มาตรฐานด้านเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

Page 1

มาตรฐานดานเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา

วิชิต ชาวะหา


มาตรฐานดานเทคโนโลยีและสือ ่ สารการศึกษา Topics

ความหมายและแนวคิด ขอบขาย / มาตรฐาน งานวิจย ั เกีย ่ วของ


มาตรฐานดานเทคโนโลยีและสือ ่ สารการศึกษา ความหมาย

เทคโนโลยี มาจากคําภาษาลาตินว่ า “Techno+Logos” หมายถึง ศาสตร์ ที่วา่ ด้วยวิธีการหรื อการศึกษาเกี่ยวกับวิธีการ เทคโนโลยีการศึกษาจึงเป็ นเรื่ องของระบบและวิธีการไม่วา่ จะมีวสั ดุและเครื่ องมืออุปกรณ์มาเกี่ยวข้องหรื อไม่ก็ตาม

ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (2545) : เทคโนโลยีการศึกษามีลกั ษณะที่แตกต่างไปจากวิทยาการ (Discipline) หรื อวิชาแขนง อื่นอยูบ่ า้ ง กล่าวคือ วิทยาการทั้งหลายนั้นหมายถึง องค์แห่ งความรู ้ที่สามารถตรวจสอบและเปลี่ยนแปลงได้ดว้ ยการ วิจยั และส่ วนใหญ่จะเป็ นวิทยาการทางวิทยาศาสตร์ ส่ วนคําว่า สาขาวิชา (Field) มักจะหมายถึง การศึกษาประยุกต์ (Applied study) ที่เน้นเรื่ องวิชาชีพ สาขาวิชาจะขึ้นอยูก่ บั วิทยาการ เช่น วิชาชีพวิศวกรรมศาสตร์ ก็จะขึ้นอยูก่ บั วิชา ฟิ สิ ก ส์ แ ละคณิ ต ศาสตร์ วิ ช าชี พ ทางแพทย์จ ะขึ้ น อยู่กับ วิ ช าชี ว วิ ท ยาและวิ ช าเคมี เป็ น ต้น

สาขาวิชา เทคโนโลยีการศึ กษา ต้ องอาศั ยความรู้ จากวิทยาการแขนงอื่น หลายด้ าน ดังนั้น เทคโนโลยีการศึกษาจึงเป็ น สหวิทยาการ

(Interdiscipline)


มาตรฐานดานเทคโนโลยีและสือ ่ สารการศึกษา แนวคิด ...เทคโนโลยีการศึกษามีวิวฒั นาการมาจาก 2 แนวคิด ได้แก่ •

แนวคิดแรก เป็ นแนวคิดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ ( Physical Science Concept) ซึ่งเป็ นระบบการ นําผลิตผลทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมมาใช้ในด้านการศึกษา โดยรู้จกั กันดีใน รู ปของวัสดุที่เป็ นสิ่ งสิ้ นเปลือง (Software) และอุปกรณ์ที่เป็ นสิ่ งที่คงทนถาวร (Hardware) ทั้งสองประเภทนี้มกั ใช้ควบคู่กนั คือ เมื่อมี วัสดุแล้ว มักจะต้องใช้ควบคู่กบั อุปกรณ์เสมอ เช่น เครื่ องฉายและเครื่ องเสี ยง เป็ นต้น แนวคิดนี้ได้พฒั นามาจาก “ โสตทัศนศึกษา” (Audiovisual Education) ซึ่งเป็ นการเรี ยนรู้จากการรับฟังด้วยหูและรับชมด้วยตา นัน่ เอง เทคโนโลยีการศึกษาตามแนวคิดนี้จึงเน้นหนักที่ “ สื่ อสิ่ งของ” ได้แก่ วัสดุ อุปกรณ์

แนวคิดที่สอง เป็ นแนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ ( Behavioral Science) ซึ่ งเป็ นการ ประยุกต์หลักการ ทางจิตวิทยา สังคมวิทยา และมานุ ษยวิทยา ผสมผสานกับผลผลิตทางวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรม เพื่อช่วยให้การ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยเน้น “ วิธีการจัดระบบ” (System Approach) ที่มีการกําหนดขั้นตอนอย่างเด่นชัด เช่น ต้องมีการวิเคราะห์เนื้อหาสาระ วิเคราะห์ผเู้ รี ยน กําหนด วิธีการและสื่ อการสอนและกําหนดแนวทางการประเมิ นผล เป็ นต้น เทคโนโลยีการศึ กษาตามแนวคิ ดนี้ จึงเป็ น แนวคิดที่ยอมรับกันมาก เพราะมิได้เน้นสื่ อสิ่ งของแต่เน้นสื่ อประเภทวิธีการ รวมเป็ น “ วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ”


