โปรแกรมการท่องเที่ยวโดยชุมชน บ้านตะโละใส อำเภอละงู จังหวัดสตูล

Page 1



สารบั​ัญ

ความเป็​็นมา ของโครงการ D-Hope P4

ข้​้อมู​ูลทั่​่�วไป

P6

โปรแกรม การท่​่องเที่​่�ยว P20

P22 P24 P26 P28 P30 P32 P34 P36 P38 P40

กลุ่​่�มขนมพื้​้�นบ้​้านโกยเปด กลุ่​่�มจั​ักรสาน กลุ่​่�มกะสาวปลาแห้​้ง กลุ่​่�มปากน้ำำ��ตั​ัดเย็​็บ กลุ่​่�มน้ำำ�พริ � ิกตะโละซื​ือไร กลุ่​่�มโรตี​ีร่​่างแห กลุ่​่�มบุ​ุหงาฆู​ูลา กลุ่​่�มอาหารพื้​้�นถิ่​่�น กลุ่​่�มตะโละใสงานประดิ​ิษฐ์​์ กลุ่​่�มตะโละใสไม้​้ดั​ัด

P6 ประวั​ัติ​ิของหมู่​่�บ้​้าน P8 แผนที่​่� P12 สถานที่​่�ท่​่องเที่�ย ่ ว P16 ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ชุ​ุมชน P18 อาหารท้​้องถิ่​่�น


ความเป็​็นมาของโครงการส่​่งเสริ​ิมความเป็​็นผู้​้�ประกอบการชุ​ุมชน

โครงการ

D-HOPE กรมการพั​ัฒนาชุ​ุมชน ร่​่วมกั​ับ องค์​์การความร่​่วมมื​ือระหว่​่างประเทศของญี่​่ปุ่​่� น� (Japan International Cooperation Agency: JICA) ดำำ�เนิ​ินงานโครงการเพื่​่อ� ส่​่งเสริ​ิมผู้​้ป� ระกอบการชุ​ุมชน (Project for CommunityBased Entrepreneurship Promotion) โดยมี​ีเป้​้าหมายเพื่​่�อให้​้เศรษฐกิ​ิจฐานรากในพื้​้�นที่​่�โครงการฯ ได้​้รั​ับ การกระตุ้​้น� ด้​้วยการเพิ่​่ม� ขี​ีดความสามารถของผู้​้ป� ระกอบการในชุ​ุมชน และกำำ�หนดวั​ัตถุปุ ระสงค์​์เพื่​่อ� ให้​้ผู้​้ป� ระกอบการ ในชุ​ุมชนได้​้รั​ับการพั​ัฒนาตามแนวทางการจั​ัดนิ​ิทรรศการแบบกระจายที่​่�ผู้​้�บริ​ิโภคได้​้ลงมื​ือปฏิ​ิบั​ัติ​ิด้​้วยตนเอง (Decentralized Hands–On Program Exhibition : D-HOPE ระยะเวลาดำำ�เนิ​ินการ 4 ปี​ี (พ.ศ. 2561–2564) โดยอธิ​ิบดี​ีกรมการพั​ัฒนาชุ​ุมชนได้​้ลงนามในบั​ันทึ​ึกการหารื​ือ (Record of Discussions ของโครงการ “Project for Community–based Entrepreneurship Promotion” เพื่​่�อร่​่วมมื​ือกั​ับฝ่​่ายญี่​่ปุ่​่� น� ในการขั​ับเคลื่​่�อนโครงการ ในพื้​้�นที่​่เ� ป้​้าหมาย และได้​้เริ่​่ม� ดำำ�เนิ​ินงานเมื่​่อ� ปี​ีงบประมาณ พ.ศ. 2561 จำำ�นวน 9 จั​ังหวั​ัด คือื จั​ังหวั​ัดนครพนม มุ​ุกดาหาร สุ​ุริ​ินทร์​์ เชี​ียงใหม่​่ ลำำ�พู​ูน ชลบุ​ุรี​ี จั​ันทบุ​ุรี​ี ระนอง และจั​ังหวั​ัดตรั​ัง และจำำ�นวนจั​ังหวั​ัดเข้​้าร่​่วม จะเพิ่​่�มขึ้​้น� ทุ​ุก ๆ ปี​ี ซึ่​่ง� ในการดำำ�เนิ​ินงานแต่​่ละปี​ีจะเป็​็นการร่​่วมกั​ันจ่​่าย (Cost Sharing) ระหว่​่างกรมการพั​ัฒนา ชุ​ุมชนกั​ับองค์​์การความร่​่วมมื​ือระหว่​่างประเทศแห่​่งญี่​่ปุ่​่� น� (Japan International Cooperation Agency: JICA) และในปี​ีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ดำำ�เนิ​ินงานในพื้​้�นที่​่� 5 จั​ังหวั​ัด คื​ือ จั​ังหวั​ัดลพบุ​ุรี​ี สิ​ิงห์​์บุ​ุรี​ี ราชบุ​ุรี​ี พั​ังงา และจั​ังหวั​ัดพั​ัทลุ​ุง เพื่​่อ� เป็​็นการขยายพื้​้น� ที่​่ดำ� �ำ เนิ​ินงานเพิ่​่ม� จากปี​ีที่�่ 1 โดยส่​่งเสริ​ิมให้​้พื้​้�นที่​่เ� ป้​้าหมายมี​ีผู้​้ป� ระกอบการ เพิ่​่�มขึ้​้�นและพั​ัฒนาเศรษฐกิ​ิจฐานรากให้​้เกิ​ิดความยั่​่�งยื​ืน

