โลกอุดร ภิกขุ

Page 1


1

คำบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ ตัง พุทธัง อะภิปูชายะมิ อิมินา สักกาเรนะ ตัง ธัมมัง อะภิปชู ะยามิ อิมินา สักกาเรนะ ตัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ

ปุพพภาคนมการ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ


2

ไตรสรณาคมน์ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิเต (เม) โหตุ สัพพะทา นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิเต (เม) โหตุ สัพพะทา นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิเต (เม) โหตุ สัพพะทา


3


4

หลวง​ปู​บรม​ครู​เทพ​โลกอุดร​


5

หลวง​ปู​สิงขร


6

พระ​ธรรมฐิติ​ญาณ


7

อนุโมทนา​บุญ พระสงฆ คือส​ าวก​ของ​พระ​สมั มาสัมพ​ ทุ ธเจา เปนผ​ นู ำ​พระธรรม​คำ​สงั่ สอน​ของ​ พระบรมศาสดา​มา​ศกึ ษา​ปฏิบตั ิ และ​นำ​ออก​เผยแพรเ​พือ่ ป​ ระกาศ​ศาสนา ใหแ​ กเ​วไนย​ สัตวท​ งั้ หลาย ไดเ​ขาใจ​ใน​หลักธรรม​คำ​สงั่ สอน​ของ​พระองค เพือ่ ใหด​ ำรง​คงไวใ​น​อายุ​ ของ พระศาสนา ๕๐๐๐ พระ​พรรษา ตามทีพ​่ ระพุทธองคท​ รง​ตงั้ มัน่ ไ​ว ดังพ​ ทุ ธว​จน​ท​ี่ ทรง​ตรัสว​ า “พระสงฆเ​ปนเ​นือ้ นาบุญข​ องโลก” พระสงฆท​ งั้ ส​ องฝาย​คอื ฝาย​คนั ถธุระ และฝาย​วิปสสนา​ธุระ​ก็ได​ทำหนาที่​ใน​การ​เผยแพร​พระศาสนาตาม​หนาที่​ของ​ตน แม​ยุคสมัย​จะ​เปลี่ยนแปลง​ไป มี​ความ​เจริญ​กาวหนาใ​น​เทคโนโลยีอ​ ยาง​รวดเร็ว แต​ ผูท​ ป​ี่ ระพฤติป​ ฏิบตั ธ​ิ รรม​กจ​็ ะ​เห็นไ​ดว​ า พระธรรม​คำ​สงั่ สอน​ของ​สมเด็จพระ​สมั มาสัม​ พุทธ​เจาที่​ได​ทรง​ตรัส​ไว​เมื่อ ๒๖๐๐ ป​ที่ผานมายังคง​ใชได​ทุกๆ​ ยุคสมัย จวบจน​ ปจจุบัน หลวง​ปู​ตน​บุญ ติ​กขปญโญ ทาน​ก็​เปน​พระสงฆ​อีก​รูป​หนึ่ง ที่​ได​ดำเนิน​ตาม​ รอยพระบาท​ของ​สมเด็จพระ​สมั มาสัมพ​ ทุ ธเจาด​ ว ย​ศรัทธา​ทแ​ี่ นวแน นับตัง้ แตท​ า น​ ไดรบั ม​ อบหมายใหม​ า​พฒ ั นา​วดั ป​ า ท​ งุ ก​ ลุ า​เฉลิมร​ าช ทาน​ไดม​ ป​ี ณิธาน​ทม​ี่ งุ มัน่ ทุม เท​ แรงกาย​แรงใจ ใน​การ​อบรมสัง่ สอน เผยแพรใ​น​พระธรรม​คำ​สงั่ สอน​ของ​พระพุทธองค และ​ดำเนินการ​สราง​ถาวรวัตถุเ​พือ่ ส​ บื สาน​พระพุทธศาสนา ดวย​ความ​วริ ยิ ะ​อตุ สาหะ​ โดย​ไมยอทอ​ตอ​ความ​ยากลำบาก แม​จะ​มี​อุปสรรค​ที่​มากมาย​นานัปการ ทาน​ก็​ ยังคง​กาว​สู​ความ​สำเร็จ นำ​ความ​เจริญ​ใน​ทุกๆ ​ดาน​มาสู​ทองทุง​กุลา​รองไห​แหงนี้ อาตมา​ขอ​อนุโมทนา​ใน​บุญกุศล​ที่​ทาน​ทั้งหลาย​ได​รวมกัน​บำเพ็ญม​ า ขอ​จตุรพิธพร​ ชัยจ​ ง​บงั เกิดแ​ กท​ กุ ๆ ท​ า น ใหไ​ดม​ นุษยส​ มบัติ สวรรคส​ มบัติ จน​เขาถึงน​ พิ พาน​สมบัติ ทุกประการ

พระ​ธรรมฐิติ​ญาณ

เจาคณะ​ภาค ๑๐ (ธ) เจาอาวาส​วัด​บึง​พระ​ลาน​ชัย พระอารามหลวง จังหวัดรอยเอ็ด


8

พระครู​ศรี​วิริย​โสภณ


9

มหาบารมี พระสงฆ​เปน​ผูสืบทอด​พระศาสนา เปน​ผู​เผยแพร​พระธรรม​คำ​สั่งสอน​ ของ​สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา เปน​ผู​ที่​ปฏิบัติดี ปฏิบัติ​ชอบ งดงาม​ไป​ ดวย​ศีล สมบูรณ​ไป​ดวย​คุณธรรม มี​สติปญญา​เฉลียวฉลาด แมใ​น​ปจจุบัน​ จะ​มี​ความ​เจริญ​กาวหนา​ทาง​เทคโนโลยี ที่​เจริญ​กาวหนา​ไป​อยาง​มาก แต​ พระสงฆ​ทั้งหลาย​ก็​ยังคง​ดำเนิน​รอย​ตาม​พระธรรม​คำ​สั่งสอน​แหง​พระ​ สัมมาสัม​พุทธเจา สืบทอด​ตอๆ​กัน​มา นับตั้งแต​ได​รูจัก หลวง​ปู​ตน​บุญ ติ​กขปญโญ และ​มี​โอกาส​ได​เขารวม​ พิธี​ทาง​ศาสนา​ตางๆ ทำให​เห็น​ความ​เปลี่ยนแปลง การ​พัฒนา วัด​ปา​ทุง​ กุลา​เฉลิม​ราช​แหงนี้ จาก​วัด​ทรี่​ กราง กลาย​เปน​วัด​ที่​เจริญ​อยาง​รวดเร็ว​และ​ สวยงาม นอกจากนี้​ทาน​ยัง​อบรม​ศีลธรรม จริยธรรม ให​กับ​เยาวชน​เปน​ จำนวน​มาก เพือ่ ใหเ​ติบโต​เปนค​ นดีข​ อง​สงั คม จน​เปนทีป​่ ระจักษ​ อ ยาง​ชดั แจง​ ถึงศีล​ า​จริยวัตร ทีม​่ ค​ี วาม​มงุ มัน่ ใน​การ​ปฏิบตั ง​ิ าน​เพือ่ พ​ ระพุทธศาสนา​อยาง​ แทจริง ดวย​กำลัง​แหง​มหา​ศรัทธา ดวย​ปญญา ​และ​มหา​บารมี​ของ​ทาน แม​ จะ​มี​ความ​เหน็ดเหนื่อย​ยากลำบาก ไมวา​จะ​หนักหนา​สาหัสเ​พียงใด ทาน​ก็​ ไมเคย​ยอทอ​ตอ​อุปสรรค​ทั้งปวง อาตมา​ภาพ​ขอ​อนุโมทนา​ใน​การ​สราง​บุญกุศล​ สราง​บารมีกับ​ทาน​ ทั้งหลาย และ​ขอใหท​ าน​ทั้งหลาย​เจริญ​ดวย อายุ วรรณะ สุขะ พละ เจริญ​ ดวย​ปฏิภาณ ธนสารสมบัติ เกิดด​ วงตา​เห็นธ​ รรม สำเร็จม​ รรคผล​แหงน​ พิ พาน​ เทอญ.

พระครู​ศรี​วิริย​โสภณ

เจาคณะ​อำเภอ​เมือง​รอยเอ็ด (ธ)

วัด​บึง​พระ​ลาน​ชัย พระอารามหลวง จังหวัด​รอยเอ็ด


10


11

คำปรารภ สมเด็ จ พระ​สั ม มาสั ม ​พุ ท ธเจ า ทรง​ต รั ส รู  ​อ นุ ต ร​สั ม มา​ สัมโพธิ​ญาณ​อัน​ประเสริฐ และ​ทรง​ไดโปรด​สั่งสอน​เวไนย​สัตว​ ทั้งหลาย ท​ รง​ประกาศ​พระศาสนา​ของ​พระองคไ​ว ๕,๐๐๐ ป ประมวล​พระธรรม​ คำ​สั่งสอน​ของ​พระพุทธองค​ได ๘๔,๐๐๐ พระ​ธรรมขันธ บัดนี้​กาล​เวลา​ ลวงเลย​สิ้น​แลว ๒๕๕๖ ป เรา​ทั้งหลาย​ก็ไดร​ ับทราบ​ขอมูลใ​น​เรื่องราว​จาก​ ทาง​ประวัตศ​ิ าสตร แตท​ า น​ทงั้ หลาย​ทราบ​หรือไม วาก​ าล​เวลา​ผา นมา​ชา นาน จน​ลวงเลย​มาถึง​ปจจุบัน​นี้ เหตุใด​รากฐาน​แหง​พระพุทธศาสนา​ถึง​ยัง​ดำรง​ คงอยู พระธรรม​คำ​สงั่ สอน​ของ​สมเด็จพระ​สมั มาสัมพ​ ทุ ธเจา ไมไดถ​ กู บ​ นั ทึก​ ไว​เพียง​เพื่อให​มี​คุณคา​ทาง​ประวัติ​ศาสตร หรือ​เพียงแค​ศึกษา​ทางวิชาการ​ เทานัน้ แตเ​รา​ตอ ง​ลงมือป​ ฏิบตั ต​ิ าม​เทานัน้ จึงจ​ ะ​เห็นผ​ ล​อนั ย​ งิ่ ใหญม​ หาศาล เพราะ​พระธรรม​ทสี่​ มเด็จพระ​สัมมาสัมพ​ ุทธเจา​ไดท​ รง​ตรัสส​ อน​ไว เปน​สิ่งท​ ี่​ เห็น​ไดอ​ ยาง​ชัดแจง สามารถ​ทำการ​พิสูจน​ได​วาม​ ี​อยูจริง เชน ความ​จริงอ​ ัน​ เที่ยงแทส​ ี่ประการ หรือ อริยสัจ​สี่ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค กาล​เวลา​ทห​ี่ มุนเวียน​เปลีย่ นไป มนุษยเ​มือ่ ส​ มัยส​ อง​พนั ก​ วาป​  กับม​ นุษย​ ใน​ปจจุบัน ยังคงมีท​ ุกข มีอ​ วิชชา​เหมือนกัน แม​ความ​เจริญ​ในดาน​ตางๆ​จะ​ กาวหนา​ไปไกล​เพียงใด​ก็ตาม แต​ความ​เชื่อ ความ​ศรัทธา​ที่​แตกตางกัน การ​


12 ยอมรับข​ อง​แตละบุคคล​ไมเ​ทากัน ความ​เขาใจ​ใน​พระธรรม​ยอม​ไม​เทากัน เมื่อ​พระพุทธศาสนา​อุบัติขึ้น พระธรรม​คำ​สั่งสอน ควร​แก​การ​สดับ​ฟง ควร​ แกก​ าร​ปฏิบตั ต​ิ าม พิสจู นไ​ดด​ ว ย​ตน​เอง ถาจ​ ติ เ​ปดรับพ​ จิ ารณา​ธรรม​ทงั้ หลาย ความ​สำเร็จ​ก็​จะ​บัง​เกิดขึ้น​ได​อยาง​แนนอน ดัง​พุทธว​จน​ที่​ตรัส​วา “โลก​ ไมเคย​วาง​จาก​พระอรหันต” นั้น เปนเรื่อง​ที่​ยืนยัน​วา การ​ปฏิบัติ​เพื่อค​ วาม​ หลุดพน เปนเรือ่ ง​ทแ​ี่ มจ​ ะ​ยาก แตท​ กุ คน​สามารถ​ทำไดไ​มวา ย​ คุ สมัยใ​ด โดย​ การ​ปฏิบัตใิ​ห​รูแจง​ใน​เหตุ​และ​ผล​ดวย​ตน​เอง ดังนั้น​การ​จะ​หยั่งร​ ากฐาน​ของ​ พระพุทธศาสนา​ใหด​ ำรง​สบื ตอไ​ปไดน​ นั้ ก็เ​ปรียบ​เสมือน​การ​ปลูกต​ น ไม ตอง​ มี​การ​คัดเลือก​เมล็ดพ​ ันธุ คัดเลือก​ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และ​สิ่งแวดลอม จากนัน้ จ​ งึ เ​พาะปลูกเ​มล็ดพ​ นั ธุแ​ หงพ​ ระพุทธศาสนา รอ​รากฐาน​เจริญเ​ติบโต​ จน​มั่นคง แลวแ​ ตกหนอ แผ​กิ่ง​กาน ออก​ดอกผล​ตอไป หนังสือ “โลกอุดร​ภิกขุ” นี้ นำเสนอ จริยวัตร​อัน​งดงาม ความ​ศรัทธา​ ที่​ยิ่งใหญ ปณิธาน​ที่​มั่นคง​ใน​การ​บำเพ็ญ​เพียร เพื่อ​วิถี​แหง​การ​หลุดพน เพื่อ​เขาสู​กระแส​ธรรม​อันวิ​มุติ​สุข จน​สำเร็จ​อรหันต​ผล ของหลวง​ปู​บรมครู​ เทพ​โลกอุดร ผู​เปรียบ​เสมือน​เปน​เมล็ด​พันธุ​พุทธศาสนา​อัน​สำคัญยิ่ง ซึ่ง​ สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา​ทรง​ปลูก​ไว เพื่อ​ทำหนาที่​สืบตอ​พระศาสนา​ ของ​พระองค ให​แผ​กิ่ง​กาน​สาขา แผ​รมเงา​ของ​พระพุทธศาสนา นำพา​มวล​ มนุษยชาติ​เขาถึง​กระแส​แหง​บารมี​ธรรม สำเร็จม​ รรคผล​นิพพาน​สืบไป พรอมกัน​นี้​ยังนำเสนอ​ภาพ​ความ​กาวหนา​ของ​โครงการ​ตางๆ ทาง​ ดาน​ศาสนสถาน ภายใน​วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช​ รวมถึง​ศาสนกิจท​ ี่​จัด​ขึ้น​ใน​ ป พ.ศ. ๒๕๕๕ อาตมา​ขอ​อนุโมทนา​ใน​บุญกุศล​ทั้งหลาย​ทั้งปวง​ที่​ทาน​ทั้งหลาย​ได​ กระทำ​มา และ​ขอใหท​ กุ ทาน​จง​เจริญท​ งั้ ท​ างโลก​และ​ทางธรรม บารมีม​ าก​ลน เกิดด​ วงตา​เห็นธ​ รรม จน​สำเร็จ​มรรคผล​นิพพาน​ใน​อนาคตกาล​ดวย​เทอญ.

หลวง​ปู​ตน​บุญ ติ​กฺขปญโญ


13

เพื่ออะไร ภาวะของจิต... ที่ดิ้นรนขวนขวายในโลกนี้ ช่างน่าเวทนาเหลือเกิน เรามิปลดปล่อยตัวเรา แต่เรากับกักขังตัวเราเองไว้ ทุกข์มีไว้ให้พิจารณาค้นหา มิใช่มีไว้เพื่อทุกข์เพียงอย่างเดียว


14

สารบัญ​ คำอนุโมทนาบุญ (พระธรรมฐิติญาณ) ๗ คำอนุโมทนาบุญ (พระครูศรีวิริยโสภณ) ๙ คำปรารภ (หลวงปู่ต้นบุญ) ๑๑ วิถีธรรมของหลวงปู่บรมครูเทพโลกอุดร ๑๗ การสร้างบุษบกพระสิเนรุราช ๑๒๐ ศาสนสถาน ๑๓๐ ทวารบาล องค์พระมหาธาตุเจดีย์ ๑๓๓ ศรีทศพลญาณเฉลิมราชชัยมงคล ลานเจดีย์ศรีทศพลญาณเฉลิมราชชัยมงคล ๑๔๐ กำแพงแก้ว ๑๔๓ วิหารวิสุทธิมรรค ๑๔๖ หอระฆัง ๑๔๙ โรงเก็บน้ำ (แท๊งค์น้ำ) ๑๕๒ กุฎิพระสงฆ์ กุฏินิโรธ ๑๕๔ อานิสงส์​การตางๆ​ ๑๕๘


15

ศาสนกิจ ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ๑๖๐ ธุดงค์ป่าช้า ๑๖๑ งานโพธิญาณแห่งการตื่นรู้ ๑๘๔ ตามรอยพระธรรมฑูตไปพม่า ๑๘๖ งานนิโรธ ๑๙๒ ตามวิถีแห่งพุทธะ ๑๙๘ อินเดีย – เนปาล งานบุญประทายข้าวเปลือก ๒๓๖ ตารางกิจนิมนต์ หลวงปู่ ๒๕๕๖ ๒๔๖ กำหนดการนิโรธ ปี ๒๕๕๖ ๒๕๐ ธรรมปรับจิต ๒๕๘ อัษราสักการะ... ๒๘๔ คณะกรรมการ​ผูจัดทำหนังสือ​ ๓๐๐ ธนาคารบุญ ๓๐๔ แผนที่ไปวัดป่าทุ่งกุลาเฉลิมราช ๓๐๖


16


17

วิถีธรรม

ของหลวง​ปูบรมครู​ เทพ​โลกอุดร เรียบเรียง​โดย...ธุลี​รอง​บาท

เรือ่ ง​ของหลวง​ปใ​ู หญบ​ รมครูเ​ทพ​โลกอุดร เปนเรือ่ ง​ทล​ี่ กึ ลับ มี​ที่มา​ที่​ไป​ตางกัน​อยาง​มากมาย แม​ใน​โลก​นี้​จะ​มี​เรื่องราว​ตางๆ ​ที่​ลึกลับ​ซับซอน ที่​ยังคงเปน​ ปริศนา​รอ​การ​พิสูจน แต​ก็​มี​ครูบาอาจารย​หลายๆ ​ทาน บุคคล​อีก​ หลายๆ​ คนที่​ได​เกี่ยวของ สัมผัส หรือ​ประสบ​พบเจอ​หลวง​ปู​ใหญ​ บรมครู​เทพ​โลกอุดร เรื่อง​หลวง​บรมครู​เทพ​โลกอุดร​ หรือ​หลาย​ทาน​จะ​เรียกวา​ หลวง​ปใ​ู หญ นีเ​้ ปนเรือ่ ง​ทก​ี่ ลาว​ไดว​ า เปน​‘ปจจัตตัง’ คือร​ ไ​ู ดเ​ฉพาะตน​ เทานัน้ เฉกเชนเ​ดียว​กบั เ​รือ่ ง​ลกึ ลับท​ งั้ หลาย​ทเ​ี่ ปนต​ ำนาน เชน เรือ่ ง​ พญานาค เปนตน เรื่องราวอัต​ชีวประวัติ​ของหลวง​ปู​ใหญ ได​มี​ผู​ รวบรวม​ไว​อยาง​แพรหลาย​พอสมควร ตามที่​แตละ​ทาน​ได​ประสบ​


18 พบกันม​ า เรือ่ งราว​ของหลวง​ป​ู ใหญ​เปน​เรื่องราว​ที่​นา​ติดตาม น า ​ค  น หา และ​น  า ศึ ก ษา​ อยางยิ่ง บางทาน​อาจ​ได​เคย​ อาน​เรื่องราว​ของหลวง​ปู​ใหญ​ ใน​ ‘สามเณร​นอย​เที่ยว​ธุดงค’ หรือ​ “มรรคา​ปาฏิหาริย’ แต​ ใน​ประวัตข​ิ องหลวง​ปใ​ู หญท​ ไ​ี่ ด​ เคย​จัดทำ​ไป​นั้น ยัง​มีความผิด​ พลาดคลาด​เคลื่อนกัน​อยู​พอ สมควร เนื่องจาก​การ​แกะ​เทป​ ผิดพลาด การ​สื่อสาร​ที่​คลาด​ เคลื่อน ใน​สมัยกอน​อปุ กรณไ​มท​ นั สมัย หรือข​ อ มูลไ​มเ​พียงพอ บางครัง้ ​ ผูจัดทำ​หรือ​ผูให​ขอมูล​อางอิง​เชื่อถือ​แต​ขอมูล​ทาง​หนึ่ง​ทาง​ใด​มาก​ เกินไป บาง​ฝา ย​กอ​็ า งอิงห​ รือเ​ชือ่ แ​ ตส​ งิ่ ท​ จ​ี่ บั ตอง​ไมได บาง​ฝา ย​กอ​็ า ง​ แตห​ ลักฐาน​ทางวิชาการ แตเ​รือ่ งราว​ทท​ี่ า น​ทงั้ หลาย​กำลังจ​ ะ​ไดร​ บั รู​ ตอไปนี้ จะ​เปน​เรื่องราว​ของหลวง​ปู​ใหญใน​แงมุม​ที่​ทาน​ไมเคย​ได​ อาน​มา​กอน ผู  เขี ย น​ไ ด ​เ พี ย ร​พ ยายาม​ค  น คว า ​ทั้ ง ​ท าง​จิ ต วิ ญ ญาณ ทาง​ วิทยาศาสตร และ​ทาง​ประวัติ​ศาสตร​โบราณคดี​ ทั้ง​ของ​ไทย ลาว เขมร บันทึกจ​ าก​สมุดขอย หนังสือใ​บ​ลาน​โบราณ​ของ​อาณาจักร​ลา น​ ชาง​ที่​คัดลอก​ตอกัน​มา​นับ​พันป หลัก​ศิลาจารึก​ของ​อารยธรรม​ลุม​


19 แมน้ำโขง​โบราณ บันทึก​บางสวน​ที่​รอดพน​จาก​การ​ถูก​ทำลาย​ของ​ นาลัน​ทา และ​พระไตรปฎก ที่​สำคัญ ขาพเจา​ไดรับ​การ​ถายทอด​เรื่องราว​สวนสำคัญ​ทั้ง​ หลายอยาง​ละเอียด​โดย​ตรงจาก​หลวง​ปต​ู น บ​ ญ ุ ติก​ ขฺ ปญโญ ประธาน​ สงฆ วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช อ.เกษตรวิสัย จ.รอยเอ็ด โดย​หลวง​ปู​ตน​บุญ​เมื่อ​ครั้ง​ทาน​บรรพชา​เปน​สามเณร ทาน​ได​ รับใชใ​กลช​ ดิ แ​ ทบ​เบือ้ ง​บาทหลวง​ปใ​ู หญแ​ ละ​ไดเ​รียนรูส​ รรพ​วชิ า​จาก​ หลวง​ปู​ใหญ​ทาน​เปน​ระยะเวลา​เกือบ ๓ ป จึง​เปนการ​สัมผัส​จาก​ ประสบการณ​ตรง​ใน​ชีวิตจริง ไมใช​เพียง​เรื่องเลา​จาก​นิมิต​หรือ​จาก​ ตำนาน​ปากตอปาก สายสัมพันธ​ระหวาง​ครูบาอาจารย​และ​ศิษย​นี้​ ได​สืบสาน​มา​จน​ทุกวันนี้ ​ เรื่องราว​หลาย​บท​หลาย​ตอน​ของหลวง​ปู​ใหญ ที่​ผูเขียน​ได​ รวบรวม​และ​นำมา​เรียบเรียง​ไว​นี้ อาจ​ถือไดวา​มี​รายละเอียด​ที่​ สมบูรณ​ชัดเจน มี​หลักฐาน​ยืนยัน​ได​จริง​ตาม​ประวัติ​ศาสตรมาก​ ที่สุด​เทาที่จะ​รวบรวม​ได​ใน​ปจจุบัน​นี้ และ​เนื้อหา​ที่​ได​นำมา​พิมพ​ นี้​จะ​เปน​เพียง​ตอน​หนึ่ง​ใน​ชวง​ชาติ​ภพ​แรก​ของหลวง​ปู​ใหญ​ทั้ง​สาม​ เปน​สวนใหญ ทาน​ทั้งหลาย​จะ​ได​อาน​เรื่องราว​ของหลวง​ปู​ใหญ​ใน​เนื้อหา​ที่​ สมบูรณ​ได​ใน​โอกาส​ตอไป


20

ที่มา​แหง​หลวง​ปู​ใหญ​ บรมครู​เทพ​โลกอุดร หลวง​ปู​ใหญ​บรมครู​เทพ​โลกอุดร ทาน​เปน​พระสุ​ปฏิปนโน​ที่​ ยิ่งใหญ​ใน​ยุค​ของ​พระ​สม​ณ​โค​ดม มีอายุ​ยืนยาว​มา​สอง​พัน​กวา​ป​ ทาน​มี​สรรพ​วิชา​และ​บารมี​ธรรม​ที่​แกรงกลา​สามารถ ดำรง​คงอยูได​ ดวย​กำลัง​แหง​การ​เจริญ​อิทธิบาท​สี่ ถึงแมท​ า น​จะ​ทรง​อภิญญา​สมาบัตแ​ิ ละ​มค​ี วาม​สามารถ​เหนือโ​ลก แต​ทาน​ก็​ไมเคย​จะ​ทนง​ตน​วา​ทาน​ยิ่งใหญ ทาน​ปฏิบัติตน​เปนปกติ​ ธรรมดา ดำเนินก​ จิ วัตร​แหงส​ งฆ และ​สบื สาน​รบั ใชพ​ ระศาสนา​อยาง​ เต็มกำลัง​บารมี​ของ​ทาน เมื่อ​จะ​กลาว​ความ​ถึง​ชาติภูมิอัต​ชีวประวัติ การ​กำเนิด​ของ​ หลวง​ปใ​ู หญน​ นั้ ผูเ ขียน​จงึ ต​ อ ง​ขอ​เรียบเรียง​เรือ่ งราว​ของหลวง​ปใ​ู หญ​ กอน วา​หลวง​ปู​ใหญ​มี​ความ​เปนมา​อยางไร ​เพื่อ​ความ​ชัดเจน​ของ​ เนื้อเรื่อง​นี้ หลวง​ปู​ใหญ​ หรือ​ที่​เรา​เรียก​กัน​วา​หลวง​ปู​บรมครู​เทพ​โลกอุดร​ ที่​แทจริง​นั้น​มี ๓ องค คือพระพุทธ​รักขิต พระธรรม​รักขิต และ​ พระ​สังฆ​รักขิต (โดย​หลวง​ปู​ตน​บุญ​จะ​เรียก​หลวง​ปู​ใหญ​ทั้ง ๓ วา​ หลวง​ปใ​ู หญท​ งั้ หมด แตอ​ งคท​ ห​ี่ ลวง​ปต​ู น บ​ ญ ุ ไ​ป​อยูด​ ว ย​คอื พระธรรม​ รักขิต) และ​ความ​สัมพันธ​ของหลวง​ปู​ใหญ​ทั้ง​สาม​องค​นั้น​มี​ความ​ เกี่ยวเนื่อง​กัน​มา​กอน ผูเขียน​จะ​กลาว​ถึง​ชาติภูมิอัต​ชีวประวัติ​การ​ กำเนิด​ของหลวง​ปู​ใหญ​ทั้ง ๓ องค รวมทั้งสิ้น​สอง​ชาติ​ดวยกัน


21

ชาติ​ที่ ๑

คื อ ภพ​ช าติ ​ส มั ย ​พุ ท ธกาล​ที่ ​ สมเด็จพระ​สมั มาสัมพ​ ทุ ธเจาย​ งั ด​ ำรง​ พระ​ชนม​ชีพ​อยู และ​ได​เสด็จ​มายัง​ ดินแดน​แถบ​แหลมทอง​สุวรรณภูมิ​ แหงนี้ โดย​ใน​ชาติน​ นั้ ท​ งั้ ส​ าม​ทา น​เกิด​ เปน​กษัตริย ชื่อ ๑. พญา​อินทปฐ ๒. พญา​ สุวรรณ​ภิงคาร ๓. พญา​คำ​แดง โดย​พญา​ทั้ง​สาม​ทาน​ได​เขาเฝา​ สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธ​เจาที่​ได​เสด็จ​มา​ใน​ครั้งนั้น ซึ่ง​เปนชวง​ กอน​ทส​ี่ มเด็จพระ​สมั มาสัมพ​ ทุ ธเจาน​ พิ พาน​ราว ๑๐ ป และ​หลังจาก​ สมเด็จพระ​สมั มาสัมพ​ ทุ ธเจาน​ พิ พาน​ลว ง​ได ๘ ป (พ.ศ.๘) พญา​ทงั้ ​ สาม​ได​สราง​พระ​ธาตุพนม​รวมกัน และ​ได​อธิษฐาน​ขอให​ได​บวช​ใน​ พระพุทธศาสนา​และ​สำเร็จ​เปน​พระอรหันต

ชาติ​ที่ ๒

คือ​พญา​ทั้ง ๓ กลับ​ชาติ​มา​เกิดใหม​หลัง​พุทธกาล ๑๗ ป (พ.ศ.๑๗) เปน​ลูก​กษัตริย​ทั้ง​สาม​ทาน ตอมา​ทั้ง​สาม​ทาน​ได​บวช​กับ​ พระมหากัสสป​เถระ​ และ​บรรลุ​เปน​พระอรหันต จึง​เปนตน​กำเนิด​ ของหลวง​ปู​ใหญ​ทั้ง​สาม​องค​คือ ๑. หลวง​ปู​พระพุทธ​รักขิต ๒. หลวง​ปู​พระธรรม​รักขิต ๓. หลวง​ปู​พระ​สังข​รักขิต


22

อัต​ชีวประวัติช​ าติ​ที่หนึ่ง

ใน​ภพ​ชาติ​สมัย​พุทธกาล คือใน​ชวง​กอน​ที่​สมเด็จพระ​สัมมา​ สัม​พุทธเจา​ใกล​จะ​เสด็จ​ปรินิ​พาน​นั้น ​พระพุทธองค​ทรง​แผ​ขาย​ แหง​พระ​โพธิญาณ ทรง​ได​ทราบ​ใน​พุทธ​ประเพณี​แหง​พระพุทธเจา​ ทั้งหลาย และ​ทรง​ตรวจดู​อุปนิสัย​ของ​เวไนย​สัตว​พิจารณา​แลว​วา​ พญา​ทั้ง​หา​พระองคจะ​ได​บรรลุ​ธรรม​ใน​กาล​อัน​ใกล และ​จะ​เปน​ผู​ จรรโลง​พระศาสนา​ให​ยั่งยืน​ครบ​หา​พันป​สืบไป สมเด็จพระ​สมั มาสัมพ​ ทุ ธเจาจ​ งึ เ​สด็จม​ าสูแ​ หลมทอง​สวุ รรณภูม​ิ แหงนี้ (เอกสาร​ฝาย​โบราณคดี​สันนิษฐาน​ใกลเคียง​กัน​วา​กอน​ ปรินิพพาน​ราว ๑๐ ป) แมแต​ใน​ตำนานอุ​รังค​ธาตุ​ก็ได​มี​การ​กลาว​ ไว​วา “สมัยห​ นึง่ ใ​น​ปจ ฉิมโ​พธิก​ าล พระพุทธเจาพ​ รอมทัง้ พ​ ระอานนท ไดเ​สด็จม​ า​ทาง​ทศิ ตะวันออกโดย​ทางอากาศ ไดม​ า​ลง​ทดี่ อน​กอนเนา แลว​เสด็จ​ไป​หนอง​คันแท​เสื้อน้ำ (เวียงจันทน) ได​พยากรณ​ไว​วา ใน​ อนาคต​จะ​เกิด​บาน​เมืองใหญ เปนที่​ประดิษฐาน​พระพุทธศาสนา จากนัน้ ไ​ดเ​สด็จไ​ป​ตามลำดับ ไดท​ รง​ประทาน​รอย​พระพุทธบาท​ ไวท​ ี่ โพน​ฉนั (พระบาท​โพน​ฉนั ) อยูต​ รงขาม​อำเภอ​โพนพิสยั จังหวัด​ หนองคาย แลว​เสด็จ​มา​ที่ พระบาท​เวิน​ปลา ซึ่ง​อยู​เหนือ​เมือง​ นครพนม​ปจจุบัน ได​ทรง​พยากรณ​ที่ตั้ง​เมือ​งม​รุกข​นคร (นครพนม) และ​ได​ประทับ​พักแรม​ที่​ภู​กำพรา​หนึ่ง​คืน วันรุงขึ้น​เสด็จ​ขาม​แมน้ำโขง ไป​บิณฑบาต​ที่​เมือง​ศรี​โค​ตบูร พักอยูที่​รม​ตน​รัง​ตน​หนึ่ง (พระธาตุ​อิงฮัง​เมือง​สุวรรณ​เขต) แลว​ กลับมา​ทำ​ภัตกิจ (ฉันท​อาหาร) ที่​ภู​กำพรา​โดย​ทางอากาศ พญา​


23 อินทร (พระอินทร) ได​เสด็จ​มา​เฝา ​และ​ทูลถาม​พระพุทธองค ถึง​ เหตุ​ที่มา​ประทับ​ที่​ภู​กำพรา พระพุทธองค​ได​ตรัส​วา ​เปน​พุทธประเพณีของพระพุทธเจ้าทั้ง ๓ พระองค์ ๑ ใน​ภัทรกัปป​ที่​นิพพาน​ไปแลว บรรดา​สาวก​จะ​นำ​ พระบรมสารีรกิ ธาตุ มา​บรรจุไ​วท​ ภ​ี่ ก​ู ำพรา พระพุทธองคเ​มือ่ น​ พิ พาน​ แลว พระมหากัสสป ผูเ​ ปนส​ าวก ก็จ​ ะ​นำ​เอา​พระบรมสารีรกิ ธาตุม​ า​ บรรจุไ​ว ณ ทีน่ เ​ี้ ชนกัน จากนัน้ พ​ ระพุทธองคก​ ไ็ ดท​ รง​ปรารภ​ถงึ เ​มือง​ ศรีโ​ค​ตบูร และม​รกุ ข​นคร แลวเ​สด็จไ​ป​หนอง​หาร​หลวง ไดท​ รง​เทศนา​ โปรด​พญา​สุวรรณ​ภิงคาร และ​พระเทวี ประทาน​รอย​พระพุทธบาท​ ไว ณ ทีน​่ นั้ แลวเ​สด็จก​ ลับพ​ ระเชต​วนั หลังจากนัน้ ก​ เ​็ สด็จป​ รินพิ พาน​ ที่​เมืองกุ​สิ​นารา

รูป​การฟ้อนรำบวงสรวงองค์พระธาตุพนม​ จาก​เว็บชมรมศิลปวัฒนธรรมอีสาน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย​ ๑

สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธ​เจาที่​ได​ตรัสรู​แลว​ในอดีต​ทั้ง ๓ พระองค​คือ ๑. พระกกุ​สันโธ​พุทธเจา ๒. พระโก​นาค​มโน​พุทธเจา ๓. พระ​กัสสปะ​พุทธเจา พระ​สัมมาสัม​พุทธเจา​พุทธ​โค​ดม​องค​ปจจุบัน​ของ​เรา​ทั้งหลาย ทรง​เปน​องค​ที่ ๔ ใน​ภัทรกัปนี้​


24 ใน​ภพ​ชาติ​นั้น​หลวง​ปู​พระพุทธ​รักขิต กำเนิด​เปนพญา​อินทปฐ หลวง​ปู​พระธรรม​รักขิต กำเนิด​เปนพญา​สุวรรณ​ภิงคาร หลวง​ปู​ พระ​สังฆ​รักขิต กำเนิด​เปนพญา​คำ​แดง และ​ใน​พุทธ​กิจ​ครานั้น สมเด็จพระ​สมั มาสัมพ​ ทุ ธเจา ไดเ​สด็จม​ า​โปรด​พญา​ทงั้ ๕ เรียงลำดับ​ กัน​ทีละ​เมือง ตามลำดับ​ดังนี้

เมือง​ที่เกิด​รวมสมัย​มี ๕ เมือง คือ

๑. เมือง​โคต​ปุระ หรือเมือง​ศรี​โค​ตบูร ใน​ยุค​นั้น​อยู​ใต​ปาก​เซ​ บัง้ ไฟ มีพ​ ญา​นนั ทเสน​เปนผ​ ปู กครอง (ยุคห​ ลังย​ า ย​มา​อยูฝ​ ง ต​ ะวันตก​ ของพระ​ธาตุพนม ณ ดง​ไมรวก เปลี่ยน​ชื่อ​ใหม​วาม​รุกข​นคร) ๒. เมือง​จุลณี คือ​ดินแดน​แถบ​ตังเกี๋ย เมืองเว เมืองดา​นัง ที่​ ประเทศ​เวียดนาม​ใน​ปจจุบัน มีพญาจุลณีพรหมทัตเป็นผู้ปกครอง ๓. เมืองอินทปัฐนคร คือ ดินแดนขอมโบราณ คือแถบเมืองเขมร เสียม​ราช มี​พญา​อินทปฐ​เปน​ผูปกครอง ๔. เมือง​หนอง​หาร​หลวง คือ บริเวณ​ที่​จังหวัด​สกลนคร มี​พญา​ สุวรรณ​ภิงคาร​เปน​ผูปกครอง ๕. เมือง​หนอง​หาร​นอย คือ บริเวณ​อำเภอ​หนอง​หาร อำเภอ​ กุมภวาป เขต​จังหวัด​อุดรธานี มี​พญา​คำ​แดง​เปน​ผูปกครอง​พญา​ สุวรรณ​ภิงคาร​และ​พญา​คำ​แดง​ทั้งสอง​เปน​พี่นอง​กัน​โดย​สายเลือด​ โดย​พญา​สุวรรณ​ภิงคาร​เปน​พี่ชาย​และ​พญา​คำ​แดง เปน​นองชาย


25

พระพุทธเจา​เสด็จส ​ ู​ แหลมทอง​สุวรรณภูมิ ใน​ตำ​นา​นพ​ระอุร​ งั ค​ธาตุไ​ดก​ ลาว​ไวว​ า “…ครัน้ แลวพ​ ระพุทธองค​ ก็​เสด็จ​มา​ทางอากาศ ประทับ​ที่​ดอยกป​ณ​คิรี คือภู​กำพรา ใน​ราตรี​ นั้น​วิสสุกรรม​เทว​บุตร​ลงมา​อุปฏฐาก​พระองค​อยู​ตลอด​รุง กาล​นั้น​ พระองค​ทรง​ผา​แลว​เอา​บาตร​หอย​ไว​ที่​หงา​หมากทัน (กิ่ง​พุทรา) ไม​ ปา​แปง​ตน​หนึ่ง เบื้อง​ทิศตะวันตก​แลว​เสด็จ​ลง​ไปสู​ริมแมน้ำ​ที่​นั้น บั ณ ฑุ กั ม พลศิ ล าอาสน ​ข อง​พ ระอิ น ทร ​ก็ ​ก ระด า ง​แ ก น ​แข็ ง พระอินทร​เห็น​เหตุ​ดังนั้น ก็​เสด็จ​ลง​ไปสู​ปา​หิมพานต นำ​เอา​น้ำ​แต​ สระ​อโนดาต​และ​ไมสีฟน​มา​ถวาย พระพุทธองค​ทรง​ชำระ​พระบาท​ แลวก็ท​ รง​บาตร ผินพ​ ระ​พกั ไ​ปสูท​ ศิ ตะวันออก เสด็จไ​ป​ประทับอ​ งิ ต​ น ​ รัง​ตน​หนึ่ง อยู​ใต​ปาก​เซ ทรง​ทอดพระเนตร​เมือง​ศรี​โค​ตบูร​เพื่อจะ​ เขาไป​บิณฑบาต​ใน​เมือง​นั้น ​ครั้งนั้น​พญา​เจาเมือง​ศรี​โคตบูร​นั้น​เปน​ผู​ได​ทรงบำเพ็ญ​บุญ​ สมภาร​กตาธิการ​มา​แต​หนหลัง​เปนอันมาก เหตุ​นั้น​จึง​ได​เสวย​ ราชสมบัติ​ใน​บานเมือง​ใน​ชมพูทวีป​เปน​ครั้ง​ที่ ๓ เพื่อจัก​ไดโชต​นา​ พระพุทธศาสนา จึง​ได​เชื่อ​วา​พญา​ศรี​โค​ตบูร พญา​เห็น​พระศาสดา​ เสด็จ​มา​ดังนั้น จึง​ทูล​อาราธนา​ให​พระองค​ไป​รับ​บิณฑบาต​ใน​พระ​ ราช​ฐาน เมื่อ​พระองค​ทรง​รับ​ขาว​บิณฑบาต​แลว ก็​สง​บาตร​ให​พญา​​ ศรี​โค​ตบูร แลวก็​เสด็จ​มา​ประทับ​ตน​รัง​ดังเดิม สวน​พญา​เมื่อ​รับ​


26 เอา​บาตร​จาก​พระพุทธองค​แลวก็​ยกขึ้น​เหนือ​พระ​เศียร​ทำความ​ ปรารถนา​แลวจึง​นำ​บาตร​ไป​ถวาย​พระองค​ที่ประทับ​อยู พุทธองค​ ทรง​รับ​เอา​บาตร​แลวก็​เสด็จ​กลับมา​ทางอากาศ​ประทับ​ที่​ภู​กำพรา​ ดัง​เกา พญา​ศรี​โค​ตบูร​เมื่อ​ทอดพระเนตร​เห็น​พระพุทธเจา​เสด็จ​มา​​ ทางอากาศ​ดังนั้น ก็​ทรง​ยก​พระ​หัตถ​ขึ้น​ประนม​และ​ทอดพระเนตร​ พระศาสดา​พรอม​คำนึง​ใน​พระทัย​ปรารถนา​เปน​พระพุทธเจา​ พระองค​หนึ่ง ดังนี้​แลวจึง​เสด็จ​กลับคืน​สู​พระ​ราช​นิเวศน…”

ทรง​พยากรณ​พญา​ศรี​โค​ตบูร (พญา​นันทเสน)

“…ใน​กาล​นั้น พระพุทธองค​จึง​ทรง​พยากรณ​ให​แจง​แก​พระ​ อานนท​วา ดูรา​อานนท พญา​ศรี​โค​ตบูร​องค​นี้จัก​จุติ​ไป​เกิด​ใน​เมือง​สาเกต​ นคร อัน​อยู​ทิศตะวันตก​ของ​เมือง​ศรี​โค​ตบูร จัก​มี​พระนาม​วา “สุริย​กุมาร” เมือง​ศรี​โค​ตบูร​นี้ จัก​ยาย​ไป​ตั้ง​ที่​ปา​ไมรวก มี​นาม​วา “เมืองมรุกขนคร” เมื่อตถาคตนิพพานไปแล้ว สุริยกุมารจักได้เปน​ ใหญ​กวา​ทาวพญา​ทั้งหลาย​ และจัก​ได​สืบทอด​พระพุทธศาสนา​ไว​ ใน​เมือง​รอยเอ็ด​ประตู เมือง​สาเกต​นคร​นั้นจัก​เสื่อม​สูญไป ตั้ง​แรก​ แต​นั้น​ไป​พระพุทธศาสนา​จึง​รุงเรือง เสมอ​กับ​เมื่อ​พระ​ตถาคต​ยังมี​ ชีวิต​อยู​นั้นแล ครั้น​สุริย​กุมาร​จุติ​ไป จัก​ได​มา​เปน​พญาสุ​มิตต​ธรรม​ วงศา ม​รุกข​นครจัก​ได​อภิเษก​พอ​นา เปน​พญาจัน​บุรี​หนอง​คันแท​ เสื้อน้ำ (เวียงจันทน) และ​ตั้ง​พระพุทธศาสนา​ในที่​นั้น


27 ดูรา​อานนท พญาสุม​ ติ ต​ธรรม​วงศา​องคน​ จี้ กั ไ​ดฐ​ าปนาอุร​ งั ค​ธาตุ​ ของ​ตถาคต​ไวใ​น​ภก​ู ำพราท​ นี่ ี้ (ใน​ประวัตท​ิ า น​ไดก​ ลับช​ าติม​ า​เกิดแ​ ละ​ เปน​ผู​บูรณะ​ปฏิสังขรณ​พระ​ธาตุพนม​เปน​ครั้งแรก​ชวง พ.ศ.๕๐๐) แลวจัก​ได​กลับ​ไปโชต​นา​พระพุทธศาสนา​ใน​เมือง​สาเกต​รอยเอ็ด​ ประตู จน​ตลอด​อายุ​ของ​ตน​นั้นแล…” ครั้น​พระพุทธองค​ทรง​พยากรณ​ดังนี้​แลว จึงผิน​พระ​พักตร​สู​ เมือง​จุลณี​พรหมทัต​และ​เมือง​อินทปฐ​นคร…”

พญา​จุลณีพ ​ รหมทัต

เมื่อ​พระพุทธองค​เสด็จ​ถึง​เมือง​จุลณี พญา​จุลณี​พรหมทัต​ได​มี​ โอกาส​ฟง​พระธรรม​เทศนา​จาก​สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา​แลว เกิดค​ วามปต​ ย​ิ นิ ดีย​ งิ่ นัก จึงไ​ดต​ งั้ ค​ วาม​ปรารถนา​ใน​พระทัยท​ จี่ ะ​เปน​ พระพุทธเจา​พระองค​หนึ่ง​ใน​อนาคตกาล​เบื้องหนา

พญา​อินทปฐ

จากนัน้ ส​ มเด็จพระ​สมั มาสัมพ​ ทุ ธเจาไ​ดเ​สด็จไ​ปยังเ​มือง​อนิ ทปฐ​ นคร โดย​พญา​อินทปฐ​เมื่อ​ได​เขาเฝา​และ​ฟง​พระธรรม​เทศนา​จาก​ พระศาสดา​แลว ก็​บังเกิด​ความ​ศรัทธา​เลื่อมใส​อยางยิ่ง จึง​ได​ตั้ง​ จิตอธิษฐาน​ขอ​บรรลุ​อรหันต​ใน​ยุค​สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา​ พระองค​นี้ ขณะนั้น​พระ​อานนท​มี​ความ​สงสัย จึง​กราบ​ทูลถาม​วา เมื่อ​ พระพุทธองคเ​สด็จจ​ าก​ทนี่ แ​ี้ ลวจะ​เสด็จไ​ป​ทใี่ ด สมเด็จพระ​สมั มาสัม​


28 พุทธเจา​จึง​ตรัส​วา จาก​ที่นี้​แลว เรา​ตถาคตจัก​ไป​ประทับ​รอย​บาท​ที่​ หนอง​หาร​หลวง​นนั้ ก​ อ น ใน​เมือง​หนอง​หาร​หลวง​นนั้ ม​ พ​ี ญา​องคห​ นึง่ ​ นาม​วา “พญา​สุวรรณ​ภิงคาร” เสวย​ราชสมบัติ​อยู​ใน​เมือง​นั้น

รอย​พระพุทธบาท เมื่อ​สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา​เสด็จ​จากที่​นั้น​แลว ก็​เสด็จ​ ไปสู​เมือง​หนอง​หาร​หลวง พญา​สุวรรณ​ภิงคาร เห็น​พระศาสดา​มา​ ดังนัน้ จึงท​ ลู อ​ าราธนา​นมิ นตใ​หเ​สด็จไ​ป​ฉนั ภ​ ตั ตาหาร​ทห​ี่ อ​ปราสาท เมื่อ​สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา​ทรง​ทำ​ภัตกิจ​สำเร็จ​แลว ก็​เทศนา​ สั่งสอน​พญา​สุวรรณ​ภิงคาร แลวจึง​เสด็จ​ลง​จาก​ปราสาท​ประทับ​ รอยพระบาท​ในที่​นั้น​ตอหนา​พญา​สุวรรณ​ภิงคาร แลว​ทรง​แสดง​ ปาฏิหาริย​ให​ดวง​แกวมณี​พวยพุง​ออกจาก​พระ​โอษฐ​หนึ่ง​ดวง แลว​ ทรง​ทำ​ปาฏิหาริย​ให​แกว​ออกจาก​พระบาท​ทั้ง ๒ พระบาทๆ ​ละ​ ลูก​โดย​ลำดับ เมื่อ​พญา​สุวรรณ​ภิงคาร​ทอดพระเนตร​เห็น​ดังนั้น ก็​ บังเกิดอ​ ศั จรรยใจ​ยงิ่ นักว​ า เหตุใด​หนอ แกวจ​ งึ อ​ อก​มาจาก​พระ​โอษฐ​ และ​พระบาท​สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา​ได​ดังนี้

พุทธ​ประเพณี

ใน​ขณะนัน้ พระพุทธองคจ​ งึ ต​ รัสว​ า ดูรา​มหาราช ส​ ถาน​ทนี่ เ​ี้ ปนที​่ ประดิษฐาน​รอยพระบาท​ของ​พระพุทธเจา​ทั้ง ๓ พระองค แกว​จึง​


29 ออก​มาจาก​ที่นี้ ๓ ลูก คือ รอยพระบาท​ ของ​พระพุทธเจากกุ​สันโธ รอยพระบาท​ ของ​พ ระพุ ท ธเจ า โก​น าค​ม โน และ​ รอยพระบาท​ของ​พระพุทธเจา​กัสสปะ พญา​สุวรรณ​ภิงคาร​ได​กราบ​ทูลถาม พระพุทธเจาว​ า พระพุทธเจาท​ งั้ ๓ พระองค​ นีไ​้ ดเ​สด็จไ​ป​รบั บ​ ณ ิ ฑบาต​ใน​เมือง​ศรีโ​ค​ตบูร แลว​มา​ฉัน​ภัตตาหาร​ที่​ภู​กำพรา​จึง​เสด็จ​มา​ ประดิษฐาน​รอยพระบาท​ไว​ดวย​เหตุ​อัน​ใด พระพุทธเจา​ตรัส​วา ดูรา​มหาราช ที่​ เปนบ​ า น​เปนเ​มือง​ตงั้ พ​ ระพุทธศาสนา​อยูน​ นั้ แม​มี​เหตุ​ควร​ไว​รอยพระบาท พระพุทธเจา​ ทั้งหลาย​ก็​ไป​ไว อันเปน​พุทธ​ประเพณี​ดวย​ เหตุเ​ปนทีห​่ วงแหน​แหงห​ มูเ​ ทวดา​และ​พญานาค​ ทั้งหลาย และ​บานเมือง​เสื่อม​สูญ พระพุทธเจา​ทั้งหลาย​ยอม​ไว​ยัง​ รอยพระบาท​ไกล​บานเมือง พระพุทธศาสนา​ก็จัก​ตั้งอยู​ทาย​เมือง​ และ​หัวเมือง เมื่อ​พระพุทธเจาได​ไว​จิต​แกว คือ​รอยพระบาท​ที่​ ทาย​เมือง​ทิศใต​นั้น พระพุทธศาสนาจัก​ตั้ง​รุงเรือง​ใน​เมือง​นั้น​กอน แลวจึง​ยาย​หาง​มา​ใต​ตาม​รอยพระบาท เมื่อ​ไว​จิต​แกว​หัวเมือง พระพุทธศาสนา​ก็จัก​รุงเรือง​ใน​หัวเมือง​นั้น แลวจึง​ยาย​หาง​ไป​ ทางเหนือ ที่​รอยพระบาท​อัน​พระพุทธเจา​ได​ประดิษฐาน​ไว​นี้​ก็ได​ ตั้ง​เมือง คน​ทั้งหลาย​จึง​จะ​ตั้งอยู​เปนปกติ สวน​เมือง​หนอง​หาร​หลวง​นี้ เมื่อ​พระพุทธเจา​ได​มา​ประทับ​


30 รอยพระบาท​ไว​สมัย​พญา​องค​ใด​เสวย​ราชสมบัติ แสดงวา​พญา​ องค​นั้น​ได​สราง​บุญญาธิการ​ตั้ง​แสน​กัลป​มาแลว​ทุกๆ พระองค ถึง​ เมือง​หนอง​หาร​นอย​ก็​ดุจ​เดียวกัน และ​ทั้งสอง​เมือง​นี้​เมื่อ​ตั้ง​ก็​เกิด​ พรอมกัน ดวย​เหตุ​ที่​เสด็จ​มา​แหง​พระพุทธเจา​ทั้งหลาย ครั้น​สิ้น​พญา​ทั้งสอง เมือง​นี้​เทวดา​และ​นาค​ทั้งหลาย​ที่​รักษา​ หนอง​หาร​หลวง​และ​หนอง​หาร​นอย ก็​จะ​กระทำ​ให​น้ำ​ไห​ลนอง​ เขา​มาหา​กัน ทวม​รอยพระบาท​และ​บานเมือง คน​ทั้งหลาย​จะ​ได​ แยกยาย​กัน ไป​ตั้ง​ใน​ราชธานี​ใหญ ที่​พระพุทธศาสนา​ตั้ง​รุงเรือง​อยู​ นั้น เมือ่ พ​ ระพุทธเจาท​ งั้ หลาย​เสด็จเ​ขาสูน​ พิ พาน​ไปแลว พระอรหันต​ ทั้ ง หลายจั ก ​ไ ด ​น ำ​เ อา​พ ระธาตุ ​พ ระพุ ท ธเจ า ​ม า​ป ระดิ ษ ฐาน​ไว​ ริมแมนำ้ ธน​นที ราชธานีบ​ า นเมือง​พระพุทธศาสนา​จะ​รงุ เรือง​ไปตาม​ ริมแมนำ้ อ​ นั นัน้ เมือง​ฝา ย​เหนือก​ ลับไ​ป​ตงั้ อยูฝ​ า ย​ใต ฝาย​ใตก​ ลับไ​ป​ ตั้งอยู​ฝาย​เหนือ เมือง​ที่​ตั้งอยู​ทามกลาง​นั้น​จะ​ประเสริฐ​มี​อานุภาพ​ ยิ่งนัก ทาวพญา​ทั้งหลาย​ที่​มี​บุญญาธิการ​จะ​ได​เสวย​ราชสมบัติ​ ใน​บานเมือง จะ​อุปถัมภ​ค้ำชู​พระพุทธศาสนา​แหง​พระพุทธเจา​ ทั้งหลาย ครัน้ ส​ นิ้ พ​ ระพุทธศาสนา​แลว ราชธานีบ​ า นเมือง​จะ​ยา ย​กลับมา​ ที่​เดิม เปนตนวา เมือง​ศรี​โค​ตบูร​ก็​กลับมา​ตั้ง​อยูที่​เมือง​ราชธานี​ เกา เมือง​หนอง​หาร​ก็​กลับมา​ตั้งอยู​ริม​หนอง​หาร​ดัง​เกา เพื่อ​รอ​ พระพุทธเจา​ทั้งหลาย ครั้งนั้น ทาวพญา​ทั้งหลาย​ที่​มี​บุญ​สมภาร​ก็​ บัง​เกิดขึ้น​ตาม​ราชธานี​นั้นๆ อันนี้​หาก​เปน​จารีต​ประเพณี​สืบๆ มา​ แหง​แมน้ำธน​นที พระพุทธศาสนา​ก็จัก​ตั้งอยู​แต​ทิศ​เบื้อง​เหนือ​และ​


31 ทิศ​เบื้อง​ใต​และ​ทิศตะวันตก​และ​ทิศตะวันออก ไปตาม​ริมแมน้ำ​อยู​ เปนปกติ เมื่อ​พญา​สุวรรณ​ภิงคาร ได​ทรง​สดับรั​ตน​ปญหา​ดังนั้น ก็​ทรง​ โสมนัสซ​ าบซึง้ ใ​น​พระ​ขนั ธ​สนั ดาน​ยงิ่ นัก แ​ ละ​มพ​ี ระทัยป​ รารถนา​จะ​ ตัด​พระ​เศียร​บูชา​รอย​พระพุทธบาท ทันใดนั้น พระนางเจงเวงเทวีผู้เป็นมเหสี​ได​ทูล​หาม​ไว โดย​ ใหเหตุผล​วา เมือ่ ม​ หาราช​ยงั มีพ​ ระ​ชนมอ​ ยู จักไ​ดส​ ราง​พระ​ราช​กศุ ล​ เพิ่มเติม​ตอไป ไม​ควร​ที่​พระองค​จะ​มา​ทำ​เชนนี้ เมื่อ​พญา​สุวรรณ​ ภิงคาร​ไดท​ รง​สดับถ​ อ ยคำ​พระนาง​เทวีห​ า ม​ดงั นัน้ จึงถ​ อด​มงกุฎอ​ อก​ บูชา​พระศาสดา พระศาสดา​ตรัสเ​ทศนา​โปรด​ซำ้ เ​ปนค​ รัง้ ท​ ี่ ๒ เพือ่ ให​ พญา​สุวรรณ​ภิงคาร​มี​ศรัทธา​อาจหาญ​ใน​ธรรม​ยิ่งขึ้น

สราง​พระธาตุ​เชิงชุม พญา​สุ ว รรณ​ภิ ง คาร​พ ร อ มด ว ย​พ ระ​ร าชเทวี ได ​ท รง​ส ดั บ​ พระธรรม​เทศนา​พระบาท​ลักษณ​และ​อปริ​หานิย​ธรรม (ธรรม​เปน​ ที่ตั้ง​แหง​ความ​ไม​เสื่อม ๗ ประการ คือ ๑. หมั่น​ประชุม​กัน​เนืองนิตย ๒. เมื่อ​ประชุม​ก็​พรอมเพรียง​ กัน​ประชุม เมื่อ​เลิก​ประชุม​ก็​พรอมเพรียง​กัน​เลิก และ​พรอมเพรียง​ ชวยกัน​ทำ​กิจ​ที่​สงฆ​จะ​ตอง​ทำ ๓. ไม​บัญญัติ​สิ่ง​ที่​พระพุทธเจา​ บัญญัติ​ขึ้น ไม​ถอน​สิ่ง​ที่​พระองค​ทรง​บัญญัติ​ไว​แลว สมาทาน​ศึกษา​ อยู​ใน​สิกขาบท ตามที่​พระองค​บัญญัติ​ไว ๔. ภิกษุ​เหลา​ใด เปน​


32


33 ผูใ หญเ​ปนป​ ระธาน​ใน​สงฆ เคารพ​นบั ถือภ​ กิ ษุน​ นั้ เชือ่ ฟงถ​ อ ยคำ​ของ​ ทาน ๕. ไม​ลุอำนาจ​แก​ความ​อยาก​ที่​เกิดขึ้น ๖. ยินดี​ใน​เสนาสนะ​ ปา ๗. ตั้งใจ​อยู​วา เพื่อน​ภิกษุ​สามเณร​ซึ่ง​เปน​ผู​มี​ศีล ซึ่ง​ยัง​ไม​มาสู​ อาวาส​ขอใหม​ า ทีม​่ าแลวข​ อใหอ​ ยูเ​ ปนสุข ผูป ฏิบตั ธ​ิ รรม​นจ​ี้ ะ​เปนไป​ เพื่อ​ความ​เจริญ​ทั้ง​ฝาย​บานเมือง​และ​ฝาย​สงฆ) อันพ​ ระศาสดา​ตรัสเ​ทศนา ดังนัน้ ก็ท​ รงปต​ ป​ิ ราโมทยย​ งิ่ นัก แลว​ ทรง​สราง​อโุ มงคด​ ว ย​หนิ ปดร​ อย​พระพุทธบาท​พรอมทัง้ ถ​ วาย​มงกุฎ​ ทองคำ​นั้น​เปน​พุทธบูชา เหตุ​นั้น​จึง​เรียกวา “พระธาตุ​เชิงชุม” มา​ จน​ทุกวันนี้ พระศาสดา​ตรัสเ​ทศนา​แกพ​ ญา​สวุ รรณ​ภงิ คาร​วา “ทีใ่ ด​ตถาคต​ได​ ลง​จาก​อากาศ​และ​สถิตอ​ ยูไ​ ดเ​ห็นเ​หตุอ​ นั ใ​ด​อนั ห​ นึง่ แลวต​ รัสท​ ำนาย​ นัน้ เ​ปนจ​ ติ แ​ กวอ​ นั ห​ นึง่ และ​ทต​ี่ น ไมอ​ นั ต​ ถาคต​ฉนั ทข​ า ว​นนั้ ก็เ​ปนจ​ ติ ​ แกวอ​ นั ห​ นึง่ พงศท​ งั้ สอง​นเ​ี้ รียกวา “โชติกเ​จดีย” พระพุทธศาสนา​จะ​ รุงเรือง​ในที่​นั้น ที่​ตถาคต​ได​ไสยาสน​และ​บิณฑบาต​มา​ฉัน ที่​นั้น​เปน​พุทธ​ ประเพณี​แหง​พระพุทธเจา​ทั้งหลาย เสมอ​ดวย​ดอย​สิ​งคุตร (ธาตุ​ ยางกุง​ หรือชเวดา​กอง) ที่​ตถาคต​ยืน​ทรง​บาตร​ยืน​อิง​ตนไม​นั้น​เปน​ พงศอ​ นั ห​ นึง่ และ​เมือ่ ว​ า ต​ ถาคต​ไดห​ มาย​จติ แ​ กวท​ ใี่ ด ตอไป​ภายหนา​ โพน​โชติก​เจดีย​บัง​เกิดขึ้น​ในที่​นั้น ดูรา​มหาราช เจดีย​ที่​กอโลม​บาท​ เชิงชุม​นี้ “ปจจุบัน​อัปป​เจดีย” จะ​รุงเรือง​ภายหนา” ครัน้ พ​ ระพุทธองค ทรง​เทศนา​แกพญา​สวุ รรณ​ภงิ คาร​ดงั นัน้ แ​ ลว จึงเ​สด็จข​ นึ้ ด​ อย​ลกู ห​ นึง่ (ภูเ​พ็ก) ขางใน​เปนห​ อ งๆ คน​ทงั้ หลาย​ขนึ้ ไ​ป​ ดอย​ลูก​นั้น มองเห็น​หนอง​หาร​หลวง​และ​หนอง​หาร​นอย มองเห็น​


34

พระ​ธาตุ​พนม​องค​เกา​

เมือง​ศรีโ​ค​ตบูรแ​ ละ​ภก​ู ำพรา พญา​สวุ รรณ​ภงิ คาร​ใหส​ งั วาลยท​ องคำ​ หนัก ๓๐๐,๐๐๐ (สาม​แสน) เปน​ทาน​แก​คน​ทั้งหลาย​ที่​มี​กำลัง​กอ​ แทน​ดวย​หินมุก​เปน​ปจจุบัน​โดย​พลัน เมื่อนั้น​พระพุทธองค​เสด็จ​ขึ้น​พระ​แทน​ทรง​ระลึกถึง​พระมหา กัสสป​เถระ พระมหากัสสป​เถระ​ทราบ​วาระ​จติ แ​ หงพ​ ระบรมศาสดา ก็​มา​เขาเฝา​พระ​สัมมาสัม​พุทธเจา ณ ที่​แหงนั้น พระศาสดา​จึง​ทรง​ ตรัส​รับสั่ง​แกพระมหากัสสป​เถระ เปน​ภาษา​บาลี​วา “​อุรงฺค​ธาตุ​กสฺสป กปร​คิริ ​อปฺปตฺ​ตรา” ดังนี้ แลวจึงผิน​พระ​พักตร​เฉพาะ​ซึ่ง​ภู​กำพรา ตรัส​วา “ดูรา​กัสสปะ เมื่อ​ตถาคต​นิพพาน​ไปแลว ​เธอ​จง​นำอุ​รังค​ธาตุ​ ตถาคต​มา​ไว​ที่​ภู​กำพรา อยา​ได​ละทิ้ง​คำ​ตถาคต​สั่ง​ไว​นี้​เสีย” พระมหากัสสป​เมื่อ​ไดยิน​ดังนั้น ก็ชื่นชมยินดียกอัญชลีขึ้นว่า สาธุ สาธุ สาธุ ดังนี้ และ​ก็​กลับ​ไปสู​ที่​ของ​ตน”


35

พระมหากัสสป​มหา​เถระ กอน​จะ​กลาว​ถึง​หลวง​ปู​ใหญ​ทั้ง​สาม​ตอไป​นั้น ผูเขียน​ขอ​กลาว​ ถึง​ทาน​พระมหากัสสป​เสีย​กอน เพราะ​ทาน​เปน​อาจารย​ของหลวง​ ปู​ใหญ​ทั้ง​สาม​โดย​ตรง พระมหากัสสป​ทาน​ได​เปน​ผู​อบรมสั่งสอน​ สรรพ​วชิ า​ใหแ​ กห​ ลวง​ปใ​ู หญท​ งั้ ส​ าม เพือ่ ส​ บื ทอด จรรโลง​พทุ ธศาสนา​ สืบไป

สถานะ​เดิม

พระมหากัสสป​เถระ ชือ่ เ​ดิมว​ า ปปผ​ ลิ เปนช​ อื่ ท​ บ​ี่ ดิ า​และ​มารดา​ ตั้ง​ให แต​มัก​เรียก​กัน​ตาม​โคตร​วา ​กัสสปะ บิดา​ชื่อ กป​ละ มารดา​ ชื่อ สุมน​เทวี​พราหมณี เปน​วรรณะ​พราหมณ ตระกูล​ทาน​ร่ำรวย​ มหาศาล เชือ้ สาย​กสั สป​โคตร ทาน​เกิดท​ ห​ี่ มูบ า น​พราหมณ ชือ่ ม​ หา​ ติตถะ ตัง้ อยูใ​ น​เมือง​ราช​คฤห ภายหลังส​ มเด็จพระ​สมั มาสัมพ​ ทุ ธเจา​ เสด็จ​อุบัติขึ้น​ประมาณ ๑๓ ป

ชีวิต​กอน​บวช

ปป​ผลิ​มาณพ เปน​บุตร​ของ​พราหมณ​ที่​มี​ทรัพย​ร่ำรวย​มหาศาล บิดา​และ​มารดา​จึง​ตองการ​ผู​สืบเชื้อสาย​วงศตระกูล เมื่อปป​ผลิ​ มาณพ มีอายุ ๑๗ ป​แลว บิดามารดา​ตองการ​ให​มี​ครอบครัว แต​ บุตรชาย​บอกวา อยากจะ​ปฏิบัติ​บิดามารดา​ไป​จน​ตลอดชีวิต เมื่อ​ บิดามารดา​ลวงลับ​ไป​แลวก็​จะ​ออก​บรรพชา ตอมา​บิดามารดา​ก็​


36 ออนวอน​อีก ปป​ผลิ​มาณพ​ก็​ปฏิเสธ​อยาง​นั้น​อีก เมื่อ​ทน​การ​รบเรา​ ของ​บิดามารดา​ไมไหว ทาน​จึง​ได​ออกอุบาย​ให​ชางทอง​หลอ​ทอง​ คำเปน​รูป​หญิงสาว​คน​หนึ่ง ให​นุง​ผา​สีแดง แตงตัว​ดวย​ดอกไม​สี​ ตางๆ และ​เครื่อง​ประดับ​นานาประการ แลว​บอก​กับ​มารดา​วา ถา​ หา​ผูหญิง​ได​เหมือนกับ​รูปหลอ​ทองคำ​นี้ ก็​ยินดี​จะ​แตงงาน​ดวย มารดา​ของ​ทา น​เปนผ​ มู ปี ญ  ญา​ไดด​ ำริว​ า บุตร​ของ​เรา​เปนผ​ สู ราง​ สม​บุญบารมี​มา​ดีแลว เมื่อ​กระทำ​บุญ​คง​ไมได​กระทำ​แต​ผูเดียว หญิง​ที่​ทำบุญ​รวมกับ​บุตร​ของ​เรา ซึ่ง​มี​รูปราง​อยาง​รูป​ทองคำ​นี้จัก​ มี​เปนแน จึง​ได​เชิญ​พราหมณ ๘ คน ให​นำ​รูป​ทองคำ​ขึ้น​บน​รถ พรอมกับ​มอบ​สิ่งของ​มี​เงิน​และ​ทอง​เปนตน เพื่อ​ไปเที่ยว​แสวงหา​ หญิง​ที่​มี​ลักษณะ​งดงาม​พรอมทั้ง​มี​ฐานะ​เสมอกัน​ดวย​สกุล​ของ​ตน พราหมณท​ งั้ ๘ คน​นนั้ ร​ บั ส​ งิ่ ของ​ทองหมัน้ แลวเ​ทีย่ ว​ไปไดบ​ รรลุ​ ถึง​สาคล​นคร ก็ได​ตั้ง​รูป​ทองคำ​ไว​ที่​ทาน้ำ แลว​พากันไป​นั่ง​อยู​ในที่​ แหง​หนึ่ง คราวนัน้ พ​ วก​พเี่ ลีย้ ง​ของ​นาง​ภทั ทกาปล​ านีไ​ดพ​ ากันไป​อาบน้ำท​ ​ี่ ทาน้ำ ครั้น​ได​เห็น​รูป​ทองคำ​นั้น​ก็​เขาใจ​วา​เปน​นาง​ภัททกาป​ลานี พวก​พราหมณ​เห็น​เชนนั้น จึง​ได​ออกมา​ไตถาม​วา​ ลูกสาว​ เจานาย​ของ​เธอ​เหมือน​รูป​นี้​หรือ พี่เลี้ยง​จึง​ตอบ​วา พระแมเจา​ของ​เรา​สวย​กวา​นี้ เพราะ​สวาง​ไป​ ดวย​รัศมี พราหมณ​ไดยิน​ดังนั้น จึง​ให​นาง​นำไป​ที่​บาน​ของโก​สิย​โคตร​ พราหมณ พรอมทัง้ แ​ จงความ​ประสงคข​ อง​ตน เมือ่ เ​จรจา​เปนทีต​่ กลง​ กัน​แลว จึง​ได​สงขาว​ไปถึง​กปล​พราหมณ


37

สวนปปผ​ ลิม​ าณพ​เมือ่ ไ​ดท​ ราบ​ดงั นัน้ ดวย​ความ​ทต​ี่ น​ไมอ​ ยากจะ​ แตงงาน​ดวย จึง​ได​เขียน​จดหมาย​บอก​ความ​ประสงค​ของ​ตน​ให​แก​ นาง​ภัททกาป​ลานี​ทราบ​วา “นาง​ผูเจริญ จง​หา​คูครอง​ที่​มี​สกุล มี​ ฐานะ​ทัดเทียม​กับ​นาง​เถิด เรา​จะ​ออกบวช เธอ​อยา​เสียใจ​ตอ​ ภายหลัง” ฝาย​นาง​ภัททกา​ได​ทราบ​วา บิดามารดา​จะ​ยก​ตน​ให​แกปป​ผลิ​ มาณพ จึง​เขียน​จดหมาย​ไป​บอกความประสงค์ของตนเช่นเดียวกัน ต่อมาคนถือจดหมายทัง้ สองคน​มา​พบกันใ​น​ระหวางทาง ตาง​ไตถาม​ ความ​ประสงค​ของ​กันและกัน​แลว จึง​ฉีก​จดหมาย​ออก​อาน แลว​ทิ้ง​ จดหมาย​ทงั้ ๒ ฉบับน​ นั้ เ​สียใ​น​ปา และ​เขียน​จดหมาย​ขนึ้ ม​ า​ใหม โดย​ มี​เนื้อความ​แสดง​ความ​พอใจ​ซึ่ง​กันและกัน แลว​นำไป​สงให​แก​คน​ ทั้งสอง จน​ดว ย​บพุ เพ​สนั น​ ษิ วาส​แตห​ นหลัง​ทัง้ คูจ​ งึ ต​ อ ง​แตงงาน​กนั แต​ เพราะ​ทงั้ คูจ​ ตุ ม​ิ าจาก​พรหม​โลก และ​บำเพ็ญเ​นกขัมม​บารมีม​ า จึงไ​ม​


38 ยินดี​เรื่อง​กามารมณ เห็น​โทษ​ของ​การ​ครอง​เรือน​วา ตอง​คอย​เปน​ ผูรับบาป​จาก​การ​การ​กระทำ​ของ​ผูอื่น ตอน​เขานอน ทั้งคู​ได​วาง​พวงดอกไม​กั้น​ไว​ระหวาง​กัน​ในขณะ​ ทีน่ อน​บน​เตียง​นนั้ นาง​ภทั ทกา​กลาว​วา ดอกไมข​ า ง​ตวั ข​ อง​ใคร​เหีย่ ว เรา​จะ​รูกัน​ได​วา ผู​นั้น​เกิด​ราคะ​จิต​แลวจึง​ไม​ควร​จับตอง​พวงดอกไม​ นี้ คน​ทั้งสอง​จึง​นอนไมหลับ​ตลอดคืน เพราะ​กลัว​ถูกตอง​ตัว​กัน ถึงเวลา​กลางวัน​ก็​ไมได​มี​การ​ยิ้มแยม​ตอกัน​เลย ทั้งสอง​จึง​อยู​แบบ​ ไมได​เกี่ยวของ​กัน​ฉันท​สามีภรรยา จวบ​จนกระทัง่ บ​ ดิ ามารดา​สนิ้ อายุแ​ ลว จึงม​ ค​ี วามเห็นพ​ อ งกันว​ า ผูอ​ ยูค​ รอง​เรือน​ตอ ง​คอย​นงั่ ร​ บั บาป เพราะ​การ​งาน​ทผ​ี่ อู นื่ ท​ ำ​ไมดี มี​ ใจ​เบื่อหนาย จึง​พรอมใจกัน​จะ​ออกบวช

เหตุ​แหง​การ​ออก​บรรพชา

วันหนึง่ ปปผ​ ลิม​ าณพ​ขนึ้ ม​ า พ​ รอมดวย​บริวาร​ไปยังท​ ที่ ำงาน ยืน​ อยู​ปลาย​นา เห็น​พวก​นก​มีกา​เปนตน คุยเขี่ย​สัตว​มี​ไสเดือน​เปนตน จาก​รอย​ไถ​เอามา​กิน จึง​ถาม​วา “ทาน​ทั้งหลาย สัตว​เหลานี้​กิน​ อะไร?” เหลา​บริวาร​ตอบ​วา “นาย​ทาน มัน​กิน​ไสเดือน” มาณพ​ถาม​วา “บาป​ที่​สัตว​เหลานี้​ทำ​ตก​อยู​แก​ใคร?” เหลา​บริวาร​ตอบ​วา “นาย​ทาน บาป​เปนของ​ทาน” มาณพ​คิดวา ถา​บาป​ที่​สัตว​เหลานี้​กระทำ​ตก​เปนของ​เรา​เชนนี้ ทรัพย ๘๗ โกฏิ จะ​มี​ประโยชน​อัน​ใด การ​งาน ๑๒ โยชน เหมือง​


39 น้ำ ๖๐ แหง หมูบ า น​ทาส ๑๔ แหง จะ​มป​ี ระโยชนอ​ นั ใ​ด เรา​จะ​มอบ​ ทรัพย​สมบัติ​ทั้งหมด​นี้​แก​ภัททกาป​ลานี แลว​ออกบวช สวน​นาง​ภัททกาป​ลานี​พรอมกับ​เหลา​พวก​แมนม​นั่ง​หอมลอม อยู นาง​ให​หวาน​เมล็ดงา ๓ หมอ ลง​ใน​ไร เห็น​พวกกา​กิน​สัตว​ใน​ เมล็ดงา​จึง​ถาม​วา “ทาน​ทั้งหลาย สัตว​เหลานี้​กิน​อะไร?” พวก​แมนมตอบ​วา “แมเจา พวก​มัน​กิน​สัตว” นาง​ถาม​วา “อกุศล​จะ​เปนของ​ใคร?” พวก​แมนม​ตอบ​วา “เปนของ​แมเจา” นาง​คิดวา ก็​ถา​อกุศล​นี้​จะ​เปนของ​เรา ชีวิต​เรา​ก็​ตอง​วนเวียน​ อยู​ใน​วัฎฎะ​ตั้ง ๑,๐๐๐ ภพ เมื่อ​ลูก​เจา​พอ​มาถึง เรา​จะ​มอบ​ทรัพย​ สมบัติ​ทั้งหมด​แก​ลูก​เจา​นั้น​แลว​ออกบวช ปป​ผลิ​มาณพ และ​นาง​ภัททกาป​ลานี​เมื่อ​กลับมา​แลวก็​อาบ​ น้ำขึ้น​ปราสาท รับประทาน​อาหาร​แลว ปป​ผลิ​มาณพ​กลาว​กะ​นาง​ ภัททกาป​ลานี​วา “แม​ภัททกาป​ลานี ทรัพย​ที่​เธอ​นำ​เอามา เมื่อ​จะ​มา​เรือน​นี้​ จำนวน​หา​หมื่น​หา​พัน​เลม​เกวียน​นั่น กับ​ทรัพย​ของ​เรา ๘๗ โกฏิ ใน​เรือน​นี้ และ​สมบัติ​อื่นๆ ทั้งหมด เรา​ขอ​มอบ​แก​เธอ เรา​จะ​ ออกบวช” นาง​ภัททกาป​ลานี​จึง​กลาว​วา “เรา​ก็​จะ​บวช​เชนกัน”

การ​บรรพชา​ใน​พระพุทธศาสนา

ทั้งสอง​คน​จึง​ไป​แสวงหา​ผา​กาสายะ​และ​บาตร​ดิน​จาก​ราน​ ตลาด ได​ปลงผม​ซึ่ง​กันและกัน​ แลว​นุงหม​ผา​ยอม​น้ำฝาด​นั้น ถือ​


40

เพศบรรพชิต​ ตั้งใจ​บวช​อุทิศ​ตอ​พระอรหันต​ใน​โลก แลว​ได​สะพาย​ บาตร​เดิน​ลง​จาก​ปราสาท​หลีก​ไป ​ บรรดา​ทาส​หรือ​กรรมกร​ทั้งหลายในเรือนก็ไม่มีใครจำได้ ปิปผลิเดินหน้า นางภัททกาปิลานี​เดิน​ตามหลัง พอ​ไปถึง​ทาง​ สอง​แพรง​จึง​แยกออก​จากกัน เพราะ​เกรง​ผูอื่น​จะ​คิดวา​ทั้งสอง​คน​ นี้​บวช​แลวก็​ยัง​ไม​อาจ​พรากจากกัน​ได กอน​จะ​แยกจากกัน นาง​ภัททกา​ได​ทำ​ประทักษิณ​ถึง ๓ รอบ กราบ​สามีล​ ง​ในทีท​่ งั้ ๔ คือ กราบ​ลง​ขา งหนา ขางหลัง ขางซาย และ​ ขาง​ขวา แลว​ประนม​มือขึ้น​กลาว​วา “ความ​รักใคร​สนิทสนมกัน ซึ่ง​ ได​มี​แก​เรา​ทั้งสอง​ตลอด​กาลนาน ประมาณ​แสน​กัปป​มาแลว จะ​ แตกกัน​ใน​วันนี้ ฉัน​ชื่อวา​เปน​มาตุคาม มี​ชาติ​เบื้อง​ซาย ทางซาย​ สมควร​แก​ฉัน แลว​เดินทาง​ไปทาง​เบื้อง​ซาย ใน​เวลา​ที่​ทาน​ทั้งสอง​นั้น​แยกทาง​กัน มหา​ปฐพี​นี้​ได​สะเทือน​ เลือ่ น​ลนั่ เหมือนจะ​พดู วา เรา​สามารถ​รองรับท​ กุ อยาง​ได แตไ​มอ​ าจ​


41 รองรับ​คุณ​ความ​ดี​ทั้งสอง​ของ​พวกทาน​ได ใน​อากาศ​มีเสียง​เหมือน​ฟาผา ภูเขา​จักรวาล​ก็​โอน​โนม​ลง สวนใน​อากาศ​ก็​มี​สายฟาแลบ​ฉวัดเฉวียน ดวย​อำนาจ​บารมี​ธรรม​ ของ​คน​ทั้งสอง​นั้น​บันดาล​ใหเปนไป

พระพุทธองค​ทรง​โปรด

องค​สมเด็จพระ​ผู​มี​พระ​ภาค​เจาซึ่ง​ประทับ​อยู​ใน​พระ​คันธกุฎี​ที่​ พระ​เวฬุวัน​มหา​วิหาร ได​ทรง​สดับ​เสียง​แผนดินไหว​ก็​ทรง​พิจารณา​ ดู​วาแผนดินไหว​ดวย​เหตุ​อัน​ใด ก็​ทรง​ทราบ​วาปป​ผลิ​มาณพ​กับ​นาง​ ภัททกาปล​ านีไดส​ ละ​ทรัพยส​ มบัตอ​ิ นั ห​ า​ประมาณ​มไิ ด ออก​บรรพชา​ โดย​ตั้งใจ​เฉพาะ​ตอ​เรา แผนดินไหว​นี้​มี​ขึ้นดวย​กำลัง​แหง​คุณธรรม​ของ​บุคคล​ทั้งสอง ในขณะ​ที่จะ​แยกจากกัน ​ถึงแมวา​เรา​ก็​ควร​จะ​สงเคราะห​บุคคล​ ทั้งสอง​นั้น แลวจึง​เสด็จ​ออกจาก​พระ​คันธกุฎี ทรง​ถือเอา​บาตร จีวรดวย​พระองค​เอง โดย​ไม​บอก​แก​พระ​สาวก​ทั้งหลาย​ให​ทราบ จึง​ได​เสด็จ​ไป​ประทับ​นั่ง​ที่​โคน​ตน​พหุปุตตนิโครธ ระหวาง​เมือง​ ราช​คฤหก​ บั เ​มือง​นาลันท​ า​ครัน้ เ​สด็จถ​ งึ ใ​ตร​ ม ไ​ทร​ตน ห​ นึง่ ต​ น ไ​ทร​นนั้ ​ มี​ลำตน​สีขาว ใบ​สีเขียว ผล​สีแดง ใน​ระหวาง​กรุง​ราช​คฤห​กับ​เมือง​ นาลัน​ทา​ตอกัน พระพุทธองค​ทรง​ประทับ​นั่ง แลว​ทรง​เปลง​พระ​ รัศมี​ไป​ตลอด วิ่ง​ฉวัดเฉวียน​ไป​ทางโนน​ทางนี้ ปา​นั้น​จึง​มี​แสงสวาง​ เหมือนกับ​มี​ดวงจันทร​ดวงอาทิตย​ขึ้น​ตั้ง​พัน​ดวง​ฉะนั้น ปป​ผลิ​เห็น​พระพุทธองค​แลว​คิดวา ทาน​ผู​นี้ จัก​เปน​ศาสดา​ของ​ เรา เราจัก​บวช​อุทิศ​พระศาสดา​องค​นี้


