Wat_Book55

Page 1


หลวง​ปู​บรม​ครู​เทพ​โลกอุดร​

หลวง​ปู​สิงขร


คำปรารภ

หลวง​ปู​ตนบ​ ุญ

งาน​ดาน​ศาสนกิจ ป พ.ศ. ๒๕๕๕

๑๒๗

บารมี​ทาน

๑๔๗

๔๗ ๕๑ ๕๖ ๖๓ ๖๕ ๗๑

การ​เผยแผ​พระธรรม

๑๕๙

๘๗

ตามเสนทาง​พระ​ธรรม​ฑูต ที่​ประเทศ​พมา

๑๙๘

ศาสนกิจป​ ระจำป

๒๑๒

กำหนดการ​เขาน​ ิโรธ

๒๑๔

เรื่องจริงผ​ าน​ศิษย

๒๒๐

คณะ​ผู​ดำเนินการ และ​เจาภาพ​หนังสือ

๒๔๒

แผนที่​ไป​วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช

๒๕๐

(๗)

คำ​อนุโมทนา​บุญ

พระ​ธรรมฐิติ​ญาณ

(๙)

คำ​อนุโมทนา​บุญ

พระครู​ศรี​วิริย​โสภณ

(๑๑)

คำนำ

๑๒

พระบรมสารีริกธาตุ และ​พระธาตุ

๑๕

โพธิญาณ​แหง​การ​รูแจง

๔๗

ประเภท​และ คุณลักษณะ​ของ​พระบรมสารีริกธาตุ พระบรมสารีริกธาตุ​ตางๆ พระธาตุ​พุทธ​สาวก พระธาตุ​ของ​พระอริยสงฆ​ที่เกิด​ขณะ​ยังมี​ชีวิต​อยู พระบรมสารีริกธาตุ ที่วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช

วิถี​การ​บำเพ็ญ​เพื่อ​โพธิญาณ การ​รูแจง ของ​พระพุทธเจา พุทธกาลก​ธรรม (ธรรม​สำหรับ​บม​โพธิ) คุณสมบัติ​และ​อัธยาศัย​ของ​พระโพธิสัตว พุทธประวัติ​สมเด็จ​องค​ปฐม ประวัติ​พระ​ปจเจก​พุทธเจา​องค​ปฐม​ตน ประวัติ​พระพุทธเจา ๒๘ พระองค

ตามรอย​โพธิญาณ

การ​บำเพ็ญ​กอน​ตรัสรู ยอนรอย​อดีตชาติ​ของ​พระ​ศรี​อริย​เมตไตรย ประวัติ​พระ​ศรี​อริย​เมตไตรย​สัมมาสัม​พุทธเจา การ​หลอ​พระ​ศรี​อริย​เมตไตรย ที่วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช เรื่องเลา​จาก​งาน​หลอ​พระ​ศรี​อริย​เมตไตรย

งาน​ดาน​ศาสนกิจ ระหวาง ป ๒๕๕๐ – ๒๕๕๓ พระพุทธ​ศิริ​ราช​นาคพันธ​ปริวัตร (หลวงพอ​ทันใจ) พระมหาธาตุ​เจดีย​ศรี​นาคพันธ​ปริวัตร พระพุทธ​ศรี​สัตต​นาคราช องค​ทาว​นาคพันธ​ปริวัตร

๑๖ ๑๗ ๑๘ ๒๘ ๓๔

๘๗ ๘๘ ๙๒ ๑๐๓ ๑๑๓

๑๑๘ ๑๑๘ ๑๑๙ ๑๒๐ ๑๒๓

พระมหาธาตุ​เจดีย​ศรี​ทศพล​ญาณ​เฉลิม​ราช​ชัย​มงคล วิหาร “วิ​สุทธิ​มรรค” หอระฆัง กุฎิ​นิโรธ และกุฎิ​พระสงฆ การ​สรางถนน​คอนกรีต โรง​น้ำประปา​ขนาดใหญ

กฐิน ป ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔ กฐิน ป ๒๕๕๕ • กองบุญ​สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา ๒๘ พระองค • กองบุญ​พระ​มหา​โพธิสัตว ๕๐ พระองค • กองบุญ​พระ​อสีติมหาสาวก ๘๐ พระองค • กองบุญ​เศรษฐี​ธรรม ๒๕๕๕ กอง ธรรม​ปรับ​จิต • เทศนา​ธรรม “โพธิญาณ เบิกบาน รูแจง” • ขันธ ๕ • สหชาติปจฺจโย ปัจจัยที่เกิดพร้อมกัน • ปัจจัยเป็นเครื่องทำให้ใหญ่

• ประสบการณพระธาตุ​เสด็จ • พระบรมสารีริกธาตุ และ​พระ​อัฐิ​ธาตุ ที่​ฉัน​ได​พบ • พระธาตุ​เปลี่ยนสัณฐาน • การ​ธุดงค​ปาชา

๑๒๗ ๑๓๓ ๑๔๒ ๑๔๓ ๑๔๔ ๑๔๕

๑๔๘ ๑๕๒ ๑๕๒ ๑๕๓ ๑๕๔ ๑๕๖ ๑๕๙ ๑๖๐ ๑๗๔ ๑๘๐ ๑๙๑

๒๒๐ ๒๒๓ ๒๒๙ ๒๓๒


คำปรารภ ตลอด​ระยะเวลา ๕ ป ที่​อาตมา​ได​เขามา​พัฒนา​วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช ตามทีไ่​ดรับ​มอบหมาย​จาก พระ​ธรรมฐิติ​ญาณ เจาคณะ​ภาค ๑๐ (ธ) ตั้งแตป​  พ.ศ. ๒๕๕๐ นั้น อาตมา​ไมเคย​หยุด​คิด หยุด​ทำ หยุด​พัฒนา​ คน และ​ศาสนสถาน​แหงนี้ จาก​พื้นดิน​ที่​รกราง มี​เพียง​ศาลา​การเปรียญ​เพียง​หลัง​เดียว จวบจน​ ปจจุบัน เกิด​โครงการ​ตางๆ​มากมาย เชน การ​ สร า ง​พ ระ​พุ ท ธปฏิ ม ากร พระมหาธาตุ ​เจดี ย  ๒ องค เพื่อ​เปนการ​สืบสาน​พระพุทธศาสนา สรางถนน ไฟฟา อาคาร​สำนักงาน อาคาร​ สำหรับ​ผู​มา​ปฏิบัติ​ธรรม ​กุฎิ​สำหรับ​พระสงฆ และ​แมชี เพื่อให​ผู​มา​แสวง​โมกข​ธรรม​ที่วัด​ไดรับ​ ความ​สะดวกสบาย​ตามสมควร สิ่ง​หนึ่ง​ที่​ทำใหเกิด​ความ​สำเร็จ​ตางๆ​ ขึ้น คือ ศรัทธา ศรัทธา​ดว ย​ปญ  ญา ทำใหร​ ป​ู ระจักษ​ แจง​ตอ​ทุกสิ่ง ทั้ง​เพื่อ​กาว​ขาม​ปญหา​ตางๆ​ จวบจน​ยืนหยัด​ได​บน​ความ​สำเร็จ ศรัทธา​ใน​ พระรัตนตรัย...ดวยใจ​ที่​แนวแน ศรัทธา​ใน​พระ​ สัจธรรม​แหง​พระ​ตถาคต แรง​ศรัทธา​ที่​ยิ่งใหญ​ และ​ใจ​ที่​มุมานะ​หลอมละลาย​รวม​เปนหนึ่ง... ยอม​สราง​ความ​สำเร็จ... อาตมา​ได​แนะนำ แนวทาง สั่งสอน อบรม​ ธรรมะ เพียง​เพื่อ​ชี้ทาง...ให​เห็น​โอกาส ให​ 6

สรรพชีวติ ไ​ดม​ โ​ี อกาส​ทจี่ ะ​เลือก มีโ​อกาส​ทจี่ ะ​เห็น เพือ่ ใหท​ กุ สิง่ ห​ มุนไ​ปตาม​ครรลอง​แหงโ​อกาส​กบั ​ วันเ​วลา การ​ชนี้ ำ​ใหก​ บั ช​ าวบาน​โพน​ตมู และ​พทุ ธ​ ศานิก​ชน​ทั้งหลาย​ที่อยู​ใกล​และ​ไกล เพื่อ​ปลูก​ ศรัทธา​ลง​ไป​ใน​หวั ใจ​แหงพ​ ทุ ธ​ศานิกช​ น​ทงั้ หลาย ใหบ​ งั เกิดค​ วาม​ตนื่ ร​ ู วาแ​ ททจี่ ริงแ​ ลว...ทุกคน...มี​ ศักยภาพ​มากมาย หาก​จะ​เปลีย่ นแปลง​ทกุ ๆ สิง่ เพียง​เติม...ศรัทธา​ลง​ไป​ในใจ...ของ​ทุกทาน สิ่ง​ทั้งมวล​เกิดขึ้น​จาก​ปาฎิ​หาริย...จาก​แรง​ พลัง​ความ​ศรัทธา​ของ​พุทธ​ศานิก​ชน​ทุกๆ ทาน ที่​ได​รวมแรง​รวมใจ​กัน จึง​ถือไดวาเปน “บารมี ปาฏิหาริย​แหง​ความ​ศรัทธา” ขอ​อนุโมทนา​บุญ​กับ​ทุกทาน​ที่​ได​รวมกัน​ สราง​วดั ป​ า ท​ งุ ก​ ลุ า​เฉลิมร​ าช ใหเ​จริญ สม​กบั เ​ปน​ สถานทีป​่ ฎิบต​ั ธ​ิ รรม เปนศ​ นู ยรวม​จติ ใจ​ของ​พทุ ธ​ ศานิก​ชน ขอ​ความ​เปนม​ หา​มงคล​อนั ส​ งู สุดจ​ ง​เกิดม​ แ​ี ก​ ทาน​ทั้งหลาย​ดวย​เดช​แหง​บุญ​นี้​เทอญ

หลวง​ปู​ตน​บุญ ติ​กขปญโญ 7


อนุโมทนา ใน​สภาพสังคม​ปจจุบัน โลก​หมุน​ไป​อยาง​รวดเร็ว ยุคสมัย​กเ็​ปลี่ยนแปลง​ไปตาม​กาล​เวลา กระแส​สังคม​ก็​เปลี่ยนไป​ดวย หรือ​ที่​เรา​เรียกวา​ยุค​โลกา​ภิวัฒน และ​ใน​มุมๆ​หนึ่ง​ของ​ทองทุง​กุลา​รองไห ก็ได​มี​การ​เปลี่ยนแปลง​เชนกัน เปลี่ยน​จาก​ทองทุง​อัน​รอนระอุ หางไกล​จาก​สาธารณูปโภค ไกล​จาก​การ​พัฒนา เปลี่ยนแปลง​ไป​ในทาง​ที่​เจริญ​ขึ้น​อยาง​รวดเร็ว เจริญ​ทั้ง​ทาง​วัตถุ​และ​เจริญ​ทั้ง​จิตใจ​ของ​ ทุกๆ​คน​ทนี่ ี่ เจริญท​ งั้ ท​ างโลก​และ​ทางธรรม นับตัง้ แตห​ ลวง​ปต​ู น บ​ ญ ุ ติก​ ขปญโญ ไดเ​ขามา​ พัฒนา วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช ใน​ระยะเวลา​เพียง​ไม​กี่​ป ทาน​ได​พลิกฟน​พื้นที่​แหง​ทุง​กุลา​ รองไห​นี้​ให​มี​ความ​เจริญ เหมาะสม​ที่จะ​เปน​ศูนยรวม จรรโลง​พระพุทธศาสนา ฝากไว​ใน​ แผนดิน​ไทย ความ​วิริยะ ความ​มุงมั่น ความ​เด็ดเดี่ยว พรอมดวย​สติปญญา ของหลวง​ปู​ตน​ บุญ ติ​กขปญโญ ได​นำพา​สาธุชน​หมู​เหลา​สราง​มหา​ทานบารมี ไมวา​จะ​เปน...การ​สราง​ พระมหาธาตุ​เจดีย​ศรี​ทศพล​ญาณ​เฉลิม​ราช​ชัย​มงคล การ​สราง​มหา​วิหาร หรือ​แมแต​การ​ ปลูกศ​ รัทธา ความ​เชือ่ มัน่ ใ​น​คำ​สงั่ สอน​ของ​องคพ​ ระ​สมั มาสัมพ​ ทุ ธเจา ซึง่ ก​ าร​บำเพ็ญบ​ ารมี​ ใน​การ​ดับทุกข ไปสู​ความ​หลุดพน หรือ​พระนิพพาน​นั้น ตอง​อาศัย​ความ​เพียร​พยายาม ความ​มุงมั่น และ​ความ​ศรัทธา​ที่​มั่นคง จึง​จะ​บรรลุ​ได สำเร็จ​ได ขอ​อนุโมทนา​ใน​บุญบารมี​ที่​ทุกทาน​ได​บำเพ็ญ​มา และ​จง​สงผลให​ได​มนุษย​สมบัติ สวรรค​สมบัติ ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ตลอด​ถึง มรรค ผล นิพพาน​สมบัติ ทุกประการ

