกต่าง (บนขวา) ความงามของวัดเซียงทอง แขวงหลวงพระบาง ทวย หางหงส์ โหง่ ที่ใช้ไม้แกะสลักในการตกแต่ง ที่มา : จารุสิทธิ์ เครือจันทร์, 20 สิงหาคม 2553. (บนซ้ายและล่างซ้าย) ส่วนต่างๆ ของโฮงฮด ที่งดงาม ตามแบบเฉพาะถิ่น ที่มา : เสกสันต์ ศรีสันต์, 20 สิงหาคม 2553.
115
ส่วนงานไม้แกะสลักในฝั่งไทย ยังมีให้เห็นใน แถบภาคเหนือ ส่วนภาคอีสานนั้นยังเหลือสืบต่ออยู่ บ้ า งในจั ง หวั ด ยโสธร ในภาพรวมถื อ ว่ า ช่ า งไม้ แกะสลักที่เก่งๆ เริ่มหายากแล้ว ดังนั้นสิ่งที่กระทำได้ คื อ การอนุ รั ก ษ์ ข องเก่ า ให้ ค งอยู่ และควรนำขึ้ น ทะเบี ย นป้ อ งกั น การสู ญ หาย ผลงานไม้ แ กะสลั ก ของอีสานในอดีต ถือว่า เป็นผลงานสร้างสรรค์ของ ชนรุ่ น ก่ อ น มี คุ ณ ค่ า ความงามที่ ห าชมได้ ย ากยิ่ ง มีรปู แบบทีแ่ ตกต่างตามอย่างเฉพาะถิน่ การศึกษาเปรียบเทียบไม้แกะสลักสองฝังโขง ในครั้ ง นี้ นอกจากจะเป็ น การรวบรวมข้ อ มู ล ทั้ ง สองประเทศที่มีแบบอย่างทางวัฒนธรรมใกล้เคียงกัน แล้ว ยังก่อให้เกิดภาพสะท้อนในการคงอยู่งานศิลปะ แขนงนี้ด้วย ซึ่งผู้เขียนเชื่อว่า การคงอยู่หรือการถูก ทำลายของงานศิลปะแขนงต่างๆ หาใช่ท่ีตัวผลงาน แต่อยูท่ ก่ี ารกระทำของมนุษย์ทง้ั สิน้
ลายเส้น ตัวอย่างโฮฮดที่แขวงหลวงพระบาง และแขวงจำปาสัก ในฝั่งลาว (บนซ้าย) ทีม่ า : วิโรฒ ศรีสโุ ร, 2540ก :110 (บนขวาและล่างซ้าย) ที่มา : ปีดา สะหวัดวง, 1988 : 113
116
บทที่ 5
การสรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ 5.1 การสรุปผล
จากการศึกษาเปรียบเทียบลักษณะงานไม้แกะสลัก ที่ เ กิ ด ขึ้ น ทั้ ง ในอดี ต และปั จ จุ บั น ของสองประเทศใน ส่วนทีม่ พี น้ื ทีอ่ ยูส่ องฟากฝัง่ แม่นำ้ โขง คือ ประเทศไทย และสาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว หรื อ สปป.ลาว ตามโครงการ การศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บ ศิลปะไม้แกะสลักแถบลุ่มน้ำโขงของไทยและสปป.ลาว ในครั้ ง นี้ ในส่ ว นของประเทศไทย ประกอบด้ ว ย 7 จังหวัด คือ เชียงราย เลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร และอุบลราชธานี ส่วนในฝั่งสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาวหรือ สปป.ลาวประกอบ ด้วย 5 แขวง คือ นครหลวงเวียงจัน หลวงพระบาง
ไซยะบุ รี สะหวั น นะเขด และจำปาสั ก การเลื อ ก กลุ่ ม เป้ า หมายในการศึ ก ษา ผู้ เ ขี ย นพิ จ ารณาจาก หมู่ บ้ า นชุ ม ชนที่ อ าศั ย อยู่ แ ถบล่ ม น้ ำ โขงเป็ น หลั ก โดยอิงข้อมูลทางเอกสารและการสอบถามในพื้นที่จริง เกณฑ์ในการเลือกใช้วิธีพิจารณาจากความเก่าแก่ของ ชุ ม ชนและลั ก ษณะการสื บ ทอดวั ฒ นธรรมที่ มี ม า ยาวนาน จากประสบการณ์ในการเก็บข้อมูลที่ผ่านมา ทำให้ ท ราบว่ า ศิ ล ปะจากงานไม้ แ กะสลั ก มั ก ปรากฏ หลักฐานให้เห็นโดยส่วนใหญ่มักอยู่ตามวัด และอาจมี บ้างตามอาคารทีพ่ กั อาศัย พิพธิ ภัณฑ์ ร้านขายของเก่า และร้ า นจำหน่ า ยของที่ ร ะลึ ก สำหรั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว
โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการดำเนิ น การ 3 ประการ คือ 1)เพื่อศึกษาและรวบรวมศิลปะไม้แกะสลัก ที่เกิด จากงานหัตถกรรมไม้ ในแง่ของวัสดุ กระบวนการ ผลิ ต ประโยชน์ ใ ช้ ส อย ความเชื่ อ ถื อ จากอดี ต สู่ ปั จ จุ บั น 2)เพื่ อ ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บลั ก ษณะงาน หั ต ถกรรมจากไม้ ใ นด้ า นของรู ป ทรงและลวดลาย จากผลงานช่ า งฝี มื อ ในเขตพื้ น ที่ แ ถบลุ่ ม น้ ำ โขง ของไทยกับสปป.ลาว 3)เพื่อนำข้อมูลออกเผยแพร่ ในเชิงอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านงานแกะสลักไม้ ในการดำเนินงานมี 2 ช่วง คือ ช่วงที่ 1 ปีพ.ศ. 2551 จัดเก็บข้อมูลในเขตพื้นที่ฝั่งประเทศไทย และเขียน สรุ ป ข้ อ มู ล แล้ ว เสร็ จ ในปี พ .ศ. 2552 ช่ ว งที่ 2 ปีพ.ศ. 2553 จัดเก็บข้อมูลในเขตพื้นที่ฝั่งสปป.ลาว และเขี ย นสรุ ป ข้ อ มู ล แล้ ว เสร็ จ ในปลายปี เ ดี ย วกั น ผลการจั ด เก็ บ ข้อมูลในเชิงปริมาณ สรุปได้ว่า ข้อมูล ในฝัง่ ประเทศไทย ที่สามารถจัดเก็บข้อมูลได้มีจำนวน ทั้งสิ้น 103 แห่งจาก 7 จังหวัดในแถบลุ่มน้ำโขง ข้อมูลในฝัง่ สปป.ลาว ทีส่ ามารถจัดเก็บข้อมูลได้มจี ำนวน ทั้งสิ้น 38 แห่งจาก 5 แขวงในแถบลุ่มน้ำโขง ทั้งนี้ หากพิจารณาตามจำนวนจะพบว่า มีความแตกต่าง ในเชิงปริมาณ ที่เป็นเช่นนั้นสืบเนื่องมาจากจำนวน ประชากรของแต่ละเขตพื้นที่ศึกษามีจำนวนแตกต่าง กั น มาก เช่ น จำนวนประชากรของไทยมี จ ำนวนใน ช่วง 60-70 ล้านคน ส่วนในสปป.ลาว มีจำนวน ในช่วง 6-7 ล้านคน การตั้งบ้านเรือนที่อยู่อาศัยใน ฝั่ ง ไทยเป็ น ไปอย่ า งหนาแน่ น ส่ ว นในฝั่ ง สปป.ลาว บ้ า นเรื อ นตั้ ง อยู่ อ ย่ า งกระจายและมี ช่ ว งห่ า งมาก และหากพิจารณาทางด้านศาสนา จะพบว่า ศาสนาพุทธ จะมี ค วามเจริ ญ รุ่ ง เรื อ งมากเฉพาะในเขตตั ว เมื อ ง
118
แต่ เ มื่ อ สำรวจในพื้ น ที่ ห่ า งไกลจะพบวั ด น้ อ ยมาก และบางส่วนยังมีการนับถือผีในแบบดั้งเดิมที่สืบต่อ กั น มา ปั จ จั ย เหล่ า นี้ ส่ ง ผลให้ แ หล่ ง ข้ อ มู ล ใน สปป.ลาว มีปริมาณที่น้อยกว่ามาก แต่หากพิจารณา ทางด้านคุณค่าแล้ว สามารถนำข้อมูลศึกษาเปรียบเทียบ ด้ ว ยเหตุ ที่ ส ถานที่ เ กื อ บทุ ก แห่ ง ที่ ส ำรวจพบใน สปป.ลาว ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น วั ด ล้ ว นแล้ ว แต่ มี อ ายุ ที่ยาวนาน อาจกล่าวได้ว่าหลายแห่งมีอายุมากกว่า ในฝั่งประเทศไทย ดังนั้นข้อมูลที่พบในครั้งนี้ ถือว่า เป็ น ข้ อ มู ล ที่ ส ามารถเที ย บเคี ย งกั น ได้ ทั้ ง ในแง่ ความเป็นมา และการเป็นกลุ่มตัวอย่างในพื้นที่ที่มี ความแตกต่างกัน สำหรับการสรุปผลการดำเนินงานในครั้งนี้ ผู้เขียนขอสรุปตามวัตถุประสงค์ที่ตังไว้ 3 ประการ ดังนี้ ศึ ก ษ า แ ล ะ ร ว บ ร ว ม ศิ ล ป ะ ไ ม้ แ ก ะ ส ลั ก ที่ เ กิ ด จ า ก ง า น หั ต ถ ก ร ร ม ไ ม้ ใ น แ ง่ ข อ ง วั ส ดุ กระบวนการผลิต ประโยชน์ใช้สอย ความเชื่อถือจาก อดี ต สู่ ปั จ จุ บั น พบว่ า ด้ า นวั ส ดุ ใ นการแกะสลั ก ไม้ ที่ น ำมาใช้ ใ นงานแกะสลั ก ในฝั่ ง ไทยและฝั่ ง ลาว ช่ า งผู้ ส ร้ า งสรรค์ ผ ลงานไม้ แ กะสลั ก มี ข้ อ พิ จ าณาใน การคั ด เลื อ กไม้ ที่ ไ ม่ แ ตกต่ า งกั น ซึ่ ง สาเหตุ จ ากมี สภาพทางธรรมชาติ ไ ม่ แ ตกต่ า งกั น มาก รู ป แบบ สิ่ ง ของเครื่ อ งใช้ ใ นวิ ถี ชี วิ ต ไม่ แ ตกต่ า งกั น ซึ่ ง มี ข้ อ สรุ ป เกี่ ย วกั บ เกณฑ์ พิ จ ารณาในการคั ด เลื อ กไม้ 4 ประการ คื อ คุ ณ ภาพของไม้ ที่ เ หมาะสมกั บ ลักษณะการใช้งาน ความเชื่อที่เกี่ยวเนื่อง ประโยชน์ ใช้ ส อย และความยากง่ า ยในการผลิ ต และการหา สำหรับด้านกระบวนการผลิตไม้แกะสลักสองฝั่งโขง