4


วั​ัตถุ​ุประสงค์​์

1. เพื่​่�อพั​ัฒนาขี​ีดความสามารถของผู้​้�ประกอบการ กลุ่​่�มองค์​์กร และครั​ัวเรื​ือนที่​่เ� ข้​้าร่​่วมโครงการในชุ​ุมชน ให้​้สามารถจั​ั ดกิ​ิ จ กรรมที่​่� ผู้​้� บ ริ​ิ โ ภคลงมื​ื อ ทำำ�ด้​้ วย ตนเอง (Hands – On Program Exhibition) ตาม แนวทาง D – HOPE 2. เพื่​่�อให้​้ผู้​้�ประกอบการ/ผู้​้�เข้​้าร่​่วมโครงการมี​ีรายได้​้ เพิ่​่� ม ขึ้​้� น จากการจั​ั ด โปรแกรมที่​่� ผู้​้� บ ริ​ิ โ ภคได้​้ลงมื​ื อ ปฏิ​ิบัติั ด้​้ิ วยตนเอง (Hands – On Program Exhibition)

5

ผลที่​่�คาดว่​่าจะได้​้รั​ับ

1. มี​ีจำำ�นวนผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ชุ​ุมชนที่​่�ได้​้รั​ับการพั​ัฒนาให้​้เป็​็น ที่​่�ต้​้องการของลู​ูกค้​้าเพิ่​่�มมากขึ้​้�น 2. การพั​ัฒนาเส้​้นทางท่​่องเที่​่ย� วที่​่เ� ชื่​่อ� มโยงกั​ับหมู่​่�บ้​้าน OTOP เพื่​่อ� การท่​่องเที่​่ย� ว, OTOP นวั​ัตวิถี​ีิ , สั​ัมมาชี​ีพ ชุ​ุมชน และการท่​่องเที่​่ย� วโดยชุ​ุมชนที่​่บ� ริ​ิหารจั​ัดการ โดยชุ​ุมชน 3. มี​ีผู้​้ป� ระกอบการเพิ่​่ม� มากขึ้​้น� และมี​ีรายได้​้เพิ่​่ม� มากขึ้​้น� จากการเข้​้าร่​่วมกิ​ิจกรรม


ประวั​ัติ​ิความเป็​็นมา

คำำ�ว่​่าตะโละใส มาจากภาษามลายู​ูว่​่า ตะโละ ซื​ือไร (Taluk serai) แปลว่​่า อ่​่าวตะไคร่​่น้ำำ�� ตาโละแปลว่​่า อ่​่าว ซื​ือไร แปลว่​่า ตะใคร่​่น้ำำ�� บรรพบุ​ุรุ​ุษรุ่​่�นแรกชื่​่�อโต๊​๊ะโบ๊​๊ะ และโต๊​๊ะศรี​ี มาจากอิ​ินโดนี​ีเซี​ีย อพยพมาอยู่​่�ใน พ.ศ.ใด ยั​ังไม่​่ชัดั เจน ต่​่อมา เกิ​ิดการขยายตั​ัวของชุ​ุมชนออกเป็​็นพื้​้�นที่​่� กว้​้างขึ้​้น� ตามความหนาแน่​่นของคนในชุ​ุมชนออกเป็​็น 8 กลุ่​่�มบ้​้าน ซึ่​่�งประกอบด้​้วย 1. บ้​้านท่​่าหอ เป็​็นกลุ่​่�มบ้​้านแรกสุ​ุดในการตั้​้ง� ถิ่​่น� ฐาน ของผู้​้�คนในสมั​ัยก่​่อนสงครามโลกครั้​้�งที่​่� 2 ซึ่​่�งเป็​็นท่​่าเรื​ือ มี​ีการสร้​้างที่​่�ละหมาด(นะซ๊​๊ะ)หลั​ังแรกและเป็​็นที่​่�สอนและ เรี​ียนวิ​ิชาความรู้​้ท� างศาสนาอิ​ิสลาม ซึ่ง�่ บุ​ุคคลช่​่วงแรกที่​่ม� าอยู่​่� ที่​่แ� ห่​่งนี้​้� ประกอบด้​้วย โต๊​๊ะสาเล๊​๊ะ โต๊​๊ะลาเต๊​๊ะ โต๊​๊ะโบ๊​๊ะ โต๊​๊ะสี​ี ทั้​้�งหมดมาจากประเทศอิ​ินโดนี​ีเซี​ีย 2. ในบ้​้าน (บริ​ิเวณสุ​ุเหร่​่าปั​ัจจุ​ุบั​ัน) 3. บ้​้านโต๊​๊ะใส 4. บ้​้านโคกกลอย 5. บ้​้านนากลู​ูบี​ี 6. บ้​้านโต๊​๊ะหงาย 7. บ้​้านโคกดิ​ินแดน 8. บ้​้านโคกลิ​ิเลี​ียบ ต่​่อมาเมื่​่�อปี​ี พ.ศ. 2450 นายอั​ับดุ​ุลราหมาน ปากบารา (ขุ​ุนบารา บุ​ุรี​ีรั​ักษ์​์) ได้​้รวมเอาทั้​้�ง 8 หมู่​่�บ้​้านเป็​็น หมู่​่�บ้​้านเดี​ียวกั​ันเป็​็น “ตะโละใส” จนถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบั​ัน ลั​ักษณะภู​ูมิ​ิประเทศ