พระ​ธรรมฐิติ​ญาณ

8

พระ​ธรรมฐิติ​ญาณ

เจาคณะ​ภาค ๑๐ (ธ) เจาอาวาส​วัด​บึง​พระ​ลาน​ชัย พระอารามหลวง จังหวัดรอยเอ็ด 9


อนุโมทนา นับตั้งแต​หลวง​ปู​ตนบ​ ุญ ติ​กขปญโญ​ได​เดินทางเหยียบยาง​เขามา ณ วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช ตามคำ​อาราธนา​นิมนตข​ อง​คณะสงฆ ความ​เปลี่ยนแปลง​ทั้งหลาย​ได​เกิดขึ้นท​ ี่​ทุง​กุลา​รองไห แหงนี้ ความ​เปลี่ยนแปลง​ที่​เปลี่ยนไป​อยาง​เห็นไดชัด จน​เรียก​ได​วา​เปน​สิ่ง​มหัศจรรย หรือ​ ปาฏิหาริยก​ ว​็ า ไ​ด ดวย​แรง​แหงค​ วาม​มงุ มัน่ ความ​วริ ยิ ะ อุตสาหะ ดวย​บารมีแ​ ละ​กระแส​แหง​ ความ​เมตตา ได​กอ​ให​เกิด ความ​ศรัทธา​ที่​เต็มเปยม​สราง​ความ​มั่นใจ ความ​ดีงาม ได​สถิตย​ ในใจ​แหงพ​ ทุ ธบริษทั ท​ งั้ หลาย และ​หยัง่ ร​ ากฐาน​แหงบ​ วร​พทุ ธศาสนา​ลง​ทนี่ ี่ และ​ดว ย​ปญ  ญา​ แหง​ความ​รูแจง​ใน​คำ​สอน​ของ​องค​พระ​สัมมาสัม​พุทธเจา ซึ่ง​หลวง​ปู​ตน​บุญ ติ​กขปญโญ​ได​ ดำเนินร​ อย​ตาม​แหงพ​ ทุ ธองค จะ​นำ​มหาชน​ทงั้ หลาย​พน ข​ า ม​ความ​ทกุ ข นำไปสูค​ วาม​รแู จง สู​พระนิพพาน ขอ​อนุโมทนา​บุญ​กับ​ทาน​ทั้งหลาย​ได​บำเพ็ญ​มาแลว และ​ขอ​อาราธนา​คุณ​พระ​ ศ​ รีร​ ตั นตรัย โปรด​อำนวยพร​ใหท​ กุ ทาน เจริญใ​น​อายุ วรรณะ สุขะ พละ ปฏิภาณ ธนสารสมบัติ ประสบ​แต​ความ​สุข ความ​เจริญ ความ​สำเร็จ​ใน​สิ่ง​อัน​พึงปรารถนา​ทุกประการ​เทอญ

พระครู​ศรี​วิริย​โสภณ 10

พระครู​ศรี​วิริย​โสภณ

เจาคณะ​อำเภอ​เมือง​รอยเอ็ด (ธ) วัด​บึง​พระ​ลาน​ชัย พระอารามหลวง จังหวัด​รอยเอ็ด 11


คำนำ ดวย​ป ๒๕๕๕ นี้ เปน​ป​พุทธช​ยัน​ตี ครบ ๒๖๐๐ ป แหง​การ​ตรัสรู​ของ​พระ​สัมมาสัมพ​ ุทธเจา ทาง​วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช จึง​ได​ประมวล​ภาพพระ บรมสารีริกธาตุ พระ​อัฐิ​ธาตุ สัณฐาน​ตางๆ เพื่อให​ พุ ท ธบริ ษั ท ​ทั้ ง หลาย ได ​มี ค วามรู  ​ค วาม​เข า ใจ​ใ น​ เรื่อง​พระบรมสารีริกธาตุ และ​พระ​อัฐิ​ธาตุ รวมทั้ง​ รายละเอียด​ของ วิถี​การ​บำเพ็ญ​เพื่อ​โพธิญาณ​ของ​ พระพุทธเจา ไว​ใน​หนังสือ บารมี ปาฏิหาริย​แหง​ ศรัทธา เลม​นี้ อีกทั้ง​นำเสนอ​คำ​สอน​ของ​พระ​เดช​ พระคุณ​หลวง​ปู​ตน​บุญ ติ​กขปญโญ ปฏิปทา​และ​จริยวัตร​ของหลวง​ปู​ตน​บุญ ติ​กขปญโญ ไม​เพียงแต​เปน​ผูนำทาง​ศาสนา ทาง​จิตวิญญาณ แต​ทาน​ ยัง​พัฒนา​ใน​ทุ กๆ ​ดาน ดาน​ขนบ​ธรรมเนียม​ป ระเพณี ดาน​ ศาสนกิจ และ​ศาสนสถาน​ตางๆ รวมทั้ง​สราง​พระ​พุทธปฏิมากร ซึ่ง​เปนการ​ สืบสาน​พระพุทธศาสนา​ให​เจริญ​กาวหนา มั่นคง หยั่ง​รากฐาน​ลง​ลึก ใน​ทุง​กุลา​ รองไห​แหงนี้ โดย​ทาน​ทั้ง​เทศนา​ธรรม และ​จัด​อบรม​คุณธรรม จริยธรรม ให​กับ​ เยาวชน และพุทธบริษทั ท​ วั่ ไป เพือ่ ส​ ราง​ศรัทธา​ใหพ​ ทุ ธศาสนิกชน มีส​ งิ่ ย​ ดึ เหนีย่ ว​ ใน​พระรัตนตรัย​อยาง​มั่นคง​ยั่งยืน และ​เพื่อ​ประโยชน​ตอ​สังคม​สวนรวม ตอ​การ​

12

พัฒนา​ประเทศชาติ​บานเมือง​อยาง​แทจริง ดังนั้น หนังสือ​เลม​นี้ จึง​ ได​นำ​เรื่องราว​ดาน​ศาสนกิจ​บางสวน​ที่ หลวง​ปู​ตน​บุญ ติ​กขปญโญ ได​พัฒนา​มา​เสนอให​ทราบ​วา บารมีจาก​แรง​ศรัทธา​ได​เกิด​ปาฎิ​หาริย อะไร​ขนึ้ บ​ า ง ณ วัดป​ า ท​ งุ ก​ ลุ า​เฉลิมร​ าช นี้ และหาก​มข​ี อ ผ​ ดิ พลาด​ ประการใด คณะ​ผู​เรียบเรียง​กราบ​ขออภัย​มา ณ ​ที่นี้ ดวย​อานิสงสแ​ หงบ​ ญ ุ บารมีข​ อง​การ​พมิ พห​ นังสือ บารมี ปาฏิหาริย​แหง​ศรัทธา เปนธรรม​ทาน​นี้ ขอ​อุทิศ​บุญกุศล​ นอม​ถวาย​แดพระพุทธเจาท​ กุ พ​ ระองค ในอดีต ปจจุบนั และ​ อนาคต พระ​ปจ เจก​พทุ ธเจาท​ กุ อ​ งค พระ​อริยเ​จาท​ กุ พ​ ระองค พระ​มหา​โพธิสัตว และ​พระโพธิสัตว​ทุก​องค เทพ​พรหม​ เทวดา ๑๖ ชั้นฟา ๑๕ ชั้นดิน หมื่น​แดน​โลกธาตุ​แสน​โกฏิ​ มหา​อนันต​จกั รวาล ขอ​ถวาย​แดค​ รูบาอาจารย หลวง​ป​ู บรมครูเ​ทพ​โลกอุดร หลวง​ปส​ู งิ ขร และ​หลวง​ปต​ู น บ​ ญ ุ ติ​กขปญโญ และ​ถวาย​เปน​พระ​ราช​กุศล​แด​บูรพม​หา​ ก​ษตั ริย​ าธิร​ าช​เจาท​ กุ ๆ พระองค พระ​บรมวงศานุวงศ ทุกๆ พระองค ตลอดจน​สงผลให​พุทธบริษัท​ทุกทาน ได​ มี​ดวงตา​เห็น​ธรรม สำเร็จ​ธรรม ได​พบ​พระพุทธศาสนา ได​ฟงธรรม​จาก​ พระศาสดา ทุก​ภพ​ทุก​ชาติ จนกวา​จะ​เขาสู​แดน​นิพพาน​เทอญ คณะ​ศิษยานุศิษยผ​ ู​เรียบเรียง

13


พระบรมสารีริกธาตุ ปฐม​เหตุ​แหง​การ​เรียบเรียง ​ใส​ประดุจ​เพชร

พระหทัย​ธาตุ​

14

สืบเ​นือ่ งจาก​หลวง​ปต​ู น บ​ ญ ุ ท​ า น​ไดด​ ำเนิน การ​สบื สาน​พระพุทธศาสนา และ​ ดำเนิน​ตาม​รอยพระบาท​แหง​องค​พระศาสดา ออก​เทศนา​สั่งสอนพุทธบริษัท พุทธศาสนิกชน​ทั้งหลาย ทาน​กไ็ ดพ​ ระบรมสารีรกิ ธาตุ และพระธาตุ มา​อยาง​มากมาย หลาย​สณ ั ฐาน ทั้ง​พระ​โลหิต​ธาตุ พระธาตุ​จาก​น้ำดี น้ำเหลือง จาก​หลาย​ประเทศ ทั้งที่​ประเทศ​ พมา อินเดีย ศรีลังกา และ ประเทศ​ไทย เปนตน มี​ทั้ง​ผู​นำมา​ถวาย หรือ​องค​ พระธาตุ​ได​เสด็จ​มา​เอง ดวย​ปนี้​เปน​ป​พุทธช​ยัน​ตี จึง​ได​นำ​ภาพ​พระ​บรมสา​รีก​ธาตุ และ​พระธาตุ​ที่​มี​ อยู​ใน​ปจจุบัน​มา​เผยแผ​ใน​ครั้งนี้ บางทาน​อาจจะ​ยงั ไ​มเคย​ศกึ ษา คนควา ใน​เรือ่ ง​พระบรมสารีรกิ ธาตุม​ า​กอ น จึง​ถือ​โอกาสนี้​ขอ​นำเสนอ​เรื่อง​พระบรมสารีริกธาตุ ที่​หลาย​ทาน​ได​เรียบเรียง​ไว ใน​หนังสือ ใน​เวปไซด หรือ​สื่อ​ตางๆ เพื่อ​เพิ่มพูน​ปญญา และ​ได​รับทราบ​ขอมูล​ ที่​ถูกตอง “พระธาตุ” คือ กระดูก หรือสวน​ของ​รางกาย​ตางๆ เชน ผม ขน เล็บ ฟน หนัง โลหิต ฯลฯ ที่​มี​คุณลักษณะ​แตกตางจาก​สามัญชน​ทั่วไป โดย​มี​ลักษณะ​ คลาย ‘ธาตุ’ ซึ่ง​หาก​มอง​โดยไม​สังเกต​ให​ดีแลว ก็​คลาย กรวด หิน แกว เพชร ฯลฯ “พระบรมสารีรกิ ธาตุ” คือ พระธาตุส​ ว น ยอย​ของ​องคส​ มเด็จพระ​สมั มาสัม​ พุทธเจาโ​ดยเฉพาะ จะ​ไมใ​ชเ​รียกพระธาตุข​ อง​พระ​อรหันต​สาวก (บางทีอ​ าจ​ใชค​ ำ​ วา “พระบรมธาตุ” หรือ “พระ​สารีริกธาตุ” แทน​ได) คำ​วา พระบรมธาตุ และ พระธาตุ ยังอ​ าจ​ใชห​ มายถึงพ​ ระ​สถูปเจดียต​ า งๆ​ ได​อีกดวย เชน พระบรมธาตุ​ไชยา พระธาตุ​ดอยสุ​เทพ พระ​ธาตุพนม ฯลฯ

