-1-
enGauge 21st Century Skill : Helping Students Thrive in the Digital Age เรียบเรียงโดย : วิชิต ชาวะหา เยาวชนของเราเติ บ โตในสั ง คมโลกที่ กํา ลั งเปลี่ ย นแปลงอย า งรวดเร็ วด ว ยเทคโนโลยี และสติ ป ญญาของมนุ ษ ย เมื่อคํานึงถึงอัตราการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและองคความรูมหาศาลที่กําลังถูกสรางขึ้น นักเรียนจําเปนตองมีทักษะที่จําเปนเพื่อ เผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและใชชีวิตอยางมีคุณคา รัฐบาลสหรัฐอเมริกาไดกําหนดใหทักาะดานเทคโนโลยีเปนพื้นฐานของ การเรียนรูไปสูความเปนเลิศในศตวรรษที่ 21 แตขอเสนอจากงานวิจัยของ enGauge ไดกาวไกลไปกวานั้นดวยการเสนอทักษะ ที่จําเปนสําหรับการดํารงชีวิต การเรียนรูและทํางานในโลกยุคเทคโนโลยี
1. การรูหนังสือในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ (Digital – Age Literacy)
ความหมายของการรูหนังสือในปจจุบันจะตองขยายกวางใหครอบคลุมความสามารถที่จะใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
เครื่องมือสื่อสาร ระบบเครือขายที่จะเขาถึงขอมูล จัดระบบขอมูล บูรณาการขอมูล ประเมินคุณคา และสรางขอมูลสารสนเทศที่ จําเปนตอการใชชีวิตในสังคมฐานความรู และจะตองครอบคลุมการรูหนังสือในมิติของ
enGauge 21st Century Skill : Helping Students Thrive in the Digital Age / เรียบเรียงโดย วิชิต ชาวะหา
-2-
‐
การรูหนังสือพื้นฐาน (Basic Literacy) สามารถใชภาษาสื่อสารและสามารถคิดคํานวณในระดับที่จําเปนตอการใชชีวิตและการทํางานในโลก
ยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ‐
การรูหนังสือทางวิทยาศาสตร (Scientific Literacy) มีความรูความเขาใจในหลักการ แนวคิดและกระบวนการทางวิทยาศาสตรเพียงพอที่จะตัดสินใจและมีสนรวม
ในสังคม ‐
การรูหนังสือทางเศรษฐศาสตร (Economic Literacy) สามารถระบุประเด็นทางเศรษฐศาสตร วิเคราะหผลกระทบของสภาพทางเศรษฐกิจและนโยบายของรัฐ และ
ประเมินผลดีผลเสีย ‐
การรูหนังสือดานเทคโนโลยี (Technological Literacy) เขาใจวาเทคโนโลยีคืออะไร สามารถนําไปใชอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
‐
การรูหนังสือดานทัศนศิลป (Visual Literacy) สามารถแปลความหมาย ใช และสรางสื่อทัศนศิลป เพื่อขับเคลื่อการคิด การตัดสินใจ การเรียนรูและ
การตัดสินใจ ‐
การรูหนังสือดานขาวสารขอมูล (Information Literacy) สามารถแสวงหา สังเคราะห ประเมินและนําขอมูลมาใชอยางไดผล โดยใชเทคโนโลยี
‐
การรูหนังสือดานพหุวัฒนธรรม (Multi‐cultural Literacy) สามารถเขาใจ และเห็นคุณคาของความแตกตางและความเหมือนทางประเพณี ความเชื่อ คานิยม และ
วัฒนธรรมของตนเองและผูอื่น ‐
ความเขาใจในสังคมโลก (Global Awareness) ตระหนักและขาใจในความสัมพันธระหวางสวนตางๆ ในสังคมโลก
2. กระบวนการคิดเชิงประดิษฐอยางสรางสรรค (Inventive Thinking)
เทคโนโลยีจะเปนสวนสําคัญของชีวิต จะชวยทําใหงานตางๆ งายขึ้น แตจะตองอาศัยความคิดในระดับสูง ‐
ความสามารถในการปรับตัวและจัดการกับสิ่งที่ซับซอน (Adaptability/Managing Complexity) นักเรียนสามารถจัดการกับสภาพที่หลากหลายแตกตางและซับซอนทั้งในแงสภาพแวดลอม เปาหมาย ลักษณะ
งานและปจจัย โดยคํานึงถึงเปาหมาย และขอจํากัดในเรื่องเวลา ทรัพยากร และระบบ enGauge 21st Century Skill : Helping Students Thrive in the Digital Age / เรียบเรียงโดย วิชิต ชาวะหา
