คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562

Page 1




ค�ำน�ำ การศึกษามีคุณค่าประมาณการมิได้ ต่อบุคคลและสังคมโดยส่วนรวมปัจเจกบุคคล จึงควรได้รับการศึกษาที่สมบูรณ์ที่สุด ตามศักยภาพแห่งตนและศักยภาพของรัฐ วิทยาลัยชุมชนสตูลจัดตั้งขึ้นเพื่อสร้างสรรค์โอกาสทางการศึกษาให้สมาชิกของชุมชน ได้พฒ ั นาตนเอง ในสาขาวิชาทีจ่ ะเพิม่ คุณค่าแห่งชีวติ และศักยภาพของชุมชนในมิตติ า่ งๆ ทัง้ ด้านเศรษฐกิจและด้านสังคมอย่างยัง่ ยืน เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นไปตามนโยบาย ปรัชญา วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ของวิทยาลัยชุมชน วิทยาลัยชุมชนสตูล จึงได้จัดท�ำคู่มือนักศึกษาขึ้น เพื่อให้นักศึกษาได้ใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการศึกษาของตนเอง ให้เป็นไปตามคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ซึง่ ในคูม่ อื เล่มนีป้ ระกอบด้วยความหมายสัญลักษณ์ของวิทยาลัยชุมชน หลักสูตรอนุปริญญา กิจกรรมการเรียน การสอน ระเบียบการวัดประเมินผล อันเป็นแนวทางให้นักศึกษาเกิดความส�ำเร็จทางด้านการศึกษาตามที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้ วิทยาลัยชุมชนสตูล จึงหวังว่านักศึกษาจะได้ใช้คมู่ อื เล่มนีเ้ ป็นแนวทางในการวางแผนการศึกษาของตนเองให้เกิดประโยชน์ สูงสุดต่อไป

วิทยาลัยชุมชนสตูล มิถุนายน 2562


สารบัญ สารจากผู้บริหาร ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของวิทยาลัยชุมชนสตูล ส่วนที่ 2 กฎระเบียบต่างๆ ของวิทยาลัยชุมชนสตูล - ประกาศ - ระเบียบ - ข้อบังคับ - การบริการของกลุ่มงานต่างๆ - แนวปฏิบัติส�ำหรับนักศึกษา ส่วนที่ 3 หลักสูตรการเรียนการสอน - หลักสูตรอนุปริญญา ส่วนที่ 4 เพลงวิทยาลัยชุมชน....... ของคนไทย คณะผู้จัดท�ำ

4 5 10

49

141 143


สารจากผู้บริหาร “พัฒนาคน พัฒนาชุมชน” เป็นภาระหน้าที่ของวิทยาลัย ชุมชนสตูล ซึง่ เป็นสถาบันการจัดการศึกษาระดับอนุปริญญาหรือต�ำ่ กว่า ปริ ญญาตรี รู ปแบบวิ ท ยาลั ย ชุ มชน สั ง กั ด กระทรวงอุ ด มศึ ก ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม โดยมีวตั ถุประสงค์เพือ่ ให้การศึกษา วิจยั ให้บริการทางวิชาการ ท�ำนุบำ� รุงศิลปวัฒนธรรม ส่งเสริมการเรียนรู้ ตลอดชีวิต สร้างความเข้มแข็งของท้องถิ่นและชุมชน การพัฒนา ที่ยั่งยืน เสริมสร้างศักยภาพบุคคลสอดคล้องกับความต้องการ ของ ท้องถิ่นและชุมชนสู่การพัฒนาประเทศต่อไป วิทยาลัยชุมชนสตูลให้โอกาสกับผู้เรียนโดยจัดการเรียน การสอนใน 6 สาขาวิชา คือ 1) สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 2) สาขาวิชา การปกครองท้องถิ่น 3) สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน 4) สาขาวิชา การท่องเทีย่ ว 5) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ 6) สาขาวิชาการจัดการ นักศึกษาทีเ่ ข้าใหม่ควรศึกษาคูม่ อื การศึกษาวิทยาลัยชุมชน สตูล ปีการศึกษา 2562 ฉบับนี้ให้เข้าใจถึงองค์ประกอบและเกณฑ์ การศึกษา รวมถึงการประเมินผลทีส่ ง่ ผลต่อการจบหลักสูตร เพือ่ ออกไป ศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพที่สุจริต สร้างความก้าวหน้าให้ตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติตอ่ ไป และขออ�ำนวยพรให้นกั ศึกษา ทุกคนประสบความส�ำเร็จ ตามที่มุ่งหวังค่ะ (ดร.วรรณดี สุธาพาณิชย์) ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล มิถุนายน 2562

4

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


ส่วนที่ 1

ข้อมูลทั่วไปของวิทยาลัยชุมชนสตูล

5


เครื่องหมายวิทยาลัยชุมชนสตูล วิทยาลัยชุมชน พัฒนาคน พัฒนาท้องถิ่น จุดกลาง สื่อถึง ศูนย์รวมความร่วมมือ ความเป็นน�้ำหนึ่งใจเดียวของชุมชน ช่องว่าง สื่อถึง การศึกษา ความรู้ การเติมเต็มโอกาสทางการศึกษา รูปทรงทางสถาปัตยกรรมไทย สื่อถึง การบูรณาการวิถีปัญญาและวิถีไทย เส้นโค้งที่รองรับด้านล่าง สือ่ ถึง การศึกษาตลอดชีวติ การสร้างบุคลากรทีม่ คี ณ ุ ภาพ ให้แก่ชุมชนและประเทศชาติ

6

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


ความเป็นมาของวิทยาลัยชุมชนสตูล

กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาต�ำ่ กว่าปริญญารูปแบบวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. 2546 ก�ำหนดให้ “วิทยาลัย ชุมชนเป็นสถานศึกษาของรัฐที่บริหารจัดการโดยชุมชน” ดังนั้นหลักการจัดตั้งและการด�ำเนินงานวิทยาลัยชุมชน ใช้หลักการตาม แนวทางการปฏิรูปการศึกษา และมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับวิทยาลัยชุมชน เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2545 โดยการจัดตั้งและ การด�ำเนินงานจะต้องเกิดจากความต้องการ และความพร้อมของชุมชนที่จะบริหารจัดการตามปรัชญาและหลักการของวิทยาลัย ชุมชน โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด จัดการศึกษาในระบบเครือข่าย และมีความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ของชุมชนจังหวัด ด้วยเหตุผลดังกล่าว จังหวัดสตูล จึงได้รับการประกาศจัดตั้งเมื่อ วันที่ 8 ตุลาคม 2547 โดยได้รับความยินยอมจากเขต พื้นที่การศึกษาจังหวัดสตูล และอ�ำเภอเมืองสตูล มอบอาคารและที่ดินให้ตามล�ำดับ และได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาล เพื่อปรับปรุงซ่อมแซมอาคาร และด�ำเนินงานตามพันธกิจตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.2549 – ปัจจุบัน

สถานที่ตั้งวิทยาลัยชุมชนสตูล

ส�ำนักงานวิทยาลัยชุมชนสตูล ตัง้ อยูท่ ี่ 271 หมูท่ ี่ 4 ถนนยนตรการก�ำธร ต�ำบลเกตรี อ�ำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล 91140 บนพื้นที่ 18 ไร่ โทรศัพท์ 074-711958 โทรสาร 074-772116

สีประจ�ำวิทยาลัยชุมชนสตูล

คือ สีเหลือง ฟ้า สีเหลือง สีฟ้า

หมายถึง คุณธรรมจริยธรรม หมายถึง การเรียนรู้ที่กว้างไกล ความรู้ ความคิดสร้างสรรค์

ปรัชญาของวิทยาลัยชุมชน

วิทยาลัยชุมชนมีปรัชญาเบื้องต้นที่เชื่อว่าบุคคลทุกคนมีศักยภาพอยู่ในตัว ถ้าเขามีโอกาสและได้รับค�ำแนะน�ำในทางที่ ถูกต้องเหมาะสม เขาจะสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองได้อย่างเต็มที่ และเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ายิ่งต่อชุมชนและสังคม

หลักการของวิทยาลัยชุมชน

1) การให้โอกาสทางการศึกษาแก่คนทุกเพศ วัย ทุกสถานะทางเศรษฐกิจสังคม 2) การมีสว่ นร่วมของชุมชน ให้ได้มสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษา ร่วมตัง้ โจทย์การพัฒนาและมีความเป็นเจ้าของวิทยาลัยชุมชน 3) การใช้ทรัพยากรชุมชน โดยสามารถระดมทรัพยากร/สรรพก�ำลังทุกภาคส่วนทั้งภายในและภายนอกชุมชน ทั้งนี้ จะต้องอยู่ภายใต้มิติของความยืดหยุ่น (Flexible) ยึดโยงอุปสงค์ (Demand Side) และตอบสนองเร็ว (Responsive)

วิสัยทัศน์วิทยาลัยชุมชน

เป็นวิทยาลัยชุมชนชั้นน�ำของภาคใต้ มุ่งสร้างองค์ความรู้เพื่อชุมชน ลดความเหลื่อมล�้ำทางสังคม อยู่ร่วมประชาคม อาเซียนบนพื้นฐานของความเป็นไทย STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

7


พันธกิจวิทยาลัยชุมชน

1. พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาและบริการวิชาการ เพือ่ สร้างคน สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างชุมชนเข้มแข็งอย่างยัง่ ยืน ในประชาคมอาเซียน 2. ส่งเสริมงานวิจัยเพื่อเพิ่มศักยภาพการจัดการศึกษา 3. สืบสาน ทะนุ บ�ำรุง ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญา และมรดกของท้องถิ่น 4. พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์กร

เอกลักษณ์

สถาบันพัฒนาคน เสริมสร้างชุมชนเข้มแข็ง

อัตลักษณ์

พัฒนาทักษะชีวิต มีจิตสาธารณะ

ค่านิยมร่วม

มีจิตบริการ ท�ำงานเป็นทีม

วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา

1. จัดการศึกษาระดับต�ำ่ กว่าปริญญา และส่งเสริมการเรียนรูท้ หี่ ลากหลายเพือ่ ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการของ ชุมชน เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2. ให้บริการวิชาการและฝึกอบรมแก่ประชาชนเพือ่ ส่งเสริมให้มกี ารพัฒนาอาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวติ ของคนในชุมชน

นโยบายของสภาวิทยาลัยชุมชนสตูล

เสริมสร้างประสิทธิภาพการบริหารงานวิทยาลัยชุมชนที่ยึดประชาชน และความต้องการของชุมชนเป็นหลัก 1. ส่งเสริมสนับสนุนการด�ำเนินงานที่ยึดหลักการท�ำงานเป็นทีม 2. ส่งเสริมสนับสนุน สร้างพันธมิตร และการจัดการศึกษาเป็นระบบเครือข่ายที่มีเอกภาพ 3. ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร โดยยึดหลักการเข้าถึงและประโยชน์ของผูเ้ รียนจะได้รบั สูงสุด 4. พัฒนาปรับพื้นฐานความรู้ของผู้เรียนให้ถึงเกณฑ์มาตรฐานที่หลักสูตรก�ำหนด 5. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา การวัดผล การประเมินผล ทีค่ ำ� นึงถึงคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาตามหลักสูตร 6. ส่งเสริม สนับสนุนการส�ำรวจ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ความต้องการ สถานการณ์ในชุมชน และการด�ำเนินงานวิชาการ วิทยาลัยชุมชนและเครือข่ายทั้งระบบ 7. ส่งเสริม สนับสนุน ท�ำนุ บ�ำรุง ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น 8. ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรม พัฒนา และบริการนักศึกษา 8

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


รายนามคณะกรรมการสภาวิทยาลัยชุมชนสตูล นายวรัตน์ แสงเจริญ นายสัมฤทธิ์ เลียงประสิทธิ์ ผศ.ดร.ป้องศักดิ์ ทองเนื้อแข็ง ดร.ทวีศักดิ์ พุฒสุขขี นายวิทชัย อรุณอร่ามศักดิ์ นายเหมพงศ์ ทวีกาญจน์ นางช่อมาลี นาคบรรพต นายอุสมาน บินต�ำมะหงง นายอับดลมานับ หลงหัน ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยชุมชนสตูล

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

9


ส่วนที่ 2

ประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ

10


ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอนุปริญญา พ.ศ. 2548

โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอนุปริญญาที่ใช้ในปัจจุบันให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น เพื่อ ประโยชน์ในการรักษามาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ เพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ของเกณฑ์การรับรองวิทยฐานะและมาตรฐานการศึกษา และ เพื่อให้การบริหารงานด้านวิชาการด�ำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ฉะนั้น อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ จึงให้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง “เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอนุปริญญา พ.ศ. 2548” ดังต่อไปนี้ 1. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการนี้เรียกว่า “เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอนุปริญญา พ.ศ. 2548” 2. ให้ใช้ประกาศกระทรวงนี้ส�ำหรับหลักสูตรระดับอนุปริญญาทุกสาขาวิชาที่มีระยะเวลาการศึกษา 6 ภาคการศึกษา ปกติ (3 ปี) ตามระบบทวิภาค หรือหลักสูตรทีเ่ ทียบเท่าทุกสาขาวิชา ส�ำหรับหลักสูตรทีจ่ ะเปิดใหม่และหลักสูตรเก่าเพือ่ ปรับปรุงใหม่ ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน และให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป 3. ให้ ย กเลิก ประกาศทบวงมหาวิทยาลัย เรื่ อ ง “เกณฑ์ มาตรฐานหลั ก สู ต รอนุ ปริ ญญา พ.ศ. 2532” ลงวั น ที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2532 4. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร มุ่งให้มีความสัมพันธ์สอดคล้องกับแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาของ ชาติ ปรัชญาของการอุดมศึกษา ปรัชญาของสถาบันอุดมศึกษาและมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพของสาขาวิชานั้น ๆ โดยมุ่งเน้น การผลิตบุคลากรให้มคี วามรอบรูท้ งั้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ใิ นสาขาวิชาทีม่ คี วามจ�ำเป็น สามารถน�ำความรูไ้ ปประยุกต์ใช้ได้อย่าง เหมาะสม และสอดคล้องกับความต้องการของสังคม รวมทั้งให้เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม 5. ระบบการจัดการศึกษา ใช้ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษา ปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ สถาบันอุดมศึกษาที่เปิดการศึกษาภาคฤดูร้อน ให้ก�ำหนดระยะเวลาและจ�ำนวน หน่วยกิตโดยมีสัดส่วนเทียบเคียงกันได้กับการศึกษาภาคปกติ สถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาในระบบไตรภาค หรือระบบจตุรภาค ให้ถือแนวทางดังนี้ ระบบไตรภาค 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์ ระบบจตุรภาค 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 4 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 10 สัปดาห์ สถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาระบบอื่น ให้แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับระบบการศึกษานั้น รวมทั้งรายละเอียด การเทียบเคียงหน่วยกิตกับระบบทวิภาคไว้ในหลักสูตรให้ชัดเจนด้วย STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

11


6. การคิดหน่วยกิต 6.1 รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใช้เวลาบรรยาย หรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค 6.2 รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค 6.3 การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค 6.4 การท�ำโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอืน่ ใดตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายทีใ่ ช้เวลาท�ำโครงงานหรือกิจกรรมนัน้ ๆ ไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค 7. จ�ำนวนหน่วยกิตรวมและระยะเวลาการศึกษา ให้มจี ำ� นวนหน่วยกิตรวมไม่นอ้ ยกว่า 90 หน่วยกิต ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน 6 ปีการศึกษา ส�ำหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลาและไม่เกิน 9 ปีการศึกษา ส�ำหรับการลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลา ทั้งนี้ให้ นับเวลาศึกษาจากวันที่เปิดภาคการศึกษาแรกที่รับเข้าศึกษาในหลักสูตรนั้น 8. โครงสร้างหลักสูตร ประกอบด้วยหมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ และหมวดวิชาเลือกเสรี โดยมีสัดส่วน จ�ำนวนหน่วยกิตของแต่ละหมวดวิชา ดังนี้ 8.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมายถึง วิชาทีม่ งุ่ พัฒนาผูเ้ รียนให้มคี วามรอบรูอ้ ย่างกว้างขวาง มีโลกทัศน์ทกี่ ว้างไกล มีความเข้าใจธรรมชาติ ตนเอง ผูอ้ นื่ และสังคม เป็นผูใ้ ฝ่รู้ สามารถคิดอย่างมีเหตุผล สามารถใช้ภาษาในการติดต่อสือ่ ความหมายได้ดี มีคณ ุ ธรรม ตระหนักในคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมทัง้ ของไทยและของประชาคมนานาชาติ สามารถน�ำความรูไ้ ปใช้ในการด�ำเนินชีวติ และด�ำรงตนอยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดี สถาบันอุดมศึกษาอาจจัดวิชาศึกษาทั่วไปในลักษณะจ�ำแนกเป็นรายวิชาหรือลักษณะบูรณาการใด ๆ ก็ได้ โดยผสมผสาน เนื้อหาวิชาที่ครอบคลุมสาระของกลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ภาษา และกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ ในสัดส่วน ที่เหมาะสมเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของวิชาศึกษาทั่วไป โดยให้มีจ�ำนวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 8.2 หมวดวิชาเฉพาะ หมายถึง วิชาแกน วิชาเฉพาะด้าน วิชาพื้นฐานวิชาชีพและวิชาชีพที่มุ่งหมายให้ผู้เรียน มีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติงานได้โดยให้มีจ�ำนวนหน่วยกิตรวมไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต หากจัดหมวดวิชาเฉพาะในลักษณะ วิชาเอกและวิชาโท วิชาเอกต้องมีจำ� นวนหน่วยกิตไม่นอ้ ยกว่า 30 หน่วยกิต และวิชาโทต้องมีจำ� นวนหน่วยกิตไม่นอ้ ยกว่า 15 หน่วยกิต 8.3 หมวดวิชาเลือกเสรี หมายถึง วิชาที่มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ตามที่ตนเองถนัดหรือสนใจ โดย เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรระดับอนุปริญญาตามที่สถาบันอุดมศึกษาก�ำหนด และให้มีจ�ำนวนหน่วยกิต รวมไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต สถาบันอุดมศึกษาอาจยกเว้นหรือเทียบโอนหน่วยกิตรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ และหมวดวิชา เลือกเสรี ให้กับนักศึกษาที่มีความรู้ความสามารถที่สามารถวัดมาตรฐานได้ ทั้งนี้ นักศึกษาต้องศึกษาให้ครบตามจ�ำนวนหน่วยกิต ทีก่ ำ� หนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร และเป็นไปตามหลักเกณฑ์การเทียบโอนผลการเรียนระดับปริญญาเข้าสูก่ ารศึกษาในระบบ และแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการเทียบโอน ของส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 9. จ�ำนวนและคุณวุฒขิ องอาจารย์ ต้องมีอาจารย์ประจ�ำหลักสูตรตลอดระยะเวลาทีจ่ ดั การศึกษาตามหลักสูตรนัน้ ซึง่ มี คุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่เปิดสอนไม่น้อยกว่า 3 คน และในจ�ำนวนนั้นต้องเป็นผู้มีคุณวุฒิไม่ต�่ำกว่าปริญญาโทหรือ 12

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


เทียบเท่า หรือเป็นผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางวิชาการไม่ต�่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ จ�ำนวนอย่างน้อย 1 คน ทั้งนี้ อาจารย์ประจ�ำในแต่ละ หลักสูตรจะเป็นอาจารย์ประจ�ำเกินกว่า 1 หลักสูตรในเวลาเดียวกันไม่ได้ 10. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา จะต้องเป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า 11. การลงทะเบียนเรียน 11.1 การลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา ให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต และไม่เกิน 22 หน่วยกิต ใน แต่ละภาคการศึกษาปกติ และจะส�ำเร็จการศึกษาได้ไม่ก่อน 5 ภาคการศึกษาปกติ 11.2 การลงทะเบียนเรียนไม่เต็มเวลา ให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 9 หน่วยกิต ในแต่ละภาคการศึกษาปกติ และจะส�ำเร็จการศึกษาได้ไม่ก่อน 10 ภาคการศึกษาปกติ ส�ำหรับการลงทะเบียนเรียนในภาคฤดูร้อน ให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 9 หน่วยกิต หากสถาบันอุดมศึกษาใดมีเหตุผลและความจ�ำเป็นพิเศษ การลงทะเบียนเรียนที่มีจ�ำนวนหน่วยกิตแตกต่างไปจากเกณฑ์ ข้างต้นก็อาจท�ำได้ แต่ทั้งนี้ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อมาตรฐานและคุณภาพการศึกษา 12. เกณฑ์การวัดผลและการส�ำเร็จการศึกษา ต้องเรียนครบตามจ�ำนวนหน่วยกิตที่ก�ำหนดไว้ในหลักสูตร เกณฑ์ขั้นต�่ำ ของแต่ละรายวิชา และต้องได้ระดับคะแนนเฉลีย่ ไม่ตำ�่ กว่า 2.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า จึงถือว่าเรียนจบหลักสูตร อนุปริญญา สถาบันอุดมศึกษาที่ใช้ระบบการวัดผลและการส�ำเร็จการศึกษาที่แตกต่างจากนี้ จะต้องก�ำหนดให้มีค่าเทียบเคียงกันได้ 13. ชือ่ ปริญญา ให้ใช้ชอื่ ว่า “อนุปริญญา” อักษรย่อ “อ.” แล้วตามด้วยสาขาวิชาต่อท้ายหลักสูตรปริญญาตรีทมี่ กี ารให้ อนุปริญญาเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรปริญญาตรี หรือหลักสูตรที่เทียบเท่าอนุปริญญา และมีระบบการศึกษาแตกต่างไปจากที่ ก�ำหนดไว้ขา้ งต้น ให้ใช้เกณฑ์มาตรฐานนีโ้ ดยอนุโลม และหลักสูตรอนุปริญญาทีม่ รี ะยะเวลาการศึกษาแตกต่างไปจากเกณฑ์มาตรฐานนี้ ให้ใช้เกณฑ์มาตรฐานนี้พิจารณา โดยให้อยู่ในมาตรฐานที่เทียบเคียงกันได้ตามความเหมาะสม 14. การประกันคุณภาพของหลักสูตร ให้ทุกหลักสูตรก�ำหนดระบบการประกันคุณภาพของหลักสูตรไว้ให้ชัดเจน ซึ่ง อย่างน้อยประกอบด้วยประเด็นหลัก 4 ประเด็น คือ 14.1 การบริหารหลักสูตร 14.2 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 14.3 การสนับสนุนและการให้ค�ำแนะน�ำนักศึกษา 14.4 ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต 15. การพัฒนาหลักสูตร ให้ทุกหลักสูตรมีการพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัย แสดงการปรับปรุงดัชนีด้านมาตรฐานและ คุณภาพการศึกษาเป็นระยะ ๆ อย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี และมีการประเมินเพื่อพัฒนาหลักสูตรอย่างต่อเนื่องทุก 5 ปี 16. ในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวได้ หรือมีความจ�ำเป็นต้องปฏิบัตินอกเหนือจากที่ก�ำหนดไว้ใน ประกาศนี้ ให้อยูใ่ นดุลยพินจิ ของคณะกรรมการการอุดมศึกษาทีจ่ ะพิจารณา และให้ถอื ค�ำวินจิ ฉัยของคณะกรรมการการอุดมศึกษา นั้นเป็นที่สุด

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

13


ระเบียบสถาบันวิทยาลัยชุมชน ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่ต�่ำกว่าปริญญาของวิทยาลัยชุมชน พุทธศักราช 2560 _______________________________

เพือ่ ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตสิ ถาบันวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. 2558 มาตรา 8 และมาตรา 9 จึงอาศัยอํานาจตามความใน มาตรา 18 (3) แห่งพระราชบัญญัตสิ ถาบันวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. 2554 และมติสภา สถาบันวิทยาลัยชุมชนในการประชุมครัง้ ที่ 6/2560 เมือ่ วันที่ 18 กรกฎาคม 2560 จึงออกระเบียบไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบสถาบันวิทยาลัยชุมชน ว่าด้วยการจัดการศึกษา ระดับอุดมศึกษาที่ต�่ำกว่าปริญญาของ วิทยาลัยชุมชน พ.ศ. 2560” ข้อ 2 ให้ใช้ระเบียบนีส้ าํ หรับนักศึกษาระดับอนุปริญญา ทีเ่ ข้าศึกษาในวิทยาลัยชุมชน ตัง้ แต่ ปีการศึกษา 2560 เป็นต้นไป ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ หรือคําสั่งอื่นใดที่ขัดแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้แทน ข้อ 4 ในระเบียบนี้ “ระดับอุดมศึกษาที่ต�่ำกว่าปริญญา” หมายถึง การศึกษาระดับอนุปริญญา “หลักสูตร” หมายถึง หลักสูตรระดับ อนุปริญญาวิทยาลัยชุมชน (3 ปี) “ผู้สมัครเข้าศึกษา” หมายถึง ผูส้ มัครเข้าศึกษาในวิทยาลัยชุมชนตามระเบียบนี้ ทีย่ งั ไม่ได้ ขึน้ ทะเบียนเป็นนักศึกษา “นักศึกษา” หมายถึง ผู้สมัครเข้าเรียนที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษาระดับอนุปริญญา ในวิทยาลัยชุมชน ข้อ 5 ให้ผู้อํานวยการสถาบันวิทยาลัยชุมชนรักษาการตามระเบียบนี้ กรณีใดที่มิได้กําหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้ผู้อํานวยการสถาบันวิทยาลัยชุมชน มีอํานาจ ในการวินิจฉัยหรือดําเนินการตาม ที่เห็นสมควร ทั้งนี้ต้องไม่ขัดกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรระดับอนุปริญญาฉบับที่บังคับใช้ใน ปัจจุบัน

หมวด 1 การรับเข้าศึกษา ข้อ 6 กําหนดการและวิธีการรับเข้าศึกษา การรับสมัครและการคัดเลือก 6.1 การรับสมัครและการคัดเลือกผู้เข้าศึกษาให้วิทยาลัยเปิดรับสมัครผู้เข้าศึกษา ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ วิทยาลัยกําหนด 14

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


6.2 ให้วทิ ยาลัยดําเนินการพัฒนาศักยภาพผูเ้ รียน (ปรับพืน้ ฐานผูเ้ รียน) ก่อนเปิดภาค การศึกษาตามกระบวนการ และมาตรฐานที่สถาบันวิทยาลัยชุมชนกําหนด ข้อ 7 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา เป็นผู้ที่สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า ข้อ 8 การรับโอนนักศึกษา การรับโอนนักศึกษาให้ดาํ เนินการตามระเบียบสถาบันวิทยาลัยชุมชน ว่าด้วยการ เทียบโอนผลการเรียนของนักศึกษา พุทธศักราช 2560

หมวด 2 การจัดการศึกษา ข้อ 9 ระบบการจัดการศึกษา วิทยาลัยจัดการศึกษาระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษา ปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ วิทยาลัยที่เปิดสอนภาคฤดูร้อนให้กําหนด ระยะเวลาและจํานวนหน่วยกิตโดยมีสัดส่วน เทียบเคียงกันได้กับการศึกษาภาคปกติ ข้อ 10 หลักสูตร โครงสร้างหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอนุปริญญา ดังนี้ 10.1 ให้มจี าํ นวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่นอ้ ยกว่า 90 หน่วยกิต ใช้เวลาศึกษา ไม่เกิน 5 ปีการศึกษา สําหรับ การลงทะเบียนเรียนแบบเต็มเวลา และไม่เกิน 4 ปีการศึกษา สําหรับการลงทะเบียน เรียนไม่เต็มเวลา 10.2 โครงสร้างหลักสูตร ประกอบด้วย หมวดวิชาศึกษาทัว่ ไป หมายถึง วิชาทีม่ งุ่ พัฒนาผูเ้ รียนให้มคี วามรอบรูอ้ ย่าง กว้างขวาง มีโลกทัศน์ทกี่ ว้างไกล มีความเข้าใจธรรมชาติ ตนเอง ผู้อื่น และสังคม เป็นผู้ใฝ่รู้ สามารถคิดอย่างมี เหตุผล สามารถใช้ภาษาในการติดต่อสื่อความหมาย ได้ดี มีคุณธรรม ตระหนักในคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมทั้งของไทยและของประชาคมนานาชาติ สามารถนําความรู้ไปใช้ในการ ดําเนินชีวิตและดํารงตนอยู่ในสังคมได้เป็นอย่างดี โดยให้มีจํานวนหน่วยกิตรวม ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะ หมายถึง วิชาแกน วิชาเฉพาะด้าน วิชาพื้นฐานวิชาชีพและ วิชาชีพที่มุ่งหมายให้ผู้เรียนมี ความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติงานได้ โดยให้มีจํานวนหน่วยกิตรวม ไม่น้อยกว่า 45 หน่วยกิต หมวดวิชาเลือกเสรี หมายถึง วิชาที่มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ตามที่ ตนเองถนัดหรือสนใจ โดยเปิด โอกาสให้ผเู้ รียนเลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรระดับอนุปริญญาตามทีว่ ทิ ยาลัย กําหนด โดยให้มจี าํ นวนหน่วยกิตรวม ไม่นอ้ ยกว่า 3 หน่วยกิต ทั้งนี้วิทยาลัยอาจยกเว้นหรือเทียบโอนผลการเรียนรายวิชาในหมวดวิชาศึกษา ทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ และ หมวดวิชาเลือกเสรี ให้กับนักศึกษาที่มีความรู้ความสามารถที่สามารถวัดมาตรฐานได้ โดยเป็นไปตามหลักเกณฑ์การเทียบโอนผล การเรียน ตามที่สภาสถาบันกําหนด และนักศึกษาต้องศึกษาให้ครบ ตามจํานวนหน่วยกิตที่กําหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

15


ข้อ 11 การคิดหน่วยกิต 11.1 การคิดหน่วยกิต รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใช้เวลาบรรยาย หรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า 15 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อ ภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค การฝึกงานหรือการฝึกภาคสนาม ทีใ่ ช้เวลาฝึกไม่นอ้ ยกว่า 45 ชัว่ โมงต่อ ภาคการศึกษาปกติ ให้มคี า่ เท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบทวิภาค การทําโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอืน่ ใดตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายทีใ่ ช้เวลา ทําโครงงานหรือกิจกรรมนัน้ ๆ ไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิตระบบ ทวิภาค 11.2 การสอนบรรยาย อภิปราย หรือปฏิบัติการ ให้ใช้เวลาสอนไม่น้อยกว่า 50 นาที ต่อหน่วยชั่วโมง ข้อ 12 จํานวนและคุณวุฒิของอาจารย์ประจําหลักสูตร 12.1 ต้องมีอาจารย์ประจําหลักสูตรตลอดระยะเวลาทีจ่ ดั การศึกษาตามหลักสูตรนัน้ ซึง่ มีคณ ุ วุฒติ รงหรือสัมพันธ์ กับสาขาวิชาที่เปิดสอนไม่น้อยกว่า 3 คน และในจํานวนนั้นต้องเป็นผู้มีคุณวุฒิ ไม่ต�่ำกว่าปริญญาโทหรือเทียบเท่า หรือผู้ดํารง ตาํ แหน่งครูวทิ ยฐานะไม่ตำ่� กว่าชํานาญการพิเศษ หรือเป็นผูด้ าํ รงตําแหน่งทางวิชาการไม่ตำ�่ กว่าผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ จํานวนอย่างน้อย 1 คน ทัง้ นีอ้ าจารย์ประจําในแต่ละหลักสูตร จะเป็นอาจารย์ประจําเกินกว่า 1 หลักสูตรในเวลาเดียวกันไม่ได้ อาจารย์ประจําหลักสูตร ต้องมีภาระหน้าที่ในการ บริหารหลักสูตรและการเรียนการสอน การพัฒนาหลักสูตร การติดตามประเมินผลหลักสูตร 12.2 คุณวุฒิของอาจารย์ประจําหลักสูตรระดับอนุปริญญา ที่มีคุณวุฒิระดับ ปริญญาตรีต้องมีประสบการณ์ใน การสอนและได้รับการพัฒนาให้มีคุณวุฒิสูงขึ้น รวมทั้งได้เลื่อนวิทยฐานะเพิ่มขึ้น หรือตําแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้น 12.3 อาจารย์ประจําหลักสูตร หมายถึง บุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาที่มีหน้าที่หลัก ทางด้านการสอนและการ วิจัย และปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลาตามภาระงานที่รับผิดชอบในหลักสูตรที่เปิดสอน (มิใช่เต็มเวลาตามเวลาทําการ) หรือผู้สอนพิเศษ ตามข้อบังคับสถาบันวิทยาลัยชุมชนว่าด้วยคุณสมบัติ และ หลักเกณฑ์เกี่ยวกับผู้สอนพิเศษ พ.ศ. 2558 ทั้งนี้อาจารย์ประจําใน แต่ละหลักสูตรจะเป็นอาจารย์ประจําเกินกว่า 1 หลักสูตรในเวลาเดียวกันไม่ได้ และต้องทําหน้าที่เป็นอาจารย์ประจําตามที่ระบุไว้ ในหลักสูตรหนึ่งหลักสูตรใด ในขณะหนึ่ง ๆ เท่านั้น ข้อ 13 การกําหนดรหัสวิชา 13.1 รายวิชาในหมวดศึกษาทั่วไป การกําหนดรหัสวิชาในหมวดศึกษาทั่วไปเป็นไป ตามหลักเกณฑ์ที่สถาบัน วิทยาลัยชุมชนกําหนด ดังนี้ พยัญชนะ 2 หลักแรก หมายถึง ตัวย่อหมวดวิชาศึกษาทั่วไป เลขรหัส หลักที่ 3 – 4 หมายถึง รหัสกลุ่มวิชา 01 หมายถึง รายวิชาในกลุ่มวิชาภาษา 02 หมายถึง รายวิชาในกลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 03 หมายถึง รายวิชาในกลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 04 หมายถึง รายวิชาในกลุ่มวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ เลขรหัส หลักที่ 5 - 6 หมายถึง ลําดับที่ของรายวิชา 16

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


13.2 รายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะ มีหลักเกณฑ์การกําหนดรหัสวิชา ดังนี้ พยัญชนะ 2 หลักแรก หมายถึง ตัวย่อรหัสสาขาวิชา เลขรหัส หลักที่ 3-4 หมายถึง รหัสสาขาวิชา เลขรหัส หลักที่ 5-6 หมายถึง ลําดับที่ของรายวิชา

