เกาะล้าน แดนสวรรค์ไม่ไกลกรุง
TSD eMag
Photography Li fe st y l e
43 APRIL 2012
Content
หลั ง จากที่ TSD eMag ได้ เ งี ย บหายไป หลายเดือน จนหลายคนสงสัยว่า จะยังมีการผลิตต่อไป หรือเปล่า เว็บ TSD จะไปต่ออย่างไร หน้าตา รูปแบบ TSD จะเป็นแนวไหน TSD ได้ผ่านทั้งช่วงเวลาที่ดี และอุปสรรค ใหญ่ บ ้ า งเล็ ก บ้ า ง แต่ ด ้ ว ยพลั ง และก� ำลังใจของ ทีมงานทุกคน ท�ำให้ TSD ในวันนี้เ ข้ ม แข็ ง พร้ อ ม เดินหน้า ด้วยภาพลักษณ์การก้าวเข้าสู่ e-Magzine ระดับสากล เปรียบเสมือนการก้าวขึ้นบันไดอีกหนึ่ง ขั้น ซึ่งความเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นนี้ จะทยอยออกมา เพื่อสร้างสาระ และบันเทิงใจแก่ผู้อ่านมากยิ่งขึ้น ในอนาคตอันใกล้นี้
Cool Product
Photo Tutor
Photo Traveler
Shutter iDol
Talk’
Photography Lifestyle เป็น concept ที่ ที ม เราคิ ด ว่ า เป็ น อะไรที่ ส บายใจเป็ น ที่ สุ ด เราปราถนาให้ผู้อ่าน TSD รู้สึกสบายใจ และ อยากออกไปท่องเที่ยวถ่ายภาพ ให้สมกับเป็น วั น พั ก ผ่ อ นอย่ า งสุ ข ใจ เราแอบหวั ง ว่ า TSD ในวันนี้ และวันหน้าของเรา จะสามารถเป็นส่วน หนึ่งของแรงบันดาลใจให้ผู้อ่านของเรายิ้มได้กับ ภาพฝีมือตัวเอง ความก้ า วหน้ า ของเราในวั น นี้ ต้ อ งขอ ขอบคุ ณ ผู ้ ส นั บ สนุ น ที่ อ ยู ่ เ บื้ อ งหลั ง ทุ ก ท่ า น รวมถึ ง สมาชิ ก และผู ้ อ ่ า นที่ น ่ า รั ก ของเรา ซึ่ ง ที ม TSD ขอขอบคุ ณ อย่ า งจริ ง ใจอี ก ครั้ ง ในมิตรภาพอันดีงามที่มี ให้เราเสมอมา TSD TEAM Bkk Snap
เนื้อหาทั้งหมดสงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ โดย บริษัท ทางสะดวก (ไทย) จ�ำกัด 123 อาคารซันทาวเวอร์ส บี ชั้น 34 ห้อง 3402 ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
Hot Launch
TSD Staff บรรณาธิการบริหาร ผุสดี พิพัฒพลกาย กองบรรณาธิการ อนันต์ บุตรเวียงพันธ์ ธราดล จิตมั่นชัยธรรม พลเอก ศิริเวชอ�ำนวยกิจ โปรแกรมเมอร์ เอกลักษณ์ สิโตทัย การตลาด ฐากูร ผลเจริญ ประสานงาน อรรณพ สีกากี ติดต่อ : tsdmag@tsdmag.com Tel. 0 2617 9852-3 Fax. 0 2617 9854 www.tsdmag.com
Outing
w w w . t s d e ma g . c o m
Photography L if e s t yle
5
iSSUE 43 APRIL 2012
Cool Product
2
6
Photo Cube เครื่องพิมพ์ส�ำหรับ iPhone และเป็นที่ชาร์จในตัว สะดวก ในการใช้งานสามารถพิมพ์ภาพออกมาได้เลยจากโปรแกรมในเครื่องขนาด กระดาษมาตรฐาน 4x6 นิ้ว นอกจากนี้ยังเชื่อมต่อกับ iPad หรือ Android โดยใช้สาย mini USB เหมาะกับการหิ้วติดกระเป๋า ใบเล็กสักใบยามเดินทาง http://www.vupointsolutions.com/browse.php?cat=printer&page=IP-P10-VP
เข้า
ช่วงเมษาหน้าร้อนแล้ว แบบนี้ ใครๆ ก็ต้อง นึกถึงความสดใสซาบซ่า ที่มาพร้อมแดดอันร้อน แรงอย่างแน่นอน ใน Cool Product ฉบับนี้เราเลยน�ำ อุปกรณ์ที่เหมาะกับ Life Style ส�ำหรับเหล่า Travellista มาแนะน�ำกัน ดูสิว่าจะแซ่บเว่อร์เหมือนกับอากาศในบ้านเรา ตอนนี้รึเปล่า! 1
เข้า Concept ก่อนเลยกับที่ชาร์จ พลังแสงอาทิตย์ส�ำหรับ iPhone และ iPad แบบพกพาส�ำหรับผู้ที่ ชอบเดินทางท่องเที่ยวแล้วไม่มี แหล่งพลังงานไฟฟ้าให้ชาร์จได้ เจ้า A-solar Power Dock นี้ให้ พลังงาน 6000 mAh ผ่าน USB และยังเป็นขาตั้งส�ำหรับวาง iPad อีกด้วย ส่วนการใช้งานก็ไม่ต้อง ห่วงไปเพราะผลิตภัณฑ์เขาได้รับ อนุญาตอย่างเป็นทางการจาก ทาง Apple เรียบร้อย
http://www.a-solar.eu/EN/a-solar_power_dock_for_iphone_ipad.htm
3
Logitech®Mini Boombox ล�ำโพงขนาด พกพาดีไซน์หรูหรา ตัวนี้มาพร้อมกับพลัง เสียงคุณภาพเยี่ยมให้ คุณเพลิดเพลินจนอยากได้เป็น เจ้าของพกติดกระเป๋าท่องเที่ยวเลย ทีเดียว เพราะมันถูกออกแบบมาให้ ใช้คู่กับสมาร์ทโฟน แท๊บเล็ตและ อุปกรณ์เชื่อมต่อต่างๆ ได้เกือบทุกประเภท แถมการใช้งานที่อึดทน กว่า 10 ชั่วโมงและยังสามารถผ่านพอร์ต USB ได้อีกด้วย
Panasonic Lumix DMC-TS4 กล้องคอมแพคส�ำหรับ นักผจญภัยกับคุณสมบัติเด่นกันน�้ำลึก 40 ฟุต กันกระแทกที่ 6.6 ฟุต และใช้งานในอุณหภูมิต�่ำสุด ที่ -14 องศาฟาเรนไฮต์ พร้อม GPS และเข็มทิศในตัว กล้อง ความละเอียด 12.1 ล้านพิกเซลคมชัดทุกสภาวะ ใครที่ก�ำลังมองหากล้องไว้ ใช้เที่ยวทะเลล่ะก็ ลองหามา ใช้สักตัวน่าจะเป็นทางเลือกที่ดี http://panasonic.net/avc/lumix/compact/ts4_ft4/index.html
http://www.logitech.com/en-us/1201/8725 TSD eMag
iSSUE 43 APRIL 2012
Photo Tutor
8
ใน
ดล
จิต
มั่น
ชัย
ธรร
ม
บรรดาแนวทางการถ่ายภาพทั้งหลายทั้งมวลนั้นแต่ละแนว ก็มีความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวกันไป แต่คงปฏิเสธไม่ ได้ว่า การถ่ายภาพกีฬา คือหนึ่งในแนวทาง การถ่ายภาพที่ดูน่าตื่นตาตื่นใจที่สุด และหัวใจส�ำคัญที่ท�ำให้ทุกสายตา ต้องจับจ้องตาไม่กระพริบเลยก็คือ “แอคชั่น” นี่เอง ใน Photo Tutor ฉบับนี้เราจะมาพูดถึงเคล็ดลับการเตรียมตัวถ่ายภาพ แอคชั่นกีฬาว่าแท้จริงแล้วมันมีอะไรมากกว่าการใช้เลนส์เทเลโฟโต้ ยืนถ่ายเพียงอย่างเดียว
ธรา
7
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
9
iSSUE 43 APRIL 2012
Photo Tutor
10
ก้าวแรก สู่สนาม ก้าวแรกสู่สนาม...ฟังไม่ผิดแน่นอนครับ แต่ผม ไม่ ใ ช่ ใ ห้ คุ ณ ไปเตรี ย มแข่ ง อะไรหรอกนะ เพี ย งแค่ จ ะ มาบอกว่ า คุ ณ ควรเตรี ย มตั ว อย่ า งไรในการถ่ า ยภาพ ซึ่ ง ไม่ ใช่ แค่ เรื่องของเบื้ องหน้ า ที่เราคอยแต่หาจังหวะ กดชัตเตอร์ ในสนามเพียงอย่างเดียว แต่แท้จริงแล้วมี ส่วนประกอบอีกหลายๆ อย่างที่เมื่อไหร่คุณรู้และเตรียม ตัวให้ ดี รั บ รองว่ า ภาพของคุ ณ ย่ อ มดี ก ว่ า อี ก มากมาย เป็นแน่แท้
ศึกษาภาพตัวอย่าง
ข้ อ นี้ มั ก จะเป็ น ปั ญ หาใหญ่ ส� ำ หรั บ ช่ า งภาพ มือใหม่หรือแม้แต่ช่างภาพมืออาชีพที่ยังไม่ช�ำนาญการ ถ่ายภาพกีฬา ซึ่งในที่นี้ผมไม่ได้บอกว่าช่างภาพทั้งหลาย ไม่มีความสามารถ แต่เรื่องของมุมมองหรือความคุ้นเคย ในการควบคุมกล้องและการปรับค่ากล้องต่างๆ อาจยัง ไม่ ชิ น เท่ า นั้ น เอง ภาพตั ว อย่ า งจากในหนั ง สื อ หรื อ อิ น เตอร์ เ น็ ต นี่ แ หละที่ จ ะเป็ น ตั ว ช่ ว ยชั้ น เลิ ศ ของเรา ในการศึ ก ษามุ ม มองรวมไปถึ ง อุ ป กรณ์ ที่ เ หมาะสม ในการใช้งาน TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
11
iSSUE 43 APRIL 2012
Photo Tutor
12
มาก่อนเวลา
ช่ า งภาพมื อ อาชี พ ทั้ ง หลายคงจะรู ้ ดี ว ่ า งาน เทศกาลระดับประเทศทั้งหลายทั้งปวง นอกจากมวลชน ปริ ม าณมหาศาลเหลื อ คณานั บ แห่ กั น มาแล้ ว ยั ง มี ช่างภาพในปัจจุบันที่มีกล้องดิจิตอลเป็นดั่งปัจจัยที่หกอีก หลายสิบหมื่นแบบนี้ คุณช่างภาพทั้งหลายย่อมต้องระลึก ไว้อยู่เสมอว่างานแบบนี้ ไม่มีพื้นที่ให้จับจองได้เหมือนโรง ภาพยนตร์ ใครมาก่อนก็ได้พื้นที่ดีกว่าเท่านั้น ในอดีตสมัยกล้องดิจิตอลยังไม่เป็นที่นิยม จะด้วย เรื่องราคาหรืออะไรก็แล้วแต่ การถ่ายภาพกีฬาสักงาน หนึ่ง ปกติเราเผื่อเวลาไว้สัก 2-3 ชั่วโมงก็น่าจะมีพื้นที่ แล้ว แต่อะไรๆ ในสมัยนี้ก็เปลี่ยนไปลองยกตัวอย่าง เช่น เทศกาลปล่อยพลุ เป็นต้น งานเริ่มหกโมงเย็นก็จริง แต่ ใ ครจะเชื่อ ว่ า ช่ า งภาพทั้ ง หลายมากางอาณาเขต ด้ ว ยขาตั้ ง กล้ อ งเป็ น ที่ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว เหมื อ นกั น ครั บ การถ่ายภาพกีฬาหลายๆ ชนิดด้วยพื้นที่ที่จ�ำกัดรุมล้อมไป ด้วยช่างภาพตามขอบสนาม มันจะรับจ�ำนวนคนได้สักเท่า ไหร่กันเชียว นั่นก็เป็นส่วนหนึ่งของการเตรียมตัวมาก่อนเวลา ครับ แต่ผลพลอยได้ของการมาก่อนเวลานอกจากคุณจะ ได้พื้นที่การถ่ายภาพที่เลือกได้ตามใจแล้วคุณอาจจะได้รับ ช่วงเวลาในการถ่ายภาพที่ดีที่สุดอีกด้วย พร้อมกับมีเวลา ในการวิเคราะห์สถานที่และยังเก็บภาพบรรยากาศรอบๆ ไว้ก่อนเป็นของแถม
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
13
iSSUE 43 APRIL 2012
Photo Tutor
14
สภาพแวดล้อม
เมื่อเข้าเป็นส่วนหนึ่งภายในงานแล้ว ช่างภาพ ทั่ ว ไปมั ก จะเดิ น สุ ่ ม ๆ ถ่ า ยภาพเลยโดยไม่ ไ ด้ ค� ำ นึ ง ถึ ง อะไรทั้งนั้น เชื่อว่าทุกคนก็เคยเป็นแบบนั้นมาก่อน แล้ว ผลของมาเป็นไงน่ะเหรอ! มันก็อาจจะมีภาพที่ดีถ้าได้ มุ ม ที่ เ หมาะสมและอาจจะใช้ ภ าพไม่ ไ ด้ สั ก ภาพถ้ า การ ถ่ายครั้งนั้นคุณไม่มีมุมในการถ่ายภาพ เมื่อคิดดีๆ แล้ว เราจะรู ้ สึ ก ว่ า ไม่ น ่ า เลย ถ้ า เราขยั บ อี ก นิ ด เปลี่ ย นมุ ม อีกหน่อย ภาพมันต้องแจ่มแจ๋วกว่านี้แน่ๆ แต่อย่าเปลี่ยน ที่ ไปมาบ่อยละไม่งั้นงานนี้มี “ลุกเสียม้า” แน่นอน นั่ น ถื อ เป็ น ประสบการณ์ ห รื อ อาจจะเป็ น สิ่ ง ที่ เราจินตนาการขึ้นเองเมื่อเรามองแต่ความสวยงามอยู่ ตรงหน้า ท�ำให้เราไม่ทันคิดถึงองค์ประกอบอื่นๆ อะไร ทั้ ง นั้ น ยกตั ว อย่ า งเมื่อ เราต้ อ งถ่ า ยภาพที่ ส นามมวย ดู ค รั บ ช่ า งภาพเองก็ ต ้ อ งมองภาพรวมภายในงาน ด้วยว่ามีการวางไฟจุดไหน มุมไหนที่ ไฟส่องแล้วไม่ย้อน แสง, บริเวณเวทีจุดไหนที่คนแน่น, สามารถหาถ่ายภาพ มุมมองอื่นนอกจากระดับสายตาได้รึเปล่า! เล็กๆ น้อยๆ ทั้งหลายนี้คือสิ่งที่เราควรพิจารณาก่อนการถ่ายภาพ อาจ ดูเสียเวลาสักนิดแต่เมื่อเราเป็นช่างภาพแล้วก็ตอ้ งรูจ้ กั การ “รอ” เพื่อคุณภาพผลงานของคุณทั้งนั้น