พบว่ า ในฝั่ ง ประเทศไทยในเขตพื้ น ที่ ที่ ศึ ก ษาไม่ พ บ ช่างไม้แกะสลักที่ผลิตเป็นอาชีพ หรือได้รับการสืบต่อ งานฝี มื อ ด้ า นนี้ ผู้ เ ขี ย นจึ ง ได้ ศึ ก ษาข้ อ มู ล และ สัมภาษณ์จากช่างผู้ผลิตงานไม้แกะสลักในแขวงหลวง พระบาง ซึ่งสามารถสรุปเป็นขั้นตอนในการทำงาน ได้ 4 ขั้ น ตอน คื อ 1)การร่ า งแบบและออกแบบ 2)การเตรี ย มวั ส ดุ แ ละเครื่ อ งมื อ 3)การแกะสลั ก 4)การตกแต่งชิ้นงาน ส่วนเครื่องมือที่ใช้ในงานแกะ สลักไม้ จากการศึกษากระบวนการในการผลิตงาน ไม้ แ กะสลั ก ข้ า งต้น อาจจำแนกเครื่องมือใช้ ใ นงาน แกะสลักไม้ออกเป็น 3 ส่วน คือ เครื่องมือที่ติดตั้ง ใช้ ง านในสถานที่ เ ครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ช่ ว ยงานแกะสลั ก และเครื่องมือช่างแกะสลัก การศึกษาเปรียบเทียบลักษณะงานหัตถกรรม จากไม้ในด้านของรูปทรงและลวดลาย จากผลงานช่างฝีมอื ในเขตพื้ น ที่ แ ถบลุ่ ม น้ ำ โขงของไทย กั บ สปป.ลาว พบว่ า งานศิ ล ปะของงานไม้ แ กะสลั ก สองฝั่ ง โขง ในเขตพื้ น ที่ ช ายแดนประเทศไทยและสปป.ลาว มี ค วามเหมื อ น ความแตกต่ า ง และความสั ม พั น ธ์ ที่มีความเกี่ยวเนื่องกัน ในหลายประการ คือ การศึกษาในฝัง่ ประเทศไทย พบว่า ในเขตพืน้ ที่ ฝั่ง ประเทศไทยที่มีจังหวัดติดแม่น้ำโขง 7 จั ง หวั ด คื อ เ ชี ย ง ร า ย เ ล ย ห น อ ง ค า ย น ค ร พ น ม มุกดาหาร อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี พบแหล่ง ที่ มี ก ารใช้ ง านไม้ แ กะสลั ก ในพุ ท ธสถานมากที่ สุ ด คื อ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี รองลงมามี ร ะดั บ ที่ ใกล้ เ คี ย งกั น คื อ เลย หนองคาย นครพนม มุ ก ดาหาร และที่ พ บในระดั บ น้ อ ย คื อ เชี ย งราย และอำนาจเจริ ญ ซึ่ ง พบว่ า ศิ ล ปะงานไม้ แ กะสลั ก
ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลเชิงช่างจากอาณาจักรล้านช้าง และได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลเชิ ง ช่ า งจากศิ ล ปรั ต นโกสิ น ทร์ ในช่ ว งหลั ง ในอดี ต มี ก ารถ่ า ยทอดงานฝี มื อ ผ่ า น ความเชื่ อ ความศรั ท ธาในพุ ท ธศาสนาออกมาเป็ น งานศิลปะในรูปแบบต่างๆ เช่น งานตกแต่งเครือ่ งบน ของศาสนาคาร คันทวย ธรรมาสน์ พระไม้ และอืน่ ๆ ซึง่ แตกต่างจากงานในพุทธสถานของเชียงรายทีส่ ว่ นใหญ่ เป็นงานปูนปั้น และงานโลหะ มีพระพุทธรูปสัมฤทธิ์ จำนวนมาก โดยรูปแบบงานส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพล จากล้ า นนาและบางส่ ว นจากยุ ค สมั ย สำหรั บ การ สืบทอดฝีมือช่างแกะสลัก พบว่า งานช่างแกะสลัก ในแถบลุ่ ม แม่ น้ ำ โขงในปั จ จุ บั น ขาดการสื บ ทอด ช่างที่พบในพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นการเรียนรู้งานแกะสลัก จากช่างในภาคเหนือ และมีเพียงจำนวนน้อยที่ยังคง ผลิ ต เป็ น งานฝี มื อ ชาวบ้ า น ซึ่ ง ไม่ ส ามารถผลิ ต ใน เชิงธุรกิจได้ ส่วนการศึกษาในฝัง่ สปป.ลาว ในเขตพืน้ ที่ ฝั่ ง สปป.ลาว ที่ อ ยู่ ติ ด แม่ น้ ำ โขงซึ่ ง มี อ ยู่ ห ลายแขวง ผูเ้ ขียนได้เลือกสำรวจใน 5 แขวง คือ นครหลวงเวียงจัน แขวงหลวงพระบาง แขวงไซยะบุ รี สะหวั น นะเขด และจำปาสัก พบว่าไม้แกะสลักในสปป.ลาว ถือเป็น งานต้นแบบล้านช้าง ที่มีลักษณะเดียวกับงานไม้แกะ สลักในอีสานยุคต้น ซึ่งพบว่า มีข้อสังเกตในความ เหมื อ นที่ พ อเที ย บเคี ย งได้ ใ นหลายประเด็ น เช่ น ลั ก ษณะของการใช้ โ ฮงฮด ลั ก ษณะของพญานาค ลั ก ษณะของคั น ทวย และลั ก ษณะการใช้ ล วดลาย ต่างๆ เช่ น ทวย งานพุ ท ธศิ ล ป์ ที่ ใ ช้ ใ นงานตกแต่ ง ศาสนาคารสองฝัง่ โขง ไทย-ลาว พบว่า ทวยในฝัง่ ลาว ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ทวยนาค รองลงมา ทวยแขนนาง ทวยเทพพนม ทวยหู ช้ า ง ส่ ว นที่ พ บจำนวนน้ อ ย
119
คื อ ทวยแผง สำหรั บ ทวยนาคที่ พ บส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ทวยแบบนาคหางปล่อย ซึ่งไม่พบทวยแบบนาคหาง พัน ส่วนทวยในฝั่งไทย ส่วนใหญ่เป็นทวยนาคแบบ นาคหางปล่อย รองลงมา คือ ทวยแผง ทวยแขนนาง ทวยเทพพนม ส่ ว นทวยหู ช้ า ง พบไม่ ม ากนั ก เป็นข้อสรุปได้ว่า ทวยที่มีการใช้มากของสองฝั่งโขง คือ ทวยนาคแบบนาคหางปล่อย ซึ่งมีรูปแบบที่ใกล้ เคียงกัน ส่วนงานพุทธศิลป์อีกชิ้นหนึ่งที่น่าสนใจ คือ โฮงฮด ในฝั่ ง ไทย พบว่ า การใช้ โ ฮงฮดมี ใ น หลายพื้นที่ โดยเฉพาะวัดที่มีอายุเก่าแก่ กระจายอยู่ ทัว่ ไปไม่เฉพาะในแถบลุม่ น้ำโขงแต่มที ว่ั ไปในภาคอีสาน ส่วนในภูมภิ าคอืน่ ของไทยไม่มกี ารใช้ สำหรับโฮงฮดในฝั่งลาว พบว่า การใช้โฮงฮด ในสปป.ลาว มีการใช้ในแทบทุกพื้นที่ที่มีวัด ลักษณะ ของโฮงฮดในสปป.ลาว มีลักษณะเป็นรูปคล้ายเรือ จ ำ ล อ ง ข น า ด เ ล็ ก ย า ว เ ห มื อ น ที่ ใ ช้ ใ น ฝั่ ง ไ ท ย เมื่ อ พิ จ ารณาในภาพรวมของโฮงฮดสองฝั่ ง โขง พบว่า ช่างในแต่ละพื้นที่ได้มีการสร้างสรรค์ผลงาน ที่สวยงามให้กับโฮงฮดและมีความหลากหลาย ทั้งนี้ เป็ น ไปตามอิ ท ธิ พ ลที่ ไ ด้ รั บ ในแต่ ล ะช่ ว งหรื อ แต่ ล ะ ยุคสมัย เช่น ความเปลี่ยนแปลงทางด้านรูปทรงที่ เกิดขึ้ น ในฝั่ ง ไทย หากพิจาณาจะเห็นว่า มีทั้ง แบบ ยุคแรกดั้งเดิมที่ถอดแบบจากรูปแบบของอาณาจักร ล้ า นช้ า ง ยุ ค สองเป็ น ยุ ค ที่ ไ ด้ รั บ อิ ท ธิ พ ลจาก ยุ ค รั ต นโกสิ น ทร์ และยุ ค ปั จ จุ บั น เป็ น ยุ ค ที่ มี ก าร สร้ า งสรรค์ ง านโดยอิ ส ระมี ก ารใช้ ศิ ล ปกรรมไทย มากขึ้ น ส่ ว นในฝั่ ง ลาว มี ก ารปรั บ เปลี่ ย นไปตาม ยุ ค สมั ย เช่ น เดี ย วกั น บางแห่ ง มี ก ารผสมผสานกั บ