หมวด 3 การลงทะเบียนเรียน ข้อ 14 การลงทะเบียนเรียน 14.1 การกําหนดการลงทะเบียนเรียน วิธีการลงทะเบียนเรียน ให้เป็นไปตามที่ วิทยาลัยกําหนดในแต่ละภาค การศึกษา โดยลงทะเบียนเรียนให้เสร็จสิ้นก่อนเปิดภาคการศึกษา 14.2 วิทยาลัยอาจให้นักศึกษาลงทะเบียนรายวิชาภายหลังกําหนดได้ โดยให้วิทยาลัย กําหนดวันสิ้นสุดการ ลงทะเบียน ตามที่เห็นสมควร แต่ไม่เกิน 15 วันของภาคการศึกษาปกติ นับแต่วันเปิดภาค การศึกษา การลงทะเบียนล่าช้ากว่า กําหนด นักศึกษาต้องเสียค่าปรับตามระเบียบที่สภาสถาบันกําหนด ข้อ 15 จํานวนหน่วยกิตที่ลงทะเบียน 15.1 ให้ลงทะเบียนเรียนรายวิชาของแต่ละภาคการศึกษาปกติได้ไม่นอ้ ยกว่า 4 หน่วยกิต และไม่เกิน 22 หน่วยกิต และสําหรับภาคฤดูร้อนให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน 9 หน่วยกิต และสําเร็จ การศึกษาได้ไม่ก่อน 5 ภาคการศึกษาปกติ ยกเว้นใน กรณีที่มีการเทียบโอนผลการเรียนหรือเทียบโอนหน่วยกิต ในกรณีมีความจําเป็นให้ผู้อํานวยการวิทยาลัยชุมชนพิจารณาอนุญาตให้มีการ ลงทะเบียนเรียนที่มีจํานวน หน่วยกิตแตกต่างไปจากวรรคหนึ่ง แต่ทั้งนี้ต้องไม่ขัดแย้งกับเกณฑ์มาตรฐานการจัด การศึกษา 15.2 นักศึกษาอาจขอลงทะเบียนเข้าร่วมศึกษารายวิชาใด ๆ เพื่อเป็นการเพิ่มพูน ความรู้ Au (Audit) โดยความ เห็นชอบของอาจารย์ประจําหลักสูตร ผู้สอนประจําวิชา และผู้อํานวยการวิทยาลัย ทั้งนี้นักศึกษาต้องชําระค่าหน่วยกิตนั้นตามที่กําหนดไว้ และนักศึกษาจะได้รับ ผลการเรียนเป็น S หรือ U และไม่นํามาคิดคะแนนเฉลี่ยสะสม ข้อ 16 การลงทะเบียนเรียนในรายวิชาที่มีวิชาบังคับก่อน 16.1 การลงทะเบียนเรียนรายวิชาหนึ่งวิชาใดที่มีวิชาบังคับก่อน นักศึกษาต้องสอบได้ วิชาบังคับก่อน มิฉะนั้นให้ ถือว่าการลงทะเบียนเรียนรายวิชานั้น ๆ เป็นโมฆะ 16.2 นักศึกษาอาจลงทะเบียนเรียนวิชาต่อเนือ่ งควบคูก่ บั วิชาบังคับก่อนทีเ่ คยสอบตก (F) มาแล้วในภาคการศึกษา ก่อน โดยความเห็นชอบของอาจารย์ประจําหลักสูตรและผู้สอนประจําวิชา ทั้งนี้ หากนักศึกษาสอบตกซ้ําในรายวิชาบังคับก่อน ผลการเรียนของวิชาต่อเนื่องไม่ถือเป็นโมฆะและต้องนํามาคํานวณ คะแนนเฉลี่ยสะสมตามปกติ

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

17


ข้อ 17 การเพิ่ม - ถอนรายวิชา 17.1 การลงทะเบียนเพิม่ - ถอน รายวิชา สามารถกระทําได้ตามวัน เวลา ทีว่ ทิ ยาลัย กําหนด แต่ตอ้ งไม่เกิน 15 วัน ของวันเปิดภาคการศึกษา โดยบันทึกผลการถอนรายวิชา “W” ไว้ในใบระเบียน แสดงผลการเรียน และจะไม่คนื ค่าหน่วยกิตสําหรับ รายวิชานั้น ๆ 17.2 การลงทะเบียนจะสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อได้ชําระค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ตามที่วิทยาลัยกําหนด

หมวด 4 การวัดและประเมินผลการเรียน ข้อ 18 ระเบียบการเรียน การสอบ 18.1 ระเบียบการเรียน การสอบ 18.1.1 นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนติดต่อกันทุกภาคการศึกษาปกติ การลาพักการศึกษาต้องปฏิบัติตาม การลาพักการศึกษาข้อ 23 18.1.2 นักศึกษาต้องมีเวลาเรียนแต่ละรายวิชาไม่ตำ�่ กว่าร้อยละ 80 ของเวลา เรียนทัง้ หมด ถึงจะมีสทิ ธิไ์ ด้รบั การวัดและประเมินผลในรายวิชา ผู้ไม่มีสิทธิ์ได้รับการวัดและประเมินผลตามวรรค ก่อนจะได้รับคะแนนเป็น F หรืออักษร บ 18.2 ระเบียบการสอบ 18.2.1 การสอบปลายภาค ให้ดําเนินการในสัปดาห์ที่ 16 18.2.2 ระเบียบการสอบ ให้เป็นไปตามที่วิทยาลัยชุมชนกําหนด 18.2.3 นักศึกษาทีไ่ ม่เข้าสอบตามกําหนดโดยมีเหตุผลความจําเป็น มีสทิ ธิ์ ยืน่ คําร้องขอสอบต่อผูส้ อนประจาํ วิชาภายใน 7 วัน นับแต่วันสอบวิชานั้น และดําเนินการสอบให้เสร็จสิ้นภายใน 15 วัน นับแต่วันสอบภาคปกติของวิชานั้น หากพ้น กําหนดให้ถือว่าขาดสอบ กรณีที่มีความจําเป็นต้องสอบเกิน 15 วัน ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อํานวยการวิทยาลัยนั้น ข้อ 19 การวัดและประเมินผลการศึกษา 19.1 สัญลักษณ์และความหมาย แสดงระดับผลการเรียนรู้รายวิชาต่าง ๆ ให้กําหนด ดังนี้ ระดับผลการเรียนรู้ ความหมาย A ดีเยี่ยม (Excellent) B+ ดีมาก (Very Good) B ดี (Good) C+ ค่อนข้างดี (Fairty Good) C พอใช้ (Fair) D+ ค่อนข้างอ่อน (Poor) D อ่อน (Very Poor) F ตก (Fail)

18

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


19.2 ค่าระดับกําหนดเป็นตัวอักษร A, B+, B, C+, C, D+, D และ F ซึ่งแสดงผลการเรียนของนักศึกษาที่ได้รับการ ประเมินในแต่ละรายวิชา และมีค่าระดับ ดังนี้ ระดับคะแนน ระดับผลการเรียน ค่าระดับ 80 - 900 A 4.0 75 - 79 B+ 3.5 70 - 74 B 3.0 + 65 - 69 C 2.5 60 - 64 C 2.0 + 55 - 59 D 1.5 50 - 54 D 1.0 ต�่ำกว่า 50 F 0 19.3 การให้ F จะกระทําได้ในกรณีดังต่อไปนี้ (1) นักศึกษาเข้าสอบ และหรือมีผลการสอบหรือผลงานที่ประเมินผลว่า “ตก” (2) นักศึกษาขาดสอบ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากวิทยาลัย (3) นักศึกษาไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าสอบเนื่องจากมีเวลาเรียนไม่ครบตามเกณฑ์ ที่วิทยาลัยกําหนด (4) นักศึกษาที่ทําผิดระเบียบการสอบ และได้รับการตัดสินให้ตก การกําหนดสัดส่วนคะแนนเพื่อการประเมินผล ให้ใช้สัดส่วนน�้ำหนักของผลการเรียนรู้ตามมาตรฐาน การเรียนรู้ที่กําหนดไว้ในรายละเอียดของหลักสูตร (มคอ.2) 19.4 ตัวอักษรอื่น ๆ ที่มีความหมายเฉพาะซึ่งแสดงสถานภาพการศึกษา ที่ไม่มีค่าระดับคะแนน มีดังนี้ I ยังไม่สมบูรณ์ (Incomplete) P ผ่าน (Pass) S พอใจ (Satisfactory) U ไม่พอใจ (Unsatisfactory) W ถอนรายวิชา (Withdrawal) 19.4.1 I (Incomplete) ใช้สาํ หรับการบันทึกการประเมินผลการเรียนรูใ้ น รายวิชาทีย่ งั ไม่สมบูรณ์ ทีผ่ เู้ รียน ยังปฏิบัติงานไม่ครบตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ หรือขาดสอบ โดยมีเหตุอันสมควร และต้องปรับปรุงแก้ไขให้ เสร็จภายในภาคการศึกษาถัดไป นักศึกษาที่ได้ จะต้องดําเนินการขอรับการประเมินเพื่อเปลี่ยนระดับคะแนนให้เสร็จสิ้นภายใน ภาคการศึกษาถัดไป การเปลี่ยนระดับคะแนน I ให้ดําเนินการดังนี้ (1) กรณีทน่ี กั ศึกษายังทํางานไม่สมบูรณ์ ไม่ตดิ ต่อผูส้ อนหรือ ไม่สามารถส่งงานได้ตามเวลาทีก่ าํ หนด ให้ผู้สอนพิจารณาผลงานที่ค้างอยู่เป็นศูนย์ และส่งผลการประเมินผลการศึกษาจากคะแนนที่มีอยู่ให้เสร็จสิ้นภายในภาคการศึกษา ถัดไป หากไม่ส่งผลการศึกษาตามกําหนด ให้ปรับ ระดับคะแนนเป็น F (2) กรณีนักศึกษาขาดสอบและวิทยาลัยอนุญาตให้สอบ แต่ไม่มาสอบภายในระยะเวลาที่วิทยาลัย กําหนด ให้ผู้สอนปรับคะแนนสอบปลายภาคเป็นศูนย์และส่งผลการประเมินผล การศึกษาจากคะแนนที่มีอยู่ให้เสร็จสิ้นภายใน ภาคการศึกษาถัดไป STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

19


(3) กรณีทนี่ กั ศึกษาได้ผลการเรียน | ในภาคการศึกษาสุดท้าย และ ดําเนินการแก้ 1 ในภาคการศึกษา ถัดไป ต้องชําระค่าธรรมเนียมรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา 19.4.2 P (Pass) ใช้สําหรับการบันทึกรายวิชาที่โอนผลการเรียนจากสถาบัน อื่นให้แสดงผลการเรียนด้วย อักษร P (Pass) โดยนับจํานวนหน่วยกิตของรายวิชาเพือ่ การสําเร็จการศึกษา ตามโครงสร้างของหลักสูตร แต่ไม่นาํ จํานวนหน่วยกิต ไปรวมเพื่อหาค่าระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม 19.4.3 การให้ S (Satisfactory) กับ บ (Unsatisfactory) ใช้สําหรับประเมิน รายวิชาเรียนที่ไม่นําค่าของ หน่วยกิตมาคํานวณระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม 19.4.4 Au (Audit) ใช้สาํ หรับการลงทะเบียนเพือ่ ร่วมฟังหรือการเรียนเสริม ความรู้ โดยไม่นบั หน่วยกิตและ ผู้ลงทะเบียนปฏิบัติตามเกณฑ์ที่ผู้สอนกําหนด กรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามเกณฑ์ ที่กําหนดได้ ให้ถือว่าผู้เรียนยกเลิกการเรียน รายวิชานั้น และให้บันทึกผลการประเมินเป็น “W” 19.4.5 W (Withdrawal) ใช้สําหรับบันทึกรายวิชาที่ได้รับอนุมัติให้ยกเลิก รายวิชานั้น โดยต้องดําเนินการ ให้เสร็จสิ้นก่อนกําหนดสอบปลายภาคไม่น้อยกว่า 15 วัน และใช้ในกรณีที่ นักศึกษาลาพักการศึกษาหรือถูกสั่งให้พักการศึกษา หลังจากลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษานั้นแล้ว 19.4.6 การเรียนรายวิชาซ�้ำเพื่อยกระดับผลการเรียน (Regraded) (1) รายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนซ�้ำได้ต้องได้ระดับคะแนนไม่เกิน D+ ในกรณีที่นักศึกษาได้ศึกษา รายวิชาใดมากกว่าหนึ่งครั้ง ให้นับหน่วยกิตของรายวิชานั้นเป็นหน่วยกิตสะสม ตามหลักสูตรได้เพียงครั้งเดียว โดยพิจารณาจาก การวัดและประเมินผลครั้งที่ดีที่สุดและในใบระเบียนแสดงผล การเรียน (Transcript) ก็จะยังคงปรากฏรายวิชาและผลการเรียน เดิม และแสดงผลการเรียนใหม่ที่ได้ในภาคการศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนซ�้ำ (2) ให้ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาที่ต้องการเรียนซ�้ำเพื่อยกระดับ ผลการเรียนใหม่ในภาคการศึกษา ใดก็ได้และต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาอื่น ๆ ในหลักสูตรไม่ต�่ำกว่า 9 หน่วยกิต ยกเว้นในกรณีที่จะสําเร็จการศึกษา (3) ให้นักศึกษาเขียนคําร้องทั่วไป ผ่านความเห็นชอบจากผู้สอน ประจําวิชา และนําคําร้องยื่นที่งาน ทะเบียนฯ ข้อ 20 การย้ายสาขาวิชาและการย้ายวิทยาลัย 20.1 การย้ายสาขาวิชา 20.1.1 การย้ายสาขาวิชาต้องได้รับอนุมัติจากผู้อํานวยการวิทยาลัย 20.1.2 นักศึกษาจะขอย้ายสาขาวิชาได้ภายใน 15 วันหลังจากเปิดภาค การศึกษา 20.2 การย้ายวิทยาลัย นักศึกษาสามารถขอย้ายวิทยาลัยได้หลังจากสิ้นภาคการศึกษา และต้องเรียน ในสาขาวิชาเดิม

20

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


หมวด 5 การสําเร็จการศึกษา ข้อ 21 ผู้สําเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญาของวิทยาลัยต้องมีคุณสมบัติดังนี้ 21.1 ศึกษารายวิชาต่าง ๆ ครบถ้วนตามจํานวนหน่วยกิตที่กําหนดไว้ในโครงสร้างของ หลักสูตร และเกณฑ์ขั้นต�่ำ ของแต่ละรายวิชา และต้องได้รับระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต�่ำกว่า 2.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า 21.2 ไม่มีพันธะทางการเงินหรือมีพันธะอื่น ๆ ต่อวิทยาลัย 21.3 ผ่านการเข้าร่วมกิจกรรมตามที่วิทยาลัยกําหนด 21.4 สอบผ่านการประเมินความรู้และทักษะตามที่วิทยาลัยกําหนด ข้อ 22 การอนุมัติอนุปริญญาบัตร ผู้ที่จะได้รับการเสนอชื่อให้ได้รับอนุปริญญาบัตร ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ 22.1 เป็นผู้สําเร็จการศึกษาและมีคุณสมบัติตามข้อ 21 22.2 สภาสถาบันอนุมัติอนุปริญญาบัตร 22.3 ผู้มีอํานาจลงนามในใบอนุปริญญาบัตร ประกอบด้วย นายกสภาสถาบัน ผู้อํานวยการสถาบัน และ ผู้อํานวยการวิทยาลัย

หมวดที่ 6 การลาพักการศึกษา การรักษาสภาพ การลาออก และการพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา

ข้อ 23 การลาพักการศึกษา 23.1 การลาพักการศึกษา หมายถึง การที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษา นั้นแล้ว และมีเหตุจําเป็น ที่ไม่สามารถมาเรียนได้ นักศึกษาอาจยื่นคําร้องขออนุญาตลาพักการศึกษา ในกรณีดังต่อไปนี้ (1) ถูกเกณฑ์หรือระดมเข้ารับราชการทหารกองประจําการ (2) ได้รับทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างประเทศหรือได้เข้าร่วมโครงการอื่น ๆ ซึ่งวิทยาลัยเห็นชอบ (3) เจ็บป่วย หรือประสบอุบัติเหตุ ต้องพักรักษาตัวเป็นเวลานานเกิน ร้อยละ 20 ของเวลาเรียนทั้งหมด โดยมีใบรับรองแพทย์จากสถานพยาบาลของทางราชการ หรือสถานพยาบาล เอกชนที่กระทรวงสาธารณสุขรับรอง (4) มีความจาํ เป็นส่วนตัว อาจยืน่ คาํ ร้องขอลาพักการศึกษาได้ แต่ตอ้ งได้ศกึ ษา ในวิทยาลัยแล้วไม่นอ้ ยกว่า 1 ภาคการศึกษา และมีคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต�่ำกว่า 2.00 (5) เมื่อนักศึกษามีเหตุสุดวิสัยจําเป็นต้องลาพักการศึกษา ด้วยเหตุผล นอกเหนือจากที่ระบุไว้ใน (1) - (4) ให้ยื่นคําร้องต่อผู้อํานวยการวิทยาลัยพิจารณาอนุมัติโดยเร็วที่สุด 23.2 การลาพักการศึกษาทุกประเภทนักศึกษาสามารถขอลาพักการศึกษาได้ครั้งละ ไม่เกิน 2 ภาคการศึกษา ติดต่อกัน ยกเว้นกรณีถูกเกณฑ์หรือระดมเข้ารับราชการทหารกองประจําการ ถ้ามีความจําเป็นต้องลาพักการศึกษาต่อไปอีก นักศึกษาจะต้องยื่นคําร้องขอลาพักการศึกษาใหม่ทุกภาคการศึกษา

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

21


23.3 เมือ่ นักศึกษาได้รบั อนุมตั ใิ ห้ลาพักการศึกษา ให้นบั เวลาทีล่ าพักอยูใ่ นระยะเวลา การศึกษาด้วย ยกเว้นกรณี นักศึกษาที่ได้รับอนุญาตให้ลาพักการศึกษา ตามข้อ 23.1 (1) หรือในกรณีที่มี เหตุสุดวิสัยให้เสนอผู้อํานวยการวิทยาลัยพิจารณา เป็นกรณี ๆ ไป 23.4 ระหว่างที่ได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษา นักศึกษาจะต้องชําระค่ารักษาสภาพ การเป็นนักศึกษา ทุกภาค การศึกษาตามระเบียบการเก็บเงินบํารุงการศึกษาของวิทยาลัย มิฉะนั้นจะพ้นสภาพ การเป็นนักศึกษา 23.4.1 กรณีที่ลาพักการศึกษาก่อนลงทะเบียนเรียน นักศึกษาไม่ต้องชําระค่าบํารุงการศึกษา แต่ต้องชําระ เงินค่ารักษาสถานภาพนักศึกษา โดยให้ยื่นคําร้องขอลาพักการศึกษาภายใน 15 วัน นับแต่วันถัดจากวันปิดการลงทะเบียน 23.4.2 กรณีลาพักการศึกษาภายหลังทีไ่ ด้ลงทะเบียนเรียน และชาํ ระเงิน ค่าบาํ รุงการศึกษาและค่าธรรมเนียม การศึกษาแล้ว นักศึกษาต้องยื่นคําร้องโดยเร็วที่สุด ทั้งนี้ต้องไม่เกินวันแรกของ การสอบปลายภาคการศึกษานั้น และจะต้องชําระ หนี้สิน (ถ้ามี) ให้เสร็จสิ้นก่อนจึงจะมีสิทธิ์ขอลาพักการศึกษาได้ โดยวิทยาลัยจะไม่คืนเงินให้ ไม่ว่ากรณีใดๆ 23.5 นักศึกษาที่ได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษา หรือถูกสั่งให้พักการศึกษา หากประสงค์จะกลับเข้าศึกษาใหม่ จะต้องยืน่ คาํ ร้องขอกลับเข้าศึกษาผ่านผูร้ บั ผิดชอบสาขาวิชาเพือ่ เสนอ ผูอ้ าํ นวยการวิทยาลัยพิจารณาอนุมตั ิ ก่อนวันเปิดการศึกษา ไม่นอ้ ยกว่า 15 วัน พร้อมด้วยหลักฐานการชาํ ระเงิน ค่ารักษาสภาพการศึกษาในช่วงทีไ่ ด้รบั อนุมตั ใิ ห้ลาพักการศึกษาหรือถูกสัง่ พัก การศึกษา หากไม่ปฏิบตั ติ ามจะไม่สามารถลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษานัน้ เว้นแต่จะได้รบั การอนุมตั จิ ากผูอ้ าํ นวยการวิทยาลัย ทั้งนี้นักศึกษา จะต้องดําเนินการภายใน 15 วัน นับจากวันเปิดภาคการศึกษา และมีสถานภาพเป็นนักศึกษาเหมือนก่อนได้รับ อนุมัติให้ลาพักการศึกษา 23.6 การลาพักการศึกษา มีผลดังต่อไปนี้ 23.6.1 การลาพักการศึกษาก่อนลงทะเบียนเรียน และมีการรักษาสถานภาพ นักศึกษา จะถูกบันทึกใน ใบแสดงผลการเรียน (Transcript) เป็น “ลาพักการศึกษา” หรือ “Academic Leave” ในภาคการศึกษานั้น 23.6.2 การลาพักการศึกษาหลังการลงทะเบียนเรียน หรือถูกให้พกั การศึกษา โดยการถอนรายวิชาทัง้ หมด จะถูกบันทึกในใบแสดงผลการเรียนเป็น W – Withdrawal ทุกรายวิชา ข้อ 24 การลาออกและการพ้นสภาพนักศึกษา 24.1 การลาออกจะต้องได้รับอนุมัติจากวิทยาลัย 24.2 นักศึกษาจะพ้นสภาพการเป็นนักศึกษาในกรณีต่อไปนี้ (1) สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร (2) ลาออก (3) โอนย้ายสถานศึกษา (4) ถึงแก่กรรม (5) ไม่ลงทะเบียนเรียนติดต่อกันเกิน 2 ภาคการศึกษา และไม่ชําระค่าธรรมเนียมการรักษาสภาพการเป็น นักศึกษา (6) เมื่อเรียนมาครบ 3 ภาคการศึกษาปกติ มีระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ถึง 1.75

22

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


หมวดที่ 7 เอกสารทางการศึกษา

ข้อ 25 วิทยาลัยต้องจัดให้มีเอกสารแสดงผลการเรียนรู้ ดังนี้ (1) ใบอนุปริญญาบัตร ตามแบบที่สถาบันวิทยาลัยชุมชนกําหนด (2) ใบระเบียนแสดงผลการเรียน (Transcript) ตามแบบที่สถาบันวิทยาลัยชุมชน กําหนด ซึ่งต้องเก็บรักษาไว้ ตลอดไป (3) ใบรับรองผลการเรียน ตามแบบที่สถาบันวิทยาลัยชุมชนกําหนด (4) ใบรับรองผลการร่วมกิจกรรมตามที่วิทยาลัยกําหนด (5) เอกสารการวัดและประเมินผลอื่น ๆ

หมวดที่ 8 การประกันคุณภาพหลักสูตร ข้อ 26 การประกันคุณภาพหลักสูตรให้ทุกหลักสูตรกําหนดระบบประกันคุณภาพของหลักสูตร ให้ชัดเจนและเป็นไปตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ข้อ 27 การพัฒนาหลักสูตรให้ทุกหลักสูตรมีการพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัย แสดงการปรับปรุงดัชนีด้านมาตรฐานและ คุณภาพการศึกษาเป็นระยะ ๆ อย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี และมีการประเมินเพื่อพัฒนาหลักสูตร อย่างต่อเนื่องทุก 5 ปี

หมวดที่ 9 ผู้สอนประจําและผู้สอนพิเศษ ข้อ 28 ผู้สอนของวิทยาลัยชุมชน แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ (1) ผู้สอนประจํา หมายถึง บุคลากรของวิทยาลัยชุมชน ประกอบด้วย ข้าราชการครู หรือพนักงานราชการ ตําแหน่งผู้สอน หรือพนักงานอัตราจ้างตําแหน่งผู้สอน (2) ผู้สอนพิเศษ หมายถึง ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีคุณสมบัติตามข้อบังคับสถาบันวิทยาลัย ชุมชน ว่าด้วยคุณสมบัติ และ หลักเกณฑ์เกี่ยวกับผู้สอนพิเศษ พ.ศ. 2558

ประกาศ ณ วันที่ 24 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2560

(นางสิริกร มณีรินทร์) นายกสภาสถาบันวิทยาลัยชุมชน STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

23


ประกาศสถาบันวิทยาลัยชุมชน ว่าด้วยอัตราการจัดเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาในวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. 2561 หลักสูตรอนุปริญญา อาศัยอํานาจตามความในข้อ 4 แห่งระเบียบสถาบันวิทยาลัยชุมชนว่าด้วยการจัดเก็บ ค่าธรรมเนียมการศึกษาของสถาบัน วิทยาลัยชุมชน พ.ศ. 2561 สถาบันวิทยาลัยชุมชนจึงกําหนดอัตราค่าบํารุง การศึกษา ค่าเล่าเรียน และค่าธรรมเนียมทั่วไป ดังนี้

24

ค่าเล่าเรียน - ค่าลงทะเบียนรายวิชา (ค่าหน่วยกิต) ภาคการศึกษาปกติ ภาคการศึกษาฤดูร้อน ค่าบํารุงการศึกษา 1. ค่าวัสดุฝึกและ/หรืออุปกรณ์การศึกษา ให้เก็บเฉพาะหน่วยกิตภาคปฏิบัติ และ/หรือกิจกรรมศึกษานอกสถานที่ หน่วยกิตละ - บริหารธุรกิจ หน่วยกิตละ - เทคโนโลยีอุตสาหกรรม หน่วยกิตละ 2. ค่าบํารุงห้องสมุด ภาคการศึกษาละ 3. ค่าบํารุงห้องพยาบาล ภาคการศึกษาละ 4. ค่าบํารุงกิจกรรมนักศึกษา ภาคการศึกษาละ

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562

25 -

บาท

30-40 บาท -

50

บาท

50

บาท

50

บาท


ค่าธรรมเนียมทั่วไป 1. ค่าสมัครเข้าเรียน 2. ค่าขึ้นทะเบียนนักศึกษา เก็บครั้งเดียวแรกเข้า 3. ค่าบัตรประจําตัวนักศึกษา - บัตรธรรมดา - บัตรอิเล็กทรอนิกส์ 4. ค่าลงทะเบียนรายวิชาช้ากว่ากําหนด 5. ค่าเทียบโอนประสบการณ์ หน่วยกิตละ 6. ค่าเทียบโอนผลการเรียนรู้รายวิชา หน่วยกิตละ 7. ค่าย้ายสาขาวิชาหลังจาก ภาคการศึกษาที่ 1 ครั้งละ 8. ค่ารักษาสภาพนักศึกษา ต่อภาคการศึกษา 9. ค่าคืนสภาพนักศึกษา 10. ค่าขึ้นทะเบียนผู้สําเร็จการศึกษา 11. ค่าออกใบรับรองต่าง ๆ ฉบับละ 12. ค่าออกระเบียนแสดงผลการเรียน ฉบับละ (ฉบับแรกไม่เรียกเก็บ) 13. ค่าใบแทนอนุปริญญาบัตร/ ประกาศนียบัตรสถาบันวิทยาลัย ชุมชน/ประกาศนียบัตรวิทยาลัย ชุมชน/ปวส./ปวช./สัมฤทธิบัตร

25

บาท

100

บาท

30 100 50

บาท บาท บาท

25

บาท

25

บาท

100

บาท

20 50 300 10

บาท บาท บาท บาท

50

บาท

50

บาท

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

25


1. ค่าธรรมเนียมการศึกษา ให้นักศึกษาชําระภายในเวลาที่กําหนด เมื่อชําระแล้วจะไม่คืนให้ เว้นแต่วิทยาลัยประกาศ งดการสอนหรือเปลี่ยนแปลงสถานที่ เวลา เป็นเหตุให้นักศึกษาไม่สามารถเรียนได้ หรือ นักศึกษาที่ขอถอนรายวิชาไม่เกิน 15 วัน นับตัง้ แต่วนั เปิดภาคการศึกษา จะพิจารณาคืนให้เฉพาะค่าเล่าเรียน และค่าบํารุงการศึกษาในส่วนทีเ่ ป็นค่าวัสดุฝกึ และ/หรืออุปกรณ์ การศึกษา 2. นักศึกษาที่มีความจําเป็นจะขอผ่อนผันการชําระเงินค่าลงทะเบียนรายวิชาและ/หรือ ค่าบํารุงการศึกษา ให้ยื่นคําร้อง ต่อผู้อํานวยการวิทยาลัยชุมชนเพื่อพิจารณาอนุญาต โดยต้องชําระเงินก่อน การสอบประจําภาคการศึกษานั้น ในกรณีที่ไม่สามารถชําระเงินภายในเวลาที่กําหนด ให้อยู่ในดุลยพินิจของผู้อํานวยการ วิทยาลัยชุมชนเป็นราย ๆ ไป 3. นักศึกษาทีข่ าดแคลนทุนทรัพย์ให้ยนื่ คาํ ร้องขอยกเว้นการชําระค่าธรรมเนียมการศึกษา ทัง้ หมดหรือบางส่วนต่อผูอ้ าํ นวยการ วิทยาลัยชุมชนเพื่อพิจารณาอนุมัติ 4. ประกาศนี้ ให้ใช้บังคับกับนักศึกษาที่เข้าใหม่ตั้งแต่ ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2561 เป็นต้นไป

26

ประกาศ ณ วันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2561

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562

(นายวีระชัย กวีธีระวัฒน์) ผู้อํานวยการสถาบันวิทยาลัยชุมชน


ระเบียบสถาบันวิทยาลัยชุมชน ว่าด้วยการจัดเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาในวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. 2561 เพือ่ ให้การจัดเก็บเงินค่าบํารุงการศึกษา ค่าเล่าเรียน และค่าธรรมเนียมทัว่ ไปของวิทยาลัยชุมชน เป็นไปด้วยความถูกต้อง และเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 12 และมาตรา 14 (11) แห่งพระราชบัญญัติสถาบัน วิทยาลัยชุมชน พ.ศ. 2558 ประกอบกับมติสภาสถาบันวิทยาลัยชุมชน ในคราวประชุมครั้งที่ 6/2561 เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2561 จึงออกระเบียบไว้ ดังนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบสถาบันวิทยาลัยชุมชน ว่าด้วยการจัดเก็บค่าธรรมเนียม การศึกษาในวิทยาลัยชุมชน พ.ศ. 2561” ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ในระเบียบนี้ “สถาบัน” หมายความว่า สถาบันวิทยาลัยชุมชน “สภาสถาบัน” หมายความว่า สภาสถาบันวิทยาลัยชุมชน “วิทยาลัย” หมายความว่า วิทยาลัยชุมชนแต่ละแห่ง “สภาวิทยาลัย” หมายความว่า สภาวิทยาลัยชุมชนแต่ละแห่ง “ผู้อํานวยการสถาบัน” หมายความว่า ผู้อํานวยการสถาบันวิทยาลัยชุมชน “ผู้อํานวยการวิทยาลัย” หมายความว่า ผู้อํานวยการวิทยาลัยชุมชนแต่ละแห่ง “นักศึกษา” หมายความว่า ผูส้ มัครเข้าศึกษา ทีไ่ ด้ขนึ้ ทะเบียนเป็นนักศึกษาหลักสูตร อนุปริญญา หลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพชัน้ สูง หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ หลักสูตรประกาศนียบัตร สถาบันวิทยาลัยชุมชน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิทยาลัยชุมชน หลักสูตรสัมฤทธิบัตร “ค่าธรรมเนียมการศึกษา” หมายความว่า ค่าบํารุงการศึกษา ค่าเล่าเรียน และค่าธรรมเนียมทั่วไป ข้อ 4 อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา ที่เก็บจากนักศึกษา ให้เป็นไปตามที่สถาบันกําหนด โดยจัดทําเป็นประกาศ ให้ผู้อํานวยการสถาบันมีอํานาจในการกําหนดและแก้ไขเปลี่ยนแปลงอัตราค่าธรรมเนียม การศึกษา และให้รายงานสภา สถาบันทราบ ข้อ 5 ค่าธรรมเนียมการศึกษา ให้นักศึกษาชําระภายในเวลาที่กําหนด เมื่อชําระแล้วจะไม่คืนให้ เว้นแต่วิทยาลัยประกาศ งดการสอนหรือเปลี่ยนแปลงสถานที่ เวลา เป็นเหตุให้นักศึกษาไม่สามารถเรียนได้ หรือนักศึกษาที่ขอถอนรายวิชาไม่เกิน 15 วัน นับตัง้ แต่วนั เปิดภาคการศึกษา จะพิจารณาคืนให้เฉพาะค่าเล่าเรียน และค่าบํารุงการศึกษาในส่วนทีเ่ ป็นค่าวัสดุฝกึ และหรืออุปกรณ์การศึกษา

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

27


ข้อ 6 ให้ผอู้ าํ นวยการวิทยาลัยกําหนดหลักเกณฑ์การยกเว้นค่าธรรมเนียมการศึกษาทัง้ หมด หรือบางส่วนสําหรับนักศึกษา ที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ตามระเบียบที่สภาสถาบันกําหนด ข้อ 7 ให้วิทยาลัยกําหนดอัตราการจัดเก็บค่าวัสดุฝึกและหรืออุปกรณ์การศึกษาของ แต่ละหลักสูตร โดยให้สอดคล้องกับ บริบทและสภาพเศรษฐกิจของแต่ละจังหวัด และเสนอสภาวิทยาลัย เพื่อขอความเห็นชอบ ทั้งนี้ให้อยู่ภายใต้กรอบอัตราที่สถาบัน กําหนด ข้อ 8 หากวิทยาลัยใดจัดหลักสูตรที่มีความจําเป็นต้องเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษามากกว่า อัตราที่กําหนด ให้วิทยาลัย โดยความเห็นชอบของสภาวิทยาลัยเสนออัตราค่าธรรมเนียมการศึกษาทีจ่ ะเรียกเก็บต่อผูอ้ าํ นวยการสถาบันเพือ่ จัดทาํ ประกาศต่อไป ข้อ 9 การเก็บค่าธรรมเนียมการศึกษาสาํ หรับนักศึกษาทีไ่ ม่มสี ญั ชาติไทย ให้วทิ ยาลัยจัดเก็บ ไม่ตำ�่ กว่าอัตราทีส่ ถาบันกําหนด หรืออาจเรียกเก็บเพิม่ ขึน้ ไม่เกินร้อยละห้าสิบ ทัง้ นี้ ให้เป็นดุลยพินจิ ของ วิทยาลัยในการพิจารณาเป็นรายกลุม่ หรือบุคคล และรายงาน สภาวิทยาลัย และผู้อํานวยการสถาบันทราบ ข้อ 10 ให้ผอู้ าํ นวยการสถาบันเป็นผูร้ กั ษาการตามระเบียบนีแ้ ละให้มอี าํ นาจวินจิ ฉัยตีความ เกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามระเบียบนี้

28

ประกาศ ณ วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2561

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562

(นางสิริกร มณีรินทร์) นายกสภาสถาบันวิทยาลัยชุมชน


งานบริการ และกิจการนักศึกษา

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

29


การบริการงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.)