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
15
iSSUE 43 APRIL 2012
อุปกรณ์ทั้งหลายของคุณ
เมื่อคุณท�ำการบ้านมาดีพอแล้วเกี่ยวกับชนิดกีฬา ที่คุณจะต้องถ่าย ทีนี้ก็ถึงเวลาที่คุณต้องเลือกอุปกรณ์ คู่กายแล้วว่าจะพกตัวไหน ช่วงอะไรไปดี แน่นอนครับ ว่ า มั น คงไม่ ดี แ น่ ๆ ถ้ า คุ ณ จะต้ อ งพกเลนส์ ทุ ก ช่ ว งไป ถ่ า ยภาพตั้ ง แต่ ร ะยะอั ล ตร้ า ไวด์ จ นถึ ง ระยะซุ ป เปอร์ เทเลโฟโต้ ที่รวมแล้วน�้ำหนักร่วมๆ สิบกิโล และไหนคุณ จะต้องไปบู๊กับบรรดาช่างภาพท่านอื่นอีก ดังนั้นความ สะดวกสบายและความคล่องตัวในการถ่ายภาพถือว่า เป็ น สิ่ ง ส� ำ คั ญ มากๆ ครั บ เลื อ กใช้ เ ลนส์ เ ท่ า ที่ จ� ำ เป็ น กับชนิดกีฬาที่ถ่ายดีกว่าการถ่ายภาพที่ต้องติดตามตัว แบบตาไม่กระพริบแล้ว อย่าให้ต้องมาพะวงหน้าหลัง ไปกับอุปกรณ์การถ่ายภาพของคุณไปด้วยเลย ในความเข้าใจของใครหลายๆ คนเมื่อนึกถึงการ ถ่ า ยภาพกี ฬ าก็ ค งมี ภ าพเลนส์ ซุ ป เปอร์ เ ทเลโฟโต้ อ ยู ่ ในหั ว ล่ ะ สิ ข้ อ นี้ ผ มไม่ เ ถี ย งเพราะผมเองก็ คิ ด แบบ นี้ เ หมื อ นกั น จากข่ า วกี ฬ าที่ มั ก จะเห็ น ช่ า งภาพตาม ขอบสนามเขาใช้กนั แต่ความเป็นจริงแล้วกีฬามันก็มหี ลาย ประเภทและมันคงไม่ได้ ใช้เลนส์ซปุ เปอร์เทเลโฟโต้ทงั้ หมด หรอก จริงมั้ย! ดังนั้นผมจะมาแนะน�ำว่าอุปกรณ์ตัวไหนดี ที่น่าใช้ส�ำหรับถ่ายภาพกีฬา
Photo Tutor
16
กล้องดิจิตอล
ผมไม่รู้ว่ากล้องดิจิตอลที่คุณใช้ยี่ห้ออะไร และรุ่นไหนบ้าง ซึ่งรุ่นไหนๆ ผมก็ตอบได้ทั้งหมดว่า มันก็ถ่ายภาพกีฬาได้เหมือนกัน แต่ปัจจัยที่จะท�ำให้ คุณบันทึกภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นจาก กล้องของเรา มีดังนี้ จ�ำนวนการถ่ายภาพต่อเนื่อง ภาพกีฬาระดับโลกที่เราเคยเห็นกันมักเป็นภาพที่ มีแอคชั่นระดับสุดยอดจนเราต้องทึ่งว่าจับจังหวะที่เหมาะ เจาะแบบนั้นได้อย่างไร การถ่ายภาพต่อเนื่องของกล้อง เราเป็นหนึ่งในค�ำตอบนั้น กล้องดิจิตอลของเรามีความ สามารถในการถ่ า ยภาพต่ อ เนื่อ งทุ ก ตั ว ครั บ โดยปกติ จ�ำนวนภาพที่ถ่ายได้จะอิงจากรุ่นที่ใช้เป็นหลัก เช่นรุ่นที่ ระดับ Entry Level จะถ่ายภาพต่อเนื่องได้ 3 เฟรมต่อวินาที รุ่นระดับ Semi-Pro Level จะถ่ายภาพต่อเนื่องได้ 6 เฟรม ต่อวินาที
ไปจนถึงรุ่นระดับ Pro Level ที่ถ่ายภาพต่อเนื่องได้ 8-10 เฟรมต่อวินาที เห็นไหมครับว่ามันต่างกัน กล้องรุน่ ไหนก็ตามทีถ่ า่ ยภาพต่อเนื่องได้จำ� นวนทีม่ ากก ว่าก็ย่อมที่จะมีโอกาสได้ภาพที่มีจังหวะอันน่ามหัศจรรย์กว่าแน่นอน ระบบโฟกัส กล้องดิจิตอลของเราทุกตัวมีระบบโฟกัสอยู่หลายแบบ ซึ่งเราก็มักจะ ใช้การโฟกัสแบบ Single Shot อยู่เป็นนิจ แต่ในการถ่ายภาพกีฬาที่มีความ เคลื่อนไหวตลอดเวลาแบบนี้คุณอาจจะต้องปรับเปลี่ยนระบบการโฟกัสของ มั น สั ก หน่ อ ย ในที่ นี้ ส� ำ หรั บ ช่ า งภาพที่ ยั ง ไม่ เ คยเปลี่ ย นระบบโฟกั ส มาก่ อ น ผมก็ขอแนะน�ำระบบโฟกัสแบบติดตามวัตถุ (Servo) ซึ่งมันจะจับภาพวัตถุที่ เคลื่อนไหวได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ไม่ว่าอย่างไรก็ตามคุณอาจจะช�ำนาญ ระบบโฟกัสคนละแบบก็ ได้ ก็ฝากไว้เป็นหนึ่งในทางเลือกของการถ่ายภาพ ละกัน และอีกอย่างทีค่ ณ ุ อาจไม่รวู้ า่ ระบบโฟกัสของกล้องแต่ละยีห่ อ้ ก็ไม่ได้ทำ� งาน ดีเหมือนกัน บางยีห่ อ้ อาจจะดีในระบบๆ หนึง่ ส่วนบางยีห่ อ้ ก็อาจจะดีกบั อีกระบบ หนึ่ง ดังนั้นคุณก็ต้องท�ำความเข้าใจกับกล้องของคุณเองเป็นหลัก ค่าความไวแสง (ISO) ISO หรื อ ค่ า ความไวแสงในการถ่ า ยภาพ ในอดี ต ISO มี ไ ว้ ส� ำ หรั บ ฆ่ า ช่ า งภาพที่ ต ้ อ งดั น ค่ า ISO สู ง ๆ เพื่อ แลกกั บ ภาพถ่ า ยที่ มี ลั ก ษณะแสงน้ อ ย เพราะบรรดาเม็ ด ทรายอย่ า ง Noise จะมาเคลื อ บ ภาพใสๆ ของเราแบบจัดเต็ม ข้อจ�ำกัดของ ISO ก็เหมือนการถ่ายภาพ ต่อเนื่องนี่ล่ะครับ ว่ากล้องรุ่นระดับ Entry ระบบการจัดการ Noise เมื่อต้องใช้ ISO สูงๆ จะท�ำได้ไม่ดีเท่ากับกล้องระดับ Pro ซึ่งในที่ นีส้ ำ� หรับใครที่ใช้กล้องระดับ Entry Level อยูก่ ็ไม่ตอ้ งน้อยใจ ไป เพราะเราอาจไม่ตอ้ งถ่ายภาพแลกวิญญาณด้วย ISO แต่ใช้การหามุมที่มีแสงเยอะๆ ก็เป็นได้
TSD eMag
17
iSSUE 43 APRIL 2012
Photo Tutor
18
เลนส์
ควบคุ ม กล้ อ งได้ แ ล้ ว ก็ อ ย่ า ลื ม เลนส์ บ ้ า ง เลนส์มีหน้าที่ก�ำหนดระยะของการถ่ายภาพตั้งแต่ กว้ า งมากไปจนถึ ง ใกล้ สุ ด แบบนี้ ใครมี เ ลนส์ ซุปเปอร์เทเลโฟโต้ก็ ได้เปรียบสิ...มันไม่ ใช่แบบนั้น เสมอไปหรอก เลนส์ระยะหลากหลายที่ใช้มีช่วงความยาวโฟกัส ตั้งแต่หลักหน่วยไปจนถึงหลักพัน ดังนั้นเราต้องเลือกใช้ ระยะเลนส์ ให้เหมาะสมกับกีฬาที่เราจะถ่ายภาพด้วย ยก ตัวอย่างกรณีถ่ายภาพกีฬามวยที่มีขนาดเวที 7x7 เมตร เลนส์ซมู ช่วงระยะนอร์มอลไปจนถึงเทเลโฟโต้คอื ตัวเลือก ที่ดีเพราะคุณสามารถเก็บภาพได้ทั้งแบบเต็มตัวไปจนถึง ภาพครึง่ ตัวโดยที่ไม่ตอ้ งเดินหาพืน้ ที่ไปมา อย่างเลนส์ชว่ ง ระยะเทเลโฟโต้หรืออัลตร้าไวด์ ส่วนสนามทีก่ ว้างมากอย่าง แข่งรถหรือสนามฟุตบอล เลนส์เทเลโฟโต้หรือซุปเปอร์ เทเลโฟโต้กเ็ ป็นอะไรทีล่ งตัวส�ำหรับการใช้งาน เพราะถ้าคุณ คิดจะถ่ายด้วยเลนส์ไวด์แล้วไปเสยใกล้ๆ ล่ะก็อบุ ตั เิ หตุอาจ จะเกิดกับคุณได้ง่ายๆ เลย
เลนส์ Ultra Wide เลนส์มมุ กว้างที่ให้องศารับภาพกว้างสมชื่อ เหมาะ กับการเก็บบรรยากาศโดยรอบ ซึง่ ให้ผลของภาพทีอ่ อกมา ดูอลังการงานสร้างอย่างไม่ต้องสงสัย เลนส์ Normal เลนส์ ช ่ ว งกลางที่ เ หมาะกั บ การเก็ บ ทั้ ง ภาพ บรรยากาศและภาพการแข่งขัน เป็นเลนส์ที่มีความคล่อง ตัวสูง แต่ใช้ได้ดีกับพื้นที่ที่มีบริเวณไม่ใหญ่นัก เลนส์ Telephoto เป็นเลนส์ทเี่ หมาะสมทีส่ ดุ ในการถ่ายภาพกีฬา ด้วย พลังของเลนส์ท�ำให้เราบันทึกภาพนักกีฬาได้แบบเต็มตัว จากระยะไกล ท�ำให้เราไม่ต้องเสี่ยงกับการเข้าไปใกล้ตัว แบบซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายกับตัวเราได้ เลนส์แต่ละช่วงก็มีข้อดีข้อเสียต่างกัน ดังนั้นเรา ควรเลือกเลนส์ ให้เหมาะกับประเภทกีฬาที่จะถ่ายเป็นดี ทีส่ ดุ ไม่อย่างนัน้ คุณอาจจะต้องแบกเลนส์ไปทุกช่วงโดยที่ ใช้จริงเพียงช่วงเดียว นอกจากจะไม่คล่องตัวจากน�้ำหนัก ร่วมๆ สิบกิโลแล้วยังเสี่ยงต่อการสูญหายอีกด้วย
TSD eMag
19
iSSUE 43 APRIL 2012
Photo Tutor
20
ส� ำ หรั บ การถ่ า ยภาพกี ฬ าที่ ตั ว แบบมี ค วาม เคลื่อนไหวอยูต่ ลอดเวลา การควบคุมค่าความเร็วชัตเตอร์ ส�ำคัญมาก เพราะการจังหวะเด็ดๆ ในช่วงเสี้ยววินาทีหาก เราพลาดไปย่อมไม่มโี อกาสแก้ตวั ดังนัน้ ผมแนะน�ำว่าต้อง ใช้สปีดชัตเตอร์ไม่ต�่ำกว่า s1/1000 sec. เพื่อให้ตัวแบบ ของเราหยุดนิ่งคมชัดนั่นเอง
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
21
iSSUE 43 APRIL 2012
Photo Tutor
22
f-Stop
อย่างที่บอกไปสักครู่เรื่องของการแลกวิญญาณ ISO เพื่อให้ได้ภาพ แต่ f-Stop นี่มีหน้าที่ยื่นมือเข้ามาแก้ ปัญหานี้ให้ (ในระดับหนึง่ ) ช่างภาพก็คงจะรูก้ นั ดีวา่ เลนส์ที่ มีค่า f-stop ยิ่งน้อย แสงก็เข้าได้มาก เลนส์ที่มีค่า f-stop ยิ่งมาก แสงก็เข้าได้น้อย ดังนั้นการเลือกใช้เลนส์ที่มีค่า f-stop น้อยท�ำให้สปีดชัตเตอร์ ในการถ่ายภาพของเราพอที่ จะปรับให้เร็วขึ้นได้บ้าง อย่างน้อยๆ ก็ลดค่า ISO ของเรา ไปได้บ้าง
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
23
iSSUE 43 APRIL 2012
Photo Tutor
24
แอคชั่น
หัวใจหลักของการถ่ายภาพกีฬาคงปฏิเสธไม่ได้ว่ากระบวนท่าอัน เร้าใจหรือ “แอคชั่น” คือค�ำตอบที่ใครๆ ก็มักจะนึกถึงเป็นสิ่งแรก ไม่ว่าจะ เป็น จังหวะโดนต่อยคางเบี้ยว ตาลอยอย่างในหนังสือการ์ตูน รถดริฟต์ ระเบิดทรายหรือจังหวะขับเคี่ยวกันอย่างเอาเป็นเอาตาย ในสถานการณ์ จริงคุณต้องมีสมาธิและคอยจับจังหวะของนักมวยตลอดเวลาประกอบกับ มุมมองและการปรับค่ากล้องที่ช�ำนาญ เรียกได้ว่ามันคือผลลัพธ์ของทุก อย่างทั้งความคิดและฝีมือของคุณในการสื่อออกมาเป็นให้เป็นภาพสมดั่ง ใจทั้งนั้นแหละ ส�ำหรับมือใหม่อาจต้องใช้เวลาสักพักให้เกิดความช�ำนาญ แต่เมื่อคุณเริ่มจับทางได้แล้ว ก็อย่ารีรอล่ะ ลงมือกันเลย...