120
มังกรในความเชือ่ ของช่างญวน แต่อย่างไรก็ตามโฮงฮด ของทั้งสองฟากฝั่งยังคงไว้ซึ่งรูปแบบการใช้งานที่ไม่ แตกต่างกัน การเผยแพร่ ข้ อ มู ล ในเชิ ง อนุ รั ก ษ์ ภู มิ ปั ญ ญา ท้องถิ่นด้านงานแกะสลักไม้ ผู้เขียนได้สรุปข้อมูลใน การศึ ก ษาในครั้ ง นี้ เป็ น รู ป เล่ ม หนั ง สื อ ซึ่ ง จะมี การเผยแพร่สหู่ น่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องหรือผูท้ ส่ี นใจต่อไป
5.2 การอภิปรายผล
เนื่ อ งจากการศึ ก ษาในครั้ ง นี้ เ ป็ น การศึ ก ษา ข้อมูลระหว่าง 2 ประเทศ ซึ่งมีวัฒนธรรมทางภาษา ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียนใกล้เคียงกันมาก ดังนั้น ในการบันทึกข้อมูลโดยใช้ภาษาเขียนของสปป.ลาว ผู้ เ ขี ย นจึ ง ขอยึ ด รากศั พ ท์ เ ดิ ม ของภาษาลาวที่ มี การเขียนบันทึกไว้ในแหล่งข้อมูลต่างๆ และบางส่วน ที่ไม่มีการบันทึกเป็นภาษาเขียนก็ขอใช้การบัดทึกตาม สำเนียงของภาษาพูด ซึ่งเชื่อว่าน่าจะเกิดประโยชน์ ต่อการศึกษาในพื้นที่จริงของผู้ที่เรียนรู้จากเอกสารนี้ อีกทั้งเป็นการให้เกียรติรากศัพท์ของเจ้าของภาษา เช่ น เวี ย งจั น เขี ย นเป็ น เวี ย งจั น สุ ว รรณเขต เขี ย นเป็ น สะหวั น นะเขด วั ด จั น ทร์ ท ะสาโร เขียนเป็น จันทน์ทะสาโร วัดโพนไชยชนะสงคราม เขียนเป็น วัดโพนไซซะนะสงคาม เป็นต้น และเมื่อ พิจารณาด้านตัวอักษรบางตัวไม่มีในลาวและไม่ได้ใช้ ในการออกเสียง เช่น ช ช้าง ในภาษาลาวใช้เพียง ตั ว เดี ย ว คื อ ซ ซ้ า ง แทน ช ช้ า ง และ ซ โซ่ เป็ น ต้ น บางครั้ ง ในการอ่ า นจากเอกสารฉบั บ นี้
อาจเป็นข้อขัดข้องในการใช้ภาษาไทย แต่ผู้เขียนเชื่อ ว่าการรักษารากศัพท์ของเจ้าของภาษาเป็นสิ่งสำคัญ และน่าจะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ในพื้นที่จริง สำหรับผลการศึกษาเปรียบเทียบไม้แกะสลัก สองฝั่งโขง ไทย-ลาวในครั้งนี้ เป็นสิ่งยืนยันให้เห็นว่า วั ฒ นธรรมของผู้ ค นที่ อ าศั ย อยู่ ส องฝั่ ง โขง ในสมั ย โบราณมีความเชื่อ มีศาสนา ประเพณี วิถีชีวิตที่ไม่ แตกต่างกัน มีรากเหง้าทางวัฒนธรรมมาจากแหล่ง เดี ย วกั น ในปั จ จุ บั นสิ่ ง ต่ า งๆเหล่า นี้ ยั ง คงถื อ สื บ ต่ อ เช่นเดียวกัน เช่น การสรงน้ำพระในช่วงสงกรานต์ ยั ง คงนิ ย มใช้ ร างสรง หรื อ โฮงฮดเช่ น เดี ย วกั น ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น รู ป แบบทางวั ฒ นธรรมที่ ผู้ ค นแถบอื่ น ไม่ นิ ย มใช้ กั น แม้ ว่ า ในรายละเอี ย ดโฮงฮดอาจมี รูปร่างที่แตกต่างไปบ้าง ทั้งนี้อาจเป็นเพราะอิทธิพล ที่ ไ ด้ รั บ จากการเมื อ งการปกครองในแต่ ล ะยุ ค ที่ แตกต่างกัน หากมองถึ ง อนาคตไม้ แ กะสลั ก สองฝั่ ง โขง อาจมองไม้แกะสลักใน 2 มิติ คือ งานไม้แกะสลัก ในเชิงศิลปวัฒนธรรม ซึ่งหมายถึงไม้แกะสลักที่เป็น งานศิลปะพื้นบ้าน หรือเป็นสมบัติของท้องถิ่น คนใน ท้ อ งถิ่ น หรื อ ผู้ น ำชุ ม ชนควรให้ ค วามสำคั ญ ในเชิ ง อนุรักษ์ ไม่ควรปล่อยให้เป็นหน้าที่ภาครัฐฝ่ายเดียว เพราะถือว่า ชุมชนคือ ผู้ที่มีความใกล้ชิดมากที่สุด ละเป็นเจ้าของโดยตรง ส่วนในมิติที่สอง งานไม้แกะ สลักในเชิงพาณิชย์ ในฝั่งไทยถือว่ามีงานไม้แกะสลัก น้อยมาก ควรได้รับการฟื้นฟู เพราะงานไม้แกะสลัก ถือเป็นงานศิลปะพื้นบ้านแขนงหนึ่งที่มีการสืบต่อกัน มาอย่ า งยาวนาน ไม่ ค วรปล่ อ ยให้ มี ก ารสู ญ หาย
การสืบต่อภูมิปัญญาด้านนี้ไม่มีความจำเป็นที่จะต้อง ตัดไม้ทำลายป่าหรือทำลายธรรมชาติ การใช้รากไม้ ต่ อ ไม้ ไม้ เ ศษ หรื อ ไม้ เ ศรษฐกิ จ ต่ า งๆ ที่ โ ตง่ า ย ปลูกทดแทนได้ ย่อมสามารถกระทำได้เช่นเดียวกัน ส่วนในฝั่งลาว ถือว่ามีแหล่งวัตถุดิบมากกว่า ฝั่งไทยมาก การใช้งานยังสามารถกระทำได้อีกนาน การเรียนรู้การใช้วัสดุอย่างคุ้มค่า คุ้มประโยชน์จะ ช่วยให้งานแขนงนี้มีอายุยืนยาวมากขึ้น
5.3 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินงาน ในการศึ ก ษาข้ อ มู ล ในครั้ ง นี้ สามารถสรุ ป ปัญหาในการดำเนินงานได้ 3 ประการ ดังนี้ 1) ข้อจำกัดด้านเวลา ด้วยในการดำเนินงาน ในครั้ ง นี้ เ ป็ น การศึ ก ษาข้ อ มู ล ระหว่ า งประเทศ สำหรับในฝั่งประเทศไทย ผู้เขียนใช้เวลาในการจัด เก็ บ ข้ อ มู ล ทั้ ง สิ้ น 1 ปี เ ศษ โดยอาศั ย การค้ น หา ข้อมูลในหลายวิธีการ ส่วนในฝั่งสปป.ลาว ผู้เขียนใช้ เวลาในการจัดเก็บข้อมูลประมาณ 1 ปี ซึ่งต้องเป็น ไปตามเงื่อนไขของโครงการ หากพิจารณาเนื้องาน ในภาพรวมแล้วจะเห็นว่า แหล่งศึกษาข้อมูลมีมากแต่ เวลาที่ ใ ช้ ค่ อ นข้ า งจำกั ด มาก ซึ่ ง ในการดำเนิ น การ ต้องมีการเผื่อเวลาสำหรับการค้นคว้าและวิเคราะห์ ข้อมูลด้วย ดังนั้น ในทางปฏิบัติจึงถือว่ามีข้อจำกัด ด้ า นเวลามาก การจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ต้ อ งเดิ น ทางตาม ข้อมูลที่หาไว้ล่วงหน้าเท่านั้น บางครั้งอาจส่งผลต่อ โอกาสที่จะพบแหล่งข้อมูลใหม่
121
2) ปั ญ หาเกี่ ย วกั บ ฤดู ก าล พบว่ า ฤดู ที่ ไ ม่ เหมาะกับการจัดเก็บข้อมูลเลยคือฤดูฝน ซึ่งในช่วง ปี พ.ศ. 2553 ฝนเริ่มตกมากในช่วงเดือนกรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ซึ่งถือว่ายังอยู่ในช่วงที่ยังต้อง เก็บข้อมูลอยู่ ฤดูฝนจะส่งผลต่อการจัดเก็บข้อมูลใน 2 ประการ คื อ (1)การถ่ า ยภาพที่ ต้ อ งอาศั ย แสง สว่ า งจากธรรมชาติ ด้ ว ยท้ อ งฟ้ า ที่ มื ด ครึ้ ม ตลอด การระมัดระวังกล้องกับน้ำฝน (2)เส้นทางในการเดินทาง เช่ น การเดิ น ทางในหลายพื้ น ที่ แ ถบแขวงไซยะบุ รี สปป.ลาว ซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น เส้ น ทางที่ มี อั น ตรายมาก ถนนเป็นโคลนตม รื่นไหลมาก และต้องมีการขึ้นลง ภูเขาตลอด รวมทั้งแขวงสะหวันนะเขด แม้ว่าจะไม่มี ภู เ ขาในเส้ น ทางการเดิ น ทาง แต่ ถ นนมี ห ลุ ม บ่ อ น้ำขัง และรื่นไหลตลอดเส้นทางเช่นเดียวกัน ดังนั้น ด้วยข้อจำกัดด้านเวลาที่ระบุไว้ในโครงการทำให้ไม่ สามารถหลีกเลี่ยงฤดูกาลต่างๆนี้ได้ 3) แหล่งข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลทั้งสองฝั่ง พบว่ า หาเอกสารที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งค่ อ นข้ า งยากมาก จากการดำเนิ น งานที่ ผ่ า นมาส่ ว นใหญ่ จึ ง มั ก ได้ รั บ ข้อมูลเฉพาะในภาพรวม โดยระบุพื้นที่ในระดับกว้าง ส่ ว นตำแหน่ ง ที่ ตั้ ง จริ ง ต้ อ งสอบถามข้ อ มู ล ในพื้ น ที่ ดั ง นั้ น การได้ ม าซึ่ ง ข้ อ มู ล ส่ ว นใหญ่ จึ ง มั ก เกิ ด จาก การลงพื้นที่และสอบถามเพิ่มเติมจากคนในท้องถิ่น ซึ่ ง บางครั้ ง ก็ มี ค วามคลาดเคลื่ อ นบ้ า งและอาจต้ อ ง ผิดหวังบ้างเมื่อเดินทางไปตามคำบอกเล่าแล้วไม่ได้ รับข้อมูลตามที่คาดหวัง