42 วิธี​บวช ปป​ผลิ​มานพ​จึง​นอมตัว​ลง​เดิน​เขา​ไปหา​พระพุทธองค กระทำ​ อัญชลี ๓ ครั้ง แลว กราบทูล​วา “ขา​แต​พระองค​ผูเจริญ ขอ​พระ​ผู​มี​ พระ​ภาค​เจา​จง​เปน​ศาสดา​ของ​ขา​พระองค ขา​พระองค​เปน​สาวก” พระศาสดา​ตรัส​วา ​“กัสสปะ ถา​เธอ​พึง​ทำความ​เคารพ​นับถือ​นี้​ แกแ​ ผนดิน แผนดินน​ นั้ ก​ ไ​็ มส​ ามารถ​จะ​รอง​รบั ได ความ​เคารพ​นบั ถือ​ อัน​เธอผู​รูความ​ที่​ตถาคต​เปน​ผู​มี​คุณ​มาก​อยาง​นี้​กระทำ​แลว ยอม​ ไม​ทำ​แม​ขนของ​เรา​ให​ไหว​ได เธอ​จง​นั่งลง​เถิด ​กัสสปะ ตถาคต​จะ​ ให​ทรัพย​มรดก​แก​เธอ” ลำดับ​นั้น พระศาสดา​ได​บวช​ให​ทาน​ดวย​ทรง​ประทาน​โอวาท ๓ ขอ คือ ๑. เพราะ​เหตุ​นั้นแล ​กัสสปะ เธอ​พึง​ศึกษา​อยาง​นี้​วา เราจัก​ เขาไป​ตงั้ ค​ วาม​ละอาย และ​ความ​เกรง​ไวใ​น​ภกิ ษุท​ งั้ ทีเ​่ ปนผ​ เู ฒา ทัง้ ที​่ เปน​ผู​ใหม ทั้งที่​เปน​ผู​ปานกลาง อยาง​แรงกลา, เธอ​พึง​ศึกษา​อยาง​ นี้แหละ ​กัสสปะ ๒. เพราะ​เหตุ​นั้นแล ​กัสสปะ เธอ​พึง​ศึกษา​อยาง​นี้​วา​เราจัก​ ฟงธรรม​อัน​ใด​อัน​หนึ่ง ซึ่ง​ประกอบดวย​กุศล เรา​เงี่ยหู​ลง​ฟงธรรม​ นั้น​ทั้งหมด ทำ​ในใจ​ให​สำเร็จ​ประโยชน รวบรวม​ไว​ทั้งหมด​ดวยใจ เธอ​พึง​ศึกษา​อยาง​นี้แล ​กัสสปะ ๓. เพราะ​เหตุ​นั้นแล ​กัสสปะ เธอ​พึง​ศึกษา​อยาง​นี้​วา ก็​สติ​ที่​ เปนไป​ใน​กาย​ของ​เรา ซึ่ง​ประกอบดวย​ความ​สำราญ จัก​ไม​ละ​เรา​ เสีย เธอ​พึง​ศึกษา​อยาง​นี้แล ​กัสสปะ วิธบ​ี วช​อยาง​นเ​ี้ รียกวา “โอวาท​ปฏิคคณูปส​ มั ปทา” แปล​วา การ​


43

บวช​ดวย​การ​รับ​โอวาท ครั้น​บวช​ให​ทาน​เสร็จ​แลว ก็​เสด็จ​ออกจาก​โคน​ตน​ไทร มี​ พระมหากัสสป​เปน​ผู​ตามเสด็จ พระส​รีร​กาย​ของ​พระพุทธเจา​งาม​ ดวย​ลกั ษณะ​มหาบุรษุ ๓๒ ประการ สวน​รา งกาย​ของ​พระมหากัสสป​ งาม​ดวย​ลักษณะ​มหาบุรุษ ๗ ประการ พระมหากัสสป​นั้น​ได​เดินตาม​รอยพระบาท​ของ​พระพุทธองค​ ไป เปรียบ​เหมือนกับ​เรือ​นอย​พวง​ทายเรือ​ใหญ ซึ่ง​สำเร็จ​แลวดวย​ ทองคำ​ฉะนั้น องค​สมเด็จพระ​ภควันต​เสด็จ​ไปได​หนอย​หนึ่ง จึง​ทรง​แวะ​ ออกจาก​ทาง​ทรง​แสดงอาการ​จะ​ประทับ​นั่ง​ที่​ภายใต​รม​ไมตน​หนึ่ง พระ​เถระ​ทราบ​ดงั นัน้ จึงป​ ผ​ู า ส​ งั ฆาฏิอ​ นั เปนแ​ ผนผ​ า ผ​ นื เ​กาข​ อง​ ตน เปน ๔ ชั้น ที่​โคน​ตนไม​แหง​หนึ่ง พระศาสดา​ประทับ​นั่ง​บน​สังฆาฏิ ​นั้ น เอา​พ ระ​หั ต ถ ​ลู บ ​ผ  า​ พลางตรัส​วา “​กัสสปะ สังฆาฏิ​อันเปน​แผน​ผา​เกา​ผืน​นี้​ของ​เธอ ออนนุม”


44 พระ​เถระ​รูความ​ประสงค​จึง​กราบทูล​วา “ขอ​พระ​ผู​มี​พระ​ภาค​ เจาจง​ทรง​หม​ผา​สังฆาฏิ​นี้​เถิด พระ​เจาขา” พระศาสดา​จึง​ตรัส​ถาม​วา “แล้วเธอจะห่มผ้าอะไร” พระ​เถระ​กราบทูล​วา “ขอ​พระองค​โปรด​พระราชทาน​ผา​ของ​ พระองคให​ขา​พระเจา​ได​ใช​แทน” พระศาสดา​แจงเหตุ​ดังนั้น​จึง​ทรง​แลก​เปลี่ยนผา​สังฆาฏิ​กับ​ พระมหากัสสป​เถระ

ผา​บังสุกุล​พระ​สัมมาสัม​พุทธเจา

ใน​กาล​นั้น ผา​บังสุกุล​จีวร​บังเกิด​แก​พระบรมศาสดา ​เมื่อ​ครั้ง​ พระ​สัมมาสัม​พุทธเจา เสด็จ​โปรด​ชฎิล ๓ พี่นอง พระองค​เสด็จ​ พระพุทธ​ดำเนินไ​ป​ซกั ผาบ​ งั สุกลุ ซึง่ ห​ อ ศ​ พ​นางปุณ ​ณ ​ ท​ าสีท​ ท​ี่ อดทิง้ ​ อยู​ใน​อามก​สุสานะ​ปาชา​ผีดิบ เมือ่ พ​ ระ​สมั มาสัมพ​ ทุ ธเจา เปนก​ ษัตริยอ ภุ โ​ต​สชุ า​ตเ​ิ สด็จจ​ ากขัต​ ติยร​ าชสกุลอ​ นั ส​ งู ด​ ว ย​เกียรติศกั ดิ์ ทรง​ตรัสรูอ​ นุตตร​สมั โพธิญ ​ าณ​เปน​ พระสัมพ​ ทุ ธเจา เปนศ​ าสดา​ของ​เทวดา​และ​มนุษย เปนโ​มลีข​ องโลก เห็น​ปานนี้​แลว ยัง​ทรง​ลด​พระองค​ลงมา​ซักผา​ขาว​ที่​หอ​ศพ​นางปุ​ณ​ ณ​ทาสี ที่​ทอดทิ้ง​อยู​ใน​ปาชา เพื่อ​ทรง​ใช​เปน​ผาจีวร​ทรง​เชนนี้ เปน​ กรณียะ​ที่​สุดวิสัย​ของ​เทวดา​และ​มนุษย​ซึ่ง​อยู​ใน​สถานะ​เชนนั้น​จะ​ ทำได​มหา​ปฐพี​ใหญ​ก็​กัมปนาท​หวั่นไหว​เปน​มหัศจรรย​ถึง ๓ ครั้ง ตลอด​ระยะทาง​ ทรง​พระ​ดำริ​วา ตถาคต​จะ​ซักผา​บังสุกุล​นี้​ใน​ ที่ใด ขณะนั้น​ ทาว​สหัสนั​ยอม​ริน​ทราธิ​ราช​ทรง​ทราบ​ใน​พุทธ​ปริวิตก


45

จึง​เสด็จ​ลงมา​ขุด​สระ​โบกขรณี​ดวย​พระ​หัตถ​ใน​พื้น​ศิลา สำเร็จ​ดวย​ เทว​ฤทธิใ​์ หเ​ต็มไปดวย​อทุ ก​วารี แลวก​ ราบทูลพ​ ระ​ชนิ ศ​ รีใ​หท​ รง​ซกั ผา​ บังสุกุล​ในที่​นั้น ขณะ​ที่​ทรง​ซัก​ก็​ทรง​พระ​ดำริ​วา จะ​ทรง​ขยำ​ใน​ที่ใด​ดี ทาว​โกสีย​ ก็​เอา​แผน​ศิลา​ใหญ​เขาไป​ถวาย ทรง​ขยำ​ดวย​พระ​หัตถ​จน​หาย​กลิ่น​ อสุภ แลวก็ท​ รง​พระ​ดำริว​ า จ​ ะ​หอ ย​ตากผาบ​ งั สุกลุ จ​ วี ร​ใน​ทใี่ ด​ดี ลำดับ​ นั้น​รุกข​เทพยดา​ซึ่ง​สิงสถิต​อยู ณ ไม​กุม​บก ก็​นอม​กิ่ง​ไม​ลงมา​ถวาย​ ให​ทรง​หอย​ตาก​จีวร ครั้น​ทรง​หอย​ตาก​แลวก็​ทรง​พระ​จินตนา​วา​จะ​ แผ​พับผา​ใน​ที่ใด ทาว​สหัสนัย​ก็​ยก​แผน​ศิลาอัน​ใหญ​มา​ทูล​ถวาย​ให​ พับผา​มหา​บังสุกุล​นั้น ใน​เหตุ​นั้น ​สมเด็จพระ​ผู​มี​พระ​ภาค​เจา​ทรง​หม​ผา​ของ​พระมหา กัสสป สวน​พระ​เถระ​กห​็ ม ผ​ า ข​ อง​พระพุทธองค ใน​คราวนัน้ แ​ ผนดิน​ อัน​ใหญ​ซึ่ง​ไมมี​จิตวิญญาณก็ได​หวั่นไหว​ทั่ว​สาม​แดน​โลกธาตุ ปาน​ ประหนึ่ง​จะ​กราบทูล​วา การ​ที่​พระองค​ไมเคย​ทรง​ประทาน​ผา​


46 ของ​พระองค​ให​แก​พระ​สาวก​นี้ ชื่อวา​ได​กระทำ​สิ่ง​ที่​กระทำ​ได​ยาก แผนดิน​นี้​จึง​ไม​อาจ​ทรง​คุณ​ความ​ดี​ของ​พระองค​ไว​ได​ฉะนั้น ทาน​พระมหากัสสปมิได​ทำความ​ทนง​ตน​วา เรา​ได​จีวร​เครื่อง​ ใชสอย​ของ​พระพุทธเจา แตค​ ดิ วา ตัง้ แตน​ ไ​ี้ ป​เรา​จะ​ทำ​อะไร​ใหด​ กี วา​ นีอ​้ กี จึงไ​ดส​ มาทาน​ธดุ งค ๑๓ ขอใ​น​สำนักพ​ ระศาสดา หลังจาก​บวช​ ได ๘ วัน ก็ได​บรรลุ​พระ​อรหัต​พรอมดวย​ปฏิสัมภิทา ธุดงค ๑๓ ขอ คือ ๑. บัง​สุกุลิก​ธุดงค ถือ​ผา​บังสุกุล​ใช​แต​ผา​เกา​ที่​คน​เขา​ทิ้ง​ เปน‌วัตร ๒. เต​จี​วริก​ธุดงค ใช​ผา ๓ ผืน คือ ไตรจีวร​เปน​วัตร ๓. บิ​ณฑ​บาติกา​ธุดงค บิณฑบาต​บริโภค​อาหาร​เฉพาะที่​ได​ มา‌จาก​การ​รับ​บิณฑบาต​เทานั้น​เปน​วัตร ๔. ​สัปป​ทาน​จาริก​ธุดงค บิณฑบาต​ตามลำดับ​เปน​วัตร ๕. เอกา​สนิกธ​ ดุ งค ฉันใ​น​อาสนะ​เดียว​เปนว​ ตั ร นัง่ ฉ​ นั เ​พียง‌ครัง้ ​ เดียว บริโภค​อาหาร​เพียง​วัน​ละ​ครั้ง​เดียว ๖. ป​ ต ต​บนิ ฑิกธ​ ดุ งค ฉันใ​น​บาตร นำ​อาหาร​ทกุ ชนิดม​ ารวมกัน‌ใน​ บาตร​เปน​วัตร ๗. ขลุ​ปจฉาภัต​ติก​ธุดงค หามภัต​ที่​ถวาย​ภายหลัง​เปน​วัตร คือ รับ‌บาตร​มาแลว ไมรบั อ​ ะไร​อกี แลว แมห​ ลังจากนัน้ ‌จะ​มผ​ี ถ​ู วาย​อะไร​ อีก ก็​จะ​ไมรับ​แลว​แม​จะ​ถูกใจ​ก็ตาม ๘. อารัญญิก​ธุดงค อยูปา​เปน​วัตร ๙. รุก​ขมลิก​ธุดงค อยู​โคน​ไมเปน​วัตร ๑๐. ​อัพโภกา​สิก​ธุดงค อยู​กลาง​แจง ไม​เขาสู​ที่​มุง​บัง​ใดๆ เลย


47 ‌เปน​วัตร ๑๑. ​โสสานิก​ธุดงค อยู​ใน​ปาชา​เปน​วัตร ๑๒. ​ยถาลันต​ติก​ธุดงค ถือ​การ​อยู​ใน​เสนาสนะ​ที่​เขา​จัด​ไว​ให​ เปน‌วัตร ใคร​ขอให​สละ​ที่พัก​นั้น ก็​พรอม​สละ​ได​ทันที ๑๓. ​เนสัชชิก​ธุดงค ถือ​การ​นั่ง​เปน​วัตร จะ​อยู​ใน ๓ อิริยาบถ ‌คือ ยืน เดิน นั่ง ไม​เอนตัว​ลง​ให​หลัง​สัมผัส​พื้น​เลย

งาน​ประกาศ​พระศาสนา

พระมหากัสสป​เถระ เปน​พระ​เถระ​ที่​สันโดษ​มักนอย ถือธุดงค​ เปน​วัตร ธุดงค ๓ ขอ ที่ถือ​อยู​ตลอดชีวิต คือ ๑. ทรง​ผา​บังสุกุล​ เปน​วัตร ๒. เที่ยว​บิณฑบาต​เปน​วัตร ๓. อยูปา​เปน​วัตร การ​เผยแผ​ พระพุทธศาสนาของ​ทาน​จึง​ไป​ในทาง​เปน​แบบอยาง​ที่​ดี​ของ​คน​ รุนหลัง​มากกวา​การ​แสดงธรรม ทาน​ได​แสดง​คุณ​แหง​การ​ถือธุดงค​ ของ​ทาน​แก​พระศาสดา ๒ ประการ​คือ ๑. เปนการ​อยู​เปนสุข​ใน​ปจจุบัน ๒. เพื่อ​อนุเคราะห​คน​รุนหลัง จะ​ได​ถือ​ปฏิบัติ​ตาม พระศาสดา​ทรง​ประทาน​สาธุการ​แก​ทาน แลว​ตรัส​วา “เธอได​ ปฏิบัติ​เพื่อ​ประโยชน​และ​ความ​สุข​แก​ตน​แก​ชน​เปนอันมาก” ทรง​ สรรเสริญ​ทาน​วา เปน​ผู​มักนอย สันโดษ ตรัส​สอน​ภิกษุ​ทั้งหลาย​ให​ ถือเปน​แบบอยาง ดังนี้ ๑. ก​ สั สปะ มีธ​ รรม​เปนเ​ครือ่ ง​อยูเ​ สมอ​ดว ย​ตถาคต เปนผ​ ม​ู กั นอย​ สันโดษ​ภิกษุ​ทั้งหลาย​ควร​ถือเปน​แบบอยาง ๒.​กัสสปะ เขาไ​ปสู​ต ระกูล ชัก​กาย​และ​ใจ​ออกหาง​ประพฤติตน​


48

เปนค​ น​ใหม ไมคนุ เคย​อยูเ​ ปนนิตย ไมค​ ะนอง​กาย​วาจา​ใจ จิตไ​มข​ อ ง​ อยูใ​ น​สกุลน​ นั้ เพิกเฉย ตัง้ จ​ ติ เ​ปนกลาง​วา ผูใ​ ครล​ าภ​จง​ไดลาภ ผูใ​ คร​ บุญ จง​ได​บุญ ตน​ไดลาภ​มี​ใจ​ฉันใด ผูอื่น​ก็​มี​ใจ​ฉันนั้น ๓. ​กัสสปะ มี​จิต​ประกอบดวย​เมตตา แสดงธรรม​แก​ผูอื่น ๔. ทรง​สั่งสอน​ภิกษุ​ให​ประพฤติดี​ประพฤติ​ชอบ โดย​ยก​ทาน​ พระมหากัสสป​เปน​ตัวอยาง แต​งาน​ประกาศ​พระศาสนา​ที่​สำคัญที่สุด​ของ​พระมหากัสสป​ เถระ คือ เปน​ประธาน​การ​ทำ​สังคายนา​พระ​ธรรมวินัย​ครั้งแรก เมื่อ​พระพุทธเจา​เสด็จ​ดับ​ขันธ​ปรินิพพาน​แลว ทาน​ได​ปรารภ​ ถอยคำของ​สภุ ทั ทวุฑฒ​บรรพชิต ก​ ลาว​กบั ภ​ กิ ษุท​ งั้ หลาย​วา “พวกเรา​ พนพ​ นั ธนาการ​จาก​พระ​สม​ณโ​ค​ดม​แลว ตอจ​ ากนีไ้ ป อยาก​ทำ​อะไร​ ก็​ทำ ไม​อยาก​ทำ​ก็​ไม​ตอง​ทำ” หลังจาก​ถวายพระเพลิงพ​ ระ​บรม​ศพ​ของ​พระพุทธเจาแ​ ลว ทาน​ ไดแ​ จงเ​รือ่ ง​นนั้ ใ​หพ​ ระสงฆท​ ราบ แลวต​ กลง​กนั ว​ า ต​ อ ง​สงั คายนา​พระ​


49 ธรรมวินัย เพราะ​เปน​วิธี​ที่​ดีที่สุด​อัน​จะ​ทำให​พระศาสนา​ดำรง​มั่น​ คงอยูได​ชั่วกาลนาน ​ พระสงฆ​ได​มอบให​ทาน​เปน​ประธาน​คัดเลือก​พระภิกษุ​ผู​จะ​ เขารวม​สังคายนา ท่านคัดเลือกพระอรหันต์ ๔๙๙ รูป ลวนแต​ บรรลุ​อภิญญา ๖ และ​ปฏิสัมภิทา ๔ จากนั้น​ได​เดินทาง​ไปยัง​ถ้ำ​ สัตตบรรณ​คูหา ​ขาง​ภูเขาเว​ภาระ โดย​ไดรับ​ราชูปถัมภ​จาก​พระเจา​ อ​ชาต​ศัตรู​แหง​แควนมคธ ปฐม​สังคายนา​นี้ มี​ความ​สำคัญมาก​ได​ชวย​รักษา​คำ​สอน​ของ​ องค​สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา​ให​ดำรง​มั่นคง​มา​จวบ​ถึง​ทุกวันนี้

เอตทัคคะ

พระมหากั ส สป​เ ถระ ได รั บ ​ก าร​ส รรเสริ ญ ​จ าก​พ ระศาสดา​ เปนตนวา เปรียบ​เสมือน​ดวย​พระจันทร เขา​ไปยัง​ตระกูล​ทั้งหลาย​ ไม​คะนอง​กาย ไม​คะนอง​จิต เปน​ผู​ใหม​อยู​เปนนิตย ไม​เยอหยิ่ง วันหนึง่ เมือ่ ป​ ระทับน​ งั่ ใ​น​ทา มกลาง​หมูพ​ ระ​อริยเ​จา ทรง​ตงั้ พ​ ระ​ เถระ​ไว​ใน​ตำแหนง​ผู​เลิศ​แหง​ภิกษุ​ทั้งหลาย ผูทรง​ธุดงค​ และ​กลาว​ สอน​ธุดงค​วา “ภิกษุ​ทั้งหลาย ​กัสสปะ​นี้ เปน​ผู​เลิศ​แหง​ภิกษุ​สาวก​ ทั้งหลาย​ของ​เรา ผูทรง​ธุดงค​และ​กลาว​สอน​ธุดงค”

การ​ตั้ง​ความ​ปรารถนา

นับ​ยอนหลัง​ไป​แสน​กัปป​แต​กัปป​นี้ พระพุทธเจา​ทรง​พระนาม​ วา ​ปทุมุตตระ ได​เสด็จ​อุบัติ​ใน​โลก พระมหากัสสป​เถระ​นี้​ได​เกิด​ เปน​กุฎมพี​นาม​วา เว​เทหะ ใน​พระนคร​หังส​วดี​นับถือ​รัตนตรัย ​ได​


50 เห็นพระ​สาวก​ผู​เลิศ​ทาง​ธุดงค​นาม​วา มหา​นิสภ​เถระ เลื่อมใส​ใน​ ปฏิปทา​ของ​ทาน จึง​นิมนต​พระ​ปทุมุตตร​พุทธเจา พรอม​พระสงฆ​ มา​ถวาย​ภัตตาหาร แลว​ตั้ง​ความ​ปรารถนา​ตำแหนง​นั้น พระพุทธเจา​ทรง​ตรวจดู​ดวย​พุทธ​ญาณ​เห็นวา ความ​ปรารถนา​ ของ​เขา​จะ​สำเร็จ​แนนอน จึง​ทรง​พยากรณ​วา “ใน​อนาคตกาล​ ประมาณ​แสน​กัปป​ พระพุทธเจา พระนาม​วา​โค​ดม จัก​อุบัติขึ้น ทานจัก​เปน​สาวก​ที่ ๓ ของ​พระพุทธเจา​นั้น มี​ชื่อวา มหา​กัสสป​ เถระ” อุบาสก​นั้น ได​ฟง​คำ​นั้น​แลว รูสึก​เหมือนดัง​วาความ​ปรารถนา​ นั้น ประดุจ​จะ​สำเร็จ​ได​ใน​วันพรุงนี้ จึง​ได​กระทำ​บุญกรรม​ตางๆ มาตลอด​หลาย​พทุ ธันดร ใน​ชาติส​ ดุ ทาย​ไดม​ า​เกิดเ​ปนพ​ ระมหากัสสป​ เถระ​ตาม​คำ​พยากรณ​ทุกประการ

สืบสาน​พุทธ​กิจ

พระมหากัสสป​เถระ ไดรบั ก​ าร​สรรเสริญจ​ าก​พระศาสดา​ใน​เรือ่ ง​ การ​ถือธุดงค​เปน​วัตร แม​พระศาสดา​ตรัส​สรรเสริญ​พระ​เถระ แต​ ทาน​กไ​็ มไดท​ นง​ตน​วา จ​ ะ​เลิศก​ วาผ​ อู นื่ ทาน​กไ็ ดอ​ อก​โปรด​เวไนย​สตั ว​ อยู​เสมอ ทาน​เปนที่​เคารพ​และ​ยกยอง​อยาง​สูง​ใน​หมู​ภิกษุ หมู​เทพ​ เทวดา และ​มนุษย​ทั้งหลาย ใน​หลายๆ​ครัง้ แมเ​ทพ​เทวดา​กย​็ งั ม​ า​อปุ ฏ ฐาก​ทา น ดังเ​รือ่ ง​ทถ​ี่ กู ​ จารึก​ไว​ใน​พระไตรปฎก​จน​เปนธรรม​วาทะ​ของ​ทาน​พระมหากัสสป ทาน​ได​ถือ​ธุดงควัตร ออก​สั่งสอน​เทศนา​ธรรม เผยแพร​พระศาสนา โปรด​พุทธบริษัท แม​เทพ​เทวดา​ก็​ยัง​อยาก​ให​ทาน​โปรด


51 ครัง้ หนึง่ ท​ า น​พระมหากัสสป อยูท ปี่ ป ผ​ ลิค​ หู า เขาฌาน​แลว ออก​ ใน​วันที่ ๗ ​เมื่อ​ออกจาก​ฌาน​แลว​ทาน​ได​พิจารณา​ดวย​ทิพยจักษุ เพื่อพิจารณาบุคคลที่ควรโปรด เห็นหญิงรักษานาข้าวสาลีคนหนึ่ง เด็ดรวงข้าวสาลีทำข้าวตอกอยู่ ท่าน​ได​เห็นวา​หญิง​นี้​มี​ศรัทธา​จึง​ได​ เดินทาง​ไป​โปรด นาง​กุลธิดา​พอ​เห็น​พระ​เถระ​ก็​มี​จิต​เลื่อมใส จึง​ได​นำ​ขาวตอก​ ไป​ถวาย​พระ​เถระ​แลว ไหว​ดวย​เบญจางคประดิษฐ​และ​ได​ทำความ​ ปรารถนา ขอ​เปน​ผูมีสวน​แหง​ธรรม​ที่​ทาน​เห็น​แลว ใน​ระหวาง​นาง​เดินทาง​กลับ​ นาง​ได​นึกถึง​ทาน​ที่​ตน​ได​ถวาย​ไป​ เกิด​จิต​เปน​กุศล​อยู แต​บน​ทาง​ที่​นาง​เดินทาง​กลับ​นั้น นาง​ได​ถูก​งู​ พิษราย​กัด และ​ถึง​แก​ความ​ตาย ณ ที่​นั้น​เอง​ ดวย​จติ อ​ นั เปนก​ ศุ ล​กอ น​ทจี่ ะ​ตาย นาง​จงึ ไ​ดไ​ป​เกิดใ​น​วมิ าน​ทอง ใน​ภพ​ดาวดึงส ประดับ​เครื่อง​อลังการ แวดลอม​ดวย​นางอัปสร ๑ พัน ที่​ประตู​วิมาน​อัน​ประดับ​ดวย​ขัน​ทองคำ เต็มไปดวย​ขาวตอก​ ทองคำ​หอย​ระยา​อยู นาง​เทพธิดา​นั้น​ตองการจะ​ทราบ​วา​ตน​ทำกรรม​เชนไร​จึง​ได​ สมบัติ​นี้ เมื่อ​พิจารณา​แลวจึง​ได​รูวา สมบัติ​นี้​ได​มา​เพราะ​ผล​แหง​ ขาวตอก​ที่​ถวาย​พระมหากัสสป​เถระ​ นาง​จึง​คิดวา สมบัติ​ที่​นาง​ ได​เชนนี้​เปน​เพราะ​ได​กระทำ​กรรม​ไว​เพียง​นิดหนอย นาง​ไม​ควร​ ประมาท ควร​จะ​กระทำการ​ปฏิบัติ​แก​พระ​มหา​เถระ​นั้น เพื่อ​ทำ​ สมบัติ​นั้น​ให​ถาวร​ นาง​จึง​ไปยัง​ที่​พำนัก​ของ​พระ​มหา​เถระ แลวไป​ปดกวาด​บริเวณ​ ที่​พำนัก​ของ​พระ​เถระ แลว​ตั้ง​น้ำ​ฉัน​น้ำ​ใช​ไว​แต​เชาตรู


52 พระ​เถระ​เห็น​เชนนั้น สำคัญ​วา​ภิกษุ​หนุม​หรือ​สามเณร​บาง​รูป​ ทำให​ทาน ใน​วันรุงขึ้น​นาง​ก็ได​ทำ​เชน​เดียวกัน​อีก ฝาย​พระ​เถระ​ก็​ เขาใจ​เชน​เดิม จนกระทั่ง​ใน​วันที่ ๓ พระ​เถระ​ไดยิน​เสียง​ไมกวาด​ ของ​นาง​ และ​เห็น​รัศมี​ของ​นาง​ฉาย​เขา​ไปทาง​ชอง​ลูกดาล ทาน​จึง​ เปดประตู​ออกมาถาม​วา “นั่น​ใคร?” นาง​เทพธิดา​จงึ ต​ อบ แลวเ​ลาเ​รือ่ ง​ความ​ประสงคข​ อง​ตน​ใหพ​ ระ​ เถระ​ฟง พระ​เถระ​จึง​หาม​มิ​ให​นาง​กระทำ​ตอไป

ธรรม​วาทะ

โดย​ทาน​ได​กลาว​วา “ดูกอน​นาง​เทพธิดา เธอ​จง​หลีก​ไป เธอ​ อยา​ทำให​เรา​ตอง​ถูก​พระ​ธรรมกถึก​ทั้งหลาย​ใน​ภายหนา นั่ง​ถือ​พัด​ อัน​วิจิตร​พูดวา มี​นาง​เทพธิดา​ผู​หนึ่งมา​ทำ​วัตรปฏิบัติ เขาไป​ตั้ง​น้ำ​ ฉัน​น้ำ​ใช​ถวาย​พระมหากัสสป​เถระ ตั้งแต​นี้​ไป​เธอ​อยา​มา ณ ที่นี้​ อีก จง​กลับ​ไป​เสีย” ผูใ ด​ไมมค​ี วาม​เคารพ​ใน​เพือ่ น​พรหมจรรย ผูน​ นั้ ย​ อ ม​อยูห​ า ง​พระ​ สัทธรรม เหมือน​แผนดิน​ที่อยู​หาง​จาก​ฟา ผู​ที่​มี​หิริ​และ​โอตตัปปะ​ ประจำใจ​ตลอด​เวลา ประพฤติ​พรหมจรรย​ยอม​งอกงาม ภพ​ใหม​ ยอม​ไมมี ภิกษุผ​ ฟ​ู งุ ซาน​งอ นแงน ถึงจ​ ะ​หม ผ​ า บ​ งั สุกลุ ก​ ไ​็ มงาม ไมต​ า ง​ จาก​ลงิ ห​ ม ห​ นังเ​สือ ภิกษุผ​ ไ​ู มฟ​ งุ ซาน​มนั่ คง มีป​ ญ  ญา สำรวม​อนิ ทรีย​ หม​ผา​บังสุกุล ยอม​งาม​เหมือน​ราชสีห บน​ยอด​ขุนเขา” นาง​เทพธิดา​จงึ ​ออ นวอน​ใน​ความ​ประสงค​ของ​ตน​ซำ้ ​แลว​ซำ้ ​อกี พระ​เถระ​เห็นวาน​ าง​เทพธิดา​ดอื้ ดึงไ​มยอม​ฟง ถ​ อ ยคำ จึงป​ รบมือ​ ขึน้ ดวย​เสียง​ปรบมือข​ บั ไลข​ อง​พระ​มหา​เถระ​ดงั กลาว นาง​เทพธิดา​


53

ไม​อาจ​อยู​ในที่​นั้น​ได จึง​เหาะ​ขึ้น​ใน​อากาศ ยืน​ประนมมือ​รองไห คร่ำครวญ​อยู พระศาสดา​ประทับน​ งั่ ใ​น​พระ​คนั ธกุฎี ทรง​สดับเ​สียง​นาง​เทพธิดา​ นั้น​รองไห จึง​ทรง​แผ​พระ​รัศมี​ดุจ​ประทับ​นั่ง​ตรัส​อยู​ตรงหนา​นาง​ เทพธิดา ตรัส​วา “เทพธิดา การ​ทำความ​สังวร (ใน​สม​ณ​จริยา) เปน​หนาที่​ของ​ กัสสปะ​ผบ​ู ตุ ร​ของ​เรา แตก​ าร​กำหนด​วา นีเ​้ ปนป​ ระโยชนข​ อง​เรา แลว​ มุง ก​ ระทำ​แตบ​ ญ ุ ยอม​เปนห​ นาทีข​่ อง​ผท​ู ต​ี่ อ งการ​บญ ุ เพราะ​วา การ​ ทำบุญ​ทำใหเกิด​สุข​แต​อยางเดียว ทั้ง​ใน​ภพ​นี้ ทั้ง​ใน​ภพหนา” ดังนี้เมื่อจบพระเทศนาของพระพุทธองค นาง​เทพธิดา​นั้น จึง​ ได​บรรลุ​โสดาปตติผล

นิโรธสมาบัติ

ครั้งหนึ่ง​พระมหากัสสป​เถระ​ได​เขา​นิโรธสมาบัติ เปนเวลา ๗ วัน เมื่อ​ทาน​ออกจาก​สมาบัติ​แลว จึง​ดำริ​ที่จะ​ออก​เที่ยว​บิณฑบาต


54 ตามลำดับต​ รอก​ใน​กรุงร​ าช​คฤห เพือ่ โ​ปรด​คน​ยากไร ดวย​เหตุว​ า การ​ ถวาย​ทาน​แด​พระภิกษุ​ที่​ออกจาก​สมาบัติ​นั้น​จะ​ไดรับ​ผลบุญ​ใน​ ปจจุบัน​โดย​ฉับพลัน​ทันตา ขณะนั้ น นางอัปสร​ประมาณ ๕๐๐ ผู  ​เ ป น ​บ ริ จ าริ ก า​ข อง​ พระอินทร เกิด​ความ​ปรารถนา​ที่จะ​ได​บุญ​เชนนั้น จึง​ตระเตรียม​ บิณฑบาต ๕๐๐ ที่ แลว​ถือ​มา​ยืน​อยู​ใน​ระหวางทาง กลาว​นิมนต​ ทาน​พระมหากัสสป​เถระ พระ​เถระ​ได​ปฏิเสธ​ โดย​กลาว​วา​ทาน​ประสงค​จะ​สงเคราะห​แก​ คน​เข็ญใจ เหลา​นาง​เทพธิดา​จึง​ได​ออนวอน​อีก พระ​เถระ​เห็นวา​ นาง​เทพธิดา​ดื้อดึง​จึง​ดีดนิ้วไล​นาง​เทพธิดา​เหลานั้น​ให​ไป​เสีย นาง​ เทพธิดา​เหลานั้น เมื่อ​พระ​เถระ​ดีดนิ้ว​ไล​ก็​ไม​อาจ​อยู​ได จึง​เหาะ​ กลับ​ไปยัง​เทวโลก​ตามเดิม ทาว​สักกะ​จึง​ตรัส​ถาม นาง​เทพธิดา​ก็​ เลาเ​นือ้ ความ​ใหแ​ กท​ า ว​สกั กะ​ฟง พ​ ระองคฟ​ ง แ​ ลวก็เ​กิดค​ วาม​ตอ งการ​ อยาก​ใสบาตร​ขึ้น​มา​ดวย​เหตุ​ที่วา

องคอัม​ริน​ทรอินทราธิ​ราช​ทาว​สักกะ​จอม​เทพ

ครั้งหนึ่ง พระอินทร​หรือ​ทาว​สักก​เทว​ราช​เสด็จ​ออกมา​นอก​ วิมาน ทรง​พบ​กับ​เทพบุตร ๓ องค​พา​บริวาร​มา​เลน​นักขัตฤกษ เทพบุตร ๓ องค​นั้น​มี​รัศมี​ทิพย​สวาง​ผองใส​จน​ขม​รัศมี​ของ​ทาว​ สักก​เทว​ราช​ให​หมอง​ลง ทาว​สักก​เทว​ราช​จึง​รีบ​เสด็จ​กลับ​เวชยันต​ ปราสาท​ทันที​ ดวย​ความ​อาย​วา​พระองค​เปน​ถึง​จอม​เทพ แต​รัศมี​ สวาง​สู​เทพ​บริวาร​ไมได พระองค​ทรง​พิจารณา​วา​ ทำ​อยางไร​ดี​หนอ​รัศมี​ของ​พระองค​


55 จึ ง ​จ ะ​ส ว า ง​รุ  ง เรื อ ง​ขึ้ น เมื่ อ ​ท อดพระเนตร​เ ห็ น ​พ วก​น างอั ป สร​ บาทบริจาริกา​กลับ​มาจาก​เมือง​มนุษย จึง​ตรัส​ถาม​วา​พวก​เธอ​ไป​ ไหน​กัน​มา นางอัปสร​กราบทูล​วา​ไป​ใสบาตร​พระมหากัสสป​เถระ​ที่​ เพิง่ อ​ อกจาก​นโิ รธสมาบัติ แตพ​ ระ​เถระ​ไมร​ บั บาตร บอกวาอ​ านิสงส​ การ​ใสบาตร​พระ​ที่​เพิ่ง​ออกจาก​นิโรธสมาบัติ​นั้น​สูงมาก ทาน​จะ​ใช​ สงเคราะห​พวก​คน​เข็ญใจ​ ทาว​สกั ก​เทว​ราช​ไดฟ​ ง ด​ งั นัน้ เกิดค​ วาม​คดิ วาจ​ ะ​ตอ ง​ไป​ใสบาตร​ พระ​เถระ​ใหจ​ ง​ได จึงเ​สด็จม​ า​เมือง​มนุษยพ​ รอมกับพ​ ระนาง​สชุ าดา ที​่ เปนพ​ ระเทวี ทาว​สกั กะ​จำแลง​เพศ​เปนช​ า ง​หกู ช​ รา ฟนห​ กั ผมหงอก หลัง​โกง สวน​พระนาง​สุชาดา​ก็​แปลงเพศ​เปน​หญิง​ชรา​ดุจ​เดียวกัน ทั้งสอง​เนรมิต​เรือน​เกาๆ ดัก​อยู​กลาง​ทาง​ที่​พระมหากัสสป​จะ​มา​ บิณฑบาต ฝาย​พระมหากัสสป​เถระ เมื่อ​ออกจาก​นิโรธสมาบัติ​แลวก็​เดิน​ บายหนา​เขา​เมือง หวัง​จะ​สงเคราะห​พวก​คน​เข็ญใจ ครั้น​ผาน​เรือน​ ของ​ชาง​หูก​จำแลง​นั้น ก็​เห็น​ชาง​หูก​ชรา​กำลัง​ขึง​หูก ภรรยา​ชวยก​ รอ​ดาย พระ​เถระ​ไมได​คาดคิด จึง​ไมได​ใช​ญาณ​ตรวจดู ทาน​คิด​ เพียงวา​สอง​คน​นี้​แก​แลว​ยัง​ตอง​ลำบาก​ทำงาน​กัน​อยู ใน​เมือง​นี้​คง​ ไมมีใคร​เข็ญใจ​มากกวา​นี้​อีกแลว พระ​เถระ​จึง​หยุดอยู​หนา​เรือน​รอ​ รับ​บิณฑบาต ​ ฝาย​สอง​สามีภรรยา​นนั้ ท​ ำเปนต​ า​ฝา ฟาง​เหมือน​ไมเห็น ทำงาน​ ของ​ตน​ตอไป​อยู​ครูหนึ่ง แลว​ชาย​ชรา​จึง​เดิน​กระยองกระแยง​ ออกจาก​เรือน​มา​ดใ​ู กลๆ พอ​เห็นพ​ ระ​เถระ​กแ​็ สรงทำ​ดใี จ​บอก​ภรรยา​ วา “นี่​เธอ เปนบุญ​หา​ยาก​ยิ่งนัก​ที่​พระมหากัสสป​เถระ​มายัง​ประตู​


56

กระทอม​ของ​เรา เรา​มี​อะไร​พอ​จะ​ใสบาตร​ได​บาง​ไหม” หญิงช​ รา​ทำเปนก​ ลุ กี จุ อ​ดใ​ู น​ครัว แลวต​ อบ​วา มี​แลวก็ค​ ด​ขา วสุก​ ใน​หมอ​ออกมา​ใสบาตร​จน​เต็ม ​แต​ขาว​ที่​ใสบาตร​นั้น​เปน​ขาวทิพย จึง​สงกลิ่น​หอมขจรขจาย​ไป​ทั่ว​ทั้ง​พระนคร พระ​เถระ​ฉกุ คิดว​ า ส​ อง​สามีภรรยา​นเ​ี้ ปนค​ น​ยากจน แตอ​ าหาร​น​ี้ กลับ​มี​กลิ่น​หอม​ราวกับ​อาหาร​ของ​ทาว​สักกะ สอง​สามีภรรยา​นี้​เปน​ใคร​กัน​หนอ พอ​พิจารณา​ดู​ดวย​ญาณ​ก็​รูวา​ทั้งสอง​คน​นี้​คือ​ทาว​สักก​เทว​ราช​ และ​พระนาง​สชุ าดา พระ​เถระ​จงึ ก​ ลาว​วา ​“พระองคเ​ปนท​ า ว​สกั ก​เทว​ ราช เหตุใด​จึง​มา​แยง​สมบัติ​ที่​ควร​แก​คน​เข็ญ​ใจเสีย​เลา ใคร​ก็​ตามที่​ ได​ใสบาตร​อาตมา​ภาพ​ใน​วันนี้ เขา​จะ​พึง​ได​ตำแหนง​เสนาบดี​หรือ​ ตำแหนง​เศรษฐี​อยาง​แนนอน” ทาว​สักก​เทว​ราช​ตรัส​ตอบ​วา “คน​เข็ญใจ​ยิ่งกวา​ขาพเจา​นี้​ไมมี​ อีกแลว​พระคุณเจา”


57 พระ​เถระ​จึง​ถาม​วา “พระองค​เสวย​ทิพย​สมบัติ​ใน​เทวโลก จะ​ เปน​คน​เข็ญใจ​ได​อยางไร​” ทาว​สักกะ​ทรง​ตอบ​วา “ขาพเจา​ทำบุญ​ไว​มาก​จึง​ได​ทิพย​สมบัติ​ ทัง้ หลาย แตบ​ ญ ุ เ​หลานัน้ ก​ ม​็ อ​ี านิสงสเ​พียง​นอ ยนิด เพราะ​เปนบุญท​ ​ี่ ทำ​ไวค​ รัง้ โ​ลก​วา ง​จาก​พระศาสนา บัดนีม​้ พ​ี ระพุทธศาสนา​บงั เ​กิดขึน้ ​ แลว เทพบุตร ๓ องค คือจูฬ​รถ​เทพบุตร มหา​รถ​เทพบุตร และ​ อเนกวัณ ​ณ ​ เ​ทพบุตร ไดท​ ำบุญใ​น​พระศาสนา​จงึ ไ​ดอ​ านิสงสม​ าก เมือ่ ​ ไป​อบุ ตั ใ​ิ น​เทวโลก เขา​เหลานัน้ จ​ งึ ม​ ร​ี ศั มีร​ งุ เรือง​มาก ถม​ทบั ร​ ศั มีข​ อง​ ขาพเจา​จน​หมด จน​ขาพเจา​ไม​อาจสู้หน้าต้องหลบเข้าวิมาน จะหา​ ใคร​เข็ญใจ​เทา​ขาพเจา​นี้​ได​อีก​เลา” พระ​กสั สป​เถระ​จงึ บ​ อกวา “ตอไป​พระองคอ​ ยาไ​ป​แยงส​ มบัตข​ิ อง​ พวก​คน​จน​อีก​เลย” ทาว​สักก​เทว​ราช​และ​พระนาง​สุชาดา​อภิวาท​พระ​เถระ ทรง​ทำ​ ประทักษิณ แลว​เหาะ​กลับ​สู​เทวโลก ​ทรง​เปลง​อุทาน ๓ ครั้ง ใน​ อากาศ​กลางหาว​วา “โอ ทาน​ที่​เปน​ทาน​อยาง​เยี่ยม เรา​ได​ตั้งไว​ ดีแลว​ใน​ทาน​พระ​กัสสปะ” พระ​ผม​ู พ​ี ระ​ภาค​เจาป​ ระทับย​ นื อ​ ยูใ​ น​พระ​วหิ าร ไ​ดท​ รง​สดับเ​สียง​ ของ​ทาว​สักกะ​นั้น จึง​ตรัส​เรียก​ภิกษุ​ทั้งหลาย​มาแลว ตรัส​วา “ภิกษุ​ ทั้งหลาย พวก​เธอ​จง​ดู​ทาว​สักกะ​ผู​เปน​จอม​แหง​เหลา​เทพเจา ทรง​ เปลง​อุทาน เสด็จ​ไป​ทางอากาศ” ภิกษุเ​หลานัน้ จ​ งึ ท​ ลู ถาม​เรือ่ งราว พระศาสดา​จงึ ต​ รัสว​ า “ทาว​เธอ​ ลวง​ถวาย​บิณฑบาต​แก​กัสสปะ​ผู​บุตร​ของ​เรา ครั้น​ถวาย​บิณฑบาต​ นั้น​แลว ดี​พระทัย จึง​ทรง​เปลง​อุทาน​ไป”


58 ภิกษุจ​ งึ ถ​ าม​วา ทาว​สกั กะ​ทราบ​ไดอ​ ยางไร​วา “ถวาย​บณ ิ ฑบาต​ แก​พระ​เถระ​เปน​สิ่ง​สมควร พระพุทธเจาขา?” พระศาสดา​จึง​ตรัส​วา “ภิกษุ​ทั้งหลาย ทั้ง​เหลา​เทพเจา ทั้ง​เหลา​ มนุษยย​ อ ม​พอใจภิกษุผ​ ถ​ู อื ก​ าร​เทีย่ ว​บณ ิ ฑบาต​เปนว​ ตั ร เชน ก​ สั สปะ​ บุตร​ของ​เรา” ดังนีแ​้ ลว แมพ​ ระองคเ​อง​กท​็ รง​เปลงอ​ ทุ าน​แลว ดวย​พระโสต​ธาตุ​ อันเปน​ทิพย หมดจด ลวง​เสีย​ซึ่งโสต​ของ​มนุษย​ครั้ง​นั้นแล พระ​ผม​ู พ​ี ระ​ภาค​เจาท​ รง​ทราบ​เนือ้ ความ​นนั้ แ​ ลว ทรง​เปลงอ​ ทุ าน​ นี้ ใน​เวลานั้น​วา “เทวดา​และ​มนุษย ยอม​พอใจ แก​ภิกษุ​ผู​ถือ​การ​ เที่ยว​บิณฑบาต​เปน​วัตร ผู​เลี้ยง​ตัวเอง มิใช​เลี้ยง​ผูอื่น ผู​มั่นคง ผู​ เขาไป​สงบ​แลว มี​สติ​ทุกเมื่อ” ทรง​เปลง​อุทาน​นี้​แลว จึง​ตรัส​วา “ภิกษุ​ทั้งหลาย ทาว​สักกะ​ผู​ เปน​จอม​แหง​เหลา​เทพเจา ได​เสด็จ​มา​ถวาย​บิณฑบาต​แก​บุตร​ของ​ เรา เพราะ​กลิ่น​ศีล” ดังนี้​แลว ตรัส​พระ​คาถา​นี้​วา กลิ่น​หอม​ทั้งหลาย เชน​กลิ่น​หอม​ จาก​ดอกไม กลิน่ ห​ อม​จาก​แกนไมท​ ม​ี่ ก​ี ลิน่ ห​ อม​เปนตน ยอม​หอม​ไป​ ตามลม​เทานั้น ไม​สามารถ​หอม​ทวนลม​ได เทียบ​ไมได​เลย​กับ​กลิ่น​ ของ​ศีล กลิ่น​ของ​คุณ​ความ​ดี กลิ่น​ของ​ศีล กลิ่น​ของ​คุณ​ความ​ดี เปน​ สิ่ง​ที่​เลิศ เปน​สิ่ง​ที่​ประเสริฐ ยอม​ฟุง​ไป​โดย​รอบ กลิ่น​ของ​ผู​มี​ศีล​ทั้งหลาย เปน​กลิ่น​ชั้นสูง ยอม​หอม​ฟุง​ไป​ใน​ เทพเจา​และ​เหลา​มนุษย แมแต​ทาว​สักกะ ผู​เปน​จอม​แหง​เทพ​ใน​ สวรรค​ชั้น​ดาวดึงส ก็​ประสงค​ที่​ถวาย​ทาน​พระมหากัสสป​เถระ ก็​ เพราะ​กลิ่น​ศีล เพราะ​กลิ่น​ความ​ดี ของ​พระมหากัสสป


59 อปฺ​ปมตฺ​โต อยํ ​คนฺโธ ​ยฺวายํ ​ตครจนฺทนี โย จ สี​ลวตํ ​คนฺโธ วา​ติ เท​เวสุ ​อุตฺตโม ความ​วา สวน​กลิน่ ศ​ ลี ข​ อง​ผม​ู ศ​ี ลี ท​ งั้ หลาย​ใด กลิน่ ศ​ ลี น​ นั้ หา​เปน​ กลิน่ เ​ล็กนอย เหมือน​กลิน่ ใ​น​กฤษณา​และ​จนั ทนแดง​ไม คือ เปนก​ ลิน่ ​ อันโ​อฬาร แผซา น​ไป​เหลือเกิน ดวย​เหตุน​ นั้ แล กลิน่ ศ​ ลี จ​ งึ เ​ปนก​ ลิน่ ​ สูงสุด คือ​ประเสริฐ เลิศ ฟุง​ไป​ใน​เหลา​เทพเจา​และ​เหลา​มนุษย เมื่อ​สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา​เทศนา​เกิด​ประโยชน​แก​ มหาชน​แ ล ว ​ใ น​เวลาจบ​เ ทศนา ชน​เ ป น อั น มาก​บ รรลุ ​อ ริ ย ผล​ ทั้งหลาย มี​โสดาปตติผล​เปนตน เทศนา​เกิด​ประโยชน​แก​มหาชน​ แลว ดังนี้แล

พระมหากัสสป​กับ​เด็ก ๕๐๐ คน

วันหนึง่ พ​ ระศาสดา​มภ​ี กิ ษุ ๕๐๐ เปนบ​ ริวาร​พรอมดวย​พระ​อสีต​ิ มหา​เถระ เสด็จเ​ขาไป​กรุงร​ าช​คฤห เพือ่ บ​ ณ ิ ฑบาต ไดท​ อดพระเนตร​ เห็น​เด็ก ๕๐๐ คน ยก​กระเชา​ขนม​ออกจาก​เมืองแลวไปสวนในวัน มหรสพวันหนึ่ง เด็กเหล่านั้นก็เพียงแต่ถวายบังคมพระศาสดาแลว​ ก็​หลีก​ไป ไม​ปวารณา​เพื่อ​ถวาย​ขนม​แก​ภิกษุ​แม​สัก​รูป​หนึ่ง​ พระศาสดา​ตรัส​ถาม​กับ​ภิกษุ​ทั้งหลาย ใน​กาล​ที่​เด็ก​เหลานั้น​ ไปแลว​วา “ภิกษุ​ทั้งหลาย เธอ​ทั้งหลาย จัก​ฉันขนม​ไหม” ภิกษุ​ทูลถาม​วา “ขนม​ที่ไหน​พระพุทธเจาขา” พระศาสดาตรัสว​ า “เธอ​ทงั้ หลาย​ไมเห็นพ​ วก​เด็กถ​ อื ก​ ระเชาข​ นม​ เดินผาน​ไปแลว​หรือ?” ภิกษุ​ตอบ​วา “พวก​เด็ก​นั้น ไม​ถวาย​ขนม​แก​ใครๆ พระพุทธ


60 เจาขา” พระศาสดา​ตรัส​วา “ภิกษุ​ทั้งหลาย เด็ก​เหลานั้น​ไม​นิมนต​เรา​ หรือ​พวก​เธอ​ดวย​ขนม​ก็​จริง ถึงกระนั้น ภิกษุ​ผู​เปน​เจาของ​ขนม ก็​ กำลัง​มา​ขางหลัง เรา​ทั้งหลาย​ฉัน​ขนม​เสีย​กอน​แลวจึง​ไป” ตามธรรมดา​แหงพระพุทธเจา​ทั้งหลาย ยอม​ไมมี​ความ​ริษยา​ ใน​บุคคล​ใดๆ ​เลย เพราะฉะนั้นพระศาสดา​จึง​ตรัส​คำ​นี้​แลว จึง​พา​ ภิกษุสงฆ​ไป​ประทับ​นั่ง​ใต​รมเงา​โคน​ไมตน​หนึ่ง ตอมา​ พวก​เด็ก​เมื่อ​เห็น​พระมหากัสสป​เถระ​เดิน​มา​ขางหลัง ก็​ บังเกิดค​ วาม​รกั ​และ​เลือ่ มใส​พระ​มหา​เถระ​ขนึ้ อ​ ยาง​เต็มเปย ม จึงว​ าง​ กระเชา ไหวพระ​เถระ​ดว ย​เบญจางคประดิษฐ แลวย​ ก​ขนม​พรอมทัง้ ​ กระเชา​ถวาย​แก​พระ​เถระ พระ​เถระ​จึง​กลาว​แก​เด็ก​เหลานั้น​วา “นั่น​พระศาสดา​พา​พระ ภิกษุสงฆ​ไป​ประทับ​นั่ง​แลว​ที่​โคน​ไม พวก​เธอ​จง​ถือ​ไทยธรรม​ไป​ แบงสวน​ถวาย​ภิกษุสงฆ​เถิด” พวก​เด็กจ​ งึ ก​ ลับไ​ป​พรอมกับพ​ ระ​เถระ ถ​ วาย​ขนม​พระบรมศาสดา​ และ​หมู​ภิกษุสงฆ แลว​ได​ถวาย​น้ำ หลังจาก​ฉนั ข​ นม​เสร็จ ภิกษุท​ งั้ หลาย​ไดพ​ ดู อ​ อกไป​วา “พวก​เด็ก​ ถวาย​ภักษา​เพราะ​เห็นแกหนา​พระ​มหา​กัสสป​เถระ ใน​ครั้งแรก​ไม​ ตอนรับ​พระ​สัมมาสัม​พุทธเจา หรือ​พระ​มหา​เถระ​อื่น​ทั้งหลาย​ดวย​ ขนม ตอเมือ่ เ​ห็นพ​ ระมหากัสสป​เถระ​แลว จึงถ​ อื เอา​ขนม​พรอมดวย​ กระเชา​นั่น​มาถวาย” พระศาสดาทรงสดับถ้อยคำของภิกษุเหล่านั้นแล้วจึงตรัส​วา “ภิกษุ​ทั้งหลาย ภิกษุ​ผู​เชนกับ​มหา​กัสสปะ​ผู​บุตร​ของ​เรา ยอม​


61

เปนท​ รี่ กั ข​ อง​เหลาเทวดา​และ​มนุษยท​ งั้ หลาย ยอม​ทำ​บชู า​ดว ย​ปจ จัย ๔ แก​เธอ​โดย​แท” แลว​ตรัส​พระ​คาถา​แสดง​แก​เหลา​เด็ก​ทั้ง ๕๐๐ คน​นั้น ​ใน​กาล​ จบ​พระธรรม​เทศนา เด็ก​เหลานั้น​ทั้งหมด ก็ได​บรรลุ​โสดาปตติผล ดังนี้

หญิง​เข็ญใจ

สมัยน​ นั้ ใน​กรุงร​ าช​คฤหม​ ค​ี รอบครัวห​ นึง่ เ​ปนอ​ หิวาตกโรค คนใน​ ครอบครัว​นั้น​ตาย​กัน​หมด เหลือ​หญิง​คน​หนึ่ง หญิง​นั้น​ได​ทิ้ง​เรือน​ หนีไปพึ่ง​เรือน​ของ​คน​อื่น อาศัยอยู​ดานหลัง​เรือน​ของ​เขา พวก​ผู​ คนใน​เรือน​นั้น​คิด​สงสาร ใหอาหาร​ที่เหลือ​ใน​หมอ​ขาว​แก​นาง นาง​ เลี้ยงชีวิต​อยู​ดวย​อาหาร​ของ​ผูคน​เหลานั้น วันน​ นั้ ท​ า น​พระมหากัสสป เขาน​ โิ รธสมาบัติ ๗ วัน เมือ่ อ​ อกจาก​ นิโรธ​นั้น​แลว พิจารณา​หา​ผู​ที่​สมควรจะ​อนุเคราะห ได​เห็น​หญิง​นั้น​


62 ถึงว​ าระ​ใกลต​ าย และ​เห็นก​ รรม​ในอดีตข​ อง​นาง​จะ​นำไปสูน​ รก แตก​ ​็ ยัง​เห็น​โอกาส​ที่​นาง​จะ​ได​ทำบุญ ทาน​ได​พิจารณา​วา เมื่อ​เรา​ไปยัง​ บาน​นั้น หญิง​คน​นี้จัก​ถวาย​อาหาร​ที่​ตน​ได​มา และ​ผลบุญ​นั้น​นาง​ จะ​ได​ไป​เกิด​ใน​เทวโลก​ชั้น​นิมมานรดี​ ดังนัน้ ใ​น​เวลา​เชา ทาน​จงึ เ​ดินม​ งุ หนาไ​ปยังท​ อี่ ยูข​ อง​นาง แลวจึง​ ยืน​อยู​ขางหนา​เรือน​ของ​หญิง​นั้น นาง​เห็น​พระ​เถระ​แลว คิดวา​พระ​เถระ​นี้​เปน​พระ​เถระ​ผูใหญ ในที่นี้​ก็​ไมมี​ของกิน หรือ​ของ​เคี้ยว ซึ่ง​ควร​ที่จะ​ถวาย​แก​พระ​เถระ​นี้ จะ​มก​ี เ​็ พียงเศษอาหาร​อนั จ​ ดื เ​ย็นไ​มมรี ส เต็มไปดวย​หญาแ​ ละ​ผงธุลี ซึ่งอยู่ในภาชนะสกปรกนี้ เรา​ไม​อาจจะ​ถวาย​แก​พระ​เถระ​เชนนี้​ได นาง​จึง​กลาว​วา “ขอ​ทาน​จง​โปรดสัตว​ขางหนา​เถิด” แตพ​ ระ​เถระ​ยงั คง​ยนื น​ งิ่ ใ​นทีน​่ นั้ ผูค น​อยูใ​ น​เรือน​นำ​ภกั ษา​เขาไป​ ถวาย พระ​เถระ​ก็​ไมรับ หญิงเ​ข็ญใจ​นนั้ จึงร​ วู า พ​ ระ​เถระ​ประสงคจ​ ะ​รบั เ​ฉพาะ​อาหาร​ของ​ เรา จึง​มา​ในที่นี้​ก็​เพื่อ​อนุเคราะห​เรา​เทานั้น นาง​จึง​มี​จิตใจ​เลื่อมใส เกิด​ความ​เอื้อเฟอ ก็​เกลี่ย​ขาวตัง​นั้น​ลง​ใน​บาตร​ของ​พระ​เถระ พระ​เถระ​แสดงอาการ​วา จ​ ะ​ฉนั เ​พือ่ เ​พิม่ ค​ วาม​เลือ่ มใส​ของ​นาง​ให​ มากขึ้น ผูคน​ปู​อาสนะ​แลว พระ​เถระ​ก็​นั่ง​บน​อาสนะ​นั้น​ฉัน​ขาวตัง​ นั้น ดื่ม​น้ำ​ แลว​ชักมื​อออกจาก​บาตร ทำ​อนุโมทนา​แก​หญิง​เข็ญใจ นั้น​แลวก็​ไป ใน​คืน​นั้น​ นาง​ก็​สิ้นชีวิต ก็​ไป​บังเกิด​รวมกับ​เหลาเทพ​ใน​สวรรค​ ชั้น​นิมมานรดี


63

เกิด​รวมสมัย​กับ​พระโพธิสัตว

ทาน​ได​เกิด​รวม​ชาติ​กับ​พระโพธิสัตว​อยู​หลาย​ชาติ ดังที่​ปรากฏ​ ใน​ชาดก​ตางๆ เชน - เกิดเ​ปนพ​ ระ​สรู ะ ครัง้ พระพุทธองคเ​สวยพระชาติเ​ปนพ​ ระเจา​ จันทราช ใน ​จันท​กุมาร​ชาดก - เกิดเ​ปนน​ อ งชาย​หนึง่ ใ​น ๖ คน ครัง้ พระพุทธองคเ​สวยพระชาติ​ เปน​มหากัญ​จน​ดาบส ใน ​ภิงส​จริยา​ชาดก - เกิด​เปน​ทุกูละ​ดาบส ครั้งพระพุทธองค​เสวยพระชาติ​เปน​ สุวรรณ​สาม ใน สุวรรณ​สาม​ชาดก - เกิด​เปน​บิดา​ของ​มาณพ​ผู​เสาะหา​วิชา ครั้งพระพุทธองค​ เสวยพระชาติ​เปน​อาจารย ใน ​อสาต​มันต​ชาดก

พระ​สั ม มาสั ม ​พุ ท ธเจ า​ เสด็จ​ปรินิพพาน

พ​ ระ​สมั มาสัมพ​ ทุ ธเจาไ​ดเ​สด็จ​ โปรดสั ต ว ​แ ละ​แ สดง​พ ระธรรม​ เทศนา ตลอด​ร ะยะเวลา ๔๕ พรรษา ทรง​สดับ​วา อีก ๓ เดือน​ ขางหนา​จะ​ปรินิพพาน จึง​ได​ทรง​ ปลง​อายุ​สังขาร ขณะนั้น​พระองค​ ได​ประทับ​จำพรรษา ณ เวฬุคาม ใกล​เมือง​เวลา​สี แควน​วัช​ชี โดย​กอน​เสด็จ​ดับขันธ​ปริ นิพพาน ๑ วัน พระองค​ได​เสวย​สุกร​ มัทท​วะ​ที่​นาย​จุนทะ​ทำ​ถวาย แต​เกิด​อาพาธ​ลง ทำให​พระ​อานนท​


64 โกรธ แตพ​ ระองคต​ รัสว​ า “บิณฑบาต​ทม​ี่ อ​ี านิสงสท​ สี่ ดุ มี ๒ ประการ คือเมื่อ​ตถาคตเสวย​บิณฑบาต​แลว​ตรัสรู และ​ปรินิพพาน” และ​มี​พระ​ดำรัส​วา “โย โว อานนท ธมม จ ​วินโย ม​ยา เท​สิ​โต​ ปญญต​โต โส โว ​มมจจเยน ​สตถา” อัน​แปล​วา “ดูกอน​อานนท ธรรม​และ​วินัย​อัน​ที่​เรา​แสดง​แลว บัญญัติ​แลว​แก​เธอ​ทั้งหลาย ธรรมวินัย​นั้น จัก​เปน​ศาสดา​ของ​เธอ​ ทั้งหลาย เมื่อ​เรา​ลวงลับ​ไปแลว” พระพุทธเจา​ทรง​ประชวร​หนัก แต​ทรง​อดกลั้น​มุงหนา​ไปยัง​ เมืองกุ​สิ​นารา ประทับ ณ ปา​สาละ เพื่อ​เสด็จ​ดับขันธ​ปรินิพพาน โดย​กอน​ที่จะ​เสด็จ​ดับขันธ​ปรินิพพาน​นั้น พระองค​ได​อุปสมบท​แก​ พระ​สุภัททะ​ปริพาชก ซึ่ง​ถือไดวา “พระ​สุภภัททะ” คือ​สาวก​องค​ สุดทาย​ที่​พระพุทธองค​ทรง​บวช​ให ใน​ทามกลาง​คณะสงฆ​ทั้งที่​เปน​พระอรหันต และ​ปุถุชน​จาก​ แควน​ตางๆ รวมทั้ง​เทวดา ที่มา​รวมตัวกัน​ใน​วันนี้ ใน​ครานั้น​ พระองค​ทรง​มี​ปจฉิม​โอวาท​วา “ดูกอน​ภิกษุ​ทั้งหลาย เรา​ขอ​บอก​ เธอ​ทั้งหลาย ​สังขาร​ทั้งปวง​มี​ความ​เสื่อมสลาย​ไป​เปนธรรมดา พวกเธอจึงทำประโยชน์ตนเอง และประโยชน์ของผู้อื่นให้สมบูรณ์ ด้วย​ความ​ไม​ประมาท​เถิด” (อปป​มา​เทน สม​ปา​เทต) จากนัน้ ไ​ดเ​สด็จด​ บั ขันธป​ รินพิ พาน ใตต​ น ส​ าละ ณ สาล​วโนทยาน ของ​เหลา​มัลล​กษัตริย เมืองกุ​สิ​นารา แควน​มัลละ ใน​วัน​ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ รวม​พระ​ชนม ๘๐ พรรษา และ​วนั นีถ​้ อื เ​ปนการ​เริม่ ตนข​ อง​ พุทธศักราช


65

ถวายพระเพลิง​สมเด็จพระสัมมาสัม​พุทธเจา

พิธถ​ี วายพระเพลิงพ​ ระ​บรม​ศพ​มข​ี นึ้ ใ​น​วนั ที่ ๘ หลังจาก​พระ​ผม​ู ​ี พระ​ภาค​เจา​เสด็จ​ปรินิพพาน​ใต​ตน​สาละ​ใน​ราตรี ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ โดย​พวก​กษัตริยม​ ลั ละ​จดั บ​ ชู า​ดว ย​ของหอม ดอกไม และ​เครือ่ งดนตรี​ ทุกชนิด ทีม​่ อ​ี ยูใ​ นเมืองกุส​ น​ิ ารา​ตลอด ๗ วัน แลวใ​หก​ ษัตริยม​ ลั ละ ๘ องค ซึ่ง​ทรง​เปน​ประธาน​แก​กษัตริย​ทั้งปวง สรง​เกลา นุงหม​ผา​ใหม อัญเชิญพ​ ระ​สรีระ​ไปทาง​ทศิ ตะวันออกของ​พระนคร เพือ่ ถ​ วายพระ​ เพลิง​ พวก​กษัตริย​มัลละ​ถามถึง​วิธีปฏิบัติ​พระ​สรีระ​กับ​พระ​อานนท​ เถระ แลว​ทำตาม​คำ​ของ​พระ​เถระ​นั้น​คือ หอ​พระ​สรีระ​ดวย​ผา​ ใหม​แลว​ซับ​ดวย​สำลี แลว​ใช​ผา​ใหม​หอ​ทับ​อีก ทำ​เชนนี้​จน​หมด​ผา ๕๐๐ คู แลว​เชิญ​ลง​ใน​ราง​เหล็ก​ที่​เติม​ดวย​น้ำมัน แลว​ทำ​จิตกาธาน​ ดวย​ดอกไม​จันทน และ​ของหอม​ทุกชนิด จากนั้น​อัญเชิญ พวก​เจา​ มัลละ​ซึ่ง​ทรง​เปน​ประธาน​แก​กษัตริย​ทั้งปวง ๔ คน สระสรง​เกลา และ​นุงหม​ผา​ใหม พยายาม​จุด​ไฟ​ที่​เชิงตะกอน แต​ก็​ไม​อาจ​ให​ไฟ​ ติดไ​ด จึงส​ อบถาม​สาเหตุก​ บั พ​ ระ​อนุร​ ทุ ธะ (พระ​เอตทัคคะ​ผเ​ู ลิศท​ าง​ ทิพยจักษุญาณ คือ​มี​ตาทิพย) พระ​อนุ​รุทธะ​เถระ จึง​แจง​แก​คน​ทั้งปวง​วา “เพราะ เทพ เทวดา มี​ความ​ประสงค​ให​รอ​พระมหากัสสป และ​ภิกษุ​หมู​ใหญ ๕๐๐ รูป ผู​กำลัง​เดินทาง​มา​เพื่อ​ถวายบังคม​พระบาท​เสีย​กอน ไฟ​ก็​จะ​ ลุกไหม” ก็เ​ทวดาเหลานัน้ เคย​ไดอ​ ปุ ฏ ฐาก​พระ​เถระ และ​พระ​สาวก​ผใู หญ​ มา​กอน จึง​ไม​ยินดี​ที่​ไมเห็น​พระมหากัสสป​อยู​ใน​พิธี


66

และ​เมื่อ​ภิกษุ​หมู ๕๐๐ รูป​โดย​มี​พระมหากัสสป​เปน​ประธาน​ เดินทาง​มาพรอมกัน ณ ที่​ถวายพระเพลิง​แลว ครั้น​ถึง​เชิงตะกอน พระมหากัสสป​เถระ​กระทำ​จีวร​บัง​เฉียง​พระ​อังสา​เบื้อง​ซาย ถวาย​ อัญชลีเ​หนือเ​ศียร​เกลา ทำ​ประทักษิณา​วตั ร เขาสูเ​ บือ้ ง​พระบาท ทำ​ สัจจะ​อธิษฐาน​บารมี​วา “ขาพเจา​เปน​ผูเดียว​ที่​ได​รวม​พุทธ​บริโภค (ใช​ผา​สังฆาฏิ​รวมกับ​ พระพุทธเจา) และ​ขา​พระองค​เคารพ​รัก​เทิดทูน​พระพุทธองค​เหนือ​ เศียร​เกลา ขา​พระองคจัก​สืบทอด​พระศาสนา​ให​ดำ​รงค​ไว​ตาม​พุทธ​ บัญชา ขอให​พระบาท​อัน​ประดับ​ดวย​จักรรั​ตน​จง​ออกจาก​หีบ​ทอง​ รองรับ​อภิวาท​บังคม​จาก​หัตถ​ทั้งสอง​แหง​ขาพเจา” ขณะนั้น​พระศาสดา​ทรง​กระทำ​พระ​ปาฏิหาริย​ให​พระบาท​ ทั้งสอง​ยื่น​แทรก​ผา ๕๐๐ ชั้น​ออก​มาจาก​พระ​หีบ​ทอง เพื่อให​ พระมหากัสสป​เถระ​กระทำ​สกั การะ จากนัน้ พ​ ระบาท​กค​็ นื กลับเ​ขาสู​ หีบ​ทอง​ไฟ​จึง​ลุกโชน​ขึ้น​เอง​โดย​ไม​ตอง​มี​ใคร​จุด ทันใดนัน้ พ​ระอุร​ งั ค​ธาตุท​ ห​ี่ มุ หอด​ ว ย​ผา ก​ มั พล​กแ​็ สดง​ปาฏิหาริย​


67 เสด็จอ​ อกจาก​พระ​หบี ท​ อง มา​ประดิษฐาน​อยูเ​ หนือฝ​ า มือเ​บือ้ ง​ขวา​ แหง​พระมหากัสสป​เถระ​อัคร​สาวก ขณะนัน้ เตโชธาตุก​ บ​็ งั เกิดลุกเ​ปนเ​ปลว​ขนึ้ ท​ ำลาย​พระ​สรีระ​ของ​ พระศาสดา สวน​พระบรมธาตุ​สวน​ศรีษะ​นั้น ฆฏิ​การ​พรหม​อัญเชิญ​ไป​ ประดิษฐาน​ไว​ใน​พรหม​โลก พระธาตุ พระ​เขี้ยวแกว โทณพราหมณ์ได้อัญเชิญซ่อนไว้ที่​ มวย​ผม พระอินทรอ​ ญ ั เชิญไ​ป​ประดิษฐาน​ไวใ​น​ชนั้ ด​ าวดึงส พระธาตุ พระ​รากขวัญ​นั้น พญานาค​อัญเชิญ​ไป​ประดิษฐาน​ไว​ใน​เมือง​นาค พระบรมธาตุท​ อ​ี่ อก​พระนาม​มา​ขา งบน​นี้ มิไดเ​ปนอ​ นั ตราย​ดว ย​เพลิง ยัง​ปกติ​อยู​ตามเดิม สวน​พระบรมธาตุ​นอกนั้น​ยอยยับ​ไป​เปน ๓ ขนาด ขนาดใหญ​ เทา​เมล็ด ถั่ว​แตก ขนาดที่​สองเทา​เมล็ด​ขาวสาร​หัก ขนาดที่​สาม​ เทา​เมล็ด​พันธุ​ผักกาด พระเจาอ​ชาต​ศัตรู นำ​เอาไป​ประดิษฐาน​ไว​ ใน​ถ้ำ​สัตตป​ณ​คูหา​ หลังจากทีพ​่ ระ​เพลิงเ​ผา​ซงึ่ เ​ผาไหมพ​ ระพุทธ​สรีระ​ดบั ม​ อด​ลง​แลว บรรดา​กษัตริย​มัลละ​ทั้งหลาย จึง​ได​อัญเชิญ​พระบรมสารีริกธาตุ​ทั้ง​ หมดลง​ใน​หบี ท​ อง​แลวน​ ำไป​รกั ษา​ไวภ​ ายใน​นครกุส​ น​ิ ารา สวน​เครือ่ ง​ บริขาร​ตา งๆ ของ​พระพุทธเจาไ​ดม​ ก​ี าร​อญ ั เชิญไ​ป​ประดิษฐาน​ตามที​่ ตางๆ อาทิ ผา​ไตรจีวร อัญเชิญ​ไป​ประดิษฐาน​ที่​แควน​คัน​ธาระ บาตร​อัญเชิญ​ไป​ประดิษฐาน​ที่​เมือง​ปาต​ลี​บุตร เปนตน และ​เมือ่ บ​ รรดา​กษัตริยจ​ าก​แควนต​ า งๆ ไดท​ ราบ​วา พ​ ระพุทธเจา​ ได​เสด็จ​ดับ​ขันธ​ปรินิพพาน​ที่​นครกุ​สิ​นารา จึง​ได​สง​ตัวแทน​ไป​ขอ​


68 แบง​พระบรมสารีริกธาตุ เพื่อ​นำ​กลับมา​สักการะ​ยัง​แควน​ของ​ตน​ แตก​ ถ​็ กู ก​ ษัตริยม​ ลั ละ​ปฏิเสธ จึงท​ ำใหท​ งั้ ส​ องฝาย​ขดั แยงแ​ ละ​เตรียม​ ทำสงคราม​กัน แตใ​น​สดุ เ​หตุการณก​ ม​็ ไิ ดบ​ านปลาย เนือ่ งจากโท​ณพ​ ราหมณไ​ด​ เขามา​เปนต​ วั กลาง​เจรจา​ไกลเกลีย่ เพือ่ ย​ ตุ ค​ิ วาม​ขดั แยงโ​ดย​เสนอให​ แบงพ​ ระบรมสารีรกิ ธาตุอ​ อก​เปน ๗ สวน​เทาๆ กัน ซึง่ ก​ ษัตริยแ​ ตละ​ เมือง ทรง​สราง​เจดีย​ที่​บรรจุ​พระบรมสารีริกธาตุ ตาม​เมือง​ตางๆ ดังนี้ ๑. กษัตริยลิจ​ฉวี ทรง​สราง​เจดีย​บรรจุ​ไว​ที่​เมืองเว​สาลี ๒. กษัตริย​ศากยะ ทรง​สราง​เจดีย​บรรจุ​ไว​ที่​เมือง​กบิล​พัสดุ ๓. กษัตริย​ถู​ลิยะ ทรง​สราง​เจดีย​บรรจุ​ไว​ที่​เมือง​อัลลกัปปะ ๔. กษัตริย​โกลิยะ ทรง​สราง​เจดีย​บรรจุ​ไว​ที่​เมือง​รามคาม ๕. มหา​พราหมณ สราง​เจดีย​บรรจุ​ไว​ที่​เมือง​เวฏฐ​ทีป​กะ ๖. กษัตริย​มัลละ​แหง​เมือง​ปาวา ทรง​สราง​เจดีย​บรรจุ​ไว​ที่​เมือง​ ปาวา ๗. พระเจาอ​ชาต​ศัตรู ทรง​สราง​เจดีย​บรรจุ​ไว​ที่​เมือง​ราช​คฤห ๘.​ มัลล​กษัตริย​แหงกุ​สิ​นารา ทรง​สราง​เจดีย​บรรจุ​ไว​ที่​เมืองกุ​สิ​ นารา ๙. กษัตริยเ​ มือง​โมริยะ ทรง​สราง​สถูปบ​ รรจุพ​ ระ​องั คาร (อังคาร​ สถูป) ที่​เมืองปป​ผลิ​วัน ๑๐. โท​ณ​พราหมณ สราง​สถูป​บรรจุ​ทะนาน​ตวง​พระบรมสารี ริกธาตุ ที่​เมืองกุ​สิ​นารา (ทะนาน​ตวง​พระบรมสารีริกธาตุ​แจก, คำ​ วา ตุมพะ แปล​วา ทะนาน, บางที​เรียก​สถูป​นี้​วา ตุมพ​สถูป)


69 สำหรับ​กรณี​ของ​กษัตริย​เมือง​โมริยะ​นั้น ได​สง​ผูแทน​มา​หลัง จากที่โท​ณ​พราหมณ​แบง​พระบรมสารีริกธาตุ​ให​ทั้ง ๗ เมืองไป​แลว จึง​ได​อัญเชิญ​พระ​อังคาร​ไป​แทน สวนโท​ณพ​ ราหมณ ก็ไดส​ ราง​สถูปบ​ รรจุท​ ะนาน​ทใ​ี่ ชส​ ำหรับต​ วง​ พระบรมสารีรกิ ธาตุส​ ำหรับต​ น​เอง และ​ผคู น​ไดส​ กั การะ​ดงั ทีไ​่ ดก​ ลาว​ ไป

พระ​เกียรติคุณ​ของ​ทาน​พระ​มหา​กัสสป​เถระ

พระมหากัสสป​เถระ ไ​ดรบั ก​ าร​ยกยอง​ใหเ​ปนพ​ ระ​เถระ​ชนั้ ผ​ ใู หญ​ ของ​พระพุทธองค วา​โดย​ลำดับ​แลวก็​จัด​อยู​ใน​ลำดับที่​สาม​ของ​หมู​ พระ​มหาสาวก รอง​จาก​พระสา​รี​บุตร และพระ​โมคคัล​ลา​นะ ซึ่ง​ เปน​พระ​อัคร​สาวก​เบื้อง​ขวา​และ​เบื้อง​ซาย สม​ดังที่​ทาน​ไดรับ​พุทธ​ พยากรณจ​ าก​พระ​ปทุมตุ ตระ​พทุ ธเจา วาท​ า น​จะ​เปนพ​ ระ​สาวก​ที่ ๓ ของ​พระ​โค​ดม​พุทธเจา แตใ​นทาง​ปฏิบตั ิ ใน​สมัยพ​ ทุ ธกาล​นนั้ พระ​อคั ร​สาวก​ทงั้ สอง​ตา ง​ ก็ได​นิพพาน​ไปกอน​พระพุทธองค​ทั้งสิ้น สวน​พระมหากัสสป​มีอายุ​ ตอมา​หลังพ​ ระพุทธเจาป​ รินพิ พาน จึงน​ บั ไ​ดว​ า ท​ า น​เปนป​ ระธาน​ของ​ เหลา​ภิกษุ​หลัง​พระพุทธ​ปรินิพพาน ทาน​ไดรบั ก​ าร​ยกยอง​จาก​พระพุทธองคเ​ปนอันมาก รวมทัง้ ก​ าร​ สถาปนา​เปน​เอตทัคคะ เปนยอด​ของ​ภิกษุ​ผูทรง​ธุดงค ๑๓ ซึ่ง​ตาม​ อรรถกถา​ไดก​ ลาว​ไวว​ า โดย​ปกติม​ หาสาวก​ผจ​ู ะ​ไดรบั ก​ าร​แตงตัง้ เ​ปน​ เอตทัคคะ​ทาง​ดาน​ใด​ดาน​หนึ่ง​นั้น ก็​ยอมจะ​ตอง​ได​มา​ดวย​เหตุ ๔ ประการ​คือ


70

๑. โดย​เหตุ​เกิดเรื่อง ๒. โดย​การ​มา​กอน ๓. โดย​เปน​ผูช่ำชอง​ชำนาญ ๔. โดย​เปน​ผู​ยิ่ง​ดวย​คุณ ใน​เหตุ ๔ อยาง​นนั้ พระ​เถระ​บาง​รปู ยอม​ไดต​ ำแหนงเ​อตทัคคะ โดย​เหตุ​อยางเดียว บาง​รูป​ได​โดย​เหตุ ๒ อยาง บาง​รูป​ได​โดย​เหตุ ๓ อยาง บาง​รูป​ได​ดวย​เหตุ ทั้ง ๔ อยาง ทาน​พระมหากัสสป​เถระ​ ก็​เปน​ทาน​หนึ่ง​ที่​ได​ตำแหนง​ดังกลาว​ดวย​เหตุ​ครบ​ทั้ง ๔ อยาง ๑. โดย​เหตุ​เกิดเรื่อง เรื่อง​ที่​เปน​เหตุ​ก็​คือ ​เรื่อง​พระศาสดา​ทรง​ ทรง​เปลี่ยน​จีวร​กับ​พระ​มหา​เถระ ดวย​ทรง​พิจารณา​วา อันวา​จีวร​ ที่​เกา​เนื่อง​เพราะ​ใช​ของ​พระพุทธเจา​ทั้งหลาย​นี้ ถึง​เกา​แลว​คน​ที่​มี​ คุณ​เพียง​นิดหนอย​ไม​อาจ​ครอง​ได จีวร​เกา​ดังกลาว​นี้ เฉพาะบุคคล​ ผู​อาจสามารถ​ใน​การ​บำเพ็ญ​ขอปฏิบัติ ผู​ถือ​ผา​บังสุกุล​มา​แตเดิม เชน​พระ​มหา​เถระ​จึง​จะ​ควร​รับ​เอา และ​ไมเคย​มี​การ​ประทาน​จีวร​ที่​ ทรง​หม​แลว​แก​พระ​สาวก​องค​ใด​เลย


71 ๒. โดย​การ​มา​กอ น ก็ค​ อื ทาน​พระ​เถระ​นม​ี้ ใิ ชเ​ปนผ​ ทู รงธุด​ งค​คณ ุ ​ มาก แต​ใน​ปจจุบัน​เทานั้น ถึง​ในอดีต แม​ทาน​บวช​เปน​ฤาษี ทาน​ก็​ เปน​ผู​บำเพ็ญ​บารมี​ในทาง​ทรงธุ​ดงค​คุณ​มาก มาถึง ๕๐๐ ชาติ ๓. โดย​เปนผ​ ชู ำ่ ชอง​ชำนาญ ก็ค​ อื เมือ่ ท​ า น​อยูท​ า มกลาง​บริษทั ๔ เมือ่ แ​ สดงธรรม ยอม​ไมล​ ะเวนท​ จี่ ะ​แสดงกถา​วตั ถุ ๑๐ ซึง่ เ​ปนธรรม​ ทีช​่ กั นำ​ใหพ​ ทุ ธบริษทั มีค​ วาม​ปรารถนา​นอ ย มีค​ วาม​สนั โดษ มีค​ วาม​ สงัด​กาย สงัด​ใจ ชักนำ​ให​ไม​คลุกคลี​ดวย​หมู ชักนำ​ให​ปรารภ​ความ​ เพียร ฯลฯ ซึ่ง​เปนคุณ​ของ​การ​ทรง​ธุดงควัตร​ทั้งสิ้น ๔. โดย​เปน​ผู​ยิ่ง​ดวย​คุณ ก็​คือ เวน​พระ​สัมมาสัม​พุทธเจา​เสีย สาวก​อื่น​ผู​เสมอเหมือน​พระมหากัสสป ดวยธุ​ดงค​คุณ ๑๓ ไมมี เพราะฉะนั้น​พระ​เถระ​ได​โดย​ยิ่ง​ดวย​คุณ​อยาง​นี้ นอกจาก​จะ​ไดรบั ก​ าร​สถาปนา​เปนเ​อตทัคคะ​แลว ทาน​ยงั ไ​ดรบั ​ การ​ยกยอง​จาก​พระพุทธองค​อีก​หลาย​ประการ ดังที่​ทาน​ได​ปรารภ​ เมือ่ ค​ รัง้ ส​ ภุ ทั ทะ​ภกิ ษุก​ ลาว​จาบจวง​พระพุทธองค เมือ่ ท​ ราบ​ขา ว​การ​ เสด็จ​ดับ​ขันธ​ปรินิพพาน​และ​ปรารถนา​จะ​กระทำ​สังคายนา​วา “ทรงยกย่องเราเป็นกายสักขี (มีวิหารธรรมเสมอด้วยพระองค์) ทรง​มอบ​ความ​เปน​สกลศา​สน​ทายาท ๓ ครั้ง” (พระ​สุตตันตปฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เลม ๒ ภาค ๑) ตัวเรา​อัน​พระ​ผู​มี​พระ​ภาค​ เจา​ตรัส​วา ดูกอน​กัสสปะ เธอจัก​หม​ได​หรือไม ซึ่ง​ผาปาน​บังสุกุล​ที่​ ใช​เกา​แลว​ของ​เรา ดังนี้ ทรง​อนุเคราะห​ดวยสา​ธาร​ณ​บริโภค​ใน​จีวร และ​ดว ย​การ​สถาปนา​ไวเ​สมอ​กบั พ​ ระองคใ​น​ธรรม​อนั ย​ งิ่ ข​ อง​มนุษย ตาง​โดย​อนุ​ปุพพ​วิหาร ๙ และ​อภิญญา ๖ เปนตน โดยนัย​เปนตน​ อยาง​นว​ี้ า ดูกอ น​ภกิ ษุท​ งั้ หลาย เรา​ตอ งการ​ละ​จาก​กาม ทัง้ หลาย ละ​