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
25
iSSUE 43 APRIL 2012
Photo Tutor
26
แม้ว่าในการแข่งขันประเภทกีฬาอื่นๆ อาจไม่ใกล้เคียงกับกีฬา ที่ น� ำ มายกตั ว อย่ า งแต่ พื้ น ฐานของการถ่ า ยภาพกี ฬ าหลั ก ๆ ก็ ไ ม่ แตกต่างกัน ถ้าเราดูและวิเคราะห์น�ำไปปรับใช้สักนิด ผมคิดว่าอะไรๆ ใน การถ่ายภาพของคุณน่าจะมีทิศทางที่ขึ้น อย่างน้อยๆ ก็ดีกว่าการไม่ได้ เตรียมตัวอะไรเลย อีกอย่างที่อยากจะฝากเอาไว้ ถือว่าเป็นข้อส�ำคัญส�ำหรับช่างภาพ ทุกๆ คนนะครับว่าการถ่ายภาพอะไรก็ช่างจรรยาบรรณของช่างภาพเป็น สิ่งส�ำคัญ มีน�้ำใจและให้อภัยก็แบ่งๆ กันไป แล้วจะท�ำให้เราถ่ายภาพอย่าง มีความสุขแถมยังมีแต่คนชื่นชมอีกด้วยนะ
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
27
iSSUE 43 APRIL 2012
Photo Traveler
28
พลเอก ศิริเวชอ�ำนวยกิจ
เทีไม่่ยไวแดนสวรรค์ กลกรุง... หรือ
อาจจะเป็นพลังแห่งสีสันของหน้าร้อนก็ ได้ที่ท�ำให้ ใครต่อใครอยากไปเที่ยวทะเล ฟ้าสวยๆ น�้ำทะเลใสๆ ห่วงยางหลากสีที่ตั้งอยู่ริมหาด เรือสีฉูดฉาดที่จอดรอนักท่องเที่ยว อยู่ ในน�้ำทะเลสีฟ้า หนุ่มสาวเล่นน�้ำกันสนุกสนาน คงจะเปลี่ยนความ แห้งเหี่ยวให้กลายเป็นความรู้สึกชื่นฉ�่ำได้ไม่ยากเลย ANAN BOOTVIENGPUNTH
©
TSD eMag
29
iSSUE 43 APRIL 2012
Photo Traveler
30
ส�ำหรับหน้าร้อนนี้เราจะพาไปเที่ยวทะเลที่น�้ำสวยใส แถมไม่ไกล จากกรุงเทพฯ ขับรถเพียงสองชั่วโมง ต่อเรืออีก 45 นาที เท่านี้ก็จะได้ สัมผัสบรรยากาศทะเลสวยใส ไม่แพ้ทะเลภาคใต้กันเลย ไหนใครนึกออก แล้วบ้าง ทะเลที่เราจะไปก็คือ “เกาะล้าน” นั่นเอง
ANAN BOOTVIENGPUNTH
©
TSD eMag
31
iSSUE 43 APRIL 2012
Photo Traveler
32
ไม่น่าเชื่อว่าเกาะที่ห่างจากชายฝั่งเพียงนิดเดียวจะมีชายหาด ที่ขาวสะอาด น�้ำทะเลเป็นสีฟ้าใสได้ถึงเพียงนี้ และอย่างที่ ได้บอกไว้ เกาะล้านนั้นการเดินทางไม่ยากเลย แถมเรือยังออกทุกชั่วโมง จึงไม่แปลกที่จะมีคนเดินทางมาเที่ยวกันให้พรึ่บ โดยเฉพาะ นักท่องเที่ยวจากฝั่งพัทยา
ANAN BOOTVIENGPUNTH
©
TSD eMag
33
iSSUE 43 APRIL 2012
PONEAK SIRIVETAUMNUIKIT
Photo Traveler
©
34
TSD eMag
35
iSSUE 43 APRIL 2012
TARADOL CHITMANCHAITHAM
Photo Traveler
©
36
TSD eMag
37
iSSUE 43 APRIL 2012
Photo Traveler
38
เมื่อข้ามมาแล้วก็จัดแจงหาที่พักกันให้เรียบร้อย แต่แนะน�ำให้จองไว้ก่อน ตั้งแต่เนิ่นๆ เปิดหาข้อมูลที่พักจากอากู๋ กูเกิ้ลได้เลย รับรองมีให้เลือกเพียบ ดีไม่ดีอย่างไรก็จะเห็นได้จากฟีดแบคได้ทันที ดีกว่าเดิน walk-in เป็นไหนๆ ที่นี่มีที่พักหลายราคาให้เลือกตั้งแต่หลักร้อยถึงหลักพันต่อคืน สะดวกแบบไหน ก็เลือกกันได้ตามสบาย
ANAN BOOTVIENGPUNTH
©
TSD eMag
39
iSSUE 43 APRIL 2012
TARADOL CHITMANCHAITHAM
Photo Traveler
©
40
TSD eMag
41
iSSUE 43 APRIL 2012
Photo Traveler
42
เกาะล้านเป็นเกาะเล็กๆ ขนาดประมาณ 4 กิโลเมตร การเดินทางบนเกาะจึง ไม่ล�ำบากแต่อย่างใด หาเช่ามอเตอร์ไซค์สักคันแล้วจะรู้ว่า ขี่มอเตอร์ไซค์บนเกาะ มันสนุกเพียงไหน แต่ถ้าใครได้ที่พักดีๆ เค้าก็จะมีบริการแถมมอเตอร์ไซค์ ให้เลย 1 คัน ไม่ต้องเสียเงินไปเช่าอีก ออกตังค์เติมแค่น�้ำมันเท่านั้น บอกไว้เลยใครมา เกาะล้านไม่ขมี่ อเตอร์ไซค์เนีย่ พลาดความสนุกอีกอย่างหนึง่ ที่ได้มาเทีย่ วเกาะล้าน เลยล่ะ เพราะอะไรไม่บอก มาเห็นเองแล้วจะรู้
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
43
iSSUE 43 APRIL 2012
Photo Traveler
44
หาดที่เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวนั้นจะมีอยู่สามหาดด้วยกัน มี หาดตาแหวน ซึ่งเป็นหาดใหญ่ นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่ที่มาเที่ยวแบบ ไปกลับจะนิยมมาหาดนี้ เพราะมีท่าเรือด้วยนั่นเอง หาดแสม มีขนาด ใหญ่รองลงมา แลนด์มาร์คของที่นี่ก็คือ อาคารอนุรักษ์พลังงานหาดแสม ที่เป็นรูปปลากระเบนขนาดใหญ่ กลางวันนักท่องเที่ยวเยอะใช้ได้ ตกเย็นก็จะเงียบสงบ หาดเทียน เป็นหาดไม่เล็กไม่ใหญ่มาก คนจะ น้อยไม่ค่อยนิยมสักเท่าไร และยังมีหาดนวลซึ่งนักทองเที่ยวชาวต่างชาติ นิยมมาอาบแแดดกัน ชายหาดไม่น่าเล่นเท่าสามหาดแรก และสุดท้าย หาดตา-ยาย ซึ่งเป็นแนวหาดส่วนตัวเล็กๆ มีเวลาเปิดปิดชัดเจน นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่จะเป็นชาวต่างชาติ
PONEAK SIRIVETAUMNUIKIT
©
TSD eMag
45
iSSUE 43 APRIL 2012
หาดตาแหวน
ANAN BOOTVIENGPUNTH
©
Photo Traveler
46
TSD eMag
47
iSSUE 43 APRIL 2012
ANAN BOOTVIENGPUNTH
หาดนวล
©
48
TSD eMag
49
iSSUE 43 APRIL 2012
หาดแสม
ANAN BOOTVIENGPUNTH
©
50
TSD eMag
51
iSSUE 43 APRIL 2012
หาดเทียน
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
52
TSD eMag
53
iSSUE 43 APRIL 2012
หาดตา-ยาย
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
54
TSD eMag
55
iSSUE 43 APRIL 2012
Photo Traveler
56
นอกจากนีแ้ ล้วไฮไลต์อกี อย่างของการมาเทีย่ วเกาะล้านก็คอื การขึน้ จุดชมวิว นั่นเอง จุดชมวิวเขานมคือ จุดชมวิวที่สูงที่สุดบนเกาะล้าน เมื่อขึ้นไปข้างบนแล้ว สามารถมองเห็นวิวได้ โดยรอบแบบ 360 องศากันเลย แต่การเดินทางขึ้นไป ต้องใช้ฝีมือกันพอสมควร เพราะทางลาดชันมาก ใครชั่วโมงบินในการขี่มอตเอร์ไซค์ น้อยต้องระวังให้มาก โดยเฉพาะขาลง นอกจากนั้นแล้ว ยังมีจุดชมวิวก่อนถึง ธุดงค์สถานเฉลิมพระเกียรติอีกที่หนึ่งซึ่งจะสามารถมองเห็นวิวชายหาดตาแหวน ในแบบ Panorama ได้
PONEAK SIRIVETAUMNUIKIT
©
TSD eMag
57
iSSUE 43 APRIL 2012
TARADOL CHITMANCHAITHAM
Photo Traveler
©
58
TSD eMag
59
iSSUE 43 APRIL 2012
Photo Traveler
60
สิง่ ส�ำคัญทีส่ ดุ ทีข่ าดไม่ได้เลยก็คอื อาหาร อาหารบนเกาะล้านจะมีราคาแพงกว่าบนฝัง่ ซึง่ ก็เป็นเรื่องปกติของอาหารบนเกาะ หรือใครจะหิว้ มาจากฝัง่ ก็ได้ไม่วา่ กันถ้าไม่ลำ� บาก มีรา้ นแนะน�ำ อยูห่ นึง่ ร้านแถวๆ หน้าวัด รสชาติมอื อาชีพ สมราคา และอีกหนึง่ ร้านทีอ่ ยูร่ มิ ชายหาดกันเลย ร้านนีบ้ รรยากาศดี ต้องไปทานกันตอนค�ำ่ ๆ ใครสนใจ ก็ลองเอาลายแทงไปสอบถามบนเกาะกันได้
.......................................... ฟ้าสวยน�้ำใสไม่ไกลกรุงเทพฯ มีอยู่แล้วจริงๆ ที่เกาะล้าน พัทยา ที่เหลือก็ขึ้นอยู่กับคุณแล้ว ว่าอยาก ไปสัมผัสรึเปล่า ...
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
61
iSSUE 43 APRIL 2012
Photo Traveler
62
TSD eMag
S
n
a
p
b
y
S
t
y
l
e
Location : Koh Larn
ANAN BOOTVIENGPUNTH
©
ANAN BOOTVIENGPUNTH
©
ANAN BOOTVIENGPUNTH
©
PONEAK SIRIVETAUMNUIKIT
©
PONEAK SIRIVETAUMNUIKIT
©
PONEAK SIRIVETAUMNUIKIT
©
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
85
iSSUE 43 APRIL 2012
Shutter IDol
86
“ถ้า
อยากพั ฒ นาตั ว เอง จงอย่ า ปิ ด ตั ว เอง และจงเปิดรับสิ่งที่เข้ามา พร้อมกับเลือกใช้ให้ เข้ากับสไตล์ของเรา” ค�ำพูดที่คอยเตือนใจช่างภาพรุ่นใหม่ฝีมือดีมีที่ชื่อ เรียกกันในหมู่เพื่อนฝูงว่า “ต้น” ได้หมั่นฝึกฝนฝีมือ และเปิดมุมมองใหม่ๆ ให้กับเขาเสมอ จริงไม่จริงอย่างไร ภาพแนวแลนด์สเคปที่สวยงามตระการตา คือสิ่งที่ยืนยัน ได้เป็นอย่างดีว่า ค�ำพูดข้างบนนั้น เป็นจริงดังที่พูดทุก ประการ...
TSD eMag
87
iSSUE 43 APRIL 2012
Shutter IDol
• ก่อนอื่นแนะน�ำตัวกันหน่อยครับ?
สวัสดีครับ ผม ต้น ชื่อจริง นพวัชร เจริญสินพร อายุเลยเบญจเพศนิดๆ ครับ log in ที่ผมใช้ตามเว็บ บอร์ดต่างๆ คือ MenToS - ส่วนมัลติพลายที่ใช้ก็ tontkluay.multiply.com แต่ไม่คอ่ ยได้อพั เดทเท่าไรนะ ครับ ปัจจุบนั ผมก�ำลังศึกษาต่อปริญญาเอกสาขา Food Science ที่ University of Massachusetts Amherst ประเทศสหรัฐอเมริกาครับ
88
• อยากให้ เ ล่ า นิ ด นึ ง ว่ า ไปอยู ่ ต่างประเทศได้อย่างไร? หลังจากผมจบการศึกษาจากป.ตรีที่ ไทยผม ตั้งใจอยากจะไปศึกษาต่อที่อเมริกาครับ ผมยื่นใบ สมัครไปหลายๆ ที่ สุดท้ายมหาวิทยาลัยนีร้ บั ผมเข้ามา ศึกษาต่อพร้อมกับให้ทนุ ผมเรียนส่วนนึง ถือเป็นโชคดี ของผมเลยครับ
TSD eMag
89
iSSUE 43 APRIL 2012
Shutter IDol
90
• ท� ำ ไมถึ ง สนใจในการถ่ า ยภาพ? สนใจตั้ ง แต่ เ มื่อ ไร? ก่ อ นจะไปอยู ่ ต่างประเทศเลยใช่ ไหม?