15


ประเภท​ของ​พระบรมสารีริกธาตุ เนื่องจาก​พระบรมสารีริกธาตุ​ที่​พบ​เกือบ​ทั้งหมด​ใน​ปจจุบัน มี​ความ​แตกตางจาก​อัฐิ​ของ​บุคคล​ ธรรมดา​ทั่วไป​อยาง​มาก แต​อยางไร​ก็ตาม​ยัง​พบ​ลักษณะ​ของ​พระบรมสารีริกธาตุ​ที่มี​ลักษณะ​เหมือน​ กระดูก​คน​เชนกัน เทาที่​พบเห็น​ได​ตาม​พระ​ธาตุเจดีย​ทั่วไป หรือ​ตาม​พิพิธภัณฑสถาน​ตางๆ ทั่วโลก สามารถ​แบง​ได​เปน ๒ ประเภท​ใหญๆ ไดแก พระบรมสารีริกธาตุ ลักษณะ ‘พระธาตุ’ พระบรมสารีรกิ ธาตุล​ กั ษณะ​นี้ พบ​มาก​ในประเทศ​ ศรีลงั กา ไทย จีน พมา ฯลฯ มีล​ กั ษณะ​ตรง​หรือใ​กลเคียง​ ตาม​ลักษณะ​ที่​ปรากฏ​ใน อรรถกถา​สุมังคล​วิลาสินี ในประเทศ​ไทย​มี​ประดิษฐาน​อยูที่​พระ​ธาตุเจดีย ตาม​ วัด​ตางๆ​ทั่วไป

สามารถ​เสด็จ​มา​เพิ่มจำนวน​ขึ้น​หรือ​ลดลง​ได​เอง ซึ่ง​เปน​ลักษณะ​เฉพาะ​ของ​พระธาตุ เปลี่ยน​ขนาด​และ​สีสัน​เอง​ได สวนมาก​มัก​มี​น้ำหนัก​คอนขาง​เบา เมื่อ​เทียบกับ​ขนาด

พระบรมสารีริกธาตุ​ลักษณะ​ตางๆ

อรรถกถา​สุมังคล​วิลาสินี ซึ่ง​เปน​คัมภีร​อธิบายความ​พระ​สูตร​ทีฆนิกาย ใน​พระ​สุตตันตปฎก​นั้น พระ​อรรถกถาจารย​ได​แบง​ลักษณะ​ของ​พระบรมสารีริกธาตุ​ออก​เปน ๒ ลักษณะ​ใหญๆ คือ ๑. ​นวิปฺปกิณฺ​ณา ธาตุ คือ พระบรมสารีริกธาตุ​ที่​ยังคง​รูปราง​เดิม​อยู​เปน​ชิ้น​เปนอัน มิได​แตก​ ยอย​ลง​ไป มี​ทั้งหมด ๗ องค ไดแก พระ​นลาฏ (กระดูก​หนาผาก) ๑องค พระ​เขี้ยวแกว ๔ องค และ​ พระ​รากขวัญ (กระดูก​ไหปลารา) ๒ องค ๒. ​วิปฺปกิณณ ฺ​ า ธาตุ คือ พระบรมสารีริกธาตุ​สวน​ตางๆ ของ​องค​สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา ที่​มิได​คง​รูปราง​อยู​เปน​ชิ้น แต​แตก​ยอย​ลง​เปน​เปน​จำนวน​มาก กระจาย​ไป​ประดิษฐาน​ตาม​สถานที่​ ตางๆ

พระบรมสารีริกธาตุ ลักษณะ ‘กระดูก​คน’ พระบรมสารีรกิ ธาตุล​ กั ษณะ​นี้ พบ​เฉพาะ​เขต​โบราณสถาน​ในประเทศ​ อินเดีย สำหรับ​ในประเทศ​ไทย รัฐบาล​อังกฤษ​ได​มอบให​แก​ประเทศ​ไทย ๒ ครั้ง ครั้งแรก​พระบาท​สมเด็จพระ​จุลจอมเกลา​เจา​อยู​หัว โปรด​เกลาฯ​ ให​ประดิษฐาน​อยู ณ เจดีย​ภูเขา​ทอง วัด​สระ​เกศ​ราชวรมหาวิหาร และ​ ครั้ง​ที่ ๒ รัฐบาล​ได​อัญเชิญ​ไป​ประดิษฐาน ณ เจดีย​วัด​พระ​ศรี​มหาธาตุฯ บางเขน

คุณลักษณะ​ของ​พระบรมสารีริกธาตุ

คุณลักษณะ​ของ​พระบรมสารีริกธาตุ​และ​พระธาตุ ทีพ​่ บเห็นไ​ดท​ วั่ ไป​ใน​ปจ จุบนั และ​ไดรบั ก​ าร​ยอมรับจ​ าก​ พุทธศาสนิกชน​และ​พระภิกษุสงฆ​โดย​ทั่วไป พบ​วา​มี​ ลักษณะ​ดังนี้ มีห​ ลาย​สี ตัง้ แตใ​ส​ดงั่ แ​ กวจ​ นกระทัง่ ข​ นุ สีขาว​ดจุ ​ สี​สังข สีทอง สีดำ สีชมพู สีแดง ฯลฯ มี​หลากหลาย​รูปแบบ ไดแก ลักษณะ​เมล็ด​ ขาวสาร พันธุ​ผักกาด เมล็ดถั่ว​แตก แกว​ใส ฯลฯ หาก​มข​ี นาดเล็กม​ กั ส​ ามารถ​ลอยน้ำไ​ด เมือ่ ล​ อย​ ดวยกัน​จะ​สามารถ​ดึงดูด​เขาหา​กัน​ได และ​ลอย​ติดกัน​ เปน​แพ 16

เมื่อ​พิจารณา​จาก​ขนาด แบง​ได​เปน ๓ ขนาด (ดู​เปรียบเทียบ​ขนาด​ได​จาก​ภาพประกอบ) ไดแก ๑. ขนาดเล็ก ประมาณ​เมล็ด​พันธุ​ผักกาด * บาง​ตำรา​ระบุ​วา​พระบรมสารีริกธาตุ​ขนาดนี้​จะ​มี​สี​ดั่ง​มะลิ​ตูม ๒. ขนาด​เขื่อง คือ​มี​ขนาดใหญ​ขึ้น​มา ประมาณ​เมล็ด​ขาวสาร​หัก​กึ่ง * บาง​ตำรา​ระบุ​วา​พระบรมสารีริกธาตุ​ขนาดนี้​จะ​มี​สี​ดั่ง​แกว​มุกดา ๓. ขนาดใหญ คือ​มี​ขนาดใหญ​ที่สุด ประมาณ​เมล็ด​ถั่วเขียว​ผา​กลาง* * บาง​ตำรา​ระบุ​วา​พระบรมสารีริกธาตุ​ขนาดนี้​จะ​มี​สี​ดั่ง​ทองอุไร *หมายเหตุ ๑ บาง​ตำรา​ที่​ระบุ​ขนาด ไดแก คำ​นมัสการ​พระบรมสารีริกธาตุ​ของ​โบราณ ; ตำนาน​พระเจา​เลียบ​โลก *หมายเหตุ ๒ ใน​อรรถกถา​บาลี​กลาว​วา​เปน​ถั่ว​มุคคะ โดย​ปาลี-สยาม​อภิธาน ของ​นาคะ​ประทีป ให​ความ​หมาย​คำ​วา ถั่ว​มุคคะ คือ ถั่วเขียว เชน​เดียว​กับ​ที่​พบ​ใน​เอกสาร​ทาง​พุทธศาสนา​ตางประเทศ​บาง​ฉบับ ซึ่ง​ถั่ว​ชนิด​นี้​มีชื่อ​ที่​เรียก​กัน​โดย​ ทั่วไป​วา ถั่วเขียว​ผิวดำ หรือ ถั่วดำ​เมล็ดเ​ล็ก ซึ่ง​เปน​ถั่ว​คนละ​ชนิด​กับ​ถั่วเขียว​ที่​พบ​ทั่วไป อยางไรก็ดี​ถั่ว​ทั้ง ๒ ชนิด​ที่​กลาว​มา มี​ความ​ยาว​ใกลเคียง​กัน​คือ​ประมาณ ๐.๕๐ ซม.

17


พระธาตุล​ อยน้ำ

ตาม​โบราณ​าจารยต​ า งๆ ท​ า น​กลาว​วา พระ บรมสารีรกิ ธาตุแ​ ละ​พระธาตุ​ ที่​มี​ขนาด​ไม​ใหญ​นัก​นั้น สามารถ​ที่จะ​ลอยน้ำ​ได สวน​การ​ลอยน้ำ​ของ​ พระบรมสารีริกธาตุ​และ​พระธาตุ​นั้น จะ​ลอยน้ำ​โดย​ที่​น้ำ​จะ​เปน​แอง​บุม​ลง​ ไป​รองรับพ ​ ระบรมสารีรกิ ธาตุไ​ว นอกจากนีอ​้ าจ​ปรากฏ​รศั มีข​ อง​นำ้ ร​ อบๆ​ พระบรมสารีริกธาตุ​อีกดวย ทั้งนี้​หาก​ทำการ​ลอย​พรอมๆ​ กัน​หลายๆ ​องค พระบรมสารีริกธาตุ​จะ​คอยๆ​ ลอย​เขาหา​กัน​และ​ติดกัน​ในที่สุด ไมวา​จะ​ ลอย​หางกัน​สัก​เพียงใด นีเ่ อง​จงึ เ​ปนเ​หตุใ​หม​ ผ​ี กู ลาว​วา หาก​มพ​ี ระบรมสารีรกิ ธาตุป​ ระดิษฐาน​อยู ณ ที่ใด​แลว หาก​มี​การ​ถวาย​ความ​เคารพ​เปน​อยาง​ดี​และ​เหมาะสม​แลว ทาน​ ก็​สามารถ​ที่จะ​ดึงดูด​องค​อื่นๆ​ให​เสด็จ​มา​ประทับ​รวมกัน​ได อยางไร​ก็ตาม ครูบาอาจารย​ทั้งหลายได​หาม​มิ​ให​ทำการ​ทดสอบ​ พระบรมสารีริกธาตุ​ดวย​การ​ลอยน้ำ โดย​ถือวา​เปนการ​ดูหมิ่น​คุณ​ของ​ องค​พระ​สัมมาสัม​พุทธเจา ซึ่ง​เหตุการณ​นี้ คุณหญิงสุ​รี​พันธุ มณีวัต ได​เลา​ ไวใ​น​งานเขียน​ของ​ทา น​ทเ​ี่ กีย่ วกับพ​ ระบรมสารีรกิ ธาตุ และ​ภายหลังท​ า น​จงึ ไ​ด​ ทำการ​ขอขมา​ตอ​สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา ดวย​เหตุนี้

