Tech40101 ch1

Page 1

-1-

บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ เนื้อหา 1. บทบาทความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ความกาวหนาของเทคโนโลยีสารสนเทศ 4. ประโยชนที่ไดจากเทคโนโลยีสารสนเทศ 5. เทคโนโลยีกับแนวโนมโลก 6. ระบบสารสนเทศ 7. องคประกอบของระบบสารสนเทศ 8. ตัวอยางการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. อธิบายความหมายของคําวา เทคโนโลยี สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศได 2. อธิบายพัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ ตั้งแต อดีต ปจจุบัน และแนวโนมในอนาคตได 3. อธิบายและตระหนักถึงประโยชนของเทคโนโลยีสารสนเทศ และสามารถนําไปประยุกตใชได

1. บทบาทความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ การเปลี่ยนแปลงสังคมความเปนอยูของมนุษยเปนไปอยางรวดเร็ว กลาวกันวาไดเกิดการเปลี่ยนแปลงใน ลักษณะที่เรียกวา การปฏิวัติมาแลวสองครั้ง ครั้งแรกเกิดจากการที่มนุษยรูจักใชระบบชลประทานเพื่อการเพาะปลูก สังคมความเปนอยูของมนุษยจึงเปลี่ยนจากการเรรอนมาเปนการตั้งหลักแหลงเพื่อทําการเกษตร ตอมาเมื่อประมาณ รอยกวาปที่แลว กอนสงครามโลกครั้งที่ 1 หลังจากที่วัตตประดิษฐเครื่องจักรไอน้ํา มนุษยรูจักนําเอาเครื่องจักรมาชวย ในอุตสาหกรรมการผลิตและชวยในการสรางยานพาหนะเพื่องานคมนาคมขนสง ผลที่ตามมาทําใหเกิดการปฏิวัติทาง อุตสาหกรรม สังคมความเปนอยูของมนุษยจึงเปลี่ยนจากสังคมเกษตรมาเปนสังคมเมือง

รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน

ภาคเรียนที่ 1/2552


-2-

การปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคแรก เริ่มจากการใชเครื่องจักรกลแทนการทํางานดวยมือ พลังงานที่ใชขับเคลื่อน เครื่องจักรมาจากพลังงานน้ํา พลังงานไอน้ํา และเปลี่ยนเปนพลังงานจากน้ํามัน มีการขับเคลื่อนเครื่องยนตและมอเตอร ไฟฟา การปฏิวัติอุตสาหกรรมไดเกิดขึ้นอีก โดยเปลี่ยนแปลงระบบทํางานจากทีละขั้นตอนมาเปนการทํางานระบบ อัตโนมัติ การทํางานเหลานี้ลวนอาศัยระบบควบคุมดวยคอมพิวเตอรทั้งสิ้น

รูปที่ 1.1 โรงงานประกอบรถยนตที่ใชแขนหุนยนต มีผูกลาววาการปฏิวัติครั้งที่สามกําลังจะเกิดขึ้น โดยสิ่งที่เกิดใหมนี้ ไดแก การพัฒนาทางดานความคิด การ ตัดสินใจ โดยอาศัยหลักการของคอมพิวเตอร ในอนาคตกลุมคนเพียงกลุมเดียวอาจทํางานทั้งหมดโดยอาศัยระบบ คอมพิวเตอรควบคุม ทําการควบคุมหุนยนตคอมพิวเตอร และใหหุนยนตควบคุมการทํางานของเครื่องจักรอีกตอหนึ่ง ความเจริญกาวหนาทางอุตสาหกรรมเกือบทุกแขนงมีคอมพิวเตอรเขามาเกี่ยวของดวยเสมอ ระบบการผลิตสวนใหญ ต อ งใช ค อมพิ ว เตอร แ ละอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส แ ทรกเข า มาเกื อ บทุ ก กระบวนการ ตั้ ง แต ก ารควบคุ ม การขนส ง วั ต ถุ ดิ บ กระบวนการผลิต และการบรรจุหีบหอ ในระดับประเทศ ประเทศไทยสั่งซื้อสินคาเทคโนโลยีระดับสูงเปนปริมาณมาก ทําใหตองซื้อเทคนิควิธีการ ตลอดจนเครื่องมือเครื่องจักรเขามาในปริมาณมากไปดวย ขณะเดียวกันเรายังขาดบุคลากรที่จะพัฒนาเครื่องจักร เครื่องมือเหลานั้นใหมีประสิทธิภาพ การสูญเสียเงินตราเนื่องจากสาเหตุนี้จึงเกิดขึ้นมิใชนอย หลายโรงงานยังไมกลาใช เครื่องจักรที่ใชเทคโนโลยีใหม เพราะหาบุคลากรในการดําเนินการไดยาก แตในระยะหลังคาจางแรงงานสูงขึ้นและการ แขงขันทางธุรกิจมีมากขึ้น จึงตกอยูในสภาวะจํายอมที่ตองนําเครื่องมือเหลานั้นเขามา เนื่องจากเครื่องมือดังกลาวให ผลผลิตที่ดีกวาของเดิมและทําใหราคาตนทุนการผลิตสินคาต่ําลงอีกดวย ในยุควิกฤตการณพลังงาน หลายประเทศพยายามลดการใชพลังงาน โรงงานพยายามหาทางควบคุมการใช พลังงานใหมีประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อจะลดคาใชจายลง จึงนําคอมพิวเตอรมาชวยควบคุม เชน ควบคุมการเดินเครื่องให เหมาะสม ควบคุมปริมาณการเผาไหมของเครื่องจักรในกระบวนการผลิต ควบคุมการจัดภาระงานใหเหมาะสม รวมถึง การควบคุมสิ่งแวดลอมตาง ๆ ดวย

รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน

ภาคเรียนที่ 1/2552


-3-

เมื่ อ คอมพิ ว เตอร เ ข า มาเกี่ ย วข อ งกั บ การดํ า เนิ น ชี วิ ต ของมนุ ษ ย ม ากขึ้ น ก็ ไ ด มี ก ารพั ฒ นางานทางด า น เทคโนโลยีสารสนเทศ และในปจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศไดเขามามีบทบาทตอชีวิตประจําวันของมนุษยมากขึ้น สังเกตไดจากการนําคอมพิวเตอรสวนบุคคลมาใชในสํานักงาน การจัดทําระบบฐานขอมูลขนาดใหญ การใชอุปกรณ อํานวยความสะดวกที่ประกอบดวยชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส แสดงวาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการคํานวณและเก็บขอมูล ไดแพรไปทั่วทุกแหง เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทสําคัญตอการแขงขันดานธุรกิจและการขยายตัวของบริษัท มีผล ตอการใหบริการขององคกรและหนวยงาน และมีผลตอการประกอบกิจการในแตละวัน เทคโนโลยีสารสนเทศเริ่มใชงานในประเทศไทยเมื่อไมนานมานี้เอง โดยในป พ.ศ.2507 มีการนําคอมพิวเตอร เขามาใชในประเทศไทยเปนครั้งแรก และในขณะนั้นเทคโนโลยีสารสนเทศยังไมแพรหลายนัก จะมีเพียงการใชโทรศัพท เพื่อการติดตอสื่อสาร และนําคอมพิวเตอรมาชวยประมวลผลขอมูล งานดานสารสนเทศอื่น ๆ สวนใหญ ยังคงเปนงาน ภายในสํานักงานที่ยังไมมีอุปกรณและเครื่องมือดานเทคโนโลยีมาชวยงานเทาใดนัก เมื่อมีการประดิษฐคิดคนอุปกรณชวยงานสารสนเทศ เชน เครื่องถายเอกสาร โทรสาร และไมโครคอมพิวเตอร อาชีพของประชากรก็ปรับเปลี่ยนมาสูงานดานสารสนเทศมากขึ้น สํานักงานเปนแหลงที่มีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ มากที่สุด เชน การใชคอมพิวเตอรทําบัญชีเงินเดือนและบัญชีรายรับรายจาย การติดตอสื่อสารภายในและภายนอกโดย ใชโทรศัพทและโทรสาร การจัดเตรียมเอกสารดวยการใชเครื่องถายเอกสารและคอมพิวเตอร งานดานสารสนเทศมีแนวโนมขยายตัวที่คอนขางสดใส เพราะเทคโนโลยีดานนี้ไดรับการสงเสริมสนับสนุน อยางเต็มที่ มีการวิจัยและพัฒนาใหเกิดผลิตภัณฑใหมออกมาตอบสนองความตองการของมนุษยอยูตลอดเวลา

รูปที่ 1.2 การใชคอมพิวเตอรทํางานในสํานักงาน เทคโนโลยีที่ใชในระบบสารสนเทศที่กําลังไดรับความสนใจอยางมากในขณะนี้ คือ เทคโนโลยีสื่อประสม (Multimedia) ซึ่งรวมขอความ ภาพ เสียง และวีดิทัศนเขามาผสมกัน เทคโนโลยีนี้กําลังไดรับการพัฒนา ในอนาคต เทคโนโลยีแบบสื่อประสมจะชวยเสริมและสนับสนุนงานดานสารสนเทศใหกาวหนาตอไป เปนที่คาดหมายวาอัตราการ เติบโตของผูทํางานดานเทคโนโลยีสารสนเทศจะมีมากขึ้น รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน

ภาคเรียนที่ 1/2552


-4-

แนวโนมของเทคโนโลยีสารสนเทศคอย ๆ กลายมาเปนระบบรวม โดยใหคอมพิวเตอรระบบหนึ่งทํางานพรอม กันไดหลาย ๆ อยาง นอกจากใชประมวลผลขอมูลดานบัญชีแลว ยังใชงานจัดเตรียมเอกสารแทนเครื่องพิมพดีด ใช รับสงขอความหรือจดหมายกับคอมพิวเตอรที่อยูหางไกล ซึ่งอาจอยูคนละซีกโลกในลักษณะที่เรียกวา “ไปรษณีย อิเล็กทรอนิกส” (Electronic Mail หรือ E-Mail) สําหรับเครื่องถายเอกสาร นอกจากจะใชถายสําเนาเอกสารตามปกติ แลว อาจเพิ่มขีดความสามารถใหใชงานเปนเครื่องพิมพหรือรับสงโทรสารไดอีกดวย การพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศเปนไปอยางรวดเร็ว ทั้งดานฮารดแวร (Hardware) ซอฟตแวร (Software) ขอมูล (Data) และการติดตอสื่อสาร (Communication) ผูใชจึงตองปรับตัวยอมรับและเรียนรูเทคโนโลยีใหม ที่เกิดขึ้นอยูเสมอ โดยเฉพาะขอมูลและการติดตอสื่อสารซึ่งเปนหัวใจสําคัญของการดําเนินธุรกิจ หากการดําเนินงาน ธุรกิจใชขอมูลซึ่งมีการบันทึกใสกระดาษและเก็บรวบรวมใสแฟม การเรียกคนและสรุปผลขอมูลยอมทําไดชาและเกิด ความผิดพลาดไดงายกวาการประมวลผลขอมูลดวยเครื่องคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศจะชวยใหทํางานไดงาย สะดวก รวดเร็ว และถูกตองขึ้น และที่สําคัญชวยใหสามารถตัดสินใจดําเนินงานไดเร็ว

2. ขอบเขตของเทคโนโลยีสารสนเทศ คําวา เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การประยุกตเอาความรูทางดานวิทยาศาสตร ความจริงเกี่ยวกับ ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มาทําใหเกิดประโยชนตอมวลมนุษย เทคโนโลยีจึงเปนวิธีการในการสรางมูลคาเพิ่มของสิ่ง ตางๆ ใหเกิดประโยชนมากยิ่งขึ้น เชน ทรายหรือซิลิคอน (Silicon) เปนสารแรที่พบเห็นทั่วไปตามชายหาด หากนํามา สกัดดวยเทคนิควิธีการสรางเปนชิป (Chip) จะทําใหสารแรซิลิคอนนั้นมีคุณคาและมูลคาเพิ่มขึ้นไดอีกมาก สารสนเทศ (Information) หมายถึง ขอมูลที่เปนเรื่องเกี่ยวของกับ ความจริงของคน สัตว สิ่งของ ทั้งที่เปนรูปธรรมและนามธรรม ที่ไดรับจากการ จัดเก็บรวบรวม ประมวลผล เรียกคน และสื่อสารระหวางกัน นํามาใชใหเกิด ประโยชนไดซึ่งนักเรียนจะไดเรียนเพิ่มเติมตอไป

รูปที่ 1.3 ชิป (Chip)

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถึง การ นําวิทยาการที่กาวหนาทางดานคอมพิวเตอรและการสื่อสารมาสรางมูลคาเพิ่ม ใหกับสารสนเทศ ทําใหสารสนเทศมีประโยชนและใชงานไดกวางขวางมากขึ้น เทคโนโลยี ส ารสนเทศรวมถึ ง การใช เ ทคโนโลยี ด า นต าง ๆ ในการรวบรวม จัดเก็บ ใชงาน สงตอ หรือสื่อสารระหวางกัน เทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวของ โดยตรงกั บ เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช ใ นการจั ด การสารสนเทศ ได แ ก เครื่ อ ง คอมพิวเตอรและอุปกรณรอบขาง ขั้นตอนวิธีการดําเนินการซึ่งเกี่ยวของกับ ซอฟตแวร เกี่ยวของกับขอมูล บุคลากร และกรรมวิธีการดําเนินงานเพื่อให ขอมูลเกิดประโยชนสูงสุด

เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเปนเทคโนโลยีที่ครอบคลุมเรื่องเกี่ยวกับการประมวลผลขอมูล ซึ่งไดแก การใช เทคโนโลยีคอมพิวเตอร การติดตอสื่อสารระหวางกันดวยความรวดเร็ว การจัดการขอมูล รวมถึงวิธีการที่จะใชขอมูลให เกิดประโยชนสูงสุด รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน

ภาคเรียนที่ 1/2552


-5-

3. ความกาวหนาของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในภาวะสั ง คมป จ จุ บั น หลายสิ่ ง หลายอย า งที่ เ กิ ด ขึ้ น รอบตั ว เป น ตัว ชี้ บ อกว า ประเทศไทยกําลั ง ก า วสู ยุ ค สารสนเทศ ดังจะเห็นไดจากวงการศึกษาสนใจใหความรูดานคอมพิวเตอรและสงเสริมการนําเทคโนโลยีคอมพิวเตอรมา ประยุกตงานตาง ๆ มากขึ้น การบริหารธุรกิจของบริษัทหางรานตาง ๆ ตลอดจนหนวยงานของรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ มีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อใชในองคการ ดวยการเก็บขอมูล ประมวลผลและวิเคราะหขอมูล แลวนําผลลัพธมา ชวยในการวางแผนและตัดสินใจ ระยะเริ่มแรกที่มนุษยไดคิดคนประดิษฐคอมพิวเตอรที่มีลักษณะเปนเครื่องคํานวณอิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอร ไดถูกใชทํางานดานการคํานวณทางวิทยาศาสตรเปนสวนใหญ แลวจึงนํามาใชเก็บรวบรวมและประมวลผลขอมูล ทางดานธุรกิจในเวลาตอมา ระยะแรกนี้เรียกวา ระยะของการประมวลผลขอมูล (Data Processing Age) ขอมูลที่ไดมาจะตองผานการประมวลผลใหไดเปนสารสนเทศกอนจึงจะนําไปใชใหเกิดประโยชน วิธีการ ประมวลผลขอมูลจะเริ่มตั้งแตการรวบรวมจัดเก็บขอมูล เมื่อไดขอมูลแลวตองมีการตรวจสอบความถูกตอง แบงกลุมจัด ประเภทของขอมูล เชน ขอมูลตัวอักษรซึ่งเปนชื่อหรือขอความก็อาจตองมีการเรียงลําดับ และขอมูลตัวเลขก็อาจตองมี การคํานวณ จากนั้นจึงทําการสรุปไดเปนสารสนเทศออกมา ถาขอมูลที่นํามาประมวลผลมีจํานวนมากจนเกินความสามารถของมนุษยที่จะจัดการไดในเวลาอันสั้น ก็จําเปน จะตองนําคอมพิวเตอรมาชวยเก็บและประมวลผล เมื่อขอมูลอยูภายในคอมพิวเตอร การแกไขหรือเรียกคนสามารถทํา ไดสะดวกและรวดเร็ว ขณะเดียวกันการทําสําเนาและการแจกจายขอมูลก็สามารถดําเนินการไดทันที งานที่เกิดขึ้นจากการประมวลผลขอมูลมักเก็บในลักษณะแฟมขอมูล ตัวอยางเชน การทําบัญชีเงินเดือนของ พนักงานในบริษัท ขอมูลเงินเดือนของพนักงานที่เก็บในคอมพิวเตอรจะรวมกันเปนแฟมขอมูลที่ประกอบดวยชื่อ พนักงาน เงินเดือน และขอมูลสําคัญอื่น ๆ โปรแกรมคอมพิวเตอรจะเรียกแฟมเงินเดือนมาประมวลผลและสรุปผลรวม ยอด ขั้ น ตอนการทํ างานจะต อ งทํ าพร อ มกัน ที เดี ยวทั้ งแฟ มข อ มูล ที่ เ รียกว า การประมวลผลแบบกลุม (Batch Processing) แตเนื่องจากระบบงานที่เกิดขึ้นภายในองคกรคอนขางซับซอน เชน รายไดของพนักงานที่ไดรับในแตละเดือน อาจไมไดมาจากอัตราเงินเดือนประจําเทานั้น แตอาจจะมีคานายหนาจากการขายสินคาดวย ในลักษณะนี้แฟมขอมูล การขายจะสัมพันธกับแฟมขอมูลเงินเดือน และสัมพันธกับแฟมขอมูลอื่น ๆ เชน คาสวัสดิการ การหักเงินเดือนเปน คาใชจายตาง ๆ ระบบขอมูลจะกลายเปนระบบที่มีแฟมขอมูลหลายแฟมเชื่อมสัมพันธกัน และโปรแกรมคอมพิวเตอร เรียกแฟมขอมูลเหลานั้นมาจัดการใหเปนไปตามตองการ ระบบนี้เรียกวา ระบบฐานขอมูล (Database System) การจัดการขอมูลที่เปนฐานขอมูล จะเปนระบบสารสนเทศที่มีประโยชนซึ่งนําไปชวยงานดานตาง ๆ อยาง ไดผล ระบบขอมูลที่สรางเพื่อใชในบริษัทจะเปนระบบฐานขอมูลของกิจกรรมที่เกิดขึ้น เพื่อแสดงสารสนเทศที่เปนจริง ของบริษัท สามารถนําขอเท็จจริงนั้นไปวิเคราะหและนําผลลัพธไปประกอบการตัดสินใจของผูบริหาร เพื่อการวางแผน และกําหนดนโยบายการจัดการตาง ๆ

รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน

ภาคเรียนที่ 1/2552


-6-

ในปจจุบันการนําคอมพิวเตอรไปใชงานของประเทศตาง ๆ ทั่วโลก อยูที่การใชสารสนเทศเปนสวนใหญ แนวโนมของระบบจัดการขอมูลของยุคนี้ เริ่มเปลี่ยนจากระบบงานการประมวลผลแบบกลุมมาเปนระบบตอบสนอง ทันที ที่เรียกวา การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (Online Processing) เชน การฝากถอนเงินของธนาคารตาง ๆ ผานเครื่องรับ-จายเงินอัตโนมัติ หรือระบบเอทีเอ็ม (Automatic Teller Machine : ATM) ขณะที่ประเทศตาง ๆ ยังอยูในยุคของการประมวลผลสารสนเทศ ในบางประเทศ เชน สหรัฐอเมริกา และญี่ปุน ไดพัฒนาเขาสูการประมวลผลฐานความรู (Knowledge Base Processing) โดยใหคอมพิวเตอรใชงาย รูจัก ตอบสนองกั บ ผู ใ ช และสามารถแก ป ญ หาที่ ต อ งอาศั ย การตั ด สิ น ใจระดั บ สู ง ด ว ยการเก็ บ สะสมฐานความรู ไ ว ใ น คอมพิวเตอร และมีโครงสรางการใหเหตุผล เพื่อนําความรูมาชวยแกปญหาที่สลับซับซอน

รูปที่ 4 Robosoft, a French company, has announced the introduction of ESTELE, a remotely operated robotic echo system. [ที่มา http://www.medgadget.com/archives/2007/04/estele_expert_s.html] การประมวลผลฐานความรูเปนการประยุกตหลักวิชาดานปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence : AI) ที่ รวบรวมศาสตรหลายแขนง คือ คอมพิวเตอร จิตวิทยา ปรัชญา และภาษาศาสตรเขาดวยกัน ตัวอยางชิ้นงานประเภทนี้ ไดแก หุนยนต (Robot) และระบบผูเชี่ยวชาญ (Expert System) ปจจุบันมีซอฟตแวรที่เปนระบบผูเชี่ยวชาญชวยใน การวินิจฉัยโรคตาง ๆ และการสํารวจทรัพยากรธรรมชาติ

รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน

ภาคเรียนที่ 1/2552


-7-

4. ประโยชนที่ไดจากเทคโนโลยีสารสนเทศ การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศในปจจุบัน กอใหเกิดประโยชนในดานตางๆ มากมาย ยกตัวอยางเชน 1. ชวยใหติดตอสื่อสารระหวางกันอยางสะดวกรวดเร็วโดยใชโทรศัพท เครือขายคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต 2. ชวยในการจัดระบบขาวสารจํานวนมหาศาล ซึ่งผลิตออกมาในแตละวัน 3. ชวยใหเก็บสารนิเทศไวในรูปที่สามารถเรียกใชไดครั้งแลวครั้งเลาอยางสะดวก 4. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสารนิเทศ เชน ชวยนักวิทยาศาสตร วิศวกร ในการคํานวณตัวเลขที่ยุงยาก ซับซอน ซึ่งไมสามารถทําใหสําเร็จไดดวยมือ 5. สามารถจัดระบบอัตโนมัติเพื่อการเก็บ เรียกใชและประมวลผลสารนิเทศ 6. สามารถจําลองแบบระบบการวางแผนและทํานาย เพื่อทดลองกับสิ่งที่ยังไมเกิดขึ้น 7. อํ า นวยความสะดวกในการเข า ถึ ง สารนิ เ ทศดี ก ว า สมั ย ก อ น ทํ า ให ผู ใ ช ส ารนิ เ ทศมี ทางเลื อ กที่ ดี ก ว า มี ประสิทธิภาพกวา และสามารถแขงขันกับผูอื่นไดดีกวา 8. ชวยใหมีการตัดสินใจที่ดีขึ้น จากการมีสารสนเทศประกอบการตัดสินใจและพิจารณาทางเลือกภายใตเงื่อนไข ตาง ๆ 9. ลดคาใชจายซึ่งเปนผลมาจากการใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทําใหประหยัดเวลาการทํางานหรือลดคาใชจายใน การทํางานลง 10. พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนโดยมีการคนควาผานระบบเครือขาย เพิ่มโอกาสใหนักศึกษาสามารถสืบคน ขอมูลไดจากสถานที่อื่นนอกมหาวิทยาลัย เปนการฝกใหรูจักเรียนรูดวยตนเองมากขึ้น 11. เพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินงาน ทั้งในดานความเที่ยงตรง ความรวดเร็วในความตองการใชขอมูล ขอมูลมี ความสมบูรณมากยิ่งขึ้น สอดคลองกับความตองการของผูใช และสามารถตรวจสอบขอมูลไดอยางถูกตอง 12. ชวยในการรื้อปรับระบบ (reengineering) และพัฒนาระบบสอดคลองกับความตองการขององคการไดอยาง ตอเนื่อง โดยการใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือการปรับระบบ และพัฒนาระบบใหทันสมัยอยูเสมอ

รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน

ภาคเรียนที่ 1/2552


-8-

5. เทคโนโลยีกับแนวโนมโลก ปจจุบันคอมพิวเตอรและระบบสื่อสารมีบทบาทมากขึ้น มีการใชเครือขายคอมพิวเตอร เชน อินเทอรเน็ต เชื่อมโยงการทํางานตาง ๆ การดําเนินธุรกิจใชสารสนเทศอยางกวางขวาง เกิดคําใหมวา ไซเบอรสเปซ (Cyberspace) มีการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ในไซเบอรสเปซ เชน การพูดคุย การซื้อสินคาและบริการ การทํางานผานทางเครือขาย คอมพิวเตอร ทําใหเกิดสภาพที่เสมือนจริงมากมาย เชน หองสมุดเสมือนจริง หองเรียนเสมือนจริง ที่ทํางานเสมือนจริง ฯลฯ เทคโนโลยีสารสนเทศ เปนเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัสและตอบสนองตามความตองการ ปจจุบันการใช เทคโนโลยีเปนแบบบังคับ การดูโทรทัศน การฟงวิทยุ เมื่อเราเปดเครื่องรับโทรทัศนเราไมสามารถเลือกตามความ ตองการได ถาสถานีสงสัญญาณใดมาเราก็จะตองชมตามตารางเวลาที่สถานีกําหนด หากผิดเวลาก็ทําใหพลาดรายการ ที่สนใจไป และหากไมพอใจรายการก็ทําไดเพียงเลือกสถานีใหม แนวโนมจากนี้ไปจะมีการเปลี่ยนแปลงในลักษณะที่ เรียกวาออนดีมานด (On Demand) เราจะมีทีวีออนดีมานด (TV On Demand) เชน เมื่อตองการชมภาพยนตรเรื่องใด ก็เลือกชม และดูไดตั้งแตตนรายการ การศึกษาออนดีมานด (Education On Demand) คือ สามารถเลือกเรียนตาม ตองการได การตอบสนองตามความตองการเปนหนทางที่เปนไปได เพราะเทคโนโลยีมีพัฒนาการที่กาวหนาจน สามารถนําระบบสื่อสารมาตอบสนองตามความตองการของมนุษยได เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหเกิดสภาพการทํางานแบบทุกสถานที่และทุกเวลา เมื่อการสื่อสารแบบสองทาง กาวหนาและแพรหลายขึ้น การโตตอบผานเครือขายทําใหเสมือนมีปฏิสัมพันธไดจริง เรามีระบบประชุมทางวีดิทัศน ระบบประชุมบนเครือขาย มีระบบการศึกษาบนเครือขาย มีระบบการคาบนเครือขาย ลักษณะของการดําเนินธุรกิจ เหลานี้ทําใหขยายขอบเขตการทํางานหรือดําเนินกิจกรรมไปทุกหนทุกแหง และดําเนินการไดตลอด 24 ชั่วโมง เชน ระบบเอทีเอ็ม ทําใหมีการเบิกจายไดเกือบตลอดเวลา และกระจายไปใกลตัวผูรับบริการมากขึ้น แตดวยเทคโนโลยีที่ กาวหนายิ่งขึ้น การบริการจะกระจายมากยิ่งขึ้น จนถึงที่บาน และในอนาคตสังคมการทํางานจะกระจายจนงานบางงาน อาจนั่งทําที่บานหรือที่ใดก็ได และเวลาใดก็ได เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแหงชาติไปเปนเศรษฐกิจโลก ความเกี่ยวโยงของ เครือข ายสารสนเทศทําใหเกิ ดสังคมโลกาภิวัฒ น (Globalization) ระบบเศรษฐกิจซึ่ งแตเ ดิมมีขอบเขตจํากั ด ภายในประเทศก็ ก ระจายเปน เศรษฐกิ จ โลก ทั่ ว โลกจะมีก ระแสการหมุ น เวี ย นแลกเปลี่ ย นสิ น ค า และบริ ก ารอย า ง กวางขวางและรวดเร็ว เทคโนโลยีสารสนเทศมีสวนเอื้ออํานวยใหการดําเนินการมีขอบเขต กวางขวางมากยิ่งขึ้น ระบบ เศรษฐกิจของโลกจึงผูกพันกับทุกประเทศและเชื่อมโยงกันแนบแนนขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศทําใหองคกรมีลักษณะผูกพัน หนวยงานภายในเปนแบบเครือขายมากขึ้น แตเดิมการ จัดองคกรมีการวางเปนลําดับขั้น มีสายการบังคับบัญชาจากบนลงลาง แตเมื่อการสื่อสารแบบสองทางและการกระจาย ข า วสารดี ขึ้ น มี ก ารใช เ ครื อ ข า ยคอมพิ ว เตอร ใ นองค ก รผู ก พั น กั น เป น กลุ ม งาน มี ก ารเพิ่ ม คุ ณ ค า ขององค ก รด ว ย เทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดโครงสรางขององคกรจึงปรับเปลี่ยนจากเดิม และมีแนวโนมที่จะสรางองคกรเปนเครือขาย ที่มีลักษณะการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากขึ้น หนวยธุรกิจจะมีขนาดเล็กลงและเชื่อมโยงกันกับหนวยธุรกิจอื่นเปน เครื อ ข าย สถานภาพขององค ก รจึ ง ต อ งแปรเปลี่ ย นไปตามกระแสของเทคโนโลยี เพราะการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ต อ งใช ระบบสื่อสารที่มคี วามรวดเร็วเทากับแสง กอใหเกิดการแลกเปลี่ยนขอมูลไดงายและรวดเร็ว รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน

ภาคเรียนที่ 1/2552


-9-

เทคโนโลยีสารสนเทศกอใหเกิดการวางแผนการดําเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทําใหวิถีการตัดสินใจหรือ เลือกทางเลือกไดละเอียดขึ้น แตเดิมการตัดสินปญหาอาจมีหนทางใหเลือกไดนอย เชน อาจมีคําตอบเพียง ใช หรือ ไมใช แตดวยขอมูลขาวสารที่สนับสนุนการตัดสินใจ ทําใหวิถีความคิดในการตัดสินปญหาเปลี่ยนไป ผูตัดสินใจมี ทางเลือกไดมากขึ้น มีความละเอียดออนในการตัดสินปญหาไดดีขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศเปนเทคโนโลยีเดียวที่มีบทบาทในทุกวงการ ดังนั้นจึงมีผลตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองไดอยางมาก ลองนึกดูวาขณะนี้เราสามารถชมขาว ชมรายการโทรทัศนที่สงกระจายผาน ดาวเทียมของประเทศตาง ๆ ไดทั่วโลก เราสามารถรับรูขาวสารไดทันที เราใชเครือขายอินเทอรเน็ตในการสื่อสาร ระหวางกัน และติดตอกับคนไดทั่วโลก จึงเปนที่แนชัดวาแนวโนมการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจ สังคม และ การเมือง จึงมีลักษณะเปนสังคมโลกมากขึ้น

6. ระบบสารสนเทศ จากความสําคัญของสารสนเทศ และการหาหนทางที่จะใชเทคโนโลยีในการจัดการสารสนเทศ ใน พ.ศ.2538 รัฐบาลไทยไดประกาศอยางเปนทางการใหเปนปแหงเทคโนโลยีสารสนเทศไทย รัฐบาลไดเห็นความสําคัญของระบบ ขอมูลที่มีเทคโนโลยีทางดานคอมพิวเตอรและระบบสื่อสารเปนตัวนํา และจะมีบทบาทสําคัญในการพัฒนาและผลักดัน ใหเกิดการใชทรัพยากรของประเทศอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งในดานทรัพยากรมนุษย วัสดุอุปกรณ และเวลา รัฐบาลไดลงทุนใหกับโครงการพื้นฐานทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศเปนจํานวนมาก เชน การขยายระบบโทรศัพท การขยายเครือขายสื่อสาร การสรางระบบฐานขอมูลทะเบียนราษฎร การสรางระบบการจัดเก็บภาษีและระบบศุลกากร ดวยคอมพิวเตอร ไม เ พี ย งแต ป ระเทศไทยเท า นั้ น ที่ ใ ห ค วามสํ า คั ญ เรื่ อ งเทคโนโลยี ส ารสนเทศ หลายประเทศทั่ ว โลกก็ ใ ห ความสําคัญเชนกัน แตละประเทศไดลงทุนทางดานนี้เปนจํานวนมาก ทั้งนี้เพราะขอมูลเปนกลไกสําคัญในเชิงรุก เพื่อ พัฒนาประเทศใหสามารถแขงขันในระดับสากลได อีกทั้งยังเพิ่มคุณภาพชีวิต กระจายความเจริญสูชนบท และสราง ความเสมอภาคในสังคม สังคมความเปนอยูและการทํางานของมนุษยมีการรวมกลุมเปนประเทศ การจัดองคกรเปนหนวยงานของ รัฐบาลและเอกชน และภายในองคกรก็มีการแบงยอยลงเปนกลุม เปนแผนก เปนหนวยงาน ภายในหนวยงานยอยก็มี ระดับบุคคล เมื่อพิจารณาระบบสารสนเทศที่เกี่ยวของในองคกรพอที่จะแบงการจัดการสารสนเทศขององคกรไดตามจํานวน คนที่เกี่ยวของตามรูปแบบการรวมกลุมขององคกรได 3 ระดับ คือ ระบบสารสนเทศระดับบุคคล ระบบสารสนเทศระดับ กลุม และระบบสารสนเทศระดับองคกร 6.1 ระบบสารสนเทศระดับบุคคล ระบบสารสนเทศระดั บ บุ ค คล คื อ ระบบที่ เ สริ ม ประสิ ท ธิ ภ าพและเพิ่ ม ผลงานให แ ต ล ะบุ ค คลในหน า ที่ ที่ รับผิดชอบ ปจจุบันคอมพิวเตอรสวนบุคคลมีขนาดเล็กลง ราคาถูก แตมีความสามารถในการประมวลผลดวยความเร็ว สูงขึ้น ประกอบกับมีโปรแกรมสําเร็จที่ทําใหผูใชสามารถใชงานไดงายกวางขวางและและคุมคามากขึ้น รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน

ภาคเรียนที่ 1/2552


- 10 -

ข อ มู ล ที่ ช ว ยให ก ารทํ า งานของบุ ค ลากรดี ขึ้ น นั้ น ต อ งขึ้ น อยู กั บ หน า ที่ รั บ ผิ ด ชอบของแต ล ะคนต า งกั น ไป ตัวอยางเชน นักวิจัยอาจจําเปนจะตองใชคอมพิวเตอรและโปรแกรมเฉพาะดาน เพื่อชวยในการจัดเก็บ รวบรวมขอมูล รวมไปถึงการคํานวณและวิเคราะหขอมูลหรือผลลัพธที่ไดจากการทดลองไดอยางถูกตอง