122
ข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน เพื่ อ ให้ ก ารดำเนิ น งานในลั ก ษณะเดี ย วกั น ประสบความสำเร็จยิ่งขึ้น ผู้เขียนมีข้อเสนอแนะใน การดำเนินงานครั้งต่อไป 3 ประการ ดังนี้ 1) ควรแบ่ ง การทำงานออกเป็ น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ระยะการศึกษารวบรวมข้อมูลจาก แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องในพื้นที่จริง ระยะที่ 2 ระยะ การลงพื้ น ที่ จั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ระยะที่ 3 ระยะการ วิเคราะห์และจัดกระทำข้อมูล แม้ว่าการแบ่งขั้นตอน งานดังกล่าวจะใช้เวลามากแต่ผู้เขียนเชื่อว่าจะทำให้ การศึกษางานในลักษณะนี้ มีประสิทธิภาพมากขึ้น 2) ควรกำหนดเส้นทางในการเดินทางก่อน หลั ง โดยคำนึ ง ถึ ง ฤดู ก าลเป็ น สำคั ญ เช่ น เส้ น ทาง กันดาร ควรจัดเวลาไว้ในช่วงเดือนเมษายน พฤษภาคม มิ ถุ น ายน ส่ ว นพื้ น ที่ ใ นเขตชุ ม ชนเมื อ งจั ด ไว้ ใ น ช่วงท้าย 3) การเสาะแสวงหาข้ อ มู ล อาจต้ อ งแบ่ ง ลั ก ษณะข้ อ มู ล เบื้ อ งต้ น ออกเป็ น 3 ลั ก ษณะ คื อ ข้อมูลจากเอกสารหรือสื่อทั่วไป ข้อมูลจากหน่วยงาน ในพื้นที่ และข้อมูลจากการสัมภาษณ์หรือสอบถาม คนในท้องถิ่น ข้อมูลทั้ง 3 ลักษณะ จะมีประโยชน์ ที่แตกต่างกัน เช่น ข้อมูลจากเอกสารหรือสื่อทั่วไป จะทำให้ ไ ด้ ม องเห็ น ภาพรวมที่ ก ว้ า งว่ า ควรจะสุ่ ม ลงพื้นที่ใดก่อนหลัง ข้อมูลจากหน่วยงานในพื้นที่ใน พื้นที่จะทำให้ได้ทราบสถานการณ์ในปัจจุบันว่ายังคง อยู่ในสภาพใด เส้นทางเป็นอย่างไร ส่วนข้อมูลจาก
การสั ม ภาษณ์ ห รื อ สอบถามคนในท้ อ งถิ่ น ถื อ เป็ น ข้ อ มู ล จริ ง ในพื้ น ที่ การค้ น พบสิ่ ง ใหม่ จะเป็ น ประโยชน์ตอ่ วงวิชาการ ดังนัน้ จึงอาจกล่าวได้วา่ ข้อมูล ทุกระดับล้วนมีประโยชน์ทั้งสิ้น จากปั ญ หา อุ ป สรรค และข้ อ เสนอแนะ ข้างต้น แสดงให้เห็นว่า ความสำคัญของการจัดเก็บ ข้ อ มู ล มี ปั จ จั ย ที่ เ ข้ า มาเกี่ ย วข้ อ งในหลายประการ เช่น เวลา การค้นหาแหล่งข้อมูล เส้นทาง ศักยภาพ ในการจั ด เก็ บ และการวิ เ คราะห์ และสุ ด ท้ า ย อาจเกี่ ย วข้ อ งกั บ งบประมาณในการดำเนิ น งาน ซึ่ ง มี ค่ า ใช้ จ่ า ยที่ เ กิ ด ขึ้ น เหนื อ ความคาดหมายและ ยากแก่การคาดคะเน เช่น ค่าจ้างเหมารถซึ่งเป็นไป ตามเส้นทางที่ยาก-ง่าย ค่าอาหารในการเดินทางที่ แตกต่างตามพื้นที่ แหล่งข้อมูลที่รับทราบในพื้นที่จริง ที่ จ ำเป็ น ต้ อ งสำรวจนอกแผนงาน ค่ า ใช้ จ่ า ยใน การเข้ า เก็ บ ข้ อ มู ล ในแต่ ล ะแห่ ง และค่ า นำทางที่ จำเป็นต้องใช้ในบางพื้นที่ และอื่นๆ
123
เอกสารอ้างอิง กระทรวงวัฒนธรรม, กรมศิลปากร, สำนักโบราณคดี. 2550. ศัพทานุกรม. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย. ธาดา สุทธิธรรม และธนสิทธิ์ จันทะรี. 2539. สถาปัตยกรรมล้านนา : อีสานเบิ่งล้านนา. ขอนแก่น : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, เอกสารอัดสำเนา. น. ณ ปากน้ำ. 2537. งานจำหลักไม้ ศิลปะและสถาปัตยกรรมไทย. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย. น. ณ ปากน้ำ. 2550. ความงามในศิลปะไทย. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ. นพรัตน์ ละมุล, บรรณาธิการ. 2547. ธรรมยาตรารักษาลำน้ำโขง. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ. นิวัฒน์ ร้อยแก้ว. 2547. ธรรมยาตรารักษาลำน้ำโขง. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ. แน่งน้อย ปัญจพรรค์ และสมชาย ณ นครพนม. 2536. วิญญาณไม้แกะสลักอีสาน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ เริงรมย์. บุญช่วย ศรีสวัสดิ์. 2547. พงศาวดารลาว. กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย. ปีดา สะหวัดวง. 1998. ศิลปะลายลาวโบราณ. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว : สถาบันค้นคว้าศิลปวัฒนธรรมแห่งชาติลาว ในโครงการความร่วมมือและช่วยเหลือจาก กองทุนโตโยต้า. ปรีชา พิณทอง. 2532. สารานุกรม ภาษาอีสาน-ไทย-อังกฤษ. อุบลราชธานี : ศิริธรรม ออฟเซ็ท. แวง พลังวรรณ, บรรณาธิการ. 2553. เวียงจันทน์ 450 ปี. อุบลราชธานี : ศิริธรรม ออฟเซ็ท. วิโรฒ ศรีสุโร. 2536. ส่วนประดับสถาปัตยกรรมอีสาน กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (ในเขตอำเภอเมือง) รายงานการวิจัย. ขอนแก่น: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, เอกสารอัดสำเนา. วิโรฒ ศรีสุโร และคณะ. 2540ก. สถาปัตยกรรมอีสาน “หลากภูมิธรรม นฤมิตกรรมอีสาน. ขอนแก่น : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, เอกสารอัดสำเนา. วิโรฒ ศรีสุโร และคณะ. 2540ข. สถาปัตยกรรมกลุ่มชนสายวัฒนธรรมไต-ลาว. ขอนแก่น : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, เอกสารอัดสำเนา. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. 2549. 5 นาที กับศิลปะไทย พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คพับลิเคชั่น. วิมลสิทธ์ หรยางกูล. 2541. การจัดทำรายละเอียดโครงการเพื่อการออกแบบสถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
125
ศักดิ์ชาย สิกขา. 2552. รายงานการวิจัย ศิลปะไม้แกะสลักในแถบลุ่มแม่น้ำโขง : การอนุรักษ์ และการประยุกต์ใช้ในงานออกแบบ. อุบลราชธานี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ส. พลายน้อย. 2552. สัตว์หิมพานต์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี. สงวน รอดบุญ. 2545. พุทธศิลปะลาว. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ : สายธาร.