พระธาตุพ​ ุทธ​สาวก

นับตัง้ แตส​ มัยพ​ ทุ ธกาล​เปนตนมา จนถึงป​ จ จุบนั มีพ​ ระอริยสงฆม​ ากมาย​ ที่​สามารถ​ปฏิบัติ​ธรรม​ตาม​แนวทาง​ของ​องค​สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา จนกระทั่ง​อัฐิ​กลาย​เปน “พระธาตุ” และ​มี​ลักษณะ​แตกตางกัน​มากมาย ซึ่ง​ สามารถ​แยกออก​ได​เปน ๒ กลุม ดังนี้ ๑. พระ​สาวก​สมัย​พุทธกาล​และ​สมัยโบราณ โดย​พระ​สาวก​สมัย​ พุทธกาล​นั้น คือ พระ​สาวก​ที่​ดำรง​ขันธ​อยู​ใน​ชวง​สมัย​พุทธกาล จน​กระทั่งถึง​ ภายหลัง​พุทธกาล​ไมนาน สวน​พระ​สาวก​สมัยโบราณ คือ พระ​สาวก​ที่​ดำรง​ ขันธ​ใน​ชวง​ภายหลัง​พุทธ​ปรินิพพาน​จนถึง​ประมาณ​พุทธศตวรรษ​ที่ ๒๔ พระ​ สาวก​ใน​กลุม​นี้​จึง​มี​เปน​จำนวน​มาก ทั้งที่​ปรากฏ​นาม​และ​ไมปรากฏ​นามใน​ ตำรา พระ​สาวก​สมัย​พุทธกาล​ที่​เปนที่​รูจัก​กัน​โดย​ทั่วไป เชน พระ​โมคคัล​ลาน พระสา​รี​บุตร เปนตน และ​พระ​สาวก​สมัยโบราณ​ที่​เปนที่​รูจัก​กัน​ดี​โดย​ทั่วไป เชน พ​ระอุ​ปคุต เปนตน ๒. พระ​สาวก​สมัยป​ จ จุบนั พระ​สาวก​สมัยป​ จ จุบนั น​ นั้ คือช​ ว ง​ตงั้ แ​ ตกอ น พ.ศ.๒๕๐๐ เล็กนอย จน​กระทัง่ ถึงป​ จ จุบนั ซึง่ ม​ ม​ี ากมาย​หลาย​องค และ​แตละ​ องค​ก็​มี​พระธาตุ​ลักษณะ​ตางๆ มากมาย ทำให​ได​สามารถ​ศึกษา​ลักษณะ​และ​ วิธกี าร​แปร​เปนพ​ ระธาตุจ​ าก​สว น​ตา งๆ​ของ​รา งกาย ซึง่ น​ ำไป​เปรียบ​เทียบกับ​ 18

ลักษณะ​การ​เกิด​ของ​พระบรมสารีริกธาตุ และ​พระธาตุ​พระ​สาวก​สมัยโบราณ​ได ดังเชน หลวง​ปู​มั่น ภูริทัต​โต เปนตน

๑. พระ​สาวก​ธาตุ​สมัย​พุทธกาล​และ​สมัยโบราณ

ตาม​ตำรา​พระธาตุ​ของ​โบราณ ได​กลาว​ถึง​ลักษณะ​พระธาตุ​ของ​พระอรหันต​ผู​ซึ่ง​ทรง​ขันธ​อยู​ใน​ สมัยพ​ ทุ ธกาล และ​หลังพ​ ทุ ธ​ปรินพิ พาน​ไมนาน มีร​ ะบุล​ กั ษณะ​ของ​พระธาตุพ​ ระอรหันตเ​หลานีไ​้ ว ๔๗ องค และ ใน​อรรถกถา* ระบุ​ลักษณะ​พระธาตุ​ของ​พระอรหันต​ใน​สมัย​พุทธกาล​ไว​อีก ๓ องค ซึ่ง​ซ้ำ​ กับใ​น​ตำรา​พระธาตุข​ อง​โบราณ ๒ องค รวม​ปรากฏ​ลกั ษณะ​พระธาตุข​ อง​พระอรหันตท​ งั้ สิน้ ๔๘ องค ไดแก ๑. พระสา​รี​บุตร พระสา​รี​บุตร “สัณฐาน​กลม​เปน​ปริมณฑล​บาง รี​เปน​ไขจิ้งจก​บาง เปน​ดัง​รูป​บาตร​คว่ำ​บาง พรรณ​ขาว​ดัง​สี​สังข สี​พิกุล​แหง สี​หวาย​ตะคา” ๒. พระ​โมคคัล​ลา​นะ “พระ​โมคคัล​ลา​นะ สัณฐาน​กลม​เปน​ปริมณฑล​อยาง​หนึ่ง รี​เปนผล​ มะตูม แล​เมล็ดท​ องหลาง​กม​็ ี แล​เมล็ดส​ วาท​กม​็ ี เปนเ​มล็ดค​ ำ​กม​็ ี สีเ​หลือง​ เหมือน​หวาย​ตะคาบ​ า ง สีขาว​บา ง เขียว​ชำ้ ใ​น​และ​ลาย​ไขน​ ก​บา ง ราว​เปน​ สายเลือด​บาง” ๓. พระ​สี​วลี “พระ​สว​ี ลี มีส​ ณ ั ฐาน​ดงั เ​มล็ดใ​น​พทุ รา​อยาง​หนึง่ ผลยอ​ปา อ​ ยาง​หนึง่ เมล็ดม​ ะละกอ​อยาง​หนึง่ วรรณ​เขียว​ดงั ด​ อก​ผกั ต​ บ​บา ง แดง​ดงั ส​ ห​ี มอใ​หม​ บาง สี​พิกุล​แหง​บาง เหลือง​ดัง​หวาย​ตะคา​บาง แล​ขาว​ดัง​สี​สังข​บาง” ๔. พระ​องคุ​ลิมา​ละ “พระ​องคุล​ มิ า​ละ สัณฐานค​อด​ดงั ค​ อสาก​บา ง ทีม​่ ร​ี โ​ู ปรงต​ ลอด​เสนผม​ ลอด​ได​ก็​มี พรรณ​ขาว​ดัง​สี​สังข เหลือง​ดัง​ดอก​จำปา สีฟา​หมอก” ๕. พระ​อัญญาโก​ณ​ฑัญญะ “พระ​อัญญาโก​ณ​ฑัญญะ สัณฐาน​งอน​ชอย​ดัง​งาชาง พรรณ​ขาว​ดัง​ ดอกมะลิ​ตูม​อยาง​หนึ่ง เหลือง​อยาง​หนึ่ง ดำ​อยาง​หนึ่ง”

19


๖. พระ​อนุ​รุทธะ “พระ​อนุ​รุทธะ สัณฐาน​เปน​สามเหลี่ยม พรรณ​แดง​ดัง​สี​ เลือดนก” ๗. พระ​กัจจายะ​นะ พระ​กัจจายะ​นะ สัณฐาน​ดัง​ศีรษะชาง ดัง​เบี้ย​จั่น พรรณ​ขาว​ ดัง​สี​สังข​ก็​มี เหลือง​ก็​มี” ๘. พระ​พิมพา​เถรี “พระ​พิมพา​เถรี สัณฐาน​แปง​หยด เปน​จั่ว​สามเหลี่ยม เปน​ เล็บมือ เปน​แผน​กระแจะ พรรณ​ขาว​บาง เหลือง​ดัง​สี​ลาน​บาง ดำ​ ก็ม​ บ​ี า ง สีด​ อกพิกลุ แ​ หงบ​ า ง บางทีม​ ร​ี ท​ู ะลุก​ ลาง บางทีไ​มท​ ะลุเ​ปน​ แต​สะดือ​ก็​มี” ๙. พระ​สันตติ​มหา​อำมาตย “พระ​สนั ตติม​ หา​อำมาตย สัณฐาน​ดงั ด​ อกมะลิต​ มู พรรณ​ขาว​ ดัง​สี​สังข ๑๐. พระ​ภัททิยะ “พระ​ภัททิยะ สัณฐาน​ดัง​กลอง ที่สุด​ทั้งสอง​ขาง​เรียวเล็ก พรรณ​ดัง​สี​ดอก​พุดตาน” ๑๑. พระ​อานนท “พระ​อานนท สัณฐาน​ดัง​ใบ​บัว​เผื่อน พรรณ​ดำ​ดัง​น้ำรัก​อยาง​ หนึ่ง สี​ขาวสะอาด​ดัง​สีเงิน​อยาง​หนึ่ง” ๑๒. พ​ระอุ​ปปะคุต “พ​ระอุป​ ปะคุต สัณฐาน​หวั ค​อด​ทา ยค​อด พรรณ​ดงั ส​ ด​ี อกพิกลุ ​ แหง สี​เปลือก​หอม” ๑๓. พ​ระอุ​ทายี “พ​ระอุ​ทายี สัณฐาน​ยาวแล​คด​ดัง​กริช พรรณ​ดัง​สี​ดอก​บัวโรย สี​ดอก​บาน​ไมรู​โรย สี​ดัง​ดอกหงอนไก สี​ดัง​ดอก​คำ” 20

๑๔. พ​ระอุ​ตตะรายีเ​ถรี “พ​ระอุต​ ตะรายีเ​ถรี สัณฐาน​ดงั ร​ ปู พ​ ระ​ควัมปะ​ติ พรรณ​ดงั เ​มฆ สี​ หมอก​ฟา สีแดงเขม”

ฟา”

๑๕. พ​ระกาฬุ​ทายีเ​ถระ “พ​ระกาฬุ​ทายี​เถระ สัณฐาน​ดัง​ลูกหินบด พรรณ​ดัง​เมฆ​เกล็ด​

๑๖. พระปุ​ณ​ณะ​เถระ “พระปุณ ​ณ ​ ะ​เถระ สัณฐาน​สเี่ หลีย่ ม​จตั รุ สั พรรณ​สขี าว สีด​ อกพิกลุ ​ แหง” ๑๗. พ​ระอุ​ปะนันทะ “พ​ระอุ​ปะนันทะ สัณฐาน​กลม​เปน​ปริมณฑล พรรณ​สีเขียว” ๑๘. พระ​สัมปะฑัญญะ “พระ​สัมปะฑัญญะ สัณฐาน​เทา​หมากสง​ปอก​แลว พรรณ​สีแดง สีขาว” ๑๙. พระ​จุลลิ​นะ​เถระ “พระ​จลุ ลิน​ ะ​เถระ มีส​ ณ ั ฐาน​ตา งๆ หา​กำหนด​มไิ ด พรรณ​สด​ี อก​ จำปา สี​กลวย​ครั่ง” ๒๐. พระ​จุล​นาคะ “พระ​จุล​นาคะ มี​สัณฐาน​ดัง​ดอก​ดีปลี เปน​ปุม​ยาว​ทบ​ไป​ทบ​มา​ ทั่ว​ทั้ง​องค พรรณ​ขาว​ดัง​สี​สังข ๒๑. พระม​หากป​นะ “พระม​หากป​นะ สัณฐาน​ดัง​ผล​ชะเอม พรรณ​ขาว​แดง​ขาง​อยาง​ หนึ่ง เขียว​ขาง​แดง​ขาง​อยาง​หนึ่ง เหลือง​ขาง​เขียว​ขาง​อีก​อยาง​หนึ่ง”

21


22

๒๒. พระ​ยังคิ​กะ​เถระ “พระ​ยังคิ​กะ​เถระ สัณฐาน​สี่เหลี่ยม​แบน​เปน​หนากระดาน มี​รู​กลาง พรรณ​ดัง​สี​ทองแดง”