สมัยก่อนผมเป็นคนเกลียดกล้องใหญ่นะครับ เพราะผมไม่เข้าใจว่ากล้องใหญ่ต่างจากกล้องเล็กยัง ไง คิดว่าถ่ายออกมาก็ได้รูปเหมือนกัน ผมเริ่มที่จะ สนใจการถ่ายภาพเมื่อตัวเองได้มาอยู่ที่ประเทศนี้ครั้ง แรกครับ ผมมาเรียนภาษาที่นี่ ได้หนึ่งปีก่อนที่ผมจะ มาศึกษาต่อในระดับ ป.เอก ตอนนั้นผมได้ ไปอาศัย อยูท่ บี่ า้ นคุณน้าของเพื่อนซึง่ เขาเป็นคนชอบถ่ายภาพ คุณน้าคนนั้นถ่ายภาพด้วยกล้องฟิล์ม และชอบที่จะ เล่าเรื่องราวต่างๆ ของกล้องให้ผมฟัง อธิบายวิธีการ ที่กล้องคิดและโชว์ภาพถ่ายที่ถ่ายมาและได้รับรางวัล พร้อมกับบอกเล่าเรื่องราวว่าการที่จะได้ภาพนี้มามัน ยากยังไง มันต้องท�ำอะไรบ้าง รวมไปถึงสอนผมใช้ กล้องคอมแพคตัวเล็กๆ ถ่ายภาพ คุณน้าของเพื่อนคนนัน้ เลยกลายเป็นคนจุดประกายความคิดในการถ่ายภาพ ของตัวผม และท�ำให้ผมเริม่ สนใจในการถ่ายภาพอย่าง จริงจังครับ พอผมได้กลับมาที่อเมริกาอีกครั้ง ผมจึง ได้ท�ำการซื้อกล้อง DSLR ตัวแรก (Nikon D90) เผื่อ ฝึกถ่ายภาพและมันก็ยังคงเป็นกล้อง DSLR ตัวแรก และตัวเดียวที่ผมใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้ครับ
TSD eMag
91
iSSUE 43 APRIL 2012
• เริ่มจากแนวอะไร?
ผมเริ่มจาก landscape ครับ หลังที่ ได้กล้อง DSLR มา ผมก็เริ่มต้นจากถ่ายอะไรง่ายๆ แถวๆ มหาวิทยาลัย ถ่ายมันหมดทุกอย่าง ลองผิดลองถูก ตามประสาคนเห่ อ กล้ อ งใหม่ จากนั้ น ก็ เริ่ ม ศึ ก ษา พวกบทความต่างๆที่สอนถ่ายรูป+process รูป ทั้ง ในหนังสือและอินเตอร์เน็ท จากนั้นผมก็ลองออกไป ถ่ายภาพ น�ำรูปกลับมา process แล้วก็ post ตามเว็บ บอร์ดต่างๆที่ผมเป็นสมาชิกเพื่อให้คนวิจารณ์รูปช่วย ขัดเกลาและขอข้อเสนอแนะต่างๆ เพื่อน�ำมาพัฒนา และหาแนวทางการถ่ายภาพที่ตัวเองชอบครับ ต่อมา หลังจากที่ผมได้เข้าไปในโลกไซเบอร์ได้ระยะนึง ผม ก็ได้เริม่ เสพงานต่างๆ มากขึน้ ทัง้ ของไทยและของต่าง ประเทศ จุดนี้ท�ำให้ผมเริ่มพาตัวเองเข้าไปสู่งานแนว อื่นๆ สุดท้ายผมก็ลองถ่ายทุกๆ แนวที่ผมสามารถที่จะ ถ่ายได้ ยกเว้นมาโครครับ (เพราะผมไม่มีเลนส์) แต่ก็ ยังรูส้ กึ ว่าตัวเองยังถ่ายได้ไม่ดเี ท่าไร แนวทางทีร่ สู้ กึ ว่า ถ่ายพอไปวัดไปวาได้ก็ landscape นีห่ ละครับ สรุปแล้ว ผมก็ยงั ต้องเรียนรูต้ อ่ ไปอีกเรื่อยๆ ไม่มจี บครับ ส�ำหรับ ผมแล้วผมคิดและเตือนตัวเองอยู่ตลอดครับว่า “ถ้า อยากพัฒนาตัวเอง จงอย่าปิดตัวเอง และจงเปิดรับ สิ่งที่เข้ามา พร้อมกับเลือกใช้ ให้เข้ากับสไตล์ของเรา” ครับ
Shutter IDol
• ประสบการณ์กี่ปีแล้ว?
เกือบจะ 3 ปีเองครับ ถ้านับจากการที่ผมเริ่ม สนใจกล้องอย่างจริงจังและเป็นเจ้าของ D90 ตัวนี้ ส่วนตัวแล้วก็ยังคิดว่าตัวเองเป็นมือใหม่เหมือนกัน ยังต้องเรียนรูอ้ ะไรอีกเยอะ เพราะฉะนัน้ แล้วภาพของ ผมแนะน�ำติชมได้เต็มที่ครับ
• ส่วนตัวชอบการถ่ายภาพแนวไหน บ้างครับ? ถ้าเรื่องการดูภาพ ผมชอบภาพทุกแนวนะครับ ผมว่าแต่ล่ะแนวมันก็มีเอกลักษณ์ของตัวมันเอง ถ้า เอาเรื่องชอบถ่ายภาพแล้วละก็ แนวที่ชอบมากที่สุด คงเป็นแนว Landscape ครับ เพราะผมมีโอกาสถ่าย ภาพแนวนี้มากที่สุดและเนื่องจากตัวเองเป็นคนชอบ ท่องเที่ยว จึงอยากเก็บภาพความประทับใจระหว่าง ทริปไว้ครับ ภาพแนวอื่นๆเช่น Portrait, Abstract, Cityscape ผมก็ชอบนะครับแต่ไม่คอ่ ยมีโอกาสได้ถา่ ย แถมยังรู้สึกว่าตัวเองถ่ายไม่ค่อยดีเท่าไรด้วยครับ
• มี ช ่ า งภาพที่ เ ป็ น Idol ในดวงใจ หรือเปล่าครับ?
มีเยอะหลายท่านเลยครับ ช่างภาพต่างประเทศ Marc Adamas - ช่ า งภาพแนว landscape ภาพของเขาดูเนียนตาและสวยมากๆ Ansel Adams - ต� ำ นานช่ า งภาพ landscape เลยคนนี้
92
Joe McNally - ช่างภาพคนนี้ ไอเดียบรรเจิดมากๆ Dave Hill - Portrait HDR ผมว่าช่างภาพคนนี้มี เอกลักษณ์เป็นของตัวเองสูงมาก Steve McCurry - ช่างกล้อง documentary ระดับ ต� ำ นาน เวลาดู ภ าพของแกโดยเฉพาะเซ็ ท 9/11 กั บ เซ็ ท Afganistan ภาพถ่ า ยของเขามี ดู พ ลั ง ดึงดูดมากๆ ช่างภาพคนไทย พี่เบียร์ (CoolbieRe) ตามดูรูปพี่เขาตั้งแต่ถ่าย รูปใหม่ๆ แล้วครับ ผมชอบรูปของพีเ่ ขามากๆครับ ส่วน ตัวแล้วผมเห็นว่าพี่เขามีความประณีตและละเอียด ในภาพที่เขาน�ำเสนอ คิดก่อนถ่าย มีความตั้งใจ idea เก๋ไก๋ และไม่ถือตัวที่จะให้ค�ำแนะน�ำหรือฟังค�ำติของ คนอื่น ผมยังใม่เคยพบเจอตัวพี่เขาเป็นๆเลยครับ ถ้ามีโอกาสอยากร่วมทริปสักทริปนึงกับพี่เค้าครับ p-orbital (http://porbital.multiply.com/) รุ่นน้องช่างภาพสาย landscape ผมคนนี้ฝีมือดีมากๆ ครับ งานที่เอามาโชว์เนี๊ยบมาก ผมไม่เคยบอกน้อง เขาเลยนะครับว่าผมแอบเป็นแฟนคลับเขา เป็นคนที่ หาข้อมูลสถานทีต่ า่ งๆ เป็นหัวหน้าทัวร์ลากผมไปเทีย่ ว ไปถ่ายภาพต่างๆ น้าสง (13maysa.multiply) ผมชอบวีธีการคิด และการน�ำเสนอของน้าเขาครับ ผมว่าภาพของน้าเขา หลายๆ ภาพ มันดูมีเสน่ห์ มีพลังดีครับ
TSD eMag
93
iSSUE 43 APRIL 2012
Shutter IDol
94
• อุปกรณ์ที่ ใช้ในการถ่ายภาพ?
Nikon D90 มี อ ยู ่ ตั ว เดี ย วครั บ ผมรั ก น้ อ งนิ ค ผมมาก ทั้งลุยน�้ำ ตากฝน ลุยทราย คลุกฝุ่น เปื้อนโคลน บุก ภูเขาน�้ำแข็ง ไม่เคยงอแง ของเขาดีจริงครับ ชัทเตอร์ผมจะปา ไปร่วมๆ 9 หมื่นแล้วครับ ส่วนเลนส์ผมมีอยู่ทั้งหมด 4 ตัวครับ - Nikon 12-24mm f/4 ใช้ บ ่ อ ยที่ สุ ด และเป็ น เลนส์ ที่ผมรักที่สุดครับ - Nikon 24-70 f/2.8 ตั ว นี้ ผ มได้ ม าในราคาที่ ถื อ ว่ า ถู ก มาก (45000 บาท เมื่อ แปลงเป็ น เงิ น ไทย) เรี ย กว่ า ตอนนัน้ ตัดสินใจซือ้ มาเลย เป็นเลนส์อเนกประสงค์ของผมครับ - Nikon 70-300 VR f/4.5-5.6 เลนส์เทเลครับเพิ่งได้มาไม่นาน ภาพผมช่วงแรกๆเลยใม่ค่อยมีภาพจากเลนส์เทเลเท่าไรครับ - Nikon AF/D 35mm f/2 ถือว่าใช้น้อยครับเพราะตั้งแต่ได้ 2470 มาตัวนี้ก็นอนอยู่ในกระเป๋าตลอดเลย แต่หลังๆ หยิบมาใช้ บ่อยขึ้นครับ
• จากที่เห็นพี่ต้นได้ไปถ่ายภาพหลายสถานเหลือเกิน ทั้งภูเขา น�้ำตก ไปจนถึงถ�้ำน�้ำแข็ง แบบนี้มีการเตรียมตัวอย่างไรบ้างครับ? ปกติ ก็ จ ะลองพยายามดู รู ป ของสถานที่ นั้ น ๆไว้ ก ่ อ นครั บ เพื่อ ที่ จ ะเตรี ย มคิ ด รู ป ที่ อ ยากได้ ในใจ ถึ ง สถานที่ แ ล้ ว จะได้สามารถเริ่มถ่ายได้ทันที เพราะบางทีเวลาในแต่ล่ะแห่งจะมีจ�ำกัดครับ จากนั้นก็ต้องเตรียมอุปกรณ์ ให้พร้อมกับสถานที่ที่จะ ไปถ่ายภาพ ทั้งชุดแต่งกาย ของกิน เพราะบางทีอาจจะต้องเดิน trail นานๆ และสุดท้ายก็คืออุปกรณ์กล้องครับ
• เคยใช้เวลานานสุดในการเดินทางไปถ่ายภาพเท่าไร? ไปไหนมา?