แนวคิดของสมาคมสือ ่ สารและเทคโนโลยีการศึกษาแหงสหรัฐอเมริกา (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994) •

Seels and Richey ศึกษาและแบ่งไว้เป็ น 5 ขอบข่ ายหลัก 20 ขอบข่ ายย่ อย ดังนี้

1.การออกแบบ (design)

5. การประเมิน

2. การพัฒนา

(evaluation)

(development)

AECT

4. การจัดการ (management)

3. การใช้ (utilization)


แนวคิดของสมาคมสือ ่ สารและเทคโนโลยีการศึกษาแหงสหรัฐอเมริกา (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994) •

Seels and Richey ศึกษาและแบ่งไว้เป็ น 5 ขอบข่ ายหลัก 20 ขอบข่ ายย่ อย ดังนี้

1.การออกแบบ (design)

5. การประเมิน

1.1 การออกแบบระบบการสอน (instructional systems design) เปนวิธีการจัดการที่รวมขั้นตอนของการสอน ประกอบด วย การวิเคราะห (analysis) คือ กระบวนการที่กําหนดวาตองการใหผูเรียนไดรับอะไร เรียนใน (evaluation) เนื้อหาอะไร การออกแบบ (design) กระบวนการที่จะตองระบุวาใหผูเรียนเรียนอยา(development) งไร การพัฒนา (development) คือ กระบวนการสรางผลิตสื่อวัสดุการสอน การนําไปใช (implementation) คือ การใชวัสดุ และยุทธศาสตรตางๆ ในการสอน และ การประเมิน (evaluation) คือ กระบวนการในการประเมินการสอน

2. การพัฒนา

1.2 ออกแบบสาร (message design) เปนการวางแผน AECT เปลี่ยนแปลงสารเนนทฤษฎีการเรียนที่ประยุกตความรู บนพื้นฐานของความสนใจ การรับรู ความจํา การออกแบบสารมีจุดประสงคเพื่อการสื่อความหมายกับผูเรียน 1.3 กลยุทธการสอน (instructional strategies) เนนที่การเลือก ลําดับเหตุการณ และกิจกรรมในบทเรียน ในทางปฏิบัติกลยุทธการสอนมีความสัมพันธกับสถานการณการเรียน ผลของปฏิสัมพันธนี้สามารถอธิบายได โดยโมเดลการสอน การเลื อกยุ ท ธศาสตร ก ารสอนและโมเดลการสอนต อ งขึ้ น อยู กั บ สถานการณ ก ารเรี ย น รวมถึงลักษณะผูเรียน ธรรมชาติของเนื้อหาวิชา และจุดประสงคของผูเรียน

4. การจัดการ

3. การใช้

1.4 ลักษณะผูเ รีย น (learner characteristics) คือลักษณะและประสบการณเดิมของผูเรียนที่จะมีผลต อ (management) กระบวนการเรี ยน การสอน การเลือก และการใชยุทธศาสตรการสอน (utilization)


แนวคิดของสมาคมสือ ่ สารและเทคโนโลยีการศึกษาแหงสหรัฐอเมริกา (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994) •

Seels and Richey ศึกษาและแบ่งไว้เป็ น 5 ขอบข่ ายหลัก 20 ขอบข่ ายย่ อย ดังนี้

1.การออกแบบ 2.1 เทคโนโลยีสิ่งพิมพ (print technologies) เปนการผลิ ต หรือสงสาร (design) สื่อด า นวั ส ดุ เช น หนังสื อ โสตทัศ นวั ส ดุ พื้ น ฐานประเภทภาพนิ่ ง ภาพถ า ย รวมถึ งสื่ อ ข อ ค ว า ม ก ร า ฟ ก วั ส ดุ ภาพ สิ่ ง พิ มพ ทั ศนวั ส ดุ สิ่ ง เ ห ล า นี้ เปนพื้นฐานของการพัฒนา การใชสื่อวัสดุการสอนอื่นๆ

5. การประเมิน

2.2 เทคโนโลยีโสตทัศนูปกรณ (audiovisual technologies) เปนวิธีการ ในการจั ด หา หรื อ ส ง ถ า ยสาร โดยใช เ ครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ หรื อ เครื่ อ งมื อ (evaluation) อิเล็กทรอนิกส เพื่อนํ าเสนอสารต า งๆ ด วยเสี ย ง และภาพ โสตทั ศ นู ป กรณ จะช ว ยแสดงสิ่ ง ที่ เ ป น ธรรมชาติ จ ริ ง ความคิ ด ที่ เ ป น นามธรรม เพื่ อ ผู ส อน นําไปใชใหมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน

2. การพัฒนา (development)

