Intro to e-Learning
Moodle
รู้จัก.. Learning Management System (LMS) LMS คือ ระบบจัดการการเรี ยนการสอนผ่านเครื อข่าย มีเครื่ องมือและส่ วนประกอบที่สาํ คัญ สําหรับผูส้ อน ผูเ้ รี ยนและผูด้ ูแลระบบ ได้แก่ ระบบการจัดการรายวิชา ระบบการจัดการสร้างเนื้อหา ระบบบริ หารจัดการผูเ้ รี ยน ระบบส่ วนการจัดการข้อมูลบทเรี ยน และระบบเครื่ องมือช่วยจัดการสื่ อสารและปฏิสมั พันธ์ และจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ ได้แก่ การสื่ อสาร Chat, E-mail, Web-board, การเข้าใช้ การเก็บข้อมูล, และการรายงานผล เป็ นต้น องค์ประกอบหลักของระบบ LMS มี 4 ระบบ ที่สาํ คัญ คือ 1. ระบบจัดการรายวิชา Course Management System (CMS) การสร้างรายวิชา จัดทําเนื้อหา บทเรี ยนรายวิชา จัดทําแหล่งค้นคว้าข้อมูล ทํากิจกรรมเสริ ม 2. ระบบบริ หารจัดการข้อมูลผูเ้ รี ยน User Management System ระบบการเข้าใช้งาน ตรวจสอบการใช้งาน รายละเอียดข้อมูลผูใ้ ช้ 3. ระบบตรวจกิจกรรมและติดตามประเมินผล Test &Tracking Management System กิจกรรม แบบฝึ กแบบทดสอบ การบ้าน ระบบทดสอบประเมินผลการเรี ยน 4. ระบบจัดการการสื่ อสารและปฏิสมั พันธ์ Communication Management System เป็ นส่ วน ส่ งเสริ มการเรี ยนให้มีการติดต่อสื่ อสารกัน ทั้งระหว่างผูส้ อน-ผูส้ อน ผูส้ อน-นักเรี ยน นักเรี ยน-นักเรี ยน ทั้งรู ปแบบ online และ offline web-board E-mail Chat News Calendar เป็ นต้น
รู้ จัก Moodle
Martin Dougiamas
ภาพจาก http://blog.addison-wesley.de/archives/369
Moodle (Modular ObjectOriented Dynamic Learning Environment) เป็ น Open Source Software ประเภท Learning Management System (LMS) โดยใช้ PHP และ Database mySQL พัฒนาโดย Mr. Martin Dougiamas ชาวออสเตรเลีย ซึ่ งได้ท ํา งานวิ จัย ขณะศึ ก ษาระดับ ปริ ญญาโทและเอก ในหั ว ข้อ “The use of Open Source software to support a social constructionist epistemology of teaching and learning within Internet-based communities of reflective inquiry” ผล ของงานวิจยั ชิ้นนี้ ส่งผลให้ Moodle เป็ นที่รู้จกั และใช้กนั อย่าง แพร่ หลาย ปั จจุบนั ได้มีการพัฒนาเพื่อรองรับภาษาต่างๆ กว่า 60 ภาษา 120 ประเทศทัว่ โลก มีผใู้ ช้งานมากกว่า 50,000 ไซต์ (ดูสถิติเพิ่มเติมจาก http://moodle.org/stats/ )
--------
อ้ างอิง : วิชิต ชาวะหา. 2548. คู่ มือการสร้ างบทเรี ยนออนไลน์ ด้ วย Moodle. ศูนย์พฒั นาทรัพยากรการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
เว็บไซต์ ของ Martin Dougiamas (http://Dougiamas.com)
PhD thesis " The use of Open Source software to support a social constructionist epistemology of teaching and learning within Internet-based communities of reflective inquiry ".