72 จาก​อกุศล​ธรรม​ทั้งหลาย เขาถึง​ปฐมฌาน​อยู​เพียงใด ดูกอน ภิกษุ​ ทั้งหลาย แม​กัสสปะ​ตองการ​ละ​จาก​กาม​ทั้งหลาย ละ​จาก​อกุศล​ ธรรมทัง้ หลาย เขาถึงป​ ฐมฌาน​อยูเ​ พียงนัน้ ดังนี้ (พระ​สตุ ตันตปฎก ทีฆนิกาย สีล​ขันธ​วรรค เลม ๑ ภาค ๑) ยิง่ กวานัน้ ย​ งั ส​ รรเสริญ ดวย​ความ​เปนผ​ ม​ู จ​ี ติ ไ​มต​ ดิ อยูใ​ น​ตระกูล เหมือน​สั่น​มือ​ใน​อากาศ และ​ดวย​ปฏิปทา​เปรียบ​ดวย​พระจันทรวา “ดูกอ น​ภกิ ษุท​ งั้ หลาย ก​ สั สปะ​เปรียบ​เหมือน​ดวงจันทร เขาไ​ปหา​ ตระกูล ไมค​ ะนอง​กาย​ไมค​ ะนอง​จติ เปนผ​ ใ​ู หมเ​ปนนิตย ไมท​ ะนงตัว​ ใน​ตระกูล” (พระ​สุตตันตปฎก ​ขุททก​นิกาย เถร​คาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๔) และ​ใน​พระ​สุตตันตปฎก ​ขุททก​นิกาย เถร​คาถา เลม ๒ ภาค ๓ ตอน ๔ พระพุทธองคท​ รง​ตรัสแ​ กพ​ ราหมณว​ า “ใน​หมูม​ นุษยท​ งั้ ปวง ผูใด​เปน​กษัตริย หรือ​เปนพราหมณ​สืบ​วงศตระกูล​มา​เปนลำดับๆ ตั้ง ๑๐๐ ชาติ ถึง​พรอมดวย​ไตรเพท ถึงแม​จะ​เปน​ผู​เลาเรียน​มนต เปนผ​ ถ​ู งึ ฝ​ ง แ​ หงเ​วท ๓ การ​กราบไหวผ​ น​ู นั้ แ​ มบ​ อ ยๆ ยอม​ไมถงึ เ​สีย้ ว​ ที่ ๑๖ ซึ่ง​จำแนก​ออก ๑๖ ครั้ง ของ​บุญ​ที่​ไหวพระ​กัสสปะนี้​เพียง​ ครั้งเดียวเลย”

เปน​ประธาน​ใน​การ​ทำ​ปฐม​สังคายนา

ทาน​พระมหากัสสป ผูเ​ ปนส​ งั ฆเถระ​ของ​ภกิ ษุป​ ระมาณ​เจ็ดแ​ สน​ รูปที่ประชุม​กัน​ใน​วัน​แบง​พระบรมสารีริกธาตุของ​พระ​ผู​มี​พระ​ภาค​ เจา ​มา​ระลึกถึง​คำ​ของ​สุภัททะกลาว​เมื่อ​พระ​ผู​มี​พระ​ภาค​เจา​เสด็จ​ ปรินิพพาน​ได ๗ วัน และ​ดำริ​ของ​ทาน​ที่จะ​กระทำ​ปฐม​สังคายนา​


73 จึง​ได​แสดง​ดำริ​นั้น​ตอ​สงฆ​ทั้งหลาย ภิกษุ​ทั้งหลาย​กลาว​วา ถา​กระนั้น ขอ​พระ​เถระจง​คัดเลือก​ภิกษุ ทั้งหลาย​เถิด​ขอรับ ครั้งนั้น ทาน​พระมหากัสสป​เถระ จึง​คัดเลือก​พระอรหันต​ได ๔๙๙ รูป หยอน ๕๐๐ รูป​อยู​องค​หนึ่ง เหตุ​ที่​พระมหากัสสป​เถระ​ ทำใหห​ ยอน ๕๐๐ อยูร​ ปู ห​ นึง่ อรรถกถา​กลาว​ไวว​ า เพือ่ ไ​วใ​หโอกาส​ แก​ทาน​พระ​อานนท​เถระ​ เพราะพระ​มหา​เถระ​ไดพ​ จิ ารณา​วา การ​กระทำ​สงั คายนา​นนั้ มี​ เหตุท​ งั้ ไ​มค​ วร​เลือก และเหตุท​ ค​ี่ วร​เลือก​พระ​อานนทเ​ขารวม​กระทำ​ สังคายนา เหตุ​ที่​ไม​ควร​เลือก​ก็เพราะวา​พระ​อานนท​นั้น​เปน​พระ​ เสขะ (ยัง​ไม​บรรลุ​พระอรหันต​ในขณะ​วัน​คัดเลือก) ยังมี​กิจ​ที่​ตอง​ ทำ​อยู จึง​ไม​ควร​เลือก แต​ถา​เวน​ทาน​พระ​อานนท​เสีย​ก็​ไม​อาจ​ทำ​สังคายนา​ธรรม​ได ดวย​ธรรม​ทงั้ หลาย​ขอ ใ​ด​ขอ ห​ นึง่ ซึง่ พ​ ระพุทธองคท​ รง​แสดง​แลว ไมม​ี ธรรม​ขอ​ใด​ที่​พระ​อานนท​ไมได​รับฟง​ตอ​พระ​พักตร​ของ​พระ​ผู​มี​พระ​ ภาค​เจา (ดวย​เหตุ​ที่​ทาน​ขอ​พร​ตอ​พระศาสดา​กอน​ที่จะ​รับ​เปน​พุทธ​ อุปฏฐาก วา​ถา​พระพุทธองค​ไป​ทรง​แสดงธรรม​ในที่​ซึ่ง​พระ​อานนท​ ไมไดอ​ ยูด​ ว ย พระพุทธองคจ​ ะ​ตอ ง​แสดงธรรม​นนั้ ต​ อ พ​ ระ​อานนทอ​ กี ​ ครัง้ หนึง่ เนือ่ งจาก​พระ​อานนทเ​กรง​ขอ ครหา​ของ​ผท​ู จี่ ะ​กลาว​วา เปน​ พระพุทธ​อุปฏฐาก ​ใกล​ชิด​พระพุทธเจา​แต​ไมเคย​ไดยิน​ธรรม​ขอ​นั้น​ ขอน​ )ี้ ​ฉ​ ะ​นนั้ จ​ งึ ไ​มอ​ าจ​เวนเ​สียไ​ด เ​พราะวา ท​ า น​พระ​อานนทน​ นั้ แ​ ม​ เปน​เสขะ​อยู ​แต​ก็​นา​ที่​พระมหากัสสป​เถระ​จะ​เลือก ​เพราะ​เปน​ผู​มี​ อุปการะ​มาก​ตอ​การ​ทำ​สังคายนา​ธรรม ​แต​ที่​พระมหากัสสป​เถระ​


74 ตัดสิน​ใจ​ไม​เลือก​พระ​อานนท​เถระ ​ก็​เพราะ​จะ​หลีกเลี่ยง​การ​ตำหนิ​ ติเตียน​จาก​บุคคล​ที่​ไม​เขา​ใจ ​อัน​ที่จริง​แลว ​ทาน​พระมหากัสสป​เถระ​มี​ความ​สนิทสนม​อยาง​ เหลือเกิน​กับ​ทาน​พระ​อานนท ​ดังเชน ​ถึง​ทาน​พระ​อานนท​จะ​มี​ ผม​บน​ศีรษะ​หงอก​แลว ​พระมหากัสสป​เถระ​ก็​ยัง​สั่งสอน​ทาน​พระ​ อานนท​เถระ ​ดวย​วาทะ​เหมือน​หนึ่ง​วา​ทาน​พระ​อานนท​ยังเปน​เด็ก​ อยู ​เชนวา ​“​เด็ก​คน​นี้​ไมรูจัก​ประมาณ​เสีย​เลย” ​เปนตน ​(​ดวย​ความ​ สัมพันธ​กัน​กับ​พระ​อานนท​ใน​หลาย​ภพ​ชาติ ​และ​พระมหากัสสป​ ได​บรรลุ​อรหันต​ผล​พรอม​ปฏิสัมภิทา​แลว​ แม​พระ​อานนท​จะ​อายุ​ มากกวา ​และ​เปน​สหชาติ​ของ​พระศาสดา​ พระ​อานนท​ก็​ยัง​เคารพ​ เชื่อฟง​พระมหากัสสป)​​ อีก​ประการ​หนึ่ง​ ทาน​พระ​อานนท​นี้​เกิด​ใน​ตระกูล​ศากยะ ​เปน​ พระ​อนุชา​ของ​พระ​ตถาคต เ​ปนโ​อรส​ของ​พระเจาอ​ า ใ​น​การ​คดั เลือก​ พระ​อานนท ภ​ กิ ษุท​ งั้ หลาย​จะ​สำคัญว​ า ท​ า น​ลำเอียง​เ​ลือก​เพราะ​รกั ​ จะ​พงึ ต​ ำหนิต​ เิ ตียน​วา พ​ ระมหากัสสป​เถระ ล​ ะเวนเ​หลาภ​ กิ ษุผ​ บ​ู รรลุ​ อรหันต​ปฏิสัมภิทา​องค​อื่น​ไป​เสีย ​แลวไป​เลือก​พระ​อานนท ​ผู​ยัง​ไม​ บรรลุ​อรหัตผล​​ พระ​เถระ​เพื่อ​จะ​หลีกเลี่ยง​คำ​ตำหนิ​ติเตียน​นั้น ​จึง​คิดวา ​“​ถา​ เวน​พระ​อานนท​เสีย ​ก็​ไม​อาจ​ทำ​สังคายนา​กัน​ได ​แต​เรา​จะ​เลือก​ ก็ตอเมื่อ​ภิกษุ​ทั้งหลาย​อนุมัติ​เทา​นั้น”​​ดังนี้​จึง​ไม​เลือก​เอง ​ ครั้ง​นั้น ​ภิกษุ​ทั้งหลาย​พา​กัน​รองขอ​พระ​เถระ ​เพื่อ​ให​ทาน​เลือก​ อานนทเ​สียเ​องเลย ดังนัน้ ทาน​พระมหากัสสป​เถระ จึงไ​ดเ​ลือก​ทา น​ พระ​อานนท​ดวย​ดังนี้ พระ​เถระ​จึง​ได​มี​จำนวน​ครบ ๕๐๐ รวมทั้ง​


75

ทาน​พระ​อานนท ทีพ​่ ระ​เถระ​เลือก​โดย​อนุมตั ข​ิ อง​ภกิ ษุท​ งั้ หลาย ดวย​ ประการ​ฉะนี้

เลือก​สถานที่​ทำ​สังคายนา

เมื่อ​เลือก​ได​พระสงฆ​ครบ​ทั้ง ๕๐๐ รูป​แลว พระ​เถระ​ทั้งหลาย​ ปรึกษา​กนั ว​ า พวกเรา​ควร​จะ​สงั คายนา​พระธรรม​และ​พระ​วนิ ยั ท​ ไี่ หน​ ดี​หนอ ครั้นแลว​เห็นพอง​ตองกัน​วา พระนคร​ราช​คฤห มี​โคจรคาม​ มาก มี​เสนาสนะ​เพียงพอ สมควร​ที่​พวกเรา​จะ​อยูจำพรรษา​ใน​ พระนคร​ราช​คฤห สังคายนา​พระธรรม​และ​พระ​วินัย ภิกษุพ​ วก​อนื่ ไ​มค​ วร​เขาจ​ ำพรรษา​ใน​พระนคร​ราช​คฤห ดวย​เกรง​ วาเ​พราะ​จะ​มวี ส​ิ ภาค​บคุ คล​บางคน​เขาไ​ปสูท​ า มกลาง​สงฆซ​ งึ่ ก​ ำลังท​ ำ​ สังคายนา​อยู แลวจะ​คัดคาน​ถาวร​กรรม​ของ​พวกทาน​นี้​เสีย​ ครัง้ นัน้ พระมหากัสสป​เถระพิจารณา​วา นับแตว​ นั ทีพ​่ ระ​ตถาคต​ ปรินิพพาน​มา จนถึง​บัดนี้​ เปนอัน​ลวง​ไปแลว​กึ่ง​เดือน บัดนี้​ฤดู​


76

คิมหันตย​ งั เ​หลืออยูเ​ ดือน​ครึง่ ดิถท​ี จี่ ะ​เขาจ​ ำพรรษา​กใ​็ กลเ​ขาม​ าแลว จึง​ชักชวน​หมู​พระสงฆ​ที่จะ​ทำ​สังคายนา​ให​เดินทาง​ไปยัง​กรุง​ราช​ คฤห แลว​ก็ได​พา​เอา​ภิกษุสงฆ​กึ่งหนึ่ง​เดินทาง​ไปทาง​หนึ่ง สวน​พระ​อนุ​รุทธ​เถระ​ก็​พา​เอา​ภิกษุสงฆ​กึ่งหนึ่ง​เดิน​ไป​อีก​ทาง​ หนึง่ ทาน​พระ​อานนทเ​ถระ​นนั้ ถ​ อื เอา​บาตร​และ​จวี ร​ของ​พระ​ผม​ู พ​ี ระ​ ภาค​เจา พรอมดวย​ภกิ ษุสงฆ ทีม​่ ค​ี วาม​ประสงคจ​ ะ​เดินท​ างผาน​กรุง​ สาวัตถี​ไปยัง​กรุง​ราช​คฤห ก็​หลีก​จาริก​ไปทาง​กรุง​สาวัตถี​สมัย​นั้น ใน​กรุง​ราช​คฤห​มี​วัด​ใหญ​อยู ๑๘ วัด ทุก​วัด​มี​ขยะ​ที่​เขา​ทิ้ง​ตก​ เรี่ยราด​เต็มไปหมด เพราะ​ใน​ชวงเวลา​ที่​พระ​ผู​มี​พระ​ภาค​เจา​เสด็จ​ ปรินิพพาน ภิกษุ​ทั้งหลาย​ตาง​ก็​ทอดทิ้ง​วัด​และ​บริเวณ​ไป​กัน​หมด ครั้งนั้น พระ​เถระ​ทั้งหลาย​คิด​กัน​วา เรา​จะ​ชวยกัน​ปฏิสังขรณ​ วิหาร​ที่​ชำรุด​ทรุดโทรม​ใน​ตลอด​เดือน​แรก​แหง​พรรษา เพื่อ​บูชา​ พระพุทธ​ดำรัส​ และ​ปลดเปลื้อง​คำ​ตำหนิ​ติเตียน​ของ​พวก​เดียรถีย ดวยวาพ​ วก​เดียรถียพ​ า​กนั ต​ เิ ตียน​วา พวก​สาวก​ของ​พระ​สม​ณโ​ค​ดม เมือ่ ศ​ าสดา​ยงั มีช​ วี ติ อ​ ยู ก็ช​ ว ยกันท​ ะนุบำรุง ครัน้ ศ​ าสดา​ปรินพิ พาน​ แลว ก็​พา​กัน​ทอด​ทิ้งไป


77 ดังนั้น​ใน​เดือน​แรก​ของ​พรรษา​ทาน​จึง​ได​ทำการ​บูรณะ​พระ อาราม​ทงั้ ๑๘ แหง โดย​มพ​ี ระเจาอ​ชาต​ศตั รูท​ รง​ถวาย​การ​ชว ยเหลือ​ ใน​ครั้งนั้น แลวจึง​ได​เริ่ม​กระทำการ​ปฐม​สังคายนา โดย​มี​พระเจา อ​ชาต​ศัตรู​เปน​องค​อุปฏฐาก​การ​ทำ​สังคายนา​ใน​ครั้งนั้น โดย​ โปรด​เกลาฯ ให​สราง​สถาน​ที่นั่ง​ประชุม​สำหรับ​ภิกษุ​ทั้งหลาย​ผูทำ​ สังคายนา​ที่​ปาก​ถ้ำ​สัตตบรรณ ขาง​ภูเขา​เวภาร​บรรพต

พระ​อานนท​บรรลุ​อรหันต

ใน​วันกอน​การ​ทำ​สังคายนา ทาน​พระ​อานนท​คิดวา พรุงนี้​เปน​ วันป​ ระชุม แตก​ าร​ทเ​ี่ รา​ยงั เปนเ​สขบุคคล​อยูน​ นั้ จ​ ะ​ไป​เขารวม​ประชุม​ นั้น​ไม​เหมาะสม ใน​คืน​นั้น​จึง​เรง​ทำความ​เพียร​จน​เกือบ​ตลอด​ราตรี​ก็​ยัง​ไม​บรรลุ​ ธรรม ครั้น​ใน​เวลา​ใกล​รุง​จึง​เอนกาย​ลง​ดวย​ตั้งใจ​วา เรา​เรง​ทำความ​ เพียร​จน​เกินไป จึง​ดำริ​ที่จะ​นอน​พัก​สัก​ครูหนึ่ง แต​ขณะ​ที่​เอนตัว​ลง ศีรษะ​ยงั ไ​มทนั ถ​ งึ ห​ มอน​และ​เทาย​ งั ไ​มทนั พ​ น จ​ าก​พนื้ ใน​ระหวาง​นนั้ จิต​ได​หลุดพน​จาก​อา​สวะ บรรลุ​ธรรม​เปน​พระอรหันต ใน​การ​สงั คายนา​นนั้ มีพ​ ระมหากัสสป​เถระ​เปนป​ ระธาน มีห​ นาที​่ ซักถาม​เกี่ยวกับ​พระ​ธรรมวินัย โดยพ​ระอุ​บาลี เปน​ผูชี้แจง​เกี่ยวกับ​ ขอบัญญัติ​พระ​วินัย และพระ​อานนท​เปน​ผูชี้แจง​เกี่ยวกับ​พระ​สูตร และ​พระ​อภิธรรม​ใน​การ​สังคายนา เหลา​พระสงฆ​มี​มติ​ให​สังคายนา​สุตตันตปฎก​กอน โดย​เริ่มจาก สังคายนา​ทฆี นิกาย สังคายนา​มชั ฌิมนิกาย สังคายนา​สงั ยุตต​นกิ าย สังคายนา​องั ค​ ตุ ตร​นกิ าย ไป​ตามลำดับ ครัน้ ส​ งั คายนา​ทฆี นิกาย​แลว


78 พระ​ธรรรมสังคา​หก​เถระ​กลาว​วา นิกาย​นี้​ชื่อ​ทีฆนิกาย แลว​มอบ​ ทาน​พระ​อานนท ให​ไป​สอน​ลูกศิษย​ของ​ทาน​ ตอจาก​การ​สังคายนา​คัมภีร​ทีฆนิกาย​นั้น พระธรรม​สังคา​หก​ เถระ ทั้งหลาย​ได​สังคายนา​มัชฌิมนิกาย แลว​มอบ​แก​ศิษย​ของ​ พระธรรม​เสนาบดีสา​รี​บุตร​เถระ​วา ทาน​ทั้งหลาย​จง​บริหาร​คัมภีร​ มัชฌิมนิกาย​นี้​ตอจาก​การ​สังคายนา​คัมภีร​มัชฌิมนิกาย​นั้น พระ​ธรรรมสังคา​หก​เถระ ทั้งหลาย​ได​สังคายนา​สังยุตต​นิกาย แลวม​ อบ​แกพ​ ระมหากัสสป​เถระ ใหไ​ป​สอน​ลกู ศิษยข​ อง​ทา น ตอจาก​ การ​สังคายนา​คัมภีร​สังยุตต​นิกาย​นั้น พระธรรม​สังคา​หก​เถระ​ ทั้งหลาย​ได​สังคายนา​อัง​คุตตร​นิกาย แลว​มอบ​แก​พระ​อนุ​รุทธ​เถระ​ ให​ไป​สอน​ลูกศิษย​ของ​ทาน ใน​การ​สงั คายนา​นนั้ ไ​ดก​ ำหนด​แยก​ธรรม​ออก​เปนห​ มวดหมู เมือ่ ​ สังคายนา​แลวจึงร​ อ ยกรอง​ไวว​ า นีพ​้ ระธรรม นีพ​้ ระ​วนิ ยั นีป​้ ฐม​พทุ ธ​ พจน นี้​มัชฌิม​พุทธ​พจน นี้​ปจฉิม​พุทธ​พจน นี้​พระ​วินัย​ปฎก นี้​พระ​ สุตตันตปฎก นี้​พระอภิธรรมปฎก นี้​ทีฆนิกาย นี้​มัชฌิมนิกาย นี้​ สังยุตต​นิกาย นี้​อัง​คุตตร​นิกาย นี้​ขุททก​นิกาย นี้​องค ๙ มี​สุตตะ​ เปนตน นี้ ๘๔,๐๐๐ พระ​ธรรมขันธ ​นอกจากนั้นก็ยังแยกเป็นประเภทที่ควรรวบรวมไว้ แม้อื่นๆ ซึง่ มีหลายชนิด มีอทุ านสังคหะ วัคค​สงั คหะ เปยยาล​สงั คหะ นิบาต​ สังคหะ เชน เอก​นิบาต และ​ทุกนิบาต เปนตน ​สังยุตต​สังคหะ​และ​ ปณณาสก​สังคหะ​ที่​ปรากฏ​อยู​ใน​พระไตรปฎก ได​รอยกรอง​อยู ๗ เดือน​จึง​สำเร็จ ใน​เวลาจบ​การ​รอยกรอง​พระพุทธ​พจน​นั้น มหา​ปฐพี​นี้​เหมือน​


79 เกิด​ความ​ปราโมทย และ​ให​สาธุการ​วา พระมหากัสสป​เถระ ทำ​ พระศาสนา​ของ​พระ​ทศพล​นี้​ให​สามารถ​ยั่งยืน​ตอ​ไปได​ตลอดกาล ๕,๐๐๐ พระ​วรรษา ดังนี้ ปฐพี​ก็​หวั่นไหว​เอนเอียง สะเทือน​ สะทาน​เปน​อเนก​ประการ ทั่ว​ทั้ง​ไตรภพ และ​เหตุ​อัศจรรย​ทั้งหลาย​ เปนอันมาก​ก็ได​ปรากฏ​แลว

พุทธ​บัญชา

หลังจาก​พระพุทธเจา​นิพพาน ๘ ป พระมหากัสสป​พรอมดวย​ พระอรหันต ๕๐๐ องค ได​อัญเชิญพ​ระอุ​รังค​ธาตุ​มาสู​สุวรรณภูมิ พระ​เถระ​ทั้งหลาย​จะ​ผานมา​ทาง​เมือง​หนอง​หาร​หลวง​ของ​พญา​ สุวรรณ​ภิงคาร เมื่อ​พญา​คำ​แดง เมือง​หนอง​หาร​นอย​ทราบ​ขาว​พระ​เถระ พระองคจ​ งึ ไ​ดน​ ำ​เอา​ขา วของ​เงินทอง​ขน​บรรทุกบ​ น​หลังช​ า ง​หลังม​ า แลวพ​ ระองคเ​สด็จข​ นึ้ ท​ รง​ชา ง​มงคล พา​ทหาร บริวาร​เสด็จม​ าสูเ​ มือง​ หนอง​หาร​หลวง เพื่อจะ​นำ​เอาพ​ระอุ​รังค​ธาตุ ไปสู​พระนคร ชาวเมือง​หนอง​หาร​หลวง​เห็น​ดังนั้น ก็​พา​กัน​แตกตื่น​เขาใจ​ วา​ขาศึก​ยก​เขามา​รบกวน จึง​ได​นำ​ความ​เขาไป​กราบทูล​พญา​ สุวรรณ​ภิงคาร พญา​สุวรรณ​ภิงคาร​จึง​ตรัส​สงให​อำมาตย​ออกไป​ ตรวจตรา​ดู ก็​รูวา​พญา​คำ​แดง ซึ่ง​เปน​พระ​อนุชา​ของ​พระองค นำเครื่องไทยทานเสด็จมา อำมาตย์จึงได้นำความเข้ามากราบทูล เมือ่ พ​ ระองคท​ รง​ทราบ​วา พ​ ระ​อนุชา​เสด็จม​ า​ทรง​ยนิ ดีย​ งิ่ นัก จึงต​ รัส​ สั่งให​อำมาตย​ผูใหญ​ออกไป​ตอน​รับเชิญ​เสด็จ​เขามา​ให​ทัน​ใน​เพลา​ นั้น​เพื่อ​รอ​ถวาย​นมัสการ​พระมหากัสสป​พรอมดวย​พระอรหันต ๕๐๐ องค


80

สราง​พระธาตุภ ​ ู​เพ็ก ​และ​พระธาตุ​นารายณ​เจ​งเวง ระหวาง​นนั้ พ​ ญา​ทงั้ สอง​จงึ ส​ งั่ ใหไ​พรพล กออ​ โุ มงคบ​ น​ยอดดอย​ แทน (ภู​เพ็ก) ที่​พระศาสดา​เคย​เสด็จ​มา​ประทับแต​เมื่อ​ครั้ง​กอน ไพรพล​โยธา​ทั้งหลาย เมื่อ​ไดยิน​รับสั่ง​ดังนั้น จึง​พูด​กัน​ขึ้น​เปน​ เชิง​แขงขัน พนัน​วา ฝาย​ชายจะ​กอ​อุโมงค​บน​ดอย​แทน ฝาย​หญิง​ ก็​ให​กอ​อุโมงค​ขึ้น​อีก​แหง​หนึ่ง​ในที่​นั้น​เหมือนกัน แขงขัน​กัน​กับ​ฝาย​ ชาย และ​ให​ขอ​สัญญา​กัน​ไว​ทั้ง ๒ ฝาย​วา นับตั้งแต​วันรุงขึ้น​พอ​ เห็น​ลายมือ ให​ลงมือ​กอ​ไป​จนถึง​ดาว​เพ็ก (ดาว​ประกาย​พฤกษ) ขึ้น​ ของ​คืน​วัน​นั้น​ให​แลวเสร็จ ถาหากวา​ฝาย​ใด​เสร็จ​ทัน​ตาม​ขอ​สัญญา​ นั้น สถานที่​นั้น​จะ​ได​เปนที่​ประดิษฐานพ​ระอุ​รังค​ธาตุ พญา​สุวรรณ​ ภิงคาร พญา​คำ​แดง ทั้ง ๒ พระองค ก็​ทรง​เห็นชอบ​ดวย ครั้น​ถึง​วัน​กำหนด จึง​ลั่นฆอง​ขึ้น​ให​เปน​สัญญาณ​แก​กัน ฝาย​ หญิง​ชาวเมือง​หนอง​หาร​หลวง​และ​หญิง​ชาวเมือง​หนอง​หาร​นอย จึงร​ วมกำลังก​ นั โ​ดย​มพ​ี ระนาง​เจ​งเวง มเหสีข​ อง​พญา​สวุ รรณ​ภงิ คาร​ เปน​ผูนำ ​โดย​ได​เลือก​ทำเล​ที่ราบ เพื่อ​กอ​อุโมงค​แขงขัน​กับ​ฝาย​ ชาย ฝาย​หญิง​ทั้งหลาย​ได​กลาว​วา ​ถึงแมผู้ชายใช่จะมีกำลังเสมอ ด้วยพระนารายณ์นั้นเล่า ก็มีมือ ๒ มือ และมีนิ้วข้างละ ๕ นิ้ว เหมือนกัน (อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ได​เขามา​ใน​ดินแดน​แถบ​


81 พระธาตุ​นารายณ​เจ​งเวง​

นี้​กอน​พุทธศาสนา​แลว) กลาว​ดังนั้น​แลว ก็​ลงมือ​กอ ฝาย​ชาย​อวด​อางวา ตัว​มี​กำลัง​ยิ่งกวา​ฝาย​หญิง ประมาท​จึง​กอ​ บันได​ขึ้น​ไปกอน ไมยอม​กอตัว​ปราสาท​ ทันใดนั้น ยังมี​ชาย​ผูเฒา​คน​หนึ่ง​อยู​ใน​หมู​นั้น​ดวย จึง​พูด​ขึ้น​วา​ ให​กอ​อุโมงค​ให​ทัน​ดาว​เพ็ก​ขึ้น​เสีย​กอน เมื่อ​หิน​มี​เหลือ​จึง​คอย​กอ​ บันได​ตอ ไป เขา​ทงั้ หลาย​กม​็ ไิ ดเ​ชือ่ ฟงถ​ อ ยคำ พวก​ผชู าย​จงึ ก​ ลาว​แก​ ผูเ ฒาน​ นั้ ว​ า ทำไม​จะ​ไมทนั เขา​ทงั้ หลาย​กลาว​ดงั นี้ แลวจึงล​ งมือก​ อ ​ อุโมงค​นั้น​กอ​เปน​รูป​เตา​ขึ้น​ไว​ทั้ง ๔ ดาน ได​เพียง​เทานั้น เมื่อ​ฝาย​หญิง​เห็น​ฝาย​ชาย​จะ​กอ​เสร็จ​กอน จึง​ใชอุบาย​ออกไป​ พูดจา​เลาโลม​เยาหยอก​พวก​ชาย​ทก​ี่ ำลังข​ น​หนิ อ​ ยูน​ นั้ ชาย​เหลานัน้ ​ เห็นฝ​ า ย​หญิงม​ า​กระทำ​เชนนัน้ ก็พ​ า​กนั ว​ าง​หนิ ก​ อง​ไว ณ ทีน​่ นั้ แลว​ พา​กัน​ขึ้น​ไป​บน​ภู​ที่​กอ​อุโมงค ทำ​โคม​จุด​ไฟ​ขึ้น​แขวน​ไว จึง​กลาว​กัน​ วา​ดาว​เพ็ก​ขึ้น​แลวๆ แลวก็​พา​กัน​ตาม​ฝาย​หญิง​ไป แม​ผู​ที่​กอ​อยู​บน​ ดอย​นั้น​รู ก็ตาม​กันลง​ไป​หมดสิ้น


82 อุโมงค​ที่​ผูชาย​ทั้งหลาย​กอ นั้น​ไม​เสร็จ สวน​อุโมงค​ที่​ผูหญิง​ ทัง้ หลาย​กอ น​ นั้ ผูช าย​ทงั้ หลาย​พากันไป​กอ ช​ ว ย จึงไ​ดเ​สร็จก​ อ น​ดาว​ ประกาย​พฤกษ​ขึ้น พอ​เวลา​ใกล​รุง​พระมหากัสสป​เถระ​เจา​พรอมดวย​พระอรหันต ๕๐๐ องค นำ​เอาพ​ระอุ​รังค​ธาตุ​อัญเชิญ​ไป​ประดิษฐาน​ไว​บน​แทน​ อุโมงคท​ ย​ี่ งั ไ​มเ​สร็จน​ นั้ ก​ อ น จึงไ​ดเ​ขาไป​บณ ิ ฑบาต​ใน​เมือง​หนอง​หาร​ หลวง พญา​สวุ รรณ​ภงิ คาร พญา​คำ​แดง พรอมดวยชาวเมือง​ทงั้ หลาย​ พรอมกันใ​สบาตร แลวจึงไ​ดจ​ ดั เ​ครือ่ ง​สกั ก​ าร​บชู า เปนตนวา ดอกไม ธูป เทียน​ให​พรอมสรรพ พญา​สุวรรณ​ภิงคาร​เสด็จ​พา​เหลา​บริวาร​ ตาม​พระอรหันต​ขึ้น​ไป​บน​เขา นมัสการพ​ระอุ​รังค​ธาตุ​และ​ทักษิณา​ วัตร ๓ รอบ แล้วจึงได้สระสรงสุคันธรสพระอุรังคธาตุ ขณะนั้นพระองค​ทอดพระเนตร​อุโมงค​เห็น​ไม​เสร็จ ทรง​กริ้ว​แก​ ชาวเมือง​ทงั้ หลาย เมือ่ ท​ รง​ทราบ​รายละเอียด จึงก​ ริว้ แ​ กพ​ วก​ผหู ญิง​ ทั้งหลาย จึง​ตรัส​วา​จะ​ทรง​กระทำ​โทษ​แก​หญิง​ทั้งหลาย ครัง้ นัน้ พระมหากัสสป​เถระ​เจา ทรง​รำพึงถ​ งึ ว​ ริ ทุ ธ​ปญ  หา​ธรรม จึงไ​ดน​ ำมา​เทศนา​แดพ​ ญา​สวุ รรณ​ภงิ คาร​วา “​กสึ ุ อุณ ​ โ​ห ชา​โต อ​ คฺค​ิ นา ​กึสุ มณิ​นา อ​ติโรจ​ติ ​อสริโร จร​ติ ​อจิตฺตโก นโร ชา​มิ” ดูกร มหาราช พระพุทธเจา​ทรง​ตรัส​เทศนา​ธรรม​วิรุทธ​ปญหา​ อันนี้​วา อะไร​รอน​ไป​ยิ่งกวา​ไฟ อะไร​รุงเรือง​สวาง​ยิ่ง​ไป​กวา​แกวมณี อะไร​ไมมี​ตัวตน​รู​เดินเที่ยว​ไปมา​ได อะไร​ไมมี​จิตใจ​รู​กิน​ยัง​คน​ได​นั้น​ เลา​มหาบพิตร พญา​สุวรรณ​ภิงคาร​ทรง​ตอบ​ปญหา​ของ​พระมหากัสสป​เถระ​


83 เจา​ไมได จึง​ได​รับสั่ง​ถาม​พระมหากัสสป​เถระ​เจา​วา ปญหา​นี้​ขอ​ พระผูเปนเจา​จง​อธิบาย​ให​ขาพเจา​แจง​ดวย​เทอญ พระมหากัสสป​เถระ​เจา​จึง​อธิบาย​ถวาย​เปน​ขอๆ ไป​วา สิ่ง​ที่​รอน​ยิ่ง​ไป​กวา​ไฟ​นั้น ไดแก ราคะ​ตัณหา สิ่ง​ที่​รุงเรือง​สวาง​ยิ่ง​ไป​กวา​แกวมณี​นั้น ไดแก สติปญญา สิ่ง​ที่​ไมมี​ตัวตน​รู เดินเที่ยว​ไปมา​ได​นั้น ไดแก นามธรรม สิ่ง​ที่​ไมมี​จิตใจ​รู​กิน​ยัง​คน​ได​นั้น ไดแก ความ​ชรา ที่วา​ราคะ​ตัณหา​รอน​ยิ่งกวา​ไฟ​นั้น เมื่อ​บัง​เกิดขึ้น​แลว จะ​เอา​ น้ำ​มา​ดับ​สัก​เทาใด ก็​ไม​สามารถ​จะ​ดับ​ได สวน​ไฟ​นั้น เมื่อ​บังเกิด​ ลุกลาม​ขนึ้ สามารถ​จะ​เอา​นำ้ ม​ า​ดบั ไ​ด พระพุทธเจา และ​พระ​ปจ เจก​ พุทธเจา​พรอมดวย​พระ​ขีณาสพ​ทั้งหลาย ประดุจ​ดั่ง​ตัว​อาตมา​ ทั้งหลาย​นี้ ได​ตัด​เสีย​แลว​ยัง​ตัณหา ก็​บัดนี้​ผูหญิง​ทั้งหลาย​เขามา​ คลุกคลี​เยาหยอก​ยัง​ชาย​ทั้งหลายๆ มิได​สังวร​จิตใจ​ของ​ตน​ดวยดี อุโมงคจ​ งึ ไ​มแ​ ลวเสร็จ ด​ ว ย​เหตุนี้ พญา​สวุ รรณ​ภงิ คาร​ไดท​ รง​สดับย​ งั ​ ปญหา ก็​ทรง​ดับ​เสีย​ได​ยัง​ความ​กริ้ว​แก​คน​ทั้งหลาย

บรรจุ​พระ​อังคาร​ธาตุ

พระมหากัสสป​เถระ​เจา​จึง​ทูล​ตอไป​วา อุโมงค​อันนี้​ถึงแม​กอ​ เสร็จ​แลว ก็​จะ​ไมได​ประดิษฐานพ​ระอุ​รังค​ธาตุ​ไว​ใน​ที่นี่ เมื่อ​สมัย​ พระพุทธเจา​ยังมี​พระ​ชนม​ชีพ​อยู ได​เสด็จ​มา​สถิต​ยัง​แทน​ที่นี้​ก็​จริง แต​พระพุทธองค​ทรง​รับสั่ง​อาตมา​ไว​วา ให​อาตมา​นำ​เอาพ​ระอุ​รังค​ ธาตุ​นี้​ไป​ประดิษฐาน​ที่​ภู​กำพรา ทันใดนั้น พญา​สุวรรณ​ภิงคาร​จึง​ตรัส​วา ถา​เชนนั้น​ขาพเจา​จะ​


84 พระธาตุ​ภูเพ็ก​มุสา

ขอ​แบง​เอาพ​ระอุ​รังค​ธาตุ​ไว​ครึ่ง​หนึ่ง แลว​ขาพเจา​จะ​กอ​อุโมงค​นี้​ให​ แลวเสร็จ จะ​ไดฐาปนาพ​ระอุ​รังค​ธาตุ​ไว​ในที่นี้ พระมหากัสสป​เถระ​เจาท​ ลู ห​ า ม​วา ขอ​มหาบพิตร​อยาไ​ดผ​ ดิ พ​ ทุ ธ​ บัญชา​ของ​พระศาสดา​เลย ไม​เปนมงคล​แก​บานเมือง โบราณ​ธรรม พุทธเจา​ทุกๆ พระองค​ทรง​ตรัส​ไว​วา ทาวพญา​มหากษัตริย​องค​ใด​ ไม​เชื่อ​พุทธวจนะ ทรง​เขา​พระทัย​เอง​วา​เปน​กุศล เทวดา​ทั้งหลาย​ พรอมดวย​มเหสักข อา​รักข​ที่​รักษา​ภูมิ​สถาน​บานเมือง และ​รักษา​ พระบรมธาตุ​พระพุทธเจา ยอม​ติเตียน​และ​โกรธา​มาก​นัก ไม​ให​มี​ ความ​เจริญ​แก​บานเมือง​อยาง​แทจริง พญา​สุ วรรณ​ภิงคาร​ได​ฟง​ดังนั้น จึ ง ​ท รง​เ ห็ น ควร​ต าม​พ ระ มหากัสสป ทาน​พระมหากัสสป​จึง​ได​แบงสวน​พระ​อังคาร​ธาตุ (เถา​ กระดูก) ให​พญา​สุวรรณ​ภิงคาร​แทน ฝาย​พญา​สุวรรณ​ภิงคาร​จึง​แบง​ไป​ใสไว​อุโมงค​ที่​กอ​กัน​ขึ้น​ ทั้งสอง​แหง ​ซึ่ง​พระมหากัสสป​เถระ​ได​เรียกชื่อ​อุโมงค​นารายณ​ตาม​


85 คำ​หญิง​ทั้งหลายกลาวเมื่อแรกจะก่อนั้นว่า “ใคร​จะ​มี​กำลัง​เสมอ​ ดวย​พระนารายณ​นั้น​เลา ผูชาย​ก็​มี​มือ​ขาง​ละ ๕ นิ้ว​เหมือนกัน​ นั้นแหละ” อุโมงค​นี้​ผูเฒา​คน​แก​ทั้งหลาย​จึง​ให​ชื่อวา “อุโมงค​อิตถี​มายา” พญา​สุวรรณ​ภิงคาร​จึง​ตรัส​วา ทาน​ทั้งหลาย​อยา​ได​คาน​คำ​ พระมหากัสสป​เถระ​เลย ให​เรียก “พระธาตุ​นารายณ” ตาม​คำ​ของ​ พระอรหันต​นั้น​เทอญ สวน​อุโมงค​ที่​ผูชาย​กอ​ไมสำเร็จ​นั้น​ให​ชื่อวา “ภู​เพ็ก​มุสา” ตาม​ เหตุ​อันนั้น

พญา​ทั้ง ๕ จากนัน้ พ​ ระมหากัสสป​และ​พระอรหันตทงั้ หลาย​พรอม​พญา​ทงั้ ๒ พี่นอง ก็ได​ดำเนินตอ​ไปยัง​ภู​กำพรา ทาวพญา​ทั้งหลาย มี​พญา​จุลณี​พรหมทัต พญา​อินทปฐ พญา​ นันทเสน รูข​ า ว​วา พระมหากัสสป​เถระ​จะ​อญ ั เชิญพ​ระอุร​ งั ค​ธาตุข​ อง​ พระศาสดา​มา​ประดิษฐาน​ไวท​ ภ​ี่ ก​ู ำพรา ดังนัน้ พญา​จลุ ณีพ​ รหมทัต พญา​อนิ ทปฐ พญา​นนั ทเสน ทัง้ ๓ พระองคพ​ รอมดวย​ไพรพล​โยธา เสด็จ​มา​ประทับ​และ​พัก​ที่​ฝง​แมน้ำธน​นที​ใต​ปาก​เซ ที่​นั้น พญา​สุวรรณ​ภิงคาร พญา​คำ​แดง ได​ทอดพระเนตร​ เครือ่ งศา​ตราวุธย​ ทุ ธภัณฑแ​ ละ​ไพรพล​โยธา​ของ​พญา​ทงั้ ๓ ก็บ​ งั เกิด​ ความ​สงสัย ดวย​เหตุวา​พญา​ทั้ง ๒ พี่นอง มิได​ตระเตรียม​ไพรพล​


86 โยธา และ​มิได​นำ​เอา​เครื่องศา​ตราวุธ​ยุทธภัณฑ​มา​ดวย ครั้งนั้น พระมหากัสสป​เถระ​เจา​รู​ใน​น้ำ​พระทัย​ของ​พระราชา​ ทัง้ ๒ พระมหากัสสป​เถระ​เจาก​ ม​็ ค​ี วาม​ยนิ ดีท​ จี่ ะ​มใ​ิ หน​ ำ้ พ​ ระทัยข​ อง​ พระราชา​ทงั้ หลาย​กระดางกระเดือ่ ง​ตอ กัน พระ​มหา​เถระ​เจาม​ ค​ี วาม​ ปรารถนา​อยู​แต​จะ​ให​พระราชา​ทั้ง ๕ มี​น้ำ​พระทัย​อัน​เบิกบาน จึง​ ได​ออกไป​เชิญ​ทาวพญา​ทั้ง ๕ เขามา​ประทับ​สนทนา​ซึ่ง​กันและกัน ณ ทามกลาง​พระอรหันต​ทั้งหลาย แลวจึงต​ รัสส​ งั่ สอน​พญา​ทงั้ ๕ วา “​คจฺฉนฺต​ ิ น​ รคจฺฉนฺต​ ”ิ นี้ แปล​ วา ผูป​ ระเสริฐต​ อ ผ​ ป​ู ระเสริฐ เดินทาง​มา​เจอะกันเ​ขา ยังซ​ ำ้ ป​ ระเสริฐ​ กวา​กอน บท​นพ​ี้ ระ​มหา​เถระ​เจาม​ องเห็นใ​น​ทา วพญา​ทงั้ ๕ ไดส​ ราง​สมบุญ​ สมภาร​มาแลว แสน​มหา​กปั ป ซ้ำไ​ดม​ า​เจอะกัน ยิง่ ซ​ ำ้ ป​ ระเสริฐย​ งิ่ ๆ ขึ้น​ไป​กวา​แตกอน บท​วา “​โกเว ​นรโกเว” นี้ แปล​วา ผูฉลาด​ตอ​ผูฉลาด​เทียว​ทาง​ มา​เจอะกัน​เขา ก็​ยิ่ง​ซ้ำ​ฉลาด​รู​ดีงาม​ยิ่งกวา​แตกอน บท​วา “​เญยฺ​ยา ​นรเญยฺ​ยา” นี้ แปล​วา ผูรู​ตอ​ผูรู เทียว​ทาง​มา​ เจอะกัน​เขา ก็​ยิ่ง​รู​หลัก​นักปราชญ​เพิ่มเติม​ขึ้น​ไป​ยิ่งกวา​เกา บท​วา “​สากนฺ​ติ น​รส​ากนฺ​ติ” นี้ แปล​วา ผู​รัก​ตอ​ผู​รัก เทียว​ทาง​ มา​เจอะกัน​เขา ก็​ยิ่ง​ซ้ำ​รัก​กัน​ยิ่งกวา​เกา พระมหากัสสป​อธิบาย​คาถา​บท​นี้​วา ตาง​คน​ตาง​เปน​ทาวพญา​ มี​บุญญาธิการ​สั่งสม​เปน​กัปป​กัลป เปน​ผูฉลาด​รู​หลัก​รัก​ตน เขาใจ​ ใน​วัฏฏะ​สงสาร มี​หัวใจ​เปนมงคล และ​รัก​และ​ตั้งมั่น​ใน​แกว​ทั้ง ๓ (พระรัตนตรัย) เพื่อ​เปน​ปจจัย​ไปสู​พระนิพพาน ไมมี​ความ​ชื่นชม​


87 ใน​การ​สงคราม บท​วา “โจรํ นร​โจรํ” นี้ แปล​วา ผู​เปน​โจร​ตอ​ผู​เปน​โจร​เทียว​ทาง​ มา​เจอะกัน​เขา ยิ่ง​ซ้ำ​ชวน​กัน​ประพฤติ​เปน​โจร เที่ยว​ฆาฟน​แยงชิง​ ยิ่งขึ้น​กวา​แตกอน บท​วา “​เถโน น​ รเถโน” นี้ แปล​วา ผูช ำนาญ​ใน​การ​ลกั ขโมย เทียว​ ทาง​มา​เจอะกัน​เขา ก็​ยิ่ง​ซ้ำ​ชวน​กัน​ไปเที่ยว​สัก​ขโมย​ยิ่งกวาแต่ก่อน บทว่า “นรา นุเร นุเร” นี้ แปลว่า คนทั้งหลายผู้ที่เป็นสัปปุรุษมี​ ความ​เพียร​เทียว​ทาง​มา​เจอะกัน​เขา ก็​ยิ่ง​ซ้ำ​ชวน​กัน​กระทำ​ความ​ เพียร​ยิ่งขึ้น​กวา​แตกอน อธิบาย​วา​พญา​ทั้ง ๓ ที่มา​นี้ ถึงแม​จะ​มี​เครื่องศา​ตราวุธ​ กระทำ​ยุทธ​สงคราม​มา​ดวย​ก็​จริง ก็​หา​ใช​พระราชา​ทั้ง ๓ มี​พระ​ ราชประสงค​เชนนั้น หาก​แต​พระราชา​ทั้ง ๓ เปน​สัตบุรุษ​ผู​มี​ความ​ เพียร​เสมอกัน ครั้งนั้น พญา​สุวรรณ​ภิงคาร พญา​คำ​แดง พญา​จุลณี​พรหมทัต พญา​อินทปฐ และ​พญา​นันทเสน ได​ทรง​สดับ​พระมหากัสสป​ เถระ​เจาอธิบาย​ใน​คาถา​นั้นๆ มีพระทัย​ชุมชื่น​และ​มี​ความ​เสนหา​ กลมเกลียว ผูกพัน​ซึ่ง​กันและกัน

สราง​พระ​ธาตุพนม

พญา​ทั้ง ๕ จึง​ตรัส​สั่งให​บริวาร​แหง​ตน ไป​ขน​เอา​หิน​มา​กอ​ อุโมงค​เพื่อ​ประดิษฐานพ​ระอุ​รังค​ธาตุ พระมหากัสสป​เถระ​เจา พรอมดวย​พระอรหันต​ทั้งหลาย จึง​ทูล​วา​หิน​เหลานั้น​จะ​ไมเหมาะ​ ไมค​ วร (เรือ่ ง​ความ​คงทน) ใหป​ น ด​ นิ ด​ บิ ก​ อ เ​ปนอ​ โุ มงคแ​ ลวเ​อา​ไฟเผา​


88

เอา​เทอญ เพื่อ​ความ​ถาวร​ใน​พระพุทธศาสนา​ภายหนา พระอรหันต​ทั้งหลาย​กลาว​ดังนี้ ทาวพญา​ทั้ง ๕ จึง​ตรัส​สั่งให​ คน​ทั้งหลาย​ปน​ดิน​ดิบ และ​ให​ทำ​แมพิมพ​เทา​ฝามือพระมหากัสสป​ เถระ​เจา​เปน​แบบ​ตัวอยาง​ปน​ดิน​ดิบ​นั้น เมื่อ​ปน​ได​พอแลว พญา​สุวรรณ​ภิงคาร พระองค​เริ่ม​ขุด​หลุม​​ ดวย​พระองค​เอง​กอน พญา​จุลณี​พรหมทัต พญา​อินทปฐ และ​ พญา​นันทเสน จึง​ขุด​เปน​ลำดับตอไป ​เสนา​อำมาตย​และ​อาณา ประชาราษฎร​ทั้งหลายจึงได้ขุดต่อไป หลุม​นั้น​ลึก ๒ ศอก​ของ​พระมหากัสสป​เถระ​เจา กวาง ๒ วา​ ของ​พระมหากัสสป​เถระ​เจา เทากัน​ทั้ง ๔ ดาน ทาวพญา​ทั้ง ๔ จึง​ แบงปนก​ นั ก​ อ อ​ งคล​ ะ​ดา น (พญา​สวุ รรณ​ภงิ คาร​ขดุ ต​ รงกลาง​จงึ เ​หลือ ๔ ดาน) พญา​จุลณี​พรหมทัต​ทรง​กอ​ดาน​ตะวันออก และ​ทรง​บริจาค​ พระ​ราช​ทรัพย​และ​วัตถุ​สิ่ง​อื่น​รอง​บูชา​ไว​ภายใต​ดาน​ที่​พระองค​ทรง​ กอ​นั้น เงิน ๕,๕๕๐ หนวย โดย​ใน​หนวย​หนึ่ง​เทากับ ๔๐๐ บาท ทองคำ ๕๕๐ หนวย หนวย​หนึ่ง​หนัก ๓๐๐ บาท ฆอง ๑๙ กำ ๙


89 ลูก ๑๗ กำ ๗ ลูก พญา​อนิ ทปฐท​ รง​กอ ด​ า น​ใต และ​ทรง​บริจาค​พระ​ราช​ทรัพยบ​ ชู า​ ไว เงินหนึง่ โ​กฏิ มงกุฎท​ องคำ​หนัก ๓๓,๓๓๐ บาท ทรง​หลอเ​ปนร​ ปู ​ เรือรอง​ไว​ภายใต​ดาน​ที่​พระองค​กอ พญา​คำ​แดง​ทรง​กอ ด​ า น​ตะวันตก และ​ทรง​บริจาค​พระ​ราช​ทรัพย​ บูชา เปนตนวา กระโถน​ทองคำ​ลกู ห​ นึง่ หนัก ๖๐,๐๐๐ บาท แลวเ​อา​ แหวน​ใสใน​กระโถน​นนั้ ใ​หเ​ต็ม เงิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท มงกุฎแ​ กวมรกต​ คูห​ นึง่ พาน​ทองคำ​คห​ู นึง่ พาน​ทองคำ ๙,๐๐๐ ลูก แลวเ​อา​หนิ ม​ กุ ด​ มา​ทำเปนห​ บี ใ​สข​ า วของ​นนั้ ๆ นำ​ลง​ไป​รอง​ไวภ​ ายใตด​ า น​ทพ​ี่ ระองค​ กอ พญา​นันทเสน​ทรง​กอ​ดาน​เหนือ พระองค​ทรง​บริจาค​วัตถุ​ ขาวของ เปนตนวา ขัน​ทองคำ​ลูก​หนึ่ง หนัก ๙,๐๐๐ บาท แลว​เอา​ แหวน​ทองคำ​บรรจุ​ลง​ใน​ขัน​นั้น​ให​เต็ม​บริบูรณ ขันเงินลูกหนึ่ง หนัก ๙,๐๐๐ บาท แล้วเอาปิ่นทองคำบรรจุลงในนั้นให้เต็มบริบูรณ์ ลูก​ เงิน ๒ ลูก หนัก ๑๙,๐๐๐ บาท แลว​นำ​มา​บรรจุ​ลง​ใน​ลูก​เงิน​ให​เต็ม​ ทั้ง ๒ ลูกๆ ละ ๕๐ คูๆ หนึ่ง​หนัก ๒๐บาท เงิน ๙๐,๐๐๐ บาท บรรจุ​ลง​ใน​ฆอง ๑๗ กำ ๗ ลูก ๑๕ กำ ๕ ลูก ๑๓ กำ ๓ ลูก บูชา​ รอง​ไว​ภายใต​ดาน​ที่​พระองค​กอ พญา​สวุ รรณ​ภงิ คาร ทรง​ไดก​ อ สราง​สว นบน​พระ​เจดียท​ เ​ี่ ปนฐ​ าน​ รองรับป​ ลองไฉน​ของ​เจดียท​ เ​ี่ รียกวา “ฝาละมี” พระองคท​ รง​บริจาค​ วัตถุข​ า ว​ของถวาย​บชู า เปนตนวา มงกุฎท​ องคำ​คห​ู นึง่ หนักม​ งกุฎล​ ะ ๓๐,๐๐๐ บาท สังวาลย​ทองคำ​คู​หนึ่ง หนัก​สังวาลย​ละ ๓๐๐,๐๐๐ บาท กระโถน​ทองคำ​ลูก​หนึ่ง หนัก ๙๐,๐๐๐ บาท แลว​เอา​แหวน​


90 ทองคำ​และ​กระจอนหู บรรจุ​ลง​ใน​กระโถน​ให​เต็ม พาน​ทองคำ​ลูก​ หนึ่ง หนัก ๗๐,๐๐๐ บาท บรรจุ​ลง​ใน​พาน​นั้น​ให​เต็ม ลูก​ทองคำ ๙ ลูกๆ หนึ่ง หนัก ๒,๐๐๐ บาท ลูก​เงิน ๙ ลูก หนัก​ลูก​ละ ๕,๐๐๐ บาท ลูก​นาก ๗ ลูก หนัก​ลูก​ละ ๕,๐๐๐ บาท รอง​ไว ณ ภายใต​ อุโมงค​ทามกลาง​ทาวพญา​ทั้งหลาย

พระบรมสารีริกธาตุ​แสดง​ปาฏิหาริย

เมือ่ พ​ ญา​ทงั้ ๕ จะ​ทรง​กอ อ​ โุ มงคน​ นั้ พระมหากัสสป​เถระ​เจาจ​ งึ ​ บอก​ให​เอา​ไห​น้ำ​ใหม​มา​ตั้งไว​ดาน​ละ​ลูก จารึก​คาถา​มงคล​โลก​ใส​ลง​ ไว​ใน​ไห​ทุก​ลูก แลว​สวด​ราหุล​ปริตต​สูตร ใหท​ า วพญา​ทงั้ ๕ มีพ​ ญา​สวุ รรณ​ภงิ คาร​เปนป​ ระธาน ทรง​ตกั น้ำ​ ใน​ไห​นั้น​ประพรม​อุโมงค ให​ตลอด​ทั้ง ๔ ดาน แลวทำ​ประทักษิณ​ เวียนขวา ๓ รอบ พญา​จลุ ณีพ​ รหมทัตท​ รงตักเ​อาน้ำในไหประพรมด้านตะวันออก แลวจึง​ให​กอ​ขึ้น พญา​อินทปฐ พญา​คำ​แดง และพญา​นันทเสน ก็​ ทรง​กระทำ​เหมือนดัง​พญา​จุลณี​พรหมทัต​นั้น เมื่อ​ทรง​กอ​ดาน​ใด​ก็​ เอา​น้ำ​ประพรม​ดาน​นั้น แลวจึง​ให​กอ​ขึ้น​ไป ทาวพญา​ทงั้ ๕ พรอมกันก​ อ อ​ โุ มงคเ​ปนร​ ปู เ​ตา​ขนึ้ ไ​ป แตพ​ นื้ ดิน​ เปน​สี่เหลี่ยม สูงขึ้น​ไปวา​หนึ่ง​แลว​หยุดไว ตอ​แต​นั้น​ขึ้น​ไป พญา​ สุวรรณ​ภิงคาร ทรง​กอ​เปน​รูป​ฝา​ตลอด​ขึ้น​ไป​จน​ถึงที่สุด​ปลาย​ยอด ไดวา​หนึ่ง​ของ​พระมหากัสสป​เถระ​เจา วัด​แต​ฐาน​ขึ้น​ไปถึง​ยอด​สุด​ ได ๒ วา ขอ​งมหา​กัสสปะ​เถระ​เจา แลว​ทำประตู​เตา​ไว​ทั้ง ๔ ดาน จึง​ให​เอา ไมจ​วง ไม​จันทน ไม​กลัมพัก ไม​คันธ​รส ไม​ชม​ภู ไม​นิโครธ


91 และ​ไม​รัง มา​ทำเปน ฟน​เผา ๓ วัน ๓ คืน สุก​ดีแลว ให​ขน​เอา​หิน​ ที่​เปนมงคล​มา​กลบ​ลง​ใน​หลุม​นั้น พ​ ระมหากัสสป​เถระ​เจา พรอมดวย​พระอรหันตก​ บั ท​ งั้ ท​ า วพญา​ ทั้ง ๕ จึง​ไป​นำ​เอาพ​ระอุ​รังค​ธาตุ​เขาไป “ฐาปนา” ไว​ใน​อุโมงค​นั้น แลว​ให​ปดประตู​ไว​ทั้ง ๔ ดาน ขณะนั้นพ​ระอุ​รังค​ธาตุ​ที่​หุมหอ​ไว​ดวย​ผา​กัมพล ทรง​กระทำ​ ปาฏิหาริย​เสด็จ​ออกมา​ประดิษฐาน​อยู​บน​ฝา​มือขวา​ของ​พระมหา กัสสป​เถระ​เจา พระอรหันตพ​ รอมดวย​ทา วพญา​ทงั้ ๕ กับท​ งั้ เ​สนา​อำมาตย เห็น​ เปน​อัศจรรย ดังนั้น ก็​เปลง​ออก​ยัง​เสียง​สาธุการ​ขึ้น​พรอมกัน จากนั้ น พ​ร ะอุ ​รั ง ค​ธ าตุ ​ก็ ​ก ระทำ​ป าฏิ ห าริ ย  ​เ สด็ จ ​ก ลั บ ​ไ ป​ ประดิษฐาน​ใน​อุโมงค ผา​กัมพล​ก็​คลี่​คลาย​ขยาย​ออก​รองรับพ​ระ​ อุ​รังค​ธาตุ​ก็​เสด็จ​เขาไป​ประดิษฐาน​อยู​ดัง​เกา ทาวพญา​ทั้ง ๕ จึง​ได​พรอมกัน​สราง​บานประตู​อุโมงค​ดวย​ไม​ ประดู ใสดาน​ปดไว

ปริศนาธรรม

พ ญ า ​สุ ว ร ร ณ ​ภิ ง ค า ร พระองคไ​ดใ​หส​ ราง​รปู ม​ า พ​ ลาหก​ ตั ว ​หั น หน า ​ม า​ท าง​ทิ ศ เหนื อ​ เพื่ อ ​แ สดงว า พ​ร ะอุ ​รั ง ค​ธ าตุ ​ พระพุ ท ธเจ า ​ไ ด ​เ สด็ จ ​ม า​ท าง​ ทิศเหนือน​ นั้ ​และ​ออกมา​กระทำ​


92 ปาฏิหาริย และ​เพื่อให​เห็นวา​พระพุทธเจา​ทรง​พุทธ​พยากรณ​ไว​วา​ ศาสนา​จะ​เจริญ​รุงเรือง​จาก​ทิศเหนือ​จรด​ไป​ทิศใต พระมหากัสสป​เถระ​เจา ก็ได​ให​สราง​รูป​มา​อาชาไนย ไว​อีก​ ตัว​หนึ่ง​คู​กัน​ โดย​หัน​หนาดาน​เหนือ​เชนกัน เพื่อ​เปน​ปริศนาธรรม​ ให​รูวา พญา​ศรี​โค​ตบูร​นั้น จะ​ได​ฐาปนาพ​ระอุ​รังค​ธาตุ​ไว​ค้ำชู​ พระพุทธศาสนา​ตลอด ๕,๐๐๐ พระ​วรรษา มาอ​ าชาไนย​และ​มา พ​ ลาหก​น​ี้ ปจจุบนั อ​ ยูข​ า ง​บนั ได​ทางขึน้ ห​ อ​ พระ​แกว

เสา​อินทขิล

พญา​ทงั้ ๕ ทรง​แตงใ​หค​ น​ทงั้ หลาย​ไป​นำ​เอา​หนิ ม​ าจาก​แดน​ไกล​ เพือ่ ท​ ำ​เสา​หลักชัยห​ รือท​ เ​ี่ รียก​กนั ว​ า “เสา​อนิ ทขิล” ไวใ​น​พระศาสนา เพือ่ เ​ปนศ​ ภุ นิมติ ใ​หพ​ ระธาตุย​ นื ยง​คพ​ู ระศาสนา​จน​ครบ ๕,๐๐๐ พระ​


93 วรรษา ตาม​พุทธ​ดำรัส โดย - เสา​ที่ ๑ ใหค​ น​ไป​นำ​หนิ ท​ เ​ี่ มืองกุส​ น​ิ า​ราย​มา​กอ น​หนึง่ ​สลักเ​ปน​ เสา​และ​ทำเปน​รูป​อัจฉมุขี (ลักษณะ​คลาย​สิงห) ไว​ที่​โคน​เสา ๑ ตัว ฝง​ไว​ทิศ​ทางเหนือ​หมายถึง​เมือง​มงคล​ใน​ชมพูทวีป - เสา​ที่ ๒ ให​คน​ไป​นำ​หิน​ที่​เมือง​พารา​ณ​สี สลัก​เปน​เสา และ​ ทำเปน​รูป​อัจฉมุขี​ไว​ที่​โคน​เสา​ฝง​ไว​ทิศตะวันออก​เฉียง​ใต ​หมายถึง ความเป็นสิริมงคลต่อแคว้นทั้งหมดทั้งปวง - เสา​ที่ ๓ ให​คน​ไป​นำ​หิน​ที่​เมือง​ลังกา สลัก​เปน​เสา​ฝง​ไว​ดาน​ ตะวันตก​เฉียง​ใต - เสา​ที่ ๔ ให​คน​ไป​นำ​หิน​ที่​เมือง​ตัก​ศิลา​กอน​หนึ่ง​สลัก​เปน​เสา​ ฝง​ไว​ดาน​ตะวันตกเฉียงเหนือ ครั้งนั้น พระมหากัสสป​เถระ​เจา พรอมดวย​พระอรหันต ๕๐๐​ จึง​กระทำ​ทักษิณา​วัตร ๓ รอบ ทาวพญา​ทั้งหลาย​จึง​ได​พรอมกัน​ อธิษฐาน​ขาวของ​เงินทอง​พรอมดวยเครื่อง​อุปโภค​ทั้งสิ้น ประดิษ ฐาน​สัก​การ​บูชา​รอง​ไว​ภายใต​พื้น​อุโมงค ขณะนัน้ พญา​ทงั้ ๕ จึงไ​ดอ​ ธิษฐาน โ​ดยพญา​สวุ รรณ​ภงิ คาร​และ​ พญา​คำ​แดง​ทงั้ ๒ พระองคท​ รง​อธิษฐาน​ปรารถนา​วา ขอใหไ​ดบ​ วช​ ใน​พระพุทธศาสนา​สำเร็จ​เปน​พระอรหันต และ​ขอให​ขาพเจา​ทั้ง ๒ พี่นอง​นี้​จง​อยา​ได​พลัด​พรากจากกัน​ไปได​เทอญ พญา​อินทปฐ​อธิษฐาน​ขอให​ได​บวช​ใน​พระพุทธศาสนา​สำเร็จ​ เปน​พระอรหันต​เชนกัน สวน​พญา​จุลณี​พรหมทัต และ​พญา​นันทเสน ทรง​ได​อธิษฐาน​ ตั้ง​ความ​ปรารถนา​ขอ​สำเร็จ​โพธิญาณ


94

ครั้งนั้น พระอรหันต​ทั้ง ๕๐๐ มี​พระมหากัสสป​เถระ​เจา​เปน​ ประธาน พรอมกัน​อนุโมทนา​ใน​ความ​ปรารถนา​ของ​พระราชา​ทั้ง ๕ วา ขอให​ความ​ปรารถนา​นั้นๆ จง​สัมฤทธิ์​ตาม​พระ​ราชประสงค​ ทุกประการ​เทอญ


95


96


97

ชาติ​ที่สอง ​กำเนิดก ​ ุมาร​ทั้งส ​ าม หลังจาก​สราง​พระ​ธาตุพนม​เสร็จ​เพียง​ไม​กี่​ป พญา​ทั้ง ๕ ก็​ ทยอย​เสด็จ​สวรรคต​ตาม​บุพกรรม​ของ​แตละ​องค​ใน​ชาติ​นั้น ครั้ น ​พุ ท ธกาล​ล  ว ง​แ ล ว ๑๗ พรรษา (พ.ศ.๑๗) เมื่ อ นั้ น พระมหากัสสปเถระ​ยังคง​ดำรง​ธาตุ​ขันธ​อยู ที่​ถ้ำปป​ผลิ​คูหา ณ เชิงเขาภาร​บรรพต ทาน​ได​เขา​สมาบัติ​ ทรง​อริย​ญาณ​วิถี ตรวจ​ บุพกรรม​ของ​ทาน วา​ยังมี​บุพกรรม​ใด​หลง​เหลืออยู​หรือไม เมือ่ ท​ า น​ตรวจ​บพุ กรรม​แลว จึงไ​ดท​ ราบ​วา ย​ งั มีบ​ พุ กรรม​รว มกับ​ เจา​พญา​ทั้ง​สาม​อยู และ​เห็น​ถึง​หนาที่​อัน​ยิ่งใหญ ที่จะ​ตอง​ดูแล ทะนุบำรุง​พระศาสนา​ให​ดำรง​สืบไป​จน​ครบ ๕๐๐๐ ป และ​บัดนี้​ พญา​ทงั้ ส​ าม​ไดถ​ อื กำเนิดใ​หมข​ นึ้ ค​ รบ​ทงั้ ส​ าม​คน​แลว โดย​เกิดท​ เ​ี่ มือง​ อินทปฐ​นคร ๑ คน​และ​เกิด​ที่​แถบ​เมือง​ลาว อีก ๒ คน ใน​สวน​พญา​ทั้ง ๓ คือ พญา​อินทปฐ พญา​สุวรรณ​ภิงคาร และ​ พญา​คำ​แดง เมื่อ​ได​ถือกำเนิด​ขึ้น​ใน​ชาติ​ที่สอง​นี้ เปน​ราช​กุมาร​ที่​ อายุ​ไลเลี่ยกัน โดย​พญา​อินทปฐ​ทาน​เกิด​ที่​เมือง​อินทปฐ​นคร​เชน​


98 เดิม โดย​เกิดใหม​เปน​บุตร​ของ​บุตรชาย​ตน​เอง​ที่​ขึ้น​ครอง​ราชย มี​ พระนาม​วา “รั​ตน​กุมาร” พญา​สวุ รรณ​ภงิ คาร​และ​พญา​คำ​แดง​ทา น​ไดเ​กิดเ​ปนพ​ นี่ อ ง​กนั ที​่ เมือง​ลาว (ปจจุบัน​เปน​เขตภูเขา​ควาย เมือง​เวียงจันทน) เปน​บุตร​ ของ​กษัตริย โดย​พญา​สุวรรณ​ภิงคาร​ทาน​มี​ชื่อวา “มหา​กุมาร” เปน​ พี่ (ใน​ทั้งหมด ๓ องค​ทาน​ก็​อาวุโส​ที่สุด) พญา​คำ​แดง​ทาน​มี​ชื่อวา​ จุล​กุมาร ​เปน​นอง ดังนัน้ ร​ าช​กมุ าร​ทงั้ ส​ าม คือ ๑. รัต​ น​กมุ าร แ​ หงเ​มือง​อนิ ทปฐน​ คร ๒. มหา​กุมาร​และ ๓. จุล​กุมาร แหง​เมือง​ลาว ใน​วั น ที่ ​กุ ม าร​ทั้ ง ​ส าม​ถื อ กำเนิ ด ได ​มี ​สิ่ ง ​อั ศ จรรย ​อั น เป น​ มหา​มงคล​เกิดขึ้น​ใน​แผนดิน พระอาทิตย​ทรงกลด เกิด​แผนดิน​ สั่นสะเทือน ความ​อุดมสมบูรณ​บัง​เกิดขึ้น​ใน​แผนดิน ดวย​มหา​ อานิสงส​ที่​ทาน​ทั้ง​สาม​ได​บำเพ็ญ​มา​มาก​หา​ประมาณ​มิได​ใน​แสน​ กัปป​กัลป ทำให​ทาน​ทั้ง​สาม​มี​ลักษณะ​งดงาม ผิวพรรณ​ผองใส สง่างาม สร้างความปิติยินดีแก​พระ​ประยูรญาติ​และขัต​ติย​วงศ และ​ดวย​แรง​แหง​อธิษฐาน​บารมี ดวย​แรง​แหง​สัจจะ​บารมี ที่​ กุมาร​ทั้ง​สาม​ได​บำเพ็ญ​มา​แต​ครั้ง​อดีต ที่​ได​ตั้ง​จิต​รวมกัน​ใน​การ​ สรางพ​ระอุ​รังค​ธาตุ และ​อธิษฐาน​ขอให​ได​บวช​ใน​พระพุทธศาสนา​ สำเร็จ​เปน​พระอรหันต

สู​กาสาวพัสตร

ดังนั้น ใน พ.ศ.๒๖ เมื่อ​กุมาร​ทั้ง​สาม​อายุ ๘-๙ ขวบ​ป พระมหากัสสป​เถระ​ได​พิจารณา​เห็น​แลวดวย​อริย​ญาณ​วิถี วา​


99 ถึงเวลา​อัน​สมควร​ที่​กุมาร​ทั้ง​สาม​จะ​เขาสู​รม​กาสาวพัสตร​แลว จึง​ ​ไ ด ​มี ​บั ญ ชา​ใ ห ​พ ระอรหั น ต ​ทั้ ง ​ส าม​อ งค ​ซึ่ ง ​เ ป น ​ผู  ​ถึ ง ​พ ร อ มด ว ย​ ปฏิสัมภิทา​ญาณ ลวง​เขาสู​ดินแดน​สุวรรณภูมิ​แหลมทอง เพื่อ​ไป​ รับ​ตัว​กุมาร​ทั้ง​สาม​มาบรรพชา อุปสมบท และ​อบรมสั่งสอน​ให​ เปนกำลัง​หลัก​ของ​พระพุทธศาสนา​สืบไป โดย​พระ​เถระ​ทั้ง ๓ ที่​รับ​บัญชา​จาก​พระมหากัสสป​มี​นาม​วา ๑. พระพุทธ​รกั ขิต ๒. พระธรรม​รกั ขิต ๓. พระ​สงั ฆ​รกั ขิต (ชือ่ ท​ งั้ ส​ าม​น​ี้ เปนช​ อื่ ข​ อง​พระอรหันตท​ งั้ ส​ าม​องคท​ มี่ า​รบั ก​ มุ าร​ทงั้ ส​ าม​ไป​บวช และ​ เมื่อ​พระอรหันต​ทั้ง​สาม​องค​เขา​นิพพาน​แลว​พระ​กุมาร​ทั้ง​สาม​ก็ได​ อุปสมบท​เปน​ภิกษุ ก็ได​ใช​ชื่อ​ทั้ง​สาม​นี้​แทน ดังนั้น​ชื่อ​พระอรหันต​ ทั้ง​สาม​องค​ที่มา​รับ กับ​ชื่อ​หลวง​ปู​ใหญ​ทั้ง​สาม​องค​นี้​จะ​ซ้ำ​กัน) เมื่อ​พระอรหันต​ทั้ง​สาม​องค​ได​มาถึง​ยัง​แถบ​สุวรรณภูมิ​แหลม ทอง​แลว เปนช​ ว งตนเ​ดือนอาย พุทธกาล​ลว ง​แลว ๒๖ พรรษา พระ​ เถระ​ทั้ง​สาม​จึง​ได​แบง​หนาที่​กัน โดย​พระพุทธ​รักขิต ทาน​ได​ดำเนิน​ เขา​ไปยัง​เมือง​อินทปฐ​นคร เพื่อ​รับ​ตัวรั​ตน​กุมาร ​แหง​เมือง​อินทปฐ​ นคร ​พระธรรม​รักขิต​ และ​พระสังฆ​รักขิต​ทาน​ดำเนิน​เขา​ไปยัง​แถบ​ เมือง​ลาว​เพื่อ​รับ​ตัว​มหา​กุมาร​และ​จุล​กุมาร พระอรหันตท​ งั้ ส​ าม​องคเ​มือ่ ไ​ดแ​ ยกยาย​เขาไป​ใน​เมือง​แลวก​ ไ็ ดใ​ช​ กุศโลบาย​ตามสมควร เพือ่ ใหพ​ ระมหากษัตริยแ​ ละ​พระ​ประยูรญาติ​ เกิด​ศรัทธา​ตั้งมั่น​ใน​บวร​พุทธศาสนา ตั้งแต​อบรม​เทศนา​สั่งสอน แสดงธรรม แสดง​อทิ ธิว​ ธิ ี เหาะ​เหินเ​ดินอากาศ ฯลฯ เพือ่ ใหก​ ษัตริย​ เหลานั้น แจง​ใน​ธรรม เกิด​ศรัทธา​และ​ยินยอมให​ราช​กุมาร​ออก​ บรรพชา


100 จน​ชวั่ ร​ ะยะเวลา​หนึง่ เ​มือ่ พ​ ระมหากษัตริยแ​ ละ​พระ​ประยูรญาติ​ ของ​ทงั้ สอง​นคร ไดเ​ปย ม​ศรัทธา​ใน​บวร​พทุ ธศาสนา​และเขาใจ​ใน​วถิ ​ี ของ​พระ​กมุ าร​แลว พระอรหันตท​ งั้ ส​ าม​องคจ​ งึ ไ​ดน​ ำ​พระ​กมุ าร​ทงั้ ๓ มา​ที่​พระ​ธาตุพนม

บรรลุ​สมาบัติ ๘

ขณะนั้น​เอง​เมื่อ​พระ​กุมาร​ทั้ง​สาม​มาถึง และ​ได​กม​กราบ​ถวาย​ สักการะ​นมัสการ​พระ​ธาตุพนม ดวย​มหา​กุศล​และ​บุญญาธิการ​ ทั้งหลาย​ที่​พระ​กุมาร​ทั้ง​สาม​ได​สั่งสม​มา​ทั้ง​แสน​มหา​กัปป เกิด​ ปาฏิหาริยใ​ น​บญ ุ ญา​บารมี อธิษฐาน​บารมีท​ ไ​ี่ ดบ​ ำเพ็ญไ​ว ทำใหพ​ ระ​ กุมาร​ทั้ง​สามเกิด​ภาพ​นิมิต​รูแจง​ถึง​ความ​เปนไป​ใน​สังสารวัฏ แผนฟ​ า ห​ มุนควาง แผนดิน​ หมุนวน เหมือน​กระจก​ที่​กาง​ กัน​ไว​แตก​ระเบิด​ออก ความ​ แจมแจง​ใน​แตละ​ภพ​แลน​เขาสู​ คลอง​จักษุ ภาพ​แลว​ภาพ​เลา เรือ่ ง​แลวเ​รือ่ งเลา ดวย​เวลา​อนั ​ รวดเร็ว​และ​ชัดเจน​ยิ่ง จน​ชาติ​ สุดทาย​ที่​ได​เห็น​คือ​ภาพ​ของ​ พญา​ทั้ง ๕ รวมกัน​สราง​พระ​ ธาตุพนม และ​ได​ตั้ง​อธิษฐาน เมือ่ พ​ ระ​กมุ าร​ทงั้ ๓ ลืมตา ปญญา​ญาณ​แหงก​ าร​รแู จงเ​ริม่ ​


101 บัง​เกิดขึ้น พระ​กุมาร​ทั้ง​สาม​ได​เกิด​บรรลุฌา​ณ ๔ ใน​ขณะนั้น​เอง​ จากนัน้ พ​ ระอรหันตท​ งั้ ส​ าม​จงึ ไ​ดก​ ระทำการ​บรรพชา​ใหแ​ กพ​ ระ​กมุ าร​ ทั้ง​สาม​ที่​พระ​ธาตุพนม ขณะ​ที่​พระ​กุมาร​ทั้ง​สาม​ปลงผม​ใกล​เสร็จ​เกิด​การ​ตรึกตรอง​ขอ​ ธรรม​ตอ​ยอด​ทาง​ปญญา เสมือน​พลังงาน​พายุ​หมุนวน​จน​ทะลวง​ ขึ้น​สู​นภา​อากาศ เวลานั้น​เอง​เมื่อ​กระทำการ​บรรพชา​พระ​กุมาร​ทั้ง​ สาม​ใกลจ​ ะ​แลวเสร็จ พระ​กมุ าร​ทงั้ ส​ าม​กบ​็ รรลุส​ มาบัติ ๘ ใน​ฉบั พลัน​ ทันตา โดย​ระยะเวลา​ใกลเคียง​กัน

ถวายตัว​เปน​ศิษย​พระมหากัสสป

เมือ่ เ​ณร​ทงั้ ส​ าม​รปู เ​สร็จสิน้ พ​ ธิ บ​ี รรพชา​แลว พระอรหันตท​ งั้ ส​ าม​ องค​จึง​นำ​ตัว​เณร​ทั้งส​ าม​รูป กลับ​สู​ชมพูทวีป​เพื่อ​กราบ​พบ “หลวง​ป​ู มหา​กสั สปะ” (เปนค​ ำ​ทห​ี่ ลวง​ปใ​ู หญท​ งั้ ส​ าม​องคเ​รียก​พระมหากัสสป​ แต​ใน​บางครั้ง​หลวง​ปู​ทั้ง​สาม​องค​ก็​เรียก​พระมหากัสสปวา “หลวง​ปู​ ใหญ”) โดย​ทั้งหมด​ได​ใช​อิทธิฤทธิ์​เหาะ​กลับมา​ทางอากาศ​มา​ที่​กุกกุฏ​ สัม​ปาต​บรรพต ตั้งอยู​แถบ​ใกล​เมือง​ราช​คฤห​มหานคร ใน​เดือนยี่​ป​ เดียวกัน (พ.ศ.๒๖) และ​เมือ่ ม​ าถึง เ​ณร​ทงั้ ส​ าม​จงึ ไ​ดบ​ วชเณร​อกี ครัง้ (เพือ่ ใหถ​ กู ตอง​ ตาม​พุทธ​บัญญัติ) โดย​ทาน​หลวง​ปู​มหา​กัสสปะ​ได​ให​เณร​ทั้ง​สาม​รูป​ บวช​โดย​ลำดับ​นั้น ดวย​การ​ประทาน​โอวาท ๓ ขอ คือ ๑. เธอ​พึง​ศึกษา​อยาง​นี้​วา เราจัก​เขาไป​ตั้ง​ความ​ละอาย และ​ ความ​เกรง​ไว​ใน​ภิกษุ​ทั้งที่​เปน​ผูเฒา ทั้งที่​เปน​ผู​ใหม ทั้งที่​เปน​ผู​


102 ปานกลาง อยาง​แรงกลา เธอ​พึง​ศึกษา​อยาง​นี้แหละ ๒. เธอ​พึง​ศึกษา​อยาง​นี้​วา​เราจัก​ฟงธรรม​อัน​ใด​อัน​หนึ่ง ซึ่ง​ ประกอบดวย​กศุ ล เรา​เงีย่ หูล​ ง​ฟง ธรรม​นนั้ ท​ งั้ หมด ทำ​ในใจ​ใหส​ ำเร็จ​ ประโยชน รวบรวม​ไว​ทั้งหมด​ดวยใจ เธอ​พึง​ศึกษา​อยาง​นี้แล ๓. เธอ​พึง​ศึกษา​อยาง​นี้​วา ก็​สติ​ที่​เปนไป​ใน​กาย​ของ​เรา ซึ่ง​ ประกอบดวย​ความ​สำราญ จัก​ไม​ละ​เรา​เสีย เธอ​พึง​ศึกษา​อยาง​ นี้แล เมื่อ​เณร​ทั้ง​สาม​รูป​ได​บวช​โดย​รับ​โอวาท​ธรรม ๓ ประการ​และ​ ถือธุดงคว​ ตั ร ๑๓ คือ ถือบ​ งั ส​ กุ ลุ กิ ธ​ ดุ งค เต​จว​ี ริกธ​ ดุ งค บิณ ​ ฑ​บาติกา​ ธุดงค ​สัปป​ทาน​จาริก​ธุดงค เอกา​สนิก​ธุดงค ​ปตต​บินฑิก​ธุดงค​ ขลุ​ปจฉาภัต​ติก​ธุดงค อารัญญิก​ธุดงค รุก​ขมลิก​ธุดงค ​อัพโภกา​สิก​ ธุดงค โ​สสานิกธ​ ดุ งค ย​ ถาลันต​ตกิ ธ​ ดุ งค เ​นสัชชิกธ​ ดุ งค กับท​ า น​หลวง​ ปูม​ หา​กสั สปแลว​ก็ไดอ​ ยูด​ แู ล อุปฏ ฐาก​รบั ใช​และ​ศกึ ษา​ขอ พ​ ระธรรม และ​พระไตรปฎก เณร​ทั้ง​สาม​เรียนรู​ได​อยาง​รวดเร็ว​แตกฉาน​ใน​ พระไตรปฎก เปนที่​พอใจ​แก​หลวง​ปู​มหา​กัสสป​เปน​ยิ่งนัก

สำเร็จ​อรหันต

ใน​ชว ง​กอ น​เขาพรรษา​ของ​ปน​ นั้ ​สามเณร​ทงั้ ส​ าม​ไดเ​รงท​ ำความ​ เพียร​อยาง​ยงิ่ ยวด และ​กอ น​เขาพรรษา​ใน​คนื หนึง่ เ​ปนว​ นั อุโบสถ​ศลี ขึ้น ๑๕ ค่ำ แสง​จันทรา​กระจาง​ฟา ใน​ราตรี​นั้น ​เมื่อสามเณรทั้งสามเจริญวิปัสสนาแล้ว หลวงปู่​ มหากั ส สปะได้ อ บรมข้ อ ธรรมเรื่ อ งทางสายกลาง เมื่ อ นั้ น เอง​ สามเณรทัง้ สามสำเร็จเปนอ​ รหันต ผูถ​ งึ พ​ รอมดวย​ปฏิสมั ภิทา​ญาณ​


103 ใน​ชว งเวลา​ไลเลีย่ กัน โดย​สามเณรรัต​ น​กมุ าร​สำเร็จก​ อ น ตอมา​มหา​ กุมาร​สำเร็จ​เปน​องค​ที่ ๒ และ​จุล​กุมาร​สำเร็จ​เปน​องค​ที่ ๓ (มหา​ กุมาร​แทจริง​มี​อาวุโส​กวา​แต​สำเร็จ​เปน​องค​ที่ ๒ เพราะ​พิจารณา​ ธรรม​นาน​กวา สำเร็จ​ชา​กวา จุล​กุมาร​ยิ่ง​พิจารณา​ธรรม​นาน​กวา​จึง​ สำเร็จ​เปน​องค​ที่ ๓) ขณะนั้น ​เหลา​กอน​เมฆ​บน​ทองฟา​หลบ​หายไป​สิ้น แสง​จันทรา​ กลม​โต​เต็มดวง​สองสวาง​มายัง​พื้นปฐพี ได​ทรงกลด​เปน​วงกวาง​ สองสวาง​ไป​ทั่ว​บริเวณ แผน​ฟา​แผนดิน​สะเทือน เทพ​เทวดา​ อนุโมทนา​สาธุการ​นับ​แสน​โกฏิ​จักรวาล หลัง​ออกพรรษา​ใน​ป​นั้น​ หลวง​ปู​มหา​กัสสปะ​พรอม​คณะสงฆ​จำนวน​หนึ่ง จึง​ได​พา​เณร​ทั้ง​ สาม​องค​ออก​ธุดงค​วัตร​เปน​ครั้งแรก