วิทยาลัยชุมชนสตูลเป็นสถานศึกษาในสังกัดคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้เข้าร่วมในโครงการกองทุนเงินให้กู้ยืม เพือ่ การศึกษา(กยศ.) ตัง้ แต่ปกี ารศึกษา 2550 เป็นต้นมา นักศึกษาของวิทยาลัยชุมชนสตูลสามารถสมัครยืน่ แบบค�ำขอกูย้ มื เงินได้ ดังนี้ 1. ศึกษาคุณสมบัติผู้มีสิทธิ์กู้ยืมเงิน - นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (สายสามัญและสายอาชีพ) - นักศึกษาระดับอุดมศึกษา (อนุปริญญา ปริญญาตรี) ทั้งภาคปกติ ภาคพิเศษ - รวมทั้งการศึกษาประเภทอาชีวศึกษา (ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง อนุปริญญา ปริญญาตรี) 1) เป็นผู้มีสัญชาติไทย 2) เป็นผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ ที่มีรายได้ครอบครัวไม่เกิน 200,000 บาทต่อปี 3) เป็นผู้มีผลการเรียนดีหรือผ่านเกณฑ์การวัดและประเมินผลของสถาบันการศึกษา 4) เป็นผู้ที่มีความประพฤติดี ไม่ฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับของสถาบันการศึกษาขั้นร้ายแรง หรือไม่เป็น ผู้มีความประพฤติ เสื่อมเสีย 5) เป็นผู้ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามระเบียบหรือประกาศการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในโรงเรียนสถานศึกษาหรือ สถาบันการศึกษาที่อยู่ในสังกัด ควบคุม หรือก�ำกับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงหรือส่วนราชการอื่นๆ 6) ไม่เคยเป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาใดๆ มาก่อน 7) ไม่เป็นผู้ที่ท�ำงานประจ�ำในระหว่างการศึกษา 8) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย 9) ไม่เป็นหรือเคยได้รบั โทษจ�ำคุกโดยค�ำพิพากษาถึงทีส่ ดุ ให้จำ� คุก เว้นแต่เป็นโทษส�ำหรับความผิดทีไ่ ด้กระท�ำโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ 10) ต้องมีอายุในขณะที่ขอกู้ โดยเมื่อนับรวมกับระยะเวลาปลอดหนี้ 2 ปี และระยะเวลาผ่อนช�ำระอีก 15 ปีรวมกันแล้ว ต้องไม่เกิน 60 ปี 11) ต้องไม่มีงานท�ำ / ไม่มีรายได้ **การพิจารณาคุณสมบัตผิ ขู้ อกู้ สถานศึกษาจะพิจารณาเป็นรายปี ผูข้ อกูท้ มี่ คี ณ ุ สมบัตจิ ะได้กหู้ รือไม่ขนึ้ อยูก่ บั วงเงินกูย้ มื ที่สถานศึกษาได้รับจัดสรร

30

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


2. ขั้นตอนการด�ำเนินงานทุน กยศ.(กองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา) วิทยาลัยชุมชนสตูล ที่ วิทยาลัยชุมชนสตูล นักศึกษา 1. จัดเตรียมแบบค�ำขอกู้และประกาศให้ นักศึกษาทีส่ นใจและมีคณ ุ สมบัตเิ หมาะสมเข้าลงทะเบียน นักศึกษาทีส่ นใจและมีคณ ุ สมบัตเิ หมาะสม ในเว็บไซต์ของกองทุน www. studentloan.or.th แจ้งความจ�ำนงและยื่นแบบค�ำขอกู้ เพือ่ ลงทะเบียนขอรับรหัสผ่าน โดยใช้เลขบัตรประชาชน เป็น username และก�ำหนดรหัสผ่านในการเข้าสู่ ระบบ e-studentloan 2. แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาการกู้ยืม แจ้งความจ�ำนงและกรอกและยืน่ แบบค�ำขอกู้ ทีว่ ทิ ยาลัย พร้อมแนบหลักฐานที่รับรองส�ำเนาถูกต้อง 1)รูปถ่าย หน้าตรง 1 นิ้ว 1รูป 2) ส�ำเนาใบแสดงผลการเรียน 3) ส�ำเนาทะเบียนบ้าน 4) ส�ำเนาบัตรประชาชนอย่างละ 1 ฉบับ 3. เจ้าหน้าทีร่ วบรวมแบบค�ำขอกู้ และหลักฐาน โดยจัดประเภทเป็นผูก้ รู้ ายเก่าและรายใหม่ ในแต่ละชั้นปี 4. คณะกรรมการประชุมพิจารณาแบบค�ำขอ กู้ตรวจสอบ/เยี่ยมบ้านหรือสัมภาษณ์ นักศึกษาที่ขอกู้ 5. เจ้าหน้าที่ท�ำบันทึกกรอบวงเงินในระบบ e-studentloan ให้นักศึกษาที่ผ่านการ พิจารณา 6. เจ้าหน้าที่ท�ำประกาศรายชื่อผู้ผ่านการ นักศึกษาไปเปิดสมุดบัญชีธนาคารกรุงไทย/ธนาคาร พิจารณาฯและให้นักศึกษาท�ำสัญญา อิสลาม กู้ยืมกับ วชช.ให้ถูกตามระเบียบ กยศ. พร้อมหลักฐานต่างๆ ให้ครบถ้วน 7. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องของ นักศึกษาท�ำสัญญากูย้ มื และพิมพ์สญั ญา พร้อมหลักฐาน เอกสารสัญญาของนักศึกษาแต่ละคน ต่างๆ ให้ครบถ้วนตามระเบียบของกยศ. ส่ง ให้กับ วชช.สตูล จ�ำนวน 2 ฉบับ ได้แก่ 1. ส�ำเนาสมุดคู่ฝากของผู้กู้ยืม 2. ส�ำเนาทะเบียนบ้านและส�ำเนาบัตรประชาชนผู้กู้ 3. ส�ำเนาทะเบียนบ้านและส�ำเนาบัตรประชาชนผู้ค�้ำ 8. เจ้าหน้าที่ลงทะเบียนบันทึกข้อมูลและลง นักศึกษาลงนามในเอกสารแบบลงทะเบียนเรียน/ ทะเบียนผู้กู้ยืมในระบบ แบบยืนยันค่าเล่าเรียน ค่าครองชีพที่พิมพ์เอกสาร จากในระบบ e-studentloan

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาแจ้งเรื่อง การจัดสรรทุน กยศ.ให้ แต่ละสถาบัน

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

31


ที่ วิทยาลัยชุมชนสตูล 9. เสนอผอ.วชช. ลงนามเป็นผูใ้ ห้กยู้ มื ฯ ในท�ำสัญญากู้ยืมและเอกสารแบบ ลงทะเบียนเรียน/แบบยืนยัน ค่าเล่าเรียน ค่าครองชีพ 10. รวบรวมสัญญา พร้อมหลักฐาน การกู้ยืมและเอกสารแบบ ลงทะเบียนเรียน/แบบยืนยัน ค่าเล่าเรียน ค่าครองชีพ ของผู้กู้ยืม ทุกราย ส่งธนาคารกรุงไทย ส�ำนักงานใหญ่

นักศึกษา

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ธนาคารกรุงไทยส�ำนักงานใหญ่ พิจารณาหลักฐานในการโอน เงินเข้าบัญชีนักศึกษาหรือส่ง เอกสารกลับคืนสถานศึกษา ให้หลักฐานไม่ถูกต้อง

3. รายละเอียดการท�ำสัญญากู้ยืมเงิน กยศ. ผู้ค�้ำประกันในสัญญากู้ยืมเงิน 1. บิดา มารดา หรือผู้ปกครอง 2. กรณีบิดามารดาเสียชีวิต ให้ผู้ปกครองที่รับอุปการะเลี้ยงดูลงนามแทน 3. บุคคลที่ประกอบอาชีพมีรายได้น่าเชื่อถือ 4. กรณีคู่สมรสของผู้ค�้ำประกันไม่ให้ความยินยอมให้ผู้ค�้ำประกันลงนามฝ่ายเดียวได้ 5. กรณีไม่มีบุคคลค�้ำประกัน ให้ใช้หลักทรัพย์แทน 6. ต้องมาลงลายมือชื่อที่วิทยาลัย การลงนามค�้ำประกันในสัญญากู้ยืมเงิน ให้ผคู้ ำ�้ ประกันลงลายมือชือ่ ค�ำ้ ประกันในสัญญากูย้ มื ต่อหน้าสถานศึกษา หากผูค้ ำ�้ ประกันมีทอี่ ยูห่ า่ งไกลจากสถานศึกษาให้ จัดส่งสัญญาให้ผู้ค�้ำประกันลงลายมือชื่อค�้ำประกันได้ และต้องให้เจ้าพนักงานทะเบียนท้องที่ (อ�ำเภอ) หรือเจ้าพนักงานทะเบียน ท้องถิ่น (เทศบาลหรือส�ำนักงานเขต) ในเขตพื้นที่ที่ผู้ค�้ำประกันอาศัยอยู่ ลงนามรับรองลายมือชื่อของผู้ค�้ำประกัน บุคคลผู้รับรองรายได้ในสัญญากู้ยืมเงิน 1. ข้าราชการระดับ 5 ขึ้นไป หรือเทียบเท่า 2. หัวหน้าสถานศึกษา ที่ผู้ขอกู้ยืมศึกษาอยู่ 3. ผู้ปกครองท้องถิ่นระดับผู้ใหญ่บ้านขึ้นไป (ส่วนพนักงานรัฐวิสาหกิจ นายกเทศมนตรีหรือต�ำแหน่งอื่นที่นอกเหนือจากนี้ไม่สามารถรับรองได้) เรื่องอื่นที่ควรถือปฏิบัติ 1. ต้องไม่ท�ำสัญญาเกินขอบเขตวงเงินกู้ยืมที่ได้รับ 2. กรณีทตี่ อ้ งการแก้ไขแห่งใดในสัญญา สามารถท�ำได้โดยกลับเข้าสูร่ ะบบ e-Student loan และสัง่ พิมพ์ใหม่ตามขัน้ ตอน ในการขอกู้ยืมข้างต้น 32

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


3. เอกสารทุกฉบับต้องลงลายมือชื่อรับรองส�ำเนาถูกต้อง โดยเจ้าของเอกสารเป็นผู้ลงลายมือชื่อด้วยตนเอง ได้แก่ ผู้กู้ยืม บิดามารดา ผู้ปกครอง และผู้ค�้ำประกัน ผู้รับรองเงินเดือนหรือรายได้ เป็นต้น 4. ผู้กู้ยืมผู้ค�้ำประกันผู้แทนโดยชอบธรรม (กรณีผู้กู้ยืมยังไม่บรรลุนิติภาวะ) ต้องลงลายมือชื่อด้วยตนเอง 5. ผู้กู้ยืมผู้ค�้ำประกัน ผู้แทนโดยชอบธรรม (กรณีที่มิใช่บิดาหรือมารดา) ให้ใช้ทั้ง ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชน และ ส�ำเนาทะเบียนบ้าน และต้องรับรองส�ำเนาด้วยตนเองทุกฉบับ ในกรณีที่ผู้ค�้ำประกัน ผู้แทนโดยชอบธรรม เป็นบุคคลเดียวกันให้ใช้ ส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชน และส�ำเนาทะเบียนบ้านเพียงชุดเดียว 6. เอกสารสัญญาจัดท�ำขึ้น 2 ฉบับ มีข้อความถูกต้องตรงกันโดยผู้กู้ยืมต้องจัดเก็บสัญญากู้ยืมคู่ฉบับไว้กับตนเองจนกว่า จะช�ำระหนี้ได้เสร็จสิ้นแล้ว 7. ผูก้ ยู้ มื ต้องเก็บรักษาสมุดบัญชีเงินฝากและบัตรเอทีเอ็มไว้กบั ตนเอง แม้วา่ ในภายหลังจะบอกเลิกสัญญาการกูย้ มื ก็ตาม และไม่ควรให้ผู้อื่นทราบรหัสบัตรเอทีเอ็มของตน 8. เพื่อสิทธิประโยชน์ในอนาคตของผู้กู้ยืม ต้องแจ้งสถานภาพกับธนาคารกรุงไทย ได้ทราบในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลส่วนตัว (ใช้แบบฟอร์ม กยศ. 203) อันได้แก่ การเปลีย่ นชือ่ – นามสกุล การเปลีย่ นทีอ่ ยูป่ จั จุบนั และทีอ่ ยูต่ ามภูมลิ ำ� เนา การย้าย สถานศึกษา การส�ำเร็จการศึกษา การเลิกการศึกษา หากผูก้ ยู้ มื ไม่ได้ขอกูย้ มื เงินหรือไม่ได้รบั อนุมตั ใิ ห้กยู้ มื เงินต่อเนือ่ งในปีการศึกษาปัจจุบนั และไม่รายงานสถานภาพการศึกษา ต่อคณะกรรมการกองทุนฯ จะถือว่าผู้กู้ยืมได้ส�ำเร็จการศึกษาหรือเลิกการศึกษาแล้ว สรุปแนวปฏิบัติการเขียนสัญญากู้ยืมของผู้กู้รายใหม่ 1. การท�ำสัญญากู้ยืม ต้องท�ำไว้ 3 ฉบับ 2. เอกสารประกอบการท�ำสัญญากู้ยืม 2.1 สัญญากู้ยืม 2.2 ส�ำเนาสมุดบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ของธนาคารกรุงไทย/ธนาคารอิสลามของผู้กู้ 2.3 ส�ำเนาทะเบียนบ้านและส�ำเนาบัตรประชาชนของผู้กู้ / และผู้แทนโดยชอบธรรม 2.4 ส�ำเนาทะเบียนบ้านและส�ำเนาบัตรประชาชนของผู้ค�้ำ 3. ข้อควรระวัง 3.1 กรอกข้อมูลในสัญญาให้ถูกต้องและครบถ้วน รวมทั้งให้พยานลงนามในช่องพยานมาด้วย 3.2 สัญญาถ้ามีการแก้ไขให้เซ็นชื่อก�ำกับตรงจุดที่แก้ไขด้วย 3.3 หลักฐานประกอบสัญญากู้ยืมให้รับรองส�ำเนาให้ครบถ้วน 4. จ�ำนวนเงินที่ต้องระบุไว้ในสัญญา ค่าครองชีพ เป็นเงินกู้ยืมที่จ่ายเข้าบัญชีของนักศึกษาทุกเดือน ทุกภาคเรียนก็ต้องมายื่นแบบค�ำขอกู้

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

33


บริการด้านการรักษาพยาบาล

การด�ำเนินงาน ห้องพยาบาลให้บริการในด้านต่างๆดังนี้ 1. ให้บริการการปฐมพยาบาล 2. บริการผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล 3. บริการจัดยาสามัญประจ�ำบ้านแก่นักศึกษาที่ไปพัฒนาชุมชนออกค่ายบ�ำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม 4. บริการให้ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับสุขภาพแก่นักศึกษาและบุคลากร 5. ติดต่อหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการทางสุขภาพ การใช้บริการ ผู้ที่ต้องการใช้บริการของห้องพยาบาล ควรปฏิบัติดังนี้ 1. ชี้แจงถึงอาการของการเจ็บป่วยโดยละเอียด 2. ในกรณีที่นักศึกษาต้องการจะพักผ่อนในห้องพยาบาล ต้องแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบก่อนพร้อมทั้งชี้แจงถึงอาการของ การเจ็บป่วย

งานแนะแนว

บริการของฝ่ายแนะแนวเป็นงานบริการนักศึกษา มีจุดมุ่งหมายดังนี้ งานแนะแนวเป็นหน่วยงานหนึง่ ของส่วนกิจการนักศึกษาทีม่ จี ดุ มุง่ หมายเพือ่ ให้บริการด้านต่างๆให้แก่นกั ศึกษา มุง่ พัฒนา และส่งเสริมคุณลักษณะด้านร่างกาย อารมณ์ และสังคมที่พึงประสงค์ รวมทั้ง ป้องกันและช่วยเหลือ นักศึกษาในการแก้ไขปัญหา ในทุกด้านทีอ่ าจเกิดขึน้ ไม่วา่ จะเป็นทางตรงหรือทางอ้อม โดยการให้บริการให้คำ� ปรึกษาเป็นหลักตลอดจนเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูล ข่าวสาร ทีเ่ ป็นประโยชน์ทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การศึกษา และอาชีพ เปิดบริการให้กบั นักศึกษาและบุคลากร ทุกวัน เวลาท�ำการ ของวิทยาลัย บริการของงานแนะแนวประกอบด้วย 1) บริการสนเทศ เป็นบริการที่ให้ข่าวสารข้อมูล ข้อสนเทศที่เป็นประโยชน์โดยได้ด�ำเนินการรวบรวมข้อมูล เพื่อเผยแพร่แก่นักศึกษาใน ด้านต่างๆ เช่น การจัดท�ำแผ่นพับ ป้ายสนเทศ จัดนิทรรศการเกี่ยวกับการเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียน การปรับตัว การพัฒนา บุคลิกภาพ การส่งเสริมสุขภาพกาย สุขภาพจิต 2) บริการให้ค�ำปรึกษา เมือ่ นักศึกษาเกิดความกังวลใจไม่วา่ เรือ่ งใดงานแนะแนว พร้อมทีจ่ ะเป็นเพือ่ นและก�ำลังใจ ช่วยเหลือให้คำ� ปรึกษาในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม โดยวิทยาลัยมีห้องให้ค�ำปรึกษาโดยเฉพาะและกระบวนการทุกอย่างจะถูกเก็บเป็นความลับ ซึ่งบางโอกาสจะได้ขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและช�ำนาญการเป็นพิเศษ โดยบุคลากรงานแนะแนวทุกคนยึดหลัก จรรยาบรรณในการให้ค�ำปรึกษา

34

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


3) บริการแนะแนวการศึกษา นอกจากจะบริการในด้านข้อมูลข่าวสารต่างๆ แล้ววิทยาลัยยังมีบริการแนะแนวการศึกษาโดยเฉพาะอีกด้วย เช่น แนะแนว การเลือกสาขาวิชา ส�ำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 และแนะแนวการศึกษาต่อ ส�ำหรับนักศึกษาที่จะจบการศึกษา โดยการจัดในรูปของ การบรรยาย นิทรรศการ และแจกเอกสาร เพื่อให้นักศึกษาได้ข้อมูลที่ทันสมัยและเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ

การขอผ่อนผันการเข้ารับราชการทหาร

นักศึกษาชายที่มีอายุ 20 ปีบริบูรณ์ แต่ไม่ได้เรียนวิชาทหารและยังไม่พ้นการเกณฑ์ทหารวิทยาลัยชุมชนจะด�ำเนินการ ขอผ่อนผันการเข้ารับราชการทหารให้ภายในเดือนธันวาคมของทุกปี ฉะนัน้ นักศึกษาทีต่ อ้ งการ ขอผ่อนผันการเข้ารับราชการทหาร จะต้องติดตาม ประกาศของวิทยาลัยชุมชนสตูล ซึ่งจะแจ้งให้นักศึกษาทราบภายในเดือนธันวาคมและหลักฐานที่ต้องน�ำมายื่น ต่อกลุ่มงานบริการและงานกิจการนักศึกษา คือ 1. ค�ำร้องขอผ่อนผันการเข้ารับราชการทหาร 2. ส�ำเนา ส.ด. 9 จ�ำนวน 2 ฉบับพร้อมทั้งฉบับจริง 3. ส�ำเนาบัตรนักศึกษา จ�ำนวน 2 ฉบับ 4. ส�ำเนาบัตรประชาชน จ�ำนวน 2 ฉบับ 5. ส�ำเนาทะเบียนบ้าน จ�ำนวน 2 ฉบับ 6. ถ้ามีการเปลีย่ นแปลงชือ่ ตัว – สกุล หรือเป็นบุตรบุญธรรม ต้องน�ำเอกสารส�ำคัญมาแสดงพร้อมส�ำเนาอีก 2 ฉบับ หมายเหตุ 1. ในการขอผ่อนผันเข้ารับราชการทหารนี้ มีผลเฉพาะระยะการศึกษาระดับอนุปริญญาเท่านั้น 2. ตลอดระยะเวลาที่ผ่อนผันจะต้องรับหมายเกณฑ์จากูมิล�ำเนาเดิมและต้องไปแสดงตนวันที่ท�ำการตรวจเลือกตาม วัน เวลา ที่ระบุในหมายเกณฑ์ทุกครั้ง มิฉะนั้นจะมีความผิดตามพระราชบัญญัติรับราชการทหาร 3. ทางวิทยาลัยชุมชนสตูลจะท�ำเรื่องขอถอนเรื่องการผ่อนผันการเข้ารับราชการทหาร ทันทีที่นักศึกษาพ้นสภาพการ เป็นนักศึกษาของวิทยาลัยชุมชนสตูล ไม่ว่าเหตุใดๆ 4. ยื่นเอกสารที่กลุ่มงานบริการและกิจการนักศึกษา ก่อนวันที่ 30 ธันวาคม ของทุกปี เพื่อจะได้ด�ำเนินการต่อไป

งานองค์การนักศึกษา

องค์การนักศึกษา องค์การนักศึกษาจัดรูปแบบการด�ำเนินการโดยอยูภ่ ายใต้การควบคุม ดูแล ของกลุม่ งานบริการและงานกิจการนักศึกษา โดยรูปแบบการด�ำเนินการออกเป็น 2 ส่วน 1. องค์การนักศึกษา ซึ่งรับผิดชอบด้านการด�ำเนินกิจกรรมนักศึกษาของวิทยาลัยชุมชนสตูล 2. สโมสรนักศึกษา รับผิดชอบการด�ำเนินกิจกรรมนักศึกษาภายในสถานที่จัดการศึกษา วัตถุประสงค์ขององค์การนักศึกษา 1. เพื่อส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญของไทย 2. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมเสริมหลักสูตร และกระบวนการพัฒนานักศึกษา 3. เพื่อปลูกฝังและรักษาไว้ซึ่งวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีและเอกลักษณ์อันดีงามของท้องถิ่น STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

35


4. เพื่อเผยแพร่เกียรติคุณและชื่อเสียงของวิทยาลัยชุมชนสตูล 5. เพื่อเป็นศูนย์กลางในการประสานและด�ำเนินงานกิจกรรมนักศึกษา 6. เพื่อส่งเสริมความสามัคคีระหว่างนักศึกษา อาจารย์ และบุคลากรในวิทยาลัยชุมชนสตูล องค์การนักศึกษา คณะกรรมการองค์การนักศึกษาประกอบด้วย นายกองค์การนักศึกษา ซึ่งได้มาจากการสรรหาจากประธานสโมสร นักศึกษาสถานที่จัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชนสตูลทุกแห่งโดยประธานสโมสรนักศึกษาสถานที่จัดการศึกษาของวิทยาลัยชุมชน สตูลทุกแห่ง รองนายกองค์การนักศึกษา เลขานุการ เหรัญญิก ประชาสัมพันธ์ ปฏิคมและต�ำแหน่งอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการ องค์การนักศึกษาเห็นสมควร องค์การนักศึกษามีอ�ำนาจหน้าที่ดังนี้ 1. พิจารณา เห็นชอบโครงการของนักศึกษาสถานที่จัดการศึกษานั้น ๆ มายังกลุ่มงานบริการและกิจการนักศึกษาเพื่อ เสนอต่อวิทยาลัยชุมชนสตูลต่อไป 2. สร้างเครือข่ายและประสานงานกิจกรรมนักศึกษาของวิทยาลัยชุมชนสตูล 3. ควบคุม ดูแล การด�ำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษา ในสโมสรนักศึกษาสถานที่จัดการศึกษา ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย 4. จัดหางบประมาณ และควบคุมการใช้จ่ายงบประมาณเพื่อการจัดกิจกรรมของนักศึกษา 5. บริหารการด�ำเนินงานขององค์การนักศึกษา 6. เสนอระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ เกี่ยวกับนักศึกษาโดยผ่านทางกลุ่มงานบริการและกิจการนักศึกษาของวิทยาลัย ชุมชนสตูล 7. หน้าที่อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย

สโมสรนักศึกษา

สโมสรนักศึกษาเป็นศูนย์กลางการด�ำเนินงาน กิจกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษาในสถานที่จัดการศึกษาต่าง ๆ ของวิทยาลัย ชุมชนสตูล ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ทสี่ อดคล้องกับวัตถุประสงค์ขององค์การนักศึกษา คณะกรรมการสโมสรนักศึกษาประกอบด้วย ประธานสโมสรนักศึกษา ซึ่งได้มาจากการเลือกตั้ง รองประธานสโมสรนักศึกษา เลขานุการ เหรัญญิก ประชาสัมพันธ์ ปฏิคม และต�ำแหน่งอื่นๆ ตามที่ประธานสโมสรนักศึกษาเห็นสมควร สโมสรนักศึกษามีอ�ำนาจหน้าที่ดังนี้ 1. ด�ำเนินกิจกรรมสโมสรนักศึกษาให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และสอดคล้องกับนโยบายขององค์การนักศึกษา 2. จัดท�ำแผนและโครงการในการจัดกิจกรรมของสโมสรนักศึกษา 3. สนับสนุนการด�ำเนินกิจกรรมขององค์การนักศึกษา 4. หน้าที่อื่นๆตามที่ได้รับมอบหมาย

36

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


บทบาทหน้าที่ของนักศึกษา 1. ยึดถือการเรียนเป็นส�ำคัญ 2. ประพฤติตนอยู่ในระเบียบวินัย 3. สนใจร่วมกิจกรรมของวิทยาลัย กิจกรรมขององค์การนักศึกษา 4. ร่วมพัฒนาและบ�ำรุงรักษาสมบัติของวิทยาลัย 5. รักษาเผยแพร่ชื่อเสียงและเกียตริภูมิของวิทยาลัย 6. ให้ความเคารพเชื่อฟังครูอาจารย์

การแต่งกายของนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล

1. นักศึกษาชาย 1.1 เสื้อเชิ้ตแขนยาว สีขาวไม่มีลวดลาย ปกเชิ้ตคอตั้ง กระดุมสีขาว สอดเสื้อไว้ในกางเกงผูกเนกไทวิทยาลัย 1.2 กางเกงขายาวสีด�ำ ไม่มีลวดลาย ทรงสุภาพ เข็มขัดวิทยาลัยชุมชน 1.3 รองเท้าหุ้มส้นสีด�ำ รองเท้าผ้าใบหรือหนัง ถุงเท้าสีด�ำ 1.4 ไว้ผมทรงสุภาพ 2. นักศึกษาหญิงปกติทั่วไป 2.1 เสือ้ เชิต้ แขนสัน้ สีขาวไม่มลี วดลาย ปกตัง้ คอเชิต้ กระดุมสัญลักษณ์วทิ ยาลัยชุมชน ติดเครือ่ งหมายวิทยาลัย ที่อกเบื้องขวา 2.2 กระโปรงสีด�ำ ไม่มีลวดลาย สวมทับชายเสื้อ คาดเข้มขัดวิทยาลัยชุมชน 2.3 รองเท้าหุ้มส้นสีด�ำ ถุงเท้าสีด�ำ 2.4 ไว้ผมทรงสุภาพ 3. นักศึกษาหญิง(มุสลิมะห์) 3.1 เสื้อเชิ้ตแขนยาวสีขาวไม่มีลวดลาย ปกตั้งคอเชิ้ต กระดุมสัญลักษณ์วิทยาลัยชุมชน ผ้าคลุมสีขาวไม่มี ลวดลาย ติดเครื่องหมายวิทยาลัยที่อกเบื้องขวา 3.2 กระโปรงสีด�ำ ไม่มีลวดลาย 3.3 รองเท้าหุ้มส้นสีด�ำ ถุงเท้าสีด�ำ ไม่มีลวดลาย *** หมายเหตุ การสวมเครือ่ งแบบวิทยาลัย เป็นสิทธิเฉพาะนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูลเท่านัน้ การสวมเครือ่ งแบบในเวลาและสถานที่ ที่ไม่เหมาะสมจะส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์และชื่อเสียงของวิทยาลัย มีความผิดตามข้อบังคับของวิทยาลัยชุมชนสตูล ว่าด้วย เรื่องวินัยนักศึกษา พ.ศ.2560 จึงขอความร่วมมือให้นักศึกษาทุกคนค�ำนึกถึงศักดิ์และสิทธิ์ในเรื่องการแต่งเครื่องแบบของสถาบัน

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

37


งานทะเบียนและวัดผล

38


การปฏิบัติตนในการรับบริการ

นักศึกษาควรยึดแนวปฏิบัติในการรับบริการของวิทยาลัยชุมชนสตูล ดังต่อไปนี้ 1. แสดงบัตรนักศึกษาทุกครั้งที่มาติดต่อ 2. แต่งกายสุภาพเรียบร้อย 3. ติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่หรืออาจารย์ ด้วยกิริยาวาจาสุภาพ 4. เตรียมเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ให้พร้อม 5. ศึกษาขัน้ ตอนการขอรับบริการแต่ละงานโดยละเอียด เช่น การขอใบรับรองการเป็นนักศึกษา นักศึกษาต้องน�ำรูปถ่าย ขนาด 1 นิ้ว 2 รูป พร้อมแสดงบัตรนักศึกษา ควรปฏิบัติ ดังนี้ 5.1 พิมพ์คำ� ร้องทัว่ ไปผ่านระบบบริการการศึกษาวิทยาลัยชุมชนด้านงานทะเบียนวัดผลและประเมินผลนักศึกษา 5.2 ตรวจทานค�ำร้องที่พิมพ์ออกมาอย่างละเอียดชัดเจนก่อนอื่น 5.3 ผ่านขั้นตอนต่าง ๆ ที่ระบุในค�ำร้องให้ครบ 5.4 ติดตามผลหลังยื่นค�ำร้องแล้ว 3-5 วัน นักศึกษาควรวางแผนก่อนล่วงหน้า เตรียมหลักฐานและรูปถ่ายให้เรียบร้อย โดยยืน่ ค�ำร้องล่วงหน้าก่อนวันทีจ่ ะใช้ใบรับรอง หรือเอกสารอื่น อย่างน้อย 3-5 วัน 1. การลงทะเบียนวิชาเรียน 1.1 วิทยาลัยชุมชนจะก�ำหนดวัน เวลา สถานที่และวิธีการในการลงทะเบียนเรียนในแต่ละภาคเรียน นักศึกษาจะต้อง ลงทะเบียนเรียนตามวัน เวลาที่ก�ำหนด ในกรณีที่นักศึกษาไม่ลงทะเบียนเรียนตามที่ก�ำหนด จะต้องด�ำเนินการลงทะเบียนเรียนให้ เสร็จสิ้นภายในก�ำหนดวันสุดท้ายของการลงทะเบียน ตามประกาศ และต้องช�ำระค่าปรับการลงทะเบียนช้ากว่าก�ำหนด 1.2 นักศึกษาที่ไม่ลงทะเบียนเรียนตามก�ำหนดให้ลงทะเบียนได้ภายใน 15 วัน หลังจากก�ำหนดลงทะเบียนเรียน และ ช�ำระค่าปรับ 20 บาท 1.3 ภาคเรียนใดที่นักศึกษาไม่ได้ลงทะเบียนเมื่อพ้นก�ำหนดวันสุดท้ายของการลงทะเบียนเรียน ตามวันเวลาที่ก�ำหนด จะหมดสิทธิ์ในการลงทะเบียนส�ำหรับภาคเรียนนั้น ๆ 1.4 ภาคเรียนใดหากนักศึกษาไม่ได้ลงทะเบียนเรียนไม่ว่ากรณีใดๆ จะต้องขอรักษาสภาพโดยต้องช�ำระเงินเพื่อรักษา สภาพการเป็นนักศึกษา (ดูระเบียบปฏิบตั เิ กีย่ วกับการรักษาสภาพ/ลาพักการเรียน) มิฉะนัน้ จะถูกจ�ำหน่ายชือ่ พ้นสภาพจากการเป็น นักศึกษา 1.5 การลงทะเบียนรายวิชาต่าง ๆ ต้องได้รบั การอนุมตั จิ ากอาจารย์ทปี่ รึกษาและนายทะเบียนก่อน โดยอาจารย์ทปี่ รึกษา และนายทะเบียนจะลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐานในใบลงทะเบียนเรียน 1.6 ในแต่ละภาคเรียน นักศึกษาจะต้องลงทะเบียนเรียนวิชาต่างๆ ตามแผนการเรียนที่วิทยาลัยชุมชนก�ำหนด 1.7 การลงทะเบียนเรียนในแต่ละภาคเรียน ให้นักศึกษาปฏิบัติตามขั้นตอนการลงทะเบียน

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

39


2. การขอเพิ่ม - ถอนรายวิชาเรียน 2.1 นักศึกษาตรวจสอบรายวิชาที่จะลงเพิ่ม หรือถอนรายวิชา ตามวัน เวลาที่วิทยาลัยชุมชนก�ำหนด การเพิ่ม – ถอน รายวิชา โดยนักศึกษาต้องยื่นค�ำร้องขอลงทะเบียนเพิ่ม – ถอนรายวิชา ต้องด�ำเนินการให้เสร็จสิ้นภายในเวลาที่ก�ำหนด 2.2 นักศึกษารับและเขียนค�ำร้องขอเพิม่ - ถอนรายวิชาทีง่ านทะเบียน และในการขอเพิม่ - ถอนรายวิชาต้องได้รบั อนุมตั ิ จากอาจารย์ที่ปรึกษา และหัวหน้าสาขาวิชา 2.3 งานทะเบียนรับค�ำร้องและหัวหน้างานทะเบียนและวัดผลตรวจสอบกับตารางสอนแล้วจัดท�ำใบลงทะเบียนฉบับใหม่ ให้นักศึกษา นักศึกษาไม่สามารถลงทะเบียนเรียนเพิ่มมากกว่า ที่วิทยาลัยชุมชนก�ำหนดตามโครงสร้างหลักสูตร 2.4 นักศึกษาช�ำระค่าลงทะเบียนเรียนที่งานการเงิน โดยการด�ำเนินการเพิ่ม - ถอนรายวิชาให้ปฏิบัติตามขั้นตอนการ เพิ่ม – ถอนรายวิชา 3. การถอนรายวิชา (ระหว่างสัปดาห์ที่ 7-12 ของภาคการศึกษา) 3.1 นักศึกษาสามารถถอนรายวิชาเรียนได้ในช่วงสัปดาห์ที่ 7-12 ของภาคการศึกษา เนื่องจากมีเวลาเรียนไม่พอ หรือมี ผลคะแนน อาจ เป็น F ให้ด�ำเนินการยกเลิกรายวิชานั้นๆ (ไม่คืนค่าหน่วยกิต โดยนักศึกษาจะได้รับผลการเรียนเป็น W) 3.2 รายวิชาที่ถอนจะไม่นับหน่วยกิต แต่จะมีการบันทึก w ในใบระเบียนแสดงผลการเรียน 3.3 การขอถอนรายวิชาจะต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ผู้สอน 3.4 การขอถอนรายวิชา ต้องด�ำเนินการดังนี้ 3.4.1 นักศึกษาพิมพ์คำ� ร้องขอเพิม่ ถอนรายวิชาผ่านระบบบริการการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ด้านงานทะเบียน วัดผลและประเมินผลนักศึกษา 3.4.2 ติดต่ออาจารย์ผู้สอน เพื่อพิจารณาอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ถอนรายวิชา 3.4.3 เมื่อผู้สอนอนุญาต ให้น�ำเสนอขอความเห็นอาจารย์ที่ปรึกษาและงานทะเบียนต่อไป 3.4.4 ส่งค�ำร้องทีง่ านทะเบียน เพือ่ เสนอหัวหน้าสาขาวิชาพิจารณา และน�ำเสนอผูอ้ ำ� นวยการพิจารณาอนุญาต ต่อไป 4. การแก้เกรด “ I ” นักศึกษาต้องยืน่ ค�ำร้องขอแก้ผลการเรียน I ตามวันเวลาทีว่ ทิ ยาลัยก�ำหนดโดยให้เสร็จสิน้ ภายในภาคเรียนถัดมา ส�ำหรับ นักศึกษาที่ไม่มาด�ำเนินการติดต่อแก้ผลการเรียน I ตามเวลาที่ก�ำหนดจะปรับเป็น F โดยอัตโนมัติ มีขั้นตอนดังนี้ 4.1 นักศึกษายื่นค�ำร้องขอแก้ I ต่อฝ่ายวัดผล พร้อมกับติดต่ออาจารย์ที่ปรึกษา และอาจารย์ประจ�ำวิชาเพื่อให้ความ เห็นชอบในการแก้ผลการเรียน I 4.2 อาจารย์ประจ�ำวิชาออกแบบทดสอบหรือสั่งชิ้นงานเพิ่มเติม 4.3 นักศึกษาปฏิบัติตามค�ำสั่งอาจารย์ 4.4 อาจารย์ประจ�ำวิชาส่งผลการแก้ I ให้งานวัดผล ในช่วงเวลา 3 วันก่อนสอบภาคเรียนต่อไป 4.5 ฝ่ายงานวัดผลตรวจสอบที่มาของผลการเรียน I