2.3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร (computer – based technologies) AECTเปนวิธีการ ในการจัดหา หรือสงถายสารโดยการใชไมโครโพรเซสเซอร เพื่อรับและสง ข อ มู ล แบบดิ จิ ต อล ประกอบด ว ย คอมพิ ว เตอร ช ว ยสอน คอมพิ ว เตอร จั ด การสอน โทรคมนาคม การสื่ อ สารทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส การเข า ถึ ง และ ใชแหลงขอมูลในเครือขาย 2.4 เทคโนโลยีบูรณาการ (integrated technologies) เปนวิธีการในการจัดหา หรือสงถายขอมูลกับสื่อหลาย ๆ รูปแบบภายใตการควบคุมของคอมพิวเตอร

4. การจัดการ

(management)

3. การใช้ (utilization)


แนวคิดของสมาคมสือ ่ สารและเทคโนโลยีการศึกษาแหงสหรัฐอเมริกา (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994) •

Seels and Richey ศึกษาและแบ่งไว้เป็ น 5 ขอบข่ ายหลัก 20 ขอบข่ ายย่ อย ดังนี้

1.การออกแบบ 3.1 การใช สื่ อ (media utilization) (design)เป น ระบบของการใช สื่ อ แหล งทรั พ ยากร เพื่อ การเรียน โดยใชกระบวนการตามที่ผานการออกแบบการสอน 3.2 การแพรกระจายนวัตกรรม (diffusion of innovations) เปนกระบวนการ สื่ อ ความหมาย รวมถึ ง การวางยุ ท ธศาสตร หรื อ จุ ด ประสงค ใ ห เ กิ ด การยอมรั บ นวัตกรรม

5. การประเมิน

2. การพัฒนา

(evaluation) 3.3 วิธีการนําไปใช และการจัดการ (implementation and institutionalization) (development) เป น การใช สื่ อ การสอนหรื อ ยุ ท ธศาสตร ใ นสถานการณ จ ริ ง อย า งต อ เนื่ อ งและใช นวัตกรรมการศึกษาเปนประจําในองคการ 3.4 นโยบาย หลักการและกฎระเบียบข อบังคับ (policies and regulations) AECT เปนกฎระเบียบ ขอบังคับของสังคมที่สงผลตอการแพรกระจาย และการใชเทคโนโลยีการศึกษา

4. การจัดการ (management)

3. การใช้ (utilization)


แนวคิดของสมาคมสือ ่ สารและเทคโนโลยีการศึกษาแหงสหรัฐอเมริกา (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994) •

Seels and Richey ศึกษาและแบ่งไว้เป็ น 5 ขอบข่ ายหลัก 20 ขอบข่ ายย่ อย ดังนี้

การออกแบบ

1. management) เปนการวางแผน กํากับ ควบคุม การออกแบบ 4.1 การจัดการโครงการ (project และพัฒนาโครงการสอน (design) 4.2 การจัด การแหลงทรัพยากร (resource management) แหลงทรัพยากร ที่ชวยระบบและการบริการ

เปนการวางแผน กํากับ ควบคุม

4.3 การจัดการระบบสงถาย (delivery system management) เปนการวางแผน กํากับ ควบคุม 5. การประเมิ น วิธีการซึ่งแพรกระจายสื่อการสอนในองคก าร รวมถึ งสื่ อ และวิธ2. ี การใช ี่จะนํ การพัทฒ นาาเสนอสารไปยัง (evaluation) ผูเรียน

(development)

4.4 การจัดการสารสนเทศ (information management) เปนการวางแผน กํากับ ควบคุม การเก็บ การสงถาย หรือกระบวนการของขอมูลสารเพื่อสนับสนุนแหลงทรัพยากรการเรียน

AECT

4. การจัดการ (management)

3. การใช้ (utilization)


แนวคิดของสมาคมสือ ่ สารและเทคโนโลยีการศึกษาแหงสหรัฐอเมริกา (Association for Educational Communications and Technology: AECT, 1994) •

Seels and Richey ศึกษาและแบ่งไว้เป็ น 5 ขอบข่ ายหลัก 20 ขอบข่ ายย่ อย ดังนี้

1.การออกแบบ (design)

5. การประเมิน (evaluation)

2. การพัฒนา (development) 5.1 การวิเคราะหปญหา (problem analysis) เปนการทํ าใหปญหาสิ้นสุด โดยการใชขอมูล ตางๆ และวิธีการที่จะชวยตัดสินใจ 5.2 เกณฑการประเมิน (criterion – reference measurement) เทคนิคการ ใช เ กณฑ เ พืAECT ่ อ การประเมิ น การสอน หรื อ ประเมิ น โครงการเทคโนโลยี แ ละสื่ อ สาร การศึกษา 5.3 การประเมินความกาวหนา (formative evaluation) มีการใชขอมูลอยางเหมาะสมจาก การประเมินความกาวหนาเพื่อเปนฐานในการพัฒนาตอไป

4. การจัดการ (management)