๓๐. พระ​เวณุ​หาสะ “พระ​เวณุ​หาสะ สัณฐาน​ดัง​ตาออย พรรณ​แดง​ดัง​สี​ฝาง สี​มะเดื่อ​สุก”

๒๓. พระ​สุม​ณะ​เถระ “พระ​สุม​ณะ​เถระ สัณฐาน​ดัง​หอยโขง พรรณ​แดง​ดัง​สีชาด ดัง​สีเสน สี​กำมะถัน”

๓๑. พ​ระอุ​คคาเร​วะ “พ​ระอุ​คคาเร​วะ สัณฐาน​ดัง​ผล​กระจับ พรรณ​ดัง​เมล็ด​ใน​ ทับทิม​สุก”

๒๔. พระ​กังขา​เรวัตตะ “พระ​กงั ขา​เรวัตตะ สัณฐาน​กลม งอก​กระปุม กระป่ำด​ งั ภ​ เู ขา พรรณ​เขียว​ดัง​สี​ลูกปด สี​ปก​แมลงทับ สี​ลูก​จันทน​ออน”

๓๒. พระ​อุบล​วรรณา​เถรี “พระ​อบุ ล​วรรณา​เถรี สัณฐาน​งอน​ดงั ก​ ระดูกส​ นั หลังง​ ู มีร​ ​ู ทะลุ​กลาง พรรณ​เหลือง​ดัง​เกสร​บัว”

๒๕. พระ​โมฬี​ยะวาทะ “พระ​โมฬี​ยะวาทะ สัณฐาน​ดัง​ฟองมัน พรรณ​สี​เมฆหมอก สีดำ​เทา”

๓๓. พระ​โลหะ​นามะ​เถระ “พระ​โลหะ​นามะ​เถระ สัณฐาน​ดัง​ผล​ฝาย พรรณ​สีเขียว เหลือง​แดง เหมือน​ฟา ทับทิม เหมือน​ดอก​ลั่นทม​อยาง​หนึ่ง เหมือน​ปูนแดง​อยาง​หนึ่ง”

๒๖. พ​ระอุตระ “พ​ระอุตระ สัณฐาน​ดัง​เมล็ด​แตงโม พรรณ​แดง​ดัง​สี​เปลือก​ ก​รู ดัง​ผล​หวา”

๓๔. พระ​คันธะ​ทายี “พระ​คันธะ​ทายี สัณฐาน​ดัง​วง​พระจันทร​ขางแรม”

๒๗. พระ​คิริ​มา​นันทะ “พระ​คริ ม​ิ า​นนั ทะ สัณฐาน​ดงั ด​ อกพิกลุ พรรณ​เหลือง​แก ดัง​ สี​ขมิ้น สี​ดอก​การะเกด”

๓๕. พระ​โคธิก​ ะ “พระ​โคธิ​กะ สัณฐาน​ดัง​ลูกขาง”

๒๘. พระ​สปา​กะ “พระ​สปา​กะ สัณฐาน​ดัง​ผลมะมวง กลาง​ทะลุ​เปน​รู​ตลอด พรรณ​แดง เหลือง​ขาว”

๓๖. พระ​ปณฑะ​ปา​ติยะ “พระ​ปณฑะ​ปา​ติยะ สัณฐาน​เปน​กลีบ​กนก”

๒๙. พระ​วิมะ​ละ “พระ​วมิ ะ​ละ สัณฐาน​กลม​ยาว มีร​ ท​ู ะลุต​ ลอด​หวั ท​ า ย พรรณ​ สีเขียว​สีขาว”

๓๗. พระกุ​มาระ​กัสสะปะ “พระกุ​มาระ​กัสสะปะ สัณฐาน​ดัง​คอน​นกเขา” 23


๓๘. พระ​ภัทธะคู “พระ​ภัทธะคู สัณฐาน​ดัง​ตัว ๒/๑”

๔๖. พระเวย​ยา​กัปปะ “พระเวย​ยา​กัปปะ สัณฐาน​ดัง​ทอง​นั่ง​เบา”

๓๙. พระ​โค​ทะฑัตตะ “พระ​โค​ทะฑัตตะ สัณฐาน​ดัง​ผล​มะระ”

๔๗. พระกุ​ณฑะ​ละ​ติสสะ “พระกุ​ณฑะ​ละ​ติสสะ สัณฐาน​ดังจาว​เมล็ด​ลูก​จันทน”

๔๐. พระอ​นาคา​ระกัสสะปะ “พระอ​นาคา​ระกัสสะปะ สัณฐาน​เหมือน​หอยสังข”

๔๑. พระ​คะวัมปะ​ติ “พระ​คะวัมปะ​ติ สัณฐาน​เหมือน​ใบ​บัว​ออน”

๔๒. พระ​มาลียะ​เทวะ “พระ​มาลียะ​เทวะ สัณฐาน​เหมือน​ขัน​ครอบ”

๔๓. พระกิ​มิ​ละ​เถระ “พระกิ​มิ​ละ​เถระ สัณฐาน​เหมือน​บัณเฑาะว”

๔๔. พระ​วังค​ ิสะ​เถระ “พระ​วัง​คิสะ​เถระ สัณฐาน​ดัง​เมล็ด​นอยหนา​ตัด”

๔๕. พระ​โชติยะ​เถระ “พระ​โชติยะ​เถระ สัณฐาน​ดัง​ผล​ลูก​จันทน” 24

ลักษณะ​การ​เกิด

การ​บัง​เกิดขึ้น​ของ​พระธาตุ​จาก​สวน​ตางๆ​นั้น คุณหญิงสุ​รี​พันธุ มณีวัต ได​สังเกต​และ​จดบันทึก​เปน​ขั้นตอน ดังนี้ การ​แปร​เปนพ ​ ระธาตุ​จาก​ผง​อังคาร​ ๑. ผง​อังคาร (ถาน) ๒. มี​จุด​เล็ก​เหมือน​ไขปลา สีขาว​เทา​เกิดขึ้น ๓. ไขปลา​นั้น​เริ่ม​โตขึ้น สีเทา​ดำ ๔. สีเทา​ดำ เริ่ม​ขาว​ขึ้น พระธาตุ​มี​ขนาดใหญ​ขึ้น ๕. องค​พระธาตุ​สมบูรณขึ้น ซึ่ง​จะ​เขา​ลักษณะ​เมล็ด​ขาวโพด การ​แปร​เปนพ ​ ระธาตุ​จาก​อัฐิ​ ๑. กระดูก​ตาม​ธรรมชาติ ๒. กระดูก​เริ่ม​แปร​เปน​พระธาตุ​แยก​เปน ๒ ลักษณะ ๒.๑ กระดูก​ที่​มี​ลักษณะ​เปน​ฟอง​กระดูก​เปน​รู​พรุน ฟอง​กระดูก​ เริ่ม​หดตัว รวมตัว​เขา​เปน​ผลึก ฟอง​กระดูก​บางสวน​จะ​ยัง​ คงสภาพ​อยู ๒.๒ กระดูก​ที่​เปน​ขิ้น​ยาว แนว​เยื่อ​กระดูก​ที่​เห็น​เปน​เสน​บางๆ ตอไป​จะ​แปรเปลี่ยน​เปน​พระธาตุ​ตาม​แนว​เสน จะ​เกิด​ผลึก ขยาย​ขึ้น​จน​เต็ม​องค ๓. สภาพ​ใกล​เปน​พระธาตุ​มากขึ้น ๓.๑ พระธาตุ​ลักษณะ​นี้​แปรสภาพ​จาก ๒.๑ สวน​ที่​เปน​ผลึก​ หินปูน​จะ​มากขึ้น สวน​ที่​เห็น​เปน​ฟอง​กระดูก​จะ​นอยลง ลักษณะ​เริ่มมน มี​สัณฐาน​กลม รี เมล็ด​ขาวโพด เห็น​สวน​ ฟอง​กระดูก​ติด​เพียง​เล็กนอย

พระธาตุ​หลวง​ปู​กอง ​จันท​วังโส วัด​สระ​มณฑล จ.อยุธยา

ชิ้น​อัฐิ​ที่​กำลัง​แปร​เปน​พระธาตุ

พระธาตุ​ที่​แปรสภาพ​จาก​อัฐิ หลวง​ปู​เขง ​โฆษธัมโม วัด​ปา​สีห​พนม จ.สกลนคร

25


เกศาหลวง​ปู​ตน​บุญ ติ​กขปญโญ

ลักษณะ​การ​เกิด​พระธาตุ​ขณะ​ฌาปนกิจ ๑. สภาพ​ศพ​ตาม​ธรรมชาติ เมื่อ​ทำการ​เผา ๒. เกิ ด ​วั ต ถุ ​ธ าตุ ​ส  อ งแสง​เ ป น ​ป ระกาย​ห ยด​อ อก​ม าจาก​ รางกาย ๓. เมื่อ​กระทบ​กับ​สิ่ง​ที่รองรับ​ก็​กลิ้ง​กระจาย​ออก​เปน​ขนาด​ ตางๆ ๔. กลาย​เปน​พระธาตุ​โดย​สมบูรณ

พระธาตุ​พระ​สิทธิ​สาร​โสภณ วัด​อาวุธ​วิก​สิ​ตา​ราม จ.กรุงเทพฯ

หมายเหตุ การ​เกิด​พระธาตุ​ลักษณะ​นี้ มี​ผูบันทึก​ไว​เพียง ๒ ทาน ไดแก พระ​สิทธิ​สาร​โสภณ (สงวน ​โฆสโก) และอุบาสิกาบุญ​เรือน โตง​บุญ​เติม

๓.๒ พระธาตุ​ลักษณะ​นี้ มักจะ​คงรูป​กระดูก​เดิม​ไว โดย​แปร​ จาก ๒.๒ เยื่อ​กระดูก​ที่เกาะ​เปน​ผลึก​หินปูน​จะ​ขยาย​ตื้น​ขึ้น​จน​ เกือบเต็มร​ พ​ู รุนก​ ระดูก ประมาณ​เห็นส​ ว น​กระดูกเ​หลือเ​พียง ๑๐๒๐% ๔. เปน​พระธาตุ​โดย​สมบูรณ

สวน​การ​เกิด​พระธาตุ​อีก​ลักษณะ​หนึ่ง เปนการ​เกิดขึ้น​ของ​ พระธาตุ​ที่เกิด​จาก​พระธาตุ​ดวย​กันเอง คือ​การ​แบง​หรือ​แตก​ ออกจาก​พระธาตุอ​ งคเ​ดิม จำแนก​ตาม​คำ​บอกเลาข​ อง​ผท​ู พ​ี่ บเห็น​ ออก​เปน ๓ ลักษณะ คือ​ ลักษณะ​งอก​จาก​พระธาตุ​องค​เดิม ๑. พระธาตุ​ลักษณะ​ปกติ ๒. เกิด​องค​พระธาตุ​ผุด​ขึ้น​มาจาก​ผิว​พระธาตุ​องค​เดิม ๓. พระธาตุ​องค​ใหม​มี​ขนาดใหญ​ขึ้น ๔. หลุด​ออกมา​เปน​พระธาตุ​อีก​องค​โดย​สมบูรณ

ลักษณะ​การ​แปร​เปน​พระธาตุจ​ าก​เกศา ๑. เสน​เกศา​ตาม​ธรรมชาติ ๒. เสน​เกศา​หยง​ตัว​ขึ้น​และ​มา​รวมตัวกัน​เขา ติดกัน​เปน​แพ​ เล็กๆ ๓. แพ​เหลานั้น​จะ​รวม​เปนกอน ๔. เริ่ม​ลักษณะ​เปน​พระธาตุ สีน้ำตาล​ออน​คลาย​พิกุล ๕. เปน​พระธาตุ​โดย​สมบูรณ สี​พิกุล​แหง หรือ นวล