40

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


4.6 หัวหน้างานทะเบียนและวัดผลน�ำเสนอผลการแก้ผลการเรียน I ต่อผูอ้ ำ� นวยการวิทยาลัยเพือ่ พิจารณาตรวจสอบและ อนุมตั ิ ในกรณีไม่ผ่านการอนุมัติ ฝ่ายวัดผลส่งคืนอาจารย์ประจ�ำวิชาตรวจสอบ 4.7 ฝ่ายงานวัดผลบันทึกผลการเรียน I ตามที่ได้รับการอนุมัติ 5. การรักษาสภาพนักศึกษาหรือการลาพักการเรียน 5.1 กรณีการรักษาสภาพ นักศึกษาทีไ่ ม่ได้ลงทะเบียนเรียน จะต้องด�ำเนินการรักษาสภาพให้เสร็จสิน้ ภายในเวลาก�ำหนด ให้ด�ำเนินการดังนี้ 1. นักศึกษาพิมพ์ค�ำร้องผ่านระบบบริการการศึกษาวิทยาลัยชุมชน ด้านงานทะเบียนวัดผลและประเมินผล นักศึกษา ในรายการที่ 2 2. พบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อให้ความเห็น และลงนามรับทราบ 3. ยื่นค�ำร้องที่งานทะเบียน นายทะเบียนให้ความเห็นชอบ 4. เสนอผู้อ�ำนวยการเพื่ออนุญาตต่อไป 5. ติดต่องานการเงินเพื่อช�ำระเงินค่ารักษาสภาพนักศึกษาเป็นเงิน 20 บาท 5.2 กรณีการลาพักการเรียน นักศึกษาทีล่ งทะเบียนเรียนแล้วไม่สามารถมาเรียนตามปกติและมีความประสงค์จะลาพัก การเรียนในภาคเรียนนั้น ให้ด�ำเนินการดังนี้ 1. นักศึกษารับแบบฟอร์มค�ำร้องการลาพักการเรียนที่งานทะเบียน 2. พบอาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ผู้สอนรายวิชานั้น ๆ เพื่อให้ความเห็น และลงนามรับทราบ 3. ยื่นค�ำร้องที่งานทะเบียน นายทะเบียนให้ความเห็น 4. เสนอหัวหน้ากลุ่มวิชาการฯ พิจารณา และเสนอผู้อ�ำนวยการพิจารณาอนุมัติต่อไป 5. นักศึกษาต้องกลับมาลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนถัดไป การลาพักการเรียน จะลาพักการเรียนได้ครั้งละไม่เกิน 2 ภาคการศึกษาติดต่อกัน ส�ำหรับนักศึกษาใหม่ที่ขึ้นทะเบียน นักศึกษาแล้ว ไม่สามารถยื่นค�ำร้องลาพักการเรียนหรือรักษาสภาพนักศึกษาในภาคเรียนแรกได้

6. การพ้นสภาพนักศึกษาและการขอคืนสภาพนักศึกษา 6.1 กรณีการพ้นสภาพ นักศึกษาต้องอยู่ในเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 1. สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 2. ลาออก 3. โอนย้ายสถานศึกษา 4. ถึงแก่กรรม 5. ไม่ลงทะเบียนเรียนติดต่อกันเกิน 2 ภาคการศึกษา และไม่ชาํ ระค่าธรรมเนียมการรักษาสภาพการเป็นนักศึกษา 6. เมื่อเรียนมาครบ 3 ภาคการศึกษาปกติ มีระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ถึง 1.75

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

41


6.2 กรณีการขอคืนสภาพนักศึกษา หากนักศึกษาลาออกหรือไม่มาลงทะเบียน หรือไม่รกั ษาสภาพ โดยไม่ลาพักการเรียน เป็นเวลา 2 ภาคเรียนติดต่อกัน ต้องการกลับเข้าเรียนขอคืนสภาพการเป็นนักศึกษา ให้ด�ำเนินการ ดังนี้ 1. รับใบค�ำร้องที่งานทะเบียน และกรอกรายละเอียดให้เรียบร้อย 2. พบอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อให้ความเห็นและลงนามรับทราบ 3. ยื่นเสนอหัวหน้าสาขาวิชาพิจารณา 4. เสนอผู้อ�ำนวยการอนุมัติ 5. งานทะเบียนจัดเก็บเอกสารในประวัตินักศึกษาต่อไป 7. การขอย้ายสาขาวิชา และการขอย้ายสถานที่เรียน 7.1 กรณีการย้ายสาขาวิชา นักศึกษาต้องศึกษาอยู่ในสาขาวิชาเดิมไม่น้อยกว่า 1 ภาคเรียน ต้องการจะย้ายสาขาวิชา ให้ด�ำเนินการ ดังนี้ 1. รับใบค�ำร้องที่งานทะเบียน และกรอกรายละเอียดให้เรียบร้อย 2. พบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อให้ความเห็นและลงนามรับทราบ 3. ยื่นค�ำร้องที่งานทะเบียนตรวจสอบประวัติการย้ายสาขาและการลงทะเบียน 4. ยื่นเสนอหัวหน้าสาขาวิชา และหัวหน้ากลุ่มงานฯ พิจารณา 5. เสนอผู้อ�ำนวยการอนุมัติ 6. งานทะเบียน ลบ – เพิ่ม ชื่อในบัญชีรายชื่อของสาขาวิชาเดิมและสาขาวิชาใหม่ 7.2 กรณีการย้ายสถานทีเ่ รียน นักศึกษาต้องศึกษาอยูใ่ นสถานทีเ่ รียนเดิมไม่นอ้ ยกว่า 1 ภาคเรียน ต้องการจะสถานทีเ่ รียน ให้ด�ำเนินการ ดังนี้ 1. พิมพ์ค�ำร้องผ่านระบบงานทะเบียนวัดผลและประเมินผลนักศึกษา 2. พบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อให้ความเห็นและลงนามรับทราบ 3. ยื่นค�ำร้องที่ฝ่ายงานทะเบียนตรวจสอบประวัติการย้ายและการลงทะเบียน 4. เสนอผู้อ�ำนวยการอนุมัติ 5. งานทะเบียน ลบ – เพิ่ม ชื่อในบัญชีรายชื่อห้องเดิมและห้องใหม่ 8. การย้ายระหว่างวิทยาลัยชุมชน 8.1 กรณีการย้ายเข้าวิทยาลัยชุมชนสตูล นักศึกษาที่ต้องการย้ายระหว่างวิทยาลัยชุมชน ให้ยื่นค�ำร้องขอย้ายเข้า พร้อมกับหลักฐาน ได้แก่ หนังสือส่งตัว และใบระเบียนผลการเรียนของวิทยาลัยชุมชนเดิม ให้ด�ำเนินการดังนี้ 1. นักศึกษายื่นหนังสือส่งตัวและหลักฐานจากวิทยาลัยเดิม (ได้แก่ ประวัตินักศึกษา และใบระเบียนแสดงผล การเรียนยังไม่ส�ำเร็จ) ที่งานธุรการ เพื่อให้ผู้อ�ำนวยการมอบหมายให้งานที่รับผิดชอบต่อไป 2. รับเอกสารรายงานตัวและขึน้ ทะเบียนนักศึกษา กรอกรายละเอียดทีง่ านทะเบียนเพือ่ ตรวจสอบและต�ำเนินการ 3. รับใบลงทะเบียนที่งานทะเบียนเพื่อกรอกรายละเอียด 4. น�ำใบลงทะเบียนผ่านอาจารย์ที่ปรึกษาลงนามรับทราบการลงทะเบียนของนักศึกษา 42

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


5. งานทะเบียนเพิ่มรายชื่อนักศึกษาในสาขาวิชาที่เรียนพร้อมท�ำบันทึกเสนอหัวหน้าสาขาเพื่อรับทราบ 6. น�ำเอกสารหลักฐานทั้งหมดเก็บเข้าแฟ้มประวัตินักศึกษา 8.2 กรณีการย้ายออกจากวิทยาลัยชุมชนสตูล นักศึกษาทีต่ อ้ งการย้ายระหว่างวิทยาลัยชุมชน ให้ยนื่ ค�ำร้องขอย้ายออก จากวิทยาลัยชุมชนสตูล ให้ด�ำเนินการดังนี้ 1. พิมพ์ใบค�ำร้องทั่วไปผ่านระบบบริการการศึกษาวิทยาลัยชุมชน ด้านงานทะเบียนวัดผลและประเมินผล นักศึกษา ขอย้ายเข้า-ออกระหว่างวิทยาลัยชุมชนและกรอกรายละเอียดให้เรียบร้อย 2. พบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อให้ความเห็นและลงนามรับทราบ 3. นักศึกษาติดต่องานห้องสมุดเพื่อตรวจสอบการยืม-คืนหนังสือ บรรณารักษ์ลงนามรับรอง 4. ยื่นค�ำร้องที่งานทะเบียนตรวจสอบด�ำเนินการ 5. งานทะเบียนจัดท�ำหนังสือส่งตัว เพื่อให้นักศึกษาน�ำไปรายงานตัวที่วิทยาลัยชุมชนใหม่ 6. เสนอผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยชุมชน อนุมัติและลงนามในหนังสือส่งตัว 9. การขอหนังสือรับรอง นักศึกษาที่ต้องการขอหนังสือรับรองต่าง ๆ เช่น หนังสือรับรองการเป็นนักศึกษา(ทบ.24) หนังสือรับรองการศึกษา (ทบ.26) ฯลฯ ให้ด�ำเนินการ ดังนี้ 1. พิมพ์ค�ำร้องผ่านระบบบริการการศึกษาวิทยาลัยชุมชน ด้านงานทะเบียนวัดผลและประเมินผลนักศึกษา ในรายการที่ 1 ค�ำร้องทั่วไป พร้อมแนบรูปถ่าย ชุดนักศึกษา ขนาด 1 นิ้ว 2 รูป 2. พบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อให้ความเห็นและลงนามรับทราบ 3. ยืน่ ค�ำร้องที่ งานทะเบียนตรวจสอบค�ำร้องและหลักฐาน พร้อมจัดท�ำหนังสือรับรองให้ผอู้ ำ� นวยการลงนาม และนายทะเบียนลงนามทับรูปถ่ายในใบรับรอง 4. ยื่นเสนอหัวหน้างานทะเบียน 5. เสนอผู้อ�ำนวยการพิจารณาอนุมัติ และลงนามในหนังสือรับรอง 10. การขอเปลี่ยนแปลงประวัตินักศึกษา นักศึกษาที่มีการเปลี่ยนแปลงค�ำน�ำหน้านาม (ยศ), ชื่อ-สกุล ให้ด�ำเนินการ ดังนี้ 1. พิมพ์ค�ำร้องผ่านระบบบริการการศึกษาวิทยาลัยชุมชน ด้านงานทะเบียนวัดผลและประเมินผลนักศึกษาใน รายการที่ 1 ค�ำร้องทั่วไป กรอกรายละเอียดให้เรียบร้อย พร้อมแนบหลักฐานส�ำคัญตามกรณีที่ขอเปลี่ยนแปลง ได้แก่ 1.1 การขอเปลีย่ นชือ่ พร้อมใบเปลีย่ นชือ่ ตัว, ส�ำเนาบัตรประชาชนทีร่ บั รองส�ำเนาถูกต้อง จ�ำนวน 1 ฉบับ 1.2 การขอเปลี่ยนนามสกุลและค�ำหน้านาม พร้อมทะเบียนสมรส, ส�ำเนาบัตรประชาชน ที่ได้รับรอง ส�ำเนาถูกต้องอย่างละ 1 ฉบับ 1.3 การขอเปลีย่ นยศ พร้อมหนังสือค�ำสัง่ เปลีย่ นยศ, บัตรประจ�ำต�ำแหน่ง รับรองส�ำเนาถูกต้องอย่างละ 1 ฉบับ

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

43


2. จ่ายค่าท�ำบัตรนักศึกษาใหม่ที่งานการเงิน และงานทะเบียนจัดท�ำบัตรนักศึกษาใหม่ เพื่อเสนอผู้อ�ำนวยการ อนุมัติและลงนามต่อไป ตามล�ำดับ 3. เสนอหัวหน้ากลุ่มวิชาการฯ ให้ความเห็นชอบ 4. เสนอผู้อ�ำนวยการอนุมัติ 5. นักศึกษาสามารถรับบัตรนักศึกษาได้ภายใน 7 วัน 11. การท�ำบัตรประจ�ำตัวนักศึกษา บัตรประจ�ำตัวนักศึกษาเป็นเอกสารทางราชการที่วิทยาลัยชุมชนจะออกให้กับนักศึกษาทุกคน ซึ่งนักศึกษาจะต้องแสดง บัตรทุกครั้งในการติดต่อกับวิทยาลัยและในการเข้าสอบปลายภาค นักศึกษาขอยื่นค�ำร้องขอมีบัตรประจ�ำตัวนักศึกษา ได้ดังนี้ 1. กรณีที่เป็นนักศึกษาเข้าใหม่ จะต้องขอท�ำบัตรตามวันเวลาที่วิทยาลัยก�ำหนด โดยกรอกค�ำร้องผ่านระบบ พร้อมรูปถ่ายชุดนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนตามที่ก�ำหนด ขนาด 1 นิ้ว 2 รูป 2. กรณีทที่ ำ� บัตรประจ�ำตัวนักศึกษาสูญหาย หรือเสียหาย ให้ยนื่ ค�ำร้องขอท�ำบัตรใหม่ ช�ำระเงินทีง่ านการเงิน พร้อมรูปถ่ายชุดนักศึกษาวิทยาลัยชุมชนตามที่ก�ำหนด ขนาด 1 นิ้ว 2 รูป 12. การขอส�ำเร็จการศึกษา ในภาคเรียนสุดท้ายของนักศึกษาที่เรียนครบหลักสูตร ได้รับระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต�่ำกว่า 2.00 ให้นักศึกษายื่นค�ำร้องขอ ส�ำเร็จการศึกษาล่วงหน้าของภาคเรียนที่จะส�ำเร็จการศึกษาให้ด�ำเนินการ ดังนี้ 12.1 นักศึกษาพิมพ์คำ� ร้องผ่านระบบบริการการศึกษาวิทยาลัยชุมชน ด้านงานทะเบียนวัดผลและประเมินผล นักศึกษา ระบบค�ำร้องในรายการที่ 6 ค�ำร้องขอส�ำเร็จการศึกษา กรอกข้อมูลรายละเอียด พร้อมแนบหลักฐาน ได้แก่ 1. ค�ำร้องขอส�ำเร็จการศึกษา (ทบ. 11 ร) 2. ส�ำเนาทะเบียนบ้าน 1 ฉบับ 3. ส�ำเนาประจ�ำตัวบัตรประชาชน 1 ฉบับ 4. ส�ำเนาวุฒิการศึกษา ม.ปลายหรือเทียบเท่า 1 ฉบับ 5. รูปถ่าย 1 นิ้ว แต่งกายชุดนักศึกษาเรียบร้อย 6รูป 6. เอกสารอื่น ๆ เช่น ทะเบียนสมรส ใบเปลี่ยนชื่อตัว และค�ำสั่งการเลื่อนยศต�ำแหน่งในกรณีที่ขอ เปลี่ยนยศ 12.2 นักศึกษารวบรวม เรียบเรียงเอกสารทีเ่ กีย่ วข้องกับการส�ำเร็จการศึกษาของนักศึกษาส่งให้งานทะเบียน ตามเวลาที่ก�ำหนด 12.3 งานทะเบียนตรวจสอบหลักฐานถูกต้องและครบถ้วน เพื่อการด�ำเนินการต่อไป

44

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


แนวปฏิบัติส�ำหรับนักศึกษา

การรายงานตัวและขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา นักศึกษารายงานตัวฯ และลงทะเบียน ตามวันเวลาที่ก�ำหนด โดยรับเอกสารการ รายงานตัวและขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา

นักศึกษากรอกรายละเอียดให้เรียบร้อย พร้อมแนบหลักฐานต่างๆ นักศึกษาช�ำระค่าลงทะเบียน และค่าธรรมเนียมต่าง ๆ

1. ส�ำเนาใบรายงานผลการศึกษา 3 ชุด 2. ส�ำเนาทะเบียนบ้าน 1 ชุด 3. หลักฐานการเปลี่ยนชื่อนามสกุล 4. รูปถ่ายชุดนักศึกษาวิทยาลัย ขนาด 1 นิ้ว 3 รูป 5. ส�ำเนาบัตรประชาชนของบิดา และมารดา จ�ำนวน 1 ฉบับ

นักศึกษาเข้ารับการปฐมนิเทศ

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

45


การลาพักการเรียน นักศึกษาพิมพ์ค�ำร้องขอลาพักการเรียน ผ่านระบบบริการการศึกษาวิทยาลัยชุมชน ด้านงานทะเบียนวัดผลและประเมินผลนักศึกษา

นักศึกษาพบอาจารย์ที่ปรึกษาลงนามรับทราบ ยื่นค�ำร้องเพื่อขออนุมัติที่งานทะเบียน เพื่อเสนอตามขั้นตอนให้ผู้อ�ำนวยการอนุมัติ นักศึกษาติดตามผลการอนุมัติค�ำร้อง ลาพักการเรียนจากงานทะเบียน นักศึกษาต้องกลับมาลงทะเบียนเรียน ในภาคเรียนถัดไป

46

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


การรักษาสภาพนักศึกษา นักศึกษาพิมพ์ค�ำร้องขอรักษาสภาพการเป็น นักศึกษา ผ่านระบบบริการการศึกษาวิทยาลัยชุมชน ด้านงานทะเบียนวัดผลและประเมินผลนักศึกษา นักศึกษาพบอาจารย์ที่ปรึกษาลงนาม รับทราบและให้ความเห็น นักศึกษาพบหัวหน้างานทะเบียน ลงนามรับทราบและให้ความเห็น นักศึกษาช�ำระเงินค่ารักษาสภาพนักศึกษา ที่งานการเงิน จ�ำนวน 20 บาท นักศึกษาพบหัวหน้าสาขาวิชา ลงนามรับทราบและให้ความเห็น นักศึกษายื่นค�ำร้องที่งานทะเบียน พร้อมแสดงใบเสร็จรับเงิน

การรักษาสภาพต้องด�ำเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน ระยะเวลาที่ก�ำหนดในปฏิทินการศึกษา STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

47


การขอส�ำเร็จการศึกษา นักศึกษาพิมพ์ค�ำร้องขอส�ำเร็จการศึกษา ผ่านระบบทะเบียน กรอกข้อมูลรายละเอียด พร้อมแนบหลักฐาน

นักศึกษารวบรวม เอกสารส่งงานทะเบียน ตามเวลาที่ก�ำหนด งานทะเบียนตรวจสอบหลักฐานถูกต้อง และครบถ้วน เพื่อการด�ำเนินการต่อไป

48

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562

หลักฐานที่แนบ 1. ค�ำร้องขอส�ำเร็จการศึกษา (ทบ. 11 ร) 2. ส�ำเนาทะเบียนบ้าน 1 ฉบับ 3. ส�ำเนาประจ�ำตัวบัตรประชาชน 1 ฉบับ 4. ส�ำเนาวุฒิการศึกษา ม.ปลายหรือเทียบเท่า 1 ฉบับ 5. รูปถ่าย 1 นิ้ว แต่งกายชุดนักศึกษาเรียบร้อย 6 รูป 6. เอกสารอื่น ๆ เช่น ทะเบียนสมรส ใบเปลี่ยนชื่อตัว และค�ำสั่งการเลื่อนยศต�ำแหน่ง ในกรณีที่ขอเปลี่ยนยศ


ส่วนที่ 3 หลักสูตร

49


1. ภาษาไทย หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ภาษาอังกฤษ Associate Degree in Early Childhood Education 2. ภาษาไทย หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น ภาษาอังกฤษ Associate Degree in Local Government 3. ภาษาไทย หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน ภาษาอังกฤษ Associate Degree in Community Development 4. ภาษาไทย หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการท่องเที่ยว ภาษาอังกฤษ Associate Degree in Tourism 5. ภาษาไทย หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาษาอังกฤษ Associate Degree in Business Computer 6. ภาษาไทย หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการจัดการ ภาษาอังกฤษ Associate Degree in Management

50

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


หลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561 .................................................

1. ชื่อหลักสูตร ชื่อภาษาไทย ชื่อภาษาอังกฤษ

หลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไป General Education Program

2. หน่วยงานที่รับผิดชอบ สถาบันวิทยาลัยชุมชน 3. หลักการและเหตุผล ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 3.1 หลักการและเหตุผล วิชาศึกษาทั่วไปเป็นหมวดวิชาบังคับในหลักสูตรอนุปริญญาของวิทยาลัยชุมชนเสริมสร้างความเป็นคนดี ปรับตัว ให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง มีทักษะที่จ�ำเป็นในการด�ำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กับหมวดวิชาเฉพาะหรือวิชาชีพ เพื่อพัฒนาก�ำลังคนทางวิชาการหรือวิชาชีพ ให้มีความสมบูรณ์ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมโดยหลักสูตรต้องปรับปรุง ให้มีความทันสมัยในทุกๆ ระยะ 4-5 ปี 3.2 ปรัชญา ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ด�ำเนินชีวิตด้วยปัญญา เป็นพลเมืองที่มีคุณค่าของชุมชนและสังคม 3.3 ความส�ำคัญ เป็นหมวดวิชาที่เสริมสร้างคุณลักษณะของความเป็นคนดี คนมีปัญญา และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างรับผิดชอบ มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสุข 3.4 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร หมวดวิชาศึกษาทั่วไป มุ่งเสริมสร้างความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความรู้รอบ รู้กว้าง เข้าใจ เห็นคุณค่าของตนเอง ครอบครัว ผูอ้ นื่ สังคม ศิลปวัฒนธรรม และธรรมชาติ เข้าใจความเปลีย่ นแปลงของสรรพสิง่ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง ด�ำเนินชีวติ ด้วยปัญญา คุณธรรม และจริยธรรม พร้อมให้ความช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ และเป็นพลเมืองที่มีคุณค่าของชุมชนและสังคม 4. มาตรฐานผลการเรียนรู้ 4.1ด้านคุณธรรม จริยธรรม (1) มีระเบียบวินัย ประพฤติตนตามระเบียบของสังคม (2) ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเอง และผู้อื่น (3) ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝ่เรียนรู้ (4) ประหยัด อดออม และเลือกใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

51


4.2 ด้านความรู้ (1) มีความรู้ และสามารถใช้ภาษาในการเรียนรู้และพัฒนาปัญญาได้อย่างต่อเนื่อง (2) มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรม และภูมปิ ญ ั ญา เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั มนุษย์ สังคม และธรรมชาติสิ่งแวดล้อม (3) มีความรู้ ความเข้าใจ เกีย่ วกับสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการเปลีย่ นแปลงทีส่ ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ นื่ (4) มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี 4.3 ด้านทักษะทางปัญญา (1) รู้จักคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า เชื่อมโยงความคิดอย่างองค์รวม (2) สามารถระบุประเด็นปัญหา วางแผน เสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหาอย่างมีคุณค่าและสร้างสรรค์ 4.4 ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (1) มีความสามัคคี สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น ท�ำงานอย่างมีส่วนร่วม มีภาวะผู้น�ำและผู้ตาม (2) มีจิตสาธารณะ เสียสละ เห็นคุณค่าแห่งการแบ่งปัน (3) มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ชุมชน สังคม และส่วนรวม สามารถพึ่งตนเองได้ 4.5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (1) ใช้วิธีทางคณิตศาสตร์และสถิติพื้นฐาน ในการศึกษาค้นคว้าและน�ำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม (2) มีทักษะในการสื่อสารและใช้ภาษาอย่างมีประสิทธิภาพ (3) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพชีวิต 5. โครงสร้างของหลักสูตร โครงสร้างหลักสูตรวิชาศึกษาทัว่ ไปปรับปรุงใหม่ ปี พ.ศ. 2561 เป็นโครงสร้างทีก่ ำ� หนดรายวิชาโดยยึดคุณลักษณะบัณฑิต ที่พึงประสงค์ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และปรัชญาวิชาศึกษาทั่วไปตามเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรระดับอนุปริญญา พ.ศ. 2548 เป็นแกนในการจัดท�ำโครงสร้างของรายวิชา และสอดแทรกเนือ้ หาหลักทีจ่ ำ� เป็นต่อการเรียนรู้ ของนักศึกษาในรายวิชาต่างๆ โดยโครงสร้างหลักสูตรประกอบด้วย 3 กลุ่มวิชา จ�ำนวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 5.1 กลุ่มวิชาภาษา ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกิต(ท-ป-ศ) ศท 0101 ภาษาไทยเพื่อการพัฒนาปัญญา 3(2-2-5) GE 0101 Thai for Intellectual Development ศท 0102 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 3(2-2-5) GE 0102 English for Communication 1 ศท 0103 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 3(2-2-5) GE 0103 English for Communication 2

52

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


ศท 0104 GE 0104 ศท 0105 GE 0105 ศท 0106 GE 0106 ศท 0107 GE 0107

การพัฒนาทักษะการพูดและการเขียน Skill Speaking and Writing Development ปัญญาจากวรรณกรรม WisdomThrough Literature ภาษาอังกฤษจากนันทนาการ EnglishThrough Recreation ภาษาประเทศเพื่อนบ้าน Neighboring Countries Language

5.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รหัสวิชา ชื่อรายวิชา ศท 0201 จังหวัดศึกษา GE 0201 Province Studies ศท 0202 ศิลปะและทักษะการใช้ชีวิต GE 0202 Arts and Skills for Self Development ศท 0203 พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม GE 0203 Civic Education ศท 0204 ศาสตร์พระราชา GE 0204 KingInitiative 5.3 กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ชื่อรายวิชา ศท 0301 การเข้าใจดิจิทัล GE 0301 Digital literacy ศท 0302 การคิดสร้างสรรค์และการแก้ปัญหา GE 0302 Creative Thinking and Problem Solving ศท 0303 วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต GE 0303 Science and Environment for Life ศท 0304 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส�ำเร็จรูป GE 0304 Computer Program ศท 0305 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจ�ำวัน GE 0305 Mathematics in Daily Life

3(2-2-5)

3(2-2-5)

3(2-2-5)

3(2-2-5)

ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต หน่วยกิต (ท-ป-ศ) 3 (2-2-5)

3 (2-2-5)

3 (2-2-5)

3 (2-2-5)

ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต หน่วยกิต (ท-ป-ศ) 3(2-2-5)

3 (2-2-5)

3 (2-2-5)

3 (2-2-5)

3 (2-2-5)

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

53


6. แนวทางการจัดการเรียนการสอน 6.1 รายวิชาบังคับ กลุ่มวิชาภาษา รหัสวิชา ชื่อรายวิชา ศท 0101 ภาษาไทยเพื่อการพัฒนาปัญญา GE 0101 Thai for Intellectual Development ศท 0102 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 GE 0102 English for Communication 1 ศท 0103 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 GE 0103 English for Communication 2

กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รหัสวิชา ชื่อรายวิชา ศท 0201 จังหวัดศึกษา GE 0201 Province Studies ศท 0202 ศิลปะและทักษะการใช้ชีวิต GE 0202 Arts and Skills for Self Development ศท 0203 พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม GE 0203 CivicEducation

จ�ำนวน 24 หน่วยกิต จ�ำนวน 9 หน่วยกิต หน่วยกิต(ท-ป-ศ) 3 (2-2-5) 3 (2-2-5) 3 (2-2-5) จ�ำนวน9 หน่วยกิต หน่วยกิต (ท-ป-ศ) 3 (2-2-5) 3 (2-2-5) 3 (2-2-5)

กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี จ�ำนวน6 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกิต (ท-ป-ศ) ศท 0301 การเข้าใจดิจิทัล 3 (2-2-5) GE 0301 Digital literacy ศท 0302 การคิดสร้างสรรค์และการแก้ปัญหา 3 (2-2-5) GE 0302 Creative Thinking and Problem Solving 6.2 วิชาเลือก 6 หน่วยกิต ให้เลือกเรียนรายวิชาจากกลุ่มวิชาภาษา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี

54

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


7. ค�ำอธิบายรายวิชา กลุ่มวิชาภาษา ศท 0101 ภาษาไทยเพื่อการพัฒนาปัญญา 3 (2-2-5) GE 0101 Thai for Intellectual Development การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาไทยในการสื่อสาร ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ทักษะการสื่อสาร การจับใจความส�ำคัญในการอ่านและการฟัง การมีวิจารณญาน วิเคราะห์ ตีความและประเมินค่า การฟังเชิงลึก สุนทรียสนทนา ความมีสุนทรียภาพทางภาษา การใช้ภาษาไทยในการแสวงหาความรู้ และสร้างสรรค์ ศท 0102 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร1 3 (2-2-5) GE 0102 English for Communication 1 ทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษ โดยเน้นค�ำศัพท์ ส�ำนวน โครงสร้างพื้นฐาน และวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษา เพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจ�ำวัน ศท 0103 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 3 (2-2-5) GE 0103 English for Communication 2 ทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษโดยเน้นค�ำศัพท์ ส�ำนวนโครงสร้างระดับกลาง และวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษา เพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจ�ำวัน การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการท�ำงาน หมายเหตุ: ต้องผ่านรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 มาก่อน ศท 0104 การพัฒนาทักษะการพูดและการเขียน 3 (2-2-5) GE 0104 SkillSpeaking and Writing Development ความส�ำคัญของทักษะการสือ่ สาร การพูดอย่างเป็นทางการ การเล่าเรือ่ งเพือ่ สร้างแรงบันดาลใจ การน�ำเสนอความคิดเห็น อย่างเป็นระบบ การน�ำเสนอผลงาน การเขียนความเรียง การเขียนรายงานการศึกาค้นคว้าและการท�ำงาน และการเขียนสรุปความ ฝึกปฏิบัติการพัฒนาทักษะการพูดและการเขียน ศท 0105 ปัญญาจากวรรณกรรม 3 (2-2-5) GE 0105 Wisdom through Literature วรรณกรรม คุณค่า และสุนทรียภาพจากวรรณกรรม การอ่าน การคิดวิเคราะห์ประเมินค่า โลกทัศน์ ค่านิยม ความเชื่อ เพื่อเชื่อมโยงมนุษย์กับผลงานสร้างสรรค์ด้านวรรณกรรม จากวรรณกรรมคัดสรร

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

55


ศท 0106 ภาษาอังกฤษจากนันทนาการ 3 (2-2-5) GE 0107 English Through Recreation ฝึกทักษะการฟังและการพูด โดยใช้กิจกรรรมนันทนาการเป็นสื่อช่วยในการถ่ายทอดความหมาย การน�ำค�ำศัพท์ ส�ำนวน ประโยค และการออกเสียง สามารถสื่อความคิดและความหมายได้ถูกต้อง ศท 0107 ภาษาประเทศเพื่อนบ้าน 3 (2-2-5) GE 0107 Neighboring Countries Languages ทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน ค�ำศัพท์และส�ำนวนที่ใช้สื่อสารในชีวิตประจ�ำวัน ความเข้าใจในวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษา (เลือกภาษาประเทศเพื่อนบ้านภาษาใดภาษาหนึ่งที่ใกล้กับที่ตั้งของวิทยาลัยชุมชน ภาษาเขมร (KhmerLanguage) ภาษา จีน (Chinese) ภาษาลาว (Laotian) ภาษามาเลเซีย (BahasaMalaysia) หรือภาษาพม่า (Burmese)) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศท 0201 จังหวัดศึกษา 3 (2-2-5) GE 0201 Province Studies บริบทชุมชนและจังหวัดของตนเอง ความเป็นชุมชนและความเข้มแข็งของชุมชนการศึกษาชุมชน เครื่องมือส�ำหรับ ปฏิบัติการเรียนรู้ชุมชนในภาคสนาม ปัญหาและแนวทางการพัฒนาชุมชน และการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน ศท 0202 ศิลปะและทักษะการใช้ชีวิต 3 (2-2-5) GE 0202 Arts and Skills for Self Development การวางจุดมุ่งหมายและการจัดการชีวิตปัญญาทางอารมณ์ หลักธรรมที่ใช้ในการด�ำเนินชีวิต ภาวะผู้น�ำ การรู้จักใช้เงิน การพัฒนาตนและการเห็นคุณค่าแห่งตน สุนทรียภาพของชีวิต การเรียนรู้บุคคลในชุมชนที่เป็นแบบอย่างการด�ำเนินชีวิต และ ด�ำรงชีวิตอย่างมีความสุข ศท 0203 พลเมืองกับความรับผิดชอบต่อสังคม 3 (2-2-5) GE 0203 Civic Education ความเป็นพลเมือง สิทธิ เสรีภาพ ความยุติธรรม หน้าที่ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม คุณค่าและเอกลักษณ์ที่ดี งามอย่างไทย การมีจิตอาสา และส�ำนึกสาธารณะ การมีส่วนร่วมในระบบประชาธิปไตย วิเคราะห์ปัญหา ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับ สังคม และเสนอแนวทางแก้ปัญหาในสังคมอย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม การจัดท�ำโครงการในบทบาทหน้าที่ของพลเมือง ศท 0204 ศาสตร์พระราชา 3 (2-2-5) GE 0204 KingInitiative ความเข้าใจเกีย่ วกับพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช(ร.9) หลักการทรงงาน หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด�ำริ การด�ำเนินชีวติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศกึ ษาหรือการจัดท�ำ โครงงาน 56

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี บังคับ 6 หน่วยกิต ศท 0301 การเข้าใจดิจิทัล 3 (2-2-5) GE 0301 Digital Literacy ความเข้าใจและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล การสื่อสารในยุคดิจิทัล การท�ำธุรกรรมออนไลน์ สังคมออนไลน์ การเรียนรู้และ การสืบค้นจากสื่อดิจิทัล การวิเคราะห์และรู้เท่าทันสื่อ น�ำเสนอในรูปแบบดิจิทัล ผลกระทบ ความปลอดภัย คุณธรรมจริยธรรม และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้สื่อและเทคโนโลยีดิจิทัล ศท0302 การคิดสร้างสรรค์และการแก้ปัญหา 3 (2-2-5) GE 0302 Creative Thinking and Problem Solving การคิดสร้างสรรค์ เทคนิค เครื่องมือ และกระบวนการคิดสร้างสรรค์ การฝึกคิดสร้างสรรค์ วิธีการแก้ปัญหา กระบวนการ ฝึกการคิดแก้ปัญหา ศท 0303 วิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต 3 (2-2-5) GE 0303 Science and Environmentfor Life กระบวนการคิดและการแก้ปญ ั หาทางวิทยาศาสตร์มนุษย์และสิง่ แวดล้อม ผลกระทบจากปัญหาสิง่ แวดล้อม วิกฤตพลังงาน ภาวะโลกร้อน และสารมลพิษในสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ศท 0304 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส�ำเร็จรูป 3 (2-2-5) GE 0304 Computer Program โปรแกรมส�ำเร็จรูปในการท�ำงาน การใช้งานและบ�ำรุงรักษาคอมพิวเตอร์ ฝึกโปรแกรมประมวลผลค�ำ ตารางค�ำนวณ และ การน�ำเสนองาน ในการพิมพ์และจัดท�ำรูปแบบเอกสาร การแสดงผลด้วยกราฟ การจัดการฐานข้อมูลเบือ้ งต้น การสร้างการน�ำเสนองาน การท�ำมัลติมีเดีย ศท 0305 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจ�ำวัน 3 (2-2-5) GE 0305 Mathematics in Daily Life วิธคี ดิ และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การให้เหตุผลแบบนิรนัยและอุปนัย การวัดในมาตราวัดต่างๆ การหาพืน้ ทีผ่ วิ และ ปริมาตร อัตราส่วนและร้อยละ การค�ำนวณภาษี ก�ำไร ค่าเสื่อมราคา ดอกเบี้ย และส่วนลด ขั้นตอนในการส�ำรวจข้อมูล วิธีการ เก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลและการน�ำเสนอข้อมูลเบื้องต้น ความน่าจะเป็น และการตัดสินใจเชิงสถิติเบื้องต้น