5.4 การประเมินผลสรุป (summative evaluation) มีการใชขอมูลอยางเหมาะสมที่จะ ตัดสินใจกับการดําเนินงานโปรแกรม หรือโครงการ

3. การใช้

(utilization)


แนวคิดนักการศึกษา (ไทย) • ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์


งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้ อง • การพัฒนามาตรฐานงานเทคโนโลยีการศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา (ผศ.ดร.ฐาปนีย ธรรมเมธา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร ม.ศิลปากร)

• การพัฒนามาตรฐานแหงชาติทางเทคโนโลยี การศึกษาสําหรับสถาบันผลิตบัณฑิตทาง การศึกษา (วสันต อติศพั ท และคณะ)


งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้ อง • การพัฒนามาตรฐานงานเทคโนโลยีการศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา (ผศ.ดร.ฐาปนีย ธรรมเมธา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร ม.ศิลปากร)


งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้ อง • การพัฒนามาตรฐานงานเทคโนโลยีการศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา (ผศ.ดร.ฐาปนีย ธรรมเมธา ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร ม.ศิลปากร)

ตัวอยาง


งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้ อง • การพัฒนามาตรฐานแหงชาติทางเทคโนโลยีการศึกษาสําหรับ สถาบันผลิตบัณฑิตทางการศึกษา (วสันต อติศัพท และคณะ) บทคัดยอ การวิจัยนี้มีเปาหมายเพื่อพัฒนามาตรฐานแหงชาติทางเทคโนโลยีการศึกษาสําหรับสถาบันผลิต บัณฑิตทางการศึกษา โดยมีขั้นตอนการวิจัย 5 ขั้นตอนคือ (1) การกําหนดกรอบสําหรับการพัฒนา มาตรฐานทางเทคโนโลยีการศึกษา (2) การพัฒนารางมาตรฐานทางเทคโนโลยีการศึกษา (3) การศึกษาความคิดเห็นผูบริหารสถาบันผลิตบัณฑิตทางการศึกษา (4) การวิพากษมาตรฐานทาง เทคโนโลยีการศึกษา และ (5) การรับรองมาตรฐานทางเทคโนโลยีการศึกษาโดยสภาคณบดีคณะครุ ศาสตร ศึ ก ษาศาสตร แ ห ง ประเทศไทย ผลการวิ จั ย ได เ สนอมาตรฐานแห ง ชาติ ท างเทคโนโลยี การศึกษาสําหรับสถาบันผลิตบัณฑิตทางการศึกษา 9 มาตรฐาน 34 ตัวบงชี้ คือ (1) มาตรฐานดาน ภาวะผูนําทางเทคโนโลยีการศึกษาของสถาบันผลิตบัณฑิตทางการศึกษา (2) มาตรฐานดาน โครงสรางของหลักสูตรการผลิตบัณฑิตทางการศึกษา (3) มาตรฐานดานโครงสรางพื้นฐานทาง เทคโนโลยีก ารศึ กษา (4) มาตรฐานดานเทคโนโลยีร ว มสมัยสนั บสนุนการเรียนการสอน (5) มาตรฐานดานบุคลากรทางเทคโนโลยีการศึกษา (6) มาตรฐานดานสมรรถนะทางเทคโนโลยี การศึกษาของอาจารย (7) มาตรฐานดานรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เอื้อและสงเสริมการ พัฒนาสมรรถนะทางการใชเทคโนโลยีการศึกษาแกนิสิต นักศึกษาครู (8) มาตรฐานดานการฝก ประสบการณวิชาชีพ และ(9) มาตรฐานดานสมรรถนะทางเทคโนโลยีการศึกษาของบัณฑิตทาง การศึ ก ษา คณะผู วิ จั ย จะนํ า เสนอผลการวิ จั ย แก คุ รุ ส ภา และสํ า นั ก มาตรฐานและประกั น คุ ณ ภาพ การศึ ก ษาเพื่ อ พิ จ ารณาเป น กรอบในการประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาของสถาบั น ผลิ ต บั ณ ฑิ ต ทาง การศึกษาตอไป


จากแนวคิด สู่ ...การวิจยั . . . . . ท า น ผู ส น ใ จ ศึ ก ษ า ป ร ะ เ ด็ น ก า ร ทํ า Dissertation (ป.โท เรี ย ก Thesis) ด า น เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ สื่ อ ส า ร ก า ร ศึ ก ษ า ควรศึกษาขอบขายที่เกี่ยวของ เชน Textbook ของ AECT โดย DAVID H. JONASSEN ชื่อ Handbook of Research on Educational Communications and Technology : A Project of the Association for Educational Communications and Technology มี ก รอบการพิ จ ารณา 7 ด า น 42 หั ว ข อ ย อ ย ( คลิกที่ http://thailearn4change.ning.com )


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.