ถ้าระยะเวลาในการไปเที่ยวถ่ายภาพก็ไปอลาสก้าครับ ใช้เวลาเที่ยวทั้งหมดสองสัปดาห์ เป็นหนึ่งในสุดยอดทริปที่ผมจะ ไม่มีวันลืมเลยครับ และถ้ามีโอกาสอยากจะกลับไปอีกครั้งครับ TSD eMag
95
iSSUE 43 APRIL 2012
• อยากให้ เ ล่ า ประสบการณ์ ใ นการ ถ่ ายภาพ Landscape ที่ป ระทับ ใจ สักทริปนึงครับ? ขอยกตัวอย่างทริปล่าสุดทีเ่ พิง่ ไปกับ พีๆ่ น้องๆ ช่างภาพคนไทยที่อเมริกาช่วงหยุดวันแรงงานประจ�ำ ชาติที่นี่ครับ ชื่อทริปคือ “เข็มขัดยาว เท้าสั้น” ไปกัน ทั้งหมด 2 คืน 3 วัน “เข็มขัดยาว” เพราะ ทุกอย่างในทริปนี้มันเกิน คาดหมด ส่วน “เท้าสั้น” มาจาก Thousand islands lake ซึ่งเป็นจุดหมายแห่งนึงในทริปนี้ครับ ทริ ป นี้ ค ่ อ นข้ า งพิ เ ศษครั บ เพราะมี พี่ ส ต๊ า ฟ คนดังจาก pixpros มาร่วมแจมด้วย จ�ำได้ว่าผม ตัดสินใจไปคนสุดท้ายและท�ำการจองตัว๋ เครื่องบินและ บินไปวันรุง่ ขึน้ เลยครับ สถานทีท่ พี่ วกเราตัง้ ใจจะไปกัน คือ Thousand islands Lake ที่ Ansel Adams Wilderness 15ไมล์ (ที่เแม้วเดิน) ก็ประมาณๆ 24 กิโลเมตร (ที่แม้วเดิน) เท่านั้นเองครับ สามัญชนอย่างผมก็เดิน กันคลานกันไปแทน ฮ่า! การเดินทางครั้งนี้น�ำโดยหัวหน้าทัวร์ซึ่งก็คือ p-orbital ที่ต้องการจะไปต้องการที่จะไปเก็บแสงเช้า ที่ Lake ให้ได้ เพราะเห็นรูปมาแล้วมันสวยมาก.. คืน ก่อนออกเดินทางหัวหน้าทัวร์จึงบัญชาการว่า…ให้เริ่ม ออกเดินป่าตอนตีสองเพื่อจะไปให้ทันแสงเช้าตอน เจ็ดโมง \ (- -‘’) ขาไป 7.5 ไมล์เดินสักสี่ชั่วโมงน่าจะ สบายๆ แต่ปรากฏว่าเอาเข้าจริงๆ
Shutter IDol
96
คืนนั้นพวกเราเข้าที่พักกันตอนเกือบๆ สี่ทุ่ม แถมเฮฮากว่าจะได้นอนกันก็ประมาณตีหนึ่ง…. สรุปว่าไม่ได้นอนครับแล้วไป เดินป่ากัน แบกไฟฉายใส่ headlight กันไป สุดท้ายก็คลานเป็นซอมบี้กันไปกว่าจะถึง Lake ก็ปาไปเก้าโมงกว่าๆครับ - -‘’
ภาพนี้คือ Lake ณ จุดที่ผมอยากจะมาเก็บแสงเช้ากันครับ TSD eMag
97
iSSUE 43 APRIL 2012
พอมาถึ ง จุ ด นี้ ได้ ถ ่ า ยรู ป กั น พอประมาณต่ า ง คนก็ ห นี ไ ปหามุ ม สงบงี บ หลั บ กั น เลยครั บ ..แล้ ว จาก นั้ น ก็ ค ่ อ ยๆ คลานกั น ลงเขากลั บ ไป วั น ต่ อ มาซึ่ ง เป็ น วั นสุดท้ายที่พวกผมจะเดินทางกลับ กั น เราได้ ไ ปเก็ บ แสงเช้ า กั น ที่ Mono Lake … เช้ า นี้ ถื อ เป็ น เช้ า นึ ง ที่ สวยที่สุดในชีวิตผมเลยครับ วันนี้ผมท�ำการบ้านมาไม่ ดีครับเพราะไม่ได้ศึกษา Lake นี้มาก่อน เพราะก่อน หน้าที่จะบินมาผมงานยุ่งมาก งานนี้เลยต้องมาตายเอา ดาบหน้ า ครั บ พวกเราตื่น ตั้ ง แต่ ตี สี่ เ พราะตอนแรก กะว่าจะมาถ่ายดาวหมุนที่ lake ก่อน sunrise แต่ปรากฏ ว่า….เมฆมาเต็มเลยครับ ท�ำให้อดถ่ายกันไป ดังนัน้ พวกเรา ก็นอนกันอยู่ในรถแทน จนกระทั่งได้เวลาก็พากันเดินไปที่ lake ตัง้ ขากล้องถ่ายพร้อมกัน ภาพทีอ่ อกมานีอ้ าจจะไม่ได้ สวยมากแต่เวลานั้นผมว่ามันมีความสุขนะครับที่เราได้มา อยู่ข้างๆกับคนที่ชอบอะไรเหมือนกันกับเรา นี่ คื อ ภาพมุ ม แรกที่ ช ่ า งภาพคนไทยตั้ ง ขาเรี ย ง หน้ า กระดานกั น ริ ม Lake ครั บ ต่ อ มาต่ า งคนก็ ต ่ า ง ไปหามุ ม สงบส่ ว นตั ว ของตั ว เอง ผมก็ ป ลี ก ตั ว ไปถ่ า ย รู ป ของผมครั บ ดู ไ ด้ บ ้ า งไม่ ไ ด้ บ ้ า งแต่ มั น มี ค วามสุ ข จริงๆ ครับ ผมว่าเช้าวันนั้นสมบูรณ์แบบมาก ถึงเรา จะพลาดไม่ได้ถ่ายดาวหมุนแต่เมฆมันเติมเต็มท้องฟ้า ไม่ให้ดูไร้มิติ
Shutter IDol
98
“Mono lake จึงเป็นอีกที่นึงที่ผมคิดว่าอยากจะกลับมาแก้มือใหม่ ให้ได้ครับ”
TSD eMag
99
iSSUE 43 APRIL 2012
Shutter IDol
100
TSD eMag
101 iSSUE 43 APRIL 2012
Shutter IDol
102
TSD eMag
103 iSSUE 43 APRIL 2012
Shutter IDol
104
ความเกิ น คาดของทริ ป นี้ ยั ง ไม่ จ บครั บ …. วันสุดท้ายเนื่องจากพวกเราถ่ายภาพกันมันส์มาก มันส์ เสี ย จนพวกผมขั บ กลั บ มาสนามบิ น ไม่ ทั น ….สุ ด ท้ า ย ตกเครื่องครับ! แต่ทริปนี้ก็เป็นหนึ่งในทริปที่ผมประทับใจ ทีส่ ดุ ตัง้ แต่ไปเทีย่ วถ่ายภาพมาเลย ถ้ามีใครสนใจอยากจะ ร่วมแจมกับพวกเราก็ติดต่อมาได้เลยนะครับ
• ในมุ ม มองของพี่ ต ้ น คิ ด ว่ า ทิ ว ทั ศ น์ เมื อ งไทยและต่ า งประเทศแตกต่ า ง อย่างไรบ้างครับ? ผมคิดว่า ถึงความหลากหลายของภูมิประเทศ ในเมื อ งไทยจะสู ้ เ มื อ งนอกไม่ ไ ด้ แต่ เ มื อ งไทยมั น ก็ มี เสน่ห์ ในตัวของมันเองนะครับ แถมบางอย่างยังสวย กว่าเมืองนอกตั้งเยอะในความคิดของผมนะ ตัวอย่าง เช่น เกาะต่างๆ ในไทย พูดจากใจจริงเลยครับ ชายหาด + เกาะบ้ า นเรา สวยกว่ า หาดที่ นี่ ม ากๆ ตอนผมอยู ่ ไทยผมมี โ อกาสไปเที่ ย วเกาะต่ า งๆ มาหลายที่ ม ากๆ ยั ง เสี ย ดายไม่ ห ายเลยครั บ ที่ ต อนนั้ น ถ่ า ยรู ป ไม่ เ ป็ น แถมไม่ยอมพกกล้องอีกต่างหาก (-*-)
ใบนี้แถมให้ครับเพราะชอบมากเป็นการส่วนตัว ถ่ายจากระหว่างทางที่ขับออกจาก Mono Lake ครับ
TSD eMag
105 iSSUE 43 APRIL 2012
• สุดท้ายนี้มีอะไรอยากจะฝากเป็นข้อคิด เกี่ ย วกั บ การถ่ า ยภาพ Landscape ให้สมาชิก TSD บ้างครับ?
ถ่ายภาพ Landscapeให้ ได้ดี คุณต้องอยู่ถูกที่ ถูกเวลา และมีต้องดวงด้วยครับ ถ้าคุณพาตัวเองไป อยู ่ ใ นที่ ส วยๆ ในช่ ว งเวลาที่ เ หมาะสม คุ ณ ก็ มี โ อกาส ที่ จ ะได้ ภ าพดี ๆ กลั บ บ้ า นมากกว่ า เป็ น เรื่อ งปกติ ค รั บ แต่ถ้าวันที่คุณไปเที่ยวถ่ายภาพแล้วอากาศไม่ดี คุณก็ ต้องยอมรับให้กับธรรมชาติซึ่งเป็นคนก�ำหนดชะตาและ ถือไพ่เหนือกว่าครับ ผมอยากจะฝากส�ำหรับท่านที่ ไป เที่ยวแล้วผิดหวัง แบบว่าฟ้าฝนไม่เป็นใจอ่ะครับ ส�ำหรับ ผมแล้ ว ผมจะไม่ รู ้ สึ ก แย่ ม ากนะครั บ ถ้ า ไปเที่ ย วแล้ ว รู ้ สึ ก ว่ า ตั ว เองไม่ ไ ด้ รู ป สวยๆที่ ตั ว เองชอบกลั บ มาเลย ผมคิดว่าประสบการณ์จากการเดินทางและการที่เราได้ ไปยืนอยู่ที่ตรงจุดนั้น มันมีค่ามากมายมหาศาลกว่ารูป เยอะครับ ถึงรูปเราไม่สวยแต่อย่างน้อยเราก็ได้ไปเที่ยว และเราก็ ได้กดรูป กลับ มานี่ ครั บ ทุ ก ครั้ ง ที่ เราดู รู ปนั้ น เราก็จะรู้ว่าครั้งนึงเราได้ ไปยังจุดหมายนั้น บรรยากาศ ต่างๆ ความรู้สีกต่างๆ ที่เราประทับใจในทริปนั้นมันก็จะ ย้อนกลับมาครับ และมันยังอาจจะเป็นเชื้อไฟที่จะท�ำให้ เราอยากกลับไปยังที่แห่งนั้นใหม่ด้วยครับ
Shutter IDol
ผมอยากขอบคุณทีมงาน TSD eMag มากๆครับ ที่ ช อ บ ภ า พ ข อ ง ผ ม แ ล ะ เ ลื อ ก ผ ม ม า สั ม ภ า ษ ณ ์ ผมสารภาพเลยครับว่าผมรู้สึกประหม่ามาก เพราะรู้สึก ว่างานตัวเองก็ไม่ได้สวยอะไรมากมาย แถมตัวเองก็ไม่ได้ โด่งดังเป็นที่รู้จักกว้างขวาง ขอสารภาพอีกอย่างด้วยครับ ว่าผมไม่เคยอ่านงาน eMag ของที่นี่มาก่อนเลย แต่หลัง จากที่ได้เริม่ มาอ่านแล้ว ผมรูส้ กึ ชอบมากๆ และพร้อมทีจ่ ะ ช่วยประชาสัมพันธ์ eMag ดีๆ ของคนไทยแบบนีต้ อ่ ไปครับ สุ ด ท้ า ยกลุ ่ ม คนที่ ผ มต้ อ งให้ เ ครดิ ต ซึ่ ง ท� ำ ให้ ผ ม ถ่ายภาพดีขึ้นคือ pixpros ที่ผมซุ่มไปแอบอ่านข้อมูล อยู่ตลอด ชุมชนชาวร้านกาแฟ fotocoffees.com โดย เฉพาะ พี่ บี เวอร์ (wcdma.multiply.com) อาจารย์ สอนแฟลชผม, พี่ DayWalker อาจารย์ ส อนผมรี ทั ช ภาพและให้ข้อคิดเยอะมากๆ, น้องภู (http://l2aven. multiply.com/) ผู้ที่ชวนผมเข้ามาเป็นสมาชิก board พี่เค พี่ย้ง พี่เตอร์ และพี่คนอื่นๆ และคนสุดท้ายคือพี่กล้า Roommate ผม ที่สอนผมถ่ายภาพและเป็นคนชักน�ำ ให้ ผ มเข้ า มาเป็ น สาวกกล้ อ งนิ ค อน ถ้ า พี่ ไ ม่ บ รรยาย สรรพคุ ณ ของกล้ อ งค่ า ยนี้ ใ ห้ ผ มพร้ อ มกั บ สอนผม ถ่ า ยภาพและคุ ม กล้ อ งตอนแรกๆ ผมก็ ค งถ่ า ยภาพ ไม่เป็นอยู่เหมือนเดิมครับ ผมขอขอบคุณทุกคนจากใจจริงๆ ครับ
106
บทสัมภาษณ์จบไปพร้อมๆ กับการได้รู้จัก ช่างภาพรุ่นใหม่ไฟในเบื้องลึกมากขึ้น ได้รู้ ได้เห็น ได้ ท� ำ ความใจถึ ง กระบวนการคิ ด รวมไปถึ ง แรงบั น ดาลใจส� ำ หรั บ การสร้ า งสรรค์ ภ าพถ่ า ย สวยๆ กันแล้ว ถึงตอนนี้แล้วรู้สึกถึงไฟที่ถูกจุด ขึ้นมาในใจกันบ้างรึยัง ไฟที่จะช่วยเป็นแรงบันดาล ใจให้ กั บ ช่ า งภาพรุ ่ น ต่ อ ๆ ไป จากชายที่ ชื่อ ว่ า “ต้น” นพวัชร เจริญสินพร... TSD eMag
107 iSSUE 43 APRIL 2012
Shutter IDol
108
TSD eMag
109 iSSUE 43 APRIL 2012
110
TSD eMag
111 iSSUE 43 APRIL 2012
112
TSD eMag
113 iSSUE 43 APRIL 2012
114
TSD eMag
115 iSSUE 43 APRIL 2012
116
TSD eMag
117 iSSUE 43 APRIL 2012
Bkk Snap
118
ธราดล จิตมั่นชัยธรรม
M
ansion 7 ศูนย์การค้ามาแปลกแหวกแนวที่สื่อถึงความลึกลับ น่าสะพรึงกลัวแต่แฝงไปด้วยดีไซน์ที่สวยงาม และยังเดินทาง สะดวกอีกต่างหาก ฟังดูน่าสนใจขึ้นมาขนาดนี้ ที่นี่มีดีอะไรใน Mansion7
TSD eMag
119 iSSUE 43 APRIL 2012
Bkk Snap
120
Mansion 7 คือ หนึ่งในความส�ำเร็จที่เกิด ขึ้นจากโครงการศูนย์การค้าย้อนยุค “เพลินวาน” ที่หัวหิน ซึ่งมาในคราวนี้ กลุ่มผู้บริหารเพลินวานได้ พัฒนา Mansion 7 ให้เป็นศูนย์การค้าแห่งแรกและ แห่งเดียวในเวลานี้ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวภายใต้ ไอเดียเก๋ๆ ว่า “Boutique Thriller Mall” โดยทาง เจ้าของโครงการได้ ไอเดียและแนวคิดนี้มาจากผีสิง ในต่างประเทศ เจ้าคุณรัชดาพิรยิ ะโยธาเจ้าของคฤหาสน์ ต้อง สูญเสียบุตรีเพียงคนเดียวทีส่ นามหน้าคฤหาสน์แห่งนี้ ในวันเลี้ยงฉลองวันเกิดครบปีที่ 17 ของ “ดารารัตน์” บุตรสาว ที่ปัจจุบันคงเหลือทิ้งไว้เพียงซากแห่งความ อาลัยรัก และเสียงเพลงจากกล่องดนตรี ทีบ่ ดิ าสัง่ ท�ำ ขึน้ เป็นพิเศษ นีค่ อื จุดก�ำเนิดของเรื่องราวทัง้ หมดของ คฤหาสน์แห่งนี้...