พื้​้� น ที่​่� บ้​้ านตะโละใสมี​ีลั​ั ก ษณะเป็​็ น ที่​่� ร าบลุ่​่�มมี​ี ภู​ูเขาอยู่​่�ด้​้านในของพื้​้น� ที่​่ อี​ี � กส่​่วนหนึ่​่ง� เป็​็นชายฝั่​่ง� ทะเลอั​ันดามั​ัน สภาพดิ​ินมี​ีลั​ักษณะเป็​็นดิ​ินร่​่วนปนทราย มี​ีชายหาดทรายขาว น้ำำ��ทะเลสวย ที่​่�ราบเชิ​ิงเขาโต๊​๊ะหงาย วิ​ิถี​ีชี​ีวิ​ิตชุ​ุมชน

กลุ่​่�มอาชี​ีพในชุ​ุมชน - กลุ่​่�มชาวประมงพื้​้�นบ้​้านบ้​้านตะโละใส - กลุ่​่�มตะโละใสไม้​้ดั​ัด - กลุ่​่�มจั​ักสานผู้​้สู​ู� งอายุ​ุ - กลุ่​่�มตะโละใสงานประดิ​ิษฐ์​์ - กลุ่​่�มปากน้ำำ�ตั � ัดเย็​็บ - กลุ่​่�มบุ​ุหงาฆู​ูลา - กลุ่​่�มน้ำำ�พริ � ิกตะโละซื​ือไร - กลุ่​่�มขนมพื้​้�นบ้​้านตะโละใส - กลุ่​่�มตะโละใสไฮโดรโปนิ​ิกส์​์ - กลุ่​่�มเกษตรปลอดภั​ัยตะโละใสน่​่าอยู่​่� ทั​ักษะงานฝี​ีมื​ืออาชี​ีพของคนในชุ​ุมชน

6

- การทำำ�การประมงพื้​้�นบ้​้าน “เรื​ือหั​ัวโทง” - การเพาะเลี้​้�ยงสั​ัตว์น้ำ์ ำ�� - การเกษตร - การค้​้าขาย


7


แผนที่​่� ชุ​ุมชนบ้​้านตะโละใส

8


ชุ​ุมชน บ้​้านตะโละใส

9


10


11

11


สถานที่​่ท่ � ่องเที่​่�ยวชุ​ุมชนตะโละใส < ชายหาดอ่​่าวนุ่​่�น อ่​่าวเล็​็กๆมี​ีต้​้นมะพร้​้าวเรี​ียงราย เป็​็นเวิ้​้�งหาดทรายรู​ูป ครึ่​่�งวงกลมที่​่�ถู​ูกขนาบด้​้วยเขาโต๊​๊ะหงายและเขาอ่​่าวนุ่​่�น ชาวประมงพื้​้�นบ้​้านในชุ​ุมชนใช้​้เป็​็นที่​่�หลบพายุ​ุ,จอดเรื​ือ และขึ้​้�นสั​ัตว์​์น้ำำ��ที่​่�จั​ับมาได้​้จากทะเลมาตั้​้�งแต่​่อดี​ีต มี​ีแพ ชุ​ุมชน 2 แห่​่ง ตั้​้�งอยู่​่�ในบริ​ิเวณนี้​้�ที่​่�รั​ับซื้​้�อสั​ัตว์​์น้ำำ��จาก ชาวประมงและบริ​ิเวณชายหาดอ่​่าวนุ่​่�นยั​ังมี​ีท่​่าเที​ียบเรื​ือ อ่​่าวนุ่​่�นซึ่​่�งเป็​็นท่​่าเรื​ือที่​่�แห่​่งที่​่� 2 ในตำำ�บลปากน้ำำ�ที่ � ่�ใช้​้ใน การขนส่​่งสิ​ินค้​้าและธุ​ุรกิ​ิจนำำ�เที่​่�ยวไปยั​ังเกาะต่​่างๆ