ตามรอย​บาท​พระศาสดา

ครั้งแรก​แหง​การ​ธุดงค​วัตร หลวง​ปู​มหา​กัสสปะ​ได​พาไป​ที่​สวน​ ลุมพินี​วัน อันเปน​สถานที่ๆ​ สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา​ประสูติ​ และ​ทรง​ดำเนิน​ยาง​พระบาท ๗ กาว​พรอม​เปลง​อาภิส​วาจา เมื่อ​สามเณร​ทั้ง ๓ มาถึง หลวง​ปู​มหา​กัสสปะ​ได​ยก​ขอ​ธรรม​ ขึ้น​มา​สั่งสอน และ​ให​แยกยาย​กับ​เจริญ​กรรมฐาน​วิปสสนา​อยู ๓ เดือน จากนั้น​ทั้ง​คณะ​ก็ได​จารึก​ไปยัง​กรุง​กบิล​พัสดุ และ​ได​ฟง​หลวง​ ปู​มหา​กัสสปะเทศนา​บรรยาย​ธรรม​แหง​สถานที่​ตางๆ​ ของ​เจาชาย​​ สิ​ทธัตถะ เชน พิจารณา​ปราสาท ๓ ฤดู พิจารณา​บริเวณ​ที่​เจาชาย​ ส​ ท​ิ ธัตถะ​พบ​กบั เ​ทวทูตท​ งั้ ๔ พิจารณา​ประตูเมือง​ทเ​ี่ จาชาย​สท​ิ ธัตถะ​


104

เสด็จห​ นีอ​ อก​บรรพชา เจริญว​ ปิ ส สนา​ทบ​ี่ ริเวณ​ทร​ี่ มิ ฝง แ​ มนำ้ อโน​มา​ นที ที่​เจาชาย​สิ​ทธัตถะ​ตัด​พระ​เมาลี และออกบวช จากนั้น​ จาริก​ไปยัง​มคธ​ชนบท บรรลุ​ถึง​ตำบล​อุรุ​เวลา เสนา​ นิคม ซึ่ง​เปน​สถานที่​บำเพ็ญ​ทุกข​กิริยา หลวง​ปู​มหา​กัสสปะ​ได​พา​ จารึกไ​ปยังฝ​ ง แ​ มนำ้ เ​นรัญช​ รา ทรง​ลอย​ถาด​เสีย่ ง​พระ​บารมี หลวง​ป​ู มหา​กัสสปะ​ได​ปลุก​พญากาฬ​นาคราช​ขึ้น​มา เพื่อ​วิสัชนา​ธรรม​ถึง​ ครั้ง​ที่​พระพุทธองค​ลอย​ถาด​ทอง​เสี่ยงทาย หลวง​ปู  ​ม หา​กั ส สปะ​ไ ด ​พ า​ค ณะ​เ ดิ น ทาง​ต  อ ไป​เ พื่ อ ​เจริ ญ​ กรรมฐาน​ยัง​ตน​พระ​ศรีมหาโพธิ​ที่​ตรัสรู​อนุตร​สัมมา​สัมโพธิ​ญาณ หลวง​ปู  ​ม หา​กั ส สปะ​ไ ด ​พ า​ส ามเณร​ทั้ ง ​ส าม​จ ารึ ก ​ไ ปยั ง ​ที่ ​ต  า งๆ​ มากมาย ลวน​เปนที่​สำคัญยิ่ง ทั้ง​ปา​อิสิป​ตน​มฤคทายวัน ซึ่ง​เปนที่​ แสดง​ปฐมเทศนา​แก​ปญจวัคคีย วัด​เวฬุวัน ที่​แสดง​ยมก​ปาฏิหาริย​ นคร​สาวัตถี ใต​ไมคั​ณ​ฑามพ​พฤกษ (ไม​มะมวง) สถานที่​ปรินิพพาน​ ของ​พระพุทธองค ที่​เมืองกุ​สิ​นารา ฯลฯ


105 ตลอด​ระยะเวลา​หลาย​ป หลวง​ปู​มหา​กัสสปะ​ได​พา​เณร​ทั้ง​สาม​ ออก​ธุดงค​วัตร จารึก​ไปยัง​เมือง​ตางๆ หลวง​ปู​มหา​กัสสปะ​บำเพ็ญ​ บารมี​มา​มาก​สุดประมาณ ไมวา​จะ​ไปยัง​เมือง​ใด เหลา​กษัตริย​ของ​ แตละ​เมือง​จะ​ถวาย​การ​ตอนรับ​อยาง​สม​พระ​เกียรติ ใน​แตละครั้ง​ที่​ออก​ธุดงค​วัตร ถา​ถึง​ชวง​เขาพรรษา​หลวง​ปู​มหา​ กัสสปะ​ก็​จะ​พา​เณร​ทั้ง​สาม​เขา​จำพรรษา​ตาม​วัด​ตางๆ​ ที่​กำเนิด​ขึ้น​ แตค​ รัง้ พ​ ทุ ธกาล​เพือ่ ศ​ กึ ษา​ขอ มูล รวม​บรู ณะ หรือว​ าง​ระบบ รากฐาน จัดการ​สิ่ง​ตางๆ เมื่อ​ออกพรรษา​ทาน​ก็​ไป​ตอ บาง​ครั้ง​ก็​ให​ภิกษุ​อื่น​ ตาม​ธุดงค​วัตร​ดวย บาง​ครั้ง​ก็​ไปกับ​เณร​ทั้ง​สาม​เทานั้น หลวง​ปู​มหา​กัสสปะ​ยัง​ได​เคย​พา​เณร​ทั้ง​สาม​รูป​ไป​กราบ​พบ​ พระอรหันต​ที่​มี​ความ​สำคัญ​หลายๆ ​องค เพื่อให​เณร​ทั้ง​สาม​รับฟง​ คำ​สั่งสอน​เทศนา เชน เคย​พา​เณร​ทั้ง​สาม​ไป​กราบ​พบพระ​อานนท​ หลายครั้ง​หลายคราว

อุปสมบท

จน​กระ​ทงั้ เ​ณร​ทงั้ ส​ าม​มอี ายุค​ รบ ๒๐ ป หลวง​ปม​ู หา​กสั สปะ จึง​ ได​อุปสมบท​เปน​ภิกษุ​โดย​วิธี รับ​โอวาท​ธรรม ๓ ประการ​ รับ​พระ​ กรรมฐาน​และ​ธุดงควัตร ๑๓ จาก​หลวง​ปู​มหา​กัสสปะ และ​เณร​ทั้ง​ สาม​รูป​ได​ฉายา​ทางธรรม​โดย ๑. รั​ตน​กุมาร ​เมื่อ​อุปสมบท​เปน​ภิกษุ​แลว​ได​ฉายา​วา​พระพุทธ​ รักขิต ๒. มหา​กุมาร ​เมื่อ​อุปสมบท​เปน​ภิกษุ​แลว​ได​ฉายา​วา​พระธรรม​ รักขิต


106 และ ๓. จุล​กุมาร​ เมื่อ​อุปสมบท​เปน​ภิกษุ​แลว​ได​ฉายา​วา​พระ​ สังฆ​รักขิต ชวง​ที่​ทาน​ทั้ง​สาม​อุปสมบท​ใหมๆ​ ก็ได​เดิน​ธุดงค​ไป​ใน​เขต​​ ชม​ภท​ู วีป พมา และ​จนี เปนเวลา​นาน​จงึ ไ​ดก​ ลับมา หลังจาก​กลับมา​ พระมหากัสสปมี​อาการ​อาพาธ​หนัก​ หลวง​ปู​ใหญ​ทั้ง​สามก็ได​เฝา​ ปรนนิบัติ​รับใช​พระมหากัสสป และ​ปฏิบัติ​ธรรม ฟง​เทศนา

หลวง​ปู​มหา​กัสสปะ​เขา​นิพพาน

หลังพ​ ทุ ธกาล​มา​โดย​ตลอด​เปนเวลา ๔๐ ป หลวง​ปม​ู หา​กสั สปะ​ เปนเสมือน​สังฆราชา​แหง​สงฆ​ทั้งหลาย เมื่อ​หลวง​ปู​มหา​กัสสปะ​ อาพาธ​หนัก​ทาน​จึง​ได​เรียก​พระภิกษุ ทั้ง ๓ รูป คือ ๑. พระพุทธ​ รักขิต ๒. พระธรรม​รักขิต ๓. พระ​สังฆ​รักขิต เขามา​รับ​โอวาท​ครั้ง​ สุดทาย และ​ได​มี​บัญชา​ให​ทาน​ทั้ง​สาม​ดูแล​พระภิกษุ สามเณร​ตาม​ อาราม​ทั่วไป ดูแล​พระศาสนา​ในที่​ตางๆ ให​ยั่งยืน​สืบไป โดย​ทาน​ได​แบง​หนาที่​ให​พระพุทธ​รักขิต ดูแล​สังขาร​ของ​ทาน​ที่​ เขา​กุกกุฎ​ปาต​บรรพต เปนยอด​สูงสุด​ใน​แถบ​นั้น​อยู​เทือก​เดียว​กับ​ หิมาลัย และ​ดูแล​ศาสนา​ฝาย​มหายาน (ทาน​รู​ดวย​อริย​ญาณ​วิถี วา​ ศาสนา​จะ​แตกออก​เปน​นิกาย​ใหม) และ​ทาง​ชมพูทวีป​ตอนใต พระธรรม​รักขิต และ​พระ​สังฆ​รักขิต ​ชวยกัน​ดูแล​ฝาย​เถรวาท​​ ทั้งหมด แลว​สั่งสอน​ตอ​ภิกษุ​ทั้งหลาย​วาอยา​ประมาท อุตสาห​พยายาม​ อยา​ให​ขาด​เวลา จง​ปฏิบัติ​ตาม​คำ​สั่งสอน​ของ​พระบรมศาสดา ตัว​ ทาน​นั้น​สิ้นอายุ​แลว จะ​นิพพาน ณ เพลา​เย็น​วันนี้​แลว


107 อนึ่ง​เลา​พระภิกษุ​ทั้งหลาย จะ​ใคร​เห็น​เรา​ใน​ขณะเมื่อ​เขาสู​ พระนิพพาน จง​ไป​ประชุม​อยู​แทบ​เชิงเขา​กุกกุฎ​ปาต​บรรพต​นั้น​เถิด พระ​มหา​เถระ​บอกเลา​พระสงฆ​ดังนี้​แลว จึง​จะ​บิณฑบาต ทาน​จึง​ ออกจาก​เวฬุว​นา​ราม เพื่อ​ไป​บิณฑบาต เขาสู​เมือง​ราช​คฤห เที่ยว​ บิณฑบาต​พอสมควร​แลวจึงกลับ​มาสู​ที่​สำราญ กระทำ​ภัตกิจ​ เมื่อ​กระทำ​ภัตกิจ​เสร็จ​แลวจึง​ดำริ​วา พระเจาอ​ชาต​ศัตรู​มี​ อุ ป การะ​แก​ทาน​เปนอันมาก มี​ศ รั ท ธา​บ ริ จ าค​จ ตุ ป  จ จั ย ​ถ วาย​ พระสงฆ​มิได​ขาด เคารพนบนอบ​ใน​พระรัตนตรัย ชวย​ทาน​ใน​การ​ ปฐม​สังคายนา จึง​จะ​ไป​บอกเลา ให​พระเจาอ​ชาต​ศัตรู​รู​กอน​จึง​จะ​ สมควร คิด​แลว​ทาน​จึง​เขาไป​ใน​เมือง​ราช​คฤห มุงสู​หนา​พระ​ลาน​ หลวง เวลานั้น​พระเจาอ​ชาต​ศัตรู​บรรทม​อยู ทาน​จึง​ได​แจง​แก​บรรดา​ อำมาตย​ทั้งหลาย​วา ทาน​ประสงค​จะ​มาลา​พระเจาอ​ชาต​ศัตรู เพื่อ​เขาสู​พระนิพพาน​ใน​เวลา​เย็น​วันนี้ จากนั้น​ทาน​ก็​กลับ​สู​เวฬุ​ ว​นา​ราม วัตร​ปฎิบั​ติ​สิ่ง​ใด​ที่​ควร​จะ​กระทำ ทาน​ก็​ทำสำเร็จ​เสร็จสิ้น​ เรียบรอย​ทุกประการ ​ แลวจึง​จาก​เวฬุวัน​พรอมพระสงฆ์เป็นอันมาก เดินทางไป ยังกุกกุฏบรรพต ไปถึงเมื่อเวลาเย็น แลว​ทาน​ก็​แสดง​ปาฏิหาริย​ ตางๆ พรอม​เทศนา​โปรด​มหาชน​ทั้งปวง ให​ลุลวง​เขาสู​อริย​ภูมิ​ เปนอันมาก จากนั้น​ทาน​ได​อำลา​พระสงฆ​ทั้งหลาย​วา ให​อุตสาหะ​เจริญ สมณธรรม อยาป​ ระมาท​ใน​คำ​สงั่ สอน​ของ​พระบรมศาสดา เรา​จะ​ลา​ ทาน​ทงั้ หลาย​เขาสูพ​ ระนิพพาน​แลว จากนัน้ ท​ า น​จงึ เ​ขาไ​ปสูร​ ะหวาง​


108 ภูเขา​ทงั้ ส​ าม​ลกู แลวพ​ ระ​มหา​เถระ​จงึ ข​ นึ้ ส​ ท​ู ไ​ี่ สยาสน เขาสูผ​ ล​สมาบัติ เมื่อ​ออกจาก​ผล​สมาบัติ​แลว จึง​ตั้ง​อธิษฐาน​ไว​วา ทาน​เขาสูน​ พิ พาน​แลวเ​มือ่ ใด ภูเขา​ทงั้ ส​ าม​ลกู น​ จ​ี้ ง​มา​ประชุมก​ นั ​ เปน​ลูก​เดียว ให​ปรากฏ​เปน​หองหับ​อยู​ภายใน​ภูผา อุปมา​ดัง​หอง​ที่​ ไสยาสน เมื่อ​พระ​มหา​เถระ​อธิษฐาน​แลว จึง​เอน​องค​ลง​เหนือ​แทน​ที่​ ไสยาสน​โดย​บูรพ​เบื้อง​ทักขิณา ลำดับ​หัตถ​บาท​เปน​ระเบียบ บาย​ พระ​เศียร​สู​อุดร​ทิศา ก็​ดับ​เบญจขันธ เขาสู​พระ​อมต​มหา​นิพพาน สูญสิ้น​ทั้ง​วิบาก​ขันธ​และ​กรรมมัช​รูป​ไมเหลือ มิได​สืบตอ​รูปกาย​ให​ ปรากฏ​ใน​ภพหนา ก็​ปรากฏ​ชื่อวา อนุ​ปา​ทิเสส​ปรินิพพาน

บุพกรรม​เกี่ยวเนื่อง​กับ​พระ​ศรี​อาริย​เมตไตรย

หลวง​ปม​ู หา​กสั สปะ​แมไ​ดน​ พิ พาน​แลว แตส​ รีระ​สงั ขาร​ของ​ทา น​ ยัง​คงไว เพื่อ​รอ​สมเด็จพระ​ศรี​อาริย​เมตไตรย​ซึ่ง​เปน​พระพุทธเจา​ องค​ตอไป มา​ตรัสรู​อนุตร​สัมมา​สัมโพธิ​ญาณ แลว​นำ​พระ​ศพ​ พระมหากัสสป​มา​เผา​บน​ฝามือ​ทาน ดวย​เตโชก​สิน (ก​สิน​ไฟ) จึง​จะ​ ทำลาย​สรีระ​สังขาร​ของหลวง​ปู​มหา​กัสสปะ​อยาง​สมบูรณ ​ ดังนั้น​ ขณะนี้​ระหวาง​รอ​สมเด็จพระ​ศรี​อาริยเมตไตรย พระ พุทธรักขิตมีหน้าที่ดูแล​สังขาร​ของ​ทาน​ไป​จน​สิ้น​พุทธกาล​นี้​กอน มู ล เหตุ ​ที่ ​ห ลวง​ปู  ​ม หา​กั ส สปะ​กั บ ​พ ระ​ศ รี ​อ าริ ย ​เ มตไตรย​ เกี่ยวเนื่อง​กัน​คือ ชาติ​หนึ่ง​พระโพธิสัตว​ทรง​บังเกิด​เปน​มนุษย​ตระกูล​กษัตริย ที่​ นคร​สร​ิ มิ ด​ ี ทรง​พระนาม​วา พระเจาส​ ตั ตุต​ าป​นะ ทรง​มพ​ี ระ​ราชสมบัต​ิ


109

เพียบพรอม แวดลอม​ดว ย​ขา ร​ าช​บริพาร​ทจ​ี่ งรักภักดี ทรง​ครอง​ราชย​ ดวย​ทศพิธราชธรรม ประชาราษฎร​อยู​รมเย็น​เปนสุข​โดย​ทั่วหนา พระเจา​สัตตุ​ตาป​นะ​โปรด​การ​ประพาส​คลอง​ชาง​เปน​อยางยิ่ง วันหนึ่ง​ทรง​ทราบ​ขาว​เรื่อง​มี​ชางเผือก จึง​เสด็จ​ไป​คลอง​ได​มา​โดย​ ไมยาก โปรดใหน​ ำมา​ขนึ้ ระวาง​เปนช​ า ง​มงคล​คชสาร ทรง​มร​ี บั ส​ งั่ ให​ นาย​หัตถาจารย (ควาญ​ชาง​ผู​เชี่ยวชาญ​ตำราคช​เวท) ฝกหัด​ให​ชาง​ เชื่อง ชำนาญ​พิธี​ใชงาน​ได​อยาง​ดี​ภายใน ๗ วัน พอ​วันที่ ๘ พระองค​ทรง​ประทับ​บน​หลัง​ชาง​มงคล​คชสาร​เสด็จ​ ชม​เมือง​จน​ถึงเวลา​เย็น ทรง​สดับ​ขาว​วา ใน​ราตรี​กอน​มี​ชาง​ปา​โขลง​ ใหญ​บุก​เขา​ทำลาย​อุทยาน​พังยับเยิน จึง​ทรง​ชาง​ไป​ทอดพระเนตร ทันทีที่​เขา​เขต​พระ​ราช​อุทยาน ชาง​มงคล​คชสาร​ของ​พระองค​ ซึ่ง​เยือ้ งยาง​เปน​สงา​อยาง​ดี​ก​พ็ ลัน​มอี​ าการ​เปลีย่ น​แปรไป สลัด​นาย​ หัตถาจารย​ตกลง แลว​ตั้งหนา​วิ่ง​เตลิด​เขา​ปา แม​พระราชา​จะ​ทรง​ ลงทัณฑ​โดย​พระ​ขอ​คมกริบ​เพื่อ​บังคับ ชางทรง​ก็​ไม​เกรงกลัว ยังคง​


110 วิ่ง​ตะลุย​ฝา​ดงไม​ไมคิด​ชีวิต พระเจา​สัตตุ​ตาป​นะ ทรง​เห็นวา​พระองค​อาจ​ถูก​กิ่ง​ไม​ทำ อันตราย​ถึง​แก​พระ​ชนม​ชีพ​ จึง​ทรง​ควา​กิ่ง​มะเดื่อ โหน​พระวร​กาย​ ขึน้ ป​ ระทับอ​ ยูบ​ น​กงิ่ ไ​มพ​ น อันตราย​ใน​ครัง้ ก​ ระนัน้ จึงท​ รง​พโิ รธ​อยาง​ มาก เมื่อ​ทรง​ซักถาม​นาย​หัตถาจารย​ถึง​สาเหตุ นาย​หัตถาจารย​ กราบทูล​วา ​เปน​เพราะ​ชาง​มงคลคชสารได้กลิ่นนางช้างที่ราวป่า​ ด้วยอำนาจมนต์ (ราคะ) ดำ​กฤษณา จึง​เกิด​มัวเมา​ดวย​ไฟ​ราคะ ลืม​ สิน้ ท​ กุ สิง่ ท​ กุ อยาง​แมแตค​ วาม​เจ็บปวด​จาก​ขอสับ เมือ่ ไ​ดพ​ บ​นาง​ชา ง​ และ​เสพสังวาส​เสร็จก​ จิ ต​ าม​ประสงคแ​ ลว จะ​เชือ่ ง​และ​กลับมา​อยูใ​ น​ อำนาจ​มนต​ตามเดิม เหตุการณ​เปนไป​ตามที่​นาย​หัตถาจารย​กราบทูล ใน​วันถัด​มา​ ชาง​มงคล​คชสาร​ก็​กลับมา​นาย​หัตถาจารย​ทูล​วา “ขึ้น​ชื่อวา​มนต​ ดำ​กฤษณา​นี้ ยอม​มี​คม​เฉียบแหลม​ยิ่ง เกิน​กวา​คม​แหง​พระแสง​ขอ​ เปน​รอย​เทา​พัน​ทวี อนึ่ง ถา​จะ​วา​ขาง​รอน​เลา ขึ้น​ชื่อวา​รอน​แหง​ เพลิง คือ​มนต​ดำ​กฤษณา​นี้ ยอม​รอนรุม​อยู​ใน​ทรวง​ของ​สัตว​อยาง​ เหลือลน ยิ่งกวา​ความ​รอน​แหง​เพลิง​ตามปกติ​เปน​ไหนๆ อนึ่ง ถา​ จะ​วา ไ​ป​ขา ง​เปนพิษเ​ลา ขึน้ ช​ อื่ วาพ​ ษิ ค​ อื ม​ นตด​ ำ​กฤษณา​นี้ ยอม​มพ​ี ษิ ​ ซึมซาบ​ฉุนเฉียว​เรี่ยวแรง​รวดเร็ว​ยิ่ง เกิน​กวา​พิษ​แหง​จตุรพิธ​ภุชงค คือ พิษแ​ หงพ​ ญา​นาคราช​ทงั้ ส​ ช​ี่ าติ สีต​่ ระกูลเ​ปนไ​หนๆ เพราะ​เหตุน​ี้ พระองค​จึง​มิ​สามารถ​หยุดยั้ง​ดวย​กำลัง​พระแสง​ขอ​ได พระ​เจาขา!” “แลว​ไฉน​พญา​คชสาร​นี้ จึง​กลับมา​โดย​ลำพัง​ใจ​ของ​ตน​เอง” พระราชา​ทรง​ถาม​ขนึ้ ห​ ลังจากทีฟ​่ ง น​ าย​หตั ถาจารยอ​ ธิบาย​เปนเวลา​


111 นาน ‘การ​ทพ​ี่ ญา​คชสาร​กลับมา​ใน​ครัง้ นี้ ใชว​ า จ​ ะ​มา​โดย​เจตนา​กห​็ าไม แต​เปน​เพราะ​กำลัง​อำ​นา​จมน​ตรา​มหา​โอสถ​ของ​ขาพระพุทธเจา” เมื่อ​ทรง​สดับ​ดังนั้น​แลว พระองค​จึง​ตรัส​สั่งให​นาย​หัตถาจารย​ แสดง​กำลังมน​ตรา​มหา​โอสถ​ให​ทรง​ทอดพระเนตร สวน​นาย​ หัตถาจารย​ก็ได​ให​บริวาร​ไป​นำ​เอา​กอน​เหล็ก​กอน​ใหญ​มา แลว​ให​ ชางทอง​เอา​ใส​เตาสูบ เผา​ดวย​เพลิง​ให​กอน​เหล็ก​นั้น​สุก​แดง​แลวจึง​ เอา​คีม​คีบ​ออกจาก​เตา เรียก​ชาง​มงคล​คชสาร​เขา​มาแลว​รายมนต​ พลาง​บังคับ​ให​คชสาร​จับ​เอา​กอน​เหล็ก​แดง​นั้น​ดวย​คำ​กำชับสั่งว่า “ดูกร​พญา​นาคินทรผ​ ป​ู ระเสริฐ จง​หยิบเ​อา​กอ น​เหล็กน​ นั้ ณ บัดนี้ แมน​เรา​ยัง​ไมได​บอก​ให​วาง ทาน​จง​อยา​ได​วาง​เลย​เปนอันขาด” ครั้น​ชาง​มงคลคชสาร​ได​ฟง​คำ​สั่ง​บังคับ ก็​ยื่น​งวง​ออกมา​จับ​เอา​ กอน​เหล็กท​ ล​ี่ กุ เปนไฟ แมวา จ​ ะ​รอ น​งวง​เหลือหลาย​จน​งวง​ไหมเ​ปน​ เปลว​ควัน​ขึ้น​ก็ดี ก็​ไม​อาจจะ​ทิ้ง​กอน​เหล็ก​นั้น​เสีย​ได​ดวย​กลัว​ตอ​อำ​ นา​จมน​ตรา​ของ​นาย​หัตถาจารย​เปนกำลัง เมื่อ​พระราชา​ทอดพระเนตร​เห็น​งวงชาง​มงคล​คชสาร​ถูก​เพลิง ไหม​เชนนั้น ก็​ทรง​สงสาร​เวทนา​และ​เกรง​ชาง​มงคล​คชสาร​จะ​ถึง​แก​ ความ​ตาย จึง​ดำรัส​สั่งให​นาย​หัตถาจารย​บอก​ให​ชาง​มงคล​คชสาร​ ทิ้ง​กอน​เหล็ก​นั้น​เสีย ทรง​หวนคิดถึง​อำนาจ​มนต​ดำ​กฤษณา​ของ​ชาง​มงคล​คชสาร พรอมกับค​ ำ​ชกั อ​ ปุ มา​อธิบาย​ของ​นาย​หตั ถาจารย ทรง​ยงิ่ ส​ งั เวช​ในใจ​ หนักหนา จึง​เปลง​สังเวช​เวที​วา “โอหนอ...นาสมเพช​หนักหนา ดวย​ฝูงสัตว​มา​ติด​ตอง​ของขัด​


112

อยู​ดวย​มนต​ดำ​กฤษณา อัน​มี​พิษ​พิลึก​นา​สะพรึงกลัว​รายกาจ​ยิ่งนัก ราคะ คือ​ความ​กำหนัด​นี้ ยอม​มี​มหันตโทษ​มหาศาล เพราะ​เพลิง​ ราคะ​มี​กำลัง​หยาบชา​กลา​แข็ง รอนรุม​สุม​ทรวง​สัตว​ทั้งหลาย​อยู​ อยาง​นี้ สัตว​ทั้งหลาย​จึง​ตอง​ถูก​กิเลส​ราคะ​ย่ำยี​บีฑา นำ​ทุกข​มา​ทุม​ ถม​ให​จม​อยู​ใน​อู​แอง​อาว​โลก​โอฆสงสาร​ไมมีวัน​สิ้นสุดลง​ได เพราะ​ราคะ​กิเลส​นี้แล สัตว​ทั้งหลาย​จึง​ตอง​ไป​ตก​หมกไหม​อยู​ ใน​มหา​นรก​ทั้ง​แปด​ขุม และ​สัตว​ทั้งหลาย​บาง​หมู​ตอง​ไป​เกิด​อยู​ใน​ กำเนิด​เดียรัจฉาน สัตว​ทั้งหลาย​ตอง​บายหนา​ไปสู​อบายภูมิ ก็​เพราะ​มนต​ดำ​กฤษณา​นี้​เปน​ประการ​สำคัญ สัตว​ทั้งหลาย​ ที่​เบียดเบียน​บีฑา​ซึ่ง​กันและกัน​ ก็​เพราะ​อำนาจ​มนต​ดำ​กฤษณา ทำให​ตอง​ระทมตรม​ทุกข​ถึง​ซึ่ง​ความ​พินาศ​นา​นับ​ประการ ไมเวน​ แมแตบ​ ตุ รธิดา มารดา​บดิ า ภรรยา​สามีท​ รี่ กั เ​ปนห​ นักหนา ก็ย​ งั ต​ อ ง​ เบียดเบียน​บีฑา​ฆา​กัน​เพราะ​อำนาจ​ดำ​นี้​มา​นัก​ตอ​นัก มิใ​ย​ถงึ ค​ น​อนื่ ท​ ม​ี่ ใิ ชญ ​ าติเ​ลา ก็ย​ งิ่ ฆ​ า ก​ นั เ​ปนม​ อ​ี ำนาจ​ดำ​กฤษณา​ นีเ​้ ปนเ​หตุพ​ นื้ ฐาน บาง​คราย​อม​จา ย​ทรัพยสนิ ไ​ป​ในทาง​ไรประโยชน


113 บางที​ยอม​เสื่อม​จาก​ยศ​และ​เกียรติคุณ บางที​ยอม​ประกอบ​กรรม​ อกุศล​ทำให​สิ้น​สุข และ​เมื่อ​จิตใจ​เบือน​จาก​กุศล​ยอม​ไปสู​ทุคติ​ภพ บางที​ให​ลุอำนาจ​แก ความ​โลภ โกรธ หลง จน​ตอง​เจริญ​โทษ​ทุก​ ภพ​ทุก​ชาติ​ที่เกิด ให​ถือกำเนิด​ใน​อบายภูมิ​ทั้ง​สี่ เพียง​เทานี้​ก็​หาไม บางครา​ยอม​ทำตน​ให​พินาศ​จาก​ศีล​สมาทาน บาง​กาล​ทำให​คน​ เสื่อม​จาก​ฌาน​ภาวนา​สมาธิ​จิต​เปน​นิจกาล ราคะ​กเิ ลส​จงึ เ​ปนเ​หตุใ​หเ​กิดท​ กุ ขม​ หันตโทษ​ใหเ​สวย​ทกุ ขเวทนา เปน​เหตุ​ให​สัตว​ทั้งหลาย​ตอง​มี​ความ​เศราหมอง​ตางๆ มากมาย” เมื่อ​ตรัส​เชนนั้น​แลว ก็​มอบ​รางวัล​ให​แก​นาย​หัตถาจารย​เปน อันมาก แลว​คำนึง​ใน​พระ​ราช​หฤทัย​วา “สัตว​ทั้งหลาย​ใน​โลก​นี้จัก​ พน​จาก​อำนาจ​มนต​ดำ​กฤษณา​อันเปน​ทุกข​ภัย​ใน​วัฏฏะ​นี้​ได​ดวย​ ประการใด?” แลวจึงเ​ห็นแ​ จงใ​น​พระ​ราช​หฤทัยว​ า ธรรม​ทงั้ หลาย​อนื่ น​ อกจาก “พุทธ​กร​ณ​ธรรม” แลวก็​ไม​เห็นวา​สิ่ง​อื่น​จะ​เปลื้อง​ตน​ให​พน​จาก​ วัฏสงสาร​ได ดั ง นั้ น ​ พระองค ​จึ ง ​ห ยั่ ง ​พ ระ​ร าช​ห ฤทั ย ​ล ง​เ ที่ ย งแท ​ถื อ เอา “พระพุทธ​ภูมิ” ปณิธาน​วา “เรา​ไดต​ รัสรูซ​ งึ่ พ​ ระ​โพธิญาณ​แลว ก็จกั ท​ ำ​สตั วท​ งั้ หลาย​ใหร​ ด​ู ว ย เรา​พน​จาก​ทุกข​ใน​วัฏสงสาร​เมื่อใด ก็จัก​ทำ​สัตว​ทั้งหลาย​ให​พน​จาก​ ทุกข​ใน​วัฏสงสาร​เมื่อนั้น​ดวย” ครั้น​ทรง​กระทำ​ปณิธาน​ปรารถนา​เฉพาะ​พระพุทธ​ภูมิ​ใน​พระ​ ราช​หฤทัย​ดวย​ประการ​ฉะนั้น​แลว ก็​ทรง​สละ​ราชสมบัติ ​ดำรง​เพศ​ เปนพ​ ระ​ดาบส​บำเพ็ญพรต ป​ ฏิบตั ช​ิ อบ​อยูต​ ราบ​สนิ้ อายุขยั แ​ ลวก​ ไ็ ด​


114 ขึ้น​ไป​บังเกิด​ในสวรรค์เทวโลก เสวยสุขอยู่สิ้นกาลนาน - พระเจา​สัตตุ​ตาป​นะ คือ พระ​สม​ณ​โค​ดม​สัมมาสัม​พุทธเจา - ชาง​มงคล​คชสาร คือ หลวง​ปู​มหา​กัสสป​เถระ​เจา - นาย​หัตถาจารยควา - ชาง คือ พระ​ศรี​อาริย​เมตไตรย​สัมมาสัม​พุทธเจา ผล​จาก​การ​กระทำ​ใน​ชาติ​นี้ นำไปสู​บุพกรรม​ระหวาง​นาย​ หัตถาจารย และ​ชาง​มงคล​คชสาร จึง​รอ​การ​ตรัสรู​ของ​พระ​ศรี​อาริย​ เมตไตรย​สัมมาสัม​พุทธเจา​ดวย​เหตุนี้

สังคายนา

หลวง​ปู​ใหญ​ทั้ง​สาม ๑. พระพุทธ​รักขิต ๒. พระธรรม​รักขิต ๓. พระ​สงั ฆ​รกั ขิต ไดป​ ฏิบตั ห​ิ นาทีต​่ า งๆ ต​ ามทีไ​่ ดรบั ม​ อบหมาย​มา​ โดย​ตลอด ทาน​เปนกำลังส​ ำคัญใ​น​การ​ทำ​สงั คายนา​พระไตรปฎก​ใน​ ทุกๆ​ครั้ง ตั้งแต​การ​สังคายนา​ครั้ง​ที่สอง

เมืองเว​สาลี สถานที่​ทำทุ​ติยส​ ังคายนา

การ​ทำ​สังคายนา​ครั้ง​ที่สอง​เกิดขึ้น​เมื่อ พ.ศ.๑๐๐ ที่​วาลิกา​ราม เมืองเว​สาลี แควนว​ ชั ช​ ี ประเทศ​อนิ เดีย โดย​มพ​ี ระ​ยสกากัณ ​ ฑก​บตุ ร เปน​ผูชักชวน พระ​เถระ​ผใู หญท​ เ​ี่ ขารวม​ทำ​สงั คายนา​ครัง้ นีไ​้ ดแก พระสัพพ​ กา​มี พระ​สาฬหะ พระ​ขุชชโสภิตะ พระ​วาสภคา​มิ​กะ (ทั้ง​สี่​รูป​นี้​เปน​ชาว​ ปาจีน​กะ) พ​ระเรวตะ พระสัม​ภูตะ สา​ณ​วาสี พระยสะ ​กากั​ณฑก​ บุตร และ​พระ​สุมนะ (ทั้ง​สี่​รูป​นี้​เปน​ชาว​ปาฐา) ในการนี้พ​ระเรวตะ​


115 ทำหนาที่​เปน​ประธาน​ผู​คอย​ซักถาม และ​พระสัพ​พกา​มี​เปน​ผูนำ​ใน​ การ​วิสัชนา​ขอ​วินัย การ​ทำ​สังคายนา​ครั้งนี้​มี​พระสงฆ​มา​ประชุม​รวมกัน ๗๐๐ รูป ดำเนินการ​อยู​เปนเวลา ๘ เดือน จึง​เสร็จสิ้น ขอ​ปรารภ​ใน​การ​ทำ​สังคายนา​ครั้งนี้​เกิดขึ้น​เมื่อ พระ​ยสะกา​ กั​ณฑก​บุตร พบเห็น​ขอปฏิบัติ​ยอหยอน ๑๐ ประการ​ทาง​พระ​วินัย​ ของ​ภิกษุ​วัช​ชี​บุตร เชน ควร​เก็บ​เกลือ​ไว​ใน​เขาสัตว​เพื่อ​รับประทาน​ ได ควร​ฉัน​อาหาร​ยามวิกาล​ได ควร​รับ​เงินทอง​ได เปนตน พระยสะ​กากั​ณฑก​บุตร​ จึง​ชวน​พระ​เถระ​ตางๆ ให​ชวยกัน​ วินิจฉัย แก​ความ​ถือ​ผิด​ครั้งนี้

การ​สังคายนา​ครั้ง​ที่​สาม

การ​ทำ​สงั คายนา​ครัง้ ท​ ส​ี่ าม​เกิดขึน้ เ​มือ่ พ.ศ. ๒๓๔ ทีอ่ โ​ศกา​ราม กรุง​ปาฏ​ลี​บุตร แควนมคธ ประเทศ​อินเดีย โดย​มี​พระ​โมคค​ลี​บุตร​ ติสส​เถระ เปนป​ ระธาน การ​ทำ​สงั คายนา​ครัง้ นีม​้ พ​ี ระสงฆม​ า​ประชุม​ รวมกัน ๑,๐๐๐ รูป ดำเนินการ​อยู​เปนเวลา ๙ เดือน จึง​เสร็จสิ้น ขอ​ปรารภ​ใน​การ​ทำ​สังคายนา​ครั้งนี้​เกิดขึ้น​เมื่อ​พวก​เดียรถีย หรือ​นักบวช​ศาสนา​อื่น​มา​ปลอม​บวช แลว​แสดง​ลัทธิ​ศาสนา​และ​ ความเห็น​ของ​ตน​วา​เปน​พระพุทธศาสนา พระ​โมคค​ลี​บุตรติสส​ เถระ จึง​ได​ขอ​ความ​อุปถัมภ​จาก​พระเจา​อโศก​มหาราช​ สังคายนา​ พระ​ธรรมวินัย ​เพื่อ​กำจัด​ความเห็น​ของ​พวก​เดียรถีย​ออกไป ใน​การ​ทำ​สังคายนา​ครั้งนี้ พระ​โมคค​ลี​บุตร​ติสส​เถระ ได​แตง​ คัมภีรก ถา​วตั ถุ ซึง่ เ​ปนค​ มั ภีรห​ นึง่ ใ​น​พระ​อภิธรรม​ไวด​ ว ย และ​เมือ่ ท​ ำ​


116 สังคายนา​เสร็จ​แลว ก็​มี​การ​สง​คณะทูต​ไป​ประกาศ​พระพุทธศาสนา​ ในประเทศ​ตางๆ

การ​สังคายนา​ครั้ง​ที่​สี่

การ​ทำ​สงั คายนา​ครัง้ นีเ​้ กิดขึน้ เ​มือ่ พ.ศ. ๔๖๐ ทีอ​่ าโลกเล​ณส​ ถาน มตเลชนบท ประเทศศรีลงั กา โดยมีพระรักขิตมหาเถระเป็นประธาน การ​ทำ​สังคายนา​ครั้งนี้​ เพื่อ​ตองการ​จารึก​พระพุทธวัจ​นะให​เปน​ ลายลักษณ​อักษร ใน​การ​สงั คายนา​ทกุ ครัง้ ​หลวง​ปใ​ู หญท​ งั้ ส​ าม​องคจ​ ะ​มส​ี ว นสำคัญ​ ใน​การ​รวม​ทำ​สังคายนามา​โดย​ตลอด ใน​สวนมาก​ทาน​ทั้ง​สาม​ก็​ จะ​ถือธุดงค​จารึก​ไปดวยกัน​ทั้ง​สาม​รูป เพื่อ​เจริญ​วิปส​สนา และ​ โปรดสัตว​ตามสมควร และใน​หลายๆ​ ครั้ง​ ทาน​ทั้ง​สาม​ก็ได​แยกกัน​ไป​เผยแพร​ พระพุทธศาสนา หาก​ทา น​ทราบ​โดย​อริยญ ​ าณ​วถิ ี วาผ​ ใู ด​มว​ี าสนา​จะ​ ไดบ​ รรลุธ​ รรม ทาน​กจ​็ ะ​ไป​โปรด​ผน​ู นั้ และ​เมือ่ ท​ า น​ไป​โปรด​บคุ คล​ใน​ พืน้ ท​ ใี่ ดๆ เมือ่ ค​ น​เหลานัน้ ม​ ศ​ี กั ยภาพ​พอ​ทา น​กจ​็ ะ​ใหบ​ คุ คล​เหลานัน้ ดูแล​พระศาสนาใน​พื้นที่​ของ​ตน เปนการ​บม​เพาะเมล็ด​พันธ​ทาง​ ศาสนา ให​แผ​กิ่ง​กาน​สาขา​เกิด​รมเงา​ให​ได​เปน​ที่พึ่งพิง​แหง​หมูชน แลว​ทาน​ก็​จะ​ธุดงค​ไปยัง​ที่อื่นๆ​ตอไป หลวง​ปู​ใหญ​ทั้ง​สาม​ได​มี​ความ​วิริยะ อุตสาหะ เผยแพร​พระ ศาสนา​อยาง​เต็มกำลังค​ วาม​สามารถ ทาน​ไดด​ ำริใ​หห​ มูช น​ทงั้ หลาย รวมกลุม​สราง​เมืองขึ้น​ใน​หลายๆ ​เมือง เพื่อจะ​เปน​ศูนยกลาง​ใน​ การ​เผยแพร​พระศาสนา​ใน​แตละ​พื้นที่ โดย​แตละ​ที่​ก็​เกิดขึ้น ตั้งอยู


117

ดับไ​ปตาม​กฎ​แหงไ​ตรลักษณ มีก​ าร​อพยพ​ละทิง้ ถ​ นิ่ ฐาน​กนั ใ​น​แตละ​ ยุคสมัย เพราะ​ภยั ส​ งคราม​บา ง ภัยธ​ รรมชาติบ​ า ง แตห​ ลวง​ปท​ู งั้ ส​ าม​ ทาน ก็ไ​มยอ ทอต​ อ อ​ ปุ สรรค ทาน​กเ​็ ผยแพรพ​ ระธรรม​คำ​สงั่ สอน​ของ​ สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา เต็มกำลัง​เต็ม​บารมี​ของ​ทาน ใน​ยุค​หลังๆ ​ตั้งแต พ.ศ.๑๕๐๐ ป​ลวง​มา​ หลวง​ปู​ใหญ​ทั้ง​สาม​ จึง​ได​แยกยาย​กัน​ไป​เผยแผ​พระศาสนา​ มี​ลูกศิษย​มากมาย แบง​ เปนสาย​พระธรรม​ทูต​หลาย​สาย จน​เปน​คณะ​ธรรม​ทูต แลว​ใน​ชวงหลัง​นี้ เคย​มี​ผู​ได​ประสบ​พบ​เจอ​หลวง​ปู​ใหญ แลว​ มี​การ​กลาว​วา หลวง​ปู​ใหญ​มี ๓๖ องค ซึ่ง​ก็​คือ​สาย​พระธรรม​ทูต​ ซึ่ง​เปน​ลูกศิษย​ของหลวง​ปู​ใหญ​ทั้ง​สาม​ คือ ๑. พระพุทธ​รักขิต ๒. พระธรรม​รักขิต ๓. พระ​สังฆ​รักขิต​นี้​เอง ไดมก​ี าร​ชมุ นุมเ​หลาล​ กู ศิษยอ​ ยูเ​ สมอ เพือ่ ท​ ห​ี่ ลวง​ปใ​ู หญท​ งั้ ส​ าม​ จะ​ได​อบรมสั่งสอน​ขอ​วัตรปฏิบัติ​เพิ่มเติม และ​มอบหมาย​หนาที่​ ตอไป ชวง​ระยะหลัง​มา​นี้​ เมื่อ​บานเมือง​มี​ความ​เจริญ​ขึ้น​มาก ​และ​


118 หลวง​ปู​ใหญ​ทั้ง​สาม​ทาน​ได​เห็นวา ศาสนา​ตั้งมั่น​เจริญ​อยู​ได​ พอสมควร หลวง​ปู​พระพุทธ​รักขิต​ทาน​จึง​ได​ไป​จำพรรษา​ที่​แถบ​ ชมพูทวีป​เพือ่ ด​ แู ล​พระ​สรีระ​สงั ขาร​ของ​พระมหากัสสป ทาน​ไดเ​ปน​ ผูด แู ล​พทุ ธศาสนา​ฝา ย​มหายาน ตลอดจน​พระศาสนา​ทาง​ชมพูทวีป​ ตอนใต สวน​หลวง​ปู​พระธรรม​รักขิต​ ทาน​ได​ยาย​มา​จำพรรษา​ที่​ภูเขา​ ควาย​นอย เขตเมือง​เวียง​จันทร ประเทศ​ลาว (หลวง​ปู​ตน​บุญ สมัย​ ที่​ทาน​บรรพชา​เปน​สามเณร ​ทาน​ได​ถวาย​การ​รับใช​หลวง​ปู​ใหญ​ พระธรรม​รักขิต ที่​ภูเขา​ควาย​นี้​เปนเวลา​เกือบ ๓ ป) และ​หลวง​ปู​พระ​สังฆ​รักขิต ​ทาน​ได​มา​จำพรรษา​อยูที่​เขาพิ​ลาศ​ ​โรง​ธรรม ใน​ดง​พญาไฟ (ใน​หมู​ลูกศิษย​ของหลวง​ปู​ใหญ​ทั้ง​สาม​ จะ​เรียก​ลูกศิษย​ของ​พระ​สังฆ​รักขิต​ที่​ดง​พญาไฟ​นี้​วา “ศิษย​ใน​ดง”) ปจจุบัน​คือ​เขต​รอยตอ​ของ อ.ปากชอง จ.นครราชสีมา (ปจจุบัน​ ทางราชการ​เปลี่ยน​ชื่อ​เปน​ดง​พญา​เย็น​แลว) โดย​หลวง​ปู​ใหญ​ทั้งสอง​องค​ชวยกัน​ดูแล​ฝาย​เถรวาท​ทั้งหมด หลวง​ปู​ใหญ​ทั้ง​สาม​ได​บำเพ็ญ​กรณียกิจ เพื่อ​ความ​เจริญ​มั่นคง​ แหงพ​ ระศาสนา​และ​สงเคราะหเ​หลาม​ หาชน​ทงั้ หลาย โดย​ไมยอ ทอ​ ตออ​ ปุ สรรค​ตา งๆ และ​ดว ย​จติ ใจ​ทแ​ี่ นวแนม​ นั่ คง เพือ่ น​ ำ​ความ​ยงั่ ยืน มั่นคง ใน​พระพุทธศาสนา​ให​บัง​เกิดขึ้น​ในภาย​ภาคหนา​สืบไป.


119

ยินดีในทุกข์ ยามใดที่เธอยินดีในความทุกข์ที่เกิดขึ้น ยามนั้น ปัญญาของเธอกำลังเบ่งบาน จงยิ้มรับกับทุกข์ที่เกิดขึ้น เพราะนั่นคือเส้นชัยของเธอ ทุกข์มิได้มีให้วิตก ทุกข์ทั้งหลายที่มี ก็เพียงเพื่อให้เกิดปัญญา จิตที่เร่าร้อนด้วยความโง่เขลา ย่อมเป็นเหยื่อของมัจจุราช ​


120

รูป​ตนแบบ​บุษบก​พระ​สิเนรุ​ราช​


121

บุษบกพระสิเนรุราช วัดป​ า ท​ งุ ก​ ลุ า​เฉลิมร​ าช​ไดจ​ ดั ส​ ราง​บษุ บก​พระ​สเิ นรุร​ าช เพือ่ ​ ใชเ​ปนบ​ ษุ บก​สำหรับป​ ระดิษฐาน​พระบรมสารีรกิ ธาตุท​ บ​ี่ รรจุอ​ ยู​ ในผ​อบ​ทองคำ ภายใน​พระมหาธาตุ​เจดีย​ศรี​ทศพล​ญาณ​เฉลิม​ ราช​ชัย​มงคล บุษบก​นี้​สราง​โดย​จำลอง​รูปแบบ​ของ​เขา​พระ​สิเนรุ (สันสกฤต) หรือ​เขา​พระ​สุเมรุ (บาลี) ซึ่ง​เปน​แกนกลาง​ของ​จักรวาล​และ​เปน​ ที่ตั้ง​ของ​สวรรค​ชั้น​ตางๆ ขึ้น​ไป​จนถึง​ชั้น​ที่​เปนธรรม​ของ​จักรวาล ซึ่ง​บุษบก​จะ​ประดิษฐาน​อยู​บน​ยอด​ของ​เขา​พระ​สิเนรุ เพื่อ​เปนการ​ รำลึกแ​ ละ​บชู า​คณ ุ ข​ อง​พระพุทธเจาซ​ งึ่ ถ​ อื เ​ปนมงคล​สงู สุดใ​น​จกั รวาล และ​เปนการ​บชู า​คณ ุ ข​ อง​ธรรมะ​ทพ​ี่ ระพุทธองคไ​ดต​ รัสรูแ​ ละ​สงั่ สอน ซึง่ ถ​ อื เปนแ​ กน​หลักข​ อง​จกั รวาล​ทท​ี่ ำใหโ​ลก​นม​ี้ ค​ี วาม​มนั่ คง​ดำ​รงคอ​ ยู​ ได​ดวย​ธรรม​ของ​พระองค บุษบก​พระ​สเิ นรุร​ าช​ทที่ าง​วดั จ​ ดั ส​ ราง​ใน​ครัง้ นี้ มีค​ วาม​สงู ๒๙๒ เซนติเมตร หลอ​ดวย​ทองเหลือง โดย​สวนยอด​ของ​บุษบก​นั้น​หลอ​ ดวย​ทองคำ​และ​เงิน​บริสุทธิ์


122

ประวัติเ​ขา​พระ​สุเมรุ พระ​สิเนรุ (Sineru) หรือ​เขา​พระ​สุเมรุ (Sumeru) ตาม​ความ​เชือ่ ใ​น​เรือ่ ง​พทุ ธ​จกั รวาล​นนั้ จักรวาล​มโ​ี ครงสราง​เปน​ ทรงกลม​ซงึ่ ม​ เ​ี ขา​พระ​สเุ มรุเ​ปนแ​ กนกลาง จึงก​ ลาว​ไดว​ า เ​ขา​พระ​สเุ มรุ​ เปนภ​ เู ขา​ทเ​ี่ ปนหลักข​ องโลก​และ​เปนแ​ กนกลาง​ของ​จกั รวาล โดย​ใน​ ตำนาน​การ​กำเนิด​ของ​เขา​พระ​สุเมรุ​นั้น พระศิวะ​มี​พระ​ประสงค​จะ​ ประดิษฐาน​ภเู ขา​ใหญใ​หเ​ปนหลักข​ องโลก พระองคจ​ งึ ท​ รง​เอา พระ​ จุฑามณี (ปน ปกผม) ปกล​ ง​ทใ​ี่ จกลาง​ของ​จกั รวาล แลวบ​ นั ดาล​ใหเ​ปน​ เขา​พระ​สเุ มรุ หลังจากนัน้ จ​ งึ ท​ รง​เอา​สงั วาลยม​ า​วนรอบ​เขา​พระ​สเุ มรุ ๗ รอบ แลว​บันดาล​ให​เปน​เทือกเขา ๗ ทิว เรียกวา สั​ตบ​ริภั​ณฑ​คีรี เพื่อให​เปนที่​สถิตย​ของ​ทวยเทพ​ทั้งหลาย​ใน​จักรวาล


123

ตาม​ตำนาน​เขา​พระ​สุเมรุ​นี้​ลอยสูง​จาก​พื้นน้ำ ๘๔,๐๐๐ โยชน โดย​มี​เขา ๓ ลูก​รองรับ​เปน​ฐาน​อยู​ขางใต​เรียกวา ตรีกูฏ (สามเสา​ หรือ​สาม​ยอด) และ​มี​เทือกเขา​ลอมรอบ​เขา​พระ​สุเมรุ ๗ ทิว รวม​ เรียกวาสัต​ตบ​ริภั​ณฑ​คีรี ซึ่ง​ประกอบ​ไป​ดวย ๑. ทิวเขา​ยุคนธร เปน​คัน​ขอบ​ของ​เขา​พระ​สุเมรุ และ​เปนที่​ ทรงไว​ของ​พระอาทิตย และ​พระจันทร ๒. ทิวเขา​กรวิก เปน​ที่อยู​ของ​นก “กรวิก” ๓. ทิวเขา​อิสินธร เปน​ทิพย​พิมาน​ของ​มหิทสร​เทว​บุตร ๔. ทิวเขาสุ​ทัศนะ เปน​ที่เกิด​ของ​ทิพย​โอสถ วาน​ยาวิเศษ ๕. ทิวเขา​เนมินธร เปน​ที่เกิด​ของ​ปทุม​ชาติ​ขนาดใหญ​เทากง​ รถ​และ​กงเกวียน


124

๖. ทิวเขา​วินันต​กะ เปน​ที่อยู​ของ​มารดา​พญา​ครุฑ ๗. ทิวเขา​อัสสกั​ณ​ณะ เปน​ที่เกิด​ของ​ไม​กำยาน ระหวาง​เทือกเขา​แตละ​ทิว​จะ​ถูก​สลับ​คั่น​ดวย​แมน้ำ​สีทันดร​ทั้ง​ เจ็ด รวม​เรียกวา “มหา​นที​สีทันดร” และ​ถัดจาก​เขา​อัสสกั​ณ​ณะ ซึ่ง​มี​ความ​สูง​นอยที่สุด​ออกมา​เปน​ทะเล​น้ำเค็ม ที่​เรียกวา “โล​ณ​ สมุทร” ซึ่ง​ที่​สุดขอบ​ของโล​ณ​สมุทร​จะ​มี​ภูเขา​เหล็ก​กั้น​ไว เรียกวา​ ขอบ​จักรวาล พนไป​จากนี้​นอกนั้น​เปน​เขต​นอก​ขอบ​จักรวาล ซึ่งโล​ ณ​สมุทร​รอบ​เขา​พระ​สุเมรุ​ใน​ทิศ​ตางๆ คือ เหนือ ใต ออก ตก ก็​จะ​ มี​ลักษณะ​และ​รายละเอียด​ที่​แตกตางกัน​ไป


125

ชมพูทวีป คือ​อินเดีย ​ อย​ูตอนใต​เขา​พระ​สุเมรุ รูป​เหมือน​เกวียน มี​ตนไมห ​ วา​มาก

ทิศเหนือ​มี​มหาสมุทร ชื่อ - ปต​สาคร มี​น้ำ​สี​เหลือง ทิศตะวันตก​มม​ี หาสมุทร​ชอื่ - ผลิกส​ าคร มีน​ ำ้ ใ​สสะอาด​เหมือน​ แกวผลึก ทิศตะวันออก​มี​มหาสมุทร​ชื่อ - ขีร​สาคร เกษียรสมุทร น้ำ​ สีขาว และ​ทิศใต​มี​มหาสมุทร​ชื่อ - นิล​สาคร มี​น้ำ​สีเขียว ซึ่ง​ใน​แตละ​มหาสมุทร​ก็​มี​ทวีป​และ​เกาะ​ซึ่ง​อยู​ตรง​ทิศ​ทั้ง​สี่​ของ​ เขา​พระ​สุเมรุ​ดวย​คือ อุตรกุรท​ุ วีป อยูเ​ หนือข​ อง​ภเู ขา​พระ​สเุ มรุ มีพ​ นื้ ทีเ​่ ปนร​ ปู ส​ เี่ หลีย่ ม เนื้อที่​กวาง ๘,๐๐๐ โยชน เปน​ที่ราบ มี​ตนไม​นานา​ชนิด คน​รูปราง​ งาม ใน​แผนดิน​อุตรกุรุ​มี​ตน​กัลปพฤกษ​ตน​หนึ่ง ถา​อยากได​อะไร ก็​ ไป​นึก​เอา​ที่​ตน​กัลปพฤกษ


126

ชมพูทวีป คืออ​ นิ เดีย อ​ ยุต​ อนใตเ​ขา​พระ​สเุ มรุ รูปเ​หมือน​เกวียน มีต​ น ไมห​ วาม​ าก ใน​ทวีปน​ ี้ ดาน​ตะวันออก​มต​ี น ชม​พู (บาง​กเ​็ รียก​ไม​ หวา) สูง ๑๐๐๐ โยชน กวาง​โดย​รอบ ๑๐๐๐ โยชน น้ำข​ อง​ชมพูไหล​ ลงมา​เปนแ​ มนำ้ ส​ ท​ู ศิ ตะวันตก เปนน้ำก​ ายสิทธิ์ ถูกส​ งิ่ ใ​ด​สงิ่ น​ นั้ ก​ ลาย​ เปน​สีทอง มี​นาม​วา พังคร​นที เปน​น้ำไหล ลงมา​เปน​แมน้ำ​ชมพู ประชาชน​ใชน​ ำ้ น​ ก​ี้ นิ ไ​มเ​กิดดรค​ภยั ไ​ขเ​จ็บ ไมมก​ี ลิน่ ตัว ไมรส​ุ กึ เ​หนือ่ ย และ​ไม​ชรา น้ำ​ลาด​ดิน​สอง​ขาง​ฝง ไดรับ​โอชะ​ดูดน้ำ​ชมพูไว​ตอง​ลม โชย​งวด​เปนท​ อง เรียกวา ทอง​ชมพูน​ ชุ ซึง่ พ​ วก​นกั สิทธิเ​์ อาไป​ทำเปน เครื่อง​ประดับ ป​ พุ พวิเ​ทหะ ตัง้ อยูท​ าง​ตะวันออก​ของ​เขา​พระ​สเุ มรุ มีร​ ปู เ​หมือน​


127 พระจันทรเ​ต็มดวง เนือ้ ทีก​่ วาง ๗๐๐๐ โยชน มีเ​กาะ ๔๐๐ เกาะ คน​ หนา​กลม​เหมือน​ดวงจันทร อมร​โค​ยาน ตั้งอยู​ทางตะวันตก​ของ​เขา​พระ​สุเมรุ มี​รูป​เหมือน​ พระจันทร ครึ่งซีก เปน​แผนดิน​กวาง ๙๐๐๐ โยชน ประกอบดวย​ เกาะ และ​แมนำ้ ใ​หญน​ อ ย มีไ​มก​ ระทุม ป​ ระจำ​ทวีปน​ ี้ คน​หนาเ​หมือน​ ดั่ง​เดือน​แรม จมูกโดง คาง​แหลม ที่​ยอดเขา​พระ​สุเมรุ​นั้น​เปน​ที่ตั้ง​ของ​สวรรค​ชั้น​ดาวดึงส ซึ่ง​เปน​ สวรรค​ชั้น​ที่ ๒ จาก​สวรรค​ทั้ง ๖ ชั้น โดย​ใน​สวรรค​ชั้น​นี้​มี​นคร​ไตร​ ตรึงส​ซึ่ง​เปน​เมือง​ของ​พระอินทร อยู​ใจกลาง​สวรรค และ​นอกจาก​ นคร​ไตร​ตรึงสแ​ ลวใ​น​สวรรคช​ นั้ น​ ย​ี้ งั มีเ​มือง​อกี ๓๒ เมือง​อยูร​ อบ​นคร​ ไตร​ตรึงส โดย​ตงั้ อยูท​ ศิ ล​ ะ ๘ เมือง​ซงึ่ ม​ เ​ี ทวดา ๓๒ องคเ​ปนผ​ คู รอง​ เมือง​แตละ​เมือง

สวรรค​ทั้ง ๖ ชั้น​ที่​กลาว​มา​ไดแก ๑. สวรรค​ชั้น​จตุ​มหา​ราชิก อยู  ​ต่ ำ กว า ​ย อดเขา​พ ระ​สุ เ มรุ ๔๖,๐๐๐ โยชน โดย​สวรรค​ชั้น​นี้​เปน​ที่อยู​ของ​ทาว​จตุโลกบาล​ทั้ง ๔ อัน​ไดแก “ทาวกุเวร” หรือ​บางที​เรียก วา ทาวเวส​สุวรรณ รักษา​ทาง​ ทิศอุดร มี​พวก​ยักษ​เปน​บริวาร “ทาว​ธตรฐ” รักษา​ทาง​ทิศบูรพา มี​พวก​คนธรรพ​เปน​บริวาร


128

สวรรค​ชั้น​ดาวดึงส มี​ วิมาน​อยู​บน​เขา​พระ​สุเมรุ มี​พระอินทรเ​ปนใหญ

“ทาว​วริ ฬุ หก” รักษา​ทาง​ทศิ ทักษิณ มี พว​กมุ ภัณฑ (อสูรจ​ ำพวก​ หนึ่ง) เปน​บริวาร “ทาว​วิรุฬ​ปกษ” รักษา​ทาง​ทิศประจิม มี​ฝูง​นาค​เปน​บริวาร ๒. สวรรคช​ นั้ ด​ าวดึงส มีว​ มิ าน​อยูบ​ น​เขา​พระ​สเุ มรุ มีพ​ ระอินทร​ เปนใหญ ๓. สวรรค​ชั้น​ยามะ มี​ทาว​สยาม​เทว​ราช​เปน​ผูปกครอง ๔. สวรรค​ชั้น​ดุสิต มี​ทาว​สันนุ​สิต เปนใหญ สวรรค​ชั้น​นี้​กลาว​ กันว​ า ม​ ค​ี วาม​ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ คือ เปนท​ เี่ กิดแ​ หงพ​ ระโพธิสตั วใ​น​ชาติท​ ก​ี่ ำลัง​ บำเพ็ญ​บารมี และ​ยังเปน​สวรรค​ชั้น ที่​พุทธ​บิดามารดา และ​ผู​มี​ บุญวาสนา​อื่นๆ อีก​มาก เคย​ถือกำเนิด​เปน​เทวดา ใน​สวรรค​ชั้น​นี้ ๕. สวรรค​ชั้น​นิมมานรดี มี​ทา​วสุนิม​มิต​เปน​ผูปกครอง เทวดา​


129

ผู​สถิต​ใน​สวรรค​ชั้น​นี้​มี​บุญญานุภาพ มาก มี​ความ​ประสงค​สิ่ง​ใด ก็​ เนรมิต​ได​สม​ความ​ปราถ​นา ๖. สวรรคช​ นั้ ป​ รนิมม​ ติ ว​สวัสดี มีท​ า ว​ปรินมิ ม​ ติ ว​สวัสดี ปกครอง สวรรคช​ นั้ น​ ม​ี้ ค​ี วาม​เปนอยู สุขสบาย​กวาท​ กุ ช​ นั้ แมจ​ ะ​เนรมิตอ​ ะไร ก็​ มี​เทวดา​ชั้น​ที่ ๕ เนรมิต​ให และ​เหนือ​ปรนิม​มิต​วสวัตตี​คือ รูป​ภูมิ ๑๖ ชั้น และ​อรูป​ภูมิ ๔ ชั้น


130

ศาสน​สถาน การ​สรางศา​สนถาน​ภายใน​วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช ได​เริ่ม​ ตั้งแต​ที่​หลวง​ปู​ตน​บุญ ไดรับ​มอบหมายให​มา​พัฒนา​วัด​ราง​ แหงนี้ โดย​เริ่มจาก​ปรับปรุง ซอมแซม​ศาลา ปรับ​พื้นที่ สราง​พระพุทธ​ ศิริ​ราช​นาคพันธ​ปริวัตร (หลวงพอ​ทันใจ) พระพุทธเจา ๕ พระองค (ปูน) พระมหาธาตุ​เจดีย​ศรี​นาคพันธ​ปริวัตร พระมหาธาตุ​เจดีย​ ศรี​ทศพล​ญาณ​เฉลิมร​ าช​ชยั ​มงคล พระพุทธเจา ๕ พระองค (สำริด) สรางถนน​คอนกรีต ติดตัง้ เ​สาไฟฟาแ​ ละ​เดินส​ ายไฟฟา สราง​อาคาร​ สำนักงาน เรือน​พัก​ญาติ​ธรรม หอ​ฉัน ​กุฎิ​พระสงฆ ​กุฎิ​แมชี และ​ สราง​หองสุขา​ที่​ไดมาตรฐาน เปนตน


131

ขณะนี้ ​ท าง​วั ด ​ก ำลั ง ​ด ำเนิ น การ​ก  อ สร า ง​ หอ ระฆัง กำแพง​แกว​รอบ​พระมหาธาตุ​เจดีย​ ศรี​ทศพล​ญาณ​เฉลิม​ราช​ชัย​มงคล โรง​เก็บ​น้ำ (แท็งค​น้ำ) ลาน​เจดีย วิหารวิ​สุทธิ​มรรค การ​สราง​ศาสนสถาน​ตางๆ ภายใน​วัด​ปา​ ท​ งุ ก​ ลุ า​เฉลิมร​ าช ยังคง​ตอ ง​ดำเนินต​ อ ไป​ใหส​ ำเร็จ เพื่อให​วัด​นี้​เปน​ศูนยกลาง​ทาง​พุทธศาส​นา ที่​ พุทธศาสนิกชน​ใน​อำเภอ​เกษตรวิสยั และ​จงั หวัด​ ใกลเคียง​จะ​ได​มา​ปฏิบัติ​ธรรม ​เพื่อ​ความ​หลุดพน​ จาก​สังสารวัฏ​นี้


132


133

ประตูพระมหาธาตุเจดีย์ ศรีทศพลญาณ

ทวารบาล (Dvarapala) หลังจาก​ทวี่ ดั ป​ า ท​ งุ ก​ ลุ า​เฉลิมร​ าช​ไดส​ ราง​องคพ ​ ระมหาธาตุ​ เจดีย​ศรี​ทศพล​ญาณ​เฉลิม​ราช​ชัย​มงคล​เสร็จ​เปนที่​เรียบรอย​ แลว ขณะนี้ ​ท าง​วั ด ​ก ำลั ง ​ด ำเนิ น การ​จั ด ​ท ำ ประตูเ​จดีย ซึง่ ป​ ระตูน​ จ​ี้ ะ​เปนป​ ระตูท​ จี่ ะ​เปด​ เขาไ​ปยังห​ อ งโถง​ภายใน​พระมหาธาตุเ​จดียฯ ที่​ซึ่ง​เปน​ที่ตั้ง​ของ​บุษบก​พระ​สิเนรุ​ราช อัน​ เปนที่​ประดิษฐาน​พระบรมสารีริกธาตุ​ที่​บรรจุ​ อยู​ในผ​อบ​ทองคำ อันเปน​หัวใจสำคัญ​ของ​พระมหาธาตุ​เจดีย​ศรี​ ทศพล​ญาณ​เฉลิม​ราช​ชัยมงคล ประตูเ​จดียค​ น​ู เ​ี้ ปนป​ ระตูท​ ม​ี่ ค​ี วาม​สำคัญกับพ​ ระมหาธาตุเ​จดียฯ เปนอ​ ยางยิง่ เพราะ​ประตูค​ น​ู น​ี้ อกจาก​จะ​เปนป​ ระตูข​ อง​เจดียแ​ ลว ยัง​


134 จะ​เปนที่​สถิตย​ของ​นาคะ​เทวะ ๒ องค​ที่จะ​มา​ทำหนาที่​เปน​ผูดูแล​ พระมหาธาตุ​เจดีย​ศรี​ทศพล​ญาณฯ​อีกดวย ดังนั้น​ใน​การ​เลือก​แบบ และ​เลือก​ไม​จะ​ตอง​เลือก​ให​ถูกตอง​ตาม​ของ​แตละ​องค ขนาด​ข อง​ป ระตู ๑ บาน​ อยูที่​ขนาด​สูง ๓ เมตร กวาง ๖๐ เซนติเมตร หนา ๑๐ เซนติเมตร ซึ่ง​ไม​ที่​ใช​ใน​การ​ทำประตู​เปน​ไม​ เกา​ที่​ผาน​การ​ปรับ​ธาตุ​จาก​กาล​ เวลา​มา​เรียบรอย​แลว โดย​ไมท​ จี่ ะ​ นำมา​แกะสลัก​เปน​บานประตู​รูป​ องค​จันทะรา​นาคะ​เทวี​เปน​ไม​ ตะเคียนทอง สวน​ไม​ที่จะ​นำมา​ แกะสลัก​เปน​บานประตู รูป​องค​ สุริยันตะ​นาคะ​เทวา​เปน​ไม​ประดู

ประวัติท ​ วารบาล

“ทวารบาล” มาจาก​คำ​วา “ทวาร” ทีแ​่ ปล​วา “ประตู” และ “บาล” ซึ่ง​แปล​วา “รักษา, ปกครอง” “ทวารบาล” จึง​มีความหมาย​วา “ผูรักษา​ประตู” ซึ่ง​จาก​คำ​ แปล​กอ​ให​เกิด​การ​ตีความ​ตอ​ประติมากรรม​ประเภท​ทวารบาล วา​ คือ รูป​ของ​สัตว อสูร เทพ เทวดา และ​มนุษย หรือ​สิ่งมีชีวิต​ใดๆ ก็ตาม ทีต​่ งั้ อยูบ​ ริเวณ​บานประตู ชอง​ทางผาน​เขาอ​ อก ชอง​หนาตาง


135 หรือ​ราวบันได แต​หาก​ประติมากรรม​ ชนิ ด ​เ ดี ย วกั น ​นี้ ​ไ ป​ตั้ ง อยู  ​บ ริ เ วณ​อื่ น​ ที่​มิใช​ประตู หรือ​ชอง​หนาตาง หรือ​ ทางเขาออก ก็​ไม​สามารถ​จะ​กลาว​วา​ เปน​ทวารบาล สำหรับ​กำเนิด​ของ​การ​สราง​ทวารบาล​นั้น นาจะ​เกิด​มาจาก​ความ​เชื่อ​ที่วา “เทวดา” เปน​ผูกระทำ​ให​เกิด​สิ่ง​ตางๆ เหนือธ​ รรมชาติ และ​ไดรบั ก​ าร​พฒ ั นา​มา​ เปนความ​เชื่อ​ใน​เรื่อง​ของ​เทพ​ผูพิทักษ​ รักษา​ประตู​หรือ​สถานที่ จาก​คติ​ความ​เชื่อ​เทพ​ผูพิทักษ​รักษา​ ประตูน​ ี้ ไดน​ ำมา​ใชกบั ง​ าน​ประติมากรรม สถาปตยกรรม และ​จิตรกรรม ดวย​เหตุ​ ทีช​่ าวฮินดูต​ อ งการ​ใหม​ เ​ี ทพ​ปกปกรักษา​ สถานที่​สำคัญ​ทาง​ศาสนา เนื่องจาก​ มนุษย​ทั่วไป​ไมมี​ศักยภาพ​เพียง​พอที่จะ​ ปองกันภัย​จาก​สิ่ง​ที่​มองไมเห็น​ดวย​ตา ทั้ ง นี้ เนื่องจาก​ศาสนสถาน​เหลา นั้ น​ สร า งขึ้ น ​ต าม​ค ติ ​ว  า ​เ ป น ​ส ถานที่ ​อั น​ เทพเจา​สูงสุด​ประทับ​อยู จึง​ได​จำลอง​ เขา​ไกรลาส​มา​ไว​ยัง​โลกมนุษย​แลว​เกิด​ คติ​การ​สราง​ทวารบาล​ขึ้น​มา


136 สวน​เรื่องราว​ของ”ทวารบาล” (Dvarapala) จาก​คติ​ความ​เชื่อ​ เกาแก​ของ​ฮินดู มี​ความ​เชื่อ​กัน​วา ทวารบาล​คือ “บริวาร​เอก” แหง​ องค​พระศิวะ ที่​มี​หนาที่​ดูแล​วิมาน​ของ​พระองค​บน​ยอดเขา​ไกรลาส เปน​เทพเจา​ผู​ทรงอำนาจ เปน​ผูพิทักษ​รักษา​สถานที่​ศักดิ์สิทธิ์ จึง​ มัก​นิยม​สลัก​รูป​ทวารบาล​ไว​ที่​หนา​ศาสนสถาน เพื่อ​จุดประสงค​ให​ เทพ​ทวารบาล​ปกปอง​มิ​ให​ความ​ชั่วราย ทั้งที่​มองเห็น​และ​ไมเห็น​ ผานเขามา เฉกเชน​กับ​การ​ปก​ปกษ​รักษา​วิมาน​แหง​องค​พระศิวะ คติ​ความ​เชื่อ​ใน​ไศวะ​นิกาย ผู​บูชา​มหาเทพ ได​อธิบาย​รูป​ของ​ เทพ​ทวารบาล​ทั้ง ๒ องค​ไว​วา ทาง​ดานขวา​ ของ​ประตู เปนที่​สถิต​ของ “นันทิ​เกศวร” ผู​มี​ใบหนา​ยิ้มแยม สวม​กะ​บังหนา​และ​ ชฎา​มงกุฎ​รูปกรวย​เปน​เครื่อง​ประดับ ที่​หู​ ทั้งสอง​ขาง​ประดับ​ดวย​ตุมหู​ขนาดใหญ สวม​กรองศอ​แผน​ขนาดใหญ​มี​อุบะ​​ สั้นๆ หอย​ประดับ ที่​แขน​และ​เทา​ ประดับ​ดวย​กำไล​รัด​ตน​แขน กำไล​ มือแ​ ละ​กำไล​ขอ เทา มีล​ กั ษณะ​ของ​ ความ​เมตตา​เปนที่​รับรู ส ว น​เ ทพ​ท วารบาล​ที่ ​ส ถิ ต​ อยู​ทาง​ดานซาย​ของ​ทวาร คือ “มหา​กาล” หรือ “อสูร​ทวารบาล” มีล​ กั ษณะ​ใบ​หนาทีด​่ รุ า ย นัยนตา​ โปน จมูกแบน ริมฝปาก​หนา


137

แสดงอาการ​แสยะ​ยิ้ม มี​เครา​เล็กนอย อาภรณ​เครื่อง​ประดับ​สวม​ กะ​บงั หนาแ​ ละ​ชฎา​มงกุฎ ปลอย​ผม​ยาว​คลุมไ​หล สวม​ตา งหูท​ รงกลม​ ขนาดใหญ สรอยคอ​ทำเปน​แผง​รูป​สามเหลี่ยม​ขนาดใหญ​มี​อุบะ​ เล็กๆ หอย​ประดับ ทีแ​่ ขน​และ​ทา ม​ ก​ี ำไล​รดั ต​ น แ​ ขน กำไล​ขอ มือแ​ ละ​ กำไล​ขอ เทาป​ ระดับ จำหลักอ​ ยูใ​ น​ทา ย​ นื ก​ มุ ก​ ระบอง​ไวด​ า นหนาว​ าง​ อยูที่​กึ่งกลาง ชื่อ​ของ “มหา​กาล พ​ระกาฬ พระ​กาล กาล” แปลความ​หมาย​ วา “เวลา - กาล​เวลา” ที่​มืดมิด​ไม​อาจ​มองเห็น​หรือ​หยั่งรู ไม​อาจ​ ฉุดรัง้ ห​ รือต​ า นทาน พระ​กาล​จะ​กลืนก​ นิ ท​ กุ ส​ รรพสิง่ โ​ดย​ไมมใี คร​รตู วั ทุกช​ วี ติ จ​ งึ ไ​มเคย​หลุดพนจ​ าก​อำนาจ​แหงก​ าล​เวลา กาล​เวลา​จงึ เ​ปน “สมมุติ - เทพ” ทีน​่ า เ​กรงกลัวแ​ ละ​หวาดหวัน่ ข​ อง​มนุษย ดวย​อำนาจ​


138


139 แหงก​ าล​ทไ​ี่ มมท​ี ส​ี่ นิ้ สุด มนุษยจ​ งึ ไ​ดส​ ราง​รปู แ​ หงก​ าล​เวลา​ขนึ้ ม​ า​เปน​ เทพเจาพ​ ระ​กาล​ผม​ู ก​ี าย​สด​ี ำทะมึน และ​เปนเ​ทพ​แหงท​ ต​ี่ าย ของ​ทกุ ​ สรรพสิ่ง เมื่ อ ​ต ระหนั ก ถึ ง ​พ ลั ง อำนาจ พระ​ก าล​จึ ง ​ถู ก ​เ ลื อ ก​ม า​เ ป น ​เ ทพ​ ผูพิทักษ​วิมาน​พระศิวะ คู​กับ “นนทิ​ เกศวร” เทพบุตร​ผู​ถือกำเนิด​จาก​ สีขาง​ของ​องค​พระศิวะ มี​พระนาม​ วา “มหากาฬ – กาล” ตาม​เทวาลัย​ พระศิ ว ะ​จึ ง ​ป รากฏ​รู ป สลั ก ​เ ทพ​ ทวารบาล​ทั้งสอง​องค ตั้งอยู​ตรง​ ดานหนา​ของ​ประตู​ทางเขา เปน​ รูป​ลักษณะ​ของ​เทพบุตร​แทน​เทพ​ ทวารบาล​นนทิ​เกศวร และ​รูป​ยักษ แทน​เทพ​ทวารบาล​มหากาฬ


140

ลานรอบพระมหาธาตุเจดีย์ ศรีทศพลญาณเฉลิมราชชัยมงคล

การ​สราง​พระมหาธาตุ​เจดีย​ศรี​ทศพล​ญาณ​เฉลิม​ราช​ชัย​มงคล (ภายนอก) เสร็จเ​รียบรอย​แลว แตก​ ำลังด​ ำเนินการ​กอ สราง กำแพง​ แกวร​ อบ​พระมหาธาตุเ​จดีย การ​เทปูนบ​ ริเวณ​ลาน​รอบ​พระมหาธาตุ​ เจดียฯ ก็​เปน​สิ่งจำเปน​เพื่อ​จัด​กิจกรรม​สวดมนต หรือเพื่อให​ พุทธศาสนิกชน​สามารถ​เดินเ​ขาไป​กราบ​สกั การะพระมหาธาตุเ​จดีย​ ศรี​ทศพล​ญาณ​เฉลิม​ราช​ชัย​มงคลได​อยาง​สะดวกสบาย ไม​ตอง​ เดินย่ำ​ดิน​โคลนใน​หนาฝน ซึ่ง​ดิน​จะ​แฉะ ทำใหเกิด​เปน​หลุม เปน​ บอ จน​ไม​สามารถ​จัด​กิจกรรม​บริเวณ​รอบ​พระมหาธาตุ​เจดียฯ ดังนั้น​ทาง​วัด​จึง​ได​ดำเนินการ​เทคอนกรีต​เสริม​เหล็ก​เพื่อ​ความ​ แข็งแรง โดย​รอบ​บริเวณ​พระมหาธาตุ​เจดียฯ คา​ใชจาย​ทั้งหมด​


141 ประมาณ ๖,๓๐๐,๐๐๐ บาท จึง​ขอ​เชิญ​ผู​มี​จิต​ศรัทธา​รวม​เปน​ เจาภาพ​สราง​ลาน​คอนกรีต​เสริม​เหล็ก ตารางเมตร​ละ ๓๐๐ บาท สามารถ​ตดิ ตอบ​ ริจาค​ไดทส​ี่ ำนักง​ านวัด หรือ พระ​ธรี พงษ ธ​ รี ปญโญ หรือ คุณม​ าวิน โ​มระ​พตั ร หรือโ​อนเงินเ​ขาธ​ นาคาร​บญ ุ (รายละเอียด​ ทาย​เลม) ใน​แตละ​เดือน ซึ่ง​ทาน​จะ​ไดรับ​อานิสงส ทุกเดือน

อานิสงส​แหง​ การ​สราง​ลาน​เจดีย ลาน​เจดีย​เปน​สถานที่​ที่​ใช​ใน​การ​ประกอบ​พิธีกรรม​ทาง​พุทธ ศาสนา​นัป​ปการ เชน ตักบาตร แสดงธรรม เปนตน ดังนั้น​การ​รวม​ สราง​ลาน​เจดีย จะ​ได​อานิสงส​คือ ๑. จะ​เปน​ผู​มี​บริวาร​มาก ๒. เปน​ที่รัก​ของ​เทวดา​และ​มนุษย​ทั้งหลาย ๓. มี​ผิวพรรณ​วรรณะ​ผองใส ๔. มี​สุขภาพ​แข็งแรง ๕. มี​กัลยาณมิตร​ที่​ดี ๖. เปน​ผู​มี​จิตใจ​สดใส​ชื่นบาน ๗. สามารถ​ลด​ความ​เห็นแกตัว เขาถึง​ธรรม​ได​โดย​งาย ๘. นึกถึง​บุญ​คราว​ใด ​สุคติ​ก็​เปนที่​ไป


142


143

กำแพงแก้ว สืบ​เนื่องจาก​ทาง​วัด​ได​ดำเนินการ​สรางพระมหาธาตุ​เจดีย​ศรี​ ทศพล​ญาณ​เฉลิม​ราช​ชัย​มงคล โดย​ลักษณะ​รูปพรรณ​สัน​ฐาน​ จำลอง​แบบ​จากพระ​ธาตุพนม เสร็จ​เรียบรอย​แลว (ภายนอก) ดังนั้น​หลวง​ปู​ตน​บุญ​จึง​ได​ดำริ​ให​สราง​กำแพง​โดย​รอบ​องค​ พระมหาธาตุ​เจดียฯ ประดับ​ดวย​องค​พญา​นาคราช​ประจำ​ทั้ง ๔ ทิศ ทิศ​ละ ๑๐ ชอง ดานใน​กำแพง​แกว​เปน​ภาพ​แหง​สุริยะ​จักรวาล เทวดา​นพเคราะห ทีใ​่ หคณ ุ แ​ ละ​โทษ​แกจ​ กั รราศีต​ า งๆ ดาน​ซมุ ประตู​ ทำเปน​หนาจั่ว ๔ ดาน ๔ ทิศ ประทับ​องค​มหา​นาคราช ซึ่ง​เปน​ ตนตระกูล​ของ​พญางู​ทั้ง​สี่​ตระกูล


144

อานิสงส​ ใน​การ​สราง​กำแพง​แกว อานิสงส​นี้​จะ​สงผลให​ผูสราง​มี​ชีวิต​และ​ ทรัพยสิน​มั่นคง ปลอดภัย​จาก​อันตรายทั้งปวง ทั้งโลก​นี้​และ​โลกหนา ถือ​เปนการ​ค้ำชู พระพุทธศาสนา​ให​มั่นคง


145

ทาง​วดั ก​ ำลังด​ ำเนินการ​กอ สราง​กำแพง​แกว​และ​ซมุ ประตู และ​ ยังขาด​ปจจัย​อยู​เปน​จำนวน​มาก โดย​ซุมประตู​พญางู​ทั้ง​สี่​ตระกูล​ มี​คา​ใชจาย​ประตู​ละ ๕๐๐,๐๐๐ บาท กำแพง​ชอง​ละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท จึง​ขอ​เชิญ​ผู​มี​จิต​ศรัทธา​เปน​เจาภาพ​รวมกัน​สราง​มหา​กุศล​ใน​ การ​สราง​กำแพง​แกว.