ลักษณะ​แบง​จาก​พระธาตุ​องค​เดิม ๑. พระธาตุ​ลักษณะ​ปกติ ๒. องค​พระธาตุ​เดิม​มี​ลักษณะค​อด​เขา​ของ​องค​พระธาตุ ๓. รอยค​อด​หด​เขามา​ใกล​กัน​มากขึ้น ๔. หลุด​ออกมา​เปน​พระธาตุ ๒ องค​โดย​สมบูรณ

นอกจากนี้ การ​เกิดพ​ ระธาตุจ​ าก​อฐั ิ นอกเหนือจ​ ากทีค​่ ณ ุ หญิง​ สุ​รี​พันธุ​บันทึก​ไว​นั้น ยังมี​อีก ๒ ลักษณะ ที่​มี​ผู​สังเกต​ไว​ดังนี้ ลักษณะ​การ​แปร​เปน​พระธาตุจ​ าก​อัฐิ ๑. อัฐิ​ตาม​ธรรมชาติ ๒. เกิด​องค​พระธาตุ​ผุด​ขึ้น​มาจาก​ชิ้น​อัฐิ ๓. องค​พระธาตุ​มี​ขนาดใหญ​ขึ้น ๔. หลุด​ออกมา​เปน​พระธาตุ​โดย​สมบูรณ 26

เดิม

พระบรมสารีริกธาตุ ที่​มี​ยังคงมี​ลักษณะ​ติดกัน​อยู

พระบรมสารีริกธาตุ วัด​ถ้ำ​แสง​แกว จ.สระแกว

ลักษณะ​แตก​ออกจาก​พระธาตุ​องค​เดิม ๑. พระธาตุ​ลักษณะ​ปกติ ๒. พระธาตุ​แตก​หรือ​หัก​ออกจาก​บางสวน​ของ​องค​พระธาตุ​

๓. พระธาตุ​องค​ใหม​มี​ขนาดใหญ​ขึ้น หรือรอยแตก​มี​ลักษณะ​ กลมมน * มัก​พบ​การ​เกิด​พระธาตุ​ลักษณะ​นี้​ใน​พระธาตุ​พระ​สี​วลี

พระธาตุ​พระ​สี​วลี

27


พระธาตุ​ของ​พระอริยสงฆท​ ี่เกิด​ขณะ​ยังมี​ชีวิต​อยู

สำหรับ​พระสงฆ​ที่​ยัง​ไม​ดับขันธ​ก็​สามารถ​พบ​วา​เกิด​พระธาตุ​ได​เชนกัน ที่​มี​ประจักษ​พยาน​ชัดเจน เชน กรณีข​ องหลวง​ปแ​ู หวน สุจณ ​ิ โณ ทีไ​่ ดท​ ำการ​ผา ตัดก​ ระดูกส​ ะบาห​ วั เขา พบ​วา กระดูกส​ ะบาห​ วั เขา​ ทาน​กลาย​เปน​พระธาตุ​แลว

พระธาตุ​แปรสภาพ​จาก​ชานหมาก หลวงพอ​ฤาษี​ลิง​ดำ วัด​ทา​ซุง จ.อุทัยธานี

ลักษณะ​การ​พบ​พระธาตุข​ ณะ​ทาน​ยังมี​ชีวิต​อยู​ ๑. การ​ผาตัด​เปลี่ยน​กระดูก แลว​กระดูก​ที่​ออกมา​พบ​วา​เปน​ พระธาตุ ๒. เกศา​ที่​ปลง​ไว แปรเปลี่ยน​เปน​พระธาตุ ๓. เล็บ​ที่​ตัด​แปร​เปน​พระธาตุ ๔. ฟน​ที่​หลุด หรือ ถอน กลาย​เปน​พระธาตุ ๕. ชานหมาก​หรือ​น้ำหมาก​ที่​ทาน​เคี้ยว ตกผลึก​เปน​พระธาตุ ๖. มี​พระธาตุ​เสด็จ​ไป​ประทับ​รวมกับ​รูป ​ลอกเก็ต หรือรูป​ เหมือน​ของ​ทาน​เอง

การ​บูชาพระบรมสารีริกธาตุ

พระบรมสารีริกธาตุ เปน​ปูชนียวัตถุ​ที่​ทรงไว​ดวย​คุณคา ทั้ง​ทาง​ดาน​ประวัติ​ศาสตร และศาสนา อีกทั้ง​ยังเปน​สิ่ง​ที่​สูงคา ควร​แก​การ​เคารพบูชา​อยาง​สูงสุด หาก​ทาน​ผูใด​มี​โอกาส​ได​เก็บรักษา​ไว ขอ​ ทาน​จง​บูชา​ดวย​ความ​เคารพ เนื่องจาก​พระบรมสารีริกธาตุ​นั้น​หาได​ยาก และ​ยังเปน​สิ่ง​ที่​ประเสริฐ​ สุด​ใน​ไตรภพ​ที่​มนุษย​และ​เทวดา​พึง​สักการะ

วิธี​บูชา​พระบรมสารีริกธาตุ

การ​จะ​บชู า​พระบรมสารีรกิ ธาตุน​ นั้ ก​ อ น​อนื่ ต​ อ ง​ชำระลาง​รา งกาย ทำ​จติ ใจ ใหสะอาด​ผอ งใส จัดหา​ ดอกมะลิ​ใส​ภาชนะ​บูชา ตั้ง​สักการะ ณ ที่​ประดิษฐาน​พระบรมสารีริกธาตุ แลว​จุด​ธูป​และ​เทียน ตั้งใจ​ ให​เปน​สมาธิ กราบ ๓ครั้ง แลวจึง​ตั้ง​นะโม ๓ จบ กลาว​คำ​บูชา​พระบรมสารีริกธาตุ คำ​กลาว​บูชา​พระบรมสารีริกธาตุ มี​อยู​มากมาย​ทั้ง​ภาษา​บาลี และ​ภาษาไทย แต​ที่​พบเห็น​กัน​ อยู​โดย​ทั่วไป และ​กระทำ​ได​โดย​งาย​นั้น​คือ คำ​กลาว​พรรณนา​พระบรมสารีริกธาตุ อ​ ะหัง วันทา​มิ ​ทูระ​โต ​อะหัง วันทา​มิ ธาตุโย

28

การ​บชู า​พระธาตุน​ นั้ นอกเหนือจ​ าก​การ​บชู า​ดว ย “อามิสบ​ ชู า” เชน การ​บชู า​ ดวย​ดอกไม ธูปเ​ทียน และ เครือ่ งหอม​ตา งๆ​แลว การ​บชู า​ดว ย​การ “ปฏิบตั บิ ชู า” ซึง่ เ​ปนว​ ธิ ท​ี อ​ี่ งคส​ มเด็จพระ​สมั มาสัมพ​ ทุ ธเจาท​ รง​สรรเสริญ เปนอ​ กี ว​ ธิ กี าร​หนึง่ ทีน​่ ยิ ม​ปฏิบตั ค​ิ วบคูไ​ ป​ดว ย ใน​การ​บชู า​ซงึ่ พ​ ระบรมสารีรกิ ธาตุ และ​พระธาตุ​ ทั้งหลาย โดย​ทั่วไป​นิยม​ปฏิบัติ​ตาม​แนว​อริยมรรค ๘ ประการ สรุป​ โดย​ยอ​ไดแก ๑. การ​บชู า​ดว ย​ศลี ซึง่ ศ​ ลี เ​ปนพ​ นื้ ฐาน​และ​เปนทีต​่ งั้ มัน่ แ​ หง​ การ​ทำความดี เปน​เกราะ​ปองกัน​ความ​ชั่ว​ทั้งปวง ไม​ทำให​ จิตใจ​เศราหมอง ทำใหเกิด​ความ​พรอม​ตอ​การ​ปฏิบัติ​ สมาธิ (สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ) ๒. การ​บู ช า​ด  ว ย​ส มาธิ ซึ่ ง ​ก าร​ส วดมนต​ ภาวนา นั่ง​สมาธิ ดู​ลม​หายใจเขา-ออก เปนการ​ ฝ ก ​ค วาม​เข ม แข็ ง ​ข อง​จิ ต ให ​มี ​ก ำลั ง ​ใ น​ก าร​ พิจารณา​หลักธรรม​ตางๆ​ได​ตาม​ความ​เปนจริง (สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ) ๓. การ​บู ช า​ด  ว ย​ป  ญ ญา คื อ ​ก าร​ใช ​ป  ญ ญา​ พิจารณา​หลัก​ความ​เปนจริง ตามหลัก​ไตรลักษณ (สัมมา​ ทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ)

บทสวด​บูชา​พระบรมสารีริกธาตุ (ที่มา: วัด​ปาทะ​เมน​ชัย)

อุ​กาสะ วันทา​มิ ​ภันเต เจ​ติ​ยัง สัพ​พัง ​สัพพัตถะฐาเน ส​ ุปะ​ติ​ฏฐิตัง ขาแ​ ตพ​ ระองคผ​ เู จริญ ดังข​ า พเจาข​ อ​ถอื โอกาส ขาพเจาข​ อ​ไหวซ​ งึ่ พ​ ระ​เจดียท​ งั้ หมด​อนั ต​ งั้ ไวด​ แี ลว​ ในที่​ทั้งปวง พุทธะสา​รี​รัง​คะธา​ตุง มะ​หา​โพธิง พุทธะ​รู​ปง คันธะ​กุฏิง จะตุ​ราสี​ตสิ​ ะหัสเส ธัม​มัก​ขันเธ คือ​ซึ่ง​พระสา​รี​รังคะ​ธาตุ​ของ​พระพุทธเจา ซึ่ง​ตน​พระ​ศรี​มหา​โพธิ์ ซึ่ง​พระพุทธรูป ซึ่ง​พระ​คันธุ​กุฏิ​ ของ​พระพุทธเจา และ​ซึ่ง​พระ​ธรรมขันธ​ทั้งหลาย มี​แปด​หมื่น​สี่​พัน​พระ​ธรรมขันธ ​สัพเพตัง ปาทะ​เจ​ตยิ​ ัง สัก​การัต​ถัง เพื่อ​สักการะ​ซึ่ง​พระ​เจดีย คือ​รอยพระบาท​เหลานั้น​ทั้งหมด​ทั้งสิ้น ​อะหัง​วันทา​มิ​ธาตุโย ขาพเจา​ขอ​ไหว​พระธาตุ​ทั้งหลาย ​อะหัง​วันทา​มิ​สัพพะโส ขาพเจา​ขอ​ไหว​โดย​ประการ​ทั้งปวง อิจ​เจตัง ​ระตะ​นัตตะ​ยัง ​อะหัง วันทา​มิ สัพพะ​ทา ขาพเจา​ขอ​ไหว​ซึ่ง​พระรัตนตรัย​เหลานั้น​ใน​กาล​ทุกเมื่อ ดวย​อาการ​ดังนี้แลฯ 29


การ​สรงน้ำพ​ ระธาตุ

การ​สรงน้ำ​พระบรมสารีริกธาตุ และพระธาตุ เปน​ประเพณี​ ความ​เชื่อ​ดั้งเดิม​มา​แต​โบราณ ที่​นิยม​กระทำ​เปนประจำ​ทุกป เปรียบ​เสมือน​การ​ไดส​ รงน้ำพ​ ระพุทธเจาห​ รือพ​ ระอรหันตท​ งั้ หลาย โดย​ทวั่ ไป​จะ​กระทำ​ใน​วนั สำคัญท​ าง​พระพุทธศาสนา หรือวันง​ าน​ เทศกาล​ประจำป เชน สงกรานต เปนตน และ​วิธีปฏิบัติ​ใน​การ​ สรงน้ำ ก็จ​ ะ​แตกตางกันไ​ป แลวแตค​ วาม​เชือ่ แ​ ละ​ความ​ศรัทธา​ของ​ แตละ​ทองที่​นั้นๆ หรือ แลวแต​บุคคล