PONEAK SIRIVETAUMNUIKIT
©
TSD eMag
121 iSSUE 43 APRIL 2012
Bkk Snap
122
Mansion7 มี ทั้ ง เรื่อ งราวและเรื่อ งเล่ า ที่เป็นแกนส�ำคัญร้อยรวมแนวคิดในการออกแบบ ตกแต่งอาคารโดยรวมทั้งหมด รวมถึงการวางแนว ความคิดหลักเพื่อให้ที่นี่เป็นจุดนัดพบ สังสรรค์ หรือ พักผ่อนหย่อนใจ เป็นทีท่ ี่ให้แรงบันดาลใจ แก่คนเมือง ที่ชอบความแปลกใหม่และท้าทาย โดยแบ่งออกเป็น 3 โซนหลัก คือ 1. The Neglected Garden โซนร้านค้าแนวบูติค และร้านอาหารทีร่ บั รองว่าไม่เคยเจอที่ไหนมาก่อน 2. The Playground โซนปลดปล่อยความเครียด ไปกับเครื่องเล่นท้าทาย และลานกิจกรรมต่างๆ ตามเทศกาล 3. Dark Mansion โซนส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ช อบความ ตื่น เต้ น ถื อ ว่ า เป็ น จุ ด เด่ น ที่ พ ลาดไม่ ไ ด้ ด ้ ว ย ประการทั้งปวง
ANAN BOOTVIENGPUNTH
©
TSD eMag
123 iSSUE 43 APRIL 2012
Bkk Snap
124
รวมสติแล้วเปิดประตูสู่คฤหาสน์แห่งนี้กันเลย... คฤหาสน์ แ ห่ ง นี้ เ กิ ด ขึ้ น บนเนื้ อ ที่ 7 ไร่ ริ ม ถนนย่ า นท� ำ เลทองอย่ า งรั ช ดาภิ เ ษก ซอย 14 ใกล้ สี่ แ ยกห้ ว ยขวาง ผู ้ ผ ่ า นไปมาต่ า งฉงนกั บ สิ่ ง ปลูกสร้างอาคารทรงกล่องสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า สีมว่ งทะมึน ที่ตกแต่งภายนอกเหมือนถูกห่อหุ้มด้วยเถาไม้เลื้อย กราฟฟิค ชวนให้นึกถึงภาพยนตร์ ในวัยเยาว์อย่าง The Nightmare before Christmas แบบนั้นเลย ซุ ้ ม ประตู ท างเข้ า ออกแบบให้ ดู ค ล้ า ยมื อ ปี ศ าจ โผล่พ้นดิน พร้อมรอการมาเยือนจากผู้ชอบความ ท้าทาย ความลึกลับและความแปลกใหม่ เป็นเสน่ห์ ดึงดูดให้ผคู้ นเข้าไปพิสจู น์ศนู ย์การค้าแนวระทึกขวัญนี้
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
125 iSSUE 43 APRIL 2012
Bkk Snap
126
การ์ เ ด้ น แอเรี ย (The Neglected Garden) คือส่วนแรกเมื่อเข้ามาใน Mansion7 ด้วยดีไซน์สุดพิลึกอลังการประกอบกับแสงสีท�ำให้ดู น่าตื่นตาตื่นใจตั้งแต่ก้าวแรก บริเวณโซนนี้แวดล้อม ไปด้ ว ยร้ า นค้ า แฟชั่ น แนวบู ติ ค ที่ มี สิ น ค้ า ไม่ สุ ด ฮิ ป ไม่ซ�้ำใคร ไม่ว่าจะเป็นร้านขายเสื้อผ้าหน้าผม เครื่อง ประดั บ รองเท้ า รวมไปถึ ง ร้ า นขายเมจิ ค ไอเท็ ม นักมายากลหรือร้านทีฉ่ กี ทุกกฏแนวอิโรติคอีกด้วย อ๊ะ! แอบบอกนิดนึงว่าคริสและพลอยหอวังก็มาเปิดร้าน ที่นี่ด้วยแหละ ความน่าสนใจนอกจากเอกลักษณ์เฉพาะตัว ของสิ น ค้ า แล้ ว สถาปั ต ยกรรมที่ ท� ำ ให้ นึ ก ถึ ง หนั ง ฝันร้ายมหัศจรรย์ ในวัยเด็กอย่าง The Nightmare Before Christmas ท�ำให้เราดื่มด�ำ่ ไปกับการเดินเลือก ซื้อของแบบมีสไตล์
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
127 iSSUE 43 APRIL 2012
Bkk Snap
128
ถัดมาอีกก็จะพบกับพื้นที่ห้องโถงขนาดใหญ่ปกคลุมด้วยกลิ่นอายชวนสยองขวัญ ภายใต้พระจันทร์สีเลือดที่ลอยเด่นยามรัตติกาล พื้นที่ในโซนนี้เรียกกันว่าโซน เพลกราวด์ แอเรีย (The Playground) เป็นสถานที่ผ่อนคลายความเครียด เพลิดเพลินไปกับเกมส์ และเครื่องเล่นแปลกตา ใครที่อยากจะท้าทายเรื่องผีๆ ก็เชิญตามสะดวกเพราะเขามีบริการ แลกเหรียญให้พร้อมสรรพ บริเวณโดยรอบประดับไปด้วยคีออส และหลากหลายร้านอาหาร ให้จะท�ำให้คุณต้อง “ทึ่ง“ ไปตามๆ กัน นอกจากนี้บริเวณโซน Playground ยังใช้เป็นลานกิจกรรมและการแสดงต่างๆ อีกด้วย
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
129 iSSUE 43 APRIL 2012
Bkk Snap
130
เครื่องเล่นหน้าตาชวนสยองเหล่านี้ถูกออกแบบมาโดย เฉพาะส�ำหรับ Mansion7 แห่งนี้ เพื่อเชื้อเชิญเหล่าผู้ท้าทาย ทั้งหลายด้วยการเล่นแนว X-Scream ที่คุณจะมีอารมณ์ร่วมไป ด้วยความสนุกและสะพรึงไปพร้อมๆ กัน PONEAK SIRIVETAUMNUIKIT
©
TSD eMag
131 iSSUE 43 APRIL 2012
Bkk Snap
132
ร้านอาหารที่คุณอาจไม่เคยเห็นตามห้างสรรพสินค้าทั่วไปถูกยกไว้ ใน Mansion7 แห่งนี้ ส�ำหรับวัยชิคที่หลงใหลรสนิยมความแปลกใหม่ ที่นี้คือหนึ่ง ในค�ำตอบ เพราะหลายๆ ร้านมีเมนู “แปลก” มาเสนอให้คณ ุ ทีจ่ ะต้องฉงนงวยงง ไปพร้อมกับความกล้าในการกิน เช่น ขนมจีนเส้นด�ำกับน�้ำยามหาเสน่ห์จากร้าน เครื่องเส้น หรือเบอร์เกอร์ด�ำจากร้าน Casper Berger เป็นต้น ส่วนหน้าตาและ รสชาติเป็นยังไง คุณเท่านั้นที่ต้องพิสูจน์เอง
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
133 iSSUE 43 APRIL 2012
PONEAK SIRIVETAUMNUIKIT
Bkk Snap
©
134
TSD eMag
135 iSSUE 43 APRIL 2012
Bkk Snap
136
ส�ำหรับนักลองของทั้งหลายเมื่อได้มาเยือน Mansion7 แห่งนี้ โซนแมนชั่น แอเรีย หรือ Dark Mansion คือสิ่งไม่ควรพลาดด้วยประการทั้งปวง คฤหาสน์ร้างทรงยุโรปแห่งนี้ ได้ถูกใช้เป็นสถานที่ ที่เป็นบททดสอบของทั้งร่างกายและจิตใจ ความ กล้าที่จะเอาชนะความกลัว แต่ใครจะรู้ว่าแท้จริง แล้วคฤหาสน์แห่งนี้...มีที่มา เรื่องมีอยู่ว่า...เจ้าคุณ รัชดาพิริยะโยธา ผู้เป็นเจ้าของคฤหาสน์ถูกจับเป็น เชลยศึกช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 ก่อนจะถูกปล่อย ตัวออกมาด้วยพฤติกรรมที่แปลกไป หน�ำซ�้ำลูกสาว สุดที่รักเพียงคนเดียวยังต้องมาป่วยตายจากไปด้วย วัยเพียง 17 ปี แต่ท่านก็พยายามทดลองทุกวิถีทาง เพื่อชุบชีวิตลูกสาวให้กลับคืนโดยใช้นักโทษประหาร เป็นเหยื่อเพื่อการทดลอง ซึง่ ไม่มใี ครรอดกลับออกมาได้ มี เ พี ย งเสี ย งกรี ด ร้ อ งโหยหวนทุ ก ข์ ท รมาน กลาย เป็นวิญญาณอาฆาตที่สิงอยู่ภายใน จนเวลาผ่านไป กลายเป็นคฤหาสน์ปดิ ตายกับความลับทีร่ อคอยให้คน เข้ามาพิสูจน์...
ANAN BOOTVIENGPUNTH
©
TSD eMag
137 iSSUE 43 APRIL 2012
Bkk Snap
138
เรามักจะเห็นคู่หนุ่มสาวจับมือไปเป็นอยู่เสมอ ซึ่งใครอยากพิสูจน์ Dark Mansion เขาก็มีค่าบริการ กันคนละนิดละหน่อย แต่ละรอบใช้เวลาประมาณ 15-20 นาที ไม่อนุญาตให้บันทึกภาพทุกชนิดก่อนเข้า และทาง Mansion7 ยังได้ฝากบอกมาอีกว่า ในขณะ ที่เดินใน Dark Mansion ส�ำหรับใครที่คิดว่าไปต่อไม่ ไหวให้หยุดยืนนิง่ ๆ อยูก่ บั ที่ แล้วชูมอื ขึน้ จะมีเจ้าหน้าที่ พาตัวคุณออกมา แหม่! บอกกันซะขนาดนี้ ความน่า กลัวจะอยู่ในระดับไหนกันนะ แต่เอาเถอะ ส�ำหรับผู้ที่ ออกมาได้ อย่าลืมดูภาพหน้าตาเราที่บรรดาวิญญาณ ในคฤหาสน์แอบถ่ายมาด้วยล่ะ ขอบอกได้ค�ำเดียวว่า ใครที่เห็นภาพตัวเองคงอดยิ้มไม่ได้เป็นแน่ ฝากไว้ อี ก สั ก นิ ด ส� ำ หรั บ ใครที่ จ ะเข้ า Dark Masion ว่าอายุไม่ต�่ำกว่า 13 ปีขึ้นไปเท่านั้นนะถึงจะ เข้าไปท้าทายความสยองได้ แท้จริงแล้วจุดประสงค์ของ Dark Mansion คือบททดสอบเพื่อให้เรามีความกล้าทีจ่ ะเอาชนะความ กลัว เพื่อให้ค้นพบว่า “สติ“ จะช่วยให้เราต่อสู้และ หาทางออกเพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรคทุกอย่างให้ ผ่านพ้นไปด้วยดี เพียงแค่เราไม่ยอมแพ้และท้อถอย ให้ “สติ...สว่างในความมืด”
ANAN BOOTVIENGPUNTH
©
TSD eMag
139 iSSUE 43 APRIL 2012
DARK MANSION TICKETS
Bkk Snap
140
ตารางเวลาการเข้าชม Dark Mansion เปิดให้เข้าได้ตั้งแต่เที่ยงวัน ยันเที่ยงคืนเลยทีเดียว ระยะเวลาในการเข้าแต่ละรอบ 30 นาที จากตาราง ถ้าใครเห็นคงไม่ต้องบอกเนอะว่าเข้าช่วงเวลาไหนได้บรรยากาศที่สุด
TSD eMag
141 iSSUE 43 APRIL 2012
Bkk Snap
142
How to go mansion7 ถือว่าเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการ มาเที่ยว กินข้าว เลือกซื้อของหรือจะมา วัดใจแบบระทึกก็ ได้หมด เรียกได้ว่ามีครบ ทุกรสทีเดียวใน Mansion7 แห่งนี้ ซึ่งหาไม่ง่ายนักในเมืองที่มีแต่ความวุ่นวาย ลองชวนเพื่อนไม่ว่าจะเดี่ยวหรือมาเป็น กลุ่ม แล้วปลดปล่อยความกลัวด้วยการ สัมผัสประสบการณ์แบบที่ ไม่เคยเจอ มาก่อนสักครั้ง ที่ Mansion7 แห่งนี้...