126
บทสัมภาษณ์อ้างอิง คำผา ปันยาทอง. วัดและความเป็นมาแขวงไซยะบุรี. ชาวบ้านอาวุโสทายกวัดบ้านใหญ่ (อายุ 66 ปี). 60 หน่วย 6 บ้านใหญ่ แขวงไซยะบุรี, 21 สิงหาคม 2553. คำแสน จิตตะวง. กรรมวิธีการผลิตและการจำหน่ายงานไม้แกะสลักในหลวงพระบาง. ช่างแกะสลัก (อายุ 45 ปี). 5 หน่วย 1 บ้านผานม แขวงหลวงพระบาง, 22 สิงหาคม 2553. จันสี จิตตะวง. การจำหน่ายของทีระลึกประเภทงานไม้แกะสลักหน้าพูสี หลวงพระบาง. ผู้จำหน่ายสินค้าหน้าพูสี (อายุ 43 ปี). 5 หน่วย 1 บ้านผานม แขวงหลวงพระบาง, 22 สิงหาคม 2553. เซียงสุข กัมมะทิ. กรรมวิธีการผลิตและการจำหน่ายงานไม้แกะสลักในหลวงพระบาง. ช่างแกะสลัก (อายุ 47 ปี). 460 หน่วย 4 บ้านซาด แขวงหลวงพระบาง, 20 สิงหาคม 2553. ดอน อินทะวงสา. แหล่งไม้แกะสลักและตำนานวัดในแขวงสะหวันนะเขต. พนักงานขับรถรับจ้าง (อายุ 48 ปี). แขวงสะหวันนะเขต, 23 กันยายน 2553. บุนแทน ภีละจิด. ตำนานวัดสีสะหว่างวงส์และความเป็นมาแขวงไซยะบุร.ี ชาวบ้านอาวุโสทายกวัดสีสะหว่างวงส์ (อายุ 65 ปี). 312 หน่วย 19 บ้านสีเมือง แขวงไซยะบุรี, 21 สิงหาคม 2553. บำเพ็ญ ณ อุบล. ความเชื่อและการใช้โฮงฮด. ปราชญ์ชาวบ้านจังหวัดอุบลราชธานี. อำเภอเมือง จังหวัดยโสธร, 29 มิถุนายน 2552. พระครูเกษมธรรมานุวัตร. งานพุทธศิลป์การเรียกขานและการใช้งาน. เจ้าอาวาสวัดเกษมสำราญ และเจ้าคณะตำบลเขต 1 อำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี, 18 กันยายน 2551. ลุพัน (ไม่ทราบนามสกุล). การจำหน่ายสิ่งของ เครื่องใช้โบราณประเภทไม้แกะสลัก. เจ้าของกิจการร้านค้า “ร้านพ่อลุพัน”. บริเวณท่าเรือข้ามฟากบ้านวัดหนอง แขวงหลวงพระบาง, 20 สิงหาคม 2553. สังข์ทอง สุวรรณรังสี. ความเชื่อและการใช้โฮงฮด. เจ้าหน้าที่ประจำพิพิธภัณฑ์วัดสะตะสะหัสสาราม. นครหลวงเวียงจัน, 5 กรกฎาคม 2552. เสียงผา บูนบุรี. วัดและความเป็นมาแขวงไซยะบุรี. ชาวบ้านอาวุโสทายกวัดบ้านใหญ่ (อายุ 67 ปี) อาศัยอยู่ที่บ้านเลขที่ 3 หน่วย 1 บ้านใหญ่ แขวงไซยะบุรี, 21 สิงหาคม 2553.
127
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
ภาพกิจกรรมการสำรวจข้อมูล
ภาพกิจกรรม ที่นครหลวงเวียงจัน สปป.ลาว
วัดธาตุหลวง
ทางเข้า วัดธาตุหลวง
ไม้แกะสลักเก่าเก็บ ที่วัดธาตุหลวง
หน้าวัดพระแก้ว
พิพิธภัณฑ์วัดพระแก้ว
บริเวณโดยรอบวัดพระแก้ว
วัดสีสะเกด
บริเวณโดยรอบวัดสีสะเกด
หน้าวัดสีสะเกด
วัดองค์ตื้อ
พระไม้จำนวนมากในวัดองค์ตื้อ
ทีมงานในวัดองค์ตื้อ
133
โฮงฮด
บันได
งานตกแต่งปูนปั้นต่างๆ
ภาพกิจกรรม ที่แขวงหลวงพระบาง สปป.ลาว
ประชุมวางแผนงานในไทย
ที่คิวรถ จังหวัดหนองคาย
รถตู้ที่เหมาเดินทางเก็บข้อมูล
เส้นทางออกจากนครหลวงเวียงจัน
ร้านค้ารายทาง
จากเช้าถึงแขวงหลวงพระบางช่วงเย็น
บางส่วนในหลวงพระบาง
สัมภาษณ์ช่างแกะสลักบ้านช่างค้อง
เก็บข้อมูลร้านของเก่าบ้านช่างค้อง
134
เก็บข้อมูลด้วยภาพวาดลายเส้น
สัมภาษณ์และสอบถามข้อมูลร้านค้า
เก็บข้อมูลด้วยภาพถ่ายทีละชิ้น
ลงเรือเลาะโขงเก็บข้อมูลตามวัดต่างๆ
บุกทุกแห่งที่มีข้อมูลในหลวงพระบาง
เส้นทางไปวัดจอมเพ็ด วัดคกปาบ
วัดเซียงแมนไซยะเสดถาราม
เก็บข้อมูลช่างแกะที่บ้านผานม
บางวัดต้องถ่ายภาพผ่านช่องหน้าต่าง
ภาพกิจกรรม ที่แขวงไซยะบุรี สปป.ลาว
เส้นทางกันดารตลอด 140 กม.
รถประจำทางไปแขวงไซยะบุรี
ท่าแพข้ามฝากหลวงพระบาง-ไซยะบุรี
135
ภาพกิจกรรม ที่แขวงไซยะบุรี สปป.ลาว
เด็กบริเวณวัดบ้านป่งดงชอบถ่ายรูป
บันทึกภาพเก็บข้อมูลวัดบ้านป่งดง
วัดบ้านป่งดง
เข้าเขตตัวเมืองแขวงไซยะบุรี
ซุ้มประตูวัดสีสะหว่างวงส์
สิมสีสะหว่างวงส์
สัมภาษณ์ผู้นำชุมชน
การบันทึกข้อมูลในวัด
ปูนปั้นฤาษีหน้าสิม
วัดบ้านใหญ่
สัมภาษณ์ทายกวัดหน้าพระประธาน
สิมเก่า แหล่งเก็บโฮงฮด
136
ภาพกิจกรรม ที่แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว
ที่ด่านจังหวัดมุกดาหาร
รถตู้เหมาเดินทางเก็บข้อมูล
หน้าวัดทาดอิฮัง
ผู้หญิงต้องเปลี่ยนผ้าถุงในห้องนี้ก่อน
สิมวัดทาดอิฮัง
หอแจกเก่าวัดทาดอิฮัง
กุฏิเก่าวัดทาดอิฮัง
พระไม้ ในหอแจก
วัดโพนสะหว่างคันทะรามบ้านโพนสิม
เส้นทางถนนดินและหลุมตลอดทาง
หอแจกวัดจันทน์ทะสาโร เมืองจำพอน
หอไตรวัดจันทน์ทะสาโร เมืองจำพอน
137
สอบถามข้อมูลกับชาวบ้าน
ชาวบ้านกำลังฟังเทศน์บนหอแจก
บันไดเหราคายนาคหน้าสิมเก่า
ตัวอย่าง งานไม้แกะสลักสองฝั่งโขง ไทย-ลาว ในปัจจุบัน
138
139
140
ภาคผนวก ข
บันทึกการเดินทาง
ของแซบ
ความเหมือนบนความแตกต่าง ไทย-ลาว จารุสิทธิ์ เครือจันทร์/บันทึกศึกษาและเก็บตก
เช้าวันหนึง่ มีโทรศัพท์มาจากผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศักดิช์ าย สิกขา คณะศิลปประยุกต์และการออกแบบ มหาวิ ท ยาลั ย อุ บ ลราชธานี ชั ก ชวนไปศึ ก ษาศิ ล ป วั ฒ นธรรม ณ แขวงหลวงพระบาง ประเทศลาว หรื อ สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตย ประชาชนลาว เพื่อนบ้านติดรั้วทางฝั่งตะวันออกเฉียงเหนือของเรา นี่ เ อง เคยไปก็ ห ลายเที่ ย ว ไปดู นั่ น ดู นี่ ดู ค วามสวย ความงาม ดูอะไรต่อมิอะไร แต่ก็ไม่ค่อยได้อะไรเป็น ชิ้นเป็นอันนอกจากกลับมาแล้วก็พูดคุยโม้โอ้อวดว่าไป ต่างประเทศมา แล้วก็หิ้วข้าวของมาฝากพรรคพวก เท่าที่พอจะหาได้ แต่มาคราวนี้ค่อนข้างมีความมั่นใจ ที่จะเก็บเกี่ยวเรื่องราวมาเล่าสู่กันฟัง โดยเฉพาะเรื่อง ส้ ม ตำที่ เ ป็ น อาหารพื้ น บ้ า นขึ้ น ชื่ อ ของชาวอี ส าน แล้วฝากฝั่งทางลาวโน้นส้มตำที่ว่านี่ จะเป็นอาหาร ยอดฮิ ต เหมื อ นเรารึ เ ปล่ า อั น ที่ จ ริ ง ผมก็ ก ำลั ง เก็ บ ข้อมูลเพื่อทำวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกอยู่พอดี อาหาร พื้นบ้านก็เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ด้วย ก็ถือว่า เป็นโอกาสดีที่ได้ลงพื้นที่ภาคสนาม ผมเองตั้งโจทย์ไว้ ในใจว่าจะต้องหาความเหมือนและความแตกต่างของ ส้ ม ตำว่ า มั น เป็ น ยั ง ไงกั น แน่ เมื่ อ ได้ รั บ โทรศั พ ท์ ผ ม ทำท่ า ยั ก ไหล่ เ อี ย งคอนิ ด ๆ คิ ด ว่ า เท่ ห์ เ หลื อ หลาย