ศู​ูนย์​์วิ​ิจั​ัยและพั​ัฒนาประมง ชายฝั่​่�งสตู​ูล > ศู​ูนย์​์วิจัิ ยั และพั​ัฒนาประมงชายฝั่​่ง� สตู​ูล เป็​็นหน่​่วยวิ​ิจัยั เพาะเลี้​้ย� งสั​ัตว์น้ำ์ �ช �ำ ายฝั่​่ง� และเป็​็นสถานที่​่เ� พาะฟั​ักปลา นี​ีโม่​่ หรื​ือปลาการ์​์ตู​ูน เปิ​ิดโอกาสให้​้นั​ักท่​่องเที่​่ย� วเดิ​ินทาง เข้​้าเยี่​่�ยมชมและฟั​ังการบรรยาย

12


< เขาโต๊​๊ะหงาย ภู​ูเขาลู​ูกโดด จากการเปรี​ียบเที​ียบลำำ�ดั​ับชั้​้�นหิ​ินนั้​้�น กล่​่าวได้​้ว่​่า หิ​ินปู​ูนสี​ีเทานั้​้�นเป็​็นหิ​ินปู​ูนกลุ่​่�มหิ​ินทุ่​่�งสู​ูง ยุ​ุคออร์​์โดวิ​ิเชี​ียน อายุ​ุ 488-444 ล้​้านปี​ี ส่​่วนหิ​ินทราย สี​ีแดงนั้​้�นเป็​็นหิ​ินทรายกลุ่​่�มหิ​ินตะรุ​ุเตายุ​ุคแคมเบรี​ียน อายุ​ุ 542-488 ล้​้านปี​ี โดยระนาบสั​ัมผั​ัสระหว่​่างกลุ่​่�มหิ​ิน ทั้​้�งสองนั้​้�นเป็​็นระนาบรอยเลื่​่�อนที่​่�มี​ีการวางตั​ัวเอี​ียง เทไปทางทิ​ิศตะวั​ันออก และจากการที่​่ชั้​้� น� หิ​ินทรายสี​ีแดง มี​ีการวางตั​ัวไปทางตะวั​ันออกเฉี​ียงเหนื​ือด้​้วยมุ​ุมเอี​ียงเท 22 องศา แล้​้วค่​่อย ๆ เพิ่​่�มการเอี​ียงเทมากขึ้​้น� ๆ จนอยู่​่� ในแนวตั้​้�งฉากที่​่�บริ​ิเวณด้​้านใต้​้ของระนาบรอยเลื่​่�อนนั้​้�น

เขตข้​้ามกาลเวลาเขาโต๊​๊ะหงาย > เขตข้​้ามกาลเวลาเขาโต๊​๊ะหงาย เป็​็นอี​ีกหนึ่​่ง� ของพื้​้�นที่​่ข� อง อุ​ุทยานธรณี​ีโลกสตู​ูล มี​ีสะพานเดิ​ินเท้​้าเลี​ียบไปตามชายฝั่​่ง� เป็​็นเขตรอยต่​่อระหว่​่างหิ​ินปู​ูนสี​ีเทา (อายุ​ุประมาณ 488 – 444 ล้​้านปี​ี) กั​ับหิ​ินทรายสี​ีแดง (อายุ​ุประมาณ 542 – 488 ล้​้านปี​ี) วางตั​ัวซ้​้อนทั​ับกั​ันโดยผ่​่านการเคลื่​่�อนที่​่� ของเปลื​ือกโลก

< หาดหิ​ินหลากสี​ี หาดหิ​ิน 5 สี​ี หาดหิ​ินหลากสี​ีตั้​้�งอยู่​่�ในพื้​้�นที่​่�อุ​ุทยาน แห่​่งชาติ​ิหมู่​่�เกาะเภตรา ในช่​่วงน้ำำ�� ทะเลลดจะสามารถ พบเห็​็นก้​้อนหิ​ินจำำ�พวกหิ​ินทรายสี​ีแดง หิ​ินปู​ูนสี​ีเทา และ สายแร่​่ควอร์​์ต กระจายเต็​็มบริ​ิเวณชายหาด


< อุ​ุทยานแห่​่งชาติ​ิหมู่​่�เกาะเภตรา จั​ั ด ได้​้ว่​่ า มี​ีความหลากหลายซึ่​่� ง ประกอบด้​้วยพื้​้� น ที่​่� น้ำำ� �ทะเล เกาะ ภู​ูเขา พื้​้� นที่​่ � ราบบริ​ิ เวณหุ​ุ บเขาและ พื้​้�นที่​่ร� าบชายฝั่​่ง� ทะเล โดยพื้​้�นที่​่ช� ายฝั่​่ง� ทะเลและบริ​ิเวณ ใกล้​้เคี​ียงโดยรอบในระยะ 3 กม. จะมี​ีลั​ักษณะเป็​็น ที่​่� ร าบถึ​ึ ง ลู​ูกคลื่​่� น ลอนลาดโดยจะมี​ีภู​ูเขาและหย่​่ อ ม ภู​ูเขาปรากฏอยู่​่�เป็​็นหั​ัวแหลมตามขอบชายฝั่​่�ง พื้​้�นที่​่� ชายฝั่​่�งทะเลประกอบด้​้วยชายฝั่​่�งหิ​ิน หน้​้าผา ที่​่�ราบ น้ำำ��ท่​่วมถึ​ึงและสั​ันทรายชายหาด ส่​่วนพื้​้�นที่​่�ในทะเล ประกอบด้​้วยเกาะที่​่� มี​ี ขนาดแตกต่​่ า งกั​ั น ประมาณ 22 เกาะ วางตั​ัวในแนวเหนื​ือ-ใต้​้