146

วิหาร “วิ​สุทธิม​ รรค”

ทาง​วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช​ โดย​หลวง​ปู​ตน​บุญ ติ​กฺขปญโญ​ กำลัง​ดำเนินการ​จัด​สราง​วิหารวิ​สุทธิ​มรรค​ขึ้น​เพื่อ​ประดิษฐาน พระพุทธเจา​ทั้ง ๕ พระองค ซึ่ง​ดำเนินการ​เท​ทอง​หลอ (หลอ​ดวย​ สำริด) เสร็จสิน้ เ​รียบรอย​แลว ดวย​แรง​แหงศ​ รัทธา​ของ​พทุ ธศาสนิกชน​ ทัง้ หลาย อันม​ ช​ี าวบาน​โพน​ตมู และ​หมูบ า น​ใกลเคียง ทัง้ ใ​น​จงั หวัด​ รอยเอ็ด และ​จังหวัด​อื่นๆ


147

โดย​วิหาร​จะ​มี ขนาด​กวาง ๙ เมตร ยาว ๒๕ เมตร มี​มุข​ยาว​ อีก ๒ เมตร เสา​วิหาร​มี​ทั้งหมด ๒๗ ตน มี​มุข​ทั้ง ๒ ดาน มี​บันได​ ทางขึ้น​ทั้ง ๓ ดาน หลังคา​มุง​กระเบื้อง และ​ประดับ​ดวย​ฉัตร​บน​ หลังคา เพราะ​ฉัตร​เปน​เครื่อง​ประดับ​อาคาร เพื่อ​สม​พระ​เกียรติ​ใน​ การ​ประดิษฐาน​พระพุทธเจา​ทั้ง ๕ พระองค

อานิสงส​การ​สราง​วิหาร

การ​สราง​วิหาร ศาลา กุฏิ และ​เสนาสนะ​ตางๆ เชน กำแพง ลาน​ธรรม ถวาย​เปนส​ มบัตใ​ิ น​พระพุทธศาสนา ถือวาเ​ปนว​ หิ าร​ทาน พระ​สัมมาสัม​พุทธเจา​ทรง​ตรัส​ไว​วาการ​ถวาย​วิหาร​ทาน​มี​อานิสงส​ มาก​ดังนี้ “แม​ถวาย​ทาน​แด​องค​สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา ๑๐๐ ครั้ง ยังมี​อานิสงส​ไม​เทา​ถวาย​สังฆทาน​ครั้ง​เดียว” “แมก​ าร​ถวาย​สงั ฆทาน ๑๐๐ ครัง้ ยังมีอ​ านิสงสไ​มเ​ทาถ​ วายวิหาร​ ทาน ครั้ง​เดียว”


148


149

หอระฆัง หลวง​ปู  ​ต  น ​บุ ญ ติ ​กฺ ข ป ญ โญ ดำริ ​ใ ห​ ดำเนินการ​จัด​สรางหอระฆัง​ขึ้น สำหรับ​ใช​ เป น ที่ ​ป ระดิ ษ ฐาน​ร ะฆั ง เพื่ อ ​เ ป น การ​ใ ห​ อาณั ติ สั ญ ญาณ​ใ น​ก าร​ท ำ​สั ง ฆกรรม​ข อง​ พระภิ ก ษุ ​ส ามเณร โดย พล.ต.อ.วิ เชี ย ร พจน​โพธิ์​ศรี พรอม​คณะ​ผู​มี​จิต​ศรัทธา​และ​ ศิษยานุศษิ ย ไดร​ ว มกันท​ ำพิธว​ี าง​ศลิ าฤกษ ใน​ วันเสาร​ที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๕๕ หอระฆัง​นี้​มี ขนาด​ฐาน​ยาว ๑๑ เมตร กวาง ๑๑ เมตร สูงประมาณ ๑๙ เมตร ขณะนี้​กำลัง​ดำเนินการ​กอสราง​อยู ทานผู​ มี​จิต​ศรัทธา​ทาน​ใด​จะ​รวม​บริจาค​เงิน​เพื่อ​ สราง​หอระฆัง สามารถ​ติดตอ​สอบถาม​ไดที่​ สำนักงาน หรือพระ​ธีระ​พงษ ​ธีรปญโญ


150

อานิสงส​ใน​การ​สราง​หอระฆัง เกิด​ภพ​ชาติ​ใด​จะ​มี​บาน​หลายชั้น มองเห็น​ทิวทัศน​ได​กวาง​ไม​ แออัด หู​จะ​ไม​หนวก จะ​ไดยิน​เสียง​ชัดเจน มีเสียง​อัน​ไพเราะ เปนที่​ นาเกรงขาม นา​เชื่อถือ นาเคารพ มี​รางกาย​ที่​สูงโปรง สงางาม ไม​ พิการ ผูใด​ที่​มี​หนี้​กรรม​อยู​ก็​จะ​หมดไป เมื่อ​ละ​จาก​ภพ​นี้​ไปแลว จะ​มี​ วิมาน​หลายชั้น


151

ใช่ว่าไม่รู้ ราคะ โทสะ โมหะ... ทำลายจิตปณิธานของผู้บำเพ็ญมามากต่อมากแล้ว กามกิเลสทั้งหลายฉุดดึงผู้บำเพ็ญให้จมอยู่ในสงสาร เธอทั้งหลายแจ้งอยู่มิใช่หรือในภาวะนี้ แล้วเหตุใดเธอทั้งหลายยังยินดีพอใจในสิ่งเหล่านี้ อย่างนี้มิใช่ว่ารู้แล้วยังขืนทำหรือเปล่า


152

โรงเก็บน้ำ (แท็งค์น้ำ) สำหรับใช้ภายในวัด

จาก​เนื้อที่​ของวัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช​ทั้งหมด​ประมาณ ๓๐๐ ไร แต​ไมมี​น้ำ​ที่​สะอาด​พอกับ​การ​ใชสอย ดวย​คุณภาพ​น้ำบาดาล​ ยัง​ไม​ไดมาตรฐาน ญาติโยม​สวนใหญ​ที่มา​ปฏิบัติ​ธรรม​ที่วัดจะ​แพ​ น้ำบาดาล​ที่วัด เปน​ผื่น คัน ตาม​เนื้อตัว ดังนั้น หลวง​ปู​ตน​บุญจึง​ ใหเ​ริม่ ด​ ำเนินการ​กอ สราง​โรง​นำ้ ประปา​ขนาดใหญท​ างทิศใตข​ องวัด เพื่อให​วัด​มี​น้ำสะอาด​เพียงพอ​สำหรับ​ใช​ทั้ง​อุปโภค​และ​บริโภค ทุกทาน​สามารถ​รวม​บุญ​มหา​กุศล​ใน​การ​สราง​โรง​เก็บ​น้ำ​ได โดย​ สามารถ​ติดตอ​ไดที่​สำนัก​งานวัด หรือพระ​ธีระ​พงษ ​ธีรปญโญ


153

อานิสงส​ใน​การ​สราง​ที่เก็บ​น้ำ

บุญกุศล​จาก​การ​ขุดเจาะ​บอ​น้ำบาดาล และ​ถัง​เก็บกัก​น้ำ​ไว​ แก​พระศาสนา​เปนบุญ​ที่​หา​ทำได​ยาก​ยิ่ง มี​ผล​เสมอ​เปน​ทาน​ที่​ได​ ถวาย​ตอ​องค​สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา บังเกิด​ความ​รมเย็น​ทั้ง​ กาย วาจา ใจ มี​ความ​สุข​ความ​เจริญ ความ​อุดมสมบูรณ ไมวา​จะ​ เดินทาง​ไป​อยู ณ ตำบล​ใด จะ​บังเกิด​ความ​เจริญ​กาวหนา​ใน ศีล สมาธิ ปญญา ในภาย​ภาคหนา สามารถ​ทำใหกฏ​แหง​กรรม​ทุเลา​ เบาบางลง​ได แม​ใน​ครั้ง​พุทธกาล พระพุทธองค​ก็​เคย​สงเคราะห​ สามเณร ผู​ได​ชื่อวาเปน​ผู​มี​ลาภ​นอย เพราะ​เหตุ​ที่​ไมเคย​สั่ง​สมบุญ​ มา​กอน​ในอดีต ดวย​การ​ให​ตักน้ำ​ใส​ตุม​เพื่อให​พระภิกษุ​ได​บริโภค​ เปนประจำ จน​ในทีส่ ดุ ดวย​ผลบุญน​ นั้ จ​ งึ ท​ ำใหท​ า น​เปนผ​ ม​ู ล​ี าภ​มาก และ​บรรลุ​อรหันต​ในที่สุด

โรง​น้ำประปา​ขนาดใหญ


154

กุฎิ​นิโรธ

การ​กอ สราง​กฏุ น​ิ โิ รธ​หลังใ​หมน​ ี้ ไดเ​ริม่ ส​ ราง​เมือ่ ป​  พ.ศ. ๒๕๕๕ ปจจุบัน​การ​กอสราง​กุฎิ​นิโรธ ภายนอก​เสร็จ​เรียบรอย เปน​อาคาร​ ชั้นเดียว บริเวณ​ดานหนา​หัน​ไปยัง​สระน้ำ และ​สามารถ​มองเห็น พระมหาธาตุ​เจดีย​ศรี​ทศพล​ญาณ คณะกรรมการ​วัด​ปา​ทุง​กุลา​ เฉลิม​ราช ขอ​อนุโมทนา​บุญ​กับ​ทุกทาน ที่​ได​รวม​สราง​กุฏิ​นิโรธ​นี้ โดยเฉพาะ​ครอบครัว จิตรเด​ชา​วัฒน และ​คณะ


​กุฎิ​พระสงฆ

155

เนื่องจาก​กุฎิ​หลังคา​จาก​สำหรับ​ พระภิกษุ สามเณร ไดช​ ำรุดท​ รุดโทรม จน​ไมส​ ามารถ​พกั อาศัยไ​ด ใน​ป พ.ศ. ๒๕๕๕ หลวง​ปต​ู น บ​ ญ ุ จึงเ​ห็นสมควร​ ให​สราง​กุฎิ​ใหม ๑๒ หลัง ที่​มั่นคง​ แข็งแรง​กวาเ​ดิม โดย​ใหม​ เ​ี สา​ปนู และ​ โครง​หลังคา​เหล็ก​เพื่อ​ปองกัน​ยาม​ เกิด​พายุ ลม​พัด​จน​หลังคา​กุฎิ ปลิว พัง ทลาย เสียหาย และ​ให​ พระสงฆ ได​มี​ที่พัก​ที่​สะดวกสบาย เหมาะสมกับ​อัตถ​ภาพ ปจจุบัน​ สราง​เสร็จ​เรียบรอย ทาง​วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช ขอ​อนุโมทนา​บุญ​ กับ​ทุกทาน ที่​ได​รวม​สราง​กุฏิ​พระสงฆ​ทั้ง ๑๒ หลัง​นี้

อานิสงส​ใน​การ​สราง​กุฏิ

ผู​ที่​ทำบุญ​ดวย​การ​สราง​กุฏิ​ถวาย​แด​พระสงฆ จะ​ไดรับ​อานิสงส​ กลับคืน​มา ใน​เรื่อง​ของ​ความ​เปนอยู ไม ว  า ​จ ะ​เ กิ ด ​ภ พ​ช าติ ​ใ ด จะ​มี ​ชี วิ ต ​ที่ ​สุ ข สบาย​ ไม​ลำบาก มี​บานเรือน​เปนของ​ตน​เอง ไม​ตอง​ไป​ เชาบาน​อยู​หรือ​เรรอน​พเนจร มี​ความ​รมเย็น​เปนสุข เหมือนดัง​กุฏิ​ที่​เรา​ได​สราง​ถวาย​ยอม คุม​แดด​คุม​ ฝน เปนที่​พำนัก​พักพิง​ให​แก ภิกษุ​ทั้งหลาย และ​ยัง​ สง​อานิสงส​ใหญ​ให​แก​ญาติ​ที่​เสียชีวิต​ไปแลว​หรือ​แม​ ตน​เอง​เมื่อ​จาก​โลก​นี้​ไป​ก็​จะ​มี​วิมาน​ทิพย เสวยสุข​ใน​ ภูมิ​นั้นๆ


156

ถนน​คอนกรีต

อาณาเขต​ภายใน​วดั ส​ ว นใหญเ​ปนด​ นิ แดง ไมมถ​ี นน​คอนกรีต ทำ​ใหการ​เดินทาง​ภายใน​วัด ไม​สะดวก โดยเฉพาะ​ใน​ยาม​ที่​ฝนตก ดินจ​ ะ​เฉอะแฉะ เดินไ​ปมา​ดว ย​ความ​ยากลำบาก หลวง​ปต​ู น บ​ ญ ุ จึง​ ให​สรางถนน อีก ๔ สาย ภายใน​วัด เพื่อให​พระสงฆ​สามารถ​เดิน​ ไปยัง​บริเวณ​กุฎิ​นิโรธ กุฏิ​พระ​ใน​เขต​สังฆาวาส​ได​โดย​สะดวก

อานิสงส​ของ​การ​สรางถนน​เขาวัด

สงผลให​มี​ลู​ทางใน​การ​ทำมาหากิน มี​ชองทาง​เสมอ เดินทาง​ก็​ ปลอดภัยแ​ คลวคลาด ไมมอ​ี ปุ สรรค คลองตัว สะดวกสบาย​ขนึ้ ไมวา ​ จะ​ทำ​อะไร​ก็​ไม​ติดขัด มี​หนทาง​โลงเตียน

อ​ตี​เตกาเล​นิทาน

เมื่อ​พระ​กปลัต​เถระ​อธิษฐาน​ให​น้ำ​ใน​มหาสมุทร​แข็ง​กระดาง​ เพื่อ​ใหพระภิกษุ​สาวกเดิน​ไปมา​ได​สะดวก ครานั้น​คณะสงฆ​เห็น​ ฤทธานุ​ภาพ​ของ​ทาน​พระ​กปลัต​เถระ​แลว พา​กัน​เลื่อมใส​ใน​ธรรม​ คำ​สอน​ของ​พระ​สัมมาสัม​พุทธเจา​ยิ่งนัก เพราะ​สามารถ​บันดาล​ ให​ผู​ประพฤติ​ปฏิบัติ​ให​บรรลุ​กฤษฎาภินิหาร​ตางๆ จึง​ปรารภ​กัน​ถึง​ เรื่องราว​แหง​พระ​กปลัต​เถระ สมเด็จพระ​ผู​มี​พระ​ภาค​เจา เสด็จ​มา​ประทับ​เหนือ​อาสนะ​ทรง​ ดำรัส​ถาม เมื่อ​ทราบเรื่อง​แลว ได​ตรัส​พระธรรม​เทศนา​วา “อ​ตี​เตกาเล” ใน​อดีตกาล​ครั้ง​ศาสนา พระกกุ​สันโธ​สัมมาสัม​ พุทธเจาน​ นั้ พระ​กปลตั เ​ถระ​เกิดใ​น​ตระกูลค​ น​เข็ญใจ มีอ​ าชีพใ​นทาง​


157 รับจาง​พอ​เลีย้ ง​อตั ภาพ​ใหเ​ปนอยูไ​ ป​วนั หนึง่ ๆ ไดเ​ห็น​ ทางโคจร​บณ ิ ฑบาต​ของ​ภกิ ษุสงฆม​ เ​ี ปยก​ความ​ชนื้ แฉะ จึงน​ ำ​ทรัพยท​ ต​ี่ น​รวบรวม​ไวเ​พียง​เล็กนอย​มา​สราง​ทาง​ ถวาย​ให​เปน​ทาน​แก​พระผูเปนเจา “​กลํกตฺวา” ครั้น​บุรุษ​เข็ญใจ​นั้น​ใกล​จะ​ถึง​แก​ความ​ ตาย ก็​เกิด​อัศจรรย​นิมิต​เปน​มหา​มงคล คือ เห็น​ สะพาน​เงิน สะพาน​ทอง ทอด​ลงมา​แต​เทวโลก​จะ​รับ​ บุรุษ​เข็ญใจ​นั้น​ให​ขึ้น​ไปสู​สวรรค บุรุษ​เข็ญใจ​จึง​พูดวา​ ประเดี๋ยว​จะ​ขึ้น​ไป คำ​ที่​กลาว​นั้น​ก็​ปรากฏ​แก​คน​ทั้งหลาย อยู​มา​ ประมาณ​ครูหนึ่ง​ก็​ถึงอนิจกรรม​ทำลาย​ขันธ ขณะนั้น​ เสี ย ง​ดุ ริ ย างค ​ด นตรี ​ก็ ​ดั ง สนั่ น ​ห วั่ น ไหว​ก  อ ง​เวหา ประชาชน​ตา ง​กไ​็ ดยนิ เ​สียง​ทพิ ยด​ นตรีอ​ นั เ​ทพ​นมิ ติ ใ​ห​ เกิด​มี​ทุก​ถวนหนา สวน​บุรุษ​เข็ญใจ​นั้น ครั้น​ทำลาย​ ขันธ​แลวก็​ไป​เกิด​บน​สวรรค​ชั้น​ดาวดึงส เสวย​ทิพย​ สมบัติ​อัน​มโหฬาร​ประกอบ​ไป​ดวย​แกว ๗ ประการ ตลอดมา​จนถึงศ​ าสนา​พระ​ตถาคต​น​ี้ เทพบุตร​องค​ นั้นจึง​จุติ​จาก​วิมาน​ลงมา​เกิด​เปน​มนุษย ออกมา​บวช​ ใน​พุทธศาสนา​ บำเพ็ญ​เพียร​ได​สำเร็จ​พระ​อรหัตต​ ผล ประกอบ​ไป​ดวย​วิชชา​และ​อภิญญา จึง​บันดาล​ ใหน้ำ​ใน​มหาสมุทร​แข็ง​กระดางราวกับวา​พื้น​ปฐ​พี​ ก็​ ดวย​อานิสงสท​ ไ​ี่ ดส​ ราง​สะพาน​แตค​ รัง้ ศ​ าสนา​แหงพ​ ระ​ กกุส​ นั โธ​สมั มาสัมพ​ ทุ ธเจาน​ นั้ แล มา​แสดง​วบิ าก​ผล​ให​ ปรากฏ​แก​ทาน พระม​หาก​ปลัต​เถระ​ดังนี้


158

​อานิสงส์

การ​ทำบุญต่างๆ ชวย​พอแม​ที่เกิด​เปน​เปรต​ให​พนทุกข กรุงพ ​ ารา​ณส​ ใ​ี นอดีตม​ พ ​ี ระราชา​องคห​ นึง่ ​พระนาม​วา กิตว​ ะ มี​พระ​ราช​โอรส​องค​หนึ่ง เปน​ผู​บาอำนาจ ถือตัววา​เปนใหญ วั น หนึ่ ง ​ห ลั ง จากที่ ​พ ระองค ​ท รง​อ อกกำลั ง กาย​ใ น​พ ระ​ร าช​ อุทยาน​เสร็จแ​ ลว ก็ไดข​ ช​ี่ า ง​เสด็จก​ ลับเ​ขาพ​ ระ​ราช​วงั ระหวาง​ทางได​ ทรง​ทอดพระเนตร​เห็นพ​ ระ​ปจ เจก​พทุ ธเจาพ​ ระองคห​ นึง่ พ​ ระนาม​วา “​สุเนตต” กำลัง​เดิน​บิณฑบาต​อยู​ใน​พระนคร เมื่อ​พระ​ราช​โอรส​เห็น​พระ​ปจเจก​พุทธเจา​ไม​ทำความ​เคารพ​ พระองค​เหมือน​คน​ทั่วไป จึง​มี​จิต​คิด​ประทุษราย​วา “สมณะ​โลน​นี้ ไม​ทำความ​เคารพ​เรา​เลย” จึง​ทรง​ลง​จาก​คอ​ชาง​เดินตรง​เขา​ไปหา​พระ​ปจเจก​พุทธเจา​แลว​ ถาม​วา


159 “ทาน​ไดบ​ ณ ิ ฑบาต​บา ง​ไหม?” วาแ​ ลวก็เ​อือ้ มมือไ​ป​ดงึ บ​ าตร​จาก​ มือ​พระ​ปจเจก​พุทธเจา​แลว​จับ​ทุม​ลง​ที่​พื้นดิน จน​บาตร​แตก​เปน​ชิ้น​ เล็ก​ชิ้น​นอย การ​ที่​พระองค​มี​ความ​อาฆาต มี​จิต​คิด​ประทุษราย​ตอพระ​ ปจเจก​พทุ ธเจาเ​ชนนีเ​้ ปนการ​กระทำ​ทไ​ี่ มสมควร​เปนอยางยิง่ เพราะ​ พระ​ปจเจก​พุทธเจา​รูป​นี้​เปน​ผู​มี​ความ​สงบ เสงี่ยม มี​จิต​ผองใส มี​ ศี ล ​บ ริ สุ ท ธิ์ มี ​ค วาม​เ มตตากรุ ณ า​ ตอสรรพสัตว​ทุก​หมู​เหลา ผลกรรม​ ที่ ​ท ำ​จึ ง ​เ กิ ด ขึ้ น ​แ ก ​พ ระ​ร าช​โ อรส​ ทันตาเห็น คือหลังจากที่​พระองค​ ได​ทุม​บาตร​ลงพื้นดิน​จน​แตก​และ​ได​ ตรัส​กับ​พระ​ปจเจก​พุทธเจา​วา “ทาน​ไมรูจัก​เรา​ผู​เปน​พระ​ราช​ โอรส​ของ​พระเจากิต​วะ​หรือ​อยางไร ทาน​มองดูเ​รา​อยูอ​ ยาง​นี้ จะ​ทำ​อะไร​ เรา​ได ถา​ทำ​ไมได​ก็​หลีก​ไป​ซะ” ขณะ​ทพ​ี่ ระ​ราช​โอรส​เดินก​ ลับไ​ป​นนั้ รางกาย​กเ​็ กิดค​ วาม​เรารอน​ ขึ้น​มา​อยาง​หนัก เปรียบ​เหมือน​ความ​เรารอน​แหง​ไฟ​ใน​นรก​ทีเดียว ที่​เปน​เชนนั้น​ก็​เพราะ​วิบาก​แหง​กรรม​ที่​ทำ​กับ​พระ​ปจเจก​พุทธเจา​ นั่นเอง พระ​ราช​โอรส​รอน​ไป​ทั่ว​ทั้ง​กาย กระวนกระวาย​อยาง​หนัก ในที่ สุด​ทนความรอน​ไมไหว​จึง​ขาดใจ​ตาย แลวไป​บังเกิด​ใน​อเวจี​ มหา​นรก!! พระองคท​ รง​นอนหงาย นอนคว่ำ กลิง้ เกลือก พลิกข​ วา พลิกซ​ า ย ดิน้ ท​ รุ นทุราย​ไปมา​อยูอ​ ยาง​นนั้ หมกไหมอ​ ยูใ​ น​นรก​ถงึ ๘๔,๐๐๐ ป


160 จึงจ​ ตุ จ​ิ าก​อตั ภาพ​นนั้ แ​ ลวไป​เกิดเ​ปนเ​ปรต​ผม​ู แ​ี ตค​ วาม​หวิ ก​ ระหาย​อกี ​ ตลอด​กาลนานอันห​ า​ประมาณ​มไิ ด จุตจ​ิ าก​อตั ต​ภาพ​เปรต​นนั้ แ​ ลวจึง​ ไป​เกิด​ใน​เกวัฏ​ฏคาม ใกลกุ​ณฑิ​นคร ใน​สมัย​พุทธกาล ตระกูล​ที่​เขา​มา​เกิด​นั้น​เปน​ตระกูล​ชาวประมง และ​ใน​ชาติ​นี้​เขา​ สามารถ​ระลึกชาติ​ได ทุกครั้ง​ที่​ระลึกถึง​ทุกข​ที่​ตน​เอง​เคย​ประสบ​มา​ ในอดีต ก็เ​กิดค​ วาม​กลัวข​ นึ้ ม​ า​อยางหนัก จนกระทัง่ เ​ติบโต​เปนผ​ ใู หญ เขา​จึง​ไมกลา​แมแต​จะ​ไป​จับปลา​กับ​พวก​ญาติ​เพราะ​กลัว​บาป เวลา​ที่​พวก​ญาติ​ออกไป​จับปลา เขา​ก็​แอบ​หลบ​ไม​ให​ใคร​เห็น ไม​อยากจะ​ไป​ฆา​ปลา เขา​แอบไป​รื้อ​ตาขาย​ที่​พวก​ญาติ​ดัก​ปลา​ไว​ บาง จับปลา​เปนๆ มา​ปลอย​บาง แต​ในที่สุด​พวก​ญาติ​ก็​จับได​และ​ เกิดค​ วาม​ไมพอใจ​การ​กระทำ​ของ​เขา​มาก จึงข​ บั ไลเ​ขา​ออกจาก​บา น ถึงแม​คน​อื่น​จะ​เกลียด​เขา​อยางไร แต​เขา​ก็​ยังมี​พี่ชาย​อยู​คน​หนึ่ง​ที่​ ยัง​รัก​เขา​อยู​เสมอ ใน​ขณะนัน้ พระ​อานนทอ​ าศัยอยูใ​ นกุณ ​ ฑิน​ คร อยูใ​ น​สานุบ​ รรพต เมื่อ​บุตร​ของ​ชาวประมง​ถูก​พวก​ญาติ​ทอดทิ้ง เที่ยว​เรรอน​ไป​ตามที่​ ตางๆ จนกระทั่ง​มาถึง​ที่อยู​ของ​พระ​อานนท เขา​ได​เขา​ไปหา​ทาน​ ในขณะทีท​่ า น​กำลังฉ​ นั ภ​ ตั ตาหาร​อยูพ​ อดี ทาน​ถาม​เขา​แลวก็ร​ วู า เ​ขา​ ตองการ​อาหาร​จึง​ใหอาหาร​แก​เขา หลังจากที่​เขา​บริโภค​เสร็จ​แลว ทาน​ทราบ​วา​เขา​สนใจในธรรม กถา จึง​ถาม​วา​จะ​บวช​ไหม เขาได​ตอบ​ตกลง​ที่จะ​บวช พระ​อานนท​ จึง​ได​บวช​ให ครั้น​บวช​แลวจึง​ได​พาไป​เฝา​พระพุทธเจา พระพุทธเจา​ตรัส​กับ​พระ​อานนท​วา “เธอ​ชวย​อนุเคราะห​ สามเณร​นี้​หนอย​เถิด สามเณร​รูป​นี้​ไมเคย​ทำบุญกุศล​ไว​เลย จึง​มี​ ลาภ​นอย”


161 ดวย​ความ​ที่​พระพุทธเจา​ทรง​มี​เมตตา​ตอ​สามเณร ตองการจะ​ ชวย​สามเณร​ใหไ​ดท​ ำบุญ จึงแ​ นะนำ​ใหไ​ป​ตกั น​ ำ้ ดืม่ ใ​สหมอไ​วใ​หเ​ต็ม เพื่อให​ภิกษุ​บริโภค บรรดา​อุบาสก อุบาสิกา​ทั้งหลาย​เห็น​ดังนั้น จึง​ ชวยกัน​ถวาย​ปจจัย​ให​แก​สามเณร​เปนอันมาก ต อ มา​ส ามเณร​ไ ด ​บ วช​เ ป น ​พ ระ​แ ละ​บ รรลุ ​ อรหันต​ในที่สุด ทาน​ได​อยูที่​สานุ​บรรพต​รวมกับ​ พระภิกษุ​อีก ๑๒ รูป สวน​พวก​ญาติ​ของ​ทาน​ ประมาณ ๕๐๐ คน ไมเคย​สราง​กุศลกรรม​อะไร​ ไว​เลย สราง​แต​บาปกรรม เปน​ผู​มี​ความ​ตระหนี่​ ถี่​เหนียว หลังจาก​ตาย​แลว จึง​ไป​เกิด​เปน​เปรต มารดา​บิ ด า​ข อง​ท  า น​ที่ ​ต าย​ไ ป​เ ป น ​เ ปรต ไมกลา​เขา​ไปหา​ทาน เพราะ​ระลึกได​วาแตกอน​ ได​ขับไล​ทาน​ออกจาก​บาน จึง​สง​พี่ชาย​ที่​รักใคร​ กัน​เขา​ไปหา เปรต​ผู​เปน​พี่ชาย​ซึ่ง​เปลือยกาย​รีบไป​นั่ง​ คุกเขาประนมมืออ​ ยูต​ อ หนาพ​ ระ​เถระ แตท​ า น​ ไมใสใจ​เปรต​นนั้ ไดแ​ ตน​ งิ่ แ​ ลวเ​ดินเ​ลยไป เปรต​ นั้น​จึง​บอก​พระ​เถระ​วา “ขาพเจา​เปน​พี่ชาย​ของ​ทาน ตาย​ไป​ เกิด​เปน​เปรต ขา​แต​ทาน​ผูเจริญ มารดา​ บิดา​ของ​ทาน​เกิด​ใน​ยมโลก เสวย​แต​ ทุกขเวทนา เพราะ​บาปกรรม​ทท​ี่ ำ​ไวม​ าก หลังจากตาย​จาก​โลก​นไ​ี้ ปแลว จึงไ​ป​เกิด​ เปน​เปรต เปรต​ผู​เปน​มารดา​บิดา​ของ​


162 ทาน​ทั้งสอง​มี​ชองปาก​เทา​รูเข็ม ลำบากมาก เปลือยกาย ซูบผอม มี​ความ​เกรงกลัว สะดุง​หวาดเสียว​มาก มี​การ​งาน​ทารุณ ไมกลา​มา​ ปรากฏตัว​ให​ทาน​เห็น ขอ​ทานจง​เปน​ผู​มี​ความ​กรุณา​อนุเคราะห​ แก​มารดา​บิดา​เถิด จงใหทาน​แลว​อุทิศ​สวนกุศล​ไป​ให​พวกเรา​ดวย พวกเรา​ผู​มี​การ​งาน​อัน​ทารุณ จัก​ยัง​อัตต​ภาพ​ให​เปนไปได เพราะ​ ทานที่​ทาน​ได​ทำบุญ​อุทิศ​ให” เมื่อ​พระ​เถระ​บิณฑบาต​กลับ​ มาแลว จึง​ได​กลาว​ขอ​ภัตตาหาร​ จาก​พระ​ทุก​รูป​เพื่อ​ทำ​สังฆทาน​ ให​แก​ญาติ พระ​ทุก​รูป​จึง​ได​ให​ ภัตตาหาร​แก​ทาน หลังจาก​ทำ​ สังฆทาน​อุทิศ​ไป​ให​มารดา​บิดา​ และ​พชี่ าย​แลว โภชนะ​อนั ป​ ระณีต สมบูรณ ก็เ​กิดขึน้ แ​ กเ​ปรต​เหลานัน้ ​ ทันที เปรต​ผเ​ู ปนพ​ ชี่ าย​กม​็ ผ​ี วิ พรรณ​ ดี มี​กำลังวังชา มี​ความ​สุข ได​ไป​ ปรากฏตัว​ให​พระ​เถระ​เห็น​และ​ บอกวา “พวก​ขาพเจา​ได​อาหาร​ทุกอยาง​ที่​ทาน​อุทิศ​ไป​ให​แลว แต​ ยังขาด​เสื้อผา​อยู” พระ​เถระ​จงึ ไ​ปหา​เศษผาจ​ าก​กองห​ยาก​เยือ่ ม​ า​เย็บต​ อ กันท​ ำเปน​ จีวร​แลวถวาย​พระสงฆท​ ม​ี่ าจาก​ทศิ ท​ งั้ ส​ ี่ พอ​ถวาย​เสร็จ ผาท​ งั้ หลาย​ ก็ได​เกิดขึ้น​แก​เปรต​เหลานั้น​ทันที แต​พวก​เปรต​ก็​มา​แจง​อี​กวา​ยังขาด​บานเรือน​อยูอาศัย พระ​


163 เถระ​จึง​สราง​กุฎี​มุง​ดวย​ใบไม​แลว​ถวาย​แด​พระสงฆ​ที่​มาจาก​สี่​ทิศ​ เพื่ออุทิศ​ไป​ให​มารดา​บิดา​และ​พี่ชาย และ​ทันทีที่​ถวาย​เสร็จ​พวก​ เปรต​ก็ได​ปราสาท​และ​เรือน​อยาง​ดี ซึ่ง​ไม​เหมือนกับ​ใน​โลกมนุษย เรือน​ของ​พวกเขา​งาม​รงุ เรือง​สวางไสว​ไป​ทวั่ ท​ งั้ ๘ ทิศ เหมือน​เรือน​ ใน​เทวโลก ครัน้ ไ​ดบ​ า นเรือน​แลว แตย​ งั ขาด​นำ้ ดืม่ พวก​เปรต​กม​็ า​บอกกลาว​ ใหพ​ ระ​เถระ​ฟง ทาน​จงึ ต​ กั น้ำเ​ต็มธ​ รรมก​รก แลวถ​ วาย​สงฆท​ ม​ี่ าจาก​ สี่​ทิศ​อุทิศ​สวนกุศล​ไป​ให​อีก น้ำ​ก็​เกิด​มี​ขึ้น​ทันที สุดทาย พวกเขา​มา​บอกวาเ​วลา​จะ​ไป​ไหน​มา​ไหน​เดินท​ างลำบาก อยากได​พาหนะ​สัก​อยาง พระ​เถระ​จึง​ได​นำ​รองเทา​ไป​ถวาย​แก​ พระสงฆ แลว​พาหนะ​ก็​เกิด​มี​ขึ้น​แก​เปรต เปรต​ทั้งหมด​เมื่อ​ได​ตามที่​ตองการ​แลว ก็​เขา​ไปหาพระ​เถระ​ พรอมกับ​กลาว​วา “ทาน​ได​ชวยเหลือ​พวก​ขาพเจา ได​ให​ขาว ผานุง ผาหม บาน น้ำดืม่ และ​พาหนะ​แกพ​ วก​ขา พเจา เพราะฉะนัน้ ขาพเจา​ ทั้งหลายจึง​มา​เพื่อจะ​ไหว ทาน​ผู​เปน​มุนี มี​ความ​เมตตากรุณา​ตอ​ สัตวโลก​หา​ประมาณ​มิได” ในขณะที่​เรา​ยังมี​ชีวิต​อยู ไม​ควร​จะ​ประมาท ควร​รีบ​ขวนขวาย​ ทำบุญกุศล​ไว​ให​มากๆ หลังจาก​ตาย​ไปแลว​หาก​ไป​เกิด​ใน​นรก เปน​ เปรต ก็​จะ​ไมมี​โอกาส​ได​ทำบุญ​เหมือน​ใน​โลกมนุษย ทำได​เพียง​รอ​ ผลบุญท​ ค​ี่ น​อนื่ ท​ ำ​ไป​ใหเ​ทานัน้ หาก​ไมมใี คร​ทำบุญอ​ ทุ ศิ ไ​ป​ใหก​ ต​็ อ ง​ ทน​ทุกขทรมาน​อยู​อยาง​นั้น จน​หมดเวร​หมด​กรรม หาก​ไม​อยาก​เปน​เชนนั้น​ก็​จง​รีบ​ทำบุญ ใหทาน รักษาศีล​ตั้งแต​ วินาที​นี้ กอน​ที่จะ​ไมมี​โอกาส​ได​ทำ​อีก​ตอไป (จาก​หนังสือ​ธรรม​ลีลา ฉบับ​ที่ 100 มี.ค. 52 โดย​มา​ลาว​ชิโร)



165

ศาสนกิจ ใน​แตละ​ป หลวง​ปต​ู น บ​ ญ ุ จะ​ไดรบั ก​ จิ น​ มิ นต และ​ดำเนินงาน​ ตางๆ มากมาย แทบ​ทุกวัน ไมวา​จะ​เปน​กิจกรรม​เพื่อ​สืบสาน​วัฒนธรรม​ประเพณี​อัน​ดีงาม​ ของ​ชาว​อีสาน เชน งานบุญ​ประทาย​ขาวเปลือก งาน​วันแม การ​ อบรมศีลธรรม จริยธรรม​ใหก​ บั เ​ยาวชน และผูใ หญท​ วั่ ไป รวมทัง้ ง​ าน​ ทาง​พุทธศาสนา เชน วันมาฆบูชา วัน​วิสาขบูชา วัน​อาสาฬหบูชา วัน​เขาพรรษา เปนตน


166 นอกจากนี้​หลวง​ปู​ตน​บุญ​ยัง​เมตตา​นำ​คณะ​ลูกศิษย​เดินทาง​ แสวงบุญ ตามรอย​พระธรรมฑูต​ไป​ประเทศ​ตางๆ เชน ประเทศ​ สาธารณรัฐ​ประชาชน​ลาว ประเทศ​พมา หรือ​ชื่อ​ทางการ​วา สาธารณรัฐ​แหง​สหภาพ​เมียน​มา ประเทศ​อินเดีย ประเทศ​เนปาล เปนตน ดังนั้น​จะ​เห็นวา​หลวง​ปู​ตน​บุญ​ได​อุทิศ​ตน เพื่อ​สืบสาน​งาน​ พุทธศาสนา เปนผ​ ชู นี้ ำ​ใหพ​ ทุ ธศาสนิกชน ไดเ​ขาใจ​ใน​พระธรรม และ​ เดิน​ตามรอย​บาท​ของ​พระ​สัมมาสัม​พุทธเจา​อยาง​ตอเนื่อง ขอ​นำ​ศาสนกิจต​ า งๆ ทีห​่ ลวง​ปไ​ู ดด​ ำเนินงาน ใน​ป พ.ศ.๒๕๕๕ มา​ให​อานพอสังเขป ดังนี้ เดือนมีนาคม ธุดงค์ป่าช้า จ.สกลนคร เดือน​เมษายน งาน​โพธิญาณ​แหง​การ​ตื่น​รู เดือน​พฤษภาคม ตามรอย​พระธรรมฑูต ไป​ประเทศ​พมา เดือน​สิงหาคม หลวง​ปู​เขา​นิโรธ เดือน​กันยายน หลวง​ปู​เขา​นิโรธ เดือน​ตุลาคม หลวง​ปู​เขา​นิโรธ (ถึงเดือน​พฤศจิกายน) เดือน​พฤศจิกายน งาน​ทอดกฐิน และแสวงบุญ​ ที่​ประเทศ​อินเดีย เนปาล เดือน​ธันวาคม งานบุญ​ประทาย​ขาวเปลือก


167

เหตุแห่งทุกข์ ปัญหาทั้งหมดไม่ได้เกิดขึ้นที่เหตุแห่งทุกข์ แต่ปัญหาเกิดจากความไม่เข้าใจในทุกข์ เกิดจากการไม่ยอมรับในทุกข์ เกิดจากความยึดมั่นในทุกข์ ...เท่านั้นเอง


168


169

ธุดงค​ปาชา​ที่​สกลนคร เรื่อง : ​เด็ก​โง​ภูแซ ภาพ​: เชิดวุฒิ สกลยา

เกิด​มา​ใน​ชีวิต​ไมเคย​ไป​ธุดงค​ปาชา​มา​กอน อยา​วาแต​ไป​ เลย แค​คิด​ก็​ไมเคย เพราะ​ตั้งแต​จำ​ความ​ได​ก็​เปน​คน​กลัว​ผี​ ข​นา​ด​หนัก แถม​รัก​สบาย​อีกตางหาก ตอน​เขาวัดใ​หมๆ จ​ ะ​เดินไ​ป​ตรงไหนทีกต็ อ ง​มองหา​เพือ่ น​ตลอด​ แตพอ​กาล​เวลา​ผานมา หลังจาก​ปฏิบัติ​ธรรม​ตามที่​หลวง​ปู​สอน​ ไปเรื่อยๆ ก็​เริ่มมี​พัฒนาการ เริ่มเดิน​ไป​ไหน​คน​เดียว​ได​ตอน​มืดๆ บางที​ก็​ไป​เดินจงกรม​คน​เดียว สวนหนึ่ง​อาจ​เพราะ​เริ่ม​คุน​สถานที่ เมื่อ​หลวง​ปู​บอกวา​จะ​มี​ไป​ธุดงค​เลย​สนใจ ใน​คณะ​จะ​มี​พระ​ รวมดวย​ประมาณ ๑๐ รูป ที่เหลือ​เปน​ฆราวาส​ประมาณ​เกือบ ๒๐ คน และ​นองห​มา ๑ ตัว (ตาม​เจาของ​ไป​ธุดงค​ดวย) โดย​มี​นอง​ใน​ วัด​ตาม​มา​ชวยดูแล​เรื่อง​อุปกรณ​และ​อาหารการกิน ไป​ธุดงค​ทั้งสิ้น ๔ ปาชา โดย​ออก​เดินเทา​จาก​วัด​พระธาตุ​ศรี​จำปา​มหา​รัตนา​ราม


170 อำเภอ​พังโคน จังหวัด​สกลนคร โดย​หลวง​ปู​จะ​ให​คณะ​เดิน​ธุดงค​ ไปก อ น พระสงฆ ​เ ดิ น นำ​แ ละ​ พวกเรา​เดินตาม และ​หลวง​ปู​จะ​ ตาม​ไป​เจอ​ที่​ปาชา หลวง​ปู​จะ​ ไป​ชี้​บริเวณ​ให​กางกลด และ​จะ​ แสดงธรรม​ให​พวกเรา​ฟง ตอนแรก​เรา​รู  สึ ก ​อุ  น ใจ​ที่ ​มี ​ ครูบาอาจารย ​ต าม​ไ ป​ดู แ ล แต​ ทุกครั้ง​ที่​แสดงธรรม หลวง​ปู​จะ​เลา​เรื่อง​วิญญาณ ทำให​พวกเรา​ กลัว​หนักขึ้น​ไป​อีก กอน​ให​แยกยายไป​ปฏิบัติ จน​เรา​แอบ​คิดในใจ​ วา​แคนี้​ก็​กลัว​จะ​แย​แลว ปู​ไม​ตอง​มา​เลา​เลย​ก็ได บางที​ยังมี​การ​เอา​ รูป​วิญญาณ​หนา​เละๆ​ มา​เปด​ให​ดู​อีกตางหาก จาก​ความ​อุนใจ​ เลย​กลาย​เปนความ​หวาดระแวง​ในใจ แต​ประสบ​การ​ณ​ที่​ได​เรียนรู​ นีค​่ มุ คาย​ งิ่ นัก ตอง​กราบ​ขอขมา แ​ ละ​กราบ​ขอบ​พระคุณห​ ลวง​ปเ​ู ลย​ ทีเดียว พอ​เริ่ม​ออก​เดินเทา​ไปตาม​ถนน ระหวางทาง​ก็​จะ​มี​บรรยากาศ​ เปน​ธรรมชาติ ทั้ง​ทุงขาว ฝูง​วัว​ฝูง​ควาย​บอ​บัว​และ​ได​สัมผัส​ถึง​ชีวิต​


171 ของ​ชาวบาน แมแ​ ดด​จะ​รอ น​แตก​ ม​็ ล​ี ม​พดั เ​ปนระยะๆ เรา​เริม่ ส​ งั เกต​ ดูจ​ ติ ต​ วั เอง​ตงั้ แตเ​ริม่ เ​ดินทาง โดย​กำหนด​อยูก​ บั ล​ มหายใจ บางทาน​ ก็เ​มตตา​มา​แนะนำ​เรา​ใหก​ ำหนด​ดว ย​คำ​ภาวนา “​พทุ โธ” เรา​กเ​็ ก็บค​ ำ​ แนะนำ​ไว บอก​ตวั เอง​วา จ​ ะ​เอา​ไวใ​ชย​ าม​คบั ขัน สังเกต​ตวั เอง​เห็นวา​ เวลา​ไป​เจอ​บอ​บัว เรา​จะ​ยินดี​เปนพิเศษ​และ​จะ​ออยอิ่ง​เดิน​ชาๆ​ชม​ วิวจ​ น​เดินร​ งั้ ทาย คน​เรา​กม​็ กั เ​ปนเ​ชนนี้ มักเ​สียเวลากับส​ งิ่ ท​ เ​ี่ รา​พอใจ​ ยินดี ความ​ทเ​ี่ ปนค​ นเมือง​มาตลอด​จงึ พ​ ยายาม​เติมเต็มส​ งิ่ ท​ ข​ี่ าด​คอื ​ วิว​ธรรมชาติ จึง​รูสึก​ตื่นตา​ตื่น​ใจ​เปนพิเศษ​กับ​วิว​สอง​ขางทาง จน​ มาถึง​ปาชา​แรก

ปาชา​แรก

สำนักสงฆ​นาค​นิมิต บาน​สม​สะอาด ที่ นี่ ​มี ​เ มรุ ​เ ผาศพ​ที่ ​มี ​ศ พ​เ พิ่ ง​ เผา​เสร็จ หลวง​ปู​ทาน​มา​ประกาศ​ บอก​ให​ไป​ดู เรา​เลยไป​ยืน​ดู​และ​ เห็ น ว า ​ถู ก ​เ ผา​ไ ป​ห มด​เ หลื อ ​แ ต​ กะโหลก​ศีรษะ ตอนแรก​เรา​ไป​ เลือก​จุด​ปกก​ลด​เอง อยู​ใกลๆ กั​บก​ลด​คน​อื่น พอ​ปก​เสร็จ หลวง​ปู​ก็​ประกาศ​วา​หาม​ปกก​ลด​ใกล​ กัน และ​มา​ชี้​จุด​ให​เรา​ไป​ปกก​ลด โดย​เรา​สังเกต​วา​มี​ปาย​หลุมศพ​ อยู​แต​เลือน​หมดแลว เรา​ก็​ยาย​ตาม​ปู​บอก หลวง​ปู​ทาน​แนะนำ​ให​


172

เมรุ​เผาศพ

หลวง​ปู​ชี้​จุด​ปกก​ลด โดย​พยายาม​เลือก​บน​ หลุมฝงศพ ​และ​อยู​ใน​ปา​


173

จุด​ธูป​ขออนุญาต​บอกกลาว​สิ่ง​ศักดิ์สิทธิ์​เจาที่​เจา​ทาง​กอน​ดวย ที่​ สำนักสงฆ​แหงนี้​มี​หมูปา​นารัก​สอง​สาม​ตัว​วิ่งเลน​อยู​ไปมา เห็น​แลว​ เพลิดเพลิน​ลืม​ความ​กลัว​ไปได พอ​ตอนค่ำ​พวกเรา​ก็​มา​รวมตัวกัน​ทำวัตร​ที่​ศาลา หลวง​ปู​ทาน​ ก็​มา​เลา​วา​ขณะ​ที่​ทาน​มอง​พวกเรา​อยู​นี้​มี​แขก​ไมได​รับเชิญ​มา​นั่ง​ฟง​ รวมกับ​เรา​อีก​เปน​รอย รวมทั้ง​ศพ​ที่​เพิ่ง​เผา​ไป​ดวย และ​มี​ยาย​ทาน​ หนึง่ ท​ ธ​ี่ ดุ งคม​ า​ดว ย​กบ​็ อกวาเ​ห็นอ​ ยูเ​ หมือนกัน หลังจ​ากนัน้ พ​ วกเรา​ ก็แ​ ยกยาย​เขาก​ ลด บางทาน​กป​็ ฏิบตั ต​ิ อ ท​ ศ​ี่ าลา หลังจาก​เรา​เขาก​ ลด เรา​ก็​ไป​นั่ง​สมาธิ​และ​แผสวนบุญ พอ​ลมตัว​ลงนอน​ตก​กลาง​ดึก​ก็​ ไดยิน​เสียง​คลาย​เสียง​นก​รอง​เรียกชื่อ​เรา “​เอ็ก...​เอ็ก...​เอ็ก” เลน​เอา​หลับๆ ​ตื่นๆ​ ทั้งคืน (จริงๆ ​แลว​อาจ​บังเอิญ​ที่​นก​รอง​ เปนปกติ แต​ความ​ปรุงแตง​ของ​จิต​เรา ให​คิดวา​รองเรียก​เรา)


174

เชา​มา พระ​ทาน​ก็​ออกไป​บิณฑบาต พวกเรา​ก็​มา​คุย​กัน มี​ บางทาน​ก็​เลา​วา​ไดยิน​เสียง​เหมือน​คน​มา​เดิน​ตรวจตรา​ไป​รอบๆ​ กลด ประมาณวาต​ วั ใ​หญมาก​เหมือน​องึ่ อาง​ยกั ษ และ​มเ​ี พือ่ น​ผหู วังดี​ ทีม​่ จ​ี ติ ส​ มั ผัสพ​ เิ ศษ​กเ​็ มตตา​มา​บอก​เรา​วา รูม​ ยั้ ...ทีๆ ่ เ​รา​ไป​ปก ก​ลด​ท​ี่ แรก​นะ เรา​เห็นวา​มี​วิญญาณ​อยู ๒ ตน และ​ที่ๆ​เรา​ยาย​ไป​ปกก​ลด​ ใหม​ตาม​หลวง​ปู​บอก​นั้น​ก็​มี​วิญญาณ​เหมือนกัน แต​เปน​วิญญาณ​ พระสงฆ ยิ่ง​เรา​อุทิศ​บุญ​ให​ทานๆ​ก็​อุทิศ​กลับมา​ให​เรา​ดวย.... เรา​ผู​ไมรู​อะไร​เลย ก็ได​แต​ฟง ใน​กลุม​ที่มา​ธุดงค​นี้ หลาย​ทาน​ ไมเคย​เจอกัน​มา​กอน​เลย แต​หลังจาก​ผาน​สถานการณ​มา​ดวยกัน การ​เอือ้ เฟอ ด​ แู ล​กนั ก​ เ​็ กิดขึน้ มิตรภาพ​บงั เกิด สิง่ น​ ม​ี้ ค​ี า ม​ ากกวา​ อะไร​ทั้งหมด เมื่อ​ทานขาว​แลว พวกเรา​ก็​รวมกัน​ทำบุญ​ชำระหนี้​สงฆ​กอน​ ออก​เดิน​ธุดงค​ตอไป ซึ่ง​นับวาเปน​โอกาส​อัน​ดี​ที่​ได​มา​ทำบุญ​ให​กับ​ สถานที่ๆ​นอย​นัก​จะ​มี​คน​ตางถิ่น​เดินทาง​มาถึง


175

หลวง​ปู​นมัสการ​เจาอาวาส

ปาชา​ที่สอง

ที่พัก​สงฆ​เทพ​นิมิต​ประชา​รังสรรค บาน​แร

พวกเรา​พึ่ง​มา​รู​หลังจาก​ได​มา​ นมัสการ​ทาน​เจาอาวาสวา​ทาน​ ​เ ป น ​ลู ก ศิ ษ ย ​ห ลวงตาม​ห า​บั ว หลังจากทีห​่ ลวงตา​มรณภาพ ทาน​ เจาอาวาส​ก็ได​มา​สราง​สำนักสงฆ​ ที่นี่ ซึ่ง​อยู​ระหวาง​เริ่ม​สราง จึง​มี​


176 สภาพ​เปน​ปา​รก​ชัฏ บรรยากาศ​ ชางวังเวง มืดมิด​ยิ่ง และแล ว ​ห ลวง​ปู  ​ก็ ​เ ริ่ ม ​พ า​ พวกเรา​บุกเขาไป​ใน​ปา​และ​ชี้​จุด​ ให​ปกก​ลด ขอ​แสดง​ให​ชม​ดวย​ ภาพ​คะ แนนอน​วา​ที่นี่​ไมมี​ไฟฟา นอกจาก​ห วั่ น ๆ ​กั บ ​สิ่ ง ​ที่ ​เรา​ มองไมเห็นแ​ ลว ยังต​ อ ง​หวาดหวัน่ ​ กับ​สัตว​เลื้อยคลาน​อีกตางหาก แถม​มี​คน​มา​เลา​ให​ฟง​อีก​ดวยวา​ ครั้ง​ที่แลว​ที่มา​ธุดงค​กัน มี​คน​เจอ​ จะจะ​กนั ท​ นี่ ี่ นีเ่ อง โดย​เจอ​ตวั เ​ปน​ งูม​ า​รดั แ​ ตห​ วั เ​ปนก​ ะโหลก มา​แลบ​ ลิน้ เ​ลียห​ นาแผ​ลบๆ คน​ทเ​ี่ จอ​รอ ง​ ลั่น​ปา​เลย หลังจาก​ชี้​จุด​ให​ปกก​ลด​แลว เทานั้น​ยัง​ไม​พอ หลวง​ปู​ทาน​ยัง​ ใหน​ อ งๆ​มา​ขงึ เ​ชือก​ตาม​ทางเดิน​ ใน​ปา​อัน​รก​ชัฏ และ​บอก​พวกเรา​ วาใ​หม​ า​เดินต​ อน​มดื โดย​จบั เ​ชือก​ ภาพ​แม​โดง​ทดลอง​เดิน​หลังจาก​ ขึง​เชือก​เสร็จ พยายาม​สราง​ความ​ เดิน​ และ​อยา​เดิน​ดวยกัน ให​เดิน​ คุนเคย​กอน​เดิน​ตอนกลางคืน ทีละ​คน บริเวณ​ที่​หลวง​ปู​ชี้​จุด​ให​เรา​


177

​ป  ก ก​ล ด​นั้ น อยู  ​ใ น​ป  า ​ และ​มี ​ จอมปลวก​อ ยู  ​ร อบๆ​ หลาย​ จอมปลวก​ดว ยกัน และ​ไมส​ ามารถ​ มองเห็นก​ลด​อนื่ เ​ลย ดวยวาห​ ลวง​ ปู​บอก​ทุกคน​วา​ให​ปกก​ลด​หางกัน และ​ไม​ให​เห็น​กัน นอกจากนี้ นอง​ไกผ​ เู มตตา​กม​็ า​กระซิบบ​ อกวา...แถว​ทพ​ี่ ป​ี่ ก ก​ลด​ นี่แหละ​พี่ ที่​ครั้ง​กอน​เขา​เจอกัน... (ชาง​นารัก​จริงๆ​เลยนอง​ไก) ตก​กลางคืน พวกเรา​กไ​็ ป​รวมตัวกันท​ ำวัตร​กลาง​ปา นัง่ ป​ ฏิบตั ก​ิ นั เพือ่ น​ผม​ู จ​ี ติ ส​ มั ผัสเ​ห็นส​ งิ่ ล​ ลี้ บั ก​ บ​็ อก​เรา​วา เห็นเ​ทวดา​มา​ฟง พ​ วกเรา​ สวดมนต​เต็ม​เลย ขอ​ทาน​ถายภาพ​แต​ทาน​ไม​ให​ถาย สวน​เรา​กห​็ า​โอกาส​ออกไป​จบั เ​ชือก​เดินต​ ามทีห​่ ลวง​ปบ​ู อก สิง่ ท​ ​ี่


178

พบ​คือ​ความ​กลัว​ใน​จิต​ตัวเอง โดยเฉพาะ​กลัว​งู มัน​จะ​คอย​ปรุงแตง​ ตลอด พอ​ไป​สัมผัส​อะไร​หนอย​ก็​ระแวง ไม​พอ คอย​แต​จะ​อุปทาน​ วา​จะ​มี​ใคร​มา​จับ​มือ หลังจากนั้น​ก็​เขาไป​ปฎิบั​ติ​ตอ​ในกลด และ​พอ​ ลมตัวล​ งนอน​กไ​็ ดยนิ เ​สียง​เหมือน​มต​ี วั อ​ ะไร​อยูใ​ ตกล​ ด เขาใจ​วา เ​ปน​ ปลวก เลย​ตองยา​ยก​ลด​ออกมา​เล็กนอย แถม​ไดยิน​เหมือน​มี​ตัว​ อะไร​วิ่งๆ​อยู​นอกก​ลด เลย​หลับๆ ​ตื่นๆ​ทั้งคืน ตืน่ เ​ชาม​ า​พระ​ทา น​กอ​็ อกไป​บณ ิ ฑบาต​กบั ช​ าวบาน สวน​พวกเรา​ หลังจาก​ทานขาว​แลว ก็ได​มี​โอกาส​ทำบุญ​ชำระหนี้​สงฆ​กับ​ลูกศิษย​ หลวงตา​บัว ซึ่ง​นับเปน​โอกาส​อัน​ดี​และ​หาได​ยาก​ยิ่ง หลังจากนั้น​ก็​ ออก​ธุดงค​ตอ


179

ปาชา​ที่​สาม

สำนักสงฆ​ดอน​เจาปู​สีดา ที่นี่​จะ​มี​ศาล​เจาปู​สีดา​และ​ บริ เวณ​ใ กล ๆ ​ ศาล​ก็ ​จ ะ​มี ​ต  น​ ตะเคียน​อยู​หลาย​ตน พวกเรา​ก็​ เขาไป​สักการะ แต ​บ ริ เวณ​ที่ ​ใ ห ​ไ ป​ป  ก ก​ล ด​ นี้ ​ต  อ ง​เ ดิ น ​ข  า ม​ส ะพาน​เข า ไป เนื่องจาก​เปน​เกาะ​กลาง​น้ำ ที่นี่​ หลวง​ปู​ไมได​มา​ชี้​จุด​เหมือน​ทุกที่ ทาน​บอกวา​ให​เลือก​กันเอง เรา​ จึงเ​ลือก​บริเวณ​ทเ​ี่ ปนล​ าน​โลงๆ แตบ​ ริเวณ​ใกลเคียง​นนั้ ม​ จ​ี อมปลวก​ ขึ้นอยู​บน​ตนไม​และ​เหมือนจะ​มี​การ​บูชา​คลายๆ​กับ​เปน​ศาล ตอนกลางคืน พวกเรา​ก็​มา​รวมตัวกัน​สวดมนต​เหมือน​ทุกที่ เนื่องจาก​มี​พระ​ทาน​เห็น​งู หลวง​ปู​ทาน​เลย​เตือน​พวกเรา​ให​ระวัง ในขณะที่​หลวง​ปู​แสดงธรรม​อยู​นั้น ใน​คณะ​ก็​มี​คน​มา​บอก​เรา​วา​


180

ไดยิน​เสียง​เหมือน​มี​คน​คุย​กัน แต​ลอย​มาจาก​วงนอก​ซึ่ง​ไมมี​คน​อยู​ เลย หลังจาก​แยกยาย​กัน​เขาก​ลด เรา​ก็​นั่ง​สมาธิ​และ​แผ​กุศล​เหมือน​ ทุกที่ พอ​ตกดึก​ก็​ไดยิน​เสียง​โครมคราม​ดังลั่น เสียง​เหมือนจะ​ดัง​ มาจาก​ทาง​จอมปลวก​นั้น พรอมทั้ง​เสียง​เหมือน​มี​อะไร​กลิ้ง​มา​ตาม​ พืน้ และ​มเี สียง​เหมือน​คน​ตวั ห​ นักๆ​เดินตาม​มา จน​มา​แถวๆ​บริเวณ​ ทีเ​่ รา​กางกลด​อยู ความ​กลัวแ​ ลนม​ า​จโู จม​อยาง​ฉบั พลัน กลัวเ​กินก​ วา​ จะ​สอง​ไฟฉาย​ออก​ดู​วา​มัน​คือ​อะไร ตอนนี้​เอง​เรา​รีบ​ทอง “​พทุ โธๆๆๆๆๆ” อยาง​นอ ย​กย​็ งั มีห​ ลักยึดใ​น​เวลา​ตอ งการ​ทพี่ งึ่ ทอง​ไป​ซกั พ​ กั เรา​กร​็ สู กึ วาน​ ม​ี่ นั เ​ปนการ​กด​ทบั ค​ วาม​กลัวด​ ว ย “​พทุ โธ” เหมือนกับ​หลอก​จิต​ให​ไป​จดจอ​กับ “​พุทโธ” เรา​ก็​เลย​หยุด​ภาวนา​ และ​มา​ดู​จิต​ตัวเอง เห็นวา​มัน​กลัว​และ​ปรุงแตง​ไป​ตางๆ ​นานา คิด​ กระทั่ง​วา​เรา​มา​นอน​ขวางทาง​เจาที่​รึเปลา ทาน​เลย​อาละวาด ยิง่ ป​ รุงก​ ย​็ งิ่ ก​ ลัว ยิง่ เ​ห็นก​ ลัวม​ าก เลย​ถาม​ตวั เอง​วา ท​ ำไม​ตอ ง​กลัว​


181 ดวย ลอง​สาว​ไป​ดร​ู ากเหงาค​ วาม​กลัว ออ! นีเ​่ รา​กลัวต​ าย​นห​ี่ วา ตัวกู​ ของกู นี่​มัน​อัตตา​ตัวตน​ชัดๆ นอน​กลัว​ไป​พิจารณา​ไป​จน​เชามืด พอ​ออกจากก​ลด​มา​เจอ​กัลยาณมิตร​ทั้งหลาย โอ​โห! ทุกคน​ก็​ พูดถึง​เสียง​ดัง เสียง​เดิน คาดเดา​กัน​ไป​ตางๆ​นานา แต​สำหรับ​เรา ประเด็น​มัน​ไมได​อยู​ตรงนั้น​แลว มัน​กลาย​เปนเรื่อง “ตัวกู​ของกู” นี่แหละ หลังจาก​ทาน​ขา วเชา พวกเรา​กร​็ ว มกันท​ ำบุญช​ ำระหนีส​้ งฆ และ​ ออก​เดินทาง​ตอ

ปาชา​วัด​ปาชา บาน​อุม​ไผ

เจ า อาวาส​วั ด ​ที่ นี่ ​ท  า น​เ ป น​ ลู ก ศิ ษ ย ​ส าย​พ ระ​อ าจารย ​ฝ   น หลังจาก​ไดส​ กั การะ​ทา น​แลว ทาน​ ก็ไดเ​มตตา​เลาใ​หเ​รา​ฟง ว​ า ท​ นี่ เ​ี่ ปน​ เมื อ ง​เ ก า​และ​มี​ภพ​ซอน​ภพ​อยู นอกจากนั้ น ​ที่ นี่ ​ยั ง มี ​วิ ญ ญาณ​ หลาย​ตน​ที่​เขา​จะ​อยู​ประจำ หลังจากนั้น พวกเรา​ก็​เริ่ม​ออก​สำรวจ​ พื้นที่ เปน​ครั้งแรก​ที่​เรา​ได​เห็น​บริเวณ​ที่​ใช​เผาศพ​ที่​เผา​กับ​ดิน คือ​ ไมมี​เมรุ ที่นี่​ก็​เชนกัน ใน​ปา​บริเวณ​ที่​เรา​กางกลด จะ​มี​จอมปลวก​ รายลอม​อยู ตอนกลางคืน​พวกเรา​ก็​รวมกัน​สวดมนต​เชนเคย หลวง​ปู​ทาน​


182 ก็​เลา​วา​ตอน​สมัย​ที่​ทาน​ไป​ธุดงค ทาน​จะ​สวดมนต​บท​จุล​ชัยยะ​ มงคล​คาถา (บทสวด​ชัย​นอย) เปนการ​กัน​ไม​ให​มี​สิ่ง​ใด​มา​รบกวน และ​ก็​เหมือน​ทุกที่ ทาน​ก็​จะ​เลา​เรื่อง​วิญญาณ และ​ที่​สำคัญ​มี​การ​ เปด​หนาจอ​ให​ดู​หนา​เละๆ เลน​เอา​เรา​ตกใจ​หมด​เลย พอ​แยกยาย​ กัน​เขาก​ลด​แลว เรา​ก็​รีบไป​สวด​บท​ชัย​นอย​ทันที สวด​ผิดๆ ​ถูกๆ ​ก็​ ยัง​ดีกวา​ไม​สวด ขอ​อุนใจ​ไวกอน ไม​เชื่อ​อยา​ลบหลู และ​เรา​ก็​เอา​ อุบาย​หนา​ผี​เละๆ​ นั้น มา​ใช​ ประกอบการ​พิจารณา​ให​เห็น​ ความ​ไม​เที่ยง​ของ​กาย​สังขาร ไหนๆ​ อุตสาห​มา​อยู​ปาชา​ ทั้งที คง​ไมมี​ที่ไหน​เหมาะ ให​ พิ จ ารณา​ม รณานุ ​ส ติ ​เ ท า ​ที่ นี่ ​ อีกแลว ก็​เลย​นอน​พิจารณา​ ไปเรือ่ ยๆ อนิจจัง ทุกข​ งั อนัตตา ถึงแมจ​ ะ​ไดยนิ แ​ ววๆ เ​หมือน​เสียง​ เดิน​อยู​ดานนอก ก็​ไมได​สนใจ​อีกแลว ตอนเชา​มา พวกเรา​ก็ได​รวมกัน​ทำบุญ ซึ่ง​เรา​ก็​แอบ​ปลื้ม​ เนื่องจาก​วา​ไม​งาย​เลย​ที่จะ​ได​มา​รวมกัน​ทำบุญ​ใน​สถานที่นี้ วัด​ที่​ เปน​วัด​ปา​จริงๆ ถา​ไมได​มา​ธุดงค มี​หรือ​จะ​ได​มายัง​ที่นี้ หลังจาก​กลับ​มาจาก​ธุดงค มี​คน​ถาม​เรา​วา​ไป​ปาชา​ได​เห็น​ผี​มั้ย สำหรับ​เรา ประเด็น​ไมได​อยู​วา​เห็น​ผี​หรือไม เรา​ได​พบ​สิ่งล้ำคา​ใน​ ชีวิต จุด​ต่ำสุด​คือ​จุด​ที่​สูงสุด อยาง​แรก คือไ​ดเ​ห็นผ​ ใ​ี นใจ​ตน​เอง เห็นจ​ ติ ต​ น​เอง เห็นค​ วาม​กลัว เห็น​การ​ปรุงแตง ยึด​ใน​สิ่ง​สมมุติ​จาก​อุปทาน​ของ​ตน และ​ที่​สำคัญ ได​เห็น​การ​ยึดตัว​ยึด​ตน ตัวกู​ของกู ถา​ไม​ยึด​ทำไม​ถึง​ตอง​กลัว​ดวย​


183 เลา สิ่ง​นี้​มี​คา​กวา​มาก​นัก เรา​ ได​มอง​ใน​มุมมอง​ที่​เรา​ไมเคย​ มอง​มา​กอน อย า ง​ที่ ส อง คื อ ​ไ ด ​พ บ​ กัลยาณมิตร ที่​คอย​ชวยเหลือ​ เกือ้ กูล ดูแล หวงใย มีค​ วาม​รกั ส​ ามัคคี ไดแ​ ลกเปลีย่ น​ประสบการณ​ ซึ่ง​กันและกัน อยาง​ที่​สาม คือ​ได​ทำบุญ​ใน​ศาสนสถาน​กับ​พระ​สาย​ปฏิบัติ​ ที่อยู​หางไกล​เมือง​และ​กำลัง​อยู​ระหวาง​พัฒนา ซึ่ง​โดย​ปกติ เรา​ คง​ไมมี​โอกาส​ได​มา รูสึก​ดีใจ​ที่​ได​มี​สวนรวม​ใน​การ​ทำนุบำรุง​ พระพุทธศาสนา และ​ยัง​ได​สัมผัสกับ​ชีวิต​ชนบท ได​ทำบุญ​รวมกัน​ กับ​ชาวบาน อยาง​ที่​สี คือ​ได​มี​โอกาส​แผเมตตา​อุทิศ​ผลบุญ​ให​สรรพสัตว สรรพ​วญ ิ ญาณ​ทงั้ หลาย รวมทัง้ ผ​ พู ทิ กั ษว​ ดั วา​พระพุทธศาสนา สราง​ เมตตาจิต​ขึ้น​ในใจ​ตน ทาย​นี้ ลูก​ขอ​กราบ​แทบ​เทา​ขอบ​พระคุณ​หลวง​ปู​ที่​ใหโอกาส ทำให​ลูก​ได​พบ​สิ่งล้ำคา​นี้ และ​ยัง​ได​อดทน​อบรม​สอนสั่ง​ลูก​ผู​ โงเขลา​เบาปญญา ถึงแม​หน​ทางนี้​ยังอีก​ยาว​ไกล ลูก​ได​เลือก​ที่จะ​ เดิน​บน​เสน​ทางนี้ และ​จะ​พยายาม​อยาง​ถึงที่สุด​เทาที่​กำลัง​ความ​ สามารถ​สติปญญา​จะ​พา​ไปได ลูก​จะ​ไม​ทำให​หลวง​ปู​เสียเวลากับ​ ลูก​ไป​เปลาๆ อยาง​นอย​ก็​ขอให​ได​แบงเบา​ภาระ​หลวง​ปู​บาง ได​ ชวยงาน​พระพุทธศาสนา ชวยเหลือ​สรรพสัตว เดิน​ตามรอย​พระ​ มหา​โพธิสัตว​และ​บรมครู​ทั้งหลาย อยา​ไดเสีย​ชาติ​เกิด​เปน​มนุษย พบ​พระพุทธศาสนา​เลย...สาธุ


184

งาน​โพธิญาณ ​แหง​การ​ตื่น​รู

เดือน​เมษายน ของ​ทุกป​จะ​มี​งาน​มุฑิ​ตา​สักการะ​หลวง​ปู​ตน​ บุญ พรอมทั้ง​มี​งาน​ทอดผาปา​สามัคคี ใน​ป พ.ศ. ๒๕๕๕ เปน​ป​พุทธช​ยัน​ตี หลวง​ปู​ตน​บุญ​ได​ดำริ​ให​ จัดงาน​โพธิญาณ​แหงก​ าร​ตนื่ ร​ ู โดย​เริม่ ร​ ะหวาง​วนั พุธท​ ี่ ๑๑ เมษายน ถึง​วันพฤหัสบดี​ที่ ๑๒ เมษายน ทาง​วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช ได​จัดให​มี​กิจกรรม​สาธา​ณ​กุศล คือ การ​รับ​บริจาค​โลหิต ใน​วันพุธ​ที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๕๕ ใน​ศาลา มี​ชาวบาน ทหาร และพุทธศาสนิกชนได​รวมกัน​บริจาค​เลือด​ให​กับ​ สภากาชาด จังหวัด​รอยเอ็ด เปน​จำนวน​มาก


185

เวลา​ประมาณ ๒๐.๐๐ น. ทุกคน​พรอมกันเ​ขารวมพิธเ​ี ทวา​ภเิ ษก และพิธี​เท​ทอง​หลอ​พระ​ศรี​อริย​เมตไตรย หลังจาก​เสร็จ​พิธี​หลอ​ ผู​ที่​บวช​เนกขัมมะ เปน​จำนวน​มาก ก็ได​รวมกัน​สวด​พุทธาภิเษก​ ตลอดคืน เชาว​ นั พฤหัสบดีท​ ี่ ๑๒ เมษายน ๒๕๕๕ พุทธศาสนิกชน​ทกุ ทาน ไดใ​สบาตร​พระภิกษุส​ ามเณร​แลว จากนัน้ หลวง​ปต​ู น บ​ ญ ุ ไ​ดอ​ ญ ั เชิญ​ พระบรมสารีริกธาตุ มา​ให​พุทธศาสนิกชน และ​ให​เจาภาพผ​อบ​ ได​สักการะ และ​เพื่อ​บรรจุ​ในผ​อบ​ที่​ทำ​ดวย​ทองคำ เงิน และ​นาก ทัง้ หมด ๕ ชุด โดย​จะ​อญ ั เชิญผ​อบ​ไป​บรรจุบ​ นพระ​เกศ​พระพุทธเจา​ ทั้ง ๔ พระองค และ​พระ​ศรี​อริย​เมตไตรยใน​วัน​ตอไป คณะ​เจาภาพ​ผาปา​กอง​ใหญ ทั้งหมด​จำนวน ๒๘ กอง ได​ รวมกัน​ถวาย​ผาไตร​และ​ปจจัย ถวาย​ผาปา​สามัคคี แด​พระพุทธเจา ๒๘ พระองค และ​พระโพธิสัตว


186

ตาม​เสนทาง​พระธรรมฑูต ทีป่​ ระเทศ​พมา ป ๒๕๕๕

ใน​ป พ.ศ. ๒๕๕๕ ระหวาง​วันที่ ๔ ถึง​วันที่ ๙ พฤษภาคม หลวง​ปต​ู น บ​ ญ ุ พ ​ า​คณะ​ลกู ศิษยเ​ดินทาง​แสวงบุญไ​ ปตาม​เสนทาง​ พระธรรมฑูต​ไป​ประเทศ​พมา ซึ่ง​หลวง​ปู​ได​พาไป​กราบ​สักการะ​จน​ครบ ๕ มหา​บูชา​สถานที่​ ศักดิ์สิทธิ์​ที่สุด​ของ​พมา​เชน​ปกอนๆ • สักการะ​พระ​มหา​เจดีย​ชเวดา​กอง ที่​เมือง​ยางกุง • สักการะ​พระธาตุมุ​เตา คู​บาน​คู​เมือง​หงสาวดี • สักการะ​พระธาตุ​อินทร​แขวน • ส​ กั การะ​มหา​เจดียช เ​วสิก​ อง ดินแดน​ศกั ดิส์ ทิ ธิอ​์ ายุก​ วาพ​ นั ป ที่​เมือง​พุกาม


187

• สักการะพระ​มหามัยม​ นุ ี พระพุทธรูปท​ องคำ​เนือ้ น​ มิ่ ทีเ​่ มือง​ มั​ณ​ฑเลย ใน​ป ๒๕๕๖ นี้ บรรดา​ลกู ศิษย ทีไ​่ มเคย​ไป​ประเทศ​พมา ก็ไดข​ อ​ ความ​เมตตา​จาก​หลวง​ปู ให​ชวย​พา​คณะ​ลูกศิษย​ไป​แสวงบุญ ตาม​ เสนทาง​พระธรรมฑูต​ที่​ประเทศ​พมาอีก แต​ปนี้​คา​ที่พัก คา​อาหาร​ และ​คา​เครื่องบิน​ภายใน​ประเทศ​พมามี​ราคาสูง​มากกวา​ป ๒๕๕๕ ซึ่ง​กำหนด​เดินทาง​ประมาณ​ตน​เดือนพฤษภาคม​นี้ ขอ​นำ​ความ​ประทับใจ​ของ​ลูกศิษย​มา​ให​อาน​กัน จะ​ได​ทราบ​วา​ ไป​ประเทศ​พมา​ไมได​ลำบาก​เหมือน​การ​ไป​ประเทศ​อินเดีย


188

ความ​ประทับใจ​

ใน​การ​ไป​ประเทศ​พมา ป ๒๕๕๕ ประสบการณแ​ ละ​ความ​ประทับใจ​ใน​การ​ไป​ประเทศ​พมากับ​ หลวง​ปู​ตน​บุญ​ใน ป ๒๕๕๕ ก็​เริ่มจาก​ตั้งแต​วันที่​เตรียมตัว​กอน​ ไป​พมา​ครับ คือพอ​ไปถึง​กรุง​เทพ ก็ได​เขาไป​กราบ​หลวง​ปู​ตน​บุญ พรอมกับ​ ได​นำ​ปจจัย​ที่​ได​เตรียม​มาจาก​สงขลา​ที่​หลาย​ทาน​ได​รวม​ทำบุญ​มา​ ไป​ถวาย​หลวง​ปู ซึ่ง​หลวง​ปู​รับ​ปจจัย​ที่​ถวาย​แลวก็​บอกวา “นำ​ปจจัย​นี่แหละ​ไปซื้อของ​รวม​ถวาย​พระ​ศรี​อริย​เมตไตรย​ที่​ พระมหาธาตุ​เจดียช​เวสิ​กอง ถา​ปจจัย​ไม​พอ​ก็​ให​รวม​ทำบุญ​เพิ่ม​ เขาไป​เลย”


189 ผม​ก็​รับคำ​บัญชา แต​ไม​รูวา​ จะ​ไป​ซื้อ​ที่ไหน จึง​ขอให​ไก​ไป​ชวย​ ซื้อ​ดวยกัน ที่​จำได​คือ​ซื้อ แจกัน กระถางธูป เชิงเทียน หนังสือ​ วิ​สุทธิ​มรรค ทศชาติ​ชาดก มิ​ลินท​ ปญหา อภิธรรม ๗ คัมภีร แลวก็​ นำ​ของ​ทงั้ หมด​มา​ใสกลอง​แพ็คใ​ห​ เรียบรอย จะ​ได​ไมมี​ปญหา​ใน​การ​ ขน​และ​โหลด​ของ​เพื่อ​เดิน​ทางใน​ วันรุงขึ้น เมื่อ​ถึง​ประเทศ​พมา ไกด​ที่​ ไดรบั ก​ าร​สงั่ สอน​จาก​หลวง​ปู รับรอง​ดมี าก​และ​พดู ไ​ทย​ชดั ด​ ว ย การ​ เดินทาง​ไมมี​ปญหา​ รถ​บัส​อยาง​ดี​นั่ง​สบาย เดินทาง​ระหวาง​เมือง​ ยางกุง พุกาม มั​ณ​ฑเลย ก็​นั่ง​เครื่องบิน โรงแรม​นอน​สบาย อาหาร​ อรอย คน​พมา​ก็​นาจะเปน​ภาพสะทอน​คน​ไทย​เมื่อ​เมื่อกอน​ที่​เขาวัด​ กันเ​ปนปกติ ใน​วดั ส​ ว นใหญจ​ ะ​เห็นท​ งั้ เ​ด็กว​ ยั รุน ว​ ยั เรียน​มา​สวดมนต​ กัน และ​คน​ทวั่ ไป​จะ​แตงช​ ดุ ป​ ระจำชาติม​ า​ถวาย​ของ​กบั พ​ ระพุทธรูป​ หรือ​กับ​พระมหาธาตุ​เจดีย พระ​ที่​พมา​ไม​โกน​คิ้ว​ และ​สัมผัส​ผูหญิง​ ที่​เปน​ญาติ​ได มี​สามเณรี​ดวย ไม​ทานา​คาที่​ชาว​พมา​ใช​ทา​หนา ก็​ ใช​ดี​นะ​ครับ วันแรก​หลวง​ปู​ได​บอกวา​ให​บำเพ็ญ​บารมี (ผม​แปล​วา​กำลังใจ) เขา​นะ ซึ่ง​ตอนแรก ผม​คิด​แต​จะ​ถายรูป​กับ​จะ​เที่ยว​อยางเดียว​เลย​ ไมไดพ​ จิ ารณา​ธรรม​มาก​นกั หลังจาก​ฟง ค​ ำหลวง​ปเ​ู ตือน​แลว ผม​จงึ ​


190 ไป​ชวย​แมๆ​ ที่มา​ดวยกัน ไป​ถือ​ของ ถายรูป อำนวย​ความ​สะดวก​ ให​นะ ผม​ก็​พยายาม​ยึดถือ​เปนหลัก​ปฎิบั​ติ​ให​เกิด​เปนนิสัย​ตั้งแต​ ตอนนั้น ทุกครั้ง​ที่​ไป​สวดมนต​ที่​พระมหาธาตุ​เจดีย​ตางๆ หลวง​ปู​จะ​ แนะนำ​ใหเ​อา​มอื ข​ า ง​หนึง่ ส​ มั ผัสพ​ นื้ ทีป​่ ระทับใจ​ทสี่ ดุ ก​ ท​็ พ​ี่ ระมหาธาตุ​ เจดีย​ชเวดา​กอง มือ​ขาง​ที่​สัมผัส​พื้น​รูสึก​ถึง​ความ​วาง ความ​โลง ความ​โปรงที่​กวางขวาง​มากอยู​แปบ​นึง ก็​ชวย​ให​ใจ​รูสึก​วาง​ขึ้น​ดวย​ เลย​ครับ สวน​ที่​พระมหาธาตุ​เจดียช​เวสิ​กอง คณะ​ลูกศิษย​ได​ชวยกัน​ จัด​การนำ​เครื่อง​ไทยธรรม​ที่​เตรียม​มา ตั้ง​ถวาย​องค​พระ​ศรี​อริย​ เมตไตรย คืน​นั้น​เปน​คืน​ที่​พระจันทร​เต็มดวง​และ​พระจันทร​อยู​ใกล​ โลก​ดวย ทำให​พระจันทร​ดวง​ใหญ​กวา​ปกติ​ใน​รอบ​หลาย​ป องค​ พระมหาธาตุฯ ​เปน​สีทอง​อราม​ โดยเฉพาะ​ยาม​ค่ำคืน​ที่​ถูก​แสงไฟ​ สาดสอง มีค​ วาม​ประทับใจ​อกี เ​รือ่ ง คือต​ อน​ไป​ชม​การ​ลา ง​พระ​พกั ตรพ​ ระ​ มหามัยม​ นุ ใ​ี น​ตอน​เชาตรู เมือ่ ม​ อง​พระ​พกั ตรท​ า น​นานๆ​แลวเ​หมือน​ ทาน​ยิ้ม​ให แลวก็​รูสึก​เหมือน​เปน​รอยยิ้ม​ของ​เด็กๆ​ที่​สดใส ใน​การ​เดิน​ทางขึ้น​ไป​พระธาตุ​อินทร​แขวน​นั้น​ตอง​นั่ง​รถบรรทุก​ ไมมี​หลังคา โดย​นั่ง​บน​แผน​ไมกระดาน เปนความ​สนุกสนาน​ปน​ หวาดเสียว เพราะ​มองเห็น​หนาผา​ดาน​ขางถนน ทุกคน​จะ​เอียง​ตัว​ ไป​ตามกันเ​พราะ​แรงเหวีย่ ง​ตอน​เลีย้ ว​หกั ศ​ อก​ขนึ้ เ​ขา พอ​สดุ ทาง​ทร​ี่ ถ​ จะ​ขนึ้ ไ​ด ก็ต​ อ ง​ไป​ตอ ด​ ว ย​เสลีย่ ง หรือเ​ดินข​ นึ้ ไ​ป ผม​กบั อ​ กี ห​ ลาย​ทา น​ เลือก​ทจี่ ะ​เดินข​ นึ้ ไ​ป ผม​ไดม​ โ​ี อกาส​เดินข​ นึ้ ไ​ป​พรอมกับค​ อย​ดแู ล​พท​ี่ พิ ซึง่ เ​ดินไ​ป​พกั ไ​ป เหนือ่ ย​พอสมควร​ครับ แตพ​ อ​ไป​นมัสการ​พระธาตุ​


191 อินทร​แขวน ก็​หาย​เหนื่อย องค ​พ ระ​ธ าตุ เ จดี ย  ​สี ท อง ประดิษฐาน​อยู​บน​กอน​ศิลา​ใหญ​ ปดทอง ตั้งอยู​บน​หนาผา​อยาง​ หมิ่ น เหม เ หมื อ น​ล อยอยู  ​บ น​ อากาศ พระธาตุ​อินทร​แขวนนี้​ เปน ๑ ใน ๕ สถานที่​ศักดิ์สิทธิ์​ ที่สุด​ใน​พมา คืน​นั้น​หลวง​ปู​พา​คณะฯ ​สวด มนต บางคน​ก็ ​ซื้ อ ​ร ะฆั ง ​เ ล็ ก ๆ เขียน​ชอื่ แ​ ลวน​ ำไป​ถวาย​โดย​แขวน​ ที่​รั้ว​ซึ่ง​กั้น​โดย​รอบ​พระธาตุฯ ผม​ได​นำ​ทองคำเปลว​ไป​ปด​ที่​หิน​ศิลา​ ใหญน​ ด​ี้ ว ย บรรดา​แมๆ ก​ ฝ​็ าก​ผม​ไป​ปด ทอง​ให​เพราะ​ทนี่ ไ​ี่ มอ​ นุญาต​ ให​ผูหญิง​เขาไป​บริเวณ​ดานใน พอ​เชา​วันรุงขึ้น​คณะ​ศิษย​ก็​รีบ​ตื่น​แตเชา​เพื่อ​ไป​ถวาย​ขาว​ พระธาตุ​อินทร​แขวน​กัน อากาศ​เย็นสบาย​มาก ทาน​ขาวเชา​เสร็จ​ แลว ผม​ก็​เดิน​ลงมา​ขึ้น​รถ​กลับ​ยางกุง การ​ไป​พมา​ครั้งนี้ หลวง​ปู​บอกวา หลวง​ปู​ใหคะแนน​แตละคน​ ไว​ดวย ผม​ก็​ไม​รูวา​ผม​ได​เทาไหร แต​คง​พอที่จะ​ไดรับ​คัดเลือก​ให​ไป​ อินเดีย​นั่นแหละ​ครับ ขอ​ค วาม​สุ ข ​จง​มี ​แก ​ท า น​ทุก เมื่ อ ขอ​น  อ ม​บุ ญ กุ ศ ล​ที่ ​ไ ด ​ท ำ​ ในประเทศ​พมา​ให​กับ​ผูอาน​ทุกทาน​นะ​ครับ

วศิน เต​ชะ​วิวรรธน


192

ด ว ย​ค วาม​เชื่ อ ​ที่ ว  า การ​ไ ด ​ใ ส บ าตร​กั บ ​พ ระ​ที่ ​อ อกจาก​ นิโรธ​นั้น จะ​ไดรับ​อานิสงส​มหาศาล แม​ปรารถนา​สิ่ง​ใด​ก็​จะ​ สมปรารถนา​ไดต​ ามนัน้ หลวง​ปต​ู น บ​ ญ ุ จึงเ​มตตา​เพือ่ ใหท​ กุ คน​ ได​อานิสงส​นั้น โดย​กำหนดการ​เขา​นิโรธ ใน​ชวง​เขาพรรษา ๓ เดือน ๆ ละ ครั้ง


193

งานนิโรธ ใน​เดือน​สิงหาคม ๒๕๕๕ ซึ่ง​ เป น ​เ ดื อ น​แรก​ข อง​ก าร​เข า ​นิ โรธ แม ​ห ลวง​ปู  ​ต  น ​บุ ญ ​เ พิ่ ง ​อ อกจาก​ โรงพยาบาล กลับมา​พักฟน​ที่วัด รางกาย​ยงั อ​ อ นเพลีย ยังไ​มแข็งแรง​ ดี และ​กุฏิ​นิโรธ​หลัง​ใหม​ก็​ยัง​ไม​ เรียบรอย แตห​ ลวง​ปต​ู น บ​ ญ ุ ก​ ไ​็ มเ​ปลีย่ น​กำหนดการ​เขาน​ โิ รธ ครัง้ แรก​ ใน​ปนี้ ดวย​ทาน​ไม​ตองการ​ให​ลูกศิษย​ที่​ตั้งใจ​รอ​ผิดหวัง การ​เขา​นิโรธ ครั้ง​ที่ ๑ ระหวางวันพฤหัสบดี ที่ ๒๓ – วัน อาทิตย​ที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๕ บรรดา​ลูกศิษย และชาวบาน​ตาง​มา​นอม​สง​หลวง​ปู​เขา​นิโรธ