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

57


8. ตารางแผนการศึกษาวิชาศึกษาทั่วไปในแต่ละชั้นปี

58

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


9. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา คุณลักษณะพิเศษ ความเป็นพลเมือง

กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนักศึกษา 1. ส่งเสริมให้มีจิตและพฤติกรรมพลเมือง - ความรับผิดชอบต่อผู้อื่นและสังคม - การมีหน้าที่และเสรีภาพ - มีวินัย เคารพกฎ กติกา 2. จัดให้มีโครงการจิตอาสา

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

59


10. มาตรฐานผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน และกลยุทธ์การวัดและประเมินผล 10.1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม ผลการเรียนรู้ (1) มีระเบียบวินัย ประพฤติตนตามระเบียบของสังคม (2) ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเอง และผู้อื่น (3) ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝ่เรียนรู้ (4) ประหยัด อดออม และเลือกใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า กลยุทธ์การสอน (1) การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมโดยการบูรณาการเข้ากับรายวิชา (2) การเรียนรู้จากบุคคลต้นแบบ (3) จัดท�ำโครงงานที่สะท้อนถึงคุณธรรมและจริยธรรม กลยุทธ์การวัดและประเมินผล (1) ใช้แบบสังเกตพฤติกรรมโดยอาจารย์ผู้สอน กลุ่มเพื่อนนักศึกษา (2) ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมและผลงานของนักศึกษา (3) ผู้เรียนประเมินตนเอง 10.2 ด้านความรู้ ผลการเรียนรู้ (1) มีความรู้ ความสามารถในการใช้ภาษาในการเรียนรู้และพัฒนาปัญญาได้อย่างต่อเนื่อง (2) มีความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญา เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับ มนุษย์ สังคม และธรรมชาติสิ่งแวดล้อม (3) มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลกระทบต่อตนเอง และผู้อื่น (4) มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักการและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี กลยุทธ์การสอน (1) กิจกรรมเน้นผู้เรียนมีบทบาทในการคิดและการกระท�ำด้วยตนเอง หรือการกระท�ำเป็นกลุ่ม (2) กิจกรรมส่งเสริมให้ผเู้ รียนได้ศกึ ษาค้นคว้าแสวงหาความรู้ สรุปองค์ความรูด้ ว้ ยตนเอง และน�ำเสนอความรูไ้ ด้ (3) เรียนรู้จากสถานการณ์จริง การท�ำกิจกรรมโครงการ รวมทั้งแลกเปลี่ยนประสบการณ์ (4) ฝึกทักษะต่าง ๆ ที่เป็นจุดเน้นของแต่ละรายวิชา กลยุทธ์การวัดและประเมินผล (1) การก�ำหนดสัดส่วนน�้ำหนักการประเมิน ของแต่ละผลลัพธ์การเรียนรู้ (2) การประเมินย่อยเพื่อปรับปรุง พัฒนา และการประเมินผลรวม (3) ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา (4) การประเมินผลงานที่มอบหมาย 60

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


10.3 ทักษะทางปัญญา ผลการเรียนรู้ (1) รู้จักคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า เชื่อมโยงความคิดอย่างองค์รวม (2) สามารถระบุประเด็นปัญหา วางแผน เสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหาอย่างมีคุณค่าและสร้างสรรค์ กลยุทธ์การสอน (1) การฝึกทักษะย่อย (2) การจัดท�ำโครงการ หรือโครงงาน โดยการมอบหมายท�ำงานเป็นกลุ่ม (3) การอภิปรายกลุ่ม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (4) ฝึกคิดด้วยวิธีการต่าง ๆ กลยุทธ์การวัดและประเมินผล (1) การประเมินผลงานที่มอบหมาย (2) ประเมินความก้าวหน้าในการพัฒนาทักษะต่าง ๆ (3) ประเมินการท�ำงานร่วมกัน 10.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ผลการเรียนรู้ (1) มีความสามัคคี สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น ท�ำงานอย่างมีส่วนร่วม มีภาวะผู้น�ำและผู้ตาม (2) มีจิตสาธารณะ เสียสละ เห็นคุณค่าแห่งการแบ่งปัน (3) มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ชุมชน สังคม และส่วนรวม สามารถพึ่งตนเองได้ กลยุทธ์การสอน (1) การมอบหมายงาน หรือโครงการ (2) การฝึกการท�ำงานเป็นทีม (3) ฝึกบทบาทภาวะผู้น�ำ และผู้ตาม กลยุทธ์การวัดและประเมินผล (1) ประเมินกระบวนการการท�ำงานเป็นกลุ่ม (2) ประเมินผลงานของกลุ่ม (3) ประเมินภาวะผู้น�ำ และผู้ตาม 10.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ผลการเรียนรู้ (1) ใช้วิธีทางคณิตศาสตร์และสถิติพื้นฐาน ในการศึกษาค้นคว้าและน�ำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม (2) มีทักษะในการสื่อสารและใช้ภาษาอย่างมีประสิทธิภาพ (3) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพชีวิต

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

61


กลยุทธ์การสอน (1) ฝึกปฏิบัติ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติ (2) ฝึกการน�ำเสนอและการประเมินผลงานต่าง ๆ (3) ฝึกทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้จากการปฏิบัติงาน กลยุทธ์การวัดและประเมินผล (1) ประเมินกระบวนการปฏิบัติ (2) ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ (3) ประเมินความก้าวหน้าในการพัฒนาทักษะต่าง ๆ

11. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

62

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

63


1. หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรปรับปรุง 2561 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. ชื่อหลักสูตร ชื่อภาษาไทย: ชื่อภาษาอังกฤษ:

หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย Associate Program in Early Childhood Education

2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ไทย): ชื่อย่อ (ไทย): ชื่อเต็ม (อังกฤษ): ชื่อย่อ (อังกฤษ):

อนุปริญญา สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย อ.(การศึกษาปฐมวัย) Associate Degree in Early Childhood Education A.(Early Childhood Education)

3. วิชาเอก ไม่มี 4. จ�ำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร จ�ำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 91 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับอนุปริญญา 3 ปี ระดับที่ 1 ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 5.2 ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย 5.3 การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาที่เป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับช่วงชั้นที่ 4 หรือมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และคุณสมบัติอื่นๆ ตามระเบียบสถาบันวิทยาลัยชุมชนว่าด้วยการจัดการศึกษาหลักสูตรวิทยาลัยชุมชน พุทธศักราช 2560

64

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น เป็นหลักสูตรเฉพาะของวิทยาลัยชุมชน 5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษา ให้อนุปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร 6.1 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 ที่ปรับปรุงจากหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 6.2 เริ่มเปิดสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2561 เป็นต้นไป 6.3 สภาวิทยาลัยชุมชนสตูลอนุมัติการจัดการเรียนการสอน ในการประชุมครั้งที่ 8/2561 เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2561 6.4 สภาสถาบันวิทยาลัยชุมชนให้ความเห็นชอบหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 9/2561 เมื่อวันที่ 11/กันยายน/2561 7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมทีจ่ ะเผยแพร่คณ ุ ภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอนุปริญญา สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ในปี พ.ศ. 2562 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังส�ำเร็จการศึกษา 8.1 ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย 8.2 พี่เลี้ยงเด็กปฐมวัย 8.3 นักสร้างสรรค์กิจกรรมส�ำหรับเด็กปฐมวัย 9. ชื่อ นามสกุล เลขประจ�ำตัวบัตรประชาชน ต�ำแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ชื่อ-นามสกุล

เลขบัตรประจำ�ตัว ประชาชน

ตำ�แหน่งทางวิชาการ คุณวุฒิการศึกษา

สาขาวิชา

สำ�เร็จการศึกษาจาก สถาบัน

ปี

นางสาวชนัญญา ไทยนิวัฒน์วิไล 3 8012 00801 XXX

-

คม. คบ.

การศึกษาปฐมวัย การศึกษาปฐมวัย

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา

2551 2548

นายอดุลยศักดิ์ หมัดหมัน

3 9098 00807 XXX

-

คม. คบ.

หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา การศึกษาปฐมวัย สถาบันราชภัฎภูเก็ต

2550 2544

นางสาวอุไรรัตน์ บุญญานุพงศ์

3 9303 00555 XXX

-

กศ.ม. คบ.

หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยทักษิณ การศึกษาปฐมวัย สถาบันราชภัฎภูเก็ต

2549 2546

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

65


หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความส�ำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1.1 ปรัชญาของหลักสูตร พลังความรัก การดูแล การพัฒนา และการสร้างสรรค์พลังการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย คือพลังอนาคตของชุมชนและ สังคม 1.2 ความส�ำคัญของหลักสูตร เป็นหลักสูตรทีอ่ อกแบบตามทิศทางการพัฒนาประเทศและความรูใ้ หม่ เพือ่ ตอบสนองความต้องการของบุคคลทีป่ ฏิบตั ิ หน้าทีท่ เี่ กีย่ วข้องกับการพัฒนาเด็กปฐมวัยในชุมชนให้มสี มรรถนะในการดูแล พัฒนา และจัดการเรียนรู้ ส�ำหรับเด็กปฐมวัยให้มพี ฒ ั นาการ ที่สมบูรณ์พร้อมทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและปัญญา ได้อย่างถูกต้องและมีคุณภาพ 1.3 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ ดังนี้ (1) มีคุณธรรม จริยธรรม และจิตวิญญาณความเป็นครู (2) มีความรู้ เข้าใจ การดูแล พัฒนา และจัดการเรียนรู้ ส�ำหรับเด็กปฐมวัย (3) มีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ และทักษะการแก้ปัญหา (4) มีทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (5) สามารถออกแบบกิจกรรมและจัดประสบการณ์ การดูแล พัฒนา และการเรียนรู้ส�ำหรับเด็กแบบองค์รวม

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การด�ำเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ ระบบทวิภาค 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ส�ำหรับนักศึกษาทีต่ อ้ งลงทะเบียนเพิม่ เติมเพือ่ ให้เป็นไปตามโครงสร้างหลักสูตร 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค - ไม่มี –

66

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


2. การด�ำเนินการของหลักสูตร 2.1 วัน – เวลา ในการด�ำเนินการเรียนการสอน 2.1.1 ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือนพฤศจิกายน 2.1.2 ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนธันวาคม – เดือนพฤษภาคม 2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา เป็นผูส้ ำ� เร็จการศึกษาระดับช่วงชัน้ ที่ 4 หรือระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า และ คุณสมบัติอื่นๆ ให้เป็นไปตามข้อบังคับวิทยาลัยชุมชน

หมวดที่ 4 โครงสร้างหลักสูตรและค�ำอธิบายรายวิชา จ�ำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 91 หน่วยกิต หลักสูตร 1. จ�ำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 91 หน่วยกิต

2. โครงสร้างหลักสูตร จ�ำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 2) หมวดวิชาเฉพาะ (1) วิชาพื้นฐานวิชาชีพ (2) วิชาชีพ (2.1) วิชาบังคับ (2.2) วิชาเลือก (2.3) วิชาการฝึกงาน 3) หมวดวิชาเลือกเสรี

91 30 58 12 46 33 9 4 3

หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

67


แผนการเรียนตลอดหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 91 หน่วยกิต เปิดรายวิชาของนักศึกษาปี 2562

หมายเหตุ เปิดเรียนภาคฤดูร้อนเมื่อมีผู้เรียนลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นไม่น้อยกว่า 25 คน

68

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


หมายเหตุ เปิดเรียนภาคฤดูร้อนเมื่อมีผู้เรียนลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นไม่น้อยกว่า 25 คน

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

69


70

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


ค�ำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ ปว 0101 พัฒนาการเด็กปฐมวัย 3(3-0-6) EC 0101 Early Childhood Development แนวคิด ทฤษฎี และหลักการพัฒนาการเด็กปฐมวัย ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญา สมรรถนะเด็กปฐมวัย การส่งเสริมพัฒนาการและสมรรถนะเด็กปฐมวัย การเชื่อมต่อทางการศึกษาระหว่างระดับอนุบาลกับระดับประถมศึกษา ปว 0102 สมองกับการเรียนรู้ส�ำหรับเด็กปฐมวัย 3(3-0-6) EC 0102 Brain and Early Childhood Learning โครงสร้างและการท�ำงานของสมอง ทักษะสมองส่วนหน้า สมองกับการคิด การจัดประสบการณ์สง่ เสริมทักษะการท�ำงาน ของสมองส่วนหน้า ปว 0103 การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย 3(2-2-5) EC 0103 Care for Early Childhood หลักการ วิธีการ รูปแบบการอบรมเลี้ยงดูแต่ละช่วงวัย การสร้างวินัยเชิงบวก การให้ความรู้กับผู้ปกครอง บทบาทและ การท�ำงานร่วมกันของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู และชุมชน ปว 0104 การจัดการศึกษาปฐมวัย 3(3-0-6) EC 0104 Early Childhood Education แนวคิด ทฤษฎี หลักการจัดการศึกษาปฐมวัย องค์ประกอบและรูปแบบของการศึกษาปฐมวัย วิวัฒนาการของการศึกษา ปฐมวัย สิทธิเด็ก สถานการณ์และผลกระทบที่เกิดขึ้น แนวทางการแก้ปัญหา นโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ปว 0105 หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 3(3-0-6) EC 0105 Early Childhood Education Curriculum องค์ประกอบของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย หลักการพัฒนาหลักสูตร การจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษา การน�ำหลักสูตร ไปใช้ การประเมินหลักสูตร การประกันคุณภาพการศึกษา

ปว 0106 ทักษะทางภาษาส�ำหรับเด็กปฐมวัย 3(2-2-5) EC 0106 Language skill for Early Childhood ขอบข่ายและมาตรฐานการเรียนรู้ทางภาษา การจัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการด้านภาษา การวัดและประเมิน

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

71


ปว 0107 ทักษะวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย 3(2-2-5) EC 0107 Science and Mathematics Skills for Early Childhood ขอบข่ายและมาตรฐานการเรียนรูท้ างวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ การจัดประสบการณ์สง่ เสริมพัฒนาการด้านวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ การวัดและประเมิน ปว 0108 ดนตรีและศิลปะสร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย 3(1-4-4) EC 0108 Music and Creative Arts for Early Childhood ขอบข่ายและมาตรฐานการเรียนรู้ทางดนตรีและศิลปะสร้างสรรค์ การจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมพัฒนาการดนตรีและ ศิลปะสร้างสรรค์ การวัดและการประเมิน ปว 0109 สื่อการเรียนรู้ส�ำหรับเด็กปฐมวัย 3(1-4-4) EC 0109 Learning Materials for Early Childhood สื่อที่เหมาะสมส�ำหรับเด็กแต่ละช่วงวัย ประเภทของสื่อ การเลือกใช้สื่อ ปฏิบัติการผลิตสื่อและของเล่น ทดลอง และ ประเมินสื่อ การเล่นและเกมทางการศึกษา ห้องสมุดมีชีวิตส�ำหรับเด็กปฐมวัย ปว 0110 การจัดการเรียนรู้ 3(2-2-5) EC 0110 Learning Management แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรูแ้ ละการจัดการเรียนรู ้ การออกแบบและการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ การจัดประสบการณ์ ส�ำหรับเด็กปฐมวัยภายใต้บริบทของพหุวัฒนธรรม ฝึกปฏิบัติการจัดประสบการณ์ การประเมินผลการจัดการเรียนรู้ ปว 0111 การจัดการชั้นเรียน 3(3-0-6) EC 0111 Classroom Management แนวคิด หลักการ และแนวทางจัดการชัน้ เรียน การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ การออกแบบชัน้ เรียน การจัดสภาพแวดล้อม ทางกายภาพและจิตวิทยา ปว 0112 นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย 3(2-2-5) EC 0112 Innovations in Early Childhood Education ความหมาย แนวคิด รูปแบบนวัตกรรมการศึกษาปฐมวัยของไทยและต่างประเทศ การน�ำนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย มาออกแบบการจัดประสบการณ์ การพัฒนานวัตกรรมจากภูมิปัญญาท้องถิ่น

72

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


ปว 0113 การประเมินและสร้างเสริมพฤติกรรมเด็กปฐมวัย 3(2-2-5) EC 0113 Assessing and Enhancing Early Childhood Behavior หลักการ รูปแบบ และวิธีการประเมินพัฒนาการแต่ละช่วงวัย การใช้และพัฒนาเครื่องมือการประเมินพัฒนาการเด็ก การสร้างเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ การรายงานผลการประเมิน ปว 0114 การศึกษาพิเศษ 3(3-0-6) EC 0114 Special Education ปรัชญา แนวคิด หลักการ การจัดการศึกษาพิเศษ จิตวิทยาเด็กพิเศษ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับคนพิการ การบริการช่วยเหลือ ระยะแรกเริ่มของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ การจัดการศึกษาแบบเรียนรวม การออกแบบการเรียนรู้ที่เป็นสากล การจัดท�ำ แผนการศึกษาเฉพาะบุคคล บทบาทครูและความร่วมมือระหว่างครูและผู้ปกครอง ปว 0115 ความเป็นครู 3(3-0-6) EC 0115 Professional Teacher หลักการ แนวคิดของความเป็นครู จรรยาบรรณวิชาชีพครู มาตรฐานวิชาชีพครู บุคลิกภาพและจิตวิญญาณความเป็นครู ปฐมวัย ความเป็นครูเพื่อศิษย์ ภาวะผู้น�ำของครู ปว 0116 การบริหารจัดการองค์การการศึกษาปฐมวัย 3(3-0-6) EC 0116 Organizational Management in Early Childhood Education มาตรฐานสถานศึกษาปฐมวัย หน่วยงานพัฒนาเด็กปฐมวัย รูปแบบการบริหารงานขององค์การทางการศึกษาปฐมวัย การบริหารธุรกิจทางด้านการศึกษา ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการองค์การทางการศึกษาปฐมวัย ปว 0117 นิทานและวรรณกรรมส�ำหรับเด็กปฐมวัย 3(1-4-4) EC 0117 Folk-Tales and Literatures for Early Childhood Education ความหมาย ความส�ำคัญของนิทานและวรรณกรรม คุณค่า ประเภทของนิทานและวรรณกรรม การแต่งเพลง นิทาน ค�ำคล้องจอง และการผลิตวรรณกรรมที่เหมาะสมส�ำหรับเด็กแต่ละช่วงวัย การเล่านิทานเสริมสร้างจินตนาการของเด็ก ปว 0118 การวิจัยทางการศึกษาปฐมวัย 3(2-2-5) EC 0118 Research in Early Childhood Education ระเบียบและวิธีวิจัยทางการศึกษา รูปแบบการวิจัย การฝึกวิจัยในชั้นเรียน การน�ำเสนอผลงานวิจัย การน�ำผลการวิจัย มาพัฒนาเด็กปฐมวัย จรรยาบรรณนักวิจัย

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

73


ปว 0119 สุขอนามัยเด็กปฐมวัย 3(1-4-4) EC 0119 Health for Early Childhood Education หลักการดูแลสุขภาพอนามัย โภชนาการ ทันตกรรม การสร้างสุขนิสัยที่ดี การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การป้องกันโรค อุบัติเหตุ และอุบัติภัย ปว 0120 การฝึกประสบการณ์ 4 (300 ชั่วโมง) EC 0120 Field Experience in Early Childhood Education ฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการหรือศูนย์พัฒนาเด็ก เริ่มจากการเตรียมการเพื่อการฝึก การจัดท�ำแผนการฝึกที่มี รายละเอียดเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ กระบวนการ การประเมินผล และการปรับปรุงคุณภาพงาน ภายใต้ค�ำแนะน�ำช่วยเหลือของ อาจารย์นิเทศและพี่เลี้ยง

74

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


2. หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ลักษณะและข้อมูลทั่วไปของหลักสูตร

1. รหัสและชื่อหลักสูตร ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น ชื่อภาษาอังกฤษ : Associate Program in Local Government 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ไทย) : อนุปริญญา สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น ชื่อย่อ (ไทย) : อ. (การปกครองท้องถิ่น) ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Associate Degree in Local Government ชื่อย่อ (อังกฤษ) : A. (Local Government) 3. วิชาเอก ไม่มี 4. จ�ำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร จ�ำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต

5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับอนุปริญญา 3 ปี ระดับที่ 1 ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 5.2 ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย 5.3 การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาที่เป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับช่วงชั้นที่ 4 หรือมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และคุณสมบัติอื่นๆ ตามระเบียบสถาบันวิทยาลัยชุมชนว่าด้วยการจัดการศึกษาหลักสูตรวิทยาลัยชุมชน พุทธศักราช 2560 STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

75


5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ 5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษา ให้อนุปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร 6.1 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 ปรับปรุงจากหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 เปิดสอน ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2561 6.2 สภาวิทยาลัยชุมชนสตูลเห็นชอบหลักสูตรในการประชุม ครั้งที่ 8 วันที่ 9 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 6.3 สภาสถาบันวิทยาลัยชุมชนให้ความเห็นชอบหลักสูตรในการประชุม ครั้งที่ 9/2561 เมื่อวันที่ 11 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2561 7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ในปี พ.ศ. 2562 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังส�ำเร็จการศึกษา 1. เจ้าหน้าที่และพนักงานของรัฐ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชน 2. ผู้น�ำชุมชนและผู้บริหารท้องถิ่น 9. ชื่อ เลขประจ�ำตัวบัตรประชาชนต�ำแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ชื่อ-นามสกุล

76

เลขบัตรประจำ�ตัว ประชาชน

คุณวุฒิการศึกษา

สาขาวิชา

สำ�เร็จการศึกษาจาก สถาบัน

ปี

นางณิชาภัทร วรสันติกุล

3-9299-00350-XXX

รป.ม.

รัฐประศาสนศาสตร์

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

2549

นางนิสรีน ล่านุ้ย

3-9105-00159-XXX

ศศ.ม.

นโยบายและการวางแผนสังคม

มหาวิทยาลัยทักษิณ

2548

นายอดุลย์ มะมิง

3-9698-00168-XXX

รปม.

การจัดการภาครัฐ ส�ำหรับนักบริหาร

สถาบันบัณทิตพัฒนบริหารศาสตร์

2547

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความส�ำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1.1 ปรัชญาของหลักสูตร ประชาชนเข้มแข็ง ร่วมมือปกครองดูแลกันเอง คือความงอกงามไพบูลย์ของชุมชนและท้องถิ่น 1.2 ความส�ำคัญของหลักสูตร เป็นหลักสูตรที่สร้างคนคุณภาพให้กับท้องถิ่น เป็นก�ำลังส�ำคัญของการพัฒนาท้องถิ่น เพื่อไปสู่การพัฒนาประเทศ 1.3 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ ดังนี้ 1) มีคุณธรรม จริยธรรม ของนักบริหารจัดการท้องถิ่น 2) มีความรู้ ความเข้าใจ แนวคิด ทฤษฎี หลักการ การปกครองท้องถิ่น 3) มีทักษะมนุษยสัมพันธ์และความรับผิดชอบ ทักษะการบริหารจัดการท้องถิ่น และมีภาวะผู้น�ำ 4) มีทักษะการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การด�ำเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบการศึกษา ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน มี 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค ไม่มี 2. การด�ำเนินการหลักสูตร 2.1 ระยะเวลาของการด�ำเนินการเรียนการสอน 2.1.1 ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน - เดือนพฤศจิกายน 2.1.2 ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนธันวาคม - เดือนพฤษภาคม 2.1.3 ตลอดการศึกษาในหลักสูตรใช้เวลาการศึกษาได้ไม่เกิน 6 ปีการศึกษา และส�ำเร็จการศึกษาได้ไม่ก่อน 5 ภาคการศึกษาปกติ STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

77


2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา จบการศึกษาระดับช่วงชั้นที่เป็นผู้ส�ำเร็จหรือระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่าและ คุณสมบัติอื่นๆให้เป็นไปตามข้อบังคับวิทยาลัยชุมชน

หมวดที่ 4 โครงสร้างหลักสูตรและค�ำอธิบายรายวิชา หลักสูตร อนุปริญญา สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น มีโครงสร้างหลักสูตร ดังต่อไปนี้ 1. จ�ำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต 2. โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็นหมวดวิชา ดังนี้ โครงสร้างของหลักสูตร แบ่งเป็นหมวดวิชาทีส่ อดคล้องกับทีก่ ำ� หนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานอนุปริญญา พ.ศ. 2548 ดังนี้ 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 2. หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 57 หน่วยกิต 2.1 กลุ่มวิชาแกน จ�ำนวน 18 หน่วยกิต 2.2 กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน จ�ำนวน 39 หน่วยกิต 2.2.1 วิชาบังคับ จ�ำนวน 30 หน่วยกิต 2.2.2 วิชาเลือก จ�ำนวน 6 หน่วยกิต 2.2.3 วิชาการฝึกงาน จ�ำนวน 3 หน่วยกิต 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต

78

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


แผนการเรียนตลอดหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น 90 หน่วยกิต เปิดรายวิชาของนักศึกษาปี 2562

หมายเหตุ เปิดเรียนภาคฤดูร้อนเมื่อมีผู้เรียนลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นไม่น้อยกว่า 25 คน

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

79


หมายเหตุ เปิดเรียนภาคฤดูร้อนเมื่อมีผู้เรียนลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นไม่น้อยกว่า 25 คน

80

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

81


ค�ำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ ปท 0201 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์ 3 (3-0-6) LG 0201 Introduction to Political Science แนวคิด ทฤษฎี ขอบข่ายของหลักรัฐศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างวิชารัฐศาสตร์กับสาขาวิชาอื่น ความสัมพันธ์ระหว่าง รัฐกับประชาชน และกระบวนการทางการเมือง รัฐบาล รัฐสภา พรรคการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ ปท 0202 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย 3 (3-0-6) LG 0202 Introduction to Law ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย ได้แก่ ความหมาย ลักษณะ ประเภทของกฎหมาย ที่มาของกฎหมาย การจัดท�ำและเสนอ ร่างกฎหมาย การตีความ การบังคับใช้กฎหมาย กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายอาญา ระบบตุลาการ กระบวนการยุติธรรม ทางเพ่ง และกระบวนการยุติธรรมทางอาญา ปท 0203 การเมืองการปกครองของไทย 3 (3-0-6) LG 0203 Thai Politics and Government องคความรูทางการเมืองและการปกครอง ที่เปนประโยชนตอการเมืองและการปกครองของไทย การศึกษาเหตุการณ ทางประวัติศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองไทยของไทยด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ใหผูเรียนวิเคราะห์ ปรากฏการณทางการเมืองไทยตาง ๆ ปท 0204 การปกครองท้องถิ่น 3 (3-0-6) LG 0204 Local Government แนวคิดเกี่ยวกับการกระจายอ�ำนาจ พัฒนาการเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่น รูปแบบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประวัติและพัฒนาการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย โครงสร้าง องค์ประกอบ และอ�ำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นไทย ปัญหา ตลอดจนแนวโน้มการปกครองท้องถิ่นไทยในอนาคต ปท 0205 เศรษฐศาสตร์ทั่วไป 3 (3-0-6) LG 0205 General Economics เศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหาภาคด้านการเมืองและเชื่อมโยงกับการจัดสรรทรัพยากร พฤติกรรมหลักการของผู้บริโภค ปัจจัยที่ก�ำหนดอุปสงค์และอุปทานของสินค้า และปัจจัยการผลิตในตลาด การก�ำหนดรายได้ อุปสงค์และอุปทานของเงิน สภาพ และปัญหาเศรษฐกิจ รายได้ประชาชาติ การออม การลงทุนของประเทศ ตลอดจนแนวทางการแก้ไขของรัฐบาล การพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศ และการค้าระหว่างประเทศ 82

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


ปท 0206 องค์การและการบริหารงานภาครัฐ 3 (3-0-6) LG 0206 Organization and Public Administration การบริหารภาครัฐ การวางแผน การจัดองค์การ ทฤษฎีเกี่ยวกับองค์การ การบริการ การจัดคนเข้าท�ำงาน การสั่งการ หรือการอ�ำนวยการ การประสานงาน การรายงาน งบประมาณ และการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ปท 0207 การวิจัยทางสังคมศาสตร์เบื้องต้น 3(2-2-5) LG 0207 Introduction to Social Science Research ความหมาย ความส�ำคัญ รูปแบบและกระบวนการท�ำการวิจยั เบือ้ งต้น โดยวิเคราะห์สภาพปัญหาและศักยภาพของชุมชน ก�ำหนดหัวข้อการวิจัย การเขียนโครงการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ การแปลผลข้อมูล การเขียน รายงานวิจัย และการน�ำเสนอผลงานวิจัย ปท 0208 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ภาครัฐ 3 (3-0-6) LG 0208 Public Human Resource Management แนวคิดและนโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ตั้งแต่การวางแผนก�ำลังคน ปรัชญา ความเป็นมา การก�ำหนดงานและ ต�ำแหน่ง การก�ำหนดเงินเดือน และค่าตอบแทน การสรรหา การพัฒนาบุคคล การประเมินผล การปฎิบัติงาน การเลื่อนต�ำแหน่ง การปรับเลื่อนหมุนเวียน โยกย้าย การเสริมสร้างขวัญก�ำลังใจ การออกจากราชการ ศึกษาผลของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่มี ผลต่อสภาพแวดล้อม ทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ปท 0209 การบริหารโครงการและงบประมาณ 3 (3-0-6) LG 0209 Project and Budget Management หลักการเขียนโครงการ การด�ำเนินโครงการ การบริหารโครงการ การจัดท�ำงบประมาณ ตามหลักธรรมาภิบาล แนวคิด การบริหารจัดการโครงการ เทคนิคการบริหาร การควบคุมโครงการ การก�ำกับติดตามและประเมินผลโครงการ ให้สอดคล้องกับ บริบทของชุมชน ปท 0210 การบริหารงานคลังท้องถิ่น 3 (3-0-6) LG 0210 Local Financial Management ระบบงานคลังของหน่วยงานของรัฐและท้องถิน่ การจัดการการคลังส่วนท้องถิน่ ในมิตขิ องรายรับ รายจ่าย และเงินอุดหนุน การพึง่ ตนเองทางการคลัง ความสัมพันธ์ระหว่างการคลังและเศรษฐกิจท้องถิน่ หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงานคลังและงบประมาณ ท้องถิ่น การวิเคราะห์แผนและโครงการเพื่อการจัดสรรงบประมาณ การควบคุมงบประมาณและการตรวจสอบ การวิเคราะห์ งบดุลคลังท้องถิ่นข้อจ�ำกัดและแนวทางการพัฒนาระบบการคลังท้องถิ่น

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

83


ปท 0211 การบริหารการพัฒนาท้องถิ่น 3 (3-0-6) LG 0211 Local Administrative Development แนวคิดการบริหาร การพัฒนา การพัฒนาท้องถิ่น บนพื้นฐานของสังคมและวัฒนธรรมชุมชน วิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อการบริหารการพัฒนาท้องถิ่น การมีส่วนร่วมของประชาชน องค์กรเอกชน และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องบทบาทขององค์กร ปกครองท้องถิ่นในการพัฒนา ศึกษาและวิเคราะห์โครงการพัฒนาของท้องถิ่น ปท 0212 นโยบายสาธารณะและการวางแผน 3 (2-2-5) LG 0212 Public Policy and Planning แนวคิดและวิธกี ารในการก�ำหนดนโยบาย การวางแผน และการบริการสาธารณะ การน�ำนโยบายไปปฏิบตั ิ การประเมินผล ของนโยบาย การวิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับของแผน ขั้นตอนของการวางแผน สารสนเทศในการท�ำแผน การน�ำแผนไป ปฏิบัติ ปัญหาและอุปสรรคในการก�ำหนดนโยบายและการวางแผน การฝึกปฏิบัติในการจัดท�ำแผนในระดับท้องถิ่น ปท 0213 การเมืองภาคพลเมือง 3 (3-0-6) LG 0213 Civil Politics แนวคิดการเมืองภาคพลเมือง สิทธิ หน้าที่ และการมีส่วนร่วมของประชาชน กระบวนการสร้างส�ำนึกความเป็นพลเมือง การเคลื่อนไหวทางสังคม ภายใต้กรอบคุณธรรม จริยธรรม และกฎหมาย ปท 0214 ภาวะผู้น�ำ 3 (3-0-6) LG 0214 Leaderships แนวคิด และหลักการเกี่ยวกับภาวะผู้น�ำ คุณสมบัติ คุณลักษณะ และบทบาทหน้าที่ของผู้น�ำ ทักษะการแก้ไขปัญหา ความขัดแย้ง การสร้างทีมงาน ภาวะผู้น�ำและการบริหารการเปลี่ยนแปลง ศึกษากรณีตัวอย่างและฝึกทักษะการรับรู้ทางสังคม พฤติกรรมของบุคคลต่อสังคม การช่วยเหลือกันทางสังคม การสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคล การพัฒนาทัศนคติ การเสริมสร้าง จิตส�ำนึกทางสังคมที่ถูกต้อง เพื่อพัฒนาบุคลิกภาพการเป็นผู้น�ำชุมชน ปท 0215 สัมมนาการปกครองท้องถิ่น 3 (2-2-5) LG 0215 Seminar on Local Government หลักการสัมมนา ศึกษาการเมือง การปกครองท้องถิ่น การปกครองท้องถิ่นเปรียบเทียบ เศรษฐกิจและวัฒนธรรมท้องถิ่น บทบาทของท้องถิ่นเพื่อลดความเหลื่อมล�้ำทางสังคม การวิเคราะห์แนวโน้มการกระจายอ�ำนาจของท้องถิ่นในอนาคตในรูปแบบ การสัมมนา

84

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


ปท 0216 กฎหมายปกครอง 3 (3-0-6) LG 0216 Administrative Laws ประวัติ แนวความคิดและทฤษฎีทางการปกครอง ที่มาของกฎหมายปกครอง ระบบกฎหมายปกครองไทย ความสัมพันธ์ ระหว่างรัฐกับเอกชน การวิเคราะห์ปัญหาทางการปกครอง ค�ำสั่งทางปกครอง คดีปกครอง วิธีพิจารณาคดีปกครอง และพระราช บัญญัติราชการทางการปกครอง พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครอง

ปท 0217 กฎหมายอาญา 1 : ภาคทั่วไป 3 (3-0-6) LG 0217 Criminal Laws : General Principles ลักษณะของกฎหมายทั่วไป หลักทั่วไปของกฎหมายอาญา ความรับผิดทางอาญา ลักษณะของโทษ การก�ำหนดโทษ เหตุต่างๆอันเกี่ยวกับการลงโทษทางอาญา ตามประมวลกฎหมายอาญา ภาค 1 รวมถึงบทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดลหุโทษ ตาม ประมวลกฎหมายอาญา ภาค 3 ปท 0218 กฎหมายอาญา 2 : ภาคความผิด 3 (3-0-6) LG 0218 Criminal Laws : Offense แนวความคิดในการก�ำหนดความผิดประเภทต่าง ๆ และวิธีการลงโทษหลักกฎหมายเกี่ยวกับความผิดลักษณะต่าง ๆ ใน ภาค 2 ของประมวลกฎหมายอาญา และความผิดลหุโทษฐานต่างๆ หมายเหตุ : ก่อนลงทะเบียนเรียนรายวิชานี้ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชา กฎหมายอาญา 1 : ภาคทั่วไป มาก่อน ปท 0219 การจัดซื้อและจัดจ้าง 3 (3-0-6) LG 0219 Procurement แนวคิดการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐ ระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยการพัสดุฉบับปัจจุบนั หนังสือเวียน มติคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้อง ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) ว่าด้วย วิธีการจัดหา การจัดท�ำเอง การจัดซื้อจัดจ้าง การควบคุม บริหารสัญญา การตรวจสอบ การจ�ำหน่าย โดยเน้นกรณีศึกษาการจัดซื้อจัดจ้างในหน่วยงานของรัฐ ปท 0220 การจัดสวัสดิการสังคม 3 (3-0-6) LG 0220 Social Welfare Management แนวคิดและหลักการจัดสวัสดิการทางสังคมตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน แนวโน้มในอนาคต บทบาทหน้าที่ของรัฐ นโยบาย ด้านการบริการทางสังคมของรัฐ รูปแบบสวัสดิการสังคม บทบาทของรัฐท้องถิ่นและประชาชนในการจัดสวัสดิการทางสังคม เทคนิคการให้บริการสวัสดิการทางสังคม กรณีศึกษาการบริการสวัสดิการสังคมและชุมชน

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

85


ปท 0221 สุขภาวะชุมชน 3 (3-0-6) LG 0221 Community Health ความหมาย ความส�ำคัญและแนวคิดเรื่องสุขภาวะในชุมชน ตลอดจนนโยบายสุขภาพแห่งชาติ ระบบสุขภาวะชุมชน หลักประกันสุขภาพ การสาธารณสุขมูลฐาน ระบบบริการสุขภาพ การดูแลรักษาสุขภาพองค์รวม การอนุรกั ษ์ทรัพยากรสิง่ แวดล้อม และธรรมชาติ การประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการแพทย์ทางเลือกในการดูแลสุขภาวะชุมชน กรณีศึกษาเกี่ยวกับสุขภาพชุมชน ปท 0222 การจัดการท่องเที่ยวชุมชน 3 (2-2-5) LG 0222 Community Tourism Management ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน นโยบายรัฐเกี่ยวกับการท่องเที่ยว กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ การท่องเที่ยว ศึกษาวิเคราะห์ศักยภาพด้านการท่องเที่ยวของท้องถิ่น รูปแบบการจัดการท่องเที่ยว บทบาทของท้องถิ่นและชุมชน ต่อการท่องเที่ยว การวางแผน การวางกลยุทธ์การจัดการท่องเที่ยวของท้องถิ่นอย่างยั่งยืน ปท 0223 การจัดผังเมืองและการโยธา 3 (3-0-6) LG 0223 Public Works and Town & Country Planning หลักการ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องในการวางผังเมือง การจัดการวางผังเมือง การออกแบบผังเมืองในชุมชนกระบวนการวางผังเมือง มาตรการต่าง ๆ ในการวางผังเมือง ปท 0224 การสื่อสารเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 3 (3-0-6) LG 0224 Communication for Local Development กระบวนการสือ่ สาร วิเคราะห์ปญั หาของการสือ่ สารในท้องถิน่ บทบาทของสือ่ มวลชนในการพัฒนา การสือ่ สารในหลายรูปแบบ ในชุมชน การฝึกปฏิบัติด้านการสื่อสารในชุมชนร่วมกับหน่วยงานในระดับพื้นที่ ท้องถิ่น เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ปท 0225 การจัดการวิสาหกิจชุมชน 3 (3-0-6) LG 0225 Community Enterprise Management ความหมายและความส�ำคัญของเศรษฐกิจชุมชน ครัวเรือน ลักษณะแนวคิด ประเภท วิธีการ กระบวนการ รูปแบบและ พัฒนาการของวิสาหกิจชุมชน การจัดการ การตลาด การจัดการการผลิต การส่งเสริมการตลาด กลยุทธ์การพัฒนาความเข้มแข็ง ของวิสาหกิจชุมชน บทบาทของท้องถิ่นในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และกรณีศึกษาการจัดการวิสาหกิจชุมชน ปท 0226 รัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง 3 (3-0-6) LG 0226 Constitution and Political Institutions ทฤษฎีทั่วไปของรัฐธรรมนูญ แนวคิดเกี่ยวกับรัฐ อ�ำนาจรัฐ วิวัฒนาการของลัทธิรัฐธรรมนูญนิยม รูปแบบของรัฐธรรมนูญ การแบ่งแยกอ�ำนาจอธิปไตย ความสัมพันธ์ระหว่างอ�ำนาจ สถาบันการเมืองของประเทศที่ใช้ระบบการปกครองประชาธิปไตย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระบบการเมืองของประเทศและศึกษารัฐธรรมนูญไทยฉบับปัจจุบัน 86

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


ปท 0227 การฝึกประสบการณ์ 3(240 ชั่วโมง) LG 0227 Field Experience in Local Government ฝึกปฏิบัติงานด้านการปกครองท้องถิ่นในหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน หรือองค์กรอื่น ๆ การบริหารจัดการ โครงการ โดยเน้นงานวางแผนและนโยบาย งานคลังและงบประมาณ งานธุรการ งานบุคลากร งานให้บริการสาธารณะ งานส�ำรวจ ชุมชน การจัดเวทีประชาคม การประสานงานชุมชน การให้ความรู้ การจัดนิทรรศการ งานเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

87


3. หลักสูตรอนุปริญญาสาขาวิชาการพัฒนาชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. ชื่อหลักสูตร ชื่อภาษาไทย: หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน ชื่อภาษาอังกฤษ: Associate Program in Community Development 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ไทย): อนุปริญญา สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน ชื่อย่อ (ไทย): อ.(การพัฒนาชุมชน) ชื่อเต็ม (อังกฤษ): Associate Degree in Community Development ชื่อย่อ (อังกฤษ): A.(Community Development) 3. วิชาเอก -ไม่มี- 4. จ�ำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร จ�ำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรระดับอนุปริญญา 3 ปี ระดับที่ 1 ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 5.2 ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย 5.3 การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาที่เป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับช่วงชั้นที่ 4 หรือมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และคุณสมบัติอื่นๆ ตามระเบียบสถาบันวิทยาลัยชุมชนว่าด้วยการจัดการศึกษาหลักสูตรวิทยาลัยชุมชน พุทธศักราช 2560 88

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น -ไม่มี5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษา ให้อนุปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร 6.1 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 ปรับปรุงจากหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 6.2 เปิดสอนภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2561 6.3 สภาวิทยาลัยชุมชนอนุมัติการจัดการเรียนการสอน ในการประชุมครั้งที่ 8/2561 เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2561 6.4 สภาสถาบันวิทยาลัยชุมชนให้ความเห็นชอบหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 9/2561 เมื่อวันที่ 11/สิงหาคม/2561 7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่หลักสูตรอนุปริญญาสาขาวิชาการพัฒนาชุมชน ในปี พ.ศ. 2562 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังส�ำเร็จการศึกษา นักพัฒนาชุมชน นักพัฒนาอิสระ นักวิจัยชุมชน นักกิจกรรมเพื่อสังคม ผู้น�ำชุมชน นักพัฒนาสังคม อาสาสมัครชุมชน ศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี 9. ชื่อ-สกุล เลขประจ�ำตัวบัตรประชาชน ต�ำแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ชื่อ-นามสกุล

เลขบัตรประจำ�ตัว ประชาชน

คุณวุฒิการศึกษา

สาขาวิชา

สำ�เร็จการศึกษาจาก สถาบัน

ปี

นายธเนศ ทวีบุรุษ

3 9101 00261 XXX

ศศ.ม.

พัฒนามนุษย์และสังคม

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

2557

นายรชดี้ บินหวัง

1 9001 00023 XXX

ศศ.ม.

พัฒนามนุษย์และสังคม

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

2556

นางสาวทัศนีย์ โพธิ์ขวัญ

1 6698 00070 XXX

ศศ.บ.

พัฒนาสังคม

มหาวิทยาลัยนเรศวร

2553

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

89


หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร ปรัชญา ความส�ำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1.1 ปรัชญาของหลักสูตร การยอมรับศักดิศ์ รีความเป็นมนุษย์ และการร่วมมือจัดการตนเองอย่างสร้างสรรค์ จะเป็นพลังความเข้มแข็งของชุมชน 1.2 ความส�ำคัญ เป็นหลักสูตรทีเ่ สริมสร้างนักคิด นักพัฒนาชุมชน และนักประสานความร่วมมือ ในการสร้างการเปลีย่ นแปลง ชุมชน ให้เกิดความเข้มแข็ง 1.3 วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะ ดังนี้ (1) มีคุณธรรมจริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคม (2) มีความรู้ ความเข้าใจ ทฤษฎี แนวคิด เครื่องมือและนวัตกรรมในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น (3) มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์เชื่อมโยง แก้ปัญหาในการเรียนรู้ และประยุกต์ใช้องค์ความรู้ นวัตกรรมเพื่อ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและชุมชน (4) มีความสามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นๆ ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่น (5) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เครื่องมือ และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การด�ำเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ การจัดการศึกษาเป็นแบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ และ 1 ภาคฤดูรอ้ น หนึ่งภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน การจัดการเรียนการสอนในภาคฤดูร้อนมีระยะเวลาที่เทียบเคียงกับภาคปกติ คือ ไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค ภาคฤดูรอ้ นมีระยะเวลาทีเ่ ทียบเคียงกับภาคปกติ คือ ไม่นอ้ ยกว่า 15 สัปดาห์

90

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


2. การด�ำเนินการหลักสูตร 2.1 วัน-เวลาในการด�ำเนินการเรียนการสอน 2.1.1 ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – พฤศจิกายน 2.1.2 ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนธันวาคม – พฤษภาคม 2.1.3 ตลอดการศึกษาในหลักสูตรใช้เวลาการศึกษาได้ไม่เกิน 6 ปีการศึกษา 2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา เป็นผูส้ ำ� เร็จการศึกษาระดับช่วงชัน้ ที่ 4 หรือระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า และคุณสมบัตอิ นื่ ๆ ตามเกณฑ์ ที่วิทยาลัยชุมชนสตูลก�ำหนด

หมวดที่ 4 โครงสร้างหลักสูตรและค�ำอธิบายรายวิชา หลักสูตร 1. จ�ำนวนหน่วยกิต จ�ำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตรจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต 2. โครงสร้างหลักสูตร โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็นหมวดวิชาที่สอดคล้องกับที่ก�ำหนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอนุปริญญาของ กระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้ 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 2. หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 57 หน่วยกิต 2.1 วิชาแกน จ�ำนวน 18 หน่วยกิต 2.2 วิชาเฉพาะด้าน จ�ำนวน 40 หน่วยกิต 2.2.1 วิชาบังคับ จ�ำนวน 30 หน่วยกิต 2.2.2 วิชาเลือก จ�ำนวน 6 หน่วยกิต 2.2.3 วิชาการฝึกงาน จ�ำนวน 3 หน่วยกิต 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

91


แผนการเรียนตลอดหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน 90 หน่วยกิต เปิดรายวิชาของนักศึกษาปี 2562

หมายเหตุ เปิดเรียนภาคฤดูร้อนเมื่อมีผู้เรียนลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นไม่น้อยกว่า 25 คน

92

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


หมายเหตุ เปิดเรียนภาคฤดูร้อนเมื่อมีผู้เรียนลงทะเบียนเรียนในรายวิชานั้นไม่น้อยกว่า 25 คน

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

93


94

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


ค�ำอธิบายรายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ พช 0301 มานุษยวิทยาและสังคมวิทยาเบื้องต้น 3 (3-0-6) CD 0301 Introduction to Anthropology and Sociology ความหมาย ประวัตคิ วามเป็นมาของมานุษยวิทยา ลักษณะเด่นของมานุษยวิทยา สาขาย่อยของมานุษยวิทยา วิวฒ ั นาการ ทางด้านคุณภาพของมนุษย์ มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม เชื้อชาติของมนุษย์ ความเชื่อศาสนาและพิธีกรรม การสมรส ครอบครัวและ ระบบเครือญาติ แนวคิดของนักสังคมวิทยา วิธกี ารศึกษาสังคมวิทยา ความหมายและความส�ำคัญของสังคมวิทยา ทฤษฎีหลักของ สังคมวิทยา การจัดระเบียบทางสังคม การจัดช่วงชั้นทางสังคม กลุ่มสังคม สถาบันสังคม วัฒนธรรม การขัดเกลาทางสังคม กระบวนการทางสังคม พฤติกรรมรวมหมู่ พฤติกรรมเบี่ยงเบน การเสียระเบียบทางสังคม พช 0302 จิตวิทยาสังคม 3 (3-0-6) CD 0302 Social Psychology แนวคิดพฤติกรรม และสภาวะทางจิตของมนุษย์การรับรูท้ างสังคมพฤติกรรมของบุคคลต่อสังคมการช่วยเหลือกันทางสังคม สร้างสัมพันธภาพที่ดีกับบุคคล การเสริมสร้างจิตส�ำนึกและจิตสาธารณะทางสังคม การเสริมสร้างครอบครัว ชุมชน และสังคม พช 0303 แนวคิดทฤษฏีและหลักการพัฒนาชุมชน 3 (3-0-6) CD 0303 Theory and Principle of Community Development ความหมาย แนวคิด ปรัชญา หลักการ อุดมการณ์ และเป้าหมายของการพัฒนาชุมชน วาทกรรมการพัฒนา ปัญหาและ กระบวนการของการเปลีย่ นแปลงในด้านการพัฒนาของชุมชนจากอดีตมาจนถึงปัจจุบนั การน�ำทฤษฎีสงั คมศาสตร์ ไปใช้ในการพัฒนา ชุมชน โดยมุ่งพิจารณาความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง เพื่อประยุกต์ใช้ในการพัฒนาชุมชน อย่างมีประสิทธิภาพ พช 0304 การพัฒนาที่ยั่งยืน 3(2-2-5) CD 0304 Sustainable Development ความหมาย แนวคิดการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติสงิ่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน การพัฒนาสังคมเพือ่ การพัฒนา ที่ยั่งยืน โดยน้อมน�ำพระราชด�ำรัส หลักการทรงงาน หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ของรัชกาลที่ 9 และ การพัฒนาที่ยั่งยืน ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาชุมชน พช 0305 กระบวนการพัฒนาชุมชน 3(2-2-5) CD 0305 Processes of Community Development ความหมาย ลักษณะ ประเภทและโครงสร้างของชุมชน วิธีการ ขั้นตอน ขบวนการ และกระบวนการพัฒนาชุมชน โดย วิเคราะห์กระบวนการพัฒนาชุมชนแบบต่างๆ น�ำไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับชุมชน

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

95


พช 0306 การสร้างสังคมพลเมือง 3 (2-2-5) CD 0306 Citizenship ความเป็นมา ความหมาย แนวคิดทฤษฎีทเี่ กีย่ วกับพลเมือง ปัจจัยการพัฒนาสังคมพลเมือง บทบาทของการเมืองในการพัฒนา สังคมพลเมือง ลักษณะพลเมืองเปรียบเทียบ การศึกษาประชาสังคม การน�ำแนวคิดประชาสังคม เพื่อสร้างประชาสังคมและการมี ส่วนร่วมของประชาชน การพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง การส่งเสริมกิจการพลเมือง พช 0307 เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาชุมชน 3 (2-2-5) CD 0307 Promotion of Community Innovation ความหมาย ความส�ำคัญ และแนวคิดของ เทคโนโลยี และนวัตกรรมชุมชน การพัฒนาทักษะ กระบวนการเรียนรู้ เทคโนโลยีนวัตกรรมชุมชนท้องถิน่ การจัดการความรูภ้ มู ปิ ญ ั ญาท้องถิน่ การใช้เทคโนโลยีใน การพัฒนาชุมชน การปรับปรุงเทคโนโลยี ให้เหมาะสมกับการพัฒนาชุมชน การจัดท�ำโครงงานนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาชุมชน พช 0308 การพัฒนาชุมชนเปรียบเทียบ 3(3-0-6) CD 0308 Comparative Community Development วิเคราะห์เปรียบเทียบความเป็นมา ปรัชญา แนวคิด รูปแบบวิธีการด�ำเนินงาน ข้อดี ข้อเสีย ปัจจัยส�ำคัญ ของการพัฒนา ชุมชนในต่างประเทศ เปรียบเทียบกับประเทศไทย และประยุกต์ใช้ในชุมชนให้เหมาะสม พช 0309 เทคนิคและเครื่องมือการพัฒนาชุมชน 3 (1-4-4) CD 0309 Techniques and Tools for Community Development รูปแบบ ประเภทของเทคนิค และเครื่องมือต่างๆ ส�ำหรับใช้ในการพัฒนาชุมชนแต่ละขั้นตอน ตั้งแต่การศึกษา วิเคราะห์ ชุมชน การสร้างกระบวนการเรียนรู้ การเสริมพลังไปจนถึงการประเมินผลโครงการพัฒนาชุมชน วิธีการและเงื่อนไขการใช้เทคนิค และเครื่องมือ ปัญหาที่พบ และแนวทางป้องกันแก้ไข พช 0310 ยุทธศาสตร์และการวางแผนชุมชน 3(2-2-5) CD 0310 Strategic and Community Planning ความหมาย รูปแบบ หลักการ ของยุทธศาสตร์และการวางแผน ความคิดของชุมชนเชิงอนาคต การวางแผนชุมชนโดย การส่วนร่วม กระบวนการวางแผน ปฏิบัติการจัดท�ำยุทธศาสตร์และแผนชุมชน การประยุกต์ใช้ ปัญหาอุปสรรคและแนวทาง พัฒนาแผนชุมชน พช 0311 การบริหารโครงการ 3 (2-2-5) CD 0311 Project Management ความหมาย ประเภทของแผนงาน โครงการ หลักการเขียนโครงการ การน�ำโครงการไปสู่การปฏิบัติ การควบคุม ติดตาม ประเมินผลโครงการ การสร้างการมีส่วนร่วม การท�ำงานเป็นทีมในการจัดท�ำแผนและโครงการชุมชน การจัดท�ำงบประมาณ โดยเน้นผลลัพธ์ การประสานงานและการบริหารจัดการโครงการ 96

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


พช 0312 การวิจัยชุมชน 3 (2-2-5) CD 0312 Community Research ความหมาย ความส�ำคัญของการวิจัยชุมชน การวิเคราะห์ชุมชน เพื่อก�ำหนดประเด็นปัญหาวิจัยร่วมกัน โดยใช้ระเบียบ วิธวี จิ ยั การปฏิบตั กิ ารแบบมีสว่ นร่วมและการสร้างกรอบแนวคิดในการวิจยั เพือ่ การพัฒนาชุมชนโดยให้ชมุ ชนมีบทบาทหลักในการคิด และปฏิบัติ การวางแผนการวิจัยการปฏิบัติการ กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการ เทคนิค เครื่องมือ และวิเคราะห์ข้อมูล สรุปผล การน�ำเสนอผลการวิจยั และการใช้ประโยชน์จากการวิจยั ในการพัฒนาศักยภาพ สร้างการมีสว่ นร่วมและสร้างความเข้มแข็ง ของชุมชนท้องถิ่น พช 0313 วิทยากรกระบวนการ 3(1-4-4) CD 0313 Facilitator แนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับวิทยากรกระบวนการ เทคนิค ทักษะ การเป็นวิทยากรกระบวนการ กระบวนการการจัดการ เรียนรูแ้ บบมีสว่ นร่วม การเรียนรูอ้ ดีต การเรียนรูป้ จั จุบนั การเรียนรูอ้ นาคต และการเข้าใจตนเอง ฝึกปฏิบตั กิ ารเป็นวิทยากรกระบวนการ พช 0314 ผู้น�ำและอาสาสมัครเพื่อการพัฒนาชุมชน 3(2-2-5) CD 0314 Leader and Volunteer Work for Community Development แนวคิด ความหมาย ของผู้น�ำและอาสาสมัคร การสร้าง การสรรหาผู้น�ำและอาสาสมัคร จิตวิญญาณความเป็นผู้น�ำ อุดมการณ์และพฤติกรรมเรื่องจิตอาสา จิตสาธารณะ ที่เชื่อมโยงกับความรับผิดชอบต่อสังคม อันเป็นการบ่มเพาะให้เป็นผู้ที่มีจิตใจ ที่จะช่วยเหลือผู้อื่น อุทิศตนท�ำงานเพื่อประโยชน์ส่วนรวม การออกแบบกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ในงานพัฒนาชุมชน พช 0315 เศรษฐกิจชุมชน 3 (2-2-5) CD 0315 Community Enterprise แนวคิด หลักการ ความส�ำคัญ รูปแบบ และปัญหาของเศรษฐกิจชุมชน การจัดการเศรษฐกิจชุมชน การสร้างเครือข่าย ทางธุรกิจของชุมชนตั้งแต่ต้นทาง กลางทาง ปลายทาง กลไกส�ำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ ชุมชน การเพิ่มมูลค่าจากภูมิปัญญาท้องถิ่น การพัฒนาอาชีพและรายได้ การสร้างเศรษฐกิจฐานรากของชุมชนให้เข้มแข็งและ พึ่งตนเองได้ พช 0316 สหกรณ์กับการพัฒนาชุมชน 3 (2-2-5) CD 0316 Co-operative Management and Community Development แนวคิด หลักการ ความเป็นมา บทบาทและหน้าที่ รูปแบบ วิธีการ ของสหกรณ์ และแนวทางของการจัดการในลักษณะ ของสหกรณ์ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาชุมชน

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

97


พช 0317 ภาวะผู้น�ำกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3 (2-2-5) CD 0317 Leadership Development in Community ความหมาย คุณลักษณะ ประเภท บทบาท ภาวะผู้น�ำ แนวคิดและเครื่องมือในการพัฒนาภาวะผู้น�ำ ปัจจัยที่ก่อให้เกิด ภาวะผู้น�ำ แนวทางและวิธีการประเมินภาวะความเป็นผู้น�ำ เทคนิคในการอบรมผู้น�ำชุมชน การพัฒนามนุษย์ ด้าน จิต กาย วาจา และปัญญา สัมผัสแห่งความเป็นมนุษย์ จิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์ ทักษะการท�ำงานร่วมกัน พช 0318 ศาสนา ความเชื่อ และวัฒนธรรมกับการพัฒนาชุมชน 3 (3-0-6) CD 0318 Religious beliefs Culture and Local Community Development แนวคิด ความหมายของศาสนา ระบบความเชื่อและระบบคุณค่าทางวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ วัฒนธรรม ความเข้าใจเกี่ยวกับความจริง และการยอมรับความแตกต่างกัน การวิเคราะห์อิทธิพลที่มีผลต่อการพัฒนาชุมชน ความส�ำคัญ การปรับเปลี่ยน การเลื่อนไหลของวัฒนธรรมชุมชน วิถีชีวิต และวิธีคิดของชุมชนที่สัมพันธ์กับศาสนา ความเชื่อ และ วัฒนธรรม ในการพัฒนาชุมชน พช 0319 การจัดการปัญหาของชุมชน 3(2-2-5) CD 0319 Community Problem Management ความหมาย ความส�ำคัญ รูปแบบของปัญหา ปัจจัยที่เป็นสาเหตุของปัญหา วิเคราะห์ปัญหาของชุมชน เทคนิค แนวทาง การแก้ปัญหาในรูปของการท�ำงานเป็นกลุ่ม การป้องกันการเกิดซ�้ำของปัญหา ความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยง พช 0320 สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการ 3 (3-0-6) CD 0320 Social Work and Welfare แนวคิด ทฤษฎี หลักการการสังคมสงเคราะห์และหลักการสวัสดิการสังคม ปัญหาสังคมไทย นโยบายสวัสดิการสังคม รูปแบบ การจัดสวัสดิการสังคมไทย เทคนิคและกระบวนการในการด�ำเนินงานด้านสังคมสงเคราะห์และการให้บริการสวัสดิการสังคม การด�ำเนินงานสังคมสงเคราะห์ในระดับบุคคล กลุม่ และชุมชนวิเคราะห์ประเด็นปัญหาการด�ำเนินงานสังคมสงเคราะห์และการจัด บริการสวัสดิการสังคมและชุมชน พช 0321 การท่องเที่ยวโดยชุมชน 3 (2-2-5) CD 0321 Community Based Tourism ความส�ำคัญ ความรู้เกี่ยวกับการท่องเที่ยวทั้งกระแสหลักและท่องเที่ยวชุมชนนโยบายรัฐเกี่ยวกับการท่องเที่ยวรูปแบบ การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนผลกระทบจากการท่องเที่ยวต่อท้องถิ่นและชุมชนบทบาทของท้องถิ่นและชุมชนต่อการท่องเที่ยว ศึกษา วิเคราะห์ศักยภาพและทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวของท้องถิ่น

98

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


พช 0322 ระบบสุขภาวะชุมชน 3 (3-0-6) CD 0322 Community Health System แนวคิดเรือ่ งสุขภาวะนโยบายสุขภาพแห่งชาติระบบสุขภาวะชุมชนหลักประกันสุขภาพการสาธารณสุขมูลฐาน ระบบบริการ สุขภาพการประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการแพทย์ทางเลือกในการดูแลสุขภาพชุมชนท้องถิ่น ปัญหาสุขภาพชุมชนการวิเคราะห์ เกี่ยวกับสุขภาวะชุมชนด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญาการป้องกัน ฟื้นฟู และพัฒนาระบบสุขภาวะชุมชนท้องถิ่น พช 0323 การพัฒนาองค์กรชุมชนและเครือข่าย 3 (2-2-5) CD 0323 Community Organization and Network Development ความหมาย องค์ประกอบ ประเภทขององค์กรชุมชน ความส�ำคัญและความจ�ำเป็นในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของ องค์กรชุมชน โดยกระบวนการพัฒนากลุ่ม และองค์กรชุมชน หลักการพื้นฐานในการพัฒนาองค์กรชุมชน ศึกษาการด�ำเนินงาน ของเครือข่ายองค์กรชุมชน กระบวนการการสร้างเครือข่ายการเรียนรูข้ องชุมชน โดยเน้นเครือข่ายการเรียนรูแ้ ละเครือข่ายปฏิบตั กิ าร พช 0324 การสื่อสารเพื่อการพัฒนาอย่างสร้างสรรค์ 3 (2-2-5) CD 0324 Creative Communication ศึกษาแนวคิด รูปแบบ วิธกี าร และฝึกฝนพัฒนาทักษะการสือ่ สารในงานพัฒนาชุมชน ทัง้ การฟัง การพูด การคิด การอ่าน การเขียน และการเรียนรูแ้ บบกระบวนการกลุม่ ให้สามารถมีทกั ษะเหล่านีเ้ พือ่ พัฒนาไปสูก่ ารท�ำกิจกรรมและท�ำงานพัฒนาชุมชนได้ พช 0325 การจัดการทุนทางสังคม 3 (2-2-5) CD 0325 Social Capital Management ความหมาย ความส�ำคัญ ประเภทของทุน การจัดการทุนทางสังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์และ ใช้ประโยชน์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรม ประเพณี การพัฒนาต่อยอดสู่การสร้างมูลค่าเพิ่ม พช 0326 การศึกษาชุมชน 3(2-2-5) CD 0326 Community Study ความหมาย ความส�ำคัญ วิธีการ เทคนิค กระบวนการศึกษาชุมชน ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาชุมชนเพื่อใช้ในการ วิเคราะห์ชุมชนทั้งในเมืองและในชนบท และสามารถประยุกต์แนวคิดที่เรียนไปใช้ในการลงศึกษา และวิเคราะห์ข้อมูลชุมชนในเชิง ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ พช 0327 การฝึกประสบการณ์ 3 (300 ชั่วโมง) CD 0327 Field Experience in Community Development ฝึกปฏิบัติด้านการพัฒนาชุมชนในชุมชนหรือหน่วยงานต่างๆ ตามความเหมาะสม เพื่อให้ได้ความรู้ ทักษะ เจตคติและ ประสบการณ์ในงานพัฒนา เพื่อศึกษาชุมชนเชิงประเด็น โดยใช้กระบวนการวิจัยชุมชน จัดการความรู้ น�ำผลการศึกษามาวิเคราะห์ ปัญหา สร้างโครงสร้างและปฏิบัติงาน น�ำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาในพื้นที่ มาจัดกิจกรรมหรือโครงการพัฒนา ภายใต้การนิเทศ ของอาจารย์ประจ�ำสาขาวิชา ร่วมกับชุมชน STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

99


4. หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการท่องเที่ยว ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2562 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. ชื่อหลักสูตร ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) ชื่อภาษาอังกฤษ (ภาษาอังกฤษ)

หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการท่องเที่ยว Associate Program in Tourism

2. ชื่ออนุปริญญา ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) ชื่อย่อ (ภาษาไทย) ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ)

อนุปริญญา สาขาวิชาการท่องเที่ยว อ. (การท่องเที่ยว) Associate Degree in Tourism A. (Tourism)

3. วิชาเอก ไม่มี 4. จ�ำนวนหน่วยกิตที่เรียน ตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรอนุปริญญา 3 ปี ระดับที่ 1 ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.2 ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย 5.3 การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาที่เป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับช่วงชั้นที่ 4 หรือมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และคุณสมบัติ อื่นๆ ตามระเบียบสถาบันวิทยาลัยชุมชนว่าด้วยการจัดการศึกษาหลักสูตรวิทยาลัยชุมชน พุทธศักราช 2560

100

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่นหรือหน่วยงานอื่น - ไม่มี 5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษา ให้อนุปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร 6.1 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 ปรับปรุงจากหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการท่องเที่ยว พ.ศ. 2556 6.2 เปิดสอนภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2562 6.3 อนุกรรมการวิชาการวิทยาลัยชุมชนสตูล กลั่นกรองหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 5/2562 เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ.2562 6.4 สภาวิทยาลัยชุมชนสตูลอนุมตั กิ ารจัดการเรียนการสอน ในการประชุมครัง้ ที่ 5/2562 เมือ่ วันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ.2562 7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐาน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ในปีการศึกษา 2564 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังส�ำเร็จการศึกษา 8.1 มัคคุเทศก์ 8.2 ผู้น�ำเที่ยว 8.3 ผู้ประกอบการท่องเที่ยว 8.4 ประกอบอาชีพในหน่วยงานหรือองค์กรภาครัฐและภาคเอกชนในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ 9. อาจารย์ประจ�ำหลักสูตร ชื่อ-นามสกุล

เลขบัตรประจำ�ตัว คุณวุฒิการศึกษา ประชาชน

สาขาวิชา

สำ�เร็จการศึกษาจาก สถาบัน

ปี

นางสาวจารุวรรณ ธนะกิจ

3500300058XXX

บธ.ม. บธ.บ

การจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การจัดการการท่องเที่ยวและโรงแรม มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

2557 2556

นางสาวซาฟุเราะห์ สาเฮาะ

1910100102XXX

บธ.ม. ศศ.บ.

การจัดการการท่องเที่ยว การท่องเที่ยว

มหาวิทยาลัยสงขลาครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี

2558 2553

นางสาวเบญจวรรณ แก้วสวัสดิ์ 1909800159XXX

บธ.ม. ศศ.บ.