กวนประสาทหมาที่ ยื น อยู่ ข้ า งๆ เห็ น มั น หลั บ ตา ส่ า ยหน้ า มั น คงจะเอี ย นกั บ ลี ล าของผมเต็ ม ที จากคำชั ก ชวนของ ดร.ศั ก ดิ์ ช าย ผมไม่ ป ฏิ เ สธ รีบบอกแม่บ้านว่าจะต้องไปต่างประเทศ แม่บ้านก็ ดี ใ จหาย จั ด เตรี ย มเสื้ อ ผ้ า พร้ อ มทั้ ง พาสปอร์ ต จัดข้าวของจนเต็มกระเป๋าคงคิดว่าผมคงไปอยูเ่ ป็นเดือน ส่วนผมก็เตรียมอุปกรณ์เก็บข้อมูล วิญญาณนักวิชา การเข้ า สิ ง ร่ า งอี ก ครั้ ง หลั ง จากไม่ เ ป็ น โล้ เ ป็ น พาย มานาน และแล้วก็นัดพบกันเพื่อเดินทางข้ามฟากไป ทางฝั่งเวียงจันทร์ เช่นเคยนอกจาก ผศ.ดร.ศักดิ์ชาย (อาจารย์อด๊ ู ) แล้วก็มี ดร.ประทับใจ (อาจารย์ออ้ ม)สิกขา ศรีภริยาที่คอยเอาอกเอาใจไม่ห่าง อาจารย์เสกสันต์ ศรีสันต์ อาจารย์ประสิทธิ์ พ่วงบุตร จากฝั่งม.อุบลฯ ส่วนผมก็จากม.ขอนแก่น ถือว่าเป็นทีมงานที่เข้าขา กั น ดี เพราะตลุ ย ภาคสนามทั้ ง ในและต่ า งประเทศ ด้วยกันหลายต่อหลายครั้ง นอนค้างที่อุดร 1 คืน ตื่นเช้าเดินทางต่อไปหนองคายด้วยรถส่วนตัว ฝาก รถที่ ฝั่ ง หนองคาย กิ น ข้ า วกิ น ปลาที่ ฝั่ ง ไทยให้ เรี ย บร้ อ ย เพราะต่ อ ไปเราจะต้ อ งสั ม ผั ส กั บ อาหาร อีกประเภทหนึง่ ไม่รจู้ ะถูกปากหรือไม่กย็ ากจะคาดเดา เมื่อผ่านการตรวจหนังสือเดินทางแล้วก็มีรถตู้รับจ้าง ที่ติดต่อไว้ล่วงหน้ามารับที่ด่านฝั่งลาว มาถึงตอนนี้ ก็ประมาณเกือบเที่ยง เริ่มปรึกษาว่าจะเอายังไงกันดี เพราะการเดินทางจากเวียงจันทร์ไปหลวงพระบาง ระยะทางประมาณ 400 กว่ากิโลเมตร ต้องใช้เวลา เดินทางกว่า 10 ชั่วโมง ดังนั้นเรื่องปากท้องต้อง มาก่อนตุนอาหารให้อิ่มก่อน ว่าแล้วโซเฟอร์ชาวลาว ชื่ อ คำเผย ก็ แ วะร้ า นเฝอ (ก๋ ว ยเตี๋ ย ว) ร้ า นนี้
143
บรรยากาศค่อนข้างดี เมื่อสั่งเฝอแล้วทุกคนก็นั่งรอ คอย พูดคุยกันตามประสา ไม่นานนักเฝอก็มาเสริฟ ถึ ง โต๊ ะ ป๊ า ดโท้ … บางคนร้ อ งเสี ย งหลง โวยวาย เหมือนเห็นน้องเมียหนีไปกับไอ้หนุ่มข้างบ้าน จะกิน หมดหรื อ นี่ ช ามใหญ่ จ ริ ง ๆ เกื อ บๆ น้ อ งกะละมั ง ขนาดเล็กทีเดียว ทุกคนเริ่มถามหาว่าใครเป็นคนสั่ง ดร.ศั ก ดิ์ ช าย พู ด เสี ย งอ่ อ ยๆ ผมนี่ แ หละสั่ ง เอง เห็นคนขายถามว่าเอาใหญ่มั้ยผมก็ไม่รู้ว่ามันหมายถึง ชามหรือะไร ก็เลยบอกว่า ใหญ่ก็ใหญ่ กลัวพวกเรา ไม่อิ่มกัน มันก็เลยได้แบบนี้แหละแฮะๆ เห็นหลายคน ส่ า ยหน้ า ดร.ศั ก ดิ์ ช ายเลยพู ด ให้ ก ำลั ง ใจแกม หงุ ด หงิ ด ว่ า อดทนกิ น หน่ อ ยไหนๆก็ ไ ด้ สั่ ง มาแล้ ว อาจารย์เสกสันต์บ่นอุบอิบตามเคยว่าถ้าใหญ่ยังขนาด นี้แล้วถ้าพิเศษจะขนาดไหนฮึ พูดเสร็จทำท่ากอดชาม เฝอให้ผมถ่ายรูปไว้ แต่สังเกตดูคนลาวที่มากินก็ไม่ เห็นตื่นเต้นเหมือนกลุ่มพวกผม เห็นพวกเขามองมา ทำหน้ายิม้ ๆ แกมสงสัย ว่าพวกนีม้ นั โวยวายอะไรกัน(วะ) จะกินยังเรื่องมากอีก(อันนี้ผมคิดว่าคนลาวเขาคงคิด แบบนี้แน่ๆชัวร์) นอกจากชามใหญ่แล้วปริมาณเฝอ ก็มากด้วย นี่หละหนาเพราะความไม่รู้แท้ๆ สรุปว่าทุกคนกินกันไม่หมดทั้งๆ ที่หิวกันพอ สมควร คิดราคาก็ตกชามละ 80 บาทไทย ก็สมน้ำ สมเนื้อ ราคานี้เขาขายทั้งคนไทยคนลาว ไม่มีใครได้ เปรี ย บเสี ย เปรี ย บ คราวนี้ ก็ เ ริ่ ม เดิ น ทางกั น ละ (ส่วนเรื่องเด็ดๆในระหว่างเดินทางนั้นจะหาโอกาสเล่า ให้ ฟั ง คราวต่ อ ไป) ด้ ว ยรถตู้ ฮุ น ได รถยอดนิ ย มใน ลาวก็พาลัดเลาะตามแนวเขาผ่านแขวงผ่านเมืองต่างๆ บน : เฝอ(ก๋วยเตี๋ยว) อาหารยอดนิยมของชาวลาว ช่วงเดินทางก็แวะซื้อนั่นซื้อนี่ไปเรื่อย ถ่ายภาพบ้าง ล่าง : เฝอกับอาจารย์เสกสันต์ กิ น ข้ า วบ้ า งตามสะดวก ไปจนถึ ง หลวงพระบาง
144
เกือบเที่ยงคืน เข้าที่พักนอนหมดสภาพ น้ำก็ไม่อาบ เล่ามาถึงตอนนี้ยังไม่เห็นเรื่องส้มตำเลย อย่าพึ่งบ่น เลยครับของดีมันต้องอยู่ตอนท้ายๆนะครับ เรื่องมันก็ เป็นอย่างนี้แหละครับท่านสารวัตร รุ่ ง เช้ า อี ก วั น แวะกิ น อาหารเช้ า ก๋ ว ยจั๊ บ (ข้าวเปียก)รองท้องคนละชาม ทีมงานและผมก็ออก เก็ บ ข้ อ มู ล ภาคสนามตามวั ด ศาสนสถานต่ า งๆ ของหลวงพระบาง ทั้ ง เดิ น ทั้ ง นั่ ง เรื อ ล่ อ งตาม ลำน้ ำ โขง ถ่ า ยภาพ สเกตต์ ภ าพ จดบั น ทึ ก บ้ า ง เก็บข้อมูลกันละเอียดลออ จนทุกคนเริ่มล้าก็เกือบมืด และก็ ม าพบส้ ม ตำจานแรกที่ ห ลวงพระบางก็ ต รง ตลาดมืด(ตลาดแลง) นี่แหละบริเวณตลาดจะเป็นซอย เล็กๆ ยาวประมาณ 50 เมตร แม่ค้าจะวางแผงขาย อาหาร 2 ข้าง ทั้งอาหารคาว หวาน ส้มตำปิ้งย่าง ครบครัน ตรงกลางจะเป็นเส้นทางเดินพอสวนทาง กันไปมาได้เท่านั้น ด้วยความเหนื่อยล้า ดร.ประทับใจ (อาจารย์อ้อม) ผู้กำกับดูแลดร.ศักดิ์ชาย อาสาจ่าย ตลาด ผมกั บ อาจารย์ เ สกสั น ต์ ก็ เ ลยขอพ่ ว งไปด้ ว ย สั ง เกตว่ า อาหารก็ ค ล้ า ยๆ อาหารพื้ น บ้ า นของไทย ส่วนส้มตำนั้นค่อนข้างแปลก เพราะของลาวจะมีส่วน ผสมแตกต่างจากไทยก็ตรงที่ส่วนผสมจะใช้น้ำปลากับ กะปิ น้ ำ ตาลและมะนาวจะใส่ แ บบไม่ ยั้ ง รวมทั้ ง ผงชู ร สก็ ใ ส่ จ นคนไทยผวาเลยหละ รสชาติ จ ะออก หวานอมเปรีย้ ว มีทง้ั มะเขือเทศ(หมากเล้ม) มะเขือสวน ใส่ ล งไปเยอะมาก มื้ อ ค่ ำ วั น นั้ น อาจารย์ อ้ อ มซื้ อ ดะ จนต้ อ งหอบกั น พะรุ ง พะรั ง เหมื อ นพวกเขมรอพยพ แม้จะซื้อมากมายขนาดนั้น สิ่งที่อาจารย์อ้อมภูมิใจ ที่ สุ ด น่ า จะเป็ น ส้ ม ตำนี่ แ หละอุ ต ส่ า ห์ ห อบหิ้ ว ด้ ว ย ตนเอง เป็นกล่องโฟมขนาดเล็กพอเหมาะ พอวางบน