เมือ่ ไ​ ดป​ ระมวล​วธิ กี าร​ตา งๆ ตามทีไ​่ ดพ ​ บเห็นม​ า มีด​ ว ยกัน ๒ ลักษณะ ดังนี้ ๑. สรงน้ำ​องค​พระบรมสารีริกธาตุ​หรือ​พระธาตุ​โดย​ตรง วิธี​นี้​ แบงออก​ได​เปน ๒ วิธีการ คือ ๑.๑ อัญเชิญ​องค​พระธาตุ​ลง​บน​ผา​ขาว​บาง ซึ่ง​ขึง​อยู​บน​ปาก​ ภาชนะ​รองรับน​ ำ้ ทำการ​สรงน้ำโ​ดย​คอ ยๆ ร​ ดสรง​ลง​บน​ องคพ​ ระธาตุ วิธกี าร​นน​ี้ ำ้ จ​ ะ​ไหลผาน​องคพ​ ระธาตุ ซึมล​ ง​ สู​ผา​ขาว​และ​ไหล​รวม​สู​ภาชนะ​ที่รองรับ​ดานลาง ๑.๒ ใสน​ ำ้ ท​ จี่ ะ​ใชส​ ำหรับสรง​องคพ​ ระธาตุ ลง​ใน​ภาชนะ คอยๆ​ ชอน​องค​พระธาตุ​ลง​ใน​ภาชนะ เมื่อสรง​เสร็จ​แลวจึง​ อัญเชิญ​ขึ้น​จาก​น้ำ (*สำหรับ​วิธี​นี้ ไม​ให​สนใจ​วา​องค​ พระธาตุจ​ ะ​ลอย​หรือจ​ ม เพราะ​ไมใชก​ าร​ลอยน้ำท​ ดสอบ​ พระธาตุ ซึ่ง​อาจ​เขาขาย​ปรามาส​องค​สมเด็จพระ​สัมมา​ สัมพ​ ทุ ธเจา หรือพ​ ระ​สาวก​องคน​ นั้ ๆ ไ​ด) ทัง้ นี้ เมือ่ ท​ ำการ​ สรงน้ำ​เปนที่​เรียบรอย​แลว พึง​อัญเชิญ​องค​พระธาตุ​ ขึ้น แลว​ซับ​ให​แหง กอน​จะ​อัญเชิญ​บรรจุ​ลง​ใน​ภาชนะ​ ตามเดิม ๒. สรงน้ำ​ภาชนะ​หรือ​สถานที่​บรรจุ​องค​พระบรมสารีริกธาตุ​ หรือ​พระธาตุ วิธีการ​นี้​นิยม​ใช​สำหรับ​สรงน้ำ​พระบรมธาตุ​เจดีย​โดย​ทั่วไป, เจดีย​บรรจุ​พระธาตุ​ที่​ปดสนิท หรือ ตองการ​ความ​สะดวก​รวดเร็ว ใน​กรณีที่​มี​ผู​รวม​สรงน้ำ​เปน​จำนวน​มาก โดย​การ​ตักน้ำที่​ใช​ สำหรับสรง ราด​ไป​บน​พระ​เจดีย 30

น้ำ​ที่​ใชใ​ นกา​รสรง

น้ำ​ที่​นำมาใช​ในกา​รสรง​พระบรมสารีริกธาตุ และ พระธาตุ​นั้น มี​วิธีการ​เตรียม​คลาย​กับ​การ​ เตรียม​น้ำ เพื่อ​ใช​สำหรับ​สรงน้ำ​พระพุทธรูป ซึ่ง​การ​จะ​เลือก​ใช​แบบ​ใด​นั้น ก็​ขึ้นอยู​กับ​ความ​เชื่อ​ และ​เหตุผล​ของ​แตละบุคคล รวมถึง​ความ​สะดวก​ใน​การ​จัดหา​ดวย เมื่อ​ทำการสรง​เสร็จ​แลว น้ำ​ ที่​ผานกา​รสรง​องค​พระธาตุ นิยม​นำมา​ประพรม​เพื่อ​เปน​สิริมงคล เสมือนหนึ่ง​น้ำ​พระพุทธมนต ซึ่ง​น้ำ​ที่​ใช​ในกา​รสรง​พระบรมสารีริกธาตุ และ พระธาตุ​นั้น แบงออก​เปน ๒ แบบ ดังนี้ ๑. น้ำสะอาด​บริสุทธิ์ มี​ผู​อธิบาย​วา สาเหตุ​ที่​ตอง​ใช​น้ำ​บริสุทธิ์​ใน​การ​สรงน้ำ​องค​พระธาตุ​นั้น เนื่องจาก​วา องค​ พระธาตุน​ นั้ เกิดม​ า​แตผ​ บ​ู ริสทุ ธิ์ ธาตุเ​หลานัน้ จ​ งึ เ​ปนของ​บริสทุ ธิ์ ไมส​ มควรจะ​เอา​สงิ่ ใ​ดๆ​ก็ตาม เจือปน​ลง​ไป​แปดเปอน​องค​พระธาตุ แต​อีก​เหตุผล​กลาว​วา ใน​น้ำหอม​หรือ​ดอกไม อาจ​มี​สาร​ ใดๆ​ก็ตาม​เจือปน จน​อาจ​ทำให​องค​พระธาตุ​หมอง​ลง​ได ๒. น้ำสะอาด​เจือ​ดวย​สิ่ง​บูชา น้ำ ลักษณะ​นี้​นิยม​ใช​สรงน้ำ​พระธาตุ​โดย​ทั่วไป นัยวา​ได​ถวาย​เปน​อามิส​บูชา​ตอ​องค​ สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา หรือ พระ​อรหันต​สาวก​ทั้งปวง ซึ่ง​สิ่ง​บูชา​ที่​เจือ​ลง​ ใน​น้ำ​ก็แลวแต​ความชอบ และ​ความ​เชื่อ​ใน​แตละ​ทองถิ่น ยกตัวอยาง​เชน น้ำหอม น้ำอบ ดอกไม กลีบ​ดอกไม ฝก​สมปอย หรือ แกนไม​จันทน​ ฝน เปนตน

คำ​อาราธนา​พระธาตุ​ออก​สรงน้ำ โย ส​ นฺนิ​สินโน วร​โพ​ธิมูเล มารํ ส​ เสนํ ส​ ุชิตํ ​วิเชยฺย สมฺ​โพ​ติ​มา​คจฺฉิ ​อนนฺตญาโณ โ​ ลกุตฺตโม ตํ ป​ณ​มา​มิ ​พุทธํ สาธุ โอ​กาสะ ขาแ​ ตอ​ งคพ​ ระ​มหา​ชนิ ธ​ าตุเ​จา วันนีก​้ เ​็ ปนว​ นั ดีด​ ถิ อ​ี นั ว​ เิ ศษ เหตุวา​สมณะ​ศรัทธา​และ​มูละ​ศรัทธา​ผู​ขา​ทั้งหลาย ทั้ง​ภายใน​และ​ภายนอก ภายใน​อนั ม​ ี .................. ภายนอก มี..................... (ถาจ​ ะ​ออกชือ่ ป​ ระธาน​ ในที่​นั้น​ก็​ให​เติม​เขา ภายใน​หมายถึง​บรรพชิต ภายนอก​คือ​คฤหัสถ) ก็ได​ ขวนขวาย​ตกแตง​นอม​นำมา ยัง​ทีป​บุปผา​ลาชา​ดวง​ดอก ขาวตอก​ดอกไม และ​ลำ​เทียน เพื่อจั​กวา​ขอนิ​มันต​นา​ยัง​องค​พระ​มหา​ชิน​ธาตุ​เจา เสด็จ​ ออกไป​อาบ​องคสรง​สระ วัน​สัน​นี้​แท​ดีหลี (ถา​นิมนต​ไป​ดวยเหตุใด​ที่ไหน ก็​ให​เปลี่ยนไป​ตามเรื่อง​ที่​นิมนต​ไป) ขอ​องค​พระ​มหา​ชิน​ธาตุ​เจา จง​มี​ ธรรม​เมตตา​เอ็นดู​กรุณา ​ปฏิคคหะ​รับ​เอา​ยัง​ทีป​บุปผา​ลาชา​ดวง​ดอก ขาวตอก​ดอกไม​และ​ลำ​เทียน​แหง​สมณะ​ศรัทธา และ​มูล​ศรัทธา ผู​ขา​ ทั้งหลาย​วา​วันสัน​นี้​แท​ดีหลี ​อิทํ โน ทีป​ ปุปผ​ าลาช​ทานํ น​ ิมตฺตนํ น​ ิพฺ​พาน​ปจฺจโย น​ ิจฺจํฯ 31


คำขอ​โอกาส​สรงน้ำพ​ ระธาตุ

(กอน​จะ​สรงน้ำ​พระธาตุ​ให​ยก​ขัน​น้ำหอม​ขึ้น​ใส​หัว แลว​ผู​เปน​ หัวหนา​วา​คำขอ​โอกาส​ดังนี้) โย ​สนฺนิ​สินโน วร​โพ​ธิมูเล มารํ ส​ เสนํ ​สุชิตํ ​วิเชยฺย สมฺ​โพ​ติ​มา​คจฺฉิ ​อนนฺตญาโณ ​โลกุตฺตโม ตํ ป​ณม​ า​มิ ​พุทธํ สาธุ โอ​กาสะ ขา​แต​องค​พระ​มหา​ชิน​ธาตุ​เจา วันนี้​ก็​เปน​วันดี​ ดิถี​อัน​วิเศษ เหตุวา​สมณะ​ศรัทธา​และ​มูล​ศรัทธา​ผู​ขา​ทั้งหลาย ก็ได​ ขวนขวาย​ตกแตง​นอม​นำมา ยัง​ทีป​บุปผา​ลาชา​ดวง​ดอก ขาวตอก​ ดอกไม ลำ​เทียน​และ​นำ้ ส​ นุ โธท​กะ เพือ่ ว​ า จ​ ะ​มา​ขอ​อาบ​องคส​ ระสรง​ยงั อ​ งคพ​ ระ​มหา​ชนิ ธ​ าตุเ​จาว​ า สัน​ นี้​แท​ดีหลี โดย​ดั่ง​ผู​ขา​จักเวน​ตาม​ปาฐะ สาธุ โอกาส มยํ ภ​ นฺเต ทีปปุ​ผาลาช​ทานํ ​อเภขฺ​ขอสา​ธาร​ณ ​สพฺพโลกิยโลกุตฺตร ​มคฺค​ผล ​นิพฺ​พาน​ปจฺจโย​โหตุ โน ​นิจฺจํ ฯ