-3-
‐
ความสามารถที่จะกําหนดเปาหมายของตนเอง (Self‐Direction) ความสามารถที่จะกําหนดเปาหมายและวางแผนไปสูเปาหมายที่ตั้งไว โดยสามารถจัดการภายในกรอบเวลา
และทรัพยากรที่มีอยู ทั้งยังสามารถประเมินคุณภาพของการเรียนรูและผลผลิตที่เกิดขึ้น ‐
ความสนใจใฝรู (Curiosity) นักเรียนมีความกระตือรือรนที่จะเรียนรูและมีประกายไฟแหงความสนใจที่จะนําไปสูการเสาะแสวงหาขอมูลใน
เรื่องนั้นๆ เพิ่มเติมหรือไม ‐
ความคิดสรางสรรค (Creativity) นักเรียนสามารถสรางสรรคสิ่งใหมๆ ไมวาจะเปนสิ่งใหมสําหรับตัวผูเรียนเอง หรือสําหรับสังคม
‐
ความกลาที่จะเสี่ยง (Risk Taking) นักเรียนกลาที่จะนําเสนอความคิดเห็นที่แตกตาง สวนกระแสความคิดกับคนอื่น ทําสิ่งที่อาจจะเกิดความ
ผิดพลาด หรือพยายามจัดการกับปญหาซึ่งยังไมมีทางออกที่เดนชัดหรือไม ซึ่งจะทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่จะนําไปสูการ เจริญเติบโต เขมแข็งและเกิดผลสัมฤทธิ์ในระยะยาว ‐
ความคิดในระดับสูงและความมีเหตุมีผล (Higher – Oder Thinking and Sound Reasoning) นักเรียนมีความคลองแลวที่จะใชกระบวนการคิดเชิงวิเคราะห เปรียบเทียบ แปลความ ตีความ ประเมินผล
สังเคราะห ในประเด็นที่เกี่ยวของกับศาสตรและปญหาที่หลากหลาย 3. การสื่อสารอยางไดผล (Effective Communication) ‐
การทํางานเปนทีม (Teaming and Collaboration) นักเรียนสามารถทํางานดวยความรวมมือกับผูอื่นในการแกไขปญหา สรางสรรคสิ่งใหมๆ และเรียนรูจนสามารถ
มีความชํานาญในเรื่องนั้นๆ ‐
มนุษยสัมพันธ (Interpersonal Skills) นักเรียนสามารถอาน เขาใจและจัดการกับอารมณ แรงจูงใจ และพฤติกรรมของตนเองและผูอื่นในการ
ปฏิสัมพันธ และสถานการณตางๆ ‐
ความรับผิดชอบสวนตน (Personal Responsibility) นักเรียนมีค วามรูความเข าใจเกี่ยวกับกฏหมายและจรรยาบรรณที่เ กี่ยวกับเทคโนโลยี แ ละสามรถนํา ไปปรับ ประยุกตใชในชีวิตเพื่อใหเกิดความสมดุลระหวางคุณภาพชีวิตและความมั่นคงตอหลักการ
enGauge 21st Century Skill : Helping Students Thrive in the Digital Age / เรียบเรียงโดย วิชิต ชาวะหา
-4-
‐
ความรับผิดชอบตอสังคมและความเปนพลเมืองดี (Social and Civic Responsibility) นั ก เรี ย นสามารถจั ด การกั บ เทคโนโลยี ใ นลั ก ษณะที่ จะก อ ให เ กิ ด ประโยชน แ ก สั ง คม สิ่ ง แวดล อ มและหลั ก ประชาธิปไตย
‐
การสื่อสารระหวางบุคคล (Interactive Communication) นักเรียนสามารถสื่อสารความหมายอยางไดผลผานสื่อ เครื่องมือและกระบวนการที่มีอยูในปจจุบัน
4. การมีผลิตภาพที่สูง (High Productivity)
ในยุคสมั ย ของระบบเศรษฐกิจที่ไ ด รับการเติ มพลังการขับเคลื่ อนดวยเทคโนโลยี ขา วสารข อมู ล และองคความรู
ความสามารถที่จะสรางผลผลิตที่มีประสิทธิภาพจะเปนปจจัยนําไปสูความสําเร็จของแรงงาน ‐
การจัดลําดับ การวางแผน และการบริหารเพื่อผลลัพธ (Prioritizing,
Planning, and Managing for
Results
นักเรียนสามารถบริหารจัดการไปสูเปาหมายที่วางไว ไมวาจะเปนโครงงาน หรือ การแกปญหา ‐
ความสามารถที่จะใชเครื่องมือที่เปนปจจุบันในโลกแหงความเปนจริง (Effective Use of Real‐World Tools) นักเรียนสามารถใชเครื่องมือทั้งคอมพิวเตอรโปรแกรม ระบบสื่อสาร และเครื่องมืออื่นๆ ที่ใชในโลกปจจุบัน
‐
ความสามารถที่จะผลิตผลงานที่มีคุณภาพสุงและมีความหมาย (Ability
to Produce Relevant, High‐
Quality Products)