เกาะลิ​ิดี​ี > เป็​็ น สถานที่​่� ท่​่ อ งเที่​่� ย วอยู่​่�ในเขตอุ​ุ ท ยานแห่​่ ง ชาติ​ิ หมู่​่�เกาะเภตรา ห่​่างจากชายฝั่​่�งอ่​่าวนุ่​่�นประมาณ 5 กิ​ิโลเมตร นั่​่�งเรื​ือหางยาวนำำ�เที่​่�ยวประมาณ 20 นาที​ี พื้​้� น ที่​่� บ นเกาะส่​่ ว นใหญ่​่ เ ป็​็ น หิ​ิ น ปู​ูนและโพรงถ้ำำ�� ซึ่​่�งเป็​็นที่​่�อยู่​่�ของนกนางแอ่​่น นอกจากนี้​้�ยั​ังมี​ีชายหาด สวยงาม น้ำำ��ทะเลใสเหมาะแก่​่การเล่​่นน้ำำ�� อี​ีกทั้​้�งยั​ังมี​ี ป่​่าชายเลน ป่​่าโกงกาง และป่​่าดงดิ​ิบ ที่​่�อุ​ุดมสมบู​ูรณ์​์ ช่​่ ว งเวลาน้ำำ�� ลดสามารถเดิ​ิ น ชมหาดผ่​่ า นป่​่าโกงกาง ไปยั​ังเกาะเล็​็กๆที่​่�อยู่​่�บริ​ิเวณใกล้​้เคี​ียงได้​้

14


15


ผลิ​ิตภั​ัณฑ์​์ชุ​ุมชน บ้​้านตะโละใส

ผลิ ต้​้น ิ ภัณ ต ั ฑ์​์ ไม้​้ดั​ัดทรง

ผลิ ีเค็​็ม ิ ภัณ ต ั ฑ์​์ ปลาอิ​ินทรี

ผลิ ิ ภั ต ั ฑ์​์ ณ

ผลิ ิ ภัณ ต ลา ั ฑ์จ ์ ากเกล็​็ดป 16

ิก สติ จัก ั สานพลา

ผลิต ต๊​๊ะ ิ ภัณ ั ฑ์​์ผ้​้าปาเ


ผลิ ิ ภัณ ต แห้​้ง ั ฑ์น้ำ ์ ำำพริ​ิกกุ้​้ง

ผลิ ิ ภัณ ต ั ฑ์​์บุ​ุหงาฆู​ูลา

ผลิ ้ าน ิ ภัณ ต ั ฑ์​์ขนมพื้​้นบ้

ผลิ เ ิ ภั ต กั​ัด ส ั ฑ์​์ ณ ว น้ำำำ มั​ันมะพร้​้า

ย็น็

ผลิ ส์ ิ ภั ต นิ​ิก ป โ ั ฑ์ร์ ณ างผั​ักไฮโดร

17


อาหารท้​้องถิ่​่�น แกงตู​ูหมิ​ิปลาหรื​ือแกงตอแมะห์​์ เป็​็นเมนู​ูอาหารที่​่ไ� ด้​้รั​ับความนิ​ิยมในหมู่​่�บ้​้าน นำำ�ปลาสดๆ มาแกงกั​ั บ เครื่​่� อ งแกงที่​่� ไ ด้​้รั​ั บ อิ​ิ ท ธิ​ิ พ ลจากประเทศ ในแถบมลายู​ู ผั​ัดกับั กะทิ​ิจนหอม ปรุ​ุงรสด้​้วยยอดสมุ​ุย ทำำ�ให้​้มี​ีรสชาติ​ิ แกงที่​่� เป็​็ นเอกลั​ั กษณ์​์ และถู​ูกปากคน ในพื้​้�นที่​่ม� าช้​้านานเจริ​ิญอาหารและส่​่งผลดี​ีต่​่อสุ​ุขภาพ

แกงส้​้มหอยป๊​๊ะยอดมะขาม โดยการนำำ� หอยป๊​๊ ะ (ภาษาถิ่​่� น )หรื​ื อ หอยตลั​ั บ ที่​่� มี​ี อยู่​่� มากมายในพื้​้�นที่​่� มาแกงกั​ับเครื่​่�องแกงส้​้มรสชาติ​ิเด็​็ด ตามแบบฉบั​ับคนใต้​้แท้​้ๆ เสริ​ิมความเปรี้​้�ยวกลมกล่​่อม ด้​้วยยอดมะขามอ่​่อน