บริหารธุรกิจ การท่องเที่ยว

มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง

2554 2551

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

101


หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความส�ำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1.1 ปรัชญา มีวินัย ใจบริการ ช�ำนาญวิชาชีพ 1.2 ความส�ำคัญ ตอบสนองความต้องการก�ำลังคนทีม่ คี ณ ุ ภาพในชุมชน จังหวัด และภูมภิ าคใกล้เคียง จึงจ�ำเป็นต้องพัฒนาหลักสูตรนี้ เพือ่ ประโยชน์ในการแก้ปญ ั หาการขาดแคลนบุคลากรด้านการท่องเทีย่ วทัง้ เชิงปริมาณและคุณภาพ ตลอดจนเตรียมการเพือ่ รองรับ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน และประชาคมโลก 1.3 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ทักษะ และคุณลักษณะ ดังนี้ 1. มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตบริการ ไมตรีจิต และจรรยาบรรณวิชาชีพ 2. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการท่องเที่ยว การบริการ และมัคคุเทศก์ กระบวนการจัดน�ำเที่ยว ภาษาและ วัฒนธรรม และดิจิทัลเพื่อการท่องเที่ยว 3. มีทักษะการจัดการในงานอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและการบริการ 4. สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ในการปฏิบัติงานและพัฒนาอาชีพในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การด�ำเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร

1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษา ปกติ 1 ภาคการศึกษา มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน - ไม่มี 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค ใช้ระบบทวิภาคตามระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการ 2. การด�ำเนินการของหลักสูตร 2.1 ระยะเวลาของการด�ำเนินการเรียนการสอน 2.1.1 ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือนพฤศจิกายน 2.1.2 ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนธันวาคม – เดือนพฤษภาคม 2.1.3 ตลอดการศึกษาในหลักสูตรใช้เวลาการศึกษาได้ไม่เกิน 6 ปีการศึกษา 102

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา 2.2.1 ต้องส�ำเร็จการศึกษาไม่ตำ�่ กว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า 2.2.2 ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ทวี่ ทิ ยาลัยชุมชนสตูลก�ำหนด

หมวดที่ 4 โครงสร้างหลักสูตรและค�ำอธิบายรายวิชา โครงสร้างของหลักสูตร 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 2. หมวดวิชาเฉพาะ 2.1 วิชาพื้นฐานวิชาชีพ 2.2 วิชาชีพ 2.2.1 วิชาบังคับ 2.2.2 วิชาเลือก 2.2.3 วิชาการฝึกงาน 3. หมวดวิชาเลือกเสรี

ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต ไม่น้อยกว่า 57 หน่วยกิต จ�ำนวน 21 หน่วยกิต จ�ำนวน 36 หน่วยกิต จ�ำนวน 18 หน่วยกิต จ�ำนวน 15 หน่วยกิต จ�ำนวน 3 หน่วยกิต ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต

รายวิชาในโครงสร้างหลักสูตร 1) กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ จ�ำนวน 21 หน่วยกิต รหัสวิชา ชื่อรายวิชา น(ท-ป-ศ) กท 0901 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ 3(2-2-5) TR 0901 Tourism and Hospitality Industry กท 0902 จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายเพื่อธุรกิจบริการและการท่องเที่ยว 3(3-0-6) TR 0902 Professional Ethics and Laws for Tourism and Hospitality กท 0903 จิตวิทยาบริการและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม 3(3-0-6) TR 0903 Service Psychology and Cross Cultural Communication กท 0904 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ 3(3-0-6) TR 0904 Human Resource Management กท 0905 ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น 3(3-0-6) TR 0905 Local Arts and Culture กท 0906 ดิจิทัลเพื่อการท่องเที่ยวและบริการ 3(2-2-5) TR 0906 Digital for Tourism and Hospitality กท 0907 ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวและบริการ 3(2-2-5) TR 0907 English for Tourism and Hospitality STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

103


104

2) กลุ่มวิชาชีพ 2.1 วิชาบังคับ รหัสวิชา ชื่อรายวิชา กท 0908 โลจิสติกส์ส�ำหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว TR 0908 Logistics for Tourism Industry กท 0909 การวางแผนและพัฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยว TR 0909 Planning and Tourism Resource Development กท 0910 งานมัคคุเทศก์ TR 0910 Tour Guiding กท 0911 การตลาดการท่องเที่ยวและบริการ TR 0911 Tourism and Hospitality Marketing กท 0912 การจัดการธุรกิจน�ำเที่ยว TR 0912 Tour Business Management กท 0913 การวิจัยส�ำหรับการท่องเที่ยว TR 0913 Research for Tourism

2.2 วิชาเลือก รหัสวิชา ชื่อรายวิชา กท 0914 การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน TR 0914 Community- Based Tourism Management กท 0915 การจัดการท่องเที่ยวทางเลือก TR 0915 Alternative Tourism Management กท 0916 การจัดการธุรกิจการบิน TR 0916 Airline Business Management กท 0917 การจัดการประชุม นิทรรศการ และการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล TR 0917 Meetings, Incentive, Convention and Exhibition Management กท 0918 การจัดการอาหารและเครื่องดื่ม TR 0918 Food and Beverage Management กท 0919 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน TR 0919 Sustainable Tourism กท 0920 การสัมมนาการท่องเที่ยว TR 0920 Seminar on Tourism กท 0921 การบัญชีและการเงินส�ำหรับธุรกิจน�ำเที่ยว TR 0921 Accounting and Finance for Tourism Business

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562

จ�ำนวน 36 หน่วยกิต 18 หน่วยกิต น(ท-ป-ศ) 3(3-0-6)

3(2-2-5)

3(2-2-5)

3(3-0-6)

3(2-2-5)

3(2-2-5)

จ�ำนวน 15 หน่วยกิต น(ท-ป-ศ) 3(2-2-5)

3(2-2-5)

3(3-0-6)

3(2-2-5)

3(2-2-5)

3(2-2-5)

3(2-2-5)

3(2-2-5)


กท 0922 การจัดการอุทยานธรณี TR 0922 Geopark Management กท 0923 หัวข้อคัดสรรด้านการท่องเที่ยวและบริการ TR 0923 Selected Topic in Tourism and Hospitality

2.3 วิชาการฝึกงาน รหัสวิชา ชื่อรายวิชา กท 0924 การฝึกประสบการณ์ TR 0924 Field Experience

3(2-2-5)

3(2-2-5) จ�ำนวน 3 หน่วยกิต น(ชม.) 3(300 ชั่วโมง)

หมวดวิชาเลือกเสรี ให้เลือกเรียนรายวิชาต่างๆ จากหมวดวิชาศึกษาทัว่ ไปหรือหมวดวิชาเฉพาะในสาขาวิชาเดียวกันหรือต่างสาขาวิชาก็ได้ หรือ เลือกจากหลักสูตรอื่นใดในระดับเดียวกันจากวิทยาลัยชุมชนอื่นๆ โดยไม่ซ�้ำซ้อนกับรายวิชาที่เรียนมาแล้ว ส่วนรายวิชาที่หลักสูตร ระบุไม่ให้นับหน่วยกิตในการขอจบหลักสูตรจะเลือกเรียนเป็นวิชาเลือกเสรีไม่ได้โดยไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต ค�ำอธิบายรายวิชา กท 0901 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการ 3(2-2-5) TR 0901 Tourism and Hospitality Industry ความหมาย ความส�ำคัญ วิวัฒนาการ ลักษณะ องค์ประกอบของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ทรัพยากรการท่องเที่ยว มาตรฐานการท่องเที่ยว ประเภทธุรกิจบริการที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบขององค์กรทาง การท่องเที่ยวระดับชาติและนานาชาติ แนวโน้มการท่องเที่ยวโลกและภูมิภาค นโยบายการพัฒนาการท่องเที่ยวของรัฐ ผลกระทบ จากอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ฝึกปฏิบัติการน�ำเที่ยว เส้นทางตามประกาศคณะกรรมการธุรกิจน�ำเที่ยวและมัคคุเทศก์ กท 0902 จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายเพื่อธุรกิจบริการและการท่องเที่ยว 3(3-0-6) TR 0902 Professional Ethics and Laws for Tourism and Hospitality ความหมาย ความส�ำคัญของจรรยาบรรณวิชาชีพ พระราชบัญญัติ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับการธุรกิจน�ำเทีย่ วและมัคคุเทศก์ และกฎหมายอื่น ๆ ที่ธุรกิจน�ำเที่ยวและมัคคุเทศก์ควรทราบ กท 0903 จิตวิทยาบริการและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม 3(3-0-6) TR 0903 Service Psychology and Cross Cultural Communication แนวคิด ทฤษฎีจติ วิทยาการบริการ มนุษยสัมพันธ์ การประยุกต์ใช้ หลักการบริการ เทคนิคการจูงใจ การพัฒนาบุคลิกภาพ วาทศิลป์ เทคนิคการแก้ปัญหาในงานบริการ วิเคราะห์พฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างประเทศ

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

105


กท 0904 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ 3(3-0-6) TR 0904 Human Resource Management แนวคิด ทฤษฎี หลักการจัดการบุคลากรในอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเทีย่ ว การสรรหา การจ้างงาน การพัฒนา และฝึกอบรม วินยั พนักงาน สวัสดิการและผลประโยชน์ การวิเคราะห์ การออกแบบต�ำแหน่งงาน และการประเมินผลการปฏิบตั งิ าน กท 0905 ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น 3(3-0-6) TR 0905 Local Arts and Culture ทฤษฎี ความรู้ ทางประวัติศาสตร์ สังคม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรม และโบราณคดีในท้องถิ่นของ ประเทศไทย กท 0906 ดิจิทัลเพื่อการท่องเที่ยวและบริการ 3(2-2-5) TR 0906 Digital for Tourism and Hospitality แนวโน้ม ทิศทางการใช้ดิจิทัลเพื่อการบริการและการท่องเที่ยว โปรแกรมประยุกต์ แอพพลิเคชั่น และระบบสารสนเทศ เพื่อการท่องเที่ยว ฝึกปฏิบัติการใช้งานโปรแกรมส�ำเร็จรูปส�ำหรับการบริการและการท่องเที่ยว กท 0907 ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวและบริการ 3(2-2-5) TR 0907 English for Tourism and Hospitality ฝึกการใช้ทกั ษะภาษาอังกฤษในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน การสือ่ สาร น�ำเสนอ ในการท�ำงานทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจ บริการด้านการท่องเที่ยวและบริการ และฝึกปฏิบัติในสถานที่เกี่ยวข้อง กท 0908 โลจิสติกส์ส�ำหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 3(3-0-6) TR 0908 Logistics for Tourism Industry ความหมายโลจิสติกส์เพือ่ การท่องเทีย่ ว ด้านการขนส่งนักท่องเทีย่ วและสิง่ ของ การให้และรับข้อมูลข่าวสาร และการรับ จ่ายเงิน ห่วงโซ่อุปสงค์ อุปทานด้านการท่องเที่ยว วิเคราะห์เส้นทางการขนส่งเพื่อลดต้นทุนการท่องเที่ยว การใช้เทคโนโลยีเพื่อ การขนส่ง การประกันภัยในการขนส่ง กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับโลจิสติกส์เพือ่ การท่องเทีย่ ว การวางแผนโลจิสติกส์เพือ่ การท่องเทีย่ ว กท 0909 การวางแผนและพัฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยว 3(2-2-5) TR 0909 Planning and Tourism Resource Development ความส�ำคัญ หลักการพัฒนาทรัพยากรการท่องเที่ยว ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยวไทย ระบบนิเวศ สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ หลักการและขัน้ ตอนของการพัฒนาทรัพยากรการท่องเทีย่ ว หลักการจัดการท่องเทีย่ วแบบยัง่ ยืน หลักการและขัน้ ตอนการวางแผน การคิดวิเคราะห์เชิงบูรณาการ การมีส่วนร่วม การน�ำแผนไปใช้ และการประเมินผล

106

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


กท 0910 งานมัคคุเทศก์ 3(2-2-5) TR 0910 Tour Guiding ความหมาย ความส�ำคัญ ประเภท คุณสมบัติ จรรยาบรรณและหลักการปฏิบัติงานของมัคคุเทศก์และผู้น�ำเที่ยว พิธีการ เข้าออกราชอาณาจักร พิธีการทางศุลกากร การพัฒนาวิชาชีพมัคคุเทศก์ ศิลปะการพูด การใช้ภาษา วัจนะภาษา อวัจนะภาษา องค์ความรู้ วิธีการ และเทคนิคในการน�ำเที่ยว การใช้เทคโนโลยีในงานมัคคุเทศก์ ฝึกปฏิบัติการน�ำเที่ยว เส้นทางตามประกาศคณะ กรรมการธุรกิจน�ำเที่ยวและมัคคุเทศก์ กท 0911 การตลาดการท่องเที่ยวและบริการ 3(3-0-6) TR 0911 Tourism and Hospitality Marketing ความหมาย ความส�ำคัญการตลาดการท่องเที่ยวและบริการ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการตลาดการท่องเที่ยวและบริการ การแบ่งส่วนการตลาด พฤติกรรมการบริโภคของนักท่องเที่ยว ส่วนประสมของการตลาดการท่องเที่ยว หลักการและกระบวนการ ในการวางแผน เทคนิคและกลยุทธ์ในการพัฒนาการตลาดการ ท่องเที่ยวทั้งภายในและต่างประเทศ แนวทางและเทคนิคการเขียน แผนงานการตลาด และการใช้สื่อตลาดออนไลน์ กท 0912 การจัดการธุรกิจน�ำเที่ยว 3(2-2-5) TR 0912 Tour Business Management ความหมาย ความส�ำคัญ ลักษณะ รูปแบบ ประเภท โครงสร้างและองค์ประกอบของธุรกิจน�ำเที่ยว มาตรฐานประกอบ ธุรกิจน�ำเทีย่ ว แนวโน้ม บทบาท และการวางแผนธุรกิจน�ำเทีย่ ว การบริหารจัดการ การเขียนแผนที ่ การประสานงานกับหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง การคิดต้นทุนและการก�ำหนดราคาการน�ำเที่ยว รูปแบบและการเขียนรายการน�ำเที่ยว การท�ำสัญญาที่เกี่ยวข้องกับ ธุรกิจน�ำเที่ยว การจัดการตัวแทนการเดินทางท่องเที่ยว และการประเมินผลการจัดน�ำเที่ยว ขั้นตอนการขออนุญาตประกอบธุรกิจ น�ำเที่ยว กท 0913 การวิจัยส�ำหรับการท่องเที่ยว 3(2-2-5) TR 0913 Research for Tourism ความหมาย ความส�ำคัญ รูปแบบและกระบวนการท�ำวิจัยเบื้องต้น โดยวิเคราะห์สภาพปัญหาด้านการท่องเที่ยว ก�ำหนด หัวข้อการวิจัย การเขียนโครงการวิจัย การสร้างเครื่องมือ การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ การแปรผลข้อมูล การเขียนรายงานวิจัย และการน�ำเสนอผลงานวิจัย กท 0914 การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน 3(2-2-5) TR 0914 Community- Based Tourism Management แนวคิด หลักการ องค์ประกอบ ความส�ำคัญของชุมชน รูปแบบการท่องเที่ยวโดยชุมชน มาตรฐานการท่องเที่ยวชุมชน การศึกษาบริบทและประเมินศักยภาพของชุมชน วิธกี ารท�ำงานกับชุมชนท้องถิน่ การมีสว่ นร่วมของชุมชนและการพัฒนาการท่องเทีย่ ว ของชุมชน การจัดการท่องเที่ยวชุมชน ปัญหา ผลกระทบและแนวทางแก้ไข การประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวชุมชน STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

107


กท 0915 การจัดการท่องเที่ยวแบบทางเลือก 3(2-2-5) TR 0915 Alternative Tourism Management ความหมาย ความส�ำคัญ รูปแบบการจัดบริการน�ำเที่ยวที่มีลักษณะเฉพาะ การบริหารจัดการรูปแบบการจัดน�ำเที่ยวที่มี ลักษณะเฉพาะประเภทต่าง ๆ พฤติกรรมนักท่องเที่ยวกลุ่มเฉพาะ หมายเหตุ ให้เลือกรูปแบบการจัดน�ำเที่ยวตามบริบทของพื้นที่ กท 0916 การจัดการธุรกิจการบิน 3(3-0-6) TR 0916 Airline Business Management ความหมาย ความส�ำคัญ บทบาท ประเภทของธุรกิจการบิน ประเภทของอากาศยาน กฎการบินระหว่างประเทศและ กฎการบินพลเรือน ความรู้พื้นฐานบัตรโดยสารและการส�ำรองที่นั่ง ศัพท์เฉพาะทางส�ำหรับธุรกิจการบิน การบริการบนเครื่องบิน คลังสินค้า ตารางการบิน เส้นทางการบิน กท 0917 การจัดการประชุม นิทรรศการ และการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล 3(2-2-5) TR 0917 Meetings, Incentive, Convention and Exhibition Management ความเป็นมา ความหมาย ความส�ำคัญ ประโยชน์ บทบาทของธุรกิจรับจัดประชุม ธุรกิจรับจัดงานแสดงสินค้า นิทรรศการ และธุรกิจการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล หลักเกณฑ์และวิธีการจัดงานรูปแบบไมซ์ (MICE) กท 0918 การจัดการอาหารและเครื่องดื่ม 3(2-2-5) TR 0918 Food and Beverage Management ความหมาย ความส�ำคัญ ประเภท และรูปแบบการจัดการอาหารและเครือ่ งดืม่ รูปแบบการจัดโต๊ะอาหารและการบริการ ในภัตตาคาร การออกแบบรายการอาหารไทยและนานาชาติ สุขอนามัยในการปฏิบัติงานอาหารและเครื่องดื่ม มาตรฐานฝีมือ แรงงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดอาหารและเครื่องดื่ม ฝึกปฏิบัติงาน หรือกรณีศึกษา หรือศึกษาดูงานนอกสถานที่ กท 0919 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 3(2-2-5) TR 0919 Sustainable Tourism วิวัฒนาการ ความหมาย ความส�ำคัญ และหลักการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน นโยบายการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนใน ระดับโลก ระดับภูมภิ าค และระดับประเทศ ผลกระทบด้านการท่องเทีย่ ว กระบวนการวางแผนและการพัฒนาการจัดการท่องเทีย่ ว อย่างยั่งยืน ศึกษากรณีตัวอย่างที่ประสบความส�ำเร็จ กท 0920 การสัมมนาการท่องเที่ยว 3(2-2-5) TR 0920 Seminar on Tourism ความหมาย ความส�ำคัญ รูปแบบของการสัมมนา อภิปรายประเด็นสถานการณ์ปัจจุบันระดับโลกภูมิภาค และประเทศ ที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว วิเคราะห์และน�ำเสนอผลการอภิปราย การก�ำหนดหัวข้อการสัมมนา ปฏิบัติการจัดสัมมนาการท่องเที่ยว 108

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


กท 0921 การบัญชีและการเงินส�ำหรับธุรกิจน�ำเที่ยว 3(2-2-5) TR 0921 Accounting and Finance for Tourism Business แนวคิด ทฤษฎีของการบัญชีและการเงิน ระบบบัญชีการเงินส�ำหรับงานธุรกิจน�ำเทีย่ ว โปรแกรมประยุกต์สำ� หรับการบัญชี และการเงินในธุรกิจท่องเที่ยว กลยุทธ์การจัดการรายได้และต้นทุน กท 0922 การจัดการอุทยานธรณี 3(2-2-5) TR 0922 Geopark Management วิวัฒนาการ ความหมาย ความส�ำคัญ และหลักการบริหารจัดการอุทยานธรณีในประเทศ และต่างประเทศ รูปแบบ การท่องเที่ยวทางเลือกในพื้นที่อุทยานธรณี เกณฑ์การประเมิน เพื่อจัดตั้งอุทยานธรณีในระดับต่างๆ

กท 0923 หัวข้อคัดสรรด้านการท่องเที่ยวและบริการ TR 0923 Selected Topic in Tourism and Hospitality เลือกประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวและการบริการ น�ำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

3(2-2-5)

กท 0924 ฝึกประสบการณ์ 3 (300 ชั่วโมง) TR 0924 Field Experience ฝึกปฏิบตั งิ านเกีย่ วกับอุตสาหกรรมท่องเทีย่ วและการบริการ ในสถานประกอบการหรือองค์กรทีด่ ำ� เนินการทางด้านการท่องเทีย่ ว โดยฝึกงานเกีย่ วกับภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ทิ ไี่ ด้ศกึ ษา เริม่ จากการปฐมนิเทศเกีย่ วกับรายละเอียดของการฝึกงาน การจัดท�ำแผน การฝึกทีม่ รี ายละเอียดเกีย่ วกับวัตถุประสงค์ กระบวนการท�ำงาน การประเมินผลงาน และการปรับปรุงคุณภาพงาน ตลอดจนอภิปราย ปัญหาทางด้านการท่องเที่ยว ข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไขปัญหา และปัจฉิมนิเทศ ภายใต้ค�ำแนะน�ำช่วยเหลือของผู้มีประสบการณ์ การฝึกงานอาจจัดในรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการการเรียนรู้กับการท�ำงาน (Work Integrate Learning)

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

109


แผนการเรียนตลอดหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการท่องเที่ยว 90 หน่วยกิต เปิดรายวิชาของนักศึกษาปี 2562

110

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

111


112

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


5. หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. ชื่อหลักสูตร ชื่อภาษาไทย: หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ชื่อภาษาอังกฤษ: Associate Program in Business Computer 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ไทย): อนุปริญญา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ชื่อย่อ (ไทย): อ.(คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) ชื่อเต็ม (อังกฤษ): Associate Degree in Business Computer ชื่อย่อ (อังกฤษ): A.(Business Computer) 3. วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสูตร ไม่มี 4. จ�ำนวนหน่วยกิตที่เรียน จ�ำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรอนุปริญญา 3 ปี ระดับที่ 1 ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 5.2 ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย 5.3 การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาที่เป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับช่วงชั้นที่ 4 หรือมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และคุณสมบัติ อื่นๆ ตามระเบียบสถาบันวิทยาลัยชุมชนว่าด้วยการจัดการศึกษาหลักสูตรวิทยาลัยชุมชน พุทธศักราช 2560

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

113


5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่นหรือหน่วยงานอื่น หลักสูตรเฉพาะของสถาบันทีจ่ ดั การเรียนการสอนโดยตรง ไม่มคี วามร่วมมือกับสถาบันการศึกษา หรือหน่วยงานอืน่ 5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษา ให้อนุปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร 6.1 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 ปรับปรุงจากหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ พ.ศ. 2556 6.2 เปิดสอนภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2562 6.3 อนุกรรมการวิชาการวิทยาลัยชุมชนสตูล กลั่นกรองหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 2/2562 เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2562 6.4 สภาวิทยาลัยชุมชนอนุมัติการจัดการเรียนการสอน ในการประชุมครั้งที่ 2/2562 เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2562 6.5 สภาสถาบันวิทยาลัยชุมชนให้ความเห็นชอบหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 4/2562 เมื่อวันที่ 9/เมษายน/2562 7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐาน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ในปีการศึกษา 2563 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังส�ำเร็จการศึกษา ผูส้ ำ� เร็จการศึกษาหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ สามารถประกอบอาชีพเป็นผูป้ ฏิบตั งิ านได้ในหน่วยงาน ของรัฐบาล และหน่วยงานเอกชน ในต�ำแหน่งงาน เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล เจ้าหน้าที่ดูแลเว็บไซต์ เจ้าหน้าที่ ธุรการพนักงานทั่วไป เป็นต้น รวมทั้งเป็นผู้ประกอบการเกี่ยวกับธุรกิจคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต 9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ชื่อ-นามสกุล

114

เลขบัตรประจำ�ตัว ประชาชน

คุณวุฒิการศึกษา

สาขาวิชา

สำ�เร็จการศึกษาจาก สถาบัน

ปี

นางหทัยทิพย์ แสงรักษาวงศ์

3 9199 00088 xx x

วท.ม. วท.บ.

การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

2553 2547

นายศุภกิจ อึงรัตนากร

3 9101 00027 xx x

วท.ม. วท.บ.

การจัดการระบบสารสนเทศ วิทยาการคอมพิวเตอร์

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง

2544 2537

ว่าที่ร้อยตรีศุภฤกษ์ ประทักษากุล

3 9399 00213 xx x

บธ.ม. ค.บ.

การตลาด เทคโนโลยีทางการศึกษา

มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง สถาบันราชภัฎจันทรเกษม

2548 2535

นายมนตรี กุมวาปี

3 1014 01343 xx x

บธ.บ.

คอมพิวเตอร์ธุรกิจ

มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฏร์ธานี

2558

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความส�ำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1.1 ปรัชญาของหลักสูตร สร้างสรรค์เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ 1.2 ความส�ำคัญของหลักสูตร เป็นหลักสูตรที่ตอบสนองการพัฒนาธุรกิจของชุมชน 1.3 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถและคุณลักษณะ ดังนี้ (1) มีคุณธรรม จริยธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร ตามจรรยาบรรณของนักวิชาชีพคอมพิวเตอร์ (2) มีความรู้ ความเข้าใจทางคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในทางธุรกิจ (3) มีทักษะทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เพื่อสนับสนุนการด�ำเนินงานในธุรกิจ (4) สามารถสื่อสารและสร้างเครือข่ายเพื่อด�ำเนินงานทางธุรกิจ (5) สามารถคิดวิเคราะห์และน�ำเสนอข้อมูลสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การด�ำเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน - ไม่มี – 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค - ไม่มี – 2. การด�ำเนินการของหลักสูตร 2.1 ระยะเวลาของการด�ำเนินการเรียนการสอน 2.1.1 ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือนตุลาคม 2.1.2 ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน – เดือนมีนาคม 2.1.3 ตลอดการศึกษาในหลักสูตรใช้เวลาการศึกษาได้ไม่เกิน 6 ปีการศึกษา

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

115


2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา เป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับช่วงชั้นที่ 4 หรือระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือเทียบเท่า และคุณสมบัติอื่นๆ ให้เป็นไปตามข้อบังคับวิทยาลัยชุมชน

หมวดที่ 4 โครงสร้างหลักสูตรและค�ำอธิบายรายวิชา

หลักสูตร 1. จ�ำนวนหน่วยกิต หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต 2. โครงสร้างของหลักสูตร โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็นหมวดวิชาทีส่ อดคล้องกับทีก่ ำ� หนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอนุปริญญา พ.ศ. 2552 ดังนี้ 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 2. หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 57 หน่วยกิต 2.1 วิชาพื้นฐานวิชาชีพ จ�ำนวน 21 หน่วยกิต 2.2 วิชาชีพ จ�ำนวน 36 หน่วยกิต 2.2.1 วิชาบังคับ จ�ำนวน 24 หน่วยกิต 2.2.2 วิชาเลือก จ�ำนวน 9 หน่วยกิต 2.2.3 วิชาการฝึกงาน จ�ำนวน 3 หน่วยกิต 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต

116

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


แผนการเรียนตลอดหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 90 หน่วยกิต เปิดรายวิชาของนักศึกษาปี 2562

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

117


118

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

119


หมวดวิชาเฉพาะ คธ 0401 หลักเศรษฐศาสตร์ 3 (3-0-6) BC 0401 Principles of Economics หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ อุปทาน และความยืดหยุ่น ตลาดในระบบเศรษฐกิจ การผลิต ต้นทุน การผลิต รายรับจากการผลิต การก�ำหนดราคาและผลผลิต รายได้ประชาชาติ การออม การบริโภค การเงินการธนาคาร การลงทุน การค้าระหว่างประเทศ เงินเฟ้อ เงินฝืด วัฏจักรเศรษฐกิจการพัฒนาเศรษฐกิจและการกระจายรายได้ ปัญหาทางเศรษฐกิจ คธ 0402 หลักการจัดการ 3 (3-0-6) BC 0402 Principles of Management หลักการ แนวคิด ทฤษฎีหลักการจัดการ กระบวนการจัดการธุรกิจ เทคนิคการจัดการ การวางแผนการจัดองค์การ การบริหารงานบุคคล การควบคุม การติดตามและประเมินผล การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เพือ่ การจัดการ การประยุกต์หลักการจัดการ ในงานอาชีพ ความรับผิดชอบ และจริยธรรมทางธุรกิจ คธ 0403 หลักการตลาด 3 (3-0-6) BC 0403 Principles of Marketing หลักการ แนวคิด บทบาท พัฒนาการ ความส�ำคัญของการตลาด กิจกรรมและหน้าที่ต่างๆ ทางการตลาด ลักษณะของ ตลาด พฤติกรรมของผู้บริโภค กลยุทธ์การตลาด ส่วนประสมทางการตลาด การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ส�ำหรับการตลาด จริยธรรมการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม คธ 0404 กฎหมายธุรกิจ 3 (3-0-6) BC 0404 Business Laws แนวคิด ทฤษฏี หลักการของกฎหมายธุรกิจ กฎหมายทั่วไป กฎหมายทางคอมพิวเตอร์ และภาษีอากร การจัดตั้งธุรกิจ รูปแบบต่าง ๆ ภาษีอากรตามหลักประมวลรัษฎากรของไทย การตีความ การอุดช่องว่างของกฎหมาย วิธกี ารและหลักเกณฑ์การค�ำนวณ ภาษีอากร สิทธิและการใช้สทิ ธิ การปฏิบตั ติ ามกฎหมายบุคคล ทรัพย์นติ กิ รรม และสัญญาหนีล้ ะเมิด จัดการงานนอกสัง่ ลาภมิควรได้ สัญญาซื้อขาย สัญญาขายฝาก สัญญาเช่าทรัพย์เช่าซื้อ สัญญายืม สัญญาฝากทรัพย์ สัญญาค�้ำประกัน สัญญาจ�ำนอง สัญญาจ�ำน�ำ สัญญาตัวแทน และนายหน้าประกันภัยทรัพย์สินทางปัญญา คธ 0405 หลักการบัญชี 3 (2-2-5) BC 0405 Principles of Accounting แนวคิด ทฤษฏีหลักการบัญชี ปฏิบัติเกี่ยวกับแม่บทบัญชีความหมายของสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ วิเคราะห์ รายการค้า บันทึกรายการในสมุดรายวันทัว่ ไป สมุดบัญชีแยกประเภท จัดท�ำงบทดลองการปรับปรุง และปิดบัญชี กระดาษท�ำการ การท�ำงบการเงินของกิจการให้บริการและกิจการซื้อมาขายไปและการบัญชีส�ำหรับกิจการที่เข้าจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม คุณธรรมจริยธรรมทางการบัญชี และความรับผิดชอบต่อสังคม 120

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


คธ 0406 ระบบปฏิบัติการและอินเทอร์เน็ต 3 (2-2-5) BC 0406 Operating System and Internet ความหมาย องค์ประกอบ ประเภทของคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ การใช้งานระบบปฏิบัติการบนคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลและอุปกรณ์พกพา การจัดการแฟ้มข้อมูล การดูแลและบ�ำรุงรักษาระบบ การใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อการสืบค้น ข้อมูล จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ พื้นฐานและการประยุกต์ใช้การประมวลผลแบบคลาวด์ (Cloud Computing) สื่อสังคมออนไลน์ จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานอินเทอร์เน็ต คธ 0407 การประกอบคอมพิวเตอร์และติดตั้งซอฟต์แวร์ 3 (2-2-5) BC 0407 Computer Assembling and Software Installation หลักการท�ำงานของอุปกรณ์ต่างๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์ การเลือกใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ตามลักษณะการใช้งาน การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ การจัดการไบออส (BIOS) การติดตั้งระบบปฏิบัติการ โปรแกรมควบคุมอุปกรณ์ และโปรแกรม ประยุกต์ การปรับแต่งระบบปฏิบัติการ และการแก้ไขปัญหา คธ 0408 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น 3 (2-2-5) BC 0408 Introduction to Computer Programming ความหมาย ประเภท ของภาษาคอมพิวเตอร์ โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ การเลือกใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ การแก้ไข ปัญหาคอมพิวเตอร์ ทักษะการวิเคราะห์ปัญหา การเขียนผังงาน และการเขียนซูโดโค้ต การใช้โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ ประเภทข้อมูล ตัวแปร ค่าคงที่ นิพจน์และตัวด�ำเนินการ ค�ำสัง่ ในการควบคุมการรับและแสดงผลข้อมูล การควบคุมทิศทางการท�ำงาน อาร์เรย์ โปรแกรมย่อย และการจัดการแฟ้มข้อมูล คธ 0409 ระบบฐานข้อมูล 3 (2-2-5) BC 0409 Database System แนวคิด องค์ประกอบ การออกแบบการจัดการฐานข้อมูล การจัดโครงสร้างทางตรรกะและทางกายภาพ การนอร์มัลไลซ์ ข้อมูล การใช้ภาษาประมวลผลข้อมูล ระบบป้องกันความมั่นคงของข้อมูล และการใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูปในการจัดการฐานข้อมูล กรณีศึกษาการประยุกต์ใช้ระบบการจัดการฐานข้อมูล คธ 0410 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 3 (2-2-5) BC 0410 System Analysis and Design หลักการ แนวคิด และทฤษฎี การวิเคราะห์และออกแบบระบบ วัฏจักรของระบบและการด�ำเนินงานตามวัฏจักรของ ระบบ กรณีศึกษาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

121


คธ 0411 การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่าย 3 (2-2-5) BC 0411 Data Communication and Network System หลักการ องค์ประกอบ รูปแบบการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สื่อกลางและอุปกรณ์ส�ำหรับการสื่อสาร ประเภทของเครือข่าย รูปแบบการเชื่อมต่อของเครือข่าย สถาปัตยกรรมเครือข่าย การควบคุมและก�ำหนดเส้นทางส่งข้อมูล และ การประยุกต์ใช้เครือข่ายเบื้องต้นในงานธุรกิจ คธ 0412 การออกแบบกราฟิก 3 (2-2-5) BC 0412 Graphic Design ทฤษฎีการออกแบบกราฟิก องค์ประกอบศิลป์ การถ่ายภาพ การวาดภาพ หลักการออกแบบที่ดี คุณสมบัติด้านต่างๆ ของภาพกราฟิก ชนิดของข้อมูลภาพกราฟิก รูปแบบการจัดเก็บข้อมูลกราฟิก การใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูปในการสร้างสรรค์และเผยแพร่ ผลงาน คธ 0413 การออกแบบและพัฒนาเว็บ 3 (2-2-5) BC 0413 Web Design and Development ความหมาย ความส�ำคัญ หลักการออกแบบและสร้างเว็บไซต์ องค์ประกอบของเว็บไซต์ ประเภทของโปรแกรมในการพัฒนา เว็บไซต์ และการสร้างเว็บไซต์เพือ่ ประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ การใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูปในการพัฒนาเว็บไซต์ และการอัพโหลดเว็บเพจ บนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายเพื่อการเผยแพร่ คธ 0414 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 3 (2-2-5) BC 0414 Electronic Commerce หลักการ แนวคิด และประเภทระบบการค้าอิเล็กทรอนิกส์ การจัดการทางธุรกิจรูปแบบใหม่ ระบบการรับ-จ่ายเงิน บนอินเทอร์เน็ต ระบบความปลอดภัย การพัฒนาเว็บไซต์และการจัดการร้านค้าออนไลน์ การจดโดเมนเนม ระบบการจัดส่งสินค้า การขนส่งสินค้า ช่องทางการสื่อสารสมัยใหม่ การตลาดอิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง คธ 0415 โครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อธุรกิจ 3 (0-6-3) BC 0415 Project in Business Computer ฝึกปฏิบตั เิ กีย่ วกับการศึกษาความต้องการระบบสารสนเทศทางธุรกิจจากหัวข้อเฉพาะหรือจากบริบทจริง วิเคราะห์ปญ ั หา ก�ำหนดแนวทางแก้ปญ ั หา ศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบ วิเคราะห์และออกแบบระบบ พัฒนาระบบทีส่ ามารถใช้งานได้จริง และจัดท�ำเอกสารที่เกี่ยวข้อง

122

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


กลุ่ม 1 การพัฒนาเว็บไซต์ คธ 0416 การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา HTML และ CSS 3 (2-2-5) BC 0416 Hypertext Markup Language and Cascading Style Sheet หลักการ ทฤษฎีมาตรฐานภาษา HTML และ CSS รูปแบบค�ำสั่งภาษา HTML และ CSS การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา HTML และ CSS และเทคนิคการประยุกต์ใช้ภาษา HTML และ CSS ในการเพิ่มประสิทธิภาพให้กับการพัฒนาเว็บไซต์ คธ 0417 การเขียนโปรแกรมบนเว็บ 3 (2-2-5) BC 0417 Web Programming แนวคิดและหลักการในการออกแบบเว็บ โครงสร้างของเว็บไซต์ ภาษาและโปรแกรมต่างๆ ส�ำหรับการพัฒนาแอปพลิเคชัน่ บนอินเทอร์เน็ต หลักการท�ำงานและสภาวะแวดล้อมของเว็บแอปพลิเคชั่น การพัฒนาโปรแกรมบนเว็บไซต์โดยเชื่อมต่อฐานข้อมูล เพื่อพัฒนาระบบงานธุรกิจ คธ 0418 ระบบจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต์ 3 (2-2-5) BC 0418 Content Management System ความหมาย หลักการ และองค์ประกอบของโปรแกรมระบบจัดการเนื้อหา (Content Management System (CMS)) และโปรแกรมจ�ำลอง Web Server เปรียบเทียบคุณลักษณะของโปรแกรม CMS การติดตั้งโปรแกรมจ�ำลอง Web Server และ โปรแกรม CMS การจัดการหมวดหมู่และเนื้อหา การสร้างและจัดการเมนูการจัดการระบบสมาชิกและก�ำหนดสิทธิการใช้งาน การใช้งานและปรับแต่งเทมเพลต การใช้เครื่องมือต่างๆ ของโปรแกรม การติดตั้งและใช้งานโปรแกรมเสริม การอัปโหลดและ ส�ำรองข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย กลุ่ม 2 คอมพิวเตอร์กราฟิก คธ 0419 การออกแบบกราฟิกขั้นสูง 3 (2-2-5) BC 0419 Advance Graphic Design การใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูปด้านการวาดภาพ การใช้เครื่องมือ และเทคนิคต่างๆ ส�ำหรับการออกแบบกราฟิกขั้นสูงส�ำหรับ งานธุรกิจ หลักการออกแบบและการสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบอินโฟกราฟิก และการเผยแพร่ผลงาน คธ 0420 เทคโนโลยีมัลติมีเดีย 3 (2-2-5) BC 0420 Multimedia Technology รูปแบบลักษณะและองค์ประกอบของสือ่ มัลติมเี ดีย ประเภทและการใช้งานของสือ่ มัลติมเี ดีย ความรูเ้ บือ้ งต้นในการผลิตสือ่ ภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหวและวีดีโอในระบบดิจิทัล เทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิตสื่อมัลติมีเดีย การใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูปด้านสื่อ มัลติมีเดียเพื่อการสร้างสรรค์ผลงาน STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