ตำนาน​ธาตุ​ปรินิพพาน

คัมภีรอ​ รรถกถา​หลาย​เลม ไดแก ส​ มุ งั คล​วลิ าสินี ป​ ปญจ​สทู นี มโนรถ​ปรู ณี และ ​สัมโมหวิโนทนี ปรากฏ​ตำนาน​ที่​เลาขาน​สืบมา​แต​ครั้ง​โบราณ​วา การ​ ปรินิพพาน​จะ​ปรากฏ​ดวยกัน ๓ ครั้ง ครั้งแรก​คือ กิเลส​ปรินิพพาน ปรากฏ ณ โพธิบัลลังก​เมื่อ​ครั้ง​ตรัสรู ครั้ง​ที่ ๒ คือ ขันธ​ปรินิพพาน ปรากฏ ณ เมืองกุ​สิ​ นารา และ​ครั้ง​สุดทาย​จะ​เกิดขึ้น​ใน​อนาคต คือ ธาตุ​ปรินิพพาน เนื้อหา​โดย​ รวม​ใน​แตละ​คัมภีร​มี​ความ​คลายคลึง​กัน จะ​แตกตางกัน​เพียง​รายละเอียด​ เล็กนอย ดังนี้ กลาว​กัน​วา เมื่อ​ถึงเวลา​ที่​พระศาสนา​เสื่อม​ถอยลง​ พระบรม สารีริกธาตุ​ทุก​พระองค​ไมวา​จะ​ประดิษฐาน​อยู​ที่ใด​ก็ตาม จะ​เสด็จ​ ไป​ประชุม​กัน​ยัง​เกาะ​ลังกา แลวจึง​เสด็จ​ไปยัง​มหา​เจดีย (กลาว​กัน​ วา พระ​มหา​เจดียอ​ งคน​ ค​ี้ อื พระ​สวุ รรณ​มาลิกเ​จดีย) จาก​มหา​เจดีย​ เสด็จต​ อ ไ​ปยังรา​ชาย​ตน​เจดียใ​ น​นาค​ทวีป จากนัน้ จ​ งึ เ​สด็จต​ อ ไ​ปยัง​ มหา​โพธิ์​บัลลังก​สถานที่​ตรัสรู (พุทธค​ยา) ใน​คั ม ภี ร  ​อ รรถกถา​ก ล า ว​ต  อ ไป​ว  า องค ​พ ระบรมสารี ริ ก ธาตุ ​ที่ ​เ คย​ ประดิษฐาน​ยัง​นาค​พิภพ เทวโลก และพรหม​โลก เมื่อ​เสด็จ​ไป​รวมกัน​ยัง​ มหา​โพธิบลั ลังกท​ ต​ี่ รัสรู ก็ร​ วมกันเ​ปนแ​ ทงเ​ดียวกันด​ จุ แ​ ทงท​ องคำ​หรือก​ อง​ ทองคำ เปลง​พระ​ฉัพพรรณรังสี ไป​ทั่ว​หมื่น​โลกธาตุ ยก​เวนแตค​ มั ภีรม​ โนรถ​ปรู ณี ทีก​่ ลาว​ตา ง​ไป​วา พระบรมสารีรกิ ธาตุท​ มี่ า​ ประชุมก​ นั จะ​แสดงเปนอ​ งคพ​ ระพุทธรูปน​ งั่ ข​ ดั สมาธิ พระ​สรีระ​ครบถวน​

32

ดวย​มหา​ปุริส​ลักษณะ​และ​อนุ​พยัญชนะ จากนั้น​จึง​กระทำ​ยมก​ปาฏิหาริย​แสดง ใน​ตำนาน​กลาว​ไว​วา ไมมม​ี นุษยค​ น​ใด​เขาไป​ใน​สถานทีแ​่ หงนัน้ แตเ​ทวดา​ทงั้ หลาย​ใน​หมืน่ จ​ กั ร​วาฬ​จะ​มา​ประชุมก​ นั ท​ งั้ หมด คร่ำครวญ​วา พระศาสดา​จะ​ปรินิพพาน​วันนี้ พระศาสนา​จะ​เสื่อมถอย การ​เห็น​ของ​พวกเรา​นี้ เปนการ​เห็น​ครั้ง​ สุดทาย เมือ่ ถ​ งึ เวลา​สนิ้ สุดพ​ ระศาสนา เตโชธาตุล​ งุ โ​พลง​ขนึ้ จ​ าก​พระ​สรีรธาตุ เปลวเพลิงพ​ วยพุง ไ​ปถึงพ​ รหม​ โลก และ​ดับ​ลง​เมื่อ​พระบรมสารีริกธาตุ​หมด​สิ้นไป​ไมเหลือ​แม​เทา​เมล็ด​ผักกาด หลังจากนั้น​หมู​เทพ​ ทำการ​สักการะ​ดวย​ของหอม ดอกไม​และ​ดนตรี​ทิพย ดังเชน​ใน​วัน​ปรินิพพาน กระทำ​ประทักษิณ ๓ รอบ ถวายบังคม แลวจึง​กลับ​สู​วิมาน​ของ​ตน ** ตำนาน​นี้​ปรากฏ​ใน​คำ​นมัสการ​พระบรมสารีริกธาตุ​ของ​โบราณ​ดวย​เชนกัน แต​ตางกัน​ตรง​ที่​การ​กลาว​เพิ่มเติม​ วา องค​พระบรมสารีริกธาตุ​ที่ประชุม​กัน​ขึ้น​เปน​รูป​องค​สมเด็จพระ​สัมมาสัม​พุทธเจา จะ​ทรง​ตรัส​พระธรรม​เทศนา​อีก​เจ็ด​ วันกอน​สิ้นอายุ​พระศาสนา ซึ่ง​ไมปรากฏ​ความ​นี้​ใน​อรรถกถา​ฉบับ​ใด​เลย

เกร็ด​ความรู​เกี่ยวกับ​ตำรา​พระธาตุ และ​การ​จำแนก​พระธาตุ

“ตำรา​พระธาตุ” เปนต​ ำรา​เกาแกโ​บราณ บันทึกล​ กั ษณะ​สณ ั ฐาน​ ของ​พระ​อรหันต​สาวก​ธาตุ ทั้ง​กอน​และ​หลัง​พุทธ​ปรินิพพาน​ ไมนาน ไมท​ ราบ​ประวัตผ​ิ บู นั ทึกแ​ ละ​ความ​เปนมา โดย​ทวั่ ไป​ มัก​ใช​ลักษณะ​สัณฐาน​ที่​มี​การ​บันทึก​ภายใน​ตำรา ใน​การ​ จัด​จำแนก​พระธาตุ ซึ่ง​ตำรา​นี้​นิยม​เรียก​สั้นๆ​วา “ตำรา​ พระธาตุข​ อง​โบราณ” ใน​เมืองไทย​ปรากฏ​หลักฐาน​วา พ​ บ​ ดวยกัน ๔ ฉบับ โดย​จะ​เรียกชือ่ ต​ ำรา​ตาม​ผท​ู เ​ี่ ปนเ​จาของ​ ตำรา ไดแก ๑. ตำรา​พระธาตุ​ของ​พระเจาบ​ รมวงศเ​ธอ กรมหมืน่ ว​ วิ ธิ ​ วรรณ​ปรีชา ๒. ตำรา​พระธาตุ​ของ​คุณ​บุญ​ชวย สมพงษ อดีต​อธิบดี​กรม​ศาสนา (*แพรหลาย​มาก​ที่สุด) ๓. ตำรา​พระธาตุ​ของ​นายแพทย​เกิด บุญ​ปลูก ๔. ตำรา​พระธาตุ​ของ​นาง​เสรษฐ​สมิธ (ผ​อบ ​นรเสรษฐ​สมิธ) การ​จดั จ​ ำแนก​วา พ​ ระธาตุอ​ งคน​ นั้ ๆ เ​ปนของ​องคใ​ด มีว​ ธิ กี าร​จำแนก​อยู ๒ วิธี คือ การ​จำแนก​ตาม​ ลักษณะ​ที่​มี​บันทึก​ใน​ตำรา​พระธาตุ​ของ​โบราณ และการ​ตรวจดู​ดวย​สมาธิ ซึ่ง​ทั้ง ๒ วิธี​มี​ขอดี​ขอเสีย​ที่​ แตกตางกัน จึง​ทำให​บางทาน​ใช​ทั้ง ๒ วิธีการ​รวมกัน มีผ​ ใู หข​ อ ส​ งั เกต​และ​สนั นิษฐาน​วา พระธาตุท​ ไ​ี่ ดรบั ก​ าร​จดั จ​ ำแนก​ชอื่ แ​ ลว อาจจะ​ไมใชข​ อง​องคน​ นั้ ๆ​ ก็ได เนื่องจาก​พระ​อริย​สาวก​ที่​มี​เปน​จำนวน​มาก​นั่นเอง ทำให​มี​ลักษณะ​ของ​พระธาตุ​ที่​หลากหลาย เหมือน​หรือ​แตกตางกัน​ไป แต​อยางไรก็ดี ถึงแม​จะ​ไมใช​พระธาตุ​ของ​ทาน​นั้นๆ ก็่​อาจ​เปน​พระธาตุ​ ของ​พระ​สาวก​ที่​มี​คุณสมบัติ​โดดเดน​ใกลเคียง​กัน หรือ​เปน​ลูกศิษย​ของ​ทาน ใน​สาย​นั้น​ๆ ก็​เปนได ขอขอบคุณข้อมูลจาก www.relicsofbuddha.com

33


พระบรมสารีริกธาตุ ณ วัด​ปา​ทุง​กุลา​เฉลิม​ราช

ใส​ประดุจเพชร​

๕ พระมุนีธาตุของพระศรีอาริยเมตไตรย

๓ พระบรมสารีริกธาตุของพระกัสสปพุทธเจ้า

๑ พระบรมสารีริกธาตุของพระกกุสันธพุทธเจ้า

๔ พระบรมสารีริกธาตุของพระสมณโคดมพุทธเจ้า

๒ พระบรมสารีริกธาตุของพระโกนาคมนพุทธเจ้า

35


ใส​ประดุจ​อัญมณี

พระ​ธาตุ​น้ำเหลือง

ใสดุจทับทิมสยาม

36

ใสดุจ​อำพัน

พระโลหิตธาตุ​

พระธาตุน้ำดี

ใสดุจอัญชัน

ใสดุจมรกต ใสดั่งน้ำทะเล

37


38

39


พระอรหันตธาตุ

40

พระปญจวัคคีย​ทั้ง ๕

พระกิมิละ

พระโชติ​นะ​เถระ​

พระติสสเมตเตยย​เถระ

พระกุล​ฑะละติสสะ

พระขทิราวนิยเรวตะเถระ

พระโต​เท​ยย​เถระ​

พระทัพพมัลบุตร​เถระ

พระคยากัสสปเถระ​

พระควัมปติ

พระนายะ​กะ​

พระนาศิตะเถระ​

พระจุน​ทเถระ​

พระนาลก​เถระ

พระปลันทวัจฉเถระ

พระปุณณกะ

พระจุลนาคะ

พระจู​ฬปน​ถกเถระ

พระปุณณมันตานีบุตรเถระ

พระโป​สาลเถระ 41


42

พระภัทรคู

พระภัทรวุธ​เถระ

พระยัง​คิกะ​เถระ​

พระรัฏฐปาลเถระ

พระม​หากัป​ปนะ

พระมหากัสสปะ

พระราธเถระ​

พระวัปป​เถระ

พระม​หา​นาม​เถระ​

พระมหาโมคคัลลีบุตร​ติ​สสเถระ

พระวิมละ​

พระสปากะเถระ​

พระม​หินทเถระ​

พระเมฆิยเถระ

พระสภิยเถระ

พระสันตติ​มหาอำมาตย

พระเมตตคู​เถระ​

พระโมฆราชเถระ

พระสีวลี

พระ​โสณ​โกฬีวิสเถระ 43


พระโสณกุฏิกัณณะเถระ

พระอนาคารกัสสปะ

พระอัญญาโกณฑัญญะ

พระอุคคา​เรวะ

การวางจิต

44

พระอุปคุต

พระมหาโมคคัลลีบุตร​ติ​สสเถระ

พระอุรุเวลกัสสปเถระ

พระมหาโสภิตเถระ

พระอุปปะนันทะ​

พระนทีกัสสปเถระ

การวางจิตให้เป็นปรกติเป็นเรื่องสำคัญ ไม่มีใครเป็นครูอาจารย์เราได้ นอกจากตัวของเราเอง สิ่งที่เราทำได้ดีที่สุด คือระลึกถึงไตรลักษณ์เป็นสรณะ เพราะไตรลักษณ์เป็นเรื่องสำคัญ เมื่อระลึกถึงไตรลักษณ์อยู่เป็นนิจ เราก็จะเข้าใจความจริง ว่าไม่มีสิ่งใดเที่ยงแท้แน่นอน มีเกิดขึ้น มีตั้งอยู่ แล้วก็ดับไป

45


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.