ยำำ�ขี้​้�เซะหอย การนำำ�หอยต่​่างๆ เช่​่น หอยแครง หอยกาบง หอยป๊​๊ะ หรื​ือหอยอื่​่น� ๆ ตามฤดู​ูกาล นำำ�มาคลุ​ุกกั​ับน้ำำ�ยำ � �ำ รสชาติ​ิ จั​ัดจ้​้าน เสริ​ิมความหอมโดยการใส่​่มะพร้​้าวคั่​่�ว

18


ปลาเค็​็มทอด เมนู​ูอาหารธรรมดาที่​่�ไม่​่ธรรมดา เป็​็นการนำำ�ปลาสดๆ ที่​่� ไ ม่​่ ผ่​่ า นการแช่​่ ส ารฟอร์​์ ม าลี​ีนจากทะเลในพื้​้� น ที่​่� มาผ่​่านกระบวนการทำำ�เค็​็มที่​่�สะอาดถู​ูกหลั​ักอนามั​ัย ไม่​่เค็​็มจนเกิ​ินไป

ลี​ีปลี้​้�เจี้​้�ยน เป็​็นการนำำ�กะปิ​ิและเครื่​่�องแกงคลุ​ุกเคล้​้ากั​ับกุ้​้�งสดหรื​ือ กุ้​้ง� แห้​้งหรื​ืออาหารทะเลอื่​่น� ๆ ตามฤดู​ูกาล ผั​ัดกับั น้ำำ�มั � นั จนสุ​ุกทานคู่​่�กั​ับผั​ักพื้​้�นบ้​้านหลากหลายชนิ​ิด เป็​็นเมนู​ู อาหารดั้​้�งเดิ​ิมที่​่�คนในพื้​้�นที่​่�นิ​ิยมรั​ับประทานเนื่​่�องจาก สามารถเก็​็บไว้​้ได้​้นานและรสชาติ​ิจั​ัดจ้​้าน

เมนู​ูพิ​ิเศษบั​ัวลอยไข่​่แมงดา หรื​ือเรี​ียกอี​ีกอย่​่างว่​่า ดาวล้​้อมเดื​ือนสะเทื​ือนไทรโลไบทร์​์ ชนะเลิ​ิศการประกวดเมนู​ูประเภทของหวานในงาน ฟอสซิ​ิล

19


20


โปรแกรม

การท่​่องเที่​่�ยว


ซากดึ​ึกดำำ�บรรพ์​์ ฟอสซิ​ิล หิ​ินหลากสี​ีมีเี รื่​่�องเล่​่า +

ขนมโกยรายา ขนมโบราณ ที่​่�ยังั คงอนุ​ุรักั ษ์​์วิถีิ ีแบบคนสมั​ัยก่​่อน +

หรอยแบบลื​ืมไม่​่ลง ครบรส สดทุ​ุกมื้​้�อ +

บู​ูงาฆู​ูลา ลู​ูบได้​้ จั​ับได้​้ � ่�เดี​ียวในประเทศไทย ที่​่�นี่​่ที่ นางสาวชบา สาจิ​ิ และนางหาลี​ีม๊ะ๊ บุ​ุญเสน กลุ่​่�มขนมพื้​้�นบ้​้านโกยเปด บ้​้านก๊​๊ะอร บ้​้านฮาลี​ีมะ

22


6.00 น. - 8.00 น. - แลหวั​ันขึ้​้�น - เดิ​ินสะพานข้​้ามกาลเวลา ย้​้อนอดี​ีตเรื่​่�องเล่​่าจากตำำ�นาน 8.00 น. - 11.00 น. เริ่​่�มทำำ�ขนมโกยรายา (โกยเปด) - ขู​ูดมะพร้​้าวกั​ับเหล็​็กขู​ูด แต่​่แรก - คั้​้�นน้ำำ��กะทิ​ิ - ละลายแป้​้ง - เตรี​ียมพิ​ิมพ์​์ขนม - ก่​่อไฟในอั้​้�งโล่​่/ถ่​่าน - เทขนม/พั​ับ/ชิ​ิม 11.00 น - 13.00 น. ทานอาหารพื้​้�นบ้​้าน ดื่​่�มน้ำำ��ตะไคร้​้ 14.00 น. - 15.00 น. บู​ูงาฆู​ูลา

23

23


กว่​่าจะเป็​็นเส้​้นสายใบเตย จากใบเขี​ียวมี​ีหนาม กลายมาเป็​็นเส้​้นเล็​็กหลากสี​ีสวยงาม นางรอฮาหนี​ี โกบปุ​ุเลา กลุ่​่�มจัก ั รสาน บ้​้านกะสุ​ุนี​ี หมู่​่� 4 บ้​้านตะโละใส