194


195

ตัง้ แตว​ นั พฤหัสบดีท​ ี่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๕ พอ​ถงึ เ​ชาตรูว​ นั อาทิตยท​ ี่ ๒๖ สิงหาคม ผูคน​มากมาย​หลั่งไหล​กัน​เขามา​ที่วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ ราช นำ​อาหาร​ทเ​ี่ ตรียม​ใสบาตร​มา​รอ​กนั เ​ปนแถว​อยาง​เปนร​ ะเบียบ​ เรียบรอย เมื่อ​ทุกคน​ใสบาตร​หลวง​ปู​เรียบรอย​แลว ก็​พาไป​ที่​ศาลา รอ​ หลวง​ปู​ตน​บุญ​มา​แสดงธรรม​เทศนา ซึ่ง​ได​เรียบเรียง​เปน​ตัวอักษร​ เรียบรอย​แลว ใน​บท​ธรรม​ปรับ​จิต การ​เขา​นิโรธ ครั้ง​ที่ ๒ ระหวาง วันพฤหัสบดี​ที่ ๒๗ – วัน อาทิตย​ที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕ ใน​วันพฤหัสบดี​ที่ ๒๗ กันยายน ชาวบาน​จาก​หมูบาน​โพน​ตูม และ​หมูบ า น​ใกลเคียง ไดม​ า​นอ ม​สง ห​ ลวง​ปต​ู น บ​ ญ ุ เ​ขาน​ โิ รธ เหมือน​ เชนเ​ดือน สิงหาคม จนถึงว​ นั อาทิตยท​ ี่ ๓๐ ลูกศิษยท​ งั้ จ​ าก​กรุงเ​ทพฯ


196

และ​จังหวัด​ใกลเคียง ก็​มา​เฝารอ​เพื่อที่จะ​ใสบาตร​หลวง​ปู​ที่​หนา​กุฏิ​ นิโรธ เปน​จำนวน​มาก วัน​นั้น​ บางคน​ไดรับ​พระบรมสารีริกธาตุ​ขณะ​ที่​หลวง​ปู​เดิน​ บิณฑบาต ทำใหต​ า ง​ปต ยิ นิ ดีก​ นั ผูท​ ย​ี่ งั ไ​มไ​ดรบั พ​ ระบรมสารีรกิ ธาตุ ก็จ​ ะ​รบี ป​ ผ​ู า ข​ าว เพือ่ ใหห​ ลวง​ปเ​ู ดินบ​ น​ผา ข​ าว​ของ​ตน ซึง่ ใ​น​บางครัง้ พระบรมสารีริกธาตุ​ก็​จะ​เสด็จ ไมมีใคร​ทราบ​วา​เมื่อใด​พระบรมสารีริกธาตุ​เสด็จ คง​มี​แต​ หลวง​ปู​องค​เดียว​เทานั้นที่​ทราบ​และ​สามารถ​อาราธนา​อัญเชิญ พระธาตุ​มา​ประทาน​ให​กับ​ผู​มี​ศีล​มี​ธรรม


197 การ​เขาน​ โิ รธ ครัง้ ท​ ๓ ี่ ระหวาง วันพุธท​ ๓๐ ี่ ตุลาคม ถึง​วันเสาร​ที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ การ​เขา​นิโรธ​ครั้ง​ที่ ๓ นี้ มี​ผูคน​มากมาย​มา​ นอม​สง​หลวง​ปู​ตน​บุญ​เหมือน​เชนเคย โดยเฉพาะ​ วัน​ออก​นิโรธ เกิด​ปาฏิหาริย​ผูคน​มา​มา​มาย​หลาย​ พัน​คน มาจาก​ทั่ว​ทุก​สารทิศ เขาแถว​รอ​เพื่อที่จะ​ ใสบาตร​หลวง​ปู​ตน​บุญ เปนแถว​ยาว​จาก​กุฏิ​นิโรธ มา​จ นถึ ง ​ศ าลา​บ ริ เวณ​ล าน​พ ระมหาธาตุ ​เจดี ย ​ ศรี​นาคพันธ​ปริวัตร และ​ภายใน​ศาลา​ก็​มี​คน​รอ​ ใสบาตร​กัน​เต็ม​ศาลา หลวง​ปู​บิณฑบาต ตั้งแต ๖ โมง​เชา จนถึง เกือบ ๑๐ โมง​เชา หลวง​ปก​ู ย​็ งั คง​ยมิ้ อยาง​ใจดี ทั้งๆ ที่​ทาน​คง​ออนเพลีย แต​มี​เมตตา​ อยาง​สงู ตอผ​ ท​ู มี่ า​รอ​ใสบาตร ไมวา อ​ ากาศ​จะ​รอ น เดิน​ไกล ใชเวลา​นาน​แคไหน ทาน​ก็​ยัง​ยิ้ม​ให​กับ​ทุกคน หลวง​ปู​ได​แสดงธรรม​โปรด​ลูกศิษย​เชนเคย ซึ่ง​ทำให​ทุกคน​ ซาบซึ้ง​ใน​พระธรรม​ของ​พระพุทธองค จึงได้เรียบเรียงไว้ในบท​ ธรรมปรับจิต นับไ​ดว​ า เปนเ​หตุการณท​ เ​ี่ กิดขึน้ อ​ ยาง​อศั จรรย ไมมใี คร​เคย​เห็น​ คน​มา​รอ​ใสบาตร​มากมาย​ขนาดนี้​มา​กอน และ​ปรากฎ​วา มี​ผู​ไดรับ​ พระบรมสารีริกธาตุ ขณะ​ที่​หลวง​ปู​เดิน​บิณฑบาต​มากมาย มี​หลาย​ คน​เพิ่ง​มา​ใสบาตร​หลวง​ปู​ใน​งาน​นิโรธ​เปน​ครั้งแรก ทำใหเกิด​ความ​ ประทับใจ เกิด​ศรัทธามากขึ้น


198

ตามวิถีแห่งพุทธะ

อินเดีย – เนปาล

ระหว่างวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน – ๓ ธันวาคม ๒๕๕๕ การ​เดินทาง​ไป​แสวงบุญ​ที่​ ประเทศ​อินเดีย​ ​มี​ญาติ​ธรรม​ หรือ​ลูกศิษย​หลาย​คน​ได​เคย​ไป มา​แลว​หลายครั้ง ​


199 แต​มี​ลูกศิษย​หลวง​ปู​อีก​หลาย​ทาน​ไมเคย​ไป ​จึง​มัก​จะ​เรียนถาม​ หลวง​ปู​ตน​บุญ​วา ​“​ปนี้​หลวง​ปู​จะ​พา​คณะ​ลูกศิษย​ไป​แสวงบุญ​ที่​ ประเทศ​อินเดีย​ไหม​เจาคะ”​ ​แต​หลวง​ปู​ไมเคย​ตอบ​ตกลง​สักที ​ใน​ ที่สุด​วัน​ที่​รอคอย​ก็ได​มา​ถึง.​.​.​ ​ใน​ป ​พ.​ศ.​ ​๒๕๕๕ ​หลวง​ปู​ตน​บุญ​เมตตา​พา​คณะ​ลูกศิษย​ ไปรวม​ฉลอง​พุทธช​ยัน​ตี ​๒,​๖๐๐ ​ป ​แหง​การ​ตรัส​รู​ของ​พระพุทธเจา​ ​ที่​ประเทศ​อินเดีย ​และ​เนปาล ​ระหวาง​วัน​ที่ ​๒๔ ​พฤศจิกายน ​–​​ ​๓ ​ธันวาคม ​​๒๕๕๕


200

​โดย​ไป​นมัสการ​สังเวชนีย​สถาน​ทั้ง ​๔ ​สถาน​ที่​ประสูติ ​ตรัสรู​ ปฐมเทศนา ​และ​ปรินิพพาน ​ดัง​พุทธวจนะ​ที่​พระพุทธเจา​ตรัส​กับ​ พระ​อานนท​วา ​ ​“​ดูกอน​อานนท ​ชน​เหลา​ใดเ​ที่ยว​จาริก​ไปยัง​เจดีย ​๔ ​สถาน​ที่​ เหลา​นั้น​แลว​มี​จิต​เลื่อม​ใส ​ชน​เหลา​นั้น​ทั้งหมด​เบื้องหนา​แต​ตาย​ เพราะ​กาย​แตก ​จัก​ไป​ถึง​สุคติ​โลก​สวรรค”​​ ​โดย​มี​แผนการ​เดินทาง.​.​.​ตาม​วิถี​แหง​พุทธะ ​ในประเทศ​อินเดีย​ และ​เนปาล ​ดังนี้ ล​ มุ พิน.ี .​.​สถาน​ทป​ี่ ระสูตข​ิ อง​พระ​สท​ิ ธัตถ​ะราช​กมุ าร จ​ ดุ แ​ รก​ของ​ การ​กำเนิด​ผู​ที่​ประเสริฐ​ที่สุด​ใน​โลก ​พุ ท ธค​ยา.​.​.​ดิน​แดน​ศักดิ์สิทธิ์​ สะดื อ ​โ ลก ​จุ ด กำเนิ ด ​อ งค​ สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา


201 ส​ าร​นาถ.​..​ดิน​แดน​กำเนิด​พระสงฆ​องค​แรก​ใน​พุทธศาสนา ​จุด​ ปฐมเทศนา​ครั้ง​แรก​ของ​ชาวพุทธ ร​ าช​คฤห..​.​ดินแ​ ดน​แหงก​ าร​กำเนิดพ​ ระ​สตู ร ท​ ปี่ ระชุมส​ งั คายนา​ เกิด​วัด​แหง​แรก​ใน​พุทธศาสนา ส​ าวัตถี..​.​เมือง​แหงม​ หา​อบุ าสก อ​ บุ าสิกา ส​ ถานทีท​่ พ​ี่ ระพุทธเจา​ จำพรรษา​นาน​ที่สุด ​ไว​สาลี..​.​เ​มืองหลวง​ของ​อาณาจักร​วชั ช​ ี ​เมือง​แหงก​ าร​ปลง​อายุ​ สังขาร​ของ​องค​พระ​สัมมาสัม​พุทธเจา ก​ ส​ุ น​ิ ารา.​..​นคร​แหงม​ หา​ปรินพิ พาน ท​ ถ​ี่ วายพระเพลิงพ​ ระพุทธ​ สรีระ ​ที่​แจก​พระบรมสารีริกธาตุ ​

​วันเสาร​ที่ ​๒๔ ​พฤศจิกายน ​๒๕๕๕ ​

​พุทธค​ยา

​คณะ​ของ​เรา​ออก​เดินทาง​แตเชา ​โดย​การ​เดินทาง​ครั้งนี้​มี​ ฆ​ราวาส​รว ม​เดินทาง ๕​ ๐ ค​ น พ​ ระสงฆ ๕​ ร​ ปู แ​ มชี ๒​ ร​ ปู ​ข​ นึ้ เ​ครือ่ ง​ ที่​สนามบิน​สุวรรณภูมิ ​เพื่อ​ไป​ลง​ที่​พุทธค​ยา ​เมื่อ​หลวง​ปู​ตน​บุญ​และ​คณะ​มา​ถึง​พุทธค​ยา ​ตอนบาย​หลังจาก​ แวะ​รบั ประทาน​อาหาร พระธรรม​วทิ ยากรก็พ​ า​เขาไป​บริเวณ​ทางเขา​ ทุกคน​ตอง​ถอด​รองเทา​ฝากไวกอน​เขา​ประตู​ไป​ดาน​ใน ​ พอ​เขาไป​ถึง ​ก็​จะ​เห็น​พระ​มหา​เจดีย​พุทธค​ยางดงาม​ และ​สงา​ อยู​ตรงหนา ​มี​คน​มากมาย​ตอคิว​กัน​เขาไป​กราบ​สักการะ​พระพุทธ​ เมตตา ท​ ง​ี่ าม​มาก ม​ ค​ี วามรูส กึ วาทาน​เมตตามาก​จริงๆ​พ​ ระพุทธรูป​


202 องค​นี้ ​เ ป น ​ที่ ​นั บ ​ถื อ ว า ​ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ​ ยิ่ง​ ทั้ ง ​ช าวพุ ท ธ​แ ละ​ฮิ น ดู ​ใ คร​ ได ​ม า​อ ธิ ษ ฐาน​จิ ต ​ข อ​พ ร​สิ่ ง ​ใ ด​ มัก​จะ​ได​สม​ความ​ปรารถนา ซึ่ง​ ประดิษฐานภาย​ใน​พระ​มหา​เจดีย​ พุทธค​ยา ​โดย​พระ​มหา​เจดีย​พุทธ​ ค​ยา​นี้ ​สราง​อยู​ใกล​กับ​ตน​โพธิ์ ​​​​​ ​พระธรรม​วิทยากร พา​คณะ​ ชมรั​ตนฆร​เจดีย ​ลาน​จงกรม​รูป​ ดอกบัว ​ตน​มุจลินท ​โดย​รอบ​พระ​ มหา​เจดีย​พุทธค​ยา ​ทำ​ให​เห็น​คน​ ไมวา​เชื้อชาติ​ใด ​แขก ​จีน ​ธิเบต​ ไทย ​ลาว ​พมา ​ตาง​ก็​สวดมนต​ โดย​ไมสน​ใจ​กัน ​เสียง​ก็​ดัง ​ตาง​คน​ ตาง​สวด ​ตาง​ภาษา แต​ทุกคน​มี​ จิต​ใจเดียว​กัน ​คือ​นอม​ระลึก​ถึง​องค​พระ​สัมมาสัม​พุทธเจา ​ จาก​นั้น​ก็​รวม​กัน​ถวาย​ผาหม ​ณ ​ตน​พระ​ศรี​มหา​โพธิ์ ​เดิน​เวียน เทียน​รอบ​พระ​มหา​เจดียฯ​แลว​เดินทาง​กลับ​โรง​แรม ​ ​คืน​นั้น ​มี​หลาย​ทาน​ได​ไป​นั่ง​สมาธิ​ภาวนา​ที่​ใต​ตน​พระ​ศรี​มหา​ โพธิ์​แบบ​ขามคืน​จน​ถึง​ยาม​รุงอรุณ ​ขอ​อนุโมทนา​บุญ​กับ​ทุกทาน​ที่​ ได​บำเพ็ญ​ภาวนา​ใน​ค่ำคืน​นั้น ​


203

​วันอาทิตย​ที่ ๒ ​ ๕ ​พฤศจิกายน ​๒๕๕๕ พุทธค​ยา

ชวง​เชา ​พอ​มี​เวลา ​ทาง​คณะ​ได​มี​โอกาส​มา​สักการะพระ​มหา​ เจดียพ​ ทุ ธค​ยา​อกี ครัง้ ค​ ราวนีพ​้ อ​มท​ี วี่ า ง​ดา น​ขา ง​ตน พ​ ระ​ศรีม​ หา​โพธิ์​ หลวง​ปพ​ู า​สวดมนตเปนพ​ ทุ ธบูชา ส​ รรเสริญพ​ ระพุทธคุณ ธ​ รรมคุณ​ สังฆ​คุณ ​โดย​ได​มุม​หนึ่ง​ดานซายของตน​พระ​ศรี​มหา​โพธิ์ ​(​สถาน​ที่​ ตรัสรู​ของ​พระพุทธองค ​คน​โบราณ​เชื่อ​กัน​วา​สถาน​ที่นี้​เปน​แผนดิน​ ศักดิส์ ทิ ธิท​์ สี่ ดุ ใ​น​โลก เ​พราะ​เปนท​ ซ​ี่ งึ่ พ​ ระพุทธเจาท​ กุ พ​ ระองคจ​ ะ​มา​ ทรง​ตรัสรู​)​ ​แลว​เรื่อง​มหัศจรรย​ก็​เกิดขึ้น ​ขณะ​ที่​กำลัง​สวดมนต​กัน​อยู​นั้น​ พระบรมสารีริกธาตุ​หลาย​องค​เสด็จ​มาบน​พื้น​ดานหนา​ของหลวง​ปู​ ตนบ​ ญ ุ พ​ ระ​นพิ นธ (​ค​ รูบา​นก​)​ท​ า น​กเ​็ ห็นกับตา ท​ ำ​ใหท​ กุ คน​ตนื่ เตน​ และ​ปติ​กันใหญ​ จาก​นั้น​ก็​ไป​แวะ​ชม​วัด​นานา ชาติ ​อัน​ได​แก ​วัด​ภูฏาน ​วัด​ทิเบต​ และ​ที่​ขาด​ไมได​ก็​คือวัด​ญี่ปุน ​ที่​ มี ​พ ระพุ ท ธรู ป ​ศิ ล า​ส ไตล ​ญี่ ปุ  น​ องค​ใหญมาก ​รายลอม​ดวย​พระ​ อรหันต​สาวก ​๑๐ ​อันดับ ​ซึ่ง​คุณ​ เชิดว​ ฒ ุ ิ ต​ ากลอง​ประจำตัวห​ ลวง​ป​ู ตน​บุญ​ได​ชวย​ถายรูป​ให​กับ​หลาย​ ทาน​ทมี่ า​ทริปน​ ี้ ท​ ำ​ใหห​ นังสือเ​ลม​ นี้ ​มี​ภาพ​สวยๆ​​มา​ให​ชม​กัน ​​


204 ​บางทาน​แวะ​ชอป​ปง​กอน​ขึ้น​รถ​กลับ​โรง​แรม​เพื่อ​รับประทาน​ อาหาร ​เสร็จ​แลวก็​ไดเวลา​เดินทาง​ตอ​ไปยัง​เมือง​ราช​คฤห ​

​วันจันทร​ที่ ​๒๖ ​พฤศจิกายน ​๒๕๕๕ ที่ราช​คฤห ​เขาคิชฌกูฏ และมหาวิทยาลัย​นาลัน​ทา

ราช​คฤห เ​ปนเ​มือง ๑​ ใ​น ๔​ ข​ อง​เมืองมหาอำนาจ​แหงชมพูทวีป​ เปน​เมือง​ที่​พระพุทธเจา​เลือก​ใช​เปน​ที่​ประดิษฐาน​พระพุทธศาสนา​ เปน​เมือง​ที่​มี​ประวัติ​เกี่ยวกับ​พระพุทธศาสนา​มาก​ที่สุด ​ทุกคน​ตื่น​แตเชา ​พระธรรม​วิทยากร​พา​เรา​ไป​ขึ้น​เขา​คิชฌกูฏ​ สวนมาก​จะ​เดิน​ขึ้น​เขา​กัน​ไป ​ยกเวน​บรรดา​แมๆ​ ​เชน ​แม​บุษบา​ ​แม​วิไล​ที่นั่ง​เสลี่ยง ​รวม​ทั้ง​หลวง​ปู​ตน​บุญ​ดวย ​ ท​ างเดินข​ นึ้ เ​ขา​คชิ ฌกูฏคอนขาง​ลาดชันพ​ อประมาณ ร​ ะยะทาง​ โดย​รวม​ประมาณ ​๗๕๐ ​เมตร ​ใชเวลา​ประมาณ ​๒๐ ​นาที ​พอ​ไป​ ถึง​ขางบน​ยอดเขา ​เพื่อ​สักการะคันธกุฎี หลวง​ปู​ได​พา​คณะ​ลูกศิษย​ สวดมนต ​เพื่อ​สักการะและ​ทำสมาธิ​ภาวนา ณ กุฏิ​พระพุทธองค​ จาก​นั้น​ก็​เดิน​กลับ​ลงมา ​พอ​มา​ถึง​ถ้ำ​สุกร​ขา​ตา​ที่​พระสา​รี​บุตร​บรรลุ​ พระอรหันต ห​ ลวง​ปก​ู ลาวนำ​ใหท​ กุ คน​กราบ​นมัสการ​พรอมกับน​ อ ม​ ระลึก​วา​กำลัง​กราบ​พระพุทธเจา ​ที่​พระองค​ประทับ​อยู​เบื้องหนา​ พวกเรา ​พรอมดวย​พระสา​รี​บุตร ​​ ดวย​บุญกุศล​บารมี​ของหลวง​ปู ​และ​สถาน​ที่​อัน​ศักดิ์สิทธิ์ ​ทำ​ ให​ทุกคน​เกิด​ปติ ​น้ำตาไหล​กัน​เกือบ​ทุกคน ​เมื่อ​ออกจาก​ถ้ำ​ทุกคน​


205 ตาง​แยกยาย​กัน​เดิน​ลง​จาก​เขา​ บางทาน​ก็​แวะ​กราบสักการะ​ถํา​ พระ​มหา​โมคคัลล​ า​นะ แ​ ละ​กฏุ พ​ิ ระ​ อานนท พ​ รอม​ชม​จดุ ท​ พ​ี่ ระ​เทวทัต​ กลิ้ง​หิน​ลงมา​ใส​พระพุทธองค​จน​ หอพระ​โลหิต ช​ ม​ทวิ ทัศนข​ อง​เมือง​​ ราช​คฤห​จาก​มุ​มสูง ​​ ​เ ดิ น ทาง​สู  ​น าลั น ​ท า​ซึ่ ง ​เ ป น​ เมื อ ง​ที่ ​ห  า ง​จ าก​น คร​ร าช​ค ฤห​ ประมาณ ​๑๖ ​กิโลเมตร ​และ​เปน​ ​ถิ่นกำเนิด​ของ​พระสา​รี​บุตร ​กับ​ พระ​มหา​โมคคัล​ลา​นะ ​ ​พอ​ไป​ถึง​รถ​บัส​จอด​เรียบรอย​ พวกเรา​ได​เปลี่ยน​บรรยากาศ​มา​ ​นั่ง​รถมา ​(​รถมา​คัน​หนึ่ง ​นั่งได​ ประมาณ ​๓ ​หรือ ​๔ ​คน)​ ​เขาสู​ วิหาร​หลวงพอ​องค​ดำ ​(​ปาง​นั่ง​สมาธิขนาด​ใหญ​พอสมควร ​ไมได​ตั้ง​ อยู​บน​ฐาน​สูง)​ ​ที่​ชาวไทย​และ​ชาวพุทธ​ทั้งหลาย​เลื่อม​ใส​ใน​ความ​ ศักดิ์สิทธิ์ ​สราง​จาก​หิน​ดำ ​ประดิษฐาน​อยู​หลัง​มหาวิทยาลัย​นาลัน​ ทา เ​ลาขาน​กนั ว​ า ศ​ กั ดิส์ ทิ ธิม​์ าก ท​ างการอินเดียเ​คย​พยายาม​จะ​ยา ย​ ไป​รกั ษา​ไวท​ พ​ี่ พิ ธิ ภัณฑ​แตท​ กุ ครัง้ ท​ ด​ี่ ำเนินการ​มกั จ​ ะ​เกิดเหตุอ​ าเพศ​ เสมอ…​ ขณะ​รถมา​วิ่ง​ไป ​ก็​จะ​มี​เด็กๆ​​ตัว​ดำๆ​​วิ่ง​เกาะ​รถมา ​แลว​พูดวา​


206 มหาราชา ​มหา​รานี ​ดวย​แววตา​วิงวอนขอ​เศษ​เงิน ​​ ห​ ลังจาก​รอ​รถมาพ​ า​คน​มา​จน​ครบ ​ต​ า ง​คน​กร​็ บี ป​ ผ​ู า ร​ อง​นงั่ ห​ ยิบ​ หนังสือ​สวดมนต​มา​เตรียมตัว​สวดมนต​กัน​อยาง​รู​หนา​ที่ ​​​ ​จาก​นั้น​ เดินทาง​ดวย​รถมา​สู​มหาวิทยาลัย​นาลัน​ทา ​ซาก​ มหาวิทยาลัย​ที่​รุงเรือง​โดงดัง​ที่สุด​ใน​โลก ​เปน​มหาวิทยาลัย​สงฆ​ที่​ ยิ่ง​ใหญ​เกรียงไกร​ในอดีต​ของ​พระพุทธศาสนา ​ซึ่ง​ได​ถูก​ทำลาย​โดย​ ชาว​เติรก​มุสลิม ​และ​ยัง​ฆา​คณาจารย​และนักศึกษา​ที่​เปน​พระภิกษุ​ จำนวน​หมื่นจน​หมดสิ้น ​แถม​ยัง​เผา​อาคาร​ทั้งหมด​เหลือ​ไว​แต​ซาก​ ปรักหักพัง​ปรากฏ​เปน​รูป​ฐาน​และ​ผนัง​ของ​อาคาร​ยาวเหยียด​ใน​ อาณาบริเวณอัน​กวางใหญ ​ทาง​คณะ​ได​สวดมนต​แผเมตตา​ให​กับ​พระภิกษุ​ทั้งหลาย​ที่​ได​ เสียชีวิต​ที่นี่ดวย​


207 ที่​แหง​นี้​ยังเปน​บานเกิด​และ​นิพพาน​ของ​พระ​โมคคัล​ลานะ​ พระ​อัคร​สาวก​เบื้อง​ซาย ​พระสา​รี​บุตร ​พระ​อัคร​สาวก​เบื้อง​ขวา​​ ผู​ซึ่ง​เปนเลิศ​ที่​สุดทาง​ดาน​ปญญา ​ที่นี่​ยังมี​พระ​สถูปเจดีย​ที่​บรรจุ​อัฐิ​ ธาตุ​ของ​พระสา​รี​บุตร​ปรากฏ​อยู ​เดินทาง​จาก​นั้น​มุงหนา​สู​วัด​เวฬุวัน​หรือมหา​วิหาร​เวฬุวัน ​ที่​ซึ่ง​ เปนตน​กำเนิด​ของวัด​แหง​แรก​ใน​พุทธศาสนา ​ซึ่ง​พระเจา​พิมพิ​สาร​ ทรง​ยก​พระ​ราช​อุทยาน​สวน​ไมไผถวาย​เปน​ที่ประทับ​แหง​แรก​แด​ พระพุทธเจา​และสาวก ​เปน​ที่​ชุมนุม​พระ​สาวก​อรหันต ​๑,​๒๕๐ ​รูป​ ใน​วนั เพ็ญแ​ หงเ​ดือน​มาฆะ ท​ เ​ี่ รียก​การ​ประชุมน​ ว​ี้ า จ​ าตุรงคสันนิบาต​ มูลเหตุ​แหง​พิธี​มาฆบูชา ​ใน​ปจจุบัน​ยัง​ปรากฏ​เปน​อุทยาน​ประวัติ​ ศาสตร​แหง​หนึ่ง​ของ​อินเดีย ​ทำสมาธิ​ภาวนา.​.​.​​ ​ชมชี​วกัมพ​วัน​ของ​หมอ​ชี​วกโก​มาร​ภัจจ ​เปน​ซาก​อาราม​ที่​หมอ​​ ชี​วกโก​มารภัจ​จ​ยก​สวน​มะมวง​ถวาย ​ใน​คราว​ที่​พระ​เทวทัต​ประทุษ ราย​พระองค โ​ดย​กลิง้ ห​ นิ ล​ ง​ใสพ​ ระพุทธองค ท​ ำ​ใหส​ ะเก็ดห​ นิ ก​ ระเด็น​ ถูก​พระบาท​ของ​พระพุทธองค​จนหอ​พระ​โลหิต ​​ จาก​นั้น​เดินทาง​กลับ​ราช​คฤห

​วันอังคาร​ที่ ​๒๗ ​พฤศจิกายน ​๒๕๕๕ ​ราช​คฤห ​ไว​สาลี ​กุ​สิ​นารา ​ ยาม​เชา ​เดินทาง​สู​เมืองเว​สาลี ​เมืองหลวง​ของ​อาณาจักร​วัช​ชี ​ หนึ่ง​ใน ​๑๖ ​แควน​ของ​ชมพูทวีป​สมัยโบราณ ​เมือง​นี้​มีชื่อ​หลาย​ชื่อ​ คือไพ​สาลี ​​ไว​สาลี ​


208

พ​ ระธรรม​วทิ ยากร ไ​ดพ​ า​แวะ​ทำบุญท​ วี่ ดั ไ​ทย​ไว​สาลี เ​จาอาวาส​ และ​พระ​เณร​จำนวน​ประมาณ​ทั้งหมด ​๑๗ ​รูป​ได​ออกมา​รับ​ผาปา​ พรอม​ทั้ง​สวดมนตบ​ทองคุ​ลิมาล ​ทำนอง​พระ​อินเดีย​สวด ​ไพเราะ​ มาก ​จน​ทำ​ให​หลาย​คน​ฟง​แลว​เกิด​ปติ ​น้ำตา​ซึม​กันทีเดียว​ จากนั้น​ได​ขาม​แมน้ำคงคา​ บน​สะพานมหาตมะ ​คาน​ธีเสต​ ซึง่ เปนส​ ะพาน​ทย​ี่ าว​ทสี่ ดุ ใ​น​อนิ เดียส​ กู ส​ุ น​ิ ารา ด​ นิ แ​ ดน​แหงเ​รือ่ งราว​​ เกี่ยวกับพุทธ​ปรินิพพาน ​มหานคร​แหง​แควน​มัลละ ​ยอนรอย​ที่​ พระพุทธองคเ​สด็จจ​ าริกด​ ว ย​พระบาท​เปลาจ​ ากเว​สาลีมา​ทกี่ ส​ุ น​ิ ารา​ พระองคใ​ชเวลา​ถงึ ๙ ​ ๐ วัน เ​ปนเ​สนทาง​ทพ​ี่ ระพุทธเจาไ​ดเ​สด็จผ​ า น​ เปนค​ รัง้ ส​ ดุ ทาย​กอ น​ปรินพิ พาน พ​ ระพุทธองคม​ า​ประทับจ​ ำพรรษา​ หลายครั้ง ​และ​จำพรรษา​เปน​พรรษา​สุดทาย​ที่นี่ ​ ​และ​เปน​ที่​ทรง​ประทาน​อนุญาต​การ​บวช​ภิกษุณี​สงฆ​ครั้ง​แรก​


209 ใน​โลก ​เมือง​นี้​เปน​ศูนยกลาง​การ​ เผย​แ พร ​พุ ท ธศาสนา​ที่ ​ส ำคั ญ​ แหง​หนึ่ง ​และ​เปนตน​กำเนิด​ของ​ การ​ท ำ​น้ ำ มนต ​ใ น​พุ ท ธศาสนา​ เนื่องจาก​ได​เกิด​ทุพิกข​ภัย​ราย​แรง​ ทั่วเมือง​ไว​สาลี​มี​คน​ตาย​มากมาย​ กษั ต ริ ย  ลิ จ ​ฉ วี ​จึ ง ​ไ ด ​นิ ม นต ​ใ ห​ พระพุทธเจา​ได​มา​โปรด​ชาวเมือง​ พระพุทธเจาจ​ งึ น​ ำ​เหลาภ​ กิ ษุ ๕​ ๐๐​ รูป ​เดินทาง​ไป​โปรด​ที่​เมืองเว​สาลี​ และ​โปรด​ให​พระ​อานนท​ทำ​น้ำ​ พระพุทธมนต​ประพรม​ให​ชาวเมืองลิจ​ฉวี​จนทั่วเมือง ​ได​ไปชม​และ​​ศึกษา​บริเวณ​เมือง​ไว​สาลี-​ซาก​พระ​ราช​วัง​ของ​เจา​ ลิจฉ​ วีใ​นอดีต ส​ ระ​โบกขรณีม​ งคล​ทใ​ี่ ชพ​ ระ​ราชพิธม​ี รุ ธาภิเษก ก​ ฏู าคาร​ ศาลาวัด​ปา​มหา​วัน ​อาราม​ที่​กษัตริยลิจ​ฉวี​สราง​ถวาย​พระ​สัมมา​ สัม​พุทธเจา ​ตั้ง​อยู​ใน​ปา​มหา​วัน​ ทางเหนือ​ของ​อาณาจักร​วัช​ชี​ ใน​ ปาห​ มิ าลัย แ​ ละ​พระพุทธองคท​ รง​ประทับอ​ ยูใ​ น​พรรษา​ที่ ๕​ ป​ จ จุบนั ​ เหลือ​เพียง​ซาก​โบราณสถาน​ที่​ประกอบ​ไป​ดวย​สังฆา​ราม ​หองพัก​ หองประชุม ชาว​คณะ​ทกุ ค​ น​ตา ง​เดินช​ ม​และ​ถา ยรูปก​ บั เสา​อโศก​ทม​ี่ ร​ี ปู ส​ งิ หท​ ​ี่ สมบูรณท​ สี่ ดุ แ​ ละ​งดงาม​ทสี่ ดุ ข​ อง​อนิ เดีย อ​ ยูใ​ น​ลกั ษณะ​นงั่ ห​ นั หนา​ ไปทาง​ทิศตะวันออก ​และ​ที่นี่​ยังเปน​ที่​ที่​พระพุทธเจา​ประทาน​การ​ บวช​ภิกษุณี​ให​พระนางป​ชาบ​ดี​โคต​มี​และ​ศากิ​ยานี​บริวาร ​และยัง​มี​


210

วาลิกา​ราม​​สถาน​ที่​ทำ​สังคายนา​ครั้ง​ที่ ​๒ ​ฯลฯ ​พอ​ทาน​ขาว​กลางวัน​เสร็จ ​ก็​เดินทาง​สู​เมืองกุ​สิ​นารา ​สถาน​ที่​ เสด็จ​ดับ​ขันธ​ปรินิพพาน​ของ​พระ​สัมมาสัม​พุทธเจา ​ระยะทาง​ ประมาณ ​๒๗๐ ​กิโลเมตร ​ใชเวลา​เดินทาง​ประมาณ ๕ ​ชั่วโมง ​ใน​ ระหวาง​เดินทาง ​ทุกคน​ก็​พอ​จะ​คาดเดา​ได​วาระหวางทาง​นั้น ​รถ​จะ​ ตอง​จอด​เพื่อ​ให​พวกเรา​ได​แวะ​ชม​วิว​ขางทาง​เพื่อ​ปลดปลอย​ทุกข ​

​วันพุธ​ที่ ​๒๘ ​พฤศจิกายน ​๕๕ กุ​สิ​นารา ​

​เชา​วันนี้ ​ทุกคน​จะ​ได​ถวาย​ผาหม​พระ​พระพุทธไสยาสน​ปาง​ ปรินิพพาน ​ที่สาล​วโนทยาน สาล​วโนทยาน​นเ​ี้ ดิมเ​ปนอ​ ทุ ยาน​ของ​มลั กษัตริย มหา​ปรินพิ พาน​ สถูป ​สถาน​ที่​พระพุทธเจา​เสด็จ​ดับขันธ​ปรินิพพาน ณ ​ใต​ตน​รัง​คู​


211

เปน​สถาน​ที่รองรับ​หมู​พระอรหันต​ครั้ง​ใหญ​ที่​สุด ​เปน​พุทธสถาน​ที่​ พระพุทธองคป​ ระทาน​การ​บวช​ใหส​ าวก​องคส​ ดุ ทาย เ​ปนท​ ท​ี่ รง​แสดง​ พระธรรม​เทศนา​ปจ ฉิมโ​อวาท​คอื “​ท​ า น​ทงั้ หลาย​จง​อยูโ​ ดย​ความ​ไม​ ประมาท​เถิด”​​ ​คณะ​ไดเตรียม​ผา​หมมาถวาย ​โดยทุกคน​ได​รวม​กันจับ​ผา​สีทอง​ เพื่อ​นอมถวาย​ใน​การ​หม​องค​พระพุทธไสยาสน​เปน​แถว​ยาว​ตลอด​ โดย​มห​ี ลวง​ปน​ู ำ​สวดมนตอต​ิ ป​ิ โ ส จ​ น​ถงึ ม​ หา​สงั ฆา​ราม​อนุสรณสถาน​ ดินแ​ ดน​พทุ ธ​ปรินพิ พาน ม​ ล​ี กั ษณะ​เปนท​ รง​บาตร​คว่ำส​ งู ใ​หญ​มีฉ​ ตั ร​ ๓ ช​ นั้ ต​ อน​บนสุดไ​ดพ​ งั ล​ งมา​เมือ่ ป​ ลายป ๒​ ๕๐๖ ป​ จ จุบนั เ​ห็นเ​พียง​ ครึ่งทอน ​ ​จาก​นั้น​เขาสู ​พุทธ​วิหาร​ปรินิพพาน ​สถาน​ที่​ประดิษฐาน​พระ พุทธไสยาสน​ปาง​ปรินิพพาน ​ขนาด​ความ​ยาว ๒๓ ฟุต ​๙ นิ้ว ​องค​ ทาน​งดงาม​สมสวน ​ดวง​ตาหรี่​ลง​เกือบ​หลับสนิท ​สีหนา​แสดง​ความ​


212 หมดกังวล ช​ าวพุทธ​ทไ​ี่ ดม​ โ​ี อกาส​เขาไป​กราบไหวด​ งั ราวกับวาไ​ดม​ า​ นมัสการ​พระ​บรม​ศพ​ของ​พระศาสดา​จริงๆ​ ​และ​ทำ​ให​หวนนึก​ถึง​ ความ​เปน​อนิจจัง ​ทุก​ขัง ​อนัตตา ​เพราะแม​แต​พระพุทธองค​ยัง​ตอง​ จากไป เ​รา​จงึ ค​ วร​ดำรงชีวติ อ​ ยูด​ ว ย​ความ​ไมป​ ระมาท​ตาม​พระ​ปจ ฉิม​ โอวาท​ของ​พระพุทธองค ​ หลวง​ปู​ตน​บุญ​นำ​สวดมนต​และ​กลาว​คำ​อธิษฐาน​ถวาย​ผา​ทุก​ ผืน​ที่​นำมา​เรียบรอย​แลว ​ก็​พา​กัน​ออกมา​ดานนอก ​ดานหลัง​ของ​ สถูป ​ทุกคน​รู​หนา​ที่​คือ​ปู​ผา​รอง​นั่ง​แลว​หยิบ​หนังสือ​สวดมนต​มา​ เตรียมไว ​หลวง​ปู​ได​พา​สวดมนต ​และ​ได​มี​การ​สวด​ขอ​อโหสิกรรม​ ดวย​ซึ่ง​คอนขาง​ยาว​ ​เสร็จ​แลว​ตาง​คน​ก็​แยกยายไป​เวียนเทียน​รอบ​ พระ​สถูป​เพื่อ​เปน​พุทธบูชา (​โชคดี​ที่นี่​มี​หองน้ำ​ไว​บริการ​ดวย)​ ​จาก​นั้น​ได​ไป​สักการะมกุฏพันธน​เจดีย ​สถาน​ที่​ถวายพระเพลิง​ พระ​สรีระ​ของพระพุทธเจา ​ซึ่ง​ปจจุบัน​เปน​ซาก​เจดีย​ทรงกลม ​และ​ พราหมณ​เจดีย ​ซึ่ง​เปน​สถาน​ที่​แจก​พระบรมสารีริกธาตุ​ของ​เหลา​ ​มัลกษัตริย​เพื่อ​นำไป​ประดิษฐาน​ใน​ที่​ตางๆ ​หลังจาก​เสร็จ​พิธี​


213 ถวายพระเพลิงพ​ ระ​สรีระ​ของ​พระพุทธองค พ​ วก​เรารวม​กนั ส​ วดมนต​ และปฏิบัติบูชา ​เสร็จ​จาก​รับประทาน​อาหาร​กลางวัน ​ก็​ออก​เดินทาง​สู​เนปาล​ ระยะทาง​ประมาณ ​๑๖๐ ​กิโลเมตร ​(​ใชเวลา​เดินทาง​ประมาณ ​๔​ ชั่วโมง)​ ​เดินทาง​ถึง​ที่พัก​ระหวางทาง ​แวะ​พัก​วัด​ไทยนว​ราช​รัตนา​ ราม ๙ ​ ๖๐ พ​ วกเรา​ไดแ​ วะ​ดมื่ น​ ำ้ ชา ก​ า​แฟ เ​สิรฟ พ​ รอม​โรตี ซ​ งึ่ เ​ปนว​ นั ​ ทีท​่ กุ คน​ไดท​ าน​โรตีก​ รอบๆ​แ​ สน​อรอย ถ​ กู ปาก​คน​ไทย แ​ ละชอ​ ป​ปง ​ ของ​ที่ระลึก​ของ​อินเดีย ​เชน ​ผลิตภัณฑหิ​มาลา​ยา ​พระพุทธรูป ​B​A​ B​Y​B​ U​ D​ D​ H​ A​ ​ป​ าง​ประสูติ แ​ ละ​ทำ​ภารกิจส​ ว นตัว เ​ดินท​ างผาน​ดา น​ โสเนา​รี เ​พือ่ ข​ า ม​แดน​เขาป​ ระเทศ​เนปาล ซ​ งึ่ เ​ปนเวลา​ดกึ พ​ อสมควร​ จึง​เขา​พัก​ที่โรง​แรม ​K​A​S​A​I​ ​ซึ่ง​เปน​โรง​แรม​ของ​ชาวญี่ปุน ​หองพัก​ กวางขวาง​ทำ​ให​นอน​หอง​ละ ​๓ ​คน ​อบอุน​ดี ​

​วันพฤหัสบดี​ที่ ​๒๙ ​พฤศจิกายน ​๕๕ ​กุ​สิ​นารา ​-​​ลุมพินี ​​​​​​​​​​​​​​​​

ร​ ุงเชา ​พระธรรม​วิทยากร​นำ​คณะ​เดินทาง​สู​กรุง​กบิล​พัสดุ ​เมือง​ แหง​ศากยวงศ ​มี​พระเจา​สุทโธท​นะ​เปน​กษัตริย​ปกครอง​บานเมือง​ ปจจุบัน​มี​สภาพ​เปน​โบราณสถาน ​มี​ซาก​ประตูเมือง​ฝง​ทิศตะวันตก​ ที่​พระ​มหาบุรุษ​เสด็จ​ประพาส​เมือง​พบ​เทวทูต ​๔ ​ซาก​ปราสาท ​๓​ ฤดู ซ​ าก​ประตูเมือง​ฝง ท​ ศิ ต​ ะวันออก​ทพ​ี่ ระ​มหาบุรษุ เ​สด็จอ​ อก​ผนวช​ แลวจึงเ​ดินทาง​ไป​วดั น​ โิ ครธา​ราม ท​ เ​ี่ จาศ​ ากยวงศแ​ ละ​โกลิยว​ งศส​ ราง​ ถวาย​พระพุทธเจา​ใน​คราว​เสด็จนิ​วัติ​พระนคร ​


214 ​วันนี้​พระธรรม​วิทยากร​พา​พวกเรา​สู​สวน​ลุมพินี​วัน ซึ่ง​ตั้ง​อยู​ที่​ อำเภอ​ไภรวา แ​ ควนอูธ ป​ ระเทศ​เนปาล เ​พือ่ สักการะสถาน​ทป​ี่ ระสูต​ิ ของ​พระพุทธองค ​​ สวน​ลุมพินี​วัน ​ในอดีต​เปน​อุทยาน​ตั้ง​อยู​กึ่งกลาง​ระหวางกรุง​ กบิล​พัสดุ ​และ​กรุง​เท​วทหะ ​ใน​แควน​สักกะ​ บน​ฝง​แมน้ำ​โรหิณี​ พระนาง​สิริ​มหา​มายา​พระพุทธ​มารดา​ซึ่ง​ประทับ​อยู​กรุง​กบิล​พัสดุ​ ขณะ​ที่​ทรงพระครรภ​แก​ได​เสด็จ​ประพาส​สวน​พรอมดวย​ขา​ราช​ บริพาร ​ระหวางทาง​เกิด​ประชวร​จะ​มี​พระ​ประสูติกาล​ ราช​บริพาร​ จึงจ​ ดั ท​ ป​ี่ ระสูตถ​ิ วายภาย​ใตต​ น ส​ าละ พ​ ระนางประสูตพ​ิ ระ​โอรส ค​ อื ​ พระสิ​ทธัตถ​ะกุมาร ​ณ ​สถาน​ที่นี้ วิหาร​มหา​มายา​เทวี ​ภาย​ใน​มี​ศิลา​สลัก​ภาพ​พุทธประวัติ​ปาง​ ประสูติ ​เปน​รูป​พุทธ​มารดา​อยู​ใน​พระ​อิริยาบถ​ยืน​ พระ​หัตถ​ขวา​ เหนี่ยว​กิ่ง​ไม​สาละ​อยู​พรอมกับ​พระสนม ​มี​รูป​เจาชาย​สิ​ทธัตถะ​ ออกมา​ทาง​ปสสะ​ขวา​ของ​พระพุทธ​มารดา ​และ​แผน​ศิลาภาย​ใน​ วิหาร ​ที่​สันนิษฐาน​วา​เปน​แผนหิน​ที่​แสดง​รอยพระบาท​ใน​คราว​ ประสูตข​ิ อง​เจาชาย​สท​ิ ธัตถะ ป​ จ จุบนั ถ​ กู เ​ก็บรักษา​ไวท​ เ​ี่ ดิมโ​ดย​ครอบ​ ดวย​กระจก​กัน​กระสุน ​ ​คณะ​ของ​เรา​ได​ไป ​พุทธ​อุทยาน​สวน​ลุมพินี ​ที่​สรางขึ้น​เปน​ อนุสรณสถาน​ที่​สรางขึ้น​ป​ฉลอง​พุทธช​ยัน​ตี ​๒,​๕๐๐ ​ป ​เดิน​มา​จน​ ถึง​วัด​มหา​มายา​เทวี​วิหาร ​ตาง​ก็​เขา​แถว​เดิน​เขาไปภาย​ใน​วิหาร​ มหามายา​เทวี พ​ รอมกับส​ วดมนตบ​ ทอิต​ ป​ิ โ ส ภ​ าย​ใน​มศ​ี ลิ า​สลักภ​ าพ​ พุทธประวัติ​ปาง​ประสูติ ​เปน​รูป​พุทธ​มาร​ดา​อยู​ใน​พระ​อิริยาบถ​ยืน​ พระ​หตั ถข​ วา​เหนีย่ ว​กงิ่ ไ​มส​ าละ​อยูพ​ รอมกับพ​ ระสนม ด​ า น​หนาเปน​


215

รูปเ​จาชาย​สท​ิ ธัตถะ (​พ​ ระ​กมุ าร)​ก​ ำลังย​ า ง​พระบาท ม​ ค​ี น​เขาแ​ ถว​กนั ​ ยาว​เพื่อ​กราบ​สักการะ​แผน​ศิลา ​ขนาด ​๕ ​x​​๕ ​นิ้ว ​มี​รอยพระบาท​ ประทับ​ไว ​(​ขุด​คนพบ​ป ​พ.​ศ.​ ​๒๕๓๙)​ ​พอ​เดิน​ไป​ถึง ​ได​มองเห็น​ รอยพระบาท ​ที่​สันนิษฐาน​วา​เปน​แผนหิน​ที่​แสดง​รอยพระบาท​ใน​ คราว​ประสูติ​ของ​เจาชาย​สิ​ทธัตถะ ​(​ปจจุบัน​ถูก​เก็บรักษา​ไว​ที่​เดิม​ โดย​ครอบ​ดวย​กระจก​กัน​กระสุน​)​ ​พรอมกับ​กราบ​สักการะ​ก็​เกิด​ปติ​ ขึ้น​ทันที ​บางคน​ก็​เกิด​ปติตั้ง​แต​กาว​ขึ้น​ไป​กราบ​หาง​ประมาณ​เกือบ​ ๑๐ ​เมตร ​เมื่อ​สักการะ​แลวก็​ให​เดิน​ออก​อีก​ประตู ​และ​ชม​สระ​โบกขรณี​ ซึง่ เปนท​ ส​ี่ รงน้ำข​ อง​พระนาง​สริ ม​ิ หา​มายา​เทวี ก​ อ น​จะ​มปี ระสูตกิ าล​ พระ​กมุ าร​และ​หลังป​ ระสูตกิ าล จ​ าก​นนั้ พ​ ากันเ​ดินไ​ป​ทเ​ี่ สา​ศลิ าจารึก​ พระเจา​อโศก


216


217 ​เ มื่ อ ​ทุ ก คน​ม า​พ ร อ ม​กั น​ ที่​เสา​ศิลาจารึก​พระเจา​อโศก​ ซึ่ง​มีอายุ​กวา​ ​๒,​๓๐๐ ​ป ​พบ​ ขอความ​ภาษา​พราหมี​จารึก​ไว​ วาเ​ปนส​ ถาน​ทป​ี่ ระสูตข​ิ อง​องค​ สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา​ หลวง​ปไ​ู ดแ​ นะนำ​ใหท​ กุ คน​อธิษฐาน​จติ ใ​หด​ ี ต​ งั้ สัจจ​ ะ​วา จ​ ะ​ทำ​สงิ่ ด​ ๆ ี ​ ใน​อนาคต ​เปรียบ​เสมือนวา​เปนการ​เกิด​ใหม ​มี​ชีวิต​ใหม​ที่​ดีขึ้น ​จะ​ ไดรบั ส​ งิ่ ด​ ๆ ี ​น​ บั แ​ ตว​ นั นีเ​้ ปนตนไป พ​ รอมกับบ​ ริจาค​เงินใ​สเขาไป​ดา น​ ใน​รั้ว​​และ​ได​ถวาย​ผา​สีทอง​พัน​รอบ​รั้ว​เสา​ศิลา​นี้ ​จาก​นั้น​ทุกคน​ได​เดิน​มา​ปูเสื่อ​นั่ง​ใต​ตนไม​ใหญ ​หลวง​ปู​นำ​ สวดมนต ​และ​กลาว​คำ​ขอขมา ​ขอ​อโหสิกรรม ​​ บาย​วันนี้​พวกเรา​เดินทาง​สู​เมือง​สาวัตถี ​ฐาน​ที่มั่น​แหง​กองทัพ​ ธรรม ​สมัย​พุทธกาล ​เปน​เมืองหลวง​ของ​แควน​โกศล​ มี​พระเจา​ ปเสนทิ ​โ กศล​เ ป น ​ก ษั ต ริ ย  ​ค รอง​เ มื อ ง ​เ ป น ​ศู น ย ก ลาง​เ ผย​แ พร​ พระพุทธศาสนา​ที่​สำคัญ​ที่สุด ​เปน​เมือง​ที่​พระ​ผู​มี​พระ​ภาค​เจา​ทรง​ จำพรรษา​อยู​นาน​ถึง ​๒๕ ​พรรษา ​พระพุทธองค​ทรง​ประทับ​บำเพ็ญ​พุทธ​กิจ​ใน​เมือง​นี้​ถึง ​๑๙​ พรรษา ​และ​อยู​ที่​วิหารบุพ​พา​ราม​ของ​นาง​วิสาขา​อีก ​๖ ​พรรษา ​ พระองค​ได​ทรง​แสดง​พระ​สูตร ​พระ​วินัย ​และ​ชาดก​ที่​สำคัญๆ​​ เชน เ​รือ่ ง​นาง​จญ ิ จ​มาณวิกา,​น​ นั ท​มาณพ,​โ​จร​องคุลม​ี าล,​ป​ ฏาจารา​ การ​เกิดขึ้น​แหง​ยักษีณี,​ ​พระ​เทวทัต​ถูก​แผนดิน​สูบ,​ ​มงคลสูตร​ กรณี​ยเมตย​สูตร ​เปนตน ​​


218

​วันศุกร​ที่ ​๓๐ ​พฤศจิกายน ​๒๕๕๕ ลุมพินี ​–​​กุ​สิ​นารา เมือ่ เ​รา​กลับมา​พกั ท​ กี่ ส​ุ น​ิ าราอีกครัง้ ท​ ำ​ใหเ​ชาว​ นั นี้ ค​ ณะ​ของ​เรา​ เลือก​ทจ​ี่ ะ​ไป​ที่ ส​ าล​วโนทยาน อ​ กี ครัง้ เ​พือ่ ส​ กั การะ​มหา​ปรินพิ พาน​ สถูป ​คราวนี้ ​คน​นอย​ไมมาก​นัก ​แต​ก็​มี​คน​เขามา​สักการะ​มากมาย​ หลาย​เชือ้ ชาติ ม​ ท​ี งั้ คน​จนี ด​ ว ย พ​ วกเรา​ตา ง​กแ​็ ยกยาย​เขาไป​สกั การะ​ พรอมกับ​สวดมนต​นั่ง​สมาธิ​ทั้ง​ดาน​ใน ​บางคน​ก็​ออกมา​นั่ง​สมาธิ​ ดานนอก​กนั ท​ กุ คน​เรงค​ วาม​เพียร เ​พือ่ ใ​ชเวลา​ทกุ น​ าทีอ​ ยาง​มค​ี ณ ุ คา​ และคุมคา​ที่มา​อินเดีย​ใน​ครั้งนี้ ตอนบาย ​จึงออก​เดินทาง​สู​เมือง​พารา​ณ​สี ​ใชเวลา​เดินทาง​ ประมาณ ​๘-​๙ ​ชั่วโมง ​เปนการ​เดินทาง​ที่​นาน​ที่สุด​สำหรับ​การ​มา​ ทริปน​ ี้ ถ​ นน​ขรุขระ​ยงิ่ กวาท​ าง​ไป​วดั ป​ า ท​ งุ ก​ ลุ า​เฉลิมร​ าช​เสียอ​ กี โ​ชคดี​ ทีต​่ ลอด​การ​เดินทาง ห​ ลวง​ปไ​ู ดบ​ รรยาย​ธรรม ส​ นทนา​ธรรม แ​ ละ​นำ​ สวดมนต​บท​ตางๆ​​ไปจน​ถึง​กรุง​พารา​ณ​สี ก​ รุงพ​ ารา​ณส​ ี เ​มือง​ศกั ดิส์ ทิ ธิข​์ อง​ศาสนาฮินดู ก​ อ น​สมัยพ​ ทุ ธกาล​ พารา​ณ​สี​เปน​เมืองหลวง​ของ​แควนกา​สี ​มี​ความ​เจริญ​รุงเรือง​มาก​ เปนแ​ หลงชุมนุมข​ อง​เหลาป​ โุ รหิตา​ จารย ฤา ​ ษี ด​ าบส น​ กั พรต น​ กั บวช​ นักปราชญ ​นักศึกษา ​นัก​ทัศนาจร​ และ​คณะ​ผู​แสวงบุญ​ที่​มี​ศรัทธา​ ตอพ​ ระพุทธองค เ​พราะ​ทนี่ ไ​ี่ ดเ​กิดพ​ ระรัตนตรัยข​ นึ้ เ​ปนค​ รัง้ แ​ รก ร​ วม​ ถึง​ผู​ที่บูชา​องค​ศิวะ​มหาเทพ ​และ​พระ​แมคงคา​ สาย​นํา​แหง​ความ​ ศักดิ์สิทธิ์ ​ดัง​คำ​กลาว​ของพลตรี​หลวง​วิจิตรวาท​การ​วา “​พารา​ณส​ ี ค​ อื อ​ นิ เดียแ​ ท ใ​คร​มา​อนิ เดียแ​ ลว ไ​มเห็นพ​ ารา​ณส​ ี ก​ ​็


219 เทากับวาไ​มไดเ​ห็นอ​ นิ เดีย​ใ​คร​อยาก​รวู า อ​ นิ เดียท​ แ​ี่ ทจริงเ​ปนอ​ ยางไร​ ตอง​มา​ดู​ที่​เมือง​พารา​ณ​สี”​​ และ​พารา​ณ​สี​ยังเปน​เมือง​ที่​เกี่ยวของ​กับ​พระพุทธศาสนา ​ ​

​วัน​เสาร​ที่ ​๑ ​ธันวาคม ​๕๕ กุ​สิ​นารา ​–​​พารา​ณ​สี

เ​ชาว​ ันนี้ ​คณะ​ของ​เรา​ไป ​วัดเชต​วันม​ หา​วิหาร ​วดั ​ทยี่​ ิ่งใ​หญ​ที่สุด​ ใน​เมือง​สาวัตถี ​ซึ่ง​เปน​วัด​ที่​สราง​โดย​อนาถบิ​ณฑิ​กะ​มหาเศรษฐี​ กลาว​กัน​วา​ตอง​ขน​เงิน​มา​ปูพื้น​ที่​ให​เต็ม​สวน​จึง​จะ​ซื้อ​ที่​แหงนี้​เพื่อ​ สราง​อุทิศถวาย​แด​พระพุทธเจา ​ สักการะ​สวดมนต ​เจริญ​สมาธิ ​ภาวนา ​ณ ​บริเวณ ​มูล​คันธ​กุฏ​ี ที่​พระพุทธองค​ทรง​จำพรรษา ​สักการะ​ธรรม​ศาลา​ที่​ใหญ​ที่สุด​


220 ธรรมสภา ​และ​สักการะ​กุฏิ​ของ​พระอรหันต​องค​สำคัญๆ​ ​เพื่อ​ขอ​ พร​ตางๆ​ ​เชน ​เมื่อ​ไป​สักการะ​ที่​กุฏิ​พระ​อานนท ​ก็​ขอ​พร​ให​ได​เปน​ ผู​ที่​มี​ความ​จำ​เปนเลิศ​ ​หรือ​ไป​กุฏิ​พระสา​รี​บุตร ​ก็​ขอ​พร​ให​มี​ปญญา​ เป น เลิ ศ ​ห รื อ ​ข อ​พ ร​ใ ห ​ห าย​จ าก​ โรคภัย​ไข​เจ็บ​ที่​กุฏิ​ทาน​องคุลี​มาล​ บาง​ก็​ไป​ขอ​โชคลาภ​ที่​กุฏิ​พระ​สิ​วลี​ กุฏิ​พระ​มหา​โมคคัล​ลา​นะ และ​กุฏิ​ พระ​มหากัสสป ซึ่ง​พระม​หา​กัสสป​ ทาน​เปน​พระ​อาจารย​ของหลวง​ปู​ ใหญ​บรมครู​โลกอุดร ​และ​อาราม​ ฝาย​พระภิกษุท​ เ​ี่ คย​จำพรรษา​ใน​ครัง้ ​ พุทธกาล ​ น​ อกจาก​นนั้ ​วัดเชต​วนั ม​ หา​วหิ าร​​ นี้ ​ยังมี​สถูป​ที่​บรรจุ​พระ​ธาตุ​ของ​ พระอรหันต​ทั้งหลาย ​และ​ยังมี​บอ​ นํา​ที่​พระพุทธเจา​ใช​เปน​ที่​สรงนํา​ ตลอด​ระยะเวลา​ที่​จำพรรษา​อยู ​​​ ​พวกเรา​ได​สักการะ​ตน​อา​นันท​โพธิ์ ​ที่​มีอายุ​ยืนยาว​มา​จน​ถึง​ ปจจุบัน ​สถาน​ที่นี้​จึง​เปน​สถาน​ที่​สำคัญ​และ​ศักดิ์สิทธิ์​อยางยิ่ง​ที่​ ชาวพุทธ​ควร​จะ​ไป​กราบ​สักการะและ​ปฏิบัติ​ธรรม ​​​ ​ออกจาก​วัดเชต​วัน ​ก็​ไป​ชม​คฤหาสน​ของ​ทาน​อนาถบิ​ณฑิก​ เศรษฐี ​พวกเรา​ได​บริจาค​เงิน​ใส​ใน​บริเวณ​บาน​ทาน​ดวย ​และ​ได​ไป​ ชม​สถาน​ทพ​ี่ ระพุทธองคแ​ สดง​ยมก​ปาฏิหาริย ท​ อ​ี่ ยูบ​ น​เนินเขา ห​ รือ​


221 ภูเขา​ที่​ไม​สูง​นัก พระธรรม​วิทยากร​พา​คณะไป​สักการะบูชา​มูล​คันธ​กุฏี ​ที่​พระ พุทธเจาเ​คย​ประทับจ​ ำพรรษา​แรก ธ​ มั เมกข​สถูป ส​ ถาน​ทแ​ี่ สดงธรรม​ อนันต​ลักขณะ​สูตร ​จน​อัญญาโก​ณ​ฑัญญะ​ได​เกิด​ดวงตา​เห็น​ธรรม ​ ​

​วันอาทิตย​ที่ ​๒ ​ธันวาคม ​๕๕ ​​ พารา​ณ​สี ​

​คณะ​ของ​เรา​ได​ไป​ชอป​ปง​ใน​ชวง​เชา​อยาง​สนุกสนาน ​บรรดา​ สาวๆ​ไ​ดล​ อง​ใสช​ ดุ ส​ า หรี เ​ปนส​ าว​ชาว​ภารตะ​กนั อ​ ยาง​คณ ุ ฉ​ ตั ร​ชนก​ คุณ​มิว ​คุณ​เกศ ​และ​ไกด ​หลังจาก​ใชเวลา​ใน​การ​ชอป​ปง​กัน​เสร็จ​ ​เรียบรอย ​พระธรรม​วิทยากร​นำ​คณะของ​ เราไป​สูเมือง​สาร​นาถ ​เขา​ชม​พิพิธภัณฑ​ สาร​นาถ ​ชม​พระพุทธรูป​ปาง​ปฐมเทศนา​ ที่​ได​ชื่อวา​สวย​ที่สุด​ใน​โลก ​และ​มี​ความ​ ​ศักดิ์สิทธิ์ ​ทุกคน​ประทับ​ใจ ​บางคน​สัมผัส​ ได​ถึง​กระ​แสพ​ลานุ​ภาพ​ของ​พระพุทธรูป​ องค​นี้ ​และมี​พระพุทธรูป ​และ​หิน​แกะสลัก​รูป​ตางๆ​​เปน​ศิลปะ​เกา​ แก​ที่​งดงาม ​ ออกจาก​พิพิธภัณฑ​สาร​นาถ ​เดิน​ไป​ไม​ไกล ​ก็ได​ไป​ที่​ซึ่ง​ใน​ พุทธกาล​เรียกวา “​ป​ า อ​ สิ ปิ ต​ น​มฤคทายวัน”​ส​ ถาน​ทแ​ี่ สดง​ปฐมเทศนา​ พระ​ธมั มจักกัปปวัตต​ น​สตู ร ส​ กั การะ​ธมั เมกข​สถูปท​ พ​ี่ ระพุทธเจาท​ รง​


222 แสดง​ปฐมเทศนา​แก​ปญจวัคคีย​ทั้ง ​๕ ​และ​พระรัตนตรัย​ได​เกิดขึ้น​ สมบูรณ​ครั้ง​แรก​ใน​โลก​ที่นี่ หลวง​ปู​ตน​บุญ​ได​นำ​สวดมนต ​และ​ที่​สำคัญ​คือ​การ​สวด​ขอขมา​ อโหสิกรรม ​จาก​ที่​ได​สอบถาม​ผู​รวม​สวดมนต ​ตาง​ก็​เกิดป​ติ ​น้ำตา ไหล ​ขนลุก​บาง ​เปน​ความรูสึก​ที่​ได​นอม​ขอขมา​ขอ​อโหสิกรรม​จาก​ ใจ ​แ​ ลวห​ ลวง​ปไ​ู ดน​ ำ​คณะ​ลกู ศิษยร​ ว ม​เวียนเทียน​รอบ​ธมั เมกข​สถูป​ พรอมกับ​ถวาย​ปจจัย​เปน​พุทธบูชา ​แทน​ดอกไม ​ธูป​เทียน ​โดย​ได​ เสียบ​ตาม​รอง​หิน​ของ​สถูป ​ซึ่ง​มี​ปจจัย​เปน​ธนบัตร​ที่​ทุกคน​ได​รวม​ ถวาย​เปน​จำนวน​มาก ​หลาย​รอย​ฉบับ ​หลวง​ปู​ได​ทำ​ถวาย​อยาง​ไม​ รูสึก​เหน็ดเหนื่อย ​จน​เสร็จ​สมบูรณ ​เปนความ​ประทับ​ใจ​อยาง​มาก​ ที่​ครูบาอาจารย​ได​ทำ​ให​ลูกศิษย​เห็น​ถึง​ความ​เพียร​ใน​การ​ทำ​ถวาย​ เปน​พุทธบูชา ​​

​วันจันทร​ที่ ​๓ ​ธันวาคม ​๕๕ ​​ พารา​ณ​สี ​

เ​วลา ๐​ ๔.​๐๐ น​ .​​ว​ นั นีเ​้ ปนอ​ กี ว​ นั ท​ ท​ี่ กุ คน​รอคอย ​แ​ มนำ้ คงคา.​..​ ​สถาน​ที่​ที่​เหมาะสำหรับ​ชาวพุทธ​จะ​ได​เรียนรู​ชีวิต​ของ​มนุษย​อยาง​ แทจริง​ เปน​คัมภีร​ชีวิต​ที่​ยาก​จะ​หา​ที่ไหน​ชม​ได ​เรา​จะ​ได​ชม​กองไฟ​ ศักดิ์สิทธิ์​ที่​ไมเคย​ดับ​มอด​ตลอดระยะเวลา​กวา ​๔,​๐๐๐ ป ​ทุกคน​พรอมเพรียง​กัน​ที่​รถ ​พระธรรม​วิทยากร​พา​คณะ​เรา​นั่ง​ รถ​มาจน​ใกล​ทา​น้ำมาก​ที่สุด ​จาก​นั้น​ตอง​เดิน​มา​ที่​ทา​เพื่อ​ลงเรือ​ ลองแมน้ำคงคา ​ซึ่ง​ชาวฮินดู​เชื่อ​ถือวา​เปน​แม​นํา​ศักดิ์สิทธิ์​ เพราะ​


223

ไหล​มาจาก​มวยผม​ของ​องค​พระศิวะ ​ ริมฝง​แม​นํา​คงคา​อัน​ศักดิ์สิทธิ์ ​บริเวณ​ที่​ทามณิ​กรรณิการ​ หรือ​ ทา​ตุมหู​พระศิวะ​ ที่​ได​ชื่อวา​ทา​ตุมหู​พระศิวะ ​เพราะ​มี​เรื่องเลา​กัน​ มา​วา ​ทา​นี้​เปน​ทาน้ำ​ที่​พระศิวะ​มา​อาบน้ำ ​เมื่อ​ทรง​อาบน้ำ​เสร็จ​ก็​ ขึ้น​มาจาก​แมน้ำ ​ปรากฎ​วา​ตุมหู​ของ​พระองค​หลน​หาย​ หา​เทาไร​ก็​ ไม​เจอ ​ ​พอ​เดิน​มา​ถึง ​ก็​เห็น​ฤาษี​กำลัง​นั่ง​สวดมนต​เพื่อ​ไหว​สุริยะ​เทพ​ แลว​พอ​พวกเรา​มา​กัน​ครบ ​ก็​แยกยาย​กัน​นั่ง​เรือ ​โดย​แบง​เปน ​๒ ​ลำ​ เรือก​ แ​็ ลนไ​ป​ชา ๆ​ไ​มไ​กล​จาก​รมิ ฝง แ​ ลวท​ กุ คน​กล​็ อยกระทง​ทม​ี่ เ​ี ทียน​ ดอกไม​เพื่อ​ขอขมา​ตอ​พระ​แมคงคา ​ขณะ​ที่นั่ง​บน​เรือ​มี​นกนางนวล​ ฝูง​ใหญ​บิน​มา​ใกล​มาก ​และ​ได​ชม​พระอาทิตย​ขึ้น​ริมฝง​แมน้ำคงคา​ เปน​ภาพ​ที่​สวยงาม​ตาม​ธรรมชาติ ​


224 แต​เมื่อ​หันไป​มอง​ที่​ริมฝง ​ชาว​อินเดียก็​ลง​อาบ​นํา​ชำระ​รางกาย​ เพื่อ​รักษา​โรคภัย ​หรือ​ทำพิธี​อาบ​นํา​ลางบาป ​และ​คน​อีก​กลุม​กำลัง​ เผาศพ​และ​เขีย่ ซ​ าก​ทเี่ หลือล​ ง​ไป​ลอย​ใน​แมน​ าํ ค​ งคา ซ​ งึ่ เ​ชือ่ ว​ า จ​ ะ​ได​ สง​ผูตาย​ขึ้น​สวรรค ​ภาพ​ที่​เห็นกับตา​นั้น​ให​ความรูสึก​แตกตางจาก​ ภาพ​ใน​รูป​ที่​เคย​เห็น ​ชวน​ให​นึก​ปลงสังขารยิ่ง​นัก ชีวิต​คน​เรา​สุดทาย​คือ​เชิงตะกอน ​สักวัน​ก็​จะ​ถึงเวลา​ที่​ราง​ของ​ เรา​จะ​ไป​อยู​บน​เชิงตะกอน​เชน​นั้นเหมือนกัน ​เรา​จึง​ควร​เรง​ปฏิบัติ​ ธรรม ​เพราะ​เรา​ไม​อาจ​รู​ได​วา​วันสุดทาย​ของ​เรา​ใน​ชาติ​นี้​จะ​จบ​เมื่อ​ ใด ​ลม​หาย​ใจ​สุดทาย​ของ​เรา​จะ​หยุด​เวลา​ใด... ใ​น​ทสี่ ดุ ก​ ถ​็ งึ เวลา​ทต​ี่ อ ง​จาก​ดนิ แ​ ดน​แหงพ​ ทุ ธะ​ทป​ี่ ระเทศ​อนิ เดีย​ เพื่อเดินทาง​กลับ​ประเทศ​ไทย​ ซึ่ง​ถือไดวา​เปน​ดิน​แดน​แหง​พุทธะ​ เชน​เดียว​กัน ​


225 การ​เ ดิ น ทางตาม​วิ ถี ​แ ห ง​ พุทธะ​ครั้งนี้ ​อาจจะ​ไมสบาย​ มาก ​แต​ก็ไมได​ลำบาก​อยาง​ที่​ คิด​ไวกอน​เดินทาง ​ซ้ำ​ยัง​สราง​ ความ​ประทับ​ใจ ​สุข​ใจ ​อิ่มเอม​ ใจ ค​ วาม​ปต อิ ยาง​ไมรล​ู มื เลือน​ ทำ​ใหท​ กุ คน​ม​คี วาม​รสู กึ วา ถ​ า ​มโ​ี อกาส​จะ​ขอ​ติดตาม​หลวง​ปต​ู น ​บญ ุ ​ ไป​แสวงบุญ​ที่​อินเดีย​อีก ​​ ไ​มเคย​คดิ อ​ ยาก​จะ​ไป​อนิ เดีย ด​ ว ย​ขอ มูลท​ ไ​ี่ ดร​ บั ฟงม​ า ท​ งั้ ป​ ญ  หา​ ใน​เรื่อง​หองสุขา ​กับ​ความ​สกปรก ​แต​แลวดวย​บารมี​ของหลวง​ปู​ทำ​ ให​ได​ไป​ใน​ครั้งนี้ ขอ​กราบเทา​หลวง​ปู​ผู​สอง​ทาง ​นำทาง​ให​ไป​สราง​ บุญบารมี ​พรอมกับ​ขอขมา ​ขอ​อโหสิกรรม ​กับ​เจากรรม​นายเวร​ที่​ เรา​ได​เคย​ลวงเกิน​ไว​ใน​อดีตชาติ ​พรอมกับ​ขอ​นอม​ถวาย​บุญกุศล​ที่​ ได​ทำ​มา​นอยนิด ​แด​หลวง​ปู​ใหญ ​หลวง​ปู​สิงขร ​หลวง​ปู​ตน​บุญ ​ที่​ ศรัทธา​อยาง​มั่นคง ​ขอ​แนะนำ​ผู​ที่​ยัง​ไมเคย​ไป​อินเดียวา​ ขอ​ให​ทาน​พิจารณา​ เดินทาง.​..​ต​ าม​วถิ แ​ี หงพ​ ทุ ธะ​ทป​ี่ ระเทศ​อนิ เดีย –​ ​เ​นปาล ก​ บั ห​ ลวง​ป​ู ตนบ​ ญ ุ ส​ กั ครัง้ ใ​น​ชวี ติ ค​ วาม​ประทับใ​จ ค​ วาม​ปต ิ ย​ อ ม​เกิดข​ นึ้ กับท​ า น​ อยาง​แนนอน ​​ ​ ​เรียบเรียง​โดย ​มณีทอ​แสง

​สาวกพระสุ​มงคล​โพธิญาณ

*หมายเหตุ ​ถา​ลำดับ​เวลา ​หรือชื่อ​สถาน​ที่​ผิดพลาด​ประการ​ใด ​ก็​ขออภัย​มา ​ณ ​ที่นี้


226

​สวัสดี

ขอ​ความ​ดี​จง​มี​แก​ทาน​ทุกเมื่อ ประสบการณ ​ความ​ประทับ​ใจ​ และ​สิ่ง​ที่​ได​จาก​การ​ไป​ อินเดียค​ รัง้ นี้ เ​ริม่ ต​ งั้ แ​ ตย​ งั ไ​ มไดไ​ ป​อนิ เดีย เพราะ​โปร​แกรม​ทวั ร​ มี​การ​เปลี่ยน​แปลง​ตลอด​เวลา ​ ทัง้ ก​ าร​เลือ่ น​วนั เ​ลือ่ นเวลา เ​ปลีย่ น​สายการบิน เ​ปนการ​ทดสอบ​ ศรัทธา​วา​มี​กำลัง​ใจกลา​แข็ง​ไม​หวั่นไหว​แคไหน ​แต​สวนตัว​ผม​ไมได​ เปนไร​มาก​เพราะ​ผม​มี​เวลา​วาง​มาก ​เปลี่ยน​ยังไง​ผม​ก็​ไปได​อยู​แลว​ ทั้งนี้​ทั้ง​นั้น ​ตอง​ขอบคุณ​ผู​ประสานงาน​อยาง​พี่​ทิพย​ที่​ตอง​เปน​ ที่รองรับ​อารมณ​จาก​ผู​รวม​คณะทัวร ​ทั้งๆ ​ที่​บางอยาง​ก็​เพิ่ง​รู​แลวก็​


227 รีบ​แจง​ให​ทราบ ​เมื่อ​ถูก​ถาม​วา​ทำไม​เปน​ แบบ​นั้น​แบบนี้ ​ดวย​หนา​ที่​จะ​ตอบ​วา​ไมรู​ ก็​ไมได​ก็​เลย​ตอง​หู​ชา​ไป​พัก​ใหญๆ​​จน​ถึง​ วัน​ที่​ได​ออก​เดินทาง​นั่น​แล ​ ​เมื่อ​ถึง​อินเดีย ​สิ่ง​ที่​สม​คำ​ร่ำลือ​คือ​ฝุน​ อากาศ​แหง ​ผม​ก็​หลับ​ใน​รถ ​แลว​ไมได​ ปดปาก​เลย​เจ็บค​ อตัง้ แ​ ตว​ นั แ​ รก ก​ เ​็ ลย​รวู า ​ อะไร​ที่​ปอง​กัน​ได​ก็​ปอง​กัน​กอน ​หลังจาก​ นั้น​ถา​ขึ้น​รถ​ครั้ง​ไหน ​ก็​จะ​เอา​ผาปดปาก​ ทุกครัง้ ไ​ป แ​ มจ​ ะ​หลับเ​ผลอ​อา ปาก​บา ง​กไ​็ ม​ นา​เกลี​ยด ​สวดมนต​ใน​รถ​ก็​ปอง​กัน​ฝุน​เขา​ ปาก​ไดบ​ างสวน เ​พือ่ ใ​หไ​มเ​จ็บค​ อ​มากกวา​ เดิม ​เ​ที่ยว​ก็​สนุก ​แลวก็​ไม​ทำตัว​เปนภาระ​ ใหผ​ อู นื่ ต​ อ ง​กงั วล​วา เ​รา​ไมสบาย ฉ​ ะ​นนั้ ก​ นั ​ ไวกอน​ดีกวา ​ กับเ​รือ่ ง​หอ งน้ำ ต​ รงไหน​ทจี่ อดรถ​เพือ่ ​ จัดการ​ปลดทุกข ผ​ ม​กจ​็ ะ​ลง​ไป​ดว ย ป​ วด​มาก​ปวด​นอ ย​กป​็ ลอย​ไวกอ น​ กับไ​ดย​ ดื เ​สนสาย​บา ง​กจ​็ ะ​ไมเ​มือ่ ย​เกินไป​เวลา​นงั่ ร​ ถ​นานๆ​เ​คย​กงั วล​ และ​สงสัยม​ า​นาน​แลวว​ า​ถา​ปวดหนัก​แลวไ​มม​หี อ งน้ำ​จะ​ทำไง ​เวลา​ เดิน​ธุดงค​เขา​ทำ​กัน​ยังไง ​เมื่อ​ถึงเวลา​ที่​ไมมี​ทางเลือก​ก็​ตอง​ทำ​ครับ ​ คือเ​มือ่ ต​ ดั สินใ​จ​ไดแ​ ลวว​ า ต​ อ ง​ทำ​ใหร​ บี ล​ งจากรถ​อยาม​ วั แ​ ตน​ งั่ ​ ทน​อาย​และ​กังวล​อยู​เพราะ​เรา​จะ​ได​เลือก​ทำเลดี​ดี​ได​กอน ​เมื่อ​เรา​ กำลัง​ทำ​ธุระ​อยู ​สิ่ง​ที่​เรา​ไม​อยาก​ให​มี​คือ​มี​คน​มา​ก็​จะ​มี​คน​มา​ครับ​ ถึง​จะ​มา​ทัวร​เดียว​กัน​จะ​ยิ้ม​ให​ก็​อาย ​จะ​บอกวา​มี​คน​อยู​อยา​เขามา​


228 ก็​เห็น​แกตัว​เกินไป ​ดัง​นั้น​เรา​ก็​รีบทำ​ธุระ​ของ​เรา​ให​เสร็จ​ครับ ​เมื่อ​มี​ ประสบการณ​ปลอย​กลาง​ทุง​ไป ​๒ ​ครั้ง​ก็​คลาย​ความ​กังวล​เรื่อง​นี้​ไป​ เลย​ครับ ​จะ​ไป​ธุดงค​ผจญภัย​ที่ไหน​ผม​ไม​กังวล​เรื่อง​หองน้ำ​อีก​แลว​ ครับ ​ถา​จะ​เตรียมตัว​ให​ดีขึ้น​ก็​ตอง​พก​ชอน​พรวนดิน​เผื่อ​ได​ขุด​หลุม​ แลว​กลบ ​ ทีนี้​เรื่อง​อาหาร​ ได​ทานอาหาร​ที่​โรง​แรม​ทุก​มื้อ ​กับ​ที่วัด​ไทย​ กุ​สิ​นารา ​๒ ​มื้อ ​กับ​อาหารวาง ​๒ ​ครั้ง ​ที่วัด​ไทย ​๙๖๐ ​ผม​ได​เปน​ แชมปท​ าน​โรตีก​ รอบ​ไป ๑​ ๔ ช​ นิ้ เ​นือ่ ง​ดว ยวาค​ รัง้ แ​ รก​กอ น​เขาเ​นปาล​ ผม​ทาน​ไป ​๑๐ ​ชิ้น ​เพราะ​ทาน​เผื่อ​แมๆ​ที่​ถือศีล ​๘ ​ยืนยัน​วา​ทาน​ ไดค​ รับ ร​ สชาติด​ ี ค​ รัง้ หลังก​ ลับจ​ าก​เนปาล​กด​็ ว ยวาม​ ส​ี ภุ าพบุรษุ ส​ อง​ ทาน ค​ อื พ​ อ ต​ งิ่ ​กับอ​ า​เตีย๋ ว​พีเ​่ อกซม​ า​ทาน​ดว ย​แลวก็อ​ ยาก​ลองดูว​ า ​ ใคร​ทาน​ได​มากกวา​บวก​กับ​มี​พี่ๆ​อุตสาห​ไป​นำมา​ให​ผม​ทาน ​ผม​ก็​ เลย​ทาน​ใหห​ มด​เลย​เพือ่ ต​ อบ​แทน​นำ้ ใ​จ น​ ำ้ ใ​จ​จากทุกทาน​กเ​็ ลย​เปน​ น้ำหนัก​ที่​เพิ่ม​ขึ้นทุกวันนี้ ​อาหาร​ก็​เลย​อรอย​ทุก​มื้อ​ครับ ​ ที่พัก​สบาย​ทุก​ที่​ครับ ​โดยเฉพาะ​ที่​เนปาล ​สุขภัณฑ​มี​การ​อุน​ให​ ที่นั่ง​รอน ​แลวก็​มี​ที่​ลาง​ออกมา​ฉีด​จาก​สุขภัณฑ​ดวย ​ไฮเทค​มากๆ​ ครับ ​มา​เขาเรื่อง​ธรรมะ​ที่​ได​เรียนรู​กัน​บางครับ ​ ผ​ ม​ไดเ​รียนรูจ​ าก​นอ ง​โปง ค​ อื ว​ นั ท​ จ​ี่ ะ​ขนึ้ เ​ขา​คชิ ฌกูฎ เ​รา​สอง​คน​ พีน่ อ ง​กน​็ งั่ เลนใ​น​หอ ง​จน​ถงึ เวลา​นดั แ​ ลวก็อ​ อกมา​ครับ ร​ ะหวาง​เดิน​ มา​รสู กึ วาผ​ ม​มา​กบั ค​ ณะทัวรท​ เ​ี่ รียบรอย​มาก​ครับ ท​ กุ คน​นงั่ ก​ นั เ​งียบ​ ไมม​ เี สียง​เลย ผ​ ม​ออกมา​เจอ​ตรง​โถง​ดา นหนาถ​ งึ ร​ วู า ไ​มมใ​ี คร​อยูแ​ ลว​ ก็​คิด​ตอวา​ชาง​ตรงเวลา​จริงๆ ​ขึ้น​รถ​กัน​หมด​แลว ​เรา​ก็​รีบ​ดีกวา ​เขา​ ได​ไม​รอ​กัน​นาน ​


229

พอ​ออก​ประตู​ไป​เห็น​แต​ความ​วางเปลา​ถึง​รูวา​เขา​ไม​รอ​ครับ ​ไป​ กัน​หมด​แลว ​ไมได​คิด​มา​กอน​เลย​วา​จะ​ถูก​ทิ้ง ​ตอน​นั้น​งง​มาก ​มอง​ หนา​โปง​แลว​ จะ​ทำไง ​ก็​คิดได​วา​เขา​ไป​เดี๋ยว​ก็​กลับมา เ​ที่ยง​ก็​บอก​ โปง​วา​กลับ​ไป​ที่​หอง​แลว​กัน ​แต​โปง​บอก​ไมได ​มาเ​ที่ยว​แลวก็​ตอง​ ไป​ให​ครบ ​ก็​เลยไป​พยายาม​พูด​กับ​เด็ก​ผูชาย​ที่​ดู​แล​เคานเตอร​สาม​ คน เ​ขา​กถ​็ าม​วา ร​ เ​ู บอรไ​กดไ​หม เ​รา​ทงั้ คูก​ ไ​็ มรู แ​ ลวเ​บอรค​ น​อนื่ ร​ ไ​ู หม​ เรา​กไ​็ มรอ​ู กี ต​ อน​นนั้ ก​ ค​็ ดิ จ​ ะ​บอก​โปงว​ า พ​ อ​เถอะ เ​รา​ไมต​ รงเวลา​เอง​ ไป​รอ​หนอย​ก็ได ​ แ​ ตอ​ ยูๆ  ​ก​ ม​็ ค​ี วามคิดห​ นึง่ ข​ นึ้ ม​ า​วา ถ​ า เ​รา​ขดั แ​ ยงก​ นั เอง ค​ น​ทจ​ี่ ะ​ ชวย​เขา​ก็​จะ​ไม​อยาก​ชวย ​งั้น​มา​พยายาม​ดวย​กัน​ให​ถึง​ที่สุด​นี่​แหละ​ จะ​เปน​ยังไง​คอย​วา​กัน ​โปง​ก็​เสนอ​วา​งั้น​มี​ทาง​อื่น​ที่​จะ​ไป​ไหม ​เขา​ก็​ บอกวาม​ ล​ี า​เทียม​เกวียน ผ​ ม​กค​็ ดิ วาไ​มไหว ก​ วาจ​ ะ​ไป​ถงึ ค​ น​อนื่ ค​ ง​จะ​ เตรียม​กลับ​แลว ​แลว​มี​รถ​ไหม ​เขา​ก็​วา​ไมมี​รถยนต​เลย ​