รูปที่ 1.5 นักวิจัยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในการทํางานวิจัยของตนเอง 6.2 ระบบสารสนเทศระดับกลุม ระบบสารสนเทศระดับกลุม คือ ระบบสารสนเทศที่ชวยเสริมการทํางานของกลุมบุคคลที่มีเปาหมายการทํางาน รวมกันใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ตัวอยางของการใชระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนงานของแผนก คําวา การทํางานเปนกลุม (Workgroup) ใน ที่นี้หมายถึง กลุมบุคคลจํานวน 2 คนขึ้นไปที่รวมกันทํางานเพื่อใหบรรลุเปาหมายเดียวกัน โดยทั่วไปบุคลากรในกลุม เดียวกันจะรูจักกันและทํางานรวมกัน เปาหมายหลักของการทํางานเปนกลุม คือ การเตรียมสภาวะแวดลอมที่จะ เอื้ออํานวยประโยชนในการทํางานรวมกันเปนกลุมไดอยางมีประสิทธิภาพ และชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน โดยทํา ใหเปาหมายของธุรกิจดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิผล แนวทางหลักก็คือการทําใหเกิดการใชทรัพยากรรวมกัน โดยเฉพาะขอมูลและอุปกรณเทคโนโลยีพื้นฐาน การนําเอาคอมพิวเตอรสวนบุคคลมาเชื่อมตอกันดวยเครือขายทองถิ่น (Local Area Network : LAN) ทําใหมีการ เชื่อมโยงและใชทรัพยากรของคอมพิวเตอรรวมกัน เชน เครื่องพิมพขอมูลที่ใชรวมกันในแผนก จะบรรจุไวในระบบ คอมพิวเตอรที่มีหนาที่ควบคุมการจัดเก็บแฟมขอมูลกลางที่เรียกวา เครื่องบริการแฟม (File Server) ถามีการแกไข ขอมูลในฐานขอมูลกลางนี้โดยผูใชคนใดคนหนึ่ง ผูใชคนอื่นที่อยูบนเครือขายคอมพิวเตอรนี้ก็จะไดรับขอมูลที่ผานการ แกไขแลวนั้นเชนกัน

รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน

ภาคเรียนที่ 1/2552


- 11 -

รูปที่ 1.6 ฝายการเงินที่อยูบนชั้นหนึ่งของอาคารสํานักงานที่มีการเชื่อมตอคอมพิวเตอร เปนเครือขายที่มีการใชขอมูลรวมกัน เปนระบบสารสนเทศระดับกลุม การประยุกตใชงานคอมพิวเตอรในลักษณะของการทํางานเปนกลุม สามารถใชกับงานตาง ๆ ได ตัวอยางเชน ระบบบริการลูกคา หรือ การเสนอขายสินคาผานทางสื่อโทรศัพท พนักงานในทีมงานอาจจะมีอยูหลายคน และใช เครือขายคอมพิวเตอรในการเก็บขอมูลกลางของลูกคารวมกันกลาวคือ มีขอมูลเพียงชุดเดียวที่พนักงานทุกคนจะเขาถึง ได ถามีการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติม พนักงานในกลุมจะตองรับรูดวย เชน ลูกคาโทรศัพทมาถามคําถาม หรือขอ คําปรึกษาเกี่ยวกับสินคา พนักงานอาจจะชวยเตือนความจําเมื่อถึงเวลาตองโทรศัพทกลับไปหาลูกคา แมพนักงานที่รับ โทรศัพทครั้งที่แลวจะไมอยู แตพนักงานที่ทํางานอยูสามารถเรียกขอมูลจากระบบคอมพิวเตอร แลวโทรกลับไปตามนัด หมาย ทําใหธุรกิจดําเนินตอไปไดโดยไมหยุดชะงัก เปนตน อันจะเปนการเพิ่มคุณภาพการบริการ หรือเปนกลยุทธที่ ชวยทางดานการขาย ระบบสารสนเทศของกลุมหรือแผนกยังมีแนวทางอื่น ๆ ในการสนับสนุนการบริหารงานและการปฏิบัติงาน เชน การสื่อสารดวยระบบไปรษณียอิเล็กทรอนิกส การประชุมผานเครือขาย ซึ่งอาจจะประชุมปรึกษาหารือกันไดโดย อยูตางสถานที่กัน การจัดทําระบบแผงขาว (Bulletin Board System : BBS) ของแผนก การประชุมทางไกล (Video Conferrence) การทําตารางทํางานของกลุม ระบบสนับสนุนการตัดสินใจของกลุม ระบบจัดการฐานขอมูล ระบบการ ไหลเวียนอัตโนมัติของเอกสาร ระบบการจัดการเก็บขอความ ระบบการจัดตารางเวลาของกลุม ระบบการบริหาร โครงการของกลุม ระบบการใชแฟมขอความรวมกันของกลุม และระบบประมวลผลภาพเอกสาร เปนตน 6.3 ระบบสารสนเทศระดับองคกร ระบบสารสนเทศระดับองคกร คือระบบสารสนเทศที่สนับสนุนงานขององคการในภาพรวม ระบบในลักษณะนี้ จะเกี่ยวของกับการปฏิบัติงานรวมกันของหลายแผนก โดยการใชขอมูลที่เกี่ยวของรวมกัน ดวยวิธีสงผานถึงกันจาก แผนกหนึ่งขามไปอีกแผนกหนึ่ง ระบบสารสนเทศดังกลาวนี้สามารถสนับสนุนงานในระดับผูปฏิบัติการ และสนับสนุน การตัดสินใจ เนื่องจากสามารถใหขอมูลจากแผนกตาง ๆ ที่เกี่ยวของมาประกอบการตัดสินใจโดยอาจนําขอมูลมาแสดง ในรูปแบบสรุป หรือในแบบฟอรมที่ตองการ บอยครั้งที่การบริหารงานในระดับสูงจําเปนตองใชขอมูลรวมกันจากหลาย แผนกเพื่อประกอบการตัดสินใจ รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน

ภาคเรียนที่ 1/2552


- 12 -

รูปที่ 1.7 การเชื่อมตอคอมพิวเตอรและอุปกรณตางๆ เปนระบบเครือขาย โดยเชื่อมคอมพิวเตอรทุกตัวในอาคาร สํานักงานเขาดวยกัน คอมพิวเตอรทุกเครื่องของทุกฝายใชขอมูลกลางจากเครื่องแมขาย เปนสารสนเทศระดับองคกร [ที่มาของรูป: http://www.axxanet.com/structuredcabling.htm] หัวใจสําคัญของระบบสารสนเทศในระดับองคกร คือ ระบบเครือขายคอมพิวเตอรภายในองคกรที่จะตอง เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอรของแตละแผนกเขาดวยกัน เพื่อใหเกิดการใชขอมูลรวมกัน นอกจากนี้ยังสามารถใช ทรัพยากรรวมกันไดดวย ในเชิงเทคนิคระบบสารสนเทศระดับองคกรอาจมีระบบคอมพิวเตอรที่ดูแลแฟมขอมูล มีการ เชื่อมโยงคอมพิวเตอรหลายระบบเขาดวยกันเปนเครือขาย หรืออาจจะมีเครือขายคอมพิวเตอรในระดับกลุมอยูแลว การ เชื่อมโยงเครือขายยอยเหลานั้นเขาดวยกัน ทําใหกลายเปนเครือขายของเครือขายคอมพิวเตอร ในกรณีที่มีจํานวนผูใช ในองคการมากเครื่องมือพื้นฐานอีกประการหนึ่งของระบบขอมูลก็คือระบบจัดการฐานขอมูล ซึ่งเปนโปรแกรมสําคัญใน การดูแลระบบฐานขอมูล

รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน

ภาคเรียนที่ 1/2552


- 13 -

7. องคประกอบของระบบสารสนเทศ องคประกอบของระบบสารสนเทศ ซึ่งเปนระบบสนับสนุนการบริหารงาน การจัดการ และการปฏิบัติการของ บุ ค คล ไม ว า จะเป น ระดั บ บุ ค คล ระดั บ กลุ ม หรื อ ระดั บ องค ก ร ไม ใ ช มี เ พี ย งเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร เ ท า นั้ น แต ยั ง มี องคประกอบอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับความสําเร็จของระบบอีก รวมเปน 5 องคประกอบ ซึ่งจะขาดองคประกอบใดไมได คือ ฮารดแวร ซอฟตแวร ขอมูล บุคลากร และขั้นตอนการปฏิบัติงาน

บุคลากร

ขอมูล

ฮารดแวร

เทคโนโลยี สารสนเทศ

ขั้นตอนวิธี

ซอฟตแวร

รูปที่ 1.8 องคประกอบของระบบสารสนเทศ ฮารดแวร ฮารดแวรเปนองคประกอบสําคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณรอบขาง เชน เครื่องพิมพ รวมทั้งอุปกรณสื่อสารสําหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอรเขาเปนเครือขาย ซอฟตแวร ซอฟตแวรหรือโปรแกรมคอมพิวเตอรเปนองคประกอบที่สําคัญประการที่สอง ซึ่งก็คือลําดับขั้นตอนของ ชุดคําสั่งที่สั่งงานใหฮารดแวรทํางาน เพื่อประมวลผลขอมูลใหไดผลลัพธตามความตองการ ปจจุบันมีซอฟตแวรควบคุม ระบบงาน ซอฟตแวรสําเร็จ ทําใหการใชงานคอมพิวเตอรในระดับบุคคลเปนไปอยางกวางขวาง และสงเสริมการทํางาน ของกลุมมากขึ้น สวนงานในระดับองคกรสวนใหญมักจะมีการพัฒนาระบบตามความตองการ โดยการวาจางบริษัทที่รับ พัฒนาซอฟตแวรหรือโดยนักคอมพิวเตอรที่อยูในฝายคอมพิวเตอรขององคกร เปนตน รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน

ภาคเรียนที่ 1/2552


- 14 -

ขอมูล ขอมูล เปนองคประกอบที่สําคัญอีกประการหนึ่งของระบบสารสนเทศ เปนตัวชี้ความสําเร็จหรือความลมเหลว ของระบบได เนื่องจากตองมีการเก็บขอมูลจากแหลงกําเนิด ขอมูลจะตองถูกตอง ทันสมัย มีการกลั่นกรองตรวจสอบ แลวเทานั้นจึงจะมีประโยชน โดยเฉพาะเมื่อใชงานในระดับกลุมหรือระดับองคกร ขอมูลตองมีโครงสรางในการจัดเก็บที่ เปนระบบระเบียบเพื่อการสืบคนที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ บุคลากร บุคลากรในระดับผูใช ผูบริหาร ผูพัฒนาระบบ นักวิเคราะหระบบ และนักเขียนโปรแกรม เปนองคประกอบ สําคัญในความสําเร็จของระบบสารสนเทศ บุคลากรมีความรูความสามารถทางคอมพิวเตอรมากเทาใด โอกาสที่จะใช งานระบบสารสนเทศและระบบคอมพิวเตอรไดเต็มศักยภาพและคุมคายิ่งมากขึ้นเทานั้น โดยเฉพาะระบบสารสนเทศใน ระดับบุคคลซึ่งเครื่องคอมพิวเตอรมีขีดความสามารถมากขึ้น ทําใหผูใชมีโอกาสพัฒนาความสามารถของตนเองและ พัฒนาระบบงานไดเองตามความตองการ สําหรับระบบสารสนเทศในระดับกลุมและองคการที่มีความซับซอนมาก อาจจะตองใชบุคลากรในสาขาคอมพิวเตอรโดยตรงมาพัฒนาและดูแลระบบงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจนของผูใชหรือของบุคลากรที่เกี่ยวของก็เปนเรื่องสําคัญอีกประการหนึ่ง เมื่อได พัฒนาระบบงานแลวจําเปนตองปฏิบัติงานตามลําดับขั้นตอน ในขณะใชงานก็จําเปนตองคํานึงถึงลําดับขั้นตอนการ ปฏิบัติของคนและความสัมพันธกับเครื่อง ทั้งในกรณีปกติและกรณีฉุกเฉิน เชน ขั้นตอนการบันทึกขอมูล ขั้นตอนการ ประมวลผล ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อเครื่องมือชํารุดหรือขอมูลสูญหาย และขั้นตอนการทําสําเนาขอมูลสํารองเพื่อความ ปลอดภัย เปนตน สิ่งเหลานี้จะตองมีการซักซอม มีการเตรียมการ และการทําเอกสารคูมือการใชงานใหชัดเจน

8. ตัวอยางการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ การประยุกตใช RFID RFID (Radio Frequency Identification) เปนหนึ่งใน เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับระบบการระบุเอกลักษณดวยคลื่นวิทยุ สามารถใชใน การระบุเอกลักษณของวัตถุ บอกตําแหนง ติดตามและตรวจสอบสินคา โดย การใชปายอิเล็กโทรนิกสที่ฝงไมโครชิปเก็บขอมูล และสายอากาศ ทํางาน โดยใชเครื่องอานที่สื่อสารกับปายดวยคลื่นวิทยุในการอานและเขียนขอมูล ปจจุบัน มีการประยุกตใช RFID Tag กันอยางแพรหลาย โดย นํามาใชแทนระบบบารโคดแบบเดิม เนื่องจาก RFID มีความสะดวกสบาย ในการใชงานมากกวา ไมจําเปนตองนําวัตถุมาอานดวยเครื่องอานบารโคด เพี ย งแค นํ า วั ต ถุ ที่ ติ ด Tag ไปผ า นบริ เ วณที่ มี เ ครื่ อ งอ า นสั ญ ญาณก็ จ ะ สามารถอานคาไดทันที ทําใหสามารถใหบริการไดอยางรวดเร็วมากขึ้น รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน

รูปที่ 1.9 ตัวอยาง RFID Tag รูปแบบ หนึ่ง ภาคเรียนที่ 1/2552


- 15 -

ตัวอยางการประยุกตใช RFID ในปจจุบัน ไดแก

การใชระบุเอกลักษณบุคคล ในงานดานการรักษาความปลอดภัยของอาคาร โดยจะฝง Tag ไวใต ผิวหนังของบุคคลที่มีสิทธิในการเขาออกพื้นที่ตางๆ ของอาคาร ซึ่งเครื่องอานสัญญาณจาก Tag ที่ฝงไว จะประมวลผลไดวา จะอนุญาตใหบุคคลนั้น ผานเขาไปในบริเวณที่กําหนดไวไดหรือไม การใชงานในเชิงพาณิชย เพื่อการทําสตอกสินคา และการขายสินคา โดยนํามาใชแทนรหัสบารโคด แบบเดิม เนื่องจาก RFID มีคุณสมบัติที่สามารถตรวจสอบตําแหนงของวัตถุไดดวยขอมูลใน Tag ทําใหการตรวจสอบสินคาทําไดสะดวก สามารถรูตําแหนงของสินคาแตละชิ้นที่อยูในรานไดทันที การ อานคาจาก Tag ก็ทําไดอยางรวดเร็วกวาบารโคด และบรรจุขอมูลไดหลากหลายกวา

รูปที่ 1.10 รถเข็นซึ่งติดเครือ่ งอาน RFID จากสินคาที่อยูในรถเข็น ทําใหลูกคา ทราบราคาสินคาที่ตนเองเลือกซื้อทั้งหมดจากหนาจอ LCD และรายการโปรโมชั่นตางๆ

การใชงานในดานการจราจร/ขนสง มีการประยุกตใชระบบ RFID กับการคํานวณคาขึ้นลงทางดวน โดยรถที่ตองการใชทางดวน จะติด Tag ไวบริเวณกระจกหนา เมื่อรถแลนผานเครื่องอานสัญญาณ บริเวณทางขึ้นและทางลง เครื่องจะทําการคํานวณคาใชจายใหโดยอัตโนมัติ หนังสือเดินทางและใบขับขี่ของหลายประเทศในปจจุบันไดฝง RFID Tag ไว โดยภายใน Tag ที่ฝงไวจะ มีขอมูลของบุคคลที่เปนเจาของ เพื่อใหสามารถตรวจสอบขอมูลไดทันทีที่เดินผานบริเวณเครื่องอาน สั ญ ญาณ ทํ า ให เ พิ่ ม ความรวดเร็ ว ในการให บ ริ ก าร และช ว ยในการรั ก ษาความปลอดภั ย ในมี ประสิทธิภาพมากขึ้น

รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน

ภาคเรียนที่ 1/2552


- 16 -

รูปที่ 1.11 RFID Passport

เครื่องอานระดับน้ําตาล เนื่องจากผูปวยบางรายที่เปนเบาหวานจะตองเจาะเลือดที่นิ้วตนเองเพื่อนํา เลือดมาทดสอบและฉีด insulin ใหตัวเองอยูตลอดเวลา บริษัท VeriChip จึงไดคิดเทคโนโลยีใหมนี้ ขึ้นมา ซึ่งจะเปนการนําเอา implantable RFID chip มาประยุกตใชรวมกับ glucose sensor ฝงเขาไป ในรางกายผูปวย หลังจากนั้นจะใหใชเครื่องอาน RFID อานระดับน้ําตาลจาก RFID chip ที่ฝงอยูไดเลย

รูปที่ 1.12 เครือ่ งอานระดับน้าํ ตาลจาก RFID chip

รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน

ภาคเรียนที่ 1/2552


- 17 -

ระบบงานหองสมุด เปนการนําเทคโนโลยี RFID มาใชในกระบวนการยืมคืนหนังสือและสื่อโสตทัศน ด ว ยตนเอง ห อ งสมุ ด แต ล ะแห ง พั ฒ นาฐานข อ มู ล เพื่ อ จั ด เก็ บ รายละเอี ย ดทางบรรณานุ ก รมและ สถานภาพของทรั พ ยากรสารสนเทศ เพื่ อ ใช ใ นการตรวจสอบข อ มู ล เกี่ ย วกั บ ยื ม คื น ทรั พ ยากร สารสนเทศแตละรายการของหองสมุด โดยทรัพยากรสารสนเทศแตละรายการจะไดรับตัวเลขที่เฉพาะ รายการ (บารโคด) ซึ่งไมไดมีความสัมพันธกันระหวางชื่อผูแตง และชื่อเรื่องของทรัพยากรสารสนเทศ รายการนั้ น ๆ การยื ม คื น ทรั พ ยากรสารสนเทศที่ ใ ช เ ทคโนโลยี บ าร โ ค ด ผู ใ ช ต อ งติ ด ต อ ขอความ ช ว ยเหลื อ จากบรรณารั ก ษ / เจ า หน า ที่ จากนั้ น บรรณารั ก ษ / เจ า หน า ที่ จ ะนํ า แถบบาร โ ค ด ที่ ติ ด กั บ ทรัพยากรสารสนเทศนั้นไปไวในบริเวณที่เครื่องอานรหัสบารโคด โดยสามารถอานไดทีละเลม แตสําหรับเทคโนโลยี RFID นั้นมีลักษณะคลายกับบารโคดและยังสามารถรองรับความตองการ อีกหลายๆอยางที่บารโคดไมสามารถตอบสนองได กลาวคือ เทคโนโลยีบารโคดเปนระบบที่อานได อยางเดียว ไมสามารถเปลี่ยนแปลงขอมูลที่อยูบนบารโคดได แตปาย RFID สามารถอานและบันทึก ขอมูลเพิ่มเติมนอกเหนือจากตัวเลขและเพิ่มเติมขอมูลภายหลังได นอกจากนี้ระบบเทคโนโลยี RFID เปนเทคโนโลยีที่สามารถสงขอมูลทุกอยางผานคลื่นความถี่วิทยุ ดังนั้นการอานขอมูลจากปาย RFID จึงไมตองปายขอมูลอยูในบริเวณที่เครื่องอานอานได และผูใชสามารถยืมคืนทรัพยากรสารสนเทศได ดวยตนเอง นอกจากนี้เมื่อมีการยืมคืนผานเทคโนโลยี RFID ฐานขอมูลทรัพยากรสารสนเทศจะถูก ปรับปรุงขอมูลเปนปจจุบันทันที

รูปที่ 1.13 Library RFID Management System จากที่กลาวมาจะเห็นไดวา มีการประยุกตใชเทคโนโลยี RFID กันอยางแพรหลาย ดวยคุณสมบัติที่สามารถ อานขอมูลไดอยางรวดเร็ว และสามารถใชอานขอมูลจากวัตถุที่มีการเคลื่อนที่อยูก็ได ทําให RFID เปนทางเลือกใหม สําหรับการระบุเอกลักษณ และการรับสงขอมูลในระยะหางกัน จึงมีการนํามาใชมากขึ้นในธุรกิจและการใหบริการตางๆ ในปจจุบัน เปนยุคการสื่อสารขอมูลไรสาย ที่อํานวยความสะดวกใหแกผูใชและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน

รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการเขียนโปรแกรมขั้นตน

ภาคเรียนที่ 1/2552


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.