www.themansion7.com
www.facebook.com/themansion7.com
www.twitter.com/themansion7bkk
TSD eMag
143 iSSUE 43 APRIL 2012
Happy Meetting
144
ผ่านพ้นกันไปอีก 1 ครั้งกับบรรยากาศความสนุกสนาน เฮฮา แฮปปี้ ในกิจกรรม TSD Happy Meeting ครั้งที่ 5 กับธีม Food Bomb นั่นเอง ซึ่งครั้งนี้สมาชิกของเราจะได้สวมบทบาทเป็นเชฟกระทะเหล็ก ไปดวลตะหลิวในดินแดนแหล่งโอโซนอันดับ 7 ของโลกกันโน่นเลย TSD eMag
145 iSSUE 43 APRIL 2012
TSD Happy Meetting
146
ออกเดินทางด้วยรถบัสสองชั้นกันแต่เช้า แม้รถ จะโล่งไปนิด แต่เสียงหัวเราะก็ยังคงดังสนั่นเหมือนทุกครั้ง ที่ผ่านมา คงเป็นเพราะความฮาที่มันอยู่ในสายเลือดไปแล้ว นั่นเอง ขึ้นรถกันไปนาน แต่รถยังไม่ออกสักที เอ๊ะมันเกิด อะไรขึ้น??? อ๋อ พี่ซันของเรานั่นเองที่ยังมาไม่ถึง แต่ไม่ เป็นไร ให้อภัยกันได้ เพราะต้องไปรับสมาชิกใหม่ของเราอีก สองคน พี่ปุ้มและพี่ปุ๊กนั่นเอง
TSD eMag
147 iSSUE 43 APRIL 2012
TSD Happy Meetting
148
ระหว่างทางก็พูดคุยเฮฮากันตามประสา แจกของ รางวัลเล็กน้อยกันเช่นเคย คนที่ได้ไปก็พี่ซันอีกละ คนมากับ (พี่) ดวงก็งี้อ่ะนะ จากนั้นก็แบ่งกลุ่มท�ำอาหารกันก่อน โดยวิธีการจับสลาก ผลออกมาดังนี้ กลุ่มที่ 1 พี่เปิ้ล พี่วิทย์ พี่ตา พี่ต๋อย และพี่อ้อ กลุ่มที่ 2 พี่หมอน�้ำ พี่จุ๊ พี่ปู พี่ฮุย และพี่ปุ้ม กลุ่มที่ 3 อาเต่าและอาไก่ พี่ใหญ่ (อาหลอง) พี่ดวง พี่ผิง พี่ซันและพี่ปุ้ม
TSD eMag
149 iSSUE 43 APRIL 2012
TSD Happy Meetting
150
เที่ยงตรงล้อรถก็หยุดหมุนที่ “สวนลุงไกร” สถานที่ที่เรา จะมาดวลตะหลิวกันนี่เอง ก่อนดวลกัน เราก็มีการพูดคุยแลก เปลี่ยนเทคนิคการถ่ายภาพอาหารเล็กน้อย เอาไว้ ใช้งานตอน แข่งขัน จากนั้นก็เริ่มดวลกันได้ ฝีไม้ลายมือในการท�ำอาหาร ที่ ไม่คิดว่าจะได้เห็นจากช่างภาพ ก็ได้มาเห็นวันนี้แหล่ะ อาหาร ที่ท�ำกันมาแต่ละอย่างหน้าตาเริศหรู ซะไม่มีอันนี้พูดจริงๆ นะ ผลสุดท้ายกลุ่มที่คว้ารางวัลชนะเลิศไปครองก็คือ กลุ่ม ที่ 3 ที่มากับเมนู “น�้ำพริกลงเรือด�ำน�้ำ” ที่เคลมว่าเผ็ดจนต้อง กระโดดลงน�้ำกันเลย รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ก็คือ กลุ่ม ที่ 1 ที่มากับเมนู “Happy Steak” หน้าตาอินเตอร์ แถมยังนุ่ม อร่อยด้วยนะ และรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ก็คือ กลุ่มที่ 2 ที่มากับเมนู “ย�ำสองใจ” แหมช่างเข้าใจตั้งชื่อกันจริงๆ
TSD eMag
151 iSSUE 43 APRIL 2012
TSD Happy Meetting
152
................................................. จากนั้นก็แจกของรางวัลที่ ได้รับการสนับสนุนจาก สปอนเซอร์ใจดี Nikon Sales (Thailand) และ Fotofile ซึ่งทาง TSD ก็ต้องขอขอบคุณมา ณ ที่นี้ด้วยครับ และที่ขาดไม่ได้เลยคือ พี่ๆ สมาชิกที่คอยให้ก�ำลังใจ และสนับสนุน TSD มาโดยตลอดมา ข้าน้อยขอขอคารวะ... TSD eMag
153 iSSUE 43 APRIL 2012
Hot Launch
154
Hot Launch
ช่วงไตรมาสแรกของปี 2012 ก็มีการเปิดตัวกล้อง ถ่ายภาพกันอย่างเกรียวกราว แต่คงจะไม่มีข่าวไหนที่ร้อน แรงเท่ากับการเปิดตัวกล้อง Nikon D800 ที่เหล่าสาวก ค่ายสีเหลืองอย่างนิคอนตั้งหน้าตั้งตารออย่างใจจดใจจ่อ ตั้งแต่ข่าวลือที่ถาโถมเข้ามาไม่เว้นแต่ละวัน จนในที่สุด นิคอน เซลส์ ประเทศไทย (Nikon Sales Thailand) ก็จัดงาน แถลงข่าวเปิดตัวอย่างเป็นทางการพร้อมกับเจ้าของความ ละเอียด 36.3 ล้านพิกเซล ที่ฉีกกฏเกณฑ์ความละเอียด กล้องค่ายนิคอนเท่าที่เคยมีมา แต่ Nikon D800 มิได้มีแต่ความละเอียดเท่านั้นที่เป็นตัวเอกชูโรง ยัว่ น�ำ้ ลายใครต่อใคร มันยังมีความสามารถอื่นๆ ภายในกล้องทีล่ ำ�้ สมัยจน อยากจะจับจองเป็นเจ้าเข้าเจ้าของให้ได้ซะเดีย๋ วนัน้ เลย และวันนีค้ อลัมน์ เกิดใหม่ของเราอย่าง Hot Launch จะน�ำกล้องดิจิตอลรุ่นล่าสุด ออกจาก เตาพร้อมเสิร์ฟความสามารถกันว่าจะโดนใจขนาดไหน
Nikon D800 เปิดตัวพร้อมกันทั่วโลก เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2012 ข้อมูลเพิ่มเติ่ม
TSD eMag
155 iSSUE 43 APRIL 2012
Hot Launch
156
คุณสมบัติหลักของกล้อง D800 • Nikon FX-format CMOS sensor with 36.3 MPage D800 ใช้เซ็นเซอร์ CMOS แบบ FX Format ใหม่ พร้อมด้วยการออกแบบมาส�ำหรับ กล้องดิจิตอล SLR ของนิคอนโดยเฉพาะเพื่อให้การท�ำงานที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น กับความละเอียดสูงสุด 36.3 ล้านพิกเซล ผสานเข้ากับเลนส์ NIKKOR ที่ ท�ำให้ภาพที่ ได้มีความ ละเอียดสูง เปี่ยมประสิทธิภาพเทียบเท่ากล้องถ่ายภาพระดับมีเดียม-ฟอร์แมท
• Standard ISO 100 to ISO 6400
ตอบรับความต้องการระดับมืออาชีพด้วยค่าความไวแสงมาตรฐาน ISO 100 ถึง ISO 6400 รองรับช่วงขยายเพิ่มเติมตั้งแต่ ISO 50 (Lo-1) ไปจนถึง ISO 25600 (Hi-2) ภาพที่ ได้จึง มีคณ ุ ภาพสูงสุด แม้จะถ่ายภาพนิง่ หรือถ่ายภาพเคลื่อนไหวในสถานการณ์ทมี่ แี สงน้อย เช่น การ ถ่ายภาพในเวลาก่อนพระอาทิตย์ขึ้นหรือหลังพระอาทิตย์ตกดิน
• Advanced Scene Recognition System RGB sensor
ตอบรับความต้องการระดับมืออาชีพด้วยค่าความไวแสงมาตรฐาน ISO 100 ถึง ISO 6400 รองรับช่วงขยายเพิ่มเติมตั้งแต่ ISO 50 (Lo-1) ไปจนถึง ISO 25600 (Hi-2) ภาพที่ ได้จึง มีคณ ุ ภาพสูงสุด แม้จะถ่ายภาพนิง่ หรือถ่ายภาพเคลื่อนไหวในสถานการณ์ทมี่ แี สงน้อย เช่น การ ถ่ายภาพในเวลาก่อนพระอาทิตย์ขึ้นหรือหลังพระอาทิตย์ตกดิน
• Multi-area mode Full HD D-Movie
สามารถบันทึกภาพยนตร์ผ่านการประมวลผลข้อมูลด้วยเซ็นเซอร์รับภาพความละเอียด สูง 36.3 ล้านพิกเซล สามารถบันทึกภาพยนตร์ความคมชัดสูง Full-HD ในรูปแบบ FX หรือ DX
TSD eMag
157 iSSUE 43 APRIL 2012
Hot Launch
158
• Viewfinder with approximately 100% frame coverage ช่องมองภาพครอบคลุมการมองเห็นภาพ 100% ด้วยก�ำลังขยาย 0.7 เท่า ตัวกล้องท�ำจาก แมกนีเซียมอัลลอย จึงมีความทนทานเทียบเท่ากับกล้อง D700 และมีน�้ำหนักเบากว่าประมาณ 10% มีการปิดซีลอย่างหนาแน่นผ่านการทดสอบในการป้องกันน�้ำและฝุ่นละออง
• High-precision high-durability shutter
ชัตเตอร์มคี วามแม่นย�ำและความทนทานสูง ผ่านการทดสอบการลัน่ ชัตเตอร์กว่า 200,000 ครั้ง โดย ชุดชัตเตอร์รองรับการท�ำงานที่ความไวชัตเตอร์ตั้งแต่ 1/8000 ถึง 30 วินาที และ สัมพันธ์แฟลชที่ความไวชัตเตอร์ 1/250s
• High-speed data transfer with USB 3.0
รองรับ USB 3.0 เพื่อการท�ำงานการเชื่อมโยงและถ่ายโอนข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ
• Accurate confirmation of level shooting: Dual-axis electronic virtual horizon ถ่ายภาพแนวระนาบให้แม่นย�ำด้วยระนาบกล้องอิเล็กทรอนิกส์แบบสองแกน สามารถ ตรวจสอบต�ำแหน่งกล้องได้ทั้งแนวระนาบและมุมเงยของกล้อง (เงยหน้าหรือก้มหน้า) ได้จาก จอภาพ LCD หรือช่องมองภาพ ซึ่งจะช่วยให้จัดองค์ประกอบได้ถูกต้องยิ่งขึ้น
• ถ่ายภาพต่อเนื่องได้ฉับไวด้วยแบตเตอรี่ MB-D12
ติดตั้ง MB-D12 เข้ากับตัวกล้องเพื่อเพิ่มแบตเตอรี่และท�ำให้คุณถ่ายภาพต่อเนื่องได้ด้วย ความเร็วประมาณ 6 ภาพต่อวินาที *ในรูปแบบ DX และ MB-D12 ยังมีปุ่มกดชัตเตอร์และแป้น หมุนเลือกค�ำสั่งในตัวส�ำหรับการถ่ายภาพในแนวตั้ง
TSD eMag
159 iSSUE 43 APRIL 2012
Hot Launch
160
AF-S NIKKOR 14-24mm f/2.8G ED l s 1 sec. l F8 l ISO 100 l WB Color temperature (5,000 K) TSD eMag
161 iSSUE 43 APRIL 2012
Hot Launch
162
AF-S NIKKOR 70-200mm f/2.8G ED VR II l s 1/15 sec. l F8 l ISO 100 l WB Auto 1 TSD eMag
163 iSSUE 43 APRIL 2012
Hot Launch
164
AF-S NIKKOR 24-70mm f/2.8G ED l s 1/200 sec. l F8 l ISO 100 l WB Color temperature (5,500 K) TSD eMag
165 iSSUE 43 APRIL 2012
Hot Launch
166
Bringing you beyond the ultimate in photographic performance ทันทีที่กล้อง DSLR ตระกูลเลขเดี่ยวอย่าง EOS-1DX ออกมายลโฉมสู่สายตา ผู้ใช้ทั้งหลาย ต่างพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า นี่คือกล้องที่รวบรวม พลังแห่งเทคโนโลยีที่ช่วยตอบสนองการถ่ายภาพ ได้ ม ากกว่ า ทุ ก ครั้ ง ด้ ว ยความสามารถและจุ ด เด่ น อันหลากหลายที่รวมเข้าไว้ด้วยกัน แน่นอนว่าคุณจะ ต้องทึ่งถึงความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีการถ่ายภาพ ในปัจจุบันที่ก้าวกระโดดไปทุกวัน
ข้อมูลเพิ่มเติ่ม
TSD eMag
167 iSSUE 43 APRIL 2012
ชิปประมวลผลภาพใหม่ล่าสุด Dual DiGiC 5+ EOS-1DX ที่มาพร้อมกับเซ็นเซอร์ CMOS ขนาดฟูลเฟรม ความละเอียด 18.1 ล้านพิกเซล ท�ำงานควบคูก่ บั ชิปประมวลผลภาพ อัจฉริยะรุ่นใหม่ล่าสุด Dual DiGiC 5+ ลิขสิทธิ์เฉพาะของแคนนอน ท�ำให้สามารถประมวลผลได้เร็วกว่าชิปประมวลผลภาพ DiGiC 4 ถึง 17 เท่า
ถ่ายภาพต่อเนื่องความเร็วสูง 14 ภาพต่อวินาที เมื่อใช้งานโหมด one shot AF และโหมด AI Servo AF สามารถถ่ายภาพต่อเนื่องได้ด้วยความเร็วสูงถึง 12 ภาพต่อวินาที ช่างภาพมักจะเพิ่มอุปกรณ์เสริมให้สามารถถ่ายภาพต่อเนื่องได้ด้วย ความเร็วสูงถึง 14 ภาพต่อวินาที ด้วยระบบกระจกสะท้อนภาพใหม่ Quad Active Mirror Stopper ประกอบด้วยกลไกการล็อคแบบแยก กันและเพิ่ม Balancer เป็นสองชิ้น เพื่อลดการสะท้อนกลับในทันที กลไกแบบใหม่นี้จะช่วยให้ถ่ายภาพได้ด้วยความเร็วสูงและมีความ เสถียร ช่างภาพจึงมั่นใจได้ว่าจะไม่พลาดแม้ช็อตส�ำคัญทีเคลื่อนไหว ความเร็วสูง
Hot Launch
168
ISO 100-51200 (สามารถขยายได้ถึง ISO 50204,800) ภาพที่ ได้จาก EOS1DX นั้นมีอัตราส่วนของสัญญาณภาพ ต่อสัญญาณรบกวนทีด่ กี ว่า ท�ำให้ได้ภาพที่ไร้สญ ั ญาณรบกวนและ มีไดนามิกเร้นจ์ที่มีช่วงกว้างขึ้น เมื่อใช้ความไวแสง (ISO) สูง เป็นผลมาจากโครงสร้างของโฟโต้ไดโอดแบบใหม่ และการจัด วางรูปแบบของ CMOS ให้มชี อ่ งว่าง ระหว่างไมโคร เลนส์และตัวโฟโต้ไดโอดน้อยมาก ท�ำให้ เซนเซอร์ CMOS ได้รับสัญญาณแสง ทีม่ ี คุณภาพดีขนึ้ จึงเป็นผลให้สามารถ ใช้งานช่วงความไวแสงได้กว้างตั้งแต่ ISO 100-51200 และสามารถเปิด ขยายช่วงการใช้งานได้เป็น ISO 50204,800
จุดออโต้โฟกัส 61 จุดครอบคลุมพื้นที่โฟกัสมากยิ่งขึ้น EOS-1D X มีคุณสมบัติระบบจับภาพแม่นย�ำสูงด้วยระบบ โฟกั ส ภาพอั ต โนมั ติ ที่ มี จุ ด โฟกั ส 61 จุ ด แบบความหนาแน่ น สู ง (จุดโฟกัสอัตโนมัติแบบ cross-type 41 จุด) สามารถโฟกัสภาพ อัตโนมัติได้กว้างและมีความแม่นย�ำสูง และยังเพิ่มประสิทธิภาพ ในการตรวจจับวัตถุอีกด้วย
TSD eMag
169 iSSUE 43 APRIL 2012