บรรยากาศตลาดแลง หลวงพระบาง ร้านส้มตำ กับส้มตำจานแรก และทีมงานกับมื้อค่ำ
145
ร้านส้มตำในซอยเล็กๆ ใกล้ที่พัก
โต๊ ะ อาจารย์ อ้ อ มก็ เ ริ่ ม โปรโมทส้ ม ตำเป็ น เมนู แ รก ชักชวนทุกคนชิม จานแรกอาจารย์อ้อม กับอาจารย์ ประสิทธิ์ รู้สึกเอร็ดอร่อยมากทั้งที่กินไปบ่นไปว่ามัน หวานมากเกินไป หมดจานแรก อาจารย์อ้อมขอต่อ อีกไปสั่งด้วยตัวเอง เดินถือกล่องโฟมกลับมาบ่นกะ ปอดกะแปดว่าอุตส่าห์บอกให้ลดน้ำตาลลง แต่ดันลืม บอกให้ลดกะปิ คราวนี้ก็เลยได้ส้มตำลาวรสกะปิแบบ เต็ ม ๆ แต่ ป ลาร้ า เหมื อ นบ้ า นเรามี มั้ ย มี ค รั บ มี
146
ปลาร้าที่เขาใช้จะเป็นน้ำปลาร้าดิบๆ ใส่ขวดใบเล็กๆ แทบหาไม่เจอ ไม่ใส่ในไหหรือโหลใบใหญ่ๆ ตั้งโชว์ เหมือนอีสานบ้านเรา ถ้าพูดถึงรสชาติโดยรวมส้มตำ ที่ กิ น วั น นี้ จ ะออกรสหวาน อมเค็ ม กะปิ นิ ด ๆ ส่ ว น มะละกอฝานจนบางเฉียบ ตักใส่จานแทบเละเป็นวุ้น ราคาก็ 10000 กีบ 40 บาทไทย ส้มตำมื้อแรก ผ่านไปแล้วนะครับ
กินเสร็จพากันช็อปปิ้งที่ตลาดมืด แล้วกลับ ที่ พั ก พอรุ่ ง ขึ้ น อี ก วั น วั น นี้ อ าจารย์ ศั ก ดิ์ ช ายกั บ อาจารย์ อ้ อ มเดิ น ทางไปเก็ บ ข้ อ มู ล ที่ แ ขวงไซยะบุ รี ก็เลยเหลือผมกับอาจารย์เสกสันต์อาจารย์ประสิทธิ์ เดิ น ซ้ อ นท้ า ยตระเวนเก็ บ ข้ อ มู ล ที่ ห ลวงพระบางกั น 3 คน หลังจากเดินเก็บข้อมูลศิลปวัฒนธรรมกันจน เมื่ อ ยก็ ไ ด้ ลิ้ ม รสส้ ม ตำอี ก ครั้ ง คราวนี้ เ ป็ น ร้ า นใน ซอยเล็ ก ๆ เดิ น หาจนเจอ ก็ สั่ ง ส้ ม ตำกั บ อาหาร ประเภทอื่นๆ ด้วยความสาระแนของผม ก็ต้องส้มตำ นี่ ล ะครั บ ว่ า เขาจะเหมื อ นที่ ต ลาดเมื่ อ วานหรื อ ไม่ เอาเป็นว่าเขาให้ความสำคัญกับส้มตำมั๊ย ที่ร้านนี้จะ ขายข้าวปุ้น(ขนมจีนน้ำยา)และอาหารแห้งอื่นๆบ้าง ส้ ม ตำก็ มี แต่ เ ขาจะจั ด วางไว้ บ นโต๊ ะ เล็ ก ๆ ทั้ ง ครก สาก และเครื่ อ งปรุ ง แออั ด กั น อยู่ อี ก ที่ ห นึ่ ง จะไม่ เ อามารวมกั น เหมื อ นของไทยที่ ใ ห้ ส้ ม ตำเป็ น พระเอกของร้ า น เครื่ อ งปรุ ง แต่ ล ะอย่ า งจะใส่ ใ น ตะกร้ า ใบเล็ ก ๆ วางข้ า งกั น ไม่ มี ตู้ ก ระจกไว้ โ ชว์ เครื่ อ งปรุ ง หรื อ เครื่ อ งเคี ย งเหมื อ นของไทย แม่ ค้ า เป็นสาววัยรุ่นหน้าตาน่ารักยิ้มแย้มแจ่มใส เล่นเอา อาจารย์ประสิทธิ์ อาจารย์เสกสันต์ไม่อยากไปไหน การสับมะละกอจะใช้เหล็กขูดให้มะละกอเป็นเส้นยาวๆ ร้านนี้จะใส่ปลาร้า น้ำปลา จะเน้นความเปรี้ยวเป็น พิเศษ รสชาดก็ถือว่าใช้ได้สำหรับผู้ที่ชอบรสเปรี้ยว แบบจัดๆหน่อย ขอบอกอีกนิดว่าเครื่องปรุงรสของ ชาวลาวจะเป็นผลิตภัณฑ์ของไทยทั้งนั้น ไม่ว่าจะอยู่ กลางป่ากลางเขา สินค้าไทยยอดนิยมจริงๆ ที่ร้านนี้ บังเอิญมีชาวลาววัยกลางคนแวะมาซื้อส้มตำพอดีก็ เลยถามว่า คนลาวกินส้มตำหรือตำหมากฮุงมานาน หรือยัง เขาตอบว่าคนลาวก็กินมาตั้งแต่ปู่ ย่าแล้ว
ร้านส้มตำริมแม่น้ำโขง บริเวณนี้มีเพียงร้านเดียว จะเห็นโต๊ะวางชุดส้มตำแยกต่างหาก ที่มุมด้านล่างขวาของภาพ
นั่นก็แสดงว่าส้มตำนี่ชาวลาวก็กินมานานพอๆกับคน ไทยอีสานเหมือนกันเด้อ สิบอกให่ ต่อมาอีกวันก็พบอีกร้านหนึง่ แถวๆ ริมแม่นำ้ โขง ตรงนี้ก็มีร้านเพียงร้านเดียว จะเป็นร้านขายอาหาร พื้ น บ้ า นคล้ า ยแบบของไทย สำหรั บ ผู้ มี ร ายได้ น้ อ ย หรื อ ผู้ ที่ ม ารอเรื อ ข้ า มฟาก เหตุ ที่ พ บวั น ละร้ า นนี่ ก็
147
เพราะว่ า ที่ ห ลวงพระบางหาร้ า นส้ ม ตำยากจริ ง ๆ ถ้ า จะมี ส่ ว นใหญ่ จ ะอยู่ ใ นซอยเล็ ก ๆ นานๆ เดิ น จน เมื่อยค่อยเจอร้านหนึ่ง ไม่ใหญ่โต หรือตั้งอยู่ริมถนน มากมายเหมือนที่เมืองไทย ร้านริมถนนที่เจอส่วน มากจะเป็ น ร้ า นเฝอ ร้านข้าวปุ้น(ขนมจีน)ข้า วซอย และก็ร้านข้าวเปียก(ก๋วยจั๊บ)ที่เหลือก็จะเป็นภัตตาคาร ขายอาหารฝรั่ง ร้านที่พบนี้จะขายอาหารคล้ายแบบ พื้นบ้านไทยมาก คือมีไก่ย่าง ปลาดุกย่าง เนื้อย่าง และของทอดอีกจำนวนหนึ่ง ซึ่งก็เหมือนเดิมคือการ จัดวางชุดส้มตำเขาจะเอาไปวางไว้อีกที่หนึ่ง ห่างกัน พอสมควร มีโต๊ะเล็กวางไว้แบบหาที่ว่างไม่เจอ เวลา จะตำส้ ม ตำที ก็ ต้ อ งเดิ น มาตำให้ ลู ก ค้ า ต่ า งหาก ดูๆแล้วก็แปลกไปอีกแบบ ไม่มีป้ายบ่งชี้ว่าเป็นร้าน ส้มตำ หรือโฆษณาว่ามีส้มตำ(ตำหมากฮุง)พิสดาร แบบต่างๆ นาๆ เหมือนของไทย เมื่อเสร็จภารกิจ 3 วัน ที่หลวงพระบางแล้ว ก็พากันเดินทางกลับมาที่เวียงจันทร์ ระหว่างแวะพัก กลางทางที่ บ้ า นกิ่ ว กะจั บ ก็ พ บร้ า นอาหารที่ มี ส้ ม ตำ ขายอี ก ร้ า นหนึ่ ง ที่ ร้ า นนี้ มี อ าหารหลากหลาย รวมทั้ ง อาหารตามสั่ ง ที ม งานต่ า งแยกย้ า ยกั น สั่ ง อาหาร ส่ ว นผมก็ ส าระแนอยู่ กั บ ส้ ม ตำอี ก เช่ น เคย ผมก็ พ ยายามเมี ย งมองหาส้ ม ตำ กั บ พวกอาหาร สำเร็จรูปอื่นๆ ก็หาไม่เจอ จนนึกว่าไม่มีส้มตำขาย ซะแล้ว ที่ไหนได้เขาวางไว้อีกมุมหนึ่งของร้านตั้งอยู่ อย่ า งโดดเดี่ ย ว ถ้ า อยากกิ น เขาขายอาหารทางฝั่ ง โน้นเสร็จ แล้วเขาถึงจะเดินมาตำให้ ก็ดูคล้ายกับที่ หลวงพระบาง คือวางไว้คนละมุม แยกต่างหากกับ อาหารประเภทอื่น แม้ว่าที่หลวงพระบางจะวางไว้ ห่างกันแต่ก็ไม่ห่างกันมากขนาดนี้คือว่าอยู่คนละมุม
148
ร้านอาหารบริเวณที่พักรถบ้านกิ่วกะจับ
ที่บ้านกาสี การนึ่งข้าวเหนียวด้วยมวยนึ่งข้าวไม้ และสังเกตดูชุดส้มตำข้างๆ จะถูกจัดวางไว้อีกที่ต่างหาก แยกจากอาหารประเภทอื่น