นักเรียนสามารถผลิตผลงานที่มีคุณภาพดวยเครื่องมือที่เปนปจจุบัน จนไดมาตรฐานทั้งในแงความคิด ขอมูล และวัสดุที่ใช และสามารถนําไปใชในสภาพจริง วิธีการ enGauge 21st Century Skills ไดพัฒนาจากกระบวนการที่รวบรวมจากผลงานวิจัย โดยคัดเฉพาะงานวิจัยทีมี ลักษณะเกี่ยวกับ Net Generation พิจารณาจากรายงานที่เปนปจจุบันจากผูที่ทํางานจากภาคธุรกิจ และอุตสาหกรรม ปจจัยนําเขา เพื่อศึกษา คือ การสํารวจขอมูล และจากปฏิกิริยาจากกลุมองคประกอบ โดยศึกษาจากแหลงตางๆ ดังรายการที่ปรากฏดานลาง (สําหรับเนื้อหาฉบับสมบูรณ ศึกษาเพิ่มเติมไดจาก www.ncrel.org/engauge/skills/skills.htm ) • National Educational Technology Standards (NETS) for students, 2000, International Society for Technology in Education. Available at cnets.iste.org/ students/s_book.html. • What Work Requires of Schools, 1991, Secretary’s Commission on Achieving
• Information Literacy Standards for Student Learning, 1998, American Association of School Librarians (AASL), Association of Educational Communications Technology (AECT), and American Library Association (ALA). Available at www.ala.org/aasl/
enGauge 21st Century Skill : Helping Students Thrive in the Digital Age / เรียบเรียงโดย วิชิต ชาวะหา
-5-
Necessary Skills, U.S. Department of Labor. Available at wdr.doleta.gov/ SCANS/whatwork/whatwork.html. • Standards for Technological Literacy: Content for the Study of Technology, 2000, International Technology Education Association. Available at www.iteawww.org/TAA/PDFs/xstnd.pdf. • 21st Century Literacy in a Convergent Media World, 2002, 21st Century Literacy Summit. Available at www.21stcenturyliteracy.org/white/ WhitePaperEnglish.pdf. • Being Fluent With Information Technology, 1999, Committee on Information Technology Literacy, National Research Council. Available at www.nap.edu/html/beingfluent/.
ip_nine.html. • Technically Speaking: Why All Americans Need to Know More About Technology, 2002. National Academy of Engineering and National Research Council. Available at www.nap.edu/ books/0309082625/html/. • Preparing Students for the 21st Century, 1996, American Association of School Administrators. • Digital Transformation: A Framework for ICT Literacy, 2002. Report by the International Information and Communication Technologies (ICT) Literacy Panel for the Educational Testing Service (ETS). Available at www.ets.org/research/ictliteracy/ ictreport.pdf. • How People Learn: Brain, Mind, Experience, and School, 1999. Bransford, J., Brown, A., & Cocking, R., Eds. Available at www.nap.edu/html/howpeople1/.
------------------------------------------
บรรณานุกรม North Central Regional Educational Laboratory(NCREL), (2003). enGuage 21st Century skills : Helping Students Thrive in the Digital Age. Retrieved August 19, 2010, from http://www.unctv.org/ education/teachers_childcare/nco/documents/skillsbrochure.pdf
enGauge 21st Century Skill : Helping Students Thrive in the Digital Age / เรียบเรียงโดย วิชิต ชาวะหา