123


คธ 0421 การออกแบบและสร้างภาพเคลื่อนไหว 3 (2-2-5) BC 0421 Animation Design หลักการ แนวคิด ทฤษฎีการสร้างภาพเคลือ่ นไหว การออกแบบภาพร่างเรือ่ งราวตามล�ำดับขัน้ ตอน (Story Board) การใช้ โปรแกรมส�ำเร็จรูปและเทคนิคการใช้เครื่องมือต่างๆ ของโปรแกรมส�ำหรับสร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation) ประเภทต่างๆ การใส่เสียงประกอบภาพเคลื่อนไหว และการสร้างชิ้นงานภาพเคลื่อนไหวตามการออกแบบภาพร่างเรื่องราวที่ก�ำหนดไว้ กลุ่ม 3 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คธ 0422 การจัดการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 3 (2-2-5) BC 0422 Computer Network management หลักการจัดการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การจัดการทรัพยากรเครือข่ายที่เชื่อมต่อทั้งที่อยู่ใกล้และไกลการจัดการบัญชีผู้ใช้ ของเครือข่าย การจัดการปริมาณการใช้งานและการควบคุมการเข้าถึงเครือข่าย การจัดการระบบความผิดพลาดของเครือข่าย การจัดการระบบความปลอดภัยของเครือข่าย และการประยุกต์ใช้เครื่องมือต่างๆ ส�ำหรับการจัดการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คธ 0423 ระบบปฏิบัติการเครื่องแม่ข่าย 3 (2-2-5) BC 0423 Network Operating Systems for Server ปฏิบัติเกี่ยวกับการติดตั้งระบบปฏิบัติการบนเครื่องแม่ข่าย การจัดการและก�ำหนดสิทธิผู้ใช้ การจัดการเครื่องแม่ข่าย การควบคุมระยะไกล การจัดการเว็บเซิร์ฟเวอร์ ไฟล์เซิร์ฟเวอร์ ดีเอชซีพีเซิร์ฟเวอร์ โดเมนเนมเซิร์ฟเวอร์ พร็อกซีเซิร์ฟเวอร์ การติดตั้งและก�ำหนดการท�ำงานไฟร์วอล เครื่องมือและโปรแกรมในการจัดการเครื่องแม่ข่าย คธ 0424 การรักษาความปลอดภัยทางด้านเครือข่าย 3 (2-2-5) BC 0424 Network Security เทคนิควิธีการรักษาความปลอดภัยทางด้านเครือข่าย ภัยคุกคาม รูปแบบและเทคนิคการบุกรุก การเข้ารหัสข้อมูลและ ถอดรหัสข้อมูล ระบบตรวจจับการบุกรุก เทคนิคการตรวจจับและการป้องกันไวรัส หลักการท�ำงานไฟร์วอล การประเมินและ การจัดการความเสี่ยง การก�ำหนดนโยบายด้านความมั่นคง การกู้คืนระบบ การออกแบบและติดตั้งระบบความปลอดภัย คธ 0425 การฝึกประสบการณ์ 3 (320) BC 0425 Practicum ฝึกปฏิบตั ดิ า้ นคอมพิวเตอร์ธรุ กิจในสถานประกอบการหรือหน่วยงานทัง้ ภาครัฐหรือเอกชน การจัดท�ำแผนการฝึกทีม่ รี ายละเอียด เกี่ยวกับวัตถุประสงค์ กระบวนการท�ำงาน การประเมินผลการท�ำงาน และการปรับปรุงคุณภาพงานภายใต้ค�ำแนะน�ำช่วยเหลือ ของผู้มีประสบการณ์

124

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


6. หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการจัดการ หลักสูตรปรับปรุง 2562 หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. ชื่อหลักสูตร ชื่อภาษาไทย: หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการจัดการ ชื่อภาษาอังกฤษ: Associate Program in Management 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ไทย): อนุปริญญา สาขาวิชาการจัดการ ชื่อย่อ (ไทย): อ.(การจัดการ) ชื่อเต็ม (อังกฤษ): Associate Degree in Management ชื่อย่อ (อังกฤษ): A.(Management) 3. วิชาเอก ไม่มี 4. จ�ำนวนหน่วยกิตที่เรียน จ�ำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 90 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรอนุปริญญา 3 ปี ระดับที่ 1 ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5.2 ภาษาที่ใช้ ภาษาไทย 5.3 การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาไทย และนักศึกษาต่างประเทศที่สามารถฟัง พูด อ่าน เขียนและเข้าใจภาษาไทยได้ 5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่นหรือหน่วยงานอื่น เป็นหลักสูตรเฉพาะของวิทยาลัยชุมชนสตูล STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

125


5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษา ให้อนุปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร 6.1 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 ปรับปรุงจากหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการจัดการทั่วไป พ.ศ. 2557 6.2 เปิดสอนภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2562 6.3 อนุกรรมการวิชาการวิทยาลัยชุมชนสตูล กลั่นกรองหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 5/2562 เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ.2562 6.4 สภาวิทยาลัยชุมชนอนุมัติการจัดการเรียนการสอน ในการประชุมครั้งที่ 5/2562 เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ.2562 6.5 สภาสถาบันวิทยาลัยชุมชนให้ความเห็นชอบหลักสูตร ในการประชุมครั้งที่ ......../2562 เมื่อวันที่ ......../......../............ 7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คณ ุ ภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2564 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังส�ำเร็จการศึกษา ผู้ส�ำเร็จการศึกษาหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการจัดการ สามารถเป็นผู้ประกอบการ รวมถึงสามารถปฏิบัติงาน ในหน่วยงานภาคเอกชน ด้านการบริหารจัดการ ด้านการตลาดและการขาย ด้านการผลิตและบริการ ด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น และสามารถปฏิบัติงานในหน่วยงานภาครัฐ ด้านการบริหารงานทั่วไป ด้านธุรการ ด้านการบริหารบุคลากร เป็นต้น 9. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ชื่อ-นามสกุล

126

คุณวุฒิการศึกษา

สาขาวิชา

สำ�เร็จการศึกษาจาก สถาบัน

ปี

นางสาวปิยะพร จันทร์เพช็ร

บธ.ม. บธ.บ.

การจัดการทั่วไป การตลาด

มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

2552 2543

นายรังสิมันต์ คงพรหม

บธ.ม. บธ.บ. ศศ.บ.

บริหารธุรกิจ การบัญชี การจัดการทั่วไป

มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ สถาบันราชภัฎสงขลา

2554 2548 2542

นางสาวนวรัตน์ ลิ่มสกุล

บธ.ม. บธ.บ.

การตลาด การตลาด

มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง

2556 2552

นางสาวจันทร์จิรา สอนสวัสดิ์

กศ.ม. บธ.บ.

การศึกษาเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การจัดการทั่วไป

มหาวิทยาลัยทักษิณ สถาบันราชภัฎสงขลา

2555 2547

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความส�ำคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1.1 ปรัชญาของหลักสูตร การจัดการสมัยใหม่ เปี่ยมด้วยจริยธรรม และจิตสร้างสรรค์ธุรกิจชุมชน 1.2 ความส�ำคัญของหลักสูตร เนือ่ งจากการเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยีทที่ นั สมัยและก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ท�ำให้การจัดการงานต่าง ๆ มีความสะดวก รวดเร็วมากขึน้ ลดขัน้ ตอนทีฟ่ มุ่ เฟือย ลดการสูญเสียในการท�ำงาน จึงเป็นปัจจัยหนึง่ ทีส่ ำ� คัญในการขับเคลือ่ นองค์กรให้มปี ระสิทธิภาพ และประสิทธิผลในเชิงการแข่งขันทัง้ แบบออนไลน์ และออฟไลน์(แบบเผชิญหน้า) รวมทัง้ การใช้หลายๆกลยุทธ์ในการบริหารจัดการ เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า หรือเป้าหมายขององค์กร จากสถานการณ์ดังกล่าว ท�ำให้องค์กรต่าง ๆ มีแนวโน้มที่จะแข่งขันกันอย่างรุนแรงมากขึ้น จึงท�ำให้องค์กรต้องเตรียม ความพร้อม โดยเฉพาะด้านบุคคลากร ที่จ�ำเป็นต้องมีบุคลากรที่มีความรู้ ความเข้าใจในพื้นฐานทางธุรกิจ มีทักษะในการท�ำงาน การใช้เทคโนโลยี และแสวงหาข้อมูลต่าง ๆ เพือ่ น�ำมาวิเคราะห์ ให้เหตุผล และน�ำมาบูรณาความรูก้ บั ศาสตร์อนื่ ๆ ในการปฏิบตั งิ าน ดังนั้น หลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการจัดการ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 จึงเปนหนึ่งในกลไกการพัฒนาองค์กร ทัง้ ภาครัฐและภาคธุรกิจ ทัง้ ในระดับจังหวัด และระดับประเทศ โดยผลิตบุคลากรดานการจัดการทีม่ คี วามรูแ ละทักษะในการ ปฏิบตั งิ าน สูต ลาดแรงงาน สามารถพัฒนาตนเองและปฏิบตั งิ านภายใตกระแสการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ตลอดเวลา ตลอดจนมีจติ บริการ และ รับผิดชอบต่อสังคม 1.3 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถและคุณลักษณะ ดังนี้ (1) มีคุณธรรม จริยธรรม จิตบริการ และความรับผิดชอบ (2) มีความรู้พื้นฐานในการประกอบธุรกิจ ด้านการจัดการ การเงินและบัญชี การตลาด การผลิต งานบุคคล กฎหมายธุรกิจ และเทคโนโลยีสารสนเทศ (3) มีทักษะการคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (4) มีทักษะการสื่อสาร การท�ำงานร่วมกับผู้อื่น และมีบุคลิกภาพนักบริหารจัดการ (5) มีทักษะการใช้งานเทคโนโลยี และการวิเคราะห์เชิงตัวเลขในการจัดการธุรกิจ

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

127


หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การด�ำเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน - ไม่มี – 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค - ไม่มี – 2. การด�ำเนินการของหลักสูตร 2.1 ระยะเวลาของการด�ำเนินการเรียนการสอน 2.1.1 ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือนพฤศจิกายน 2.1.2 ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนธันวาคม – เดือนพฤษภาคม 2.1.3 ตลอดการศึกษาในหลักสูตรใช้เวลาการศึกษาได้ไม่เกิน 6 ปีการศึกษา 2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา เป็นผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า หมวดที่ 4 โครงสร้างหลักสูตรและค�ำอธิบายรายวิชา 1. โครงสร้างของหลักสูตร โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็นหมวดวิชาทีส่ อดคล้องกับทีก่ ำ� หนดไว้ในเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอนุปริญญา พ.ศ. 2548 ดังนี้ 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต 2. หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 57 หน่วยกิต 2.1 วิชาพื้นฐานวิชาชีพ จ�ำนวน 24 หน่วยกิต 2.2 วิชาชีพ จ�ำนวน 33 หน่วยกิต 2.2.1 วิชาบังคับ จ�ำนวน 24 หน่วยกิต 2.2.2 วิชาเลือก จ�ำนวน 6 หน่วยกิต 2.2.3 วิชาการฝึกงาน จ�ำนวน 3 หน่วยกิต 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต 128

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


2. รายวิชาหมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 57 (1) วิชาพื้นฐานวิชาชีพ จ�ำนวน 24 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา กจ 1001 หลักเศรษฐศาสตร์ MN 1001 Principles of Economics กจ 1002 หลักการจัดการ MN 1002 Principles of Management กจ 1003 หลักการตลาด MN 1003 Principles of Marketing กจ 1004 กฎหมายธุรกิจ MN 1004 Business Laws กจ 1005 หลักการบัญชี MN 1005 Principles of Accounting กจ 1006 หลักการเงิน MN 1006 Principles of Finance กจ 1007 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ MN 1007 Human Resource Management กจ 1008 การจัดการการด�ำเนินงาน MN 1008 Operations Management

หน่วยกิต หน่วยกิต น(ท-ป-ศ) 3(3-0-6)

หน่วยกิต หน่วยกิต น(ท-ป-ศ) 3(3-0-6)

(2) วิชาชีพ จ�ำนวน 33 (2.1) วิชาบังคับ จ�ำนวน 24 รหัสวิชา ชื่อรายวิชา กจ 1009 พื้นฐานการประกอบธุรกิจ MN 1009 Fundamental of Business กจ 1010 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ MN 1010 Management Information System กจ 1011 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ MN 1011 Research and Statistics Business กจ 1012 ภาษีอากรธุรกิจ MN 1012 Business Taxation กจ 1013 การจัดการโครงการ MN 1013 Project Management

3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(3-0-6) 3(3-0-6)

3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(2-2-5)

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

129


130

กจ 1014 MN 1014 กจ 1015 MN 1015 กจ 1016 MN 1016

จิตวิทยาธุรกิจ Business Psychology การจัดการส�ำนักงานสมัยใหม่ Modern Office Management ภาษาอังกฤษธุรกิจ Business English

(2.2) วิชาเลือก จ�ำนวน จัดให้เลือกเป็นกลุ่มวิชาต่อไปนี้เพื่อส่งเสริมทักษะเฉพาะทางหรือเลือกข้ามกลุ่มได้ รหัสวิชา ชื่อรายวิชา กลุ่ม 1 การบัญชี กจ 1017 การบัญชีเพื่อการจัดการ MN 1017 Management Accounting กจ 1018 โปรแกรมส�ำเร็จรูปทางการบัญชี MN 1018 Accounting Software กลุ่ม 2 ธุรกิจดิจิทัล กจ 1019 การตลาดดิจิทัล MN 1019 Digital Marketing กจ 1020 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ MN 1020 E-Commerce กจ 1021 มัลติมีเดียและการประยุกต์ทางธุรกิจ MN 1021 Multimedia and Applications for Business กลุ่ม 3 ผู้ประกอบการ กจ 1022 ความคิดสร้างสรรค์ทางธุรกิจ MN 1022 Creative Thinking for Business กจ 1023 การจัดการธุรกิจเกษตร MN 1023 Agro Business Management กจ 1024 การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน MN 1024 Entrepreneurship of Community Business กจ 1025 การจัดการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ MN 1025 Real Estate Management

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562

3(3-0-6)

3(2-2-5)

3(2-2-5) 6 หน่วยกิต น(ท-ป-ศ) 3(2-2-5) 3(1-4-4) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(2-2-5) 3(3-0-6) 3(2-2-5) 3(3-0-6)


กลุ่ม 4 การจัดการสมัยใหม่ กจ 1026 การจัดการนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง MN 1026 Management of Innovation and Change กจ 1027 การติดต่อสื่อสารและการเจรจาต่อรองทางธุรกิจ MN 1027 Business Communication and Negotiation กจ 1028 การจัดการเชิงกลยุทธ์ MN 1028 Strategic Management กจ 1029 การจัดการโลจิสติกส์ MN 1029 Logistic Management กลุ่ม 5 อื่น ๆ กจ 1030 หัวข้อคัดสรรด้านการจัดการ MN 1030 Selected Topic in Management กจ 1031 หัวข้อคัดสรรด้านการจัดการ MN 1031 Selected Topic in Management

(2.3) วิชาการฝึกงาน รหัสวิชา ชื่อรายวิชา กจ 1032 การฝึกประสบการณ์ MN 1032 Field Experience

3(3-0-6)

3(2-2-5)

3(3-0-6)

3(3-0-6)

3(x-x-x)

3(x-x-x)

จ�ำนวน 3 หน่วยกิต (ชั่วโมง) 3(240)

หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต เลือกเรียนรายวิชาต่างๆ ในสาขาวิชาเดียวกันหรือต่างสาขาวิชาก็ได้ หรือเลือกจากหลักสูตรอื่นใดในระดับเดียวกันจาก วิทยาลัยชุมชนอื่นๆ โดยไม่ซ�้ำซ้อนกับรายวิชาที่เรียนมาแล้ว ส่วนรายวิชาที่หลักสูตรระบุไม่ให้นับหน่วยกิตในการขอจบหลักสูตร จะเลือกเรียนเป็นวิชาเลือกเสรีไม่ได้ โดยมีจ�ำนวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

131


ค�ำอธิบายรายวิชา กจ 1001 หลักเศรษฐศาสตร์ 3(3-0-6) MN 1001 Principles of Economics ความรู้ทั่วไปทางเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด ความยืดหยุ่นอุปสงค์ อุปทาน การผลิต ต้นทุนและ รายรับการผลิต ตลาดและการก�ำหนดราคา รายได้ประชาชาติ ส่วนประกอบของรายได้ประชาชาติ การเงินการธนาคาร การคลัง สาธารณะ การค้าระหว่างประเทศ วัฎจักรเศรษฐกิจ และการพัฒนาเศรษฐกิจ กจ 1002 หลักการจัดการ 3(3-0-6) MN 1002 Principles of Management แนวคิด ทฤษฎีหลักการจัดการ กระบวนการจัดการธุรกิจ การวางแผน การจัดองค์การ การน�ำ การควบคุม การติดตาม และประเมินผล การสื่อสารในองค์การ เทคนิคการจัดการ การประยุกต์หลักการจัดการในงานอาชีพ ความรับผิดชอบต่อสังคม และจริยธรรมทางธุรกิจ

กจ 1003 หลักการตลาด 3(3-0-6) MN 1003 Principles of Marketing แนวคิด หลักการ หน้าที่ทางการตลาด สภาพแวดล้อมการตลาด กิจกรรมทางการตลาด ลักษณะของตลาด พฤติกรรม ของผูบ้ ริโภค ส่วนประสมทางการตลาด กลยุทธ์การตลาด การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่สำ� หรับการตลาด จริยธรรมทางการตลาด การตลาดเพื่อสังคม กจ 1004 กฏหมายธุรกิจ 3(3-0-6) MN 1004 Business Laws ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทางธุรกิจ ว่าด้วยการซื้อขาย แลกเปลี่ยน ให้ เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ ละเมิด จ้างแรงงาน จ้างท�ำของ ฝากทรัพย์ ค�้ำประกัน จ�ำนอง จ�ำน�ำ ยืม ขายฝาก ตัวแทน นายหน้า ตั๋วเงิน ห้างหุ้นส่วน บริษัท ทรัพย์สินทางปัญญา การเขียนสัญญา ล้มละลาย และจริยธรรมทางกฎหมาย

กจ 1005 หลักการบัญชี 3(2-2-5) MN 1005 Principles of Accounting หลักการ แม่บทการบัญชี สมการบัญชี การวิเคราะห์รายการค้า การบันทึกรายการค้าในสมุดรายวัน สมุดบัญชีแยกประเภท งบทดลอง และกระดาษท�ำการ การปรับปรุงบัญชี ปิดบัญชี การท�ำงบการเงินของกิจการให้บริการและกิจการซื้อมาขายไป และ การบัญชีส�ำหรับกิจการที่เข้าจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

132

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


กจ 1006 หลักการเงิน 3(3-0-6) MN 1006 Principles of Finance ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการจัดการทางการเงินของธุรกิจ สภาพแวดล้อมทางการเงิน ทฤษฎีการเงินเบื้องต้น การวิเคราะห์ ทางการเงิน การบริหารสินทรัพย์ของธุรกิจ มูลค่าของเงินตามเวลา การจัดหาเงินทุน ต้นทุนเงินทุนของธุรกิจ การวิเคราะห์ความเสีย่ ง และผลตอบแทน การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน ในการด�ำเนินงานด้านการเงิน ***หมายเหตุ ต้องผ่านวิชาหลักการบัญชีมาก่อน กจ 1007 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ 3(3-0-6) MN 1007 Human Resource Management แนวคิด หลักการ ทฤษฎี ปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ การวิเคราะห์งาน การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ การสรรหาและคัดเลือก การฝึกอบรมและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การประเมินผลการปฏิบัติงาน การบริหารค่าตอบแทนและ ผลประโยชน์เกื้อกูล แรงงานสัมพันธ์ จริยธรรมทางการจัดการทรัพยากรมนุษย์

กจ 1008 การจัดการการด�ำเนินงาน 3(3-0-6) MN 1008 Operations Management ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการด�ำเนินงาน สินค้า บริการ วงจรการให้บริการ การเลือกท�ำเลที่ตั้ง การวางแผนก�ำลัง การผลิต การวางผังสถานประกอบการ การพยากรณ์การผลิต การจัดการคุณภาพเบื้องต้น การจัดการห่วงโซ่อุปทาน การจัดการ สินค้าคงคลัง การออกแบบงาน มาตรฐานการปฏิบัติงาน การจัดการบ�ำรุงรักษาและความปลอดภัย และแนวคิดอุตสาหกรรม 4.0

กจ 1009 พื้นฐานการประกอบธุรกิจ 3(3-0-6) MN 1009 Fundamental of Business ลักษณะของธุรกิจประเภทต่างๆ องค์ประกอบที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ การจัดการ การตลาด การผลิต การบริหารบุคคล การบัญชีและการเงิน การบริหาร เอกสารทางธุรกิจ แนวทางการประกอบธุรกิจ การประกันภัย และ ปัญหาเกี่ยวกับการด�ำเนินธุรกิจ และจรรยาบรรณของนักธุรกิจ เรียนรู้จากกรณีศึกษา ผู้ประสบความส�ำเร็จทางธุรกิจ

กจ 1010 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 3(3-0-6) MN 1010 Management Information System แนวคิดระบบสารสนเทศและโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการข้อมูล ระบบสารสนเทศในทางธุรกิจ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ระบบปัญญาประดิษฐ์ การพัฒนาระบบสารสนเทศ ทิศทางการเปลี่ยนแปลง ของดิจิทัล(Digital transformation) การรักษาความมั่นคงปลอดภัย จริยธรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

133


กจ 1011 การวิจัยและสถิติทางธุรกิจ 3(2-2-5) MN 1011 Research and Statistics Business สถิติพรรณนา สถิติอ้างอิง การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูป กระบวนการวิจัยเบื้องต้นทางธุรกิจ การน�ำเสนอ ผลการวิจัย และจัดท�ำรายงานการวิจัยทางธุรกิจ

กจ 1012 ภาษีอากรธุรกิจ 3(3-0-6) MN 1012 Business Taxation ความรู้เกี่ยวกับภาษีอากร หน้าที่ผู้เสียภาษี ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ภาษี มูลค่าเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ และภาษีท้องถิ่น หลักเกณฑ์ในการค�ำนวณภาษีอากรและการยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษี รวมถึง ปัญหาเกี่ยวกับภาษีอากรธุรกิจ

กจ 1013 การจัดการโครงการ 3(2-2-5) MN 1013 Project Management ความรูท้ วั่ ไปเกีย่ วกับโครงการ การวางแผนโครงการ การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ การเขียนโครงการ งบประมาณ โครงการ การบริหารความเสี่ยงของโครงการ การพัฒนาทีมโครงการ การควบคุมโครงการ การประเมินโครงการ ฝึกปฏิบัติจัดการ โครงการ

กจ 1014 จิตวิทยาธุรกิจ 3(3-0-6) MN 1014 Business Psychology แนวคิด ทฤษฎีจติ วิทยา การประยุกต์จติ วิทยาในการจัดการธุรกิจ การพัฒนาบุคลิกภาพ การเข้าใจผูอ้ นื่ การให้คำ� ปรึกษา และชีแ้ นะ การจูงใจและการเสริมแรงในการบริหารงานเพือ่ การด�ำเนินธุรกิจ การปรับตัวทางสังคมและการท�ำงานร่วมกับผูอ้ นื่ และ การจัดการความขัดแย้ง

กจ 1015 การจัดการส�ำนักงานสมัยใหม่ 3(2-2-5) MN 1015 Modern Office Management แนวคิดในการจัดการส�ำนักงาน ส�ำนักงานเสมือนจริง (co-working space) บทบาทและหน้าที่ส�ำนักงานทั้งในภาครัฐ และภาคเอกชน กระบวนการจัดการส�ำนักงาน การจัดผังส�ำนักงาน การจัดสภาพแวดล้อมในส�ำนักงาน การบริหารงานเอกสาร อุปกรณ์ส�ำนักงาน ระเบียบวิธีการปฏิบัติงานส�ำนักงาน การจัดการข้อมูลสารสนเทศ การจัดระบบงานภายในส�ำนักงาน และ การน�ำเครื่องมือที่ทันสมัยเข้ามาสนับสนุนงานส�ำนักงานอย่างมีประสิทธิภาพ และฝึกปฏิบัติงานส�ำนักงาน

134

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


กจ 1016 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 3(2-2-5) MN 1016 Business English โครงสร้าง ศัพท์ และส�ำนวนภาษาอังกฤษอย่างเป็นทางการ การเขียนประวัติส่วนตัวโดยย่อ การจดบันทึกช่วยจ�ำ โต้ตอบ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และฝึกปฏิบัติ

กจ 1017 การบัญชีเพื่อการจัดการ 3(2-2-5) MN 1017 Management Accounting บทบาทของการบัญชีเพื่อการจัดการ แนวความคิดและประเภทของต้นทุน การวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณและก�ำไร วิเคราะห์งบการเงิน การจัดท�ำงบประมาณ การใช้สารสนเทศทางการบัญชีเพื่อการจัดการและตัดสินใจในการด�ำเนินงานทางธุรกิจ หมายเหตุ ต้องผ่านวิชาหลักการบัญชี

กจ 1018 โปรแกรมส�ำเร็จรูปทางการบัญชี 3(1-4-4) MN 1018 Accounting Software แนวคิดเกี่ยวกับโปรแกรมส�ำเร็จรูปที่ใช้จัดท�ำบัญชี บันทึกข้อมูลทางการบัญชี ระบบบัญชีแยกประเภท สินค้าคงคลัง ขาย ลูกหนี้ เจ้าหนี้ เงินเดือน รายงานข้อมูลทางการบัญชี และฝึกปฏิบัติ

กจ 1019 การตลาดดิจิทัล 3(2-2-5) MN 1019 Digital Marketing แนวความคิดทางด้านการตลาด การประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านการตลาดกับการบริหารเทคโนโลยี การตลาดดิจิทัลและ การตลาดออนไลน์ การตลาดกลไกสืบค้น รายได้ต่อคลิก(Pay Per Click) การวิเคราะห์ การวางแผน และกลยุทธ์ทางการตลาด ดิจิทัล การตลาดโดยการอาศัยการแสดงผล อีเมล สื่อสังคม อุปกรณ์เคลื่อนที่

กจ 1020 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 3(2-2-5) MN 1020 E-Commerce ความรูพื้นฐานทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส พฤติกรรมผูบริโภค รูปแบบการให้บริการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส การรักษา ความมัน่ คงปลอดภัยของขอมูล ระบบการช�ำระเงิน การสร้างร้านค้าออนไลน์ การสร้างธุรกิจผ่านสือ่ สังคมออนไลน์ การจดทะเบียน โดเมน การจัดการลูกค้าสัมพันธสําหรับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส กฎหมายพาณิชยอิเล็กทรอนิกส์

กจ 1021 มัลติมีเดียและการประยุกต์ทางธุรกิจ 3(2-2-5) MN 1021 Multimedia and Applications for Business แนวคิดในการสร้างสือ่ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในรูปแบบการสร้างสือ่ หลักการด้านกราฟิก เสียง และภาพเคลือ่ นไหว การประยุกต์ใช้โปรแกรมมัลติมีเดียเพื่อใช้ในธุรกิจ การประเมินคุณภาพของมัลติมีเดีย คุณธรรมจริยธรรมที่เกี่ยวของในการสราง มัลติมีเดีย STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

135


กจ 1022 ความคิดสร้างสรรค์ทางธุรกิจ 3(2-2-5) MN 1022 Creative Thinking for Business แนวคิดของความคิดสร้างสรรค์ ลักษณะของผู้มีความคิดสร้างสรรค์ กระบวนการและการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ความคิดนอกกรอบ การฝึกคิดในเชิงบวก ออกแบบและใช้ความคิดสร้างสรรค์ให้เป็นธุรกิจ กรณีศกึ ษาทีเ่ กีย่ วกับความคิดสร้างสรรค์ ทางธุรกิจ การฝึกสร้างผลงานธุรกิจด้วยกระบวนการความคิดสร้างสรรค์

กจ 1023 การจัดการธุรกิจเกษตร 3(3-0-6) MN 1023 Agro Business Management ความหมาย ความส�ำคัญและลักษณะเฉพาะของระบบธุรกิจเกษตร การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบ ต่อการจัดการธุรกิจเกษตร ทั้งในด้านการตลาด จัดหาวัตถุดิบ การแปรรูป การสร้างมูลค่าเพิ่ม การเงิน ทรัพยากรมนุษย์และ การจัดการระบบสารสนเทศ สมาร์ทฟาร์มมิ่ง การวิเคราะห์โครงการธุรกิจเกษตรและแนวนโยบายของรัฐในการพัฒนาธุรกิจเกษตร

กจ 1024 การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจชุมชน 3(2-2-5) MN 1024 Entrepreneurship of Community Business แนวคิดธุรกิจชุมชน คุณลักษณะของการเป็นผูป้ ระกอบการธุรกิจชุมชน การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทีเ่ กีย่ วข้องกับการด�ำเนินการ ธุรกิจชุมชน การจัดตั้งธุรกิจชุมชน แนวทางการจัดการธุรกิจชุมชนและปัจจัยความส�ำเร็จ จริยธรรมทางธุรกิจ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง กับธุรกิจชุมชน ผลกระทบของธุรกิจต่อชุมชน และฝึกปฏิบัติการประกอบการธุรกิจ กจ 1025 การจัดการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 3(3-0-6) MN 1025 Real Estate Management ความหมายประเภทของอสังหาริมทรัพย์ การท�ำนิติกรรมของอสังหาริมทรัพย์ แนวโน้มความต้องการอสังหาริมทรัพย์ การประเมินค่าและค�ำนวณความคุ้มค่าในอสังหาริมทรัพย์ ศึกษาประสบการณ์การจัดการธุรกิจอสังหาริมทรัพย์จากกรณีศึกษา

กจ 1026 การจัดการนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง 3(3-0-6) MN 1026 Management of Innovation and Change ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับนวัตกรรม แนวคิดการจัดการนวัตกรรมและการเปลี่ยนแปลง กระบวนการจัดการนวัตกรรม แนวทางการจัดนวัตกรรมสูธ่ รุ กิจโดยใช้พนื้ ฐานของความคิดสร้างสรรค์ กลยุทธ์ในการจัดการเพือ่ การเปลีย่ นแปลง ทรัพย์สนิ ทางปัญญา

136

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


กจ 1027 การติดต่อสื่อสารและการเจรจาต่อรองทางธุรกิจ 3(2-2-5) MN 1027 Business Communication and Negotiation ความหมาย ความส�ำคัญ องค์ประกอบและรูปแบบการติดต่อสือ่ สารทางธุรกิจ แนวคิดและทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้องกับการเจรจา ต่อรอง กระบวนการในการเจรจาต่อรองทางธุรกิจ คุณลักษณะของนักเจรจาต่อรองที่ประสบความส�ำเร็จ ศิลปะการเจรจาต่อรอง แนวทางการเจรจาต่อรองทางธุรกิจอย่างมีจริยธรรม การฝึกปฏิบัติและการใช้กรณีศึกษา กจ 1028 การจัดการเชิงกลยุทธ์ 3(3-0-6) MN 1028 Strategic Management แนวคิด กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ เครือ่ งมือทางธุรกิจ การก�ำหนดกลยุทธ์ขององค์การ การน�ำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ การควบคุมและประเมินผลกลยุทธ์ กจ 1029 การจัดการโลจิสติกส์ 3(3-0-6) MN 1029 Logistic Management แนวคิด ประเภทและรูปแบบ บทบาทหน้าที่ กระบวนการ การจัดซื้อ การจัดหา การจัดการคลังสินค้าและศูนย์กระจาย สินค้า การจัดการบรรจุภณ ั ฑ์และหีบห่อสินค้า การจัดการขนส่ง เทคโนโลยีสารสนเทศทีใ่ ช้ในการจัดการโลจิสติกส์ ความเสีย่ งในงาน โลจิสติกส์

กจ 1030 หัวข้อคัดสรรด้านการจัดการ MN 1030 Selected Topic in Management เลือกประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ น�ำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

3(x-x-x)

กจ 1031 หัวข้อคัดสรรด้านการจัดการ MN 1031 Selected Topic in Management เลือกประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ น�ำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

3(x-x-x)

กจ 1032 การฝึกประสบการณ์ 3(240) MN 1032 Field Experience ฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการหรือองค์การ เริ่มการจัดท�ำแผนการฝึกที่มีรายละเอียดเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ กระบวนการท�ำงาน การประเมินผลการท�ำงาน และการปรับปรุงคุณภาพงาน ภายใต้ค�ำแนะน�ำช่วยเหลือของผู้มีประสบการณ์

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

137


แผนการเรียนตลอดหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาการจัดการ 90 หน่วยกิต เปิดรายวิชาของนักศึกษาปี 2562

138

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

139


140

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


เพลงวิทยาลัยชุมชน......ของคนไทย

141


เพลงวิทยาลัยชุมชน...ของคนไทย เนื้อร้อง / ท�ำนอง / เรียบเรียง

โชคอนันต์ อักษราชัยพฤกษ์

วิทยาลัยชุมชน ร่วมพัฒนา ให้ผู้คนมีสุขล้น พวกเราพร้อมกัน

สร้างคนให้มีคุณค่า กาย วาจา จิตใจพร้อมกัน ดั่งใจที่ฝัน มาร่วมสร้างสรรค์ชุมชนของเรา

ชุมชนแข็งแกร่ง เดินคู่กันไป พัฒนาคน เพื่อให้ชาติไทยนั้น

ร่วมแรงร่วมใจ ดั่งใจที่ฝัน ในชุมชนท้องถิ่นของฉัน เลื่องลือไกลไปทั่วโลกา

พวกเราทุกคน มาร่วมแรงใจกันเถอะ มาร่วมสร้างสรรค์ชุมชนของเรา ให้งดงาม จนเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป ให้เขาทั้งหลายเก็บความรู้สึกดี ๆ และความมีน�้ำใจของพวกเราเอาไว้ และกล่าวขานถึงความดี และความมีน�้ำใจของพวกเราไป ...ตราบนานเท่านาน...

142

คู่มือการศึกษาวิทยาลัยชุมชนสตูล ปีการศึกษา 2562


คณะผู้จัดท�ำ

นางเกษร ปะลาวัน นางกิตติยา ฤทธิภักดี นางนงนุช ถวิลวรรณ์ นางมารีน่า ปะดุลัง นายกัมพล บินต�ำมะหงง นางณิชาภัทร วรสันติกุล นางยูสรี โส๊ะเต่ง นายวันชนะ หลีเอบ

STUDENT GUIDE'S OF SATUN COMMUNITY COLLEGE 2019

143


บันทึก

..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................………………………….................. ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................………………………….............................................. ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................…………………………................................................................ ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................................................




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.