230

ตอน​นั้น​อีก​คน​ก็​พยายาม​โทร​ทุก​เบอร​ที่​มี​และ​หาได ​จน​โทร​ติด​ เบอร​ไกด ​ไกด​บอกวา ​เพราะ​มี​รถ ​๒​ ​คัน ​คัน​นี้​ก็​นึก​วา​อยู​คัน​โนน​ สุดทาย​ก็​คุย​ตกลงวา​รถ​บัส​จะ​กลับมา​รับ แต​นอง​อีก​คน​ก็​ใจดี​เอา​รถ​ มอเตอรไ​ซดม​ า​สง ก​ ไ​็ ปพบ​รถ​บสั ท​ ค​ี่ รึง่ ทาง แ​ ลวก็ข​ นึ้ เ​ขา​ตามทันค​ ณะ​ ของ​เรา ​ เรื่อง​นี้​สอน​ให​รูวา ​คน​อินเดีย​ที่​มี​น้ำ​ใจ​ชวย​โดย​ไม​เอย​ปาก​ขอ​ เงิน​เลย​ยังมี​อยู ​ผม​เลย​ให​ทิป​ไป ​๑,​๐๐๐ ​รูป​บอกวา​ไป​แบง​กัน​สาม​ คน ​ตอน​นั้น​ก็​คิดวา​ไมเปนไร ​พัน​รูป​เอง ​คิด​กลับเปน​เงิน​ไทย​ตั้ง​ ประมาณ​หา​รอย​บาท ​เปน​ครั้ง​แรก​ที่​ให​ทิป​เยอะ​ขนาดนี้ ​ อีก​อยาง​คือ​เรา​อยา​เพิ่ง​ยอม รับ​สภาพ​อะไร​งาย​เกินไป​โดย​ไม​ ลอง​พยา​ยาม​ดูกอน ​เพราะ​เรา​ก็​จะ​เลือก​ทาง​ที่​งาย​ที่สุด​โดย​ไม​ลอง​ ทาง​ที่​ยาก​เลย ​ขอ​สำคัญ​ไมได​อยู​ที่วา​ผล​ของ​ความ​พยายาม​ตอง​ ออกมา​ตาม​ที่​คิด ​สำคัญ​ที่​เรา​พยายาม​นน่ั ​แหละ ​เรา​ลอง​พยา​ยาม​ ทำ พ​ ยายาม​แก พ​ ยายาม​ลอง​ผดิ พ​ ยายาม​ลอง​ถกู แ​ มท​ กุ ๆ​ครัง้ ผ​ ล​ จะ​ออกมา​ไมดเ​ี ลย แ​ ตเ​รา​กไ็ ดล​ อง​ทดสอบ​ดว ย​ตวั เอง อ​ ะไร​ทไ​ี่ มใ​ชก​ ​็


231 จะ​หลีก​เลี่ยงทาง​นั้น​ไม​ไป​พยายาม​อีก ​ก็​ พยายาม​หา​หนทาง​เสนทาง​ใหมๆ ข​ นึ้ ม​ า​ เพือ่ ท​ ำ​ใหด​ ขี นึ้ เ​พราะ​เรา​ไดฝ​ ก นิสยั ค​ อื ม​ ​ี ความ​พยายาม​ติด​ตัวเรา​ไป​แลว​นั่นเอง ​​ ​ทีนี้​ธรรมะ​ที่​ได​เรียนรู​จาก​การ​ไป​ทำ สมาธิท​ พ​ี่ ทุ ธค​ยา​ใน​ยาม​คำ่ คืน​ตัง้ แ​ ตส​ าม​ ทุม​ถึง​ตี​สี่ ​ตอน​แรก​กอน​จะ​ไป​ใน​รถ​บัส​ ที่นั่ง​มา​ก็​เห็น​มี​คน​จะ​ไป​ทำสมาธิ​ทั้งคืน​ ดวย ​ก็​คิดวา​มี​เพื่อน​ไป​พรอม​กัน​แลว ​ถึง​ จะ​ไมได​เจอ​อีก​กลุม​ที่​จะ​ไป​ทำสมาธิ​จาก​บัส​สอง​ก็​ไมเปนไร ​แต​แลว​ หลาย​คน​ก็​เปลี่ยน​ใจ​เมื่อ​เจอ​สภาพอากาศ​ที่​เย็น ​กับ​เมื่อหลวง​ปู​ บอกวา ​ถา​ไม​ตั้ง​ใจ​ไป​ปฏิบัติ​ธรรม ​เทพ​ทั้งหลาย​เขา​ไม​พอ​ใจ ​เลย​ ไมมี​ใคร​ไป​เลย ​ ตัวผมเอง ​ดวย​ความ​ที่ตั้ง​ใจ​แลว​ บวกกับ​เชื่อมั่น​วา​พอ​แม​ ครูบาอาจารย​หลวง​ปู​ตน​บุญ​สอน​มา​ดี ​ผม​คง​ไม​ทำ​ให​เสียชื่อ ​คง​ทำ​ ใหเ​ทพ​เขา​พอ​ใจ​ได ก​ ย​็ งั ย​ กมืออ​ ยูค​ น​เดียว ห​ ลวง​ปก​ู ถ​็ าม​วา ไ​มเ​ปลีย่ น​ ใจ​นะ ถ​ า ไ​มเ​ปลีย่ น​ใจ​กด็ แ​ี ลว เ​มือ่ ถ​ งึ โ​รง​แรม​กร​็ บี เ​ตรียมตัว ไ​กดก​ ร​็ บี ​ ให​ผม​ไป ​ผม​ก็​รีบ​ดี​ที่​ไมลืม​อะไร ​ผม​ตอง​นั่ง​รถรับจาง​กับ​ไกด เ​มือ่ ถ​ งึ พ​ ทุ ธค​ยา​และ​ตอ ง​เดินเ​ขาไป​คน​เดียว​แลว ค​ น​เยอะ​ดค​ี รับ​ เปน​คน​ไทย​ก็​หลาย​กรุป ​ก็​เดิน​สำรวจหา​ทำเล​เหมาะๆ​​วา​ที่ไหน​ถึง​ จะ​ไป​ทำสมาธิ​ดี ​ ตอน​นั้น​ก็​มี​งาน​เลี้ยงฉลอง​ของ​อิสลาม ​แต​ดัน​มา​ฉลอง​หนา​ พุทธค​ยา ไ​มมท​ี อี่ นื่ จ​ ะ​ไป​แลวห​ รือไง​เนีย่ ​เ​สียง​ดงั ร​ บกวน​ไดดเ​ี ลยละ​ แลวก็ม​ จ​ี ดุ ธ​ ปู จ​ ดุ ก​ ำยาน ค​ วันเ​ยอะ​บาง​จดุ อ​ ากาศ​กห​็ นาว พ​ นื้ ก​ เ​็ ย็น​


232 ยุงก​ เ​็ ยอะ เ​ดินวน​หนึง่ ร​ อบ ไ​มเห็น​ ที่ไหน​ที่​ดีกวา​ที่​ครูบา​นก​แนะนำ​ เลย ​ตรง​ดานหนาตน​พระ​ศรี​มหา​ โพธิ์ ท​ เ​ี่ ปนท​ ส​ี่ วดมนตข​ อง​พระจีน​ ก็​พอ​มี​โตะ ​มี​ผา​ปู​รอง ​กัน​ลม ​กัน​ ความ​เย็น​จาก​พื้น​ได​บาง ​แลวก็​ เจอ​กับ​พี่ๆ​ที่​มาจาก​บัส​สอง​พอดี ​ก็​เลย​ชวน​มา​นั่ง​สมาธิ​ที่​เดียว​กัน ​ตอน​แรก​รูสึก​ใจ​ยัง​ไมคอย​สงบ ​เลยไป​เดินจงกรม​กอน ​เดิน​ได​ เกือบ​ชวั่ โมง​มงั้ ก​ ย​็ งั ไ​มร​ สู กึ อ​ ยาก​นงั่ ส​ มาธิอ​ ยูด​ ี เ​ลยไป​เดินเ​วียนเทียน​ รอบ​เจดีย​พุทธค​ยา ​เดิน​อยู​หลาย​รอบ​มาก ​เดิน​จน​พวก​อิสลาม​เลิก​ งานเลี้ยง ​เดิน​ดวย​ความ​คิดวา​เดิน​ให​เมื่อย​จน​อยาก​นั่ง​จะ​ได​นั่ง​ นานๆ​ เลย ​พอ​เมื่อย​ได​ที่​แลวก็​มา​นั่ง​ครับ ​พอ​นั่ง​ก็​รูสึก​งวง ​ก็​กะ​ วา​จะ​กม​มา​ขางหนา​ให​หาย​เมื่อย​หลัง​สักนิด ​ถา​หลับ​ใน​ทา​นี้​ได​ก็ดี​ แลวก็​นั่งหลับ​ใน​ทา​นั้น​จริงๆ​ครับ​​โดย​ไม​รูสึก​หนาว​เลย ​ พอ​รสู กึ ตัวอ​ กี ทีก​ ถ​็ กู ค​ วาม​เมือ่ ย ค​ วาม​งว ง ค​ วาม​เย็น ย​ งุ ร​ บกวน​ ตลอด​เวลา​ที่เหลือ ​จน​ถึงเวลา​ที่​จะ​กลับมา​โรง​แรม​เลย​ครับ ​ เรื่อง​นี้​สอน​ให​รูวา ​ผม​วาง​แผน​ผิด​ไป​หนอย ​ชวง​แรก​คง​มีความ คึก​และ​ตื่นเตน​มาก ​เลย​ไม​อยาก​นั่ง​นิ่งๆ​ ​เมื่อ​เดิน​เยอะ​ตอน​แรก​ ตอน​นั่ง​ก็​จะ​เมื่อย​เกินไป ​แลว​ตอน​งวง​ก็​จะ​ไม​อยาก​เดิน​เพราะ​เดิน​ ตอน​แรก​เยอะ​แลว ป​ ระเมินด​ แ​ู ลวช​ ว ง​ทเ​ี่ ดินท​ ำ​ไดดค​ี รับ แ​ ตช​ ว ง​ทนี่ งั่ ​ แทบ​จะ​หลับ​ตลอด​เลย ​หวัง​วา​เทวดา​ทั้งหลาย​คง​เห็น​ใจ​วา​ชวง​แรก​ ผม​ตั้ง​ใจ​ทำ​แลว​นะ ​อยา​ได​ถือสา​หาความ​ชวง​ที่​หลับ​เลย ​ อีก​อยาง​คือ ​เมื่อ​เรา​จะ​มา​หาความ​สงบ​ แตปจจัย​ภายนอก​ ทั้งหลาย​ไม​เอื้อ​ตอ​ความ​สงบ​เลย ​ทั้ง​เห็น​คน​เยอะ ​เสียง​ดัง​จาก​


233

งานฉลอง ​กลิ่น​ธูป​และ​กำยาน ​ความ​หนาวเย็น ​ความ​คัน​จากยุง​ กัด ​เรา​ควบคุม​อะไร​สิ่ง​เหลา​นั้น​ได​บาง ​สิ่ง​เดียว​ที่​เรา​ควบคุม​ได​คือ​ ใจ​ของ​เรา พ​ ยายาม​ทำ​ใจ​ใหร​ บั ส​ ภาพ​ความ​เปนจริงใ​นขณะ​นนั้ ๆ​ไ​ม​ ไป​ปรุง​แตง​ตอ ​ไม​ตอง​คิดวา​เสียง​ดัง​ดี​หรือ​ไมดี ​เสียง​ดัง​คือ​เสียง​ดัง ​ตอมา​เปน​ธรรมะ​ที่​หลวง​หลวง​ปู​สอน​บน​รถ​ที่​ผม​จำได​คือ ​ ​ถา​อยาก​ให​พระพุทธศาสนา​เจริญ​ใน​อินเดีย​อีก ​อันดับ​แรก​คือ​ การ​ทำ​ใหด​ เ​ู ปนต​ วั อยาง ค​ อื ก​ าร​ทเ​ี่ ขา​อยูแ​ บบไหน​เรา​อยูไ​ ด แ​ ลวเ​รา​ ก็​มี​วัตร​ปฎิบั​ติ​ที่​มี​ระเบียบ​วินัย ​ใน​ทางเดียว​กัน​ไม​แยก​วา ​พุทธ​ไทย​ พุทธ​จีน ​ให​พวกเขา​เกิด​คำ​ถาม ​ให​เขา​มา​ดู ​มา​ลอง​ปฎิบั​ติ ​วาความ​ ทุกข​ของ​พวกเขา​สามารถ​ใช​วิธี​ทาง​พระพุทธศาสนา​แก​ได​จริงๆ​​ ​คำ​สอน​ตอมา​คือ ​การ​ปฎิบั​ติ​ตอ​เพื่อน​มนุษย​ดวย​กัน ​โดย​การ​ “​ใ​หใ​จ”​ค​ อื ค​ วาม​จริงใ​จ ม​ น​ี ำ้ ใ​จ ท​ ำ​ดว ย​ความรูส กึ อ​ ยาก​ใหเ​ขา​มค​ี วาม​ สุข​และ​พน​จาก​ทุกข “​ใ​หอภัย”​ค​ อื การ​ไมถ​ อื โทษ​โกรธเ​คอื ง ไ​มค​ ดิ วาเ​ขา​ทำ​ใหเ​กิดภ​ ยั ​ เกิด​ความ​ทุกขรอน​อะไร​แก​เรา ​“​ให​ธรรมะ”​ คือ​การ​แลกเปลี่ยน​มุมมอง ​ความ​คิดเห็น ​ให​กำลัง​


234 ใจ ​วิธี​คิด​ที่​สามารถ​แกปญหา​ได ​มา​ บอกเลา​ประสบการณ ​เพื่อ​การ​พัฒนา​ ไป​พรอมๆ​กัน ​ สุดทาย​ที่​จำได​คือ ​การ​ให​ของ​เรา​ ชวย​ให​เขา​พนทุกข​ได​ไหม ​พวก​ที่มา​ ขอทาน​ที่​อินเดีย​เนี่ย ​เรา​ให​ไป​แลว​เขา​ ซาบซึ้ง​ไหม ​เมื่อ​เรา​ให​ไป​แลว​รูสึกวา​ได​ สละ​ออก​ไหม ​รูสึกวา​ยินดี​ที่​ได​ให​ไหม ​ เ​มือ่ ถ​ งึ ว​ นั สุดทาย ผ​ ม​ยงั ร​ สู กึ อ​ ยากเ​ ที่ยว​ตอ​อยู​เลย​ แต​หลายๆ​ทาน​อยาก​ กลับ​แลว ​ทาง​ทัวร​ก็​เลย​แถม​ให​บางทาน​ได​อยู​ตอ​อีก​วัน​เนื่องจาก​ หา​ตั๋ว​เครื่องบิน​ได​ไมครบ ​ ไป​แสวงบุญท​ อ​ี่ นิ เดียก​ บั ห​ ลวง​ปส​ู นุกมาก​ครับ ไ​ดเ​ปดห​ ไ​ู ดเ​ปดตา​ ได​รวม​ทำบุญ​รวม​ทำ​กุศล​กับ​หลวง​ปู​ที่​เปน​เนื้อนาบุญ​อัน​ประเสริฐ​ และ​กับ​ทาน​ทั้งหลาย​ที่​ไป​ดวย​กัน ​ ถา​หลวง​ปู​เปนตน​บุญ ​ผม​ก็​จะ​เปน​ลูก​ของ​ตน​บุญ​นั้น ​เพราะ​ ลูกไม​จะ​ได​หลน​ไม​ไกล​ตน ​ผม​จะ​ปฎิบั​ติ​ตาม​ที่​หลวงปู​สั่ง​และ​สอน​ ครับ ค​ รัง้ หนาไ​ป​ไหน​ผม​ขอ​ตาม​ไป​ดว ย​นะ​ครับ (​ไ​ดยนิ ม​ า​วา ส​ ว น​ใหญ​ เวลา​ไปกับ​หลวง​ปู​เทวดา​คัดสรร​คน​ดวย ​ผม​จะ​เรง​ทำบุญ ​ทำ​กุศล​ สะสม​ไวกอน​จะ​ได​ไม​พลาด​ตกรอบ​คัดเลือก)​ ​ ​โดย​วศิน ​เต​ชะ​วิวรรธน


แจ้งในทุกข์ เมื่อใดทุกข์เกิดขึ้น เธอแจ้งในเหตุแห่งทุกข์นั้นมากน้อยแค่ไหน เธอแจ้งในทุกข์น้อยปัญญาก็เกิดน้อย เธอแจ้งในทุกข์มากปัญญาก็เกิดมาก รู้ว่าทุกข์เกิด รู้ว่าทุกข์มี เข้าใจว่าทุกข์คงอยู่ แค่นี้ไม่เรียกว่าแจ้งแล้ว คำว่าแจ้งแล้วในทุกข์...คือ เห็นระบบของทุกข์ในลำดับขั้นตอนของมัน โดยปราศจากความยึดมั่นตามสภาพของอารมณ์และ เข้าใจผลของทุกข์ว่า...มีความหนักเบามากน้อยแค่ไหน เกาะเกี่ยวจิตวิญญาณอย่างไร นี่จึงเรียกว่าแจ้งในทุกข์โดยแท้จริง


บุญประทายข้าวเปลือก​ เปน​งานบุญ​ประจำป​ที่​คณะสงฆ​วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ ราช​และ​ชาวบาน​ตำบล​ทงุ ท​ อง อำเภอ​เกษตรวิสยั จังหวัด​ รอยเอ็ด ได​จัด​ขึ้น​ทุกป​ตั้งแต​ป พ.ศ. ๒๕๕๐ ใน​ชวง​ตน​เดือน​ธันวาคม หลัง​ฤดู​การ​เก็บเกี่ยว​ชาวบาน​ ตาง​จะ​พา​กัน​นำ​ขาวเปลือก​ของ​ตน​มา​ถวาย​วัด​โดย​พระสงฆ​ จะ​ทำพิธเ​ี จริญพ​ ระพุทธมนตอ​ นุโมทนา​บญ ุ เ​ปนส​ งิ่ ต​ อบแทน คือ​เปน​มหา​มงคล​อัน​สูงสุด และ​ตาม​ความ​เชื่อ​โบราณ​กอน​


จะ​นำ​ขาว​ไป​ใช​ตอง​ขอขมา​พระ​แมโพสพ​กอน​ ซึ่ง​เปน​เทวดา​ผูรักษา​ไรนา​ให​ความ​อุดมสมบูรณ​ พืชไร​แก​มนุษย คน​ผูใหญ​แต​เกากอน​นับถือ​แมโพสพ​มาก มัก​กราบไหว​ทาน​กอน​เปบ​ขาวคำ​แรก​เขา​ปาก และ​สั่ ง สอนลู ก ​ห ลาน​ใ ห ​นั่ ง ​ล  อ มวง​เ ป บ ข า ว​ พรอมๆ กัน และ​ตอง​สำรวม​กิริยา​มารยาท​ ระหวาง​เปบขาว​ให​เรียบรอย​อยา​ให​มี​เม็ด​ขาว​ หายหกตกหลน แม​ขาว​เหลือ​กน​จาน​สังกะสี​ก็​


238 ตอง​กนิ ใ​หห​ มด หาม​เท​ทงิ้ ล​ ง​ถงึ โ​สโครก​ใหเ​อา​ใสป​ าก​หมอข​ า ว​ทบั บ​ น​ ขาว​ที่​หุง​มื้อ​ตอไป หรือไมก็​ตอง​นำไป​ผึ่งแดด ทำเปน​ขาว​ตากแหง​ เอา​ไว เคย​เห็น​ปูยา​กิน​ขาว​อิ่มหนำ​สำราญ​แลว ตอง​ยกมือไหว​เพื่อ​ สำแดง​ความ​กตัญู​รู​บุญคุณ​ขาว จึง​ตอง​ขอบคุณ เหลา​ชาวนา เมื่อ​แรก​ทำนา จนกระทั่ง​ถึงเวลา​ไถ​คราด เก็บเกี่ยว​รวงขาว​ดวย​เคียว​เหล็ก ก็​จะ​ ตอง​ประกอบพิธี​เซน​บูชา​แมโพสพ​ ทุก​ระยะ​ไป เชน กอนหนา​เวลา​ ฤกษแ​ รกนา​จะ​ปลูกศ​ าลเพียงตา สูง​ ระดับ​สายตา​คน​ขึ้น ณ ที่ใด​ที่หนึ่ง ที่​กำหนด​ไว​เปนที่​แรกนา ตระเตรียม​ เครื่ อ ง​สั ง เวยบู ช า​แ ม โ พสพ​ใ ห ​ค รบถ ว น พรอมทั้ง​กลาว​คำขวัญ​เปน​ถอยคำ​ไพเราะ​ออนวอน​ แมโพสพ​ให​คุมครอง​รักษา​ตน​ขาว ขอให​ปนี้​จง​ทำนา​ไดผล ไมวา​จะ​ เปน​นาหวาน นาดำ เพราะ​แมโพสพ​เปน​หญิง​ขวัญออน​งาย ตอง​ ทำพิธี​เรียกขวัญ​เสมอ

การ​มี​สวนรวม​ของ​ชุมชน

เพื่อ​สืบสาน​ขนบ​ธรรม​เนียน​ประเพณี​วัฒนธรรม​อัน​ดี​ของ​ชาว อีสาน​ซึ่ง​ได​เนน​กิจกรรม​ให​คนใน​ชุมชน​มี​สวนรวม ใน​การ​จัดงาน​ใน​ ครั้งนี้ ทาง​องคการ​บริหาร​สวน​ตำบล​ทุง​ทอง​และ สมาชิก​องคการ​ บริหาร​สว น​จงั หวัดร​ อ ยเอ็ดอ​ ำเภอ​เกษตรวิสยั เ​ขต ๓ /กำนัน/ผูใ หญ​


239

บาน​ตำบล​ทุง​ทอง​ทั้ง ๙ หมู และ​ชาวบาน​ทุก​ครัวเรือน ที่​ใหการ​ สนับสนุน​ดวยดี​งาน​สามารถ​จัด​ได​อยาง​ลงตัว ซึ่ง​ใน​ป ๒๕๕๕ ได​มี​ กิจกรรม​ใน​ระหวาง​วันที่ ๗ – ๙ ธันวาคม ๒๕๕๕ ณ วัด​ปา​ทุง​กุลา​ เฉลิม​ราช บาน​โพน​ตูม ตำบล​ทุง​ทอง อำเภอ​เกษตรวิสัย จังหวัด​ รอยเอ็ด มีก​ จิ ก​ รรมการ​ประกวด​สรภัญญะ​ประเภท​เยาวชน​และ​กลุม ​ แมบาน กิจกรรม​ลงแขก​เกี่ยวขาว กิจกรรม​พิธี​บายศรี​สู​ขวัญขาว กิจกรรม​ฟอนรำ​บวงสรวง​พระ​แมโพสพ

ประเพณี​ลงแขก​เกี่ยวขาว

เมื่อ​ขาว​ใน​นาแต​กร​วง​จน​เปน​เมล็ด​แก​ไดที่ จะ​ลงมือ​เก็บเกี่ยว​ ได​ใน​ระหวาง​เดือนอาย​กับ​เดือนยี่ การ​เกี่ยวขาว​แต​โบราณ​จะ​มี “การ​ลงแขก​กินแรง​กัน” หญิงสาว​ชายหนุม​ยินดี​มา​รวม​เกี่ยว​ดวย


240

เพราะ​จะ​ได​มี​โอกาส​มาชุมนุม​รื่นเริง การ​เกี่ยวขาว​มัก​เกี่ยว​แตเชา โดย​เกี่ยวขาว​เรียง​กัน​เปน​หนากระดาน ใคร​เกี่ยว​ได​แนว​จรด​คันนา​ แลวก็​หยุดพัก รอคอย​คน​อื่น​ซึ่ง​เกี่ยว​แนว​ของ​ตน​มายัง​ไมถึง เมื่อ​ เกีย่ ว​เสร็จท​ กุ คน​แลวจึงจ​ ะ​ไป​เกีย่ ว​ตอน​อนื่ ๆ ตอไป เพราะฉะนัน้ ถ​ า ​ ใคร​เกีย่ ว​ชา ก​ ม​็ า​เปนท​ หี ลัง จะ​มก​ี าร​แกลงล​ อ ก​ นั โ​ดย​คน​ทอี่ ยูใ​ กลค​ น​ ทีเ​่ กีย่ ว​ชา จ​ ะ​แกลงเ​กีย่ ว​ใหแ​ นว​ของ​ตนเฉ​ออกไป เพือ่ ใหแ​ นว​ของ​คน​ เกีย่ ว​ชา ข​ ยาย​เนือ้ ทีอ​่ อกไป​กวาง ตอง​เสียเวลา​เกีย่ ว​มากขึน้ เ​รียกวา “เกี่ยว​ออม​เกาะ” ใคร​ตอง​เกี่ยว​ออม​เกาะ​จะ​ถูก​เพื่อน​ทั้ง​หญิง​ ชาย​หัวเราะเยาะ​เลนสนุก​อยาง​ที่​รอง​กัน​วา “ควา​เถิด​หนา​แม​ควา รีบตะ​บัง​ให​ถึง​คันนา จะ​ได​พูดจา​กัน​เอย”


241 เวลา​เย็น​เลิก​เกี่ยวขาว​แลว จะ​เลน “เพลง​เกี่ยวขาว” เรียกวา “เตน​กำ​รำ​เคียว” คือ ถือ​กำ​ขาว​มือหนึ่ง ถือ​เคียว​อีก​มือหนึ่ง เวลา​ รอง​กอ​็ อก​ทา ทาง​รำ​และ​เตนเ​ปนจังหวะ​ของ​ทำนอง​ทร​ี่ อ ง​ระหวางที​่ รอง​เตน​กำ​รำ​เคียว​กัน​อยู​นี้​เจาของ​นา​จะ​มัด​รวม​กำ​ขาว​ที่​กองๆ อยู​ ให​เปน​ฟอน และ​รวบรวม​เขา​หมู​เขา​กอง แลว​หาบ​ขน​ไปสู​ลาน​ บานเรือน​ของ​ตน เมื่อ​ขน​ขาว​ไปสู​ลาน​เสร็จ​แลว​ตอง​เก็บ​รวงขาว​ที่​ ตก​อยู​ใน​นา​เรียก​อัญเชิญ “ขาว​แมโพสพ” เวลา​เก็บขาว​จะ​กลาว​ วา “แมโพสพ​เจาขา เชิญ​มา​ขึ้น​ยุงฉาง อยาหลง​อยู​ใน​ทุง​ใน​ทางใน​ นา​ใน​ไร ให​หนู​กัด​นก​คาบ เชิญ​ไป​อยูที่​สำราญ​เปนสุข เลี้ยง​ลูกเลี้ยง​ หลาน​ให​เจริญ มา​เถิด​มากู”

ประเพณี​จัดงาน​ประกวด​สรภัญญะ

การ​จัด​ประกวด​สวดมนต​หมู ทำนอง​สรภัญญะ เปน​กิจกรรม​ หนึ่ง​ที่ กรมการ​ศาสนา กระทรวง​วัฒนธรรม ใหการ​สนับสนุน​เพื่อ​ ทำนุบำรุง​ศิลปะ และ​วัฒนธรรม​ประจำ​ภูมิภาค​ตางๆ ของ​ประเทศ​ ไทย​ไว ทาง​วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช​ได​สืบสาน​งาน​ประเพณี​จัดงาน​ ประกวด​สรภัญญะ เปนประจำ​ทุกป ​สรภัญญ (สะ-ระ​พัน หรือ สอ-ระ-พัน) อุบาสก​อุบา​สิกกา​ใน​ ภาคอีสาน​นิยม​สวด​กัน​ใน​วันอุโบสถ​ศีล (วันพระ) ภาษาถิ่น​เรียกวา​ ฮองสรภัญญ โดย​ทำนอง​สรภัญญะ​เปนการ​สวดมนตใ​น​ทำนอง​สงั โยค คือก​ าร​ สวด​เปนจังหวะ​สำหรับ​เนื้อหา​จะ​เกี่ยวของ​กับ​ศาสนา บาป​บุญคุณ​ โทษ นิทาน​ชาดก เปนตน


242 กิ จ กรรม​ป ระกวด​ส รภั ญ ญะ​ป ระเภทเยา​ช น​แ ละ​ก ลุ  ม​ แมบาน ใน​ป พ.ศ. ๒๕๕๕ ทาง​คณะกรรมการ​ได​กำหนด​เงิน​รางวัล​ ชนะเลิศ​พรอม​โล​เกียรติยศ และ​รางวัล​ให​กับ​ทุก​คณะ​ที่​เขารวม​การ​ ประกวด​ครั้งนี้ เพื่อ​สรางขวัญ​และ​กำลังใจ​ใน​การ​ประกวด​ใน​ป​ตอๆ​ ไป ใน​การ​ประกวด​ประเภท​นี้​ได​กำหนด​บท​ไว ๔ บท 1. บท​บชู า​ดอกไม กลอน​บท​นแ​ี้ สดงใหเห็นถ​ งึ ก​ าร​บชู า​ดอกไมท​ ​ี่ ทุกคน​เตรียม​มา​และ​ถอื อ​ ยูใ​ น​มอื แ​ ลวก​ าร​บชู า​ดว ย​ดอก​ไมเปนอ​ ามิส​ บูชา​เปนการ​บูชา​เบื้องตน​ที่​ศาสนิกชน​ควร​จะ​ทำ 2. บท​แนะนำตัว กลอน​บท​นี้​แสดงใหเห็น​วา​มาจาก​หมูบาน​ ไหน มา​กัน​กี่​คน ที่​หมูบาน​มี​ของดี​อะไร เปนการ​แนะนำ​ให​ไปเที่ยว​ ไปมาหาสู​กัน​ได 3. กลอน​พุทธคุณ ธรรมคุณ ​สังฆ​คุณ เปน​กลอน​ที่​กลาว​ถึง​ เนื้อหา​ของ​พุทธคุณ ธรรมคุณ ​สังฆ​คุณ วา​มี​กี่​ประการ 4. บท​ลา​และ​อวยพร เปนการ​สง ทาย ผูร​ อ ง​สรภัญญจ​ ะ​บอกลา​ พระสงฆ​และ​ผูฟง​ทุกคน ดวย​การ​อวยพร​ให​มี​ความ​สุข อยู​ดี มี​แฮง (มี​แรง)


243 คณะ​ผู​เขา​ประกวด​ประเภท​เยาวชน การ​ประกวด คณะ​ที่​ไดรับ​รางวัล มี​ดังนี้ คือ ชนะเลิศ​อันดับ ๑ คณะ​สาวนอย​เพชร​ชมพู บาน​ดอกรัก​นอย ต.กำแพง อ.เกษตรวิสัย จ.รอยเอ็ด เงิน​รางวัล ๗,๐๐๐ พรอม​โล​เกียรติยศ จาก​พระ​ธรรมฐิติ​ญาณ​ เจาคณะ​ภาค ๑๐ (ธ) เจาอาวาส​วัด​บึง​พระ​ลาน​ชัย รองชนะเลิศอ​ นั ดับ ๑ คณะ​โรงเรียน​ปทุมร​ ตั นพ​ ทิ ยาคม อ.ปทุม​ รัตน จ.รอยเอ็ด เงินร​ างวัล ๕,๐๐๐ พรอม​โลเ​กียรติยศ หลวง​ปต​ู น บ​ ญ ุ ติก​ ขปญโญ ประธาน​ฝาย​สงฆ​วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช ชนะเลิศ​อันดับ ๒ คณะ​นองใหม​ขวัญใจ​ทุง​ทอง บ.โพน​ตูม ต.ทุง​ทอง อ.เกษตรวิสัย จ.รอยเอ็ด เงิน​รางวัล ๓,๐๐๐ พรอม​โล​เกียรติยศ นาย​ทอง​ดี นาม​วงษ นายก​องคการ​บริหาร​สวน​ตำบล​ทุง​ทอง คณะกรรมการ​ตัดสิน : อาจารย กศน. เกษตรวิสัย จังหวัด​ รอยเอ็ด


244

คณะ​ผู​เขา​ประกวด​ประเภท​กลุม​แมบาน การ​ประกวด คณะ​ที่​ไดรับ​รางวัล มี​ดังนี้ คือ ชนะเลิศอ​ นั ดับ ๑ คณะ​ลำ​เพิญส​ ยาม บาน​ลำ​เพิญ ต.กุดข​ า​คมี อ.รัตนบุรี จ.สุรินทร เงิน​รางวัล ๗,๐๐๐ พรอม​โล​เกียรติยศ จาก​พระ​ธรรมฐิติ​ญาณ​ เจาคณะ​ภาค ๑๐ (ธ) เจาอาวาส​วัด​บึง​พระ​ลาน​ชัย รองชนะเลิศ​อันดับ ๑ คณะ​โพธิ์​ศรีสวัสดิ์ บานโพธิ์​ศรีสวัสดิ์ ต.โพน​สูง อ.ปทุม​รัตน จ.รอยเอ็ด เงิน​รางวัล ๕,๐๐๐ พรอม​โล​เกียรติยศ จาก​หลวง​ปู​ตน​บุญ​ ติ​กขปญโญ ประธาน​ฝาย​สงฆ​วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช รองชนะเลิศ​อันดับ ๒ คณะ​ลูกแกว​ใน​แดนธรรม บาน​ซึกวึก ต.ทุง​ทอง อ.เกษตรวิสัย จ.รอยเอ็ด เงิน​รางวัล ๓,๐๐๐ พรอม​โล​เกียรติยศ จาก​หลวง​ปู​ตน​บุญ​ ติ​กขปญโญ ประธาน​ฝาย​สงฆ​วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช


245 รางวัล​ชมเชย รางวัล​ละ ๑,๐๐๐ บาท

การ​ประกวด คณะ​ที่​ไดรับ​รางวัล มี​ดังนี้ คือ คณะ​หงสทอง บาน​หนอง​สระ​หงส ต.กำแพง อ.เกษตรวิสัย จ.รอยเอ็ด คณะ​สามัคคี​ธรรม​เสียงทอง บาน​ขนวน ต.โนน​สงา อ.ปทุม​รัตน จ.รอยเอ็ด คณะ​ดอกรัก​นอย​เสียง​สวรรค บาน​ดอกรัก​นอย ต.กำแพง อ.เกษตรวิสัย จ.รอยเอ็ด คณะ​ทุ  ง ​ร วงทอง บ า น​โ พน​หิ น ต.ทุ  ง ​ท อง อ.เกษตรวิ สั ย จ.รอยเอ็ด คณะ​สาวนอย​ทุง​กุลา บาน​เขวา​หรดี ต.ทุง​ทอง อ.เกษตรวิสัย จ.รอยเอ็ด คณะ​ด อกบั ว ​ท อง บ า น​ห นองบั ว ต.ชุ ม พลบุ รี อ.ชุ ม พลบุ รี จ.สุรินทร คณะ​เพชร​ลำ​พบั พ​ลา บาน​เข​วาตะ​คลอง ต.ทุง ท​ อง อ.เกษตรวิสยั จ.รอยเอ็ด คณะ​สามัคคีธ​ รรม บาน​ซกึ วึก ต.ทุง ท​ อง อ.เกษตรวิสยั จ.รอยเอ็ด​ คณะ​วัง​สวรรค บาน​สามขา ต.โพน​สูง อ.ปทุม​รัตน จ.รอยเอ็ด


246

ตารางกิจนิมนต์ของ

หลวงปู่ต้นบุญ วันเสาร์ที่ ๙ ก.พ. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม บ้านสาธุเจ้าต้นบุญ กรุงเทพฯ วันอาทิตย์ที่ ๑๐ ก.พ. ๒๕๕๖ รับนิมนต์ที่ ร้านสะพานบุญ ชลบุรี วันจันทร์ที่ ๑๑ ก.พ. ๒๕๕๖ รับนิมนต์ร้านน้ำพุ บางพลี วันอังคารที่ ๑๒ - วันพุธที่ ๑๓ ก.พ. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม บ้านสาธุเจ้าต้นบุญ กรุงเทพฯ วันพฤหัสที่ ๑๔ – วันเสาร์ที่ ๑๖ ก.พ. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม ที่สถานธรรมฉัตรชนก สระบุรี วันอาทิตย์ที่ ๑๗ ก.พ. ๒๕๕๖ รับนิมนต์ที่บ้าน คุณสด บางพลี วันจันทร์ที่ ๒๕ – วันอังคารที่ ๒๖ ก.พ. ๒๕๕๖ พิธีเทเศียรพระพุทธสิหิงค์มิ่งมงคลบรมบพิตร และทอดผ้าป่า ณ วัดพระธาตุศรีจำปามหารัตนาราม จ.สกลนคร วันเสาร์ที่ ๑๖ มี.ค. ๒๕๕๖ รับนิมนต์ บ้านคุณเพ็ญ ที่วัชรพล


247 วันอาทิตย์ที่ ๑๗ – วันอังคารที่ ๑๙ มี.ค. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม บ้านสาธุเจ้าต้นบุญ กรุงเทพฯ วันพุธที่ ๒๐ – วันเสาร์ที่ ๒๓ มี.ค. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม ที่สถานธรรมฉัตรชนก สระบุรี วันศุกร์ที่ ๕ – วันอาทิตย์ที่ ๗ เม.ย. ๒๕๕๖ งานพิธีหล่อบุษบกพระสิเนรุราช สถาปนาเสานาคาโพธิสัตว์ พิธีสักการะครูบาอาจารย์ วันพฤหัสบดีที่ ๑๘ – วันเสาร์ที่ ๒๐ เม.ย. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม ที่สถานธรรมฉัตรชนก สระบุรี วันอาทิตย์ที่ ๒๑ – วันพุธที่ ๒๔ เม.ย. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม บ้านสาธุเจ้าต้นบุญ กรุงเทพฯ วันพุธที่ ๑ พ.ค. ๒๕๕๖ กิจกรรมวันแรงงาน วันพฤหัสบดีที่ ๒ – วันจันทร์ที่ ๖ พ.ค. ๒๕๕๖ เดินทางตามรอยพระธรรมฑูต ประเทศพม่า วันอังคารที่ ๗ พ.ค. ๒๕๕๖ แสดงธรรมที่เดอะมอลล์ โคราช วันพฤหัสบดีที่ ๑๖ – วันเสาร์ที่ ๑๘ พ.ค. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม ที่สถานธรรมฉัตรชนก สระบุรี วันอาทิตย์ที่ ๑๙ – วันอังคารที่ ๒๑ พ.ค. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม บ้านสาธุเจ้าต้นบุญ กรุงเทพฯ วันศุกร์ที่ ๒๔ – วันอาทิตย์ที่ ๒๖ พ.ค. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม วันวิสาขบูชาที่วัดป่าทุ่งกุลาเฉลิมราช วันอาทิตย์ที่ ๙ มิ.ย. ๒๕๕๖ งานที่วังน้อยอยุธยา


248 วันจันทร์ที่ ๑๐ - วันพุธที่ ๑๒ มิ.ย. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม ที่สถานธรรมฉัตรชนก สระบุรี วันศุกร์ที่ ๑๔ – วันอาทิตย์ที่ ๑๖ มิ.ย. ๒๕๕๖ ธุดงค์ เวียงจันทน์ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนลาว วันจันทร์ที่ ๑๗ - วันพุธที่ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม บ้านสาธุเจ้าต้นบุญ กรุงเทพฯ วันพุธที่ ๓ ก.ค. ๒๕๕๖ แสดงธรรมที่ บ้านคุณยายสุพิณ คุ้มบัว นครราชสีมา วันเสาร์ที่ ๑๓ – วันจันทร์ที่ ๑๕ ก.ค. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม ที่สถานธรรมฉัตรชนก สระบุรี วันอังคารที่ ๑๖ –วันพฤหัสบดีที่ ๑๘ ก.ค. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม บ้านสาธุเจ้าต้นบุญ กรุงเทพฯ วันอาทิตย์ที่ ๒๑ – วันจันทร์ที่ ๒๒ ก.ค. ๒๕๕๖ สักการะพระธาตุพนม พระธาตุเชิงชุม พระธาตุนารายณ์แจงแวง วันจันทร์ที่ ๑๒ ส.ค. ๒๕๕๖ กิจกรรมวันแม่ วันพุธที่ ๑๔ – วันศุกร์ที่ ๑๖ ส.ค. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม ที่สถานธรรมฉัตรชนก สระบุรี วันเสาร์ที่ ๑๖ – วันอาทิตย์ที่ ๑๘ ส.ค. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม บ้านสาธุเจ้าต้นบุญ กรุงเทพฯ วันพฤหัสบดีที่ ๒๒ – วันอาทิตย์ที่ ๒๕ ส.ค. ๒๕๕๖ หลวงปู่ต้นบุญเข้านิโรธ (ออกบิณฑบาต วันที่ ๒๕) วันเสาร์ที่ ๗ – วันอังคารที่ ๑๐ ก.ย. ๒๕๕๖ สอนปฏิบัติธรรม บ้านสาธุเจ้าต้นบุญ กรุงเทพฯ


249 วันพุธที่ ๑๑ – วันเสาร์ที่ ๑๔ ก.ย. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม ที่สถานธรรมฉัตรชนก สระบุรี วันพฤหัสบดีที่ ๑๙ – วันอาทิตย์ที่ ๒๒ ก.ย. ๒๕๕๖ หลวงปู่เข้านิโรธ (ออกบิณฑบาต วันที่ ๒๒) วันพฤหัสบดีที่ ๓ – วันเสาร์ที่ ๕ ต.ค. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม ที่สถานธรรมฉัตรชนก สระบุรี วันอาทิตย์ที่ ๖ – วันอังคารที่ ๘ ต.ค. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม บ้านสาธุเจ้าต้นบุญ กรุงเทพฯ วันพุธที่ ๑๖ – วันเสาร์ที่ ๑๙ ต.ค. ๒๕๕๖ หลวงปู่เข้านิโรธ (ออกบิณฑบาต วันที่ ๑๙) วันอาทิตย์ที่ ๒๐ ต.ค. ๒๕๕๖ พิธีทอดกฐินสามัคคี วันพฤหัสบดีที่ ๗ – วันเสาร์ที่ ๙ พ.ย. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม ที่สถานธรรมฉัตรชนก สระบุรี วันอาทิตย์ที่ ๑๐ – วันพฤหัสบดีที่ ๑๔ พ.ย. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม บ้านสาธุเจ้าต้นบุญ กรุงเทพฯ วันศุกร์ที่ ๑๕ – วันอาทิตย์ที่ ๑๗ พ.ย. ๒๕๕๖ แสวงบุญที่ประเทศกัมพูชา (เขมร) วันพฤหัสบดีที่ ๕ – วันเสาร์ที่ ๗ ธ.ค. ๒๕๕๖ งานบุญประทายข้าวเปลือก วันอังคารที่ ๑๐ – วันนศุกร์ที่ ๑๓ ธ.ค. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม ที่สถานธรรมฉัตรชนก สระบุรี วันเสาร์ที่ ๑๔ – วันอังคารที่ ๒๓ ธ.ค. ๒๕๕๖ อบรมปฏิบัติธรรม บ้านสาธุเจ้าต้นบุญ กรุงเทพฯ วันศุกร์ที่ ๓๑ ธ.ค. ๒๕๕๖ สวดมนต์ข้ามปี


250

กำหนดการเข้านิโรธ หลวงปู่ต้นบุญ ติกขปัญโญ ณ วัดป่าทุ่งกุลาเฉลิมราช

บ้านโพนตูม ตำบลทุ่งทอง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด


251


252

เดือนสิงหาคม ๒๕๕๖ วันพฤหัสบดีที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๖

เวลา ๐๙.๓๐ น. - ลงทะเบียนบวชเนกขัมมะ เวลา ๑๒.๐๐ น. - พักรับประทานอาหารกลางวัน เวลา ๑๓.๐๐ น. - ทำพิธีบวชเนกขัมมะ เวลา ๑๕.๐๐ น. - ฟังพระธรรมเทศนาจากหลวงปู่ต้นบุญ ก่อนเข้านิโรธ เวลา ๑๕.๕๙ น. - หลวงปู่ต้นบุญจุดเทียนนิโรธ น้อมส่งหลวงปู่เข้านิโรธแล้วพักตามอัธยาศัย เวลา ๑๘.๐๐ น. - อบรมการปฏิบัติธรรม เวลา ๑๙.๐๐ น. - สวดมนต์ทำวัตรเย็น และปฏิบัติธรรม เวลา ๒๑.๐๐ น. - พัก

วันศุกร์ที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๖ เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา

๐๕.๐๐ น. ๐๖.๓๐ น. ๐๘.๓๐ น. ๑๐.๐๐ น. ๑๒.๐๐ น. ๑๓.๐๐ น. ๑๗.๐๐ น ๑๙.๐๐ น. ๒๑.๐๐ น.

-

สวดมนต์ทำวัตรเช้าและเจริญสติภาวนา พระภิกษุสามเณรออกรับบิณฑบาต ถวายภัตตาหารเช้าแด่พระภิกษุสามเณร อบรมปฏิบัติธรรม พักรับประทานอาหารกลางวัน อบรมปฏิบัติธรรม พักตามอัธยาศัย สวดมนต์ทำวัตรเย็น และปฏิบัติธรรม พัก


253 วันเสาร์ที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๖ เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา

๐๕.๐๐ น. ๐๖.๓๐ น. ๐๘.๓๐ น. ๑๐.๐๐ น. ๑๒.๐๐ น. ๑๓. ๐๐ น. ๑๙.๐๐ น. ๒๑. ๐๐ น. -

สวดมนต์ทำวัตรเช้าและเจริญสติภาวนา พระภิกษุสามเณรออกรับบิณฑบาต ถวายภัตตาหารเช้าแด่พระภิกษุสามเณร อบรมการปฏิบัติธรรม พักรับประทานอาหารกลางวัน อบรมการปฏิบัติธรรม สวดมนต์ทำวัตรเย็น สวดอิติปิโส ตลอดคืน

วันอาทิตย์ที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๖ เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา

๐๔.๓๐ น. - หลวงปู่ต้นบุญ ออกจากนิโรธ ๐๖.๐๐ น. - หลวงปู่ต้นบุญ ออกรับบิณฑบาต ๐๗.๓๐ น. - ถวายภัตตาหารแด่พระภิกษุสามเณร ๐๙.๐๐ น. - ฟังพระธรรมเทศนาจากหลวงปู่ต้นบุญ ๑๐.๒๙ น. - ดับเทียนชัยนิโรธ เสร็จพิธี

เดือนกันยายน ๒๕๕๖ วันพฤหัสบดีที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๕๖ เวลา ๐๙.๓๐ น. เวลา ๑๒.๐๐ น. เวลา ๑๓.๐๐ น. เวลา ๑๕.๐๐ น.

ลงทะเบียนบวชเนกขัมมะ พักรับประทานอาหารกลางวัน ทำพิธีบวชเนกขัมมะ ฟังพระธรรมเทศนาจากหลวงปู่ต้นบุญ ก่อนเข้านิโรธ


254 เวลา ๑๕.๕๙ น. - หลวงปู่ต้นบุญจุดเทียนนิโรธ น้อมส่งหลวงปู่เข้านิโรธแล้วพักตามอัธยาศัย เวลา ๑๘.๐๐ น. - อบรมการปฏิบัติธรรม เวลา ๑๙.๐๐ น. - สวดมนต์ทำวัตรเย็น และปฏิบัติธรรม เวลา ๒๑.๐๐ น. - พัก

วันศุกร์ที่ ๒๐ กันยายน ๒๕๕๖ เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา

๐๕.๐๐ น. ๐๖.๓๐ น. ๐๘.๓๐ น. ๑๐.๐๐ น. ๑๒.๐๐ น. ๑๓.๐๐ น. ๑๗.๐๐ น ๑๙.๐๐ น. ๒๑.๐๐ น.

- สวดมนต์ทำวัตรเช้าและเจริญสติภาวนา - พระภิกษุสามเณรออกรับบิณฑบาต - ถวายภัตตาหารเช้าแด่พระภิกษุสามเณร - อบรมปฏิบัติธรรม - พักรับประทานอาหารกลางวัน - อบรมปฏิบัติธรรม - พักตามอัธยาศัย - สวดมนต์ทำวัตรเย็น และปฏิบัติธรรม - พัก

วันเสาร์ที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๕๖ เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา

๐๕.๐๐ น. ๐๖.๓๐ น. ๐๘.๓๐ น. ๑๐.๐๐ น. ๑๒.๐๐ น. ๑๓.๐๐ น. ๑๙.๐๐ น. ๒๑.๐๐ น.

-

สวดมนต์ทำวัตรเช้าและเจริญสติภาวนา พระภิกษุสามเณรออกรับบิณฑบาต ถวายภัตตาหารเช้าแด่พระภิกษุสามเณร อบรมการปฏิบัติธรรม พักรับประทานอาหารกลางวัน อบรมการปฏิบัติธรรม สวดมนต์ทำวัตรเย็น สวดอิติปิโส ตลอดคืน


255

วันอาทิตย์ที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๕๖ เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา

๐๔.๓๐ น. - หลวงปู่ต้นบุญ ออกจากนิโรธ ๐๖.๐๐ น. - หลวงปู่ต้นบุญ ออกรับบิณฑบาต ๐๗.๓๐ น. - ถวายภัตตาหารแด่พระภิกษุสามเณร ๐๙.๐๐ น. - ฟังพระธรรมเทศนาจากหลวงปู่ต้นบุญ ๑๐.๒๙ น. - ดับเทียนชัยนิโรธ เสร็จพิธี

กำหนดการเข้านิโรธ และพิธีทอดกฐิน เดือนตุลาคม ๒๕๕๖ วันพุธที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๕๖

เวลา ๐๙.๓๐ น. - ลงทะเบียนบวชเนกขัมมะ เวลา ๑๒.๐๐ น. - พกั รับประทานอาหารกลางวัน เวลา ๑๓.๐๐ น. - ทำพิธีบวชเนกขัมมะ


256

เวลา ๑๕.๐๐ น. - ฟังพระธรรมเทศนาจากหลวงปู่ต้นบุญ ก่อนเข้านิโรธ เวลา ๑๕.๕๙ น. - หลวงปู่ต้นบุญจุดเทียนนิโรธ น้อมส่งหลวงปู่เข้านิโรธแล้วพักตามอัธยาศัย เวลา ๑๘.๐๐ น. - อบรมการปฏิบัติธรรม เวลา ๑๙.๐๐ น. - สวดมนต์ทำวัตรเย็น และปฏิบัติธรรม เวลา ๒๑.๐๐ น. - พัก

วันพฤหัสบดีที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๕๖ เวลา ๐๕.๐๐ น. เวลา ๐๖.๓๐ น. เวลา ๐๘.๓๐ น. เวลา ๑๐.๐๐ น. เวลา ๑๒.๐๐ น. เวลา ๑๓.๐๐ น. เวลา ๑๗.๐๐ น

- สวดมนต์ทำวัตรเช้าและเจริญสติภาวนา - พระภิกษุสามเณรออกรับบิณฑบาต - ถวายภัตตาหารเช้าแด่พระภิกษุสามเณร - อบรมปฏิบัติธรรม - พักรับประทานอาหารกลางวัน - อบรมปฏิบัติธรรม - พักตามอัธยาศัย


257 เวลา ๑๙.๐๐ น. - สวดมนต์ทำวัตรเย็น และปฏิบัติธรรม เวลา ๒๑.๐๐ น. - พัก

วันศุกร์ที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๕๖

เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา เวลา

๐๕.๐๐ น. ๐๖.๓๐ น. ๐๘.๓๐ น. ๑๐.๐๐ น. ๑๒.๐๐ น. ๑๓.๐๐ น. ๑๙.๐๐ น. ๒๑.๐๐ น.

-

สวดมนต์ทำวัตรเช้าและเจริญสติภาวนา พระภิกษุสามเณรออกรับบิณฑบาต ถวายภัตตาหารเช้าแด่พระภิกษุสามเณร อบรมการปฏิบัติธรรม พักรับประทานอาหารกลางวัน อบรมการปฏิบัติธรรม สวดมนต์ทำวัตรเย็น สวดอิติปิโส ตลอดคืน

วันเสาร์ที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๖

เวลา ๐๔.๓๐ น. - หลวงปู่ต้นบุญ ออกจากนิโรธ เวลา ๐๖.๐๐ น. - หลวงปู่ต้นบุญ ออกรับบิณฑบาต เวลา ๐๗.๓๐ น. - ถวายภัตตาหารแด่พระภิกษุสามเณร เวลา ๐๙.๐๐ น. - ฟังพระธรรมเทศนาจากหลวงปู่ต้นบุญ เวลา ๑๐.๒๙ น. - ดับเทียนชัยนิโรธ เสร็จพิธี เวลา ๑๓.๐๐ น. - ลงทะเบียนบวชชีพราหมณ์ เวลา ๑๘.๐๐ น. - ตั้งผ้ากฐินรอบองค์พระมหาธาตุเจดีย์ ศรีทศพลญาณเฉลิมราชชัยมงคล เวลา ๑๙.๓๐ น. - ฟังพระธรรมเทศนา

วันอาทิตย์ที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๖

เวลา ๐๗.๐๐ น. - ตักบาตรพระภิกษุสามเณร เวลา ๑๐.๐๐ น. - พิธีทอดกฐินสามัคคี รับพร เสร็จพิธี


258

ธรรมปรับจิต

รวบรวมเรียบเรียง : เด็กโง่ภูแซ​ ภาพ : เชิดวุฒิ สกล​ยา


259

การตื่นรู้ ธรรมะจากนิโรธครั้งที่ ๑ ....หลวงปู่ต้นบุญ ติกขปัญโญ ณ วัดป่าทุ่งกุลาเฉลิมราช เมื่อวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๕๕

ความ​ไมแ​ นนอน​เปน​พื้นฐาน​สำคัญ​ของ​ชีวิต​มนุษย พวกเรา​จงึ ค​ วร​เก็บเกีย่ ว​สงิ่ ท​ เ​ี่ ปนม​ รรคผล​ใหไ​ ดม​ าก​ทสี่ ดุ อยาร​ อ​ วันพรุง นีห​้ รือว​ นั ต​ อ ๆ ไ​ ป อยาเ​ กิดม​ า​แบบ​โงๆ แ​ ละ​ตาย​ไป​แบบ​โงๆ​ เหมือนเดิม อยาร​ อ​ใหป​ ว ย​จงึ ม​ า​ปฏิบตั ิ สังขาร​มนั ไ​ มเ​ อือ้ เวลา​เจ็บไข​ ได​ปวย ประสาท​สัมผัส​จะ​ลด​ความ สามารถ​ลง เชน ประสาทตา​จะ​ พยายาม​ขยาย​มานตา​เพื่อ​รับ​ภาพ​ให​ได​มาก​ที่สุด ประสาท​สัมผัส​ อื่นๆ ​ก็​เหมือนกัน ตัง้ แตป​  ๒๕๕๐ ทีไ​่ ดเ​ริม่ บ​ ำรุงร​ กั ษา​พทุ ธสถาน​แหงนี้ ก็เ​ ตรียมใจ​ ไว​แลวว​ า​จะ​เผชิญกับ​สิ่ง​ที่​ไมใช​ความ​สุข​แนนอน วันที่​ได​ตกลง​ที่จะ​ ทำนุบำรุง​รักษา​สถาน​ที่นี้ ก็ได​เตรียมใจ​ไว​แลว​กับ​ความ​ทุกขยาก​ และ​ปญหา​ที่​ตอง​เผชิญหนา เปนการ​เตรียม​ความ​พรอมที่จะ​ เผชิญหนา​กับ​ความ​จริง ตาง​จาก​สามี-ภรรยา​ที่​แตงงาน​กัน​ใหมๆ


260 ไมได​มอง​ความ​ทุกข​วา​ได​เริ่มตน​ขึ้น​แลว หาก​แต​คิด​แต​ความ​สุข​ที่​ ได​อยู​รวมกัน หลาย​คน​ไมได​เตรียม​รับ​ความ​จริง​ที่จะ​เผชิญ เรา​หลอกตัวเอง​ ที่จะ​กาว​ขาม​วัน​และ​คืน วา​ซัก​วันหนึ่ง​เรา​จะ​ได​นั่น​ได​นี่ เรื่อง​ดีๆ​ จะ​เกิดขึ้น เรา​เฝา​หลอกตัวเอง​เพื่อ​กาว​ขาม​ผาน​วัน​เวลา​จาก​วัน​ เปน​เดือน​จาก​เดือน​เปน​ป นั่น​คือ​ความ​เบื่อหนาย​ซ้ำซาก​จำเจ กระบวนการ​ทไ​ี่ มแ​ นนอน​เคลือ่ น​ผา น ไมวา จ​ ะ​หมุนเวียน​ไป​อยางไร ก็​คือ​กระบวนการ​เดิม​ที่อยู​บน​ความ​ไม​แนนอน เรา​อาจจะ​เผชิญหนา​กับ​สิ่ง​ที่​ทำ​ไว​ใน​พระพุทธศาสนา เรา​เชื่อ​ เรื่อง​กรรม วา​เรา​จะ​ไดรับ​ผล​ของ​การ​กระทำ กรรม​จะ​ครอบคลุม​ ทั้ง​อดีต ปจจุบัน อนาคต แต​ถา​เรา​มอง​เรื่อง​พฤติกรรม​มากกวา​ละ พฤติกรรม​จะ​เปนเรือ่ ง​ทม​ี่ นุษยท​ ำ​เรือ่ ง​ซำ้ ซาก ทำ​เรือ่ งเดิมๆ​บอยๆ​ ซ้ำๆ โดย​ไมรูตัว​หรือ​รูตัว​ก็​สอดแทรก​ความ​ปรุงแตง​เพื่อ​หลอกลอ​ ตัวเรา​ใหอ​ ยูใ​ น​ขณะนัน้ เปนร​ ปู แบบ​หนึง่ ข​ อง​พฤติกรรม​มนุษย คือ​ คิด​เอง​เออ​เอง คิดวา​ทำ​นั่น​จะ​เปน​อยาง​นี้ คิด​เอง​เออ​เอง ในทาง​ พระพุทธศาสนา​คือ​กิเลส ราคะ โทสะ โมหะ หาก​มอง​ความ​จริง​ ทีแ่ ท มันไ​ มไดม​ อ​ี ยูแ​ ตตน เปนก​ ระบวนการ​ปรุงแตง เสกสรร กำหนด​ เนื้อเรื่อง​รูปแบบ โครงสราง​ไว​เพื่อให​เรา​เผชิญ เรา​สราง​รั้ว​เพื่อ​ลอม​ตัวเรา​เอง​ไว เชน ใคร​ทุกข​เพราะ​การ​ แตงงาน​บาง ใคร​ทุกข​เพราะ​ติดหนี​บ้ าง ถาม​จริงๆ ใคร​เปน​คน​บอก​ ให​เรา​แตงงาน ใคร​เปน​คน​บอก​ให​เรา​ยืมเงิน นีเ่​ ปน​พฤติกรรม​ที่​เรา​ ลอมคอก​ตัวเอง​ไว ไมมีใคร​บอก แต​เปนส​ ิ่งท​ ี่​พวกเรา​เลือก​เอง และ​ พวกเรา​ก็​เกิดม​ ี​ราคะ โทสะ โมหะ กับ​สิ่ง​ที่​เรา​เลือก เรา​มี​ความ​


261

เรา​ทุกข​ เพราะ​ความ​คาดหวัง ​ใน​ชีวิตม ​ าก​เกินไป ยินดี พอใจ ไม​ยินดี ไมพอใจ กับ​สิ่ง​ที่​เรา​เลือก​และ​กรอบ​ที่​เรา​ วางไวห​ รือ พระพุทธศาสนา​สอน​กระบวนการ​เหลานี้ แตเ​รา​มอง​แตป​ จ จุบนั เชน มีค​ น​บอกวาเ​รา​โง เรา​เกิดโ​ ทสะ​และ​ไป​ตอ ย​เขา​บอกวา”กูไ​ มไดโ​ ง” มันเ​ ปนก​ ระบวนการ​คดิ เ​ อง​เออ​เอง​กบั ป​ จ จุบนั คิดวาเ​รา​ไมโ​ ง ถาเ​รา​ คิดวาเ​รา​โงก​ จ​็ บ​แลว เพราะ​ปฏิกริ ยิ า​มนุษยเ​ร็วเ​ กินไป เรา​มอง​ไมทนั สราง​กรงขัง​ตัวเอง​ไว เรา​ยึดมั่น​และ​ปรุงแตง​ก็​เทากับ​เรา​ลอมคอก​ ตัวเอง​ไว ถาเ​รา​ปลอยวาง​มองตาม​ความ​จริง “ไมมโ​ี ง ไมมฉ​ี ลาด” เรา​เลือก​พฤติกรรม​ใหเ​ ปนอ​ ะไร​กไ็ ด แตท​ ำไม​เรา​เลือก​ทจี่ ะ​ลอ มคอก​ ตัวเรา​เอง ปู​พูดย้ำ​เสมอ​วา​เรา​ทุกข​เพราะ​ความ​คาดหวัง​ใน​ชีวิต​ มาก​เกินไป จบ ป.๖ คาดหวังเ​ งินเดือน​เทาค​ น​จบ​ปริญญาตรี คือไ​ ม​ สำรวม​กบั ค​ วาม​คาดหวัง ทุกขเ​ พราะ​สงิ่ ท​ คี่ าดหวังม​ าก​เกินไป ทำไม​ ไม​คาดหวัง ๒๐% คิด​แบบ​ในหลวง “พอเพียง” พระพุทธเจา​ให​ดู​ความ​เปนจริง​ไมใช​เจือปน พระพุทธศาสนา​ สอนใหม​ อง​สมมติ​สัจจะ และปรมั​ตถสัจจะ


262 ๑) สมมติ​สัจจะ คือ​ความ​จริง​โดย​สมมติ เชน เธอ​กับ​ฉัน​เปน​ ผัวเมียก​ นั หรือเ​ งินท​ ใ​ี่ ชกบั ข​ อง​ทเ​ี่ รา​มี เรา​แยก​ไมอ​ อก​วา น​ ค​ี่ อื ส​ มมติ เพราะ​เรา​เอา​สมมติ​เปนความ​จริง​ไป​หมด เรา​เลย​คาดหวัง​กับ​มัน “สมมติ” ไมมี​รากเหงา เปนของ​แปรปรวน สมมติ​ใหม​ได​เรื่อยๆ เรา​ได​อะไร​กับ​การ​คาดหวัง​ใน​สมมติ เรา​ไดทุกข​เพราะ​ได​สมมติ​มา​ ครอบครอง เรา​ไม​ไดทุกข​กับ​ความ​จริง​แท เรา​ทุกข​กับ​สมมติ​ที่​เรา​ ถือครอง​คาดหวัง ๒) ป​ รมัตถสัจจ​ ะ คือ​ความ​จริง​ตาม​ความ​เปนจริง เชน เกิด แก เจ็บ ตาย หาก​เปน​สิ่ง​ที่​เรา​เลือก​แลว อยา​กลัว อยา​ปรุงแตง อยา​ยึดมั่น อยา​คาดหวัง​อีก เรา​เริ่มจาก​คาดหวัง​แลวก็​หวาดกลัว “เรา​จะ​ได​ มั้ย” “เขา​จะ​คิด​เหมือน​เรา​มั้ย” เรา​ก็​เริ่ม​ปรุงแตง​และ​เรา​ก็​ยึดมั่น​วา​ จะ​อยางงั้น​อยางงี้ แลวก็​ทุกข​สิ เพราะ​จิต​เรา​สงไป​ขางนอก​ตลอด มนุษยเ​ ปนส​ ตั วท​ เ​ี่ ปดรับอ​ ายตนะ​เกิน ๑๐๐% หูต​ า​กแ​็ พรวพราว จะ​ไว หูไ​ มวา เ​รือ่ ง​ดไี มดจ​ี ะ​ไปกอน​เสมอ เพราะ​เรา​เปด เมือ่ ไ​ มรจู กั ค​ วบคุม​ ระงับผ​ ล​สืบเนื่อง​กเ็​ กิด ความ​ปรุงแตง​ความ​คาดหวัง​ก็​เกิด เชน รถ​ คัน​นี้​สวย คัน​นี้​ขี้​เหร เรา​ไมเคย​หัด​ควบคุม เรา​ก็​ตก​เปนท​ าส เมื่อไร​เรา​ควบคุม​มัน​ได ไม​ให​เปด​มาก​เกินไป เรา​ก็​จะ​ได​ชีวิต​ที่​ แทจริง​คืน​มา​คือ ​ปรมัตตถสัจจะ เรา​รูวา​ทุกข​เกิด​ที่ไหน​จาก ๑ ไป ๒ ไป ๓ ไป ๔ เมื่อไร​เรา​ควบคุม​มัน​ได ชีวิต​จิตวิญญาณ​ก็​จะ​มี​ อิสรภาพ เรา​จะ​ไม​ทุกข​เพราะ​เปลือกนอก​ของ​สมมติ ตาย​เปลี่ยน​ สังขาร​มา​เปน​รอยพัน​หมื่น​แสน​ลานชาติชเพราะอะไร นั่น​คือ​ทุกข​ที่​


263

เปน​ของจริง เปนปรมัตถสัจจะ เรียนรู​เนื้อหา​ของ​ความ​ทุกข​ที่​เปน​ เนื้อแท​ของ​ความ​ทุกข วันนี้​เรา​เรียนรู​กระบวนการ​ใน​การ​ทำลาย​กรอบ ตื่น​รู ควบคุม​ ตัวเอง​ไดม​ ากขึน้ ไมค​ าดหวัง กวาท​ พ​ี่ วกเรา​จะ​ฝา ฟนเ​ขามา​ใน​รม เงา​ พระพุทธศาสนา​ให​ได​มากกวา​นี้ เรา​ตอง​ทุมเท​กาย จิตวิญญาณ ปลดแอก​พันธนาการ​ใน​ตัวเรา เพื่อ​เขาใกล​อิสระ​ภาพ​ของ​ตัวเอง ไมมีใคร​ชวย​เรา​ได​นอกจาก​ตัวเรา​เอง


264

การ​เปลี่ยนแปลง​อยูทีต่​ ัวเรา ธรรมะ​จาก​นิโรธ​ครั้ง​ที่ ๒....หลวง​ป​ตู น​บุญ ติก​ ขปญโญ ณ วัดป​ า​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช เมื่อว​ ันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕

ช ว ง​ร ะยะเวลา​ที่ อ ยู  ​กั บ ​ตั ว เอง​ท ำให ​เรา​ไ ด ​เ ห็ น ​บ างสิ่ ง​ บางอยาง​ที่​เรา​มองขาม ชีวิต​ที่อยู​ใน​เมือง​เปน​ชีวิต​ที่​วุนวาย มี​บางสิ่ง​บางอยาง​ที่​เรงรัด​ เรา​โดย​ที่​พวกเรา​ไมรูตัว เหมือน​เปนวัฎ​จักร​หรือ​วงจร​ที่​คอย​บีบคั้น​ เรา มนุษยท​ จ​ี่ ม​อยูใ​ น​ปจ จุบนั น​ เ​ี้ ปนแ​ คอ​ ะไหลใ​ น​โครงสราง​ทท​ี่ ำใหข​ บั ​ เคลือ่ น​หมุนไ​ ป เรา​กห​็ ลง​ไปกับก​ ระบวนการ​เหลานี้ วันๆ ก​ ห​็ ลอกลอ​ ให​เรา​ทำ​เหมือนกับ​วา​แม​ไม​เต็มใจ บางครั้ง​ก็​ตอง​ทำ หลอก​จน​เรา​ เต็มใจ​ทำ เพื่อให​เปน​สวนหนึ่ง​ของ​ระบบ ของ​กลไก​นี้ สมมติ​ไม​มอง​ใน​เรื่องวัฎ​สงสาร​หรือสัง​สารวัฎ มอง​แค​ประเทศ​ ไทย มัน​ก็​เปนระบบวัฎ​จักรๆ​ หนึ่ง ไมวา​จะ​เปน​หางราน บริษัท ทีท่ ำงาน กระทรวง สุดทาย​กเ​็ ปนวัฎจ​ กั ร​ทผ​ี่ กู ก​ นั ไ​ ว มนุษยเรา​กลาย​ เปนอ​ ะไหลท​ เ​ี่ ขาไป​ขบั เ​ คลือ่ น​ใหวฎั จ​ กั ร​เหลานีห​้ มุนไ​ ป ใคร​ทม​ี่ ค​ี วาม​


265

โลภ โกรธ หลง​มาก กิเลส​มาก​ก็​เปน​ผูควบคุม​ระบบ เรา​ก็​เห็นดี​ เห็น​งาม​วาการ​ควบคุม​ระบบ​นี่​ดี ควบคุม​ชะตา​ชีวิต​มนุษย ระบบ​ โครงสราง​ของ​ชีวิต​มนุษย แตละคน​ก็​เลย​พา​กัน​มา​แสวงหา​อำนาจ แสวงหา​กิเลส มี​เทาไร​ก็​ไม​พอ แตละวัน​แตละ​คืน​เฝา​แสวงหา​มา​ ครอบครอง​เพื่อ​ควบคุม​ระบบ​เหลานี้ พวกเรา​ก็​วิ่งตาม​โครงสราง​ที่​ เขา​หลอกลอ​ไว ถา​เรา​ทำ​อยางงั้น​จะ​ได​ตำแหนง​นี้ จะ​ได​ซี​นั่นซีน​ ี่ มี​ คน​มาหา​ปู​ขอให​ชวย​ให​ได​ตำแหนง อีกหนอย​ก็​มา​อีก​ขอ​ตำแหนง​ สูงขึน้ อ​ กี มันจ​ ะ​จบ​มยั้ น​ ี่ ทำใหเ​รา​เปนข​ า ทาส มีเ​รา​หรือไมกไ​็ มส​ ำคัญ เพราะ​ใคร​กส​็ ามารถ​มา​เปนอ​ ะไหลต​ วั น​ ไ​ี้ ด ขณะ​ทเ​ี่ รา​ออกจาก​ระบบ​ อยาง​หนึง่ ก็ไ​ ป​อยูใ​ น​ระบบ​อกี อ​ ยาง​หนึง่ ไมจ​ บ ตราบใด​ทร​ี่ ะบบ​การ​ กินก​ าร​ใชข​ อง​มนุษยย​ งั เปนเ​ หยือ่ ข​ อง​ระบบ​โฆษณา​ชวนเชือ่ แลวเ​รา​


266

เรา​ผาน​วันแ​ ละ​คืน สรรพ​วัตถุเ​ รื่องราว​มหาศาล ​จน​เรา​มา​นั่งค ​ ิดวา ​เรา​กำลัง​วิ่งตาม​อะไร​ ก็​เชื่อ​เขา เขา​บอก​อรอย​ก็​เชื่อ​เขา ไมวา​เรา​จะ​เหน็ดเหนื่อย​เมื่อยลา​ แคไหน สุดทาย​ก็​ตอง​ตื่น เพราะ​เขา​ใส​โปรแกรม​ไว​วา​มัน​คือ​ภาระ​ หนาทีค​่ วาม​รบั ผิดชอบ เอ็งต​ อ ง​ทำ​อยางงัน้ อ​ ยางงี้ จริงๆ​แลวแ​ คก​ นิ ​ อิม่ ทอง​เฉยๆ ไมต​ อ ง​ใชข​ อง​มากมาย​ขนาดนัน้ ก​ ไ็ ด ทีอ่ ยูท​ อี่ าศัยต​ อ ง​ ใหญโต​รโหฐาน ก็​มัน​หลอกลอ​เรา​วา​มี​สิ่งท​ ี่​ดีกวา​และ​ดีที่สุด เรา​ผาน​วัน ​และ​คืน สรรพ​วัตถุ ​เรื่องราว​มหาศาล​จน​เรา​มา​ นั่ง​คิดวา​เรา​กำลัง​วิ่งตาม​อะไร เรา​เหนื่อย​โดย​ที่​เรา​ยัง​ไม​ไดรับ​ ผลตอบแทน คน​บางคน​มี​บาน​มี​รถ พอ​หันไป​มองดูกู​ก็​กู​มา​ทั้งนั้น พอ​ตอไป​บาน​เรา​ก็​เกา รถ​เรา​ก็​เกา ขณะ​ที่​เงิน​ฝากธนาคาร​ก็​มี​แต​ ลดคาล​ ง (ลอง​เทียบกับ​ราคา​ทองคำ​ดู ทอง​หนึ่ง​บาท​สมัยกอน​สหี่​ า​ พัน เดีย๋ วนีส​้ อง​หมืน่ ก​ วา) คิดด​ ดู ๆ ี ว​ า ส​ งิ่ ท​ เ​ี่ รา​มแ​ี ละ​เรา​เปนท​ ำใหเ​รา​ เหนื่อย ขณะ​ที่​ได​มา​แลวจะ​ดีใจ​ก็​ไมใช จะ​เสียใจ​ก็​ไมเชิง เรา​มี​หมด​ ทุกอยาง​แต​มนั ​ก​ย็ งั ​ไมดี​พอ​สำหรับ​เรา เลย​ทำให​เรา​แสวง​หาไม​จบ​


267 ไม​สิ้น ไมรู​จะ​ดิ้นรน​ขวนขวาย​ไป​ทำไม ตอง​ปลอยวาง​ให​ได ปญหา​ที่​สำคัญ​คือ คน​ไม​รับผิดชอบ​ใน​ปญหา​ที่​ตัวเอง​กอ โยน​ความ​รบั ผิดชอบ โยน​ปญ  หา โยน​ภาระ โยน​สงิ่ ท​ ต​ี่ วั เอง​ตอ งการ​ ให​คน​อื่น​แก หรือ​พยายาม​ให​คน​อื่น​หยิบย​ ื่นใหเ​ สมอ ออก​นิโรธ​มา​ มีแ​ ตค​ น​ขอ​พร​หนอย พวกเรา​เอาไป​พวกเรา​กไ​็ มเ​ ปลีย่ น​ความคิดอ​ ยู​ ดี สิ่ง​ที่​ใหม​ ัน​ก็​ไม​เกิด​ประโยชน เปน​แค​น้ำสะอาด​ขันห​ นึ่งเ​ อาไป​เท​ รวมกับ​น้ำเนา​ที่​มี​อยู​แลว เปลี่ยน​อะไรได เพราะฉะนั้น​สิ่ง​ที่​ให​ไป ไมไดห​ มายความวาจ​ ะ​เกิดก​ าร​เปลีย่ นแปลง การ​เปลีย่ นแปลง​อยูท ​ี่ ตัวเรา หลวง​ปชู​ วย​นี่​หนอย ชวย​นั่น​หนอย ถาม​จริงๆ​ชวย​อะไรได พวกเรา​กจ​็ ะ​ใหช​ ว ย​อยูน​ นั่ เรือ่ ง​บางอยาง​มนั เ​ กินค​ วาม​สามารถ​ของ​ เรา บางอยาง​มัน​ไมใช​กิจ​ของสงฆ ใชไหม​ละ ขอให​ชวย​ขายของ ชวย​ให​ได​ตำแหนง และอื่นๆ​ อีก​มากมาย ไมได​มา​บวช​เพื่อจะ​มา​ ขาย​ของให​พวกเรา​นะ เคย​ถาม​ตัวเอง​มั้ย​วา​ตองการ​อะไร​กัน​แน เงินๆๆ ​ที่​จำเปน​ ตองหา​ตอง​ใช​เอา​ให​พอประมาณ​ก็​พอ มี​ก็​ไมได​วา​หรอก พอให​กิน​ ให​ใช หา​หมอ ทำบุญ มี​มาก​เกินไป​ก็​ตระหนก​ตื่นกลัว กลัว​คน​มา​ ยืม คน​นั้น​มา​ขอ ถา​จะ​ให​ถูก ไม​ตอง​มา​ขอ​พร ขอ​พร​ไมไดผล อยา​ ได​ประมาท ความ​แปรปรวน​เกิดขึ้น​ไดง​ าย ใชชีวิต​กับ​ปจจุบัน​ก็​พอ อยา​ไป​คาดหวัง​กับ​อนาคต​มาก


268


269

ทาส​ความคิด ธรรมะ​สอน​ลูกๆ ใ​ น​วันพระ....หลวง​ป​ตู น​บุญ ติก​ ขปญโญ เมื่อ​เดือน กันยายน ๒๕๕๕

ใน​เรื่อง​การ​ประพฤติ​ปฏิบัติ​ธรรม คน​เรา​ตอง​ศึกษา​สังเกต​ ปจจัย​ตางๆ เชน เวลา สภาพแวดลอม ภูมิประเทศ ความ​ พรอม​ของ​ตวั เรา ไมใชไ​ ป​มอง​จดุ ม​ งุ หมาย​ไกล​เกินไป เลย​ไมได​ ประโยชนท​ ี่​แทจริง ให​มอง​สั้นๆ มอง​เปาหมาย​ใกลๆ เอา​ความ​สำเร็จ​ระยะสั้นๆ​ ใกลๆ ​กอน เรียน​รูวา​ชีวิต​ไมมี​อะไร​มาก ความ​สุข-ความ​ทุกข​ ลวน​เปนภาระ​ที่​เรา​ตอง​แบกรับ ความ​สุข​ถา​ไมมี​ก็​จะ​พยายาม​ ขวนขวาย สวน​ความ​ทุกข​กอ็​ ยาก​ให​หมดไป ไมวาส​ ุข-ทุกขล​ วน​ เปนภาระ​ที่​ตอง​แบกหาม ให​มอง​ภาระ​ใกลๆ​สั้นๆ ​กอน ถา​ไป ​สราง​เงื่อนไข​ไกล​เกินไป พอ​ไมสำเร็จ​ก็​ทอ ขยาด​และ​กลัว​วา​จะ​ ไมสำเร็จ​อีก การ​ประพฤติ​ปฏิบัติ​ธรรม​เปนของ​ละเอียด ธรรม​ของ​พระ-


270

มัน​เปน​แค​ธาตุ ๔ ขันธ ๕ พระพุทธเจา​มองวา ​คือ​ความ​วางเปลา​ พุทธเจา​เปนของ​ละเอียด หาก​เรา​ตองการ​เรียนรู​ซึ่ง​สัจธรรม​ของ​ พระพุทธองค ตัว​ของ​เรา​ตอง​มี​วิสัยทัศน รูปแบบ​การ​ดำเนิน​ชีวิต​ เหมือนกับ​พระพุทธเจา พระพุทธเจา​ทาน​มอง​ยังไง และเรา​มอง​ อยางไร ทำ​มุมมอง​ทุกอยาง​ให​มา​อยู​จ ุด​เดียว​ให​ได เรา​ตก​เปน​ทาส​ ความคิด​มา​เปน​สิบๆ​ ป เรา​คิด​นั่น​ทำ​นี่​เกิด​จาก​อายตนะ​มัน​เปด สวน​ที่​โดน​กระทบ​และ​เรา​เปดโอกาส​ให​มา​กระทบ “เกี่ยวของ​ กับ​ไมเกี่ยว” เมื่อไรที่​คิด​ให​มันเ​ กี่ยว​ก็​จะ​เกิด​การ​ปรุงแตง โดย​มาก​เรา​ฝก​ที่จะ​สราง​โครงสราง​เหลานี้ เพราะ​เรา​ตาม​รู​ไม​ เทาทัน จึง​เกิดม​ ิติ​ขึ้น เมื่อไร​เรา​ไป​สนใจ (จิต​ไป​เพง) ก็​จะ​เกิด​การ​ ปรุงแตง เพราะ​เรา​ปรุงแตง เรา​จงึ ค​ าดหวัง เรา​ไมไดม​ อง​สภาพ​ความ​ เปนจริง​เนือ้ แท เรา​ทกุ ขเ​ พราะ​ความคิดท​ ถ​ี่ กู ​กำหนด​ไว​แลว อยู​ใน​น​ี้ ใน​จิตข​ อง​เรา ถา​เรา​ไมรู เชน เขา​พูด​ภาษา​อื่น เรา​ก็​จะ​ไม​ทุกข มอง​ ลึก​ลง​ไป​อีก มัน​เปน​แค​ธาตุ ๔ ขันธ ๕ พระพุทธเจา​มองวา​คือ​ ความ​วางเปลา เรา​ตก​เปน​ทาส​ความคิด​และ​ก็​เปน​เหยื่อ​ความคิด​เหลานั้น เรา​ ไมเคย​บริหาร​ความคิด ไมเคย​สราง​ขอบเขต​ขอจำกัด​ของ​ความคิด


271 พอ​มี​ความคิด มี​การ​ปรุงแตง ​

มี​ความ​คาดหวัง มี​เขา​มี​เรา มี​ตัว​มี​ตน สูง​ต่ำ ดำ​ขาว ถูก​ผิด ใช​ไมใช ยึดมั่น​วา​เปน​อยางงั้นอ​ ยางงี้ มี​ความ​หวาดกลัว ทุกข เคย​ถาม​ตัวเอง​บาง​ไหม วา​ทำไม​ใชชีวิต​มาถึง​ขนาดนี้​แลว​ถึง​ ตก​เปน​ทาส​ความคิด​ไม​จบ​ไม​สิ้น เรา​เกิด​มา​เพื่อ​สิ่ง​นี้​หรือ เรา​เกิด​ มา​เพื่ออะไร ตองการ​อะไร​ใน​โลก​นี้ พระพุทธเจา​ทาน​มี​มหา​ ปณิธาน มีค​ วาม​มุงมั่น​ตั้งใจ ตัวเรา​เอง​มี​มหา​ปณิธาน​อะไร เรา​มกั ม​ อง​จาก​มมุ มอง​ของ​เรา ทำไม​ไมม​ อง​จาก​หลายๆ ม​ มุ มอง เรา​เปน​ทาส​ความคิด​แคนี้ เรา​มอง​แค ๕+๕ = ๑๐ แต​จริงๆ​แลว ๖+๔ = ๑๐, ๘+๒ = ๑๐ และ​ยังมี​อีก​เยอะแยะ ทัศนคติ มุมมอง​แบบ​อื่น ยังมี​อีก​เยอะ เรา​ถูก​กรอบ​ของ​ วัฒนธรรม ขนบ​ธรรมเนียม​ประเพณี ความ​เชื่อ ครอบ​ไว เมื่อ​เห็น​ อะไร​ที่​แตกตาง เรา​ก็​มี​แค ๒ อยาง ยอมรับแ​ ละปฎิเ​ สธ


272

เรา​เกิด​มา​เพื่อ​เรียนรู​ ที่จะ​อยู​กับ​สุข-ทุกข และ​รูจักท ​ ี่จะ​ปลอยวาง​มัน​ เรา​ได​ประโยชน​อะไร​จาก​มุมมอง​ชีวิต​ที่​แตกตาง หรือ​เรา​ จมปลัก​กับ​ความคิด​ของ​เรา​เอง ไมเคย​เอา​ความคิด​อื่นๆ​ มา​ เปรียบ​เทียบกับ​ความคิด​ของ​เรา เมื่อใด​เรา​คิด​เดิมๆ ไม​สามารถ​ กาว​ยาง​จาก​กรอบ​ความคิด เรา​เอง​ก็​ไม​เกิด​การ​พัฒนา การ​ประพฤติ​ปฏิบัติ​ให​ลองทำ​ตาง​เวลา ตาง​สถานที่ ตาง​ สภาพแวดลอม จะ​ได​เห็นค​ วาม​แตกตาง เรา​มี​บาน​อยู​ใกล​กอง​ขยะ แต​เรา​ไมเคย​รูสึก เพราะ​อยู​จน​ชิน เมื่อไรที่​กาว​ยาง​ออกมา ก็​จะ​ เหม็น เพราะ​ทผี่ า นมา​มนั ช​ นิ เมือ่ เ​ ห็นแ​ ลวเ​รา​กจ​็ ะ​มท​ี างเลือก เลือก​ ความ​สงบ​ความ​วุนวาย มอง​ใหเ​ ห็น​ความ​แตกตาง​ให​ได เรา​เกิด​ มา​เพื่อ​เรียนรู​ที่จะ​อยู​กับ​สุข-ทุกข และ​รูจัก​ที่จะ​ปลอยวาง​มัน หาก​เรา​ยัง​ไม​สามารถ​ละทิ้ง​ตัวตน อัตตา ยังมี​เขา​มี​เรา โอกาส​ใน​การ​เขาถึงส​ จั ธรรม​ของ​พระพุทธองคก​ น​็ อ ยลง มุมมอง ทัศนคติ วิธี​คิด​ยัง​เหมือนเดิม ยังมี​ความ​ยินดี พอใจ กับ​ความ​ ทะยานอยาก​ทางโลก ยัง​เรียกรอง ยังมี​เงื่อนไข มี​เหตุผล​ของ​เรา​ เอง เรา​ยัง​ไม​ผาน​ที่จะ​กาว​ยาง​เขาถึงโ​ ลก​จิตวิญญาณ​ได