24


9.00 - 10.00 น. 10.00 - 11.00 น. 11.00 - 12.00 น

25

พาไปชม ดงใบเตย ช่​่วยกั​ันตั​ัดใบและช่​่วยกั​ันทำำ�เส้​้น กลั​ับมาพั​ักที่​่�โฮมสเตย์​์ รั​ับประทานอาหารเที่​่�ยง และของหวาน

25


ลงเรื​ือหาปลา และวางอวน จั​ับปลา รู้​้จั� กั วิ​ิธีกี ารหาปลา และตื่​่�นเช้า้ ออกทะเลหาปลา นางสมศรี​ี โอมณี​ี กลุ่​่�มกะสาวปลาแห้​้ง

26


08.00 น. – 10.00 น. เช้​้าๆ ออกหาปลาโดยเรื​ือหางยาวหรื​ือหั​ัวโทงและกลั​ับมาทำำ�ปลาแห้​้ง อี​ีกส่​่วนหนึ่​่�งสามารถนำำ�มาทำำ�เป็​็นอาหารได้​้ 13.00 น. พานั​ักท่​่องเที่​่�ยวไปชม ไปทานอาหารและทำำ�กิ​ิจกรรมร่​่วมกั​ัน พาเที่​่�ยวอุ​ุทยานเภตรา สะพานข้​้ามกาลเวลา พร้​้อมไกด์​์มื​ืออาชี​ีพ ตอนกลั​ับมาแวะมาเอาปลาหมึ​ึกที่​่ต� ากไว้​้เป็​็นของฝากกลั​ับบ้​้านได้​้

27

27


เมื่​่�อนั​ักท่​่องเที่​่�ยวลองสวมใส่​่ เกิ​ิดความภู​ูมิใิ จที่​่�มีโี อกาส ได้​้สวมชุ​ุดอิ​ิสลาม ได้​้รั​ับการสืบื ทอดมาจากรุ่​่น� สู่​่�รุ่​่น� นางสาวปิ​ิยวรรณ ปากบารา (กะหรา) กลุ่​่�มปากน้ำำ��ตั​ัดเย็​็บ

28


8.00 น. - 9.30 น. ชุ​ุดผ้​้าปาเต๊​๊ะ(ชุ​ุดบาหยา) เตรี​ียมความพร้​้อม 13.00 น. ถุ​ุงผ้​้า กระเป๋​๋า พวงกุ​ุญแจ 10.00 น - 12.00 น. กล่​่องทิ​ิชชู​ู 12.00 น. - 13.00 น. รั​ับประทาอาหาร จากกลุ่​่�มอาหารพื้​้�นถิ่​่�น 13.00 น. - 15.00 น. การทำำ�ขนมบุ​ุหงาบุ​ุดะ 15.00 น. - 16.00 น. การทำำ�บู​ูหงาฆู​ูลา(ภู​ูมิ​ิปั​ัญญาท้​้องถิ่​่�น)

29

29


รู้​้�จัก ั หิ​ินสองยุ​ุค ชมธรรมชาติ​ิ ของทะเลอั​ันดามั​ัน ลงมื​ือทำำ�น้ำ��ำ พริ​ิกด้​้วยตนเอง ทานอาหารเที่​่�ยงสั​ัมผั​ัสวิ​ิถี​ีชาวบ้​้านประมงชายฝั่​่�ง เรี​ียนรู้​้อุ​ุ� ทยานธรณี​ีโลกสตู​ูลและ สั​ัมผั​ัสความสวยงามทะเล 500 ล้​้านปี​ี นางสาวฮั​ัซวานี​ี ปากบารา กลุ่​่�มน้ำ��พริ ำ ก ิ ตะโละซื​ือไร

30


6.00 น. - 8.00 น. - แลหวั​ันขึ้​้�น - เดิ​ินสะพานข้​้ามกาลเวลา ย้​้อนอดี​ีตเรื่​่�องเล่​่าจากตำำ�นาน 8.00 น. - 11.00 น. เลื​ือกซื้​้�อวั​ัตถุดิุ ิบในชุ​ุมชนซึ่​่�งประกอบด้​้วย - กั้​้�ง - กะปิ​ิ - พริ​ิก และอื่​่�น ๆ โดนเน้​้นการหาวั​ัตถุ​ุดิ​ิบในชุ​ุมชน ที่​่�ปลอดสารพิ​ิษ 11.00 น - 13.00 น. ทานอาหารพื้​้�นบ้​้าน 14.00 น. - 17.00 น. เที่​่�ยวชมปราสาทหิ​ินพั​ันยอด

31

31


โรตี​ีสโตมาโตไลย์​์ ขนมโบราณจากรุ่​่น� สู่​่�รุ่​่น� เป็​็นขนมสู่​่�อุ​ุ ทยานธรณี​ีโลกในปั​ัจจุ​ุบั​ัน นางสาวสุ​ุทธิ​ิตา สาเสน กลุ่​่�มโรตี​ีร่​่างแห

32


6.00 น. - 7.00 น. 8.00 น. - 9.00 น. 11.00 น - 12.00 น.