ร ะ บ บ จ ด จ� ำ แ ล ะ ติ ด ต า ม วั ต ถุ อั จ ฉริ ย ะ EOS iTR (intelligent Tracking and Recognition) ageระบบออโต้ โฟกัสใหม่ EOS iSA (Intelligent Subject Analysis) System เพื่อความแม่นย�ำ ในการติดตามวัตถุ รวมถึง EOS iTR (Intelligent Tracking and Recognition) AF เพื่อช่วยในการ โฟกัสติดตามใบหน้า (Face Tracking) และ การ โฟกัสติดตามสี (Color Tracking AF) พร้อมด้วย ระบบวัดแสงแบบใหม่
Ultrasonic Wave Motion Cleaning (UWMC) system ระบบการสร้ า งคลื่น เสี ย งแบบใหม่ (Carrier-wave type system) ที่มีประสิทธิภาพ มากขึ้น ช่วยผลักฝุ่นละอองขนาดเล็กมาก และ มีน�้ำหนักเบาบนเซ็นเซอร์ ให้หลุดออกไปได้ง่าย ขึน้ เมื่อเทียบกับการเขย่าแบบเดิมซึง่ มักจะก�ำจัด ฝุ ่ น ละอองที่ มี ข นาดเล็ ก มากพวกนี้ อ อกไปได้ ไม่หมด ท�ำให้เห็นรอยด�ำของฝุ่นละอองได้เมื่อ ถ่ายภาพด้วยรูรับแสงแคบมากๆ (f/22 หรือแคบ กว่า)
Hot Launch
170
Advanced EOS Movie เซ็นเซอร์รบั ภาพ CMOS และชิปประมวลผล ภาพอัจฉริยะ Dual DiGiC 5+ รุ่นใหม่ ช่วยลด การเกิด Color Artifacts และสัญญาณรบกวน ในภาพ (Noise) ช่ ว ยให้ ไ ด้ ภ าพคุ ณ ภาพสู ง แม้ ใ ช้ ง านภายใต้ ก ารตั้ ง ค่ า ความไวแสงสู ง ๆ ผู้ ใช้สามารถเลือกการบีบอัดไฟล์ภาพเคลื่อนไหว ที่บันทึกได้ 2 รูปแบบ คือ ALL-I และ IPB เพื่อให้เหมาะสมกับการท�ำ Post-Production การบีบอัดแบบ ALL-I จะส่งผลให้ไฟล์มีขนาด ใหญ่แต่สามารถแปลงได้อย่างรวดเร็วในระหว่าง ขั้นตอนการตัดต่อ เนื่องจากแต่ละเฟรมจะไม่ ลิงก์กัน ส�ำหรับการบีบอัดแบบ IPB ขนาดไฟล์ จะเล็กกว่าและมีคุณภาพสูง
Optional Canon Wireless File Transmitter & GPS EOS-1D X ยังมาพร้อมกับอุปกรณ์เสริม ที่ช่วยเสริมพลังความสามารถอย่างไร้ขีดจ�ำกัด อย่าง อุปกรณ์ส่งไฟล์แบบไร้สาย WFT-E6 ซึ่ง สามารถส่ ง ไฟล์ ภาพได้ร วดเร็ ว กว่ า วิ ธี ก ารส่ ง แบบไร้สายแบบเดิมถึง 3 เท่าและอุปกรณ์รับ สัญญาณจีพเี อสขนาดพกพา GP-E1 ช่วยในการ บันทึกข้อมูลพิกดั ของต�ำแหน่งทีท่ �ำการถ่ายภาพ ไว้ ในข้อมูล EXIF ของภาพโดยอัตโนมัติ TSD eMag
171 iSSUE 43 APRIL 2012
Outing
172
ธราดล จิตมั่นชัยธรรม
ทะเลหมอกหน้าร้อน
มีที่ ไหน! TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
ทันทีที่ผมได้รับเชิญทางอีเมล์จาก การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ผมไม่รีรอที่จะตอบตกลง ในทันใดส�ำหรับการ “ชมทะเลหมอกหน้าร้อน” ภาคกลางที่ผมนึกหลายๆ จังหวัดก็เดาไม่ถูกสักที แต่ค�ำตอบชัดเจนมาอยู่ตรงหน้าเมื่อแนวภูเขาเรียงเป็นทิวยาวสุดสายตาบนอุทยานแห่งชาติที่มีพื้นที่ ขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศไทยอย่างแก่งกระจานและสถานที่สุดมหัศจรรย์แห่งนั้นคือ เขาพะเนินทุ่ง ที่นี่ยังมีอีกหลายสิ่งที่จะท�ำให้คุณแปลกใจใน มาหาค�ำตอบกับผมพร้อมกันกับคอลัมน์ ใหม่...OUTING
TSD eMag
173 iSSUE 43 APRIL 2012
Outing
174
อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อุทยานแห่งชาติแห่งนีต้ งั้ อยูท่ จี่ งั หวัดเพชรบุรี เป็นอุทยานแห่งชาติลำ� ดับ ที่ 28 ของประเทศไทย มีพื้นที่ขนาดใหญ่ที่สุดประมาณ 1,821,687.84 ไร่ หรือ 2,914.70 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ป่าในเขตอ�ำเภอหนองหญ้าปล้อง อ�ำเภอแก่งกระจานและอ�ำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรีและอ�ำเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ ลักษณะภูมิศาสตร์ ทางธรรมชาติอันอุดมสมบูรณ์และ ความหลากหลายของป่าหลายประเภท รวมอยูด่ ว้ ยกันไม่วา่ จะเป็นป่าดิบชืน้ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา ป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง นอกจากนี้ ยังมียอดเขาที่สูงที่สุดในพื้นที่อุทยานคือ ยอดเขา งะงันนิยวกตอง สูงจากระดับน�ำ้ ทะเล 1,513 เมตร
TSD eMag
175 iSSUE 43 APRIL 2012
Outing
176
การเดินทาง
ส�ำหรับการเดินทางสู่เขาพะเนินทุ่งนั้นจากสภาพ ถนนที่ ค ่ อ นข้ า งล� ำ บากเนื่อ งจากเป็ น ทางลาดชั น เป็ น ส่วนใหญ่ รถยนต์ที่ ใช้จึงต้องสมบุกสมบันกันสักนิด แต่ทางอุทยานได้มีบริการรับส่งผู้โดยสารเป็นเวลาดังนี้ 1. วันธรรมดาจะเปิดให้รถขึ้นและลงแบ่งออกเป็น 3 รอบ เวลาขึ้น รอบที่ 1 ตั้งแต่เวลา 05.00-08.00 น. รอบที่ 2 ตั้งแต่เวลา 11.00-12.00 น. รอบที่ 3 ตั้งแต่เวลา 15.00-16.00 น. เวลาลง รอบที่ 1 ตั้งแต่เวลา 09.00-10.00 น. รอบที่ 2 ตั้งแต่เวลาเวลา 13.00-14.00 น. รอบที่ 3 ตั้งแต่เวลา 17.00-18.00 น. 2. ช่วงเทศกาลที่ก�ำหนดเวลาขึ้นลงไว้ 2 รอบ เวลาขึ้น รอบที่ 1 ตั้งแต่เวลา 05.00-08.00 น. รอบที่ 2 ตั้งแต่เวลา 13.00-15.00 น. เวลาลง รอบที่ 1 ตั้งแต่เวลา 10.00-12.00 น. รอบที่ 2 ตั้งแต่เวลา 17.00-18.00 น.
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
177 iSSUE 43 APRIL 2012
Outing
178
บ้านกร่างแคมป์ ระหว่างการเดินทางต้องผ่านบ้านกร่าง แคมป์ ซึ่ ง เป็ น หน่ ว ยพิ ทัก ษ์ อุ ทยานแห่ ง ชาติ พิเศษอยูใ่ นบริเวณอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ที่ แ ห่ ง นี้ เ ป็ น นอกจากจะมี สั ต ว์ ห ลายประเภท อาศัยอยู่ แต่ในการกล่าวถึงเป็นจ�ำนวนมากของ นักท่องเที่ยวคงเป็นแหล่งชมผีเสื้อนานาชนิด โดยเฉพาะในช่วงหน้าฤดูร้อนที่ตามโขดหินตาม ล�ำธารเป็นจ�ำนวนมาก จากการส�ำรวจพบว่า แก่งกระจานมีผเี สือ้ กว่า 289 ชนิด โดยมี 6 ชนิด เป็นสัตว์ปา่ ทีอ่ ยูใ่ นสถานภาพเป็นแมลงคุม้ ครอง ได้แก่
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
ผีเสื้อรักแร้ขาว (Papilio protenor) ผีเสื้อยางพญากอตเฟรย์ (Stichophthalma) ผีเสื้อหางติ่งสะพายเขียว (Papilio palinurus) ผีเสื้อถุงทองป่าสูง (Troides helena) ผีเสื้อถุงทองธรราดา (Troides aeacus) ผีเสื้อนางพญาพม่า (Stichophthalma louisa)
นอกจากนี้ นั ก ท่ อ งเที่ ย วยั ง สามารถ ติดต่อทางอุทยานเพื่อขอท�ำกิจกรรม ท�ำโป่ง ซึ่งเป็นการน�ำเอาเแร่ธาตุหลายๆ ชนิดที่มีความ จ� ำ เป็ น ส� ำ หรั บ สั ต ว์ ม ารวมเป็ น พื้ น ที่ เ ดี ย วกั น เพื่อให้สัตว์ป่าที่อาศัยในอุทยานได้มากินเป็น อาหารซึ่งจ�ำเป็นต่อการด�ำรงชีวิตของสัตว์ป่า
TSD eMag
179 iSSUE 43 APRIL 2012
Outing
180
เขาพะเนินทุ่ง ไม่นานนักผมก็มาถึงบริเวณทีพ่ กั ซึง่ ไม่ไกลมากจากจุดชมวิวพะเนินทุง่ ส�ำหรับเขาพะเนินทุ่งอยู่ห่างจากที่ท�ำการอุทยานแก่งกระจานประมาณ 50 กิโลเมตร อยู่สูงจากระดับน�้ำทะเลประมาณ 1,000 เมตร มีสภาพอากาศ หนาวเย็นตลอดปีและในเวลานี้ก็ใกล้หกโมงเย็น อากาศหนาวๆ เหงาๆ เริม่ มาเยือนแต่พระอาทิตย์กลับทอแสงแดดออกมาเป็นเส้นสายอย่างอบอุน่ ให้คณะของเราบันทึกภาพจนลืมเวลาทานอาหารเย็นไปเลย ทีจ่ ดุ ชิมวิวพะเนินทุง่ แห่งนีม้ คี วามพิเศษอยูอ่ ย่างหนึง่ คือเป็นจุดทีเ่ ห็น พระอาทิตย์ตกได้ ในช่วงเย็น ส่วนช่วงเช้าบริเวณนีจ้ ะเต็มไปด้วยทะเลหมอก ซึง่ ไม่จำ� กัดเฉพาะฤดูหนาวเท่านัน้ แต่ทนี่ เี้ ขามีทะเลหมอกให้เราชมตลอดทัง้ ปี เลยทีเดียวเชียว
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
181 iSSUE 43 APRIL 2012
Outing
182
ของฝากขามาโคร ผมตั้งค�ำถามก่อนไปว่าผืนป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ ขนาดนี้จ�ำนวนแมลงก็น่าจะเยอะไม่ใช่เล่นจึงตัดสินใจหิ้วเลนส์ มาโครตัวโปรดไปด้วยและก็ไม่ท�ำให้ผิดหวังเมื่อยังพอดีแมลง แปลกหน้าแปลกตาบ้าง แต่ยอมรับว่าแมลงทีน่ คี่ อ่ นข้างน้อยไป สักนิด อาจจะเป็นเพราะความเป็นหน้าร้อนด้วยหรือเปล่าหนอ! TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
183 iSSUE 43 APRIL 2012
Outing
ส�ำหรับเขาพะเนินทุง่ มีจดุ ชมทะเล หมอกยอดนิยมสองต�ำแหน่งด้วยกัน คือจุดชมวิวพะเนินทุ่งและ กม.36 ซึ่ง จุดดังกล่าวสามารถเดินทางเพื่อเข้าชม ได้เลย แต่ถ้าจะพิชิตยอดเขาพะเนินทุ่ง ที่มองเห็นทิวทัศน์ทั้งหมดนั้นต้องเดิน หลายวันกว่าจะถึงครับ
จุ ด ชมวิ ว พะเนิ น ทุ ่ ง ทะเล หมอกหน้าร้อน
นาฬิกาปลุกผมแต่เช้าเป็นสัญญาณ ว่าให้รู้ว่าผมต้องมาบันทึกภาพทะเลหมอก หน้าร้อนให้ได้ ผมกลับไปทีจ่ ดุ ชมวิวพะเนิน ทุ่งอีกครั้งครับ จากที่บอกไปข้างต้นแล้ว ว่าทีน่ มี่ คี วามพิเศษอย่างไร ฟ้าวันนีป้ ลอดโปร่ง มาก อุณหภูมเิ ย็นก�ำลังดีประมาณ 20 องศา
ต้ น ๆ หมอกวั น นี้ ค ่ อ นข้ า งหนาและทึ บ ครับ ซึ่งเจ้าหน้าที่บอกมาว่าหากวันไหน โชคดี ล มแรง เราจะเห็ น หมอกพริ้ ว ไหว ตามสายลมราวกับมันเต้นร�ำยังไงยังงัน้ เลย แถมยังบอกอีกว่านี่เป็นแค่ออเดิร์ฟทะเล หมอกเท่านั้น เอาล่ะสิ อาหารจานหลัก
ที่พี่เจ้าหน้าที่บอกจะหน้าสนใจขนาดไหน ขอผมเก็ บ กล้ อ งและจิ บ กาแฟอุ ่ น ๆ ก่อนล่ะครับ
แล้ ว จุ ด นี้ ยั ง มี น กอาศั ย อี ก นั บ ไม่ ถ ้ ว น เพราะช่วงเวลาที่ผมอยู่ได้เห็นสัตว์สงวน หาดูยากอย่างนกเงือกบินผ่านอยู่ไกลตา ไม่ต้องถามนะว่าถ่ายได้รึเปล่าเพราะจาก ภาพผมติดเลนส์ช่วงไหนอยู่คงไม่ต้อง สงสัย
จุดชมวิวพะเนินทุ่งที่ ห่างจาดบริเวณกาง เต็นท์ไม่ไกลนัก
184
จุดชมวิว กม.36 ถัดจากจุดชมวิวพะเนินทุ่งไม่ไกล มีอีกจุดเรียกกันว่า จุดชมวิว กม. 36 ครับ ณ จุ ด นี้ ท� ำ ให้ เราได้ เ ข้ า ใกล้ ห มอกมาก ขึ้นเมื่อความหนาแน่นตัวหมอกท�ำให้ผม นึกถึงอารมณ์ทคี่ นุ้ เคยแบบภาคเหนืออย่าง เชียงใหม่เลยทีเดียว นอกจากทะเลหมอก
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
185 iSSUE 43 APRIL 2012
Outing
186
มุมมอง ทะเลหมอกสุดสายตา ณ จุดชมวิว กม.36
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
187 iSSUE 43 APRIL 2012
Outing
188
ก่อนจะกลับฝากเอาไว้สักนิด ไม่วา่ เราจะมาในฐานะช่างภาพหรือนักท่องเทีย่ วก็ดี ผมอยากจะ ฝากไว้เรื่องของการเคารพสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วด้วยครับ แม้วา่ เราอาจเพิม่ หรือสร้างอะไรไม่ได้ แต่ขออย่าท�ำลายก็พอครับ ธรรมชาติเหล่านีม้ ชี วี ติ ซึ่งเราต้องเกื้อกูลกันทั้งสองฝ่าย แล้วสิ่งสวยงามทั้งหลายก็จะอยู่คู่กับ เราไปนานแสนนานครับ
TARADOL CHITMANCHAITHAM
©
TSD eMag
189 iSSUE 43 APRIL 2012
Outing
190
TSD eMag
เนื้อหาทั้งหมดสงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ โดย บริษัท ทางสะดวก (ไทย) จ�ำกัด 123 อาคารซันทาวเวอร์ส บี ชั้น 34 ห้อง 3402 ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
ติดต่อ : tsdmag@tsdmag.com โทร : 0 2617 9852-3 แฟกซ์ : 0 2617 9854
www.tsdma g.co m