ของร้านเลยทีเดียว ตอนเวลาตำผมเฝ้าสังเกตดูเห็น เขาตักผงขาวๆ เกือบเต็มทัพพี ตอนแรกนึกว่าน้ำตาล ผมเลยถามว่านั่นอะไร เขาตอบว่าแป้งนัว(ผงชู ร ส) ผมงี้ ร้ อ งเสี ย งหลงบอกว่ า เอาออกอี ก หน่ อ ยได้ มั๊ ย เขามองหน้าผมงงๆ แล้วก็เทออกนิดหนึ่ง ผมก็เลย บอกอี ก รอบว่ า เอาออกเยอะๆเลย คนขายก็ ใ จดี ท ำ ตามผมบอก เฮ้อเล่ามานีย่ งั ขนลุกเลย อะไรจะขนาดนัน้ เสร็ จ แล้ ว เขาก็ ป รุ ง และตำตามที่ ผ มบอก ถึ ง ตอนนี้ พวกชาวต่ า งประเทศมามุ ง ดู กั น ใหญ่ ถ่ า ยรู ป กั น จ้าละหวั่น พอเสร็จก็ตักใส่จานผมก็เลยยกมาวางที่ โต๊ะกินข้าว พร้อมกับอาหารอื่นๆ ที่ทยอยนำมาส่งให้ รสชาติก็เป็นอีกแบบออกจืดๆ เผ็ดๆ ยังไงบอกไม่ถูก แต่ก็กินกันแซบเพราะความหิว เมื่อผ่านทางมาได้สักระยะก็พบอีกร้านหนึ่ง ที่บ้านกาสีก็มีส้มตำขายเหมือนกัน และก็เช่นเดียว กับที่อื่นๆ ส้มตำจะถูกวางไว้อย่างโดดเดี่ยว อยากกิน เขาถึ ง จะเดิ น มาตำให้ ดู ๆ แล้ ว ก็ ค่ อ นข้ า งแปลก
ในเมื่อส้มตำก็เป็นอาหารเช่นเดียวกัน แต่จะถูกกันไว้ คนละที่ ใกล้บ้างไกลบ้าง ก็เคยถามว่าทำไมวางไว้ ห่ า งแบบนี้ เขาตอบว่ า คนจะได้ ม องเห็ น ชั ด ๆ บางคนบอกว่าถ้าเอาไปรวมกับอาหารประเภทอื่นจะ ไม่มีที่วาง เออก็น่าจะใช่นะ แต่เวลาตำให้ลูกค้านี่ซิ ต้ อ งเดิ น มาแล้ ว ต้ อ งทิ้ ง อาหารประเภทอื่ น ไว้ อี ก ที่ ก็เลยดูขัดกันยังไงก็ไม่รู้แฮะ ไม่เข้าใจ งงนะ และแล้วก็มาถึงนครเวียงจันทร์จนได้ ก็มืดค่ำ พอดี เข้าทีพ่ กั หลับแบบหมดสภาพ น้ำไม่อาบอีกตามเคย ก็ถือว่าการได้ไปคราวก็มีอะไรมาเล่าสู่กันฟังบ้าง ดี กว่าอยู่เปล่าๆ เมื่อมาถึงเมืองไทย สิ่งแรกที่อาจารย์ ศักดิ์ชาย วางเมนูไว้ก็คือไก่ย่างเขาสวนกวางเท่านั้น และก็สมหวังเมื่อมาถึงอำเภอเขาสวนกวาง (ดินแดน ป่าช้าไก่) จังหวัดขอนแก่น ความสดชื่นก็หวนกลับมา อีกครั้ง ไก่ย่างตัวงามถูกสั่งมาพร้อมกับลาบก้อยเมนู ของอาจารย์ประสิทธิ์ และที่ขาดไม่ได้ก็คือตำบักฮุง เอ้ อ …จั ง ซี่ ไ ค่ แ หน่ เป็ น คำพู ด ของอาจารย์ ศั ก ดิ์ ช าย
149
หลั ง ไก่ ย่ า งชิ้ น แรกผ่ า นลำคอ ส่ ว นอาจารย์ อ้ อ มก็ สาระวนกั บ การจั ด เก็ บ file งานของแต่ ค นลง คอมพิวเตอร์ และเข้าร่วมวงกินกันเอร็จอร่อย ทั้งเหนื่อยทั้งหิวและก็ได้กินสมใจอยากจริงๆ Trip นี้ สุ ด ยอด ทุ ก คนต่ า งพู ด เป็ น เสี ย งเดี ย ว พร้อมทั้งรินจอร์นเดินป้ายแดง ผสมโซดาดูสีสดใส แจกจ่ายกัน ส่วนอาจารย์เสกสันต์ก็ต้องรับหน้าที่เป็น โซเฟอร์ ส่วนผมเหรอแฮะๆ ไปไหนไปด้วย...อยู่แล้ว น.ก.(นำกัน) ต้องขอขอบพระคุณผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศั ก ดิ์ ช าย สิ ก ขา ดร. ประทั บ ใจ สิ ก ขา อาจารย์เสกสันต์ ศรีสนั ต์ อาจารย์ประสิทธิ์ พ่วงบุตร จากคณะศิลปประยุกต์และการออกแบบ มหาวิทยาลัย อุ บ ลราชธานี ที่ ค อยให้ ก ำลั ง ใจ ตลอดจนชาวลาว ผู้มากด้วยน้ำใจ สวัสดีครับ คราวหน้าเจอกันใหม่
บรรยากาศ ณ เขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น
150
ประวัติผู้เขียน ชื่อผู้เขียน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศักดิ์ชาย สิกขา หน่วยงานที่สังกัด : สาขาวิชา การออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะศิลปประยุกต์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี E-mail : fasakcsi@ubu.ac.th, มือถือ 081-7900290 การศึกษา : ศิลปประยุกต์ดุษฎีบัณฑิต (ศป.ด.) สาขาวิชา การออกแบบผลิตภัณฑ์ ผลงานวิจัย : เช่น
1) ผูอ้ ำนวยการชุดโครงการวิจยั : เรือ่ ง การพัฒนา งานหัตถกรรมไม้ไผ่ในภาคอีสาน หัวหน้าโครงการวิจัยย่อย : การออกแบบและพัฒนาเตาอบไม้ไผ่ที่เหมาะสมกับงาน หัตถกรรม (สำนักงานคณะกรมการวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2552) 2) แนวทางการพัฒนาของที่ระลึกแถบลุ่มน้ำโขง : ศึกษากรณีบ้านกุ่ม บ้านตามุยบ้านหนองผือน้อย บ้านท่าล้ง ตำบลห้วยไผ่ อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี (บูรณาการโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี ปี พ.ศ. 2549) 3) การศึกษากระบวนการถ่ายทอดความรู้ ทางการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับกลุ่มอาชีพในภาค อีสาน (ทุนนักวิจยั หน้าใหม่ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปี พ.ศ. 2551) งานสำเร็จ ปี พ.ศ. 2553
4) การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ เครื่องจักสานร่วมสมัย (ตามโครงการจัดตั้งเครือข่าย องค์ความรู้ชุมชน KBO จังหวัดอุบลราชธานี ปี พ.ศ. 2550) 5) แนวทางการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชมุ ชน : ศึกษากรณี ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีค่าคะแนน 1-2 ดาว (ตามโครงการจัดตั้งเครือข่ายองค์ความรู้ชุมชน KBO จังหวัดศรีสะเกษ ปี พ.ศ. 2550) 6) ศิลปะไม้แกะสลักในแถบลุ่มแม่น้ำโขง : การอนุรักษ์และการประยุกต์ใช้ในงานออกแบบ (บูรณาการ โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปี พ.ศ. 2542) 7) การพัฒนาผลิตภัณฑ์นวัตกรรมในเชิงพาณิชย์ : กรณีศึกษาสถานประกอบการ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรม ภาคที่ 7 จังหวัดอุบลราชธานี (บูรณาการกับโครงการของ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ในงบประมาณ ปี พ.ศ. 2553)
ผลงานการเขียนหนังสือ : เช่น การจัดประชุมแบบมีสว่ นร่วม เพือ่ การพัฒนา : AIC, ค้ำคูณผ้าขาวม้า ภูมปิ ญ ั ญาสูส่ ากล, การออกแบบและพัฒนาพิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน, ต่อยอดภูมิปัญญา หัตถกรรมพื้นบ้าน, ศิลปะไม้แกะสลักในแถบลุ่มแม่น้ำโขง, ภูมิปัญญาท้องถิ่น, รูปแบบและวิธใี ช้เครือ่ งมือ อุปกรณ์ทำประมงในแถบลุม่ น้ำโขง, การพูด การจัดกิจกรรม แบบมีส่วนร่วม เป็นต้น