33

ไปเดิ​ินข้​้ามสะพานข้​้ามกาลเวลา เพื่​่�อไปดู​ูและศึ​ึกษาฟอสซิ​ิล สโตมาโตไลย์​์ - ทำำ�ขนมโรตี​ีร่​่างแห หรื​ือขนมสโตมาโตไลย์​์ - แบ่​่งกลุ่​่�ม เดิ​ินเก็​็บดอกไม้​้ในหมู่​่�บ้​้าน - สาธิ​ิตการโรยแป้​้งในกระทะ - บอกวั​ัสดุ​ุอะไรในการทำำ�แป้​้ง พั​ักกิ​ินข้​้าว

33


ทำำ�ขนมโกยหยา

ให้​้นั​ักท่​่องเที่​่�ยวได้​้ลงมื​ือทำำ�ด้​้วยตนเอง และมี​ีเทคนิ​ิคในการอั​ัดถั่​่ว� ไม่​่ให้​้แตก +

ชุ​ุดบาหยา

ใด้​้ลองสวมใส่​่ชุ​ุดพื้​้� นบ้​้าน ที่​่�ปั​ัจจุ​ุบัน ั หาใส่​่ได้​้ยาก และมี​ีราคาแพง +

บุ​ุหงาฆู​ูลา

ทดลองทำำ�ขนมบุ​ุหงาฆู​ูลา 1 เดี​ียวในจั​ังหวั​ัดสตู​ูล นางกนิ​ิษฐา รอเหมมั​ัน กลุ่​่�มบุ​ุหงาฆู​ูลา บ้​้านก๊​๊ะมะ ซอยลี​ีเลี​ียบ 3

34


9.00 น.- 10.30 น. ทำำ�ขนมโกยหยา 10.30 น. – 11.00 น. ชุดุ บาหยา 11.00 น. – 12.00 น. บุ​ุหงาฆู​ูลา

35

35


แกงตู​ูมิ​ิ เมนู​ูพิ​ิเศษ ใช้ใ้ นการต้​้อนรั​ับ แขกบ้​้านแขกเรื​ือน นางวิ​ิณี​ี ลาวั​ัล กลุ่​่�มอาหารพื้​้�นถิ่​่�น

36


10.30 น. - 12.00 น. แกงตู​ูมิ​ิ - พานั​ักท่​่องเที่​่�ยวรั​ับชมทิ​ิวทั​ัศน์​์ริ​ิมชายหาด ถ่​่ายรู​ูป และรั​ับประทานอาหาร - ชมการขู​ูดมะพร้​้าวแบบโบราณ

37

37


ประดิ​ิษฐ์​์เข็​็มกลั​ัดเกล็​็ดปลา ในรู​ูปแบบต่​่างๆ ที่​่�ไม่​่เหมื​ือนใคร ออกแบบเองและมี​ีชิ้​้น � เดี​ียวในโลก นางวาสนา ลาสาตร์​์ กลุ่​่�มตะโละใสงานประดิ​ิษฐ์​์

38


14.00 น. - 16.00 น. เดิ​ินออกจากเภตราสะพานข้​้ามกาลเวลา ชมหิ​ินหลากสี​ี เล่​่าประวั​ัติ​ิของเขาโต๊​๊ะหงาย และ รู​ูปชมธรรมชาติ​ิที่​่�งดงาม - ประดิ​ิษฐ์​์เข็​็มกลั​ัดในรู​ูปแบบต่​่างๆ ด้​้วยเกล็​็ดปลา เช่​่น ดอกไม้​้ ฟอสซิ​ิลต่​่างๆ - เริ่​่�มจากล้​้างเกล็​็ดปลา - ตากเกล็​็ดปลา - ประกอบเกล็​็ดปลา เป็​็นรู​ูปแบบต่​่างๆ

39

39


โล๊​๊ะใสไม้​้ดั​ัด พื​ืชพื้​้� นบ้​้าน สร้​้างมู​ูลค่​่าเพิ่​่ม � มะพร้​้าวงอก นายวิ​ินัย ั นุ้​้�ยไฉน กลุ่​่�มตะโละใสไม้​้ดัด ั

40


8.00 น. - 9.30 น. การจั​ัดกระบวนการกลุ่​่�ม 9.30 น. - 12.00 น. การทำำ�น้ำำ��มั​ันมะพร้​้าวสกั​ัดเย็​็น 12.00 น. - 13.00 น. อาหารเที่​่�ยง กลุ่​่�มแม่​่บ้​้าน 13.00 น - 15.00 น. การำำ�บอนไซมะพร้​้าว 15.00 น. แหล่​่งเรี​ียนรู้​้�อุ​ุทยานสตู​ูล 17.30 น. เข้​้าที่​่�พั​ัก 19.00 น. รั​ับประทานอาหาร

41

41





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.