Moodle กับทฤษฎีการเรียนรู้ (ต่ อ) •
Moodle ถูกออกแบบและพัฒนาโดยใช้ทฤษฎีของการเรี ยนรู้ และใช้วธิ ี การเรี ยนการสอนแบบ Social Constructivism โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. การเรียนรู้ แบบสร้ างองค์ ความรู้ ด้วยตนเอง (Constructivism) มนุษย์มีการสร้างความรู ้ใหม่เสมอภายใต้ สภาพแวดล้อมที่เอื้ออํานวย การเรี ยนรู้แบบเดิมที่มาจากการอ่าน การมองเห็น การได้ยนิ การรู ้สึกสัมผัส นับเป็ นการ เรี ยนรู ้ทางเดียวเท่านั้น คือผูเ้ รี ยนเป็ นผูร้ ับสาร และเก็บไว้ในความทรงจําแต่เพียงอย่างเดียว แต่กไ็ ม่ได้หมายความว่า จะไม่มีความรู ้เกิดขึ้นเลยหากต้องเรี ยนรู้โดยการแลกเปลี่ยนทัศนะและจากประสบการณ์ของผูอ้ ื่นด้วย 2. การเรียนรู้ แบบคิดเอง สร้ างเอง (Constructionism) การเรี ยนรู ้แบบคิดเอง สร้างเอง คือการเรี ยนรู้ดว้ ย การลงมือทําไม่วา่ จะเป็ นการพูด การโพสต์แสดงความคิดเห็นบนกระดานสนทนา การวาดรู ปหรื อแม้แต่การเขียน โปรแกรม ตัวอย่างเช่น อ่านหนังสื อมาถึงย่อหน้านี้หลายๆ รอบแล้วก็ลืม แต่ถา้ หากได้อธิบายสิ่ งที่อ่านให้ผอู ้ ื่นฟัง เกี่ยวกับประเด็นของเรื่ องที่อ่านก็จะเกิดความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่ องที่อ่านได้อย่างดี และจดจําได้ไม่ลืม
ที่มา : http://docs.moodle.org/en/Philosophy
Moodle กับทฤษฎีการเรียนรู้ (ต่ อ) 3. การเรียนรู้ แบบสร้ างองค์ ความรู้ ในสั งคม (Social Constructivism) เป็ นการต่อยอดความคิดข้างต้นเข้าสู่ สังคมโดยมีการเรี ยนรู ้ร่วมกันเป็ นหมู่คณะโดยอาศัยหลักการว่าความสําเร็ จของหมู่คณะคือความสําเร็ จของตน การที่อยูใ่ นสังคม ลักษณะเช่นนี้จะทําให้เราเป็ นผูท้ ี่ตื่นตัวมีความอยากรู้อยูต่ ลอดเวลาและคิดอยูเ่ สมอว่าทําอย่างไรจึงจะมีส่วนร่ วมในสังคมดังกล่าว นี้ได้ เช่น ถ้วยกาแฟซึ่งโดยรู ปร่ างของถ้วยก็บ่งบอกให้ทราบว่ามีไว้สาํ หรับใส่ สิ่งที่เป็ นของเหลวหรื ออีกตัวอย่าง คือ โปรแกรม สําหรับสร้างห้องเรี ยนออนไลน์ที่เมื่อสร้างห้องเรี ยนเสร็ จแล้วจะช่วยให้นกั เรี ยนมองออกว่ารายวิชานั้นประกอบไปด้วยอะไรบ้าง แต่ละส่ วนมีหน้าที่อย่างไรผนวกเข้ากับการจัดกิจกรรมต่างๆ เอกสารประกอบการสอนในรายวิชานั้น ๆ จะทําให้เห็นเป็ นรู ปร่ าง ของห้องเรี ยนมากขึ้นและจะช่วยกําหนดบทบาทหน้าที่ของแต่ละคนไปโดยปริ ยายนักเรี ยนเข้ามาในห้องเรี ยนก็จะมองออกว่า หน้าที่ของตนมีอะไรบ้าง มีกิจกรรมใดที่ตอ้ งทําหรื อให้ความร่ วมมือ
4. การเชื่อมโยงและการแยกส่ วน (Connected and Separated Knowing) ความคิดนี้เกี่ยวข้อง กับพฤติกรรมในการแสดงความคิดเห็นของบุคคล ผูท้ ี่มีพฤติกรรมแบบแยกส่ วนคือ “ผู้ทยี่ นิ กรานกับความคิดเห็นของตนเองและ พยายามหาข้ อด้ วยของฝ่ ายตรงข้ ามเพือ่ โต้ แย้ ง” ผูท้ ี่มีพฤติกรรมแบบเชื่อมโยงคือ “ผูท้ ี่รับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื่น มีการถาม เพื่อให้เข้าใจความคิดของผูอ้ ื่นมากขึ้น” ผูท้ ี่มีพฤติกรรมการสร้างคือ “ผูท้ ี่อ่อนไหวต่อทั้งสองประเด็นที่กล่าวมาข้างต้น สามารถที่ จะเลือกอยูข่ า้ งใดข้างหนึ่ง ขึ้นอยูก่ บั สถานการณ์ปัจจุบนั ” โดยทัว่ ไปแล้วผูท้ ี่มีพฤติกรรมแบบเชื่อมโยงภายในกลุ่มจะเป็ นผูท้ ี่ช่วย กระตุน้ ให้เกิดการเรี ยนรู ้นอกจากจะทําให้คนในกลุ่มมีความสนิทสนมกันมากขึ้นแล้วยังช่วยให้แต่ละคนได้สะท้อนความคิดของ ตนและพิจารณาใหม่วา่ เชื่ออย่างนั้นจริ งหรื อไม่
ที่มา : http://docs.moodle.org/en/Philosophy
หน้ าเว็บ Moodle (http://moodle.org)
Moodle ต้ องการ... • Apache • PHP • MySQL Postgres Oracle
ภาพจาก http://www.resultantsys.com/index.php/general/what-is-a-web-application-server/
เตรียมพร้ อมก่ อนติดตั้ง moodle • Virtual-Web Server (จําลองจาก PC, Notebook) – APPSERV (http://www.appservnetwork.com/) – (http://www.apachefriends.org/en/xampp.html)
• Host -Web Server (server จริ ง) ภาพจาก http://hungred.com/wp-content/uploads/2009/08/rack-server.jpg&t=1
ดาวน์ โหลด moodle (http://download.moodle.org/)
เสริมประสิ ทธภาพ : Modules and plugins (http://moodle.org/mod/data/view.php?id=6009)
• • • • • •
Moodle packages plugins contrib packages patches tools and language packs
ตกแต่ ง moodle ด้ วย Themes (http://www.themza.com/moodle/)
Workshop