273 สำคัญทีส่ ดุ ค​ อื ท​ บทวน​พฤติกรรม​ของ​เรา​เอง พวกเรา​เกิดม​ า​เพือ่ ​ ตองการ​อะไร​กัน​แน ทำความ​เขาใจ​วา ขณะ​ทไี่​ มม​อี ะไร​เกิดขึ้น ไมม​ี อะไร​นา สนใจ เรา​จะ​ทำ​อยางไร ยังเ​ ลือก​ทำ​แตส​ งิ่ ท​ ต​ี่ วั เอง​ชอบ พอใจ ยินดี ไมส​ ามารถ​ยอมรับก​ บั ค​ วาม​ไมย​ นิ ดี ไมพอใจ เรา​มค​ี ำ​ตอบ​กอ น​ ปฏิบัติ ไม​ทำตัว​เปน​ภาชนะ​ที่​วางเปลา ไม​ระวัง​กาย วาจา ใจ​ ของ​เรา​เอง จิต​ที่​เรารอน อยู​กับ​เนื้อหา​สาระ​ที่​ไมได​เปน​ประโยชน ปฏิบัติ​ไมเห็น​ผล​แลวจะ​อยู​อยางไร แตละวัน​อยู​กับ​ความ​จำเจ คิด​ วาการ​ปฏิบัติ ๓ วัน ๑๐ วัน จะ​ทำให​เรา​เปน​อะไร ในขณะที่​เรา​ เลือก​สิ่ง​ที่​เรา​ชอบ พอใจ ยินดี ควร​จะ​อยู​อยางไร ไมใช​เรียกรอง​ การ​เปลี่ยนแปลง​จาก​ผูอื่น แต​ควร​เรียกรอง​จาก​ตัวเรา​เอง นี่​คือ​ สิ่งท​ ี่​ตอง​คิด พิจารณา​และ​ทบทวน จะ​มอง​อยางไร ไมวา​ดี​และ​ไมดี​ ก็ตาม จะ​อยู​อยางไร สังสารวัฏเ​ ปนอ​ ยางงี้ มีท​ งั้ ค​ วาม​พอใจ ไมพอใจ มีม​ ดื ม​ ส​ี วาง สูง​ต่ำ ดำ​ขาว เมื่อ​เห็น​สิ่ง​หนึ่ง​ก็​เห็น​อีก​สิ่ง​หนึ่ง แต​พวกเรา​ไม​ ทำความ​เขาใจ​กับ​ความ​เปนปกติ​อันนั้น ปญหา​คือ​พวกเรา​ยัง​ ทำ​ไม​เปน ยัง​ไมเขาใจ​วา​จะ​บริหาร​ความคิด การ​กระทำ​อยางไร เบือ้ งตนค​ วร​ตระหนักร​ พ​ู นื้ ฐาน​วา เ​รา​มา​เพือ่ เ​ ปลีย่ นแปลง​ตวั เรา​เอง อยา​ผูก​ติด​อารมณ​ดานเดียว ไมวา​ยินดี พอใจ​ก็ดี หาก​เรา​พัฒนา​ ศักยภาพ​ใหก​ ระจาย​ออก (คลาย​กำหนัด) นั่นถ​ ึง​จะ​เกิด​ประโยชน เมื่อใด​เรา​เอา​อัตตา​มอง​ทุกข ก็​ไมเห็น​ทุกข เมื่อใด​เรา​เอา​อนัตตา​มอง​ทุกข เห็นวา​ไมมี​เขา​มี​เรา เรา​ก็​จะ​เขาใจ​เนื้อหา​ของ​ความ​ทุกข​จริงๆ


274


275

ทาน​ที่​ไดผล​มาก และการ​วาง​ความ​เขาใจ ธรรมะ​จาก​นิโรธ​ครั้ง​ที่ ๓....หลวง​ป​ตู น​บุญ ติก​ ขปญโญ ณ วัดป​ า​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช เมื่อว​ ันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๕

ตอนที่ ๑ ทาน​ที่​ไดผล​มาก คน​มา​ทำบุญ​ผอน​หนัก​ผอน​เบา​ผอน​ยาว​ผอน​สั้น ถอย​ที​ถอย​ อาศัย มี​อะไร​ก็​แบงปน​กัน ไมใช​อยู​ดวย​ความ​โลภ โกรธ หลง อิจฉาริษยา อยู​เพราะ​ความ​มักมาก ยึดมั่น​ถือมั่น ไมรูจัก​แบงปน​ เอื้อเฟอ แทนที่จะ​ได​บุญ​ได​กุศล​กลับไ​ ด​นอย ทาน​จะ​ไดผล​มาก​เมื่อ​ประกอบ​ไป​ดวย การ​รักษาศีล ถา​ศีล​บริสุทธิ์​ทำทาน​นอย​ก็​มี​ผล​มาก ศีล​จะ​ ค้ำจุน​ไว คน​ที่​ไม​ถือศีล​แตจ​ ิต​บริสุทธิ์​คือ​จิต​ของ​เขา​ประกอบ​ไป​ดวย​ ศีล​อยู​แลวก็​เหมือน​คน​มี​ศีล การ​ตั้ง​สัจจะ​มั่น อธิษฐาน​บุญก​ ็ได​มาก เขา​ใจความ​หมาย​ของ​สิ่ง​ที่​ตน​จะ​ให ให​เพื่ออะไร คน​ที่​


276 ไมเขาใจ​ไดผล​นอ ยมาก คน​ใหทาน​มกั ห​ วังผล แตผ​ ล​ควร​อยูก​ บั ค​ วาม​ พอดี​และ​เปนจริง คน​สวนมาก​ใหทาน​แลว​ไมอยู​กับค​ วาม​พอดี​และ​ เปนจริง ใหทาน​นอยนิด​แต​หวังผล​มากมาย​มหาศาล เอา​ทุกอยาง มัน​ไม​เปนกลาง​และ​ไม​พอดี สิ่ง​ที่​เรา​ทำ​กับ​สิ่ง​ที่​เรา​ปรารถนา​ควร​ให​ มัน​พอดีกัน การ​กระทำ​มัน​ใหผล​สืบเนื่อง มี​สิ่ง​หนึ่ง​ยอม​มี​อีก​สิ่ง​หนึ่ง ทำ​อะไร​ไว​ยอม​ไดรับ​ผล​อันนั้น​ ตามหลัก​ของ “​อิทัปปจจย​ตา” เรื่อง​ผล​สืบเนื่อง นีก่​ ็​เหมือนกัน ทำบุญ ๒๐ บาท ขอให​ปราศจาก​ทุกขโศก​โรคภัย เงินทอง​มั่งมี เลื่อนยศ​เลื่อน​ตำแหนง ถูก​เลข​ถูกหวย เอา​ทุกอยาง ฉะนั้น​แลว เรา​ไมเขาใจ​ใน​สิ่ง​ที่​เรา​ให เรา​ก็​ไม​ไดรับ​หรอก เรา​ ตอง​เขาใจ​วา ใ​ หเ​ พือ่ อะไร สิง่ ท​ ต​ี่ น​กระทำ​นนั้ จ​ งึ จ​ ะ​มผ​ี ล​มาก​เพราะ​ทำ​ ดวย​ความ​เขาใจ คน​ที่​ไมได​วาง​ความ​เขาใจ​ไว​เปนหลักท​ ำ​ดวย​โมหะ​ คือค​ วาม​หลง หลง​ไปกับส​ งิ่ ท​ เ​ี่ รา​คดิ ป​ รุงแตงห​ รือส​ งิ่ ท​ เ​ี่ รา​คาดหวัง ไม​ เกิด​มรรค​เกิดผล​ขึ้น กอน​ทำบุญ​ใหทาน​ตอง​ตระหนัก เหมือนกัน คน​ที่​รักษาศีล​ หรือ​สมาธิ​ภาวนา​ตอง​ตระหนัก จริงๆ ​เรา​ทำ​เพราะอะไร​ เพื่ออะไร ทำ​เพราะ​ความ​โลภ โกรธ หลง หรือ​ทำ​เพราะ​ความ​ ทะยานอยาก เรา​จะ​เห็น​ไดว​ า​ใน​ยุคสมัย​ปจจุบัน คน​ที่​มี​ความ​ตองการ ความ​ อยาก อาศัย​ความ​อยาก​เปน​พื้นฐาน​ใน​การ​ปฏิบัติ​มี​มากกวา​คน​ที่​ เขาใจ​ไป​ปฏิบัติ เห็น​เพื่อน​ทำ​อยาก​ทำ​กับ​เพื่อน หรือต​ ัวเอง​ประสบ​ ความ​ทกุ ขอ​ ยาง​ใด​อยาง​หนึง่ แ​ ลวจึงไ​ ป​ปฏิบตั บ​ิ ำเพ็ญ ซึง่ ม​ นั ไ​ มไดอ​ ยู​ บน​พื้นฐาน​ของ​ความ​เขาใจ


277

การ​ใหทาน รักษาศีล บำเพ็ญ​สมาธิภ ​ าวนา จะ​ไดผล​ก็ตอเมื่อ “เขาใจ” รู​เหตุ​ปจจัย ​ใน​สิ่ง​ทีต่​ น​เอง​กระทำ​ การ​ใหทาน รักษาศีล บำเพ็ญ​สมาธิ​ภาวนา จะ​ไดผล​ก็ตอเมื่อ “เขาใจ” รู​เหตุ​ปจจัย​ใน​สิ่ง​ที่​ตน​เอง​กระทำ วา​ทำ​สิ่ง​นี้​จะ​ไดผล​อยาง​ นั้น ทำ​สิ่ง​นั้น​จะ​ไดผล​อยาง​นี้ เหตุผล​เพราะวา​เรา​วาง​ความ​พอดี​ ไว​กับ​ความ​เขาใจ คน​ที่​ไมเขาใจ​ก็​จะ​คิด​ปรุงแตง​วา​ทำ​อยาง​นั้น​จะ​ ไดผล​อยาง​นี้ ขาด​ความ​พอดี พวกเรา​มีการศึกษา​ระดับ​หนึ่ง อยา​ไป​เชื่อตาม​หนังสือ​ตำรา​ที่​ เขียน​ไว เพราะ​มกั พ​ ดู แ​ ตเ​รือ่ ง​ทเี่ กิด นัง่ ส​ มาธิไ​ ดอ​ ยางงัน้ อ​ ยางงี้ เรือ่ ง​ ทีท​่ ำ​ไมไดไ​ มไดพ​ ดู ไ​ ว ตอนที่​ทำ​เจอ​ปญ  หา​อปุ สรรค​อาจ​มบ​ี อก​ไวแ​ ต​ ไมไดบ​ อกเวลา​วา ก​ เ​ี่ ดือน​กป​ี่ ก​ ภ​ี่ พ​กช​ี่ าติ ไมไดพ​ ดู แ​ ตเ​ริม่ ตนว​ า ภ​ พ​ชาติ​ กอง​สุม​เทา​ภูเขาเลากา ไมคอย​ได​พูด​ตอน​ทำ​ไมได มัก​พูด​แต​ตอน​ ทำได​แลว ประสบ​ผลสำเร็จแ​ ลว ฉะนัน้ แ​ ลว กำลังข​ อง​เรา​ใน​การ​เขาไ​ ปถึงห​ รือเ​ขาไ​ ปสูก​ ระบวนการ​ เหลานั้น​ได​ตอง​ใช​ระยะเวลา​ตั้ง​เยอะ อยา​ไป​รอ​ความ​พรอม ทำ​


278 อยางงั้น​ไดผล​อยางงี้ จะ​หลุดพน​อยาง​นั้น​อยาง​นี้ เปนไป​ไมได จะ​ เปนไปได​นะ เริ่มตน​คือ วาง​ความ​เขาใจ​ใน​ตัว​ของ​เรา​ให​ได​มาก ลำพัง​แค​การ​ใหทาน​ยัง​ทำได​ยาก นับประสา​อะไร​กับ​การ​ รักษาศีล การ​ทำสมาธิ​ภาวนา การ​บำเพ็ญ​สมาธิ​ภาวนา​หรือ​การ​ บำเพ็ญตน​เปน​อุบาสก​อุบาสิกา​ใน​พระพุทธศาสนา​ไมใช​เรื่อง​งาย ขนาด​ออกมา​เปนอ​นาคาริกค​ อื พูดง​ า ยๆ อ​ ยาง​แมชี หรือพ​ ราหมณ​ โกน​ผม ไมข​ อ งแวะ​กบั ต​ ระกูลแ​ ลว ทำไดย​ าก เพราะ​ชวี ติ ท​ างโลก​เปน​ ชีวิตท​ ี่​เรา​ถูกส​ ภาพ​เจือปน​ไปแลว กวา​จะ​ถึง​ปจจุบัน เรา​ลวน​อาศัย​สิ่ง​เหลานี้ มีกินมีใช​ทุกวันนี้​ ก็​เพราะ​กิเลส​ตัณหา​พา​เรา​ไป มี​บาน​รถ​มี​การ​มี​งาน​เพราะ​ความ​ ทะยานอยาก​ทั้งนั้น เรา​หายใจเขา​ออก​อยู​กับ​กิเลส​ตัณหา มัน​ เปนการ​ยาก​ที่จะ​ทำได มัน​ตอง​ใชเวลา​ที่​ตอง​บม​เพาะ ตอนที่ ๒ การ​วาง​ความ​เขาใจ ในทาง​พุทธศาสนา​แบบ​มหายาน​จะ​สอนให​มอง​แบบ​ระยะยาว คือ “หวาน​พืช​แบบ​ไม​หวังผล” ขณะ​ที่​พวกเรา​ถูก​สอน​มา​วา “หวาน​ พืช​ตอง​หวังผล” มอง​แต​ปจจุบันน​ ี้ เอา​เดี๋ยวนี้ ตอง​ไดๆ เชื่อมั่นใ​ น​ ศักยภาพ​วาม​ ี​ความ​สามารถ แต​ใน​ความ​เปนจริงล​ ะ เรา​มี​ศักยภาพ​ อยาง​นั้น​จริง​หรือไม คน​พัน​หมื่น​แสน​ลาน​คน​รอย​พอ​พัน​แม​ใน​ มนุษยโลก​นี้​มี​แหลงที่มา​ไม​เหมือนกัน บางคน​เปน​เทพ​เทวดา​มา​เกิด​เปนม​ นุษย บางคน​เปน​มนุษย​มา​เกิด​เปน​มนุษย บางคน​เปน​เปรต อสุรกาย สัตว​นรก​มา​กอน


279 แหลงที่มา​ของ​จิตวิญญาณ​จาก​ตาง​ที่​มัน​แตกตางกัน​เหลือเกิน ไมได​หมายความวา​คน​มา​ฟงเทศน​จะ​บรรลุเ​ หมือนกันห​ มด เปนไป​ ไมได จิตวิญญาณ​ที่​ละเอียดออน​และ​หยาบ​มี​ความ​ตางกัน วันนี้​เรา​จะ​มา​พูด​กัน​ถึง​เรื่อง​ศักยภาพ​พื้นฐาน​เบื้องตน แบบ​ วา​ปรับ​เปลี่ยน​ทัศนคติ หันมา​มอง​อีก​มุม​หนึ่ง จาก​ของเกา​ที่​เรา​ เคย​มอง ลอง​มอง​กลับกัน เรา​เคย​มอง​แตวา​ทำ​แลว​ได บุญ​นี้​ทำ​ แลว​ตอง​ได ถา​ทำ​แลว​ไมได​จะ​เกิด​อะไร​ขึ้น ลองคิดดู​สิ คน​ที่​ทำ​แลว​ ตาย​ไป​ไมเคย​กลับมา​เลา วา​รู​อยาง​นี้​นาจะ​ใสบาตร​มากกวา​นี้ ไมมี ไมมีใคร​ตาย​แลว​กลับมา​บอก ฉะนั้น เรา​ควร​มี​มุมมอง​ของ​ความ​ เปนกลาง ไมใชท​ ำ​แลว​อยูก​ ับ​โลภ โกรธ หลง เพราะ​ความ​ไมรู​ ซึง่ เ​ ปนร​ ากฐาน​ของ​การ​เกิดม​ า​เปนม​ นุษย มันเ​ ริม่ จาก​ความ​ลงั เล​ สงสัย เริ่มจาก​ความ​ไมแนใจ ความ​ไมรู​จึง​กอ​เกิด ฉะนั้น จะ​ ไดผล​มาก​ตอง​อยูที่​ความ​เขาใจ ถา​ยอนหลัง​ไป ๒,๕๐๐ กวา​ป​ท ี่แลว คน​ไมรูจัก​พระพุทธเจา ไม​ รูวา​พระ​ที่​เดิน​ถือ​บาตร นุงหม​ผา​ยอม​ฝาด คือ​พระพุทธเจา เขาใจ​ วา​เปน​นักบวช​ธรรมดา ซึ่ง​ใน​สมัย​นั้น​ศาสนา​พราหมณ​ปลูกฝง​วา คน​เปน​นักบวช​ตอง​ผม​ยาว ​ไว​หนวดเครา​นุงหม​ผามอๆ ​ใส​ประคำ บำเพ็ญบ​ ารมีแ​ บบ​ตบะ กัน้ ล​ มหายใจ​อสั สาสะ​ปส สาสะ พอ​ทา น​เปน​ พระพุทธเจาแ​ ลว ไมมก​ี าร​ลง facebook บอก​กนั ไมมใี คร​รเ​ู ลย ไมม​ี การ​ออกขาว​ชอง ๓, ๕, ๗, ๙ แบบ​ปจจุบัน ไมมี​โฆษณา​ชวนเชื่อ​ ใดๆ​ทั้งสิ้น ทาน​ไป​บิณฑบาต จะ​รู​ได​อยางไร​วา​เปน​พระพุทธเจา ทาน​รู​ แต​คน​ที่​ใสบาตร​รู​ไหม ความ​ไมรู​ของ​เขา​กับ​ความ​ไมรู​ของ​เรา​มี​ผล​


280

ตอให​เรา​นั่งอ ​ ยูต​ อหนา​ พระพุทธเจา ถา​เรา​ไมน ​ อม​ธรรม​ ​ ะไร​ นั้น​มา​ใส​เรา​ก็​ไมไดอ แตกตางกันไ​ หม วันค​ นื ล​ ว งเลย​ผา นไป พระพุทธศาสนา​เจริญข​ นึ้ ไ​ ป คน​ที่​ใสบาตร​ไมรู​จน​ไป​ประพฤติ​ปฏิบัติ​ใน​สำนัก​พระองค​แลวจึง​ได​ รูวา​นั่น​คือ​พระพุทธเจา สิ่ง​ที่​พระองค​ให​คือ​พระ​สัจธรรม​คำ​สั่งสอน คน​ท​คี่ ดิ ​ตาม​พระพุทธเจา​ได​ใน​ชว ง​เวลานัน้ ​ซงึ่ ไ​ มหา ง​เทาไร ก็​ยงั ​พอ​ สืบต​ อกัน​ได ยัง​ตาม​เชื้อ​ตาม​แถว​กัน​ได จน​มาถึง​ยุค​นี้ มัน​หางกัน​มาก เรา​เชื่อ​สิ่งท​ ี่​ถูก​ปรุงแตงไ​ ว​แลว​ และ​สิ่ง​ที่​สอด​ใสไว​ใน​พระไตรปฎก​จน​เปน​สวน​ของ​กระบวนการ​ ความคิดร​ ากเหงาข​ อง​พระพุทธศาสนา​ทค​ี่ น​นบั ถือ ในขณะ​เดียวกัน คน​ตอง​มี​สติ​ใน​การ​ใช​วิจารณญาณ​มากขึ้น คน​บางคน​อาปาก​ หุบ​ปากพูด​แต​เรื่อง​พระไตรปฎก​อยู​อยาง​นั้น แต​ถาม​จริงๆ มี​ใคร​ ปฏิบตั ไ​ิ ดจ​ ริงๆ ครูบาอาจารยต​ งั้ แตพ​ ระ​อาจารยม​ นั่ เ​ ปนตนมา​หลาย​ รูป​หลาย​องค​ที่​คน​ยอมรับวา​เปน​พระอรหันต ไมเห็น​ทาน​ยก​อาง​ พระไตรปฎก​มา​เปนส​ าระสำคัญเ​ ลย มีพ​ ระ​เคย​ไป​กราบพระ​อาจารย​ มั่น ๑-๒ ปกอน​ทาน​มรณภาพ ​ถามทาน​เรื่อง​พระไตรปฎก ทาน​


281 บอกวา​เอา​ใส​ตู​ไว เรา​มา​ฟง​สิ่ง​ที่​ฉัน​ปฏิบัติ​ได​นี่ สิ่ง​นี้​เปน​สิ่ง​ที่​ฉัน​รู​ ฉัน​เขาใจ ฉัน​ไมได​เขาใจ​ใน​พระไตรปฎก แต​เขาใจ​จาก​การ​ปฏิบัติ​ได ไมได​มี​อยูที่​ไหนเลย มี​อยู​ใน​บท​สวดมนต​ธรรมดา​ทั่วไป พระ​สูตร​ เพียง​เล็กๆ​นอยๆ​ที่​พระพุทธเจา​พูด​ไว พระ​อาจารย​มั่น​ทาน​เทศน​สอน​ใน​หนังสือ “โยนิโสมนสิการ” คือ​นอม​เขามา​พิจารณา คน​ที่​ไม​นอม​มา​พิจารณา​คือ “​วิตก​ วิจารณ” ไม​เปน มี​ความ​ตระหนัก​รู มี​ความ​เขาใจ​ไหม คน​ที่​ไมรูจัก​ พิจารณา ตอให​มี​ธรรม​อยู​เต็ม​โลก​ก็​ไม​เกิด​ประโยชน ตอให​เรา​นั่ง​ อยู​ตอหนา​พระพุทธเจา ถา​เรา​ไม​นอม​ธรรม​นั้น​มา​ใส​เรา​ก็​ไมได​ อะไร ไมไดพ​ ดู ถึงเ​รือ่ ง​วจิ ติ ร​พสิ ดาร ทาน​พระ​อาจารยม​ นั่ แ​ ลกเปลีย่ น​ สนทนา​ธรรม​กับ​ทาน​เจา​คุณอุ​บาลี​ วัด​บรม​นิวาสฯ เอา​ธรรม​ที่​ เปนของ​ปฏิบตั ไิ​ ดแ​ ละ​ทอี่ ยูใ​ น​พระไตรปฎก​มา​เปรียบเทียบ​กนั ทาน​ เจาคุณอุ​บาลี​ทาน​ก็​เปน​พระอริยบุคคล​เหมือนกัน ทาน​บอกวา พระไตรปฎก​ความ​คลาด​เคลือ่ น​ตอ ง​มี แตค​ น​เอา​ความ​คลาด​เคลือ่ น​ นั้น​ไว​เปน​ประมาณ ยึด​เอา​ความ​คลาด​เคลื่อน​วา​เปนจริง เกิด​การ​ ปฏิวตั ด​ิ า น​ความคิด พุทธศาสนา​กแ​็ ตกตางกันอ​ อก​ไปเรือ่ ยๆ มีล​ ทั ธิ​ นิกาย​ใหม​อยู​เรื่อยๆ บาน​เรา​ก็​มี ตางประเทศ​ก็​มี “วิปสสนา” แคนี้​เอง เปน​หลักธรรม​ที่​ไมได​อะไร​มากมาย​แต​ ทำให​ครูบาอาจารย​บรรลุ​มรรคผล​นิพพาน​ได ไมได​เปนของ​ที่​ตอง​ เปด​ตำรับตำรา​อะไร​มากมาย​มหาศาล ที่​ทำได​ก็​เพราะ​รูจัก​นอม​ เขามา​พิจารณา มา​ดู คน​เรา​ก็​มี​แคนั้น คน​ไมรูจัก​หยุด ไมรูจัก​ พิจารณา​ยอ ม​ไมไ​ ดรบั อ​ ะไร ประโยชนก​ ไ​็ มเ​ กิดขึน้ แ​ มแตก​ ระพีห​้ นึง่ ฉะนั้น​แลว ยอนกลับไป ความ​เขาใจ​ใน​สิ่งท​ ี่​ตน​กระทำ ถา​ไมรูจัก​วา​


282 สิ่ง​ที่​เรา​ทำ​คือ​อะไร เรา​ก็​จะ​ไมได​รับประโยชน ตั้งแต​เริ่มตน​แมแต​ การ​ใหทาน​ซึ่ง​เปน​พื้นฐาน เรา​ไมได​เจาะจง​วา​เปนพ​ ระสงฆ ให​ใคร​ ถือวาเ​ ปนท​ าน​ทงั้ สิน้ ทาน​ทเ​ี่ ปนเ​ บือ้ งตน เบือ้ ง​กลาง เบือ้ งปลาย มี ๓ ระดับ ทานบารมี ทานอุป​บารมี ทาน​ปรมัตถ​บารมี ทาน​เหลานี้​ ยอม​มี​หลัก​หรือ​องคประกอบ​ซับซอน​ขึ้น และ​อาศัย​ความ​ตั้งมั่น เมื่อ​มี​ความ​เขาใจ ​และ​ตั้งมั่น​ก็​มี​ผล​เพิ่มขึ้น ในขณะ​นั่งร​ อ​ใสบาตร ถาจ​ ติ เ​รา​เกิดส​ มาธิต​ งั้ มัน่ ขึน้ กับว​ า ผ​ กู ไวก​ บั อ​ ะไร ถา​การ​ตงั้ มัน่ ผ​ กู ไว​ กับ​การ​อธิษฐาน​บุญไ​ ปเรื่อยๆ บุญ​นี้​ก็​มี​อานุภาพ​เกิดขึ้น ทาน​นั้นก​ ็​ มี​อานุภาพ​เกิดขึ้น ถา​ไป​ผูกไว​กับ​สัจจะ ถา​เรา​ตั้ง​สัจจะ​ไว ตราบใด​ ที่เกิด​อะไร​ขึ้น​เชน​แผนดินไหว ฝนตก เรา​จะ​ไม​หวั่นไหว ผูกไว​กับ​ อะไร​ก็​ไดผล​อันนั้น ผูกไว​กับ​ขันติ ผูกไว​กับ​ความ​เพียร​วิริยะ ไมวา​ เกิด​อะไร​ขึ้นเ​ รา​จะ​ยังคง​ทำ​อยางงี้ เจ็บ​ตรงนั้น เหนื่อย​อยางงี้ รอน​ อยางงั้น ลา​อยางงี้ แต​ยังคง​ความ​เพียร​ไว ยอม​บังเกิด​อานิสงส​ ขึ้น เพราะ​ความ​เขาใจ​เรา​จึง​ผูก​ความ​ตั้งมั่น​ไว​กับ​สิ่งเ​ หลานี้​และ​เกิด​ อานิสงสข​ ึ้น ถา​ไมมี​ความ​เขา​ใจเสีย​แลว ทำ​ไป​ก็​อยางงั้น ในขณะที่​เรา​นั่ง​อยู​นี่​เรา​จะ​แผเมตตา เรียกวา​บม​เพาะ​ความ​ เมตตา​ใหเ​ กิด​สำหรับ​คน​ที่อยู​กอน​เรา​หลัง​เรา สำหรับค​ น​ที่​ตองการ​ ใสบาตร เรา​ให​ความ​เมตตา ให​ความ​เอื้อเฟอ ในขณะ​เดียวกัน​ให​ ธรรม​แก​ผูอื่น​ดวย ชี้ชวน​ให​เกิด​ปญญา บอก​ให​เขา​อธิษฐาน​บุญ​ อยา​นั่ง​อยู​เฉยๆ ตั้ง​จิต​เปน​สมาธิ บุญ​นั้นอ​ านิสงสจ​ ะ​ได​มาก​ขึ้นอยู​ กับ​การ​ตั้ง​จิต ยัง​ไม​พอ​เอา​ปญญา​แบงปน​ไป​อีก​หรือ​ทำให​ผูอื่น​​ ตื่นร​ ู​มี​สติ อานิสงส​จะ​ได​มาก​เพิ่มขึ้น​ไมมปี​ ระมาณ คน​เรา​ตอ ง​สงั เกต​ใน​สงิ่ ท​ ต​ี่ น​กระทำ เมือ่ ไร​คน​หวังผล​เฉพาะหนา


283

คน​ที่​ไมรูจัก​ตัวเอง​ ทำ​อยาง​อื่น​ไมได​ อยากได​อยางงั้น​อยางงี้ จะ​ได​อะไร สิ่ง​ที่​เรา​หวังผล​ลวน​แลวแต​ เปนของ​ยึดมั่น​ถือมั่น วันนี้​มี​ตน​แต​พรุงนี้​ไมมี​ตน สิ่ง​ที่​เรา​ยึดมั่น​ สิ่ง​ที่​เรา​ขวนขวาย​สิ่ง​ที่​เรา​ตองการ​คือ​อะไร ถา​สิ่ง​ที่​เรา​ทำ​ไมได​เกิด​ จาก​ความ​เขาใจ สิง่ เ​ หลานีเ​้ ปนโ​ มฆะ หรือวาม​ ผ​ี ล​นอ ย คน​ทจี่ ะ​สราง​ บารมีใ​ น​พระศาส​นธรรม​ของ​พระพุทธเจาต​ อ ง​ประกอบ​ไป​ดว ย​ ความ​เขาใจ และ​ความ​เขาใจ​จะ​เกิดขึ้น​จาก​การ​มี​สติ หาก​คน​ ไมมีสติ จะ​ทำ​แบบ​โงๆ​กับ​ความ​รูผิด ไม​ตอง​มี​อะไร​เยอะแยะ เมื่อ​ ยอมรับวา “กูโ​ ง” มีอ​ ยางเดียว ทำ​ใน​สงิ่ ท​ ค​ี่ วร​ทำ​เทานัน้ จะ​ไมท​ ำ​ใน​ สิง่ ท​ ไ​ี่ มค​ วร​ทำ ฉะนัน้ แ​ ลว เรา​คดิ เ​ พือ่ ว​ าง​กรอบ​ของ​ตวั เรา​เอง วาง​ กรอบ​จติ วิญญาณ​ของ​เรา​วา น​ เ​ี่ ปนส​ งิ่ ท​ เ​ี่ รา​จะ​ทำ​และ​สงิ่ น​ เ​ี้ ปนส​ งิ่ ​ ทีเ่​ รา​จะ​ไมท​ ำ และ​อาศัย​ความ​ตั้งมั่น (สมาธิ) เปนกำลัง​หนุน เมื่อ​ออก​นิโรธ​ครั้ง​กอน​พูด​เรื่อง​การ​ควบคุม​ตน​เอง ถา​พวกเรา​ ไมรจู กั ค​ วบคุมต​ น​เอง​แลวท​ ำ​อะไร​ไมได เรา​มองดูต​ วั เรา​เอง คน​ ทีไ​่ มรจู กั ต​ วั เอง​ทำ​อยาง​อนื่ ไ​ มได (พอดีม​ เี สียง​เด็กร​ อ ง หลวง​ปเ​ู ลย​ ยก​เปนต​ วั อยาง​วา ถาต​ าม​รไ​ู มทนั ก​ จ​็ ะ​รำคาญ​และ​อาจ​ปรุงไ​ ป​วา น​ า ​ ตี​นัก รอง​อะไร​นักหนา พอ​เรา​รูตัว​เห็น​จิต​เรา​อาจ​ตกใจ​กับค​ วามคิด​ ปรุงแตง​ของ​เรา​และ​หยุด​ปรุง คน​เรา​ตอง​มี​สติต​ าม​รู​ให​ทัน)


284

อักษราสักการะ...


เพราะปู่...จึงรู้ธรรม

285

สิบนิ้ว ศิษย์พนม ก้มลงกราบ ศิโรราบ ด้วยศรัทธา มหาศรี ศิษย์ทราบซึ้ง ถึงทาน บารมี เลือกสิ่ง ดีรักษาศีล ภาวนา สวดมนต์กลอน ถอนคำสาป อโหสิ มีสติ รู้ตน แลค้นหา เป็นคำสอน ของ “ปู่” เสมอมา ท่านสอนว่า “ใส่ใจ” ในทุกตอน จะทำการ สิ่งใด ใช้ “ใจ” สั่ง พึงระวัง ตัวกิเลส อุทาหรณ์ ฝึกละเอียด ทุกขณะ ละนิวรณ์ เป็นอาภรณ์ ไม่ประมาท ทุกชาติไป ไม่ยึดติด อนิจจัง ในสังขาร ทั้งวงศ์วาร เกียรติยศ อันสดใส ล้วนแล้วแต่ เป็นสมมุติ ที่สุดใคร นำไปได้ ถึงนิพพาน นั้นไม่มี ในนามศิษย์ จากหาดใหญ่ ห่างไกล “ปู่” คอยเชิดชู ปู่พัฒนา เสริมราศี จะขอรวม ร่วมบุญ บารมี ทุกทุกที่ ถวายเป็น พุทธบูชา อำนวยพร ให้ปู่ ผู้ประเสริฐ ก่อกำเนิด หนุนนำ พระศาสนา คอยสืบสาน เบื้องบาท พระศาสดา ตามสมญา สง่างาม นาม “ต้นบุญ”

ภูมิใจที่เป็นศิษย์ “ปู่” ชัญญา สุวรรณโณ


286

แก้วน้ำแห่งศรัทธา ​โดย...พัชรี เกยุราพันธุ์

​เมื่อ​ปลายป พ.ศ.๒๕๕๓ ขาพเจา​ไดรับ​หนังสือ “มรรคา​ ปาฏิหาริย” จาก​เพื่อน​ผู​หนึ่ง​เปน​ของขวัญวัน​ปใหม นั่น​เปน​ ครั้งแรก​ที่​ขาพเจาได​รับรู​เรื่องราว​ของ “หลวง​ปู​ตน​บุญ” ผาน​ ตัวหนังสือ หลังจากนัน้ อีกน​ บั ป​ เ​ ศษ เพือ่ น​คน​เดิมน​ เี่ องได​มา​ตดิ ตอข​ า พเจา​ ให​จัด​ทำหนังสือ “พระพุทธเจา ๕ พระองค กับโพธิญาณ​แหง​การ​ ตื่น​รู” ซึ่ง​เปน​หนังสือ​ที่​ทำขึ้น​เพื่อ​แจก​ให​กับ​เจาภาพ​ใน​งาน​เท​ทอง​ หลอ​พระ​ศรี​อาริย​เมตไตรย จาก​การ​ทำหนังสือ​เลม​นี้ ดวย​หนาที่​และ​ความ​รับผิดชอบ​ตอ​ งาน ทำให​ขาพเจา​ได​มี​โอกาส​ไป​กราบ​หลวง​ปเป ู​ นค​ รั้งแรก เพื่อน​ ำ​ รูปแบบ​การ​ออกแบบ​หนังสือ​ไป​ให​หลวง​ปู​พิจารณา ขาพเจา​ได​มี​ โอกาส​รับฟงค​ ำ​แนะนำเกี่ยวกับแ​ นว​ทางการ​จัดท​ ำหนังสือใ​น​แงมุม​ ตางๆ สำหรับ​ขาพเจา​ซึ่งทำงาน​เกี่ยวกับ​การ​พิมพ​หนังสือ​มา​เกือบ ๒๐ ป​นั้น พบ​วาหลวง​ปู​สามารถ​เขาใจ​ขั้นตอน​การ​จัด​ทำหนังสือ และเสนอ​แนะแนวทาง​ตางๆ ใน​การ​ทำงาน​ได​อยาง​ถูกตอง อันนี้​ เปนความ​ประทับใจ​ปน​ประหลาดใจ​เล็กนอย สำหรับ​การ​พบ ​หลวง​ปู​เปน​ครั้งแรก


287

หลังจาก​ครั้งนั้น ขาพเจา​ ได​มี ​โ อกาส​ไ ป​ก ราบ​ห ลวง​ปู ​ อีก ๒ - ๓ ครั้ง​ กวา​หนังสือ “พระพุทธเจา ๕ พระองค กับ โพธิ ญ าณ​แ ห ง ​ก าร​ตื่ น ​รู  ” จะ​ เสร็จ​เรียบรอย ทุกครั้ง​ที่​ขาพเจา​ไป​กราบ ​หลวง​ปู ก็​มักจะ​ไดพบ​ญาติโยม ​ที่ ม า​จ ากที่ ​ต  า งๆ ทั้ ง ​ไ กล และ​ใกลมา​กราบ​หลวง​ปู​ และ สนทนา​ซกั ถ​ าม​ขอ ธรรม​ะตางๆ มากมาย ทำใหขาพเจาพลอย​ ได​มี ​โ อกาสนั่ ง ​ฟ  ง ธรรมะจาก หลวง​ปูคราว​ละ​นานๆ โดย​ไม​ รูสึก​เบื่อ ไดขอคิด แนว​ทางใน​ เรื่อง​ตางๆ หรือ​แมกระทั่ง​ได​ฟง​แนวคิดการ​ทำงาน รวมถึง​ภารกิจ​ ตางๆ ของหลวง​ปู ทุกครั้ง​ที่​กลับ​จาก​การ​ไป​กราบ​หลวง​ปู ขาพเจาสังเกต​วาตัวเอง​ จะ​รูสึก​เบิกบาน อิ่มเอม เปน​ความรูสึก​เหมือน​เวลา​ที่​เรา​ได​ทำ​ ​สิ่ง​ดีๆ


288 เมื่ อ ​วั น ที่ ๒ พฤศจิ ก ายน ๒๕๕๕ ขาพเจาไ​ด​เดินทาง​ไป​วดั ป​ า ​ ทุง​กุลา​เฉลิมร​ าชเปนค​ รั้งแรก เพื่อ​ รวม​ใสบาตร​หลวง​ปู เนื่อง​ใน​งาน​ ออกนิโรธ​ฯ และ​รวม​ทอดกฐินใน​ วันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ การ​รวม​ใสบาตร​ครั้งนี้​ ทำให ขาพเจา​ได​พบเห็น​สิ่ง​มหัศจรรย​ ครั้ง​ยิ่งใหญ​ใน​ชีวิต​เลย​ก็​วาไ​ด เพราะใน​ขณะ​ที่​หลวง​ปู​เดิน​ บิณฑบาต​อยู​นั้น ตลอด​ระยะทาง​ยาว​เปน​กิโล มี​ญาติโยม​มา​ รอ​ใสบาตร​นับ​รอย​คน บน​ผา​ขาว​ที่​ปู​เปน​ทาง​ให​หลวง​ปู​เดิน มี​ พระธาตุรว ง​มาจาก​จวี ร​ของหลวง​ปเู ปนระยะๆ ตลอด​เสนทาง แบบ​ ไมมี​ป​ไมมี​ขลุย แม​เวลา​จะ​ผานไป​เปน​ชั่วโมง พระธาตุ​ยังคง​รวง​ลง​ มาตลอด​เสนทาง​ที่​หลวง​ปู​เดิน ราวกับ​เปนเรื่อง​ปกติ​ธรรมดา *​โยนิโสมนสิการ - การ​ใช​ความคิดถ​ ูกวิธี ความ​รูจักคิด คิด​เปน คือทำ​ในใจ​ โดย​แยบคาย การ​ใชค​ วามคิดถ​ กู วิธี คือการ​กระทำ​ในใจ​โดย​แยบคาย มอง​สงิ่ ท​ งั้ หลาย​ดว ย​ ความคิด​พิจารณา​สืบคน​ถึง​ตน​เคา สาว​หา​เหตุผล​จน​ตลอด​สาย​ แยกแยะ​ออก​ พิเคราะห​ดูด​ วย​ปญญา​ที่​คิด​เปน​ระเบียบ ​และ​โดยอุบาย​วิธี​ให​เห็น​สิ่งน​ ั้นๆ หรือ​ ปญหา​นั้นๆ ตาม​สภาวะ​และ​ตาม​ความ​สัมพันธ​แหง​เหตุ​ปจจัย เชน • คิด​จาก​เหตุ​ไปหา​ผล • คิด​จาก​ผล​ไป​หาเหตุ


289 แต​สำหรับข​ า พเจา​ การ​ได​เห็นกับตา​เนือ้ หรือพูดไ​ด​วา “เห็นก​ นั ​ จะจะ” อยาง​นี้ เปนเรื่อง​มหัศจรรย​อยางยิ่ง... ชาง​มหัศจรรย​เหลือเกิน... นับจาก​วนั ทีไ​่ ดยนิ ได​ฟง รวมถึงก​ าร​ได​ไป​กราบ​หลวง​ปอู กี ห​ ลาย ครั้ง แกวน้ำ​แหง​ศรัทธา​ที่​เคย​วางเปลา​ของ​ขาพเจาเมื่อ ๓ ปกอน บัดนี้​มี​น้ำ​อยู​เต็มเปยม...ดวย​ศรัทธา​ตอ​หลวง​ปู​ตน​บุญ ความ​ศรัทธา​นี้​กอ​เกิด​จาก​องคประกอบ ๒ สิ่ง อยาง​แรก​คือ ทำตัวใ​ห​เปนภ​ าชนะ​ทว​ี่ า งเปลาพ​ รอม​จะ​เปดรับส​ งิ่ ต​ า งๆ เพราะ​หาก​ ภาชนะ​ของ​เรา​เต็มเ​สียแ​ ลว ก็ค​ ง​ไม​สามารถ​เปดรับค​ วามรู คำ​แนะนำ สั่งสอน​ใดๆ ได นี่​นับเปน​องคประกอบ​ที่​สำคัญ องคประกอบ​ที่สองคือ การ​โยนิโสมนสิการ* การ​นอม​เอาสิ่ง​ ตางๆ ที่ ได​เห็น ไดยิน ได​ฟง มา​คิด​ไตรตรอง แลว​เราจัก​ได​คำ​ตอบ​ เหตุ​แหง​ศรัทธา​ตอ​หลวง​ปู​ดวย​ตน​เอง ขอให​เพื่อนๆ ผู​รวมสัง​สารวัฎ​จง​ถึง​พรอมดวยองคประกอบ​ทั้ง ๒ นี้ เพื่อ​ความ​เจริญ​รุงเรือง​ใน​ทุก​ดาน...สาธุ • คิด​แบบ​เห็นความ​สัมพันธ​ตอเนื่อง เปนล​ ูกโซ • คิด​เนน​เฉพาะ​จุด​ที่​ทำใหเกิด • คิดเห็น องคประกอบ​ที่มา สงเสริมใ​ห​เจริญ • คิดเห็น องคประกอบ​ที่มา ทำใหเ​สื่อม • คิดเห็น​สิ่ง​ที่มา ตัดขาด​ให​ดับ • คิด​แบบ แยกแยะ​องคประกอบ • คิด​แบบ มอง​เปน​องค​รวม • คิด​แบบ อะไร​เปนไปได ห​รึอ​เปนไป​ไมได


290

บารมีหลวงปู่ต้นบุญ โดยลูกสัญญา และลูกพานิชย์

จาก​เด็กบ​ า นนอก​ตา งจังหวัด เขามา​ทำงาน​รบั จาง​ใน​โรงงาน​ แถวนว​นคร พื้นเพ​เปน​คน​ทาง​ภาคอีสาน ​ซึ่ง​จะ​มี​งานบุญ​อยู​แทบ​ทุกเดือน เรา​ก็ไดแต​ทำไปตาม​ประเพณี​ ยัง​ไมเขาใจ​ดี​วา การ​ทำบุญ​นั้น​ตอง​ ทำ​แบบไหน อยางไร อานิสงส​ที่จะ​ได​มี​อะไร​บาง จน​อยู​มา​วันหนึ่ง ประมาณ​ปลายป ๒๕๕๒ ขาพเจา​ได​อาน หนังสือ​ “มรรคา​ปาฏิหาริย”​ ของหลวง​ปต​ู นบ​ ญ ุ ติก​ ขฺ ปญโญ จึงเกิด​ ศรัทธา​อยาง​แรงกลา​ อยากจะ​ไป​กราบ​ทา น​ทวี่ ดั ใ​ห​ได แต​ก็ไ​ม​รูว า จ​ ะ​ ไป​โดย​วิธีการ​ใด ยัง​เก็บ​ความรูสึก​ลึกๆ วา​จะ​ตอง​ได​ไป ดวย​ความ​บังเอิญห​ รือธ​ รรมะ​จัดส​ รรก็ไ​ม​ทราบ ทำให​ได​รูจักก​ ับ​ เพื่อน​ที่อยู​บาน​ซึกวึก ซึ่ง​เปน​คน​แถว​วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช ดวย​ ความ​ทม​ี่ ศ​ี รัทธา​ใน​องค​หลวง​ปเพี ​ู ยง​อยางเดียว ดังนัน้ ข​ า พเจาพ​ รอม​ ภรรยา​และ​เพือ่ นๆ​ ได​จัดทำ​ผา ปาก​ อง​หนึง่ ซ​ งึ่ ไ​มได​ใหญโต​มากมาย​ ขึน้ เ​พือ่ ทีจ่ ะ​นำไป​ถวาย​หลวง​ปต​ู น ​เพือ่ ช​ ว ย​สราง​พระมหาธาตุเ​จดีย​ ศรี​ทศพล​ญาณ​เฉลิม​ราช​ชัย​มงคล วันแรก ​กบั ค​ ำ​สอน​แรก​ทป​ี่ ระทับใจ​หลวง​ป​ ู ซงึ่ ใ​ห​ใน​วนั ทีไ​่ ป​ถวาย​ ผาปา​ใน​เดือน​กุมภาพันธ ๒๕๕๓ คือ “การ​จะ​ทำ​อะไร​ที่​เปนการ​ถวาย​พระพุทธเจา​นั้น ตอง​ทำให​ ปราณีต​สวยงาม​ เพื่อ​อานิสงสผลบุญ​นั้นจ​ ะ​ได​เพิ่มขึ้น”


291 เปน​คำ​สอน​ที่​ขาพเจา​ยัง​จดจำ​อยู​ในใจ​จน​ ทุกวันนี้ เหตุ​จาก​ตน​ผาปา​ที่​นำไป​ถวาย​หลวง​ปู​ นั้น​พวกเรา​ทำ​กัน​แบบ​ชาวบาน​ธรรมดา หลวง​ปู​ จึงใ​ห​ตกแตงใ​หม​ทำ​สวยๆ และ​องค​หลวง​ปยั​ู งใ​ช​คำ​ เรียก​ทกุ คน​วา ล​ กู ซึง่ ฟ​ ง ด​ แ​ู ลวร​ สู กึ อ​ บอุน เ​หลือเกิน นั้น​เปนความ​ประทับใจ​ใน​วันแรก พรอมทั้ง​ได​ฟง​ หลวง​ปเทศน ​ู ได​ฟงธ​ รรมะ​จาก หลวง​ปถึ​ู งส​ อง​ครัง้ ​ ใน​วัน​นั้น จากนั้น​เปนตนมา​ ขาพเจา​ก็​รับ​ซอง​ผาปา งาน​กฐิน งาน​หลอ​พระ งานบุญ​ตางๆ ไมวา​จะ​ เปนกิจกรรม​ใด​ของวัดป​ า ท​ งุ ก​ ลุ า​เฉลิมร​ าช ขาพเจา​ พยายาม​มี​สวนรวม​เกือบ​ทั้งหมด นำ​ซอง​บุญ​ไป​ ชวย​แจก บอกบุญ​ญาติธ​ รรม​ แม​หลวง​ปจะ​ ู​ ไมอยู​ วัด ​แต​ก็​ยัง​ไป​รวมงาน​กฐิน​ทุกป จน​มาถึง​กฐิน​ป ๒๕๕๕ ซึ่ง​เปนงาน​ออก​นิโรธของหลวง​ปู​ใน​ปนี้​ ดวย ​ความ​เชื่อ​ที่วา การ​ได​ใสบาตร​กับ​พระ​ที่​ออก​ นิโรธ​นั้น​มี​อานิสงส​มหาศาล แม​ปรารถนา​สิ่ง​ใด​ ก็​จะ​สมปรารถนา​ได​ตามนั้น จิต​ที่​ไมเคย​คิด​เรื่อง​ อื่น​ใด​นอกจาก​ปรารถนา​ใสบาตร​กับ​องค​หลวง​ปู​ แม​สักครัง้ เ​ดียว​กน​็ บั วาเปนว​ าสนา ไม​เสียช​ าติเ​กิด​ แลว​ใน​ชาติน​ ี้ ​ใน​วันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ ขาพเจา​ ทัง้ สอง ​พรอมญาติธ​ รรม​ได​พากันไป​นงั่ ร​ อ​ใสบาตร​


292 หลวง​ปู​ตั้งแต​เชาตรู เมื่อ​หลวง​ปเดิ ู​ นอ​ อกมา​รับบ​ ิณฑบาตร​ได​ระยะ​ หนึง่ หลวง​ปได​ ​ู เดินม​ าแลวห​ ยุด พรอม​ปด ฝ​ า​บาตรตรงหนาค​ ณะ​ของ​ ขาพเจา ​แลว​หลวง​ปู​ก็ได​พูดวา “ไม​ธรรมดา​นะ​ตรงนี้...ไม​ธรรมดา​นะ​ตรงนี้” คณะ​ของ​ขา พเจาไ​ด​แต​ปลืม้ ปต​ ท​ิ ห​ี่ ลวง​ปได​ ​ู มา​ยนื ใ​ห​ได​ชม​บารมี​ อยาง​ซึ้งใจ ทั้งด​ ีใจ แลวค​ ณะ​เรา​ก็ได​ใสบาตร​หลวง​ปู และ​ดวย​ความ​ ซือ่ หรือค​ วาม​โง​ก็ว​ า ไ​ด มตี า​หา​มแ​ี วว​ไม ใน​ขณะนัน้ ค​ ณะ​ของ​พวกเรา​ ได​สังเกตเห็นว​ ตั ถุอ​ ะไร​บางอยาง​ไม​รูว า ม​ า​จากไหน โดย​เขาใจ​วา เ​ปน​ เศษ​แกว ซึง่ ต​ อนแรก​ทค​ี่ ณะ​เรา​ปผ​ู า ไ​ว​ก็ไ​มเห็นม​ ี ได​แต​ใช​นิว้ เ​ขีย่ อ​ อก​ เพราะ​กลัวห​ ลวง​ปู​จะ​เหยียบ​แกวน​ ั้น แต​ทันใดนัน้ ​ กม​็ ม​ี อื ทีส่ าม​ยนื่ ผ​ า นหนาเ​รา​มาจาก​ขา งหลังพ​ รอม​ หยิบ​เอา​วัตถุ​ที่​มี​ลักษณะ​เหมือน​เศษ​แกว​สี​ใส อม​มวง แลว​เขา​ก็​ บอก​เรา​วา​พระธาตุ​เสด็จ เทานั้น​แห​ละ​ครับ ไมทัน​แลว หมดแลว คน​อื่น​หยิบ​เอาไป​หมด​เลย อารมณ​ตอนนั้น​ทั้ง​เสียดายทั้ง​เสียใจ ระคนกัน วาท​ ำไม​เรา​ถงึ ไ​ด​โง​ถึงเ​พียงนีห​้ นอ หลวง​ปอุ​ู ตสาห​มีเ​มตตา​ ให​พระธาตุ ยัง​ไมรูจักส​ ิ่ง​อัน​เปนมงคล​อีก ได​แต​พูด​กันว​ า​พวกเรา​นี้​ ชาง​โง​นัก แลว​คน​อื่น​ทำไม​จึง​ตอง​มา​เอา​พระธาตุ​ตรง​ผา​ที่​เรา​ปู​ไว​ ดวย ครั้น​จะ​ไป​หยิบ​เอา​จาก​ผาข​ องคน​อื่นน​ ั้นก​ ็​ไมกลา ​เพราะ​หลวง​ ปู​ก็​คงจะ​เมตตา​ให​ลูกศิษย​เปนรายๆ ​ไป ดวย​ความ​เสียดาย จึงเ​กิดภ​ าวะ​ความเครียด​ขนึ้ ความ​ทอ​ี่ ยากได​ พระธาตุบ​ า ง​เพือ่ น​ ำไป​บชู า สักอ​ งค​ก็ย​ งั ด​ ​ ี จงึ ไ​ด​แต​ไปหา​ขอ​เอา​จาก​ คน​อื่น​ที่​เขา​ได​หลาย​องค​ ก็​เลย​ได​มา​คนละ​องค สอง​องค และ​ก็​คิด​ กัน​วา​พอใจ​แลว ได​คนละ​องค​ก็​ดีแลว แต​เรื่อง​ยัง​ไม​จบ​เพียง​เทานี้ หลังจากที่​เรา​ใสบาตร​หลวง​ปู​เสร็จ คณะ​เรา​จึง​ได​ไป​ทานอาหาร​ที่​


293 โรงทาน เมื่อ​ทาน​อิ่ม​แลวจึง​เดิน​กลับ​ที่พัก แต​มอง​ไป​เห็นวา​หลวง​ ปู​ยัง​บิณฑบาต​ไม​เสร็จ​เลย ยังมี​คน​รออยู​บริเวณ​พระ​ธาตุเจดีย​ศรี​ นาคพันธ​ปริวัตร ภรรยา​ของ​ขา พเจาจ​ งึ ม​ ค​ี วาม​ปรารถนา​ทอ​ี่ ยากจะ​ให​เพียง​หลวง​ ปู​เหยียบ​ผา​ให​เพื่อ​ความ​เปน​ศิริ​มงคล​อีก​สักครั้ง เลย​นำ​ผา​ไป​ปู​อีก ซึ่ง​นาจะเปน​คน​สุดทาย​ที่​ปู​ผา และแลว​ปาฏิหาริย​ก็ได​เกิดขึ้น​ดวย​ ความ​เมตตา​อัน​ลนพน​จาก​หลวง​ปู พระธาตุ​เสด็จ​มา​บน​ผา​เปน​ จำนวน​มาก​นับ​รอย​องค บน​ผา​ผืน​นี้ ผูคน​ที่อยู​ตรงนั้น​ตาง​คน​ตาง​หยิบ​เอา​พระธาตุ​จาก​ผา ภรรยา​ ของ​ขาพเจา​ได​แต​ตื่นเตน​กับ​เหตุ​อัศจรรย​ที่​เกิดขึ้น​ตอหนา​ตอตา ตัวสัน่ เ​หมือน​คน​มคี วามผิด​ จงึ ไ​ด​แต​หอบ​ผา ข​ าว​ทม​ี่ พ​ี ระธาตุเ​ดินม​ า​ ทาง​ขา พเจา ดวย​สหี นาด​ ต​ู นื่ เตน พูดไ​ม​เปนศ​ พั ท​ แลวเ​รา​กไ็ ด​ชวยกัน​ นับ​พระธาตุท​ ี่​เหลืออยู​ใน​หอ​ผา​นั้น ​นับไ​ด​ทั้งหมด ๕๗ องค​ครับ นัน้ เ​ปนความ​ประทับใจ​ทสี่ ดุ ใ​น​ชวี ติ ข​ อง​ลกู ท​ งั้ สอง ความรูส กึ อิม​่ อกอิ่มใจ ป​ติ ยังมี​ตลอดมา​ และ​นั่น​นับวา​เปนความ​เมตตา​จาก​ หลวง​ปู​ใน​วัน​นั้น ทำให​ลูก​ทั้งสอง​มี​ความ​รัก ความ​ศรัทธา​ใน​องค​ หลวง​ปู และ​จะ​ขอ​ปฏิบัติ​เพื่อ​บูชา​คุณ​ของ​องค​หลวง​ปใหญ ู​ หลวง​ปู​ สิงขร พรอม​หลวง​ปต​ู นบ​ ญ ุ และ​จะ​นอ มนำ​คำ​สอน​ทห​ี่ ลวง​ปสอน​ ​ู มา​ ประพฤติป​ ฏิบตั ิ จะ​ชว ยงาน​สบื สาน​พระพุทธศาสนา​เทาทีก​่ ำลังข​ อง​ ลูกท​ ั้งสอง​นี้​จะ​ทำได จะ​ขอ​ติดตาม​หลวง​ปไป​ ู​ ทุกภ​ พ​ทุก​ชาติ​จนกวา​ จะ​ถึง​ฝง​พระนิพพาน ​พุทธัง ​ธัมมัง ​สังฆัง ​สะระ​นัง ​คัจฉา​มิ นิพ​พา​นัง ​ปจจโย​โห​ติ... กราบ​นมัสการ​แทบ​เทา​องค​หลวง​ปู ลูก​สัญญา ลูก​พา​นิชย พรอมญาติธ​ รรม ชาวนว​นคร


294


295

ปฏิปทา และ​ความ​ประทับใจ ขอ​ถายทอด​ความ​เปนมงคล​ และ​ความ​ประทับใจ​ใน​องค​ พระรูป​หนึ่ง เพื่อเ​ลา​ประสบการณ​ที่​ได​พบ และสัมผัสท​ าน กอน​ที่จะ​ถายทอด​ความรูสึก​ที่​ประทับใจ ขอ​นอบนอม​กราบ​ เคารพ​สักการะ​คุณ​พระรัตนตรัย และ​คุณ​ครูบาอาจารย​ทั้งหลาย มี​หลวง​ปู​ใหญ​เทพ​โลกอุดร และ​หลวง​ปู​ตน​บุญ เทวดา พรหม ที่​ ปกปอง​คุมครอง​ผูปฏิบัติ และ​กระทำ​ความ​ดี เปน​ผูนำ​จิต​ให​หลุด​ พนทุกข​สม​ความ​ปรารถนา กอน​ทจี่ ะ​ได​พบ​หลวง​ปรู​ู ปน​ ี้ เปนค​ น​ชอบ​แสวงบุญไ​ป​กราบพระ​ ทาน​ที่​ปฏิบัติดี ปฏิบัติ​ชอบ​ในทาง​ของ​พระพุทธเจา​มา​นานแลว ได​ ติดตาม​กราบ​ครูบาอาจารย​รูป​หนึ่ง ทาน​องค​นี้​คือ หลวง​ปู​ใหญ​ เทพ​โลกอุดร เพราะ​พระนาม​นี้​พอ​ไดยิน​ก็​เกิด​ปติ​ประทับใจ เก็บ​ ความรูสึก​นี้​อยู​ในใจ​ลึกๆ ดวย​ความ​เคารพ​อยาง​สูงสุด ครั้งหนึ่ง​ได​ไป​ทำบุญ พบ​พระภิกษุ​รูป​หนึ่ง​ซึ่ง​มีอายุสังขาร​ยัง​ นอย ทาน​มี​อารมณ​แจมใส มี​เมตตา รูปราง​สันทัด นัยน​ตาคม​ดำ ดวง​ตาใส​นิ่ง​พรอมที่จะ​รับฟง​ความ​ทุกข​ของ​ผู​ที่มา​กราบไหว​ดวย​ ความ​เมตตา ทาน​เปน​พระ​ผู​ที่​ให​จริงๆ ทั้ง​ใน​ทางโลก ​และ​ทางธรรม​อยาง​ เทาเทียม​กัน ทาน​มี​วาจา​ที่​สุภาพ​กับ​ทุกๆ คน ไม​เลือก​ระดับชั้น


296 ความ​มี​ความ​จน จะ​มี​ตำแหนง​ใด เหมือนกับ​คน​เปน​โรค​กาย​จะ​ ตองหา​หมอ คน​เปน​โรค​ใจ​ไปหา​พระ แต​หลวง​ปู​รูป​นี้ ทาน​เปน​ทั้ง​ หมอ และ​ทั้ง​พระที่​บำบัด​ทุกข​และ​บำรุง​สุข ให​เกิด​ความ​สุข​กับ​ผู​ที่​ ไป​กราบไหว ทาน​ผู​ประเสริฐ​รูป​นี้ คือหลวง​ปตู​ น​บุญ เรียก​ตาม​ความ​คุนเคย และ​เปน​สรรพนาม​ที่​ศิษย​พอใจ​ใน​การ​อาน​นาม​หลวง​ปู​อยาง​ ภาคภูมิใจ ดวย​ความ​เคารพ ถึงแม​ทาน​มี​วัย​ของ​ขันธ ๕ ยัง​นอย แต​ความ​เปนมงคล​และ​เมตตา​ของ​ทา น​สงู สุด เปนค​ รูป​ ระเสริฐ ไมวา ​ ทางโลก​และ​ทางธรรม นำพา​ลูกศิษย ผู​ที่​เคารพ ปฏิบัติตน​ให​อยู​ใน​ ศีลธรรม สำนึก บาป บุญ ที่จะ​นำพา​ไปพบ​สุข หรือทุกข​ใน​ภพหนา​ ของ​แตละคน คำ​สอน​ของ​ทา น​จะ​ได​นำไป​อบรม​ผที​ู เ​่ ปนท​ รี่ กั ข​ อง​คน​ นั้นๆ เพื่อ​สืบทอด​พระธรรม​ตาม​พระศาสดา หลวง​ปู​ตน​บุญ​นี้ ทาน​เปน​ผู​ที่​ไม​ดุ​วาคน​ที่​ทำผิด​ให​เสียกำลังใจ ทาน​สอน​ดวย​การ​กระทำ​ของ​ทาน​ให​ดู บางครั้ง​พูดหยอกลอ​กับ​ ผู​ที่ทำงาน​บาง จะ​ได​ไม​เครียด​กับ​งาน หลวง​ปู​ตน​บุญ​จึง​เปน​พระ​ ที่​สมควร​กราบไหว​อยาง​สนิทใจ ใน​มโน​จิต มโน​วิญญาณ อยาง​ ภาคภูมใิ จ ใน​ปฏิปทา​ของ​พระ​อาจารย​รูปน​ ท​ี้ างธรรม หลวง​ปต​ู นบ​ ญ ุ ทาน​ปฏิบัติตน ตามรอย​พระ​ประทีป​แกว​อยาง​งดงาม และ​ปฏิบัติ​ ธรรม​อยาง​อุกฤต กับ​หลวง​ปู​ใหญ​เทพ​โลกอุดร​โดย​ลำพัง​เปน​สวน​ องค ซึ่ง​ปจจุบัน​นี้​ทาน​เปน​ศิษย​ที่​หลวง​ปู​ใหญ​ติดตาม สงเคราะห แด​องค​หลวง​ปู​ตนบ​ ุญ​ตลอดมา ตอมา​ได​ไป​วดั ท​ ำบุญว​ นั ทีห​่ ลวง​ปต​ู นบ​ ญ ุ ออก​นโิ รธสมาบัติ ทาน​ ออก​เดินร​ บั บาตร​จาก​ญาติโยม​และ​คณะ​ศษิ ยจำนวน​มาก​ทเ​ี่ ลือ่ มใส​ ใน​องค​ทาน เปนภ​ าพ​ทป​ี่ ระทับใจ​ไม​ลืมเลือน ยังจ​ ำ​ภาพ​นเ​ี้ ปนอ​ นุสติ


297 ได​ทำบุญ​กับ​พระ​ที่​สมควร​กลาว​ถึงวาทาน​คือ​พระสุ​ปฏิปนโน หรือ พระ​มหา​โพธิสัตว ทาน​ได​ออก​เดิน​จาก​สถานที่​เขา​นิโรธสมาบัติ พอ​เปด​ฝา​บาตร​ ขณะนั้นก็​มี​พระบรมสารีริกธาตุ​ที่​เห็น​ได​ชัดเจน​ดวย​ตาเปลา เสด็จ​ ตก​ตาม​ระยะทาง​ที่​หลวง​ปู​ตน​บุญ​เดิน​รับบาตร จน​เขาถึง​ศาลา​ ปฏิบัติ​ธรรม ทำให​ผู​ทำบุญ​วัน​นั้น​ปลาบ​ปลื้มใจ​ทั่วหนา ดวย​ความ​ อิ่มเอิบ พอ​เขา​ศาลา​ได​ปลด​บาตร​ออก​แลว ยืน​จัดการ​ให​เรียบรอย พรอม​ที่​สักการะ​พระพุทธเจา​ และ​ครูบาอาจารย ขณะนั้น​ขาพเจา​ เห็น​พระรูป​หนึ่ง​ซึ่ง​อยู​กับ​หลวง​ปู​มี​วรรณะ​สดใส​งาม​มาก มี​นัยนตา​ แสดงถึง​ความ​เมตตา เยือกเย็น ออนโยน ทาน​แยม​โอษฐ​นอยๆ เกิดค​ วาม​ปต ซ​ิ าบซึง้ น้ำตาไหล​ออกมา​เอง​โดย​ไมตงั้ ใจ​ ระงับอ​ าการ​ นั้น​ไมอยู ขณะ​ที่​เห็น​พระ หลับตา​ก็​เห็น ​ลืมตา​ก็​เห็นภาพ​นี้​ไม​ลืมเลือน จึง​เรียนถาม​ทาน​ในใจ​วา มี​พระรูป​ใด​ทปี่​ ฎิบั​ติ​ตามรอย​พระ​ประทีป​ แกว​นี้ ที่​บุคคล​คณะ​ศิษย​จะ​พึง​พบ และ​ถาม​หลักธรรม​กับ​ทาน ที่​ ยังมี​กาย​เนื้อ​ขันธ ๕ อยาง​ปรกติ​ธรรมดา มี​จริยวัตร​ของ​ทาน​อยาง​ เขมขน โตตอบ​หลักธรรม​ได​อยาง​ไม​ลังเล ทาน​บอกวา มี​หลาย​องค หนึ่ง​ใน​จำนวน​นั้น​คือ​หลวง​ปู​รูป​นี้ รวมอยู​ดวย (หมายถึง​หลวง​ปู​ตน​บุญ) ทาน​อาจจะ​สงสัย​การ​เห็น​ เชนนี้ เรา​ทำ​จติ ใ​ห​นิง่ นึกถึงค​ ณ ุ พ​ ระพุทธเจาเ​ปนอ​ ารมณ จติ น​ งิ่ เปน​ สมาธิ ก็จ​ ะ​สมั ผัสกับส​ งิ่ เ​หลานีไ​้ ด เห็นเ​ทวดา พรหม​ได​อยาง​ถกู ตอง ฉ​ะนั้น​การ​ดำรง​สมณะ​ธรรม เพื่อ​บรรลุ​เปาหมาย​ที่​หลวง​ปู​ตน​บุญ​ ดำเนิน​ตามรอย​พระ​ประทีป​แกว และ​หลวง​ปู​ใหญ​เทพ​โลกอุดร​


298 ได​อยาง​งดงาม นาม​ของหลวง​ปู​ตน​บุญจึง​อยู​ในใจ​ศิษย เปน​พระ​ อาจารย นำพาลูกศิษย​ของ​ทาน​เขาสู​แดนธรรม คือนิพพาน สาธุ สาธุ สาธุ สมควร​ที่​เรา​คณะ​ศิษย และ​ผู​ทีก่​ ราบไหว​ทาน ควร​ใช​คำ​วา​พระ​ อาจารย​ผู​ประเสริฐ​ใน​แดนธรรม เปน​สิ่ง​ประทับใจ​ไม​เลือน​ไปจาก​ จิตต​ ลอดไป ดวย​ความ​เปนผ​ ศรั ​ู ทธา​ใน​องค​หลวง​ป ู ขอให​ทาน​หลวง​ปต​ู นบ​ ญ ุ จง​ประสพ​สุข​ใน​แดนธรรม​ตาม​ที่ตั้ง​ปณิธาน​มา​หลาย​ภพ​หลาย​ชาติ และ​ได​ถึง​ธรรม​อัน​สูงสุด​ใน​เร็วๆ ​นดี้​ วย​เถิด พวกเรา​ทงั้ หลาย​ตดิ ตาม​องค​หลวง​ปกั​ู นเ​สียจน​ลมื ไ​ป​วา รางกาย​ ของ​เรา​เปนเ​รือนราง​ทอ​ี่ าศัยช​ วั่ คราว​เทานัน้ เหมือนกับเ​รา​เชาบาน หมด​เวลา​เขา​กไ​็ ล​เรา​ไป ความ​ดท​ี ห​ี่ ลวง​ปสอน​ ​ู ไว ลกู หลาน​นอ ม​เกลา​ ยึด​คำ​สอน​ทาน​เปน​อารมณ​ใน​การ​ดำรงชีวิต​ปจจุบัน ขอให​ทุกๆ ​ ทาน​สิ้นทุกข มี​ความ​สุข เขาถึง​นิพพาน​ใน​เร็วน​ ี้​ดวย​เทอญ ขอ​อำนาจ​บารมีแ​ หงอ​ งค​พระ​ประทีปแ​ กว และ​องค​หลวง​ปเทพ​ ​ู โลกอุดร องค​หลวง​ปู​ตนบ​ ุญจ​ ง​เปน​พลัง ตบะ เดชะ ชัยชนะ​กำลัง สังขาร​ทั้งหลาย​มี​ความ​เสื่อม​ไป อัป​ มา​เท​นะ สัม​ปา​เทถะ ทาน​ทั้งหลาย​จง​ทำความ​ไม​ประมาท​ให​ถึง​ พรอม​เถิด ความ​กรุณา​เอื้ออาทร เปยม​ไป​ดวย​ปญญา​คุณ ความ​ เมตตากรุณา​ตอ​พวกเรา จนถึง​ใน​เวลา​สุดทาย ที่​พระพุทธองค​ ปรินิพพาน ขอ​พัฒนา​ตน ปลุก​ชีวิตจ​ ิต ​วิญา​ญาณ ของ​ตน ให​เปน​ ผูรู ตื่น เบิกบาน ใน​วิถี​แหง​พุทธองค​เถิด

ดวย​ความ​เคารพ​หลวง​ปู​หา​ประมาณ​ไมได พร​สุจิต ทรัพย​สมบูรณ


อยู่ที่ใด ความอาจหาญ...ของเธอไปไหนเล่า ความศรัทธา....ของเธอไปไหนเล่า ความรู้สึกตัวความรู้สึกตน...ของเธอไปไหนเล่า ความละอายความเกรงกลัวต่อบาป....ของเธอไปไหนเล่า ความเพียรและความอดทน....ของเธอไปไหนเล่า สิ่งนี้มิใช่หรือเป็นบ่อเกิดแห่งเราอันวิเศษสุดในโลก สิ่งนี้มิใช่หรือที่ทำคนให้เป็นอริยะ แล้วทั้งหมดนี้ไปอยู่ที่ใดเล่า จงพิจารณาดูเถิดว่า....อยู่ที่ใด


300

คณะผู้ดำเนินการฝ่ายสงฆ์ ประธานอำนวยการ

พระธรรมฐิติญาณ เจ้าคณะภาค ๑๐ (ธ) วัดบึงพระลานชัย พระอารามหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด

รองประธานอำนวยการ

พระสุทธิสารโสภณ (ธ) เจ้าคณะจังหวัดร้อยเอ็ด วัดมิ่งเมืองเสลภูมิ พระครูศรีวิริยโสภณ เจ้าคณะอำเภอเมืองร้อยเอ็ด วัดบึงพระลานชัย พระอารามหลวง จังหวัดร้อยเอ็ด

ที่ปรึกษาฝ่ายอำนวยการ

พระครูสิริรัตน์รักษ์ เจ้าคณะอำเภอเกษตรวิสัย วัดป่าบ้านสังข์ จังหวัดร้อยเอ็ด

ประธานดำเนินงาน

พระครูวินัยธรปุณณวัฒน์ ติกฺขปัญโญ (หลวงปู่ต้นบุญ)

ที่ปรึกษาฝ่ายดำเนินงาน

พระครูวินัยธรสุริยันต์ โฆษปัญโญ วัดพุทธวราราม จังหวัดมหาสารคาม คณะศิษยานุศิษย์ของหลวงปู่ต้นบุญร่วมจัดพิมพ์หนังสือ

ประธานอำนวยการจัดพิมพ์หนังสือ

ดร. เธียรธรรม เธียรสิริไชย คุณไชยศักดิ์- คุณศรินรัตน์ จิตรเดชาวัฒน์ คุณภณิชชา จิตรเดชาวัฒน์ คุณฤทธิ์วัฒน์ ศิลป์โสภณ คุณธันย์ณภัทร จิตรเดชาวัฒน์


301 ที่ปรึกษาฝ่ายอำนวยการจัดพิมพ์หนังสือ

คุณกฤษณ์ ประธานราษฎร์นิกร คุณฉัตรชนก ฤกษ์ปราณี คุณวีระ – คุณธีวรา รัยสุวรรณสกุล คุณธิตินันท์ - บุษบา ปาริฉัตรานนท์ คุณนพเก้า โพธิ์พัฒนชัย คุณมีสันต์ – คุณกรรณิการ์ ทองตัน คุณวิไล เพ็ชรตระกูล น.อ. พิเศษ อิทธิพล - คุณชุติมา เพ็ชรราม คุณย่าสุดใจ มากคช คุณมาลี สุวรรณรัชตมณี คุณพรสุจิต ทรัพย์สมบูรณ์

ที่ปรึกษาฝ่ายดำเนินการจัดพิมพ์หนังสือ

คุณศิลป์ชัย – คุณชื่นจิตต์ นิยมศิลป์ คุณปริญญา นิยมศิลป์ คุณกรพชร – คุณเสาวนีย์ สุขเสริม คุณนิภา บราวน์ คุณชิตนวัฒน์ ธวัชชัยนันท์ คุณกุลกนิษฐ์ คุณาธิกรกิจ คุณอรุณพิมล บริบูรณ์ชัยศิริ คุณยายสุพิณ คุ้มบัว คุณนงนุช สุระเสน คุณสงวนศักดิ์ - คุณพัชรี เกยุราพันธุ์

เหรัญญิกในการจัดพิมพ์หนังสือ คุณสุชญา ชาติสัมปันน์

คณะกรรมการในการจัดพิมพ์หนังสือ พ.ต.ท. อำนาจ แก้วน่าน คุณศุภวรรธ ทัพมานนท์ คุณอัญชลี พรหมสาขา ณ สกลนคร คุณศิวะโรจน์ ฬิลหาเวสส สะราวุธ บุญสุข คุณชนิกา รัสธรรมคุณ คุณกฤษณ์พงษ์ สุคันโธ คุณอุษา พิศิษฏพงศ์

คุณดาราภา ชูเชิด คุณบุญพรหม พรหมสาขา ณ สกลนคร คุณมัลลิกา พรหมสาขา ณ สกลนคร คุณศรัณภัทร์- คุณพรภัสสร เพ็ชรตระกูล คุณนุชชดา พูลทวี คุณนภารัตน์ สุนทรธรรมกุล คุณอรนภา บุญพิพัฒนาพงศ์ คุณณัฏฐา อึงสุวรรณชาติ


302 คุณพรเอม กุลถาวรากร คุณกัญญาภัทร กุลถาวรากร คุณอัคภัทร์ ไชยยอง คุณภารดี สายสมบัติ ว่าที่ ร.ต.ศุภโชค ลิ่วสกุลรุ่งโรจน์ คุณพิสิษฐ์ สิทธิธนัญชัยกุล คุณบุษกร ทิพยาวตาร คุณอุทัย เชี่ยวพานิชชยากุล คุณรณพร ภูรินิตย์ คุณเจษฎ ทองประดิษฐ์ คุณพรเทพ วงศ์กระแสมงคล คุณกิตติยา เตชะวิวรรธน์ คุณวศิน เตชะวิวรรธน์ คุณกมลา เตชะวิวรรธน์ คุณทวี - คุณพัชรี ภู่สุวรรณ คุณหทัยณัฐ นภัคศรชัยนันท์ คุณนภัสพร ปัตถา คุณโรจนินท์ - คุณณสิกาญจน์ กุลศิริธนวัฒน์ คุณจิรภัทร ศรีไชยยันต์ คุณสายไหม ตรังคานนท์ คุณมณีรัตน์ ชำนาญเอื้อ คุณทองปูน เดชวิทย์ คุณจามรี เอี่ยมส่งแสง คุณนพชัย - คุณรำเพย คุ้มบัว คุณพูลสุข ธรรมวิจิตร คุณมงคล คุณรวีวรรณ เชื้อเจริญ คุณอ่อนจันทร์ วงศ์อินทร์อยู่ คุณสมพร ตากองแก้ว คุณบัญชา เทพฉิม คุณเหมือนทอง ทาบุดา คุณมุจรินทร์ ค้าผลดี คุณกาญจนา พระวิสัย คุณปริญญา นุ่มนวล คุณจารุวัลย์ ฟูจินต์พัน คุณสุรศักดิ์ โคตะมี คุณพรรทิภา โคตะมี คุณจันทร์เพ็ญ ศรีปทุมวงศ์ คุณจินตนา จริงจิตร คุณสมหมาย เริงสำราญ คุณไมตรี, คุณพรทิพย์ นักธรรม คุณสมศักดิ์ ศรีธีรเดชสกุล คุณสุนทรี ไกรอุภัย คุณสันติรัฐ หาญกุล คุณศุภวัลย์ ศรีสำราญ คุณไพบูลย์ วงศ์คำจันทร์ คุณบุญชู วงศ์คำจันทร์ คุณสมกุลวีร์ โพธินาม คุณกุหลาบ โพธินาม คุณพรพรหม ไชยพงษ์ คุณพ่อไพรินทร์ คุณแม่สมจิตต์ แก้วรัตน์ คุณบัญชา นำศรีรัตน์ คุณนัฐพร แก้วรัตน์ คุณสุพิชฌาย์ ผลประเสริฐ คุณชาติศักดิ์ พัฒน์เผ่าพันธุ์ คุณเอื้อการย์ ผลประเสริฐ คุณปติมา แก้วรัตน์


303 คุณชัยเดช แก้วรัตน์ คุณวรพงษ์ สอนสะอาด คุณอภิเชษฐ พันไพศาล คุณคำกอง ตรีภพ คุณสมจิตร มณีวงศ์ คุณลำพูน พรมกัณฑ์ คุณนงนภัส พรมกัณฑ์ คุณพงษ์เทพ พรมกัณฑ์ คุณหนึ่งฤทัย พรมกัณฑ์ คุณทองยุ่น ดีรัตนพร ด.ต.ไสว นางบุญเงิน ถิ่นแสนดี คุณไพโรจน์ ดวงแจ่มกาญจน์ คุณพรชัย – คุณยุรีภรณ์ ชาติสัมปันน์ คุณลือศักดิ์ – คุณเสาวลักษณ์ ธีระอัมพรกุล คุณวิริยะ – คุณพิจิตรา วิริยะเศวตกุล คุณจิรวุฒิ – คุณจงกชกร ชาติสัมปันน์ คุณพูนพงษ์ พิพัฒพลกาย คุณเสกสรร ค้าผล คุณธีรพล ศรีตงกิม คุณหรรษธน สีรวิสุทธิ์ ชาวบ้านทุ่งทองทุกคน

ผู้รวบรวมเรียบเรียง

พระครูวินัยธรปุณณวัฒน์ ติกฺขปัญโญ ว่าที่ร.ต.ศุภโชค ลิ่วสกุลรุ่งโรจน์ คุณสุชญา ชาติสัมปันน์ คุณปริญญา นิยมศิลป์ คุณบุษกร ทิพยาวตาร คุณรณพร ภูรินิตย์ คุณเจษฎ ทองประดิษฐ์

ศิลปกรรม

พระธีระพงษ์ ธีรปัญโญ คุณเชิดวุฒิ สกลยา คุณหิรันญา แก้วรัตน์ ว่าที่ร.ต.ศุภโชค ลิ่วสกุลรุ่งโรจน์ คุณณัฐพรรษ ธนพลไพศาล

คุณธนาวุฒิ เหลืองอ่อน คุณนงลักษณ์ สุขสวัสดิ์ คุณพิสิษฐ์ สิทธิธนัญชัยกุล คุณวสุ ฝันเซียน


304

ธนาคาร​บุญ

หลวง​ปู​ตน​บุญ ได​ดำริ​ให​ตั้ง​ธนาคาร​บุญ​ขึ้น เพื่อให​พุทธศาส นิกชน มีโ​อกาส​ไดร​ ว ม​ทำบุญ เพือ่ ส​ ราง​มหา​บารมีไ​วเ​ปนเ​สบียง​บญ ุ ​ ตอไป​ทั้ง​ใน​ชาติ​นี้​และ​ชาติ​ตอๆ ​ไป โดย​ไม​จำเปน​ตอง​ทำบุญ​เปน​เงิน​จำนวน​มาก​ใน​ครั้ง​เดียว ทุกทาน​ สามารถ​สะสม​บุญ​ทีละ​เล็กล​ ะ​นอย​ทุกเดือน เชนเ​ดียว​กับก​ าร​สะสมเงิน​ ฝากธนาคาร โดย​ปจจัย​ที่​ทาน​มา​ฝากไว​กับ​ธนาคาร​บุญ​ของวัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ ราช​นั้น ทาง​วัดฯ จะ​นำไป​สราง​มหา​บุญ มหา​กุศล กับ​โครงการ​ตางๆ ของวัด เชน การ​สราง​พระมหาธาตุ​เจดีย​ศรี​ทศพล​ญาณ​เฉลิม​ราช​ชัย​ มงคล (ภายใน) การ​สราง​กำแพง​แกว​รอบ​พระมหาธาตุ​เจดียจ​ดีย​ศรี​ ทศพล​ญาณฯ การ​สราง​มหา​วิหาร วิหารวิ​สุทธิ​มรรค สราง​ลาน​พระ​ มหา​เจดียฯ สรางถนน​ภายใน​วดั สราง​ระบบ​ไฟฟา สราง​โรง​นำ้ ประปา สราง​หอระฆัง การ​รวม​เปนเ​จาภาพ​อบรม​ปฏิบัตธิ​ รรม เปนตน


305 ทุกทาน​สามารถ​บริจาค​เงินฝาก​กับ​ธนาคาร​บุญ เพื่อ​รวม​ทำบุญ​ ทุกเดือน ตามกำลัง​ทรัพย กำลัง​ศรัทธา โดยขอ​ให​​โอน​ไปที่​ บัญชี​ธนาคาร​กรุง​เทพ สาขา​เกษตรวิสัย ชื่อ​บัญชี พระครู​วินัยธรปุ​ณ​ณ​วัฒน ติ​กขปญโญ (เพื่อส​ มทบ​ กองทุน​ธนาคาร​บุญ) เลข​ทบี่​ ัญชี 482-0-65237-0 เมือ่ โ​อนแลว ขอให​แจงร​ ายละเอียด พรอมทัง้ ช​ อื่ ทีอ่ ยู หมายเลข​ โทรศั พท สง ​มาทาง​อีเมล watpatungkula@gmail.com และ mawin.7262@gmail.com หรือ​สง​ไปรษณียมา​ ​ ที่ สำนักง​ านวัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช เลข​ที่ 5 หมู 5 บาน​โพน​ตูม ต.ทุง​ทอง อ.เกษตรวิสัย จ.รอยเอ็ด 45150 โทรสาร 0 4361 2036 ถาต​ อ งการ​ใบ​อนุโมทนา​บญ ุ ขอให​แจงความ​ประสงคมา ทาง​วัดฯ จะ​จัดสง​ใบ​อนุโมทนา​บุญ​ให​ตาม​ชื่อ​ที่อยู​ของ​ ทาน​

สอบถาม​รายละเอียด​เพิ่มเติม​ไดที่ พระ​ธีระ​พงษ ​ธีรปญโญ โทร. 08 4331 2571 อีเมล watpatungkula@gmail.com คุณม​ าวิน ​โมระ​พัตร โทร. 08 5463 5235 อีเมล mawin.7262@gmail.com

โดย​ทุกๆ ​เดือน ทาง​วัดฯ​ จะ​นำ​รายชื่อ​แสดงบน​เวบไซตของวัด คือ

www.watpatungkulachalermraj.com


306

​แผนทีว่​ ัด​ปาทุง​กุลา​​เฉลิม​ราช​



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.